ฝึกฝีมืองานไม้

Page 1



แผนการจัดการเรียนรู้ รหัส 2100-1303 วิชาฝึ กฝี มืองานไม้ 3(6) หลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) ประเภทวิชาอุตสาหกรรม

สาขาวิชาการก่ อสร้ าง

คาอธิบายรายวิชา รหัส 2100-1303

วิชา ฝึ กฝี มอื งานไม้

3 หน่วยกิต 6 ชัว่ โมง/สัปดาห์

จุดประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ หลักการเกี่ยวกับ การลับ ปรับ แต่ง บารุ งรักษา ซ่อมแซม เครื่ องมืองานไม้ งานวัด ร่ างแบบ ไส เจาะ เพลาะ ตัดไม้ 2. เพื่อให้สามารถ ลับ ปรับ แต่ง บารุ งรักษา ซ่อมแซม เครื่ องมืองานไม้ งานวัด ร่ างแบบ ไส เจาะ เพลาะ ตัด ประกอบและตกแต่งชิ้นงานไม้ 3. เพื่อให้มี กิจนิสยั ในการทางาน มีวินยั มีความคิดสร้างสรรค์ รักษาความปลอดภัย และ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มาตรฐานรายวิชา 1. เข้าใจหลักการเบื้องต้น ในการทางานไม้ การใช้บารุ งรักษาเครื่ องมืองานไม้ 2. ลับ ปรับ แต่ง บารุ งรักษา ซ่อมเครื่ องมืองานไม้ วัด ร่ างแบบ ไส เจาะ เพลาะ ตัด ประกอบและตกแต่งชิ้นงานไม้

คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกับการลับ ปรับแต่ง บารุ งรักษาซ่อมแซมเครื่ องมือช่างไม้ งานวัด ร่ างแบบ ไส ตัด เจาะ ประกอบและตกแต่งชิ้นงา ตารางวิเคราะห์ หน่ วยสมรรถนะ รหัส 2100-1303

วิชา ฝึ กฝี มืองานไม้

3 หน่วยกิต 6 ชัว่ โมง/สัปดาห์


หน่ วยที่

ชื่อหน่ วย/หัวข้ อย่ อย

สั ปดาห์ ที่

เวลา (ช.ม.)

ชื่อหน่ วยสมรรถนะ

1

การลับ, ปรับแต่ง,ประกอบกบไสไม้

1

6

1.แสดงความรู้เกีย่ วกับหลักการ ทฤษฎีและ ปฏิบตั ิการ ลับ ปรับแต่งรวมถึงประกอบกบไส ไม้

2

การไสไม้

2

6

2.แสดงความรู้เกีย่ วกับหลักการ ทฤษฎีและ ปฏิบตั ิการไสไม้

3

การลับแต่งคมสิ่ วเจาะสิ่ วปากบาง

3

6

3.แสดงความรู้เกีย่ วกับหลักการ ทฤษฎีและ ปฏิบตั ิการ ลับ แต่งคมสิ่ วปากบางรวมถึงการใช้ ค้อนไม้

4

การใช้คอ้ นหงอน การคัดคลองเลื่อยและการตะไบฟันเลื่อย การใช้คอ้ นหงอน

4

6

4.แสดงความรู้เกีย่ วกับหลักการ ทฤษฎีและ ปฏิบตั ิการคัดคลองเลื่อยและการตะไบฟันเลื่อย รวมถึงการใช้คอ้ นหงอนในงานก่อสร้าง

5

การเข้าปากไม้

5

6

5.แสดงความรู้และสร้างชิ้นงานเกีย่ วกับการเข้า ปากไม้โดยทาตามแบบการเข้าปากไม้

6 7 8 10 11 12 13

6 6 6 6 6 6 6 24

6

1.การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วใน 2.การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วนอก 3.การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วใน-นอก 4.การเข้าปากไม้ชนิดปากชนหางเหยี่ยว 5.การเข้าปากไม้ชนิดปากชนธรรมดา 6.การเข้าปากไม้ชนิดปากชนบังใบเดือยเดี่ยว 7.การเข้าปากไม้ชนิดปากกบนอกบังใบ 8.การเข้าปากไม้ชนิดปากกบนอกหางเหยี่ยว การทาผลิตภัณฑ์งานไม้,การเพลาะไม้ การทาผลิตภัณฑ์งานไม้,การเพลาะไม้ การทาผลิตภัณฑ์งานไม้,การเพลาะไม้ การทาผลิตภัณฑ์งานไม้,การเพลาะไม้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค รวม

14 15 16 17 9 18

6 6 108

6.แสดงความรู้และสร้างชิ้นงานโดยทาตามแบบ ผลิตภัณฑ์งานไม้และส่ วนที่มีการเพลาะไม้


ตารางวิเคราะห์ หลักสู ตร รหัส 2100-1303

วิชา ฝึ กฝี มืองานไม้

ระดับชั้น ปวช.

สาขาวิชา

ลาดับความสาคัญ

จานวนชัว่ โมง

รวม

ลาดับความสาคัญ

8) การเข้าปากไม้ชนิดปากกบนอกหาง เหยีย่ ว 6. การทาผลิตภัณฑ์งานไม้,การเพลาะไม้

รวม

7) การเข้าปากไม้ชนิดปากชนหางเหยีย่ ว

จิต พิสัย

6) การเข้าปากไม้ชนิดปากกบนอกบังใบ

ทักษะ พิสัย

5) การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วใน-นอก

ประเมินค่า

4)การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วนอก

สังเคราะห์

5.การเข้าปากไม้ 1) การเข้าปากไม้ชนิดปากชนธรรมดา 2) การเข้าปากไม้ชนิดปากชนบังใบเดือย เดี่ยว 3) การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วใน

วิเคราะห์

2. การลับ แต่งคม สิ่ วเจาะ สิ่ วปากบาง การใช้คอ้ นไม้ 3. การคัดคลองเลื่อยและการตะไบฟันเลื่อย การใช้คอ้ นหงอน 4. การไสไม้

พุทธิพิสยั นาไปใช้

1. การลับ, ปรับแต่ง,ประกอบกบไสไม้

กลุ่มวิชา -

ความเข้าใจ

ชื่อหน่วย/หัวข้อย่อย

การก่อสร้าง

ความรู้

พฤติกรรม

หน่ วยกิต 3 (6)

/

/

/

/

/

/

/

/

8

2

6

/

/

/

/

/

/

/

/

8

2

6

/

/

/

/

/

/

/

/

8

2

6

/

/

/

/

/

/

/

/

8

2

6

/

/

/

/

-

/

/

/

7

3

6

/

/

/

/

-

/

/

/

7

3

6

/ / / / /

/ / / / /

/ / / / /

/ / / / /

-

/ / / / /

/ / / / /

/ / / / /

7 7 7 7 7

3 3 3 3 3

6 6 6 6 6

/

/

/

/

-

/

/

/

7

3

6

/ 13 1

/ 13 1

/ 13 1

/ 13 1

/ 5 3

/ 13 3

/ 13 1

/ 13 2

8 -

1 -

24 -


คู่มือวิชาโดยสั งเขป ( COURSE OUTLINE ) 1. หลักสู ตร วิทยาลัยเทคนิคสมุทรปราการ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาช่างก่อสร้าง ชั้นปี ที่ 1 ภาคเรี ยนที่ 2 2. ชื่อวิชาและรหัสวิชา ( Title Heading ) 2011- 1303 ฝึ กฝี มืองานไม้ 3. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกับการลับ ปรับแต่ง บารุ งรักษาซ่อมแซมเครื่ องมือช่างไม้ งานวัด ร่ างแบบ ไล่ ตัด เจาะ ประกอบและตกแต่งชิ้นงาน 4. จุดประสงค์รายวิชา ( Course Objective ) เมื่อนักศึกษาได้เรี ยนวิชา 2011 – 1303 ฝึ กฝี มืองานไม้จะมีความสามารถดังต่อไปนี้ 1.มีความรู้ความเข้าใจ หลักการเกี่ยวกับ การลับ การปรับแต่งบารุ งรักษา ซ่อมแซมเครื่ องมืองานไม้ งานวัดร่ างแบบ ใส เสาะ เพลาะ ตัดไม้ 2.สามารถ ลับ ปรับ แต่ง บารุ งรักษา ซ่อมแซม เครื่ องมืองานไม้ งานวัด ร่ างแบบ ใส่ เจาะ เพลาะ ตัด ประกอบและตกแต่งชิ้นงาน 3.เพื่อให้มี กิจนิสยั ในการทางาน มีวินยั มีความคิดสร้างสรรค์ รักษาความปลอดภัย และอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม 5. ตาราประกอบการเรียนการสอน หนังสือเรี ยนวิชา เทคนิคการใช้เครื่ องมืองานไม้ ผูเ้ ขียน ปรวีร์ ชัยประสาธน์ 6. อุปกรณ์ที่นักศึกษาใช้ ประกอบการเรียน 1. ตลับเมตร 2. ดินสอขีดไม้ 3. สมุดจดบันทึก


7. เครื่องอานวยความสะดวก 1. เครื่ องฉายภาพข้ามศีรษะ ( Over Head ) 2. กระดาน ( White Bord ) , ปากกาเขียน ( White Bord ) 9. แผนการจัดการเรียนการสอน (Course Content Plan) สัปดาห์ 1 2 3

เนือ้ หาบทเรียน การลับ, ปรับแต่ง,ประกอบกบไสไม้ การไสไม้ การลับแต่งคมสิ่วเจาะสิ่วปากบาง, การใช้คอ้ นหงอน

จานวนชั่วโมง 6 6 6

4

การคัดคลองเลื่อยและการตะไบฟันเลื่อย, การใช้คอ้ นหงอน

6

5 6 7 8 9

การเข้าปากไม้ชนิดปากปากกริ วใน การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วนอก การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วใน-นอก การเข้าปากไม้ชนิดปากชนหางเหยีย่ ว

6 6 6 6 6

10 11 12 13 14

การเข้าปากไม้ชนิดปากชนธรรมดา การเข้าปากไม้ชนิดปากชนบังใบเดือยเดี่ยว การเข้าปากไม้ชนิดปากกบนอกบังใบ การเข้าปากไม้ชนิดปากกบนอกหางเหยีย่ ว การทาผลิตภัณฑ์งานไม้,การเพลาะไม้

6 6 6 6 6

15

การทาผลิตภัณฑ์งานไม้,การเพลาะไม้

6

16

การทาผลิตภัณฑ์งานไม้,การเพลาะไม้

6

17

การทาผลิตภัณฑ์งานไม้,การเพลาะไม้

6

18

ทดสอบกลางภาค

ทดสอบปลายภาค รวม

6 108


10. วิธีที่จะใช้ ในการสอน (Method of Instruction) - นักศึกษาลงปฏิบตั ิจริ งในโรงฝึ กงาน 11. วิธีการวัดผล ( Method of Evaluating Outcome ) วิธีการให้คะแนน (Mark Allocation) 1. คะแนนความรู้ (ร้อยละ 80) 1) งานที่มอบหมายและการเข้าร่ วมกิจกรรม ร้องละ 30 2) สอบกลางภาค ร้อยละ 20 3) สอบปลายภาค ร้อยละ 30 2. คะแนนความดี (ร้อยละ 20) 1) จิตพิสยั (Other) ร้อยละ 20 3. ระดับคะแนน 80 100 = 4 ดีเยีย่ ม (Excellent) 75 79 = 3.5 ดีมาก (Very Good) 70 74 = 3 ดี (Good) 65 69 = 2.5 ดีพอใช้ (Fairly Good) 60 64 = 2 พอใช้ (Fair) 55 59 = 1.5 อ่อน (Poor) 50 54 = 1 อ่อนมาก (Very Poor) 0 49 = 0 ตก (Failure)



เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

1

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับ,ปรับแต่ง, จานวน 6 ชัว่ โมง ประกอบกบไสไม้

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

1.สาระสาคัญ กบ (Planers) กบถือเป็ นเครื่ องมือสาคัญและขาดไม่ได้สาหรับช่างไม้ เนื่องจากกบเป็ นเครื่ องมือ ที่ใช้แต่งผิวไม้ให้เรี ยบ ได้ขนาดตามความต้องการ ตัวกบอาจทาด้วยไม้หรื อด้วยเหล็ก 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎีและปฏิบตั ิการลับ ปรับแต่งรวมถึงประกอบกบไสไม้ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) สามารถจับกบไสไม้ได้อย่างถูกต้อง 2) สามารถอธิบายส่วนประกอบต่างๆของกบไสไม้ได้ 3) สามารถลับใบกบได้อย่างถูกต้อง 4) สามารถถอดและประกอบกบไสไม้ได้อย่างถูกต้อง 5) สามารถปรับแต่งใบกบก่อนทาการไสไม้ได้อย่างถูกต้อง 6) ทราบวิธีการวางกบไสไม้ที่ถกู ต้อง 7) สามารถไสไม้ดว้ ยกบไสไม้ได้เบื้องต้น 8) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถสังเกตเห็นได้ในด้าน ความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความ สนใจ ใฝ่ รู้ ความรักสามัคคีความกตัญญูกตเวที


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

2

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับ,ปรับแต่ง, จานวน 6 ชัว่ โมง ประกอบกบไสไม้

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ

ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน

1) สามารถจับกบไสไม้ได้อย่างถูกต้อง 2) สามารถอธิบายส่วนประกอบต่างๆของ กบไสไม้ได้ 3) สามารถลับใบกบได้อย่างถูกต้อง 4) สามารถประกอบกบไสไม้ได้อย่าง ถูกต้อง 5) สามารถปรับแต่ใบกบก่อนทาการไสไม้ ได้อย่างถูกต้อง 6) ทราบวิธีการวางกบไสไม้ที่ถกู ต้อง 7) สามารถไสไม้ดว้ ยกบไสไม้ได้เบื้องต้น 8) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเองความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ

-

/ /

-

/ /

/ /

/ -

-

-

/ /

/ -

6 2 4 2

-

/ /

/

/ /

/ /

/ /

-

/ -

/ /

-

6 1 6 2

/

/

/

/

/

/

-

/

/

-

8 3

/ -

/ / /

/ / /

/ / -

/ / /

/ / -

/

/ -

/ / /

/

6 3 8 4 6 1

2 8 5 1

5 3

7 2

8 1

6 4

1 5

3 5

8 1

2 5


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

3

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับ,ปรับแต่ง, จานวน 6 ชัว่ โมง ประกอบกบไสไม้

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

4.สาระการเรียนรู้ 1) บทนา เครื่ องมือไสไม้ (Planer tool) ในงานช่างไม้ได้แก่ กบ (Planers) กบถือเป็ นเครื่ องมือ สาคัญและขาดไม่ได้สาหรับช่างไม้ 2) หน้าที่ของกบไสไม้ เนื่องจากกบเป็ นเครื่ องมือที่ใช้แต่งผิวไม้ให้เรี ยบได้ขนาดตามความต้องการ 3) ประเภทของกบไสไม้ ตัวกบอาจทาด้วยไม้หรื อด้วยเหล็ก ดังนั้นกบที่ใช้กนั แบ่งออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ - กบไม้ - กบเหล็ก 4) ลักษณะการจับกบไสไม้ ใช้มือซ้ายสาหรับผูเ้ รี ยนที่ถนัดขวาโดยใช้นิ้วนางและนิ้วก้อยกาบริ เวณ มือจับข้างซ้ายและใช้นิ้วหัวแม่มือ กดบริ เวณลิ่มไม้ให้นิ้วชี้และนิ้วกลางอยูบ่ ริ เวณท้องกบใช้มือขวาสาหรับ ผูเ้ รี ยนที่ถนัดซ้ายโดยใช้นิ้วนางและนิ้วก้อยกา บริ เวณมือจับข้างขวาและใช้นิ้วหัวแม่มือกดบริ เวณลิม่ ไม้ให้นิ้วชี้และนิ้วกลางอยูบ่ ริ เวณท้องกบ 5) ส่วนประกอบของกบไสไม้ 5.1) ตัวกบ ทาจากไม้เนื้อแข็งที่ไม่ยดื หรื อหดตัวเร็ ว ไม้ที่นิยมใช้กนั คือ ไม้ชิงชัน หรื อ ไม้ประดู่ ไม้แดงหรื อไม้พยุง ขนาดความยาว 2 นิ้ว หนาประมาณ 2 ½ นิ้ว มีร่องเจาะด้านหลังเอียง 45องศาเหลือเนื้อไม้ ตรงริ ม ¼นิ้ว ความกว้างของร่ องจากริ มหลังถึงริ มหน้า 1 ¾นิ้ว–2 นิ้วและที่ดา้ นหลังเจาะรู เป็ นวงกลมหรื อวงรี ขนาด ประมาณ ¾นิ้วไว้ใส่ มือจับ 5.2) ใบกบ ทาจากเหล็กกว้าง 1 ¾นิ้ว หนาประมาณ 3/16นิ้ว ยาวประมาณ 6 ½นิ้ว มีคมที่ ส่วนล่างเพื่อใช้ขดู ไม้ให้เรี ยบ เป็ นส่วนที่สาคัญที่สุดของกบ 5.3) เหล็กประกับใบ หรื อเหล็กประกับกบ อยูร่ ะหว่างใบกบและลิน้ ติดกับใบกบโดยมีน็อตสกรู ยดึ ติด เหล็กประกันใบนี้ ขนาด 1/8นิ้ว x 1 ¾นิ้ว x 4นิ้ว มีหน้าที่เสริ มกาลังตอนปลายของใบกบไม่ให้อ่อนหรื อบิดในเวลาที่ทา การไสและควบคุมการกินของไม้เพื่อไม่ให้ไม้ยอ้ นเข้าไปติดที่ลิ่มไม้และ ขื่อกบ 5.4) ลิ่ม เป็ นแผ่นไม้ชนิดเดียวกับไม้ที่ทาตัวกบคล้ายหัวขวานแต่บางกว่า ใช้ตอกอัด เข้าร่ องเวลาใส่ในกบ เพื่อให้ใบกบแน่น 5.5) ก้านหรื อมือจับยาวประมาณ 9นิ้ว-10นิ้ว รู ปวงกลมหรื อวงรี ช่วยให้จบั กบได้เหมาะมือ 6) วิธีการลับใบกบไสไม้ 6.1) ใช้มือจับใบกบให้แน่นให้ใบกบด้านโค้งสัมผัสกับหินลับจากนั้นวางใบกบโดยให้


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

4

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับ,ปรับแต่ง, จานวน 6 ชัว่ โมง ประกอบกบไสไม้

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ทามุมประมาณ 30 องศา (ดังรู ปที่1) 6.2) ให้ลากใบกบไปมาให้สุดหินลับหรื อลากวนเป็ นวงรี

(รู ปที1่ )

รู ปที่ 1 แสดงการลับใบกบ 7) ชนิดของกบไสไม้ 7.1) กบล้างยาว ขนาดโดยทัว่ ไป 2นิ้ว x 2 ½นิ้ว x18นิ้ว มุมเอียงของใบกบประมาณ 45 – 50 องศาใช้สาหรับไสไม้ให้เรี ยบและตรงระยะยาว ๆ หรื อใช้ลา้ งแนวไสให้เรี ยบขึ้น 7.2) กบล้างกลางและสั้น มีขนาดสั้นกว่ากบล้างยาว คือมีขนาด 12นิ้ว (สาหรับกบล้างกลาง) และมีขนาด 6” (สาหรับกบล้างสั้น) ส่วนประกอบอื่น ๆ คล้ายกับกบล้างยาวทุกอย่าง ใช้ไสไม้ที่มี ความยาวไม่มากนักให้เป็ นเส้นตรง 7.3) กบผิว ลักษณะจะคล้ายกับกบล้าง คือ มีความยาวใกล้เคียงกัน แต่ที่แตกต่างกันคือมุมของใบกบจะ เอียงประมาณ 50 – 60 องศา และกบผิวจะไม่มีฝาประกับกบ มีแต่ลิ่มเท่านั้นกบผิวใช้ต่อจากการใช้กบล้าง เพื่อไสไม้ให้ เรี ยบมากยิง่ ขึ้น 7.4) กบกระดี่ (ดังรู ปที่ 2)

รู ปที่ 2 กบกระดี่ กบชนิดนี้ใช้สาหรับใสด้านข้างของช่องบังใบซึ่งไม่สามารถใช้กบชนิดอืน่ ไสแทนได้


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

5

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับ,ปรับแต่ง, จานวน 6 ชัว่ โมง ประกอบกบไสไม้

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

7.5) กบร่ องหรื อกบราง (ดังรู ปที่ 3)

รู ปที่ 3 กบร่ องหรื อกบราง กบชนิดนี้ใช้สาหรับทารางเพื่อใส่ลิ้น หรื อ ใส่กระจกขนาดใบกบที่นิยมใช้กว้าง 1/8นิ้วถึง3/4นิ้ว 7.6) กบลอกบัวหรื อกบบัว (ดังรู ปที่ 4)

รู ปที่ 4 กบลอกบัวหรื อกบบัว กบชนิดนี้ใช้สาหรับทาบัวไม้

7.7) กบบังใบ (ดังรู ปที่ 5)

รู ปที่ 5 กบบังใบ กบชนิดนี้ใช้สาหรับบังใบกรอบวงกบประตู – หน้าต่าง หรื อพื้น 8) การวางกบไสไม้


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

6

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับ,ปรับแต่ง, จานวน 6 ชัว่ โมง ประกอบกบไสไม้

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

การวางกบมี

3 วิธีคือ 8.1) วางกบให้กบตะแคงข้างใดข้างหนึ่งโดยให้มือจับ,ใบกบและหัวกบด้านที่ไม้มีคมสัมผัสกับ โต๊ะฝึ กงานท้องกบชี้ไปทางด้านข้าง 8.2) วางกบโดยให้ทอ้ งกบหงายขึ้นด้านบนให้ส่วนที่เป็ นหัวกบและใบกบด้านที่ ไม่มีคมสัมผัสกับโต๊ะฝึ กงาน 8.3) วางกบโดยใช้ไม้รองท้องกบให้ส่วนที่เป็ นท้ายกบสัมผัสกับโต๊ะฝึ กงานไม่ให้ใบกบด้านที่มี คมสัมผัสกับโต๊ะฝึ กงาน 5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู ถามนักเรี ยนบ้านใครทาธุรกิจเกี่ยวกับไม้หรื อทาเฟอร์นิเจอร์บา้ ง 2. ครู ถามผูเ้ รี ยนว่า นักเรี ยนทราบหรื อไม่ว่าเฟอร์นิเจอร์แต่ละชิ้นที่เรานามาใช้งานเช่น โต๊ะ เก้าอี้น้ นั ต้องผ่านกระบวนการแปรรู ปอะไรบ้าง 3. ครู อธิบายว่าวัตถุดิบที่เรานามาใช้ก็คือไม้เราจึงต้องตัดต้นไม้แล้วนามาผ่านเข้าเครื่ องเลื่อยทาเป็ นไม้ แผ่นหรื อไม้เป็ นท่อนเราเรี ยกว่าไม้แปรรู ปซึ่งไม้แปรรู ปที่วางขายนั้นได้ผา่ นการแปรรู ป แบบหยาบๆ ไม้ยงั มีรอยใบเลื่อย อยูม่ ีเสี้ยนไม้และก่อนที่จะนาไม้มาใช้น้ นั ต้องผ่านการแปรรู ปแบบละเอียดก่อนต้องผ่านการทาให้เรี ยบโดยวิธีการไสไม้ ด้วยกบไสไม้ก่อน ดังนั้นสัปดาห์แรกนี้เราจะศึกษาเรื่ อง - ประเภทของกบไสไม้ - ชนิดของกบไสไม้ - หน้าที่ของกบไสไม้ - ส่วนประกอบของกบไสไม้ - ลักษณะการจับกบไสไม้ - วิธีการลับใบกบไสไม้ - การประกอบกบไสไม้ - การวางกบไสไม้ ขั้นสอน (ใช้ วธิ ีการสอนแบบบรรยาย และถาม-ตอบ) 1. ครู ดาเนินการสอนเกี่ยวกับ - ประเภทของกบไสไม้ - ชนิดของกบไสไม้ - หน้าที่ของกบไสไม้ - ส่วนประกอบของกบไสไม้ - ลักษณะการจับกบไสไม้ - วิธีการลับใบกบไสไม้


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

7

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับ,ปรับแต่ง, จานวน 6 ชัว่ โมง ประกอบกบไสไม้

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

- การประกอบกบไสไม้ - การวางกบไสไม้ 2. นักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น โดยที่ครู ใช้วิธีการถาม-ตอบ

ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ครู แจกกบไสไม้,ไขควงและหินลับ ให้ผเู้ รี ยน 2. ครู อธิบายส่วนประกอบที่ประกอบด้วย มือจับ,ใบกบ,เหล็กประกับ,ลิ่มไม้,ขื่อกบ, ตัวกบซึ่งประกอบด้วยด้านต่างๆ คือ หลังกบ,หน้ากบ,ด้านข้างและท้ายกบ โดยการชี้ให้ผเู้ รี ยนดู 3. ครู อธิบายวิธีการจับกบไสไม้พร้อมทั้งให้ผเู้ รี ยนปฏิบตั ิตาม 4. ครู แสดงวิธีการนาใบกบออกจากตัวกบโดยใช้คอ้ นไม้เคาะเบาๆบริ เวณท้ายกบพร้อมทั้งให้ผเู้ รี ยน ปฏิบตั ิตาม 5. ครู แสดงวิธีการถอดใบกบออกจากเหล็กประกับด้วยไขควงพร้อมทั้งให้ผเู้ รี ยน ปฏิบตั ิตาม 6. ครู แสดงวิธีการลับใบกบพร้อมทั้งให้ผเู้ รี ยนปฏิบตั ิตาม 7. ครู แสดงวิธีการทดสอบความคมของใบกบโดยการนามาตัดกระดาษ 2 แผ่นขาด 8. ครู แสดงวิธีการทดสอบความตรงของคมกบโดยใช้ฉากตายทาบ 9. ครู ให้ผเู้ รี ยนลงมือปฏิบตั ิลบั ใบกบของตนเอง 10. ครู สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล 11. ครู ตรวจใบกบที่ผเู้ รี ยนนามาส่งถ้าผ่านเกณฑ์แล้วให้ผเู้ รี ยนประกอบกบไสไม้กลับเหมือนเดิม 6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1) สื่อสิ่งพิมพ์ 1.1) หนังสือเรี ยนวิชา เทคนิคการใช้เครื่ องมืองานไม้ ผูเ้ ขียน ปรวีร์ ชัยประสาธน์ 2) สื่อโสตทัศน์ 2.1) เครื่ องProjector 2.2) สื่อการสอนโปรแกรม PowerPoint 3) สื่อของจริ ง 3.1) กบไสไม้ 3.2) ค้อนไม้ 3.3) ไขควง 3.4) หินลับ


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

8

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับ,ปรับแต่ง, จานวน 6 ชัว่ โมง ประกอบกบไสไม้

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

7.หลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ 1) หลักฐานความรู้ที่ตอ้ งการ - ร่ องรอยการบันทึกองค์ความรู้บนสมุดบันทึก - ร่ องรอยการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 2) หลักฐานการปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งการ - ใบกบที่มีความคมพร้อมใช้งาน 8.การวัดและประเมินผล 1.วิธีการประเมินผล - ประเมินโดยการสังเกตขณะปฏิบตั ิงานรายบุคคล - ประเมินผลงานสาเร็ จ - การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอัน พึง ประสงค์ 2.เกณฑ์การประเมินผล 1) ใช้เครื่ องมือ-วัสดุ อุปกรณ์ อย่างถูกต้องเหมาะสม 2) ปฏิบตั ิงานตามหลักการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานและเงื่อนไขในการมอบหมายงาน 3) ผลงานสาเร็ จมีคุณภาพ 4) มีกิจนิสยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน 9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ การสอนเป็ นไปตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยผูเ้ รี ยนสามารถปฏิบตั ิได้จริ งตามจุดประสงค์การ เรี ยนรู้ประจาหน่วย และตรงตามเวลาที่กาหนด 2) ปัญหาที่พบ เนื่องจากผูเ้ รี ยนและผูส้ อนพึ่งเป็ นการพบเจอกันครั้งแรก จึงยังไม่รู้จกั กันดี ผูเ้ รี ยนจึงยังมีอากาศ เขิน อาย ไม่กล้า ซักถามในข้อสงสัย 3) แนวทางแก้ปัญหา ผูส้ อนช่วยกระตุน้ ให้ผเู้ รี ยนเกิดความกล้าที่จะถามในข้อสงสัย โดยการซักถามผูเ้ รี ยนว่า เข้าใจใน เนื้อหาที่สอนหรื อไม่ หรื อเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนสอบถาม



เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

1

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับแต่งคมสิ่ว จานวน 6 ชัว่ โมง เจาะ,สิ่วปากบาง,การใช้คอ้ น

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

1.สาระสาคัญ การไสไม้เป็ นวิธีที่ทาให้ผวิ ไม้มีความเรี ยบและปรับไม้ที่แอ่นให้ตรงได้ฉากก่อนนาไปใช้งาน ทั้งนี้ตอ้ งไสให้ถกู วิธีจึงจะได้ไม้ที่มีผวิ เรี ยบและฉากตามต้องการ 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎีและปฏิบตั ิการไสไม้ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) สามารถจับกบไสไม้ได้อย่างถูกต้อง 2) สามารถไสไม้ได้ถกู ทิศของเสี้ยนไม้ 3) สามารถไสไม้ในลักษณะที่ถกู ต้องและปลอดภัย 4) สามารถปรับแต่งใบกบก่อนทาการไสไม้ได้อย่างถูกต้อง 5) ทราบข้อควรระวังก่อนทาการไสไม้ 6) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารสังเกตเห็น ได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรัก สามัคคี ความกตัญญูกตเวที


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

2

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับแต่งคมสิ่ว จานวน 6 ชัว่ โมง เจาะ,สิ่วปากบาง,การใช้คอ้ น

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ

จุดประสงค์การสอน

ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม

1) สามารถจับกบไสไม้ได้อย่างถูกต้อง 2) สามารถไสไม้ได้ถกู ทิศของเสี้ยนไม้ 3) สามารถไสไม้ในลักษณะที่ถกู ต้องและ ปลอดภัย 4) สามารถปรับแต่งใบกบก่อนทาการไสไม้ ได้อย่างถูกต้อง 5) ทราบวิธีการวางกบไสไม้ที่ถกู ต้อง 6) ทราบข้อควรระวังก่อนทาการไสไม้ 7) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถสังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์ สัมพันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความ เชื่อมัน่ ในตนเองความสนใจใฝ่ รู้ ความรัก สามัคคี ความกตัญญูกตเวที

-

/ / /

-

/ / /

/ / /

/ / /

-

/

/ / /

-

5 1 5 1 6 1

-

/

/

/

/

/

-

-

/

-

6 2

-

/ / /

/ / /

/ / -

/ / /

-

/

-

/ / /

/

5 3 5 3 6 2

รวม ลาดับความสาคัญ

0 5

7 1

4 3

6 2

7 1

4 1

1 4

1 1

7 1

1 5


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

3

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับแต่งคมสิ่ว จานวน 6 ชัว่ โมง เจาะ,สิ่วปากบาง,การใช้คอ้ น

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

4.สาระการเรียนรู้ 1) บทนา การไสไม้คือการทาให้ผวิ ไม้ให้เรี ยบโดยการใช้กบไสไม้เนื่องจากไม้ที่ผา่ นการตัดจาก โรงเลื่อยเป็ นการแปรรู ปไม้แบบหยาบๆยังคงมีเสี้ยนไม้และรอยฟันเลื่อยอยูซ่ ่ึงไม่เหมาะกับการนาไปใช้งานต้องผ่าน กระบวนการแปรรู ปแบบละเอียดก่อนด้วยการไสด้วยกบล้างเพื่อล้างเสี้ยนให้ผวิ ไม้เรี ยบก่อนนาไปใช้งาน 2) การปรับคมกบไสไม้ 2.1) หงายท้องกบขึ้นแล้วเล็งดูใบกบ การเล็งจะต้องเล็งจากด้านหัวกบโดยที่คมกบควรจะ โผล่ข้ ึนออกมาจากท้องกบประมาณ 1/32 นิ้ว และจะต้องขนานกับแนวขวางของท้องกบ (ดังรู ปที่ 6)

รู ปที่ 6 วิธีการเล็งดูใบกบ 2.2) ถ้าคมกบออกมาน้อยเกินไปให้ใช้คอ้ นตอกใบกบลงไปอีก แต่ถา้ คมกบยืน่ ออกมา มากเกินไปให้ใช้ดา้ นข้างของค้อนไม้เคาะที่ทา้ ยกบเบาๆ ใบกบก็จะถอยขึ้นมาหรื อถ้าใบกบเอียงก็ใช้คอ้ นไม้เคาะด้านข้าง ใบกบจนได้ระดับเมื่อปรับจนได้ระดับแล้วให้ใช้คอ้ นตอกลิ่มลงไปให้แน่น 4) ลักษณะการวางไม้บนโต๊ะฝึ กงาน การวางไม้ที่ตอ้ งการไสบนโต๊ะฝึ กงานควรวางไม้ที่ตอ้ งการไสขนานกับแนวไม้ โต๊ะฝึ กงาน


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

4

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับแต่งคมสิ่ว จานวน 6 ชัว่ โมง เจาะ,สิ่วปากบาง,การใช้คอ้ น

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

5) วิธีการไสไม้ที่ถกู ต้อง 5.1) ตีไม้ก้นั ที่หวั ไม้ เพื่อบังคับไม่ให้ไม้ที่จะไสเคลื่อนที่ขณะทาการไส 5.2) ใช้มือ 2 ข้างจับที่ดา้ มจับโดยใช้หวั แม่มือทั้งสองกดที่หลังตัวกบนิ้วชี้เหยียดแนบข้าง ตัวกบ (ดังรู ปที่ 7)

รู ปที่ 7 วิธีการไสไม้ 5.3) ขาทั้งสองต้องเหยียดตรง เวลาพุ่งกบออกไปก็โน้มตัวและย่อขาตาม ขณะที่ไส ออกไปแขนทั้งสอง ต้องเหยียดตรงเสมอกัน 5.4) เริ่ มทาการไสให้วางหัวกบลงบนปลายไม้ โดยที่คมกบห่างออกมาจากปลายไม้ เล็กน้อยแล้วออกแรงกดด้วยฝ่ ามือที่จบั ไสกบตรงออกไปข้างหน้าและต้องคอยควบคุมตัวกบ ให้เลื่อนตรงตามทิศทางที่ตอ้ งการ 5.5) ขณะที่ออกแรงไสไม้ให้ออกแรงกดทางด้านหัวกบจากนั้นออกแรงไสกบไป ข้างหน้าเมื่อด้านท้ายของกบเลยปลายไม้ข้ ึนไปอยูบ่ นแผ่นไม้แล้วให้ออกแรงกดทั้งทางด้านหัว และ ท้ายกบ แล้วเมื่อไส ไปจนจะถึงหัวไม้ค่อยผ่อนแรงที่กดทางด้านหัวกบลงแต่ทางด้านท้ายกบก็ยงั คงกดอยู่ 6) วิธีการตรวจสอบความเรี ยบและความฉากของไม้ วิธีการทดสอบความเรี ยบโดยใช้ฉากลากบนผิวไม้ตลอดแนวถ้าไม่มีแสงรอดผ่าน แสดงว่าไม้เรี ยบเสมอกัน 7) ข้อควรระวังก่อนทาการไสไม้ 7.1) ไสตามเสี้ยน เพราะจะออกแรงน้อยกว่าการไสไม้ยอ้ นเสี้ยน 7.2) ถ้าเป็ นไม้เก่าต้องดูตะปูที่ฝังอยูใ่ นเนื้อไม้ว่ามีหรื อไม่ ถ้ามีให้ถอนออกจนหมด


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

5

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับแต่งคมสิ่ว จานวน 6 ชัว่ โมง เจาะ,สิ่วปากบาง,การใช้คอ้ น

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน ครู กล่าวทักทายนักเรี ยนพร้อมทั้งอธิบายว่าทาไมต้องทาการไสไม้เนื่องจากก่อนนามาใช้งาน ต้องทาให้ ไม้มีความเรี ยบเพื่อให้ชิ้นงานที่ได้เกิดความสวยงาม ขั้นสอน(ใช้ วธิ ีการสอนแบบสาธิตโดยเครื่องมือ) 1. ครู อธิบายวิธีการจับกบไสไม้ที่ถกู วิธีพร้อมทั้งสาธิตให้ผเู้ รี ยนดู 2. ครู อธิบายวิธีการวางไม้บนโต๊ะฝึ กงานก่อนทาการไสพร้อมทั้งสาธิตให้ผเู้ รี ยนดู 3. ครู อธิบายวิธีการดูทิศทางของการไสไม้ให้ไสตามเสี้ยนไม้ 4. ครู อธิบายลักษณะการยืนไสไม้ที่ถกู วิธีโดยให้เท้าซ้ายชี้ไปด้านหน้าขณะที่ไสให้ออกแรงไปด้านหน้า ยืดแขนตรงให้สุดจะทาให้หวั ไม้ไม่มนเป็ นโค้ง 5. ครู อธิบายวิธีการตรวจสอบความเรี ยบและฉากโดยการใช้ไม้ฉากลากช้าๆดูว่ามีแสงลอดผ่าน ออกมาที่ ผิวไม้หรื อไม่หรื อไม่ถา้ มีแสดงว่าไม่เรี ยบและใช้ไม้ฉากทาบตรงมุมไม้แล้วมองดูว่าฉากแนบสนิททั้งด้านบนและด้านข้าง หรื อไม่ 6. ครู ให้โอกาสนักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น โดยที่ครู ใช้วิธีการถาม-ตอบ และให้ผเู้ รี ยน ถามข้อสงสัยเกี่ยวกับวิธีการตอกตะปูและถอนตะปูก่อนลงมือปฏิบตั ิ ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ครู แจกกบไสไม้ให้ผเู้ รี ยนคนละ 1 ตัว,ไม้ขนาดหนา 1½ กว้าง 3 นิ้วยาว 1 เมตรคนละ 1 ท่อน ให้นกั เรี ยนไสไม้ท้งั 4 ด้านให้เรี ยบและได้ฉาก 2. ครู สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล 3. ครู ตรวจความเรี ยบและได้ฉากของชิ้นงานที่ผเู้ รี ยนนามาส่งหรื อไม่


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

6

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับแต่งคมสิ่ว จานวน 6 ชัว่ โมง เจาะ,สิ่วปากบาง,การใช้คอ้ น

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรี ยนวิชา เทคนิคการใช้เครื่ องมืองานไม้ ผูเ้ ขียน ปรวีร์ ชัยประสาธน์ 2. เครื่ องProjector 3. สื่อการสอนโปรแกรม PowerPoint 7.หลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ 1.หลักฐานความรู้ที่ตอ้ งการ - ร่ องรอยการบันทึกองค์ความรู้บนสมุดบันทึก - ร่ องรอยการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 8.การวัดและประเมินผล 1.วิธีการประเมินผล - ประเมินโดยการสังเกตขณะปฏิบตั ิงานรายบุคคล - ประเมินผลงาน - การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 2.เกณฑ์การประเมินผล 1) ใช้เครื่ องมือ-วัสดุ อุปกรณ์ อย่างถูกต้องเหมาะสม 2) ปฏิบตั ิงานตามหลักการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานและเงื่อนไขในการมอบหมายงาน 3) ผลงานสาเร็ จมีคุณภาพ 4) มีกิจนิสยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

7

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับแต่งคมสิ่ว จานวน 6 ชัว่ โมง เจาะ,สิ่วปากบาง,การใช้คอ้ น

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ การสอนเป็ นไปตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยผูเ้ รี ยนสามารถปฏิบตั ิได้จริ งตามจุดประสงค์การ เรี ยนรู้ประจาหน่วย และตรงตามเวลาที่กาหนด 2) ปัญหาที่พบ ผูเ้ รี ยนแสดงกิริยาไม่อยากทางานที่ได้รับมอบหมาย ไม่ต้งั ใจเรี ยน ต่อรองงานที่ให้ทาในคาบการ เรี ยน 3) แนวทางแก้ปัญหา นาคะแนนมาขู่เพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความกลัวที่จะถูกตัดคะแนนในรายวิชา และกระตุน้ ให้นกั เรี ยน เกิดความกระตือลือล้นในการทางานมากขึ้น



เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

1

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับแต่งคมสิ่ว จานวน 6 ชัว่ โมง เจาะ,สิ่วปากบาง,การใช้คอ้ น

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

1.สาระสาคัญ สิ่ว (Chisels)คือเครื่ องมือในงานไม้ที่เป็ นเหล็กมีความคมจึงต้องระวังเป็ นพิเศษเมื่อไสไม้ได้ขนาด แล้วงานที่จะทาต่อไปคือการประกอบไม้เข้าด้วยกันโดยการเจาะ สิ่วจึงเป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในงานเจาะ มากที่สุดและอุปกรณ์ที่ใช้ค่กู บั สิ่วคือค้อน ค้อนแบ่งเป็ น 2 ประเภทคือค้อนไม้และค้อนหงอนแต่คอ้ น ที่ใช้กบั สิ่วคือค้อนไม้ 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎีและปฏิบตั ิการลับแต่งคมสิ่วปากบางรวมถึงการใช้คอ้ น ไม้ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) ผูเ้ รี ยนสามารถบอกประเภทของสิ่วได้อย่างถูกต้อง 2) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายลักษณะคมสิ่วเจาะ สิ่วปากบางได้ 3) ผูเ้ รี ยนรู้วิธีลบั ปรับแต่งคมสิ่วได้ 4) ผูเ้ รี ยนรู้วิธีใช้และบารุ งรักษาสิ่ว 5) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจ ใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

2

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับแต่งคมสิ่ว จานวน 6 ชัว่ โมง เจาะ,สิ่วปากบาง,การใช้คอ้ น

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ

ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน

1) ผูเ้ รี ยนสามารถบอกประเภทของสิ่วได้ อย่างถูกต้อง 2) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายลักษณะคมสิ่วเจาะ สิ่วปากบางได้ 3) ผูเ้ รี ยนรู้วิธีลบั ปรับแต่งคมสิ่วได้ 4) ผูเ้ รี ยนรู้วิธีใช้และบารุ งรักษาสิ่ว 5) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายลักษณะค้อนไม้ได้ 6) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถสังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์ สัมพันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความ เชื่อมัน่ ในตนเองความสนใจใฝ่ รู้ ความรัก สามัคคี ความกตัญญูกตเวที

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 3

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 3

/ -

/ / / /

/ / /

/ / / -

/ / / /

/ / / -

/ / / /

/ / / -

/ / / /

/

8 8 8 6

รวม ลาดับความสาคัญ

1 5

6 1

3 3

5 2

6 1

3 4

4 5

3 5

6 1

1 5

1 1 2 2


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

3

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับแต่งคมสิ่ว จานวน 6 ชัว่ โมง เจาะ,สิ่วปากบาง,การใช้คอ้ น

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

4.สาระการเรียนรู้ 1) บทนา สิ่วเป็ นเครื่ องมือที่สาคัญมากอีกอย่างหนึ่งของงานช่างไม้ ใช้สาหรับเจาะไม้ บากไม้ ตกแต่งไม้แกะสลัก และอื่นๆ 2) ชนิดของสิ่ว สิ่วแบ่งออกเป็ น 3 ชนิดได้แก่ 2.1) สิ่วเจาะหรื อสิ่วน่อง 2.2) สิ่วปากบาง 2.3) สิ่วเล็บมือ 3) ส่วนประกอบของสิ่ว 3.1) คมสิ่ว 3.2) ด้ามสิ่ว 3.3) ใบสิ่ว 4) ประโยชน์ของสิ่วแต่ละชนิด 4.1) สิ่วเจาะ สิ่วชนิดนี้จะมีความหนาของใบสิ่วจะมากกว่าความกว้างจึงเหมาะกับ การเจาะรู เดือย ความกว้างมีต้งั แต่ 1/8นิ้ว –1นิ้ว (ขนาดสิ่วเรี ยกตามความกว้าง) 4.2) สิ่วปากบาง สิ่วชนิดนี้ใบสิ่วจะมีความกว้างมากกว่าความหนาสิ่วชนิดเหมาะสาหรับตกแต่งไม้ เพื่อ ทางานละเอียด มีขนาดตั้งแต่ 1/8นิ้ว –2นิ้ว (ขนาดสิ่วเรี ยกตามความกว้าง) 4.3) สิ่งเล็บมือ สิ่วชนิดนี้ใบสิ่วและคมสิ่วจะโค้งคล้าย เล็บมือ เป็ นสิ่วที่ ใช้สาหรับเจาะ หรื อเซาะไม้ทา เป็ นร่ อง หรื อ ส่วนโค้งหรื องานกลึงไม้นิยมใช้มากกับงานช่างไม้แกะสลักและงานช่างครุ ภณ ั ฑ์ 5) วิธีการใช้สิ่วแต่ละประเภท 5.1) สิ่วเจาะ วิธีใช้คือ ใช้มือข้างหนึ่งจับด้ามมืออีกข้างหนึ่งจับค้อนไม้ค่อยๆตอกให้สิ่วกินเนื้อไม้ทีละ น้อยจนใกล้กบั ความลึกที่ตอ้ งการแล้วแต่งร่ องหรื อรู อีกครั้งให้เรี ยบร้อย 5.2) สิ่วปากบาง วิธีใช้คือ ใช้มือข้างหนึ่งจับด้ามสิ่ว ทาหน้าที่นาสิ่วไปข้างหน้า อีกมือข้างหนึ่งจับตรงใบสิ่วเพื่อบังคับทิศทางของสิ่วไม่ให้เฉออกจากแนวที่ตอ้ งการ 5.3) สิ่วเล็บมือ วิธีใช้คือ ใช้มือจับด้ามสิ่ว จ่อคมสิ่วลงบนตาแหน่งที่ตอ้ งการแล้วกดหรื อ ดันให้สิ่วดันเนื้อไม้ตามความต้องการ 6) วิธีการลับสิ่วแต่ละชนิด


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

4

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับแต่งคมสิ่ว จานวน 6 ชัว่ โมง เจาะ,สิ่วปากบาง,การใช้คอ้ น

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

6.1) ลับด้วยหินลับ สาหรับสิ่วปากบางทัว่ ไป ที่หน้าคมสิ่ว ตรงการลับโดยการวางสิ่วบน หินลับและดันสิ่วตามทิศทางโดย ออกแรงสม่าเสมอ การลับลักษณะนี้เหมาะกับสิ่วที่มีหน้ากว้าง 1 - 2 นิ้ว 6.2) สิ่วเล็บมือ ควรลับในลักษณะให้โค้งไปตามคมสิ่วคือ ออกแรงดันสิ่วไปข้างหน้า แล้วหมุนคมสิ่วตามไปด้วยอย่างสม่าเสมอ และโค้งด้านในของสิ่วที่ไม่สามารถลับตาม แนวราบได้ ควรใช้หินลับที่โค้งเข้ารู ปกับคมสิ่ว 7) วิธีการบารุ งรักษาสิ่ว 7.1) ตรวจสอบตรวจซ่อมสิ่วให้มีสภาพการใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7.2) ทาความสะอาดหลังการใช้งานทุกครั้ง 7.3) ก่อนนาไปเก็บให้ชโลมน้ ามันทุกครั้ง 8) ลักษณะของค้อนไม้ ค้อนไม้ ประกอบด้วยหัวค้อนและด้ามค้อนซึ่งทาด้วยไม้ ไม้ที่ใช้ทาเป็ นหัวค้อนนิยมทา ด้วยไม้ที่มีเนื้อแข็งและเหนียว เพื่อป้ องกันการแตกในขณะที่ใช้ หัวค้อนอาจทาเป็ นรู ปเหลี่ยมหรื อรู ปกลมก็ได้ 9) การใช้คอ้ นไม้ ค้อนไม้โดยมากจะใช้ตอกงานเบาๆหรื อชิ้นเล็กๆ เพื่อป้ องกันการเสียหายของงานเพราะ ถ้าใช้คอ้ นเหล็กแล้วชิ้นงานอาจจะแตกเสียหายได้


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

5

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับแต่งคมสิ่ว จานวน 6 ชัว่ โมง เจาะ,สิ่วปากบาง,การใช้คอ้ น

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

10) ใบงานที่ 1


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

6

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับแต่งคมสิ่ว จานวน 6 ชัว่ โมง เจาะ,สิ่วปากบาง,การใช้คอ้ น

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

☼ ความลึกแต่ละช่องเท่ากับ ¾ นิ้ว ☼ หน้าไม้ขนาด 3 นิ้ว


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

7

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับแต่งคมสิ่ว จานวน 6 ชัว่ โมง เจาะ,สิ่วปากบาง,การใช้คอ้ น

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน ครู กล่าวทักทายนักเรี ยน พร้อมอธิบายสรุ ปบทเรี ยนหน่วยที่ 2 เพื่อเริ่ มต้นในการเรี ยน เรื่ องการลับ แต่งคมสิ่วเจาะ สิ่วปากบาง , การใช้คอ้ นไม้ ขั้นสอน(ใช้ วธิ ีการสอนแบบบรรยายและถามตอบ) 2. ครู อธิบายลักษณะของสิ่วแต่ละประเภทที่ใช้กนั ทัว่ ๆไปในงานไม้ 3. ครู อธิบายส่วนประกอบหลักๆของสิ่ว 4. ครู บอกประโยชน์และวิธีการเลือกใช้สิ่วให้เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท 5. ครู อธิบายขั้นตอนการลับและปรับคมสิ่วพร้อมทั้งวิธีการบารุ งรักษาสิ่ว 6. ครู ให้โอกาสนักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น โดยที่ครู ใช้วิธีการถาม-ตอบ และให้ผเู้ รี ยนถามข้อสงสัยเกี่ยวกับวิธีการลับสิ่วก่อนลงมือปฏิบตั ิ ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ครู แจกสิ่วให้ผเู้ รี ยนคนละ 3 อันโดยมีสิ่วเจาะ, สิ่วปากบางขนาด3/8 นิ้ว,สิ่วปากบาง ขนาด 1 นิ้วทา การลับสิ่ว 2. ครู ให้ผเู้ รี ยนเจาะไม้ดว้ ยสิ่วเจาะขนาดความยาว1นิ้ว ความกว้างเท่าหน้าสิ่วเจาะ ลึก 3 เซนติเมตร และแต่งร่ องไม้ดว้ ยสิ่วปากบางจานวน 6 ช่องโดยใช้คอ้ นไม้ในการตอกสิ่วเจาะ 3. ครู สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล 4. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเนื้อหาในบทเรี ยน 6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1) สื่อสิ่งพิมพ์ 1.1) หนังสือเรี ยนวิชา เทคนิคการใช้เครื่ องมืองานไม้ ผูเ้ ขียน ปรวีร์ ชัยประสาธน์ 2) สื่อโสตทัศน์ 2.1) เครื่ องProjector 2.2) สื่อการสอนโปรแกรม PowerPoint 3) สื่อของจริ ง 3.1) สิ่วเจาะ 3.2) สิ่วปากบางขนาด 3/8 นิ้วและ 1 นิ้ว 3.3) ค้อนไม้


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

8

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับแต่งคมสิ่ว จานวน 6 ชัว่ โมง เจาะ,สิ่วปากบาง,การใช้คอ้ น

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

3.4) หินลับสิ่ว 7.หลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ 1) หลักฐานความรู้ที่ตอ้ งการ - ร่ องรอยการบันทึกองค์ความรู้บนสมุดบันทึก - ร่ องรอยการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 2) หลักฐานการปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งการ - สิ่วเจาะที่มีความคมพร้อมใช้งาน - สิ่วปากบางขนาด 3/8 นิ้วและ 1 นิ้ว มีความคมพร้อมใช้งาน - ไม้ที่ถกู เจาะด้วยสิ่วเจาะและแต่งช่องให้เรี ยบด้วยสิ่วปากบางตรงตามใบงานกาหนด 8.การวัดและประเมินผล 1.วิธีการประเมินผล - ประเมินโดยการสังเกตขณะปฏิบตั ิงานรายบุคคล - ประเมินผลงานสาเร็ จ - การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 2.เกณฑ์การประเมินผล 1) ใช้เครื่ องมือ-วัสดุ อุปกรณ์ อย่างถูกต้องเหมาะสม 2) ปฏิบตั ิงานตามหลักการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานและเงื่อนไขในการมอบหมายงาน 3) ผลงานสาเร็ จมีคุณภาพ 4) มีกิจนิสยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน 9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ การสอนเป็ นไปตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยผูเ้ รี ยนสามารถปฏิบตั ิได้จริ งตามจุดประสงค์การ เรี ยนรู้ประจาหน่วย และตรงตามเวลาที่กาหนด 2) ปัญหาที่พบ 2.1) ผูเ้ รี ยนเกิดความเบื่อหน่ายไม่อยากทางานที่กาหนดให้ เนื่องจากงานที่กาหนดให้ตอ้ งใช้เวลา และความระเอียดอ่อน 2.2) อุปกรณ์มีความชารุ ดเสียหาย 3) แนวทางแก้ปัญหา 3.1) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการสร้างแรงจูงใจ เมื่อใครทางานเสร็ จให้เลิกเรี ยนก่อน


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

9

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การลับแต่งคมสิ่ว จานวน 6 ชัว่ โมง เจาะ,สิ่วปากบาง,การใช้คอ้ น

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

3.2) หาอุปกรณ์ให้ใหม่ หรื อ ซ้อมแซมอุปกรณ์ที่เสียหาย



เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

1

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การคัดคลองเลื่อย จานวน 6 ชัว่ โมง และการตะไบฟันเลื่อย

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

สาระสาคัญ เครื่ องมือตัดไม้ (Cutting Tool) หมายถึงเลื่อยมือชนิดต่าง ๆ ซึ่งถูกออกแบบจากแผ่นเหล็กบางแข็ง และตัดแผ่เหล็กให้เป็ นใบเลื่อย มีซี่ฟันเลื่อยขนาดต่างๆ ให้มีความคมตามลักษณะการนาไปใช้งานโดยมีมือจับหรื อโครง ยึดแน่นติดกับใบเลื่อย ซึ่งทาให้เลื่อยมีลกั ษณะ รู ปร่ าง แตกต่าง ๆ กันตามประโยชน์ใช้สอยเพื่อการนาเลื่อยไปใช้งาน การ เลื่อย ผ่า ตัด โกรกและแปรรู ปไม้ให้มีขนาดและรู ปร่ างต่าง ๆ ตามความต้องการของผูใ้ ช้ เครื่ องมือตัดไม้ที่เหมาะกับการ ใช้งานได้แก่ เลื่อยมือชนิดต่าง ๆและหลังจากการใช้งานทุกครั้งควรจะต้องทาความสะอาดและทาให้เครื่ องมือพร้อมใช้ ตลอดเวลาจึงต้องหมัน่ คัดคลองเลื่อยและตะไบฟันเลื่อยซึ่งเป็ นข้อควรปฏิบตั ิของช่างที่ดี 2. สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎีและปฏิบตั ิการคัดคลองเลื่อยมือและการตะไบฟันเลื่อยมือ รวมถึงการใช้คอ้ นหงอนในงานช่างก่อสร้าง 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) ผูเ้ รี ยนสามารถบอกประเภทของเลื่อยมือได้อย่างถูกต้อง 2) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายลักษณะของเลื่อยมือแต่ละประเภทได้ 3) ผูเ้ รี ยนรู้วิธีคดั คลองเลื่อยมือและการตะไบฟันเลื่อยมือ 4) ผูเ้ รี ยนรู้วิธีใช้และบารุ งรักษาเลื่อยมือแต่ละชนิด 5) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ใจ


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

2

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การคัดคลองเลื่อย จานวน 6 ชัว่ โมง และการตะไบฟันเลื่อย

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ

ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน

1) ผูเ้ รี ยนสามารถบอกประเภทของเลื่อยมือ ได้อย่างถูกต้อง 2) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายลักษณะของเลื่อย มือแต่ละประเภทได้ 3) ผูเ้ รี ยนรู้วิธีคดั คลองเลื่อยมือและการตะไบ ฟันเลื่อยมือ 4) ผูเ้ รี ยนรู้วิธีใช้และบารุ งรักษาเลื่อยแต่ละ ชนิด 5) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเองความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ

/

/

-

/

/

-

-

-

/

-

5 3

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 2

-

/

/

/

/

/

-

/

/

-

7 1

-

/

/

/

/

/

-

/

/

/

8 2

-

/

/

-

/

-

/

-

/

/

6 2

1 5 5 1

3 3

4 2

5 1

2 4

1 5

2 5

5 1

2 5


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

3

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การคัดคลองเลื่อย จานวน 6 ชัว่ โมง และการตะไบฟันเลื่อย

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

4. สาระการเรียนรู้ 1) บทนา เลื่อยลันดา คือเลื่อยมือชนิดหนึ่งใช้ในการเลื่อยตัดไม้ โกรกไม้ 2) ลักษณะของเลื่อยลันดา (ดังรู ปที่ 8)

รู ปที่ 8 ลักษณะ รู ปร่ างของเลื่อยลันดา เลื่อยลันดาส่วนประกอบที่เกิดจากการตัดแผ่นเหล็กสปริ งบางแข็งให้มีลกั ษณะเป็ นแผ่นโคนใหญ่ปลาย เรี ยว และมีซี่ฟันที่เรี ยงกันเป็ นระเบียบตลอดความยาวของแผ่นเหล็กซึ่งเรี ยกว่า “ใบเลื่อย” และมีมือจับยึดติดแน่นกับส่วน โคนของใบเลื่อย ทาให้เหมาะกับการใช้งานเลื่อยตัด โกรกไม้ได้อย่าง คล่องมือ สาหรับช่างไม้ 3) ประโยชน์และขนาดของเลื่อยลันดา เลื่อยลันดาสามารถจาแนกออกตามลักษณะของฟันเลื่อยได้เป็ น 2 แบบ คือเลื่อยฟันตัด เลื่อยฟันโกรก 3.1) เลื่อยฟันตัด เลื่อยมือชนิดออกแบบให้ฟันเลื่อยมีความสามารถตัดไม้ขวางเสี้ยนขนาดของฟันเลื่อยขึ้นอยูก่ บั ชนิดของฟันและจานวนของฟันต่อนิ้วขนาดของฟันเลื่อยที่นิยมใช้ในงานทัว่ ๆไปคือ 8 ฟันต่อนิ้ว ขนาดของฟันเลื่อยที่ ต้องการเลื่อยตัดปากไม้ให้ผวิ เรี ยบใช้ฟันเลื่อยขนาด10 ฟันต่อนิ้ว 3.2) เลื่อยฟันโกรก เลื่อยมือชนิดนี้ออกแบบให้ฟันเลื่อยมีความคม สามารถตัดเสี้ยนของไม้ใน ลักษณะตามเสี้ยน ไม้ขาดออกจากกันเรี ยกว่า “การโกรกไม้ ”ขนาดของฟันเลื่อยมีขนาด 4-8ฟันต่อนิ้ว ขนาดที่ใช้ในงานไม้ทวั่ ๆไปใช้ฟัน เลื่อยขนาด 6-8 ฟันต่อนิ้ว


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

4

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การคัดคลองเลื่อย จานวน 6 ชัว่ โมง และการตะไบฟันเลื่อย

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

4) วิธีการใช้เลื่อยลันดา 4.1) เลื่อยฟันตัด 4.1.1) วัดระยะ กะขีดกาหนดเส้นแนวตัดลงบนผิวหน้าไม้ที่ตอ้ งการตัด ให้ชดั เจน 4.1.2) นาไม้ที่ตอ้ งการตัดเข้ายึดจับกับปากกาโต๊ะฝึ กงานให้แน่นโดยให้แนวเส้น จะถูกตัดปราศจากสิ่งกีดขวาง 4.1.3) ปรับตั้งบังคับใบเลื่อยให้คมของฟันเลื่อยตัดตรงเส้นแนวตัดที่ริมขอบไม้โดยด้านข้างของ ใบเลื่อยทามุมฉาก (90 องศา) กับผิวหน้าไม้ขณะเลื่อยตัดไม้ 4.1.4) ปรับตั้งบังคับใบเลื่อยให้แนวคมของฟันเลื่อยตัดตรงกับเส้นแนวตัดที่ ริ มขอบไม้โดยให้แนวคมของฟันเลื่อยตัดทามุม 45 องศาโดยประมาณกับผิวหน้าไม้ขณะคมเลื่อยตัดไม้ (ดังรู ปที่ 9)

รู ปที่ 9 วิธีการเลื่อยตัด


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

5

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การคัดคลองเลื่อย จานวน 6 ชัว่ โมง และการตะไบฟันเลื่อย

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

4.1.5) การเริ่ มต้นตัดไม้ ปรับตั้งบังคับใบเลื่อยให้อยูใ่ นมุมองศาที่กาหนดกับผิวหน้าไม้ใช้หวั แม่ มือกันเพื่อบังคับด้านข้างของใบเลื่อยให้คมของฟันเลื่อยตรงกับแนวเส้นตัดที่กาหนดให้ดึงใบเลื่อยถอยหลังและดันใบ เลื่อยไปข้างหน้าระยะสั้นๆสลับกันเพื่อให้ฟันเลื่อยกินเนื้อไม้ออกเป็ นทางเลื่อยหรื อ คลองเลื่อยบนไม้ที่ถกู ตัด(ดังรู ปที่ 10)

รู ปที่ 10 วิธีการกาหนดแนวตัด 4.1.6) ปรับตั้งบังคับใบเลื่อยฟันเลื่อยกินไม้อยูต่ รงทางเลื่อยตามมุมองศา ที่กาหนด บังคับให้ฟันเลื่อยกินไม้ตามแนวเส้นตัด โดยการดึงใบเลื่อยถอยหลังให้สุดความยาวของใบเลื่อยและดันใบ เลื่อยไปข้างหน้า ให้ฟันเลื่อยกินเนื้อไม้ตรงตามแนวเส้นให้สุดความยาวของใบเลื่อยให้ทาดังนี้สลับกันไป ให้ไม้ที่ถกู ตัด ขาดออกจากกันและก่อนไม้จะขาดออกจากกันให้ใช้มือข้างหนึ่งรับไม้ดา้ นที่ ถูกตัดออกไว้เพื่อป้ องกันการฉีกของไม้ (ดังรู ปที่ 11)

รู ปที่ 11 วิธีการจับป้ องกันการฉีกของไม้

4.2) เลื่อยฟันโกรก 4.2.1) วัดระยะ และขีดกาหนดเส้นแนวโกรกไม้ลงบนผิวหน้าไม้ที่ตอ้ งการ


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

6

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การคัดคลองเลื่อย จานวน 6 ชัว่ โมง และการตะไบฟันเลื่อย

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

โกรกไม้ให้ขาดออกจากกันให้ชดั เจน 4.2.2) นาไม้ที่ตอ้ งการโกรกวางลงบนม้ารองตัดไม้และยึดจับให้แน่น โดยให้เส้นแนวโกรกไม้ ที่จะทาการโกรกปราศจากสิ่งกีดขวาง 4.2.3) ปรับตั้งบังคับใบเลื่อยให้คมของฟันเลื่อยโกรกอยูต่ รงเส้นแนวโกรก ที่ริมขอบหัวไม้โดยให้ดา้ นข้างของใบเลื่อยทามุมฉากกับผิวหน้าไม้ขณะฟันเลื่อยกินเนื้อไม้ 4.2.4) ปรับตั้งบังคับใบเลื่อยให้แนวคมฟันเลื่อยโกรกอยูต่ รงเส้นแนวโกรก ที่ริมขอบหัวไม้ให้แนวคมของฟันเลื่อยโกรกทามุม 60 องศาโดยประมาณกับผิวหน้าไม้ขณะฟันเลื่อยกินเนื้อไม้ (ดังรู ปที่ 12)

รู ปที่ 12 วิธีการเลื่อยแบบโกรก 5) วิธีการคัดคลองเลื่อยลันดาและการตะไบฟันเลื่อยลันดา 5.1) การปรับระดับปลายฟันเลื่อยลาดับขั้นในการปรับระดับปลายฟันเลื่อยที่ถกู วิธี (ดังรู ปที่11) 5.1.1) ใช้ปากกาโต๊ะฝึ กงานจับใบเลื่อยให้แน่น โดยให้ปลายของฟันเลื่อยสูงพ้นขึ้นมาจากปาก ของปากกาโต๊ะฝึ กงานประมาณ 2 นิ้ว 5.1.2) วางเครื่ องมือปรับระดับฟันเลื่อยลงบนปลายฟันเลื่อยทางด้านโคนเลื่อย แล้วถูไปบน ปลายฟันจากด้านโคนเลื่อยสู่ปลายเลื่อย ขณะถูให้ออกแรงกดเบาๆ และผ่อนแรงกด ในจังหวะที่ดึงกลับถูจนกระทัง่ ปลาย ฟันทุกฟันเรี ยบเท่ากัน(ดังรู ปที่ 13)

5.2) การคัดคลองเลื่อย 5.2.1) ปรับตั้งคัดชุนให้สามารถคัดคลองเลื่อยได้ประมาณ 2 ใน 3 ของความสูงของฟันเลื่อย


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

7

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การคัดคลองเลื่อย จานวน 6 ชัว่ โมง และการตะไบฟันเลื่อย

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

5.2.2) ดาเนินการคัดคลองเลื่อยด้วยการใช้คดั ชุน คัดฟันเลื่อยออกทางด้านข้าง ให้คดั ฟันเว้นฟันไปโดยตลอดใบเลื่อย (ดังรู ปที่ 14) 5.3) การตะไบร่ องฟันเลื่อย 5.3.1) ใช้ปากกาโต๊ะฝึ กงานจับใบเลื่อยให้แน่น 5.3.2) วางตะไบลงในร่ องฟันซี่แรกทางด้านปลายเลื่อยที่ปลายฟันเอนเข้าหาตัวเราจากนั้นจัด ระดับและมุมของตะไบให้ถกู ต้องกับแบบของฟันเลื่อยแล้วจึงเริ่ มทาการตะไบ โดยจังหวะที่ถกู ตะไบไปข้างหน้า ให้ออก แรงกดเล็กน้อยตะไบจนถึงครึ่ งหนึ่งของรอยตัดที่เกิดจากการปรับระดับปลายฟันแล้วจึงหยุด (ดังรู ปที1่ 5)

รู ปที่ 13 การปรับระดับฟันเลื่อย

รู ปที่ 14 การใช้คดั ชุน

(รู ปที่ 13)

รู ปที่ 15 การตะไบฟันเลื่อย 6) วิธีการบารุ งรักษาเลื่อยลันดา 6.1) ต้องเลือกใช้ชนิดเลื่อยลันดาให้ถกู ต้องกับการใช้งาน เช่น การตัดไม้ขวางเสี้ยน ให้เลือกใช้เลื่อยลันดาชนิดฟันตัด และการโกรกไม้ตามแนวเสี้ยนให้เลือกใช้เลื่อยลันดาชนิดฟันโกรก 6.2) ทุกครั้งที่ใช้เลื่อยต้องแน่ใจว่าฟันเลื่อยมีความคมและมีคลองเลื่อยที่ถกู ต้อง 6.3) ขณะทาการใช้เลื่อยตัดไม้และโกรกไม้ ต้องไม่ออกแรงกดให้เลื่อยกินเนื้อไม้หรื อ


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

8

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การคัดคลองเลื่อย จานวน 6 ชัว่ โมง และการตะไบฟันเลื่อย

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

บิดใบเลื่อย 6.4) หลีกเลี่ยงการเลื่อย ให้ฟันเลื่อยไปถูกของแข็ง เช่น กรวด ทราย เศษปูน ตะปู ฯลฯ ที่ติดหรื อฝังอยูใ่ นเนื้อไม้ 6.5) หลีกเลี่ยงการวางใบเลื่อยตากแดดหรื อถูกความร้อนซึ่งอาจเป็ นสาเหตุ ให้ใบเลื่อยเสื่อมสภาพได้ 6.6) หมัน่ คัดคลองเลื่อยและลับปรับแต่งฟันเลื่อยให้คมอยูเ่ สมอ 6.7) เช็ดทาความสะอาดและทาน้ ามันเครื่ องชนิดเหลวให้ทวั่ บริ เวณใบเลื่อยเมื่อเลิก ใช้งานหรื อนาเข้าที่เก็บทุกครั้ง 7) เลื่อยชนิดอื่นๆที่ใช้งานไม้ 7.1) เลื่อยอก (ดังรู ปที่ 16) เลื่อยมือชนิดหนึ่งใช้ในการเลื่อยตัด โกรกไม้ในงานสร้างเครื่ องเรื อน เช่นการ เลื่อยผ่าตัดทาเดือยไม้สาหรับงานการเข้าไม้ เนื่องจากใบเลื่อยอกมีความหนาของใบเลื่อยบางกว่าเลื่อยลันดา เมื่อเลื่อยไม้ จึงมีทางเลื่อยหรื อคลองเลื่อยกินเนื้อไม้แคบกว่าทางเลื่อยหรื อคลองเลื่อยของเลื่อยลันดา จึงเหมาะสาหรับการทางานกับ ชิ้นงานไม้ที่มีขนาดเล็กซึ่งต้องทาอย่างประณี ต ลักษณะ รูปร่ าง ขนาดของเลือ่ ยอก เลื่อยอก คือเลื่อยชนิดที่มีส่วนของโครงเลื่อยเป็ นมือจับ ประกอบยึดเข้ากับใบเลื่อยอย่างแข็งแรง ใบเลื่อยสามารถปรับตั้งให้ตึงและเปลี่ยนขนาดใบเลื่อย ให้เหมาะกับชนิดของงานและการใช้งานได้อย่างคล่องมือ ใบเลื่อย อกมีขนาดความกว้างตั้งแต่ ¼ - 2 นิ้ว และความยาวตั้งแต่ 16 – 24 นิ้ว โดยมีขนาดของฟันเลื่อยตั้งแต่ 10 -13 ฟันต่อนิ้ว

รู ปที่ 16 ลักษณะ รู ปร่ างของเลื่อยอก

(รู ปที่ 14)


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

9

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การคัดคลองเลื่อย จานวน 6 ชัว่ โมง และการตะไบฟันเลื่อย

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

7.2) เลื่อยรอ (ดังรู ปที่ 17) เลื่อยรอ คือเลื่อยมือชนิดที่มีใบเลื่อยเป็ นแผ่นเหล็กบางแข็งมีฟันละเอียดมากสาหรับการเลื่อยตัด แต่งปากไม้ให้ผวิ หน้าไม้ที่ถกู ตัดมีผวิ หน้าเรี ยบ หรื อการเลื่อยตัดแต่งผิวหน้าของปากไม้ระหว่างแนวต่อของการเข้าไม้ให้ มีแนวต่อที่ชนกันได้สนิทนอกจากนั้นยังใช้สาหรับสาหรับการเลื่อยตัดแต่งผิวหน้าไม้ระหว่างแนวต่อของการเข้าไม้ให้มี แนวต่อที่ชนกันได้สนิท นอกจากนั้นยังใช้สาหรับเลื่อยตัดแต่งเดือยและรู เดือยในงานประณี ต เช่น การเข้าเดือยหางเหยีย่ ว เป็ นต้น ลักษณะ รูปร่ าง ขนาดของเลือ่ ยรอ เลื่อยรอ ออกแบบและผลิตขึ้นให้มีลกั ษณะ รู ปร่ างของใบเลื่อยและมือจับใบเลื่อยที่เหมาะกับ การใช้งานการเลื่อยตัดแต่งผิวหน้าไม้ที่ตอ้ งการความประณี ตเป็ นพิเศษ ใบเลื่อยมีขนาดความกว้าง 2 ½ นิ้ว ขนาดความ ยาวมีขนาดตั้งแต่ 6- 12 นิ้วขนาดของฟันเลื่อย 20 ฟันต่อนิ้วขึ้นไป

รู ปที่ 17 ลักษณะ รู ปร่ างของเลื่อนรอ


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

10

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การคัดคลองเลื่อย จานวน 6 ชัว่ โมง และการตะไบฟันเลื่อย

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

7.3) เลื่อยหางหนู (ดังรู ปที่ 18) เลื่อยชนิดมีใบเลื่อยขนาดเล็ก โคนของใบเลื่อยกว้างเรี ยวแหลมสู่ปลาย ช่วยให้ การใช้เลื่อยหางหนูตดั ตามแนวเส้นโค้งทั้งภายนอกและภายในได้คล่องตัว ใบเลื่อยถูกยึดจับแน่นด้วย มือจับที่มีสกรู หางปลาเป็ นตัวบังคับ ลักษณะ รูปร่ าง ขนาดของเลือ่ ยหางหนู เลื่อยหางหนู คือเลื่อยชนิดมีใบเลื่อยขนาดเล็ก โคนของใบเลื่อยกว้าง เรี ยวแหลมสู่ปลายช่วยให้การใช้เลื่อยหางหนูตดั ตามแนวเส้นโค้งทั้งภายนอกและภายในได้คล่องตัว ใบเลื่อยถูกยึดจับแน่นด้วยมือจับที่มีสกรู หางปลาเป็ นตัวบังคับ ใบเลื่อยที่ใช้มีขนาด 10 – 18 นิ้ว และมี ขนาดของฟันเลื่อยตั้งแต่ 8 ฟันต่อนิ้วขึ้นไปขนาดที่นิยมใช้คือ ใบเลื่อยยาว 10 -14 นิ้ว

รู ปที่ 18 ลักษณะ รู ปร่ างของเลื่อยหางหนู


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

11

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การคัดคลองเลื่อย จานวน 6 ชัว่ โมง และการตะไบฟันเลื่อย

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

7.4) เลื่อยฉลุ (ดังรู ปที่ 19) เลื่อยฉลุคือเลื่อยชนิดที่ออกแบบมาเพื่อใช้สาหรับเลื่อยฉลุไม้หรื อชิ้นงานที่มี ลวดลายแบบต่าง ๆชนิดที่มีแนวเส้นโค้งเป็ นมุมโค้งที่แคบที่เลื่อยชนิดอื่นไม่สามารถเลื่อยตามแนวเส้น ลักษณะ รูปร่ าง ส่ วนประกอบของเลื่อยฉลุ

เลื่อยฉลุ มีลกั ษณะ รู ปร่ างของโครงเลื่อยเป็ นรู ปตัว “ ยู ” เป็ นสปริ งในตัวที่ดึงใบเลื่อยให้ตึงได้ ปลายทั้งสองของโครงเลื่อยมีหวั จับยึดใบเลื่อยให้แน่นด้ว ยสูกรหางปลาหรื อหมุดตั้งใบเลื่อย ปลายข้างหนึ่งของหัวจับใบ เลื่อยประกอบด้วยมือจับเลื่อยยึดติดอยูก่ บั โครงเลื่อย สาหรับเป็ นที่จบั ฉลุชิ้นงานได้คล่องตัว โครงของเลื่อยฉลุที่มีขนาด 610 นิ้ว ใบเลื่อยที่ใช้ กับเลื่อยฉลุเป็ นใบเลื่อยขนาดบางและมีความกว้างของใบเลื่อยที่แคบ ฟันเลื่อยที่ใช้กบั การเลื่อยฉลุไม้ที่ มีขนาดตั้งแต่ 10 -15 ฟันต่อนิ้ว ขนาดฟันเลื่อยฉลุใช้งานกับฉลุแผ่นพลาสติกมีขนาด 20 -22 ฟันต่อนิ้ว

รู ปที่ 19 ลักษณะ รู ปร่ างของเลื่อยฉลุ


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

12

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การคัดคลองเลื่อย จานวน 6 ชัว่ โมง และการตะไบฟันเลื่อย

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู กล่าวทักทายนักเรี ยนและตั้งคาถามว่ามีใครทราบบ้างว่าอุปกรณ์ชนิดใดใช้ใน การตัดไม้ 2. ครู บอกนักเรี ยนว่าวันนี้เราจะเรี ยน เรื่ องเลื่อย และตั้งคาถามว่ามีใครทราบบ้างว่าเลื่อยที่ใช้ตดั ไม้ ที่ใช้ ในงานไม้มีเลื่อยอะไรบ้าง ขั้นสอน (ใช้ วธิ ีการสอนแบบบรรยาย และถาม-ตอบ) 1. ครู อธิบายลักษณะของเลื่อยมือแต่ละประเภทที่ใช้กนั ทัว่ ๆไปในงานไม้ 2. ครู บอกประโยชน์และวิธีการเลือกใช้เลื่อยมือให้เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท 3. ครู อธิบายขั้นตอนการคัดคลองเลื่อยมือและการตะไบฟันเลื่อยมือพร้อมทั้ง วิธีการบารุ งรักษาเลื่อย 4. ครู ให้โอกาสนักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น โดยที่ครู ใช้วิธีการถาม-ตอบ และให้ผเู้ รี ยน ถามข้อสงสัยเกี่ยวกับวิธีการใช้เลื่อยลันดาก่อนลงมือปฏิบตั ิ ขั้นตอนปฏิบัติ 1. ครู แจกเลื่อยให้ผเู้ รี ยนคนละ 1 ปื้ นและไม้ขนาด 1½ นิ้ว กว้าง 3 นิ้ว ให้นกั เรี ยนเลื่อยไม้ แบบตัด จานวน 10 ชิ้นขนาดความหนา 2 เซนติเมตรและเลื่อยแบบโกรกไม้จานวน 2 ท่อนขนาดกว้าง 1 นิ้ว ยาว 30 เซนติเมตร 2. ครู สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล 3. ครู ตรวจชิ้นงานว่าเลื่อยตัดตรงตามขนาดที่กาหนดหรื อไม่และเลื่อยโกรกเป็ นเส้นตรงหรื อไม่ 4. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเนื้อหาในบทเรี ยน 6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1) สื่อสิ่งพิมพ์


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

13

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การคัดคลองเลื่อย จานวน 6 ชัว่ โมง และการตะไบฟันเลื่อย

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

1.1) หนังสือเรี ยนวิชา เทคนิคการใช้เครื่ องมืองานไม้ ผูเ้ ขียน ปรวีร์ ชัยประสาธน์ 2) สื่อโสตทัศน์ 2.1) เครื่ องProjector 2.2) สื่อการสอนโปรแกรม PowerPoint 3) สื่อของจริ ง 3.1) เลื่อยลันดา 3.2) ตะไบสามเหลี่ยม 3.3) คันชุน 7.หลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ 1) หลักฐานความรู้ที่ตอ้ งการ - ร่ องรอยการบันทึกองค์ความรู้บนสมุดบันทึก - ร่ องรอยการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 2) หลักฐานการปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งการ - ไม้ที่ตดั ด้วยเลื่อยตามขนาดที่กาหนด จานวน 10 ชิ้น - ไม้ที่โกรกด้วยเลื่อยเป็ นเส้นตรงตามขนาดที่กาหนด จานวน 2 ท่อน 8.การวัดและประเมินผล 1.วิธีการประเมินผล - ประเมินโดยการสังเกตขณะปฏิบตั ิงานรายบุคคล - ประเมินผลงานสาเร็ จ - การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 2.เกณฑ์การประเมินผล 1) ใช้เครื่ องมือ-วัสดุ อุปกรณ์ อย่างถูกต้องเหมาะสม 2) ปฏิบตั ิงานตามหลักการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานและเงื่อนไขในการมอบหมายงาน 3) ผลงานสาเร็ จมีคุณภาพ 4) มีกิจนิสยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน 9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

14

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การคัดคลองเลื่อย จานวน 6 ชัว่ โมง และการตะไบฟันเลื่อย

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

การสอนเป็ นไปตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยผูเ้ รี ยนสามารถปฏิบตั ิได้จริ งตามจุดประสงค์การ เรี ยนรู้ประจาหน่วย และตรงตามเวลาที่กาหนด 2) ปัญหาที่พบ 2.1) ผูเ้ รี ยนเกิดอุบตั ิเหตุในการทางาน 2.2) ในขนาดทางานผูเ้ รี ยนเกิดทาอุปกรณ์เสียหาย 3) แนวทางแก้ปัญหา 3.1) พาผูเ้ รี ยนที่เปิ ดอุบตั ิเหตุไปรักษาพยาบาล และให้พกั งาน จากนั้นเตือนผูเ้ รี ยนให้มีความ ระมัดระวังมากขึ้น 3.2) ให้นกั เรี ยนซ้อมแซมอุปกรณ์เอง หรื อหาอุปกรณ์ให้นกั เรี ยนใหม่



เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

1

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การใช้คอ้ นหงอน จานวน 6 ชัว่ โมง

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

1.สาระสาคัญ ค้อนหงอน ส่วนประกอบของค้อนแบ่งออกเป็ น 2 ส่วน คือ ส่วนหัวและส่วนด้ามใช้สาหรับตอกและถอนตะปู ตอกไม้เวลาทาโครงร่ าง ขนาดของตัวค้อน เรี ยกตามน้ าหนักของหัวค้อน 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎีและปฏิบตั ิการคัดคลองเลื่อยมือและการตะไบฟันเลื่อยมือ รวมถึงการใช้คอ้ นหงอนในงานช่างก่อสร้าง 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายลักษณะของค้อนหงอนได้ 2) ผูเ้ รี ยนสามารถบอกประโยชน์คอ้ นหงอนได้ 3) ผูเ้ รี ยนรู้วิธีใช้และบารุ งรักษาค้อนหงอน 4) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

2

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การใช้คอ้ นหงอน จานวน 6 ชัว่ โมง

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ

ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน

1) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายลักษณะของ ค้อนหงอนได้ 2) ผูเ้ รี ยนสามารถบอกประโยชน์คอ้ นหงอน ได้ 3) ผูเ้ รี ยนรู้วิธีใช้และบารุ งรักษาค้อนหงอน 4) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถสังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์ สัมพันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความ เชื่อมัน่ ในตนเองความสนใจใฝ่ รู้ ความรัก สามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ

/

/

-

/

-

-

-

-

/

-

4 2

-

/

-

/

/

/

-

-

/

-

5 3

-

/ /

/ /

/ -

/ /

/ -

/

/ /

/ /

/ /

8 1 7 4

1 5

4 1

2 3

3 2

3 1

2 4

1 5

2 5

4 1

2 5


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

3

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การใช้คอ้ นหงอน จานวน 6 ชัว่ โมง

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

4.สาระการเรียนรู้ 1) บทนา ค้อน ( Hammers ) ค้อนเป็ นเครื่ องมืออย่างหนึ่งของช่างไม้และช่างก่อสร้าง เป็ นเครื่ องมือที่ใช้กนั ทัว่ ไป ทุกบ้าน เช่น ค้อนที่ใช้สาหรับตอกตะปู ใช้เคาะเหล็ก หรื อใช้เคาะไม้เบาๆ 2) ลักษณะของค้อนหงอน (ดังรู ปที่ 20) ค้อนหงอน เป็ นค้อนที่ใช้กบั งานช่างไม้โดยเฉพาะ ซึ่งแบ่งออกได้เป็ นสองส่วน คือส่วนที่ เป็ นด้ามทาด้วยไม้เนื้อแข็ง และส่วนที่เป็ นหัวค้อนทาด้วยเหล็ก หน้าค้อนซึ่งใช้ตอกตะปูจะโค้งนูนเล็กน้อย ทางด้านหลัง หรื อหงอนค้อนจะทาเป็ นแฉกสาหรับถอนตะปู การเรี ยกขนาดของค้อนหงอนจะเรี ยกตามน้ าหนักของหัวค้อน ซึ่งมีขนาด ตั้งแต่ 7-20 ออนซ์ 3) ส่วนประกอบของค้อนหงอน 3.1) หัวค้อน เป็ นส่วนที่ทาจากเหล็กกล้าการใช้งาน ส่วนหน้าสัมผัสกับผิวงานจะต้อง เรี ยบและแข็ง ใช้สาหรับตอกตะปู ตอกไม้หรื อเพิ่มแรงกระแทกลงบนเครื่ องมืออื่นๆเป็ นต้น 3.2) ด้ามค้อน นิยมทาด้วยไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้ประดู่ ไม้พยุง ไม้ชิงชัน เป็ นต้น ด้ามค้อน จะต้องมีความเหมาะสมกับหัวค้อน ทั้งลักษณะ ขนาดความยาว ส่วนปลายอีกข้างหนึ่งจะใส่เข้าไปใน หัวค้อนซึ่งจะมีลิ่มอัดไว้เพื่อป้ องกันไม่ให้หวั ค้อนหลุดเวลาใช้งาน

หงอนค้อน

ด้ามค้อน หัว รู ปที่ 20 ลักษณะ รู ปร่ างของค้อนหงอน ค้อน


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

4

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การใช้คอ้ นหงอน จานวน 6 ชัว่ โมง

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

4) ประโยชน์ของค้อนหงอน ใช้สาหรับตอกไม้หรื อตะปูและใช้ถอนตะปู 5) วิธีการใช้คอ้ นหงอนตอกตะปู 5.1) จับด้ามค้อนบริ เวณที่ปลาย ( เกือบสุด) ของด้ามค้อนเวลาทางาน 5.2) วางหน้าค้อนลงบนหัวตะปู จากนั้นใช้คอ้ นตอกเบาๆ เพื่อให้ตะปูจมลงไปในเนื้อไม้ 5.3) หลังจากที่ตะปูเริ่ มจมลงไปในเนื้อไม้แล้ว ปล่อยมือที่จบั ตะปูออก แล้วใช้คอ้ นตอกเบาๆอีก 1 ถึง 2 ครั้ง( ดังรู ปที่ 21) จากนั้นเริ่ มตอกแรงๆ จนกระทัง่ ตะปูจมลงไปเสมอกับผิวไม้

รู ปที่ 21 วิธีการตอกตะปู 6) วิธีการใช้คอ้ นหงอนถอนตะปู ใช้หงอนค้อนสอดเข้าด้านล่างของตะปู โดยใช้ดา้ มค้อนตั้งฉากกับแผ่นไม้แล้วงัด หงอนค้อนโดยการดึงด้ามค้อนถ้าถอนตะปูออกมายาวแล้วไม่สามารถจะถอนออกจากเนื้อไม้ได้ตอ้ งใช้ไม้อีกแผ่นหนึ่ง รองที่หวั ค้อนแล้วจึงงัด (ดังรู ปที่ 22)

รู ปที่ 22 วิธีการถอนตะปู


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

5

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การใช้คอ้ นหงอน จานวน 6 ชัว่ โมง

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู กล่าวทักทายนักเรี ยนและตั้งคาถามว่ามีใครทราบบ้างว่าอุปกรณ์ชนิดใดใช้ใน การตอก 2. ครู บอกนักเรี ยนว่าวันนี้เราจะเรี ยนเรื่ องค้อนหงอนและตั้งคาถามว่ามีใครทราบบ้างว่า ค้อนหงอนใช้อะไรได้บา้ ง ขั้นสอน(ใช้ วธิ ีการสอนแบบบรรยายและถามตอบ) 1. ครู อธิบายลักษณะของค้อนหงอนที่ใช้กนั ทัว่ ๆไปในงานช่าง 2. ครู อธิบายส่วนประกอบหลักๆของค้อนหงอน 3. ครู บอกประโยชน์และวิธีการใช้คอ้ นหงอนให้เหมาะสมกับงานแต่ละประเภท 4. ครู อธิบายขั้นตอนการตอกตะปูและการถอนตะปูที่ถกู วิธี 5. ครู ให้โอกาสนักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น โดยที่ครู ใช้วิธีการถาม-ตอบ และให้ผเู้ รี ยน ถามข้อสงสัยเกี่ยวกับวิธีการตอกตะปูและถอนตะปูก่อนลงมือปฏิบตั ิ ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ครู แจกค้อนหงอนให้ผเู้ รี ยนคนละ 1 อัน,ไม้ขนาดหน้ากว้าง 1½ นิ้วและตะปูขนาด 3 นิ้วคนละ 10 ตัวให้นกั เรี ยนตอกตะปูที่ไม้ให้เหลือหัวตะปูไว้ประมาณ 1 เซนติเมตรและให้ผเู้ รี ยนถอนตะปูออก แล้ว นามาเก็บ 2. ครู สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล 3. ครู ตรวจความถูกต้องของงานที่ผเู้ รี ยนนามาส่ง 6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1) สื่อสิ่งพิมพ์ 1.1) หนังสือเรี ยนวิชา เทคนิคการใช้เครื่ องมืองานไม้ ผูเ้ ขียน ปรวีร์ ชัยประสาธน์ 2) สื่อโสตทัศน์ 2.1) เครื่ องProjector 2.2) สื่อการสอนโปรแกรม PowerPoint 3) สื่อของจริ ง 3.1) ค้อนหงอน 3.2) ตะปู


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

6

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การใช้คอ้ นหงอน จานวน 6 ชัว่ โมง

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

7.หลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ 1) หลักฐานความรู้ที่ตอ้ งการ - ร่ องรอยการบันทึกองค์ความรู้บนสมุดบันทึก - ร่ องรอยการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 2) หลักฐานการปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งการ - ไม้ที่ถกู ตอกด้วยตะปูห่างกันตัวละประมาณ 1 เซนติเมตรเหลือหัวตะปู ไว้ประมาณ 1 เซนติเมตรจานวน 10 ตัว - ตะปูที่ถกู ถอนออกจากไม้จานวน 10 ตัว 8.การวัดและประเมินผล 1.วิธีการประเมินผล - ประเมินโดยการสังเกตขณะปฏิบตั ิงานรายบุคคล - ประเมินผลงานสาเร็ จ - การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ 2.เกณฑ์การประเมินผล 1) ใช้เครื่ องมือ-วัสดุ อุปกรณ์ อย่างถูกต้องเหมาะสม 2) ปฏิบตั ิงานตามหลักการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานและเงื่อนไขในการมอบหมายงาน 3) ผลงานสาเร็ จมีคุณภาพ 4) มีกิจนิสยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

7

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การใช้คอ้ นหงอน จานวน 6 ชัว่ โมง

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ การสอนเป็ นไปตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยผูเ้ รี ยนสามารถปฏิบตั ิได้จริ งตามจุดประสงค์การ เรี ยนรู้ประจาหน่วย และตรงตามเวลาที่กาหนด 2) ปัญหาที่พบ 2.1) ผูเ้ รี ยนเกิดอุบตั ิเหตุในการทางาน 2.2) ในขนาดทางานผูเ้ รี ยนเกิดทาอุปกรณ์เสียหาย 3) แนวทางแก้ปัญหา 3.1) พาผูเ้ รี ยนที่เปิ ดอุบตั ิเหตุไปทาแผล และให้พกั งาน จากนั้นเตือนผูเ้ รี ยนให้มีความระมัดระวัง มากขึ้น 3.2) ให้นกั เรี ยนซ้อมแซมอุปกรณ์เอง หรื อหาอุปกรณ์ให้นกั เรี ยนใหม่



เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

1

จานวน 6 ชัว่ โมง

1.สาระสาคัญ การเข้าปากไม้เป็ นการนาไม้มาชนกันทาให้เกิดเป็ นมุมขึ้น เช่น มุมฉาก หรื อมุมอื่นๆ การเข้าไม้มี วิธีการทาได้หลายวิธีแล้วแต่ความเหมาะสมของงานเพื่อให้เกิดความแข็งแรงมากที่สุด 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้และสร้างชิ้นงานเกี่ยวกับการเข้าปากไม้โดยทาตามแบบการเข้าปากไม้ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายวิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วใน 2) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เครื่ องมือวัดทาการวัดขนาดได้ถกู ต้องตามแบบ 3) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เลื่อยและสิ่วได้อย่างถูกต้อง 4) ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบปากไม้ได้ตามแบบ 5) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารสังเกตเห็น ได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

2

จานวน 6 ชัว่ โมง

พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ

ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน

1) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายวิธีการเข้าปากไม้ ชนิดปากกริ วใน 2) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เครื่ องมือวัดทาการวัด ขนาดได้ถกู ต้องตามแบบ 3) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เลื่อยและสิ่วได้อย่าง ถูกต้อง 4) ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบปากไม้ได้ตาม แบบ 5) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเองความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 4

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 3

-

/

/

/

/

/

-

-

/

-

6 2

-

/

/

/

/

-

-

-

/

-

5 1

-

/

/

-

/

-

/

-

/

/

6 2

0 5 5 1

3 3

4 2

5 1

1 1

1 4

0 5

5 1

1 5


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

3

จานวน 6 ชัว่ โมง

4.สาระการเรียนรู้ 1) บทนา การเข้าไม้แบบปากกริ วในชนิด 45 องศาเดือยธรรมดานี้นิยมใช้เพราะสะดวกดีแข็งแรงเหมาะกับงานที่ รับแรงกด ใช้ในการเข้ากรอบพื้นโต๊ะ บานตู้ กรอบบานประตูหน้าต่าง ช่องลมแบบต่างๆ ที่ใช้ลกู ฟักและทาบัวเหลี่ยมใน 2) วิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วใน 2.1) ใช้ไม้ฉากตายทาบให้สนิทแล้วใช้ดินสอขีดไม้ ขีดรอบไม้ 2.2) ใช้เลื่อยตัดไม้ตามเส้นดินสอเพื่อแบ่งไม้ออกเป็ น 2 ส่วนคือส่วนที่เป็ นตัวเดือยและ ส่วนที่เป็ นรู เดือย 2.3) ทาเครื่ องหมายที่ปลายไม้ท้งั 2 ส่วนเพื่อป้ องกันการสับสนเมื่อนาไม้เข้าชนกัน 2.4) ทาส่วนที่เป็ นรู เดือยก่อนโดยเริ่ มจากการแบ่งช่องที่จะเป็ นรู เดือย ส่วนที่เป็ นเส้นเอียง 45 องศาให้ใช้ฉากตายนาด้านที่เป็ นมุม 45 องศาทาบชิดขอบไม้และขอขีดทาเครื่ องหมายกรณี ที่ทิศทางของเครื่ องหมาย ขนานกับเสี้ยนไม้และกรณี ที่ทิศทางของเครื่ องหมายตั้งฉากกับเสี้ยนไม้(ขวางเสี้ยนไม้)ให้ใช้ฉากตายทาบแล้วใช้ดินสอขีด ไม้ ขีดตามระยะที่แบบกาหนดจะได้แนวเส้น (ดังรู ปที่ 23)

รู ปที่ 23 แสดงตาแหน่งแนวเส้นของเดือย


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

4

จานวน 6 ชัว่ โมง

2.5) เจาะส่วนที่อยูใ่ นกรอบตามความลึกที่แบบกาหนดจะได้ส่วนที่เป็ นรู เดือย(ดังรู ปที่ 24)

รู ปที่ 24 แสดงปากกริ วในส่วนที่เป็ นรู เดือย 2.6) ทาการตัดส่วนที่เป็ นเส้นเอียง 45 องศาออกก่อนด้วยเลื่อยรอเพื่อสะดวกในการเจาะ เดือยจะเหลือแต่ส่วนที่ตอ้ งเจาะ (ดังรู ปที่ 25)

รู ปที่ 25 แสดงส่วนที่เป็ นรู เดือย 2.7) ทาส่วนที่เป็ นตัวเดือยโดยเริ่ มจากการแบ่งช่องที่จะเป็ นเดือยโดยใช้ขอขีดและส่วนที่ เป็ นเส้นเอียง 45 องศาให้ใช้ฉากตายนาด้านที่เป็ นมุม 45 องศาทาบชิดขอบไม้โดยใช้ดินสอขีดไม้ทาเครื่ องหมายตามระยะ ที่แบบกาหนดจะได้แนวเส้น (ดังรู ปที่ 26 )


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

5

จานวน 6 ชัว่ โมง

รู ปที่ 26 แสดงตาแหน่งแนวเส้นของเดือย 2.8) ใช้เลื่อยโกรกตามแนวเส้นโดยให้คลองเลื่อยกินเนื้อไม้ดา้ นนอกเส้นและใช้เลื่อยตัด ตามแนวเส้น ด้านข้างโดยให้คลองเลื่อยกินเนื้อไม้มาทางหัวไม้จะได้ตวั เดือยไม้ส่วนที่เป็ นเส้นเอียง 45 องศาให้ใช้เลื่อยรอตัดจะได้ตวั เดือยไม้ (ดังรู ปที่ 27)

รู ปที่ 27 แสดงปากกริ วในส่วนที่เป็ นเดือย 2.9) ดูระยะห่างจากหัวไม้ถึงรู เดือยในแบบทาเครื่ องหมายใช้เลื่อยตัดส่วนที่ เหลือออกจะ ได้ตวั เดือยไม้ (ดังรู ปที่ 28)

รู ปที่ 28 แสดงส่วนที่เป็ นเดือย 2.10) ลองสวมตัวเดือยและรู เดือยเข้าด้วยกัน(ดังรู ปที่ 29 )ดูว่าส่วนไหนติดขัดให้ใช้สิ่ว หรื อบุง้ แต่งตัว เดือยให้พอดีกบั รู เดือยแต่ตอ้ งไม่เล็กเกินไปเพราะจะทาให้หลวมได้


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

รู ปที่ 29 แสดงวิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วใน 3) ใบงานที่ 2 ปากกริ วใน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

6

จานวน 6 ชัว่ โมง


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

7

จานวน 6 ชัว่ โมง

5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู กล่าวทักทายนักเรี ยน 2. ครู บอกนักเรี ยนว่าวันนี้เราจะเข้าปากไม้อีกชนิดหนึ่งชื่อว่าปากกริ วใน ขั้นสอน (ใช้ วธิ ีการสอนแบบสาธิตโดยใช้ เครื่องมือ) 1. ครู แจกใบงานให้นกั เรี ยน 2. ครู อธิบายขั้นตอนการทาโดยใช้แบบเป็ นสื่อการสอน 3. ครู ให้โอกาสนักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น โดยที่ครู ใช้วิธีการ ถาม-ตอบ และให้ผเู้ รี ยนถามข้อสงสัยเกี่ยวกับวิธีการเข้าปากไม้แบบปากกริ วในก่อนลงมือปฏิบตั ิ ขั้นตอนปฏิบัติ 1. ครู ให้ผเู้ รี ยนไปหยิบเครื่ องมือที่ตอ้ งใช้คือ - สิ่ว - ขอขีด - ดินสอขีดไม้ - บุง้ - ค้อนไม้ - เลื่อย - เลื่อยรอ - ฉาก 2. ครู ให้ผเู้ รี ยนตัดหัวไม้ส่วนที่เป็ นรู เดือยและตัวเดือยที่ทาจากสัปดาห์ที่แล้วทิ้งโดยเริ่ ม จากการใช้ฉากตายทาบชิดขอบไม้แล้วใช้ดินสอเขียนไม้ขีดรอบไม้จะได้ฉากก่อนที่จะตัดทิ้ง 3. ครู สอนให้ผเู้ รี ยนเข้าปากไม้ตามขั้นตอนโดยที่ครู และผูเ้ รี ยนทาไปพร้อมๆกันจนเสร็ จ 4. ครู ตรวจชิ้นงานว่าไม้ได้ฉากและถูกต้องตามแบบหรื อไม่ และปากไม้จะต้องไม่ หลวมด้วย 5. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเนื้อหาในบทเรี ยน


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

8

จานวน 6 ชัว่ โมง

6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1) สื่อสิ่งพิมพ์ 1.1) หนังสือเรี ยนวิชา เทคนิคการใช้เครื่ องมืองานไม้ ผูเ้ ขียน ปรวีร์ ชัยประสาธน์ 1.2) ใบงาน (แบบการเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วใน) 2) สื่อของจริ ง 2.1) ค้อนไม้ 2.2) บุง้ 2.3) ฉากตาย 2.4) ขอขีด 2.5) ดินสอขีดไม้ 2.6) สิ่ว 2.7) เลื่อยลันดา 2.8) เลื่อยรอ 7.หลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ 1) หลักฐานความรู้ที่ตอ้ งการ - ร่ องรอยการบันทึกองค์ความรู้บนสมุดบันทึก - ร่ องรอยการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 2) หลักฐานการปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งการ - ตัวเดือยไม้ชนิดปากกริ วใน - รู เดือยไม้ชนิดปากกริ วใน


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

9

จานวน 6 ชัว่ โมง

8.การวัดและประเมินผล 1.วิธีการประเมินผล - ประเมินโดยการสังเกตขณะปฏิบตั ิงานรายบุคคล - ประเมินผลงานสาเร็ จ - การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 2.เกณฑ์การประเมินผล 1) ใช้เครื่ องมือ-วัสดุ อุปกรณ์ อย่างถูกต้องเหมาะสม 2) ปฏิบตั ิงานตามหลักการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานและเงื่อนไขในการมอบหมายงาน 3) ผลงานสาเร็ จมีคุณภาพ 4) มีกิจนิสยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน 9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ การสอนเป็ นไปตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยผูเ้ รี ยนสามารถปฏิบตั ิได้จริ งตามจุดประสงค์การ เรี ยนรู้ประจาหน่วย และตรงตามเวลาที่กาหนด 2) ปัญหาที่พบ 2.1) ผูเ้ รี ยนทาชิ้นงานเสียหาย 2.2) ผูเ้ รี ยนทางานล้าช้า 2.3) ผูเ้ รี ยนไม่มีความตั้งใจในการเรี ยน 3) แนวทางแก้ปัญหา 3.1) จัดหาไม้ให้ผเู้ รี ยนใหม่ หรื อทาการตัดส่วนที่เสียหายออกให้นกั เรี ยนงานใหม่ 3.2) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการนาคะแนนมาขู่ ถ้าไม่ทางานให้เสร็ จในเวลาที่กาหนดจะถูกตัดคะแนน ในชิ้นงานนั้นๆ 3.3) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการนาคะแนนมาขู่ ถ้าไม่ต้งั ใจเรี ยนจะถูกตัดคะแนนในชิ้นงานนั้นๆ



เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

1

จานวน 6 ชัว่ โมง

1.สาระสาคัญ การเข้าปากไม้เป็ นการนาไม้มาชนกันทาให้เกิดเป็ นมุมขึ้น เช่น มุมฉาก หรื อมุมอื่นๆ การเข้าไม้มี วิธีการทาได้หลายวิธีแล้วแต่ความเหมาะสมของงานเพื่อให้เกิดความแข็งแรงมากที่สุด 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้และสร้างชิ้นงานเกี่ยวกับการเข้าปากไม้โดยทาตามแบบการเข้าปากไม้ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายวิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วนอก 2) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เครื่ องมือวัดทาการวัดขนาดได้ถกู ต้องตามแบบ 3) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เลื่อยและสิ่วได้อย่างถูกต้อง 4) ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบปากไม้ได้ตามแบบ 5) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถสังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

2

จานวน 6 ชัว่ โมง

พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ

ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน

1) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายวิธีการเข้าปากไม้ ชนิดปากกริ วนอก 2) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เครื่ องมือวัดทาการวัด ขนาดได้ถกู ต้องตามแบบ 3) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เลื่อยและสิ่วได้อย่าง ถูกต้อง 4) ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบปากไม้ได้ ตามแบบ 5) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเองความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 5

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 4

-

/

/

/

/

/

-

-

/

-

6 1

-

/

/

/

/

-

-

-

/

-

5 0

-

/

/

-

/

-

/

-

/

/

6 1

0 5 5 1

3 3

4 2

5 1

1 1

1 4

0 5

5 1

1 5


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

3

จานวน 6 ชัว่ โมง

4.สาระการเรียนรู้ 1) บทนา ปากกริ วนอกเป็ นการเข้าไม้ที่ประณี ต ใช้ในการเข้ากรอบบานต่างๆที่จะเพล่เหลี่ยม หรื อทาบัวรอบ ใช้ ปากกริ วนอกจึงจะไม่เห็นหัวไม้ที่เข้า ตรงมุมปากกบด้านบนสุดและย่อเดือยหัวไม้น้ นั ทาหน้าที่รับแรงกดทแยงได้ดีมาก 2) วิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วนอก 2.1) ใช้ไม้ฉากตายทาบให้สนิทแล้วใช้ดินสอเขียนไม้ขีดรอบไม้ 2.2) ใช้เลื่อยตัดไม้ตามเส้นดินสอเพื่อแบ่งไม้ออกเป็ น 2 ส่วนคือส่วนที่เป็ นตัวเดือยและส่วนที่เป็ นรู เดือย 2.3) ทาเครื่ องหมายที่ปลายไม้ท้งั 2 ส่วนเพื่อป้ องกันการสับสนเมื่อนาไม้เข้าชนกัน 2.4) ทาส่วนที่เป็ นรู เดือยก่อนโดยเริ่ มจากการแบ่งช่องที่จะเป็ นรู เดือยส่วนที่เป็ น เส้นเอียง 45 องศาให้ใช้ฉากตายนาด้านที่เป็ นมุม 45 องศาทาบชิดขอบไม้และขอขีดทาเครื่ องหมายกรณี ที่ทิศทางของ เครื่ องหมายขนานกับเสี้ยนไม้และกรณี ที่ทิศทางของเครื่ องหมายตั้งฉากกับเสี้ยนไม้ (ขวางเสี้ยนไม้)ให้ใช้ฉากตายทาบ แล้วใช้ดินสอขีดไม้ขีดตามระยะที่แบบกาหนดจะได้แนวเส้น (ดังรู ปที่ 30)

รู ปที่ 30 แสดงตาแหน่งแนวเส้นของรู เดือย 2.5) ทาการตัดส่วนที่เป็ นเส้นเอียง 45 องศาออกก่อนด้วยเลื่อยรอและทาการเจาะรู เดือย ภายในกรอบแนวเส้นที่ขีดไว้ความลึกตามที่แบบกาหนดจะได้รูเดือยปากกริ วนอก(ดังรู ปที่ 31)

รู ปที่ 31 แสดงส่วนที่เป็ นรู เดือย


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

4

จานวน 6 ชัว่ โมง

2.6) ทาส่วนที่เป็ นตัวเดือยโดยเริ่ มจากการแบ่งช่องที่จะเป็ นตัวเดือยโดยใช้ขอขีดและส่วนที่เป็ นเส้นเอียง 45 องศาให้ใช้ฉากตายนาด้านที่เป็ นมุม 45 องศาทาบชิดขอบไม้โดยใช้ดินสอขีดไม้ ทาเครื่ องหมายตามระยะที่แบบ กาหนดจะได้แนวเส้น (ดังรู ปที่ 32)

รู ปที่ 32 แสดงตาแหน่งแนวเส้นของเดือย

2.7) ใช้เลื่อยโกรกตามแนวเส้นโดยให้คลองเลื่อยกินเนื้อไม้ดา้ นนอกเส้นและใช้ เลื่อยลันดาตัดตามแนวเส้นด้านข้างโดยให้คลองเลื่อยกินเนื้อไม้บริ เวณที่ไม่ตอ้ งการส่วนที่เป็ นเส้นเอียง 45 องศาให้ใช้เลื่อยรอตัดจะได้เดือยไม้ (ดังรู ปที่ 33)

รู ปที่ 33 แสดงปากกริ วนอกส่วนที่เป็ นรู เดือย


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

5

จานวน 6 ชัว่ โมง

2.8) ใช้เลื่อยรอตัดส่วนที่เหลือออกจะเหลือส่วนที่เป็ นเดือยไม้ (ดังรู ปที่ 34)

รู ปที่ 34 แสดงส่วนที่เป็ นเดือย 2.9) ลองสวมตัวเดือยและรู เดือยเข้าด้วยกัน (ดังรู ปที่ 35) ดูว่าส่วนไหนติดขัดให้ใช้สิ่ว หรื อบุง้ แต่งตัวเดือยให้พอดีกบั รู เดือยแต่ตอ้ งไม่เล็กเกินไปเพราะจะทาให้หลวมได้

(รู ปที่ 43 )

รู ปที่ 35 แสดงวิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วนอก


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

3) ใบงานที่ 3 ปากกริ วนอก

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

6

จานวน 6 ชัว่ โมง


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

7

จานวน 6 ชัว่ โมง

5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู กล่าวทักทายนักเรี ยน 2. ครู บอกนักเรี ยนว่าวันนี้เราจะเข้าปากไม้อีกชนิดหนึ่งชื่อว่าปากกริ วนอก ขั้นสอน (ใช้ วธิ ีการสอนแบบสาธิตโดยใช้ เครื่องมือ) 1. ครู แจกใบงานให้นกั เรี ยน 2. ครู อธิบายขั้นตอนการทาโดยใช้แบบเป็ นสื่อการสอน 3. ครู ให้โอกาสนักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น โดยที่ครู ใช้วิธีการถาม-ตอบ และให้ ผูเ้ รี ยน ถามข้อสงสัยเกี่ยวกับวิธีการเข้าปากไม้แบบปากกริ วนอกก่อนลงมือปฏิบตั ิ ขั้นตอนปฏิบัติ 1. ครู ให้ผเู้ รี ยนไปหยิบเครื่ องมือที่ตอ้ งใช้คือ - สิ่ว - ขอขีด - ดินสอขีดไม้ - บุง้ - ค้อนไม้ - เลื่อย - เลื่อยรอ - ฉากตาย 2. ครู ให้ผเู้ รี ยนตัดหัวไม้ส่วนที่เป็ นรู เดือยและตัวเดือยที่ทาจากสัปดาห์ที่แล้วทิ้งโดยเริ่ มจากการใช้ฉาก ตายทาบชิดขอบไม้แล้วใช้ดินสอขีดไม้ขีดรอบไม้จะได้ฉากก่อนที่จะตัดทิ้ง 3. ครู สอนให้ผเู้ รี ยนเข้าปากไม้ตามขั้นตอนโดยที่ครู และผูเ้ รี ยนทาไปพร้อมๆกันจนเสร็ จ 4. ครู ตรวจชิ้นงานว่าไม้ได้ฉากและถูกต้องตามแบบหรื อไม่ และปากไม้จะต้องไม่ หลวมด้วย 5. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเนื้อหาในบทเรี ยน


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

8

จานวน 6 ชัว่ โมง

6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1) สื่อสิ่งพิมพ์ 1.1) หนังสือเรี ยนวิชา เทคนิคการใช้เครื่ องมืองานไม้ ผูเ้ ขียน ปรวีร์ ชัยประสาธน์ 1.2) ใบงาน (แบบการเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วนอก) 2) สื่อของจริ ง 2.1) ค้อนไม้ 2.2) บุง้ 2.3) ฉากตาย 2.4) ขอขีด 2.5) ดินสอขีดไม้ 2.6) สิ่ว 2.7) เลื่อยลันดา 2.8) เลื่อยรอ 7.หลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ 1. หลักฐานความรู้ที่ตอ้ งการ - ร่ องรอยการบันทึกองค์ความรู้บนสมุดบันทึก - ร่ องรอยการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 2) หลักฐานการปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งการ - ตัวเดือยไม้ชนิดปากกริ วนอก -รู เดือยไม้ชนิดปากกริ วนอก 8.การวัดและประเมินผล 1.วิธีการประเมินผล - ประเมินโดยการสังเกตขณะปฏิบตั ิงานรายบุคคล - ประเมินผลงานสาเร็ จ - การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

9

จานวน 6 ชัว่ โมง

อันพึงประสงค์ 2.เกณฑ์การประเมินผล 1) ใช้เครื่ องมือ-วัสดุ อุปกรณ์ อย่างถูกต้องเหมาะสม 2) ปฏิบตั ิงานตามหลักการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานและเงื่อนไขในการมอบหมายงาน 3) ผลงานสาเร็ จมีคุณภาพ 4) มีกิจนิสยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน

9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ การสอนเป็ นไปตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยผูเ้ รี ยนสามารถปฏิบตั ิได้จริ งตามจุดประสงค์การ เรี ยนรู้ประจาหน่วย และตรงตามเวลาที่กาหนด 2) ปัญหาที่พบ 2.1) ผูเ้ รี ยนทาชิ้นงานเสียหาย 2.2) ผูเ้ รี ยนทางานล้าช้า 2.3) ผูเ้ รี ยนไม่มีความตั้งใจในการเรี ยน 3) แนวทางแก้ปัญหา 3.1) จัดหาไม้ให้ผเู้ รี ยนใหม่ หรื อทาการตัดส่วนที่เสียหายออกให้นกั เรี ยนงานใหม่ 3.2) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการนาคะแนนมาขู่ ถ้าไม่ทางานให้เสร็ จในเวลาที่กาหนดจะถูกตัดคะแนน ในชิ้นงานนั้นๆ 3.3) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการนาคะแนนมาขู่ ถ้าไม่ต้งั ใจเรี ยนจะถูกตัดคะแนนในชิ้นงานนั้นๆ



เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

1

จานวน 6 ชัว่ โมง

1.สาระสาคัญ การเข้าปากไม้เป็ นการนาไม้มาชนกันทาให้เกิดเป็ นมุมขึ้น เช่น มุมฉาก หรื อมุมอื่นๆ การเข้าไม้มี วิธีการทาได้หลายวิธีแล้วแต่ความเหมาะสมของงานเพื่อให้เกิดความแข็งแรงมากที่สุด 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้และสร้างชิ้นงานเกี่ยวกับการเข้าปากไม้โดยทาตามแบบการเข้าปากไม้ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายวิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วใน-นอก 2) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เครื่ องมือวัดทาการวัดขนาดได้ถกู ต้องตามแบบ 3) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เลื่อยและสิ่วได้อย่างถูกต้อง 4) ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบเดือยไม้ได้ตามแบบ 5) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความ สนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

2

จานวน 6 ชัว่ โมง

พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ

ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน

1)ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายวิธีการเข้าปากไม้ ชนิดปากกริ วใน-นอก 2)ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เครื่ องมือวัดทาการวัด ขนาดได้ถกู ต้องตามแบบ 3)ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เลื่อยและสิ่วได้อย่าง ถูกต้อง 4)ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบปากไม้ได้ตาม แบบ 5)มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเองความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 5

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 4

-

/

/

/

/

/

-

-

/

-

6 1

-

/

/

/

/

-

-

-

/

-

5 0

-

/

/

-

/

-

/

-

/

/

6 1

0 5 5 1

3 3

4 2

5 1

1 1

1 4

0 5

5 1

1 5


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

3

จานวน 6 ชัว่ โมง

4.สาระการเรียนรู้ 1) บทนา การเข้าไม้แบบปากกริ วในและนอกจะต้องใช้ความชานาญเป็ นพิเศษและต้องเข้าใจใน การเข้าไม้อย่างดี ใช้ในการเข้ากรอบบานโต๊ะ ตูก้ ระจก กรอบข้างโต๊ะ ตู้ กรอบเก้าอี้นงั่ กรอบประตู บานประตูหน้าต่างและช่องลมต่างๆที่ใช้บวั นอกใน 2) วิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วในและนอก 2.1) ใช้ฉากตายทาบให้สนิทแล้วใช้ดินสอเขียนไม้ขีดรอบไม้ 2.2) ใช้เลื่อยตัดไม้ตามเส้นดินสอเพื่อแบ่งไม้ออกเป็ น 2 ส่วนคือส่วนที่เป็ นตัวเดือยและ ส่วนที่เป็ นรู เดือย 2.3) ทาเครื่ องหมายที่ปลายไม้ท้งั 2 ส่วนเพื่อป้ องกันการสับสนเมื่อนาไม้เข้าชนกัน 2.4) ทาส่วนที่เป็ นรู เดือยก่อนโดยเริ่ มจากการแบ่งช่องที่จะเป็ นรู เดือยส่วนที่เป็ น เส้นเอียง 45 องศาให้ใช้ฉากตายนาด้านที่เป็ นมุม 45 องศาทาบชิดขอบไม้แล้วใช้ดินสอขีดไม้ ทาเครื่ องหมายในกรณี ที่ทิศทางของเครื่ องหมายขนานกับเสี้ยนไม้ให้ใช้ขอขีดทาเครื่ องหมายและกรณี ที่ทิศทางของ เครื่ องหมายตั้งฉากกับเสี้ยนไม้(ขวางเสี้ยนไม้)ให้ใช้ฉากตายทาบแล้วใช้ดินสอขีดไม้ขีดตามระยะที่แบบกาหนดจะได้แนว เส้น (ดังรู ปที่ 36)

รู ปที่ 36 แสดงตาแหน่งแนวเส้นของปากกริ วในและนอก


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

4

จานวน 6 ชัว่ โมง

2.5) ทาการตัดส่วนที่เป็ นเส้นเอียง 45 องศาออกก่อนด้วยเลื่อยรอเพื่อสะดวกในการเจาะรู เดือยจะเหลือแต่ส่วนที่ตอ้ งเจาะ (ดังรู ปที่ 37)

รู ปที่ 37 แสดงปากกริ วในนอกส่วนที่เป็ นรู เดือย 2.6) เจาะโดยให้ตาแหน่งรู เดือยอยูต่ รงกลางหน้าไม้ความลึกตามที่แบบกาหนดจะได้ ส่วนที่เป็ นรู เดือย(ดังรู ปที่ 38)

รู ปที่ 38 แสดงส่วนที่เป็ นรู เดือย


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

5

จานวน 6 ชัว่ โมง

2.7) ทาส่วนที่เป็ นตัวเดือยโดยเริ่ มจากการแบ่งช่องที่จะเป็ นตัวเดือยโดยใช้ขอขีดและ ส่วนที่เป็ นเส้นเอียง 45 องศาให้ใช้ฉากตายนาด้านที่เป็ นมุม 45 องศาทาบชิดขอบไม้โดยใช้ดินสอขีดไม้ทาเครื่ องหมาย ตามระยะที่แบบกาหนดจะได้แนวเส้น (ดังรู ปที่ 39)

(รู ปที่ ) รู ปที่ 39 แสดงตาแหน่งแนวเส้นของเดือย 2.8) ใช้เลื่อยตัดตามแนวเส้นด้านข้างโดยให้คลองเลื่อยกินเนื้อไม้ส่วนที่ไม่ตอ้ งการส่วนที่ เป็ นเส้น เอียง 45 องศาให้ใช้เลื่อยรอตัดจะได้ตวั เดือยไม้ (ดังรู ปที่ 40)

รู ปที่ 40 แสดงปากกริ วในนอกส่วนที่เป็ นเดือย 2.9) วัดระยะให้ตวั เดือยไม้อยูต่ รงกลางความกว้างตามที่แบบกาหนดทาเครื่ องหมายใช้ เลื่อยตัดส่วนที่เหลือออกจะได้ตวั เดือยไม้ (ดังรู ปที่ 41)


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

6

จานวน 6 ชัว่ โมง

รู ปที่ 41 แสดงส่วนที่เป็ นเดือย 2.10) ลองสวมตัวเดือยและรู เดือยเข้าด้วยกัน (ดังรู ปที่ 42 )ดูว่าส่วนไหนติดขัดให้ใช้สิ่วหรื อบุง้ แต่งตัว เดือยให้พอดีกบั รู เดือยแต่ตอ้ งไม่เล็กเกินไปเพราะจะทาให้เดือยหลวมได้

รู ปที่ 42 แสดงวิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วในนอก

(รู ปที่ )


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

3) ใบงานที่ 4 ปากกริ วในและนอก

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

7

จานวน 6 ชัว่ โมง


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

8

จานวน 6 ชัว่ โมง

5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู กล่าวทักทายนักเรี ยน 2. ครู บอกนักเรี ยนว่าวันนี้เราจะเข้าปากไม้อีกชนิดหนึ่งชื่อว่าปากกริ วในและนอก ขั้นสอน (ใช้ วธิ ีการสอนแบบสาธิตโดยใช้ เครื่องมือ) 1. ครู แจกใบงานให้นกั เรี ยน 2. ครู อธิบายขั้นตอนการทาโดยใช้แบบเป็ นสื่อการสอน 3. ครู ให้โอกาสนักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น โดยที่ครู ใช้วิธีการถาม-ตอบ และให้ ผูเ้ รี ยนถามข้อสงสัยเกี่ยวกับวิธีการเข้าปากไม้แบบปากกริ วในนอกก่อนลงมือปฏิบตั ิ ขั้นตอนปฏิบัติ 1. ครู ให้ผเู้ รี ยนไปหยิบเครื่ องมือที่ตอ้ งใช้คือ - สิ่ว - ขอขีด - ดินสอขีดไม้ - บุง้ - ค้อนไม้ - เลื่อย - เลื่อยรอ - ฉากตาย 2. ครู ให้ผเู้ รี ยนตัดหัวไม้ส่วนที่เป็ นรู เดือยและตัวเดือยที่ทาจากสัปดาห์ที่แล้วทิ้งโดยเริ่ ม จากการใช้ฉากตายทาบชิดขอบไม้แล้วใช้ดินสอขีดไม้ขีดรอบไม้จะได้ฉากก่อนที่จะตัดทิ้ง 3. ครู สอนให้ผเู้ รี ยนเข้าปากไม้ตามขั้นตอนโดยที่ครู และผูเ้ รี ยนทาไปพร้อมๆกันจนเสร็ จ 4. ครู ตรวจชิ้นงานว่าไม้ได้ฉากและถูกต้องตามแบบหรื อไม่ และปากไม้จะต้องไม่ หลวมด้วย 5. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเนื้อหาในบทเรี ยน


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

9

จานวน 6 ชัว่ โมง

6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1) สื่อสิ่งพิมพ์ 1.1) หนังสือเรี ยนวิชา เทคนิคการใช้เครื่ องมืองานไม้ ผูเ้ ขียน ปรวีร์ ชัยประสาธน์ 1.2) ใบงาน (แบบการเข้าปากไม้ชนิดปากกริ วในนอก) 2) สื่อของจริ ง 2.1) ค้อนไม้ 2.2) บุง้ 2.3) ฉากตาย 2.4) ขอขีด 2.5) ดินสอขีดไม้ 2.6) สิ่ว 2.7) เลื่อยลันดา 2.8) เลื่อยรอ 7.หลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ 1. หลักฐานความรู้ที่ตอ้ งการ - ร่ องรอยการบันทึกองค์ความรู้บนสมุดบันทึก - ร่ องรอยการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 2) หลักฐานการปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งการ - ตัวเดือยไม้ชนิดปากกริ วในนอก - รู เดือยไม้ชนิดปากกริ วในนอก 8.การวัดและประเมินผล 1.วิธีการประเมินผล - ประเมินโดยการสังเกตขณะปฏิบตั ิงานรายบุคคล - ประเมินผลงานสาเร็ จ - การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ อัน พึงประสงค์


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

10

จานวน 6 ชัว่ โมง

2.เกณฑ์การประเมินผล 1) ใช้เครื่ องมือ-วัสดุ อุปกรณ์ อย่างถูกต้องเหมาะสม 2) ปฏิบตั ิงานตามหลักการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานและเงื่อนไขในการมอบหมายงาน 3) ผลงานสาเร็ จมีคุณภาพ 4) มีกิจนิสยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน 9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ การสอนเป็ นไปตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยผูเ้ รี ยนสามารถปฏิบตั ิได้จริ งตามจุดประสงค์การ เรี ยนรู้ประจาหน่วย และตรงตามเวลาที่กาหนด 2) ปัญหาที่พบ 2.1) ผูเ้ รี ยนทาชิ้นงานเสียหาย 2.2) ผูเ้ รี ยนทางานล้าช้า 2.3) ผูเ้ รี ยนไม่มีความตั้งใจในการเรี ยน 3) แนวทางแก้ปัญหา 3.1) จัดหาไม้ให้ผเู้ รี ยนใหม่ หรื อทาการตัดส่วนที่เสียหายออกให้นกั เรี ยนงานใหม่ 3.2) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการนาคะแนนมาขู่ ถ้าไม่ทางานให้เสร็ จในเวลาที่กาหนดจะถูกตัดคะแนน ในชิ้นงานนั้นๆ 3.3) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการนาคะแนนมาขู่ ถ้าไม่ต้งั ใจเรี ยนจะถูกตัดคะแนนในชิ้นงานนั้นๆ



เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

1

จานวน 6 ชัว่ โมง

1.สาระสาคัญ การเข้าปากไม้เป็ นการนาไม้มาชนกันทาให้เกิดเป็ นมุมขึ้น เช่น มุมฉาก หรื อมุมอื่นๆ การเข้าไม้มี วิธีการทาได้หลายวิธีแล้วแต่ความเหมาะสมของงานเพื่อให้เกิดความแข็งแรงมากที่สุด 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้และสร้างชิ้นงานเกี่ยวกับการเข้าปากไม้โดยทาตามแบบการเข้าปากไม้ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายวิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากชนหางเหยีย่ ว 2) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เครื่ องมือวัดทาการวัดขนาดได้ถกู ต้องตามแบบ 3) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เลื่อยและสิ่วได้อย่างถูกต้อง 4) ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบปากไม้ได้ตามแบบ 5) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถสังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

2

จานวน 6 ชัว่ โมง

พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ

ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน

1)ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายวิธีการเข้าปากไม้ ชนิดปากชนหางเหยีย่ ว 2)ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เครื่ องมือวัดทาการวัด ขนาดได้ถกู ต้องตามแบบ 3)ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เลื่อยและสิ่วได้อย่าง ถูกต้อง 4)ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบปากไม้ได้ ตามแบบ 5)มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเองความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 5

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 4

-

/

/

/

/

/

-

-

/

-

6 1

-

/

/

/

/

-

-

-

/

-

5 0

-

/

/

-

/

-

/

-

/

/

6 1

0 5 5 1

3 3

4 2

5 1

1 1

1 4

0 5

5 1

1 5


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

3

จานวน 6 ชัว่ โมง

4.สาระการเรียนรู้ 1) บทนา การเข้าไม้แบบปากชนหางเหยีย่ วโดยมากใช้กบั ผนังและกรอบต่างๆตามแบบของไม้ ซึ่งหัวไม้เสมอกับผนัง หัวเดือยโตรับแรงดึงได้ดี ตัวเดือยใหญ่เกือบเต็มหน้ากว้างของไม้ทาให้รับกาลังกดได้เต็มที่เหมาะ ในการเข้ามุมไม่ตอ้ งใช้ตะปูช่วยในการยึด 2) วิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากชนหางเหยีย่ ว 2.1) ใช้ฉากตายทาบให้สนิทแล้วใช้ดินสอขีดไม้ขีดรอบไม้ 2.2) ใช้เลื่อยตัดไม้ตามเส้นดินสอเพื่อแบ่งไม้ออกเป็ น 2 ส่วนคือส่วนที่เป็ นตัวเดือยและส่วนที่เป็ นรู เดือย 2.3) ทาเครื่ องหมายที่ปลายไม้ท้งั 2 ส่วนเพื่อป้ องกันการสับสนเมื่อนาไม้เข้าชนกัน 2.4) วัดขนาดความหนาของไม้ที่จะทารู เดือยแล้วเอาระยะที่ได้ไปทาเครื่ องหมาย ส่วนที่จะทารู เดือยใช้ฉากตายทาบชิดมุมแล้วใช้ดินสอขีดไม้ขีดรอบไม้เพื่อจะได้ทราบบริ เวณที่ใช้งาน 2.5) ทาส่วนที่เป็ นรู เดือยก่อนเริ่ มจากการแบ่งช่องที่จะเป็ นรู เดือยตามขนาดที่แบบ กาหนดโดยใช้ขอขีดทาเครื่ องหมายบริ เวณหน้าไม้กาหนดจุดบริ เวณหัวไม้ท้งั ซ้ายและขวาเท่าๆกันตามระยะที่แบบ กาหนดลากเส้นเชื่อมต่อระหว่างรอยขอขีดกับจุดที่กาหนดไว้ดว้ ยดินสอขีดไม้กบั ฉากตายจะได้แนวเส้นดินสอ (ดังรู ปที่ 43)

รู ปที่ 43 แสดงตาแหน่งแนวเส้นของรู เดือย


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

4

จานวน 6 ชัว่ โมง

2.6) ทาการเจาะด้วยสิ่วตามแนวเส้นจะได้ส่วนที่เป็ นรู เดือย (ดังรู ปที่ 44)

รู ปที่ 44 แสดงส่วนที่เป็ นรู เดือย 2.7) วัดขนาดความหนาของไม้ที่ทารู เดือยแล้วเอาระยะที่ได้ไปทาเครื่ องหมายส่วนที่จะทาตัวเดือยใช้ ฉากตายทาบชิดมุมแล้วใช้ดินสอขีดไม้ขีดรอบไม้เพื่อจะได้ทราบบริ เวณที่ใช้งาน 2.8) ทาส่วนที่เป็ นตัวเดือยโดยเริ่ มจากการแบ่งช่องที่จะเป็ นตัวเดือยตามขนาดที่แบบกาหนด โดยใช้ขอ ขีดทาเครื่ องหมายกาหนดจุดบริ เวณหัวไม้ท้งั ซ้ายและขวาเท่าๆกันตามระยะที่แบบกาหนดลากเส้นเชื่อมต่อระหว่างรอย ขอขีดกับจุดที่กาหนดไว้ดว้ ยดินสอขีดไม้กบั ฉากตายจะได้แนวเส้นดินสอ (ดังรู ปที่ 45)

รู ปที่ 45 แสดงตาแหน่งแนวเส้นของเดือย


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

5

จานวน 6 ชัว่ โมง

2.9) ใช้เลื่อยตัดตามแนวเส้นด้านข้างโดยให้คลองเลื่อยกินเนื้อไม้ส่วนที่ไม่ตอ้ งการทีละด้านจะได้ตวั เดือยไม้ (ดังรู ปที่ 46)

รู ปที่ 46 แสดงส่วนที่ตดั ออกที่ละข้าง 2.10) ใช้เลื่อยตัดส่วนที่เหลือออกจะได้ตวั เดือยหางเหยีย่ ว (ดังรู ปที่ 47)

รู ปที่ 47 แสดงส่วนที่เป็ นเดือย


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

6

จานวน 6 ชัว่ โมง

2.11) ลองสวมตัวเดือยและรู เดือยเข้าด้วยกัน (ดังรู ปที่ 48) ดูว่าส่วนไหนติดขัดให้ใช้ สิ่วหรื อบุง้ แต่งตัวเดือยให้พอดีกบั รู เดือยแต่ตอ้ งไม่เล็กเกินไปเพราะจะทาให้หลวมได้

(รู รู ปที่ 48 แสดงวิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากชนหางเหยีย่ ว


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

3) ใบงานที่ 5 ปากชนหางเหยี่ยว

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

7

จานวน 6 ชัว่ โมง


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

8

จานวน 6 ชัว่ โมง

5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู กล่าวทักทายนักเรี ยน 2. ครู บอกนักเรี ยนว่าวันนี้เราจะเข้าปากไม้อีกชนิดหนึ่งชื่อว่าปากชนหางเหยีย่ ว ขั้นสอน (ใช้ วธิ ีการสอนแบบสาธิตโดยใช้ เครื่องมือ) 1. ครู แจกใบงานให้นกั เรี ยน 2. ครู อธิบายขั้นตอนการทาโดยใช้แบบเป็ นสื่อการสอน 3. ครู ให้โอกาสนักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น โดยที่ครู ใช้วิธีการถาม-ตอบ และให้ ผูเ้ รี ยน ถามข้อสงสัยเกี่ยวกับวิธีการเข้าปากไม้แบบปากชนหางเหยีย่ วก่อนลงมือปฏิบตั ิ ขั้นตอนปฏิบัติ 1. ครู ให้ผเู้ รี ยนไปหยิบเครื่ องมือที่ตอ้ งใช้คือ - สิ่ว - ขอขีด - ดินสอขีดไม้ - บุง้ - ค้อนไม้ - เลื่อย - เลื่อยรอ - ฉากตาย 2. ครู ให้ผเู้ รี ยนตัดหัวไม้ส่วนที่เป็ นรู เดือยและตัวเดือยที่ทาจากสัปดาห์ที่แล้วทิ้งโดยเริ่ มจากการใช้ ฉาก ตายทาบชิดขอบไม้แล้วใช้ดินสอขีดไม้ขีดรอบไม้จะได้ฉากก่อนที่จะตัดทิ้ง 3. ครู สอนให้ผเู้ รี ยนข้าปากไม้ตามขั้นตอนโดยที่ครู และผูเ้ รี ยนทาไปพร้อมๆกันจนเสร็ จ 4. ครู ตรวจชิ้นงานว่าไม้ได้ฉากและถูกต้องตามแบบหรื อไม่และปากไม้จะต้องไม่หลวม 5. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเนื้อหาในบทเรี ยน


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

9

จานวน 6 ชัว่ โมง

6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1) สื่อสิ่งพิมพ์ 1.1) หนังสือเรี ยนวิชา เทคนิคการใช้เครื่ องมืองานไม้ ผูเ้ ขียน ปรวีร์ ชัยประสาธน์ 1.2) ใบงาน (แบบการเข้าปากไม้ชนิดปากชนหางเหยีย่ ว) 2) สื่อของจริ ง 2.1) ค้อนไม้ 2.2) บุง้ 2.3) ไม้ฉากตาย 2.4) ขอขีด 2.5) ดินสอเขียนไม้ 2.6) สิ่ว 2.7) เลื่อยลันดา 2.8) เลื่อยรอ 7.หลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ 1) หลักฐานความรู้ที่ตอ้ งการ - ร่ องรอยการบันทึกองค์ความรู้บนสมุดบันทึก - ร่ องรอยการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 2) หลักฐานการปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งการ - ตัวเดือยไม้ชนิดปากชนหางเหยีย่ ว -รู เดือยไม้ชนิดปากชนหางเหยีย่ ว 8.การวัดและประเมินผล 1.วิธีการประเมินผล - ประเมินโดยการสังเกตขณะปฏิบตั ิงานรายบุคคล - ประเมินผลงานสาเร็ จ - การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 2.เกณฑ์การประเมินผล 1) ใช้เครื่ องมือ-วัสดุ อุปกรณ์ อย่างถูกต้องเหมาะสม


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

10

จานวน 6 ชัว่ โมง

2) ปฏิบตั ิงานตามหลักการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานและเงื่อนไขในการมอบหมายงาน 3) ผลงานสาเร็ จมีคุณภาพ 4) มีกิจนิสยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน 9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ การสอนเป็ นไปตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยผูเ้ รี ยนสามารถปฏิบตั ิได้จริ งตามจุดประสงค์การ เรี ยนรู้ประจาหน่วย และตรงตามเวลาที่กาหนด 2) ปัญหาที่พบ 2.1) ผูเ้ รี ยนทาชิ้นงานเสียหาย 2.2) ผูเ้ รี ยนทางานล้าช้า 2.3) ผูเ้ รี ยนไม่มีความตั้งใจในการเรี ยน 3) แนวทางแก้ปัญหา 3.1) จัดหาไม้ให้ผเู้ รี ยนใหม่ หรื อทาการตัดส่วนที่เสียหายออกให้นกั เรี ยนงานใหม่ 3.2) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการนาคะแนนมาขู่ ถ้าไม่ทางานให้เสร็ จในเวลาที่กาหนดจะถูกตัดคะแนน ในชิ้นงานนั้นๆ 3.3) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการนาคะแนนมาขู่ ถ้าไม่ต้งั ใจเรี ยนจะถูกตัดคะแนนในชิ้นงานนั้นๆ



เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

1

จานวน 6 ชัว่ โมง

1.สาระสาคัญ การเข้าปากไม้เป็ นการนาไม้มาชนกันทาให้เกิดเป็ นมุมขึ้น เช่น มุมฉาก หรื อมุมอื่นๆ การเข้าไม้มี วิธีการทาได้หลายวิธีแล้วแต่ความเหมาะสมของงานเพื่อให้เกิดความแข็งแรงมากที่สุด 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้และสร้างชิ้นงานเกี่ยวกับการเข้าปากไม้โดยทาตามแบบการเข้าปากไม้ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายวิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยว 2) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เครื่ องมือวัดทาการวัดขนาดได้ถกู ต้องตามแบบ 3) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เลื่อยและสิ่วได้อย่างถูกต้อง 4) ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบปากไม้ได้ตามแบบ 5) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถสังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

2

จานวน 6 ชัว่ โมง

พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ

ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน

1) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายวิธีการเข้าปากไม้ ชนิดปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยว 2) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เครื่ องมือวัดทาการวัด ขนาดได้ถกู ต้องตามแบบ 3) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เลื่อยและสิ่วได้อย่าง ถูกต้อง 4) ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบปากไม้ได้ ตามแบบ 5) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเองความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 4

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 4

-

/

/

/

/

/

-

-

/

-

6 2

-

/

/

/

/

-

-

-

/

-

5 1

-

/

/

-

/

-

/

-

/

/

6 3

0 5 4 1

3 3

4 2

5 1

1 1

1 5

0 1

5 1

1 5


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

3

จานวน 6 ชัว่ โมง

4.สาระการเรียนรู้ 1) บทนา การเข้าไม้แบบปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยว คือ การเข้าไม้ธรรมดาทัว่ ไปที่ไม่มีบวั หรื อ ลบเหลี่ยมต่างๆใช้ปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยว เพื่อรับแรงกดบ่าเดือยป้ องกันไม่ให้หวั ไม้แตกปลายเดือยควรลบเหลี่ยมทั้ง 4 ด้านด้วย ปากไม้ตอ้ งได้ฉาก เดือยโตไม่ได้ทาให้แข็งแรงควรใช้เดือยคู่จึงจะทาให้แข็งแรงดี 2) วิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยว 2.1) ใช้ฉากตายทาบให้สนิทแล้วใช้ดินสอขีดไม้ ขีดรอบไม้ 2.2) ใช้เลื่อยตัดไม้ตามเส้นดินสอเพื่อแบ่งไม้ออกเป็ น 2 ส่วนคือส่วนที่เป็ นตัวเดือยและส่วนที่เป็ นรู เดือย 2.3) ทาเครื่ องหมายที่ปลายไม้ท้งั 2 ส่วนเพื่อป้ องกันการสับสนเมื่อนาไม้เข้าชนกัน 2.4) ทาส่วนที่เป็ นรู เดือยก่อนโดยเริ่ มจากการแบ่งช่องที่จะเป็ นรู เดือยโดยใช้ขอขีดทาเครื่ องหมายกรณี ที่ ทิศทางของเครื่ องหมายขนานกับเสี้ยนไม้และกรณี ที่ทิศทางของเครื่ องหมายตั้งฉากกับเสี้ยนไม้(ขวางเสี้ยนไม้)ให้ใช้ฉาก ตายทาบแล้วใช้ดินสอขีดไม้ขีดตามระยะที่แบบกาหนดจะได้แนวเส้น (ดังรู ปที่ 49)

รู ปที่ 49 แสดงตาแหน่งแนวเส้นของรู เดือย 2.5) ทาการเจาะส่วนที่เป็ นอยูใ่ นกรอบความลึกตามที่แบบกาหนด (ดังรู ป 50 )

รู ปที่ 50 แสดงส่วนที่เป็ นรู เดือย


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

4

จานวน 6 ชัว่ โมง

2.6) ทาส่วนที่เป็ นตัวเดือยโดยเริ่ มจากการแบ่งช่องที่จะเป็ นเดือยโดยใช้ขอขีดและ ดินสอขีดไม้ ทาเครื่ องหมายตามระยะที่แบบกาหนดจะได้แนวเส้น (ดังรู ปที่ 51 )

รู ปที่ 51 แสดงตาแหน่งแนวเส้นของเดือย 2.7) ใช้เลื่อยโกรกตามแนวเส้นโดยให้คลองเลื่อยกินเนื้อไม้ดา้ นนอกเส้นและใช้เลื่อยตัดตามแนวเส้น ด้านข้างโดยให้คลองเลื่อยกินเนื้อไม้มาทางหัวไม้จะได้เดือยไม้ (ดังรู ปที่ 52 )

รู ปที่ 52 แสดงส่วนที่เป็ นเดือย 2.8) ดูระยะห่างจากหัวไม้ถึงรู เดือยในแบบทาเครื่ องหมายใช้เลื่อยตัดส่วนที่เหลือออก แล้วลองสวม ตัวเดือยและรู เดือยเข้าด้วยกัน(ดังรู ปที่ 53)ดูว่าส่วนไหนติดขัดให้ใช้สิ่วหรื อบุง้ แต่งตัวเดือยให้พอดีกบั รู เดือยแต่ตอ้ งไม่เล็ก เกินไปเพราะจะทาให้ตวั เดือยหลวมได้

รู ปที่ 53 แสดงวิธีการเข้าปากไม้ ชนิดปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยว เดือยเดี่ยว


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

3) ใบงานที่ 6 ปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยว

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

5

จานวน 6 ชัว่ โมง


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

6

จานวน 6 ชัว่ โมง

5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู กล่าวทักทายนักเรี ยนและตั้งคาถามว่ามีใครทราบบ้างว่าตามมุมวงกบประตูหรื อหน้าต่างช่างไม้ใช้ วิธีใดในการทา 2. ครู บอกนักเรี ยนว่าวันนี้เราจะเรี ยนเรื่ องการเข้าปากไม้ต้งั คาถามว่ามีใครทราบบ้างว่า การเข้าปากไม้ แบ่งเป็ นกี่ส่วนและแต่ละส่วนเรี ยกว่าอะไรบ้าง ขั้นสอน (ใช้ วธิ ีการสอนแบบสาธิตโดยใช้ เครื่องมือ) 1. ครู อธิบายชิ้นส่วนของปากไม้ 2. ครู แจกใบงานให้นกั เรี ยน 3. ครู อธิบายขั้นตอนการทาโดยใช้แบบเป็ นสื่อการสอน 4. ครู ให้โอกาสนักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น โดยที่ครู ใช้วิธีการถาม-ตอบ และให้ผเู้ รี ยน ถามข้อสงสัยเกี่ยวกับวิธีการเข้าไม้แบบปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยวก่อนลงมือปฏิบตั ิ ขั้นตอนปฏิบัติ 1. ครู ให้ผเู้ รี ยนไปหยิบเครื่ องมือที่ตอ้ งใช้คือ - สิ่ว - ขอขีด - ดินสอขีดไม้ - บุง้ - ค้อนไม้ - เลื่อย - ฉากตาย 2. ครู ตดั ไม้ให้ผเู้ รี ยนขนาดหนา1½ นิ้วกว้าง 3 นิ้วยาว 1 เมตรคนละ 1 ท่อน 3. ครู สอนผูเ้ รี ยนทาเดือยไม้ตามขั้นตอนโดยที่ครู และผูเ้ รี ยนทาไปพร้อมๆกันจนเสร็ จ 4. ครู ตรวจชิ้นงานว่าไม้ได้ฉากและถูกต้องตามแบบหรื อไม่ และปากไม้จะต้องไม่ หลวมด้วย 5. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเนื้อหาในบทเรี ยน


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

7

จานวน 6 ชัว่ โมง

6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1) สื่อสิ่งพิมพ์ 1.1) หนังสือเรี ยนวิชา เทคนิคการใช้เครื่ องมืองานไม้ ผูเ้ ขียน ปรวีร์ ชัยประสาธน์ 1.2) ใบงาน (แบบการเข้าปากไม้ชนิดปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยว) 2) สื่อของจริ ง 2.1) ค้อนไม้ 2.2) บุง้ 2.3) ฉากตาย 2.4) ขอขีด 2.5) ดินสอขีดไม้ 2.6) สิ่ว 2.7) เลื่อยลันดาหรื อเลื่อยรอ 7.หลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ 1) หลักฐานความรู้ที่ตอ้ งการ - ร่ องรอยการบันทึกองค์ความรู้บนสมุดบันทึก - ร่ องรอยการศึกษาค้นคว้าเพิม่ เติม 2) หลักฐานการปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งการ - ตัวเดือยไม้ชนิดปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยว -รู เดือยไม้ชนิดปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยว 8.การวัดและประเมินผล 1.วิธีการประเมินผล - ประเมินโดยการสังเกตขณะปฏิบตั ิงานรายบุคคล - ประเมินผลงานสาเร็ จ - การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 2.เกณฑ์การประเมินผล 1) ใช้เครื่ องมือ-วัสดุ อุปกรณ์ อย่างถูกต้องเหมาะสม


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

8

จานวน 6 ชัว่ โมง

2) ปฏิบตั ิงานตามหลักการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานและเงื่อนไขในการมอบหมายงาน 3) ผลงานสาเร็ จมีคุณภาพ 4) มีกิจนิสยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน

9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ การสอนเป็ นไปตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยผูเ้ รี ยนสามารถปฏิบตั ิได้จริ งตามจุดประสงค์การ เรี ยนรู้ประจาหน่วย และตรงตามเวลาที่กาหนด 2) ปัญหาที่พบ 2.1) ผูเ้ รี ยนทาชิ้นงานเสียหาย 2.2) ผูเ้ รี ยนทางานล้าช้า 2.3) ผูเ้ รี ยนไม่มีความตั้งใจในการเรี ยน 3) แนวทางแก้ปัญหา 3.1) จัดหาไม้ให้ผเู้ รี ยนใหม่ หรื อทาการตัดส่วนที่เสียหายออกให้นกั เรี ยนงานใหม่ 3.2) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการนาคะแนนมาขู่ ถ้าไม่ทางานให้เสร็ จในเวลาที่กาหนดจะถูกตัดคะแนน ในชิ้นงานนั้นๆ 3.3) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการนาคะแนนมาขู่ ถ้าไม่ต้งั ใจเรี ยนจะถูกตัดคะแนนในชิ้นงานนั้นๆ



เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

1

จานวน 6 ชัว่ โมง

1.สาระสาคัญ การเข้าปากไม้เป็ นการนาไม้มาชนกันทาให้เกิดเป็ นมุมขึ้น เช่น มุมฉาก หรื อมุมอื่นๆ การเข้าไม้มี วิธีการทาได้หลายวิธีแล้วแต่ความเหมาะสมของงานเพื่อให้เกิดความแข็งแรงมากที่สุด 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้และสร้างชิ้นงานเกี่ยวกับการเข้าปากไม้โดยทาตามแบบการเข้าปากไม้ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายวิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากชนบังใบเดือยเดี่ยว 2) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เครื่ องมือวัดทาการวัดขนาดได้ถกู ต้องตามแบบ 3) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เลื่อยและสิ่วได้อย่างถูกต้อง 4) ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบปากไม้ได้ตามแบบ 5) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถสังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

2

จานวน 6 ชัว่ โมง

พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ

ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน

1) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายวิธีการเข้าปากไม้ ชนิดปากชนบังใบเดือยเดี่ยว 2) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เครื่ องมือวัดทาการวัด ขนาดได้ถกู ต้องตามแบบ 3) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เลื่อยและสิ่วได้อย่าง ถูกต้อง 4) ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบปากไม้ได้ ตามแบบ 5) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเองความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ 4.สาระการเรียนรู้ 1) บทนา

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 4

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 4

-

/

/

/

/

/

-

-

/

-

6 2

-

/

/

/

/

-

-

/

/

-

6 3

/

/

/

-

/

-

/

-

/

/

7 2

1 5 5 1

3 3

4 2

5 1

1 4

1 5

1 5

5 1

1 5


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

3

จานวน 6 ชัว่ โมง

การเข้าไม้แบบปากชนบังใบเดือยเดี่ยว ใช้ทากรอบเก้าอี้ถกั หวาย หรื อ บุพลาสติก โต๊ะที่บุดว้ ยไม้อดั เมโซไนท์กรอบบานประตูหน้าต่างที่ใช้มงุ ้ ลวด ต้องทาเดือยและบังใบให้แนบต่อสนิทดีจริ งๆจึงจะ แข็งแรง 2) วิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากชนบังใบเดือยเดี่ยว 2.1) ใช้ฉากตายทาบให้สนิทแล้วใช้ดินสอขีดไม้ขีดรอบไม้ 2.2) ใช้เลื่อยตัดไม้ตามเส้นดินสอเพื่อแบ่งไม้ออกเป็ น 2 ส่วนคือ ส่วนที่เป็ นตัวเดือยและส่วนที่เป็ นรู เดือย 2.3) ทาเครื่ องหมายที่ปลายไม้ท้งั 2ส่วนเพื่อป้ องกันการสับสนเมื่อนาไม้เข้าชนกัน 2.4) ทาส่วนที่เป็ นรู เดือยก่อนโดยเริ่ มจากการแบ่งช่องที่จะเป็ นรู เดือยโดยใช้ขอขีด ทาเครื่ องหมายกรณี ที่ทิศทางของเครื่ องหมายขนานกับเสี้ยนไม้และกรณี ที่ทิศทางของเครื่ องหมายตั้งฉากกับเสี้ยนไม้ (ขวางเสี้ยนไม้)ให้ใช้ฉากตายทาบแล้วใช้ดินสอขีดไม้ขีดตามระยะที่แบบกาหนดจะได้ แนวเส้น (ดังรู ปที่ 54)

รู ปที่ 54 แสดงตาแหน่งแนวเส้นของเดือย 2.5) ทาการเจาะส่วนที่เป็ นอยูใ่ นกรอบความลึกตามที่แบบกาหนด (ดังรู ป 55)

รู ปที่ 55 แสดงส่วนที่เป็ นรู เดือย


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

4

จานวน 6 ชัว่ โมง

2.6) ทาส่วนที่เป็ นตัวเดือยโดยเริ่ มจากการแบ่งช่องที่จะเป็ นเดือยโดยใช้ขอขีดและ ดินสอขีดไม้ทาเครื่ องหมายตามระยะที่แบบกาหนดจะได้แนวเส้น (ดังรู ปที่ 56)

รู ปที่ 56 แสดงตาแหน่งแนวเส้นของเดือย 2.7) ใช้เลื่อยโกรกตามแนวเส้นโดยให้คลองเลื่อยกินเนื้อไม้ดา้ นนอกเส้นและใช้เลื่อยตัดตามแนวเส้น ด้านข้างโดยให้คลองเลื่อยกินเนื้อไม้มาทางหัวไม้จะได้ตวั เดือยไม้ (ดังรู ปที่ 57)

รู ปที่ 57 แสดงส่วนที่เป็ นเดือย


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

5

จานวน 6 ชัว่ โมง

2.8) ดูระยะห่างจากหัวไม้ถึงรู เดือยในแบบทาเครื่ องหมายใช้เลื่อยตัดส่วนที่เหลือออก แล้วลองสวมตัวเดือยและรู เดือยเข้าด้วยกัน (ดังรู ปที่ 58)ดูว่าส่วนไหนติดขัดให้ใช้สิ่วหรื อบุง้ แต่งตัวเดือยให้พอดีกบั รู เดือยแต่ตอ้ งไม่เล็กเกินไปเพราะจะทาให้เดือยหลวมได้

รู ปที่ 58 แสดงวิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากชนบังใบเดือยเดี่ยว


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

3) ใบงานที่ 7 ปากชนบังใบเดือยเดี่ยว

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

6

จานวน 6 ชัว่ โมง


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

7

จานวน 6 ชัว่ โมง

5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู กล่าวทักทายนักเรี ยน 2. ครู บอกนักเรี ยนว่าวันนี้เราจะเข้าปากไม้อีกชนิดหนึ่งชื่อว่าปากชนบังใบเดือยเดี่ยว ขั้นสอน (ใช้ วธิ ีการสอนแบบสาธิตโดยใช้ เครื่องมือ) 1. ครู แจกใบงานให้นกั เรี ยน 2. ครู อธิบายขั้นตอนการทาโดยใช้แบบเป็ นสื่อการสอน 3. ครู ให้โอกาสนักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น โดยที่ครู ใช้วิธีการถาม-ตอบ และให้ผเู้ รี ยน ถามข้อสงสัยเกี่ยวกับวิธีการเข้าปากไม้แบบปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยวก่อนลงมือปฏิบตั ิ ขั้นตอนปฏิบัติ 1. ครู ให้ผเู้ รี ยนไปหยิบเครื่ องมือที่ตอ้ งใช้คือ - สิ่ว - ขอขีด - ดินสอขีดไม้ - บุง้ - ค้อนไม้ - เลื่อย - ฉากตาย 2. ครู ให้ผเู้ รี ยนตัดหัวไม้ส่วนที่เป็ นรู เดือยและตัวเดือยที่ทาจากสัปดาห์ที่แล้วทิ้งโดยเริ่ มจากการใช้ฉาก ตายทาบชิดขอบไม้แล้วใช้ดินสอเขียนไม้ขีดรอบไม้จะได้ฉากก่อนที่จะตัดทิ้ง 3. ครู สอนผูเ้ รี ยนทาตัวเดือยไม้ตามขั้นตอนโดยที่ครู และผูเ้ รี ยนทาไปพร้อมๆกันจนเสร็ จ 4. ครู ตรวจชิ้นงานว่าไม้ได้ฉากและถูกต้องตามแบบหรื อไม่ และปากไม้จะต้องไม่ หลวมด้วย 5. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเนื้อหาในบทเรี ยน


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

8

จานวน 6 ชัว่ โมง

6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1) สื่อสิ่งพิมพ์ 1.1) หนังสือเรี ยนวิชา เทคนิคการใช้เครื่ องมืองานไม้ ผูเ้ ขียน ปรวีร์ ชัยประสาธน์ 1.2) ใบงาน (แบบการเข้าปากไม้ชนิดปากกบนอกบังใบ) 2) สื่อของจริ ง 2.1) ค้อนไม้ 2.2) บุง้ 2.3) ฉากตาย 2.4) ขอขีด 2.5) ดินสอขีดไม้ 2.6) สิ่ว 2.7) เลื่อยลันดาหรื อเลื่อยรอ 7.หลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ 1) หลักฐานความรู้ที่ตอ้ งการ - ร่ องรอยการบันทึกองค์ความรู้บนสมุดบันทึก - ร่ องรอยการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 2) หลักฐานการปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งการ - ตัวเดือยไม้ชนิดปากชนบังใบเดือยเดี่ยว -รู เดือยไม้ชนิดปากชนบังใบเดือยเดี่ยว 8.การวัดและประเมินผล 1.วิธีการประเมินผล - ประเมินโดยการสังเกตขณะปฏิบตั ิงานรายบุคคล - ประเมินผลงานสาเร็ จ - การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 2.เกณฑ์การประเมินผล 1) ใช้เครื่ องมือ-วัสดุ อุปกรณ์ อย่างถูกต้องเหมาะสม


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

9

จานวน 6 ชัว่ โมง

2) ปฏิบตั ิงานตามหลักการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานและเงื่อนไขในการมอบหมายงาน 3) ผลงานสาเร็ จมีคุณภาพ 4) มีกิจนิสยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน

9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ การสอนเป็ นไปตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยผูเ้ รี ยนสามารถปฏิบตั ิได้จริ งตามจุดประสงค์การ เรี ยนรู้ประจาหน่วย และตรงตามเวลาที่กาหนด 2) ปัญหาที่พบ 2.1) ผูเ้ รี ยนทาชิ้นงานเสียหาย 2.2) ผูเ้ รี ยนทางานล้าช้า 2.3) ผูเ้ รี ยนไม่มีความตั้งใจในการเรี ยน 3) แนวทางแก้ปัญหา 3.1) จัดหาไม้ให้ผเู้ รี ยนใหม่ หรื อทาการตัดส่วนที่เสียหายออกให้นกั เรี ยนงานใหม่ 3.2) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการนาคะแนนมาขู่ ถ้าไม่ทางานให้เสร็ จในเวลาที่กาหนดจะถูกตัดคะแนน ในชิ้นงานนั้นๆ 3.3) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการนาคะแนนมาขู่ ถ้าไม่ต้งั ใจเรี ยนจะถูกตัดคะแนนในชิ้นงานนั้นๆ



เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

12

1

จานวน 6 ชัว่ โมง

1.สาระสาคัญ การเข้าปากไม้เป็ นการนาไม้มาชนกันทาให้เกิดเป็ นมุมขึ้น เช่น มุมฉาก หรื อมุมอื่นๆ การเข้าไม้มี วิธีการทาได้หลายวิธีแล้วแต่ความเหมาะสมของงานเพื่อให้เกิดความแข็งแรงมากที่สุด 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้และสร้างชิ้นงานเกี่ยวกับการเข้าปากไม้โดยทาตามแบบการเข้าปากไม้ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายวิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากกบนอกบังใบ 2) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เครื่ องมือวัดทาการวัดขนาดได้ถกู ต้องตามแบบ 3) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เลื่อยและสิ่วได้อย่างถูกต้อง 4) ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบเดือยไม้ได้ตามแบบ 5) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถสังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

12

2

จานวน 6 ชัว่ โมง

พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ

ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน

1)ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายวิธีการเข้าปากไม้ ชนิดปากกบนอกบังใบ 2)ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เครื่ องมือวัดทาการวัด ขนาดได้ถกู ต้องตามแบบ 3)ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เลื่อยและสิ่วได้อย่าง ถูกต้อง 4)ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบปากไม้ได้ ตามแบบ 5)มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเองความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 5

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 4

-

/

/

/

/

/

-

-

/

-

6 1

-

/

/

/

/

-

-

-

/

-

5 0

-

/

/

-

/

-

/

-

/

/

6 1

0 5 5 1

3 3

4 2

5 1

1 1

1 4

0 5

5 1

1 5


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

12

3

จานวน 6 ชัว่ โมง

4.สาระการเรียนรู้ 1) บทนา การเข้าไม้แบบปากกบนอกบังใบเหมาะสาหรับทากรอบเก้าอี้ กรอบพื้นโต๊ะกรอบรู ป กรอบประตูหน้าต่าง และงานเฟอร์นิเจอร์ที่ตอ้ งการความสวยงาม แข็งแรงการทากรอบประกบสนิท จริ งๆจะรับกาลังได้หลายอย่าง จะสังเกตเห็นว่าการเข้าไม้แบบนี้ มีท้งั ปากชน, ปากกริ วนอกและปากกบรวมอยูด่ ว้ ย 2) วิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากกบนอกบังใบ 2.1) ใช้ไม้ฉากตายทาบให้สนิทแล้วใช้ดินสอขีดไม้ขีดรอบไม้ 2.2) ใช้เลื่อยตัดไม้ตามเส้นดินสอเพื่อแบ่งไม้ออกเป็ น 2 ส่วนคือส่วนที่เป็ นเดือยและ ส่วนที่เป็ นรู เดือย 2.3) ทาเครื่ องหมายที่ปลายไม้ท้งั 2 ส่วนเพื่อป้ องกันการสับสนเมื่อนาไม้เข้าชนกัน 2.4) ทาส่วนที่เป็ นรู เดือยก่อนโดยเริ่ มจากการแบ่งช่องที่จะเป็ นรู เดือยส่วนที่เป็ น เส้นเอียง 45 องศาให้ใช้ฉากตายนาด้านที่เป็ นมุม 45 องศาทาบชิดขอบไม้แล้วใช้ดินสอขีดไม้ทาเครื่ องหมายในกรณี ที่ ทิศทางของเครื่ องหมายขนานกับเสี้ยนไม้ให้ใช้ขอขีดทาเครื่ องหมายและกรณี ที่ทิศทางของเครื่ องหมายตั้งฉากกับเสี้ยนไม้ (ขวางเสี้ยนไม้)ให้ใช้ฉากตายทาบแล้วใช้ดินสอขีดไม้ขีดตามระยะที่แบบกาหนดจะได้แนวเส้น (ดังรู ปที่ 59)

รู ปที่ 59 แสดงตาแหน่งแนวเส้นของรู เดือย 2.5) ทาการตัดส่วนที่เป็ นเส้นเอียง 45 องศาออกก่อนด้วยเลื่อยรอเพื่อสะดวกในการเจาะรู เดือยจะเหลือ แต่ส่วนที่ตอ้ งเจาะ (ดังรู ปที่ 60)


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

12

4

จานวน 6 ชัว่ โมง

รู ปที่ 60 แสดงปากกบนอกบังบังใบส่วนที่เป็ นรู เดือย 2.6) เจาะโดยให้ตาแหน่งรู เดือยอยูต่ รงกลางหน้าไม้ความลึกตามที่แบบกาหนด จะได้ส่วนที่เป็ นรู เดือย(ดังรู ปที่ 61)

รู ปที่ 61 แสดงส่วนที่เป็ นรู เดือย 2.7) ทาส่วนที่เป็ นตัวเดือยโดยเริ่ มจากการแบ่งช่องที่จะเป็ นตัวเดือยโดยใช้ขอขีดและ ส่วนที่เป็ นเส้นเอียง 45 องศาให้ใช้ฉากตายนาด้านที่เป็ นมุม 45 องศาทาบชิดขอบไม้โดยใช้ดินสอขีดไม้ทาเครื่ องหมาย ตามระยะที่แบบกาหนดจะได้แนวเส้น (ดังรู ปที่ 62)

รู ปที่ 62 แสดงตาแหน่งแนวเส้นของเดือย


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

12

5

จานวน 6 ชัว่ โมง

2.8) ใช้เลื่อยตัดตามแนวเส้นด้านข้างโดยให้คลองเลื่อยกินเนื้อไม้ส่วนที่ไม่ตอ้ งการส่วนที่เป็ นเส้นเอียง 45 องศาให้ใช้เลื่อยรอตัดจะได้ตวั เดือยไม้ใช้สิ่วแต่งไม้ขา้ งตัวเดือยออก (ดังรู ปที่ 63)

รู ปที่ 63 แสดงส่วนที่เป็ นเดือย 2.9) ลองสวมตัวเดือยและรู เดือยเข้าด้วยกัน(ดังรู ปที่ 64)ดูว่าส่วนไหนติดขัดให้ใช้สิ่ว หรื อบุง้ แต่งตัวเดือยให้พอดีกบั รู เดือยแต่ตอ้ งไม่เล็กเกินไปเพราะจะทาให้หลวมได้

รู ปที่ 64 แสดงวิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากกบนอกบังใบ 3) ใบงานที่ 8 ปากกบนอกบังใบ

1


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

2

3

5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู กล่าวทักทายนักเรี ยน 2. ครู บอกนักเรี ยนว่าวันนี้เราจะเข้าปากไม้อีกชนิดหนึ่งชื่อว่าปากกบนอกบังใบ ขั้นสอน (ใช้ วธิ ีการสอนแบบสาธิตโดยใช้ เครื่องมือ)

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

12

6

จานวน 6 ชัว่ โมง


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

12

7

จานวน 6 ชัว่ โมง

1. ครู แจกใบงานให้นกั เรี ยน 2. ครู อธิบายขั้นตอนการทาโดยใช้แบบเป็ นสื่อการสอน 3. ครู ให้โอกาสนักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น โดยที่ครู ใช้วิธีการถาม-ตอบ และให้ผเู้ รี ยน ถามข้อสงสัยเกี่ยวกับวิธีการเข้าปากไม้แบบปากกบนอกบังใบก่อนลงมือปฏิบตั ิ ขั้นตอนปฏิบัติ 1. ครู ให้ผเู้ รี ยนไปหยิบเครื่ องมือที่ตอ้ งใช้คือ - สิ่ว - ขอขีด - ดินสอขีดไม้ - บุง้ - ค้อนไม้ - เลื่อย - เลื่อยรอ - ฉากตาย 2. ครู ให้ผเู้ รี ยนตัดหัวไม้ส่วนที่เป็ นรู เดือยและเดือยที่ทาจากสัปดาห์ที่แล้วทิ้งโดยเริ่ มจากการใช้ฉากตาย ทาบชิดขอบไม้แล้วใช้ดินสอขีดไม้ขีดรอบไม้จะได้ฉากก่อนที่จะตัดทิ้ง 3. ครู สอนให้ผเู้ รี ยนเข้าปากไม้ตามขั้นตอนโดยที่ครู และผูเ้ รี ยนทาไปพร้อมๆกันจนเสร็ จ 4. ครู ตรวจชิ้นงานว่าไม้ได้ฉากและถูกต้องตามแบบหรื อไม่และปากไม้จะต้องไม่ หลวมด้วย 5. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเนื้อหาในบทเรี ยน

6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1) สื่อสิ่งพิมพ์


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

12

8

จานวน 6 ชัว่ โมง

1.1) หนังสือเรี ยนวิชา เทคนิคการใช้เครื่ องมืองานไม้ ผูเ้ ขียน ปรวีร์ ชัยประสาธน์ 1.2) ใบงาน (แบบการเข้าปากไม้ชนิดปากกบนอกบังใบ) 2) สื่อของจริ ง 2.1) ค้อนไม้ 2.2) บุง้ 2.3) ฉากตาย 2.4) ขอขีด 2.5) ดินสอขีดไม้ 2.6) สิ่ว 2.7) เลื่อยลันดา 2.8) เลื่อยรอ 7.หลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ 1) หลักฐานความรู้ที่ตอ้ งการ - ร่ องรอยการบันทึกองค์ความรู้บนสมุดบันทึก - ร่ องรอยการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 2) หลักฐานการปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งการ - ตัวเดือยไม้ชนิดปากกบนอกบังใบ -รู เดือยไม้ชนิดปากกบนอกบังใบ 8.การวัดและประเมินผล 1.วิธีการประเมินผล - ประเมินโดยการสังเกตขณะปฏิบตั ิงานรายบุคคล - ประเมินผลงานสาเร็ จ - การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 2.เกณฑ์การประเมินผล 1) ใช้เครื่ องมือ-วัสดุ อุปกรณ์ อย่างถูกต้องเหมาะสม 2) ปฏิบตั ิงานตามหลักการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานและเงื่อนไขในการมอบหมายงาน 3) ผลงานสาเร็ จมีคุณภาพ 4) มีกิจนิสยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

12

9

จานวน 6 ชัว่ โมง

9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ การสอนเป็ นไปตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยผูเ้ รี ยนสามารถปฏิบตั ิได้จริ งตามจุดประสงค์การ เรี ยนรู้ประจาหน่วย และตรงตามเวลาที่กาหนด 2) ปัญหาที่พบ 2.1) ผูเ้ รี ยนทาชิ้นงานเสียหาย 2.2) ผูเ้ รี ยนทางานล้าช้า 2.3) ผูเ้ รี ยนไม่มีความตั้งใจในการเรี ยน 3) แนวทางแก้ปัญหา 3.1) จัดหาไม้ให้ผเู้ รี ยนใหม่ หรื อทาการตัดส่วนที่เสียหายออกให้นกั เรี ยนงานใหม่ 3.2) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการนาคะแนนมาขู่ ถ้าไม่ทางานให้เสร็ จในเวลาที่กาหนดจะถูกตัดคะแนน ในชิ้นงานนั้นๆ 3.3) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการนาคะแนนมาขู่ ถ้าไม่ต้งั ใจเรี ยนจะถูกตัดคะแนนในชิ้นงานนั้นๆ



เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

13

1

จานวน 6 ชัว่ โมง

1.สาระสาคัญ การเข้าปากไม้เป็ นการนาไม้มาชนกันทาให้เกิดเป็ นมุมขึ้น เช่น มุมฉาก หรื อมุมอื่นๆ การเข้าไม้มี วิธีการทาได้หลายวิธีแล้วแต่ความเหมาะสมของงานเพื่อให้เกิดความแข็งแรงมากที่สุด 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้และสร้างชิ้นงานเกี่ยวกับการเข้าปากไม้โดยทาตามแบบการเข้าปากไม้ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายวิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากกบนอกหางเหยีย่ ว 2) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เครื่ องมือวัดทาการวัดขนาดได้ถกู ต้องตามแบบ 3) ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เลื่อยและสิ่วได้อย่างถูกต้อง 4) ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบปากไม้ได้ตามแบบ 5) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

13

2

จานวน 6 ชัว่ โมง

พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ

ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน

1)ผูเ้ รี ยนสามารถอธิบายวิธีการเข้าปากไม้ ชนิดปากกบนอกหางเหยีย่ ว 2)ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เครื่ องมือวัดทาการวัด ขนาดได้ถกู ต้องตามแบบ 3)ผูเ้ รี ยนสามารถใช้เลื่อยและสิ่วได้อย่าง ถูกต้อง 4)ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบปากไม้ได้ตาม แบบ 5)มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเองความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 5

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 4

-

/

/

/

/

/

-

-

/

-

6 1

-

/

/

/

/

-

-

-

/

-

5 0

-

/

/

-

/

-

/

-

/

/

6 1

0 5 5 1

3 3

4 2

5 1

1 1

1 4

0 5

5 1

1 5


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

13

3

จานวน 6 ชัว่ โมง

4.สาระการเรียนรู้ 1) บทนา การเข้าไม้แบบปากกบนอกหางเหยีย่ วเดือยชนิดนี้เหมาะสาหรับทาผนังโต๊ะและกรอบ อื่นๆวงกบประตู หน้าต่างที่ตอ้ งการความสวยงามด้านนอก ส่วนด้านในใช้หางเหยีย่ วธรรมดาถ้าไม้หน้ากว้างเกิน 4 นิ้ว ควรใช้หางเหยีย่ วคู่ หรื อ 3-4 2) วิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากกบนอกหางเหยีย่ ว 2.1) ใช้ไม้ฉากตายทาบให้สนิทแล้วใช้ดินสอขีดไม้ขีดรอบไม้ 2.2) ใช้เลื่อยตัดไม้ตามเส้นดินสอเพื่อแบ่งไม้ออกเป็ น 2 ส่วนคือส่วนที่เป็ นตัวเดือยแล ส่วนที่เป็ นรู เดือย 2.3) ทาเครื่ องหมายที่ปลายไม้ท้งั 2 ส่วนเพื่อป้ องกันการสับสนเมื่อนาไม้เข้าชนกัน 2.4) วัดขนาดความหนาของไม้ที่จะทาตัวเดือยแล้วเอาระยะที่ได้ไปทาเครื่ องหมายส่วนที่ จะทารู เดือยใช้ไม้ฉากทาบชิดมุมแล้วใช้ดินสอไม้ขีดรอบไม้เพื่อจะได้ทราบบริ เวณที่ใช้งาน 2.5) ทาส่วนที่เป็ นรู เดือยก่อนเริ่ มจากการแบ่งช่องที่จะเป็ นรู เดือยตามขนาดที่แบบกาหนดโดยใช้ขอขีด ทาเครื่ องหมายบริ เวณหน้าไม้กาหนดจุดบริ เวณหัวไม้ท้งั ซ้ายและขวาเท่าๆกันตามระยะที่แบบกาหนดลากเส้นเชื่อมต่อ ระหว่างรอยขอขีดกับจุดที่กาหนดไว้ดว้ ยดินสอขีดไม้กบั ไม้ฉากตายจะได้แนวเส้นดินสอส่วนที่เป็ นปากกบขีดเส้นเอียง 45 องศาให้ใช้ฉากตายนาด้านที่เป็ นมุม 45 องศาทาบชิดขอบไม้แล้วใช้ดินสอขีดไม้ทาเครื่ องหมาย (ดังรู ปที่ 65)

รู ปที่ 65 แสดงตาแหน่งแนวเส้นของรู เดือย


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

13

4

จานวน 6 ชัว่ โมง

2.6) ทาการเจาะด้วยสิ่วตามแนวเส้นจะได้ส่วนที่เป็ นรู เดือยและใช้เลื่อยลันดาตัด ตามแนวเส้นที่เอียง 45 องศาโดยให้คลองเลื่อยกินเนื้อไม้ในส่วนที่ไม่ตอ้ งการออกจะได้รูเดือย ปากกบนอกหางเหยีย่ ว (ดังรู ปที่ 66)

2.7) วัดขนาดความหนาของไม้ที่ทารู เดือยแล้วเอาระยะที่ได้ไปทาเครื่ องหมายส่วนที่จะ ทาตัวเดือยใช้ฉากทาบชิดมุมแล้วใช้ดินสอไม้ขีดรอบไม้เพื่อจะได้ทราบบริ เวณที่ใช้งาน 2.8) ทาส่วนที่เป็ นเดือยโดยเริ่ มจากการแบ่งช่องที่จะเป็ นตัวเดือยตามขนาดที่แบบกาหนด โดยใช้ขอขีดทาเครื่ องหมายกาหนดจุดบริ เวณหัวไม้ตามระยะที่แบบกาหนดลากเส้นเชื่อมต่อระหว่างรอยขอขีดกับจุดที่ กาหนดไว้ดว้ ยดินสอเขียนไม้กบั ฉากตายส่วนที่เป็ นปากกบขีดเส้นเอียง 45 องศาให้ใช้ฉากตายนาด้านที่เป็ นมุม 45 องศา ทาบชิดขอบไม้แล้วใช้ดินสอขีดไม้ทาเครื่ องหมายจะได้แนวเส้นดินสอ (ดังรู ปที่ 67)

รู ปที่ 67 แสดงตาแหน่งแนวเส้นของเดือย


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

13

5

จานวน 6 ชัว่ โมง

2.9) ใช้เลื่อยตัดตามแนวเส้นด้านข้างโดยให้คลองเลื่อยกินเนื้อไม้ส่วนที่ไม่ตอ้ งการและ ใช้สิ่วเจาะบริ เวณระหว่างปากกบกับตัวเดือยหางเหยีย่ วออกจะได้เดือยไม้ (ดังรู ปที่ 68)

รู ปที่ 68 แสดงปากกบนอกหางเหยีย่ วส่วนที่เป็ นเดือย 2.10) ใช้เลื่อยตัดส่วนที่เป็ นปลายตัวเดือยออกจะได้ตวั เดือยหางเหยีย่ ว (ดังรู ปที่ 69)

รู ปที่ 69 แสดงส่วนที่เป็ นเดือย 2.11) ลองสวมตัวเดือยและรู เดือยเข้าด้วยกัน(ดังรู ปที่ 70)ดูว่าส่วนไหนติดขัดให้ใช้สิ่ว หรื อบุง้ แต่งตัวเดือยให้พอดีกบั รู เดือยแต่ตอ้ งไม่เล็กเกินไปเพราะจะทาให้หลวมได้


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

3) ใบงานที่ 9 ปากกบนอกหางเหยีย่ ว

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

13

6

จานวน 6 ชัว่ โมง


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

13

7

จานวน 6 ชัว่ โมง

5. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู กล่าวทักทายนักเรี ยน 2. ครู บอกนักเรี ยนว่าวันนี้เราจะเข้าปากไม้อีกชนิดหนึ่งชื่อว่าปากกบนอกหางเหยีย่ ว ขั้นสอน (ใช้ วธิ ีการสอนแบบสาธิตโดยใช้ เครื่องมือ) 1. ครู แจกใบงานให้นกั เรี ยน 2. ครู อธิบายขั้นตอนการทาโดยใช้แบบเป็ นสื่อการสอน 3. ครู ให้โอกาสนักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น โดยที่ครู ใช้วิธีการถาม-ตอบ และให้ผเู้ รี ยนถามข้อสงสัยเกี่ยวกับวิธีการเข้าไม้แบบปากกบนอกหางเหยีย่ วก่อนลงมือปฏิบตั ิ ขั้นตอนปฏิบัติ 1. ครู ให้ผเู้ รี ยนไปหยิบเครื่ องมือที่ตอ้ งใช้คือ - สิ่ว - ขอขีด - ดินสอขีดไม้ - บุง้ - ค้อนไม้ - เลื่อย - เลื่อยรอ - ฉากตาย 2. ครู ให้ผเู้ รี ยนตัดหัวไม้ส่วนที่เป็ นรู เดือยและตัวเดือยที่ทาจากสัปดาห์ที่แล้วทิ้งโดยเริ่ ม จากการใช้ ฉากตายทาบชิดขอบไม้แล้วใช้ดินสอขีดไม้ ขีดรอบไม้จะได้ฉากก่อนที่จะตัดทิ้ง 3. ครู สอนผูเ้ รี ยนทาเดือยไม้ตามขั้นตอนโดยที่ครู และผูเ้ รี ยนทาไปพร้อมๆกันจนเสร็ จ 4. ครู ตรวจชิ้นงานว่าไม้ได้ฉากและถูกต้องตามแบบหรื อไม่และปากไม้จะต้องไม่หลวมด้วย 5. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเนื้อหาในบทเรี ยน


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

13

8

จานวน 6 ชัว่ โมง

6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1) สื่อสิ่งพิมพ์ 1.1) หนังสือเรี ยนวิชา เทคนิคการใช้เครื่ องมืองานไม้ ผูเ้ ขียน ปรวีร์ ชัยประสาธน์ 1.2) ใบงาน (แบบการเข้าปากไม้ชนิดปากกบนอกหางเหยีย่ ว) 2) สื่อของจริ ง 2.1) ค้อนไม้ 2.2) บุง้ 2.3) ฉากตาย 2.4) ขอขีด 2.5) ดินสอขีดไม้ 2.6) สิ่ว 2.7) เลื่อยลันดา 2.8) เลื่อยรอ 7.หลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ 1) หลักฐานความรู้ที่ตอ้ งการ - ร่ องรอยการบันทึกองค์ความรู้บนสมุดบันทึก - ร่ องรอยการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 2) หลักฐานการปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งการ - ตัวเดือยไม้ชนิดปากกบนอกหางเหยีย่ ว - รู เดือยไม้ชนิดปากกบนอกหางเหยีย่ ว 8.การวัดและประเมินผล 1.วิธีการประเมินผล - ประเมินโดยการสังเกตขณะปฏิบตั ิงานรายบุคคล - ประเมินผลงานสาเร็ จ - การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303

ชื่อหน่ วย : การเข้าปากไม้ , การเข้าปากไม้ชนิดปากกริ ว

แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ชื่อสถานศึกษา:

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

13

9

จานวน 6 ชัว่ โมง

2.เกณฑ์การประเมินผล 1) ใช้เครื่ องมือ-วัสดุ อุปกรณ์ อย่างถูกต้องเหมาะสม 2) ปฏิบตั ิงานตามหลักการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานและเงื่อนไขในการมอบหมายงาน 3) ผลงานสาเร็ จมีคุณภาพ 4) มีกิจนิสยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน 9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ การสอนเป็ นไปตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยผูเ้ รี ยนสามารถปฏิบตั ิได้จริ งตามจุดประสงค์การ เรี ยนรู้ประจาหน่วย และตรงตามเวลาที่กาหนด 2) ปัญหาที่พบ 2.1) ผูเ้ รี ยนทาชิ้นงานเสียหาย 2.2) ผูเ้ รี ยนทางานล้าช้า 2.3) ผูเ้ รี ยนไม่มีความตั้งใจในการเรี ยน 3) แนวทางแก้ปัญหา 3.1) จัดหาไม้ให้ผเู้ รี ยนใหม่ หรื อทาการตัดส่วนที่เสียหายออกให้นกั เรี ยนงานใหม่ 3.2) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการนาคะแนนมาขู่ ถ้าไม่ทางานให้เสร็ จในเวลาที่กาหนดจะถูกตัดคะแนน ในชิ้นงานนั้นๆ 3.3) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการนาคะแนนมาขู่ ถ้าไม่ต้งั ใจเรี ยนจะถูกตัดคะแนนในชิ้นงานนั้นๆ



เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

14

1

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

1.สาระสาคัญ การเข้าไม้เป็ นเรื่ องที่สาคัญอย่างมากที่ช่างไม้และช่างก่อสร้างจาเป็ นต้องเรี ยนรู้และทาความเข้าใจกับชนิด ลักษณะ รู ปแบบ และวิธีการของการเข้าไม้ เพื่อการนารู ปแบบของการเข้าไม้แต่ละชนิดไปใช้ ประกอบและปฏิบตั ิในการสร้างให้เหมาะกับลักษณะ รู ปแบบของชิ้นงานที่กาหนดขึ้น ซึ่งจะเป็ นผลทาให้ชิ้นงานสาเร็ จ เกิดความแข็งแรง สวยงาม และเพิ่มคุณค่าที่น่าใช้ยงิ่ ขึ้น 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้และสร้างชิ้นงานโดยทาตามแบบผลิตภัณฑ์งานไม้และส่วนที่มีการเพลาะไม้ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) ผูเ้ รี ยนสามารถวัดกะขีดขนาดรู เดือย เลื่อยย่อบ่าเดือยได้ 2) ผูเ้ รี ยนสามารถเจาะรู เดือย ผ่าเดือย ตัดปาก ย่อเดือยตามแบบได้ 3) ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบรู เดือย เดือย เป็ นผลิตภัณฑ์ตามแบบที่กาหนด 4) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถสังเกตเห็นได้ในด้าน ความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญู กตเวที

พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ

ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน

1)ผูเ้ รี ยนสามารถวัดกะขีดขนาดรู เดือย เลื่อย ย่อบ่าเดือยได้ 2)ผูเ้ รี ยนสามารถเจาะรู เดือย ผ่าเดือย ตัดปาก -

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 2

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 3


เนื้อหาการสอน

หน้ าที่

14

2

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้ ย่อเดือยตามแบบได้ 3)ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบรู เดือย เดือย เป็ น ผลิตภัณฑ์ตามแบบที่กาหนด 4) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเองความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ

ประจาสั ปดาห์ ที่

-

/

/

/

/

/

-

-

/

-

6 1

-

/

/

-

/

-

/

-

/

/

6 4

0 4 5 1

2 3

3 2

4 1

1 1

1 4

0 5

4 1

1 5

4.สาระการเรียนรู้ 1) บทนา การฝึ กปฏิบตั ิให้เกิดทักษะการใช้และเลือกใช้เครื่ องมือสร้างชิ้นงานการเข้าไม้ชนิด การเข้าปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยว(เจาะรู เดือยและการทาตัวเดือย)ประกอบขึ้นเป็ นชิ้นงานตามรู ปแบบ ที่กาหนด 2) วิธีการเข้าปากไม้ชนิดปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยว 2.1) ทาส่วนที่เป็ นรู เดือยก่อนเริ่ มจากการ นาหัวไม้ที่เป็ นขาเก้าอี้และไม้ส่วนที่เป็ น พนังบนมาชนเข้าหากัน 2.2) ทาเครื่ องหมายที่ปลายไม้ท้งั 2 ส่วนเพื่อป้ องกันการสับสนเมื่อนาไม้เข้าชนกัน 2.3) วัดความกว้างของพนังไม้เอาระยะที่ได้ไปทาเครื่ องหมายส่วนที่เป็ นขาเก้าอี้ใช้ฉากทาบชิดขอบไม้ แล้วใช้ดินสอขีดไม้ขีดรอบไม้เพื่อจะได้ทราบบริ เวณใช้งาน (ดังรู ปที่ 71)


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

14

3

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

รู ปที่ 71 แสดงการทาเครื่ องหมายบริ เวณขาเก้าอี้ 2.4) วัดขนาดความหนาของพนังไม้เอาระยะที่ได้ไปปรับขอขีดแล้วทาเครื่ องหมายบริ เวณที่เจาะรู เดือย ส่วนที่เป็ นขาเก้าอี้ให้ขอขีดชิดขอบไม้ (ดังรู ปที่ 72)

รู ปที่ 72 แสดงการทาเครื่ องหมายบริ เวณที่เจาะรู เดือย 2.5) ใช้ระยะครึ่ งหนึ่งของความหนาพนังไม้ลบด้วยครึ่ งหนึ่งของความกว้างปาก สิ่วที่ใช้เจาะนาระยะที่ได้ปรับขอขีดทาเครื่ องหมายจะได้เส้นขอบของรู เดือยริ มใน (ดังรู ปที่ 73)


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

14

4

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

รู ปที่ 73 แสดงการทาเครื่ องหมายบริ เวณที่เจาะรู เดือย 2.6) ใช้ระยะขอขีดจากข้อที่ 2.5) มาบวกกับระยะความกว้างของปากสิ่วเจาะจะได้ เส้นขอบของรู เดือยริ มนอก (ดังรู ปที่ 74)

รู ปที่ 74 แสดงเส้นขอบรู เดือย 2.7) ใช้ระยะครึ่ งหนึ่งของความกว้างพนังไม้ นาระยะที่ได้วดั จากหัวไม้ลงมาแล้วทาเครื่ องหมายโดยใช้ ดินสอจุดไว้จะได้ก่ ึงกลางของรู เดือย (ดังรู ปที่ 75)

รู ปที่ 75 แสดงตาแหน่งกึ่งกลางของรู เดือย 2.8) ใช้ระยะครึ่ งหนึ่งของความยาวรู เดือยตามที่แบบกาหนด นาระยะที่ได้วดั ออกจาก จุดกึ่งกลางของรู เดือยทั้งบนและล่างเท่าๆกันทาเครื่ องหมายจุดไว้ จะได้ระยะความยาวของรู เดือยที่อยู่ กึงกลางของพนังไม้พอดีใช้ฉากตายทาบขอบให้ตรงตาแหน่งเครื่ องหมายจุดบนและล่างใช้ดินสอขีดไม้ขีดจะได้ตาแหน่ง รู เดือย (ดังรู ปที่ 76)


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

14

5

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

รู ปที่ 76 แสดงตาแหน่งความยาวรู เดือย 2.9) ทาการเจาะบริ เวณที่อยูใ่ นกรอบความลึกตามที่แบบกาหนด (ดังรู ปที่ 77)

รู ปที่ 77 แสดงส่วนที่ตอ้ งเจาะรู เดือยทั้งหมด 2.10) วัดความลึกของรู เดือยขาเก้าอี้แล้วเอาระยะที่ได้ไปทาเครื่ องหมายส่วนที่เป็ น พนังไม้โดยใช้ฉากตายทาบชิดมุมแล้วใช้ดินสอขีดไม้ขีดรอบไม้เพื่อจะได้ทราบความยาวของเดือย


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

14

6

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

2.11) ทาส่วนที่เป็ นเดือยโดยเริ่ มจากการแบ่งช่องที่จะเป็ นเดือยโดยใช้ขอขีดและ ดินสอขีดไม้ทาเครื่ องหมายตามระยะที่แบบกาหนดจะได้แนวเส้น (ดังรู ปที่ 78)

รู ปที่ 78 แสดงตาแหน่งการทาเดือย

2.12) ใช้เลื่อยโกรกตามแนวเส้นโดยให้คลองเลื่อยกินเนื้อไม้ในส่วนที่ไม่ตอ้ งการและ ใช้เลื่อยตัดตามแนวเส้นด้านข้างโดยให้คลองเลื่อยกินเนื้อไม้ในส่วนที่ไม่ตอ้ งการจะได้เดือยไม้(ดังรู ปที7่ 9)

รู ปที่ 79 เดือยไม้ 2.13) ลองสวมเดือยและรู เดือยเข้าด้วยกัน(ดังรู ปที่ 80)ดูว่าส่วนไหนติดขัดให้ใช้สิ่วหรื อบุง้ แต่งเดือยให้ พอดีกบั รู เดือยแต่ตอ้ งไม่เล็กเกินไปเพราะจะทาให้เดือยหลวมได้

รู ปที่ 80 แสดงการสวมเดือย และรู เดือยเข้าด้วยกัน


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้ 3) ใบงานที่ 10

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

14

7

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

14

8

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู กล่าวทักทายนักเรี ยน 2. ครู บอกนักเรี ยนว่าวันนี้เราจะมาทาเก้าอี้ไม้ ขั้นสอน (ใช้ วธิ ีการสอนแบบสาธิตโดยใช้ เครื่องมือ) 3. ครู แจกใบงานให้นกั เรี ยน 4. ครู อธิบายขั้นตอนการทาโดยใช้แบบเป็ นสื่อการสอน 5. ครู ให้โอกาสนักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น โดยที่ครู ใช้วิธีการถาม-ตอบ และให้ผเู้ รี ยน ถามข้อสงสัยเกี่ยวกับวิธีการเข้าไม้แบบปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยวก่อนลงมือปฏิบตั ิ ขั้นตอนปฏิบัติ 6. ครู ตดั ไม้ให้ผเู้ รี ยนขนาดดังนี้ 1นิ้ว x 1 ½ นิ้ว ยาว 26 เซนติเมตร จานวน 8 ท่อน 1½ นิ้ว x 1½ นิ้ว ยาว 45 เซนติเมตร จานวน 4 ท่อน 7. ครู ให้ผเู้ รี ยนไปหยิบเครื่ องมือที่ตอ้ งใช้คือ - สิ่ว - ขอขีด - ดินสอขีดไม้ - บุง้ - ค้อนไม้ - เลื่อยลันดา - เลื่อยรอ - ฉากตาย 8. ครู สอนผูเ้ รี ยนทาเดือยไม้ตามขั้นตอนโดยที่ครู และผูเ้ รี ยนทาไปพร้อมๆกันจนเสร็ จ 9. ครู ตรวจชิ้นงานว่าไม้ได้ฉากและถูกต้องตามแบบหรื อไม่ และเดือยจะต้องไม่ หลวมด้วย 10. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเนื้อหาในบทเรี ยน


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

14

9

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1) สื่อสิ่งพิมพ์ 1.1) หนังสือเรี ยนวิชา เทคนิคการใช้เครื่ องมืองานไม้ ผูเ้ ขียน ปรวีร์ ชัยประสาธน์ 1.2) ใบงาน (แบบการทาผลิตภัณฑ์เก้าอี้ไม้) 2) สื่อของจริ ง 2.1) ค้อนไม้ 2.2) บุง้ 2.3) ฉากตาย 2.4) ขอขีด 2.5) ดินสอขีดไม้ 2.6) สิ่ว 2.7) เลื่อยลันดา 2.8) เลื่อยรอ 7.หลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ 1) หลักฐานความรู้ที่ตอ้ งการ - ร่ องรอยการบันทึกองค์ความรู้บนสมุดบันทึก - ร่ องรอยการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 2) หลักฐานการปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งการ - เดือยไม้ชนิดปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยว เดือยที่ 7 - 12 -รู เดือยไม้ชนิดปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยว เดือยที่ 7 - 12 8.การวัดและประเมินผล 1.วิธีการประเมินผล - ประเมินโดยการสังเกตขณะปฏิบตั ิงานรายบุคคล - ประเมินผลงานสาเร็ จ - การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 2.เกณฑ์การประเมินผล 1) ใช้เครื่ องมือ-วัสดุ อุปกรณ์ อย่างถูกต้องเหมาะสม


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

14

10

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

2) ปฏิบตั ิงานตามหลักการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานและเงื่อนไขในการมอบหมายงาน 3) ผลงานสาเร็ จมีคุณภาพ 4) มีกิจนิสยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน 9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ การสอนเป็ นไปตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยผูเ้ รี ยนสามารถปฏิบตั ิได้จริ งตามจุดประสงค์การ เรี ยนรู้ประจาหน่วย และตรงตามเวลาที่กาหนด 2) ปัญหาที่พบ 2.1) ผูเ้ รี ยนทาชิ้นงานเสียหาย 2.2) ผูเ้ รี ยนทางานล้าช้า 2.3) ผูเ้ รี ยนไม่มีความตั้งใจในการเรี ยน 3) แนวทางแก้ปัญหา 3.1) จัดหาไม้ให้ผเู้ รี ยนใหม่ 3.2) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการนาคะแนนมาขู่ ถ้าไม่ทางานให้เสร็ จในเวลาที่กาหนดจะถูกตัดคะแนน ในชิ้นงานนั้นๆ 3.3) กระตุน้ ผูเ้ รี ยนโดยการนาคะแนนมาขู่ ถ้าไม่ต้งั ใจเรี ยนจะถูกตัดคะแนนในชิ้นงานนั้นๆ



เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

15

1

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

1.สาระสาคัญ การประกอบชิ้นงานเข้าโครงเป็ นการนาไม้ที่ได้ผา่ นตัดแต่งแล้วมาประกอบกันเป็ นชิ้นงานที่ ต้องการโดยการใช้ตะปูและกาว เป็ นตัวช่วยให้ชิ้นงานแข็งแรงมากขึ้น 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้และสร้างชิ้นงานโดยทาตามแบบผลิตภัณฑ์งานไม้และส่วนที่มีการเพลาะไม้ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบชิ้นงานได้ถกู ต้อง 2) ผูเ้ รี ยนสามารถไสปรับชิ้นงานเข้าโครงตามแบบได้ 3) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารสังเกตเห็น ได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

15

2

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ

ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน

1)ผูเ้ รี ยนสามารถประกอบชิ้นงานได้ถกู ต้อง 2)ผูเ้ รี ยนสามารถไสปรับชิ้นงานเข้าโครง ตามแบบได้ 3)มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม / และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถสังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์ สัมพันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความ เชื่อมัน่ ในตนเองความสนใจใฝ่ รู้ ความรัก สามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ

1 5

/ /

-

/ /

/ /

/ -

-

-

/

-

4 2 4 1

/

/

-

/

-

/

-

/

/

7 3

3 1

1 3

2 2

3 1

1 1

1 4

0 3

2 1

1 5


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

15

3

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

4.สาระการเรียนรู้ 1) บทนา การประกอบชิ้นงานเป็ นอีกขั้นเป็ นอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาผลิตภัณฑ์(เก้าอี้ไม้) โดยการนาไม้ที่ผา่ นการเจาะหรื อตัด พร้อมทั้งจะนามาต่อกันเป็ นชิ้นงานที่สมบูรณ์และทาการปรับแต่งส่วนต่างๆของ โครงร่ าง ให้เรี ยบทั้งชิ้นงานด้วยกบไสไม้ รวมทั้งบริ เวณรอยต่อต้องได้ฉาก 2) วิธีการประกอบชิ้นงาน 2.1) นาไม้ส่วนที่ตอ้ งการจะมาประกอบมาต่อกันให้เป็ นโครงร่ างทีละด้านของเก้าอี้ไม้(ดังรู ปที่ 91)

รู ปที่ 91 แสดงโคร่ งร่ างไม้ 2.2) ถอดส่วนที่เป็ นรอยต่อออก (ดังรู ปที่ 92) ทากาวลาเท็กซ์ส่วนที่เป็ นเดือยและ บ่าเดือยให้ทวั่ ทุกเดือย

รู ปที่ 92 แสดงการถอดส่วนรอยต่อ


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

15

4

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

2.3) เมื่อทากาวทุกด้านแล้วประกอบกลับให้เป็ นโครงร่ างเหมือนเดิม 2.4) นาโครงร่ างที่ประกอบแล้วข้าแม่แรง 2 ตัวโดยให้แม่แรงบีบ บริ เวณที่เป็ นรอยต่อทั้งบนและล่าง 2.5) ขันเกลียวให้แม่แรงบีบเข้าพร้อมๆกันทั้งบนและล่าง 2.6) ตรวจสอบบริ เวณรอยต่อว่าได้ฉากทุกมุมหรื อไม่ 2.7) ถ้าได้ฉากทุกมุมแล้วใช้คอ้ นตอกตะปู บริ เวณรอยต่อจุดที่ตะปูพงั ลงไปจะต้องอยูต่ รงที่เดือยผ่าน ด้วย 2.8) ทาเช่นนี้ทุกด้านจนครบทุก 4 ด้าน (ดังรู ปที่ 93)

รู ปที่ 93 แสดงโครงร่ างชิ้นงานที่สมบูรณ์


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

15

5

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน ครู กล่าวทักทายนักเรี ยนพร้อมทั้งอธิบายวิธีการเข้าโครงไม้ ขั้นสอน(ใช้ วธิ ีการสอนแบบสาธิตโดยเครื่องมือ) 1. ครู อธิบายวิธีการเข้าโครงไม้ 2. ครู อธิบายวิธีการตรวจสอบความฉากโดยการใช้ฉากตาย 3. ครู ให้โอกาสนักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น โดยที่ครู ใช้วิธีการถาม-ตอบ และให้ผเู้ รี ยน ถามข้อสงสัยเกี่ยวกับวิธีการประกอบชิ้นงานก่อนลงมือปฏิบตั ิ ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ครู ให้ผเู้ รี ยนประกอบชิ้นงาน 2. ครู ให้ผเู้ รี ยนไสปรับชิ้นงานให้เรี ยนหลังจากประกอบเป็ นโครงร่ างเสร็ จแล้ว 3. ครู สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล 4. ครู ตรวจความเรี ยบและได้ฉากของชิ้นงานที่ผเู้ รี ยนนามาส่งหรื อไม่ 6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1) สื่อสิ่งพิมพ์ 1.1) หนังสือเรี ยนวิชา เทคนิคการใช้เครื่ องมืองานไม้ ผูเ้ ขียน ปรวีร์ ชัยประสาธน์ 1.2) ใบงาน (แบบการทาผลิตภัณฑ์เก้าอี้ไม้) 2) สื่อของจริ ง 2.1) ค้อนหงอน 2.2) ตะปู 2.3) ฉากตาย 2.4) แม่แรง 2.5) กาวลาเท็กซ์ 2.6) กบไสไม้ 7.หลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ 1) หลักฐานความรู้ที่ตอ้ งการ - ร่ องรอยการบันทึกองค์ความรู้บนสมุดบันทึก - ร่ องรอยการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

15

6

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

2) หลักฐานการปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งการ - เดือยไม้ชนิดปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยว เดือยที่ 13 - 16 -รู เดือยไม้ชนิดปากชนธรรมดาเดือยเดี่ยว เดือยที่ 13 – 16 -โครงเก้าอี้ไม้ที่ไสเรี ยบแล้ว 8.การวัดและประเมินผล 1.วิธีการประเมินผล - ประเมินโดยการสังเกตขณะปฏิบตั ิงานรายบุคคล - ประเมินผลงานสาเร็ จ - การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 2.เกณฑ์การประเมินผล 1) ใช้เครื่ องมือ-วัสดุ อุปกรณ์ อย่างถูกต้องเหมาะสม 2) ปฏิบตั ิงานตามหลักการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานและเงื่อนไขในการมอบหมายงาน 3) ผลงานสาเร็ จมีคุณภาพ 4) มีกิจนิสยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน

9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ การสอนเป็ นไปตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยผูเ้ รี ยนสามารถปฏิบตั ิได้จริ งตามจุดประสงค์การ เรี ยนรู้ประจาหน่วย และตรงตามเวลาที่กาหนด 2) ปัญหาที่พบ 2.1) ผูเ้ รี ยนทาชิ้นงานชิ้นที่แล้วมาไม่เสร็ จจึงไม่สามารถทาชิ้นงานนี้ได้ 2.2) ผูเ้ รี ยนตอกตะปูงอ ในขนาดที่ทาการตอกตะปูเพื่อทาการยึดโครงไม้ 2.3) ผูเ้ รี ยนไม่ต้งั ใจในการคัดไม้ที่เพลาะได้ให้เรี ยบ 3) แนวทางแก้ปัญหา 3.1) ตักเตือนและทาโทษ แล้วให้เวลาทางานชิ้นที่แล้วมาให้เสร็ จ 3.2) หาตะปูให้นกั เรี ยนใหม่ หรื อทาการซ้อมแซมตะปูให้นกั เรี ยน


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

15

7

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

3.3) นาคะแนนมาขู่เพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความกระตือลือล้น ในการทางานที่ได้รับมอบหมาย



เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

16

1

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

1.สาระสาคัญ การเพลาะไม้เป็ นการทาให้ไม้ที่มีหน้าไม้กว้างไม่พอ ให้มีขนาดความกว้างตามที่ตอ้ งการเพลาะไม้ที่มีหน้าไม้ กว้างมาก ๆ นั้นค่อนข้างหายากเพื่อนาใช้ในงานทาพื้นโต๊ะ พื้นเก้าอี้ หรื องานเฟอร์นิเจอร์ทวั่ ไป 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้และสร้างชิ้นงานโดยทาตามแบบผลิตภัณฑ์งานไม้และส่วนที่มีการเพลาะไม้ 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) สามารถจับกบไสไม้เรี ยบตรงได้ฉากได้ขนาดที่กาหนด 2) สามารถไสไม้สี่เหลี่ยมได้ตามแบบกาหนด 3) สามารถเพลาะไม้ได้ 4) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารสังเกตเห็นได้ในด้านความ มีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญู กตเวที


เนื้อหาการสอน

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

16

2

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ

ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน

1)สามารถไสไม้เรี ยบตรงได้ฉากได้ขนาดที่ กาหนด 2)สามารถไสไม้สี่เหลี่ยมได้ตามแบบ กาหนด 3)สามารถเพลาะไม้ได้ 4)มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถสังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์ สัมพันธ์ ความมีวินยั ความรับผิดชอบ ความ เชื่อมัน่ ในตนเองความสนใจใฝ่ รู้ ความรัก สามัคคี ความกตัญญูกตเวที

-

/

-

/

/

/

-

-

-

-

4 2

-

/

-

/

/

-

-

-

/

-

4 1

/

/ /

/

/ -

/ /

-

/

-

/ /

/

4 2 7 3

รวม ลาดับความสาคัญ

1 5

4 1

1 3

3 2

4 1

1 1

1 4

0 3

3 1

1 5


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

16

3

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

4.สาระการเรียนรู้ 1) บทนา การเพลาะไม้หมายถึง การต่อไม้ตามทางขวาง ด้วยการนาเอาไม้แผ่นเล็กมาวางต่อกัน ตามขวางให้เป็ นแผ่นใหญ่แล้วยึดแผ่นไม้ให้ต่อกันแนบสนิทด้วยวัสดุยดึ ตรึ งเช่น กาว ตะปู ตะปูเกลียว ก่อนจะทาการ เพลาะจะต้องไสหน้าไม้ให้เรี ยบ เมื่อเวลาเข้าเพลาะแล้วจะไม่เกิดช่องว่าง 2) วิธีการเพลาะไม้ 2.1) ตัดไม้ 2 แผ่นที่มีขนาดความหนาใกล้เคียงกันตามขนาดที่ตอ้ งการ (ดังรู ปที่ 94)

รู ปที่ 94 ไม้ 2 แผ่นขนาดเท่ากัน 2.2) นาไม้ท้งั 2 แผ่นมาวางโดยให้เสี้ยนไม้ไปทางเดียวกัน 2.3) ใช้คอ้ นหงอนตอกตะปูเป็ นระยะ ๆ ตามความต้องการลงไปครึ่ งหนึ่งของความยาวตะปูแล้วตัดหัว ตะปูออกทุกตัว (ดังรู ปที่ 95)

รู ปที่ 95 การตอกตะปูไว้ที่ดา้ นข้างของไม้


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

16

4

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

2.4) นาไม้ท้งั 2 แผ่นวางตาแหน่งที่ตอ้ งการให้ตรงกับตะปูที่ตอกไว้ (ดังรู ปที่ 96)

รู ปที่ 96 จัดตาแหน่งไม้ท้งั 2 แผ่น

2.5) ทากาวลาเท็กซ์ตลอดแนวความหนาของไม้ แล้วใช้แม่แรงอัดให้เข้าไปให้สนิทกัน 2.6) ใช้กบไสไม้หรื อกระดาษทรายปรับผิวไม้ให้เรี ยบเสมอกันตลอดทั้งแผ่น(ดังรู ปที่ 97)

รู ปที่ 97 ปรับผิวไม้ให้เรี ยบ 2.7) นาท่อนไม้มาวางตอกตะปูคาดไว้ระหว่างไม้ท้งั 2 แผ่นเพื่อให้ไม้แยกออกจากกัน


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

16

5

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน ครู กล่าวทักทายนักเรี ยนพร้อมทั้งอธิบายพื้นเก้าอี้จะต้องทาเอาไม้ 2 แผ่นมาต่อกันวิธีดงั กล่าวเรี ยกว่า การเพลาะไม้ ขั้นสอน(ใช้ วธิ ีการสอนแบบสาธิตโดยเครื่องมือ) 1. ครู อธิบายวิธีการเพลาะไม้ 2. ครู อธิบายวิธีการใช้แม่แรง 3. ครู ให้โอกาสนักเรี ยนมีส่วนร่ วมในการแสดงความคิดเห็น โดยที่ครู ใช้วิธีการถาม-ตอบ และให้ผเู้ รี ยน ถามข้อสงสัยเกี่ยวกับวิธีการเพลาะไม้ก่อนลงมือปฏิบตั ิ ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. ครู แจกไม้ให้ผเู้ รี ยนคนละ 2 แผ่น ขนาด 2 x 15 เซนติเมตร ยาว 15 เซนติเมตร 2. ครู ให้ผเู้ รี ยนตอกตะปูที่แผ่นๆใดก็ได้ 3. ครู ให้ผเู้ รี ยนไสปรับไม้ดา้ นความหนาให้เรี ยบตรง 4. ครู สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล 5. ครู ตรวจความเรี ยบและได้ฉากของชิ้นงานที่ผเู้ รี ยนนามาส่งหรื อไม่


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

16

6

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1) สื่อสิ่งพิมพ์ 1.1) หนังสือเรี ยนวิชา เทคนิคการใช้เครื่ องมืองานไม้ ผูเ้ ขียน ปรวีร์ ชัยประสาธน์ 1.2) ใบงาน (แบบการทาผลิตภัณฑ์เก้าอี้ไม้) 2) สื่อของจริ ง 2.1) ค้อนหงอน 2.2) ตะปู 2.3) ไม้ฉากตาย 2.4) แม่แรง 2.5) กาวลาเท็กซ์ 2.6) กบไสไม้ 7.หลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ 1. หลักฐานความรู้ที่ตอ้ งการ - ร่ องรอยการบันทึกองค์ความรู้บนสมุดบันทึก - ร่ องรอยการศึกษาค้นคว้าเพิม่ เติม 8.การวัดและประเมินผล 1.วิธีการประเมินผล - ประเมินโดยการสังเกตขณะปฏิบตั ิงานรายบุคคล - ประเมินผลงานสาเร็ จ - การสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 2.เกณฑ์การประเมินผล 1) ใช้เครื่ องมือ-วัสดุ อุปกรณ์ อย่างถูกต้องเหมาะสม 2) ปฏิบตั ิงานตามหลักการ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานและเงื่อนไขในการมอบหมายงาน 3) ผลงานสาเร็ จมีคุณภาพ 4) มีกิจนิสยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงาน


เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : งานไม้ 2100-1303 แผนกวิชา : ฝึ กฝี มืองานไม้

ประจาสั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

16

7

ชื่อหน่ วย : การทาผลิตภัณฑ์ จานวน 6 ชัว่ โมง งานไม้,การเพลาะไม้ ชื่อสถานศึกษา:

9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ การสอนเป็ นไปตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ โดยผูเ้ รี ยนสามารถปฏิบตั ิได้จริ งตามจุดประสงค์การ เรี ยนรู้ประจาหน่วย และตรงตามเวลาที่กาหนด 2) ปัญหาที่พบ 2.1) ผูเ้ รี ยนทาชิ้นงานชิ้นที่แล้วมาไม่เสร็ จจึงไม่สามารถทาชิ้นงานนี้ได้ 2.2) ผูเ้ รี ยนตอกตะปูงอ ในขนาดที่ทาการตอกตะปูเพื่อทาเพลาะไม้เข้าติดกัน 2.3) ผูเ้ รี ยนไม่ต้งั ใจในการคัดไม้ที่เพลาะได้ให้เรี ยบ 3) แนวทางแก้ปัญหา 3.1) ตักเตือนและทาโทษ แล้วให้เวลาทางานชิ้นที่แล้วมาให้เสร็ จ 3.2) หาตะปูให้นกั เรี ยนใหม่ หรื อทาการซ้อมแซมตะปูให้นกั เรี ยน 3.3) นาคะแนนมาขู่เพื่อให้นกั เรี ยนเกิดความกระตือลือล้น ในการทางานที่ได้รับมอบหมาย



ชื่อวิชา ฝึ กฝี มืองานไม้ คะแนนเต็ม 50 คะแนน เวลา 1 ชัว่ โมง ชื่อ................................................................ชั้น ชส.1 ห้อง...............เลขที่................ เรื่อง เครื่องมือไส ข้ อสอบเลือกตอบ 10 ข้ อ (10 คะแนน) จงนาตัวเลือกทางด้ านขวาใส่ หน้ าข้ อให้ ถูกต้อง (1.) กบล้าง ใบกบจะทามุมกับรางกบประมาณ (ก) หินลับ (2.) กบที่คายขี้กบ ออกทางด้านข้าง (ข) มือจับ (3.) กบผิวใบกบจะทามุมกับรางกบประมาณ (ค) กบผิว (4.) กบที่ใช้สาหรับไสล้างเสี้ยนไม้หรื อเกลาไม้ครั้งแรก (ง) กบขูด (5.) กบที่ใช้สาหรับไสหลังจากผ่านการเกลาหรื อล้างด้วยกบล้างแล้ว (จ) กบกระดี่ (6.) การลับใบกบ ควรให้ใบกบทามุมกับหินลับประมาณ (ฉ)

60 องศา

(7.) กบที่ใช้สาหรับไสส่วนที่เป็ นโค้งหรื อส่วนเว้า (ช) สกรู (8.) กบที่ใช้สาหรับไสทารางเพื่อใส่ลิ้นหรื อใส่กระจก (ซ)

30 องศา

(9.) เครื่ องมือที่ใช้สาหรับลับใบกบ (ฌ) ไขควง (10.) วัตถุที่ใช้สาหรับยึดใบกบให้ติดกับเหล็กประกับ (ญ) กบบังใบ (ฐ) 90 องศา (ฑ) กบร่ อง

,กบราง

(ฒ) กบล้าง (ด)

45 องศา


เรื่อง เครื่องมือเจาะ ข้ อสอบอัตนัย 5 ข้ อ (10 คะแนน) จงตอบคาถามต่อไปนีใ้ ห้ ถูกต้อง 1. สิ่วชนิดใดที่ใช้สาหรับเจาะไม้เนื้อแข็ง ตอบ 2. สิ่วชนิดใดที่ใช้สาหรับตกแต่งไม้ ตอบ 3. จงบอกประโยชน์ของสิ่วเล็บมือ ตอบ 4. การใช้สิ่วควรใช้กบั ค้อนชนิดใด ตอบ 5. ขนาดของสิ่วมักเรี ยกตามขนาดความกว้างส่วนใดของสิ่ว ตอบ


เรื่องเครื่องมือวัด ข้ อสอบอัตนัย 13 ข้ อ (15 คะแนน) 1.จงเปลีย่ นหน่ วยตามที่โจทย์กาหนดให้ ถูกต้อง 1.1 ความยาว 1/16 นิ้วเรี ยกว่า………………….. 1.2 ความยาว 1/32 นิ้วเรี ยกว่า………………….. 1.3 ความยาว 1 นิ้วมี

หุน

1.4 ความยาว ¾ นิ้วมี

หุน

1.5 ความยาว ½ นิ้วมี

หุน

1.6 ความยาว 1 ¼ นิ้วมี

หุน

1.7 ความยาว 2 ½ นิ้วมี 1.8 ความยาว 10หุนมี

หุน นิ้ว

1.9 ความยาว 1เซนติเมตรมี 1.10 ความยาว 1 เมตรมี

มิลลิเมตร เซนติเมตร

2. จงบอกเครื่ องมือที่ใช้วดั ชิ้นงานมา 3 ชนิด 2.1………………………………………… 2.2………………………………………… 2.3………………………………………… 3. จงบอกเครื่ องมือที่ใช้สาหรับขีดทาแนวขนานกับเสี้ยนไม้ได้แก่……………………………………………… 4. จงบอกเครื่ องมือที่ใช้สาหรับขีดทาแนวขวางกับเสี้ยนไม้ได้แก่………………………………………………..


เรื่อง เครื่องมือตัด ข้ อสอบอัตนัย 7 ข้ อ (7 คะแนน) จงทาเครื่องหมาย(√)หน้ าข้ อที่ถูกต้องแล้วทาเครื่องหมาย(X)หน้ าข้ อที่ผดิ แล้วขีดเส้ นใต้บริเวณคาที่ผดิ แล้วแก้ไขให้ ถูกต้อง(เฉพาะคาที่ผดิ ) (1.)เลื่อยลันดาคือเลื่อยที่ใช้สาหรับตัดไม้และซอกไม้หรื อเลื่อยโกรกไม้

(2.)เลื่อยรอคือเลื่อยที่ใช้สาหรับแต่งปากไม้ให้ผวิ หน้าไม้ที่ถกู ตัดมีผวิ หน้าเรี ยบ

(3.)ให้แนวคมของฟันเลื่อยตัดทามุม 60 องศา โดยประมาณกับผิวหน้าไม้ขณะเลื่อยตัดไม้

(4.)หินลับคืออุปกรณ์ที่ใช้สาหรับลับคมของฟันเลื่อย

(5.)การเริ่ มต้นตัดไม้ให้นิ้วชี้กนั เพื่อบังคับด้านข้างของใบเลื่อยให้คมของฟันเลื่อยตรงกับแนวเส้นตัด

(6.)ให้แนวคมของฟันเลื่อยตัดทามุม 60 องศา โดยประมาณกับผิวหน้าไม้ขณะเลื่อยซอยไม้

(7.)เมื่อใช้เลื่อยเสร็ จแล้วให้ทาน้ ามันเครื่ องชนิดเหลวให้ทวั่ บริ เวณใบเลื่อยเมื่อเลิกใช้งานหรื อนาเข้าที่ เก็บทุกครั้ง


เรื่อง เครื่องมือตอก ข้ อสอบอัตนัย 4 ข้ อ ( 8 คะแนน) จงตอบคาถามต่อไปนีใ้ ห้ ถูกต้อง 1.ค้อนที่ใช้ในงานไม้มีกี่ประเภทอะไรบ้าง ตอบ

2.จงบอกส่วนประกอบหลักของค้อนมีอะไรบ้าง ตอบ

3.จงบอกวิธีการตอกตะปูที่ถกู วิธี ตอบ

4.จงบอกวิธีการถอนตะปูที่ถกู วิธี ตอบ


เฉลยข้อสอบ เรื่อง เครื่องมือไสไม้ ข้ อสอบเติมคา 10 ข้ อ (10 คะแนน) จงนาตัวเลือกทางด้ านขวาใส่ หน้ าข้ อให้ ถูกต้อง ด (1.) กบล้าง ใบกบจะทามุมกับรางกบประมาณ (ก) หินลับ จ (2.) กบที่คายขี้กบ ออกทางด้านข้าง (ข) มือจับ ฉ (3.) กบผิวใบกบจะทามุมกับรางกบประมาณ (ค) กบผิว ฒ (4.) กบที่ใช้สาหรับไสล้างเสี้ยนไม้หรื อเกลาไม้ครั้งแรก (ง) กบขูด ค (5.) กบที่ใช้สาหรับไสหลังจากผ่านการเกลาหรื อล้างด้วยกบล้างแล้ว (จ) กบกระดี่ ซ (6.) การลับใบกบ ควรให้ใบกบทามุมกับหินลับประมาณ (ฉ)

60 องศา

ง (7.) กบที่ใช้สาหรับไสส่วนที่เป็ นโค้งหรื อส่วนเว้า (ช) สกรู ฑ (8.) กบที่ใช้สาหรับไสทารางเพื่อใส่ลิ้นหรื อใส่กระจก (ซ)

30 องศา

ก (9.) เครื่ องมือที่ใช้สาหรับลับใบกบ (ฌ) ไขควง ช (10.) วัตถุที่ใช้สาหรับยึดใบกบให้ติดกับเหล็กประกับ (ญ) กบบังใบ (ฐ) 90 องศา (ฑ) กบร่ อง

,กบราง

(ฒ) กบล้าง (ด)

45 องศา


เฉลยข้อสอบ เรื่อง เครื่องมือเจาะ ข้ อสอบอัตนัย 5 ข้ อ (10 คะแนน) จงตอบคาถามต่อไปนีใ้ ห้ ถูกต้อง 1. สิ่วชนิดใดที่ใช้สาหรับเจาะไม้เนื้อแข็ง ตอบ สิ่วเจาะ หรื อ สิ่วปากหนา 2. สิ่วชนิดใดที่ใช้สาหรับตกแต่งไม้ ตอบ สิ่วปากบาง 3. จงบอกประโยชน์ของสิ่วเล็บมือ ตอบ ใช้สาหรับเซาะไม่ที่เป็ นร่ องหรื อใช้คว้านไม้ให้เป็ นแอ่งและใช้ทาบัว 4. การใช้สิ่วควรใช้กบั ค้อนชนิดใด ตอบ ค้อนไม้ 5. ขนาดของสิ่วมักเรี ยกตามขนาดความกว้างส่วนใดของสิ่ว ตอบ

ความกว้างของปากสิ่ว


เฉลยข้อสอบ เรื่องเครื่องมือวัด ข้ อสอบอัตนัย 13 ข้ อ (15 คะแนน) 1.จงเปลีย่ นหน่ วยตามที่โจทย์กาหนดให้ ถูกต้อง 1.1 ความยาว 1/16 นิ้วเรี ยกว่า………………….ครึ่ งหุน 1.2 ความยาว 1/32 นิ้วเรี ยกว่า…………………..ครึ่ งของครึ่ งหุน 1.3 ความยาว 1 นิ้วมี

8

หุน

1.4 ความยาว ¾ นิ้วมี

6

หุน

1.5 ความยาว ½ นิ้วมี

4

หุน

1.6 ความยาว 1 ¼ นิ้วมี

10

1.7 ความยาว 2 ½ นิ้วมี 1.8 ความยาว 10หุนมี 1.9 ความยาว 1เซนติเมตรมี 1.10 ความยาว 1 เมตรมี

หุน

20 1¼

หุน นิ้ว

10 100

มิลลิเมตร เซนติเมตร

2. จงบอกเครื่ องมือที่ใช้วดั ชิ้นงานมา 3 ชนิด 2.1………ตลับเมตร 2.2………ไม้ฉาก 2.3………ไม้เมตร 3. จงบอกเครื่ องมือที่ใช้สาหรับขีดทาแนวขนานกับเสี้ยนไม้ได้แก่…………………ขอขีด 4. จงบอกเครื่ องมือที่ใช้สาหรับขีดทาแนวขวางกับเสี้ยนไม้ได้แก่…………………ดินขอขีดไม้


เฉลยข้อสอบ

เรื่อง เครื่องมือตัด ข้ อสอบอัตนัย 7 ข้ อ (7 คะแนน) จงทาเครื่องหมาย(√)หน้ าข้ อที่ถูกต้องแล้วทาเครื่องหมาย(X)หน้ าข้ อที่ผดิ แล้วขีดเส้ นใต้บริเวณคาที่ผดิ แล้วแก้ไขให้ ถูกต้อง(เฉพาะคาที่ผดิ ) √

(1.)เลื่อยลันดาคือเลื่อยที่ใช้สาหรับตัดไม้และซอกไม้หรื อเลื่อยโกรกไม้

(2.)เลื่อยรอคือเลื่อยที่ใช้สาหรับแต่งปากไม้ให้ผวิ หน้าไม้ที่ถกู ตัดมีผวิ หน้าเรี ยบ

X

(3.)ให้แนวคมของฟันเลื่อยตัดทามุม 60 องศา โดยประมาณกับผิวหน้าไม้ขณะเลื่อยตัดไม้ ทามุม 45 องศา เลื่อยซอยไม้

X

(4.)หินลับคืออุปกรณ์ที่ใช้สาหรับลับคมของฟันเลื่อย ตะไบเหล็กสามเหลีย่ ม

X

(5.)การเริ่ มต้นตัดไม้ให้นิ้วชี้กนั เพื่อบังคับด้านข้างของใบเลื่อยให้คมของฟันเลื่อยตรงกับแนวเส้นตัด

นิ้วหัวแม่มือหรื อนิ้วโป้ ง

ทุกครั้ง

(6.)การคัดคลองเลื่อยด้วยการใช้คดั ชุนคัดฟันเลื่อยออกทางด้านข้างให้คดั ฟันเว้นฟันไปโดยตลอดใบเลื่อย

(7.)เมื่อใช้เลื่อยเสร็ จแล้วให้ทาน้ ามันเครื่ องชนิดเหลวให้ทวั่ บริ เวณใบเลื่อยเมื่อเลิกใช้งานหรื อนาเข้าที่เก็บ


เฉลยข้อสอบ

เรื่อง เครื่องมือตอก ข้ อสอบอัตนัย 4 ข้ อ ( 8 คะแนน) จงตอบคาถามต่อไปนีใ้ ห้ ถูกต้อง 1.ค้อนที่ใช้ในงานไม้มีกี่ประเภทอะไรบ้าง ตอบ ค้อนไม้ , ค้อนหงอน

2.จงบอกส่วนประกอบหลักของค้อนมีอะไรบ้าง ตอบ หัวค้อน , ด้ามค้อน

3.จงบอกวิธีการตอกตะปูที่ถกู วิธี ตอบ 1.จับด้ามค้อนบริ เวณที่ปลาย ( เกือบสุด) ของด้ามค้อนเวลาทางาน 2.วางหน้าค้อนลงบนหัวตะปู จากนั้นใช้ตอ้ นตอกเบาๆ เพื่อให้ตะปูจมลงไปในเนื้อไม้ 3.หลังจากที่ตะปูเริ่ มจมลงไปในเนื้อไม้แล้ว ปล่อยมือที่จบั ตะปูออก แล้วใช้คอ้ นตอกเบาๆ อีก 1 ถึง 2 ครั้ง จากนั้นเริ่ มตอกแรงๆ จนกระทัง่ ตะปูจมลงไปเสมอกับผิวไม้ 4.จงบอกวิธีการถอนตะปูที่ถกู วิธี ตอบ ใช้ หงอนค้ อนสอดเข้ าด้ านล่างของตะปู โดยใช้ ด้ามค้ อนตังฉากกั ้ บแผ่นไม้ แล้ วงัดหงอนค้ อนโดยการดึงด้ามค้อน ถ้าถอนตะปูออกมายาวแล้วไม่สามารถจะถอนออกจากเนื้อไม้ได้ ต้องใช้ไม้อีกแผ่นหนึ่งรองที่หวั ค้อนแล้วจึงงัด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.