คาชี้แจงการใช้ แผนการเรียนรู้ หลักสู ตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) ประเภทวิชาอุตสาหกรรม แผนการจัดการเรียนรู้วชิ า 2106-2005
เขียนแบบก่ อสร้ าง
ส่ วนประกอบดังนี้ 1. จุดประสงค์รายวิชา / มาตรฐานรายวิชา / คาอธิบายรายวิชา 2. ตารางวิเคราะห์คาอธิบายรายวิชา 3. หน่วยการจัดการเรี ยนรู้ 4. ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรี ยนรู้ 5. ตารางการประยุกต์ใช้หลักการทรงงานกับการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียง 6. ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์การเรี ยนรู้ 7. โครงการจัดการเรี ยนรู้รายวิชา 8. แผนการจัดการเรี ยนรู้รายวิชา 9. สื่ อการสอน ประกอบด้วย 9.1 ใบความรู้ 8.2 ใบงาน 10. ใบประเมินผล
1. คาชี้แจงสาหรับผู้สอน 1.1 ผูส้ อนต้องศึกษาเนื้อหาวิชาและแผนการจัดการเรี ยนรู้ให้เข้าใจก่อนทาการสอน และต้องเตรี ยมวัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อใช้ในการเรี ยนการสอนตามที่ระบุไว้ใน แผนการจัดการเรี ยนรู้แต่ละหน่วยการเรี ยน 1.2 ผูส้ อนต้องดาเนินการสอนตามแผนการจัดการเรี ยนรู้ครบทุกหน่วยการเรี ยน 1.3 การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน แบ่งออกเป็ นขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรี ยน (Motivation) ขั้นที่ 2 ให้เนื้อหา (Information) ขั้นที่ 3 ประกอบกิจกรรมการเรี ยน (Application) ขั้นที่ 4 สรุ ปผล (Progress) โดยการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ผูส้ อนจะต้องมีทกั ษะและความชานาญใน การอภิปรายให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู้ได้อย่างมีประสิ ทธิผล 1.4 การสรุ ปบทเรี ยน เป็ นกิจกรรมร่ วมระหว่างผูส้ อนกับผูเ้ รี ยนหรื อจะเป็ นกิจกรรม ผูเ้ รี ยนทั้งหมดก็ได้ 1.5 หลังจากเรี ยนครบหัวข้อเรื่ องในแต่ละหน่วยการเรี ยน แล้วให้ผเู้ รี ยนทา แบบทดสอบ 1.6 หลังจากผูเ้ รี ยน เรี ยนจนครบทุกหน่วยเรี ยนแล้ว ผูส้ อนจะต้องเก็บข้อมูลผลการ เรี ยน จัดทาประวัติการเรี ยนของผูเ้ รี ยน เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและ ความก้าวหน้าของผูเ้ รี ยน 2. บทบาทผู้เรียน เนื่องจากแผนการจัดการเรี ยนรู้วิชานี้ เป็ นแผนการจัดการเรี ยนรู้สาหรับครู ผสู้ อน เป็ นผูด้ าเนินการ โดยให้นกั เรี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมตามบทบาทผูเ้ รี ยน ดังนี้ 2.1 ผูเ้ รี ยนต้องปฏิบตั ิกิจกรรมคาแนะนาของผูส้ อนอย่างเคร่ งครัด 2.2 ผูเ้ รี ยนต้องพยายามทาแบบฝึ กหัดอย่างเต็มความสามารถ (คาถามที่ใช้เป็ นเพียงส่วน หนึ่งของการเรี ยนเท่านั้น)
3. การจัดชั้นเรียน ใช้การจัดชั้นเรี ยนตามปกติ สาหรับการสอนภาคทฤษฎี โดยจัดการเรี ยนการสอน แบบบรรยายหรื อถามตอบ สภาพการจัดชั้นเรี ยนต้องจัดให้เหมาะสม สามารถจัด กิจกรรมการเรี ยนการสอนแก่นกั เรี ยนอย่างทัว่ ถึง ส่วนการสอนภาคปฏิบตั ิจดั การเรี ยน การสอนแบบสาธิตแล้วให้ผเู้ รี ยนฝึ กปฏิบตั ิตามใบงานที่มอบหมาย เพื่อให้เกิดทักษะ ผ่านเกณฑ์ตามใบประเมินผล 4. โครงการจัดการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ จัดอยูใ่ นเอกสารชุดนี้ โดยจัดแบ่งเป็ นโครงการจัดการเรี ยนรู้รายวิชา ซึ่ งจะมี แผนการจัดการเรี ยนรู้แต่ละหน่วย ประกอบอยูด่ ว้ ยทุกโครงการจัดการเรี ยนรู้ 5. การประเมินผล ประเมินผลจากการทาแบบฝึ กหัด การปฏิบตั ิงานที่มอบหมาย และการทา แบบทดสอบ สาหรับเฉลยแบบทดสอบ จะอยูท่ า้ ยโครงการจัดการเรี ยนรู้รายวิชา ของ หน่วยการเรี ยนรู้แต่ละหน่วย
แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา เขียนแบบก่อสร้าง ระดับชั้น ปวช. จานวน 3 หน่ วยกิต จานวน
สาขาวิชา
วิชา 2106-2105 ช่างก่อสร้าง 108 ชัว่ โมง
จุดประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการในการเขียนแบบก่อสร้างบ้านพักอาศัยชั้นเดียว 2. เพื่อให้มี ความสามารถในการเขียนแบบก่อสร้างบ้านพักอาศัยชั้นเดียว 3. เพื่อให้มีกิจนิสยั เจตคติ มีความรับผิดชอบในการปฏิบตั ิงาน มีคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมที่ดีในการประกอบอาชีพ
มาตรฐานรายวิชา 1.เข้าใจหลักการ วิธีการ ในการเขียนแบบก่อสร้างอาคารพักอาศัยชั้นเดียว 2.เขียนแบบกอสร้าง รู ปแปลน รู ปตัด รู ปด้าน รู ปขยายส่วนประกอบอาคาร ผังโครงสร้าง ไฟฟ้ า สุขาภิบาล ผังบริ เวณ อาคารพักอาศัยชั้นเดียว 3.เขียนรายการประกอบแบบอาคารพักอาศัยชั้นเดียว
คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกับหลักการ ขั้นตอนกระบวนการ วิธีการเขียนแบบก่อสร้าง ความสัมพันธ์ ระหว่างรู ปแปลน รู ปตัด รู ปด้าน แบบขยายส่วนประกอบอาคาร ผังโครงสร้าง ไฟฟ้ า สุขาภิบาล ผังบริ เวณ และรายการประกอบแบบก่อสร้าง อาคารพักอาศัยชั้นเดียว
เนื้อหาการสอน
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
1
1
จานวน 6 ชัว่ โมง
รหัสและชื่อวิชา 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ชื่อสถานศึกษา:
การเขียนผังพืน้ มิติในแบบก่อสร้ างสามารถแยกได้ ใน 2 ระนาบ ได้ แก่ แบบที่แสดงให้ เห็นแนวมิติทางแนวราบ ( แบบผัง ) และแบบที่ แสดงให้ เห็นมิติทางแนวดิ่ง ( แบบรูปด้ านและรูปตัด ) แบบผังต่างๆ เรียกชื่อตามความหมายที่แสดงในผังนั ้น ๆ เช่นผังพื ้น ผัง โครงสร้ าง เป็ นต้ น
1. ความหมายของรูปผังพืน้ ผังพืน้ เป็ นแบบที่แสดงขนาด รู ปร่ าง และการจัดส่ วนพืน้ ที่ภายในแนวราบ โดยมีแนวคิดว่ า ถ้าเลื่อยตัว อาคารในแนวราบสูงจากระดับห้ องประมาณ 1200 มิลลิเมตร เมื่อเคลื่อนย้ายส่ วนบนที่ถกู ตัดออกไปแล้วมองตั้งฉาก ลงมาที่พืน้ ห้ อง จะเห็นขอบเขตและการจัดส่ วนของพืน้ อาคารทั้งชั้นแนวตัดนีจ้ ะตัดผ่านโครงสร้ างด้ านตั้งทั้งหมด ได้ แก่ เสา ผนัง และวงกบด้ านตั้งของประตู หน้ าต่ าง ทาให้ เห็นหน้ าตัดเสา ความหนาของผนัง และขนาดหน้ าตัด ของวงกบทางด้ านตั้ง พร้ อมทั้งแนวการเปิ ดประตูหน้ าต่ างด้ วย
รู ปที่ 1 ผังพื้น อาคารแต่ละหลังประกอบด้วยแบบผังพื้นนิยมใช้ 2 ขนาดคือ 1 : 50 ใช้เขียนเมื่อเป็ นอาคารขนาดใหญ่ไม่ มากนัก เช่น บ้านพักอาศัย แบบผังพื้นที่เขียนด้วยมาตราส่วน 1 : 50จะแสดงรายละเอียดของโครงสร้าง เช่น วงกบ
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
1
2
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
ประตู – หน้าต่าง ได้ละเอียดชัดเจน และแบบที่เขียนด้วยมาตราส่วน 1 : 100 ซึ่งเหมาะสาหรับเขียนเมื่อเป็ นอาคาร ขนาดใหญ่ นอกจากจะคานึงถึงขนาดของอาคารแล้ว ยังต้องคานึงถึงขนาดของอาคารกับขนาดหน้ากระดาษที่ใช้ เขียนด้วย เส้น สัญลักษณ์ คาย่อขององค์อาคาร ตัวอักษร ตัวเลข รวมกัน เพื่อสื่อความหมาย จากรู ปผังพื้นชั้นล่าง และ ผังพื้นชั้นลอย สามารถอ่านจากแบบผังพื้นได้ดงั นี้ 1.1 ผังพืน้ เขียนด้วยมาตราส่วน 1 : 75 1.2 การวางทิศ ( แสดงด้วยเครื่ องหมายทิศ ) ซึ่งตรงกับที่ระบุในผังบริ เวณทาให้ทราบได้ว่า ด้านหน้าของอาคารหัน หน้าไปทางทิศใต้ ด้านข้างของอาคารหันไปทางทิศตะวันออก และ ทิศตะวันตก ส่วนที่บริ เวณซักล้างหันไปทาง ทิศเหนือ 1.3 ตาแหน่ งของเสาสาหรับตัวอาคาร เมื่อเปรี ยบเทียบผังพื้นชั้นล่าง – ชั้นลอย ตาแหน่งของเสาที่แนวผนังของ อาคารขนานกับสายตาผูด้ ู ได้แก่ ตาแหน่งเสาที่กาหนดด้วยตัวเลขแถวที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, โดยกาหนดตัวเลข จากซ้ายไปขวาตามลาดับ แนวผนังของอาคาร ด้านที่ได้ต้งั ฉากกับสายตาผูด้ ูได้กาหนดตาแหน่งเสาที่ตวั อักษรแถว A, B, C, D ไล่จากบนลง ล่างตามลาดับ ตาแหน่งของเสาที่เป็ นโครงสร้างทั้งชั้นล่างและชั้นลอย ได้แก่ เสาแถว A, B ซึ่งอยูต่ รงกันทั้งพื้นชั้นล่าง และพื้นชั้นลอย ส่วนช่วงเสาแนว C, D ไม่ตอ้ งรองรับผังพื้นชั้นล่างเนื่องจากผังพื้นชั้นบนเป็ นพื้นชั้นลอย 1.4 ขนาดและขอบเขตของผังพืน้ ชั้นล่าง ขนาดของผังพื้นชั้นล่างจะใหญ่กว่าผังพื้นชั้นลอยเนื่องจากประกอบด้วย ทางเดินบริ เวณหน้าอาคาร บริ เวณซักล้างด้านหลัง ห้องน้ า ซึ่งในแบบจะระบุระยะของช่วงเสาจากกึ่งกลางเสา ถึงกึ่งกลางเสา กล่าวคือพื้นชั้นล่างจะมีช่วงเสา 4.00 เมตร ความกว้างความยาวของผนังพื้นชั้นล่าง 4.00 x 12.00 เมตร ต่อ 1 คูหา บริ เวณทางเดินหน้าอาคารมีขนาด 4.00 x 2.00 เมตร บริ เวณซักล้างหลังอาคาร 4.00 x 2.00 เมตร เมื่อรวมขอบเขตของพื้นชั้นล่างแล้วจะมีความกว้างและความยาวของอาคารพาณิ ชย์ท้งั หมด 24.00 x 12.00 เมตร 1.5 ขนาดและขอบเขตของผังพืน้ ชั้นลอย ขนาดของผังพื้นชั้นลอยจะมีขนาดเล็กกว่าผังพื้นชั้นล่างเนื่องจาก ประกอบด้วย ทางเดินบริ เวณหน้าอาคาร บริ เวณซักล้างด้านหลัง ห้องน้ า ซึ่งในแบบจะระบุระยะของช่วงเสา จากกึ่งกลางเสาถึงกึ่งกลางเสา กล่าวคือพื้นชั้นลอยจะมีช่วงเสา 4.00 เมตร ความกว้างความยาวของผนังพื้นชั้น ลอยมีขนาด 4.00 x 4.80 เมตร บริ เวณกันสาดด้านหน้ามีขนาด 4.00 x 2.00 เมตร บริ เวณบันไดหนีไฟมีขนาด 4.00 x 2.00 เมตร เมื่อรวมขอบเขตของพื้นชั้นลอยแล้วจะมีความกว้างและความยาวของอาคารพาณิ ชย์ท้งั หมด 24.00 x 4.80 เมตร 1.6 ตาแหน่ งของผนังประตูหน้ าต่าง ซึ่งเป็ นสิ่งที่กาหนดขอบเขตของผังพื้นทั้งชั้นล่างและชั้นลอยสถาปนิกจะเป็ น ผูอ้ อกแบบจะเป็ นผูก้ าหนดตามความเหมาะสมโดยพิจารณาจากทิศทางลม ประโยชน์ใช้สอยและความงาม ประกอบกันผนังพื้นชั้นล่างและผนังพื้นชั้นลอยเป็ นผนังก่ออิฐ ประตู – หน้าต่าง อยูต่ าแหน่งใดในผังพื้น ห่าง จากริ มเสาเท่าใดมีจานวนกี่บาน ซึ่งในแบบจะเขียนขนาดได้อย่างถูกต้อง
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
1
3
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
1.7 ระดับของอาคารที่แสดงในผังพืน้ ใช้ระดับกาหนด + 0 ระดับพื้นชั้นล่าง + 0.30 หมายถึงระดับพื้นชั้นล่างอยู่ สูงกว่าระดับกาหนด 30 เซนติเมตร ส่วนห้องอื่นจะลดระดับตามความเหมาะสม 1.8 แนวแสดงเส้ นตัด ที่จะแสดงในผังพื้นว่าอาคารถูกตัดในแนวดิ่ง เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการเขียนรู ปตัด จะตัดใน ตาแหน่งใดต้องดูจากแนวเส้นตัดในผังพื้นประกอบในที่น้ ีจะกาหนดรู ปตัด ก – ก ตัดผ่านส่วนที่เป็ นโครงสร้าง
2. หลักเกณฑ์และข้ อกาหนดในการเขียนผังพืน้ ชั้นล่ าง – ชั้นบน 2.1 มาตราส่ วน นิยมใช้มาตราส่วน 1 : 50 และ 1 : 100 ขึ้นอยูก่ บั ขนาดของอาคารและความเหมาะสมของ หน้ากระดาษ 2.2 เส้ น ต้องคานึงถึงความสม่าเสมอของเส้น น้ าหนัก ความหนาของเส้นที่ใช้เฉพาะงานคุณภาพของเส้น ความหนาของเส้ น เส้นมีความหนาที่แตกต่างกันตามความหมายของเส้นเฉพาะนั้น ๆ ชนิดของเส้นมีดงั นี้ เส้นบาง เส้นหนา เส้นหนามาก มีขนาด 0.25, 0.35, 0.5, 0.7, 1.0, 1.4, และ 2.0 มิลลิเมตร ความหนาของเส้นที่ใช้ในแต่ละแบบใช้ท้งั 3 ขนาดตามอัตราส่วน 1 : 2 : 4 เช่น เส้นบาง 0.13 มิลลิเมตร เส้นหนา 0.25 มิลลิเมตร เส้นหนามากใช้ขนาด 0.50 มิลิเมตร คุณภาพของเส้ น นอกจากความหมายของเส้นที่ใช้ความหนาต่างกันแล้ว เส้นที่เขียน จะต้องมีความสม่าเสมอตลอดทั้งเส้น ควรมีความประณี ตในการเขียน เช่น การต่อเส้นควร บรรจบกันพอดีไม่ขาดไม่เกิน เป็ นต้น 2.3 มิติ ใช้กาหนดระยะห่างระหว่างจุดสองจุดในแบบก่อสร้าง เส้ นมิติ ( Dimension Line ) และ เส้ นฉาย ( Projection Line ) มีขอ้ กาหนดดังนี้ 1. ควรเป็ นเส้นบางและไม่ขาดตอนมีหน่วยกาหนดเป็ นมิลลิเมตร 2. เส้นฉาย เริ่ มต้นห่างจากเส้นขอบหรื อจุดที่ตอ้ งการบอกระยะเล็กน้อย โดยตั้ง ฉากกับเส้นมิติที่ตอ้ งการ และยาวเลยเส้นมิติเล็กน้อย 3. หลีกเลี่ยงการเขียนเส้นมิติตดั กับเส้นมิติ และเส้นฉายตัดกับเส้นฉาย 4. เส้นมิติเป็ นเส้นไม่ขาดตอน นอกจากกรณี ที่เว้นช่องสาหรับเขียนมิติ 5. เส้นแกน ( Axis ) เส้นอ้างอิง ( Reference Line ) หรื อเส้นขอบ ห้ามใช้เป็ น เส้นมิติแต่อาจใช้เป็ นเส้นฉายได้ เครื่องหมายกากับปลายเส้ นมิติ ( Termination ) ใช้เส้นหนาขีดเอียงทามุม 45 องศา ตามเข็มนาฬิกาจากเส้นฉาย การเขียนมิติ 1. เขียนขนานไปกับเส้นมิติ ในตาแหน่งใกล้เคียงกับกึ่งกลางและอยูเ่ หนือเส้น มิติเล็กน้อย
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
1
4
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
2. การเขียนมิติบนระนาบเอียงหรื อตั้งฉาก เขียนตามแนวเส้นมิติ
รู ปที่ 2 การแสดงเส้นบอกมิติ 2.4 ระดับ ในแบบก่อสร้างจะกาหนดระดับ + 0 โดยกาหนดจากระดับที่ผอู้ อก แบบยึดเป็ นแนว ระดับ กาหนดเฉพาะงานนั้นๆ เพื่อช่วยให้การบอกระดับต่างๆ เช่น ระดับพื้นชั้นล่าง + 0.30 หมายถึง ระดับพื้นชั้นล่างอยูส่ ูง กว่าระดับกาหนด 30 เซนติเมตร 2.5 การแสดงตัวอักษรและตัวเลข ตัวอักษรและตัวเลขที่เขียนแสดงในแบบ เพื่อประกอบรายละเอียดถูกต้อง และแน่นอน 1.เขียนให้ชดั เจนจนเป็ นระเบียบ อ่านง่าย 2.การเขียนข้อความประกอบแบบควรรวมไว้เป็ นกลุ่มไม่ควรให้กระจัดกระจายออกไป ข้อความที่ ชี้เฉพาะควรให้อยูใ่ กล้กบั ส่วนที่บ่งถึงมากที่สุด แต่ตอ้ งระวังไม่ให้ทบั กับเส้นต่าง ๆ ในแบบที่เขียน เส้น ชี้บอกไม่ควรขีดเส้นใต้นอกจากต้องการให้เป็ นข้อความสาคัญ 3.การเขียนตัวอักษรและตัวเลขในระนาบต่าง ๆให้ใช้ระบบเดียวกับตัวเลขมิติ 4.ขนาดตัวอักษรและตัวเลขไทย มีขนาดความสูง 2.5, 3.5, 5, 7, 10 ,14 และ 20 มิลลิเมตรขนาดช่องไฟตาม ความเหมาะสม 2.6 สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ที่เขียนใช้ตามมาตรฐาน มอก. 440 เล่ม 1 – 2525 และ หลักสากลที่ผเู้ กี่ยวข้องกับงาน ก่อสร้างสามารถเข้าใจได้
เนื้อหาการสอน
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
1
5
จานวน 6 ชัว่ โมง
รหัสและชื่อวิชา 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ชื่อสถานศึกษา:
ผนัง (WALL) เป็ นการแสดงกรอบพื้นที่ก้นั ในแต่ละพื้นที่ให้เป็ นสัดส่วน โดยมีขนาดเท่ากับ 0.10 เมตร พร้อมฉาบปูน สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบก่อสร้าง คือ (สามเหลี่ยม)
รู ปที่ 3 สัญลักษณ์ของผนัง (WALL) ประตู (DOOR) เป็ นการบอกตาแหน่งของประตูแต่ละบาน โดยประตูมีรูปแบบหลายชนิดและหลายขนาด แต่โดยทัว่ ไปที่ใช้กนั อยูใ่ นปัจจุบนั จะมีขนาดกว้าง 0.80 เมตร สูง 2 เมตร และประตูหอ้ งน้ าจะมีขนาดกว้าง 0.70 เมตร สูง 1.80 เมตร สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบก่อสร้างคือ (วงกลม)
ป
รู ปที่ 4 สัญลักษณ์ของประตู (DOOR)
หน้ าต่ าง (WINDOW) เป็ นการบอกตาแหน่ งของหน้ าต่ างแต่ ละบาน โดยหน้ าต่ างมีรูปแบบหลายชนิด และ หลายขนาดขึน้ อยู่กับผู้ออกแบบโดยสัญลักษณ์ ที่ใช้ คือ (หกเหลี่ยม)
เนื้อหาการสอน
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
1
6
จานวน 6 ชัว่ โมง
รหัสและชื่อวิชา 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ชื่อสถานศึกษา:
น
รู ปที่ 5 สัญลักษณ์ของหน้าต่าง (WINDOW)
ฝ้ าเพดาน (CEILING) เป็ นการแสดงให้ทราบว่าในห้องนั้นๆ ใช้ฝ้าประเภทใด เช่น ฝ้ าทีบาร์ ฝ้ าหลุม ฝ้ าไม้ ฯลฯโดยสัญลักษณ์ที่ใช้ คือ
(วงรี )
รู ปที่ 6 ฝ้ าเพดาน (CEILING)
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
1
7
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
พื้น (FLOOR) เป็ นการแสดงให้ทราบว่าในห้องนั้น ๆ พื้นที่ใช้เป็ นวัสดุอะไร เช่น พื้นไม้ พื้นปาร์เก้ พื้น กระเบื้อง พื้นแกรนิต พื้นหินอ่อน ฯลฯ โดยใช้สญ ั ลักษณ์คือ
รู ปที่ 7 พื้น (slab)
(สี่เหลี่ยม)
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
1
8
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
1
9
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
1
10
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
1
11
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
2.7 มาตราส่ วน (SCALE) 1. เป็ นการย่ อแบบให้ ได้ มาตราส่ วนตามขนาดที่ ก่อสร้ างจริ ง เพื่อสะดวกในการอ่ านแบบ โดยต้ องบอกมาตรา
ส่ วนบนแปลนทุกครั้ ง เพื่อจะได้ ทราบว่ าใช้ มาตราส่ วนเท่ าใด 2. มาตราส่ วนที่ ใช้ ได้ แก่ 1:100
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
1
12
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รูปที่ 8 มาตราส่ วน (SCALE)
3. ลาดับขั้นตอนการเขียนผังพืน้ ชั้นล่ าง - ชั้นบน 1. กาหนดขนาดของมาตราส่วนที่ใช้ 1 : 75 2. กาหนดระยะห่างของผังพื้นที่จะเขียนจากเส้นขอบข้าง ขอบบน หรื อขอบล่าง โดยเผือ่ ระยะต่างๆ ไว้ดงั นี้ ด้านขอบข้าง จากผังพื้นต้องเผือ่ พื้นที่ไว้สาหรับเขียนเส้นบอกระยะเป็ นช่วงๆ เส้นบอกระยะ รวม แนว Grid Line เครื่ องหมายแสดงการตัด ด้านบนจากผังพื้นต้องเผือ่ พื้นที่ไว้เช่นเดียวกับด้านข้าง ด้านล่างจากผังพื้นต้องเผือ่ พื้นที่ไว้สาหรับพื้นที่ภายนอกอาคารบ้างเพื่อให้รู้แนว ทางเข้า มี เส้นบอกระยะที่จาเป็ นและเส้นบอกระยะรวม ไม่มีแนว Grid Line แต่มีขอ้ ความบอกว่าเป็ น ผังพื้นชั้นที่ 1 – ชั้นลอย มาตราส่วน ? 3. เมื่อกาหนดขอบเขตของตัวอาคารแล้วจึงทาการร่ างตาแหน่งเสาทุกต้น 4. ร่ างแนวผนังทั้งหมดเป็ นเส้นร่ างเท่ากับความหนาของประเภทผนัง 5. ร่ างตาแหน่ง ประตู หน้าต่าง บันได 6. เมื่อร่ างได้ภาพทั้งหมดแล้วก็ลงหมึกในแบบที่ได้ร่างด้วยดินสอ 7. เขียนบอกประเภทห้อง ระดับความสูงแต่ละห้อง ประเภทของพื้น ประเภทของผนัง 8. เขียนชื่อพร้อมมาตราส่วนกากับ
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
1
13
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
สรุปบทเรียนหน่ วยที่ 1 แบบรูปแปลนพื ้นเป็ นแบบเริ่มต้ นของแบบทังหมด ้ โดยผู้เขียนจะต้ องเขียนแบบให้ ถกู ต้ องและชัดเจน โดย คานึงถึงวัตถุประสงค์ของการใช้ พื ้นที่ใช้ สอยให้ ได้ ประโยชน์มากที่สดุ และ มีความเชื่อมโยงกันระหว่าง พื ้นที่ใช้ สอยของ อาคาร ซึ่งสอดคล้ องกับแนวคิดของสุขสม เสนานาญ (2548 : 33 ) ที่กล่าวว่า ผังพื ้นเป็ นแบบที่ แสดงขนาด รูปร่าง และการจัดส่วนพื ้นที่ภายในตัวอาคารในแนวราบ รวมถึงจะต้ องเขียนแบบรูปแปลนพื ้นให้ ชดั เจน เพื่อให้ ผู้รับจ้ างได้ ทาการก่อสร้ างตามแบบได้ อย่างถูกต้ องตามหลักวิชาการ
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
2
1
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
การเขียนผังโครงสร้ าง ก่อนทาการเขียนแบบผังโครงสร้ าง ผู้เขียนควรต้ องมีความรู้พื ้นฐานเกี่ยวกับวัสดุที่ใช้ ทาโครงสร้ างอาคารเสียก่อน เพื่อที่จะทาความเข้ าใจกับแบบที่จะเขียนสามารถเขียนแบบผังโครงสร้ างได้ ถกู ต้ องชัดเจน
1.วัสดุก่อสร้ างที่ใช้ ประกอบโครงสร้ างอาคารพักอาศัย วัสดุก่อสร้างหลักที่ใช้เป็ นส่วนประกอบของโครงสร้าง ได้แก่ ไม้ เหล็ก และคอนกรี ตเสริ มเหล็กซึ่งสถาปนิกและวิศวกร จะเลือกใช้ตามความเหมาะสมกับลักษณะงานและงบประมาณ 1.1 โครงสร้ างไม้ นิยมใช้กบั อาคารพักอาศัยขนาดเล็กและขนาดกลาง โดยสถาปนิกมักจะเป็ นผูก้ าหนดผังโครงสร้าง รายละเอียด ของรอยต่อ และการเข้าไม้เอง เนื่องจากไม้มีขีดจากัดที่รับน้ าหนักได้ปานกลางและความกว้างของช่วงเสาไม่มากนัก แต่ มีน้ าหนักเบา ยืดหยุน่ ได้ดีและก่อสร้างง่ายกว่าวัสดุชิ้นอื่น ไม่ตอ้ งใช้อุปกรณ์และเทคนิคยุง่ ยาก ชนิดของไม้ที่ใช้ทาโครงสร้างเป็ นไม้เนื้อแข็งได้แก่ ไม้เต็ง รัง ประดู่ แดง ฯลฯ ส่วนไม้เนื้ออ่อนใช้กบั ส่วน ของอาคารที่รับน้ าหนักไม่มากนัก เช่น ฝา ฝ้ าเพดาน หรื อคร่ าวฝ้ าเพดาน เป็ นต้น ได้แก่ ไม้ยาง ไม้จาปา ไม้สกั ฯลฯ ไม้ให้สมั ผัสที่นุ่มนวลและมนุษย์มีความคุน้ เคยมากกว่าวัสดุชนิดอื่น จึงนิยมใช้แม้ว่าจะมีคุณสมบัติไม่ทนไฟ และยังจาเป็ นต้องป้ องกันแมลงจาพวกปลวก อีกทั้งยังไม่ทนต่อสภาพอากาศที่รุนแรง เนื่องจากปัจจุบนั ไม้มีราคาแพง และหายากขึ้น บ้านจัดสรรต่าง ๆ จึงนิยมใช้โครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็ก และโครงสร้างหลังคาเป็ นเหล็กแทนมากขึ้น จะใช้ไม้เพื่อการตกแต่งภายในและส่วนที่ตอ้ งการทางานง่าย เช่น พื้นไม้ บันได วงกบประตูหน้าต่าง เท่านั้น 1.2 โครงสร้ างเหล็กและคอนกรีตเสริมเหล็ก นิยมใช้กบั อาคารพาณิ ชย์และอาคารขนาดใหญ่ ๆ รวมทั้งอาคารบ้านพักอาศัย วิศวกรจะเป็ นผูค้ านวณโครงสร้าง และกาหนดรายละเอียดต่าง ๆ ประกอบแบบโครงสร้าง คุณสมบัติของเหล็กมีความแข็งแรงและรับแรงดึงได้สูง มีความยืดหยุน่ ดี ทางานง่าย แต่มีราคาแพง คุณสมบัติของคอนกรี ตเสริ มเหล็ก รับน้ าหนักได้มาก เนื่องจากรวมคุณสมบัติที่แตกต่างของคอนกรี ตซึ่งรับ แรงอัดได้ดี มารวมกับคุณสมบัติของเหล็กในข้อที่รับแรงดึงได้ดี มีความยืดหยุน่ ดี แต่มีขอ้ เสียที่มีน้ าหนักมาก หล่อเป็ น รู ปร่ างได้ตามต้องการ ทนไฟและทนต่อการสึกกร่ อนได้ดี แต่มีขอ้ เสียที่มีน้ าหนักมาก ทาให้เพิ่มน้ าหนักแก่ตวั อาคาร และต้องทาแบบหล่อ ทาให้สิ้นเปลืองและยังต้องใช้เทคโนโลยีในการผลิตคอนกรี ตให้คุณสมบัติที่ดี ปัจจุบนั นิยมนาคอนกรี ตสาเร็ จรู ปบางส่วน เช่น พื้นสาเร็ จรู ป มาใช้ประกอบแบบโครงสร้าง ทาให้ลดค่าใช้จ่าย ในการทาแบบหล่อและประหยัดเวลาในการก่อสร้างขึ้น
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
2
2
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
2.โครงสร้ างอาคารพักอาศัยตามลักษณะของแบบและการก่ อสร้ าง ผูอ้ อกแบบจะออกแบบโครงสร้างของอาคาร เพื่อให้รับน้ าหนักตัวอาคารเอง และรับน้ าหนักบรรทุกอื่น ๆ เช่น คน สิ่งของ แรงลม ฯลฯ ได้อย่างมัน่ คงแข็งแรง โดยให้โครงสร้างทุกส่วนของอาคารยึดโยงกันและถ่ายเทน้ าหนักจาก ส่วนบนสุด ตั้งแต่หลังคาลงไปตามลาดับให้แก่เสา และเสาถ่ายเทน้ าหนักทั้งหมดของอาคารลงสู่พ้นื ดิน โครงสร้างของอาคารทัว่ ไปจึงแบ่งออกได้เป็ นสองส่วนใหญ่ ๆ คือ ส่วนของโครงสร้างที่อยูเ่ หนือดิน ได้แก่ โครงสร้างของอาคารทั้งหลัง และส่วนโครงสร้างใต้ดิน ซึ่งทาหน้าที่รับน้ าหนักบรรทุกและน้ าหนักจรของอาคารทั้ง หลังจากโครงสร้างส่วนเหนือดินถ่ายเทลงสู่ดิน
3.ส่ วนประกอบของโครงสร้ างใต้ดิน โครงสร้างอาคารส่วนที่อยูใ่ ต้ดิน ประกอบด้วย 3.1 ตอม่อ ตอม่อ คือ เสาที่ต่อจากพื้นชั้นล่างลงไปในดินสู่ฐานราก ทาหน้าที่รับน้ าหนักจากเสาบ้านหรื ออาคาร ถ่ายลงสู่ฐานราก 3.2 ฐานราก เป็ นโครงสร้างของอาคารส่วนที่ทาหน้าที่ถ่ายน้ าหนักบรรทุกจากตอม่อ หรื อ กาแพงลงสู่ที่รองรับ ซึ่งอาจเป็ นดินโดยตรงในกรณี ที่ดินแข็งสามารถรับแรงกดได้ดี หรื ออาจต้องใช้เสาเข็มเข้า ช่วยในกรณี ที่ดินอ่อนรับแรงได้นอ้ ย ขึ้นอยูก่ บั สภาพของดินฐานรากอาจแบ่งกว้าง ๆ ตามลักษณะของที่รองรับได้สอง ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. ฐานแผ่ซึ่งไม่มเี สาเข็มรองรับ เป็ นการวางฐานรากบนดินแข็งซึ่งเหมาะสาหรับบริ เวณที่มีช้นั ดินแข็ง ตั้งแต่ขา้ งบนลงไป เช่น พื้นที่ใกล้ภูเขาหรื อเป็ นดินลูกรัง
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
2
3
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รู ปที่ 1 ประเภทของฐาน ราก
รู ปที่ 2 ฐานราก, ตอม่อ , คานคอ ดิน 2. ฐานรากชนิดมีเสาเข็มเป็ นที่รองรับ ใช้ในกรณี ที่ดินอ่อน ควรใช้เสาเข็มเป็ นตัวช่วยดินรับน้ าหนักจาก ฐานราก โดยเลือกใช้น้ าหนักตามสภาพดิน ดังนี้ 1 ) เสาเข็มสั้น ใช้เมื่อรับน้ าหนักของตัวอาคารไม่มากนัก เช่น บ้านพักอาศัยโดยทัว่ ไป โดยการตอก เสาเข็ม ลงไปในดินใต้ฐานรากเพื่อเพิ่มความสามารถในการรับน้ าหนักให้กบั ดินได้มากขึ้น เนื่องจากจะเกิด ความฝื ดระหว่างพื้นผิวรอบเสาเข็มกับดิน ทาให้ดินบริ เวณรอบ ๆ เกิดการอัดตัวแน่นรับน้ าหนักได้มากขึ้น 2 ) เสาเข็มยาว ใช้ในกรณี ที่อาคารมีขนาดใหญ่รับน้ าหนักบรรทุกมากและลักษณะชั้นดินอ่อน ดังรู ป เสาเข็มนี้จะช่วยรับน้ าหนักได้มาก เพราะนอกจากจะถ่ายน้ าหนักจากฐานรากลงไปยังชั้นดินแข็งยังทาให้ดิน โดยรอบบริ เวณมีความสามารถในการรับน้ าหนักได้อีกด้วย
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
2
4
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รู ปที่ 3 เสาเข็มสั้นและเสาเข็ม ยาว
รู ปที่ 4 เสาเข็มยาวรู ปตัวไอ
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
2
5
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
4. ส่ วนประกอบของโครงสร้ างอาคารส่ วนที่อยู่เหนือดิน ถ้าศึกษาโครงสร้างตั้งแต่ฐานรากจนถึงหลังคาตามลาดับ จะมีลกั ษณะการถ่ายน้ าหนักตามประโยชน์ใช้สอย ดังนี้ 4.1 เสา วัสดุที่ใช้ทาเสาของอาคารพักอาศัย นิยมใช้ท้งั เสาไม้และเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก
รู ปที่ 5 เสาไม้ เสาคอนกรี ตเสริ ม เหล็ก เสาทาหน้าที่เป็ นแกนรับน้ าหนักในแนวดิ่งจากโครงสร้างส่วนอื่น ๆ แล้วถ่ายน้ าหนักของอาคารทั้งหมดลงสู่ฐาน ราก เนื่องจากเสาเป็ นแกนรับน้ าหนักที่สาคัญ ดังนั้น การพิจารณาวางตาแหน่งเสาจึงต้องคานึงถึงประโยชน์ใช้สอย ร่ วมกับความสามารถรับน้ าหนักของวัสดุที่ใช้ทาเสาด้วย สาหรับโครงสร้างที่มีขนาดใหญ่เป็ นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก จะมีความสามารถในการรับน้ าหนักได้มากกว่าเสาไม้ 4.2 คานคอดิน คานคอดินเป็ นฐานรากผนังชนิดหนึ่งมีความลึกของคานมากกว่าระดับที่มีความเย็นชนิดเป็ นน้ าแข็งจะแผ่ลงไป ถึง ส่วนบนของคานคอดินจะเทคอนกรี ตทับลงอีกทีหนึ่ง จะเป็ นพื้นอยูเ่ หนือระดับดินเล็กน้อย พบบ่อยกับการขุดดิน ให้เป็ นราง แล้วเทคอนกรี ตลงไปโดยไม่ตอ้ งตั้งแบบหล่อ คานนี้จะเป็ นผนังก่ออิฐด้วย มักใช้กบั บริ เวณที่มีดินแข็งและ เป็ นที่สูงน้ าท่วมไม่ถึง สาหรับดินที่มีรองพื้นอยู่ ควรบดอัดให้แน่น ซึงอาจต้องปรับหน้าดินให้เรี ยบ แล้วเทคอนกรี ตจะ ได้ความหนาของพื้นที่มีความสม่าเสมอ เมื่อพื้นมีความแน่น และคานช่วยกั้นดินไม่ให้ไหลออก รักษาความแน่นให้คง สภาพอยู่ โดยมากคานคอดินจะหล่อกับเสาตอม่อ
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
2
6
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รู ปที่ 6 หน้าตัดคานคอนกรี ตเสริ ม เหล็ก 4.3 พืน้ เป็ นส่วนของโครงสร้างที่ทาหน้าที่รับน้ าหนักเนื่องจากการอยูอ่ าศัย ได้แก่ น้ าหนักของผูอ้ ยูอ่ าศัย ได้แก่ น้ าหนักตัวของผูอ้ ยูอ่ าศัยเอง เครื่ องเรื อน อุปกรณ์ ฯลฯ
รู ปที่ 7 แผ่นพื้นสาเร็ จรู ป ท้องแบน 4.4 หลังคา เป็ นส่วนที่อยูบ่ นสุดของอาคาร ทาหน้าที่กนั แดด ลม ฝนให้กบั ตัวอาคาร โครงสร้างที่ทาหน้าที่รับน้ าหนัก หลังคา รับน้ าหนักของวัสดุมุง ได้แก่ กระเบื้องชนิดต่าง ๆ และแรงลม เนื่องจากเป็ นส่วนที่อยูส่ ูงสุดของอาคาร
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
2
7
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
5. ส่ วนประกอบของแบบโครงสร้ าง แบบโครงสร้ างประกอบด้ วย ผังโครงสร้ าง แสดงโครงสร้ างรวมของแต่ละระดับ ทังโครงสร้ ้ างใต้ ดิน และเหนือดิน ได้ แก่ ก. ผังฐานราก ข. ผังคาน – พื้น ค. ผังโครงหลังคา หลักเกณฑ์และข้ อกาหนดในการเขียนผังโครงสร้ าง 1. มาตราส่ วน สาหรับผังโครงสร้างอาคารพักอาศัย ใช้มาตราส่วนไม่เล็กกว่า 1 : 100 หรื อ มาตราส่วนเดียวกับรู ปผังพื้น 2. เส้ น เส้นรอบรู ปส่วนที่ถกู ตัด เช่น หน้าตัดเสาใช้เส้นหนามาก เส้นรอบรู ปทัว่ ไปใช้เส้น หนาเส้นบอกมิติใช้เส้นบาง 3. ตัวย่อและสัญลักษณ์ เขียนตัวย่อและหมายเลขกากับโครงสร้างทุกแห่งที่แสดงในผัง 4. มิติ เขียนมิติบอกช่วงเสาจากกึ่งกลางเสาถึงกึ่งกลางเสา ทั้งด้านตั้งและด้านนอนโดย กาหนดชื่อแนวเสาทั้งแนวตั้งและแนวนอน ด้วยตัวเลข 1, 2, 3, 4…. และตัวอักษร A, B, C, D ให้ตรงกับผังพื้น
6, ลาดับขั้นตอนการเขียนผังฐานรากชั้นล่ าง - ชั้นลอย ผังฐานรากจะแสดงตาแหน่งของฐานรากและเสาตอม่อ ซึ่งถ่ายน้ าหนักจากเสารับอาคาร 1. ร่ างตารางแสดงตาแหน่งแนวเสาทั้งแนวดิ่งและแนวนอน 2. เขียนหน้าตัดตอม่อให้ถกู ต้องตามมาตราส่วนด้วยเส้นหนามาก 3. เขียนคานคอดินให้ถกู มาตราส่วนด้วนเส้นหนา 4. เขียนขอบเขตของแผ่นพื้นวางบนดิน 5 .เขียนฐานรากด้วยเส้นเต็มหรื อเส้นประให้ถกู ต้องตามมาตราส่วนด้วย เส้นหนา 6. เขียนเส้นฉาย เส้นมิติดว้ ยเส้นบาง เขียนเครื่ องหมายกากับปลายเส้นมิติดว้ ยเส้นหนา 7. เขียนมิติเป็ นเมตรด้วยเส้นหนา 8. เขียนเส้นกากับตาแหน่งเสาด้วยเส้นลูกโซ่บาง พร้อมทั้งเขียนตัวเลข ตัวอักษรกากับด้วยเส้นหนา
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
2
8
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
9. เขียนชื่อโครงสร้างกากับให้ครบทุกแห่ง 1. ฐานราก (FOOTING) สัญลักษณ์ได้ แก่ F 2. คานคอดิน (GROUND BEAM) สัญลักษณ์ได้ แก่ GB 3. คาน (BEAM) สัญลักษณ์ได้ แก่ 4. พื ้น (SLAB) สัญลักษณ์ได้ แก่ S 5. เสา (COLUMN) สัญลักษณ์ได้ แก่ 6. มาตราส่วน (SCALE) ที่ใช้ 1:100,1:75 10. เขียนชื่อและมาตราส่วนกากับ
B C
สรุปบทเรี ยนหน่วยที ่ 2 แบบรูปแปลนฐานราก,คานคอดิ น,พืน้ ,แปลนคานพืน้ ชัน้ ล่างเป็ นแบบแสดงตาแหน่งของโครงสร้างฐานราก ทีร่ บั น้าหนักของอาคารและแนวคานแต่ละชัน้ รวมถึงการวางแนวพืน้ คอนกรี ต เพือ่ ให้ผรู้ บั จ้างได้วางผังการก่อสร้างได้ อย่างถูกต้องซึ่งสอดคล้องกับแนวคิ ดของ เจริ ญ เสาวภาณี (2548:73) ทีก่ ล่าวว่าแบบแปลนโครงสร้าง หรื อผังโครงสร้าง (STRUCTURE DRAWING) หมายถึงแบบทีแ่ สดงขนาด รูปร่าง พืน้ ที ่ และตาแหน่งของการจัดวางโครงสร้างอาคารใน แนวหรื อแนวราบเป็ นแบบที ม่ ี ความเกีย่ วเนือ่ งกับแบบรูปแปลนพืน้ แต่ละชัน้ ของอาคาร
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
3
1
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
การเขียนแปลนคานหลังคา โครงหลังคา แบบรู ปแปลนคานหลังคา โครงหลังคา เป็ นแบบทีแ่ สดงตาแหน่ งการสร้ างโครงหลังคา ได้ แก่ คานหลังคา อกไก่ อะเส จันทัน แป ปั้ นลมเชิงชาย รวมถึงวัสดุทใ่ี ช้ งาน เช่ น กระเบือ้ ง เป็ นต้ น โดยทีแ่ บบ จะบอกขนาดและการจัดวางระยะต่ าง ๆ ของโครงหลังคา 1. ความหมายของแบบรู ปแปลนคานหลังคา โครงหลังคา ความหมายของแบบรูปคานหลังคา โครงหลังคา หมายถึงแบบทีแ่ สดงขนาด และตาแหน่ งของ คานหลังคาและโครงสร้ างหลังคา โดยใช้ แบบแปลนพื้นเป็ นตัวกาหนดในการเขียน ซึง่ วิศวกรจะเป็ นผู้กาหนด โครงสร้ างของหลังคา 2. รายละเอียดแบบรูปแปลนคานหลังคา โครงหลังคา คานหลังคา ( ROOF BEAM) ได้ แก่ คานคอนกรีตทีม่ ีหน้ าทีร่ ั บน้าหนักของโครงสร้ างหลังคา ได้ แก่ อกไก่ อะเส จันทัน แป กระเบือ้ ง เป็ นต้ น คานหลังคามีทงั้ คานคอนกรี ต ไม้ และเหล็ก ซึง่ ปั จจุบันนิยมใช้ คานคอนกรีต และเหล็ก เนื่องจากไม้ มีราคาแพงและหายาก โครงหลังคา ประกอบด้วยโครงสร้าง ดังนี ้ 1. แป มีหน้ าที่รับกระเบื ้อง โดยมีระยะห่างแตกต่างกันออกไป ขึ ้นอยู่กบั ขนาดของกระเบื ้อง เช่น กระเบื ้อง ลอนคู่ แปจะมีระยะห่างเท่ากับ 1.00 เมตร , กระเบื ้องซีแพคโมเนีย แปจะมีระยะห่างเท่ากับ 0.32 – 0.34 เมตร เป็ นต้ น แปเป็ นได้ ทงไม้ ั ้ และเหล็กขึ ้นอยู่กบั ความต้ องการของเจ้ าของอาคาร แต่ปัจจุบนั นิยมใช้ เหล็ก เนื่องจาก ติดตังง่ ้ ายและ ราคาถูกกว่าไม้ 2. จันทัน มีหน้ าที่รับแป โดยมีระยะห่างกันไม่เกิน 1.00 เมตร เพราะจันทันจะต้ องรับน ้าหนักทังหมดของ ้ แปและกระเบื ้อง จันทันเป็ นได้ ทงไม้ ั ้ และเหล็กขึ ้นอยู่กบั ความต้ องการของเจ้ าของอาคาร แต่ปัจจุบนั นิยมใช้ เหล็กตัวซี เนื่องจากติดตังง่ ้ าย และราคาถูกกว่าไม้ 3. อกไก่ และอะเส มีหน้ าที่รับจันทัน โดยอกไก่จะอยู่สว่ นกลางของจัว่ และอะเสจะอยู่ด้านข้ างด้ านซ้ าย และขวาของจัว่ อกไก่และอะเสเป็ นได้ ทงคอนกรี ั้ ตและไม้ ขึ ้นอยู่กบั ผู้ออกแบบและเจ้ าของอาคาร 4. ดัง้ มีหน้ าที่รับอกไก่ อยู่กึ่งกลางของจัว่ เป็ นได้ ทงคอนกรี ั้ ต เหล็ก และไม้ ขึ ้นอยู่กบั ผู้ออกแบ บ และ เจ้ าของอาคาร
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
3
2
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
5. ปั น้ ลม มีหน้ าที่ปิดโครงหลังคาจัว่ กันน ้าฝนและนก อยู่ชิดกับกระเบื ้อง เมื่อมองทางด้ านนอก อาคาร ด้ านจัว่ จะเห็นอยู่ด้านนอกอาคาร โดยมากจะเป็ นไม้ 6. เชิงชาย มีหน้ าที่ปิดโครงหลังคาด้ านข้ าง อาคาร เพื่อกันฝนและนกอยู่ชิดกับกระเบื ้อง เมื่อมองทาง ด้ านข้ างของอาคารจะเห็นอยู่ด้านนอก โดยมากจะเป็ นไม้ 7. ไม้ ปิดลอนกระเบื ้อง ( ลอนเชิงชาย ) เพื่อกันนก 8. ตะเฆ่สนั จะอยู่บริเวณครอบมุมหลังคา ที่ความลาดเอียง 2 ด้ านมาบรรจบกัน โดยหันหน้ าออกจากกัน โดยมีครอบกระเบื ้องและวัสดุมงุ อีกที 9. ตะเฆ่ราง เป็ นส่วนที่ความลาดเอียงของหลังคาสองด้ านมาชนกันเป็ นราง ซึ่งบริเวณส่วนนี ้จาเป็ น จะต้ องมีรางน ้า เพื่อระบายน ้าออกจาก หลังคา
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
3
3
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รู ปที่ 2 หลังคาทรงปั้นหยา
3. สั ญลักษณ์ และมาตราส่ วน ของการเขียนแบบรูปแปลนคานหลังคา โครงหลังคา 1. 2. 3. 4. 5.
คานหลังคาคอนกรี ตใช้สญ ั ลักษณ์ยอ่ RB ( ROOF BEAM ) แป ( PERLIN ) ถ้ าเป็ นไม้ จะบอกขนาดเป็ น แปไม้ เนื ้อแข็งขนาด 1”x1” แป ( PERLIN ) ถ้ าเป็ นไม้ จะบอกขนาดเป็ น แปไม้ เนื ้อแข็งขนาด 1½” แป ( PERLIN ) ถ้ าเป็ นเหล็กจะบอกขนาด เป็ น แปเหล็กขนาด 1”x1”(กระเบื ้องซีแพคโมเนีย) แป ( PERLIN ) ถ้ าเป็ นเหล็กจะบอกขนาดเป็ น แปเหล็กขนาด 100x50x20x2.3 mm (กระเบื้องลอนคู่) ้ งตามผู้ผลิต 6. ส่ วนระยะห่ างของแป (@) ขึ้นอยู่กับขนาดของกระเบือ 7. จันทัน (RAFTER) ถ้ าเป็ นไม้ จะบอกขนาดเป็ น จันทันไม้ เนื ้อแข็งขนาด 1½” x 6” 8. จันทัน (RAFTER) ถ้ าเป็ นเหล็กจะบอกขนาดเป็ นเหล็กขนาด 150x50x20x2.3 mm. 9. อกไก่ และ อะเส คอนกรีต ใช้ สญ ั ลักษณ์ คือ RB (ROOF BEAM) 10. อกไก่ และ อะเส ไม้ จะบอกขนาดเป็ นอกไก่ / อะเสไม้ เนื ้อแข็ง ขนาด 2”x6”
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
3
4
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
4. ลาดับขั้นตอนการเขียนผังโครงสร้ างคานหลังคา ผังโครงสร้างคานจะแสดงตาแหน่งของเสา คาน และพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กโดยมีข้นั ตอนและลาดับการเขียน ดังนี้ 1. เขียนหน้าตัดเสาตามตารางที่ร่างไว้ ด้วยเส้นหนามาก โดยปกติขนาดเสาสาหรับอาคารพัก อาศัย 2. เขียนช่วงคานหลังคาให้ถกู มาตราส่วนโดยต้องวัดขนาดความกว้างหน้าตัดคานเปรี ยบเทียบ กับหน้าตัดเสาและเขียนให้ถกู ต้อง 3. แสดงให้ชดั เจนว่าคานใดเป็ นคานหลักที่พาดจากเสาถึงเสา 4. เขียนเส้นแสดงช่วงและแนวของคานฝาก เช่น RB1 และ RB2 5. การเขียนชื่อคานหลัก เขียนชื่อเดียวในแต่ละช่วงเสาถึงเสา โดยเขียนคร่ อมคานฝากหรื อ คานซอย 6. เขียนชื่อกากับพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กที่มีคานล้อมรอบทั้งสี่ดา้ นทุกแผ่น 7. ถ้ามีคานต่างระดับที่จาเป็ นต้องแสดงไว้ในผังเดียวกันก็ให้ใช้คาขยาย เช่น “บน” “ล่าง” ต่อชื่อท้ายคานให้ชดั เจน 8. เขียนชื่อกากับโครงสร้างให้ครบทุกแห่ง คานหลังคา แทนด้วย RB คาน แทนด้วย B พื้น แทนด้วย S 9. เขียนบอกมิติเป็ นเมตร 10. เขียนชื่อผังโครงสร้างแต่ละชั้น พร้อมมาตราส่วนกากับให้ชดั เจน 11. ข้อควรระวัง 1. การแสดงตัวของคานต้องคานึงถึงการซ้อนทับบน – ล่างและใช้ความหนาของเส้นให้ ถูกต้องตรงกับลักษณะที่มองเห็น 2. ขนาดของเสาและหมายเลขที่กากับหน้าตัดเสานั้น แสดงถึงเสาที่รับโครงสร้างชั้นนั้น ๆ ไม่ใช่เสาที่อยูเ่ หนือโครงสร้างที่แสดง 3. สัญลักษณ์ที่กากับโครงสร้างต้องเขียนกากับไว้ทุกแห่ง 4. การเขียนตัวเลข ตัวอักษร กากับแนวเสา ต้องแสดงไว้ทุกรู ป
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
3
5
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
สรุปบทเรียนหน่ วยที่ 3 การเขียนแบบรู ปแปลนคานหลังคา โครงหลังคา เพื่อที่จะให้ผรู้ ับจ้างได้ดาเนินการก่อสร้างได้ถกู ต้องตาม หลักวิชาการ โดยผูเ้ ขียนจะต้องออกแบบและเขียนรายการสัญลักษณ์รวมทั้งวัสดุมุงหลังคา ซึ่งถือเป็ นส่วนสาคัญของ โครงสร้างหลังคา ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ สุขสม เสนานาญ (2548:84) ซึ่งกล่าวว่า หลังคาประกอบด้วยส่วนที่เป็ น วัสดุมุงและโครงสร้าง ซึ่งทาหน้าที่รับน้ าหนักคงที่ ได้แก่ น้ าหนักของวัสดุมุง ตัวโครงสร้างหลังคา ฝ้ าเพดาน และ น้ าหนักจร ได้แก่ ลม ฝน และน้ าหนักตัวผูข้ ้ ึนไป ประกอบขณะก่อสร้าง หรื อเมื่อมีการซ่อมแซม รวมทั้งการสัน่ สะเทือน และแรงลมอีกด้วย
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
4
1
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
การเขียนรูปตัดตามขวาง (รูปตัด A-A) การเขียนแบบรู ปตัด ผูเ้ ขียนต้องมีความรู้ ความเข้าใจในด้านโครงสร้างของอาคารหลังที่จะเขียนตั้งแต่ฐานราก จนถึงโครงหลังคา ต้องศึกษาขนาดและชนิดของวัสดุก่อสร้างที่ใช้ประกอบกันขึ้นเป็ นพื้น ผนัง หลังคา ประตู หน้าต่าง และส่วนอื่น ๆ ของอาคาร จากผังพื้นและผังโครงสร้าง สาหรับผูท้ ี่เริ่ มเรี ยนถ้าได้ศึกษาโครงสร้างของอาคารหลังที่จะ เขียนรู ปตัดจากหุ่นจาลองโครงสร้างจะช่วยเข้าใจให้ง่ายขึ้น เนื่องจากสามารถมองเห็นโครงสร้างรวมของอาคารทั้งหลัง ในลักษณะเหมือนของจริ งย่อส่วน และทาให้สามารถพิจารณาโครงสร้างแต่ละส่วน เช่นโครงสร้างหลังคา เปรี ยบเทียบ กับผังโครงหลังคา โครงสร้างแต่ละชั้นเปรี ยบเทียบกับผังคาน – พื้น ชั้นที่สองและชั้นล่าง รวมทั้งส่วนที่ซบั ซ้อน เช่น ช่องบันได ฯลฯ ทาให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ของรู ปตัดกับผังโครงสร้างได้ดีข้ ึน
1. ความหมายของแบบรูปตัด
รู ปที่ 1 แสดงแนวตัดในผังพื้นเพื่อ เขียนรูปตัด
แบบรู ปตัดเป็ นแบบที่แสดงให้เห็นโครงสร้างและรายละเอียดต่าง ๆ ภายในอาคารในแนวดิ่ง โดยมีแนวคิดว่าถ้า เลื่อยตัดอาคารในแนวดิ่งให้ต้งั ฉากกับพื้นตามแนวเส้นตัดที่แสดงในผังพื้นตามรู ป แล้วเคลื่อนอาคารส่วนที่อยูห่ น้า เส้นแนวตัดออกไป จะเห็นภาพฉายแสดงโครงสร้างภายในของอาคาร ได้แก่ ระดับของฐานราก พื้นชั้นล่าง พื้นชั้นที่ สอง ฝ้ าเพดาน และหลังคา ว่าอยูต่ ่าหรื อสูงกว่ากาหนด 0 เท่าใด พร้อมทั้งรายละเอียดของผนัง พื้น เพดาน ประตู หน้าต่าง หลังคา ส่วนที่ถกู ตัดตั้งแต่ฐานรากจนถึงหลังคา ว่าทาด้วยวัสดุชนิดใด ขนาดเท่าใด และลักษณะการติดตั้ง
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
4
2
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เป็ นแบบใด ด้วยการใช้เส้น สัญลักษณ์ คาย่อขององค์อาคารประกอบกันเพื่อสื่อความหมาย ทั้งนี้มาตราส่วนที่ใช้ในการ เขียนรู ปตัด ควรเป็ นขนาดเดียวกับที่เขียนผังพื้น หรื อไม่เล็กกว่า 1 : 50 รู ปตัดของอาคารแต่ละหลังนิยมแสดงอย่างน้อย 2 รู ปในแนวตัดที่ต้งั ฉากกัน ได้แก่ 1. รู ปตัดตามขวาง (Transverse Section) 2. รู ปตัดตามยาว (Longitudinal Section)
ตัดตามขวาง (Transverse Section) เป็ นแบบที่แสดงรู ปตัดตามแนวเส้นตัดที่ตดั ผ่านด้านแคบของอาคาร หรื อจะเรี ยกตามแนวเส้นตัด A – A ดังรู ป ก็ได้
รู ปที่ 2 ขยายรู ปตัดตามแนว ขวาง ตัวอย่างแสดงแนวตัดของอาคารพักอาศัย 2 ชั้น ตามรู ปที่ 2 เขียนด้วยมาตราส่วน 1 : 75 แต่การเขียนรู ปตัดเพื่อ ทาการขออนุญาตปลูกสร้างอาคารนั้น กาหนดให้ใช้มาตราส่วนไม่เล็กกว่า 1 : 50 สามารถอ่านรู ปตัด A – A ได้ดงั นี้ 1. แนวตัด A – A ตัดผ่านอาคาร แสดงพื้นที่ใช้งานชั้นล่าง ได้แก่ บริ เวณเฉลียงหลังบ้าน ห้องน้ า โถงบันได และห้องพักผ่อน ส่วนชั้นที่สองแนวตัดจะตัดผ่านหลังคาคุมเฉลียงหลังบ้าน ห้องน้ า (ตาแหน่งอยูต่ รงกับห้องน้ าชั้นล่าง) โถงบันได และห้องนอน 2 2. ความกว้างของตัวอาคาร อ่านได้จากตัวเลขบอกระยะของช่วงเสา จากแนว A จนถึงแนว F และ ระยะรวมเป็ นความกว้างทั้งหมดของอาคาร
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
4
3
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
3. ความสู งของอาคารแต่ละระดับต่าง ๆ เช่น ระดับพื้นชั้นล่างอยูส่ ูงจาก ระดับที่กาหนด 0 เท่าใด ระดับก้นหลุมฐานรากอยูต่ ่ากว่าระดับ 0 เท่าใด เป็ นต้น 4. ลักษณะโครงสร้ างของอาคาร แสดงว่าโครงสร้าง เช่น เสา คาน พื้นชั้นล่างเป็ น ค.ส.ล. เสา ชั้นที่สองที่รับโครงหลังคาเป็ นเสาไม้ โครงหลังคาเป็ นโครงสร้างไม้ หลังคามุงกระเบื้องลอนคู่ หลังคาครัวที่คลุมเฉลียงหลังบ้านเป็ นกระเบื้องลอนคู่ ผนังชั้นล่างเป็ นผนังก่ออิฐ ผนังชั้นที่สองเป็ นผนังไม้ 2 ชั้น ชนิดของผนัง ระบุดว้ ย สัญลักษณ์วสั ดุก่อสร้างและตัวย่อ 5. ขนาดและชนิดของวัสดุก่อสร้ างที่ใช้ เช่น กระเบื้อง โครงสร้างหลังคา โครงสร้างพื้นชั้นที่สอง ชั้นล่าง เสา ตอม่อ ฐานราก แสดงด้วยสัญลักษณ์ ข้อความที่ระบุชนิดและขนาดของวัสดุ อธิบายด้วยข้อความที่ส้ นั กระชับ อ่านเข้าใจง่าย
2. ความสั มพันธ์ ระหว่างรูปตัดกับรูปผังพืน้ ผังโครงสร้ างและรูปด้ าน แบบรู ปตัดมีความสัมพันธ์กบั รู ปผังพื้น กล่าวคือ เมื่อจะเขียนรู ปตัดจะต้องเขียนตามแนวเส้นตัดในผังพื้น ซึ่งรู ปตัดจะมีความกว้างของอาคารตามความกว้างและช่วงเสาที่ปรากฏในผังพื้นอีกทั้งตัดผ่านพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของ อาคารตามที่ปรากฏในผังพื้น และตัดผ่านผนัง หรื อประตู หน้าต่าง ที่เป็ นส่วนแสดงขอบเขตเนื้อที่ใช้งานในผังพื้นอีก ด้วย เมื่อจะเขียนรู ป A – A จึงต้องดูในผังพื้นชั้นล่าง ผังพื้นชั้นที่สอง ผังพื้นชั้นที่สาม ตามแนวตัด A – A แนว เดียวกัน ในขณะเดียวกัน รู ปตัดมีความสัมพันธ์กบั โครงสร้าง เพราะเมือ่ ต้องการรายละเอียดโครงสร้างตรงตาแหน่งที่ ถูกตัด ก็ตอ้ งแสดงโครงสร้างส่วนต่าง ๆ ให้ตรงกับผังฐานราก ผังคาน พื้นชั้นล่าง ผังคาน พื้นชั้นที่สอง ผังโครง หลังคา ตามแนวตัดแนวเดียวกับที่แสดงในผังพื้น ดังนั้นผูเ้ ขียนจึงควรร่ างแนวตัด A – A ไว้ในผังโครงสร้างด้วย เพื่อให้สะดวกในการดูโครงสร้างว่าแนวตัดตัดผ่านตัวโครงสร้าง ก่อนนามาเขียนในรู ปตัดให้ถกู ต้อง ส่วนรู ปด้านนั้นมีความสัมพันธ์กบั รู ปตัดที่เมื่อแนวตัด A – A ตัดผ่านโครงสร้างบางส่วนของอาคาร สิ่งที่จะ แสดงให้ตรงกันทั้งในรู ปตัดและรู ปด้านคือ ระดับ ซึ่งระยะความสูงนี้จะเขียนบอกระดับไว้อย่างละเอียดในรู ปตัด แต่ไม่ นิยมแสดงไว้ในรู ปด้านอาจจะแสดงไว้ในรู ปด้านข้างก็เพียงแต่ละดับที่สาคัญ เช่น ระดับพื้นห้อง ฯ
3. หลักเกณฑ์และข้ อกาหนดในการเขียนรูป 1. รู ปตัดตามขวางใช้มาตราส่วน 1 : 50 ส่วนรู ปตัดผ่านหรื อรู ปตัดแสดงรายละเอียดใช้มาตราส่วน 1 : 20 หรื อ 1 : 25 2. ใช้ความหนาของเส้น 3 ขนาด โดยแสดงขอบนอกของส่วนที่ถกู ตัดด้วยเส้นหนามากส่วนของอาคารที่เห็นในรู ป ตัดที่ไม่ถกู ตัดแสดงด้วยเส้นหนา เส้นฉาย เส้นมิติ และเส้นที่เขียนสัญลักษณ์ใช้เส้นบาง
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
4
4
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
3. การแสดงระดับในแนวรู ปตัด ใช้ระบบเดียวกับที่แสดงในผังพื้น แนวระดับอยูน่ อกรู ปที่เขียนโดยมีอกั ษรกากับ และลูกศรชี้บอกแนวนั้น ดังรู ป
4. การเขียนข้อความประกอบแบบรู ปตัด เพื่อให้รายละเอียดของส่วนโครงสร้างและวัสดุที่ใช้ในรู ตดั ใช้แสดง ด้วยตัวย่อ สัญลักษณ์ และข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน โดยจัดให้เป็ นหมวดหมู่ (เช่นกลุ่มที่บอกข้อความที่บ่งชี้ โครงสร้างหลังคาควรจัดรวมอยูก่ ลุ่มเดียวกัน ไม่ให้กระจายไปสลับกับข้อความที่บ่งชี้โครงสร้างส่วนอื่น เป็ นต้น) และ จัดแนวอย่างประณี ต เพื่อช่วยให้อ่านง่าย และใช้ตวั อักษรส่งเสริ มแบบให้มีคุณค่าขึ้น ข้อความที่ช้ ีเฉพาะควรให้ใกล้กบั ส่วนที่บ่งชี้มากที่สุด และระวังไม่ให้ทบั เส้นมิติ เส้นชี้บอกถ้าใช้บรรทัดช่วยเขียนตัวอักษร ไม่ควรขีดเส้นใต้ขอ้ ความ ขนาดตัวอักษรและตัวเลข ที่ใช้เขียนประกอบในแบบ ใช้ขนาดความสูง 2.5 ถึง 3.5 มิลลิเมตร ขนาดช่องไฟตามความ เหมาะสม
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
4
5
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
5. สัญลักษณ์ ใช้สญ ั ลักษณ์วสั ดุก่อสร้าง และตามคาย่อที่แบบกาหนดไว้
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
4
6
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
4
7
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
6. เขียนรู ปตัดตามแนวเส้นตัดในผังพื้นและกาหนดแนวเส้นตัดให้ผา่ นส่วนที่ผเู้ ขียนเห็นว่าสาคัญ เช่น ต้องการตัด ผ่านช่องหน้าต่าง บันได ส่วนที่พ้นื เปลี่ยนระดับ โดยเส้นตัดไม่จาเป็ นต้องเป็ นเส้นตรงเสมอไป เพื่อแสดงรายละเอียด ของโครงสร้างมากที่สุดเท่าที่จะแสดงได้ นอกจากนี้แนวเส้นตัดไม่ควรตัดผ่านหน้าตัดเสา เพราะผูอ้ ่านจะแสดงเป็ นผนัง ทึบและไม่ได้แสดงรายละเอียดของผนัง และช่องประตูหน้าต่างเท่าที่ควรแสดง
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
4
8
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รู ปที่ 4 แสดงเส้นตัดคนละแนวที่แสดงในรู ป เดียวกัน 7. เขียนเส้นแนวตัดในผังโครงสร้างทุกรู ป โดยให้แนวตัดตรงกับผังพื้น เพื่อสะดวกในการกาหนดขนาดและ ตาแหน่งของโครงสร้างให้ตรงกับในรู ปตัด
4. ลาดับขั้นตอนการเขียนรูปตัดตามขวาง 1. จัดกระดาษให้เหมาะสม โดยพิจารณาดูขนาดความยาว ความสูงของรู ปตัดที่จะเขียนให้มีพ้นื ที่ โดยรอบรู ปตัดที่จะเขียนบอกมิติและข้อความบอกชนิดและขนาดของวัสดุโครงสร้างทุกส่วนของรู ปตัดอย่าง ชัดเจน ไม่แออัดเกินไป
2.
ร่ างความกว้างของอาคาร ระยะตามแนวตัดในผังพื้นด้วยมาตราส่วน 1: 50 ตั้งแต่ระดับฐานราก จนถึงชั้นดาดฟ้ า โดยกาหนดระดับ 0 เป็ นหลัก
3.
ร่ างขนาดของฐานราก คาน ความหนาของพื้น ความหนาของคาน ทีละชั้นตามลาดับ โดย ตรวจสอบจากผังโครงสร้างแต่ละรู ป 4. ตรวจสอบดูแนวตัดในผังพื้นว่า ภายในอาคารแนวตัด A – A ตัดผ่านอะไรบ้างเมจากดูแนวเป็ น หลัก 5. เขียนส่วนของอาคารที่มองเห็นตามแนว A – A แล้วไม่ถกู ตัด ด้วยเส้นหนา ส่วนที่มองไม่เห็น เช่น ฐานราก เขียนด้วยเส้นประ 6. เน้นเส้นขอบนอกของโครงสร้างส่วนที่ถกู ตัดด้วยเส้นหนามาก ถ้าส่วนใดที่ใส่สญ ั ลักษณ์วสั ดุ ก่อสร้างได้ให้เขียนกากับด้วย
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
4
9
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
7. 8.
เขียนเส้นฉาย เส้นมิติ เส้นกากับ ด้วยเส้นบาง เครื่ องหมายกากับปลายเส้นมิติดว้ ยเส้นหนา เส้นชี้บอกรายละเอียดส่วนต่าง ๆ ในรู ปตัดใช้เส้นบาง เครื่ องหมายกากับปลายเส้นชี้บอกใช้ เส้นหนาขีดทามุม 45 องศากับเส้นชี้บอก พยายามชี้ให้เป็ นหมวดหมู่และแนวตรงกัน 9. เขียนตัวเลขบอกมิติและระดับเป็ นเมตร เขียนข้อความอธิบายตรงเส้นชี้บอกตัวอักษรพร้อม สัญลักษณ์กากับ ประตู หน้าต่าง ผนัง 10. ตรวจสอบความถูกต้องของรู ปตัดให้ตรงกับแนวตัดในผังพื้น ความสูงตรงกับแนวที่จะถูกตัด ในรู ปด้าน และชิ้นส่วนโครงสร้างทั้งหมดตรงกับผังโครงสร้าง ทั้งนี้ส่วนที่ควรให้ความสาคัญคือวัดขนาด โครงสร้างแต่ละส่วนให้ถกู ต้องด้วย 11. ตรวจสอบความเรี ยบร้อย เขียนชื่อรู ปตัดพร้อมมาตราส่วนกากับให้ชดั เจน
สรุปบทเรี ยนหน่วยที ่ 4 แบบรูปตัด (A-A) ตามขวางนั้นเป็ นแบบทีแ่ สดงรายละเอียดของโครงสร้ างในแนวทีผ่ ้ เู ขียนแสดง เส้ นในแนวตัดของรูปแบบแปลนพื้น เพื่อให้ ผ้ รู ับจ้ างได้ เห็นโครงสร้ างภายในของ อาคาร ความสูง และวัสดุที่ ใช้ ในการก่ อสร้ าง ซึง่ สอดคล้ องกับแนวคิดของ เจริญ เสาภาณี (2548 :35) ที่กล่ าวว่ า รูปตัดเป็ นแบบรูปที่มี ความสาคัญรูปหนึ่งโดยเฉพาะการแสดงระดับความสูงในชั้นต่ าง ๆ ผู้เขียนจะต้ องมีความเข้ าใจในเรื่องของ โครงสร้ างงานที่จะเขียนอย่ างละเอียด ตั้งแต่ ฐานรากขึน้ ไปจนถึงโครงหลังคา ลาดับขั้นตอนการก่ อสร้ าง โดย ผู้เขียนจะต้ องให้ ความสาคัญกับการเขียนและศึกษาโครงสร้ างให้ เข้ าใจ เพื่อที่จะเขียนแบบรูปตัดได้ อย่ าง ถูกต้ อง เพื่อความถูกต้ องในการก่ อสร้ างให้ เป็ นไปตามหลักวิชาการงานก่ อสร้ างต่ อไป
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
5
1
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
การเขียนรูปตัดตามยาว (รูปตัด B-B) แบบรู ปตัดเป็ นแบบที่มีความสาคัญมาก เนื่องจากแบบรูปตัดเป็ นแบบที่แสดงความสูงของอาคาร เพื่อให้ ผ้ รู ับจ้ างได้ ทาการก่ อสร้ าง ซึ่งสอดคล้ องกับแนวคิดของ เจริญ เสาวภาณี (2548:35) ที่กล่ าวว่ า รูปตัด เป็ นแบบรูปที่มีความสาคัญรู ปหนึ่ง โดยเฉพาะการแสดงระดับความสูงในชัน้ ต่ างๆ ผู้เขียนจะต้ องมีความ เข้ าใจในเรื่องของโครงสร้ างงานที่เขียนอย่ างละเอียดตัง้ แต่ ฐานรากขึน้ ไปจนถึงโครงหลังคา
1. ความหมายของรูปตัด B – B (ตามขวาง) แบบรู ปตัด (SECTION) หมายถึง แบบที่แสดงให้เห็นรายละเอียดของโครงสร้าง และรายละเอียดทั้งหมดในแนว ตัด ซึ่งตาม พรบ. ควบคุมอาคาร 2522 กาหนดให้เขียนรู ปตัดอย่างน้อย 2 รู ป ได้แก่ รู ปตัดตามขวาง (A-A) และรู ปตัด ตามยาว (B-B) โดยผูเ้ ขียนจะเป็ นผูก้ าหนดเส้นแนวตัดทั้ง 2 ด้านในแบบแปลนพื้น ซึ่งการตัดควรที่จะตัดผ่านส่วนที่สาคัญ เช่น ตัดผ่านห้องนอน, ห้องครัว และห้องน้ าเป็ นต้น เพื่อจะได้แสดงระดับความสูงของอาคารได้ถกู ต้องตามที่แบบ แปลนกาหนดในแนวดิ่งซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ สุขสม เสนานาญ (2548:125) ที่กล่าวว่า แบบรู ปตัดเป็ นแบบที่ แสดงให้เห็นโครงสร้าง และรายละเอียดต่างๆภายในอาคารในแนวดิ่ง โดยมีแนวคิดว่าถ้าเลื่อยตัดอาคารในแนวดิ่งให้ต้งั ฉากกับพื้นตามแนวเส้นตัดที่แสดงในผังพื้น แล้วเคลื่อนอาคารส่วนที่อยูห่ น้าเส้นตัดออกไป จะเห็นภาพฉายแสดง โครงสร้างภายในอาคาร ได้แก่ ระดับของฐานราก พื้นชั้นล่าง พื้นชั้นที่สอง ฝ้ าเพดาน และหลังคา ว่าอยูต่ ่าหรื อสูงจาก ระดับที่กาหนด ± 0.00 เท่าใด พร้อมทั้งรายระเอียดของผนัง พื้น เพดาน ประตู หน้าต่าง หลังคา ส่วนที่ถกู ตัดตั้งแต่ฐาน รากจนถึงหลังคา ว่าทาด้วยวัสดุชนิดใด ขนาดเท่าใด และลักษณะการติดตั้งเป็ นแบบใด ด้วยการใช้เส้น สัญลักษณ์ คาย่อ ขององค์อาคารประกอบกันเพื่อสื่อความหมาย
รู ปที่ 1 ขยายรู ปตัดตามแนว ยาว
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
5
2
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รายละเอียดที่แสดงในแบบรูปตัด B-B (ตามขวาง) รายละเอียดที่แสดงในแบบรูปตัด B-B (ตามยาว) มีดงั นี้ 1. ความยาวของตัวอาคารทัง้ หมด โดยบอกระยะของช่วงเสา 2. ความสูงของอาคารและระดับต่างๆ 3. สัญลักษณ์ ขยายจุดโครงสร้าง
3. สัญลักษณ์ และรายละเอียดของแบบรูปตัด
สัญลักษณ์
ความหมาย
ระดับดิน
ฐานรากแบบมีเสาเข็ม
คาน ค.ส.ล.
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
5
3
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
พื้น ค.ส.ล .แบบหล่อในที่(SLAB ON BEAM)
พื้น ค.ส.ล. (SLAB ON GROUND)
ผนังก่ออิฐฉาบปูน
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
สัญลักษณ์
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
5
4
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
ความหมาย ผนังก่ออิฐครึ่ งแผ่นฉาบปูนเรี ยบและวงกบหน้าต่าง
ผนังก่ออิฐครึ่ งแผ่นฉาบปูนเรี ยบ และวงกบประตู
4. ลาดับขั้นการเขียนรูปตัดตามยาว พอที่จะเรี ยบเรี ยงได้ดงั นี้ คือ 1. กะเนื้อที่ให้พอเขียนตั้งแต่ฐานรากจนถึงหลังคาโดยวางรู ปให้เหมาะสมกับหน้า กระดาษ 2. เขียนเส้นระดับดิน แล้วร่ างแนวเสา 3. หาระดับฐานราก ระดับพื้นชั้นต่าง ๆ และหลังคา 4. หาขนาดโครงสร้างและส่วนสาคัญต่าง ๆ เช่นฐานราก คาน ตง พื้น บันได และ โครงหลังคา 5. เขียนส่วนประกอบ เช่น ผนัง ประตู หน้าต่าง ของส่วนที่ถกู ตัด และส่วนที่มองเห็นหลังเส้นตัด 6. ลงเส้นจริ ง โดยเขียนเส้นบาง หนา และหนามาก ตลอดจนสัญลักษณ์ส่วนต่าง ๆ ให้ถกู ความหมาย 7. ให้หมายเลขประตู หน้าต่าง ผนัง และรายละเอียดอื่น ๆ ให้ครบถ้วน 8. บอกระยะความสูงต่าง ๆ โดยละเอียด
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
5
5
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
9. บอกชื่อแนวเสาให้ตรงกับที่บอกไว้ในแปลนพื้น 10. เขียนลูกศรชี้บอกชื่อและขนาดโครงสร้างทั้งหมด 11. ส่วนใดที่ไม่สามารถเขียนได้ชดั เจนในรู ปตัด ควรวงจุดนั้นไว้แล้วนาไปเขียนรู ปขยายต่างหาก โดยใช้ มาตราส่วนใหญ่และบอกรายละเอียดให้ชดั เจนยิง่ ขึ้น 12. บอกชื่อรู ปตัดและมาตราส่วนที่ใช้ไว้ใต้รูป 13. ข้ อควรระวัง จัดวางรู ปให้สมดุลกับหน้ากระดาษ เขียนความหนาของเส้นที่ใช้เฉพาะงานอย่างถูกต้อง ได้ขนาดสม่าเสมอ วัดขนาดโครงสร้างส่วนต่าง ๆ ให้ถกู ต้องตามมาตราส่วนที่ใช้
สรุ ปบทเรียนหน่ วยที่ 5 แบบรูปตัด(B-B) ตามยาวนัน้ เป็ นแบบที่แสดงรายละเอียดของโครงสร้างในแนวที่ผเู้ ขียนแสดงเส้นในแนว ตัดของรูปแบบแปลนพื้น เพื่อให้ผรู้ ับจ้างได้เห็นโครงสร้างภายในของอาคาร ความสูง และวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้าง ซึ่ง สอดคล้องกับแนวคิ ดของ รัตนา พงษธา (2528:59) ที่กล่าวว่า รูปตัดมีความสาคัญและจาเป็ นมาก เพราะเป็ นรูปที่ช่วยให้ เห็นโครงสร้าง ระดับพื้นและส่วนต่างๆภายในอาคารโดยผูเ้ ขียนจะต้องให้ความสาคัญกับการเขียนและศึกษาโครงสร้าง ให้เข้าใจ เพื่อที่จะเขียนแบบรูปตัดได้อย่างถูกต้อง เพื่อความถูกต้องในการก่อสร้างให้เป็ นไปตามหลักวิ ชาการงาน ก่อสร้างต่อไป
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
6
1
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
การเขียนรูปด้ าน 1 , 2 รู ปด้านเป็ นแบบที่แสดงรายละเอียดด้านภายนอกของตัวอาคาร โดยใช้รูปแบบแปลนพื้นเป็ นตัวกาหนดในการ เขียนแบบรู ปด้าน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของเจริ ญ เสาวภาณี (2548:58) ที่กล่าวว่า รู ปด้านเป็ นแบบที่ความสัมพันธ์ ต่อเนื่องกับแบบรู ปแปลนพื้นและแบบรู ปตัด จะเขียนแบบรู ปด้านได้จะต้องเขียนแบบรู ปแปลนพื้น และแบบรู ปตัดก่อน เสมอ เพื่อแสดงรู ปลักษณ์ภายนอกของตัวอาคารให้แก่ผรู้ ับจ้างได้ก่อสร้างตรงตามรู ปแบบ
1. ความหมายของรูปด้ าน รู ปด้านเป็ นภาพที่แสดงลักษณะภายนอกของอาคารในแนวดิ่ง โดยการมองรู ปด้านทีละด้านเรี ยงกันตามลาดับ จนครบ 4 ด้านของอาคาร และเรี ยกชื่อรู ปด้านทั้ง 4 ด้าน ตามแนวของทิศที่แสดงในผังพื้น ได้แก่ รู ปด้านหน้า รู ป ด้านหลัง รู ปด้านข้างทั้ง 2 ด้าน เป็ นต้น
รู ปที่ 1 แสดงทิศการมองและการเขียนชื่อรู ปด้านของเครื่ องหมายอาคารตามเครื่ องหมายทิศที่ แสดงในผังพื้น จากรู ปที่ 1 แสดงการกาหนดแนวทิศเหนือที่แสดงในผังพื้น ซึ่งบางครั้งแนวทิศเหนือที่แท้จริ งไม่ได้ขนานกับตัวอาคาร ผูเ้ ขียนจะกาหนดแนวทิศเหนือโดยประมาณให้ขนานกับผังของอาคารตามข้อกาหนดในการเขียนผังบริ เวณและสะดวก ในการกาหนดชื่อรู ปด้าน ดังรู ปที่ 2
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
6
2
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รู ปที่ 2 แสดงผังพื้น เครื่ องหมายทิศ และการระบุชื่อรู ปด้าน อาคาร จากรู ปที่2 แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของผังพื้นและรู ปด้านทั้ง 4 ด้าน กล่าวคือ ความกว้างของรู ปด้านแต่ ละด้าน จะวัดได้ตรงกับความกว้างของผนังแต่ละด้านที่อยูใ่ นทิศทางเดียวกันในผังพื้น โดยรู ปด้านแต่ละรู ปแสดง รายละเอียดของลักษณะภายนอกอาคาร ได้แก ผนัง ช่องประตู หน้าต่าง ฯลฯ ดังตัวอย่างรู ปด้านทิศใต้ ซึ่งตั้งอยูต่ รงกับ พื้น เมื่อร่ างเส้นจากแนวช่องประตู จากผังพื้นมายังรู ปด้านจะตรงกัน เป็ นต้น รู ปด้านจึงเป็ นรู ปที่เขียนขึ้นเพื่ออธิบายรายละเอียดที่ไม่สามารถแสดงได้อย่างครบถ้วนในผังพื้นหรื อรู ปตัด เพียงรู ปใดรู ปหนึ่ง ผูเ้ ขียนต้องนาความกว้างและตาแหน่งประตู หรื อหน้าต่างในผังพื้นมาผนวกกับความสูงและระดับที่ แสดงในรู ปตัดเพื่อเขียนเป็ นรู ปด้านภายนอกของอาคารแต่ละด้านซึ่งแสดงรู ปร่ างตาแหน่งและขนาดของประตู หน้าต่าง วัสดุที่ใช้ทาผนัง แสดงด้วยสัญลักษณ์หรื อตัวย่อ เพื่อใช้ดูประกอบตารางรายละเอียดของผนังและประตู เมื่อต้องการ ทราบรายละเอียดมากขึ้น รู ปด้านที่เขียนในแบบก่อสร้างไม่ตอ้ งแสดงเงาเพื่อเน้นระนาบที่แตกต่างกัน จะแสดงระยะใกล้ - ไกลด้วย น้ าหนักเส้นเท่านั้น ไม่นิยมเขียนบอกระยะความยาวของอาคาร เนื่องจากสามารถดูได้จากผังพื้นและรู ปตัด แต่อาจจะ บอกระดับความสูงที่สาคัญ โดยแสดงด้วยเส้นประ เช่น ระดับพื้นแต่ละชั้น และระดับฝ้ าเพดาน ดูรูปที่ 3 – 6 ประกอบ
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
6
3
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รู ปที่ 3 แสดงรู ปด้านทิศใต้ของบ้านพักอาศัย 2 ชั้น
รู ปที่ 4 แสดงรู ปด้านทิศตะวันตกของบ้านพัก อาศัย 2 ชั้น
2. ความสั มพันธ์ ระหว่างรูปด้ านกับผังพืน้ และรูปตัด
การเขียนรู ปด้าน ใช้มาตราส่วนเดียวกับที่ใช้ในการเขียนผังพื้นเพื่อให้ดูง่าย ตาแหน่งของช่องประตูหน้าต่างที่ แสดงในรู ปด้านจะตรงกับที่แสดงในผังพื้น และระดับความสูงของประตูหน้าต่างในรู ปด้านจะตรงกับรู ปตัดอีกเช่นกัน เส้นแต่ละเส้นที่แสดงในรู ปด้านมีความหมายทางโครงสร้างด้วย เช่น การแสดงประตูหน้าต่างในรู ปด้าน ตามรู ปที4่ – 7 จะมีเส้นคู่แสดงความหนาของวงกบและบานหน้าต่างประกอบด้วยกรอบบานและลูกฟัก เป็ นต้น ระดับที่แสดงในรู ป ด้านก็จะตรงกับในรู ปตัดอีกเช่นกันเนื่องจากในรู ปด้านไม่เขียนบอกความยาวของแต่ละด้านความสูง จะแสดงเฉพาะ ระดับพื้นและระดับฝ้ าเพดานเท่านั้น โดยจะมีระยะในรู ปตัด เนื่องจากในการเขียนรู ปด้าน ผูเ้ ขียนจะต้องดูประกอบกับ ผังพื้นและรู ปตัดด้วย
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
6
4
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
3. หลักเกณฑ์และข้ อกาหนดในการเขียนรูปด้ าน 1. ใช้มาตราส่วนเดียวกับผังพื้น เช่น ถ้าผังพื้นเขียนด้วยมาตราส่วน 1 : 75 ต้องเขียนรู ปด้านด้วย มาตราส่วน 1 : 75 ด้วย 2. เส้นใช้ขนาดความหนาตามข้อกาหนด เนื่องจากการเขียนรู ปด้านเป็ นการรวมหลายระนาบของรู ป ทัศนียภาพมาเป็ นระนาบเดียว ดังนั้น ระนาบที่อยูใ่ กล้ตาผูด้ ูมากที่สุดต้องเขียนด้วยเส้นขอบนอก หนามาก เส้นขอบนอกของตัวอาคารทัว่ ไปใช้เส้นหนา เส้นแสดงสัญลักษณ์ที่เป็ นประตู หน้าต่างหรื อผนัง ใช้เส้นบาง ทัว่ ไปไม่นิยมใช้เส้นประในรู ปด้าน ยกเว้นต้องการแสดงส่วนของ ห้องใต้ดิน(ถ้ามี) และแนวชายคาที่บงั เท่านั้น 3. สัญลักษณ์ที่ใช้ในรู ปด้านคือ สัญลักษณ์ของประตู หน้าต่าง และสัญลักษณ์แสดงวัสดุที่ใช้ ก่อสร้างเป็ นผนัง ตามตารางและตัวอักษรย่อที่บอกรายละเอียดของผนังประตู หน้าต่าง 4. มิติการบอกระยะ ไม่นิยมเขียนบอกระยะช่วงเสาและความยาวของรู ปด้าน บอกเพียงแต่ระดับ ความสูงของระดับพื้น ระดับเพดาน เพื่อประโยชน์ในการดูระดับของประตู หน้าต่างเท่านั้น นอกจากนั้น อาจบอกองศาความลาดของหลังคาด้วยก็ได้
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
4. การแสดงสั ญลักษณ์ ต่างๆ ในรูปด้ าน
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
6
5
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
6
6
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
6
7
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
6
8
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
6
9
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
6
10
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
5. ลาดับขั้นตอนการเขียนรูปด้ าน ก่อนเริ่ มเขียนรู ปด้าน ต้องศึกษาแบบผังพื้นและรู ปตัดให้เข้าใจรู ปร่ าง ลักษณะอาคาร และโครงสร้างเสียก่อน แล้วจึง เริ่ มงานตามลาดับ ดังนี้ 1. อ่านค่าความกว้างของช่วงเสา ค่าความยาวของผนังด้านที่ตอ้ งการเขียนรู ปในผังพื้น และค่าระดับความสูงแต่ ละชั้นในรู ปตัดเสียก่อน เพื่อทราบขนาดของรู ปที่เขียนว่ารู ปด้านนั้นๆ กว้างเท่าไรสูงเท่าไร 2. กะร่ างขนาดความยาวและสูงของรู ปด้านให้พอเหมาะกับหน้ากระดาษ โดยจัดเรี ยงทีละด้านต่อเนื่องกันถ้าเขียน รู ปด้าน 2 รู ป หือ 4 รู ป ในแนวระดับเดียวกันได้ จะสะดวกในการร่ างเส้นระดับร่ วมกันทาให้ประหยัดเวลา และตรวจ ความถูกต้องได้ง่าย 3. ร่ างความยาวและความสูงของรู ปด้าน โดยศึกษาจากผังพื้นและรู ปตัดเพื่อแสดงรู ปด้านให้สมั พันธ์และถูกต้อง ตรงกับลักษณะความเป็ นจริ ง โดยร่ างเส้นระดับดินเดิม เส้นระดับพื้นชั้นร่ าง ระดับพื้นชั้นที่สอง ด้วยเส้นนอน ร่ าง เส้นแนวตั้งที่เส้นตาแหน่งเสา ส่วนยืน่ ต่างๆ 4. ร่ างเส้นแสดงขนาดความกว้างของเสา ความลึกของคาน ความกว้างและความสูงของวงกบทั้งแนวนอนและ แนวตั้ง 5. เขียนเส้นบางที่คมและชัดเจน แสดงสัญลักษณ์ผนัง ประตู หน้าต่าง รายละเอียดอื่นๆ เพิ่มเติม 6. เน้นเส้นหนามากที่ระนาบใกล้ตาผูด้ ูที่สุดเพื่อให้เข้าใจรู ปได้ง่ายขึ้น 7. เขียนระยะบอกความสูงแต่ละชั้น ด้วยอักษรที่เป็ นระเบียบ อ่านง่าย 8. เขียนบอกชื่อรู ปด้านตามมุมมองของผังพื้นและมาตราส่วนกากับให้ชดั เจน
สรุปบทเรียนหน่ วยที่ 6 แบบรู ปด้ าน 1-2 เป็ นแบบทีส่ าคัญรูปหนึ่ง เนือ่ งจากอาคารจะออกมาสวยหรื อไม่ ก็ขึ้นอยู่กับการ ออกแบบแปลนพื้น ซึง่ จะมีความเชื่อมโยงมาถึงรู ปด้ าน ซึง่ ผู้เขียนจะต้ องใช้ จินตนาการแนวความคิดที่ ทันสมัยในการตกแต่ งอาคารเพื่อให้ อาคารมีความสวยงามและทันสมัยอยู่เสมอ เพราะแบบรูปด้ านจะเป็ น แบบทีส่ ร้ างความสวยงามให้ กับผู้พบเห็นโดยเฉพาะรู ปด้ าน 1 ( ด้ านหน้ า )ควรทีจ่ ะเน้ นให้ มีความสวยงาม กลมกลืนและทันสมัยกับอนาคตข้ างหน้ า และจะเป็ นแบบทีผ่ ้ รู ั บจ้ างจะต้ องใช้ ฝีมือการก่ อสร้ างอย่ างปราณีต เพื่อให้ อาคารออกมาสวยงาม
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
7
1
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
การเขียนรูปด้ าน 3 , 4 รูปด้ านเป็ นแบบทีแ่ สดงรายละเอียดด้ านภายนอกของตัวอาคาร โดยใช้ รูปแบบแปลน พืน้ เป็ นตัวกาหนดในการเขียนแบบรูปด้ าน ซึ่งสอดคล้ องกับแนวคิดของ เจริญ เสาวภาณี (2548 :58) ทีก่ ล่ าวว่ า รูปด้ านเป็ นแบบทีค่ วามสัมพันธ์ ต่อเนื่องกับแบบรูปแปลนพืน้ และแบบรูป ตัด จะเขียนแบบรูปด้ านได้ จะต้ องเขียนแบบรูปแปลนพืน้ และแบบรูปตัดก่ อนเสมอ เพือ่ แสดง รูปลักษณ์ ภายนอกของตัวอาคารให้ แก่ ผ้ รู ั บจ้ างได้ ก่อสร้ างตรงตามรูปแบบ 1. ความหมายของแบบรูปด้ าน แบบรูปด้ าน (ELEVATION) หมายถึงแบบที่แสดงรูปลักษณ์ ภายนอกของตัวอาคารโดยการมองจาก ภายนอกของแบบแปลนพื้นจากซ้ ายไปขวาเห็นอะไรก็เขียนลงไปให้ หมด ซึง่ จะแตกต่ างกับการเขียนรูปตัด เนื่องจากรูปตัดจะเห็นภายในของตัวอาคาร ในการเขียนแบบรูปด้ านนั้นผู้เขียนจะต้ องเขียนรายละเอียดใน การตกแต่ งอาคาร เพื่อให้ เกิดความสวยงามมากที่สุด เนื่องจากแบบรูปด้ านนั้นจะเป็ นการแสดงศิลปะและ ความทันสมัยให้ กับตัวอาคาร โดยผู้เขียนควรจะศึกษาค้ นคว้ าข้ อมูล เพื่อให้ เกิดจินตนาการในการออกแบบ เช่ น หนังสือบ้ านและสวน ฯลฯ เพื่อจะได้ นาความทันสมัยมาประยุกต์ เข้ ากับตัวอาคารที่ทาการออกแบบ
รู ปที่ 1 แสดงรู ปด้านทิศเหนือของบ้านพักอาศัย 2 ชั้น
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
7
2
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รู ปที่ 2 แสดงรู ปด้านทิศตะวันออกของบ้านพักอาศัย 2 ชั้น
2. รายละเอียดที่แสดงในแบบรูปด้ าน 3 , 4 แบบรูปด้ าน (ELEVATION) เป็ นแบบที่แสดงรูปลักษณ์ ภายนอกของบ้ าน ได้ แก่ เสาโชว์ ผนัง ตกแต่ ง ประตู หน้ าต่ าง และส่ วนอื่นๆที่ต้องการตกแต่ งให้ บ้านสวยงาม โดยการเน้ นเส้ นหนักเบาให้ เหมาะสม เพื่อความสวยงาม
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
3. การแสดงสั ญลักษณ์ ต่างๆ ในรูปด้ าน
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
7
3
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
7
4
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
7
5
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
7
6
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
7
7
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
7
8
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
5. ลาดับขั้นตอนการเขียนรูปด้ าน ก่อนเริ่ มเขียนรู ปด้าน ต้องศึกษาแบบผังพื้นและรู ปตัดให้เข้าใจรู ปร่ าง ลักษณะอาคาร และโครงสร้างเสียก่อน แล้วจึง เริ่ มงานตามลาดับ ดังนี้ 1. อ่านค่าความกว้างของช่วงเสา ค่าความยาวของผนังด้านที่ตอ้ งการเขียนรู ปในผังพื้น และค่าระดับความสูงแต่ ละชั้นในรู ปตัดเสียก่อน เพื่อทราบขนาดของรู ปที่เขียนว่ารู ปด้านนั้นๆ กว้างเท่าไรสูงเท่าไร 2. กะร่ างขนาดความยาวและสูงของรู ปด้านให้พอเหมาะกับหน้ากระดาษ โดยจัดเรี ยงทีละด้านต่อเนื่องกันถ้าเขียน รู ปด้าน 2 รู ป หือ 4 รู ป ในแนวระดับเดียวกันได้ จะสะดวกในการร่ างเส้นระดับร่ วมกันทาให้ประหยัดเวลา และตรวจ ความถูกต้องได้ง่าย 3. ร่ างความยาวและความสูงของรู ปด้าน โดยศึกษาจากผังพื้นและรู ปตัดเพื่อแสดงรู ปด้านให้สมั พันธ์และถูกต้อง ตรงกับลักษณะความเป็ นจริ ง โดยร่ างเส้นระดับดินเดิม เส้นระดับพื้นชั้นร่ าง ระดับพื้นชั้นที่สอง ด้วยเส้นนอน ร่ าง เส้นแนวตั้งที่เส้นตาแหน่งเสา ส่วนยืน่ ต่างๆ 4. ร่ างเส้นแสดงขนาดความกว้างของเสา ความลึกของคาน ความกว้างและความสูงของวงกบทั้งแนวนอนและ แนวตั้ง 5. เขียนเส้นบางที่คมและชัดเจน แสดงสัญลักษณ์ผนัง ประตู หน้าต่าง รายละเอียดอื่นๆ เพิ่มเติม 6. เน้นเส้นหนามากที่ระนาบใกล้ตาผูด้ ูที่สุดเพื่อให้เข้าใจรู ปได้ง่ายขึ้น 7. เขียนระยะบอกความสูงแต่ละชั้น ด้วยอักษรที่เป็ นระเบียบ อ่านง่าย 8. เขียนบอกชื่อรู ปด้านตามมุมมองของผังพื้นและมาตราส่วนกากับให้ชดั เจน
สรุปบทเรียนหน่ วยที่ 7 แบบรู ปด้านเป็ นแบบที่สาคัญรู ปหนึ่ง เนื่องจากอาคารจะออกมาสวยหรื อไม่ ก็ข้ ึนอยูก่ บั การออกแบบ แปลนพื้น ซึ่งจะมีความเชื่อมโยงมาถึงรู ปด้าน ซึ่งผูเ้ ขียนจะต้องใช้จินตนาการแนวความคิดที่ทนั สมัย ในการตกแต่ง อาคาร เพื่อให้อาคารมีความสวยงามและทันสมัยอยูเ่ สมอ เพราะแบบรู ปด้านจะเป็ นแบบที่สร้างความสวยงามให้กบั ผูพ้ บเห็น จึงควรที่จะเน้นให้มีความสวยงามกลมกลืน ทันสมัยกับอนาคตข้างหน้า และจะเป็ นแบบที่ผรู้ ับจ้างจะต้อง ใช้ฝีมือการก่อสร้างอย่างประณี ต เพื่อให้อาคารออกมาสวยงาม
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
8
1
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
การเขียนแบบรูปแปลนไฟฟ้า แบบรูปแปลนไฟฟ้าเป็ นแบบรูปหนึ่งที่ระบุตาแหน่ งอุปกรณ์ ไฟฟ้าภายในอาคารทั้งหมด โดยวิศวกร ไฟฟ้าจะเป็ นผู้ออกแบและตรวจแบบ เพื่อความถูกต้ องตามมาตรฐานการไฟฟ้า
1. ความหมายของแบบรู ปแปลนไฟฟ้ า แบบรูปแปลนไฟฟ้า (ELECTRICAL PLAN) หมายถึง แบบรายละเอียดเกี่ยวกับการติดตั้งงาน ระบบไฟฟ้าภายในอาคาร โดยวิศวกรจะเป็ นผู้ออกแบบงานระบบไฟฟ้า เพื่อให้ ได้ มาตรฐานการไฟฟ้า โดย คานึงถึงความปลอดภัยของผู้พักอาศัยเป็ นหลัก โดยการใช้ เส้ นและสัญลักษณ์ แทนการเขียน
2. รายละเอียดทีแ่ สดงในแบบรู ปแปลนไฟฟ้ า ดวงโคมไฟฟ้ า (LIGHTING ) เป็ นการแสดงตาแหน่ งการติดตั้งดวงโคมของแต่ ละห้ อง โดยจะติด ตั้งอยู่ตรงกลางของห้ อง เพื่อให้ แสงสว่ างมีความพอเพียงกับการใช้ งานและอาจเพิม่ ดวงโคมย่ อยอีกได้ ตาม ความต้ องการของผู้ใช้ เพื่อความสวยงาม
รู ปที่ 1 ดวงโคม ไฟฟ้ า สวิ ตช์ ปิดเปิ ดไฟฟ้ า (SWITCH ) เป็ นการแสดงตาแหน่ งการติดตั้งสวิตช์ ปิดเปิ ดของดวงโคมไฟฟ้า ตามจุดที่ติดตั้งดวงโคมไฟฟ้า ซึง่ ตามมาตรฐานการไฟฟ้าให้ ติดตั้งสูงจากพื้น 1.20 เมตร
รู ปที่ 2 สวิตช์ปิดเปิ ด ไฟฟ้ า
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
8
2
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เต้ารับ (RECEPTACLE ) เป็ นการแสดงตาแหน่ งการติดตั้งเต้ ารับ โดยต้ องคานึงถึงการใช้ งานเป็ น หลัก ได้ แก่ ตาแหน่ งการจัดวางเฟอร์ นิเจอร์ ซึง่ ตามมาตรฐานการไฟฟ้าให้ ติดตั้งสูงจากพื้น 0.30- 1.20 เมตร ตามความเหมาะสมของการใช้ งาน
รู ปที่ 3 เต้ารับ แผงควบคุมไฟฟ้ า (MAIN BOARD ) เป็ นการแสดงตาแหน่ งการติดตั้งแผงควบคุมไฟฟ้าซึง่ ทา หน้ าที่ในการควบคุมระบบไฟฟ้าของอาคารทั้งหมด โดยการติดตั้งควรที่จะติดตั้งในตาแหน่ งที่ทุกคนสามารถ มองเห็นได้ ชัดเจน เพื่อสะดวกในการแก้ ไขและยามฉุกเฉินในกรณีไฟฟ้ารัดวงจร ซึง่ ตามมาตรฐานการไฟฟ้า ให้ ติดตั้งสูงจากพื้นไม่ ต่ากว่ า 1.50 เมตร
รู ปที่ 4 แผงควบคุม ไฟฟ้ า ตารางแสดงรายละเอียดของการใช้ ไฟฟ้ า (LOAD SCHEDULE ) เป็ นการแสดงรายละเอียดของแผงสวิตช์ โดย วิศวกรไฟฟ้ าจะเป็ นผูก้ าหนดตารางรายละเอียด ขนาดและชนิดของสายไฟฟ้ าที่ใช้ในแต่ละวงจร
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
สัญลักษณ์
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
8
3
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
ความหมาย
Electrical Riser Diagram (แผงวงจรไฟฟ้ า)
Telephone Riser Diagram (แผงวงจรโทรศัพท์)
Cable TV Riser Diagram (แผงวงจรทีวี)
เนื้อหาการสอน
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
8
4
จานวน 6 ชัว่ โมง
รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ชื่อสถานศึกษา:
สัญลักษณ์
ความหมาย Detail Panel Board (แบบขยายตาแหน่งแผง ควบคุม)
PULL BOX CONOUT
WIRE WAY
PANEL BOARD
1.80 FLOOR
ตาแหน่ งสวิทซ์ และปลัก๊ ทั่วไป
0.15
0.30
1.20
0.15
0.10
0.15
1.20
1.20
0.15
ตาแหน่ งสวิทซ์ และปลัก๊ ใน ห้ องครัว ห้ องเตรียมอาหาร และห้ องนา้
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
8
5
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
3. สั ญลักษณ์ และมาตราส่ วนแบบรูปแปลนไฟฟ้า วางแนวของรูปแบบให้ เหมาะสมกับกระดาษโดยใช้ มาตราส่ วน (SCALE) 1:100 เป็ นบรรทัดฐาน เพื่อความสวยงาม
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
8
6
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
8
7
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
4. ลาดับขั้นตอนในการเขียนแบบผังไฟฟ้ า แบบผังไฟฟ้าทีจ่ ะนาไปใช้ ประโยชน์ ทั้งเป็ นแบบหลักในการติดตั้งระบบแสงสว่างและอืน่ ๆภายในอาคารทั้งหมด 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
พิจารณาบ้ านพักอาศัย เพื่อเขียนผังไฟฟ้าเพื่อสะดวกในการดูแบบถ้ าบ้ านพักอาศัยขั้นเดียว จะเขียนผังพืน้ นอกเหนือจากผังพืน้ ของอาคารปกติเพิ่ม 2แบบ การเขียนผังพืน้ ต่ างๆดังกล่าวให้ตัดรายละเอียดตามความเหมาะสม เช่ น มิติ อักษรแสดงรายละเอียดเกีย่ วกับประตู ป1 หน้ าต่ าง ป3 จัดวางรู ปให้เหมาะสมกับหน้ ากระดาษ เขียนสัญลักษณ์ ไฟฟ้าลงในแบบที่เตรียมไว้ เขียนเส้ นแสดงทางเดินสายเมน ด้วยเส้ นตรง เขียนเส้ นแสดงการต่ อสาย กาหนดตาแหน่ งดวงโคมไฟ เขียนตารางสัญลักษณ์ ไฟฟ้า
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
8
8
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
สรุ ปบทเรี ยนหน่วยที่ 8 แบบรูปแปลนไฟฟ้า (ELECTRICAL PLAN )เป็ นแบบที่แสดงการติดตั้งระบบไฟฟ้าและอุปกรณ์ ต่ างๆภายในอาคาร ซึง่ ผู้เขียนต้ องออกแบบให้ มีความสัมพันธ์ กันกับการใช้ งานและจะต้ องมีระบบป้องกันที่ดี ด้ วย ซึง่ สอดคล้ องกับแนวคิดของลือชัย ทองนิล (2545:35 ) ที่กล่ าวว่ าระบบไฟฟ้าจะทางานได้ ดีและมี ประสิทธิภาพ จาเป็ นต้ องมีระบบการป้องกันที่ดีด้วยเช่ นกัน
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
9
1
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
การเขียนแบบรูปแปลนสุ ขาภิบาล แบบรูปแปลนสุขาภิบาล เป็ นแบบรูปหนึง่ ทีแ่ สดงตาแหน่ งของการระบายน้าเสียออกจากตัว อาคาร โดยมีการบาบัดน้าเสียก่ อนไหลลงสู่ท่อระบายน้าสาธารณะ รวมถึงระบบการเดินของท่ อน้าเข้ า โดย มีความสัมพันธ์ กับการใช้ งานในแต่ ละพื้นที่
1. ความหมายของแบบรู ปแปลนสุขาภิ บาล แบบรูปแปลนสุขาภิบาล (SANITARY ) หมายถึง แบบที่แสดงรายละเอียดของระบบน้า ทัง้ นา้ ดี และน้าเสีย โดยการเขียนการเดินแนวท่ อน้าดี น้าเสีย รวมถึงตาแหน่ งของการติดตั้งบ่ อพักและบ่ อเกรอะ บ่ อซึม โดยให้ มีการระบายน้าที่ดีมีความสัมพันธ์ กัน เช่ น ห้ องน้า ห้ องครัว และพื้นที่ต่าง ๆ ที่มีการใช้ น้า ภายในอาคาร โดยการใช้ เส้ นและสัญลักษณ์ แทนการเขียน
2. รายละเอียดทีแ่ สดงในแบบรู ปแปลนสุขาภิ บาล ท่อน้าดีหรื อท่อประปา (COLD WATER PIPE ) เป็ นท่ อนา้ ดีทีต่ ่ อจากแนวท่ อนา้ ภายนอกอาคาร โดย ผ่ านมิเตอร์ น้าที่อยู่ภายนอกอาคารแล้ วเดินระบบท่ อเข้ ามาใช้ งานกับสุขภัณฑ์ หรือในส่ วนที่มีการใช้ น้าปกติ นิยมใช้ ท่อ PVC (อย่ างหนา) ขนาด 3/4 นิ้ว และทาการลดขนาดลงเหลือ 1/2นิ้ว เพื่อเข้ าก๊ อกน้าและสุขภัณฑ์ ท่อน้าเสียหรื อท่อน้าทิ้ ง (WASTE PIPE) เป็ นท่ อที่รับน้าทิง้ จากห้ องน้า ห้ องครัว บริเวณซักล้ างและใน ส่ วนที่มีการใช้ น้า ปกตินิยมใช้ ท่อ PVC (อย่ างหนา ) หรือท่ อซีเมนต์ ใยหิน (ASBESTOD) ขนาดตั้งแต่ 2 นิ้วขึน้ ไป โดยการเดินท่ อต้ องมีความลาดเอียงตั้งแต่ 1:200 ขึน้ ไป เพื่อทาให้ ระบายน้าเสียได้ อย่ างรวดเร็ว
รู ปที่ 1 ท่อน้ าเสียหรื อท่อน้ า ทิ้ง
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
9
2
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
ท่อโสโครกหรื อท่อส้วม (SOIL PIPE) เป็ นท่ อที่รับน้าทิง้ และของเสียจากโถส้ วม ปกตินิยมใช้ ท่อ PVC (อย่ างหนา ) ขนาด 4 นิ้วและต่ อลงบ่ อเกรอะ -บ่ อซึมหรื อถังบาบัดสาเร็จรู ป โดยการเดินท่ อต้ องมีความลาด เอียงตั้งแต่ 1:200 ขึน้ ไป เพื่อทาให้ ระบายน้าทิง้ และของเสียได้ อย่ างรวดเร็ว ท่ออากาศ (VENT PIPE) เป็ นท่ อที่ต่อจากท่ อส้ วมและสุขภัณฑ์ เพีอ่ ให้ อากาศเข้ าไปทาให้ ระบายนา้ ได้ ดี ไม่ เกิดปั ญหากาลักน้า (กาลักน้า หมายถึง เวลาใช้ น้าลาดลงไปในโถส้ วมและสุขภัณฑ์ น้าจะไหลลงช้ า กว่ าปกติมาก) ปกตินิยมใช้ ท่อ PVCขนาด 1 นิ้วและต่ อขึน้ ไปให้ สูง โดยปลายท่ อจะสวมข้ อต่ อท่ อสามทางและ หันปลายท่ อให้ อยู่ในแนวลมพัดผ่ าน เพื่อระบายอากาศได้ ดีขนึ้ บ่อพักน้าทิ้ ง (MAN HOLE) เป็ นบ่ อพักที่ต่อเชื่อมกับท่ อน้าทิง้ ซึง่ ทาหน้ าที่ในการดักสิ่งสกปรกที่ไหล มาตามท่ อ และเมื่อมีการอุดตันของน้าทิง้ ก็สามารถเปิ ดทาความสะอาดได้ ปกตินิยมใช้ เป็ นบ่ อพักสาเร็จรูป
รู ปที่ 2 บ่อพักน้ า ทิ้ง บ่อเกรอะ-บ่อซึม (SEPTIC TANK) เป็ นบ่ อพักที่ต่อเชื่อมกับท่ อโสโครกมีหน้ าที่รับของเสียจากโถส้ วม ลงสู่บ่อเกรอะ เป็ นบ่ อแรกโดยให้ จุลินทรีย์ตามธรรมชาติ เป็ นตัวทาลายกากของเสียแล้ วละลายเป็ นน้าเสีย ไหลลงสู่บ่อซึมและทาการระบายแบบธรรมชาติไปกับดิน โดยรอบบ่ อจะมีรูระบายอยู่รอบ ๆ
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
9
3
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รู ปที่ 3 บ่อเกรอะ-บ่อ ซึม บ่ อบาบัดสาเร็จรูป(SEPTIC TANK) เป็ นบ่อพักที่ต่อเชื่อมกับท่อโสโครกมีหน้าที่รับของเสียจากโถส้วม ลงสู่บ่อบาบัดสาเร็ จรู ปโดยให้แบคทีเรี ยเป็ นตัวทาลายกากของเสียแล้วละลายเป็ นน้ าทิ้งไหลลงสู่ท่อระบายน้ าสาธารณะ ได้เลยเนื่องจากผ่านการบาบัดน้ ามาแล้ว
รู ปที่ 4 บ่อบาบัด สาเร็ จรู ป
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
9
4
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รู ปที่ 5 การเดินท่องานระบบ สุขาภิบาล
รู ปที่ 6 การเดินท่องานระบบสุขาภิบาลจากชั้นบนลง ชั้นล่าง
เนื้อหาการสอน
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
9
5
จานวน 6 ชัว่ โมง
รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ชื่อสถานศึกษา:
3. สั ญลักษณ์ และมาตราส่ วนแบบรูปแปลนสุ ขาภิบาล
4. หลักการเขียนผังระบบสุขาภิบาล การเขียนผังระบบสุ ขาภิบาล ผู้เรียนจะต้ องศึกษาแบบและสัญลักษณ์ และระบบท่ อ ทั้งคาย่ อและสัญลักษณ์ เพราะการเขียนแบบผังสุ ขาภิบาล จะใช้ ลกั ษณะทั้งสองอย่ างประกอบกัน 1. เขียนผังบริเวณพืน ้ ทั้งหมดเพื่อบรรจุรายละเอียดสุ ขาภิบาล ระบบท่ อต่ างที่ออกจากตัวอาคาร 2. กาหนดสัญลักษณ์ ของเตริ่องสุ ขภัณฑ์และคาย่ อเช่ น โถส้ วมอักษรย่ อ (wc)อ่างล้างมิอ(lav) 3. กาหนดสัญลักษณ์ ท่อประปา
แยะจากท่ อเมน เป็ นท่ อย่ อยและส่ งไปยังจุดจ่ ายนา้ พร้ อมระบุขนาดของท่ อ
4. เขียนท่ อระบายนา้ เสียจากระบายนา้ ห้องครัว
อ่างซักล้างเคริ่องซักผ้าและอืน่ ๆตามสมควรโดยใช้ ท่อพีวซี ี
5. เขียนเส้ นของท่ อระบายโสโครกหนามากด้วยคาย่ อS จากโถส้ วม 6. เขียนต่าแหน่ งของบ่ อเกรอะบ่ อซึม โดยเขียนเส้ นประหนาเขียนคาย่ อ V 7. เขียนมิติความกว้างยาว
ท่ ออากาศกากับตามต่าแหน่ ง
ของส่ วนขยายห้องนา้ ห้องส้ วมพร้ อมทั้งหมายเลขหรือตัวอักษรกากับเสา
8. เขียนชื่อรู ปและมาตราส่ วนให้ชัดเจน
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
9
6
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
สรุ ปบทเรี ยนหน่วยที่ 9 แบบรูปแปลนสุขาภิบาล เป็ นแบบรูปหนึ่งที่แสดงตาแหน่ งของการระบายน้าทิง้ และการเดินท่ อ น้าประปาเข้ าอาคาร รวมถึงตาแหน่ งของบ่ อพักต่ าง ๆซึง่ สอดคล้ องกับแนวคิดของ พิภพ สุนทรสมัย (2546:229) ที่กล่ าวว่ าการระบายน้าสู่ทางระบายประธานสาธารณะและในที่สุดก็ถูกส่ งไปยังแม่ น้า คู คลอง โดย มิได้ มีการกาจัดให้ เป็ นน้าดีเสียก่ อน จึงอาจเป็ นอันตรายแก่ ผ้ ใู ช้ ได้ โดยเฉพาะอย่ างยิง่ น้าที่ถ่ายเทจากส้ วม ซึง่ จะไหลซึมผ่ านและปะปนร่ วมกับน้าฝนและน้าใต้ ดินจากแหล่ งอื่น นับเป็ นน้าเสียที่ต้องควบคุมและหาทาง กาจัดเสียก่ อนโดยคานึงถึงการใช้ น้าและการระบายน้าที่ถูกต้ องตามระบบสุขาภิบาล
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
10
1
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
การเขี ยนแบบรู ปขยายห้องน้า แบบรูปขยายห้ องน้าเป็ นแบบที่แสดงตาแหน่ งการวางสุขภัณฑ์ และการวางอุปกรณ์ ท่ใี ช้ ใน ห้ องน้า , ที่วางสบู่ , เคาน์ เตอร์ เป็ นต้ น เพื่อให้ ผ้ รู ับจ้ างได้ วางตาแหน่ งท่ อน้าทิง้ , ท่ อน้าดี และการจัดวาง ตาแหน่ งของสุขภัณฑ์ ตามแบบรูปแปลนพื้น
1. ความหมายของแบบรู ปขยายห้องน้า แบบรูปขยายห้ องน้า หมายถึง แบบที่แสดงการวางตาแหน่ งของสุขภัณฑ์ และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ภายในห้ องน้า ในการใช้ งานของเจ้ าของอาคาร ซึง่ ผู้เขียนจะเป็ นผู้ออกแบบให้ กับเจ้ าของอาคาร โดยใช้ การ วางตาแหน่ งต่ าง ๆ ให้ มีความสัมพันธ์ กัน โดยปั จจุบันห้ องน้าจะมีราคาการตกแต่ งค่ อนข้ างสูง เนื่องจาก ผลิตภัณฑ์ ของสุขภัณฑ์ ต่าง ๆ มีราคาค่ อนข้ างแพง รวมถึงมีการแข่ งขันทางธุรกิจใน การออกแบบ ดังนั้น ผู้เขียนจึงต้ องมีความทันสมัย และเลือกใช้ วัสดุต่าง ๆ ให้ เหมาะสมกับห้ องน้า
รู ปที่ 1 โถส้วมชนิดนัง่ ราบแบบหม้อน้ าเตี้ยและโถ ปัสสาวะชาย
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
รู ปที่ 2 อ่างล้างหน้าแบบฝัง เคาน์เตอร์
รู ปที่ 3 อ่างอาบน้ า
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
10
2
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
10
3
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รู ปที่ 4 ห้องอาบน้ า
รู ปที่ 5 โถส้วมชนิดนัง่ ราบแบบหม้อ น้ าเตี้ย
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
รู ปที่ 6 อ่างล้างหน้า
รู ปที่ 7 ฝักบัว อาบน้ า
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
10
4
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
10
5
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
2. รายละเอียดที่แสดงในแบบรูปขยายห้ องน้า ในการเขียนแบบรูปขยายห้ องน้า จะต้ องมีแบบรูปตัดอย่ างน้ อย 1 รูป เพื่อให้ ผ้ รู ับจ้ างได้ ทาการ ติดตั้งสุขภัณฑ์ ได้ ถูกต้ องตามหลักวิชาการ โดยผู้เขียนจะต้ องแสดงรายละเอียดของสุขภัณฑ์ และอุปกรณ์ เครื่องใช้ ต่างๆ ให้ ครบชัดเจนตลอดจนต้ องระบุยี่ห้อ สี ของสุขภัณฑ์ ให้ ครบถ้ วน เนื่องจากมีราคาไม่ เท่ ากันใน รายการประกอบแบบขยายห้ องน้า
3. วิ ธีใช้สญ ั ลักษณ์ และมาตราส่วนของการเขียนแบบรู ปขยายห้องน้า สัญลักษณ์ WC.
เครื่องหมาย โถส้วมชนิดนัง่ ราบแบบหม้อน้ าเตี้ย
โถปัสสาวะชาย UR.
อ่างล้างหน้าแบบฝังเคาน์เตอร์
LAV./V.
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
สัญลักษณ์
PH.
6
เครื่องหมาย ที่ใส่กระดาษชาระ
ฝักบัวอาบน้ า
สายชาระ
ราวพาดผ้า
S.
10
ชื่อสถานศึกษา:
S.
RH.
หน้ าที่
จานวน 6 ชัว่ โมง
ที่ใส่สบู่
SH.
ประจาสั ปดาห์ ที่
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
สัญลักษณ์
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
10
7
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เครื่องหมาย ก๊อกน้ าเตี้ย
ช่องระบายน้ าแบบดักกลิ่น COTTO
FD. กระจกส่องหน้า
M.
เนื้อหาการสอน ชื่อสถานศึกษา:
1.10
1.00
0.60
0.60
0.80
มาตราฐานการติดตัง้ สุขภัณฑ์
1.40
VARIES
VARIES
มาตราฐานการติดตัง้ สุขภัณฑ์
0.60
หน้ าที่
10
8
จานวน 6 ชัว่ โมง
1.80
รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
เนื้อหาการสอน
VARIES
VARIES
ชื่อสถานศึกษา:
มาตราฐานการติดตัง้ สุขภัณฑ์
0.65
0.55 0.80
1.40
หน้ าที่
10
9
จานวน 6 ชัว่ โมง
รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
มาตรฐานการติดตั้งสุ ขภัณฑ์
ประจาสั ปดาห์ ที่
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
10
10
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
10
11
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
10
12
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
มาตราส่วน (SCALE)
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
10
13
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
ควรใช้ มาตราส่ วนไม่ น้อยกว่ า 1:25
4. ลาดับขัน้ ตอนในการเขียนแบบแปลนขยายห้องน้า การเขียนแบบแปลนขยายห้องน้า ต้ องมีความรู้ทางด้ านอุปกรณ์ ภายในห้ องน้าพอสมควรเพื่อให้ ห้องน้าที่ได้ ออกแบบไปมีความทันสมัย 1. ขั้นตอนการเขียนแบบแปลนขยายห้ องน้าต้ องมีแบบแปลนพื้นมาประกอบเพื่อดูตาแหน่ งของ สุขภัณฑ์ ที่ผ้ เู ขียนได้ กาหนดไว้ ในแบบแปลนพื้นเพื่อขยายให้ ผ้ รู ับจ้ างทางานได้ อย่ างถูกต้ องตามแบบ 2. เขียนเส้ นศูนย์ กลางเสาก่ อนโดยใช้ ไม้ SCALE วัดขนาดเส้ นศูนย์ กลางตามแนวนอนแล้ วขีด เส้ นแนวตั้งจากล่ างขึน้ บนตามแนวที่กาหนดจากแบบและใช้ ไม้ SCALE วัดขนาดเส้ นศูนย์ กลางตามแนวตั้ง แล้ วขีดเส้ นแนวนอนจากซ้ ายไปขวาจะได้ เส้ นศูนย์ กลางเสาแต่ ละต้ น 3. ใช้ไม้ SCALE วัดจากเส้นศูนย์กลางเสาตามแนวนอนออกมาข้างละ10 เซนติเมตรทั้งสองข้างแล้วขีด เส้นแนวตั้งจากล่างขึ้นบนตามแบบที่กาหนดและหมุนดินสอเล็กน้อยใช้ไม้ SCALE วัดจากเส้นศูนย์กลางเสาตามแนวตั้ง
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
10
14
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
ออกมาข้างละ 10 เซนติเมตรทั้งสองข้างแล้วขีดเส้นแนวนอนจากซ้ายไปขวาจะได้เสาขนาด 0.20x0.20 เมตรตามแบบที่ กาหนด
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
10
15
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
4. การเขียนผนังให้ ดูแบบแปลนพื้นประกอบว่ าขนาดของห้ องที่ได้ กาหนดไว้ ขนาดเท่ าไร 5. การเขียนผนังของอาคารให้ เขียนจากริมเสาด้ านนอกเป็ นหลัก ผนังของอาคารนั้นจะมีขนาด เท่ ากับ 10 เซนติเมตร การเขียนรายละเอียดของประตู หน้าต่าง ลงในแบบแปลนขยายห้ องน้า ให้ นาแปลนพื้นมาดูประกอบด้ วยเพื่อทาการเขียนตาแหน่ งของประตู หน้ าต่ าง ให้ ถูกต้ องตามแบบที่กาหนดไว้ ในแบบแปลนพื้น 1. ทาการขีดเส้ นของศูนย์กลางของประตู หน้ าต่าง เมื่อได้ ตาแหน่งที่ถกู ต้ องแล้ วทาการวัดขนาดของประตู หน้ าต่างว่ามีขนาดเท่าไรและใช้ วสั ดุชนิดใด 2. การเก็บรายละเอียดต่าง ๆ ของประตูหน้ าต่างให้ เขียนแบบเดียวกับขันตอนที ้ ่ได้ เขียนมาแล้ วและต้ องมี ความละเอียดอย่างมากเพื่อผู้รับจ้ างจะได้ ทางานอย่างถูกต้ องตามแบบที่กาหนด การเขียนสุขภัณฑ์ ลงในแบบแปลนขยายห้องน้า ต้ องนาแปลนพื้นมาดูประกอบด้ วย เพื่อทาการเขียนตาแหน่ งของสุขภัณฑ์ ให้ ถูกต้ องตามแบบที่กาหนดไว้ ใน แบบแปลนพื้น 1. ทาการขีดเส้ นของศูนย์กลางของสุขภัณฑ์และเคาน์เตอร์ เมื่อได้ ตาแหน่งที่ถกู ต้ องแล้ วทาการวัดขนาด สุขภัณฑ์และเคาน์เตอร์ ว่ามีขนาดเท่าไรและใช้ วสั ดุชนิดใด 2. การเก็บรายละเอียดผนังและแนวเส้ นตัดในส่วนผนังก็เขียนโดยใช้ สัญลักษณ์แบบเดียวกับแปลนพื ้นให้ ทาการเก็บรายละเอียดให้ หมด การเขียนรายละเอียดของพื้นพื้นห้องน้า มีความสาคัญมากในการเลือกใช้ วัสดุควรใช้ วัสดุท่ที ันสมัย 1. การเขียนพื ้นกระเบื ้องห้ องน ้า จะมีขนาด 8”x8” และในส่วนที่ขาดไม่ได้ ก็คือช่องท่อระบายน ้าจะมีขนาด แตกต่างกันไปผู้เขียนจะเป็ นผู้กาหนดว่าจะใช้ ประเภทไหนที่เหมาะสมที่สดุ 2. การเขียนแนวตัดของผนังที่เราต้ องการให้ เห็นเฉพาะในส่วนที่เราต้ องการขยาย
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
10
16
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
3. การเขียนรายละเอียดในส่ วนของสัญลักษณ์ ต่าง ๆ เช่ น ประตู หน้ าต่ าง ผนัง ฝ้าเพดาน ระดับ ของพื้นที่ใช้ สอยต่ าง ๆ รวมถึงรายละเอียดในส่ วนของแนวเส้ นตัดของแบบรูปตัดขยายห้ องน้าด้ วย 4. การเขียนรายละเอียดในส่ วนของเส้ นบอกระยะต่ าง ๆ และการเขียนบอกมาตราส่ วนในการ เขียนแบบแปลนขยายห้ องน้า 5. นาแบบที่เขียนมาวางบนโต๊ ะ เพื่อดูแนวตัดของแบบแปลนขยายห้ องน้า ขั้นตอนการเขียนแบบขยายห้ องนา้ (รูปตัด) 1. ทาการร่ างแบบรูปตัดตามความเข้ าใจ ในเศษกระดาษก่ อน เพื่อตรวจสอบความถูกต้ อง โดย ปรึกษา ครูก่อน ทาการเขียนแบบจริง 2. เมื่อผ่ านการตรวจสอบจากครูแล้ ว ให้ นากระดาษที่ร่างแบบมาเขียน โดยเริ่มขั้นตอนการเขียน แบบ (โครงสร้ าง) ตามลาดับดังนี้ 3. ทาการใช้ ไม้ SCALE วัดระยะห่างของเสาก่อน โดยใช้ ความกว้ างของแบบแปลนขยายห้ องน ้า 4. ลากเส้ นระดับอ้ างอิงในแนวนอน โดยใช้ ความกว้ างของแบบแปลนขยายห้ องน ้า 5. ลากเส้นในแนวตั้งฉากมุมซ้ายลงมาประมาณ 3.00 เมตร
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
10
17
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
6. ดูแบบแปลนว่าพื ้นอาคารสูงเท่าไร เช่น 0.40 เมตร ก็วดั จากระดับอ้ างอิงขึ ้นไป เส้ นระดับพื ้น
40เซนติเมตรก็จะได้
7. แล้ วใช้ ไม้ SCALE วัดความสูงจากเส้ นระดับพื ้นขึ ้นไปอีกประมาณ 2.60 เมตร ก็จะได้ เส้ นระดับฝ้า เพดาน 8. ให้ ใช้ ไม้ SCALE วัดเส้ นศูนย์กลางของเสาแต่ละช่วง โดยดูแบบจากแปลนขยายห้ องน ้าจากซ้ ายไปขวา จะได้ เส้ นศูนย์กลางของเสา 9. ให้ ใช้ ไม้ SCALE วัดเส้ นจากศูนย์กลางของเสาออกมาข้ างละ10 เซนติเมตรทัง้ 2 ด้ าน ก็จะ ได้ เสาขนาด 0.20 เมตร ทุกต้ น 10. ให้ ใช้ ไม้ SCALE วัดเส้ นจากเส้ นแนวระดับพื้นห้ องน้าลงมา10 เซนติเมตร (พื้นหล่ อในที่มีความ หนา 10 เซนติเมตร เมื่อเทคอนกรีตเรียบร้ อยแล้ ว) 11. ให้ ใช้ ไม้ SCALE วัดเส้ นจากแนวท้ องระดับพืน้ ลงมา 30 เซนติเมตร(กาหนดให้ คานลึก 30 เซนติเมตร) ก็จะได้ เส้ นระดับคานรับพื้น โดยลากเส้ นยาวจากซ้ ายไปขวา
การเขียนรายละเอียดในส่วนของผนัง ให้ ทาการดูแนวตัดจากแบบ โดยดูจากมุมซ้ ายสุดของแนวตัดแล้ วมองตามไปจนสิ้นสุดสายตามองเห็นผนัง ตรงไหนก็เขียนในส่ วนนั้นๆ แล้ วเริ่มเขียนจากซ้ ายไปขวาเรื่อยๆ จนถึงมุมขวาสุดตามแนวตัดของแบบ แนว ตัดของผนังให้ ไปดูในส่ วนของสัญลักษณ์ รูปตัด ถ้ าแนวตัดตัดเห็นประตูก็ให้ เขียนประตูลงไปด้ วยเลยโดยดู สัญลักษณ์ ในส่ วนของประตู การเขียนรายละเอียดในส่วนของหน้าต่าง ให้ ทาการดูแนวตัดจากแบบ โดยดูจากมุมซ้ ายสุดของแนวตัดแล้ วมองตามไปจนสิ้นสุดสายตามองเห็น หน้ าต่ างตรงไหนก็เขียนในส่ วนนั้นๆ แล้ วเริ่มเขียนจากซ้ ายไปขวาเรื่อย ๆ จนถึงมุมขวาสุดตามแนวตัดของ แบบ แนวตัดของหน้ าต่ างให้ ไปดูในส่ วนของสัญลักษณ์ รูปตัด การเขียนรายละเอียดในส่วนของฝ้ าเพดาน
เนื้อหาการสอน
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
10
18
จานวน 6 ชัว่ โมง
รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ชื่อสถานศึกษา:
ผู้เขียนแบบต้ องเป็ นผู้ออกแบบเองว่ าจะใช้ ฝ้าเพดานชนิดใดทั้งภายนอกและภายใน โดยส่ วนมากนั้นจะใช้ ฝ้า เพดานชนิดฝ้าเพดานยิบซั่มบอร์ ดฉาบรอยต่ อเรียบและฝ้าเพดาน T-BAR โครงเคร่ าอลูมิเนียม (ในส่ วนของ ความสูงไม่ ควรต่ากว่ า 2.50 เมตร) การเขียนรายละเอียดในส่วนของห้องน้า โดยดูแบบแปลนขยายห้ องน้าประกอบและดูจากมุมซ้ ายสุดของแนวตัดแล้ วมองตามไปจนสิ้นสุดสายตา มองเห็นผนังตรงไหนก็เขียนในส่ วนนั้น ๆ แล้ วเริ่มเขียนจากซ้ ายไปขวาเรื่อย ๆ จนถึงมุมขวาสุดตามแนวตัด ของแบบ การเขียนรายละเอียดในส่ วนของสุ ขภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น โถส้วม อ่างล้างหน้า ที่ใส่กระดาษชาระ กระจก ฝักบัว ที่ใส่สบู่ โดยรู ปแบบต่าง ๆ ของคาย่อเหล่านี้ให้ไปดูที่ สัญลักษณ์
SH.
S. LAV.
LAV./V. PH. WC.
เส้ นระดับพื ้นห้ องน ้า
RH.
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
10
19
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
สรุปบทเรียนหน่ วยที่ 10 แบบรูปขยายห้ องน้าเป็ นแบบที่สาคัญแบบหนึ่ง ซึง่ เป็ นแบบที่แสดงตาแหน่ งการติดตั้งสุขภัณฑ์ ระยะการติดตั้ง รวมถึงแนวการวางท่ อส้ วม ท่ อน้าทิง้ และท่ อน้าดี เพื่อให้ ผ้ รู ับจ้ างได้ วางตาแหน่ งในขณะทา การก่ อสร้ างงานโครงสร้ างพื้นห้ องน้า ซึง่ สอดคล้ องกับแนวคิดของเจริญ เสาวภาณี (2549:77) ที่กล่ าว ว่ า ระยะของการติดตั้งมีความสาคัญอย่ างมาก เนื่องจากต้ องเตรียมการฝั งท่ อน้าดี ท่ อน้าทิง้ และท่ อโสโครก ให้ ได้ ระยะตาแหน่ งที่แน่ นอน
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
11
1
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
การเขียนแบบรูปขยายประตู หน้ าต่ าง 1. ความหมายของแบบรู ปขยายประตู หน้าต่าง แบบรู ปขยายประตู หน้าต่าง หมายถึง แบบขยายที่บอกรายละเอียด ขนาดของวัสดุที่ใช้ ระยะความกว้าง ความ สูง และการติดตั้งที่ถกู ต้องตามหลักวิชาการ โดยเน้นความสวยงาม ความคงทนตลอดจนความเหมาะสมและทันสมัยเป็ น สาคัญ
รู ปที่ 1 บาน ประตู
รู ปที่ 2 บานประตูลกู ฟัก
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
11
2
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รู ปที่ 3 บานหน้าต่าง ฟัก
รู ปที่ 4 การติดตั้งวงกบหน้าต่าง ฟัก
2. รายละเอียดที่แสดงในแบบรูปขยายประตู หน้ าต่าง รายละเอียดที่แสดงในแบบรูปขยายประตู หน้ าต่าง ได้ แก่ รายละเอียดของวัสดุและอุปกรณ์ในการติดตั้ง รวมถึงขนาดความกว้างและความสู งของประตู หน้ าต่าง
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
11
3
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
3. สั ญลักษณ์ และมาตราส่ วนของการเขียนแบบรูปขยายประตู หน้ าต่าง สัญลักษณ์ ได้แก่ แบบรู ปขยายประตู หน้าต่าง มาตราส่วน(scale )ที่ใช้ 1:20 สัญลักษณ์
ความหมาย
1
2.00
ประตูบานเปิ ดเดี่ยว 2
1 ประตูบานเปิ ดกระจกติดตาย 2 ประตูบานเปิ ดลูกฟักไม้กระจกติดตาย
1
2.00
ประตูบานเลือ่ น ประตูบานเลือ่ นกระจกติดตาย
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
11
4
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
2.00
ประตูบานเปิ ดคู่ ประตูบานเปิ ดลูกฟักไม้และกระจกติดตาย
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
สัญลักษณ์
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
11
5
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
ความหมาย
หน้าต่างบานเปิ ดจานวน 3 บาน หน้าต่างบานเปิ ดและกระจกติดตาย
0.90
2.00
1.10
0.90
2.00
1.10
หน้าต่างบานเกล็ดจานวน 2 ช่อง
0.90
2.00
1.10
หน้าต่างบานเปิ ดจานวน 2 บาน หน้าต่างบานเปิ ดและกระจกติดตาย
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
สัญลักษณ์
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
11
6
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
ความหมาย หน้าต่างบานกระทุง้ จานวน 2 บาน
2.00 1.50
0.50
1.05
ช่องลมจานวน 2 ช่อง
2.00 1.50
0.50
1.05
2.00 1.50
0.50
0.50
0.50
หน้าต่างบานกระทุง้ จานวน 1 บาน ช่องลมจานวน 1 ช่อง
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
11
7
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
ขั้นตอนการเขียนแบบรู ปขยายประตู การเขียนแบบรูปขยายประตู หน้ าต่าง ต้องมีความรู้ทางด้ านอุปกรณ์ของประตูหน้ าต่างว่ามีวสั ดุอะไร ออกมาใหม่บ้าง เมือ่ เวลาออกแบบจะได้ มคี วามทันสมัย ขั้นตอนการเขียนแบบรูปขยายประตู หน้ าต่างต้องมีแบบแปลน พืน้ มาประกอบ เพือ่ ดูขนาดของประตู หน้ าต่างว่ามีขนาดเท่ าไรบ้ าง เพือ่ จะนามาเขียนแบบขยายให้ ผ้รู ับจ้างนาไป ก่อสร้ างได้ อย่างถูกต้อง 1. ขั้นตอนแรกให้ เขียนเส้ นในแนวนอน 1 เส้ น ในแนวตั้ง 1 เส้ นให้ เป็ นเส้ นฉากเพือ่ กาหนดขนาดของประตู หน้ าต่างตามแบบที่กาหนดไว้โดยใช้ ดินสอเขียนจากด้ านซ้ ายไปด้ านขวาและจากด้ านล่างขึน้ บน แล้วหมุนดินสอเล็กน้ อย เพือ่ ให้ เส้ นเบาสมา่ เสมอ 2. ใช้ ไม้ SCALE วัดขนาดเส้ นตามแนวนอนออกมาช่ วงที่ 1 และช่ วงที่ 2 ออกไป80เซนติ เมตร ตามแบบที่ กาหนดแล้ววัดขนาดเส้ นตามแนวตั้งขึน้ ไป 2.00 เมตร โดยวัดจากล่างขึน้ บนตามที่แบบกาหนดขีดเส้ นแนวตั้งจากล่างขึน้ บนตามแนวที่กาหนดจากแบบและขีดเส้ นแนวนอนจากซ้ ายไปขวา 3. การเขียนกรอบบานนั้นจะใช้ ไม้ขนาด 2”x4” จึงมีขนาดเท่ ากับ10 เซนติเมตรการเขียนกรอบบานนั้นให้ ใช้ ไม้ SCALE วัดจากเส้ นขอบประตูเข้ ามา10 เซนติเมตรโดยรอบ แล้วขีดเส้ นจากซ้ ายไปขวาและจากล่างขึน้ บนโดยรอบ จนได้ กรอบบานของประตู 4. การเขียนลูกฟักนั้นจะใช้ ไม้ขนาด 2”x2” จึงมีขนาดเท่ ากับ 5 เซนติเมตรแต่ระยะห่ างในแต่ละช่ องนั้น ผู้ออกแบบเป็ นผู้กาหนดทั้งหมดในแบบขยายต่อไปนี้ ให้ ใช้ ไม้ SCALE วัดแบ่ งครึ่งของประตูแต่ละบานก่อนเมือ่ ได้ จานวนช่ องครบทั้ง 4 ช่ องแล้ว ให้ ใช้ ไม้ SCALE วัดแบ่ งช่ องในแนวตั้งอีกครึ่งหนึ่ง ก็จะได้ ช่องของลูกฟักทั้งหมดจานวน 8 ช่ อง ขั้นตอนการเขียนแบบรูปขยายประตู 1. การเขียนใส่รายละเอียดหมายเลขของประตูลงในแบบขยายประตู
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
11
8
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
2. การเขียนระยะในแบบบอกขนาดต่าง ๆ ของแบบขยายประตู เพื่อนาไปก่อสร้างตามแบบที่กาหนดได้ อย่างถูกต้อง 3. การเขียนบอกมาตราส่วนในแบบขยายประตู ขั้นตอนการเขียนแบบรูปขยายหน้ าต่าง 1. ขัน้ ตอนแรกให้เขียนเส้นในแนวนอน 1 เส้น ในแนวตัง้ 1 เส้นให้เป็ นเส้นฉาก เพื่อกาหนดขนาดของประตู หน้าต่าง ตามแบบที่กาหนดไว้ โดยใช้ดินสอเขียนจากด้านซ้ายไปด้านขวาและจากด้านล่างขึ้นบน แล้วหมุนดิ นสอ เล็กน้อยเพื่อให้เส้นเบาสม่าเสมอ 2. ใช้ไม้ SCALE วัดขนาดเส้นตามแนวนอนออกมาช่วงที่ 1 ช่วงที่ 2 และช่วงที่ 3 ออกไป 60 เซนติเมตร ตามแบบที่กาหนดแล้ววัดขนาดเส้นตามแนวตั้งขึ้นไป 1.10 เมตร โดยวัดจากล่างขึ้นบนตามที่แบบกาหนด ขีดเส้นแนวตั้ง จากล่างขึ้นบนตามแนวที่กาหนดจากแบบและขีดเส้นแนวนอนจากซ้ายไปขวา 3. การเขียนกรอบบานนัน้ จะใช้ไม้ขนาด 2”x4” จึงมีขนาดเท่ากับ 10 เซนติ เมตรการเขียนกรอบบานนัน้ ให้ วัดจากเส้นขอบประตูเข้ามา 10 เซนติ เมตร โดยรอบแล้วขีดเส้นจากซ้ายไปขวาและจากล่างขึ้นบนโดยรอบจนได้กรอบ บานของประตู 4. การเขียนลูกฟักนัน้ จะใช้ไม้ขนาด 2”x2” จึงมีขนาดเท่ากับ 5 เซนติ เมตรแต่ระยะห่างในแต่ละช่องนัน้ ผูอ้ อกแบบเป็ นผูก้ าหนดทัง้ หมดในแบบขยายต่อไปนี้ให้แบ่งครึ่ งของประตูแต่ละบานก่อนเมื่อได้จานวนช่องครบทัง้ 2 ช่อง 5. การเขียนวงกบประตูนนั้ จะใช้ไม้ขนาด 2”x4” จึงมีขนาดเท่ากับ 5 เซนติ เมตร (ในกรณี ที่เป็ นรูปด้านข้าง ของวงกบ) การเขียนวงกบประตูนนั้ ให้วดั จากเส้นของประตูออกไปข้างละ 5 เซนติ เมตรโดยรอบแล้วขีดเส้นจากซ้ายไป ขวาและจากล่างขึ้นบนจนได้วงกบของประตู 6. การเขียนใส่รายละเอียดหมายเลขของประตูลงในแบบขยายประตู 7. การเขียนระยะในแบบบอกขนาดต่าง ๆ ของแบบขยายประตู เพื่อนาไปก่อสร้างตามแบบที่กาหนดได้ อย่างถูกต้อง 8. การเขียนบอกมาตราส่วนในแบบขยายประตู
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
สรุ ปบทเรียนหน่ วยที่
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
11
9
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
11
แบบขยายประตู หน้าต่างเป็ นแบบที่ตอ้ งการบอกรายละเอียดของวัสดุ อุปกรณ์ ประตู หน้าต่างโดยมี ความสอดคล้องกับแบบรูปแปลนพื้นและรูปด้านทัง้ 4 รูป โดยเน้นในเรื่องความสวยงามและความทันสมัยเป็ นสาคัญ
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
12
1
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
การเขียนแบบรูปขยายทางสถาปัตย์ (แบบรูปขยายโครงสร้ างหลังคา) แบบรู ปขยายรายละเอียดทางสถาปัตย์ เป็ นแบบรู ปที่แสดงถึงจุดขยายต่าง ๆ ในงานสถาปัตย์ที่ตอ้ งการให้ผู้ รับจ้างได้ดาเนินการก่อสร้างได้ถกู ต้อง โดยสถาปนิกหรื อผูเ้ ขียนจะเป็ นผูก้ าหนดจุดขยายเช่น ขยายโครงสร้างหลังคา ขยายห้องน้ า ขยายประตูหน้าต่าง เป็ นต้น เพื่อขยายรู ปแบบให้กบั ผูร้ ับจ้าง เพื่อจะได้ดาเนินการก่อสร้างอย่างถูกต้อง
1. ความหมายของแบบรู ปขยายโครงสร้างหลังคา แบบรูปขยายโครงสร้างหลังคาหมายถึง แบบขยายที่แสดงการติ ดตัง้ ของโครงสร้างหลังคาได้แก่ ขนาดของ วัสดุ ระยะห่างกัน ความสูง และการติ ดตัง้ ที่ถูกต้องตามหลักวิ ชาการ โดยเน้นความสวยงาม ความคงทนตลอดจนความ เหมาะสมและทันสมัยเป็ นสาคัญ
รู ปที่ 1 โครงสร้าง หลังคา
เนื้อหาการสอน
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
12
2
จานวน 6 ชัว่ โมง
รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ชื่อสถานศึกษา:
2. รายละเอียดที่แสดงในแบบรู ปขยายโครงสร้างหลังคา รายละเอียดที่แสดงในแบบรูปขยายโครงสร้ างหลังคาได้ แก่ แบบขยายโครงสร้ างจัว่ แบบขยายระยะห่ างของ แป แบบขยายชายคา โดยนามาจากแบบรูปแปลนโครงหลังคา 0.08 เจาะรู @ 1/4" ตามลอน หงายของกระเบื ้องทุกลอน
5 0.0
ครอบสันโค้ ง ติดแผ่น WAKAFLEX รี ดให้ แนบกับ หลังคาระยะทับกัน 5 ซม.
25 0.0
จันทันเหล็กหรื อไม้ เนื ้อแข็ง
อกไก่เหล็กหรื อไม้ เนื ้อแข็ง
แบบขยาย การจัดวางอกไก่ มาตราส่วน
1 : 10
เนื้อหาการสอน
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
12
3
จานวน 6 ชัว่ โมง
รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ชื่อสถานศึกษา:
สีตามระบุในแบบ 0.25 ระแนงเหล็กหรื อไม้ เนื ้อแข็ง
รางน ้าสังกะสีเบอร์ 28 (พับตามแบบ)
0.05-0.10
จันทันพรางเหล็กหรื อไม้ เนื ้อแข็ง
0.20 เหล็กหรื อไม้ เนื ้อแข็งรับรางน ้า ตะเข้ รางเหล็กหรื อไม้ เนื ้อแข็ง
แบบขยาย การทาตะเฆ้ ราง มาตราส่วน 1 : 10
0.34
0.30 0.34
0.30 กระเบื ้องซีแพคโมเนีย
ระแนงเหล็กหรือไม้ เนื ้อแข็ง
จันทันเหล็กหรือไม้ เนื ้อแข็ง
แบบขยาย การจัดวางระแนง มาตราส่วน 1 : 10
เนื้อหาการสอน
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
12
4
จานวน 6 ชัว่ โมง
รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ชื่อสถานศึกษา:
0.30
0.34
กระเบื ้องซีแพคโมเนีย
ระแนงเหล็กหรือไม้ เนื ้อแข็ง
จันทันเหล็กหรือไม้ เนื ้อแข็ง
เชิงชายไม้ เนื ้อแข็ง ขนาด 1"x6" เชิงชายไม้ เนื ้อแข็ง ขนาด 1"x8"
แบบขยาย การจัดวางเชิงชาย มาตราส่วน
1 : 10
3. สัญลักษณ์ และมาตราส่ วนของการเขียนแบบรูปขยายโครงสร้ างหลังคา สัญลักษณ์ ได้แก่ แบบรูปขยายโครงสร้างหลังคา มาตราส่วนที่ใช้ 1:10
4. ขั้นตอนการเขียนแบบรู ปขยายโครงสร้างหลังคา 1. วางแนวของรูปแบบให้เหมาะสมกับกระดาษโดยใช้มาตราส่วน (SCALE) 1:10 เป็ นบรรทัดฐาน เพื่อ ความสวยงาม 2. ร่างเส้นแนวจันทันทามุม 30 องศาตามแบบขยายรูปตัดในส่วนของโครงหลังคา 3. วัดระยะของแปห่างกัน 0.30 – 0.34 เมตร เพื่อขยายการมุงกระเบื้องในส่วนของจัว่ และเขียนรายละเอียด ประกอบแบบของโครงสร้างหลังคา
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
12
5
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
สรุปบทเรียนหน่ วยที่ 12 แบบรูปขยายโครงสร้างหลังคาเป็ นแบบขยายรายละเอียดของการก่อสร้างและการติ ดตัง้ โครงสร้างหลังคา ตามจุดที่สาคัญ ที่ตอ้ งการให้ผรู้ ับจ้างทางานอย่างถูกต้องตามหลักวิ ชาการรวมถึงเน้นความสวยงามซึ่งสอดคล้องกับ แนวคิ ดของ เจริ ญ เสาวภาณี (2549:71) ที่กล่าวว่าเป็ นแบบที่ไม่เกี่ยวข้องกับความมัน่ คงแข็งแรง แต่จะเกี่ยวข้องใน เรื่องความสวยงาม และประโยชน์ใช้สอยทัง้ ภายในภายนอกอาคาร การเลือกใช้วสั ดุในการก่อสร้างที่ประหยัด คุม้ ค่า ทันสมัย
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
13
1
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
การเขียนแบบรูปขยายรายละเอียดงานวิศวกรรม แบบรูปขยายรายละเอียดงานวิศวกรรม เป็ นแบบรูปที่มีความสาคัญซึง่ เป็ นแบบรูปที่แสดง รายละเอียดของโครงสร้ างทั้งหมดของด้ านวิศวกรรม โดยวิศวกรจะเป็ นผู้คานวณและนารายละเอียดจากการ คานวณมาให้ ผ้ เู ขียนเพื่อจะได้ นามาขยายรายละเอียด ในแบบเพื่อให้ ผ้ รู ับจ้ างได้ ดาเนินการก่ อสร้ างได้ อย่ าง ถูกต้ อง
1. ความหมายของแบบรูปขยายรายละเอียดงานวิศวกรรม แบบรู ปขยายรายละเอียดงานวิศวกรรม หมายถึง แบบรู ปที่ถกู กาหนดขึ้นมาโดยวิศวกรเป็ นผูค้ านวณโครงสร้าง ทั้งหมด และนามาเขียนแบบขยายแต่ละจุดโดยจะบอกขนาด หน้าตัด ความลึก ความหนาของคอนกรี ต รวมถึงขนาด จานวนของเหล็ก ระยะห่างกัน ที่ใช้งานในแต่ละงาน เพื่อให้ผรู้ ับจ้างได้ทาการก่อสร้างได้ถกู ต้องตามหลักวิชาการ
2. รายละเอียดที่แสดงในแบบรูปขยายรายละเอียดงานวิศวกรรม แบบรูปขยายรายละเอียดงานวิศวกรรม จะแสดงรายละเอียดของโครงสร้ าง ดังนี้ 1. เข็มที่ใช้ รับน้าหนักอาคาร เช่ น เข็มไม้ เบญจพรรณ เข็มคอนกรีต ค.อ.ร. 2. จะบอกขนาดและความลึก เป็ นต้ น 3. ฐานรากจะบอกขนาดความกว้ าง ความยาว ความหนาของคอนกรีต และจะบอก ขนาดของเหล็กที่ใช้ ระยะห่ าง เป็ นต้ น 4. คานคอดิน คาน คานหลังคา จะบอกขนาดความกว้ าง ความลึกและจะบอกขนาดของเหล็กที่ใช้ ระยะห่ างกัน เป็ นต้ น
เนื้อหาการสอน ชื่อสถานศึกษา:
แบบรูปขยายรายละเอียดงานวิศวกรรม
0.50
1- ? 9 มม.รัดรอบ. 5 - RB 12 มม. 5 - RB 12 มม.
0.10 0.10
ระดับดินถิม
คอนกรีตหยาบ 1 :3:5 ทรายหยาบบดอัดแน่น เสาเข็ม I 0.18X0.18X 18.00 ม. รับน ้าหนักปลอดภัยได้ ไม่น้อยกว่า 20 ตัน/ต้ น
0.25
0.50
0.25
0.50X0.50
0.25
0.25 0.50
แบบขยายฐานราก 1:20
SCALE
0.18
0 6 M.M. @ 0.20 M. 0 9 M.M. (ทุกมุม)
0 6 M.M. @ 0.10 M. ระพื ้น ค.ส.ล. +0.10
0 9 M.M. @ 0.20 M. GB3
0.25
0.25
แบบขยายบันได
0.18
0.18
0.72
0.18
B2
0.25
หน้ าที่
13
2
จานวน 6 ชัว่ โมง
รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
0.20
ประจาสั ปดาห์ ที่
เนื้อหาการสอน
13
3
ชื่อสถานศึกษา:
0.20
0.20 2- RBO 12 mm. ป- RBO 6 mm. @0.20m. 1- RBO 12 mm.(คม.) L/5 2- RBO 12 mm.
0.40
2-RB O 12 mm. ป- RBO 6 mm. @0.20m. 2- RBO 12 mm. (คม.) L/5 2- RBO 12 mm.
0.40
หน้ าที่
จานวน 6 ชัว่ โมง
รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
B1,GB2
B2,GB3
0.15
0.20 6 - O 12 mm. ป - O 6 mm. @ 0.20 m.
0.20
2 - RB O 12 mm. ป - RB O 6 mm. @ 0.20 m. 1 - RB O 12 mm.(คม.) L/5 2 - RB O 12 mm.
0.30
ประจาสั ปดาห์ ที่
เสา
GB 9 มม. @ 0.20 ม. 0.05 0.05 แผ่นพื้นสาเร็ จ
แบบขยายพื้น SP 0 9 mm. คม. L/5 เส้นเว้นเส้น 0 9 mm. เสริ มพิเศษ. L/4 เส้นเว้นเส้น 0 9 mm. @ 0.25 m.
0.10
2.00
แบบขยายพื้น S
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
13
4
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
6 มม. @ 0.20 ม. 0.10 0.10
ทรายหยาบบดอัดแน่น
ขยาย GS
1:20
3. สั ญลักษณ์ ที่ใช้ ในแบบรูปขยายรายละเอียดงานวิศวกรรม
สัญลักษณ์
ความหมาย หน้าตัดของเหล็กเสริ มคอนกรี ต เหล็กเสริ มคอนกรี ตแบบไม่งอปลาย
เหล็กเสริ มคอนกรี ตแบบงอครึ่ งวงกลม
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
13
5
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
สัญลักษณ์
ความหมาย เหล็กเสริ มคอนกรี ตแบบงอฉาก
เหล็กเสริ มคอนกรี ตที่ถกู บัง
เส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กเส้นกลม(RB)
เส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กข้ออ้อย(DB)
4. ขั้นตอนการเขียนแบบรูปขยายรายละเอียดงานวิศวกรรม การเขียนแบบรูปขยายแปลนฐานราก ต้ องมีความรู้ทางด้ านวิศวกรรมว่ าฐานรากมีแบบใดบ้ างและการเสริมเหล็กในคอนกรีตสิ่งสาคัญ ต้ องรู้ว่าเหล็กเส้ นมีขนาดเท่ าไรบ้ าง 1. ขัน้ ตอนการเขียนแบบรูปขยายแปลนฐานราก ต้ องมีแบบรายการคานวณจากวิศวกรมา ประกอบเพื่อดูขนาดของฐานราก ว่ ามีขนาดเท่ าไร เพื่อจะนามาเขียนแบบขยายให้ ผ้ รู ับจ้ างนาไปก่ อสร้ างได้ อย่ างถูกต้ อง 2. ขั้นตอนแรกให้ เขียนเส้ นในแนวนอน 1 เส้ น ในแนวตั้ง 1 เส้ นให้ เป็ นเส้ นฉากเพื่อกาหนดขนาด ของฐานราก ตามแบบที่กาหนดไว้ โดยใช้ ดินสอเขียนจากด้ านซ้ ายไปด้ านขวาและจากด้ านล่ างขึน้ บน แล้ ว หมุนดินสอเล็กน้ อยเพื่อให้ เส้ นเบาสม่าเสมอ 3. ใช้ ไม้ SCALE วัดขนาดเส้ นตามแนวนอนออกมาช่ วงที่ 1 ออกไป50 เซนติเมตร ตามที่วศิ วกรได้ ออกแบบมาแล้ วใช้ ไม้ SCALE วัดขนาดเส้ นตามแนวตั้งออกไป50 เซนติเมตร โดยใช้ ไม้ SCALE วัดจากล่ างขึน้
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
13
6
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
บนตามที่แบบกาหนดขีดเส้ นแนวตั้งจากล่ างขึน้ บนตามแนวที่กาหนดจากแบบและขีดเส้ นแนวนอนจากซ้ าย ไปขวา 4. การเขียนเสาเข็มรูปตัวไอนั้นให้ ใช้ ไม้ SCALE วัดจากเส้ นของฐานรากในแนวนอนเข้ ามา ในช่ วงที่ 1ออกไป 25 เซนติ เมตร และให้ ใช้ ไม้ SCALE วัดจากเส้ นของฐานรากในแนวตั้งเข้ ามาในช่ วงที่ 1 ออกไป 25 เซนติเมตร โดยขีดเส้ นจากซ้ ายไปขวาและจากล่ างขึน้ บนก็จะได้ ตาแหน่ งของเสาเข็มรูปตัวไอ 5. การเขียนรูปแปลนของเสาเข็มรูปตัวไอนั้นให้ ใช้ Plate สัญลักษณ์ นามาเขียนตรงตาแหน่ งของ เสาเข็มรูปตัวไอ 6. การเขียนระยะในแบบบอกขนาดต่ างๆของแบบขยายฐานรากเพื่อนาไปก่ อสร้ างตามแบบที่ กาหนดได้ อย่ างถูกต้ อง การเขียนแบบรูปขยายฐานราก ต้ องมีความรู้ทางด้ านวิศวกรรมว่ าฐานรากมีแบบใดบ้ างและการเสริมเหล็กในคอนกรีตสิ่งสาคัญ ต้ องรู้ว่าเหล็กเส้ นมีขนาดเท่ าไรบ้ าง 1. ขั้นตอนการเขียนแบบรูปขยายฐานราก ต้ องมีแบบขยายแปลนฐานรากมาประกอบเพื่อดู ขนาดของฐานรากว่ ามีขนาดเท่ าไร เพื่อจะนามาเขียนแบบขยายให้ ผ้ รู ับจ้ างนาไปก่ อสร้ างได้ อย่ างถูกต้ อง 2. ขั้นตอนแรกให้ เขียนเส้ นในแนวนอน 1 เส้ นเพื่อเป็ นเส้ นอ้ างอิงให้ เป็ นเส้ นฉาก เพื่อกาหนด ขนาดของฐานรากแล้ วใช้ ไม้ SCALE วัดขนาดเส้ นตามแนวนอนออกมาช่ วงที่ 1 ออกไป 10 เซนติเมตร ช่ วงที่ 2 ออกไป 10 เซนติเมตรช่ วงที่ 3 ออกไป 50 เซนติเมตร และเขียนเส้ นในแนวตั้ง โดยขีดเส้ นจากแปลนฐานราก ออกมาทั้ง 2ข้ าง 3. การเขียนเสาในแนวตัดของฐานรากให้ เขียนเส้ นศูนย์ กลางของฐานรากก่ อนแล้ วใช้ ไม้ SCALE วัดจากเส้ นศูนย์ กลางออกมาข้ างละ 10 เซนติเมตรโดยใช้ ดินสอเขียนจากด้ านซ้ ายไปด้ านขวาและจากด้ านล่ าง ขึน้ บน 4. การเขียนเสาเข็มในแนวตัดของฐานรากให้ เขียนจากขยายแปลนฐานรากตามรูป โดยใช้ ดินสอเขียนจากด้ านซ้ ายไปด้ านขวา และจากด้ านล่ างขึน้ บน 5. การเขียนแนวตัดของเสาเข็มและเสาตอม่ อระยะแนวตัดนั้นผู้เขียนเป็ นผู้กาหนดและควรดู ความเหมาะด้ วยเพื่อความสวยงาม 6. การเสริมเหล็กเส้ นในฐานรากนั้นนักเรียนต้ องรู้ระยะของคอนกรีตหุ้มก่ อนว่ ามีระยะเท่ าไรโดย มาตรฐานนั้นจะมีระยะห่ างอยู่ท่ี 2.5 เซนติเมตรขึน้ อยู่กับวิศวกรออกแบบ การเสริมเหล็กเส้ นเข้ าไปในฐาน รากนั้นต้ องดูจากรายการคานวณของวิศวกรออกแบบว่ าให้ ใส่ เหล็กแบบไหนและมีขนาดเท่ าไร
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
13
7
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
7. การเขียนหน้ าตัดของเหล็กเสริมคอนกรีตในฐานรากนั้น ให้ ใช้ Plate สัญลักษณ์ วงกลมเขียน แบบทึบเป็ นจุดดาเพื่อความชัดเจนในการอ่ านแบบและเหล็กเสริมคอนกรีตที่ถูกบังให้ เขียนเป็ นเส้ นประ 8. การเขียนเหล็กปลอกนั้น นักเรียนต้ องรู้ระยะของคอนกรีตหุ้มก่ อนว่ ามีระยะเท่ าไรโดย มาตรฐานนั้นจะมีระยะห่ างอยู่ที่ 2.5 เซนติเมตรขึน้ อยู่กับวิศวกรออกแบบ การเขียนเส้ นของเหล็กปลอกนั้น ให้ วัดจากเส้ นของเหล็กด้ านล่ างขึน้ มา 2.5 เซนติเมตรแล้ วเขียนเส้ นในแนวนอน 1 เส้ นและใช้ ไม้ SCALE วัดใน แนวตั้ง 20 เซนติเมตร ทั้งหมด 4 ช่ วงแล้ วใช้ ดินสอเขียนจากซ้ ายไปขวาจนครบจานวนของเหล็กปลอก 9. การเขียนระยะในแบบบอกขนาดต่ าง ๆ และรายละเอียดต่ าง ๆ ของแบบขยายฐานราก เพื่อ นาไปก่ อสร้ างตามแบบที่กาหนดได้ อย่ างถูกต้ อง การเขียนแบบรูปขยายคานคอนกรี ต ต้ องมีความรู้ทางด้ านคานคอนกรีตว่ าคานคอนกรีตมีแบบใดบ้ างและการเสริมเหล็กในคาน คอนกรีตสิ่งสาคัญต้ องรู้ว่าเหล็กเส้ นมีขนาดเท่ าไรบ้ าง 1. ขั้นตอนการเขียนแบบรูปขยายคานคอนกรีต ต้ องมีแบบรายการคานวณจากวิศวกรมา ประกอบเพื่อดูขนาดของคานคอนกรีต ว่ ามีขนาดเท่ าไร เพื่อจะนามาเขียนแบบขยายให้ ผ้ รู ับจ้ างนาไป ก่ อสร้ างได้ อย่ างถูกต้ อง 2. ขั้นตอนแรกให้ เขียนเส้ นในแนวนอน 1 เส้ น ในแนวตั้ง 1 เส้ นให้ เป็ นเส้ นฉากโดยเขียนจาก รายการคานวณ ตามแบบที่กาหนดไว้ โดยใช้ ดินสอเขียนจากด้ านซ้ ายไปด้ านขวาและจากด้ านล่ างขึน้ บน แล้ ว หมุนดินสอเล็กน้ อยเพื่อให้ เส้ นเบาสม่าเสมอ 3. ใช้ ไม้ SCALE วัดขนาดเส้ นตามแนวนอนออกมาช่ วงที่ 1 ออกไป 20 เซนติเมตร ตามที่วศิ วกรได้ ออกแบบมาแล้ ววัดขนาดเส้ นตามแนวตั้งออกมา 40 เซนติเมตร โดยวัดจากล่ างขึน้ บนตามที่แบบกาหนดขีด เส้ นแนวตั้งจากล่ างขึน้ บนตามแนวที่กาหนดจากแบบและขีดเส้ นแนวนอนจากซ้ ายไปขวา 4. การเขียนเหล็กปลอกนั้น นักศึกษาต้ องรู้ระยะของคอนกรีตหุ่มก่ อนว่ ามีระยะเท่ าไรโดย มาตรฐานนั้นจะมีระยะห่ างอยู่ที่ 2.5 เซนติเมตรขึน้ อยู่กับวิศวกรออกแบบ การเขียนเส้ นของเหล็กปลอกนั้นให้ วัดจากเส้ นของคอนกรีตเข้ ามา 2.5 เซนติเมตรโดยรอบจนได้ เส้ นของเหล็กปลอก 5. การเสริมเหล็กเส้ นเข้ าไปในคานคอนกรีตนั้นต้ องดูจากรายการคานวณจากวิศวกรออกแบบ ว่ า วิศวกรให้ ใส่ เหล็กแบบไหนและมีขนาดเท่ าไร 6. การเขียนรายละเอียดลงในแบบขยายคานคอนกรีตนั้นเป็ นการบอกขนาดของเหล็กว่ าเสริม เหล็กขนาดเท่ าไรบ้ างและเสริมเหล็กตามตาแหน่ งใด 7. การเขียนระยะในแบบบอกขนาดต่ างๆของแบบขยายคานคอนกรีตเพื่อนาไปก่ อสร้ างตาม แบบที่กาหนดได้ อย่ างถูกต้ อง
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
13
8
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
การเขียนแบบรูปขยายเสา ต้ องมีความรู้ทางด้ านเสาว่ าเสามีแบบใดบ้ างและการเสริมเหล็กในคอนกรีตต้ องรู้ว่าเหล็กเส้ นมี ขนาดเท่ าไรบ้ าง 1. ขั้นตอนการเขียนแบบรูปขยายเสา ต้ องมีแบบรายการคานวณจากวิศวกรมาประกอบเพื่อดู ขนาดของเสา ว่ ามีขนาดเท่ าไร เพื่อจะนามาเขียนแบบขยายให้ ผ้ รู ับจ้ างนาไปก่ อสร้ างได้ อย่ างถูกต้ อง 2. ขั้นตอนแรกให้ เขียนเส้ นในแนวนอน 1 เส้ น ในแนวตั้ง 1 เส้ นให้ เป็ นเส้ นฉากโดยเขียนจาก รายการคานวณตามแบบที่กาหนดไว้ โดยใช้ ดินสอเขียนจากด้ านซ้ ายไปด้ านขวาและจากด้ านล่ างขึน้ บน แล้ ว หมุนดินสอเล็กน้ อยเพื่อให้ เส้ นเบาสม่าเสมอ 3. ใช้ ไม้ SCALE วัดขนาดเส้ นตามแนวนอนออกมาช่ วงที่ 1 ออกไป 20 เซนติ เมตร ตามที่วศิ วกรได้ ออกแบบมาแล้ ว วัดขนาดเส้ นตามแนวตั้งออกมา 20เซนติ เมตร โดยใช้ ไม้ SCALE วัดจากล่ างขึน้ บนตามที่ แบบกาหนดขีดเส้ นแนวตั้งจากล่ างขึน้ บนตามแนวที่กาหนดจากแบบและขีดเส้ นแนวนอนจากซ้ ายไปขวา 4. การเขียนเหล็กปลอกนั้น นัก เรียนต้ องรู้ระยะของคอนกรีตหุ้มก่ อนว่ ามีระยะเท่ าไรโดย มาตรฐานนั้นจะมีระยะห่ างอยู่ที่ 2.5 เซนติเมตร การเขียนเส้ นของเหล็กปลอกนั้นให้ ใช้ ไม้ SCALE วัดจากเส้ น ของคอนกรีตเข้ ามา 2.5เซนติ เมตรโดยรอบจนได้ เส้ นของเหล็กปลอก 5. การเสริมเหล็กเส้ นเข้ าไปในเสานั้นต้ องดูจากรายการคานวณจากวิศวกรออกแบบว่ าวิศวกรให้ ใส่ เหล็กแบบไหนและมีขนาดเท่ าไร 6. การเขียนรายละเอียดลงในแบบขยายเสานั้นเป็ นการบอกขนาดของเหล็กว่ าเสริมเหล็กขนาด เท่ าไรบ้ างและเสริมเหล็กตามตาแหน่ งใด 7. การเขียนระยะในแบบบอกขนาดต่ าง ๆ ของแบบขยายเสา เพื่อนาไปก่ อสร้ างตามแบบที่ กาหนดได้ อย่ างถูกต้ อง
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
13
9
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
การเขียนแบบรูปขยายพื้น SP ต้ องมีความรู้ทางด้ านพื้นว่ าพื้นมีแบบใดบ้ างและการเสริมเหล็กในคอนกรีตสิ่งสาคัญต้ องรู้ว่า เหล็กเส้ นมีขนาดเท่ าไร 1. ขั้นตอนการเขียนแบบรูปขยายพื้น ต้ องมีแบบรายการคานวณจากวิศวกรมาประกอบเพื่อดู ขนาดของพื้นว่ ามีขนาดเท่ าไร เพื่อจะนามาเขียนแบบขยายให้ ผ้ รู ับจ้ างนาไปก่ อสร้ างได้ อย่ างถูกต้ อง 2. ขั้นตอนแรกให้ เขียนเส้ นในแนวนอน 1 เส้ น ในแนวตั้ง 1 เส้ นให้ เป็ นเส้ นฉาก โดย เขียนจาก รายการคานวณตามแบบที่กาหนดไว้ โดยใช้ ดินสอเขียนจากด้ านซ้ ายไปด้ านขวาและจากด้ านล่ างขึน้ บน แล้ ว หมุนดินสอเล็กน้ อยเพื่อให้ เส้ นเบาสม่าเสมอ 3. ใช้ ไม้ SCALE วัดขนาดเส้ นตามแนวนอนออกมาช่ วงที่ 1 ออกไป L เมตร ตามที่วศิ วกรได้ ออกแบบมาแล้ วใช้ ไม้ SCALE วัดขนาดเส้ นตามแนวตั้งออกมาช่ วงที่ 1 ออกไป 5 เซนติ เมตร ช่ วงที่ 2 ออกไป 5 เซนติ เมตรโดยใช้ ไม้ SCALE วัดจากล่ างขึน้ บนตามที่แบบกาหนดขีดเส้ นแนวตั้งจากล่ างขึน้ บนตามแนวที่ กาหนดจากแบบและขีดเส้ นแนวนอนจากซ้ ายไปขวา 4. การเขียนแผ่ นพืน้ สาเร็จรูปนั้นจะอยู่ด้านล่ างและด้ านบนจะเป็ นคอนกรีตเมื่อเทคอนกรีตเสร็จ แล้ วจะมีขนาด 10 เซนติเมตร ซึง่ แผ่ นพื้นสาเร็จรูปจะมีขนาด 35 เซนติเมตรการเขียนนั้นให้ แบ่ งเป็ นช่ วงๆตาม แนวนอน 5. การเสริมเหล็กเส้ นเข้ าไปในพื้นนั้น ต้ องดูจากรายการคานวณจากวิศวกรออกแบบว่ าวิศวกรให้ ใส่ เหล็กแบบไหนและมีขนาดเท่ าไร 6. การเขียนรายละเอียดลงในแบบขยายพื้นนั้น เป็ นการบอกขนาดของเหล็กว่ าเสริมเหล็กขนาด เท่ าไรบ้ างและเสริมเหล็กตามตาแหน่ งใด 7. การเขียนระยะในแบบบอกขนาดต่ าง ๆ ของแบบขยายพื้น เพื่อนาไปก่ อสร้ างตามแบบที่ กาหนดได้ อย่ างถูกต้ อง การเขียนแบบรูปขยายพื้น S ต้ องมีความรู้ทางด้ านพื้นว่ าพื้นมีแบบใดบ้ างและการเสริมเหล็กในคอนกรีตสิ่งสาคัญ เหล็กเส้ นมีขนาดเท่ าไรบ้ าง
ต้ องรู้ว่า
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
13
10
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
1. ขั้นตอนการเขียนแบบรูปขยายพื้น ต้ องมีแบบรายการคานวณจากวิศวกรมาประกอบเพือ่ ดู ขนาดของพื้นว่ ามีขนาดเท่ าไรบ้ าง เพื่อจะนามาเขียนแบบขยายให้ ผ้ รู ับจ้ างนาไปก่ อสร้ างได้ อย่ างถูกต้ อง 2. ขั้นตอนแรกให้ เขียนเส้ นในแนวนอน 1 เส้ น ในแนวตั้ง 1 เส้ นให้ เป็ นเส้ นฉาก โดยเขียนจาก รายการคานวณตามแบบที่กาหนดไว้ โดยใช้ ดินสอเขียนจากด้ านซ้ ายไปด้ านขวาและจากด้ านล่ างขึน้ บน แล้ ว หมุนดินสอเล็กน้ อยเพื่อให้ เส้ นเบาสม่าเสมอ 3. ใช้ ไม้ SCALE วัดขนาดเส้ นตามแนวนอนออกมาช่ วงที่ 1 ออกไป20 เซนติ เมตรช่ วงที่ 2 ออกไป 1.80 เมตร และช่ วงที่ 3 ออกไป 20 เซนติ เมตรตามที่วศิ วกรได้ ออกแบบมาแล้ ว วัดขนาดเส้ นตามแนวตั้ง ออกมาช่ วงที่ 1 ออกไป 30 เซนติเมตรช่ วงที่ 2 ออกไป 10 เซนติเมตรโดยใช้ ไม้ SCALE วัดจากล่ างขึน้ บนตามที่ แบบกาหนดขีดเส้ นแนวตั้งจากล่ างขึน้ บนตามแนวที่กาหนดจากแบบและขีดเส้ นแนวนอนจากซ้ ายไปขวา 4. การเสริมเหล็กเส้ นเข้ าไปในพื้นนั้นต้ องดูจากรายการคานวณจากวิศวกรออกแบบว่ าวิศวกรให้ ใส่ เหล็กแบบไหนและมีขนาดเท่ าไร 5. การเขียนรายละเอียดลงในแบบขยายพื้นนั้น เป็ นการบอกขนาดของเหล็กว่ าเสริมเหล็กขนาด เท่ าไรบ้ างและเสริมเหล็กตามตาแหน่ งใด 6. การเขียนระยะในแบบบอกขนาดต่ าง ๆ ของแบบขยายพื้น เพื่อนาไปก่ อสร้ างตามแบบที่ กาหนดได้ อย่ างถูกต้ อง การเขียนแบบรูปขยายพื้น GS ต้ องมีความรู้ทางด้ านพื้นว่ าพื้นมีแบบใดบ้ างและการเสริมเหล็กในคอนกรีตสิ่งสาคัญ เหล็กเส้ นมีขนาดเท่ าไรบ้ าง
ต้ องรู้ว่า
1. ขัน้ ตอนการเขียนแบบรูปขยายพืน้ ต้ องมีแบบรายการคานวณจากวิศวกรมาประกอบเพือ่ ดู ขนาดของพื้น ว่ ามีขนาดเท่ าไรบ้ างเพื่อจะนามาเขียนแบบขยายให้ ผ้ รู ับจ้ างนาไปก่ อสร้ างได้ อย่ างถูกต้ อง 2. ขั้นตอนแรกให้ เขียนเส้ นในแนวนอน 1 เส้ น ในแนวตั้ง 1 เส้ นให้ เป็ นเส้ นฉาก โดยเขียนจาก รายการคานวณตามแบบที่กาหนดไว้ โดยใช้ ดินสอเขียนจากด้ านซ้ ายไปด้ านขวาและจากด้ านล่ างขึน้ บน แล้ ว หมุนดินสอเล็กน้ อยเพื่อให้ เส้ นเบาสม่าเสมอ 3. ใช้ ไม้ SCALE วัดขนาดเส้ นตามแนวนอนออกมาช่ วงที่ 1 ออกไป 10 เซนติ เมตรช่ วงที่ 2 ออกไป 10 เซนติเมตรและช่ วงที่ 3 ออกไป 50 เซนติเมตรตามที่วศิ วกรได้ ออกแบบมาแล้ วใช้ ไม้ SCALE วัดขนาดเส้ น
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
13
11
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
ตามแนวตั้งออกมาช่ วงที่ 1 ออกไป 10 เซนติเมตรช่ วงที่ 2 ออกไป 0.10 เมตร โดยใช้ ไม้ SCALE วัดจากล่ างขึน้ บนตามที่แบบกาหนด ขีดเส้ นแนวตั้งจากล่ างขึน้ บนตามแนวที่กาหนดจากแบบ และขีดเส้ นแนวนอนจาก ซ้ ายไปขวา 4. การเสริมเหล็กเส้ นเข้ าไปในพื้นนั้นต้ องดูจากรายการคานวณจากวิศวกรออกแบบว่ าวิศวกรให้ ใส่ เหล็กแบบไหนและมีขนาดเท่ าไร 5. การเขียนรายละเอียดลงในแบบขยายพื้นนั้น เป็ นการบอกขนาดของเหล็กว่ าเสริมเหล็กขนาด เท่ าไรและเสริมเหล็กตามตาแหน่ งใด 6. การเขียนระยะในแบบบอกขนาดต่ าง ๆ ของแบบขยายพื้น เพื่อนาไปก่ อสร้ างตามแบบที่ กาหนดได้ อย่ างถูกต้ อง การเขียนแบบรูปขยายบันได ต้ องมีความรู้ทางด้ านบันไดว่ าบันไดมีแบบใดบ้ างและการเสริมเหล็กในคอนกรีตสิ่งสาคัญต้ องรู้ว่า เหล็กเส้ นมีขนาดเท่ าไรบ้ าง 1. ขั้นตอนการเขียนแบบรูปขยายบันได ต้ องมีแบบรายการคานวณจากวิศวกรมาประกอบเพื่อดู ขนาดของพื้นว่ ามีขนาดเท่ าไรบ้ าง เพื่อจะนามาเขียนแบบขยายให้ ผ้ รู ับจ้ างนาไปก่ อสร้ างได้ อย่ างถูกต้ อง 2. ขั้นตอนแรกให้ เขียนเส้ นในแนวนอน 1 เส้ น ในแนวตั้ง 1 เส้ นให้ เป็ นเส้ นฉากโดยเขียนจาก รายการคานวณตามแบบที่กาหนดไว้ โดยใช้ ดินสอเขียนจากด้ านซ้ ายไปด้ านขวาและจากด้ านล่ างขึน้ บน แล้ ว หมุนดินสอเล็กน้ อย เพื่อให้ เส้ นเบาสม่าเสมอ 3. ใช้ ไม้ SCALE วัดขนาดเส้ นตามแนวนอนออกมาช่ วงที่ 1 ออกไป 20 เซนติ เมตรช่ วงที่ 2 ออกไป 25 เซนติ เมตร ช่ วงที่ 3 ออกไป 25 เซนติ เมตร และช่ วงที่ 4 ออกไป 25 เซนติ เมตร ตามที่วศิ วกรได้ ออกแบบ มาแล้ วใช้ ไม้ SCALE วัดขนาดเส้ นตามแนวตั้งออกมาช่ วงที่ 1 ออกไป 0.40เซนติ เมตรช่ วงที่ 2 ออกไป 20 เซนติเมตร ช่ วงที่ 3 ออกไป 20 เซนติเมตร และช่ วงที่ 4 ออกไป 20เซนติ เมตรโดยใช้ ไม้ SCALE วัดจากล่ างขึน้ บนตามที่แบบกาหนดขีดเส้ นแนวตั้งจากล่ างขึน้ บนตามแนวที่กาหนดจากแบบและขีดเส้ นแนวนอนจากซ้ าย ไปขวา 4. การเขียนพื้นที่เชื่อมกับคานคอนกรีตที่ติดกับบันไดแล้ วเขียนแนวตัด
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
13
12
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
5. การเสริมเหล็กเส้ นเข้ าไปในบันไดนั้น ต้ องดูจากรายการคานวณจากวิศวกรออกแบบว่ าวิศวกร ให้ ใส่ เหล็กแบบไหนและมีขนาดเท่ าไร 6. การเขียนรายละเอียดลงในแบบขยายพื้นนั้น เป็ นการบอกขนาดของเหล็กว่ าเสริมเหล็กขนาด เท่ าไรและเสริมเหล็กตามตาแหน่ งใด 7. การเขียนระยะในแบบบอกขนาดต่ าง ๆ ของแบบขยายพื้น เพื่อนาไปก่ อสร้ างตามแบบที่ กาหนดได้ อย่ างถูกต้ อง
สรุปบทเรี ยนหน่วยที ่ 13 แบบรูปขยายรายละเอียดงานวิศวกรรมเป็ นแบบที่สาคัญมากเนื่องจากเป็ นแบบที่ขยายโครงสร้ าง ซึง่ รับน้าหนักของตัว อาคาร ทั้งหมด โดยวิศวกรจะเป็ นผู้คานวณโครงสร้ างและเป็ น ผู้รับผิดชอบในด้ าน โครงสร้ าง ดังนั้นแบบรูปขยายรายละเอียดงานวิศวกรรมจะเขียนผิดพลาดไม่ ได้ ซึง่ สอดคล้ องกับแนวคิดของ พิภพ สุนทรสมัย (246 :194) ที่กล่ าวว่ า เป็ นงานทางวิศวกรรมที่เกี่ยวกับการรับกาลังของอาคารหรืองาน ก่ อสร้ าง ทั้งนี้เกี่ยวข้ องกับความปลอดภัย และการก่ อสร้ างที่มีความมั่นคงถาวรเป็ นเรื่องสาคัญ
เนื้อหาการสอน
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
14
1
จานวน 6 ชัว่ โมง
รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ชื่อสถานศึกษา:
การเขียนแบบรูปบ่ อเกรอะ- บ่ อซึม หน้าที่หลักของบ่อเกรอะคือ การรับน้ าโสโครกจากอาคารและปรับคุณภาพของน้ าโสโครกเพื่อให้สะอาด พอที่จะปล่อยซึมลงในผิวดิน การปรับคุณภาพของน้ าโสโครกจากบ่อเกรอะนี้ใช้วิธีแยกของแข็งและปรับสภาพของน้ า เสียทางชีววิทยา โดยการกักน้ าโสโครกให้คา้ งอยูใ่ นส่วนแรกของบ่อเกรอะอย่างน้อย 24 ชัว่ โมง แล้วน้ าโสโครกเหล่านี้ จะย่อยสลายด้วยแบคทีเรี ย ส่วนที่เหลือจะตกตะกอนอยูด่ า้ นล่าง ส่วนที่ยอ่ ยแล้วจะเป็ นน้ าใสจะต่อท่อไปยังบ่อซึม เพื่อให้ซึมไปตามผิวดิน ลักษณะของบ่อเกรอะที่ดีควรมีลกั ษณะดังนี้ 1. ปิ ดมิดชิด น้ าภายนอกเข้ามาไม่ได้ 2. มีท่อระบายอากาศเพื่อระบายกลิ่นออกจากบ่อเกรอะ และนาอากาศเข้าเพื่อให้แบคทีเรี ยในบ่อเกรอะ สามารถดารงชีพและย่อยสลายให้น้ าโสโครกมีสภาพเช่นน้ าใสก่อนต่อไปยังบ่อซึม โดยท่อระบาย อากาศมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เล็กกว่า 50 มิลลิเมตร 3. บ่อเกรอะสร้างขึ้นด้วยคอนกรี ตเสริ มเหล็ก และอาจมีรูปร่ างแตกต่างกันไปตามความจากัดของพื้นที่ ดังรู ปที่ 1 ที่ดา้ นล่างแสดงลักษณะทัว่ ไปของบ่อเกรอะรู ปสี่เหลี่ยมผืนผ้าซึ่งแบ่งออกเป็ นสองส่วนคือ ส่วนด้านท่อน้ าโสโครกเข้าและด้านน้ าออก แยกด้วยแผ่นกั้นเพื่อกักไม่ให้ของแข็งไหลมาสู่ดา้ นน้ าออก ได้ง่ายความจุดา้ นน้ าโสโครกเข้า ซึ่งมีสิ่งตกค้างอยูม่ ากจะมีความจุประมาณสองในสามส่วนของถัง ขนาดของบ่อเกรอะขึ้นอยูก่ บั ปริ มาณน้ าโสโครกจากตัวอาคารและระยะเวลาการกักเก็บที่ตอ้ งการ สาหรับอาคารพักอาศัยจะประมาณขนาดความจุของถังบ่อเกรอะตามจานวนห้องนอนหรื อจานวนคน ตามตาราง ตารางขนาดความจุของถังบ่ อเกรอะตามจานวนห้ องนอน
จำนวนห้ องนอน
ควำมจุเป็ นลูกบำศก์ เมตร
2 3 4
2 2.4 2.8
จากนี้ให้เพิ่มความจุอีก
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
14
2
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รู ปที่ 1 แสดงผังและรู ปตัดของบ่อ เกรอะรู ปสี่เหลีย่ มผืนผ้า การกาจัดน้ าเสียจากบ่อเกรอะของบ้าน ทัว่ ไปนิยมปล่อยให้ซึมลงไปในดิน โดยใช้บ่อซึมหรื อจะใช้ระบบท่อซึม ตาม ความเหมาะสมของสภาพพื้นที่และระดับน้ าใต้ดิน
รู ปที่ 2 แสดงรู ปตัดบ่อซึม สี่เหลี่ยมผืนผ้า
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
14
3
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รู ปที่ 3 แสดงผังท่อ ซึม
รู ปที่ 4 แสดงการวางท่อ ซึม
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
14
4
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
จากรู ปที่ 2 เป็ นวิธีปล่อยน้ าเสียให้ซึมลงไปในดินโดยใช้บ่อซึม ซึ่งขนาดและจานวนของบ่อซึมขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของพื้นดินในบริ เวณนั้น ผูอ้ อกแบบจะต้องพิจารณาเป็ นแต่ละกรณี นอกจากนี้ ถ้ามีบ่อซึมมากกว่า 1 บ่อ ต้องมีระยะห่างไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตร จากรู ปที่ 3 เป็ นการใช้ระบบท่อซึมแผ่กระจายออกไปตามผิวดินตื้นๆ เพื่อให้แดดช่วยให้ระเหยน้ าได้เร็ วขึ้น ถ้าเป็ นสนามหญ้าก็เป็ นการให้น้ าหญ้าไปโดยธรรมชาติ ท่อซึมเหล่านี้จะต้องมีผวิ นอกเจาะเป็ นรู พรุ นและติดตั้งใน ดินโดยมีกรวดล้อมอยูร่ อบๆ ท่อ ดังแสดงในรู ปที่ 3 การใช้ระบบท่อซึมนี้เหมาะสาหรับบริ เวณที่กว้างๆ แลไม่มี การขุดบริ เวณนั้นเพราะจะทาให้ท่อแตกเสียหายได้ ทั้งนี้ตอ้ งไม่ให้ตาแหน่งของบ่อซึมหรื อท่อซึมอยูใ่ กล้แหล่งน้ า ใช้ เช่น บ่อบาดาล แม่น้ า ลาธาร เกิน 30 เมตร เพื่อป้ องกันไม่ให้แพร่ เชื้อโรคลงในแหล่งน้ าใช้ได้ ปัจจุบนั มีผลิตภัณฑ์ถงั ส้วมที่ใช้ระบบบาบัดน้ าโสโครกด้วยการอัดอากาศ เป็ นกระบวนการทางชีวเคมี กล่าวโดยสรุ ปก็คือ ใช้เครื่ องปั๊มลมแม่เหล็กไฟฟ้ าอัดอากาศลงไปในช่องที่เตรี ยมไว้เพื่อให้แบคทีเรี ยในถังส้วม ได้รับออกซิเจนและย่อยสลายน้ าโสโครกออกเป็ นส่วนตกตะกอนและส่วนน้ าใส ซึ่งกลไกทางานคล้ายๆ ระบบ ของบ่อเกรอะแต่ยอ่ ขนาดลงมามาก ในส่วนน้ าใสมีหลอดคลอรี นที่มีขายสาเร็ จรู ปเสียบอยูเ่ พื่อให้คลอรี นช่วยฆ่า เชื้อโรคในน้ าใสให้ได้มาตราฐานตามที่กระทรวงสาธาณณะสุขกาหนด ก่อนที่จะปล่อยน้ าลงสู่ท่อสาธารณะ (แตกต่างจากระบบบ่อเกรอะที่น้ าใสจากบ่อเกรอะต่อลงท่อระบายน้ าสาธารณะไม่ได้) ตะกอนจากส่วนตกตะกอน ต้องสูบออกเหมือนระบบบ่อเกรอะ โดยสูบ 1 – 2 ปี ต่อครั้ง แล้วแต่ปริ มาณการใช้ ระบบนี้เหมาะสาหรับพื้นที่ที่มี ระดับน้ าใต้ดินสูง น้ าเสียจากบ่อซึมไม่อาจซึมลงไปในดินได้ ตัวอย่างดังรู ปที่ 5
รู ปที่ 5 แสดงระบบการทางานภายในถัง แซทส์
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
14
5
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
การเขียนรูปขยายบ่ อเกรอะบ่ อซึม 1. เขียนเส้นรอบรู ป บ่อเกรอะ บ่อซึม ด้วยเส้นหนามาก 2. เขียนท่อโสโครก ท่อระบายอากาศ ให้ถกู มาตราส่วน คานึงถึงความลาดเอียง กาหนดระดับดินถม ความลึกของบ่อเกรอะบ่อซึม 3. เขียนผังบ่อเกรอะ – บ่อซึม ด้านล่างให้ตรงกับรู ปตัด ด้วยเส้นขอบนอกหนามาก แสดงตาแหน่งฝา แนวท่อโสโครก แนวท่อระบายอากาศให้ถกู ต้อง 4. เขียนสัญลักษณ์การเสริ มเหล็กที่ฐาน ฝา ของบ่อเกรอะ – บ่อซึม สัญลักษณ์วสั ดุก่อสร้าง ใช้ความ หนาของเส้นตามข้อกาหนด 5. เขียนข้อความประกอบและเขียนมิติให้ละเอียดชัดเจน 6. เขียนชื่อรู ปและมาตราส่วนกากับ
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
15
1
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
การเขียนแบบรูปผังบริเวณ, แผนทีโ่ ดยสั งเขป ผังบริเวณ แผนที่โดยสังเขป เป็ นแบบแผ่ นแรกที่ช่างเขตจะเป็ นผู้ตรวจแบบ เพือ่ ตรวจสอบว่ า ถูกต้ องตาม พรบ. ควบคุมอาคารหรือไม่ ดังนั้นผู้เขียนจึงต้ องศึกษา พ.ร.บ.ควบคุมอาคารและระบบระบายน้า เสียออกจากอาคารซึง่ สอดคล้ องกับแนวคิดของ พิภพ สุนทรสมัย (2546 : 232) ที่กล่ าวว่ าการระบายน้าออกจาก อาคารจะต้ องกาหนดลงในแบบผังบริเวณและแสดงแบบเพื่อการก่ อสร้ างได้ อย่ างถูกหลักการการระบายน้า เพื่อความถูกต้ องในการเขียน โดยเน้ นรายละเอียดได้ แก่ ระยะห่ างของตัวอาคารกับแนวเขตที่ดินของโฉนด ที่ดิน แนวระบายน้าทิง้ ของอาคาร เป็ นต้ น
1. ความหมายของแบบรูปผังบริเวณ แผนที่โดยสั งเขป ผังบริ เวณ หมายถึง แบบที่แสดงรายละเอียดของอาคาร โดยการนาแบบรู ปแปลนพื้นมาเขียนลงบนโฉนดที่ดิน ของเจ้าของอาคารให้ถกู ต้องตาม พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร ได้แก่ ระยะห่างของตัวอาคาร การระบายน้ าทิ้งของอาคาร โดย นาแบบรู ปแปลนสุขาภิบาลมาเขียนและการบอกแนวทิศของตัวอาคาร แผนที่โดยสังเขป หมายถึง แบบที่แสดงที่ต้งั ของอาคาร เพื่อให้ช่างเขตสามารถไปตรวจสอบสถานที่ขอ อนุญาตก่อสร้างก่อนดาเนินการก่อสร้าง โดยการเขียนจะเน้นสถานที่ซ่ึงทุกคนรู้จกั เป็ นอันดับแรกแล้วใช้หวั ลูกศรชี้นา ทางไปถึงอาคารขออนุญาตก่อสร้างเช่น ถนนสายหลัก ,ซอย สถานที่ราชการเป็ นต้น
2. รายละเอียดที่แสดงในแบบรูปผังบริเวณ 1.โฉนดที่ดินซึง่ นามาจากเจ้ าของอาคารที่จะขอทาการก่ อสร้ างอาคารแล้ วนามาขยายโดยใช้ มาตราส่ วนไม่ น้อยกว่ า 1:500 2. เครื่องหมายทิศจะอยู่ด้านบนขวามือของแบบ 3. ตาแหน่ ง ที่ตั้งของตัวอาคาร โดยการเขียนตัวอาคารลงในโฉนดที่ดินโดยใช้ แบบรูปแปลนพื้นมา เขียนลงในโฉนดที่ดิน ในขั้นตอนนี้ผ้ เู ขียนต้ องมีความรู้เรื่อง พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) หมวด 4 แนวอาคารและระยะต่ างๆของอาคาร ยกตัวอย่ าง เช่ น ข้ อ 50 ผนังของอาคารที่มี หน้ าต่ าง ประตู ช่ องระบายอากาศ ช่ องแสง หรือระเบียงของอาคารต้ องมีระยะห่ างจากเขตแนวที่ดิน ดังนี้ (1) อาคารที่มีความสูงไม่ เกิน 9 เมตร ผนังหรือระเบียงต้ องอยู่ห่างเขตที่ดินไม่ น้อยกว่ า 2 เมตร (2) อาคารที่มีความสูงเกิน 9 เมตร แต่ ไม่ ถงึ 23 เมตร ผนังหรือระเบียงต้ องอยู่ห่างเขตที่ดินไม่ น้ อยกว่ า 3 เมตร ผนังของอาคารที่อยู่ห่างเขตที่ดินน้ อยกว่ าตามที่กาหนดไว้ ใน (1) หรือ(2) ต้ องอยู่ห่างจากเขต ที่ดินไม่ น้อยกว่ า 50 เซนติเมตร เว้ นแต่ จะก่ อสร้ างชิดเขตที่ดินและอาคารดังกล่ าวจะก่ อสร้ างได้ สูงไม่ เกิน 15
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
15
2
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
เมตร ผนังของอาคารที่อยู่ชดิ เขตที่ดินหรือห่ างจากเขตที่ดินน้ อยกว่ าที่ระบุไว้ ใน(1)หรือ(2)ต้ องก่ อสร้ างเป็ น ผนังทึบ และดาดฟ้าของอาคารด้ านนั้นให้ ทาผนังทึบสูงจากดาดฟ้าไม่ น้อยกว่ า 1.80 เมตร ในกรณีก่อสร้ างชิด เขตที่ดินต้ องได้ รับความยินยอมเป็ นหนังสือจากเจ้ าของที่ดินข้ างเคียงด้ านนั้นด้ วย 4. แนวท่ อระบายน้าเสียโดยแสดงทิศทางการระบายน้าเสียออกจากตัวอาคาร โดยใช้ แบบรูป แปลนสุขาภิบาลมาเขียน มีความลาดเอียงของท่ อไม่ น้อยกว่ า 1:200 5. ตาแหน่ งของบ่ อพักสาเร็จรูป โดยใช้ แบบรูปแปลนสุขาภิบาลมาเขียนตามตาแหน่ ง ระยะห่ าง ของบ่ อพักไม่ เกิน 12.00 เมตรและมีทุกมุมหักเลี้ยว 6. ถนนหรือซอย โดยบอกชื่อถนนและชื่อซอย รวมถึงระยะทางจากถนนและซอยเข้ ามาถึงอาคาร ที่ขออนุญาตก่ อสร้ างโดยประมาณ 7. อาคารข้ างเคียงให้ ใส่ บ้านเลขที่เพื่อให้ เจ้ าหน้ าที่ทางราชการได้ ตรวจสอบโดยง่ าย
3. สั ญลักษณ์ และมาตราส่ วนแบบรูปผังบริเวณ, แผนที่โดยสั งเขป วางแนวของรูปแบบให้ เหมาะสมกับกระดาษโดยใช้ มาตราส่ วน(SCALE) 1:500 เป็ นบรรทัดฐาน เพื่อ ความสวยงาม
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
15
3
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
4. ขั้นตอนการเขียนแบบรูปผังบริเวณ, แผนที่โดยสั งเขป
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ขั้นตอนการเขียนแบบรูปผังบริเวณ นาโฉนดที่ดินมาติดบนโต๊ ะเขียนแบบ โดยให้ แนวเส้ นของอาคารขนานกับไม้ ที โดยไม่ ต้องคานึงถึงทิศ วัดระยะของโฉนดที่ดิน โดยใช้ ไม้ มาตราส่ วนของโฉนดที่ดิน แล้ วเขียนระยะต่ าง ๆด้ วยดินสอในแต่ ละ ช่ วงหมุดที่ดิน นาระยะที่วัดได้ จากโฉนดที่ดินนามาเขียนโดยใช้ มาตราส่ วน1:125 และใช้ SET ปรับมุมตามโฉนดที่ดิน ในแต่ ละด้ านตามโฉนดที่ดินมาเขียนลงบนกระดาษเขียนแบบ นาแบบรูปแปลนพื้นมาเขียนลงในโฉนดที่ดิน โดยให้ พจิ ารณาระยะห่ างจากเขตที่ดินจนถึงอาคาร ให้ ถูกต้ องตามพ.ร.บ. ควบคุมอาคาร เขียนระยะต่ าง ๆ ทั้งหมดของโฉนดที่ดินและตัวอาคารรวมถึงระยะห่ างจากตัวอาคารถึงแนวเขตที่ดิน แนวท่ อระบายน้าและบ่ อพัก รวมถึงงานระบบสุขาภิบาล ให้ เขียนเหมือนแบบรูปแปลนสุขาภิบาล เขียนรายการประกอบแบบทั้งหมดไว้ ด้านข้ างขวาของแบบรูปผังบริเวณ
ขั้นตอนการเขียนแบบรูปแผนที่โดยสังเขป 1. ให้ เริ่มเขียนจากถนนสายหลักที่ทุกคนรู้ จัก แล้ วเขียนตาแหน่ งของสถานที่ ที่เป็ นหลักมองเห็นชัดเจน เช่ น อาคาร สถานที่ราชการ โรงเรียน ซอย เป็ นต้ น 2. ให้ เขียนระยะมาพอสมควร ให้ ถงึ สถานที่ ที่จะทาการก่ อสร้ างโดยใช้ โฉนดที่ดินมาเขียน ให้เขียนระยะทางจากถนนสายหลักหรื อจากสถานที่สาคัญ โดยให้ลกู ศรแสดงทิศทางมาถึงสถานที่ขออนุญาตปลูก
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
15
4
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
สรุปบทเรียนหน่ วยที่ 15 แบบรูปผังบริเวณ แผนที่โดยสังเขปเป็ นแบบที่แสดงตาแหน่ งของอาคารที่จะทาการขออนุญาต ปลูกสร้ าง เพื่อให้ เจ้ าหน้ าที่ราชการได้ ทาการตรวจสอบก่ อนทาการก่ อสร้ าง ซึง่ จะต้ องถูกต้ องตาม พรบ. ควบคุมอาคาร ซึง่ สอดคล้ องกับแนวคิดของ สุขสม เสนานาญ (2550:335) ที่กล่ าวว่ า แบบผังบริเวณเป็ นแบบ ที่แสดงรายละเอียดตาแหน่ งที่ตั้งตัวอาคารในบริเวณที่ดินที่จะทาการปลูกสร้ าง แสดงขอบเขต ตาแหน่ ง และทิศทางของที่ดิน รวมทั้งขนาดของตัวอาคาร
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
16
1
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
การเขียนสารบัญแบบ รายการประกอบแบบ สั ญลักษณ์ แบบ แบบก่ อสร้ างทุกชนิดจะต้ องแสดงสารบัญแบบ รายการประกอบแบบและสัญลักษณ์ แบบซึง่ เป็ น ข้ อกาหนดในการก่ อสร้ าง โดยสถาปนิกจะเป็ นผู้กาหนดรายละเอียดทางด้ านสถาปั ตย์ และวิศวกรจะเป็ นผู้ กาหนดรายละเอียดทางด้ านการทางานด้ านวิศวกรรม
1. ความหมายของสารบัญแบบ รายการประกอบแบบ สั ญลักษณ์ แบบ สารบัญแบบหมายถึงการเรี ยงลาดับหมวดหมู่ของแบบแต่ละงานของแบบก่อสร้างเพื่อสะดวกกับการเปิ ดแบบดู ในขณะทาการก่อสร้างเนื่องจากแบบแต่ละชุดมีจานวนหลายแผ่นเช่น งานสถาปัตยกรรม งานวิศวกรรม งานไฟฟ้ า งาน สุขาภิบาล เป็ นต้น รายการประกอบแบบหมายถึงข้อกาหนดมาตรฐานในการก่อสร้าง เพื่อให้ผรู้ ับจ้างดาเนินการก่อสร้างได้ถกู ต้อง ตามหลักวิชาการโดยกาหนดเพื่อให้ครอบคลุมในแบบก่อสร้างนั้น ๆ ทั้งการใช้วสั ดุและวิธีการทางาน โดยถือเป็ นส่วน หนึ่งของสัญญาก่อสร้างในกรณี ที่ผรู้ ับจ้างผิดสัญญา สัญลักษณ์แบบ หมายถึง การกาหนดวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างที่เขียนสัญลักษณ์ในแบบรู ปแปลนพื้นมาแล้ว เพื่อให้ผรู้ ับจ้างได้ใช้วสั ดุตามที่กาหนด เช่น พื้น ฝ้ าเพดาน เป็ นต้น
2. รายละเอียดทีแ่ สดงในสารบัญแบบ รายการประกอบแบบ สัญลักษณ์แบบ รายละเอียดที่แสดงในสารบัญแบบ 1.หมายเลขแบบ โดยแบ่ งหมวดหมู่ดังนี้ 1.1 แบบสถาปั ตยกรรมใช้ คาย่ อ สถ. (Architects) 1.2 แบบวิศวกรรมโครงสร้ างใช้ คาย่ อ วย. 1.3 แบบวิศวกรรมไฟฟ้าใช้ คาย่ อ วฟ. (Electrical) 1.4 แบบวิศวกรรมสุขาภิบาลใช้ คาย่ อ วส. (Sanitary) 2. แบบแสดง เป็ นการแสดงรายการของแบบแต่ ละแผ่ น
เนื้อหาการสอน
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
16
2
จานวน 6 ชัว่ โมง
รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ชื่อสถานศึกษา:
แสดงสัญลักษณ์ และมาตราส่วนแบบรูปสารบัญแบบ รายการประกอบแบบ สัญลักษณ์ แบบ
สารบัญแบบ แผ่นที่ DWG. NO.
แบบสถาปั ตยกรรม
มาตราส่วน
1
สถ - 00
สารบัญแบบ,รายการประกอบแบบ,สัญลักษณ์แบบ
not to scale
2
สถ - 01
แผนที่โดยสังเขป
not to scale
3
สถ - 02
ผังบริเวณ
1 : 125
4
สถ - 03
แบบรูปแปลนพื ้น
1 : 100
5
สถ - 04
แบบรูปด้ าน 1
1 : 100
6
สถ - 05
แบบรูปด้ าน 2
1 : 100
7
สถ - 06
แบบรูปด้ าน 3
1 : 100
8
สถ - 07
แบบรูปด้ าน 4
1 : 100
9
สถ - 08
แบบรูปตัด A - A
1 : 75
10
สถ - 09
แบบรูปตัด B - B
1 : 75
11
สถ - 10
แบบรูปขยายประตู หน้ าต่าง
1 : 50
12
สถ - 11
แบบรูปขยายโครงสร้ างหลังคา
1 : 10
13
สถ - 12
แบบรูปขยายห้ องน ้า
1 : 25
14
สถ - 13
มาตราฐานการติดตังสุ ้ ขภัณฑ์
1 : 50
15
สถ - 14
แบบขยายถังบาบัดน ้าเสีย
1 : 20
รู ปที่ 1 แบบสถาปัตยกรรมใช้คาย่อ สถ. (Architects)
เนื้อหาการสอน
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
16
3
จานวน 6 ชัว่ โมง
รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ชื่อสถานศึกษา:
สารบัญแบบ แผ่นที่ DWG. NO.
แบบวิศวกรรม
มาตราส่วน
1
วย - 01
แบบรูปแปลนฐานราก
1 : 100
2
วย - 02
แบบรูปแปลนคานคอดิน
1 : 100
3
วย - 03
แบบรูปแปลนคานหลังคา
1 : 100
4
วย - 04
แบบรูปแปลนโครงสร้ างหลังคา
1 : 100
5
วย - 05
แบบรูปแบบขยายฐานราก , คาน , พื ้น,เสา
1 : 20
6
วย - 06
แบบรูปแบบขยายบันได
1 : 20
รู ปที่ 2 แบบวิศวกรรมโครงสร้างใช้คา ย่อ วย.
สารบัญแบบ แผ่นที่ DWG. NO.
แบบไฟฟ้า
1
วฟ - 01
แบบรูปแปลนไฟฟ้าแสงสว่าง
2
วฟ - 02
รายการประกอบแบบไฟฟ้าแสงสว่าง
มาตราส่วน 1 : 100 not to scale
รู ปที่ 3 แบบวิศวกรรมไฟฟ้ าใช้คาย่อ วฟ. (Electrical)วย.
สารบัญแบบ แผ่นที่ DWG. NO.
แบบ สุขาภิบาล
1
วส - 01
แปลนสุขาภิบาล
2
วส - 02
รายการประกอบแบบระบบสุขาภิบาล
มาตราส่วน 1 : 100 not to scale
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
16
4
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รู ปที่ 5 รายการประกอบแบบ ก่อสร้าง
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
16
5
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รู ปที่ 5 รายการประกอบแบบก่อสร้าง (ต่อ)
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
16
6
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รู ปที่ 5 รายการประกอบแบบก่อสร้าง (ต่อ)
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
16
7
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รู ปที่ 5 รายการประกอบแบบก่อสร้าง (ต่อ)
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ชื่อสถานศึกษา:
ORIENTATION
DIRECTION OF SECTION
DIRECTION OF ELEVATION
DIRECTION OF DETAIL
DOOR SYMBOL
WINDOW SYMBOL
COLUMN LINE INDICATION
DIMENSION STYLE BRICK WALL W/ CEMENT PLASTERING FULL BRICK WALL W/ CEMENT PLASTERING
EARTH (SECTION) SAND, COMPACT SAND
รู ปที่ 6 แสดงสัญลักษณ์ แบบ
หน้ าที่
16
8
จานวน 6 ชัว่ โมง
สัญลักษณ์แบบ
REINFORCE CONCRETE
ประจาสั ปดาห์ ที่
เนื้อหาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2005 เขียนแบบก่อสร้ าง แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง
ประจาสั ปดาห์ ที่
หน้ าที่
16
9
จานวน 6 ชัว่ โมง ชื่อสถานศึกษา:
รายการวัสดุตกแต่งผิว วัสดุพื ้น
วัสดุผนัง
วัสดุฝ้าเพดาน
หมายเลข
รายละเอียด
1
พื ้น คสล.ปูนทรายปรับระดับ ปูกระเบื ้องเซรามิค 12"x12" ( ผิวหยาบ )
2
พื ้น คสล.ปูนทรายปรับระดับ ปูกระเบื ้องเซรามิค 12"x12"
3
พื ้น คสล.ปูนทรายปรับระดับ ปูกระเบื ้องเซรามิค 8"x 8"
4
พื ้น คสล. ขัดมัน
1
ผนังก่ออิฐมอญฉาบปูนเรียบ ทาสี
2
ผนังก่ออิฐมอญ ปูกระเบื ้องเซรามิค 8"x 8"
3
ผนังกระเบื ้องดินเผา
4
ผนังก่ออิฐมอญ ปูทบั ด้ วยไม้ ฝาเฌอร่า
1
แผ่นยิบซัม่ บอร์ ด หนา 9 มม. ฉาบเรียบ ทาสี
2
แผ่นยิบซัม่ บอร์ ดชนิดทนความชื ้น หนา 9 มม. ฉาบเรียบ ทาสี
3
ไม้ ฝาเฌอร่า ขนาด 1/2"X3" ทาสี
รู ปที่ 7 แสดงรายการวัสดุตกแต่ง ผิว
สรุปบทเรียนหน่ วยที่ 16 สารบัญแบบ รายการประกอบแบบ สัญลักษณ์ แบบ เป็ นแบบทีใ่ ช้ เพือ่ ประกอบการทางานใน ระหว่ างทาการก่ อสร้ าง ซึง่ ถือว่ าเป็ นแบบที่สาคัญที่ผ้ วู ่ าจ้ างและผู้รับจ้ างจะต้ องทาความเข้ าใจกันเสียก่ อน เพื่อมิให้ เกิดความขัดแย้ งกันในระหว่ างทาการก่ อสร้ าง และถือเป็ นส่ วนหนึ่งของสัญญาก่ อสร้ าง ซึง่ สอดคล้ องกับแนวคิดของ เจริญ เสาวภาณี (2548 :192) ที่กล่ าวว่ าสารบัญแบบและรายการประกอบแบบ เปรียบได้ เหมือนเป็ นด่ านแรกที่ผ้ มู ีหน้ าที่เกี่ยวข้ องกับแบบต้ องศึกษา และทาความเข้ าใจให้ ดี รวมไปถึงผู้มี หน้ าที่ปฏิบัติงานในสนาม ตั้งแต่ ผ้ คู วบคุมงานไปถึงหัวหน้ าช่ าง ต้ องมีความเข้ าใจตรงกัน งานจึงไม่ เกิด ปั ญหา มีข้อโต้ แย้ งน้ อยที่สุด