France-Siamese Maps 1904-1908

Page 1

ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศส พ.ศ. 2446/47 (ค.ศ. 1904) และ พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908) Franco-Siamese Maps 1904-1908 ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ

ดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นในบท “แผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศส พ.ศ. 2446/47 (ค.ศ. 1904) และ พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908) ว่า ได้มีการยกเลิกแผนที่ 1 : 200,000 ชุดที่จัดทำ�ขึ้นตามหนังสือสัญญา ค.ศ. 1904 เป็นจำ�นวน 3 ระวางคือ ระวางที่ 9 พนมกุเลน (Kulen หรือ Camlen) ระวางที่ 10 Lake หรือ Lae ซึ่งหมายถึง “ตนเลสาบ” กับระวางที่ 11 คือเมืองตราด (Muang Trat) ในตัวสะกดฝรัง่ เศสใช้ Krat ทัง้ นีเ้ นือ่ งมาจากการลงนามในหนังสือ สัญญา 1907 ในโอกาสที่พระจุลจอมเกล้าฯ รัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 2 ปี พ.ศ. 2450 (ค.ศ. 1907) และทรง ตกลงเลิกดินแดนกับจันทบุรี ดังนั้นจึงต้องยกเลิกแผนที่ระวางที่ 9-10-11 นั้นเอง ต่อระหว่างปี พ.ศ. 2451-52 (ค.ศ. 1908-09) ก็ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการผสมระหว่างฝรั่งเศสกับสยาม เพื่อ ทำ�แผนที่และกำ�หนดเขตแดนขึ้นใหม่เป็นการทดแทนจำ�นวน 5 ระวาง ดังต่อไปนี้ คือ แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก และ แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 433


(36) แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 1 เมืองคอบ-เมืองเชียงล้อม (Mg. Khop-Mg. Xieng Lom) พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908) ระวาง เมืองคอบ-เมืองเชียงล้อม (Mg. Khop-Mg. Xieng Lom) เป็น 1 ใน 11 ระวาง ทีจ่ ดั พิมพ์ขนึ้ ในปี ค.ศ. 1908 ตามการร้องขอของคณะกรรมการปักปันเขตแดนผสมสยาม-ฝรั่งเศส (ฝ่ายสยาม) เพื่อแสดงเส้นพรมแดนประเมินตาม ความในมาตรา 1 และ 2 ของอนุสัญญาว่าด้วยการกำ�หนดเส้นเขตแดนและหนังสือแนบท้ายสนธิสัญญาฉบับลงวันที่ 23 มีนาคม ค.ศ. 1907 แผนทีน่ แี้ สดงจุดตัง้ ต้นของเส้นเขตแดนทางบกระหว่างสยาม-ฝรัง่ เศสอินโดจีน ในเวลานัน้ และปัจจุบนั คือไทย-ลาว ซึ่งได้ระบุเอาไว้ตรงกับถ้อยคำ�ในอนุสัญญามาตรา 2 ที่ว่าเส้นเขตแดนบริเวณนี้ให้เป็นไปตามสันปันน้ำ�ไปจนถึงลำ�น้ำ�โขงตรง ที่เรียกว่าแก่งผาได (ตรงบริเวณเส้นเขตแดนบรรจบกับแม่น้ำ�โขงด้านบน) ปัจจุบันนี้อยู่ในเขตบ้านห้วยลึก ตำ�บลม่วงยาย อำ�เภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย พื้นที่ดังกล่าวไทยและลาวสามารถกำ�หนดแนวเส้นเขตแดนตรงกันแล้วแต่ยังไม่สามารถ ดำ�เนินการปักหลักเขตแดนได้ เนือ่ งจากประชาชนในท้องถิน่ คัดค้านเพราะเกรงว่าจะเสียพืน้ ทีส่ ำ�หรับท่องเทีย่ วและการประมงในแม่น�้ำ โขงไปให้ลาว จุดสังเกตประการสำ�คัญสำ�หรับการอ่านแผนที่ชุดนี้ในทุกระวางคือ แผนที่พยายามจะแสดงให้เห็นว่าเส้นเขตแดนนั้นวางอยู่ บนสันปันน้ำ� โดยการแสดงทางน้ำ�ไหลหรือลำ�ห้วยบนภูเขากำ�กับเอาไว้อย่างชัดเจน กระนั้นก็ตามในเวลาต่อมาเมื่อไทยและ ลาวสืบสิทธิต์ อ่ จากฝรัง่ เศสปรากฏว่ามีปญ ั หาในการใช้แผนทีเ่ พือ่ เป็นแนวในการถ่ายทอดเส้นเขตแดนลงภูมปิ ระเทศจริงอย่าง มาก ด้วยว่าธรรมชาติมีการเปลี่ยนแปลง บริเวณที่เคยเป็นทางน้ำ�ไหลหรือลำ�ห้วยอาจเหือดแห้งไป การสำ�รวจในระยะหลังจึง หาไม่พบ ทำ�ให้ทงั้ สองฝ่ายตีความแผนทีก่ นั ไปต่างๆ นานา และความเห็นทีแ่ ตกต่างนัน้ เองทำ�ให้เกิดข้อพิพาทเรือ่ งดินแดนได้

434

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 435

แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 1 เมืองคอบ-เมืองเชียงล้อม (Mg.Khop-Mg.Xieng Lom) พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)


436

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 437


438

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 439


440

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 441


(37) แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 2 แม่น้ำ�ด้านเหนือ (Haut Me-Nam) พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

ระวาง แม่น้ำ�ด้านเหนือ (Haut Me-Nam) เป็นระวางที่ 2 ที่เชื่อมต่อกับระวางเมืองคอบเพื่อแสดงเขตแดน ระหว่างสยาม-อินโดจีน ในบริเวณที่ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดน่านซึ่งอยู่ตรงข้ามกับแขวงไซยะบุลีของลาว จุดข้าม แดนที่ชัดเจนที่สุดที่ระบุเอาไว้ในแผนที่ระวางนี้คือบริเวณด่านห้วยโก๋น-เมืองเงิน ซึ่งปัจจุบันนี้มีเส้นทางจากเมืองเงินใน แขวงไซยะบุลีเข้าไปจนถึงเมืองปากแบ่งที่สามารถข้ามแม่น้ำ�โขงไปยังแขวงอุดมไซยและแขวงหลวงพระบางได้ แผนที่ระวางนี้ได้ชื่อว่าเป็นแม่น้ำ�ด้านเหนือก็จริงแต่ไม่ได้แสดงอะไรเกี่ยวกับแม่น้ำ�โขงในส่วนที่อยู่ในแผ่นดิน ลาวมากนักนอกจากแสดงให้ทราบว่าเป็นแม่น้ำ�เท่านั้น แผนที่จะให้รายละเอียดเกี่ยวกับเส้นเขตแดนทางบกในฝั่งขวาของ แม่น้ำ�โขงเป็นสำ�คัญ และชื่อระวาง Haut Me-Nam เป็นภาษาผสมระหว่างภาษาฝรั่งเศสคือคำ�ว่า Haut กับภาษาท้องถิ่นไทย-ลาว คือ Me-Nam ซึ่งเป็นการตั้งชื่อที่แตกต่างจากระวางอื่นๆ ซึ่งมักจะเอาภาษาท้องถิ่นที่บอกสถานสำ�คัญมาตั้งเป็นชื่อแผนที่

442

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 2 แม่น้ำ�ด้านเหนือ (Haut Me-Nam) พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 443


444

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 445


446

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 447


448

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 449


(38) แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 3 เมืองน่าน (Mg. Nan) พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

ระวางเมืองน่าน (Mg. Nan) เป็นระวางที่ 3 แสดงเขตสยามและอินโดจีน ด้านจังหวัดน่านและแขวงไซยะบุลีของ ลาวในปัจจุบัน เช่นเดียวกับระวางอื่นๆ แม้ชื่อแผนที่จะได้ชื่อว่าเป็นระวางเมืองน่าน แต่ไม่ได้ให้รายละเอียดอะไรเกี่ยวกับ เมืองน่านมากนัก เมื่อเปรียบเทียบกับรายละเอียดที่ให้ไว้ในพื้นที่ในบริเวณเส้นเขตแดน หากมองแผนที่ระวางนี้ในระยะไกล จะพบว่ามีการเขียนแผนที่โดยละเว้นรายละเอียดลักษณะพื้นที่ซึ่งอยู่ไกลเส้นเขตแดนทำ�ให้สีของพื้นที่แตกต่างกันมาก กล่าวคือในบริเวณเขตแดนนั้นแผนที่จะให้ข้อมูลว่าลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาโดยการแสดงเส้นชั้นความสูงและ ลำ�ห้วยหรือทางน�้ำ ไหลเพือ่ แสดงสันปันน�้ำ เอาไว้ พร้อมทัง้ ใช้ชอื่ ภูเขาทีใ่ ช้ก�ำ หนดเส้นเขตแดนเอาไว้อย่างชัดเจนด้วย ดังปรากฏ ชัดเจนในตอนล่างสุดของแผนที่จะเห็นภูหลักหมื่นซึ่งทำ�ให้เข้าใจได้ว่าสันปันน้ำ�ที่ใช้นี้เป็นสันปันน้ำ�ของภูเขาลูกนี้และชื่อของ มันก็เป็นที่รู้จักกันดีในท้องถิ่น แต่ลักษณะภูมิประเทศของพื้นที่ซึ่งอยู่ห่างออกไปเช่นในตัวเมืองน่านนั้นแผนที่จะไม่บอกราย ละเอียดพวกนี้เอาไว้ ซึ่งก็เป็นการดีเพราะจะไม่ทำ�ให้เกิดความสับสนอันเนื่องมาแต่สถานที่หลายแห่งหรือแม่น้ำ� ภูเขาหลาย ลูกในท้องถิ่นอาจจะตั้งชื่อซ้ำ�ๆ กัน

450

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 3 เมืองน่าน (Mg.Nan) พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 451


452

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 453


454

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 455


456

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 457


(39) แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 4 ปากลาย (Pak Lay) พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

ระวางปากลาย (Pak Lay) เป็นระวางที่ 4 ในจำ�นวน 11 ระวางที่แสดงเส้นเขตแดนในพื้นที่เมืองปากลาย แขวง ไซยะบุลีของลาว และในส่วนของไทยนั้นคือพื้นที่บางส่วนของอำ�เภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ในปัจจุบัน จุดสำ�คัญคือได้ แสดงพื้นที่พิพาทระหว่างไทยและลาวบริเวณสามหมู่บ้าน ได้แก่ บ้านใหม่ บ้านกลาง และบ้านสว่างในยุคสมัยปัจจุบันเอา ไว้ด้วย หากพิจารณาด้านบนสุดของแผนที่ซึ่งเป็นจุดเริ่มเขตแดนในระวางนี้จะเห็นภูกิ่วนกแซว และมีเส้นทางสายหนึ่งตัด ข้ามเส้นเขตแดนเข้าไปยังบ้านใหม่ ซึ่งอยู่ในเขตลาวและลาวอ้างว่าอยู่ในอำ�นาจปกครองของลาวมานานแล้วโดยสมัยก่อนอยู่ ในเขตปากด่าน จะสังเกตเห็นชื่อบ้านด่าน อยู่เหนือบ้านใหม่ขึ้นไปเล็กน้อย และทั้งหมดนั้นอยู่ในอำ�นาจปกครองของเมือง ปากลาย (ตามแผนที่อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของบ้านใหม่) เป็นเมืองริมแม่น้ำ�โขง ส่วนฝั่งสยามหรือฝั่งไทยในปัจจุบัน นั้นปรากฏชื่อบ้านบ่อเบี้ยชัดเจน ซึ่งบ้านบ่อเบี้ยนั้นคือ ตำ�บลบ่อเบี้ย อำ�เภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์นั่นเอง ทางการไทยระบุว่าสามหมู่บ้านที่พิพาทนั้นตั้งอยู่ในเขตตำ�บลบ่อเบี้ยนี่เอง บ้านบ่อเบี้ยนี้ตั้งอยู่ห่างเส้นเขตแดนตาม แผนที่นี้เพียง 2 เซนติเมตร หากใช้มาตราส่วน 1 : 200,000 เป็นฐานแล้วจะพบว่าหมู่บ้านนี้ห่างเส้นเขตแดน 4 กิโลเมตรและ ห่างจากบ้านใหม่ 8 กิโลเมตร หากถือตามแผนที่ระวางนี้ข้อพิพาทในกรณีสามหมู่บ้านซึ่งเป็นเหตุให้มีการปะทะทางทหารใน ปี พ.ศ. 2527 น่าจะยุติได้ไม่ยากนัก เพราะบ้านใหม่นั้นปรากฏชัดเจนว่าอยู่ในเขตลาว

458

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 4 ปากลาย (Pak Lay) พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 459


460

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 461


462

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 463


464

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 465


(40) แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 5 น้ำ�เหือง (Nam Heung) พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

ระวางน้ำ�เหือง (Nam Heung) เป็นระวางที่ 5 จาก 11 ที่พิมพ์ในปี ค.ศ. 1908 (พ.ศ. 2451) เพื่อแสดงเส้นเขตแดน ระหว่างสยามและอินโดจีน ในพืน้ ทีป่ จั จุบนั นัน้ แผนทีร่ ะวางนีจ้ ะครอบคลุมพืน้ ทีบ่ างส่วนของจังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดเลย ของไทย ส่วนฝัง่ ลาวนัน้ คือพืน้ ทีข่ องแขวงไซยะบุลี จุดสำ�คัญทีส่ ดุ ของแผนทีร่ ะวางนีค้ อื แสดงเส้นเขตแดนในพืน้ ทีซ่ งึ่ ไทยและ ลาวพิพาทกันในปัจจุบันคือ บ้านร่มเกล้า อำ�เภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก และเมืองบ่อแตน แขวงไซยะบุลีของลาว ซึ่ง เคยมีการปะทะทางทหารในปี พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) ในข้อพิพาทนัน้ ไทยและลาวเห็นต่างกันในเรือ่ งเส้นเขตแดนตามลำ�น�้ำ เหือง เพราะในสนธิสญ ั ญาปี ค.ศ. 1907 (พ.ศ. 2450) นั้นระบุให้เอาร่องน้ำ�ลึกในแม่น้ำ�เหืองที่เกิดแต่ภูเขาเมี่ยงเป็นเส้นเขตแดน แต่แม่น้ำ�เหืองที่ปรากฏในแผนที่นั้นมีสอง สาย กล่าวคือ สายหนึ่งเกิดแต่ภูเขาเมี่ยงชื่อ แม่น้ำ�เหืองง่า อีกสายหนึ่งชื่อแม่น้ำ�เหืองมีต้นกำ�เนิดจากภูสอยดาว ในแผนที่ ระวางนี้เขียนเส้นเขตแดนไปตามลำ�น้ำ�เหืองง่า ซึ่งมาจากภูเขาเมี่ยง หากถือตามแผนที่นี้บ้านร่มเกล้า ซึ่งเป็นหมู่บ้านตั้งใหม่ ไม่มีปรากฏในแผนที่ น่าจะตั้งอยู่ในเขตไทย อย่างไรก็ตาม ธงชัย วินิจจะกูล นักประวัติศาสตร์ ได้ตั้งข้อสังเกตว่า ชื่อลำ�น้ำ�เหืองง่าหรืออื่นๆ และแนวลำ�น้ำ� ทั้งสองสาย ยังคงมีปัญหาอยู่ เพราะปรากฏในเอกสารอื่นต่างออกไป เช่น ในโทรเลขสื่อสารของข้าหลวงฝรั่งเศสลงวันที่ 5 กรกฎาคม ค.ศ. 1908 (พ.ศ. 2451) เรียกลำ�น้ำ�สองสายว่า Nam Houng Ngai และ Nam Houng Noi โดยให้ถือว่า Nam Houng Ngai ที่เกิดแต่ภูเขาเมี่ยงเท่านั้น เป็นเส้นเขตแดน

466

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 5 น้ำ�เหือง (Nam Heung) พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)


468

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 469


470

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 471


472

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 473


(41) แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 6 ปาสัก (Bassac) พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

ระวางปาสัก (Bassac) ระวางนีเ้ ป็นแผนทีร่ ะวางแรกทีแ่ สดงเส้นเขตแดนสยามและอินโดจีนตอนใต้ ตัง้ ชือ่ ตามเมือง ปาสักหรือป่าสักหรือจำ�ปาสักในปัจจุบัน แต่ก็เหมือนกับระวางอื่นคือไม่ได้แสดงรายละเอียดอะไรในแขวงจำ�ปาสักมากนัก หากมุ่งแสดงเส้นเขตแดนสยามและอินโดจีน โดยเส้นเขตแดนในบริเวณนี้ใช้สันปันน้ำ�ของภูแดนเมืองไปจนถึงแม่น้ำ�โขงตรง ปากห้วยดอน โดยทั่วไปแล้วการสำ�รวจและจัดทำ�เส้นเขตแดนยุคใหม่สำ�หรับพื้นที่ในบริเวณนี้ไม่มีปัญหามากนักยกเว้นบริเวณ ช่องเม็กและบ้านทุ่งหนองบัวในเขตจังหวัดอุบลราชธานีและแขวงจำ �ปาสัก ซึ่งไทยและลาวเห็นไม่ตรงกันด้วยปรากฏว่า สันปันน้ำ�ถูกทำ�ลายอันมาจากการก่อสร้างและการดัดแปลงภูมิประเทศ อีกประการหนึ่งภูแดนเมืองในแผนที่นั้นก็ไม่ใช่ภูเขา ลูกเดียว หากแต่มีหลายลูกในชื่อต่างๆ กันไป เช่น ภูกลางโคก ภูถ้ำ�ห้อ ภูจ้อก้อ และจำ�นวนหนึ่งก็ไม่ได้อยู่ชิดติดกัน หาก แต่ปรากฏว่ามีช่องว่างระหว่างภูเขาแต่ละลูก ทำ�ให้เกิดปัญหาในการถ่ายทอดเส้นเขตแดนตามสนธิสัญญาและแผนที่ลงใน ภูมิประเทศจริงและทำ�ให้มีความเห็นในการตีความแตกต่างกันได้ง่าย

474

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 6 ปาสัก (Bassac) พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908)

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 475


476

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 477


478

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 479


480

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 481


(42) แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 7 โขง (Khong) พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

ระวางโขง (Khong) ระวางนีเ้ ป็นหนึง่ ในชุดแผนทีซ่ งึ่ แสดงเส้นเขตแดนระหว่างสยามและอินโดจีนทางตอนใต้ ซึง่ ใน ปัจจุบนั หมายถึงพืน้ ทีบ่ ริเวณรอยต่อระหว่างไทย ลาว และ กัมพูชา แต่เนือ่ งจากเดิมนัน้ แผนทีน่ ใี้ ช้แสดงเส้นเขตแดนระหว่าง สยามและอินโดจีนเป็นหลัก และผู้ทำ�แผนที่ไม่ได้สนใจเขตแดนระหว่างประเทศในกลุ่มอินโดจีนด้วยกัน ดังนั้นจึงไม่ปรากฏ ว่ามีเส้นเขตแดนระหว่างลาวและกัมพูชาในแผนที่ระวางนี้แต่อย่างใด เส้นเขตแดนโดยประมาณระหว่างไทย ลาว และ กัมพูชา ในปัจจุบันนั้นหากใช้แผนที่ระวางนี้จะอยู่ประมาณช่อง บกหรือโอบก (ในแผนที่ระวางนี้จะเห็น OU ปรากฏอยู่ชัดเจน) คือ รอยต่อระหว่างพนมดงรักและภูแดนเมือง ความจริง ชื่อภูแดนเมืองโดยตัวของมันเองนั้นน่าจะบอกความหมายเกี่ยวกันเส้นเขตแดนสมัยโบราณเอาไว้ค่อนข้างจะชัดเจนอยู่แล้ว ไทยและลาวไม่มปี ญ ั หาในการกำ�หนดเส้นเขตแดนในยุคปัจจุบนั สำ�หรับพืน้ ทีบ่ ริเวณนี้ แต่มอี ปุ สรรคบางประการใน การสำ�รวจและจัดทำ�หลักเขตแดนอันเนือ่ งมาจากมีการวางกับระเบิดเอาไว้มากระหว่างสงคราม ส่วนเขตแดนระหว่างไทยและ กัมพูชาในส่วนนี้ในยุคสมัยปัจจุบันนี้ยังไม่ได้มีการสำ�รวจและจัดทำ�หลักเขตแดนแต่อย่างใด รวมทั้งเกิดปัญหาท่าทีของไทย เกี่ยวกับการใช้แผนที่ระวางถัดไปคือระวางดงรักด้วย ทำ�ให้การใช้แผนที่ในการกำ�หนดเส้นเขตแดนมีความคลุมเครือ

482

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 7 โขง (Khong) พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 483


484

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 485


486

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 487


488

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 489


(43) แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 8 ดงรัก (Dangrek) พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

แผนที่ระวางที่ 8 “ดงรัก (DANGREK)” หนึ่งในชุดแผนที่ชุดแรก 11 ระวาง ที่ถูกส่งมายังเสนาบดีการต่าง ประเทศของสยาม ตามเอกสารราชการ เลขที่ 89/525 ลงวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2451 (ค.ศ. 1908) โดย หม่อมเจ้า จรูญศักดิ์ กฤดากร อัครราชทูตสยามประจำ�กรุงปารีส แผนที่นี้ถูกกล่าวถึงในนามของแผนที่ “มาตราส่วน 1: 200,000” และ เป็นผลงานของ “คณะกรรมการเขตแดนผสมอินโดจีนและสยาม (COMMISSION DE DELIMITATION ENTRE L’ INDO-CHINE ET LE SIAM)” โดยมีประธานร่วมสองคน คือ พลตรี หม่อมชาติเดชอุดม ฝ่ายสยาม และมี พันเอก แบร์นาร์ด ฝ่ายฝรั่งเศส ซึ่งได้รับการแต่งตั้งขึ้นตามสัญญาฉบับวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2446/47 (ค.ศ. 1904) แผนที่ ระวาง “ดงรัก” (DANGREK) แผ่นนี้ ประกอบด้วยแผนที่ย่อย 2 ส่วนที่ปรากฏในแผ่นเดียวกัน ได้ส่วนบนชื่อ “อุบล ถึง โคราช (OUBOUN àà KORAT)” เป็นแผนที่มาตราส่วน 1: 500,000 แสดงภูมิประเทศ และชื่อเมืองจากเมืองโคราช ถึง เมืองอุบล และแผนที่ส่วนล่าง คือ แผนที่แสดงเส้นเขตแดนระหว่างสยามกับกัมพูชาของฝรั่งเศส ตามแนวเทือกเขาพนมดง รัก โดยแสดงเส้นเขตต่อเนื่องจากแผนที่ระวาง “โขง KHONG” ที่บริเวณทิศเหนือของเขาสัตตโสม (Ph.Sethisom) เรื่อย ไปทางทิศตะวันตกจนไปสิ้นสุดลงบริเวณที่มีชื่อว่า ตำ�หนักประเทศ (Damnac Prates) แผนที่ “ดงรัก” (DANGREK) นี้มีเจตนาแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ตำ�แหน่งของ “ปราสาทพระวิหาร (Preas Vihear)” ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเส้นเขตแดนบนแผนที่ ซึ่งถูกกำ�หนดโดยเครื่องหมาย +++++++ และทำ�ให้ตัวปราสาทอยู่ ในฝั่งกัมพูชา นอกจากนี้ ยังมีข้อความระบุไว้บนมุมบนด้านซ้ายของแผนที่ว่า “การลงพื้นที่กระทำ�โดย (Les travaux sur le terrain ont été exécutés par) ร้อยเอก แคร์แลร์ แห่งกองทหารอาณานิคม (le Capitaine KERLER, de l’Infanterie Coloniale) และ ร้อยเอก อุ่ม แห่งกองทหารต่างชาติ (le Capitaine OUM, de la Légion Ètrangère) และระบุที่ด้านมุม ล่างด้านซ้ายของแผนที่ชุดนี้ถูกพิมพ์โดย H.BARRÈRE, Editeur Géographe. 21 Rue du Bac, PARIS. แผนที่นี้แหละที่ ฝ่ายทนายของกัมพูชา ใช้อา้ งต่อศาลโลกในกรณีคดีปราสาทเขาพระวิหาร และชนะคดีไปด้วยคะแนน 9 : 3 เมือ่ 15 มิถนุ ายน พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962)

490

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


แผนที่ 1 : 200,000 ชุดแรก ระวางที่ 8 ดงรัก (Dangrek) พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 491


492

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 493


494

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


KORAT

แผนที่ 1:200,000 ชุดแรก ระวางที่ 8 ดงรัก (Dangrek) พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908) ตัดขยายส่วนบน OUBOUN & มาตราส่วน 1:500,000

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 495


496

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 497



แผนที่ 5 ระวาง ซึ่ ง เป็ น ผลงาน ชุ ด หลั ง ของ “คณะก รรมกา รปั ก ปั น เขตแด นผสมอิ น โดจี น และสย าม

(COM MISSI ON DE DELIM ITATI ON DE LA FRON TIERE ENTR E L’IND O-CH INE ET LE SIAM)” ซึ่งแต่งตั้งขึ้นตามสนธิสัญญาฉบับวันที่ 23 มีนาคม

พ.ศ. 2449/50 (ค.ศ. 1907) โดยมีประธานร่วม สองคน คือ พลเอก พระองค์เจ้าบวรเดช ฝ่ายสยาม และ พันตรี กีชาร์ด มองต์แกรส์ ฝ่ายฝรั่งเศส ซึ่งได้ จัดทำ�แผนที่ มาตราส่วน 1 : 200,000 จำ�นวน 5 ระวาง พิมพ์แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2452 (ค.ศ. 1909) จึงมีผลให้แผนที่ชุด เดิม 3 ระวาง สุดท้าย คือ Phnom Kulen, Lake และ Muang Trat ถูกยกเลิกไป แผนทีช่ ดุ นี้ ครอบคลมุ เส้นเขตแดนในพืน้ ทีจ่ งั หวัดตราด จันทบุรี สระแก้ว บุรรี มั ย์ และสุรนิ ทร์ ส่วนพืน้ ทีข่ องจังหวั ด ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี คือส่วนของแผนที่ของ“คณะกรรมการเขตแดนผสมอินโดจีนและสยาม (COM MISSION DE DELIM ITATI ON ENTR E L’ INDO -CHIN E ET LE SIAM) ” ซึ่ ง แต่ ง ตั้ ง ขึ้ น ตามอนุ สั ญ ญาฉบั บ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2446 (ค.ศ. 1904) คือ ระวาง “ดงรัก” (DANGREK) และ “โขง” (KHONG)

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 499


(44) แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง ระวาง SECTEUR No.1 หรือแผ่นที่ 1 พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

สยาม

แผนที่ระวาง

SECTEUR No.1

หรือแผ่นที่ 1 : ผลงานของ “คณะกรรมการปักปันเขตแดนผสมอินโดจีนและ

(COMMISSION DE DELIMITATION DE LA FRONTIERE ENTRE L’INDO-CHINE ET LE

SIAM)”

ซึ่งแต่งตั้งขึ้นตามสนธิสัญญาฉบับปี พ.ศ. 2449/50 (ค.ศ. 1907) จัดทำ�ขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2450-51 (ค.ศ. 190708) ครอบคลุมหลักเขตที่ 71-73 จาก โดยปรากฏชื่อ ร้อยโท Defert และ ร้อยโท Roxas Elio ฝ่ายฝรั่งเศส และ ร้อยโท Khun Ronnarat และ ร้อยโท Deng ฝ่ายสยาม เป็นผู้รับผิดชอบ

500

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง ระวาง SECTEUR No.1 หรือแผ่นที่ 1 พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)


502

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 503


504

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 505


(45) แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง ระวาง SECTEUR No.2 หรือแผ่นที่ 2 พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

แผนที่ระวาง SECTEUR No.2 หรือแผ่นที่ 2 : ผลงานของ “คณะกรรมการปักปันเขตแดนผสมอินโดจีน และสยาม (COMMISSION DE DELIMITATION DE LA FRONTIERE ENTRE L’INDO-CHINE ET LE SIAM)” ซึ่งแต่งตั้งขึ้นตามสนธิสัญญาฉบับปี พ.ศ. 2449/50 (ค.ศ. 1907) จัดทำ�ขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2450-51 (ค.ศ. 1907-08) ครอบคลุมหลักเขตที่ 69-70 โดยปรากฏชื่อ ร้อยโท Defert ฝ่ายฝรั่งเศส และ ร้อยโท Nai Petch ฝ่ายสยาม เป็นผู้รับผิดชอบ

506

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง ระวาง SECTEUR No.2 หรือแผ่นที่ 2 พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)


508

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 509


510

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 511


(46) แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง ระวาง SECTEUR No.3 หรือแผ่นที่ 3 พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

แผนที่ระวาง SECTEUR No.3 หรือแผ่นที่ 3 : ผลงานของ “คณะกรรมการปักปันเขตแดนผสมอินโดจีนและ สยาม (COMMISSION DE DELIMITATION DE LA FRONTIERE ENTRE L’INDO-CHINE ET LE SIAM)” ซึ่งแต่งตั้งขึ้นตามสนธิสัญญาฉบับปี พ.ศ.2449/50 (ค.ศ.1907) พิมพ์จัดทำ�ขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2450-51 (ค.ศ. 1907-08) ครอบคลุมหลักเขตที่ 49-68 โดยปรากฏชื่อ ร้อยเอก Seneque ฝ่ายฝรั่งเศส และ ร้อยเอก Wath ฝ่ายสยาม เป็นผู้รับผิดชอบ

512

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง ระวาง SECTEUR No.3 หรือแผ่นที่ 3 พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)


514

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 515


516

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 517


518

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 519


(47) แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง ระวาง SECTEUR No.4 หรือแผ่นที่ 4 พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

ผลงานของ “คณะกรรมการปักปันเขตแดนผสมอินโดจีนและสยาม (COMMISSION DE DELIMITATION ซึ่งแต่งตั้งขึ้นตามสนธิสัญญาฉบับปี พ.ศ. 2449/50 (ค.ศ. 1907) จัดทำ�ขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2450-51 (ค.ศ. 1907-08) ครอบคลุมหลักเขตที่ 23-48 โดยปรากฏชื่อ ร้อย โท Dessemond ฝ่ายฝรั่งเศส และ ร้อยโท Mom Luang Chouy ฝ่ายสยาม เป็นผู้รับผิดชอบ DE LA FRONTIERE ENTRE L’INDO-CHINE ET LE SIAM)”

520

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง ระวาง SECTEUR No.4 หรือแผ่นที่ 4 พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)


522

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 523


524

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 525


526

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 527


(48) แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง ระวาง SECTEUR No.5 หรือแผ่นที่ 5 (ส่วนที่ 1) พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

แผนทีร่ ะวาง SECTEUR No.5 หรือแผ่นที่ 5 : (ส่วนที่ 1 และ 2) ผลงานของ “คณะกรรมการปักปันเขตแดนผสม อินโดจีนและสยาม (COMMISSION DE DELIMITATION DE LA FRONTIERE ENTRE L’INDO-CHINE ET LE SIAM)” ซึ่งแต่งตั้งขึ้นตามสนธิสัญญาฉบับปี พ.ศ. 2449/50 (ค.ศ. 1907) จัดทำ�ขึ้นระหว่างปี พ.ศ. 2450-51 (ค.ศ. 1907-08) ครอบคลุมหลักเขตที่ 1-22B โดยปรากฏชื่อ ร้อยโท Malandian ฝ่ายฝรั่งเศส และ ร้อยโท Mom Luang Suk ฝ่ายสยาม เป็นผู้รับผิดชอบ

528

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง ระวาง SECTEUR No.5 หรือแผ่นที่ 5 พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908) (ส่วนที่ 1)



ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 531


532

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 533


534

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 535


(49) แผนที่ 1:200,000 ชุดหลัง ระวาง SECTEUR No.5 หรือแผ่นที่ 5 (ส่วนที่ 2) พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908)

ดูคำ�อธิบายแผนที่ (48) หน้า 526

536

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


แผนที่ 1 : 200,000 ชุดหลัง ระวาง SECTEUR No.5 หรือแผ่นที่ 5 พ.ศ. 2451/52 (ค.ศ. 1908) (ส่วนที่

2)

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 537


538

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 539


540

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


ชาญวิทย์ เกษตรศิริ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี และอัครพงษ์ ค่ำ�คูณ 541


542

ภาค 2: ชุดแผนที่มาตราส่วน 1 : 200,000 ระหว่างสยามกับฝรั่งเศสฯ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.