Content Thai Private Sector's Challenges under the Current Political Situation
คณะกรรมการ ประธานกิตติมศักดิ์ ศ.หิรัญ รดีศรี ศ.ดร. โกวิทย์ โปษยานนท์ คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม ประธานกรรมการ นายเกริกไกร จีระแพทย์ รองประธาน นายประพัฒน์ โพธิวรคุณ นายปลิว มังกรกนก นายสิงห์ ตังทัตสวัสดิ์ กรรมการผู้อำ�นวยการ ดร. บัณฑิต นิจถาวร กรรมการ นายจรัมพร โชติกเสถียร นายฉัตรชัย วีระเมธีกุล นายชูศักดิ์ ดิเรกวัฒนชัย นายดอน ปรมัตถ์วินัย นางทองอุไร ลิ้มปิติ นางนวลพรรณ ล่ำ�ซำ� นางภัทรียา เบญจพลชัย ดร. วรพล โสคติยานุรักษ์ นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ ศ.ดร. สุรพล นิติไกรพจน์
Sustainability: Strategy, Change and Board Engagement
30
Making "Clean Business" Your Choice
48
From corporate governance to sustainability 42
> 06 Board Welcome > 07 CEO Reflection > 09 Cover Story
• Sustainability: Strategy, Change and Board Engagement • Sustainability: How Successful Corporate Do It?
> 28 Board Briefing
• IOD’s Annual General Meeting 2014 • Thai Private Sector’s Challenges under the Current Political Situation
> 34 Board Development
• Interview: Mr. Mongkon Leelatum, President of Thai Investors Association • Mr. Sukij U Tintu, Vice President, Corporate Social Responsibility of Business Sector, Minor Group • From Corporate Governance to Sustainability
9
> 40 Board Opinions
• Business and Raising Quality of Society • Assessment of Sustainability development Level of Listed Company • ESG for Sustainable Insurance Business
> 48 Anti-Corruption Update
• Making "Clean Business" Your Choice • Progress Report, May-June 2014
> 54 Board Review
• Essentials for Board Directors: An A-Z Guide
> 55 Board Activities > 58 Board Success
• Congratulations DCP 183-188
> 62 Welcome New Member
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการเผยแพร่เกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีให้กับสมาชิกสมาคมฯ 2. เพื่อเป็นการเผยแพร่ข้อมูลกิจกรรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ให้กับสมาชิกสมาคมฯ 3. เพื่อเป็นการเผยแพร่บทความและกิจกรรมของสมาคมให้สมาชิกรับทราบ 4. สรุปประเด็นด้านกฎหมาย กฎระเบียบใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำ�หน้าที่กรรมการ
คณะผู้จัดทำ� / เจ้าของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย กองบรรณาธิการ นางวิไลรัตน์ เน้นแสงธรรม นางสาวศิริพร วาณิชยานนท์ นางวีรวรรณ มันนาภินันท์ นางสาวสาริณี เรืองคงเกียรติ สำ�นักงานติดต่อ อาคารวตท. อาคาร 2 ชั้น 3 2/9 หมู่ที่ 4 (โครงการนอร์ธปาร์ค) ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ (66) 2955-1155 โทรสาร (66) 2955- 1156-7 E-Mail : sarinee@thai-iod.com Website : http://www.thai-iod.com Board of Directors Honorary Chairman Prof. Hiran Radeesri Prof. Kovit Poshyanand Khunying Jada Wattanasiritham Chairperson Mr.Krirk-Krai Jirapaet Vice Chairman Mr.Praphad Phodhivorakhun Mr.Pliu Mangkornkanok Mr.Singh Tangtatswas President & CEO Dr.Bandid Nijathaworn Director Mr.Charamporn Jotikasthira Mr.Chatchai Virameteekul Mr.Chusak Direkwattanachai Mr.Don Pramudwinai Mrs.Nualphan Lamsam Mrs.Patreeya Benjapolchai Prof. Dr. Surapon Nitikraipot Mrs.Tongurai Limpiti Dr.Vorapol Socatiyanurak Mr.Weerasak Kowsurat Owner Thai Institute of Directors Association Editor Mrs. Wilairat Nensaengtham Ms. Siriporn Vanijyananda Mrs. Wirawan Munnapinun Ms. Sarinee Ruangkongkiat Contact CMA Building 2, 2/7 Moo4 Northpark Project, Vibhavadi-Rangsit Road, Thung SongHong, Laksi, Bangkok 10210 Tel : 0-2955-1155 Fax : 0-2955-1156-7 E-mail : sarinee@thai-iod.com Website : http://www.thai-iod.com
> Board Welcome
BOARD
WELCOME
Making a business sustainable has become an important goal of every organization. An organization cannot just focus on obtaining maximum profit in the short term; it also needs to consider long-term success. Each organization has different practices and starting times. However, despite this, every organization should focus on engaging its stakeholders in its effort to become sustainable. In this issue, Boardroom includes useful stories on sustainability, including articles and interviews with executives from four organizations that are members of the Dow Jones Sustainability Index (DJSI), which is recognized as an international sustainability index. During the interviews, operational plans and projects that the respective companies had implemented were discussed. This issue also contains an enlightening interview with an executive interview of The Stock Exchange of Thailand, presenting the viewpoint of his organization on this issue. In addition, Boardroom also summarized issues from IOD's annual general meeting, which was held recently. During the meeting, M.R. Pridiyathorn Devakula, former Governor of Bank of Thailand and former Deputy Prime Minister and Minister of Finance gave a lecture in the Dinner Talk. It also provides an Anti-Corruption Update with a discussion on progress of the Thai's Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC), which has increasingly been receiving positive responses from organizations. Last but not least, we would like to promote the DCP Alumni Party, an activity in which DCP alumni from the first group of participants to the current group gather and share their experiences. The event will be held on August 7, 2014 at the Dusit Thani Hotel in Bangkok. It would be great to see all of you at this event. Editor
<
Board Welcome
การด�ำเนินธุรกิจให้เกิดความยังยื ่ นหรือ Sustainability ถือเป็น ้ ั เปาหมายทีส่ ำ� คัญของทุกองค์กรในปจจุบนั องค์กรไม่สามารถจะเน้น ก�ำไรสูงสุดในระยะสัน้ เพียงอย่างเดียว แต่ตอ้ งให้ความใส่ใจกับความ ส�ำเร็จในระยะยาว ซึง่ แต่ละองค์กรอาจมีแนวปฏิบตั ทิ แ่ี ตกต่างกัน เริม่ ต้นเร็วช้าต่างกัน แต่ทงั ้ นี้ทกุ องค์กรควรเริม่ ให้ความส�ำคัญกับเรือ่ ง นี้เพือ่ ประโยชน์ตอ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝา่ ยขององค์กร ใน Boardroom ฉบับนี้จงึ รวบรวมเรือ่ งราวทีเ่ ป็ นประโยชน์เกีย่ วกับเรือ่ งความยังยื ่ น อาทิ บทความ และบทสัมภาษณ์ผบู้ ริหารจาก 4 องค์กรทีไ่ ด้รบั เลือก ให้เป็นสมาชิก Dow Jones Sustainability Index (DJSI) ทีไ่ ด้รบั การ ยอมรับว่าเป็ นดัชนีดา้ นความยังยื ่ นในระดับสากล ว่าบริษทั เหล่านี้ มีแผนการด�ำเนินงานอย่างไร มีโครงการอะไรทีไ่ ด้ทำ� บ้าง พร้อมทัง้ บทสัมภาษณ์ ผูบ้ ริหารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเกี่ยวกับ มุมมองในเรือ่ งดังกล่าว นอกจากนี้ Boardroom ได้สรุปประเด็นจากการประชุมใหญ่ สามัญประจ�ำปีของ IOD ทีจ่ ดั กันไปเมือ่ ไม่นานมานี้ซง่ึ เราได้รบั เกียรติ จากม.ร.ว. ปรีดยี าธร เทวกุล อดีตผูว้ า่ การธนาคารแห่งประเทศไทย และอดีตรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง ได้ให้ เกียรติเป็นวิทยากรในช่วง Dinner Talk และคอลัมน์ Anti-Corruption Update ยังคงมีความคืบหน้าของโครงการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาค เอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ (CAC) ที่ ณ วันนี้ ยังมี องค์กรขานรับเป็นแนวร่วมเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง และก่อนจากกันในฉบับนี้ ขอฝากงาน DCP Alumni Party กิจกรรมทีร่ วมศิษย์เก่า DCP ตัง้ แต่รุน่ 0 ถึงรุน่ ปจั จุบนั มาพบปะ สังสรรค์และแลกเปลีย่ นประสบการณ์กนั ในวันที่ 7 สิงหาคมนี้ ณ โรงแรมดุสติ ธานี หวังว่าท่านสมาชิกจะให้เกียรติมาร่วมงานกันอย่าง คับคัง่
บรรณาธิการ
> CEO Reflection
The Thai IOD
in the Global IOD Networks IOD ไทยกับเครือข่ายสถาบัน IOD ทั่วโลก
Last month, I attended two global Institute of Directors meetings. The first was the Global Network Meeting and Consultation organized by the International Finance Corporation (IFC) in Istanbul, Turkey, in which IODs from forty countries, mostly emerging markets, participated. The second, held in Australia, was the executive meeting of the Global Network of Director Institutes (GNDI), whose founding members are IODs of advanced economies. The meetings were interesting and useful and demonstrated that the Thai IOD's role is recognized globally. It was clear from the Istanbul meeting that the importance of corporate governance is recognized by all key stakeholders, which puts a spotlight on the IOD for its role in supporting and promoting the country's corporate governance, as well as being a key institution of the private sector. It was recognized that the roles of the IOD, as the country develops, would evolve from a focus on director training, which promotes board effectiveness, to policy advocacy that builds better practices and regulations, and to providing thoughtful leadership in governance. The focus and the sophistication of a particular IOD in a particular juncture would depend on its level of sophistication as well as the country's level of development. It was agreed that IODs in Asia face similar challenges and would benefit from closer collaboration and cooperation. As a group, they need to develop quality independent directors and promote better CG practices and guidelines that are relevant to the region's companies and business environment, for example the large role of state-owned companies and family business in the region.
เดือนพฤษภาคม ผมได้ไปร่วมประชุมเครือข่ายสถาบัน IOD ระหว่างประเทศ ถึงสองงาน งานแรกคือการประชุม Global Network Meeting & Consultation จัดโดยสถาบัน International Finance Operation (IFC) ทีป่ ระเทศตุรกี ซึ่งเป็ นการประชุมครัง้ แรกของ สถาบัน IOD ทีม่ ี IOD จาก 40 ประเทศเข้าร่วม ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ น IOD จากประเทศตลาดเกิดใหม่ อีกงานคือการประชุม Global Network of Director Institutes ทีป่ ระเทศออสเตรเลีย ซึง่ เป็ นอีกเครือข่าย ของสถาบัน IOD ทีส่ มาชิกก่อตัง้ เป็ น IOD จากประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว การประชุมทัง้ สองงานน่ าสนใจ แสดงให้เห็นถึงบทบาทส�ำคัญของ สถาบัน IOD ทีก่ ำ� ลังเป็นทีย่ อมรับ รวมถึงสถาบัน IOD ไทย ทีไ่ ด้ถกู เชิญ ให้ไปร่วมแสดงความเห็นในทัง้ สองงาน การประชุมทีต่ ุรกีชดั เจนว่า Corporate Governance หรือ การก�ำกับดูแลกิจการ เป็ นประเด็นทีท่ งั ้ บริษทั เอกชน นักลงทุน และ หน่วยงานก�ำกับดูแลให้ความสนใจ ท�ำให้สถาบัน IOD ถูกมองว่ามี บทบาทหน้าทีส่ ำ� คัญในการสนับสนุ นผลักดันการก�ำกับดูแลกิจการ ทีด่ ใี ห้เกิดขึน้ รวมถึงเป็ นสถาบันโครงสร้างพืน้ ฐานทีส่ ำ� คัญของภาค เอกชน ในการประชุม แนวคิดที่ออกมาชัดก็คอื บทบาทสถาบัน IOD จะแตกต่างไปตามการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เริม่ จาก การท�ำหน้าทีด่ า้ นฝึ กอบรม เพือ่ พัฒนากรรมการให้การท�ำงานของ คณะกรรมการบริษทั มีประสิทธิภาพ ไปสูก่ ารสร้างองค์ความรูท้ เ่ี ป็ น ประโยชน์ ต่อการก�ำหนดนโยบายในประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกับการท�ำ หน้าทีข่ องกรรมการ (Policy Advocacy) และการเป็ นผูน้ �ำความคิด ในเรือ่ งธรรมาภิบาลให้กบั ประเทศและสังคม (Thought Leadership) ซึง่ IOD แต่ละแห่งจะท�ำหน้าทีใ่ นแต่ละเรือ่ งได้ดแี ค่ไหนจะขึน้ อยูก่ บั หลายปจั จัย รวมถึงความสามารถขององค์กร ภาวะผูน้ �ำ และระดับ การพัฒนาประเทศ ส�ำหรับเครือข่าย IOD ในเอเซีย หน้าทีแ่ ละความท้าทายจะ คล้ายๆ กัน จึงมีลทู่ างมากทีส่ ถาบัน IOD ในภูมภิ าคจะได้ประโยชน์ จากการร่วมมือและแชร์ความรูก้ นั มากขึน้ โดยเฉพาะในประเด็นการ พัฒนากรรมการอิสระ และการพัฒนาแนวปฏิบตั ทิ ด่ี ที ต่ี รงกับสภาพ ทางธุรกิจในเอเซีย เช่น ประเด็น CG ส�ำหรับรัฐวิสาหกิจ และธุรกิจ ครอบครัว ซึง่ เป็ นลักษณะส�ำคัญของธุรกิจในเอเซีย
CEO Reflection
>
> CEO Reflection Executive members of the GNDI network are from advanced economies such as the UK, United States, Canada, Australia, and New Zealand. Other members are from emerging markets such as Brazil, South Africa, Thailand and Malaysia. Hong Kong, Singapore, and Mauritius, the newest members, also joined this meeting. The GNDI aims to act as a voice for directors (estimated to number more than two millions) worldwide on issues and policies that affect directors. To date, GNDI has issued a number of quality position papers on issues such as shareholder activism, roles of proxy advisors, and shorter-ism that encourages boards to take longer-term views when making decisions. I also attended the Australian Institute of Company Directors' Annual Conference, which was organized at the same time and spoke on bribery and corruption and the role of the board, emphasizing that clean business is a choice that the board can and must make. It was clear from both meetings that corporate governance has now gained the importance it truly deserves and heightens the role that IOD can play in moving the country's corporate governance forward.
<
CEO Reflection
ส�ำหรับการประชุมกลุม่ GNDI ซึง่ สมาชิกบริหารส่วนใหญ่ มาจากสถาบัน IOD ประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้ว เช่น อังกฤษ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ สมาชิก GNDI ทีม่ าจากประเทศ ตลาดเกิดใหม่ ก็คอื บราซิล แอฟริกาใต้ ไทย และมาเลเซีย และที่ เพิง่ จะเข้ามาเป็ นสมาชิกในการประชุมคราวนี้ คือ ฮ่องกง สิงคโปร์ และมอริธสั กลุ่ม GNDI ถูกตัง้ ขึน้ มาเพื่อเป็ นกระบอกเสียงให้กบั กรรมการบริษทั ทัวโลก ่ (ประมาณว่ามีกว่าสองล้านคน) ในประเด็น ทีเ่ กีย่ วข้องกับกฏระเบียบ นโยบายทีก่ ระทบการท�ำหน้าทีก่ รรมการ และปจั จุบนั GNDI ก็ได้ออกแนวความเห็นทีเ่ ป็ นประโยชน์ในหลาย เรือ่ ง เช่น Shareholder Activism, Roles of Proxy Advisors และ ล่าสุดเรื่อง Shorterism ทีเ่ น้นให้กรรมการมองภาพยาวของบริษทั (ผลตอบแทนและความเสีย่ ง) ในการตัดสินใจ ขนานไปกับการประชุม GNDI ผมได้รบั เชิญเข้าร่วมการ ประชุมประจ�ำปี ของสถาบันกรรมการออสเตรเลีย ที่จดั ในโอกาส เดียวกัน และถูกเชิญให้ไปให้ความเห็นเรือ่ งกรรมการบริษทั ซึง่ ผม ได้พูดเรื่องปญั หาทุจริตคอรรัปชันกั ่ บการท�ำหน้าทีก่ รรมการ และ เน้นว่าธุรกิจ “สะอาด” คือธุรกิจทีไ่ ม่มที จุ ริตคอร์รปั ชัน่ เป็ นทางเลือก ทีบ่ ริษทั สามารถเลือกได้และการเลือกนี้เป็ นหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ โดยตรงของกรรมการบริษทั ซึง่ ก็ได้รบั การตอบรับทีด่ ี (รายละเอียด อยูใ่ นบทความในเล่ม) จากสองงานนี้ชดั เจนว่า ความตระหนักในเรือ่ ง CG ของ ภาคธุรกิจขณะนี้มมี ากพร้อมกับบทบาทของสถาบัน IOD ที่จะมี ความส�ำคัญมากขึน้ ในการขับเคลื่อนการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี อง ภาคเอกชนให้กา้ วหน้า
> Cover Story
SUSTAINABILITY: Strategy, Change and Board Engagement
Mr. Jeremy Perpscius, Vice President, Asia-Pacific/ Hong Kong of Business for Social Responsibility (BSR) gave an informative lecture on the topic "Sustainability: Strategy, Change and Board Engagement" at IOD Luncheon Briefing 2/2014. During the lecture, he spoke about sustainability and how it affects international business and the steps being taken by global and Asian corporations to effectively manage issues of sustainability. He also talked about the new opportunities that have emerged from the changing business environment and the rationale for engagement. Following a brief introduction from Dr. Bandid Nijathaworn, President and CEO , IOD, Mr. Perpscius began the discussion with an overview on sustainability and how issues related to it are evolving. He introduced BSR, explaining that it is a not-for-profit organization founded 22 years ago by a former executive of Levi Strauss & Co, who wrote the company's first code of Conduct. The mission of BSR is to work with business to create a just and sustainable world and its vision is for the people of the world to live prosperous, dignified lives within the boundaries of the world's natural resources. The next part of the lecture entailed a discussion about what is sustainability. He said ideas about sustainability are coming not just from the business world but also from foundations, non-profit organizations and agencies. As a result, there is a need to link research and consulting work and bring countries together to discuss important issues pertaining to sustainability, which he defined as the following: being energy efficient; publishing a sustainability report; employee volunteering; greening the supply chain; healthy working conditions; community investment; donating to philanthropic causes; having a social mission statement; partnering with non-profits; and socially responsible investing. It also entails aligning business with the world's needs. The next point of discussion was about what is driving change. He explained that as the world is going through significant, rapid change, each
มร. เจเรมี เพอพส์เซียส (Jeremy Perpscius) รองประธาน Asia-Pacific/Hong Kong of Business for Social Responsibility (BSR) ได้บรรยายในหัวข้อ ความยังยื ่ น: กลยุทธ์, ความเปลีย่ นแปลง และการมีสว่ นร่วมของคณะกรรมการ ในงาน IOD Director Briefing 2014 โดยบรรยายเกีย่ วกับเรือ่ งความยังยื ่ นและผลกระทบต่อการท�ำ ธุรกิจในระดับสากล และแนวทางทีบ่ ริษทั ในเอเชียและระดับโลกใช้ ด�ำเนินการเรือ่ งการสร้างความยังยื ่ นอย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ มร. เพอพส์เซียส ยังได้บรรยายถึงโอกาสใหม่ๆ ทีเ่ กิดขึน้ จากสภาพ แวดล้อมทางธุรกิจทีเ่ ปลีย่ นไปและเหตุผลทีค่ ณะกรรมการต้องเข้ามา มีสว่ นร่วม หลังจากที่ ดร. บัณฑิต นิจถาวร กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ IOD ได้กล่าวเปิดงาน มร. เพอพส์เซียส ได้เริม่ บรรยายเกีย่ วกับภาพรวม ของเรือ่ งความยังยื ่ น และวิวฒ ั นาการของประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกับความ ยังยื ่ น โดยเริม่ ต้นจากแนะน�ำว่า BSR วา่ เป็นองค์กรทีไ่ ม่แสวงหาก�ำไร ซึง่ ก่อตัง้ เมือ่ 22 ปีมาแล้ว โดยอดีตผูบ้ ริหารของ Levi Strauss & Co
Cover Story
>
> Cover Story ซึง่ เป็ นคนแรกทีเ่ ขียนจรรยาบรรณของบริษทั พันธกิจของ BSR คือ การท�ำงานร่วมกับภาคธุรกิจเพือ่ สร้างโลกทีเ่ ป็นธรรมและยังยื ่ น BSR มีวสิ ยั ทัศน์เพือ่ ให้ทกุ คนมีชวี ติ ยูอ่ ย่างอุดมสมบูรณ์ มีศกั ดิศรี ์ ภายใต้ ข้อจ�ำกัดของทรัพยากรโลก และบรรยายต่อว่าความยังยื ่ นคืออะไร โดยกล่าวว่าแนวคิด เกีย่ วกับความยังยื ่ นนัน้ ไม่ได้มาจากโลกธุรกิจเท่านัน้ แต่ยงั มาจาก มูลนิธิ องค์กรทีไ่ ม่แสวงหาก�ำไร และหน่วยราชการต่าง ๆ ท�ำให้ม ี ความจ�ำเป็ นทีต่ ้องเชื่อมโยงการวิจยั และการให้คำ� ปรึกษาเข้าด้วย กัน และให้ประเทศต่างๆ มาร่วมอภิปรายประเด็นส�ำคัญต่างๆทีเ่ กีย่ ว กับความยังยื ่ น ซึง่ มร. เพอพส์เซียสได้ให้นิยามไว้คอื การใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดท�ำรายงานความยังยื ่ น พนักงานทีม่ ี จิตอาสา ห่วงโซ่อปุ ทานทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม สภาพแวดล้อมการ ท�ำงานทีด่ ี การลงทุนในชุมชน การบริจาคเพือ่ การกุศล การมีพนั ธกิจ เพือ่ สังคม การร่วมมือกับองค์กรไม่แสวงหาก�ำไร และการลงทุนทีร่ บั ผิดชอบต่อสังคม ซึง่ ก็คอื การทีเ่ ราปรับการด�ำเนินธุรกิจของเราให้เข้า กับความต้องการของโลก
corporation must ask itself if their business operation fits in with the changing world. One key source of change is access to information, which is connecting radically to the individual. This is making companies more visible and forcing them to be more transparent. As a result, there is more discussion, openness, as well as exposure and businesses need to compensate for this. A connection between global ideas, the local environment and the local community is becoming more apparent. Meanwhile, civil society in their role in supporting sustainability is dealing with issues outside of social responsibility. For example, now people are looking at environment, social and corporate governance (ESG) issues, with government slowly driving them. These changes can be connected to regulations, such as a requirement that manufacturers that use tungsten indicate where the mineral comes from, or to competitive differentiators as in the case, of Intel which advertised its dedication to a responsible supply chain by claiming that it has stopped buying "conflict minerals". In general, four macro-stakeholders are increasing pressure on business -- competitors: Sustainability is seen as driving solutions and competitiveness, Corporations: CSR issues increasingly affect costs and business continuity and Customers and Stakeholders: increased board, customer and investor attention necessitates CSR strategy and integration. In summarizing the changing world, Mr. Perpscius discussed changing risks that are emerging in line with the changing world. He explained that this new environment is resulting in growing complexity, growing uncertainty, growing scrutiny, growing expectations, growing recognition of intangible assets and growing scarcity and unpredictability of natural resources.
<
Cover Story
ประเด็นต่อมาเป็ นการบรรยายว่าอะไรคือสิง่ ทีส่ ร้างให้เกิด ความเปลีย่ นแปลงมร. เพอพส์เซียสอธิบายว่าในขณะทีโ่ ลกก�ำลัง ก้าวผ่านความเปลีย่ นแปลงทีร่ วดเร็วและมีนยั ยะส�ำคัญ แต่ละบริษทั ต้องถามตัวเองก่อนว่าการท�ำธุรกิจของตัวเองนัน้ เข้ากับโลกทีก่ �ำลัง เปลีย่ นไปหรือไม่ สาเหตุหลักของความเปลีย่ นแปลงของโลกก็คอื การ เข้าถึงข้อมูลซึง่ เชื่อมโยงแต่ละคนเข้าด้วยกัน สิง่ เหล่านี้ทำ� ให้แต่ละ บริษทั ต้องมีความโปร่งใสมากขึน้ มีการอภิปรายถกเถียง การเปิ ด กว้าง และการเปิ ดเผยมากขึน้ การเชือ่ มโยงกันของแนวคิดจากทัว่ โลกกับสภาพแวดล้อมในชุมชนท้องถิน่ มีความชัดเจนขึน้ เรือ่ ยๆ ใน ขณะเดียวกันภาคประชาสังคมซึง่ มีบทบาทในการส่งเสริมความยังยื ่ น ก็กำ� ลังมีประเด็นใหม่ทน่ี อกเหนือจากเรือ่ งความรับผิดชอบด้านสังคม ตัวอย่างเช่น ขณะนี้คนก�ำลังสนใจเรือ่ งสิง่ แวดล้อม สังคม และ การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี (Environment, Social, Governance – ESG) ภาค รัฐกลับขับเคลือ่ นเรือ่ งนี้ไปอย่าง ช้า ๆ ความเปลีย่ นแปลงนี้ อาจส่ ง ผลต่ อ การออก กฎระเบี ย บต่ า ง ๆ เช่น กฎข้อบังคับ ที่ ผู้ ผ ลิ ต ที่ ใ ช้ ธาตุ ท ัง สเตน ต้องระบุวา่ น�ำ มาจากทีไ่ หน หรือในกรณี ของบริษทั อินเทล
The next point of discussion was on why would business care. To explain this, Mr Perpscius outlined how CSR was affecting the key drivers of business value and gave examples of corporate actions in response to this. CSR is affecting employee retention and productivity, company and brand reputation, product differentiation, access to capital operational efficiency, risk mitigation and new markets. Some examples are the giant retailer Walmart, which in the company's drive to understand its core customers and sustainability, has emerged as the largest retailer of organic food in the world and BSR's HERproject, which empowers women working in global supply chains through advocacy and health and educational training. The HERproject has resulted in measured return on investment and increased productivity and efficiency, which has boosted profitability. Corporations, such as Hewlett-Packard and Levi-Strauss, have supported the project as it positively affects customers as well as employees. In summary, Mr. Perpscius stated that understanding global trends in sustainability is a key step in preparing for the future. The corporate world needs to think about materiality, which in association with sustainability, is based on what is important to society, as well as what is important to business. It also needs to focus on issues that are important to business and society and determine either the risks or opportunities associated with them. Corporations need to answer three questions: What are our most material issues? What are our plans? and How do we measure impact? While answering those questions, businesses will be thinking about CSR with regard to strategic planning, governance, employee engagement, business development and reporting.
ซึง่ โฆษณาว่าบริษทั ของตนด�ำเนินการดูแลห่วงโซ่อุปทานทีม่ คี วาม รับผิดชอบต่อสังคมโดยหยุดซือ้ “แร่ทอ่ี ยูภ่ ายใต้ขอ้ ขัดแย้ง (Conflict Minerals)” ในภาพรวมผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียหลัก ๆ ขององค์กรก�ำลัง เพิม่ แรงกดดันแก่ธุรกิจต่างๆ ให้สนใจเรื่องการสร้างความยังยื ่ น 1) คู่แข่งทางธุรกิจ: ความยังยื ่ นถูกมองว่าเป็ นแรงขับเคลื่อนไปสู่ ทางออกและเป็นการเพิม่ ขีดความสามารถทางการแข่งขัน 2) บริษทั : ประเด็นด้านความรับผิดชอบต่อสังคมส่งผลกระทบต่อต้นทุนและ ความต่อเนื่องของธุรกิจ 3) ลูกค้า 4) ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย: ความ สนใจของคณะกรรมการ ลูกค้าและนักลงทุนที่เพิม่ มากขึ้นท�ำให้ จ�ำเป็ นต้องให้ความสนใจกลยุทธ์เรือ่ งความรับผิดชอบต่อสังคมและ การบูรณาการ มร. เพอพส์เซียสสรุปเกีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงของโลก ว่า ความเสีย่ งทีเ่ ปลีย่ นไปในปจั จุบนั ทีเ่ กิดจากโลกทีก่ ำ� ลังเปลีย่ นไป สภาพแวดล้อมใหม่เกิดจากความซับซ้อนทีม่ ากขึน้ ความไม่แน่นอน ทีม่ ากขึน้ การพินิจพิเคราะห์ทล่ี ะเอียดมากขึน้ ความคาดหวังทีม่ าก ขึน้ การรับรูเ้ กีย่ วกับสินทรัพย์ทจ่ี บั ต้องไม่ได้มมี ากขึน้ รวมทัง้ ความ ขาดแคลนและการคาดเดาไม่ได้ของทรัพยากรธรรมชาติทม่ี มี ากขึน้ ประเด็นถัดไปของการอภิปรายคือท�ำไมธุรกิจต้องสนใจ เรือ่ งความยังยื ่ นมร. เพอพส์เซียสอธิบายว่าความรับผิดชอบทางสังคม ของบริษทั มีผลต่อการขับเคลือ่ นหลักของมูลค่าทางธุรกิจอย่างไร และ ยกตัวอย่างของบริษทั ทีใ่ ห้ความสนใจเรือ่ งนี้ ซึง่ ส่งผลดี อาทิ บริษทั สามารถรักษาพนักงานไว้ได้ อีกทัง้ เพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงาน บริษทั และตราสินค้ามีช่อื เสียงทีด่ ี สามารถสร้างความแตกต่างของ ผลิตภัณฑ์ การเข้าถึงทุนด้านการด�ำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ การลดความเสีย่ ง และสามารถสร้างตลาดใหม่ ตัวอย่างเช่น วอลมาร์ท ยักษ์ใหญ่ดา้ นค้าปลีกซึง่ ขับเคลื่อนองค์กรโดยความเข้าใจลูกค้าและ ความยังยื ่ น ท�ำให้วอลมาร์ทกลายเป็ นผูค้ า้ ปลีกอาหารอินทรียท์ ใ่ี หญ่ ทีส่ ดุ ในโลก อีกหนึ่งตัวอย่างคือโครงการ BSR’s HERproject ซึง่ เป็น โครงการส่งเสริมสตรีทท่ี �ำงานอยู่ในห่วงโซ่อุปทานทัวโลกโดยผ่ ่ าน ทางการให้คำ� ปรึกษา การดูแลสุขภาพ และการฝึกอบรม HERproject ท�ำให้เกิดผลตอบแทนจากการลงทุน และเพิม่ ประสิทธิภาพและความ สามารถในการผลิตซึ่งท�ำให้บริษทั มีผลก�ำไรเพิม่ ขึน้ บริษทั หลาย บริษทั เช่น Hewlett-Packard และ Levi-Strauss ให้การสนับสนุ น โครงการนี้ นอกจากนัน้ โครงการนี้ยงั ส่งผลดีต่อลูกค้าและพนักงาน บริษทั อีกด้วย มร. เพอพส์เซียสสรุปว่าความเข้าใจเกีย่ วกับทิศทางของ โลกในด้านความยังยื ่ นเป็ นหัวใจหลักในการเตรียมพร้อมสู่อนาคต บริษทั จ�ำเป็ นต้องค�ำนึงถึงความยังยื ่ นบนพื้นฐานของสิง่ ที่มคี วาม ส�ำคัญต่อสังคมและส�ำคัญต่อธุรกิจ บริษทั ต่าง ๆ จ�ำเป็ นต้องเน้นใน ประเด็นทีม่ คี วามส�ำคัญส�ำหรับธุรกิจและสังคม และระบุวา่ อะไรเป็ น ความเสีย่ งและโอกาสบ้าง บริษทั จ�ำเป็นต้องตอบสามค�ำถาม “ประเด็น ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของเราคืออะไร” “แผนของเราคืออะไร” “เราจะสามารถ วัดผลกระทบได้อย่างไร” ระหว่างทีก่ ำ� ลังตอบค�ำถามเหล่านัน้ ธุรกิจ ต่างๆ จะน�ำเรื่องความรับผิดชอบต่อสังคมเข้ามาคิดรวมกับการคิด แผนกลยุทธ์ การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี การมีสว่ นร่วมของพนักงาน การพัฒนาธุรกิจ และการจัดท�ำรายงาน
Cover Story
>
> Cover Story
Integrated Report
Transparency
Community
Improving
Image
CSR ECO
Green
Disclosure
Anticorruption
DJSI
CG Value
Sustainability
Integrity
Risk and Compliance
Environments Accountability
GRI
Care
Ethic
Goal
Friendly
compliance
Sustainability: How Successful Corporate Do It? <
Cover Story
Life
Sustainability has become a popularly discussed topic. Many listed companies now issue a sustainability report in addition to an annual report to indicate to stakeholders the company's level of sustainability and boost their confidence in the organization. Many people, however, question the actual meaning of sustainability. They want to know the differences and similarities between sustainability from social activities and why an organization needs to focus on it, the role of the Board of Directors and the management in it and how best to achieve it. As a consequence, Boardroom has interviewed representatives of four listed companies that have a notable operation in sustainability. They are the Siam Cement Public Company Limited, PTT Public Company Limited, PTT Global Chemical Public Company Limited and Thai Oil Public Company Limited. These companies are members of the Dow Jones Sustainability Indexes (DJSI) which is a family of indices that evaluate the sustainability performance of global companies. DJSI is used by funds worldwide as criteria for investment on the view that its members will provide good and sustainable returns to investors. The companies that are selected as DJSI listed companies from the list of DJSI World Investable Stocks Universe. A total of 2,500 companies that characteristically have among the highest free-floating capitalization and a good record with regard to sustainability are invited to participate in the annual assessment. The indices are subdivided into 58 industrial sectors, such as building materials and fixtures, oil and gas producers, chemicals, bank, food and drug retailers, food producers, mining and mobile telecommunications (for more information refer to www.scg. co.th). In addition to the four member companies of the DJSI, Boardroom had the opportunity to interview an executive of the Stock Exchange of Thailand about encouraging listed companies to focus on sustainability. Based on the interviews, success is dependent on the CEOs and whether they are interested in sustainability. The Board of Directors sets the policy and the executives implement them, with continuous monitoring taking place. The four organizations that were interviewed by Boardroom have a particular department that is dedicated specifically to deal with sustainability and communicating with the stakeholders. Sustainability benefits every company from both an economic and social perspective. It also helps build the organization's image. IOD would like every director to focus on this issue by studying successful examples of other organizations in their efforts to achieve sustainability and planning policy in their own organizations. When every company takes this issue seriously, the capital market will be sustainable, which, in turn, will benefit the economy of Thailand and the society as a whole.
Sustainability หรือความยังยื ่ นเป็ นเรือ่ งทีไ่ ด้รบั การพูดถึง ั ั มากในปจจุบนั ปจจุบนั บริษทั จดทะเบียนหลายแห่งได้จดั ท�ำรายงาน ความยังยื ่ นแยกออกมาจากรายงานประจ�ำปี เพือ่ แสดงให้วา่ ธุรกิจของ ตนมีความยังยื ่ นอย่างไร เพือ่ ให้นกั ลงทุนเกิดความเชือ่ มันในองค์ ่ กร หลายคนถามค�ำถามว่าแท้จริงแล้ว Sustainability คืออะไร เหมือน หรือแตกต่างจากการท�ำกิจกรรมเพือ่ สังคมอย่างไร ท�ำไมองค์กรต้อง ให้ความส�ำคัญในเรือ่ งนี้ คณะกรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูงควรจะมี ส่วนร่วมอย่างไร และถ้าต้องการทีจ่ ะท�ำจะเริม่ ท�ำได้อย่างไร Boardroom เล่มนี้จงึ ไปสัมภาษณ์บริษทั จดทะเบียนซึง่ เป็นต้นแบบ 4 บริษทั ทีไ่ ด้ดำ� เนินการเรือ่ งนี้อย่างเป็นรูปธรรม ได้แก่ บริษทั ปูนซีเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งทัง้ 4 บริษัทได้รบั การคัดเลือกเข้าเป็ นสมาชิก Dow Jones Sustainability Indexes หรือ DJSI ซึง่ เป็ นดัชนีหลักทรัพย์ประเมิน ประสิทธิผลการด�ำเนินธุรกิจตามแนวทางการพัฒนาอย่างยังยื ่ นของ บริษทั ชัน้ น�ำระดับโลก ซึง่ กองทุนต่างๆ จากทัวโลกใช้ ่ เป็ นเกณฑ์ใน การพิจารณาการลงทุนด้วยเชือ่ มันว่ ่ าบริษทั ทีอ่ ยูใ่ น DJSI จะสามารถ สร้างผลตอบแทนทีด่ แี ละยังยื ่ นให้กบั ผูล้ งทุน การได้รบั เลือกเข้าสู่ DJSI Listed Company จะพิจารณาจากบริษทั ทีอ่ ยูใ่ น DJSI World Investable Stocks Universe และคัดเลือก 2,500 บริษทั ทีม่ ี Free Floating Market Capitalization ทีใ่ หญ่ทส่ี ุดและมีการด�ำเนินงาน ทีด่ ใี นด้านการพัฒนาอย่างยังยื ่ น เพือ่ เชิญให้เข้าร่วมตรวจประเมิน ประจ�ำปี โดยได้จดั บริษทั ต่างๆ ทีอ่ ยู่ใน List ออกเป็ น 58 สาขา อุตสาหกรรม (Sector) อาทิ Building Materials & Fixtures, Oil & Gas Producers, Chemicals, Bank, Food & Drug Retailers, Food Producers, Mining, Mobile Telecommunications (ข้อมูลจาก www.scg.co.th) นอกจากนัน้ Boardroom ได้เข้าไปสัมภาษณ์ ผูบ้ ริหารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเกีย่ วกับการผลักดันบริษทั จดทะเบียนให้เห็นความส�ำคัญเกีย่ วกับเรือ่ งนี้ดว้ ย จากการสัมภาษณ์พบว่าการด�ำเนินการเรื่องนี้จะประสบ ความส� ำ เร็ จ ได้ เ มื่อ ผู้ บ ริห ารสู ง สุ ด ขององค์ ก รให้ ค วามส� ำ คัญ คณะกรรมการให้น โยบายกับ ผู้บ ริห ารในการด�ำ เนิ น การและมี การติดตามการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ทัง้ 4 องค์กรได้มกี าร มอบหมายบุคคลากรหรือตัง้ หน่ วยงานที่เกี่ยวกับเรื่องนี้โดยตรง และด�ำเนิ นงานเพื่อสร้างความยังยื ่ นด้วยการให้ความสนใจไปที่ ่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝาย เมือ่ ถามถึงประโยชน์ทเ่ี กิดขึน้ ทุกบริษทั เห็น ว่าส่งผลดีทงั ้ ด้านเศรษฐกิจ ภาพลักษณ์ขององค์กร และต่อสังคมโดย รวม IOD ในฐานะสถาบันกรรมการจึงอยากให้กรรมการทุกท่านให้ ความส�ำคัญเกีย่ วกับเรือ่ งนี้ โดยศึกษาจากต้นแบบของความส�ำเร็จ ขององค์กรอืน่ ๆ และเริม่ ต้นวางนโยบายขององค์กรตนเอง และเมือ่ ทุกบริษทั ได้ดำ� เนินการเรื่องนี้อย่างจริงจังก็จะท�ำให้ตลาดทุนยังยื ่ น อันจะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศต่อไป
Cover Story
>
> Cover Story
Sustainability of Thai Listed Companies
ความยั่งยืน
ของบริษัทจดทะเบียนไทย นายบดินทร์ อูนากูล Mr. Bordin Unakul Executive Vice President SET
The Stock Exchange of Thailand (SET) plays an important role in driving sustainability in Thai-listed companies. Boardroom recently interviewed Mr. Bordin Unakul, Executive Vice President of SET, to learn his views on this this issue. What is sustainability?
According to Mr. Bordin, sustainability is surviving in the long run. It should be an important goal for all companies. Investors in a company would hope that the company would go on into eternity. He noted that sustainability was not a social activity or part of corporate social responsibility (CSR) as an "after-process" activity as that type of activity was short-term in nature and unstainable. For a company to be sustainable, CSR must be part of the overall process or the "in-process". The organization needed to focus upstream, such as trade partners, midstream, such as employees, and downstream, such as clients. For example, a company might be producing a popular product, but its work atmosphere could be unfriendly, resulting in a high staff turnover. Under such a situation, the company was unsustainable. A company deemed as being concretely sustainable must focus on three components, which included all the stakeholders of the organization. Moreover, if the company opted to initiate a CSR project involving the after-process, it should determine the sustainability of the project, what the project entailed and if the project provided something needed by the community. The directors and executives must understand their business and its current operations for a company to be sustainable. Why is it important?
Mr Bordin explained that sustainability was a longterm benefit for the organization. Every stakeholder of the organization would benefit from it, as well. Some retail
<
Cover Story
ในการสร้ า งความยั ง่ ยื น ให้ ก ั บ บริ ษั ท จดทะเบี ย น ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยนับเป็ นองค์กรหนึ่งที่มบี ทบาท ส�ำคัญในการขับเคลื่อนเรื่องดังกล่าว นิตยสาร Boardroom จึงขอ สัมภาษณ์นายบดินทร์ อูนากูล รองผูจ้ ดั การตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย เพือ่ ให้เล่าถึงความคาดหวังทีม่ ตี ่อบริษทั จดทะเบียนใน การสร้างความยังยื ่ นขององค์กร Sustainability คืออะไร
Sustainability คือการอยู่อย่างยังยื ่ นถาวร ซึ่งเป็ นสิง่ ที่ ส�ำคัญมากส�ำหรับบริษทั ต่าง ๆ หากเรามีเงินก้อนหนึ่งร่วมกันตัง้ บริษัทขึ้นมาเราก็คงอยากให้บริษัทเราอยู่ตลอดไป ซึ่งไม่ใช่การ ท�ำกิจกรรมเพื่อสังคม หรือ Corporate Social Responsibility (CSR) ที่เ ป็ น ลัก ษณะการท�ำ กิจ กรรมแบบ after-process คือ ท�ำสัน้ ๆ ไม่ยงยื ั ่ น และจบไป ถ้าอยากให้บริษทั ยังยื ่ นต้องน�ำ CSR เข้ามาอยูใ่ นกระบวนการหรือทีเ่ รียกว่า in-process คือองค์กรต้องให้ ความส�ำคัญตัง้ แต่ตน้ น�้ำ เช่น คูค่ า้ กลางน�้ำ เช่น พนักงาน และปลาย น�้ำ เช่น ลูกค้า บางครัง้ บริษทั สามารถสร้างผลิตภัณฑ์ทล่ี กู ค้าพึงพอใจ แต่พนักงานท�ำงานอย่างไม่มคี วามสุขทุกคนอยากลาออกจากบริษทั ก็ ท�ำให้บริษทั ไม่ยงยื ั ่ น ดังนัน้ บริษทั จะด�ำเนินการอย่างเป็ นรูปธรรมใน เรือ่ งนี้ได้ตอ้ งให้ความส�ำคัญทัง้ 3 ส่วน ซึง่ เป็นผูม้ สี ว่ นได้เสียในองค์กร ทัง้ สิน้ นอกจากนัน้ การทีบ่ ริษทั เลือกว่าจะท�ำโครงการ CSR อะไรที่ เป็นแบบ after-process บริษทั ควรทีจ่ ะดูวา่ โครงการนัน้ มีความยังยื ่ น หรือไม่ เกีย่ วกับกิจการของตนมากน้อยเพียงไร และเป็ นสิง่ ทีช่ มุ ชน ต้องการหรือไม่ กรรมการและผูบ้ ริหารต้องเข้าใจว่าธุรกิจของตนคือ อะไรและการด�ำเนินงานทีท่ ำ� อยูจ่ ะท�ำให้บริษทั ยังยื ่ นหรือไม่ ทำ�ไมบริษัทควรที่จะให้ความสำ�คัญ
การให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ เรื่ อ งนี้ จ ะเป็ นประโยชน์ ต่ อ องค์ก รในระยะยาว ผู้ม ีส่ ว นได้เ สีย ทุ ก กลุ่ ม ขององค์ก รจะได้ร บั ประโยชน์ บางบริษทั ทีเ่ ป็ นค้าปลีกหากสนใจคู่คา้ ก็จะท�ำให้ตนเอง ได้รบั สินค้าทีด่ ขี น้ึ ดึงลูกค้าเข้าร้านได้มากขึน้ ลูกค้าได้ใช้สนิ ค้าทีด่ ี คู่ ค้ า และบริษัท มีย อดขายที่สู ง ขึ้น นั ก ลงทุ น เกิด ความเชื่อ มัน่ มากยิ่ ง ขึ้น อี ก ทัง้ เป็ น การดึ ง ดู ด คนมี คุ ณ ภาพเข้ า มาท� ำ งาน เนื่ อ งจากมีค วามมันใจในความยั ่ งยื ่ น ของบริษัท บริษัท ที่ส นใจ
companies should take stock in the advice given by their trade partners, as could help them develop that improved and more popular products. A good product would make the customer happy and generate more profits for the trade partners and the companies, as well as build investors' confidence. Moreover, it could attract competent employees, as they would be more confident about the sustainability of the company. Companies interested in actively pursuing sustainability, might refer to the practices in the m Global Reporting Initiative (GRI) as a guideline. One possible approach would be to initiate various practices gradually. The questions in the GRI were very helpful, including those pertaining to ESG (environmental, social, and governance), which served as the Bible for a sustainable business. The board of directors and management should include it in the business plan due to the timeframe of several years to achieve all the aspects contained in it. Roles of the Stock exchange of Thailand in promoting sustainability.
In past years, SET had invited boards of directors and CEOs of listed companies to join in small group discussions of about 10 participants to talk about the sustainability of their operations, Mr. Bordin said. We believed that for an operation to be successful, the owner, board of directors and CEOs must be consistent in setting policies, as well as in monitoring them. We also established the CSR Institute to disseminate information in various forms, such as through training courses on sustainability for employees. SET expected to be a sustainable stock exchange by looking upstream, which is comprised of listed companies. Thus to increase competitiveness, listed companies on the stock exchange must be sustainable. The acceptance of Thai companies as DJSI members enhanced the stock exchange's image among foreign investors. In the future, we might use the SET SD Index to assess listed companies in order to push companies to set sustainability as a priority. Nevertheless, that must be done gradually and should not be compulsory to every company. We would only show the benefits of sustainability and encourage them to pursue it. Moreover, SET also promoted investors should consider highly the sustainability issue when considering investments in listed companies. Investors should not only consider financial reports to evaluate the company's performance, but they should also take into account indicators related to sustainability to determine how the country will perform in the long run. Thus, from the perspective of a listed company, sustainability is a key issue that should be addressed.
จะเริม่ ท�ำเรื่องความยังยื ่ นอาจจะน� ำแนวปฏิบตั ขิ อง Global Reporting Initiative (GRI) มาเป็ นแนวทางในการท�ำ โดยอาจเริม่ จากบางข้อ ก่ อ นแล้ ว ค่ อ ย ๆ ขยายออกไปให้เ ข้ม ข้น ขึ้น โดย ค� ำ ถามในนั น้ ถื อ ว่ า เป็ น ประโยชน์ ม ากในการท� ำ ธุ ร กิจ คือ จะมี การถามเรือ่ ง ESG (Environmental, Social, Governance) ซึง่ เป็ น เหมือนคัมภีรใ์ นการท�ำธุรกิจอย่างยังยื ่ น ซึง่ การจะท�ำทุกข้อให้สำ� เร็จ จะต้องใช้เวลาหลายปี กรรมการและฝ่ายจัดการควรจะน� ำเรื่องดัง กล่าวเป็ นส่วนหนึ่งแผนการด�ำเนินธุรกิจ บทบาทของตลาดหลักทรัพย์ ฯ ในการให้การสนับสนุน
ที่ผ่ า นมาตลาดหลัก ทรัพ ย์ ฯ ได้เ ชิญ คณะกรรมการ และ CEO ของบริษัท จดทะเบีย นเข้า มาเพื่อ รับ ฟ งั และตอบข้อ ซัก ถามเกี่ย วกับ การด� ำ เนิ น งานเรื่อ งความยัง่ ยืน โดยเชิญ ให้ เข้ามาเป็ นกลุม่ ย่อย ๆ ประมาณ 10 คน เพือ่ ให้พดู คุยกันได้อย่าง เต็มที่ ด้วยเห็นว่าการด�ำเนินงานจะส�ำเร็จได้เมื่อเจ้าของกิจการ คณะกรรมการ และ CEO ให้ความส�ำคัญ เพราะจะเริม่ ตัง้ แต่ม ี นโยบายและมีการติดตามการท�ำงานอย่างต่อเนื่อง นอกเหนือจาก นัน้ ได้มกี ารจัดตัง้ CSR Institute เพือ่ ให้ความรูใ้ นรูปแบบต่าง ๆ เช่น การจัดหลักสูตรอบรมเรือ่ งความยังยื ่ นให้กบั ผูป้ ฏิบตั งิ านในองค์กร ตลาดหลักทรัพย์ฯ คาดหวังว่าจะเป็ น Sustainable Stock Exchange ซึ่งจะเกิดขึน้ ได้โดยมองทีต่ ้นน�้ ำของตนเองคือบริษทั จดทะเบี ย น หากตลาดหลัก ทรัพ ย์ ฯ จะเพิ่ม ความสามารถ ในการแข่ ง ขัน ก็ ต้ อ งมีบ ริษัท ที่ม ีค วามยัง่ ยืน จดทะเบีย นอยู่ ใ น ตลาดหลักทรัพย์ การทีบ่ ริษทั ไทยได้รบั คัดเลือกเข้าเป็นสมาชิก DJSI ซึง่ เป็นเกณฑ์ทต่ี า่ งประเทศให้การยอมรับถือว่าช่วยสร้างการยอมรับ และภาพลักษณ์ทด่ี ใี ห้กบั นักลงทุนต่างประเทศ และในอนาคตอาจ จะมีการใช้เครือ่ งมือ SET SD Index มาวัดบริษทั จดทะเบียนเพือ่ ช่วยในการผลักดันให้บริษทั เห็นความส�ำคัญ และเป็ นการให้กำ� ลังใจ บริษทั ทีท่ ำ� แล้ว อย่างไรก็ดจี ะเป็ นการผลักดันแบบค่อยเป็ นค่อยไป ไม่ได้บงั คับให้ทุกบริษทั ต้องท�ำ และชีใ้ ห้เห็นประโยชน์และเน้นการ เชิญชวนให้ทำ � นอกจากนัน้ ตลาดหลักทรัพย์ ฯ ได้ไปชวนนักลงทุน สถาบันต่าง ๆ ให้ดเู รือ่ งความยังยื ่ นเป็ นส่วนประกอบของการตัดสิน ใจเข้าลงทุนในบริษทั ต่าง ๆ นักลงทุนปจั จุบนั จึงไม่ได้ดแู ค่รายงาน ทางการเงิน (Financial Report) ว่าผลประกอบการเป็ นอย่างไร แต่ ดูรายงานความยังยื ่ น (Sustainable Report) ว่าบริษทั จะอยูร่ อดนาน แค่ไหน ดังนัน้ บริษทั จดทะเบียนควรให้ความส�ำคัญเกีย่ วกับเรือ่ งนี้
Cover Story
>
Sustainability: A Step from CSR to CSV
ความยั่งยืน:
การก้าวผ่าน CSR สู่ CSV ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถาวร Dr. Pailin Chuchottaworn President and Chief Executive Officer PTT Public Company Limited
When is comes to sustainability, PTT Public Company Limited ranks high on the list. What drives PTT in terms of social responsibility and developing sustainable energy policies for Thailand? President and Chief Executive Officer Dr. Pailin Chuchottaworn shared with Boardroom his long experience in creating and maintaining sustainability and explained how PTT became the first company to be selected as a member of the Dow Jones Sustainability World Index (DJSI).
เมื่อพูดถึงบริษทั ทีเ่ น้นเรื่องการสร้างความยังยื ่ นมาอย่าง ต่อเนื่อง และยาวนาน หนึ่งในนัน้ จะต้องมีชอ่ื ของ บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) อย่างแน่ นอน อะไรคือแรงผลักดันทีท่ ำ� ให้ ปตท. มุ่งมัน่ สร้างสรรค์สงิ่ ดี ๆ ให้กบั สังคม และสร้างความยังยื ่ นด้านพลังงาน ให้กบั ประเทศชาติเช่นทุกวันนี้ ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถาวร ประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) สละเวลาให้สมั ภาษณ์กบั ทีม Boardroom เพื่อแบ่งปนั ประสบการณ์อนั ยาวนานของการสร้างความยังยื ่ น จนเป็ นบริษทั ไทยแห่งแรกที่ได้รบั เลือกเป็ นสมาชิกของ DJSI - Dow Jones Sustainability World Index (DJSI World)
Driving forces in creating sustainability
แรงผลักสำ�คัญในการดำ�เนินการเรื่องความยั่งยืน
PTT Public Company Ltd is well known for its use of natural resources in manufacturing its products. This inevitably led to a reaction from environmental activists. However, PTT's goal was to be Thailand's leading energy company. Thus, it adopted 3 strategies: Striving for excellence, social responsibility and corporate governance. When these 3 strategies worked consistently, they created sustainable growth for the organization and beneficial distribution to society as well. In the past, PTT had many driving forces from society, including environmental trends, creating acceptance among communities, and capitalism that focused on maximizing profits. The Board of Directors and executives of PTT's visions are to be determined, prudential and to focus on creating sustainability by using the concept of Creating Shared Value (CSV) that is more beneficial than Corporate Social Responsibility (CSR). Dr. Pailin said that PTT's Board of Director initiated the original sustainability study and still monitors it.
เป็ นทีท่ ราบกันดีอยูแ่ ล้วว่า บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) เป็นบริษทั ทีใ่ ช้ทรัพยากรธรรมชาติเป็นวัตถุดบิ ในการสร้างผลิตภัณฑ์ และสิ่ง ที่ม าควบคู่ ก ัน ย่ อ มหนี ไ ม่ พ้น เรื่อ งของเสีย งต่ อ ต้ า นด้า น สิง่ แวดล้อมจากนักอนุรกั ษ์จากหลายสาขา แต่อย่างไรก็ตาม เป้าหมาย ส�ำคัญของ ปตท. คือการเป็ นบริษทั พลังงานไทยชัน้ น�ำ จึงด�ำเนินงาน ภายใต้กลยุทธ์ 3 ประการ คือ เป็ นองค์กรแห่งความเป็ นเลิศ มีความ รับผิดชอบต่อสังคม และมีการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ซึง่ เมือ่ ทัง้ 3 ด้าน ท�ำงานสอดคล้องกันแล้ว จะสร้างการเติบโตทีย่ งยื ั ่ นขึน้ ต่อองค์กร และ กระจายสูส่ งั คมด้วยเช่นกัน
PTT and emphasis on CSV
ปตท. กับความใส่ใจเรื่อง CSV
The CSV concept of Michael E. Potter from Harvard University linked competition rules with the concept of corporate social responsibility (CSR). It presented the concept of the "triple bottom line", where sustainable business had to consider 3 components - economy, society and environment. Furthermore, he also accepted that while the triple bottom line might only be an inspiration, Creating Shared Value (CSV) would be a concrete approach in creating value for both shareholders and the society.
จากแนวคิด CSV ของไมเคิล อี. พอตเตอร์ แห่งมหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ด ทีน่ �ำกฎการแข่งขันมาเชือ่ มโยงกับแนวคิดความรับผิดชอบ ต่อสังคมขององค์กร (CSR) ทีเ่ คยเสนอแนวคิด Triple Bottom Line ทีธ่ รุ กิจจะก้าวไปสูค่ วามยังยื ่ นย่อมต้องค�ำนึงถึงองค์ประกอบ 3 ด้าน คือเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม ทัง้ ยังยอมรับว่า “Triple Bottom Line อาจจะเป็ นได้แค่แรงบันดาลใจ แต่ Creating Shared Value (CSV) จะสร้างวิธกี ารทีเ่ ป็ นรูปธรรมทีจ่ ะสร้างสรรค์คณ ุ ค่าเพิม่ ให้แก่ สังคมและผูถ้ อื หุน้ ได้จริง” ดังนัน้ แนวคิด CSV จะก้าวข้ามไปอีกขัน้ องค์กรธุรกิจจะต้องมุง่ มันด� ่ ำเนินงานทีก่ ่อให้เกิดประโยชน์แก่สงั คม
<
Cover Story
แม้วา่ ในอดีต ปตท. จะเจอแรงผลักดันทีส่ ำ� คัญจากสังคม ไม่วา่ จะเป็นกระแสด้านสิง่ แวดล้อม การสร้างการยอมรับจากชุมชนที่ มีต่อองค์กร รวมถึงกระแสระบบทุนนิยมทีเ่ น้นก�ำไรสูงสุดเป็ นส�ำคัญ แต่ดว้ ยวิสยั ทัศน์ของคณะกรรมการและผูบ้ ริหารของ ปตท. ทีม่ งุ่ มัน่ มองการณ์ไกล เน้นการสร้างความยังยื ่ นด้วยการใช้แนวคิด Creating Shared Value (CSV) ทีใ่ ห้ประโยชน์ได้มากกว่า Corporate Social Responsibility (CSR) ดร.ไพรินทร์เล่าให้ฟงั ว่าคณะกรรมการปตท. เป็ นผูท้ ร่ี เิ ริม่ ให้ศกึ ษาเกีย่ วกับเรือ่ งความยังยื ่ น และคณะกรรมการก็ ติดตามผลการด�ำเนินงานในเรือ่ งนี้อย่างต่อเนื่องมาจนถึงทุกวันนี้
> Cover Story Thus, CSV would be a one-step advance. The business organization had to focus on operations that benefited the society. Meanwhile, it also had to be competitive. Dr. Pailin explained that under the key principles of this concept, every party mutually benefited. Economic success was crucial because when communities saw the benefits from the organization, they would give back in many ways. The simple principles of CSR did not require money, but rather understanding, a volunteer mentality and the right target group. When this occurred, creating sustainability for the organization was no longer difficult. Obstacles
Although PTT was very successful in doing business, it did face several obstacles. The main ones were misunderstanding and negative news about the company. Dr. Pailin said rather than respond to negative news, PTT persuaded people not to believe the bad news. He gave the example of Samsung from Korea or religious missionaries who came to Thailand. They built schools and hospitals to encourage positive news about their organizations. PTT created sustainability for the organization by educating stakeholders, including the public, especially communities that lived near PTT plants, and PTT employees. The operational plan, called "coordination of learning toward sustainability" adopted the following approaches: 1. Width: Establishing an Energy Academy The aim of establishing an Energy Academy was to enhance knowledge and understanding of the necessity of energy, understanding the role in promoting efficient use of energy, enhancing the quality of life that was also environmental friendly, developing an economy and society and sustainably create energy stability in Thailand. The academy educated executives of many organizations in energy and provided a platform for sharing viewpoints in energy. It also created wide-angle learning for the society. 2. Depth: Building Kamnerd Wit School and University PTT built Kamnerd Wit School and University, a science institute located in Wang-Chan district, Rayong province to produce scientists for Thailand, ranging from secondary level to Phd. The institute's aim was to foster excellence in research and development in the country. 3. Personnel: PLLI - PTT Learning Leadership Institutes PTT became an organization of learning, encouraging employees to develop and learn by undertaking training courses. Nevertheless, the organization's executives had to set a good example to provide good leadership and enable employees to feel confident about the policy. "We could see that PTT had been through many pressures from the society," Dr. Pailin said. "Nowadays, PTT had grown strongly and is determined to create good things for society." PTT has been awarded many international prizes including the Green Globe for its one-million-rai reforestation project. It also is a member of the DJSI of oil and gas producers (OIX).
ในขณะเดียวกันก็สง่ เสริมให้ธรุ กิจสามารถแข่งขันได้ไปพร้อมๆ กัน ดร.ไพรินทร์ อธิบายหลักการส�ำคัญของแนวคิดนี้ คือทุกฝา่ ย ได้รบั ประโยชน์รว่ มกัน ทุกคนต้องได้รบั ประโยชน์ทางเศรษฐกิจด้วย เพราะเมื่อชุมชนเห็นประโยชน์ทอ่ี งค์กรท�ำให้ ชุมชนก็จะตอบแทน กลับมาในรูปแบบต่างๆ การท�ำ CSV มีหลักง่ายๆ คือ ต้องเข้าใจ ไม่จำ� เป็นต้องใช้เงิน มีจติ อาสา และท�ำให้ตรงกลุม่ เป้าหมาย เพียงเท่านี้ การสร้างความยังยื ่ นให้เกิดขึน้ ในองค์กรก็ไม่ใช่เรือ่ งยากอีกต่อไป อุปสรรค
แม้ว่ า ปตท. จะประสบความส�ำ เร็จ อย่ า งมากในการ ด� ำ เนิ น กิจ การ แต่ ทุ ก อย่ า งย่ อ มต้อ งมีอุ ป สรรคเสมอ อุ ป สรรค ส�ำคัญส�ำหรับ ปตท. คือ ความเข้าใจผิด มีขา่ วต่าง ๆ ในทางลบ ออกมาท�ำลายชื่อเสียงปตท. ซึ่งดร.ไพรินทร์มองว่าเราไม่ควรจะ ออกมาแก้ขา่ ว แต่ควรทีจ่ ะท�ำดีจนคนทีฟ่ งั ไม่เชื่อว่าปตท.เป็ นแบบ นัน้ ดร.ไพรินทร์ยกตัวอย่างบริษทั ซัมซุง ประเทศเกาหลี หรือ มิชชันนารีท่มี าประกาศศาสนาในประเทศไทยที่มกี ารสร้างสถาน ศึกษา และโรงพยาบาลทีด่ ที ำ� ให้คนไม่เชื่อเมื่อได้ฟงั ข่าวในทางลบ เกีย่ วกับองค์กรออกมา สิง่ ที่ปตท.ด�ำเนินการเพื่อสร้างความยังยื ่ นให้กบั องค์กร คือการให้ความรูก้ บั ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝา่ ย ทัง้ กับบุคคลทัวไป ่ คนใน ชุมชนทีป่ ตท.ต้องเข้าไปเกีย่ วข้อง เช่น มีโรงงานตัง้ อยู่ และพนักงาน ของปตท. โดยมีแผนการด�ำเนินงานภายใต้ชอ่ื “สามประสานแห่ง การเรียนรูส้ คู่ วามยังยื ่ น” ซึง่ มีแนวทางดังนี้ 1. แนวกว้าง : จัดตั้งสถาบันวิทยาการพลังงาน เพือ่ เป็ นการสร้างความรู้ ความเข้าใจในความจ�ำเป็ นของ พลังงานและเข้าใจในบทบาททีจ่ ะร่วมส่งเสริมให้มกี ารใช้พลังงาน อย่างรูค้ ณ ุ ค่า เพือ่ พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสร้างความมันคงทาง ่ พลังงานของประเทศอย่างยังยื ่ น ปตท. จึงจัดตัง้ สถาบันวิทยาการ พลังงานขึน้ เพื่อเป็ นสถาบันทีใ่ ห้ความรูด้ า้ นพลังงานกับผูบ้ ริหาร ระดับสูงขององค์กรต่าง ๆ พร้อมกับเป็นเวทีแลกเปลีย่ นความคิดเห็น ในมุมมองต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับพลังงาน นับว่าเป็ นการสร้างการเรียนรูใ้ น เชิงกว้างให้กบั สังคม 2. แนวลึก : สร้างโรงเรียนและมหาวิทยาลัยกำ�เนิดวิทย์ ทางด้านการสร้างความยังยื ่ นในแนวลึกนัน้ ทาง ปตท. ได้มกี ารสร้างโรงเรียนและมหาวิทยาลัยก�ำเนิดวิทย์ ซึง่ เป็ นสถาบัน ทางวิทยาศาสตร์ ตัง้ อยูท่ อ่ี ำ� เภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง เพือ่ ฟูมฟกั เหล่านักวิทยาศาสตร์ทเ่ี ป็ นอนาคตของชาติ ตัง้ แต่ระดับมัธยมศึกษา ถึงระดับปริญญาเอก ให้มศี กั ยภาพชัน้ เลิศ เพือ่ สร้างผลงานวิจยั และ พัฒนาประเทศอย่างเต็มความสามารถ
3. เน้นบุคคลากร : PLLI – PTT Learning Leadership Institutes เน้นการเรียนรู้ตลอดเวลา
ปตท. เป็ นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มุ่งเน้ นให้บุคคลากร ของปตท. มีก ารเรีย นรู้อ ยู่ต ลอดเวลา มีก ารพัฒ นาตนเองผ่า น หลักสูตรต่างๆ ทีเ่ ปิดอบรม ทัง้ นี้ ในระดับผูน้ �ำองค์กรต้องเป็ นแบบ อย่างทีด่ ี เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ และสร้างความชัดเจนให้กบั พนักงาน เพือ่ การมุง่ ไปสูท่ ศิ ทางเดียวกัน จะเห็นได้วา่ ปตท. ผ่านมาหลายร้อน หลายหนาว ผ่าน ภาวะบีบคัน้ จากภาคสังคมอย่างต่อเนื่อง จนทุกวันนี้ ปตท. โตขึน้ และ แกร่งขึน้ ด้วยความมุง่ หวังสร้างสิง่ ทีด่ ี ให้กบั สังคมมาอย่างต่อเนื่อง นัน้ ท�ำให้วนั นี้ ปตท. ได้รบั การการันตีจากรางวัลระดับสากล อาทิ รางวัล ลูก โลกสีเ ขีย วจากโครงการปลูก ป่า ล้า นไร่ และการได้ร บั เลือกเป็ นสมาชิก DJSI ในกลุม่ ผูผ้ ลิตน�้ำมันและก๊าซ (Oil and Gas Producers: OIX)
Cover Story
>
> Cover Story
SCG
and Sustainable Development
กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
นายธนวงศ์ อารีรชั ชกุล Mr. Thanawong Areerachakul Vice President Central Administration of SCG
Upon taking the helm as President of SCG in 2006, Mr. Khan Trakulhun declared the organization vision as the following: "SCG would be recognized as a collaborative and innovative organization and an example of good corporate governance and sustainable development in 2015". As a consequence, in the last 10 years, SCG has focused continuously on innovation, personnel, good corporate governance and sustainable development. This is in accordance with the 100-year ideology of the company which includes a commitment to justice, determination for excellence and belief in the value of people and commitment of a responsibility to society. Based on the company's determination and operation, SCG was ranked in Dow Jones Sustainability Indexes (DJSI) as among the leading companies in sustainable development in the building materials and fixtures sector for eight consecutive years. It was also ranked in the gold class for four consecutive years starting in 2008, and received the highest score in the world in the category of building materials and fixture. Boardroom in this issue was honored to have the opportunity to interview Mr. Thanawong Areerachakul, Vice President-Central Administration of SCG, about the company's operation in sustainable development.
How did SCG operate concretely?
ดำ�เนินงานอย่างเป็นรูปธรรมอย่างไร
SCG engaged in "practices in sustainable development" in 2008, which served as a guideline for the company in carrying out efficient practices throughout its operation. In each subject, there were several agencies that shared responsibility in three areas, the economy, society and environment. SCG set up the Social Affairs Committee for Sustainable Development, which reported directly to the Board of Directors. In the subcommittee, a director from the Board served as the chairman and the president of the company was one of the directors. Moreover,
SCG ได้จดั ท�ำ “แนวทางปฎิบตั กิ ารพัฒนาอย่างยังยื ่ น” ในปี 2551 เพือ่ ใช้เป็ นคูม่ อื การด�ำเนินการในเรือ่ งต่างๆ อันจะส่งผลให้การ น�ำไปปฎิบตั อิ ย่างมีประสิทธิภาพและเกิดวามเชือ่ มโยงของการด�ำเนิน งาน ในแต่ละเรือ่ งอาจมีหลายหน่วยงานรับผิดชอบร่วมกัน 3 ด้าน คือ เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม SCG มีการจัดตัง้ คณะกรรมการ กิจการสังคมเพื่อการพัฒนาอย่างยังยื ่ น รายงานขื้นตรงกับคณะ กรรมการบริษทั ในคณะกรรมการย่อยชุดนี้มคี ณะกรรมการบริษทั เป็ นประธาน และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เป็ นหนึ่งในคณะกรรมการ
<
Cover Story
ตัง้ แต่นายกานต์ ตระกูลฮุนได้เข้ารับต�ำแหน่ งกรรมการ ผู้ จ ัด การใหญ่ แ ห่ ง เครื อ SCG เมื่ อ ปี 2549 ก็ ไ ด้ ป ระกาศ วิสยั ทัศน์ องค์กรว่า “ภายในปี 2558 เอสซีจี จะเป็ นองค์กรที่ได้ รับ การยกย่อ งในฐานะ เป็ น องค์ก รแห่ง นวัต กรรมที่น่ า ร่ว มงาน ด้ว ย และเป็ น แบบอย่า งด้า นบรรษัท ภิบ าลและการพัฒ นาอย่า ง ยังยื ่ น” ดังนัน้ ในช่วงเกือบ 10 ปี ทผ่ี ่านมา SCG ให้ความส�ำคัญ มากกับเรื่องนวัตกรรม บุคคลากร บรรษัทภิบาล และการพัฒนา อย่างยังยื ่ น (Sustainable Development - SD) มาโดยตลอด ซึง่ สอดคล้อ งกับ อุ ด มการณ์ ข อง SCG ซึ่ง มีม ากว่ า 100 ปี นัน่ คือ ตัง้ มันในความเป็ ่ นธรรม มุง่ มันในความเป็ ่ นเลิศ เชือ่ มันในคุ ่ ณค่าของ คน และถือมันในความรั ่ บผิดชอบต่อสังคม จากความมุง่ มันและการ ่ ด�ำเนินงานทีผ่ า่ นมา Dow Jones Sustainability Indexes (DJSI) จึงจัดอันดับให้เอสซีจเี ป็ นบริษทั ชัน้ น�ำด้านการพัฒนาอย่างยังยื ่ นใน กลุม่ ธุรกิจวัสดุก่อสร้าง (Building Materials & Fixtures) ต่อเนื่อง เป็ นเวลาถึง 8 ปี โดยได้คะแนนการประเมินผลในกลุม่ สูงสุด (Gold Class) ติดต่อกัน 4 ปี มาตัง้ แต่ปี 2551 และในปี 2554 ยังได้เป็ นที่ 1 ของโลก คือ Sector Leader ในกลุม่ Building Materials and Fixture Boardroom เล่ ม นี้ จึง ได้ไ ปขอสัม ภาษณ์ SCG เกี่ย ว กับ การด� ำ เนิ น งานด้า น SD โดยได้ร ับ เกีย รติจ ากนายธนวงศ์ อารีร ัช ชกุ ล รองกรรมการผู้จ ัด การใหญ่ - การบริห ารกลางเป็ น ผูใ้ ห้สมั ภาษณ์
SCG established a particular agency for social affairs. The operation of SCG focused on building a sustainable supply chain, consisting of the following: 1) paying attention to ourselves by using an environmentally friendly production process of global quality; 2) focusing on upstream suppliers and contractors; and 3) focusing on downstream distributors, customers and consumers. Moreover, SCG also collaborated with organizations that were not directly related to the company or outside the supply chain to promote sustainable development through events, such as the Sustainable Development Symposium during which foreign experts were invited to give lectures on the subject.
และมีการจัดตัง้ หน่วยงานดูแลเรือ่ งนี้โดยเฉพาะ
Example projects of SCG
ตัวอย่างโครงการที่ทำ�
Based on the three operational guidelines, SCG developed several action plans, covering such topics as creating good corporate governance in the organization, environmentally friendly working process, environmentally friendly production, safety first, personnel development, social activity, environmentally friendly building, genetic diversity, waste reduction and attention to energy and climate. An example of a project with economic benefit was the one that covered the topic environmentally friendly product (SCG Eco Value). In 2013, SCG had 80 product categories that were certified, which accounted for 26% of the company's total revenue. Moreover, SCG also published an environmentally friendly procurement manual. More than 220 trade partners had joined the project, enabling them to reduce their costs by more than 90 million baht per year. From a social perspective, SCG included personnel development in the plan on the view that a good employee was also a good citizen in society. SCG employees were engaged in many activities. The manual communicated an operational guideline with a clear action. SCG also cooperated with other organizations in that area. Regarding the environmental aspect, SCG initiated a project that focused on energy and climate. Over the past five years, SCG invested more than 17 billion baht, which could result in savings in the energy budget of 5.7 billion baht per year. SCG also developed a project on toxic waste management, which had an ultimate goal of zero waste.
How important was sustainable development?
การพัฒนาอย่างยั่งยืนสำ�คัญอย่างไร
Currently, the association between sustainability and a good business was discussed widely. Focusing on that issue had benefited the organization because it had a pos-
การด�ำเนินงาน SCG ให้ความสนใจในการสร้างความ ยัง่ ยืน ในห่ ว งโซ่ อุ ป ทาน ได้ แ ก่ 1) ให้ ค วามสนใจตัว เอง คือ การมีก ระบวนการผลิต ที่เ ป็ น มิต รกับ สิ่ง แวดล้อ มและมีคุ ณ ภาพ ระดับ โลก 2) ให้ค วามส�ำ คัญ กับ ต้น น�้ ำ คือ ผู้ข ายป จั จัย การผลิต (Supplier) และคูส่ ญ ั ญา (contractor) 3) ให้ความส�ำคัญกับปลายน�้ำ คือตัวแทนจ�ำหน่าย ลูกค้า และผูบ้ ริโภค และนอกจากนัน้ ได้ให้ความ ส�ำคัญกับองค์กรอื่น ๆ ทีไ่ ม่ได้เกี่ยวโดยตรงกับธุรกิจหรืออยู่นอก ห่วงโซ่อุปทาน เพือ่ เป็ นการเผยแพร่ความรูเ้ รือ่ ง SD เช่นการจัด SD Symposium เป็ นประจ�ำทุกปี โดยเชิญวิทยากรจากต่างประเทศทีม่ ี ความเชีย่ วชาญด้านนี้มาให้ความเข้าใจ
จากแนวทางการด� ำ เนิ น งาน 3 ด้า นท� ำ ให้ SCG ได้ น� ำออกมาเป็ นแผนงานในภาคปฏิบตั ิ ได้แก่ การสร้างการก�ำกับ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ใ นองค์ ก ร กระบวนการท� ำ งานที่ เ ป็ น มิต รกับ สิง่ แวดล้อม การผลิตสินค้าทีเ่ ป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม การให้ความ ส�ำคัญกับความปลอดภัย การพัฒนาบุคคลากร การท�ำกิจกรรมเพือ่ สังคม การสร้างตึกทีเ่ ป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม การสนใจเรื่องความ หลากหลายทางพันธุกรรม การลดปริมาณของเสีย การให้ความสนใจ กับเรือ่ งพลังงานและสภาพภูมอิ ากาศ โดยมีตวั อย่างโครงการ อาทิ ด้านเศรษฐกิจ SCG มี ผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม (SCG Eco Value) ซึง่ ในปี 2556 มีผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั การรับรองจ�ำนวน 82 ประเภท ซึง่ รายได้คดิ เป็ น 26% ของยอดขายทัง้ หมด และมีการท�ำคูม่ อื การจัดซือ้ จัดจ้างทีเ่ ป็ น มิตรต่อสิง่ แวดล้อม ซึง่ มีคคู่ า้ เข้าร่วมกว่า 220 รายท�ำให้คา่ ใช้จา่ ยของ คูค่ า้ ลดลงกว่า 90 ล้านบาทต่อปี ด้านสังคม ในด้านนี้ได้รวมเรือ่ งการ สร้างพนักงานเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของแผน ด้วยการสร้างพนักงานถือ เป็ นการสร้างพลเมืองทีด่ สี สู่ งั คมด้วย SCG ให้พนักงานเข้ามามีสว่ น ร่วมกับกิจกรรมต่าง ๆ มีการสือ่ สารแนวทางการด�ำเนินงานผ่านการ ท�ำคูม่ อื เพือ่ ให้เกิดความชัดเจนในการปฏิบตั งิ านด้านต่าง ๆ และร่วม มือกับองค์กรอืน่ ๆ ในการด�ำเนินงาน ด้านสิง่ แวดล้อม SCG ด�ำเนิน โครงการเกีย่ วกับการให้ความสนใจกับเรื่องพลังงานและสภาพภูม ิ อากาศ ใน 5 ปีทผ่ี า่ นมาลงทุนไป 17,000 ล้านบาท ท�ำให้ประหยัด งบประมาณด้านพลังงานกว่า 5,700 ล้านบาทต่อปี อีกโครงการหนึ่ง คือการก�ำจัดสารพิษซึง่ SCG ตัง้ ใจทีจ่ ะท�ำให้ของเสียเหลือศูนย์ (zero waste)
การด� ำ เนิ น ธุ ร กิจ ณ ป จั จุ บ ัน นี้ ค ือ ต้ อ งถามตนเองว่ า ธุรกิจดีแต่ยงยื ั ่ นหรือไม่ การให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งนี้เป็ นประโยชน์ ต่ อ องค์ก รเองคือ ส่ ง ผลที่ดีข้ึน ต่ อ ต้ น ทุ น ในระยะยาว เช่ น เมื่อ
Cover Story
>
> Cover Story itive effect on costs. For example, the company's efforts on waste management and energy saving clearly had long-term benefits. Furthermore, such projects built confidence among the investors in the organization. In the future, the competition would be fiercer; our business would not be just a domestic business anymore. The global force that focused on that issue would push Thai companies that competed with companies in other countries to emphasize sustainability. Importantly, the benefit for society was more important than for the company itself. When we created an employee who was environmentally and socially conscious, we also contributed to a good society and Thai companies should jointly contribute to Thailand on that issue. Nevertheless, support from the company leaders was required in order for sustainable development to become a key issue within the organization. SCG Group included sustainable development in key performance indicators of the SCG subsidiaries to ensure that the executives would focus on it. We used the DSIJ standard as a checklist for improvement because SCG did not score 100% in all categories. As a consequence, the companies and the management had to continuously dedicate themselves to the issue of sustainable development. An organization could begin with sustainable development by studying how to live sustainably and happily with the local community, looking at its own supply chain, seeking cooperation, and presenting the possible benefits and approaches for other parties. Then, the organization could create a sustainable organization.
<
Cover Story
บริษัท ให้ค วามส� ำ คัญ กับ เรื่อ งการก� ำ จัด ของเสีย และเรื่อ งการ ประหยัด พลัง งานก็ ท� ำ ให้ บ ริษัท ได้ ร ับ ประโยชน์ นอกจากนั น้ นั ก ลงทุ น ที่เ ข้า มาลงทุ น ก็จ ะเกิด ความเชื่อ มัน่ ในองค์ก รมากขึ้น ในอนาคตการแข่ ง ขัน จะรุ น แรงมากขึ้น ธุ ร กิ จ ของเราจะไม่ ได้เ ป็ น ธุ ร กิจ ภายในประเทศอีก ต่ อ ไป แรงผลัก ดัน ในโลกที่ใ ห้ ความส�ำคัญกับเรื่องนี้จะท�ำให้บริษทั ไทยทีต่ อ้ งแข่งขันกับประเทศ อืน่ ๆ ต้องให้ความส�ำคัญด้วย แต่มากกว่าประโยชน์ของบริษทั เองก็ คือจะเป็ นประโยชน์ต่อสังคมโดยรวมด้วย เมือ่ เราสร้างพนักงานทีม่ ี จิตส�ำนึกต่อสิง่ แวดล้อมและสังคมก็ชว่ ยให้สงั คมซึง่ เขาเป็ นประชากร คนหนึ่งดีขน้ึ ด้วย ซึง่ บริษทั ในประเทศไทยควรจะช่วยกัน ทัง้ นี้ การให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งนี้ จะท�ำได้กเ็ มือ่ ผูน้ �ำองค์กร ให้ความส�ำคัญ SCG มีการน�ำเรือ่ งนี้เข้าเป็ นหนึ่งใน KPI ของบริษทั ในเครือทุกบริษทั เพือ่ ให้ผบู้ ริหารทุกคนให้ความส�ำคัญ การทีม่ ี DJSI เป็นมาตรฐานท�ำให้บริษทั มีมาตรฐานทราบว่าตรงไหนทีเ่ ป็นจุดทีต่ อ้ ง พัฒนาขึน้ อีก เพราะยังไม่ใช่ทุกส่วนทีไ่ ด้คะแนนเต็มร้อยเปอร์เซ็นต์ ท�ำให้บริษทั และผูบ้ ริหารต้องพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องต่อไป องค์กรจะเริม่ ท�ำได้ตอ้ งดูวา่ จะอยูก่ บั ชุมชนอย่างยังยื ่ นและมี ความสุขได้อย่างไร ดูหว่ งโซ่อปุ ทานของตนเอง และเริม่ หาความร่วม มือโดยการพูดคุย ฉายภาพให้ทกุ ฝา่ ยเห็นประโยชน์และแนวทางการ ปฏิบตั ทิ เ่ี ป็ นไปได้ ก็จะสามารถสร้างองค์กรทีย่ งยื ั ่ นได้แน่นอน
> Cover Story
3
Coordination for Sustainability
ประสานเพื่ อ ความยั่ ง ยื น
นายวีรศักดิ ์ โฆสิตไพศาล Mr. Veerasak Kositpisal Chief Executive Officer and President Thai Oil Public Company Limited
Many people think that creating sustainability for an organization is a difficult endeavor that is costly and requires, among other things, quality personnel, modern technology and state-of-the-art innovation, prompting them to abandon the idea. This is not case for Thai Oil Public Company Limited (TOP). Mr. Veerasak Kositpisal, Chief Executive Officer and President, explained his company's efforts regarding sustainability development during an interview with Boardroom. Before the term sustainability was discussed and used widely, TOP had already directed its operations towards developing sustainability, Mr. Veerasak explained. When the term sustainability was defined, its definition was consistent with the operational guidelines of TOP in three areas, namely the economy, society and environment. Mr. Veerasak said that sustainability had since become an accepted indicator. Many organizations had set several standards pertaining to sustainability. One of them was the Dow Jones Sustainability Index, which had a checklist for corporations to check their progress in achieving sustainability. Upon being exposed to the checklist, TOP had adjusted continuously the company operation to be in accordance with it. In 2013, TOP was selected to be a DJSI member in the DISJ emerging markets index group. The checklist of DJSI helped TOP to organize its data more efficiently. As a consequence, TOP established a department to be responsible for sustainable development, with a key objective to making the operation more efficient. The important key: Three-cooperation model
According to Mr. Veerasak, key for achieving sustainability entailed the efficient coordination of three parties,
แม้หลายคนอาจคิดว่าการสร้างความยังยื ่ นให้องค์กรเป็ น เรื่องยาก ต้องใช้งบประมาณจ�ำนวนมาก ต้องสร้างบุคลากรให้ม ี คุณภาพ ต้องใช้เทคโนโลยีทท่ี นั สมัย ต้องอาศัยนวัตกรรมทีล่ ้�ำยุค และอีกหลายเหตุผลกล่าวอ้างทีย่ กมาสนับสนุ นให้เลิกล้มความคิด การสร้างความยังยื ่ นนัน้ แต่สำ� หรับบริษทั ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) TOP ภายใต้การน�ำของ นายวีรศักดิ ์โฆสิตไพศาล ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารแล้ว กลับไม่เป็นเช่นนัน้ กุญแจส�ำคัญคืออะไร หัวเรือใหญ่ของ TOP ให้แนวคิดไว้อย่างน่าสนใจทีเดียว ก่อนค�ำว่า Sustainability หรือความยังยื ่ นนี้ จะถูกกล่าว ถึงอย่างมากและใช้อย่างแพร่หลายนัน้ TOP มีการด�ำเนินงานเพือ่ การสร้างความยังยื ่ นมาโดยตลอด และเมือ่ มีการก�ำหนดนิยามหรือ ความหมายของ Sustainability ขึน้ นัน้ จึงมาสอดคล้องกับแนวทาง กับการด�ำเนินงานของ TOP ซึง่ มีหลักอยู่ 3 ด้าน คือ เศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม ั บนั Sustainability ถือเป็นตัวชีว้ ดั ทีม่ คี นยอมรับมาก ณ ปจจุ ทีส่ ดุ และมีหลายองค์กรก�ำหนดมาตรฐานด้านความยังยื ่ น ซึง่ หนึ่งใน นัน้ คือมาตรฐานจาก Dow Jones Sustainability Index ซึง่ จะมีแนว ปฏิบตั ิ (Checklist) เพือ่ ให้เราตรวจสอบว่ามีการด�ำเนินการไปแล้ว มากน้อยเพียงใด และTOP ได้เรียนรู้ และปรับให้เข้าการด�ำเนินงาน ของ TOP มาอย่างต่อเนื่อง จนท�ำให้ในปี 2556 TOP ได้รบั เลือกให้ เป็ นหนึ่งในสมาชิกของ DJSI ในกลุม่ ดัชนี DJSI Emerging Markets (กลุม่ ตลาดเกิดใหม่) และจากการท�ำ Checklist ของ DJSI นัน้ ช่วยให้ TOP มีการจัดระบบระเบียบของข้อมูลได้ดขี น้ึ จึงเล็งเห็นว่าการ จัดตัง้ หน่ วยงานเฉพาะขึ้นมาดูแลจะท�ำให้การด�ำเนินงานมีความ คล่องตัวมากขึน้ กุญแจส�ำคัญ : โมเดลสามประสาน
ส� ำ หรับ กุ ญ แจส� ำ คัญ ที่ท� ำ ให้เ กิด ความยัง่ ยืน คือ การ ท�ำงานประสานกันอย่างมีประสิทธิภาพของทัง้ 3 ด้าน คือ บริษทั ชุมชน และหน่ วยงานท้องถิ่น ที่ผ่านมา TOP ได้สร้างกิจกรรม ต่างๆ พัฒนาชุมชนใกล้เคียง เช่น การดูแลรักษาสิง่ แวดล้อมทัง้
Cover Story
>
> Cover Story the company, the community and local agencies. In the past, TOP had initiated many activities with its neighboring communities in such areas as direct and indirect environmental conservation, providing education for people in the communities, ensuring good hygiene, promoting local culture and taking care of the specific needs of the community. Furthermore, TOP encouraged employee engagement in organization development. Many people had asked about the benefit of sustainability to which Mr. Veerasak responded that the sustainability of an organization was a mirror that reflected the organization to other stakeholders, including the investors who took sustainability into account for their investment on the view that a sustainable company was more stable in generating return. Thus, he suggested that that the DJSI standard significantly added value to the organization from the eyes of investors. When the company needed funding, sustainability was an additional attribute in making it a more interesting investment. When considering a joint venture, a company would enter one with a potential partner, using stability and sustainability as the priorities, Mr. Veerasak said. Likewise, those companies would focus on sustainability in their operation as well. This would make the joint venture more efficient and successful. He said that young people had a better understanding of sustainability and tended to be more interested in working for an organization that focused on sustainable development. As a consequence, young people would play a large role making an organization sustainable. Action
TOP focused notably on internal management and its operation system. A particular department was tasked with serving as the focal point for pushing the sustainability issue and providing information to employees about it, as well as build their understanding of it. The department was required to monitor the company operation and report to the management as a guideline for making short-term and long-term plans. The many details involved in creating sustainability and the multitude of organizations that had set different standards pertaining to sustainability, such as the Dow Jones Sustainability Indices and the General Reporting Initiative, created the need to establish that department as the center for the operation. Hence, the staff had to have good grasp on the subject and be able to explain it simply and perfectly in order to achieve efficiency of operation.
<
Cover Story
ที่เ กี่ย วข้อ งโดยตรงและโดยอ้อ ม ให้ก ารศึก ษาแก่ ค นในชุ ม ชน สร้ า งสุ ข อนามัย ที่ ดี ให้ ค วามเป็ น อยู่ ท่ี ดี ส่ ง เสริ ม วัฒ นธรรม ท้องถิน่ ท�ำในสิง่ ทีช่ มุ ชนต้องการ นอกจากนี้ การสร้างให้พนักงาน เกิด ความร่ว มมือ ร่ว มใจในการพัฒ นาองค์ก รให้เ กิด ความยังยื ่ น ถือเป็ นส่วนส�ำคัญเช่นกัน ทัง้ นี้ มีหลายคนเคยถามว่าการสร้างความยังยื ่ นให้กบั บริษทั ท�ำแล้วได้อะไร นายวีรศักดิ ์ บอกว่าความยังยื ่ นขององค์กร เปรียบเสมือนกระจกทีส่ ะท้อนภาพออกไปสูส่ ายตาผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย ทุกภาคส่วน เริม่ จากนักลงทุน ทีม่ กั จะใช้เรือ่ งความยังยื ่ นของบริษทั เป็ นเหตุผลหลักในการตัดสินใจลงทุน เพราะเมื่อบริษทั ทีจ่ ะลงทุน มีความยังยื ่ น ย่อมมีเสถียรภาพในการสร้างผลตอบแทนกลับมา ดังนัน้ อาจกล่าวได้วา่ DJSI เป็นมาตรฐานทีส่ ร้างคุณค่าให้กบั องค์กร ในสายตานักลงทุนอย่างมาก และเมือ่ บริษทั ต้องการระดมทุน ความ ยังยื ่ นนี้เป็ นส่วนส�ำคัญทีส่ ร้างความได้เปรียบ ท�ำให้บริษทั มีความน่า สนใจมากขึน้ หากมองในเรื่องของการร่วมทุน บริษทั ที่จะเข้ามาร่วม ทุนนัน้ ย่อมมองถึงความมีเสถียรภาพ ความยังยื ่ นขององค์กรเป็ น อันดับต้นๆ และเช่นเดียวกัน บริษทั เหล่านัน้ ย่อมมีการด�ำเนินงานที่ เน้นเรือ่ งความยังยื ่ นด้วยเช่นกัน ท�ำให้การร่วมทุนนัน้ มีประสิทธิภาพ และประสบผลส�ำเร็จ ส�ำหรับภาคสังคมปจั จุบนั เด็กรุน่ ใหม่มคี วามรู้ ความเข้าใจในเรือ่ งความยังยื ่ นมากขึน้ องค์กรไหนทีม่ กี ารด�ำเนินงาน เพือ่ ความยังยื ่ น คนรุน่ ใหม่เหล่านี้อยากเข้ามาร่วมงานกับองค์กรมาก ขึน้ เท่ากับว่าเป็ นการพัฒนาองค์กรให้ดขี น้ึ ไปเรือ่ ยๆ เชิงปฏิบัติ
TOP ให้ความส�ำคัญกับเรื่องระบบการจัดการ ด�ำเนิน งานภายในอย่างมาก มีการจัดตัง้ หน่ วยงานขึน้ มาเฉพาะเพื่อเป็ น ศูนย์กลางในการด�ำเนินงานและผลักดันให้เกิดความยังยื ่ น พร้อมกับ สร้างความรู้ ความเข้าใจให้กบั พนักงาน มีการติดตามผล เพือ่ รายงาน ต่อฝา่ ยจัดการ และเพือ่ เป็นแนวทางในการวางแผนงานทัง้ ในระยะสัน้ ระยะยาว ต่อไป ทัง้ นี้ สาเหตุ ท่ีต้ อ งมีห น่ ว ยงานเฉพาะขึ้น มาเพื่อ เป็ น ศูนย์กลางในการด�ำเนินงาน เนื่องจากว่าการสร้างความยังยื ่ นนัน้ มี รายละเอียดค่อนข้างมาก ทัง้ ยังมีหลายองค์กรในระดับสากลทีก่ ำ� หนด มาตรฐานต่างๆไว้ อย่างเช่น DJSI GRI เป็ นต้น ท�ำให้ผทู้ ด่ี แู ลรับ ผิดชอบเรื่องนี้ จะต้องเข้าใจและสามารถอธิบายให้กบั หน่ วยงานที่ เกีย่ วข้องให้เข้าใจได้งา่ ย เพือ่ ประสิทธิภาพของการด�ำเนินงานอย่าง สมบูรณ์ Small department Board of Director (CG Committee)
Executive
A particular department
Small department Small department
Roles of the Directors
ในด้านบทบาทกรรมการ
Directors had played an important role in the endeavor because they determined the policy on sustainability, Mr. Weerasak said. For TOP, as explained above, there was a particular department dedicated to sustainability. Moreover, the Board of Directors also assigned the Corporate Governance Committee to be responsible for dealing with the sustainability issue on the view that sustainability was a common issue for everybody not just the duty of any individual. Most parties had to work consistently, and it entailed top down management approach. Furthermore, TOP was able to develop sustainability for the organization by encouraging employees to express their opinions on their particular work duties. To sum up, Mr. Weerasak made the following closing comment: "I would like everybody to look at different standards for sustainability as a tool for a good administration. They were very useful because these standards could answer how complete the organization had worked for sustainability. Currently, sustainability is a 'must' issue in business."
กรรมการถือ เป็ น ผู้ม ีบ ทบาทส�ำ คัญ เพราะเป็ น ผู้ว าง นโยบายเรื่อ งความยัง่ ยืน TOP นอกจากจะมีก ารจัด ตัง้ หน่ ว ย งานเฉพาะด้า นความยัง่ ยืน นี้ แ ล้ว ในคณะกรรมการมีก ารมอบ หมายให้คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการ มีหน้าทีด่ ูแลเรื่องความ ยัง่ ยืน โดยเฉพาะเช่ น กัน ด้ว ยยึด ถือ ว่ า เรื่อ งความยัง่ ยืน นี้ เ ป็ น เรื่องที่ทุกคนต้องช่วยกัน ไม่ใช่ภาระหน้ าที่ของใครคนใดคนหนึ่ง ทุกฝา่ ยจะต้องมีการท�ำงานทีเ่ กีย่ วเนื่องกันไป และการด�ำเนินงานควร เป็ นไปในทิศทางจากบนลงล่าง (Top Down) เป็ นส�ำคัญ นอกจากนี้ การผลักดันให้พนักงานทีด่ แู ลในเรือ่ งต่างๆ น�ำเสนอความคิดเห็นที่ อยูภ่ ายในใต้ความรับผิดชอบ ช่วยสร้างให้เกิดความยังยื ่ นต่อองค์กร นายวีรศักดิ ์ กล่าวทิ้งท้ายว่า “อยากให้มองว่าการสร้าง ความยังยื ่ นตามมาตรฐานต่างๆ นัน้ เป็ นเหมือนเครือ่ งมือของฝา่ ย บริหารทีด่ ี มีประโยชน์มาก เพราะมาตรฐานเหล่านัน้ จะสามารถตอบ ได้วา่ องค์กรมีการท�ำงานทีค่ รบถ้วนสมบูรณ์เพียงใด และทุกวันนี้การ ด�ำเนินธุรกิจ ถ้าไม่ดเู รือ่ งความยังยื ่ น ไม่ได้แล้ว”
Cover Story
>
> Cover Story Sustainability means developing ourselves
to be better ความยั่งยืน
คือการพัฒนาตนเอง
ให้ดีกว่าเมื่อวาน
นายบวร วงศ์สนิ อุดม Mr. Bowon Vongsinudom President and Chief Executive Officer PTT Global Chemical Public Company Limited
Boardroom had the opportunity to interview Mr. Bowon Vongsinudom, President and CEO of PTT Global Chemical Public Company Limited, or PTTGC, a new member of the DJSI World Indices in the chemical sector, about the operations of the company in terms of sustainability. Last month, Boardroom conducted an interview with him about good corporate governance after the company was awarded Board of the Year for distinctive practices for 2012-2013. Sustainability means working together
The interview began with a discussion about the definition of the term sustainability. Mr. Bowon said it was about working or doing activities together. He explained that all work needed to be carried out with the objective of following ethical practices. Every project of PTTGC was based on a commitment to the organization, the community and the environment. Good intentions of the employees with regard to social development were behind all the activities undertaken by the company. One example of that was the Carbon Footprint Project, which was aimed at improving the environment by minimizing emissions. As part of the project, PTTGC employees planned and implemented a system based on international standards from the United Nations Environment Programme (UNEP) and the Thailand Greenhouse Gas Management Organization (public organization). The Luffala Project, was another example cited. It was a joint project involving PTTGC and Mae Fah Luang University to produce a multi-purpose skin soap from PTTGC glycerin with luffa fiber and Rayong local herbs. The project began by educating the local community on product development and helping them set up their own shop as a showcase for their product line and to operate as a community enterprise. The locals then went on to manage and develop the business by themselves. Luffala products had since become available in Jiffy Shops in
<
Cover Story
อี ก บริ ษั ท หนึ่ ง ที่ Boardroom ได้ ร ับ เกี ย รติ เ ข้ า ไป สัมภาษณ์ เกี่ยวกับเรื่องการสร้างความยังยื ่ น คือบริษัทที่เพิง่ ได้ รับคัดเลือกเข้าไปเป็ นสมาชิกใหม่ของ DJSI ในกลุ่ม Chemical Sector นัน่ คือ บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) หรือ PTTGC ซึ่ง Boardroom เคยสัม ภาษณ์ ไ ปแล้ว ครัง้ หนึ่ ง เมื่อต้น ปี ท่ีผ่า นมาเกี่ย วกับ เรื่องการก� ำกับ ดูแ ลกิจการที่ดี ซึ่ง ท�ำ ให้บ ริษัท ฯ ได้ร บั รางวัล ประกาศเกีย รติคุ ณ คณะกรรมการแห่ ง ปี ดีเด่น ปี 2555-2556 (Board of the Year for Distinctive Practices) ในเล่มนี้ นายบวร วงศ์สนิ อุดม ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ได้สละเวลาให้เกียรติสมั ภาษณ์อกี ครัง้ เพือ่ แบ่งปนั การด�ำเนินงานเกีย่ วกับเรือ่ งความยังยื ่ นของบริษทั ฯ ความยั่งยืนเป็นเรื่องของการทำ�งานร่วมกัน
เมือ่ ถามถึงนิยามค�ำว่า “ความยังยื ่ น” นายบวร วงศ์สนิ อุดม บอกว่าให้มองเป็ นเรื่องของการท�ำงานหรือการท�ำกิจกรรมร่วมกัน และการท�ำงานนัน้ จะต้องตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานเดียวกัน คือการท�ำความ ดี โครงการต่าง ๆ ที่ PTTGC ท�ำขึน้ ล้วนเกิดจากส�ำนึกรักองค์กร รักษ์ท้องถิ่น รักษ์สงิ่ แวดล้อม กิจกรรมเริม่ จากเรื่องใกล้ตวั ของ พนักงานทีห่ วังอยากให้มกี ารพัฒนาไปในทางทีด่ ขี น้ึ อย่างเช่น เรือ่ ง Carbon Footprint ทีพ่ นักงานของ PTTGC อยากเห็นสิง่ แวดล้อมมี คุณภาพทีด่ ขี น้ึ โดยการลดปริมาณคาร์บอนทีป่ ล่อยออกจากโรงงาน ให้เหลือน้อยทีส่ ดุ จึงริเริม่ วางระบบและด�ำเนินงาน โดยมีมาตรฐาน สากลจาก องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) เป็ นแนวทางในการด�ำเนินงาน โครงการลุฟฟาลา เป็ นโครงการที่ PTTGC ร่วมกับ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พัฒนาสบูท่ น่ี �ำกลีเซอรีน ซึ่ง เป็ น ผลิต ภัณ ฑ์ข อง PTTGC รวมกับ ใยบวบ และสมุ น ไพร ท้องถิน่ ปรับปรุงสูตรให้เป็ นสบู่ขดั ผิวมากคุณประโยชน์ โครงการ นี้ เ ริ่ม จากให้ค วามรู้แ ละสอนให้ช าวบ้ า นลงมือ สร้า งผลิต ภัณ ฑ์ จากกลุ่ ม เล็ก ๆ ทีล ะขัน้ ตอน รวมไปถึง การวางแผนงานด้ า น ต่ า งๆ ป จั จุ บ นั พัฒ นาจนมีห น้ า ร้า นเพื่อ โชว์ส นิ ค้า มีก ารด�ำ เนิ น งานในรูปแบบบริษัท เมื่อมาถึงจุดนี้ แล้ว PTTGC ก็จะเริม่ เปิ ด โอกาสให้ ช าวบ้ า นดู แ ลและพัฒ นาธุ ร กิ จ ด้ ว ยตัว เอง ป จั จุ บ ัน
PTT petrol stations. In addition, through the courtesy of The Chaipattana Foundation, the products were sold in Patpat stores. That kind of project was a prime example of creating sustainability for a community which successfully leaded to sustainable living. Reforestation and Water Conservation at Huay Mahaad Project was a joint project in which PTTGC joined hands with the local community to restore the forest and decrease incidence of wild fire at Khao Huay Mahad in Rayong province. The forest served as a buffer for water resources of the community which was also supported the sustainable development of ecosystem and increase biodiversity on the mountain. This project was initiated out of passion and awareness of the value of the resource to the villagers. The Three Baht Project was another initiative undertaken by a voluntary group of PTTGC employees to set ground rules for each member to save three baht a day. Each year, they would spend the savings and earn extra revenue from selling t-shirts for community development in the rural areas of Thailand. Based on above-mentioned projects, the Dow Jones Sustainability World Indices has recognized that the operations of PTTCG are based on sustainable development and have had a lasting impact. In 2012, the company became a DJSI World member in the chemicals sector, a distinction held by no other Thai companies. Mr. Bowon revealed that PTTGC was selected as a DJSI member earlier than expected plan. It had targeted to become a member in 2020. The company's intention for becoming a member was to further develop concrete sustainability or enterprise value. Mr. Bowon added that PTTGC employees were the most important factor in creating sustainability, as they served as the crucial force in implementing activities centred on that. He said PTTGC had in place a policy that all employees must be competent and ethical. With ethical people, the surrounding community and society could be developed and that, in turn, would lead to positive feedback on the organization. The byproduct reward would then be the pride of PTTGC employees Sustainability is a good example of an organization leader.
Mr. Bowon explained that fostering sustainability in an organization was one of the most important missions of the board of directors, while emphasizing that sustainably was vital for any organization to thrive. The board of directors of PTTGC had continuously supported activities related to sustainability by establishing a corporate governance committee to deal with that issue exclusively. The committee set up a favorable
ผลิตภัณฑ์ลุฟฟาลามีการวางจ�ำหน่ ายที่ร้านJiffyในสถานีบริการ น�้ ำ มัน ปตท. และยัง ได้ร บั ความอนุ เ คราะห์จ ากมูล นิ ธิช ยั พัฒ นา ในการวางจ�ำหน่ ายในร้านภัทรพัฒน์ ซึ่งการท�ำงานในลักษณะนี้ จะเกิดความยังยื ่ นแก่ชุมชนอย่างแท้จริง โครงการฟื้ นป่า รักษ์น้� ำ เขาห้วยมะหาด ทีท่ าง PTTGC ร่วมกับชาวบ้านในการพลิกฟื้นผืน ดินทีเ่ ขาห้วยมะหาด จังหวัดระยอง ให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ ลดอัตรา การเกิดไฟปา่ ทัง้ ยังเป็ นต้นน�้ำทีใ่ ห้ความชุม่ ชืน่ แก่ชุมชนได้อกี ด้วย โครงการเหล่านี้ลว้ นเกิดจากความรัก ความหวงแหนในทรัพยากรของ ชาวบ้าน นอกจากนี้ โครงการ 3 บาท ยังเป็ นอีกหนึ่งโครงการทีเ่ กิด ขึน้ จากความคิดของพนักงานจิตอาสา ด้วยแนวคิดการออมเงินวันละ 3 บาทของพนักงานจิตอาสา พอครบปีจะน�ำเงินออมส่วนนี้รวมกับราย ได้จากการขายเสือ้ ทีพ่ นักงานท�ำกันขึน้ เอง น�ำไปพัฒนาชุมชนในถิน่ ทุรกันดารทุกภูมภิ าคผลัดเปลีย่ นหมุนเวียนกันไป จ า ก โ ค ร ง ก า ร ที่ ก ล่ า ว ม า ท� ำ ใ ห้ D o w n J o n e s Sustainability World Indices (DJSI) เล็งเห็นว่า PTTGC มี การด� ำ เนิ น ธุ ร กิจ ตามแนวทางการพัฒ นาอย่ า งยัง่ ยืน และก่ อ ให้เ กิด ประสิท ธิผ ลอย่า งเป็ น รูป ธรรมมาอย่า งต่ อ เนื่ อ ง ท�ำ ให้ว นั นี้ PTTGC ได้รบั การจัดอันดับจาก Down Jones Sustainability เป็ น 1 ใน 9 บริษทั ชัน้ น� ำของโลกในกลุ่มอุตสาหกรรมเคมีภณ ั ฑ์ (Chemical Sector) ประจ�ำ ปี 2555 นายบวรเปิ ด เผยว่า การ ได้ร บั เลือ กให้เ ป็ น สมาชิก ของ DJSI ครัง้ นี้ เร็ว กว่า แผนเดิม ที่ ก�ำหนดไว้คอื ปี 2563 และการที่ PTTGC เข้าร่วมโครงการนี้ ประเด็นหลักคือต้องการให้เกิดความยังยื ่ นอย่างเป็ นรูปธรรมหรือที่ เรียกว่า Enterprise Value นายบวร กล่าวเพิม่ เติมว่า “พนักงาน PTTGC ทุกคน คือ สิง่ ส�ำคัญเหนืออื่นใดในการสร้างความยังยื ่ นนี้ คือแรงส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ เกิดกิจกรรมแห่งความยังยื ่ น ทีผ่ า่ นมา PTTGC ยึดถือว่าพนักงาน จะต้องเป็ นทัง้ คนดี และคนเก่ง เป็ นคนเก่งทีม่ วี ชิ าความรู้ เป็ นคนดี ทีค่ อยพัฒนาชุมชนและสังคมใกล้เคียง โดยส่งผลดีกลับมายังองค์กร ส�ำหรับรางวัลทีไ่ ด้รบั นัน้ คือผลพลอยได้ทส่ี ร้างความภาคภูมใิ จให้กบั พวกเรา PTTGC ทุกคน” ความยั่งยืนคือการเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้นำ�องค์กร
การสร้างความยังยื ่ นให้กบั องค์กร ถือเป็ นภารกิจหลัก ประการหนึ่งทีค่ ณะกรรมการบริษทั ฯ ให้ความส�ำคัญมาก เพราะผล ตอบแทนในรูปแบบต่างๆ ทีจ่ ะส่งกลับมายังองค์กรนัน้ มีมลู ค่าทีเ่ กิน กว่าประเมินได้ คณะกรรมการบริษทั ฯ ให้การสนับสนุนกิจกรรมอย่าง ต่อเนื่อง มีการตัง้ คณะกรรมการก�ำกับดูแลกิจการขึน้ มา เพือ่ ด�ำเนิน งานในส่วนนี้โดยเฉพาะ มีการวางระบบและนโยบายทีเ่ อื้อต่อการ ท�ำงานเพือ่ สร้างความยังยื ่ นให้กบั องค์กร ทัง้ ยังมีสว่ นร่วมในการท�ำ กิจกรรมแต่ละครัง้ อีกด้วย บ่อยครัง้ ทีค่ ณะกรรมการพร้อมผูบ้ ริหาร ระดับสูงลงพืน้ ทีเ่ พือ่ ตรวจสอบ และคอยให้คำ� แนะน�ำทีเ่ ป็ นประโยชน์ เพือ่ การวางนโยบายและการด�ำเนินโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ
Cover Story
>
> Cover Story
system and policy in creating sustainability for the organization and participated in activities pertaining to sustainability. They and the senior management often checked and gave useful advice in planning and implementing projects efficiently. Sustainability means better
Cover Story
นายบวร ให้แนวคิดไว้ว่า การสร้างความยังยื ่ นนัน้ เกิด จาก 3 องค์ประกอบ คือ คน ธุรกิจ และสิง่ แวดล้อม หากสามารถน�ำ ศักยภาพของแต่ละด้านมาหลอมรวมกันได้ ก็จะเกิดความยังยื ่ นขึน้ ได้
developing ourselves to be
According to Mr. Bowon, sustainability building was comprised of three components, namely people, business and environment. Sustainability can be achieved it the potential of those components were successfully integrated. To create sustainability was dependent on time and the engagement of people. Patience was also required as it could not be achieved in one day. It was important to consider how best to develop oneself and what needed to be improved in order to be more efficient, as well as useful for the community. That was the next challenge for PTTGC. At the end of the interview, Mr. Bowon made the following insightful comment: "to create sustainability for the organization was not hard. It did not require much budget, but the integration of three mentioned components was necessary. The size of the organization was not an issue. Just believe that, if it was truly a good thing, you would get something in return. It might not be money but, image or at least, you would be happy to see good employees and a good organization."
<
ความยั่งยืนคือการพัฒนาตนเองให้ดีกว่าเมื่อวาน
People
Environment Business
และการสร้างความยังยื ่ นนัน้ ต้องอาศัยเวลา อาศัยความ ร่ว มมือ ของคน บริษัท ฯ ต้อ งใช้ค วามอดทน โดยไม่ใ ช่ท�ำ เพีย ง วันเดียว แต่ตอ้ งดูว่าเราจะพัฒนาตนเองให้ดขี น้ึ กว่าเดิมได้อย่างไร จะท�ำให้สงิ่ ที่ท�ำแล้วมีประสิทธิภาพมากขึ้นและเป็ นประโยชน์ กบั ชุมชนมากขึน้ ได้อย่างไร ซึง่ นับเป็ นความท้าทายส�ำหรับก้าวต่อไป ของ PTTGC ตอนท้า ยการสัม ภาษณ์ นายบวรให้แ ง่ ค ิด ที่น่ า สนใจ ไว้ว่า “การสร้า งความยังยื ่ น ให้ก บั องค์ก รไม่ใ ช่เ รื่อ งที่ย าก อาจ จะไม่ ต้ อ งใช้ ง บประมาณมาก เพีย งแต่ น� ำ 3 องค์ ป ระกอบที่ กล่ า วไปนัน้ มาหลอมรวมให้ไ ด้ ไม่ว่า องค์ก รจะมีข นาดเล็ก หรือ ใหญ่ ไม่ใช่ประเด็น และขอให้เชื่อเถอะว่าถ้ามันเป็ นความดีจริง คุณจะได้ Return กลับมา อาจจะไม่ได้ในแง่เงินทอง แต่ได้ในแง่ ภาพลั ก ษณ์ การยอมรับ และเลวร้ า ยสุ ด ถ้ า ไม่ ไ ด้ อ ะไรเลย คุณก็ได้ความสบายใจ ได้เห็นพนักงานทีด่ ี เห็นองค์กรทีด่ ”ี
Cover Story
>
> Board Briefing
IOD's Annual General Meeting 2014
การประชุมใหญ่สามัญ
ประจ�ำปี
2557
Thailand Institute of Directors (IOD) held its annual general meeting at the Sheraton Grande Sukhumvit Hotel on 16th May. IOD Chairman Mr. Kirk-Krai Jirapaet presided over the meeting. Seven directors from the Board reported the performance of the association in the past year and answered questions to members attending the meeting. Sixty-three members attended the AGM to vote on the agenda, according to a quorum under the regulations of the association, and 8 members had voted in advance. Thus, there were 71 members in total voting on the agenda items. The agenda included approval of the annual general meeting report 2014, information about activities in 2013, consideration and approval of the financial budget for the 2013 fiscal year, consideration and election of the association auditor for 2014, determining remuneration for the auditor, and importantly, appointment of the new Board of Directors as 3 directors -- Mr. Kirk-Krai Jirapaet, Mr.Chatchai Virameteekul and Prof. Dr. Surapon Nitikraipot had completed their terms. The Nominating and Corporate Governance Committee nominated the 3 directors back to the Board of Directors and asked the meeting attendants to vote. For the nomination process of the Board of Directors, the Nominating and Corporate Governance Committee took components and
<
Board Briefing
สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) จัดการ ประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี ขน้ึ ณ ห้องบอลรูม โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขมุ วิท ในวันที่ 16 พฤษภาคมทีผ่ า่ นมา การประชุมในครัง้ นี้ มีนายเกริกไกร จีระแพทย์ ประธานกรรมการ IOD เป็ นประธานในที่ ประชุม ร่วมด้วยคณะกรรมการสมาคมฯ อีก 7 ท่าน ขึน้ กล่าวรายงาน ผลการด�ำเนินงานของสมาคมฯ ในปีทผ่ี า่ นมา พร้อมตอบข้อซักถาม แก่สมาชิกทีเ่ ข้าร่วมประชุม การประชุ ม ใหญ่ ฯ ครัง้ นี้ มีส มาชิก เข้า ร่ ว มลงคะแนน เสีย งในการพิจ ารณาระเบีย บวาระการประชุ ม ครบองค์ป ระชุ ม ตามข้อบังคับสมาคม จ�ำนวน 63 คน และมีสมาชิกที่ลงคะแนน เสียงล่วงหน้า จ�ำนวน 8 คน รวมมีสมาชิกลงคะแนนเสียงทัง้ หมด 71 เสียง โดยได้พจิ ารณาวาระต่างๆ ได้แก่ การอนุ มตั ิรายงาน การประชุมสามัญประจ�ำปี 2557 การแถลงกิจกรรมที่ผ่านมาใน ปี 2556 การพิจารณาและอนุ มตั งิ บการเงินปี 2556 การพิจารณา เลือ กตัง้ ผู้ส อบบัญ ชีข องสมาคมฯ ประจ�ำ ปี 2557 และก� ำ หนด ค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชี และอีกวาระหนึ่งทีส่ ำ� คัญคือ การแต่งตัง้ คณะกรรมการของสมาคมฯ แทนคณะกรรมการเดิมทีค่ รบวาระการ ด�ำรงต�ำแหน่ งในการประชุมครัง้ นี้ ได้แก่ นายเกริกไกร จีระแพทย์ นายฉัตรชัย วีระเมธีกุล และศ.ดร.สุรพล นิตไิ กรพจน์
structure of the association into account including sex, age, expertise in diverse businesses, expertise in law, experience in foreign affairs, and success and recognition. The resolution to re-appoint Mr. Kirk-Krai Jirapaet Mr.Chatchai Virameteekul and Prof. Dr. Surapon Nitikraipot to their positions means the Board has 15 directors in total. IOD President Dr. Bandid Nijathaworn informed the meeting about the association's performance in the past year. The voting results in the meeting are available at IOD website (www.thai-iod.com). After the annual general meeting, IOD was honored to host M.R. Pridiyathorn Devakula, who delivered a special speech in on the topic "Thai Private Sector's Challenges under the Current Political Situation" to share experiences and approaches to adapt business operations. The summary of the seminar is available in the following column. IOD would like to thank New Hampshire Insurance Company Limited for its support of the event. IOD plans to organize many more interesting activities for our members.
ทัง้ นี้ คณะอนุ ก รรมการสรรหาและก� ำ กับ ดู แ ลกิจ การ ได้เ สนอชื่อ กรรมการเดิม ทัง้ 3 คน กลับ เข้า รับ ต� ำ แหน่ ง ใหม่ เพื่อ ให้ป ระชุ ม ลงมติ ซึ่ง การพิจ ารณาคัด เลือ กบุ ค คลที่เ หมาะ สมเป็ น กรรมการสมาคมฯ นั น้ คณะอนุ ก รรมการสรรหาและ ก�ำกับดูแลกิจการพิจารณาได้ค�ำนึงถึงองค์ประกอบและโครงสร้าง ของสมาคมฯ ได้ แ ก่ เพศ วัย มี ค วามเชี่ ย วชาญในธุ ร กิ จ ที่ หลากหลาย มีความเชีย่ วชาญด้านกฎหมาย มีประสบการณ์ดา้ น การต่างประเทศ การเป็ นแบบอย่างที่ดใี นด้านความส�ำเร็จ และ การได้รบั การยอมรับ โดยในที่ประชุมได้มมี ติแต่งตัง้ กรรมการ 3 ท่าน คือ นายเกริกไกร จีระแพทย์ นายฉัตรชัย วีระเมธีกุล และ ศ.ดร.สุรพล นิติไกรพจน์ กลับมาด�ำรงต�ำแหน่ งเดิม รวมมีคณะ กรรมการทัง้ หมด 15 ท่าน ส�ำหรับการด�ำเนินงานของสมาคมฯ ในปี 2556 ดร.บัณฑิต นิจถาวร กรรมการผูอ้ ำ� นวยการสมาคมฯ รับหน้าที่ เป็ นผูช้ ้แี จงผลการด�ำเนินงานปี ท่ผี ่านมา ซึ่งผลคะแนนเสียงในที่ ประชุมฯ ท่านสมาชิกสามารถอ่านรายละเอียดรายงานการประชุม ได้ทเ่ี ว็บไซต์ของ IOD (www.thai-iod.com) ภายหลังการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2557 IOD ได้ รับเกียรติจาก ม.ร.ว.ปรีดยิ าธร เทวกุล ในการแสดงปาฐกถาพิเศษ ในงาน IOD Dinner Talk หัวข้อ “การปรับตัวของภาคเอกชนไทย ใน สถานการณ์การเมืองปจั จุบนั ” เพือ่ แบ่งปนั ประสบการณ์และวิธกี าร ปรับตัวในการด�ำเนินธุรกิจ ซึง่ สรุปการสัมมนาครัง้ นี้สามารถติดตาม ได้ในคอลัมน์ถดั ไป ส�ำ หรับ การจัด งานในครัง้ นี้ IOD ขอขอบคุ ณ บริษัท นิวแฮมพ์เชอร์ อินชัวรันส์ ทีใ่ ห้การสนับสนุนเป็ นอย่างดี และ IOD จะ จัดกิจกรรมดีๆ ให้กบั สมาชิกอย่างต่อเนื่องต่อไป
Mr. Kirk-Krai Jirapaet Chairman of IOD
Dr. Viphandh Roengpitthaya and Mr. Weerachai Ngamdeevilaisak
Prof. Hiran Radeesri, Honorary Chairman of IOD
Board Briefing
>
> Board Briefing Thai Private Sector’s Challenges
under the Current Political Situation การปรับตัว ของภาคเอกชนไทย
ในสถานการณ์การเมืองปัจจุบน ั
M.R. Pridiyathorn Devakula gave a special lecture on May 16, 2014, covering the topic "Thai Private Sector's Challenges under the Current Political Situation". A summary of some of the interesting issues discussed were as follows:
วันศุกร์ท ่ี 16 พฤษภาคม 2557 ม.ร.ว.ปรีดยิ าธร เทวกุล ได้ให้เกียรติมากล่าวปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ “การปรับตัวของภาค เอกชนไทย ในสถานการณ์ การเมืองปั จจุบนั ” ซึ่งมีประเด็นที่ น่าสนใจ ดังนี้
The adaptation of Thai private sector to the current political situation was not only an adaptation to survive through the crisis, but also entailed a vision towards realizing the sustainability of Thailand's economy in the long-term. In the past six months, it would be important to compare the economic performance of Thailand to that of neighboring countries in order to understand the important role the private sector played in driving the economy. Thailand posted economic growth of 2-3%, mainly on the back of the strength of the private sector, which accounted for more than 80% of the gross domestic product (GDP). In Singapore, the private sector accounted for approximately 50% of GDP.
การปรับตัวของภาคเอกชนไทยในสถานการณ์การเมือง ั ป จ จุ บ ัน ไม่ ใ ช่ ก ารปรับ ตัว เพื่อ ให้ ผ่ า นพ้ น ช่ ว งวิก ฤตการณ์ เท่านัน้ แต่จำ� เป็ นจะต้องมองการณ์ไกลไปถึงความยังยื ่ นของระบบ เศรษฐกิจของประเทศในระยะยาว ซึ่งตลอดระยะเวลา 6 เดือนที่ ผ่านมาหากเปรียบเทียบเศรษฐกิจไทยกับประเทศเพือ่ นบ้าน พบว่า แม้ไ ด้ร บั ผลกระทบจากวิก ฤตทางการเมือ ง แต่ อ ัต ราการเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจยังคงสามารถขยายได้ร้อยละ 2-3 สะท้อน ให้เ ห็น ถึง ความแข็ง แกร่ ง ของภาคเอกชนไทย ซึ่ง มีผ ลิต ภัณ ฑ์ มวลรวมในประเทศรวมกันถึงร้อยละ 80 ของประเทศ ในขณะที่ ภาคเอกชนในประเทศสิ ง คโปร์ เ ป็ นผู้ ข ับ เคลื่ อ นผลิ ต ภั ณ ฑ์ มวลรวมในประเทศ ประมาณร้อยละ 50 ฉะนัน้ ภาคเอกชนไทยจึงมี บทบาทส�ำคัญยิง่ ต่อการพัฒนาและขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของประเทศ
Urgent Steps that the New Government Should Undertake Below is a list of the some of the urgent steps Mr. Pridiyathorn indicated that must be undertaken by the new governtment to get the economy back on track: 1. Help farmers in the rice mortgage scheme, as the government still owed them 90 billion baht. This budget allocation would stimulate domestic consumption (domestic demand) through spending by farmers. 2. Accelerate implementation of government investment to circulate the budget allocation in the economic system. This would help the economy recover more quickly. 3. Promote investment in infrastructure, such as the double track railway, deep sea port and logistics operations,
<
Board Briefing
สิง่ ทีร่ ฐั บาลชุดใหม่จะต้องเร่งด�ำเนินการ ได้แก่
1. การช่วยเหลือเกษตรกรทีจ่ �ำน� ำข้าวอย่างเร่งด่วน ซึง่ รัฐบาลยังคงค้างช�ำระอยู่ประมาณ 9 หมื่นล้านบาท งบประมาณนี้ จะช่วยกระตุ้นให้เกิดอัตราการบริโภคภายในประเทศ (Domestic demand) ผ่านการใช้จา่ ยของเกษตรกร 2. เร่งรัดการน�ำงบลงทุนของภาครัฐออกมาหมุนในระบบ เศรษฐกิจ ซึง่ ส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศฟื้นตัวได้เร็วยิง่ ขึน้ 3. ส่งเสริมการลงทุนด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน เช่น รถไฟราง คู่ ท่าเรือน�้ำลึก ระบบขนส่งทีเ่ ชือ่ มต่อในภูมภิ าคอาเซียน เป็นต้น เพือ่ กระตุน้ ภาคการลงทุน และอสังหาริมทรัพย์ ทัง้ นี้ สามารถพิจารณา ด�ำเนินการโดยใช้งบประมาณปกติและก่อหนี้ผกู พันข้ามปีได้
M.R. Pridiyathorn Devakula
that would link up with other ASEAN members and stimulate investment and boost the property market. Funding for this could come from the regular annual budget with a commitment over years. 4. Approve licenses for more than 100 industrial plants (format 4) that were still being considered in order to push the production industry forward In addition, the new government should take immediate steps to prepare Thailand for the ASEAN Economic Community (AEC). The private sector was already well prepared for AEC, but the public sector needed a lot more work to get it up to speed. However, some ministries, such as Ministry of Foreign Affair and Ministry of Commerce, were positioned to adapt to the new environment resulting from AEC, while other government agencies still need to focus on this issue. As the main driver of the Thai economy, the private sector could continue to move forward despite the ongoing political situation. Thailand should adjust its strategy to stimulate the economy. The country could learn from Japan, which previously had an agricultural-based economy and later transformed itself into an industry-based economy. After the transformation, wages in Japan became too high and the country became a trading nation with a production base worldwide. The Thai economy had already gone through some changes in some key areas, as listed below: 1. Foreign trade. When the G3 market became less important, the Ministry of Commerce initiated in 1993 a plan to diversify its markets. This helped the country adapt to becoming a trading nation in which some companies still exported only their domestic production. 2. AEC would become fully effective at the end of 2015. Thailand's trade could expand significantly on the back of the country' expertise in consumer products that in Asian terms were deemed as being of good quality and pro-
4. เร่งอนุ มตั กิ ารขออนุ ญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง. 4) ทีร่ อการอนุมตั อิ ยูห่ ลายร้อยแห่ง ซึง่ จะท�ำให้อตุ สาหกรรมการผลิต สามารถเดินหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ รัฐ บาลชุ ด ใหม่ค วรด�ำ เนิ น การในเรื่อ งการ เตรียมความพร้อมเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โดยการ ตัง้ คณะกรรมการเตรียมการเข้าสู่ AEC ซึง่ ภาคเอกชนได้เตรียมการ ไว้พอสมควร แต่การเตรียมความพร้อมของภาครัฐยังไม่มากเท่าที่ ควร อย่างไรก็ตาม กระทรวงทีม่ ภี ารกิจหลักและค่อนข้างเตรียมการ ในเรือ่ งนี้ได้ดี คือ กระทรวงการต่างประเทศ และกระทรวงพาณิชย์ แต่ในส่วนอื่นๆ จ�ำเป็ นจะต้องให้ความส�ำคัญเพิม่ ขึน้ ด้ว ยเหตุ ท่ี ภาคเอกชนไทยถือ เป็ น ผู้ข บั เคลื่อ นระบบ เศรษฐกิจ หลัก ของประเทศ ดัง นัน้ จึง ไม่จ�ำ เป็ น ต้อ งชะลอตาม สถานการณ์ ท างการเมือ งที่เ กิด ขึ้น ในป จั จุ บ นั ประเทศไทยควร ปรับเปลี่ยนแผนเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ซึ่งสามารถเรียนรู้ได้จาก ประเทศญีป่ ุ่น ซึง่ เดิมเป็ นประเทศทีท่ �ำการเกษตร และพัฒนาด้าน อุตสาหกรรมเพิม่ เติม แต่เมือ่ ค่าแรงในประเทศสูง จึงปรับตัวเองเป็ น trading nation มีการขยายฐานการผลิตไปทัวโลก ่ ซึง่ ประเทศไทยมี การปรับไปบ้างแล้วบางส่วน เริม่ จาก 1. การค้าต่างประเทศ เมือ่ ตลาด G3 เริม่ ลดความส�ำคัญ ลง กระทรวงพาณิชย์จงึ วางแผน diversify ตลาดตัง้ แต่ปี 2535 ซึง่ ถือเป็ นการเตรียมการปรับตัวไปเป็ น trading nation ซึง่ ส่วนหนึ่งยัง คงส่งออกเฉพาะทีผ่ ลิตในประเทศเท่านัน้ 2. AEC จะเริม่ เต็มรูปแบบสิน้ ปี 2558 ประเทศไทยจะ สามารถค้าขายได้มาก เพราะประเทศไทยมีความสามารถในเรื่อง Consumer product มากทีส่ ดุ ในเอเชียทัง้ ในด้านคุณภาพและปริมาณ ถือได้วา่ เป็ น Champion product 3. เมือ่ พิจารณาภูมศิ าสตร์ของกลุ่มประเทศอาเซียนทีอ่ ยู่ บนแผ่นดิน 6 ประเทศ ประเทศไทยตัง้ อยูต่ รงกลาง ซึง่ สามารถเป็ น ศูนย์กลางการค้าได้ 4. การลงทุ น หากพิจ ารณาที่ไ ด้ท� ำ แล้ว บริษัท ของ ไทยได้ลงทุนสร้างโรงงานในต่างประเทศ เช่น ปูนซิเมนต์ ทูน่า
Board Briefing
>
> Board Briefing duced in mass quantities. Many of its products were viewed as champion products. 3. Thailand's positioning geographically at the center of the six members of ASEAN had given it the potential to become the trading hub of the association. 4. Investment by Thai companies had made inroads in expanding their foreign production bases. Among the notable ones that had invested in other countries were Siam Cement Group, Thai Union Frozen Products Public Company Limited (canned tuna), Srithai Superware Public Company Limited, PTT Public Company Limited and Advance Steel. Overall, for Thailand to evolve into a trading nation, the following must take place: 1. Trading regulations must be adjusted to be more flexible. The private sector should push the country to be a trading headquarters. 2. The tax and monetary systems must be improved in way that supports the country in its effort to become a trading hub. 3. Support from the Thai private sector in trading with other countries would be needed. The development of logistics that would link Thailand's neighbors to deep sea ports, especially a double track railway in the south that would connect to the Pakbara deep sea port. This would make logistics in Thailand more favorable for international trade, especially transportation to Europe. However, the success of double track railway was dependent on developing a good container yard. The train would need to be punctual and the private sector should arrange the financing and mange it. In conclusion, Thailand still had a bright future because of its strong foundation of private capital in ASEAN and the overseas production based established by the private sector. This was an indication that the Thai private sector was strong and ready to advance.
M.R. Pridiyathorn Devakula and IOD Board
<
Board Briefing
กระป๋ อง ศรีไ ทยซุ ป เปอร์แ วร์ ปตท. แอดวานซ์ ส ตีล เป็ น ต้น ถือเป็ นการขยายฐานการผลิตในต่างประเทศ โดยภาพรวมแล้ว ประเทศไทยสามารถเป็น trading nation ได้ แต่ตอ้ งด�ำเนินการ ดังนี้ 1. ปรับกฎเกณฑ์การค้าให้คล่องตัว เอกชนต้องช่วยกัน ผลักดันเพือ่ จะเป็ น headquarter ทางการค้า 2. ระบบภาษี ระบบการเงินทีเ่ อื้อต่อการเป็ นศูนย์กลาง การค้า 3. การสนับ สนุ น ภาคเอกชนไทยในการท� ำ การค้า กับ ต่างประเทศ 4. ระบบการขนส่งสินค้าที่เชื่อมต่อประเทศเพื่อนบ้าน และท่าเรือน�้ ำลึกเป็ นสิง่ ส�ำคัญทีต่ อ้ งเร่งด�ำเนินการ โดยเฉพาะการ สร้างทางรถไฟรางคูไ่ ปทางภาคใต้ และเชือ่ มต่อไปถึงท่าเรือน�้ำลึกที่ ปากบาลา จะท�ำให้ประเทศไทยมีระบบขนส่งทีเ่ อือ้ ต่อการค้าระหว่าง ประเทศเป็นอย่างมาก ซึง่ ท�ำให้การขนส่งสินค้าไปยุโรปสะดวกขึน้ แต่ สิง่ ทีน่ ่าเป็ นห่วง คือ รถไฟรางคู่ ซึง่ จะส�ำเร็จได้ตอ้ งมี container yard ทีด่ ี รถไฟต้องตรงตามตารางเวลา โดยเอกชนควรจะเป็ นผูป้ ระมูล และบริหารจัดการ โดยสรุ ป แล้ว ประเทศไทยยัง มีอ นาคตสดใสเพราะมี พืน้ ฐานทีด่ ี มี private capital สูงทีส่ ดุ ในอาเซียน และเอกชนได้ออกไป สร้างฐานการผลิตในต่างประเทศอย่างเห็นได้ชดั ซึง่ แสดงว่า เอกชน ไทยมีความพร้อม มีความเข้มแข็งทีจ่ ะก้าวต่อไป
> Board Development
INTERVIEW
MR. MONGKON LEELATUM President of Thai Investors Association In references to an annual general meeting, most people think of a meeting during which a board of directors reports on its company's performance and answers questions from shareholders or investors. In the past, IOD attempted to inform members of boards of directors on how to perform their duties in a way that takes into account the best interests of shareholders. In this issue, Boardroom interviewed Mr. Mongkon Leelatum, President of Thai Investors Association, about investors' viewpoint and what they expect from a board of directors and annual general meetings and the role of the Thai Investors Association with regard to encouraging small investors to become more active in the business operations of companies in which they hold shares.
Key mission of Thai Investors Association
ภารกิจหลักของสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย
Thai Investors Association (TIA) was established based on three principles consisting of education, rights protection and investment control. Thus, the key missions of TIA are to educate Thai investors about investment in general, and to create a level playing field for small and large investors in order to make investments sustainable. A key mechanism for rights protection is the annual general meeting, which is the main activity in which rules and regulations support shareholders in engaging with the companies they hold shares in. Thus, TIA, the Stock Exchange of Thailand, the Securities and Exchange Commission and the Thai Listed Companies Association jointly developed the annual general meeting assessment form (AGM checklist) in 2006. The form was based on assessing three periods: (1) the period prior to the meeting day; (2) the meeting days; and (3) the period after the meeting day. The questions focused on shareholders' rights and the quality of the shareholders, especially regarding sufficient information disclosure for the investor. The assessment results showed that the average score gradually improved from 86.16% in 2010 to 91.04% in 2013. This indicates that annual general meetings of listed companies have improved considerably. Moreover, the assessment results are very consistent with assessment results indicated in IOD's Corporate Governance Report of Thai listed companies.
สมาคมส่งเสริมผูล้ งทุนไทยเริม่ ก่อตัง้ ด้วยหลัก 3 ประการ คือ ให้ความรู้ พิทกั ษ์สทิ ธิ ์ พิชติ การลงทุน ดังนัน้ ภารกิจทีส่ ำ� คัญของ สมาคมฯ คือการพัฒนาและส่งเสริมให้ผลู้ งทุนไทยมีความรูใ้ นด้าน การลงทุน พร้อมกับสร้างมาตรฐานให้เกิดความเท่าเทียมกันระหว่าง ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่และรายย่อย เพื่อให้เกิดความยังยื ่ นในเรื่องการ ลงทุน กลไกหนึ่งทีส่ ำ� คัญในการพิทกั ษ์สทิ ธิ ์คือกิจกรรมการประชุม สามัญประจ�ำปี ซึง่ เป็นกิจกรรมหลักทีก่ ฎหมายรองรับทีใ่ ห้ผถู้ อื หุน้ ได้ แสดงบทบาทในการประชุมได้อย่างครบถ้วน สมาคมส่งเสริมผูล้ งทุน ไทยจึงได้ร่วมมือกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ส�ำนักงาน คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และ สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย ในการจัดท�ำแบบประเมินการประชุม สามัญประจ�ำปี (AGM Checklist) ในปี 2549 ซึง่ แบบประเมินนี้ได้ แบ่งวิธกี ารประเมินออกเป็ น 3 ช่วง คือ ก่อนวันประชุม วันประชุม และหลังการประชุม โดยเน้นไปในเรือ่ งสิทธิของผูถ้ อื หุน้ และความ เท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ โดยเฉพาะเรือ่ งการเปิ ดเผยข้อมูลทีเ่ พียง พอต่อการตัดสินใจของนักลงทุน ผลจากการประเมินทีผ่ ่านมาพบ ว่า คะแนนเฉลีย่ ดีขน้ึ เป็ นล�ำดับจากร้อยละ 86.16 ในปี 2010 มาเป็ น ร้อยละ 91.04 ในปี 2013 ชึใ้ ห้เห็นว่าการจัดประชุม AGM ของบริษทั จดทะเบียนมีการพัฒนามากยิง่ ขึน้ และผลประเมินนี้มคี วามสอดคล้อง อย่างมีนยั ส�ำคัญกับผลการประเมิน CGR ของ IOD อีกด้วย
<
Board Development
หากกล่าวถึงการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี หรือ AGM นัน้ หลายท่านก็จะนึกถึงการประชุมทีม่ คี ณะกรรมการ ขึน้ รายงานผล การด�ำเนินงาน และตอบข้อซักถามแก่ผถู้ อื หุน้ หรือผูล้ งทุน ทีผ่ า่ นมา IOD ได้พยายามน�ำเสนอเรือ่ งราวบทบาท หน้าทีข่ องคณะกรรมการ เพื่อให้คณะกรรมการท�ำหน้าทีไ่ ด้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เพื่อ ผลประโยชน์สงู สุดของผูถ้ อื หุน้ Boardroom ฉบับนี้ จึงได้สมั ภาษณ์ นายมงคล ลีลาธรรม นายกสมาคมส่งเสริมผูล้ งทุนไทย เกีย่ วกับมุมมอง สิง่ ทีน่ กั ลงทุนคาดหวังทีจ่ ะได้เห็นจากคณะกรรมการและการประชุม AGM และบทบาทของสมาคมส่งเสริมผูล้ งทุนไทยในการผลักดัน การมีสว่ นร่วมของนักลงทุนรายย่อยต่อการด�ำเนินงานของบริษทั ที่ ตนเองถือหุน้ อยู่
Shareholder' rights
สิทธิผู้ถือหุ้น
TIA is trying to enhance shareholder activism. Shareholders must be aware of regulations, good practices and social measures. The annual general meeting is the platform to show their potential. TIA has initiated a shareholder protection project, which sponsors people to attend annual general meetings to ask useful questions based on three principles, full willingness, full knowledge and full dignity. TIA instructs the meeting participants on what question they should ask based on the AGM assessment form. Importantly, the meeting participants must not have any conflicts of interest with the companies holding the annual meeting they are attending. In 2013, TIA had 108 meeting participants, many of whom were experts in different fields. One of the important questions that the meeting participants have been required to ask this year pertains to joining the Thai Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC). IOD is the project secretariat for CAC. Based on discussions with 537 companies, 40% of them have already joined CAC.
สิง่ ทีท่ างสมาคมฯ พยายามสร้างให้ผถู้ อื หุน้ เข้ามามีส่วน ร่วมมากขึน้ (Shareholder Activism) ซึง่ ผูถ้ อื หุน้ จะต้องรับรูเ้ รือ่ งกฏ ระเบียบ แนวปฏิบตั ทิ ด่ี ี และมาตรการทางสังคม โดยมีการประชุม สามัญประจ�ำปี เป็ นเหมือนเวทีในการแสดงศักยภาพ จากแนวทาง นี้ทางสมาคม ฯ มีโครงการอาสาพิทกั ษ์สทิ ธิผถู้ อื หุน้ เปิ ดให้อาสา สมัครเข้าร่วมเพือ่ ซักถามค�ำถามทีเ่ ป็ นประโยชน์ในทีป่ ระชุม AGM โดยมีหลักส�ำหรับอาสาสมัคร 3 ประการ คือ เต็มใจ เต็มความรู้ และ เต็มศักดิศรี ์ ทุกคนอาสาเข้ามาโดยไม่มคี า่ ตอบแทน ทางสมาคมฯ ให้ความรูถ้ งึ สิง่ ทีค่ วรจะถามซึง่ เป็ นตามแบบประเมินการจัดประชุม AGM และผูเ้ ข้าร่วมจะต้องไม่มผี ลประโยชน์ เกี่ยวข้องกับบริษทั ที่ ตนเองถามค�ำถาม ในปี 2556 มีอาสาสมัครเข้าร่วม 108 คน ซึง่ หลาย ท่านเป็ นผูท้ รงคุณวุฒใิ นแวดวงต่าง ๆ ค�ำถามทีส่ ำ� คัญเรือ่ งหนึ่งทีอ่ าสาพิทกั ษ์สทิ ธิ ์ต้องถามในปีน้ี คือเรือ่ งการเข้าร่วมโครงการแนวร่วมปฏิบตั ภิ าคเอกชนไทยในการต่อ ต้านการทุจริตซึง่ IOD ท�ำหน้าทีเ่ ป็ นเลขานุการโครงการ จากการเข้า ร่วมสังเกตการณ์ 537 บริษทั ผลทีไ่ ด้พบว่ามีบริษทั ทีเ่ ข้าร่วมโครงการ แนวร่วมฯแล้วถึง ร้อยละ 40 ส่วนอีกร้อยละ 60 เป็นบริษทั จดทะเบียน ทีย่ งั ต้องปฏิบตั แิ ละวางนโยบายเพิม่ เติม อย่างไรก็ดี บริษทั เหล่านี้ม ี แนวโน้มทีจ่ ะพัฒนา และวางแผนเข้าร่วมโครงการแนวร่วมฯ อยูเ่ ป็ น จ�ำนวนมาก
Roles of directors at an annual general meeting
As indicated in the previous paragraphs, investors have more knowledge and understanding of their roles and rights. As a consequence, a board of directors needs to enhance its understanding of its roles and duties in order to conduct business and set effective policies. Mr. Mongkon cited three important concepts pertaining to the roles and duties of the board of directors: 1. The board of directors need to lay a strong foundation for the business to increase its competitiveness and achieve a good performance because both large and small investors pay close attention to this matter. 2. The board of directors should focus on compliance of good practice in corporate governance. Basically, they should not only push the management to comply with the regulations, but they should also focus on what needs to be done to be in compliance. 3. The board of directors must take into consideration all of the stakeholders. It should not only focus on investors, but also consider the interests of employees, trade partners and society, with the aim to create an environment that ensures the sustainability of the business. Mr. Mongkon is of the view that if the board of directors could follow these three concepts, they could drive the organization to grow sustainably and concretely. He also commented that "the total responsibility of a company operation is genuinely with the board of directors"
บทบาทกรรมการในการประชุม AGM
จากทีเ่ รือ่ งราวข้างต้น ผูล้ งทุนมีความรูค้ วามเข้าใจ ทราบ ถึงบทบาทและสิทธิของตนเองมากขึน้ ดังนัน้ เพือ่ การด�ำเนินธุรกิจ และก�ำหนดนโยบายทีม่ ปี ระสิทธิภาพนัน้ คณะกรรมการต้องเข้าใจ บทบาทและหน้าทีข่ องตนเอง นายมงคลให้แนวคิดเรือ่ งบทบาทหน้าที่ ของกรรมการทีส่ ำ� คัญไว้ 3 ประการ คือ 1. คณะกรรมการต้องวางโครงสร้างธุรกิจให้เข้มแข็ง เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน เพื่อสร้างผลประกอบการทีด่ ี เพราะแน่นอนว่านักลงทุนทัง้ รายใหญ่และรายย่อยให้ความสนใจกับ เรือ่ งนี้เป็ นอย่างมาก 2. คณะกรรมการควรให้ความส�ำคัญในการปฏิบตั ติ าม แนวปฏิบตั ทิ ด่ี ี (Best Practices) ในเรือ่ งการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี (Corporate Governance) กล่าวคือไม่เพียงแต่ผลักดันให้ดำ� เนินการ ตามกฏระเบียบทีบ่ งั คับไว้หรือสิง่ ทีต่ อ้ งท�ำ แต่ให้ความส�ำคัญกับสีง่ ที่ ควรท�ำด้วย 3. คณะกรรมการต้องค�ำนึงถึงผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกฝา่ ย ไม่เพียงแต่นกั ลงทุน คณะกรรมการต้องให้ความส�ำคัญกับผูม้ สี ว่ นได้ เสียอืน่ ๆ เช่น พนักงาน คูค่ า้ สังคม และสิง่ แวดล้อม เพือ่ สร้างความ ยังยื ่ นให้กบั ธุรกิจ ซึง่ นายมงคลเห็นว่าถ้าคณะกรรมการสามารถท�ำได้ทงั ้ 3 ประเด็นนี้ ก็จะสามารถขับเคลือ่ นองค์กรให้เติบโตได้อย่างยังยื ่ นและ เป็นรูปธรรม และได้ให้แง่คดิ ว่า “ความรับผิดชอบสูงสุดของการด�ำเนิน การของบริษทั อยูท่ ก่ี รรมการอย่างแท้จริง”
Board Development
>
> Board Development
INTERVIEW
MR. SUKIJ U TINTU
Vice President Corporate Social Responsibility of Business Sector, Minor Group The sustainability is an important issue that every organization has to emphasize on because profit is not the only issue in doing business but social responsibility is an integral part for a sustainable growth of the business. Thus, Boardroom Magazine has a regular column to present the company that emphasizes on this issue for the board of directors to learn from the experience of other companies and adapt to your company in the future. The first example in this column is Minor International which is one of the companies that are interested in creating sustainable business and sustainability report. The social activities for society are seen by the companies as a part of sustainable business. The selected activities are consistent with the business strategy of the company. It is not the duty of any department in particular but it is the activities for everybody, starting from executives, from the board of directors, CEO to employees in the organization. The board of directors is very keen on sustainable business by adding it in one of the agendas in every board meeting. Mr. Sukij U Tintu, Vice President, Corporate Social Responsibility of Business Sector, Minor Group, shared the approaches of his company in the mini meeting of CSR Committee of Thai-American Chamber of Commerce about what the company had done to create a sustainable business. Mr. Sukij shared his experience that social activities started inside the organization first. Minor was an organization that emphasized on human resource. Thus, we started from recruiting employees who loved to work for the society and developed them consistently. The executives of Minor Group were trained in "Sustainable Development" to have the idea of sustainable business. Every June 4, which was Minor Founder's Day, the employees could partici-
<
Board Development
ด้วยเรือ่ งความยังยื ่ น (Sustainability) เป็นเรือ่ งทีท่ กุ องค์กร ต้องหันมาให้ความส�ำคัญ เพราะการท�ำธุรกิจไม่เพียงแต่จะมองแค่ผล ก�ำไรเท่านัน้ การรับผิดชอบต่อสังคมเป็นส่วนหนึ่งทีม่ คี วามส�ำคัญเป็น อย่างมากเพือ่ สร้างธุรกิจทีเ่ ติบโตอย่างยังยื ่ น Boardroom Magazine จึงจะมีคอลัมน์ประจ�ำทีน่ �ำเสนอตัวอย่างของบริษทั ทีใ่ ห้ความส�ำคัญ กับเรือ่ งนี้ เพือ่ ให้ทา่ นคณะกรรมการได้เรียนรูจ้ ากประสบการณ์ของ บริษทั อื่น ๆ เพือ่ เป็ นแนวทางในการปรับใช้ในองค์กรของท่านต่อไป ตั ว อย่ า งแรกของคอลั ม น์ น้ี จึ ง ขอยกตั ว อย่ า งกลุ่ ม บริษัท ไมเนอร์ ซึ่ง เป็ น หนึ่ ง ในบริษัท ที่ใ ห้ ค วามสนใจกับ เรื่อ ง ของการสร้า งธุ ร กิจ อย่า งยังยื ่ น มีก ารจัด ท�ำ รายงานความยังยื ่ น (Sustainability Report) โดยมองว่า กิจ กรรมเพื่อ สัง คมต่ า ง ๆ เป็ นส่วนหนึ่งของการท�ำธุรกิจอย่างยังยื ่ น ซึ่งกิจกรรมต่าง ๆ ที่ ท�ำ จะเลือ กท�ำ ในสิง่ ที่ส อดคล้อ งกับ กลยุท ธ์ท างธุ ร กิจ ขององค์ก ร โดยไม่ ไ ด้เ ป็ น หน้ า ที่ข องแผนกใดแผนกหนึ่ ง แต่ เ ป็ น สิ่ง ที่ทุ ก คน ในองค์กรร่วมกันท�ำ และเริม่ จากผู้บริหารระดับสูงคือตัง้ แต่คณะ กรรมการบริษัท CEO ลงไปถึงพนักงานทุกคนในองค์กร คณะ กรรมการบริษทั ให้ความสนใจอย่างมากในเรื่องการท�ำธุรกิจอย่าง ยังยื ่ น โดยบรรจุเป็ น 1 ในวาระการประชุมคณะกรรมการทุกครัง้ นายสุกจิ อุทนิ ทุ รองประธานกรรมการ ด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคมของภาคธุรกิจ กลุม่ บริษทั ไมเนอร์ ได้แบ่งปนั แนวทางการ ท�ำงานของบริษทั ในการประชุมย่อยของกลุม่ กิจกรรมเพือ่ สังคม (CSR Committee) ของหอการค้าไทยอเมริกนั เกีย่ วกับสิง่ ทีท่ างบริษทั ได้ทำ� ั าการท�ำกิจกรรมเพือ่ เพือ่ สร้างธุรกิจอย่างยังยื ่ น โดยนายสุกจิ แบ่งปนว่ สังคมนัน้ เริม่ จากภายในขององค์กรก่อน ไมเนอร์เป็นองค์กรทีใ่ ห้ความ ส�ำคัญอย่างมากกับคน จึงเริม่ ต้นตัง้ แต่การเลือกคนเข้ามาท�ำงานที่ ต้องเป็ นทีม่ ใี จรักสังคม และมีการพัฒนาคนอย่างต่อเนื่อง ผูบ้ ริหาร ระดับ สู ง ของไมเนอร์ จ ะได้ ร ับ การอบรมเรื่ อ ง Sustainable Development เพือ่ ให้มแี นวคิดเรือ่ งการท�ำธุรกิจอย่างยังยื ่ น และทุก วันที่ 4 มิถุนายนซึง่ เป็ นวัน Minor Founder’s Day พนักงานสามารถ เข้าร่วมกิจกรรมเพือ่ สังคมภายใต้โครงการ “Together with Love” เพือ่ ท�ำดีสสู่ งั คม นอกจากนัน้ ไมเนอร์มกี ารปรับปรัชญาการท�ำธุรกิจของ ไมเนอร์จากการสร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้า 100% เป็ นการสร้าง
pate in the social activities under the project "Together with Love" to contribute for the society. Furthermore, Minor adjusted a philosophy for business from making customers satisfied 100% to making the stakeholders, including customers, employees, trade partners, shareholders, environment and society satisfied 100%. To create sustainability for the organization, Minor emphasized on 4 aspects, including driving people development, engaging end to end customer experience, commitment to long-term and sustainable partnership and managing environment impact. The Minor's projects emphasized on understanding, engagement and development. Minor would not engage on the project without a good study or engagement of the stakeholders in that community. The examples of projects that were consistent with strategy in each 4 aspects, including driving human resource development, Minor offered an opportunity for students to do their internship at the company to learn how to work professionally. Minor also supported poor students and schools, trained teachers who taught culinary subjects about food and trained executives in the organization. For engaging end to end customer experience, hotels in Minor group were in charge of food safety. There was an initiative to grow vegetables at the hotels. The local culture was integrated to the hotels. We also offered the opportunity for our guests to experience and learn about local culture in the adjacent community for example, Cusr al Sarap Desert , by Anantara partnered with local communities to bring guests to experience watching hawk preying. Hotel guests were informed about ecology and tourism. For commitment to long-term and sustainable partnership, Minor partnered with several organizations, such as Pizza Book Club with TK Park, cooperation with Royal Project to generate income for villagers by growing vegetables in the tribal villages under Sizzler brand and English project for schools in the provinces with Rakthai foundation. For managing environment impact, Minor had a project to save energy by collaborating with Earth Hour project, replacing plastic bottle with glass bottle, using recycling system for waste water, sea turtle and habitat conservation and research project on learning behavior of elephants. These projects were only a part of all projects that Minor had done for sustainability. You can find more information on other project at www.minorinternational.com
ความพึงพอใจให้กบั ผูม้ สี ว่ นได้เสีย 100% อันได้แก่ ลูกค้า พนักงาน คูค่ า้ ผูถ้ อื หุน้ สิง่ แวดล้อม และสังคม การสร้างความยังยื ่ นขององค์กรไมเนอร์ให้ความส�ำคัญ 4 ด้าน ได้แก่ มุ่งมันพั ่ ฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ (Driving People Development) สร้ า งสรรค์ ป ระสบการณ์ ท่ี ดี ใ ห้ แ ก่ ลู ก ค้ า (Engaging End to End Customer Experience) พัฒนาความ สัมพันธ์ทย่ี งยื ั ่ นกับพันธมิตร (Commitment to Long-term and Sustainable Partnership) และมุ่งลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม (Managing Environment Impact) โดยโครงการทีไ่ มเนอร์เข้าไป ท�ำจะเน้ นให้เกิด 3 เรื่อง ได้แก่ “เข้าใจ (Understand) เข้าถึง (Engage) และพัฒนา (Develop)” ไมเนอร์จะไม่เข้าไปท�ำโครงการ อะไรที่ย ัง ไม่ ไ ด้ศึก ษาอย่ า งลึก ซึ้ง หรือ ขาดการมีส่ ว นร่ ว มของ ผูเ้ กีย่ วข้องในชุมชนนัน้ ๆ ตัว อย่ า งโครงการที่ ท� ำ เพื่อ สอดคล้ อ งกับ กลยุ ท ธ์ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการมุ่งมันพั ่ ฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ ไมเนอร์เปิ ด โอกาสให้นักศึกษาเข้ามาฝึ กงานเพื่อจะเรียนรูก้ ารท�ำงานแบบเป็ น มืออาชีพ,การสนับสนุนนักเรียนและโรงเรียนทีข่ าดโอกาส การอบรม ครูท่สี อนเรื่องการท�ำอาหารในเรื่องของอาหาร และการจัดอบรม ผูบ้ ริหารระดับสูงในองค์กร ด้านการสร้างสรรค์ประสบการณ์ทด่ี ใี ห้ แก่ลูกค้า โรงแรมในเครือดูแลมาตรฐานความปลอดภัยของอาหาร มีการริเริม่ โครงการปลูกผักขึน้ ในโรงแรม, มีการผสมผสานวัฒนธรรม ท้องถิ่นเข้าในตัวโรงแรม หรือน� ำเสนอการท่องเที่ยวโดยร่วมมือ กับชุมชนใกล้เคียงเพื่อให้แขกทีเ่ ข้าพักได้สมั ผัสประสบการณ์และ ได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมท้องถิ่น ของบริเวณใกล้เคียง อาทิ โรงแรมคัสร์ อัล ซาราป เดสเสิรท์ โดยอนันตราได้รว่ มมือกับชุมชน ท้องถิ่นในการน� ำแขกของโรงแรมไปสัมผัสประสบการณ์ ชมการ ล่าเหยื่อของนกเหยีย่ ว มีการสอดแทรกความรู้เชิงนิเวศวิทยาให้ แก่แขกของโรงแรมควบคู่ ไปกับการท่องเทีย่ ว ด้านพัฒนาความ สัมพันธ์ทย่ี งยื ั ่ นกับพันธมิตร ทางไมเนอร์ได้รว่ มกับหลายองค์กร อาทิ การท�ำโครงการ Pizza Book Club ร่วมกับ TK Park การร่วมกับ โครงการหลวงในการปลูกผักในหมูบ่ า้ นชนเผ่าเพือ่ สร้างรายได้โดย ท�ำโครงการภายใต้แบรนด์ Sizzler และโครงการเสริมทักษะภาษา อังกฤษให้โรงเรียนในต่างจังหวัดร่วมกับมูลนิธริ กั ษ์ไทย ด้านการ มุง่ ลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ไมเนอร์มโี ครงการประหยัดพลังงาน โดยร่วมกับโครงการปิ ดไฟให้โลกพัก (Earth Hour) การใช้ขวดน�้ำ แทนขวดพลาสติ ก ในโรงแรม มีร ะบบการบ� ำ บัด น�้ ำ เสีย แล้ ว น�ำกลับมาใช้ใหม่ โครงการสนับสนุ นการอนุ รกั ษ์พนั ธุเ์ ต่าทะเลและ สิง่ แวดล้อมในบริเวณทีเ่ ต่าอาศัยอยู่ โครงการวิจยั เกีย่ วกับพฤติกรรม การเรียนรูข้ องช้าง โครงการต่าง ๆ เหล่านี้เป็ นเพียงส่วนหนึ่งของโครงการ ที่ไมเนอร์ได้ท�ำเพื่อการสร้างความยังยื ่ น ทัง้ นี้ ผู้อ่านสามารถดู รายละเอียดของโครงการอื่น ๆ เพิม่ เติมได้ท่ี www.minorinternational.com
Board Development
>
The Road to Sustainability (1)
> Board Development From Corporate Governance
to Sustainability จากการก�ำกับดูแลกิจการสู่
การพัฒนาอย่างยั่งยืน
Science and technological progress have given human beings limitless development. But humans often use natural resources for consumption, utilization and facilitation of their own needs that leads to wasteful consumption. Adoption of this culture of extravagance, materialism and consumerism is the leading cause of over-utilization of natural resources in manufacturing and services. This leads to consumerism, greed, accumulation, wasteful investment, social conflict and exhaustion of natural resources. It also harms the economy. As the environment is destroyed at a faster rate than which it can recover, society is becoming more aware of severe global warming, natural disasters, flooding and earthquakes. There are requests worldwide to push the public sector, the private sector and consumers in every country to play a role in conserving the environment and natural resources to strengthen the economy and society in a sustainable, longterm way and preserve capital in natural resources and the environment for the next generation. For the business sector, the concept of sustainable development is not only required by society and external consumers (outside in), but it is the awareness of business itself (inside out) that has the goals for sustainable operation for the future that generates profit for shareholders and creates value for stakeholders inside and outside the organization. This awareness can lead to a long-term strategy for business operation with corporate governance, conservation of the environment, culture and society of surrounding communities to allow economic activities to serve human needs. Meanwhile, it must not reduce or misappropriate the opportunity to achieve human needs in the future. In other words, to develop business sustainability, corporate governance is required. This should consider not only the return to the shareholders, but must also take other stakeholders into account, including employees, clients, trade partners, society, the environment and surrounding communities. Different stakeholders have different goals and needs. Shareholders have an interest in good returns on their investments. Employees want to have progressive jobs, fair returns, welfare and stability. Clients and consumers want to have products and services of good quality, fair price, engagement in saving natural resources and an environmentally friendly production process. Communities do not want only businesses that generate income for them, but ones that are
<
Board Development
วิทยาศาสตร์และความเจริญก้าวหน้ าทางเทคโนโลยีได้ น�ำพามนุ ษย์ไปสูก่ ารพัฒนาอย่างไร้ขดี จ�ำกัด มนุ ษย์สามารถน�ำเอา ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆทีม่ อี ยูใ่ นโลกขึน้ มาใช้อุปโภค บริโภค และ อ�ำนวยความสะดวกให้กบั ตนเองจนน� ำไปสู่ความต้องการบริโภค อย่างฟุ่มเฟื อย การรับเอาวัฒนธรรมและแนวความคิดผิดๆ เกีย่ ว กับความฟุ่มเฟื อย วัตถุนิยม และบริโภคนิยมมาใช้เป็ นเหตุให้เกิด การน� ำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ในการผลิตและบริการทีเ่ กินพอดี ท�ำให้สงั คมเปลีย่ นเป็ นสังคมบริโภค กอบโกย สะสม เกิดการลงทุน ทางธุรกิจทีส่ ญ ู เปล่า ท�ำให้เกิดผลเสียทางเศรษฐกิจ เกิดความขัดแย้ง ทางสัง คม ทรัพ ยากรธรรมชาติห มดไปอย่า งรวดเร็ว ในขณะที่ สิง่ แวดล้อมถูกท�ำลายจนเกินอัตราการฟื้ นตัวของระบบธรรมชาติ สังคมเริม่ ตื่นตัวกับปญั หาโลกร้อน ภัยพิบตั ิ น�้ำท่วม แผ่นดินไหวที่ เกิดขึน้ อย่างรวดเร็ว รุนแรง และไร้ขดี จ�ำกัดในด้านพรมแดน ท�ำให้ เกิดเสียงเรียกร้องในทุกๆมุมของโลกจนกลายเป็ นกระแสผลักดันให้ ทุ ก ภาคส่ ว นทัง้ รัฐ บาลของประเทศต่ า งๆ ธุ ร กิจ เอกชน ตลอด จนผู้ บ ริ โ ภคเองลุ ก ขึ้ น มี บ ทบาทในการอนุ รั ก ษ์ แ ละฟื้ นฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เพือ่ ช่วยให้ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมกลับ สู่สมดุล เดิม ซึ่งจะเป็ นการเสริม สร้างความ เข้มแข็งของสังคมและเศรษฐกิจในระยะยาว และรักษาต้นทุนทาง ทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมไว้ได้อย่างยังยื ่ นส�ำหรับคนรุน่ ต่อไป ส�ำหรับภาคธุรกิจนัน้ แนวคิดการพัฒนาอย่างยังยื ่ นไม่ได้ เกิดขึน้ ด้วยเสียงเรียกร้องจากสังคมและผูบ้ ริโภคภายนอก (outside in) เพียงอย่างเดียวเท่านัน้ หากแต่เกิดขึน้ จากความตระหนักของภาค ธุรกิจเอง (inside out) ทีม่ เี ป้าหมายจะด�ำเนินธุรกิจให้เติบโตไปใน อนาคตอย่างมันคงและยั ่ งยื ่ น สามารถสร้างผลก�ำไรให้กบั ผูถ้ อื หุน้ และสร้างคุณค่าแก่ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร ในระยะยาว กลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจทีม่ กี ารก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ใส่ใจดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม วัฒนธรรมและสังคมของชุมชนรอบข้าง เพื่อให้กจิ กรรมทางเศรษฐกิจนัน้ สามารถตอบสนองความต้องการ ของมนุ ษยชาติในปจั จุบนั ขณะเดียวกันก็ต้องไม่เป็ นการลดทอน หรือเบียดบังโอกาสทีจ่ ะบรรลุถงึ ความต้องการพืน้ ฐานของมนุ ษย์ใน อนาคตจึงถือก�ำเนิดขึน้ จากวิสยั ทัศน์ภายในไปพร้อมๆ กัน กล่ า วอีก นัย หนึ่ ง การพัฒ นาธุ ร กิจ ไปสู่ค วามยังยื ่ น นัน้ ก่อก�ำเนิดจากรากฐานการมีธรรมาภิบาลหรือการก�ำกับดูแลกิจการ ที่ดี ที่นอกจากจะค�ำนึงถึงผลตอบแทนของผูถ้ อื หุน้ แล้ว ธุรกิจยัง ค�ำนึงถึงผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียกลุ่มต่าง ๆ (stakeholders) ซึง่ รวมถึง พนักงาน ลูกค้า คู่คา้ สังคม สิง่ แวดล้อม ตลอดจนถึงชุมชนทีอ่ ยู่ แวดล้อมทีต่ งั ้ ของธุรกิจนัน้ ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่มอาจจะมี เป้ าหมาย ความต้ อ งการที่แ ตกต่ า งกัน อาทิ ผู้ถือ หุ้น สนใจที่ ผลตอบแทนจากสิ่ง ที่ล งทุ น ไปกับ ธุ ร กิจ พนัก งานย่ อ มต้อ งการ การท� ำ งานที่ใ ห้โ อกาสก้ า วหน้ า ในการท� ำ งาน มีผ ลตอบแทน สวัสดิการทีเ่ ป็นธรรม มีความมันคง ่ ส่วนลูกค้าหรือผูบ้ ริโภคก็ตอ้ งการ
Ec
o on
Senior Vice President Thai Institute of Directors
ty
ดวงกมล พิศาล
cie
Duangkamon Phisarn
So
my
ุ ภาพ ในราคาทีเ่ ป็ นธรรม มีสว่ นในการใช้ responsible for the communities by not causing pollution or ได้สนิ ค้าหรือบริการทีม่ คี ณ negative effects on the their livelihoods. ทรัพยากรอย่างประหยัด มีกระบวนการผลิตทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ช่ ุมชนไม่เพียงต้องการธุรกิจทีส่ ร้างงานสร้างรายได้ให้ชุมชน Although stakeholders have different needs, each ขณะที แต่ ย ง ั ต้ รกิจทีร่ บั ผิดชอบ ไม่สร้างมลภาวะหรือก่อผลกระทบ group has a common interest in the protection and conservation เชิงลบต่อองการธุ ชี ว ต ิ ความเป็ นอยูข่ องชุมชน อย่างไรก็ดี แม้ความต้องการ of natural resources and the environment; business growth leading to increases job opportunities and income distribution ของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียแต่ละกลุม่ อาจแตกต่างกัน แต่กเ็ ป็นทีย่ อมรับ creating social equality and justice. Businesses that can serve กันว่าแต่ละกลุ่มต่างมีความต้องการพืน้ ฐานร่วมกันในแง่ของความ the needs of stakeholders will maintain and enhance a good ต้องการด้านการปกป้องรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม relationship between these groups. These businesses will not การเติบโตของธุรกิจควบคู่ไปกับการเพิม่ โอกาสในการท�ำงานและ only achieve their goals, but will have a continuous and การส่งเสริมการกระจายรายได้ สร้างความเสมอภาคและความเป็ น sustainable operation. ธรรมทางสังคม ธุรกิจใดทีส่ ามารถตอบสนองความต้องการเฉพาะ ้ม สี ่วนได้ส่วนเสีย ได้จะช่วยรัก ษาและเพิม่ พูนสัมพันธภาพ Business success under the concept of sustainability ของผู อั น ดี ร ะหว่ างธุรกิจและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียกลุม่ ต่าง ๆ ท�ำให้ธรุ กิจนัน้ ไม่ has a broader definition beyond the success in terms of revenue and profit. It is reflected through indicators of เพียงแต่บรรลุเป้าหมายทางธุรกิจ แต่ยงั ช่วยให้ธรุ กิจสามารถด�ำเนิน ่ นได้ sustainability in other areas such as natural resource use per การไปอย่างต่อเนื่องและยังยื unit of product produced, rate of emission or pollution due ความส�ำเร็จของธุรกิจในแนวคิดทีย่ งยื ั ่ นนี้กนิ ความหมาย to production of one unit of product, employee satisfaction, ที่กว้างไกลกว่ าเพียงผลส�ำเร็จทางธุรกิจในแง่ของรายได้และผล employee turnover rate, trade partner satisfaction, community ก� ำ ไร แต่ ส ะท้ อ นผ่านตัวชี้วดั ที่แสดงถึงความยังยื ่ นด้านอื่นๆด้วย satisfaction, ratio of support of community per total revenue of อาทิ สั ด ส่ ว นการใช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ต ่ อ หน่ ว ยของสินค้าทีผ่ ลิต product or service etc. ออกมา อัตราการปล่อยของเสียหรือมลพิษอันเนื่องจากการผลิตต่อ Currently, Corporate Social Responsibility (CSR) การผลิตหนึ่งหน่วย ความพึงพอใจของพนักงาน อัตราการลาออก awareness is growing among businesses in Thailand. It is ของพนักงาน ความพึงพอใจของคู่ค้า ความพึงพอใจของชุมชน considered as part of an approach to create sustainable สัดส่วนของการสนับสนุนของชุมชนทีม่ ตี อ่ ยอดขายสินค้าหรือบริการ business. The social activities that have been organized by the เป็นต้น business sector in the last 4-5 years indicate the trend กระแสการตื่ น ตั ว เรื่ อ ง for future business that ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ will focus more on the NGO Government สั ง ค ม ( C o r p o r a t e sustainability of the organization by engaging Social Responsibility – in social responsibility and CSR) ที่ก�ำลังได้รบั ความ Employee - Business alliance Environment development. สนใจจากธุ ร กิจ ต่ า งๆ ใน ประเทศไทยขณะนี้ ถื อ Many organizations เป็ นส่วนหนึ่งของแนวทาง Sustainability have adopted CSR as a ั่ น marketing or business tool Client Local community ในการสร้างธุรกิจให้ยงยื กิ จ กรรมเพื ่ อ สั ง คมที ถ ่ ู ก จัด to serve the interests of ขึ ้ น โดยภาคธุ ร กิ จ ในระยะ the organization instead of the interests of the 4-5 ปี ทผ่ี ่านมาเป็ นเครื่อง Shareholder society. Thus, there are บ่งชีว้ า่ แนวโน้มทิศทางของ World community real and fake forms of การท�ำธุรกิจในอนาคตจะ CSR. เป็ นไปในทิศทางทีธ่ รุ กิจจะ However, any business that understands the trend ให้ความสนใจกับความยังยื ่ นขององค์กรมากขึน้ ผ่านการเข้าไปมี and adapts early will lay the foundation for sustainability ส่วนร่วมรับผิดชอบและส่งเสริมการพัฒนาสังคม ปจั จุบนั องค์กร for the organization's future. Moreover, they will also help to หลายแห่งได้น�ำเรื่อง CSR มาเป็ นประเด็นทางการตลาด หรือ balance and link the economy, society, natural resources and the เป็ นเครื่องมือทางธุรกิจที่สนองประโยชน์ ต่อองค์กรแทนที่จะเป็ น environment, with the goal of development for society's well กิจกรรมทีส่ นองประโยชน์ต่อสังคม ส่งผลให้แวดวงธุรกิจทุกวันนี้มี being. ทัง้ CSR เทียม และ CSR แท้ อย่างไรก็ดี องค์กรธุรกิจใดทีเ่ ข้าใจ In the next issue, we will present examples of ทิศทางนี้และปรับตัวได้ก่อนย่อมเป็ นการวางรากฐานเพื่อความ businesses that realize the importance of sustainable development ยังยื ่ น ขององค์ก รในอนาคต และยัง มีส่ว นช่ว ยสร้า งความสมดุล and use the concept as a strategy for business growth of their และเชื่อมโยงระหว่าง เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและ organizations. สิง่ แวดล้อมกับจุดหมายการพัฒนาทีท่ ำ� ให้สงั คมอยูด่ มี สี ขุ ตลอดไป ฉบับหน้ า มาติดตามตัวอย่างธุรกิจที่ตระหนักถึงความ ส�ำคัญของการพัฒนาอย่างยังยื ่ นและใช้แนวคิดนี้เป็ นกลยุทธ์ในการ สร้างการเจริญเติบโตขององค์กรกันค่ะ
ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการอาวุโส สถาบันกรรมการบริษัทไทย
Board Development
>
> Board Opinions
Business and
Raising Quality of Society
ธุ ร กิ จ กั บ การยกระดั บ คุ ณ ภาพสั ง คม
Most Thai people may not think that quality of Thai society is in decline as it is today and Thai economy is gradually loosing competitiveness, especially when we compare with our neighboring countries that move forward quickly. While, we still do not see the way out of the political crisis which pulls Thai society apart and Thai economy to decline, we have a common conclusion that we cannot rely on Thai politicians. The politicians are likely to do for their own interest, struggle for power and think in a short term rather than thinking of raising quality of society and Thai economy in a long term. We may not rely on bureaucracy. Thai bureaucracy has been weak and will continue to be weak for long because Thai government officers lack of knowledge, capability and courage to fight with unjustified politicians and interest groups. Moreover, organization culture and most regulations are not up to date and they become the obstacle for Thai government agencies to drive the country forward efficiently, especially for the new things to think and take action. In the state that we cannot rely on politicians and bureaucracy, the problem is who still has a power and potential to raise Thai society and economy concretely at this time. I think that business sector is the only group to do this literally because businessmen, especially large business savvy to change. Many businesses have competitiveness on par with the global competitors. Business has capital and competent human resource. Importantly, businessmen thinks in a long term because investment has to consider the returns and the business environment in the next ten or twenty years which is different from most politicians who care more about the next election or government officers who care about seasonal migration next year. There are both good business and problem maker in the business sector. One reason of the decline of quality of Thai society is because we have some businesses that are selfish, lack of ethics and harm the society. Meanwhile, many businesses are doing business honestly and they are the major force in solving social problems in Thailand. The most obvious example is Anti-Corruption Thailand which is upgraded from Anti-Corruption party of business sector. It is truly a joint ideas and actions from the business sector and it is sponsored very little from politicians and government agencies. Anti-Corruption
<
Board Opinions
คนไทยส่ ว นใหญ่ ค งไม่ ค ิด ว่ า คุ ณ ภาพของสัง คมไทย จะตกต�่ำ ลงได้เ หมือ นกับ ที่เ ป็ น อยู่ใ นวัน นี้ และเศรษฐกิจ ไทยจะ สูญเสียความสามารถในการแข่งขันลงเรือ่ ยๆ โดยเฉพาะเมือ่ เทียบกับ ประเทศเพือ่ นบ้านทีก่ า้ วไปข้างหน้าอย่างรวดเร็ว ในขณะทีเ่ รายังมอง ไม่เห็นทางออกจากวิกฤตการเมืองซึง่ ก�ำลังฉุดให้สงั คมไทยแตกแยก กันมากขึน้ และเศรษฐกิจไทยตกต�่ำลง เราคงได้ขอ้ สรุปเหมือนกันว่า เราพึง่ พานักการเมืองไทยไม่คอ่ ยได้ นักการเมืองดูจะให้ความส�ำคัญ กับผลประโยชน์ของพวกพ้อง การต่อสูใ้ ห้ได้มาซึง่ อ�ำนาจ และเรือ่ ง ระยะสัน้ มากกว่าทีจ่ ะคิดยกระดับคุณภาพของสังคมและเศรษฐกิจ ไทยให้เกิดผลต่อเนื่องจริงจังในระยะยาว เราคงตัง้ ความหวังไว้กบั ระบบราชการไม่ได้มากเช่นกัน ระบบราชการไทยอ่อนแอลงมาก และจะอ่อนแอต่อเนื่องไปอีกนาน เพราะขาดข้าราชการทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ และความกล้าทีจ่ ะ ต่อสูก้ บั นักการเมืองและกลุม่ ผลประโยชน์ทไ่ี ม่ชอบธรรม นอกจากนี้ วัฒนธรรมองค์กรและ กฎเกณฑ์กติกาส่วนใหญ่ลา้ สมัย เป็ นอุปสรรค ท�ำให้หน่วยงานราชการไทยไม่สามารถขับเคลือ่ นประเทศให้กา้ วไป ข้างหน้ าได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในเรื่องใหม่ๆ ที่ต้อง ออกแรงคิดและออกแรงท�ำ ในสภาวะทีเ่ ราหวังพึง่ นักการเมืองและระบบราชการไม่คอ่ ย ได้ โจทย์ใหญ่คอื เหลือคนกลุ่มใดบ้างทีจ่ ะมีพลังและมีศกั ยภาพทีจ่ ะ ยกระดับสังคมและเศรษฐกิจไทยได้อย่างเป็นรูปธรรม ในขณะนี้ผมคิด ว่าภาคธุรกิจเป็ นคนกลุม่ เดียวทีจ่ ะท�ำหน้าทีน่ ้ีได้อย่างแท้จริง เพราะ นักธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจขนาดใหญ่เท่าทันต่อการเปลีย่ นแปลง หลาย ธุรกิจมีความสามารถในการแข่งขันทัดเทียมกับคูแ่ ข่งระดับโลก ธุรกิจ มีทรัพยากรทุนและทรัพยากรบุคคลทีม่ คี วามสามารถ และทีส่ ำ� คัญ ธุรกิจคิดไกล เพราะการลงทุนทางธุรกิจจะต้องคิดถึงผลตอบแทน และสภาวะแวดล้อมทางธุรกิจในอีกสิบหรือยีส่ บิ ปี ขา้ งหน้า ต่างจาก นักการเมืองส่วนใหญ่ทใ่ี ห้ความส�ำคัญกับการเลือกตัง้ ครัง้ ต่อไป หรือ ข้าราชการทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับฤดูกาลโยกย้ายปีต่อไป ในภาคธุรกิจมีทงั ้ ธุรกิจทีด่ แี ละธุรกิจทีส่ ร้างปญั หา เหตุผล หนึ่งทีท่ ำ� ให้คณ ุ ภาพของสังคมไทยตกต�่ำลงก็เพราะเรามีธรุ กิจจ�ำนวน ไม่น้อยทีท่ ำ� ธุรกิจแบบเห็นแก่ตวั ขาดจริยธรรม และท�ำร้ายสังคม ใน ขณะเดียวกันธุรกิจจ�ำนวนมากท�ำธุรกิจอย่างตรงไปตรงมา และได้เป็น ก�ำลังส�ำคัญในการแก้ปญั หาสังคมไทย ตัวอย่างทีเ่ ห็นได้ชดั เจนทีส่ ดุ เวลานี้คงหนีไม่พน้ องค์การต่อต้านคอรัปชันแห่ ่ งประเทศไทย ซึง่ ได้ ยกระดับขึน้ มาจากภาคีตอ่ ต้านคอรัปชันของภาคธุ ่ รกิจ เป็นการลงแรง ลงทุนร่วมความคิดของภาคธุรกิจอย่างแท้จริง และได้รบั การสนับสนุน
Thailand can raise awareness in Thai society about the damage of corruption. They present process to prevent and solve corruption systematically and stop many favorable behaviors for corruption. The important question is how Thai business plays a role in raising quality of Thai society in time of deterioration of Thai society and decline of Thai economy that are going on. Firstly, I think that Thai business has to be aware that raising society is a duty of business sector and business can meet the need of the society and make a profit and increase its competitiveness simultaneously. Although business that helps raising the society quality has a higher cost, it can increase its competitiveness and expand market and customer base, and decrease a long term cost because if the overall society is in decline, the cost for business is inevitably higher and the market size is smaller. The business sector that jointly solves corruption problem has reflected this concept most clearly. If we cannot stop corruption problem, the business cost will become much higher. The bribe rate will continue to increase, the success of business will not depend on ability and a good business cannot survive. Moreover, the quality of infrastructure service and state service will gradually decline which affects competitiveness of the business in a long term. However, corruption is not the only problem in Thailand. Quality of Thai society is deteriorating rapidly in several aspects such as environment including forest, water air and overflowing city garbage. The Thai educational system cannot produce a capable and ethical student. The gap between rich people in the cities and poor people in the countryside becomes wider and causes fragmentation in the society. The media has a problem for its quality and ethics because it is pushing the wrong beliefs and values to the public. Many Thai businesses have done corporate social responsibility (CSR) for many years by intending to be a good citizen and contribute to the society. However, these CSR activities have a little impact and they are not sustainable. They also cannot seriously solve the problems in Thai society in time of fast deteriorating situation. One reason is the way of thinking and organizing CSR activity that most businesses will do it only when they have a certain amount of profit or the budget for CSR is a proportion of actual profit in each year. Thus, the budget for CSR is dependent on the company performance in each year and the CSR activities cannot be planned for a concrete result. Many businesses do CSR activities for its image or risk management. The CSR activities can compensate for the incident when there is a scandal of their business. Many businesses often assign communication department or supportive department to do CSR activities. Thus, they are not part of the core business. Furthermore, many issues of CSR are often the interest of the executives or the social trend at the time. They are not related to the core business of the organization and interested by the employees. All mentioned
น้อยมาก(กว่าการขัดขวาง)จากนักการเมืองและหน่ วยงานราชการ องค์การต่อต้านคอรัปชันฯ ่ สามารถสร้างความตื่นรูใ้ นสังคมให้เห็น ถึงผลเสียจากปญั หาคอรัปชัน่ น�ำเสนอกระบวนการป้องกันและแก้ ปญั หาคอรัปชันอย่ ่ างเป็ นระบบ และหยุดยัง้ พฤติกรรมทีเ่ อือ้ ต่อการ คอร์รปั ชันขนาดใหญ่ ่ ได้หลายเรือ่ ง โจทย์ ส�ำคัญในวันนี้ คือจะท�ำอย่างไรให้ธรุ กิจไทยมีบทบาท ยกระดับคุณภาพของสังคมไทยได้เพิม่ ขึน้ ทันต่อความเสื่อมของ สังคมไทยและความถดถอยของเศรษฐกิจไทยทีก่ �ำลังเกิดขึน้ อย่าง รวดเร็ว เริม่ แรกผมคิดว่าธุรกิจไทยจะต้องตระหนักว่าการยกระดับ สังคมเป็ นหน้าทีห่ นึ่งของภาคธุรกิจ และธุรกิจสามารถตอบโจทย์ของ สังคมไปพร้อมๆ กับการท�ำก�ำไรและสร้างความสามารถในการแข่งขัน ให้กบั ธุรกิจเองด้วย แม้วา่ ธุรกิจทีช่ ว่ ยยกระดับสังคมจะต้องแบกรับ ต้นทุนสูงขึน้ ในระยะแรก แต่สงิ่ ทีธ่ ุรกิจท�ำจะช่วยเพิม่ ความสามารถ ในการแข่งขัน ขยายตลาดและฐานลูกค้า และลดต้นทุนที่ธุรกิจ จะต้องเผชิญในระยะยาว เพราะถ้าสังคมโดยรวมตกต�่ำลงเรือ่ ยๆ แล้ว หนีไม่พน้ ทีต่ น้ ทุนการท�ำธุรกิจจะสูงขึน้ และขนาดของตลาดจะหดลง การทีภ่ าคธุรกิจร่วมกันแก้ปญั หาคอรัปชันสะท้ ่ อนแนวคิด นี้ได้ชดั เจนทีส่ ดุ เพราะถ้าเราไม่สามารถหยุดยัง้ ปญั หาคอรัปชันได้ ่ ต้นทุนการท�ำธุรกิจจะสูงขึน้ มาก อัตราการจ่ายเงินใต้โต๊ะจะเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ และการแข่งขันจะไม่วดั ทีค่ วามสามารถ ธุรกิจทีเ่ ก่งและดีจะ อยูไ่ ม่ได้ นอกจากนี้ คุณภาพของบริการสาธารณูปโภค และบริการ ของรัฐจะตกต�่ำลงเรือ่ ยๆ กระทบต่อความสามารถในการแข่งขันของ ภาคธุรกิจในระยะยาว แต่ปญั หาคอรัปชันไม่ ่ ใช่ปญั หาใหญ่ปญั หา เดียวของประเทศไทย คุณภาพของสังคมไทยก�ำลังเสื่อมลงอย่าง รวดเร็วทัง้ ด้านสิง่ แวดล้อมไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งปา่ ไม้ น�้ำ อากาศ ไปจนถึง ขยะล้นเมือง ระบบการศึกษาไทยไม่สามารถผลิตเด็กส่วนใหญ่ให้เป็น ทัง้ คนเก่งและคนดีได้ คนรวยกับคนจน และคนเมืองกับคนชนบทมี ฐานะทางเศรษฐกิจเหลื่อมล�้ำกันมากขึน้ เรือ่ ยๆ จนเกิดปญั หาความ แตกแยกในสังคม หรือแม้กระทังป ่ ญั หาเรือ่ งคุณภาพและจริยธรรม ของสือ่ มวลชนทีผ่ ลักดันความเชือ่ และค่านิยมผิดๆ ให้แก่ประชาชน ธุรกิจไทยหลายแห่งได้ท�ำกิจกรรมความรับผิดชอบต่อ สังคม (corporate social responsibility: CSR) ต่อเนื่องมาหลายปีแล้ว โดยตัง้ ใจทีจ่ ะเป็ นพลเมืองดีในสังคมและตอบแทนสังคม แต่กจิ กรรม CSR เหล่านี้มกั มีลกั ษณะเป็ นเบีย้ หัวแตก ไม่ยงยื ั ่ น และไม่สามารถ แก้ปญั หาของสังคมไทยได้อย่างจริงจังและเท่าทันกับสถานการณ์ท่ี ก�ำลังไหลลงเร็ว สาเหตุหนึ่งคงเป็ นเพราะวิธคี ดิ และวิธที ำ� กิจกรรม CSR ทีธ่ รุ กิจส่วนใหญ่คดิ ว่าจะท�ำก็ต่อเมือ่ มีกำ� ไรถึงระดับหนึ่ง หรือ จัดสรรเงินทุนส�ำหรับกิจกรรม CSR เป็ นสัดส่วนของก�ำไรทีเ่ กิดขึน้ งบประมาณส�ำหรับกิจกรรม CSR จึงขึน้ อยูก่ บั ผลประกอบการปีต่อ ปี ไม่ต่อเนื่อง ไม่สามารถวางแผนการท�ำกิจกรรม CSR ให้เกิดผลได้ อย่างเป็ นรูปธรรม หลายธุรกิจท�ำกิจกรรม CSR เพือ่ สร้างภาพลักษณ์องค์กร หรือเพือ่ บริหารความเสีย่ งในกรณีทเ่ี กิดเรือ่ งทีจ่ ะท�ำให้ธรุ กิจเสือ่ มเสีย ชือ่ เสียงก็จะมีเรือ่ งดีๆ จากกิจกรรม CSR มาชดเชย จึงนิยมมอบ หมายให้หน่ วยงานสื่อสารองค์กรหรือหน่ วยงานสนับสนุ นเป็ นผูร้ บั ผิดชอบกิจกรรม CSR ไม่ได้บริหารจัดการกิจกรรม CSR ให้เป็ น ส่วนหนึ่งของธุรกิจหลัก นอกจากนี้หลายประเด็นทีธ่ ุรกิจหยิบขึน้ มา ท�ำกิจกรรม CSR มักถูกก�ำหนดโดยความสนใจของผูบ้ ริหารระดับสูง หรือเป็ นไปตามกระแสสังคมในแต่ละช่วงเวลาไม่เกีย่ วข้องกับธุรกิจ หลักจึงไม่ได้รบั ความสนใจจากพนักงานโดยรวม ด้วยเหตุผลเหล่านี้ กิจกรรม CSR ทีผ่ า่ นมาจึงมีลกั ษณะเป็ นเบีย้ หัวแตกไม่สามารถช่วย
Board Opinions
>
> Board Opinions reasons explains why CSR activities in the past did not have an impact and truly help raising quality of Thai society and competitiveness of Thai economy. The most formidable thing is that CSR activities of many businesses are not equivalent to the impact to society of their core business. One example is the giant animal feed business that increases a large volume of order annually but it does not have a purchasing process that cares the source of corn and cultivation method of farmers. This results in deforestation in a large scale. As a consequence, there are many deforested mountains, flood, drought and haze in the highland of the country. Moreover, the farmers are promoted to use pesticide and herbicide in a large amount which contaminates to ground water and cause health problem of the farmers. Although these companies do CSR activities by constructing check dams or plant the forest for hundred times, they cannot compensate for their impact at local and national level. If these businesses still buy corn in the conventional way, one day, they will not be able to find sufficient corn production of good quality for their demand because quality of forest, soil water and farmers' lives are deteriorating rapidly. This business will become the defendant of the society and their products will be boycotted from domestic and international consumers. Thailand will have to cope with more severe flood and drought that we cannot recover the forest in 10-20 years. In Western countries The role of business to society goes further and deeper than the CSR concept in many Asian countries. Executives recognize that the long-term sustainability of the business is directly related to the long-term sustainability of society. Thus, upgrading society is one of the duties of the business. If any business can meet the society, generate profit and increase its business competitiveness simultaneously, that business will go farther than many competitors. It will be able to cope with future changes better than its competitors and it might create new markets from meeting social need. Many businesses that have an impact on the environment are a good example. Water shortage will become a major problem in the world soon. Businesses that require water in the production process have to think in a long term, including constructing a reservoir for the future and reducing current waste water. Many drinking water businesses have invested in water resources development and preserved environment seriously. Some chemical plants grow forest in a large area around the plants to ensure that there will be sufficient water for the future. Sports shoes business that used to produce large amount of waste water from polyester dye each year has invested in a new technology that does not require dye anymore. A long term thinking and concrete action of these businesses increase their competitiveness over
<
Board Opinions
ยกระดับคุณภาพของสังคมไทย และสร้างความสามารถในการแข่งขัน ให้แก่เศรษฐกิจไทยได้อย่างแท้จริง ทีน่ ่ากลัวไปกว่านัน้ ก็คอื กิจกรรม CSR ของหลายธุรกิจไม่ สามารถเทียบเคียงได้เลยกับผลกระทบต่อสังคมทีเ่ กิดขึน้ จากการ ประกอบธุรกิจหลัก ตัวอย่างหนึ่งคือธุรกิจอาหารสัตว์ขนาดใหญ่ทเ่ี พิม่ ปริมาณการรับซือ้ ข้าวโพดทุกปี แต่ไม่มกี ระบวนการจัดซือ้ ทีใ่ ห้ความ ส�ำคัญต่อแหล่งทีม่ าของข้าวโพด และวิธปี ลูกข้าวโพดของเกษตรกร ส่งผลให้เกิดการเผาป่าและท�ำลายป่าเพื่อปลูกข้าวโพดอย่างกว้าง ั ั ขวาง เกิดภูโกร๋น ปญหาน� ้ำแล้งน�้ำท่วมฉับพลัน และปญหาหมอกควั น ในบริเวณพืน้ ทีส่ งู ของประเทศ รวมทัง้ ส่งเสริมทางอ้อมให้เกษตรกร ใช้ยาฆ่าแมลง และยาฆ่าหญ้าในปริมาณทีส่ งู เกินควร จนเกิดปญั หา ต่อระบบน�้ำใต้ดนิ และสุขภาพของชาวบ้าน ต่อให้บริษทั เหล่านี้ทำ� กิจกรรม CSR สร้างฝายปลูกปา่ ปี ละหลายร้อยครัง้ ก็ไม่ทนั ต่อผล กระทบทีเ่ กิดขึน้ กับสิง่ แวดล้อมทัง้ ในระดับท้องถิน่ และระดับประเทศ ถ้าธุรกิจเหล่านี้ยงั คงรับซือ้ ข้าวโพดด้วยวิธเี ดิมไปเรือ่ ยๆ วันหนึ่งจะไม่ สามารถหาผลผลิตข้าวโพดทีม่ คี ณ ุ ภาพได้เพียงพอต่อความต้องการ เพราะทัง้ คุณภาพปา่ ดิน น�้ำ และชีวติ เกษตรกรในพืน้ ทีเ่ สือ่ มถอยลง อย่างรวดเร็ว ธุรกิจเหล่านี้จะตกเป็ นจ�ำเลยสังคมถูกบอยคอตสินค้า จากผูบ้ ริโภคทัง้ ในและต่างประเทศ และประเทศไทยจะต้องเผชิญ ั กับปญหาน� ้ำท่วมน�้ำแล้งรุนแรงขึน้ เรือ่ ยๆ ไม่มที างทีจ่ ะสร้างปา่ ต้นน�้ำ กลับขึน้ มาใหม่ได้ภายในสิบถึงยีส่ บิ ปี ในประเทศตะวันตก บทบาทของธุรกิจต่อสังคมได้ก้าว ไปไกลและลึกกว่าแนวคิดการท�ำ CSR ในประเทศแถบเอเชียมาก ผูบ้ ริหารธุรกิจตระหนักว่าความยังยื ่ นในระยะยาว (sustainability) ของธุรกิจจะเกีย่ วข้องโดยตรงกับความยังยื ่ นในระยะยาวของสังคม การยกระดับสังคมจึงเป็ นหน้าทีห่ นึ่งของการท�ำธุรกิจ ถ้าธุรกิจใด สามารถตอบโจทย์ของสังคมไปพร้อมๆ กับสร้างก�ำไรและการเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันให้แก่ตวั ธุรกิจเองได้แล้ว เชื่อได้ว่า ธุรกิจนัน้ จะก้าวไปไกลกว่าคูแ่ ข่งมาก จะมีความสามารถรองรับการ เปลีย่ นแปลงในอนาคตได้ดกี ว่าคู่แข่ง และอาจจะสร้างตลาดใหม่ๆ เพิม่ ขึน้ จากการร่วมตอบโจทย์ของสังคมด้วย หลายธุรกิจที่มผี ลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมเป็ นตัวอย่างที่ ดี ปญั หาการขาดแคลนน�้ำสะอาดจะเป็ นปญั หาส�ำคัญของโลกในอีก ไม่นานนี้ ธุรกิจทีต่ อ้ งใช้น้�ำในกระบวนการผลิตต้องคิดไกล ทัง้ การ สร้างแหล่งน�้ำสะอาดไว้สำ� หรับอนาคต และการลดปริมาณน�้ำเสียใน ปจั จุบนั ธุรกิจน�้ ำดื่มหลายแห่งได้ลงทุนพัฒนาแหล่งน�้ำสะอาดและ รักษาสภาวะแวดล้อมปา่ ต้นน�้ำอย่างจริงจัง โรงงานเคมีบางแห่งได้ ปลูกป่าในพืน้ ทีข่ นาดใหญ่รอบโรงงานเพื่อในแน่ ใจว่าจะมีน้� ำเพียง พอส�ำหรับอนาคต ธุรกิจรองเท้ากีฬาทีเ่ คยใช้น้�ำย้อมสีโพลีเอสเตอร์ จนเกิดน�้ำเสียจ�ำนวนมากในแต่ละปี ได้ลงทุนคิดเทคโนโลยีไม่ตอ้ ง ใช้น้�ำย้อมสีอกี ต่อไป การคิดไกลและท�ำจริงของธุรกิจเหล่านี้จะท�ำให้ มีความสามารถในการแข่งขันเหนือคูแ่ ข่ง เมือ่ ใดทีป่ ญั หาน�้ำสะอาด รุนแรงขึน้ ธุรกิจเหล่านี้จะอยูร่ อดได้และสังคมทีเ่ กีย่ วเนื่องกับธุรกิจ เหล่านี้กจ็ ะอยูร่ อดได้อย่างยังยื ่ นเช่นกัน
their competitors. When there is a severe water shortage, these businesses will survive and the associated society with these businesses will survive sustainably as well. In order to achieve sustainability of business and society, we have to change the way of thinking and the way of doing business from executives to focus on selected social issues that businesses contribute to the problem and want to solve the problem. We need to focus on the long term thinking and set a target for the society that is measurable and challenging. Importantly, we have to find innovation for the business and social needs. The use of this innovation is very important. If we think and act in the same way, the business hardly steps out of the conventional framework and will not be able to find ways to reduce costs to raise society and create a competitive advantage for their businesses. The effect on society will be gradually better which is not in time of the situation. Business that would like to raise the quality of society seriously needs to consider this issue as its business process. All agencies have to play their role in this issue. It is not the duty of communication agency or supportive agency like CSR. The goal to raise quality of society has to be assigned to every core agency (especially the agencies that are directly involved with causing problem for society). The issue has to be considered as DNA of the organization. If any business has ever achieved this, we believe that such business will be able to raise quality of the society seriously and has a higher competitiveness than the competitors The consequences for the quality of society may take a long time to be clearly measurable but many businesses that focus on raising the quality of society seriously are benefited in a short term because they can attract personnel that have high potential and ability to their organization, especially the new generation. These people often get offers in term monetary rewards from similar businesses. The factor that will determine their choice is the feeling that they have a positive contribution to society (and they do not cause more problems for society) and how much their work can create a change for society. If any business can attract high potential employee better than its competitors, that business shall have an opportunity to step further than its competitors. If we take a look back on ten years ago, at that time, no one would think that the quality of Thai society and competitiveness of Thai economy would drop so rapidly. If Thai businesses (especially large business) still think that raising quality of society is not their duty or a long term issue, I cannot imagine how Thai society and economy will be in the next ten years. At that time, we may be left with little opportunity to think about sustainability because we have to use most resources to solve immediate problems to survive from day to day.
ความยังยื ่ น ของธุ ร กิจ และสัง คมจะเกิด ผลได้จ ริง ต้อ ง เปลีย่ นวิธคี ดิ และวิธที ำ� งานของภาคธุรกิจ ต้องเริม่ จากผูบ้ ริหารระดับ สูงให้ความส�ำคัญกับการเลือกประเด็นทางสังคมทีธ่ ุรกิจมีสว่ นสร้าง ปญั หาและต้องการร่วมแก้ปญั หา จะต้องให้ความส�ำคัญกับการคิด ไกล ก�ำหนดเป้าหมายทีต่ อ้ งการให้เกิดขึน้ ต่อสังคมทีว่ ดั ได้และเป็ น เป้าหมายทีท่ า้ ทาย และทีส่ ำ� คัญคือต้องใช้นวัตกรรมหาแนวทางทีจ่ ะ ตอบโจทย์ของธุรกิจและของสังคมไปพร้อมกัน เรือ่ งการใช้นวัตกรรม นี้สำ� คัญมาก เพราะถ้าคิดและท�ำแบบเดิม ยากทีธ่ รุ กิจจะก้าวออกจาก กรอบวิธกี ารท�ำงานทีต่ นคุน้ เคย และจะไม่สามารถหาวิธลี ดต้นทุนที่ จะช่วยยกระดับสังคมไปพร้อมๆ กับการสร้างความสามารถในการ แข่งขันให้กบั ธุรกิจของตนได้ ผลต่อสังคมจะดีขน้ึ ทีละเล็กละน้อย ไม่ทนั ต่อสถานการณ์ ธุรกิจทีต่ อ้ งการยกระดับคุณภาพของสังคมอย่างจริงจัง จะ ต้องคิดเรื่องนี้เหมือนกับเป็ นส่วนหนึ่งในกระบวนการท�ำธุรกิจ ทุก หน่วยงานหลักจะต้องมีบทบาทในเรือ่ งนี้ ไม่ได้เป็ นเพียงหน้าทีข่ อง หน่ วยงานสื่อสารองค์กรหรือหน่ วยงานสนับสนุ นเหมือนกับการท�ำ CSR เป้าหมายของการยกระดับคุณภาพสังคมจะต้องถูกกระจายลง ไปเป็ นเป้าหมายทีท่ ุกหน่วยงานหลักจะต้องรับผิดชอบ (โดยเฉพาะ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องโดยตรงกับการสร้างปญั หาให้แก่สงั คม) ท�ำให้ เรือ่ งนี้เป็ น DNA ขององค์กร ถ้าธุรกิจใดท�ำได้แบบนี้แล้ว เชือ่ ได้วา่ ธุรกิจนัน้ จะช่วยยกระดับคุณภาพของสังคมได้อย่างจริงจัง และมีความ สามารถในการแข่งขันก้าวไกลกว่าคูแ่ ข่งมาก ผลทีเ่ กิดขึน้ ต่อคุณภาพของสังคมอาจจะใช้เวลานานกว่าที่ จะวัดได้ชดั เจน แต่ธุรกิจหลายแห่งทีใ่ ห้ความส�ำคัญต่อการยกระดับ คุณภาพของสังคมอย่างจริงจังมักได้รบั ประโยชน์ระยะสัน้ จากความ สามารถในการดึงดูดบุคลากรทีม่ ศี กั ยภาพสูงและความสามารถสูงให้ มาร่วมงาน โดยเฉพาะกลุม่ คนรุน่ ใหม่ คนเหล่านี้มกั ได้รบั ข้อเสนอผล ตอบแทนทีเ่ ป็ นตัวเงินจากธุรกิจต่างๆ ใกล้เคียงกัน ปจั จัยทีจ่ ะตัดสิน ว่าจะเลือกท�ำงานทีไ่ หนคือความรูส้ กึ ทีว่ า่ ได้ทำ� ประโยชน์ให้แก่สงั คม (และไม่ได้มสี ่วนในการสร้างปญั หาเพิม่ เติมให้แก่สงั คม) งานของ ตัวเองมีสว่ นสร้างความเปลีย่ นแปลงเพียงใด ถ้าธุรกิจใดสามารถดึง พนักงานทีม่ คี วามสามารถสูงได้เหนือกว่าคูแ่ ข่งแล้ว ธุรกิจนัน้ ย่อมมี โอกาสทีจ่ ะสร้างก้าวไปได้ไกลกว่าคูแ่ ข่งมาก ลองมองย้อนกลับไปเมือ่ สิบปีทแ่ี ล้วนะครับ เวลานัน้ คงไม่ม ี ใครคิดว่าคุณภาพของสังคมไทยและความสามารถในการแข่งขันของ เศรษฐกิจไทยจะตกต�่ำลงได้เร็วถึงเพียงนี้ ถ้าธุรกิจไทย (โดยเฉพาะ ธุรกิจขนาดใหญ่) ยังคิดว่าการยกระดับคุณภาพของสังคมไม่ใช่หน้าที่ ของตน หรือเป็ นเรื่องระยะยาว รอได้ ผมนึกไม่ออกว่าสังคมและ เศรษฐกิจไทยจะเป็ นอย่างไรในอีกสิบปี ขา้ งหน้า เมือ่ ถึงเวลานัน้ เรา อาจจะเหลือโอกาสน้อยมากทีจ่ ะคิดถึงเรื่องความยังยื ่ น เพราะต้อง ั ใช้ทรัพยากรส่วนใหญ่ดน้ิ รนแก้ปญหาเฉพาะหน้าเพื่อความอยู่รอด ไปวันๆ Dr. Veerathai Santiprabhob
ดร. วิรไท สันติประภพ
Adviser of Thailand Development Research Institute (TDRI) ที่ปรึกษา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ (ทีดีอาร์ไอ)
Board Opinions
>
> Board Opinions Assessment of
Sustainability Development Level of Listed Company
การประเมิน
ระดับการพัฒนาความยั่งยืน ของบริษัทจดทะเบียน
This year is the first year that listed companies have to disclose information required under section 56 of the Act of Securities and Stock exchange and prepare of the annual statement (form 56-1) to deliver to the Securities and Exchange Commission according to the newly revised regulations. The new regulations require information disclosure in corporate social responsibility (CSR) and anti-corruption measures to prevent the business of the company and it subsidiaries to involve in corruption. (Anti-corruption) Anti-corruption is one of the core subject of CSR stated in the standard ISO 26000 (standards for social responsibility) and in the practices of multinational business of the OECD. It is also in the framework of sustainability report of GRI and principles contained in the UN Global Compact. The role in driving CSR of Thaipat Institute that promotes anti-corruption in the business sector has begun in mid-2010 by joining the 4-region Moral Assembly in business issues (CSR) and religion. There were 64 organizations in the network that joined the discussion in CSR. The discussion resulted in 4 principles such as adjusting an attitude that doing business with ethics would result in competitive disadvantage, eliminating values that promoted corruption in business, etc. These principles were in the framework called collective action which was in accordance with what Mr. Chanchai Charuvastr, former President&CEO of Thai Institute of Directors (IOD) had initiated an opinion survey of business leaders in private sector about anti-Corruption alliance. Then, the idea was developed into Thai's Private Sector Collective Action Coalition against Corruption in late 2010. In 2014, Thaipat Institute is sponsored by The Securities and Exchange Commission (SEC) to develop assessment format of sustainability development level based on the first international framework in Thailand in order to assess development level of listed companies in CSR and anticorruption. The assessment will display development level in
<
Board Opinions
ปี น้ีจะเป็ นปี แรกทีบ่ ริษทั จดทะเบียนมีการด�ำเนินการเปิ ด เผยข้อมูลตามมาตรา 56 แห่ง พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และการจัดท�ำแบบแสดงรายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) ทีจ่ ดั ส่ง ต่อส�ำนักงาน ก.ล.ต. ตามหลักเกณฑ์ปรับปรุงใหม่ซง่ึ ได้เพิม่ เติมเรือ่ ง การเปิดเผยข้อมูลในหัวข้อความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) และการ เปิดเผยการด�ำเนินการเกีย่ วกับการป้องกันมิให้การด�ำเนินธุรกิจของ บริษทั และบริษทั ย่อยมีสว่ นเกีย่ วข้องกับการทุจริต (Anti-corruption) การต่อต้านการทุจริต นับเป็ นหนึ่งในเรื่องหลัก (Core Subject) ของ CSR ทีร่ ะบุไว้ในมาตรฐาน ISO26000 (มาตรฐาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม) และอยูใ่ นแนวปฏิบตั ขิ องธุรกิจข้าม ชาติของ OECD รวมทัง้ อยูใ่ นกรอบการรายงานความยังยื ่ นของ GRI และเป็ นหลักการทีป่ รากฏใน UN Global Compact ด้วย บทบาทในการขับเคลื่อน CSR ของสถาบันไทยพัฒน์ ที่ สนับสนุ นเรื่องการต่อต้านการทุจริตในภาคธุรกิจ ได้เริม่ ขึน้ ตัง้ แต่ กลางปี 53 ด้วยการเข้าร่วมขับเคลื่อนสมัชชาคุณธรรม 4 ภาคใน ประเด็นธุรกิจ (CSR) และศาสนา ซึง่ มีองค์กรภาคีเครือข่ายทีเ่ ข้า ร่วมถกในประเด็น CSR นับรวมได้ 64 แห่ง ตกผลึกออกมาเป็ น หลักการ 4 ข้อ อาทิ การปรับทัศนคติท่เี ห็นว่าการท�ำธุรกิจด้วย คุณธรรมจริยธรรมจะท�ำให้สูญเสียความได้เปรียบทางการแข่งขัน และการมุง่ ขจัดค่านิยมในทางทีส่ ง่ เสริมการทุจริตในหมูธ่ รุ กิจ บรรจุอยู่ ภายใต้กรอบแนวทางทีเ่ รียกว่า “การท�ำงานวิถกี ลุม่ ” หรือ Collective Action ซึ่งสอดรับกับสิง่ ที่นายชาญชัย จารุวสั ตร์ อดีตกรรมการ ผูอ้ ำ� นวยการสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ได้ ริเริม่ จัดท�ำการส�ำรวจความคิดเห็นของผูน้ � ำธุรกิจภาคเอกชนเกีย่ ว กับการสร้างแนวร่วมในการต่อต้านการทุจริต จนก่อตัง้ เป็ นโครงการ Thai’s Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption ขึน้ ในปลายปี 2553 ในปี 2557 นี้ สถาบันไทยพัฒน์ ได้รบั การสนับสนุ นจาก ส�ำ นัก งานคณะกรรมการก� ำ กับ หลัก ทรัพ ย์แ ละตลาดหลัก ทรัพ ย์ (ก.ล.ต.) ให้เป็ นผูด้ �ำเนินการพัฒนารูปแบบการประเมินระดับการ พัฒนาความยังยื ่ นทีอ่ า้ งอิงจากกรอบการด�ำเนินงานทีเ่ ป็ นมาตรฐาน สากลเป็นครัง้ แรกของไทย เพือ่ ใช้ประเมินระดับการพัฒนาของบริษทั จดทะเบียนในด้าน CSR และ Anti-corruption โดยจะแสดงระดับการ พัฒนาในรูปแบบทีเ่ ป็น CSR Progress Indicator และ Anti-corruption Progress Indicator ตามล�ำดับ การพัฒนาเครื่องมือภายใต้โครงการประเมินระดับการ พัฒนาความยังยื ่ นของบริษทั จดทะเบียนนี้ มิได้ใช้เกณฑ์ในลักษณะ
Level 5: sustained Demonstration of intention in guideline and implementation for sustainability. Consideration of engaged responsibility for ecology and disclosure of information of operation in all aspects. Level 4: Innovative Demonstration of organization intention to create mutual value between business and society that covers operation in value chain and collaboration with the stakeholders.
Level 5: Extended Demonstration of policy that covers business partner, advisor, intermediary or business delegate, including pushing trade partner in business chain not to have policy or practice involved with corruption. Level 4: Certified Demonstration of revised sufficiency of operation from Audit Committee or certified auditors from SEC. The organization is certified as CAC member or checked by independent external assurance.
Level 3: Integrated Demonstration of organization intention to engage community and society in the business chain. There is process operation in accordance with strategic intention with cooperation from all stakeholders.
Level 3: Established Demonstration of scope of company policy such as not give the bribe to government officer, not involve in corruption and corruptor. Communication and training employees about policy and practice in anti-corruption.
Level 2: Engaged Demonstration of intention to reduce impact from operation not to cause problem to surrounding community or affected society. There is a project in accordance with strategic intention. The organization can create relationship or mutual commitment with stakeholders. Level 1: Basic Demonstration of intention to comply with relevant laws and regulations. There is activity in accordance with strategic intention, and communication with stakeholders. The result of activity is in accordance with expectation. The organization can disclose it operation and scope if its operation.
Level 2: Declared Demonstration of determination by declaring an intention to join Thai Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC) or anti-corruption project that requires the organization to have the similar process to demonstrate that the Board of Directors have intention to take action for anti-corruption in society Level 1: Committed Demonstration of commitment from the management of the organization by resolution and policy of the Board of Directors in operation not to get involved with corruption and the scope of operation or resolution of the Board of Directors to acknowledge the duty that maintains compliance with the law (including laws concerning giving bribe or supporting corruption)
ระดับการพัฒนาด้าน CSR Development level in CSR
term of CSR progress indicator and anti-corruption progress indicator respectively. Tool development under assessment project of sustainability development level of listed company is not based on scoring criteria to compare between the companies or result indicator, but it will use progress indicator in levels 1-5 that reflects the progress of implementation that contributes to consistent improvement in each organization. Furthermore, it focuses on coverage of implementation, sufficiency of process in direction of sustainability based on potential of each company. The expectation at the beginning of the project was the development at least in the initial level or at level 1. In CSR, this means that the company has an intention to comply with relevant laws and regulations and be able to communicate with the stakeholders. In anti-corruption, this means the company has demonstrated a commitment from the top management and corporate resolution and policy from the Board of directors to do business without corruption. Nevertheless, listed companies can use the assessment result for planning development and improvement of business with social responsibility and environment, including the development of guidelines and measures to support the sustainability development of the company effectively and in accordance with the international framework or standard. In addition, investors and all stakeholders can also use the assessment result to take into account for their investment. The assessment result is expected to be completed in the third quarter and will be published on the SEC website.
ระดับการพัฒนาด้าน Anti-corruption Development level in anti-corruption Scoring เป็ นระดับ A, B, C ทีม่ งุ่ เทียบระหว่างบริษทั หรือแสดงใน รูปของตัวบ่งชีผ้ ลลัพธ์การด�ำเนินงาน (Result Indicator) แต่จะใช้ เกณฑ์พจิ ารณาในลักษณะ Progress Indicator เป็ นระดับ 1-5 ทีเ่ น้น การสะท้อนความคืบหน้าของการด�ำเนินงานในเชิงทีเ่ อือ้ ให้เกิดการ ปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่องภายในองค์กรของตนเอง และเน้นความ ครอบคลุมของการด�ำเนินงาน รวมทัง้ ความเพียงพอของกระบวนการ ในทิศทางทีก่ ่อให้เกิดความยังยื ่ นตามศักยภาพของแต่ละบริษทั ความคาดหวังในช่วงแรกของโครงการ คือ การพัฒนาการ อย่างน้อยในระดับเริม่ ต้นหรือระดับที่ 1 โดยในด้าน CSR หมายถึง บริษัท มีเ จตนารมณ์ ใ นการปฏิบ ัติใ ห้เ ป็ น ไปตามกฎหมายและ กฎเกณฑ์ทเ่ี กีย่ วข้อง และสามารถสือ่ สารให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียได้รบั ทราบ ส่วนในด้าน Anti-corruption หมายถึง บริษทั มีการแสดงให้เห็นถึง ค�ำมันจากผู ่ บ้ ริหารสูงสุดและขององค์กรโดยมติและนโยบายของคณะ กรรมการในเรือ่ งการด�ำเนินธุรกิจทีจ่ ะไม่มสี ว่ นเกีย่ วข้องกับการทุจริต ทัง้ นี้ บริษทั จดทะเบียนสามารถน� ำผลการประเมินไปใช้ เป็นข้อมูลส�ำหรับการวางแผนพัฒนาปรับปรุงการด�ำเนินธุรกิจให้เป็น ไปด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ การพัฒนา แนวทางและมาตรการในการสนับสนุ นการพัฒนาความยังยื ่ นของ บริษทั จดทะเบียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับกรอบหรือ มาตรฐานทีเ่ ป็ นสากล นอกจากนี้ ผูล้ งทุนและผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝา่ ย ยังสามารถน�ำ ผลประเมินไปใช้ประกอบการพิจารณาลงทุน โดยผลการประเมินคาด ว่าจะแล้วเสร็จในไตรมาส 3 และจะเผยแพร่บนเว็บไซต์ของ ก.ล.ต. ต่อไป ผูท้ ส่ี นใจสามารถติดตามข้อมูลรายละเอียดของโครงการ เพิม่ เติมได้ทางเว็บไซต์ www.thaicsr.com Pipat Yodprudtikan
พิพัฒน์ ยอดพฤติการ Director, Thaipat Institute
ผู้อำ�นวยการ สถาบันไทยพัฒน์
Board Opinions
>
> Board Opinions
Environmental, Social
and Governance (ESG) for Sustainable
Insurance Business With the world premium volume over USD 4.6 trillion and approximately 645,517 million baht for the total premium as of 2013 in Thailand for the insurance business sector, the insurance business plays the significant role of Thai economic system.
regulations etc. to promote widespread action across society on environmental, social, and governance issues; and (4) Insurers will demonstrate accountability and transparency in regularly disclosing progress in implementing the Principles.
Why Insurance Business?
The insurance business to tackle Environmental, Social and Governance (ESG) risks and opportunities in a changing risk landscape. The purpose industry to better environmental, social manage opportunities protection.
is to enable the global insurance understand, prevent and reduce and governance risks, and better to provide quality and reliable risk
How was ESG been launched for the insurance business?
ESG is the under the Principles for Sustainable Insurance which were launched by leading global insurers and the UN at the UN Conference on Sustainable Development in June 2012 Why ESG trend?
Many global companies are facing a wide range of environmental, social and governance (ESG) issues relevant to business strategies and their operations. What is method to tackle ESG and enhance the sustainable insurance business?
There are 4 basic Principles for Sustainable Insurance: (1) Insurers will embed environmental, social, and governance issues into their decision making; (2) Insurers will work with all clients and partners to raise awareness of environmental, social, and governance issues and where possible develop solutions; (3) Insurers will work together with governments,
<
Board Opinions
How does PSI benefit other business sectors?
Other business sectors may follow the principle of the insurance industry by developing their own sector-wide principles and initiatives to address material ESG issues and adapting 4 basic Principles for Sustainable Insurance practices to strengthen their business as the bedrock of the sustainable business. Source: www.unepfi.org/psi Jitlada Sirachadapong
จิตรลดา สิระชาดาพงศ์ Corporate and Legal Affairs, Krungthai-AXA Life Insurance Public Company Limited
Directors Compensation Survey 2014 โครงการส�ำรวจค่าตอบแทนกรรมการ ประจ�ำปี 2557
เป็นโครงการสำ�รวจนโยบายแนวทางและความคิด เห็นเกี่ยวกับการกำ�หนดค่าตอบแทนกรรมการรวม ถึงตัวเลข ค่าตอบแทนที่ให้แก่กรรมการในบริษัทจด ทะเบียนไทยดำ�เนินการทุก 2 ปี มีวัตถุประสงค์เพื่อ ให้บริษัทจดทะเบียนไทยมีหลักการในการพิจารณา กำ�หนดค่าตอบแทนตามหลักการกำ�กับดูแลกิจการ ที่ดี และมีข้อมูลค่าตอบแทน ในเชิงตัวเลขประกอบ การพิจารณา ซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่บริษัท โดยเฉพาะ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนในการนำ�ไปใช้ พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการให้อยู่ในระดับที่เหมาะ สมกับหน้าที่และความรับผิดชอบและสอดคล้องกับ ผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นต่อไป
ผู้ที่จะได้รับประโยชน์จากรายงาน • บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย - คณะกรรมการโดยเฉพาะคณะกรรมการพิจารณา ค่าตอบแทนกรรมการ - เลขานุการบริษัท • บริษัทที่อยู่ระหว่างการเข้าจดทะเบียนหรือ เตรียมเข้าสู่การเป็นบริษัทจดทะเบียน • บริษัทจำ�กัด
รายงานผลส�ำรวจค่าตอบแทนกรรมการ
สิทธิพิเศษส�ำหรับบริษัทที่เข้าร่วมโครงการ
ภายหลังการดำ�เนินโครงการ IOD จะจัดทำ�รายงานฉบับ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อนำ�เสนอผลของโครงการ ดังกล่าว โดยในรายงานจะนำ�เสนอข้อมูลหลัก ดังนี้
1. ได้ร ับรายงานผลสำ�รวจค่า ตอบแทนกรรมการประจำ�ปี 2557 ฉบับสมบูรณ์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งจะ ไม่มีการจำ�หน่ายรายงานนี้สู่สาธารณชน
• รูปแบบของค่าตอบแทนกรรมการ • ค่าตอบแทนกรรมการในเชิงตัวเลข - ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำ�สุด - การวิเคราะห์จำ�แนกตามกลุ่มธุรกิจ ขนาด ของบริษัท ตำ�แหน่งและประเภทของ กรรมการในคณะกรรมการชุดใหญ่และคณะ กรรมการชุดย่อย • ความสัมพันธ์ระหว่างค่าตอบแทนกับผลการ ดำ�เนินงาน • มุมมองและความคิดเห็นเกี่ยวกับการกำ�หนดค่า ตอบแทนกรรมการ
2. เข้ า ร่ ว มงานสั ม มนาเผยแพร่ ผ ลสำ � รวจค่ า ตอบแทนกรรมการ ประจำ�ปี 2557 จำ�นวน 1 ท่าน โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งจะจัดในเดือน พฤศจิกายน 2557 ค่าเข้าสัมมนา (ยังไม่ร่วมภาษีมูลค่าเพิ่ม) สมาชิก IOD 2,500 บาท บุคคลทั่วไป 4,000 บาท
3. สิทธิพิเศษสำ�หรับกรรมการในคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน ได้ รับส่วนลด 10 % สำ�หรับการเข้าร่วมอบรมในหลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) คาดว่า จะจัดในเดือนตุลาคม 2557
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่ คุณศิริพร วงศ์เขียว ฝ่ายวิจัยและนโยบาย สถาบันกรรมการบริษัทไทย
โทร: 02-955-1155 ต่อ 301 โทรสาร: 02-955-1156-7 Email: siriporn.w@thai-iod.com
> Anti-Corruption Update MAKING
"CLEAN BUSINESS" YOUR CHOICE
การท�ำธุรกิจสะอาด ปราศจากทุจริต
อยู่ที่คุณตัดสินใจเลือก Doing "clean business" that is corruption-free is a choice and one which directors can, and must, make to protect their organisations from reputation damage, financial costs and legal liabilities. So warned Dr Bandid Nijathaworn, president and CEO of the Thai Institute of Directors, when addressing a forum at Company Directors' national conference on Hamilton Island last week. He said corruption had become a difficult problem, which impeded competition, skewed the playing field, destroyed innovation and harmed the creation of value in an economy. He noted that anti-corruption enforcement had come a long way and that many developed and developing countries were stepping up their efforts to address it and were introducing anticorruption laws. Among them were China, where president Xi Jinping's campaign against corruption was growing into one of the broadest in the country's modern history, and Brazil, where the rigorous Clean Companies Act came into effect in January 2014. Changes have also been proposed to the UK's Bribery Act 2010 which could see regulators getting tougher on companies which fail to prevent their staff committing financial crimes.
<
Anti-Corruption Update
การประกอบธุรกิจทีส่ ะอาดคือการ ท�ำธุรกิจทีป่ ลอดการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ซึง่ เป็ น ทางเลือกทีบ่ ริษทั ตัดสินใจเลือกได้ และเป็ น หน้าทีข่ องกรรมการบริษทั ทีต่ อ้ งเลือก และ จ�ำเป็นต้องท�ำ เพราะกรรมการบริษทั มีหน้าที่ ปกป้องและสร้างภูมคิ ุม้ กันความเสีย่ งใดๆที่ อาจท�ำลายความน่าเชือ่ ถือของบริษทั ต้นทุน ทางการเงิน และความรับผิดตามกฎหมาย ดร.บัณฑิต นิ จถาวร กรรมการ และผู้อ�ำนวยการ สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย หรือ IOD ได้ย้ำ� เตือน ในการกล่ า วในที่ป ระชุ ม กรรมการบริษัท นานาชาติ จัดขึน้ ทีเ่ กาะแฮมมิลตันในอาทิตย์ ทีผ่ า่ นมา ดร.บัณ ฑิต กล่ า วว่ า การทุ จ ริต คอร์รปั ชันได้กลายมาเป็ นปญั หาทีแ่ ก้ได้ยาก และเป็นตัวขัดขวางการแข่งขัน ท�ำลายสมดุล ในตลาด ท�ำลายการคิดค้นนวัตกรรมของ ภาคธุรกิจ และเป็ นภัยคุกคามการเพิม่ มูลค่า ในระบบเศรษฐกิจ ดร.บัณ ฑิต ได้ ช้ีใ ห้ เ ห็น ว่ า การ ต่อต้านคอร์รปั ชันอย่างจริงจังนัน้ เป็ นเรื่อง ที่เกิดขึ้นทัวโลก ่ และมีพฒ ั นาการมากขึ้น ซึ่งนัน่ หมายความประเทศพัฒนาแล้วและ ประเทศก�ำลังพัฒนาต่างก�ำลังเร่งพยายาม แก้ไขปญั หานี้ดว้ ยการออกกฎหมายใหม่ทม่ี ี ประสิทธิภาพดีกว่าเดิม ในบรรดาประเทศเอเชี ย ก็ ม ี ประเทศจีนทีป่ ระธานธิบดี สี จิน้ ผิง รณรงค์ การต่ อ ต้ า นทุ จ ริ ต คอร์ ร ั ป ชั น่ ซึ่ ง เป็ น การรณรงค์ ต่ อ ต้ า นการทุ จ ริต ที่ใ หญ่ แ ละ กว้างมากทีส่ ดุ ในประวัตศิ าสตร์สมัยใหม่ของ ประเทศจีน และประเทศบราซิลได้ประกาศ ใช้ กฎหมาย Clean Companies Act ทีม่ ี เนื้อหาเข้มงวดและมีผลบังคับใช้ไปเมือ่ เดือน มกราคม 2557 ทีผ่ า่ นมา การเปลีย่ นแปลง
International initiatives included the G20 AntiCorruption Working Group, the Organization of Economic Cooperation and Development's Convention on Combating Bribery of Foreign Public Officials and the United Nations' Convention Against Corruption. Nijathaworn urged directors to ensure the conduct of their organisations was consistent with the regulations of different countries. "These are converging into one principle and evolving into more demanding standards for companies," he said. He also cautioned that enforcement of anti-corruption was being supported by greater cooperation between countries around the world. "Directors need to understand that the public also expects companies to have special responsibilities and to tackle this problem. This is because companies are seen as being on the supply side of the corruption equation," he added. "In addition, there are increased expectations from stakeholders, including shareholders and investors, for boards to have a clear stand on corruption, especially in countries which have very active anti-corruption policies." Nijathaworn's advice to the boards of Australian organisations operating on a regional or global basis was to: Set a clear tone from the top of how the company is going to do business. Ensure they are updated on the latest corruption policies and regulations, especially in the jurisdictions the company operates in. Understand the steps management is taking to ensure the company is fully aware of the regulations. Ensure clear policies are in place on how the company will handle corruption. Ensure there are adequate internal procedures in place to prevent corruption and bribery. Ensure these are supported by regular reviews of the code of conduct and the procurement, supply chain and other policies. During the forum, the Australian Institute of Company Directors' general manager of policy and advocacy Rob Elliott FAICD warned that Australia was coming under pressure
นี้ยงั เป็ นผลมาจากการออกกฎหมาย UK Bribery Act 2010 ของ ประเทศอังกฤษ ซึง่ ส่งผลให้บรรดาองค์กรก�ำกับดูแลต่างๆเพิม่ ความ เข้มงวดกวดขัน เอาจริงเอาจังกับบรรดาบริษทั ที่ล้มเหลวในการ วางระบบป้องกันพนักงานของตนเองไปเกี่ยวพันกับอาชญากรรม ทางการเงิน นอกจากนี้ เรื่องการต่อต้านการทุจริตยังถูกน� ำไปรวม อยูก่ บั องค์กรระดับนานาชาติ ตัวอย่างโครงการเหล่านี้ อาทิเช่น การ ตัง้ คณะท�ำงานต่อต้านการคอร์รปั ชันของกลุม่ ประเทศ G20, ส�ำนักงาน ต่ อ ต้า นการติด สิน บนระหว่ า งประเทศขององค์ก ร OECD และ คณะท�ำงานของ United Nation’s convention Against Corruption ดร.บัณฑิตกล่าวกระตุน้ กรรมการบริษทั ว่า เป็นผูท้ ม่ี หี น้าที่ สร้างความเชือ่ มันว่ ่ าการก�ำกับดูแลกิจการทีต่ นดูแลอยูน่ นั ้ จะปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับของประเทศต่างๆ ที่บริษัทเข้า ไปด�ำเนิ นธุรกิจอยู่ เนื่ องจากว่า “ขณะนี้ ทวโลกต่ ั่ างปรับใช้หลัก กฎหมายต่อต้านการทุจริตไปสูม่ าตรฐานเดียวกันมากขึน้ เรือ่ ยๆ และ ก�ำลังพัฒนาเป็ นมาตรฐานทีเ่ รียกร้องให้ภาคธุรกิจต้องปรับตัวตาม” ดร.บัณฑิตยังกล่าวเตือนอีกว่า “การบังคับใช้กฎหมาย ต่อต้านการทุจริตเป็ นเรื่องทีม่ แี รงสนับสนุ นอย่างมาก โดยประเทศ ต่างๆทัวโลกยิ ่ นดีให้ความร่วมมือในการแก้ไขปญั หานี้” ดร.บัณฑิตกว่าวเสริมว่า “กรรมการบริษทั จ�ำเป็ นทีจ่ ะต้อง เข้าใจสถานการณ์วา่ สาธารณชนคาดหวังให้บริษทั มีความรับผิดชอบ ั ั ต่อปญหาคอร์ รปั ชันและต้องเข้าไปจัดการแก้ไขปญหาทุ จริต นัน้ ก็เป็น เพราะบริษทั มักถูกมองว่าเป็ น “ผูใ้ ห้สนิ บน” ในสมการ คอร์รปั ชัน” ่ นอกจากนี้ ยังมีแรงคาดหวังทีเ่ พิม่ มากขึน้ จากผูม้ สี ว่ นได้ ส่วนเสียกลุม่ ต่างๆ ซึง่ รวมถึง ผูถ้ อื หุน้ และผูล้ งทุนของบริษทั ทีค่ าด หวังว่ากรรมการบริษทั จะมีจุดยืนทีช่ ดั เจนในเรื่องการต่อต้านการ ทุจริต โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในประเทศทีม่ นี โยบายต่อต้านคอร์รปั ชัน่ บังคับใช้อย่างจริงจัง ในเรื่อ งนี้ ดร.บัณ ฑิต ให้ค�ำ แนะน� ำ แก่ ก รรมการบริษัท ออสเตรเลียว่าควรยึดหลักการด�ำเนินธุรกิจทัง้ ในระดับภูมภิ าคหรือ ระดับโลก ดังนี้ • ก�ำหนดทิศทางที่ชดั เจนจากผู้บริหารสูงสุดต่อวิธกี าร ประกอบธุรกิจของบริษทั ท่านว่าจะไม่ยงุ่ เกีย่ วกับการทุจริตคอร์รปั ชัน ทุกรูปแบบ • สร้างความเชื่อมันว่ ่ าพนักงานในองค์กรทุกคนรับทราบ และน�ำเอากฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับต่อต้านการทุจริตทีป่ ระกาศ บังคับใช้ลา่ สุดมาปรับใช้ในการท�ำงาน โดยเฉพาะการประกอบธุรกิจ ของบริษทั ทีอ่ ยูใ่ นอ�ำนาจการควบคุมของบริษทั ท่าน • ต้องเข้าใจขันตอนการบริ ้ หารของบริษทั ว่ามีความน่าเชือ่ ถือและผูบ้ ริหารในแต่ละขัน้ ตอนตระหนักถึงกฎระเบียข้อบังคับต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง • ก�ำหนดนโยบายต่อต้านการทุจริตและก�ำหนดวิธกี าร รับมือกรณีทจุ ริตไว้ชดั เจน • สร้างระบบตรวจสอบภายในทีเ่ พียงพอภายในบริษทั เพือ่ ป้องกันการคอร์รปั ชันและการรับหรือจ่ายสินบน • ต้อ งสนับ สนุ น ให้ม ีก ารทบทวน Code of Conduct กระบวนการจัดซือ้ จัดจ้างของบริษทั คูค่ า้ ในห่วงโซ่อปุ ทานของบริษทั และนโยบายต่างๆทีเ่ กีย่ วข้อง
Anti-Corruption Update
>
> Anti-Corruption Update
because it still allowed so-called facilitation payments. Also known as "grease payments", these are low value payments designed to persuade government officials to do a task that they are already obligated to do. "It is an area where many countries -- particularly the UK, US and Canada -- look at Australia and describe our regulatory settings and definitions as being out of step and not world best practice. It's an area we will have to address pretty quickly," he said. Nijathaworn added: "Facilitation payments are risky because you don't know what you are getting into. They are also complicated because different laws in different countries have different definitions of what they are.
ในระหว่างการประชุม Mr. Rob Elliott, General Manager of Policy and Advocacy ของสถาบัน The Australian Institute of Company Directors ประกาศเตือนว่า ขณะนี้นกั ธุรกิจออสเตรเลีย ก�ำลังอยู่ภายใต้แรงกดดัน เนื่องจากนักธุรกิจออสเตรเลียยังคงได้ รับอนุ ญาตให้สามารถจ่าย ค่าอ�ำนวยความสะดวก (Facilitation payment) หรือทีร่ จู้ กั กันดีวา่ “ค่าน�้ำร้อนน�้ำชา” ซึง่ ก็คอื การจ่ายเงิน สินบนรูปแบบหนึ่ง นิยมจ่ายในจ�ำนวนเล็กน้อย เพื่อให้ขา้ ราชการ ทีเ่ อื่อยเฉื่อยมีแรงจูงใจในการท�ำงานทีพ่ วกเขาต้องท�ำตามหน้าทีอ่ ยู่ แล้วให้รวดเร็วยิง่ ขึน้ ค่าอ�ำนวยความสะดวกนี้ยงั คงเป็ นประเด็นที่ในหลายๆ ประเทศยังคงถกเถียงกันอยู่ โดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และแคนนาดา แต่หากย้อนมองทีอ่ อสเตรเลียจะพบว่า กฎหมายและ ค�ำนิยามของออสเตรเลียในเรือ่ งนี้ยงั อยูห่ า่ งไกลจากแนวปฏิบตั ทิ ด่ี ที ่ี ใช้กนั อยูใ่ นระดับสากล ฉะนัน้ ประเด็นค่าอ�ำนวยความสะดวกจึงเป็ น เรือ่ งเร่งด่วนทีอ่ อสเตรเลียจะต้องรีบแก้ไข
"There are two ways you can tackle them: You can study the law and take your approach on a country by country basis, or you can take the standard and safer approach and just not allow them."
ดร.บัณฑิตกล่าวปิดท้ายเรือ่ งนี้ไว้อย่างน่าสนใจว่า ประเด็น ค่าอ�ำนวยความสะดวกถือเป็นความเสีย่ ง เพราะคุณไม่ทราบหรอกว่า คุณก�ำลังเข้าเกีย่ วข้องอยูก่ บั มัน เนื่องจากความซับซ้อนของการนิยาม ค�ำว่า ค่าอ�ำนวยความสะดวก สาเหตุเป็นเพราะการนิยามความหมาย ทีแ่ ตกต่างกันออกไปตามแต่กฎหมายในแต่ละประเทศนัน้ ๆจะก�ำหนด ขึน้ มา
Source:
ดังนัน้ นักธุรกิจจึงมีทางเลือกเพียงสองทาง ทางแรกคือ ศึกษาค�ำนิยามทีร่ ะบุอยู่ในกฎหมายของแต่ละประเทศและปรับใช้ นโยบายการจ่ายเงินค่าอ�ำนวยความสะดวกไปตามกฎหมายของ ประเทศนัน้ ๆ หรือ จะเลือกวิธกี ารทีง่ ่ายและปลอดภัยกว่านัน้ มาก คือ ใช้มาตรฐานเดียวกันหมดทุกประเทศทัวโลกที ่ บ่ ริษทั คุณเข้าไป ประกอบธุรกิจและงดจ่ายเงินค่าอ�ำนวยความสะดวกทุกรูปแบบ
http://www.companydirectors.com.au/Director-Resource-Centre/Publications/The-Boardroom-Report/Back-Volumes/Volume-12-2014/Volume-12-Issue-10/Making-clean-business-yourchoice
<
Anti-Corruption Update
ทุกอย่างขึน้ อยูก่ บั การตัดสินใจเลือกของบริษทั
> Anti-Corruption Update
Progress Report May-June 2014
Thai's Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC)
รายงานความก้าวหน้า
ระหว่างเดือนพฤษภาคม- มิถุนายน 2557 โครงการแนวร่วมปฏิบัติ ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต
The activities of Thai Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption in May and June 2014 were as follows, On 7th May, 17 delegates from government agencies, business organizations and NGOs in Afghanistan under support from the U.S. Embassy and CIPE held a meeting at conference room of IOD to listen to a brief lecture about Thai Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption and recommendation in building cooperation between public sector, private sector and public society in anti-corruption. In the meeting, Dr. Bandid Nijathaworn and Mr. Kulvech Janvatanavit gave a lecture and answer questions from the delegates. In the same evening, Dr Bandid Nijathaworn was invited from Australian-Thai Chamber of Commerce to give a lecture about solving corruption problem with initiation of private sector. In the event, there were 30 members of the Chamber of Commerce. They were interested in Thai private sector that was active in solving corruption problem. For most Australian businessmen, they faced problems from the services of government agencies in export and import, including delay and being asked for bribe to speed up the process. Moreover, it was hard to complain about the misconduct of the government officers. Thus, they would like to the responsible organization to take action urgently. On 21st -22nd May, IOD organized "10th Anti-Corruption: The Practical Guide" (ACPG) for operational employees. On 19th June, IOD and The European ASEAN Business Centre (EABC) organized a seminar on solving
กิจกรรมของโครงการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต ทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงเดือนพฤษภาคม ถึงมิถนุ ายน 2557 มีรายละเอียด ดังนี้ • 7 พฤษภาคม คณะผูแ้ ทนจากประเทศอัฟกานิสถาน ซึง่ ประกอบด้วยผูแ้ ทนจากหน่วยภาครัฐ องค์กรธุรกิจและองค์กรพัฒนา เอกชน จ�ำนวน 15 ท่าน โดยการสนับสนุนของสถานฑูตสหรัฐอเมริกา ประจ�ำประเทศอัฟกานิสถาน และ CIPE เดินทางมาจัดประชุม ณ ห้องประชุมของ IOD เพือ่ รับฟงั บรรยายสรุปเกีย่ วกับโครงการแนว ร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC) และ ขอค�ำแนะน�ำการสร้างโครงการความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน และ ประชาสังคมในการต่อสูก้ บั ปญั หาทุจริตคอร์รปั ชัน่ ในการนี้ ดร.บัณฑิต นิจถาวร และนายกุลเวช เจนวัฒนวิทย์ ได้จดั บรรยาย สรุปพร้อมตอบข้อซักถาม • ในเย็นวันเดียวกันนัน้ ดร.บัณฑิต นิจถาวร ได้รบั เชิญ จาก หอการค้าออสเตรเลีย-ไทย ให้บรรยายเกีย่ วกับการแก้ไขปญั หา ทุจริตคอร์รปั ชันโดยภาคเอกชนเป็ ่ นผูร้ เิ ริม่ โดยในงานดังกล่าวสมาชิก ของหอการค้าได้เข้าร่วมรับฟงั ประมาณ 30 ท่าน และต่างแสดงความ ั สนใจภาคเอกชนของไทยตืน่ ตัวต่อการแก้ไขปญหานี ้ โดยในส่วนของ ั นักธุรกิจออสเตรเลียส่วนใหญ่ตา่ งประสบปญหาจากการให้บริการของ หน่วยงานรัฐทีเ่ กีย่ วข้องกับการน�ำเข้าและส่งออกสินค้า ทีท่ ำ� งานล่าช้า และมีการเรียกรับสินบน เพือ่ เร่งกระบวนการให้เร็วยิง่ ขึน้ ตลอดจน ช่องทางร้องเรียนการประพฤติมชิ อบของข้าราชการทีท่ �ำได้ยาก จึง อยากวิงวอนขอให้หน่วยงานก�ำกับดูแลเร่งด�ำเนินการแก้ไขโดยด่วน • วันที่ 21-22 พฤษภาคม ได้จดั อบรมหลักสูตร Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG) ครัง้ ที่ 10 ส�ำหรับพนักงาน ระดับปฏิบตั กิ าร • 19 มิถุนายน IOD และศูนย์ส่งเสริมธุรกิจยูโรเปี ย น+อาเซียน (EABC) จัดสัมมนาเกี่ยวกับการแก้ไขปญั หาทุจริต
Anti-Corruption Update
>
> Anti-Corruption Update corruption problem in public service process, including improving development process. In the event, Dr Areepong Bhoocha-oom, Secretary of Office of the Public Sector development Commission (OPDC) gave a lecture about the current implementation of the organization. On 25th June, IOD organized "Anti-Corruption for Executive" (ACEP 11). The class was fully attended by executives from leading organizations. At the end of May, there were 320 companies in total that declared intention to Join CAC. One hundred and fifty companies were listed companies in the stock market. Currently, there were 3 companied that had submitted self-assessment form to CAC for certification process. If these companies are certified, there will be 52 certified companies in total. The details of the activities in the future are as follows, On 16th October, there will be a conference of Thai Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption. This year, the topic will be solving corruption problem by cooperation between public and private sector. If you are interested in joining the activities or training courses in the second half of 2014, please contact Mr. Nithidol Pattanatrakulsook. 02-955-1155 ext. 400 or www.thai-iod.com
<
Anti-Corruption Update
คอร์รปั ชันในกระบวนงานให้ ่ บริการของรัฐ รวมถึงการปรับปรุงพัฒนา กระบวนการทีล่ า่ ช้าให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ในงานดังกล่าวได้รบั เกียรติจาก ดร.อารีพงศ์ ภู่ชอุม่ เลขาธิการ ส�ำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ (กพร.) บรรยายน�ำเสนอข้อมูลสิง่ ทีก่ ำ� ลังด�ำเนิน การ • วัน ที่ 25 มิถุ น ายน จัด หลัก สู ต รส� ำ หรับ ผู้บ ริห าร Anti-Corruption for Executive (ACEP 11) มีผบู้ ริหารจากองค์กรชัน้ น�ำให้ความสนใจเต็มคลาส • ณ สิ้น สุ ด เดือ นพฤษภาคม มีบ ริษัท เข้า ประกาศ เจตนารมณ์เป็ นแนวร่วมปฏิบตั ฯิ เพิม่ ขึน้ เป็ น 320 บริษทั โดยใน จ�ำนวนนี้เป็ นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ 150 บริษทั ส่วน บริษัทที่ย่นื แบบประเมินตนเองเพื่อขอรับรองจากคณะกรรมการ แนวร่วมปฏิบตั นิ นัน้ ณ เวลานี้ม ี 3 บริษทั ซึง่ หากบริษทั ทัง้ หมดนี้ ผ่านการรับรองได้ และรวมกับบริษทั ทีผ่ า่ นการรับรองก่อนหน้านี้จะ ท�ำให้จำ� นวนบริษทั ผ่านการรับรองเพิม่ เป็ น 52 บริษทั ส่ ว นกิ จ กรรมที่ก� ำ ลัง จะเกิ ด ขึ้น อนาคตที่น่ า สนใจ มี รายละเอียดดังนี้ • 16 ตุลาคม การจัดการประชุมแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาค เอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต ซึง่ ในปีน้ีจะน�ำเสนอประเด็นการ แก้ไขปญั หาคอร์รปั ชันด้วยความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน ส�ำหรับท่านทีส่ นใจจะเข้าร่วมกิจกรรมและการอบรม ในช่วง ครึง่ หลังของปี 2557 สามารถติดต่อสอบถามได้ท ่ี นายนิธดิ ล พัฒน ตระกูลสุข 02-955-1155 ต่อ 400 หรือ www.thai-iod.com
DCPU 1/2014 July 17-18 Keep up with Trends and Challenges in Corporate Governance
For more information, please contact Khun Piyanuch at Tel: 02 955 1155 Ext.206 E-mail: pb@thai-iod.com
> Board Review
Essentials for
Board Directors: An A-Z Guide Author: Bob Tricker, Robert Ian Tricker
Recent years have seen a number of scandals that have revealed sometimes shockingly poor standards of corporate governance in well-known companies and exposed some directors had regard only to their own interest. Managers may run a company but it is the job of directors to make sure it is well run and run in the right direction. This clear and lively guide to the role and responsibilities of directors is aimed not only at those on the board, but also at managers and stakeholders in every kind of organisation. Including case studies that illustrate poor standards of corporate governance in companies the A-Z entries cover such concepts and terms as: Agency theory, Audit Committee,Corporate veil, Deep pocket syndrome, Disclosure, Ethics, Games directors play, Helicopter vision, Keiretsu, Log rolling, Mentor, Non-executive director, Poison pill, Shareholder value, Stakeholder theory, Tokenism, Two hat dilemma, Unitary board, War room, Yakusa, and Zaibatsu.
<
Board Review
ในช่วงหลายปี ทผ่ี ่านมามีหลายเหตุการณ์ทแ่ี สดงถึงการ ขาดการก�ำกับดูแลกิจการทีใ่ นองค์กรทีม่ ชี ่อื เสียง และแสดงให้เห็น ว่าคณะกรรมการบริษทั เห็นแก่ประโยชน์สว่ นตน ผูบ้ ริหารเป็ นผูท้ ่ี ท�ำหน้าทีก่ ารด�ำเนินธุรกิจแต่คณะกรรมการเป็ นผูท้ ม่ี หี น้าทีท่ จ่ี ะต้อง ดูให้มนใจว่ ั ่ าธุรกิจด�ำเนินไปอย่างดีและถูกทิศทาง ดังนัน้ บทบาท และหน้าทีข่ องคณะกรรมการจึงไม่ได้มงุ่ เน้นเพียงแค่คณะกรรมการ เท่านัน้ แต่รวมถึงการให้ความสนใจผูบ้ ริหารและผูม้ สี ว่ นได้เสียอืน่ ๆ ขององค์กร หนังสือเล่มนี้ได้รวบรวมกรณีศกึ ษาของบริษทั ทีข่ าดการ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และอธิบายความหมายของแต่ละค�ำจาก A-Z เช่นค�ำว่า Agency theory, Audit Committee, Corporate veil, Deep pocket syndrome, Disclosure, Ethics, Games directors play, Helicopter vision, Keiretsu, Log rolling, Mentor, Non-executive director, Poison pill, Shareholder value, Stakeholder theory, Tokenism, Two hat dilemma, Unitary board, War room, Yakusa, and Zaibatsu
> Board Activities DCP Residential ส่งท้ายปลายเดือนกับหลักสูตร Director Certificate Program (DCP) ภาษาอังกฤษ ทีย่ กชัน้ เรียนไปจัดกันทีร่ มิ น�้ำเจ้าพระยา ณ โรงแรม อนันตรากรุงเทพ ริเวอร์ไซด์ รีสอร์ทแอนด์สปาเป็นเวลา 6 วัน ผูเ้ ข้าร่วม อบรมสนุกสนานกับการอบรมด้วยเนือ้ หาเข้มข้นและการแลกเปลีย่ นความ คิดเห็นระหว่างกรรมการซึง่ มาจากหลากหลายธุรกิจและประสบการณ์ ใน DCP รุน่ 189 นี้ Mr. T. James Chaijaroen ผูจ้ ดั การ บริษทั เด็นโซ่ อินเตอร์เนชันแนล ่ เอเชีย จ�ำกัดได้รบั เลือกเป็นประธานรุน่
DCP Residential
The 189th Director Certificate Program (DCP) training course was held by the Chao Phraya river at Anantara Bangkok Riverside Resort & Spa Hotel for six days at the end of the month. Presented in English, participants found the training to be very interesting, The six-day program included intensive content and the sharing of opinions among a variety of directors from diverse businesses and experiences Mr. T. James Chaijaroen, Manager, Denso International Asia Company Limited, was elected as president of this course's group of participants.
Audit Committee Financial Expert สภาวิช าชีพ บัญ ชีใ นพระบรมราชู ป ถัม ภ์ ร่ ว มกับ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ หลัก ทรัพ ย์แ ละตลาดหลัก ทรัพ ย์ และสมาคมส่ง เสริม สถาบัน กรรมการบริษทั ไทย จัดงานสัมมนา Audit Committee Financial Expert เมือ่ วันพฤหัสบดีท่ี 22 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมเรดิสนั บลู พลาซ่า เพื่อให้ความรูค้ วามเข้าใจกับคณะกรรมการตรวจสอบ เกี่ยวกับหน้าทีข่ องกรรมการตรวจสอบ โดยการสัมมนาเน้นย�้ำ บทบาทในเรือ่ ง 1) การสอบทานรายงานทางการเงินตามมาตรฐาน การรายงานทางการเงินให้มคี วามถูกต้องและน่ าเชื่อถือ โดย สะท้อนมูลค่ายุตธิ รรมและเปิดเผยข้อมูลอย่างโปร่งใส และ 2) การ สอบทานการควบคุมภายในตาม COSO 2013 (The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission) โดยองค์ประกอบของการควบคุมภายในได้แก่สภาพแวดล้อมการ ควบคุม การประเมินความเสีย่ ง มาตรการควบคุม ระบบสารสนเทศ และการสือ่ สารข้อมูล และระบบการติดตาม ในเรือ่ งของความเสีย่ งได้ให้ความส�ำคัญเรือ่ งการทุจริตในองค์กรด้วยโดยให้คณะกรรมการตรวจสอบ เน้น 3 ด้านคือการป้องกัน การตรวจจับ และการตอบสนอง
Audit Committee Financial Expert
The Federation of Accounting Professions of Thailand under the Royal Patronage, the Stock Exchange of Thailand and the Thai Institute of Directors jointly organized a seminar for financial experts of audit committees on May 22, 2014 at the Radisson Blu Plaza Hotel in Bangkok. The seminar was aimed at enhancing understanding and knowledge of the expected roles of audit committees. The seminar focused on 1) accurate and reliable revision of financial report according to the standard of financial reporting in regard to reflecting fair value and information disclosure and 2) internal control revision according to COSO 2013 (the Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission). The components of internal control consist of control environment, risk assessment, control measure, an information system and a communication and monitoring system. The seminar also focused on risk related to corruption in the organization and the need to task an audit committee with concentrating on three aspects, prevention, detection and response.
Board Activities
>
> Board Activities Global IoD Network Meeting & Consultation
Dr. Bandid Nijathaworn received welcoming package from Mr. John Colvin
Executives of IOD in ASEAN countries
IOD invited to be member of Global Network of Director (GNDI)
สถาบันไอโอดีได้รับเชิญให้เป็นสมาชิกเครือข่ายสถาบัน กรรมการบริษัทโลก
On May 19,2014 the Thai IOD participated in a GNDI Executive Committee Meeting after having been invited earlier to join GNDI as its member. In the photo, Mr. John Colvin, Chair of GNDI, welcomed the Thai IOD represented by Dr. Bandid Nijathaworn, IOD President & CEO, to the network and presented a welcoming package witnessed by others GNDI members. In the welcoming letter, Mr. John Colvin said "GNDI is an international network whose member organizations collectively represent more than 100,000 individual diretors and governance professtionals. It is an exciting time for GNDI whose membership continue to grow this growth enables GNDI to more effectively represent directors and to build understanding and awareness among its member and the countries which they represent. It also provides a strong platform for director education, enabling GNDI to lift standard of Corporate Governance around the world" GNDI's role is to assist directors worldwide to stay abreast of emerging governance issues and to collaborate to strengthen the voice of directors in advocating for good governance policies and practices while focusing on the shared issues of interest to governance stakeholders around the world. GNDI's aim is to develop and promote leading practices and programs that enhance the capability of directors to drive sustainable performance for the benefits of shareholders, the economy, and society. Currently GNDI has members from Institute of Directors from 11 countries which are Australia, New Zealand, United Kingdom, United States, Canada, South Africa Malaysia, Thailand, Hong Kong, Singapore and Mauritius.
เมือ่ วันที่ 19 พฤษภาคม 2557 สถาบันไอโอดี (IOD) ได้รว่ ม ประชุมคณะกรรมการบริหารเครือข่ายสถาบันกรรมการบริษทั โลก (Global Network of Director Institutes - GNDI) ทีเ่ กาะฮิลมิลตัน รัฐควันส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย หลังจากทีไ่ ด้รบั เชิญให้เข้าร่วม เป็ นสมาชิกเครือข่าย ในงาน Mr. John Colvin ประธานเครือข่าย GNDI และกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ สถาบันกรรมการบริษทั ออสเตรเลีย (AICD) ได้มอบเอกสารตอบรับให้กบั ดร.บัณฑิต นิจถาวร กรรมการ ผูอ้ ำ� นวยการ IOD ท่ามกลางการแสดงความยินดีของกรรมการบริหาร GNDI ทีเ่ ข้าร่วมประชุม
<
Board Activities
ในเอกสารตอบรับการเข้าเป็ นสมาชิก Mr. John Colvin ั บนั เครือข่าย GNDI มีสมาชิกทีเ่ ป็นกรรมการบริษทั รวม กล่าวว่า “ปจจุ กันกว่า 100,000 คน และขณะนี้เป็นช่วงการเติบโต ซึง่ จะท�ำให้ GNDI สามารถมีบทบาทส�ำคัญในฐานะผูแ้ ทนกรรมการบรษัทในการแสดง ความคิดเห็นต่างๆ รวมถึงการสร้างความเข้าใจและสร้างมาตรฐาน การพัฒนากรรมการ เพือ่ ยกระดับการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ที วโลก” ั่ บทบาทหลักของ GNDI คือ สร้างความเข้าใจให้กรรมการ บริษทั ทัวโลกตระหนั ่ กถึงประเด็นทีเ่ กีย่ วกับการท�ำหน้าทีก่ ารก�ำกับ ดูแลกิจการและร่วมช่วยกันเป็ นเสียงของกรรมการบริษัทในการ แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับแนวทางและหลักปฏิบตั ขิ องการก�ำกับ ดูแลกิจการทีด่ ี รวมถึงประโยชน์ทางด้านธรรมาภิบาลทีจ่ ะมีต่อผูม้ ี ส่วนได้สว่ นเสียทัวโลก ่ เป้าหมายของ GNDI คือ พัฒนาและส่งเสริมแนวทางปฏิบตั ิ ทีด่ ที จ่ี ะช่วยเพิม่ ความสามารถของกรรมการบริษทั ในการท�ำหน้าที่ เพื่อประโยชน์ ทย่ี งยื ั ่ นของผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย เศรษฐกิจและสังคม ล่าสุด GNDI มีสมาชิกทีเ่ ป็ นสถาบันกรรมการจาก 11 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา แคนาดา อัฟริกาใต้ มาเลเซีย ไทย ฮ่องกง สิงคโปร์ และ มอริทสั
Global IoD Network Meeting & Consultation
Global IoD Network Meeting & Consultation
IOD Thai land was invited to join Global IoD Network Meeting & Consultation between 13th-14th May 2014 in Istanbul, Turkey. The event was held by International Finance Operation (IFC) for IOD worldwide to share opinions about the challenges in director institute administration for sustainable success, and operation in director development and good corporate governance in their own countries. Moreover, the event provided the opportunity for delegates from different countries to build a cooperation network between director institutes. In the event, there were delegates from 34 countries and Dr Bandid Nijathaworn, President of IOD Thailand and Miss Siriporn Wanichayanon, Vice President, were the delegates from Thailand. In the event, Dr. Bandid was a panelist in the discussion on the topic "IOD Success & Sustainability" with other delegates from Brazil, Baltic and Morocco to tell the approach and success of IOD Thailand which was established in 1999, including director development, research and policy and member engagement. After the discussion, the delegates had the opportunity to discuss about the challenge in director institute administration. For most countries, the challenge was to expand the number of members to make the organization sustainable by diversifying the main revenue not only from organizing training courses. In addition, there was a discussion in small group to share opinions in different aspects of good corporate governance, such as roles of secretary, collaboration with media to enhance understanding in good corporate governance, corporate governance scorecard, roles and duties of directors, development of corporate governance of small and medium enterprise, development of corporate governance of state enterprise. In term of building the network, the conference was divided into regional groups to discuss in-depth cooperation in the future and what support they wanted from IFC. The Asian countries attended the meeting consisted of Thailand, Singapore, Philippines, Indonesia, Mongolia, Bangladesh and India. The group agreed that cooperation should build on the strengths of each country to raise policy standards and good practices in corporate governance by focusing on the issue of independent directors, family business and good corporate governance. The group also provided guidance for support to IFC by suggesting IFC to host the meeting for Asian countries to meet more often. The meeting should be attended by the private sector as well to understand the image of both the regulation maker and complier. In addition to interest from the countries in ASEAN, other countries were also interested in the approach of Thai Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC), especially IOD Brazil and Mauritius that were interested in studying the approach for further development.
IOD ประเทศไทยได้รบั เกียรติเชิญให้เข้าร่วมงาน Global IoD Network Meeting & Consultation ระหว่างวันที่ 13-14 พฤษภาคม 2557 ณ เมือ งอิส ตัน บูล ประเทศตุ ร กี ซึ่ง จัด โดย International Finance Operation (IFC) เพือ่ ให้ IOD ทัวโลกได้ ่ พบปะ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับความท้าทายในการบริหาร สถาบันกรรมการให้ประสบความส�ำเร็จอย่างยังยื ่ น การด�ำเนินงาน ด้านการพัฒนากรรมการและการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ใี นประเทศของ ตน และเปิดโอกาสให้สร้างเครือข่ายเพือ่ ความร่วมมือระหว่างสถาบัน กรรมการ พร้อมทัง้ น�ำเสนอสิง่ ที่ IFC จะให้การสนับสนุนได้ในอนาคต โดยดร.บัณฑิต นิจถาวร กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ IOD และนางสาว ศิรพิ ร วาณิชยานนท์ รองผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ เป็ นตัวแทน IOD ประเทศไทยในการเข้าร่วม ซึ่งในการประชุมครัง้ นี้มตี วั แทน จาก 34 ประเทศเข้าร่วม ในการประชุมดร.บัณฑิต ได้รบั เกียรติเป็ นวิทยากรใน การอภิปรายหัวข้อ IOD Success & Sustainability ร่วมกับตัวแทน จากประเทศบราซิล บาลติก และโมรอคโค เพื่อเล่าถึงแนวทาง การท�ำงานของ IOD ประเทศไทยที่ก่อตัง้ มาตัง้ แต่ปี 2542 จน ประสบความส�ำเร็จในปจั จุบนั ทัง้ ในส่วนของงานด้านการพัฒนา กรรมการ งานวิจยั และนโยบาย และการสร้างการมีสว่ นร่วมของสมาชิก หลัง จากการอภิป รายผู้เ ข้า ร่ว มประชุ ม ได้ม ีโ อกาสปรึก ษาหารือ เกี่ยวกับความท้าทายในการบริหารสถาบันกรรมการ ซึ่งประเทศ ส่วนใหญ่ความท้าทายก็คอื การเพิม่ ฐานสมาชิกเพือ่ ให้องค์กรยังยื ่ น ได้โดยรายได้หลักจะไม่ได้มาจากการจัดฝึ กอบรมเพียงอย่างเดียว นอกจากนัน้ การประชุมได้มกี ารแบ่งกลุ่มย่อยเพือ่ แลกเปลีย่ นความ คิดเห็นในด้านต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับประเด็นด้านการก�ำกับดูแลกิจการ ทีด่ ี โดยมีหวั ข้อได้แก่ บทบาทหน้าทีข่ องเลขานุการบริษทั , การท�ำงาน ร่วมกับสือ่ มวลชนเพือ่ สร้างความเข้าใจเรือ่ งการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ,ี การจัดท�ำคะแนนการวัดระดับการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี (Corporate Governance Scorecard) บทบาทหน้าทีข่ องกรรมการ การพัฒนา การก�ำกับดูแลกิจการทีข่ องวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) การพัฒนาการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องรัฐวิสาหกิจ (SOE) ในส่วนของการสร้างเครือข่าย การประชุมมีการแบ่งเป็ น กลุ่ ม ประเทศในภู ม ิภ าค เพื่อ ให้ป รึก ษาหารือ ในเชิง ลึก เกี่ย วกับ ความร่วมมือในอนาคตและสิง่ ทีต่ อ้ งการการสนับสนุนจาก IFC ซึง่ ใน ประเทศกลุม่ อาเซียนทีเ่ ข้าร่วมประชุมได้แก่ ไทย สิงคโปร์ ฟิลปิ ปินส์ อินโดนีเซีย มองโกเลีย บังคลาเทศ และอินเดีย ในการประชุมกลุม่ อาเซียนเห็นว่าความร่วมมือควรจะต่อยอดจากสิง่ ทีเ่ ป็ นจุดแข็งของ แต่ละประเทศเพื่อยกมาตรฐานของนโยบายและแนวปฏิบตั ทิ ด่ี ใี น การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยมุง่ เน้นเรือ่ งของกรรมการอิสระ ธุรกิจ ครอบครัว และการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และทางกลุม่ ได้ให้แนวทาง กับทาง IFC ในการสนับสนุ นโดยการเป็ นเจ้าภาพจัดการประชุมให้ กับภูมภิ าคอาเซียนให้ได้เจอกันบ่อยครัง้ ขึน้ โดยการประชุมควรจะมี ภาคเอกชนเข้าร่วมด้วย เพือ่ ทีจ่ ะเข้าใจภาพของทัง้ ฝา่ ยออกกฎเกณฑ์ และฝา่ ยทีต่ อ้ งด�ำเนินการ นอกเหนือจากประเทศในภูมภิ าค IOD ประเทศไทยได้ รับความสนใจเกีย่ วกับเรือ่ งการด�ำเนินโครงการแนวร่วมปฏิบตั ภิ าค เอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต โดยเฉพาะ IOD ประเทศบราซิล และประเทศมอริเชียสได้ให้ความสนใจในการศึกษาแนวทางเพื่อ น�ำไปพัฒนาต่อไป
Board Activities
>
> Board Success
Congratulations DCP 183-188 After 6 weeks of an intensive training, on last 15th May, it was a night of pride for every attendant of DCP 183-188 and examinees that passed 40th Director Diploma Examination. IOD would like to congratulate on their success in this occasion. As usual, IOD provided fun activities and lovely prizes to welcome everybody in the diploma ceremony. Board Success would like to share some joyful pictures from the diploma ceremony with our readers. หลังจากทีค่ ร�่ำเคร่งกับการอบรมมาตลอด 6 สัปดาห์ ค�่ำคืนวันที่ 15 พฤษภาคมทีผ่ า่ นมา เป็ นค�่ำคืนแห่งความภาคภูมใิ จของเหล่าผู้ อบรม DCP รุน่ 183-188 และผูผ้ า่ นการสอบ Director Diploma Examination รุน่ 40 IOD ขอแสดงความยินดีกบั ทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ และ เช่นเคย IOD ได้จดั เตรียมกิจกรรมสนุ กสนานและของรางวัลน่ารักๆ ไว้ตอ้ นรับทุกท่านในงานรับประกาศนียบัตร คอลัมน์ Board Success ขอประมวลภาพบรรยากาศวันงานรับประกาศนียบัตรมาให้ชมกันบางส่วน บรรยากาศสนุกสนาน ชืน่ มืน่ แค่ไหน ไปชมกันเลย Director Diploma Examination 40/2014
Ms.Sun-Hye Park
Mr.Boon Swan Foo
Mr.Yohan Halim
Director Certification Program 183/2014
Mr. Aung Aung
Mr. Nget Sovannarith
Ms. Ratchada Anantavrasilpa
Mr. Chirathep Senivongs
Mr. Nguyen Quoc Dzung
Mrs. Sengdaovy Vongkhamsao
Mr. Finbarr Roland O'Connor
Mr. Nguyen Trung
Mr. Sok Dara
Dr. Hien Thu Nguyen
Dr. Noppawan Tanpipat
Mr. Sou Socheat
Mr. Hong Sok Hour
Mr. Pariya Techamuanvivit
Mr. Tarate Poshyananda
Ms. Kamolwan Silapiruti
Mrs. Phothichanh Thammatheva
Ms. Vasumadi Vasinondha
Mr. Khamhou Thongthavy
Mr. Pongpiti Ektheinchai
Mrs. Vathana Dalaloy
Director Certification Program 184/2014
นายกนิษฐ์ สัญชาตวิรฬุ ห์
<
นายศิรชิ ยั พฤฒินารากร
นายจตุรงค์ ผาณิตพิเชฐวงศ์
นายถกลรัตน์ แก้วกาญจน์ นายนพดล ปญั ญาธิปตั ย์
นางจารุณี สุขเกษตร
นางนวอร เดชสุวรรณ์
นายสมพจน์ ชีรนรวนิชย์
นางจิตเกษม หมูม่ งิ่
นางบัญชุสา พุทธพรมงคล
นายสรภัส สุตเธียรกุล
นายเจตรมงคล บุญดีเจริญ
นายประจักษ์ มโนจันทร์เพ็ญ
นายสรายุทธ์ นาทะพันธ์
นางชมัยพร สถิตย์พนาพร
นายปราโมทย์ เตชะสุพฒ ั น์กุล
นายสลิล จารุจนิ ดา
นายณัฐ พินิตพงศ์กุล
นางสาวปิยฉัตร เจตนาการณ์กุล
นายสุรกิจ ธารธนานนท์
นางสาวณัฐชไม ถนอมบูรณ์เจริญ
นายยุรนันท์ ภมรมนตรี
นายโสภณ เนตรสุวรรณ
นายณัฐพล เอกแสงกุล
นายวิชยั ญาณิสรางค์กลู
นายอนันต์ วรธิตพิ งศ์
นายดไน โชติกพนิช
นายวีระชัย เชาว์ชาญกิจ
นายอมรศักดิ ์ โตรส
Board Success
ผศ.ดร.สมบัติ อยูเ่ มือง
Director Certification Program 185/2014
นายก�ำธร อุทารวุฒพิ งศ์
ดร.ปภากร สุวรรณธาดา
นายวิโรจน์ มีนะพันธ์
นายจรัมพร โชติกเสถียร
พ.ญ.ปรมาภรณ์ ปราสาททองโอสถ
น.ส.วิไลพร ทวีลาภพันทอง
นายจิรฏั ฐ์ สิรเิ ฉลิมพงศ์
รศ.ดร.ประกิจ ตังติสานนท์
ดร.วิศษิ ฐ์ องค์พพิ ฒ ั นกุล
นายเฉลิมศักดิ ์ ผาณิตพิเชฐวงศ์
นายประสงค์ อดุลยรัตนนุกุล
นายศักดา ตัง้ จิตวัฒนากร
น.ส.ชญานี พินิจโสภณพรรณ
นายพลเอก รุง่ โรจน์กติ ยิ ศ
นางสาวศิรพิ ร มหัจฉริยวงศ์
นายณัฐวัฒน์ อัสดรมิง่ มิตร
นางพัชราภรณ์ กฤตยานวัช
นายสมชัย วสุพงศ์โสธร
นายก�ำพล ปุญโสณี
นายพิพฒ ั พงศ์ อิศรเสนา ณ อยุธยา
นายสุนทร ทรัพย์ตนั ติกุล
นายธวัชชัย บุญเลิศ
นายพิษณุ มุนิกานท์
นายอัศวิน รักมนุษย์
นายนพชัย วีระมาน
นายยงยุทธ เสฎฐวิวรรธน์
น.ส.อิสรีรฏั ศรีวรรัฐ
น.ส.น�้ำทิพย์ พรมเชือ้
นางยุพาพรรณ ฉัตรศิรนิ พกุล
นายปฐมภพ สุวรรณศิร ิ
ดร.รัชฎา ฟองธนกิจ
Director Certification Program 186/2014
นพ.ก่อเกียรติ เวทยะเวทิน
นายพีรชั ศักดิ ์ ชุณหรัชพันธุ์
นายสนัน่ ศิรพิ นิชสุธา
นายกฤษฎา จีนะวิจารณะ
นายเมโธ เปี่ยมทิพย์มนัส
พลโทสมชาย ชัยวณิชยา
นายชาญ ลายลักษณ์
นายรัตนชัย นามวงศ์
นายสมพร ศศิโรจน์
นายณัฐภูม ิ เปาวรัตน์
นางวรรณา เรามานะชัย
นายสมานพงษ์ เกลีย้ งล�ำยอง
นายนคร ศิลปอาชา
นายวรวรรต ศรีสอ้าน
นายสมิทธิ ดารากร ณ อยุธยา
นายประภาส วิชากูล
นายวิทรู ซื่อวัฒนากุล
นส.สุดารัตน์ เจียมจันทร์
นพ.ประมุข วงศ์ธนะเกียรติ
นายวีรวัฒน์ ศรีจาด
นางสุรางคณา วายุภาพ
นายปรีชา ปรมาพจน์
นายวุฒพิ งษ์ ทรงวิศษิ ฏ์
นายหัสพงศ์ วารีพนั ธ์วรกุล
นายพชร ทนงเกียรติศกั ดิ ์
นายศิรพิ งษ์ รุง่ โรจน์กติ ยิ ศ
นายอรรณพ วาดิถี
นายพล คงเสือ
นายสถาพร พานิชรักษาพงศ์
ดร.เอกพล ณ สงขลา
Board Success
>
> Board Review Director Certification Program 187/2014
นายกุญชร เรามานะชัย
นายพีระ ระยามาศ
นางสาวสุชญา เหรียญวิไลรัตน์
นายกิตติ สัมฤทธิ ์
นายมานิต เจียรดิฐ
ดร.สุชาดา พันธุ
นายกิตชิ ยั วงษ์เจริญสิน
นายยุทธนา ธนาเพิม่ พูลผล
นายอนันต์ ลิลา
นายไกรลักขณ์ อัศวฉัตรโรจน์
นายวรเทพ รางชัยกุล
นายอภิรมย์ น้อยอ�่ำ
นายจีราวัฒน์ พัฒนสมสิทธิ ์
นางวรรณพร ลีฬหาชีวะ
นางอรจรรยา จันทวรสุทธิ ์
นายชรินทร์ กาญจนรัตน์
ศ.วิรยิ ะ นามศิรพิ งศ์พนั ธุ์
นายอรรถพร วัฒนวิสทุ ธิ ์
นายชาติชาย เทพแปง
นายวีรชัย มันสิ ่ นธร
นายอังกฤษ รุง่ โรจน์กติ ยิ ศ
นายบัณฑิต ธรรมประจ�ำจิต
นายศรัณย์ กิง่ แก้ว
ดร.อาภา อรรถบูรณ์วงศ์
นายบุญญนิตย์ วงศ์รกั มิตร
นางสมศรี หาญอนันทสุข
นายเอกชาติ นาคาไชย
นายพิสฏิ ฐ์ กิจวัฒนาถาวร
นายสมศักดิ ์ พิเชฐภิญโญ Director Certification Program 188/2014
Mrs.Souksanh Phongphila
<
นายสมศักดิ ์ ศรีทองวัฒน์
Mr.Vanhseng Vannavong
นายไพศาล พงษ์ประยูร นางสาวภวดี ปุ้ยพันธวงศ์
นายกิตณรงค์ ติระขจร
ดร.ภากร ปีตธวัชชัย
นางสร้อยเพชร จันทรัช
นางกิตติมา นพทีปกังวาล
นางรัตนา สุวรรณ
นายสายัณห์ วงศ์เบญจรัตน์
นางสาวจรรย์จริ า พนิตพล
นางสาวลักษณา ทรัพย์สาคร
นางสุธาศินี นิมติ กุล
นายชัชชน กรรณสูต
นายวิทรู จงเจริญพรชัย
นายสุวชิ ชา เนติววิ ฒ ั น์
นายชาญชัย เลิศกุลทานนท์
นายศรชัย สุเนต์ตา
นายเอกศักดิ ์ สาโท
นายด�ำรง วิภาวัฒนกุล
นางสาวศิรดา เทียมประเสริฐ
Board Success
นายสมหมาย กูท้ รัพย์
> Welcome New Member
WELCOME New Member
สมาชิกสามัญบุคคล
Mr. Kelvin Koh Yew Hock Executive Director Singapore International School of Bangkok Mrs. Anne Marie Independent Director Tipco Asphalt Public Company Limited Mr. Blake Dimsdale Managing Director บริษทั มาซาร์ส จ�ำกัด Mr. Christophe Voy Executive Director Colas Companies Mr. Daniel Schwalb Executive Director Siam Winery Trading Plus Co.,Ltd. Mr. Fung Meng Hoi Executive Director Masterkool International Co.,Ltd. Mr. Jacques Marechal Executive Director Tipco Asphalt Public Company Limited Mr. Kenneth NG Audit Committee AAPICO Hitech PCL.
Mrs. Sansanee Sutivong Executive Director Principal Capital Public Company Limited Mrs. Vareeporn Udomkunnatum Managing Director Elysian Development Co.,Ltd. นพ. กฤชรัตน์ หิรณ ั ยศิร ิ ประธานกรรมการ สถาบัน วิจ ัย และพัฒ นาอัญ มณี แ ละเครื่อ งประดับ แห่ ง ชาติ (องค์การมหาชน) นาย กฤษณ ไทยด�ำรงค์ กรรมการ บริษทั มาสเตอร์คลู อินเตอร์เนชันแนล ่ จ�ำกัด นาย โกศิน ฉันธิกุล Group Director of Acquisition บริษทั ไมเนอร์ อินเตอร์เนชันแนล ่ จ�ำกัด (มหาชน) นาย คณิสสร นาวานุเคราะห์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ทิพยประกันชีวติ จ�ำกัด นาย ชญานิน เทพาค�ำ กรรมการบริหาร บริษทั สิงห์ คอร์เปอเรชัน่ จ�ำกัด นางสาว ชนาลัย ฉายากุล เลขานุการบริษทั บริษทั ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน)
Mr. Marc Jacqmin Executive Director Vinythai Public Company Limited
นาย ชัยณรงค์ ลิมป์กติ ติสนิ กรรมการ บริษทั บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จ�ำกัด
Mr. Michael Fiore Director Deloitte Touche Tohmatsu Jaiyos Planners & Accounting Co.,Ltd.
นาย ชาญ เธียรกาญจนวงศ์ กรรมการบริหาร บริษทั บิก๊ คาเมร่า จ�ำกัด
<
Welcome New Member
นาย เชษฐา ศุภวราสุวฒ ั น์ กรรมการ บริษทั บูโอโน่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
นาย นรภัทร เลขยานนท์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ทิพยประกันชีวติ จ�ำกัด
นาย โชติชยั เจริญงาม กรรมการอิสระ บริษทั ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน)
นางสาว นารี เจียมวัฒนสุข กรรมการบริหาร บริษทั บางจากกรีนเนท จ�ำกัด
นาย ณ.พงษ์ สุขสงวน กรรมการบริหาร บริษทั เมก้า แพลนเน็ต จ�ำกัด
นาย บุญญรักษ์ ดวงรัตน์ กรรมการ สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน)
นาง ณิยะดา จ่างตระกูล กรรมการบริหาร บริษทั หลักทรัพย์ ทรีนีต้ี จ�ำกัด
นาย ประกิจ ธวัชปรีดพิ งษ์ กรรมการบริหาร บริษทั อีแกท ไดมอนด์ เซอร์วสิ จ�ำกัด
นาย ด�ำรงค์ ปิ่นภูวดล กรรมการบริหาร PTT International Trading Pte. Ltd.
นาย ปรัชญา กุลวณิชพิสฐิ กรรมการบริหาร บริษทั หลักทรัพย์ ฟิลลิป (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน)
นาง ต้องใจ ธนะชานันท์ Executive Director The Boston Consulting Group (Thailand) Ltd.
นาย ปริพนั ธ์ หนุนภักดี รองประธานกรรมการ บริษทั เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย จ�ำกัด
นาย ธเนศ พิรยิ โ์ ยธินกุล กรรมการบริหาร บริษทั เจดับบลิวดี เอเชีย จ�ำกัด
นาย พงศ์พเิ ชษฐ์ นานานุกลู กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนกสิกรไทย จ�ำกัด
นาย ธานินทร์ สุวรรณวัฒน์ กรรมการบริหาร บริษทั เอสโก ฟู้ด อินดัสทรี่ จ�ำกัด
นาย พร ดารีพฒ ั น์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เอส คอมพานี (1933) จ�ำกัด
นาง นงลักษณ์ เอีย่ มโชติ เลขานุการบริษทั บริษทั ทิพยประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน)
นาย พิทกั ษ์ จรรยพงษ์ กรรมการบริหาร บริษทั ผลิตไฟฟ้าและน�้ำเย็น จ�ำกัด
นายนพเดช กรรณสูตร กรรมการบริหาร บริษทั อมตะ บี.กริม เพาเวอร์ 4 จ�ำกัด
นาย พิศษิ ฏ์ ตัง้ ทวีสทิ ธิ ์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั พี.เอ็ม.สุรนิ ทร์(1994) จ�ำกัด
Welcome New Member
>
> Welcome New Member
WELCOME New Member
ร้อยเอก ยงยุทธ มัยลาภ ประธานกรรมการ บริษทั ดี.เอ็ม.อินเตอร์คอมมิวนิเคชัน่ จ�ำกัด
นางสาว ศศิธร สุวฒ ั นพงศ์เชฎ กรรมการ บริษทั บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จ�ำกัด
นาง รัตนา ชอบใช้ เลขานุการบริษทั บริษทั พีทที ี เอ็นเนอร์ย่ี รีซอร์สเซส จ�ำกัด
นาย สมชาย กูใหญ่ กรรมการบริหาร บริษทั ผลิตไฟฟ้า นวนคร จ�ำกัด
นาย ราเมศวร์ ศิลปพรหม กรรมการ บริษทั ซอฟต์สแควร์ อินเตอร์เนชันแนล ่ จ�ำกัด
นาย สมยศ ธีระวงศ์สกุล กรรมการ บริษทั ราชบุรเี พาเวอร์ จ�ำกัด
นาง ลาวัณย์ ฉัตรรุง่ ชีวนั เลขานุการคณะกรรมการ การประปานครหลวง
นาย สมศักดิ ์ บริสทุ ธนะกุล ประธานกรรมการ บริษทั อุตสาหกรรมถุงพลาสติคไทย จ�ำกัด
นาง วราวรรณ ทิพพาวนิช เลขานุการบริษทั บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน)
นาย สายัณห์ วงศ์เบญจรัตน์ กรรมการ บริษทั นครชัยแอร์ จ�ำกัด
นาง วัลยา วงศาริยวานิช กรรมการบริหาร บริษทั ดีสโตน จ�ำกัด
นางสาว สุกานดา อัมพรสิทธิกลู กรรมการบริหาร บริษทั ธนบุรปี ระกอบรถยนต์ จ�ำกัด
นาย วิชยั เหล่าเจริญพรกุล Director East West Seed Co., Ltd.
นาย สุชาติ มงคลอารียพ์ งษ์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เจตาเบค จ�ำกัด
นาย วิเชียร ชวลิต ประธานกรรมการ ส�ำนักงานธนานุเคราะห์
นาง สุนทรี จรรโลงบุตร กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เทคดนเมดิคลั จ�ำกัด
นาย วิธพล เจาะจิตต์ กรรมการ บริษทั เมอร์เซอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
ดร. สุพจน์ ชินวีระพันธุ ์ Executive Director Thaicom Public Company Limited
นาย วิเศษ จูงวัฒนา กรรมการ บริษทั นที ซินเนอร์ย่ี จ�ำกัด
นาง สุวดี จงสถิตย์วฒ ั นา ประธานกรรมการ บริษทั นานมีบุ๊คส์ จ�ำกัด
<
Welcome New Member
นาย อธิวตั ร ลวพิมล กรรมการ บริษทั พาร์ทออฟคอน จ�ำกัด
บริ ษทั เจียงอิ นเอต์เนชันแนล ่ จ�ำกัด นาย กิตติพงษ์ สกุลคู กรรมการ
นางสาว อัจฉรา เจียมถาวร กรรมการ บริษทั บูโอโน่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
นาย กิตติศกั ดิ ์ สกุลคู กรรมการ
นางสาว อาทร วนาสันตกุล กรรมการ บริษทั เอ็ม บี เค โฮเต็ล แอนด์ ทัวร์รซิ ม่ึ จ�ำกัด นาย อารักษ์ ทองเรือง กรรมการบริหาร บริษทั หลักทรัพย์ ฟิลลิป (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน)
นาง นฤมล เฮงมีชยั กรรมการ นาง ยุพนิ อาสนานิ เลขานุการบริษทั นาย อนุชติ สกุลคู กรรมการ
นางสาว อารีวรรณ์ ศรีวชิ ชุพงศ์ กรรมการ บริษทั ไทยวาพลาซ่า จ�ำกัด
นาง อาภาภรณ์ สงวนศักดิภั์ กดี กรรมการ
สมาชิกสามัญนิติบุคคล
นาย มังกร ธนสารศิลป์ กรรมการ
Tipco Asphalt Public Company Limited Mr. Hugues de Champs Executive Director Mr. Koh Ban Heng Independent Director
นาย วิชญา จาติกวณิช กรรมการ
นาย พีรศิลป์ ศุภผลศิร ิ Independent Director บริ ษทั ศรีอยุธยา แคปปิ ตอล จ�ำกัด (มหาชน) Mr. Ulf Lange Director
บริ ษทั เจดับเบิ้ลยูดี อิ นโฟโลจิ สติ กส์ จ�ำกัด นาย จิตชัย นิมติ รปญั ญา กรรมการ
นาย วิเชฐ ตันติวานิช กรรมการ นาย เสถียร วงศ์วเิ ชียร กรรมการ นางสาว อรวรรณ วรนิจ กรรมการ นาง อัจฉรา นิมติ รปญั ญา กรรมการ Welcome New Member
>
> Welcome New Member
WELCOME New Member
บริ ษทั สโตนวัน จ�ำกัด (มหาชน) นาย เจริญรัฐ ปิงคลาศัย กรรมการ
ธนาคารกสิ กรไทย จ�ำกัด (มหาชน) นาง พันธ์ทพิ ย์ สุรทิณฑ์ กรรมการอิสระ
นาย ชัยณรงค์ บุญสันต์ กรรมการตรวจสอบ
บริ ษทั นามยงเทอมิ นัล จ�ำกัด (มหาชน) นาย เวทางค์ พ่วงทรัพย์ กรรมการอิสระ
นาย เชิดพงษ์ รัชดาธนวัฒน์ กรรมการ นาย พิษณุ ทับทอง กรรมการตรวจสอบ นาย สยาม วัชรปรีชา รองประธานกรรมการ บริ ษทั ผลิ ตไฟฟ้ าราชบุรีโฮลดิ้ ง จ�ำกัด (มหาชน) นาย ชวลิต พิชาลัย กรรมการ
นาย สาคร สุขศรีวงศ์ กรรมการอิสระ บริ ษทั ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) พลอากาศเอก อารยะ งามประมวญ กรรมการอิสระ บริ ษทั เธียรสุรตั น์ จ�ำกัน (มหาชน) นาย เอกรัตน์ แจ้งอยู ่ กรรมการ
บริ ษทั บางจากปิ โตเลียม จ�ำกัด (มหาชน) พลต�ำรวจโท ชัยวัฒน์ โชติมา กรรมการอิสระ
สมาชิกสมทบ
บริ ษทั กรุงไทยธุรกิ จบริ การ จ�ำกัด นางสาว ณัฐรี สาคริกานนท์ กรรมการ
Mrs. Marie-Cecile Georgette Caroline Stevens Vice President of HR Minor Hotel Group Plc.
บริ ษทั เดอะ บ๊อกซ์ พร็อพเพอร์ตี้ ดิ เวลลอปเมนท์ จ�ำกัด นายทัชพล วงศ์วานิช กรรมการ
Mr. Richard Jones Head of IR and communication Indorama Venture PCL
นาย ศรชัย ครุจติ ร กรรมการ
Mr. Virak Tep General Manager EFG Co.,Ltd.
บริ ษทั สัมมากร จ�ำกัด (มหาชน) นายธวัชชัย ช่องดารากุล กรรมการอิสระ
<
Welcome New Member
นางสาว กุลนิภา โพธิอบ ์ เลขานุการกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั สยามมิตรมอเตอร์แมนูแฟคเจอริง จ�ำกัด (มหาชน)
พลอากาศตรี เกษม เหล่าจินดาพันธ์ รองผูอ้ ำ� นวยการ สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน)
นางสาว ยุวนิตย์ วสุพลเศรษฐ์ ผูจ้ ดั การส่วนก�ำกับดูแล บริษทั ทีโอที จ�ำกัด (มหาชน)
นาย ชิตชัย เธียรกาญจนวงศ์ ผูจ้ ดั การทัวไป ่ บริษทั บิก๊ คาเมร่า จ�ำกัด
นาย รัฐ จิโรจน์วณิชชากร Managing Director บริษทั ไมซ์ แอนด์ คอมมูนิเคชัน่ จ�ำกัด
นาย บรรยงค์ ลิม้ ประยูนวงศ์ ทีป่ รึกษากรรมการ บริษทั ทิพยประกันชีวติ จ�ำกัด
นาง วัชรี ศิรนิ รกุล General Manager บริษทั สยามราชธานี คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด
นางสาว ปนิชชา สิทธินุกลู ชัย General Manager บริษทั ไมซ์ แอนด์ คอมมูนิเคชัน่ จ�ำกัด
นาย วิรชั มรกตกาล CEO บริษทั กรุงไทยแอดไวซ์เซอรี่ จ�ำกัด
นาย ปิต ิ พรกิตติยานนท์ COO K.R.C. Transport & Service Co.,Ltd.
นาย สรรเสริญ จรรยาสกุลวงศ์ ผูจ้ ดั การทัวไป ่ บริษทั บอร์เนียว เทคนิเคิล (ประเทศไทย) จ�ำกัด
นาง พวงจันทร์ เหล่าสุทธิวงษ์ อนุกรรมการตรวจสอบ สถาบันคุม้ ครองเงินฝาก
นางสาว อนงค์นาฏ วรรณมาศ ผูช้ ว่ ยเลขานุการบริษทั บริษทั แม็คกรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน)
ดร. พัทธนันท์ เพชรเชิดชู อนุกรรมการตรวจสอบ สถาบันคุม้ ครองเงินฝาก
นาย อัครเศวต หัสดิน รองกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย จ�ำกัด
นางสาว พิชญา ต้นโสด นักวิเคราะห์และวางแผนนโยบาย บริษทั ริชเ่ี พลซ 2002 จ�ำกัด (มหาชน)
นาย อาวุธ วรรณวงศ์ ทีป่ รึกษา บริษทั ทริส คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด
นางสาว พิณแก้ว ทรายแก้ว ผูช้ ว่ ยกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน ไทยพาณิชย์ จ�ำกัด
นาย อิทธิพล ยุกตะนันทน์ ผูจ้ ดั การฝา่ ยการเงินและบัญชี บริษทั ลีสซิง่ กสิกรไทย จ�ำกัด
นาง มธุรส โหตรภวานนท์ Senior Business Operation Manager บริษทั สยามราชธานี คอร์ปอเร ชันจ�ำกัด
Welcome New Member
>
Apply for IOD Membership Today
สมัครสมาชิก IOD วันนี้ Receive Special Benefits Pay member price rate for all director training courses Attend IOD member activities for free of charge or if a fee is involved, pay only the discounted member price Send another representative from your organization to attend some IOD events Receive information about good corporate governance and related reports and research Entitled to receive more detailed information on new developments indicated in the flash messenger service sent by email or posted on the website Entitled to receive the bi-monthly Boardroom Magazine issues. Eligible to have your profile details in the IOD database that contains professional information of members and directors Use of IOD lounge and access to the IOD library Purchase IOD books, academic publications and other merchandise at a special rate
Special discount in many businesses. Among them are: * * * * * **
LDC Dental Clinic (www.ldcdental.com) The Pine Golf and Lodge Baanhuangnamrin Resort Mom Chailai River Retreat Mind and Wisdom Development Center Membership card must be shown.
Membership Fees / อัตราคาสมาชิก สมาชิกสมทบ Associate Member
Initial Fee: THB 1,500
Annual Fee: THB2,500
สมาชิกสามัญบุคคล Individual Member
Initial Fee: THB 5,000
Annual Fee: THB4,000
สมาชิกสามัญนิติบุคคล Juristic Member
Initial Fee: THB 3,000/ Person Annual Fee: 3 representatives THB 4,000 each 4-6 representatives THB 3,500 each More than 7 representatives THB3,000 each
Special offer! Only THB 7,500 for 3 years membership
รั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษมากมาย สวนลดสําหรับหลักสูตรฝกอบรมตาง ๆ ในอัตราสมาชิกตาม ที่สมาคม ฯ กําหนด สวนลดสําหรับสงตัวแทนบริษัทเขารวมกิจกรรมของสมาคม ฯ ในราคาสมาชิก สิทธิ์เขารวมกิจกรรมสมาชิก โดยไมเสียคาใชจายหรือในราคา สมาชิก รับบริการขอมูลดานการกํากับดูแลกิจการที่ดี,ขอมูลเชิงสถิติ และรายงานการสํารวจหรือการวิจัยที่สมาคมฯจัดทําขึ้นจาก Board Room Flash ทาง Email และ Website และนิตยสาร Board Room Magazine ที่จัดพิมพปละ 6 เลม รับสิทธิ์ในการประกาศสถานะสมาชิก Graduate Member and Fellow Member และบันทึกฐานขอมูลสมาชิกในโครงการ คนหากรรมการ (Director Search) สิทธิ์ในการใช IOD Lounge ในการประชุมพบปะ หรือคนควา หนังสือที่เปนประโยชนสําหรับกรรมการในหองสมุดที่มีกวา 500 เลม สิทธิ์ในการซื้อหนังสือ สินคา และคูมือตาง ๆ จากทาง IOD ใน ราคาพิเศษ สิทธิ์ในการใชหองสัมมนาของ IOD ในราคาพิเศษ (มีส่ิงอํานวย ความสะดวกอาทิ Internet และเครื่องประมวลผลการลง คะแนน) สวนลดพิเศษสําหรับสมาชิกสมาคมฯในการซื้อหนังสือรายงาน ผลสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน,รายงานผล สํารวจคาตอบแทนกรรมการ
รวมไปถึงสินคาและบริการจากบริษัทและองคกรชั้นนํา ที่รวมมือและสนับสนุน IOD อาทิ
* ศูนยทันตกรรมแอลดีซีทุกสาขา * เดอะไพน กอลฟ แอนด ลอดจ * บานหวยนํ้าริน รีสอรท * หมอมไฉไล แนเชอรัล รีทรีท * ศูนยพัฒนาจิตและปญญา ยุวพุทธิกสมาคมแหงประเทศไทยฯ * ธุรกิจสนับสนุนอื่นๆ อยูระหวางการประสานงาน
• Cash • Cheque in favour of Thai Institute of Directors Association • Bank Transfer to "Thai Institute of Directors Association" Saving account No. 049-4-03425-5 Siam Commercial Bank, Witthayu Branch Please fax pay in slip to Thai Institute of Directors after transferring fax no. 02-955-1156-57 • เงินสด ชําระไดที่สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • เช็คสั่งจาย “สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย” • โอนเขาบัญชีออมทรัพย เลขที่บัญชี 049-4-03425-5 ชื่อบัญชี“สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ”ธนาคารไทยพาณิชย สาขาถนนวิทยุ และ Fax สําเนาการโอนเงินมายัง หมายเลข 02-955-1156-57
สนใจสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ฝายสมาชิกสัมพันธ โทร. 0-2955-1155 ตอ 401 – 404 หรือดาวนโหลดใบสมัครไดที่ www.thai-iod.com