e.c o.t h
อุณหภูมิน�้ำเย็น / คูลลิ่งทาวเวอร์ รศ.ดร.มนตรี พิรุณเกษตร
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
p:/ /m
การค�ำนวณอุณหภูมินำ�้ เย็น ที่ท�ำได้ของคูลลิ่งทาวเวอร์
แบบไหลสวนทางบนภาวะออกแบบที่ก�ำหนด
htt
การหาสภาวะทางออกของอากาศโดยใช้เทคนิคการค�ำนวณซ�้ำ โดยสมมติค่าอุณหภูมิทางออกของอากาศและก�ำหนดสภาวะทางออก เป็นอากาศอิ่มตัว และค�ำนวณด้วยวิธีแรงม้าเบรกพัดลมคงที่ เพื่อก�ำหนดค�ำตอบที่ต้องการในระหว่างการค�ำนวณซ�ำ้
ก
(Constant Fan BHP, BHPoff = BHPdsn) วิธีระยะพิตช์ ของพัดลมคงที่ (Constant Fan Pitch, ACFMoff = ACFMdsn) และวิธีอัตราการไหลโดยมวลของอากาศคงที่ (Constant Air Mass Flow Rate, Goff = Gdsn) ในที่นี้จะใช้วิธีแรงม้าเบรก พัดลมคงที่ (Constant Fan BHP) เพือ่ ก�ำหนดค�ำตอบทีต่ อ้ งการ ในระหว่างการค�ำนวณซ�ำ้ นอกจากนี้ ค่าอัตราส่วนการไหล (L/G) ที่คำ� นวณได้ ภาย ใต้พิสัยระบายความร้อนใหม่และอุณหภูมิบรรยากาศเดิม จะน�ำ ไปใช้ หาจุดตัดระหว่างเส้นบ่งลักษณะของแผงขยายฟิลม์ น�ำ้ กับ เส้นแอปโพรชใหม่ แอปโพรชค่าใหม่ที่ค�ำนวณได้นั้น จะท�ำให้ ทราบถึงอุณหภูมิน�้ำเย็นที่ท�ำได้จริงของคูลลิ่งทาวเวอร์
1 ก กก กก ก ก % ก @ @ ก @ ก KaV/L @
ก KaV/L % ก @ % @ ก กก (margin) ก ก ก กก ก ก ก
Sa
mp
le
Ar
tic
les
by
ารก� ำ หนดรายละเอี ย ดพจน์ ต ่ า งๆ ของการออกแบบ รายละเอียดของภาวะออกแบบที่ก�ำหนดให้ โดยไม่ได้ อ้างถึงสภาวะอากาศตรงทางออกของของคูลลิง่ ทาวเวอร์ สภาวะ ทางออกของอากาศมี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ การค� ำ นวณความดั น ทั้งหมดของพัดลม (Fan total pressure) เนื่องจากสภาวะ ทางออกใช้ก�ำหนดเอนทัลปี อัตราส่วนการไหล (L/G) และ ปริมาณอากาศหมุนเวียนเชิงปริมาตรของอากาศ การหาสภาวะทางออกของอากาศนัน้ จึงต้องอาศัยเทคนิค การค�ำนวณซ�้ำ โดยการสมมติค่าของอุณหภูมิทางออกของ อากาศและก�ำหนดสภาวะทางออกเป็นอากาศอิ่มตัว นอกจากนี้ ยังต้องเลือกใช้วิธีการค�ำนวณ ได้แก่ วิธีแรงม้าเบรกพัดลมคงที่
62 84807_062-069_Pc5.indd 62
344 พฤศจิกายน 2555
0 ft 80 °F 80 % 1 cell 12,500 gpm 42 ft 42 ft 15 ft 10 % 2.5 CF 1900 4 ft 1.0 1.0
0.99 1.11 % 3.27 % 1.8 79.2 % 91.2 % 13.3 % 175 hp 28 ft 1 cell 88 inch 3.66 ft 104 °F 89 °F 15 °F
www.me.co.th
13/10/2555 15:18:56
วก. 485
p:/ /m
การปรับปรุง เตาอบฮีตปั๊ม
e.c o.t h
การปรับปรุงเตาอบฮีตปั๊ม ปรเมธ ประเสริฐยิ่ง
ป
กระบวนการถ่ายเทความร้อน กระบวนการถ่ายเทมวลของน�ำ้ ซึง่ ท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ ทางเคมี และทางชีวเคมี ซึง่ จะมีผลต่อคุณภาพการอบแห้ง ได้แก่ การเปลีย่ นสี การหดตัว การเกิดผลึก ผิวย่น มีกลิ่น และอื่นๆ การอบแห้งเกิดขึ้นโดยการให้ความร้อนแก่วัสดุ ในกรณี ที่ใช้อากาศร้อน ความร้อนจะถ่ายเทจากอากาศให้กับวัสดุด้วย การพาความร้อนมาที่ผิว และการน�ำความร้อนผ่านผิวเข้าไปใน เนื้อวัสดุ น�้ำในวัสดุได้รับความร้อนท�ำให้มีระดับพลังงานสูงขึ้น ผลักตัวผ่านเนื้อวัสดุออกมาที่ผิว แล้วอากาศโดยรอบจะพาน�้ำที่ ผิวนีอ้ อกไปในสภาพของไอน�ำ้ ท�ำให้ความชืน้ สมบูรณ์ของอากาศ เพิ่มขึ้นและความชื้นสัมพัทธ์สูงขึ้น เมื่อระยะเวลาการอบแห้ง ผ่านไประยะหนึง่ คุณสมบัตทิ างกายภาพของวัสดุอาจเปลีย่ นไป ก็จะท�ำให้อัตราการคายน�ำ้ เปลี่ยนไปด้วย อากาศร้อนที่ใช้ในการอบแห้ง คือ อากาศที่มีความชื้น สัมพัทธ์ต�่ำ โดยธรรมชาติเมื่อให้ความร้อนกับอากาศ อากาศ ก็จะมีอณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ และความชืน้ สัมพัทธ์ตำ�่ ลงมีความสามารถ ทีจ่ ะรับไอน�ำ้ ได้มากขึน้ เมือ่ อากาศร้อนกระทบวัสดุ อากาศร้อนจะคาย ความร้อนให้วสั ดุทำ� ให้อากาศมีอณ ุ หภูมลิ ดลงและรับน�ำ้ จากวัสดุใน รูปไอน�ำ้ ท�ำให้อากาศมีความชืน้ สมบูรณ์และความชืน้ สัมพัทธ์สงู ขึน้ เตาอบอากาศร้อน (Hot air dryer) มีการท�ำงานตามรูปที่ 1 อากาศนอกเตาอบจะได้รบั ความร้อนท�ำให้มอี ณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ และ ความชื้นสัมพัทธ์ลดลงเพื่อปล่อยเข้าเตาอบ อากาศร้อนจะคาย ความร้อนให้เตาและวัสดุท�ำให้อุณหภูมิลดลง และรับความชื้น จากวัสดุท�ำให้ความชื้นสัมพัทธ์เพิ่มขึ้นและระบายความชื้นทิ้ง ไปทางปล่องของเตาอบด้วย การระบายอากาศที่ยังมีความร้อน อยู่ทิ้งไปท�ำให้สูญเสียความร้อนมาก ประสิทธิภาพของเตาอบ อากาศร้อนจึงมีค่าต�่ำ
mp
le
Ar
tic
les
by
ระเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม การเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจมีพื้นฐานมาจากการเกษตร การตั้งเป้าหมายที่ จะเป็นครัวโลกก็เป็นเป้าหมายหนึ่งในการพัฒนาเพื่อการเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ การทีจ่ ะบรรลุเป้าหมายนีต้ อ้ ง มีปัจจัยหลายด้าน ทั้งด้านนโยบาย งบประมาณ และแนวทาง การปฏิบัติในการผลักดัน ทั้งด้านการผลิตวัตถุดิบ การเก็บ วัตถุดิบ การเตรียมวัตถุดบิ การผลิต การประกอบอาหาร การ ควบคุมคุณภาพ การประชาสัมพันธ์ การตลาด การกระจายสินค้า ต้องมีบคุ ลากรทางด้านการเกษตร โภชนาการ และบุคคลากรใน ทุกๆ ด้านรวมทัง้ การปรับปรุงเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมส�ำหรับส่งเสริม ในการสร้างคุณภาพ ความแตกต่างและความสามารถในการ แข่งขัน การอบแห้ ง มี ค วามส� ำ คั ญ ในงานการเกษตรและด้ า น อาหารเป็นอย่างยิ่ง การอบแห้งเป็นขั้นตอนเพื่อการเก็บเมล็ด พันธุใ์ นการเกษตร การเก็บวัตถุดบิ การเตรียมวัตถุดบิ และอืน่ ๆ การปรับปรุงประสิทธิภาพการอบแห้งจึงเป็นสิ่งที่สำ� คัญ ซึ่งเตา อบฮีตปัม๊ เป็นเตาอบทีม่ ปี ระสิทธิภาพและให้ผลผลิตทีม่ คี ณ ุ ภาพ สูง การพัฒนาเตาอบฮีตปั๊มจะช่วยให้เตาอบฮีตปั๊มมีการใช้แพร่ หลายมากยิ่งขึ้น ท�ำให้สามารถลดต้นทุนในการอบแห้ง เพิ่ม คุณภาพ เพิ่มความสามารถในการผลิต และลดปัญหาสภาพ แวดล้อม (จากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการใช้พลังงานในการ อบแห้ง) เป็นปัจจัยเล็กๆ ที่จะช่วยในการบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้
htt
แนวทางการปรับปรุงเตาอบฮีตปั๊มที่จะช่วยให้การอบแห้งมีประสิทธิภาพ สามารถลดต้นทุนในการอบแห้ง เพิ่มคุณภาพ เพิ่มความสามารถในการผลิต และลดปัญหาสภาพแวดล้อม
Sa
หลักการอบแห้งและ เตาอบอากาศร้อน
การอบแห้งเป็นกระบวนการที่ซับซ้อน ประกอบด้วย
70 84807_070-076_Pc5.indd 70
344 พฤศจิกายน 2555
www.me.co.th
12/10/2555 19:35:46
e.c o.t h
ตะแกรงดักขยะ ทนงศักดิ์ วัฒนา
ตะแกรงดักขยะ
p:/ /m
ในระบบบ� ำ บั ด น� ำ ้ เสี ย ขั น ้ ต้ น (1) ้ ยมีหลายรูปแบบ โดยเฉพาะในโรงงาน ขยะและสิ่งปนเปื้อนที่ปนมากับนำ�เสี
เ
หนึง่ ในปัญหาทีจ่ ะท�ำให้ภาวะวิกฤติ น�้ำมีความรุนแรงขึ้น คือ การเพิ่มขึ้นของ จ�ำนวนประชากร ท�ำให้หลายประเทศมีนำ�้ ใช้ในภาคเกษตรกรรมอย่างจ�ำกัด และ จะเลวร้ายยิ่งขึ้นตามความต้องการน�้ำใน ภาคเกษตร การผลิตอาหาร และการ บริโภคพลังงานเพิม่ สูงขึน้ รวมไปถึงปัญหา มลพิษ และความบกพร่องในการบริหาร จัดการน�้ำ มีองค์การความร่วมมือและการ
Sa
mp
le
Ar
tic
les
ป็นที่ทราบกันดีกว่า น�้ำในโลกใบนี้มี กระบวนการเกิดเป็นวัฏจักร หรือที่ เรียกว่า วัฏจักรน�ำ้ ซึ่งหมุนเวียนต่อเนื่อง กันไปตามแต่ละกระบวนการต่างๆ ดัง แสดงในรูปที่ 1 แต่อย่างไรก็ตาม หลาย ปีทผี่ า่ นมามนุษย์ได้ประสบกับปัญหาเรือ่ ง วิกฤตน�ำ้ ทั้งน�้ำท่วม น�้ำขาดแคลน หรือ แม้ แ ต่ คุ ณ ภาพน�้ ำ เสื่ อ มโทรมลงจนไม่ สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้ เนื่องจาก หลากหลายสาเหตุด้วยกัน
by
htt
อุตสาหกรรมซึ่งมีความหลากหลายมาก ดังนั้น ในการออกแบบจึงพิจารณา ถึงคุณลักษณะต่างๆ ของตะแกรงอย่างเหมาะสม เพื่อให้การบำ�บัดขั้นต้นมี ประสิทธิภาพก่อนที่จะเข้าสู่การบำ�บัดในขั้นต่อไป
www.me.co.th
84807_077-085_Pc5.indd 77
รูปที่ 1 วัฏจักรน�้ำที่หมุนเวียนอยู่ตามธรรมชาติ
พัฒนาเศรษฐกิจต่างๆ ได้เรียกร้องให้มี การใช้น�้ำเสียอย่างมีประสิทธิภาพมาก ขึ้น เพราะปัจจุบันยังคงมีน�้ำเสียมากถึง 80% ที่ยังคงไม่มีการจัดเก็บหรือบ�ำบัด เพื่อให้สามารถน�ำใช้ได้ รวมถึงอาจมีการ เก็บภาษีการใช้นำ�้ ทีจ่ ะกระตุน้ ให้คนใช้นำ�้ อย่างชาญฉลาด และหากไม่มีนโยบาย ใหม่ในการบริหารจัดการน�้ำ ประชากร โลกกว่า 40% จะต้องใช้ชีวิตในพื้นที่ที่มี น�้ำอย่างจ�ำกัดมากๆ ภายในปี 2593 นอกจากนี้ โลกของเราก�ำลังประสบปัญหาสภาวะแวดล้อมเปลี่ยนแปลง ท�ำให้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด มีข้อ จ�ำกัดมากขึ้นไปอีก ซึ่งถ้าหากเรายังไม่ รีบแร่งจัดการกับปัญหาดังกล่าวแล้ว ใน ไม่ช้าก็จะกลายเป็นวิกฤติของมนุษยชาติ โดยเฉพาะเรื่อง วิกฤติการขาดแคลนน�ำ้ ปัญหาเกี่ยวกับน�้ำ จึงเป็นเรื่องที่ ทุกคนควรตระหนักและให้ความส�ำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ทรัพยากรน�้ำ อย่างรู้ค่าและคุ้มค่า เพื่อให้ทรัพยากร น�้ ำ ที่ มี อ ยู ่ อ ย่ า งจ� ำ กั ด ยั ง สามารถใช้ ต ่ อ ไปอย่างยั่งยืน ควบคู่ไปกับการพัฒนา
344 พฤศจิกายน 2555 77 13/10/2555 15:30:33
e.c o.t h
พัดลม / ประกันงานซ่อม วินัย เวชวิทยาขลัง
ผู้จัดการศูนย์ฝึกอบรมทางเทคนิค บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย (ท่าหลวง) จำ�กัด
p:/ /m
วิเคราะห์หน้าที่ และการท�ำงานชิ้นส่วนพัดลม เพื อ ่ การประกั น งานซ่ อ ม แนวทางการจำ�แนกและการตรวจสอบชิ้นส่วนพัดลม และตัวอย่างขั้นตอน
htt
มาตรฐานการถอด-ประกอบพัดลม และการประมาณอายุการใช้งาน ของชิ้นส่วน เพื่อกำ�หนดระยะการประกันงานซ่อม
by
ก
Ar
ความส�ำคัญ ของพัดลม
tic
les
ารท�ำความรู้ความเข้าใจในแบบ โครงสร้าง ส่วนประกอบ และการ ท�ำงานของพัด ลม ก็มีความส�ำคัญเช่น เดียวกับเครือ่ งจักรอืน่ ๆ ดังทีก่ ล่าวมาก่อน หน้านีแ้ ล้ว ทีไ่ ม่เพียงแต่จะซ่อมให้สามารถ ใช้งานได้เท่านัน้ แต่ชา่ งซ่อมยังต้อง จะขาด ไม่ได้ โดยเฉพาะงานประกันงานซ่อม
Sa
mp
le
พัดลม เป็นเครือ่ งจักร อุปกรณ์ ที่ ใช้ส�ำหรับหมุนเวียน เคลือ่ นย้าย ถ่ายเท อากาศ ลม จากจุดหนึง่ ไปยังอีกจุดหนึง่ เช่น ใช้ระบาย ถ่ายเท หมุนเวียนอากาศ ใน บ้านเรือน ครัวเรือน ท�ำให้ทอี่ ยูอ่ าศัย รูส้ กึ เย็นสบาย ถ้าเป็นงานอุตสาหกรรม จะใช้ส�ำหรับ พ่น เป่า ระบายความร้อน หรือเพิม่ ความดัน ส�ำหรับขนถ่าย ถ่ายเท วัสดุ เช่น ฝุน่ ผง แป้ง นำ�้ ตาล ทราย ในงานอุตสาหกรรมอาหาร หม้อบด ซิเมนต์ เตาเผา เครือ่ งดักกรอง ฝุ่น เป็นต้น
86 84807_086-091_Pc5.indd 86
(ก) พัดลมท่อ
(ข) พัดลมลูกโลกหรือพัดลมกระโหลก
(ค) พัดลมแดงหรือพัดลมกรงไก่
รูปที่ 1 พัดลมแบบอากาศไหลตามแนวแกน
ลักษณะของพัดลมจะมีหลายแบบ แบ่งตามลักษณะของใบพัด และลักษณะ การไหลของลม อากาศ หรือ แบ่งตาม ความดัน เช่น พัดลมแดง หรือที่เรียก ภาษาชาวบ้าน เรียกว่า พัดลมไก่ และ พัดลมท่อ เป็นพัดลมที่ท�ำงานโดยการ
344 พฤศจิกายน 2555
ไหลถ่ายเทของลม ตามแนวเพลาพัดลม จะเป็นพัดลมความดันต�่ำ แต่ต้องการ ปริมาณการถ่ายเทลมมาก ประเภทความ ดันปานกลาง ส่วนมากจะเป็นพัดลมหอย โข่ง ใบพัดลมโค้งหลังกินลม ถ้าต้องการความดันสูง และปริมาณ www.me.co.th
12/10/2555 22:49:40
e.c o.t h
การส�ำรวจสภาวะงานระบบไฟฟ้าเครื่องกล ขวัญชัย กุลสันติธ�ำรงค์ kwanchai2002@hotmail.com
p:/ /m
มารู้จักคู่มือ Condition Surveys and Asset Data Capture การสำ�รวจสภาวะงานระบบไฟฟ้าเครื่องกลเพื่อบันทึกข้อมูลที่ได้อย่างถูกต้อง อาคารของตึกหรืออาคารที่ดูแลอยู่จะไม่ ท�ำให้ตึกหรืออาคารดังกล่าวเกิดปัญหา จนไม่อาจท�ำหน้าที่ตามที่ก�ำหนดไว้ สิ่งที่ ผู้บริหารงานอาคารต้องการก็คือ ข้อมูล สถานะของเครื่ อ งจั ก ร-อุ ป กรณ์ และ ระบบไฟฟ้าเครือ่ งกลทีถ่ กู ต้องและแม่นย�ำ Condition Surveys and accurate asset register เป็นการส�ำรวจ สภาวะงานระบบไฟฟ้ า เครื่ อ งกลเพื่ อ บันทึกข้อมูลที่ได้อย่างถูกต้องและเป็น ระบบ ข้อมูลที่ถูกต้องและแม่นย�ำนี้จะ ท�ำให้ฝ่ายบริหารสามารถคิดไปข้างหน้า, ตัดสินใจได้อย่างชาญฉลาด และวางแผน งานต่างๆ ได้อย่างละเอียดและถูกต้อง เช่น งานปรับปรุงหรือเปลี่ยนทดแทน เครื่องจักร หรืออุปกรณ์ งานปรับปรุง เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความสบายภายในอาคาร และการน�ำเทคนิคการลดการปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์มาใช้ เป็นต้น ในบทความฉบับนีต้ อ้ งการน�ำเสนอ รายละเอียดที่น่าสนใจของคู่มือ BSRIA 35/2012 - Condition Surveys and Asset Data Capture เพื่อเป็นข้อมูล ให้กับผู้ที่มีหน้าที่หรือท�ำงานเกี่ยวข้องกับ งานบ�ำรุงรักษางานระบบไฟฟ้าเครื่องกล
Sa
mp
le
Ar
tic
les
by
สิ
นทรัพย์ต้องมีการดูแล สินทรัพย์ ที่ ก ล่ า วถึ ง ในที่ นี้ หมายถึ ง ตึ ก รามบ้านช่อง อาคาร อสังหาริมทรัพย์ ต่างๆ รวมถึงงานระบบประกอบอาคารที่ เกีย่ วข้อง เช่น ระบบผลิตน�ำ้ เย็น (Chilled water systems) หรื อ อุ ป กรณ์ แ ละ เครื่องจักรต่างๆ เช่น ปั๊มน�้ำ เป็นต้น เนือ่ งจากงานระบบประกอบอาคาร หรืองานไฟฟ้าเครื่องกลถือว่าเป็นงาน บริการประเภทหนึง่ ทีบ่ ริการ “ความสบาย หรือ comfort” ให้แก่ผู้ใช้อาคาร ดังนั้น การดูแลรักษาและซ่อมบ�ำรุงงานระบบ ประกอบอาคาร จึงมักจะถูกพิจารณาว่า เป็นค่าโสหุ้ย มุมมองเช่นนี้จึงเป็นการลด ทอนความส�ำคัญของงานดูแลรักษาและ ซ่อมบ�ำรุง ในความเป็นจริง งานบ�ำรุงรักษา เป็นสิ่งที่มีคุณค่าที่เกี่ยวข้องกับการท�ำ หน้าทีห่ ลักของตึกหรืออาคารต่างๆ ยิง่ ไป กว่านั้น ในสถานการณ์ที่สภาวะโลกร้อน เป็นปัญหาของชาวโลก งานบ�ำรุงรักษา จึงมีส่วนอย่างยิ่งที่จะช่วยลดการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลงได้ ผู้บริหาร งานอาคาร หรือ Building Operator จึง ต้องการความมัน่ ใจว่างานระบบประกอบ
htt
และเป็นระบบ ตามคู่มือ BSRIA 35/2012 ซึ่งการได้ข้อมูลที่ถูกต้องจะช่วยให้ สามารถตัดสินใจ และวางแผนดำ�เนินการได้อย่างละเอียดและถูกต้อง
92 84807_092-096_Pc5.indd 92
344 พฤศจิกายน 2555
ประกอบอาคาร รวมทั้งผู้สนใจอื่นๆ เชิญ ติดตามรายละเอียดได้เลยครับ
ภาพรวมของคู่มือ
คู่มือ BSRIA 35/2012 - Condition Surveys and Asset Data Capture เน้นในส่วนของงานระบบไฟฟ้าเครือ่ งกล ประกอบอาคารเป็นหลัก คู่มือฉบับนี้จัด ท�ำขึ้นโดยปรับปรุงจากคู่มือ BSRIA Application Guide AG 4/2000 Condition Survey of Building Services โดย ท�ำการปรับปรุงด้วยวิธีท�ำ workshop หรือการประชุมเชิงปฏิบัติการ และผ่าน การประชาพิจารณ์จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง หรือผู้มีส่วนได้เสีย จึงท�ำให้คู่มือเล่มใหม่ นี้สอดคล้องกับการปฏิบัติงานในปัจจุบัน นอกจากนี้ BSRIA ยังได้จัดท�ำ รายการตรวจสอบ หรือ Checklist ใน ภาคผนวก A และจัดท�ำแบบ Microsoft Word file ให้สามารถดาวน์โหลดได้จาก www.bsria.co.uk/goto/csc คู่มือ BSRIA 35/2012 ประกอบ ด้วย 6 บท ได้แก่ - บทที่ 1 The Value of Asset Data (คุณค่าของข้อมูลด้านสินทรัพย์) www.me.co.th
12/10/2555 22:53:35
e.c o.t h
สถานการณ์พลังงานทดแทน กองบรรณาธิการ
สถานการณ์ พลังงานทดแทนของไทย
น้
การดำ�เนินการด้าน พลังงานทดแทน
les
ำมัน ถ่านหิน ก๊าซปิโตรเลียมเหลว หรือก๊าซธรรมชาติ เป็นพลังงาน ที่ใช้แล้วหมดไป ซึ่งปัจจุบันก�ำลังใกล้ จะหมด จึงส่งผลให้ราคาของพลังงาน ดังกล่าวสูงมากขึ้น และจ�ำเป็นต้องหา พลังงานอื่นมาทดแทน การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ หรือ การสร้ า งสรรค์ น วั ต กรรมของการใช้ ประโยชน์จากแหล่งพลังงานธรรมชาติ เพื่ อ ทดแทนพลั ง งานหลั ก ในปั จ จุ บั น จึ ง เป็ น สิ่ ง ท้ า ทายอยู ่ เ สมอเนื่ อ งจาก เทคโนโลยีไม่หยุดนิ่งนั่นเอง พลังงานทดแทน เช่น พลังงาน แสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังน�้ำขนาด เล็ก ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ และขยะ ซึ่ง หากเทคโนโลยีพลังงานทดแทนดังกล่าว มีต้นทุนถูกลงและได้รับการยอมรับมาก ขึ้ น ก็ ส ามารถพั ฒ นาให้ เ ป็ น พลั ง งาน หลักในการผลิตไฟฟ้าส�ำหรับประเทศได้ นอกจากนั้น ยังเป็นพลังงานที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย
by
htt
p:/ /m
พลังงานทดแทนมีความจำ�เป็นมากยิ่งขึ้นในอนาคต การพยายามจัดหาพลังงาน ทดแทนจึงเป็นสิ่งที่ทุกหน่วยงานในประเทศพยายามจัดหาอย่างเต็มที่
Sa
mp
le
Ar
tic
ภาครัฐได้ก�ำหนดนโยบายและมี การด�ำเนินการด้านพลังงานทดแทน โดย มีกระทรวงต่างๆ ร่วมกับสถาบันต่างๆ ซึ่งกระทรวงพลังงานเป็นหลักในการหา ทางจัดหาและพัฒนาพลังงานทดแทน รูปแบบใหม่ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม และ มี ก ารติ ด ตามผลจากคณะกรรมการ นโยบายพลังงานแห่งชาติ (กทช.) และ คณะกรรมการนโยบายวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (กวทน.) เพื่อให้ได้เป้าหมายร่วมกัน คือ ลดการ พึ่งพาพลังงานและเทคโนโลยีจากต่าง ประเทศ และหาพลังงานใหม่ทเี่ หมาะสม กับประเทศไทย ภาครัฐได้ก�ำหนดเป้าหมายการใช้ พลังงานทดแทนจากปัจจุบันที่ใช้เพียง 11.2 % ของพลังงานรวมเป็น 25% ให้ ได้ภายใน 10 ปี (พ.ศ. 2555-2564)
www.me.co.th
84807_097-099_Pc5.indd 97
พลังงานทดแทน ของประเทศ
ประเทศไทยยังพึ่งพาการน�ำเข้า พลังงานจากต่างประเทศเป็นหลัก เช่น ความต้องการพลังงานเชิงพาณิชย์ขนั้ ต้น ปี 2554 มีปริมาณ 60% มาจากการน�ำ เข้า ซึ่งเป็นการน�ำเข้าน�้ำมันสูงถึง 80% ของการใช้ น�้ ำ มั น ทั้ ง หมด ในประเทศ และมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง การ พัฒนาพลังงานทดแทนอย่างจริงจังจะ ลดการพึ่งพา และลดการน�ำเข้าน�้ำมัน เชื้อเพลิงและพลังงานชนิดอื่น อีกทั้ง ช่วยกระจายความเสี่ยงในการจัดหาเชื้อ เพลิ ง เพื่ อ ผลิ ต ไฟฟ้ า ของประเทศ ซึ่ ง เดิมต้องพึ่งพาก๊าซธรรมชาติเป็นหลัก มากกว่า 70% ผลผลิ ต ทางการเกษตรที่ น� ำ มา ใช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตพลังงานได้ทงั้ ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ รวมทั้งไบโอดีเซลและ เอทานอล นอกจากนี้ การแปรรูปจาก
344 พฤศจิกายน 2555 97 12/10/2555 22:55:52
e.c o.t h
โลจิสติกส์ / AEC โกศล ดีศีลธรรม
Koishi2001@yahoo.com
p:/ /m
โอกาสพัฒนาโลจิสติกส์ไทย สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ความรวดเร็วและต้นทุน จึงเป็น ปัจจัยหลักทีส่ นับสนุนให้เกิดความได้เปรียบ ในการแข่งขัน การมุง่ ลดต้นทุนด�ำเนินงาน ทีไ่ ม่กอ่ รายได้ (Non Value Added Cost) หรือการสร้างคุณค่าเพิม่ ให้กบั กระบวนการ เพือ่ ส่งมอบคุณค่าสูผ่ บู้ ริโภค ด้วยเหตุนี้ การบริหารระบบโลจิสติกส์ จึงครอบคลุมกิจกรรมตั้งแต่ การบริหาร อุปสงค์ การบริหารสินค้าคงคลัง การ บริหารค�ำสั่งซื้อ การบริหารข้อมูล การ บรรจุ และการจัดส่ง เพื่อให้สามารถน�ำ เสนอสิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารที่ มี คุ ณ ภาพ สู ่
ลูกค้าในเวลาทีต่ อ้ งการ ด้วยต้นทุนเหมาะ สมที่สุด
ภาพรวมทาง โลจิสติกส์ของไทย
ตามรายงานผลการศึกษาพบว่า สัดส่วนต้นทุนทางโลจิสติกส์ของไทยเมื่อ เทียบกับผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) สูงกว่าประเทศสิงคโปร์ทอี่ ยู่ ประมาณ 7% ประเทศแถบยุโรปประมาณ 9% และสหรัฐอเมริกา 10%
Sa
mp
le
Ar
tic
les
by
จ
ากกระแสการเปลี่ยนแปลงในโลก ของการแข่ ง ขั น ยุ ค ใหม่ ได้ เ ป็ น ปัจจัยหลักผลักดันให้เกิดการปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์การบริหารเพื่อตอบสนอง ต่อสภาพแวดล้อมการแข่งขัน การสร้าง ศักยภาพการแข่งขันให้กับองค์กรภายใต้ ระบบการค้าเสรียคุ ใหม่ ทีน่ บั วันทวีความ ขับเคี่ยวมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับ การที่ ไ ทยจะเข้ า สู ่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน ใน พ.ศ. 2558 ซึ่งจะท�ำให้เกิด การเชื่ อ มโยงประเทศสมาชิ ก ให้ เ กิ ด ศักยภาพตลาดเดียว
htt
บริการด้านโลจิสติกส์เป็นหนึ่งในสาขาบริการ ที่จะมีการเปิดเสรีภายในกรอบ AEC ซึ่งอาจจะทำ�ให้มีการลงทุน จากต่างประเทศในประเทศไทยมากขึ้น ทำ�ให้มีโอกาสที่การขนส่งสินค้า ระหว่างประเทศในภูมิภาคโดยใช้เส้นทางผ่านไทยมากขึ้น
100 84807_100-106_Pc5.indd 100
รูปที่ 1 แนวโน้มต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP ของไทย
344 พฤศจิกายน 2555
www.me.co.th
12/10/2555 22:58:17
กองบรรณาธิการ
e.c o.t h
เยี่ยมชม สถาบันไทย-เยอรมัน
by
htt
p:/ /m
เยี่ยมชม สถาบันไทย-เยอรมัน
องค์กรที่ถ่ายทอดและจัดการเทคโนโลยีการผลิต รวมทั้งพัฒนาขีดความสามารถ ด้านวิศวกรรมการผลิตให้กับอุตสาหกรรมไทย
les
อุ
ในหน่วยงานหนึง่ ทีส่ ง่ เสริมและสนับสนุน ทางด้านเทคโนโลยีการผลิต รวมทั้งให้ ค�ำแนะน�ำทางเทคโนโลยีแก่ผู้ประกอบ การได้เป็นอย่างดี นั่นคือ สถาบันไทยเยอรมัน
Sa
mp
le
Ar
tic
อุตสาหกรรมช่วยสร้างให้ประเทศ เจริญก้าวหน้า และช่วยเสริมสร้าง ความแข็งแกร่งให้กับเศรษฐกิจ ของประเทศได้ ม าก การที่ เ ทคโนโลยี อุตสาหกรรมสามารถสนับสนุนกระบวนการ ต่างๆ ได้ทงั้ การผลิตและการจัดการนัน้ จะ ต้องมีการถ่ายทอดเทคโนโลยี, มีการจัด ฝึกอบรม และมีการให้คำ� ปรึกษารวมทัง้ ให้ ค�ำแนะน�ำต่ออุตสาหกรรมด้านต่างๆ โดย ใช้เทคโนโลยีตงั้ แต่ระดับพืน้ ฐานไปจนถึง ระดับทีท่ นั สมัย การที่ประเทศไทยมีทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน ร่ ว มมื อ กั น สนั บ สนุ น และ ผลักดันการพัฒนาทางเทคโนโลยีและ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์นั้น นับว่าเป็น วิธีที่ถูกต้องในการแข่งขันระดับสากลใน ยุคปัจจุบัน วารสารเทคนิคฉบับนี้ มีความยินดี พาท่านผู้อ่านเข้าเยี่ยมชมและรับความรู้ www.me.co.th
84807_107-113_Pc5.indd 107
ความเป็นมา และนโยบาย
สถาบันไทย-เยอรมันตัง้ อยูท่ นี่ คิ มอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี สถาบันไทย-เยอรมันจัดตั้งขึ้นโดยความ ร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาล สหพั น ธ์ ส าธารณรั ฐ เยอรมนี เพื่ อ ให้ สถาบันเป็นหน่วยงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพใน การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตขั้นสูงสู่ ภาคอุตสาหกรรมไทย การด�ำเนินงานของสถาบันฯ จะ มี ลั ก ษณะการบริ ห ารงานเป็ น อิ ส ระ
และอยู ่ ภ ายใต้ ก ารดู แ ลของกระทรวง อุตสาหกรรม โดยมีอุตสาหกรรมพัฒนา มูลนิธิรองรับการด�ำเนินงาน ซึ่งหลังจาก คณะรั ฐ มนตรี ไ ด้ มี ม ติ อ นุ มั ติ ก ารจั ด ตั้ ง เมื่อปี พ.ศ. 2535 สถาบันฯ ได้เริ่มเปิด ส�ำนักงานในปี พ.ศ. 2538 และได้เริ่มให้ บริการฝึกอบรมแก่ภาคอุตสาหกรรมใน ปี พ.ศ. 2541 วิสัยทัศน์ของสถาบันฯ คือ “เป็น องค์กรน�ำระดับสากลในการยกระดับขีด ความสามารถด้านเทคโนโลยีการผลิต ของอุตสาหกรรมไทยให้เข้มแข็ง” ซึ่ง พันธกิจของสถาบันฯ คือ เป็นกลไกของ รั ฐ ในการขั บ เคลื่ อ นอุ ต สาหกรรมการ ผลิต โดยผลักดันให้เกิดการพัฒนาความ สามารถในการแข่งขัน ผ่านกระบวนการ พัฒนา ถ่ายทอด ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี การผลิต สร้างเครือข่ายอุตสาหกรรม และจั ด การองค์ ค วามรู ้ เ พื่ อ เป็ น ศู น ย์
344 พฤศจิกายน 2555 107 12/10/2555 23:01:20
POT-TECH DS 130 M ˵¥n¯ ˵¤É
˸®¿½·À¸°¾§ ¿¦ º®§À°Å ¤¾Ó´Ï¨ • ¥³ Ã¥ ³ 赮 n %DU • ¥¶£´ ˵ ·ÊÅ n ¥³ Æ n §¶ ¥ ´ · • ¬´£´¥ µ¯º ¢»£¶Æ n ³Ë à m °& °& • £¯Â ¯¥q ´ + 3 530 9ROW
ARTIC ˵¤É
¨°½¡Á¶ °°® ¾Ô¦Ë¯ÂÓ¯® ¿ ºÁ¢¿²Â°Æ¨·´¯ ·½¡´ Î Í ° ·° ¿ Ë °ÄºÓ ©²Á¢ ¿ ·¿°·¾ Ë °¿½¸ HDPE ¤¦Ì° °½Ì¤ ̲½¨{º ¾¦ ¿°©Å ° º¦Î¦°½¯½¯¿´
ARTIC 130 M • ¥³ Ã¥ ³ 赮 n %DU • ¥¶£´ ˵ ·ÊÅ n §¶ ¥ ´ · • £¯Â ¯¥q ´ + 3 530 9ROW £·¥²  c c ¯³ Ä £³ ¶  ´²¥º m '6
ARTIC 180 T • ¥³ Ã¥ ³ 赮 n %DU • ¥¶£´ ˵ ·ÊÅ n §¶ ¥ ´ · • £¯Â ¯¥q ´ + 3 Æ¡¡i´ 9ROW £·¥²  c c ¯³ Ä £³ ¶  ´²¥º m '6
• £·¥²  c c ¯³ Ä £³ ¶Å ³© $872 21 2))
• £· º i¯ ³ ² ¥³ $17, 6&$/( ¥n¯£ ³ ³ ˵¬µ¥¯
(Ë «¿½°Å ¦ POT-TECH DS 160 T/160 Bar, 140°C, 13 Lts/min, 5.4 H.P./2800 RPM., 380 V.)
PRESS TEC ˵¤É
˸®¿½·À¸°¾§ ¿¦ºÅ¢·¿¸ °°®¸¦¾ • ¥³ Ã¥ ³ 赮 n %DU • ¥¶£´ ˵ ·ÊÅ n §¶ ¥ ´ · • £¯Â ¯¥q ´ + 3 530 9ROW
£·¥²  c c ¯³ Ä £³ ¶  ´²¥º m '6
Optional Accessory Cod. KTRI 39114
ZAPHIR-DST ˵¥n¯ ËµÂ¤É PV5 DS 250T ˵¤É
˸®¿½·À¸°¾§ ¿¦ºÅ¢·¿¸ °°®¸¦¾ ˸®¿½·À¸°¾§ ¿¦ºÅ¢·¿¸ °°®¸¦¾ • ¥³ Ã¥ ³ 赮 n %DU • ¥³ Ã¥ ³ 赮 n %DU • ¥¶£´ ˵ ·ÊÅ n §¶ ¥ ´ · • ¥¶£´ ˵ ·ÊÅ n §¶ ¥ ´ · • ¬´£´¥ ¥³ ¯º ¢»£¶Æ n °& °& • £¯Â ¯¥q ´ + 3 530 • £¯Â ¯¥q ´ + 3 530 9ROW 9ROW • £·¥²  c c ¯³ Ä £³ ¶Å ³© $872 21 2)) • ¬´¤ · ˵¤´© £ ¥ £·§n¯£º Â É ¬´¤ · • ³© %RLOHU  | ¬Â §¬ ³Ë ¤´© £ ¥ • £·¥²  c c ¯³ Ä £³ ¶Å ³© $872 21 2))
• £· º i¯ ³ ² ¥³ $17, 6&$/(
¥n¯£ ³ ³ ˵¬µ¥¯
Optional Accessory Cod. KTRI 39118
¥ºm ¶Âª« U %D¥ ³ ² ³
• ¶ ³Ë z £ ˵ n©¤¥² $17, 9,%5$7,21 &283/,1*
m¯ ³ ¬¶ Š§¹¯ ¹Ë¯Â ¥¹Ê¯ · ˵å ³ ¬» º ¥³Ë Ä ¥ ¶ m¯Â¥´  ¹Ê¯ £ ´¥¬´ ¶ ¥²¬¶ ¶¢´ ¯³ ¤¯ ¤·Ê¤£ ¯  ¥¹Ê¯ ç² ¥¶ ´¥ §³ ´¥ ´¤ ´ Â¥´ ¤¶ ·¥³ m¯£Â ¥¹Ê¯ ´ ¯¶ ´§· º ¶ ¥n¯£ ¥¶ ´¥¯º ¥ q³© m¯ ¶Âª«  m ³© m ¥´¤ ³©§n´ m¯ ³©§n´ ³ ³©Ã ¥ ³ ³© » Ä § ³©£º  ¶£Ê Ã¥ ³ ¶Âª« ³© ¯ ¯º ¥ q©³  ¶£Ê  ¶£ ¶Âª«¬´£´¥ Å n ³  ¥¹¯Ê º ¤· Ê ¯n
ARTIC MAX 360T ˵¤É
˸®¿½·À¸°¾§ ¿¦¸¦¾ ®¿ ¸°Äº ¾¡¢½ °¾¦ • ¥³ Ã¥ ³ 赮 n %DU Å n 5RWDWLQJ 1R]]OH  ·¤  m´ %DU
• ¥¶£´ ˵ ·ÊÅ n §¶ ¥ ´ · • £¯Â ¯¥q ´ + 3 530 9ROW • ¶ ³Ë z £ ˵ n©¤¥² )/(;,%/( -2,17
(Ë «¿½°Å ¦ 220 Bar, 21.6 Lt/M, 10 H.P./1400 RPM ®Â°½§§Ë¨v¡-¨v¡ º¾¢Í¦®¾¢ÁΦ¢¾´ AUTO ON/OFF)
¯¶ ´£¥² ¬º ¶¬´¥©¶ ¶ ³¤ à © ¬´£Â¬ Å Â ´Æ ¥º  ± 62, ,17+$0$5$ 687+,6$1 :,1,7&+$, 5G 3+$<$7+$, %$1*.2. 7+$,/$1' ¬´ ´´ Å m Ä ¥´ ¬¥² º¥·  ·¤ Å£m ¥²¤¯ § º¥·