เขียนแบบ 1

Page 1



คาชี้แจงการใช้ แผนการเรียนรู้ หลักสู ตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) ประเภทวิชาอุตสาหกรรม แผนการจัดการเรียนรู้วชิ า เขียนแบบก่อสร้าง 1 รหัส 2106-2104 มีส่วนประกอบดังนี้ 1. จุดประสงค์รายวิชา / มาตรฐานรายวิชา / คาอธิบายรายวิชา 2. ตารางวิเคราะห์คาอธิบายรายวิชา 3. หน่วยการจัดการเรี ยนรู้ 4. ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรี ยนรู้ 5. ตารางการประยุกต์ใช้หลักการทรงงานกับการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียง 6. ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์การเรี ยนรู้ 7. โครงการจัดการเรี ยนรู้รายวิชา 8. แผนการจัดการเรี ยนรู้รายวิชา 9. สื่ อการสอน ประกอบด้วย 9.1 ใบความรู้ 8.2 ใบงาน 10. ใบประเมินผล


1. คาชี้แจงสาหรับผู้สอน 1.1 ผูส้ อนต้องศึกษาเนื้อหาวิชาและแผนการจัดการเรี ยนรู้ให้เข้าใจก่อนทาการสอน และต้องเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อใช้ในการเรี ยนการสอนตามที่ระบุไว้ใน แผนการจัดการเรี ยนรู้แต่ละหน่วยการเรี ยน 1.2 ผูส้ อนต้องดาเนินการสอนตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ครบทุกหน่วยการเรี ยน 1.3 การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน แบ่งออกเป็ นขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรี ยน (Motivation) ขั้นที่ 2 ให้เนื้อหา (Information) ขั้นที่ 3 ประกอบกิจกรรมการเรี ยน (Application) ขั้นที่ 4 สรุ ปผล (Progress) โดยการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ผูส้ อนจะต้องมีทกั ษะและความชานาญ ในการอภิปรายให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู้ได้อย่างมีประสิ ทธิผล 1.4 การสรุ ปบทเรี ยน เป็ นกิจกรรมร่ วมระหว่างผูส้ อนกับผูเ้ รี ยนหรื อจะเป็ นกิจกรรม ผูเ้ รี ยนทั้งหมดก็ได้ 1.5 หลังจากเรี ยนครบหัวข้อเรื่ องในแต่ละหน่วยการเรี ยน แล้วให้ผเู้ รี ยนทา แบบทดสอบ 1.6 หลังจากผูเ้ รี ยน เรี ยนจนครบทุกหน่วยเรี ยนแล้ว ผูส้ อนจะต้องเก็บข้อมูลผลการ เรี ยน จัดทาประวัติการเรี ยนของผูเ้ รี ยน เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและ ความก้าวหน้าของผูเ้ รี ยน 2. บทบาทผู้เรียน เนื่องจากแผนการจัดการเรี ยนรู้วิชานี้ เป็ นแผนการจัดการเรี ยนรู้สาหรับ ครู ผสู้ อนเป็ นผูด้ าเนินการ โดยให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมตามบทบาทผูเ้ รี ยน ดังนี้ 2.1 ผูเ้ รี ยนต้องปฏิบตั ิกิจกรรมคาแนะนาของผูส้ อนอย่างเคร่ งครัด 2.2 ผูเ้ รี ยนต้องพยายามทาแบบฝึ กหัดอย่างเต็มความสามารถ (คาถามที่ใช้เป็ นเพียง ส่วนหนึ่งของการเรี ยนเท่านั้น)


3. การจัดชั้นเรียน ใช้การจัดชั้นเรี ยนตามปกติ สาหรับการสอนภาคทฤษฎี โดยจัดการเรี ยนการ สอนแบบบรรยายหรื อถามตอบ สภาพการจัดชั้นเรี ยนต้องจัดให้เหมาะสม สามารถ จัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนแก่นกั เรี ยนอย่างทัว่ ถึง ส่วนการสอนภาคปฏิบตั ิจดั การ เรี ยนการสอนแบบสาธิตแล้วให้ผเู้ รี ยนฝึ กปฏิบตั ิตามใบงานที่มอบหมาย เพื่อให้เกิด ทักษะผ่านเกณฑ์ตามใบประเมินผล 4. โครงการจัดการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ จัดอยูใ่ นเอกสารชุดนี้ โดยจัดแบ่งเป็ นโครงการจัดการเรี ยนรู้รายวิชา ซึ่ งจะมี แผนการจัดการเรี ยนรู้แต่ละหน่วย ประกอบอยูด่ ว้ ยทุกโครงการจัดการเรี ยนรู้ 5. การประเมินผล ประเมินผลจากการทาแบบฝึ กหัด การปฏิบตั ิงานที่มอบหมาย และการทา แบบทดสอบ สาหรับเฉลยแบบทดสอบ จะอยูท่ า้ ยโครงการจัดการเรี ยนรู้รายวิชา ของหน่วยการเรี ยนรู้แต่ละหน่วย


แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา เขียนแบบก่อสร้าง 1 ระดับชั้น ปวช. 1 จานวน 3 หน่ วยกิต จานวน ภาคเรียนที่ 2

สาขาวิชา

วิชา 2106-2104 ช่างก่อสร้าง 108 ชัว่ โมง ปี การศึกษา 2553

จุดประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการในการเขียนแบบก่อสร้างบ้านพักอาศัยชั้นเดียว 2. เพื่อให้มี ความสามารถในการเขียนแบบก่อสร้างบ้านพักอาศัยชั้นเดียว 3. เพื่อให้มีกิจนิสยั เจตคติ มีความรับผิดชอบในการปฏิบตั ิงาน มีคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมที่ดีในการประกอบอาชีพ

มาตรฐานรายวิชา 1.เข้าใจหลักการ วิธีการ ในการเขียนแบบก่อสร้างอาคารพักอาศัยชั้นเดียว 2.เขียนแบบกอสร้าง รู ปแปลน รู ปตัด รู ปด้าน รู ปขยายส่วนประกอบอาคาร ผังโครงสร้าง ไฟฟ้ า สุขาภิบาล ผังบริ เวณ อาคารพักอาศัยชั้นเดียว 3.เขียนรายการประกอบแบบอาคารพักอาศัยชั้นเดียว

คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกับหลักการ ขั้นตอนกระบวนการ วิธีการเขียนแบบก่อสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างรู ปแปลน รู ปตัด รู ปด้าน แบบขยายส่วนประกอบอาคาร ผังโครงสร้าง ไฟฟ้ า สุขาภิบาล ผังบริ เวณและรายการประกอบแบบก่อสร้าง อาคารพักอาศัยชั้นเดียว


หน่ วยการจัดการเรียนรู้ รหัส 2106-2104 ลาดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

วิชา เขียนแบบก่อสร้าง 1

จานวน 6 ชั่วโมง/สั ปดาห์

ชื่อหน่ วยการเรียนรู้ บทนา การอ่านรายการประกอบแบบ สัญลักษณ์แบบ สัญลักษณ์อา้ งอิง การอ่านแบบ การเขียนสัญลักษณ์ เขียนแบบแปลนพื้น การเขียนแบบแปลนพื้น การเขียนแบบแปลฐานราก เสา คานและพื้น การเขียนแบบแปลนโครงหลังคา แปลนคานหลังคา การเขียนแบบรู ปตัด A-A การเขียนแบบรู ปตัด B-B การเขียนแบบรู ปด้าน1/รู ปด้าน2 การเขียนแบบรู ปด้าน3/รู ปด้าน4 การเขียนแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม การเขียนแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม การเขียนแบบขยายรายละเอียดทางวิศวกรรม การเขียนแบบขยายรายละเอียดทางวิศวกรรม การเขียนแบบรู ปแปลนระบบสุขาภิบาล การเขียนแบบรู ปแปลนระบบสุขาภิบาล การเขียนแบบแปลนระบบไฟฟ้ า การเขียนแบบผังบริ เวณ/รายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ รวม

จานวนคาบ (ชม.) 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 108


ตารางวิเคราะห์ หน่ วยการเรียนรู้ รหัส 2106-2104 หน่ วยที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

วิชา เขียนแบบก่อสร้าง 1 ชื่อหน่ วยการเรียนรู้

บทนา

การอ่านรายการประกอบแบบ สัญลักษณ์แบบ สัญลักษณ์อา้ งอิง การอ่านแบบ การเขียนสัญลักษณ์ เขียนแบบ แปลนพื้น การเขียนแบบแปลนพื้น การเขียนแบบแปลนฐานราก เสา คานและพื้น การเขียนแบบแปลนโครงหลังคา แปลนคาน หลังคา การเขียนแบบรู ปตัด A-A การเขียนแบบรู ปตัด B-B การเขียนแบบรู ปด้าน1/รู ปด้าน2 การเขียนแบบรู ปด้าน3/รู ปด้าน4 การเขียนแบบขยายรายละเอียดทาง สถาปัตยกรรม การเขียนแบบขยายรายละเอียดทาง สถาปัตยกรรม การเขียนแบบขยายรายละเอียดทางวิศวกรรม การเขียนแบบขยายรายละเอียดทางวิศวกรรม การเขียนแบบรู ปแปลนระบบสุขาภิบาล การเขียนแบบรู ปแปลนระบบสุขาภิบาล การเขียนแบบแปลนระบบไฟฟ้ า การเขียนแบบผังบริ เวณ/รายการประกอบแบบ/ สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ รวม

จานวน 6 ชั่วโมง/สั ปดาห์ พฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ พุทธิพิสยั ทักษะพิสยั จิตพิสยั 2 2 2

จานวนคาบ (ชม.) 6

1

1

1

6

2

1

2

6

1 1

1 2

2 2

6 6

1

1

1

6

2 2 1 1

2 1 1 2

2 2 1 1

6 6 6 6

1

1

1

6

2

1

2

6

1 1 2 1 1

2 1 2 1 3

2 1 2 3 1

6 6 6 6 6

1

2

1

6

24

27

29

108


ตารางวิเคราะห์ คาอธิบายรายวิชา รหัส 2106-2104

วิชา เขียนแบบก่อสร้าง 1

6 ชั่วโมง/สั ปดาห์ เวลาเรียน

ลาดับที่

ชื่อหน่ วยการเรียนรู้

1

บทนา 1.1 หลักการพื้นฐานในการออกแบบ และการจัดพื้นที่ใช้สอย 1.2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายใน การก่อสร้างบ้านพักอาศัย 1.3. ความรู้พ้นื ฐานในการเขียนแบบ ก่อสร้าง การอ่านแบบ รายการประกอบแบบ สัญลักษณ์แบบ สัญลักษณ์อ้างอิง 2.1องค์ประกอบของโครงสร้างอาคาร 2.2การอ่าน-เขียนรายการประกอบแบบ 2.3การอ่าน-เขียนสัญลักษณ์แบบ 2.4การอ่าน-เขียนสัญลักษณ์อา้ งอิง การอ่านแบบ การเขียนสัญลักษณ์ เขียน แบบแปลนพืน้ 3.1ความสาคัญของแบบแปลนพื้น 3.2การอ่าน-เขียนแบบแปลนพื้น 3.3สัญลักษณ์ในแบบ การเขียนแบบแปลนพืน้ 4.1 การอ่าน-เขียนแบแปลนพื้น 4.2 สัญลักษณ์แบบ

2

3

4

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

จานวน (ชม.)

4

2

6

3

3

6

2

4

6

1

5

6


เวลาเรียน ลาดับที่

ชื่อหน่ วยการเรียนรู้

5

การเขียนแบบแปลนฐานราก เสา คานและ พืน้ 5.1 ความสาคัญของแบบแปลนฐานราก เสา คานและพื้น 5.2 การเขียนแบบแปลฐานราก เสา คาน และพื้น การเขียนแบบแปลนโครงหลังคา แปลน คานหลังคา 6.1 ความสาคัญแปลนโครงหลังคา แปลนคานหลังคา 6.2การเขียนแบบแปลนโครงหลังคา แปลนคานหลังคา การเขียนแบบรูปตัด A-A 7.1 ความสาคัญของการเขียนแบบรู ป ตัด A-A 7.2 การเขียนแบบรู ปตัด A-A การเขียนแบบรูปตัด B-B 8.1 ความสาคัญของการเขียนแบบรู ป ตัด B–B 8.2 การเขียนแบบรู ปตัด B-B การเขียนแบบรูปด้ าน1/รูปด้ าน2 9.1 ความสาคัญการเขียนแบบรู ปด้าน1/ รู ปด้าน2 9.2 การเขียนแบบรู ปด้าน1/รู ปด้าน2

6

7

8

9

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

จานวน (ชม.)

1

5

6

1

5

6

1

5

6

1

5

6

1

5

6


เวลาเรียน ลาดับที่

ชื่อหน่ วยการเรียนรู้

10

การเขียนแบบรูปด้ าน3/รูปด้ าน4 10.1 ความสาคัญการการเขียนแบบรู ป ด้าน3/รู ปด้าน4 10.2 การเขียนแบบรู ปด้าน3/รู ปด้าน4 การเขียนแบบขยายรายละเอียดทาง สถาปัตยกรรม 11.1 ความสาคัญการเขียนแบบขยาย รายละเอียดทางสถาปัตยกรรม 11.2 การเขียนแบบขยายรายละเอียดทาง สถาปัตยกรรม

11

12

13

14

การเขียนแบบขยายรายละเอียดทาง สถาปัตยกรรม 12.1 ความสาคัญการเขียนแบบขยาย รายละเอียดทางสถาปัตยกรรม 12.2 การเขียนแบบขยายรายละเอียดทาง สถาปัตยกรรม การเขียนแบบขยายรายละเอียดทาง วิศวกรรม 13.1 ความสาคัญการเขียนแบบขยาย รายละเอียดทางวิศวกรรม 13.2 การเขียนแบบขยายรายละเอียดทาง วิศวกรรม การเขียนแบบขยายรายละเอียดทาง วิศวกรรม 14.1 ความสาคัญการเขียนแบบขยาย รายละเอียดทางวิศวกรรม 14.2 การเขียนแบบขยายรายละเอียดทาง วิศวกรรม

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

จานวน (ชม.)

1

5

6

1

5

6

1

5

6

1

5

6

1

5

6


เวลาเรียน ลาดับที่

ชื่อหน่ วยการเรียนรู้

15

การเขียนแบบรูปแปลนระบบสุ ขาภิบาล 15.1 ความสาคัญการเขียนแบบรู ป แปลนระบบสุขาภิบาล 15.2 การเขียนแบบรู ปแปลนระบบ สุขาภิบาล การเขียนแบบรูปแปลนระบบสุ ขาภิบาล 16.1 ความสาคัญการเขียนแบบรู ป แปลนระบบสุขาภิบาล 16.2 การเขียนแบบรู ปแปลนระบบ สุขาภิบาล การเขียนแบบแปลนระบบไฟฟ้ า 17.1 ความสาคัญการเขียนแบบแปลน ระบบไฟฟ้ า 17.2 การเขียนแบบแปลนระบบไฟฟ้ า การเขียนแบบผังบริเวณ/รายการประกอบ แบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ 18.1 ความสาคัญการเขียนแบบผัง บริ เวณ/รายการประกอบแบบ/สารบัญ แบบ/สัญลักษณ์แบบ 18.2 การเขียนแบบผังบริ เวณ/รายการ ประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์ แบบ

16

17

18

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

จานวนคาบ (ชม.)

1

5

6

1

5

6

1

5

6

1

5

6


ตารางวิเคราะห์ จุดประสงค์ การเรียนรู้ รหัส 2106-2104

วิชา เขียนแบบก่อสร้าง 1

6 ชั่วโมง/สั ปดาห์ ระดับพฤติกรรมที่ต้องการ

หน่ วยที่

ชื่อหน่ วย/หัวข้ อย่อย

1

บทนา 1.1 หลักการพื้นฐานในการออกแบบ และการจัดพื้นที่ใช้สอย 1.2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายใน การก่อสร้างบ้านพักอาศัย 1.3. ความรู้พ้นื ฐานในการเขียนแบบ ก่อสร้าง การอ่านแบบ รายการประกอบแบบ สัญลักษณ์แบบ สัญลักษณ์อ้างอิง 2.1องค์ประกอบของโครงสร้างอาคาร 2.2การอ่าน-เขียนรายการประกอบแบบ 2.3การอ่าน-เขียนสัญลักษณ์แบบ 2.4การอ่าน-เขียนสัญลักษณ์อา้ งอิง การอ่านแบบ การเขียนสัญลักษณ์ เขียน แบบแปลนพืน้ 3.1ความสาคัญของแบบแปลนพื้น 3.2การอ่าน-เขียนแบบแปลนพื้น 3.3สัญลักษณ์ในแบบ

2

3

4

การเขียนแบบแปลนพืน้ 4.1การอ่าน-เขียนแบแปลนพื้น 4.2สัญลักษณ์แบบ

จิต ทักษะ จานวนคาบ พิสัย พิสัย (ชม.) 1 2 3 4 1 2 1 2 พุทธิพิสัย

/ /

/ /

/

/ /

/ /

/

/ /

/ /

/

/

/

/ / / / / / / / / / /

/ / /

/ / / /

/ / / /

/ / /

/

6

6

6

6


ระดับพฤติกรรมที่ต้องการ หน่ วยที่ 5

6

7

8

9

ชื่อหน่ วย/หัวข้ อย่อย

จิต ทักษะ จานวนคาบ พิสัย พิสัย (ชม.) 1 2 3 4 1 2 1 2 พุทธิพิสัย

การเขียนแบบแปลนฐานราก เสา คานและ พืน้ / / / / 5.1 ความสาคัญของแบบแปลนฐานราก เสา คานและพื้น / / / / 5.2 การเขียนแบบแปลฐานราก เสา คาน และพื้น การเขียนแบบแปลนโครงหลังคา แปลน คานหลังคา / / / / / 6.1 ความสาคัญแปลนโครงหลังคา แปลนคานหลังคา / / / 6.2การเขียนแบบแปลนโครงหลังคา แปลนคานหลังคา การเขียนแบบรูปตัด A-A 7.1 ความสาคัญของการเขียนแบบรู ป ตัด A-A 7.2 การเขียนแบบรู ปตัด A-A การเขียนแบบรูปตัด B-B 8.1 ความสาคัญของการเขียนแบบรู ป ตัด B–B 8.2 การเขียนแบบรู ปตัด B-B การเขียนแบบรูปด้ าน1/รูปด้ าน2 9.1 ความสาคัญการเขียนแบบรู ปด้าน1/ รู ปด้าน2 9.2 การเขียนแบบรู ปด้าน1/รู ปด้าน2

/ /

/ 6 /

/ / /

/

/

/ / /

/

/

/ / / / / / / / / /

/ /

/ / / /

/ /

/ / / /

6

6

6

6


ระดับพฤติกรรมที่ต้องการ หน่ วยที่ 10

11

12

13

14

ชื่อหน่ วย/หัวข้ อย่อย การเขียนแบบรูปด้ าน3/รูปด้ าน4 10.1 ความสาคัญการการเขียนแบบรู ป ด้าน3/รู ปด้าน4 10.2 การเขียนแบบรู ปด้าน3/รู ปด้าน4 การเขียนแบบขยายรายละเอียดทาง สถาปัตยกรรม 11.1 ความสาคัญการเขียนแบบขยาย รายละเอียดทางสถาปัตยกรรม 11.2 การเขียนแบบขยายรายละเอียดทาง สถาปัตยกรรม

จิต ทักษะ จานวนคาบ พิสัย พิสัย (ชม.) 1 2 3 4 1 2 1 2 พุทธิพิสัย

/ 6 / / / /

/

/ / / /

/

การเขียนแบบขยายรายละเอียดทาง สถาปัตยกรรม / / / 12.1 ความสาคัญการเขียนแบบขยาย รายละเอียดทางสถาปัตยกรรม 12.2 การเขียนแบบขยายรายละเอียดทาง / / / สถาปัตยกรรม การเขียนแบบขยายรายละเอียดทาง วิศวกรรม / / / / 13.1 ความสาคัญการเขียนแบบขยาย รายละเอียดทางวิศวกรรม 13.2 การเขียนแบบขยายรายละเอียดทาง วิศวกรรม การเขียนแบบขยายรายละเอียดทาง วิศวกรรม / / / 14.1 ความสาคัญการเขียนแบบขยาย

/

6

/ 6

/

/

/ /

/

6

/

6 /

/


รายละเอียดทางวิศวกรรม 14.2 การเขียนแบบขยายรายละเอียด / / ทางวิศวกรรม14.3 อุปกรณ์ทางาน

/

/

/

ระดับพฤติกรรมที่ต้องการ หน่ วยที่ 15

16

17

18

ชื่อหน่ วย/หัวข้ อย่อย การเขียนแบบรูปแปลนระบบสุ ขาภิบาล 15.1 ความสาคัญการเขียนแบบรู ป แปลนระบบสุขาภิบาล 15.2 การเขียนแบบรู ปแปลนระบบ สุขาภิบาล

จิต ทักษะ จานวนคาบ พิสัย พิสัย (ชม.) 1 2 3 4 1 2 1 2 พุทธิพิสัย

/ /

/ /

การเขียนแบบรูปแปลนระบบสุ ขาภิบาล 16.1 ความสาคัญการเขียนแบบรู ป แปลนระบบสุขาภิบาล / / / / 16.2 การเขียนแบบรู ปแปลนระบบ สุขาภิบาล การเขียนแบบแปลนระบบไฟฟ้ า / 17.1 ความสาคัญการเขียนแบบแปลน / / / ระบบไฟฟ้ า 17.2 การเขียนแบบแปลนระบบไฟฟ้ า การเขียนแบบผังบริเวณ/รายการประกอบ แบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ / / / / 18.1 ความสาคัญการเขียนแบบผัง บริ เวณ/รายการประกอบแบบ/สารบัญ แบบ/สัญลักษณ์แบบ 18.2 การเขียนแบบผังบริ เวณ/รายกาย ประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์ แบบ

/ /

6

6 /

/

6

/ 6


หมายเหตุ พุทธิพิสยั จิตพิสยั ทักษะพิสยั

1 = ความจา 2 = ความเข้าใจ 3 = การนาไปใช้ 1 = การประเมินคุณค่า 2 = การจัดระบบ 1 = การทาตามแบบ

4 = สูงกว่า


คู่มือวิชาโดยสั งเขป (COURSE OUTLINE) หลักสู ตร วิทยาลัยเทคนิคราชสิทธาราม หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชี ชั้นปี ที่ 1 ภาคเรี ยนที่ 2 รหัสวิชาและชื่อวิชา (TITLE HEADING) 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้าง 1 1. คาอธิบายรายวิชา ( CONTENT ) 1. คาอธิบายรายวิชา (CONTENT) ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกับหลักการ ขั้นตอนกระบวนการ วิธีการเขียนแบบก่อสร้าง ความสัมพันธ์ ระหว่างรู ปแปลน รู ปด้าน แบบขยายส่วนประกอบอาคาร ผังโครงสร้าง ผังไฟฟ้ า ผังสุขาภิบาล ผังบริ เวณ และรายการประกอบแบบก่อสร้างอาคารพักอาศัยชั้นเดียว รายวิชาพื้นฐาน ( REQUISITE BACKGROUND )

เขียนแบบเทคนิค 2. จุดมุ่งหมายรายวิชา ( COURSE OBJECTIVE ) เมื่อนักศึกษาได้เรี ยนจบในวิชา 2106-2104 งานเขียนแบบก่อสร้าง 1 แล้วจะมีความสามารถดังต่อไปนี้ 1. เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการในการเขียนแบบก่อสร้างบ้านพักอาศัยชั้นเดียว 2. เพื่อให้มีความสามารถในการเขียนแบบก่อสร้างบ้านพักอาศัยชั้นเดียว 3. เพื่อให้มีกิจนิสยั เจตคติ มีความรับผิดชอบในการปฏิบตั ิงาน มีคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมที่ดีในการ ประกอบอาชีพ

4. ตาราที่ใช้ ประกอบการสอน ( TEXTBOOK AND BILIOGRAY ) 1. สุขสม เสนานาญ. (2545), เขียนแบบก่อสร้าง, สานักพิมพ์ ส.ส.ท. สมาคมส่งเสริ ม เทคโนโลยี (ไทย – ญี่ปุ่น) กรุ งเทพมหานคร.


5. อุปกรณ์ที่ใช้ ในการประกอบการเรียน 1. สมุดจดบันทึก 2. เครื่ องมืออุปกรณ์เขียนแบบ 6. เครื่องอานวยความสะดวก 1. เครื่ องฉายภาพข้ามศีรษะ (Over head) 2. แผ่นใส 3. ปากกาเขียนแผ่นใส 4. กระดาน, ปากกาเขียนกระดาน 7. แผนการจัดแบ่ งเนือ้ หา จัดเนือ้ หาเป็ น 2 ส่ วน ดังนี้ ส่ วนที่ 1 (เรียนในครึ่งภาคเรียนแรก) สัปดาห์ เนือ้ หาวิชา 1 2

หยุดชดเชยวันปิ ยมหาราช บทนา อธิบายรายละเอียดวิชาเขียนแบบก่อสร้าง 1 และ พร้อมทั้งบอกเกณฑ์การให้คะแนน

3 4

การเขียนผังพื้น (การเขียนแปลนพื้นชั้นล่าง) การเขียนรู ปด้านหน้า การเขียนรู ปด้าน ( รู ปด้านหลัง ) การเขียนรู ปด้าน ( รู ปด้านข้างซ้าย ) การเขียนรู ปด้าน ( รู ปด้านข้างขวา ) การเขียนรู ปตัด (รู ปตัดตามขวาง)

5 6 7 8

การเขียนรู ปตัด (รู ปตัดตามยาว)

เขียนผังโครงสร้าง (แปลนหลังคา-แปลนสร้างโครงหลังคา)

จานวนคาบ ทฤษฎี ปฏิบัติ 1

5

1 1

5 5

1

5

1 1 1

5 5 5


ส่ วนที่ 2 (เรียนในครึ่งภาคเรียนหลัง) สัปดาห์ เนือ้ หาวิชา 9 10

11 12 13 14 15 16 17 18

ทดสอบระหว่างภาคเรียน การเขียนแบบขยายรายละเอียดทางทางวิศวกรรม (ขยาย เสา, ขยายฐานราก) การเขียนแบบขยายรายละเอียดทางทางวิศวกรรม (ขยายพื้น ขยายคาน) วันหยุดปี ใหม่ เขียนรู ปประตูหน้าต่าง การเขียนแบบผังสุขาภิบาล การเขียนแบบผังไฟฟ้ า การเขียนแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม (ขยายบ่อ เกรอะ - บ่อซึม) การเขียนผังบริ เวณ รายการประกอบแบบ สอบปลายภาคเรียน รวมจานวนคาบ

จานวนคาบ ทฤษฎี ปฏิบัติ

1

5

1 1 1 1

5 5 5 5

1 1

5 5

14

70

8. วิธีที่จะใช้ ในการสอน ( METHOD OF INSTRUCTION ) 1. Lecture หรื อ ฟังการอธิบาย ในห้องเรี ยน 1 คาบ 2. หลังการ Lecture ในห้องเรี ยนแล้ว นักศึกษาต้องกลับไปทบทวน 3. เมื่อการบรรยายสิ้นลง อาจมีการถาม – ตอบปัญหากัน ระหว่างนักศึกษากับผูส้ อน 4. ให้นกั ศึกษาทางานตามที่ได้รับมอบหมาย และส่งตามกาหนดเวลา


9. วิธีการวัดผล ( METHOD OF EVALUATION OUTCOME ) 1. คะแนนการเขียนแบบ 60 % 2. ทดสอบระหว่างภาคเรี ยน 10 % 3. สอบปรายภาค 10 % 4. จิตพิสยั 20 % - ความตรงต่อเวลา - ความตั้งใจเรี ยน - ความพร้อมในการเรี ยน - การแต่งกาย รวม 100 %



เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

1

หน้าที่

1

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

สาระสาคัญ รายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบเป็ นแบบที่กาหนดรายละเอียดในการก่อสร้าง เพื่อให้ผรู้ ับจ้างก่อสร้างได้ถกู ต้องตามหลักวิชาการและถือเป็ นส่วนหนึ่งของสัญลักษณ์การก่อสร้างและวัสดุที่ ใช้ในการก่อสร้าง

จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1.บอกความหมายของรายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ 2.จาแนกรายละเอียดของรายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ 3.อธิบายสัญลักษณ์ ความหมายของรายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ 4.ลาดับขั้นตอนการเขียนรายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ 5.มีกิจนิสยั ในการทางานด้วยความรอบคอบ มีระเบียบวินยั ใฝ่ รู้ตรงต่อเวลา มีมนุษย์สมั พันธ์ที่ดีมี ความรับผิดชอบซื่อสัตย์สุจริ ต จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม พุทธิพสิ ัย 1. อธิบายสัญลักษณ์ ความหมายและมาตราส่วนของการเขียนรายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/ สัญลักษณ์แบบ 2.จาแนกรายละเอียดของรายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ ทักษะพิสัย 1.ลาดับขั้นตอนการเขียนรายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ 2.บอกความหมายของรายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ จิตพิสัย 1.ทางานด้วยความรอบคอบ มีระเบียบวินยั ใฝ่ รู้ตรงต่อเวลา มีมนุษย์สมั พันธ์ที่ดีมีความรับผิดชอบซื่อสัตย์ สุจริ ต


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

1

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

เนื้อหาสาระ

หน้าที่

2


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

1

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

แสดงสั ญลักษณ์ ของขนาดเส้ นในรู ปแบบแปลนพืน้

หน้าที่

3


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

1

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

แสดงสั ญลักษณ์ ของขนาดผนังในรู ปแบบแปลนพืน้

หน้าที่

4


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

1

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

แสดงสั ญลักษณ์ ของประตูในรู ปแบบแปลนพืน้

หน้าที่

5


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

1

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

แสดงสั ญลักษณ์ ของบันไดและทางลาด ในรู ปแบบแปลน พืน้

แสดงสั ญลักษณ์ ของบันไดและทางลาด ในรู ปแบบแปลนพืน้ ( ต่ อ )

หมายเหตุ : ใช้อา้ งอิงในการบรรยายการเขียนรายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ

6


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

1

หน้าที่

7

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 1. ระดับของอาคารที่แสดงในผังพืน้ ใช้ระดับกาหนด + 0 หมายถึงระดับพื้นชั้นล่างอยูส่ ูงกว่า ระดับกาหนด ส่วนห้องอื่นจะลดระดับตามความเหมาะสม แนวแสดงเส้ นตัด ที่จะแสดงในผังพื้นว่าอาคารถูกตัดในแนวดิ่ง เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการเขียนรู ปตัด จะตัดในตาแหน่งใดต้องดูจากแนวเส้นตัดในผังพื้นประกอบในที่น้ ีจะกาหนดรู ปตัด A – B ตัดผ่านส่วน ที่เป็ นโครงสร้าง 2. หลักเกณฑ์ และข้ อกาหนดในการเขียนผังพื้นชั้นล่ าง

มาตราส่ วน นิยมใช้มาตราส่ วน 1 : 50 และ 1 : 100 ขึ้นอยูก่ บั ขนาดของอาคารและความเหมาะสมของ หน้ากระดาษ 2. เส้ น ต้องคานึงถึงความสม่าเสมอของเส้น น้ าหนัก ความหนาของเส้นที่ใช้เฉพาะงานคุณภาพของเส้น - ความหนาของเส้ น เส้นมีความหนาที่แตกต่างกันตามความหมายของเส้นเฉพาะนั้น ๆ 1.

ชนิดของเส้นมีดงั นี้ เส้นบาง เส้นหนา เส้นหนามาก มีขนาด 0.25, 0.35, 0.5, 0.7, 1.0, 1.4, และ 2.0 มิลลิเมตร ความหนาของเส้นที่ใช้ในแต่ละแบบใช้ท้ งั 3 ขนาดตามอัตราส่ วน 1 : 2 : 4 เช่น เส้นบาง 0.13 มิลลิเมตร เส้น หนา 0.25 มิลลิเมตร เส้นหนามากใช้ขนาด 0.50 มิลิเมตร - คุณภาพของเส้ น นอกจากความหมายของเส้นที่ใช้ความหนาต่างกันแล้ว เส้นที่เขียนจะต้องมีความสม่าเสมอตลอด

ทั้งเส้น ควรมีความประณี ตในการเขียน เช่น การต่อเส้นควรบรรจบกันพอดีไม่ขาดไม่เกิน เป็ นต้น 3.

มิติ ใช้กาหนดระยะห่างระหว่างจุดสองจุดในแบบก่อสร้าง เส้ นมิติ ( Dimension Line ) และ เส้ นฉาย ( Projection Line ) มีขอ้ กาหนดดังนี้ 1. ควรเป็ นเส้นบางและไม่ขาดตอนมีหน่วยกาหนดเป็ นมิลลิเมตร 2. เส้นฉาย เริ่ มต้นห่างจากเส้นขอบหรื อจุดที่ตอ้ งการบอกระยะเล็กน้อย โดยตั้งฉากกับ

เส้นมิติที่ตอ้ งการ และยาวเลยเส้นมิติเล็กน้อย 3. หลีกเลี่ยงการเขียนเส้นมิติตดั กับเส้นมิติ และเส้นฉายตัดกับเส้นฉาย 4. เส้นมิติเป็ นเส้นไม่ขาดตอน นอกจากกรณี ที่เว้นช่องสาหรับเขียนมิติ 5. เส้นแกน ( Axis ) เส้นอ้างอิง ( Reference Line ) หรื อเส้นขอบ ห้ามใช้เป็ น เส้นมิติแต่อาจใช้เป็ นเส้นฉายได้


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

1

8

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ระดับ ในแบบก่อสร้างจะกาหนดระดับ + 0 โดยกาหนดจากระดับที่ผอู ้ อก แบบยึดเป็ นแนวระดับกาหนด เฉพาะงานนั้นๆ เพื่อช่วยให้การบอกระดับต่างๆ เช่น ระดับพื้นชั้นล่าง + 0.60 หมายถึงระดับพื้นชั้นล่างอยูส่ ู งกว่า ระดับกาหนด 60 เซนติเมตร 4.

5. การแสดงตัวอักษรและตัวเลข ตัวอักษรและตัวเลขที่เขียนแสดงในแบบ เพื่อประกอบรายละเอียดถูกต้องและ

แน่นอน 1. เขียนให้ชดั เจนจนเป็ นระเบียบ อ่านง่าย 2. การเขียนข้อความประกอบแบบควรรวมไว้เป็ นกลุ่มไม่ควรให้กระจัดกระจายออกไป ข้อความที่

ชี้เฉพาะควรให้อยูใ่ กล้กบั ส่ วนที่บ่งถึงมากที่สุด แต่ตอ้ งระวังไม่ให้ทบั กับเส้นต่าง ๆ ในแบบที่เขียน เส้นชี้บอกไม่ ควรขีดเส้นใต้นอกจากต้องการให้เป็ นข้อความสาคัญ 3. การเขียนตัวอักษรและตัวเลขในระนาบต่าง ๆให้ใช้ระบบเดียวกับตัวเลขมิติ 4. ขนาดตัวอักษรและตัวเลขไทย มีขนาดความสู ง 2.5, 3.5, 5, 7, 10 ,14 และ 20 มิลลิเมตร ขนาดช่องไฟตามความเหมาะสม 6. สั ญลักษณ์ สัญลักษณ์ที่เขียนใช้ตามมาตรฐาน มอก . 440 เล่ม 1 – 2525 และ หลักสากลที่ผเู ้ กี่ยวข้องกับ งานก่อสร้างสามารถเข้าใจได้ เครื่องหมายกากับปลายเส้ นมิติ ( Termination ) ใช้เส้นหนาขีดเอียงทามุม 45 องศา ตามเข็ม นาฬิกา จากเส้นฉาย การเขียนมิติ

เขียนขนานไปกับเส้นมิติ ในตาแหน่งใกล้เคียงกับกึ่งกลางและอยูเ่ หนือเส้นมิติเล็กน้อย .



เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

2

หน้าที่

1

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

สาระสาคัญ รายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบเป็ นแบบที่กาหนดรายละเอียดในการก่อสร้าง เพื่อให้ผรู้ ับจ้างก่อสร้างได้ถกู ต้องตามหลักวิชาการและถือเป็ นส่วนหนึ่งของสัญลักษณ์การก่อสร้างและวัสดุที่ ใช้ในการก่อสร้าง

จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1.บอกความหมายของรายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ 2.จาแนกรายละเอียดของรายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ 3.อธิบายสัญลักษณ์ ความหมายของรายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ 4.ลาดับขั้นตอนการเขียนรายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ 5.มีกิจนิสยั ในการทางานด้วยความรอบคอบ มีระเบียบวินยั ใฝ่ รู้ตรงต่อเวลา มีมนุษย์สมั พันธ์ที่ดีมี ความรับผิดชอบซื่อสัตย์สุจริ ต จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม พุทธิพสิ ัย 1. อธิบายสัญลักษณ์ ความหมายและมาตราส่วนของการเขียนรายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/ สัญลักษณ์แบบ 2.จาแนกรายละเอียดของรายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ ทักษะพิสัย 1.ลาดับขั้นตอนการเขียนรายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ 2.บอกความหมายของรายการประกอบแบบ/สารบัญแบบ/สัญลักษณ์แบบ จิตพิสัย 1.ทางานด้วยความรอบคอบ มีระเบียบวินยั ใฝ่ รู้ตรงต่อเวลา มีมนุษย์สมั พันธ์ที่ดีมีความรับผิดชอบซื่อสัตย์ สุจริ ต


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

2

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

เนื้อหาสาระ

หน้าที่

3


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

2

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

หน้าที่

4


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

2

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

หน้าที่

5


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

2

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

หน้าที่

6


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

2

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

หน้าที่

7


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

2

หน้าที่

8

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

2. ระดับของอาคารที่แสดงในผังพืน้ ใช้ระดับกาหนด + 0 หมายถึงระดับพื้นชั้นล่างอยูส่ ูงกว่า ระดับกาหนด ส่วนห้องอื่นจะลดระดับตามความเหมาะสม แนวแสดงเส้ นตัด ที่จะแสดงในผังพื้นว่าอาคารถูกตัดในแนวดิ่ง เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการเขียนรู ปตัด จะตัดในตาแหน่งใดต้องดูจากแนวเส้นตัดในผังพื้นประกอบในที่น้ ีจะกาหนดรู ปตัด A – B ตัดผ่านส่วน ที่เป็ นโครงสร้าง 3. หลักเกณฑ์ และข้ อกาหนดในการเขียนผังพื้นชั้นล่ าง

มาตราส่ วน นิยมใช้มาตราส่ วน 1 : 50 และ 1 : 100 ขึ้นอยูก่ บั ขนาดของอาคารและความเหมาะสมของ หน้ากระดาษ 5. เส้ น ต้องคานึงถึงความสม่าเสมอของเส้น น้ าหนัก ความหนาของเส้นที่ใช้เฉพาะงานคุณภาพของเส้น - ความหนาของเส้ น เส้นมีความหนาที่แตกต่างกันตามความหมายของเส้นเฉพาะนั้น ๆ 4.

ชนิดของเส้นมีดงั นี้ เส้นบาง เส้นหนา เส้นหนามาก มีขนาด 0.25, 0.35, 0.5, 0.7, 1.0, 1.4, และ 2.0 มิลลิเมตร ความหนาของเส้นที่ใช้ในแต่ละแบบใช้ท้ งั 3 ขนาดตามอัตราส่ วน 1 : 2 : 4 เช่น เส้นบาง 0.13 มิลลิเมตร เส้น หนา 0.25 มิลลิเมตร เส้นหนามากใช้ขนาด 0.50 มิลิเมตร - คุณภาพของเส้ น นอกจากความหมายของเส้นที่ใช้ความหนาต่างกันแล้ว เส้นที่เขียนจะต้องมีความสม่าเสมอตลอด

ทั้งเส้น ควรมีความประณี ตในการเขียน เช่น การต่อเส้นควรบรรจบกันพอดีไม่ขาดไม่เกิน เป็ นต้น 6.

มิติ ใช้กาหนดระยะห่างระหว่างจุดสองจุดในแบบก่อสร้าง เส้ นมิติ ( Dimension Line ) และ เส้ นฉาย ( Projection Line ) มีขอ้ กาหนดดังนี้ 6. ควรเป็ นเส้นบางและไม่ขาดตอนมีหน่วยกาหนดเป็ นมิลลิเมตร 7. เส้นฉาย เริ่ มต้นห่างจากเส้นขอบหรื อจุดที่ตอ้ งการบอกระยะเล็กน้อย โดยตั้งฉากกับ

เส้นมิติที่ตอ้ งการ และยาวเลยเส้นมิติเล็กน้อย 8. หลีกเลี่ยงการเขียนเส้นมิติตดั กับเส้นมิติ และเส้นฉายตัดกับเส้นฉาย 9. เส้นมิติเป็ นเส้นไม่ขาดตอน นอกจากกรณี ที่เว้นช่องสาหรับเขียนมิติ 10. เส้นแกน ( Axis ) เส้นอ้างอิง ( Reference Line ) หรื อเส้นขอบ ห้ามใช้เป็ น เส้นมิติแต่อาจใช้เป็ นเส้นฉายได้


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

2

9

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ระดับ ในแบบก่อสร้างจะกาหนดระดับ + 0 โดยกาหนดจากระดับที่ผอู ้ อก แบบยึดเป็ นแนวระดับกาหนด เฉพาะงานนั้นๆ เพื่อช่วยให้การบอกระดับต่างๆ เช่น ระดับพื้นชั้นล่าง + 0.60 หมายถึงระดับพื้นชั้นล่างอยูส่ ู งกว่า ระดับกาหนด 60 เซนติเมตร 4.

5. การแสดงตัวอักษรและตัวเลข ตัวอักษรและตัวเลขที่เขียนแสดงในแบบ เพื่อประกอบรายละเอียดถูกต้องและ

แน่นอน 1. เขียนให้ชดั เจนจนเป็ นระเบียบ อ่านง่าย 2. การเขียนข้อความประกอบแบบควรรวมไว้เป็ นกลุ่มไม่ควรให้กระจัดกระจายออกไป ข้อความที่

ชี้เฉพาะควรให้อยูใ่ กล้กบั ส่ วนที่บ่งถึงมากที่สุด แต่ตอ้ งระวังไม่ให้ทบั กับเส้นต่าง ๆ ในแบบที่เขียน เส้นชี้บอกไม่ ควรขีดเส้นใต้นอกจากต้องการให้เป็ นข้อความสาคัญ 3. การเขียนตัวอักษรและตัวเลขในระนาบต่าง ๆให้ใช้ระบบเดียวกับตัวเลขมิติ 4. ขนาดตัวอักษรและตัวเลขไทย มีขนาดความสู ง 2.5, 3.5, 5, 7, 10 ,14 และ 20 มิลลิเมตร ขนาดช่องไฟตามความเหมาะสม 6. สั ญลักษณ์ สัญลักษณ์ที่เขียนใช้ตามมาตรฐาน มอก . 440 เล่ม 1 – 2525 และ หลักสากลที่ผเู ้ กี่ยวข้องกับ งานก่อสร้างสามารถเข้าใจได้ เครื่องหมายกากับปลายเส้ นมิติ ( Termination ) ใช้เส้นหนาขีดเอียงทามุม 45 องศา ตามเข็ม นาฬิกา จากเส้นฉาย การเขียนมิติ

เขียนขนานไปกับเส้นมิติ ในตาแหน่งใกล้เคียงกับกึ่งกลางและอยูเ่ หนือเส้นมิติเล็กน้อย



เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

3

หน้าที่

1

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

สาระสาคัญ แปลนพื้นเป็ นแบบที่แสดงรายละเอียดของอาคารทั้งหมด โดยแบ่งขอบเขตพื้นที่ของการใช้สอยของ พื้นที่ต่างๆ เช่น ห้องรับแขก ห้องนอน ห้องครัว ห้องน้ าและห้องอื่นๆตามวัตถุประสงค์ของเจ้าของอาคารนั้นๆ โดยผูเ้ ขียนจะต้องเขียนแบบนั้นให้ชดั เจนรวมถึงการใช้เส้นสัญลักษณ์และคาย่อเพื่อเป็ นการสื่อความหมาย

จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป 1.บอกความหมายของแบบรู ปแปลนพื้น 2.จาแนกรายละเอียดของแบบรู ปแปลนพื้น 3.อธิบายสัญลักษณ์ ความหมายและมาตราส่วนของการเขียนแบบรู ปแปลนพื้น 4.ลาดับขั้นตอนการเขียนแบบรู ปแปลนพื้น 5.มีกิจนิสยั ในการทางานด้วยความรอบคอบ มีระเบียบวินยั ใฝ่ รู้ตรงต่อเวลา มีมนุษย์สมั พันธ์ที่ดีมี ความรับผิดชอบซื่อสัตย์สุจริ ต จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม พุทธิพสิ ัย 1. อธิบายสัญลักษณ์ ความหมายและมาตราส่วนของการเขียนแบบรู ปแปลนพื้น 2.จาแนกรายละเอียดของแบบรู ปแปลนพื้น ทักษะพิสัย 1.ลาดับขั้นตอนการเขียนแบบรู ปแปลนพื้น 2.บอกความหมายของแบบรู ปแปลนพื้น จิตพิสัย 1.ทางานด้วยความรอบคอบ มีระเบียบวินยั ใฝ่ รู้ตรงต่อเวลา มีมนุษย์สมั พันธ์ที่ดีมีความรับผิดชอบซื่อสัตย์ สุจริ ต


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

3

หน้าที่

2

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การเขียนผังพืน้ มิติในแบบก่อสร้างสามารถแยกได้ใน 2 ระนาบ ได้แก่ แบบที่แสดงให้เห็นแนวมิติทางแนวราบ ( แบบผัง ) และแบบที่แสดงให้เห็นมิติทางแนวดิง่ ( แบบรู ปด้านและรู ปตัด ) แบบผังต่างๆ เรี ยกชื่อตามความหมายที่ แสดงในผังนั้น ๆ เช่นผังพื้น ผังโครงสร้าง เป็ นต้น

1. ความหมายของรูปผังพืน้ ผังพื้นเป็ นแบบที่แสดงขนาด รู ปร่ าง และการจัดส่วนพื้นที่ภายในแนวราบ โดยมีแนวคิดว่า ถ้าเลื่อยตัวอาคารในแนวราบสูงจากระดับห้องประมาณ 1200 มิลลิเมตร เมื่อเคลื่อนย้ายส่วนบนที่ถกู ตัด ออกไปแล้วมองตั้งฉากลงมาที่พ้นื ห้อง จะเห็นขอบเขตและการจัดส่วนของพื้นอาคารทั้งชั้นแนวตัดนี้จะตัด ผ่านโครงสร้างด้านตั้งทั้งหมด ได้แก่ เสา ผนัง และวงกบด้านตั้งของประตู หน้าต่าง ทาให้เห็นหน้าตัด เสา ความหนาของผนัง และขนาดหน้าตัดของวงกบทางด้านตั้ง พร้อมทั้งแนวการเปิ ดประตูหน้าต่างด้วย อาคารแต่ละหลังประกอบด้วยแบบผังพื้นนิยมใช้ 2 ขนาดคือ 1 : 50 ใช้เขียนเมื่อเป็ นอาคาร ขนาดใหญ่ไม่มากนัก เช่น บ้านพักอาศัย แบบผังพื้นที่เขียนด้วยมาตราส่วน 1 : 50จะแสดงรายละเอียดของ โครงสร้าง เช่น วงกบ ประตู – หน้าต่าง ได้ละเอียดชัดเจน และแบบที่เขียนด้วยมาตราส่วน 1 : 100 ซึ่ง เหมาะสาหรับเขียนเมื่อเป็ นอาคารขนาดใหญ่ นอกจากจะคานึงถึงขนาดของอาคารแล้ว ยังต้องคานึงถึง ขนาดของอาคารกับขนาดหน้ากระดาษที่ใช้เขียนด้วย เส้น สัญลักษณ์ คาย่อขององค์อาคาร ตัวอักษร ตัวเลข รวมกัน เพื่อสื่อความหมาย ดังแสดงตัว


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

3

หน้าที่

2

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

หมายเหตุ : ใช้ อ้างอิงในการบรรยายเรื่องการเขียนแปลนผังพืน้ จากรูปผังพืน้ ชั้นล่าง และ ผังพืน้ ชั้นลอย สามารถอ่านจากแบบผังพืน้ ได้ ดังนี้ 1. ผังพืน้ เขียนด้วยมาตราส่วน 1 : 100 2. การวางทิศ ( แสดงด้วยเครื่ องหมายทิศ ) ซึ่งตรงกับที่ระบุในผังบริ เวณทาให้ทราบได้ว่า ด้านหน้า ของอาคารหันหน้าไปทางทิศตะวันตกตกเฉียงใต้ ด้านข้างของอาคารหันไปทางทิศตะวันตกเฉียง เหนือ และ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนที่บริ เวณด้านหลังหันไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 3. ตาแหน่ งของเสาสาหรับตัวอาคาร เมื่อเปรี ยบเทียบผังพื้นชั้นล่าง ตาแหน่งของเสาที่แนวผนังของ อาคารขนานกับสายตาผูด้ ู ได้แก่ ตาแหน่งเสาที่กาหนดด้วยตัวเลขแถวที่ 1, 2, 3, 4, โดยกาหนด ตัวเลขจากซ้ายไปขวาตามลาดับ แนวผนังของอาคาร ด้านที่ได้ต้งั ฉากกับสายตาผูด้ ูได้กาหนด ตาแหน่งเสาที่ตวั อักษรแถว A, B, C, D,E ไล่จากบนลงล่างตามลาดับ 4. ขนาดและขอบเขตของผังพืน ้ ชั้นล่าง ขนาดของผังพื้นชั้นล่างจะประกอบด้วย ทางเดินทุกบริ เวณ


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

3

หน้าที่

3

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 3. กว่าระดับกาหนด ส่วนห้องอื่นจะลดระดับตามความเหมาะสม แนวแสดงเส้ นตัด ที่จะแสดงในผังพื้นว่าอาคารถูกตัดในแนวดิ่ง เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการเขียนรู ปตัด จะตัดในตาแหน่งใดต้องดูจากแนวเส้นตัดในผังพื้นประกอบในที่น้ ีจะกาหนดรู ปตัด A – B ตัดผ่านส่วน ที่เป็ นโครงสร้าง 4. หลักเกณฑ์ และข้ อกาหนดในการเขียนผังพื้นชั้นล่ าง

มาตราส่ วน นิยมใช้มาตราส่ วน 1 : 50 และ 1 : 100 ขึ้นอยูก่ บั ขนาดของอาคารและความเหมาะสมของ หน้ากระดาษ 8. เส้ น ต้องคานึงถึงความสม่าเสมอของเส้น น้ าหนัก ความหนาของเส้นที่ใช้เฉพาะงานคุณภาพของเส้น - ความหนาของเส้ น เส้นมีความหนาที่แตกต่างกันตามความหมายของเส้นเฉพาะนั้น ๆ 7.

ชนิดของเส้นมีดงั นี้ เส้นบาง เส้นหนา เส้นหนามาก มีขนาด 0.25, 0.35, 0.5, 0.7, 1.0, 1.4, และ 2.0 มิลลิเมตร ความหนาของเส้นที่ใช้ในแต่ละแบบใช้ท้ งั 3 ขนาดตามอัตราส่ วน 1 : 2 : 4 เช่น เส้นบาง 0.13 มิลลิเมตร เส้น หนา 0.25 มิลลิเมตร เส้นหนามากใช้ขนาด 0.50 มิลิเมตร - คุณภาพของเส้ น นอกจากความหมายของเส้นที่ใช้ความหนาต่างกันแล้ว เส้นที่เขียนจะต้องมีความสม่าเสมอตลอด

ทั้งเส้น ควรมีความประณี ตในการเขียน เช่น การต่อเส้นควรบรรจบกันพอดีไม่ขาดไม่เกิน เป็ นต้น 9.

มิติ ใช้กาหนดระยะห่างระหว่างจุดสองจุดในแบบก่อสร้าง เส้ นมิติ ( Dimension Line ) และ เส้ นฉาย ( Projection Line ) มีขอ้ กาหนดดังนี้ 11. ควรเป็ นเส้นบางและไม่ขาดตอนมีหน่วยกาหนดเป็ นมิลลิเมตร 12. เส้นฉาย เริ่ มต้นห่างจากเส้นขอบหรื อจุดที่ตอ้ งการบอกระยะเล็กน้อย โดยตั้งฉากกับ

เส้นมิติที่ตอ้ งการ และยาวเลยเส้นมิติเล็กน้อย 13. หลีกเลี่ยงการเขียนเส้นมิติตดั กับเส้นมิติ และเส้นฉายตัดกับเส้นฉาย 14. เส้นมิติเป็ นเส้นไม่ขาดตอน นอกจากกรณี ที่เว้นช่องสาหรับเขียนมิติ 15. เส้นแกน ( Axis ) เส้นอ้างอิง ( Reference Line ) หรื อเส้นขอบ ห้ามใช้เป็ น เส้นมิติแต่อาจใช้เป็ นเส้นฉายได้ 4. ระดับ ในแบบก่อสร้างจะกาหนดระดับ + 0 โดยกาหนดจากระดับที่ผอู ้ อก แบบยึดเป็ นแนวระดับกาหนด เฉพาะงานนั้นๆ เพื่อช่วยให้การบอกระดับต่างๆ เช่น ระดับพื้นชั้นล่าง + 0.60 หมายถึงระดับพื้นชั้นล่างอยูส่ ู งกว่า ระดับกาหนด 60 เซนติเมตร


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

2

4

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 5. การแสดงตัวอักษรและตัวเลข ตัวอักษรและตัวเลขที่เขียนแสดงในแบบ เพื่อประกอบรายละเอียดถูกต้องและ

แน่นอน 1. เขียนให้ชดั เจนจนเป็ นระเบียบ อ่านง่าย 2. การเขียนข้อความประกอบแบบควรรวมไว้เป็ นกลุ่มไม่ควรให้กระจัดกระจายออกไป ข้อความที่

ชี้เฉพาะควรให้อยูใ่ กล้กบั ส่ วนที่บ่งถึงมากที่สุด แต่ตอ้ งระวังไม่ให้ทบั กับเส้นต่าง ๆ ในแบบที่เขียน เส้นชี้บอกไม่ ควรขีดเส้นใต้นอกจากต้องการให้เป็ นข้อความสาคัญ 3. การเขียนตัวอักษรและตัวเลขในระนาบต่าง ๆให้ใช้ระบบเดียวกับตัวเลขมิติ 4. ขนาดตัวอักษรและตัวเลขไทย มีขนาดความสู ง 2.5, 3.5, 5, 7, 10 ,14 และ 20 มิลลิเมตร ขนาดช่องไฟตามความเหมาะสม 6. สั ญลักษณ์ สัญลักษณ์ที่เขียนใช้ตามมาตรฐาน มอก . 440 เล่ม 1 – 2525 และ หลักสากลที่ผเู ้ กี่ยวข้องกับ งานก่อสร้างสามารถเข้าใจได้ เครื่องหมายกากับปลายเส้ นมิติ ( Termination ) ใช้เส้นหนาขีดเอียงทามุม 45 องศา ตามเข็ม นาฬิกา จากเส้นฉาย การเขียนมิติ

เขียนขนานไปกับเส้นมิติ ในตาแหน่งใกล้เคียงกับกึ่งกลางและอยูเ่ หนือเส้นมิติเล็กน้อย .



เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

4

หน้าที่

1

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การเขียนผังพืน้ มิติในแบบก่อสร้างสามารถแยกได้ใน 2 ระนาบ ได้แก่ แบบที่แสดงให้เห็นแนวมิติทางแนวราบ ( แบบผัง ) และแบบที่แสดงให้เห็นมิติทางแนวดิ่ง ( แบบรู ปด้านและรู ปตัด ) แบบผังต่างๆ เรี ยกชื่อตามความหมายที่ แสดงในผังนั้น ๆ เช่นผังพื้น ผังโครงสร้าง เป็ นต้น

1. ความหมายของรูปผังพืน้ ผังพื้นเป็ นแบบที่แสดงขนาด รู ปร่ าง และการจัดส่วนพื้นที่ภายในแนวราบ โดยมีแนวคิดว่า ถ้าเลื่อยตัวอาคารในแนวราบสูงจากระดับห้องประมาณ 1200 มิลลิเมตร เมื่อเคลื่อนย้ายส่วนบนที่ถกู ตัด ออกไปแล้วมองตั้งฉากลงมาที่พ้นื ห้อง จะเห็นขอบเขตและการจัดส่วนของพื้นอาคารทั้งชั้นแนวตัดนี้จะตัด ผ่านโครงสร้างด้านตั้งทั้งหมด ได้แก่ เสา ผนัง และวงกบด้านตั้งของประตู หน้าต่าง ทาให้เห็นหน้าตัด เสา ความหนาของผนัง และขนาดหน้าตัดของวงกบทางด้านตั้ง พร้อมทั้งแนวการเปิ ดประตูหน้าต่างด้วย อาคารแต่ละหลังประกอบด้วยแบบผังพื้นนิยมใช้ 2 ขนาดคือ 1 : 50 ใช้เขียนเมื่อเป็ นอาคาร ขนาดใหญ่ไม่มากนัก เช่น บ้านพักอาศัย แบบผังพื้นที่เขียนด้วยมาตราส่วน 1 : 50จะแสดงรายละเอียดของ โครงสร้าง เช่น วงกบ ประตู – หน้าต่าง ได้ละเอียดชัดเจน และแบบที่เขียนด้วยมาตราส่วน 1 : 100 ซึ่ง เหมาะสาหรับเขียนเมื่อเป็ นอาคารขนาดใหญ่ นอกจากจะคานึงถึงขนาดของอาคารแล้ว ยังต้องคานึงถึง ขนาดของอาคารกับขนาดหน้ากระดาษที่ใช้เขียนด้วย เส้น สัญลักษณ์ คาย่อขององค์อาคาร ตัวอักษร ตัวเลข รวมกัน เพื่อสื่อความหมาย ดังแสดงตัว


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

4

หน้าที่

2

วันที่ : เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 1. ผังพืน้ เขียนด้วยมาตราส่วน 1 : 100 2. การวางทิศ ( แสดงด้วยเครื่ องหมายทิศ ) ซึ่งตรงกับที่ระบุในผังบริ เวณทาให้ทราบได้ว่า ด้านหน้า ของอาคารหันหน้าไปทางทิศตะวันตกตกเฉียงใต้ ด้านข้างของอาคารหันไปทางทิศตะวันตกเฉียง เหนือ และ ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนที่บริ เวณด้านหลังหันไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ 3. ตาแหน่ งของเสาสาหรับตัวอาคาร เมื่อเปรี ยบเทียบผังพื้นชั้นล่าง ตาแหน่งของเสาที่แนวผนังของ อาคารขนานกับสายตาผูด้ ู ได้แก่ ตาแหน่งเสาที่กาหนดด้วยตัวเลขแถวที่ 1, 2, 3, 4, โดยกาหนด ตัวเลขจากซ้ายไปขวาตามลาดับ แนวผนังของอาคาร ด้านที่ได้ต้งั ฉากกับสายตาผูด้ ูได้กาหนด ตาแหน่งเสาที่ตวั อักษรแถว A, B, C, D,E ไล่จากบนลงล่างตามลาดับ 4. ขนาดและขอบเขตของผังพืน ้ ชั้นล่าง ขนาดของผังพื้นชั้นล่างจะประกอบด้วย ทางเดินทุกบริ เวณ คุณภาพของเส้ น นอกจากความหมายของเส้นที่ใช้ความหนาต่างกันแล้ว เส้นที่เขียนจะต้องมีความสม่าเสมอตลอดทั้ง เส้น ควรมีความประณี ตในการเขียน เช่น การต่อเส้นควรบรรจบกันพอดีไม่ขาดไม่เกิน เป็ นต้น 10. มิติ ใช้กาหนดระยะห่างระหว่างจุดสองจุดในแบบก่อสร้าง

เส้ นมิติ ( Dimension Line ) และ เส้ นฉาย ( Projection Line ) มีขอ้ กาหนดดังนี้ 16. ควรเป็ นเส้นบางและไม่ขาดตอนมีหน่วยกาหนดเป็ นมิลลิเมตร 17. เส้นฉาย เริ่ มต้นห่างจากเส้นขอบหรื อจุดที่ตอ้ งการบอกระยะเล็กน้อย โดยตั้งฉากกับ

เส้นมิติที่ตอ้ งการ และยาวเลยเส้นมิติเล็กน้อย 18. หลีกเลี่ยงการเขียนเส้นมิติตดั กับเส้นมิติ และเส้นฉายตัดกับเส้นฉาย 19. เส้นมิติเป็ นเส้นไม่ขาดตอน นอกจากกรณี ที่เว้นช่องสาหรับเขียนมิติ 20. เส้นแกน ( Axis ) เส้นอ้างอิง ( Reference Line ) หรื อเส้นขอบ ห้ามใช้เป็ น เส้นมิติแต่อาจใช้เป็ นเส้นฉายได้ 4. ระดับ ในแบบก่อสร้างจะกาหนดระดับ + 0 โดยกาหนดจากระดับที่ผอู ้ อก แบบยึดเป็ นแนวระดับกาหนด เฉพาะงานนั้นๆ เพื่อช่วยให้การบอกระดับต่างๆ เช่น ระดับพื้นชั้นล่าง + 0.60 หมายถึงระดับพื้นชั้นล่างอยูส่ ู งกว่า ระดับกาหนด 60 เซนติเมตร


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

4

3

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การแสดงตัวอักษรและตัวเลข ตัวอักษรและตัวเลขที่เขียนแสดงในแบบ เพื่อประกอบรายละเอียดถูกต้องและ แน่นอน 1. เขียนให้ชดั เจนจนเป็ นระเบียบ อ่านง่าย 2. การเขียนข้อความประกอบแบบควรรวมไว้เป็ นกลุ่มไม่ควรให้กระจัดกระจายออกไป ข้อความที่

ชี้เฉพาะควรให้อยูใ่ กล้กบั ส่ วนที่บ่งถึงมากที่สุด แต่ตอ้ งระวังไม่ให้ทบั กับเส้นต่าง ๆ ในแบบที่เขียน เส้นชี้บอกไม่ ควรขีดเส้นใต้นอกจากต้องการให้เป็ นข้อความสาคัญ 3. การเขียนตัวอักษรและตัวเลขในระนาบต่าง ๆให้ใช้ระบบเดียวกับตัวเลขมิติ 4. ขนาดตัวอักษรและตัวเลขไทย มีขนาดความสู ง 2.5, 3.5, 5, 7, 10 ,14 และ 20 มิลลิเมตร ขนาดช่องไฟตามความเหมาะสม สั ญลักษณ์ สัญลักษณ์ที่เขียนใช้ตามมาตรฐาน มอก . 440 เล่ม 1 – 2525 และ หลักสากลที่ผเู ้ กี่ยวข้องกับงานก่อสร้าง สามารถเข้าใจได้ เครื่องหมายกากับปลายเส้ นมิติ ( Termination ) ใช้เส้นหนาขีดเอียงทามุม 45 องศา ตามเข็ม นาฬิกาจากเส้นฉาย การเขียนมิติ

เขียนขนานไปกับเส้นมิติ ในตาแหน่งใกล้เคียงกับกึ่งกลางและอยูเ่ หนือเส้นมิติเล็กน้อย .



เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

5

หน้าที่

1

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การเขียนผังโครงสร้ าง ก่อนทาการเขียนแบบผังโครงสร้าง ผูเ้ ขียนควรต้องมีความรู้พ้นื ฐานเกี่ยวกับวัสดุที่ ใช้ทาโครงสร้างอาคารเสียก่อน เพื่อที่จะทาความเข้าใจกับแบบที่จะเขียนสามารถเขียนแบบผัง โครงสร้างได้ถกู ต้องชัดเจน 1. วัสดุก่อสร้ างที่ใช้ ประกอบโครงสร้ างอาคารพักอาศัย วัสดุก่อสร้างหลักที่ใช้เป็ นส่วนประกอบของโครงสร้าง ได้แก่ ไม้ เหล็ก และคอนกรี ตเสริ มเหล็กซึ่ง สถาปนิกและวิศวกร จะเลือกใช้ตามความเหมาะสมกับลักษณะงานและงบประมาณ 1.1 โครงสร้ างไม้ นิยมใช้กบั อาคารพักอาศัยขนาดเล็กและขนาดกลาง โดยสถาปนิกมักจะเป็ นผูก้ าหนดผังโครงสร้าง รายละเอียดของรอยต่อ และการเข้าไม้เอง เนื่องจากไม้มีขีดจากัดที่รับน้ าหนักได้ปานกลางและความกว้างของ ช่วงเสาไม่มากนัก แต่มีน้ าหนักเบา ยืดหยุน่ ได้ดีและก่อสร้างง่ายกว่าวัสดุชิ้นอื่น ไม่ตอ้ งใช้อุปกรณ์และ เทคนิคยุง่ ยาก ชนิดของไม้ที่ใช้ทาโครงสร้างเป็ นไม้เนื้อแข็งได้แก่ ไม้เต็ง รัง ประดู่ แดง ฯลฯ ส่วนไม้เนื้ออ่อนใช้กบั ส่วน ของอาคารที่รับน้ าหนักไม่มากนัก เช่น ฝา ฝ้ าเพดาน หรื อคร่ าวฝ้ าเพดาน เป็ นต้น ได้แก่ ไม้ยาง ไม้จาปา ไม้สกั ฯลฯ ไม้ให้สมั ผัสที่นุ่มนวลและมนุษย์มีความคุน้ เคยมากกว่าวัสดุชนิดอื่น จึงนิยมใช้แม้ว่าจะมีคุณสมบัติไม่ ทนไฟและยังจาเป็ นต้องป้ องกันแมลงจาพวกปลวก อีกทั้งยังไม่ทนต่อสภาพอากาศที่รุนแรง เนื่องจากปัจจุบนั ไม้มีราคาแพงและหายากขึ้น บ้านจัดสรรต่าง ๆ จึงนิยมใช้โครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็ก และโครงสร้าง หลังคาเป็ นเหล็กแทนมากขึ้น จะใช้ไม้เพื่อการตกแต่งภายในและส่วนที่ตอ้ งการทางานง่าย เช่น พื้นไม้ บันได วงกบประตูหน้าต่าง เท่านั้น


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

5

หน้าที่

2

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 1.2 โครงสร้ างเหล็กและคอนกรีตเสริมเหล็ก นิยมใช้กบั อาคารพาณิ ชย์และอาคารขนาดใหญ่ ๆ รวมทั้งอาคารบ้านพักอาศัย วิศวกรจะเป็ นผูค้ านวณ โครงสร้างและกาหนดรายละเอียดต่าง ๆ ประกอบแบบโครงสร้าง คุณสมบัติของเหล็กมีความแข็งแรงและรับแรงดึงได้สูง มีความยืดหยุน่ ดี ทางานง่าย แต่มีราคาแพง คุณสมบัติของคอนกรี ตเสริ มเหล็ก รับน้ าหนักได้มาก เนื่องจากรวมคุณสมบัติที่แตกต่างของคอนกรี ต ซึ่งรับแรงอัดได้ดี มารวมกับคุณสมบัติของเหล็กในข้อที่รับแรงดึงได้ดี มีความยืดหยุน่ ดี แต่มีขอ้ เสียที่มี น้ าหนักมาก หล่อเป็ นรู ปร่ างได้ตามต้องการ ทนไฟและทนต่อการสึกกร่ อนได้ดี แต่มีขอ้ เสียที่มีน้ าหนักมาก ทาให้เพิ่มน้ าหนักแก่ตวั อาคาร และต้องทาแบบหล่อ ทาให้สิ้นเปลืองและยังต้องใช้เทคโนโลยีในการผลิต คอนกรี ตให้คุณสมบัติที่ดี ปัจจุบนั นิยมนาคอนกรี ตสาเร็ จรู ปบางส่วน เช่น พื้นสาเร็ จรู ป มาใช้ประกอบแบบโครงสร้าง ทาให้ลด ค่าใช้จ่ายในการทาแบบหล่อและประหยัดเวลาในการก่อสร้างขึ้น 2.โครงสร้ างอาคารพักอาศัยตามลักษณะของแบบและการก่อสร้ าง ผูอ้ อกแบบจะออกแบบโครงสร้างของอาคาร เพื่อให้รับน้ าหนักตัวอาคารเอง และรับน้ าหนัก บรรทุกอื่น ๆ เช่น คน สิ่งของ แรงลม ฯลฯ ได้อย่างมัน่ คงแข็งแรง โดยให้โครงสร้างทุกส่วนของอาคารยึด โยงกันและถ่ายเทน้ าหนักจากส่วนบนสุด ตั้งแต่หลังคาลงไปตามลาดับให้แก่เสา และเสาถ่ายเทน้ าหนัก ทั้งหมดของอาคารลงสู่พ้นื ดิน โครงสร้างของอาคารทัว่ ไปจึงแบ่งออกได้เป็ นสองส่วนใหญ่ ๆ คือ ส่วนของโครงสร้างที่อยูเ่ หนือ ดิน ได้แก่ โครงสร้างของอาคารทั้งหลัง และส่วนโครงสร้างใต้ดิน ซึ่งทาหน้าที่รับน้ าหนักบรรทุกและ น้ าหนักจรของอาคารทั้งหลังจากโครงสร้างส่วนเหนือดินถ่ายเทลงสู่ดิน


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

5

หน้าที่

3

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 2.ฐานรากชนิดมีเสาเข็มเป็ นที่รองรับ ใช้ในกรณี ที่ดินอ่อน ควรใช้เสาเข็มเป็ นตัวช่วยดินรับน้ าหนักจากฐานราก โดยเลือกใช้น้ าหนักตาม สภาพดิน ดังนี้ 1 ) เสาเข็มสั้น ใช้เมื่อรับน้ าหนักของตัวอาคารไม่มากนัก เช่น บ้านพักอาศัยโดยทัว่ ไป โดยการตอกเสาเข็ม ลงไปในดินใต้ฐานรากเพื่อเพิม่ ความสามารถในการรับน้ าหนักให้กบั ดินได้มากขึ้น เนื่องจากจะเกิดความฝื ด ระหว่างพื้นผิวรอบเสาเข็มกับดิน ทาให้ดินบริ เวณรอบ ๆ เกิดการอัดตัวแน่นรับน้ าหนักได้มากขึ้น 2 ) เสาเข็มยาว ใช้ในกรณี ที่อาคารมีขนาดใหญ่รับน้ าหนักบรรทุกมากและลักษณะชั้นดินอ่อน ดังรู ป เสาเข็ม นี้จะช่วยรับน้ าหนักได้มาก เพราะนอกจากจะถ่ายน้ าหนักจากฐานรากลงไปยังชั้นดินแข็งยังทาให้ดินโดยรอบ บริ เวณมีความสามารถในการรับน้ าหนักได้อีกด้วย 3.ส่ วนประกอบของโครงสร้ างใต้ดิน โครงสร้างอาคารส่วนที่อยูใ่ ต้ดิน ประกอบด้วย 3.1 ตอม่อ ตอม่อ คือ เสาที่ต่อจากพื้นชั้นล่างลงไปในดินสู่ฐานราก ทาหน้าที่รับน้ าหนักจากเสบ้านหรื ออาคารถ่าย ลงสู่ฐานราก 3.2 ฐานราก เป็ นโครงสร้างของอาคารส่วนที่ทาหน้าที่ถ่ายน้ าหนักบรรทุกจากตอม่อ หรื อ กาแพงลงสู่ที่รองรับ ซึ่งอาจเป็ นดินโดยตรงในกรณี ที่ดินแข็งสามารถรับแรงกดได้ดี หรื ออาจต้องใช้เสาเข็ม เข้าช่วยในกรณี ที่ดินอ่อนรับแรงได้นอ้ ย ขึ้นอยูก่ บั สภาพของดินฐานรากอาจแบ่งกว้าง ๆ ตามลักษณะของที่ รองรับได้สองประเภทใหญ่ ๆ คือ ฐานแผ่ซึ่งไม่มเี สาเข็มรองรับ เป็ นการวางฐานรากบนดินแข็งซึ่งเหมาะสาหรับบริ เวณที่มีช้นั ดินแข็งตั้งแต่ ข้างบนลงไป เช่น พื้นที่ใกล้ภูเขาหรื อเป็ นดินลูกรัง


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

5

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

หน้าที่

4


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

5

หน้าที่

5

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 4. ส่ วนประกอบของโครงสร้ างอาคารส่ วนที่อยู่เหนือดิน ถ้าศึกษาโครงสร้างตั้งแต่ฐานรากจนถึงหลังคาตามลาดับ จะมีลกั ษณะการถ่ายน้ าหนักตามประโยชน์ใช้ สอย ดังนี้ 4.1 เสา

วัสดุที่ใช้ทาเสาของอาคารพักอาศัย นิยมใช้ท้งั เสาไม้และเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก เสาทาหน้าที่เป็ นแกนรับน้ าหนักในแนวดิ่งจากโครงสร้างส่วนอื่น ๆ แล้วถ่ายน้ าหนักของอาคารทั้งหมดลงสู่ ฐานรากเนื่องจากเสาเป็ นแกนรับน้ าหนักที่สาคัญ ดังนั้น การพิจารณาวางตาแหน่งเสาจึงต้องคานึงถึง ประโยชน์ใช้สอย ร่ วมกับความสามารถรับน้ าหนักของวัสดุที่ใช้ทาเสาด้วยสาหรับโครงสร้างที่มีขนาดใหญ่ เป็ นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก จะมีความสามารถในการรับน้ าหนักได้มากกว่าเสาไม้ 4.2 คานคอดิน คานคอดินเป็ นฐานรากผนังชนิดหนึ่งมีความลึกของคานมากกว่าระดับที่มีความเย็นชนิดเป็ นน้ าแข็งจะ แผ่ลงไปถึง ส่วนบนของคานคอดินจะเทคอนกรี ตทับลงอีกทีหนึ่ง จะเป็ นพื้นอยูเ่ หนือ ระดับดินเล็กน้อย พบบ่อยกับการขุดดินให้เป็ นราง แล้วเทคอนกรี ตลงไปโดยไม่ตอ้ งตั้งแบบหล่อ คานนี้จะ เป็ นผนังก่ออิฐด้วย มักใช้กบั บริ เวณที่มีดินแข็งและเป็ นที่สูงน้ าท่วมไม่ถึง สาหรับดินที่มีรองพื้นอยู่ ควรบด อัดให้แน่น ซึงอาจต้องปรับหน้าดินให้เรี ยบ แล้วเทคอนกรี ตจะได้ความหนาของพื้นที่มีความสม่าเสมอ เมื่อ พื้นมีความแน่น และคานช่วยกั้นดินไม่ให้ไหลออก รักษาความแน่นให้คงสภาพอยู่ โดยมากคานคอดินจะ หล่อกับเสาตอม่อ 4.3 พืน้ เป็ นส่วนของโครงสร้างที่ทาหน้าที่รับน้ าหนักเนื่องจากการอยูอ่ าศัย ได้แก่ น้ าหนักของผูอ้ ยูอ่ าศัย ได้แก่ น้ าหนักตัวของผูอ้ ยูอ่ าศัยเอง เครื่ องเรื อน อุปกรณ์ ฯลฯ 4.4 หลังคา เป็ นส่วนที่อยูบ่ นสุดของอาคาร ทาหน้าที่กนั แดด ลม ฝนให้กบั ตัวอาคาร โครงสร้างที่ทาหน้าที่รับ น้ าหนักหลังคา รับน้ าหนักของวัสดุมุง ได้แก่ กระเบื้องชนิดต่าง ๆ และแรงลม เนื่องจากเป็ นส่วนที่อยูส่ ูงสุด ของอาคาร


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

5

6

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 5. ส่ วนประกอบของแบบโครงสร้ าง แบบโครงสร้างประกอบด้วย ผังโครงสร้ าง แสดงโครงสร้างรวมของแต่ละระดับ ทั้งโครงสร้างใต้ดิน และเหนือดิน ได้แก่ ก. ผังฐานราก

ข. ผังคาน – พื้น ค. ผังโครงหลังคา 6. หลักเกณฑ์และข้ อกาหนดในการเขียนผังโครงสร้ าง 1. มาตราส่ วน สาหรับผังโครงสร้างอาคารพักอาศัย ใช้มาตราส่วนไม่เล็กกว่า 1 : 100 หรื อมาตราส่วนเดียวกับรู ปผังพื้น 2. เส้ น เส้นรอบรู ปส่วนที่ถกู ตัด เช่น หน้าตัดเสาใช้เส้นหนามาก เส้นรอบรู ป ทัว่ ไปใช้เส้นหนาเส้นบอกมิติใช้เส้นบาง 3. ตัวย่อและสัญลักษณ์ เขียนตัวย่อและหมายเลขกากับโครงสร้างทุกแห่งที่แสดง ในผัง 4. มิติ เขียนมิติบอกช่วงเสาจากกึ่งกลางเสาถึงกึ่งกลางเสา ทั้งด้านตั้งและด้านนอน โดยกาหนดชื่อแนวเสาทั้งแนวตั้งและแนวนอน ด้วยตัวเลข 1, 2, 3, 4…. และ ตัวอักษร A, B, C, D ให้ตรงกับผังพื้น 7. ลาดับขั้นตอนการเขียนผังฐานรากชั้นล่าง - ชั้นลอย ผังฐานรากจะแสดงตาแหน่งของฐานรากและเสาตอม่อ ซึ่งถ่ายน้ าหนักจากเสารับอาคาร 1. ร่ างตารางแสดงตาแหน่งแนวเสาทั้งแนวดิ่งและแนวนอน 2. เขียนหน้าตัดตอม่อให้ถกู ต้องตามมาตราส่วนด้วยเส้นหนามาก 3. เขียนคานคอดินให้ถกู มาตราส่วนด้วนเส้นหนา 4. เขียนขอบเขตของแผ่นพื้นวางบนดิน 5. เขียนฐานรากด้วยเส้นเต็มหรื อเส้นประให้ถกู ต้องตามมาตราส่วนด้วย เส้นหนา


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

5

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 6. เขียนเส้นฉาย เส้นมิติดว้ ยเส้นบาง เขียนเครื่ องหมายกากับปลายเส้นมิติดว้ ยเส้นหนา 7. เขียนมิติเป็ นเมตรด้วยเส้นหนา 8. เขียนเส้นกากับตาแหน่งเสาด้วยเส้นลูกโซ่บาง พร้อมทั้งเขียนตัวเลข ตัวอักษรกากับด้วยเส้นหนา 9. เขียนชื่อโครงสร้างกากับให้ครบทุกแห่ง ฐานราก แทนด้วย F ตอม่อ แทนด้วย GC คานคอดิน แทนด้วย GB พื้นวางบนดิน แทนด้วย GS พื้น แทนด้วย S คาน แทนด้วย B แต่ละชนิดมีขนาดที่ต่างกันจึงต้องใช้หมายเลขกากับ เช่น F1, F2 10. เขียนชื่อและมาตราส่วนกากับ

7


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

5

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

หน้าที่

8



เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

6

หน้าที่

1

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ผังโครงสร้างหลังคาและ ผังโครงสร้างหลังคาตามตัวอย่าง จะแสดงตาแหน่งของเสาและโครงสร้างรับหลังคา พร้อมทั้งแสดงรายละเอียด ขั้นตอนการเขียน 1. ร่ างตาแหน่งเสารับโครงหลังคา และขอบเขตของหลังคา (ดูผงั พื้นรู ป และรู ปตัดประกอบ) 2. ร่ างผังโครงสร้างหลังคาทรงปั้นหยา โดยกาหนดตาแหน่งตะเฆ่สนั จันทัน แล้วเขียนแสดงให้เห็น ว่าปลายจันทันชนกับแนวของตะเฆ่สนั จากนั้นแสดงตาแหน่งอะเส โดยเขียนให้เห็นชัดเจนว่าอยูใ่ ต้จนั ทัน ด้วยเส้นหนา 3. เขียนเส้นแสดงเชิงชายด้วยเส้นหนาโดยรอบแนวชายคาในผัง แล้วจึงเขียนแสดงตาแหน่งของแป ด้วยเส้นประหนาเพื่อให้ดูง่ายขึ้น 4. เขียนมิติของโครงหลังคาเป็ นมิลลิเมตร 5. เขียนหมายเลขเสา บอกรายละเอียดของโครงสร้างหลังคาทั้งหมด ได้แก่ ซึ่งโครงสร้างขนาด หน้าตัดของโครงสร้าง และระยะห่าง โดยโยงลูกศรชี้บอกให้ชดั เจน 6. เขียนเส้นฉาย เส้นมิติ และตัวอักษรกากับแนวเสา ตามลักษณะของการเขียนผังโครงสร้าง โดยทัว่ ไป 7. เขียนชื่อรู ปและมาตราส่วนกากับ ข้ อควรระวัง 1. การแสดงตัวของคานต้องคานึงถึงการซ้อนทับบน – ล่างและใช้ความหนาของ เส้นให้ถกู ต้องตรงกับลักษณะที่มองเห็น 2. ขนาดของเสาและหมายเลขที่กากับหน้าตัดเสานั้น แสดงถึงเสาที่รับโครงสร้าง ชั้นนั้น ๆ ไม่ใช่เสาที่อยูเ่ หนือโครงสร้างที่แสดง 3.สัญลักษณ์ที่กากับโครงสร้างต้องเขียนกากับไว้ทุกแห่ง


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

6

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

หมายเหตุ : ใช้อา้ งอิงการอธิบายเนื้อหาวิชา

หน้าที่

2



เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

7

หน้าที่

1

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การเขียนรูปขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม (ประตู – หน้ าต่าง) ประตูเป็ นทางเข้าออกของอาคารและเป็ นทางเดินติดต่อระหว่างห้อง ทั้งยังเป็ นช่องถ่ายเทอากาศและให้ แสงสว่างไปพร้อม ๆ กัน หน้ าต่างเป็ นช่องถ่ายเทอากาศและรับแสงสว่าง นอกจากนี้ยงั ให้ความรู้สึกสัมพันธ์กนั ระหว่างภายในกับ ภายนอกอาคาร การเขียนรูปขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม (ประตู – หน้ าต่าง) ประตูเป็ นทางเข้าออกของอาคารและเป็ นทางเดินติดต่อระหว่างห้อง ทั้งยังเป็ นช่องถ่ายเทอากาศและให้ แสงสว่างไปพร้อม ๆ กัน หน้ าต่างเป็ นช่องถ่ายเทอากาศและรับแสงสว่าง นอกจากนี้ยงั ให้ความรู้สึกสัมพันธ์กนั ระหว่างภายในกับ ภายนอกอาคาร

หมายเหตุ : ใช้อา้ งอิงการอธิบายเนื้อหาวิชา



เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

8

หน้าที่

1

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การเขียนรูปขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม (ห้ องนา้ ) ห้ องนา้ เป็ นห้องที่ตอ้ งการความเป็ นส่วนตัวมากกว่าทุก ๆ ห้องในบ้าน ทั้งนี้เพราะกิจกรรมใน ห้องน้ า ได้แก่ แต่งตัว ซักผ้า เป็ นต้น ซึ่งภายในห้องน้ าจะประกอบไปด้วยเครื่ องใช้ที่เรี ยกว่าเครื่ องสุขภัณฑ์ ได้แก่ โถส้วม อ่างล้างหน้า โถปัสสาวะ ฝักบัว หรื ออ่างอาบน้ า



เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

9

หน้าที่

1

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การเขียนรูปด้ าน บทนา รู ปด้านเป็ นแบบที่แสดงในแนวดิ่ง โดยมีความสัมพันธ์กบั ผังพื้นและรู ปตัด เนื้อหาในครั้งนี้ จะครอบคลุมเฉพาะรู ปด้านภายนอกทั้ง 4 ด้าน 1. ความหมายของรูปด้ าน รู ปด้านเป็ นภาพที่แสดงลักษณะภายนอกของอาคารในแนวดิ่ง โดยการมองรู ปด้านทีละด้าน เรี ยงกันตามลาดับ จนครบ 4 ด้านของอาคาร และเรี ยกชื่อรู ปด้านทั้ง 4 ด้าน ตามแนวของทิศที่ แสดงในผังพื้น ได้แก่ รู ปด้านหน้า รู ปด้านหลัง รู ปด้านข้างทั้ง 2 ด้าน เป็ นต้น


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

9

หน้าที่

2

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 2. หลักเกณฑ์และข้ อกาหนดในการเขียนรูปด้ าน 1. ใช้มาตราส่วนเดียวกับผังพื้น เช่น ถ้าผังพื้นเขียนด้วยมาตราส่วน 1 : 75 ต้องเขียนรู ป ด้านด้วยมาตราส่วน 1 : 75 ด้วย 2. เส้นใช้ขนาดความหนาตามข้อกาหนด เนื่องจากการเขียนรู ปด้านเป็ นการรวมหลาย ระนาบของรู ปทัศนียภาพมาเป็ นระนาบเดียว ดังนั้น ระนาบที่อยูใ่ กล้ตาผูด้ ูมากที่สุด ต้องเขียนด้วยเส้นขอบนอกหนามาก เส้นขอบนอกของตัวอาคารทัว่ ไปใช้เส้นหนา เส้นแสดงสัญลักษณ์ที่เป็ นประตู หน้าต่างหรื อผนัง ใช้เส้นบาง ทัว่ ไปไม่นิยมใช้ เส้นประในรู ปด้าน ยกเว้นต้องการแสดงส่วนของห้องใต้ดิน(ถ้ามี) และแนวชายคาที่ บังเท่านั้น 3. สัญลักษณ์ที่ใช้ในรู ปด้านคือ สัญลักษณ์ของประตู หน้าต่าง และสัญลักษณ์แสดงวัสดุ ที่ใช้ก่อสร้างเป็ นผนัง ตามตารางและตัวอักษรย่อที่บอกรายละเอียดของผนังประตู หน้าต่าง 4. มิติการบอกระยะ ไม่นิยมเขียนบอกระยะช่วงเสาและความยาวของรู ปด้าน บอก เพียงแต่ระดับความสูงของระดับพื้น ระดับเพดาน เพื่อประโยชน์ในการดูระดับของ ประตู หน้าต่างเท่น้ นั นอกจากนั้น อาจบอกองศาความลาดของหลังคาด้วยก็ได้


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

9

หน้าที่

3

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ลาดับขั้นตอนการเขียนรูปด้ าน ก่อนเริ่ มเขียนรู ปด้าน ต้องศึกษาแบบผังพื้นและรู ปตัดให้เข้าใจรู ปร่ าง ลักษณะอาคาร และ โครงสร้างเสียก่อน แล้วจึงเริ่ มงานตามลาดับ ดังนี้ 1. อ่านค่าความกว้างของช่วงเสา ค่าความยาวของผนังด้านที่ตอ้ งการเขียนรู ปในผังพื้น และ ค่าระดับความสูงแต่ละชั้นในรู ปตัดเสียก่อน เพื่อทราบขนาดของรู ปที่เขียนว่ารู ปด้าน นั้นๆ กว้างเท่าไรสูงเท่าไร 2. กะร่ างขนาดความยาวและสูงของรู ปด้านให้พอเหมาะกับหน้ากระดาษ โดยจัดเรี ยงทีละ ด้านต่อเนื่องกัน ถ้าเขียนรู ปด้าน 2 รู ป หรื อ 4 รู ป ในแนวระดับเดียวกันได้ จะสะดวกในการร่ างเส้นระดับ ร่ วมกันทาให้ประหยัดเวลา และตรวจความถูกต้องได้ง่าย 3. ร่ างความยาวและความสูงของรู ปด้าน โดยศึกษาจากผังพื้นและรู ปตัดเพื่อแสดงรู ปด้าน ให้สมั พันธ์และถูกต้องตรงกับลักษณะความเป็ นจริ ง โดยร่ างเส้นระดับดินเดิม เส้นระดับพื้นชั้นร่ าง ระดับพื้นชั้นที่สอง ด้วยเส้นนอน ร่ างเส้นแนวตั้งที่เส้นตาแหน่ง เสา ส่วนยืน่ ต่างๆ 4. ร่ างเส้นแสดงขนาดความกว้างของเสา ความลึกของคาน ความกว้างและความสูงของวง กบทั้งแนวนอนและแนวตั้ง 5. เขียนเส้นบางที่คมและชัดเจน แสดงสัญลักษณ์ผนัง ประตู หน้าต่าง รายละเอียดอื่นๆ เพิ่มเติม 6. เน้นเส้นหนามากที่ระนาบใกล้ตาผูด้ ูที่สุดเพื่อให้เข้าใจรู ปได้ง่ายขึ้น 7. เขียนระยะบอกความสูงแต่ละชั้น ด้วยอักษรที่เป็ นระเบียบ อ่านง่าย 8. เขียนบอกชื่อรู ปด้านตามมุมมองของผังพื้นและมาตราส่วนกากับให้ชดั เจน


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

9

หน้าที่

4

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ขั้นตอนการเขียนแบบรูปด้ าน 1. เขียนพื้นเส้นระดับพื้นดินด้วยเส้นหนามากในแนวนอน เขียนเส้นร่ างแนวดิ่ง หาศูนย์กลาง เสารู ปด้านหน้า และศูนย์กลางเสารู ปด้านซ้ายตามระยะและมาตราส่วนที่กาหนดให้

แสดงกรหาศูนย์กลางเสารูปด้ านหน้ าและรูปด้ านซ้ าย 2.เขียนเส้นร่ างระดับความสูงทางนอนโดยเริ่ มตั้งแต่ระดับพื้นดินขึ้นไป โดยดูระยะความสูงจากแบบรู ป ตัด

แสดงการกาหนดระดับความสู งรูปด้ านหน้ าและรูปด้ านซ้ าย


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

9

หน้าที่

5

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 3. เขียนเส้นร่ างรายละเอียด เช่น ส่วนยืน่ ความลาดของหลังคาทรงจัว่ เจาะช่องประตู หน้าต่าง เขียนวงกบ ก่อน แล้วจึงเขียนตัวบาน โดยการวัดระยะความสูงรู ปด้านหน้ารู ปเดียวจากนั้นก็ถ่ายระดับด้วยเส้นฉายมายังรู ป ด้านซ้าย เน้นระยะใกล้ไกลด้วยเส้นหนา และเส้นบางทับเส้นร่ างเดิม

แสดงการเขียนหลังคา และประตู หน้ าต่าง 4. เขียนสัญลักษณ์วสั ดุก่อสร้าง ฝาผนัง ประตู หน้าต่างทั้ง 2 รู ป ด้วยเส้นบางโดยศึกษาจากแบบรู ป แปลนพื้นประกอบ

แสดงการเขียนรายละเอียดขั้นสุ ดท้ าย หมายเหตุ : ใช้อา้ งอิงการอธิบายเนื้อหาวิชา



เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

10

หน้าที่

1

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การเขียนรูปด้ าน3/รูปด้ าน4 1.เขียนพื้นเส้นระดับพื้นดินด้วยเส้นหนามากในแนวนอน เขียนเส้นร่ างแนวดิ่ง หาศูนย์กลางเสารู ปด้านหลัง และศูนย์กลางเสารู ปด้านขวาตามระยะและมาตราส่วนที่กาหนดให้

แสดงการเขียนศูนย์กลางเสารู ปด้านหลัง และรู ปด้านขวา 2.เขียนเส้นร่ างระดับความสูงทางนอนโดยเริ่ มตั้งแต่ระดับพื้นดินขึ้นไป โดยดูระยะความสูงจากแบบรู ปตัด

แสดงการกาหนดความสูงรู ปด้านหลังและด้านขวา


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

10

หน้าที่

2

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 3. เขียนเส้นร่ างรายละเอียด เช่น ส่วนยืน่ ความลาดของหลังคาทรงจัว่ เจาะช่องประตู หน้าต่าง เขียนวงกบ ก่อน แล้วจึงเขียนตัวบาน โดยการวัดระยะความสูงรู ปด้านหน้ารู ปเดียวจากนั้นก็ถ่ายระดับด้วยเส้นฉายมายังรู ป ด้านซ้าย เน้นระยะใกล้ไกลด้วยเส้นหนา และเส้นบางทับเส้นร่ างเดิม

แสดงการเขียนหลังคา และประตู หน้าต่าง 4. เขียนสัญลักษณ์วสั ดุก่อสร้าง ฝาผนัง ประตู หน้าต่างทั้ง 2 รู ป ด้วยเส้นบางโดยศึกษาจากแบบรู ป แปลนพื้นประกอบ

แสดงการเขียนรายละเอียดขั้นสุดท้าย


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

10

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ แสดงงานเขียนเสร็ จสมบูรณ์

หมายเหตุ : ใช้อา้ งอิงการอธิบายเนื้อหาวิชา

หน้าที่

3



เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

11

หน้าที่

1

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การเขียนแบบรู ปตัด ผูเ้ ขียนต้องมีความรู้ ความเข้าใจในด้านโครงสร้างของอาคารหลังที่จะเขียนตั้งแต่ฐาน รากจนถึงโครงหลังคา ต้องศึกษาขนาดและชนิดของวัสดุก่อสร้างที่ใช้ประกอบกันขึ้นเป็ นพื้น ผนัง หลังคา ประตู หน้าต่าง และส่วนอื่น ๆ ของอาคาร จากผังพื้นและผังโครงสร้างสาหรับผูท้ ี่เริ่ มเรี ยนถ้าได้ศึกษา โครงสร้างของอาคารหลังที่จะเขียนรู ปตัดจากหุ่นจาลองโครงสร้างจะช่วยเข้าใจให้ง่ายขึ้น เนื่องจากสามารถ มองเห็นโครงสร้างรวมของอาคารทั้งหลัง ในลักษณะเหมือนของจริ งย่อส่วน และทาให้สามารถพิจารณา โครงสร้างแต่ละส่วน เช่นโครงสร้างหลังคา เปรี ยบเทียบกับผังโครงหลังคา โครงสร้างแต่ละชั้นเปรี ยบเทียบ กับผังคาน – พื้น ชั้นที่สองและชั้นล่าง รวมทั้งส่วนที่ซบั ซ้อน เช่น ช่องบันได ฯลฯ ทาให้เข้าใจถึง ความสัมพันธ์ของรู ปตัดกับผังโครงสร้างได้ดีข้ ึน ความหมายของแบบรูปตัด แบบรู ปตัดเป็ นแบบที่แสดงให้เห็นโครงสร้างและรายละเอียดต่าง ๆ ภายในอาคารในแนวดิ่ง โดยมี แนวคิดว่าถ้าเลื่อยตัดอาคารในแนวดิ่งให้ต้งั ฉากกับพื้นตามแนวเส้นตัดที่แสดงในผังพื้นตามรู ป แล้วเคลื่อน อาคารส่วนที่อยูห่ น้าเส้นแนวตัดออกไป จะเห็นภาพฉายแสดงโครงสร้างภายในของอาคาร ได้แก่ ระดับของ ฐานราก พื้นชั้นล่าง พื้นชั้นที่สอง ฝ้ าเพดาน และหลังคา ว่าอยูต่ ่าหรื อสูงกว่าระดับ + 0 เท่าใด พร้อมทั้ง รายละเอียดของผนัง พื้น เพดาน ประตู หน้าต่าง หลังคา ส่วนที่ถกู ตัดตั้งแต่ฐานรากจนถึงหลังคา ว่าทาด้วย วัสดุชนิดใด ขนาดเท่าใด และลักษณะการติดตั้งเป็ นแบบใด ด้วยการใช้เส้น สัญลักษณ์ คาย่อขององค์อาคาร ประกอบกันเพื่อสื่อความหมาย ทั้งนี้มาตราส่วนที่ใช้ในการเขียนรู ปตัด ควรเป็ นขนาดเดียวกับที่เขียนผังพื้น หรื อไม่เล็กกว่า 1 : 50 รู ปตัดของอาคารแต่ละหลังนิยมแสดงอย่างน้อย 2 รู ปในแนวตัดที่ต้งั ฉากกัน


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

11

หน้าที่

2

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ รายละเอียดที่แสดงจากแบบรูปตัด รูปตัดตามขวาง (Transverse Section) เป็ นแบบที่แสดงรู ปตัดตามแนวเส้นตัดที่ตดั ผ่านด้านแคบหรื อ ด้านสั้นของอาคาร 1. ความกว้างของตัวอาคาร อ่านได้จากตัวเลขบอกระยะของช่วงเสา จากแนว A จนถึงแนว F และระยะ รวมเป็ นความกว้างทั้งหมดของอาคาร 2. ความสู งของอาคารแต่ละระดับต่าง ๆ เช่น ระดับพื้นชั้นล่างอยูส่ ูงจาก ระดับที่กาหนด 0 เท่าใด ระดับก้นหลุมฐานรากอยูต่ ่ากว่าระดับ 0 เท่าใด เป็ นต้น 3. ลักษณะโครงสร้ างของอาคาร แสดงว่าโครงสร้าง เช่น เสา คาน พื้นชั้นล่างเป็ น ค.ส.ล. เสาชั้นที่ สองที่รับโครงหลังคาเป็ นเสาไม้ โครงหลังคาเป็ นโครงสร้างไม้ หลังคามุงกระเบื้องลอนคู่ หลังคาครัวที่คลุม เฉลียงหลังบ้านเป็ นกระเบื้องลอนคู่ ผนังชั้นล่างเป็ นผนังก่ออิฐ ผนังชั้นที่สองเป็ นผนังไม้ 2 ชั้น ชนิดของผนัง ระบุดว้ ยสัญลักษณ์วสั ดุก่อสร้างและตัวย่อ 4. ขนาดและชนิดของวัสดุก่อสร้ างที่ใช้ เช่น กระเบื้อง โครงสร้างหลังคา โครงสร้างพื้นชั้นที่สอง ชั้น ล่าง เสา ตอม่อ ฐานราก แสดงด้วยสัญลักษณ์ ข้อความที่ระบุชนิดและขนาดของวัสดุ อธิบายด้วยข้อความที่ สั้น กระชับ อ่านเข้าใจง่าย ความสัมพันธ์ ระหว่างรูปตัดกับรูปผังพืน้ ผังโครงสร้ างและรูปด้ าน แบบรู ปตัดมีความสัมพันธ์กบั รู ปผังพื้น กล่าวคือ เมื่อจะเขียนรู ปตัดจะต้องเขียนตามแนวเส้นตัดใน ผังพื้น ซึ่งรู ปตัดจะมีความกว้างของอาคารตามความกว้างและช่วงเสาที่ปรากฏในผังพื้นอีกทั้งตัดผ่านพื้นที่ ส่วนต่าง ๆ ของอาคารตามที่ปรากฏในผังพื้น และตัดผ่านผนัง หรื อประตู หน้าต่าง ที่เป็ นส่วนแสดง ขอบเขตเนื้อที่ใช้งานในผังพื้นอีกด้วย ในขณะเดียวกัน รู ปตัดมีความสัมพันธ์กบั โครงสร้าง เพราะเมื่อ ต้องการรายละเอียดโครงสร้างตรงตาแหน่งที่ถกู ตัด ก็ตอ้ งแสดงโครงสร้างส่วนต่าง ๆ ให้ตรงกับผังฐานราก ผังคาน พื้นชั้นล่าง ผังคาน พื้นชั้นที่สอง ผังโครงหลังคา ตามแนวตัดแนวเดียวกับที่แสดงในผังพื้น ดังนั้น ผูเ้ ขียนจึงควรร่ างแนวตัด ไว้ในผังโครงสร้างด้วย เพื่อให้สะดวกในการดูโครงสร้างว่าแนวตัดตัดผ่านตัว โครงสร้าง ก่อนนามาเขียนในรู ปตัดให้ถกู ต้องส่วนรู ปด้านนั้นมีความสัมพันธ์กบั รู ปตัดที่เมื่อแนวตัด ก – ก ตัดผ่านโครงสร้างบางส่วนของอาคาร สิ่งที่จะแสดงให้ตรงกันทั้งในรู ปตัดและรู ปด้านคือ ระดับ ซึ่งระยะ ความสูงนี้จะเขียนบอกระดับไว้อย่างละเอียดในรู ปตัด แต่ไม่นิยมแสดงไว้ในรู ปด้านอาจจะแสดงไว้ในรู ป ด้านข้างก็เพียงแต่ระดับที่สาคัญ เช่น ระดับพื้นห้อง ฯ


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

11

หน้าที่

3

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ หลักเกณฑ์และข้ อกาหนดในการเขียนรูปตัด 1. รู ปตัดตามขวางใช้มาตราส่วน 1 : 50 ส่วนรู ปตัดผ่านหรื อรู ปตัดแสดงรายละเอียดใช้มาตราส่วน 1 : 20 หรื อ 1 : 25 2. ใช้ความหนาของเส้น 3 ขนาด โดยแสดงขอบนอกของส่วนที่ถกู ตัดด้วยเส้นหนามากส่วนของอาคาร ที่เห็นในรู ปตัดที่ไม่ถกู ตัดแสดงด้วยเส้นหนา เส้นฉาย เส้นมิติ และเส้นที่เขียนสัญลักษณ์ใช้เส้นบาง 3. การแสดงระดับในแนวรู ปตัด ใช้ระบบเดียวกับที่แสดงในผังพื้น แนวระดับอยูน่ อกรู ปที่เขียนโดยมี อักษรกากับและลูกศรชี้บอกแนวนั้น ดังรู ป 4. การเขียนข้อความประกอบแบบรู ปตัด เพื่อให้รายละเอียดของส่วนโครงสร้างและวัสดุที่ใช้ในรู ปตัด ใช้แสดงด้วยตัวย่อ สัญลักษณ์ และข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน โดยจัดให้เป็ นหมวดหมู่ (เช่น กลุ่มที่บอก ข้อความที่บ่งชี้โครงสร้างหลังคาควรจัดรวมอยูก่ ลุ่มเดียวกัน ไม่ให้กระจายไปสลับกับข้อความที่บ่งชี้ โครงสร้างส่วนอื่น เป็ นต้น) และจัดแนวอย่างประณี ต เพื่อช่วยให้อ่านง่าย และใช้ตวั อักษรส่งเสริ มแบบให้มี คุณค่าขึ้น ข้อความที่ช้ ีเฉพาะควรให้ใกล้กบั ส่วนที่บ่งชี้มากที่สุด และระวังไม่ให้ทบั เส้นมิติ เส้นชี้บอกถ้าใช้ บรรทัดช่วยเขียนตัวอักษร ไม่ควรขีดเส้นใต้ขอ้ ความขนาดตัวอักษรและตัวเลข ที่ใช้เขียนประกอบในแบบ ใช้ขนาดความสูง 2.5 ถึง 3.5 มิลลิเมตร ขนาดช่องไฟตามความเหมาะสม 5. สัญลักษณ์ ใช้สญ ั ลักษณ์วสั ดุก่อสร้าง และตามคาย่อที่แบบกาหนดไว้ 6. เขียนรู ปตัดตามแนวเส้นตัดในผังพื้นและกาหนดแนวเส้นตัดให้ผา่ นส่วนที่ผเู้ ขียนเห็นว่าสาคัญ เช่น ต้องการตัดผ่านช่องหน้าต่าง บันได ส่วนที่พ้นื เปลี่ยนระดับ โดยเส้นตัดไม่จาเป็ นต้องเป็ นเส้นตรงเสมอไป เพื่อแสดงรายละเอียดของโครงสร้างมากที่สุดเท่าที่จะแสดงได้ นอกจากนี้แนวเส้นตัดไม่ควรตัดผ่านหน้าตัด เสา เพราะผูอ้ ่านจะแสดงเป็ นผนังทึบและไม่ได้แสดงรายละเอียดของผนัง และช่องประตูหน้าต่างเท่าที่ควร แสดง 7. เขียนเส้นแนวตัดในผังโครงสร้างทุกรู ป โดยให้แนวตัดตรงกับผังพื้น เพื่อสะดวกในการกาหนด ขนาดและตาแหน่งของโครงสร้างให้ตรงกับในรู ปตัด


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

11

หน้าที่

4

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ลาดับขั้นตอนการเขียนรูปตัดตามขวาง 1. จัดกระดาษให้เหมาะสม โดยพิจารณาดูขนาดความยาว ความสูงของรู ปตัดที่จะเขียนให้มีพ้นื ที่ โดยรอบรู ปตัดที่จะเขียนบอกมิติและข้อความบอกชนิดและขนาดของวัสดุโครงสร้างทุกส่วนของรู ปตัดอย่าง ชัดเจน ไม่แออัดเกินไป 2. เขียนเส้นร่ างแนวนอนเส้นระดับพื้นดิน หาศูนย์กลางเสาและเขียนเส้นร่ างในแนวดิ่ง ตามระยะแนว ตัดในผังพื้นด้วยมาตราส่วน 1: 50 ตั้งแต่ระดับฐานรากจนถึงหลังคา

3. เขียนเส้นร่ างในแนวนอน แสดงระดับความสูงของบ้านคือระดับก้นหลุมฐานราก ระดับหลังพื้นห้อง ระดับหลังคานอะเส และระดับหลังอกไก่


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

11

หน้าที่

5

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

รู ป แสดงการกาหนดระดับความสูง 4. เขียนเส้นร่ างหน้าตัดโครงสร้าง ส่วนที่ถกู ตัดได้แก่ คานคอดิน คานอะเส ความหนาของพื้นห้อง ความหนา ผนัง เจาะช่องวงกบประตู หน้าต่าง เขียนหน้าตัดอกไก่ เขียนเส้นหนามากทับเส้นร่ างเดิม ในส่วนที่เป็ นหน้าตัด

รู ป แสดงการเขียนเส้นหนามากของส่วนที่ถกู ตัด


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

11

หน้าที่

6

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 5. เขียนเส้นบางแสดงรายละเอียดส่วนที่ไม่ถกู ตัด ส่วนยืน่ ได้แก่ ประตู หน้าต่าง รายละเอียดผนังห้องน้ า เพดาน โครงหลังคา เขียนส่วนที่มองไม่เห็น เช่นฐานราก และเสาตอม่อให้แสดงด้วยเส้นประ

รู ป แสดงการเขียนรายละเอียดขั้นสุดท้าย 7. ตรวจสอบความถูกต้องเขียนรายการประกอบแบบ เขียนตัวเลข ตัวอักษร เขียนบอกชื่องานแลมาตราส่วน กากับไว้ดา้ นล่างของแบบด้วยเส้นหนามาตราส่วนกากับไว้ดา้ นล่างของแบบด้วยเส้นหนา


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

11

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

หมายเหตุ : ใช้อา้ งอิงการอธิบายเนื้อหาวิชา

หน้าที่

7



เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

12

หน้าที่

1

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

รูปตัดตามยาว (Longitudinal Section) เป็ นแบบที่แสดงรู ปตัดตามแนวเส้นตัดที่ตดั ผ่านด้านยาวของอาคาร หรื อจะเรี ยกตามแนวเส้นตัด ข – ข ดังรู ปก็ได้ ในการเขียนแบบก่อสร้าง รู ปตัดมีความสาคัญและจาเป็ นมาก เพราะเป็ นรู ปที่ช่วยให้เป็ น โครงสร้าง ระดับพื้นและส่วนต่าง ๆ ภายในอาคาร ซึ่งไม่สามารถมองเห็นได้จากรู ปด้าน ตาม ข้อบัญญัติ ก.ท.ม. กาหนดให้เขียนรู ปตัด ทางขวางและทางยาวไม่นอ้ ยกว่า 2 ด้าน แต่ในการ ปฏิบตั ิจริ งอาจเขียนมากกว่านั้น ถ้าอาคารมีขนาดใหญ่หรื อซับซ้อนมาก ทั้งนี้เพื่อช่วยให้การ ปฏิบตั ิงานก่อสร้างทาได้อย่างถูกต้องและสะดวกยิง่ ขึ้น การเลือกแนวตัด ต้องเลือกแนวตัดให้ผา่ นส่วนที่สาคัญของอาคาร เช่นบันได ห้องน้ า หรื อส่วนที่ซบั ซ้อน เพื่อให้เห็นส่วนต่าง ๆ ภายในอาคารได้ชดั เจนที่สุด เมื่อกาหนดแนวตัดได้แล้ว จะต้องแสดงแนว ตัดนั้นพร้อมทั้งลูกศรชี้ทิศทางที่มอง ลงไว้ในแปลนทุกรู ป พร้อมทั้งตั้งช่อแนวตัดให้ชดั เจน เช่น ข – ข หรื อ 2 – 2 หรื อกาหนดเป็ นอย่างอื่นที่เรี ยกได้ง่าย มาตราส่ วนที่ใช้ มักใช้มาตราส่วนเดียวกับแปลนพื้น หรื อใหญ่กว่าเพื่อให้ได้แบบที่ชดั เจนยิง่ ขึ้น โดยทัว่ ไปจะใช้ 1 : 100, 1 : 50, และ 1 : 25 วิธีการเขียนรูปตัด การเขียนรู ปตัดจะต้องดูแนวตัดและทิศทางที่มอง จากที่แสดงไว้ในแปลนพื้นให้ถี่ถว้ นเสียก่อน แล้วจึงลงมือเขียนตามลาดับขั้น โดยใช้เส้นร่ างเขียนให้ครบทั้งหมดก่อน แล้วจึงลงเส้นจริ งภายหลัง สิ่งที่ตอ้ งแสดงในรู ปตัดคือ แสดงรายละเอียดทุกส่วนตั้งแต่ฐานรากจนถึงหลังคา ให้ถกู ต้องตรงกับ แนวตัดที่เขียนไว้ในแปลนพื้น ยกเว้นหลังคาตั้งแต่ระดับเพดานขึ้นไป ให้ถือเสมือนว่าตัดผ่านแนว กลางหลังคาเพื่อจะได้โครงหลังคาครบทุกส่วน


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

12

หน้าที่

2

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ลาดับขั้นตอนการเขียนรูปตัดตามยาว 1.จัดกระดาษให้เหมาะสม โดยพิจารณาดูขนาดความยาว ความสูงของรู ปตัดที่จะเขียนให้มีพ้นื ที่โดยรอบรู ป ตัดที่จะเขียนบอกมิติและข้อความบอกชนิดและขนาดของวัสดุโครงสร้างทุกส่วนของรู ปตัดอย่างชัดเจน ไม่ แออัดเกินไป 2.เขียนเส้นร่ างแนวนอนเส้นระดับพื้นดิน หาศูนย์กลางเสาและเขียนเส้นร่ างในแนวดิ่ง ตามระยะแนว ตัดในผังพื้นด้วยมาตราส่วน 1: 50 ตั้งแต่ระดับฐานรากจนถึงหลังคา

รู ปแสดงการร่ างศูนย์กลางเสา

3.เขียนเส้นร่ างในแนวนอน แสดงระดับความสูงของบ้านคือระดับก้นหลุมฐานราก ระดับหลังพื้นห้อง ระดับหลังคานอะเส และระดับหลังอกไก่


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

12

หน้าที่

3

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

รู ปแสดงการกาหนดระดับความสูง 4. เขียนเส้นร่ างหน้าตัดโครงสร้าง ส่วนที่ถกู ตัดได้แก่ คานคอดิน คานอะเส ความหนาของพื้นห้อง ความหนา ผนัง เจาะช่องวงกบประตู หน้าต่าง เขียนหน้าตัดอกไก่ เขียนเส้นหนามากทับเส้นร่ างเดิม ในส่วนที่เป็ นหน้าตัด

5. ตรวจสอบความถูกต้องเขียนรายการประกอบแบบ เขียนตัวเลข ตัวอักษร เขียนบอกชื่องานและมาตราส่วน กากับไว้ดา้ นล่างของแบบด้วยเส้นหนา


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

12

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

รูปแสดการเขียนเสร็จสมบูรณ

หมายเหตุ : ใช้อา้ งอิงการอธิบายเนื้อหาวิชา

หน้าที่

4



เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

13

หน้าที่

1

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

เนื้อหาสาระ รูปขยายรายละเอียดฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก ฐานรากเป็ นโครงสร้างที่ถ่ายน้ าหนักจาก ตอม่อ ลงสู่พ้นื ดิน ซึ่งแต่ละท้องที่จะมีคุณสมบัติกา รับน้ าหนักต่างกัน ในอาคารหลังเดียวกัน วิศวกรจะคานวณให้ฐานรากทุกฐานรากแข็งแรงพอที่จะถ่าย น้ าหนัก บรรทุกลงสู่ที่รองรับได้เสมอ ด้วยการใช้ฐานรากชนิดเดียวกัน และกาหนดระดับความลึกของฐาน รากจากระดับดินเดิมเท่าๆ กัน เพื่อป้ องกันฐานรากทรุ ดตัวไม่เท่ากัน ซึ่งจะทาให้อาคารแตกร้าวเสียหายได้ การกาหนดรายละเอียดในรู ปขยายนี้ แสดงด้วยรู ปตัดและผัง ดังรู ปที1่

รู ปขยายรายละเอียดทางวิศวกรรม จะแสดงขนาดความกว้าง ยาว หนา ของฐานราก พร้อมทั้ง ความลึกของฐานรากจากระดับดินเดิม และความหนาของชั้นวัสดุรองก้นหลุม นอกจากนี้ยงั จะบอก รายละเอียดการเสริ มเหล็ก และรายละเอียดอื่นๆ แล้วแต่ประเภทของฐานรากที่ใช้ ฐานรากแผ่ซึ่งไม่มเี สาเข็มเป็ นที่รองรับ ใช้เมื่อดินที่รองรับเป็ นดินแน่นดินลูกรัง ทรายหยาบ ซึ่งสามารถรับ น้ าหนักได้ประมาณ 20 ตันต่อตารางเมตร โดยขนาดของฐานรากคานวณจากน้ าหนักที่รับจากตอม่อ ฐานรากแผ่ชนิดมีเสาเข็มรองรับ ใช้กบั ดินที่มีความสามารถรองรับน้ าหนักได้นอ้ ยและชั้นของดินที่มี ระดับ ความลึก 5 ถึง 8 เมตร แข็งจนไม่สามารถตอกเสาเข็มลงไปได้ ใช้เสาเข็มสั้นที่เป็ นไม้หรื อคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ความยาวไม่เกิน 6 เมตร ขนาดของฐานขึ้นอยูก่ บั น้ าหนักที่ตอ้ งรับและคานึงถึงจานวนเสาเข็มและระยะห่าง ด้วย


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

13

หน้าที่

2

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ฐานรากชนิดมีเสาเข็มรองรับ ใช้กบั ดินที่มีความสามารถรับน้ าหนักได้นอ้ ยมาก ความยาวและขนาดหน้าตัด ของเสาเข็มคอนกรี ตอัดแรง ขึ้งอยูก่ บั ลักษณะชั้นดินและการพิจารณาการเลือกใช้ของวิศวกรผูค้ านวณ ซึ่งถ้า เป็ นอาคารบ้านพักอาศัย มักจะใช้เป็ นเสาเข็มเดี่ยว โดยมีตอม่อยึดหัวเข็ม(Pile Cap) เพื่อไม่ให้เสาเข็มเคลื่อน จากตาแหน่งที่คานวณไว้เมื่อมีแรงมากระทาด้านข้าง

รูปที่2 แสดงเหล็กเสริมเพือ่ รับแรงดึงและความหนาของฐานราก การเขียนรูปขยายรายละเอียดทางวิศวกรรม 3. รูปขยายรายละเอียดคานคอนกรีตเสริมเหล็ก คานเป็ นโครงสร้างที่ปกติอยูใ่ นแนวราบ หรื ออาจเอียงทามุมกับแนวราบ เช่น คานหลังคา(Roof Beam) เป็ นต้น ทั้งนี้ตามแต่ลกั ษณะการใช้งาน คานทาหน้าที่รับน้ าหนักซึ่งส่งถ่ายมาจากพื้น ผนัง หรื อกาแพง ซึ่งวางอยูบ่ นคานนั้น แล้วส่ง ถ่ายน้ าหนักต่อไปยังที่รองรับ เช่น คานหลัก(Girders) หรื อส่งตรงไปยังเสา คานคอนกรี ตเสริ มเหล็กทาหน้าที่ตา้ นทานโมเมนต์ดดั และแรงเฉือนที่เกิดจากน้ าหนักที่คานรับ โดยคอนกรี ตทาหน้าที่ตา้ นทานแรงอัด และเหล็กเสริ มตามยาวในคานทาหน้าที่ตา้ นทานแรงดึง ส่วน เหล็กลูกตั้งหรื อเหล็กปลอกทาหน้าที่รับแรงเฉือน การจัดตาแหน่งเหล็กเสริ มทางยาวในคานจะต้องให้ ถูกต้องว่าเหล็กเสริ มหลักที่รับแรงดึง จะเป็ นเหล็กเสริ มล่าง หรื อเหล็กเสริ มบน ซึ่งขึ้นอยูก่ บั ประเภท ของคาน

หมายเหตุ : รู ปใช้อา้ งอิงการอธิบายเนื้อหาวิชา



เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

14

หน้าที่

1

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การเสริมเหล็กในคาน 1. เหล็กเสริมทาหน้ าที่รับแรงเฉือนในคาน ในขณะที่คานทาหน้าที่รับแรงอัดและแรงดึงนั้น ยังมีแรงอีก ประเภทหนึ่งที่เมื่อรับน้ าหนักบรรทุกกดลงที่คานนั้น จุดที่รองรับก็พยายามดันคานขึ้น จึงทาให้เกิด ความเค้นเฉือนมากกว่าที่คอนกรี ตจะต้านทานไว้ได้ ซึ่งแรงเฉือนนี้มีค่าสูงสุดในบริ เวณใกล้จุดรองรับ และมีผลทาให้เกิดรอยแตกร้าวในระนาบที่เป็ นมุมประมาณ 45 องศา กับแกนนอนของคานดังรู ปที่ 1

การเสริมเหล็กเพือ่ ป้องกันแรงเฉือนนีส้ ามารถทาได้ 3 วิธี คือ 1) ดัดเหล็กล่างที่รับแรงดึงทามุม 45 องศา ให้ต้งั ฉากกับแนวแรงเฉือนที่เกิดขึ้นเรี ยกว่า เหล็กคอม้า(Bent up bar) 2) ใช้เหล็กลูกตั้ง(Stirrup) หรื อเหล็กปลอกวางในแนวดิ่ง มีระยะถี่ในบริ เวณใกล้จุดรองรับ และวาง ระยะห่างออกจากบริ เวณกลางคานใช้เหล็กคอม้าและเหล็กลูกตั้งผสมกัน


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

14

หน้าที่

2

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ลักษณะการเสริ มเหล็กตามพฤติกรรมของโครงสร้างเมื่อรับน้ าหนักบรรทุก ดังแสดงในรู ปที1่ – 3 กล่าวคือ เหล็กเสริ มหลักเป็ นเหล็กล่างตลอดความยาวของคาน เนื่องจากโมเมนต์ดดั ที่เกิดขึ้นจากน้ าหนักกระทาใน แนวดิ่งเป็ นโมเมนต์บวกที่ทาให้ผวิ ล่างของคานเป็ นแรงดึงตลอดความยาวของคาน โดยปกติแล้วจะมีค่ามากที่สุดที่บริ เวณกลางคาน แต่อาจเปลี่ยนตาแหน่งบ้างเนื่องจากแรงที่กระทาเป็ นจุด โมเมนต์ดดั นี้จะมีค่าน้อยลงจนถึงศูนย์ที่ปลายคาน ฉะนั้นปริ มาณเหล็กเสริ มอาจลดจานวนลงได้บา้ งที่ปลาย คาน โดยพิจารณาจากโมเมนต์ไดอะแกรม ดังรู ปที่ 3

ทั้งนี้วิศวกรจะเป็ นผูอ้ อกแบบจะเป็ นผูก้ าหนดขนาดเหล็กตามรายละเอียดแต่ผเู้ ขียนแบบควรศึกษา ข้อกาหนดต่างๆ เพื่อประกอบการเขียนรู ปขยายได้ถกู ต้อง


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

14

3

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 1คานต่อเนื่อง(Continuous Beam) ได้แก่คานที่มีช่วงเสาหรื อจุดรองรับต่อเนื่องกันตั้งแต่สองช่วงขึ้นไป เหล็กเสริ มหลักตามความยาวคานเป็ นเหล็กล่างบริ เวณกลางๆ ช่วงคานและเป็ นเหล็กบริ เวณใกล้เสา เพราะ โดยปกติแล้วกลางๆ ช่วงคานจะเป็ นโมเมนต์บวกที่ทาให้ผวิ ล่างของคานเป็ นแรงดึงและปลายคานเป็ น โมเมนต์ลบที่ทาให้ผวิ บนของคานเป็ นแรงดึงดังรู ปที5่ ในกรณี ที่เหล็กล่างมีจานวนเกิน 2 เส้น มักจะนิยมดัด เหล็กเสริ มล่างขึ้นไปเป็ นเหล็กเสริ มบน เป็ นปริ มาณตามข้อกาหนดซึ่งจะกล่าวต่อไปและเรี ยกกันว่า เหล็กคอ ม้า เหล็กคอม้าจะถูกดัดจากเหล็กล่างเป็ นเหล็กบนในตาแหน่งที่โมเมนต์เปลี่ยนจากบวกไปเป็ นลบ ส่วนเหล็ก ล่างที่เหลือก็จะปล่อยให้พาดเข้าไปในเสา 2.คานยืน่ (Cantilever Beam) ได้แก่คานที่มีจุดรองรับข้างหนึ่ง ส่วนปลายอีกข้างหนึ่งยืน่ ออกไปไม่มีจุด รองรับ เหล็กเสริ มหลักทางยาวจะต้องเป็ นเหล็กบน เนื่องจาก ผิวปลายบนของคานเป็ นแรงดึงจากโมเมนต์ ลบในคาน (ดูรูปที่4) เหล็กเสริ มบนจะต้องฝังในคานช่วงในถัดเข้าไปจากเสาที่รับคานยืน่ นั้น หรื ออาจฝังลงไป ในเสาถ้าไม่มีคานช่วงใน ความยาวของเหล็กเสริ มที่ตอ้ งฝังในคานช่วงในหรื อฝังในเสาจะต้องยาวเพียง พอที่จะไม่ทาให้หน่วยแรงยึดเหนี่ยวที่เกิดขึ้นจริ งระหว่างเหล็กเสริ มกับคอนกรี ตมากกว่าค่าแรงยึดเหนี่ยวที่ ยอมให้ตามข้อกาหนดของมาตรฐาน

รูปที่4 แสดงการเสริมเหล็กรับแรงดึงในคานยืน่ จากคานช่ วงในและคานยืน่ จากเสา


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

14

หน้าที่

4

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 3.3 ลาดับขั้นตอนการเขียนรูปขยายรายละเอียดคานคอนกรีตเสริมเหล็ก 1. ศึกษารายละเอียดของคาน เพื่อดูว่าเป็ นคานช่วงเดียว คานต่อเนื่อง หรื อคานยืน่ จากผังโครงสร้าง และดู หมายเลขคาน ขนาด จานวนเหล็กเสริ ม เหล็กปลอก ในรายละเอียดคานคอดิน คานรับพื้นชั้นล่าง คานรับ พื้นชั้นสอง คานรับชานพักบันได 2. การจัดหน้ ากระดาษ ถ้าเป็ นอาคารขนาดเล็ก เขียนรู ปขยายรายละเอียดคานรวมแผ่นเดียวกับผังโครงสร้าง ชั้นที่ตอ้ งการจะแสดง 1. การเขียนรูปขยายคานคอนกรีตเสริมเหล็ก มีรายละเอียดที่ตอ้ งแสดงดังนี้ 1) รูปตัดทางยาว ก. เขียนเส้นรอบรู ปของคาน หรื อคานที่รองรับ และเขียนชื่อคานกากับ ข. เขียนเส้นมิติของช่วงคานจากศูนย์กลางเสาถึงศูนย์กลางเสา พร้อมตัวเลขบอกมิติ เป็ นเมตร ค. แสดงเหล็กเสริ มบน เหล็กเสริ มล่าง และเหล็กคอม้า ง. แสดงระยะที่ดดั เหล็กคอม้า ระยะแสดงตาแหน่งที่สิ้นสุดของปลายเหล็กบนพร้อม ทั้งบอกมิติเป็ นเมตร จ. เขียนเส้นแสดงตาแหน่งเหล็กลูกตั้ง ฉ. เขียนเส้นแสดงแนวตัดขวางที่ก่ึงกลางคานมีหมายเลขกากับ 2) รูปตัดตามขวาง ก. เขียนเส้นขอบรู ปหน้าตัดขวางของคาน และเส้นแสดงเหล็กปลอก โดยกาหนด ระยะคอนกรี ตหุม้ เหล็ก ตามข้อกาหนด พร้อมทั้งเขียนหน้าตัดของเหล็กเสริ มทั้ง เหล็กเสริ มบนและล่าง ถ้าเหล็กบนและล่างมีจานวนมากกว่า 1 ชั้น ต้องแสดงระยะ ระหว่างชั้นด้วย ข. เขียนเส้นมิติ บอกขนาด กว้าง และลึกของหน้าตัดคานทางขวางหน่วยเป็ นเมตร ค. เขียนชื่อตามแนวตัดตามขวาง


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

14

หน้าที่

5

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 3) เหล็กเสริม ก. แสดงตาแหน่ง จานวน และขนาดของเหล็กเสริ มทางยาวของเหล็กบน เหล็กล่าง ทั้งในรู ปตัดทางยาว และรู ปตัดขวาง พร้อมทั้งมีลกู ศรชี้ตาแหน่งเหล็กเสริ มกากับ ด้วย ข. เขียนเส้นแสดงตาแหน่ง พร้อมทั้งแสดงขนาดและระยะห่างของเหล็กลูกตั้งในรู ป ตัดทางยาวด้วยสัญลักษณ์ ค. เหล็กเสริ มทางยาวที่เป็ นเหล็กเสริ มหลัก จะเป็ นเหล็กล่างหรื อเหล็กบน แล้วแต่ ชนิดของคาน

หมายเหตุ : รู ปใช้อา้ งอิงการอธิบายเนื้อหาวิชา



เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

15

หน้าที่

1

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การก่อสร้างอาคารทัว่ ไปมีความเกี่ยวเนื่องกับสุขภัณฑ์ การจัดการระบบการสุขาภิบาลระบบท่อน้ าดี ท่อ น้ าทิ้ง ท่อน้ าร้อน ท่อโสโครก บ่อเกรอะบ่อซึม บ่อดักขยะและบ่อดักกลิ่น ตลอดการระบายอากาศ ผูเ้ รี ยน จะต้องระบบต่างๆ รวมสัญลักษณ์ ในการเขียนแบบ 1.ความหมายระบบท่ อ แบบระบบท่ อ(plumbling system) หมายถึงระบบท่อเพื่อการลาเลียงส่งน้ า ทีหนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่งในอาคาร เพื่อการใช้งานและการทายเทของไหล ที่ตอ้ งการกาจัดทิ้งไปยังที่ทิ้ง โดยทัว่ ไปแล้ว ระบบท่อภายในอาคารจะรวมถึง -ระบบท่อน้ าเย็น หรื อใช้น้ า -ระบบท่อน้ าร้อน -ระบบท่อน้ าเสีย -ระบบท่อน้ าโสโครก -ระบบท่ออากาศ -ระบบท่อระบายน้ าฝน 2.ระบบท่ อที่ใช้ ภายในอาคาร 2.1 ระบบท่อน้ าเย็นหรื อน้ าใช้ เป็ นระบบที่เริ่ มจากจุดของท่อประปา วางท่อตามแนวถนนเพื่อจัดส่งน้ าเข้าตามบ้านพักอาศัยโดยผ่าน มาตรวัดน้ า 1.ชนิดของท่อน้ าประปา ท่อน้ าของชนิดของน้ าประปาที่นิยมใช้ในบ้านพักอาศัยมี2ชนิดคือ ท่อเหล็ก อาบสังกระสีและท่อ pvc ก. ท่อเหล็กอาบสังกะสี มีความมัน่ คงแข็งแรง แต่เมื่อใช้ไปนานจะเกิดสนิม และยุง่ ยากในการติดตั้ง ข. ท่อพีวีซี เป็ นที่นิยมใช้กนั ในปัจจุบนั เพราะติดตั้งง่ายประหยัดเวลาและค่าแรง ท่อพีวีซีที่ผลิต ออกจาหน่ายในปัจจุบนั มี2ประเภทคือ 1.ท่อน้ าดืม 2.ท่อร้อยสายไฟหรื อสายโทรศัพท์ 2.ระบบท่อน้ าโสโครก ส่วนมากใช้ท่อพีวีซี เนื่องจากมีผวิ ลื่นไม่มีปัญหาสื่งสกปรกและการ ตกตะกอนท่อ ควรใช้ไม่ต่ากว่าเส้นผ่าศูณย์กลาง4นิ้ว ความลาดของท่อคือ1:100,1;50


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

15

หน้าที่

2

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 3.ระบบท่อในอากาศ มี3ส่วนสาคัญคือ ท่อระบายน้ า ที่ดกั กลิ่น และท่ออากาศ 2.2ส่วนประกอบระบายน้ าเสีย ประกอยด้วย 1.บ่อเกรอะ รับอุจจาระและน้ าจากโถส้วมมาพักที่บ่อเกรอะ 2.บ่อกรองหรื อบ่อน้ าใส เป็ นระบบที่รับน้ าที่จากบ่อเกรอะ บ่อกรองจะไม่มีสิ่งโสโครกข้ามมารับ เฉพาะส่วนที่เป็ นน้ า 3.บ่อซึม มีหน้าที่รับน้ าจากบ่อกรองหรื อบ่อน้ าใส เพื่อส่งน้ าให้ดินดูดซึมซับน้ าเสียโดยรอบ 1. ผังระบบสุขาภิบาลบ้านพักอาศัยชั้นเดียว เป็ นการแสดงแนวท่อ ของระบบระบายน้ าทิ้งภายในและ ภายนอกอาคารบริ เวณสนาม เริ่ มตั้งแต่การระบายน้ าจากห้องน้ า ห้องส้วมจากครัวลงสู่รางระบายน้ า ผ่านบ่อตรวจหรื อบ่อพัก บ่อขยะ ดักกลิ่นและบ่อดักไขมันลงสู่ท่อสาธารณะ นอกจากนั้นท่อระบาย น้ าฝน แนวท่อโสโครกจากห้องส้วมไปลงที่บ่อเกรอะบ่อซึม รวมทั้งการกาหนดต่าแหน่งของบ่อ เกรอะบ่อซึมอย่างชัดเจน 2. แบบและสัญลักษณ์ของระบบท่อ เพือ่ ให้แบบของระบบท่อชัดเจน และอ่านง่าย ควรจะมีมาตรฐานเกี่ยวกับสัญลักษณ์ท่ีใช้ใน การออกแบบระบบท่อร่ วมกัน ในขณะนี้ก็ยงั ไม่มีการจัดการเรื่ องนี้ ดังนั้นจึงจะนาสัญลักษณ์และคาย่อ ที่คิดว่า เหมาะสมกับการนามาประกอบแบบ กับการออกแบบมาแสดงเพื่อประโยชน์ในการศึกษาต่อไป 3.หลักการเขียนผังระบบสุขาภิบาล การเขียนผังระบบสุขาภิบาล ผูเ้ รี ยนจะต้องศึกษาแบบและสัญลักษณ์และระบบท่อ ทั้งคาย่อ และสัญลักษณ์ เพราะการเขียนแบบผังสุขาภิบาล จะใช้ลกั ษณะทั้งสองอย่างประกอบกัน -เขียนผังบริ เวณพื้นทั้งหมดเพื่อบรรจุรายละเอียดสุขาภิบาล ระบบท่อต่างที่ออกจากตัวอาคาร


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

15

หน้าที่

3

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ -กาหนดสัญลักษณ์ของเตริ่ องสุขภัณฑ์และคาย่อเช่น โถส้วมอักษรย่อ(wc)อ่างล้างมิอ(lav) -กาหนดสัญลักษณ์ท่อประปา แยะจากท่อเมน เป็ นท่อย่อยและส่งไปยังจุดจ่ายน้ าพร้อมระบุขนาด ของท่อ -เขียนท่อระบายน้ าเสียจากระบายน้ าห้องครัว อ่างซักล้างเคริ่ องซักผ้าและอื่นๆตามสมควรโดยใช้ ท่อพีวีซี -เขียนเส้นของท่อระบายโสโครกหนามากด้วยคาย่อ S จากโถส้วม -เขียนต่าแหน่งของบ่อเกรอะบ่อซึม โดยเขียนเส้นประหนาเขียนคาย่อ V ท่ออากาศกากับตามต่า แหน่ง -เขียนมิติความกว้างยาว ของส่วนขยายห้องน้ า ห้องส้วมพร้อมทั้งหมายเลขหรื อตัวอักษรกากับเสา -เขียนชื่อรู ปและมาตราส่วนให้ชดั เจน แบบบ่ อเกรอะ - บ่ อซึม หน้าที่หลักของบ่อเกรอะคือ การรับน้ าโสโครกจากอาคารและปรับคุณภาพของน้ าโสโครกเพื่อให้สะอาด พอที่จะปล่อยซึมลงในผิวดิน การปรับคุณภาพของน้ าโสโครกจากบ่อเกรอะนี้ใช้วิธีแยกของแข็งและปรับ สภาพของน้ าเสียทางชีววิทยา โดยการกักน้ าโสโครกให้คา้ งอยูใ่ นส่วนแรกของบ่อเกรอะอย่างน้อย 24 ชัว่ โมง แล้วน้ าโสโครกเหล่านี้จะย่อยสลายด้วยแบคทีเรี ย ส่วนที่เหลือจะตกตะกอนอยูด่ า้ นล่าง ส่วนที่ยอ่ ยแล้วจะเป็ น น้ าใสจะต่อท่อไปยังบ่อซึม เพื่อให้ซึมไปตามผิวดิน


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

15

หน้าที่

4

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ลักษณะของบ่อเกรอะที่ดีควรมีลกั ษณะดังนี้ 1. ปิ ดมิดชิด น้ าภายนอกเข้ามาไม่ได้ 2. มีท่อระบายอากาศเพื่อระบายกลิ่นออกจากบ่อเกรอะ และนาอากาศเข้าเพื่อให้แบคทีเรี ยใน บ่อเกรอะสามารถดารงชีพและย่อยสลายให้น้ าโสโครกมีสภาพเช่นน้ าใสก่อนต่อไปยังบ่อซึม โดยท่อระบายอากาศมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เล็กกว่า 50 มิลลิเมตร 3. บ่อเกรอะสร้างขึ้นด้วยคอนกรี ตเสริ มเหล็ก และอาจมีรูปร่ างแตกต่างกันไปตามความจากัด ของพื้นที่ ดังรู ปที่ 1 ที่ดา้ นล่างแสดงลักษณะทัว่ ไปของบ่อเกรอะรู ปสี่เหลี่ยมผืนผ้าซึ่งแบ่ง ออกเป็ นสองส่วนคือส่วนด้านท่อน้ าโสโครกเข้าและด้านน้ าออก แยกด้วยแผ่นกั้นเพื่อกัก ไม่ให้ของแข็งไหลมาสู่ดา้ นน้ าออกได้ง่ายความจุดา้ นน้ าโสโครกเข้า ซึ่งมีสิ่งตกค้างอยูม่ าก จะมีความจุประมาณสองในสามส่วนของถัง ขนาดของบ่อเกรอะขึ้นอยูก่ บั ปริ มาณน้ า โสโครกจากตัวอาคารและระยะเวลาการกักเก็บที่ตอ้ งการ สาหรับอาคารพักอาศัยจะ ประมาณขนาดความจุของถังบ่อเกรอะตามจานวนห้องนอนหรื อจานวนคน ตามตาราง ตารางขนาดความจุของถังบ่อเกรอะตามจานวนห้องนอน

จำนวนห้ องนอน

ควำมจุเป็ นลูกบำศก์ เมตร

2 3 4

2 2.4 2.8

จากนี้ให้เพิ่มความจุอีก การกาจัดน้ าเสียจากบ่อเกรอะของบ้าน ทัว่ ไปนิยมปล่อยให้ซึมลงไปในดิน โดยใช้บ่อซึมหรื อจะใช้ระบบท่อ ซึม ตามความเหมาะสมของสภาพพื้นที่และระดับน้ าใต้ดิน


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

15

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

รู ปที่ 1 แสดงรู ปตัดบ่อซึม

รู ปที่ 2 แสดงผังท่อซึม

หน้าที่

5


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

16

หน้าที่

6

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

รู ปที่ 3 แสดงการวางท่อซึม จากรู ปที่ 1 เป็ นวิธีปล่อยน้ าเสียให้ซึมลงไปในดินโดยใช้บ่อซึม ซึ่งขนาดและจานวนของบ่อซึมขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของพื้นดินในบริ เวณนั้น ผูอ้ อกแบบจะต้องพิจารณาเป็ นแต่ละกรณี นอกจากนี้ ถ้ามีบ่อซึมมากกว่า 1 บ่อ ต้องมีระยะห่างไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตร


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

15

หน้าที่

7

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จากรู ปที่ 2 เป็ นการใช้ระบบท่อซึมแผ่กระจายออกไปตามผิวดินตื้นๆ เพื่อให้แดดช่วยให้ระเหยน้ าได้เร็ วขึ้น ถ้าเป็ นสนามหญ้าก็เป็ นการให้น้ าหญ้าไปโดยธรรมชาติ ท่อซึมเหล่านี้จะต้องมีผวิ นอกเจาะเป็ นรู พรุ นและ ติดตั้งในดินโดยมีกรวดล้อมอยูร่ อบๆ ท่อ ดังแสดงในรู ปที่ 2 การใช้ระบบท่อซึมนี้เหมาะสาหรับบริ เวณที่ กว้างๆ แลไม่มีการขุดบริ เวณนั้นเพราะจะทาให้ท่อแตกเสียหายได้ ทั้งนี้ตอ้ งไม่ให้ตาแหน่งของบ่อซึมหรื อท่อ ซึมอยูใ่ กล้แหล่งน้ าใช้ เช่น บ่อบาดาล แม่น้ า ลาธาร เกิน 30 เมตร เพื่อป้ องกันไม่ให้แพร่ เชื้อโรคลงในแหล่ง น้ าใช้ได้ปัจจุบนั มีผลิตภัณฑ์ถงั ส้วมที่ใช้ระบบบาบัดน้ าโสโครกด้วยการอัดอากาศ เป็ นกระบวนการทาง ชีวเคมีกล่าวโดยสรุ ปก็คือ ใช้เครื่ องปั๊มลมแม่เหล็กไฟฟ้ าอัดอากาศลงไปในช่องที่เตรี ยมไว้เพื่อให้แบคทีเรี ยใน ถังส้วมได้รับออกซิเจนและย่อยสลายน้ าโสโครกออกเป็ นส่วนตกตะกอนและส่วนน้ าใส ซึ่งกลไกทางาน คล้ายๆ ระบบของบ่อเกรอะแต่ยอ่ ขนาดลงมามาก ในส่วนน้ าใสมีหลอดคลอรี นที่มีขายสาเร็ จรู ปเสียบอยู่ เพื่อให้คลอรี นช่วยฆ่าเชื้อโรคในน้ าใสให้ได้มาตรฐานตามที่กระทรวงสาธารณะสุขกาหนด ก่อนที่จะปล่อยน้ า ลงสู่ท่อสาธารณะ (แตกต่างจากระบบบ่อเกรอะที่น้ าใสจากบ่อเกรอะต่อลงท่อระบายน้ าสาธารณะไม่ได้) ตะกอนจากส่วนตกตะกอนต้องสูบออกเหมือนระบบบ่อเกรอะ โดยสูบ 1 – 2 ปี ต่อครั้ง แล้วแต่ปริ มาณการใช้ ระบบนี้เหมาะสาหรับพื้นที่ที่มีระดับน้ าใต้ดินสูง น้ าเสียจากบ่อซึมไม่อาจซึมลงไปในดินได้

หมายเหตุ : รู ปใช้อา้ งอิงการอธิบายเนื้อหาวิชา



เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

16

หน้าที่

1

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การเดินสายไฟฟ้ าในอาคารมีหลายระบบ แล้วแต่ความเหมาะสมตามลักษณะตามลักษณะการใช้งาน ตาม งบประมาณ และความเรี ยบร้อยสวยงาม เช่น จุดมุ่งหมายของการเขียนระบบการเดินสายไฟฟ้ าภายในบ้ านพักอาศัย การเดินสายบนลูกรอกหรื อลูกถ้วย เหมาะสาหรับการเดินสายเดี่ยวหุม้ ฉนวนที่มเี ปลือกนอกทนแดด และฝน โดยเดินภายนอกอาคารแบบเดินลอยในอากาศ เป็ นลักษณะหนึ่งของการเดินสายไฟจากมิเตอร์เข้า บ้าน การเดินสายใต้ดิน ( Underground wiring) เหมาะสาหรับการเดินสายเดียวที่ใช้สาหรับงานเดินสายใต้ ดินโดยเฉพาะ โดยวิธีเดินสายแบบฝังไว้ใต้ดิน เป็ นวิธีเดินสายรับไฟจากมิเตอร์เข้าบ้านอีกวิธีหนึ่ง สาหรับการเดินสายไฟฟ้ าภายในอาคารพักอาศัยทัว่ ไป นิยมใช้ระบบการเดินสาย ห้องน้ า – ส้วม และการเขียนรู ปขยายรายละเอียด



เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

17

หน้าที่

1

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การเขียนผังบริเวณ แผนผังบริ เวณเป็ นแบบแผ่นแรกในชุดของแบบก่อสร้างสาหรับอาคารขนาดเล็ก เช่น บ้านพัก อาศัยถือเป็ นแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรม แต่ในโครงการใหญ่ ๆ จะต้องมีการพิจารณา องค์ประกอบต่างของผังบริ เวณ ได้แก่ ระบบสาธารณูปโภค คือระบบท่อและระบบไฟฟ้ าภายนอก อาคาร ประกอบด้วยจึงเป็ นแบบที่ตอ้ งพิจารณาร่ วมกันทั้งสถาปนิกและวิศวกรสาขาระบบท่อและ ไฟฟ้ าและใช้ประกอบกับผังที่ต้งั (Site Plan) 1. ความหมายของผังบริเวณ แบบผังบริ เวณ เป็ นแบบแสดงรายละเอียดตาแหน่งที่ต้งั ตัวอาคารในบริ เวณที่ดินที่จะทาการปลูก สร้าง แสดงขอบเขต ตาแหน่ง และทิศทางของที่ดิน รวมทั้งขนาดของตัวอาคาร โดยแสดง ความสัมพันธ์ของตาแหน่งตัวอาคารกับจุดกาหนดทางเข้าออกหรื อถนนภายในที่จะนามาสู่ตวั บ้านให้ เหมาะสมและปลอดภัย เช่น ถ้าที่ดินนั้นอยูใ่ กล้กบั ทางแยก ควรจัดให้ทางเข้าบ้านอยูห่ ่างจากทางแยก นั้นมากที่สุดเพื่อป้ องกันการเกิดอุบตั ิเหตุจากการเข้า – ออก และภาวะเป็ นพิษจากถนนสาธารณะ ดัง รู ปที่1 แสดงการกาหนดจุดทางเข้าออก และการปลูกต้นไม้เพื่อป้ องกันมลพิษ(ควัน ฝุ่ นละออง เสียง) จากถนนสาธารณะ และตาแหน่งของตัวอาคาร

รู ปที1่ แสดงความสัมพันธ์ของตัวบ้านกับถนนภายในและถนนสาธารณะ


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

17

หน้าที่

2

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ แบบผังบริ เวณของอาคารแต่ละหลัง จึงต้องพิจารณาทั้งตาแหน่ง ทิศทาง และสิ่งแวดล้อมหลาย ประการประกอบกัน และยังต้องแสดงรายละเอียดทางด้านสาธารณูปโภค ได้แก่ ระบบประปา ระบบ การระบายน้ าจากตัวอาคารไปยังท่อระบายน้ าสาธารณะ และอื่นๆ เช่น ทางสัญจร ตาแหน่งต้นไม้ ระดับดิน เป็ นต้น 1. องค์ประกอบของผังอาคาร ในแบบผังบริ เวณ มีสิ่งที่ตอ้ งแสดงดังนี้ 2.1 ตาแหน่ งที่ต้งั และขนาดของที่ดินที่จะทาการปลูกสร้ างอาคาร โดยแสดงขอบเขตด้วยการ เขียนแสดงตาแหน่งของหมุดหลักเขตตามโฉนดที่ดิน แนวถนนสาธารณะผ่านหน้าที่ดิน และกาหนดระยะห่างจากจุดที่หมายที่สามารถตรวจสอบจากแผนที่ได้โดยง่าย เช่น ขื่อถนน สาธารณะที่อยูใ่ กล้เคียงหรื อผ่านหน้าที่ดินอยูใ่ กล้เคียงกับสถานที่สาคัญใด ๆ เช่น ที่ทาการ รัฐบาล ธนาคาร ฯลฯ โดยระบุชื่อและระยะทางไว้ให้ชดั เจน 2.2 แสดงตาแหน่ งที่ต้งั ของตัวอาคาร โดยเขียนขอบเขตของอาคารที่เป็ นผนังโดยรอบ ขนาด ของตัวอาคาร และเขียนบอกระยะห่างของอาคารจากเขตที่ดินหรื อแนวรั้วทั้ง 4 ด้าน พร้อม ทั้งเขียนเส้นประแสดงแนวหลังคาที่ยนื่ ล้าเขตที่ดินออกไป 2.3 แสดงเส้ นทางสัญจรภายใน ได้แก่ ตาแหน่งประตูทางเข้าออกที่ติดกับถนนสาธารณะเข้าสู่ ถนนภายในสาหรับรถยนต์ ลานจอดรถ ลานเลี้ยวรถ ภายในเขตที่ดินที่จะปลูกสร้าง 2.4 ระดับดินเดิมของบริเวณที่ดิน ระดับที่ผอู้ อกแบบกาหนดว่าจะปรับให้สูงหรื อต่ากว่าระดับ ดินเดิมรวมทั้งแสดงตาแหน่งของต้นไม้เดิม หรื อสิ่งก่อสร้างเดิมที่ตอ้ งการจะคงไว้ ส่วนที่ ต้องการจะรื้ อถอนออก(ถ้ามี)และแสดงตาแหน่งต้นไม้ที่ตอ้ งการจะปลูกเพิม่ บริ เวณเปิ ด โล่งที่ตอ้ งการจะเป็ นสนามหญ้า หรื อขุดสระน้ า ฯลฯ 2.5 แนวท่ อระบายนา้ และความลาดเอียงของท่ อ พร้อมตาแหน่งของบ่อพัก บ่อดักขยะ ออก จากตัวอาคารและบริ เวณเขตที่ดินไปยังแนวท่อระบายน้ าสาธารณะ พร้อมทั้งตาแหน่งบ่อ เกรอะ – บ่อซึม


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

17

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

รู ปที่2 แสดงรู ปผังบริ เวณ

หน้าที่

3


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

17

หน้าที่

4

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

1. หลักเกณฑ์และข้ อกาหนดในการเขียนผังบริเวณ การเขียนผังบริ เวณคานึงถึงหลักเกณฑ์ตาม มอก.440 เล่ม 1 – 2525 และข้อบัญญัติ กรุ งเทพมหานคร เรื่ อง การควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ. 2522 ดังนี้ 3.1 มาตราส่ วน ใช้มาตราส่วน 1 : 500 (2 มิลลิเมตรเท่ากับ 1 เมตร) หรื อ 1 : 200 (5 มิลลิเมตร เท่ากับ 1 เมตร) โดยพิจารณาจากขนาดของขอบเขตที่ดินให้เหมาะสมกับหน้ากระดาษเขียน แบบ 3.2 ทิศ ให้เขียนเครื่ องหมายแสดงแนวทิศเหนือไว้ที่มุมขวาบนของมุมกระดาษเขียนแบบ และ กาหนดแนวทิศเหนือขึ้นตรงไปทางด้านบน โดยแสดงลูกศรเปิ ดในวงกลม ดังรู ปที4่


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

17

หน้าที่

5

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ถ้าตัวอาคารตั้งอยูใ่ นตาแหน่งที่ทิศเหนือที่แท้จริ ง ทามุมน้อยกว่า 45 องศากับแนวทิศเหนือที่ เขียนในแนวตั้งขึ้นทิศบนของกระดาษ ก็ใช้แนวทิศเหนือตั้งขึ้นโดยอนุโลม เพื่อสะดวกในการเรี ยกชื่อ ในแบบรู ปด้าน

3.3 ความหนาของเส้น ใช้ขนาดความหนา 3 ขนาด ตามที่กาหนดไว้ 1) ขอบนอกของอาคารใหม่ ใช้เส้นหนามาก 2) รายละเอียดทัว่ ไป ใช้เส้นหนา 3) เส้นมิติ เส้นฉาย ใช้เส้นบาง 4) ส่วนที่มองไม่เห็น เช่น แนวชายคา บ่อซึม ฯลฯ และส่วนที่ร้ื อถอน ใช้เส้นหนา 5) ท่อต่างๆ และทางระบายน้ า ใช้เส้นลูกโซ่หนามากและ/หรื อใช้เส้นลูกโซ่หนา 3.4 การบอกระดับ ในแบบผังบริ เวณควรแสดงระดับเดิมกับระดับที่ตอ้ งการให้แตกต่างกัน อย่างชัดเจน


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

17

หน้าที่

6

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

3.5 สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ที่ใช้ในผังบริ เวณดูได้จากตาราง 3.6 มิติ การบอกมิติในผังบริ เวณ ใช้หลักการเดียวกับการเขียนรู ปมิติในรู ปอื่นๆ โดย นาข้อบัญญัติของเทศบัญญัติของกรุ งเทพมหานครฯ เรื่ อง ควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ. 2522 มาพิจารณา ร่ วมด้วยในการจัดระยะห่างของตัวอาคารกับที่ดิน


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

17

หน้าที่

7

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 3.7 ข้ อกาหนดอืน่ ๆ ของเทศบัญญัตคิ วบคุมอาคาร ที่ตอ้ งนามาใช้ในการประกอบการเขียน แบบ 1) ขอบเขตของที่ดินบริ เวณติดต่อขอบนอกของอาคารที่มีอยูแ่ ล้ว(ถ้ามี) กับอาคารที่ขอรับ อนุญาตปลูกสร้างใหม่ 2) ทางสาธารณะที่ติดต่อกับที่ดินปลูกสร้าง พร้อมทั้งแสดงระดับทางสาธารณะ ระดับ ถนนภายในระดับพื้นชั้นล่างของอาคาร ระดับพื้นดินเดิม และระดับพื้นที่ดินที่ปรับ ใหม่ 3) ทางระบายน้ าทิ้ง ขนาดกว้างไม่นอ ้ ยกว่า 100 มิลลิเมตร จากตัวอาคารไปสู่ทางระบาย น้ าสาธารณะ แสดงทิศทางการไหล และมีส่วนลาดไม่ต่ากว่า 1 : 200 ตามแนวตรงที่ สุดเท่าที่จะทาได้ ถ้าใช้ท่อกลมเป็ นทางระบายน้ าทิ้ง ต้องบมีบ่อพักทุกระยะ 12000 มิลลิเมตร ทุกมุมเลี้ยว และที่จุดก่อนระบายลงสู่ทางระบายน้ าสาธารณะ ต้องมีบ่อพัก พร้อมตะแกรงดักขยะ อยูใ่ นตาแหน่งที่สามารถตรวจสอบได้สะดวก 4) ที่ว่างอันปราศจากหลังคาหรื อสิ่ งปกคลุม ได้แก่ สนามหญ้า ลานจอดรถ ฯลฯ มีพ้น ื ที่ ไม่นอ้ ยกว่า 30 ส่วนใน 100 ส่วนของพื้นที่ปลูกสร้าง 4. ลาดับขั้นตอนการเขียนผังบริเวณ ก่อนเขียนผังบริ เวณให้พิจารณาขอบเขตของที่ดินเพื่อตัดสินใจว่าจะใช้มาตราส่วน 1 : 500 หรื อ 1 : 200 จึงจะเหมาะสมกับหน้ากระดาษ ดูความสัมพันธ์ของผังพื้นชั้นล่าง ชั้นที่สอง หลังคา ว่าอยูใ่ น แนวเดียวกันหรื อยืน่ เลยพื้นชั้นล่างออกมา ศึกษาแนวท่อระบายน้ าสาธารณะว่าอยูต่ าแหน่งไหน เพื่อจะ ได้เขียนให้ตรงกับความเป็ นจริ ง ก่อนดาเนินการเขียนตามขั้นตอน ดังนี้ 4.1 จัดวางรูปให้ เหมาะสมกับหน้ ากระดาษ ถ้ารู ปเล็กอาจมีผงั ที่ต้งั แสดงประกอบเพิ่มเติมจากผังบริ เวณ รายการย่อประกอบแบบก่อสร้าง หรื อตารางรายละเอียดเขียนรวมด้วยก็ได้ 4.2 เขียนขนาดของที่ดิน โดยวัดขนาดจากโฉนดที่ดิน กาหนดหลักเขตให้ชดั เจน โดยให้แนวทิศเหนือขึ้น ตรงไปทางด้านบนของแบบ แสดงแนวถนน และระยะที่ห่างจากจุดที่สามารถตรวจสอบตาแหน่งของผัง บริ เวณได้


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

17

หน้าที่

8

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 4.3 เขียนตาแหน่ งของอาคาร แสดงแนวผังพื้นชั้นล่าง และเส้นประแสดงแนวหลังคา ถนน ทางเข้าและรายละเอียดอื่นๆ ด้วยความหนาของเส้นตามข้อกาหนด 4.4 บอกขนาดของอาคาร ที่ดิน และระยะห่ างจากตัวอาคารถึงแนวรั้ว มิติเป็ นมิลลิเมตร 4.5 เขียนแนวท่ อระบายนา้ บ่ อพัก ความลาด และแนวท่ อระบายนา้ สาธารณะ(ถ้ ามี) ถ้าไม่มี ต้องแสดงว่าจะระบายน้ าด้วยวิธีใด อาจใช้บ่อพัก บ่อซึม เป็ นต้น 4.6 เขียนระดับเดิมและระดับที่ต้องการในผังบริเวณ และรายละเอียดอืน่ ๆ เช่น ต้นไม้ที่ตดั (ถ้า มี) ลงให้ชดั เจน 4.7 ตรวจสอบแบบผังบริเวณกับผังพืน้ และผังท่ อ ไม่ให้มีขอ้ ขัดแย้งกันเอง และตรวจสอบแนว ชายคาไม่ให้ล้าเขตที่ดินใกล้เคียง รายการประกอบแบบ(Specification) เป็ นรายการที่สถาปนิกผูอ้ อกแบบกาหนดขึ้น ประกอบกับแบบกอสร้างแต่ละชุด ซึ่งจะแตกต่าง กันไปตามแบบของอาคารแต่ละหลัง เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์และรายละเอียดบางส่วนที่ไม่สามารถ แสดงในแบบก่อสร้าง ได้แก่ การกาหนดคุณภาพของวัสดุ มาตรฐานของระดับฝี มือช่าง วิธีดาเนินการ ก่อสร้างที่ตอ้ งการให้ผรู้ ับเหมาปฏิบตั ิตามที่ระบุไว้ ในการทาสัญญาก่อสร้าง จะมีแบบก่อสร้าง 1 ชุด และรายการประกอบแบบก่อสร้าง 1 ชุดเป็ น เอกสารประกอบสัญญาด้วย เนื้อหาในรายการประกอบแบบก่อสร้าง จะแบ่งเป็ นสองส่วนใหญ่ๆ คือ 1. รายการทัว่ ๆ ไป ซึ่งถ้าเป็ นงานก่อสร้างบ้านพักอาศัยขนาดกลาง จะมีหวั ข้อดังนี้ 1. ข้อกาหนดและขอบเขตทัว่ ไป ข้อความจะเป็ นการสรุ ปงานในสัญญาก่อสร้างอย่าง ย่อ 2. งานสถานที่ก่อสร้างและงานโยธา จะระบุสถานที่ก่อสร้าง การเตรี ยมสถานที่ มาตรฐานงานดินงานทาฐานราก


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

17

หน้าที่

9

เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2104 เขียนแบบก่อสร้ าง 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 1. งานคอนกรี ต กาหนดมาตรฐานของวัสดุสาหรับผสมคอนกรี ต ส่วนผสม การเท คอนกรี ต การผูกเหล็ก การบ่มคอนกรี ต ฯลฯ 2. งานก่ออิฐฉาบปูน กาหนด วัสดุ ส่วนผสม และวิธีการดาเนินก่ออิฐฉาบปูน 3. งานไม้ กาหนด วัสดุ ขนาด วิธีเข้าไม้ และฝี มือการทางาน 4. งานโลหะ(ถ้ามี) ลักษณะการเขียนรายการส่วนนี้จะมีมาตรฐานคล้ายกันสาหรับอาคารประเภทเดียวกัน 2. รายการเฉพาะของอาคารแต่ละหลัง ประกอบด้วยการกาหนดชนิดและคุณภาพของวัสดุ และวิธีการดาเนินการติดตั้งส่วนต่างๆ ของอาคาร โดยแยกได้เป็ นงานแต่ละส่วนของ อาคารเพิ่มเติมจากรายการใน ข้อ 1. ได้แก่ 1. งานหลังคา ระบุชนิดของกระเบื้องมุงหลังคา พร้อมอุปกรณ์ที่ใช้ และวิธีการติดตั้ง 2. งานประตู – หน้าต่าง ระบุวสั ดุที่ใช้พร้อมอุปกรณ์ ถ้าในตารางรายละเอียดเขียนไว้ ครบแล้วก็ถือว่าตารางรายละเอียดเป็ นส่วนหนึ่งของรายการประกอบแบบด้วย งานตกแต่งผิวด้วยวัสดุต่างๆ และวิธีการติดตั้งที่พ้นื และผนัง 1. งานฝ้ าเพดาน ซึ่งถือว่าเป็ นงานตกแต่งอีกเช่นกัน 2. งานติดตั้งเครื่ องสุขภัณฑ์ ระบุชนิดและวิธีการติดตั้งเครื่ องสุขภัณฑ์ในห้องน้ า 3. งานประปาและสุขาภิบาล 4. งานสี 5. งานไฟฟ้ า 6. อื่นๆ (ถ้ามี) ในแบบก่อสร้างชุดนี้ ประกอบด้วยแบบก่อสร้าง รายละเอียดประกอบพื้น ผนัง ประตู หน้าต่าง และ รายละเอียดเครื่ องสุขภัณฑ์ ซึ่งถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งของรายการประกอบแบบก่อสร้าง หมายเหตุ : รู ปใช้อา้ งอิงในการอธิบายในชั้นเรี ยน



ชื่อ..............................................................รหัส.........................เลขที่...........แผนก.............................

วิชา 2106-2104 วิชา เขียนแบบก่อสร้ าง 1

การสอบกลางภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2553

วิชา รหัสวิชา 2106-2104 วิชา เขียนแบบก่อสร้ าง 1

แผนกช่ างก่อสร้ าง


ตอนที่ 1 ให้ ทาลงในข้ อสอบ ข้ อสอบมีท้งั หมด 2 ข้ อ (ข้ อละ10 คะแนน) 1. ส่วนประกอบของโครงสร้างใต้ดินและโครงสร้างเหนือดินประกอบด้วยอะไรบ้างพร้อมบอกหน้าที่ของ โครงสร้างด้วย ? (10คะแนน) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ...................................................... 2. วัสดุก่อสร้างที่ใช้ประกอบโครงสร้างอาคารพักอาศัยมีอะไรบ้าง เพราะอะไรจึงต้องใช้วสั ดุชนิดนั้น ? (10คะแนน) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .....................................................


ตอนที่ 2 จงเลือกกากบาท X คาตอบที่ถูกที่สุด (20 คะแนน) 1. ตัวไม้ที่วางพาดบนอะเสและอกไก่ระหว่างช่วง เสาได้แก่ ก. ค้ ายัน ข. ดั้ง ค. ขื่อ ง. จันทันเอก จ. จันทันพราง 2. ข้อใดไม่ได้แสดงโครงสร้างของอาคาร ก. ผังพื้น ข. ผังฐานราก ค. ผังคาน พื้น ชั้นล่าง ง. ผังคาน ตง พื้น จ. ผังโครงหลังคา 3. ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของโครงสร้างใต้ดิน ก. ตอม่อ ข. ฐานรากแผ่ ค. ฐานรากชนิดใช้เสาเข็มสั้น ง. ฐานรากชนิดใช้เสาเข็มยาว จ. เสา 4. การบอกชื่อรู ปด้านกาหนดจาก ก. ด้านหน้าของอาคาร ข. ด้านหลังของอาคาร ค. ด้านซ้ายของอาคาร ง. ด้านขวาของอาคาร จ. ทิศที่แสดงในผังพื้น 5. จากรู ปด้านสามารถบอกชนิดและแบบหน้าต่างได้จาก ก. สัญลักษณ์หน้าต่างในรู ปด้าน ข. ตารางรายละเอียดหน้าต่าง ค. ผังพื้น ง. ถูกทั้ง ก และ ข จ. ถูกทั้ง ก และ ค 6. ข้อใดไม่สามารถอ่านได้จากรู ปด้าน


ก. ระดับของอาคาร ข. พื้นที่ของอาคาร ค. ชนิดและแบบของประตู ง. ลักษณะของผนัง จ. ทรวดทรงของหลังคา 7. รู ปทรงของหลังคามีทรงอะไรบ้าง ก. ทรงจัว่ ข. ทรงเพิงแหงน ค. ทรงปั้นหยา ง. ถูกทุกข้อ 8.

คือสัญลักษณ์แทนอะไร ก. ทิศเหนือ ข. ประตู ค. ผนัง ง. พื้น

9.

คือสัญลักษณ์แทนอะไร ก. ทิศเหนือ ข. หน้าต่าง ค. ผนัง ง. พื้น

10.

คือสัญลักษณ์แทนอะไร ก. ทิศเหนือ ข. ประตู ค. ผนัง ง. พื้น

11.

คือสัญลักษณ์แทนอะไร ก. ประตู ข. หน้าต่าง ค. ผนัง ง. พื้น


12.

13.

14.

15.

16.

17.

คือสัญลักษณ์แทนอะไร ก. ประตู ข. หน้าต่าง ค. ผนัง ง. พื้น มาตราส่วนของการเขียนแบบแปลนพื้นโดยทัว่ ไปใช้เท่าไร ก. 1 : 25 ข. 1 : 50 ค. 1 : 75 ง. 1 : 100 F คืออะไรในผังโครงสร้าง ก. เสาตอม่อ ข. ฐานราก ค. คาน ง. เสา C คืออะไรในผังโครงสร้าง ก. เสาตอม่อ ข. ฐานราก ค. คาน ง. เสา การเขียนแบบขยายประตู-หน้าต่าง จะต้องใช้แปลนอะไรบ้าง ก. แปลนรู ปด้าน ข. แปลนรู ปตัด ค. แบบขยายเฉพาะ ง. รายการวัสดุ จ. ถูกทุกข้อ ผูท้ ี่รับผิดชอบในการออกแบบและเขียนแบบก่อสร้างมีใครบ้าง ก. วิศวกร คนงาน สถาปนิก ข. วิศวกร ช่างเขียนแบบ สถาปนิก ค. วิศวกร คนงาน ช่างเขียนแบบ ง. ถูกทุกข้อ


18. การเขียนแบบแปลนพื้นควรเริ่ มอะไรเป็ นอันดับแรก ก. การเขียนตาแหน่งของคาน ข. การเขียนตาแหน่งของประตู-หน้าต่าง ค. การเขียนตาแหน่งของเสา ง. การเขียนตาแหน่งของสัญลักษณ์ 19. ตัวอักษรที่ใช้เขียนในรายการประกอบแบบควรมีขนาดเท่าใด ก. 2.5 มิลลิเมตร ข. 3.0 มิลลิเมตร ค. 3.5 มิลลิเมตร ง. ถูกทั้ง ก และ ค 20. ความสูงของวงกบบนของประตูและหน้าต่างในรู ปด้านทัว่ ไปสูงจากระดับพื้นห้องเท่าไร ก. 8.0 เมตร ข. 8.5 เมตร ค. 0.9 เมตร ง. 1.0 เมตร


จงตอบคาถามต่อไปนี้เลือกคาตอบที่ถูกที่สุด กากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใดไม่ได้แสดงโครงสร้างของอาคาร ฉ. ผังพื้น ช. ผังฐานราก ซ. ผังคาน พื้น ชั้นล่าง ฌ. ผังคาน ตง พื้น 2. ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของโครงสร้างใต้ดิน ฉ. เสา ช. ฐานรากแผ่ ซ. ฐานรากชนิดใช้เสาเข็มสั้น ฌ. ฐานรากชนิดใช้เสาเข็มยาว 3. การบอกชื่อรู ปด้านกาหนดจาก ฉ. ด้านหน้าของอาคาร ช. ด้านหลังของอาคาร ซ. ด้านซ้ายของอาคาร ฌ. ด้านขวาของอาคาร 4. จากรู ปด้านสามารถบอกชนิดและแบบหน้าต่างได้จาก ก. สัญลักษณ์หน้าต่างในรู ปด้าน ข. ตารางรายละเอียดหน้าต่าง ค. ผังพื้น ง. ถูกทั้ง ก และ ข 5. ข้อใดไม่สามารถอ่านได้จากรู ปด้าน ฉ. ระดับของอาคาร ช. พื้นที่ของอาคาร ซ. ชนิดและแบบของประตู ฌ. ลักษณะของผนัง 6. รู ปทรงของหลังคามีทรงอะไรบ้าง จ. ทรงจัว่

ฉ. ทรงเพิงแหงน ช. ทรงปั้นหยา ง. ถูกทุกข้อ


7.

คือสัญลักษณ์แทนอะไร ก. ทิศเหนือ ข. ประตู ค. ผนัง ง. พื้น

8.

คือสัญลักษณ์แทนอะไร ก. ทิศเหนือ ข. หน้าต่าง ค. ผนัง ง. พื้น

9.

คือสัญลักษณ์แทนอะไร ก. ทิศเหนือ ข. ประตู ค. ผนัง ง. พื้น

10.

คือสัญลักษณ์แทนอะไร ก. ประตู ข. หน้าต่าง ค. ผนัง ง. พื้น

11.

คือสัญลักษณ์แทนอะไร ก. ประตู ข. หน้าต่าง ค. ผนัง ง. พื้น

12.

คือสัญลักษณ์แทนอะไร ก. ทางลาด ข. แนวรู ปตัด ค. ผนัง ง. พื้น


13. มาตราส่วนของการเขียนแบบแปลนพื้นโดยทัว่ ไปใช้เท่าไร ก. 1 : 25 ข. 1 : 50 ค. 1 : 75 ง. 1 : 100 14. F คืออะไรในผังโครงสร้าง ก. เสาตอม่อ ข. ฐานราก ค. คาน ง. เสา 15. B คืออะไรในผังโครงสร้าง ก. เสาตอม่อ ข. ฐานราก ค. คาน ง. เสา 16. C คืออะไรในผังโครงสร้าง ก. เสาตอม่อ ข. ฐานราก ค. คาน ง. เสา 17. การเขียนแบบขยายเฉพาะส่วน จะต้องใช้แปลนอะไรบ้าง ก. แปลนรู ปด้าน ข. แปลนรู ปตัด ค. แบบขยายเฉพาะ ง. รายการวัสดุ 18. ผูท้ ี่รับผิดชอบในการออกแบบและเขียนแบบก่อสร้างมีใครบ้าง ก. วิศวกร คนงาน สถาปนิก ข. วิศวกร ช่างเขียนแบบ สถาปนิก ค. วิศวกร คนงาน ช่างเขียนแบบ ง. ถูกทุกข้อ 19. การเขียนแบบแปลนพื้นควรเริ่ มอะไรเป็ นอันดับแรก ก. การเขียนตาแหน่งของคาน ข. การเขียนตาแหน่งของประตู-หน้าต่าง


20.

21.

22.

23.

24.

25.

ค. การเขียนตาแหน่งของเสา ง. การเขียนตาแหน่งของสัญลักษณ์ ตัวอักษรที่ใช้เขียนในรายการประกอบแบบควรมีขนาดเท่าใด ก. 2.5 มิลลิเมตร ข. 3.0 มิลลิเมตร ค. 3.5 มิลลิเมตร ง. ถูกทั้ง ก และ ค ความสูงของวงกบบนของประตูและหน้าต่างในรู ปด้านทัว่ ไปสูงจากระดับพื้นห้องเท่าไร ก. 8.0 เมตร ข. 8.5 เมตร ค. 0.9 เมตร ง. 1.0 เมตร การเขียนแบบขยายประตู-หน้าต่าง จะต้องใช้แปลนอะไรบ้าง ก. แปลนรู ปด้าน ข. แปลนรู ปตัด ค. แบบขยายเฉพาะ ง. ถูกทุกข้อ ผูท้ ี่รับผิดชอบในการออกแบบและเขียนแบบก่อสร้างมีใครบ้าง ก. วิศวกร คนงาน สถาปนิก ข. วิศวกร ช่างเขียนแบบ สถาปนิก ค. วิศวกร คนงาน ช่างเขียนแบบ ง. ถูกทุกข้อ การเขียนแบบแปลนพื้นควรเริ่ มอะไรเป็ นอันดับแรก ก. การเขียนตาแหน่งของคาน ข. การเขียนตาแหน่งของประตู-หน้าต่าง ค. การเขียนตาแหน่งของเสา ง. การเขียนตาแหน่งของสัญลักษณ์ ตัวอักษรที่ใช้เขียนในรายการประกอบแบบควรมีขนาดเท่าใด ก. 2.5 มิลลิเมตร ข. 3.0 มิลลิเมตร ค. 3.5 มิลลิเมตร ง. ถูกทั้ง ก และ ค


26. ข้อกาหนดและกฎเกณฑ์ในการออกแบบและเขียนแบบก่อสร้างบ้านพักอาศัย สาหรับบ้านพักอาศัยที่อยู่ ใกล้แม่น้ าความกว้างไม่เกิน 10 เมตรตัวอาคารจะต้องร่ นห่างกี่เมตร ก. 2 เมตร ข. 3 เมตร ค. 4 เมตร ง. 6 เมตร 27. ห้องน้ าควรออกแบบให้อยูท่ างทิศใดของบ้าน ก. ทิศตะวันออก ข. ทิศตะวันตก ค. ทิศใต้ ง. ทิศเหนือ 28. ข้อใดเป็ นวัสดุที่ใช้ปูพ้นื ทั้งหมด ก. พรม ไม้ปาเก้ กระเบื้องลอนคู่ ข. หินอ่อน กระเบื้องเคลือบ ค. กระเบื้องดินเผา กระเบื้องลอนคู่ ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก 29. ข้อกาหนดและกฎเกณฑ์ในการออกแบบและเขียนแบบก่อสร้างบ้านพักอาศัย สาหรับบ้านสูงไม่เกิน 8 เมตรติดถนนตัวบ้านจะต้องห่างจากถนนกี่เมตร ก. 3 เมตร ข. 4 เมตร ค. 5 เมตร ง. 6 เมตร 30. แบบก่อสร้างแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ข้อใดถูกต้อง ก. แบบทางสถาปัตยกรรม แบบทางไฟฟ้ า ข. แบบทางวิศวกรรม แบบทางสุขาภิบาล ค. แบบทางวิศวกรรม แบบทางสถาปัตยกรรม ง. แบบทางไฟฟ้ า แบบทางสุขาภิบาล 31. งานเขียนแบบก่อสร้างกาหนดให้ใช้กระดาษเขียนแบบมาตรฐานขนาดเท่าไร ก. A0 ข. A1 ค. A2 ง. A3 32. มาตราส่วนของการเขียนแบบขยายส่วนรายละเอียดเพิ่มเติมโดยทัว่ ไปใช้เท่าไร


ก. 1 : 10 ข. 1 : 20 ค. 1 : 50 ง. 1 : 75 33. มาตราส่วนของการเขียนแบบรู ปตัดของอาคารใช้เท่าไร ก. 1 : 10 ข. 1 : 20 ค. 1 : 50 ง. ถูกทุกข้อ 34. ในสารบัญแบบกาหนดหมายเลขแบบ A-01 หมายถึงแบบใด ก. แบบทางวิศวกรรม ข. แบบทางสถาปัตยกรรม ค. แบบทางไฟฟ้ า ง. แบบทางสุขาภิบาล 35. ในสารบัญแบบกาหนดหมายเลขแบบ S-01 หมายถึงแบบใด ก. แบบทางวิศวกรรม ข. แบบทางสถาปัตยกรรม ค. แบบทางไฟฟ้ า ง. แบบทางสุขาภิบาล 36. ในสารบัญแบบกาหนดหมายเลขแบบ E-01 หมายถึงแบบใด ก. แบบทางวิศวกรรม ข. แบบทางสถาปัตยกรรม ค. แบบทางไฟฟ้ า ง. แบบทางสุขาภิบาล 37. ในสารบัญแบบกาหนดหมายเลขแบบ SN-01 หมายถึงแบบใด ก. แบบทางวิศวกรรม ข. แบบทางสถาปัตยกรรม ค. แบบทางไฟฟ้ า ง. แบบทางสุขาภิบาล 38. ส่วนประกอบโครงสร้างใต้ดินของอาคารข้อใดถูกต้อง ก. เสาตอม่อ ฐานราก เสาเข็ม ข. เสาเข็ม คาน โครงหลังคา ค. เสาตอม่อ คาน เสาเข็ม


ง. ฐานราก เสาเข็ม โครงหลังคา 40. โครงสร้างของอาคารที่อยูเ่ หนือดินข้อใดถูกที่สุด ก. คาน เสา หลังคา ข. หลังคา จันทัน ดั้ง ค. อะเส คาน อกไก่ ง. ถูกทุกข้อ 41. ข้อใดคือเสาเข็มที่ใช้ในการรับน้ าหนักของอาคาร ก. เสาเข็มตอก ข. เสาเข็มเจาะ ค. เสาเข็มกด ง. ถูกทุกข้อ 42. คานคอดินทาหน้าที่อะไร ก. ยึดโครงสร้างส่วนล่างของอาคารส่วนล่างให้แข็งแรง ข. รับน้ าหนักจากผนังและถ่ายลงสูเ้ สาเข็ม ค. เป็ นทั้งตัวโครงสร้างและรับกาลังของผนัง ง. ถูกทุกข้อ 43. ในการเขียนแบบรู ปด้านจะต้องสาพันธ์กบั แบบอะไรบ้าง ก. แบบรู ปตัด แบบโครงสร้าง ข. แบบผังพื้น แบบรู ปตัด ค. แบบผังพื้น แบบรู ปขยาย ง. แบบรู ปตัด แบบรู ปขยาย 44. ในการเขียนแบบก่อสร้างจะต้องคานึงถึงอะไรบ้าง ก. การจัดวางรู ป ข. น้ าหนักของเส้น ค. การเขียนอักษร ง. ถูกทุกข้อ 45. เป็ นหลังคาประเภทใด ก. หลังคาเพิงหมาแหงน ข. หลังคาจัว่ ค. หลังคาทรงปั้นหยา ง. หลังคาผีเสื้อ 46. เป็ นหลังคาประเภทใด


ก. หลังคาเพิงหมาแหงน ข. หลังคาจัว่ ค. หลังคาทรงปั้นหยา ง. หลังคาผีเสื้อ 47. เป็ นหลังคาประเภทใด ก. หลังคาเพิงหมาแหงน ข. หลังคาจัว่ ค. หลังคาทรงปั้นหยา ง. หลังคาผีเสื้อ 48. เหล็กที่ใช้ในงานโครงสร้างฐานรากคือข้อใด ก. เหล็กเส้นกลม ข. เหล็กข้ออ้อย ค. เหล็กฉาก ง. เหล็กปลอก 49. RB คือเหล็กอะไร ก. เหล็กเส้นกลม ข. เหล็กข้ออ้อย ค. เหล็กฉาก ง. เหล็กปลอก 50. DB คือเหล็กอะไร ก. เหล็กเส้นกลม ข. เหล็กข้ออ้อย ค. เหล็กฉาก ง. เหล็กปลอก 51. ส่วนผสมของคอนกรี ต 1:2:4 ข้อใดถูกต้อง ก. ปูนซีเมนต์ ทรายหยาบ หิน ข. ทรายหยาบ ปูนซีเมนต์ หิน ค. ปูนซีเมนต์ หิน ทรายหยาบ ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก 52. พื้นประเภทใดที่เหล็กเสริ มในพื้นไม่ตอ้ งยืน่ เลยเข้าไปคาน ก. พื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก วางบนดิน


ข. พื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ทางเดียว ค. พื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก สองทาง ง. ถูกทุกข้อ 53. เหล็กเสริ มในคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กที่ทาหน้าที่รับแรงเฉือนได้แก่ ก. เหล็กปลอกและเหล็กคอม้า ข. เหล็กล่าง ค. เหล็กบน ง. ถูกทุกข้อ 54. ข้อใดเป็ นแบบขยายรายละเอียดทางวิศวกรรม ก. แบบขยายรายละเอียดประตู ข. แบบขยายการปูกระเบื้อง ค. แบบขยายรายละเอียดตอม่อ ง. ผังโครงสร้าง 55. ข้อใดไม่ใช่แบบขยายรายละเอียดทาง สถาปัตยกรรม ก. แบบขยายเชิงชาย ข. แบบขยายบันใด ค. แบบขยายหน้าต่าง ง. แบบขยายคานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก 56. ข้อใดไม่ตอ้ งแสดงในผังฐานราก ก. ตาแหน่งของตอม่อ ข. ตาแหน่งของฐานราก ค. ตาแหน่งของพื้น ง. ตาแหน่งบ่อเกรอะ-บ่อซึม 57. การเขียนรู ปตัดควรทาดังนี้ ก. เริ่ มเขียนจากห้องพักผ่อน ข. เริ่ มเขียนแนวเส้นตัดในรู ปด้าน ค. เริ่ มเขียนจากโครงหลังคา ง. เริ่ มเขียนจากความกว้างและความสูงของอาคาร 58. ตัวไม้ขอ้ ใดที่ทาหน้าที่เหมือนคานในผังโครงหลังคา ก. แป ข. ระแนง ค. อะเส ง. จันทันเอก


59. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของคอนกรี ต ก. รับแรงอัด ข. รับแรงดึง ค. รับแรงเฉือน ง. ยึดเหล็กเสริ มให้อยูใ่ นตาแหน่ง 60. คานคอนกรี ตเสริ มเหล็กแบ่งออกเป็ นกี่ประเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท 61. รู ปขยายคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กควรแสดงด้วย ก. รู ปตัดตามขวางและรู ปตัดตามยาว ข. รู ปตัดตามยาว ค. รู ปตัดทางดิ่ง ง. แนวตัดทางราบ 62. การเขียนแบบขยายฐานรากเสริ มเหล็กเขียนรู ปตัดทางตั้งเพื่อแสดงรายละเอียดอะไรบ้าง ก. ระดับของฐานรากจากระดับดินเดิม ข. ความหนาของคอนกรี ตหยาบ ค. ความกว้างและความหนาของฐานราก ง. ถูกทุกข้อ 63.ข้อกาหนดในการเขียนแบบขยายเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก เหล็กยืนต้องมีขนาดไม่นอ้ ยกว่ากี่มิลลิเมตร ก. 6 มิลลิเมตร ข. 12 มิลลิเมตร ค. 16 มิลลิเมตร ง. 20 มิลลิเมตร 64. ข้อกาหนดในการเขียนแบบขยายเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก เหล็กปลอกต้องมีขนาดไม่เล็กกว่ากี่มิลลิเมตร ก. 6 มิลลิเมตร ข. 12 มิลลิเมตร ค. 16 มิลลิเมตร ง. 20 มิลลิเมตร 65. เหล็กเสริ มในคานทาหน้าที่อะไร ก. รับแรงเฉือน ข. รับแรงดึง


ค. รับแรงดัด ง. รับแรงอัด 66. ข้อใดคือประเภทของคานคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ก. คานช่วงเดียว ข. คานต่อเนื่อง ค. คานยืน่ ง. ถูกทุกข้อ 67. ข้อใดคือเครื่ องมือในการเขียนแบบ ก. โต๊ะเขียนแบบ/T-Slide ข. ฉากสามเหลี่ยม ค. กระดาษเขียนแบบ A2 ง. ถูกทุกข้อ 68. การเดินสายไฟภายในอาคารควรเลือกท่อร้อยสายไฟแบบใด ก. ท่อ PVC ข. ท่อเหล็ก ค. ท่อโลหะ ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก 69. คือสัญลักษณ์แทนอะไร ก. เส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กข้ออ้อย ข. เส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กเส้นกลม ค. เส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กกล่องสี่เหลี่ยม ง. เส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กฉาก 70. ระบบสุขาภิบาลในการวางท่อในอาคารต้องเริ่ มจาก ก. น้ าดี ผ่านการใช้ น้ าเสีย บาบัด ปล่อยทิ้ง ข. น้ าดี ผ่านการใช้ บาบัด ปล่อยทิ้ง ค. น้ าดี น้ าเสีย ผ่านการใช้ บาบัด ปล่อยทิ้ง ง. น้ าดี ผ่านการใช้ น้ าเสีย บ่อเกรอะ ปล่อยทิ้ง 71. ในการออกแบบห้องน้ าจะต้องมีการแบ่งส่วนเปี ยกส่วนแห้ง ข้อใดเป็ นสุขภัณฑ์ที่อยูใ่ นส่วนเปี ยก ก. ฝักบัว อ่างอาบน้ า ข. อ่างอาบน้ า อ่างล้างหน้า ค. ฝักบัว ชักโครก ง. โถปัสสาวะ ชักโครก


72. ข้อใดเป็ นสุขภัณฑ์ที่อยูใ่ นส่วนแห้งในห้องน้ า ก. ฝักบัว อ่างอาบน้ า ข. อ่างอาบน้ า อ่างล้างหน้า ค. ฝักบัว ชักโครก ง. โถปัสสาวะ ชักโครก 73. การจัดและออกแบบห้องน้ าในอาคารต้องคานึงถึง ก. ความสะดวกในการใช้งาน ข. งบประมาณที่ใช้ ค. สุขอานามัยที่ดี ง. ถูกทุกข้อ 74. เสาเข็มอัดแรงที่ใช้ในปัจจุบนั มีหลายรู ปแบบ ข้อใดถูกต้อง ก. เสาเข็มสี่เหลี่ยม เสาเข็มตัว I ข. เสาเข็มตัว H เสาเข็มตัว T ค. เสาเข็มวงกลม เสาเข็มหกเหลี่ยม ง. ถูกทุกข้อ 75. RB คือสัญลักษณ์แทนอะไร ก. เส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กข้ออ้อย ข. เส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กเส้นกลม ค. เส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กกล่องสี่เหลี่ยม ง. เส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กฉาก 76. ข้อใดไม่ใช่ปูนซีเมนต์สาหรับงานก่อ ฉาบ ก. ปูนตราเสือ ข. ปูนตราดอกบัว ค. ปูนตราเพชร ง. ปูนตรานกอินทรี ย ์ 77. ข้อใดคือปูนซีเมนต์สาหรับงานโครงสร้าง ก. ปูนตราเสือ ข. ปูนตราช้าง ค. ปูนตราดอกบัว ง. ปูนตรานกอินทรี ย ์ 78. การบ่มคอนกรี ตสาหรับงานคานและเสาจะต้องทาอย่างไร ก. ใช้กระสอบป่ านคลุ่มแล้วรดน้ า


ข. ใช้พลาสติกหุม้ ทิ้งไว้ ค. ข้อ ก และ ข ถูกต้อง ง. ข้อ ค ผิด 79. องค์ประกอบของผังบริ เวณที่ตอ้ งแสดงในแบบคือ ก. ตาแหน่งที่ต้งั และขนาดของที่ดิน ข. ตาแหน่งที่ต้งั ของตัวอาคาร ค. เส้นทางสัญจรภายใน ง. ถูกทุกข้อ 80. ระยะเวลาในการถอดแบบเสา คาน ต้องใช้เวลากี่วนั ก. 1 วัน ข. 5 วัน ค. 7 วัน ง. 14 วัน 81. การบ่มคอนกรี ตโครงสร้างจะต้องใช้เวลากี่วนั ก. 14 วัน ข. 20 วัน ค. 28 วัน ง. 30 วัน 82. การบ่มคอนกรี ตต้องทาการบ่มเมื่อเวลาผ่านไปแล้วกี่ชวั่ โมง ก. 14 ชัว่ โมง ข. 24 ชัว่ โมง ค. 28 ชัว่ โมง ง. 48 ชัว่ โมง 83. ระยะดิ่งเพดานยอดฝ้ า หรื อผนัง สาหรับอาคารพักอาศัยจะต้องไม่นอ้ ยกว่าเท่าใด ก. 200 เซนติเมตร ข. 250 เซนติเมตร ค. 300 เซนติเมตร ง. 350 เซนติเมตร 84. ความสูงจากพื้นห้องถึงเพดานสาหรับอาคารพักอาศัยจะต้องไม่นอ้ ยกว่าเท่าใด ก. 225 เซนติเมตร ข. 250 เซนติเมตร ค. 275 เซนติเมตร


ง. 350

เซนติเมตร

85.

คือสัญลักษณ์แทนอะไร ก. ทางลาด ข. แนวรู ปตัด ค. ผนัง ง. พื้น

86.

คือสัญลักษณ์แทนอะไร ก. ทางลาด ข. แนวรู ปตัด ค. แนวเสา ง. พื้น 87. ขนาดและวัสดุที่นามาใช้จะต้องเขียนระบุไว้ที่ใด ก. รายการประกอบแบบ ข. รายการวัสดุ ค. แบบขยายเฉพาะ ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก 88.

คือฐานรากแบบใด ก. ฐานรากใต้กาแพง ข. ฐานรากร่ วม ค. ฐานรากเดี่ยว ง. ฐานรากตีนเป็ ด 89. ผังโครงสร้างประกอบด้วยข้อใด ก. ผังฐานราก ข. ผังคาน-พื้น ค. ผังโครงหลังคา ง. ถูกทุกข้อ 90. S คืออะไรในผังโครงสร้าง ก. พื้น ข. ฐานราก ค. คาน


ง. เสา 91. การเขียนแบบหลังคาจะต้องดูจากแบบอะไร ก. แบบผังพื้น ข. แบบรู ปตัด ค. ข้อ ก และ ข ถูก ง. ถูกเฉพาะข้อ ก 92.

คือสัญลักษณ์แทนอะไร ก. ผนังก่ออิฐครึ่ งแผ่น ข. แนวรู ปตัด ค. แนวเสา ง. ผนังก่ออิฐเต็มแผ่น 93. +0.00 คืออะไร ก. ระดับดินเดิม ข. แนวรู ปตัด ค. แนวเสา ง. ผนังก่ออิฐเต็มแผ่น ลาดับการเขียนผังบริ เวณ 1. เขียนขนาดของที่ดิน 2. เขียนตาแหน่งของอาคาร 3. เขียนแนวท่อระบายน้ า 4. จัดว่างรู ปให้เหมาะสมกับหน้ากระดาษ 5. ตรวจสอบแบบผังบริ เวณ 94. ข้อใดคือลาดับขั้นตอนการเขียนผังบริ เวณที่ถกู ต้อง ก. 4 3 2 1 5 ข. 4 1 2 3 5 ค. 4 2 1 3 5 ง. 4 5 3 1 2 95. การเขียนผังบริ เวณเพื่ออะไร ก. แสดงพื้นที่ก่อสร้าง ข. แสดงทิศทางของตัวอาคาร ค. การกาหนดจุดเข้า-ออก


ง. ถูกทุกข้อ 96. ในการเขียนแบบผูเ้ ขียนแบบจะต้องทราบอะไร ก. การจัดรู ปแบบของการเขียน ข. สภาพแวดล้อมในการก่อสร้าง ค. วัสดุที่ใช้ ง. ถูกทุกข้อ 97. ในการเขียนแบบจะต้องกาหนดให้ดา้ นหน้าของอาคารหันไปทางทิศใดเสมอ ก. ทิศตะวันออก ข. ทิศเหนือ ค. ทิศใต้ ง. ทิศตะวันตก 98. การเขียนแบบโมเดลจะต้องเขียนจากระดับพื้นถึงระดับใด ก. อะเส ข. อกไก่ ค. หลังคา ง. ค้ ายัน 99. ผูเ้ ขียนแบบจะต้องคานึงถึงสิ่งใดเป็ นสาคัญ ก. ความสวยงาม ข. ความสะอาด ค. ความถูกต้อง ง. ถูกทุกข้อ 100.ท่อที่ใช้สาหรับใส่สายไฟควรเป็ นสีอะไร ก. ขาว ข. ฟ้ า ค. เขียว ง. เหลือง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.