ลักษณะรายวิชา
( COURSE DESCRIPTION ) หลักสู ตร วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุ ง 2546) สาขาวิชาช่างก่อสร้าง ชั้นปี ที่ 1 ภาคเรี ยนที่ 1
รหัสและชื่อรายวิชา ( TITLE HEADING ) 2106 - 2102 งานปูน 1
พืน้ ฐานรายวิชา ( REQUISITE BACKGROUND ) ไม่มี
คาอธิบายรายวิชา ( CONTENT ) ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกับหลักการก่ออิฐ ฉาบปูน การใช้เครื่ องมือ การปฏิบตั ิตามขั้นตอน การเตรี ยมงานผสมปูน งานทาแนวระดับสาหรับงานกาแพงก่ออิฐครึ่ งแผ่น กาแพงอิฐก่อฉากหนึ่ง มุมครึ่ งแผ่น กาแพงก่ออิฐสองมุมครึ่ งแผ่น กาแพงก่ออิฐครึ่ งแผ่น บ่อน้ า กาแพงก่ออิฐเต็มแผ่น กาแพงอิฐหนึ่งแผ่น ครึ่ งแผ่น เสาอิฐก่อรู ปสี่เหลี่ยม หกเหลี่ยมและแปดเหลี่ยม เสาและกาแพงอิฐก่อ ก่อกาแพงคอนกรี ตบล็อก เทคนิคการแต่งแนวก่อ ทั้งแนวระดับและแนวดิ่ง ก่อฉาบอิฐมวลเบา
จุดมุ่งหมายรายวิชา ( COURSE OBJECTIVE ) เมื่อนักศึกษาได้เรี ยนวิชา 2106 - 2102 งานปูน 1 จะมีความสามารถดังต่อไปนี้ 1. มีความเข้าใจหลักการก่ออิฐและฉาบปูนในรู ปแบบต่าง ๆ 2. สามารถก่ออิฐและฉาบปูนในรู ปแบบต่าง ๆ ได้ 3. มีกิจนิสยั ในการทางานอย่างมีวินยั ประณี ต รอบคอบ ความปลอดภัยและอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม
การจัดการสอน 108 คาบ เรี ยนตลอด 18 สัปดาห์ ทฤษฎี 1 คาบ ปฏิบตั ิ 5 คาบต่อสัปดาห์
คู่มือวิชาโดยสั งเขป ( COURSE OUTLINE ) 1. หลักสู ตร วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 ( ปรับปรุ ง พ.ศ. 2546 ) สาขาวิชาช่างก่อสร้าง ชั้นปี ที่ 1 ภาคเรี ยนที่ 1 2. ชื่อวิชาและรหัสวิชา ( Title Heading ) 2106 – 2102 งานปูน 1 3. พืน้ ฐานที่จาเป็ น ( Required Background ) ไม่มี 4. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกับหลักการก่ออิฐ ฉาบปูน การใช้เครื่ องมือ การปฏิบตั ิงานตาม ขั้นตอนการเตรี ยมงานผสมปูน งานทาแนวระดับสาหรับงานกาแพงก่ออิฐครึ่ งแผ่น กาแพงอิฐก่อ ฉากหนึ่งมุมครึ่ งแผ่น กาแพงก่ออิฐสองมุมครึ่ งแผ่น กาแพงก่ออิฐครึ่ งแผ่น บ่อน้ า กาแพงอิฐก่อ เต็มแผ่น กาแพงอิฐหนึ่งแผ่น ครึ่ งแผ่น เสาอิฐก่อรู ปสี่เหลี่ยม หกเหลี่ยมและแปดเหลี่ยม เสาและ กาแพงอิฐก่อ ก่อกาแพงคอนกรี ตบล็อก เทคนิคการแต่งแนวก่อ ทั้งแนวระดับและแนวดิ่ง ก่อฉาบ อิฐมวลเบา 5. จุดประสงค์รายวิชา ( Course Objective ) เมื่อนักศึกษาได้เรี ยนวิชา 2106 - 2102 งานปูน 1 จะมีความสามารถดังต่อไปนี้ 4. เข้าใจหลักการก่ออิฐและฉาบปูนในรู ปแบบต่าง ๆ 5. สามารถก่ออิฐและฉาบปูนในรู ปแบบต่าง ๆ ได้ 6. มีกิจนิสยั ในการทางานอย่างมีวินยั ประณี ต รอบคอบ ความปลอดภัยและอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม 6. ตาราประกอบการเรียนการสอน 1. ดาเนิน คงพาลา, “ งานก่ออิฐและฉาบปูน (ภาคปฏิบตั ิ) “ , สานักพิมพ์ ส.ส.ท. , 2548 2. พิภพ สุนทรสมัย, “ ช่างปูนก่อสร้าง “ , สานักพิมพ์ ส.ส.ท. , 2526 7. อุปกรณ์ที่นักศึกษาใช้ ประกอบการเรียน 1. เกรี ยง 2. ตลับเมตร 3. ดินสอไม้ 8. เครื่องอานวยความสะดวก 1. ถังน้ า , ถังผสมปูนขาว
2. อิฐและวัสดุในการปฏิบตั ิงาน 3. อุปกรณ์ทาความสะอาดโรงฝึ กปฏิบตั ิงาน 9. แผนการจัดการเรียนการสอน (Course Content Plan) จัดแบ่งเนื้อหาตามลาดับ ดังนี้ สัปดาห์ 1
เนือ้ หา การใช้เครื่ องมือ อุปกรณ์และวัสดุที่ใช้ในการก่ออิฐฉาบปูน รู ปแบบการก่ออิฐ
จานวนคาบ 6
2
การก่ออิฐครึ่ งแผ่น
6
3
การก่ออิฐครึ่ งแผ่น 1 มุมฉาก
6
4
การก่ออิฐครึ่ งแผ่น 2 มุมฉาก
6
5
การก่ออิฐเต็มแผ่น
6
6
การก่ออิฐเต็มแผ่น 1 มุมฉาก
6
7
การก่ออิฐเต็มแผ่น 2 มุมฉาก
6
8
การก่อคอนกรี ตบล็อก
6
9
การก่ออิฐครึ่ งแผ่นรู ปสี่เหลี่ยม (บ่อน้ า)
6
10
การก่ออิฐครึ่ งแผ่นรู ปวงกลม
6
11
การก่ออิฐเสารู ปสี่เหลี่ยม
6
12
การก่ออิฐเสารู ปสิบสองเหลี่ยม
6
สัปดาห์ 13
เนือ้ หา การก่ออิฐโชว์แนวและเซาะร่ อง
จานวนคาบ 6
14
การจับเหลี่ยม (เฟี้ ยม) เสา
6
15
การปรับระดับผนังและทาปุ่ มระดับ
6
16
การจับเหลี่ยม (เฟี้ ยม) ผนัง
6
17
การฉาบผนัง
6
18
ทดสอบปลายภาคเรี ยน
-
10. วิธีที่จะใช้ ในการสอน (Method of Instruction) 1. อธิบายทฤษฎีและขั้นตอนของงานที่ลงมือปฏิบตั ิในแต่ละครั้ง 2. หลังจากจบการอธิบายแล้ว ให้นกั ศึกษาลงมือปฏิบตั ิงานในโรงฝึ ก 3. ระหว่างที่ผเู้ รี ยนลงมือปฏิบตั ิสามารถขอคาแนะนาจากผูส้ อนได้ 4. เมื่อครบตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ ผูส้ อนตรวจงานให้คะแนนผูเ้ รี ยนพร้อมทั้งอธิบาย สาเหตุของปัญหาและลักษณะการทางานของผูเ้ รี ยน 5. ผูเ้ รี ยนทาความสะอาดโรงฝึ กปฏิบตั ิงาน 11. วิธีการวัดผล ( Method of Evaluating Outcome ) - การทดสอบ - จิตพิสยั 20 - การฝึ กปฏิบตั ิจากใบงานที่มอบหมาย รวม 100
10 % % 70 % %
หมายเหตุ : เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมิน
ระดับคะแนน
0 - 49 50 - 54 54 - 59 60 - 64 65 - 69 70 - 74 75 - 79 80 - 100
0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4
สัปดาห์ที่
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
หน้าที่
1
1
วันที่ : 18 พ.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
งานปูน 1 (Masonry Work I) คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกับหลักการก่ออิฐ ฉาบปูน การใช้เครื่ องมือ การปฏิบตั ิงานตามขั้นตอนการ เตรี ยมงานผสมปูน งานทาแนวระดับสาหรับงานกาแพงก่ออิฐครึ่ งแผ่น กาแพงอิฐก่อฉากหนึ่งมุมครึ่ งแผ่น กาแพงก่ออิฐสองมุมครึ่ งแผ่น กาแพงก่ออิฐครึ่ งแผ่น บ่อน้ า กาแพงอิฐก่อเต็มแผ่น กาแพงอิฐหนึ่งแผ่น ครึ่ งแผ่น เสาอิฐก่อรู ปสี่เหลี่ยม หกเหลี่ยมและแปดเหลี่ยม เสาและกาแพงอิฐก่อ ก่อกาแพงคอนกรี ตบล็อก เทคนิคการแต่งแนวก่อ ทั้งแนวระดับและแนวดิ่ง ก่อฉาบอิฐมวลเบา จุดมุ่งหมายรายวิชา เมื่อนักศึกษาได้เรี ยนวิชา 2106 - 2102 งานปูน 1 จะมีความสามารถดังต่อไปนี้ 1. มีความเข้าใจหลักการก่ออิฐและฉาบปูนในรู ปแบบต่าง ๆ 2. สามารถก่ออิฐและฉาบปูนในรู ปแบบต่าง ๆ ได้ 3. มีกิจนิสยั ในการทางานอย่างมีวินยั ประณี ต รอบคอบ ความปลอดภัยและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตาราประกอบการเรียนการสอน 1. ดาเนิน คงพาลา, “ งานก่ออิฐและฉาบปูน (ภาคปฏิบตั ิ) “ , สานักพิมพ์ ส.ส.ท. , 2548 2. พิภพ สุนทรสมัย, “ ช่างปูนก่อสร้าง “ , สานักพิมพ์ ส.ส.ท. , 2526 การวัดผล - การทดสอบ - จิตพิสยั - การฝึ กปฏิบตั ิจากใบงานที่มอบหมาย 70 รวม
10 % 20 % % 100 %
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
1
หน้าที่
2
รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 วันที่ : 18 พ.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ เครื่องมือและวัสดุที่ใช้ ในการก่ออิฐฉาบปูน 1. เครื่องมือที่ใช้ ในการก่ออิฐฉาบปูน 1.1 เกรียงเหล็กขนาดกลาง (Trowels) ทาด้วยแผ่นเหล็กเหนียวขนาดกว้าง 77 มิลลิเมตร ยาว 150 มิลลิเมตร มีรูปร่ างคล้ายใบโพธิ์แต่ ส่วนปลายโค้งมน ความหนาส่วนปลายประมาณ 0.5 มิลลิเมตร ส่วนโคนจะมีความหนามากกว่าส่วนปลาย ใบเกรี ยงทาด้วยแผ่นเหล็กเหนียว คุณภาพดี มีความแข็งแรงทนทาน ไม่อ่อนตัวง่าย มีลกั ษณะคล้ายสปริ ง ในตัว ตรงส่วนโคนของใบเกรี ยงมีเหล็กเส้นกลมเชื่อมต่อไปยังด้ามไม้เพื่อใช้จบั และกาได้ถนัดมือ ส่วนปลาย ด้ามไม้มีปุ่มโลหะติดอยูเ่ อาไว้ใช้กระทุง้ ก้อนอิฐในขณะที่ก่อเพื่อให้อิฐได้ระดับเสมอกันทุกก้อน
รู ปเกรี ยงเหล็กขนาดกลาง
เกรี ยงเหล็กขนาดกลางมีหน้าที่ใช้ตกั ปูนก่อ ผสมปูนก่อในกระป๋ องปูน ตัดอิฐมอญให้ขาดออก จากกันเป็ น 2 ก้อน ใช้แต่งอิฐมอญให้มีขนาดตามต้องการ ใช้ตกั ปูนก่อที่ทะลักออกมาทางด้านข้างของอิฐ ใช้ขดู ทาความสะอาดผนังที่ก่อ ใช้ขดู ทาความสะอาดกระป๋ องปูนเพื่อให้ปูนก่อที่ติดอยูต่ ามขอบของกระป๋ อง ปูนได้หลุดออกมารวมกันอยูต่ รงกึ่งกลางของกระป๋ องจะได้ตกั ไปใช้งานต่อไป
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
1
หน้าที่
3
รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 วันที่ : 18 พ.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ เครื่องมือและวัสดุที่ใช้ ในการก่ออิฐฉาบปูน 1.2 ระดับนา้ (Level) เป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการตรวจสอบระดับเพื่อให้งานก่ออิฐในแต่ละชั้นได้ระดับหรื อมีความลาดเอียง ต่างไปจากระดับตามที่ตอ้ งการ ระดับน้ าแบ่งออกเป็ น 2 ชนิดด้วยกันคือ 1. ระดับนา้ อะลูมเิ นียมหรือไม้ มีลกั ษณะเป็ นแท่งอะลูมิเนียมรู ปพรรณหน้าตัดรู ปตัวไอ (I ) หรื อเป็ น ไม้ท่อนตัน มีความยาวหลายขนาดให้เลือกใช้ต้งั แต่ขนาดความยาว 40 - 60 เซนติเมตร ส่วนระดับน้ า อะลูมิเนียมมีความยาว 2 เมตร ขนาดความยาวที่สะดวกแก่การใช้ก็คือ ขนาดความยาวประมาณ 40-60 เซนติเมตร เพราะถ้าใช้ขนาดที่มีความยาวมากกว่านี้การตรวจสอบระดับจะทาได้ลาบาก และอาจเกิดความ ผิดพลาดได้ง่าย อาจต้องใช้ผชู้ ่วยในการปฏิบตั ิงานอีก 1 คน ความยาวมาก ๆ ของระดับน้ าทาให้ไม่สามารถ นาติดตัวไปใช้งานในที่ต่าง ๆ ได้ ระดับน้ าจะมีรูปร่ างที่ต่างกันไปแล้วแต่บริ ษทั ผูผ้ ลิต แต่ส่วนที่สาคัญที่สุดอยู่ ที่หลอดระดับซึ่งจะติดตั้งอยูท่ ี่ก่ึงกลางความยาวของระดับน้ ามี 2 หลอดติดตั้งอยูภ่ ายในโครงสร้างของหลอด ระดับในลักษณะขนานไปกับความยาวของระดับน้ า ขนานหรื อแอ่นตรงกลางเข้าหากันเล็กน้อยเพื่อใช้ ตรวจสอบระดับแนวนอน และอีกตาแหน่งคือด้านปลายของระดับน้ า หลอดระดับมี 2 หลอดติดตั้งอยูใ่ น ลักษณะตั้งฉากกับความยาวของระดับน้ า เมื่อนาระดับน้ าตั้งขึ้นในแนวดิ่ง หลอดระดับจะอยูใ่ นแนวราบ ตรงกลางหลอดระดับโค้งขึ้นเล็กน้อยเพื่อใช้ในการตรวจสอบแนวดิ่งกับขอบนอกของระดับน้ า
รู ประดับน้ าอะลูมิเนียม
2. ระดับสายพลาสติกใส ลักษณะเป็ นสายพลาสติกใสขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน ¼ - ½ นิ้ว มีความยาวประมาณ 3-15 เมตร เป็ นสายพลาสติกใสที่มีลกั ษณะอ่อนและโปร่ งแสงเพื่อสามารถมองเห็นน้ า-
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
1
หน้าที่
4
รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 วันที่ : 18 พ.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ เครื่องมือและวัสดุที่ใช้ ในการก่ออิฐฉาบปูน ที่อยูภ่ ายในสายพลาสติกได้สะดวก หน้าที่ใช้ในการตรวจสอบระดับจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เช่น จากเสาต้นหนึ่งไปยังเสาอีกต้น หนึ่งหรื อจากมุมกาแพงหนึ่งไปยังมุมกาแพงอีกด้านหนึ่งเพื่อให้จุดทั้ง 2 ได้ระดับ นิยมใช้ในการถ่ายระดับ ก่อนการก่ออิฐเพื่อให้ทราบว่าต้องก่ออิฐสูงเท่าไร บางครั้งจะใช้ตรวจสอบหลังก้อนอิฐที่ก่อเสร็ จแล้วเพื่อให้ เกิดความถูกต้องก่อนที่จะปฏิบตั ิงานอย่างอื่นต่อไป หรื อใช้ตรวจสอบเมื่อเห็นว่างานก่ออิฐก้อนบนสุดมีความ ผิดพลาด มีความเที่ยงตรงมากกว่าระดับน้ าอะลูมิเนียม แต่การปฏิบตั ิงานจะต้องใช้คน 2 คนมาจับที่ปลาย ของระดับสายพลาสติก 1.3 ไม้บรรทัดปาดปูนตัวสั้นและตัวยาว (Leveling rules) ไม้บรรทัดปาดปูนตัวสั้นเป็ นไม้บรรทัดขนาดหนา 15 มิลลิเมตร กว้าง 70 มิลลิเมตร ยาวน้อย กว่า 1 เมตร ทาด้วยไม้สกั เพราะเป็ นไม้ที่ยดื หดตัวน้อยมากมีน้ าหนักเบา ลอยน้ า ไม้บรรทัดปาดปูนตัวสั้นเป็ นไม้บรรทัดที่มีความตรงใช้ร่วมกับดินสอดาช่างในการขีดเส้นตรงที่ พื้นโรงฝึ กงานเพื่อการวางผัง พร้อมทั้งใช้ตรวจสอบผนังชั้นที่ 1 ฐานเสาชั้นที่ 1 ให้มีความตรงตามไม้ บรรทัดปาดปูนดังกล่าว
รู ปไม้บรรทัดปาดปูนตัวสั้น
ไม้บรรทัดปาดปูนตัวยาวลักษณะเป็ นไม้บรรทัดขนาดหนา 15 มิลลิเมตร กว้าง 70 มิลลิเมตร ยาวมากกว่า 1 เมตรขึ้นไป ทาด้วยไม้สกั เพราะเป็ นไม้ยดื หดเล็กน้อย มีน้ าหนักเบา ลอยน้ า มี 2 ลักษณะคือ 1. ลักษณะทาจากไม้สกั ท่อนเดียวกันนามาไสเพลาะ ไสขนาดจนกระทัง่ มีผวิ เรี ยบได้ฉากและตรง ทั้ง 4 ด้าน จากนั้นนามาเลื่อยซอยด้วยเครื่ องเลื่อยวงเดือน 4 ครั้ง พร้อมทั้งเลื่อยตัดเฉียงที่หวั และท้ายของไม้ บรรทัดปาดปูนตัวยาว
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
1
หน้าที่
5
รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 วันที่ : 18 พ.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ เครื่องมือและวัสดุที่ใช้ ในการก่ออิฐฉาบปูน 2. ลักษณะที่ทาจากไม้สกั 2 ท่อน นามายึดติดกันด้วยตะปู ตะปูเกลียว ด้วยการใช้ไม้สกั แผ่นบาง ขนาดหนา ½ นิ้ว กว้าง 2 นิ้ว จานวน 2 ท่อน นามาไสให้เรี ยบตรงได้ฉากตามต้องการ จากนั้นเลื่อยตัด เอียงให้ปลายแหลม 2 ปลาย นามาประกอบยึดติดให้มีลกั ษณะเป็ นตัวที (T ) ยึดด้วยตะปูเกลียวหรื อตอกตะปู ฝังหัว ก็จะได้ไม้บรรทัดปาดปูนตัวยาว
รู ปไม้บรรทัดปาดปูนตัวยาว
2. วัสดุที่ใช้ ในการก่ออิฐฉาบปูน 2.1 ปูนซีเมนต์ผสม (Mixed Cement) เป็ นปูนซีเมนต์ที่ผลิตได้จากการนาเอาปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 มาผสมรวมกับ วัสดุเฉื่อยจาพวกทรายหรื อหินปูนที่บดละเอียดประมาณ 25-30 % เพื่อให้เป็ นปูนซีเมนต์ผสมที่มีคุณสมบัติ ง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน มีการรวมตัวและการแข็งตัวช้ากว่าปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ทาให้มีระยะเวลาใน การตกแต่งผลิตภัณฑ์ เป็ นปูนซีเมนต์ที่มีราคาประหยัด ปูนซีเมนต์ผสมมีชื่อเรี ยกอีกชื่อหนึ่งว่า ปูนซีเมนต์ ซิลิกาหรื อซิลิกาซีเมนต์ (silica cement) เป็ นปูนซีเมนต์ที่มีจาหน่ายอยูท่ วั่ ราชอาณาจักรของไทย ได้แก่ ปูนซีเมนต์ตราเสือ, ตรางูเห่า, ตราดอกบัว, ตรา ที พี ไอ สีเขียว, ตราอินทรี แดง, ตราอินทรี ทอง เป็ นต้น 2.2 ทราย เป็ นวัสดุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ นามาเป็ นส่วนผสมที่สาคัญของปูนก่อ งานก่ออิฐนิยม แบ่งทรายออกเป็ น 2 ชนิดด้วยกัน คือ
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
1
หน้าที่
6
รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 วันที่ : 18 พ.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ เครื่องมือและวัสดุที่ใช้ ในการก่ออิฐฉาบปูน 1. ทรายหยาบ ลักษณะเป็ นทรายเม็ดใหญ่ แข็ง มีแง่มุมและเหลี่ยมคม ขนาดของเม็ดทราย ประมาณ 2-3 มิลลิเมตร แหล่งที่เกิดอยูท่ ี่จงั หวัดราชบุรี จึงเรี ยกว่า ทรายราชบุรี เหมาะสาหรับนามาใช้ผสม กับปูนซีเมนต์ผสมเพื่อใช้ในการก่ออิฐ ก่อหิน ที่ตอ้ งการให้เกิดความแข็งแรงทนทาน รับน้ าหนักได้มาก เช่น งานก่ออิฐฐานราก งานก่อหินเขื่อน เป็ นต้น 2. ทรายกลาง ลักษณะเป็ นทรายเม็ดปานกลางไม่หยาบและไม่ละเอียด ขนาดของเม็ดทราย ประมาณ 1.5-2 มิลลิเมตร แหล่งที่เกิดอยูท่ ี่จงั หวัดอ่างทอง จึงเรี ยกว่า ทรายอ่างทอง เหมาะสาหรับนามาใช้ ผสมกับปูนขาวเพื่อให้เป็ นปูนก่อฝึ กหัดของนักศึกษา ใช้ผสมกับปูนซีเมนต์ผสมเพื่อใช้เป็ นปูนก่อที่ป้องกัน น้ าซึมผ่าน ใช้ผสมกับปูนขาว ปูนซีเมนต์ผสม เพื่อใช้เป็ นปูนก่อทัว่ ๆ ไป 2.3 นา้ (Water) น้ าเป็ นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีความสาคัญต่องานก่ออิฐ เนื่องจากงานก่ออิฐจะต้องใช้น้ าเพื่อการ ผสมปูนก่อ ล้างเครื่ องมือ ล้างวัสดุ รวมไปถึงล้างผิวหน้าของงานก่อนที่จะฉาบและให้ผนังมีความชุ่มน้ าอยู่ เสมอในขณะปฏิบตั ิงาน หน้าที่ของน้ าที่ใช้ในการก่ออิฐและฉาบปูน สามารถจาแนกออกได้ดงั นี้ 1. ทาปฏิกิริยากับปูนซีเมนต์ผสมกลายเป็ นวุน้ เหนียว ยึดเกาะทรายให้ติดกับวัสดุที่นามาก่อ 2. ทาให้วสั ดุที่ก่อไว้แล้วซึ่งมีความแห้งให้เปี ยกชื้น เพื่อให้ปูนก่อยึดเกาะในชั้นต่อไปได้ดี 3. ทาให้ผวิ หน้าของงานที่จะฉาบปูนมีความสะอาด เพื่อให้ปูนฉาบยึดเกาะกับผิวหน้าได้ดี 4. ทาให้เครื่ องมือที่นามาใช้ในงานดังกล่าว มีความสะอาด คุณภาพของน้ า น้ าที่นามาใช้ในงานจะต้องเป็ นน้ าที่สะอาด ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ปราศจาก น้ ามัน กรด ด่าง เกลือ หรื อสารอื่น ๆ จะต้องเป็ นน้ าที่ใส ถ้าเป็ นน้ าที่มีความขุ่นอนุญาตให้มีความขุ่นได้ไม่ เกิน 2000 ส่วนในล้านส่วน ดังนั้นน้ าที่เหมาะที่สุดที่จะนามาใช้ในงานควรเป็ นน้ าสะอาดที่ใช้ดื่มได้ เช่น น้ าประปา และน้ าจืดจากแหล่งธรรมชาติ เช่น คลอง หนอง บึง บ่อ แม่น้ า ลาธาร เป็ นต้น น้ าทะเลหรื อ น้ ากร่ อยไม่ควรนามาใช้เพราะความเค็มจะไปทาปฏิกิริยากับปูนซีเมนต์ผสม ทาให้คุณสมบัติของปูนซีเมนต์ ผสมลดกาลังลง และที่ผวิ ด้านนอกของผนังฉาบปูนจะเป็ นคราบเกลือสีขาวให้เห็นอย่างชัดเจน
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
1
หน้าที่
7
รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 วันที่ : 18 พ.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ เครื่องมือและวัสดุที่ใช้ ในการก่ออิฐฉาบปูน
2.4 ปูนขาว เป็ นวัสดุที่ผลิตจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่เก่าแก่ที่สุดที่มนุษย์รู้จกั และเป็ นวัสดุก่อสร้างใน การใช้ผสมปูนก่อ ผสมปูนฉาบให้มีความเหนียว ใช้ผสมกับน้ าทาเป็ นสีน้ าปูน ใช้เป็ นยาฆ่าและป้ องกันแมลง ต่าง ๆ โดยนาไปโรยรอบ ๆ อาคาร นาไปใช้โรยและผสมลงไปในดินเพื่อให้ดินมีความร่ วนซุย ทาให้ตน้ ไม้ เจริ ญงอกงาม การผลิตปูนขาวทาได้ดว้ ยการนาหินปูนไปเผาด้วยความร้อนประมาณ 750-1500 องศาเซลเซียส ใช้ระยะเวลาในการเผาประมาณ 6 วัน 6 คืน จนได้ปูนขาวที่มีเนื้อของปูนเป็ นสีขาว คุณสมบัติของปูนขาว 1. ดูดน้ า เพราะผลิตจากการเผาในอุณหภูมิที่สูง 2. เมื่อผสมกับน้ าสะอาดแล้ว จะละลายเป็ นน้ าสีขาวเหมือนแป้ งมัน 3. มีความเหนียว มีกาลังยึดเกาะพอประมาณ 4. มีราคาถูกกว่าปูนซีเมนต์ผสม จึงนามาใช้ในส่วนผสมของปูนก่อ ปูนฉาบเพื่อลดค่าใช้จ่าย 5. มีความเป็ นด่างสามารถฆ่าเชื้อโรคได้ 6. มีฤทธิ์กดั ผิวหนังให้ทะลุได้
1. 2. 3. 4. 5. 6.
ประโยชน์ของปูนขาว ใช้เป็ นวัสดุประสานร่ วมกับปูนซีเมนต์ผสมในงานก่ออิฐ ฉาบปูนทัว่ ไป นามาร่ อนในน้ าสะอาดทาเป็ นสีน้ าปูนใช้ทาผนังตึก ใช้เป็ นวัสดุประสานในงานก่ออิฐฝึ กหัดของนักศึกษา ใช้โรยรอบอาคารเพื่อป้ องกันปลวก มอด และแมลงต่าง ๆ ใช้โรยเพื่อแสดงขอบเขตของหลุมที่จะขุดในงานฐานราก ใช้โรยเพื่อแสดงขอบเขตของสนามกีฬาและลู่วิ่ง
เนือ้ หาการสอน
สัปดาห์ที่
1
หน้าที่
8
รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 วันที่ : 18 พ.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ เครื่องมือและวัสดุที่ใช้ ในการก่ออิฐฉาบปูน
2.6 อิฐ (Brick) อิฐเป็ นวัสดุก่อที่มนุษย์นามาใช้ในงานก่อตั้งแต่สมัยโบราณมาแล้วจนถึงปัจจุบนั ชาวอียปิ ต์ เป็ นชนชาติแรกที่นาอิฐมาก่อเป็ นผนังอาคาร โดยนาโคลนจากแม่น้ าไนส์มาทาเป็ นแท่งสี่เหลี่ยม แล้วนาไป ตากแดดให้แห้ง เรี ยกว่า ซันเบคบริ ค (sun baked bricks) การผลิตอิฐก็มีการพัฒนาต่อมาเรื่ อย ๆ โดยเปลี่ยน จากการนาไปตากแดดให้แห้งมาเป็ นนาไปเผาไฟ เพื่อให้ดินที่แห้งแล้วได้รับความร้อนสูง เกิดการสุกระอุที่ เนื้อดิน ทาให้อิฐมีความแข็งแกร่ งเพิ่มมากขึ้น ทนแดด ทนฝน ทนน้ า ได้ดีกว่าอิฐในยุคแรก ๆ ลักษณะของอิฐที่ดี 1. มีขนาดและน้ าหนักที่เท่ากันหรื อใกล้เคียงทุกก้อนโดยเฉลี่ย 2. มีความแข็งแรงทนทาน รับน้ าหนักได้มาก 3. มีความเหนียวและแข็งไม่แตกง่าย 4. ผลิตด้วยมืออย่างประณี ตหรื อเครื่ องจักร 5. ผ่านการเผาด้วยอุณหภูมิสูงประมาณ 1000-1200 องศาเซลเซียส มีระยะเวลาในการเผา และเผาแช่อยูน่ านประมาณ 2-3 สัปดาห์ ถ้าเป็ นเตาเผาด้วยไม้ฟืนและแกลบ 6. เมื่ออิฐถูกหักออก จะเห็นเนื้ออิฐภายในคล้ายหินและมีเนื้อแน่นมาก ไม่มีรูพรุ น ไม่ร้าว 7. อิฐจะต้องมีมุม มีเหลี่ยมที่ได้ฉากทุกก้อนและมีสีสม่าเสมอเท่ากันตลอด 8. เมื่อทดลองแช่อิฐเอาไว้ในน้ า 24 ชัว่ โมง อิฐจะต้องดูดน้ าไม่เกิน 10 % ของน้ าหนักอิฐ 9. มีรูปร่ างลักษณะที่เรี ยบร้อย ไม่แอ่นตัว ไม่มีขอบขรุ ขระมาก 10. ใช้ดา้ มเกรี ยงเคาะจะมีเสียงดังกังวาน แสดงว่ามีเนื้อแกร่ ง
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
1
หน้าที่
9
วันที่ : 18 พ.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ รูปแบบการก่ออิฐ
1.ก่อหนา ½ แผ่นอิฐ เป็ นแบบที่ได้รับความนิยมและพบเห็นได้ทวั่ ไป ใช้ในการก่อสร้างบ้านพักอาศัยหรื อ อาคารต่าง ๆ ให้เรี ยกความกว้างของพื้นที่ส่วนหัวของแผ่นอิฐ (Header) ในผนังที่เรี ยงก่อเป็ นแบบหนาเท่ากับ ½ ของความกว้างของพื้นที่ส่วนข้างของแผ่นอิฐ (Stretcher)
รู ปการก่อหนา ½ แผ่นอิฐ
2.ก่อหนา ¾ แผ่นอิฐ เป็ นรู ปแบบการก่อที่เรี ยงซ้อนในส่วนความกว้างของพื้นที่ส่วนหัวของแผ่นอิฐ (Header) รวมกับความหนาของแผ่นและนาความหนาของปูนก่อ 1-1.5 ซม. รวมเข้าไปด้วยเป็ นความหนารวม
รู ปการก่อหนา ¾ แผ่นอิฐ
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
1
หน้าที่
10
วันที่ : 18 พ.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ รูปแบบการก่ออิฐ
3.ก่อหนา 1 แผ่นอิฐ เป็ นการก่ออิฐอีกรู ปแบบหนึ่งที่ได้รับความนิยมพอสมควรและสามารถพบเห็นได้ ทัว่ ไปตามงานก่อสร้างที่ตอ้ งการความแข็งแรงคงทนมาก ความหนาที่ได้จากความกว้างของพื้นที่ส่วนหัว ของแผ่นอิฐ (Header) 2 เท่า และรวมกับความหนาของรอยต่อที่เป็ นปูนก่อ 1-.5 ซม. หรื อจะคิดความหนา ได้จากความกว้างของพื้นที่ส่วนข้างของแผ่นอิฐ (Stretcher)
รู ปการก่อหนา 1 แผ่นอิฐ
4.ก่ออิฐหนา 1 ½ แผ่นอิฐ เป็ นการรวมความกว้างของพื้นที่ส่วนข้างของแผ่นอิฐ (Stretcher) กับ ความกว้างของพื้นที่ ส่วนหัวของแผ่นอิฐ (Header) และปูนก่อ 1-1.5 ซม. หรื อจะรวมความกว้างสามเท่าของพื้นที่ส่วนหัวของ แผ่นอิฐ (Header) กับสองเท่าของรอยต่อ 2-3 ซม. ก็ได้
รู ปการก่อหนา 1 ½ แผ่นอิฐ
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
1
หน้าที่
11
วันที่ : 18 พ.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ รูปแบบการก่ออิฐ
5.ก่ออิฐหนา 2 แผ่นอิฐ เป็ นการนาไปใช้ในส่วนของโรงงานหรื ออาคารก่อสร้างขนาดใหญ่ท่ีตอ้ งการความ แข็งแรงคงทนมาก ๆ นัน่ ก็คือการรวมความกว้างของพื้นที่ส่วนข้างของแผ่นอิฐ (Stretcher) เป็ นสองเท่ากับ ความหนา 1-1.5 ซม. ที่เป็ นรอยต่อ หรื อจะคิดกับความกว้างพื้นที่ส่วนหัวของแผ่นอิฐ (Header) เป็ นสองเท่า กับความกว้างของพื้นที่ส่วนข้างของแผ่นอิฐ (Stretcher) รวมกันกับ 2-3 ซม. ที่เป็ นสองรอยต่อมอร์ตา้
รู ปการก่อหนา 2 แผ่นอิฐ
เมื่อมีโอกาสทราบรู ปแบบของการก่อ ก็เพื่อความเข้าใจลักษณะยึดเหนี่ยวกันของแผ่น อิฐ และจะได้นาไปใช้กบั การก่ออิฐที่โชว์ผวิ อิฐ หรื อต้องการผนังที่มีการก่อแล้วเป็ นผนังที่แข็งแรงด้วย
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
2
หน้าที่
1
วันที่ : 25 พ.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การก่ออิฐครึ่งแผ่น
หลักการก่ออิฐ การก่ออิฐคือ การจัดอิฐให้ถกู ต้องตามหลักวิชาการ แนวปูนก่อส่วนตั้งและส่วนนอนบนหลังแผ่นอิฐ ชั้นที่หนึ่ง จะต้องใช้เกรี ยงตักปูนใส่ให้พอดีแล้วใช้ปลายเกรี ยงเกลี่ยไปมา 2-3 ครั้ง โดยทาพื้นหน้าปูนก่อให้ ขรุ ขระพอประมาณ มีความหนาบางเท่า ๆ กัน (การเกลี่ยปูนเรี ยบเกินไป เมื่อวางอิฐทับลง ปูนก่อที่แข็งตัว แล้วแผ่นอิฐกับปูนจะจับกันไม่สนิท) เมื่อเห็นว่าปูนมีความหนาบางพอดีแล้วจึงวางอิฐทับ ใช้ดา้ มเกรี ยงเคาะ จนเข้าที่ (ไม่ควรเคาะแรงเกินไป อิฐอาจแตกได้) แนวปูนก่อหนาประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร การก่ออิฐ แบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ 1. ก่ออิฐโชว์แนว (ไม่ตอ้ งฉาบทับ) เพื่ออวดผิวปูนหรื อแนวของอิฐ ต้องอาศัยความชานาญ การตกแต่งมีหลายประเภท ดังนี้ - การเซาะร่ องสี่เหลี่ยม - การเซาะร่ องสามเหลี่ยม - การเซาะร่ องโค้ง การตกแต่งเซาะร่ องแต่ละแบบต้องระวังรักษาความสะอาดหน้าผนังถือปูนแต่ละผนัง ทั้งด้าน หน้าและด้านหลังผนัง จะต้องใช้ผา้ สะอาดชุบน้ าคอยเช็ดอยูเ่ สมอ อย่าทิ้งไว้จนจับตัวแข็ง 2. ก่ออิฐแล้วฉาบทับ ได้แก่ งานก่อสร้างที่ก่อด้วยอิฐมอญหรื อที่เป็ นชนิดเดียวกัน ซึ่งมี ผิวไม่เรี ยบ เมื่อทาการถือปูน ปูนที่ถือจะจับและยึดเกาะได้ดี
หลักการก่ออิฐที่ช่างทุกคนพึงกระทา 1. การก่อจะต้องวางอิฐซ้อนกัน ให้แนวรอยต่อไม่ตรงกันในชั้นติดกัน 2. ปูนก่อจะต้องหุม้ โดยรอบของแผ่นอิฐ 3. อิฐทุกก้อนที่นามาก่อต้องแช่น้ าให้อิ่มตัวเสียก่อน 4. ปูนต้องมีความข้นเหลวพอดี ไม่แข็งหรื อเหลวจนเกินไป 5. อิฐที่นามาก่อต้องเลือกให้มีแง่มีมุมและเหลี่ยมที่สมบูรณ์ ไม่ชารุ ด
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
2
หน้าที่
2
วันที่ : 25 พ.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การก่ออิฐครึ่งแผ่น
6. ต้องทาการจับดิ่ง ฉากและขนาดตามระยะที่กาหนดให้อย่างสม่าเสมอ 7. ต้องทาการก่ออิฐจากมุมก่อน 8. ต้องใช้เกรี ยงให้ถนัดมือ 9. เวลาก่ออิฐควรตักปูนเพียงหนึ่งครั้ง 10. ถ้าจะทาการก่ออิฐต่อจากที่ก่อไว้แล้ว ให้ชะล้างและรดน้ าให้อิฐอิ่มตัวก่อน 11. สกัดอิฐยืน่ สลับชั้นเพื่อการยึดเกาะ 12. การตักปูนในแนวก่อให้ใกล้กบั แนวปูนก่อคือ 1-1.5 เซนติเมตร เอียงอิฐเข้าแล้วตักเนื้อ ปูนที่ลน้ ออกมา 13. อิฐครึ่ งแผ่นที่ช่วงกาแพงกว้างอย่างมาก 2 เมตร ต้องใช้เสาเอน 1 ต้น 14. เมื่อก่อไปแล้วห้ามเคาะหรื อบรรทุกของหนักภายใน 3 วัน 15. เวลาก่อกาแพงเสร็ จใหม่ ๆ ต้องให้อยูใ่ นที่ร่มหรื อบังแดด
ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 1. จัดแบ่งสถานที่สาหรับฝึ กปฏิบตั ิอย่างเป็ นสัดส่วน 2. ตรวจสอบเครื่ องมือสาหรับการฝึ กปฏิบตั ิให้พร้อม 3. ผสมปูนขาว ทราย และน้ า ให้อตั ราส่วนที่พอเหมาะ มีความข้นเหลวเหมาะแก่การใช้งาน 4. กาหนดจุดที่จะวางอิฐ ให้มีทิศทางไปในทางเดียวกันเพื่อสะดวกต่อการปฏิบตั ิงานและการขนย้าย 5. จัดการขนอิฐและปูนขาวที่ได้ผสมไว้นามาเตรี ยมวางในส่วนการปฏิบตั ิงานของตนเอง วางให้ สะดวกไม่กีดขวางการลาเลียงและการปฏิบตั ิของผูอ้ ื่น 6. เริ่ มต้นลงมือปฏิบตั ิงานตามที่ได้รับมอบหมาย โดยเริ่ มก่อจากด้านปลายก่อน 7. ให้แนวปูนก่อมีความหนาประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร เมื่อปูนทะลักออกมาให้ใช้เกรี ยงปาดขึ้น แล้วตักใส่กระป๋ อง หรื อใส่บนหลังแผ่นอิฐที่ก่อแล้ว หรื อรอยต่อที่ยงั ไม่เต็มก็ได้ ในการปาดปูน ควรให้ปูนตกพื้นน้อยที่สุดหรื อไม่ตกเลย
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
2
หน้าที่
3
วันที่ : 25 พ.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การก่ออิฐครึ่งแผ่น
ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 8. ระหว่างการก่อให้ใช้สายตาเล็งให้ได้แนวระดับและแนวดิ่งมากที่สุด เมื่อครบประมาณ 3 ชั้น ก็ใช้ระดับน้ า ตรวจสอบให้ได้ระดับทั้งแนวนอนและแนวดิ่ง 9. ทาการก่อด้วยความประณี ตโดยยึดหลักการก่ออิฐ และเป็ นการฝึ กความชานาญและความรวดเร็ ว ขึ้นอีกในการฝึ กก่อครั้งต่อ ๆ ไป 10. เมื่อปฏิบตั ิงานเสร็ จตามที่ได้รับมอบหมายแล้วให้ทาความสะอาดบริ เวณก่อ ขนอิฐที่เหลือไป จัดเรี ยงให้เข้าที่ ให้ผสู้ อนตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้ จากนั้นจึงเก็บงานให้ เรี ยบร้อยอีกครั้งหนึ่ง 11. เมื่อผูเ้ รี ยนทุกคนปฏิบตั ิงานเสร็ จเรี ยบร้อยหมดแล้ว ต้องช่วยกันทาความสะอาดโรงฝึ ก ปฏิบตั ิงานให้มีความสะอาดเรี ยบร้อยคงสภาพเหมือนก่อนลงฝึ กปฏิบตั ิงาน
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
3
หน้าที่
1
วันที่ : 1 มิ.ย. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
การก่ออิฐครึ่งแผ่น 1 มุมฉาก
การก่ออิฐ 1. การก่ออิฐต้องทาจากมุมก่อน เพราะต้องการให้อิฐที่ก่อเป็ นมุมหลักสาหรับแนวระดับน้ า ก่อที่ มุมประมาณ 3 ชั้นแล้วจึงจับระดับ 2. ในการก่ออิฐแต่ละชั้น ต้องก่อสลับแนวเพื่อไม่ให้รอยต่อของอิฐตรงกันในชั้นที่ติดกัน จะทาให้ กาแพงหรื อเสาที่ก่อมีการยึดกันแน่นหนาขึ้น แข็งแรงคงทน 3. อิฐที่ใช้ก่อ ควรชุบน้ าให้ชุ่มก่อน ( กรณี ของปูนขาวไม่ตอ้ งชุบน้ าจนชุ่ม แต่ชุบให้อิฐมีความ สะอาดหน้าผิวไม่มีสิ่งสกปรก ) เพื่อป้ องกันไม่ให้อิฐดูดน้ าจากส่วนผสมของปูนก่อมากเกินไป ถ้าอิฐดูดน้ ามากเกินไป ปูนก่ออาจจะแตกร้าวได้ โดยทัว่ ไปความหนาของปูนก่อควรอยูท่ ี่ ประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร 4. ขณะทาการก่ออิฐ ให้ทาการเก็บเศษปูนที่ตกให้หมด รวมถึงบริ เวณที่ใกล้เคียง เพราะความ สะอาดของบริ เวณงานจะเอื้ออานวยต่อการทางาน ประหยัดปริ มาณปูน ถ้าปล่อยเศษปูนทิ้งไว้ ปูนจะแห้งติด 5. อย่ายกอิฐซ้อนกันหลายก้อนจนเกินกาลังของตนเองในการขนย้าย เพราะอิฐอาจหล่นโดนตนเอง หรื อเพื่อนร่ วมปฏิบตั ิงานได้ 6. ห้ามตัดอิฐโดยใช้มือรอง ให้จบั ที่ดา้ นส่วนหัวของแผ่นอิฐ เอียงอิฐทามุม 45 องศา แล้วใช้เกรี ยง ตัดในลักษณะครึ่ งแผ่นอิฐ 7. แต่งกายให้รัดกุมและเรี ยบร้อย สวมรองเท้าทุกครั้งที่ปฏิบตั ิงาน 8. ตรวจสภาพเครื่ องมือก่อนและหลังการใช้งานทุกครั้ง 9. เก็บเครื่ องมือล้างให้สะอาด เช็ดให้แห้ง แล้วนาเก็บเข้าที่ให้เรี ยบร้อยเมื่อใช้งานเสร็ จ 10. ตั้งใจทางานอย่างระมัดระวัง
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
3
หน้าที่
2
วันที่ : 1 มิ.ย. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
การก่ออิฐครึ่งแผ่น 1 มุมฉาก
ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 12. จัดแบ่งสถานที่สาหรับฝึ กปฏิบตั ิอย่างเป็ นสัดส่วน 13. ตรวจสอบเครื่ องมือสาหรับการฝึ กปฏิบตั ิให้พร้อม 14. ผสมปูนขาว ทราย และน้ า ให้อตั ราส่วนที่พอเหมาะ มีความข้นเหลวเหมาะแก่การใช้งาน 15. กาหนดจุดที่จะวางอิฐ ให้มีทิศทางไปในทางเดียวกันเพื่อสะดวกต่อการปฏิบตั ิงานและการขนย้าย 16. จัดการขนอิฐและปูนขาวที่ได้ผสมไว้นามาเตรี ยมวางในส่วนการปฏิบตั ิงานของตนเอง วางให้ สะดวกไม่กีดขวางการลาเลียงและการปฏิบตั ิของผูอ้ ื่น 17. เริ่ มต้นลงมือปฏิบตั ิงานตามที่ได้รับมอบหมาย โดยเริ่ มก่อจากด้านปลายก่อน 18. ให้แนวปูนก่อมีความหนาประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร เมื่อปูนทะลักออกมาให้ใช้เกรี ยงปาดขึ้น แล้วตักใส่กระป๋ อง หรื อใส่บนหลังแผ่นอิฐที่ก่อแล้ว หรื อรอยต่อที่ยงั ไม่เต็มก็ได้ ในการปาดปูน ควรให้ปูนตกพื้นน้อยที่สุดหรื อไม่ตกเลย 19. ระหว่างการก่อให้ใช้สายตาเล็งให้ได้แนวระดับและแนวดิ่งมากที่สุด เมื่อครบประมาณ 3 ชั้น ก็ใช้ระดับน้ า ตรวจสอบให้ได้ระดับทั้งแนวนอนและแนวดิ่ง 20. ทาการก่อด้วยความประณี ตโดยยึดหลักการก่ออิฐ และเป็ นการฝึ กความชานาญและความรวดเร็ ว ขึ้นอีกในการฝึ กก่อครั้งต่อ ๆ ไป 21. เมื่อปฏิบตั ิงานเสร็ จตามที่ได้รับมอบหมายแล้วให้ทาความสะอาดบริ เวณก่อ ขนอิฐที่เหลือไป จัดเรี ยงให้เข้าที่ ให้ผสู้ อนตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้ จากนั้นจึงเก็บงานให้ เรี ยบร้อยอีกครั้งหนึ่ง 22. เมื่อผูเ้ รี ยนทุกคนปฏิบตั ิงานเสร็ จเรี ยบร้อยหมดแล้ว ต้องช่วยกันทาความสะอาดโรงฝึ ก ปฏิบตั ิงานให้มีความสะอาดเรี ยบร้อยคงสภาพเหมือนก่อนลงฝึ กปฏิบตั ิงาน
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
4
หน้าที่
1
วันที่ : 8 มิ.ย. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
การก่ออิฐครึ่งแผ่น 2 มุมฉาก
การก่ออิฐ 11. การก่ออิฐต้องทาจากมุมก่อน เพราะต้องการให้อิฐที่ก่อเป็ นมุมหลักสาหรับแนวระดับน้ า ก่อที่ มุมประมาณ 3 ชั้นแล้วจึงจับระดับ 12. ในการก่ออิฐแต่ละชั้น ต้องก่อสลับแนวเพื่อไม่ให้รอยต่อของอิฐตรงกันในชั้นที่ติดกัน จะทาให้ กาแพงหรื อเสาที่ก่อมีการยึดกันแน่นหนาขึ้น แข็งแรงคงทน 13. อิฐที่ใช้ก่อ ควรชุบน้ าให้ชุ่มก่อน ( กรณี ของปูนขาวไม่ตอ้ งชุบน้ าจนชุ่ม แต่ชุบให้อิฐมีความ สะอาดหน้าผิวไม่มีสิ่งสกปรก ) เพื่อป้ องกันไม่ให้อิฐดูดน้ าจากส่วนผสมของปูนก่อมากเกินไป ถ้าอิฐดูดน้ ามากเกินไป ปูนก่ออาจจะแตกร้าวได้ โดยทัว่ ไปความหนาของปูนก่อควรอยูท่ ี่ ประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร 14. ขณะทาการก่ออิฐ ให้ทาการเก็บเศษปูนที่ตกให้หมด รวมถึงบริ เวณที่ใกล้เคียง เพราะความ สะอาดของบริ เวณงานจะเอื้ออานวยต่อการทางาน ประหยัดปริ มาณปูน ถ้าปล่อยเศษปูนทิ้งไว้ ปูนจะแห้งติด 15. อย่ายกอิฐซ้อนกันหลายก้อนจนเกินกาลังของตนเองในการขนย้าย เพราะอิฐอาจหล่นโดนตนเอง หรื อเพื่อนร่ วมปฏิบตั ิงานได้ 16. ห้ามตัดอิฐโดยใช้มือรอง ให้จบั ที่ดา้ นส่วนหัวของแผ่นอิฐ เอียงอิฐทามุม 45 องศา แล้วใช้เกรี ยง ตัดในลักษณะครึ่ งแผ่นอิฐ 17. แต่งกายให้รัดกุมและเรี ยบร้อย สวมรองเท้าทุกครั้งที่ปฏิบตั ิงาน 18. ตรวจสภาพเครื่ องมือก่อนและหลังการใช้งานทุกครั้ง 19. เก็บเครื่ องมือล้างให้สะอาด เช็ดให้แห้ง แล้วนาเก็บเข้าที่ให้เรี ยบร้อยเมื่อใช้งานเสร็ จ 20. ตั้งใจทางานอย่างระมัดระวัง
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
4
หน้าที่
2
วันที่ : 8 มิ.ย. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
การก่ออิฐครึ่งแผ่น 2 มุมฉาก
ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 23. จัดแบ่งสถานที่สาหรับฝึ กปฏิบตั ิอย่างเป็ นสัดส่วน 24. ตรวจสอบเครื่ องมือสาหรับการฝึ กปฏิบตั ิให้พร้อม 25. ผสมปูนขาว ทราย และน้ า ให้อตั ราส่วนที่พอเหมาะ มีความข้นเหลวเหมาะแก่การใช้งาน 26. กาหนดจุดที่จะวางอิฐ ให้มีทิศทางไปในทางเดียวกันเพื่อสะดวกต่อการปฏิบตั ิงานและการขนย้าย 27. จัดการขนอิฐและปูนขาวที่ได้ผสมไว้นามาเตรี ยมวางในส่วนการปฏิบตั ิงานของตนเอง วางให้ สะดวกไม่กีดขวางการลาเลียงและการปฏิบตั ิของผูอ้ ื่น 28. เริ่ มต้นลงมือปฏิบตั ิงานตามที่ได้รับมอบหมาย โดยเริ่ มก่อจากด้านปลายก่อน 29. ให้แนวปูนก่อมีความหนาประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร เมื่อปูนทะลักออกมาให้ใช้เกรี ยงปาดขึ้น แล้วตักใส่กระป๋ อง หรื อใส่บนหลังแผ่นอิฐที่ก่อแล้ว หรื อรอยต่อที่ยงั ไม่เต็มก็ได้ ในการปาดปูน ควรให้ปูนตกพื้นน้อยที่สุดหรื อไม่ตกเลย 30. ระหว่างการก่อให้ใช้สายตาเล็งให้ได้แนวระดับและแนวดิ่งมากที่สุด เมื่อครบประมาณ 3 ชั้น ก็ใช้ระดับน้ า ตรวจสอบให้ได้ระดับทั้งแนวนอนและแนวดิ่ง 31. ทาการก่อด้วยความประณี ตโดยยึดหลักการก่ออิฐ และเป็ นการฝึ กความชานาญและความรวดเร็ ว ขึ้นอีกในการฝึ กก่อครั้งต่อ ๆ ไป 32. เมื่อปฏิบตั ิงานเสร็ จตามที่ได้รับมอบหมายแล้วให้ทาความสะอาดบริ เวณก่อ ขนอิฐที่เหลือไป จัดเรี ยงให้เข้าที่ ให้ผสู้ อนตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้ จากนั้นจึงเก็บงานให้ เรี ยบร้อยอีกครั้งหนึ่ง 33. เมื่อผูเ้ รี ยนทุกคนปฏิบตั ิงานเสร็ จเรี ยบร้อยหมดแล้ว ต้องช่วยกันทาความสะอาดโรงฝึ ก ปฏิบตั ิงานให้มีความสะอาดเรี ยบร้อยคงสภาพเหมือนก่อนลงฝึ กปฏิบตั ิงาน
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
5
หน้าที่
1
วันที่ : 15 มิ.ย. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การก่ออิฐเต็มแผ่น
ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 1. ศึกษาการก่ออิฐเต็มแผ่นให้เข้าใจหลักการ 2. จัดแบ่งสถานที่สาหรับฝึ กปฏิบตั ิอย่างเป็ นสัดส่วน 3. ตรวจสอบเครื่ องมือสาหรับการฝึ กปฏิบตั ิให้พร้อม 4. ผสมปูนขาว ทราย และน้ า ให้อตั ราส่วนที่พอเหมาะ มีความข้นเหลวเหมาะแก่การใช้งาน 5. กาหนดจุดที่จะวางอิฐ ให้มีทิศทางไปในทางเดียวกันเพื่อสะดวกต่อการปฏิบตั ิงานและการขนย้าย 6. จัดการขนอิฐและปูนขาวที่ได้ผสมไว้นามาเตรี ยมวางในส่วนการปฏิบตั ิงานของตนเอง วางให้ สะดวกไม่กีดขวางการลาเลียงและการปฏิบตั ิของผูอ้ ื่น 7. เริ่ มต้นลงมือปฏิบตั ิงานตามที่ได้รับมอบหมาย โดยเริ่ มก่อจากด้านปลายก่อน 8. ให้แนวปูนก่อมีความหนาประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร เมื่อปูนทะลักออกมาให้ใช้เกรี ยงปาดขึ้น แล้วตักใส่กระป๋ อง หรื อใส่บนหลังแผ่นอิฐที่ก่อแล้ว หรื อรอยต่อที่ยงั ไม่เต็มก็ได้ ในการปาดปูน ควรให้ปูนตกพื้นน้อยที่สุดหรื อไม่ตกเลย 9. ระหว่างการก่อให้ใช้สายตาเล็งให้ได้แนวระดับและแนวดิ่งมากที่สุด เมื่อครบประมาณ 3 ชั้น ก็ใช้ระดับน้ า ตรวจสอบให้ได้ระดับทั้งแนวนอนและแนวดิ่ง 10. ทาการก่อด้วยความประณี ตโดยยึดหลักการก่ออิฐ และเป็ นการฝึ กความชานาญและความรวดเร็ ว ขึ้นอีกในการฝึ กก่อครั้งต่อ ๆ ไป 11. เมื่อปฏิบตั ิงานเสร็ จตามที่ได้รับมอบหมายแล้วให้ทาความสะอาดบริ เวณก่อ ขนอิฐที่เหลือไป จัดเรี ยงให้เข้าที่ ให้ผสู้ อนตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้ จากนั้นจึงเก็บงานให้ เรี ยบร้อยอีกครั้งหนึ่ง 12. เมื่อผูเ้ รี ยนทุกคนปฏิบตั ิงานเสร็ จเรี ยบร้อยหมดแล้ว ต้องช่วยกันทาความสะอาดโรงฝึ ก ปฏิบตั ิงานให้มีความสะอาดเรี ยบร้อยคงสภาพเหมือนก่อนการลงฝึ กปฏิบตั ิงาน
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
6
หน้าที่
1
วันที่ : 22 มิ.ย. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
การก่ออิฐเต็มแผ่น 1 มุมฉาก ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 1. ศึกษาการก่ออิฐเต็มแผ่นให้เข้าใจหลักการ 2. จัดแบ่งสถานที่สาหรับฝึ กปฏิบตั ิอย่างเป็ นสัดส่วน 3. ตรวจสอบเครื่ องมือสาหรับการฝึ กปฏิบตั ิให้พร้อม 4. ผสมปูนขาว ทราย และน้ า ให้อตั ราส่วนที่พอเหมาะ มีความข้นเหลวเหมาะแก่การใช้งาน 5. กาหนดจุดที่จะวางอิฐ ให้มีทิศทางไปในทางเดียวกันเพื่อสะดวกต่อการปฏิบตั ิงานและการขนย้าย 6. จัดการขนอิฐและปูนขาวที่ได้ผสมไว้นามาเตรี ยมวางในส่วนการปฏิบตั ิงานของตนเอง วางให้ สะดวกไม่กีดขวางการลาเลียงและการปฏิบตั ิของผูอ้ ื่น 7. เริ่ มต้นลงมือปฏิบตั ิงานตามที่ได้รับมอบหมาย โดยเริ่ มก่อจากด้านปลายก่อน 8. ให้แนวปูนก่อมีความหนาประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร เมื่อปูนทะลักออกมาให้ใช้เกรี ยงปาดขึ้น แล้วตักใส่กระป๋ อง หรื อใส่บนหลังแผ่นอิฐที่ก่อแล้ว หรื อรอยต่อที่ยงั ไม่เต็มก็ได้ ในการปาดปูน ควรให้ปูนตกพื้นน้อยที่สุดหรื อไม่ตกเลย 9. ระหว่างการก่อให้ใช้สายตาเล็งให้ได้แนวระดับและแนวดิ่งมากที่สุด เมื่อครบประมาณ 3 ชั้น ก็ใช้ระดับน้ า ตรวจสอบให้ได้ระดับทั้งแนวนอนและแนวดิ่ง 10. ทาการก่อด้วยความประณี ตโดยยึดหลักการก่ออิฐ และเป็ นการฝึ กความชานาญและความรวดเร็ ว ขึ้นอีกในการฝึ กก่อครั้งต่อ ๆ ไป 11. เมื่อปฏิบตั ิงานเสร็ จตามที่ได้รับมอบหมายแล้วให้ทาความสะอาดบริ เวณก่อ ขนอิฐที่เหลือไป จัดเรี ยงให้เข้าที่ ให้ผสู้ อนตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้ จากนั้นจึงเก็บงานให้ เรี ยบร้อยอีกครั้งหนึ่ง 12. เมื่อผูเ้ รี ยนทุกคนปฏิบตั ิงานเสร็ จเรี ยบร้อยหมดแล้ว ต้องช่วยกันทาความสะอาดโรงฝึ ก ปฏิบตั ิงานให้มีความสะอาดเรี ยบร้อยคงสภาพเหมือนก่อนการลงฝึ กปฏิบตั ิงาน
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
7
หน้าที่
1
วันที่ : 29 มิ.ย. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
การก่ออิฐเต็มแผ่น 2 มุมฉาก ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 1. ศึกษาการก่ออิฐเต็มแผ่นให้เข้าใจหลักการ 2. จัดแบ่งสถานที่สาหรับฝึ กปฏิบตั ิอย่างเป็ นสัดส่วน 3. ตรวจสอบเครื่ องมือสาหรับการฝึ กปฏิบตั ิให้พร้อม 4. ผสมปูนขาว ทราย และน้ า ให้อตั ราส่วนที่พอเหมาะ มีความข้นเหลวเหมาะแก่การใช้งาน 5. กาหนดจุดที่จะวางอิฐ ให้มีทิศทางไปในทางเดียวกันเพื่อสะดวกต่อการปฏิบตั ิงานและการขนย้าย 6. จัดการขนอิฐและปูนขาวที่ได้ผสมไว้นามาเตรี ยมวางในส่วนการปฏิบตั ิงานของตนเอง วางให้ สะดวกไม่กีดขวางการลาเลียงและการปฏิบตั ิของผูอ้ ื่น 7. เริ่ มต้นลงมือปฏิบตั ิงานตามที่ได้รับมอบหมาย โดยเริ่ มก่อจากด้านปลายก่อน 8. ให้แนวปูนก่อมีความหนาประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร เมื่อปูนทะลักออกมาให้ใช้เกรี ยงปาดขึ้น แล้วตักใส่กระป๋ อง หรื อใส่บนหลังแผ่นอิฐที่ก่อแล้ว หรื อรอยต่อที่ยงั ไม่เต็มก็ได้ ในการปาดปูน ควรให้ปูนตกพื้นน้อยที่สุดหรื อไม่ตกเลย 9. ระหว่างการก่อให้ใช้สายตาเล็งให้ได้แนวระดับและแนวดิ่งมากที่สุด เมื่อครบประมาณ 3 ชั้น ก็ใช้ระดับน้ า ตรวจสอบให้ได้ระดับทั้งแนวนอนและแนวดิ่ง 10. ทาการก่อด้วยความประณี ตโดยยึดหลักการก่ออิฐ และเป็ นการฝึ กความชานาญและความรวดเร็ ว ขึ้นอีกในการฝึ กก่อครั้งต่อ ๆ ไป 11. เมื่อปฏิบตั ิงานเสร็ จตามที่ได้รับมอบหมายแล้วให้ทาความสะอาดบริ เวณก่อ ขนอิฐที่เหลือไป จัดเรี ยงให้เข้าที่ ให้ผสู้ อนตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้ จากนั้นจึงเก็บงานให้ เรี ยบร้อยอีกครั้งหนึ่ง 12. เมื่อผูเ้ รี ยนทุกคนปฏิบตั ิงานเสร็ จเรี ยบร้อยหมดแล้ว ต้องช่วยกันทาความสะอาดโรงฝึ ก ปฏิบตั ิงานให้มีความสะอาดเรี ยบร้อยคงสภาพเหมือนก่อนการลงฝึ กปฏิบตั ิงาน
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
8
หน้าที่
1
วันที่ : 6 ก.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การก่อคอนกรีตบล็อก
การก่อคอนกรีตบล็อก ข้ อแนะนาการใช้ คอนกรีตบล็อก 1. ห้ามชุบน้ า หรื อสาดน้ าในระหว่างก่อ หรื อฉาบ เพื่อป้ องกันการยืดหดตัวของก้อน 2. การก่อ ควรจับระดับน้ าทุก ๆ แถว ทั้งทางตั้งและทางนอนโดยเฉพาะก้อนที่ก่อตอนมุม หรื อริ ม ผนังที่ก่อนั้น 3. ปูนก่อ ใช้ปูนซีเมนต์มอร์ตา้ โดยผสมปูนซีเมนต์ผสมกับทรายหยาบ หรื อทรายกลาง ใน อัตราส่วน 1 ต่อ 3 สาหรับปูนแต่งรอยต่อใช้ทรายละเอียด 4. ปูนก่อและปูนฉาบ ควรหนา 3/8 นิ้ว หรื อ 1 เซนติเมตร เป็ นอย่างน้อย เฉพาะรอยปูนก่อต้อง เท่ากัน เพื่อก่อผนังได้ลงตัวกับระยะที่กาหนดไว้พอดี 5. การเคาะคอนกรี ตบล็อก ให้ทรุ ดเสมอระดับ อาจใช้คอ้ นตุม้ เคาะ ใช้ปุ่มที่ดา้ มเกรี ยงเหล็กเคาะคง ไม่พอ 6. เนื่องจากคอนกรี ตบล็อกมีน้ าหนักที่มากกว่าอิฐมอญ ควรยกและวางซ้อนบนปูนก่อด้วยลักษณะ ที่มนั่ คงและประณี ต 7. การตักปูนก่อใส่ควรให้มีจานวนเพียงพอและเมื่อวางบล็อกและกระทุง้ ลงแล้ว จะได้ปูนก่อที่แน่น พอดี 8. เนื่องจากคอนกรี ตบล็อกมีน้ าหนักมาก ปูนก่อจึงต้องผสมให้ขน้ ถ้าเหลวมีโอกาสที่กอ้ นที่วางไป แล้วจะค่อย ๆ ทรุ ดลงถ้าเกิดภายหลังที่ก่อชั้นบนแล้ว ต้องรื้ อออกแล้วก่อใหม่ ขั้นตอนการก่อคอนกรีตบล็อก ผูท้ ี่จะทาการก่อคอนกรี ตบล็อกควรได้ผา่ นการฝึ กงานก่ออิฐมาบ้างแล้ว เพราะต้องมีฝีมือพอสมควร จึงจะสามารถก่อได้อย่างรวดเร็ วและสวยงาม 1. ผสมปูนก่อน ปูนก่อที่จะนามาใช้จุดประสงค์ก็เพื่อให้เกิดความแข็งแรงดีและแข็งตัวได้เร็ ว ฉะนั้นปูนก่อจึงไม่จาเป็ นต้องผสมปูนขาวเลย ใช้ปูนซีเมนต์ผสมกับทรายหยาบให้เข้ากันดีแล้วค่อยผสมน้ า ให้ขน้ พอสมควร
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
8
หน้าที่
2
วันที่ : 6 ก.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การก่อคอนกรีตบล็อก
ขั้นตอนการก่อคอนกรีตบล็อก 2. แบ่งช่วงเพื่อเริ่ มก่อ หาจุดกึ่งกลางของช่วงเสาเสียก่อนแล้ววัดออกไปทั้งทางซ้ายและทางขวา ทาเครื่ องหมายไว้ 3. นาปูนก่อใส่บนหน้าคอนกรี ตบล็อก แล้วใช้เกรี ยงปาดให้เรี ยบสม่าเสมออย่าใช้เกรี ยงกดให้ปูน แน่นจะตอกปรับแนวไม่ลง นาคอนกรี ตบล็อกวางลงให้ขอบในแนวด้านซ้ายอยูใ่ นแนวดิ่งของเสาที่ขีดแนวไว้ ให้แนวได้พอดี และให้เริ่ มก่อแผ่นที่ 1 ในที่หมายที่ได้วดั เอาไว้โดยให้ตอนขอบบนของคอนกรี ตบล็อกสูง เสมอกัน 4. นาระดับน้ าวางบนคอนกรี ตบล็อก ถ้าพบว่ายังไม่ได้ระดับอย่ากระทุง้ แรงจนเกินควร เพราะจะ แตกหักได้ อาจจะใช้คอ้ นตุม้ เคาะเบา ๆ หรื อยกออกและเกลี่ยปูนก่อเพิ่มขึ้นมาหรื อจะขูดให้ต่าลงไป ตอนนี้ ควรสลัดน้ าให้เปี ยกอีกครั้งหนึ่ง เมื่อก้อนคอนกรี ตบล็อกอยูใ่ นแนวดิ่งได้ระดับแล้วนาปูนก่อมาใส่ในช่อง ด้านซ้าย ในรอยต่อแนวตั้งให้เต็ม 5. จากนั้นก็ทาการก่อก้อนที่ 2 ก็กระทาเช่นเดียวกับก้อนที่ 1 นาไม้บรรทัดสามเหลี่ยมตรวจดูความ เรี ยบผนังคอนกรี ตบล็อกให้เรี ยบเสมอกัน และตรวจสอบให้ได้แนวระดับและแนวดิ่งตลอดความยาวของ การก่อ 6. เมื่อปฏิบตั ิงานเสร็ จตามที่ได้รับมอบหมายแล้วให้ทาความสะอาดบริ เวณก่อ ให้ผสู้ อนตรวจให้ คะแนนตามเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้ จากนั้นจึงเก็บงานให้เรี ยบร้อยอีกครั้งหนึ่ง 7. เมื่อผูเ้ รี ยนทุกคนปฏิบตั ิงานเสร็ จเรี ยบร้อยหมดแล้ว ต้องช่วยกันทาความสะอาดโรงฝึ ก ปฏิบตั ิงานให้มีความสะอาดเรี ยบร้อยคงสภาพเหมือนก่อนการลงฝึ กปฏิบตั ิงาน
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
9
หน้าที่
1
วันที่ : 13 ก.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
การก่ออิฐครึ่งแผ่นรูปสี่เหลีย่ ม (บ่ อนา้ ) การก่ออิฐครึ่งแผ่นรูปสี่เหลีย่ ม (บ่ อนา้ ) ขั้นตอนการก่ออิฐครึ่งแผ่นรูปสี่เหลีย่ ม 1. จัดแบ่งสถานที่สาหรับฝึ กปฏิบตั ิอย่างเป็ นสัดส่วน 2. ตรวจสอบเครื่ องมือสาหรับการฝึ กปฏิบตั ิให้พร้อม 3. ผสมปูนขาว ทราย และน้ า ให้อตั ราส่วนที่พอเหมาะ มีความข้นเหลวเหมาะแก่การใช้งาน 4. กาหนดจุดที่จะวางอิฐให้มีทิศทางเดียวกันเพื่อสะดวกต่อการปฏิบตั ิงานและการขนย้าย 5. จัดการขนอิฐและปูนขาวที่ได้ผสมไว้นามาเตรี ยมวางในส่วนการปฏิบตั ิงานของตนเอง วาง ให้สะดวกไม่กีดขวางการลาเลียงและการปฏิบตั ิของผูอ้ ื่น 6. เริ่ มต้นลงมือปฏิบตั ิงานตามที่ได้รับมอบหมาย โดยเริ่ มจากการกาหนดขนาดรู ปทรงสี่เหลี่ยม ที่ตอ้ งการด้วยไม้ฉาก เพื่อให้ได้มุมที่เท่ากันทุกด้าน 7. เริ่ มต้นก่อโดยวางอิฐเป็ นรู ปสี่เหลี่ยมตามที่ได้กาหนดไว้ ควรวางด้วยการรักษาแนวเส้นตรง ก่อริ มเส้นเสมอ แนวปูนก่อมีความหนาประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร เมื่อปูนทะลักออกมาให้ ใช้เกรี ยงปาดขึ้นแล้วตักใส่กระป๋ อง หรื อใส่บนหลังแผ่นอิฐที่ก่อแล้ว หรื อรอยต่อที่ยงั ไม่เต็ม ก็ได้ ในการปาดปูนควรให้ปูนตกพื้นน้อยที่สุดหรื อไม่ตกเลย 8. ระหว่างการก่อ เมื่อครบ 3 ชั้น ก็ใช้ระดับน้ าและไม้วดั ตรวจสอบให้ได้ระดับทั้งแนวนอน และแนวดิ่ง 9. ทาการก่อด้วยความประณี ตโดยยึดหลักการก่ออิฐ และเป็ นการฝึ กความชานาญและความ รวดเร็ วขึ้นอีกในการฝึ กก่อครั้งต่อ ๆ ไป 10. เมื่อปฏิบตั ิงานเสร็ จตามที่ได้รับมอบหมายแล้วให้ทาความสะอาดบริ เวณก่อ ขนอิฐที่เหลือ ไปจัดเรี ยงให้เข้าที่ ให้ผสู้ อนตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้ จากนั้นจึงเก็บงาน ให้เรี ยบร้อยอีกครั้งหนึ่ง 11. เมื่อผูเ้ รี ยนทุกคนปฏิบตั ิงานเสร็ จเรี ยบร้อยหมดแล้ว ต้องช่วยกันทาความสะอาดโรงฝึ ก ปฏิบตั ิงานให้มีความสะอาดเรี ยบร้อยคงสภาพเหมือนก่อนการลงฝึ กปฏิบตั ิงาน
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
10
หน้าที่
1
วันที่ : 20 ก.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
การก่ออิฐครึ่งแผ่นรูปวงกลม การก่ออิฐครึ่งแผ่นรูปวงกลม ขั้นตอนการก่ออิฐครึ่งแผ่นรูปวงกลม 1. จัดแบ่งสถานที่สาหรับฝึ กปฏิบตั ิอย่างเป็ นสัดส่วน 2. ตรวจสอบเครื่ องมือสาหรับการฝึ กปฏิบตั ิให้พร้อม 3. ผสมปูนขาว ทราย และน้ า ให้อตั ราส่วนที่พอเหมาะ มีความข้นเหลวเหมาะแก่การใช้งาน 4. กาหนดจุดที่จะวางอิฐให้มีทิศทางเดียวกันเพื่อสะดวกต่อการปฏิบตั ิงานและการขนย้าย 5. จัดการขนอิฐและปูนขาวที่ได้ผสมไว้นามาเตรี ยมวางในส่วนการปฏิบตั ิงานของตนเอง วาง ให้สะดวกไม่กีดขวางการลาเลียงและการปฏิบตั ิของผูอ้ ื่น 6. เริ่ มต้นลงมือปฏิบตั ิงานตามที่ได้รับมอบหมาย โดยเริ่ มจากการวัดผิวโค้งด้วยไม้วดั (Trammel) ควรกระทาอย่างละเอียดประณี ตเพื่อกาหนดขนาดของการฝึ กปฏิบตั ิ แกนหลัก ควรยึดติดหลักที่ได้ดิ่งและตั้งในศูนย์กลางที่สามารถทางานได้ถนัด 7. เริ่ มต้นก่อโดยวางอิฐเป็ นรู ปวงกลมตามที่ได้กาหนดไว้ ควรวางด้วยการรักษาแนวรัศมีจาก ไม้วดั ไว้เสมอ แนวปูนก่อมีความหนาประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร เมื่อปูนทะลักออกมาให้ ใช้เกรี ยงปาดขึ้นแล้วตักใส่กระป๋ อง หรื อใส่บนหลังแผ่นอิฐที่ก่อแล้ว หรื อรอยต่อที่ยงั ไม่เต็ม ก็ได้ ในการปาดปูนควรให้ปูนตกพื้นน้อยที่สุดหรื อไม่ตกเลย 8. ระหว่างการก่อ เมื่อครบ 3 ชั้น ก็ใช้ระดับน้ าและไม้วดั ตรวจสอบให้ได้ระดับทั้งแนวนอน และแนวดิ่ง ระวังไม่ให้วงกลมบิดเบี้ยวเสียรู ปทรง 9. ทาการก่อด้วยความประณี ตโดยยึดหลักการก่ออิฐ และเป็ นการฝึ กความชานาญและความ รวดเร็ วขึ้นอีกในการฝึ กก่อครั้งต่อ ๆ ไป 10. เมื่อปฏิบตั ิงานเสร็ จตามที่ได้รับมอบหมายแล้วให้ทาความสะอาดบริ เวณก่อ ขนอิฐที่เหลือ ไปจัดเรี ยงให้เข้าที่ ให้ผสู้ อนตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้ จากนั้นจึงเก็บงาน ให้เรี ยบร้อยอีกครั้งหนึ่ง 11. เมื่อผูเ้ รี ยนทุกคนปฏิบตั ิงานเสร็ จเรี ยบร้อยหมดแล้ว ต้องช่วยกันทาความสะอาดโรงฝึ ก ปฏิบตั ิงานให้มีความสะอาดเรี ยบร้อยคงสภาพเหมือนก่อนการลงฝึ กปฏิบตั ิงาน
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
11
หน้าที่
1
วันที่ : 27 ก.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การ ก่ออิฐเสารูปสี่เหลีย่ ม
ขั้นตอนการก่ออิฐเสารูปสี่เหลีย่ ม 1. จัดแบ่งสถานที่สาหรับฝึ กปฏิบตั ิอย่างเป็ นสัดส่วน 2. ตรวจสอบเครื่ องมือสาหรับการฝึ กปฏิบตั ิให้พร้อม 3. ผสมปูนขาว ทราย และน้ า ให้อตั ราส่วนที่พอเหมาะ มีความข้นเหลวเหมาะแก่การใช้งาน 4. การเริ่ มก่อความหนา 1 ½ แผ่นอิฐ ให้รอยต่อทางตั้งหนาเอาไว้ เผือ่ แผ่นอิฐบางก้อนยาว 5. การนาปูนก่อใส่บนแผ่นอิฐก้อนล่าง นาอิฐวางซ้อนต้องเกลี่ยให้เสมอแล้วนาอิฐสอดกดลงให้ รอยต่อตามความหนาที่กาหนด 1 – 1.5 เซนติเมตร 6. แผ่นอิฐแต่ละแผ่นจะต้องวางให้ได้ระดับเสมอกันทั้ง 4 แผ่น ใน 1 ชั้น 7. ยิง่ ก่อสูงขึ้นไปการกระทุง้ แผ่นบนต้องให้กาลังกระทุง้ พอแผ่นก่อใหม่จม ไม่ใช่ทาให้อิฐแผ่นล่างที่ก่อไว้แล้วทรุ ดตัวไปด้วย และถ้าแผ่นล่างทรุ ด การแก้ไขจะทาได้ยาก 8. การก่อทุก ๆ 3 ชั้น ควรสารวจดิ่งและความกว้างของเสา โดยวัดไม้กวาดหรื อไม้สามเหลี่ยม ขนาดเล็กไว้ เพื่อให้ความกว้างได้ขนาดกันทุกชั้นตลอดเสา 9. ให้แต่งรอยต่อให้ปูนก่อเสมอแผ่นอิฐที่ก่อ ส่วนที่ก่อตอนล่าง ๆ ไม่ควรแต่งกระทุง้ สามารถ แต่งได้บา้ งในตอนบน 5-6 ชั้น นับจากแผ่นบน การเคาะผนังเมื่อก่อแล้วอาจทาให้ผนังทรุ ด และแก้ไม่ได้ ต้องรื้ อแล้วก่อใหม่ 10. ทาการก่อด้วยความประณี ตโดยยึดหลักการก่ออิฐ และเป็ นการฝึ กความชานาญและความ รวดเร็ วขึ้นอีกในการฝึ กก่อครั้งต่อ ๆ ไป 11. เมื่อปฏิบตั ิงานเสร็ จตามที่ได้รับมอบหมายแล้วให้ทาความสะอาดบริ เวณก่อ ขนอิฐที่เหลือ ไปจัดเรี ยงให้เข้าที่ ให้ผสู้ อนตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้ จากนั้นจึงเก็บงานให้ เรี ยบร้อยอีกครั้งหนึ่ง 12. เมื่อผูเ้ รี ยนทุกคนปฏิบตั ิงานเสร็ จเรี ยบร้อยหมดแล้ว ต้องช่วยกันทาความสะอาดโรงฝึ ก ปฏิบตั ิงานให้มีความสะอาดเรี ยบร้อยคงสภาพเหมือนก่อนการลงฝึ กปฏิบตั ิงาน
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
12
หน้าที่
1
วันที่ : 3 ส.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
การ ก่ออิฐเสารูปสิบสองเหลีย่ ม ขั้นตอนการก่ออิฐเสารูปสี่เหลีย่ ม 1. จัดแบ่งสถานที่สาหรับฝึ กปฏิบตั ิอย่างเป็ นสัดส่วน 2. ตรวจสอบเครื่ องมือสาหรับการฝึ กปฏิบตั ิให้พร้อม 3. ผสมปูนขาว ทราย และน้ า ให้อตั ราส่วนที่พอเหมาะ มีความข้นเหลวเหมาะแก่การใช้งาน 4. การเริ่ มก่อความหนา 1 ½ แผ่นอิฐ ให้รอยต่อทางตั้งหนาเอาไว้ เผือ่ แผ่นอิฐบางก้อนยาว 5. การนาปูนก่อใส่บนแผ่นอิฐก้อนล่าง นาอิฐวางซ้อนต้องเกลี่ยให้เสมอแล้วนาอิฐสอดกดลงให้ รอยต่อตามความหนาที่กาหนด 1 – 1.5 เซนติเมตร 6. แผ่นอิฐแต่ละแผ่นจะต้องวางให้ได้ระดับเสมอกันทั้ง 12 แผ่น ใน 1 ชั้น 7. ยิง่ ก่อสูงขึ้นไปการกระทุง้ แผ่นบนต้องให้กาลังกระทุง้ พอแผ่นก่อใหม่จม ไม่ใช่ทาให้อิฐแผ่นล่างที่ก่อไว้แล้วทรุ ดตัวไปด้วย และถ้าแผ่นล่างทรุ ด การแก้ไขจะทาได้ยาก 8. การก่อทุก ๆ 3 ชั้น ควรสารวจดิ่งและความกว้างของเสา โดยวัดไม้กวาดหรื อไม้สามเหลี่ยม ขนาดเล็กไว้ เพื่อให้ความกว้างได้ขนาดกันทุกชั้นตลอดเสา 9. ให้แต่งรอยต่อให้ปูนก่อเสมอแผ่นอิฐที่ก่อ ส่วนที่ก่อตอนล่าง ๆ ไม่ควรแต่งกระทุง้ สามารถ แต่งได้บา้ งในตอนบน 5-6 ชั้น นับจากแผ่นบน การเคาะผนังเมื่อก่อแล้วอาจทาให้ผนังทรุ ด และแก้ไม่ได้ ต้องรื้ อแล้วก่อใหม่ 10. ทาการก่อด้วยความประณี ตโดยยึดหลักการก่ออิฐ และเป็ นการฝึ กความชานาญและความ รวดเร็ วขึ้นอีกในการฝึ กก่อครั้งต่อ ๆ ไป 11. เมื่อปฏิบตั ิงานเสร็ จตามที่ได้รับมอบหมายแล้วให้ทาความสะอาดบริ เวณก่อ ขนอิฐที่เหลือ ไปจัดเรี ยงให้เข้าที่ ให้ผสู้ อนตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้ จากนั้นจึงเก็บงานให้ เรี ยบร้อยอีกครั้งหนึ่ง 12. เมื่อผูเ้ รี ยนทุกคนปฏิบตั ิงานเสร็ จเรี ยบร้อยหมดแล้ว ต้องช่วยกันทาความสะอาดโรงฝึ ก ปฏิบตั ิงานให้มีความสะอาดเรี ยบร้อยคงสภาพเหมือนก่อนการลงฝึ กปฏิบตั ิงาน
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
13
หน้าที่
1
วันที่ : 10 ส.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
การ ก่ออิฐโชว์แนวและเซาะร่ อง เมื่อทาการก่อกาแพงหรื อเสาเสร็ จสิ้นเรี ยบร้อยแล้ว งานต่อไปที่จะต้องทาคือการตกแต่งผิวของผนัง นัน่ คือการฉาบปิ ดผนังหรื อเสาแต่ในบางครั้งไม่จาเป็ นต้องฉาบปิ ดเลยแต่จะใช้ประโยชน์ของแนวปูนก่อ ของอิฐหรื อบล็อก หรื อการใช้ผวิ ของอิฐและบล็อกที่ใส่ลวดลายลงไป ดังนั้นการเซาะร่ องจึงเป็ นอีกวิธีที่นิยม กันอย่างกว้างขวาง การเซาะร่ องสามารถทาได้หลายวิธี เช่น การเซาะร่ องให้เป็ นวงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม เป็ นต้น การแต่งรอยต่อ การแต่งรอยต่ออิฐ จะกระทาด้วยจุดประสงค์ให้ผนังอิฐนั้นต้านทานน้ าได้และช่วยให้เกิดความ สวยงามเป็ นแนวเรี ยบ ขนานกันหรื อได้ดิ่ง แม้อิฐจะมีขนาดไม่เท่ากันก็ตาม นับเป็ นเจตนาที่จะก่ออิฐเป็ นผนัง เพื่อกั้นสายตา เพื่อโชว์ในสวน ห้องรับแขกหรื อแม้แต่ผนังของอาคารก็ตาม จะต้องก่อด้วยความประณี ต จับดิ่ง และฉาก โดยเคร่ งครัด ความหนาของรอยปูนก่อจะต้องเท่ากันตลอดเพราะแผ่นอิฐจะเปิ ดให้คนเห็น ตลอดเวลา ไม่ฉาบปิ ดทับ จึงสรุ ปว่า เมื่อก่ออิฐได้เรี ยบก็ควรทาการแต่งรอยต่อได้ง่ายและสวยยิง่ ขึ้น วิธีปฏิบตั ิการเพื่อการแต่งรอยต่อนั้น ก่อนอื่นจะต้องเลือกรอยต่อที่เหมาะด้วยความสวยงาม และ ประโยชน์ใช้สอยว่าจะใช้แบบใด มี 6 ชนิด ดังนี้ 1. Flush Joint 2. Weather Joint 3. Concave tooled joint 4. Struck joint 5. Recessed joint 6. “V” Tooled Joint
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
13
หน้าที่
2
วันที่ : 10 ส.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
การ ก่ออิฐโชว์แนวและเซาะร่ อง การเลือกรอยต่อไม่ว่าชนิดใด ก็จะต้องขูดรอยปูนก่อ โดยใช้ปลายเกรี ยงเหล็กที่แหลมขูดออก หรื อจะใช้ชิ้นไม้ตอกตะปูให้โผล่หวั ตะปูเท่ากับความลึกที่ตอ้ งการขูดปูนก่อออก เวลาขูดก็เอาหน้าไม้ขนาน กับผิวอิฐ ตะปูจะอยูใ่ นแนวปูนก่อ ถูไปตามรอยต่อให้ลึกจนหน้าไม้สมั ผัสกับผิวอิฐและสังเกตดูรอยปูนก่อ ถูกขูดออกลึกประมาณ 20 มิลลิเมตร วิธีน้ ีจะได้ความลึกเท่ากัน ก่อนขูดจะต้องสังเกตว่าปูนก่อแห้ง จนกระทัง่ ครู ดแล้วเป็ นผงออก (ทิ้งไว้หลังก่อประมาณ 3-4 ชัว่ โมง) สาหรับการใช้เกรี ยงขูดจะต้องไม่รุนแรง จนกระทัง่ ผนังกระเทือนเพราะแผ่นอิฐอาจจะหลุดจากปูนก่อได้ การผสมปูนก่อใช้ทรายหยาบเป็ นส่วนผสม ฉะนั้นจะเปลี่ยนปูนแต่งรอยต่อเป็ นทรายละเอียด ผสมกับปูนซีเมนต์ 1 ต่อ 1 หรื อ 1 ต่อ 2 ข้น ๆ ผสมพอใช้ สาหรับ 1-2 เซนติเมตร ถ้าทิ้งไว้นานปูนทรายจะก่อตัวเสียก่อน เครื่ องมือที่จะใช้คล้ายการฉาบแต่ควรมี ไม้ชกั ร่ องตามลักษณะที่ตอ้ งการ ยาวประมาณ 30 เซนติเมตร
ขั้นตอนการเซาะร่ อง 1. แบ่งกลุ่มผูเ้ รี ยนให้เหมาะสมกับสถานที่ฝึกปฏิบตั ิ 2. ตรวจสอบเครื่ องมือสาหรับการฝึ กปฏิบตั ิให้พร้อม 3. ผสมปูนในอัตราส่วนที่พอเหมาะ มีความข้นเหลวเหมาะแก่การใช้งาน 4. กะระยะวางแนวก่ออิฐ 5. เริ่ มก่ออิฐให้ได้ตามความสูงที่กาหนด ตรวจสอบให้ได้ท้งั แนวระดับและแนวดิ่ง 6. แต่งแนวปูนก่อเซาะร่ องเหลี่ยม โดยใช้อุปกรณ์ที่เตรี ยมมาให้ 7. ตรวจสอบงานให้เรี ยบร้อย 8. เมื่อปฏิบตั ิงานเสร็ จตามที่ได้รับมอบหมายแล้วให้ทาความสะอาดบริ เวณฝึ กปฏิบตั ิ ให้ผสู้ อน ตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้ จากนั้นจึงเก็บงานให้เรี ยบร้อยอีกครั้งหนึ่ง 9. เมื่อผูเ้ รี ยนทุกคนปฏิบตั ิงานเสร็ จเรี ยบร้อยหมดแล้ว ต้องช่วยกันทาความสะอาดโรงฝึ ก ปฏิบตั ิงานให้มีความสะอาดเรี ยบร้อยคงสภาพเหมือนก่อนการลงฝึ กปฏิบตั ิงาน
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
14
หน้าที่
1
วันที่ : 17 ส.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การ จับเหลีย่ ม (เฟี้ ยม) เสา
ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 1. จัดแบ่งเสาสาหรับฝึ กปฏิบตั ิ 2. ตรวจสอบเครื่ องมือสาหรับการฝึ กปฏิบตั ิให้พร้อม 3. ผสมปูนให้อตั ราส่วนที่พอเหมาะ มีความข้นเหลวเหมาะแก่การใช้งาน 4. ใช้แปรงสลัดน้ าจุ่มลงในกระป๋ องน้ า ยกขึ้นสลัดไปที่มุมเสาให้มีความเปี ยกชุ่มพอประมาณ 5. ปฏิบตั ิการจับเหลี่ยมมุมเสา ใช้เกรี ยงเหล็กตักปูนจากกระป๋ องปูนเทลงบนกระบะรองปูน กลับปูนบนกระบะรองปูน (ปั้นปูน) ให้เป็ นก้อนและมีความเหนียว จากนั้นใช้เกรี ยงเหล็กตักแบ่ง ปูนไปฉาบโปะมุมบนสุดที่ผวิ งานของเสา พร้อมทั้งดันใบเกรี ยงเหล็กขึ้นไปในแนวดิ่ง ปูนฉาบ ก้อนดังกล่าวจะถูกใบเกรี ยงเหล็กอัดแน่นจนยึดติดกับผิวงานของอิฐ ทาเช่นเดียวกันในแนวต่า ลงมา แต่ให้ปูนฉาบติดกันในแนวดิ่งทั้ง 2 แนวของมุมที่ก่ออิฐเอาไว้ 6. แต่งปูนที่มุมเสาให้ได้ดิ่ง นาไม้บรรทัดปาดปูนตัวยาวมาทาบติดกับปูนฉาบที่ฉาบโปะเอาไว้ วัดจากผิวงานก่ออิฐมาถึงขอบไม้บรรทัดปาดปูน 1 เซนติเมตร โดยขยับปลายบนของไม้บรรทัด ปาดปูนตัวยาวทางด้านข้างไปทางซ้ายหรื อขวาจากผิวงานก่ออิฐ จนได้ระยะ 1 เซนติเมตร ตรวจสอบให้ได้ดิ่ง แล้วขยับปลายล่างของไม้บรรทัดปาดปูนตัวยาวไปทางซ้ายหรื อขวาจนอยูใ่ นแนวเส้นดิ่ง ต่อจากนั้นให้เพื่อนร่ วมงานจับไม้บรรทัดปาดปูนตัวยาวให้นิ่งอยูก่ บั ที่ ปลายล่างของไม้บรรทัดปาดปูนตัวยาวให้ดนั ให้ชิดติดกับปูนฉาบ 7. ใช้เกรี ยงเหล็กตักปูนจากกระบะรองปูนโปะตรงตาแหน่งที่เห็นว่าเป็ นช่องว่างระหว่างผิวอิฐกับไม้ บรรทัดปาดปูนตัวยาวทุกตาแหน่งที่ว่าง 8. นาไม้บรรทัดปาดปูนตัวยาวออกจากปูนฉาบในแนวดิ่งพร้อมทั้งเฉียงเข้าหาเสาตรงกลางที่ไม่ได้ ฉาบปูน เพื่อให้ไม้บรรทัดปาดปูนตัวยาวเคลื่อนตัวออกจากปูนฉาบ 9. ทาความสะอาดไม้บรรทัดปาดปูนตัวยาวโดยนาไปจุ่มลงในกระป๋ องน้ าใช้แปรงสลัดน้ าลูบขึ้นลง เพื่อทาให้ปูนที่ติดเกาะหลุดออกไป
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
14
หน้าที่
2
วันที่ : 17 ส.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การจับเหลีย่ ม (เฟี้ ยม) เสา
ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 10. ทาการแต่งปูนฉาบอีกด้านหนึ่งของมุมเสา โดยปฏิบตั ิเช่นเดียวกับที่ได้กล่าวมาข้างต้น 11. ทาการจับเหลี่ยมเสาตรงมุมเสาทุก ๆ มุมต่อไปจนครบทุกมุม 12. เมื่อปฏิบตั ิงานเสร็ จตามที่ได้รับมอบหมายแล้วให้ทาความสะอาดบริ เวณฝึ กปฏิบตั ิ ให้ผสู้ อนตรวจ ให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ได้กาหนดไว้ จากนั้นจึงเก็บงานให้เรี ยบร้อยอีกครั้งหนึ่ง 13. เมื่อผูเ้ รี ยนทุกคนปฏิบตั ิงานเสร็ จเรี ยบร้อยหมดแล้ว ต้องช่วยกันทาความสะอาดโรงฝึ ก ปฏิบตั ิงานให้มีความสะอาดเรี ยบร้อยคงสภาพเหมือนก่อนการลงฝึ กปฏิบตั ิงาน
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
15
หน้าที่
1
วันที่ : 24 ส.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
การ ปรับระดับผนังและทาปุ่ มระดับ การปรับระดับผนัง ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 6. ตรวจสอบเครื่ องมือสาหรับการฝึ กปฏิบตั ิให้พร้อม 7. ตรวจสอบระดับผนังทั้งแนวดิ่งและแนวระดับ 8. เลือกแนวอิฐที่มีระดับเท่ากันมากที่สุดตั้งแต่ผนังด้านซ้ายถึงด้านขวา จากนั้นตอกตะปูให้แน่น มีปลายตะปูยนื่ ออกมา ทั้ง 2 ด้าน 9. ตอกตะปูให้ตรงกับตะปูที่ได้ตอกไว้ในข้อ 3. ยึดไว้ที่มุมของผนังด้านบน ใช้ดิ่งช่วยในการ ตรวจสอบระดับผนัง โดยผูกกับตะปูที่มุมของผนังด้านบนแล้วปล่อยดิ่งลงมา เมื่อตรวจสอบได้ ดิ่งแล้วก็ทาการตอกตะปูระบุตาแหน่งไว้ดา้ นล่าง ใช้ปากกาเคมีช่วยในการขีดเส้นบริ เวณตะปูท้งั สี่มุมที่ตรงกับเส้นเอ็น เพื่อให้ได้ตาแหน่งระดับที่ถกู ต้อง จากนั้นขึงเอ็นกับตะปูท้งั สี่มุมจะได้ เป็ นรู ปสี่เหลี่ยมผืนผ้าใหญ่ ตลอดทั้งผนัง 10. กาหนดความหนาของผนังประมาณ 1-1.5 เซนติเมตร ใช้ตลับเมตรวัดจากตาแหน่งที่ใช้ปากกา เคมีขีดไว้บนตะปูท้งั สี่มุม โดยเลื่อนเข้า-เลื่อนออกในระยะที่เท่ากัน เพื่อผนังจะได้มีระดับเท่ากัน ตลอดทั้งผนัง 11. เมื่อปรับระดับผนังเสร็ จสิ้นแล้ว ควรระมัดระวังอย่าไปสัมผัสตะปูและเส้นเอ็นที่ขึงไว้ เพราะ ตาแหน่งอาจมีการเคลื่อนที่ ทาให้ผนังอาจไม่ได้ระดับเช่นเดิม 12. เพื่อให้การปรับระดับผนังมีประสิทธิภาพดียงิ่ ขึ้น ให้นาเส้นเอ็นขึงเป็ นเส้นแนวทแยงมุมทั้งสี่มุม หรื ออาจจะเพิ่มการตอกตะปูผนังด้านบนและด้านล่าง จากนั้นขึงเส้นเอ็น เพื่อจะได้สะดวกต่อ การตรวจสอบระดับผนัง
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
15
หน้าที่
2
วันที่ : 24 ส.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
การ ปรับระดับผนังและทาปุ่ มระดับ
การทาปุ่ มระดับ ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 1. ตรวจสอบเครื่ องมือสาหรับการฝึ กปฏิบตั ิให้พร้อม 2. ผสมปูนให้อตั ราส่วนที่พอเหมาะ มีความข้นเหลวเหมาะแก่การใช้งาน 3. กาหนดตาแหน่งการทาปุ่ มระดับ โดยเลือกตาแหน่งบนเส้นเอ็นที่ได้ขึงไว้ดา้ นบน ด้านล่างและ บริ เวณตรงส่วนกลางของผนัง มีระยะห่างกันเท่ากับไม้บรรทัดปาดปูนรู ปสามเหลี่ยมที่ใช้ในการ ปฏิบตั ิงาน 4. ใช้เกรี ยงเหล็กตักปูนจากกระป๋ องปูนเทลงบนกระบะรองปูน กลับปูนบนกระบะรองปูน (ปั้นปูน) ให้เป็ นก้อนและมีความเหนียว จากนั้นใช้เกรี ยงเหล็กตักแบ่งปูนไปฉาบโปะบนตาแหน่งที่ กาหนดบริ เวณเส้นเอ็นที่ขึงไว้ ปูนฉาบก้อนดังกล่าวจะถูกใบเกรี ยงเหล็กอัดแน่นจนยึดติดกับผนัง ฉาบโปะปูนให้มีความหนาเท่ากับเส้นเอ็นที่ได้ขึงไว้ 5. ตกแต่งผิวหน้าของปุ่ มระดับให้เรี ยบ โดยใช้ไม้บรรทัดปาดปูนรู ปสามเหลี่ยมหรื อหลังเกรี ยงชุบน้ า ปาดบริ เวณผิวหน้าของปุ่ มระดับ และใช้เกรี ยงเหล็กปาดเป็ นรู ปสี่เหลี่ยมมีขนาดพอเหมาะ 6. ทาเช่นเดียวกันในการทาปุ่ มระดับต่อ ๆ ไป จนครบตามต้องการ 7. เมื่อปฏิบตั ิงานเสร็ จตามที่ได้รับมอบหมายแล้ว ผูเ้ รี ยนทุกคนต้องช่วยกันทาความสะอาดบริ เวณ ฝึ กปฏิบตั ิงานให้มคี วามสะอาดเรี ยบร้อยคงสภาพเหมือนก่อนการลงปฏิบตั ิ
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
16
หน้าที่
1
วันที่ : 31 ส.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การ จับเหลีย่ ม (เฟี้ ยม) ผนัง
ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 13. จัดแบ่งผนังสาหรับฝึ กปฏิบตั ิ 14. ตรวจสอบเครื่ องมือสาหรับการฝึ กปฏิบตั ิให้พร้อม 15. ผสมปูนให้มีอตั ราส่วนที่พอเหมาะ มีความข้นเหลวเหมาะแก่การใช้งาน 16. ใช้แปรงสลัดน้ าจุ่มลงในกระป๋ องน้ า ยกขึ้นสลัดไปที่มุมผนังให้มีความเปี ยกชุ่มพอประมาณ 17. ปฏิบตั ิการจับเหลี่ยมมุมผนัง ใช้เกรี ยงเหล็กตักปูนจากกระป๋ องปูนเทลงบนกระบะรองปูน กลับปูนบนกระบะรองปูน (ปั้นปูน) ให้เป็ นก้อนและมีความเหนียว จากนั้นใช้เกรี ยงเหล็กตักแบ่ง ปูนไปฉาบโปะมุมบนสุดที่ผวิ งานของผนัง พร้อมทั้งดันใบเกรี ยงเหล็กขึ้นไปในแนวดิ่ง ปูนฉาบ ก้อนดังกล่าวจะถูกใบเกรี ยงเหล็กอัดแน่นจนยึดติดกับผิวงานของอิฐ ทาเช่นเดียวกันในแนวต่า ลงมา แต่ให้ปูนฉาบติดกันในแนวดิ่งทั้ง 2 แนวของมุมที่ก่ออิฐเอาไว้ 6. แต่งปูนที่มุมผนังให้ได้ดิ่ง นาไม้บรรทัดปาดปูนตัวยาวมาทาบติดกับปูนฉาบที่ฉาบโปะเอาไว้ วัดจากผิวงานก่ออิฐมาถึงขอบไม้บรรทัดปาดปูน 1 เซนติเมตร โดยขยับปลายบนของไม้บรรทัด ปาดปูนตัวยาวทางด้านข้างไปทางซ้ายหรื อขวาจากผิวงานก่ออิฐ จนได้ระยะ 1 เซนติเมตร ตรวจสอบให้ได้ดิ่ง แล้วขยับปลายล่างของไม้บรรทัดปาดปูนตัวยาวไปทางซ้ายหรื อขวาจนอยูใ่ นแนวเส้นดิ่ง ต่อจากนั้นให้เพื่อนร่ วมงานจับไม้บรรทัดปาดปูนตัวยาวให้นิ่งอยูก่ บั ที่ ปลายล่างของไม้บรรทัดปาดปูนตัวยาวให้ดนั ให้ชิดติดกับปูนฉาบ 14. ใช้เกรี ยงเหล็กตักปูนจากกระบะรองปูนโปะตรงตาแหน่งที่เห็นว่าเป็ นช่องว่างระหว่างผิวอิฐกับไม้ บรรทัดปาดปูนตัวยาวทุกตาแหน่งที่ว่าง 15. นาไม้บรรทัดปาดปูนตัวยาวออกจากปูนฉาบในแนวดิ่ง 16. ทาความสะอาดไม้บรรทัดปาดปูนตัวยาวโดยนาไปจุ่มลงในกระป๋ องน้ าใช้แปรงสลัดน้ าลูบขึ้นลง เพื่อทาให้ปูนที่ติดเกาะหลุดออกไป
เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106 - 2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
สัปดาห์ที่
16
หน้าที่
2
วันที่ : 31 ส.ค. 52 เวลา : 9.00 – 15.00 น. ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การจับเหลีย่ ม (เฟี้ ยม) ผนัง
ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 17. ทาการแต่งปูนฉาบอีกด้านหนึ่งของมุมผนัง โดยปฏิบตั ิเช่นเดียวกับที่ได้กล่าวมาข้างต้น 18. ทาการจับเหลี่ยมผนังตรงมุมผนังทุก ๆ มุมต่อไปจนครบทุกมุม 19. เมื่อปฏิบตั ิงานเสร็ จตามที่ได้รับมอบหมายแล้ว ผูเ้ รี ยนต้องช่วยกันทาความสะอาดบริ เวณฝึ ก ปฏิบตั ิงานให้มีความสะอาดเรี ยบร้อยคงสภาพเหมือนก่อนการลงฝึ กปฏิบตั ิ
สั ปดาห์ ที่
แนวคิดการสอนประจาสัปดาห์ รหัสและชื่อวิชา : 2106-2102 งานปูน 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง
วันที่ : 7 ก.ย. 2552
17 เวลา : 9.00 – 15.00 น.
ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ
หัวข้ อการสอน - การฉาบผนัง เตรียมการสอน 1. จัดเตรี ยมเนื้อหาการสอนเรื่ องการฉาบผนัง 2. ปฏิบตั ิให้ผเู้ รี ยนดูเป็ นตัวอย่าง 3. จัดทาใบงานแสดงรู ปการฉาบผนังให้ผเู้ รี ยนได้ศึกษาและปฏิบตั ิตามแบบที่กาหนด
การจัดการสอน - ช่วงที่ 1 เช็คชื่อผูเ้ รี ยนพร้อมตรวจเครื่ องมือประจาตัว (เกรี ยง) เพื่อให้คะแนน - ช่วงที่ 2 อธิบายวิธีการฉาบผนังให้ผเู้ รี ยนตอบคาถาม พร้อมทั้งเปิ ดโอกาสให้ซกั ถามข้อสงสัย - ช่วงที่ 3 ให้ผเู้ รี ยนลงมือปฏิบตั ิงานตามที่ได้รับมอบหมาย - ช่วงที่ 4 ผูส้ อนตรวจสอบขั้นตอนการทางานเพื่อให้คาแนะนา ผูเ้ รี ยนสามารถซักถามข้อสงสัยกับ ผูส้ อนได้ระหว่างปฏิบตั ิงานจนแล้วเสร็ จ - ช่วงที่ 5 เมื่อครบกาหนดเวลาผูส้ อนตรวจงานให้คะแนนตามเกณฑ์ที่กาหนด - ช่วงที่ 6 ผูส้ อนคุมผูเ้ รี ยนทาความสะอาดโรงฝึ กปฏิบตั ิงาน - ช่วงที่ 7 เช็คชื่อ พร้อมทั้งสรุ ปการทางานของผูเ้ รี ยน จากนั้นสรุ ปการปฏิบตั ิงานโดยรวมตลอดทั้งภาค เรี ยน เพื่อเป็ นการทบทวนความรู้ ทบทวนทักษะ และเพิ่มความเข้าใจในวิชาชีพของตน เลิกชั้นเรี ยน