Technic 402- sample :: September 2017 :: Engineering Magazine in Thailand

Page 1


    

     

  

ทุกรุนใชประกอบกับมอเตอรมาตรฐาน IEC Standand B5 หรือ B14

 

TRANSMISSION / CONVEYOR CHAIN WITH SPECIAL ATTACHMENT A1, A2, K1, K2, etc STEEL / STAINLESS, SPROCKET & TAPER BUSH SPROCKET

- ISO 9001, API - V/WEDGE BELT SPA, SPB, SPC, SPZ -   V-BELT  

Pulley with Taper Bush Type : SPA, SPB, SPC, SPZ : 5V, 3V, 11M : A, B, C, D, Z, etc.

GEAR COUPLING

CHAIN COUPLING

TAPER GRID COUPLING

Timing Pulley with Taper Bush Type : H, L, XH, XL, MXL : 3M, 5M, 8M, 14M, 20M : T5, T10, T20, etc.

POWER LOCK

ADAPTOR WELD ON HUB BOLT ON HUB

DISC COUPLING

CROWN PIN COUPLING

TYRE COUPLING

UNIVERSAL JOINT

TORQUE LIMITER

CAM CLUTCH-BACK STOP

FLEXIBLE COUPLING

TAPER LOCK BUSH

บริ ษทั ยูโรแมค คอรปอเรชัน่ จำกัด 545 ถนนเลียบคลองภาษีเจริญฝง เหนือ แขวง/เขตหนองแขม กทม. 10160

www.euromachthailand.com

(Workshop & Warehouse : 6/115 ม.3 แขวง/เขตหนองแขม กทม. 10160) e-mail:sales@euromachthailand.com

Tel : 0-2812-0371 0-2812-2984 (อัตโนมัติ) Fax : 0-2812-3995 0-2812-0299


·À¸°¾§Ë¢¿¸²º® Ë¢¿Ë©¿ºÅ¢·¿¸ °°® Ë¢¿º§ $LU +HDWHU 'U\HU ¼²¼

2[\ IXHO FRPEXVWLRQ ZLWK ORZHU 12[ IRU KLJKHU HIILFLHQFLHV LQ KHDW LQWHQVLYH SURFHVVHV

)LHOG SURYHQ ORZ HPLVVLRQV EXUQHU IRU NLOQV IXUQDFHV DQG R[LGL]HUV $YDLODEOH LQ D ZLGH UDQJH RI FDSDFLWLHV WXUQGRZQ DV KLJK DV

/RZ 12 DQG &2 SURGXFWLRQ IRU GLUHFW ILUHG PDNH XS DLU DSSOLFDWLRQV &DSDFLWLHV XS WR %WX KU IW DLU PDNH XS %WX KU IW SURFHVV KHDWLQJ ZLWK KLJK WXUQGRZQ

(OHFWURQLFDOO\ OLQNV VHYHUDO DFWXDWRUV WR XVHU V SURFHVV FRQWUROOHU WR RSWLPL]H IXHO HIILFLHQF\ DQG PHHW VWULQJHQW HPLVVLRQV VWDQGDUGV GHJUHH DFFXUDF\ WKURXJK DGMXVWPHQW SRLQWV 6L]HV IURP WR FDVW LURQ FDUERQ VWHHO DQG EUDVV ERG\ RSWLRQV

(OHFWULFDOO\ DFWXDWHG VKXW RII DQG YHQW YDOYHV WKURXJK GLDPHWHU OLQH VL]HV KLJK &Y IORZ IDFWRUV OLQH SUHVVXUHV XS WR 36,* 0DQXDO DQG DXWRPDWLF YHUVLRQV 8/ )0 &*$ OLVWHG ,5, DSSURYDEOH &6$ FHUWLILHG

1HDU ]HUR SROOXWDQWV DQG UHOLDEOH SHUIRUPDQFH LQ D FRQYHQLHQW SDFNDJHG EXUQHU

7KH QHZ 60$57/,1. 0HWHU LV RQH RI WKH RQO\ VHOI FKHFNLQJ IORZ PHWHUV LQ LWV FODVV 2IIHULQJ SUHFLVH PDVV IORZ PHDVXUHPHQW IRU IXHO DLU DQG FRPEXVWLRQ VWUHDPV 60$57/,1. 0HWHU GLVSOD\V DFFXUDWH IORZ PHDVXUHPHQW RYHU D ZLGH WXUQ GRZQ UDQJH ZLWK QR PRYLQJ SDUWV 60$57/,1. 0HWHU LV VXUH WR JLYH FXVWRPHUV WKH ZLQQLQJ HGJH LQ HIILFLHQF\

)RU SURFHVV DLU KHDWLQJ SURYLGLQJ FOHDQ FRPEXVWLRQ +HDW UHOHDVH WR %WX KU ,QWHUQDO IXHO DLU SURSRUWLRQLQJ V\VWHP VLPSOLILHV DGMXVWPHQW

,QWHJUDO FRQWURO DQG SRZHUIXO FORVLQJ VSULQJ IRU UHOLDEOH VKXW RII &RPSDFW GHVLJQ FDVW LURQ FDUERQ VWHHO RU VWDLQOHVV VWHHO ERGLHV PDQ\ WULP RSWLRQV DYDLODEOH f WR f GLDPHWHU OLQH VL]HV $FWXDWRU UDWHG IRU 1(0$ 6 )0 &6$ DQG &( DSSURYHG

0HGLXP YHORFLW\ UHIUDFWRU\ EORFN GHVLJQ JLYHV GLVFKDUJH YHORFLWLHV WR IW VHF 1RPLQDO KHDW UHOHDVH RI XS WR %WX KU &DSDEOH RI RQ UDWLR H[FHVV IXHO RU H[FHVV DLU ILULQJ RQ JDV RLO

{¤ {¦ Õ¥ ° £ §t¥ ±

§ ¤ « ¯ ¨ · ° £ ¥ {¦t¤ ¨ w § Ù °u z z ¯u z t «z¯ ¢ 7HO )$; ( PDLO LQIR#ERRQ\LXP FRP :HEVLWH KWWS ZZZ ERRQ\LXP FRP







                         

                           

          

 

   

 

      

     

              บทความใดๆ ที่ปรากฏอยูใ นวารสารเทคนิค อาจเปนการเสนอขอคิด เห็นเฉพาะบุคคลของผูเ ขียน วารสารเทคนิค และบริษทั เอ็มแอนดอี จํากัด ไมจำเปนตองเห็นพองหรือมีสว นผูกพันเสมอไป และไมมสี ว น รับผิดชอบตอความเสียหายที่เกิดจากการใชขอความหรือเนื้อหา ของวารสาร สงวนลิขสิทธิ์    

การเผยแพรความรูวิชาชีพวิศวกรรม ดานเครื่องกล ไฟฟา และอุตสาหการ ของวารสารเทคนิค

วารสารเทคนิคฉบับนี้ เปนฉบับครบรอบปที่ 33 ซึ่งตลอด ระยะเวลาที่ผานมาอยางยาวนานนี้ เราไดพยายามสรางสรรคและ เสนอแนวคิด พรอมบทความทางวิชาการทีเ่ ปนประโยชนตอ วิชาชีพ วิศวกรรมอยูตลอดเวลา เราภาคภูมิใจและมุงมั่นในการเนนคุณภาพของเนื้อหาและ บทความที่กอใหเกิดประโยชนมากยิ่งขึ้น ดวยความรูทางวิชาการ และขาวสารทางเทคโนโลยี สามารถนําไปปฏิบตั จิ ริงได ตัง้ แตระดับ สูง จนถึงระดับทองถิ่น นอกจากนั้น ยังพยายามมุงมั่นและเนนหนัก ในเทคโนโลยีทคี่ นไทยสามารถนําไปปรับปรุงและพัฒนาเองไดอยาง มีประสิทธิภาพ ในระยะเวลาที่ผานมา เราไดรับกําลังใจอยางมากจากผูอาน และผูจัดจําหน�ายสินคาตางๆ ทําใหเรายืนหยัดและมีกําลังที่จะผลิต และถายทอดความรู ทั้งบทความ และขาวสารที่เปนประโยชนมาก ยิ่งขึ้น เนื่องจากวารสารเทคนิคฉบับนี้ เปนฉบับครบรอบป เราจึงขอ สมนาคุณดวยดัชนีประเภทสินคา ดัชนีผูจัดจําหน�าย ดัชนีบทความ ในรอบปที่ผานมา ซึ่งเปนขอมูลที่มี ประโยชนตอการคนหาวัสดุ อุปกรณ การบริการ การจัดจําหน�าย และหาบทความไดอยางรวดเร็ว นอกจากนี้ สามารถติดตามการสัมมนาความรูตางๆ ในดาน วิชาชีพวิศวกรรมที่อัดแน�นดวยคุณภาพ และวิทยากรผูทรงคุณวุฒิ และมีประสบการณ ซึ่งจัดโดย บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด โดยใน ปนี้เราไดจัดหลักสูตรอบรมและสัมมนาตลอดทั้งป สําหรับผูสนใจ สามารถดูหวั ขอสัมมนาและรายละเอียดไดทเี่ ว็บไซต www.me.co.th หากทานมีเวลา ก็สามารถแวะมาเยี่ยมชม “ศูนยหนังสือ เอ็มแอนดอี” ที่อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ได โดยมีวารสาร แตละฉบับ หนังสือ และคูม อื ฉบับภาษาไทยดานวิศวกรรม และอื่นๆ อีกหลากหลาย

ฉบับหนาพบกับ (ฉบับที่ 397, เมษายน 2560) • มาตรการบํารุงรักษา PLC • การติดตั้งและดูแลชุดขับและชุดควบคุมมอเตอร • การควบคุมความรอนน้ํามันไฮดรอลิก • เยี่ยมชม สถาบันรหัสสากล • ฯลฯ 

 

396, มีนาคม 2560

9





                         

                           

          

 

   

 

      

     

              บทความใดๆ ที่ปรากฏอยูใ นวารสารเทคนิค อาจเปนการเสนอขอคิด เห็นเฉพาะบุคคลของผูเ ขียน วารสารเทคนิค และบริษทั เอ็มแอนดอี จํากัด ไมจำเปนตองเห็นพองหรือมีสว นผูกพันเสมอไป และไมมสี ว น รับผิดชอบตอความเสียหายที่เกิดจากการใชขอความหรือเนื้อหา ของวารสาร สงวนลิขสิทธิ์    

การเผยแพรความรูวิชาชีพวิศวกรรม ดานเครื่องกล ไฟฟา และอุตสาหการ ของวารสารเทคนิค

วารสารเทคนิคฉบับนี้ เปนฉบับครบรอบปที่ 33 ซึ่งตลอด ระยะเวลาที่ผานมาอยางยาวนานนี้ เราไดพยายามสรางสรรคและ เสนอแนวคิด พรอมบทความทางวิชาการทีเ่ ปนประโยชนตอ วิชาชีพ วิศวกรรมอยูตลอดเวลา เราภาคภูมิใจและมุงมั่นในการเนนคุณภาพของเนื้อหาและ บทความที่กอใหเกิดประโยชนมากยิ่งขึ้น ดวยความรูทางวิชาการ และขาวสารทางเทคโนโลยี สามารถนําไปปฏิบตั จิ ริงได ตัง้ แตระดับ สูง จนถึงระดับทองถิ่น นอกจากนั้น ยังพยายามมุงมั่นและเนนหนัก ในเทคโนโลยีทคี่ นไทยสามารถนําไปปรับปรุงและพัฒนาเองไดอยาง มีประสิทธิภาพ ในระยะเวลาที่ผานมา เราไดรับกําลังใจอยางมากจากผูอาน และผูจัดจําหน�ายสินคาตางๆ ทําใหเรายืนหยัดและมีกําลังที่จะผลิต และถายทอดความรู ทั้งบทความ และขาวสารที่เปนประโยชนมาก ยิ่งขึ้น เนื่องจากวารสารเทคนิคฉบับนี้ เปนฉบับครบรอบป เราจึงขอ สมนาคุณดวยดัชนีประเภทสินคา ดัชนีผูจัดจําหน�าย ดัชนีบทความ ในรอบปที่ผานมา ซึ่งเปนขอมูลที่มี ประโยชนตอการคนหาวัสดุ อุปกรณ การบริการ การจัดจําหน�าย และหาบทความไดอยางรวดเร็ว นอกจากนี้ สามารถติดตามการสัมมนาความรูตางๆ ในดาน วิชาชีพวิศวกรรมที่อัดแน�นดวยคุณภาพ และวิทยากรผูทรงคุณวุฒิ และมีประสบการณ ซึ่งจัดโดย บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด โดยใน ปนี้เราไดจัดหลักสูตรอบรมและสัมมนาตลอดทั้งป สําหรับผูสนใจ สามารถดูหวั ขอสัมมนาและรายละเอียดไดทเี่ ว็บไซต www.me.co.th หากทานมีเวลา ก็สามารถแวะมาเยี่ยมชม “ศูนยหนังสือ เอ็มแอนดอี” ที่อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ได โดยมีวารสาร แตละฉบับ หนังสือ และคูม อื ฉบับภาษาไทยดานวิศวกรรม และอื่นๆ อีกหลากหลาย

ฉบับหนาพบกับ (ฉบับที่ 397, เมษายน 2560) • มาตรการบํารุงรักษา PLC • การติดตั้งและดูแลชุดขับและชุดควบคุมมอเตอร • การควบคุมความรอนน้ํามันไฮดรอลิก • เยี่ยมชม สถาบันรหัสสากล • ฯลฯ 

 

396, มีนาคม 2560

9


























เทคนิครอบโลก

นวัตกรรมระบบเครื่องเสียง ของรถยนตแบบไรลําโพง

© Continental

ระบบเสียงแบบไรลําโพงสําหรับรถยนตของ Continental

จากแรงบันดาลใจที่ ไดจากหลักการทํางานของเครื่อง ดนตรีประเภทเครื่องสาย Continental ผูผลิตชิ้นสวนยานยนต ชั้นนําจากเยอรมนี ไดนํามาพัฒนาเปนนวัตกรรมระบบเครื่อง เสียงของรถยนต นั่นคือ การปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีทางเสียง จากที่ใชลําโพงแบบธรรมดา ไปเปนตัวกระตุนการสั่นที่สามารถ สรางเสียงออกมาไดอยางถูกตอง โดยอาศัยการสงแรงสั่นไปที่ พื้นผิวภายในสวนประกอบของรถยนต ใหเกิดเสียง เมื่อเปรียบ เทียบกับเทคโนโลยีลําโพงแบบธรรมดาแลว ระบบเสียงแบบไร ลําโพงนี้ยังใหประโยชนอีกมากมาย ไมวาจะพิจารณาถึงนํ้าหนัก ที่เบากวา การใชพื้นที่โดยปริมาตรลดลง และใชไฟฟานอยกวา การนําระบบเสียงแบบไรลําโพงไปไว ในยานยนตของ Continental นับเปนการกาวสูความทาทายใหม เพราะถาหาก ไมคํานึงถึงในสวนของตัวยานยนตเองแลว ความคาดหวังของ ผูขับที่มีตอระบบเครื่องเสียงรถยนตนั้นอยูในระดับสูงมาก นี่จึง www.me.co.th

เปนเหตุผลวาทําไมระบบเครื่องเสียงของรถยนตแบบธรรมดา ทั่วไปจึงตองใชลําโพงจํานวนมากในการสงเสียงหลายชองเพื่อ ใหไดมิติทางเสียงเปนแบบสามมิติ (3D) หากพิจารณาจากจุดที่ ออกแบบแลวจะเห็นไดวา นี่ไมใชเรื่องงายที่จะผสานรวมเสียง จากแหลงกําเนิดหลายแหลงเขาดวยกันใหมีความสมบูรณได เมือ่ เขาสูย คุ ยานยนตไฟฟา ผูผ ลิตรถตางมุง ไปทีก่ ารแกไข ปญหาเชิงนวัตกรรม เพื่อลดนํ้าหนักยานยนต ใหไดผลจริง รวม ทั้งการเพิ่มพื้นที่หองโดยสารและเทคโนโลยี ใหมๆ ในขณะที่ ระบบเสียงแบบไรลําโพงของ Continental ไดรับการออกแบบ และใหมีคุณภาพเสียงเพื่อสรางความบันเทิงภายในรถเหมือน กับที่ตัวรถเปนเครื่องดนตรีเอง โดยใชตัวกระตุนขนาดเล็กเพื่อ ขับพื้นผิวภายในยานยนต ให ไดเสียงออกมาอยางเหมาะสม สามารถกําเนิดเสียงที่เปนธรรมชาติ และไดประสบการณทาง เสียงในแบบ 3D

402, กันยายน 2560

27


การขนถายถานเขมาดํา

รศ.พรชัย จงจิตรไพศาล

ภาควิชาวิศวกรรมขนถายวัสดุและโลจิสติกส ม.เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

การขนถายถานเขมาดํา

พิจารณาถึงกรรมวิธีการผลิตเขมาดํา ขนาดของเขมาดําและผลกระทบ ที่จะเกิดกับการขนถายเขมาดํา และการจายลมสําหรับระบบการขนถายวัสดุ ดวยลมที่จะนํามาใช ในการขนถายเขมาดํา  เขมาดํา (carbon black) ถูกผลิต มาใชตั้งแตสมัยโบราณแลว เชน ชาวจีน และอี ยิ ป ต โ บราณ ใช ทํ า หมึ ก สํ า หรั บ เขียนตัวหนังสือ เรายังใชเขมาดําเปน ส ว นผสมของยางและพลาสติก เพื่อลด ตนทุนวัตถุดบิ และเพิ่มความแข็งแรงให กับยาง และพลาสติก ใชเปนตัวนําไฟฟา ฟลม และเปนสวนผสมในวัสดุไฟเบอร อีกดวย ปจจุบันนี้ โดยขอมูลจาก สมาคม เขมาดํานานาชาติ (International Carbon Black Association) ระบุวา การ ผลิ ต เขมา ดํา ทั่ วโลกมีปริมาณมากกวา 10 ลานตัน โดย 90% ถูกนํามาใชกับ อุ ต สาหกรรมยาง โดยปริ ม าณ 70% ของคารบอนถูกใช ในอุตสาหกรรมยาง รถยนต, 20% ของคารบอนถูกใช ใน อุตสาหกรรมยางอื่นๆ และอีก 10% ใช ในอุตสาหกรรมอื่นๆ เขมาดําที่เกิดจากการเผาไหม ไม สมบู ร ณ จ ะประกอบไปด ว ย คาร บ อน นํ้ามัน ถานหิน กระดาษ ยาง พลาสติก และของเสียอื่นๆ การที่มีนํ้ามันอยูเปน สวนประกอบ ทําใหการขนถายเขมาดํา เปนเรื่องที่ยุงยาก เนื่องจากตัวเขมาดํา จะมีคุณสมบัติเกาะติดกัน ทําใหเคลื่อนที่ ไดยาก www.me.co.th

2. Channel process วิธีนี้จะ นําเชื้อเพลิงมาเผาใหเกิดกาซและสัมผัส กับเหล็กรูปตัว H (H-shaped steel) ซึ่ง เขมาดําจะจับกับตัวเหล็ก 3. Acetylene black process เกิดจากการใหความรอนกาซอะเซทิลีน ในสภาวะไรอากาศ ทําใหไดเขมาดําที่มี ขนาดใหญ เหมาะสําหรับนําไปใชเปน ตัวนําไฟฟา 4. Lamp black process เปน ขบวนการเผานํ้ามันหนักในเตาที่ควบคุม อากาศให เ กิ ด ควั น ดํ า ในยุ ค แรกๆ ไม เหมาะกับการผลิตจํานวนมาก เขมาดําที่ ได ใชสําหรับผลิตหมึกดํา

รูปที่ 1 เขมาดํา

การผลิต

การผลิตเขมาดําจะใชขบวนการ ทางความรอน หรือขบวนการเผาไหม โดยมี นํ้ า มั น หรื อ ก า ชธรรมชาติ เ ป น วั ต ถุ ดิ บ คุ ณ สมบั ติ ข องเขม า ดํ า จะขึ้ น อยู  กั บ ขบวนการผลิ ต ดั ง นั้ น จึ ง มี ก าร แบงเขมาดําตามขบวนการผลิต ซึ่งมี ขบวนการผลิตดังตอไปนี้ 1. Furnace black process วิธี นี้จะใชวัตถุดิบเปนนํ้ามันจากปโตรเลียม หรือนํ้ามันจากถานหิน ฉีดเขาไปยังกาซ ที่มีอุณหภูมิสูงแลวเกิดการเผาไม วิธี นี้สามารถควบคุมขนาดและโครงสราง ของเขมาดําไดดี เหมาะสําหรับการผลิต จํานวนมาก คารบอนกวา 80% จะถูก ผลิตดวยวิธีนี้

ขนาดและผลกระทบ กับการขนถายเขมาดํา

ขนาดของเขมาดํายิ่งเล็กก็จะยิ่ง มีสีที่ดํามากขึ้น แตขนาดยิ่งเล็กก็จะยิ่ง มีความสามารถในการไหลลดลง และ ฟุง กระจายในอากาศไดดี ทําใหเกิดปญหา ฝุ  น ละอองขึ้ น นอกจากนี้ ฝุ  น ละออง ของเขมาดํายังเคลือบผิววัสดุ ทําใหนาํ้ มัน บางสวนตกคางบนผิววัสดุ และเขมาดําก็ จะมาจั บ ตั ว กั น บนผิ ว ที่ มี ค วามชื้ น จาก นํ้ามัน 

402, กันยายน 2560

31


รศ.ดร.มนตรี พิรุณเกษตร

คูลลิ่งทาวเวอรแบบดราฟลมดูดไหลขวาง

วิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร ม.เกษตรศาสตร

การคํานวณขนาดคูลลิ่งทาวเวอร แบบดราฟลมดูดไหลขวาง ในภาคอุตสาหกรรม พิจารณาจากการแบงแผงกระจายน้ําออกเปนเซลเล็กจํานวนมาก และใชวิธี Stepwise Integration พิจารณาตามกฎอนุรักษของพลังงาน ระหวางน้ํากับอากาศชื้นขณะไหลผานแผงกระจายน้ํา ที่ถูกแบงออกเปนเซลเล็กหลายๆ เซลอยางตอเนื่องกัน

 การวิเคราะหการแลกเปลี่ยนความรอนระหวางนํ้าและ อากาศในคูลลิ่งทาวเวอรแบบดราฟลมดูดไหลขวาง พิจารณา จากการแบงแผงกระจายนํา้ ออกเปนเซลเล็กจํานวนมาก และใช วิธี Stepwise Integration พิจารณาตามกฎอนุรกั ษของพลังงาน ระหวางนํ้ากับอากาศชื้นขณะไหลผานแผงกระจายนํ้าที่ถูกแบง ออกเปนเซลเล็กหลายๆ เซลอยางตอเนื่องกันนั้น โดยที่แตละ เซลมีสมั ประสิทธิก์ ารถายโอนความรอนเชิงปริมาตร (volumetric heat transfer coefficient) ที่พิจารณาจากสัมประสิทธิ์การ ถายโอนความรอนเชิงปริมาตรทั้งหมด (KaV, kW/kJ/kg of enthalpy difference) ของแผงกระจายนํ้า หารดวย จํานวน เซลทั้งหมด สําหรับเซลหนึง่ ๆ นัน้ เอนทัลปของอากาศอิม่ ตัวพิจารณา เปนคาเฉลีย่ ระหวางเอนทัลปของอากาศอิม่ ตัวทีอ่ ณ ุ หภูมนิ าํ้ ทาง เขาและที่อุณหภูมินํ้าทางออกของเซลดังกลาว สวนเอนทัลปของอากาศขณะไหลผานเซลพิจารณาเปน คาเฉลีย่ ระหวางเอนทัลปของอากาศทีท่ างเขาและทีท่ างออกของ เซลนัน้ เชนกัน ดังนัน้ mean driving force สําหรับแตละเซลนัน้ จึงเทากับผลตางระหวางเอนทัลปของอากาศอิ่มตัวกับเอนทัลป ของอากาศขณะไหลผานเซล การเลือกจํานวนเซลมากๆ ทําใหได เซลทีม่ ขี นาดเล็กๆ จึงสามารถประมาณให mean driving force เปนคาคงที่สําหรับแตละเซล ตลอดการคํานวณได ภายใตคากําหนดของ KaV, อุณหภูมิของนํ้ารอนทางเขา (HWT) สภาวะอากาศตรงบริเวณทางเขา ปริมาณนํ้าหมุนเวียน และปริมาณอากาศ ตามวิธี Stepwise Integration สามารถ คํานวณอุณหภูมินํ้าทางออก และเอนทัลปของอากาศทางออก ของแตละเซลได www.me.co.th

ในการออกแบบนี้ เริ่มตนดวย ขั้นตอน 1 การกําหนดคาออกแบบของตันความเย็นและ ปริมาณนํ้าหมุนเวียนที่ตองการ สําหรับคูลลิ่งทาวเวอรแบบ ไหลขวาง โดยกําหนดนํ้าหมุนเวียนที่ตองการนั้น ในปริมาณที่ สัมพันธกับปริมาณตันความเย็นของคูลลิ่งทาวเวอร ซึ่งปริมาณ นํ้าหมุนเวียนคาออกแบบนั้น กําหนดคาออกแบบเทากับ 13 L/ min ตอหนึ่งตันความเย็น ขั้นตอน 2 ตองทราบพิสัยความเย็น (cooling range) แอปโพรชของคูลลิ่งทาวเวอร เพื่อใชเปนคาออกแบบ ซึ่งไดแก อุณหภูมิของนํ้ารอนทางเขา HWT = 37 °C อุณหภูมินํ้าเย็นที่ ทําได CWT = 32 °C และอุณหภูมิกระเปาะเปยกทางเขา WBT = 27 °C หรือ เรียกวา Design Approach 37-32-27 °C ขั้นตอน 3 การเลือกแผงกระจายนํ้าเพื่อการออกแบบ และทราบสัมประสิทธิ์การถายเทความรอนของแผงกระจาย นํ้า (KaV) ขั้นตอน 4 อาศัยแบบจําลองทางคณิตศาสตรสําหรับคูล ลิง่ ทาวเวอรแบบไหลขวางตามวิธี Stepwise Integration สําหรับ แผงกระจายนํา้ ดานใดดานหนึง่ ของคูลลิง่ ทาวเวอรนนั้ โดยแบง ชองทางไหลของอากาศออกเปน m ชอง และชองทางไหลของ นํ้าผานแผงกระจายนํ้าออกเปน n ชอง เชน m = 10 ชอง และ n = 5 ชอง จากแบบจําลองนี้จะใชคํานวณปริมาณอากาศที่ หมุนเวียนในคูลลิ่งทาวเวอร และอัตราสวนการไหล (L/G) ขัน้ ตอน 5 นํา fill characteristics (ในขัน้ ตอน 3) ปริมาณ อากาศ และอัตราสวนการไหล (ในขั้นตอน 4) เพื่อคํานวณ ขนาดของตัวทาวเวอร (ความกวาง ความยาว และความสูง) และสุดทาย 

402, กันยายน 2560

35


ปญญา มัฆะศร

การสื�อสารขอมูลแบบ Machine-to-Machine

สาขาวิชาเทคโนโลยีมีเดีย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี

เทคโนโลยีการสื่อสารขอมูลแบบ Machine-to-Machine ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

เทคโนโลยีสื่อสารที่อํานวยประโยชนตอการดําเนินการและลดคาใชจาย ในทางอุตสาหกรรม ชวยใหสามารถจัดการกับขอมูลจํานวนมาก ที่กระจัดกระจายอยูในกระบวนการ แลวนํามาวิเคราะห ปญหาที่เกิดขึ้นไดอยางรวดเร็วและแมนยํามาก  ในยุคอุตสาหกรรม 4.0 การสื่อสาร ขอมูลระหวางเครือ่ งจักรกลกับเครือ่ งจักร กล หรือที่เรียกวา “Machine-to-Machine” หรื อ M2M เป น การสื่ อ สาร ขอมูลที่สอดคลองกับเอนทิตี (entity) หนึ่งหรือหลายอยางในเวลาจริง (real time) ที่ไมจําเปนตองมีปฏิสัมพันธหรือ การแทรกแซงโดยมนุษย ในกระบวนการ ใดๆ ตามคํานิยามของ “Mischa Dohler” ในยุคอุตสาหรรม 4.0 การสื่อสาร ขอมูลที่ใชเทคโนโลยี M2M ที่มีชื่อเรียก เปนทางการ คือ “Machine Type Communication” (MTC) ซึ่งมีรูปแบบการ สื่อสารที่แตกตางโดยสิ้นเชิงไปจากรูป แบบการสือ่ สารขอมูลในยุคอุตสาหกรรม 3.0 เปนอยางมาก เชน สถานการณตลาด ยุคอุตสาหกรรม 4.0 มีความพยายาม ที่ จ ะลดค า ใช จ  า ยในทางอุ ต สาหกรรม ดวยเทคโนโลยีที่สามารถนํามาใชแกไข ป ญ หาการจั ด การข อ มู ล จํ า นวนมากที่ กระจัดกระจาย เพื่อนํามาใชวิเคราะห www.me.co.th

ระบบสื่อสารสําหรับ เทคโนโลยี M2M

ป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ได อ ย า งรวดเร็ ว และ แมนยํามาก ดังนั้น การสื่อสารขอมูลจํานวน มากในอุตสาหกรรมผานระบบการสือ่ สาร M2M จะสามารถกระทําได โดยผาน เครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ในโครงขาย ต า งๆ เช น GSM-GPRS, CDMA เปนตน ซึ่งแตกตางไปจากยุคอุตสาหกรรม 3.0 ทีร่ ะบบการสือ่ สารขอมูลกระทํา ผานระบบเทอรมินัลเดียวกันทั้งหมด ซึ่ง สงผลใหเกิดปญหาและอุปสรรคในการ สื่อสารขอมูลเปนจํานวนมากๆ ในเวลา เดียวกัน การสื่อสารขอมูลแบบ M2M จึง มี บ ทบาทอย า งยิ่ ง ในเครื อ ข า ยสื่ อ สาร โทรศัพทคลื่อนที่ ซึ่งเปนชองทางการ สงขอมูลระหวางอุปกรณหนึ่งไปยังอีก อุปกรณหนึ่ง หรือกับอุปกรณอัจฉริยะจํา นวนมากๆ ในเวลาเดียวกัน ดวยขอมูล จํ านวนมากที่สามารถเชื่อมตอกันดวย ระบบเทคโนโลยี M2M

มีการประยุกต ใชเทคโนโลยี M2M ครอบคลุ ม อยู  ใ นหลายภาคส ว นของ อุตสาหกรรมในแตละพื้นที่ๆ ซึ่งระบบ สื่อสารดวยเทคโนโลยี M2M ที่ ใช ใน ปจจุบัน ไดแก 1. ระบบรักษาความมัน่ คงปลอดภัย (security) เชน ระบบการปองกัน และเตือนภัย การควบคุมและตรวจสอบ การเขาถึงความปลอดภัยของรถขนสง เคลื่อนที่อัตโนมัติ ระบบโลจิสติกสที่ใช หุ  น ยนต ก ลไกในการขั บ เคลื่ อ นในภาค อุตสาหกรรม ดังแสดงระบบรักษาความ มั่นคงปลอดภัยของระบบโลจิกติกส ใน รูปที่ 1 2. ระบบการตรวจจับและเฝา ติดตาม (tracking & tracing) เชน การ จัดการยานพาหนะ การจัดการใบสั่งซื้อ/ การชํ า ระเงิ น ระบบขนส ง และจราจร 

402, กันยายน 2560

45


มิเตอรและเครื�องมือวัดในระบบไฟฟา

ผศ. ถาวร อมตกิตติ์

มิเตอรและเครื่องมือวัด ในระบบไฟฟ า ระบบไฟฟาใชงานไดอยางมั่นคงและเที่ยงตรงตลอดจน เกิดความปลอดภัยไดนั้น จะตองมีมิเตอรและ เครื่องมือวัดในระบบไฟฟาอยางถูกตองและเหมาะสม

 ระบบไฟฟาทางอุตสาหกรรมและพานิชยกรรมมีการใช มิเตอรและเครือ่ งมือวัดอยางขาดไมได แตจะตองพิจารณาเลือก ใชอุปกรณดังกลาวใหเหมาะสมกับงานและติดตั้งอยางถูกตอง จึงจะเกิดประสิทธิภาพสูงสุด มิเตอรและเครือ่ งมือวัดที่ใช ในระบบจําหนายไฟฟาแสดง ในตัวอยางรูปที่ 1, รูปที่ 2 และรูปที่ 3 การติดตั้งมิเตอรและ เครื่องมือวัดมีความสําคัญตอการทํางาน โดยมีรายละเอียดขึ้น

กับขนาดและความซับซอนของงาน ตลอดจนการประหยัด โดย อักษรยอในรูปขางตนมีดังนี้ • KWH – มิเตอรวัดกิโลวัตตชั่วโมง • KVARH – มิเตอรวัดกิโลวารชั่วโมง • PT – หมอแปลงแรงดัน • CT – หมอแปลงกระแส • A – แอมมิเตอร

รูปที่ 1 ตัวอยางการติดตั้งมิเตอรของระบบไฟฟา 3 เฟส 4 สาย www.me.co.th

402, กันยายน 2560

49


ปจจัยวัดประสิทธิผลงานบํารุงรักษา

โกศล ดีศีลธรรม

ปจจัยวัดประสิทธิผล งานบํ า รุ ง รั ก ษา ประสิทธิผลการดําเนินงานจะเกิดขึ้นไดจากความรวมมือ

ระหวางฝายบํารุงรักษาและผูรับผิดชอบทุกฝาย รวมถึงการปฏิบัติตามแผนงาน และระบบวัดประสิทธิผลที่เชื่อมโยงกับเปาหมายองคกรทุกระดับ  ปญหาเครื่องจักรขัดของ เปนประเด็นหลักที่สงผลกระทบ ตอผลิตภาพการดําเนินงาน โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมซึง่ กอให เกิดการสูญเสียโอกาสในการแขงขันและผลตอบแทนทางธุรกิจ ผูประกอบการจึงตองใหความสําคัญกับกิจกรรมบํารุงรักษาเพื่อ ลดผลกระทบดังกลาว ประสิทธิผลการดําเนินงานจะเกิดขึ้นไดจากความรวม มือระหวางฝายบํารุงรักษาและผูรับผิดชอบทุกฝาย รวมถึงการ ปฏิบัติตามแผนงาน และระบบวัดประสิทธิผลที่เชื่อมโยงกับ เปาหมายองคกรทุกระดับ ซึ่งตองมีการจัดเก็บขอมูลที่แมนยํา และสนับสนุนการรายงานผลเพื่อเปนขอมูลปอนกลับในการ ปรับแผน หัวใจสําคัญของระบบวัดผลจะตองสามารถติดตามและ จัดเก็บขอมูลเพื่อเชื่อมโยงกับมาตรวัดผลทุกระดับที่มีความ สัมพันธกัน เพื่อแจงเตือนและรายงานผลการดําเนินงาน ความสําเร็จของการพัฒนาระบบวัดผลจะตองสอดคลอง กับกลยุทธองคกร โดยมาตรวัดเปนเสมือนคําถามทีจ่ ะบอกวา เรา กําลังจะไปทางไหน อะไรคือปจจัยแหงความสําเร็จ เปาหมายเรา อยูที่ไหน และเราควรทําอยางไรเพื่อบรรลุเปาหมาย ส วนแนวทางพัฒนา KPI อาจใช ร ายงานข อมูลหรื อ ผลลัพธที่จัดเก็บในระบบสารสนเทศเพื่อกําหนดตัวชี้วัด การ จัดทํา KPI นอกจากถูกใชเปนเครื่องมือสนับสนุนการบริหาร ทรัพยากรการผลิต อาทิ เครื่องจักรหรือสินทรัพยที่สนับสนุน การดําเนินธุรกิจแลว ยังถูกใชสื่อสารกลยุทธระดับองคกร เพื่อ ใหทุกคนไดรับทราบถึงเปาหมายทางธุรกิจ ดังนั้นกอนเริ่มจัด ทํา KPI จะตองศึกษาความสําคัญของตัวชี้วัด ซึ่งเปาหมายและ www.me.co.th

วัตถุประสงคขององคกรจะตองเชื่อมโยงกับกลยุทธที่สนับสนุน ใหองคกรเกิดความไดเปรียบในการแขงขัน

การวัดประสิทธิผลกระบวนการ

ปจจุบันผูประกอบการภาคอุตสาหกรรมไดมุงไปที่ประสิทธิผลกระบวนการ โดยเฉพาะการวิเคราะหประเมินความ สูญเปลาและสาเหตุปญหาซอนเรนเพื่อขจัดลดความสูญเสีย รวมถึงการวัดผลที่ใหขอมูลเพื่อใชเทียบเคียงผลการดําเนินงาน ดวยมาตรวัด ซึง่ บอกถึงการพัฒนาผลิตภาพทีเ่ ปลีย่ นแปลงตาม รอบเวลา โดยทั่วไปมาตรวัดประสิทธิผลกระบวนการ ประกอบดวย 1. ความพรอมใชงานเครื่องจักร (Availability) โดย จําแนก ดังนี้ 1. เวลาปฏิบัติการ (Operation Time) เปนผลรวมเวลา ที่ถูกใช ในแตละฝายงานหรือสายการผลิต ไดแก - อัตราการใชงานทีก่ อ ใหเกิดผลิตผล (Productive Utilization) เปนเวลาที่เครื่องจักรถูกใชงานตามหนาที่การทํางานหลัก - อัตราการใชงานที่ ไมกอใหเกิดผลิตผล (Unproductive Utilization) อาทิ ชวงเวลาพัก เวลาที่ใช ในการประชุม เวลา รอคอยวัตถุดิบ - เวลาวาง (Idle Time) เปนเวลาที่เครื่องจักรพรอมใชงานแต ไมไดทําการเดินเครื่อง 2. เวลาสําหรับงานบํารุงรักษา (Maintenance Time) เปนชวงเวลาที่เครื่องจักรไมพรอมใชงานเนื่องจากการดําเนิน กิจกรรมบํารุงรักษา โดยแบงชวงเวลานี้ ไดเปน 

402, กันยายน 2560

59


ทดลอง

อานฟรี

รูปแบบ

E-Magazine

Download ไดที่ :   



 

www.me.co.th

โทรศัพท 02-862-1396-9


อาคม ดีวรัตน[1], ปฐมพงษ หอมศรี[2], ประสิทธิ์ การนอก[3] [1] กรรมการผูจัดการ [2, 3] ที่ปรึกษาประจํา

รูปแบบการบริหารจัดการทางวิศวกรรม / SME

บริษัท ไมเนอร วิศวกรรม จํากัด บริษัท ซิกา อินโนเวชั่น จํากัด (มหาชน)

การสรางรูปแบบการบริหารจัดการ ทางวิศวกรรมสําหรับวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม

แนวทางการวินิจฉัยดานการเงิน เพื่อเปรียบเทียบขอมูลในดานตางๆ และการวิเคราะหจุดเดน-จุดดอย ตลอดจนแนวทางการปรับปรุง รวมทั้งการปรับตัวขององคกรใหเขากับสภาพการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรม  การลงทุนภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม การเปนผูป ระกอบการหรือเจาของกิจการ โดยส ว นใหญ จ ะเริ่ ม ต น จากการเป น ผู  ประกอบการขนาดเล็ ก และขนาดยอ ม กอน หลังจากนั้นเมื่อกิจการเจริญเติบโต ขึ้นหรือประสบความสําเร็จ จึงพัฒนาตัว เองมาเปนองคกรขนาดใหญ ซึ่งเปนดาน แหงความสําเร็จ แตในอีกดานของการดําเนินธุรกิจ บางครั้งก็ประสบกับปญหาในการดําเนิน งาน ไมสามารถแกไขหรือปรับตัวได และ ในทีส่ ดุ ทําใหตอ งเลิกลมกิจการไป และยัง เกิดปญหาอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย ไมวา จะเปนหนี้สิน การวางงานของพนักงาน เปนตน ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมที่ กอตัง้ ขึน้ มาเพือ่ รองรับงานภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอยางยิง่ ทีเ่ กี่ยวของกับงานทาง วิศวกรรม ในการบริหารจัดการตางๆ จําเปน ตองกําหนดระดับมาตรฐานไวสูง และยัง ตองอิงหลักวิชาการดานวิศวกรรม ยิ่งทํา ใหตองมีการจัดการอยางเปนระบบ และ เปนมาตรฐานตามหลักวิชาการ ปญหาเหลา www.me.co.th

องคประกอบของการดําเนินงาน ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม เพื่ อ ความอยู  ร อดและเติ บ โตนี้ จ ะต อ ง ทําควบคูไปกับการเจริญเติบโตของภาค เศรษฐกิ จ และอุ ต สาหกรรม คื อ การ บริหารจัดการในดานตางๆ เชน 1. เงินทุนหมุนเวียนหรือกระแส เงินสดตองเพียงพอตอการดําเนินการให เปนไปตามแผนงาน 2. แรงงานทีม่ คี ณ ุ ภาพในสองดาน คือ คุณภาพของคน และคุณภาพฝมอื ใน การทํางานของพนักงานในองคกร 3. วัสดุและอุปกรณ ในการทํางาน จะตองเปนไปตามมาตรฐาน และความ ตองการของลูกคา 4. การบริหารจัดการที่เปนไปตาม ความตองการของลูกคา ดวยเหตุผลดังกลาว จึงเปนเหตุ ใหวิสาหกิจกิจขนาดกลางและขนาดยอม จะตองดําเนินการในกิจการที่เกี่ยวของ กับอุตสาหกรรมหรือโรงงานตางๆ โดย อาศัยหลักวิชาการและวิศวกรรม เพือ่ ลด ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินธุรกิจ

นี้ จึงกลายเปนอุปสรรคของผูประกอบ การและเปนขอจํากัดในการตอบสนอง ความตองการของลูกคา ความจํ า เป น ที่ ต  อ งมี ม าตรฐาน การจัดการสูง และอิงหลักวิชาการดาน วิศวกรรมของลูกคา จึงเปนความตองการ ที่แตกตางไปจากการลูกคาในกลุมธุรกิจ อื่ น ๆ ดั ง นั้ น ผู  ป ระกอบการวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ที่มี เปาหมายการตลาดอยูที่การบริการดาน อุตสาหกรรมนี้ จึงตองปรับตัวเพื่อใหมี คุณสมบัติเปนไปตามความคาดหวังและ ความตองการของลูกคา จากป ญ หาดั ง กล า ว ผู  ป ระกอบ การจึงตองมีการปรับปรุงเพื่อแก ไขจุด ออนหรือขอบกพรองที่มีอยู และพัฒนา ปรับเปลีย่ นใหกลายเปนจุดแข็ง เพือ่ เพิม่ อํานาจตอรองในการแขงขันและสามารถ ตอบสนองความตองการของลูกคา อีกทัง้ จะตองพัฒนาองคกร โดยมีการตรวจสอบ และปรับตัวเองอยางตอเนื่องอยูตลอด เวลาเพื่อความอยู  รอดและการเติ บ โต ขององคกร 

402, กันยายน 2560

69


โครงการ สรางนักเขียน หนึ่งในโครงการ การพัฒนาขีดความสามารถ วิศวกรและชางเทคนิคไทย เ ยนรวมกับเรา แตยังไมมีประสบการณ ขอเชิญเขียนบทความ ทานใดที่ประสงคจะเปนนักเขี มา จารณาไดที่ก องบรรณาธิการ วารสารเทคนิค มีความยินดี ทางวิชาชีพวิศวกรรม และสงมาพิ สงเสริมนักเขียนใหม และใหคำแนะนำในการเขียนบทความ และสงเสริมใหเกิดทักษะในการ เขียนใหสมบูรณยิ่งขึ้นไป

สนใจติดตอขอแนวทางและรูปแบบการเขียนบทความไดที่ บรรณาธิการจัดการ โทรศัพท 02 862 1396-9 อีเมล editor@me.co.th (บทความที่ดี ควรมีรูปประกอบดวย)


การเลือกแผนประกันชีวิต

รศ.ดร.ยรรยง ศรีสม

สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรมฯ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

การประยุกตเศรษฐศาสตรวิศวกรรม สําหรับเลือกซื้อแผนประกันชีวติ

สมควรจะทําประกันชีวิตเมื่อครอบครัวมีสินทรัพยสุทธินอยกวารายจาย ของครอบครัวในระยะเวลา 5 ป การเลือกแผนประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย ดวยการพิจารณาอัตราผลตอบแทนภายใน (IRR) พรอมทั้งแสดงการคํานวณ อัตราผลตอบแทนภายใน ดวยวิธีลองผิดลองถูก และคํานวณผานทางเว็บเพจ  สมัยรัชกาลที่ 5 คณะฑูตจากประเทศอังกฤษไดขอพระบรม ราชานุญาตให บริษทั อีสเอเซียติก จํากัด ของชาวอังกฤษดําเนิน ธุรกิจรับทําประกันชีวิตแบบตลอดชีพใหกับประชาชนชาวไทย และชาวตางประเทศในประเทศไทย ซึ่งเปนตัวแทนประกันชีวิต ของ บริษัท เอควิตาเบิลประกันภัย จํากัด แหงกรุงลอนดอน ซึ่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวไดทรงพระบรมราชา อนุญาต โดยมีสมเด็จพระยาบรมมหาศรี สุริยวงศ เอกอัครมหาเสนาบดี เปนผูถือกรมธรรมประกันชีวิตเปนคนแรกของ ประเทศไทย หลังจากนั้นมาธุรกิจประกันชีวิตก็ ไมประสบผล สําเร็จเพราะกรมธรรมตอ งสงมาจากประเทศอังกฤษและคนไทย ก็ยังไมใหความสนใจ เพราะสมัยนั้นคนไทยสวนใหญประกอบ อาชีพเกษตรกรรมเปนหลัก มีรายไดตํ่า มีคาครองชีพตํ่า และ การศึกษากระจายไมทั่วถึง ธุรกิจประกันชีวิตจึงตองหยุดชงักไป ในปลายรัชกาลที่ 5 นั่นเอง มนุษยทกุ คนตางก็มงุ มัน่ เพือ่ จะสรางรายไดและทรัพยสนิ ตามความสามารถของแตละคน การตั้งเปาหมายอยางชัดเจน มีความรูความสามารถ มีความพยายาม มีโอกาส มีความมุงมั่น www.me.co.th

และอดทนตอสู ในที่สุดความสําเร็จก็เกิดขึ้นและมีทรัพยสินเงิน ทองจํานวนมากตามความตองการ มีชวี ติ มัน่ คงสมดังความตัง้ ใจ ทุกประการ พรอมทั้งเปนคนดีที่กระทําสิ่งที่กอใหเกิดประโยชน แกทุกๆ ฝาย ไดแก ตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และมวลมนุษยชาติ สิ่งที่จําเปนในการดํารงชีวิตของมนุษย คือ ปจจัย 4 ไดแก อาหาร เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย และยารักษาโรค แต เมื่อมีปจ จัย 4 ครบถวนแลวก็มกั จะตองการมีปจ จัยที่ 5 ที่ 6 ตาม มาอีก เชน รถยนต คาเลาเรียนบุตร สมารทโฟน เปนตน ซึง่ เปนภาระทีแ่ ตละคนสรางขึน้ มาแตกตางกัน การทํางานหารายได เพือ่ ไปเปนรายจายใหกบั ภาระตางๆ ที่ไดสรางขึน้ มา สวนทีเ่ หลือ ก็จะเก็บเปนเงินออมเพื่อเอาไว ใชจายยามจําเปนในอนาคต หากไมเกิดเหตุการณที่เปนปญหาชีวิตของมนุษย ดังแสดงใน รูปที่ 1 1. อายุสั้น ถาหัวหนาครอบครัวตองจากไปกอนวัยอัน สมควร แตภาระของครอบครัวยังคงมีอยู เชน คาผอนบาน คา ผอนรถยนต คาใชจา ยของครอบครัว คาเลาเรียนบุตร คาเลีย้ งดู 

402, กันยายน 2560

79


การ ทยาแหงชาติ เยี่ยกองบรรณาธิ มชม สถาบันมาตรวิ

เยี่ยมชม สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

เยี่ยมชม สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ

องคกรที่รับผิดชอบในการรักษามาตรฐานการวัดแหงชาติ และการบริการสอบเทียบเครื่องมือวัด รวมทั้งใหคําปรึกษาดานมาตรวิทยาของประเทศ  ประเทศชาติ จ ะมี ก ารพั ฒ นาทาง เศรษฐกิจไดอยางตอเนื่องและประสบ ความสํ า เร็ จได จะต อ งมีก ารปรับปรุง เทคโนโลยี ใ นกระบวนการผลิ ต ซึ่ ง เป น องค ป ระกอบสํ า คั ญ ในการผลั ก ดั น การพั ฒ นาทางเศรษฐกิ จ ดั ง กล า ว กระบวนการผลิตที่มุงสูขีดความสามารถ ทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาก เทาไร ความละเอียดแมนยําและความถูก ตองในการวัดก็มีความสําคัญมากตามไป ดวย โดยเฉพาะการผลิตที่ใชเทคโนโลยี ชั้นสูงที่มุงเนนสมรรถนะและคุณภาพให มากทีส่ ดุ ในตนทุนการผลิตทีจ่ ะตองตํา่ ลง

90

402, กันยายน 2560

นัน้ ยิง่ จําเปนตองอาศัยความสามารถทาง ดานการวัดเปนพิเศษ ระบบการวัดแหงชาติทมี่ ปี ระสิทธิภาพ จึงเปนโครงสรางพื้นฐานของการ วัด ซึ่งเปนหลักประกันในการสรางความ มั่นใจตอผลการวัด และนําไปสูการยอม รับในระบบทดสอบและตรวจสอบของ ประเทศ ซึ่ ง เป น การสนั บ สนุ น ในด า น การคาระหวางประเทศอีกดวย ทั้งนี้พื้น ฐานหลักที่ภาคอุตสาหกรรมไทยสามารถ พัฒนาสินคาใหไดมาตรฐานทัดเทียมตาง ประเทศนั้น เครื่องมือวัดและอุปกรณที่ ใช ในการผลิตและตรวจสอบสินคาตองมี

ความถูกตองและแมนยํา ซึ่งระบบมาตร วิทยาจะเปนหลักประกันผลจากการวัด ดังกลาว วารสารเทคนิคฉบับนี้ จะพาทานไป รูจักหนวยงานที่รับผิดชอบและเปนหลัก ประกันมาตรฐานการวัดระดับประเทศ และระดั บ สากล นั่ น คื อ สถาบั น มาตร วิทยาแหงชาติ

ที่ตั้งและนโยบาย

สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ อยู ที่เทคโนธานี รังสิต คลองหา จังหวัด ปทุ ม ธานี ซึ่ ง มี พื้ น ที่ ก ว า งขวางและมี

www.me.co.th


เรื่องจากปก

บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จํากัด

ครบเครื่องทุกพารามิเตอรสําหรับงาน

Vibration and Maintenance

ฟลุค..โดยเมเชอร โทรนิกซ มั่นใจบริการหลังการขาย

เครื่องจักรอุตสาหกรรม

เราคือผูเชี่ยวชาญงานบํารุงรักษาเครื่องจักรอุตสาหกรรม มีเครื่องมือวัด, ทดสอบ และวิเคราะห ครบทุกความตองการ ความสั่นสะเทือน

Fluke 810 วิเคราะหความสั่นสะเทือน

พลังงานไฟฟา

Fluke 805 FC วัดความสั่น

ฉนวนไฟฟา

ตั้งศูนยเพลา

Fluke 830 ตั้งศูนยเพลาดวยเลเซอร

ความรอน

อัลตราซาวด

CTRL UL101 วัดและวิเคราะหอัลตราซาวด

www.measuretronix.com /maintenance

ความเร็วรอบ

บริษัท เมเชอร โทรนิกซ จํากัด

Fluke 438-II วิเคราะหกําลังไฟฟา/มอเตอร

Fluke 1587FC/1577 วัดความตานทานฉนวนไฟฟา

Fluke Ti Series วิเคราะหภาพถายความรอน

 ปจจุบันโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศไทยสวนใหญที่มี ลักษณะการผลิตแบบตอเนือ่ ง นิยมนําเครือ่ งจักรเขามาใชมาเพือ่ เพิ่มผลผลิตใหมากขึ้น และมีคุณภาพในผลิตภัณฑที่สมํ่าเสมอ เทาเทียมกัน เครื่องจักรเปนปจจัยที่มีความสําคัญตอการผลิต มาก จึงจําเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตองดูและรักษาเครือ่ งจักรไมใหหยุด ขณะทํางานและชํารุดนอยที่สุด ดวยเหตุผลดังกลาว ผู ใชงานจึงพยามหาจะหาวิธีในการ ตรวจสอบสภาพเครื่องจักร โดยการแบงตามความสําคัญของ เครื่องจักรแตละประเภท เพื่อจัดหมวดหมูและวิธีการในการ บํารุงรักษา ในการบํารุงรักษาเครื่องจักรแตละประเภทมีสภาวะการ ทํางานที่แตกตางกัน เราจึงจัดลําดับและวิธีการตรวจประมาณ ซอมบํารุงใหเหมาะสมและสอดคลองกันเพื่อรักษาเสถียรภาพ ความนาเชื่อถือของการทํางานของเครื่องจักรขณะผลิต โดยมี รายละเอียดของการบํารุงรักษาที่สําคัญตางๆ ดังนี้ www.me.co.th

Fluke 820-2 Stroboscope

สนใจติดตอ : คุณสารกิจ 08-1641-8438 sarakit@measuretronix.com Line ID : @measuretronix.ltd

1. การบํารุงรักษาแบบซอมเมื่อเสีย (Breakdown Maintenance)

การบํารุงรักษาแบบซอมเมื่อเสีย เปนวิธีการบํารุงรักษา แบบเกาที่ใชกับเครื่องจักรที่ไมมีความสําคัญตอการผลิต และ เปนเครือ่ งจักรที่ไมมชี นิ้ สวนอะไหลทซี่ บั ซอนและหาอะไหลเปลีย่ น ไดทวั่ ไปโดยไมตอ งรอเวลาในการสัง่ ซือ้ เชน หลอดไฟโรงอาหาร, ปมนํ้าในหองนํ้า, แสงสวางทางเดิน, พัดลมระบายอากาศ 

402, กันยายน 2560

97


การบํารุงรักษาเนนความเชื่อถือได (Reliability Centered Maintenance) การบํารุงรักษาเนนความเชือ่ ถือได (Reliability Centered Maintenance; RCM) มีบทบาทสําคัญตอความสําเร็จ ของอุ ต สาหกรรมการบิ น พาณิ ช ย ม า ตลอดกวา 40 ป ชวยเพิ่มความเชื่อถือ ไดของเครื่องบิน ใหทําการบินไดอยาง ปลอดภัย อีกทั้งยังชวยลดคาใชจายใน การบํารุงรักษาไดอยางมากมาย นอกจาก นี้ RCM ยังถูกนําไปใชกบั หนวยงานทาง ทหารของสหรัฐอเมริกา และในประเทศ อืน่ ๆ ดวย ทุ ก วั น นี้ อุ ต สาหกรรมการผลิ ต และบริการทัว่ โลกไดนาํ RCM มาใชดว ย เช น กั น เพื่ อ เพิ่ ม ความเชื่ อ ถื อ ให แ ก สินทรัพย และชวยลดคาใชจา ยการบํารุง รักษาสินทรัพยเหมือนกับอุตสาหกรรม การบิน หนังสือเลมนี้จะชวยใหผูอานเกิด ความรู ในการบํารุงรักษาเนนความเชือ่ ถือ ได โดยเฉพาะอยางยิ่งเปนการสนับสนุน การเพิ่มขีดความสามารถ และศักยภาพ ในการแขงขันใหกบั ภาคอุตสาหกรรมการ ผลิตและบริการ ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจและ

ISBN 978-974-686-131-1 หนวยงานทางดานความมั่นคง ตลอดจน สนับสนุนการจัดการดานความปลอดภัย ในกระบวนการผลิตของกรมโรงงานและ การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย หนังสือนี้แบงเนื้อหาออกเปน 11 บท คือ 1. แนะนําการบํารุงรักษาเนน ความเชื่อถือได 2. บริบทที่ ใชงาน 3. หนาที่ 4. การลมเหลวของหนาที่ 5.

รูปแบบความเสียหาย 6. ผลที่เกิดจาก ความเสียหาย 7. ผลพวงความเสียหาย 8. กลยุทธเชิงรุก 9. กลยุทธเพิกเฉย 10. การตรวจสอบผลการวิเคราะหและ การนําไปใช 11. การทํา RCM ใหประสบผลสําเร็จ นอกจากนี้ ภาคผนวกยังไดรวบ รวมขอมูลที่สําคัญ คือ เทคนิคการตรวจ สอบสภาพ, คําถามและคําตอบทีพ่ บบอย เกี่ยวกับ RCM หนังสือนี้เขียนโดย สุภนิติ แสง ธรรม จัดพิมพและจําหนายโดย บริษัท เอ็ ม แอนด อี จํ า กั ด หนา 168 หน า กระดาษปอนด ราคา 250 บาท สนใจติดตอสัง่ ซือ้ ไดที่ ศูนยหนังสือ เอ็มแอนดอี เลขที่ 77/111 อาคารสิน สาธรทาวเวอร ชัน้ 26 ถ.กรุงธนบุรี แขวง คลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 (BTS สถานีกรุงธนบุรี) โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 อีเมล member@me.co.th เว็บไซต www.me.co.th หรือตามรานหนังสือชั้น นําทั่วไป •

การแกปญหาชางยนต

ISBN 978-616-08-1618-7 รถยนต ไดกลายเปนปจจัยสําคัญ ต อ การดํ า เนิ น ชี วิ ต ของมนุ ษ ย ในยุ ค www.me.co.th

ปจจุบัน อีกทั้งการพัฒนารถยนตจนมา ถึงขณะนี้นับวามีความกาวหนาและซับ ซอนเปนอยางมาก ทําใหเมื่อเกิดปญหา ขัดของ จึงไมสามารถแกไขหรือซอมได ดวยตนเอง หนังสือนี้แบงเนื้อหาออกเปน 8 บท คือ 1. งานวางแผนการแกปญ  หางาน ชางยนต 2. การแกปญ  หาขอขัดของของ เครื่องยนตแกสโซลีน 3. การแกปญหา ขอขัดของของเครื่องยนตดีเซล 4. การ แกปญหาขอขัดของของระบบสงกําลัง รถยนต 5. การแกปญหาขอขัดของของ ระบบเครือ่ งลางรถยนต 6. การแกปญ  หา ขอขัดของของระบบไฟฟารถยนต 7. การ แกปญ  หาขอขัดของของระบบปรับอากาศ 

รถยนต 8. การแกปญหาขอขัดของของ ระบบอํานวยความสะดวกรถยนต หนังสือนี้เขียนโดย ประสานพงษ หาเรือนชีพ จัดพิมพ โดย ซีเอ็ดฯ หนา 528 หนา กระดาษปอนด ราคา 230 บาท สนใจติดตอสัง่ ซือ้ ไดที่ ศูนยหนังสือ เอ็มแอนดอี เลขที่ 77/111 อาคารสิน สาธรทาวเวอร ชัน้ 26 ถ.กรุงธนบุรี แขวง คลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 (BTS สถานีกรุงธนบุรี) โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 อีเมล member@me.co.th เว็บไซต www.me.co.th หรือตามรานหนังสือชั้น นําทั่วไป •

402, กันยายน 2560

109



AR Anatomy สื่อการเรียนรู กายวิภาคศาสตรและสรีรวิทยามนุษย ดวยเทคโนโลยีเสมือนจริง

แอพพลิเคชั่น AR Anatomy

มจธ. พัฒนา AR Anatomy อีกหนึง่ ผลงานการสรางสรรคสื่อเพื่อการศึกษา ในยุคดิจิทัล จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) ชวยเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพการเรี ย นรู  แ ละจดจํ า บท เรียนพืน้ ฐานวิชากายวิภาคศาสตร ใหเด็ก ไทยดวยแอพพลิเคชั่นบนสมารทโฟน การอ า นหนั ง สื อ เปน ช อ งทางใน การสะสมความรูที่งายที่สุด ในชวงไมกี่ป ทีผ่ า นมานีค้ นไทยมีอตั ราการอานหนังสือ เพิม่ มากขึน้ ถึงแมจะยังไมสงู มากนัก และ จากขอมูลของสํานักงานสถิติแหงชาติ พบวาการอานหนังสือประเภทตําราเรียน หรือความรูวิชาการนั้นมีผู ใหความสนใจ คอนขางนอยมาก เมื่อเทียบกับหนังสือ ประเภทอื่นๆ โดยปจจัยหลักเกิดจากการ ไมมีเวลา ชอบดูโทรทัศน ไมชอบอาน หนังสือ รวมถึงการอานหนังสือไมออก www.me.co.th

เนื่ อ งจากป จ จุ บั น มี ป  จ จั ย ต า งๆ ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ การอ า นมากขึ้ น ไม ว  า จะเป น สื่ อ ดิ จิ ทั ล หรื อ หนั ง สื อ ที่ ม าใน รู ป แบบ e-book ก็ ต าม ด ว ยเหตุ นี้ นางสาวศญาดา ก อ กิ จ ความดี จาก กลุ  ม วิ ช าเอกเทคโนโลยี มีเดียชีวการ แพทย และนายปณณวิชญ คําตาย กลุม วิช าเอกดิ จิ ทั ล สาขาเทคโนโลยี มี เ ดี ย โครงการรวมบริหารหลักสูตรมีเดียอาตส และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) ไดรวมกัน พัฒนาผลงาน “สื่อการเรียนรูกายวิภาค ศาสตรและสรีรวิทยามนุษยดวยเทคโนโลยีเสมือนจริง” ที่ชวยสงเสริมการเรียน รูกายวิภาคศาสตร ในรูปแบบสามมิติโดย ใชเทคโนโลยีภาพเสมือน (Augmented Reality) ในรู ป แบบแอพพลิ เ คชั่ น บน ระบบแอนดรอยดที่ชื่อวา AR Anatomy 

โดยใช ร  ว มกั บ โปสเตอร ป ระกอบการ แสดงผลที่ เ ป น ภาพสรี ร ะร า งกายของ มนุษย ซึ่งมีการทํามารคเกอร (Marker) ไว ในจุ ด ที่ ต  อ งแสดงรายละเอี ย ดของ สรีระสวนตางๆ เพื่อเชื่อมตอและแสดง ผลผานแอพพลิเคชั่นบนสมารทโฟน นางสาวศญาดา ก อ กิ จ ความดี กลาววา “เมื่อตอนขึ้นปสองไดเริ่มเรียน วิชากายวิภาคศาสตรซึ่งเปนวิชาที่ตอง ท องจํ า คํ า ศั พท ต า งๆ เป น จํ า นวนมาก จําไดวาตอนนั้นมีความรูสึกวาไมอยาก อานหนังสือเพราะตัวหนังสือมากและ หนังสือเลมก็หนา จึงเปนแรงบันดาลใจ ให พั ฒ นาแอพพลิ เ คชั่ น นี้ ขึ้ น มา เพื่ อ สรางแรงจูงใจในการอานหนังสือโดยมี

นายปณณวิชญ คําตาย และ นางสาวศญาดา กอกิจความดี

402, กันยายน 2560

111


สัมมนา เคล็ดลับการเพิ่มประสิทธิภาพและการประหยัดพลังงานไฟฟา เอ็มแอนดอี ขอเสนอหลักสูตรสมบูรณแบบในการเพิ่มประสิทธิภาพและประหยัดพลังงานไฟฟา ซึ่งสามารถลดคาไฟฟาของ ผู ใช ไฟฟาประเภทตางๆ และลดคาไฟฟาจากระบบใชพลังงานตางๆ ในโรงงานและอาคาร ดวยการบริหารจัดการพลังงานไฟฟาและ อุปกรณ ไฟฟาอยางมีประสิทธิผล ทําใหผูเขารวมสัมมนาสามารถนําความรูที่ ไดรับไปปฏิบัติงานไดอยางแทจริง วันที่ 13 กันยายน 2560 ณ หองสเตชั่น 4 ชั้น 16 โรงแรมไพรม เซ็นทรัล สเตชั่น กรุงเทพฯ (เยื้องหัวลําโพง) วิทยากร รองศาสตราจารย ดร.กีรติ ชยะกุลคีรี

ผูอํานวยการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต และวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการพลังงานและสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม

เนื้อหาสาระ

1. การคํานวณทางไฟฟากําลังและการวิเคราะหคาไฟฟาของผู ใชไฟฟาแตละประเภท 2. การลดคาไฟฟาจากการบริหารคาความตองการพลังไฟฟาสูงสุด และการปรับปรุงคาตัวประกอบกําลัง 3. การประหยัดพลังงานในระบบไฟฟากําลัง ระบบไฟฟาแสงสวาง ระบบปรับอากาศ มอเตอร และการวิเคราะหความคุมคาในการลงทุน 4. การตรวจวิเคราะหการใชพลังงานไฟฟาและประสิทธิภาพของอุปกรณไฟฟา และการ วิเคราะหประสิทธิภาพการใชพลังงานดวยวิธที างสถิติ

ประโยชนที่จะไดรับ

1. 2. 3. 4.

ทราบวิธีการวิเคราะหสวนประกอบคาไฟฟาและดัชนีตนทุนคาไฟฟา เพื่อใชหาแนวทางลดคาไฟฟา ทราบหลักการ แนวทางและวิธีการในการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบใชพลังงานตาง ทราบหลักการ และวิธีการวิเคราะหผลลัพธการลดคาไฟฟาจากระบบและอุปกรณตางๆ ทราบวิธีการลดคาไฟฟาจากกรณีศึกษาตางๆ ที่สามารถนําไปประยุกต ใชงานไดจริง

เหมาะสําหรับ

1. 2. 3. 4.

ผูจ ดั การฝายวิศวกรรม และผูจ ดั การฝายบํารุงรักษา วิศวกรไฟฟากําลัง และชางไฟฟากําลังประจําโรงงานและอาคาร วิศวกร และเจาหนาทีผ่ รู บั ผิดชอบทางดานพลังงานของโรงงานและอาคาร ผูส นใจทีต่ อ งการเพิม่ ความรูแ ละทักษะในการบริหารจัดการพลังงานไฟฟาเพือ่ การลดคาไฟฟา

วิทยากร

รองศาสตราจารย ดร.กีรติ ชยะกุลคีรี - ผูอ าํ นวยการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต และวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ จัดการพลังงานและสิง่ แวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม - ที่ปรึกษาดานพลังงานในโครงการชุบชีวิตธุรกิจไทยกระทรวงอุตสาหกรรม - ผูเชี่ยวชาญดานพลังงานในโครงการอนุรักษพลังงานแบบมีสวนรวม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน - วิทยากรบรรยายฝกอบรมใหหนวยงานตางๆ เชน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน, ศูนยแมขายพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอยางตอเนื่อง

หัวขอสัมมนา

1. การคํานวณทางไฟฟากําลังและการวิเคราะหคาไฟฟาของผู ใชไฟฟา แตละประเภท - การคํานวณทางไฟฟากําลัง ระบบไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส - กําลังงานไฟฟา และตัวประกอบกําลัง - คาไฟฟาแตละประเภท - องคประกอบของคาไฟฟา และการคํานวณคาไฟฟา 2. การลดคาไฟฟาจากการบริหารคาความตองการพลังไฟฟาสูงสุด (Maximum Demand) และการปรับปรุงคาตัวประกอบกําลัง (Power Factor) - การวัดคาความตองการพลังไฟฟาสูงสุด - การวิเคราะหตัวประกอบภาระไฟฟา (Load Factor) - แนวทางการลดคาไฟฟาจากการบริหารคาความตองการพลังไฟฟาสูงสุด - การปรับปรุงคาตัวประกอบกําลัง 3. การประหยัดพลังงานในระบบไฟฟากําลัง ระบบไฟฟาแสงสวาง ระบบปรับอากาศ มอเตอร และการวิเคราะหความคุมคาในการลงทุน - การประหยัดพลังงานในระบบไฟฟากําลัง - การประหยัดพลังงานในระบบไฟฟาแสงสวาง - การประหยัดพลังงานในระบบปรับอากาศ - การประหยัดพลังงานในมอเตอร และการใชอุปกรณ ปรับความเร็วรอบของมอเตอร (Variable Speed Drive) - การวิเคราะหการลงทุนและมูลคาตลอดอายุของโครงการ (Life Cycle Cost) 4. การตรวจวิเคราะหการใชพลังงานไฟฟาและประสิทธิภาพของอุปกรณ ไฟฟา และการวิเคราะหประสิทธิภาพการใชพลังงานดวยวิธีทางสถิติ - เครื่องมือและวิธีการในการตรวจวิเคราะหประสิทธิภาพ ของอุปกรณไฟฟา - วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล วิธีการวิเคราะหและรูปแบบ การนําเสนอขอมูลการใชไฟฟา - การวิเคราะหประสิทธิภาพการใชพลังงานดวยวิธีทางสถิติ

วันพุธที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2560

มอบประกาศนียบัตร หลังจบการสัมมนา

กรุณากรอกชื่อ-นามสกุลตัวบรรจง เพื่อความถูกตอง ของประกาศนียบัตร

ใบสมัคร

8.00 - 9.00 9.00 - 16.00

ลงทะเบียน หัวขอสัมมนา

สมัครดวน ! รับจํานวนจํากัดเพียง 50 ทานเทานั้น

เลขที่สมาชิกวารสารเทคนิค........................................................................................ 1. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 2. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 3. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... บริษทั ............................................................................................................................................................ โทรศัพท...................................................................... โทรสาร.......................................................... ที่อยู ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ทราบการสัมมนาจาก ì วารสาร ì ใบปลิว ì เว็บไซต ì อีเมล ì อื่นๆ....................................................................................................................................................

หมายเหตุ : คาสัมมนาสามารถหักภาษี ณ ที่จายได 3% กรณีไมมีหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จายตองชําระคาสัมมนาเต็มจํานวน

กรณีไมสามารถเขาอบรมได บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิไมคืนคาอบรมทั้งจํานวน

อัตราคาสัมมนา ชํ า ระเงิ น ก อ น 30 ส.ค. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป ชํ า ระเงิ น หลั ง 30 ส.ค. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป

ทานละ

VAT 7%

สุทธิ

3,100 3,400

217 238

3,317 3,638

3,400 3,700

238 259

3,638 3,959

ชองทางการสมัครสัมมนา • ทาง FAX : 02 862 1395 • ทาง E-mail : member@me.co.th • ทาง Inbox Facebook : www.facebook.com/meBOOKSHOP

การชําระเงิน ì เช็คสั่งจาย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ì ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 158-0-82377-9 ì ธนาคารกสิ​ิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่บัญชี 765-2-59700-3 ì ธนาคารไทยพาณิชย สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 055-2-30081-7 โอนเงินวันที่.................................................. (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) ลงชื่อ.................................................................................................................................................

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (สํานักงานใหญ)

กรุณาแนบใบหักภาษี ณ ที่จาย มาพรอมกับคาลงทะเบียน ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (เลขประจําตัวผูเสียภาษี 0105527008994)

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก 1) โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 Homepage : www.me.co.th E-mail : member@me.co.th

คาอบรมถือเปนคาใชจายทางภาษีได 200%

การจองจะมีผลเมื่อไดรับชําระเงินจากทานกอนวันสัมมนา แฟกซหลักฐานการโอนเงินมาพรอมกับใบสมัครนี้ที่หมายเลข 02 862 1395


สัมมนา

การปองกันลัดวงจร-แรงดันตก และการโคออดิเนชันระบบไฟฟา เพื่อความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ระบบไฟฟาจะใชงานไดอยางมีประสิทธิผลและตอเนื่อง ตองมีการปองกันลัดวงจร-แรงดันตก และการ โคออดิเนชันระบบไฟฟาอยางถูกตองและเหมาะสม เอ็มแอนดอีขอเสนอหลักสูตรที่ทําใหผูเกี่ยวของกับการ ออกแบบ, การติดตั้ง, การใชงาน และการดูแลระบบไฟฟา สามารถจัดทําระบบใหเกิดความปลอดภัยและมี ประสิทธิภาพอยางสมบูรณอีกทั้งสอดคลองกับขอกําหนดและมาตรฐานสําหรับประเทศไทย วันที่ 26 กันยายน 2560 ณ หองสเตชั่น 4 ชั้น 16 โรงแรมไพรม เซ็นทรัล สเตชั่น กรุงเทพฯ (เยื้องหัวลําโพง)

วิทยากร ผศ. ชลชัย ธรรมวิวัฒนุกูร กรรมการผูจัดการ บริษัท ทีมโปรเฟสชั่นแนล จํากัด

เหมาะสําหรับ

สิ่งที่ทานจะไดรับจากการสัมมนาครั้งนี้ ปญหาแรงดันตกเปนปญหาหนึ่งที่มักจะเกิดขึ้นในระบบไฟฟาที่ไมเหมาะสม ทําให ตองเสียคาใชจายในการแกไขปญหา ซึ่งบางครั้งคาใชจายในการแกไขกลับมากกวาคา ใชจายในการลงทุนครั้งแรกเสียอีก การเรียนรูหลักการและปญหาแรงดันตกจะทําให สามารถประยุกตและใชงานระบบไฟฟาไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ การเกิดลัดวงจรในระบบไฟฟาเปนปญหาที่เกิดขึ้นและมีผลตอความปลอดภัยและ การเสือ่ มสภาพหรือความเสียหายตอระบบ อีกทัง้ หากมีการจัดระบบไมดจี ะทําใหอปุ กรณ ปองกันตนทางเหนืออุปกรณปอ งกันใกลจดุ ลัดวงจรปลดวงจรดวย (อุปกรณปอ งกันปลด วงจรมากกวา 1 ตัว) ซึ่งเปนอีกหนึ่งปญหาที่พบกันอยูบอยๆ การแกปญหานี้สามารถ ทําได โดยการจัดโคออดิเนชันใหถูกตอง ซึ่งทําใหผูดูแลระบบไฟฟาสามารถบริหาร จัดการระบบไดดีขึ้น และลดปญหาการไมมีไฟฟาใชงานในสวนที่ไมเกี่ยวของกับการ ลัดวงจร

วิทยากร ผศ. ชลชัย ธรรมวิวฒ ั นุกรู เปนกรรมการผูจ ดั การ บริษทั ทีมโปรเฟสชัน่ แนล จํากัด และ เคยเปนอาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย กรุงเทพ เปนผูที่มีประสบการณทางดานการสอนและงานออกแบบและควบคุมการ ติดตัง้ ระบบไฟฟามานานกวา 20 ป เปนผูแ ตงหนั ง สื อการออกแบบและติดตั้งระบบ ไฟฟ า ที่ วิศวกรและชางเทคนิคใชกันอยางแพรหลาย นอกจากนี้ยังเปนวิทยากรให กับหนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนมาเปนเวลานาน อีกทั้งยังทํางาน บริการทางวิชาชีพวิศวกรรมใหกับสมาคมวิชาชีพอีกดวย

1. 2. 3. 4.

วิศวกรที่ปรึกษาระบบไฟฟา วิศวกรไฟฟา และชางไฟฟาทั่วไป วิศวกรผูออกแบบระบบไฟฟา วิศวกรไฟฟา และชางไฟฟาที่ดูแลระบบไฟฟาของอาคาร หรือโรงงานอุตสาหกรรม 5. ผูตรวจสอบระบบไฟฟา 6. ผูที่มีความสนใจเกี่ยวกับความปลอดภัยและระบบไฟฟา

ประโยชนที่จะไดรับ

1. ทราบและเขาใจถึงปญหาแรงดันตก 2. ทราบและเขาใจถึงปญหากระแสลัดวงจร 3. ทราบและเขาใจถึงหลักการจัดโคออดิเนชัน 4. สามารถนําไปประยุกต ใช ในการแกปญหาในระบบไฟฟาได

หัวขอสัมมนา

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ปญหาแรงดันตก สาเหตุและวิธีแกไข การคํานวณแรงดันตกตามมาตรฐานสําหรับประเทศไทย กระแสลัดวงจรในระบบไฟฟา การเลือกใชอุปกรณปองกันในระบบไฟฟา การจัดโคออดิเนชันสําหรับอุปกรณปองกัน ตัวอยางการเลือกใชงาน สรุปและตอบคําถาม

วันอังคารที่ 26 กันยายน 2560

มอบประกาศนียบัตร หลังจบการสัมมนา

8.00 - 9.00 9.00 - 16.00

ลงทะเบียน หัวขอสัมมนา

กรุณากรอกชื่อ-นามสกุลตัวบรรจง เพื่อความถูกตอง ของประกาศนียบัตร

ใบสมัคร

สมัครดวน ! รับจํานวนจํากัดเพียง 50 ทานเทานั้น

เลขที่สมาชิกวารสารเทคนิค........................................................................................ 1. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 2. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 3. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... บริษทั ............................................................................................................................................................ โทรศัพท...................................................................... โทรสาร.......................................................... ที่อยู ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ทราบการสัมมนาจาก ì วารสาร ì ใบปลิว ì เว็บไซต ì อีเมล ì อื่นๆ....................................................................................................................................................

หมายเหตุ : คาสัมมนาสามารถหักภาษี ณ ที่จายได 3% กรณีไมมีหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จายตองชําระคาสัมมนาเต็มจํานวน

กรณีไมสามารถเขาอบรมได บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิไมคืนคาอบรมทั้งจํานวน

อัตราคาสัมมนา ชํ า ระเงิ น ก อ น 12 ก.ย. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป ชํ า ระเงิ น หลั ง 12 ก.ย. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป

ทานละ

VAT 7%

สุทธิ

3,100 3,400

217 238

3,317 3,638

3,400 3,700

238 259

3,638 3,959

ชองทางการสมัครสัมมนา • ทาง FAX : 02 862 1395 • ทาง E-mail : member@me.co.th • ทาง Inbox Facebook : www.facebook.com/meBOOKSHOP

การชําระเงิน ì เช็คสั่งจาย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ì ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 158-0-82377-9 ì ธนาคารกสิ​ิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่บัญชี 765-2-59700-3 ì ธนาคารไทยพาณิชย สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 055-2-30081-7 โอนเงินวันที่.................................................. (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) ลงชื่อ.................................................................................................................................................

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (สํานักงานใหญ)

กรุณาแนบใบหักภาษี ณ ที่จาย มาพรอมกับคาลงทะเบียน ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (เลขประจําตัวผูเสียภาษี 0105527008994)

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก 1) โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 www.me.co.th E-mail : member@me.co.th

คาอบรมถือเปนคาใชจายทางภาษีได 200%

การจองจะมีผลเมื่อไดรับชําระเงินจากทานกอนวันสัมมนา แฟกซหลักฐานการโอนเงินมาพรอมกับใบสมัครนี้ที่หมายเลข 02 862 1395


สัมมนา

การออกแบบเพื่อแก ไขคุณภาพไฟฟา และการเลือกใช-ติดตั้ง-บํารุงรักษา อุปกรณปรับปรุงคุณภาพไฟฟา อยางมีประสิทธิภาพ คุณภาพไฟฟาที่ผิดปกติเปนปญหาใหญ ในระบบไฟฟาและระบบควบคุมรวมทั้งระบบคอมพิวเตอร ซึ่งนอกเหนือจากทําให ระบบทํางานผิดปกติ, ไมปลอดภัย และอาจรุนแรงจนเกิดอุบัติภัยไดแลว ยังทําให ไมประหยัดพลังงานอีกดวย เอ็มแอนดอีจึง ขอเสนอหลักสูตรเพื่อแกปญหาและปรับปรุงคุณภาพไฟฟาอยางมืออาชีพ ที่ผูรวมสัมมนาสามารถนําไปหาสาเหตุของปญหา ทางไฟฟาที่เกิดขึ้น เพื่อหาทางแก ไข รวมทั้งวิธีการเลือกใชอุปกรณแก ไขที่เหมาะสมไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา

วันที่ 27 กันยายน 2560 ณ หองสเตชั่น 4 ชั้น 16 โรงแรมไพรม เซ็นทรัล สเตชั่น กรุงเทพฯ (เยื้องหัวลําโพง)

วิทยากร คุณประสิทธิ์ พัวภัทรกุล

ผูจัดการทั่วไป บริษัท อินเตอรเทค อินดัสทรี แอนด เซอรทิฟเคชั่น เซอรวิสเซส (ประเทศไทย) จํากัด

สิ่งที่ทานจะไดจากการสัมมนานี้

ปจจุบันอุปกรณ เครื่องใชไฟฟา มีความทันสมัย เบา ขนาดเล็กกระทัดรัด และยังสามารถ ตอเขากับอินเทอรเนตได (internet of thing) แตระบบไฟฟาและอุปกรณที่ทันสมัยดังกลาวมี ลักษณะพิเศษที่แตกตางจากอุปกรณแบบเดิมๆ คือมีความไวสูงแตมีความคงทนตอมลภาวะทาง ไฟฟา (disturbance) ลดลง ขณะเดียวกันก็สรางมลภาวะเพิ่มเติมใหกับระบบไฟฟา จะเห็นไดจาก ปญหาระบบไฟฟาหรือควบคุมทํางานผิดพลาดหรือรุนแรง เชน หมอแปลงระเบิดและเพลิงไหมได ซึ่งสาเหตุหนึ่งมาจากการออกแบบที่ไมเหมาะสมกับระบบและอุปกรณไฟฟา การสัมมนานี้มุงเนนใหความรูเกี่ยวกับคุณลักษณะที่เปลี่ยนไปของระบบและอุปกรณไฟฟาสมัย ใหม ความรูความเขาใจใน สาเหตุและผลกระทบของมลภาวะทางไฟฟาชนิดตางๆ รวมทั้งการ เลือกใชงานระบบปรับปรุงคุณภาพไฟฟาใหเหมาะสม เพื่อใหมีการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ และประหยัดพลังงาน

เหมาะสําหรับ 1. วิศวกรที่ปรึกษา / ผูทํางานดานการออกแบบระบบไฟฟา 2. ผูควบคุมงาน / ผูรับเหมางานระบบไฟฟา 3. ผูตรวจสอบระบบไฟฟา รวมทั้งเจาหนาที่ของการไฟฟาฯ 4. ผู ใชงาน / ผูจําหนายอุปกรณปรับปรุงคุณภาพไฟฟาและอุปกรณไฟฟา 5. อาจารยและนักศึกษา 6. ผูสนใจเกี่ยวกับงานระบบไฟฟา

1. 2. 3. ประโยชนที่จะไดรับ 4. - ทราบพื้นฐาน สาเหตุ ผลกระทบของอุปกรณไฟฟาและระบบในปจจุบัน รวมทั้งมลภาวะทางไฟฟา 5. - กลยุทธ ในการออกแบบระบบปรับปรุงคุณภาพไฟฟาแบบครบวงจร - ขอแนะนําในการเลือกใช, ติดตั้งและดูแลอุปกรณปรับปรุงคุณภาพไฟฟาอยางเหมาะสม 6.

หัวขอสัมมนา

พื้นฐานของคุณภาพทางไฟฟา สาเหตุและผลกระทบของมลภาวะทางไฟฟา คุณลักษณะของระบบและอุปกรณไฟฟาสมัยใหม อันตรายจากระบบไฟฟาแบบเดิมเมือ่ ใชงานกับอุปกรณไฟฟาในปจจุบนั การออกแบบระบบปรับปรุงคุณภาพไฟฟาแบบครบวงจร ตั้งแตการตอลงดิน ไปจนถึงการทํางานอยางตอเนื่อง การเลือกใชอปุ กรณปรับปรุงคุณภาพไฟฟาชนิดตางๆ ใหเหมาะกับปญหา และการทํางานของระบบและอุปกรณ วิทยากร 7. การติดตั้งและดูแลระบบปรับปรุงคุณภาพไฟฟา คุณประสิทธิ์ พัวภัทรกุล ผูจ ดั การทัว่ ไป บริษทั อินเตอรเทค อินดัสทรี แอนด เซอรทฟิ เ คชัน่ 8. ถาม-ตอบปญหา เซอรวสิ เซส (ประเทศไทย) จํากัด จบการศึกษาปริญญาโทดานอีเล็กโทรนิกสกาํ ลัง เปนผูม ปี ระสบการณ ในการออกแบบ ใหคําปรึกษา เกี่ยวกับการปรับปรุงคุณภาพไฟฟามานานกวาสิบป โดยเฉพาะการแก มอบประกาศนียบัตร หลังจบการสัมมนา ปญหาใหกับระบบไฟฟาที่ตองการคุณภาพสูงมากๆ เชน ระบบไฟฟาสําหรับดาตาเซนเตอร, ระบบ วันพุธที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2560 ควบคุมของระบบโทรคมนาคมและระบบไฟฟากําลัง ปจจุบันเปนวุฒิวิศวกร และที่ปรึกษาคณะ 8.00 - 9.00 ลงทะเบียน หัวขอสัมมนา อนุกรรมการมาตรฐานดาตาเซนเตอรสาํ หรับประเทศไทย อีกทัง้ ยังเปนวิทยากรใหกบั หลายหนวยงาน 9.00 - 16.00 กรุณากรอกชื่อ-นามสกุลตัวบรรจง เพื่อความถูกตอง ของประกาศนียบัตร

ใบสมัคร

สมัครดวน ! รับจํานวนจํากัดเพียง 50 ทานเทานั้น

เลขที่สมาชิกวารสารเทคนิค........................................................................................ 1. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 2. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 3. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... บริษทั ............................................................................................................................................................ โทรศัพท...................................................................... โทรสาร.......................................................... ที่อยู ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ทราบการสัมมนาจาก ì วารสาร ì ใบปลิว ì เว็บไซต ì อีเมล ì อื่นๆ....................................................................................................................................................

หมายเหตุ : คาสัมมนาสามารถหักภาษี ณ ที่จายได 3% กรณีไมมีหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จายตองชําระคาสัมมนาเต็มจํานวน

กรณีไมสามารถเขาอบรมได บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิไมคืนคาอบรมทั้งจํานวน

อัตราคาสัมมนา ชํ า ระเงิ น ก อ น 13 ก.ย. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป ชํ า ระเงิ น หลั ง 13 ก.ย. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป

ทานละ

VAT 7%

สุทธิ

3,100 3,400

217 238

3,317 3,638

3,400 3,700

238 259

3,638 3,959

ชองทางการสมัครสัมมนา • ทาง FAX : 02 862 1395 • ทาง E-mail : member@me.co.th • ทาง Inbox Facebook : www.facebook.com/meBOOKSHOP

การชําระเงิน ì เช็คสั่งจาย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ì ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 158-0-82377-9 ì ธนาคารกสิ​ิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่บัญชี 765-2-59700-3 ì ธนาคารไทยพาณิชย สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 055-2-30081-7 โอนเงินวันที่.................................................. (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) ลงชื่อ.................................................................................................................................................

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (สํานักงานใหญ)

กรุณาแนบใบหักภาษี ณ ที่จาย มาพรอมกับคาลงทะเบียน ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (เลขประจําตัวผูเสียภาษี 0105527008994)

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก 1) โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 Homepage : www.me.co.th E-mail : member@me.co.th

คาอบรมถือเปนคาใชจายทางภาษีได 200%

การจองจะมีผลเมื่อไดรับชําระเงินจากทานกอนวันสัมมนา แฟกซหลักฐานการโอนเงินมาพรอมกับใบสมัครนี้ที่หมายเลข 02 862 1395


สัมมนา เทคนิคการอนุรักษพลังงานในระบบอัดอากาศ ระบบอัดอากาศมีในโรงงานเกือบทุกแหง และมีโอกาสปรับปรุงใหประหยัดไดดีขึ้น เอ็มแอนดอี จึงขอเสนอหลักสูตรวิธีการปรับปรุงและ ประยุกตระบบอัดอากาศเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพและประหยัดพลังงาน รวมทัง้ การบํารุงรักษาระบบอัดอากาศทีส่ ามารถนําไปปฏิบตั ไิ ดจริงโดย ไมตองใชเครื่องมือที่ยุงยากและสอดคลองกับความตองการใชงาน

วันที่ 10 ตุลาคม 2560 ณ หองสเตชั่น 4 ชั้น 16 โรงแรมไพรม เซ็นทรัล สเตชั่น กรุงเทพฯ (เยื้องหัวลําโพง)

วิทยากร คุณปรเมธ ประเสริฐยิ่ง

กรรมการบริหาร บริษัท การันตี เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด วิทยากร

เนื้อหาสาระ

ป จ จุ บั น ภาคอุ ต สาหกรรมยั ง คงเป น ภาคธุรกิจที่มีการใชพลังงานสูงที่สุดใกลเคียงกับ ภาคขนสง ทั้งนี้เนื่องจากประเทศไทยเปนที่ประเทศที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจใกลเคียง กันอยางตอเนื่อง สงผลใหการใชพลังงานทั้งในภาคอุตสาหกรรม และภาคขนสงสูงขึ้นอยาง ตอเนื่องเชนกัน ซึ่งผูประกอบการสวนใหญยังไมมีความตระหนักหรือใหความสําคัญถึงการ ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพมากนัก โดยเฉพาะผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม (Small and Medium Enterprises , SME) ดังนั้น เอ็มแอนดอี จึงนําเสนอหลักสูตรพิเศษ เทคนิคการอนุรักษพลังงานในระบบอัด อากาศ รวมถึงวิธีการตรวจวัด เก็บขอมูล บันทึก การปรับปรุงระบบ การประยุกตการใชงาน ระบบอัดอากาศและขอมูลปจจัยทีม่ ผี ลตอประสิทธิภาพพลังงานของระบบอัดอากาศ ทีส่ ามารถ นําไปปฏิบัติตามไดดวยตัวเอง โดยไมตองใชเครื่องมือและวิชาการเชิงวิศวกรรมมากนัก

คุณปรเมธ ประเสริฐยิ่ง เปนวุฒิวิศวกรเครื่องกล (วก.485) เปน กรรมการบริหาร บริษัท การันตี เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด เปนผูออกแบบและ พัฒนาการใชฮีตปมในงานประเภทตางๆ ไดแก งานระบบนํ้ารอน งาน ประหยัดพลังงาน งานควบคุมความชื้น เปนตน ทั้งงานในอาคารและ ในงานอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม นอกจากนี้ ยังมีผลงานบทความ วิชาการดานฮีตปมและการประหยัดพลังงานจํานวนมาก

หัวขอสัมมนา

ขั้นตอนการวางแผนการอนุรักษพลังงาน องคประกอบของระบบอัดอากาศ ประเภทเครื่องอัดอากาศ 1. ผูประกอบกิจการ เจาของโรงงาน ตัวแปรปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพพลังงานของระบบอัดอากาศและ 2. ผูจัดการฝายวิศวกรรม ผูจัดการฝายซอมบํารุง คาเกณฑมาตรฐาน 3. วิศวกร และเจาหนาที่รับผิดชอบดานพลังงาน ทั้งสามัญ และอาวุโส 5. เทคนิคการเก็บและบันทึกขอมูลปจจัยที่มีผลตอประสิทธิภาพพลังงาน 4. ผูสนใจในการอนุรักษพลังงานในระบบอัดอากาศ ของระบบอัดอากาศ ประโยชนที่จะไดรับ 6. แนวทางการอนุรักษพลังงานในระบบอัดอากาศ ซึ่งมากกวา 10 มาตรการ 1. ทราบถึงขั้นตอนการวางแผนการอนุรักษพลังงาน 7. การใชเครื่องอัดอากาศอยางไรใหเหมาะสม 2. ทราบความรูพื้นฐานและองคประกอบของระบบอัดอากาศ 8. การบํารุงรักษาเครื่องอัดอากาศ 3. ทราบประเภทเครื่องอัดอากาศและคาพลังงานจําเพาะ 4. ทราบตัวแปรปจจัยทีม่ ผี ลตอประสิทธิภาพพลังงานของระบบอัดอากาศและคาเกณฑมาตรฐาน 9. กลเม็ดเคล็ดไมลับ (Tips & Techniques) ไปใชและถายทอด ใหเกิดประโยชน 5. ทราบแนวทางการอนุรักษพลังงานในระบบอัดอากาศ รวมถึงการวิเคราะหตามมาตรการ 6. สามารถนํากลเม็ดเคล็ดไมลับ (Tips & Techniques) ไปใชและถายทอดใหเกิดประโยชน 10. ถาม-ตอบ ปญหา 7. สามารถนําวิธีการบํารุงรักษาเครื่องอัดอากาศไปตรวจสอบปฏิบัติใหเกิดผล วันอังคารที่ 10 ตุลาคม 2560 8.00 - 9.00 ลงทะเบียน มอบประกาศนียบัตร หลังจบการสัมมนา 9.00 - 16.00 หัวขอสัมมนา

เหมาะสําหรับ

1. 2. 3. 4.

กรุณากรอกชื่อ-นามสกุลตัวบรรจง เพื่อความถูกตอง ของประกาศนียบัตร

ใบสมัคร

สมัครดวน ! รับจํานวนจํากัดเพียง 50 ทานเทานั้น

เลขที่สมาชิกวารสารเทคนิค........................................................................................ 1. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 2. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 3. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... บริษทั ............................................................................................................................................................ โทรศัพท...................................................................... โทรสาร.......................................................... ที่อยู ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ทราบการสัมมนาจาก ì วารสาร ì ใบปลิว ì เว็บไซต ì อีเมล ì อื่นๆ....................................................................................................................................................

หมายเหตุ : คาสัมมนาสามารถหักภาษี ณ ที่จายได 3% กรณีไมมีหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จายตองชําระคาสัมมนาเต็มจํานวน

กรณีไมสามารถเขาอบรมได บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิไมคืนคาอบรมทั้งจํานวน

อัตราคาสัมมนา ชํ า ระเงิ น ก อ น 26 ก.ย. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป ชํ า ระเงิ น หลั ง 26 ก.ย. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป

ทานละ

VAT 7%

สุทธิ

3,100 3,400

217 238

3,317 3,638

3,400 3,700

238 259

3,638 3,959

ชองทางการสมัครสัมมนา • ทาง FAX : 02 862 1395 • ทาง E-mail : member@me.co.th • ทาง Inbox Facebook : www.facebook.com/meBOOKSHOP

การชําระเงิน ì เช็คสั่งจาย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ì ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 158-0-82377-9 ì ธนาคารกสิ​ิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่บัญชี 765-2-59700-3 ì ธนาคารไทยพาณิชย สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 055-2-30081-7 โอนเงินวันที่.................................................. (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) ลงชื่อ.................................................................................................................................................

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (สํานักงานใหญ)

กรุณาแนบใบหักภาษี ณ ที่จาย มาพรอมกับคาลงทะเบียน ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (เลขประจําตัวผูเสียภาษี 0105527008994)

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก 1) โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 Homepage : www.me.co.th E-mail : member@me.co.th

คาอบรมถือเปนคาใชจายทางภาษีได 200%

การจองจะมีผลเมื่อไดรับชําระเงินจากทานกอนวันสัมมนา แฟกซหลักฐานการโอนเงินมาพรอมกับใบสมัครนี้ที่หมายเลข 02 862 1395


สัมมนา วิธีกําจัดไนโตรเจนในนํ้าเสียอยางมีประสิทธิภาพ นํา้ เสียของโรงงานอุตสาหกรรม และอาคารหลายแหงมีไนโตรเจนอยูม าก หากหลงเหลือในนํา้ ทิง้ จะกอใหเกิดปญหาเรือ่ งกลิน่ เอ็มแอนดอี จึงเสนอหลักสูตรการกําจัดไนโตรเจนในนํ้าเสียเพื่อใหผูเขาอบรม ไดรับความรูทางเทคนิคการออกแบบและเดินระบบเพื่อใหสามารถ กําจัดไนโตรเจนในนํ้าเสีย จะไดทราบถึงวิธีการกําจัดไนโตรเจนที่มีมากกวาปกติในนํ้าเสียทั่วไป โดยมีการแสดงวิธีกําจัดไนโตรเจนในนํ้า เสียทั้งวิธีชีวภาพและวิธีกายภาพเคมีในการอบรมครั้งนี้

วันที่ 11 ตุลาคม 2560 ณ หองสเตชั่น 4 ชั้น 16 โรงแรมไพรม เซ็นทรัล สเตชั่น กรุงเทพฯ (เยื้องหัวลําโพง)

วิทยากร ผศ.ดร.สมพงษ หิรัญมาศสุวรรณ

อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต

วิทยากร

เนื้อหาสาระ เนื่องจากในปจจุบัน โรงงานอุตสาหกรรมหรืออาคารหลายแหงมีนํ้าเสียที่มีไนโตรเจนอยูมาก ซึ่งระบบบําบัดนํ้าเสียที่ใชกันในโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารไมสามารถกําจัดไนโตรเจนออกจาก นํ้าเสียไดมาก ทําใหยังคงมีไนโตรเจนเหลือในนํ้าทิ้งอยูมาก ไดสรางปญหาหลายอยางไดแก นํ้าทิ้ง ออกมีกลิ่นเหม็นแอมโมเนียรบกวนชุมชนรอบบริเวณอยางมาก ทําใหแหลงรองรับนํ้าทิ้ง แมนํ้า ลําคลองมีปญหาเกิดสาหรายขึ้นมากจนเกิดปญหาสิ่งมีชีวติ ในแหลงนํ้าตาย กอใหเกิดปญหาแหลง นํ้าเนาเสีย บุคลากรในดานนีย้ งั ตองการความรูด า นนีอ้ กี มาก แมวา ในปจจุบนั ไดมตี าํ ราทีเ่ กีย่ วกับการกําจัด ไนโตรเจนในนํา้ เสียอยูบ า ง แตตอ งอาศัยประสบการณคอ นขางมาก ไมสามารถอานเพียงตําราเทานัน้ ดังนั้นจึงไดจัดอบรมสัมมนาเพื่อใหความรูทางเทคนิคในการเตรียมการออกแบบการควบคุมและ ปรับปรุงระบบบําบัดนํ้าเสียเพื่อใหสามารถกําจัดไนโตรเจนที่มีมากใหออกจากนํ้าเสียไดอยางมี ประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งการอบรมครั้งนี้จะไดแนะนําเทคนิคการเลือกวิธีบําบัดนํ้าเสียใหเหมาะสม หรือถูกตองสําหรับการกําจัดไนโตรเจนออกจากนํ้าเสีย ในการอบรมครัง้ นี้ วิทยากรจะนํากรณีศกึ ษามาอธิบายเพือ่ สามารถนําไปใช ในหนวยงานไดอยาง มีประสิทธิภาพ นอกจากนีว้ ทิ ยากรจะเปดโอกาสใหผเู ขาอบรมสามารถสอบถามเกีย่ วกับปญหาบําบัด นํ้าเสียของหนวยงานไดอยางเต็มที่

ผศ.ดร.สมพงษ หิรญ ั มาศสุวรรณ เปนอาจารยประจําภาควิชา วิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต เปนที่ปรึกษาดานเทคนิค และผูเชี่ยวชาญดานการจัดการนํ้าเสีย และขยะมูลฝอยใหกบั โครงการตางๆ และเปนวิทยากรใหกบั หนวย งานตางๆ ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนมาเปนเวลานาน

หัวขอสัมมนา

1. แหลงกําเนิดและลักษณะของนํ้าเสียที่มีไนโตรเจนมาก 2. พื้นฐานการบําบัดนํ้าเสียที่มีไนโตรเจนมาก 3. เทคนิคการปรับปรุงระบบบําบัดนํ้าเสียเดิมใหเปน ระบบใหมที่สามารถกําจัดไนโตรเจนได 4. เทคนิคการออกแบบระบบบําบัดนํ้าเสียที่กําจัดไนโตรเจนไดมาก 5. เทคนิคการแกไขปญหาเฉพาะหนาเมื่อมีไนโตรเจนมากในนํ้าเสีย 6. ถาม-ตอบ ปญหาการบําบัดนํ้าเสียที่เกิดขึ้น ในหนวยงานของผูเขาอบรม

เหมาะสําหรับ 1. ผูจ ดั การโรงงานและหรืออาคาร

2. ผูค วบคุมระบบบําบัดนํา้ เสีย และทีป่ รึกษา 3. วิศวกรและชางเทคนิค 4. ผูท มี่ คี วามสนใจเกีย่ วกับการบําบัดนํา้ เสีย วันพุธที่ 11 ตุลาคม 2560

มอบประกาศนียบัตร หลังจบการสัมมนา

8.00 - 9.00 น. 9.00 - 16.00 น.

ลงทะเบียน หัวขอสัมมนา

กรุณากรอกชื่อ-นามสกุลตัวบรรจง เพื่อความถูกตอง ของประกาศนียบัตร

ใบสมัคร

สมัครดวน ! รับจํานวนจํากัดเพียง 50 ทานเทานั้น

เลขที่สมาชิกวารสารเทคนิค........................................................................................ 1. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 2. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 3. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... บริษทั ............................................................................................................................................................ โทรศัพท...................................................................... โทรสาร.......................................................... ที่อยู ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ทราบการสัมมนาจาก ì วารสาร ì ใบปลิว ì เว็บไซต ì อีเมล ì อื่นๆ....................................................................................................................................................

หมายเหตุ : คาสัมมนาสามารถหักภาษี ณ ที่จายได 3% กรณีไมมีหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จายตองชําระคาสัมมนาเต็มจํานวน

กรณีไมสามารถเขาอบรมได บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิไมคืนคาอบรมทั้งจํานวน

อัตราคาสัมมนา ชํ า ระเงิ น ก อ น 27 ก.ย. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป ชํ า ระเงิ น หลั ง 27 ก.ย. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป

ทานละ

VAT 7%

สุทธิ

3,100 3,400

217 238

3,317 3,638

3,400 3,700

238 259

3,638 3,959

ชองทางการสมัครสัมมนา • ทาง FAX : 02 862 1395 • ทาง E-mail : member@me.co.th • ทาง Inbox Facebook : www.facebook.com/meBOOKSHOP

การชําระเงิน ì เช็คสั่งจาย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ì ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 158-0-82377-9 ì ธนาคารกสิ​ิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่บัญชี 765-2-59700-3 ì ธนาคารไทยพาณิชย สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 055-2-30081-7 โอนเงินวันที่.................................................. (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) ลงชื่อ.................................................................................................................................................

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (สํานักงานใหญ)

กรุณาแนบใบหักภาษี ณ ที่จาย มาพรอมกับคาลงทะเบียน ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (เลขประจําตัวผูเสียภาษี 0105527008994)

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก 1) โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 Homepage : www.me.co.th E-mail : member@me.co.th

คาอบรมถือเปนคาใชจายทางภาษีได 200%

การจองจะมีผลเมื่อไดรับชําระเงินจากทานกอนวันสัมมนา แฟกซหลักฐานการโอนเงินมาพรอมกับใบสมัครนี้ที่หมายเลข 02 862 1395


สัมมนา เทคนิคการออกแบบ ใชงานและปรับปรุงระบบปรับอากาศอยางมีประสิทธิภาพ เอ็มแอนดอีขอนําเสนอหลักสูตรเทคนิคการออกแบบ ใชงานและวิธีการปรับปรุงระบบปรับอากาศอยางมีประสิทธิภาพและทัน สมัย สอดคลองกับมาตรฐานประสิทธิภาพและการใชพลังงาน เพือ่ ใหสามารถนําไปใชงานหรือประยุกต ใชงานทีก่ อ ใหเกิดการเพิม่ ผลิตภาพ และประหยัดพลังงานทั้งในภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ และการพาณิชย วันที่ 12 ตุลาคม 2560 ณ หองสเตชั่น 4 ชั้น 16 โรงแรมไพรม เซ็นทรัล สเตชั่น กรุงเทพฯ (เยื้องหัวลําโพง) วิทยากร ผูชวยศาสตราจารย ดร.อาจรี ศุภสุธีกุล

อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร และรองผูอํานวยการสถาบันยุทธศาตรทางปญญาและวิจัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

หลักการและเหตุผล

วิทยากร

ในปจจุบัน การปรับอากาศไดกลายเปนปจจัยที่สําคัญในการสรางสภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอการ ประกอบกิจการทุกประเภท ทัง้ ภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ และการพาณิชย เนือ่ งจากสภาพแวดลอมภายใน อาคารทีเ่ หมาะสมจะชวยลดความสูญเสีย เพิม่ ผลิตภาพ (Productivity) และเพิม่ ประสิทธิภาพในการทํางาน ของผูปฏิบัติงานและกระบวนการตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ตัวอยางของพื้นที่ภายในโรงงานหรืออาคารธุรกิจที่จําเปนตองมีการปรับอากาศที่ดี มีดังนี้ • หองคอมพิวเตอรและหองเซิรฟเวอร • โรงงานอุตสาหกรรมอาหาร โรงงานผลิตยา • โรงงานผลิตชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส • สถานศึกษา หองเรียน หองประชุม • โรงแรม หองสัมมนา หองจัดเลี้ยง • ศูนยการคา สนามกีฬาในรม โรงภาพยนตร • โรงพยาบาล/สถานพยาบาล หองผาตัด หองปลอดเชื้อ หองพักผูปวย • ฯลฯ เทคโนโลยีการปรับอากาศในระยะหลังนี้ มีการพัฒนาอยางรวดเร็ว เนือ่ งจากกระแสดานการอนุรกั ษ พลังงาน สิ่งแวดลอม และความปลอดภัย สงผลใหมีการศึกษา คนควา วิจัยและพัฒนา ทั้งในดานวิธีการ คํานวณและการวางระบบปรับอากาศ และในสวนของวัสดุและอุปกรณที่ใช ในระบบปรับอากาศ ดังนั้นผู ประกอบอาชีพที่เกี่ยวของกับงานในดานนี้ จึงจําเปนตองกาวตามเทคโนโลยีที่กําลังพัฒนาและเปลี่ยนไปอยู ตลอดเวลา สําหรับวิศวกรออกแบบ จะตองออกแบบระบบปรับอากาศที่ประหยัดพลังงาน สามารถควบคุม อุณหภูมิ ความชื้น และการไหลเวียนของอากาศไดดี และเปนไปตามมาตรฐานคุณภาพอากาศที่ยอมรับได สําหรับผูผลิตอุปกรณ จะตองมองเห็นแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ ใหกาวทันตามเทคโนโลยีที่ เปลี่ยนแปลง เพื่อใหสามารถแขงขันได และเพื่อใหตรงกับความตองการของลูกคาในปจจุบันและอนาคต สําหรับผู ใชงานหรือผูดูแลระบบ จะตองมีความเขาใจเกี่ยวกับการทํางานของระบบปรับอากาศและ อุปกรณที่เลือกใชอยางถูกตอง เพื่อใหระบบทํางานสอดคลองกับความตองการและคุมคา อีกทั้งยังตอง ดูแล บํารุงรักษาอุปกรณและสวนประกอบตาง ๆ ของระบบปรับอากาศ เพื่อใหสามารถทํางานไดอยางมี ประสิทธิภาพตลอดอายุการใชงาน

เหมาะสําหรับ

ผูชวยศาสตราจารย ดร.อาจรี ศุภสุธีกุล อาจารยประจําภาควิชา วิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร และรองผูอํานวยการสถาบัน ยุทธศาตรทางปญญาและวิจัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เปนผู มีความรูความเชี่ยวชาญมีประสบการณดานการสอน การเปนวิทยากร มีผลงานวิชาการทางดานวิศวกรรมการทําความเย็นและปรับอากาศ เปนจํานวนมาก และมีผลงานทางวิชาชีพวิศวกรรมเครื่องกล โดยเปน กรรมการสาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล สมาคมวิศวกรทีป่ รึกษาเครือ่ งกลและ ไฟฟา ไทยนอกจากนี้ยังมีประสบการณดานการออกแบบใชงานและแก ปญหาระบบปรับอากาศสําหรับอาคารและงานอุตสาหกรรมเปนอยางดี

หัวขอสัมมนา 1. พื้นฐานระบบปรับอากาศ 2. มาตรฐานประสิทธิภาพการใชพลังงาน 3. การเลือกใชอุปกรณประหยัดพลังงาน 4. การออกแบบระบบจายลมอยางมีประสิทธิภาพ 5. การจายนํ้าเย็นสําหรับโครงการขนาดใหญ 6. เทคนิคในการควบคุมความชื้น 7. ถามตอบปญหา

มอบประกาศนียบัตร หลังจบการสัมมนา

1. ผูจัดการโรงงาน 2. ผูจัดการอาคาร 3. วิศวกรและชางเทคนิคดานระบบปรับอากาศ 4. ผูออกแบบและผูติดตั้งระบบปรับอากาศ 5. ผูจัดจําหนายอุปกรณที่ใช ในงานปรับอากาศ 6. อาจารยและนักศึกษา 7. ผูสนใจทั่วไป

วันพฤหัสบดีที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2560 8.00 - 9.00 ลงทะเบียน 9.00 - 16.00 หัวขอสัมมนา

กรุณากรอกชื่อ-นามสกุลตัวบรรจง เพื่อความถูกตอง ของประกาศนียบัตร

ใบสมัคร

สมัครดวน ! รับจํานวนจํากัดเพียง 50 ทานเทานั้น

เลขที่สมาชิกวารสารเทคนิค........................................................................................ 1. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 2. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 3. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... บริษทั ............................................................................................................................................................ โทรศัพท...................................................................... โทรสาร.......................................................... ที่อยู ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ทราบการสัมมนาจาก ì วารสาร ì ใบปลิว ì เว็บไซต ì อีเมล ì อื่นๆ....................................................................................................................................................

หมายเหตุ : คาสัมมนาสามารถหักภาษี ณ ที่จายได 3% กรณีไมมีหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จายตองชําระคาสัมมนาเต็มจํานวน

กรณีไมสามารถเขาอบรมได บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิไมคืนคาอบรมทั้งจํานวน

อัตราคาสัมมนา ชํ า ระเงิ น ก อ น 28 ก.ย. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป ชํ า ระเงิ น หลั ง 28 ก.ย. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป

ทานละ

VAT 7%

สุทธิ

3,100 3,400

217 238

3,317 3,638

3,400 3,700

238 259

3,638 3,959

ชองทางการสมัครสัมมนา • ทาง FAX : 02 862 1395 • ทาง E-mail : member@me.co.th • ทาง Inbox Facebook : www.facebook.com/meBOOKSHOP

การชําระเงิน ì เช็คสั่งจาย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ì ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 158-0-82377-9 ì ธนาคารกสิ​ิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่บัญชี 765-2-59700-3 ì ธนาคารไทยพาณิชย สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 055-2-30081-7 โอนเงินวันที่.................................................. (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) ลงชื่อ.................................................................................................................................................

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (สํานักงานใหญ)

กรุณาแนบใบหักภาษี ณ ที่จาย มาพรอมกับคาลงทะเบียน ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (เลขประจําตัวผูเสียภาษี 0105527008994)

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก 1) โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 Homepage : www.me.co.th E-mail : member@me.co.th

คาอบรมถือเปนคาใชจายทางภาษีได 200%

การจองจะมีผลเมื่อไดรับชําระเงินจากทานกอนวันสัมมนา แฟกซหลักฐานการโอนเงินมาพรอมกับใบสมัครนี้ที่หมายเลข 02 862 1395


สัมมนา พื้นฐานเซนเซอร ในระบบการวัดและควบคุมและการประยุกต ใชงานอยางงาย เนื่องจากเซนเซอรสําคัญอยางยิ่ง ตอการใชระบบทั้งในอาคารและในงานอุตสาหกรรม เอ็มแอนดอีขอนําเสนอหลักสูตรการนํา เซนเซอรมาประยุกต ใชงานในระบบการวัดและระบบควบคุมอยางงายและมีประสิทธิภาพ รวมถึงการออกแบบวงจรปรับแตง สัญญาณที่ ไดจากเซนเซอรเพื่อตอใชงานในระบบถัดไปไดอยางเหมาะสมดวยตัวเอง และมาตรฐานการวัดเบื้องตนที่เกี่ยวของ วันที่ 18 ตุลาคม 2560 ณ หองสเตชั่น 4 ชั้น 16 โรงแรมไพรม เซ็นทรัล สเตชั่น กรุงเทพฯ (เยื้องหัวลําโพง)

วิทยากร วาที่ ร.ต.เจษฎาพร สถานทรัพย ดร.ปรัชญา มงคลไวย

เนื้อหาสาระ

สาขาวิศวกรรมการวัดคุม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล รัตนโกสินทร เหมาะสําหรับ

เนื่องจากการวัดและควบคุมอัตโนมัติในกระบวนการทางอุตสาหกรรมหรือกระบวนการผลิตตางๆ ตัวแปรที่ทําการตรวจวัดคาหรือสภาพของกระบวนการที่ตองการวัดและควบคุมมักจะอยู ในรูปของ ปริมาณทางฟสิกสตางๆ ดังนัน้ เซนเซอรถอื ไดวา เปนองคประกอบทีส่ าํ คัญและมีบทบาทยิง่ เพราะเซนเซอร คือ อุปกรณตรวจจับสัญญาณหรือปริมาณทางฟสิกสตางๆแลวทําการเปลี่ยนใหเปนปริมาณเอาตพุตที่ได จากการวัดในอีกรูปแบบหนึ่งที่จะนําไปประมวลผลตอไดเพื่อทําการควบคุมการทํางานของระบบทั้งหมด จากเหตุผลดังกลาวแสดงใหเห็นถึงความสําคัญของเซนเซอรที่มีตอการวัดและควบคุมกระบวนการ การสั ม มนาครั้ ง นี้ จึ ง มุ  ง เน น ความรู  ที่ น  า สนใจเกี่ ย วกั บ เซนเซอร ช นิ ด ต า งๆ โดยเนื้อหาครอบคลุมถึง โครงสราง หลักการทํางานพืน้ ฐานของเซนเซอรแตละชนิดในระบบการวัดและควบคุม ตลอดจนหลักการ ออกแบบเพื่อดัดแปลงใหระบบเซนเซอรสามารถเชื่อมตอเขากับระบบถัดไปหรือระบบคอมพิวเตอรไดอยาง ถูกตองและเหมาะสมทีส่ ดุ ซึง่ ผูร บั ฟงสามารถออกแบบและทําไดดว ยตัวเอง รวมถึงสามารถประยุกต ใชและ พัฒนาในการปฏิบตั งิ านจริงได หากเขาใจวิธีการและหลักการของเซนเซอรตอระบบการวัดและควบคุม เปนอยางดี นอกจากนี้ยังไดกลาวถึงมาตรวิทยา มาตรฐานการวัดและการสอบเทียบเครื่องมือวัดเบื้อง ตน เพื่อใหสามารถนําไปประยุกตปรับใช ในงานดานการวัดและควบคุมอุตสาหกรรมตางๆ

วิทยากร 1. วาที่ ร.ต.เจษฎาพร สถานทรัพย จบการศึกษาระดับปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมระบบควบคุม จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ปจจุบันดํารง ตําแหนงอาจารยประจําสาขาวิศวกรรมการวัดคุม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล รัตนโกสินทร และเปนวิทยากรใหกับหนวยงานตางๆ 2. ดร.ปรัชญา มงคลไวย จบการศึกษาระดับปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต (วศ.ด.) สาขา วิศวกรรมไฟฟา จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ปจจุบนั ดํารงตําแหนงอาจารย ประจําสาขาวิศวกรรมการวัดคุม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล รัตนโกสินทร และ เปนวิทยากรใหกบั หนวยงานตางๆ

มอบประกาศนียบัตร หลังจบการสัมมนา กรุณากรอกชื่อ-นามสกุลตัวบรรจง เพื่อความถูกตอง ของประกาศนียบัตร

ใบสมัคร

วิศวกร, ชางเทคนิค, ผูอ อกแบบ, ผูต ดิ ตัง้ , ผูค วบคุมงาน, ผูต รวจสอบ งาน, ผูจัดหา, ผูประกอบการผลิต, ผูจําหนาย, ผู ใชงาน, อาจารย, นักศึกษา และผูสนใจทั่วไปในการนําระบบเซนเซอรมาใชงานหรือดัดแปลงอยางคุมคา และมีประสิทธิภาพสูงสุด

หัวขอสัมมนา 1.แนะนําใหรูจักกับเซนเซอร - เซนเซอร คือ อุปกรณอะไร ? - ทําไมจําเปนที่จะตองใชเซนเซอร ? - ทําไมจึงจะตองเรียนรูเกี่ยวกับเซนเซอร ? 2. ระบบเซนเซอร - ระบบการวัด - ระบบควบคุม 3. เซนเซอรชนิดตางๆ - เซนเซอรตรวจวัดอุณหภูมิ - เซนเซอรตรวจวัดระยะขจัดและการเคลื่อนที่ - เซนเซอรตรวจวัดแรงกระทําทางกล - เซนเซอรตรวจวัดปริมาตร นํ้าหนัก และระดับของของเหลว - เซนเซอรตรวจวัดความดันบรรยากาศ - เซนเซอรตรวจวัดอัตราการไหล 4. เหตุผลและความจําเปนในการใชวงจรปรับแตงสัญญาณ 5. เทคนิคการออกแบบวงจรปรับแตงสัญญาณและการประยุกต ใช 6. การนําระบบเซนเซอรไปประยุกต ใช ในระบบการวัด 7. การนําระบบเซนเซอรไปประยุกต ใช ในระบบควบคุมกระบวนการ 8. มาตรวิทยา มาตรฐานการวัดและการสอบเทียบเครื่องมือวัดเบื้องตน 9. ถาม - ตอบปญหา

วันพุธที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2560 8.00 - 9.00 ลงทะเบียน 9.00 - 16.00 หัวขอสัมมนา

สมัครดวน ! รับจํานวนจํากัดเพียง 50 ทานเทานั้น

เลขที่สมาชิกวารสารเทคนิค........................................................................................ 1. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 2. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 3. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... บริษทั ............................................................................................................................................................ โทรศัพท...................................................................... โทรสาร.......................................................... ที่อยู ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ทราบการสัมมนาจาก ì วารสาร ì ใบปลิว ì เว็บไซต ì อีเมล ì อื่นๆ....................................................................................................................................................

หมายเหตุ : คาสัมมนาสามารถหักภาษี ณ ที่จายได 3% กรณีไมมีหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จายตองชําระคาสัมมนาเต็มจํานวน

กรณีไมสามารถเขาอบรมได บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิไมคืนคาอบรมทั้งจํานวน

อัตราคาสัมมนา ชํ า ระเงิ น ก อ น 4 ต.ค. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป ชํ า ระเงิ น หลั ง 4 ต.ค. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป

ทานละ

VAT 7%

สุทธิ

3,100 3,400

217 238

3,317 3,638

3,400 3,700

238 259

3,638 3,959

ชองทางการสมัครสัมมนา • ทาง FAX : 02 862 1395 • ทาง E-mail : member@me.co.th • ทาง Inbox Facebook : www.facebook.com/meBOOKSHOP

การชําระเงิน ì เช็คสั่งจาย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ì ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 158-0-82377-9 ì ธนาคารกสิ​ิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่บัญชี 765-2-59700-3 ì ธนาคารไทยพาณิชย สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 055-2-30081-7 โอนเงินวันที่.................................................. (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) ลงชื่อ.................................................................................................................................................

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (สํานักงานใหญ)

กรุณาแนบใบหักภาษี ณ ที่จาย มาพรอมกับคาลงทะเบียน ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (เลขประจําตัวผูเสียภาษี 0105527008994)

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก 1) โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 www.me.co.th E-mail : member@me.co.th

คาอบรมถือเปนคาใชจายทางภาษีได 200%

การจองจะมีผลเมื่อไดรับชําระเงินจากทานกอนวันสัมมนา แฟกซหลักฐานการโอนเงินมาพรอมกับใบสมัครนี้ที่หมายเลข 02 862 1395


สัมมนา การใชและตรวจวิเคราะหมอเตอรเหนี่ยวนําเพื่อยืดอายุและประหยัดพลังงาน มอเตอรเหนีย่ วนําเปนอุปกรณไฟฟาที่ใชงานมากทีส่ ดุ ซึง่ หากมีการใชงานและดูแลมอเตอรอยางถูกตองและครบถวน ยอมทําให ประสิทธิภาพสูง และอายุยาวนานขึ้นรวมทั้งประหยัดพลังงาน เอ็มแอนดอีจึงขอเสนอหลักสูตรสมบูรณแบบในการเลือกและใช งานมอเตอรเหนี่ยวนํา การตรวจวิเคราะหประสิทธิภาพและการอนุรักษพลังงานในมอเตอรเหนี่ยวนํา รวมทั้งการตรวจสอบและ การบํารุงรักษามอเตอรเหนี่ยวนํา ที่ทําใหผูเขาสัมมนาสามารถนําความรูที่ ไดรับไปปฏิบัติงานจริงอยางไดผล

วันที่ 19 ตุลาคม 2560 ณ หองสเตชั่น 4 ชั้น 16 โรงแรมไพรม เซ็นทรัล สเตชั่น กรุงเทพฯ (เยื้องหัวลําโพง)

วิทยากร รองศาสตราจารย ดร.กีรติ ชยะกุลคีรี

ผูอํานวยการศูนยศึกษาตอเนื่องทางวิศวกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ประโยชนที่จะไดรับ

เนื้อหาสาระ

1. ทราบวิธีการเลือกขนาดและใชงานมอเตอรเหนี่ยวนําอยางเหมาะสม 2. ทราบหลักการ แนวทางและวิธีการเพิ่มประสิทธิภาพการใชงานมอเตอร ในระบบตางๆ 3. ทราบหลักการ และวิธีการตรวจวิเคราะหและบํารุงรักษา มอเตอรเหนี่ยวนําเพื่อยืดอายุใชงาน

1. พื้นฐานการคํานวณทางไฟฟากําลังและการวิเคราะห การทํางานของมอเตอรเหนี่ยวนํา 2. การเลือกขนาดมอเตอร ใหเหมาะสมและการปองกันมอเตอร 3. การตรวจวิเคราะหประสิทธิภาพและการอนุรักษพลังงานในมอเตอร 4. การตรวจสอบและการบํารุงรักษามอเตอร

หัวขอสัมมนา

เหมาะสําหรับ

1. พื้นฐานการคํานวณทางไฟฟากําลังและการวิเคราะห การทํางานของมอเตอรเหนี่ยวนํา - พื้นฐานการคํานวณทางไฟฟากําลัง ระบบไฟฟา กําลังงานไฟฟาตัวประกอบกําลัง - โครงสรางและหลักการทํางานของมอเตอรเหนี่ยวนํา - วงจรสมมูลของมอเตอรเหนี่ยวนํา ความเร็วรอบของมอเตอรและคาสลิป ความสูญเสียที่เกิดขึ้นในมอเตอร 2. การเลือกขนาดมอเตอร ใหเหมาะสมและการปองกันมอเตอร - การเลือกขนาดมอเตอร ใหเหมาะสมกับการทํางาน - ระดับการปองกันและระดับฉนวนของมอเตอรเหนี่ยวนํา - ระบบไฟฟาและการปองกันมอเตอรเหนี่ยวนํา - การเริ่มตนเดินเครื่องและควบคุมมอเตอรเหนี่ยวนํา 3. การตรวจวิเคราะหประสิทธิภาพและการอนุรักษพลังงานในมอเตอร - การตรวจวิเคราะหการใชพลังงานในมอเตอรเหนี่ยวนํา - การตรวจวัดประสิทธิภาพของมอเตอรเหนี่ยวนําที่หนางาน - การลดความสูญเสียและการใชงานมอเตอรอยางมีประสิทธิภาพ - การใชอุปกรณปรับความเร็วรอบในมอเตอร 4. การตรวจสอบและการบํารุงรักษามอเตอร - การบํารุงรักษาเชิงปองกันสําหรับมอเตอรเหนี่ยวนํา - การตรวจสอบความผิดปกติของมอเตอรเหนี่ยวนําและการแกไข

1. ผูจัดการฝายวิศวกรรม และผูจัดการฝายบํารุงรักษา 2. วิศวกรไฟฟากําลัง และชางไฟฟากําลังประจําโรงงานและอาคาร 3. วิศวกร และเจาหนาที่ผูรับผิดชอบทางดานพลังงานและบํารุงรักษา ของโรงงานและอาคาร 4. ผูสนใจที่ตองการเพิ่มความรูและทักษะในการบริหารจัดการพลังงาน ไฟฟาและบํารุงรักษามอเตอร

วิทยากร

รองศาสตราจารย ดร.กีรติ ชยะกุลคีรี - ผูอํานวยการศูนยศึกษาตอเนื่องทางวิศวกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม - ที่ปรึกษาดานพลังงานในโครงการชุบชีวิตธุรกิจไทย กระทรวงอุตสาหกรรม - ผูเชี่ยวชาญดานพลังงานในโครงการอนุรักษพลังงานแบบมีสวนรวม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน - วิทยากรบรรยายฝกอบรมใหหนวยงานตางๆ เชน กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษพลังงาน, ศูนยแมขายพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรม อยางตอเนื่อง

มอบประกาศนียบัตร หลังจบการสัมมนา

วันพฤหัสบดีที่ 19 ตุลาคม 2560

กรุณากรอกชื่อ-นามสกุลตัวบรรจง เพื่อความถูกตอง ของประกาศนียบัตร

ใบสมัคร

8.00 - 9.00 ลงทะเบียน 9.00 - 16.00 หัวขอสัมมนา

สมัครดวน ! รับจํานวนจํากัดเพียง 50 ทานเทานั้น

เลขที่สมาชิกวารสารเทคนิค........................................................................................ 1. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 2. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 3. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... บริษทั ............................................................................................................................................................ โทรศัพท...................................................................... โทรสาร.......................................................... ที่อยู ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ทราบการสัมมนาจาก ì วารสาร ì ใบปลิว ì เว็บไซต ì อีเมล ì อื่นๆ....................................................................................................................................................

หมายเหตุ : คาสัมมนาสามารถหักภาษี ณ ที่จายได 3% กรณีไมมีหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จายตองชําระคาสัมมนาเต็มจํานวน

กรณีไมสามารถเขาอบรมได บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิไมคืนคาอบรมทั้งจํานวน

อัตราคาสัมมนา ชํ า ระเงิ น ก อ น 5 ต.ค. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป ชํ า ระเงิ น หลั ง 5 ต.ค. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป

ทานละ

VAT 7%

สุทธิ

3,100 3,400

217 238

3,317 3,638

3,400 3,700

238 259

3,638 3,959

ชองทางการสมัครสัมมนา • ทาง FAX : 02 862 1395 • ทาง E-mail : member@me.co.th • ทาง Inbox Facebook : www.facebook.com/meBOOKSHOP

การชําระเงิน ì เช็คสั่งจาย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ì ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 158-0-82377-9 ì ธนาคารกสิ​ิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่บัญชี 765-2-59700-3 ì ธนาคารไทยพาณิชย สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 055-2-30081-7 โอนเงินวันที่.................................................. (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) ลงชื่อ.................................................................................................................................................

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (สํานักงานใหญ)

กรุณาแนบใบหักภาษี ณ ที่จาย มาพรอมกับคาลงทะเบียน ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (เลขประจําตัวผูเสียภาษี 0105527008994)

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก 1) โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 Homepage : www.me.co.th E-mail : member@me.co.th

คาอบรมถือเปนคาใชจายทางภาษีได 200%

การจองจะมีผลเมื่อไดรับชําระเงินจากทานกอนวันสัมมนา แฟกซหลักฐานการโอนเงินมาพรอมกับใบสมัครนี้ที่หมายเลข 02 862 1395


คน ง 25

เทานั้น

สัมมนา เทคนิคการตั้งศูนยเพลา (Alignment) ดวยไดอัลเกจ (Dial gauge) ภาคปฏิบัติ

ับเพีย

ภา

ัติ ร คปฏิบ

การตั้งศูนยเพลามีความสําคัญตอระบบขับเคลื่อนและกระบวนการผลิต เอ็มแอนดอีขอนําเสนอหลักสูตรที่สามารถนําไปประยุกต ใช งานจริงในการปรับตัง้ ศูนยเพลาของเครือ่ งจักรตัวขับกับตัวตาม เพือ่ ใหการติดตัง้ และบํารุงรักษาไดคณ ุ ภาพ ซึง่ จะสงผลให ใชงานไดอยาง มีประสิทธิภาพและประหยัดพลังงาน วันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 ณ หองสเตชั่น 4 ชั้น 16 โรงแรมไพรม เซ็นทรัล สเตชั่น กรุงเทพฯ (เยื้องหัวลําโพง)

วิทยากร คุณวินัย เวชวิทยาขลัง

อดีตผูจัดการบํารุงระบบและวางแผน บริษัท เอสซีจี ปูนซิเมนต ไทย (ทาหลวง) จํากัด

เนื้อหาสาระ

การตั้งศูนยเพลา (Alignment) ใครคิดวาไมสําคัญ? มีชางประกอบติดตั้ง ซอมบํารุงรักษาเครื่องจักรจํานวนมาก คิดวาการปรับตั้งแนว เสนตรงศูนยกลางระหวางเพลา (Alignment) เครื่องจักรตัวขับกับตัวตามเปนเรื่องงายๆ ธรรมดา ไมสําคัญ เพียงใชบรรทัดเหล็ก สันใบเลื่อย หรือมีดกลึง ทาบวางบนขอบหนา แปลนและปรับใหเสมอกันทั้ง 4 จุด ตรงขามกันก็เพียงพอ แตหารูไมวา ทําไม? แบริ่งเสียบอยเร็วกวากําหนด ซีล เมคคานิคคอลซีล ชํารุด เสีย รั่ว ทอสั่น หนา แปลนแตกบอย เครื่องจักรสั่น มีเสียงดัง อายุใชงานสั้นสิ้นเปลืองคาใชจาย สูญเสีย การผลิต ผลิตภัณฑ สินคาไมไดคุณภาพ ปญหาเหลานั้น คือสัญญาณบงบอก 60-70 เปอรเซ็นตมาจากปญหาการปรับตั้งเสนตรงแนว Alignment ไมถูกตอง ไมอยูในคาพิกัด เกินกวามาตรฐานที่จะยอมรับได

เหมาะสําหรับ 1. ผูจัดการฝายซอม ฝายผลิต 2. วิศวกร หัวหนาโครงการติดตั้งเครื่องจักร 3. วิศวกร หัวหนา ชางซอม ชางควบคุม เดินเครื่องจักร 4. ผูเกี่ยวของในการซอมบํารุงรักษา 5. ผูสนใจทั่วไป

ประโยชนที่จะไดรับ 1. มีความรู ความเขาใจสามารถประกอบ ติดตั้งเครื่องจักร ใหถูกตอง ตั้งแตแรกเพื่อยืดอายุการใชงาน ลดคาใชจาย และเพิ่มคุณภาพสินคา 2. สามารถใชเครื่องมือ Dial gauge ปรับตั้งศูนยเพลา Alignment ไดอยางถูกตอง 3. คาพิกัดการปรับตั้งแนวศูนย Alignment ที่เปนมาตรฐาน ยอมรับได 4. สามารถปรับตั้งแนวศูนย Alignment ดวยไดอัลเกจ วิธี Rim And Face (ขอบและผิวระหวางหนาแปลน) ได 5. แบบฟอรมรายงาน ใชงานไดทันที 6. โปรแกรม Windows MS Access ปรับตั้ง Alignment ดวย Dial Gauge วิธี Rim & Face และวิธี Double Reverse

มอบประกาศนียบัตร หลังจบการสัมมนา ใบสมัคร

วิทยากร คุณวินัย เวชวิทยาขลัง อดีตเปนผูจัดการบํารุงระบบและวางแผน, ผู จัดการบริหารเทคนิค, ผูจัดการศูนยฝกอบรมทางเทคนิค บริษัท เอสซีจี ปูนซิ เมนตไทย (ทาหลวง) จํากัด ซึ่งเปนผูมีประสบการณดานการซอมเครื่องจักร และการบํารุงรักษามาเปนเวลานาน และเคยเปนวิทยากรใหกับหน�วยงาน ตางๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน อีกทั้งยังเขียนบทความ และคูมือในการ บํารุงรักษาเครื่องจักรเปนจํานวนมาก

หัวขอสัมมนา

1. ความรู ความเขาใจ และความหมายของการปรับตั้งแนวศูนย Alingnment คืออะไร 2. การติดตั้งเครื่องจักรใหไดแนวศูนย Alingnment ตามตองการ เริ่มที่ไหน ทําอยางไร 3. ทําไมตองมีการปรับตั้งแนวศูนย Alingnment เครื่องจักร ทําแลวไดประโยชนอะไร 4. สาเหตุ ที่ทําใหแนวศูนย ผิดเสีย ไปจากที่กําหนด (Misalignment) มีอะไรบาง 5. คาพิกัดแนวศูนยมาตรฐานที่ยอมรับได มีคาอะไร เทาไหร (Alignment Tolerance) 6. วิธีการปรับตั้งแนวศูนย มีกี่วิธี มีอะไรบาง (Alignment Method) 6.1 การใชสันขอบตรง 6.2 การใชไดอัลเกจ 6.3 การใชแสงเลเซอร 7. ภาคปฏิบัติ ขั้นตอน เตรียมการ การทํา Alignment ดวยไดอัลเกจ วิธี Rim And Face (ที่ขอบและผิวหนา) 8. การปรับตั้งแนวศูนย 3 ขั้นตอน 9. การปรับตั้งศูนย Alignment ดวย Dial Gauge วิธี Rim & Face (ที่ขอบ และผิวหนาแปลน) การคํานวณปรับตั้งแผนชิม (Shim) เสริม-ลด รองแทนเครื่องจักร

วันพุธที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 8.00 - 9.00 ลงทะเบียน 9.00 - 16.00 หัวขอสัมมนา

สมัครดวน ! รับจํานวนจํากัดเพียง 25 ทานเทานั้น

ฝกภาคปฏิบัติ กลุมละ 5-6 คน โดยใชเครื่องจักรจําลอง และการรายงานผลลงบนแบบฟอรมมาตรฐาน พรอมโปรแกรมคํานวณคาปรับตั้งแนวศูนย

เลขที่สมาชิกวารสารเทคนิค........................................................................................ 1. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 2. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... 3. ชื่อ.......................................................................... นามสกุล.............................................................. ตําแหนง......................................................... E-mail...................................................................... บริษทั ............................................................................................................................................................ โทรศัพท...................................................................... โทรสาร.......................................................... ที่อยู ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ทราบการสัมมนาจาก ì วารสาร ì ใบปลิว ì เว็บไซต ì อีเมล ì อื่นๆ....................................................................................................................................................

หมายเหตุ : คาสัมมนาสามารถหักภาษี ณ ที่จายได 3% กรณีไมมีหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จายตองชําระคาสัมมนาเต็มจํานวน

กรณีไมสามารถเขาอบรมได บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิไมคืนคาอบรมทั้งจํานวน

อัตราคาสัมมนา ชํ า ระเงิ น ก อ น 18 ต.ค. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป ชํ า ระเงิ น หลั ง 18 ต.ค. 2560 สมาชิก บุคคลทั่วไป

ทานละ

VAT 7%

สุทธิ

3,200 3,500

224 245

3,424 3,745

3,500 3,800

245 266

3,745 4,066

ชองทางการสมัครสัมมนา • ทาง FAX : 02 862 1395 • ทาง E-mail : member@me.co.th • ทาง Inbox Facebook : www.facebook.com/meBOOKSHOP

การชําระเงิน ì เช็คสั่งจาย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ì ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 158-0-82377-9 ì ธนาคารกสิ​ิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่บัญชี 765-2-59700-3 ì ธนาคารไทยพาณิชย สาขาถนนตากสิน เลขที่บัญชี 055-2-30081-7 โอนเงินวันที่.................................................. (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) ลงชื่อ.................................................................................................................................................

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (สํานักงานใหญ)

กรุณาแนบใบหักภาษี ณ ที่จาย มาพรอมกับคาลงทะเบียน ในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด (เลขประจําตัวผูเสียภาษี 0105527008994)

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก 1) โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 www.me.co.th E-mail : member@me.co.th

คาอบรมถือเปนคาใชจายทางภาษีได 200%

การจองจะมีผลเมื่อไดรับชําระเงินจากทานกอนวันสัมมนา แฟกซหลักฐานการโอนเงินมาพรอมกับใบสมัครนี้ที่หมายเลข 02 862 1395


สัมมนา

การเพิ่มคาเพาเวอรแฟกเตอรและการกรองกระแสฮารมอนิกอยางมีประสิทธิผล (Effective PF improvement and harmonic current filtering)

แนะนํ แนะนําผลิ าผลิตตภัภัณณฑฑ

แนะนํ แนะนํ าาาผลิ ผลิ ตตตต ภัภัภัภั ณ ณ ฑฑฑฑ แนะนํ แนะนํ าผลิ ผลิ ณ ณ

แนะนำ�กผลิ �ารใช ผลิต ภักรณ ภัณณ ฑาที่สรางกระแสฮารมอนิกเพิ่มมากขึ้นจากผลของการพัฒแนะนํ เนื่อแนะนำ งจากมี อุปต ไฑ ฟฟ นาทางด าผลิ นไฟฟ าณ ลัฑ งฑฑ แนะนํ แนะนํ แนะนํ าาาผลิ าผลิ ผลิ ตตตต ภัภัาภักํภั ณ ณ ณ ฑสงผลให เกิดปญหาตอระบบไฟฟากําลัง เชน อายุการใชงานสั้นลง และไมประหยัดพลังงาน เอ็มแอนดอี จึงขอเสนอหลักสูตรการอบรม ที่สมบูรณแบบในการเพิ่มคาเพาเวอรแฟกเตอรและการกรองกระแสฮารมอนิ®ก ทําใหสามารถใชงานระบบไฟฟากําลังไดอยาง ตอเนื่องและมี ประสิ ทธิภาพ ่ของอุปกรณเครื่องมือวัดเอบีบี ที่อยู - การเปลี ่ยนแบตเตอรี ™ หองสเตชั - ความดั ใชนงานสู ด 320่นบารกรุงเทพฯ (เยื้องหัวลําโพง) วันที่ 8 ในพื พฤศจิ ายน 12560 ้น 16และ โรงแรมไพร ม นเซ็ ทรัลงสุสเตชั ้นที่ กClass Div 2ณสามารถทํ าไดอ่นยา4งงาชัยดาย ความเร็ ปลอดภั ตอการระเบิ ด Filtersวิท(ABB ABB ยPower Quality แอคทีฟ- - ปญ ยากรPQF) รองศาสตราจารย ไหา ชยะวรอบใช แชมงชานอย400 รอบ/นาที – 3,600 รอบ/นาที ประสิ ทธิภาพเชิ มาตร 94% ในขณะป างานทีค่ วามดัที่นถู ก ใช HMI ่อปให สะดวกต อชการเข งเครืมอนิ อขาากยคณะวิ- ศ- วกรรมศาสตร งานแปรรู ป อาหารต อ งการ sensing ฟ-ลเตอร ประสิPlatform ทอดี ธิภตาพสู งเพื จากเอบี บาีภาควิ สําหรั บาวิกํศาวกรรมไฟฟ จัาดถึฮาร อาจารย ระจํ จุงปริ ฬาลงกรณ มหาวิ ทยาลัยม ทํelements สูงสุสุขดลัของป อุผปลกรณ ปญหา ใชระบบดิจิตอลคอนโทรล วิทยากร กษณะม เหมาะที่จะทําความสะอาดในแบบ CIP (Clean ที่ ใชอตัิเ้งล็คกาทรอนิ กสและแก กําลัง (IGBT) หลักการและเหตุ - ออกแบบให มีเสียงเบาขณะที่ปมทํางาน อุป:กรณ เครื่อSignal งมือแวันวโน ดแบบ Wirelessและควบคุ บง ีนั้นรองศาสตราจารย In Place) Digital Processor) มของเอบี การทํ่สราางาน ปจจุบ(DSP ัน- โรงงานอุ ตสาหกรรมมี มในการประยุ กตHART ใชงานโหลดที ไชยะไดแชมชอย อดีตอาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาคณะ - - ทนต อสภาพนํ ้าวมัมยสารที นหาวิ ไฮดรอลิ ที่ปนนเป นสิ ่งสกปรกได ดี level กระแสฮารแบบป มอนิสามารถปรั กดเพิ(Closed ่มมากขึบ้นแต อย อไดเนืด่อวงยเครื เมืSystem) ่อ่อโหลดเหล ีขวามแม นาดรวมกั จุบฬพอกด าลงกรณ ทยาลั เป ผูนเชีหนื ่ยอวชาญด าานคุ า มากกวา งางต คาControl ง HART การจั ่มีคยกวามข ดจะทํ ใหณภาพไฟฟ Point Loop ซึง่ ามีนีค้มHandheld นยํานของ สูง วิศวกรรมศาสตร มากกวา 15 - 20% ของขนาดหมอแปลง ก็จะเริ่มเกิดปญหาจากกระแสฮารมอนิก 20 ป- สามารถติ (โดยเฉพาะเรืดอ่ ตังฮาร ม อนิ ก ) มี ป ระสบการณ ใ นการตรวจวั ด และวิ เ คราะห ้งใชนมาก งานไดหเชลากหลายรู ปแบบ ยการสั่นสะเทือนปญ หา เอบีาบมีใี รนอุ ประเภทที ใชงนานได ตสาหกรรมทุ กประเภททั ้งขนาดใหญ กลาง เชน แรงดั ไฟฟ ูปคลื ่นผิดเพี้ยนมากขึ ้น เกิดการขยายกระแสฮาร มอนิเล็ ก ก จากฮารมอนิswitches กในโรงงานอุสตวสาหกรรม เขีนยนหนั งสือ “คุ่อณาศั ภาพไฟฟา” ใหกบั วิศวกรรม ลดค า ใช จ า  ยในการซ อ มบํ า รุ ง ทําใหชุดตัรวมทั วเก็ ประจุ เ สี ย หายใช ง านไม ไ ด ทํ า ให เ พาเวอร แ ฟกเตอร ม ี ค  า ตํ ่ า ต อ ง EP Solar “SHI Series” Solar Inverter สถานแห ง ประเทศไทยในพระบรมราชู ป ถั ม ป (วสท.) เป น วิ ท ยากรบรรยายหลั กยจาก สูหาย - บเอบี บ ี จ ะจั ด อุ ป กรณ เ ครื ่ อ งมื อ วั ด แบบไร ส าย ซึ ่ ง ตั ้ ง ค า การ (vibration) และประเภทลู ก ลอย (floats) ดความเสี ง้ อาคารพาณิชย อาคารสูง และศูนยขอ มูล (Data Center) เครื - ่อความสามารถในการรองรั บ การเพิ ในอนาคต งจัอนิกกร,ใหปรั บหนปรุวงยงานต ประสิาทง ธิๆภมากกว าพเครื ่อ15งจั่ มปกขยายได ร, เกิ ลดพลั งงานที ่ไตมรทีเ่ กีย่ ว เสียคาปรับ เกิดทํความร อ นในขดลวดของหม อ แปลงและสายไฟฟ า สู ง กว า ปกติ ข อ งกั บ ฮาร ม ก บ ั า สามารถสอบถามข อ มู ล ผลิ ต ภั ณ ฑ เ พิ ่ ม เติ ม ได ท ่ ี บริ ษ ัท เปนดนปตัเครื ่เปนไฟelements AC 220 ากABB งานแล วใหสามารถแก กับลูกคPump า เพื การติ ตั้งใชงานที ว บนา จํEPEVER วา้งนที ุนแรงสามารถทํ ายใหางงsensing เป็านปั่รวดเร็ ม๊ ส�าหรั ปญ่อจาก หาคุragazzini ณดภาพไฟฟ อุ่อป่รงแปลงไฟจากแบตเตอรี กรณ เพิ่มเติXL2 มไดอOven าTracker ยดาย า-เปสามารถติ นความป ขอแนะนํ MemoryPaq สําหรั บ ทําให ใชงานเต็มพิPeristaltic ัดไมไดPQF ฯลฯ Hose กามนา ข-วอ-แม็ สัการวั Solar ขนาด 400 ตอตบอบสี ,อ่ สารกั 600 วับตอุตปจกรณ ตโหมดขนาน สําหรั บใช ่อEP ถือ ้Solar ดคคในการเพิ าSeries” ใช ชํมเลื รุอจํดดากชนิ เสี หายได าเชื ีความหนื ดสูจาง ยสามารถกํ เหมาะส� า“LS-Series” หรั งานทางด้ ญยของเหลวที หาฮาร อนิก่ม“Tracer ในระบบไฟฟ จัดแบฮาร มอนิกแได หลั กสู-สูบตจ่ปรอบรมนี นและประหยั ํ ามเสนอเทคนิ ่ ม คและ า เพาเวอร ฟกเตอร ละาสนงู หัวอุนิโวลต คกัาดยและการสื ี่ไนการวั นระบบ ด•อุ ปวักรณ , ความถี ่ ทและ ต สาหกรรมการเคลื โดยมี ุดี่ ใเดชไทฟฟ นใ1000 ดัมางไธรรมดา นีด้ ทวัาํ ดตงานผ 1. การวิ เ คราะห โ หลด เพื อ ่ เลื อ กใช ช ด ุ ตั ว เก็ บ ประจุ การกรองกระแสฮาร ม อนิ ก อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล ที ส ่ ามารถนํ า ไปประยุ ก ต ใ ช ง านได จ ริ ง Charger จาก วบคุๆ มขึแบบพกพาที การชาร จแบตเตอรี ดไดวยประสิ ทธิภาพการแปลงพลั งานมากกกว เอบี สจากลํ ร่มางสรรค ลิอุ่ 2ตปภัวกรณ น้ มา โดยใช ง กชนั ่ (Normal --งานในบ ๊มสายไฟ สามารถดู ของไหลที -ปัตรวจสอบคุ การที ่ไมเชสว่กไป ามารถบอกระดั ่ตืออถืบงการควบคุ มงดได างถูติทกตางอาง อาหารและเครื ่อElite1 งดื ถึง 20 ลํบาี ดัได บEPEVER ถึณ นณดbank) ระบบโทรศั อประจุ หรืcapacitor อานทั อนุ รม อตัตหรืิขโนมั LCR เปานดัเป มิบเผทีนตอร ดั งคฑ50 าคใหม LCR อ่ฟอกแบบ สมบั องเตาอบให ตอบสนองคุ อ ่มชุตพดีสิ บทตั่วทีมวนผสมของเนื เก็ ไฟฟา้อชนิผลไม้ ดีณจอสมบั ูนแยละกาก าี่จPeristaltic ระได เนซลล ทวั้งอุระบบ PWM เก็กิาบให ดเกี ความร นตํ สามารถใช งงการ วตมกั Solar ประโยชน พืมาเป ้นปทฐานของตั ปใชHose กรณ เปPump Wireless Hartตทิดาในระบบ แ้าพสู ก เซนเซอร ผให ผสณ ตวพลั ฑต้งงานของเอบี ทคิส่อ่างั้ เพิ เกิม่ ดไบศัดความเสี ยหาย สมบั -โซล ญ หาเพาเวอร แงฟคเตอร ใและ นระบบไฟฟ น (Detuned -92% ลณอในระบบไฟฟ าบี วจะช bank) ่มกคอย าเพาเวอร แานร ฟกเตอร - ใยได้ อุญจะมี ปผูทํหาโหลดไม กรณ ยลิ่ มดุ งเพื วยเพิ กEP ยภาพของ -ปกายภาพและคุ ใาชcapacitor สลทํ ามารถเลื อภักตั ทุามความต างด เองก็ พิรเับศษ านง านยแม นมียํคาุณMPPT ประสิ ธิังไดภนีสามารถป ง MPPT มีขอนาด สมบั ีตหมดในรอบการผลิ อยตั - ทราบถึ-งจะช เทคนิ รายละเอี ยดการเพิ คให ฟกเตอร หาขนาดที ดมอตัSolar บผลิ ธรรมดา เกิกดทีพลั ง(Inductive) งานสู งานร วมกั าดต์ระบบ ตรวจวั อุพร ณเพาเวอร รุดทนทีั้ง่มน่เจอิปTSP300-W, สัดญกใช ญาณอุ หภูทบมวี 2.ิย การวิ การประยุ ช้ขอมงาสสอบถามข าน ออาจมี กทํการเติ นผสมมากเกิ ไปประจุ งหยุ การผลิ ไม่ มีปิ ะเก็ ฟการการชาร นาเพาเวอร ดัปากคี ฟบแในตั และคาฟาซิ สามารถติ ต่เอใหมาะสมของชุ ลนแสดงค ตและต ภัไาฟฟ ณวัดฑอ่ไาดและพารามิ เพิประสิ ่มดเติ ทตี่ โครงสร า่องเครื ยวOff-Grid าSystem งานที ทม(Normal ธิไดภเาพ -เปคราะห จอแสดงผล OLED ทีเพื ่ส่อวาให งชั ดวีกมูเก็ารทํ ตอร เล็รีแมกวคอคที จิีซยจั ๋วีลดดและไม่ อหภู มขาวั วตัวนํสง้าใสุงนระบบ หนั เบา ทําณ งานด -Charger อหรื งกั นเพืunder over ไฟฟากําลังที่มีฮารมอนิก capacitor bank) หรือ cure ชุดตัวเก็และ บประจุ ไฟฟcure าชนิดดีจูน (Detuned capacitor bank) ่ 12่ เหมาะสํ โวลต รองรั บอนิระบบส อ266 งสว างานตรวจสอบ งแบบต ่มนกระบวนการการควบคุ บริษไฟฟ ัท าอีธรรมดา เลครุนไม่ TTF300-W, อุอป24 กรณ ตบรวจวั ดอแรงดั นลดป -บริ อุษเจัตคราะห านอาหารและเครื ่อเติงดื มคีเรายละเอี ช็ควาล์ วยหรื (Capacitive) เอบี บมข สูัทดสาหกรรมทางด้ งครบถ สุสนใจสอบถามรายละเอี ดปยคญ วี หา นจํอามูกัมลดทุรายงานสํ แบตเตอรี าหรั งานห - ทราบถึ-งแบตเตอรี เทคนิ ดการกรองกระแสฮาร มงแล็ กนบเพืรุ่อR&D, ญหาต าง ๆ างๆ3. การวิ วามคุ น•ในการประยุ ใใช ชงใานชุ ดมตั่มได วเก็ทบี่ ประจุ - การแก เตรี าหรักยตบดเพิ ม จากผลของฮาร มเครื อนิ กอ่ งมื (Normal capacitor bank) หรื อ ชุ ด ตั ว เก็ บ ประจุ ไ ฟฟ า ชนิ ด ดี จ น ู อ๊มการชาร จแบตเตอรี ่เพืจาก ่อโเชืดยตั ่อมตวปัอง๊มากัอยต บมแผงวงจรอิ ทรอนิ ค ส ซอร ซ จํ า กั ด • วัตด, ทีII™ ่และงานตรวจซ อ อกแบบมาให อSolar การใช งการควบคุ านเล็โดยเครื อ ่ ง สิ น ค้ า อุ ป โภคบริ โ ภค Multipoint II™ จาก Drexelbrook สามารถให ก ารควบคุ - หรืปัในสายการผลิ สามารถดู ดอของไหลได้ เอง ตั ว อุ ป กรณ ท ่ ี ส ามารถติ ด ตั ้ ง ใช ง านได อ ย า งหลากหลายรู ปม แบตเตอรี ช ่ าร จ ได ช นิ ด lithium-ion polymer ในตั ว Multipoint Drexelbrook เพื่อInverter ม การ กทรอนิกส คุณภาพ - ทราบถึงรายละเอียดการเลือกอุปกรณ และการกําหนดขนาดที่เหมาะสม (Detuned capacitor bank) ดไป ีจ่อะช า(only นวยความสะดวกดั --แบบ โรงงานบ� น�เพื้ามเสี ยาหรั ทประสิ ี่ตจิดมไฟจากคอมพิ ตั้งทกในแนวดิ ่งเพี ยชุงตั ยอะแดปวอ่ เริไม่ ฟฟา ่โดยใช้คบทวามคุ เท่ลมาวะรอบการผลิ tube หมดป หาในการทํ -เจัคราะห ชสบอามจุ บาชาร วStart เตอร หววเก็ รืเดีอบเพื สของเอบี วเคราะห นผสมในแต าto หรับreplace) โรงงานแปรรู ปอาหาร ทัอีกวั่วมารวิ - ทราบถึ-งวิมืเติ ธแทนที ทุนัยอํ น้นจากการดํ าเนิตสํนการปรั บปรุงนีงคุ้ ณภาพไฟฟ า 4. การวิ ขขงอาอมูบัญ ลดลจากเซนเซอร ปริ าณกระแสฮาร อนิ ่อเลือกใช ดตัUp ประจุ ดไดมีเก็ มูดUSB ่อสํปรั บปรุ งCommissioning ธิเพื ภาพเตาอบ า“DATAPAQ” ใชจายในการติ เมื ่ออให เที HART ด-อุดีระบุ ูนสาหกรรมเคมี หรื กรองกระแสฮาร มอนิกผลิ3A --ใช เซนเซอร ไมcapacitor มีชอุิ้นปสกรณ วนทีbank) นไหว - - สามารถกลั บปทิอาหารปกติ ศดทางการไหล บเฟสมอเตอร์ งตจานตั วอุหาของเตาอบได ปกรณ เท่เครื อวัตัดวเอบี ต เตอร จลดลง ะใชวัโดยการสลั กดระบวนการผลิ ตงแม อ เนืนอ่ ยํงา ชนิ -หรัคบปลายโพรบวั เคลื แบบ า บกั ถูกบตเอคราะห ป(Detuned ญ ันคลื ที่อ่อนงมื และใช ขและออกแบบตาม อมูบเสีลีทยสํี่อหาย าอกแบบให หรับวางแผน ผูเ ดอชีตับทอง ย่ ้งวชาญด า30% นเครื4 อ่ สาย งมื วัตดคยแบบไม และวิ เหมาะสําโรงงานแปรรู (Passive harmonic filters) เพื อ ่ ป อ งกั ตั ว เก็ บ ประจุ สาย (อระหว่ างอิ งจากตั สณบงา่เฑ์อุสัวคื ญาณ 50 วได ) สค่มะดวกจนถึ - พลัอุแก ตงกsanitary สาหกรรมทั standard เหมาะสํ าหรับอาไการทํ ความสะอาดแบบ - อุณ ผัวสยมื แ่ยกรณ ละชิ ส่SMD วบนกลไก งานไฟฟ าเพื่วไป ่อมดเลี วอุปกรณ วงายตั สอบถามข ตวภัเองนั ณฑเ้นพิ่มสามารถ เติมCIP ไดที่ ทีไม่ รีแบบมี านระบบอุ อวข ผูอค้นงกัวบคุ มตัจะเริ ตนจากถั -่เาหภู วประจํ จัตบาวภักล คีโรงงานและอาคาร ไข สามารถติ สาหกรรมที กีปญ การใช วามร อน งง และใช - วิศวกรไฟฟ กํมยใช าีกกว ลัมารสั งงิใานด ชามBatch งไฟฟ าอกํตprocess าเดี ลัางยงผลิ รองกระแสฮาร อนิต้ยกองตั จากระบบไฟฟ กํมูดาลดลัผลิ -เปล การเร็ ขึน้ และ อาจเร็ ขึาน้ ประจํ ถึงบานั75% ง5. การวิ ดเพิ มอและอุ ได้มบํ ษัทดดีอนิจูนนที วแม็่ไมกตถัวูก วงจร Cote-Shield สทัญ - ในกระบวนการผลิ ปั๊มเวลาในการดํ งานได้ วตรวจสอบและควบคุ ่าวระหว่ างท� าวการสู จะว่อ่ โดยไม ายๆงเปล่ - วิศวกรและผู รสามารถท� ับๆผิดและค ชอบดกอาสุยๆ นพลั โรงงานควบคุ าเตรวจสอบความถู ไปใช หลากหลายแอพพลิ นบประจุ ตงาสาหกรรมมี ษสนใจสอบถามรายละเอี ัท ไเมเชอร โทรนิ จํชาวกัยงยขจั ดจากการซ าขนาดเล็ เติงนงาน มแสม้่อว(ผชร. นผสมแต ลผอส.) ะอย งเข ไปเรื เพืตมอ่ าอ ให ดาเนิต0201 คราะห หดาขนาดที ่เหมาะสมของชุ ดเ•ตัดคชั ว่มการให เก็เติ ไฟฟ ชนิ -นํ-บริ กตกอซงหลั าี่ ญาณเตื รุบริ เพื ม้นกระบวนการ และอาคารควบคุ ม หรือ เช ตัวนกรองกระแสฮาร มอนิก ตรวจวัด งลิวลเรื ดินเดินสายไฟ และการกลบแต จ�าเลืกัดอกในการติ ต•องcapacitor (false จากผลิ ตภัณ่อณฑงการขุ องเหลวโดยไม่ ยหายกั ๊ม ่จะเติม (Detuned ดตัalarms) ้งbank) ตบภัรรลุ ทดายออกมา วิเธกิีวดัดความเสี ปริเพิม่มาณส วนผสมที ตมากมาย อสอบถามข อการเชื มูลผลิ่อมต ตภัอณเซนเซอร ฑเพิ่มเติมไดที่ ผลิได ตกัผให เปฑ์สาขุดดหมายด ภาพ, ผลผลิ ต,บงปัลดเวลา, - ผูที่ตองการเพิ ่มองค ความรู านการเพิา่มนคุ คาณ เพาเวอร แฟกเตอร และการกรอง (Passiveสามารถติ harmonic ดfilters) -ลดระยะเวลาความเสี ิ จยก็ ฉั ทยคธิปอื ผญลในระบบไฟฟ หาของอุ ป กรณ ไ ด จ ากระยะทางไกล เซนเซอร ท ่ ี แ ข็ ง แรงทนทานได ร ั บ การออกแบบมาให นตอ อุ ณ หภู ม ข ิ อง Wireless HART รุ น  TSP300-W เขากับอุปทกรณ เขมาสามารถวิ ไปที ท่ าํ าได การใช Point level switches เพื อ ่ ควบคุ ม กระแสฮาร อนิ กอย งมีงปนา ระสิ า กํ า ลั ง ที ม ่ โ ี หลดที ส ่ ร า งกระแส เคราะห าง ๆซ จํากัด  บริษตัวทอยอีาเงการวิ ลคทรอนิ คสตซอร ย หายจากการเกิ ด downtime ของ6. กรณี ฮารมอนิกระดั เชผนบานระบบการสื Power Inverter, Power Rectifier and Converter, etc. หาต ่อสารแบบไร นปางๆ วนทีา่มดีอวยตั ยูภวายในถั งได บี ผลิตความป พลัญงงานไฟฟ เองของเอบี ของสวนผสมแต ละอยางทีสาย ่จะเติมเขาไป โดยทั่วๆ ไปแล7.ว ถาม-ตอบป วั น พุ ธ ที ่ 8 พฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2560 8.00 9.00 -งานนี ใชพ้มยื้นักบัทีจะติ อจบการสั ยลง เพราะไม องพักตัสายไฟหรื มอบประกาศนี ต่ตริดดตัหลั ม(sensors) มนา ตองใช สอบถามรายละเอียยดเพิ ดเพิ่มเติ ่มเติมได ม9.00 ได ษเอบี ัท คณิ สอบถามรายละเอี ที่ ทบริี่ บริ ษ- ัท16.00 บลงทะเบี ี จํวตาขเอ็ กัอดนสัยจิม-นมนา ตั้ง้งนงเซนเซอร ไวกหลลายๆ ว แตละตัอว หั Model 575 และ 575P Level กรุณSubmersible ากรอกชื่ อ-นามสกุ ลตัวTransบรรจง เพื่อความถู ยบัตร ยสายไฟ เนีสารสนเทศ ยริก่งตอจํางกัของประกาศนี ด(Data • Center) ใชโครงข ควบคุมาปริ มาณของสวนผสมแต ละอย าง (Power PDU Distriสมัครดวน ! รับจํานวนจํ ากัดเพียUnit) ง 50 ประกอบไปด ทานเทานั้น วย ใบสมัคmitters ร bution MNS iPDU ยังเปนคตั........................................................................................ วเชื่อมรวมระบบ Static Transfer เลขที ่สมาชิ กชวารสารเทคนิ เอบี บ ี (ABB) เป ด ตั ว PCS100 AVC-20 ซึ ง ่ เป น นวั ต กรรม และต อ เนื อ ่ ง ทั ง ้ ยั ง ว ยลดผลกระทบของแรงดั นด้ไฟฟ าทีไ่ มสมํา่ เสมอ Fluke TiX620 กล อ งถ า ยภาพความร อ นความละเอี ย ด ได ร ั บ การรั บ รองสํ า หรั บ ใช ใ นพื ้ น ที ่ อ ั น ตรายระดั บ Class I, พร้ อ มระบบสอบเที ย บอั ต โนมั ต ิ ส มบูE-mail...................................................................... รBus ณ์แบบ วยระบบโมดู ล(LBS) ที่ 1. ชื่อ.......................................................................... นามสกุ ล.............................................................. ง......................................................... อุปกรณ สําคัญที่ทําหนาที่สําหรับ ตําแหน System (STS), อุปกรณ Load Synchronization ดสูางนการปรั หรับนามสกุ การปรัลบ.............................................................. 2. ชื่อ.......................................................................... ง ......................................................... E-mail...................................................................... ง่ บอาจทํ า ความเสี ย หายให อ ป ุ กรณ แ ละกระบวนการผลิ ต ใชต1ัวรับสภาพไฟฟ ภาพความราสํอานความละเอี ยแรงดั ด 640น ออกแบบมาเพื x 480 พิกเซลอ่ ตํปรัซึาแหน Model 675 Submersible Level Transmitters Div เปลี ย่ นได้ตUninterrupted ามความต้องการทีPower แ่ ตกต่าSupply งกัน และงบประมาณ จายกํล.............................................................. าลังไฟฟา ปองกันแรงดัน ตําแหน และระบบ System (UPS) 3. ชื่อ.......................................................................... นามสกุ ง......................................................... E-mail...................................................................... ใช ใ นระบบอุ ต สาหกรรมและการพาณิ ช ย ข นาดใหญ ซึ ่ ง อาจมี ป จ จุ บ ั น นี ้ ม ี LCR มิ เ ตอร ข นาดปากคี บ ออกมาหลาย แรงดั ไฟเกิ นนเพื การขาดสมดุ อปญหาI, ไดภาพที่ละเอี ดชัดและมี ความถู(316 กตองกว า หนาจอแสดง -่มี สามารถเพิ ไดท.ร..................................................................... ับการรัน่มไฟตก บขยายช่ รองสํแรงดั าวหรังความดั บนใช ในพื ้นหรืที่ออโทรสาร.......................................................... ่อรองรั ันตรายระดั บล คืClass -ทําให Diaphragm เปนยแบบ Standard stainless steel) โทรศั ที บ งานในอนาคตได้ บริษทั ............................................................................................................................................................ พ เกินชัว่ ขณะ (Surge Protection) เพื่อให“theben” ไดระบบทีPresence ่มีความสมบูdetectors, รณสูง Motion detectors คือ ที่อยู ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ่เครื ขทีา5.6 ยไฟฟ อสงผลกระทบต ตอบสนองการใช ง2885 านที จ่ ริMaster งจังใในสายการผลิ การตรวจสอบ รุสภาวะที นหลายยี ่หอFlush ่ ใหคเพื งานใน Metrel MI6270A ่องวิ ที่ออ่ เดี าจเกิ และทํ าให มอเตอร นอุปQ4 กรณเป หรืนอตเครื งจัเกคราะห รขาด ผลขนาดใหญ นิวามสะดวกในการใช ้วา่อขาดความเสถี ใหอเการทํ ห็นจุดาทียความสะอาด ่มร ีปหรื ญงานแก หาได อผยูทาํางชั ดเจนอ เพื Div 1ดบขึ้นFluke หรือแบบ งทําายต ยวกั ระบบสายดินของ Computer- เช่นเซนเซอร ประโยชน ทสถานะและความเคลื ี่ผูใชจะไดรับจาก MNS iPDU ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ต รวจจั บ ่ อ นไหว เป น เซนเซอร ต เทคโนโลยี งsmd าวจะทํ าใหอกมนา้ ี คัประสิ ดเลื อFluke ภาพวั ตถุาดเป ิบนกแบบ อาซึนเข าHeavy แคี่กทีตนมุ ่ ที่ โรงงานประกอบอิ เล็กทรอนิ ทตี่ อ งวัขดองระบบดั กรณ งงานและคุ ณภาพไฟฟ จอสี รสายพานการผลิ ุนงอผลต ใหม จduty Metrel ่เอนยแม นบทราคา ทกคุ ธิภณ าพในการทํ งาน ง่ จะส อบาก การใช ท่อตรัใช พหรื ยากรไม พรมีอชมระบบเพิ ความคมชั ดกสranges) EverSharp ที่รงวมภาพความร -พลั Cage assembly เพื วทีางไว -ความสามารถในการผลิ ว งการวัด่ม(Measuring สูอุงปจนถึ 690 ฟุขนาดเล็ ตของนํ ............................................................................................................................... .กล .............................................................................................................................. ........................................................................ 2271A เหมาะกั บ ห้ งปฏิ ั ต ิ ก ารสอบเที Level ìGrounding และระบบ -กออกแบบมาเพื อุปกรณคุณภาพสู งยในการประหยั ของเอบีบี ดพลังงานจากการใชงาน ่อนัชกวงาน ทราบการสัเพราะปลายปากคี มมนาจาก ì วารสาร าบ เว็อยบงกั ไซต อีร่ เบมล ๆ.................................................................................................................................................... การจ าDiaphragm ยกระแสไฟฟ อย เนืและสามารถวั อ่ วงทีนแม ใารป นสภาพแวดล อìอมที ะบบ อในแง มแซมภาคสนามที ่ต่เวัอปยวสงการวั ดwell) คางอุโดยเน ปกรณ องอาจนํ ยู่อ่งใานบั นบอร ทีผนวกรวมเป ่าเ งต ล็ìFlush กอใบปลิ ดนคให า ขณะคี ไปม ìต้อืการซ ่ยบทัออง้ มเยากว ายหรัMI2892 ทีเสี นยตั รุนและพลั Top นทึดก คอที่นถูางการสอบเที การใช พเก็ ดุ(Wet งาน ทันง้ ทไปที ยัี่เนื าไปสู ในหลายๆ ระยะโฟกั ส หนึ ง ่ เดี ว เป ย กสํ บ บ นํ า ้ มี แบบ ่ ม ี ก เ ลื กพร อ บความดั ว่อเองโดยไม่ าก งจากมี หมายเหตุ : คาสัมมนาสามารถหักภาษี ณ ที่จายได 3% ชองทางการสมั รสั มมนา ตรวจการณ พรอมทั้งบริหารการ -ปคกรณ ระบบมอนิ เตอร อัจหรืฉรินอด้ยสํะที ่เชืงานส ถือวไดนทีม่ กั ยจะมี อุ ต า  งๆ ในบ า น า นั ก ก ารลื ม ป ด อายตจําอกัเหมาะสํ หรืาอสัมขาดเสถี ยใชรภาพ ดัความจํ งมี:โครงสร ค02ผวามสามารถต อง่ พาระบบสํ ไปนี ้ าเพื • ทาง ความสมบู FAX •SST ทาง E-mail :อmember@me.co.th มกัFluke นปกโภคมี ดิ า862 ปกติ ขพองระบบไฟฟ นความทนทาน หาสาเหตุ ของป กรณีไมมีหนังพร สืสาธารณู อรัอ บHastelloy รองการหั ภาษีTiX620 ณCข ที่จdiaphragm งชํดาระค มนาเต็ เปรนณ์1395 ง่ วมีจ่ราาคาค อนขญนาหา งสูเงสามารถ อยอ่ หรื างงอ าสํหรั บมจํงานที -เหตุ าในการพึ งเป นมในตั 316 เพือ่ ยาค่อรองซึ าหรั บานวน กต่ ับอ นํงการถ ้าเสีย ายภาพความ ร้ อ ว เอง เพี งต่ ตั ยความดั ให้ ครื • ทาง Inbox Facebook : www.facebook.com/meBOOKSHOP าอยา้งงมี ประสิทธิภาพ - ระบบบั สเลิบาร จางยไฟฟ Smissline กรณีไมสามารถเขาอบรมได บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิไมใชคืนไฟฟ าอบรมทั านวน าานง านอาทีเดีเช นานแบบ มงการบั ออุงเรี หPCS100 งนํา้ งฯลฯ แรงดั งคผลเสี ยตคอจํวามสามารถด ความสามารถใน -เช งFlush ยด วดํ้าหปกติ ชดี3.5” คั,ซึตห่องให งเตอร์ านครบทุ มินเไฟฟ ตอรแายกระเพื บบปากคี วนใหญ จะมี อการชํ ย าระเงิ ตัมองข trigger เพื จัยมื บทีความผิ ทอร ี่ตยอตบทรานส์ ทึยติ กนน, ได มอากถึ เครื ่อมเมื งกําอ่ ยเนิ ดก่อวใช ไฟฟ ่ใชยขนาด มัอมีนงประชุ เซล กรณ ดสูงดตเช่อามอาจส นงๆบสและนํ diaphragm เพื ปปอนใช งกั การจั บพอกก7 น้งนใช -รอนที ใชไ่มLCR ดีคกวามละเอี บั ของเหลวชนิ า้ กากตะกอนข น (Sludge ก็ พ ร้ อ มสอบเที บทั น สามารถสอบเที ม ดวยประสบการณ สามารถติ ตั้งมdetectors หม อแปลง ได ต รวจจัคบวาม อัตราคาสัมมนา VAT 7% Motion เป น เซนเซอร ทานละ สุทธิ และความ ì เช็คสั่งจ-าย ในนาม บริษัทดเอ็ แอนด อี จํากัด Isolation การผลิ ต่อและความสมํ า่ อเสมอของการทํ ง่ นํกาไปสู ผ ลิตภั่เณล็กฑ โอนเงิ งบัตั กญโนมั ชชีั่นอจะช กว าslurries) เครื1.งานไฟฟ ง LCR ามิทีเ่ตตอร ถือ หรื อตัา้งงาน โต ะ ซึเพราะขนาดที รูนได้ ปเขฟของของเสี แบบพร อตมกั นย ในนาม ขSensor มูเป็ลทีนบริต้่บษอันัทงใช้ ทึเอ็กาได ในหน ยความจํ AVC-20 บจอา�สภาพการจ ยแรงดั นจํวาไฟฟ าอใหมระบบป้ คาขนาดใหญ งที่ ทํความ งสัมงือเกตอุ ปกรณ ขนาดเล็ ที่ระยะไกลๆ ยวพยปรั บน า อมทรั ม แอนด อ ี กั ด ดั น อ ิ โดยไม่ ผ เ ้ ู ชี ย ่ วชาญ พร้ อาาให ง ชํ า ระเงิ น ก อ น 25 ต.ค. 2560 เชี่ ย วชาญจากการประกอบตู  เคลืงเทพ คุณสมบั ติโครงสร านงภายนอกที ่สํา่บ(PIR) คั​ัญญ อ ่ นไหวด ว ยระบบ Passive Infrared โดยจะทํ งาน ì ธนาคารกรุ สาขาถนนตากสิ เลขที ชี 158-0-82377-9 217 กแบบแช ารทีก่ดาให จอใัยยคุ งผลให เลื อ กโหมดทํ า งานได ท ง ้ ั แมนนวลและอั ต โนมั ต ส ิ มบู ร ณ กว มากทํ วทีงจรเครื ่อและอาจส งวั ดภายในถู กจําหรืกัสดอว3,317 ความสามารถ พร อ มรู ป คลื น ่ ที ผ ่ ด ิ ปกติ เช น ไฟตก ไฟเกิ น ต า งๆ (sag & swell) 3,100 ผู ผ  ลิ ต สามารถควบคุ ม กระบวนการผลิ ต และใช ท รั พ ยากรให เ กิ ่ตณอภาพ งการความสามารถในการแยกแยะราย มี ช ว  งการวั ด สู ง จนถึ ง 690 ฟุ ต ของนํ า ้ สมาชิ -หรืาอมีกับริ ทนงั้ 2.งานวิ นของเหลว (Submersible) ตินประกอบของ ดตัง้ ภายนอก การปนเปื ้อทีตูน่ม ีคMNS Contamination (CPS)พดบ ì ธนาคารกสิ ิกครั รไทย สาขาเดอะมอลล ทและหลั าPrevention พระ งเลขที ่บัญSystem ชี ห765-2-59700-3 ซเกียรแรงตํ3,638 ่าในซีรี่ส MNS iPDU สามารถออกแบบได ลากหลายขนาด 3,400 สวิต238 บุคคลทั่วไป ทุ ก ้ ง วามเคลื ่ อ นไหว จากเซนเซอร ต รวจไม ì ชาพสู ยาน่อหรั เลขที ัญ ชีผลตอบแทนจาก 055-2-30081-7 เครื รเกิ ดความเสี ยเครื หาย เกิ ความขัยดวบความดั ขอผูงบ อบายุ -ประสิ ความแม ยํงและผู สูสุใช งดงR: L: 0.2%, แต บ่อัดงจั จาก บงาบสาขาถนนตากสิ ปรุ ญนในรุ นใหม นC:ี้ค่บื(Sludge อ0.2% วย ชนิ ด ธนาคารไทยพาณิ ทการปรั ธิวภเครื ยและเพิ ่มการแสดงผลด ละเอี ยนีเหมาะสํ ด25้ กLCR และการวิ ของความร นาาให เหมาะสํ กทีเพื ั้บใ่สช้0.1%, นํ่อําง้าคัลดของเสี กากตะกอนข slurries) าPro1 หรับเคราะห งานที ่ใLCR ชก่ อารกระจายตั ถังดResearch ผสมสารเคมี ,ผลิถัอตงยๆเก็นLCR บอทํส�สารเคมี งสอบเที หรั ปกป้ องตั าน ต.ค. 2271A 2560 ชํ า ระเงิ น หลั ง Fluke เอบี บ ี จ ึ ง ได พ ั ฒ นา MNS iPDU เพื ่ อ ตอบสนองต อ การใช ง านใน Data Center ซึ ่ ง ตั ว ตู  มี นดวย) โอนเงิ น วั น ที . ่ ................................................. (กรณี โ อนเงิ น ผ า นธนาคาร ผู  โ อนเป น ผู ร  บ ั ผิ ด ชอบค า ธรรมเนี ย มการโอนเงิ ความเคลื อ ่ นไหวจะเริ ม ่ หน ว งเวลาป ด ตามที ต ่ ง ้ ั ค า ไว 3,400 สมาชิ การใช ง3.งานตรวจสอบวงจรอิ านลดลง PCS100 ซึาง่ เครื มี3,638 คว่วามสามารถ -การลงทุ ทดสอบได ความถี จอสี กอ5ารอ า้ ในค าานแบบกราฟิ ต่ ในเวลาเดี า100Hz, งๆ งายขึย120Hz, ้นและเมนู ตรวจลํ า10kHz, ดับาเฟส บสถานี ชั้ น นํกสาบู ได ั ฒกรณ นาขึ ้ น เพืเล็่ อกให เ238 ยกบเท อดงรุ  น ใหญ น่ทดําให างมาก นการทํ งาน วกั นเชอุนป1kHz, กรณ PCS100 สเฉพาะงาน เปส่นทีวอย เหลว, นํา้ อุพ,ปกระบวนการทํ าทรอนิ ใหAVC-20 ตทีะกอนลอยตั วยอากาศ ลงชื่อ................................................................................................................................................. อุปากคี ตสาหกรรม นติ ด ต่ กั บ ผู ช้ ง ก ท ม ่ ี โ ี ครงสร้ ง 259 3,700 3,959 บุคคลทั่วไป ซึง่ เปนตูจ า ยไฟทีม่ ขี นาดกะทัดรัด โครงสร างที่เปนคุdetectors ณสมบัติหลัเป ก นเชเซนเซอร น Presence ตบผลให รวจจั บระหยั สถานะด วางย นสาหกรรมขนาดใหญ ไฟฟ าได าเปงรวดเร็ นตยํสาหกรรม าบาจะช ยเพิ 100kHz ฮาร มาอนิ กรวมทั สาใหและรู ปเครื คลื ่นกงระบบโมดู ผิพดลัปกติ าจะส งๆ รวมทั ้งเสี การปรั ปรุ ทะลุ ขFluke ดี 4.งานอุ จําบกัแรงดั ดของขนาดเครื อ่ งยair นfloatation), เครื อ่ วงชนิ ปากคี เครื อ่ วนํงแรก กรุง ณาตั าแนบใบหั ภาษี ณช ทีแ่จบบต าาล ย สถานี มาพร อมกัส คย านํลงทะเบี ยนขึ้ นงบจาก ทํ ส ามารถใช ง ไฟฟ ซึ ง ่ ง ป ด ค ทและแม ี่ต อดงการเปรี เหมาะสํ หรั บ งานที ่ ใ ใน ู บ ้ า ย ทีในการปรั ่ละลายในนํ ้า ต(Dissolved การบํ บัยดบเที ้าเสียทียม่ บ่ เข้AVC-20 2271A เครื อ ่ งสอบเที ย บความดั น อุ า ใจง่ ย ้ ว อ ่ ช่ ว ยให้ เ รี นรู ก ้ ารใช้ าน ในนาม บริ2ษัท ชัเอ็Infrared อี จํ(PIR) ากัด า(เลขประจํ าก ตัวารตรวจวั ผูเสียภาษี - ประตู ้นมแอนด แบบตาข ยหรื อกระจก เพื0105527008994) ่อดทีความเข ่จะไดเห็มนแสง การ ไดรบั การออกแบบเพื จทําายไฟให บั างจัโหลดที ม่ าคี นัวามสํ าาคังราบรื ญ (Senระบบ Passive โดยมี ษลัทะกระบวนการ เอ็มยอ่แอนด อครื ี กจํdigit กักดรทํ (สํ กงานใหญ ) -ใช ต ให เ อ ่ า งานได อ ย น ่ แรงดั น ทดสอบ 3 ระดั บ 0.2Vrms, 0.5Vrms, 1.0Vrms ส ว นของเมนู ต  า งๆ ให ใ ช ง  า ยขึ ้ น เช น ปุ  ม Quick Sets และ ของโลกที ี77/111 ความละเอี ดระดั บ 5 และ accuracy 0.1% จ า  ยในการผลิ ต ไฟฟ า จากโรงผลิ ต ไฟฟ า อุวณยวิหภูธีทมางเคมี ิใ่มบริ นแต บ อ รวบรวมนํ า ้ เสี ย (Lift stations) ดความสามารถในการผลิ สามารถสอบเที ย บเกจและเซนเซอร์ ค วามดั น ได้ อ ย่ า งกว้ า งขวาง ได้ ร วดเร็ ว อาคารสิ สาธรทาวเวอร 26 นถนนกรุ รี แขวงคลองตควบคู นไทรทําเขตคลองสาน กรุงอ่ เทพฯ 10600 กรุงอ่ ธนบุ รี ทางออก ปกรณ ภายใน sitive Loads) เช น หอนงคอมพิ วเตอรชัแ้นละศู ยขอ มูงธนบุ ลเทคโนโลยี ไ งานของอุ ปกับความเคลื นไหวด วย ซึ(BTS ง่ ถามีสถานี การเคลื นไหวแต แสง1)

“DATAPAQ” MemoryPaq XL2 Oven Tracker Denison Hydraulic Vane Pump Solar Charger และ Inverter ABB Filters Multipoint IIQuality จากวSolar “Ragazzini” Peristaltic Pump ปั๊มสูบบจ่สําายของเหลวที ่มีความหนืดสูง LCRPower Elite1 มิเตอร ัดDrexelbrook คาHose LCR แบบปากคี หรับงาน SMD

AMETEX อุปกรณสําหรับอุตสาหกรรมเกี่ยวกับระบบนํ้า และนํ้าเสีย

FlukePro1 TiX620 กลขอนาดปากคี งถายภาพความร อนความละเอี LCR มิเตอร บจาก LCR Researchยดสูง

MNS2271A iPDU (Intelligent Power Distribution Unit) Fluke และ Fluke 6270A “PCS100 นไฟฟาจากเอบีบี เครื ่องสอบเทีAVC-20” ยบความดัอุนปส�กรณ าหรัปบรัอุบตแรงดั สาหกรรม

“theben” detectors Metrel MI Presence 2885 เครื่อdetectors, งวิเคราะหคMotion ุณภาพไฟฟ า 4 แชนเนล

โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 Homepage : www.me.co.th E-mail : member@me.co.th 132 397, 2560 136 393, ธัตุมนลภาพั วาคม 2559 128 395, กุเมษายน 391,กรกฎาคม าคมนธ2559 150 398, พฤษภาคม 2560 128 คาอบรมถือเปนคาใชจายทางภาษีได 200% 144 400, 389,กัสินงยายน หาคม2560 2559 140 390, 2559

www.me.co.th www.me.co.th www.me.co.th www.me.co.th www.me.co.th www.me.co.th www.me.co.th

การจองจะมีผลเมื่อไดรับชําระเงินจากทานกอนวันสัมมนา แฟกซหลักฐานการโอนเงินมาพรอมกับใบสมัครนี้ที่หมายเลข 02 862 1395



(สําหรับเจาหนาที่) หมดอายุฉบับที่.......................................... สมาชิกเลขที่..............................................

ใบสมัคร/ตออายุสมาชิก เทคนิค

สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก (หมายเลขเดิม........................................................) สมัคร/ตออายุในนาม

สวนตัว

วารสารเทคนิค

นิติบุคคล

* กรณีตออายุ กรุณากรอกขอมูลใหม เพื่อเก็บประวัติที่จะเปนประโยชนตอสมาชิกในอนาคต * ชือ่ -สกุล................................................................................................. ตําแหนง........................................................................ เพศ..................... อายุ.................ป ระดับการศึกษา.................................................................. สาขา........................................................... ประเภทธุรกิจ...................................................................... โทรศัพท.................................................................. โทรสาร..................................... มือถือ................................. อีเมล....................................................................... ที่บ าน บริษทั ................................................................................ อาคาร/หมูบ า น....................................................................... สถานทีจ่ ดั สงหนังสือ ทีอ่ ยู เลขที.่ ................................ หมูที่............................ ตรอก/ซอย.............................................................. ถนน............................................................................. ตําบล/แขวง...................................................... อําเภอ/เขต.............................................. จังหวัด................................................ รหัสไปรษณีย. ............................ จัดสงที่เดียวกับที่สงวารสาร จัดสงตามที่อยูดานลาง จัดสงใบเสร็จรับเงินที่ ตัวแทน / ผูร บั ใบเสร็จ (ชื่อ-นามสกุล)................................................................................................................................................................................................. ทีอ่ ยูอ อกใบเสร็จ (บริษทั )........................................................................................................................ ทีอ่ ยู. ..................................................................................... ............................................................................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................................................................

ขาพเจาขอสมัคร/ตออายุสมาชิกวารสารเทคนิค

ประเภทหนังสือ

วารสารเทคนิค (รายเดือน) กระดาษปรูฟ (เลมละ 50 บาท)

12 ฉบับ 24 ฉบับ 5 x 12 ฉบับ 5 x 24 ฉบับ

สิทธิสมาชิกวารสารเทคนิค

กระดาษปอนด (เลมละ 75 บาท)

500 บาท 950 บาท 1,800 บาท 3,300 บาท

750 บาท 1,450 บาท 2,700 บาท 4,950 บาท

• ซื้อหนังสือราคาสมาชิก และไดรับ สวนลด 20% *เมื่อซื้อหนังสือ สํานักพิมพเอ็มแอนดอี ที่ศูนยหนังสือวิศวกรรม M&E • ฟรีคาจัดสงหนังสือ • ไดรับสวนลดในการสมัคร สัมมนา 300 บาท/ครั้ง

เริ่มตั้งแต ฉบับที่................................ ถึง............................... พรอมกันนี้ ไดชําระเงินคาสมาชิกจํานวน.....................................................บาท การชําระเงิน โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนามบริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด เงินสด กรณีชําระที่ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด เทานั้น ธนาณัติ (คต. สินสาธร) เทานั้น สั่งจายในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่ 158-0-82377-9 ธนาคารกสิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่ 765-2-59700-3 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาตากสิน เลขที่ 055-2-30081-7 ธนาคารยูโอบี สาขาถนนกรุงธนบุรี เลขที่ 940-103-096-0 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาสะพานพระเจาตากสิน เลขที่ 153-1-25818-2 โอนเงินวันที่............................................................ ** (กรณีโอนเงินผานธนาคาร

z j | ­ © Ó ¡sñ ¢Ô ì p q © Ó }s

ì Ô j q } Óp © Ó p Ó z mÓ m s j ¥ Û j k p ì©}Ô j j¥ Ô ì ì jì|ì ­qÓ ì¦ © Ó ¢ mÓ ¥ ­ ì ì z ¥ ñ Ó Óp¥ j j m ~Ó ¡ s jì Ô j ì ì s² ¥p ¦ Ô ì Ô © Ó©}Ô ¨ ¥ ¬q ¥p ¨ ì ì ì ì j ¡| ~ }~Ó j }Ô

ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) **

การโอนเงินกรุณาสงไปรษณีย อีเมล หรือแฟกซ ใบนําฝากเงินเขาบัญชี (Pay in) มาพรอมกับใบสมัครสมาชิกวารสาร และโทรแจงใหทราบดวย หมายเหตุ : ขออภัยไมมบี ริการพนักงานเก็บเงิน

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

144

เลขที่ 77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 E-mail :member@me.co.th www.me.co.th (BTS กรุงธนบุรี ทางออก 1)

กันยายน 


ใบสั่งซื้อหนังสือ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ชื่อ-นามสกุล....................................................................................................................... ที่อยู........................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ โทรศัพท..................................................... โทรสาร................................................ E-mail................................................................................................

รหัส

หมวด วิศวกรรมเครื่องกล

10101 10102 10103 10104 10105 10106 10107 10108 10109 10110 10111 10112 10113 10114

เครื่องกล ชุดที่ 1 (เครื่องมือวัดและควบคุม, การลําเลียง,วัสดุและอุปกรณ, เครื่องกลทั่วไป) เครื่องกล ชุดที่ 2 (เครื่องมือวัดและควบคุม, การลําเลียง,เครื่องมือชาง, เครื่องกลทั่วไป) เครื่องกล ชุดที่ 3 (เครื่องมือวัดและควบคุม, รถยนต, ระบบปรับอากาศ, ไฮดรอลิก, ทอ, วาลว) เครื่องกล ชุดที่ 4 (ระบบไอนํ้า, ทําความเย็น-ปรับอากาศ, ปม-เครื่องอัดอากาศ, ทอ, วาลว, กลไก) เครื่องกล ชุดที่ 5 (ระบบไอนํา้ , ระบบทําความเย็น, ปมและเครื่องอัดอากาศ, ทอ-วาลว, เครื่องกลทั่วไป) เครื่ อ งกล ชุดที่ 6 (ระบบไอนํา้ , ความรอน, ทําความเย็น, ปรับอากาศ, เครื่องอัดอากาศ, ทอ, วาลว, ปม , ซีล) เครื่องกล ชุดที่ 7 (เทคโนโลยีน�ารู, โลหะ, ความรูเชิงชาง, วิศวกรรมเคมีและปโตรเคมี) เครื่องกล ชุดที่ 8 (เครื่องกลทั่วไป, เครื่องมือวัดและควบคุม, ระบบขนถายวัสดุ, บริหารการผลิต) เครื่องกล ชุดที่ 9 (ระบบทอ, ระบายอากาศ, ทําความรอน) เครื่องกล ชุดที่ 10 (วัดการไหล, ไฮดรอลิก) เครื่องกล ชุดที่ 11 (ปม, ตลับลูกปน, เสียงรบกวน) เครื่องกล ชุดที่ 12 (รถยนต, เครื่องยนต, การหลอลื่น) คูมือวิศวกรเครื่องกล คูมือถังรับแรงดัน Pressure Vessel Handbook

10201 10202 10203 10204 10301 10302 10303 10304 10305 10306 10307

รหัส

รหัส

รหัส

เปนสมาชิกวารสาร

หมายเลขสมาชิก ........................................ ไมไดเปนสมาชิกวารสาร

สมาชิก จํานวน เปนเงิน ราคา ลด15% เลม 220 180 220 185 220 220 230 240 190 195 155 155 600 600

187 153 187 157 187 187 196 204 162 166 132 132 510 510

ระบบปรับอากาศ ชุดที่ 1 ( การทําความเย็น, เครื่องปรับอากาศ, ระบบสงลม, การระบายอากาศ, คูลลิง่ ทาวเวอร) ระบบปรับอากาศ ชุดที่ 2 (พื้นฐานการปรับอากาศ, คูลลิ่งทาวเวอร, การประหยัดพลังงาน,) ระบบปรับอากาศ-ทําความเย็น ชุดที่ 3 (ทําความเย็น, ปรับอากาศ, ระบายอากาศ) ระบบปรับอากาศ-ทําความเย็น ชุดที่ 4 (ทําความเย็น, คูลลิ่งทาวเวอร, บํารุงรักษา)

125 165 260 280

106 140 221 238

ระบบทอ วาลว ปม (ชุดที่ 1) ระบบทอ วาลว ปม (ชุดที่ 2) ระบบทอ วาลว ปม (ชุดที่ 3) ระบบทอ วาลว ปม (ชุดที่ 4) คูมือทออุตสาหกรรม วิศวกรรมระบบทออุตสาหกรรม คูมือการเลือกใชวาลว

102 187 272 286 280 357 350

96 176 231 243 238 336 298

500 480 295 260

425 408 251 221

หมวด ปรับอากาศ-ทําความเย็น

หมวด ทอ - วาลว - ปม

(หนังสือมีตําหนิ ลดจากราคาปก 120 บาท) (หนังสือมีตําหนิ ลดจากราคาปก 220 บาท)

(หนังสือมีตาํ หนิ ลดจากราคาปก 420 บาท)

หมวด ความรอน - ฉนวน

10401 ระบบควบคุมสําหรับ การทําความรอน การระบายอากาศ และการปรับอากาศ 10402 อุปกรณแลกเปลี่ยนความรอน สําหรับอุตสาหกรรม 10403 ระบบความรอน และไอนํ้า ชุดที่ 1 10404 คูมือฉนวนความรอน ยานยนต - เครื่องยนต

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 E-mail :member@me.co.th www.me.co.th (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก1) กรณีที่ไมระบุชื่อผูรับหนังสือ ทางบริษัทจะไมรับผิดชอบถาการจัดสงหนังสือไมถึงมือทาน การขายหนังสือ ไดรับการยกเวนภาษีหัก ณ ที่จาย และไมมีภาษีมูลคาเพิ่ม 7 %  เมื่อทานสงเอกสารการสั่งซื้อ / พรอมการชําระเงินแลว ถาไมไดรับใบเสร็จรับเงิน และหนังสือภายใน 7 วัน กรุณาติดตอกลับดวย  

สําหรับบุคคลทั่วไป เสียคาจัดสง 50 บาท

เทคนิค

รวมเปนเงิน

การชําระเงิน โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนามบริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

เงินสด กรณีชําระที่ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด เทานั้น ธนาณัติ (คต. สินสาธร) เทานั้น สั่งจายในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่ 158-0-82377-9 ธนาคารกสิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่ 765-2-59700-3 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาตากสิน เลขที่ 055-2-30081-7 ธนาคารยูโอบี สาขาถนนกรุงธนบุรี เลขที่ 940-103-096-0 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาสะพานพระเจาตากสิน เลขที่ 153-1-25818-2

โอนเงินวันที่........................................ (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) การโอนเงินกรุณาสงไปรษณีย อีเมล หรือแฟกซ ใบนําฝากเงินเขาบัญชี (Pay in) มาพรอมกับใบสัง่ ซือ้ หนังสือ และโทรแจงใหทราบดวย หมายเหตุ : ขออภัยไมมบี ริการพนักงานเก็บเงิน

กันยายน 

145


ใบสั่งซื้อหนังสือ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ชื่อ-นามสกุล....................................................................................................................... ที่อยู........................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................... โทรศัพท....................................................... โทรสาร................................................ E-mail................................................................................................

รหัส

เปนสมาชิกวารสาร

หมายเลขสมาชิก ........................................ ไมไดเปนสมาชิกวารสาร

สมาชิก จํานวน เปนเงิน ราคา ลด15% เลม

หมวด ยานยนต - เครื่องยนต

10702 เทคนิคยานยนต 10703 เคาะพนสีรถยนต

350 290

298 247

175 205 240 245

149 174 204 208

11101 การประหยัดพลังงาน ชุดที่ 1 (HVAC, เตาเผา-อบ, ไอนํ้า-ความรอน, ระบบไฟฟา) 11102 การประหยัดพลังงาน ชุดที่ 2 (HVAC, ระบบลมอัด, ไอนํ้า-ความรอน, ระบบไฟฟา)

รหัส

หมวด จัดการทางวิศวกรรม

240 255

204 217

11201 11202 11203 11204 11205

รหัส

การจัดการงานวิศวกรรม ชุดที่ 1 (จิตวิทยาการบริหาร, บัญชีและการเงินวิศวกรรม, การบริหารงานบุคคล) การจัดการงานวิศวกรรม ชุดที่ 2 (การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต, การบริหารการผลิต, การบํารุงรักษา) การควบคุมคุณภาพ สําหรับนักบริหาร และกรณีศึกษา สูความเปนเลิศในการผลิต และธุรกิจ กลยุทธ เทคนิค และเทคโนโลยี การบริหารในแบบของ ตัวเอง

หมวด บํารุงรักษา

165 170 320 680 70

140 145 272 578 60

11301 11302 11303 11304 11305

เทคนิคการบํารุงรักษา ชุดที่ 1 การจัดการบํารุงรักษาสําหรับงานอุตสาหกรรม ระบบบํารุงรักษาเครื่องจักรเชิงปฏิบัติ เทคนิคการวัดและวิเคราะหการสั่นสะเทือนเพื่องานบํารุงรักษา การบํารุงรักษาเนนความเชื่อถือได (Reliability Centered Maintenance) NEW

300 280 300 370 250

255 238 255 315 213

12001 12002 12003 12004 12005 12006 12007 12008 12009 12010

ไฟฟา ชุดที่ 1 (มาตรฐานสากล, การปองกันอุบัติเหตุทางไฟฟา, ระบบกราวนด, หมอแปลงไฟฟา) ไฟฟา ชุดที่ 2 (ระบบปองกันอุบัติเหตุทางไฟฟา, แหลงกําเนิดไฟฟา, หมอแปลงไฟฟา,มอเตอร) ไฟฟา ชุดที่ 3 (ไฟสองสวาง, มอเตอร, หมอแปลง, ไฟฟากําลัง, การวัดและควบคุม) ไฟฟา ชุดที่ 4 (เครื่องกําเนิดไฟฟา, ระบบไฟสองสวาง, อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร, ไฟฟาทัว่ ไป) ไฟฟา ชุดที่ 5 (การวัด, การควบคุม, การผลิต) ไฟฟา ชุดที่ 6 (มอเตอร, เครื่องกําเนิดไฟฟา, หมอแปลง) ไฟฟา ชุดที่ 7 (ไฟฟาทั่วไป, ตอลงดิน, ฮารมอนิก) มอเตอร และระบบขับเคลื่อน ชุดที่ 1 ระบบผลิต และจัดการไฟฟา ชุดที่ 1 การติดตั้งและปองกันระบบไฟฟา ชุดที่ 1

120 140 240 180 160 165 195 310 305 265

102 119 204 153 136 140 166 264 259 225

รหัส

หมวด ขนถาย - ขนสง - ขนยาย

11001 11002 11003 11004

ขนถายวัสดุ ชุดที่ 1 (อุปกรณขนถาย, เครน, โซลําเลียง, กระพอ, การกําจัดฝุน) ขนถายวัสดุ ชุดที่ 2 (ขนถายวัสดุดวยลม, สายพานลําเลียง, ขนถายวัสดุทั่วไป) ขนถายวัสดุ ชุดที่ 3 (สายพานลําเลียง, โซลําเลียง, เครน, ขนถายวัสดุดวยลม) ขนถายวัสดุ ชุดที่ 4 (สายพานลําเลียง, โซลําเลียง, กระพอลําเลียง, อุปกรณขนถายวัสดุ)

รหัส

หมวด ประหยัดพลังงาน - จัดการพลังงาน

รหัส หมวด วิศวกรรมไฟฟา

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 E-mail :member@me.co.th www.me.co.th (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก1) กรณีที่ไมระบุชอผู ื่ รับหนังสือ ทางบริษัทจะไมรับผิดชอบถาการจัดสงหนังสือไมถึงมือทาน การขายหนังสือ ไดรับการยกเวนภาษีหัก ณ ที่จาย และไมมีภาษีมูลคาเพิ่ม 7 %  เมื่อทานสงเอกสารการสั่งซื้อ / พรอมการชําระเงินแลว ถาไมไดรับใบเสร็จรับเงิน และหนังสือภายใน 7 วัน กรุณาติดตอกลับดวย  

สําหรับบุคคลทั่วไป เสียคาจัดสง 50 บาท

146

กันยายน 

เทคนิค

รวมเปนเงิน การชําระเงิน โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนามบริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

เงินสด กรณีชําระที่ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด เทานั้น ธนาณัติ (คต. สินสาธร) เทานั้น สั่งจายในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่ 158-0-82377-9 ธนาคารกสิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่ 765-2-59700-3 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาตากสิน เลขที่ 055-2-30081-7 ธนาคารยูโอบี สาขาถนนกรุงธนบุรี เลขที่ 940-103-096-0 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาสะพานพระเจาตากสิน เลขที่ 153-1-25818-2

โอนเงินวันที่........................................ (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) การโอนเงินกรุณาสงไปรษณีย อีเมล หรือแฟกซ ใบนําฝากเงินเขาบัญชี (Pay in) มาพรอมกับใบสัง่ ซือ้ หนังสือ และโทรแจงใหทราบดวย หมายเหตุ : ขออภัยไมมบี ริการพนักงานเก็บเงิน www.me.co.th


ใบสั่งซื้อหนังสือ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ชื่อ-นามสกุล....................................................................................................................... ที่อยู......................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................. โทรศัพท...................................................... โทรสาร................................................ E-mail................................................................................................

รหัส

หมวดวิศวกรรมไฟฟา

12011 12013 12014 12015 12016 12017 12018

การติดตั้งและปองกันระบบไฟฟา ชุดที่ 2 พื้นฐานวิศวกรรมการสองสวาง เลม 1 คูมือการลดคาไฟฟา คูมือระบบไฟฟา และการประหยัดพลังงานสําหรับประชาชน การสงกําลัง และการประหยัดพลังงานของมอเตอรไฟฟากระแสสลับ การออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟา คูมือวิศวกรไฟฟา NEW

เปนสมาชิกวารสาร

หมายเลขสมาชิก ........................................ ไมไดเปนสมาชิกวารสาร

สมาชิก จํานวน เปนเงิน ราคา ลด15% เลม 300 320 270 160 200 470 160

255 272 230 136 170 400 136

12101 คําสั่งและการใชงานโปรแกรมออกแบบลายวงจร EAGLE

150

128

12201 คุณภาพไฟฟา ชุดที่ 1 (ไฟตก-เพิ่ม, ฮารมอนิก, UPS, PF, ตอลงดิน) 12202 คุณภาพไฟฟา ชุดที่ 2 (ไฟตก-เพิ่ม, ฮารมอนิก, UPS, PF, ตอลงดิน) 12203 ระบบกําลังไฟฟาตอเนื่อง (ยูพีเอส) และเครื่องควบคุมคุณภาพไฟฟา

รหัส

หมวด อุปกรณวัด - ควบคุม

215 235 250

183 200 213

12301 12302 12303 12304

ไมโครคอนโทรลเลอร เลม 1 การวัดและการควบคุม ชุดที่ 1 การวัดและการควบคุม ชุดที่ 2 การวัดและการควบคุม ชุดที่ 3

270 350 320 335

230 298 272 285

13001 13002 13003 13005

งานโลหะ การออกแบบงานหลอ ปะเก็นแกสเก็ต คูมือการเชื่อม มิก-แม็ก (GMAW-Welding)

310 130 81 240

264 111 76 204

280 350 204 230

238 298 192 196

250 60 320

213 51 272

รหัส รหัส

รหัส

หมวดสื่อสาร-อิเล็กทรอนิกส

หมวด คุณภาพไฟฟา

หมวด วัสดุ - โลหะการ

รหัส

หมวด สิ่งแวดลอม - สุขาภิบาล

13101 13103 13104 13105

การจัดการสิ่งแวดลอมดานอุตสาหกรรม เทคโนโลยีระบบทอสุขภัณฑ เครื่องสุขภัณฑ การผลิตนํ้าสําหรับอุตสาหกรรม

รหัส

หมวด วิศวกรรมทั่วไป

13401 ความรูเบื้องตน วิศวกรรมงานระบบ 13402 Engineering Quick Reference 13404 การคํานวณเชิงเลข (Numerical Computation)

(หนังสือมีตําหนิ ลดจากราคาปก 95 บาท)

(หนังสือมีตําหนิ ลดจากราคาปก 240 บาท)

เทคนิค

รวมเปนเงิน

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 E-mail :member@me.co.th www.me.co.th (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก1) กรณีที่ไมระบุชอผู ื่ รับหนังสือ ทางบริษัทจะไมรับผิดชอบถาการจัดสงหนังสือไมถึงมือทาน การขายหนังสือ ไดรับการยกเวนภาษีหัก ณ ที่จาย และไมมีภาษีมูลคาเพิ่ม 7 %  เมื่อทานสงเอกสารการสั่งซื้อ / พรอมการชําระเงินแลว ถาไมไดรับใบเสร็จรับเงิน และหนังสือภายใน 7 วัน กรุณาติดตอกลับดวย  

สําหรับบุคคลทั่วไป เสียคาจัดสง 50 บาท www.me.co.th

การชําระเงิน โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนามบริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

เงินสด กรณีชําระที่ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด เทานั้น ธนาณัติ (คต. สินสาธร) เทานั้น สั่งจายในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่ 158-0-82377-9 ธนาคารกสิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่ 765-2-59700-3 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาตากสิน เลขที่ 055-2-30081-7 ธนาคารยูโอบี สาขาถนนกรุงธนบุรี เลขที่ 940-103-096-0 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาสะพานพระเจาตากสิน เลขที่ 153-1-25818-2

โอนเงินวันที่........................................ (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) การโอนเงินกรุณาสงไปรษณีย อีเมล หรือแฟกซ ใบนําฝากเงินเขาบัญชี (Pay in) มาพรอมกับใบสัง่ ซือ้ หนังสือ และโทรแจงใหทราบดวย หมายเหตุ : ขออภัยไมมบี ริการพนักงานเก็บเงิน

กันยายน 

147


ใบสั่งซื้อหนังสือ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ชื่อ-นามสกุล....................................................................................................................... ที่อยู............................................................................................. ..................................................................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................................................................... โทรศัพท............................................... โทรสาร........................................................ E-mail..................................................................................................

รหัส หมวด ปรับอากาศ-ทําความเย็น

สมาชิก จํานวน ราคา ลด10% เลม

30202 เทคนิคการติดตั้งเครื่องปรับอากาศขนาดเล็ก 150 135 30203 เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ NEW 250 225 40201 การทําความเย็นและการปรับอากาศ 250 225

รหัส

หมวด นิวแมติก - ไฮดรอลิก

30502 30503 30504 30601 30602 40602 40603

ไฮดรอลิกอุตสาหกรรม หลักการและเทคนิคใชงานไฮดรอลิก ไฮดรอลิกส นิวแมติกสและไฮดรอลิกส นิวเมติกอุตสาหกรรม นิวแมติกสและไฮดรอลิกสเบื้องตน นิวแมติกสและนิวแมติกสไฟฟาเบื้องตน

รหัส

หมวด วิศวกรรมเครื่องกล

245 110 135 285 150 135 220

221 99 122 257 135 122 198

รหัส หมวด วิศวกรรมทั่วไป

หุนยนตอุตสาหกรรม แมคคาทรอนิกสเบื้องตน การเขียนแบบวิศวกรรมพื้นฐาน การจัดการอะไหลใหเพิ่มผลผลิต (Spare Parts ฯ) เมคาทรอนิกส เบื้องตน หลักการและการใชงานเครื่องมือวัด วิศวกรรมและการบริหารความปลอดภัย

รหัส หมวด ศัพทชาง

33404 เรียนรูและใชงานเครื่องมือชางอยางถูกวิธี 44301 ปทานุกรมศัพทชาง ญี่ปุน-ไทย-อังกฤษ 44302 ปทานุกรมศัพทชาง อังกฤษ-ไทย English-Thai

195 195 185 350 180 200 200

กรณีที่ไมระบุชื่อผูรับหนังสือ ทางบริษัทจะไมรับผิดชอบถาการจัดสงหนังสือไมถึงมือทาน การขายหนังสือ ไดรับการยกเวนภาษีหัก ณ ที่จาย และไมมีภาษีมูลคาเพิ่ม 7 %  เมื่อทานสงเอกสารการสั่งซื้อ / พรอมการชําระเงินแลว ถาไมไดรับใบเสร็จรับเงิน และหนังสือภายใน 7 วัน กรุณาติดตอกลับดวย  

สําหรับบุคคลทั่วไป เสียคาจัดสง 50 บาท

148

กันยายน 

31201 41201 41202 41203 41204 41205 41206 41207 41208 41210

การบริหารอุตสาหกรรมแบบลีน ดวยระบบ ERP การกําหนดตารางการผลิตและการควบคุม Layout Kaizen การปรับปรุงเลยเอาตโรงงาน ไคเซ็นตามวิถีโตโยตา วิธกี ารเมตาฮิวริสติกเพื่อแกไขปญหาการวางแผน ผลิตอยางไรใหตนทุนตํ่ากวาคูแขง 50% 3 ส กาวแรกสูคุณภาพและกําไร การออกแบบและวางผังโรงงาน การวางแผนและควบคุมการผลิต ฉบับปรับปรุงใหม

สมาชิก จํานวน เปนเงิน ราคา ลด10% เลม

148 290 230 180 200 175 200 200 280 195

133 261 207 162 180 158 180 180 252 176

160 750 Efficacy of Maintenance สัมฤทธิผลในงานบํารุงรักษา 690 การบริหารงานบํารุงรักษา 180 บํารุงรักษา งานเพิ่มกําไรบริษัท (Maintenance the Profit ฯ) 650 การบํารุงรักษา NEW 120

144 675 621 162 585 108

7 จุดบอดแฝงทีข่ ดั ขวางการเพิม่ ผลผลิตของโรงงาน NEW

การตรวจสอบความสั่นสะเทือนเครื่องจักร การจัดการงานบํารุงรักษาดวย Reliability

รหัส หมวด คุณภาพไฟฟ้า

176 176 167 315 162 180 180

92201 คูมือคุณภาพไฟฟา

300 270

รหัส หมวด วิศวกรรมไฟฟ้า 32002 32004 32005 42001 42002 42005 42006 42007 42008

รวมเป็นเงิน 77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 E-mail :member@me.co.th www.me.co.th (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก1)

ไมไดเปนสมาชิกวารสาร

รหัส หมวด บํารุงรักษา

185 167 290 261 100 90

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

หมายเลขสมาชิก ........................................

รหัส หมวด จัดการทางวิศวกรรม

31301 31304 31305 31306 31307 31308

30102 กลศาสตรเครื่องกล 125 113 40101 เครื่องกลไฟฟา 1 135 122 40102 คูมือรองลื่นเรียบ (Handbook of Plain Bearings) NEW 250 225

33401 33403 33405 33406 43401 43403 43404

เปนเงิน

เทคนิค

เปนสมาชิกวารสาร

แบตเตอรี่และเครื่องชารจไฟ 85 220 การสงและจายกําลังไฟฟา NEW การออกแบบระบบไฟฟา 195 หมอแปลงไฟฟา ELECTRICAL TRANSFORMER 180 ทฤษฎีวงจรไฟฟากระแสสลับ 135 การออกแบบและติดตัง้ ระบบไฟฟาตามมาตรฐาน 250 เครื่องกลไฟฟากระแสตรง 150 โรงตนกําลังไฟฟา (ฉบับปรับปรุง) ����� 165 เทคนิคการออกแบบระบบแสงสวาง NEW �� 290

77 198 176 162 122 225 135 149 261 รวมเป็นเงิน

การชําระเงิน โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนามบริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

เงินสด กรณีชําระที่ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด เทานั้น ธนาณัติ (คต. สินสาธร) เทานั้น สั่งจายในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่ 158-0-82377-9 ธนาคารกสิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่ 765-2-59700-3 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาตากสิน เลขที่ 055-2-30081-7 ธนาคารยูโอบี สาขาถนนกรุงธนบุรี เลขที่ 940-103-096-0 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาสะพานพระเจาตากสิน เลขที่ 153-1-25818-2

โอนเงินวันที่........................................ (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) การโอนเงินกรุณาสงไปรษณีย อีเมล หรือแฟกซ ใบนําฝากเงินเขาบัญชี (Pay in) มาพรอมกับใบสัง่ ซือ้ หนังสือ และโทรแจงใหทราบดวย หมายเหตุ : ขออภัยไมมบี ริการพนักงานเก็บเงิน www.me.co.th


ใบสั่งซื้อหนังสือ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ชื่อ-นามสกุล....................................................................................................................... ที่อยู.............................................................................................. ...................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................... โทรศัพท.......................................................... โทรสาร................................................ E-mail................................................................................................

รหัส หมวด สื่อสาร-อิเล็กทรอนิกส์ 32103 อิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม NEW

รหัส หมวด อุปกรณ์วัด-ควบคุม

32301 32304 42301 42302 42303

อุปกรณวัดและอุปกรณควบคุมทางอุตสาหกรรม โปรแกรมเอ็นซีพื้นฐาน NEW ระบบ PLC เทคโนโลยีซีเอ็นซี การวิเคราะหระบบการวัด (MSA)

รหัส

หมวด ยานยนต/เครื่องยนต

30701 30702 30703 30704 30705 30706 30707 30708 30709 30710 30711 30712 30713 30714 30715 40701 40702 40703 40704 40705

ชางรถยนตมือใหม เครื่องยนตเบนซินควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส การแกปญหาชางยนต งานไฟฟารถยนต เชื้อเพลิงและสารหลอลื่น งานเครื่องยนตดีเซล งานบํารุงรักษารถยนต งานปรับอากาศรถยนต ขับรถเชิงปองกันอุบัติเหตุ งานเครื่องยนต ขับได ซอมเปน อยางมืออาชีพ งานเครื่องยนตเบื้องตน งานปรับอากาศรถยนต แกปญหารถเสียดวยตนเอง ทฤษฎีและปฏิบัติไฟฟารถยนต เครื่องยนตแกสโซลีน อิเล็กทรอนิกสรถยนต เครื่องยนตหัวฉีด EFI (ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง ใหม ) ปฏิบัติระบบฉีดนํ้ามันเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส ทฤษฎีระบบฉีดนํ้ามันเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส

สมาชิก จํานวน เปนเงิน ราคา ลด10% เลม

250 225

250 270 260 175 250

225 243 234 158 225

255 179 230 180 250 160 125 230 130 180 195 95 185 120 215 200 160 200 80 100

230 161 207 162 225 144 113 207 117 162 176 86 167 108 194 180 144 180 72 90

รหัส

33201 33202 33204 43203 43204 93201 93202

77/111 อาคารสินสาธรทาวเวอร ชั้น 26 ถนนกรุงธนบุรี แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02 862 1396-9 โทรสาร 02 862 1395 E-mail :member@me.co.th www.me.co.th (BTS สถานีกรุงธนบุรี ทางออก1) กรณีที่ไมระบุชื่อผูรับหนังสือ ทางบริษัทจะไมรับผิดชอบถาการจัดสงหนังสือไมถึงมือทาน การขายหนังสือ ไดรับการยกเวนภาษีหัก ณ ที่จาย และไมมีภาษีมูลคาเพิ่ม 7 %  เมื่อทานสงเอกสารการสั่งซื้อ / พรอมการชําระเงินแลว ถาไมไดรับใบเสร็จรับเงิน และหนังสือภายใน 7 วัน กรุณาติดตอกลับดวย  

สําหรับบุคคลทั่วไป เสียคาจัดสง 50 บาท www.me.co.th

ไมไดเปนสมาชิกวารสาร

โลหะวิทยาเบื้องตน พื้นฐานเทคโนโลยีการขึ้นรูปโลหะ วัสดุชางอุตสาหกรรม วัสดุวิศวกรรม ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม งานฉีดพลาสติก วัสดุงานชางอุตสาหกรรม งานขึ้นรูปโลหะ เลมที่ 1 แมพิมพ โลหะแผน งานขึ้นรูปโลหะ เลม 2 อุตสาหกรรมการผลิตเหล็ก การออกแบบแมพิมพ การออกแบบจิกและฟกซเจอร เทคโนโลยีพลาสติก กลศาตรของวัสดุ

หมวด วิศวกรรมโยธา-กอสราง

การออกแบบโครงสรางอาคารเหล็ก การประมาณราคางานวิศวกรรมกอสราง การออกแบบโครงสรางไมและเหล็ก การประมาณราคากอสราง การทดสอบวัสดุการทาง การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก ตารางออกแบบโครงสรางอาคาร

สมาชิก จํานวน เปนเงิน ราคา ลด10% เลม

195 180 160 320 165 160 180 250 220 180 150 230 300

176 162 144 288 149 144 162 225 198 162 135 207 270

180 240 195 330 380 300 300

162 216 176 297 342 270 270

229 198 199 115 365

206 178 179 104 329

รหัส หมวด คอมพิวเตอร 32401 32402 32403 32404 42401

รวมเป็นเงิน

บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

หมายเลขสมาชิก ........................................

รหัส หมวด วัสดุ-โลหะการ 33001 33002 33003 33004 33005 33007 43001 43003 43004 43005 43006 43007 93001

เทคนิค

เปนสมาชิกวารสาร

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ สารสนเทศทางธุรกิจ ระบบฐานขอมูล การสื่อสารขอมูลและเครือขาย SolidWorks 2013 Handbook + ฟรี CD NEW

รวมเป็นเงิน

การชําระเงิน โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ในนามบริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด

เงินสด กรณีชําระที่ บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด เทานั้น ธนาณัติ (คต. สินสาธร) เทานั้น สั่งจายในนาม บริษัท เอ็มแอนดอี จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาถนนตากสิน เลขที่ 158-0-82377-9 ธนาคารกสิกรไทย สาขาเดอะมอลลทาพระ เลขที่ 765-2-59700-3 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาตากสิน เลขที่ 055-2-30081-7 ธนาคารยูโอบี สาขาถนนกรุงธนบุรี เลขที่ 940-103-096-0 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาสะพานพระเจาตากสิน เลขที่ 153-1-25818-2

โอนเงินวันที่........................................ (กรณีโอนเงินผานธนาคาร ผู โอนเปนผูรับผิดชอบคาธรรมเนียมการโอนเงินดวย) การโอนเงินกรุณาสงไปรษณีย อีเมล หรือแฟกซ ใบนําฝากเงินเขาบัญชี (Pay in) มาพรอมกับใบสัง่ ซือ้ หนังสือ และโทรแจงใหทราบดวย หมายเหตุ : ขออภัยไมมบี ริการพนักงานเก็บเงิน

กันยายน 

149



¦¯ ¸wt¥ ¼ ¦¾ ·Ä¥ «ºzËºÒ ® ̺¦¡ º  µÆ¯ w § ¤ t ¥ }« ¨ · ทดลอง ¢ × p p}Ô j

อานฟรี

รูปแบบ s s j Ó r © ¨ ¦ m¢ NEW �������������������� ������ 1 ������������ ����������������������������������������������������� ��������������� ��� 1. �������������� 2. ����������� 3. ������������������� 4. �������������� 5. ��������� ����������� ����������������������� ���� ����������������������������, ������������� ����������� � �� � ������� � , �������� � ����� � ���, ������� ������������������������������������, ���������� ��������������������� ��� Environmental Control Plan, ������������������������������� ������ � ��� � ������ � ��� � ����� � ��� � ����� � ���� �������������������������������, �����������������������, ��������������������, ������ ������������������������ ����������������������������������� ���������������������������������, ������ ������ �����, ������ ���� �������� ���, ���������������� ��������������� , ����������������������������������, �������������� ¯ w §wt¥ ¼¥ «z ¤t ¥ }« ¨· ������������������������������ ¥w¥ t § ¥ ��������� � ������� � ����� � �, �� � �� � ������� � «ww ¤· ³ ¥ �� � ������ � � � ��������� � ����� � ������������� ¥}§t ¥ �������� �������������������������, �������������������������������, �������������������������������, ������������������� �����������������, ����������������������������������������������, ������������������������������������������, CBM ��������������������������������������������������� �������������������������������� ������ ����������� ������ ��� 332 ���� ����������� ���� 300 ��� •

E-Magazine

p j ì¥m ñ j ì¥m ñ pj ì© Ï pj ì© Ï ì ~× ì ~×ìì }¡}¡ m¢m¢Ó Ó p ~ y j ìj j ìj ¦ j q ¦ j q }}j ¡ j ¡~~ j j ~ y j ¨sÔ ~× ~×ìì j ìm j ìm ¥~ × ¥~ ×ìì¦ ì ñ ¦ ì ñ «« j ¨sÔ

ท ่ ี Download ได : «ww ¤· ³ THAI THAI C.C. C.C.

pp m¢m¢Ó Ó k p¥ ¬ k p¥ ¬ ¦ }× ¦ }× t t ® ®

¡ ¡ j } j±} ±

~ j ~ j

¬´ ¥Â­ ¹¯ ¯ ¬´ ¥Â­ ¹

p ¡ j ¡jp ¡ ¡

p¥ ¨ vÓ ¨ vÓ p¥

´£Ã¤ ´ ¬¶ ¬² ´ n´£Ã¤ ´ ¬¶ ¬² ´ n

¬² ´ ¬´ ¥ ¬² ´ ¬´ ¥

 

ÙrÄ ¢ ¢ × × p p {{ ÙrÄ u { ÙrÄ { ÙrÄ i c i c r r w} w} u f } Ù v}u }Ä Ù Ù v}u }Ä k Ùk f } tÙÙc} hvÙw } d hf hsÁ Ù u} tÙÙc} hvÙw } d hf hsÁ Ù u} dsf h Ù c} h uÜ dsf h Ù c} h uÜ u} u} ÜuÄÜ uÄ u} } u} } © Ï ì!32ì p ¡ © Ï ì!32ì j ¡jp ¡ ¡

© ©· © ©·¤¤ Å­ m Å­ m

´ ´¥ ¥º ª¥·¯¤º ¤´ ´ ´¥ ¥º ª¥·¯¤º ¤´

§¯ ¬´ §¯ ¬´

ãm ãm ËµËµÂ Ë Â Ë´´ ¥²¤´ ¥²¤´

´ m ´ m©©

   j | t t ® ® ­ ­ ¢ ¯ w § ¢ × × w pt¥ ¼ p ¥ ¬¥ ¬ ¦ }× j | ì ì¥ Ó¥ Ó ® ® ¥ « z¦ }× ¤t ¥ }« ¨· ¯ Ý ¯z§ ¥ AIS Bookstore B2S Bookstore  

¤ ´ ¬¶ ¬·¬·ÊÃÊä ´ ¬¶

¥· ¥· º º ¥º ¥º

¬´ ¥Å Ë ¬´ ¥Å Ë

¥}§t

´© ² ¯ ´© ² ¯

Æ ¤ª¥· ¥² ³ ¢³¤ Æ ¤ª¥· ¥² ³ ¢³¤

 ¥¶  ¥¶ ¥ ¥

ãm ãm ËµËµÂ Ë Â Ë´´ ¥²¤´ ¥²¤´

¥



OOKBEE



Ë´²¿¤À ¿° ¦ 9:00 - 16:30 ˨Á¡´¾¦ ¾¦¤° ´¾¦µÅ °

www.me.co.th

โทรศัพท 02-862-1396-9

( PDLO LQIR#PH FR WK ZZZ PH FR WK ( PDLO LQIR#PH FR WK ZZZ PH FR WK


www.me.co.th

400, กรกฎาคม 2560

PB



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.