Technic 401- sample :: August 2017 :: Engineering Magazine in Thailand

Page 1


































เทคนิครอบโลก

ชุดขุดเจาะอุโมงค เพื่อสรางเครือขายอุโมงค สําหรับขนสงยานยนตดวยความเร็วสูง

การสรางอุโมงคเปนโครงขายใตดิน สําหรับใชขนสงยานยนตดวยชุดแผนเลื่อนความเร็วสูง

ปญหาจราจรเปนที่มาอยางหนึ่งของความทุกขที่บอน ทําลายจิตวิญญาณของคนเมือง มีความพยายายามจากหลาย ฝายในการคิดหาทางออกของปญหานี้ และแมวา จะเกิดแนวคิด มากมาย แตในความจริงสภาพการจราจรก็ยังติดขัดอยูตอไป อีกหนึ่งไอเดียในการแกปญหาจาก Elon Musk บุคคคล สําคัญและผูรวมกอตั้ง Tesla Inc. ซึ่งเปนบริษัทผลิตยานยนต พลังไฟฟา ประเทศสหรัฐอเมริกา เขาเปนผูหนึ่งที่มีแนวความ คิดแหวกแนวและดูประหลาดในหลายๆ เรื่อง ไดเปดแนว ความคิดในการแกปญหาจราจรวา ถนนจะตองเปนแบบ 3 มิติ นั่นหมายความวา ตองเพิ่มมิติแนวตั้ง ถาไมทําใหรถบินไดก็ ตองใหลงอุโมงค โดยสิ่งที่ทําใหเกิดความตางกันระหวางรถลง อุโมงคกับรถบินไดก็คือ อุโมงคนั้นทนตอสภาพอากาศ, มองไม เห็น และไมตกใสหัว การทีม่ เี ครือ่ ขายอุโมงคถนนจํานวนมากและมีหลายระดับ ลึกลงไป ก็นาจะแกปญหาความคับคั่งในเมืองตางๆ ได ไมวา รถยนตจะเติบใหญเพิ่มจํานวนมากแคไหนก็ตาม (ก็เพียงแค เพิม่ เสนทางอุโมงคอกี หลายๆ ชัน้ ) หนึง่ ในกุญแจสําคัญของการ

26

401, สิงหาคม 2560

สรางงานนี้ก็คือ การเพิ่มความเร็วในการสรางอุโมงค และลด ตนทุนการสรางดวยองคประกอบการลดเทากับ 10 หรือมากกวา นั้น นี่คือ เปาหมายของ The Boring Company ซึ่งเปนบริษัท ขุดเจาะอุโมงคที่รวมกอตั้งโดย Elon Musk

ชุดแผนเลื่อนนํารถออกจากอุโมงคขึ้นมาสูพื้นผิวจราจรปกติ ณ จุดปลายทาง www.me.co.th


ทดลอง

อานฟรี

รูปแบบ

E-Magazine

Download ไดที่ :   



 

www.me.co.th

โทรศัพท 02-862-1396-9


รศ.ดร.มนตรี พิรุณเกษตร

การถายเทความรอน/เครื�องทําความเย็นแบบเทอรมออะคูสติก

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร ม.เกษตรศาสตร

สัมประสิทธิ์การถายเทความรอน ของตัวแลกเปลี่ยนความรอน ในเครื่องทําความเย็นแบบเทอรมออะคูสติก การทดสอบหาสัมประสิทธิ์การพาความรอน ในทางปฏิบัติจะประเมินในรูป ของสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนรวมของตัวแลกเปลี่ยนความรอน ตามระเบียบวิธีขั้นพื้นฐาน 2 วิธีที่นิยมเลือกใช ไดแก วิธีวิเคราะหแบบ UA-LMTD และวิธีวิเคราะหจํานวนหน�วยการถายโอน หรือเรียกวา วิธี -NTU

 สําหรับการไหลสภาวะคงตัว (steady flow) การพาความรอน

ที่เกิดขึ้นระหวางของไหลกับผิวของอุปกรณแลกเปลี่ยนความ รอนนั้น จะมากหรือนอยขึ้นอยูกับสัมประสิทธิ์การพาความรอน เฉพาะที่ (local heat transfer coefficient) พื้นที่ผิวที่ของไหล สัมผัส และผลตางระหวางอุณหภูมิของไหลกับอุณหภูมิผิวของ อุปกรณนั้น ดังนั้นกลาวไดวา สัมประสิทธิ์การพาความรอน คือ อัตรา สวนของฟลักซการพาความรอน (W/m2) ตอผลตางระหวาง อุณหภูมิของไหล กับ อุณหภูมิผิวของอุปกรณ ในทางปฏิบัติจะ ประเมินในรูปของสัมประสิทธิก์ ารถายเทความรอนรวม (overall heat transfer coefficient, U หนวย W/m2.K) ของตัวแลก เปลีย่ นความรอน ตามระเบียบวิธขี นั้ พืน้ ฐาน 2 วิธที นี่ ยิ มเลือกใช ไดแก วิธีวิเคราะหแบบ UA-LMTD (Log Mean Temperature Difference Method) และวิธวี เิ คราะหจาํ นวนหนวยการถายโอน (Number of Transfer Units Method) หรือเรียกวา วิธี -NTU โดยทั่วไปในหองปฏิบัติการทดสอบ สมรรถนะของตัว แลกเปลี่ยนความรอน และสามารถประเมินคาของ UA ได โดย การวัดและเก็บขอมูล และใชสหสัมพันธ (correlations) ที่มีอยู สําหรับพิจารณาสัมประสิทธิก์ ารถายเทความรอนอิงของไหลทุตยิ ภูมิ และประสิทธิภาพรวมของครีบระบายความรอน (overall fin efficiency) www.me.co.th

สหสัมพันธที่กลาวถึง ไดแก St.Pr2/3 = f(ReDh) ซึ่ง นิยมใชสําหรับการออกแบบอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอนแบบ กะทัดรัด (compact heat exchanger) และ St.Pr2/3 นี้ เรียก วา Colburn - j factor ซึง่ เปนพจนไรหนวย ที่ใชแสดงสมรรถนะ ในการถายเทความรอนของอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอนดาน ของไหลที่สัมผัสกับผิวทอติดครีบ นอกจากนี้ คาของ UA สามารถคํานวณจากอัตราสวนของ อัตราความรอนถายเทตอ LMTD ระหวางของไหลปฐมภูมิและ ของไหลทุตยิ ภูมขิ องตัวแลกเปลีย่ นความรอน หรือเลือกใชกบั วิธี วิเคราะหจํานวนหนวยการถายโอน และอาศัยขอมูลจากผลการ ทดสอบอุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน สามารถนําไปวิเคราะห สหสัมพันธของ Colburn - j factor กับเลขเรย โนลด (Reynolds Number, ReDh) สําหรับการไหลแบบคงตัวได การศึกษาการถายเทความรอนในตัวแลกเปลีย่ นความรอน ที่ใช ในระบบเทอรมออะคูสติกของ Ward และ Swift (1993) ได ตัง้ ขอสมมติฐานทีว่ า มีการนําความรอนในทิศตัง้ ฉากกับการไหล ชั้นชิดผิวแบบราบเรียบ (laminar boundary layer) การถายเท ความรอนระหวางผิวของตัวแลกเปลีย่ นความรอนกับของไหลเท อรมออะคูสติก วิเคราะห โดยประมาณตามขอสมมติฐานขางตน นีอ้ าจใชไมได เมือ่ เปรียบเทียบกับผลจากการทดลองของตัวแลก เปลี่ยนความรอนนั้น 

401, สิงหาคม 2560

31


Patrick de Vos

10 ขั้นตอนงายๆ สูสมรรถนะและผลผลิตสูงสุดของงานตัดเฉือน

ผูจัดการฝายการศึกษาทางเทคนิค Seco Tools

10 ขั้นตอนงายๆ สูสมรรถนะ และผลผลิตสูงสุดของงานตัดเฉือน

แมวาจะมีความพยายามปรับปรุงการปฏิบัติงานดานโลหะการ แตก็ยังพบวามีหลายกรณีที่เกิดความลมเหลว ซึ่งแนวทางการวิเคราะห และปรับปรุงใน 10 ขั้นตอนในบทความนี้ จะชวยใหผูปฏิบัติงาน สามารถปรับปรุงงานตัดเฉือนวัสดุใหมีสมรรถนะและผลผลิตสูงขึ้น

 มีภาระงานของโรงงานตัดเฉือนทุก

แหงที่ตองเผชิญอยูเหมือนๆ กัน นั่นคือ การแปลงวัตถุดบิ ใหเปนชิน้ งานสําเร็จรูป, ผลิตภัณฑจะตองไดรบั การตัดเฉือนจนถึง ระดับคุณภาพทีก่ าํ หนดไว, ไดผลิตภัณฑที่ สมบูรณ ในปริมาณที่ตองการ และจัดสง ไดภายในระยะเวลาที่ตองการ อีกทั้งยัง ตองพิจารณาถึงความยั่งยืน และปญหา ดานสิ่งแวดลอมที่จะตองไดรับการแกไข ดวยเชนกัน สวนการรักษาความสามารถในการ แขงขันและไดผลกําไร เปนสิ่งที่ทําให โรงงานตัดเฉือนจะตองแสวงหาวิธีการ ทํางานที่ประหยัดที่สุด และใหผลผลิต มากที่สุดอยางตอเนื่อง ตั ว อย า งที่ ดี ที่ สุ ด สํ า หรั บ ความ พยายามปรั บ ปรุ ง กระบวนการจากสิ่ ง ที่เรียกวา “อุตสาหกรรม 4.0” ที่กําลัง เกิดขึ้นในยุโรปในขณะนี้ ไดกลายเปน ยุ ท ธศาสตร แ ละยุ ท ธวิ ธี ใ นการผสาน เทคโนโลยีการจัดหาขอมูล การจัดเก็บ ขอมูล และการแบงปนขอมูลที่ลํ้าสมัย www.me.co.th

รูปที่ 1 กาวตอไปของการตอถึงกันระหวาง เทคโนโลยีเครื่องมือกลกับเศรษฐศาสตรดานการผลิต 

401, สิงหาคม 2560

41


ปรเมธ ประเสริฐยิ่ง

นํ้ารอนสําหรับบานดวยฮีตปมขับดวยความรอน

วก.485

ทํานํ้ารอนสําหรับบาน ดวยฮีตปมขับดวยความรอน บานพักอาศัยแมจะใชน้ํารอนนอย แตจํานวนบานทั้งหมดใชพลังงานไฟฟา

รวมกันเปนปริมาณมหาศาล หากบานพักอาศัยสามารถติดตั้งฮีตปมขนาดเล็ก ในราคาที่เหมาะสมเพื่อทําน้ํารอน ยอมเปนการคุมคา และยังสําคัญ ตอการลดการใชพลังงานของประเทศและลดการลงทุนระบบจายไฟฟา  ฮีตปมที่ใช ในประเทศไทยเปนแบบ ที่ใชเครื่องอัดไอ (mechanical vapor compression) ซึ่งใชคอมเพรสเซอร ขับเคลื่อนดวยพลังงานไฟฟาสําหรับสง สารทํ า ความเย็ น หมุ น เวี ย นในอุ ป กรณ ตางๆ ทําใหฮีตปมมีราคาสูง แมจะลด การใชไฟฟาไดมาก (เหลือเพียง 25% ของคาความรอนที่ได) แตบานพักอาศัย ใชนํ้ารอนนอยจึงประหยัดไฟฟาไดไมคุม ราคาฮีตปม ปจจุบนั จึงใชฮตี ปม ทํานํา้ รอน เฉพาะในโรงงาน โรงแรม โรงพยาบาล และกิจการพาณิชยที่ใชนํ้ารอนมากเพื่อ ทดแทนการใชเชือ้ เพลิงหรือไฟฟาสําหรับ หมอนํ้ารอน (Hot water boiler) เพราะ เมื่อใชนํ้ารอนมากจะมีการประหยัดคา เชื้อเพลิงหรือไฟฟาไดคุมคาการลงทุน การเลือกใชอุปกรณทั่วไปในบาน พักอาศัยนั้นขึ้นอยูกับความพอใจ ความ สุ ข สบาย ให ค วามสะดวกเมื่ อ ใช ง าน และอื่นๆ ซึ่งไมเกี่ยวของกับความคุมคา ในการใชงานเหมือนที่ใชตัดสินใจในการ ลงทุน บานพักอาศัยแมจะใชนํ้ารอนนอย แตจํานวนบานทั้งหมดใชเชื้อเพลิงหรือ www.me.co.th

โดยไมตองเพิ่มขนาด แตมีราคาหลาย สิบเทาของเครื่องทํานํ้ารอนไฟฟา จึงไม คอยนิยมใชฮีตปมทํานํ้ารอนในบานพัก อาศัย ORNL (Oak Ridge National Laboratory) รวมกับ UF (the University of Florida) ดวยการสนับสนุนจาก DOE (Department of Energy) ทําการ วิจั ยพัฒ นาเครื่ องทํา นํ้ า ร อนขนาดเล็ก สําหรับบานพักอาศัยโดยใชกา ซธรรมชาติ เปนแหลงความรอน และฮีตปม เปนแบบ “semi-open” ซึ่งจะมีประสิทธิภาพสูง กวาเครื่องทํานํ้ารอนทั่วไปในราคาที่ถูก ลงกวาฮีตปม ทํานํา้ รอน ซึง่ คาดวาจะเสร็จ ในเวลาไมนานนัก บทความนี้จะอธิบาย แนวทางที่ ส ามารถใช พั ฒ นาเครื่ อ งทํ า นํ้ารอนที่ ไมใชคอมเพรสเซอร และทํา อยางไรจึงจะมีราคาถูกลงได โดยอธิบาย ถึงหลักการทํางานตามแนวทางจากขาว การพัฒนาเครื่องทํานํ้ารอนตามเอกสาร อางอิง 1 หวังวาบทความนี้คงจะเปน ประโยชนสําหรับผูที่สนใจ และผูที่จะ ทําการวิจัยตอไป

พลังงานไฟฟาเปนปริมาณมหาศาล และ ตองติดตั้งระบบเก็บเชื้อเพลิงหรือระบบ จายไฟขนาดใหญเพื่อรองรับเครื่องทํา นํ้ารอนของบานเหลานั้น การผลิตฮีตปม ทํานํา้ รอนขนาดเล็กสําหรับบานพักอาศัย ในราคาที่ เ หมาะสมจึ ง เป น สิ่ ง ที่ สํ า คั ญ สําหรับลดการใชพลังงานของประเทศ และลดการลงทุนระบบจายไฟฟา เจาของ บานมีโอกาสที่จะซื้อมาใชเองได โดยไม ตองรอการสนับสนุน เครื่องทํานํ้ารอนในบานที่นิยมใช มากที่สุดในปจจุบัน คือ เครื่องทํานํ้ารอน ไฟฟาขนาด 3 กิโลวัตตความรอน ซึ่ง จะใหความรอนทันที่ (Instantaneous heater) และมีราคาถูกที่สุด เครื่องทํา นํ้ารอนที่มีขนาดใหญขึ้นใชสําหรับตอกับ หลายสุขภัณฑ แมจะใชพลังงานไฟฟา มาก แตเมื่อใชนํ้ารอนนอย คาไฟฟาจึง ไมมีผลกระทบใหเปนที่สังเกต ฮีตปม ทํานํ้ารอนขนาดเล็กที่สุดสําหรับบานพัก อาศัยเปนแบบที่มีฮีตปมใช ไฟฟา 0.9 กิโลวัตต วางบนถังเก็บนํา้ รอนขนาด 200300 ลิตร สามารถตอใชหลายสุขภัณฑได 

401, สิงหาคม 2560

49


การวัดอุณหภูมิ

ผศ. ถาวร อมตกิตติ์

การวัดอุณหภูมิ

อุปกรณสวนใหญที่ใช ในการวัดอุณหภูมิทางอุตสาหกรรมและพานิชยกรรม อาจมีความคลาดเคลื่อนไดจากตัวแปรตางๆ และวิธีวัดที่ไมเหมาะสม จึงตองมีความเขาใจในการวัดและติดตั้ง รวมทั้งทราบถึงการปรับเทียบ และการตรวจซอมบํารุงรักษาอยางถูกตอง  ป จ จุ บั น งานระบบนอกเหนื อ จาก ทําการวัดตามปกติแลวยังตองมีระบบ จัดการพลังงานเพื่อใหทํางานไดอยางมี ประสิทธิภาพและเหมาะสม การควบคุ ม กระบวนการทางอุ ณ หภู มิ อ ย า งมี ประสิทธิผล ทําใหคาใชจายลดลงอยาง เห็นไดชดั เนือ่ งจากใชเชือ้ เพลิงและไฟฟา นอยลง วิธีที่มีความสําคัญตอการใชงาน และประหยัดพลังงานคือ การเฝาตรวจ และควบคุมกระบวนการที่เกี่ยวกับความ รอนทั้งหมดเนื่องจากปริมาณพลังงาน ความรอนที่ประหยัดไดมีผลโดยตรงตอ ผลกํ า ไรและประสิ ท ธิ ภ าพ จึ ง ต อ งให ความสําคัญตอการวัดอุณหภูมิอยางถูก ตอง

ของอุณหภูมิตอปรอท นั่นคือเมื่ออุณหภู มิ เ พิ่ ม ขึ้ น หรื อ ลดลงจะมี ผ ลให ป รอท เปลี่ยนแปลงตามความรอนที่เปลี่ยนไป อุ ณ หภู มิ ทํ า ให ทั้ ง ของแข็ ง , ของเหลว และแก ส ขยายตั ว ซึ่ ง สามารถวั ด การ ขยายตัวแลวเปลีย่ นเปนสเกลอุณหภูมไิ ด สเกลสําหรับอุณหภูมิที่วัดมีสี่ชนิด คือ สเกลฟาเรนไฮต (F), สเกลเซลเซียส

(C), สเกลอุณหภูมสิ มั บูรณซงึ่ มีหนวยเปน เคลวิน (Kelvin – K) โดยสเกลอุณหภูมิ สัมบูรณเริ่มตนที่อุณหภูมิศูนยซึ่งถือวา ไมมีความรอนเลย สุดทายคือสเกลแรง คิน (Rankine – R) ทั้งนี้ความสัมพันธ ระหว า งสเกลอุ ณ หภู มิ ทั้ ง สี่ ช นิ ด แสดง ในรูปที่ 1 โดยมีการแปลงหนวยการวัด อุณหภูมิดังนี้

การวัดและหนวยวัด อุณหภูมิโดยทั่วไป

อุณหภูมิไมสามารถวัดได โดยตรง ซึ่งอุณหภูมิวัดไดจากการเปลี่ยนแปลงที่ มีผลกระทบตอวัตถุหรือวัสดุตา งๆ เทอรโมมิเตอรวัดอุณหภูมิไดจากผลกระทบ www.me.co.th

รูปที่ 1 หนวยวัดอุณหภูมิสี่ชนิด 

401, สิงหาคม 2560

59


โกศล ดีศีลธรรม

การประยุกตเศรษฐศาสตรวิศวกรรมภาคอุตสาหกรรม

การประยุกตเศรษฐศาสตรวิศวกรรม ภาคอุตสาหกรรม บทบาทสนับสนุนตอการตัดสินใจทางเลือกที่เหมาะสม โดยเฉพาะการประเมินผลได-ผลเสียระหวางตนทุนกับผลประโยชน ในแตละทางเลือก และทําใหเกิดการพัฒนาแนวคิดบริหารวงจรชีวิตเครื่องจักร

 ความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่มีการ

พัฒนาอยางตอเนื่องในชวงที่ผานมาซึ่ง เปนผลจากความรูท างวิศวกรรม สงผลให เกิดการเปลีย่ นแปลงตอภาคอุตสาหกรรม รวมถึงการประยุกตหลักเศรษฐศาสตร วิศวกรรม (Engineering Economy) ที่ มีบทบาทสนับสนุนการตัดสินใจในทาง เลือกที่เหมาะสม โดยเฉพาะการประเมินผลได-ผลเสียระหวางตนทุนกับผล ประโยชน ในแตละทางเลือก และเกิดการ พัฒนาแนวคิดบริหารวงจรชีวติ เครือ่ งจักร (Life Cycle Management) ซึ่งมีการ เชื่อมโยงกับดัชนีดานตนทุน อาทิ ตนทุนผันแปรของงานบํารุง รักษาเทียบกับปริมาณผลิตผล ตนทุนคงที่ งานบํารุงรักษาเทียบกับคาเฉลี่ยจํานวน เครื่องจักร จํานวนครั้งการเกิดปญหา เครื่องจักรขัดของแบบฉับพลันในรอบ เดือน เวลาการหยุดเดินเครื่องจักรจาก เหตุขัดของ เทียบกับ เวลาเดินเครื่องตน ทุนบํารุงรักษา เทียบกับ ตนทุนการจัดหา เครื่องจักรคาใชจายบํารุงรักษา เทียบกับ ตนทุนการผลิตและผลรวมคาใชจายงาน บํารุงรักษา รวมทั้งการตรวจสอบปญหา การเสื่ อ มสภาพเครื่ อ งจั ก รเพื่ อ ดํ า เนิ น www.me.co.th

การฟนฟูสภาพ ขอมูลเหลานี้จะถูกใช พิจารณาจัดทําขอเสนอการออกแบบและ แนวทางแกปญหา

2. กําหนดแนวทางเลือกทีเ่ ปนไป ได เมือ่ ระบุปญ  หาแลวก็จะทําการกําหนด ทางเลื อ กที่ เ ป น ไปได เ พื่ อ ใช วิ เ คราะห เปรียบเทียบและตัดสินใจ 3. จั ด ทํ า งบกระแสเงิ น สดใน แตละทางเลือก เพือ่ แสดงกระแสเงินสด รับ-จายตามรอบเวลาของแตละโครงการ หรือทางเลือกตางๆ เพือ่ หากระแสเงินสด สุทธิ (Net Cash Flow) 4. ระบุเกณฑการตัดสินใจ โดย ใชเกณฑพิจารณาตัดสินใจคัดเลือก คือ หากพิจารณาจากรายไดหรือผลประโยชน ในทางเลือกตางๆ ใหเลือกแนวทางทีใ่ หผล กําไรรวมสูงสุด ถารายไดหรือผลประโยชน ที่ไดรบั คงที่ใหพจิ ารณาคัดเลือกแนวทาง ทีเ่ กิดตนทุนรวมตํา่ สุด นอกจากนีย้ งั อาจ ระบุเกณฑหรือปจจัยอืน่ เพือ่ ประกอบการ ตัดสินใจ เชน ความปลอดภัย ความ ยืดหยุน การปรับเปลีย่ น อัตราแลกเปลีย่ น อัตราเงินเฟอ กฎระเบียบ และสภาพ การเมือง เปนตน 5. วิเ คราะห แ ละเปรียบเทียบ ทางเลือก ดวยการศึกษารายละเอียดจาก ขอมูลทีด่ าํ เนินการในขัน้ ตอนกอนและนํามา เปรียบเทียบทางเลือกที่ระบุไว ในขอที่ 2

เศรษฐศาสตร วิศวกรรมเพื่อ การตัดสินใจ

เนื่องจากเศรษฐศาสตรวิศวกรรม ครอบคลุมถึงการวิเคราะหทางเทคนิคที่ สนับสนุนใหวิศวกรตัดสินใจในทางเลือก ทีเ่ หมาะสม ดังนัน้ การศึกษาเศรษฐศาสตร วิศวกรรมจึงมีการใชแบบจํ า ลองคณิ ต ศาสตรและการวิเคราะหอยางเปนระบบ เพื่อใชผลลัพธมาสนับสนุนการตัดสินใจ โดยขั้นตอนวิเคราะหทางเศรษฐศาสตร วิศวกรรมมีความสัมพันธกบั กระบวนการ ออกแบบทางวิศวกรรม ขั้นตอนการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรวิศวกรรม ไดแก 1. การนิยามและกําหนดปญหา เป น การศึ ก ษาสภาพป จ จุ บั น ทั้ ง ป จ จั ย ภายในและภายนอกองค ก รเพื่ อ ระบุ ขอบเขตปญหาซึ่งนําไปสูการกําหนดทาง เลือกในขั้นตอนตอไป 

401, สิงหาคม 2560

67


การบริหารเวลาอยางมีประสิทธิภาพ

รศ.ดร.ยรรยง ศรีสม

สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรมเพื่อความยั่งยืน คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

การบริหารเวลา อยางมีประสิทธิภาพ ѯњјѥдѤэзњѥєѝєчѫјѰўҕкнѧњѧш ёѤдяҕѠьэҖѥк

ѝьѫдѝьѥь ѯјҕьоь ёѤдяҕѠь

ћѩдќѥ ѯјҕѥѯіѨѕь

юҍ

Ѡѥѕѫ

ѯшѧэѱшѰеѶкѰік ѯшѶєъѨѷ ёіҖѠєъѨѷлѣ јѫѕкѥьъѫдѠѕҕѥк

юҍ

ёѤдєѥдѵ ѯёіѥѣѰёҖ ѝѤкеѥі

ъѼѥкѥьэҖѥк ѰјѣєѧѲнҕкѥьъѨѷ ўьѤдѯдѧьѳю

юҍ

юҍ

шѥѕ

ชีวิตคนจะเผชิญปญหาแค 2 แบบ คือ ปญหาที่สําคัญ และปญหาที่เรงดวน ความสําเร็จของคนไมไดอยูที่ใครมีเวลามากกวากัน แตขึ้นอยูกับวาใคร จะใชเวลาเทาที่มีใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากกวากัน  เวลาเปนทรัพยากรธรรมชาติทมี่ นุษย

ไดรับมาเทาเทียมกันสําหรับใช ในการทํา งาน มีหนวยเวลานับเปน วินาที นาที ชั่วโมง วัน สัปดาห เดือน ป ยกเวน ช ว งอายุ ขั ย ซึ่ ง จะไมเ ท า กั น เวลาเป น ทรั พ ยากรที่ เปลี่ ย นแปลงไมไ ด ยื ด ไม ได หดไมได มีจํากัด เคลื่อนไปตลอด เวลา สะสมไมได อนุรักษไมได เวลาเปน ทรัพยากรที่ซื้อไมได ขายไมได เรงไมได ลดใหชาลงไมได ผานแลวผานเลย หมด แลวหมดเลย ทดแทนไมได ควบคุมไมได และที่สําคัญที่สุด คือ บริหารไมได คุณคาของเวลา คือ คุณคาของ ชีวิต ทําทุกนาทีชีวิตใหมีคุณคา และจํา ไวเสมอวา เวลาไมเคยคอยใครแมแตคน เดียว เพราะเวลาเปนสิ่งมีคาที่สามารถ www.me.co.th

รวมทั้งยังเปนการวางแผนกําหนดระยะ เวลาในการทํากิจกรรมตางๆ ใหเหมาะ สมและมีประสิทธิภาพ ตัวเวลาเองบริหารไมได ดังนัน้ คํา วา “บริหารเวลา” จริงๆ แลวไมไดบริหาร ที่ตัวเวลา แตเปนการบริหารเหตุการณ และสถานการณตางๆ ที่จะเขามาในชีวิต แตละหวงเวลา จึงอาจกลาวไดวา การ บริหารเวลา คือ การบริหารชีวิต คนที่ มีเวลาเพื่อการปองกันหรือวางแผนใน การรับมือกับเหตุการณตางๆ ที่จะเขามา ในชีวิตยอมมีผลดีมากกวาคนที่ขาดการ วางแผนเผชิญเหตุการณตางๆ ใชชีวิต แบบแกปญหาเฉพาะหนาแตเพียงอยาง เดียว คนที่ปลอยใหเวลาผานไปอยางไร คุณคา คือ คนที่เสียคุณคาของชีวิต

ใช ให เ กิ ด เป น เงิ น เป น ทองได คุ ณ ค า ของเวลาจึงขึ้นอยูกับการรูจักใช ใหเกิด ประโยชน การบริหารเวลา หมายถึง การรูจ กั วางแผนและจัดสรรเวลาในการทํางาน อยางถูกตองเหมาะสม สามารถควบคุม การปฏิบัติงานใหบรรลุผลตามเวลาและ วัตถุประสงค ที่กําหนด เพื่อกอใหเกิด ประสิทธิภาพในงานหรือหนาที่ที่รับผิด ชอบได การบริหารเวลา หมายถึง การ บริหารการใชเวลาปฏิบัติงานให ไดผล ตรงตามเปา หมายมากที่ สุ ด ด ว ยการ จัดสรรเวลาเพื่อใหงานสําเร็จลุลวงอยาง มีประสิทธิภาพและทันเวลา ซึ่งจะชวย ลดความเครียดในการทํางานไดอีกดวย 

401, สิงหาคม 2560

79


ปฐมพงษ หอมศรี , ประสิทธิ์ การนอก [1] [1]

Value Stream Mapping (VSM)

[1, 2]

วิศวกรอาวุโส บริษัท ฟอรด มอเตอร คัมปะนี (ประเทศไทย) จํากัด ที่ปรึกษา บริษัท ซิกา อินโนเวชั่น จํากัด (มหาชน)

[1, 2]

การประยุกตใชเทคนิค Value Stream Mapping กรณีศึกษาโรงงานผลิตสุขภัณฑ การประยุกต ใชระบบการผลิตแบบลีนเพื่อปรับปรุงกระบวนการ โดยใชเทคนิคการสรางแผนภูมิสายธารคุณคา (VSM) โดยมุงกําจัดความสูญเปลาที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดเวลานําในการสงมอบใหกับลูกคา ลดระยะทางการเคลื่อนยายในกระบวนการผลิต

 โลกธุรกิจและอุตสาหกรรมในปจจุบนั ทีต่ อ งแขงขันกันสูงขึน้

สวนหนึ่งเปนผลมาจากภาวะเศรษฐกิจทั่วโลกเริ่มหดตัว ซึ่งได รับผลกระทบจากราคานํ้ามัน และคาเงินดอลลารสหรัฐอเมริกา ประเทศไทยก็ไดรบั ผลกระทบเชนเดียวกัน ดังนัน้ หนทางอยูร อด ในธุรกิจและอุตสาหกรรมการผลิต จึงตองเนนมาแขงขันกันที่ ตลาดในประเทศ เนนการตอบสนองความพึงพอใจของลูกคา ไมวา จะเปนคุณภาพของสินคาทีด่ ี ราคาถูก รวมถึงความรวดเร็ว ในการบริการ ในขณะเดียวกันยังตองแขงขันกับสินคานําเขา จากประเทศจีน ซึ่งมีราคาที่ถูกมาก ยิ่งสงผลใหการแขงขันยิ่ง ทวีความรุนแรงขึ้น สําหรับเนื้อหาในบทความนี้ เปนผลมาการศึกษาบริษัท ตัวอยางรายหนึง่ ซึง่ เปนผูผ ลิตกอกนํา้ และอุปกรณ ในหองนํา้ อยู ในกลุมธุรกิจกอสรางที่ไดรับผลกระทบจากภาวะการแขงขันดัง กลาว จึงจําเปนตองปรับปรุงในหลายดาน โดยบริษทั นี้ไดกาํ หนด กลยุทธดําเนินการไว 4 ดาน คือ 1. กลยุทธดา นการตลาดในประเทศ (domestic strategies) 2. กลยุทธดา นการตลาดตางประเทศ (export strategies) 3. กลยุทธดานการผลิต (manufacturing strategies) 4. กลยุทธดานทรัพยากรบุคคล (human strategies) สําหรับกลยุทธดานการผลิต มีปจจัยหลักอยู 2 เรื่อง คือ www.me.co.th

การลดตนทุนการผลิต และลดสินคาคงคลัง สิ่งสําคัญในการ ดําเนินกลยุทธเพื่อตอบสนองตอปจจัยหลักดังกลาว คือ ทํา อยางไรที่จะลดตนทุนการผลิต และลดสินคาคงคลัง โดยไม กระทบกับความพึงพอใจของลูกคา ซึ่งหมายถึง การสงมอบ สินคาไดตามเวลาที่ลูกคาตองการ การผลิตสินคาที่มีคุณภาพที่ ดี ในราคาที่เหมาะสม ในขณะที่แผนภูมิสายธารคุณคา หรือ VSM (Value Stream Mapping) เปนเครื่องมือชนิดหนึ่งที่สามารถนํามา ประยุกต ใชเพือ่ ใหมองเห็นภาพรวมของกระบวนการผลิต ชวยให เห็นถึงชวงเวลาทีเ่ กิดขึน้ ตลอดทัง้ กระบวนการ หรือ throughput time ที่เริ่มตั้งแตรับวัตถุดิบไปจนถึงการสงมอบสินคาใหลูกคา (door-to-door) รวมถึง รอบเวลาการผลิต (cycle time) เวลา ที่ใช ในการปรับเปลี่ยนระบบ (change over time) ตลอดทั้ง สายธารกระบวนการเชนเดียวกัน วัตถุประสงคและขอบเขตการวิจัย 1. วัตถุประสงค 1. เพื่อลดเวลาในกระบวนการ (throughput time) 2. เพื่อลดเวลาติดตั้งมีดกลึงในแผนกเครื่องมือกล 3. เพื่อลดระยะทางในแตละกระบวนการ 2. ขอบเขต 

401, สิงหาคม 2560

87


เยี่ยกองบรรณาธิ มชมสถาบันวิจัยกวิารทยาศาสตรและเทคโนโลยี แหงประเทศไทย เยี่ยมชมสถาบั นวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

เยี่ยมชม สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงประเทศไทย

หนวยงานที่สรางความเขมแข็งในการผลิตผลงานวิจัยและพัฒนาทางดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศ และสงเสริมการพัฒนาประสิทธิภาพ ของบุคลากรดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางตอเนื่อง  การดํ า รงชี วิ ต ของมนุ ษ ย จํ า เป น

ตองอาศัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นั่ น คื อ ชี วิ ต ประจํ า วั น ของมนุ ษ ย ต  อ ง เกีย่ วของกับวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตลอดเวลา และต อ งเกี่ ย วข อ งกั บ พัฒนาการทางดานความรู ทําใหมีการ เปลี่ยนแปลงหลายๆ ดาน จึงมีความ จําเปนอยางยิ่งที่จะทําใหบุคคลในสังคม รูจักวิธีการคิดอยางมีเหตุผล มีวิธีการ แกปญหาตางๆ ที่มีระบบ อันจะสงผล ให เ กิ ด การพั ฒ นาด า นสติ ป  ญ ญา ซึ่ ง วิ ธี ก ารคิ ด นั้ น เป น วิ ธี เ ดี ย วกั น กั บ ที่ ใ ช

98

401, สิงหาคม 2560

อยู ในกระบวนการแสวงหาความรูทาง วิทยาศาสตร แม ว  า การพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร และเทคโนโลยีจะสงผลใหความเปนอยู สะดวกสบายและอายุ ยื น นานขึ้ น แต หากนําวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาใช โดยไมไดระมัดระวัง ยอมเกิดผลเสียตอ สภาพแวดลอมและสมดุลทางธรรมชาติ อยางมาก การวิจัยและพัฒนาจึงเปนตัวขับ เคลื่อนการกาวไปขางหนาของประเทศ ทั้ ง ในด า นอุ ต สาหกรรม เกษตรกรรม

พาณิชยกรรม และอื่นๆ โดยรวมถึงการ ถายทอดเทคโนโลยีอยางตอเนื่อง เกิด เป น นวั ต กรรมและเทคโนโลยี ที่ นํ า ไป ใชประโยชนทั้งระดับอุตสาหกรรมและ ชุมชนไดอยางแทจริง วารสารเทคนิ ค ฉบั บ นี้ มี ค วาม ยิ น ดี พ าท า นผู  อ  า นไปเยี่ ย มชมองค ก ร ที่ ส  ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การวิ จั ย และ พั ฒ นาด า นวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยีอยางตอเนื่อง นั่นคือ สถาบันวิจัย วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)

www.me.co.th


เรื่องจากปก

บริษัท แซมซั่น คอนโทรลส์ จํากัด

Control Valves จาก SAMSON

Samson AG หนึ่งในผูผลิตคอนโทรลวาลวชั้นนําจากประเทศเยอรมนี มีคุณภาพและมาตรฐานระดับโลก ดวยประสบการณมากกวา 100 ป มีสาขาทั่วโลก กวา 50 ประเทศ

A World Leader

SAMSON AG, Frankfurt, Germany

 SAMSON” Control valves และ

อุปกรณตา งๆ ชวยตอบสนองความตองการ

ใชงานทีห่ ลากหลายสอดคลองกับมาตรฐาน คลอบคลุมทุกอุตสาหกรรม เชน อุตสาห-

กรรมคมีภณ ั ฑ, อุตสาหกรรมอาหารและ เครือ่ งดืม่ , โรงกลัน่ นํา้ มันและโรงผลิตไฟฟา

Worldwide Production Network www.me.co.th

401, สิงหาคม 2560

107



วิศวกรรมเทคนิคธรณี มจธ.วิจัยและพัฒนา การใชโฟม EPS ในการซอมคอสะพานทรุด

แบบจําลองการใชโฟม EPS ซอมถนน

เทคนิคธรณี มจธ.เผยขอมูลวิจยั ใช โฟมอีพเี อส (EPS) ในการซอมคอสะพาน ทรุดในประเทศไทย ดีและคุมกวาวิธีใช ยางมะตอยถมคอสะพาน ชี้วิธีเกาเปน ตัวเรงใหเกิดการทรุดตัว และทําใหคอ สะพานเสียหายหนักกวาเดิม ผศ.ดร.สมโพธิ อยู  ไ ว หั ว หน า สาขาวิชาวิศวกรรมเทคนิคธรณี ภาควิชา วิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) ผูวิจัยและ พัฒนาการนําโฟมอีพีเอสมาใช ในการ ซอมคอสะพานในประเทศไทย เปดเผย วา สะพานเกาที่มีการกอสรางมานานมัก จะมีชวงคอสะพานที่สั้น และมักจะเกิด ปญหาการทรุดตัวของคอสะพานบอย ครั้ง ซึ่งการแกไขปญหาคอสะพานทรุด www.me.co.th

ผศ.ดร.สมโพธิ อยูไว

ในประเทศไทยสวนใหญใชยางมะตอยมา เททับเพื่อใหพื้นถนนไดระดับ แกปญหา การตางระดับของคอสะพานจนทําใหรถ ที่สัญจรไปมาเกิดการกระโดดเมื่อผาน 

คอสะพานแตการแก ไขปญหาดังกลาว มั ก จะไม ถ าวร เพราะเมื่ อ ใช ไ ปสั ก พั ก อาการทรุ ด ตั ว มั ก จะเกิ ด ขึ้ น อี ก ทุ ก ๆ ป และยิ่งใชยางมะตอยเททับเรื่อยๆ ยิ่งจะ ทําใหเกิดความเสียหายที่คอสะพานซึ่ง อาจมีเสาเข็มหักขาดดานใตหรือแผนพื้น รองรับเสาเข็มมีความเสียหาย อันเนื่อง มาจากการกดทับบวกกับนํ้าหนักของยาง มะตอย “วิ ธี ดั ง กล า วดู เ หมื อ นเป น การ ซอมที่ทํากันมากเพราะทํางาย ปดการ จราจรไมนานก็เสร็จแตอาจจะตองทําบอย เพราะคอสะพานจะทรุดลงเรื่อยๆ หาก จะแก ไขปญหาที่ตนเหตุจะตองมีการรื้อ และทําใหม เอาทรายเกาออกตอกเสาเข็ม ใหมและปรับใหคอสะพานมีคาความชัน

401, สิงหาคม 2560

113


สัมมนา เทคนิคการออกแบบ ใชงานและปรับปรุงระบบปรับอากาศอยางมีประสิทธิภาพ เอ็มแอนดอีขอนําเสนอหลักสูตรเทคนิคการออกแบบ ใชงานและวิธีการปรับปรุงระบบปรับอากาศอยางมีประสิทธิภาพและทัน สมัย สอดคลองกับมาตรฐานประสิทธิภาพและการใชพลังงาน เพือ่ ใหสามารถนําไปใชงานหรือประยุกต ใชงานทีก่ อ ใหเกิดการเพิม่ ผลิตภาพ และประหยัดพลังงานทั้งในภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ และการพาณิชย วันที่ 12 กันยายน 2560 ณ หองสเตชั่น 4 ชั้น 16 โรงแรมไพรม เซ็นทรัล สเตชั่น กรุงเทพฯ (เยื้องหัวลําโพง)

วิทยากร ผูชวยศาสตราจารย ดร.พลกฤต กฤชไมตรี

อาจารยประจําภาควิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร หลักการและเหตุผล วิทยากร ในปจจุบัน การปรับอากาศไดกลายเปนปจจัยที่สําคัญในการสรางสภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอการ ประกอบกิจการทุกประเภท ทัง้ ภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ และการพาณิชย เนือ่ งจากสภาพแวดลอมภายใน อาคารทีเ่ หมาะสมจะชวยลดความสูญเสีย เพิม่ ผลิตภาพ (Productivity) และเพิม่ ประสิทธิภาพในการทํางาน ของผูปฏิบัติงานและกระบวนการตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ตัวอยางของพื้นที่ภายในโรงงานหรืออาคารธุรกิจที่จําเปนตองมีการปรับอากาศที่ดี มีดังนี้ • หองคอมพิวเตอรและหองเซิรฟเวอร • โรงงานอุตสาหกรรมอาหาร โรงงานผลิตยา • โรงงานผลิตชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส • สถานศึกษา หองเรียน หองประชุม • โรงแรม หองสัมมนา หองจัดเลี้ยง • ศูนยการคา สนามกีฬาในรม โรงภาพยนตร • โรงพยาบาล/สถานพยาบาล หองผาตัด หองปลอดเชื้อ หองพักผูปวย • ฯลฯ เทคโนโลยีการปรับอากาศในระยะหลังนี้ มีการพัฒนาอยางรวดเร็ว เนือ่ งจากกระแสดานการอนุรกั ษ พลังงาน สิ่งแวดลอม และความปลอดภัย สงผลใหมีการศึกษา คนควา วิจัยและพัฒนา ทั้งในดานวิธีการ คํานวณและการวางระบบปรับอากาศ และในสวนของวัสดุและอุปกรณที่ใช ในระบบปรับอากาศ ดังนั้นผู ประกอบอาชีพที่เกี่ยวของกับงานในดานนี้ จึงจําเปนตองกาวตามเทคโนโลยีที่กําลังพัฒนาและเปลี่ยนไปอยู ตลอดเวลา สําหรับวิศวกรออกแบบ จะตองออกแบบระบบปรับอากาศที่ประหยัดพลังงาน สามารถควบคุม อุณหภูมิ ความชื้น และการไหลเวียนของอากาศไดดี และเปนไปตามมาตรฐานคุณภาพอากาศที่ยอมรับได สําหรับผูผลิตอุปกรณ จะตองมองเห็นแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ ใหกาวทันตามเทคโนโลยีที่ เปลี่ยนแปลง เพื่อใหสามารถแขงขันได และเพื่อใหตรงกับความตองการของลูกคาในปจจุบันและอนาคต สําหรับผู ใชงานหรือผูดูแลระบบ จะตองมีความเขาใจเกี่ยวกับการทํางานของระบบปรับอากาศและ อุปกรณที่เลือกใชอยางถูกตอง เพื่อใหระบบทํางานสอดคลองกับความตองการและคุมคา อีกทั้งยังตอง ดูแล บํารุงรักษาอุปกรณและสวนประกอบตาง ๆ ของระบบปรับอากาศ เพื่อใหสามารถทํางานไดอยางมี ประสิทธิภาพตลอดอายุการใชงาน

เหมาะสําหรับ

ผูชวยศาสตรตราจารย ดร.พลกฤต กฤชไมตรี อาจารยประจํา ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร เปนผูมีความรู ความเชี่ยวชาญ มีผลงานวิชาการทาง ดานวิศวกรรมปรับอากาศและระบายอากาศเปนจํานวนมาก และมีผล งานทางวิชาชีพวิศวกรรมเครื่องกล โดยเปนกรรมการสมาคมวิชาชีพ หลายแหง ไดแก ประธานสาขาวิศวกรรมเครื่องกล สมาคมวิศวกรที่ ปรึกษาเครื่องกลและไฟฟาไทย กรรมการบริหารสมาคมปรับอากาศ แหงประเทศไทย กรรมการบริหารสมาคมลิฟตแหงประเทศไทย และ กรรมการรางมาตรฐานระบบปรับอากาศและระบายอากาศ สมาคม วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ นอกจากนี้ยังมีประสบการณดานการออกแบบ ใชงานและ แกปญหาระบบปรับอากาศและระบายอากาศ สําหรับอาคารและงาน อุตสาหกรรมเปนอยางดี

หัวขอสัมมนา 1. พื้นฐานระบบปรับอากาศ 2. มาตรฐานประสิทธิภาพการใชพลังงาน 3. การเลือกใชอุปกรณประหยัดพลังงาน 4. การออกแบบระบบจายลมอยางมีประสิทธิภาพ 5. การจายนํ้าเย็นสําหรับโครงการขนาดใหญ 6. เทคนิคในการควบคุมความชื้น 7. ถามตอบปญหา

1. ผูจัดการโรงงาน 2. ผูจัดการอาคาร 3. วิศวกรและชางเทคนิคดานระบบปรับอากาศ 4. ผูออกแบบและผูติดตั้งระบบปรับอากาศ 5. ผูจัดจําหนายอุปกรณที่ใช ในงานปรับอากาศ 6. อาจารยและนักศึกษา 7. ผูสนใจทั่วไป

วันอังคารที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2560

มอบประกาศนียบัตร หลังจบการสัมมนา

กรุณากรอกชื่อ-นามสกุลตัวบรรจง เพื่อความถูกตอง ของประกาศนียบัตร

ใบสมัคร

8.00 - 9.00 9.00 - 16.00

ลงทะเบียน หัวขอสัมมนา

สมัครดวน ! รับจํานวนจํากัดเพียง 50 ทานเทานั้น

เลขที่สมาชิกวารสารเทคนิค........................................................................................ 1. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 2. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 3. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... บริษทั ............................................................................................................................................................ โทรศัพท...................................................................... โทรสาร.......................................................... ที่อยู ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ทราบการสัมมนาจาก ì วารสาร ì ใบปลิว ì เว็บไซต ì อีเมล ì อื่นๆ....................................................................................................................................................

หมายเหตุ : คาสัมมนาสามารถหักภาษี ณ ที่จายได 3% กรณีไมมีหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จายตองชําระคาสัมมนาเต็มจํานวน

กรณีไมสามารถเขาอบรมได บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิไมคืนคาอบรมทั้งจํานวน

อัตราคาสัมมนา ชํ า ระเงิ น ก อ น 29 ส.ค. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป ชํ า ระเงิ น หลั ง 29 ส.ค. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป

ทานละ

VAT 7%

สุทธิ

3,100 3,400

217 238

3,317 3,638

3,400 3,700

238 259

3,638 3,959

ชองทางการสมัครสัมมนา • ทาง FAX : 02 862 1395 • ทาง E-mail : member@me.co.th • ทาง Inbox Facebook : www.facebook.com/meBOOKSHOP

การชําระเงิน ì เช็คสั่งจาย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ì ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 158-0-82377-9 ì ธนาคารกสิ​ิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่บัญชี 765-2-59700-3 ì ธนาคารไทยพาณิชย สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 055-2-30081-7 โอนเงินวันที่.................................................. (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) ลงชื่อ.................................................................................................................................................

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (สํานักงานใหญ)

กรุณาแนบใบหักภาษี ณ ที่จาย มาพรอมกับคาลงทะเบียน ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (เลขประจําตัวผูเสียภาษี 0105527008994)

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก 1) โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 Homepage : www.me.co.th E-mail : member@me.co.th

คาอบรมถือเปนคาใชจายทางภาษีได 200%

การจองจะมีผลเมื่อไดรับชําระเงินจากทานกอนวันสัมมนา แฟกซหลักฐานการโอนเงินมาพรอมกับใบสมัครนี้ที่หมายเลข 02 862 1395


สัมมนา

การออกแบบเพื่อแก ไขคุณภาพไฟฟา และการเลือกใช-ติดตั้ง-บํารุงรักษา อุปกรณปรับปรุงคุณภาพไฟฟา อยางมีประสิทธิภาพ คุณภาพไฟฟาที่ผิดปกติเปนปญหาใหญ ในระบบไฟฟาและระบบควบคุมรวมทั้งระบบคอมพิวเตอร ซึ่งนอกเหนือจากทําให ระบบทํางานผิดปกติ, ไมปลอดภัย และอาจรุนแรงจนเกิดอุบัติภัยไดแลว ยังทําให ไมประหยัดพลังงานอีกดวย เอ็มแอนดอีจึง ขอเสนอหลักสูตรเพื่อแกปญหาและปรับปรุงคุณภาพไฟฟาอยางมืออาชีพ ที่ผูรวมสัมมนาสามารถนําไปหาสาเหตุของปญหา ทางไฟฟาที่เกิดขึ้น เพื่อหาทางแก ไข รวมทั้งวิธีการเลือกใชอุปกรณแก ไขที่เหมาะสมไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา

วันที่ 27 กันยายน 2560 ณ หองสเตชั่น 4 ชั้น 16 โรงแรมไพรม เซ็นทรัล สเตชั่น กรุงเทพฯ (เยื้องหัวลําโพง)

วิทยากร คุณประสิทธิ์ พัวภัทรกุล

ผูจัดการทั่วไป บริษัท อินเตอรเทค อินดัสทรี แอนด เซอรทิฟเคชั่น เซอรวิสเซส (ประเทศไทย) จํากัด

สิ่งที่ทานจะไดจากการสัมมนานี้

ปจจุบันอุปกรณ เครื่องใชไฟฟา มีความทันสมัย เบา ขนาดเล็กกระทัดรัด และยังสามารถ ตอเขากับอินเทอรเนตได (internet of thing) แตระบบไฟฟาและอุปกรณที่ทันสมัยดังกลาวมี ลักษณะพิเศษที่แตกตางจากอุปกรณแบบเดิมๆ คือมีความไวสูงแตมีความคงทนตอมลภาวะทาง ไฟฟา (disturbance) ลดลง ขณะเดียวกันก็สรางมลภาวะเพิ่มเติมใหกับระบบไฟฟา จะเห็นไดจาก ปญหาระบบไฟฟาหรือควบคุมทํางานผิดพลาดหรือรุนแรง เชน หมอแปลงระเบิดและเพลิงไหมได ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการออกแบบที่ไมเหมาะสมกับระบบและอุปกรณไฟฟา การสัมมนานี้มุงเนนใหความรูเกี่ยวกับคุณลักษณะที่เปลี่ยนไปของระบบและอุปกรณไฟฟาสมัย ใหม ความรูความเขาใจใน สาเหตุและผลกระทบของมลภาวะทางไฟฟาชนิดตางๆ รวมทั้งการ เลือกใชงานระบบปรับปรุงคุณภาพไฟฟาใหเหมาะสม เพื่อใหมีการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ และประหยัดพลังงาน

เหมาะสําหรับ 1. วิศวกรที่ปรึกษา / ผูทํางานดานการออกแบบระบบไฟฟา 2. ผูควบคุมงาน / ผูรับเหมางานระบบไฟฟา 3. ผูตรวจสอบระบบไฟฟา รวมทั้งเจาหนาที่ของการไฟฟาฯ 4. ผู ใชงาน / ผูจําหนายอุปกรณปรับปรุงคุณภาพไฟฟาและอุปกรณไฟฟา 5. อาจารยและนักศึกษา 6. ผูสนใจเกี่ยวกับงานระบบไฟฟา

1. 2. 3. ประโยชนที่จะไดรับ 4. - ทราบพื้นฐาน สาเหตุ ผลกระทบของอุปกรณไฟฟาและระบบในปจจุบัน รวมทั้งมลภาวะทางไฟฟา 5. - กลยุทธ ในการออกแบบระบบปรับปรุงคุณภาพไฟฟาแบบครบวงจร - ขอแนะนําในการเลือกใช, ติดตั้งและดูแลอุปกรณปรับปรุงคุณภาพไฟฟาอยางเหมาะสม 6.

หัวขอสัมมนา

พื้นฐานของคุณภาพทางไฟฟา สาเหตุและผลกระทบของมลภาวะทางไฟฟา คุณลักษณะของระบบและอุปกรณไฟฟาสมัยใหม อันตรายจากระบบไฟฟาแบบเดิมเมือ่ ใชงานกับอุปกรณไฟฟาในปจจุบนั การออกแบบระบบปรับปรุงคุณภาพไฟฟาแบบครบวงจร ตั้งแตการตอลงดิน ไปจนถึงการทํางานอยางตอเนื่อง การเลือกใชอปุ กรณปรับปรุงคุณภาพไฟฟาชนิดตางๆ ใหเหมาะกับปญหา และการทํางานของระบบและอุปกรณ วิทยากร 7. การติดตั้งและดูแลระบบปรับปรุงคุณภาพไฟฟา คุณประสิทธิ์ พัวภัทรกุล ผูจ ดั การทัว่ ไป บริษทั อินเตอรเทค อินดัสทรี แอนด เซอรทฟิ เ คชัน่ 8. ถาม-ตอบปญหา เซอรวสิ เซส (ประเทศไทย) จํากัด จบการศึกษาปริญญาโทดานอีเล็กโทรนิกสกาํ ลัง เปนผูม ปี ระสบการณ ในการออกแบบ ใหคําปรึกษา เกี่ยวกับการปรับปรุงคุณภาพไฟฟามานานกวาสิบป โดยเฉพาะการแก มอบประกาศนียบัตร หลังจบการสัมมนา ปญหาใหกับระบบไฟฟาที่ตองการคุณภาพสูงมากๆ เชน ระบบไฟฟาสําหรับดาตาเชนเตอร, ระบบ วันพุธที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2560 ควบคุมของระบบโทรคมนาคมและระบบไฟฟากําลัง ปจจุบันเปนวุฒิวิศวกร และที่ปรึกษาคณะ 8.00 - 9.00 ลงทะเบียน หัวขอสัมมนา อนุกรรมการมาตรฐานดาตาเซนเตอรสาํ หรับประเทศไทย อีกทัง้ ยังเปนวิทยากรใหกบั หลายหนวยงาน 9.00 - 16.00 กรุณากรอกชื่อ-นามสกุลตัวบรรจง เพื่อความถูกตอง ของประกาศนียบัตร

ใบสมัคร

สมัครดวน ! รับจํานวนจํากัดเพียง 50 ทานเทานั้น

เลขที่สมาชิกวารสารเทคนิค........................................................................................ 1. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 2. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 3. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... บริษทั ............................................................................................................................................................ โทรศัพท...................................................................... โทรสาร.......................................................... ที่อยู ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ทราบการสัมมนาจาก ì วารสาร ì ใบปลิว ì เว็บไซต ì อีเมล ì อื่นๆ....................................................................................................................................................

หมายเหตุ : คาสัมมนาสามารถหักภาษี ณ ที่จายได 3% กรณีไมมีหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จายตองชําระคาสัมมนาเต็มจํานวน

กรณีไมสามารถเขาอบรมได บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิไมคืนคาอบรมทั้งจํานวน

อัตราคาสัมมนา ชํ า ระเงิ น ก อ น 13 ก.ย. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป ชํ า ระเงิ น หลั ง 13 ก.ย. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป

ทานละ

VAT 7%

สุทธิ

3,100 3,400

217 238

3,317 3,638

3,400 3,700

238 259

3,638 3,959

ชองทางการสมัครสัมมนา • ทาง FAX : 02 862 1395 • ทาง E-mail : member@me.co.th • ทาง Inbox Facebook : www.facebook.com/meBOOKSHOP

การชําระเงิน ì เช็คสั่งจาย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ì ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 158-0-82377-9 ì ธนาคารกสิ​ิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่บัญชี 765-2-59700-3 ì ธนาคารไทยพาณิชย สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 055-2-30081-7 โอนเงินวันที่.................................................. (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) ลงชื่อ.................................................................................................................................................

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (สํานักงานใหญ)

กรุณาแนบใบหักภาษี ณ ที่จาย มาพรอมกับคาลงทะเบียน ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (เลขประจําตัวผูเสียภาษี 0105527008994)

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก 1) โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 Homepage : www.me.co.th E-mail : member@me.co.th

คาอบรมถือเปนคาใชจายทางภาษีได 200%

การจองจะมีผลเมื่อไดรับชําระเงินจากทานกอนวันสัมมนา แฟกซหลักฐานการโอนเงินมาพรอมกับใบสมัครนี้ที่หมายเลข 02 862 1395


สัมมนา เทคนิคการอนุรักษพลังงานในระบบอัดอากาศ ระบบอัดอากาศมีในโรงงานเกือบทุกแหง และมีโอกาสปรับปรุงใหประหยัดไดดีขึ้น เอ็มแอนดอี จึงขอเสนอหลักสูตรวิธีการปรับปรุงและ ประยุกตระบบอัดอากาศเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพและประหยัดพลังงาน รวมทัง้ การบํารุงรักษาระบบอัดอากาศทีส่ ามารถนําไปปฏิบตั ไิ ดจริงโดย ไมตองใชเครื่องมือที่ยุงยากและสอดคลองกับความตองการใชงาน

วันที่ 10 ตุลาคม 2560 ณ หองสเตชัน 4 ชั้น 16 โรงแรมไพรม เซ็นทรัล สเตชัน กรุงเทพฯ (เยื้องหัวลําโพง)

วิทยากร คุณชะนะ ตันสุวิทย

ผูเชี่ยวชาญดานอนุรักษพลังงาน ศูนยอนุรักษพลังงานแหงประเทศไทย วิทยากร

เนื้อหาสาระ

ปจจุบันภาคอุตสาหกรรมยังคงเปนภาคธุรกิจที่มีการใชพลังงานสูงที่สุดใกลเคียงกับ ภาคขนสง ทั้งนี้เนื่องจากประเทศไทยเปนที่ประเทศที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจใกลเคียง กันอยางตอเนื่อง สงผลใหการใชพลังงานทั้งในภาคอุตสากรรม และภาคขนสงสูงขึ้นอยาง ตอเนื่องเชนกัน ซึ่งผูประกอบการสวนใหญยังไมมีความตระหนักหรือใหความสําคัญถึงการ ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพมากนัก โดยเฉพาะผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม (Small and Medium Enterprises , SME) ดังนั้น เอ็มแอนดอี จึงนําเสนอหลักสูตรพิเศษ เทคนิคการอนุรักษพลังงานในระบบอัด อากาศ รวมถึงวิธีการตรวจวัด เก็บขอมูล บันทึก การปรับปรุงระบบ การประยุกตการใชงาน ระบบอัดอากาศและขอมูลปจจัยทีม่ ผี ลตอประสิทธิภาพพลังงานของระบบอัดอากาศ ทีส่ ามารถ นําไปปฏิบัติตามไดดวยตัวเอง โดยไมตองใชเครื่องมือและวิชาการเชิงวิศวกรรมมากนัก

คุณชะนะ ตันสุวิทย ผูเชี่ยวชาญดานอนุรักษพลังงาน ศูนยอนุรักษ พลังงานแหงประเทศไทย ส.อ.ท. มีประสบการณดานการตรวจวัดและ วิเคราะหดานอนุรักษพลังงาน รายงานการจัดการพลังงานทั้งโรงงาน และอาคารมากกวา 20 ป ไดรับการเปนวิทยากรใหกับหนวยงานทั้งภาค รัฐและเอกชน เปนจํานวนมาก รวมทั้งเปนผูเขียนบทความทางวิชาการ และการจัดทํารายงานการศึกษาความเหมาะสมทางดานเทคนิคและการ ลงทุนของโรงไฟฟาไบโอแมส และไบโอแกส และควบคุมตรวจสอบงาน ติดตั้งทั้งโครงการ

หัวขอสัมมนา 1. 2. 3. 4.

ขั้นตอนการวางแผนการอนุรักษพลังงาน องคประกอบของระบบอัดอากาศ 1. ผูประกอบกิจการ เจาของโรงงาน ประเภทเครื่องอัดอากาศ 2. ผูจัดการฝายวิศวกรรม ผูจัดการฝายซอมบํารุง ตัวแปรปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพพลังงานของระบบอัดอากาศและ 3. วิศวกร และเจาหนาที่รับผิดชอบดานพลังงาน ทั้งสามัญ และอาวุโส คาเกณฑมาตรฐาน 4. ผูสนใจในการอนุรักษพลังงานในระบบอัดอากาศ 5. เทคนิคการเก็บและบันทึกขอมูลปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพพลังงาน ของระบบอัดอากาศ ประโยชนที่จะไดรับ 6. แนวทางการอนุรักษพลังงานในระบบอัดอากาศ 1. ทราบถึงขั้นตอนการวางแผนการอนุรักษพลังงาน ซึ่งมากกวา 10 มาตรการ 2. ทราบความรูพื้นฐานและองคประกอบของระบบอัดอากาศ 7. การใชเครื่องอัดอากาศอยางไรใหเหมาะสม 3. ทราบประเภทเครื่องอัดอากาศและคาพลังงานจําเพาะ 8. การบํารุงรักษาเครื่องอัดอากาศ 4. ทราบตัวแปรปจจัยทีม่ ผี ลตอประสิทธิภาพพลังงานของระบบอัดอากาศและคาเกณฑมาตรฐาน 9. กลเม็ดเคล็ดไมลับ (Tips & Techniques) ไปใชและถายถอด 5. ทราบแนวทางการอนุรักษพลังงานในระบบอัดอากาศ รวมถึงการวิเคราะหตามมาตรการ ใหเกิดประโยชน 6. สามารถนํากลเม็ดเคล็ดไมลับ (Tips & Techniques) ไปใชและถายถอดใหเกิดประโยชน 10. ถาม-ตอบ ปญหา 7. สามารถนําวิธีการบํารุงรักษาเครื่องอัดอากาศไปตรวจสอบปฏิบัติใหเกิดผล วันอังคารที่ 10 ตุลาคม 2560 8.00 - 9.00 ลงทะเบียน มอบประกาศนียบัตร หลังจบการสัมมนา 9.00 - 16.00 หัวขอสัมมนา

เหมาะสําหรับ

กรุณากรอกชื่อ-นามสกุลตัวบรรจง เพื่อความถูกตอง ของประกาศนียบัตร

ใบสมัคร

สมัครดวน ! รับจํานวนจํากัดเพียง 50 ทานเทานั้น

เลขที่สมาชิกวารสารเทคนิค........................................................................................ 1. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 2. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 3. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... บริษทั ............................................................................................................................................................ โทรศัพท...................................................................... โทรสาร.......................................................... ที่อยู ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ทราบการสัมมนาจาก ì วารสาร ì ใบปลิว ì เว็บไซต ì อีเมล ì อื่นๆ....................................................................................................................................................

หมายเหตุ : คาสัมมนาสามารถหักภาษี ณ ที่จายได 3% กรณีไมมีหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จายตองชําระคาสัมมนาเต็มจํานวน

กรณีไมสามารถเขาอบรมได บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิไมคืนคาอบรมทั้งจํานวน

อัตราคาสัมมนา ชํ า ระเงิ น ก อ น 26 ก.ย. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป ชํ า ระเงิ น หลั ง 26 ก.ย. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป

ทานละ

VAT 7%

สุทธิ

3,100 3,400

217 238

3,317 3,638

3,400 3,700

238 259

3,638 3,959

ชองทางการสมัครสัมมนา • ทาง FAX : 02 862 1395 • ทาง E-mail : member@me.co.th • ทาง Inbox Facebook : www.facebook.com/meBOOKSHOP

การชําระเงิน ì เช็คสั่งจาย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ì ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 158-0-82377-9 ì ธนาคารกสิ​ิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่บัญชี 765-2-59700-3 ì ธนาคารไทยพาณิชย สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 055-2-30081-7 โอนเงินวันที่.................................................. (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) ลงชื่อ.................................................................................................................................................

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (สํานักงานใหญ)

กรุณาแนบใบหักภาษี ณ ที่จาย มาพรอมกับคาลงทะเบียน ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (เลขประจําตัวผูเสียภาษี 0105527008994)

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก 1) โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 Homepage : www.me.co.th E-mail : member@me.co.th

คาอบรมถือเปนคาใชจายทางภาษีได 200%

การจองจะมีผลเมื่อไดรับชําระเงินจากทานกอนวันสัมมนา แฟกซหลักฐานการโอนเงินมาพรอมกับใบสมัครนี้ที่หมายเลข 02 862 1395


สัมมนา วิณ ธณีกณ ภแนะนํ าพาาาผลิ ผลิ ตตตต ภัภัภัภั ณ ณ ฑฑฑฑ แนะนํ แนะนํ าผลิ ผลิ ณ ณ แนะนํ แนะนํ าผลิ ผลิ ภัณ แนะนำ แนะนำ �าผลิ �ผลิ ตตตภัตภัภั ฑฑําฑจัฑดไนโตรเจนในนํ้าเสียอยางมีประสิทธิแนะนํ

แนะนํ แนะนํ แนะนํ แนะนํ าาาผลิ าผลิ ผลิ ผลิ ตตตต ภัภัภัภั ณ ณ ณ ณ ฑฑฑฑ

นํ้าเสียของโรงงานอุตสาหกรรม และอาคารหลายแหงมีไนโตรเจนอยูมาก หากหลงเหลือในนํ้าทิ้งจะกอใหเกิดปญหาเรื่องกลิ่น เอ็ม แอนดอีจึงเสนอหลักสูตรการกําจัดไนโตรเจนในนํ้าเสียเพื่อใหผูเขาอบรม ไดรับความรู ® ทางเทคนิคการออกแบบและเดินระบบเพื่อให สามารถกํ า จั ด ไนโตรเจนในนํ ้ า เสี ย จะได ท ราบถึ ง วิ ธ ี ก ารกํ า จั ด ไนโตรเจนที ่ ม ี ม ากกว าปกติในนํ้าเสียทั่วไป โดยมีการแสดงวิธีกําจัด - การเปลี่ยนแบตเตอรี่ของอุปกรณเครื่องมือวัดเอบีบี ที่อยู ™ ไนโตรเจนในนํ ทั้งวิธีช1ีวภาพและวิ ธีกายภาพเคมี ในพื้า้นเสีทีย่ Class Div 2 สามารถทํ าไดอยาใงงนการอบรมครั ายดาย และ ้งนี้ - ความดันใชงานสูงสุด 320 บาร ความเร็ งาน 400 รอบ/นาที – 3,600 รอบ/นาที ปลอดภัยPower ตอการระเบิ ด Filters (ABB PQF) แอคทีฟ- - ปญ หาม เซ็วรอบใช Quality วันที่ 11 ABB ตุลาคม 2560 ณ หองสเตชัน 4 ชั้น 16 โรงแรมไพร น ทรั ล น94% กรุในขณะป งเทพฯ ม (เยื ้องหัค่ ววามดั ลําโพง) ทธิภาพเชิ งปริสเตชั มาตร างานที ใช HMI ่อใหสะดวกต อการเข งเครืมอนิ อขากย - - ประสิ งานแปรรู ป อาหารต อ งการ sensing ทํelements ที่นถู ก ฟ-ลเตอร ประสิPlatform ทธิภาพสูงเพื จากเอบี บี สําหรั บกําจัาดถึฮาร วิ ท ยากร ผศ.ดร.สมพงษ หิ ร ญ ั มาศสุ ว รรณ สูงสุสุขดลัของป อุปกรณ ปญหา ใชระบบดิจิตอลคอนโทรล กษณะม เหมาะที่จะทําความสะอาดในแบบ CIP (Clean ที่ ใชอตัิเ้งล็คกาทรอนิ กสและแก กําลัง (IGBT) อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิ ศ วกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต - อุป:กรณ เครื่อSignal งมือวัดแบบ Wirelessและควบคุ HART มของเอบี บีนั้น - ออกแบบให In Place) มไดีเสียงเบาขณะที่ปมทํางาน (DSP Digital Processor) การทํางาน อสภาพนํ นไฮดรอลิ ที่ปนเป ่งสกปรกได ดี level งคาControl ไดดวยเครื ่อง HART การจั บพอกด วมัยสารที ่มีคกวามข นหนือนสิ ดจะทํ าให Point แบบปสามารถปรั ด (Closedบแต Loop System) ซึง่ มีคHandheld วามแมนยําของ สูง - - ทนต วิท้ายากร เนื้อหาสาระ - สามารถติ ดตั้งสผศ.ดร.สมพงษ ใช งานไดหเชลากหลายรู ปแบบ เอบีบจใจุี นอุ วนมาก นหิรประเภทที ่อาศัเปยนการสั น ชา งานได สาหกรรมทุ กประเภททั ้งขนาดใหญ งมีกลาง เนื่อใช งจากในป บันตโรงงานอุ ตสาหกรรมหรื ออาคารหลายแห นํ้าเสียทีเล็่มกีไนโตรเจนอยูมswitches าก ญ ั มาศสุวรรณ อาจารย่นปสะเทื ระจําอภาควิ ลดค า ใช จ า  ยในการซ อ มบํ า รุ ง วิศวกรรมสิ ่งแวดลSeries” อม บคณะวิ ศSolar วกรรมศาสตร มหาวิ ทยยาลั ยรังสิต ซึ่งระบบบํรวมทั นํง้ ้าอาคารพาณิ เสีบยีจทีะจั ่ใชกดันอุในโรงงานอุ สามารถกํ ไนโตรเจนออกจาก “SHI Inverter จาก -าบัดเอบี ปชกรณ เครืตสาหกรรมและอาคารไม ่องมื อวัดแบบไร ซึ่งตัCenter) ้งาคจัาดการ (vibration) และประเภทลู ลอย เกิ ดความเสี ย อาคารสู ง และศู นยขอ มูสลาย(Data - ่อความสามารถในการรองรั การเพิ ในอนาคต งจัทิEP กร, Solar ปรั ทธิภกาพเครื ่อ(floats) งจัเ่ชีมก่ยขยายได ร,วชาญด ลดพลั งงานที ่หาย ไม ้าเสีย เปนบทีปรุ ่ปรึงกประสิ ษาดาอนเทคนิ ค ตและผู านการจั ดการนํ นํ้าเสียไดมาก ทําใหยังคงมีไนโตรเจนเหลือในนํ้าทิ้งอยูมาก ไดสรางปญหาหลายอยางไดแเครื ก นํ า ้ ง ้ สามารถสอบถามข มู ล ผลิ ภั ณ ฑ เ พิ ่ ม เติ ม ได ท ่ ี บริ ษ ั ท เปนและขยะมู ่เปนไฟ AC 220 ทํPeristaltic างานแล วใหHose กับลูกคPump า เพื การติ ตั้งใชงานที ว บนา EPEVER - แมสามารถติ วา้งนที แรงสามารถทํ ายใหาางๆ elements ragazzini เป็นปั่รวดเร็ ม๊ ส�าหรั PQF สามารถแก ปญ่อจาก หาคุ ณดภาพไฟฟ ดนปตัเครื อุ่อป่รงแปลงไฟจากแบตเตอรี กรณ เพิก่มบั เติโครงการต มไดอOven งงsensing าTracker ยดาย ลุนฝอยให และเป นวิทยากรให กบบั หนวย นความป ขอแนะนํ MemoryPaq XL2 สําหรั ออกมีกลิ่นเหม็นABB แอมโมเนี ยรบกวนชุ มชนรอบบริ เวณอย างมาก ทําาใหแหลงรองรับนํ้าทิจํนิ้งาวเป น ้ ํ า แม็ กาขนาด จํดดากชนิ กัาดงานต • า งๆ ทั ง ้ ภาครั ฐ และภาคเอกชนมาเป น เวลานาน EP Solar “Tracer Series” และ “LS-Series” Solar โวลต 400 วั ต ต , 600 วั ต ต และ 1000 วั ต ต สํ า หรั บ ใช เชื อ ่ ถื อ และประหยั ด ค า ใช จ  ย ชํ รุ เสี ย หายได สู บ จ่ า ยของเหลวที ่ ม ี ค วามหนื ด สู ง เหมาะส� า หรั บ งานทางด้ า น ป ญ หาฮาร ม อนิ ก ในระบบไฟฟ า สามารถกํ จั ด ฮาร ม อนิ ก ได ส ง ู การวั ค และการสื อ ่ สารกั บ อุ ป กรณ ท ่ ี ไ ม ไ ด ท า ํ งานผ นระบบ เลื อ ด อุ ป กรณ , ความถี ่ ท ่ ี ใ ช ใ นการวั ด โหมดขนาน ลําคลองมีปญหาเกิดสาหรายขึ้นมากจนเกิดปญหาสิ่งมีชวี ิตในแหลงนํ้าตาย กอใหเกิดปญอุหาแหล ง ตสาหกรรมการเคลื อบอบสี โดยมีจุดเดนดังนี้ นํ้าเนาเสีอาหารและเครื ยCharger จาก วบคุๆ มขึแบบพกพาที การชาร จแบตเตอรี ดไดวยประสิ าพการแปลงพลั งานมากกกว เอบี สจากลํ ร่มางสรรค ลิอุ่ 2ตปภัวกรณ น้ มา โดยใช ง กชนั ่ --งานในบ ๊มสายไฟ สามารถดู ของไหลที ่มทตพีสธิ​ิ บทภ่วทีมนผสมของเนื ้อผลไม้ แยละกาก -ปัตรวจสอบคุ การที ่ไมเชสว่กไป ามารถบอกระดั ่ตืออถืงการควบคุ มงได างถูติทกตางอาง ่อElite1 งดื ถึง 20 ลํบาี ดัได บEPEVER ถึณ นณดระบบโทรศั อตอบสนองคุ หรือานทั อนุ รม อตัติขโนมั LCR เปานดัเป มิบเผทีนตอร ดั งคฑ50 าคใหม LCR อ่ฟอกแบบ สมบั องเตาอบให ณอสมบั หั ว ข อ สั ม มนา บุคลากรในด า นนี ย ้ ง ั ต อ งการความรู ด  า  นนี อ ้ ก ี มาก แม ว า  ในป จ จุ บ น ั ได ม ต ี า ํ ราที เ ่ กี ย ่ วกั บ การกํ า จั ด าPeristaltic รหาเพาเวอร เซลลทวั้งอุระบบ PWM เก็กิาบให ดเกี ความร สามารถใช งงการ านร วตมกั Solar พืมาเป ้นปฐานของตั ปHose กรณ เปPump Wireless Hartตทิดาในระบบ แ้ ก เซนเซอร จะมี ผสยลิ่ มดุ ตวพลั ฑ้งงานของเอบี ทคิส่างั้ ีตหมดในรอบการผลิ เกิม่ ดไบศัดความเสี ยหาย สมบั -โซล ญ แงฟคเตอร ใและ นระบบไฟฟ น ยงตํา-92% ลณอในระบบไฟฟ าบี วจะช - ใยได้ ปผูทํหาโหลดไม กรณ งนตํ วยเพิ กEP ยภาพของ -ปอุญ ใาชผให สลทํ ามารถเลื อภัากตั ทุามความต กกอย างด เองก็ านง านยแม นมียํคาุณคMPPT ธิังไดภนีสามารถป ง MPPT มีาขอนเพี นาด อยตั ไนโตรเจนในนํ า้ เสียนอยูพิบ เา ศษ ง แตใช ตอ งอาศั ยประสบการณ อประสิ นขางมาก ไมาพสู สามารถอ ราเทกายภาพและคุ านัน้ 1. แหลณงกํสมบั เนิดตและลั ษณะของนํ ้าเสียที่มีไนโตรเจนมาก ใหนดัปากคี เทกิกางเทคนิ ดทีพลั ง(Inductive) งานสู งานร วมกั า้นดต์ระบบ ตรวจวั อุพร ณ รุให สัดญกยใช ญาณอุ หภูทบมวี ิย -Charger การประยุ ช้ขอมงาสสอบถามข าน ออาจมี กทํพืการเติ นผสมมากเกิ ไป งหยุ การผลิ มกวอคที มีปิ ่อะเก็ ฟการการชาร อิปTSP300-W, ฟบในตั และคาฟาซิ สามารถติ ตอใcure ลนแสดงค ตและต ภัาณวัดฑอ่ไดและพารามิ เพิประสิ ่มดเติ ทตี่ า2.่องเครื ยวOff-Grid าSystem งานที ทมธิไดภเาพ -มปโครงสร จอแสดงผล OLED ทีเพื ตอร เล็รีัดแอบรมสั จิีซยจั๋วีลดดและไม่ อหภู มขาวั ดทนทีคั้งน่เจวามรู วตัวนํสง้าสุงหนั เบา ทําณ งานด ดังนั้นจึง-ไดจะช จไม่ มเพาเวอร มนาเพื คในการเตรี มการออกแบบการควบคุ และ ฐานการบํ าบั่สด่อวนําให ้างชั เสีมอSolar ยดีกมูทีารทํ ่มผลิ ีไนโตรเจนมาก อหรื งกั นเพืunder และ over cure แบตเตอรี ่ 12 24 โวลต รองรั บระบบส งสว างานตรวจสอบ งแบบต างๆ้าเสีย-ได รุนไม่ TTF300-W, กรณ ตบรวจวั นบ รุR&D, นอ่ม266 ปรับปรุง-ระบบบํ ้า่ เสีเหมาะสํ ามารถกํ าจัดดอแรงดั ไนโตรเจนที ีมากให ออกจากนํ ออุษจัยตสูัทดาสาหกรรมทางด้ งมี ค•าการปรั บาปรุหรังยระบบบํ า่อเติ บังดื ดมนํ่มได ้าเสีทยี่ เดิบริ มใหษัเทปนอีเลคนอาหารและเครื มีเาช็บัคดนํวาล์ วยหรืเพือุอ่อปให (Capacitive) บริ เอบี บมข งครบถ สุสนใจสอบถามรายละเอี ดปยญ วี 3.หา นจํอาเทคนิ แบตเตอรี าสหรั งานห งแล็ - การแก เตรี มูกัลดรายงานสํ บดเพิ ใช ใ่มนกระบวนการการควบคุ ม ประสิทธิ-ภหรื าพสู ง สุ ด ซึ ่ ง การอบรมครั ้ ง นี ้ จ ะได แ นะนํ า เทคนิ ค การเลื อ กวิ ธ ี บ ํ า บั ด นํ ้ า เสี ย ให เ หมาะสม ระบบใหม ท ส ่ ี ามารถกํ า จั ด ไนโตรเจนได อ๊มการชาร จแบตเตอรี ่เพืจาก ่อโเชืดยตั ่อมตวปัอง๊มากัอยต บมแผงวงจรอิ ทรอนิ ค ส ซอร ซ จํ า กั ด • เครื อ่ งมื วัตด, ทีII™ ่และงานตรวจซ อ อกแบบมาให อSolar การใช งการควบคุ านเล็โดยเครื อ ่ ง สิ น ค้ า อุ ป โภคบริ โ ภค Multipoint II™ จาก Drexelbrook สามารถให ก ารควบคุ ปัในสายการผลิ สามารถดู ดอของไหลได้ เอง ตั ว อุ ป กรณ ท ่ ี ส ามารถติ ด ตั ้ ง ใช ง านได อ ย า งหลากหลายรู ปม แบตเตอรี ช ่ าร จ ได ช นิ ด lithium-ion polymer ในตั ว Multipoint Drexelbrook เพื่อInverter ม การ กทรอนิกส คุณภาพ หรือถูกตองสําหรับการกําจัดไนโตรเจนออกจากนํ้าเสีย 4. เทคนิคการออกแบบระบบบําบัดนํ้าเสียที่กําจัดไนโตรเจนไดมาก า(only นวยความสะดวกดั งนี้ าไปใช --แบบ โรงงานบ� ดลจากเซนเซอร น�เพื้าเสี ยการแก ทขป ี่ตญจิดไฟจากคอมพิ ตั้งทในแนวดิ ยอะแดปวอ่ เริม่ ้าเสีย - มืเติแทนที ่โงดยใช้ ทีจ่อะช เท่ลาวะรอบการผลิ นัยอํ tube หาในการทํ Up -จัอดได ชงสบอามจุ าหรั บาชาร วStart หวรืเดีอเพื สของเอบี วนผสมในแต ตสําบto หรั บreplace) โรงงานแปรรู ปอาหาร ทัอวั่วมดไป ในการอบรมครั ้ นี้ วิทบยากรจะนํ า้นกรณี ศกึ ษามาอธิ ายเพื อ่ สามารถนํ ในหนวยงานได ยมีเก็ าหมดป เทคนิ ไงCommissioning หาเฉพาะหน า่งเมืเพี ่อเตอร มียไงตั นโตรเจนมากในนํ ขงาอ5.บัญมูดUSB ่อสํคปรั บปรุ ประสิ ธิภาพเตาอบ า“DATAPAQ” ใชจายในการติ เมื ่ออให เที HART สาหกรรมเคมี -อุระบุ เซนเซอร ไถาม-ตอบ มมีชอุิ้นปสกรณ วปนที ่เครื นไหว สามารถกลั บว้ ปททิ​ิ อาหารปกติ ศดทางการไหล บเฟสมอเตอร์ มีประสิท-ธิภ-โรงงานแปรรู าพ ยากรจะเป โอกาสให เู ขาอบรมสามารถสอบถามเกี หาบํ บัเตอร ดปญ ญเทหาการบํ าอบัวัดดนํ้าเอบี ขึหรั ้น บวางแผน งตาานตั วอุหาของเตาอบได ป6.กรณ ผลิ3A ต จลดลง ะใชวัโดยการสลั กดระบวนการผลิ ตงแม อ เนืย่ นอ่วกัยํงาบป-ญ-ใช - คนอกจากนี ปลายโพรบวั เคลื แบบ 4 อ่ สาย า บกั ถูกบตเอคราะห ันคลืที่อ่องมืและใช ขเสีและออกแบบตาม อยมูบทีลีท่เกิสํี่อดาอกแบบให ผูเ ดอชีตับทอง ย่ ด้งวชาญด าผ30% นเครื งมื วัตดคยแบบไม และวิ นํ้าเสียของหน ว ยงานได อ ย า งเต็ ม ที ่ ในหน ว ยงานของผู เ  ข า อบรม สมBatch ายผัวสยมื (อระหว่ าอตงอิ จากตั ญาณ 50 วได ) สค่มะดวกจนถึ ตงsanitary สาหกรรมทั standard าหรับอไการทํ ความสะอาดแบบ - อุณ มยใชีกกว างยงผลิ แ่ยกรณ ละชิ ส่SMD วบนกลไก งานไฟฟ าเพื่วไป ่อดเลีต้ยอเหมาะสํ งตั วอุปกรณ วายตั สอบถามข มูดลดผลิ ตวภัเองนั ณฑเ้นพิ่มสามารถ เติมCIP ไดที่ ทีไม่ รีแบบมี านระบบอุ process อวข ผูอค้นงกัวบคุ มตัจะเริ ตนจากถั -่เหภู งิใานด เดีสาหกรรมที ว จัตบวภักล คีสณบงา่เฑ์อุสัวคื ไข สามารถติ มารสั กีปญ การใช วามร อน งง - พลัอุแก -เปล ขึน้ อาจเร็ ขึาน้ งเข ถึงบานั75% ง -นํ-บริ ดเพิ ่มการให เติน มอและอุ ได้มบํ ษัท อนินที วแม็่ไมกตถัวูก วงจร สทัญาี่ ญาณเตื - ในกระบวนการผลิ ๊มเวลาในการดํ สามารถท� งานได้ ่าวระหว่ างท� าวการสู จะว่อ่ โดยไม ายๆงเปล่ าตรวจสอบความถู ไปใช ดCote-Shield หลากหลายแอพพลิ เ•ดคชั ตงสาหกรรมมี ษสนใจสอบถามรายละเอี ัท ไเมเชอร โทรนิ จํชาวกัยงยขจั ดจากการซ าขนาดเล็ เตินการเร็ มแสม้่อววตรวจสอบและควบคุ นผสมแต ละอย ไปเรื เพืตอ่ าอ ให ดาเนิต0201 กตกอซงหลั รุบริ เพื ม้นกระบวนการ เหมาะสํ าปัหรั บๆ และคกอาสุยๆ งลิวลเรื ดินเดิ นผูสายไฟ และการกลบแต กัศดวกรและช ต•สามารถติ อง (false จากผลิ ตภัณ่อณฑงการขุ ขุดหมายด องเหลวโดยไม่ บงปัลดเวลา, ๊ม ป่ ่จรึะเติ อกในการติ ดตัดalarms) ้งคตมากมาย น อการเชื เซนเซอร ตบภัรรลุ ทดายออกมา วิเธกิมีวดระบบบํ ัดความเสี ปริเพิมา่มาณส 1. ผูจ ดั การโรงงานและหรื ค ณวบคุ บัผลผลิ ดยนํหายกั า้ วเสีนผสมที ยต,และที กษาม 3.จ�าวิเลื างเทคนิ 4. ผูท มี่ เช คี วามสนใจเกี วกั การบํ ยได ทดี่ อสอบถามข มูลผลิ่อย่ มต ตภับอณ ฑเาพิบั่ดมนํเติา้ ตเสีมรวจวั ผลิได ตกัผให เปฑ์อสาอาคาร า2.นคุ ภาพ, -เขาสามารถวิ ฉั ยคปอื ญการใช ด downtime จ ากระยะทางไกล เซนเซอร ที่แข็คงสแรงทนทานได ับการออกแบบมาให นตอ อง Wireless HART เขากับอุปทกรณ ไปทีท่ าํ ไดงนา ิ จยก็ Pointป กรณ levelดไswitches เพือ่ ควบคุ อีมเิขลคทรอนิ ซอร ซ จํากัรุดน รTSP300-W ลดระยะเวลาความเสี ยหาของอุ หายจากการเกิ ของม บริอุ-ณษัทหภู วั น พุ ธ ที ่ 11 ตุ ล าคม 2560 8.00 9.00 น. ลงทะเบี ยน สารแบบไร สาย นปวนทีา่มดีอวยตั ยูภวายในถั งได บี น. พลังงานไฟฟ เองของเอบี ระดัผบานระบบการสื ของส ละอยมางที ่จะเติมเขาไป โดยทั่วๆ ไปแลว ผลิตความป มอบประกาศนี ยบัตวรนผสมแต หลัง่อจบการสั มนา 9.00 - 16.00 หัวขอสัมมนา -งานนี ใชพ้มื้นักทีจะติ ่ติดดตัตั้ง้งนเซนเซอร อยลง เพราะไม ตองใช องพักตัสายไฟหรื สอบถามรายละเอียยดเพิ ดเพิ่มเติ ่มเติมได มได ัท คณิ สอบถามรายละเอี ที่ ทบริี่ บริ ษัทษเอบี บี จํตาเอ็ กัดนจิ(sensors) ไวกหลลายๆ ว แตละตัอว กรุณSubmersible ากรอกชื่อ-นามสกุ ลตัวบรรจง เพื่อความถูกตอง ของประกาศนียบัตร Model 575 และ 575P Level Transยสายไฟ ยริ่ง จํากัด(Data • Center) ใชโครงข ควบคุมาปริ มาณของสวนผสมแตละอย าง (Power Distri- เนีสารสนเทศ PDU สมัครดวน ! รับจํานวนจํากัดเพียง 50 ทานเทานั้น ใบสมัคmitters ร เลขที ่สมาชิiPDU กวารสารเทคนิ bution Unit) ประกอบไปดวย MNS ยังเปนค........................................................................................ ตัวเชื่อมรวมระบบ Static Transfer บี (ABB) ดกล ตับวอใช PCS100 AVC-20 ง่ เปบนนวั ตกรรม เนือ่ ง ทัง้ ยังชยวบอั ยลดผลกระทบของแรงดั นด้ไฟฟ าทีไ่ มสมํา่ เสมอ Fluke งถนามสกุ ายภาพความร อซึนความละเอี ยI,ด ตํพร้ - ไดรเอบี ับการรั บTiX620 รองสํเปาหรั ในพื ้นลที.............................................................. ่อันตรายระดั Class 1. ชื่อ.......................................................................... าและต แหน งอ......................................................... E-mail...................................................................... อ มระบบสอบเที ต โนมั ต ิสมบู รBus ณ์แบบ วยระบบโมดู ล(LBS) ที่ อุปกรณ สําคัญที่ทําหนาที่สําหรับ ตําแหน System (STS), อุปกรณ Load Synchronization 2. ชื่อ.......................................................................... นามสกุ ล .............................................................. ง ......................................................... E-mail...................................................................... ดสูางนการปรั บสภาพไฟฟ าสํอานความละเอี หรับการปรับยแรงดั น ออกแบบมาเพื อ่ ปรัซึง่ บอาจทํ า ความเสี ย หายให อ ป ุ กรณ แ ละกระบวนการผลิ ต ใช ต ว ั รั ภาพความร ด 640 x 480 พิ ก เซล Model 675 Submersible Level Transmitters Div 1 เปลี ย่ นได้ตUninterrupted ามความต้องการทีPower แ่ ตกต่าSupply งกัน และงบประมาณ 3. ชื่อ.......................................................................... นามสกุ ล.............................................................. ง......................................................... E-mail...................................................................... จายกํ าลังไฟฟา ปองกันแรงดัน ตําแหน และระบบ System (UPS) ใช ใ นระบบอุ ต สาหกรรมและการพาณิ ช ย ข นาดใหญ ซึ ่ ง อาจมี ป จ จุ บ ั น นี ้ ม ี LCR มิ เ ตอร ข นาดปากคี บ ออกมาหลาย ไฟเกิ นนเพื อ่อรองรั การขาดสมดุ อปญหาI, ไดภาพที่ละเอี ดชัดและมี ความถู(316 กตองกว า หนาจอแสดง -่มีพสามารถเพิ ได รแรงดั ับการรัน่มไฟตก บขยายช่ รองสํแรงดั าวหรังความดั บนใช ในพื ้นหรืทีโทรสาร.......................................................... ันตรายระดั บล คืClass บริษทั ............................................................................................................................................................ ท...................................................................... -ทําให Diaphragm เปนยแบบ Standard stainless steel) โทรศั ที อ ่ บ งานในอนาคตได้ เกินชัว่ ขณะ (Surge Protection) เพื่อให“theben” ไดระบบทีPresence ่มีความสมบูdetectors, รณสูง Motion detectors คือ ที่อยู ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ่เครื ขทีา5.6 ยไฟฟ อสงผลกระทบต ตอบสนองการใช ง2885 านที จ่ ริMaster งจังใในสายการผลิ การตรวจสอบ รุสภาวะที นหลายยี ่หอFlush ่ ใหคเพื งานใน Metrel MI6270A ่องวิ ทีน่ออ่ เดี าจเกิ และทํ าให มอเตอร นอุปQ4 กรณเป หรืนอตเครื งจัเกคราะห รขาด ผลขนาดใหญ นิวามสะดวกในการใช ้วา่อขาดความเสถี ใหอเการทํ ห็นจุดาทียความสะอาด ่มร ีปหรื ญงานแก หาได อผยูทาํางชั ดเจนอ เช่เพื Div 1ดบขึ้นFluke หรือแบบ งทําายต ยวกั ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ระบบสายดิ น ของ Computerประโยชน ท ผ ่ ี ใ  ู ช จ ะได ร บ ั จาก MNS iPDU เซนเซอร ต รวจจั บ สถานะและความเคลื ่ อ นไหว เป น เซนเซอร ............................................................................................................................... .690 .............................................................................................................................. ........................................................................ ต เทคโนโลยี งsmd กลาวจะทํ าใหอกมนา้ ี คัประสิ ดเลื อFluke ภาพวั ตถุาดเป ิบนกแบบ อาซึนเข าHeavy แคี่กทีตนมุ ่ ที่ โรงงานประกอบอิ เล็กทรอนิ ทตี่ อ งวัขดองระบบดั กรณ งงานและคุ ณภาพไฟฟ จอสี รสายพานการผลิ ุนงอผลต ใหม จduty Metrel ่เอนยแม นบทราคา ทกคุ ธิภณ าพในการทํ งาน ง่ จะส อบาก การใช ท่อตรัใช พหรื ยากรไม พรมีอชมระบบเพิ ความคมชั ดกสranges) EverSharp ที่รงวมภาพความร -พลั Cage assembly เพื วทีางไว -ความสามารถในการผลิ ว งการวัด่ม(Measuring สูอุงปจนถึ ฟุขนาดเล็ ตของนํ 2271A เหมาะกั บ ห้ งปฏิ ั ต ิ ก ารสอบเที Levelì Grounding -กออกแบบมาเพื อุปกรณคุณภาพสู ของเอบีบี ดพลังงานจากการใชงาน ทราบการสัมมนาจาก ì วารสาร เว็บไซต ìและระบบ อีเมล ì อื่นๆ.................................................................................................................................................... ่อชวงยในการประหยั ยกระแสไฟฟ อย อเนืและสามารถวั อ่ว งทีนแม นสภาพแวดล ร่ บะบบ การซ อในแง มแซมภาคสนามที ่ตด้่เวัอปยวสงการวั ดwell) คางอุโดยเน ปกรณ องอาจนํ ยู่อ่งใานบั นบอร บยได ่า3% เìงต ล็ Flush กใบปลิ า ขณะคี ่ยบคทัอรสัอง้ มเยากว ายหรัMI2892 นยตั รุนและพลั Top นทึดก คอทีถูางการสอบเที ดุ(Wet งาน ทันง้ ทไปที ยัี่เนื าไปสู ในหลายๆ ระยะโฟกั สทีผนวกรวมเป ่งเดีอยงกั วดนคให เป ยกสํการใช บพเก็นักบงาน นํ้านทีเสี -การจ มี าDiaphragm ่มหนึ ีกใารป เลืออมที กพร อไปอมงทางการสมั หมายเหตุ : คาเพราะปลายปากคี สัมมนาสามารถหั กภาษี ณ ที่จาาแบบ ต้ บความดั ว่อเองโดยไม่ าก งจากมี ช ม มนา ตรวจการณ พรอมทั้งบริหารการ -ป02กรณ ระบบมอนิ เตอร อ•ัจหรืฉริ ยสํะที ่เชืงานส ถืmember@me.co.th อวไดนทีม่ กั ยจะมี อุ ต า  งๆ ในบ า น อ า นั ก ก ารลื ม ป ด • ทาง FAX : 862 1395 ทาง E-mail : กรณีไมมีหนังสืพร อสาธารณู รับอรองการหั ก ภาษี ณ ที จ ่ า  ยต อ งชํ า ระค า สั ม มนาเต็ ม จํ า นวน ขอฯจําขอสงวนสิ กัเหมาะสํ ดหรือทขาดเสถี ยอบรมทั รภาพ ดัความจํ งมีโครงสร คผวามสามารถต อง่ พาระบบสํ ไปนี ้ าเพื มกั นปโภคมี ดิ าปกติ ข:พwww.facebook.com/meBOOKSHOP องระบบไฟฟ นความทนทาน หาสาเหตุ ของป เปรนณ์าในการพึ ง่ วมีจ่ราาคาค อนขญนาหา งสูเงสามารถ อยอ่ หรื างงอ Fluke TiX620 าธิสํหรั บงานที -เหตุ งเป นมในตั 316 SST เพือ่ ยาค่อรองซึ Hastelloy หรั กต่ ับอ นํ้งงการถ ้าาเสีนวนย ายภาพความ • ทาง Inbox Facebook ความสมบู ร้ อ ว เอง เพี งต่ อ ตั ยความดั ให้ ครื กรณีไมสามารถเข าอบรมได บริCษัทdiaphragm ไามใช คืนไคบฟฟ าใช จํ าอยางมีประสิทธิภาพการชําระเงินมองข - ระบบบั สเลิบาร จางยไฟฟ Smissline าานง านอาทีเดีเช นานแบบ มงการบั ออุงเรี หPCS100 งนํา้ งฯลฯ แรงดั งผลเสี ยตคอวามสามารถด ความสามารถใน งFlush ยด วดํ้าหปกติ ชดี3.5” คั,ซึตห่องให งเตอร์ านครบทุ มินเไฟฟ ตอรแายกระเพื บบปากคี วนใหญ จะมี อย ก็-เช ตัาร้​้งนยใช trigger เพื จัยมื บทีความผิ ทอร ี่ตยอตบทรานส์ ทึยติ กนน, ได มอากถึ เครื ่อมเมื งกํบริาอ่ ษยเนิ ดเอ็ก่อวใช ไฟฟ ่ใี จํชยาขนาด มัอมีนงประชุ เซล กรณ รอนที วามละเอี ดสูงทดานละ นงๆบสและนํ diaphragm เพื ปปอนใช งกั การจั บพอกก7 ใชาไสั่มLCR ดมีคกมนา บั ของเหลวชนิ ตเช่อามอาจส า้ กากตะกอนข น (Sludge พ อ มสอบเที บทั น สามารถสอบเที ม อัต-ราค VAT 7% สุ ท ธิ ì เช็ ค สั ง ่ จ ในนาม ท ั ม แอนด อ กั ด ดวยประสบการณและความ - สามารถติ ดตั้งdetectors หมอแปลง Isolation ได ต รวจจัคบวาม Motion เป น เซนเซอร การผลิ ต่อและความสมํ า่ อเสมอของการทํ ง่ นํกาไปสู ผ ลิตภั่เณล็กฑโอนเงิดัAVC-20 นนรูเข าแบบพร บังญ ชีชอั่นอมทรั แอนด อวชาญ ี จํนวากัไฟฟ ด พร้าอใหมระบบป้ กโนมั เครื271.งานไฟฟ งก.ย.LCR ถือ หรื อตัา้งงาน โต ะ ซึเพราะขนาดที ปฟของของเสี อตมกั นย ในนาม ขSensor มูเป็ลบริทีนต้่บษอันทงใช้ ทึเอ็กมาได ในหน ยความจํ จะช บจอา�สภาพการจ ยแรงดั คาขนาดใหญ งที่ ทํความ ามิทีเ่ตตอร งสัมงือเกตอุ ปกรณ ขนาดเล็ ที่ระยะไกลๆ ยวพยปรั บน ชํ า ระเงิ นกว ก อานslurries) 2560 ได้ อ ต ั ิ โดยไม่ ผ เ ้ ู ชี ย ่ อาาให ง เชี่ ย217 วชาญจากการประกอบตู  เคลื คุณสมบั ติโครงสร านงภายนอกที คัชีญ158-0-82377-9 ì ธนาคารกรุ งเทพ สาขาถนนตากสิ เลขที่ส่บําัญ(PIR) อ ่ นไหวด ว ยระบบ Passive Infrared โดยจะทํ งาน 3,317 3,100 สมาชิ ก กแบบแช ารที ่ ด  อ ยคุ ณ ภาพ และอาจส ง ผลให ส  ว นประกอบของ เลื อ กโหมดทํ า งานได ท ง ้ ั แมนนวลและอั ต โนมั ต ส ิ มบู ร ณ กว มากทํ า ให ว งจรเครื ่ อ งวั ด ภายในถู ก จํ า กั ด ความสามารถ พร อ มรู ป คลื น ่ ที ผ ่ ด ิ ปกติ เช น ไฟตก ไฟเกิ น ต า งๆ (sag & swell) ผู ผ  ลิ ต สามารถควบคุ ม กระบวนการผลิ ต และใช ท รั พ ยากรให เ กิ จ ั ย ที ่ ต  อ งการความสามารถในการแยกแยะราย มี ช ว  งการวั ด สู ง จนถึ ง 690 ฟุ ต ของนํ า ้ -หรืาอมีกับริ ทนงั้ บุ2.งานวิ ใ นของเหลว (Submersible) หรื อ ติ ด ตั ง ้ ภายนอก ì ธนาคารกสิ ิกรไทย้อน Contamination สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่บัญSystem ชี 765-2-59700-3 การปนเปื Prevention (CPS)พดบ 3,638 3,400 สวิต238 คคลทั่วไป ซเกียรแรงตํ ่าในซีรี่ส MNS ตูย่ม ีคMNS iPDU สามารถออกแบบได ห055-2-30081-7 ลากหลายขนาด ทุ ก ครั ้ ง ที วามเคลื ่ อ นไหว และหลั ง จากเซนเซอร ต รวจไม ì ธนาคารไทยพาณิ ช สาขาถนนตากสิ น เลขที บ ่ ญ ั ชี เครื รเกิ ด2560 ความเสี ยเครื หาย เกิ ความขัยดวบความดั ขอผูงบ อโอนเงิ -ประสิ ความแม ยํงและผู สูสุใช งดงR: L:นผา0.2%, จาก บงาบปรุ ญโอนเงิ ในรุ นนธนาคาร ใหม นผูC: ี้คื(Sludge อ0.2% วย นดวย) ชนิ ด นวัปกป้ ทการปรั ธิวภเครื าพสู ยและเพิ ่มการแสดงผลด ผลตอบแทนจาก ละเอี ยนี27 ด้ กLCR และการวิ ของความร นาาให เหมาะสํ าน่อหรั กทีเพื ั้บใ่สช้0.1%, นํ่อํา(กรณี ้าคัลดของเสี กากตะกอนข slurries) เหมาะสํ าPro1 หรับเคราะห งานที ่ใLCR ชก่ อารกระจายตั ถังดResearch ผสมสารเคมี ,ผลิถัอตงยๆเก็นLCR บอทํส�สารเคมี ชํ า ระเงิ นแต หลับง่อัดงจั ก.ย. Fluke 2271A งสอบเที หรั บายุ องตั งหน าน นที่.ความเคลื .................................................  โอนเปนCenter ผูรับผิดชอบคาธรรมเนี ยตัมการโอนเงิ บีจึงไดพัฒ3,638 นา MNS iPDU เพื ่ อ ตอบสนองต อ การใช ง านใน Data ซึ ่ ง ว ตู  มี 3,400 เอบี238 อ ่ นไหวจะเริ ม ่ ว งเวลาป ด ตามที ต ่ ง ้ ั ค า ไว สมาชิก ลงชื่อ................................................................................................................................................. การใช ง3.งานตรวจสอบวงจรอิ PCS100 ซึาง่ เครื มีคว่วามสามารถ -การลงทุ ทดสอบได ความถี จอสี กอ5ารอ า้ ในค าานแบบกราฟิ ต่ ในเวลาเดี า100Hz, งๆ งายขึย120Hz, ้นและเมนู ตรวจลํ า10kHz, ดับาเฟส บบุสถานี ชัคลทั ้ น นํส่วาบู ไปได ั ฒกรณ นาขึ ้ น เพืเล็่ อกให เตทีะกอนลอยตั ยกบเท อดงรุ  น ใหญ น่ทดําให างมาก นการทํ งาน วกั นเชอุนป1kHz, กรณ PCS100 สเฉพาะงาน เปส่นทีวอย เหลว, นํา้ อุพ,ปกระบวนการทํ าทรอนิ ใหAVC-20 วยอากาศ 259 3,700 3,959 อุปากคี ตสาหกรรม นติ ด ต่ กั บ ผู ช้ ง ก ท ม ่ ี โ ี ครงสร้ ง คานลดลง ซึง่ เปนตูจ า ยไฟทีม่ ขี นาดกะทัดรัด โครงสร างทีกรุ่เณปาแนบใบหั นคุdetectors ณสมบั ติหณลัเป กที่จนาเชยเซนเซอร นมาพรอมกับตครวจจั Presence บระหยั ก่นภาษี าลงทะเบี ยสถานะด น บปรุวงย บกัแรงดั นสาหกรรมขนาดใหญ ไฟฟ าได ยair าเปงรวดเร็ วงชนิ และแม นตยํสาหกรรม าบาจะช วนํงแรก ยเพิ ม่ บ่ เข้AVC-20 100kHz ฮาร ม อนิ ก ส และรู ป คลื ผิ ด ปกติ แ บบต า งๆ รวมทั ง ้ การปรั ทะลุ ขFluke ดี 4.งานอุ จําบริ ดษของขนาดเครื อ ่ ง น เครื อ ่ ด ปากคี เครื อ ่ ทํ า ให ส ามารถใช พ ลั ง ไฟฟ า ซึ ง ่ จะส ง ผลให ป ดคา ท ่ ี ต  อ งการเปรี ย บเที ย เหมาะสํ า หรั บ งานที ่ ใ ช ใน สถานี ส ู บ นํ ้ า เสี ย ขึ้ น จาก ทีในการปรั ่ละลายในนํ ้า ัทต(Dissolved floatation), การบํ บั ด า ้ เสี ย ในนาม บริ ษ ท ั เอ็ ม แอนด อ ี จํ า กั ด (เลขประจํ า ตั ว ผู เ  สี ย ภาษี 0105527008994) 2271A เครื อ ่ งสอบเที ย บความดั น อุ ที า ใจง่ า ย รวมทั ง ้ ตั ว เครื อ ่ งระบบโมดู ล ช่ ว ยให้ เ รี ย นรู ก ้ ารใช้ เอ็มแอนด อี จํกาบั กัโหลดที ด (สํม่านั กงานใหญ ) - ประตู 2 ชัInfrared ้น แบบตาข ายหรื อกระจก เพื่อดทีความเข ่จะไดเงห็มาน นแสง การ ได ร บ ั การออกแบบเพื อ ่ จ า ยไฟให ค ี วามสํ า คั ญ (Senระบบ Passive (PIR) โดยมี ก ารตรวจวั ทําใหบ เครื อ่ วามดั งจัชัก้นรทํ าได้งานได องธนบุ ยาางราบรื น่ ได้-ใช แรงดั นทดสอบ 3กรุใหระดั บงายขึ 0.2Vrms, 1.0Vrms นของเมนู ใจากโรงผลิ ชstations) ้น ตเช(BTS น 0.5Vrms, ปุาสถานี ม Quick Sets และ ของโลกที ่มนแต ีความละเอี 5 คdigit และ accuracy ายในการผลิ ไฟฟ อุวณยวิหภูธีทมางเคมี ิใ77/111 ลบเกจและเซนเซอร์ ะกระบวนการ บสนรอวจไทร รวบรวมนํ ้าตเสีาตงๆ ยไฟฟ (Lift ดความสามารถในการผลิ อาคารสิยนตดระดั สาธรทาวเวอร 26 ถนนกรุ รี 0.1% แขวงคลองต เขตคลองสาน งาเทพฯ 10600 กรุงธนบุ รี ทางออก 1) สามารถสอบเที ย น อ ย่ า งกว้ งขวาง วดเร็ ว ทํ: าwww.me.co.th ปกรณ ภายใน sitive Loads) น ห862 องคอมพิ วเตอรโทรสาร และศูน02 ยขอ 862 มูลเทคโนโลยี ควบคู ไ งานของอุ ปกับความเคลื อ่ นไหวด วย ซึง่ ถามีการเคลือ่ นไหวแตแสง 02 1396-9 1395 Homepage E-mail : member@me.co.th โทรศัพท เช

“DATAPAQ” MemoryPaq XL2 Oven Tracker Denison Hydraulic Vane Pump Solar Charger และ Inverter ABB Filters Multipoint IIQuality จากวSolar “Ragazzini” Peristaltic Pump ปั๊มสูบบจ่สําายของเหลวที ่มีความหนืดสูง LCRPower Elite1 มิเตอร ัดDrexelbrook คาHose LCR แบบปากคี หรับงาน SMD

AMETEX อุปกรณสําหรับอุตสาหกรรมเกี่ยวกับระบบนํ้า และนํ้าเสีย

FlukePro1 TiX620 กลขอนาดปากคี งถายภาพความร อนความละเอี LCR มิเตอร บจาก LCR Researchยดสูง

MNS2271A iPDU (Intelligent Power Distribution Unit) Fluke และ Fluke 6270A “PCS100 นไฟฟาจากเอบีบี เครื ่องสอบเทีAVC-20” ยบความดัอุนปส�กรณ าหรัปบรัอุบตแรงดั สาหกรรม

“theben” detectors Metrel MI Presence 2885 เครื่อdetectors, งวิเคราะหคMotion ุณภาพไฟฟ า 4 แชนเนล

132 136 128 150 128 144 140

www.me.co.th 397, 2560 393, ธัตุมนลภาพั วาคม 2559 www.me.co.th www.me.co.th www.me.co.th 395, กุเมษายน 391,กรกฎาคม าคมนธ2559 398, พฤษภาคม 2560 www.me.co.th 400, 2560 คาอบรมถือเปนคาใชจายทางภาษีได 200% www.me.co.th 389, สิ ง หาคม 2559 390, กั น ยายน 2559 การจองจะมีผลเมื่อไดรับชําระเงินจากทานกอนวันสัมมนา แฟกซหลักฐานการโอนเงินมาพรอมกับใบสมัครนี้ที่หมายเลข 02 862www.me.co.th 1395



(สําหรับเจาหนาที่) หมดอายุฉบับที่.......................................... สมาชิกเลขที่..............................................

ใบสมัคร/ตออายุสมาชิก เทคนิค

สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก (หมายเลขเดิม........................................................) สมัคร/ตออายุในนาม

สวนตัว

วารสารเทคนิค

นิติบุคคล

* กรณีตออายุ กรุณากรอกขอมูลใหม เพื่อเก็บประวัติที่จะเปนประโยชนตอสมาชิกในอนาคต * ชือ่ -สกุล................................................................................................. ตําแหนง........................................................................ เพศ..................... อายุ.................ป ระดับการศึกษา.................................................................. สาขา........................................................... ประเภทธุรกิจ...................................................................... โทรศัพท.................................................................. โทรสาร..................................... มือถือ................................. อีเมล....................................................................... ที ่บาน บริษทั ................................................................................ อาคาร/หมูบ า น....................................................................... สถานทีจ่ ดั สงหนังสือ ทีอ่ ยู เลขที.่ ................................ หมูที่............................ ตรอก/ซอย.............................................................. ถนน............................................................................. ตําบล/แขวง...................................................... อําเภอ/เขต.............................................. จังหวัด................................................ รหัสไปรษณีย. ............................ จัดสงที่เดียวกับที่สงวารสาร จัดสงตามที่อยูดานลาง จัดสงใบเสร็จรับเงินที่ ตัวแทน / ผูร บั ใบเสร็จ (ชื่อ-นามสกุล)................................................................................................................................................................................................. ทีอ่ ยูอ อกใบเสร็จ (บริษทั )........................................................................................................................ ทีอ่ ยู. ..................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................

ขาพเจาขอสมัคร/ตออายุสมาชิกวารสารเทคนิค

ประเภทหนังสือ

วารสารเทคนิค (รายเดือน) กระดาษปรูฟ (เลมละ 50 บาท)

12 ฉบับ 24 ฉบับ 5 x 12 ฉบับ 5 x 24 ฉบับ

สิทธิสมาชิกวารสารเทคนิค

กระดาษปอนด (เลมละ 75 บาท)

500 บาท 950 บาท 1,800 บาท 3,300 บาท

750 บาท 1,450 บาท 2,700 บาท 4,950 บาท

• ซื้อหนังสือราคาสมาชิก และไดรับ สวนลด 20% *เมื่อซื้อหนังสือ สํานักพิมพเอ็มแอนดอี ที่ศูนยหนังสือวิศวกรรม M&E • ฟรีคาจัดสงหนังสือ • ไดรับสวนลดในการสมัคร สัมมนา 300 บาท/ครั้ง

เริ่มตั้งแต ฉบับที่................................ ถึง............................... พรอมกันนี้ ไดชําระเงินคาสมาชิกจํานวน.....................................................บาท การชําระเงิน โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนามบริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด เงินสด กรณีชําระที่ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด เทานั้น ธนาณัติ (คต. สินสาธร) เทานั้น สั่งจายในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่ 158-0-82377-9 ธนาคารกสิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่ 765-2-59700-3 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาตากสิน เลขที่ 055-2-30081-7 ธนาคารยูโอบี สาขาถนนกรุงธนบุรี เลขที่ 940-103-096-0 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาสะพานพระเจาตากสิน เลขที่ 153-1-25818-2 โอนเงินวันที่............................................................ ** (กรณีโอนเงินผานธนาคาร

z j | ­ © Ó ¡sñ ¢Ô ì p q © Ó }s

ì Ô j q } Óp © Ó p Ó z mÓ m s j ¥ Û j k p ì©}Ô j j¥ Ô ì ì jì|ì ­qÓ ì¦ © Ó ¢ mÓ ¥ ­ ì ì z ¥ ñ Ó Óp¥ j j m ~Ó ¡ s jì Ô j ì ì s² ¥p ¦ Ô ì Ô © Ó©}Ô ¨ ¥ ¬q ¥p ¨ ì ì ì ì j ¡| ~ }~Ó j }Ô

ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) **

การโอนเงินกรุณาสงไปรษณีย อีเมล หรือแฟกซ ใบนําฝากเงินเขาบัญชี (Pay in) มาพรอมกับใบสมัครสมาชิกวารสาร และโทรแจงใหทราบดวย หมายเหตุ : ขออภัยไมมบี ริการพนักงานเก็บเงิน

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

144

เลขที่ 77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 E-mail :member@me.co.th www.me.co.th (BTS กรุงธนบุรี ทางออก 1)

สิงหาคม 


ใบสั่งซื้อหนังสือ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ชื่อ-นามสกุล....................................................................................................................... ที่อยู........................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ โทรศัพท..................................................... โทรสาร................................................ E-mail................................................................................................

รหัส

หมวด วิศวกรรมเครื่องกล

10101 10102 10103 10104 10105 10106 10107 10108 10109 10110 10111 10112 10113 10114

เครื่องกล ชุดที่ 1 (เครื่องมือวัดและควบคุม, การลําเลียง,วัสดุและอุปกรณ, เครื่องกลทั่วไป) เครื่องกล ชุดที่ 2 (เครื่องมือวัดและควบคุม, การลําเลียง,เครื่องมือชาง, เครื่องกลทั่วไป) เครื่องกล ชุดที่ 3 (เครื่องมือวัดและควบคุม, รถยนต, ระบบปรับอากาศ, ไฮดรอลิก, ทอ, วาลว) เครื่องกล ชุดที่ 4 (ระบบไอนํ้า, ทําความเย็น-ปรับอากาศ, ปม-เครื่องอัดอากาศ, ทอ, วาลว, กลไก) เครื่องกล ชุดที่ 5 (ระบบไอนํา้ , ระบบทําความเย็น, ปมและเครื่องอัดอากาศ, ทอ-วาลว, เครื่องกลทั่วไป) เครื่ อ งกล ชุดที่ 6 (ระบบไอนํา้ , ความรอน, ทําความเย็น, ปรับอากาศ, เครื่องอัดอากาศ, ทอ, วาลว, ปม , ซีล) เครื่องกล ชุดที่ 7 (เทคโนโลยีน�ารู, โลหะ, ความรูเชิงชาง, วิศวกรรมเคมีและปโตรเคมี) เครื่องกล ชุดที่ 8 (เครื่องกลทั่วไป, เครื่องมือวัดและควบคุม, ระบบขนถายวัสดุ, บริหารการผลิต) เครื่องกล ชุดที่ 9 (ระบบทอ, ระบายอากาศ, ทําความรอน) เครื่องกล ชุดที่ 10 (วัดการไหล, ไฮดรอลิก) เครื่องกล ชุดที่ 11 (ปม, ตลับลูกปน, เสียงรบกวน) เครื่องกล ชุดที่ 12 (รถยนต, เครื่องยนต, การหลอลื่น) คูมือวิศวกรเครื่องกล คูมือถังรับแรงดัน Pressure Vessel Handbook

10201 10202 10203 10204 10301 10302 10303 10304 10305 10306 10307

รหัส

รหัส

รหัส

เปนสมาชิกวารสาร

หมายเลขสมาชิก ........................................ ไมไดเปนสมาชิกวารสาร

สมาชิก จํานวน เปนเงิน ราคา ลด15% เลม 220 180 220 185 220 220 230 240 190 195 155 155 600 600

187 153 187 157 187 187 196 204 162 166 132 132 510 510

ระบบปรับอากาศ ชุดที่ 1 ( การทําความเย็น, เครื่องปรับอากาศ, ระบบสงลม, การระบายอากาศ, คูลลิง่ ทาวเวอร) ระบบปรับอากาศ ชุดที่ 2 (พื้นฐานการปรับอากาศ, คูลลิ่งทาวเวอร, การประหยัดพลังงาน,) ระบบปรับอากาศ-ทําความเย็น ชุดที่ 3 (ทําความเย็น, ปรับอากาศ, ระบายอากาศ) ระบบปรับอากาศ-ทําความเย็น ชุดที่ 4 (ทําความเย็น, คูลลิ่งทาวเวอร, บํารุงรักษา)

125 165 260 280

106 140 221 238

ระบบทอ วาลว ปม (ชุดที่ 1) ระบบทอ วาลว ปม (ชุดที่ 2) ระบบทอ วาลว ปม (ชุดที่ 3) ระบบทอ วาลว ปม (ชุดที่ 4) คูมือทออุตสาหกรรม วิศวกรรมระบบทออุตสาหกรรม คูมือการเลือกใชวาลว

102 187 272 286 280 357 350

96 176 231 243 238 336 298

500 480 295 260

425 408 251 221

หมวด ปรับอากาศ-ทําความเย็น

หมวด ทอ - วาลว - ปม

(หนังสือมีตําหนิ ลดจากราคาปก 120 บาท) (หนังสือมีตําหนิ ลดจากราคาปก 220 บาท)

(หนังสือมีตาํ หนิ ลดจากราคาปก 420 บาท)

หมวด ความรอน - ฉนวน

10401 ระบบควบคุมสําหรับ การทําความรอน การระบายอากาศ และการปรับอากาศ 10402 อุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน สําหรับอุตสาหกรรม 10403 ระบบความรอน และไอนํ้า ชุดที่ 1 10404 คูมือฉนวนความรอน ยานยนต - เครื่องยนต

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 E-mail :member@me.co.th www.me.co.th (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก1) กรณีที่ไมระบุชอผู ื่ รับหนังสือ ทางบริษัทจะไมรับผิดชอบถาการจัดสงหนังสือไมถึงมือทาน การขายหนังสือ ไดรับการยกเวนภาษีหัก ณ ที่จาย และไมมีภาษีมูลคาเพิ่ม 7 %  เมื่อทานสงเอกสารการสั่งซื้อ / พรอมการชําระเงินแลว ถาไมไดรับใบเสร็จรับเงิน และหนังสือภายใน 7 วัน กรุณาติดตอกลับดวย  

สําหรับบุคคลทั่วไป เสียคาจัดสง 50 บาท

เทคนิค

รวมเปนเงิน

การชําระเงิน โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนามบริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

เงินสด กรณีชําระที่ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด เทานั้น ธนาณัติ (คต. สินสาธร) เทานั้น สั่งจายในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่ 158-0-82377-9 ธนาคารกสิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่ 765-2-59700-3 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาตากสิน เลขที่ 055-2-30081-7 ธนาคารยูโอบี สาขาถนนกรุงธนบุรี เลขที่ 940-103-096-0 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาสะพานพระเจาตากสิน เลขที่ 153-1-25818-2

โอนเงินวันที่........................................ (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) การโอนเงินกรุณาสงไปรษณีย อีเมล หรือแฟกซ ใบนําฝากเงินเขาบัญชี (Pay in) มาพรอมกับใบสัง่ ซือ้ หนังสือ และโทรแจงใหทราบดวย หมายเหตุ : ขออภัยไมมบี ริการพนักงานเก็บเงิน

145

สิงหาคม 


ใบสั่งซื้อหนังสือ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ชื่อ-นามสกุล....................................................................................................................... ที่อยู........................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................... โทรศัพท....................................................... โทรสาร................................................ E-mail................................................................................................

รหัส

เปนสมาชิกวารสาร

หมายเลขสมาชิก ........................................ ไมไดเปนสมาชิกวารสาร

สมาชิก จํานวน เปนเงิน ราคา ลด15% เลม

หมวด ยานยนต - เครื่องยนต

10702 เทคนิคยานยนต 10703 เคาะพนสีรถยนต

350 290

298 247

175 205 240 245

149 174 204 208

11101 การประหยัดพลังงาน ชุดที่ 1 (HVAC, เตาเผา-อบ, ไอนํ้า-ความรอน, ระบบไฟฟา) 11102 การประหยัดพลังงาน ชุดที่ 2 (HVAC, ระบบลมอัด, ไอนํ้า-ความรอน, ระบบไฟฟา)

รหัส

หมวด จัดการทางวิศวกรรม

240 255

204 217

11201 11202 11203 11204 11205

รหัส

การจัดการงานวิศวกรรม ชุดที่ 1 (จิตวิทยาการบริหาร, บัญชีและการเงินวิศวกรรม, การบริหารงานบุคคล) การจัดการงานวิศวกรรม ชุดที่ 2 (การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต, การบริหารการผลิต, การบํารุงรักษา) การควบคุมคุณภาพ สําหรับนักบริหาร และกรณีศึกษา สูความเปนเลิศในการผลิต และธุรกิจ กลยุทธ เทคนิค และเทคโนโลยี การบริหารในแบบของ ตัวเอง

หมวด บํารุงรักษา

165 170 320 680 70

140 145 272 578 60

11301 11302 11303 11304 11305

เทคนิคการบํารุงรักษา ชุดที่ 1 การจัดการบํารุงรักษาสําหรับงานอุตสาหกรรม ระบบบํารุงรักษาเครื่องจักรเชิงปฏิบัติ เทคนิคการวัดและวิเคราะหการสั่นสะเทือนเพื่องานบํารุงรักษา การบํารุงรักษาเนนความเชื่อถือได (Reliability Centered Maintenance) NEW

300 280 300 370 250

255 238 255 315 213

12001 12002 12003 12004 12005 12006 12007 12008 12009 12010

ไฟฟา ชุดที่ 1 (มาตรฐานสากล, การปองกันอุบัติเหตุทางไฟฟา, ระบบกราวนด, หมอแปลงไฟฟา) ไฟฟา ชุดที่ 2 (ระบบปองกันอุบัติเหตุทางไฟฟา, แหลงกําเนิดไฟฟา, หมอแปลงไฟฟา,มอเตอร) ไฟฟา ชุดที่ 3 (ไฟสองสวาง, มอเตอร, หมอแปลง, ไฟฟากําลัง, การวัดและควบคุม) ไฟฟา ชุดที่ 4 (เครื่องกําเนิดไฟฟา, ระบบไฟสองสวาง, อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร, ไฟฟาทัว่ ไป) ไฟฟา ชุดที่ 5 (การวัด, การควบคุม, การผลิต) ไฟฟา ชุดที่ 6 (มอเตอร, เครื่องกําเนิดไฟฟา, หมอแปลง) ไฟฟา ชุดที่ 7 (ไฟฟาทั่วไป, ตอลงดิน, ฮารมอนิก) มอเตอร และระบบขับเคลื่อน ชุดที่ 1 ระบบผลิต และจัดการไฟฟา ชุดที่ 1 การติดตั้งและปองกันระบบไฟฟา ชุดที่ 1

120 140 240 180 160 165 195 310 305 265

102 119 204 153 136 140 166 264 259 225

รหัส

หมวด ขนถาย - ขนสง - ขนยาย

11001 11002 11003 11004

ขนถายวัสดุ ชุดที่ 1 (อุปกรณขนถาย, เครน, โซลําเลียง, กระพอ, การกําจัดฝุน) ขนถายวัสดุ ชุดที่ 2 (ขนถายวัสดุดวยลม, สายพานลําเลียง, ขนถายวัสดุทั่วไป) ขนถายวัสดุ ชุดที่ 3 (สายพานลําเลียง, โซลําเลียง, เครน, ขนถายวัสดุดวยลม) ขนถายวัสดุ ชุดที่ 4 (สายพานลําเลียง, โซลําเลียง, กระพอลําเลียง, อุปกรณขนถายวัสดุ)

รหัส

หมวด ประหยัดพลังงาน - จัดการพลังงาน

รหัส หมวด วิศวกรรมไฟฟา

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 E-mail :member@me.co.th www.me.co.th (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก1) กรณีที่ไมระบุชอผู ื่ รับหนังสือ ทางบริษัทจะไมรับผิดชอบถาการจัดสงหนังสือไมถึงมือทาน การขายหนังสือ ไดรับการยกเวนภาษีหัก ณ ที่จาย และไมมีภาษีมูลคาเพิ่ม 7 %  เมื่อทานสงเอกสารการสั่งซื้อ / พรอมการชําระเงินแลว ถาไมไดรับใบเสร็จรับเงิน และหนังสือภายใน 7 วัน กรุณาติดตอกลับดวย  

สําหรับบุคคลทั่วไป เสียคาจัดสง 50 บาท

146

สิงหาคม 

เทคนิค

รวมเปนเงิน การชําระเงิน โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนามบริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

เงินสด กรณีชําระที่ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด เทานั้น ธนาณัติ (คต. สินสาธร) เทานั้น สั่งจายในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่ 158-0-82377-9 ธนาคารกสิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่ 765-2-59700-3 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาตากสิน เลขที่ 055-2-30081-7 ธนาคารยูโอบี สาขาถนนกรุงธนบุรี เลขที่ 940-103-096-0 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาสะพานพระเจาตากสิน เลขที่ 153-1-25818-2

โอนเงินวันที่........................................ (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) การโอนเงินกรุณาสงไปรษณีย อีเมล หรือแฟกซ ใบนําฝากเงินเขาบัญชี (Pay in) มาพรอมกับใบสัง่ ซือ้ หนังสือ และโทรแจงใหทราบดวย หมายเหตุ : ขออภัยไมมบี ริการพนักงานเก็บเงิน www.me.co.th


ใบสั่งซื้อหนังสือ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ชื่อ-นามสกุล....................................................................................................................... ที่อยู......................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................. โทรศัพท...................................................... โทรสาร................................................ E-mail................................................................................................

รหัส

หมวดวิศวกรรมไฟฟา

12011 12013 12014 12015 12016 12017 12018

การติดตั้งและปองกันระบบไฟฟา ชุดที่ 2 พื้นฐานวิศวกรรมการสองสวาง เลม 1 คูมือการลดคาไฟฟา คูมือระบบไฟฟา และการประหยัดพลังงานสําหรับประชาชน การสงกําลัง และการประหยัดพลังงานของมอเตอรไฟฟากระแสสลับ การออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟา คูมือวิศวกรไฟฟา NEW

เปนสมาชิกวารสาร

หมายเลขสมาชิก ........................................ ไมไดเปนสมาชิกวารสาร

สมาชิก จํานวน เปนเงิน ราคา ลด15% เลม 300 320 270 160 200 470 160

255 272 230 136 170 400 136

12101 คําสั่งและการใชงานโปรแกรมออกแบบลายวงจร EAGLE

150

128

12201 คุณภาพไฟฟา ชุดที่ 1 (ไฟตก-เพิ่ม, ฮารมอนิก, UPS, PF, ตอลงดิน) 12202 คุณภาพไฟฟา ชุดที่ 2 (ไฟตก-เพิ่ม, ฮารมอนิก, UPS, PF, ตอลงดิน) 12203 ระบบกําลังไฟฟาตอเนื่อง (ยูพีเอส) และเครื่องควบคุมคุณภาพไฟฟา

รหัส

หมวด อุปกรณวัด - ควบคุม

215 235 250

183 200 213

12301 12302 12303 12304

ไมโครคอนโทรลเลอร เลม 1 การวัดและการควบคุม ชุดที่ 1 การวัดและการควบคุม ชุดที่ 2 การวัดและการควบคุม ชุดที่ 3

270 350 320 335

230 298 272 285

13001 13002 13003 13005

งานโลหะ การออกแบบงานหลอ ปะเก็นแกสเก็ต คูมือการเชื่อม มิก-แม็ก (GMAW-Welding)

310 130 81 240

264 111 76 204

280 350 204 230

238 298 192 196

250 60 320

213 51 272

รหัส รหัส

รหัส

หมวดสื่อสาร-อิเล็กทรอนิกส

หมวด คุณภาพไฟฟา

หมวด วัสดุ - โลหะการ

รหัส

หมวด สิ่งแวดลอม - สุขาภิบาล

13101 13103 13104 13105

การจัดการสิ่งแวดลอมดานอุตสาหกรรม เทคโนโลยีระบบทอสุขภัณฑ เครื่องสุขภัณฑ การผลิตนํ้าสําหรับอุตสาหกรรม

รหัส

หมวด วิศวกรรมทั่วไป

13401 ความรูเบื้องตน วิศวกรรมงานระบบ 13402 Engineering Quick Reference 13404 การคํานวณเชิงเลข (Numerical Computation)

(หนังสือมีตําหนิ ลดจากราคาปก 95 บาท)

(หนังสือมีตําหนิ ลดจากราคาปก 240 บาท)

เทคนิค

รวมเปนเงิน

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 E-mail :member@me.co.th www.me.co.th (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก1) กรณีที่ไมระบุชอผู ื่ รับหนังสือ ทางบริษัทจะไมรับผิดชอบถาการจัดสงหนังสือไมถึงมือทาน การขายหนังสือ ไดรับการยกเวนภาษีหัก ณ ที่จาย และไมมีภาษีมูลคาเพิ่ม 7 %  เมื่อทานสงเอกสารการสั่งซื้อ / พรอมการชําระเงินแลว ถาไมไดรับใบเสร็จรับเงิน และหนังสือภายใน 7 วัน กรุณาติดตอกลับดวย  

สําหรับบุคคลทั่วไป เสียคาจัดสง 50 บาท www.me.co.th

การชําระเงิน โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนามบริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

เงินสด กรณีชําระที่ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด เทานั้น ธนาณัติ (คต. สินสาธร) เทานั้น สั่งจายในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่ 158-0-82377-9 ธนาคารกสิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่ 765-2-59700-3 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาตากสิน เลขที่ 055-2-30081-7 ธนาคารยูโอบี สาขาถนนกรุงธนบุรี เลขที่ 940-103-096-0 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาสะพานพระเจาตากสิน เลขที่ 153-1-25818-2

โอนเงินวันที่........................................ (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) การโอนเงินกรุณาสงไปรษณีย อีเมล หรือแฟกซ ใบนําฝากเงินเขาบัญชี (Pay in) มาพรอมกับใบสัง่ ซือ้ หนังสือ และโทรแจงใหทราบดวย หมายเหตุ : ขออภัยไมมบี ริการพนักงานเก็บเงิน

147

สิงหาคม 


ใบสั่งซื้อหนังสือ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ชื่อ-นามสกุล....................................................................................................................... ที่อยู............................................................................................. ..................................................................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................................................................... โทรศัพท............................................... โทรสาร........................................................ E-mail..................................................................................................

รหัส หมวด ปรับอากาศ-ทําความเย็น

สมาชิก จํานวน ราคา ลด10% เลม

30202 เทคนิคการติดตั้งเครื่องปรับอากาศขนาดเล็ก 150 135 30203 เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ NEW 250 225 40201 การทําความเย็นและการปรับอากาศ 250 225

รหัส

หมวด นิวแมติก - ไฮดรอลิก

30502 30503 30504 30601 30602 40602 40603

ไฮดรอลิกอุตสาหกรรม หลักการและเทคนิคใชงานไฮดรอลิก ไฮดรอลิกส นิวแมติกสและไฮดรอลิกส นิวเมติกอุตสาหกรรม นิวแมติกสและไฮดรอลิกสเบื้องตน นิวแมติกสและนิวแมติกสไฟฟาเบื้องตน

รหัส

หมวด วิศวกรรมเครื่องกล

245 110 135 285 150 135 220

221 99 122 257 135 122 198

รหัส หมวด วิศวกรรมทั่วไป

หุนยนตอุตสาหกรรม แมคคาทรอนิกสเบื้องตน การเขียนแบบวิศวกรรมพื้นฐาน การจัดการอะไหลใหเพิ่มผลผลิต (Spare Parts ฯ) เมคาทรอนิกส เบื้องตน หลักการและการใชงานเครื่องมือวัด วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัย

รหัส หมวด ศัพทชาง

33404 เรียนรูและใชงานเครื่องมือชางอยางถูกวิธี 44301 ปทานุกรมศัพทชาง ญี่ปุน-ไทย-อังกฤษ 44302 ปทานุกรมศัพทชาง อังกฤษ-ไทย English-Thai

195 195 185 350 180 200 200

กรณีที่ไมระบุชื่อผูรับหนังสือ ทางบริษัทจะไมรับผิดชอบถาการจัดสงหนังสือไมถึงมือทาน การขายหนังสือ ไดรับการยกเวนภาษีหัก ณ ที่จาย และไมมีภาษีมูลคาเพิ่ม 7 %  เมื่อทานสงเอกสารการสั่งซื้อ / พรอมการชําระเงินแลว ถาไมไดรับใบเสร็จรับเงิน และหนังสือภายใน 7 วัน กรุณาติดตอกลับดวย  

สําหรับบุคคลทั่วไป เสียคาจัดสง 50 บาท

148

สิงหาคม 

31201 41201 41202 41203 41204 41205 41206 41207 41208 41210

การบริหารอุตสาหกรรมแบบลีน ดวยระบบ ERP การกําหนดตารางการผลิตและการควบคุม Layout Kaizen การปรับปรุงเลยเอาตโรงงาน ไคเซ็นตามวิถีโตโยตา วิธกี ารเมตาฮิวริสติกเพื่อแกไขปญหาการวางแผน ผลิตอยางไรใหตนทุนตํ่ากวาคูแขง 50% 3 ส กาวแรกสูคุณภาพและกําไร การออกแบบและวางผังโรงงาน การวางแผนและควบคุมการผลิต ฉบับปรับปรุงใหม

สมาชิก จํานวน เปนเงิน ราคา ลด10% เลม

148 290 230 180 200 175 200 200 280 195

133 261 207 162 180 158 180 180 252 176

160 750 Efficacy of Maintenance สัมฤทธิผลในงานบํารุงรักษา 690 การบริหารงานบํารุงรักษา 180 บํารุงรักษา งานเพิ่มกําไรบริษัท (Maintenance the Profit ฯ) 650 การบํารุงรักษา NEW 120

144 675 621 162 585 108

7 จุดบอดแฝงทีข่ ดั ขวางการเพิม่ ผลผลิตของโรงงาน NEW

การตรวจสอบความสั่นสะเทือนเครื่องจักร การจัดการงานบํารุงรักษาดวย Reliability

รหัส หมวด คุณภาพไฟฟ้า

176 176 167 315 162 180 180

92201 คูมือคุณภาพไฟฟา

300 270

รหัส หมวด วิศวกรรมไฟฟ้า 32002 32004 32005 42001 42002 42005 42006 42007 42008

รวมเป็นเงิน 77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 E-mail :member@me.co.th www.me.co.th (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก1)

ไมไดเปนสมาชิกวารสาร

รหัส หมวด บํารุงรักษา

185 167 290 261 100 90

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

หมายเลขสมาชิก ........................................

รหัส หมวด จัดการทางวิศวกรรม

31301 31304 31305 31306 31307 31308

30102 กลศาสตรเครื่องกล 125 113 40101 เครื่องกลไฟฟา 1 135 122 40102 คูมือรองลื่นเรียบ (Handbook of Plain Bearings) NEW 250 225

33401 33403 33405 33406 43401 43403 43404

เปนเงิน

เทคนิค

เปนสมาชิกวารสาร

แบตเตอรี่และเครื่องชารจไฟ 85 220 การสงและจายกําลังไฟฟา NEW การออกแบบระบบไฟฟา 195 หมอแปลงไฟฟา ELECTRICAL TRANSFORMER 180 ทฤษฎีวงจรไฟฟากระแสสลับ 135 การออกแบบและติดตัง้ ระบบไฟฟาตามมาตรฐาน 250 เครื่องกลไฟฟากระแสตรง 150 โรงตนกําลังไฟฟา (ฉบับปรับปรุง) ����� 165 เทคนิคการออกแบบระบบแสงสวาง NEW �� 290

77 198 176 162 122 225 135 149 261 รวมเป็นเงิน

การชําระเงิน โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนามบริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

เงินสด กรณีชําระที่ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด เทานั้น ธนาณัติ (คต. สินสาธร) เทานั้น สั่งจายในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่ 158-0-82377-9 ธนาคารกสิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่ 765-2-59700-3 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาตากสิน เลขที่ 055-2-30081-7 ธนาคารยูโอบี สาขาถนนกรุงธนบุรี เลขที่ 940-103-096-0 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาสะพานพระเจาตากสิน เลขที่ 153-1-25818-2

โอนเงินวันที่........................................ (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) การโอนเงินกรุณาสงไปรษณีย อีเมล หรือแฟกซ ใบนําฝากเงินเขาบัญชี (Pay in) มาพรอมกับใบสัง่ ซือ้ หนังสือ และโทรแจงใหทราบดวย หมายเหตุ : ขออภัยไมมบี ริการพนักงานเก็บเงิน www.me.co.th


ใบสั่งซื้อหนังสือ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ชื่อ-นามสกุล....................................................................................................................... ที่อยู.............................................................................................. ...................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................... โทรศัพท.......................................................... โทรสาร................................................ E-mail................................................................................................

รหัส หมวด สื่อสาร-อิเล็กทรอนิกส์ 32103 อิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม NEW

รหัส หมวด อุปกรณ์วัด-ควบคุม

32301 32304 42301 42302 42303

อุปกรณวัดและอุปกรณควบคุมทางอุตสาหกรรม โปรแกรมเอ็นซีพื้นฐาน NEW ระบบ PLC เทคโนโลยีซีเอ็นซี การวิเคราะหระบบการวัด (MSA)

รหัส

หมวด ยานยนต/เครื่องยนต

30701 30702 30703 30704 30705 30706 30707 30708 30709 30710 30711 30712 30713 30714 30715 40701 40702 40703 40704 40705

ชางรถยนตมือใหม เครื่องยนตเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส การแกปญหาชางยนต งานไฟฟารถยนต เชื้อเพลิงและสารหลอลื่น งานเครื่องยนตดีเซล งานบํารุงรักษารถยนต งานปรับอากาศรถยนต ขับรถเชิงปองกันอุบัติเหตุ งานเครื่องยนต ขับได ซอมเปน อยางมืออาชีพ งานเครื่องยนตเบื้องตน งานปรับอากาศรถยนต แกปญหารถเสียดวยตนเอง ทฤษฎีและปฏิบัติไฟฟารถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน อิเล็กทรอนิกสรถยนต เครื่องยนตหัวฉีด EFI (ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง ใหม ) ปฏิบัติระบบฉีดนํ้ามันเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส ทฤษฎีระบบฉีดนํ้ามันเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส

สมาชิก จํานวน เปนเงิน ราคา ลด10% เลม

250 225

250 270 260 175 250

225 243 234 158 225

255 179 230 180 250 160 125 230 130 180 195 95 185 120 215 200 160 200 80 100

230 161 207 162 225 144 113 207 117 162 176 86 167 108 194 180 144 180 72 90

รหัส

33201 33202 33204 43203 43204 93201 93202

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 E-mail :member@me.co.th www.me.co.th (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก1) กรณีที่ไมระบุชื่อผูรับหนังสือ ทางบริษัทจะไมรับผิดชอบถาการจัดสงหนังสือไมถึงมือทาน การขายหนังสือ ไดรับการยกเวนภาษีหัก ณ ที่จาย และไมมีภาษีมูลคาเพิ่ม 7 %  เมื่อทานสงเอกสารการสั่งซื้อ / พรอมการชําระเงินแลว ถาไมไดรับใบเสร็จรับเงิน และหนังสือภายใน 7 วัน กรุณาติดตอกลับดวย  

สําหรับบุคคลทั่วไป เสียคาจัดสง 50 บาท www.me.co.th

ไมไดเปนสมาชิกวารสาร

โลหะวิทยาเบื้องตน พื้นฐานเทคโนโลยีการขึ้นรูปโลหะ วัสดุชางอุตสาหกรรม วัสดุวิศวกรรม ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม งานฉีดพลาสติก วัสดุงานชางอุตสาหกรรม งานขึ้นรูปโลหะ เลมที่ 1 แมพิมพ โลหะแผน งานขึ้นรูปโลหะ เลม 2 อุตสาหกรรมการผลิตเหล็ก การออกแบบแมพิมพ การออกแบบจิกและฟกซเจอร เทคโนโลยีพลาสติก กลศาตรของวัสดุ

หมวด วิศวกรรมโยธา-กอสราง

การออกแบบโครงสรางอาคารเหล็ก การประมาณราคางานวิศวกรรมกอสราง การออกแบบโครงสรางไมและเหล็ก การประมาณราคากอสราง การทดสอบวัสดุการทาง การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก ตารางออกแบบโครงสรางอาคาร

สมาชิก จํานวน เปนเงิน ราคา ลด10% เลม

195 180 160 320 165 160 180 250 220 180 150 230 300

176 162 144 288 149 144 162 225 198 162 135 207 270

180 240 195 330 380 300 300

162 216 176 297 342 270 270

229 198 199 115 365

206 178 179 104 329

รหัส หมวด คอมพิวเตอร 32401 32402 32403 32404 42401

รวมเป็นเงิน

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

หมายเลขสมาชิก ........................................

รหัส หมวด วัสดุ-โลหะการ 33001 33002 33003 33004 33005 33007 43001 43003 43004 43005 43006 43007 93001

เทคนิค

เปนสมาชิกวารสาร

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ สารสนเทศทางธุรกิจ ระบบฐานขอมูล การสื่อสารขอมูลและเครือขาย SolidWorks 2013 Handbook + ฟรี CD NEW

รวมเป็นเงิน

การชําระเงิน โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนามบริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

เงินสด กรณีชําระที่ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด เทานั้น ธนาณัติ (คต. สินสาธร) เทานั้น สั่งจายในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่ 158-0-82377-9 ธนาคารกสิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่ 765-2-59700-3 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาตากสิน เลขที่ 055-2-30081-7 ธนาคารยูโอบี สาขาถนนกรุงธนบุรี เลขที่ 940-103-096-0 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาสะพานพระเจาตากสิน เลขที่ 153-1-25818-2

โอนเงินวันที่........................................ (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) การโอนเงินกรุณาสงไปรษณีย อีเมล หรือแฟกซ ใบนําฝากเงินเขาบัญชี (Pay in) มาพรอมกับใบสัง่ ซือ้ หนังสือ และโทรแจงใหทราบดวย หมายเหตุ : ขออภัยไมมบี ริการพนักงานเก็บเงิน

149

สิงหาคม 



ศูµÆน¦ย¯ ห¸นั¦¾ง สื·Äอºเอ็ ˺Òม®แอนด ̺¦¡ อ ºÂี ¯ w § w t¥ ¼ ¥ « z ¤ t ¥ }« ¨ · ศู ¢นทดลอง ย ห นั ง สื อ ทางด า นวิ ศ วกรรม × p p}Ô j

อานฟรี

และคู EมW รูปแบบชsาชี ¦ m¢ Ó ือ ฉบั r บ ภาษาไทยในวิ © ¨ s พ วิ ศ วกรรม j N

�������������������� ������ 1 ������������ ����������������������������������������������������� ��������������� ��� 1. �������������� 2. ����������� 3. ������������������� 4. �������������� 5. ��������� ����������� ����������������������� ���� ����������������������������, ������������� ����������� � �� � ������� � , �������� � ����� � ���, ������� ������������������������������������, ���������� ��������������������� ��� Environmental Control Plan, ������������������������������� ������ � ��� � ������ � ��� � ����� � ��� � ����� � ���� �������������������������������, �����������������������, ��������������������, ������ ������������������������ ����������������������������������� ���������������������������������, ������ ������ �����, ������ ���� �������� ���, ���������������� ��������������� , ����������������������������������, �������������� ¯ w §wt¥ ¼¥ «z ¤t ¥ }« ¨· ������������������������������ ¥w¥ t § ¥ ��������� � ������� � ����� � �, �� � �� � ������� � «ww ¤· ³ ¥ �� � ������ � � � ��������� � ����� � ������������� ¥}§t ¥ �������� �������������������������, �������������������������������, �������������������������������, ������������������� �����������������, ����������������������������������������������, ������������������������������������������, CBM ��������������������������������������������������� �������������������������������� ������ ����������� ������ ��� 332 ���� ����������� ���� 300 ��� •

E-Magazine

คูm¢m¢มÓ Ó ือ ทางวิ เครื่อ งกล ไฟฟา ì ~× ยานยนต ììวั ส ดุ}¡}¡ p ศ วกรรม j ì¥m ñ pj ì© Ï ì ~× p j ì¥m ñ pj ì© Ï มาตรฐานวิ การบริห ารและการจั ~ y ศ วกรรม j ìj ¦ j q ด}}การอุ j ¡ต~~สาหกรรม j ~ y j ìj ¦ j q j ¡ j การใช คอมพิว เตอร อื่น ๆ«« j ¨sÔร ถยนต ~×ììวิ ศ วกรรมระบบ j ìm ¥~ ×ììและ ¦ ì ñ j ¨sÔ ~× j ìm ¥~ × ¦ ì ñ

THAI C.C.

 ¬´ ¥Â­ ¹¯ ¯ ¬´ ¥Â­ ¹

p ¡ j ¡jp ¡ ¡

สถานีตากสิน

สถานีกรุงธนบุรี



´£Ã¤ ´ ¬¶ ¬² ´ n´£Ã¤ ´ ¬¶ ¬² ´ n

สถานีวงเวียนใหญ

ÙrÄ ¢ ¢ × × p p {{ ÙrÄ f } Ù v}u }Ä Ù Ù v}u }Ä k Ùk f } tÙÙc} hvÙw } d hf hsÁ Ù u} tÙÙc} hvÙw } d hf hsÁ Ù u} dsf h Ù c} h uÜ dsf h Ù c} h uÜ u} u} ÜuÄÜ uÄ u} } u} } © Ï ì!32ì p ¡ © Ï ì!32ì j ¡jp ¡ ¡



ศูนยหนังสือ







u { ÙrÄ { ÙrÄ i c i c r r w} w} u



© ©· © ©·¤¤ Å­ m Å­ m

§¯ ¬´ §¯ ¬´



´ ´¥ ¥º ª¥·¯¤º ¤´ ´ ´¥ ¥º ª¥·¯¤º ¤´





p¥ ¨ vÓ ¨ vÓ p¥

¬² ´ ¬´ ¥ ¬² ´ ¬´ ¥

ãm ¥²¤´  ãm ËµËµÂ Ë Â Ë´´ ¥²¤´



~ j ~ j ´ m ´ m©©

สถานีสุรศักดิ์

¤ ´ ¬¶ ¬·¬·ÊÃÊä ´ ¬¶

¥· ¥· º º ¥º ¥º

¬´ ¥Å Ë ¬´ ¥Å Ë

¡ ¡ j } j±} ±



THAI THAI C.C. C.C.

Download ไดที่ :

1. ฟรีคาจัดสงหนังสือ 2. วารสารเทคนิค 12 ฉบับ/ป ww ¤ง· สือ³ 3. ส «วนลดหนั คูมือ    j | t t ® ® ­ ­ ¢ ¯ w § ¢ × × w กpt¥ ¼ p (10%-20%) ¦ }× j | ¥ ¬¥ ¬ ì ì¥ Ó¥ Ó ® ® ตามราคาสมาชิ ¥ « z¦ }× ¤t ¥ }« ¨· ¯ Ý ¯z§ ¥ AIS Bookstore B2S Bookstore 4. สวนลดสัมมนา 300 บาท/ทาน 

¥}§t

´© ² ¯ ´© ² ¯



Æ ¤ª¥· ¥² ³ ¢³¤ Æ ¤ª¥· ¥² ³ ¢³¤



 ¥¶  ¥¶ ¥ ¥

k p¥ ¬ ¦ }× ¦ }× t t ® ® ค pp m¢m¢กÓ Ó วารสารเทคนิ k p¥ ¬ เมื่อสมั รสมาชิ ค

ãm Â Ë ¥²¤´  ãm ˵˵  Ë´´ ¥²¤´

สิ ท ธิพ ิเ ศษ ¥

OOKBEE



     (รถไฟฟา BTS สถานีกรุงธนบุรี)

   Ë´²¿¤À ¿° ¦ 9:00 - 16:30 ˨Á¡´¾- ¦16.00 ¾¦¤° น. ´¾ ° - วันศุกร เวลาทำการ 09.00 เปดวั¦นจัµÅน ทร

www.me.co.th

โทรศัพท 02-862-1396-9

( PDLO LQIR#PH FR WK ZZZ PH FR WK ( PDLO LQIR#PH FR WK ZZZ PH FR WK E-mail : info@me.co.th www.me.co.th




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.