Boardroom 36

Page 1




Content

คณะกรรมการ ประธานกิตติมศักดิ์ ศ.หิรัญ รดีศรี ศ.ดร. โกวิทย์ โปษยานนท์ คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม ประธานกรรมการ นายเกริกไกร จีระแพทย์ รองประธาน นายประพัฒน์ โพธิวรคุณ นายปลิว มังกรกนก นายสิงห์ ตังทัตสวัสดิ์ กรรมการผู้อำ�นวยการ ดร. บัณฑิต นิจถาวร กรรมการ นางเกศรา มัญชูศรี นายฉัตรชัย วีระเมธีกุล นายชูศักดิ์ ดิเรกวัฒนชัย นายดอน ปรมัตถ์วินัย นางทองอุไร ลิ้มปิติ นางนวลพรรณ ล่ำ�ซำ� นางภัทรียา เบญจพลชัย ดร. วรพล โสคติยานุรักษ์ นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ ศ.ดร. สุรพล นิติไกรพจน์

Clean Business:What is the Chairman Role?

38

Board's Role on Ethical Climate

50

The Challenges of Sustainability

> 06 Board Welcome > 07 CEO Reflection > 10 Cover Story

• The National Conference on Collective Action against Corruption • Public-Private Corruption is key to resolving corruption in Thailand • Direct Experiences from participants in the private sector’s anti-corruption movement • Exclusive interviews with three foreign experts on anticorruption

> 35 Anti-Corruption Update > 38 Board Briefing

• “Clean Business: What is the Chairman Role?”

56

10

> 50 Board Opinions

• Board’s Role on Ethical Climate

> 52 Board Development

• Nike and its Strategy for Sustainable Growth & Development • T h e C h a l l e n g e s o f Sustainability

> 60 Board Review

• Corruption Menu and Exploitation • Corrupt Cities: A Practical Guide to Cure and Prevention

> 62 Board Activities

• DCP Alumni Party • Anti-Corruption Campaigns • LDC Dental Health Check -up

> 66 Board Success

• Congratulations DCP 189-193

> 70 Welcome New Member วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการเผยแพร่เกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีให้กับสมาชิกสมาคมฯ 2. เพื่อเป็นการเผยแพร่ข้อมูลกิจกรรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ให้กับสมาชิกสมาคมฯ 3. เพื่อเป็นการเผยแพร่บทความและกิจกรรมของสมาคมให้สมาชิกรับทราบ 4. สรุปประเด็นด้านกฎหมาย กฎระเบียบใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำ�หน้าที่กรรมการ

คณะผู้จัดทำ� / เจ้าของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย กองบรรณาธิการ นางวิไลรัตน์ เน้นแสงธรรม นางสาวศิริพร วาณิชยานนท์ นางวีรวรรณ มันนาภินันท์ นางสาวสาริณี เรืองคงเกียรติ สำ�นักงานติดต่อ อาคารวตท. อาคาร 2 ชั้น 3 2/9 หมู่ที่ 4 (โครงการนอร์ธปาร์ค) ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ (66) 2955-1155 โทรสาร (66) 2955- 1156-7 E-Mail : sarinee@thai-iod.com Website : http://www.thai-iod.com Board of Directors Honorary Chairman Prof. Hiran Radeesri Prof. Kovit Poshyanand Khunying Jada Wattanasiritham Chairperson Mr.Krirk-Krai Jirapaet Vice Chairman Mr.Praphad Phodhivorakhun Mr.Pliu Mangkornkanok Mr.Singh Tangtatswas President & CEO Dr.Bandid Nijathaworn Director Mr.Chatchai Virameteekul Mr.Chusak Direkwattanachai Mr.Don Pramudwinai Mrs.Kesara Manchusree Mrs.Nualphan Lamsam Mrs.Patreeya Benjapolchai Prof. Dr. Surapon Nitikraipot Mrs.Tongurai Limpiti Dr.Vorapol Socatiyanurak Mr.Weerasak Kowsurat Owner Thai Institute of Directors Association Editor Mrs. Wilairat Nensaengtham Ms. Siriporn Vanijyananda Mrs. Wirawan Munnapinun Ms. Sarinee Ruangkongkiat Contact CMA Building 2, 2/7 Moo4 Northpark Project, Vibhavadi-Rangsit Road, Thung SongHong, Laksi, Bangkok 10210 Tel : 0-2955-1155 Fax : 0-2955-1156-7 E-mail : sarinee@thai-iod.com Website : http://www.thai-iod.com



> Board Welcome "Collaboration" is a key factor in driving various activities towards their successful conclusion. This is because close collaboration is an indication of a joining of forces, of being of one mind as well as of having a clearly defined common objective towards which everyone can move forward together in the same direction in order to push the joint efforts towards the achievement of the stated and agreed goals. However, whenever there is a lack of collaboration and cooperation, despite all our good efforts and intentions, the end-results will not be on a grand scale and all encompassing as those achievements that result from close collaborative actions in working together towards a common objective. This issue of the BOARDROOM, therefore, wishes to present and highlight the theme of close collaboration in fighting against corruption under the "Collective Action Coalition Against Corruption (CAC) Initiative and Project. This year, the CAC Project organized Thailand's 5th National Conference on Collective Action Against Corruption, under the theme of "Tackling Corruption through Public-Private Collaboration" on October 16, 2014 at the Plaza Athenee Hotel, Bangkok. At this annual event, apart from seminars and presentations (by leading academics, businessmen, government officials - from Thailand and overseas) on the subject of close collaborative actions against corruption among various organizations within both the public and private sectors, CAC Certificates were also awarded to an additional 31 companies. These companies have been successfully screened by the CAC Council whereby such collective actions within the private sector companies has expanded significantly to become an effective force in fighting corruption - in their key role as the 'giver' in the corrupt practices equation. In addition to presenting a summary of the CAC Conference, this issue of the boardroom also presents interviews (with various leading business executives, academics and representatives of other organizations involved in fighting corruption) regarding practical and effective methods as well as procedures that all organizations can adopt to fight corruption. Thai IOD members can read these interesting interviews in the Cover Story column of this issue. There are also many other interesting articles in this boardroom issue - such as, a summary of the Chairman Forum, held under the theme "Clean Business: What is the Chairman Role?" and aimed at reinforcing the important role and duty of the Chairman, as the senior-most leader of an organization, in creating full transparency within the organization as well as in closely collaborating with other various involved sectors in the fight against corruption. During the coming months of November and December, the Thai IOD will be organizing many activities and events for the benefit of and participation by its members - such as, a new 'Corporate Governance for Capital Market Intermediaries (CGI)' training course for those involved in capital markets related activities businesses, namely: executives of securities or asset management companies and Futures Trading companies; and also the 'Family Business Sustainability (FBS)' training course for those who run family businesses. The annual event not to be missed by many members: IOD Golf Challenge Cup 11/2014 will be held on November 21, 2014 at the Navathanee Golf Course. The members interested to join this competition can obtain further details from our website: www.thai-iod.com Editor

BOARD WELCOME “ความร่วมมือ” เป็นปจั จัยส�ำคัญในการผลักดันให้การด�ำเนิน การเรือ่ งต่าง ๆ ประสบความส�ำเร็จ เพราะความร่วมมือแสดงถึงความ ร่วมแรงร่วมใจ การมีเป้าหมายร่วมกัน การมีทศิ ทางในการเดินไปข้าง หน้าอย่างชัดเจน และความเห็นพ้องต้องกัน อันเป็นพลังในการผลักดัน ให้บรรลุเป้าหมายทีต่ งั ้ ไว้ แต่ถา้ เมือ่ ไหร่กต็ ามทีข่ าดความร่วมมือแล้ว ต่อให้เราท�ำดี แค่ไหน ผลส�ำเร็จทีไ่ ด้กจ็ ะไม่ยงิ่ ใหญ่เท่าผลส�ำเร็จทีเ่ กิดจากความร่วมมือ ร่วมใจกันท�ำงาน Boardroom ฉบับนี้จงึ ขอน�ำเสนอความร่วมมือในเรือ่ งการต่อ ต้านการทุจริตคอร์รปั ชันของโครงการแนวร่ ่ วมปฏิบตั ภิ าคเอกชนไทยใน การต่อต้านการทุจริต (CAC) ซึง่ ได้จดั การประชุมใหญ่ Thailand’s 5th National Conference on Collective Action Against Corruption ภายใต้ หัวข้อ Tackling Corruption through Public-Private Collaboration เมือ่ วันที่ 16 ตุลาคมทีผ่ า่ นมา ณ โรงแรมพลาซ่าแอทธินี ซึง่ นอกจากจะมีการ เสวนาเรือ่ งความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน และหน่วยงานต่างๆ ใน การต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ จากนักวิชาการ นักธุรกิจ เจ้าหน้าทีข่ อง รัฐ ทัง้ ไทยและต่างประเทศ ภายในงานมีการมอบประกาศนียบัตรให้กบั บริษทั ทีผ่ า่ นการรับรองเป็นสมาชิกแนวร่วม ฯ เพิม่ ขึน้ อีก 31 บริษทั จาก บริษทั ทีป่ ระกาศเจตนารมณ์แล้วทัง้ สิน้ 367 บริษทั ซึง่ ความร่วมมือของ ภาคเอกชนนี้กำ� ลังขยายวงกว้างออกไป เป็นพลังทีจ่ ะต่อสูก้ บั การทุจริต คอร์รปั ชันในฐานะผู ่ ใ้ ห้ของสมการคอร์รปั ชัน่ นอกเหนือจากบทสรุปการสัมมนา Boardroom เล่มนี้ได้ รวบรวมบทสัมภาษณ์จากนักธุรกิจ นักวิชาการ และตัวแทนจากองค์กร ทีเ่ กีย่ วข้องในเรือ่ งการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ถึงวิธกี ารทีเ่ ป็ นรูป ธรรมทีท่ กุ องค์กรสามารถน�ำไปใช้ได้ทา่ นสมาชิกสามารถติดตามอ่านได้ ในคอลัมน์ Cover Story ภายในเล่มยังเรือ่ งราวดีๆ ทีน่ ่าสนใจอีกมาก อาทิ บทสรุปงาน Chairman Forum ในหัวข้อ Clean Business: What is the Chairman Role? เพือ่ ย�ำ้ ถึงบทบาทหน้าทีข่ องประธานกรรมการในฐานะผูน้ �ำองค์กร ทีจ่ ะสร้างความโปร่งใสให้เกิดขึน้ ในบริษทั ของตน และร่วมมือกับภาคส่วน ต่าง ๆ ในการต่อต้านการทุจริต ในช่วงเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคมนี้ IOD ยังคงมีกจิ กรรม มากมายให้ท่านสมาชิกได้เข้าร่วม อาทิ หลักสูตรใหม่ Corporate Governance for Capital Market Intermediaries (CGI) ส�ำหรับผูป้ ระกอบ ธุรกิจในตลาดทุนได้แก่ บริษทั หลักทรัพย์ บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน และตัวแทนซื้อขายสัญญาล่วงหน้า และหลักสูตร Family Business Sustainability (FBS) ส�ำหรับกรรมการและผูบ้ ริหารทีต่ อ้ งการด�ำเนินธุรกิจ ครอบครัวอย่างยังยื ่ น และทีพ่ ลาดไม่ได้สำ� หรับท่านสมาชิกนักกอล์ฟคือ การแข่งขัน IOD Golf Challenge Cup ครัง้ ที่ 11/2014 ซึง่ จะมีขน้ึ ในวันที่ 21 พฤศจิกายนนี้ ณ สนามนวธานี ท่านสมาชิกสามารถติดตามข่าวสาร และรายละเอียดของกิจกรรมได้ท่ี www.thai-iod.com บรรณาธิการ

 <

Board Welcome


> CEO Reflection

IOD and anti-corruption efforts through CAC IOD กับงานต่อต้านการทุจริตผ่านโครงการ CAC

In October, the IOD, in the capacity as secretariat of Thailand's Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC), held an annual conference to provide a forum for CAC members and interested parties to exchange views and ideas on the roles of private companies in the anti-corruption efforts. This year's fifth national conference was held under the topic "Tackling Corruption through PublicPrivate Collaboration", emphasizing the collaborative roles between the private and public sector in tackling corruption. As of end-October, signatory companies totaled 367, including 181 listed companies. Of the total, 78 have been certified by the CAC Council for having in place internal anti-corruption policies and high compliance standards against bribery and corruption. If we look back to the progress made by the CAC project to date since 2011, I think they were three crucial turning points. The first was the strengthening of certification process to require an audit of the company's self-assessment by an independent third party. This is an additional step from the initial idea that focused on the self-assessment of the company's board of directors in order to seek certification from the CAC Council. The additional audit by an external party, which could be either the company's auditor or Chairman of the company's audit committee who is an independent director, has helped to enhance the transparency and the credibility of the company's self-assessment and the certification by the CAC Council. It also creates an understanding by private companies that the CAC is a serious initiative that requires real efforts, making them recognizing the true benefits in joining, which has resulted in many companies participating in the program. The second turning point was the application to join CAC by all 16 members of the Thai Bankers' Association, which was the first time that a local business association brought their members to join the CAC. The participation by the Thai Bankers' Association has helped to make the CAC credible in the eyes of the private sector, as commercial bank is considered to be the business with top quality. The banking sector's

เดือนตุลาคมทีผ่ า่ นมา ทางสถาบัน IOD ในฐานะเลขานุการ แนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต หรือ CAC ได้จดั การสัมมนาประจ�ำปีของโครงการ CAC เพือ่ เป็ นเวทีให้ บริษทั ทีเ่ ข้าร่วมโครงการ CAC และผูท้ ส่ี นใจแลกเปลีย่ นความคิดใน ประเด็นเกีย่ วกับบทบาทและความร่วมมือของบริษทั เอกชนในการ ต่อต้านการทุจริต ซึง่ ปีน้เี ป็นปีท่ี 5 โดยจัดในหัวข้อ Tackling Corruption through Public-Private Collaboration ทีเ่ น้นถึงบทบาทความร่วม มือของภาครัฐและเอกชนในการแก้ปญั หาคอร์รปั ชัน่ ถึงสิน้ เดือนตุลาคมปีน้มี บี ริษทั เข้าร่วมประกาศเจตนารมณ์ กับ โครงการแล้ว มี 367 บริษัท โดยเป็ น บริษัท จดทะเบีย นใน ตลาดหลักทรัพย์ 181 บริษทั และมี 78 บริษทั ทีผ่ า่ นการรับรองจาก คณะกรรมการ CAC ว่าเป็ นบริษทั ที่มนี โยบายและแนวปฏิบตั ทิ ่ี ชัดเจนในการต่อต้านการทุจริต ความก้าวหน้ าของโครงการ CAC ถ้าจะมองย้อนกลับ ไปตัง้ แต่ปี 2011 ผมคิดว่ามาจากจุดเปลีย่ นแปลงส�ำคัญ (Turning Points) สามจุดทีเ่ กิดขึน้ จุดแรก คือ การปรับระบบการรับรอง ให้มกี ารสอบทานโดยบุคคลทีส่ ามจากภายนอกทีเ่ ป็ นอิสระในการ ประเมิน ตนเองของบริษัท ซึ่ง เป็ น ขัน้ ตอนเพิ่ม เติม จากแนวคิด เดิมทีจ่ ะให้บริษทั โดยคณะกรรมการบริษทั เป็ นผูป้ ระเมินตนเอง แล้ว ยืน่ ผลประเมินให้คณะกรรมการ CAC พิจารณารับรอง การเพิม่ ขันตอน ้ การสอบทานโดยบุคคลภายนอก ซึง่ อาจเป็ นผูต้ รวจสอบบัญชี หรือ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ซึง่ เป็ นกรรมการอิสระ เป็ น ขัน้ ตอนที่ส ร้า งความโปร่ ง ใสและความน่ า เชื่อ ถือ ให้ก ับ การ ประกาศเจตนารมณ์ของบริษทั และการรับรองของคณะกรรมการ CAC ท�ำให้โครงการ CAC ในสายตาภาคเอกชนเป็นโครงการทีจ่ ริงจัง ทีต่ อ้ งท�ำจริง ท�ำให้บริษทั เอกชนยอมรับในประโยชน์ของโครงการจึง เข้าร่วมมาก จุดที่สอง ก็คอื การเข้าร่วมโครงการ CAC โดยสมาคม ธนาคารไทยโดยสมาชิกทัง้ 16 ธนาคาร ซึง่ ถือเป็ นครัง้ แรก ทีส่ มาคม ธุรกิจในประเทศน�ำสมาชิกเข้าร่วมทัง้ สมาคม การเข้าร่วมของสมาคม ธนาคารไทยท�ำให้โครงการ CAC มีความน่าเชือ่ ถือ เพราะธนาคาร พาณิชย์เป็นสาขาธุรกิจทีม่ คี ณ ุ ภาพของประเทศ เมือ่ ธนาคารพาณิชย์ เข้าร่วมโครงการ ก็เหมือนให้การยอมรับโครงการ CAC จุดประกายให้

CEO Reflection

> 


> CEO Reflection engagement gave an important degree of recognition to the CAC and inspired some other business associations such as the Association of Securities Companies, the Association of Investment Management Companies, the Thai Life Assurance Association, and the Thai General Insurance Association to follow suit. Their participations set concrete examples for other business associations to make similar moves in a bid to establish good business standards for their members. The third turning point was support from regulators, mainly the Securities and Exchange Commission, the Stock Exchange of Thailand, the Bank of Thailand, and the Office of Insurance Commission, which bolstered private companies, especially listed companies, to put in place policies and high compliance standard to prevent bribes and corruption as well as disclosing information about these policies. Moreover, investors, through the Thai Investors Association, also played a role in asking boards of listed companies at shareholders' meeting if they had anti-corruption policy. Their enquiries helped create a momentum for private companies to realize their potential roles in tackling corruption and consider joining the CAC. As a secretariat for this initiative since inception, the IOD sees its mission on the CAC as pushing good governance into practices because corruption is a failure in corporate governance. As policy makers for companies, directors have direct roles in ensuring their companies conduct clean and corruption-free businesses by laying out clear policies and compliance standards. Should a large number of directors assume the aforementioned roles, we will see companies with clean business practices escalate and, thus, causing corruption risks to decline. I would like to invite all the IOD's members to join the CAC to help resolve one of the country's most crucial problems and shore up credibility in doing business in Thailand.

 <

CEO Reflection

สมาคมธุรกิจอืน่ ๆ เข้าร่วมตามมา เช่น สมาคมบริษทั หลักทรัพย์ สมาคม บริษทั จัดการกองทุน สมาคมประกันชีวติ ไทย และสมาคมประกัน วินาศภัยไทย เป็ นตัวอย่างให้สมาคมธุรกิจอื่นๆ พยายามท�ำตาม เพือ่ สร้างมาตรฐานทีด่ ใี นการท�ำธุรกิจของสมาชิกของตน จุดที่สาม ก็คอื การสนับสนุนของหน่วยงานการก�ำกับดูแล โดยเฉพาะคณะกรรมการ ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริม การประกอบธุรกิจประกันภัย ทีส่ นับสนุนให้บริษทั เอกชนโดยเฉพาะ บริษทั จดทะเบียนมีนโยบายและแนวปฏิบตั ทิ ช่ี ดั เจนในการต่อต้าน การทุจริต และเปิดเผยข้อมูลในนโยบายเหล่านี้ นอกจากนี้นกั ลงทุน โดยสมาคมนักลงทุนไทยก็ช่วยสอบถามเรือ่ งการมีนโยบายป้องกัน การทุจริตกับคณะกรรมการบริษทั โดยตรงในการประชุมผู้ถอื หุ้น ั สร้างโมเมนตัมให้บริษทั เอกชนตระหนักถึงการมีบทบาทแก้ไขปญหา การทุจริตคอร์รปั ชัน่ รวมถึงการเข้าร่วมโครงการ CAC ส�ำหรับ สถาบัน IOD ที่ไ ด้ท�ำหน้ า ที่เ ป็ นเลขานุ การขับ เคลื่อนโครงการนี้ตงั ้ แต่ตน้ IOD มองว่าพันธกิจในโครงการ CAC ของ IOD ก็คอื การผลักดันการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ให้เกิดขึน้ จริง ในภาคปฏิบตั ิ เพราะคอร์รปั ชันคื ่ อความบกพร่องในการก�ำกับดูแล กิจการ หรือธรรมาภิบาล ซึง่ คณะกรรมการบริษทั ในฐานะผูก้ ำ� หนด นโยบายสูงสุดของบริษทั มีหน้าทีโ่ ดยตรงทีต่ ้องก�ำหนดให้บริษทั ท�ำธุรกิจสะอาดและปลอดคอร์รปั ชัน่ โดยก�ำหนดเป็ นนโยบายและ แนวปฏิบตั ทิ ช่ี ดั เจน ถ้าคณะกรรมการบริษทั ร่วมท�ำแบบนี้กนั มากๆ จ�ำนวนบริษทั ทีท่ ำ� ธุรกิจสะอาดก็จะมีมาก ท�ำให้โอกาสทีก่ ารทุจริต คอร์รปั ชันจะเพิ ่ ม่ ก็จะลดลง จึงอยากเชิญชวนบริษทั สมาชิกสถาบัน ั หา IOD ให้เ ข้า ร่ว มโครงการมากๆ ในอนาคต เพื่อ ช่ ว ยแก้ป ญ ส�ำคัญของประเทศ และรักษาความน่ าเชื่อถือของการท�ำธุรกิจใน ประเทศไทย


PTTGC’s Sustainability and Responsibility in Operations


> Cover Story

 <

Cover Story


Declaration of Intent บริษัทจดทะเบียนที่เข้าร่วมโครงการ CAC ทั้งหมดมี “มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด”ทั้งหมดรวมกันคิดเป็น

69.25%ของมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดทั้งหมด จากจำนวน 175 บริษัท (เนื่องจากอีก 3 บริษัท ได้แก่ ABICO = ติด SP, BLS และ SCSMG = non-listed ) ข้อมูล ณ วันที่ 30 ก.ย. 2557

สัดส่วนรายได้ ในตลาดหลักทรัพย์ของ

บริษัทจดทะเบียนที่เข้าร่วมโครงการ CAC (จากจำนวน 176 บริษัท )

บริษัทที่ร่วมประกาศเจตนารมณ์

181 186 บริษัทจดทะเบียนใน ตลท.

ลบ.

< 1, 000

> 10 ,000

1,000-5,000 ลบ.

แบ่งตามรายได้รวม

ลบ.

129

5,001-10,000

83 36

119

การจ้างงานรวมกันของ บริษัทจดทะเบียน ที่เข้าร่วมโครงการ CAC (จากจำนวน 175 บริษัท ) คน

ข้อมูล ณ ธ.ค. 2556

บริษัทจำกัด

แบ่งตามประเภทของบริษัท ลบ.

544,060

77.73%

Companies join CAC Jan-Sep 2014 Non-Listed

Listed

บริษัทที่ผ่านการรับรอง (Certified) - บริษัทจดทะเบียน 28 บริษัท - บริษัทจำกัด 50 บริษัท *(- Bayer Thai)


> Cover Story

Declaration of Intent Market capitalization of the CAC’s175 signatory companies listed on the bourse accounted to of the overall market capitalization.

69.25%

(Shares of ABICO were suspended while those of BLS and SCSMG were delisted) Data as of September 30, 2014

Percentage of revenues of listed

CAC members (176 companies) out of total revenues of overall listed companies

signatory companies

181 186 listed companies

> 10,0 00 M.

t Bah

< 1,0 00 M

Combine employment of listed CAC members (175 companies) people

Data as December 2014

companies limited

By type of companies ht .Ba

544,060

77.73%

119 129

5,000 M.Bah 1,000t

By revenues

5,001-10,000 M . Bah t

83 36

Companies join CAC Jan-Sep 2014 Non-Listed

Listed

Certified companies - 28 listed companies - 50 companies limited


The National Conference on Collective Action against Corruption was initiated in 2010. The inauguration of CAC conference followed conclusions from countries suffered from corruption seeking for ways to tackle corruption. One of the concepts that the world has been paying attention to is the Collective Action Coalition Against Corruption. In solving corruption problem, the role is not limited to the public sector but it requires cooperation from the private sector and every elements of the society to drive stronger resistances against corruption. In 2010, the IOD conducted "Survey of private business leaders' opinion about building collective action against corruption" in September 2010 and arranged a Focus Group meeting on "The building of Thai private sectors' collective action against corruption" on November 2, with 20 private firms declaring intention to participate in the collective action against corruption. Thus, the 1st National Conference on Collective Action Against Corruption was held on November 9, 2010 under the topic "The building of Collective Action". This is considered to be the founding date of Thailand's Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC), with supported from the Thai Institute of Directors Association (IOD), the Thai Chamber of Commerce, the Joint Foreign Chambers of Commerce in Thailand, Thai Listed Companies Association, and the Thai Bankers' Association. The IOD has been assigned to act as the secretariat of the CAC. This is the national program backed by the Thai government and the National Anti-Corruption Commission to promote effective anti-corruption. The CAC is tasked for distributing the concept of collective action against corruption, emphasizing on the idea of not paying any forms of bribe and reject any calls for bribe in exchange for any public contracts. Private companies recognize that corruption retards development and create unnecessary cost to business operations. As tax payers, they do not want to see government budget being wasted or slip into anyone's own pocket. Conclusions of the first conference are that CAC members: 1. Will assess risks related to corruption, implement anti-corruption policies and compliance programs and provide business conduct guidance to managers 2. Will disclose and share internal policies, experiences, best practices and success stories to foster ethical, clean, and

การประชุ ม ระดับ ชาติ ว่ า ด้ ว ยการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต (National Conference on Collective Action against Corruption) เกิดขึน้ ครัง้ แรกในปี 2553 ในการประชุมปฐมฤกษ์น้ีของโครงการ CAC นี้ เป็ นผลสืบเนื่องมาจากผลสรุปของทุกประเทศทัวโลกที ่ ต่ ่าง ั ้ ประสบปญหาทุจริตคอร์รปั ชันได้ ่ พยายามคิดหาวิธกี ารปองกันและ ต่อต้านการทุจริต และหนึ่งแนวคิดที่ขณะนี้ทวโลกก� ั่ ำลังให้ความ สนใจและให้ความส�ำคัญ คือ การสร้างแนวร่วมปฏิบตั ิ หรือทีเ่ รียกว่า Collective Action Coalition เพือ่ การต่อต้านการทุจริต ทัง้ นี้ การ แก้ปญั หาทุจริตคอร์รปั ชันมิ ่ ได้จ�ำกัดบทบาทอยู่แค่ภาครัฐเท่านัน้ แต่จ�ำเป็ นต้องได้รบั ความร่วมมือจากภาคเอกชน และทุกภาคส่วน ของสังคมเข้ามาเกีย่ วข้องเพือ่ ร่วมกันเป็ นแรงขับเคลือ่ นให้เกิดความ เข้มแข็งในการต่อต้านการทุจริตมากยิง่ ขึน้ ในปี 2553 นีเ้ องที่ IOD ได้เริม่ จัดท�ำ “แบบส�ำรวจความคิดเห็น ของผูน้ � ำธุรกิจภาคเอกชนเกี่ยวกับการสร้างแนวร่วม (Collective Action) ในการต่อต้านคอร์รปั ชัน” ่ ในเดือนกันยายน 2553 และการจัด ประชุม Focus Group ในหัวข้อ “การสร้างแนวร่วมปฏิบตั ิ (Collective Action) ในการต่ อ ต้า นการทุ จ ริต ของภาคเอกชนไทย” วัน ที่ 2 พฤศจิกายน 2553 บริษทั เอกชนกว่า 20 บริษทั ประกาศเจตนารมณ์ เป็ นแนวร่วมในการต่อต้านการทุจริต ด้วยเหตุน้ี การประชุมระดับชาติว่าด้วยการต่อต้านการ ทุจริตครัง้ ทีห่ นึ่งจึงถูกจัดขึน้ ในวันอังคารที่ 9 พฤศจิกายน 2553 โดย ใช้หวั ข้อว่า “การประชุมระดับชาติว่าด้วยการสร้างแนวร่วมปฏิบตั ิ (Collective Action)” ฉะนัน้ วันนี้ถอื ได้วา่ เป็ นเป็ นวันปฐมฤกษ์ตงั ้ ต้น “โครงการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC)” ขึน้ ในประเทศไทย ซึง่ จัดขึน้ ด้วยความร่วมมือของสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) หอการค้าไทย หอการค้า ต่างชาติ สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย และสมาคมธนาคารไทย ถือเป็ นองค์กรหลักที่ส่งเสริมให้เกิดการด�ำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส ของภาคธุรกิจเอกชน โดย IOD ได้รบั มอบหมายให้ทำ� หน้าทีเ่ ป็ น เลขานุการโครงการ โครงการนี้ยงั เป็ นโครงการระดับชาติทไ่ี ด้รบั การสนับสนุน จากรัฐบาลไทยและ ป.ป.ช. เพื่อช่วยเสริมการท�ำงานป้องกันการ ทุจริตให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ โดยโครงการแนวร่วมปฏิบตั ขิ อง ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC) มีหน้าทีเ่ ผยแพร่ แนวความคิด การรวมกันสูก้ บั การทุจริตคอร์รปั ชัน่ โดยเน้นย�้ำการ ไม่จา่ ยสินบนทุกรูปแบบและปฏิเสธการขูเ่ รียกรับสินบนเพือ่ แลกกับ สัญญาจ้างใดๆทีภ่ าครัฐพึงมีอ�ำนาจบันดาลให้ เพราะบริษทั เอกชน ตระหนักดีว่า การทุจริตคอร์รปั ชันเป็ ่ นตัวถ่วงความเจริญและสร้าง ภาระต้น ทุ น ที่ไ ม่จ�ำ เป็ น ให้แ ก่ ก ารประกอบธุ ร กิจ อีก ทัง้ ในฐานะ ผูเ้ สียภาษีกย็ อ่ มไม่อยากเห็นการน�ำเงินงบประมาณแผ่นไปใช้ไม่เกิด ประโยชน์หรือไปอยูใ่ นกระเป๋าส่วนตัวของใคร โดยผลสรุปของการประชุมในครัง้ ทีห่ นึ่ง ปรากฏประเด็น ส�ำคัญ 3 ข้อ ดังนี้ 1. บริษัทที่เข้าร่วมโครงการ CAC จะต้องจัดให้มกี าร ประเมินความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องกับการทุจริตภายในบริษทั รวมถึงการ ก�ำหนดนโยบายการต่อต้านการทุจริตและแผนการก�ำกับการปฏิบตั ิ

Cover Story

> 


> Cover Story transparent business transactions in Thailand 3. Will reach out to industry peers, suppliers and other stakeholders via the Coalition and participate in joint activities to fight corruption In 2011, the 2nd National Conference on Collective Action Against Corruption was held on October, 2011. CAC members rose to 52 companies from 27 in 2010. The second conference discuss the topic of "Promoting Transparency in the Thai Market Place" to create awareness and stimulate cooperation of the private sector in fighting corruption, which erodes the country's economic development. The conference commenced with keynote speech on the role of Thailand's private sector under the anti-corruption law, followed by discussions by local and foreign experts. In the speech on "The Business Case for Transparency: Global Trends to Fight Against Corruption and Why It's Important for The Private Sector to Get Involved", Dr. Kim Bettcher, Knowledge Management Director of CIPE said "Corruption can be found in every country and its substantially hamper the pace of development. Fighting corruption would enhance competitiveness and the private sector in many countries started to pay attention to anti-corruption movements. Especially in Thailand, leading companies has begun to make a difference and change their management style. Member companies of the CAC want to become examples for other companies in jointly creating action framework to promote business ethic in both organizational and national levels." Besides, the 2nd conference also discussed several crucial issues including: The Role of the Private Sector and Collective Action in Increasing Transparency in Business Transaction and Reducing Corruption Transparency as key to Procurement Reform: Experience and Challenges Challenge and Solutions: How can Thai Companies

 <

Cover Story

งานไปปฏิบตั จิ ริง และจัดให้มคี ่มู อื /แนวทางในการด�ำเนินธุรกิจแก่ ผูบ้ ริหารและพนักงาน 2. จะเปิดเผยและแลกเปลีย่ นนโยบายภายใน ประสบการณ์ แนวปฏิบตั ทิ ด่ี ี และแนวทางความส�ำเร็จในการสนับสนุนให้เกิดการท�ำ รายการทางธุรกิจอย่างมีคณ ุ ธรรม ถูกต้องและโปร่งใสในประเทศไทย 3. จะร่วมมือกับบริษทั ร่วมอุตสาหกรรมเดียวกัน คูค่ า้ และ ผูม้ สี ว่ นได้เสียกลุม่ อืน่ ๆ ผ่าน แนวร่วมและเข้าร่วมในกิจกรรมต่อต้าน การทุจริต ในปีต่อมา 2554 การประชุมระดับชาติวา่ ด้วยการต่อต้าน การทุจริต (National Conference on Collective Action against Corruption) ครัง้ ที่ 2 ซึง่ จัดขึน้ ในวันจันทร์ท่ี 17 ตุลาคม 2554 โดย มี จ�ำนวนบริษทั ทีเ่ ข้าร่วมกับโครงการ CAC จากเดิมปี 2553 มี 27 บริษทั เพิม่ เป็ น 52 บริษทั การประชุมในครัง้ ทีส่ องนี้ จึงหยิบยกเรื่อง “Promoting Transparency in the Thai Market Place” เพือ่ สร้างความตืน่ ตัวและ กระตุน้ ความร่วมมือของภาคเอกชนในการท�ำงานร่วมกันในการแก้ไข ั ปญหาทุ จริตซึง่ เป็นเรือ่ งทีบ่ นทอนระบบเศรษฐกิ ั่ จและการพัฒนาของ ประเทศ โดยการประชุมครัง้ นี้เริม่ ต้นด้วยการปาฐกถาพิเศษเรื่อง บทบาทของภาคเอกชนไทยตามกฎหมายการต่อต้านการทุจริตฉบับ ใหม่ โดยได้รบั เกียรติจากวิทยากรทีม่ คี วามรูค้ วามช�ำนาญจากทัง้ ใน ประเทศและต่างประเทศมาร่วมบรรยายและอภิปรายในประเด็นทีน่ ่า สนใจ โดยเฉพาะหัวข้อ “The Business Case for Transparency: Global Trends to Fight Against Corruption and Why It’s Important for The Private Sector to Get Involved” บรรยายโดย Dr. Kim Bettcher, Knowledge Management Director, CIPE ซึง่ ท่านได้ กล่าวอย่างน่าสนใจว่า “ปญั หาการทุจริตเกิดขึน้ ทัวโลก ่ และเป็ นสิง่ ที่ กระทบการพัฒนาประเทศอย่างมาก การต่อต้านการทุจริตจะท�ำให้ ประเทศสามารถเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันได้ ภาคเอกชน เริม่ ให้ความสนใจเกีย่ วกับเรือ่ งการต่อต้านการทุจริต ในประเทศต่างๆ โดยเฉพาะประเทศไทย บริษทั ชัน้ น�ำต่าง ๆ ได้เริม่ ด�ำเนินการในการ ทีจ่ ะสร้างความแตกต่างและเปลีย่ นรูปแบบการบริหารใหม่ แนวร่วม ปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนในประเทศไทยทีร่ ว่ มกันต่อต้านการทุจริตนัน้ ต้องการทีจ่ ะเป็ นตัวอย่างให้กบั บริษทั อื่น ๆ และร่วมกันสร้างกรอบ


การปฏิบตั ิ (Action Framework) ในการสร้างจริยธรรมในธุรกิจระดับ องค์กรจนถึงระดับเศรษฐกิจของประเทศ” นอกจากนี้ ในการประชุมครัง้ ทีส่ องยังเสวนาในประเด็น ส�ำคัญ ได้แก่

Pro-Actively Promote Transparency to Mitigate Corruption Risk and Establish Best Practice Standards Challenges In 2012, the IOD held the 3rd National Conference on Collective Action against Corruption under the topic "The roles of directors in anti-corruption" on November 1, 2012. The third conference aimed to educate corporate directors in building concrete and effective internal anti-corruption mechanism. At this conference, number of CAC members surged to 124. This is the first year that the CAC held seminars and training courses for directors and corporate executives and the CAC Council targeted to commence the certification process in the fourth quarter and continue to consider certification requests every quarter. The certification process will stress the directors' roles in ensuring that companies have systematic anti-corruption mechanism that meets standard as declaration of intent alone cannot guarantee that companies actually comply with their stated intentions. This process is meant to demonstrate to the public that companies actually put anti-corruption intention into practices. The 3rd conference is honoured to have His Excellency Mark Kent, the British Ambassador to Thailand, to deliver a closing remark on "Tackling Corruption: The UK Perspective." In his remark, H.E. Kent said corruption erodes good governance, legal principle, justice, trade competition, and economic development. He added hat the U.K. and international organizations are willing to stand by Thais to help the business sector fight corruption and would like to seek cooperation from other sectors as it require efforts from many sectors to successfully fight corruption. The 4th National Conference on Collective Action Against Corruption was held on October 8, 2013, under the topic "Working Models for Governance in Corporate Operations and Infrastructure Projects". This was then an important issue because a number of mega projects are about to be approved by the then government. The most urgent issue for Thailand was not lacking of funding but how to supervise the implementation

• The Role of the Private Sector and Collective Action in Increasing Transparency in Business Transaction and Reducing Corruption • Transparency as key to Procurement Reform: Experience and Challenges • Challenge and Solutions: How can Thai Companies Pro-Actively Promote Transparency to Mitigate Corruption Risk and Establish Best Practice Standards Challenges จากนัน้ ในปี 2555 IOD ได้จดั การประชุมระดับชาติวา่ ด้วย การต่อต้านการทุจริต เป็นครัง้ ที่ 3 ภายใต้หวั ข้อ“ความรับผิดชอบของ คณะกรรมการบริษทั ในการต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชัน”ซึ ่ ง่ จัดกาประชุม ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2555 การประชุมครัง้ ทีส่ ามนี้ มีจดุ มุง่ หมาย เพือ่ ให้ความรูก้ บั คณะกรรมการบริษทั ในการสร้างระบบป้องกันการ ทุจริตภายในองค์กรอย่างเป็ นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งการ ประชุมในครัง้ ทีส่ ามนี้มบี ริษทั เอกชนผนึกก�ำลังเข้าร่วมเป็ นแนวร่วม ปฏิบตั ฯิ เพิม่ จ�ำนวนเป็ น 124 บริษทั โดยปี 2555 นี้เป็ นปีท่ี CAC ได้จดั สัมมนาและหลักสูตรฝึกอบรมให้ความรูแ้ ก่กรรมการบริษทั และ ผูบ้ ริหาระดับสูงเป็ นปีแรก และได้ตระเตรียมการเริม่ ต้นกระบวนการ ให้การรับรอง (Certification Process) ซึง่ คณะกรรมการโครงการ แนวร่วมปฏิบตั ฯิ ได้กำ� หนดเป้าหมายว่าจะเปิดรับพิจารณาบริษทั ที่ ต้องการเข้าร่วมกระบวนการรับรองในไตรมาสที่ 4 ของปี 2555 เป็ น ครัง้ แรก และจะด�ำเนินการต่อเนื่องตลอดทุกไตรมาส โดยกระบวนการ ให้การรับรองดังกล่าว เป็นสิง่ ทีจ่ ะช่วยเน้นย�ำ้ ให้คณะกรรมการบริษทั ได้ตระหนักถึงบทบาทหน้าทีข่ องท่านในการก�ำกับดูแลให้กจิ การมี กลไกป้องกันตรวจสอบการทุจริตคอร์รปั ชันได้ ่ อย่างเป็ นระบบและ ได้มาตรฐาน เพราะล�ำพังการประกาศเจตนารมณ์อย่างเดียวไม่อาจ จะรับประกันได้ว่าบริษทั ได้ปฏิบตั ติ ามทีไ่ ด้ประกาศเจตนารมณ์ต่อ ต้านการทุจริตไว้จริงหรือไม่ กระบวนการรับรองนี้จงึ มีขน้ึ เพือ่ แสดง ให้สงั คมได้เห็นว่า บริษทั ทีป่ ระกาศเจตนารมณ์เป็ นบริษทั ทีน่ อกจาก จะรังเกียจการทุจริตแล้วยังแสดงออกด้วยกระท�ำตนให้เป็นแบบอย่าง ทีด่ ี การประชุมในครัง้ ทีส่ ามนี้ ได้รบั เกียรติอย่างสูงจาก ฯพณฯ มาร์ค เคนท์ เอกอัครราชทูตอังกฤษประจ�ำประเทศไทย ได้มากล่าว ปาฐกถาปิ ดการประชุมในหัวข้อ “Tackling Corruption: The UK Perspective” โดยมีใจความส�ำคัญว่า “การทุจริตคอร์รปั ชันนั ่ น้ บ่อน ท�ำลายธรรมาภิบาล หลักกฎหมาย ความยุตธิ รรม การแข่งขัน ทางการค้าและการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ สหราชอาณาจักร และองค์กรระหว่างประเทศต่างๆ ยินดียนื เคียงข้างคนไทยเพือ่ ช่วย ภาคธุรกิจของไทยต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน ่ และขอให้ภาคส่วน อืน่ ๆ ช่วยกันต่อต้านคอร์รปั ชันด้ ่ วยเช่นกันเนื่องจากความส�ำเร็จต้อง อาศัยพลังจากหลายๆ ด้าน” และในการประชุมครัง้ ที่ 4 ซึง่ จัดในวันที่ 8 ตุลาคม 2556 ได้เน้นประเด็น “Working Models for Governance in Corporate

Cover Story

> 


> Cover Story of these massive projects to ensure no corruption. The supervision of procurement and bidding processes are considered crucial to developing country with deteriorating corruption image like Thailand. At the conference, Mr. Panthep Klanarongran, President of the National Anti-Corruption Commission delivered a keynote address and awarded certificates to the first batch of 22 companies out of total 248 companies declaring their intention to join the coalition. After the May 2015 incident, Thailand and CAC are heading toward the end of the tunnel as the junta government put anti-corruption among its top-priority national agenda. Although absolute administration may deliver outcome desirable to many but the public need to remain cautious because monopolized power could always breed corruption. Cross examination through participation of the private sector and civil society will put the exercises of authorities under spotlight to ensure transparency and accountability. The 5th National Conference on Collective Action Against Corruption will be held on October 16, 2014 under the topic "Tackling Corruption Through Public-Private Collaboration", reflecting the view that only through cooperation between the public and private sector will the corruption problem be resolved. The upcoming CAC conference is honored to have Finance Minister Sommai Phasee to deliver a speech on the government's anti-corruption policy and cooperation with the private sector in graft-fighting. At a panel discussion, delegates from other countries will share their experiences in building cooperation between the public and private sectors. During lunch, Dr. Samuel Paul, initiator of Reporting Card to report on bribery of state officials in India will share his experiences and practical ways for the private sector in helping to resolve corruption problem by using reported data to pressure change. In the afternoon session, business leaders in the private sector will share ways to create internal anti-corruption system and the setting of tone at the top in fighting all forms of corruption. Toward the end of the conference, civil society organizations such as the Anti-Corruption Organizations (Thailand) and the National Press Council of Thailand will present their anti-corruption activities and ways for the private sector to provide support. We hope that all of you can gather some good tips from this conference and make good use of them on your companies and the country.

 <

Cover Story

Operations and Infrastructure Projects” เป็ นเรือ่ งทีส่ ำ� คัญอย่าง มากในขณะนัน้ เนื่องจากโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่หลายๆโครงการ ก�ำลังจะถูกอนุมตั จิ ากรัฐบาลในเวลานัน้ เรือ่ งเร่งด่วนของประเทศไทย ไม่ ใ ช่ ก ารขาดแคลนเงิ น ทุ น ในการพัฒ นาโครงการเหล่ า นั ้น หากแต่เป็ นการก�ำกับดูแลอย่างไรให้เงินลงทุนในโครงการที่มผี ล ประโยชน์มหาศาลเหล่านัน้ ไม่ถกู ยักยอก บิดเบือน เงินงบประมาณ ไปเข้ากระเป๋าส่วนตัวของกลุ่มคนหนึ่งกลุ่มคนใด การก�ำกับดูแล กระบวนการจัดซือ้ จัดจ้างและการประมูลงานจึงเป็ นเรือ่ งส�ำคัญอย่าง ยิง่ ส�ำหรับประเทศก�ำลังพัฒนาทีม่ อี นั ดับภาพลักษณ์ดา้ นการทุจริตแย่ ลงอย่างต่อเนื่องอย่างประเทศไทย ภายในการประชุมครัง้ ที่ 4 ซึง่ มี CAC ได้รบั เกียรติจาก นายปานเทพ กล้าณรงค์ราญ ประธานคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) กล่าวปาฐกถาพิเศษเปิดงาน และเป็นผูม้ อบใบประกาศให้แก่บริษทั เอกชนทีผ่ า่ นการรับรองว่าเป็น บริษทั ทีม่ รี ะบบป้องกันการทุจริตเป็นกลุม่ แรก 22 บริษทั จากจ�ำนวน บริษทั แสดงเจตนารมณ์เป็ นแนวร่วมแล้วทัง้ สิน้ 248 บริษทั ภายหลังเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม 2557 ประเทศไทย และ CAC ก�ำลังเดินหน้าไปสูป่ ลายอุโมงค์มากยิง่ ขึน้ เมือ่ รัฐบาลทีม่ า จากกรัฐประหารได้ยกเรือ่ งปราบทุจริตคอร์รปั ชันเป็ ่ นวาระแห่งชาติท่ี ต้องรีบแก้ไขเร่งด่วน การใช้อำ� นาจบริหารประเทศอย่างเบ็ดเสร็จแม้ จะสร้างผลลัพธ์ทห่ี ลายๆคนปรารถนา แต่กต็ อ้ งระมัดระวังว่า อ�ำนาจ ผูกขาดเป็ นแหล่งเพาะเชือ้ คอร์รปั ชันได้ ่ เสมอ การตรวจสอบถ่วงดุล ด้วยการมีสว่ นร่วมของภาคเอกชนและประชาสังคมจะช่วยให้การใช้ อ�ำนาจอยูใ่ นแสงไฟ เพือ่ สร้างความโปร่งใสตรวจสอบได้ การประชุ ม ระดับ ชาติ ว่ า ด้ ว ยการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต ครัง้ ที่ 5 ทีจ่ ะจัดในวันที่ 16 ตุลาคม 2557 นี้จงึ ใช้หวั ข้อว่า “Tackling Corruption through Public-Private Collaboration” นัยว่าความ ั หาทุ จ ริต ร่ ว มมือ จากภาคเอกรัฐ และเอกชนนั น้ จึง จะจัด การป ญ คอร์รปั ชันได้ ่ บงั เกิดผล โดยการประชุมทีจ่ ะเกิดขึน้ นี้ ได้รบั เกียรติจาก นายสมหมาย ภาษี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง มากล่าวถึง นโยบายของรัฐบาลต่อการแก้ปญั หาคอร์รปั ชันร่ ่ วมกับภาคเอกชน นอกจากนี้ในช่วงเสวนากลุม่ นัน้ จะกล่าวถึงแนวคิดการสร้างความร่วม มือระหว่างรัฐและเอกชน โดยมีตน้ แบบจากประเทศทีเ่ คยท�ำมาแล้ว มาเล่าให้ฟงั จากนัน้ ในช่วงรับประทานอาหารกลางวัน ดร.ซามูแอล พอล ผูร้ เิ ริม่ จัดท�ำ Reporting Card เพือ่ ร้องเรียนการเรียกรับสินบน ของเจ้าหน้ าที่รฐั ในหน่ วยงานต่างๆ มาเล่าถึงประสบการณ์ และ แนวทางปฏิบตั ทิ เ่ี อกชนจะเข้าไปช่วยแก้ปญั หาได้อย่างไร โดยใช้ ข้อมูลทีไ่ ด้รบั มาผลักดันให้รฐั ต้องปรับตัว จากนัน้ ช่วงบ่ายจะเป็นการ แบ่งปนั ประสบการณ์ จากผู้น�ำภาคเอกชนที่จะมาเล่าวิธกี ารสร้าง ระบบป้องกันการทุจริตในบริษทั และการก�ำหนด Tone at The Top กับการต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ และในตอนท้ายของการประชุม นัน้ จะเป็นการน�ำเสนอผลการด�ำเนินงานขององค์กรภาคประชาสังคม อย่างองค์กรต่อต้านคอร์รปั ชันและสภาวิ ่ ชาชีพสือ่ มวลชนว่าบทบาทที่ พวกเขาก�ำลังด�ำเนินการอยูน่ นั ้ มีเรือ่ งอะไรบ้าง และบริษทั เอกชนจะ เข้าไปช่วยส่งเสริมได้อย่างไร สุดท้ายนี้หวังว่าทุกท่านทีเ่ ข้าร่วมการประชุมในปีน้จี ะได้รบั ข้อคิดทีด่ แี ละน�ำไปปฏิบตั ใิ ช้ได้เกิดประโยชน์ทงั ้ ต่อบริษทั ท่านเองและ ประเทศชาติต่อไป



> Cover Story

ความร่วมมือของภาครัฐและเอกชนคือ หัวใจส�ำคัญในการแก้ปัญหาคอร์รัปชั่น

Public-Private Corruption is key to resolving

corruption in Thailand Thailand's private sector Collective Action Coalition Against Corruption, or CAC, held an annual conference on "Tackling Corruption through Public-Private Collaboration" on October 16, 2014, at Plaza Athenee Bangkok, A Royal Meridien Hotel. Over 400 top-class executives from the public and private sectors as well as the civil society attended the event, which include certification awarding ceremony to 31 companies certified by the CAC for having put in place policies and high compliance standards against corruption.

แนวร่ ว มปฏิ บ ัติ ข องภาคเอกชนไทยในการต่ อ ต้ า น การทุจริต (Collective Action Coalition Against Corruption หรือ CAC) ได้จดั งานสัมมนาประจ�ำปีภายใต้หวั ข้อ “บทบาทความร่วมมือ ภาครัฐ-เอกชนในการต่อสูค้ อร์รปั ชัน” ่ ขึน้ เมือ่ วันที่ 16 ตุลาคม 2557 ทีโ่ รงแรมพลาซ่า แอทธินี กรุงเทพฯโดยมีผบู้ ริหารระดับสูงจากภาครัฐ เอกชน และประชาสังคมเข้าร่วมถึงกว่า 400 คน นอกจากนี้ ภายใน งานยังมีพธิ มี อบใบรับรองให้กบั 31 บริษทั ที่ผ่านการรับรองจาก คณะกรรมการ CAC ว่ามีนโยบายและแนวปฏิบตั ปิ ้ องกันทุจริตด้วย

At Thailand's 5th National Conference on Collective Action Against Corruption, Finance Minister Sommai Phasee delivered a keynote address on anti-corruption policies of the new government. He said the current government, led by General Prayut Chan-o-cha, is taking corruption seriously and put anti-corruption among the government's top strategies in the policy statement read to the National Legislative Assembly. All ministries have been assigned to prepare action plans to incorporate anti-corruption guidelines and measures.

ในการประชุมระดับชาติวา่ ด้วยการต่อต้านทุจริตประจ�ำปี ครัง้ ที่ 5 นี้ นายสมหมาย ภาษี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ให้เกียรติกล่าวปาฐกถาพิเศษเรื่องนโยบายของรัฐบาลต่อการแก้ ปญั หาคอร์รปั ชัน่ โดยกล่าวว่า การแก้ไขปญั หาทุจริตคอร์รปั ชันเป็ ่ น เรือ่ งที่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และรัฐบาลชุดนี้ ให้ความส�ำคัญเป็ นอย่างมาก และหยิบยกไว้เป็ นหนึ่งในยุทธศาสตร์ ส�ำคัญของแนวนโยบายรัฐบาลที่แถลงต่อสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ (สนช.) ซึง่ นายกรัฐมนตรีได้กำ� ชับให้รฐั มนตรีทกุ กระทรวงต้องรับไป เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ดิ ว้ ยการท�ำเป็ น Action Plan เพื่อวาง แนวทางและมาตรการในการป้องกันและปราบปราม

 <

"Corruption in Thailand is not comparable with cancer,

Cover Story

“ปญั หาคอร์รปั ชันในประเทศไทยไม่ ่ ถอื ว่าเป็ นมะเร็งร้าย


because if it is cancer the patient must be dead by now. I would say it is more like the severe stage of diabetic that is not only torturing but creating a great deal of damage to the country's economy, delaying projects implementation, and adversely affecting the Thai people," said Mr. Sommai.

เพราะถ้าเป็ นมะเร็งจริงคงตายไปแล้ว แต่เปรียบเหมือนเป็ นโรค เบาหวานขัน้ ร้ายแรงทีส่ ร้างความทรมาน และก่อให้เกิดความเสีย หายอย่างมากต่อเศรษฐกิจของประเทศ ส่งผลให้การด�ำเนินโครงการ ต่างๆ เป็ นไปด้วยความล่าช้า และสร้างผลกระทบมาถึงประชาชน” นายสมหมายกล่าว

He proposed two measures to cope with corruption including 1) Overhaul the processes and agencies relevant to fighting corruption and 2) Revamp relevant rules, regulations, and legislations to promote good governance and prevent politicians from seeking wrongful benefits at government agencies.

ทัง้ นี้ นายสมหมายได้เสนอสองแนวทางทีจ่ ะช่วยแก้ปญั หา ดังกล่าว คือ 1. ต้องมีการปรับปรุงกระบวนการ รวมถึงหน่วยงานที่ เกีย่ วข้องกับการดูแลเรื่องทุจริต จะต้องมีการยกเครื่องใหม่ เพราะ เป็ นส่วนส�ำคัญในการร่วมมือกับภาคเอกชน เพือ่ ตอบสนองนโยบาย ของรัฐบาลในเรือ่ งนี้ และ 2. ต้องมีการปรับปรุงระเบียบ และกฎหมาย ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการสร้างการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ เี พือ่ ปิดโอกาส ไม่ให้นกั การเมืองเข้ามาใช้อำ� นาจในทางทีม่ ชิ อบ

"I am supporting the plan to fix the overall anticorruption system. Practically, each of the department heads will have to work on it. If the Prime Minister is serious about this matter, they can't afford not to take it seriously too," said Mr. Sommai. National Anti-Corruption Commission (NACC) President Panthep Klanarongran delivered a keynote address on the priorities of NACC going forward, saying the NACC is working closely with other organizations in the anti-corruption network as hundreds of billion baht in government budget slipped through the public procurement system and severely damaged the Thai economy. "Besides collaboration with alliances to probe and tackle corruption, the NACC also proposed the amendment of various legislations, especially the term of corruption cases to prevent convicts from fleeing prosecution and later return freely after their cases expire," said Mr. Panthep. Anti-Corruption Organization Thailand (ACT) President Pramon Sutivong delivered a keynote address on what more can civil society and the private sector do to tackle corruption, saying the ACT will continue to closely monitor public investment

“ ผ ม จ ะ ส นั บ ส นุ น เ รื ่อ ง ก า ร แ ก้ ร ะ บ บ เ พื ่อ ป้ อ ง กั น การคอร์รปั ชัน่ แต่ภาคปฏิบตั คิ งต้องมอบให้ระดับอธิบดีเรือ่ งนี้ถ้า นายกรัฐมนตรีซเี รียส พวกเขาจะไม่ซเี รียสไม่ได้” นายสมหมายกล่าว ต่ อ จากนั น้ นายปานเทพ กล้ า ณรงค์ ร าญ ประธาน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ปช.) ให้เกียรติกล่าวปาฐกถาพิเศษเรื่อง สิง่ ที่ ปปช. ให้ความส�ำคัญใน ระยะต่อไป โดยกล่าวว่า ขณะนี้ ป.ป.ช.ได้จบั มือกับองค์กรต่างๆ ใน การเป็ นเครือข่ายต่อต้านการคอร์รปั ชันในประเทศมากขึ ่ น้ เนื่องจาก ในแต่ละปี จะมีเม็ดเงินรัวไหลจากการประมู ่ ลงาน และการจัดซื้อ จัดงานของภาครัฐในระดับแสนล้านบาท ซึง่ ถือว่าเป็ นเรือ่ งเสียหาย ต่อระบบเศรษฐกิจและประเทศไทยอย่างมาก “นอกจากจะร่วมมือกับพันธมิตรในการตรวจสอบ และ ้ปองปรามปญั หาแล้ว ป.ป.ช.ก็ได้มกี ารเสนอการแก้กฎหมายต่างๆ โดยเฉพาะเรือ่ งอายุความของคดีทเี ่ กีย่ วข้องกับการฉ้ อโกง เพือ่ ป้ อ งกัน ไม่ใ ห้ผู้ทีท่ �ำ ผิด กฎหมายหนี ก ารด�ำ เนิ น คดี แล้ว เมือ่ อายุ ความหมดก็คอ่ ยกลับเข้ามาเหมือนเดิม” นายปานเทพกล่าว ต่อมา นายประมนต์ สุธวี งศ์ ประธาน องค์กรต่อต้าน คอร์รปั ชัน่ (ประเทศไทย) หรือ ACT ได้ให้เกียรติกล่าวปาฐกถาพิเศษ เรือ่ งสิง่ ทีภ่ าคประชาสังคมและภาคเอกชนสามารถท�ำได้เพิม่ ขึน้ เพือ่ ขจัดคอร์รปั ชัน่ โดยระบุวา่ ทาง ACT จะติดตามโครงการลงทุนต่างๆ ของภาครัฐอย่างต่อเนื่อง เพือ่ ป้องกันและป้องปรามไม่ให้เจ้าหน้าทีร่ ฐั

Cover Story

> 


> Cover Story projects to prevent government officials from taking bribes and private operators from paying bribes. Initially, the ACT will focus on sizable projects involving massive budget such as the electric rail projects and the second phase of Suvarnabhumi airport expansion. He said the private sector will continue to expand the network of clean business to cover all business sectors and drive long-term campaigns to promote anti-corruption awareness among new generation and the general public to change their way of thinking and behaviors to create a sustainable bribe-free society. Following the speeches, a ceremony was held to award certificates to 31 companies, self-assessed to have policies and high compliance standards to prevent corruption as per criteria set by the CAC. At present, a total of 78 companies have been certified by the CAC, a solid proof that Thai corporates are turning anti-corruption commitments into actions. At the following panel discussion, local experts and delegates from other countries exchanged their views and experiences in building collaboration between the public and private sectors. Datuk Paul Low Seng Kuan, Minister at the Prime Minister's Department of Malaysia responsible for governance, integrity, and anti-corruption, told the conference about Malaysia's interesting idea in setting up a ministerial position such as his to tackle these matters. Instead of relying solely on external independence agencies to probe corruption in the public sector, the Malaysian government set up a formal internal mechanism within the administration by assigning a ministerial position to enhance transparency and good public governance. Ms. Gemma Aiolfi, Head of the International Centre for Collective Action, Basel Institute on Governance, suggested that Thailand consider applying an interesting anti-corruption idea, the high-level reporting mechanism, with its public investment projects. The Columbian government has been employing this mechanism in a pilot road construction project for about a year and it seems to be working well. Under the scheme, all bidders are required to sign integrity pacts, recognizing the high-level reporting mechanism as a tool to help them report any irregularities when they feel something is not going right. All relevant companies can report when they see any corruption risk, a step that will boost a great deal of transparency. Moreover, this initiative also

 <

Cover Story

รับสินบน และไม่ให้ภาคเอกชนเสนอสินบนแก่เจ้าหน้าที่ เบือ้ งต้นจะ ให้ความส�ำคัญโครงการใหญ่ เช่น โครงการรถไฟฟ้าและโครงการ ขยายสนามบินสุวรรณภูมเิ ฟส 2 เนื่องจากเป็ นโครงการทีต่ ้องใช้ งบประมาณจ�ำนวนมาก นอกจากนี้ นายประมนต์ยงั กล่าวถึงสิง่ ที่ภาคเอกชนจะ ด�ำเนินการในระยะต่อไป ว่าจะพยายามขยายเครือข่ายของธุรกิจที่ สะอาดโปร่งใส ให้ครอบคลุมไปยังทุกอุตสาหกรรมในทุกภาคของ เศรษฐกิจ พร้อมทัง้ จัดท�ำแคมเปญระยะยาว ทีจ่ ะมุง่ เน้นสร้างจิตส�ำนึก ต้านโกงให้กบั เยาวชนคนรุน่ ใหม่ และประชาชนทัวไป ่ เพือ่ ให้เกิดการ เปลีย่ นแปลงแนวความคิด และพฤติกรรม ซึง่ จะเป็นการสร้างสังคมที่ ปลอดจากการทุจริตอย่างยังยื ่ น หลังการปาฐกถาได้มพี ธิ มี อบใบรับรองแก่บริษทั ทีไ่ ด้รบั รอง ตนเองว่ามีนโยบายและมีแนวปฏิบตั ปิ ้ องกันการทุจริตภายในองค์กร ครบถ้วนตามเกณฑ์ท่ี CAC ก�ำหนดจ�ำนวน 31 บริษทั โดยในปจั จุบนั มีจำ� นวนบริษทั ทีผ่ า่ นการรับรองจาก CAC แล้วทัง้ สิน้ 78 บริษทั ซึง่ นับเป็นความก้าวหน้าทีน่ ่าชืน่ ชมของบริษทั ธุรกิจในประเทศไทยทีน่ �ำ นโยบายต่อต้านการโกงไปปฏิบตั จิ ริงอย่างเป็ นรูปธรรม ระหว่างการเสวนากลุ่มในช่วงเช้ามีวทิ ยากรผูท้ รงคุณวุฒ ิ จากทัง้ ในประเทศและต่างประเทศหลายท่านมาร่วมแลกเปลี่ยน แนวคิดการสร้างความร่วมมือระหว่างรัฐและเอกชน โดยมีตน้ แบบ จากประเทศทีม่ ปี ระสบการณ์มาแล้ว Datuk Paul Low Seng Kuan รัฐมนตรีประจ�ำส�ำนัก นายกรัฐมนตรีของประเทศมาเลเซีย ซึง่ ดูแลในเรือ่ งของธรรมาภิบาล คุณธรรม และการต่อต้านคอร์รปั ชันได้ ่ เล่าถึงแนวคิดทีน่ ่าสนใจของ ประเทศมาเลเซีย ในการก�ำหนดให้มตี �ำแหน่ งรัฐมนตรีขน้ึ มา เพื่อ ดูแลด้านธรรมาภิบาลและการต่อต้านการทุจริตโดยเฉพาะ ซึง่ นับเป็น แนวคิดหนึ่งทีแ่ ปลกใหม่ และน่าสนใจ เพราะแทนทีจ่ ะพึง่ พาองค์กร อิสระในการตรวจสอบการทุจริตภาครัฐ ทางรัฐบาลก็จดั ตัง้ กลไก ภายในของฝา่ ยบริหาร โดยก�ำหนดให้มตี ำ� แหน่งรัฐมนตรีในด้านนี้โดย เฉพาะเพือ่ ท�ำการตรวจสอบและถ่วงดุลการบริหารประเทศให้ดำ� เนิน ไปอย่างโปร่งใสและมีธรรมาภิบาล นางเจมม่า ไอโอฟี (Ms. Gemma Aiolfi) หัวหน้าศูนย์แนว ร่วมปฏิบตั ริ ะหว่างประเทศ ของสถาบันธรรมภิบาล Basel ได้เสนอ แนะแนวทางหนึ่งทีน่ ่าสนใจ และประเทศไทยอาจน�ำไปพิจารณาปรับ ใช้ คือการสร้างกลไกการรายงานระดับสูง (High-level reporting mechanism) ซึง่ ขณะนี้อยูใ่ นช่วงของการด�ำเนินโครงการน�ำร่องกับ การก่อสร้างถนนในประเทศโคลัมเบีย ซึง่ ด�ำเนินการมาแล้วประมาณ 1 ปี และมีแนวโน้มจะไปได้ดี ภายใต้ ก ลไกดัง กล่ า ว ผู้เ ข้า ร่ ว มประมู ล ทุ ก คนต้ อ งมี การลงนามในสัญญาคุณธรรม ซึง่ รับรองกลไก High-level reporting ให้เป็ นเครือ่ งมือส�ำหรับรายงานเมือ่ เกิดเหตุให้รสู้ กึ ว่ามีอะไรไม่ชอบ มาพากลเกิดขึน้ โดยบริษทั ต่างๆทีเ่ กีย่ วข้องสามารถรายงานได้ทนั ที เมื่อเห็นว่าเกิดความเสีย่ งที่จะเกิดการทุจริตขึน้ ซึ่งจะช่วยให้การ ด�ำเนินโครงการมีความโปร่งใสเพิม่ ขึน้ อย่างมาก และข้อดีอกี ประการ หนึ่งก็คอื ตามกลไกนี้ จะมีกระบวนการสอบสวนรายงานทีเ่ ข้ามา และหาข้อสรุปให้ได้อย่างรวดเร็วโดยทีง่ านยังสามารถเดินต่อไปได้


brings in a fast mechanism to investigate any complain while allowing the overall project to continue, lifting the chance of project completion. Many previous projects were stalled and eventually failed to complete after corruption complaints were filed and probed. Dr. Jesus Estanislao, Chairman of the Institute of Corporate Directors in the Philippines, said corruption problem in the Philippines is severe and systemic but the current government is well aware of the problem and putting its best efforts to address the issue. Besides promoting corporate governance in the private sector, his institute also works with the government to improve public governance at several state agencies. The institute recommended all public agencies it worked with to set up Multi-Sector Governance Coalition, bringing in personnel from private businesses, civil society, and academia, to take part in establishing public governance. The coalition is not just an advisory body but it is authorized to monitor performance and assess operation process such as procurement program. During lunch, Dr. Samuel Paul, Chairman of Public Affairs Centre in Bangalore who initiated the Citizen Report Card program, shared his experiences in using data reported by citizens to pressure for improvement at government agencies. He said data gathered through the Citizen Report Card provided actual feedback from citizens and indicated most troublesome government agencies. The survey result will

จนเสร็จ ซึง่ จะต่างกับหลายๆโครงการในอดีต ทีเ่ มื่อเกิดกรณีการ ฟ้องร้องเกีย่ วกับการทุจริต ก็ทำ� ให้กระบวนการก่อสร้างต้องหยุดลง ทัง้ หมด และสุดท้ายโครงการก็สร้างไม่สำ� เร็จและล้มพับไป ดร.จีซสั เอสตานิสเลา (Dr. Jesus Estanislao) ประธาน สถาบันกรรมการบริษทั ฟิลปิ ปินส์ บอกว่าประเทศฟิลปิ ปินส์มปี ญั หา คอร์รปั ชันรุ ่ นแรง และการทุจริตก็ทำ� กันอย่างเป็นระบบ แต่ทางรัฐบาล ั พร้อมทัง้ ก�ำลังพยายามอย่างยิง่ ทีจ่ ะแก้ไข ก็มองเห็นและเข้าใจปญหา นอกจากบทบาทของการส่งเสริมการก�ำกับดูแลกิจการที่ ดีในภาคเอกชนแล้ว สถาบันของดร.จีซสั ยังมีสว่ นร่วมกับรัฐบาลใน การปรับปรุงการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ใี นหน่ วยงานภาครัฐหลายๆ แห่งด้วย ซึ่งแนวทางหนึ่งที่เขาเสนอให้หน่ วยงานภาครัฐทุกแห่ง ด�ำเนินการก็คอื การจัดตัง้ Multi-sector governance coalition ซึง่ เป็น การรวบรวมบุคลากรจากหลายภาคส่วน ทัง้ ภาคธุรกิจเอกชน ภาค ประชาสังคม นักวิชาการ ให้เข้ามามีสว่ นร่วมในการดูแลควบคุมระบบ การก�ำกับดูแลกิจการของหน่วยงานภาครัฐ ซึง่ ไม่ได้ทำ� หน้าทีแ่ ค่ให้ ค�ำแนะน�ำ แต่มอี ำ� นาจในการติดตามผลการด�ำเนินงาน และประเมิน กระบวนการด�ำเนินการด้านต่างๆ อย่างเช่นการจัดซือ้ จัดจ้างด้วย ในช่วงรับประทานอาหารกลางวัน ดร. แซมมูแอล พอล (Dr. Samuel Paul) ประธาน Public Affairs Centre จากเมือง Bangalore ประเทศอินเดีย ผูร้ เิ ริม่ จัดท�ำ Citizen Reporting Card ซึง่ เป็นการจัดท�ำ ั แบบส�ำรวจของภาคประชาชนเกีย่ วกับปญหาต่ างๆ ทีพ่ บในการติดต่อ ราชการ รวมถึงการเรียกรับสินบนของเจ้าหน้ าที่รฐั ในหน่ วยงาน ต่ า งๆ ได้เ ล่ า ถึง ประสบการณ์ แ ละแนวทางปฏิบ ตั ิท่ีภ าคเอกชน ของอินเดียเข้าไปมีส่วนร่วมในแก้ปญั หาการทุจริตคอร์รปั ชัน่ โดย ใช้ขอ้ มูลที่ได้จากประชาชนมาเป็ นเครื่องมือผลักดันให้หน่ วยงาน ภาครัฐต้องปรับตัว

Cover Story

> 


> Cover Story

be proposed to government leaders to address the problem and release to the public through media channels to create social pressure, which eventually lead to reforms and services improvement at troubled agencies. In the afternoon session, executives of private corporations shared ways to create internal anti-corruption s ystem and the setting of tone at the top in tackling corruption. Ms. Sabine Zindera, Vice President at Siemens AG in Corporate Legal and Compliance said "Fighting corruption is not a sprint, it's a marathon. It takes years but it pays." Mr. Banyong Pongpanich, Chairman of Executive Committee and Chief Executive Officer at Kiatnakin Bank PCL said the concept of CAC is simply encouraging private companies to steer clear of corruption but this scheme alone is not sufficient to uproot corruption in Thailand. "To rid corruption, it's not enough for us to just observe the commandment but we need to agitate for the people to strike the demon...For the private sector, it is just not enough for each company to stay clean but we need to find ways or mechanisms that will prevent others from involving with corruption," he said. Mr. Chaiyot Piyawannarat, President and Country Manager of ABB Ltd. in Thailand, said companies that announced clearly their intentions in not taking nor paying bribes may lose some business opportunities in the short run to competitors that still paying. However, the move will generate positive lasting impact as it will set a clear example for employees and make them proud to work in such clean company. For companies to stay competitive and sustainable, they must compete with performance and quality of products and services not with the amount of bribes paid. By doing so, consumers will eventually benefit and growing consumers will pave way for companies to grow along over the long run.

 <

Cover Story

ดร. แซมมูแอล บอกว่าการท�ำ Citizen Report Card ท�ำให้ ได้ทราบข้อมูลจริงๆ จากประชาชน ว่าหน่วยงานไหนทีม่ ปี ญั หามาก ทีส่ ดุ ในการติดต่อ ซึง่ เมือ่ ได้ผลการส�ำรวจแล้ว ก็ได้น�ำผลไปเสนอให้ กับผูน้ � ำในภาครัฐ ซึ่งก็ให้การตอบรับและมีการตัง้ คณะกรรมการ ระดับสูงเพื่อติดตามแก้ไขปญั หา หลังจากนัน้ ก็มกี ารน� ำผลไปเผย แพร่ให้สาธารณชนรับทราบผ่านทางสื่อมวลชน ซึ่งก่อให้เกิดแรง กดดันทางสังคม และในทีส่ ุดก็ท�ำให้เกิดการปฏิรูปในหน่ วยงานที่ มีพบว่ามีปญั หาหนัก และท�ำให้บริการของหน่ วยงานนัน้ ได้รบั การ ปรับปรุงให้ดขี น้ึ ในช่ว งบ่า ยเป็ น การแบ่ง ป นั ประสบการณ์ จ ากผู้บ ริห าร บริษทั เอกชนเกี่ยวกับวิธกี ารสร้างระบบป้องกันการทุจริตภายใน บริษทั และการก�ำหนด Tone at The Top กับการต่อต้านการทุจริต นางสาวซาบีน ซินเดอร่า (Ms. Sabine Zindera) Vice President ของบริษทั Siemens AG ทีด่ แู ลด้าน Corporate Legal and Compliance ได้ให้ความเห็นทีน่ ่าสนใจว่า “การต่อสูก้ บั ปญั หา การทุจริตคอร์รปั ชัน่ ไม่ใช่เป็ นเหมือนการแข่งวิง่ เร็วในระยะสัน้ ๆ แต่ เป็ นเหมือนการแข่งวิง่ มาราธอน ซึง่ ต้องใช้เวลานานหลายปี แต่ผลที่ ได้กลับมามันคุม้ ” ทางด้านนายบรรยง พงษ์พานิช ประธานกรรมการบริหาร และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ธนาคารเกียรตินาคิน จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า แนวคิดของ CAC เป็ นแค่การพยายามสนับสนุนให้บริษทั เอกชนไม่เข้าไปมีสว่ นร่วมกับการทุจริตเท่านัน้ ซึง่ ถือว่ายังไม่เพียง พอ ถ้าต้องการจะถอนรากถอนโคนปญั หาคอร์รปั ชันให้ ่ หมดไปจาก ประเทศไทย “การจะปราบคอร์รปั ชัน่ แค่ถอื ศีลยังไม่พอ ต้องปลุกระดม ให้คนลุกขึน้ มาปราบมาร...ส�ำหรับภาคเอกชนนัน้ แค่เราดูแลตัวเอง ไม่ให้โกงแค่นัน้ ยังไม่พอ ต้องหาวิธหี รือกลไกทีจ่ ะดูแลไม่ให้คนอืน่ โกงด้วย” นายบรรยง กล่าว นายชัยยศ ปิยะวรรณรัตน์ กรรมการผูจ้ ดั การและผูจ้ ดั การ ประจ�ำประเทศไทย บริษทั ABB จ�ำกัด บอกว่าการทีบ่ ริษทั จะประกาศ ตัวชัดเจนไม่รบั และไม่จา่ ยสินบนนัน้ อาจจะท�ำให้สญ ู เสียโอกาสทาง ธุรกิจในระยะสัน้ ให้กบั คูแ่ ข่งทีย่ งั คงจ่ายอยู่ แต่จะเกิดผลดีในระยะยาว เพราะนอกจากจะเป็ นแบบอย่างทีด่ แี ละสร้างความภาคภูมใิ จให้กบั พนักงานของบริษทั แล้ว การทีธ่ ุรกิจจะแข่งขันได้อย่างยังยื ่ นนัน้ จะ


At the second panel of the afternoon session, civil society organizations such as the Anti-Corruption Organizations (Thailand) and the National Press Council of Thailand presented their anti-corruption activities and discussed ways for the private sector to provide support in the battle against corruption. Mr. Chakkrish Permpool, Chairman of the National Press Council, said the present roles of Thai media in probing and uncovering corruption have faded as most of them simply reported stated facts and criticized corruption in their columns but there have been but minimal in-depth investigative reporting that actually uncover corruption cases. This may owe partly to the fact that journalists these days have to feed news to several media platforms, including on-line, radio, TV, and newspaper, forcing them to emphasize more on quantity than quality of news. Dr. Mana Nimitmongkol, Managing Director of AntiCorruption Organization (Thailand) said Thailand needs to amend relevant legislations, such as issuance of an Act to facilitate citizens in engagement with government services, in a bid to upgrade the country's legal standard to match those of other countries. He also called for the government to create mechanisms that ensure participation of the civil society in government projects, which could be in the forms of Integrity Pact, the examination of public procurement projects, or corruption risk assessment on government projects. Other crucial issues are the promotion of free access to public information by citizens and lessen media's dependence on government's public relations budget to ensure that they probe government process fairly and freely without any conflict of interests. Mr. Andrew Wilson, Deputy Director for Strategy and Programs at U.S.-based Center of International Private Enterprise (CIPE), delivered the End of Conference Address on global trends in anti-corruption and public-private dialogue. The CAC operations are partly supported by CIPE.

ต้องแข่งด้วยผลการด�ำเนินงาน และคุณภาพของสินค้าและบริการ อย่างแท้จริง ไม่ใช่แข่งด้วยการจ่ายสินบน ซึง่ หากธุรกิจแข่งขันกัน พัฒนาคุณภาพและบริการแล้ว สุดท้ายผูบ้ ริโภคก็จะเป็ นผูท้ ไ่ี ด้รบั ประโยชน์ และท้ายทีส่ ดุ ก็จะส่งผลให้บริษทั สามารถเติบโตได้ในระยะ ยาวตามไปด้วย การเสวนากลุม่ ในช่วงต่อมาเป็นการน�ำเสนอผลการด�ำเนิน งานขององค์กรภาคประชาสังคม อย่างเช่น องค์กรต่อต้านคอร์รปั ชัน่ และสภาการหนัง สือ พิม พ์แ ห่ง ชาติโ ดยมีก ารเล่า ถึง กิจ กรรมการ ต่อต้านทุจริตทีภ่ าคประชาสังคมก�ำลังด�ำเนินการอยู่ และบทบาท ของบริษทั เอกชนในการให้ความสนับสนุนส่งเสริมกิจกรรมดังกล่าว นายจัก ร์ก ฤษ เพิ่ม พูล ประธานสภาการหนัง สือ พิม พ์ แห่งชาติ กล่าวว่า บทบาทของสื่อมวลชนในการตรวจสอบ และ เปิ ดโปงการทุจริตคอร์รปั ชันในป ่ จั จุบนั แผ่วลงไปมาก สื่อส่วนใหญ่ จะพูดถึงการทุจริตในเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความเห็น แต่ การรายงานแบบเจาะลึกในรูปแบบของ Investigative Report เพือ่ เปิดโปงการทุจริตคอร์รปั ชันถื ่ อว่ามีน้อยมาก ซึง่ สาเหตุสว่ นหนึ่งอาจ จะมาจากการทีส่ อ่ื มวลชนต้องป้อนข่าวให้ชอ่ งทางต่างๆ มากขึน้ ทัง้ ออนไลน์ วิทยุ ทีว ี หนังสือพิมพ์ ท�ำให้ตอ้ งเน้นไปทีเ่ รือ่ งของปริมาณ มากกว่าคุณภาพ ดร. มานะ นิ ม ิต รมงคล ผู้อ� ำ นวยการองค์ก รต่ อ ต้า น คอร์รปั ชัน่ (ประเทศไทย) กล่าวถึงแนวทางการแก้ปญั หาคอร์รปั ชัน่ ในประเทศไทยว่า ต้องมีการแก้ไขกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องให้ได้มาตรฐาน เท่ากับประเทศอื่นๆ และต้องพยายามลดเงื่อนไขในการเรียกรับ สินบน เช่น มีการออกพ.ร.บ. อ�ำนวยความสะดวกในการติดต่อราชการ นอกจากนี้ ยังต้องมีการสร้างกลไกการมีสว่ นร่วมของภาคประชาชน ในการด�ำเนินโครงการต่างๆ ของภาครัฐ โดยอาจจะท�ำในรูปแบบของ สัญญาคุณธรรม โครงการตรวจสอบการจัดซือ้ จัดจ้างของภาครัฐ หรือ การประเมินความเสีย่ งของโครงการ อีกประเด็นทีม่ คี วามส�ำคัญก็คอื การเปิดให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการได้ อย่างเสรี พร้อมทัง้ มีการปลดสือ่ ออกจากการพึง่ พึงเงินจากภาครัฐเพือ่ ให้กระบวนการตรวจสอบการด�ำเนินงานของรัฐบาลโดยสื่อมวลชน เป็ นไปอย่างอิสระไม่มปี ญั หาเรือ่ งผลประโยชน์ทบั ซ้อน ต่อจากนัน้ นายแอนดรูว์ วิลสัน รองผูอ้ �ำนวยการ ด้าน กลยุทธ์และโครงการของ Center for International Private Enterprise (CIPE) ได้ให้เกียรติกล่าวปาฐกถาพิเศษก่อนปิดงานในหัวข้อ “กระแส

Cover Story

> 


> Cover Story

"The Thai CAC program is as robust and comprehensive as any private sector anti-corruption program in the world' Thailand now serves as a model for other efforts elsewhere. CIPE's network practitioners in places as far away as Russia and Kenya are looking at the CAC. These are great achievements and you have much to be proud of," said Mr. Wilson. Dr. Bandid Nijathaworn, the CAC Secretary, said in his closing remarks that three key messages can be extracted from the eventful conference. Firstly, the private sector has a role to play. Secondly, private sector alone cannot complete the task and the government should take a more leading role. Lastly, the collaboration between the two sectors is the way going forward for Thailand to win the battle against corruption. The IOD, in the capacity as secretariat of the CAC, would like to thank all sponsors of the Thailand's 5th National Conference on Collective Action Against Corruption for supporting our initiative and promote transparency in Thailand.

โลกในด้านการต่อต้านคอร์รปั ชัน่ และความร่วมมือระหว่างภาครัฐและ เอกชน” CIPE เป็ นองค์กรจากสหรัฐอเมริกาและเป็ นหนึ่งในผูใ้ ห้การ สนับสนุนการด�ำเนินงานของ CAC “โครงการ CAC ของประเทศไทยถือว่ามีความเข้มแข็งและ ความครอบคลุมเทียบได้กบั โครงการต่อต้านการทุจริตในภาคเอกชน ของประเทศอืน่ ๆ ในโลก” นายแอนดรูว์ กล่าวและเสริมว่า “ปจั จุบนั ประเทศไทยถือเป็ นประเทศต้นแบบให้กบั ประเทศอืน่ ๆ แล้ว โดยผู้ ปฏิบตั งิ านทีอ่ ยูใ่ นเครือข่ายของ CIPE ในประเทศทีไ่ กลออกไปอย่าง เช่น รัสเซีย หรือ เคนยา ต่างก็กำ� ลังมองโครงการ CAC เป็นแบบอย่าง นับได้ว่าเป็ นความส�ำเร็จทีย่ งิ ่ ใหญ่ของโครงการซึง่ สมควรแก่ความ ภาคภูมใิ จ” ดร. บัณฑิต นิจถาวร เลขาธิการ CAC กล่าวปิดงานโดย ระบุวา่ เนื้อหาส�ำคัญทีไ่ ด้มกี ารคุยกันภายในงานสามารถสรุปออกมา ได้สามประเด็นด้วยกัน ประเด็นแรก คือภาคเอกชนมีบทบาทส�ำคัญ ในการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ประเด็นทีส่ อง คือ การด�ำเนิน การโดยภาคเอกชนเพียงขาเดียวไม่สามารถแก้ปญั หาการทุจริตได้ ภาครัฐต้องเข้ามาร่วมรับบทน� ำในการแก้ปญั หาด้วย และประเด็น ที่สามก็คอื การด�ำเนิ นการในระยะต่อไปจะต้องอาศัยความร่วม มือระหว่างภาครัฐและเอกชนเพื่อแก้ไขปญั หาการคอร์รปั ชันของ ่ ประเทศไทยให้ประสบผลส�ำเร็จ ส�ำหรับการจัดงาน Thailand’s 5th National Conference on Collective Action Against Corruption ในปี น้ี IOD ในฐานะ เลขานุการโครงการ ขอขอบคุณผูส้ นับสนุนทุกท่านทีร่ ว่ มส่งเสริมและ ผลักดันให้เกิดความโปร่งใสในประเทศไทย

 <

Cover Story


*ordered by certification

IRPC Public Company Limited

Bangkok Aviation Fuel Services Public Company Limited

Standard Chartered Bank (Thai) Public Company Limited

PTT Exploration and Production Public Company Limited

PTT Global Chemical Public Company Limited

Premier Technology Public Company Limited

CS LoxInfo Public Company Limited

Bayer Thai Company Limited

United Overseas Bank (Thai) Public Company Limited

KKTRADE Securities Company Limited

Phatra Asset Management Company Limited

LH Financial Group Public Company Limited

Land and Houses Bank Public Company Limited

Land And Houses Fund Management Company Limited

Indorama Ventures Public Company Limited

Bualuang Securities Public Company Limited

Thanachart Capital Public Company Limited

Thanachart Bank Public Company Limited

Thanachart Securities Public Company Limited

Thanachart Fund Management Company Limited

Thanachart Insurance Public Company Limited

MAX Asset Management Company Limited NFS Asset Management

TS Asset Management Company Limited

Siam City Life Assurance Public Company Limited

Ratchthani Leasing Public Company Limited

TMB Bank Public Company Limited

PTT Public Company Limited

Thai Metal Drum Mfg. Public Company Limited

Bangkok Life Assurance Public Company Limited

Krung Thai Bank Public Company Limited

Cover Story

> 


> Cover Story

Direct Experiences from

ประสบการณ์ตรง

participants in the private sector’s จากผู้เกี่ยวข้องใน anti-corruption movement ขบวนการต่อต้านทุจริตภาคเอกชน Over the past years, roles of the private sector in fighting corruption have increased substantially as organizations in various sectors collaborate to push for concrete resolutions, one of which is the creation and expansion of Thailand's Private Sector Collective Action Coalition against Corruption (CAC).

ในช่วงหลายปี ทผ่ี ่านมา ภาคเอกชนได้เข้ามามีบทบาท มากขึน้ ในการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ โดยได้ประสานความร่วม มือระหว่างองค์กรในสาขาต่างๆ เพือ่ ร่วมกันผลักดันให้เกิดการแก้ไข ั ปญหาอย่ างเป็นรูปธรรม ซึง่ หนึ่งนัน้ ก็คอื การสร้างและขยายเครือข่าย แนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC)

Despite progressive efforts by the private sector, the magnitude of corruption problem in Thailand remains worrisome and all relevant parties still have to continue driving for clean and corruption-free society.

อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ความพยายามของภาคเอกชนจะมี ความก้าวหน้ากว่าเดิมมาก แต่ความรุนแรงปญั หาการคอร์รปั ชันก็ ่ ยงั ่ อยูใ่ นระดับทีน่ ่าเป็นห่วงอยูด่ ี ซึง่ แสดงให้เห็นว่าทุกฝายทีเ่ กีย่ วข้องยัง ต้องด�ำเนินการอย่างแข็งขันต่อไป เพือ่ ให้เราสามารถสร้างสรรค์สงั คม ทีป่ ลอดจากการทุจริตคอร์รปั ชันได้ ่ ในทีส่ ดุ

Boardroom has compiled views of leaders in various private organizations about their direct experiences in tackling corruption to provide guidelines and inspire other organizations to join the anti-corruption movement.

บอร์ดรูม ได้รวบรวมข้อคิดเห็นจากประสบการณ์ตรงของ ผูน้ �ำองค์กรต่างๆ ในภาคเอกชนทีไ่ ด้เข้ามามีบทบาทในการจัดการ ั ปญหาการทุ จริตคอร์รปั ชัน่ เพือ่ เป็นแนวทางและสร้างแรงบันดาลใจให้ กับองค์กรอืน่ ๆ ให้เข้ามาร่วมในขบวนการต่อต้านทุจริตในระยะต่อไป

Corruption in Thailand

Corruption is like a cancer that has long been eroding Thailand's development in all aspects. It has pressured business potential, dragged the country's competitiveness, and pushed up economic cost. The higher cost will eventually be passed on to consumers, meaning each and every citizen has to bear the losses caused by corruption. "Without corruption, the economic output will be significantly higher and the economy will be able to grow to its full potential. On the business front, competitiveness should also improve without underhand payment, which unnecessary pushed up production cost. Stripping out corruption, public investment should also enjoy lower cost and the infrastructure project could drop by some 20%-25%. Of the THB2 trillion earmarked budget, 20% would mean hundreds of billions of baht," said Mr. Paiboon Nalinthrangkurn, Chairman of the Federation of Thai Capital Market Organizations.

ปัญหาการคอร์รัปชั่นในประเทศไทย คอร์รปั ชันเป็ ่ นเหมือนมะเร็งร้ายที่อยู่คู่กบั สังคมไทยมา อย่างยาวนานและกัดกร่อนความเจริญของประเทศในทุกด้าน ปญั หา นี้ทำ� ให้ภาคเอกชนท�ำธุรกิจไม่ได้เต็มศักยภาพ ฉุดรัง้ ความสามารถใน การแข่งขันของประเทศ และท�ำให้ตน้ ทุนทางเศรษฐกิจสูงขึน้ โดย ต้นทุนทีส่ งู ขึน้ นี้จะถูกส่งผ่านต่อไปยังผูบ้ ริโภค ซึง่ เท่ากับว่าประชาชน ทุกคนต้องแบกรับภาระความสูญเสียทีเ่ กิดจากการคอร์รปั ชัน่ “ถ้าไม่มคี อร์รปั ชันเลย ่ output ของเศรษฐกิจก็น่าจะสูงกว่า ในปจั จุบนั เยอะ และสามารถโตได้เต็มศักยภาพ ในแง่ธุรกิจก็น่าจะมี ศักยภาพแข่งขันได้สงู ขึน้ เพราะไม่กระทบกับการจ่ายเงินใต้โต๊ะ ซึง่ จะท�ำให้ตน้ ทุนการผลิตสินค้าสูงขึน้ การลงทุนภาครัฐก็น่าจะมีตน้ ทุน ถูกลง ถ้าไม่มคี อร์รปั ชัน่ โครงการโครงสร้างพืน้ ฐานอาจจะมีตน้ ทุนลด ลงถึง 20-25% ซึง่ ถ้าคิดจากวงเงิน 2 ล้านๆ บาท 20% ก็เป็นเงินหลาย แสนล้านบาท” นายไพบูลย์ นลิ นทรางกูร ประธานกรรมการสภา ธุรกิ จตลาดทุนไทย (FETCO) กล่าว

One of the indicators commonly referred to about the country's corruption image is the Corruption Perceptions Index, compiled by Transparency International. In 2013, Thailand's PCI ranking fell to the 102nd out of 177 countries from the 88th in 2015 as the PCI score dropped to 35 from 37.

เมื่อพิจารณาถึงภาพลักษณ์ของประเทศในด้านของการ คอร์รปั ชัน่ ดัชนีทม่ี กั จะถูกอ้างถึงก็คอื Corruption Perceptions Index ซึง่ จัดท�ำโดย Transparency Internationalในปี 2556 อันดับ ของประเทศไทยร่วงจาก 88 ในปี 2555 มาอยูท่ ่ี 102 จากทัง้ หมด 177 ประเทศ ในขณะทีค่ ะแนนเราก็ลดลงจาก 37 เหลือแค่ 35 เท่านัน้

"Our score at 35 out of 100 is considered as fail is we use the 50 mark as a criteria. Our neighbor, Malaysia, made 50 scores while its economic condition and development pace are quite similar to ours but people out there have better perception toward it. The CPI can tell, to a certain extent, how our country is perceived," said Dr. Kanokkan Anukansai, Program Manager at

“คะแนนที ่ 35 จาก 100 ถือว่าสอบตก ถ้าหากเราใช้เกณฑ์ ว่า 50 ผ่าน ขณะทีเ่ พือ่ นบ้านอย่างมาเลเซีย ได้ 50 คะแนน ซึง่ สภาพ เศรษฐกิจของเขาก็คล้ายๆ กับเรา โตมาพร้อมๆ กัน แต่ทำ� ไมคนอืนมอง ่ ดูวา่ ดีกว่า การใช้ CPI ก็อาจจะบอกได้ในระดับหนึง่ ว่าประเทศเราถูก มองว่าเป็นอย่างไร” ดร. กนกกาญจน์ อนุแก่นทราย ผูอ้ ำ� นวยการ องค์กรเพื่อความโปร่งใสในประเทศไทย กล่าว

 <

Cover Story


Transparency Thailand. It is worth noting that after making serious policy efforts, both rankings and scores of many countries can improve significantly. Take the Philippines as a good example, its ranking has been below Thailand all along but with its new President in place, there appeared to be positive development and its score has now surpassing Thailand. "If we are foreign investors, one of the factor being considered in investment decision is the degree of corruption in the targeted countries because these are hidden and unnecessary cost," said Mr. Viroj Meenaphant, Assistant Executive Vice President at Thai Oil PCL.

ทัง้ นี้ เป็นทีน่ ่าสังเกตว่าหลังจากทีม่ คี วามพยายามในระดับ นโยบาย คะแนนและอันดับของหลายประเทศก็ดขี น้ึ อย่างเห็นได้ชดั อย่างเช่นในกรณีของฟิลปิ ปินส์ ซึง่ ก่อนหน้านี้อนั ดับแย่กว่าเรามาโดย ตลอด แต่ตงั ้ แต่มปี ระธานาธิบดีคนใหม่ ก็ปรากฏว่ามีการเปลีย่ นแปลง ในทางทีด่ ขี น้ึ และท�ำให้คะแนนแซงเราไปได้ภายในช่วงเวลาแค่ปี เดียว “ถ้าเราเป็ นนักลงทุนต่างประเทศ การทีจ่ ะตัดสินลงทุนใน ประเทศใดประเทศหนึง่ สิง่ หนึง่ ทีเ่ ขาน� ำมาพิจารณาด้วยก็คอื เรือ่ ง คอร์รปั ชัน่ เพราะสิง่ ต่างๆ เหล่านี้เป็ นค่าใช้จา่ ยทีแ่ ฝงตัวอยูแ่ ละเป็ น ค่าใช้จ่ายทีไ่ ม่จ�ำเป็ น” นายวิ โรจน์ มีนะพันธ์ ผู้ช่วยกรรมการ ผูจ้ ดั การ บริ ษทั ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) กล่าว การมีส่วนร่วมของภาคเอกชน

As bribe payers, the private business sector is part of the corruption problem and it can play a significant role in resolving the issue. Private organizations have joined hands to form the CAC, with an ambition to create a network of clean and bribe-free business community through expansion of the coalition members.

ในฐานะทีภ่ าคธุรกิจเอกชนเป็ นส่วนหนึ่งของปญั หาการ ทุจริต โดยมีสถานะเป็ นผูจ้ า่ ยสินบน ดังนัน้ จึงสามารถมีสว่ นร่วมกับ การแก้ไขปญั หาการทุจริตได้ ซึง่ ส่วนหนึ่งทีท่ ำ� ได้กค็ อื การรวมตัวกัน ในรูปของแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC) เพือ่ สร้างเครือข่ายของบริษทั ทีท่ ำ� ธุรกิจอย่างสะอาดโปร่งใสไม่ รับ และไม่จา่ ยสินบน พร้อมทัง้ ขยายแนวคิดออกไปยังบริษทั อืน่ ๆ

At the end of the third quarter, a total of 362 companies have declared their intention to join the CAC, including 179 listed firms and a number of world-class companies operating in Thailand. Of the total, 78 companies have been certified by the CAC for having put in place policies and high compliance standards to prevent corruption as per criteria set by the CAC.

เมือ่ สิน้ ไตรมาสที่ 3 มีบริษทั ทีร่ ว่ มประกาศเจตนารมณ์แล้ว 362 บริษทั เป็ นบริษทั จดทะเบียน 179 บริษทั โดยมีบริษทั ยักษ์ใหญ่ ระดับโลกทีด่ ำ� เนินธุรกิจในประเทศไทยร่วมอยู่ดว้ ยเป็ นจ�ำนวนมาก ซึ่งในจ�ำนวนนี้ มีบริษทั ที่ได้รบั รองตนเองว่ามีนโยบายและมีแนว ปฏิบตั ปิ ้ องกันการทุจริตภายในองค์กรครบถ้วนตามเกณฑ์ท่ี CAC ก�ำหนดและได้รบั ใบรับรองจาก CAC แล้วทัง้ สิน้ 78 บริษทั

Although the number of CAC members is still relatively small, comparing with overall companies registered in Thailand but "don't forget that a long march must start with the first step... In order to uproot corruption, it is not enough to rely only on 300 companies, or 3,000 companies, or even 30,000 companies because this is just the supply side of corruption. So long as the demand side is still there, so long as the bribe seekers do not give up their selfishness, chances are the supply side couldn't cease to exist. Thus, both sides must be tackled in parallel," said Dr. Panas Simasathien, Chairman of the CAC.

ถึงแม้ว่าจ�ำนวนบริษทั ทีเ่ ข้าร่วมโครงการ CAC จะยังมี จ�ำนวนไม่มากนักเมื่อเทียบกับจ�ำนวนบริษทั ทัง้ ประเทศ แต่ “อย่า ลืมว่าการเดินทางไกล ต้องเริม่ ทีก่ า้ วแรก...การจะขจัดคอร์รปั ชันจะ ่ อาศัยแค่บริษทั ธุรกิจ 300 บริษทั 3,000 บริษทั หรือ 30,000 บริษทั ขาเดียวก็ยงั ไม่พอ เพราะเราจ�ำกัดได้แค่ supply side ตราบใดทีด่ า้ น demand side คนทีเ่ รียกร้องยังไม่ลดละเลิกความเห็นแก่ตวั ตราบที ่ ยังมี demand โอกาสทีค่ นจะไปเป็ น supply side ก็ยงั มีอยู่ ดังนัน้ ต้องท�ำไปพร้อมๆ กันทัง้ สองข้าง” ดร. พนัส สิ มะเสถียร ประธาน คณะกรรมการ CAC

Roles of the private sector in anti-corruption

Besides collaboration in the form of the collective action, several private organizations have also worked on other initiatives to boost transparency and curb corruption within their respective sectors. Mr. Isara Vongkusolkit, Chairman of the Thai Chamber of Commerce, said one of the issues that the private sector is pushing is for the signing of integrity pacts on government projects by both state agencies and contractors, with anti-corruption organizations taking parts as observers in each implementation steps. Mr. Paiboon said the Association of Investment Management Companies have initiated a concept to encourage its members to avoid investment in listed companies that have no anti-corruption policies while the Association of Securities Companies

นอกจากการร่ ว มมือ กัน ในรูป ของแนวร่ ว มปฏิบ ัติแ ล้ว องค์กรภาคเอกชน หลายๆ แห่งก็ยงั มีแนวทางทีจ่ ะด�ำเนินการในส่วน ทีเ่ กีย่ วกับอุตสาหกรรมของตัวเองเพือ่ สร้างความโปร่งใสและขจัดการ ทุจริตในธุรกิจทีต่ วั เองเกีย่ วข้องอยูอ่ กี ด้วย นายอิสระ ว่องกุศลกิจ ประธานกรรมการหอการค้าไทย กล่าวว่า เรือ่ งหนึ่งทีภ่ าคเอกชนพยายามผลักดันอยูก่ ค็ อื ให้โครงการ ภาครัฐทีจ่ ะเกิดขึน้ มีการลงนามระหว่างผูจ้ า้ งและผูร้ บั จ้างในรูปแบบ ของข้อตกลงคุณธรรม หรือ integrity pact และให้มอี งค์กรต่อต้าน คอร์รปั ชันเป็ ่ นผูร้ ่วมสังเกตการณ์ในขัน้ ตอนต่างๆ ของการด�ำเนิน โครงการ ทางด้านนายไพบูลย์ กล่าวว่า ทางสมาคมบริษทั จัดการ ลงทุนได้มคี วามริเริม่ ทีจ่ ะให้ บริษทั สมาชิกพิจารณาไม่ลงทุนในบริษทั จดทะเบียนทีไ่ ม่มนี โยบายต่อต้านคอร์รปั ชัน่ ในขณะทีท่ างสมาคม บริษทั หลักทรัพย์กม็ แี นวคิดทีจ่ ะสนับสนุ นการไม่เอาเงินจากพอร์ต ลงทุนของบริษทั ไปลงทุนในบริษทั ทีไ่ ม่มนี โยบาย ต่อต้านทุจริต

Cover Story

> 


> Cover Story also plans to encourage its members to not putting funds from its investment portfolios into companies that have no anti-corruption policies. On the other hand, the Securities Analysts Association is also planning to set up policies requiring analysts to provide statement on anti-corruption policies of listed companies in their research notes. The Thai Bankers' Association said banks are working on ways to avoid lending funds to companies believed to have involved with corruption or take parts in price collusion in auctions of government projects, Dr. Twatchai Yongkittikul, the association's Secretary General said and added that the association must work out legal details to protect members against potential law suit that might follow. "Singing up with the CAC is just the beginning. Not just banks but all listed companies must work together. Both the Thai Chamber of Commerce and the Federation of Thai Industries are agreed to this path," Dr. Twatchai said and adeed that "If I were to do honest business but the whole society is corrupted, my business can't survive. I think all parties are agreed that everyone has to work together by creating social sanction measures against companies with clear evidence tao have taken parts in corruption. We all need to condemn them and not dealing businesses with them." Experiences in joining the CAC

Besides the benefit of reducing corruption risks that would cause both financial and reputation damages, joining the CAC would also create and enhance confidences of all stakeholders, including shareholders, suppliers, customers, and business partners, in regarding to business direction of the participated companies. "We join because it is a good project and we believe it wil help preventing corruption in overall systems in Thailand," Mr. Predee Daochai, President of Kasikornbank PCL said and added that "the 71 requirements are quite some work to comply with. We need to compare with our own guidelines if we have complied with them all. Something we did differently in terms of language used etc., we need to adjust and we have the audit department to help comparing our practices with the requirements. Once we are confidence that we meet them all, we submit our request for CAC certification, which is not that difficult." Mr. Pliu Mangkornkanok, Chairman of Tisco Bank PCL said his bank gained positive image from joining the CAC as it encouraged people to deal businesses with the bank. He believes that if all organizations consider joining the initiative, it will greatly benefit the Thai society over the long run. As for Thai Oil, Mr. Viroj said his company has employed the check & balance system to ensure that its businesses are operated with transparency and efficiency, which help creating competitive advantage. As refiners compete on costs, companies with effective operation will have relative lower cost and advantage over peers.

 <

Cover Story

ส่วนทางด้านสมาคมนักวิเคราะห์กม็ แี ผนทีจ่ ะก�ำหนดให้ มีการเขียน statement เรือ่ งนโยบายคอร์รปั ชันของบริ ่ ษทั ทีท่ ำ� การ วิเคราะห์อยูเ่ พือ่ ให้นกั ลงทุนทราบ นายธวัชชัย ยงกิ ตติ กลุ เลขาธิ การสมาคมธนาคารไทย กล่าวว่า สมาคมธนาคารไทยก�ำลังหารือกันในหมูส่ มาชิกเพือ่ หาวิธี ที่จะร่วมมือกันไม่ปล่อยสินเชื่อให้กบั บริษัทที่มหี ลักฐานเพียงพอ ให้เชือ่ ได้วา่ เกีย่ วข้องกับการทุจริตคอร์รปั ชัน่ หรือ มีสว่ นในการฮัว้ ประมูลโครงการภาครัฐ แต่ทงั ้ นี้กต็ อ้ งศึกษาแง่กฎหมายให้ละเอียด ด้วย เพราะหากท�ำไม่รดั กุมพอก็อาจถูกฟ้องได้ “การลงนามใน CAC เป็ นแค่จุดเริม่ ต้น ไม่ใช่แค่ธนาคาร เท่านัน้ ทีต่ อ้ งท�ำ แต่บริษทั จดทะเบียนทัง้ หลายต้องร่วมมือกัน ทัง้ หอการค้าไทย และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ต่างก็เห็นด้วย กับแนวทางนี้” นายธวัชชัย กล่าว และเสริมว่า “ถ้าผมต้องการท�ำธุรกิจ โดยสุจริต แต่สงั คมมันทุจริตทัง้ หมด ผมท�ำธุรกิจไม่ได้ เพราะฉะนัน้ เรือ่ งนี้ทุกฝา่ ยเห็นด้วยแล้วว่าต้องท�ำพร้อมกัน ต้องสร้างมาตรการ social sanction ธุรกิจไหนทีม่ หี ลักฐานชัดเจนว่าชอบเข้าไปมีสว่ น ร่วมกับการทุจริต เราก็ตอ้ งร่วมกันประณาม ไม่ทำ� ธุรกิจด้วย” ประสบการณ์การเข้าร่วมโครงการ CAC การเข้าร่วมโครงการ CAC นอกจากจะส่งผลดีในแง่ของการ ลดความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดการทุจริตคอร์รปั ชันภายในองค์ ่ กร ซึง่ สามารถ สร้างความเสียหายทัง้ ทางด้านการเงินและภาพลักษณ์ขององค์กรได้ อย่างมากมายแล้ว ยังมีสว่ นช่วยสร้างความมันใจให้ ่ กบั ผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทัง้ ผูถ้ อื หุน้ supplier ลูกค้า และพันธมิตรทางธุรกิจในแนวทางการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษทั อีกด้วย “เราเข้าร่วมเพราะเป็ นโครงการทีด่ ี เพราะเราคิดว่าจะมี ส่วนช่วยให้ระบบต่างๆ ของประเทศไทยดีข้นึ ในเรือ่ งการป้องกัน คอร์รปั ชัน” ่ นายปรีดี ดาวฉาย กรรมการผูจ้ ดั การ ธนาคารกสิ กร ไทย กล่าว และเสริมว่า “ข้อก�ำหนดของโครงการ 71 ข้อก็ไม่น้อย เรา ต้องมาเปรียบเทียบว่าแนวทางของโครงการก�ำหนดไว้ยงั ไง เราท�ำ ครบไหม บางอย่างเราท�ำในรูปแบบทีแ่ ตกต่างบ้างในเรือ่ งภาษา ฯลฯ เราก็มกี ารปรับ และมีฝา่ ยตรวจสอบมาช่วยดูวา่ สิง่ ทีเ่ ทียบกันมันใช่ หรือเปล่า เมือ่ เราเชือ่ มันว่ ่ าครบก็สง่ ให้กรรมการ CAC อนุ มตั ิ ซึง่ ก็ ไม่ได้ยากเย็นอะไร” นายปลิ ว มังกรกนก ประธานกรรมการธนาคาร ทิ สโก้ จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า การเข้าร่วมโครงการ CAC ส่งผลดีต่อ ธนาคารในแง่ของการสร้างภาพลักษณ์ทด่ี ี ท�ำให้ทกุ คนอยากท�ำธุรกิจ ด้วย แต่สงิ่ ทีส่ ำ� คัญก็คอื ถ้าทุกองค์กรเข้ามาร่วมกับแนวร่วมปฏิบตั ิ ก็ จะเป็ นประโยชน์กบั สังคมโดยรวมในระยะยาว ส่วนในกรณีของไทยออยล์ นายวิ โรจน์ กล่าวว่า การ ที่บริษทั มีการน� ำระบบตรวจสอบและถ่วงดุล check & balance มาใช้ช่วยให้ไทยออยล์ สามารถด�ำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส และมี ประสิทธิภาพ ซึง่ ท�ำให้เกิดความได้เปรียบเพราะธุรกิจน�้ำมันแข่งขัน กันทีต่ น้ ทุน เมือ่ บริษทั มีการด�ำเนินงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพก็มตี น้ ทุนต�่ำ และได้เปรียบคูแ่ ข่ง “โครงการ CAC เป็ นโครงการทีด่ ี เป็ นโครงการริเริม่ ของ ภาคเอกชนทีเ่ ข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการปญั หาการคอร์รปั ชัน่ แทนทีจ่ ะปล่อยให้เป็ นหน้าทีภ่ าครัฐอย่างเดียว” นายวิโรจน์ กล่าว


"The CAC is a good project that is initiated by the private sector to take part in tackling corruption instead of letting the public sector single-handedly deal with it," said Mr. Viroj. Long-term solutions to corruption

The lasting solutions to corruption problem require value creation among citizens, especially the young generation, that corruption is evil and intolerable. To make this happen, there must be long-term projects that could reach the target groups via effective communications through various channels like on-line media, TV, or other media. These attempts must be continuous for decades not just a brief fad. "We have studied the success of our neighboring countries and found Hong Kong to be a useful example. It has measures to consistently build anti-corruption conscious among citizens through tv, radio, or live programs. It developed tailor-made contents for each groups of audiences, using cartoon for youth and drama for adults. These activities were funded by government budget and they have been continuously running these activities for over 30 years now," said Mr. Pramon Sutivong, President of Anti-Corruption Organization (Thailand). Tranparency Thailand also tried to install and promote anti-corruption value among the new generations through the development of academic courses that emphasize on five core virtues including 1 honesty 2 public conscious 3 Righteousness 4 accountability and 5 Modesty. "There are a lot of virtues but these are the set of virtues that will create members of corruption-free society. We try to develop tools for teachers to teach children from kindergarten to high school levels. We are looking at what can be done in the university level," said Dr. Kanokkan at Transparency Thailand. Dr. Duenden Nikomborirak, research director at Thailand Development Research Institute, said disclosure of public information is the most crucial element in Thailand's anti-corruption strategy. Thailand has been emphasizing on creating independence agencies like watchdogs to tackle corruption but their actions have failed to catch up with rapid growth in corruption activities. "The model we need now is to have 65 million people probing corruption. We cannot rely on any particular agencies as that would not be enough since corruption have spread around. The best tool for citizens to probe corruption is to reveal massive undisclosed public information controlled by government agencies. Take the rice pledging scheme as an example, if we can access information on volume of pricing of rice export/import, we probably won't loss hundreds of billions of baht as we do now because we would have been aware of such huge loss since the very beginning stage of the program. Information will help citizens, especially the media, uncover and distribute irregularities in public administration," she said.

การแก้ไขปัญหาการทุจริตในระยะยาว การทีจ่ ะจัดการกับปญั หาการทุจริตให้เกิดผลสัมฤทธิใน ์ ระยะยาวนัน้ เรือ่ งทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ก็คอื การปลูกจิตส�ำนึกให้กบั ประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในหมูเ่ ยาวชนคนรุน่ ใหม่ ว่าการทุจริตเป็นสิง่ ทีเ่ ลว ร้ายทีย่ อมรับไม่ได้ แต่การจะด�ำเนินการในเรือ่ งนี้ให้ได้ผลนัน้ เราต้อง มีโครงการระยะยาว และมีความสามารถในการเข้าถึงกลุม่ เป้าหมาย โดยผ่านการใช้สอ่ื ต่างๆ ทัง้ ออนไลน์ ทีว ี หรือสือ่ อืน่ ๆ ซึง่ ต้องท�ำต่อ เนื่องเป็ นสิบๆ ปี ไม่ใช่ปลุกกระแสแค่ชว่ งสัน้ ๆ “จากทีเ่ ราไปศึกษา ประเทศเพือ่ นบ้านหลายประเทศที ่ ถือว่าประสบความความส�ำเร็จ ฮ่องกงเป็ นตัวอย่างทีเ่ ราใช้เพราะเรา ไปศึกษามา ประสบการณ์ทฮี ่ อ่ งกงก็คอื เขามีมาตรการในการปลูกจิต ส�ำนึกให้ประชาชนทัง้ ประเทศอย่างต่อเนือ่ ง ผ่านรายการทีว ี วิทยุ หรือ รายการสดทีท่ ำ� เป็นครัง้ คราว และเขาต้อง tailor made ให้เหมาะกับผู้ ชมผูฟ้ งั ถ้าเป็นเด็กเยาวชนก็เอาการ์ตนู ไปให้ดู ถ้าเป็นผูใ้ หญ่หน่อยก็ เอาละครไปให้ดู อันนี้เป็นงานทีท�่ ำโดยงบประมาณของรัฐและท�ำอย่าง ต่อเนือ่ งเขาท�ำมาแล้ว 30 กว่าปี” นายประมนต์ สุธีวงศ์ ประธาน องค์กรต่อต้านคอร์รปั ชัน่ (ประเทศไทย) ทางด้านขององค์กรเพื่อความโปร่งใสแห่งประเทศไทย ก็พยายามปลูกฝงั และสร้างเสริมค่านิยมทีไ่ ม่ยอมรับการทุจริตของ เยาวชนคนรุน่ ใหม่ ซึง่ กิจกรรมทีพ่ ยายามทุม่ เทกันอย่างมากคือการ พัฒนาหลักสูตรโตไปไม่โกง ทีม่ งุ่ เน้นสร้างคนทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับ 5 เรื่องหลักทีผ่ ่านการวิจยั มาแล้วว่าเป็ นเป้าหมายทีจ่ ะไม่น�ำไปสู่การ คอร์รปั ชันได้ ่ แก่ 1 ความซื่อสัตย์สจุ ริต 2 การมีจติ สาธารณะ 3 รัก ความถูกต้องเป็ นธรรม 4 ท�ำอย่างรับผิดชอบ และ 5 ไม่โลภ “ความดีมมี ากมาย แต่นคี ่ อื ชุดของความดีทจี ่ ะสร้างคนทีจ่ ะ ไปสร้างสังคมปลอดคอร์รปั ชัน่ เราพยายามสร้างเครืองไม้ ่ เครืองมื ่ อให้ ครูน�ำไปสอน ตัง้ แต่เด็กเล็กอนุบาล จนเสร็จถึงมัธยมแล้วก็กำ� ลังดูวา่ ระดับมหาวิทยาลัยจะท�ำอะไรได้บา้ ง” ดร.กนกกาญจน์ กล่าว ดร.เดื อ นเด่ น นิ คมบริ รัก ษ์ ผู้ อ� ำ นวยการวิ จัย สถาบันวิ จยั เพื่อการพัฒนาแห่ งประเทศไทย (TDRI) กล่าวว่า การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐถือเป็นสิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ในยุทธศาสตร์การต่อ ต้านคอร์รปั ชันของไทย ่ เพราะจากประสบการณ์ทผ่ี า่ นมาประเทศไทย มุง่ ให้ความส�ำคัญกับการสร้างองค์กรอิสระทีเ่ รียกว่า watchdog ต่างๆ มาต่อต้านการทุจริต ซึง่ ปรากฏว่าไม่สามารถท�ำหน้าทีไ่ ด้ทนั กับการ ขยายตัวอย่างรวดเร็วของการทุจริตคอร์รปั ชัน่ “โมเดลทีต่ อ้ งใช้ตอนนี้คอื ให้ประชาชน 65 ล้านคนตรวจ สอบการทุจริตคอร์รปั ชันเอง ่ เพราะให้หน่ วยงานใดหน่ วยงานหนึง่ ท�ำมันไม่ไหว เพราะมันแพร่กระจายไปหมด เครือ่ งมือทีด่ ที สี ่ ดุ ส�ำหรับ ประชาชนทีจ่ ะตรวจสอบการทุจริตคือข้อมูลข่าวสารซึง่ อยู่ในครอบ ครองของหน่ วยราชการจ�ำนวนมาก แต่ไม่ได้รบั การเปิ ดเผย อย่าง เช่นการจ�ำน� ำข้าว ถ้าเรามีขอ้ มูลว่าส่งออกเท่าไหร่ น� ำเข้าเท่าไหร่ ราคาเท่าไร การทุจริตทีส่ ญ ู หายไปเป็ นแสนล้านคงไม่เกิดขึน้ เพราะ เราคงรูต้ งั ้ แต่แรก ข้อมูลข่าวสารจะช่วยให้ประชาชน โดยเฉพาะสือ่ สามารถใช้ขอ้ มูลนัน้ เผยแพร่ความไม่ชอบมาพากลของการบริหาร ภาครัฐได้”

Cover Story

> 


> Cover Story

Exclusive interviews with

three foreign experts

on anti-corruption บทสัมภาษณ์ 3 ผูเ้ ชีย่ วชาญในต่างประเทศ

เรื่องการต่อต้านการทุจริต On October 16, 2014, Thailand's Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC) held Thailand's 5th National Conference on Collective Action Against Corruption under the topic "Tackling Corruption through Public-Private Collaboration", with more than 400 participants including both local and foreign senior executives from the public and private sectors as well as the civil society. At the conference, several world-class experts on anti-corruption shared their experiences, views, and interesting ideas that could be reviewed an applied with anti-corruption movements in Thailand. Boardroom took the opportunity to conduct exclusive interviews with three foreign experts during their Bangkok visit to share their interesting views and ideas with our readers. The first expert is Ms. Gemma Aiolfi, Head of the International Centre for Collective Action, Basel Institute on Governance. She said more countries have shifted to adopt a holistic approach in tackling corruption over the past five years. Under this approach, a sustainable resolution to the corruption problem must address both the public sector, or the bribe taker, and the private sector, or the bribe payer. Besides, these two legs of corruption need to be tackled in harmony by all relevant stakeholders. Anti-corruption movements in other countries include the establishment of collective actions, some are similar to the CAC and some are different in structure, and the adoption of integrity pact, which are common in many Asian and African countries, she said and added that if countries can link up, exchange, and compare their experiences, their chances of success in combatting corruption will escalate.

 <

Cover Story

เมือ่ วันที่ 16 ตุลาคม ทีผ่ า่ นมา แนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชน ไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition Against Corruption หรือ CAC) จัดงานประชุมระดับชาติประจ�ำปีครัง้ ที่ 5 ใน หัวข้อ“บทบาทความร่วมมือภาครัฐ-เอกชนในการต่อสูค้ อร์รปั ชัน” ่ โดยมีผบู้ ริหารระดับสูงจากทัง้ ภาครัฐ เอกชน และประชาสังคมทัง้ จาก ในประเทศและต่างประเทศเข้าร่วมงานกว่า 400 คน โดยมีวทิ ยากร รับเชิญจากต่างประเทศ ทีเ่ ป็ นผูน้ �ำในระดับโลกในการต่อต้านทุจริต ั หลายคนเข้าร่วมสัมมนา แบ่งปนประสบการณ์ มุมมอง และแนวคิด ซึง่ สามารถน�ำมาทบทวนและปรับใช้กบั การแก้ปญั หาคอร์รปั ชันภายใน ่ ประเทศของเราได้ Boardroom จึงถือโอกาสนัดสัมภาษณ์ พเิ ศษ ผูเ้ ชีย่ วชาญจากต่างประเทศสามท่าน เพือ่ น�ำแนวคิดทีเ่ ป็ นประโยชน์ จากผูน้ �ำเหล่านี้มาแบ่งปนั กับท่านผูอ้ า่ น คนแรกคือ นางสาวเจมม่า ไอโอฟี (Ms. Gemma Aiolfi) หัวหน้าศูนย์แนวร่วมปฏิบตั ิระหว่างประเทศ ของสถาบันธรรมภิบาล Basel นางสาวเจมม่า บอกว่าช่วง 5 ปีทผ่ี า่ นมา ประเทศต่างๆ หันมา ให้ค วามส�ำ คัญ กับ การมองและก� ำ หนดแผนการขจัด การทุ จ ริต คอร์รปั ชันแบบองค์ ่ รวม (Holistic approach) มากขึน้ โดยแนวทางนี้ ั จะมองว่าปญหาทุจริตคอร์รปั ชันไม่ ่ ได้เกิดจากภาครัฐในฐานะผูเ้ รียก หรือผูร้ บั สินบน หรือเกิดจากภาคเอกชนทีเ่ ป็ นผูจ้ า่ ยแต่เพียงขาเดียว คือในการแก้ปญั หาทีจ่ ะให้ผลอย่างยังยื ่ น จะไม่อาจแยกการด�ำเนิน การเป็นส่วนๆได้ แต่ตอ้ งด�ำเนินการอย่างสอดคล้องกันโดยผูม้ สี ว่ นได้ เสียทุกกลุม่ ในต่างประเทศ ได้มกี ารด�ำเนินการเพือ่ จัดการกับปญั หา การทุจริตคอร์รปั ชันด้ ่ วยการจัดตัง้ แนวร่วมปฏิบตั ทิ งั ้ ในรูปแบบที่ คล้ายคลึงกับของ CAC ของเราและในรูปแบบอื่นๆ รวมถึงมีการน�ำ สัญญาคุณธรรม หรือ Integrity Pact มาใช้ในหลายประเทศทัง้ ใน แอฟริกาและในเอเซีย นางสาวเจมม่า บอกว่า หากประเทศต่างๆ สามารถเชื่อมโยงข้อมูลเกีย่ วกับการด�ำเนินการระหว่างกันได้ เพื่อ เปรียบเทียบว่าวิธกี ารไหนใช้ได้ผลดี ก็จะช่วยเพิม่ โอกาสของความ ส�ำเร็จในการต่อต้านการทุจริตให้สงู ขึน้ ได้


Besides the formation of a collective action by various industries in the country like the CAC, the collective action could also be formed by a group of companies under the same industry such as the Maritime Anti-Corruption Network or major companies could also join hands with their suppliers to uplift compliance standard of their suppliers as were cases in Argentina, Ms. Aiolfi said. "Those initiatives that have really built up trust between the players are the ones that tend to be successful, I'd say. Building up trust takes time and it sometime needs a neutral facilitator to do that" she said and suggested that a strong and experienced NGO could be a fine choice of neutral facilitator. She noted that titles and authorities of delegates from relevant agencies participating in meetings to drive anticorruption movements are also crucial as they need to be senior enough to be able to make decisions for their organizations, which will standby any commitment they made. It is a typical problem anywhere in the world for companies to be reluctant to take a bold step in being the very first to join the collective action against corruption. To address this problem, Ms. Aiolfi suggested that the collective action initially targets companies with relatively high governance standards and supports them to push for their suppliers and competitors to also join the program. In case the collective action targets specific industry, she said the program should aim to bring in major players at the initial stage and smaller players will eventually follow suit. Ms. Aiolfi said one interesting anti-corruption idea that Thailand may consider applying with its public investment projects is the high-level reporting mechanism. The Columbian government has been employing this mechanism in a pilot road construction project for about a year and it seems to be working well. It took this interesting initiative to enhance transparency, reduce corruption risk and attract foreign investment interest in the project. Under the scheme, all bidders are required to sign integrity pacts, recognizing the high-level reporting mechanism as a tool to help them report any irregularities when they feel something is not going right. All relevant companies can report when they see any corruption risk, a step that will boost a great deal of transparency. Moreover, this initiative also brings in a fast mechanism to investigate any complain while allowing the overall project to continue, lifting the chance of project completion. Many previous projects were stalled and eventually failed to complete after corruption complaints were filed and probed.

ทัง้ นี้ แนวร่ว มปฏิบ ตั ิใ นการต่ อ ต้า นการทุ จ ริต อาจเกิด จากการรวมตัว โดยกลุ่มบริษทั ที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกันเพื่อ ด�ำเนินการกับปญั หาที่มลี กั ษณะเฉพาะภายในกลุ่มอุตสาหกรรม เช่น เครือข่ายต่อต้านการทุจริตของธุรกิจการเดินเรือทะล (Maritime Anti-Corruption Network) นอกเหนือจากการรวมตัวของบริษทั ในอุตสาหกรรมต่างๆ ทีอ่ ยูใ่ นประเทศเหมือน CAC ของเราขณะนี้ นอกจากนี้ บริษทั ขนาดใหญ่อาจจะจับมือกับซัพพลายเออร์ของตน เพื่อยกระดับมาตรฐานของซัพพลายเออร์ก็ได้เช่น กรณีประเทศ อาร์เจนติน่า “ความริเริม่ ในการต่อต้านทุจริตทีส่ ามารถสร้างความไว้ วางใจในระหว่างผูม้ สี ว่ นได้เสียกลุม่ ต่างๆ มีแนวโน้มทีจะประสบความ ่ ส�ำเร็จได้ ซึง่ การจะสร้างความไว้วางใจนี้ตอ้ งอาศัยเวลา บางครัง้ ก็อาจ จ�ำเป็ นต้องมีคนกลาง (Neutral facilitator) มาท�ำหน้าทีป่ ระสานงาน ระหว่างกลุ่มต่างๆ ด้วย” นางสาวเจมม่า บอกและเสริมว่า หน่ วย งานทีจ่ ะเหมาะจะมาท�ำหน้าทีน่ ้ีกค็ อื NGO ทีม่ คี วามเข้มแข็งและมี ประสบการณ์ในเรือ่ งนี้ นอกจากนี้ นางสาวเจมม่า ยัง บอกว่า อีก ป จั จัย หนึ่ ง ที่ ส�ำคัญมาก ก็คอื ตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆ ทีจ่ ะเข้ามาร่วมประชุม เพื่อขับเคลื่อนการต่อต้านทุจริตจะต้องเป็ นคนทีม่ ตี �ำแหน่ งใหญ่พอ และมีอ�ำนาจตัดสินใจในหน่ วยงานของตัวเองได้เพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ าจะมี การปฏิบตั ติ ามทีไ่ ด้มกี ารตกลงกัน ทัง้ นี้นางสาวเจมม่า บอกว่าปญั หาหนึ่งทีพ่ บในทุกๆทีก่ ็ คือบริษทั ต่างๆ ลังเลทีจ่ ะเข้ามาเป็ นแนวหน้าของโครงการต่อต้าน ทุจริต และต่างก็รอดูทา่ ทีกนั ไปมา ว่าคูแ่ ข่งจะเข้าร่วมหรือไม่ วิธกี าร จัดการกับปญั หานี้ ก็คอื ต้องพยายามน� ำบริษทั ที่มกี ลไกการดูแล กิจการของตัวเองดีอยู่แล้วเข้าร่วม และผลักดันให้บริษทั อื่นๆ เช่น ซัพพลายเออร์ หรือ คูแ่ ข่งทีด่ ำ� เนินธุรกิจในลักษณะเดียวกันให้เข้า มาร่วมโครงการ หรือถ้าจะมุง่ ไปทีร่ ะดับอุตสาหกรรมก็ตอ้ งพยายาม น�ำผูเ้ ล่นรายใหญ่ในอุตสาหกรรมให้เข้ามาร่วมให้ได้ก่อน แล้วผูเ้ ล่น ระดับ รองๆก็ จ ะตามเข้า มาเอง แนวทางหนึ่ ง ที่น่ า สนใจ และ ประเทศไทยอาจน� ำไปพิจารณาปรับใช้บ้าง ก็คอื การสร้างกลไก การรายงานระดับสูง (High-level reporting mechanism) ซึง่ ขณะนี้ อยู่ในช่วงของการด�ำเนินโครงการน� ำร่องกับการก่อสร้างถนนใน ประเทศโคลัมเบีย ซึง่ ด�ำเนินการมาแล้วประมาณ 1 ปี และมีแนวโน้มจะ ไปได้ดี การทีร่ ฐั บาลโคลัมเบียน�ำกลไกนี้มาใช้กเ็ พือ่ สร้างความโปร่งใส และลดความเสี่ยงเรื่องคอร์รปั ชันเพื ่ ่อดึงดูดให้นักลงทุนต่างชาติ สนใจเข้ามาร่วมลงทุนในโครงการนี้ โดยในกลไกดังกล่าว ผูเ้ ข้าร่วม ประมูลทุกคนต้องมีการลงนามในข้อตกลงคุณธรรม ซึง่ รับรองกลไก High-level reporting ให้เป็ นเครื่องมือส�ำหรับรายงานเมือ่ เกิดเหตุ ให้รูส้ กึ ว่ามีอะไรไม่ชอบมาพากลเกิดขึน้ บริษทั ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง สามารถรายงานได้ทนั ที เมือ่ เห็นว่าเกิดความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดการทุจริต ขึน้ ซึ่งจะช่วยให้การด�ำเนินโครงการมีความโปร่งใสเพิม่ ขึน้ อย่าง มาก และข้อดีอกี ประการหนึ่งก็คอื ตามกลไกนี้ จะมีกระบวนการ สอบสวนรายงานทีเ่ ข้ามาและหาข้อสรุปให้ได้อย่างรวดเร็วโดยทีง่ าน ยังสามารถเดินต่อไปได้จนเสร็จ ซึง่ จะต่างกับหลายๆโครงการในอดีต ทีเ่ มื่อเกิดกรณีการฟ้องร้องเกีย่ วกับการทุจริต ก็ทำ� ให้กระบวนการ ก่อสร้างต้องหยุดลงทัง้ หมด และสุดท้ายโครงการก็สร้างไม่สำ� เร็จ และล้มพับไป

Cover Story

> 


> Cover Story "It could be something for Thailand, possibly. Other countries are looking at it, Panama is looking at it and one of the Baltic States is looking at it as well. If you've got massive infrastructure projects in the pipeline then there are risks associated with that. And if you want foreign investors to bring their investment into those projects, that might be something to consider," said Ms. Aiolfi.

“กลไกนี้อาจจะเหมาะกับประเทศไทยก็ได้ ขณะนี้ประเทศ อืนๆอย่ ่ างเช่น ปานามา หรือประเทศในกลุม่ บอลติก ก็กำ� ลังศึกษากลไก นี้อยูเ่ ช่นกัน ถ้าหากประเทศไทยมีโครงการลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐาน ขนาดใหญ่รออยูข่ า้ งหน้า มันก็มคี วามเสียงที ่ จะเกิ ่ ดการทุจริตได้ ดังนัน้ ถ้าหากต้องการให้นักลงทุนต่างชาติเข้ามาลงทุนในโครงการเหล่า นี้ ก็อาจจะลองพิจารณาน�ำกลไกลักษณะนี้มาปรับใช้กไ็ ด้” นางสาว เจมม่า กล่าว

The second expert sharing his view is Dr. Jesus Estanislao, Chairman of the Institute of Corporate Directors in the Philippines. He said anti-corruption efforts in the Philippines have made decent progresses and the situation have improved significantly over the past 3-4 years, thanked partly to the current President's seriousness in tackling corruption.

คนทีส่ องคือ ดร.จีซสั เอสตานิ สเลา (Dr. Jesus Estanislao) ประธานสถาบันกรรมการบริ ษทั ประเทศฟิ ลิ ปปิ นส์ ซึง่ ได้เล่าถึง สถานการณ์การคอร์รปั ชันในประเทศฟิ ่ ลปิ ปินส์วา่ มีพฒ ั นาการทีด่ ขี น้ึ อย่างมากในช่วงสามสีป่ ี มานี้ โดยบอกว่าปจั จัยส�ำคัญประการหนึ่ง มาจากการทีผ่ นู้ �ำประเทศคนปจั จุบนั ให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งของการ ต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชัน่

Dr. Estanislao said corruption was a severe problem in the Philippines but the country had also taken drastic actions against corrupted officials, with a number of government leaders being prosecuted on corruption cases. For examples, two ex-Presidents were sent to jail, the Chief Judge of Supreme Court was impeached on corruption charge and three sitting senators are under detention, one of whom used to be the President of the Senate. On the other hand, people on the private sector who were involved with the convicted officials were also sent to jail. Corruption in the Philippines has been systemic but the current government is well aware of the problem and putting its best efforts to address the issue, Dr. Estanislao noted and added that, the relatively high popularity of the president owed partly to his solid commitment to fight corruption. Anti-corruption movements in the Philippines are taking five different approaches including 1) Private business through promotion of Corporate Governance and Integrity Pacts. 2) Public sector through promotion of Public Governance. 3) State-owned enterprises through the recently endorsed legislation on good governance of state enterprises. 4) Education through schooling system and 5) Promotion of ethical value in the family level. "We really cannot yet claimed a total success but we have taken the first step, we have put the mechanism in place and we're working toward making this mechanism sustained," said Dr. Estanislao. Besides promoting corporate governance in the private sector, his institute also works with the government to improve public governance at several state agencies. The institute recommended all public agencies it worked with to set up a Multi-Sector Governance Coalition, bringing in personnel from private business, civil society, and academia, to take part in establishing public governance. The coalition

 <

Cover Story

ั เขายอมรับว่าประเทศฟิลปิ ปินส์มปี ญหาการทุ จริตคอร์รปั ชัน่ อย่างหนัก แต่ช่วงทีผ่ ่านมาก็ได้มกี ารด�ำเนินการอย่างรุนแรงเพื่อ เอาผิดกับผูก้ ระท�ำผิด เขาบอกว่ามีผนู้ �ำระดับสูงของรัฐบาลจ�ำนวนมาก ทีถ่ กู ด�ำเนินคดีในข้อหาคอร์รปั ชัน่ ยกตัวอย่างเช่นอดีตประธานาธิบดี สองคนถู ก จ� ำ คุ ก ในขณะที่อ ดีต หัว หน้ า ผู้พ ิพ ากษาศาลฎีก าถู ก ถอดถอนจากข้อหาคอร์รปั ชัน่ วุฒสิ มาชิกอีกสามคนอยู่ระหว่าง การถู ก ควบคุ ม ตัว ซึ่ง หนึ่ ง ในนั น้ เป็ น อดีต ประธานวุ ฒ ิส ภา ซึ่ง ั ่ าหน้าทีร่ ฐั บาลเท่านัน้ ทีถ่ ูกด�ำเนินคดี ผูท้ เ่ี กีย่ วข้องใน ไม่ใช่แค่ฝงเจ้ กระบวนการทุจริตในภาคเอกชนก็ถกู ด�ำเนินคดีและถูกตัดสินให้จำ� คุก ด้วยเช่นกัน ดร.จีซสั บอกว่าการทุจริตในประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์นนั ้ ท�ำกัน อย่างเป็ นระบบ ทางภาครัฐเข้าใจปญั หา และก�ำลังพยายามอย่าง ยิง่ ทีจ่ ะแก้ไข ทัง้ นี้การทีก่ ระแสความนิยมประธานาธิบดีคนปจั จุบนั ค่อนข้างสูงส่วนหนึ่งน่ าจะมาจากความจริงจังในการแก้ปญั หาการ ทุจริตคอร์รปั ชัน่ ขบวนการต่อต้านทุจริตในฟิลปิ ปินส์นนั ้ มีการด�ำเนิน การควบคู่กนั ไปอย่างครบวงจรใน 5 ด้านด้วยกัน ได้แก่ 1) ภาค ธุรกิจเอกชน คือการส่งเสริมการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี (Corporate Governance) และ Integrity Pact 2) หน่ วยงานภาครัฐ คือการ ส่งเสริมการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ใี นภาครัฐ (Public Governance) 3) รัฐวิสาหกิจ ซึง่ เมือ่ ไม่นานมานี้ทางรัฐบาลฟิลปิ ปิ นส์เพิง่ ผ่านร่าง กฎหมายเกีย่ วกับการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องรัฐวิสาหกิจ 4) ระบบ การศึกษา ได้แก่การส่งเสริมจริยธรรมในสถาบันการศึกษา และ 5) การส่งเสริมจริยธรรมในระดับครอบครัว “เรายังบอกไม่ได้หรอกว่าเราประสบความส�ำเร็จแล้ว (ใน การต่อสูก้ บั คอร์รปั ชัน) ่ แต่อย่างน้อยเราได้เริม่ ก้าวแรกแล้ว เราเริม่ มีการวางกลไกต่อต้านการทุจริตแล้ว และก�ำลังพยายามท�ำให้กลไก นี้ทำ� งานได้อย่างยังยื ่ น” ดร.จีซสั กล่าว นอกจากส่งเสริมการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ใี นภาคเอกชน แล้ว สถาบันของ ดร.จีซสั ยังมีสว่ นร่วมกับรัฐบาลในการปรับปรุงการ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ใี นหน่วยงานภาครัฐหลายๆแห่งด้วย ซึง่ แนวทาง หนึ่งทีเ่ ขาเสนอให้หน่วยงานภาครัฐทุกแห่งด�ำเนินการก็คอื การจัดตัง้ Multi-sector governance coalition ซึง่ เป็ นการรวบรวมบุคลากรจาก หลายภาคส่วน ทัง้ ภาคธุรกิจเอกชน ภาคประชาสังคม นักวิชาการ เข้ามามีสว่ นร่วมในการดูแลควบคุมระบบการก�ำกับดูแลกิจการของ หน่วยงานภาครัฐ ซึง่ ไม่ได้ทำ� หน้าทีแ่ ค่ให้คำ� แนะน�ำ แต่มอี ำ� นาจใน การติดตามผลการด�ำเนินงาน และประเมินกระบวนการด�ำเนินการ


is not just an advisory body but it is authorized to monitor performance and assess operation process such as procurement program. Moreover, the Coalition can also be a defense mechanism because when the public agency is attacked by the media, they will send inquiries to the Coalition, which will defend the agency if the issues attacked are not accurate. Regarding the regional development of corporate governance, Dr. Estanislao said the ASEAN CG Scorecard is a fine first step that simply requires compliance with a standard. However, he proposes that a performance-oriented corporate governance framework be developed, which should include clear definition and public announcement of corporate strategy, governance charter, core values, performance target and frequency of target assessment. Dr. Estanislao also mentioned an interesting issue of bringing in the new generation staff as key change agent for state agencies. He said every organization have young, competence, and dedicated staffs that would really commit to good governance and has not yet tainted by the bureaucratic red tape. The task is to find these people and form a special team, called MARS team in the Philippines.

ด้านต่างๆ อย่างเช่นการจัดซือ้ จัดจ้างด้วย นอกจากนี้ Coalition นี้ ยังสามารถนับเป็ นกลไกป้องกันตัวเองของหน่ วยงานภาครัฐได้ดว้ ย เพราะเมื่อหน่ วยงานถูกโจมตีโดยสื่อมวลชนด้วยเรื่องต่างๆ ก็จะมี การสอบถามไปที่ Coalition ซึง่ หากเรือ่ งทีถ่ กู โจมตีเป็ นจริงก็จะถูก ยืนยัน แต่ถา้ ไม่จริงก็จะได้รบั การแก้ต่างโดย Coalition ในส่วนของการพัฒนาระบบการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ใี น ภูมภิ าคนัน้ ดร.จีซสั บอกว่า ASEAN CG Scorecard ถือเป็นจุดเริม่ ต้น ทีด่ ี แต่สงิ่ ทีเ่ ขาอยากเสนอก็คอื ควรจะมีการจัดท�ำกรอบของการ ก� ำ กับ ดูแ ลกิจ การที่เ น้ น ไปที่ผ ลการปฏิบ ตั ิจ ริง (Performanceoriented corporate governance framework) ด้วย นันคื ่ อควรจะ ต้องมีการก�ำหนดเนื้อหาทีช่ ดั เจนของ กลยุทธ์ของกิจการ แนวทาง การก�ำกับดูแล ค่านิยมขององค์กรทีป่ ระกาศต่อสาธารณะอย่างชัด แจ้ง รวมถึงเป้าหมายการด�ำเนินงานซึง่ บริษทั ตัง้ เอาไว้ และความถี่ ของการทบทวนเป้าหมายดังกล่าว อีกประเด็นที่น่าสนใจที่ ดร.จีซสั เล่าให้ฟงั ก็คอื การน� ำ คนรุน่ ใหม่มาใช้เป็ นหัวหอกในการสร้างความเปลีย่ นแปลงให้เกิดขึน้ กับองค์กรในภาครัฐ โดยเขาบอกว่าในแต่ละองค์กรจะมีคนรุ่นใหม่ ทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถ มีความมุง่ มันในแนวทางของการก� ่ ำกับดูแล กิจการทีด่ ี อายุยงั ไม่มาก และยังไม่ถูกกลืนเข้าไปในระบบราชการ แบบดัง้ เดิม สิง่ ทีต่ อ้ งท�ำคือคัดแยกคนเหล่านี้ออกมาเป็ นทีมพิเศษ

Members of the MARS team, anywhere between five and a dozen people would be enough, will get appropriate trainings and report directly to the head of the agencies. They will help drafting strategies for the organizations before delegates from the business sector and the civil society are brought in to comment on what the organizations need to do over the course of 5-10 years. The official organization strategy will then be determined, factoring in all relevant comments. Since members of the MARS team will be future driver of their organization, they should link with MARS teams of other agencies.

ทีฟ่ ิลปิ ปินส์ใช้ชอ่ื เรียกว่าทีม MARS ซึง่ ทีมทีว่ า่ นี้ไม่จำ� เป็น ต้องใหญ่ อาจจะแค่ 5-12 คนในแต่ละองค์กรก็พอ เมือ่ คัดมาได้แล้ว ก็จดั ให้คนเหล่านี้ได้รบั การฝึกอบรมทีเ่ หมาะสม และรายงานขึน้ ตรง กับหัวหน้ าสูงสุดขององค์กรเพื่อท�ำหน้ าที่ร่างแผนกลยุทธ์ส�ำหรับ องค์กร หลังจากนัน้ ก็เชิญตัวแทนจากภาคธุรกิจ และประชาสังคม มาร่วมให้ความเห็นถึงสิง่ ทีอ่ งค์กรต้องท�ำในระยะ 5-10 ปี ขา้ งหน้า ก่อนทีจ่ ะก�ำหนดเป็ นแผนกลยุทธ์ส�ำหรับองค์กรอย่างเป็ นทางการ ต่อไป เนื่องจากสมาชิกของทีม MARS นี้คอื ผูท้ จ่ี ะมาขับเคลือ่ นองค์กร ในอนาคต ดังนัน้ จึงต้องพยายามให้พวกเขาได้มโี อกาสเชือ่ มโยงกับ ทีม MARS ขององค์กรอื่นด้วย เพือ่ ให้การด�ำเนินการต่อสูก้ บั การ ทุจริตด�ำเนินไปอย่างต่อเนื่องและยังยื ่ น หน่ วยงานทีเ่ กี่ยวข้องกับ เรือ่ งนี้จำ� เป็ นต้องขับเคลือ่ นการต่อต้านทุจริตให้เดินต่อไปได้ไม่วา่ จะ มีรฐั บาลแบบไหนมาบริหารประเทศก็ตาม

To ensure continuous and sustainable progress in graft-fighting, relevant organizations must continue driving anti-corruption movements regardless of the government's characters.

“รัฐบาลมีหลายแบบ บางรัฐบาลก็มลี กั ษณะหัวก้าวหน้ามาก บางรัฐบาลก็มลี กั ษณะอนุรกั ษ์นิยม แต่เราต้องเลือกหาให้พบว่าส่วน หรือแง่มมุ ไหนของแต่ละรัฐบาลทีเ่ ราจะสามารถร่วมงานด้วยได้ ไม่วา่ จะชอบหรือไม่กต็ าม” ดร.จีซสั แนะน�ำ

"There are many different types of governments, some are very progressive others are extra conservative. So, you begin picking and choosing which elements of those governments you can work with" said Dr. Jesus.

คนทีส่ ามคือ ดร. แซมมูแอล พอล (Dr. Samuel Paul) ประธานศูนย์กิจการภาครัฐ เมืองบังกาลอร์ ประเทศอิ นเดีย

The third expert is Dr. Samuel Paul, Chairman of Public Affairs Centre at Bangalore, India. He has initiated the Citizen Report Card, a useful tool to seek systemic feedback from citizens on levels of satisfaction in getting services from state agencies, including information on corruption. He said monitoring and media exposure of corruption in India have gained momentum in recent years, thanked

ดร. แซมมูแอล เป็ นผูร้ เิ ริม่ น�ำแนวคิดเรือ่ งของการท�ำแบบ ส�ำรวจความคิดเห็นประชาชน (Citizen Report Card) มาใช้ ซึง่ เป็ นเครือ่ งมือทีม่ ปี ระโยชน์มากในการทีจ่ ะส�ำรวจความพึงพอใจของ ประชาชนในการติดต่อราชการกับหน่ วยงานภาครัฐอย่างเป็ นระบบ ซึ่งรวมถึงการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการเรียกรับสินบนของเจ้าหน้าที่ ทางการด้วย ั บนั มี เขาบอกว่าสถานการณ์การคอร์รปั ชันในอิ ่ นเดียในปจจุ การตรวจสอบและรายงานผ่านสือ่ มวลชนมากกว่าในอดีต ซึง่ ส่วนหนึ่ง เป็นผลมาจากพัฒนการของอุตสาหกรรมสือ่ ในอินเดียซึง่ ท�ำให้จำ� นวน

Cover Story

> 


> Cover Story partly to development in the local media industry that saw TV channels multiplied. More active investigative reporting uncovered more corruption than before while the judiciary also began to take fairly drastic steps toward curbing corruption. One explicit example is the recent conviction of Tamil Nadu Chief Minister Jayalalitha Jayaram, who was sentenced to four years in prison in disproportionate assets case by a special sessions court in Bangalore. In the last several years, Indian courts have taken up more public interest litigation cases filed by concerned citizens. The court can even initiate an enquiry when there is report of public abuse in the media, said Dr. Paul. Despite increasing actions against corruption by the civil society, not the same kind of movement occurred in the Indian business sector because they fear that standing out in a fight against corruption could cause trouble when they need to engage with government transactions. "I think the movement here is more open...I cannot think of any single conference or a big meeting on corruption like this being organized by Indian businessmen or their associations." One effective way to help reducing corruption in India is to empower and strengthen civil society groups by teaching them to use the Citizen Report Card as a tool to assess citizens' satisfaction level in dealing with their local administrations, which will at the same time provide the degree of corruption problem in relevant agencies, he said. The use of modern technology and telecommunications system such as internet or social media like Facebook by new generation citizens in the urban area also helped strengthening anti-corruption movements. Meanwhile, the E-government development also made it easier for citizens to conduct transactions with state agencies, allowing them to avoid face to face contact and thus reducing risks of being asked for bribes. "Anti Corruption movements became stronger and more visible through the use of new technologies, social media, greater or expanded education," said Dr. Paul. Learning from experiences of other countries allows us to review our own anti-corruption approaches and look for ways to apply techniques used by others to enhance the efficiency of our movements. All the foreign experts agreed that collaboration among relevant parties and unceasing attempts to drive anti-corruption movements forward regardless of the social and political contexts are crucial in the battle against corruption.

 <

Cover Story

ช่องทีวที เ่ี พิม่ ขึน้ มาก ในขณะทีม่ กี ารรายงานข่าวเชิงสืบสวนสอบสวน (Investigative reporting) มากขึน้ ด้วย ซึง่ ท�ำให้มกี ารเปิดโปงคดีการ ทุจริตสูงขึน้ กว่าในอดีต นอกจากสือ่ แล้ว กระบวนการยุตธิ รรมก็มคี วาม ก้าวหน้าในการด�ำเนินคดีคอร์รปั ชันมากขึ ่ น้ ดังจะเห็นได้จากการที่ เมื่อไม่นานมานี้ศาลพิเศษของอินเดียได้ตดั สินจ�ำคุกนางชายาราม ชายาลาลิธา มุขมนตรีใหญ่ประจ�ำรัฐทมิฬนาดู เป็ นเวลาสีป่ ี ในข้อหา มีทรัพย์สนิ เกินสัดส่วนทีจ่ ะพึงมีพงึ ได้จากต�ำแหน่งการเมือง ในช่วง หลายปีทผ่ี า่ นมา ศาลของอินเดียได้รบั ค�ำฟ้องของบุคคลธรรมดาให้ ด�ำเนินคดีกบั ผูท้ ก่ี ่อให้เกิดความเสียหายต่อสาธารณะมากขึน้ ซึง่ ใน ระยะหลังนี้ ถ้ามีการรายงานผ่านสือ่ มวลชนว่ามีการท�ำผิดและก่อให้ เกิดความเสียหายต่อสาธารณะ บางกรณีศาลอินเดียก็เรียกบุคคลมา สอบสวนเอง แม้จะยังไม่ได้มผี ใู้ ดฟ้องร้องด�ำเนินคดีกต็ าม ถึงแม้จะเห็นการมีสว่ นร่วมมากขึน้ ของภาคประชาสังคม แต่ ภาคธุรกิจในอินเดียยังไม่มกี ารเคลือ่ นไหวในเรือ่ งนี้ทเ่ี ป็ นรูปธรรมให้ เห็นมากนัก ซึง่ ดร. แซมมูแอล บอกว่าส่วนหนึ่งเป็ นผลมาจากการที่ ภาคธุรกิจในอินเดียเลือกทีจ่ ะสงวนท่าที เพราะเกรงว่าการออกโรง ต่อต้านการทุจริตจะท�ำให้ถูกหมายหัวจากภาครัฐและท�ำให้ประสบ ปญั หาในการท�ำธุรกรรมทีต่ อ้ งเกีย่ วข้องกับภาครัฐในอนาคต “ผมคิดว่าการเคลือ่ นไหว (ของภาคเอกชนไทยในการต่อ ต้านการทุจริต) ของทีน่ ีม่ ลี กั ษณะเปิดกว้างมากกว่า (ทีอ่ นิ เดีย) …ผม นึกไม่ออกเลยว่าจะมีการประชุมหรือสัมมนาเกีย่ วกับคอร์รปั ชันครั ่ ง้ ไหนทีจ่ ดั โดยนักธุรกิจหรือสมาคมธุรกิจในอินเดียได้ใหญ่โตเป็ นเรือ่ ง เป็ นราวเท่ากับงานในครัง้ นี้” หนึ่งในวิธกี ารทีใ่ ช้เพือ่ ลดปญั หาการทุจริตในอินเดีย ก็คอื การสร้า งความเข้ม แข็ง ให้ก ับ ภาคประชาสัง คมด้ว ยการสอนให้ หน่วยงานในทีต่ ่างๆ ใช้แบบส�ำรวจ CRC เพือ่ ตรวจสอบระดับความ พึงพอใจบริการของหน่ วยงานภาครัฐในท้องที่ ซึง่ จะท�ำให้ทราบถึง ั ระดับความรุนแรงของปญหาคอร์ รปั ชันไปในตั ่ วด้วย การใช้เทคโนโลยี และการสือ่ สารสมัยใหม่อย่างอินเตอร์เน็ต หรือ สือ่ ทางสังคมอย่างเช่น Facebook โดยคนรุ่นใหม่ในชุมชนเมือง มีส่วนช่วยให้ขบวนการ ต่อต้านทุจริตแข็งแกร่งมากขึน้ และการรวมตัวท�ำกิจกรรมต่างๆ ก็ สามารถระดมคนมาร่วมได้เป็ นจ�ำนวนมาก ส�ำหรับในภาครัฐนัน้ การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยระบบ E-government ก็ม ี ส่วนช่วยให้ขนั ้ ตอนการติดต่อราชการง่ายขึน้ และลดความจ�ำเป็ นที่ ต้องไปติดต่อราชการด้วยตนเอง ซึง่ ลดความเสีย่ งทีจ่ ะถูกเรียกสินบน และการต้องจ่ายเงินใต้โต๊ะลงไปด้วย “ขบวนการต่อต้านการทุจริตมีความเข้มแข็งมากขึ้นและ เป็ นทีร่ บั รูข้ องสังคมมากขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ สือ่ ทาง สังคม และการทีป่ ระชากรมีการศึกษาสูงขึน้ และขยายวงออกไปกว้าง ขึน้ ” การมีโอกาสได้รบั ทราบประสบการณ์ของหลายๆประเทศ ท�ำให้เรามีโอกาสทบทวนการด�ำเนินการกับปญั หาการทุจริตของ เรา และมองหาวิธกี ารทีจ่ ะน�ำเทคนิคของประเทศอืน่ ๆ มาปรับใช้ให้ กระบวนการของเรามีประสิทธิภาพดียงิ่ ขึน้ ทัง้ นี้ ใจความส�ำคัญทีผ่ นู้ �ำ จากต่างประเทศทุกคนพูดย�้ำตรงกันหมดก็คอื สิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ในการ จัดการปญั หาคอร์รปั ชันให้ ่ ได้ผลนัน้ คือ ทุกฝา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องต้องร่วม มือกันเป็ นเครือข่าย มีความมุง่ มัน่ และเดินหน้าด�ำเนินการต่อสูก้ บั คอร์รปั ชันต่ ่ อไปโดยไม่หยุดและไม่ยอมแพ้ ไม่วา่ บริบททางสังคมและ การเมืองจะเปลีย่ นแปลงไปอย่างไร


> Cover Story

Progress Report May-June 2014

Thai's Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC) รายงานความก้าวหน้า

ระหว่างเดือนพฤษภาคม- มิถุนายน 2557

โครงการแนวร่วมปฏิบัติ ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต The various activities undertaken by the Collective Action Coalition (CAC) against corruption by the Private Sector in Thailand during September to October 2014 are as follows: September 6, 2014. "Anti-Corruption Day" was established by the organization members of the CAC on the date when the late Mr. Dusit Nontanakorn passed away, to commemorate and his visionary and courageous visionary initiative to fight corruption, which many people had thought was an impossible feat, and which now this anti-corruption movement has become a reality. The Thai Institute of Directors (Thai IOD), as a pioneering founding partner of the CAC, did not miss the opportunity, as always, to join forces with many other organizations and Thai people in the annual rally in front of the Central World Trade Complex and to demonstrate that corrupt activities and corruption in general will no longer be tolerated or accepted. Before this year's rally started, HE General Prayut Chan-Ocha gave the opening speech and announced the national policy to suppress and stamp out corruption. This auspicious event denotes the start of a new era of anti-corruption in Thailand; whereby all 3 core sectors of the country: the Public Sector - namely, the Government represented by the Prime Minister together with Senior Ministers and Civil Servants; the Private Sector - namely, members of the Collective Action Coalition (CAC); as well as society as a whole - namely, various anticorruption organizations in Thailand - all joined together to announce their intent to stamp out the problem of corruption once and for all in Thailand. September 10, 2014. The National Anti-Corruption Commission (NACC), through the Office of Bureau of Corruption Prevention in the State Enterprise and Private Sector together with the Joint Foreign Chambers of Commerce of Thailand (JFCCT), organized a joint seminar to exchange views and ideas on various anti-corruption activities to prevent and suppress corrupt practices. These organizations also executed a Memorandum of Understanding (MOU) in undertaking joint activities to prevent and suppress corruption; whereby the foreign private sector companies expressed their appreciation for the NACC's plans to actively support the CAC movement by the Thai Private sector as well as invited various foreign companies operating in Thailand to declare their joint anticorruption intent and stance. Further, in the event that a company comes across a specific incidence of request for bribes, the NACC will be delighted to coordinate and assist the company in such a situation. September 16, 2014. The Federation of Thai Industries (FTI) held its monthly industrial groups meeting, at which the CAC through Mr. Kulvech Janvatanavit, a project advisor, took the opportunity to present the CAC Initiative to the FTI meeting attendees as well as to request their cooperation to provide a report on the key risk factors relating to corruption that is specific to each respective industry group. This is in order that the report can be used to make in adopting these specific key issues for use and application by the relevant regulatory authorities/agencies in a more relevant and effective manner.

กิจกรรมของโครงการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริต ทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงเดือน ก.ย. ถึง ต.ค. 2557 มีรายละเอียด ดังนี้ • 6 กันยายน 2557 วันต่อต้านคอร์รปั ชัน ถื ่ อก�ำเนิดจากวันที่ นายดุสติ นนทะนาครได้จากพวกเราไป องค์กรต่อต้านคอร์รปั ชัน่ และองค์กรพันธมิตรจึงถือเป็นวันอนุสรณ์เพือ่ ระลึกถึงความกล้าหาญ และกล้าริเริม่ ท�ำในสิง่ ทีใ่ ครหลายคนเชือ่ ว่าแก้ไขไม่ได้ให้กลายมาเป็น รูปธรรม สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย ในฐานะองค์กร ร่วมบุกเบิกมาพร้อมกับองค์กรต่อต้านคอร์รปั ชันจึ ่ งไม่พลาดที่จะ ร่วมเดินขบวน แสดงพลังคนไทยไม่เอาคอร์รปั ชันที ่ ล่ านหน้าห้าง เซ็นทรัลเวิลด์ก่อนเริม่ งาน ซึง่ มีฯพณฯ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ให้ความส�ำคัญ มากล่าวเปิ ดงานและแสดงนโยบายรัฐต่อการปราบ ปราบการทุจริต ถือเป็ นการเริม่ ต้นยุคใหม่ของการต่อต้านคอร์รปั ชัน่ ในประเทศไทยอย่างเป็ นทางการ เนื่องจากงานในวันนัน้ ปรากฏ องค์กรประกอบครบถ้วนบริบูรณ์ทงั ้ 3 ภาคส่วนส�ำคัญตามทฤษฎี ของการขจัดปญั หาทุจริต อันได้แก่ ภาครัฐ – นายกรัฐมนตรีและ ข้าราชการระดับสูง ภาคเอกชน – โครงการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาค เอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต และ ภาคประชาสังคม – องค์กร ต่อต้านคอร์รปั ชันประเทศไทย ่ ต่างลันวาจาจะขจั ่ ดคอร์รปั ชันให้ ่ สน้ิ แผ่นดินไทย • 10 กันยายน 2557 ส�ำนักงาน ป.ป.ช. โดยส�ำนักป้องกัน การทุจริตภาครัฐวิสาหกิจและธุรกิจเอกชน ร่วมกับหอการค้าร่วมต่าง ประเทศในประเทศไทย (JFCCT) จัดสัมมนาแลกเปลีย่ นความคิดเห็น การด�ำเนินงานป้องกันและปราบปรามการทุจริต พร้อมทัง้ ลงนาม บันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ซึง่ ภาคเอกชนต่างชาติได้แสดงความยินดีทส่ี ำ� นักงาน ป.ป.ช.จะเข้า ช่วยสนับสนุ นการด�ำเนินงานของโครงการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาค เอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC) และเชิญชวนให้บริษทั ต่างชาติรว่ มประกาศเจตนารมณ์พร้อมกัน และหากบริษทั ใดพบเจอ การเรียกรับสินบน ส�ำนักงานป.ป.ช.ยินดีเข้ามาประสานให้ความ ช่วยเหลือต่อไป • 16 กันยายน 2557 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยจัด ประชุมประจ�ำเดือนกลุ่มสาขาอุตสาหกรรม CAC โดยนายกุลเวช เจนวัฒนวิทย์ ทีป่ รึกษาโครงการฯ จึงขอใช้โอกาสนี้น�ำเรียนชีแ้ จง โครงการและขอความร่วมมือจัดท�ำรายงานความเสีย่ งทุจริตในแต่ละ สาขาอุตสาหกรรม เพื่อน� ำข้อมูลทีไ่ ด้มาปรับใช้กบั หน่ วยงานรัฐที่

Cover Story

> 


> Cover Story September 19, 2014. Mr. Kulvech Janvatanavit, was invited to attend the ASEAN CSR Network Meeting, in order to establish a network of working organizations on anti-corruption activities in the ASEAN Region. The objectives of this Meeting were to create a viable cooperative framework between private sector organizations within the ASEAN Region, as well as to enable an exchange of relevant ideas, knowledge and experience and to determine joint anti-corruption strategies. Currently, representatives of participating organizations that have signed up to join this collaborative group include: The International Chamber of Commerce - Malaysia, the Vietnam Chamber of Commerce & Industry, the Indonesia Business Links, Singapore Compact for CSR, Integrity Initiative, Inc. (Philippines). The ASEAN CSR Network is acting as the regional coordinator, and its members established the collaborative group on September 17, 2014 in Manila, the Philippines. September 24 - 25, 2014. The Thai IOD organized the 12th Training Seminar on "Anti-Corruption : The Practical Guide (ACPG)" for operating level personnel, which attracted the highest number of people ever who were interested to join the seminar - totaling 40 attendees. On October 30 - 31, 2014, the same training seminar will also be held for people working in various securities and finance companies. As for 2015, this training seminar wil be held every month, in order support and meet the ever - growing number of companies intending to establish internal anti-corruption procedures and processes relating to their lending activities, in order to prevent any 'economic rental' losses through corrupt practices. Such losses will not help add to their production outputs in any way but rather only result in restricting their ongoing growth through being caught in the traditional trap of 'gaining contracts in exchange for corrupt payments', that is clearly an outdated syndrome and does not, in any way, facilitate their growth on a sustainable basis. October 16, 2014. The Annual National Conference on Collective Action Against Corruption for members of the CAC was held - being the 5th year for this annual event - under the theme of 'Tackling Corruption through Private-Public Collaboration', which is seen as a key factor in fighting corruption in both an effective and productive manner. October 29, 2014. The Thai IOD is preparing to hold its 'Anti-Corruption for Executive (ACEP 13)' Training Seminar, for attendance by executives of those companies that have declared their official intent and stance to be against corruption on any form. This wil be the final seminar in the current format; whereby, after this session, the seminar's contents wil be revised to focus more on: the decision making process, managing businesses through ethical leadership - which is the current management concept that does not rely on good management skil s in achieving only short term profits, but rather on good management skil s with ethical governance in achieving sustainable profits and long term focused business growth. This improved and enhanced seminar content wil be used for the ACEP Program from 2015 onwards. With regards to the number of private companies participating in the declaring their intent and stance against corruption as well as wishing to join the CAC movement, to date (as at end September 2014), there have been significant additional companies - with a total of 360 companies having declared such anti-corruption intentions, of which 178 are SET-listed companies. As for coming events during the remaining 2 months of 2014, there wil be a Seminar to update on various issues of interest relating to undertaking anti-corruption activities in a systematic manner within the private sector, together with 2 ACPG Training Seminars planned for November 19 - 20, 2014 and November 27 - 28, 2014 respectively. Those who are interested to participate in any future anti-corruption activities and seminars during the remaining 2 months of 2014, please contact Mr. Nithidol Pattanatrakulsook at the Thai IOD, at Tel: 02-955-1155 Ext.400 or via www.thai-iod.com for further details.

 <

Cover Story

ก�ำกับดูแลอยูไ่ ด้อย่างตรงจุดมากยิง่ ขึน้ • 19 กันยายน 2557 นายกุลเวช เจนวัฒนวิทย์ ได้รบั เชิญ จาก ASEAN CSR Network ไปร่วมประชุมระดับภูมภิ าคอาเชียน เพื่อสร้างเครือข่ายองค์กรทีท่ �ำงานต่อต้านการทุจริตในภาคเอกชน เป็นการประชุมเพือ่ สร้างกรอบการร่วมมือระหว่างองค์กรภาคเอกชน ในภูมภิ าค ASEAN และร่วมแลกเปลีย่ นความรูแ้ ละประสบการณ์ และ หากลยุทธ์รว่ มในการต่อต้านคอร์รปั ชันขณะนี ่ ้ มีตวั แทนทีร่ ว่ มลงนาม แล้วดังนี้: International Chamber of Commerce-Malaysia, Vietnam Chamber of Commerce & Industry, Indonesia Business Links, Singapore Compact for CSR, Integrity Initiative, Inc. (Philippines) โดยมี ASEAN CSR Network เป็ นผูป้ ระสานงาน และร่วมลงนาม พร้อมกันในวันที่ 17 กันยายน 2557 ทีก่ รุงมะนิลา ฟิลปิ ปินส์ • 24-25 กันยายน 2557 IOD จัดอบรมหลักสูตร AntiCorruption: The Practical Guide (ACPG) ครัง้ ที่ 12 ส�ำหรับพนักงาน ระดับปฏิบตั กิ าร ซึง่ มีผสู้ นใจสมัครเข้าร่วมในครัง้ นี้มากทีส่ ดุ ตัง้ แต่จดั อบรมมา ถึง 40 ท่าน และวันที่ 30-31 ตุลาคม จะเป็ นการเปิดอบรม ให้แก่พนักงานกลุม่ บริษทั หลักทรัพย์และการเงินต่างๆ ส�ำหรับปีหน้า 2558 หลักสูตรนี้จะเปิดอบรมทุกเดือน เพือ่ รองรับการขยายตัวของ บริษทั ทีน่ ับวันมีแต่จะหันมาสร้างระบบป้องกันการทุจริตปล่อยเงิน รัวไหลไปกั ่ บค่าเช่าทางเศรษฐกิจทีไ่ ม่ชว่ ยก่อให้เกิดผลผลิตส่วนเพิม่ ใดให้แก่บริษทั มีแต่จะถ่วงความเจริญของบริษทั ให้ตดิ กับดัก “เงินมา ได้สญ ั ญาไป” ซึง่ เป็นรูปแบบการท�ำธุรกิจทีล่ า้ สมัยและไม่ชว่ ยให้ธรุ กิจ เติบโตอย่างยังยื ่ นแต่อย่างใด • 16 ตุลาคม 2557 งานประชุมใหญ่ประจ�ำปี ของสมาชิกแนว ร่วมปฏิบตั ฯิ โดยปีน้เี ป็ นปีท่ี 5 ทีจ่ ดั การประชุม โดยน�ำเสนอหัวข้อซึง่ ก�ำลังเป็ นเรือ่ งทีก่ ำ� ลังเกิดขึน้ ในการแก้ไขปญั หาทุจริต คือ การสร้าง ความร่วมมือระหว่างรัฐและเอกชน ซึง่ เป็ นหัวใจส�ำคัญทีท่ �ำให้การ แก้ไขปญั หาทุจริตเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • 29 ตุลาคม 2557 IOD เตรียมจัดหลักสูตรส�ำหรับผูบ้ ริหาร Anti-Corruption for Executive (ACEP 13) ส�ำหรับผูบ้ ริหารบริษทั ทีป่ ระกาศเจตนารมณ์ต่อต้านการทุจริตทุกรูปแบบ โดยรุน่ นี้จะเป็ น รุ่นสุดท้ายก่อนการปรับปรุงเนื้อหาไปเป็ นการเน้นวิธกี ารตัดสินใจ และการบริหารธุรกิจในแบบ Ethical Leadership ซึง่ เป็ นแนวโน้ม ของผูน้ �ำธุรกิจสมัยใหม่ทไ่ี ม่ใช่แค่บริหารเก่ง ท�ำก�ำไรระยะสัน้ ได้ แต่ ต้องเป็ นผูบ้ ริหารเก่งมีคณ ุ ธรรมก�ำกับ ท�ำก�ำไรต่อเนื่องและธุรกิจต้อง เติบโตในระยะยาว หลักสูตรใหม่น้ีคาดว่าจะเริม่ น�ำมาใช้ในปี 2558 • ส�ำ หรับ การเข้า ร่ ว มประกาศเจตนารมณ์ ข องบริษัท ใน ประเทศไทย ณ สิ้นสุดเดือนกันยายนพบว่ามีบริษทั เข้าประกาศ เจตนารมณ์เป็ นแนวร่วมปฏิบตั ฯิ เพิม่ ขึน้ เป็ น 360 บริษทั โดยใน จ�ำนวนนี้เป็ นบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ 178 บริษทั ส่วนกิจกรรมทีก่ ำ� ลังจะเกิดขึน้ ในช่วงสองเดือนทีเ่ หลือของ ปี 2557 นี้ จะมีการจัดสัมมนา เพือ่ Update ประเด็นทีน่ ่ าสนใจที่ เกีย่ วข้องกับภาคเอกชนในด้านการแก้ปญั หาทุจริตอย่างเป็ นระบบ และหลักสูตรอบรม ACPG ในเดือนพฤศจิกายน 2 ครัง้ ได้แก่วนั ที่ 19-20 และ 27-28 พฤศจิกายน ส�ำหรับท่านทีส่ นใจจะเข้าร่วมกิจกรรม และการอบรม ในช่วง 2 เดือนทีเ่ หลือของปี 2557 สามารถติดต่อ สอบถามได้ท่ี นายนิธดิ ล พัฒนตระกูลสุข 02-955-1155 ต่อ 400 หรือ www.thai-iod.com



> Board Briefing

“Clean Business: What is the Chairman Role?”

Mr. Krirk-Krai Jirapaet, Chairman of the Board of the Thai IOD

On September 16, 2014 the Thai IOD held the Chairman Forum 2014 on the topic of "Clean Business : What is the Chairman Role?" , with the sponsorships of CH.Karnchang Public Company Limited, PricewaterhouseCoopers Thailand, and Siam Cement Group Pcl. This annual Thai IOD event was honored by Mr. Krirk-Krai Jirapaet, Chairman of the Board of the Thai IOD, in giving the opening speech in which he stated that many theorists and academics have talked about fraud and corruption for a long time; as well as that while, in Thailand, there are various measures and procedures to prevent or suppress corruption, associated problems have not only still remained but corrupt practices have also evolved in many different forms over the past 50 years. Regardless of how these issues are to be resolved, however we should be happy that these 3 positive events have occurred; namely: 1. The establisment of the Thai IOD as a major driving force for the establishment of corporate governance principles and practices within the private sector; whereby, to date, this mission can be considered to have achieved a certain positive degree of success. 2. The establishment of anti-corruption initiatives or 'movement', under the leadership of both the late Mr. Dusit Nontanakorn and the late Mr. Charnchai Charuvastr; whereby these initiatives have then been taken on by Mr. Pramon

 <

Board Briefing

เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2557 สถาบันกรรมการบริษทั ไทย ได้จดั การประชุม Chairman Forum 2014 ในหัวข้อ “Clean Business:What is the Chairman Role?” โดยได้รบั การสนับสนุน การจัดการประชุมจาก บริษทั ช.การช่าง จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส ประเทศไทย และบริษทั ปูนซิเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ ในงานดังกล่าวได้รบั เกียรติจากนายเกริ กไกร จี ร ะแพทย์ ประธานกรรมการ สถาบัน กรรมการบริ ษั ท ไทย กล่ า วเปิ ด การประชุ ม โดยกล่ า วว่ า การทุ จ ริต คอร์ร ปั ชัน่ มีนั ก ทฤษฎี นั ก วิช าการต่ า ง ๆ กล่ า วถึ ง มานาน และแม้ ว่ า ประเทศไทยจะมี ร ะบบกลไกในการป้ องกั น และปราบปราม ป ญั หาเหล่า นี้ ก็ย งั คงอยู่แ ละมีก ารเปลี่ย นแปลงรูป แบบมาตลอด ั หานี้ จ ะจบลงตรงที่ใ ด กลับ มี ช่ ว ง 50 ปี ท่ีผ่า นมา แต่ ไ ม่ว่ า ป ญ สิง่ ทีน่ ่าดีใจ 3 ประการ คือ 1. การถือก�ำเนิดของ IOD เพือ่ ผลักดันให้เกิดธรรมาภิบาล ในภาคเอกชน ซึง่ ถือว่า ณ วันนี้ทำ� ได้สำ� เร็จในระดับหนึ่ง 2. การเกิดกระบวนการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชันที ่ เ่ กิด จากนายดุสติ นนทะนาคร และนายชาญชัย จารุวสั ตร์ ซึง่ ได้รบั การ สานต่อจากนายประมนต์ สุธวี งศ์ทเ่ี ริม่ มีการรณรงค์อย่างเป็นรูปธรรม เมือ่ ปี 2554 3. การรวมตัวและเดินขบวนของ “เสียงของความเงียบ” เพือ่ แสดงถึงพลังของการไม่ยอมรับในความไม่ซ่อื สัตย์ และการทุจริตใน รัฐบาล การประชุมยังได้รบั เกียรติจากนายประมนต์ สุธีวงศ์ ประธานองค์กรต่อต้านการทุจริ ตคอร์รปั ชัน่ มากล่าวปาฐกถา พิเศษในหัวข้อ “ภาคเอกชนกับบทบาทในการแก้ไขปัญหาการ ั ทุจริตคอร์รปั ชันในประเทศไทย” ่ ซง่ึ ท่านได้กล่าวว่า ปญหาใหญ่ ทส่ี ดุ ั ของประเทศในขณะนี้คอื ปญหาการทุ จริตคอร์รปั ชัน่ ซึง่ หากมองย้อน ไปช่วง 20-30 ปีทผ่ี า่ นมา จะเห็นว่าการทุจริตคอร์รปั ชันมี ่ ระดับความ รุนแรงเพิม่ ขึน้ มีความหลากหลาย สลับซับซ้อนมากขึน้ และค่าใช้จา่ ย ทีเ่ กิดจากการทุจริตคอร์รปั ชันต้ ่ องเสียไปเป็นจ�ำนวนมาก ซึง่ สร้างผล ั กระทบต่อภาคเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง หากถามว่าท�ำไมปญหา จึงรุนแรงขึน้ สาเหตุสำ� คัญอย่างหนึ่ง คือ เกิดจากความคิดทีว่ า่ “ไม่ใช่ ธุระของเรา ปญั หานี้ไม่ใช่ของเรา เราสามารถดูแลตัวเองได้”


“...จะเห็นได้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดีขึ้น แสดงให้เห็นว่า ถ้าผู้น�ำ เอาจริงและภาคประชาชนสนับสนุนที่จะท�ำ ผมเชื่อว่าการแก้ไขปัญหาทุจริต จะท�ำได้ เราอาจจะไม่มีโอกาสที่ดีเท่าครั้งนี้ ผมคิดว่า เราไม่ต้องชอบระบบ การเปลี่ยนแปลงการปกครอง แต่ผมคิดว่าเราต้องใช้โอกาสนี้ในการท�ำให้ เกิดเปลี่ยนแปลงในทางที่เราต้องการ...”

Mr. Pramon Sutivong a Member of the Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption Council

" .. it is apparent that there is positive change in attitude (towards corruption), which, evidently, if the country's leaders have a genuine intent in this regards and the private sector fully supports it, then I believe that the problem of corruption can and will be solved. We will have no other opportunity to do so as at this moment. I also think that we do not all have to like the current changes in the governance of the country, but we all must use this unique opportunity to achieve the positive changes we would like to see happen."

Sutivong for further implementation through undertaking various active anti-corruption campaigns ever since 2011. 3. The collaboration and active campaign rallies by the 'sound of silence' group, in order to demonstrate a common stance that any dishonest and corrupt practices within Government organizations will not be tolerated and accepted. The Forum was also honored by Mr. Pramon Sutivong, Chairman of Anti-Coruption Organisation of Thailand (ACT), in giving a keynote speech on the topic of "The Role of the Private Sector in Solving the Problems of Graft and Corruption in Thailand". Mr. Pramon stated that, at this moment, the biggest problem in Thailand is that of corruption; and that if you reflect back 20 to 30 years ago, you will see that this issue of corruption has grown and increased very dramatically as well as has evolved into different forms and many levels of complexity. Significantly high costs and expenses have been incurred by the country because of corrupt practices, with enormous resulting impacts for the overall economy, society and politics. If you ask why has the problem of corruption increased so dramatically? A key factor for this is because of the thinking that "it is none of our business, or it is not our problem; we can take care of ourselves." Corruption directly results in higher costs of doing business, as well as affects the country's overall potential international competitive positioning - such as, before the recent coup, it used to cost Baht 30 - 40 million for a new factory license. In regards to the social aspects and especially relating to public services in provincial areas, there is rampant corruption - such as, budget disbursements are made for the cleaning-up and dredging of local canals (or klongs) or for maintain and repairing of secondary roads; but in actual fact no such work is carried out at all. In regards to political aspects, it is clearly apparent that after politicians succeed in buying votes, they then need to find ways to recoup their 'investment'.

Furthermore, if you compare Thailand's position in

การทุจริตท�ำให้ตน้ ทุนในการท�ำธุรกิจสูงขึน้ และส่งผลต่อ ศักยภาพในแข่งขันกับต่างประเทศ เช่น ก่อนรัฐประหารหากจะขอใบ อนุญาตในการจัดตัง้ โรงงาน จะต้องเสียเงิน 30-40 ล้านบาท เป็ นต้น ส�ำหรับด้านสังคม โดยเฉพาะบริการสาธารณะทีต่ ามต่างจังหวัด มี การทุจริตคอร์รปั ชันอย่ ่ างมาก เช่น การขุดลอกคูคลอง การซ่อมแซม ถนน ทีม่ กี ารเบิกจ่ายงบประมาณ แต่ไม่มกี ารลงมือท�ำ ด้านการเมือง เห็นได้ชดั เจนว่านักการเมืองจะซือ้ เสียงและเข้ามาถอนทุน เมื่อพิจารณาจากการจัดล�ำดับการทุจริตเมื่อ 20 ปี ก่อน ประเทศไทยอยูใ่ นล�ำดับที่ 60 จากประมาณ 130 ประเทศ แต่ขณะนี้ อยูท่ ล่ี ำ� ดับ 102 จาก 160 ประเทศ ซึง่ ส่งผลกระทบต่อความเชือ่ มัน่ ของประเทศในการทีน่ กั ลงทุนต่างประเทศจะเข้ามาลงทุน เหล่านี้คอื ตัวอย่างทีท่ ุกคนทราบกันดีและเห็นว่าถึงเวลาแล้วทีภ่ าคเอกชนควร จะร่วมมือกันเพือ่ แก้ไขปญั หาดังกล่าว จากนัน้ นายประมนต์ สุธวี งศ์ได้เล่าถึงความเป็นมาของการ ต่อต้านการทุจริตในประเทศไทย โดยกล่าวถึงนายดุสติ นนทะนาคร และนายชาญชัย จารุวสั ตร์ ว่า ทัง้ 2 ท่านเริม่ ต้นโครงการจากการ ขอความร่วมมือจากองค์กรในภาคธุรกิจ อาทิ หอการค้าไทย สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมธนาคารไทย สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย และสภาธุรกิจตลาดทุนไทย โดยทัง้ สองท่านเสนอให้ แก้ไขปญั หาใน 2 เรือ่ ง คือ ปญั หาทุจริตคอร์รปั ชัน่ และปญั หาความ เหลือ่ มล�ำ้ ในสังคมไทย แต่หลังจากทีท่ งั ้ 2 ท่านเสียชีวติ นายประมนต์ สุธวี งศ์และนายอิสระ ว่องกุศลกิจได้เข้ามาสานต่ออุดมการณ์จนเกิด เป็นเครือข่ายต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชันขึ ่ น้ เมือ่ 4 ปีกอ่ น และขณะนี้ มี 50 หน่วยงานทีร่ ว่ มเป็นภาคีเครือข่าย ซึง่ มาจากหลากหลายองค์กร ทัง้ จากภาคธุรกิจ วิชาการ สังคม องค์กรอิสระ และภาครัฐ นอกจากนี้ ยังแสดงความขอบคุณผูท้ ม่ี จี ติ ใจ และเห็นความส�ำคัญในเรื่องนี้ ที่ ให้การสนับสนุนทัง้ ในเรือ่ งเงิน แรงกาย และเวลา โดยไม่ประสงค์จะ ออกนามมากมาย จนสามารถขับเคลือ่ นมาได้จนถึงปจั จุบนั วิสยั ทัศน์ขององค์กรต่อต้านการทุจริต คือ การเป็ นพลัง สังคมในการผลักดันให้คนไทยไม่ยอมรับการทุจริต ซึง่ ภาคธุรกิจ เพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ จึงต้องอาศัยพลังจากสังคม ด้วย เหตุน้ีองค์กรจึงพยายามสร้างให้เกิดการรับรู้ และการต่อต้านโดยใช้ กลยุทธ์ 3 ป. ได้แก่

Board Briefing

> 


> Board Briefing the worldwide 'survey on corruption', you will see that 20 years ago Thailand's ranking was 20 from 130 countries; but now Thailand's ranking is 102 from 160 countries; whereby this has a direct negative impact on the overall confidence of international investors in making investments in Thailand. These are but a few examples that are already wellknown to you all; and it is clear that it is high time that we, in the private sector, must all now collaborate together to solve this national problem. Mr. Pramon Sutivong then went on to tell the Forum about the historical background of current anti-corruption 'movement' in Thailand that was initiated by both the late Mr. Dusit Nontanakorn and the late Mr. Charnchai Charuvastr. They both started by seeking cooperation from private business sector organizations - such as, the Thailand Chamber of Commerce (TCC), the Federation of Thai Industries (FTI), the Thai Bankers Association (TBA), the Thai Listed Companies Association (TLCA), and the Federation of Thai Capital Market Organizations (FETCO) - in regards to the 2 key issues of 'corruption' and 'social inequality in Thailand'. However, after the untimely death of both persons, Mr. Pramon Sutivong and Khun Isara Vongkusolkit then took ownership of the anti-corruption initiatives, which has resulted in the establishment of the Anti-Corruption Network 4 years ago. At present there are over 50 organizations that are formal partners in this 'Coalition', comprising of various private business sector organizations, academic institutions, social organizations, independent NGO's, and public sector agencies/ authorities. Mr. Pramon then expressed his thanks and appreciation for all those who are keenly interested in as well as placed great importance in this issue, through anonymously giving their continuing support - in terms of funds, efforts and time towards this matter; which has resulted in the abovementioned anti-corruption initiatives being able to move forward to reach the current level of activities. The 'vision' of those organizations that are focused on anti-corruption is to become 'a strong collective social pressure in driving Thais towards a position of not tolerating or accepting corruption. However, the private sector acting alone will not be enough to succeed, but it must also harness and depend upon overall social pressures. As such, these organizations have endeavored to create increased awareness of the problem together with increased anti-corruption actions through implementing the '3 Ps' strategy, namely : 1. Preventing Preventing corruption or corrupt practices through establishing clearly defined guidelines, rules and regulations as well as various procedures that are all aimed at creating full transparency - such as, the proposal to establish an 'integrity pact' , or moral agreement, in regards to public construction projects; whereby an independent third party

 <

Board Briefing

1. ป้ องกัน โดยการตัง้ กฎระเบีย บกติก าหรือ ขัน้ ตอน ต่าง ๆ ทีช่ ดั เจน เพือ่ ให้เกิดความโปร่งใส เช่น โครงการก่อสร้าง ภาครัฐควรน�ำ Integrity Pact หรือ ข้อตกลงคุณธรรมมาใช้ ซึง่ จะ เป็ นการให้บุคคลที่ 3 เข้าไปร่วมรับรูแ้ ละตรวจสอบได้ โดยได้เสนอ ให้กบั รัฐบาลแล้ว แต่ยงั ไม่ได้รบั การสนับสนุ นเท่าทีค่ วร ซึง่ ต้องใช้ เวลาต่อไป 2. ปลูกฝัง โดยส่งเสริมให้เยาวชนคนรุ่นใหม่มจี ติ ส�ำนึก ในการทีจ่ ะไม่ยอมรับการทุจริตคอร์รปั ชันในทุ ่ กระดับและทุกรูปแบบ โดยเข้าไปให้ความรูใ้ นโรงเรียน และจัดให้มหี ลักสูตร เช่น หลักสูตร โตไปไม่โกงของนิดา้ ทีน่ �ำมาปรับใช้กบั โรงเรียนในกทม. 3. เปิ ดโปง เพือ่ น�ำไปสูก่ ารปราบปราม โดยให้ภาคเอกชน สามารถชีเ้ บาะแส เพือ่ ให้เกิดการตรวจสอบต่อไป ทัง้ 3 เรือ่ งได้เริม่ ด�ำเนินการแล้ว แต่ได้รบั การตอบสนองที่ ช้า ทัง้ นี้จดุ เปลีย่ นส�ำคัญได้เกิดขึน้ เมือ่ เกิด พ.ร.บ.นิรโทษกรรม ซึง่ องค์กรต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชันเป็ ่ นองค์กรแรกทีอ่ อกมาต่อต้าน และยืน่ หนังสือให้กบั UN เพือ่ แสดงให้ทกุ คนทัง้ ในและต่างประเทศ เห็นว่า การทุจริตคอร์รปั ชันไม่ ่ ใช่สงิ่ ทีค่ วรยอมรับ และการยกโทษ ให้คนผิดเป็ นสิง่ ทีย่ อมรับไม่ได้ ซึง่ ท�ำให้ทกุ คนได้ตระหนัก และเกิด การรวมตัวของทุกภาคส่วนในการต่อต้าน นี่คอื จุดเปลีย่ นส�ำคัญ โดย เฉพาะเมือ่ คสช. เข้ามา “...จะเห็นได้วา่ มีการเปลียนแปลงในทิ ่ ศทางทีดี่ ขน้ึ แสดงให้ เห็นว่า ถ้าผูน้ �ำเอาจริงและภาคประชาชนสนับสนุนทีจ่ ะท�ำ ผมเชือ่ ว่า การแก้ไขปญั หาทุจริตจะท�ำได้ เราอาจจะไม่มโี อกาสทีด่ เี ท่าครัง้ นี้ ผมคิดว่า เราไม่ตอ้ งชอบระบบการเปลีย่ นแปลงการปกครอง แต่ผม คิดว่าเราต้องใช้โอกาสนี้ในการท�ำให้เกิดเปลีย่ นแปลงในทางทีเ่ รา ต้องการ...” นายประมนต์กล่าว และปิ ดท้ายการปาฐกถาพิเศษโดย เชิญชวนให้ภาคเอกชนร่วมกันต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชันอย่ ่ างเป็ น รูปธรรม โดยร่วมกันประกาศเจตนารมณ์ทจ่ี ะเป็ นแนวร่วมต่อต้าน การทุจริตคอร์รปั ชัน่ จากนัน้ เข้าสูช่ ว่ งของการบรรยาย “สรุปสถานการณ์การ แก้ไขปัญหาการทุจริ ตคอร์รปั ชันโดยบริ ่ ษทั เอกชนในปัจจุบนั ” โดยดร.บัณฑิ ต นิ จถาวร กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ IOD ซึง่ กล่าวว่า ปญั หาการทุจริตคอร์รปั ชันในประเทศไทยนั ่ น้ แย่ลง โดยในปี 2556 Corruption Perception Index ของไทย ถูกจัดอันดับลดลงจาก 88 มาอยูอ่ นั ดับที่ 102 และเกิดปญั หาอย่างมากในช่วง 10 ปีทผ่ี า่ นมา แต่ การก�ำกับดูแลกิจการของภาคเอกชนไทยกลับมีแนวโน้มดีขน้ึ ซึง่ เห็น ได้จาก CG Watch 2012 ตัง้ แต่ปี 2007 เป็ นต้นมา ประเทศไทยได้ คะแนนสูงขึน้ ตามล�ำดับ การทีป่ ญั หาคอร์รปั ชันแย่ ่ ลงนัน้ สะท้อนให้ เห็นใน 2 เรือ่ ง คือ 1. มีปญั หามาก 2.ภาครัฐต้องมีบทบาทมากขึน้ ทัง้ นี้ม ี 3 เหตุผลทีท่ ำ� ให้เชือ่ ว่า จะสามารถต่อสูก้ บั ปญั หา การทุจริตคอร์รปั ชันได้ ่ คือ 1. ประสบการณ์ต่างประเทศชีว้ า่ คอร์รปั ชันเป็ ่ นปญั หาที่ แก้ไขได้ เช่น ฮ่องกง สิงคโปร์ ไต้หวัน เกาหลีใต้ทป่ี ระเทศดีขน้ึ จาก ความร่วมมือของภาครัฐ เอกชน และประชาชนในการแก้ไขปญั หานี้ ร่วมกัน


becomes involved with the authority to 'oversee and monitor' the implementation process. This proposal has been submitted to the Government sector, but further feedback or support for this has yet to be properly received. Additional time is, perhaps, required.

2. คนไทยไม่ชอบการทุจริตคอร์รปั ชัน่ จึงควรจุดประกาย ให้คนไทยตื่นตัวในเรือ่ งนี้ 3. คอร์รปั ชันเป็ ่ นพฤติกรรมของคนทีเ่ ปลีย่ นได้ จึงต้องสร้าง สภาพแวดล้อม ปลูกฝงั ทัศนคติ ตลอดจนการบังคับใช้กฎหมาย เพือ่ น�ำไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลง

2. Promoting and instilling values Promoting and instilling in the minds of the new young generation to be more conscious of good social values and not to tolerate or accept any form of corruption; whereby such values are taught in schools and through various educational programs - such as NIDA's 'Growinggood' that has been adapted for teaching in the Greater Bangkok schools.

การแก้ไขปญั หาต้องเกิดจากความร่วมมือทัง้ ของภาครัฐ และเอกชน โดยในภาคเอกชนได้เริม่ ด�ำเนินการในหลายรูปแบบ เช่น การสร้างแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการ ทุจริต โดย IOD น�ำเรือ่ ง Anti-Corruption มาใช้เป็ นเกณฑ์ในการ ประเมินของโครงการ CGR ส่วน ก.ล.ต. และสถาบันไทยพัฒน์ได้ จัดท�ำ Anti-Corruption Index เพือ่ ประเมินบริษทั จดทะเบียนเกีย่ วกับ การจัดท�ำนโยบายและระบบการป้องกันการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ขณะที่ สมาคมส่งเสริมผูล้ งทุนไทยผลักดันกรรมการบริษทั จดทะเบียนไทย ให้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการจัดให้มนี โยบายและการปฏิบตั ิ ตามนโยบายด้านคอร์รปั ชัน่ โดยให้อาสาสมัครพิทกั ษ์สทิ ธิตงั ้ ค�ำถาม กับคณะกรรมการเกีย่ วกับการด�ำเนินการด้านการต่อต้านการทุจริต คอร์รปั ชัน่

3. Pointing out and exposing Pointing out and exposing any corrupt practices through the private sector acting as 'whistle blowers' in order to lead to subsequent investigations. All the above 3 strategic initiatives have already been implemented, but overall response has been somewhat slow. However, a critical change in the attitude towards corruption really started when the General Amnesty Act was proposed. The CAC was the first organization to came out and actively oppose it through submitting a letter to the UN, in order to as to demonstrate to everyone - both in Thailand and internationally - that all forms of corruption should not be tolerated as well as that pardoning those found guilty of corruption is also totally unacceptable. This action caused people to become more aware of the problem and actively collaborate in opposing all forms of corruption. This, then, was the real point of change or 'paradigm shift', which also coincided with birth of the NCPO. " .. it is apparent that there is positive change in attitude (towards corruption), which, evidently, if the country's leaders have a genuine intent in this regards and the private sector fully supports it, then I believe that the problem of corruption can and will be solved. We will have no other opportunity to do so as at this moment. I also think that we do not all have

เหล่านี้เป็ นเพียงส่วนหนึ่งของกระบวนการสร้างสภาพ แวดล้อมในการส่งเสริมให้บริษทั มีนโยบายและระบบการต่อต้าน การทุจริตคอร์รปั ชันที ่ ช่ ดั เจน โดยจากการส�ำรวจของสมาคมส่งเสริม ผูล้ งทุนไทยในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ประจ�ำปี 2557 พบว่า มีบริษทั จดทะเบียนถึง 79% ทีย่ งั ไม่ได้เป็ นแนวร่วมปฏิบตั ฯิ และมีบริษทั ที่ แสดงเจตนารมณ์แล้ว 19% ขณะทีม่ เี พียง 2% เท่านัน้ ทีไ่ ด้เข้าร่วม และผ่านการรับรองแล้ว ซึง่ บริษทั ทีย่ งั ไม่เข้าร่วมมีแนวคิดในเรือ่ งนี้ อย่างไร ก็พบว่า บริษทั ส่วนใหญ่ถงึ 53 % ระบุวา่ ประธานกรรมการ ได้รบั เรือ่ งนี้ไว้พจิ ารณา ส่วนร้อยละ 19% ระบุวา่ สนใจเป็ นแนวร่วม และมี 7% ของผูต้ อบทีย่ งั ไม่สนใจเป็ นแนวร่วมฯ ส�ำหรับโครงการแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการ ต่อต้านการทุจริต (CAC) เริม่ ด�ำเนินการเมือ่ ปี 2553 โดย ได้รบั ความ ร่วมมือจาก 8 องค์กร ได้แก่ IOD หอการค้าไทย หอการค้าต่างชาติ สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย สมาคมธนาคารไทย สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย สภาธุรกิจตลาดทุนไทย และสภาอุตสาหกรรม ท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย ซึง่ การเข้าร่วมโครงการนี้เป็ นไปโดย ความสมัครใจ

Board Briefing

> 


> Board Briefing to like the current changes in the governance of the country, but we all must use this unique opportunity to achieve the positive changes we would like to see happen." Mr. Pramon added. He then concluded his key note speech by inviting everyone in the private sector to actively participate in this collective action against corruption by declaring their anticorruption intent and in joining the CAC movement. After this keynote speech, a presentation was made by Dr. Bandid Nijathaworn, President & CEO of the Thai IOD, on "Summary Overview of the Current Status on Actions to Solve the Problem of Corruption by the Private Sector Companies". In the presentation Dr. Bandid stated that the overall issue of corruption has in fact deteriorated; whereby, in the Corruption Perception Index for 2013, Thailand's ranking fell to 102 (from the previous 88) because the problems of corruption have become worse during the past 10 years. However, the trends in regard to the standards of corporate governance within Thailand's private sector have improved, with the CG Watch 2012 reporting that ever since 2007 Thailand has achieved improved results on a continuing basis in all (CG) aspects, while its problem of corruption have worsen. As such, this is indicative of 2 key issues, namely: 1) an increase in the problem of corruption; and 2) the public sector must become more involved in solving this problem. In summary, there are 3 key reasons why it is possible to successfully fight against the problems of corruption. 1. Similar experiences in solving the problems of corruption internationally in other countries have proved successful - such as, in Hong Kong, Singapore, Taiwan, South Korea, where, through the close cooperation between the public and private sectors, their problems of corruption have been solved. 2. Most Thais, basically, do not like corruption; so it is a good opportunity to ignite a more widespread awareness of this problem. 3. It is possible to change corrupt behavior in people; thus, in order to achieve overall positive changes, we need to create an appropriate environment as well as to educate and instill a proper mindset, together with enforcing various laws and regulations. Successfully solving the problems of corruption will only be achieved through close cooperation between public and private sector organizations. The private sector has already implemented various initiatives - such as: establishing the Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC), with the Thai IOD incorporating the issue of anticorruption as a factor in its annual CGR Project assessment

 <

Board Briefing

การเข้าร่วมโครงการ CAC มี 2 ขัน้ ตอน คือ การสมัคร และการรับรอง โดยขัน้ ตอนของการสมัคร ประธานกรรมการหรือ CEO ลงนามเพือ่ แสดงเจตนารมณ์เข้าเป็ นแนวร่วมปฏิบตั ฯิ พร้อม กรอกข้อมูลในแบบแสดงข้อมูล ส่วนการรับรองนัน้ จะเกิดขึน้ เมือ่ บริษทั มีการประเมินตนเองให้ครบถ้วนตามแบบแสดงข้อมูล โดย ผ่านการตรวจสอบความถูกต้องจากประธานกรรมการตรวจสอบ หรือ ผูต้ รวจสอบบัญชีของบริษทั หรือผูต้ รวจสอบบัญชีอน่ื ที่ ก.ล.ต. รับรอง จากนัน้ ลงนามรับรองโดยประธานกรรมการบริษทั และส่งให้กบั คณะ กรรมการ CAC เพือ่ พิจารณารับรองอีกครัง้ ก่อนประกาศเป็ นสมาชิก แนวร่วมฯ โดยกระบวนการทัง้ หมดนี้จะมีการทบทวนทุก ๆ 3 ปี อย่างไรก็ดี CAC ยังสนับสนุนข้อมูล ความรูใ้ นด้านนี้ โดยจัด ท�ำหลักสูตรฝึกอบรมด้านการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชันต่ ่ างๆ อาทิ Anti-Corruption for Executive Program (ACEP) และ Anti-Corruption: the Practical Guide (ACPG) นอกจากนี้ยงั จัดให้มกี ารประชุมสัมมนา เป็นประจ�ำในชือ่ National Conference on Collective Action Against Corruption และอีกสิง่ หนึ่งที่ CAC ได้ด�ำเนินการ คือ การส�ำรวจ ความคิดเห็นของนักธุรกิจเกีย่ วกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ของประเทศไทย ทัง้ หมดนี้เป็ นเพียงส่วนหนึ่งของความพยายามในการขับ ั เคลือ่ นกลไกการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ แต่การแก้ปญหานี ้จะไม่ ประสบความส�ำเร็จได้ หากขาดความร่วมมือร่วมใจของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะภาคเอกชน ทัง้ นี้ในการผลักดันให้บริษทั มีนโยบายและ ระบบการป้องกันการทุจริตคอร์รปั ชันนั ่ น้ ขึ้นอยู่กบั การเลือกของ บริษทั เองว่าจะเลือกท�ำธุรกิจใสสะอาดหรือไม่ และการเลือกนี้ขน้ึ อยู่ กับคณะกรรมการในฐานะ Tone at the top ทีจ่ ะตัดสินใจว่าองค์กร จะเดินไปในทิศทางใด และถือเป็ นหนึ่งในบทบาททีท่ า้ ทายของการ เป็ นประธานกรรมการ จากนัน้ เข้าสูช่ ว่ งของการอภิปรายโดย IOD ได้รบั เกียรติ จากคณะผูบ้ รรยายน�ำ ซึง่ ประกอบด้วยประธานกรรมการผูท้ รงคุณวุฒ ิ และประสบการณ์ ดังนี้ ดร. ปิ ยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ ประธาน กรรมการ บริ ษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) นายปลิ ว มังกรกนก ประธานกรรมการ บริ ษัท ทิ ส โก้ ไฟแนนเชี ย ลกรุ๊ป จ�ำ กัด (มหาชน) และนายบุญเกียรติ โชควัฒนา ประธานกรรมการ บริ ษทั ประชาอาภรณ์ จ�ำกัด (มหาชน) และด�ำเนินการอภิปราย โดย ดร.บัณฑิ ต นิ จถาวร กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ IOD ซึง่ สามารถ สรุปสาระส�ำคัญเกีย่ วกับความท้าทายของการเป็ นประธานกรรมการ ในการผลักดันให้เกิดกลไกการป้องกันการทุจริตในองค์กรได้ดงั นี้ ดร. ปิ ยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ กล่าวว่า กลไกการป้องกัน การทุจริตในองค์กรรัฐวิสาหกิจนัน้ มีลกั ษณะเฉพาะกว่าบริษทั เอกชน ทัวไป ่ เพราะการด�ำเนินการใด ๆ ขององค์กรในเรือ่ งของการให้สนิ บน กับหน่วยงานอืน่ ๆ จะท�ำไม่ได้ เพราะถูกก�ำกับด้วย พ.ร.บ. แต่การ ทุจริตคอร์รปั ชันมั ่ กเกิดจากกลุ่มคนทีเ่ ข้ามาแสวงหาผลประโยชน์ ั ภายในองค์กร โดยใช้ชอ่ งว่างทางกฎหมาย ซึง่ ถือเป็นปญหาที อ่ งค์กร แบบรัฐวิสาหกิจต้องเผชิญ ดังนัน้ การใช้แบบประเมินของโครงการฯ นัน้ อาจไม่สามารถประยุกต์ใช้ได้ทงั ้ หมด แต่สงิ่ ทีต่ อ้ งให้ความส�ำคัญ


process. While, the SEC and the Thaipat Institute has implemented the "Anti-Corruption Index" as a measure to assess listed companies in regards to their anti-corruption policies and procedures. At the same time, the Thai Investors Association has actively encouraged Directors of listed companies to become more aware of the importance of having in place anti-corruption policies and associated measures, through having volunteer investor rights activists attend AGMs, on its behalf, to ask the company's Boards relevant questions relating to its current anti-corruption policies and practices. These are only some examples of various activities aimed at creating a proper environment in promoting listed companies to establish as well as deploy clearly defined policies and effective measures to fight corruption. The recent 2014 Thai Investors Association Survey found that as much as 79% of all listed companies have not yet joined the CAC; as well as that 19% of listed companies have declared their intent relating to being against corruption, and that only 2% have actually passed the required procedures and formally awarded the CAC Certification. Furthermore, it was found that of those listed companies that have not yet declared their intent to join the CAC, as much as 53% indicated that their Chairman have received relevant information and is still considering the matter, while 19% of the respondent have expressed their interest in joining and 7% are not interested to join at all. Thailand's Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC) Program was initiated in 2010 with the collaboration of 8 organizations, namely: the Thai IOD, the Thai Chamber of Commerce (TCC), the Foreign Chambers of Commerce of Thailand (FCCT), the Thai Listed Companies Association (TLCA), the Thai Bankers Association (TBA), the Federation of Thai Industries (FTI), the Federation of Thai Capital Market Organizations (FETCO), and the Tourism Council of Thailand. Participation in the CAC program is on a purely voluntary basis; whereby to date (as at September 11, 2014) a total of 346 companies have declared their anti-corruption

คือ การขับเคลือ่ นจะก่อให้เกิดผลได้อย่างไร ผูบ้ ริหารสูงสุดจึงมีความ ส�ำคัญอย่างมากในฐานะผูน้ � ำองค์กรทีจ่ ะเป็ นแบบอย่างทีด่ ใี ห้คนใน องค์กร ตลอดจนต้องมีบทบาทส�ำคัญอย่างยิง่ ในการผลักดัน ติดตาม ดูแล อย่างใกล้ชดิ อย่างไรก็ดี โครงสร้างการจัดการแบบรัฐวิสาหกิจ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ การแทรกแซงจากภายนอกจึงเป็ นอีก ปจั จัยส�ำคัญที่ท�ำให้การผลักดันในเรื่องนี้เป็ นไปอย่างยากล�ำบาก สลับซับซ้อน ซึง่ ต้องได้รบั การแก้ไขอย่างเร่งด่วน โดยเฉพาะบุคคล ทางการเมือง และกระทรวงการคลังทีต่ ้องมีการสรรหาบุคคลเพื่อ เข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งเป็ นกรรมการหรือ CEO ทีเ่ หมาะสม และหวัง ว่า คสช.จะสามารถวางกฎระเบียบ กฎเกณฑ์ทเ่ี ข้มงวด และเป็ นการ ถาวรให้กบั องค์กรรัฐวิสาหกิจได้ นอกจากนี้ประธานกรรมการ และกรรมการต้องเห็นพ้องกัน ทีจ่ ะขับเคลือ่ นการปฏิบตั ิ และติดตามดูแลให้มกี ารปฏิบตั ิ รวมทัง้ หา ั วิธกี ารแก้ไขปญหาสิ ง่ ทีเ่ ป็นข้อบกพร่อง โดยการสร้างกติกา กฎเกณฑ์ แต่ถงึ อย่างไร แม้กรรมการจะพยายามแก้ไข แต่หากประธานไม่ให้ ความส�ำคัญ เพราะถูกสังจากผู ่ ม้ อี �ำนาจเหนือรัฐมนตรี ย่อมส่งผล ั ต่อการแก้ไขปญหา ดังนัน้ การวางกติกาหรือกฎเกณฑ์ต่างๆ จาก กระทรวงการคลังจึงเป็ นสิง่ ส�ำคัญ อีกสิง่ หนึ่งที่ส�ำคัญ คือ ผูบ้ ริหารสูงสุด หรือ CEO ที่ม ี การสรรหาตามกฎหมายและคัดเลือกโดยกรรมการ ซึ่งพิจารณา จากบุคคลภายนอก เป็ นผูแ้ ทนจากกระทรวงการคลัง และผูแ้ ทน สภาพัฒน์ฯ เข้ามานัน้ ท�ำให้ไม่สามารถสรรหาคนดีมาเป็ น CEO ได้ จึงควรเปลี่ยนวิธกี ารในการสรรหาบุคคลให้มคี วามเหมาะสม และโปร่งใส นอกจากนี้ในเรือ่ งของสัญญาว่าจ้างตามมาตรฐานของ กระทรวงการคลังทีส่ ร้างขึน้ มาส�ำหรับคนไม่ดี และจะให้คนดีออก เมือ่ ใดก็ได้นนั ้ มีอทิ ธิพลต่อความเป็ นอิสระของ CEO ดังนัน้ สัญญา ว่าจ้างจึงต้องมีการแก้ไขให้สอดคล้องตามมาตรฐานสากล นอกจากนี้ ก ารรวมตัวของกลุ่มธุรกิจหรืออุ ต สาหกรรม เดียวกันในทุกระดับเป็ นสมาคมทีเ่ ข้มแข็ง จะช่วยให้เข้าไปต่อรอง เจรจากับภาครัฐได้ ซึง่ ในช่วง 2-3 เดือนทีผ่ า่ นมา จะเห็นได้วา่ การ รวมตัวกันของกลุม่ ต่างๆ มีพลังเพียงพอทีจ่ ะต่อสูก้ บั ปญั หานี้ได้ และ ควรสื่อสารสร้างความเข้าใจให้กบั พนักงานทุกคนในองค์กรให้เห็น ความส�ำคัญอย่างจริงจัง

Board Briefing

> 


> Board Briefing

intent, of which 170 are listed companies. A total of 54 companies have successfully passed the formal scrutiny process and formally certified by the CAC Council. Such certification process involves the verification that the company has in place both adequate anti-corruption policies and procedures; but it does not mean it is a guarantee of the company's actual behavior in regards to corrupt practices. Joining and participating in the CAC program involves 2 processes: - Application The company Chairman or CEO signs a declaration of its official anti-graft and anti-corruption intent, as well as submits the declaration form after completing all the required details. - Formal certification as a CAC Member This will take place once the company has undertaken a detailed self-assessment through using the assessment form provided, which is then signed by the Chairman of the Audit Committee of the company or by an external Audit Firm that has been approved by the SEC and countersigned by the company Chairman. Once this self-assessment form has been submitted to the CAC Council for review, and then a formal certification as a CAC Member. This formal certification process must also be retaken every 3 years. At the same time, the CAC program also provides relevant supporting information and knowledge through arranging to hold various anti-corruption training courses - such as: the Anti-Corruption for Executive Program (ACEP) and the Anti-Corruption: Practical Guide (ACPG). Additionally, regular anti-corruption seminars and conferences are held during the year - such as the National Conference on Collective Action Against Corruption, The CAC program also undertakes surveys amongst the business sector regarding their opinions on anti-corruption practices and issues in Thailand.

 <

Board Briefing

นายปลิ ว มัง กรกนก ระบุ ว่ า ในส่ ว นของภาคธุ ร กิ จ ทางการเงิน จะมีการควบคุมดูแลอย่างดีจากหน่ วยงานก�ำกับต่างๆ ทัง้ จากธนาคารแห่ง ประเทศไทย ก.ล.ต. และตลาดหลัก ทรัพ ย์ แห่งประเทศไทย ดังนัน้ การผลักดันให้เกิดการป้องกันปญั หาการ ทุจริตจึงท�ำได้งา่ ย อย่างไรก็ดคี วามท้าทายส�ำคัญคือการจะเข้าเป็ น สมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ฯิ แม้ว่าองค์กรจะเป็ นหน่ วยงานขนาดเล็กที่ อยูท่ า่ มกลางปญั หาระดับประเทศ แต่เราเลือกจะท�ำในสิง่ ทีส่ ามารถ ท�ำได้ และการแก้ไขปญั หาต้องเริม่ ต้นทีต่ วั เราก่อน ซึง่ ธนาคารทิสโก้ ได้ผ่านกระบวนการรับรองจนเป็ นหนึ่งในสมาชิกแนวร่วมปฏิบตั ไิ ด้ ภายในเวลา 1 ปี และเห็นว่า ตอนนี้ภาคเอกชนเดินมาถูกทางในการ แก้ไขปญั หาทุจริตคอร์รปั ชัน และหวั ่ งว่าจุดเล็กๆเหล่านี้จะเกิดการ รวมตัวและขยายไปในวงกว้าง จนท�ำให้สงั คมเกิดการเปลีย่ นแปลง ในทีส่ ดุ และภาครัฐจะเห็นถึงความส�ำคัญ ส�ำหรับภายในองค์กร การสือ่ สารนับเป็ นส่วนส�ำคัญทีส่ ดุ โดยอาศัยช่องทางต่างๆ เช่น การใช้ social media ทีด่ ี ในการเป็ น ช่องทางเฝ้าระวัง (watchdog) เพือ่ ให้องค์กรได้บอกสิง่ ทีถ่ กู ต้องของ ปญั หาต่างๆ ทีเ่ ชือ่ ถือได้ ปญั หาส�ำคัญ คือ ความเชื่อ (Myths) ของทุกคน เช่น anti-corruption กับ revenue income หากจะจัดการเรือ่ งคอร์รปั ชัน่ บริษัท อาจต้อ งสูญ เสีย รายได้ แต่ บ ริษัท ควรมองไปที่ร ะยะยาว มากกว่าการให้ได้มาซึ่งผลก�ำไรระยะสัน้ จากการทุจริตคอร์รปั ชัน ่ ประธานกรรมการ คณะกรรมการ และ CEO จึงต้องคิดว่า การทุจริต คอร์รปั ชันเป็ ่ นสิง่ ทีย่ อมรับไม่ได้ และต้องค�ำนึงถึงการเติบโตของ องค์กรอย่างยังยื ่ น โดยปราศจากการทุจริตคอร์รปั ชัน่ แต่หากองค์กร เป็ นแบบธุรกิจครอบครัว ผูบ้ ริหารระดับสูงมีหน้าทีส่ ร้างความเข้าใจ และทัศนคติทถ่ี กู ต้องให้กบั ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ดว้ ย อย่า งไรก็ดี แม้ป จั จุบ นั บริษัทส่ว นใหญ่ จะสามารถวาง นโยบาย (form) ได้ตามกฎระเบียบแล้วก็ตาม แต่สงิ่ ส�ำคัญทีส่ ดุ คือ การท�ำจริง (substance) ทีต่ อ้ งวางแนวปฏิบตั ทิ ช่ี ดั เจน มีกลไกการ ควบคุมดูแลทีโ่ ปร่งใสเป็ นรูปธรรม เพือ่ สร้าง value ให้กบั ผูถ้ อื หุน้ และพึง่ พาตัวเองให้มากทีส่ ดุ การหาแนวร่วมนับเป็ นอีกกลไกส�ำคัญ


The above summary overview is only part of the overall efforts and programs to promote as well as drive forward the national anti-corruption movement. However, solving the problems of corruption will not succeed if there is a lack of close collaboration and genuine cooperation from all stakeholders - especially from the private sector. As such, encouraging and driving companies to have relevant anti-corruption policies and procedures in place as an integral part of their operations will be effective only if the companies themselves choose whether or not to operate their company as a 'clean business'; whereby such a choice largely depends upon the company's Board of Directors setting the appropriate positive 'tone at the top' and clearly defining in which direction the company will proceed. Therefore, this is one of key challenges for the respective company's Chairman. Thereafter, it was time for a group discussion by well-experienced and knowledgeable business leaders, who are currently the Chairman of well-known organizations namely: Dr. Piyasvasti Amranand, Chairman of the PTT Pcl. ; Mr. Pliu Mangkornkanok, Chairman of TISCO Financial Group Pcl.; and Mr. Boonkiet Chokwatana, Chairman of People's Garment Pcl. together with the Dr. Bandid Nijathaworn, Present & CEO of the Thai IOD acting as the discussion leader and moderator to summarize the key discussion viewpoints of each participant on the topic of "The Challenges of Being a Company Chairman in Driving the Establishment of AntiCorruption Policies and Procedures within an Organization", as follows: Dr. Piyasvasti Amranand stated that the anticorruption procedures within a state enterprise or government organization is more specific and different from those within a private sector company, due to the fact that state enterprises or organizations are not able to offer any bribes to other organizations since such illegal practices are strictly controlled by various Royal Acts and laws. However,

ั ในการแก้ไขปญหานี ้ โดยร่วมมือกันช่วยแจ้งเบาะแส และสร้างกระแส การต่อต้านการทุจริตให้เกิดขึน้ ในสังคม ซึง่ ถือได้วา่ โครงการแนวร่วม ปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยเป็นโครงการส�ำคัญทีจ่ ะช่วยสร้างเครือข่าย และการรวมตัวของภาคเอกชนในการแสดงพลังทีจ่ ะแก้ไขปญั หานี้ อย่างจริงจัง นายบุญเกียรติ โชควัฒนา กล่าวว่า บริษทั ในเครือสหพัฒน์ มีแนวคิดในเรือ่ งนี้อยูแ่ ล้ว แต่มกี ารย�ำ้ เตือนเพือ่ ให้ทกุ คนตระหนักถึง ความส�ำคัญอยูเ่ สมอ นอกจากนี้ยงั ได้รบั แรงกระตุน้ จากองค์กรต่างๆ จึงท�ำให้ยงิ่ ต้องกลับมาพิจารณา ทบทวน และกระตุน้ ให้ทุกคนใน องค์กรให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งนี้ให้มากยิง่ ขึน้ โดยเฉพาะการป้องกัน การทุจริตคอร์รปั ชันภายในองค์ ่ กรทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากขึน้ นอกจาก นี้ยงั มีการก�ำหนดกฎระเบียบเกีย่ วกับการทุจริตคอร์รปั ชันที ่ ช่ ดั เจน ทัง้ ส�ำหรับพนักงาน ผูบ้ ริหารและคณะกรรมการ รวมถึงหน่ วยงาน ก�ำกับดูแลยังมีการก�ำกับดูแลทีเ่ ข้มงวด ท�ำให้บริษทั ต้องรับตัว สร้าง กลไกต่างๆ และมีการควบคุมดูแลโดยคณะกรรมการตรวจสอบ การ จะท�ำให้ทุกคนในองค์กรเห็นถึงความส�ำคัญได้นนั ้ ขึน้ อยูก่ บั ผูบ้ ริหาร สูงสุดทีต่ อ้ งมีวธิ จี ดั การอย่างจริงจัง ซึง่ ต้องอาศัยการเตรียมการอย่าง มาก และต้องเตรียมรับมือกับสถานการณ์ทอ่ี าจเกิดผลกระทบจาก การทีไ่ ม่ท�ำทุจริตคอร์รปั ชัน่ นอกจากนี้การควบคุมภายในองค์กร กับผูบ้ ริหารระดับกลางและระดับสูงเป็ นอีกกลไกทีจ่ ะช่วยแก้ไขการ ทุจริตคอร์รปั ชันในองค์ ่ กรได้ แต่หากองค์กรเอกชนทีต่ อ้ งเกีย่ วข้อง ั กับภาครัฐนัน้ อาจแก้ปญหาในเรื อ่ งนี้ได้ยาก ถ้าตราบใดยังมีการทุจริต คอร์รปั ชันในภาครั ่ ฐอยู่ และอีกแนวคิดหนึ่งทีภ่ าคเอกชนจะท�ำได้ คือ การเสียภาษีให้ถกู ต้อง ครบถ้วน และสามารถน�ำ 3 ป. มาประยุกต์ใช้ ภายในองค์กรได้ ในการประชุมยังเปิดโอกาสให้ประธานกรรมการร่วมแสดง ความคิดเห็นและประสบการณ์ในประเด็นต่างๆ ดังนี้ ั • ปญหาการทุ จริตคอร์รปั ชันเกิ ่ ดจาก 3 กลุม่ คือ ข้าราชการ นักการเมือง และนักธุรกิจ ซึง่ ทัง้ 3 กลุม่ มีปญั หาแตกต่างกัน • การทุจริตคอร์รปั ชันจะมี ่ ผไู้ ด้รบั ผลประโยชน์ การแก้ไข ปญั หา จึงต้องให้ผทู้ ไ่ี ด้รบั ผลประโยชน์นนั ้ พิสจู น์หลักฐานของการได้ มาซึง่ ผลประโยชน์ดงั กล่าว • จะมีวธิ กี ารอย่างไรเพื่อแก้ไขปญั หาการซื้อเสียงเพื่อ ป้องกันนักการเมืองได้รบั การเลือกตัง้ • ส่วนหนึ่งของการทุจริตคอร์รปั ชันในภาครั ่ ฐ คือ การที่ ข้าราชการได้รบั เงินเดือนน้อย ส�ำหรับผู้ท่สี นใจรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการแนวร่วม ปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต สามารถสอบถาม ได้ทน่ี ายกิตติเดช โทรศัพท์ 02-955-1155 ต่อ 302

Board Briefing

> 


> Board Briefing corruption mainly involves outsiders coming into the state enterprise to seek illegal benefits from the organization through making use of various legal loopholes. This is an inherent problem that most state enterprises and organizations must come up against. Thus, adapting and making full use of the anti-corruption assessment forms relating to various projects may not be possible. However, perhaps more importantly, we should be focused on as well as give more attention to how and what procedures should be used to achieve real and effective anti-corruption results. Therefore, it is important that the head of the organization, as the top most leader, set a good example and be a role model in this regard, as well as to undertake a role in effectively driving anti-corruption practices to be implanted throughout the organization, together with applying close oversight and followup actions. Nevertheless, the management structure of a state enterprise will always be subject to various changes; and interference from outside the organization is another critical factor in making it more difficult and complicated to driving such (anti-corruption) procedures towards fully effective implementation. These issues need to be resolved very urgently especially the issue of politicians. Therefore, the Ministry of Finance must seek out those who are appropriately well qualified and experienced to be nominated as Directors or the CEO of state enterprises. Also hopefully the NCPO will be able to establish new rules and regulations relating to state enterprise operations that are stricter and effective on a more permanent basis. The Chairman of the Board and all Board Directors need to agree on how to effectively drive the implementation of anti-corruption practices, together with closely overseeing and monitoring as well as finding the required corrective actions whenever any deficiencies are found. This should be achieved through establishing various rules and regulations. However even if the Board Directors endeavor to implement such practices,

 <

Board Briefing

but if the Chairman of the Board does not give great importance to this issue due to being instructed by those with more authority or by the Minister, then it will affect the overall outcome of the efforts made by others to solve the problem. Therefore, the established anti-corruption rules and regulations imposed by the Ministry of Finance are key important factors. Another important factor is the top management or the CEO, who is traditionally selected from outside and nominated by the Board Directors as the representative of the Ministry of Finance or the NESDB; whereby this process hinders the nomination of good people who may be more qualified. Therefore, this traditional selection and nomination process need to be changed to be more appropriate and transparent. Additionally, the employment contract that is used and in accordance with the standards set by the Ministry of Finance, is more focused on controlling those who are not good as well as on being able to legally terminate, at any time, those who are good. Such a document also has a great effect on the full independence of the CEO, and needs to be changed in order to be more in accordance with international standards. Furthermore, close cooperation, at every level, between companies within the same business or industry sector in establishing a strong industry association is positive and will facilitate their having a greater bargaining power with the public/government sector. It can be seen that, during the past 2 - 3 months, close cooperation between various intra-industry organizations has enabled them to more effectively fight the problem (of corruption). However, more effective communications should be made to everyone at all levels of the organization so as to achieve full understanding and appreciation of the real importance of this issue. Mr. Pliu Mangkornkanok stated that, for the financial services business sector, there are various controls and regulations imposed by the regulatory authorities - such as, the Bank of Thailand

(BoT), the Securities Exchange Commission (SEC). Therefore, it is easier to drive the implementation of anti-corruption preventive measures or procedures. Nevertheless, a key challenge for this sector is to be active and join the CAC movement. Despite being a relatively small business organization in the midst of the overall national problem and issue of corruption, we have chosen to take those actions that we able to do, whereby solving this problem must initially start with ourselves. The TISCO Bank has successfully been screened and formally accepted as a certified CAC Member within a period of 1 year. We believe that, at present, the private sector has correctly proceeded in the right direction in regards to solving the problem of corruption. We also hope that through such small steps a widespread coalition will be achieved, so that eventually there will be a major change within society as a whole and that the public sector will also see the importance of this issue. Internally within an organization, effective communications through various channels is an important factor - such as, using a good social media to act as a 'watch dog' so that the organization can disseminate accurate information on any ongoing problem or issue in a trustworthy manner. Another important issue relates to the belief or 'myth' on the part of everyone in the organization - for example, the effects of anti-corruption practices on revenue income; namely, if the company effectively deals with corruption, it may possibly lose some revenues. However, the Company should take a longer term view rather than achieving immediate revenues and profits as a result of its corrupt practices. The Chairman, the Board of Directors and the CEO should take the position that corruption and corrupt practices are never acceptable, as well as should focus on the sustainable growth of the organization without undertaking any corrupt practices. As for family businesses, the senior management also has the duty to create and establish a correct understanding and positive mindset on the part of their major shareholders.


Nevertheless, on the whole, despite companies being able to currently establish various policies (ie: form) in accordance with the applicable regulations, the most important factor is their actual implementation (ie: substance) - namely, there must be clearly defined guidelines and procedures together with effective measures for oversight and monitoring that is fully transparent, so that positive values will be created for the benefit of the Shareholders as well as to achieve maximum self-reliance. Joining or being a part of a coalition is also another way of solving the problem (of corruption); whereby members collaborate in being 'whistle blowers' and creating an effective anti-corruption movement within society as a whole. As such, the Thailand Private Sectors Collective Action Coalition Against Corruption (CAC) movement can be considered an important initiative in creating a collaborative network within the private sector to combine energies and efforts in genuinely solving the problem of corruption. Mr. Boonkiet Chokwatana stated that the Sahapat Group of Companies has already established guidelines in this regard; but the Group also regularly reinforces them, so that everyone in the organization is always aware of the importance of this issue. Furthermore, with the recent by promotion and pressure from various external organizations, there is also a need to regularly review and reassess the problem, as well as to encourage and motivate

everyone within the organization to place even more special importance to the issue - especially in regards to implementing more effective measures to prevent any corrupt practices from occurring within the Group. Additionally, various rules and regulations relating to corruption have been clearly defined for staff members, Management and the Board of Directors to observe respectively, together with an internal group to oversee and monitor strict adherence to these regulations. This has resulted in the Sahapat Group of Companies to define and implement various procedures and measures, together with the Audit Committee being responsible for monitoring full compliance. It is up to senior management to ensure that everyone within the organization see the importance of this issue; whereby effective detailed preparations are required together with being wellprepared to deal with any eventuality that may occur as a result of not undertaking any corrupt practices. Also effective control of other members of the top and middle management ranks is another means to facilitate solving the problem of corruption within an organization. However, for private sector organizations that need to interact and deal with public sector organizations, solving the problem of corruption may be more difficult to achieve so long as there are still corrupt practices within the public sector. An alternative line of thinking on how private sector companies can help solve corruption is that they should

to pay the full amount of taxes due and required, and then they should be able to adapt and implement the '3 Ps' concept, as mentioned earlier, within its organization. Lastly, during this Chairman Forum, attending company Chairmen were given the opportunity to express and share their experiences, viewpoints and comments on these key areas: - The problems of corruption are caused by these 3 groups of people: government officials, politicians, and businessmen; whereby each group have their respective different problems and issues. - There are always beneficiaries from acts of corruption; thus, the solution to the problems of corruption is to make these beneficiaries prove the actual source of such benefits. - What are the possible measures to effective solve the problems of vote buying in order to prevent corrupt candidates from being elected to political office? - Part of the corruption and graft within the public sector is that government officials receive low remuneration. Those who are interested in details regarding the Thailand Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC) movement, can contact Mr. Kittidej at the Thai IOD for further details at Tel: 02-955-1155 /Ext 302.

Board Briefing

> 




> Board Opinions

Board’s Role on Ethical Climate

I believe people's ethical standards relate directly to the way they have been treated in an organisation. If a company does not encourage an ethical climate and address signs of impropriety, we cannot expect much from the employee in terms of always behaving in a good way. There are many corporations, however, that have actively committed themselves to ethics and integrity. By publicly declaring its corporate values, an organisation points itself in the right direction and its employees have clear guidelines. Banpu Plc expresses its values as the "Banpu Spirit": Innovation, Integrity, Care and Synergy. Black Canyon (Thailand) makes its values easy to remember, calling them BLACK: Business ethics and integrity; Learning organisation; Accountability; Customer-oriented; and Keeping the world green and keeping the coffee beans growing. Borneo Technical sums up its values as IASPIRE, standing for Integrity, Attitude, Synergy, Performance, Innovation, Respect and Entrepreneurship. Microsoft's values cover six areas: Integrity and honesty; Passion for customers, Partners and

 <

Board Opinions

technology; Openness and respectfulness towards others; Willingness to take on big challenges; Selfcritical and committed to personal excellence; and Accountable for commitments, results and quality to stakeholders. Mitr Phol expresses a four-pillar philosophy: Strive for leadership; Believe in the value of human dignity; Stand tall in fairness; and Be socially responsible. Siam Cement Group 's four principles are: Adherence to fairness, Dedication to excellence, Belief in the value of the individual, and Concern for social responsibility. Understanding ethics Any organization with an ethical approach in mind must have an ethical leader. But what is the meaning of ethics? Ask 10 people and we may end up with 10 different definitions. According to OC Ferrell and John Fraedrich, the authors of Business Ethics, ethical issues can be defined as problems, situations or opportunities requiring an individual to choose among actions that may be evaluated as right or wrong, ethical or unethical.


Moving forward ethically As members of the business community, it is our job, with no compromise, to behave ethically at all times. By adhering to discipline, we will be sure that our behaviour, together with that of others, will generate good momentum for our society. Here are my thoughts on guidelines for the business community.

The causes of unethical behaviour usually relate to meeting overly aggressive financial or business objectives, meeting schedule pressures, helping the organisation survive, rationalizing that "others do it", resisting competitive threats or saving jobs. Consequently, in the business community, ethical issues can touch on a wide range of areas including bribery, harmful products, human rights, intellectual property protection, pollution and the environment, price discrimination, sexual and racial discrimination, and so on. At the human level, some choices are more basic. You may recall the response of Colonel Slade (played by Al Pacino) in Scent of a Woman when Charlie (played by Chris O'Donnell) is about to be judged by his school's disciplinary committee. He tells the committee: "I don't know if Charlie's silence here today is right or wrong; I'm no judge or jury. But I can tell you this: he won't sell anybody out to buy his future. And that, my friends, is called integrity, that's called courage." It's only a movie but it demonstrates what happens in real life when people have to call the shots to choose between right or wrong.

The Board of Directors and the Chief Executive have to ensure the existence and continuity of an ethical climate. There needs to be a decision processes to determine whether actions are ethical or unethical, encompassing a corporate code of ethics, top management actions, ethical policies and co-worker influence. All must work to curb the opportunity for unethical behaviour. A corporation should articulate a corporate belief that can support leadership when it faces a tough situation. Johnson & Johnson's Credo was praised as providing guidance for executives and board members when they responded to the Tylenol poisoning crisis of 1982. The organisation should consider including a key word such as integrity, ethics, or morality, in its corporate values and/or culture statement in order to positively reinforce the right mindset among employees. Organisations should have in place an HR policy that clearly states guidelines on ethical issues. The Board should agree to have an HR committee that not only takes good care of employee remuneration and compensation but also is responsible for the practice of ethical behavior in the organisation. The CEO has to behave as a role model by not compromising in any difficult situation that could lead to unethical behaviour. Let's move forward ethically for the sake of a better business community and society as a whole.

สรยุทธ วัฒนวิสุทธิ์ Sorayuth Vathanavisuth Graduate member DCP 3

Board Opinions

> 


> Board Development

The Road to Sustainability (3)

กับกลยุทธ์การเติบโตอย่างยั่งยืน and its Strategy for Sustainable

Growth & Development At the meeting of the Company's Business for Social Responsibility Group, held in the USA in 1997, representatives of a manufacturer for Nike's sportswear and equipments presented a VDO showing NIKE's workforce happily working in a Vietnam factory. Two days later, while the same meetings were stil going on, an article appeared on page one of the New York Times, featuring news of workers in a NIKE factory in Vietnam working in an environment where they came in contact with cancer causing chemicals that was at a level as high as 177 times the normal safety standards in exchange for only US$ 10 (or Baht 300) for 65 hours of work per week, which was below the minimum local wages specified by Vietnam. As such, NIKE uses more than 550,000 factory workers at more than 700 outsourced manufacturers of its sports products that are located in as many as 50 countries around the world. Using such low labor cost manufacturers enables NIKE to make use of massive budget surpluses that allow the Company to spend more on product designs, on marketing and promotional activities and for management remunerations, as well as to achieve enormous amounts of profits annually. During 1998, NIKE was the top spending company in the world for products advertising and corporate public relations campaigns to promote its global brand image and reputation, with a total budget of as much as US$ 1,130 million (or approximately Baht 34,000). For its global corporate branding and promotional activities, NIKE hired many very high profile and world famous sports personalities - such as Tiger Woods, Michael Jordan, and Andre Agassi - as its 'presenters', as well as donated a great deal of money for the education of poor needy children or for aid and assistance to the poorer population living in less developed countries around the world. NIKE was also a party to the 'Global Compact' Agreement that combined together the efforts of many manufacturers that aimed to be 'socially responsible'. However, in reality, many child and women laborers in NIKE factories around the world were suffering though having to work under very harsh conditions and in bad environments, as well as were subjected to working very, very long hours and il treatment or even beatings by their bosses if they failed to meet their output quotas. NIKE, thus, became a symbol for the use of forced or slave labor in third world countries; and became a worldwide 'hate target' for many university student consumers, who held anti-NIKE protest rallies in more than 50 towns across the USA and in other countries. NIKE also became a classic 'case study' for business studies courses in many universities.

 <

Board Development

ในระหว่างการประชุมกลุ่มธุรกิจด้านความรับผิดชอบต่อ สังคม (Business for Social Responsibility) ในช่วงต้นปี 1997 ทีป่ ระเทศสหรัฐอเมริกา ผูแ้ ทนของบริษทั ผลิตเครื่องแต่งกายและ อุปกรณ์กฬี าไนกี้ (Nike) น� ำเสนอวิดโี อคนงานไนกี้ทก่ี �ำลังท�ำงาน อย่างมีความสุขในโรงงานทีป่ ระเทศเวียดนามต่อทีป่ ระชุม สองวัน ต่อมาในขณะที่ก ารประชุมยังคงด�ำเนิ นอยู่นัน้ บนหน้ าหนึ่ ง ของ หนังสือพิมพ์นิวยอร์กไทม์ก็ปรากฏข่าวคนงานของโรงงานไนกี้ท่ี ประเทศเวียดนามก�ำลังท�ำงานอยูใ่ นสภาพแวดล้อมทีต่ อ้ งสัมผัสกับ สารเคมีทก่ี ่อมะเร็งในระดับทีส่ งู กว่าระดับปลอดภัยถึง 177 เท่าเพือ่ แลกกับค่าจ้างเพียง 10 เหรียญสหรัฐ หรือเพียง 300 บาท ส�ำหรับ การท�ำงาน 65 ชัวโมงต่ ่ อสัปดาห์ ซึง่ ต�่ำกว่าอัตราทีก่ ฎหมายท้องถิน่ ของประเทศเวียดนามก�ำหนดไว้ ทัง้ นี้ ไนกีว้ า่ จ้างคนงานผ่านโรงงาน ทีร่ บั จ้างผลิตกว่า 550,000 คน ในโรงงาน 700 โรงเกือบ 50 ประเทศ ทัวโลกเพื ่ อ่ ท�ำการผลิตสินค้า แรงงานราคาถูกเหล่านี้ชว่ ยให้ไนกีม้ งี บ ประมาณเหลือเฟือส�ำหรับการออกแบบ การตลาด และจ่ายเงินเดือน ผูบ้ ริหาร รวมทัง้ มีกำ� ไรแต่ละปีในจ�ำนวนมหาศาล ปี 1998 ไนกี้เ ป็ น บริษัท ที่ทุ่ ม เงิน ไปกับ การโฆษณา ประชาสัมพันธ์มากทีส่ ุดในโลกเพื่อส่งเสริมชื่อเสียงของผลิตภัณฑ์ คิดเป็ นเงินรวมกว่า 1,130 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือเกือบ 34,000 ล้าน บาท โดยว่าจ้างคนดังเช่น Tiger Woods, Michael Jordan, Andre Agassi มาเป็ นพรีเซ็นเตอร์ รวมไปถึงการบริจาคเงินจ�ำนวนไม่น้อย เป็ นทุนการศึกษาให้กบั เด็กๆทีข่ าดแคลน หรือช่วยเหลือประชาชนที่ ยากจนในประเทศด้อยโอกาส ไนกีล้ งนามในสนธิสญ ั ญาร่วม Global Compact เพือ่ รวมพลังเป็นหนึ่งในผูผ้ ลิตทีม่ คี วามรับผิดชอบต่อสังคม แต่ในความเป็ นจริง แรงงานเด็กและสตรีในโรงงานของไนกีก้ ลับต้อง ทุกข์ทนกับการใช้แรงงานเกินเวลา สภาพการท�ำงานทีเ่ ลวร้าย ไป จนถึงการทารุณกรรมทุบตีจากนายจ้างหากไม่สามารถท�ำงานได้ตาม ทีก่ ำ� หนด ไนกีไ้ ด้กลายเป็นสัญลักษณ์ของการใช้แรงงานนรกในโลกที่ สามและเป็นเป้าหมายในการประนามของผูบ้ ริโภคในระดับนักศึกษา มหาวิทยาลัย มีการชุมนุมต่อต้านไนกีใ้ น 50 เมืองในสหรัฐอเมริกาและ ประเทศอืน่ ๆ ไนกีก้ ลายเป็นกรณีศกึ ษาในต�ำราเรียนของมหาวิทยาลัย ต่างๆมากมาย

เสียงวิพากษ์วจิ ารณ์เหล่านี้ทำ� ให้ผนู้ �ำของไนกีเ้ ริม่ ตระหนัก


Such worldwide criticisms made NIKE's leadership to be aware of and to recognize that these labor issues would become dangerous threats to the Company in operating its businesses on a sustainable basis. Towards the end of 1998, the Board of Directors decided to invite Jill Ker Conway, a former Director of Smith College who was previously an activist in regards to female workers compensation and rights, to become a Director of the Company and to focus specifically on the treatment of its workforce laborers. Later on in 2000, strategies in regards to paying special considerations to social and environmental issues became an integral part of NIKE's business operating policies; whereby Ms. Conway proposed that the Company establish a 'Corporate Responsibility Committee' (CR Committee) at the Board level, in order to be better prepared in effectively handling any environment-related risks. Thus, in 2001, NIKE became the first company ever to establish a Corporate Responsibility Committee (CR Committee) at the Board level. Despite being the first company to have a CR Committee, at the beginning many outsourced manufacturers hired by NIKE around the globe still continued to regularly find loopholes to breach various labor laws and regulations; since these outsourced manufacturers saw that to meet the rules and regulations imposed on them by NIKE only served to increase their overall production costs. In 2005, Mr. Phil Knight, who was NIKE's Chairman, proposed to establish a 'Cross-Function Task Force' that comprised of the CR Committee, the Company's CEO and the respective Business Unit Heads together with various specialist experts; who then all took turns in making inspection visits to the Company's many outsourced manufacturers, in order to undertake an in-depth firsthand review and assessment of operational issues and associated causes, as well as to the define required corrective actions. After a brief period of undertaking such operations review visits to the various outsourced manufacturers, NIKE found that many of the workers treatment-related issues, in fact, resulted from several fundamental factors that were associated with its 'supply chain' system. NIKE then decided to initiate the 'Rewire Project' that focused on changing the existing practice of imposing various labor regulations on its outsourced manufacturers to establishing a process of close cooperation in creating innovative development opportunities, that would effectively result in joint business growth on a sustainable basis; as well as of motivating these outsourced manufacturers to create and produce products in a manner that was 'best' for the customers, for society and for the environment while, at the same time, achieving sustainable and profitable operations. As such, the achievement of sustained profitable and operational growth became one of the key performance indicators (KPIs) used in the performance assessment process of their respective Management members. In 2008, after only initiating the 'Rewire Project' for a short period, a financial crisis occurred that significantly affected both revenues and profits. NIKE thus decided to turn this crisis into an opportunity to restructure and reposition its organization, so that, instead of just the supply chain areas, every part of the organization became focused towards sustainability. NIKE elevated the CR Group (which was then under the CR Committee) to be a formal Business Unit called the 'Sustainability Business & Innovation (SB&I)' Unit responsible for supporting the whole organization to develop, as a core business operations strategy, various innovation initiatives that are socially and environmental friendly. This is so that the Company would be able to be fully responsive to the needs of the consumers and to meet, on a sustained basis, the challenges of having access to limited resources; as well as, more importantly, to enhance NIKE's competitive capabilities and positioning. NIKE's Board of Directors redefined the Company's corporate vision to be fully focused on undertaking business operations on a sustainable basis together with creating economic value added for the Company and all involved Stakeholders. The Board

และเห็นว่าประเด็นเหล่านี้ก�ำลังจะเป็ นภัยคุกคามต่อการท�ำธุรกิจ อย่างยังยื ่ นของบริษทั ปลายปี 1998 คณะกรรมการบริษทั ไนกีจ้ งึ ได้ ตัดสินใจเชิญ Jill Ker Conway อดีตผูอ้ ำ� นวยการของ Smith College ซึง่ เคยมีสว่ นร่วมในการเคลื่อนไหวเรื่องค่าแรงสตรีเข้ามานัง่ ในเป็ น หนึ่ งในคณะกรรมการบริษัทเพื่อดูแลเรื่องการปฏิบตั ิต่อแรงงาน โดยเฉพาะ ต่อมาในปี 2000 การท�ำธุรกิจโดยค�ำนึงถึงสังคมและ สิง่ แวดล้อมได้กลายมาเป็ นหนึ่งในกลยุทธ์หลักในการประกอบธุรกิจ ของไนกี้ Conway เสนอให้ไนกีจ้ ดั ตัง้ Corporate Responsibility Committee (CR Committee) ในระดับ คณะกรรมการบริษัท (Board-level) เพือ่ เตรียมพร้อมรับมือกับความเสีย่ งด้านสิง่ แวดล้อม ในปี 2001 ไนกีจ้ งึ กลายมาเป็นบริษทั แรกทีม่ ี Corporate Responsibility Committee ในระดับ Board-level แม้ว่าไนกี้จะมี CR Committee เป็ นบริษทั แรก แต่ใน ช่วงเริม่ ต้นโรงงานทีร่ บั จ้างผลิตของไนกี้ทก่ี ระจายอยู่ทวโลกยั ั่ งคง หาช่องทางในการท�ำผิดกฎเกณฑ์อยูเ่ สมอ เนื่องจากโรงงานเหล่านี้ มองว่าการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ทไ่ี นกีก้ ำ� หนดนัน้ ล้วนแต่เป็นการเพิม่ ต้นทุนการผลิต ในปี 2005 Phil Knight ซึง่ เป็ นประธานกรรมการได้ เสนอให้มกี ารจัดตัง้ คณะท�ำงานร่วมระหว่างสายงาย (Cross-function Task Force) ซึง่ ประกอบด้วย CR Committee ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร ผูบ้ ริหารแต่ละสายงาน และผูเ้ ชีย่ วชาญด้านต่างๆ เพือ่ สลับ สับเปลีย่ นกันไปส�ำรวจโรงงานและวิเคราะห์หาสาเหตุ รวมถึงหาวิธี จัดการอย่างจริงจัง หลังจากใช้เวลาศึกษาและส�ำรวจการด�ำเนินงานในโรงงาน ต่างๆ อยูร่ ะยะหนึ่ง ไนกีพ้ บว่าปญั หาการปฏิบตั ติ ่อแรงงานทัง้ หมด นัน้ เกิด จากหลายป จั จัย ที่เ กี่ย วเนื่ อ งกัน ในระบบห่ว งโซ่ ก ารผลิต (Supply chain) ไนกีจ้ งึ ตัดสินใจริเริม่ โครงการ “Rewire” ทีเ่ ป็ นการ เปลีย่ นมุมมองการท�ำธุรกิจร่วมกับโรงงานทีร่ บั จ้าง จากการออกกฎ เกณฑ์และก�ำหนดให้ปฏิบตั ติ าม มาเป็ นการร่วมกันสร้างโอกาสใน การพัฒนานวัตกรรมเพื่อการเติบโตทีย่ งยื ั ่ น และสร้างแรงจูงใจให้ โรงงานสร้างสรรค์สงิ่ ทีด่ ที ส่ี ดุ ให้แก่ลกู ค้า สังคม และสิง่ แวดล้อม ใน ขณะทีส่ ามารถสร้างผลก�ำไรอย่างยังยื ่ นไปพร้อมๆ กัน โดยก�ำหนด ให้เกณฑ์การเติบโตอย่างยังยื ่ นเป็ นเกณฑ์ส่วนหนึ่งในการประเมิน ผลงานผูบ้ ริหาร หลังจากเริม่ โครงการ Rewire ได้เพียงระยะหนึ่ง ก็เกิด วิกฤตทางการเงินปี 2008 ซึง่ ส่งผลกระทบต่อรายได้และผลก�ำไรอย่าง มาก ไนกีต้ ดั สินใจพลิกวิกฤติให้เป็ นโอกาสโดยท�ำการปรับโครงสร้าง องค์กรใหม่ให้เป็ นองค์กรทีม่ กี ารพัฒนาไปสู่ความยังยื ่ นในทุกส่วน จากเดิมทีม่ ุง่ เน้นเพียงแค่สว่ นของ Supply Chain เท่านัน้ ไนกีไ้ ด้ ยกระดับ CR Group ทีอ่ ยูภ่ ายใต้ CR Committee ขึน้ มาเป็ นสาย

Board Development

> 


> Board Development of Directors then also determined various objectives and goals for the Company that were fully aligned with its newly defined corporate vision; whereby a core objective was that the Company must be able to produce its products from raw materials that would result in the least amount of damaged materials wastes under the 'Closed-loop Business Model' concept - namely: 1. Implement a business operating model that would find ways to re-use or recycle any damaged, used or wasted materials; 2.Look for and source new types of raw materials that are of a sustainable nature; and 3.Assess any potential impacts on its supply chain system and workforce. Thereafter, the Board determined relevant strategies that would facilitate the achievement of the abovementioned corporate objectives and goals - as follows: - Innovation The organization must create innovative manufacturing techniques that would make use of the minimum possible amount of raw materials, as well as that would incorporate uncomplicated production procedures and processes. Such innovative manufacturing techniques must also be able to reuse/recycle any raw material wastes for the production of other new products, as well as should manufacture products that would be the least harmful to both nature and the environment at the end of its product life cycle. These new manufacturing techniques represent a fundamental change that incorporated significant challenges in every stage of the production processes - from product design, actual production, product launch and marketing activities and through to the use of recycled materials in future products. NIKE established the SB&I Laboratory to manage all such manufacturing challenges in a more effective manner, which resulted in the research and development of further new products for the organization. - Integrate The concept of sustainability had to be driven into and incorporated throughout the organization, so that sustainability becomes fully integrated in every aspect of its operational procedures and processes . Every staff member needed to have a common understanding of the concept of sustainability - namely: to recognize and fully understand the various issues and challenges being faced by the organization, how to develop the organization towards sustainability, as well as the various associated corporate objectives and goals defined by the Company. - Mobilize NIKE believed that corporate-wide operational systems changes would only occur once every person and every party involved with the organization enhances its respective development together at the same time. As such, the Company also strived to achieve active cooperation with those outside the organization - such as: through closely assisting those outside parties within its supply chain system; through cooperating with public sector and other social organizations in various workforce development programs; through cooperating and sharing its technological knowhow to help reduce negative social and environmental issues or any related impacts; and, most importantly, through establishing channels of communications to enable it to receive any comments from consumers, so that NIKE's customers can also have the opportunity to provide any inputs or suggestions relating to the procedures and processes for new products development on a sustained basis. Please follow further, in the next boardroom issue, to see how NIKE actually implemented these corporate wide strategies for sustainable development as well as the effective results actually achieved by NIKE.

 <

Board Development

งาน Sustainability Business & Innovation (SB&I) เพือ่ สนับสนุน ให้องค์กรมีการพัฒนานวัตกรรมทีเ่ ป็ นมิตรต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม ผสานเข้าเป็ นกลยุทธ์ทางธุรกิจ สามารถตอบสนองต่อความต้องการ ของผูบ้ ริโภคและรับมือกับปญั หาการขาดแคลนทรัพยากรได้อย่าง ยังยื ่ น และทีส่ ำ� คัญคือยกระดับความสามารถในการแข่งขันของไนกี้ คณะกรรมการบริษทั ไนกีไ้ ด้ก�ำหนดวิสยั ทัศน์ขององค์กร เสีย ใหม่ว่า จะมุ่ง สู่ก ารท�ำ ธุ ร กิจ อย่า งยังยื ่ น และสร้า งมูล ค่า ให้ก บั บริษทั และผูม้ สี ว่ นได้เสีย จากนัน้ ก็ได้กำ� หนดเป้าหมายเพือ่ ให้องค์กร สามารถมุ่งไปสู่วสิ ยั ทัศน์ทไ่ี ด้ก�ำหนดไว้ โดยมีเป้าหมายว่าจะต้อง สามารถผลิตสินค้าด้วยวัตถุดบิ ทีก่ ่อให้เกิดของเสียน้อยทีส่ ุดในรูป แบบการด�ำเนินงานทีเ่ ป็ น Closed-loop Business Model กล่าวคือ 1. เป็ นรูปแบบการด�ำเนินธุรกิจทีส่ ามารถหาทางน�ำเอาส่วนประกอบ ต่างๆ ทีเ่ สียหรือใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ 2. มองหาวัตถุดบิ ชนิดใหม่ๆ ทีย่ งยื ั ่ น และ 3. มีการศึกษาถึงผลกระทบทีม่ ตี ่อห่วงโซ่การผลิตและ แรงงาน หลังจากนัน้ ได้กำ� หนดกลยุทธ์เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายข้างต้น ดังนี้ • Innovation – องค์กรจะต้องมีการคิดค้นนวัตกรรมการ ผลิตทีใ่ ช้วตั ถุดบิ น้อยทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็ นไปได้ กระบวนการผลิตเรียบ ง่าย สามารถน�ำกลับมาใช้ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ชน้ิ ใหม่ได้ และปลอดภัย ต่อธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเมื่อหมดอายุการใช้งาน กระบวนการ ทัง้ หมดเป็ นการเปลีย่ นแปลงเชิงระบบซึ่งมีความท้าทายในทุกขัน้ ตอนตัง้ แต่การออกแบบ การผลิต การออกสูต่ ลาด และการน�ำกลับ มาเข้ากระบวนผลิตใหม่ (Recycle) ไนกีไ้ ด้ก่อตัง้ SB&I Lab ขึน้ มา เพือ่ จัดการกับความท้าทายดังกล่าวอันน�ำไปสูก่ ารคิดค้นและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ใหม่ให้กบั องค์กร • Integrate – องค์กรจะต้องมีการผลักดันให้ความยังยื ่ น กลายเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการท�ำงานทัง้ หมด พนักงานจะต้องมี ความเข้าใจในเรือ่ งดังกล่าวตรงกัน กล่าวคือ เข้าถึงสิง่ ทีอ่ งค์กรก�ำลัง เผชิญหรือท้าทายอยู่ วิธกี ารในการพัฒนาองค์กรไปสูค่ วามยังยื ่ น รวม ถึงจุดมุง่ หมายทีอ่ งค์กรตัง้ ไว้ • Mobilize – ไนกีเ้ ชือ่ ว่าการเปลีย่ นแปลงแบบทัง้ ระบบจะ เกิดขึน้ ได้ตอ่ เมือ่ ทุกคนและทุกฝา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องได้ยกระดับการพัฒนา ไปพร้อมๆกัน จึงผลักดันความร่วมมือออกไปสูภ่ ายนอก เช่น การให้ ความช่วยเหลือ Supply Chain การให้ความร่วมมือกับภาครัฐและ ภาคสังคมในการสนับสนุ นโครงการพัฒนาการท�ำงานของแรงงาน การร่วมแบ่งปนั เทคโนโลยีท่ชี ่วยลดปญั หาสังคมและสิง่ แวดล้อม ให้กบั องค์กรอื่น และทีส่ ำ� คัญคือการจัดให้มชี ่องทางรับฟงั ความคิด เห็นจากผูบ้ ริโภค เพื่อให้ลูกค้าของไนกีไ้ ด้มโี อกาสแสดงความเห็น ถึงกระบวนการและวิธใี นการพัฒนาสินค้าใหม่ๆ อย่างยังยื ่ นอีกด้วย ฉบับหน้า มาติดตามกันต่อไปนะคะว่าไนกีน้ �ำกลยุทธ์การ พัฒนาอย่างยังยื ่ นไปสูก่ ารปฏิบตั ทิ งั ้ องค์กรได้อย่างไร และผลลัพธ์ท่ี ไนกีไ้ ด้รบั คืออะไรค่ะ Duangkamon Phisarn

ดวงกมล พิศาล

Senior Vice President Thai Institute of Directors

ผู้ช่วยกรรมการผู้อำ�นวยการอาวุโส สถาบันกรรมการบริษัทไทย



> Board Development

ความยั่งยืนที่ท้าทาย

THE CHALLENGES OF

SUSTAINABILITY

"Kasikorn Bank Pcl is the first Thai bank to take an special interest in building and achieving sustainable development of its organization. The established 'road map' to build sustainable growth for the organization is based on interesting approach and practices" said Mr. Krisada Lamsam, Vice Chairman of the Kasikorn Bank Pcl., who honored the Thai IOD in giving this interview on the activities of Kasikorn Bank in regard to this matter. Mr. Krisada recounted that the Bank's initial steps in giving importance to building sustainable development started with the Board establishing its Corporate Social Responsibility (or CSR) programs and policy guidelines in regard to 'one-time activities' - such as donating goods to needy communities or areas. The Board stated that such activities should be adapted and geared to be more long term and sustainability oriented, as well as these activities should not only be a 'CSR after the process' activity but should be part of the internal 'CSR in process' activities of the organization that will achieve sustainable development for the Bank. This concept is based on the principle that for the Bank to be successful in its business, it must have the full trust and confidence from its customers and the people at large that its organizational development will be sustainable. As such, the initial steps require self-assessment to find its special areas of expertise together with giving importance to 3 key aspects of its operations - namely, the economy and business, society and the environment. Economy and Business As a financial institution, the Kasikorn Bank therefore has special expertise relating to money matters. Various projects and activities undertaken in regards to the economic and business environment, thus, all focus on creating better knowledge and understanding about money matters - both internally within as well as outside the organization. Thus, associated projects will result in sustainable growth and development of the country as a whole namely, if the people fully understand matters relating to money, then personal financial stability will be achieved, which in turn wil have positive impacts for the country.

 <

Board Development

ธนาคารกสิ กรไทย เป็นธนาคารแห่งแรกๆ ของประเทศที่ ให้ความสนใจในเรือ่ งการสร้างความยังยื ่ นให้กบั องค์กร เส้นทางการ สร้างความยังยื ่ นของธนาคารแห่งนี้ มีแนวคิดและการด�ำเนินงานที่ น่าสนใจ นายกฤษฎา ล�่ำซ�ำ รองประธานกรรมการ ธนาคารกสิกร ไทย จ�ำกัด (มหาชน) ให้เกียรติเล่าถึงการด�ำเนินงานของธนาคาร เกีย่ วกับเรือ่ งนี้ นายกฤษฎาเล่าให้ฟงั ถึงจุดเริม่ ต้นของการให้ความส�ำคัญ เกีย่ วกับเรื่องการสร้างความยังยื ่ นนัน้ เกิดขึน้ จากคณะกรรมการที่ ให้แนวนโยบายว่ากิจกรรมในแนวทางของความรับผิดชอบต่อสังคม หรือ CSR ที่ท�ำครัง้ เดียวแล้วจบไป เช่น บริจาคสิง่ ของในพื้นที่ ที่ข าดแคลน ควรที่จ ะมีก ารปรับ เปลี่ย นและผลัก ดัน ให้เ กิด เป็ น โครงการระยะยาวที่ม ีค วามยังยื ่ น และเป็ น โครงการที่ไ ม่ เ พีย ง ท�ำภายนอก (CSR after process) แต่เป็นส่วนหนึ่งของการด�ำเนินงาน ภายในองค์กร (CSR in process) ทีจ่ ะสร้างความยังยื ่ นให้กบั องค์กร ด้วยเห็นว่าธนาคารที่ด�ำเนินธุรกิจอย่างประสบความส�ำเร็จได้นัน้ จะต้องได้รบั ความเชื่อมันจากลู ่ กค้าและประชาชนทัวไปว่ ่ าองค์กร มีความยังยื ่ น โดยกิจกรรมทีท่ �ำจะเริม่ ต้นจากการมองดูทต่ี นเองว่า มีความเชีย่ วชาญด้านใด และเน้นการให้ความส�ำคัญ 3 ด้านได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม ด้านเศรษฐกิ จ ด้วยธนาคารกสิกรไทยเป็ นสถาบันการเงิน จึงมีความ เชีย่ วชาญเกีย่ วกับเรือ่ งการเงิน โครงการด้านเศรษฐกิจทีท่ �ำจึงเน้น เรื่องการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องการเงินทัง้ ภายใน และภายนอกองค์กร และการด�ำเนินโครงการลักษณะนี้จะส่งผลให้ ประเทศมีความยังยื ่ น นัน่ คือเมื่อประชาชนเข้าใจเรื่องการเงินก็จะ ท�ำให้เกิดเสถียรภาพทางการเงินส่วนบุคคลอันส่งผลดีต่อเศรษฐกิจ ของประเทศ โครงการด้านแศรษฐกิจทีธ่ นาคารได้ทำ � เช่น K-Expert เป็นโครงการทีส่ ง่ เสริมให้พนักงานภายในองค์กรเป็นผูม้ คี วามรูค้ วาม เชี่ยวชาญด้านการเงิน และสามารถให้ขอ้ มูลพร้อมเป็ นที่ปรึกษา


Economic and business related projects undertaken by the Bank - such as, the K-Expert program - are activities that support and enable the Bank's staff to fully understand and be knowledgeable about money and financial matters, so that they are well-prepared to be financial advisors to our general customers. These various external economic and business programs undertaken by the bank include such activities as the K-Fam Club that supports and encourages our corporate clients to be well-prepared to pass the family business onto the next generation in a systematic manner; or the K-SME program that assists SMEs to operate their businesses in a sustainable way. Environment An example of projects undertaken relating to the environment is the Bank's products offerings; whereby the Bank connects alternative energy issues with its credit financing services in creating specific credit facilities for alternative energy-related projects with the objectives of facilitating more efficient use of energy and supporting the development of alternative sources of energy through being a source of investment funds for business activities that are involved with energy preservation or use of alternative energy - such as: factories and building facilities, or energy management companies and businesses. Additionally, the Bank has incorporated environmental issues as part of its internal management procedures, in order to achieve sustainable development for the organization - such as: energy conservation (or green) office buildings; or encouraging every employee to take care of the immediate environment around them through the Bank's 'tum dee tumm dai, klai thua klai ngarn" program, in order to create an awareness, on their part, that everyone can always look after the environment, regardless of whether it is a small personal action or a big group activity. Society Previously, our programs and activities relating to society focused mainly on giving donations or providing relief and assistance to the needy in various areas of the country. However, once the Board established its policy relating to building sustainability, the Bank's CSR programs have been changed to be oriented more towards achieving long-term results. The Bank chose to focus on projects relating to education, since it believed that developing good education systems would enable the sustainable development of the country as a whole. As such, these education-related projects did not involve building school facilities or libraries, but rather involved longer term projects - such as: cooperating with the Thailand Research Fund (TRF) in undertaking a research project called 'Phaophand Panya' that aimed to change the way of thinking as well as the teaching methods of teachers in provincial schools to be more focused on research-based teaching that would facilitate teachers to develop teaching methods and various associated activities in a fully integrated manner. This in turn will motivate and enable their students to think in a more systematic manner as well as more creatively. The overall goal was to enhance the overall teaching and educational standards in Thailand. Another activity relating to society is the "After Klass.com"

ทางการเงินแก่บคุ คลทัวไป ่ ในส่วนของภายนอกองค์กรธนาคารกสิกร ไทยมีหลายโครงการ อาทิ KFAM Club ทีส่ นับสนุนลูกค้าของธนาคาร ในการเตรียมพร้อมส่งมอบธุรกิจสูอ่ กี รุน่ หนึ่งได้อย่างเป็ นระบบ หรือ K SME ทีใ่ ห้ความช่วยเหลือผูป้ ระกอบการธุรกิจ SME ให้ดำ� เนิน ธุรกิจได้อย่างยังยื ่ น ด้านสิ่ งแวดล้อม ตัวอย่างของโครงการด้านสิง่ แวดล้อมทีธ่ นาคารได้ดำ� เนิน การ ได้แก่ โครงการด้านผลิตภัณฑ์ ธนาคารกสิกรไทยได้เชือ่ มโยง เรือ่ งพลังงานทดแทนกับเรือ่ งการเงิน มีการลงทุนผ่านโครงการสินเชือ่ พลังงานทดแทน ทีม่ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ต้องการส่งเสริมการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนาแหล่งพลังงานทดแทน โดยเป็นแหล่ง เงินทุนให้กบั กิจการที่ด�ำเนินการอนุ รกั ษ์พลังงานและใช้พลังงาน ทดแทน เช่น โรงงาน อาคาร และบริษทั จัดการพลังงาน นอกจากนัน้ การบริหารงานภายในธนาคารกสิกรไทยได้น�ำ เรือ่ งสิง่ แวดล้อมมาเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างความยังยื ่ นให้กบั องค์กร เช่น อาคารส�ำนักงานมีการสร้างในรูปแบบอาคารประหยัดพลังงาน ทัง้ ส่งเสริมให้พนักงานทุกคน ใส่ใจในเรือ่ งสิง่ แวดล้อมรอบตัว ผ่าน โครงการท�ำดีทำ� ได้ ใกล้ตวั ใกล้งาน เพือ่ สร้างจิตส�ำนึกการใส่ใจต่อ สิง่ แวดล้อม ทีส่ ามารถท�ำได้ทกุ ทีท่ กุ เวลา ไม่สำ� คัญว่าจะเป็นเรือ่ งเล็ก เรือ่ งใหญ่ ด้านสังคม กิจกรรมด้านสังคมก่อนหน้านี้จะเน้นการบริจาคและช่วย เหลือผูด้ อ้ ยโอกาสตามพืน้ ทีต่ ่างๆ แต่เมือ่ คณะกรรมการมีนโยบาย เรือ่ งการสร้างความยังยื ่ น การท�ำโครงการ CSR จึงปรับเปลีย่ นให้เป็น โครงการทีม่ ปี ระสิทธิผลระยะยาว โดยทางธนาคารเลือกเน้นโครงการ เกีย่ วกับการศึกษา เพราะเห็นว่าการพัฒนาการศึกษาจะเป็นการช่วย พัฒนาประเทศอย่างยังยื ่ น ทัง้ นี้โครงการด้านการศึกษาไม่ใช่การสร้าง โรงเรียนหรือจัดท�ำห้องสมุด แต่เป็ นโครงการระยะยาว ยกตัวอย่าง เช่น การท�ำงานร่วมกับส�ำนักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.) ด�ำเนินโครงการชือ่ ว่าเพาะพันธุป์ ญั ญา ซึง่ เป็นโครงการทีม่ งุ่ เน้นการ เปลีย่ นระบบคิดและวิธจี ดั การเรียนการสอนของครูในสถานศึกษา ให้ เน้นการสอนด้วยโครงงานบนฐานวิจยั ซึง่ จะช่วยพัฒนาให้ครูมคี วาม สามารถในการออกแบบและจัดกิจกรรมการสอนเชิงบูรณาการ และ กระตุน้ ให้เด็กมีการใช้ความคิดอย่างเป็ นระบบและสร้างสรรค์ เพื่อ ยกระดับการศึกษาของประเทศไทย อีกโครงการหนึ่งใช้ชอ่ื ว่า After Klass.com เป็ นโครงการ พัฒนาเด็กและเยาวชนผ่าน Social Network มีการเปิดให้เยาวชนได้ พัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ เช่น ดนตรี กีฬา อาหาร ศิลปะ ซึง่ กิจกรรม นี้จะมีการสอดแทรกความรูด้ า้ นการเงิน อย่างเรือ่ งการออม และการ สร้างรายได้ ซึง่ เป็ นความเชีย่ วชาญหลักของทางธนาคาร ข้อจ�ำกัดและความท้าทาย จากโครงการต่างๆ ทีก่ ล่าวมา นายกฤษฎามองว่าความ ท้า ทายในการสร้า งให้เ กิด ความยังยื ่ น ในองค์ก รคือ การน� ำ เรื่อ ง

Board Development

> 


> Board Development social media based program, which aims to develop various skil s on the part of children and youth relating to music, sports, food, and the arts. This program also incorporates knowledge relating to money matters - such savings and achieving improved income that are the Bank's core areas of expertise. Limitations and Challenges From the various programs and activities undertaken by the Bank as mentioned above, Khun Krisada stated that the key challenges in building and achieving sustainability are: effectively embedding such matters 'within the working processes' of the Bank together with creating an awareness of such matters on the part of our staff. The core concept and methods adopted by the Bank to overcome such challenges is "to make difficult tasks to be easy" through incorporating such matters into everyday life activities, so that the staff will feel that they are 'going forward together and doing things together'. In regards to the economy and business, Kasikorn Bank has endeavored to focus on developing products and services that are both relevant and relate to the needs of its customers; in regards to society, it has endeavored to focus on creating the awareness of such matters on the part of its staff so that they in turn can impart a similar sense of awareness to society; while in regards to the environment, it has endeavored to create the mindset that such matters are not complex issues and that anyone can easily do them successfully. As such, effective communications and teamwork are key success factors in achieving the established objectives and goals, since everyone must see things in the same way as well as must work together in one and the same direction. Every Bank staff must feel they are participating and contributing, which in turn wil establish an awareness of creating and building sustainability. In regards to assessing the end-results achieved, the Bank makes such assessments all the time by undertaking both internal and external surveys through using such performance assessment organizations such as DJSI or GRI; whereby the survey results and outputs are then used to make further developments or enhancements. Sometimes, this may involve rectifying or changing the associated program guidelines, so that they correspond as much as possible to the intended objectives. Nevertheless, the most important factor in driving and supporting all activities relating to sustainable development and growth is the Board's significant involvement in supporting and encouraging various activities that are focused on creating sustainability, since the Board is the organization's leader or 'champion', who will drive the organization in progressing forward. The above is only a small part of the overall activities relating to achieving sustainability for this 'green Bank'. Please follow the next issue of the boardroom to see which other business groups we can learn from them.

 <

Board Development

ดังกล่าวใส่ไว้กระบวนการการท�ำงาน (In process) และการสร้าง จิตส�ำนึกในตัวพนักงาน วิธกี ารทีท่ างธนาคารท�ำเพือ่ ก้าวข้ามความ ท้าทายนี้คอื “การท�ำสิง่ ยากให้เป็ นสิง่ ง่าย” เป็ นการน�ำเรือ่ งดังกล่าว เข้าไปสอดแทรกในการใช้ชวี ติ ประจ�ำวันในด้านต่างๆ ให้พนักงาน รูส้ กึ ว่าเป็นการ “ไปด้วยกัน ท�ำไปพร้อมๆกัน” ในมุมเศรษฐกิจธนาคาร กสิกรไทยพยายามดูในเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับ ความต้องการ ในด้านสังคมพยายามดูในเรือ่ งการสร้างจิตส�ำนึกให้ กับพนักงานเพือ่ ถ่ายทอดให้กบั สังคม และในด้านสิง่ แวดล้อมทีต่ อ้ ง หล่อหลอมให้ทกุ คนคิดว่าไม่เป็ นเรือ่ งยาก ใคร ๆ ก็สามารถท�ำได้ ทัง้ นี้ การไปให้ถงึ เป้าหมายทีว่ างไว้การสือ่ สารและทีมงาน เป็ นเรือ่ งทีม่ คี วามส�ำคัญ เพราะจะต้องมองให้เห็นภาพเดียวกัน และ เดินไปในทิศทางเดียวกัน พนักงานทุกคนก็จะมีความรูส้ กึ ร่วม และ จะกลายเป็ นว่าพนักงานมีจติ ส�ำนึกในการสร้างความยังยื ่ น ในด้านการวัดผล ธนาคารกสิกรไทยมีการวัดผลอยูต่ ลอด เวลา ทัง้ การท�ำแบบส�ำรวจจากทัง้ ภายนอกและภายใน มีการวัดผล จากสถาบันต่างๆ เช่น DJSI และ GRI เป็ นต้น และน�ำข้อมูลเหล่านัน้ มาพัฒนา ปรับปรุง ซึง่ บางครัง้ อาจจะต้องมีการแก้ไข และปรับเปลีย่ น แนวทาง เพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ให้มากที่สุด อย่างไรก็ตาม สิง่ ทีส่ �ำคัญทีส่ ุดคือคณะกรรมการมีส่วนส�ำคัญในการผลักดัน และ ให้การสนับสนุ นการท�ำงานในเรื่องการสร้างความยังยื ่ น เพราะ ์ คณะกรรมการ คือผูน้ �ำองค์กร หรือแชมปเปี้ยน ทีจ่ ะน�ำพาองค์กรให้ ก้าวเดินต่อไป ทัง้ หมดนี้ เป็ นเพียงส่วนหนึ่งของการสร้างความยังยื ่ นของ แบงก์สเี ขียวแห่งนี้ และในฉบับหน้ าจะพาไปรูจ้ กั กับกลุ่มธุรกิจใด ติดตามกันนะคะ



> Board Review

Corruption Menu and เมนูคอร รัปชัน

เมนูคอร รัปชัน และการแสวงหาผลประโยชน

DUTY FREE

“เมนูคอร์รัปชั่นและ

การแสวงหา ผลประโยชน์”

Exploitationo

s That Lead: When

to Take Charge, When to Partner, and When to Stay Out of the Way

In this issue, Boardroom would like to present 2 interesting books about corruption. The first one is in Thai "Corruption Menu and Exploitation". It contains information gathered from the Thailand Development Research Institute's (TDRI) People Manual Project on how to cope with corruption and exploitation. The book includes information about various forms of corruption in Thailand by outlining the background, path of interest, progress of the current situation and the effects of corruption on the public. The book uses infographics to make the story easier to read and more interesting. In the final chapter, it lists the contact information of various organizations so that the public can help them to monitor corruption and make anti-corruption recommendations.

Boardroom เล่มนี้ขอแนะน�ำหนังสือ 2 เล่ ม ที่น่ า สนใจที่เ กี่ ย วข้ อ งกับ เรื่อ งการ คอร์รปั ชัน่ หนังสือเล่มแรกเป็ นหนังสือภาษา ไทยเรื่อ ง “เมนู ค อร์ร ปั ชันและการแสวงหา ่ ผลประโยชน์ ” เรียบเรียงจากโครงการคู่มอื ประชาชนรู้ท ัน คอร์ร ัป ชัน่ และการแสวงหา ผลประโยชน์ โดยมู ล นิ ธิส ถาบัน วิจ ัย เพื่อ การพัฒ นาประเทศไทย (TDRI) ซึ่ ง ได้ รวบรวมรู ป แบบการคอร์ ร ัป ชัน่ ต่ า ง ๆ ที่ เกิด ขึ้น ในประเทศไทย โดยเล่ า ถึง ปูม หลัง ของเหตุการณ์ เส้นทางของการได้มาซึ่งผล ประโยชน์ ความคืบหน้ าของเหตุการณ์ ใน ป จั จุ บ ัน และผลกระทบที่ม ีต่ อ ประชาชน หนังสือจัดท�ำรูปเล่มให้น่าอ่านและง่ายต่อความ เข้าใจโดยการใช้อนิ โฟกราฟฟิคในการเล่าเรือ่ ง และในบทสุดท้ายได้รวบรวมรายชือ่ และข้อมูล ติดต่อหน่วยงาน เพือ่ ให้ประชาชนสามารถช่วย ในการติดตาม ตรวจสอบ ร้องเรียน แจ้งเบาะแส และให้คำ� แนะน�ำเกีย่ วกับการป้องกันการทุจริต คอร์รปั ชันได้ ่

Corruption The second is an English book entitled "Corrupt Cities: A Practical Guide to Cure and Prevention" written by Robert Klitgaard, Ronald MacLean-Abaroa and H. Lindsey Parris. The book is published by the Institute of Contemporary Studies (ICS) and World Bank Institute. It is ideal for people who are interested in preventing and help solve corruption problems and includes various anti-corruption theories and practices such as problem analysis, systematic strategy planning, and concrete management approaches. There are 2 case studies from 2 cities, including Hong Kong and La Paz (Bolivia) for the reader to study.

 <

Board Review

อีก เล่ ม หนึ่ ง เป็ น หนั ง สือ ภาษา อังกฤษชือ่ “Corrupt Cities: A Practical Guide to Cure and Prevention” เขียน โดย Robert Klitgaard, Ronald MacleanAbaroa และ H.Lindsey Parris หนังสือเล่ม นี้จดั ท�ำโดย Institute of Contemporary Studies (ICS) และ World Bank Institute หนังสือเล่มนี้เหมาะกับผูท้ ส่ี นใจทีจ่ ะแก้ไข ั หาการทุ จ ริต คอร์ร ัป ชัน่ และป้ องกัน ป ญ หนั ง สือ รวบรวมทัง้ ทฤษฎีแ ละแนวทาง ปฏิบตั ทิ ไ่ี ด้อย่างน่าสนใจ เช่น การวิเคราะห์ ปญั หา การวางกลยุทธ์ในเชิงระบบ และวิธี การในการจัดการอย่างเป็ นรูปธรรม โดย มีกรณีศกึ ษาของ 2 เมืองคือฮ่องกง และ La Paz ให้ผอู้ า่ นได้ศกึ ษาไปพร้อมๆ กัน

CITIES



> Board Activities

Recently on August 25, 2014 fellow alumni of the DCP courses - from DCP Class 0 to the most recent DCP Classes totaling more than 400 people - joined the special "DCP Alumni Party" held, with overwhelming capacity, at the Napalai Ballroom, Dusit Thani Hotel in Bangkok. At the start of the event, Mr. Krirk-Krai Jirapaet, Chairman of the Board of the Thai IOD, honored the occasion in giving the welcoming speech to all attending DCP Alumni; and also donated the net proceeds, after deducting expenses, for this event to the Anti Corruption Organization (Thailand) Foundation as a gesture of the Thai IOD's genuine intent in supporting various activities, aimed at enhancing the standards of good corporate governance practices within the Thai business sector as well as at implementing real and effective measures to stamp out corrupt business practices. The generous donation was received by Dr. Mana Nimitmongkol, Managing Director of the Anti-Corruption Organization (Thailand) Foundation. After the opening ceremony, Mrs. Nualphan Lamsam, a Thai IOD Board of Director, in her capacity as the Chairman of the "DCP Alumni Party" Organizing Committee also gave a speech to thank all attending DCP Alumni before proceeding to introducing Khun Too (Ms. Nanthida Kaewbusai), the legendary ever-sweet voiced singer who agreed to give the event a mini concert. However, the enjoyment of both Thai and expatriate DCP Alumni alike was by no means 'mini' in scale, since everyone joined Khun Too in singing as well as in having their photos taken together with the beautiful singer. A great and very memorable evening was enjoyed by all attending DCP Alumni; so much so that it was even proposed that such an event should be held every year. Towards the end of the evening, framed photos of everyone were handed out as a souvenir and reminder of this most memorable evening of renewed acquaintances or close friendships among the DCP Alumni community. The DCP Alumni Party proved to be both very enjoyable and a great success due to the energetic devotion of Mrs. Nualphan Lamsam of Muang Thai Insurance Public Company Limited, the event's lead organizer, together with the support of AIRA Securities Public Company Limited, Advance Info Service Public Company Limited, Bangkok Bank Public Company Limited, PTT Public Company Limited, Srithai Superware Public Company Limited, Sino-Thai Engineering & Construction Public Company Limited, and also Boon Rawd Brewery Company Limited. The Thai IOD offers its sincere thanks and great appreciation for the continuous cooperation and ongoing support for the various activities of Thai IOD from these kind sponsoring organizations.

 <

Board Activities

เมือ่ วันที่ 25 สิงหาคมทีผ่ า่ นมา บรรดาเพือ่ นพ้องน้องพีศ่ ษิ ย์ เก่า DCP ตัง้ แต่รนุ่ 0 ถึงรุน่ ปจั จุบนั กว่า 400 คนได้มารวมตัวกันใน งาน “DCP Alumni Party” ซึง่ ท�ำให้หอ้ งนภาลัยบอลรูม โรงแรมดุสติ ธานี ดูคบั แคบไปถนัดตา ในช่วงแรกของงาน นายเกริกไกร จีระแพทย์ ประธาน กรรมการ IOD ได้ให้เกียรติกล่าวต้อนรับศิษย์เก่า DCP พร้อมกับมอบ รายได้หลังหักค่าใช้จ่ายจากการจัดงานครัง้ นี้ให้กบั มูลนิธอิ งค์กรต่อ ต้านคอร์รปั ชันประเทศไทยเพื ่ อ่ แสดงถึงความตัง้ ใจจริงของ IOD ใน การสนับสนุนกิจกรรมเพือ่ ยกระดับมาตรฐานการก�ำกับดูแลกิจการที่ ดีของธุรกิจในประเทศ และการเอาจริงเอาจังกับการจัดการกับปญั หา การทุจริตคอร์รปั ชันโดยมี ่ นายมานะ นิมติ รมงคล ผูอ้ ำ� นวยการมูลนิธิ เป็ นผูร้ บั มอบ ต่อจากนัน้ นางนวลพรรณ ล�่ำซ�ำ กรรมการ IOD ในฐานะ ประธานจัดงานได้ขน้ึ กล่าวขอบคุณผูเ้ ข้าร่วมงานทุกท่าน ก่อนทีจ่ ะ น�ำผูเ้ ข้าร่วมงานเข้าสูช่ ว่ งมินคิ อนเสิรต์ จากคุณตู่ นันทิดา แก้วบัวสาย นักร้องสาวเสียงสวยตลอดกาล ทีแ่ ม้จะเป็ นมินิคอนเสิรต์ แต่ความ สนุกไม่ได้มนิ ิตามชือ่ ศิษย์ DCP ทัง้ ไทย และต่างชาติ ร่วมร้องเพลง ถ่ายรูปกับศิลปิ นอย่างใกล้ชดิ เป็ นกันเอง ซึ่งท�ำให้ผูเ้ ข้าร่วมงานมี ความสุขสนุกสนานกันทัวหน้ ่ า จนมีเสียงเรียกร้องให้จดั งานลักษณะ นี้ขน้ึ เป็ นประจ�ำทุกปีอกี ด้วย ในช่วงท้ายงานก็ได้มกี ารมอบกรอบรูปพร้อมรูปถ่ายของ ทุกท่านทีม่ าร่วมงาน ให้เป็ นทีร่ ะลึกถึงค�่ำคืนแห่งสายสัมพันธ์ทแ่ี นบ แน่นนี้ดว้ ย งานในคืนนัน้ ประสบความส�ำเร็จได้ดว้ ยความทุ่มเทจาก หัวเรือใหญ่จากนางนวลพรรณ ล�่ำซ�ำและทีมงานจากบริษทั เมืองไทย ประกันภัยจ�ำกัด (มหาชน) และการสนับสนุนจาก บริษทั หลักทรัพย์ ไอร่า จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ศรีไทยซุปเปอร์แวร์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริง่ แอนด์ คอนสตรัคชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษทั บุญรอด บริวเวอรี่ จ�ำกัด ซึง่ ทาง IOD ต้องขอขอบคุณทุกองค์กรทีไ่ ด้กล่าวมา ทีร่ ว่ มให้ความสนับสนุนต่อกิจกรรมของสมาคมฯ เป็นอย่างดีเสมอมา


Board Activities

> 


> Board Activities รณรงค์ต่อต้านคอร์รัปชั่น วันที่ 6 กันยายนของทุกปี เป็นวันต่อต้านการคอร์รปั ชันแห่ ่ งชาติ องค์กรต่อต้านคอร์รปั ชันแห่ ่ งประเทศไทย (ACT) ร่วมกับภาคีเครือข่ายฯ รวมทัง IOD ้ ได้เข้าร่วมแสดงพลังและร่วมกิจกรรมภายใต้แนวคิด “HAND IN HAND… ปฏิรปู การต่อสู้ เพือ่ ชัยชนะอย่างยังยื ่ น” ในงานพนักงาน IOD ได้รว่ มเดินพาเหรดแสดงพลังในการร่วมมือต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ทุกรูปแบบ ซึง่ ปจั จุบนั นี้ IOD ท�ำหน้าทีเ่ ป็ นเลขานุ การคณะกรรมการ แนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC) อีก ด้วย

Anti-Corruption Campaigns

As always every year, on September 6, 2014 is the 'National Anti-Corruption Day'; whereby the Anti-Corruption Organization of Thailand (ACT) together with other members of the Anti-Corruption Network including the Thai IOD, joined together for a common cause in undertaking various activities under the theme of 'Hand in Hand..Reforming to Fight Against Corruption on a Sustainable Basis'. During this year's activities, the Thai IOD's staff joined the walk rally to show their collective strength and efforts in this coalition against corruption through various means. At present, the Thai IOD also acts as the Secretary of Thailand's Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption (CAC).

LDC ตรวจสุขภาพฟัน นางวิไลรัตน์ เน้ นแสงธรรม ผู้ช่วยกรรมการผู้อ�ำนวย การอาวุโส และ นางสาวศิรพิ ร วาณิชยานนท์ รองผูช้ ว่ ยกรรมการ ผูอ้ ำ� นวยการ ของ IOD ให้การต้อนรับ นางสาวสิรลิ กั ษณ์ ตัง้ บริรกั ษ์ Chief Business Development Officer จากศูน ย์ท นั ตกรรม LDC ในโอกาสเยีย่ มเยือน IOD พร้อมน� ำทีมงานมืออาชีพบริการ ตรวจสุขภาพฟนั ให้กบั พนักงาน IOD ปจั จุบนั สมาชิก IOD สามารถ รับบริการทันตกรรม LDC ได้ทกุ สาขาในราคาพิเศษลด 5%

LDC Dental Health Check-up

Mrs. Wilairat Nengsaengtham, Senior Vice President and Ms. Siriporn Vanijyananda, Assistant Vice President of the Thai IOD welcomed Ms. Siriluck Tangborirak, Chief Business Development Officer of the LDC Dental Center, together with her team of dental care professionals, when they visited the Thai IOD offices in order to carry out dental health check-ups for the Thai IOD's staff. At present, IOD Members can receive dental health check-up services at any LDC Dental Center branch and also enjoy a special 5% discount privilege.

 <

Board Activities



> Board Success

Congratulations DCP 189-193 หลังจากทีค่ ร�่ำเคร่งกับการอบรมมาตลอด 6 สัปดาห์ ค�่ำคืนวันที่ 29 กันยายนทีผ่ า่ นมาเป็ นค�่ำคืนแห่งความภาคภูมใิ จของเหล่าผูอ้ บรม DCP รุน่ 189-193 และผูผ้ า่ นการสอบ Director Diploma Examination รุน่ 41 IOD ขอแสดงความยินดีกบั ทุกท่านในความส�ำเร็จครัง้ นี้ IOD จัดเตรียมกิจกรรมไว้มากมาย เริม่ ด้วยซุม้ ภาพเก็บตกช็อตเด็ดของแต่ละรุน่ ทีเ่ รียกเสียงหัวเราะเฮฮา ตามมาด้วยการเล่นเกมส์ชงิ ของรางวัล น่ารักมากมาย และทีเ่ รียกความคึกคักทีส่ ดุ คงหนีไม่พน้ การถ่ายภาพแสดงความยินดี ทีเ่ ฮฮากันลันสนั ่ นฟลอร์ ่ กนั เลยทีเดียว ภายในงานผูผ้ า่ น การอบรมแต่ละรุน่ ก็ผลัดกันขึน้ เวทีขบั ขานบทเพลงทีถ่ นัด มีทงั ้ แสดงเดีย่ ว และแสดงทัง้ รุน่ ใครเป็ นใคร คอลัมน์ Boardroom ประมวลภาพ บรรยากาศวันงานรับประกาศนียบัตรมาให้ชมกันบางส่วน บรรยากาศสนุกสนาน ชืน่ มืน่ แค่ไหน ไปชมกันเลย

After undergoing 6 weeks of strenuous and intensive training sessions, the evening of September 29, 2014 was a proud moment for all the members of the new DCP Classes189 - 193, as well as for those who successfully passed the Director Diploma Examination Class 41. The Thai IOD heartily congratulates everyone in having successfully undertaking these Thai IOD Training Programs; whereby the Thai IOD held many celebratory events and activities - former displaying a collection of 'surprised snapshots' of many attendees of each DCP class taken during their training sessions that caused a lot of laughter as well as good memories, to various fun games in which the participants won many prizes. However, the most fun event of all was, perhaps, the taking of congratulatory photos of the new DCP Alumni together with other attendees, which resulted in loud laughter throughout this session. The last event included various new DCP Alumni taking turns in coming on stage to sing - solo or as a class group - their favorite songs. This issue of the BORADROOM has collated and published some photos of these activities, so that everyone can share and view these fun activities as well as the overall celebratory mood during this event in which the Thai IOD Training Programs Alumni received their DCP Certificates or Director Diploma Examination Certificates. Director Diploma Examination 41/2014

Dr.Agapol Na Songkhla Ms.Ratchada Anantavrasilpa

Mrs.Suthasinee Nimitkul

Mrs.Urai Pliemsomran Rogers

Director Certification Program 189/2014

 <

Mrs.Anne-Marie Machet

Mr.Koh Yew Hock

Mr.Supachai Kanjanasakchai

Mr.Blake Dimsdale

Mr.Marc Jacqmin

Mr.Supoj Chinveeraphan

Mr.Christophe Voy

Mrs.Marie-Cecile Georgette Caroline Stevens

Mr.T.James Chaijaroen

Mr.Daniel Schwalb

Mr.Michael Fiore

Mrs.Tongjai Thanachanan

Mr.David Doran

Ms.Patraporn Jarupat

Mr.Ulf Lange

Mr.Frank Hojerslev

Mr.Richard Jones

Mrs.Vareeporn Udomkunnatum

Mr.Fung Meng Hoi

Mrs.Sansanee Sutivong

Mr.Wichai Laocharoenpornkul

Mr.Jacques Marechal

Mr.Stephen Golsby

Mr.Wisate Chungwatana

Mr.Kenneth Ng

Mr.Struan Robertson

Mr.Yasuro Yoshikoshi

Board Success


Director Certification Program 190/2014

นพ.กฤชรัตน์ หิรณ ั ยศิร ิ

นายบุญญรักษ์ ดวงรัตน์

นายสรรเสริญ จรรยาสกุลวงศ์

นายกฤติกา มหัทธนกุล

นายประกิจ ธวัชปรีดพิ งษ์

น.ส.สุกานดา อัมพรสิทธิกลู

น.ส.กัญญาณัฐ ศรีรตั น์ชชั วาลย์

นางประณต ติราศัย

นางสุภาณี เดชาบูรณานนท์

นายเกษม เหล่าจินดาพันธ์

นายปรัชญา กุลวณิชพิสฐิ

นางสุวดี จงสถิตย์วฒ ั นา

นายจงรัก รัตนเพียร

นางรัตนา ชอบใช้

นายแสนผิน สุข ี

นายชิตชัย เธียรกาญจนวงศ์

นายราเมศวร์ ศิลปพรหม

นายอธิวตั ร ลวพิมล

นายโชติชยั เจริญงาม

นางวราวรรณ ทิพพาวนิช

น.ส.อาทร วนาสันตกุล

นายณ.พงษ์ สุขสงวน

นายวิธพล เจาะจิตต์

นายอารักษ์ ทองเรือง

นางณิยะดา จ่างตระกูล

นางวินิตา เจนวัฒนวิทย์

น.ส.อารีวรรณ์ ศรีวชิ ชุพงษ์

น.ส.นารี เจียมวัฒนสุข

นายวิรชั มรกตกาล Director Certification Program 191/2014

นายกฤษณ ไทยด�ำรงค์

นายนรวิชญ์ หล้าแหล่ง

น.ส.ศศิธร สุวฒ ั นะพงศ์เชฏ

นายกิตติพงศ์ ลิม่ สุวรรณโรจน์

นายปริพนั ธ์ หนุนภักดี

นายศักรินทร์ ดวงจันทร์โชติ

น.ส.จิตรลดา สิระชาดาพงศ์

นายพร ดารีพฒ ั น์

นายสมชาย กูใหญ่

นายชญานิน เทพาค�ำ

นางพวงจันทร์ เหล่าสุทธิวงษ์

นายสมยศ ธีระวงศ์สกุล

น.ส.ชนาลัย ฉายากุล นายชัยณรงค์ ลิมป์กติ ติสนิ

ดร.พัทธนันท์ เพชรเชิดชู

นายสมศักดิ ์ บริสทุ ธนะกุล

น.ส.พิณแก้ว ทรายแก้ว

นายสุรศักดิ ์ สุธรรมจารุ

นายด�ำรงค์ ปิ่นภูวดล

นายพิทกั ษ์ จรรยพงษ์

นายอนุชา สมจิตรชอบ

นายธเนศ พิรยิ โ์ ยธินกุล

นายรัมย์ เหราบัตย์

นายอัครเศวต หัสดิน

นายธานินทร์ สุวรรณวัฒน์

รศ.ดร.วรสัณฑ์ บูรณากาญจน์

นายอาวุธ วรรณวงศ์

นายนพเดช กรรณสูต

นางวัลยา วงศาริยวานิช

Board Success

> 


> Board Review Director Certification Program 192/2014

นายกิตติพงษ์ สกุลคู

นายธีระยุทธ บุญโชติ

นางพัชนี วัชรเมธีวรนันท์

นายโกศิน ฉันธิกุล

นางนฤมล เฮงมีชยั

นายมณเฑียร วีโรทัย

นายเจริญรัฐ ปิงคลาศัย

นายนิตธิ ร ดีอำ� ไพ

นางวิราวรรณ ธารานนท์

นายชนินทร์ เชาวน์นิรตั ศิ ยั

นายประพันธ์ ลิขติ วัชรปกรณ์

พลโทวิสษิ ฐ แจ้งประจักษ์

นายชวลิต พิชาลัย

นายพงศ์พเิ ชษฐ์ นานานุกลู

นายสมชาติ เสริมวงศ์ตระกูล

นายชุมพล สิรปิ ชู กะ

นายพงษ์ศกั ดิ ์ นันตวรรณกุล

นายสาธิต ถนอมกุล

พลเอกเชาวฤทธิ ์ ประภาจิตร์

นายพรสัณห์ พัฒนสิน

นายสืบพงษ์ พันธุพ์ ฤทธิ ์

นายตนุภทั ร รัตนพูลชัย

นายพลช หุตะเจริญ

นายอนุวตั ร เลิศพิทกั ษ์สนุ ทร

นายธ�ำรงค์พล แดงบุบผา

นางพลอย สุขศรีสมบูรณ์

นางอาภาภรณ์ สงวนศักดิภั์ กดี

Director Certification Program 193/2014

 <

นายกริช จันทร์เจริญสุข นายกิจจา ปทั มสัตยาสนธิ

ดร.ธวัช อนันต์ธนวณิช

นางสาววราลี เลขวรนันท์

นายนรภัทร เลขยานนท์

นายลือชา การณ์เมือง

นายกิตติศกั ดิ ์ สกุลคู

นางสาวบัณฑรโฉม แก้วสอาด

นายวรวิทย์ เตชะอ�ำนวยสุข

นายจรัญ สอนสวัสดิ ์

นายประกอบเกียรติ นินนาท

ดร.สกล กิตติวชั ราพงษ์

นายชวาลา เทียนประเสริฐกิจ

นางสาวประไพพร อุดมผล

นายสุชาติ มงคลอารียพ์ งษ์

นายชานนท์ พฤกประสงค์

นายพงษ์ศกั ดิ ์ พิบลู ศักดิ ์

นายสุพจน์ มหพันธ์

นางสาวชุตกิ า สุทธิกาญจนังกูร

นายไพบูลย์ เทพเลิศบุญ

นายอนุชติ สกุลคู

นางชุตมิ า เต็มทรัพย์อนันต์

นายมงคล แซ่จวิ

นายอาชวิณ อัศวโภคิน

นายธงรบ ด่านอ�ำไพ

นางรัชนี กีรติเชาวนากุล

นางอาริญา ปราสาททองโอสถ

นายธนา เอือ้ วิทยา

นายรัฐ จิโรจน์วณิชชากร

Board Success



> Welcome New Member

WELCOME New Member สมาชิกสามัญบุคคล

Mr. Ambrose K.S. Chan CEO-SEA DSG International (Thailand) PLC. Mr. Charin Satchayan Chairman Charin & Associates Limited Mr. Chaya Hasdiseve Managing Director Padaeng Industry (Laos) Mr. Douglas Harter De Weese Managing Director Pacific Medical Co., Ltd Mr. E.T.Hunt Talmage III Director Chandler & Thong-ek Law Offices Ltd. Ms. Justine Wang COO-SEA DSG International (Thailand) PLC. Mr. Lim Kean Peoh Director Technip Engineering (Thailand) Limited Mr. Jan Eike Graeff Managing Director DP Clean Tech (Thailand) Co., Ltd. Mr. Kengo Mizuno Managing Director NRI Consulting & Solutions (Thailand) Mr. Patai Bunmak Managing Director Raiwins Maintenance and Service Co., Ltd Mr. Russell L. Kekuewa Executive Director Tetra Pak (Thailand) Ltd.

 <

Welcome New Member

Mr. Somchai Thongchai Director Barclays Capital Securities (Thailand) Ltd. Ms. Suyanee Vessabutr Executive Director The Botanical Garden Organization Mr. Syed Rahat Ahmad Executive Director Human Capital Group Executive Search Co.,Ltd. Mr. Thatchai Chuaprapaisilp Executive Director Wellness Management Co., Ltd Ms. Woratip Rerkpiboon Executive Director Padaeng Properties Co., Ltd. นางสาวกนกพร อังสุนทรสฤษดิ ์ กรรมการ บริษทั ไทยเซ็นทรัลเคมี จ�ำกัด (มหาชน) นายกร ทัพพะรังสี ประธานกรรมการ บริษทั เอ็นซีแอล อินเตอร์เนชันแนล ่ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) นางสาวกฤษณา อร่ามกุลชัย กรรมการบริหาร ธนาคารไทยเครดิต เพือ่ รายย่อย จ�ำกัด (มหาชน) นายกิตติ พัวถาวรสกุล กรรมการบริหาร บริษทั เอ็นซีแอล อินเตอร์เนชันแนล ่ โลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) นายจักรกฤษณ์ เล็กท่าไม้ ผูจ้ ดั การฝา่ ย บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จ�ำกัด นางจิตรมณี สุวรรณพูล กรรมการตรวจสอบ บริษทั แกรนด์ คาแนล แลนด์ จ�ำกัด(มหาชน)


นายชวชาต เตพละกุล กรรมการบริหาร บริษทั มาสด้า ชลบุร ี จ�ำกัด

นายเพียรชัย ถาวรรัตน์ ประธานกรรมการ บริษทั พีซที บี ี จ�ำกัด

นายแชมป์ ศรีโชคชัย กรรมการบริหาร บริษทั อินเตอร์ ฟาร์อสี ท์ วิศวการ จ�ำกัด (มหาชน)

นางภูวษา สินธุวงศ์ กรรมการบริหาร ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ (องค์การ มหาชน)

นายณรัตน์ไชย หลีระพันธ์ ประธานบริษทั บริษทั โพลี เทคโนโลยี จ�ำกัด นายทศพร บุณยพิพฒ ั น์ กรรมการ บริษทั พีทที ี ฟีนอล จ�ำกัด นายธนรัชต์ วิเชียรรัตน์ กรรมการอิสระ โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง นายธีรพจน์ วัชราภัย กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ บริษทั ทุนธนชาต จ�ำกัด (มหาชน) นายธีรพัฒน์ จิรพิพฒ ั น์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เชียงใหม่รมิ ดอย จ�ำกัด นายนที อ่อนอิน ประธานกรรมการ บริษทั เซ็ปเป้ จ�ำกัด (มหาชน) นายบุญเชิด สุวรรณทิพย์ กรรมการ บริษทั เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอร์วสิ จ�ำกัด นางพรรณา ปญั จวีณนิ รองกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั สิทธินนั ท์ จ�ำกัด นายพิทเยนท์ อัศวนิก กรรมการตรวจสอบ บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน แอสเซท พลัส จ�ำกัด

ดร.รัชดา ธนาดิเรก กรรมการบริหาร พรรคประชาธิปตั ย์ นางรุง่ รัตน์ ประภาศิรกิ ุล กรรมการบริหาร บริษทั ไบโอ-แมส เพาเวอร์ จ�ำกัด นายวสันต์ สว่างศรีงาม เลขานุการบริษทั บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จ�ำกัด นายวัฒนา หลายเพิม่ พูน เลขานุการบริษทั /รองผูจ้ ดั การใหญ่อาวุโส รักษาการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ผลิตไฟฟ้าและน�้ำเย็น จ�ำกัด นางวิจติ รา อร่ามวัฒนานนท์ รองประธานกรรมการ บริษทั ซี เวลท์ โฟรเซ่น ฟู้ด จ�ำกัด ดร. วิน อุดมรัชตวนิชย์ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน วรรณ จ�ำกัด นายวิบลู ย์ อุตสาหจิต ประธานกรรมการ บริษทั สยามเวลเนสกรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) ดร.วิรชั อภิเมธีธำ� รง ประธานกรรมการ บริษทั อินทัช โฮลดิง้ ส์ จ�ำกัด (มหาชน) นายวิศษิ ฎ์ อัครวิเนค กรรมการตรวจสอบ บริษทั ทาคูนิ กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) Welcome New Member

> 


> Welcome New Member

WELCOME New Member นายวุฒชิ ยั ดวงรัตน์ กรรมการ การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย นายศิวกร ชมชืน่ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั แครทโคร จ�ำกัด นายศุภนันท์ ฤทธิไพโรจน์ กรรมการบริหาร บริษทั อินเตอร์ ฟาร์อสี ท์ วิศวการ จ�ำกัด (มหาชน) นายสมเกียรติ มรรคยาธร กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ปทุมไรซมิล แอนด์ แกรนารี จ�ำกัด (มหาชน) นายสมชาย โล่หว์ สิ ทุ ธิ ์ กรรมการบริหาร บริษทั ไทย อะโกร เอ็นเนอร์ย่ี จ�ำกัด (มหาชน)

พลเรือเอก อภิวฒ ั น์ ศรีวรรธนะ ประธานกรรมการ การท่าเรือแห่งประเทศไทย

สมาชิกสามัญนิติบุคคล

ธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) ดร. กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ กรรมการ นายกัลยาณะ วิภตั ภิ มู ปิ ระเทศ กรรมการ นายธเนศพล กรรมการ

ธนบุญยวัฒน์

นายสมบัต ิ นิธฐิ มิ ณีรตั น์ กรรมการ PTT International Trading DMCC

บริ ษทั กรุงไทยธุรกิ จลีสซิ่ ง จ�ำกัด นายประสิทธิ ์ วสุภทั ร กรรมการ

นายสยาม เตียวตรานนท์ กรรมการบริหาร บริษทั เทิรน์ คีย์ คอมมูนิเคชัน่ เซอร์วสิ จ�ำกัด

นางประราลี รัตน์ประสาทพร กรรมการ

นายสามารถ ผันผ่อน ประธานกรรมการ บริษทั มาสด้า ชลบุร ี จ�ำกัด ดร.สีหศักดิ อารี ราชการัณย์ ์ กรรมการบริหาร บริษทั ไทย อะโกร เอ็นเนอร์ย่ี จ�ำกัด (มหาชน) นายเสข วรรณเมธี กรรมการ การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย นางเสาวคุณ ครุจติ ร ประธานกรรมการบริหาร บริษทั สหไทย เทอร์มนิ อล

 <

Welcome New Member

บริ ษทั ซีฟโก้ จ�ำกัด (มหาชน) นายศิวะ แสงมณี กรรมการ บริ ษทั ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) นายนิรนั ดร์ ธีรนาทสิน กรรมการ บริ ษทั ทีดบั บลิ วแซด คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) นางปิยะนุช รังคสิร ิ กรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษทั ปริ ญสิ ริ จ�ำกัด (มหาชน) รศ. อัญชลี พิพฒ ั นเสริญ ประธานกรรมการตรวจสอบ


บริ ษทั สามัคคีประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) นางสาวนิตยา พิรยิ ะธรรมวงศ์ กรรมการผูจ้ ดั การ

Mr. Jonathan LH Blaine Consultant Baker and Mckenzie Co.,Ltd.

นายบุญมี งดงามวงศ์ กรรมการอิสระ

Mr. Junichi Yoshida Associate General Manager Sumitomo Mitsui Trust Bank (Thai) Pcl.

นายสุวรรณ วงศ์ศรีวงศ์ กรรมการ บริ ษทั อิ ชิตนั กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) นายอิสสระชัย เดชาฤทธิ ์ กรรมการอิสระ บริ ษทั อุตสาหกรรมไทยบรรจุภณ ั ฑ์ จ�ำกัด (มหาชน) นางจิตลดา วงศ์พานิช กรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษทั แอล.วี. เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) นายธนชาติ ธนเศรษฐกร กรรมการอิสระ นายศุภรัชชัย วรรัตน์ กรรมการอิสระ

Mr. Manoj Gurnuxani Financial Director Mega Lifesciences Public Company Limited Mr. Nicolas Malgouyres General Manager Comin Thai Engineering Solutions Co.,Ltd. Mr. Pratthana Leelapanang EVP-Marketing Advance Info Service PCL. นายเกรียงศักดิ ์ วาณิชย์นที หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านเทคโนโลยี บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จ�ำกัด (มหาชน)

นายอุระ หวังอ้อมกลาง กรรมการอิสระ

นายคเณศ วิศรุตพงษ์ ผูอ้ ำ� นวยการสายแผนและยุทธศาสตร์องค์กร บริษทั บางจากปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน)

พลเอก ชูเกียรติ ตันสุวฒ ั น์ กรรมการอิสระ

นายคมสัน บุพนิมติ ร์ Senior Vice President บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จ�ำกัด (มหาชน)

สมาชิกสมทบ

นางสาวจุฑาทิพย์ สุดกระโทก เจ้าหน้าทีต่ รวจสอบภายใน บริษทั ซี.ไอ.กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน)

Mr. Egathi Rattana-aree Vice President Mitsubishi Motors (Thailand) Co., Ltd.

นางชลิกา แสงอุดมเลิศ Vice President and Manager ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน)

Mr. Gideon Otto Moolenburgh Reginal Financial Controller OCS ROH Ltd

นางธิดารัชต์ ไกรประสิทธิ ์ ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน)

Welcome New Member

> 


> Welcome New Member

WELCOME New Member ดร. นารี บุญธีรวร เลขานุการคณะอนุกรรมการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย นายบุญชัย กาญจนพิมาย ผูอ้ ำ� นวยการ ธนาคารแห่งประเทศไทย นางสาวปริญดา โตมรศักดิ ์ ผูช้ ว่ ยเลขานุการบริษทั บริษทั เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ำกัด (มหาชน) นายปญั ญา เล่าชู รองผูว้ า่ การ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค พลเรือเอก พลวัฒน์ สิโรดม ทีป่ รึกษา บริษทั เอาท์ดอร์ อินโนเวชัน่ จ�ำกัด นายพิชติ วงศ์รจุ ริ าวาณิชย์ ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส บริษทั บางจากปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) นางมนทกานติ สินธุเสก ผูอ้ ำ� นวยการฝา่ ยจัดการธุรกิจในเครือ การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย นายวรพร ตัง้ สง่าศักดิ ์ศรี ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส ธนาคารแห่งประเทศไทย นางวีรสา อัตตะนันทน์ ทีป่ รึกษาบริษทั บริษทั ศักดิ ์สินประสิทธิ ์ จ�ำกัด นายศิลปรัตน์ วัฒนเกษตร รองกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั โอเชียนกลาส จ�ำกัด (มหาชน) นายสมชาย ปญั ญาภรณ์ ผูช้ ว่ ยเลขาธิการสายประกันภัยภูมภิ าค ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภัย

 <

Welcome New Member

นายสมประโชค ปิยะตานนท์ ผูช้ ว่ ยเลขาธิการสายกฎหมาย ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภัย นางสาวสุชาวดี แสงอนงค์ รองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั กรุงไทยพานิชประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) นายสุรนิ ทร์ ตนะศุภผล ผูช้ ว่ ยเลขาธิการสายกลยุทธ์องค์กร ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภัย นายอายุสม์ กฤษณามระ ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การใหญ่ ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน)



Apply for IOD Membership Today

สมัครสมาชิก IOD วันนี้ Receive Special Benefits Pay member price rate for all director training courses Attend IOD member activities for free of charge or if a fee is involved, pay only the discounted member price Send another representative from your organization to attend some IOD events Receive information about good corporate governance and related reports and research Entitled to receive more detailed information on new developments indicated in the flash messenger service sent by email or posted on the website Entitled to receive the bi-monthly Boardroom Magazine issues. Eligible to have your profile details in the IOD database that contains professional information of members and directors Use of IOD lounge and access to the IOD library Purchase IOD books, academic publications and other merchandise at a special rate

Special discount in many businesses. Among them are: * * * * * **

LDC Dental Clinic (www.ldcdental.com) The Pine Golf and Lodge Baanhuangnamrin Resort Mom Chailai River Retreat Mind and Wisdom Development Center Membership card must be shown.

Membership Fees / อัตราคาสมาชิก สมาชิกสมทบ Associate Member

Initial Fee: THB 1,500

Annual Fee: THB2,500

สมาชิกสามัญบุคคล Individual Member

Initial Fee: THB 5,000

Annual Fee: THB4,000

สมาชิกสามัญนิติบุคคล Juristic Member

Initial Fee: THB 3,000/ Person Annual Fee: 3 representatives THB 4,000 each 4-6 representatives THB 3,500 each More than 7 representatives THB3,000 each

Special offer! Only THB 7,500 for 3 years membership

รั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษมากมาย สวนลดสําหรับหลักสูตรฝกอบรมตาง ๆ ในอัตราสมาชิกตาม ที่สมาคม ฯ กําหนด สวนลดสําหรับสงตัวแทนบริษัทเขารวมกิจกรรมของสมาคม ฯ ในราคาสมาชิก สิทธิ์เขารวมกิจกรรมสมาชิก โดยไมเสียคาใชจายหรือในราคา สมาชิก รับบริการขอมูลดานการกํากับดูแลกิจการที่ดี,ขอมูลเชิงสถิติ และรายงานการสํารวจหรือการวิจัยที่สมาคมฯจัดทําขึ้นจาก Board Room Flash ทาง Email และ Website และนิตยสาร Board Room Magazine ที่จัดพิมพปละ 6 เลม รับสิทธิ์ในการประกาศสถานะสมาชิก Graduate Member and Fellow Member และบันทึกฐานขอมูลสมาชิกในโครงการ คนหากรรมการ (Director Search) สิทธิ์ในการใช IOD Lounge ในการประชุมพบปะ หรือคนควา หนังสือที่เปนประโยชนสําหรับกรรมการในหองสมุดที่มีกวา 500 เลม สิทธิ์ในการซื้อหนังสือ สินคา และคูมือตาง ๆ จากทาง IOD ใน ราคาพิเศษ สิทธิ์ในการใชหองสัมมนาของ IOD ในราคาพิเศษ (มีส่ิงอํานวย ความสะดวกอาทิ Internet และเครื่องประมวลผลการลง คะแนน) สวนลดพิเศษสําหรับสมาชิกสมาคมฯในการซื้อหนังสือรายงาน ผลสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน,รายงานผล สํารวจคาตอบแทนกรรมการ

รวมไปถึงสินคาและบริการจากบริษัทและองคกรชั้นนํา ที่รวมมือและสนับสนุน IOD อาทิ

* ศูนยทันตกรรมแอลดีซีทุกสาขา * เดอะไพน กอลฟ แอนด ลอดจ * บานหวยนํ้าริน รีสอรท * หมอมไฉไล แนเชอรัล รีทรีท * ศูนยพัฒนาจิตและปญญา ยุวพุทธิกสมาคมแหงประเทศไทยฯ * ธุรกิจสนับสนุนอื่นๆ อยูระหวางการประสานงาน

• Cash • Cheque in favour of Thai Institute of Directors Association • Bank Transfer to "Thai Institute of Directors Association" Saving account No. 049-4-03425-5 Siam Commercial Bank, Witthayu Branch Please fax pay in slip to Thai Institute of Directors after transferring fax no. 02-955-1156-57 • เงินสด ชําระไดที่สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • เช็คสั่งจาย “สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย” • โอนเขาบัญชีออมทรัพย เลขที่บัญชี 049-4-03425-5 ชื่อบัญชี“สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ”ธนาคารไทยพาณิชย สาขาถนนวิทยุ และ Fax สําเนาการโอนเงินมายัง หมายเลข 02-955-1156-57

สนใจสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ฝายสมาชิกสัมพันธ โทร. 0-2955-1155 ตอ 401 – 404 หรือดาวนโหลดใบสมัครไดที่ www.thai-iod.com




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.