Boardroom Vol.27

Page 1

Vol. 27

Issue Mar - Apr ISSN

Director Nomination Issues and Trends

IOD Golf Challenge Cup 10/2013

New Frontiers for Corporate Governance

Personal Financial Planning Workshop for Directors

M E E TIN G THE AEC CHALLENGE:

ROLE OF THE CHAIRMAN



30

ป…

บนเสนทางสูโฉมหนาพลังงานแหงเอเชีย

เติมความสวางไสวใหกับภูมิภาค สองนำทางสูอนาคตที่ยั่งยืน 30 ปของการดำเนินธุรกิจในฐานะบริษัทพลังงานชั้นนำแหงเอเชียที่มีวิสัยทัศนกวางไกล บานปูฯ มุงมั�น ดำเนินงานอยางมืออาชีพ โดยยึดมั�นในความถูกตอง โปรงใส และเปนธรรมตามหลักบรรษัทภิบาล ควบคู ไปกับการสรางความสมดุลระหวางธุรกิจ สังคม และสิ�งแวดลอมอยางมั�นคงและยั�งยืน เพื่อเปนพลังสำคัญ ในการสรางภูมิภาคเอเชียแปซิฟกใหสวางไสวทัดเทียมทุกภูมิภาคในโลก


Content 8

26

> 05 Board Welcome > 06 CEO Reflection > 08 Cover Story

• Meeting with AEC Challenge: Role of the Chairman

> 16 Board Briefing

• Director Nomination Issues and Trend • Attracting the Investment from Institutional Investors • Personal Financial Planning Workshop for Directors

> 30 Board Development

New Frontiers for Corporate Governance

> 32 Anti-Corruption Update

32

20

> 35 Board Review

Exposure inside the Olympus Scandal

> 37 Board Activities

• CGR Workshop • Corporate Governance: The Role of Managers in Supporting Directors • DCP 170 - 171 Orientation • DCP Residential • IOD Golf Challenge Cup 10/2013

> 43 Welcome New Member

Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการเผยแพร่เกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีให้กับสมาชิกสมาคมฯ 2. เพื่อเป็นการเผยแพร่ข้อมูลกิจกรรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ให้กับสมาชิกสมาคมฯ 3. เพื่อเป็นการเผยแพร่บทความและกิจกรรมของสมาคมให้สมาชิกรับทราบ 4. สรุปประเด็นด้านกฎหมาย กฎระเบียบใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำ�หน้าที่กรรมการ

คณะกรรมการ ประธานกิตติมศักดิ์ ศ.หิรัญ รดีศรี ศ.ดร. โกวิทย์ โปษยานนท์ ประธานกรรมการ คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม รองประธาน นายเกริกไกร จีระแพทย์ นายปลิว มังกรกนก นายยุทธ วรฉัตรธาร กรรมการ นายกิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์ นายจรัมพร โชติกเสถียร นายฉัตรชัย วีระเมธีกุล นายชูศักดิ์ ดิเรกวัฒนชัย นายโชติ โภควนิช นางทองอุไร ลิ้มปิติ ดร. วรพล โสคติยานุรักษ์ นายประพัฒน์ โพธิวรคุณ นายสิงห์ ตังทัตสวัสดิ์ ศ.ดร. สุรพล นิติไกรพจน์ กรรมการผู้อำ�นวยการ ดร. บัณฑิต นิจถาวร คณะผู้จัดทำ� / เจ้าของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย กองบรรณาธิการ นางวิไลรัตน์ เน้นแสงธรรม นางสาวศิริพร วาณิชยานนท์ นางวีรวรรณ มันนาภินันท์ นางสาวสาริณี เรืองคงเกียรติ สำ�นักงานติดต่อ อาคารวตท. อาคาร 2 ชั้น 3 2/9 หมู่ที่ 4 (โครงการนอร์ธปาร์ค) ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ (66) 2955-1155 โทรสาร (66) 2955- 1156-7 E-Mail : sarinee@thai-iod.com Website : http://www.thai-iod.com Board of Directors Honorary Chairman Prof. Hiran Radeesri Prof. Kovit Poshyanand Chairperson Khunying Jada Wattanasiritham Vice Chairman Mr.Krirk-Krai Jirapaet Mr.Pliu Mangkornkanok Mr.Yuth Vorachattarn Director Mr.Charamporn Jotikasthira Mr.Chatchai Virameteekul Mr.Chusak Direkwattanachai Mr.Joti Bhokavanij Mr.Kitipong Urapeepatanapong Mr.Praphad Phodhivorakhun Mr.Singh Tangtatswas Prof. Dr. Surapon Nitikraipot Mrs.Tongurai Limpiti Dr.Vorapol Socatiyanurak President & CEO Dr.Bandid Nijathaworn Owner Thai Institute of Directors Association Editor Mrs. Wilairat Nensaengtham Ms. Siriporn Vanijyananda Mrs. Wirawan Munnapinun Ms. Sarinee Ruangkongkiat Contact CMA Building 2, 2/7 Moo4 Northpark Project, Vibhavadi-Rangsit Road, Thung SongHong, Laksi, Bangkok 10210 Tel : 0-2955-1155 Fax : 0-2955-1156-7 E-mail : sarinee@thai-iod.com Website : http://www.thai-iod.com


> Board Welcome

BOARD

WELCOME

In the past months, many companies were busy with preparing the annual general meeting. The directors have a crucial role in the meeting, especially the Chairman of the Board of Directors because he/she has to report all important issues that can have an effect on the company and clarify all doubts of the shareholders for transparency and accountability. The Chairman of a Board also has a role in determining company strategy for ASEAN Economic Community in the coming years which will be a treat and opportunity for Thailand. Therefore, IOD organized annual Chairman Forum 2013 under the topic "Meeting the AEC Challenge: Role of the Chairman" for the Chairman to share their opinions among each other and we have summarized the content of the meeting in this issue. Other columns are also interesting including, the seminar summary about "Director Nomination Issues and Trend" and "Personal Financial Planning for Directors". For IOD member activity column, there are joyful pictures from IOD Golf Challenge Cup. In addition to the joyful activity, we also donated some money from the activity for the project "Books for Youths in the South" Lastly, editorial board had got a poem composed by Mr. Santi Bang-Or, Audit Committee and Independent Director of Thoresen Thai Agencies Public Company Limited. We have translated the poem into English and would like to share with our Boardroom readers. We hope that you will enjoy reading Boardroom. For any comment and article, please send it to us at sarinee@thai-iod.com System & People Good people, good system, perfect Good people, bad system, should improve Bad people, good system, still fine Bad people, good system, disaster

Editor

ช่วงทีผ่ า่ นมานี้หลายบริษทั คงเตรียมการประชุมใหญ่สามัญ ประจ�ำปี ซึง่ การประชุมใหญ่ฯ นี้ คณะกรรมการถือเป็ นผูท้ ม่ี บี ทบาท ส�ำคัญ โดยเฉพาะประธานกรรมการ เพราะจะท�ำหน้าทีร่ ายงานเรือ่ ง ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ และส่งผลกับบริษทั พร้อมชีแ้ จงทุกข้อสงสัยให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ได้รบั ทราบเพือ่ แสดงถึงความโปร่งใส และตรวจสอบได้ และ อีกบทบาทหนึ่งที่ส�ำคัญของประธานกรรมการและคณะกรรมการ คือการวางกลยุทธ์องค์กร ซึ่งอีกไม่ก่ปี ี ขา้ งหน้ าประเทศไทยก็จะ ก้าวเขาสู่การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ซึ่งถือเป็ น ทัง้ โอกาสและความท้าทายทีบ่ ริษทั ต้องเผชิญ ด้วยเหตุน้ี IOD จึง ได้จดั งาน Chairman Forum ประจ�ำปี 2556 ในหัวข้อ Meeting the AEC Challenge: Role of the Chairman เพือ่ ให้ประธานกรรมการ ได้แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับเรือ่ งดังกล่าว โดย Boardroom เล่มนี้ ได้ทำ� สรุปเนื้อหาการประชุมเพือ่ ให้ทา่ นผูอ้ า่ นรับทราบ ในคอลัมน์อน่ื ๆ ก็น่าสนใจเช่นเดียวกัน ไม่วา่ จะเป็นบทสรุป สัมมนาเรือ่ ง Director Nomination Issues and Trend และบทสรุป เรื่องการวางแผนทางการเงินส่วนบุคคลของกรรมการ และส�ำหรับ คอลัมน์กจิ กรรมสมาชิก IOD จะเป็ นภาพบรรยากาศการจัดแข่งขัน IOD Golf Challenge Cup ทีน่ อกจากจะสนุกสนานแล้ว ยังได้รว่ ม ท�ำบุญโดยมอบรายได้ส่วนหนึ่งจากการจัดแข่งขันสมทบโครงการ “หนังสือเพือ่ น้องแดนใต้” สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการได้รบั ข้อความจากสมาชิกท่าน หนึ่งของเรา นายสันติ บางอ้อ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการ อิสระ บมจ. โทรีเซนไทย เอเยนต์ซสี ์ ได้ฝากกลอนมาลงใน Boardroom เพื่อสอนใจคณะกรรมการและผู้อ่านทุกท่าน จึงขอทิ้งท้ายกลอน ไว้และหวังว่าท่านจะได้รบั ประโยชน์ จากการอ่านนิตยสารของเรา เช่นเคย ร่วมติชมและส่งบทความทีเ่ ป็ นประโยชน์ได้ท่ี sarinee@ thai-iod.com ระบบ & คน คนดี ระบบดี ต้องดีแน่ คนดี ระบบแย่ ต้องแก้ไข คนแย่ ระบบดี มีทางไป ทัง้ คน และระบบแย่ไซร้ บรรลัยเอย บรรณาธิการ

Board Welcome > 


> CEO Reflection “LEADERSHIP ROLES OF

THE

CHAIRMAN”

บทบาทผู้น�ำของประธานกรรมการ

We are in the month of April and so far the works at the IOD have moved along as planned. In the first three months, no less than eighteen training classes and five member events and seminars have been organized, the highlight of which was the Chairman Forum held in March. The forum was attended by more than sixty members who are currently chairmen and chairwomen of companies. The forum discussed the ASEAN Economic Community or AEC and the roles of the Chairman in leading the board and the company on the issue. Unsurprisingly, most chairmen were familiar with AEC and many have made preparations for it by way of having the issue discussed at the board level, especially in relation to the company's strategy and risk management. This, I think is excellent and shows how the roles of chairman have evolved over the years, especially the leadership role in setting the company agenda. Nonetheless, a sense emerged during the discussion that there was an appreciable difference of views amongst some chairmen in the forum on how inclusive the roles of chairman should be in relation to the company's policy and management issues. One view is that the roles should be more reserved and non-intervening with the business of companies best left to management. Another is a more supportive role, citing the complexity of the current business environment, where chairman can help mobilize expertise and experience of the board to support management on strategy and key operational issues. This difference I think goes beyond the working style of a particular chairperson, but reflects a deeper and a larger question on the proper roles of chairman in this era of business complexity. I see the chairman mostly for its leadership role, the first amongst equals who has the trust of directors to head and lead the board. In return, the Chairman must ensure that the board is successful in its duties and responsibilities and is absolutely pivotal to good governance in the company or

 < CEO Reflection

มาถึงเดือนเมษายนของปี งานของสมาคมฯ หรือ IOD ก็ ด�ำเนินไปตามแผนงานทีว่ างไว้ โดยในช่วง 3 เดือนแรก สมาคมฯ ได้ จัดการอบรมต่างๆ ไปแล้ว 18 หลักสูตร และมีกจิ กรรม ส�ำหรับสมาชิก ไปแล้ว 5 งาน ซึง่ งานหนึ่งทีต่ อ้ งถือเป็ น Highlight ก็คอื งานสัมมนา ประธานกรรมการบริษทั ซึง่ มีประธานกรรมการมาร่วมงานกว่า 60 คน เพือ่ หารือกันเรื่อง AEC และบทบาทของประธานกรรมการใน การเตรียมคณะกรรมการและบริษทั รับมือกับ AEC ซึ่งน่ ายินดีว่า ประธานกรรมการทีเ่ ข้าร่วมส่วนใหญ่ตระหนักถึงความส�ำคัญของ AEC และได้ผลักดันกรรมการในการประชุมคณะกรรมการของบริษทั ให้ตระหนักถึงความส�ำคัญดังกล่าว โดยเฉพาะในส่วนทีเ่ กี่ยวข้อง กับการวางแผนธุรกิจและการบริหารความเสีย่ งของบริษทั ผมมอง บทบาทดังกล่าวของประธานว่าเป็ นเรือ่ งทีด่ ี แสดงให้เห็นว่าบทบาท ประธานกรรมการได้เปลีย่ นไปพอควร โดยเฉพาะในแง่ภาวะผูน้ �ำที่ จะท�ำให้เกิดการดูแลประเด็นต่างๆ ทีจ่ ะส�ำคัญต่อบริษทั แต่ความรู้สกึ หนึ่งที่ได้จากการสัมมนาก็คอื ความคิดที่ ยังแตกต่างกันว่าประธานบริษทั ควรมีหน้าทีแ่ ละบทบาทมากน้อย แค่ไหนในเรือ่ งนโยบายและการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั มุมมองหนึ่ง ก็คอื ประธานควรยุ่งน้ อยที่สุดและปล่อยให้เป็ นบทบาทของฝ่าย จัดการ อีกด้านหนึ่งมองว่าภายใต้ภาวะทางธุรกิจที่สลับซับซ้อน มากขึน้ ประธานสามารถทีจ่ ะระดมความรู้ และประสบการณ์ของ คณะกรรมการมาช่วยงานของฝา่ ยจัดการได้ ความแตกต่างนี้เท่าที่ สังเกตุ ไม่ได้มาจากความแตกต่างในสไตล์การท�ำงานของประธาน แต่สะท้อนให้เห็นถึงความแตกต่างในแนวคิดว่าบทบาทของประธาน กรรมการควรมีมากน้อยแค่ไหน โดยเฉพาะในภาวะธุรกิจปจั จุบนั ผมเองให้ความส�ำคัญกับบทบาทของประธานในฐานะผูน้ �ำ ประธานเป็ นคนแรกและเป็ นคนส�ำคัญทีส่ ดุ ของกรรมการบริษทั ทีไ่ ด้ รับความไว้วางใจจากกรรมการทัง้ คณะ ให้เป็ นหัวหน้าและเป็ นผูน้ �ำ ของคณะกรรมการ ดังนัน้ ประธานจึงมีหน้าทีโ่ ดยตรงทีจ่ ะต้องท�ำให้ การท�ำงานของคณะกรรมการบริษทั ประสบความส�ำเร็จตามหน้าที่ และความรับผิดชอบ และต้องเป็นจุดยืนทีม่ นคงของบริ ั่ ษทั หรือองค์กร ในเรือ่ งการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี หรือธรรมาภิบาล ไม่วา่ องค์กรนัน้ จะ เป็ นองค์กรเอกชน หรือองค์กรภาครัฐ ค�ำถามทีต่ ามมาก็คอื ประธานบริษทั ควรมีบทบาทอย่างไร ในการท�ำหน้ า ที่ท่ีจะท�ำให้ก ารท�ำงานของคณะกรรมการประสบ


organization, regardless whether private or public. A question that follows then is what should the chairman do to fulfill these roles and expectations. In an article "So you want to be the Chairman" published by the Australian Institute of Company Directors in its April 2013 issue of the Company Directors Magazine, the author -Tony Featherstone-quoted five key roles of a Chairman. They are: 1. Setting the tone at the top. Ethics and standards, values and culture must flow within the board and from the board to within the organization and reflected outwardly to shareholders, other stakeholders and the public at large. 2. Managing board effectiveness. This includes paying attention to board composition, nomination, recruitment, succession, issues articulation, decision-making and general quality of board operations, including evaluation and review. 3. Leading the corporate agenda. This involves a focus on key governance, strategic and operational issues (at the board level). 4. Maintaining a good relationship with the CEO. This includes recruitment, appointment, interchange with the board, accountability to the organization, mentorship, clarity, and how roles are split (vis-a-vis external relationships) 5. Representing the board externally. Taking overall leadership for shareholder/member communications and governance matters with other stakeholders, such as government, regulators, the media and the general public. The above view of the chairman's roles is exemplary of what the shareholders and stakeholders now expect from their chairmen. The key five roles cited are comprehensive and balanced, and are a clear departure from the past practice where chairman was expected to play a limited and largely a symbolic role. Performing these five roles would require the use of chairman's experience, time, and the leadership qualities to enable the board to fulfill its duties and responsibilities within the framework of trust, ethics, and a positive culture. We at the IOD support chairman performing these five key roles as it will enhance board effectiveness and further promote good governance at the company level, as well as contribute to developing a larger pool of capable, effective, and high-quality chairmen in Thai businesses.

ความส�ำเร็จ ในบทความ “เมือ่ คุณอยากเป็นประธานกรรมการ” หรือ “So you want to be the Chairman” เขียนโดย มร.โทนี่ เฟอเธอรสตัน (Tony Featherstone) ตีพมิ พ์ในนิตยสาร Company Directors ของ Australian Institute of Company Directors ฉบับเดือนเมษายน 2556 ได้พดู ถึงบทบาทของประธานกรรมการอย่างน่าสนใจว่ามี 5 บทบาท ส�ำคัญ คือ 1. เป็ นผูท้ ท่ี ำ� ให้เกิดนโยบาย หรือ เสียงทีถ่ กู ต้อง (Tone at the top) ในเรือ่ งจริยธรรมมาตรฐาน และวัฒนธรรมองค์กร ทีต่ อ้ ง เกิดภายในคณะกรรมการและขยายไปสูอ่ งค์กร และสะท้อนให้เป็ นที่ ตระหนักอย่างชัดเจนต่อผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย และสาธารณชน 2. สร้ า งประสิท ธิ ภ าพให้ เ กิ ด ขึ้น ในการท� ำ งานของ คณะกรรมการ โดยเฉพาะในประเด็นองค์ประกอบของกรรมการ การสรรหากรรมการ การสรรหาผูจ้ ดั การ การแสดงความเห็น การ ตัดสินใจ และกระบวนการท�ำงานของคณะกรรมการทีม่ คี ณ ุ ภาพ ซึง่ รวมถึงการประเมินผลงานและวิธกี ารท�ำงานต่างๆ 3. เป็นผูน้ �ำในเรือ่ งทีค่ ณะกรรมการควรพิจารณาโดยเฉพาะ เรือ่ งการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ยุทธศาสตร์ธุรกิจและรวมถึงประเด็น ด้านปฏิบตั ทิ ส่ี ำ� คัญของบริษทั ทีค่ วรพิจารณาในระดับคณะกรรมการ บริษทั 4. รักษาความสัมพันธ์ทด่ี กี บั ฝา่ ยจัดการ รวมถึงการสรรหา และการแต่งตัง้ ฝา่ ยจัดการ การท�ำงานร่วมกับคณะกรรมการ การรับ ผิดรับชอบในงานทีท่ ำ � การให้คำ� แนะน�ำ (Mentorship) และการแบ่ง แยกบทบาททีช่ ดั เจนระหว่างคณะกรรมการกับฝา่ ยจัดการ โดยเฉพาะ ในประเด็นทีเ่ กีย่ วกับภายนอก 5. เป็นตัวแทนคณะกรรมการบริษทั ต่อบุคคลภายนอก และ เป็ นผูน้ �ำในการชีแ้ จงหรือสือ่ ความ (Communication) ประเด็นต่างๆ ต่อ ผูถ้ อื หุน้ หรือสมาชิกและในเรือ่ งการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั ต่อผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียอืน่ ๆ เช่น รัฐบาล หน่วยงานก�ำกับดูแลของรัฐ สือ่ มวลชน และสาธารณชน บทบาทเหล่านี้เป็ นตัวอย่างของสิง่ ทีผ่ ถู้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ น ได้สว่ นเสีย คาดหวังจากการท�ำหน้าทีข่ องประธาน และทัง้ ห้าบทบาท ทีพ่ ดู ถึงนี้ มีความสมบูรณ์และมีความสมดุลย์ ซึง่ แตกต่างจากอดีตที่ บทบาทประธานจะค่อนข้างจ�ำกัด และจะเป็ นบทบาทเชิงสัญลักษณ์ เป็ นส�ำคัญ การท�ำหน้ าที่ในห้าบทบาทนี้ หมายถึง ประธานต้อง พร้อมทีจ่ ะใช้ประสบการณ์ทม่ี อี ยู่ ต้องพร้อมให้เวลา และต้องใช้ภาวะ ผูน้ �ำผลักดันให้คณะกรรมการท�ำหน้าทีต่ ามความรับผิดชอบได้อย่าง ครบถ้วน ภายใต้กรอบของความไว้วางใจ จริยธรรม และวัฒนธรรม องค์กรทีเ่ ป็ นบวกต่อบริษทั สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย หรือ IOD สนับสนุนให้ประธานกรรมการท�ำหน้าทีใ่ นห้าบทบาทดังกล่าว เพราะ จะส�ำคัญต่อการสร้างการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ให้เกิดขึน้ ในระดับ บริษทั และส�ำคัญต่อการสร้างประธานกรรมการทีม่ คี วามสามารถ ท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และมีคณ ุ ภาพสูง ให้มอี ย่างกว้างขวาง ในภาคธุรกิจของไทย

CEO Reflection > 


> Cover Story

“Meeting with AEC Challenge:

R OLE OF THE C HAIRMAN”

On 21st March 2013, Thai Institute of Directors (IOD) organized Chairman Forum 2013 under the topic "Meeting with AEC Challenge: Role of the Chairman". The event was supported by PTT Public Company Limited, Bangchak Petroleum Public Company Limited and The Price Waterhouse Coopers (ABAS) Company Limited (Thailand). Khunying Jada Wattanasiritham, Chairperson of IOD gave the opening speech for the meeting about the rapid change of business environment due to forthcoming ASEAN Economic Community (AEC) which was the national and regional policy in the spotlight. Government agencies and private sector were awakened by this policy but many organizations were still not aware and well prepared for the forthcoming change. Thus, it is the challenge for the Chairman of the Board of Directors to prepare their organizations in this issue.

เมือ่ วันที่ 21 มีนาคม 2556 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษทั ไทย ได้จดั การประชุม Chairman Forum 2013 ในหัวข้อ “Meeting with AEC Challenge: Role of the Chairman” โดยได้รบั การสนับสนุ นการจัดการประชุมจากบริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั บางจากปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษทั ไพร้ซวอเตอร์ เฮ้าส์คเู ปอร์ส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึง่ ในงานดังกล่าวได้รบั เกียรติ จากคุณหญิงชฎา วัฒนศิรธิ รรม ประธานกรรมการ สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย มากล่าวเปิ ดการประชุม โดยท่านได้ น�ำเสนอว่า สภาพแวดล้อมทางธุรกิจในปจั จุบนั มีการเปลีย่ นแปลงไป อย่างรวดเร็ว และทีก่ ำ� ลังได้รบั ความสนใจอยูใ่ นขณะนี้ คือ การเปิด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community หรือ AEC) ซึง่ ถือเป็ นนโยบายระดับประเทศและระดับภูมภิ าคอาเซียนที่ ภาครัฐและเอกชนก�ำลังตืน่ ตัวเป็ นอย่างยิง่ แต่ในระดับองค์กรยังขาด การเตรียมความพร้อมและยังไม่ได้พดู ถึงประเด็นนี้เท่าทีค่ วร AEC จึง เป็นความท้าทายครัง้ ใหม่ทป่ี ระธานกรรมการบริษทั ต้องเตรียมรับมือ

In addition, Khunying Jada Wattanasiritham also proposed that the chairmen should take various challenging issues into account, namely, increasing human resource competitiveness, determining and differentiating strategy for competition, and developing business administration system to an international standard including, corporate governance in ASEAN CG Scorecard standard. Therefore, IOD organized Chairman Forum for the Chairmen to share their opinions about AEC.

นอกจากนี้คณ ุ หญิงชฎา วัฒนศิรธิ รรมยังเสนอว่า ประธาน กรรมการบริษทั ควรพิจารณาในประเด็นท้าทายต่างๆ อาทิ การเพิม่ ขีดความสามารถของทรัพยากรบุคคล การก�ำหนดกลยุทธ์ในการสร้าง ความแตกต่างในการแข่งขัน และการพัฒนาระบบการบริหารธุรกิจ สู่ระดับสากล ตลอดจนการพัฒนาระบบการก�ำกับดูแลกิจการตาม มาตรฐาน ASEAN CG Scorecard ด้วยเหตุน้ี IOD จึงได้จดั การ ประชุม Chairman Forum นี้ขน้ึ เพือ่ เปิดโอกาสให้ประธานกรรมการ ได้รว่ มแลกเปลีย่ นและแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับ AEC

Then, Dr. Chirayu Isarangkun Na Ayudhya, the Chairman of the Board of Directors, The Siam Cement Public Company Limited gave a special speech under the topic "Meeting with AEC Challenge: Role of the Chairman". He addressed 2 issues about ASEAN Economic Community (AEC).

ในการประชุมดังกล่าว ยังได้รบั เกียรติจากท่าน ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานกรรมการ บริษทั ปูนซิเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) มาเป็ นผูก้ ล่าวปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ “Meeting with AEC Challenge: Role of the Chairman” ซึง่ ท่านได้กล่าวถึงประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) หรือ AEC ที่ ก�ำลังจะเกิดขึน้ ในปี 2558 ว่า สามารถแบ่งเป็ น 2 ประเด็น ประเด็นแรก คือ เรื่องความท้าทายของการเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ทีจ่ ะกลายเป็ นเขตเศรษฐกิจทีม่ พี น้ื ทีก่ ารผลิตเดียว และมีตลาดเดียว (Single Market and Production Base) ซึง่ ภายใต้ ั ย AEC ระบบเศรษฐกิจของอาเซียนจะมีการเคลือ่ นย้ายเงินทุนและปจจั การผลิตอย่างเสรี บริษทั ธุรกิจสามารถด�ำเนินกระบวนการผลิตที่ ใดก็ได้ โดยสามารถใช้ทรัพยากรจากแต่ละประเทศ ทัง้ วัตถุดบิ และ แรงงานมาร่วมในการผลิต รวมถึงมีมาตรฐานสินค้าภายใต้กฎเกณฑ์ และกฎระเบียบเดียวกัน ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจไทยใน ด้านต่างๆ ดังนี้

 < Cover Story

1. ผลบวก อาเซียนมีศกั ยภาพทีจ่ ะเติบโตได้ดี เนื่องจาก


The first issue is the challenge of ASEAN Economic Community that would become a single market and production base. Capital and production factors in ASEAN economic system would be able to move freely under AEC. A company could produce anywhere in ASEAN by using resources from other countries, including raw material and labor under the same regulations. This would have an effect on business sector in Thailand as follows, 1. Positive effect ASEAN had a potential to grow because the total population of 10 countries in ASEAN were almost 600 million. This increased demand of domestic market in ASEAN. Moreover, the Gross Domestic Product (GDP) of the region was approximately 1.5 trillion US dollars which was close to the economic size of United States of America, European Union, China and India. Moreover, ASEAN was the prime location for foreign investors, especially for cheap labor because ASEAN had many cheap and developable labors in many countries. Therefore, if we took comparative capital in the future into account, we would find AEC interesting and important issue for business of Thailand. 2. Negative effect Tariff free or tariff reduction created a single market which increased international goods movement, resulting in influx of cheap products from other countries to compete with Thai products. This would have a negative effect on the companies that had no plan to expand their production into ASEAN countries. These companies should prepare for the influx of products from other ASEAN countries into Thailand in the near future. Regarding the viewpoint of Siam Cement Group (SCG) toward AEC, he considered it as an opportunity rather than treat. However, each company had different opinions about AEC, depending on opportunity and treat assessment

หากรวมจ�ำ นวนประชากรในอาเซีย นทัง้ 10 ประเทศแล้ว จะมี ประมาณเกือบ 600 ล้านคน ท�ำให้อุปสงค์ (Demand) ของตลาด ประเทศในอาเซียนมีขนาดใหญ่ขน้ึ และหากคิดในแง่ของผลิตภัณฑ์ มวลรวมของภูมภิ าคแล้ว GDP ของอาเซียนจะมีมลู ค่าประมาณ 1.5 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ซึง่ มีขนาดใกล้เคียงกับขนาดเศรษฐกิจของ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป จีน หรืออินเดีย นอกจากนี้อาเซียน ยังเป็ นพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจทีไ่ ด้รบั ความสนใจจากนักลงทุนต่างประเทศ โดยเฉพาะด้านแรงงาน เนื่องจากภูมภิ าคอาเซียนมีแรงงานจ�ำนวน มากและหลายแห่ง มีค่า แรงถูก นอกจากนี้ คุณ ภาพของแรงงาน ส่วนใหญ่เป็นแรงงานทีส่ ามารถพัฒนาได้ ดังนัน้ หากพิจารณาในเรือ่ ง ของต้นทุนเปรียบเทียบในอนาคตแล้ว จะพบว่ามีน่าความสนใจและมี ความส�ำคัญต่อการท�ำธุรกิจของไทยอย่างมาก 2. ผลลบ การไม่มกี �ำแพงภาษี หรือลดก�ำแพงภาษีลง ก่อให้เกิด Single Market ซึ่งจะท�ำให้เกิดการโยกย้ายของสินค้า ระหว่างประเทศมากขึน้ ส่งผลให้สนิ ค้าต่างประเทศทีม่ คี ณ ุ ภาพและมี ราคาถูกกว่าเข้ามาแข่งขันกับสินค้าในประเทศเพิม่ ขึน้ ซึง่ ในประเด็น นี้จะส่งผลต่อบริษทั ทีย่ งั ไม่มกี ารก�ำหนดนโยบายทีจ่ ะขยายการผลิต ไปยังประเทศอาเซียน ดังนัน้ บริษทั เหล่านี้ควรมีการปรับตัว เพื่อ เตรียมรับกับสถานการณ์ทผ่ี ลิตภัณฑ์หรือบริการจากประเทศอาเซียน จะเข้ามาแข่งขันกับประเทศไทยในอนาคต ส�ำหรับมุมมองของกลุ่มปูนซิเมนต์ไทย (Siam Cement Group: SCG) ที่มตี ่อเรื่อง AEC นัน้ ถือว่าเป็ นโอกาสมากกว่า ความเสีย่ ง แต่ทงั ้ นี้แต่ละบริษทั ก็อาจมีความคิดเห็นทีแ่ ตกต่างกันออก ไป ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั การประเมินโอกาสและความเสีย่ งทีอ่ งค์กรจะได้รบั จากการเข้า AEC ด้วย ในด้านข้อสังเกตของ SCG ทีม่ ตี ่อ AEC นัน้ คือ ความเป็ นห่วงในเรือ่ งการเคลือ่ นย้ายอย่างเสรีของแรงงานฝีมอื ที่ มากขึน้ ดังนัน้ เพือ่ ลดหรือปิดความเสีย่ งเรือ่ งนี้ คณะกรรมการต้อง มีการวางแผน และมีวธิ กี ารบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลทีด่ ี เพือ่ ลดการสูญเสียบุคลากรทีม่ ศี กั ยภาพด้านแรงงานและฝีมอื ในบริษทั อีกปจั จัยทีส่ ำ� คัญทีค่ ณะกรรมการควรค�ำนึงถึงคือ “Supply Chain and Distribution Channel” คือ การเข้าไปเรียนรูล้ กู ค้าของ บริษทั ทัง้ ในเรื่องวัฒนธรรม ภูมศิ าสตร์ ช่องทางในการท�ำธุรกิจ เป็นต้น ในกรณีของ SCG นัน้ เมือ่ เริม่ ต้นการท�ำธุรกิจกับต่างชาตินนั ้ ใช้เวลาถึง 18 ปี ในการเข้าไปสร้าง Supply Chain and Distribution Channel ที่แ ท้จ ริง กว่ า จะสร้า งความเชื่อ มันและฐานการผลิ ่ ต ที่แ ข็ง แกร่ ง ในประเทศนั น้ ๆได้ โดยทาง SCG ได้ใ ช้ว ิธีก ารที่ หลากหลาย ทัง้ การส่งออกและน� ำเข้า และการเข้าไปร่วมมือกับ ประเทศเหล่านัน้ และเมือ่ สร้างตลาดขึน้ มาได้ในระดับหนึ่งแล้ว ถึง จะค่อยเริม่ สร้างฐานการผลิต เนื่องจากต้องมี Economy of Scale จึงจะไปถึงจุดนัน้ ได้ ดังนัน้ การด�ำเนินธุรกิจใดๆ ก็ตาม หากท�ำตาม กระแสอย่างเดียว โดยไม่มกี ารวางแผนให้รอบคอบและรัดกุมแล้ว อาจส่งผลเสียต่อองค์กรได้หาก Supply Chain and Distribution Channel ยังไม่มคี วามพร้อมเพียงพอ หลังจากทีก่ ารพัฒนาในทุกๆ ด้านมีความพร้อมและเพียง พอแล้ว สิง่ ส�ำคัญต่อมาจากการขยายตลาด ก็คอื การพัฒนาให้เกิด ประโยชน์ ทางสังคมในประเทศทีบ่ ริษทั ไปลงทุน โดยควรยึดหลัก “เอาใจเขามาใส่ใจเรา” เพราะหากไม่มกี ารค�ำนึงถึงสภาพสังคมของ ประเทศนัน้ ๆ วันหนึ่งการท�ำธุรกิจนัน้ จะไม่ยงยื ั ่ น และจะเกิดปฏิกริ ยิ า ต่อต้านจากคนในท้องถิน่ ซึง่ การด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงถึงประโยชน์ ต่อสังคมและการปฏิบตั ติ ามแนว CSR นัน้ ไม่เพียงแต่สร้างความ

Cover Story > 


> Cover Story of the organization after the due of AEC. Thus, in order to minimize the treat, the Board of Directors should have a good plan and human resource management to reduce the loss of potential and skilled labors of the company. The Board of Directors should take supply chain and distribution channel into account as well. It was to learn about the customers of the companies, including culture, geography business channel. When SCG started business with the foreigners, it took 18 years to build true supply chain and distribution channel before it could build a strong production base in each country. SCG used diverse methods, including export, import and cooperation in that country. The market had to reach a certain level before we started to build a production base because the importance of economy of scale. Therefore, doing a business was not only to follow the trend without a god plan because it would have negative effect on the organization if the supply chain and distribution channel was not well established. After every aspect was developed sufficiently, the next thing after market expansion was a sustainable development for the society in the country that we had invested. If we did not take the social environment of the country into account, the business could not be sustainable because of the risk of anti-reaction from local people. Doing business by taking social benefit and CSR into account could yield sustainable growth for the business as well as a good image for Thailand in the future. The second issue was the role of the chairman as the organization leader. The chairman should be the leader in the Board of Directors and the Board of Directors should play the role role together with the management department. SCG had a good system well developed in the last 30 years, resulting in quality of the personnel and excellent collaboration. Furthermore, SCG established a working system through medium term plan of 3 years and perspective plan of 3-5 years by the management department that made a plan in good detail and presented it to the Board of Directors. The Board

ยังยื ่ นให้กบั องค์กร แต่ยงั ส่งผลดีต่อประเทศไทยในอนาคตอีกด้วย ประเด็นทีส่ อง คือ บทบาทของประธานกรรมการ ในฐานะผูน้ ำ� องค์กร โดยประธานกรรมการควรเป็ น Leader ในคณะกรรมการ และคณะกรรมการควรมีบทบาททีส่ ำ� คัญร่วมกับฝา่ ยจัดการ ในส่วน ของ SCG นัน้ เนื่องจากมีระบบทีส่ ร้างขึน้ มาอย่างดีในช่วง 30 ปี ทีผ่ า่ นมา ส่งผลให้คณ ุ ภาพของบุคลากร และการท�ำงานร่วมกันเป็ น ไปอย่างยอดเยีย่ ม นอกจากนี้ทาง SCG ยังมีการวางระบบการท�ำงาน โดยผ่านการวางแผน Medium Term Plan โดยเป็ นการวางแผนใน ระยะ 3 ปีอย่างละเอียด ส่วนระยะเวลา 3 - 5 ปี เป็ นการวางแผนแบบ Perspective อย่างกว้างๆ โดยฝา่ ยจัดการได้จดั ท�ำอย่างละเอียดและ น� ำเสนอต่อคณะกรรมการ ซึง่ คณะกรรมการต้องรับรูห้ ลักการและ น� ำ ไปสู่ ก ารปฏิบ ัติอ ย่ า งจริง จัง ซึ่ง การท� ำ งานในรู ป แบบนี้ เ ป็ น การท�ำงานแบบ Interactive ท�ำให้ คณะกรรมการกับฝา่ ยจัดการ ท�ำงานร่วมกันได้อย่างเต็มทีแ่ ละต่อเนื่อง สรุปได้ว่า AEC จะท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่อนข้าง มากอย่ า งแน่ น อน ท� ำ ให้นึ ก ถึง ปรัช ญาของเศรษฐกิจ พอเพีย ง ที่ SCG น�ำมาปรับใช้ โดยยึดถือในหลักปรัชญาดังนี้ “พร้อมต่อ การรองรั บ การเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว และกว้ า งขวาง....” ซึ่ง หมายความว่า เราทุกคนไม่ควรอยู่นิ่งเฉย ไม่ควรประมาท ควร ตัง้ รับการเปลีย่ นแปลงของ AEC ซึ่งจะน� ำความเปลีย่ นแปลงมาสู่ พวกเราอย่างแน่นอน นอกจากนี้จากปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อีกเช่นเดียวกัน ซึง่ เป็นเรือ่ งของการรองรับต่อการเปลีย่ นแปลงทีต่ อ้ ง อาศัย “…ความรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง...มาใช้ใน การวางแผนและการด�ำเนินงานทุกขั้นตอน....” ซึง่ องค์ประกอบเหล่านี้ เป็นสิง่ ทีค่ ณะกรรมการและฝา่ ยจัดการ จะต้องให้ความส�ำคัญกับเรือ่ ง ทรัพยากรบุคคล เพื่อให้ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลสามารถ เตรียมรับกับความท้าทายจาก AEC ได้อย่างมีประสิทธิภาพและยังยื ่ น จากนัน้ ประธานกรรมการที่มาร่วมประชุมได้ร่วมแสดง ความคิดเห็นผ่านเครื่องมือ Option Finder ในประเด็นต่างๆ ซึ่ง สามารถสรุปผลได้ ดังนี้

1. ร้อยละ 55 มองว่า AEC เป็ นทัง้ โอกาสและความเสีย่ ง

2. ครึ่ง หนึ่ ง ของที่ป ระชุ ม ระบุ ว่ า คณะกรรมการได้ หารือเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมรับมือกับ AEC ในทีป่ ระชุม คณะกรรมการแล้ว และอีกร้อยละ 40 อยูร่ ะหว่างการเตรียมการน�ำ เข้าทีป่ ระชุม 3. ส่วนใหญ่รอ้ ยละ 60 ระบุวา่ คณะกรรมการได้น�ำเรือ่ ง AEC มาก�ำหนดเป็ นหนึ่งในกลยุทธ์การด�ำเนินธุรกิจแล้ว และอีก ร้อยละ 33 อยูร่ ะหว่างการพิจารณา 4. ร้อยละ 39 ของทีป่ ระชุมระบุวา่ ในการสรรหากรรมการ คณะกรรมการได้ก�ำหนดคุณสมบัตขิ องกรรมการเพื่อให้สอดคล้อง กับการด�ำเนินการด้าน AEC และร้อยละ 39 ทีเ่ ท่ากัน ก็ระบุวา่ อยู่ ระหว่างการพิจารณาด้วย 5. ปญั หา 3 อันดับแรกทีป่ ระธานกรรมการรูส้ กึ เป็ นกังวล ในการด�ำเนินธุรกิจเมือ่ มีการเปิด AEC คือ อันดับที่ 1 ได้แก่ ปญั หา การทุจริตคอร์รปั ชัน่ อันดับที่ 2 ได้แก่ ประสิทธิภาพของระบบ ราชการ และอันดับที่ 3 ได้แก่ ความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ

 < Cover Story


of Directors had to understand the principles thoroughly and take it to practice seriously. This style of interactive working made the management department to collaborate fully and continuously. In conclusion, AEC would certainly have a great impact on Thailand. It reminded us of the "Philosophy of Sufficiency Economy" that SCG adopted for its business. The principle of the philosophy is to be "prepared for the rapid and extensive change". This meant that we should be aware and well prepared for the changes from AEC. Moreover, to prepare for the changes according to the Philosophy of Sufficiency Economy was also based on "knowledge in the relevant fields and prudence in bringing this knowledge into consideration to understand the relationship among the field so as to use them to aid in the planning and ensure carefulness in the operation". The Board of Directors and management department should take these components of the Philosophy of Sufficiency Economy into account for human resource management to prepare for the challenges from AEC.

ในช่วงของการอภิปรายนัน้ IOD ได้รบั เกียรติจากคณะ ผูบ้ รรยายน� ำ ซึ่งประกอบด้วยประธานกรรมการผูท้ รงคุณวุฒแิ ละ ประสบการณ์ ดังนี้ ดร.พิสฐิ ลีอ้ าธรรม ประธานกรรมการ บริษทั พฤกษา เรียลเอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) นายอัศวิน คงสิร ิ ประธาน กรรมการ บริษทั ช.การช่าง จ�ำกัด (มหาชน) นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ ประธานกรรมการ บริษทั ไออาร์พซี ี จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) ด�ำเนินการอภิปรายโดย ดร.บัณฑิต นิจถาวร กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ IOD ซึง่ คณะผูบ้ รรยาย น�ำได้แสดงความคิดเห็นในประเด็นส�ำคัญ ดังนี้

After that, the chairmen in the meeting shared their opinions through a device "Option Finder" which could be summarized into issues as follows 1. 55% of the chairmen considered AEC as treat and opportunity 2. Half of the chairmen in the meeting indicated that the Board of Directors had already discussed how to prepare for the AEC in the meeting and 40% were about to enter the meeting. 3. 60% indicated that the Board of Directors had determined AEC issue as one of the business strategy and 33% were being considered. 4. 39% indicated that Board of Directors had determined qualifications of directors in accordance with AEC and the equal 39% also indicated that the issue was in process. 5. The most 3 important problems that the chairmen were concerned about doing business in AEC were 1) corruption 2) Efficiency of bureaucracy 3) competitiveness of the country. In the discussion, IOD invited several chairmen, namely, Dr. Bhisit Lee-Atham, Chairman of the Board of Directors, Pruksa Real Estate Public Company Limited, Mr. Assawin Kongsiri, Chairman of the Board of Directors of CH. Karnchang Public Company Limited, Mr. Prasert Boonsumpan, Chairman of the Board of Directors of IRPC Public Company Limited and PTT Global Chemical Public Company Limited to discuss about AEC issue. Dr.Bandid Nijathaworn, IOD President & CEO was the discussion leader. They gave their opinions in the important issues as follows

AEC: โอกาสหรือความเสี่ยง ดร.พิสฐิ ลีอ้ าธรรมได้แสดงความคิดเห็นว่า เห็นด้วยกับ ผลโหวตที่ได้จากที่ประชุม ซึ่งทราบถึงแนวโน้ มของบริษทั ต่างๆ ที่มกี ารเตรียมความพร้อมในการรับมือพอสมควร ส�ำหรับธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์นัน้ มีขอ้ จ�ำกัดคือไม่สามารถส่งออกเป็ นสินค้าไป ยังต่างประเทศได้ จึงต้องเน้นทีต่ ลาดภายในประเทศเป็ นหลัก และ หากน� ำธุรกิจเข้าตลาดจะท�ำให้ Market Share สูง ซึ่งจะส่งต่อ การเติบโตขององค์กร ด้วยเหตุน้ีจงึ วางกลยุทธ์ โดยพิจารณาจาก พืน้ ทีร่ อบกรุงเทพฯในการขยายธุรกิจ และเห็นว่าจะเป็ นความเสีย่ ง ระดับสูง หากลงทุนในต่างจังหวัด เนื่องจากมีกำ� ลังซือ้ ต�่ำ นอกจากนี้ยงั เลือกจะขยายการลงทุนไปยังต่างประเทศ โดยใช้ทป่ี รึกษามืออาชีพและมีความเชีย่ วชาญ ซึง่ เสนอแนะให้ลงทุน ในประเทศต่างๆ อาทิ จีน อินเดีย เวียดนาม และอินโดนีเซีย ทัง้ นี้ ต้องพิจารณา Market Size เป็ นส�ำคัญ และเห็นว่าความท้าทายของ ภาคธุรกิจไทย คือความสามารถในการขยายกิจการไปยังประเทศใด ก็ได้ แต่ตอ้ งมีการวางแผนอย่างรอบคอบ เช่น บริษทั ขายไส้กรอก ของไทยในโปแลนด์จ�ำเป็ นต้องใช้เนื้อหมูเป็ นวัตถุดบิ แต่เนื่องจาก เนื้อหมูจากไทยถูกกีดกันด้านกฎระเบียบ จึงหันมาใช้เนื้อหมูภายใน ประเทศโปแลนด์ โดยคงสูตรและรสชาติ อีกประเด็นท้าทายคือ การส่งบุคลากรไปยังต่างประเทศทีไ่ ม่คอ่ ยมีใครอยากไป โดยเฉพาะ ประเทศที่ย งั ไม่พ ฒ ั นา ตลอดจนการตัง้ ค�ำ ถามจากนัก ลงทุ น ถึง การขยายธุ ร กิจ ไปยัง ต่ า งประเทศ เหล่า นี้ เ ป็ น ความท้า ทายของ คณะกรรมการ ทัง้ นี้ น ายอัศ วิน คงสิร ิก ล่ า วว่ า สิ่ง ส�ำ คัญ ในการเข้า สู่ AEC คือ ต้องมีการเชือ่ มโยง (Connectivity) ซึง่ มองว่าไทยมีความ

Cover Story > 


> Cover Story AEC: Opportunity or treat Dr. Bhisit Lee-Atham agreed with the result of voting in the meeting. We could know the trend that most companies were preparing for AEC. However, real estate business had a limitation because it could not export any product. Thus, it had to focus mainly on the domestic market. If the business entered the market, the market share would be high resulting in high growth of the organization. Therefore, it had a strategy to expand the business in Bangkok and its metropolitan area it was still too risky to invest in other provinces due to low purchasing power. In addition, a company considered to expand its business in other countries by relying on the consultancy companies that suggested us invest in China, India or Indonesia. Importantly, the company had to take market size into account for business expansion. The challenge of Thai business was the potential to expand its business in any country, but it had to have careful plan, for example, a Thai sausage company in Poland had to use domestic pork as raw material because imported pork from Thailand was restricted by non-tariff barriers. Besides, the company still maintained original recipe and taste. Another challenging issue was a personnel problem because no employee would like to work abroad, especially in the developing countries. Moreover, the question from the investors concerning business expansion abroad was also a challenge for Board of Directors. Nevertheless, Mr. Assawin Kongsiri added that the important advantage of AEC was a connectivity, in which Thailand was most advantageous. Presently, the company was not ready for AEC, but it had been preparing hard for that. Regarding the role of the chairman, it depended on business type, for example, family business which had advantage in decision making. This affected the policy to expand the business abroad, but the company had to be careful in corporate governance. Moreover, it should have professional and knowledgeable directors to suggest about culture and law in each country. Although personnel development took a long time, it had to be prepared and implemented carefully. Mr. Prapan Boonsumpan, Chairman of the Board of Directors of IRPC Public Company Limited and PTT Global Chemical Public Company Limited, saw AEC as an opportunity rather than a treat because doing this business relied on market connectivity for import of raw material and export of product. Besides, the companies already had to compete with several domestic and foreign competitors. Thus, AEC was not a problem because competition was a rule for energy business. PTT had made a comparative data and looked for the opportunity for business expansion in each county, including exploration, mining, planting and dam building. This would enable PTT to connect with other countries.

 < Cover Story

ได้เปรียบมากที่สุด ขณะนี้บริษัทยังไม่พร้อมที่เข้าสู่ AEC แต่ม ี การเตรียมรับมืออย่างเต็มที่ ส�ำหรับบทบาทของประธานกรรมการ นั น้ ขึ้น อยู่ก ับ ลัก ษณะทางธุ ร กิจ ด้ว ย เช่ น ธุ ร กิจ แบบครอบครัว การพิจารณาหรือตัดสินใจจะท�ำได้โดยง่าย ฝา่ ยบริหารก็จะสนับสนุน การท�ำงาน และส่งผลต่อการวางนโยบายที่จะขยายกิจการไปยัง ต่างประเทศ แต่ต้องมีความระมัดระวังด้าน CG นอกจากนี้ควร มองหากรรมการมืออาชีพที่มคี วามรู้ความเชี่ยวชาญ เพื่อศึกษา คุณลักษณะ ประเพณี กฎหมายของแต่ละประเทศ ทัง้ นี้การบริหาร บุคลากร ถึงแม้จะต้องใช้เวลา แต่ตอ้ งมีการเตรียมตัวและด�ำเนินการ อย่างรอบคอบระมัดระวัง และหาวิธกี ารทีท่ ำ� ให้องค์กรขับเคลือ่ นไป ในทิศทางเดียวกัน ส่วนนายประเสริฐ บุญสัมพันธ์แสดงความคิดเห็นในเรือ่ งนี้ ว่า ส�ำหรับ ปตท. มอง AEC ว่าเป็ นโอกาสมากกว่าความเสีย่ ง เพราะ จากการด�ำเนินธุรกิจนี้จ�ำเป็ นต้องอาศัยการเชื่อมโยงกับตลาด ใน การน� ำเข้าวัตถุดบิ หรือการขายสินค้าอยู่เสมอ และยังต้องแข่งขัน ทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศอีกด้วย จึงไม่วติ กหากจะเข้าสู่ AEC ส�ำหรับคู่แข่งของธุรกิจพลังงานไม่ค่อยน่ าเป็ นห่วง เพราะมี การแข่งขันกันเป็ นปกติอยูแ่ ล้ว ซึง่ ได้ทำ� ข้อมูลเปรียบเทียบ และมอง หาช่องทางในการขยายการลงทุนของแต่ละประเทศ อาทิ การค้า ปลีก การขุดเจาะส�ำรวจ การท�ำเหมือง การปลูกต้นไม้ การท�ำเขือ่ น ซึง่ เหล่านี้ ปตท.ได้ดำ� เนินการอย่างต่อเนื่อง จึงท�ำให้สามารถเชือ่ ม โยงกับประเทศอืน่ ได้ อย่างไรก็ตาม สิง่ ทีค่ วรพิจารณาคือทรัพยากรของแต่ละ ประเทศมีความแตกต่างกัน เช่น ลาว พม่า มีแหล่งน�้ำทีอ่ ุดมสมบูรณ์ สามารถท�ำเขือ่ นได้ อินโดนีเซียมีถ่านหินทีม่ คี ณ ุ ภาพ เหมาะต่อการ ท�ำเหมือง ซึง่ จ�ำเป็ นต้องวางกลยุทธ์ให้เหมาะสมกับสภาพของตลาด ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั ธุรกิจและขีดความสามารถของแต่ละบริษทั เช่นกัน ทีต่ ้องวางกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับตลาด และศักยภาพขององค์กร ดังนัน้ ในการเตรียมความพร้อมรับ AEC ต้องพิจารณาถึง ตลาด พันธมิตรทางธุรกิจ และแรงงานเป็ นส�ำคัญ

บทบาทของประธานกรรมการ มุมมองทีม่ ตี ่อบทบาทของประธานกรรมการเพื่อเตรียม รับกับ AEC นัน้ ดร.พิสฐิ ลี้อาธรรม เห็นว่า คณะกรรมการเป็ น กลุม่ คนทีม่ บี ทบาทส�ำคัญอย่างยิง่ ซึง่ วิธกี ารทีภ่ าคธุรกิจไทยจะท�ำได้


However, natural resources were different in each country, for examples, Laos and Myanmar had abundant water resource suited for dam building, Indonesia had coal of good quality suited for mining. Therefore, we had to set a suitable strategy for each market. Importantly, it depending on business type and potential of each company to set the suitable strategy based on the market and potential of the organization. Thus, market, business partner and labor had to be taken into account for preparation for the forthcoming AEC.

Roles of the Chairman Regarding roles of the Chairman in the preparation for AEC, Dr. Pisit Leeahtam saw Board of Directors as people with crucial roles. The possible strategy for Thai business was to take over with foreign companies by holding 5-10% shares in the company. This strategy would facilitate the business expansion in other countries and made us understand how to do a business in each country. Another crucial role of the Chairman was to cross check with the CEO. Although the Chairman was a knowledgeable person, he might not know everything about business. Thus, the Chairman should not interfere the roles of the executives. In conclusion, He had to have an extensive knowledge in business and harmony with the organization. Mr Aswin Kongsiri, proposed that IOD should have the role in increasing potential of the directors. Moreover, company secretary was an important person in the company because they had to understand their roles and facilitate the work of directors. Importantly, the company should have integrity and effective audit system. Besides, performance evaluation of the directors should reflect their working efficiency. He did not agree that the directors could evaluate themselves. Mr. Prasert Bunsumpun, Chairman of the Board of Directors of IRPC Public Company Limited and PTT Global Chemical Public Company Limited, proposed that the Chairman had the role in satisfying the stakeholders. The Board of Directors of the state enterprise was different from the general companies. Therefore, Participation of the Chairman was more diverse. Although IOD had determined the criteria for participation of the Chairman, they were not the indicators if the practice was right or wrong because it depended on the organizations to apply to their situations. Nevertheless, if there was an evaluation from the external organization, this implied that the company had to comply with the regulation and the Chairman should have more participation in business administration.

คือ การ Take Over กับบริษทั ต่างประเทศ อาจถือหุน้ 5-10% ซึง่ จะช่วยให้เข้าไปยังประเทศต่างๆ ได้ง่ายขึน้ ทัง้ ยังเข้าใจลักษณะ การด�ำเนินธุรกิจของแต่ละประเทศได้อกี ด้วย อีกบทบาทส�ำคัญคือ การท�ำหน้าที่ Cross Check กับ CEO แม้วา่ ประธานกรรมการจะเป็ น ผูม้ คี วามรูค้ วามสามารถ แต่ไม่อาจเข้าใจในธุรกิจได้ทงั ้ หมด ดังนัน้ ในส่วนทีไ่ ม่ใช่จุดแข็ง ก็ไม่ควรเข้าไปแทรกแซง ประธานกรรมการ ต้องมี Harmony กับองค์กร ต้องมีคนเก่งในธุรกิจ ซึง่ อาจชักชวน มาร่วมในองค์กร และไม่ควรไปแทรกแซงฝา่ ยบริหารจนท�ำให้องค์กร เกิดความวุน่ วาย นายอัศวิน คงสิรไิ ด้เสนอว่า IOD ควรมีบทบาทในการฝึกฝน ให้กรรมการพัฒนาศักยภาพเพิม่ ขึน้ นอกจากนี้ยงั มีอกี บุคคลทีส่ ำ� คัญ คือ เลขานุการบริษทั ซึง่ ต้องมีความรูแ้ ละเข้าใจในบทบาทหน้าที่ และ คอยให้การสนับสนุนการท�ำงานของคณะกรรมการ นอกจากนี้ตอ้ งมี Integrity มีระบบการตรวจสอบทีม่ ปี ระสิทธิภาพ อีกส่วนหนึ่งคือการ จัดให้มกี ารประเมินผลงานของกรรมการ ซึง่ ควรมีรปู แบบหรือวิธกี าร ทีส่ ะท้อนถึงประสิทธิภาพในการท�ำงานของคณะกรรมการ แต่ไม่เห็น ด้วยทีจ่ ะให้มกี ารประเมินตนเอง ส�ำหรับนายประเสริฐ บุญสัมพันธ์เสนอว่า ประธานกรรมการ มีหน้าทีใ่ นการบริหารจัดการให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียรูส้ กึ พึงพอใจ ส�ำหรับ คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจมีลกั ษณะเฉพาะมากกว่าบริษัททัวไป ่ การมีส่วนรวมของประธานกรรมการจึงมีความหลากหลาย แม้ว่า IOD จะมีการก�ำหนดเป็ นเกณฑ์มาตรฐานให้ยดึ ปฏิบตั ิ แต่ไม่ได้เป็ น ตัวบ่งชีถ้ งึ ความถูกหรือผิด ทัง้ นี้ขน้ึ กับองค์กรจะน� ำไปประยุกต์ใช้ อย่างไรก็ตาม เมือ่ มีการประเมินผลจากหน่วยงานภายนอกก็เท่ากับ การบังคับให้ตอ้ งปฏิบตั ติ าม ประธานกรรมการจึงควรมีสว่ นรวมใน การบริหารงานมากขึน้ นอกจากนี้นายบัณฑูร ล�่ำซ�ำ ประธานกรรมการ ธนาคาร กสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมแสดงความคิดเห็นถึงการท�ำงาน ของฝ่ายคณะกรรมการและฝ่ายจัดการของธนาคารว่ามีความเข้ม งวดมากอยู่แล้ว ซึง่ ยังมีธนาคารแห่งประเทศไทยทีม่ คี วามเข้มงวด กว่าได้กำ� หนดนโยบายมาให้ปฏิบตั ติ าม ซึง่ เป็ นผลดี เนื่องจากช่วย สร้างความแข็งแกร่งให้กบั ธุรกิจ ความเชือ่ มโยงกันระหว่างฝา่ ยก�ำกับ ดูแลกิจการทีค่ วบคุมโดยธนาคารแห่งประเทศไทยและมีผรู้ บั นโยบาย และกฎระเบียบต่าง ๆ คือ คณะกรรมการและฝา่ ยจัดการของบริษทั นัน้ ก่อให้เกิดการพูดคุยกันในประเด็นต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ รวมใน เรือ่ งการป้องกันความเสีย่ ง

In addition, Mr. Banthoon Lamsam, Chairman of the Board of Directors of Kasikornbank Public Company Limited added that the work of Board of Directors and management

Cover Story > 


> Cover Story department was already strict for banking business. Moreover, it had to comply with the stricter policy from the Bank of Thailand. Anyway, it was the advantage because it strengthened the business and connected the policy maker, the Bank of Thailand with the policy compliers which were Board of directors and management department in each company. This created a platform for creative deliberation for all issues, including risk prevention. Regarding opportunity exploitation, the market was quite open, but when compare with the regional level, commercial banks in Thailand had the smallest channel due to various limitations, for examples, Thai managers did not want to go abroad. The possible choice for Thai managers was China because Thai managers considered it as a developed country. However, the chance for Thai managers to go to Laos and Cambodia was only 50%. Presently, there were more collaboration between the Bank of Thailand and Boards of Directors from several companies, resulting in many changes, awareness and regulations. These would strengthen the banking business in Thailand. Mr. Mongkol Simaroj, Chairman of the Board of Susco Public Company Limited, added about the structure of his company. Presently, Susco Public Company Limited had approximately 8,500 shareholders. The first 80 shareholders were family members and friends and the remaining 40% were general investors. Although investing in AEC countries was quite convenient, business family had a problem concerning CEO because people would like their family members to be the CEO. Sometimes, some families had qualified person, but the others did not. This problem had to be solved as well. Mr. Metha Suvanasarn, Chairman of the Board of Directors of Tummy Tech Company Limited introduced a document about "Integrated Management" that has been published worldwide. It compared an organization with human body which integrated management was the interest for all Chairmen and it was their duty to comply with the regulations. Nowadays, commercial banks in Thailand did not comply with all regulations from the Bank of Thailand. IOD should conduct a study about integrated management and publicize the information to the Board of Directors, especially to the Chairmen that were members of IOD. There were 3 basic roles of the directors, "Direct, Evaluate and Manage" which were the issues of governance and accountability rather than responsibility. Personnel recruitment for AEC

Dr. Phisit considered personnel recruitment as an important issue because knowledgeable person might have many options and might not choose to work with the company. Therefore, Board of Directors should have more active role in personnel strategy. Moreover, they should challenge the

 < Cover Story

ส่วนในแง่การหาประโยชน์จากโอกาส จะเห็นได้วา่ ตลาด มีการเปิดกว้าง แต่หากเปรียบเทียบกับในภูมภิ าค จะพบว่า ธนาคาร พาณิชย์ในไทยมีชอ่ งทางทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ผนวกกับข้อจ�ำกัดหลายๆ ด้าน เช่น การทีผ่ จู้ ดั การไทยไม่คอ่ ยอยากไปต่างประเทศ ส่วนประเทศที่ สามารถจะไปได้นนั ้ คือ ประเทศจีน เนื่องจากผูจ้ ดั การไทยมองว่า ประเทศจีนเป็นเมืองทีเ่ จริญ แต่หากเปรียบเทียบกับการส่งไปท�ำงาน ทีก่ มั พูชาหรือลาวนัน้ โอกาสทีค่ นไทยจะไปมีอยูแ่ ค่ 50 เปอร์เซ็นต์ ปจั จุบนั การท�ำงานร่วมกันระหว่างธนาคารแห่งประเทศไทยและ คณะกรรมการจากธนาคารต่างๆ มีมากขึน้ รวมทัง้ มีบุคลากรทีม่ ี ความสามารถเกิดขึน้ มากมาย ซึง่ ท�ำให้เกิดการเปลีย่ นแปลง เกิด ส�ำนึกและกฎกติกาใหม่ สิง่ เหล่านี้จะช่วยให้การด�ำเนินธุรกิจเป็ นไป ได้ดว้ ยดีมากขึน้ ด้า นนายมงคล สิม ะโรจน์ ประธานกรรมการ บริษัท ซัสโก้ จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวถึง โครงสร้างของบริษทั ว่า ณ ปจั จุบนั มีผถู้ อื หุน้ ประมาณ 8,500 คน ซึง่ 80 คนแรกถืออยู่ 50% เป็ นบุคคล ในครอบครัวและเพือ่ น อีก 40 % ทีเ่ หลือเป็ นนักลงทุนทัวไป ่ แม้วา่ การไปลงทุนในประเทศ AEC นัน้ มีความสะดวก แต่ปญั หาเรือ่ งธุรกิจ ครอบครัวทีต่ อ้ งการให้คนในครอบครัวของตนเองเป็ น CEO ซึง่ บาง ครอบครัวก็มคี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสม แต่บางครอบครัวก็ขาดคุณสมบัติ บางข้อไป ก็ยงั ถือเป็ นปญั หาหนึ่งทีต่ อ้ งจัดการเช่นกัน นายเมธา สุวรรณสาร ประธานกรรมการ บริษทั ทัมมี่ เทค จ�ำกัด ได้เสนอแนะเกี่ยวกับเอกสารแบบบูรณาการ Integrated Management ทีเ่ ผยแพร่ทวโลก ั่ ซึง่ เปรียบเทียบว่า องค์กรก็เปรียบ เสมือ นร่ า งกายที่ม ีชีว ิต ซึ่ง การบริห ารแบบบู ร ณาการเป็ น สิ่ง ที่ ประธานกรรมการของทุกองค์กรควรให้ความสนใจ และเป็ นหน้าที่ ของประธานกรรมการทีต่ อ้ งดูแลความเรียบร้อยและการปฏิบตั ติ าม กฎเกณฑ์ ซึง่ จะเห็นได้วา่ ธนาคารในประเทศไทยตอนนี้กย็ งั ไม่คอ่ ย ปฏิบตั ติ ามกฎทีธ่ นาคารแห่งประเทศไทยได้วางไว้อย่างครบถ้วน ใน จุดนี้ จึงอยากขอความร่วมมือให้ทาง IOD ช่วยท�ำการศึกษาเรือ่ ง Integrated Management และเผยแพร่ให้กบั คณะกรรมการ โดย เฉพาะอย่างยิง่ ประธานกรรมการทีเ่ ป็ นสมาชิกของ IOD ซึง่ บทบาท พืน้ ฐานทีก่ รรมการควรปฏิบตั ิ มีอยู่ 3 ประการ คือ Direct , Evaluate, Manage ซึง่ เป็ นเรื่องของ Governance และเป็ น Accountability ไม่ใช่ Responsibility

การสรรหาบุคลากรเพื่อรับมือ AEC

ในเรื่องของการสรรหาบุคลากรเพื่อรับมือกับ AEC นัน้


executive in a creative way and help them at the same time. They also had to have Corporate Governance (CG) and Check and balance and efficient reporting system. Mr. Aswin gave his opinion from the viewpoint of construction business that personnel development should be done on a regular basis, including Thai employees and also labors in the country of investment. Regarding state enterprise, Mr. Vichet Kasemthongsri, Chairman of the Board of Directors of PTT Public Company Limited raised a question concerning personnel issue if there would be a limitation or difficulty in personnel recruitment due to AEC. PTT is a state enterprise, so it was not easy to hire foreign employees when compare with private company. He also gave his opinion that there was a trend of higher number of foreigners in the Board of Directors because of business expansion in other countries. However, the public limited companies act indicated that half of the directors in the Board of Directors had to settle in Thailand. If we had to expand the scope into ASEAN, we had to change the regulations or we might have them as contract employees. Nevertheless, all stakeholders should provide decent measures for AEC by taking readiness and potential of the organization into account before expanding the business. If the organization was not yet ready, it should improve its potential and prepare for the forthcoming changes. In addition, Mr. Paron Isarasena Na Ayuthaya, Chairman of the board of Directors of Thaicom Public Company Limited added his opinion about entering AEC for 4 issues. First, we did not only compete with competitors from AEC countries, but there were competitors from China, India and Europe as well. Thus, the directors had to be knowledgeable. Second, human capital was a crucial component because everything was driven by human. It was hard to move the organization forward without a good human capital. Third, technology was an important issue nowadays overlooked by many organizations. We could use technology for business administration, for example, we could use technology of video conference for to connect people from multiple locations. Technology would become more important, especially in 5-8 years in the future. Lastly, chairman should have life-time learning. Then, Dr. Phisit summarized that it was a good time for Thailand to expand business in other countries due to several factors, including appreciation of the baht which could support the business expansion aboard. Importantly, business administrationhad to be based on good corporate governance in order to create a good image abroad. Moreover, ASEAN Economic Community was similar to the beginning of European Union that would have bot negative and positive effect on Thailand, but we could apply it to our business strategy.

ดร.พิสฐิ ลีอ้ าธรรม มองว่า การรับสมัครบุคลากรนัน้ ยังเป็ นสิง่ ทีม่ ี ความส�ำคัญ เพราะคนเก่งอาจมีทางเลือกมากมาย ท�ำให้อาจจะเลือก ไม่อยู่กบั องค์กร คณะกรรมการจึงต้องมีบทบาทมากขึน้ ในการวาง กลยุทธ์ดา้ นบุคลากร นอกจากนี้ต้องสร้างความท้าทายให้กบั ฝ่าย บริหารในเชิงสร้างสรรค์ และช่วยฝ่ายบริหารในการท�ำงานในบาง ครัง้ ต้องมี CG มีการ Check & Balance ทีด่ ี มีระบบการรายงานที่ มีประสิทธิภาพอีกด้วย ส่วนนายอัศวิน คงสิรไิ ด้แสดงความคิดเห็นในแง่มุมของ ธุรกิจรับเหมาก่อสร้างว่า มีความเกีย่ วข้องกับบุคลากรเสมอ ดังนัน้ จ�ำเป็ นต้องพัฒนาทักษะผ่านการอบรม ไม่ใช่แค่คนไทยเท่านัน้ แต่ ยังรวมถึงแรงงานในประเทศนัน้ ๆ ทีเ่ ข้าไปลงทุนด้วย ในส่วนของรัฐวิสาหกิจ นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี ประธาน กรรมการ บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ได้เสนอประเด็นค�ำถาม เกีย่ วกับเรือ่ งบุคลากรว่า เมือ่ AEC เกิดขึน้ การสรรหาบุคลากรทีเ่ ป็ น พนักงานและผูบ้ ริหารเข้ามาในองค์กรจะมีขอ้ จ�ำกัดและอุปสรรคหรือ ไม่ ซึง่ ในส่วนของ ปตท. นัน้ เป็ นองค์กรรัฐวิสาหกิจ จึงไม่สามารถ จ้างบุคลากรจากต่างประเทศได้ง่ายเท่ากับบริษทั เอกชนทัวไป ่ ซึง่ คุณประเสริฐ บุญสัมพันธ์ ได้แสดงความเห็นว่า การขยายกิจการไป ยังต่างประเทศ มีแนวโน้มทีช่ าวต่างชาติจะเข้ามาอยูใ่ นคณะกรรมการ มากขึน้ แต่เนื่องจากยังมี พ.ร.บ.บริษทั มหาชนจ�ำกัด ทีก่ �ำหนดให้ กรรมการครึง่ หนึ่งต้องมีถนิ่ ฐานในประเทศไทย ซึง่ ถ้าเราจะขยาย ขอบเขตไปยังอาเซียน อาจจ�ำเป็ นต้องแก้กฎเกณฑ์ หรืออาจจ้างเป็ น แบบ Contract อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องควรมีมาตรการ รองรับ AEC พิจารณาถึงความพร้อมและศักยภาพขององค์กรแล้วจึง ขยายธุรกิจ แต่หากยังไม่พร้อมก็ควรปรับปรุงตัวเองให้มศี กั ยภาพ และเตรียมรับมือ นอกจากนี้ นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา ประธาน กรรมการ บริษทั ไทยคม จ�ำกัด (มหาชน) ได้ให้ความเห็นเพิม่ เติม เกีย่ วกับการเข้าสู ่ AEC ว่า ประเด็นแรก คือ การแข่งขันทางธุรกิจ ไม่ใช่เฉพาะแค่แข่งกับ AEC เท่านัน้ แต่ตอ้ งแข่งกับจีน อินเดียหรือ ประเทศในแถบยุโรปอีกด้วย ดังนัน้ กรรมการต้องมีความรูร้ อบตัวมาก ประเด็นที่ 2 ทีม่ คี วามส�ำคัญเท่ากัน คือ Human Capital ซึง่ ทุกอย่าง ต้องขับเคลื่อนด้วยคน ซึง่ ถ้าคนของคุณไม่เก่งและไม่ดี ก็เป็ นเรื่อง ยากมากทีจ่ ะขับเคลื่อนองค์กรไปข้างหน้าได้ ประเด็นที่ 3 คือเรือ่ ง เทคโนโลยี ซึง่ เป็ นเรือ่ งส�ำคัญมากทีห่ ลายองค์กรมองข้าม เช่น ใน ั บนั เราสามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีในการประชุมทางไกล ปจจุ ได้ ซึง่ ตอนนี้ในต่างประเทศให้ความส�ำคัญเรือ่ งเทคโนโลยีเป็ นอย่าง มาก หากมองไปในอนาคต 5-8 ปีขา้ งหน้า จะเห็นว่าเทคโนโลยีนนั ้ มี ความส�ำคัญยิง่ และประเด็นสุดท้ายคือ การเป็นประธานกรรมการต้อง สนใจใฝเ่ รียนรูไ้ ปตลอดชีวติ จากนัน้ ดร.พิสฐิ ลีอ้ าธรรม ได้กล่าวสรุปว่า ประเทศไทย มีองค์ประกอบและอยู่ในจังหวะทีด่ เี นื่องจากปจั จัยหลากหลายด้าน อาทิ การแข็งค่าของเงินบาท ซึง่ จะช่วยสนับสนุ นให้บริษทั สามารถ ขยายธุรกิจไปยังต่างประเทศ และทีส่ ำ� คัญ คือ การบริหารงานต้อง ยึดถือตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ สร้างภาพลักษณ์ทด่ี ใี น สายตาของต่างประเทศ นอกจากนี้คณ ุ อัศวิน คงสิร ิ ได้กล่าวเสริมว่า ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนมีความคล้ายคลึงกับช่วงเริม่ ต้นของการ รวมตัวของสหภาพยุโรป (EU) ทีม่ ผี ลกระทบทัง้ แง่บวกและแง่ลบ ซึง่ เราสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจได้

Cover Story

> 


> Board Briefing

Director Nomination

ISSUES AND TRENDS

The nomination and election of directors is an important issue related to good Corporate Governance. Having a systemic and transparent nomination process in place enhances the ability of a corporate committee to recruit qualified directors to carry out the organization's policies in accordance with its strategies and direction. Moreover, it can build confidence in the company among the shareholders, investors and stakeholders. In this regard, IOD organized a Director Forum based on the topic, "Director Nomination Issues and Trends" on 6 February 2013.

ป จั จุ บ นั การสรรหาและแต่ ง ตัง้ กรรมการถือ เป็ น เรื่อ ง ส�ำคัญประการหนึ่งของการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี การมีกระบวนการ สรรหาที่ท� ำ อย่ า งมีห ลัก เกณฑ์แ ละโปร่ ง ใส นอกจากจะช่ ว ยให้ คณะกรรมการสามารถสรรหากรรมการที่ม ีคุ ณ สมบัติเ หมาะสม มาเสริม สร้า งประสิท ธิภ าพของคณะกรรมการ ในการผลัก ดัน การด�ำเนินงานของบริษทั ให้เป็ นไปอย่างสอดคล้องกับกลยุทธ์และ ทิศทางทีก่ ำ� หนดไว้แล้ว ยังเป็นการสร้างความเชือ่ มันให้ ่ กบั ผถู้ อื หุน้ ผูล้ งทุน รวมทัง้ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทีม่ ตี ่อบริษทั IOD จึงได้จดั การประชุม Director Forum ภายใต้หวั ข้อ “Director Nomination Issues and Trends” ขึน้ เมือ่ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2556

Khunying Jada Wattanasiritham, IOD Chairperson opened the meeting with talk on the role of IOD concerning the nomination of directors. She noted that since 2006 IOD had set some Directors Nomination Best Practices and had organized the Director Forum about them in 2010 for directors to use as a guideline for adopting these practices in their organizations. Ideas and practices on the issue had been constantly evolving in Thailand. In general, information about nominated directors in the invitation letter to the shareholders about potential directors usually contained sufficient details for the shareholders to make a decision. According to the CGR project in 2012, 70% of the listed companies had carried out that practice. 67% of the listed companies had allowed the shareholders to nominate the directors in advance. However, notably, small shareholders rarely had nominated the directors.

ในการประชุมดังกล่าว คุณหญิงชฎา วัฒนศิรธิ รรม ประธาน กรรมการ IOD ได้ให้เกียรติมากล่าวเปิ ดการประชุม ซึ่งท่านได้ น� ำเสนอว่า IOD ได้จดั ท�ำแนวปฏิบตั ทิ ด่ี ใี นการสรรหาและแต่งตัง้ กรรมการออกมาเผยแพร่ตงั ้ แต่ปี 2549 และเคยจัดการประชุม Directors Forum เรื่องแนวปฏิบตั ิท่ีดีในการสรรหาและแต่งตัง้ กรรมการในปี 2553 เพื่อ ให้ก รรมการสามารถใช้เ ป็ น แนวทาง ในการสรรหากรรมการทีเ่ หมาะสมกับองค์กรของตน แต่ในระยะเวลา ทีผ่ า่ นมา แม้แนวความคิดและการปฏิบตั เิ กีย่ วกับกระบวนการสรรหา กรรมการในประเทศไทยจะมีการพัฒนาจากเดิม ไม่ว่าจะเป็ นเรื่อง การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับกรรมการที่ถูกเสนอชื่อในหนังสือเชิญ ประชุมผูถ้ อื หุน้ ทีใ่ ห้รายละเอียดครบถ้วนเพียงพอต่อการตัดสินใจของ ผูถ้ อื หุน้ มากขึน้ ซึง่ จากผลส�ำรวจจากโครงการ CGR ปี 2555 พบว่า มีถงึ ร้อยละ 70 ของบริษทั จดทะเบียนทีม่ กี ารด�ำเนินการในเรื่องนี้ และยังพบว่า ร้อยละ 67 ของบริษทั จดทะเบียนมีการเปิดโอกาสให้ ผูถ้ อื หุน้ สามารถเสนอชือ่ กรรมการได้ลว่ งหน้า แต่อย่างไรก็ตาม กลับ พบว่า มีผถู้ อื หุน้ รายย่อยใช้สทิ ธิในการเสนอชือ่ กรรมการนี้น้อยมาก

As a consequence, she explained that efforts were being made to promote the role of small shareholders in the nomination of directors. This was in accordance with the Board Member Nomination and Election Report of the Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD) which stated the importance of that issue, especially for the companies that had controlling shareholders. She explained that in the changing environment, the challenge for a nomination committee was to nominate directors by considering their expertise in accordance with the vision and strategy of the

ดังนัน้ จึงมีความพยายามในการส่งเสริมบทบาทของผูถ้ อื หุน้ รายย่อยในการสรรหากรรมการมากขึน้ ซึง่ สอดคล้องกับรายงาน Board Member Nomination and Election ของ OECD ทีพ่ บว่า เรือ่ ง ดังกล่าวยังคงเป็ นประเด็นทีค่ วรให้ความส�ำคัญมากขึน้ โดยเฉพาะ ส�ำหรับบริษทั ทีม่ ี Controlling Shareholders และในภาวะการณ์ท่ี มีการเปลีย่ นแปลงอย่างต่อเนื่องเช่นนี้ ก็มปี ระเด็นท้าทายส�ำหรับ คณะกรรมการสรรหาทีจ่ ะต้องให้ความส�ำคัญกับการสรรหากรรมการ โดยพิจารณาจากความเชีย่ วชาญทีต่ อ้ งสอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ และ กลยุทธ์ทบ่ี ริษทั ก�ำหนดไว้มากขึน้ ซึง่ เรื่องนี้ถอื เป็ นแนวโน้มใหม่ท่ี กรรมการควรให้ความสนใจ

 < Board Briefing


company. This was a new trend for nomination committee. Mrs. Rongruja Saicheua, Executive Vice-President of IOD presented interesting information from the principles of Good Corporate Governance of OECD and the investment policy of International Corporate Governance Network (ICGN), which emphasized the importance of director nominations. The process should be transparent and involve full participation from the shareholders. However, according to the Board Member Nomination and Election report of OECD, which entailed studying practices in director nominations in Indonesia, South Korea, the Netherlands and the United States, the challenging issues for this practice were: (1) the rights and participation of shareholders in the process to nominate and elect directors; and (2) to make this practice uniform. In Thailand, according to the Corporate Governance Report of Thai Listed Companies 2012, 52% of Thai listed companies had a nomination committee. Taking into account only listed companies that hold a five-star ranking or are members of the excellence group in 2012, a total of 59 companies, or 71% of them had a nomination and remuneration committee and only 10% had a nomination and corporate governance committee. Regarding shareholder participation, only 59% of all listed companies allowed the shareholders to nominate the directors in advance while, in practice, small shareholders rarely utilized that right. Mrs. Rongruja also listed the following trends pertaining to the nomination of directors; 1. The nomination committee and corporate governance committee are serving as one committee. The practice of nominating a director should not be based on a short-term vision but be viewed from a long-term perspective in accordance with the direction of the organization. Thus, these two committees should be combined in order to ensure the company is working towards the same vision. 2. Shareholders are playing a more active role in the nomination and election of directors through the following practices: - Nominating the directors in advance - Having access to detailed information about the candidates - Voting on an individual basis - Communication with each - Substituting the conventional voting system with

นอกจากนี้นางรงค์รจุ า สายเชือ้ รองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ IOD ยังได้น�ำเสนอข้อมูลทีน่ ่าสนใจจากหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ของ OECD และ แนวนโยบายในการพิจารณาลงทุนของ International Corporate Governance Network (ICGN) ทีล่ ว้ นให้ความส�ำคัญ กับการสรรหากรรมการว่า เป็ นกระบวนการทีม่ คี วามส�ำคัญ จะต้อง ด�ำเนินการอย่างโปร่งใสและให้สทิ ธิกบั ผูถ้ อื หุน้ ในการเข้ามามีส่วน ร่วมอย่างเต็มที่ อย่างไรก็ตาม จากรายงาน Board Member Nomination and Election ของ OECD ได้ศกึ ษาถึงการปฏิบตั จิ ริงในการสรรหา กรรมการใน 4 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ เนเธอร์แลนด์ และสหรัฐอเมริกา พบว่า มีประเด็นท้าทายในการสรรหากรรมการ ทีค่ วรให้ความส�ำคัญ ได้แก่ 1. การให้สทิ ธิและการมีส่วนร่วมของ ผูถ้ อื หุน้ ในกระบวนการสรรหาและคัดเลือกกรรมการ 2. กระบวนการ สรรหากรรมการในปจั จุบนั ยังไม่มแี บบแผนทีช่ ดั เจน ในส่วนของประเทศไทยนัน้ จากรายงานผลส�ำรวจการ ก�ำกับดูแลกิจการบริษทั จดทะเบียนไทยประจ�ำปี 2555 พบว่า มี ร้อยละ 52 ของบริษทั จดทะเบียนไทยทีม่ กี ารจัดตัง้ คณะกรรมการ สรรหา ซึ่ ง หากพิจ ารณาเฉพาะในกลุ่ ม ที่ ไ ด้ ค ะแนนในระดับ ดีเลิศหรือ 5 ดาวในปี 2555 ซึง่ มีจำ� นวนทัง้ สิน้ 59 บริษทั พบว่า ส่วนใหญ่รอ้ ยละ 71 จะจัดตัง้ เป็ นคณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทน มีเพียงร้อยละ 10 ทีจ่ ดั ตัง้ คณะกรรมการสรรหาและ ก�ำกับดูแลกิจการ ส่ ว นเรื่อ งการเปิ ด โอกาสให้ผู้ถือ หุ้น สามารถเสนอชื่อ กรรมการได้ลว่ งหน้านัน้ IOD พบว่า มีเพียงร้อยละ 59 ของบริษทั จดทะเบียนทัง้ หมดทีม่ กี ารด�ำเนินการในเรือ่ งนี้ แต่ในทางปฏิบตั กิ ลับ ไม่คอ่ ยมีผถู้ อื หุน้ รายย่อยใช้สทิ ธิน้ี นางรงค์ รุ จ า สายเชื้อ ยัง ได้ น� ำ เสนอถึง แนวโน้ ม ของ การสรรหากรรมการทีจ่ ะปรับเปลีย่ นไป ดังนี้ 1. คณะกรรมการสรรหาและคณะกรรมการก� ำกับดูแล กิจการควรจะเป็ นชุดเดียวกัน เนื่ อ งจากการสรรหามิไ ด้เ ป็ น การมองในระยะสัน้ แต่ ต้องมองไปในระยะยาว และต้องสอดคล้องกับทิศทางทีอ่ งค์กรจะ ด�ำเนินไป ดังนัน้ ทัง้ สองชุดนี้จงึ ควรเป็ นชุดเดียวกัน เพือ่ ให้มองภาพ ไปในทิศทางเดียวกัน และสามารถสรรหากรรมการทีม่ คี ุณสมบัติ เหมาะสมมาเติมเต็มส่วนทีข่ าดหายไป 2. การเข้ามามีบทบาทมากขึน้ ในการสรรหาและแต่งตัง้ กรรมการของผูถ้ อื หุน้ เช่น - การเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเสนอชือ่ กรรมการ ล่วงหน้า - การเปิ ดเผยข้อมูลอย่างละเอียดของผูท้ ถ่ี ูกเสนอชื่อ เป็ นกรรมการ - การลงคะแนนคัดเลือกกรรมการเป็ นรายบุคคล - การอ�ำนวยความสะดวกให้ผูถ้ อื หุน้ สามารถติดต่อ สือ่ สารระหว่างกันได้

Board Briefing > 


> Board Briefing - การใช้ Cumulative Voting Mechanism แทนระบบ การลงคะแนนในปจั จุบนั - การเข้ามีบทบาทของนักลงทุนสถาบันในการสรรหา และคัดเลือกกรรมการมากขึน้

a cumulative voting mechanism - Institutional investors are becoming more involved in the process 3. To ensure transparency and formalization of the nomination process, the following must be considered: - The policy, guideline and practice of the process must be systemic and open to the public. - The nomination committed must be comprised of independent directors. - Other sources, aside from directors, such as a human resources company or the Independent Directors Pool of IOD, must be tapped to seek candidates. During the meeting, Mr. Chainarong Indharameesup, Chairman of a Board of Director of Boyden Associate (Thailand) Limited Company led a discussion on the topic. The other participants were Mr. Somkiat Sukdheva, Chairman of the Nomination Committee of Thanachart Capital Public Company Limited, Associate Professor Sathit Parniangtong, Chairman of the Nomination and Remuneration Committee of Pathum Rice Mill and Granary Public Limited Company and Dr. Veerachai Khuprasert, Director of Foundation for International Human Resource Development took place. were:

The interesting points brought up in the discussion

- The nomination and election of directors is an important process. Therefore, every company is encouraged to establish a nomination committee. Some 56% of the meeting participants agreed with the view that a company's nomination committee and corporate governance committee should merged into one committee. The nomination committee and corporate governance committee should merge into one committee.

Agree Not Agree

 < Board Briefing

3. การดูแลให้มกี ระบวนการสรรหาที่เป็ นทางการและ โปร่งใส - การก�ำหนดให้มกี ระบวนการสรรหาและคัดเลือก กรรมการอย่า งเป็ น ระบบ และเปิ ด เผยทัง้ นโยบาย แนวทางและการปฏิบตั จิ ริงทัง้ หมดสูส่ าธารณชน - การพิจารณาจัดตัง้ Nomination Committee ที่ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ - การพิจารณาใช้ Source of Directors อืน่ นอกจาก คนรูจ้ กั ของกรรมการหรือผูบ้ ริหาร อาทิ ว่าจ้างบริษทั สรรหากรรมการ หรือ Independent Directors Pool ของ IOD ในการประชุมนี้ยงั จัดให้มกี ารเสวนาในเรื่องการสรรหา กรรมการ โดยได้รบั เกียรติจากนายสมเกียรติ ศุขเทวา ประธาน กรรมการสรรหา บริษทั ทุนธนชาต จ�ำกัด (มหาชน) รศ.ดร.สาธิต พะเนียงทอง ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษทั ปทุมไรซมิล แอนด์ แกรนารี่ จ�ำกัด (มหาชน) และดร.วีรชัย กูป้ ระเสริฐ กรรมการ มูล นิ ธิพ ฒ ั นาทรัพ ยากรมนุ ษ ย์ร ะหว่ า งประเทศ เป็ น ผูอ้ ภิปราย และด�ำเนินการอภิปรายโดย นายชัยณรงค์ อินทรมีทรัพย์ ประธานกรรมการ บริษทั บอยเดน แอสโซซิเอทส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

จากการเสวนา ท�ำให้ได้รบั มุมมองทีส่ นใจ ดังนี้

- การสรรหาและคัด เลือ กกรรมการเป็ น กระบวนการ ที่ม ีค วามส�ำ คัญ ดัง นัน้ จึง ควรส่ง เสริม ให้ทุ ก บริษัท จดทะเบีย นมี การจัดตัง้ คณะกรรมการสรรหา ทัง้ นี้ผเู้ ข้าประชุมร้อยละ 56 เห็นด้วย ทีค่ ณะกรรมการสรรหาและคณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการควรเป็ น คณะกรรมการชุดเดียวกัน Does the cummulative voting will be the machanism for small shareholders to practice their right in the election of directors?

Yes No Not Sure


Do you agree that the director should set the policy about director's nomination that is in accordance with the company's strategy ?

What are the most important qualification and skills of desired directors? (1= most important, 4= least important)

Agree Not Agree Not Sure - An important problem regarding the nomination of a director is that the influences of large shareholders often obstruct the process to nominate qualified directors. Although small shareholders are allowed to nominate directors in advance, they rarely use that right. As a consequence, small shareholders should be encouraged to be more active in this process. Moreover, 53% of the meeting participants agreed that cumulative voting would be the mechanism for small shareholders to practice their right in the election of directors. - The official nomination process is an important problem. Most companies have yet to set a clear policy and process for electing directors or compose a list of qualifications that are required for the position. Some 93% of the meeting participants agreed that the director should set nomination policy that is in accordance with the strategy of the company. Regarding the qualifications and skills of desired directors, the following are indicated by the meeting participants ranked by importance: (1) knowledge and experience in the industry of the company; (2) suitability with the strategy of the company; (3) leadership; and (4) good reputation. At the conclusion of the forum, Mr. Chainarong spoke about the research conducted by the International Institute for Management Development (IMD). For a company suffering from losses, he indicated that a nomination committee could prevent future losses in the company by looking outside the box in consideration of all shareholders and stakeholders. Research has showed that most committees overlooked important stakeholders and that sometimes, it was too late for them to fix the problem. In some cases, the executive had tried to solve the problem but had not succeeded because some issues concerned both the executives and committee. In addition, directors that lack expertise in their industry were one of the causes of failure in management. The role of the committee had changed considerably, making the nomination and election of directors important for sustainable development of the company.

knowledge & experience in the industry suitability with the strategy of the company leadership good reputation. - ปญั หาทีส่ ำ� คัญของการสรรหากรรมการในปจั จุบนั ได้แก่ อิทธิผลของผูถ้ อื หุ้นรายใหญ่ท�ำให้ไม่สามารถสรรหากรรมการได้ ตามเกณฑ์ทก่ี �ำหนด ซึ่งถึงแม้ว่า ปจั จุบนั จะมีการเปิ ดโอกาสให้ผู้ ถือหุน้ รายย่อยสามารถเสนอชือ่ กรรมการได้ล่วงหน้า แต่กลับไม่ได้ รับความสนใจเท่าทีค่ วร ดังนัน้ ควรสนับสนุ นให้ผถู้ อื หุน้ รายย่อยมี บทบาทในเรือ่ งนี้มากขึน้ ทัง้ นี้ผเู้ ข้าประชุมร้อยละ 53 ได้แสดงความ คิดเห็นว่า วิธกี ารลงคะแนนเสียงแบบสะสม (Cumulative Voting) จะ เป็ นกลไกให้ผถู้ อื หุน้ รายย่อยมีสทิ ธิในการเลือกตัง้ กรรมการเพิม่ ขึน้ - การขาดกระบวนการสรรหาทีเ่ ป็นทางการ ถือเป็นอีกหนึ่ง ปญั หาทีส่ ำ� คัญ ซึง่ ส่วนใหญ่ยงั ไม่มกี ารก�ำหนดนโยบาย กระบวนการ คุ ณ สมบัติข องกรรมการที่จ ะสรรหาอย่า งชัด เจน ทัง้ นี้ ท่ีป ระชุ ม ร้อยละ 93 เห็นด้วยว่า ควรมีการก�ำหนดนโยบายของการสรรหา กรรมการให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ของบริษทั โดยในกรณีทต่ี อ้ งการ จะก�ำหนดคุณสมบัตแิ ละทักษะของกรรมการทีต่ อ้ งการ ทีป่ ระชุมได้ให้ ความส�ำ คัญ กับ ป จั จัย ต่ า ง ๆ ตามล� ำ ดับ ดัง นี้ 1. ความรู้แ ละ ประสบการณ์เกีย่ วกับอุตสาหกรรม 2. ความเหมาะสมกับกลยุทธ์ของ บริษทั 3. ภาวะผูน้ �ำ 4. เป็ นผูม้ ชี อ่ื เสียง ในช่วงท้ายของการเสวนา คุณชัยณรงค์ได้กล่าวถึงผลงาน วิจยั ของ International Institute for Management Development (IMD) ว่า สิง่ หนึ่งทีท่ ำ� ให้คณะกรรมการสามารถป้องกันความเสียหาย จากอนาคตได้ คือ คณะกรรมการควรมองนอกกรอบ ไม่ใช่บทบาท หน้าทีใ่ นทีป่ ระชุมเท่านัน้ แต่ควรค�ำนึงถึง ผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ่วนได้ เสียทุกกลุม่ ซึง่ ผลการวิจยั แสดงว่า คณะกรรมการส่วนใหญ่มองข้าม ผูม้ สี ว่ นได้เสียทีส่ ำ� คัญ ซึง่ กว่าทีค่ ณะกรรมการจะรับทราบถึงปญั หา บางครัง้ ก็ยากเกินกว่าที่จะแก้ไขได้ และบางกรณีฝ่ายบริหารได้ พยายามแก้ไขแล้ว แต่ไม่ประสบผลส�ำเร็จเท่าไรนัก เนื่องจากเรือ่ ง บางเรื่องเป็ นเรื่องทีเ่ กี่ยวข้องกับทัง้ คณะกรรมการและฝ่ายบริหาร นอกจากนี้ การไม่มคี วามเชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมที่ตนเองเป็ น กรรมการอยู่ถอื เป็ นอีกสาเหตุหนึ่งของความล้มเหลวในการบริหาร จัดการ ซึง่ บทบาทของคณะกรรมการในปจั จุบนั นัน้ ได้เปลีย่ นแปลง ไป ดังนัน้ การสรรหาและคัดเลือกกรรมการจึงถือเป็ นสิง่ ส�ำคัญใน การพัฒนาบริษทั ให้เกิดความยังยื ่ นต่อไป

Board Briefing > 


> Board Briefing Attracting the Investment from

Institutional InvestorS Institutional investors in the United States and Europe have been playing a role in promoting the development of Corporate Governance (CG) since the OECD Principles on Corporate Governance were released in 1999. However, in Thailand and other Asian countries, institutional investors have showed little interest in CG as they mainly focus on quantitative data, such as company performance and returns of the stock. Promoting the role of institutional investors in developing CG is now seen as challenge for Asian countries. In addition, the ASEAN CG Scoreboard, which is an assessment of CG of registered companies in ASEAN, also includes a criteria for institutional investors.. The current topic seminar organized by IOD on 26 February 2013 was entitled "Attracting Investment from Institutional Investor". The aim of the seminar was to raise awareness among Thai institutional investors and registered companies on this prominent issue. The institutional investors were informed about the importance of their role in the development of CG of Thai registered companies and the registered companies were enlightened about the expectations of institutional investors with regards to the the compliance of a company's CG. During the seminar, Mr. David Smith, Head of Corporate Governance of Aberdeen Asset Management Asia Limited, an investment firm with overseas holdings, gave a presentation on the the topic "Investing Globally on the Importance of Corporate Governance". He explained that more institutional investors were taking in consideration the CG of a company when making an investment. For example, he said that instituional investors were looking at such matters as the major shareholders and directors of the company while taking into account financial and non-financial information. As a consequence, he noted that more companies were paying attention to the development of CG. CG in ASEAN has developed apperciably in recent years, especially after the financial crisis. Most registered companies now conduct business in compliance with CG principles. Moreover, this has led to more regulations to protect the rights of small shareholders and the use of a new accounting standard. Last year an assessment from CG Watch Survey in 2012 showed an marked progress in implementing CG in Thailand, with the coutry was ranked 3rd after Singapore and

 < Board Briefing

การเข้า มามีบ ทบาทในการส่ ง เสริม ให้เ กิด การพัฒ นา การก�ำกับดูแลกิจการโดยนักลงทุนสถาบันผ่านการลงทุน อาจจะ ไม่ใช่เรื่องใหม่ในต่างประเทศ โดยเฉพาะในแถบสหรัฐอเมริกาและ ยุโรป เนื่องจากมีการด�ำเนินการมานาน 10 กว่าปี แล้ว นับตัง้ แต่ม ี การก�ำหนด OECD Principles on Corporate Governance ตัง้ แต่ ปี 2542 แต่สำ� หรับแถบเอเชีย ซึง่ รวมถึงประเทศไทย บทบาทของ นักลงทุนสถาบันทีม่ กี ารพัฒนา CG และการน� ำเรื่อง CG มาเป็ น ประเด็นหนึ่งในการพิจารณาลงทุนกลับยังไม่ได้รบั ความสนใจมาก นัก โดยมักจะเน้นให้ความส�ำคัญกับข้อมูลในเชิงตัวเลข เช่น พิจารณา เฉพาะผลประกอบการ ผลตอบแทนทีไ่ ด้จากหุน้ เท่านัน้ ปจั จุบนั จึงเกิดความพยายามในหยิบยกปญั หานี้มาเป็ น ประเด็นท้าทายส�ำหรับประเทศในแถบเอเชียว่า จะต้องส่งเสริมและ สนับสนุนให้นกั ลงทุนสถาบันเข้ามามีบทบาทมากขึน้ รวมถึง ASEAN CG Scorecard ซึง่ เป็ นการประเมินการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั จดทะเบียนในแถบอาเซียน ก็ได้มกี ารก�ำหนดหลักเกณฑ์ทเ่ี กีย่ วข้อง กับนักลงทุนสถาบันด้วย ด้วยเหตุทป่ี ระเด็นนี้ถอื เป็ นประเด็นท้าทายและถูกก�ำหนด ให้เป็ นแนวปฏิบตั ทิ ด่ี ี IOD จึงได้จดั สัมมนา Current Issue Seminar ในหัวข้อ “Attracting the Investment from Institutional Investors” ขึน้ เมือ่ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2556 เพือ่ กระตุน้ ให้ทงั ้ นักลงทุนสถาบัน ไทยและบริษัทจดทะเบียนไทยตระหนักถึงเรื่องนี้ โดยนักลงทุน สถาบันจะได้รบั ทราบถึงความส�ำคัญในการแสดงบทบาทของตนเองที่ มีตอ่ การพัฒนา CG ของบริษทั จดทะเบียนไทย และบริษทั จดทะเบียน เอง ก็จะได้ทราบถึงความคาดหวังทีน่ กั ลงทุนสถาบันมีต่อการปฏิบตั ิ ตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั ในงานสัมมนานี้ มีการน�ำเสนอมุมมองของนักลงทุนสถาบัน ต่างประเทศ โดย Mr. David Smith ซึง่ เป็ น Head of Corporate Governance ของ Aberdeen Asset Management Asia Limited ในหัวข้อ “Investing Globally on the Importance of Corporate Governance” ซึ่ง Mr. David Smith ได้น�ำเสนอว่า ในปจั จุบนั นักลงทุนสถาบันได้ให้ความส�ำคัญกับการพิจารณาเรื่องการก�ำกับ ดูแ ลกิจ การของบริษัท ประกอบการตัด สิน ใจลงทุ น มากขึ้น เช่น การพิจารณาว่า ใครเป็ นเจ้าของธุรกิจ การท�ำรายการระหว่างกันเป็ น อย่างไร ใครคือกรรมการอิสระ รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลทัง้ ทางด้าน การเงินและไม่ใช่การเงิน เป็ นต้น ท�ำให้บริษทั ต่างๆ ต้องหันมาให้ ความส�ำคัญกับการพัฒนาการก�ำกับดูแลกิจการมากขึน้ หากพิจารณาถึงการก�ำกับดูแลกิจการในภูมภิ าคอาเซียน จะเห็นว่า มีพฒ ั นาการทีด่ ขี น้ึ โดยเฉพาะภายหลังเกิดวิกฤตการณ์ ทางการเงิน ซึง่ บริษทั จดทะเบียนส่วนใหญ่มกี ารด�ำเนินธุรกิจตาม หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ มี ากขึน้ นอกจากนี้ยงั เป็นผลมาจากการ ออกกฎระเบียบใหม่ๆ เพือ่ มาปกป้องสิทธิของผูถ้ อื หุน้ รายย่อย รวม


Hong Kong. However, various issues still need to be addressed in this area, namely the strict compliance with the CG principles, information disclosure of practices, policy and principles, quality of disclosure of financial and non-financial information, transparency and suitability of transactions, independence and performance of independent directors and the strict enforcement of laws and regulations. Mr. David Smith summarized his presentation by saying that in the future, the quality of CG, such as a creating an organization culture that fosters compliance with good GG and knowledge and skills of the directors in accordance with the company business, would become a more important issue. Ms. Wirawan Munnapinun, Assistant Vice President of the Research and Policy Department, IOD, presented a summary of the results of a survey of Thai institutional investors on the the role of institutional investor on CG in Thailand. IOD had distributed 320 questionnaires on this topic and received only 46 responses. Of that number, 57% of the survey respondents were from insurance and assurance companies, 30% were from fund companies and 13% were from securities companies. Regarding the survey respondents from the fund companies, most respondents were from companies that handled mutual funds and provident funds. The low response level implies that there was low interest among Thai institutional investors regarding CG. Ms. Wirawan Munnapinun cited the following important issues from the survey:

Please rank how much CG is important factor when institutional investor consider in investing in a company

Least Less Neutral Much Most

ถึงการจัดท�ำมาตรฐานบัญชีใหม่ เป็ นต้น ซึง่ จากผลของการประเมิน CG Watch ในปี 2555 ประเทศไทยก็มพี ฒ ั นาการทีด่ ขี น้ึ โดยถูกจัด อันดับเป็ นอันดับที่ 3 รองจากสิงคโปร์ และฮ่องกง ตามล�ำดับ อย่างไรก็ตาม ก็ยงั มีหลากหลายประเด็นที่ควรพัฒนา อาทิเช่น การปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการอย่างจริงจัง และ เปิ ด เผยถึง สิ่ง ที่ไ ด้ป ฏิบ ตั ิไ ว้อ ย่า งชัด เจนนอกเหนื อ จากที่ไ ด้เ ปิ ด เผยนโยบายและหลักการไว้แล้ว คุณภาพของการเปิ ดเผยข้อมูล ทัง้ ที่เป็ นการเงินและไม่ใช่การเงิน ความชัดเจนและเหมาะสมใน การท�ำรายการระหว่างกัน ความเป็ นอิสระและการปฏิบตั งิ านของ กรรมการอิสระ การบังคับใช้กฎหมายและกฎเกณฑ์ทเ่ี ข้มงวด เป็นต้น Mr. David Smith ได้สรุปทิง้ ท้ายว่า ในอนาคต จะมีการ ให้ความส�ำคัญกับ Soft Issue มากขึน้ กล่าวคือ การให้ความส�ำคัญ กับคุณภาพของการก�ำกับดูแลกิจการเป็ นหลัก เช่น การสร้างให้เกิด วัฒนธรรมองค์กรในเรื่องการปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการ อย่างจริงจัง ทักษะความรูข้ องกรรมการทีเ่ หมาะสมกับการด�ำเนิน ธุรกิจของบริษทั เป็ นต้น นอกจากนี้ IOD ได้น�ำเสนอผลสรุปทีไ่ ด้จากการส�ำรวจความ คิดเห็นของนักลงทุนสถาบันไทย เรือ่ ง “The Role of Institutional Investor on Corporate Governance in Thailand” ด้วย โดย นางวีรวรรณ มันนาภินนั ท์ รองผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ–วิจยั และ นโยบาย สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ได้น�ำเสนอว่า IOD ได้สง่ ออกแบบส�ำรวจจ�ำนวน 320 ชุด และมีผตู้ อบแบบส�ำรวจ จ�ำนวน 46 ชุด ซึง่ ร้อยละ 57 มาจากบริษทั ประกัน ทัง้ ประกันภัย และประกัน ชีว ิต รองลงมาเป็ น กองทุ น ร้อ ยละ 30 และบริษัท หลักทรัพย์ ร้อยละ 13 ทัง้ นี้ในส่วนของกองทุนจะประกอบด้วยกองทุน รวม และกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพเป็ นส่วนใหญ่ ซึง่ อาจแสดงให้เห็นว่า นักลงทุนสถาบันไทยยังไม่คอ่ ยให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งการก�ำกับดูแล กิจการเท่าใดนัก นางวีรวรรณ มันนาภินนั ท์ ได้น�ำเสนอประเด็นส�ำคัญจาก ผลส�ำรวจนี้ ดังนี้ ความส�ำคัญของการก�ำกับดูแลกิจการต่อการลงทุน

- นักลงทุนสถาบันส่วนใหญ่รอ้ ยละ 82 ให้ความส�ำคัญ กับการก�ำกับดูแลกิจการของบริษัทที่จะตัดสินใจลงทุน ในระดับ มาก-มากทีส่ ดุ ทัง้ นี้ผตู้ อบแบบส�ำรวจทัง้ หมดระบุวา่ ได้น�ำเรือ่ งการ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ มี าเป็ นประเด็นหนึ่งในการพิจารณาตัดสินใจ ลงทุน แต่มเี พียงร้อยละ 43 เท่านัน้ ทีล่ งทุนในบริษทั โดยพิจารณา เฉพาะเรือ่ งการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ เี ท่านัน้ ในส่วนของมุมมองของนักลงทุนสถาบันทีม่ กี ารจัดล�ำดับ ความส�ำคัญของการปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ตี าม หลักการของ OECD 5 หมวดนัน้ นักลงทุนสถาบันได้แสดงความคิด เห็นว่า หมวดทีม่ ผี ลต่อการพิจารณาเลือกลงทุนมากทีส่ ดุ คือ หมวด การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส โดยมีผตู้ อบร้อยละ 81 รองลงมา คือ หมวดความรับผิดชอบของคณะกรรมการ มีผตู้ อบร้อยละ 52 ซึง่ สอดคล้องกับการให้ความส�ำคัญกับปจั จัยในการพิจารณาลงทุน โดย นักลงทุนสถาบันร้อยละ 60 ให้ความส�ำคัญกับคุณภาพของรายงาน การเงินเป็ นหลัก

Board Briefing > 


> Board Briefing The importance of corporate governance for the investment

What is the most significant OECD CG principles that intuitional investors concern when choosing the company to invest in?

- 82% of Thai institutional investors took CG into account before they made an investment decision. Good GG was a factor that all institutional investors took into account for their investments, but only 43% them invested in the companies after considering only good CG.

Disclosure and Transparency

When asked to rank the good CG principles of OECD by importance, institutional investors indicated that information disclosure and transparency was the most important category with 81% of the survey respondents listing it first, followed by the responsibility of the board of directors. Also, 60% of the institutional investors considered the quality of a financial report as the most important factor when making an investment decision.

The Equitable Treatment of Shareholders

Assesment of of institutional investors on the CG of Thai companies. Regarding a question on the ability of Thai companies to comply with good CG principles, a majority of the respondents, approximately 55%, were of the view that Thai companies could comply with GG at a medium level. According to the respondents, the important issues that need to be addressed more effectively in that area are: (1) doing business in a way that takes into account all stakeholders (83%); (2) quality of financial information disclosure (75%); (3) quality of non-financia information disclosure (73%); (4) independence of directors (60%); and (5) diversity of directors (50%). The ability of Thai companies to comply with good CG principles

The Responsibilities of the Board The Role of Stakeholders The Rights of Shareholders

What is the most important factor when making an investment decision? Quality of Financial Report Company Image Executives Reputation Directors Reputation Others มุมมองของนักลงทุนสถาบันที่มีต่อการก�ำกับดูแลกิจการของ บริษัทไทย

เมื่ อ สอบถามถึ ง มุ ม มองที่ นั ก ลงทุ น สถาบั น มี ต่ อ ความสามารถในการปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี อง บริษทั ไทย พบว่า ส่วนใหญ่รอ้ ยละ 55 เห็นว่า บริษทั ไทยยังสามารถ ปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ไี ด้ในระดับปานกลาง ซึ่ง ประเด็นที่นักลงทุนสถาบันเห็นว่า บริษัทไทยควรพัฒนา ได้แก่ อันดับ 1 คือ การด�ำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทุกกลุม่ (มีผตู้ อบร้อยละ 83) อันดับ 2 คือ คุณภาพของการเปิดเผย ข้อมูลทางการเงิน (มีผตู้ อบร้อยละ 75) อันดับ 3 คือ คุณภาพของ การเปิดเผยข้อมูลทีไ่ ม่ใช่ทางการเงิน (มีผตู้ อบร้อยละ 73) และอันดับ 4 คือ ความเป็ นอิสระของกรรมการ (มีผตู้ อบร้อยละ 60) และอันดับ 5 คือ ความหลากหลายของกรรมการ (มีผตู้ อบร้อยละ 50) บทบาทของนักลงทุนสถาบันกับการพัฒนาการก�ำกับดูแลกิจการ ของบริษัท

Least Less Neutral Much Most What are the CG principles implementation that Thai company should be improved?

The Responsibilities to Stakeholders Financial Information Disclosure Non-Financial Information Disclosure Independence of Director Director Composition Conducting Annual General Meeting Directors and Executives Compensation Others

- นักลงทุนสถาบันส่วนใหญ่มองเห็นถึงความส�ำคัญใน บทบาทของตนเองที่ม ตี ่ อ การพัฒ นาการก�ำ กับ ดูแ ลกิจ การ โดย มีผู้ต อบถึง ร้อ ยละ 76 ที่ร ะบุ ว่ า นั ก ลงทุ น สถาบัน มีบ ทบาทใน การพัฒนาการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั ในระดับมาก-มากทีส่ ดุ - ปจั จุบนั นักลงทุนสถาบันส่วนใหญ่ ถึงร้อยละ 59 มี การก�ำหนดนโยบายเกีย่ วกับการพิจารณาเรือ่ งการก�ำกับดูแลกิจการ ของบริษทั ทีจ่ ะเข้าไปการลงทุนไว้แล้ว และเป็ นทีน่ ่าสนใจว่า ในส่วน ของนั ก ลงทุ น สถาบัน ที่ย ัง ไม่ ไ ด้ ม ีก ารก� ำ หนดนโยบาย แต่ ก็ ม ี การวางแผนทีจ่ ะศึกษานโยบายของนักลงทุนสถาบันขนาดใหญ่ใน ต่างประเทศ เพือ่ น�ำมาก�ำหนดเป็ นนโยบายของตนเอง ร้อยละ 26

The role of institutional investors in the development of company CG

นางวีรวรรณ มันนาภินนั ท์ ได้สรุปภาพรวมของผลส�ำรวจ นี้ ดังนี้

Most institutional investors believed that they should participate in efforts to develop good CG in the companies that they had invested in. Some 76% of the survey respondents indicated that institutional investors played an important role in

1.นักลงทุนสถาบันไทยเริม่ น�ำ CG มาเป็ นประเด็นหนึ่งใน การพิจารณาตัดสินใจลงทุน และเริม่ แสดงบทบาทในการส่งเสริม CG แต่ยงั ไม่แพร่หลาย ทุกภาคส่วนจึงควรให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง

 < Board Briefing


the development of CG at much and most levels. A majority of the respondents, approximatley 59%, indicated that their firms had a policy to consider the CP of a company's before investing in it. Interestingly, some of the respondents (26%) that had no such policy noted that they planned to study the policies of large institutional investors in other countries as input for setting this policy at their own firm (26%). Ms. Wirawan summarized the resutls of the survey as follows: 1. Thai institutional investors had started to consider the CG of a company for investment purposes and to play a role in promoting CG. However, all parties must support CG continuously to make it more widely implemented. 2. Thai companies need to improve their compliance with CG principles, especially with regard to conductiing business in a way that takes into account all stakeholders and the quality of information disclosure in order to attract investment from the institutional investors.. Following Ms. Wirawan's presentition, Dr. Somjin Sornpaisarn, Managing Director of TMB Asset Management Company Limited, Mr. Yingyong Nilsena, Deputy Secretary General of Fund Operation Group of Thailand Pension Fund, Mr Win Prompat, Chairman of Investment Group, Office of Investment Management, Social security Office participated in a discussion, which was led by Ms. Voravan Tarapoom, Chief Executive Officer of BBL Asset Management Company Limited,. The important issues from the discussions can be summarized as follow:

The role of Thai institutional investors in promoting good CG The low number of survey respondents implied that institutional investors had limited interest in corporate governance. Dr. Somjin suggested that Thai institutional investors cooperate with each other to promote that issue and that IOD might lead an effort to encourage Thai registered companies to take greater interest in CG.

Least Less Neutral Much Most

2.บริษทั ไทยยังต้องพัฒนาการปฏิบตั ติ ามหลักการ CG อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการด�ำเนินธุรกิจ โดยค�ำนึงถึงผูม้ สี ว่ นได้ เสียทุกกลุม่ คุณภาพของการเปิดเผยข้อมูล เพือ่ ดึงดูดความสนใจใน การลงทุนจากนักลงทุนสถาบันต่อไป Does the institutional investor has set the policy to concern the corporate governance issue as one factors of investment decesion

No Others

No but study the foreign institutional investor policies

No but plan to do in the future Yes and has set literally policy

ในช่วงของการอภิปรายนัน้ IOD ได้รบั เกียรติจาก ดร.สมจินต์ ศรไพศาล กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวม ทหารไทย จ�ำกัด นายยิง่ ยง นิลเสนา รองเลขาธิการ กลุม่ งานบริหาร เงินกองทุน กองทุนบ�ำเหน็ จบ�ำนาญข้าราชการ นายวิน พรหม แพทย์ หัวหน้ากลุ่มงานลงทุน ส�ำนักบริหารการลงทุน ส�ำนักงาน ประกันสังคม มาเป็ นผูน้ �ำการอภิปราย และด�ำเนินการอภิปรายโดย นางวรวรรณ ธาราภูม ิ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั หลักทรัพย์ จัดการกองทุนรวม บัวหลวง จ�ำกัด ซึง่ สามารถสรุปประเด็นทีส่ ำ� คัญ ได้ ดังนี้ บทบาทของนักลงทุนสถาบันไทยในการส่งเสริมการก�ำกับดูแล กิจการที่ดี

จากที่ม ีจ� ำ นวนผู้ต อบแบบส� ำ รวจน้ อ ย ซึ่ง สะท้อ นว่ า นักลงทุนสถาบันไทยยังให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งการก�ำกับดูแลกิจการ ทีด่ ไี ม่มากนักนัน้ ดร.สมจินต์ ศรไพศาล มีความเห็นว่า กลุม่ นักลงทุน สถาบันไทยควรจะรวมพลังกัน และต้องร่วมมือกันในการผลักดัน เรือ่ งนี้ โดยอาจให้ IOD เป็ นแกนน�ำกระตุน้ ให้กลุม่ นักลงทุนสถาบัน มีบทบาทมากขึน้ ในเรื่องการให้ความส�ำคัญเกีย่ วกับการก�ำกับดูแล กิจการของบริษทั จดทะเบียนไทย ทัง้ นี้ น ายวิน พรหมแพทย์ ได้น� ำ เสนอถึง บทบาทของ ส�ำนักงานประกันสังคมทีเ่ กีย่ วข้องกับเรื่องการก�ำกับดูแลกิจการว่า ส�ำนักงานประกันสังคมเป็ นนักลงทุนสถาบันที่มเี งินลงทุนจ�ำนวน มาก มีทมี งานเฉพาะทีด่ แู ลเรือ่ งการพิจารณากลันกรองข้ ่ อมูลก่อนที่ จะน�ำเงินไปลงทุน เช่น ศึกษาถึง Market Capitalization งบการเงิน เป็ นต้น รวมถึงพิจารณาเรื่องการก�ำกับดูแลกิจการที่ดขี องแต่ละ บริษทั ด้วย ซึ่งจะพิจารณาถึงนโยบายการออกเสียงและมีการส่ง ผูแ้ ทนไปออกเสียงเกีย่ วกับนโยบายต่าง ๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคตด้วย

Board Briefing > 


> Board Briefing Then, Mr. Win discussed the Social Security Office and its policy towards CG. The Social Security office is an institutional investor with lots of funds.It has a division in the organization that is dedicatd to researching and monitoring their investments. The department will consider various factors including market capitalization, financial busget and also the corporate governance practices e.g. voting policy. In the future they may send team to attend the company's annual general meeting to perform their rights in voting.The Social Security Office's investment was a long-term investment of more than 5 years because the large funds of Social Security office could not be traded easily. Next, Mr. Yingyong gave a presentation on the role of the Thailand Pension Fund (TPF) as an institutional investor. TPF has invested approximately 40 billion baht in shares. The investments are managed either by TPF or other specialized companies in investment. Proxy voting guidelines are part of the the decision process, including the information of the company from the website. TPF also checks the company policy and plan. Moreover, TPF takes CG into account for their analysis before making a decision for the investment as well.

Issues that need to be addressed in the near future for following good CG prnciples. There are several issues that Thai companies need to address in the near future in order to more effectively adhere to good CG principles. - To ensure a proper meeting time, there should be a measure to minimize unnecessary questions during the meeting. - To take Environmental Social and Governance: ESG into account and ensure that the information disclosure about the policy and practice pertaining to this issue. - Term of independent directors and their independence.

- Conflict management of interest

In summary, at the end of the discussion, Ms. Voravan stated that all parties, including institutional investors, had to cooperate with each other to promote good CG in order to develop the Thai capital market.

ทัง้ นี้การลงทุนของส�ำนักงานประกันสังคมจะมีการถือครองมากกว่า 5 ปี เนื่องจากทางส�ำนักงานประกันสังคมท�ำการซือ้ ขายยาก เพราะ เป็ นกองทุนขนาดใหญ่ ส่วนนายยิง่ ยง นิลเสนา ได้น�ำเสนอถึงบทบาทของกอง ทุนบ�ำเหน็จบ�ำนาญข้าราชการว่า กบข. มีการลงทุนในหุน้ ประมาณ 40,000 กว่าล้านบาท โดยถือครองระยะยาว มีทงั ้ การบริหารการลงทุน เอง และการจ้างบริษทั อืน่ ทีม่ ปี ระสบการณ์ทางด้านการลงทุนเข้ามา บริหาร ซึง่ จะมีการน�ำ Proxy Guideline มาเป็นส่วนหนึ่งในการตัดสิน ใจ มีการศึกษาข้อมูลของบริษทั ทีจ่ ะลงทุนบนเว็บไซต์ของบริษทั มี การตรวจสอบข้อมูลทัง้ นโยบาย แผนการด�ำเนินของบริษทั นอกจาก นี้ กบข. ยังให้ความส�ำคัญกับการน�ำผลการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ มี าใช้ ในการวิเคราะห์เพือ่ ตัดสินใจเลือกลงทุนด้วย ประเด็นทีบ ่ ริษท ั ไทยควรพัฒนาในระยะเวลาอันใกล้ เพือ่ ให้สามารถ ยกระดับการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีให้สูงขึ้น

จากการอภิปรายสามารถสรุปประเด็นที่บริษทั ไทยควร พัฒนาในระยะเวลาอันใกล้ เพือ่ ให้สามารถยกระดับการปฏิบตั ติ าม หลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ใี ห้สงู ขึน้ ได้ ดังนี้ - การดูแลให้มกี ารใช้เวลาในการประชุมผู้ถือหุ้นอย่าง เหมาะสม ควรมีมาตรการในการจัดการกับกรณีทม่ี กี ารตัง้ ประเด็น ค�ำถามทีไ่ ม่มสี าระส�ำคัญในการประชุม - การให้ความส�ำคัญกับเรือ่ ง Environmental Social and Governance : ESG และดูแลให้มกี ารเปิดเผยถึงนโยบายและสิง่ ทีไ่ ด้ ปฏิบตั ใิ นเรือ่ งนี้ - ระยะเวลาในการด�ำรงต�ำแหน่ งของกรรมการอิสระและ ความเป็ นอิสระของกรรมการอิสระ - การจัดการกับความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ในช่วงท้ายของงานสัมมนา นางวรวรรณ ธาราภูม ิ ได้สรุป ว่า การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ เี ป็นประเด็นทีส่ ำ� คัญของการพัฒนาตลาด ทุนไทย ซึง่ ทุกฝา่ ย รวมถึงนักลงทุนสถาบันของไทยต้องร่วมมือกัน ส่งเสริมและผลักดันเรือ่ งดังกล่าวต่อไป

 < Board Briefing



> Board Briefing

PERSONAL FINACIAL PLANNING

WORKSHOP FOR DIRECTORS

Personal financial is a challenging issue for every person in their effort to maintain and increase asset values during their post-retirement life. Thus, IOD and the Thai Financial Planners Association (TFPA) jointly organized IOD Tea Talk under the topic "Personal Financial Planning Workshop for Directors". The meeting, which was held on 22 February 2013, was honored to have Mr. Teera Phutrakul, President of TFPA, to deliver a speech and participate in a group discussion with Mrs. Wiwan Tharahirunchote, TFPA consultant, Mr. Reungvit Nandhabiwat, TFPA Vice-President and Professor Kitipong Urapeepatanapong, Chairman of the Board of Directors of Baker & McKenzie Limited Company. Below is a review of important issues brought u p during t h e discussion.

ด้วยการวางแผนการเงินเป็ นสิง่ ท้าทายส�ำหรับทุกท่าน เพราะเป็นการดูแลทรัพย์สนิ ให้คงอยู่ และเพิม่ มูลค่าให้มากขึน้ นัน้ เพือ่ จะใช้ชวี ติ หลังเกษียณได้อย่างสุขสบาย ดังนัน้ IOD ร่วมกับสมาคม นักวางแผนการเงินไทย (TFPA) ได้จดั งาน IOD Tea Talk ครัง้ ที่ 1 ในหัวข้อ “Personal Financial Planning Workshop for Directors” โดยได้รบั เกียรติจาก นายธีระ ภู่ตระกูล นายกสมาคมนักวางแผน การเงินไทย ให้เกียรติกล่าวปาฐกถาพิเศษ และร่วมเสวนาพร้อม กับ นางวิว รรณ ธาราหิร ัญ โชติ ที่ป รึก ษา สมาคมนั ก วางแผน การเงินไทย นายเรืองวิทย์ นันทาภิวฒ ั น์ อุปนายก สมาคมนักวางแผน การเงินไทย และศ.(พิเศษ) กิตติพงศ์ อุรพีรพัฒนพงศ์ ประธานกรรมการ บริษทั เบเคอร์แอนด์ แมคเคนซี่ จ�ำกัด เมือ่ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ทผ่ี า่ นมา โดย มีสาระส�ำคัญ ดังนี้

The importance of personal financial planning

การวางแผน ก า ร เ งิ น เ ป็ น เ รื่ อ ง ที่ ค่ อ น ข้ า ง จ ะ ใ ห ม่ ส� ำ ห รั บ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย การวางแผนการเงิ น ของแต่ ล ะบุ ค คล จะไม่ เ หมื อ นกั น ดั ง นั ้น การวางแผนการเงิ น จะต้ อ ง ศึกษาความต้องการของแต่ละบุคคล ทัง้ ในเรือ่ งของรายได้ ภาระรายจ่ า ย การยอมรับ ความเสี่ย ง ระยะเวลาใน การลงทุน เป็ นต้น การเริม่ ต้นการวางแผนการเงิน มี 5 ปจั จัย คือ 1. การลงทุน 2. การถ่ายโอนความมังคั ่ ง่ 3. การวางแผนภาษี 4. การบริหารความเสีย่ ง 5. โครงสร้างความังคั ่ ง่

Personal financial planning is a relatively new issue in Thailand. Each person has different personal financial planning needs based on personal requirements, such as income, expense, risk tolerance and investment time.. To start, personal financial planning consists of five factors: 1. Investment 2. Wealth transfer 3. Tax planning 4. Risk management 5. Wealth structure In addition, personal financial planning should be based on net asset value analysis and cash flow analysis by devising a structure to suit one's personal requirements, especially debt structure. Consulting financial planners when establishing a financial plan for the future is a good option as they are experts in planning and allocating assets for optimal benefit.

 < Board Briefing

ความ ส� ำ คั ญ ข อ ง ก า ร วางแผน การเงิน

นอกจากนี้ ยังต้องค�ำนึงถึงการวิเคราะห์มูลค่าทรัพย์สนิ สุทธิ และการวิเคราะห์กระแสเงินสด โดยต้องแบ่งโครงสร้างให้เหมาะ สมกับแต่ละบุคคล โดยเฉพาะโครงสร้างหนี้สนิ ซึง่ วิธกี ารต่างๆ ของ การวางแผนการเงิน สามารถปรึกษาหรือสอบถามจากนักวางแผน การเงิน ซึง่ เป็ นอีกหนึ่งทางเลือกทีด่ ี เพราะนักวางแผนการเงินจะ มีความเชีย่ วชาญในด้านการวางแผน และจัดสรรทรัพย์สนิ ให้เกิด ประโยชน์ตามเป้าหมายทีต่ อ้ งการ


การวางแผนเพื่อการเกษียณ

Personal planning for retirement

During the discussion, Mrs. Wiwan Tharahirunchote presented some insights about retirement plans. First, a survey on the subject showed among the respondents, the average age for beginning to save for retirement was 42 years and that the average saving rate was 22%, which she viewed as good number. However, she noted that up to 38% of the survey respondent did know about personal financial planning. It was the duty of company directors to make their staff aware of this issue. Retirees could be divided into three categories: happy retirement; decent retirement; and unhappy retirement Problems related to personal planning for retirement are as follows: 1. Late planning 2. Too optimistic, too high income, too low expense estimated and too low average age estimated. 3. Too little savings 4. Early retirement 5. Conservative investment in early stage resulting in low return 6. Risky investment at old age resulting in high risk and losses Based on the above information, to earn more income per month, one must have greater savings and higher returns on that savings. Risk prevention

Mr. Reungvit Nandhabiwat mentioned in the discussion that risks could occur in one's daily life, including, accidents, floods and riots. This issue must be considered in personal financial planning and the risk should be converted into savings. Thus, good planning could lead to increased savings. He also emphasized personal risk prevention on life. When considering life insurance, one should weigh if: (1) it is necessary; (2) how much is needed; and (3) the type of insurance required.

ในช่วงเสวนา นางวิวรรณ ธาราหิรญ ั โชติ ได้ให้ความเห็น เกีย่ วกับเรือ่ งการวางแผนเพือ่ การเกษียณ โดยในเริม่ แรกได้น�ำเสนอ ผลส�ำรวจว่าคนไทยเริม่ วางแผนเงินออมเพือ่ การเกษียณตอนอายุ 42 ปี และอัตราการออมเฉลีย่ คือ 22% ซึง่ นับว่าเป็ นตัวเลขทีน่ ่าพอใจ และมีถงึ 38% ทีไ่ ม่เคยได้รบั รูเ้ รือ่ งการวางแผนการเงินเลย ซึง่ เป็ น หน้าทีข่ องกรรมการทุกท่านทีจ่ ะให้ความรูแ้ ก่เจ้าหน้าทีใ่ นบริษทั และ ได้แบ่งประเภทของผูท้ เ่ี กษียณออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่ เกษียณ สุข เกษียณพอเพียง เกษียณทุกข์ ซึง่ ปญั หาของการวางแผนเพื่อ การเกษียณ มีดงั นี้ 1. มีการวางแผนช้าเกินไป 2. มองโลกในแง่ดเี กินไป ทัง้ ในเรือ่ งการตัง้ เป้าหมายราย ได้ไว้สงู เกินไป ประมาณรายจ่ายน้อยเกินไป ประมาณอายุเฉลีย่ น้อย เกินควร 3. ออมเงินน้อยเกินควร 4. เกษียณอายุก่อนก�ำหนด 5. ลงทุนแบบอนุรกั ษ์นยิ มมากเกินไปในช่วงอายุน้อย ท�ำให้ ผลตอบแทนต�่ำ 6. ลงทุ น แบบหวือ หวาในช่ ว งอายุ ท่ีม ากขึ้น ท� ำ ให้ม ี ความเสีย่ งต่อการขาดทุน จากข้อมูลเหล่านี้ ชี้ให้เห็นว่าหากเราต้องการรายได้ต่อ เดือนมากขึน้ เท่าไหร่ เราต้องมีเงินออมทีม่ ากขึน้ พร้อมทัง้ ต้องมี ผลตอบแทนในการออมทีม่ ากขึน้ ตามไปด้วย การป้องกันความเสี่ยง

ความเสีย่ งต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ ไม่วา่ จะเป็ น อุบตั เิ หตุ น�้ ำท่วม จราจล เราสามารถน� ำมาจัดการวางแผนการเงินและผัน ความเสีย่ งเหล่านัน้ ให้เป็ นเงินออมได้ ซึง่ ถ้าเรามีการวางแผนทีด่ ี เงิน ออมทีเ่ กิดขึน้ จากส่วนนี้มจี �ำนวนไม่น้อยเลยทีเดียว คุณเรืองวิทย์ นันทาภิวฒ ั น์ กล่าวในเสวนาครัง้ นี้ โดยมุง่ เน้นไปทีเ่ รือ่ งการป้องกัน ความเสีย่ งของตัวบุคคล เริม่ แรกก่อนทีจ่ ะตัดสินใจการท�ำประกันทีเ่ กีย่ วกับชีวติ ควร จะตัง้ 3 ค�ำถามกับตัวเองก่อน คือ 1. จ�ำเป็ นหรือไม่ 2. ท�ำเท่าไหร่ 3. ท�ำแบบไหน คุณเรืองวิทย์กล่าวว่า โดยปกติคนไทยจะซือ้ ประกัน เพราะมีคนมาเสนอขาย ซึง่ ในความเป็นจริงเราควรจะเลือกผลิตภัณฑ์ ให้เหมาะสมกับตัวเองมากกว่า ต้องเริม่ จากประเมินว่าต้องการได้รบั ผลประโยชน์ดา้ นใด เพือ่ สุขภาพ หรือเงินออม แล้วจึงค�ำนวณว่าต้อง ออมเงินในวงเงินเท่าไหร่ เพือ่ ให้ได้ตามเป้าหมายทีต่ อ้ งการ ทัง้ นี้ ควร จะมีวงเงินประกันอย่างน้อยเท่ากับมูลค่าของรายได้ทเ่ี พียงพอต่อราย จ่าย 6 เดือน เพือ่ เป็ นเงินทีใ่ ห้ไว้กบั บุคคลทีอ่ ยูภ่ ายหลัง หลังจากที่ เสียชีวติ ลงแล้ว

Mr. Reungvit Nandhabiwat added that in general, Thais tend to buy life insurance based on what is offered to them by

Board Briefing > 


> Board Briefing brokers. Actually, the best approach for this would be to do a self-evaluation and determine whether it is was necessary for health reasons or for savings. Once that is decided, the next step entails calculating the amount to be saved to reach the set goal. Nevertheless, the face amount of life insurance should be at least equivalent to the one's expenses over a sixmonth period and sufficient for the family after the purchaser passes away. Taxes and financial planning

Professor Kitipong Urapeepatanapong listed the following as sources of income for executives: - Salary/bonus - Attendance fee - Welfare - Dividend - Others In addition, he offered some advice on tax planning for executive in 2013: 1. Category of income, due to a change in corporate income tax rate in 2013 resulting in lower corporate income tax. 2. The difference between paying tax as an individual or as an ordinary partnerships was that ordinary partnerships could deduct the tax from real expenditure but individuals cannot and had to pay a 20% tax from assessable income. 3. Tax planning set should be on a selective basis as different types of organizations had different tax rates. 4. For couples, paying personal income taxes separately could minimize the tax because of tax unit distributions and tax deductions. 5. Investing in a long-term equity fund (LTF), retirement mutual fund (RMF) or life insurance for tax benefits should be planned carefully because investment unit prices fluctuate yearly. Professor Kitipong also suggested that investments should be classified in three ports: short-term investments, medium-term investments and long-term investments. A high return in a short-term LTF or RMF might not be a good choice because the return might not be as high as desired. Thus, a high-return investment for our high demand in a short term port and a low fluctuating investment in a long term port should be selected. Mrs. Wiwan commented that to obtain a higher return in retirement and a long period for investment, it would be best of invest in a high-risk port, such as a LTF or RMF that invests all of its holdings in shares, which were higher than determined for tax deduction because we still had time to accept the risk. Professor Kitipong added that when a company buys a life insurance for one of its executives, the company

 < Board Briefing

ภาษีกับการวางแผนการเงิน

ก่อนที่จะเริม่ ในเรื่องการวางแผนการเงินด้วยเรื่องของ ภาษี ศ.(พิเศษ) กิตติพงศ์ อุรพีพฒ ั นพงศ์ บอกถึงลักษณะเงินได้ของ ผูบ้ ริหาร ซึง่ สามารถแบ่งออกได้เป็ น - เงินเดือน/โบนัส - เบีย้ ประชุม - สวัสดิการ - เงินปนั ผล - เงินได้อ่นื ๆ นอกจากนี้ ศ.(พิเ ศษ) กิต ติพ งศ์ ยัง ได้ฝ ากข้อ คิด ใน การวางแผนภาษีของผูบ้ ริหารส�ำหรับปี 2556 ดังนี้ 1. ประเภทของเงินได้ เนื่องด้วยในปี 2556 มีการปรับอัตรา ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลอัตราใหม่ ท�ำให้มกี ารเสียภาษีทน่ี ้อยลง 2. การเสียภาษีของคณะบุคคลหรือห้างหุน้ ส่วนสามัญไม่ จดทะเบียน หมายความว่า ห้างหุน้ ส่วนจะสามารถหักค่าใช้จ่ายได้ ตามจริง ไม่เหมือนกับแบบคณะบุคคลทีไ่ ม่สามารถหักค่าใช้จ่ายได้ เลย จะต้องสียภาษี 20% จากรายได้พงึ ประเมิน 3. การวางแผนภาษีด้วยการเลือกองค์กรธุรกิจ เพราะ การเลือกประเภทองค์กรท�ำให้เราต้องหักค่าใช้จ่ายไม่เท่ากัน ซึ่ง ความต่างตรงนี้ทำ� ให้ภาษีทต่ี อ้ งเสียก็ไม่เท่ากันด้วย 4. การเลือกวิธยี ่นื แบบรายการภาษีสำ� หรับสามี-ภรรยา ซึง่ วิธกี ารแยกยืน่ ภาษีระหว่างสามี-ภรรยา จะท�ำให้เสียภาษีต่ำ� ทีส่ ดุ เพราะมีการกระจายหน่วยภาษีและเพิม่ จ�ำนวนค่าลดหย่อนทีส่ ามารถ หักได้สงู สุด 5. วางแผนในการลงทุนทีไ่ ด้รบั สิทธิประโยชน์ทางภาษี เช่น LTF RMF หรือประกันชีวติ ทัง้ นี้ ต้องศึกษาการเงือ่ นไขในการได้รบั สิทธิ และควรมีการวางแผนการลงทุน เพราะราคาหน่วยลงทุนมีชว่ ง ราคาทีส่ งู -ต�่ำในแต่ละปี ในช่วงกลางของการเสวนา นายเรืองวิทย์ให้คำ� แนะน�ำว่า ควรจะแบ่งพอร์ตการลงทุนออกเป็ น 3 ส่วน คือระยะสัน้ ระยะกลาง และระยะยาว เพื่อเลือกใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ เช่น หาก ต้องการผลตอบแทนทีม่ ากภายในระยะเวลาอันสัน้ ก็ไม่ควรลงทุน ใน LTF หรือ RMF เพราะว่าค่าตอบแทนได้ไม่เท่ากับทีต่ ้องการ ดังนัน้ เราควรจะเลือกลงทุนเพือ่ ให้ได้ผลตอบแทนทีม่ ากทีส่ ดุ เพือ่ ให้ตอบสนองความต้องการมากที่สุด เราควรเลือกการลงทุนที่ม ี ความผันผวนน้อยไว้ในพอร์ตการลงทุนระยะยาว ทางด้าน คุณวิวรรณ ให้ความเห็นว่า หากเราต้องการ ผลตอบแทนทีม่ ากขึน้ ในวัยเกษียณ โดยทีร่ ะยะเวลาการลงทุนมีมาก ควรจะลงทุนในพอร์ตทีม่ คี วามเสีย่ งสูง เช่นการซือ้ LTF หรือ RMF ทีล่ งทุนในหุน้ 100% มากกว่าทีก่ ฎหมายก�ำหนดในเรือ่ งการหักภาษี เพราะว่ายังมีเวลาในการรับความเสีย่ งได้อกี ศ.(พิเศษ) กิตติพงศ์ ให้ความเห็นเพิม่ เติมในเรือ่ งประกัน ชีวติ ไว้ว่า หากบริษทั ซือ้ ประกันชีวติ ให้ผบู้ ริหารโดยทีผ่ บู้ ริหารเป็ น ผูร้ บั ผลประโยชน์ หากผูบ้ ริหารลาออกไป หรือหากผูบ้ ริหารเสียชีวติ ลง ผลประโยชน์ให้อยูก่ บั บริษทั เท่ากับว่าค่าใช้จา่ ยเรือ่ งเบีย้ ประกัน จะหักที่บริษทั ได้ท�ำให้ภาษีของบริษทั ลดลง และผูบ้ ริหารก็ได้รบั ผลประโยชน์ ในทางกลับกัน หากประกันชีวติ ของผูบ้ ริหารทีบ่ ริษทั ท�ำให้ แล้วได้โอนกรรมสิทธิ ์ให้กบั ผูบ้ ริหารในวันทีผ่ บู้ ริหารลาออก


would be the beneficiary, when the executive resigned or died. For a family business, this is one method for reducing taxes. During the question and answer period Mr. Manit Lertsakornsiri asked about the differences between analysis of asset value and fixed asset. Moreover, as investing in a particular debenture bond was not available for a personal investor, what would be an alternative investment. Mrs. Wiwan answered that if there was a problem in buying such a bond, it was better to buy it through a mutual fund. Besides, those interested in other investments, such as gold and oil, could buy them through a mutual fund as well.. In addition, she also provided some techniques for the investors to diversify their portfolios and advised that loans for making investments should be avoided as there was a risk of investment value associated with them. Moreover, she also discussed some techniques for calculating savings needed for life after retirement which could be derived from: 1. Calculating money needed for retirement based on current prices at the retired date of needed money per month. 2. Saving money for retirement - Calculating future value (FV) at the retirement date based on current money values - Calculating future value (FV) at retired date of current savings/investments and expected savings and investments for retirement. 3. Calculating the difference between 1 and 2 Before ending the discussion, Professor Kitipong raised the issue about physical assets, such as land, watches, jewelry, antiques, paintings and Buddha images, with regard to how much should be invested in such assets. To do this, it is necessary to consider throughly before buying these assets whether they are being purchased as an investment or for pleasure, as the prices could fluctuate over time. Lastly, he suggested that directors inform employees in a company about personal financial planning because employees who make their own financial plan have more time to devote to their work and thus overall work productivity would increase. He ended by stating that a company should not avoid paying taxes because if it has in place a good financial plan, taxes would be lower as well. The participants at the meeting left with enhanced knowledge on personal financial planning and a better understanding of the need to reconsider their financial plans. IOD would like to express its appreciation to the experts for their fruitful discussion about financial planning because good financial planning equates to a good life after retirement. For more information about personal financial planning, please contact TFPA (Thailand Financial Planners Association) on weekdays at tel: 02-229-2195-7 or at www.tfpa.or.th

และผูบ้ ริหารได้รบั ผลประโยชน์ กรณีน้ีบริษทั และผูบ้ ริหารจะต้อง ตกลงกันเอง เพราะหากเป็ นบริษทั ในรูปแบบธุรกิจครอบครัว วิธนี ้ี จะช่วยในเรือ่ งการลดภาษีได้มาก ในช่วงถาม-ตอบ นายมานิตย์ เลิศสาครศิร ิ มีคำ� ถามต่อ ผูร้ ว่ มอภิปรายในเรือ่ งความแตกต่างของการวิเคราะห์มลู ค่าทรัพย์สนิ และสินทรัพย์ถาวร และการเลือกลงทุนในพันธบัตรหุน้ กู้ ว่าหากเป็ น ในลักษณะบุคคลมักจะท�ำไม่คอ่ ยได้ ควรจะมีหนุ้ ตัวอืน่ ทดแทนได้หรือ ไม่ ซึง่ นางวิวรรณให้ค�ำตอบในเรื่องนี้ว่า หากมีปญั หาเรื่องการซื้อ พันธบัตร แนะน�ำให้ซอ้ื ผ่านกองทุนรวมจะดีกว่า เพราะซือ้ ง่ายและ สะดวกกว่ามาก นอกจากนี้ หากต้องการลงทุนในรูปแบบอืน่ ๆ เช่น ทองค�ำ น�้ำมัน ก็สามารถซือ้ ผ่านกองทุนรวมได้เช่นกัน นอกจากนี้ นางวิวรรณยังให้เทคนิคการลงทุนว่า ควรให้ กระจายการลงทุน และไม่ควรกูเ้ งินมาลงทุน เพราะว่าจะมีความเสีย่ ง ในเรือ่ งมูลค่าการลงทุน พร้อมทัง้ ให้เทคนิคการค�ำนวนเงินทีต่ อ้ งการ ใช้หลังเกษียณ ซึง่ สามารถค�ำนวนได้จาก 1. ค�ำนวนเงินที่ต้องการเพื่อการเกษียณ โดยหามูลค่า ปจั จุบนั ณ วันเกษียณ ของเงินทีต่ อ้ งการใช้ต่อเดือนหลังเกษียณ 2. รวบรวมเงินเพือ่ การเกษียณ - หามูลค่าอนาคต (FV) ณ วันเกษียณ ของเงินทีม่ อี ยู่ ในปจั จุบนั - หามูลค่าอนาคต (FV) ณ วันเกษียณ ของเงินทีก่ ำ� ลัง ออม/ลงทุน และจะออม/ลงทุนเพือ่ การเกษียณ 3. หาส่วนต่างของข้อ 1. และ 2. พอเห็นส่วนต่าง เราจะจัดพอร์ตการลงทุนได้งา่ ยขึน้ หรือ จะคิดจากค่าใช้จ่ายก่อนเกษียณ และบวกเพิม่ ในเรื่องสุขภาพ และ การดูแลลูกหลาน เพือ่ ให้เราจัดพอร์ตการลงทุนได้เหมาะสม ก่อนจบการเสวนา ศ. (พิเศษ) กิตติพงศ์ ให้ประเด็นใน เรือ่ งการลงทุนของสินทรัพย์ เช่น ทีด่ นิ นาฬิกา เพชรพลอย ของเก่า ภาพเขียน พระเครือ่ ง ว่าควรจะลงทุนมากน้อยเพียงใดนัน้ ก่อนจะซือ้ ต้องคิดก่อนว่าเราต้องการซือ้ เพือ่ การลงทุน หรือซือ้ เพือ่ ความชอบ หรือเหมาะกับตัวเอง เพราะเมือ่ มีการซือ้ ขายภายหลัง ราคาอาจจะมี การขึน้ - ลงได้ และเลือกซือ้ เพือ่ ให้เหมาะสมกับจุดประสงค์นนั ้ ๆ สุดท้ายนายเรืองวิทย์ได้แนะน� ำไว้ว่ากรรมการควรจะให้ ความรูเ้ รื่องการวางแผนการเงินกับพนักงาน เพราะหากพนักงาน สามารถจัดการวางแผนการเงินของตัวเองได้แล้ว ก็จะสามารถให้ เวลากับท�ำงานได้มากขึน้ ประสิทธิภาพการท�ำงานก็จะมีมากขึน้ ทาง ศ.(พิเศษ) กิตติพงศ์ ทิง้ ท้ายไว้ในเรื่องของการหลบหนีภาษี ว่าไม่ ควรท�ำอย่างยิง่ เพราะหากเราวางแผนการเงินทีด่ แี ล้ว ภาษีกจ็ ะลด ลงตามไปด้วย จบการเสวนาในครัง้ นี้ ผูเ้ ข้าร่วมงานทุกท่านได้รบั ความรู้ เรือ่ งการวางแผนการเงินมากขึน้ และคงกลับไปทบทวนแผนการเงิน ทีว่ างไว้กนั อีกครัง้ ต้องขอขอบคุณวิทยากรทุกท่านทีใ่ ห้ความรู้ และ ร่วมเสนอแนะวิธกี ารวางแผนการเงิน ซึง่ หากมีการวางแผนการเงินที่ ดีแล้ว คุณภาพชีวติ หลังเกษียณจะต้องดีอย่างแน่นอน ทัง้ นี้ หากท่าน ใดสนใจปรึกษาเรือ่ งการวางแผนการเงิน สามารถติดต่อได้ทส่ี มาคม นักวางแผนการเงินไทยได้ทุกวันท�ำการ โทรศัพท์ 02-229-2195-7 หรือดูขอ้ มูลเพิม่ เติมได้ท่ี www.tfpa.or.th

Board Briefing > 


> Board Development

N EW F RONTIERS FOR

C ORPORATE G OVERNANCE

By Mrs.Benyada Kumlungsua

: Senior CG Analyst, Thai IOD

Ms.Charuwan Chungprasert : Senior CG Analyst, Thai IOD

Good Corporate Governance is more than just a trend. If it is simply viewed by an organization as a fad to take note of it, then the Corporate Governance practices of that organization will become outdated and thus would no longer be good Corporate Governance. As Corporate Governance is a key factor that influences decisions made by investors, an organization needs to redefine its corporate Governance regularly. This will help make the organization more competitive and contribute towards its efforts to achieve sustainable growth. The ideas and practices of Corporate Governance have changed markedly over time and continue to evolve. According to research conducted by Harvard Business School, directors should emphasize and prepare for good Corporate Governance in the near future because of the following reasons:

Higher complexity of the organization The post-global financial crisis research and failure of current Corporate Governance practices indicate that the

 < Board Development

การก�ำกับดูแลกิจการมิใช่แค่เพียงสิง่ ทีจ่ ะให้ความสนใจ และน� ำมาปฏิบตั กิ นั เฉพาะในช่วงที่ก�ำลังอยู่ในกระแส แล้วปล่อย ปละละเลยไปในเวลาต่อมา หากองค์กรของท่านมีแนวคิดหรือมี การด�ำเนินการเช่นนัน้ การก�ำกับดูแลกิจการขององค์กรท่านก็จะ ค่อยๆ ล้าหลัง และกลายเป็ นขาดการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ไี ปในทีส่ ดุ ด้วยเหตุน้ี องค์กรจึงต้องมีการพัฒนาการก�ำกับดูแลกิจการขององค์กร อย่างสม�่ำเสมอและต่อเนื่อง เพราะองค์กรทีม่ กี ารก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ย่อมมีสว่ นส�ำคัญอย่างยิง่ ต่อการตัดสินใจของนักลงทุน ท�ำให้องค์กร ของท่านเติบโต และมีศกั ยภาพในการแข่งขันได้อย่างยังยื ่ น ในปจั จุบนั แนวความคิดและแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับการก�ำกับ ดูแลกิจการมีการเปลีย่ นแปลงไปจากอดีตอย่างมากมาย และยังคงมี การปรับเปลีย่ นมาอย่างต่อเนื่อง ซึง่ จากผลการวิจยั ของ “The Harvard Business School” ได้ระบุว่า กรรมการควรจะให้ความส�ำคัญและ มีการเตรียมพร้อมเกีย่ วกับการก�ำกับดูแลกิจการในอนาคตอันใกล้ เนื่องจาก: ความซับซ้อนขององค์กรที่เพิ่มมากขึ้น

จากผลการวิจ ัย หลัง การเกิด วิก ฤตการณ์ ท างการเงิน ทัวโลก ่ และความล้มเหลวในการก�ำกับดูแลกิจการในปจั จุบนั ที่ม ี


complexity of an organization is the cause of problems with Corporate Governance. Therefore, a Corporate Governance Committee must improve its structure and process and implement practices that are suited to its organization. Such enhancements in the process should include a clear delineation of the role and duty of the committee, an understanding of its business thoroughly and getting sufficient and accurate information, keeping a good relationship with the executives, focusing on the organization's business strategy, more efficient administration, management and good succession and continuous human resources development.

The emphasis of risk oversight The risks of the organization have constantly been changing as well as becoming more severe due to rapid changes in conditions and the environment outside the organization. The Corporate Governance Committee must understand the risks and ensure that a good risk management system is in place. Moreover, the committee needs to oversight the existing policy and practices concerning risk management in the organization and determine if they are in accordance with assigning to the executive in order to minimize the potential risks and create added value to the organization.

ความแตกต่างไปจากอดีต จะเห็นได้วา่ ปญั หาการก�ำกับดูแลกิจการ ในปจั จุบนั มีสาเหตุมาจากความซับซ้อนขององค์กรที่เพิม่ มากขึน้ ดังนัน้ คณะกรรมการจึงจ�ำเป็ นต้องปรับปรุงโครงสร้าง กระบวนการ ท�ำงาน และแนวปฏิบตั ใิ ห้เหมาะสมกับความต้องการเฉพาะส�ำหรับ แต่ละองค์กร ซึง่ สิง่ เหล่านี้ได้แก่ การระบุบทบาทหน้าทีท่ ช่ี ดั เจนของ คณะกรรมการ การท�ำความเข้าใจธุรกิจอย่างลึกซึง้ รวมทัง้ การได้รบั ข้อมูลทีถ่ กู ต้องและเพียงพอ การรักษาความสัมพันธ์กบั ฝา่ ยบริหาร การให้ค วามสนใจกับ กลยุท ธ์อ งค์ก ร การก�ำ กับ ดูแ ลให้อ งค์ก รมี การปรับปรุงการบริหารจัดการและการวางแผนการสืบทอดต�ำแหน่ง ทีด่ ี ตลอดจนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลอย่างต่อเนื่อง การให้ความส�ำคัญกับการก�ำกับดูแลความเสี่ยง

ความเสี่ย งขององค์ก รมีก ารเปลี่ย นแปลงตลอดเวลา และรุนแรงมากยิง่ ขึน้ เนื่องจากสถานการณ์และสิง่ แวดล้อมต่างๆ ภายนอกองค์ก รได้เ ปลี่ย นแปลงไปอย่า งรวดเร็ว ซึ่ง เป็ น หน้ า ที่ ส�ำคัญของคณะกรรมการในการทีจ่ ะต้องเข้าใจความเสีย่ งขององค์กร และก�ำกับดูแลให้มรี ะบบการบริหารจัดการความเสีย่ ง โดยเฉพาะ ความเสีย่ งทางด้านกลยุทธ์อย่างถูกต้องและเหมาะสม นอกจากนี้ คณะกรรมการยังต้องตรวจสอบว่านโยบายเกีย่ วกับการบริหารความ เสีย่ งทีม่ อี ยูแ่ ละการน�ำนโยบายไปปฏิบตั เิ ป็นไปในทางเดียวกับทีม่ อบ หมายให้ฝ่ายบริหารไปด�ำเนินการบริหารจัดการหรือไม่ดว้ ย เพื่อ ลดทอนความเสีย่ งทีอ่ าจจะเกิดขึน้ และสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั องค์กร

Much higher expectations due to changing stakeholders

ความคาดหวังที่สูงขึ้นมากของผู้มีส่วนได้เสียที่เปลี่ยนแปลง ไป

Over the years, the expectations of the Corporate Governance Committees have risen. Previously, the committee was expected to merely create value added for the shareholders. Investors and shareholders have since become more active in the operations of a company and are demanding a higher standard of Corporate Governance by putting pressure on the committee to devote more time to the organization and ensure that the organization performs better and pays out a proper compensation. Thus, the committee must be able to disclose information to the public in a transparent manner and answer relevant questions. If done properly, this makes the shareholders more confident of the organization, facilitates the decision-making process of the investors and increases competitiveness in the long term.

ปจั จุบนั นี้ มีความคาดหวังมากขึน้ เกีย่ วกับคณะกรรมการ ว่ามิใช่เป็ นเพียงผูท้ ส่ี ร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ ดังเช่นทีเ่ คยเป็ น มาแล้ว นักลงทุนและผูม้ สี ว่ นได้เสียต่างๆ ได้กลายเป็ นกลุ่มบุคคล ทีม่ สี ่วนส�ำคัญต่อการขับเคลื่อนและเรียกร้องให้องค์กรมีมาตรฐาน การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี น้ึ ด้วยการกดดันให้คณะกรรมการอุทศิ เวลาให้กบั องค์กรมากขึน้ มีการสร้างผลการด�ำเนินงานทีด่ ี รวมทัง้ ให้ได้รบั ค่าตอบแทนในระดับทีเ่ หมาะสม ดังนัน้ คณะกรรมการจึง ต้องมีการเปิ ดเผยข้อมูลต่างๆ ต่อสังคมภายนอกด้วยความโปร่งใส และสามารถตอบข้อสงสัยของ ผูม้ สี ว่ นได้เสีย หรือผูม้ สี ว่ นได้เสีย ั ยส�ำคัญ สามารถตรวจสอบได้ ซึง่ หากท�ำได้เช่นนัน้ ย่อมกลายเป็นปจจั ทีท่ ำ� ให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียเกิดความเชือ่ มันในองค์ ่ กร ช่วยในการตัดสินใจ ของนักลงทุนต่างๆ ทีจ่ ะเข้ามาลงทุนในบริษทั นัน้ ตลอดจนสร้างความ ได้เปรียบในการแข่งขันจากคูแ่ ข่งในระยะยาวได้

Although Corporate Governance is evolving, changes in the near future should not stray too much from the current situation. The adoption of Corporate Governance has to be in accordance with the context of culture and belief in each country and organization. The important principles of Corporate Governance that the committee should take into account are: 1) others people's money; 2) one size doesn't fit all; and 3) absolute power

ถึงแม้วา่ การก�ำกับดูแลกิจการจะมีการเปลีย่ นแปลงตลอด เวลา แต่การเปลีย่ นแปลงในอนาคตอันใกล้น้ีคงจะไม่แตกต่างไปจาก ประเด็นข้างต้นเท่าใดนัก อย่างไรก็ตาม การน�ำเอาหลักการก�ำกับดูแล กิจการไปใช้จะต้องปรับเปลีย่ นไปตามความเหมาะสมของวัฒนธรรม และความเชื่อของแต่ละประเทศและแต่ละองค์กรเป็ นส�ำคัญ ซึ่ง หลักการส�ำคัญทีค่ ณะกรรมการสามารถตระหนักถึงและน�ำไปใช้เป็ น แนวคิดในการก�ำกับดูแลกิจการมีดว้ ยกัน 3 ข้อ คือ 1) Others people’s money 2) One size doesn’t fit all และ 3) Absolute power

Board Develpoment > 


> Anti-Corruption Update

แนวร่วมปฏิบัติ ข องภาคเอกชนไทย

ในการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต Private Sector Collective Action Coalition

Against Corruption ก่ อ นอื่ น ต้ อ งขอแสดงความยิ น ดี แ ก่ บ ริ ษั ท ที่ ผ่ า น กระบวนการรับรองได้สำ� เร็จเป็ นกลุ่มแรก โดยคณะกรรมการแนว ร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต ได้จดั ประชุมขึน้ เมือ่ วันศุกร์ท่ี 29 มีนาคมทีผ่ า่ นมา โดยทีป่ ระชุมมีมติให้การรับรอง บริษทั ไพร้ชวอเตอร์เฮ้าส์คเู ปอร์ เอบีเอเอส ประเทศไทย จ�ำกัด, บริษทั อเมริกนั อินเตอร์เนชันแนล ่ แอสชัวรันส์ จํากัด (เอไอเอ) ซึง่ รวมถึงบริษทั อเมริกนั อินเตอร์เนชันแนล ่ แอสชัวรันส์ จาํ กัด (ประกัน วินาศภัย) และ บริษทั ซีเมนส์ ประเทศไทย จ�ำกัด การผ่านกระบวนการรับรองของทัง้ 4 บริษทั นี้ได้แสดงให้ เห็นถึงความพยายามในการลดปญั หาการทุจริตคอร์รปั ชันภายใน ่ องค์กรเอกชนนัน้ เป็ นเรือ่ งทีส่ ามารถท�ำได้และจ�ำเป็ นอย่างยิง่ ต่อการ ก้าวไปข้างหน้าของบริษทั ธุรกิจ

First of all, we would like to extend our congratulations to the companies that passed the certification process at the meeting organized by the Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption, which was held on Friday, March 29. The following companies were certified by the committee: Price Waterhouse Coopers (ABAS) Co. Ltd. (Thailand); American International Insurance (AIA) Co. Ltd.; American International Assurance Co. Ltd.; and Siemens Co. Ltd. (Thailand). These companies have made concrete efforts to reduce the problem of corruption in the private sector, which is crucial for the future growth of business in Thailand. Dr.Bandid Nijathaworn met with Mrs. Piyamarn Techaphiboon, Chairperson of Tourism Council of Thailand, to invite her organization to become a member of the Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption. She accepted the invitation to join the Tourism Council of Thailand joined Collective Action Coalition on March 29, 2013. So, now there are eight co-founders of the Collective Action of Coalition. The duty of the organization is to support the Collective Action Coalition project by:

 < Anti-Corruption Update

เมื่อวันที่ 19 มีนาคม ดร.บัณฑิต นิจถาวร ได้เข้าพบ นางปิยะมาน เตชะไพบูลย์ ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ วแห่ง ประเทศไทย (สทท.) เพือ่ เชิญเข้าร่วมเป็ นองค์กรร่วมจัดตัง้ โครงการ แนวร่วมปฏิบตั ฯิ ซึง่ ทางสทท. ได้สง่ จดหมายตอบรับค�ำเชิญเข้าร่วม อย่างเป็ นทางการมาวันที่ 29 มีนาคม ท�ำให้ขณะนี้ โครงการแนวร่วม ปฏิบตั ฯิ มีองค์กรร่วมจัดตัง้ ทัง้ สิน้ 8 องค์กร โดยบทบาทหน้าทีข่ อง องค์กรร่วมนัน้ ก็จะมาช่วยสนับสนุนโครงการแนวร่วมปฏิบตั ฯิ ดังนี้ • เชิญชวนและร่วมรณรงค์ให้บริษทั สมาชิกของแต่ละ องค์กรมาลงนามประกาศเจตนารมณ์ตอ่ ต้านการทุจริตและไม่ให้หรือ ยอมรับสินบนทุกรูปแบบ • ร่วมให้คำ� ปรึกษากับคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ขิ อง ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริตเพือ่ ก�ำหนดทิศทาง กลยุทธ์และ แผนงาน • พิจารณา สนับสนุน และร่วมกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมการ ป้องกันการทุจริตและการต่อต้านคอร์รปั ชัน่ ผ่านกระบวนการให้ ความรูแ้ ละความส�ำคัญ ผ่านรูปแบบกิจกรรมต่างๆ เช่น การสัมมนา การผลักดันให้สมาชิกส่งผูแ้ ทนเข้าร่วมหลักสูตรฝึ กอบรม การเปิ ด เผยข้อ มูล และแนวทางปฏิบ ตั ิท่ีดีส�ำ หรับ การรป้ อ งกัน การทุ จ ริต คอร์รชั นในภาคธุ ั่ รกิจและระบบควบคุมภายใน รวมไปถึงการช่วย ประชาสัมพันธ์โครงการตามช่องทางต่างๆ


- Campaigning for members of each organization to sign the statement to express their intention to combat corruption and not to accept bribes - Extending advice to the committee of Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption to help set its direction, strategy and plan of action - Considering, supporting and joining the various activities to promote anti-corruption and corruption prevention including, seminar, training, disclosure of information and setting guidelines for good practices in corruption prevention in the business sector and internal control system and helping with public relations through various channels. - Sending a delegate to serve on the Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption Committee and as secretary for the committee for a three-year term.

• ส่งผูแ้ ทนเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบตั ฯิ และ ท�ำหน้าทีเ่ ป็ นเลขานุการโครงการในวาระละ 3 ปี

In addition, IOD organized four seminars for the companies that had signed the agreement to inform the organization about the certification process. IOD also clarified l questions concerning the certification process and how to use the self-evaluation form to more than 400 participants.

นอกจากนี้ ในด้านความคืบหน้าของแผนการสร้างความ เข้าใจในกระบวนการให้การรับรอง (Certification Process) โดย IOD ได้จดั สัมมนาให้แก่บริษทั ต่างๆทีไ่ ด้ลงนามเข้ามาแล้ว ขึน้ ทัง้ สิน้ 4 ครัง้ พร้อมกันนัน้ ก็ได้อธิบายชีแ้ จงรายละเอียดและตอบปญั หา ข้อสงสัยในเรื่องกระบวนการรับรองและการใช้งานแบบประเมิน ตนเอง ซึง่ มีผผู้ า่ นการเข้าร่วมรับฟงั สัมมนาดังกล่าวกว่า 200 คน

In March and April, nine companies signed the agreement to declare their intention against corruption, raising the total number of companies to have signed this agreement to 161.

ในช่วงเดือนมีนาคมจนถึงเดือนเมษายนทีผ่ า่ นมานี้มบี ริษทั ลงนามประกาศเจตนารมณ์เพิม่ เติมอีกทัง้ 9 บริษทั ท�ำให้จำ� นวนรวม บริษทั ทีป่ ระกาศเจตนารมณ์มที งั ้ สิน้ 161 บริษทั

Two training program held recently were well-received with a number of companies sending members of their staff to participate in them. The 5th Anti-Corruption for Executive Program (ACEP) had 18 participants from 14 companies while the 3rd Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG) had 31 participants from 24 companies. Finally, On behalf of CAC would like to express our sincere appreciation for the kind support of PTT, PTTGC, TISCO and Mercedes Benz Leasing for support our activities through 2013. Thank you for your generous and valuable support. We hope that the project will curb corruption in Thai private and public sector much more than ever. For more information about the training programs, please contact Mr. Nithidol Pattanatrakulsuk, 02-955-1155 Ext 400. (For more information, please contact IOD, Tel 02-955-1155 ext. 400 or 302)

ในด้านจัดหลักสูตรฝึกอบรม ทัง้ 2 หลักสูตรนัน้ นับว่าได้ รับการตอบรับอย่างดีจากบริษทั ต่างๆ ทีส่ นใจและส่งพนักงานมาเข้า ร่วมอบรมจนเต็มความจุของชัน้ เรียน ทัง้ 2 หลักสูตร โดย หลักสูตร Anti-Corruption for Executive Program (ACEP) ครัง้ ที่ 5 มีผเู้ ข้า ร่วมอบรมทัง้ สิน้ 18 คน จาก 14 บริษทั ส่วนหลักสูตร Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG) ครัง้ ที่ 3 มีผเู้ ข้าร่วมอบรมทัง้ สิน้ 31 คน จาก 24 บริษทั สุดท้ายนี้ ต้องขอขอบคุณบริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท พีทที ี โกลบอลเคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ทิสโก้ ไฟแนลเชียลกรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั เมอร์เซเดส-เบนซ์ ลีส ซิง่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ทีใ่ ห้การสนับสนุโครงการฯในปีน้ี ส�ำหรับ องค์กรทีส่ นใจให้การสนับสนุนหรือเข้าร่วมอบรมในหลักสูตรดังกล่าว สามารถติดต่อสอบถามได้ท่ี คุณนิธดิ ล พัฒนตระกูลสุข 02-955-1155 ต่อ 400 (สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ท่ี IOD โทรศัพท์ 02-955-1155 ต่อ 400,302)

Anti-Corruption Update > 


The 2nd National Director Conference 2013

"Board Leadership Evolution" "ท่านทราบหรือไม่ว่า ปัจจุบนั ความท้าทายและความคาดหวังที�มีต่อการปฏิ บตั ิ หน้ าที�ของท่านใน ฐานะกรรมการ คืออะไร" คณะกรรมการทีเ� คยเป็ นเพียงผูอ้ นุมตั เิ รือ� งต่างๆ ทีฝ� า่ ยจัดการเสนอ หรือทีเ� รียกกันว่า เป็ นคณะกรรมการ ในรูปแบบ Rubber Stamp นัน� ไม่สามารถช่วยให้องค์กรอยูร่ อดได้ทา่ มกลางสภาพแวดล้อมทางธุรกิจทีม� กี าร เปลีย� นแปลงได้อย่างรวดเร็วดังเช่นในปจั จุบนั นอกจากนี�วกิ ฤตการณ์ทางการเงินทีเ� กิดขึน� ทัง� ในยุโรป และ สหรัฐอเมริกา ก็เป็ นสิง� สะท้อนให้เห็นว่า คณะกรรมการจะต้องแสดงภาวะผูน้ ํามากขึน� และถือเป็ นความท้าทายใน การทําหน้าทีก� าํ กับดูแลกิจการให้มปี ระสิทธิภาพ อีกหนึ�งปจั จัยทีส� ร้างความท้าทายต่อคณะกรรมการ คือ นักลงทุน โดยเฉพาะนักลงทุนสถาบันทีเ� ริม� ให้ ความสําคัญทัง� ในเรือ� งนโยบายและระบบในการกํากับดูแลกิจการ รวมไปถึงประสิทธิภาพในการการปฏิบตั งิ านของ คณะกรรมการ กรรมการยุคปจั จุบนั จึงต้องทุม่ เทและอุทศิ เวลาให้กบั การปฏิบตั งิ าน เพือ� ให้ได้มาซึง� การกํากับดูแลกิจการ ทีม� ปี ระสิทธิภาพ สร้างผลประโยชน์ให้กบั ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุม่ จากความหลากหลายของความท้าทาย ความคาดหวัง และคําถามทีเ� กิดขึน� เกีย� วกับการปฏิบตั หิ น้าทีข� อง คณะกรรมการ IOD จึงนําประเด็นนี�มาเป็ นหัวข้อหลักในการจัดการประชุม National Director Conference ประจําปี 2556 ขึน� ในหัวข้อ "Board Leadership Evolution" เชิญร่วมเป็ นส่วนหนึ�งในการพัฒนาการกํากับดูแลกิจการของไทย และยกระดับมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน ของคณะกรรมการไทย ในการประชุม National Director Conference วันพุธที� 12 มิ ถนุ ายน 2556 เวลา 8.30-16.15 น. ซึง� ท่านจะมีโอกาส... รับฟงั พัฒนาการกํากับดูแลกิจการในภาพรวม และการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการไทยจากมุมมองของ ผูเ้ ชีย� วชาญทางด้าน CG ในระดับสากล และกรรมการผูท้ รงคุณวุฒแิ ละประสบการณ์ ทีไ� ด้รบั การยอมรับ ในระดับประเทศ ร่วมแสดงความคิดเห็นในประเด็นท้าทายของคณะกรรมการ พบปะแลกเปลีย� นความรู้ ความคิดเห็นกับประธานกรรมการ กรรมการ และผูบ้ ริหารระดับสูงจากบริษทั ชัน� นําของไทย

Date: Wednesday, 12 nd June 2013 Time: 8:30 (Registration) - 16:15 hrs.

สนใจสอบถามรายละเอียดได้ที�ฝ่ายสมาชิกสัมพันธ์สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย โทรศัพท์ 0-2955-1155 ต่อ 402 โทรสาร 0-2955-1156-7


> Board Review

EXPOSURE

inside the Olympus scandal

AUTHOR (ผู ้ เ ขี ย น): MICHAEL WOODFORD

When Michael Woodford was made President and CEO of Olympus, he became the first westerner ever to climb the ranks of one of Japan's corporate giants.

Within months he become the first company president to blow the whistle on his own firm, having uncovered and publicly exposed a $1.5 billion accounting fraud. He was dramatically fired, fled Japan in fear of his life, and instigated an investigation which continues to rock Japan to its core. Exposure is the story of how Michael Woodford chose the truth over an $8 million salary, and exposed the dark heart of the company he had dedicated his life to. "Exposure" treats readers to a fascinating inside look at bare-knuckled corporate governance. Mr Woodford informs the board of his concerns, but is met with silence. He tells the company's auditors. He hires forensic accountants. He calls for the resignation of the chairman, who had hand-picked him as president after he had ably managed the European operations. At a board meeting that was called to discuss the strange deals, the chairman marches in and reads out a resolution calling for Mr Woodford's dismissal. "All 15 members simultaneously raised their hands in approval," Mr Woodford writes, like "children in a classroom".

เมือ่ Michael Woodford ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นประธานเจ้า หน้าทีบ่ ริหารของ Olympus ถือเป็ นผูบ้ ริหารชาวตะวันตกคนแรกที่ ก้าวขึน้ สูก่ ารเป็ นผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั ยักษ์ใหญ่ของญีป่ นุ่ แห่ง นี้ หลังจากที่ Michael ด�ำรงต�ำแหน่งในบริษทั ได้สกั ระยะก็ได้ แจ้งเหตุผดิ ปกติของบริษทั ตัวเองให้กบั คณะกรรมการบริษทั เกีย่ วกับ การฉ้อโกงรายการทางบัญชี ซึง่ ท�ำให้ Michael โดนไล่ออกจากบริษทั Exposure เป็ นเรือ่ งราวที่ Michael บอกความจริงเกีย่ วกับเงินเดือน 8 ล้านบาท และเรือ่ งราวด้านมืดของบริษทั ทีเ่ ขาทุม่ เทให้ทงั ้ ชีวติ หนังสือเล่มนี้ทำ� ให้ผอู้ ่านเห็นภาพเกีย่ วกับเรือ่ งการก�ำกับ ดูแลกิจการทีด่ ี Michael Woodford ได้แจ้งคณะกรรมการบริษทั เกีย่ วกับความผิดปกติทเ่ี ขาเป็ นกังวล แต่คณะกรรมการกลับนิ่งเฉย Michael แจ้งผูส้ อบบัญชีเกีย่ วกับความผิดปกติทเ่ี กิดขึน้ และจ้างผู้ สอบบัญชีสอบสวน (forensic accountants) นอกจากนัน้ ได้เรียกร้องให้ประธานกรรมการคนที่เลือก เขาเป็ นซีอโี อให้ลาออกจากต�ำแหน่ ง แต่ในทีป่ ระชุมคณะกรรมการ ประธานกรรมการเสนอชือ่ ให้ไล่ Michael ออกจากต�ำแหน่ง ซึง่ ข้อ เสนอนี้ได้รบั ความเห็นชอบด้วยคณะกรรมการทัง้ คณะ 15 คน

Board Review > 



> Board Activities CGR Workshop

ด้ว ยโครงการการก� ำ กับ ดูแ ลกิจ การบริษัท จดทะเบีย น (CGR) มีการปรับหลักเกณฑ์ใหม่เพื่อให้ตอบรับกับ ASEAN CG Scorecard ทาง IOD จึงร่วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จัดงานสัมมนาเชิงปฏิบตั ิการหัวข้อ “แนวทางการจัดท�ำรายงาน การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ สี ำ� หรับบริษทั จดทะเบียน ปี 2556” เพือ่ ให้ เลขานุ การบริษทั ของบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์และกลุม่ MAI เข้าใจถึงหลักเกณฑ์ใหม่และสามารถปฏิบตั ไิ ด้อย่างถูกต้อง ตามเกณฑ์ โดยมี ดร.ถนอมศักดิ ์ สุวรรณน้อย ทีป่ รึกษาโครงการ ส�ำรวจการก�ำกับดูแลกิจการบริษทั จดทะเบียนไทย สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย ให้เกียรติเป็ นวิทยากรส�ำหรับผูท้ พ่ี ลาด โอกาสสามารถเข้าร่วมได้อกี 2 ครัง้ ในช่วงกลางปี 2556 นี้ โดยท่าน สามารถติดตามข่าวได้จากทางตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

CGR Workshop

To inform company secretaries about the adjustments made to the criteria of Corporate Governance Rating (CGR) in line with the ASEAN CG scorecard and clarify outstanding issues, IOD and the Stock Exchange of Thailand (SET) organized a workshop entitled "CG Report 2013 for Thai Listed Companies". Dr. Thanomsak Suwannoi, the project advisor to IOD, was the main speaker at the workshop. Two more workshops covering this topic will be held in the middle of the year. The confirmed schedule will be announced soon by SET. Corporate Governance: The Role of Managers in Supporting Directors

เมือ่ ปลายเดือนมีนาคมทีผ่ า่ นมา IOD ได้เปิดบ้านต้อนรับ คณะผูบ้ ริหารจาก บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ในการอบรมหลักสูตร Corporate Governance: The Role of Managers in Supporting Directors ซึง่ เป็ นหลักสูตร In-house จัดเฉพาะพิเศษเป็ นเวลา 3 วัน เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมอบรมซึง่ เป็ นผูบ้ ริหารขององค์กรเข้าใจถึงหลักการ การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ เี พือ่ การท�ำงานสนับสนุ นคณะกรรมการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

Corporate Governance: The Role of Managers in Supporting Directors In late March, IOD organized a three-day in-house course for executives of PTT Plc entitled "Corporate Governance: The Role of Managers in Supporting Directors". The main objective of the course was to help company managers and executives understand better corporate governance principles and how to effectively support the company's directors.

Board Activities > 


> Board Activities DCP 170 – 171 Orientation

เปิ ดคลาสกันไปแล้วส�ำหรับหลักสูตร DCP 170-171 ใน วันแรกทัง้ สองรุน่ ได้แนะน�ำตัวและท�ำกิจกรรมร่วมกันอย่างสนุกสนาน เป็ นกันเอง ส�ำหรับสองรุ่นนี้มผี บู้ ริหารจากหลายหน่ วยงานเข้าร่วม อบรม อาทิ นายสุธรรม แสงประทุม ประธานกรรมการ บริษทั อสมท. จ�ำ กัด (มหาชน) นายวิเ ชษฐ์ เกษมทองศรี ประธานกรรมการ บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) นายธนศักดิ ์ วัฒนฐานะ รองผูว้ า่ การ การประปานครหลวง นายสมชัย จรุงธนะกิจ รองผูว้ า่ การ การไฟฟ้า ส่วนภูมภิ าค และนายชูฉตั ร ประมูลผล ผูช้ ว่ ยเลขาธิการสายบริหาร ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กับ และส่ ง เสริม การประกอบธุ ร กิจ ประกันภัย

DCP 170 - 171 Orientation

Orientation for the new DCP course 170 - 171 began in February. The directors who participated in the course included: Mr. Sutham Saengpratoom, Chairman of MCOT Plc; Mr. Vichet Kasemthongsri, Chairman of PTT Plc.; Mr. Thanasak Watanathana, Deputy Governor of Metropolitan Waterworks Authority; and Mr. Chuchatr Pramoolpol, Assistant Secretary General Administration of the Office of the Insurance Commission.

สาระนอกสถานที่ DCP Residential

ปลายเดือ นมีน าคมที่ผ่า นมา IOD ย้า ยสถานที่อ บรม หลักสูตร DCP ภาคภาษาไทยไปอบรมกันถึงหัวหินเป็ นครัง้ ที่ 2 นอกจากผูเ้ ข้าอบรมจะได้เนื้อหาสาระความรูข้ องหลักสูตรทีค่ บั แก้ว เช่นเดิมแล้ว ยังได้ผกู มิตรและกระชับความสัมพันธ์กบั เพือ่ นร่วมรุน่ ตลอด 6 วันเต็ม ผ่านการอบรมและกิจกรรมทีห่ ลากหลาย ส�ำหรับ หลักสูตรนอกสถานทีค่ รัง้ ต่อไปจะเป็นรุน่ ภาษาอังกฤษ จัดขึน้ ระหว่าง วันที่ 28 ตุลาคม – 2 พฤศจิกายน 2556 กรรมการท่านใดสนใจเข้า ร่วมอบรม ติดต่อสอบถามได้ท0่ี -2955-1155 ต่อ 207

DCP Residential

IOD also organized a special DCP course, the Thai residential program, in Hua Hin at the end of March. This was the second time this six-day intensive course was held. The course allowed the participants to engage in comprehensive work studies and engage with fellow classmates. The next residential course in English will be held from October 28 to November 2, 2013. For more information, please contact 02-955-1155 ext 207.

 < Board Activities


IOD GOLF CHALLENGE CUP 10/2013 The IOD Golf Challenge Cup 10/2013 was held on April 3 at Navathanee Golf Course. Dr. Panas Simasathien, Chairman of the Executive Committee, Siam Piwat Company Limited, served as chairman of this golf networking competition. Despite the hot weather conditions during that time of the year, 30 teams of IOD member golfers participated in the event. We would like to thank the team operating the golf course, Khun Sukuma Jayananda, Managing Director of City Sports and Recreation PCL and his staff for providing us with an excellent facility and accompanying services to match. The competition is grateful to Nissan Pulsar for sponsoring the Hole in One prize, which was presented on behalf of the company by Mr. Teerayut Tantraphon, Vice President of Nissan Leasing (Thailand) Co., Ltd, and Ms. Unyarat Phonprakit, Chief Financial Officer, Jubilee Enterprise Plc for sponsoring the diamond ring. Unfortunately none of the golfers scored a hole in one, so the diamond ring was given to the winner of a lucky draw, Mr. Krishna Sivakriskul from DCP 37. The prize this year included DCP Team prize and Individual Prizes. The DCP Team prizes went to DCP37, DCP 140 and DCP 2. This is the seventh time that DCP 37 has won the prize. For the individual prizes, the winner of the Overall Low Gross Prize was Mr. Amnaj Buakam and the winner of the Overall Low Net Prize was Mr. Patchara Udomsartporn. Last but not least, IOD would like to thank all the golfers and sponsors for supporting this event. We look forward to welcoming everyone again next year. Please follow the news for information on the details of the golf networking competition in 2014

พบกันอีกครัง้ กับกิจกรรมกีฬากระชับมิตรประจ�ำปี IOD Golf Challenge Cup ซึ่งครัง้ นี้จดั เป็ นครัง้ ที่ 10 แล้ว ดร.พนัส สิมะเสถียร ประธานกรรมการบริหาร บริษทั สยามพิวรรธน์ จ�ำกัด ให้เกียรติเป็ นประธานคณะอนุ กรรมการการแข่งขันเช่นเคย ในปี น้ี เราขยับกันมาจัดช่วงเมษาหน้าร้อน แต่ถงึ แดดจะร้อนแรงกันแค่ไหน นักกอล์ฟเราก็ไม่หวัน่ ลงสมัครกันจนครบ 30 ทีมเต็ม ปิ ดสนาม กอล์ฟนวธานี เมือ่ วันที่ 3 เมษายนทีผ่ า่ นมา ต้องขอบคุณนายสุขมุ า ชยานนท์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เทพธานีกรีฑา จ�ำกัด (มหาชน) และทีมงานทีใ่ ห้การต้อนรับและบริการอ�ำนวยความสะดวกอย่างเต็ม ที่ สร้างความประทับใจให้กบั นักกอล์ฟทุกท่าน ส�ำหรับรางวัลทีส่ ร้างความคึกคักคงจะเป็ นรางวัล Hole in One ทีเ่ ราได้รถยนต์ Nissan Pulsar รุน่ ใหม่ลา่ สุด และแหวนเพชร Smart Collection จาก Jubilee มาเป็ นรางวัลใหญ่ของปี น้ี ต้อง ขอบคุณนายธีระยุทธ ตันตราพล รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั นิสสัน ลีสซิง่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และนางสาวอัญรัตน์ พรประกฤต ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารด้านการเงิน บริษทั ยูบลิ ลี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็ นอย่างยิง่ ทีร่ ว่ มสร้างความคึกคักให้อย่างมาก แต่ น่าเสียดายทีไ่ ม่มนี กั กอล์ฟท่านใดท�ำ Hole in One ได้ แต่ความตื่น เต้นยังไม่หมดเพียงเท่านัน้ เมือ่ Hole in One ไม่แตก Jubilee ใจดี แจกแหวนเพชรแก่นกั กอล์ฟทีโ่ ชคดีเป็นรางวัลสุดท้ายของค�่ำคืน โดย นักกอล์ฟท่านนัน้ คือ นายกฤษณะ ศิวะกฤษณ์กุล จาก DCP 37 ไม่ใช่แค่สองรางวัลใหญ่เท่านัน้ ในงานยังมีของรางวัลมากมายจาก ผูส้ นับสนุนใจดี เรียกว่านักกอล์ฟได้ของรางวัลติดไม่ตดิ มือกลับบ้าน กันทุกคน ส่วนรางวัลการแข่งขัน ปีน้ีแบ่งออกเป็ นประเภททีม DCP และประเภทบุคคลสมาชิก IOD ผูช้ นะประเภททีมยังคงเป็ นทีม DCP 37 ทีค่ รองแชมป์มาต่อเนื่องยาวนานถึง 7 สมัย ตามด้วย DCP 140 และ DCP 2 ตามล�ำดับ ทางด้านรางวัลประเภทบุคคล นายอ�ำนาจ บัวค�ำ คว้ารางวัล Overall Low Gross และนายพัชร อุดมศาสตร์พร คว้ารางวัล Overall Low Net ไปครอง ส่วนรางวัลประเภท Flight อายุ ติดตามได้ทา้ ยคอลัมน์ สุดท้ายนี้ กิจกรรม IOD Golf Challenge Cup จะเกิดขึน้ ไม่ได้เลยถ้าขาดการสนับสนุ นจากนักกอล์ฟและผูส้ นับสนุ นทุกท่าน IOD ขอขอบคุณอีกครัง้ ทีร่ ว่ มสร้างหน้าประวัตศิ าสตร์ให้กบั IOD ปี หน้าจะจัดแข่งขันทีส่ นามไหน เปิดรับสมัครเมือ่ ไหร่ ติดตามกันให้ได้ แล้วพบกันใหม่ปีหน้า

Board Activities > 


> Board Activities ประเภททีม DCP

DCP Team Prizes Winner “DCP 37"

รางวัลชนะเลิศ ทีม “DCP 37”

1. Mr. Dumrong Chuntaropascharoen 2. Mr. Meechai Abgsurat 3. Mr. Krishna Sivakriskul 4. Mr. Suvich Pungcharoen

1. นายด�ำรงค์ จันทโรภาสเจริญ 2. นายมีชยั อังศุรตั น์ 3. นายกฤษณะ ศิวะกฤษณ์กุล 4. นายสุวชิ พึง่ เจริญ

1st Runner Up Team

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ทีม “DCP 140”

“DCP 140"

1. นายสุขมุ า ชยานนท์ 2. นายณัฐชนา เพ็ญชาติ 3. นายประสิทธิ ์ จงอัศญากุล 4. นายปญั ญ์ เกษมทรัพย์

1. Mr. Sukuma Jayananda 2. Mr. Natchana Phenjati 3. Mr. Prasit Chongussayakul 4. Mr. Punn Kasmsup 2nd Runner Up Team

“DCP 2"

1. Mr. Vitoon Tejatussanasoontorn 2. Dr. Panas Simasathien 3. Mr. Tawat Poonyakanok Individual Prizes

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ทีม “DCP 2”

1. นายวิฑรู เตชะทัศนสุนทร 2. ดร.พนัส สิมะเสถียร 3. นายธวัช ปุณยกนก ประเภทบุคคลสมาชิก IOD

Under 55 Years Filght

ชาย/หญิง อายุไม่เกิน 55 ปี

Winner 1st Runner Up 2nd Runner Up 3rd Runner Up

รางวัลชนะเลิศ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3

Mr. Suphachai Tangvorachai Mr. Vipon Vorasowharid Mr. Ruthai Rugrachagarn Mr. Dumrong Chuntaropascharoen

นายศุภชัย ตัง้ วรชัย นายวิพล วรเสาหฤท นายรุจน์ทยั รักราชการ นายด�ำรงค์ จันทโรภาสเจริญ

55-65 Years Filght

ชาย/หญิง อายุไม่เกิน 55–65 ปี

Winner 1st Runner Up 2nd Runner Up 3rd Runner Up

รางวัลชนะเลิศ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3

Mr.Peerachat Pinprayong Mr. Chakraphan Yomchinda Mr. Vichai Udomsartporn Mr. Narulcha Chittreekan

ชาย/หญิง อายุ 65 ปี ขึ้นไป

Upper 65 years

Winner 1st Runner Up 2nd Runner Up 3rd Runner Up

นายพีรฉัตร ปิ่นประยงค์ นายจักรพันธ์ ยมจินดา นายวิชยั อุดมศาสตร์พร นายนฤชา จิตตรีขนั ธ์

Mr. Meechai Angsurat Mr. Damnoen Kaewthawee Mr. Krishna Sivakriskul Mr. Suvich Pungcharoen

รางวัลชนะเลิศ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3

ประเภท OPEN บุคคล

Flight OPEN

Overall Low Gross Overall Low Net

 < Board Activities

Mr. Amnaj Buakam Mr. Patchara Udomsartporn

นายมีชยั อังศุรตั น์ นายด�ำเนิน แก้วทวี นายกฤษณะ ศิวะกฤษณ์กุล นายสุวชิ พึง่ เจริญ

Overall Low Gross Overall Low Net

นายอ�ำนาจ บัวค�ำ นายพัชร อุดมศาสตร์พร


IOD Golf Sub-Committee

1. Dr. Panas Simasathien 2. Mr. Krishna Sivakriskul 3. Mrs. Rae-Vadee T. Suwan 4. Mr. Jirathar Wanitsupachai 5. Mr. Sukuma Jayananda 6. Mr. Kunakorn Pecharakong

Chairman Committee Committee Committee Committee Committee Thank you sponsered

คณะกรรมการจัดการแข่งขันฯ

1. ดร.พนัส 2. นายกฤษณะ 3. นางเรวดี 4. นายจิรฐา 5. นายสุขมุ า 6. นายคุณากร

สิมะเสถียร ศิวะกฤษณ์กุล ต.สุวรรณ วานิชศุภชัย ชยานนท์ เพชรคง

ประธานคณะอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ

ขอขอบคุณผูส้ นับสนุน

Board Activities > 


IOD ร่วมมือกับ ศูนย์ทนั ตกรรม Ldc มอบสิทธิประโยชน์ ให้กบั สมาชิก

สิทธิพิเศษสําหรับผูถ้ ือบัตรสมาชิก IOD

1. ส่วนลดทางทันตกรรม: 5 % สําหรับทันตกรรมทัวไปและค่ � า X-ray ยกเว้น จัดฟนั , ใส่ฟนั , รากฟนั เทียม. ค่าบริการทางการแพทย์, ทันตกรรมพิเศษ, วัสดุ-อุปกรณ์งานศัลยกรรม, ค่าอุปกรณ์และวัสดุพเิ ศษ, ค่ายา, สินค้าทีจ� าํ หน่ายในศูนย์ฯ และรายการส่งเสริมการขายต่างๆ 2. หลักฐานการใช้สิทธิ : สมาชิก IOD จะต้องแสดงบัตรดังต่อไปนี� ก่อนใช้บริการทุกครัง� หน้าเคาเตอร์ประชาสัมพันธ์ 2.1 สําเนาบัตรสมาชิก IOD 2.2 สําเนาบัตรประชาชน สิ ทธิ พิเศษนี� ใช้ได้ระหว่าง วันที � 1 มกราคม - 31 ธันวาคม 2556 ณ ศูนย์ทนั ตกรรม Ldc ทุกสาขา เพือ� ความสะดวกของผูร้ บั บริการ กรุณานัดหมายล่วงหน้าได้ที � ประชาสัมพันธ์ Ldc ทุกสาขา โทร. 0 2789 3050


> Welcome New Member

WELCOME New Member สมาชิกสามัญบุคคล Mr.Frederic Favre Director Vovan & Associes Mr.Sebastien Leblond Managing Director Leblond Associates นายการุณ เลาหรัชดานันท์ กรรมการอิสระ บริษทั กรุงไทยคาร์เร้นท์ แอนด์ ลีส จ�ำกัด (มหาชน) นางจิ ราพร เชมนะสิ ริ กรรมการ บริษทั ไอร่า แคปปิตอล จ�ำกัด (มหาชน) นางสาวเจษฎสุดา บัวเลิ ศ กรรมการ บริษทั เอสเอส ชาลเล้นจ์ จ�ำกัด นายเจิ มศักดิ์ อึ้งสุทธิ พรชัย กรรมการบริหาร บริษทั บู เคมี อินดัสตรี จ�ำกัด ดร.เฉลิ มชัย ผูพ้ ฒ ั น์ ประธานกรรมการ บริษทั ทีซี อิมปอร์ต-เอ็กซ์ปอร์ต เทรดดิง้ จ�ำกัด นายชยุตม์พงศ์ สุขเจริ ญผล รองประธานกรรมการ บริษทั ศุภคินทร์ จ�ำกัด นางเชาวนี ธราพร กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ยูเนี่ยนเบลท์ อินเตอร์เนชันแนล ่ จ�ำกัด นายเชิ ดศักดิ์ กู้เกียรติ นันท์ กรรมการอิสระ บริษทั กรุงเทพบ้านและทีด่ นิ จ�ำกัด (มหาชน)

นายณัฐพงศ์ ศีตวรรัตน์ กรรมการ บริษทั รวมบุตร จ�ำกัด นายณัฐพงศ์ กอร่ม กรรมการ บริษทั พรีไซซ สมาร์ท แฟคทอรี่ แอนด์ เซอร์วสิ จ�ำกัด นายตริ นทร์ ศุภการ กรรมการ บริษทั บริการเชือ้ เพลิงการบินกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) นายทศพล อมรพิ ชญ์ปรัชญา กรรมการบริหาร บริษทั พรีไซซ สมาร์ท ไลฟ์ จ�ำกัด นายธงชัย ตันสุทตั ต์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั พรอดดิจิ จ�ำกัด นายธนา เบญจาทิ กลุ ประธานกรรมการ บริษทั ส�ำนักกฎหมาย ธนา เบญจาทิกุล จ�ำกัด นายธัญชาติ กิ จพิ พิธ กรรมการบริหาร บริษทั สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด นางสาวนริ ศรา กิ จพิ พิธ กรรมการบริหาร บริษทั สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด ดร.นฤมล สิ งหเสนี กรรมการ บริษทั ซีเมนส์ อินดัสเทรียลเซอร์วสิ เซส จ�ำกัด นางสาวนวลลออ กิ ตติ พิทกั ษ์ กรรมการ บริษทั ทิพยประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) นายประทีป ร่มฟ้ าไทย ประธานกรรมการ บริษทั แอลพีไอแร็คเร๊นจ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

Board Welcome > 


> Welcome New Member

WELCOME New Member นายประภาศ คงเอียด กรรมการบริหาร ธนาคารออมสิน

นายวิ เชษฐ์ เกษมทองศรี ประธานกรรมการ บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)

นายพิ พฒ ั น์ บูรณะนนท์ กรรมการ บริษทั โซลูชนั ่ คอนเนอร์ (1998) จ�ำกัด (มหาชน)

นายวิ นิจ ชวนใช้ อดีตกรรมการ บริษทั เจียไต๋ จ�ำกัด

นางเพียงเพ็ญ สืบถวิ ลกุล กรรมการ บริษทั ทิพยประกันชีวติ จ�ำกัด (มหาชน)

นายวีระพล ไชยธีรตั ต์ กรรมการบริหาร บริษทั ชัยวัฒนา แทนเนอรี่ กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน)

นายภาสพงฐ์ นันทรักษ์ กรรมการบริหาร บริษทั ลากูน่า แกรนด์ จ�ำกัด

นายศรัณย์ หะริ นสุต กรรมการบริหาร บริษทั ไทยออยล์ เอทานอล จ�ำกัด

นายมนู สว่างแจ้ง กรรมการอิสระ บริษทั เมก้า ไลฟ์ไซแอ็นซ์ พีทวี าย จ�ำกัด

นายสิ ทธิ ชยั บริ สทุ ธนะกุล กรรมการบริหาร บริษทั อุตสาหกรรมถุงพลาสติคไทย จ�ำกัด

นางสาวมลฑล อ่อนแผน เลขานุการบริษทั บริษทั เมืองไทย ลีสซิง่ จ�ำกัด

นายสุปรีชา ลิ มปิ กาญจนโกวิ ท กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จ�ำกัด

นายมานิ ต มัสยวาณิ ช กรรมการบริหาร บริษทั ขนส่ง จ�ำกัด

นางสาวอนุสรา โชควาณิ ชพงษ์ เลขานุการบริษทั บริษทั เอก-ชัย ดิสทริบวิ ชัน่ ซิสเทม จ�ำกัด

นายรชตะ ด่านกุล กรรมการอิสระ บริษทั ขนส่ง จ�ำกัด

นายอมร แดงโชติ กรรมการ บริษทั พรีไซซ ซิสเท็ม แอนด์ โปรเจ็ค จ�ำกัด

ดร.ฤทธี กิ จพิ พิธ กรรมการบริหาร บริษทั สแกน อินเตอร์ จ�ำกัด

นางอัญชลี เต็งประทิ ป กรรมการ บริษทั กรุงไทยธุรกิจบริการ จ�ำกัด

นายวัลลภ พริ้งพงษ์ กรรมการอิสระ การประปานครหลวง

ศ.ดร.อิ ทธิ กร วัฒนะ กรรมการ บริษทั ไอเก็ท เลิรน์ นิ่ง แล็บ จ�ำกัด

นายวิ ชิต กรวิ ทยาคุณ กรรมการอิสระ บริษทั ศรีอยุธยา แคปปิตอล จ�ำกัด (มหาชน)

 < Welcome New Member


สมาชิกนิติบุคคล ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน) ดร.เอกพล ณ สงขลา เลขานุการบริษทั ธนาคารส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทย นายชุตินทร คงศักดิ์ กรรมการ นายณัฐพล ณัฏฐสมบูรณ์ กรรมการ นางสาวบัณฑรโฉม แก้วสะอาด กรรมการ นางปราณี ศิ ริพนั ธ์ กรรมการ นายวิ รณ ุ เกตุประกอบ กรรมการ บรรษัทตลาดรองสิ นเชื่อที่อยู่อาศัย นายธรรมศักดิ์ ชนะ กรรมการ นางธัญญนิ ตย์ นิ ยมการ กรรมการ บริ ษทั กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) นางฉวีวรรณ คงเจริ ญกิ จกล กรรมการ นายนรวิ ชญ์ หล้าแหล่ง กรรมการ บริ ษทั เชอร์ว้ดู เคมิ คอล จ�ำกัด (มหาชน) นายวนรัชต์ ตัง้ คารวคุณ กรรมการ

บริ ษทั ซีเค พาวเวอร์ จ�ำกัด (มหาชน) นายประเวศ อิ งคดาภา กรรมการ นางสาวปิ ยนุช มริ ตตนะพร เลขานุการ นายวิ ชาญ อร่ามวารีกลุ กรรมการ บริ ษทั ซีออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) นายทวีป สุนทรสิ งห์ กรรมการ นางสาวเสาวนี ย์ สุทธิ ธรรม เลขานุการบริษทั บริ ษทั บูล แมงโก้ พับลิ ชซิ่ ง จ�ำกัด Mr.Nigel Ian Oakins Chairman นางนาถนิ ษฐา จิ รารยะพงศ์ กรรมการ นางสาวอรณิ ภคั ร์ กิ จโกศลธนรัตน์ กรรมการ บริ ษทั ไบเออร์ไทย จ�ำกัด Ms.Celina Chew Director Mrs.Heike Prinz Director Mr.Thorsten Schwindt Director นายวิ ทยา วิ ชยารังสฤษดิ์ Director บริ ษทั ปตท. ส�ำรวจและผลิ ตปิ โตเลียม จ�ำกัด (มหาชน) นายอัชพร จารุจินดา กรรมการ Welcome New Member > 


> Welcome New Member

WELCOME New Member บริ ษทั ผาแดงอิ นดัสทรี จ�ำกัด (มหาชน) Mr.Francis Vanbellen Managing Director บริ ษทั เพาเวอร์โซลูชนั ่ เทคโนโลยี จ�ำกัด นายพระนาย กังวาลรัตน์ กรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร นายพิ ทยาธร มฤทุสาธร กรรมการ นายสุวิทย์ สิ งหจันทร์ กรรมการ

นางสุธารักษ์ กรรมการ

สุนทรภูษิต

บริ ษทั ราชธานี ลิสซิ่ ง จ�ำกัด (มหาชน) นายโกวิ ท รุ่งวัฒนโสภณ กรรมการผูจ้ ดั การ นายประพันธ์ อนุพงษ์องอาจ กรรมการ นายวุฒิชยั สุระรัตน์ ชยั กรรมการ

นางสาวอนงค์ พานิ ชเจริ ญนาน กรรมการ

บริ ษทั วิ กเกอ เมอเจอร์ จ�ำกัด นายบุญชัย วัฒนกุลจรัส กรรมการผูจ้ ดั การ

นายอัณณพ พุ่มกุมาร กรรมการ

นายปรีดี จิ ระสิ ทธิ กร กรรมการผูจ้ ดั การ

นางสาวชฎาภร ไพฑูรย์ กรรมการ

นายสมศักดิ์ เติ มผาติ กรรมการผูจ้ ดั การ

บริ ษทั แพลนเน็ต คอมมิ วนิ เคชัน่ จ�ำกัด Mr.Trevor Thompson Director นายประพัฒน์ รัฐเลิ ศกานต์ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร

บริ ษทั สยามสตีลอิ นเตอร์เนชันแนล ่ จ�ำกัด (มหาชน) นางสาวนภาพร หุณฑนะเสวี รองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ

นายรัตนา ลิ่ มจิ นดา กรรมการ

นายสุรศักดิ์ คุณานันทกุล รองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ

นายสมชาย สกุลวิ จิตรสิ นธุ กรรมการ

บริ ษทั อสมท. จ�ำกัด (มหาชน) นายสุธรรม แสงประทุม ประธานกรรมการ

นายสมพงค์ อุ่ยตระกูล กรรมการ นายสาธิ ต รัฐเลิ ศกานต์ กรรมการ

 < Welcome New Member

นายสุรพล คุณานันทกุล รองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ


สมาชิกสมทบ นางกนกพร สาณะวัฒนา ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักบริหารและการจัดการองค์กร ส�ำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์

นางสาวธนษา กิ ตติ รดานันท์ ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การฝา่ ยส�ำนักก�ำกับและกฎระเบียนในการปฏิบตั งิ าน บริษทั จี แคปปิตอล จ�ำกัด

นายกฤษดา สกุลลีลากร

นางสาวธูปทอง หิ รณ ั ยานุรกั ษ์ เลขาคณะกรรมการตรวจสอบ บริษทั ศุภาลัย จ�ำกัด (มหาชน)

นางกาญจนรัตน์ ลิ้มล�ำ้ เลิ ศกุล เลขานุการบริษทั บริษทั สัมมากร จ�ำกัด (มหาชน)

นายบุญชู วงษ์ภกั ดี ประธานเจ้าหน้าทีก่ ารเงิน บริษทั ราชธานีลสิ ซิง่ จ�ำกัด (มหาชน)

นายชวิ น ชัยวัชราภรณ์ ผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จ�ำกัด (มหาชน)

นางสาวปวรวรรณ สายพันธุ ์ พนักงานวางแผนนโยบาย บริษทั ไฟร์วคิ เตอร์ จ�ำกัด

พันต�ำรวจเอกชัยทัศน์ รัตนพันธุ ์ ทีป่ รึกษา สำ� นักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

นางสาวพรพิ มล ศุภวิ รชั บัญชา ผูอ้ ำ� นวยการฝา่ ยการเงิน บริษทั ไทคอน อินดัสเทียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

นายชัยวัฒน์ ปกป้ อง ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

นายพลพีร์ ศักยภาพวิ ชานนท์ ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ราชธานีลสิ ซิง่ จ�ำกัด (มหาชน)

นายชูฉัตร ประมูลผล ผูช้ ว่ ยเลขาธิการสายบริหาร ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและ ส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย

นางสาวพัชรี โคสนาม เลขานุการ บริษทั น�้ำตาลครบุร ี จ�ำกัด (มหาชน)

นายฐิ ติพงศ์ เขียวไพศาล ผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จ�ำกัด (มหาชน)

นางสาวพันธุว์ ดี เกตุอรุณรัตน์ หัวหน้างานอาวุโส บริษทั อีซบ่ี าย จ�ำกัด (มหาชน)

นายณัฏฐพร กลันเรื ่ องแสง General Manager บริษทั เรียลแอสเซส ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด

นายพิ ชยั สถิ ตยางกูร กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั โกลเพรส อินดัสตรี จ�ำกัด

นายไตรรงค์ ขนอม รองผูว้ า่ การ การประปานครหลวง

นายพิ เชษฐ์ เอมวัฒนา ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส บริษทั บางจากปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน)

นายธนศักดิ์ วัฒนฐานะ รองผูว้ า่ การ การประปานครหลวง

นายพีระพล อ�ำพัน เลขานุการบริษทั บริษทั เอส พี วี ไอ จ�ำกัด Welcome New Member > 


WELCOME New Member นางภัทราวดี รอยวิ รตั น์ General Manager Corporate Support บริษทั เรียลแอสเซส ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด

นางวิ จิตรา ธรรมโพธิ ทอง ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ ธนาคารธนชาต จ�ำกัด (มหาชน)

นางภานุมาศ ชูชาติ ชยั กุลการ Corporate Compliance Manager บริษทั ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน)

นางสาวศรีอำ� พร ยุทธนาถจิ นดา กรรมการบริหาร บริษทั บิซเิ นส เอ็กเซลเลนซ์ จ�ำกัด

นายมรกต พิ ชรัตน์ ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

นางสาวศศิ ศภุ า สุคนธทรัพย์ รองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ บริษทั ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน)

นางมาริ สา วัตถพาณิ ชย์ ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน)

นายศุภฤกษ์ ศรียะพงศ์ เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยกฎหมาย บริษทั โรงพยาบาลจุฬารัตน์ จ�ำกัด (มหาชน)

นายยงยุทธ์ อภัยจิ รรัตน์ ผูเ้ ชีย่ วชาญ การประปานครหลวง

นายสมชัย จรุงธนะกิ จ รองผูว้ า่ การ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค

นางรัชดา ปรียารัตน์ ผูจ้ ดั การใหญ่ ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน)

นางสาวสมพร พิ มพ์พนั ธุ ์ รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั อีซบ่ี าย จ�ำกัด (มหาชน)

นางรัชนี ชิ รวานิ ช ผูจ้ ดั การส่วน ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน)

นางสุนันญา ศรีขาวน้ อย เลขานุการบริษทั บริษทั วีจไี อ โกลบอล มีเดีย จ�ำกัด (มหาชน)

นางรุ่งทิ พย์ ไชยพัฒนะพฤกษ์ เลขานุการบริษทั บริษทั ราชธานีลสิ ซิง่ จ�ำกัด (มหาชน)

นางสุภาภรณ์ บุรพกุศลศรี รองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ (สายงานแผนงานและการเงิน) บริษทั ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน)

นายวรรณชัย สุวรรณกาญจน์ ทีป่ รึกษา สำ� นักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

นายสุรชัย ธนสมบูรณ์กิจ ผูจ้ ดั การอาวุโส บริษทั ปตท. ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน)

นางสาววันดี พิ ศนุวรรณเวช รองผูอ้ ำ� นวยการฝา่ ยบริหาร บริษทั โรงพยาบาลจุฬารัตน์ จ�ำกัด (มหาชน)

นายอภิ รมย์ สุขประเสริ ฐ ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

นางสาววันทนา ทองมา เลขานุการบริษทั บริษทั ซี แวลู จ�ำกัด (มหาชน)

 < Welcome New Member


Apply for IOD Membership Today

สมัครสมาชิก IOD วันนี้ Receive Special Benefits Pay member price rate for all director training courses Attend IOD member activities for free of charge or if a fee is involved, pay only the discounted member price Send another representative from your organization to attend some IOD events Receive information about good corporate governance and related reports and research Entitled to receive more detailed information on new developments indicated in the flash messenger service sent by email or posted on the website Entitled to receive the bi-monthly Boardroom Magazine issues. Eligible to have your profile details in the IOD database that contains professional information of members and directors Use of IOD lounge and access to the IOD library Purchase IOD books, academic publications and other merchandise at a special rate

Special discount in many businesses. Among them are: * * * * * **

LDC Dental Clinic (www.ldcdental.com) The Pine Golf and Lodge Baanhuangnamrin Resort Mom Chailai River Retreat Mind and Wisdom Development Center Membership card must be shown.

Membership Fees / อัตราคาสมาชิก สมาชิกสมทบ Associate Member

Initial Fee: THB 1,500

Annual Fee: THB2,500

สมาชิกสามัญบุคคล Individual Member

Initial Fee: THB 5,000

Annual Fee: THB4,000

สมาชิกสามัญนิติบุคคล Juristic Member

Initial Fee: THB 3,000/ Person Annual Fee: 3 representatives THB 4,000 each 4-6 representatives THB 3,500 each More than 7 representatives THB3,000 each

Special offer! Only THB 7,500 for 3 years membership

รั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษมากมาย สวนลดสําหรับหลักสูตรฝกอบรมตาง ๆ ในอัตราสมาชิกตาม ที่สมาคม ฯ กําหนด สวนลดสําหรับสงตัวแทนบริษัทเขารวมกิจกรรมของสมาคม ฯ ในราคาสมาชิก สิทธิ์เขารวมกิจกรรมสมาชิก โดยไมเสียคาใชจายหรือในราคา สมาชิก รับบริการขอมูลดานการกํากับดูแลกิจการที่ดี,ขอมูลเชิงสถิติ และรายงานการสํารวจหรือการวิจัยที่สมาคมฯจัดทําขึ้นจาก Board Room Flash ทาง Email และ Website และนิตยสาร Board Room Magazine ที่จัดพิมพปละ 6 เลม รับสิทธิ์ในการประกาศสถานะสมาชิก Graduate Member and Fellow Member และบันทึกฐานขอมูลสมาชิกในโครงการ คนหากรรมการ (Director Search) สิทธิ์ในการใช IOD Lounge ในการประชุมพบปะ หรือคนควา หนังสือที่เปนประโยชนสําหรับกรรมการในหองสมุดที่มีกวา 500 เลม สิทธิ์ในการซื้อหนังสือ สินคา และคูมือตาง ๆ จากทาง IOD ใน ราคาพิเศษ สิทธิ์ในการใชหองสัมมนาของ IOD ในราคาพิเศษ (มีส่ิงอํานวย ความสะดวกอาทิ Internet และเครื่องประมวลผลการลง คะแนน) สวนลดพิเศษสําหรับสมาชิกสมาคมฯในการซื้อหนังสือรายงาน ผลสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน,รายงานผล สํารวจคาตอบแทนกรรมการ

รวมไปถึงสินคาและบริการจากบริษัทและองคกรชั้นนํา ที่รวมมือและสนับสนุน IOD อาทิ

* ศูนยทันตกรรมแอลดีซีทุกสาขา * เดอะไพน กลอฟ แอนด ลอดจ * บานหวยนํ้าริน รีสอรท * หมอมไฉไล แนเชอรัล รีทรีท * ศูนยพัฒนาจิตและปญญา ยุวพุทธิกสมาคมแหงประเทศไทยฯ * ธุรกิจสนับสนุนอื่นๆ อยูระหวางการประสานงาน

• Cash • Cheque in favour of Thai Institute of Directors Association • Bank Transfer to "Thai Institute of Directors Association" Saving account No. 049-4-03425-5 Siam Commercial Bank, Witthayu Branch Please fax pay in slip to Thai Institute of Directors after transferring fax no. 02-955-1156-57 • เงินสด ชําระไดที่สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • เช็คสั่งจาย “สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย” • โอนเขาบัญชีออมทรัพย เลขที่บัญชี 049-4-03425-5 ชื่อบัญชี“สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ”ธนาคารไทยพาณิชย สาขาถนนวิทยุ และ Fax สําเนาการโอนเงินมายัง หมายเลข 02-955-1156-57

สนใจสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ฝายสมาชิกสัมพันธ โทร. 0-2955-1155 ตอ 401 – 404 หรือดาวนโหลดใบสมัครไดที่ www.thai-iod.com



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.