Boardroom 28

Page 1




Content 8

Board Diversity Survey

18

> 05 Board Welcome > 06 CEO Reflection > 08 Cover Story

• World Bank Admires Thai Capital Market for CG Development • The Report on Observance of Standards and Codes

> 14 Board Briefing

• IOD Annual General Meeting 2013 • Introducing IOD New Directors

> 18 Board Development

Board Diversity Survey Report of Thai Listed Companies in 2013

> 20 Anti-Corruption Update

• Integrity Pact • The Opinion Survey of Private Sector Leaders on Corruption Problem

24

Compostable Bioplastic

34

> 30 CR Column

• A New Step of Sustainability Report • Compostable Bioplastic: Boost Your Company and Help Save the Earth

> 39 Board Review

Fundamentals of Risk Management:

> 41 Board Activities

• National Director Conference 2013 • Orientation DCP 173-174 • DAP for New Shares, Pride of the Province Project • Effective Regulation and CG in Asia

> 44 Board Success > 46 Welcome New Member

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการเผยแพร่เกี่ยวกับการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีให้กับสมาชิกสมาคมฯ 2. เพื่อเป็นการเผยแพร่ข้อมูลกิจกรรมของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ให้กับสมาชิกสมาคมฯ 3. เพื่อเป็นการเผยแพร่บทความและกิจกรรมของสมาคมให้สมาชิกรับทราบ 4. สรุปประเด็นด้านกฎหมาย กฎระเบียบใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำ�หน้าที่กรรมการ

คณะกรรมการ ประธานกิตติมศักดิ์ ศ.หิรัญ รดีศรี ศ.ดร. โกวิทย์ โปษยานนท์ ประธานกรรมการ คุณหญิงชฎา วัฒนศิริธรรม รองประธาน นายเกริกไกร จีระแพทย์ นายปลิว มังกรกนก นายยุทธ วรฉัตรธาร กรรมการ นายกิติพงศ์ อุรพีพัฒนพงศ์ นายจรัมพร โชติกเสถียร นายฉัตรชัย วีระเมธีกุล นายชูศักดิ์ ดิเรกวัฒนชัย นายโชติ โภควนิช นางทองอุไร ลิ้มปิติ ดร. วรพล โสคติยานุรักษ์ นายประพัฒน์ โพธิวรคุณ นายสิงห์ ตังทัตสวัสดิ์ ศ.ดร. สุรพล นิติไกรพจน์ กรรมการผู้อำ�นวยการ ดร. บัณฑิต นิจถาวร คณะผู้จัดทำ� / เจ้าของ สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย กองบรรณาธิการ นางรงค์รุจา สายเชื้อ นางวิไลรัตน์ เน้นแสงธรรม นางสาวศิริพร วาณิชยานนท์ นางวีรวรรณ มันนาภินันท์ นางสาวสาริณี เรืองคงเกียรติ สำ�นักงานติดต่อ อาคารวตท. อาคาร 2 ชั้น 3 2/9 หมู่ที่ 4 (โครงการนอร์ธปาร์ค) ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ (66) 2955-1155 โทรสาร (66) 2955- 1156-7 E-Mail : sarinee@thai-iod.com Website : http://www.thai-iod.com Board of Directors Honorary Chairman Prof. Hiran Radeesri Prof. Kovit Poshyanand Chairperson Khunying Jada Wattanasiritham Vice Chairman Mr.Krirk-Krai Jirapaet Mr.Pliu Mangkornkanok Mr.Yuth Vorachattarn Director Mr.Charamporn Jotikasthira Mr.Chatchai Virameteekul Mr.Chusak Direkwattanachai Mr.Joti Bhokavanij Mr.Kitipong Urapeepatanapong Mr.Praphad Phodhivorakhun Mr.Singh Tangtatswas Prof. Dr. Surapon Nitikraipot Mrs.Tongurai Limpiti Dr.Vorapol Socatiyanurak President & CEO Dr.Bandid Nijathaworn Owner Thai Institute of Directors Association Editor Mrs. Rongruja Saicheua Mrs. Wilairat Nensaengtham Ms. Siriporn Vanijyananda Mrs. Wirawan Munnapinun Ms. Sarinee Ruangkongkiat Contact CMA Building 2, 2/7 Moo4 Northpark Project, Vibhavadi-Rangsit Road, Thung SongHong, Laksi, Bangkok 10210 Tel : 0-2955-1155 Fax : 0-2955-1156-7 E-mail : sarinee@thai-iod.com Website : http://www.thai-iod.com


> Board Welcome

BOARD

WELCOME

The rainy season has come again. It's time to enjoy the fresh air and the lush greenery. However, don't forget to take special care of your health amid the rain and the mud. It is the same as with businesses. If business leaders don't take care of corporate governance, their companies won't be healthy and sustainable. Companies have been giving increasingly higher priority to good corporate governance, and many organizations now use this measure to assess and rank companies. The World Bank recently released a corporate governance assessment of the Thai capital market in 2012, in its Report on the Observance of Standards and Codes: Corporate Governance Country Assessment. The report says the Thai market has made progress on this front, and this has bolstered investors' confidence. In this issue, we are presenting a cover story on the World Bank report and a Thomson Reuters interview with Dr. Bandid Nijathaworn, IOD's President and CEO. The many other interesting features in this issue include stories on the Integrity Pact, a tool to counter corruption, and on the new corporate sustainability reporting framework developed by the Global Reporting Initiative. In the back is a compilation of photos of the National Directors Conference 2013 that the IOD organized on June 12. We will publish a summary of the conference in the next issue. In the second half of this year, the IOD looks forward to welcoming all members to our monthly activities new training courses such as the Risk Management Committee Program in September. Editor

เข้าหน้าฝนแล้ว ไปทางไหนก็สมั ผัสกับความชุ่มฉ�่ ำของ น�้ ำฝนตลอดทาง สร้างความสดชื่นอย่างมาก ต้นไม้ใบหญ้าก็ดูจะ อุดมสมบูรณ์ แต่กต็ อ้ งระวังเพราะอากาศทีด่ เู หมือนดีน้ีกแ็ อบมีเชือ้ โรคทีท่ ำ� ให้เราไม่สบายได้งา่ ยๆ เหมือนกัน เช่นเดียวกับการด�ำเนิน ธุรกิจ หากผูบ้ ริหารด�ำเนินธุรกิจให้เจริญก้าวหน้าโดยไม่มกี ารระแวด ระวังในเรื่องก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ธุรกิจก็อาจจะด�ำเนินไปอย่าง ไม่มเี สถียรภาพ ขาดความมันคงยั ่ งยื ่ น และน�ำมาซึง่ ความเสียหาย อันใหญ่หลวงได้ ดังนัน้ การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ จี งึ เป็นสิง่ ส�ำคัญทีก่ รรมการ หรือผูบ้ ริหารควรให้ความสนใจเป็ นอย่างยิง่ และนับวันการก�ำกับ ดูแลกิจการทีด่ กี เ็ ข้ามามีบทบาทส�ำคัญมากขึน้ หลายหน่ วยงานมี การประเมิน การจัดอันดับให้รางวัลแก่บริษทั ที่ด�ำเนินธุรกิจด้วย ความถูกต้องโปร่งใสตามหลักของการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี ล่าสุด ธนาคารโลกได้เปิ ดเผยผลประเมินบรรษัทภิบาลตลาดทุนไทยปี 2555 ในรายงานเรื่อง การประเมินการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานสากล ด้านบรรษัทภิบาล (The Report on the Observance of Standards and Codes: Corporate Governance Country Assessment) หรือ CG - ROSC จากรายงานชีใ้ ห้เห็นว่าตลาดทุนไทยมีพฒ ั นาการทีด่ ี และส่งผลด้านความเชือ่ มันให้ ่ กบั ผูล้ งทุน Boardroom ฉบับ นี้ จึง ได้น� ำ เสนอเรื่อ งราวเกี่ย วกับ CG - ROSC รวมถึงบทสัมภาษณ์ของ ดร.บัณฑิต นิจถาวร ทีเ่ คยให้ สัมภาษณ์ไว้กบั ส�ำนักข่าว Thomson Reuters เรือ่ งราวจะเป็นอย่างไร ติดตามได้ทค่ี อลัมน์ Cover Story นอกจากนี้ ยังมีเรือ่ งราวดีๆ ทีน่ ่าสนใจอีกมาก อาทิ Integrity Pact เครื่อ งมือ ที่ช่ ว ยป้ องกัน การทุ จ ริต การท� ำ รายงานแห่ ง ความยังยื ่ น หรือ Sustainability Report ของ Global Reporting Initiative ทีก่ ำ� ลังพัฒนาเป็นแบบ G4 และในท้ายเล่มจะมีการรวบรวม บรรยากาศงาน National Director Conference 2013 ทีเ่ พิง่ จัดไป เมือ่ วันที่ 12 มิถุนายน ซึง่ ผูอ้ า่ นสามารถติดตามบทสรุปเนื้อหาของ งานสัมมนาในวันนัน้ ได้ใน Boardroom ฉบับหน้า สุดท้ายนี้ ก็คงต้องกล่าวว่าให้สมาชิกและผูอ้ ่านทุกท่าน รักษาสุขภาพกันให้ดี เพราะช่วงนี้อากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย และ ช่วงครึง่ ปีหลังนี้ IOD หวังว่าจะได้มโี อกาสต้อนรับสมาชิกทุกๆ ท่าน ทีจ่ ะมาเข้าร่วมกิจกรรมของสมาชิกทีจ่ ดั ขึน้ อย่างต่อเนื่องเป็ นประจ�ำ ทุกเดือน และขอเชิญทุกท่านเข้าร่วมอบรมหลักสูตรใหม่ๆ อาทิเช่น Risk Management Committee Program (RMP) ทีจ่ ะจัดขึน้ ในช่วง เดือนกันยายนนี้ บรรณาธิการ

Board Welcome

> 


> CEO Reflection

Our Task of Rebuilding Governance เรียกคืนการก�ำกับดูแลกิจการให้กับประเทศ

Six months have gone by fast and we are now into July of 2013. The highlight of IOD's activities in the first half of the year definitely was the National Director Conference, held for the second time in June following a successful inaugural conference last year. This year the theme was "Board Leadership Evolution". The conference was attended by over three hundreds IOD members and guests, making it another successful event. The conference was held at the time of several positive pieces of news on Thailand's CG. The latest was the results of the rating under the ASEAN CG scorecard by the Asian Development Bank that showed strong CG performance of Thai listed companies relative to other listed companies in the ASEAN region. These are positive achievements that are noteworthy. Discussion at the conference brought out many important key messages on current corporate governance challenges and practices. The first key message in my view, and possibly the conference's highlight, comes from the keynote address given by the honorable former Prime Minister of Thailand Mr.Anand Panyarachun. The former prime minister urged all Thais to rebuild the country's governance, which has been fast deteriorating because of a sharp worsening of governance in the public sector that has bred inefficiency, rent-seeking, and a rising level of corruption. Rebuilding the country's governance must take place at all levels in earnestness; failure to do so will have devastating consequences for Thailand's future as a nation. The speech I think is powerful and is a must-read for all Thais. It is reprinted in the next entirety in the next issue of Boardroom. Another important message comes from the conference's second keynote address by Mr. Steve Young of the Caux Roundtable, an organization of principled business leaders that promotes moral capitalism and responsible government. Mr. Young stresses that good governance is a public good necessary for economic and social progress and

 <

CEO Reflection

ปี น้ีผา่ นไปแล้วหกเดือน และกิจกรรมทีพ่ ดู ได้วา่ เด่นทีส่ ดุ ของ IOD ช่วงครึง่ แรกของปี ก็คอื งานสัมมนาประจ�ำปีกรรมการบริษทั ที่จดั เป็ นปี ท่สี องต่อจากปี ท่แี ล้วที่งานประสบความส�ำเร็จพอควร ปีน้ีหวั ข้อสัมมนา คือ “พัฒนาการของภาวะผูน้ �ำของกรรมการ” ซึง่ มี สมาชิกและบุคคลทัวไปเข้ ่ าร่วมงานกว่าสามร้อยคน ถือว่าเป็ นอีกปี ที่ง านได้ร บั การตอบรับ ดี ปี น้ี ก ารสัม มนาจัด ขึ้น ท่า มกลางข่า วดี เกีย่ วกับ CG ของประเทศทีเ่ ผยแพร่ออกมาก่อนหน้า คือ การจัด อันดับ CG ของบริษทั จดทะเบียนไทยภายใต้เกณฑ์ ASEAN CG Scorecard โดยธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเซียทีค่ ะแนนของบริษทั จดทะเบียนไทยออกมาดี เมือ่ เปรียบเทียบกับบริษทั จดทะเบียนอืน่ ๆ ในภูมภิ าค ซึง่ เป็ นอีกความส�ำเร็จทีค่ วรกล่าวถึง มี ข้ อ คิ ด และประเด็ น ที่ น่ า สนใจมากมายที่ ถ กกั น ใน งานสัมมนา แต่ทส่ี ำ� คัญทีส่ ดุ ในความเห็นของผมก็คอื ประเด็นทีท่ า่ น ั อดีตนายกรัฐมนตรี คุณอานันท์ ปนยารชุ น ได้กล่าวในปาฐกถาเปิดงาน ที่เ รีย กร้อ งให้ค นไทยท�ำ หน้ า ที่เ รีย กคืน การก�ำ กับ ดูแ ลกิจ การให้ กับประเทศ (Rebuild the country’s governance) ทีไ่ ด้เสื่อมลง ส่ว นหนึ่ ง จากการถดถอยของธรรมาภิบ าลภาครัฐ น� ำ มาสู่ค วาม ไม่มปี ระสิทธิภาพ การเอาเปรียบ จากระบบ (Rent-Seeking) เพือ่ หาประโยชน์ แ ละการทุ จ ริต คอร์ร ปั ชันที ่ ่รุ น แรงขึ้น การเรีย กคืน การก�ำกับดูแลกิจการต้องท�ำในทุกระดับ ท�ำด้วยความจริงใจ และถ้า ไม่ทำ � ผลเสียหายจะมีมากต่ออนาคตของประเทศ ผมคิดว่าปาฐกถา ของท่านอดีตนายกรัฐมนตรีเป็ นการเรียกร้องให้คนไทยมาร่วมแก้ไข ปญั หาทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของประเทศขณะนี้ ก็คอื ปญั หาธรรมาภิบาล หรือ การก�ำกับดูแลกิจการ เป็ นปาฐกถาที่คนไทยทุกคนควรอ่าน ซึ่ง ลงพิมพ์เต็มฉบับในวารสาร Boardroom ฉบับหน้า องค์ ป าฐกอี ก ท่ า นหนึ่ ง ในงาน ก็ ค ือ Mr. Stephen B. Young จาก Caux Round Table องค์กรของผูน้ � ำธุรกิจที่ม ี จรรยาบรรณทีม่ งุ่ ส่งเสริมการท�ำธุรกิจอย่างมีจริยธรรมและรัฐบาลที่ รับผิดชอบ Mr. Young ให้ความเห็นว่า ธรรมาภิบาลหรือการก�ำกับ ดูแลกิจการ เป็ นสินค้า สาธารณะที่จ�ำเป็ นต่อความก้า วหน้ าของ เศรษฐกิจและสังคม และจะเกิดขึน้ ก็ต่อเมือ่ เรามีคนดีอยูใ่ นต�ำแหน่ง อ�ำนาจ ไม่วา่ จะเป็ นภาครัฐหรือเอกชน ดังนัน้ คนไม่ดจี งึ ไม่ควรอยูใ่ น ต�ำแหน่งอ�ำนาจ แม้จะเป็ นระบบประชาธิปไตย อันนี้เป็ นอีกปาฐกถา หนึ่งทีม่ พี ลัง ซึง่ IOD ได้เผยแพร่อยูบ่ นเว็บไซต์


good governance only comes out of good people. This means we must pay utmost attention to the quality of people in positions of power, both in government and companies. Bad people, he said, should not have such positions, even in a democracy. This is another powerful speech, which is available at the IOD's website. The discussion of the board challenges brought out many interesting points and observations. The first is the increased load of regulations from governments world-wide, a trend that is visible now in many advanced market economies. This puts an increasing pressure on company boards to keep up with the changing regulatory environment. The second is the difficulty in finding the right people on take up board positions due to increasing demand from stakeholders on the issues of independence, diversity, and expertise. The third is the challenge in dealing with balancing the role of board and management, especially managing the board room and board management dynamics. These challenges are not new, but they are the issues that require greater attention from company boards in Asia-Pacific at this time. In our case, while the recent CG ratings for Thailand are positive, the ratings consistently point to a common set of weaknesses in our CG performance that includes the role of stakeholders and board responsibilities. Specific to board responsibilities, our current weakness includes CG policy and the actual implementation of the policy i.e., the issue of substance versus form, Others are the role of the board in monitoring and reviewing strategy, how independent directors perform their functions i.e., the independence of independent directors, board evaluation and how the evaluation is followed up. The conference also discussed the challenge to board performance coming from the prevalence of controlling shareholders structure in Asian companies. This is also an issue for Thailand. Under such structure, which includes large family business and government-owned listed companies, the challenge ranges from selecting board members and management, strategy formulation, succession planning, to the role of the board in general. Our speakers did a wonderful job in bringing up the relevant practical points in the discussion, with active participation from members both in the morning discussion and in the afternoon breakout sessions. All in all, it was a fruitful and a worthwhile day and many positive feedbacks were received from conference participants. I owe a debt of gratitude to all our speakers and to IOD staffs for making this year's conference another success. This gives us a lot of confidence to look forward to another National Director Conference next year.

การสัมมนาได้พูดถึงหน้ าที่ของคณะกรรมการในหลาย ประเด็นทีส่ ำ� คัญ เช่น หนึ่ง แนวโน้มการก�ำกับดูแลธุรกิจของภาค ทางการที่เข้มงวดขึ้น ท�ำให้คณะกรรมการจ�ำเป็ นต้องเข้าใจและ ปรับตัวตามภาวะแวดล้อมทางกฎเกณฑ์ก�ำกับดูแลทีเ่ ปลีย่ นแปลง สอง การสรรหากรรมการบริษทั เป็ นเรื่องที่ท้าทายขึน้ เพราะผูม้ ี ส่วนได้ส่วนเสียต้องการเห็นคณะกรรมการให้ความส�ำคัญกับเรื่อง ความเป็ นอิสระของกรรมการ ความสามารถ และความแตกต่าง (Diversity) ในการคัดเลือกกรรมการ และ สาม การท�ำหน้าทีข่ อง คณะกรรมการบริษทั โดยเฉพาะ ความสัมพันธ์กบั คณะผูบ้ ริหารที่ จะท�ำงานร่วมกัน ประเด็นเหล่านี้ไม่ใช่สงิ่ ใหม่ แต่เป็ นประเด็นทีเ่ ป็ น ความท้าทายของคณะกรรมการบริษทั ในภูมภิ าคในขณะนี้ ในกรณีของไทย แม้คะแนนการก�ำกับดูแลกิจการของ ไทยในภาพรวมจะอยูใ่ นเกณฑ์ดี แต่การประเมินโดยหลายองค์กรชี้ จุดอ่อนเหมือนๆ กัน ในการก�ำกับ ดูแลกิจการของไทย ในสอง ประเด็น คือ บทบาทผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย และความรับผิดชอบของ คณะกรรมการ ในประเด็นหลัง จุดอ่อนส�ำคัญอยู่ทก่ี ารปฏิบตั จิ ริง ตามนโยบาย CG ของบริษทั ทีไ่ ด้ประกาศไป ก็คอื ประเด็นเรือ่ งฟอร์ม กับสาระ นอกจากนี้ มีเรือ่ งบทบาทของคณะกรรมการในการติดตาม และประเมินการท�ำตามยุทธศาสตร์ของบริษทั เรือ่ งการท�ำหน้าทีข่ อง กรรมการอิสระ และเรือ่ งการประเมินผลคณะกรรมการและการแก้ไข ปรับปรุงตามทีไ่ ด้ประเมิน นอกจากนี้ การสัมมนาได้พดู ถึงข้อจ�ำกัดในการท�ำหน้าที่ กรรมการในบริษทั ธุรกิจทีม่ โี ครงสร้างความเป็ นเจ้าของทีม่ อี ทิ ธิพล ของผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่สงู ซึง่ เป็นปญั หาส�ำคัญของบริษทั ในแถบเอเซีย จากทีบ่ ริษทั มักจะเป็ นแบบธุรกิจครอบครัว หรือเป็ นหน่วยธุรกิจหรือ บริษทั จดทะเบียนที่มภี าคทางการหรือรัฐเป็ นเจ้าของ โครงสร้าง ดังกล่าว มีผลอย่างส�ำคัญต่อการท�ำหน้ าที่ของคณะกรรมการใน เรื่องการสรรหากรรมการและผูบ้ ริหาร การวางกลยุทธ์ธุรกิจของ บริษทั การสืบทอดต�ำแหน่งและการท�ำหน้าทีข่ องคณะกรรมการโดย ทัวไป ่ ในเรือ่ งนี้วทิ ยากรของเราได้ทำ� หน้าทีอ่ ย่างดี ท�ำให้มกี ารพูด ถึงประเด็นเหล่านี้ในด้านปฏิบตั ทิ ส่ี ำ� คัญๆ รวมถึงมีการแลกเปลีย่ น ความคิด เห็น กับ ผู้เ ข้า ร่ ว มสัม มนาทัง้ ภาคเช้า และภาคบ่ า ยที่ม ี การแบ่งกลุม่ โดยสรุปการสัมมนาพูดได้ว่าเป็ นวันที่เป็ นประโยชน์ ต่อ กรรมการและผลการประเมิน โดยผู้เ ข้า ร่ว มงานก็ใ ห้ข้อ คิด ที่เ ป็ น บวกหลายด้าน ผมขอขอบคุณวิทยากรทุกท่านทีใ่ ห้เกียรติ IOD เข้า ร่วมงานและขอบคุณเจ้าหน้าที่ IOD ทุกคนทีไ่ ด้จดั งานเป็ นอย่าง ดี ท�ำให้งานสัมมนาประสบความส�ำเร็จอีกปี และเป็ นก�ำลังใจให้เรา มุง่ มันที ่ จ่ ะจัดงานสัมมนาอีกครัง้ ในปีหน้า ก็ขอบคุณ และอย่าลืมช่วยกันท�ำหน้าทีเ่ รียกคืนการก�ำกับ ดูแลกิจการให้กบั ประเทศ

And, please do our part in rebuilding the country's governance.

CEO Reflection

> 


> Cover Story

World Bank admires Thai capital market for corporate governance development

ธนาคารโลกชื่ น ชมพั ฒ นาการ ด้านการก�ำกับดูแลกิจการของตลาดทุนไทย

On last 25th April, World Bank has reported the result of corporate governance assessment of Thai capital market in 2012 in the Report on the Observance of Standards and Codes: Corporate Governance Country Assessment or CG-ROSC. Thai capital market has developed and upgraded into the leader in Asia by receiving higher scores in most categories when comparing with the year 2005. In general, Thailand received average score at 82.83 from 100 which increased from 67.66 and average scores in most categories were higher than the averages from other Asian countries.

Categories

Results (score) 2005

2012

83 I. Enforcement & Institutional framework. 75 68 83 II. Shareholders Rights and Ownership 76 III. The equitable Treatment of Shareholders 67 67 85 IV. Role of Stakeholders 71 87 V. Disclosure and Transparency 58 83 VI. Board Responsibilities Total 67.66 82.83

 <

Cover Story

เมื่อวันที่ 25 เมษายน ทีผ่ ่านมาธนาคารโลกได้ประกาศ ผลการประเมินการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องตลาดทุนไทยปี 2555 ในรายงานเรือ่ งการประเมินการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานสากลด้านการ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี (The Report on the Observance of Standards and Codes: Corporate Governance Country Assessment) หรือ ทีเ่ รียกโดยย่อว่า CG - ROSC ซึง่ เป็ นทีน่ ่าภูมใิ จว่า ตลาดทุนไทยมี พัฒนาการทีด่ ขี น้ึ ในการยกระดับการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี เป็ นผูน้ �ำ ของภูมภิ าคเอเชีย โดยได้คะแนนในทุกหมวดสูงขึน้ จากปี 2548 ซึง่ ในภาพรวม ได้รบั คะแนนเฉลีย่ เพิม่ ขึน้ จาก 67.66 เป็ น 82.83 จาก คะแนนเต็ม 100 คะแนน และมีคะแนนเฉลีย่ ทุกหมวดสูงกว่าคะแนน เฉลีย่ ของประเทศต่าง ๆ ในภูมภิ าคเอเชียทีเ่ ข้ารับการประเมิน

ผลการประเมิน (คะแนน) หมวด 2548 2555 I. การบังคับใช้กฎหมายและกรอบการด�ำเนิน 75 83 การด้านการก�ำกับดูแลกิจการ II. สิทธิของผูถ้ อื หุน้ 68 83 III. การปฏิบตั ติ ่อผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกัน 67 76 IV. บทบาทของผูม้ สี ว่ นได้เสีย 67 85 V. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 71 87 VI. บทบาทและความรับผิดชอบของกรรมการ 58 83 รวม 67.66 82.83


In addition, World Bank commented in the report that Thai Institute of Directors (IOD) was an important organization in developing corporate governance in Thailand. It had been active for 13 years in organizing training and seminar to enhance the role of directors in good corporate governance. Moreover, Corporate Governance Report of Thai Listed Companies (CGR) also had a great impact on the compliance of corporate governance. This was in accordance with the mission of IOD which was to support the directors for good corporate governance. The most outstanding points and recommendations for a good development of corporate governance of Thai capital market presented by World Bank could be summarized in the following table.

Outstanding points Recomendations 1. Cooperation and parti- 1. Improve corporate governance cipation of private sector of state enterprise and such as IOD for its training enhance the role of governand CGR ment 2. Efficiency in performance 2. Improve laws and regulations of relevant organizations to be clearer, especially the 3. The law is reviewed and laws related to shareholders. updated 3. Improve information disclosure including financial and nonfinancial information. 4. Determine the measure for company limited to fully comply with the international accounting standard. 5. Enhance the independence of the auditors 6. Enhance the independence of the board and monitoring the performance of executive

ธนาคารโลกยังให้ความเห็นในรายงานดังกล่าวว่า สมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ถือเป็ นองค์กรหนึ่ ง ที่ม ีบ ทบาทส�ำ คัญ ในการช่ ว ยยกระดับ การก� ำ กับ ดูแ ลกิจ การที่ดี ของประเทศไทย จากการด�ำเนินงานมาอย่างต่อเนื่องเป็ นเวลา 13 ปี ทัง้ ในเรื่องการจัดกิจกรรมอบรม สัมมนาเพื่อให้ความรูเ้ กีย่ วกับ การปฏิบตั หิ น้ าที่ของกรรมการตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และโครงการประเมินการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั จดทะเบียน ไทย (Corporate Governance Report of Thai Listed Companies) หรือทีร่ จู้ กั กันทัวไปว่ ่ า CGR ล้วนผลักดันให้เกิดการปฏิบตั ติ ามหลัก การก�ำกับดูแลกิจการในวงกว้าง ซึ่งเป็ นเรื่องที่น่าภาคภูมใิ จเป็ น อย่างยิง่ เนื่องจากสอดคล้องกับภารกิจที่ IOD ได้กำ� หนดไว้ กล่าว คือ พัฒนาและให้การสนับสนุ นกรรมการบริษทั เพื่อการก�ำกับดูแล กิจการทีด่ ี หากพิจารณาถึงส่วนทีโ่ ดดเด่นและข้อเสนอแนะในภาพรวม เพือ่ พัฒนาการทีด่ ขี น้ึ ทางด้านการก�ำกับดูแลกิจการของตลาดทุนไทย ทีธ่ นาคารโลกได้น�ำเสนอไว้ สามารถสรุปได้ตามตารางด้านล่างนี้ ความโดดเด่น ข้อเสนอแนะ 1.ความร่วมมือและการมีส่วน 1.ยกระดับการก�ำกับดูแลกิจการ ร่ ว มของภาคเอกชน เช่ น ของรัฐ วิส าหกิจ และปรับ ปรุ ง IOD ทัง้ ในส่วนของการอบรม บทบาทภาครัฐ และ CGR 2. ปรับปรุงกฎหมาย กฎเกณฑ์ให้ 2.ประสิทธิภาพในการด�ำเนิน มีค วามชัด เจนมากขึ้น โดย งานขององค์กรทีเ่ กีย่ วข้อง เฉพาะทีเ่ กีย่ วกับผูถ้ อื หุน้ 3.มีก ารทบทวนกฎหมายให้ 3. เปิดเผยข้อมูลให้ครบถ้วน รวม ทัง้ ข้อมูลทีไ่ ม่ใช่ขอ้ มูลทางการ ทันสมัย เงิน 4. มีมาตรการให้ บริษทั จดทะเบียน ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการบัญชี สากลอย่างเต็มรูปแบบ 5.ส่ ง เสริม ความเป็ น อิ ส ระของ ผูส้ อบบัญชี 6.สนั บ สนุ น ให้ค ณะกรรมการมี คว าม เ ป็ น อิ ส ร ะแ ล ะมี ก าร ติดตามการด�ำเนินงานของฝา่ ย บริหาร

Cover Story

> 


> Cover Story

Regarding the outstanding points which are relevant to IOD, IOD will maintain the quality of the activities including, training and corporate governance assessment project. IOD has improved the quality of the training courses continuously by taking the standard of good corporate governance into account and include the examples of real practices from Thailand and abroad to enhance the understanding of the directors. Thus, they can use it in their own situations. Moreover, IOD has developed various training courses for all requirements of the directors for examples, a specific training course for various sub-committees or a training course for specific skill of directors.

ในส่วนทีเ่ ป็ นความโดดเด่น โดยเฉพาะในส่วนที่ IOD ได้ เข้าไปมีบทบาทส�ำคัญอยู่ดว้ ยนัน้ ไม่ว่าจะเป็ นด้านการอบรมหรือ โครงการประเมินการก�ำกับดูแลกิจการ IOD จะยังคงรักษาคุณภาพ การด�ำเนินกิจกรรมดังกล่าว โดยในส่วนของการฝึกอบรม IOD ได้ม ี การพัฒนาคุณภาพของเนื้อหาในหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง โดยค�ำนึงถึง มาตรฐานในการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และสอดแทรกด้วยตัวอย่างใน การปฏิบตั จิ ริงทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศ เพือ่ ให้กรรมการได้ รับความรู้ และแนวทางในการน�ำกลับไปใช้ในการปฏิบตั งิ านได้จริง นอกจากนี้ยงั มีการพัฒนาหลักสูตรใหม่ๆ ทีห่ ลากหลาย เพือ่ ตอบสนอง ต่อความต้องการของกรรมการในแง่มมุ ต่างๆ เช่น หลักสูตรเฉพาะ ของคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ หรือ หลักสูตรทีพ่ ฒ ั นาทักษะเฉพาะ ด้านของกรรมการ เป็ นต้น

Meanwhile, IOD emphasizes on CGR project and develops the criteria which have been recognized internationally as the model of CG scoreboard and it was selected from Securities and Exchange Commission of Thailand to join CG expert in ASEAN CG Scoreboard Project. IOD has developed the criteria of the CGR in accordance with ASEAN CG Scoreboard in order to enhance the standard of corporate governance in Thailand to be equal to ASEAN by organizing many events to inform those criteria to listed companies in the first quarter of 2013.

ในขณะเดียวกัน IOD ยังคงให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนิน โครงการ CGR ซึ่ง ตลอดระยะเวลาที่ผ่ า นมา ได้ม ีก ารพัฒ นา หลักเกณฑ์อย่างต่อเนื่อง และได้รบั การยอมรับในระดับสากล ว่า เป็ นต้นแบบของ CG Scorecard จนได้รบั การคัดเลือกจาก ก.ล.ต. ไทยให้รว่ มเป็ น CG Expert ในโครงการ ASEAN CG Scorecard ซึง่ IOD ได้พฒ ั นาหลักเกณฑ์ของ CGR ให้สอดคล้องกับ ASEAN CG Scorecard เพือ่ ยกมาตรฐานการก�ำกับดูแลกิจการของไทยให้ ทัดเทียมกับอาเซียน โดยได้จดั กิจกรรมเสริมสร้างความรูเ้ กีย่ วกับ หลักเกณฑ์ดงั กล่าวแก่บริษทั จดทะเบียนเมือ่ ช่วงต้นปี 2556 ทีผ่ า่ นมา

This important change of CGR emphasizes on the board of directors to realize and comply with the policy seriously by assessing substance and form, namely the company is assessed not only for its policy but it is assessed if it reports the practice of the policy. This will enhance the standard in information disclosure of Thai listed companies in response to the requirements from the investors and it is in accordance with the requirement from World Bank for more non-financial information disclosure.

การเปลีย่ นแปลงทีส่ ำ� คัญของ CGR ครัง้ นี้ จะมุง่ เน้นการ ส่งเสริมให้คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงการปฏิบตั ติ ามนโยบาย ทีไ่ ด้กำ� หนดไว้อย่างจริงจัง โดยจะประเมินทัง้ ในส่วน Substance และ Form กล่าวคือ นอกจากจะพิจารณาว่า มีการก�ำหนดนโยบายไว้แล้ว จะมีการพิจารณาเพิม่ เติมว่า ได้รายงานถึงสิง่ ทีไ่ ด้ปฏิบตั ติ ามนโยบาย ทีก่ �ำหนดไว้หรือไม่ อย่างไร ซึง่ จะช่วยยกมาตรฐานในการเปิ ดเผย ข้อมูลของบริษทั จดทะเบียนไทยให้ตอบสนองต่อความต้องการของ นักลงทุนมากขึน้ และเป็ นไปตามข้อเสนอแนะของธนาคารโลกที่ ต้องการให้มกี ารเปิดเผยข้อมูลทีไ่ ม่ใช่ทางการเงินมากขึน้ ด้วย

In conclusion, IOD is very proud of the compliment from World Bank stating that it was a part of corporate governance development in Thailand. The next step of corporate governance in Thailand is inevitably to emphasize on information disclosure in term of substance and form. As a consequence, the board has a crucial role to comply with the determined policy and ensure the information disclosure to upgrade the standard of corporate governance of Thailand to international level, especially in ASEAN. This will improve image of Thailand and increase the confidence of domestic and foreign investors and strengthen the Thai capital market in a long term.

โดยสรุ ป แล้ ว IOD มีค วามภาคภู ม ิใ จเป็ น อย่ า งมาก ที่ไ ด้ร ับ ค� ำ ชื่น ชมจากธนาคารโลกว่ า เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ท� ำ ให้เ กิด การพัฒนาการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ใี นประเทศไทย ก้าวต่อไปของ พัฒนาการทางด้านการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องไทย คงเลีย่ งไม่ได้ท่ี จะต้องให้ความส�ำคัญกับการส่งเสริมให้เกิดการเปิ ดเผยข้อมูลทัง้ ใน เชิง Substance และ Form ดังนัน้ คณะกรรมการจึงมีบทบาทส�ำคัญ ในการผลักดันให้เกิดการปฏิบตั จิ ริงตามนโยบายทีก่ ำ� หนดไว้ และต้อง ดูแลให้มกี ารเปิ ดเผยข้อมูลดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เพือ่ ยกมาตรฐาน การก�ำกับดูแลกิจการของไทยให้สงู ขึน้ ทัดเทียมกับสากล โดยเฉพาะ ในอาเซียน ซึ่งจะสร้างความน่ าเชื่อถือในการลงทุนในสายตาของ นัก ลงทุนทัง้ ในและต่า งประเทศ และสร้า งความแข็งแกร่ง ให้กบั ตลาดทุนไทยในระยะยาวต่อไป

 <

Cover Story


About CG - ROSC Project

เกี่ยวกับโครงการ CG - ROSC

CG - ROSC (The Report on the Observance of Standards and Codes: Corporate Governance Country Assessment) is the project that assesses the capital market in each country for how much it has criteria and practice in accordance with international standard. The assessor is World Bank.

การประเมินการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานสากลด้านการ ก�ำกับดูแลกิจการทีด่ หี รือโครงการ CG - ROSC (The Report on the Observance of Standards and Codes: Corporate Governance Country Assessment) เป็ นโครงการทีป่ ระเมินว่า ตลาดทุนของประเทศนัน้ มีกฎเกณฑ์และการปฏิบตั เิ ป็ นไปตาม มาตรฐานสากลมากน้อยเพียงใด โดยผูป้ ระเมิน คือ ธนาคารโลก (World Bank)

To participate in the project depends on willingness of each country. Therefore, the frequency is different in each country and the information disclosure in the report depends on the willingness of that country. Any country can be assessed without any charge, but it has to give information and coordinate with various organizations in the country to facilitate the World Bank officers to collect data for the assessment. Currently, there are 59 countries in the project. In 2003, National Corporate Governance approved the participation of the project by assigning Securities and Exchange Commission of Thailand to be responsible for coordinating relevant organizations for data collection. The first result was published in 2005.

การเข้าร่วมโครงการขึน้ กับความสมัครใจของแต่ละ ประเทศ ดังนัน้ ความถี่ในการประเมินจึงแตกต่างกันไป และ การเปิ ดเผยข้อมูลของรายงานก็เป็ นไปตามความสมัครใจของ ประเทศนัน้ ๆ ประเทศต่างๆ สามารถเข้ารับประเมินได้โดยไม่เสีย ค่า ใช้จ่า ย เพีย งแต่ ต้อ งให้ค วามร่ว มมือ ในการให้ข้อ มูล และ ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในประเทศ เพือ่ ให้ เจ้าหน้าทีข่ องธนาคารโลกสามารถเก็บข้อมูลเพือ่ การประเมินผล ได้ ปจั จุบนั มีประเทศเข้าร่วมประเมินทัง้ สิน้ 59 ประเทศ ซึง่ ในปี 2546 คณะกรรมการบรรษัทภิบาลแห่งชาติมมี ติให้ประเทศไทย เข้าร่วมโครงการ โดยให้ ก.ล.ต.เป็ นผูร้ บั ผิดชอบในการประสาน งานเพือ่ รวมรวมข้อมูล ซึง่ มีผลการประเมินออกมาในปี 2548

The assessment criteria are according to the principles of Organization of Economic Cooperation and Development (OECD) consisting of 6 categories such as 1. Enforcement & Institutional Framework, 2. Shareholders Rights and Ownership, 3. The Equitable Treatment of Shareholders, 4. Role of Stakeholders, 5. Disclosure and transparency, 6. Board Responsibilities. In total, there are 64 criteria for the assessment.

เกณฑ์การประเมินเป็ นไปตามหลักการขององค์กร เพือ่ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization of Economic Cooperation and Development – OECD) ประกอบด้ว ย 6 หมวด ได้แ ก่ 1. การบัง คับ ใช้ก ฎหมาย และกรอบการก� ำ กับ ดู แ ลกิจ การที่ดี 2. สิท ธิข องผู้ถือ หุ้ น 3. การปฏิบ ัติ ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งเท่ า เทีย มกัน 4. บทบาท ของผู้ ม ีส่ ว นได้ เ สีย ของบริษัท 5. การเปิ ด เผยข้อ มู ล และ ความโปร่ ง ใส และ 6. บทบาทความรับ ผิด ชอบของคณะ กรรมการบริษทั ทัง้ นี้มเี กณฑ์ทใ่ี ช้ในการประเมินทัง้ สิน้ 64 ข้อ

Information from "World Bank reports result of 2nd corporate governance assessment of Thai capital market" made by Securities and Exchange Commission of Thailand.

ข้อมูลจากเอกสาร “ธนาคารโลกประกาศผลการประเมินบรรษัทภิบาล ตลาดทุนไทย ครัง้ ที ่ 2” จัดท�ำโดยส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์

Cover Story

> 


> Cover Story The Report on Observance of Standards and Codes: Corporate Governance Country Assessment (CG-ROSC) Interview: Dr. Bandid Nijathaworn By: Thomson Reuters News Agency

Dr Bandid Nijathaworn is President and CEO of the Thai Institute of Directors (IOD), chairman of the Thai Bond Market Association, a member of the Council of Trustees and a board of director of Thailand Development Research Institute. Bandid is a well-known economist with extensive experience covering macroeconomic and financial issues, including at the International Monetary Fund (IMF) where he joined as a young professional in the IMF Economist programme. Widely recognised as a keen commentator on regional and global policy issues, he contributes actively to policy discussions and capacity-building in the ASEAN region. In June 2012, Bandid was invited to join the Institute of International Finance's joint committee on strengthening the framework for sovereign debt crisis prevention and resolution. Prior to his appointments at the Thai Institute of Directors, Bandid was deputy governor at the Bank of Thailand, responsible for monetary stability financial stability since 2004. He joined the Thai central bank in 1990 until November 2010 when he left to take on the role of president and chief executive of the Thai Institute of Directors to work on improving Thailand's corporate governance as well as to manage the country's private sector anti-corruption initiatives. In addition to contributing regularly to the Bangkok Post, Bandid also writes about economic and governance issues in his weekly column in a leading Thai business daily. He frequently lectures and chairs high-level policy and investor meetings throughout Asia. He was a speaker at the recent ASEAN Capital Markets symposium held in Singapore. Bandid tells Compliance Complete some of the recent major developments in corporate governance in Thailand and the role that the Thai Institute of Directors plays in helping listed firms improve their corporate governance practices.

The government set up the National Governance Committee with the aim of developing international and regional standards. In the aftermath of the Asian financial crisis, the World Bank and the International Monetary Fund tried to promote better practices on data dissemination and standards through an exercise known as the Report on Observance of Standards and Codes (ROSCs) to gauge a company's corporate governance standards. Thailand voluntarily went through the ROSCO exercise, which signalled the importance that the Thai government placed on corporate governance practices in the country. At the regulators' level, the Thai Securities and Exchange Commission and the Stock Exchange of Thailand revised the laws and regulations. These included the introduction of the corporate governance principles, increasing the accountability of the board, as well as aligning accounting and auditing standards with international best practices. The corporate governance principles were guidelines to encourage Thai listed companies to put those principles into practice. The Thai Institute of Directors, for its part, started an initiative in 2001 which assessed listed companies' corporate governance practice and provided them with ratings. The ratings were based on the IOD's own matrix on what constituted good corporate governance. If you look at the ratings, you can see an improvement. In 2001, the average score of Thai listed companies was 50 points out of a total of 100, but in 2012, the score had increased to 77. But it was not just our results that showed an improvement; results of other corporate governance studies such as the CG Watch conducted jointly by the Asian Corporate Governance Association and CLSA were consistent with our findings. The latest study was the World Bank's ROSCs studies released in 2012, which also showed that corporate governance of Thai companies has been improving.

Could you provide a background to the corporate governance efforts in Thailand?

What do you think contributed to the improvements in corporate governance of Thai listed companies? What are the challenges towards making further improvements?

If you look at what has been happening since the 1997 Asian financial crisis, a lot of efforts had been made to improve corporate governance. The lack of good governance was felt to be one of the factors that had contributed to the crisis. Many Asian countries made efforts to improve the governance of countries. In Thailand, these were concentrated at three levels: government, regulators, and companies.

 <

Cover Story

Many factors contributed. The IOD corporate governance ratings showed that Thai companies tend to do well in shareholders' rights, disclosure and reporting, and equal treatment of shareholders. Despite these improvements, there is still room for improvement. One of the key areas that we are looking at is how to reduce the governance gap


among Thai listed companies in terms of the differences in the score. From the IOD rating results, we found that the best company could have a score of 100 in one particular category say on disclosure and reporting, while another company in the same category might have a score of just nine or 10. Such differences could be attributed to the size of the firm and the kind of business they are in. The small and medium-sized companies, for instance, would need to put in greater efforts in ensuring they have good corporate governance practices. The ASEAN Corporate Governance Scorecard, which focuses on the "comply-or-explain" approach, is something that we are working towards; we would like Thai listed companies to adopt such an approach. What we aim to do is for Thai companies to reach international and regional standards, and that will be challenging.

Were these solely the efforts of the IOD? What were the recent efforts by the Thai Securities and Exchange Commission and the Stock Exchange of Thailand in further enhancing the corporate governance practices of Thai listed companies? The incentives for Thai listed companies to improve corporate governance are already there; investors are paying more attention to governance issues than before. In terms of regulatory requirements, listed companies already need to meet the SEC and SET's requirements, for instance, on disclosure. The IOD works closely with the regulators since it is very much part of the financial market infrastructure. People have found the IOD rating results useful because they allow the market to assess how listed companies are doing based on their corporate governance performance, and not just looking at their financial performance. The IOD has been focusing on organising corporate governance fora for Thai listed companies to get them engaged. The reception has been positive. We have also given listed companies briefings on the new criteria that we will use for the IoD rating and many of them turned up, which was a good sign. Next year, we will move closer toward adopting the standards set in the ASEAN Corporate Governance Scorecard. That would mean companies will need to explain, not just the processes they already have in place, but they will also be required to disclose how they carry out those processes. For instance, companies may already have processes that facilitate the nomination of directors, but some of them might not think that it is worth mentioning how they nominated directors. But as we move closer to the ASEAN Corporate Governance Scorecard standards, companies would need to explain and disclose the nomination process. Giving more information about the process provides the evidence that companies are adhering to the process; its substance and form. Investors and the public will demand such disclosure. Investor activism is also on the rise in Thailand.

Is there a general awareness among Thai companies of the correlation between good corporate governance and the value it brings to companies? The correlation between good corporate governance and the value it brings to companies has become increasingly important and is one of the factors investors take into account when assessing a company's long-term viability. People now tend to associate good corporate governance with better long-term performance. This has become quite clear. Increasingly, investors see good corporate governance as a competitive factor. In current market conditions, companies face similar costs as they are buying raw materials from similar markets. Because cost tends to converge, the key factor that differentiates one company from another is their management. Companies managed with a view on sustainability will have more sustained performance in the long term.

Where is Thailand in terms of ESG (economic, social and environmental) reporting and in promoting sustainability to listed companies? ESG reporting is gaining attention in Thailand. Some companies have been ranked high in terms of their ESG reporting, and more Thai companies are looking into this area. That is a clear indication that companies are beginning to adopt ESG reporting, which investors are also recognising. In future, companies will be expected to raise the bar on governance and performance as investors now have higher expectations from companies. Asian companies need to be aware of those expectations and to adjust themselves accordingly. To a certain extent, it also depends on the industry that companies come from. For example, the manufacturing and the mining sectors are more closely aligned with environmental and social issues than say the services and financial sectors. Earlier on, I talked about the need to reduce the variations in the score among Thai listed companies and the need to raise the bar. Aside from that, we also want to spread corporate governance best practices beyond Thai listed companies to other non-listed companies [namely the small and medium enterprises and the not-for-profit organisations], because good corporate governance applies to all. And that would be a challenge. At the IOD we have set out three key tasks to help us achieve that goal: directors and board education; to continue to provide ratings on companies to assess their corporate governance practices, which will also serve as benchmark; and to organise more corporate governance forum for listed companies. Patricia Lee is South-East Asia editor at Compliance Complete in Singapore. She also has responsibility for covering wider G20 regulatory policy initiatives as they affect Asia. Copyright Š Thomson Reuters 2013. All rights reserved.

Cover Story

> 


> Board Briefing

IOD Annual General Meeting การประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี

The IOD chose four new directors at its Annual General Meeting, held on May 31 at the Renaissance Hotel. Khunying Jada Wattanasiritham, the IOD Chairperson, presided over the meeting. Eight IOD directors attended, along with a total of 75 IOD members -- 57 who attended in person and 18 by proxy. The meeting accomplished the tasks on its agenda: certifying the minutes of the 2012 annual meeting, approving the 2012 performance statement and the 2012 financial statement, appointing an auditor and considering the auditing fee, and approving new directors. Dr. Bandid Nijathaworn, IOD President and CEO, reported on last year's performance statement. The IOD has 15 directors. Four of them were stepping down under the three-year rotation system: Khunying Jada Wattanasiritham, Mr. Yuth Vorachattarn, Mr. Kitipong Urapeepatanapong, and Mr. Joti Bhokavanij. The Nominating and Corporate Governance Subcommittee nominated four potential successors based on the composition and the structure of the IOD, including such factors as gender, age, diversity of expertise, expertise in law and in foreign affairs, the IOD's succession plan and its good reputation. The members approved the nominees as new directors. They are Mr. Don Pramudwinai, Mrs. Nualphan Lamsam, Mrs. Patareeya Benjapolchai, and Mr. Weerasak Kowsurat. Members can read the minutes of the meeting on the IOD website: www.thai-iod.com

 <

Board Briefing

2013

เมือ่ วันที่ 31 พฤษภาคมทีผ่ า่ นมา สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย (IOD) ได้จดั การประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี ขึน้ ณ ห้องบอลรูม โรงแรมเรอแนสซองค์ ซึง่ การประชุมในครัง้ นี้ม ี คุณหญิงชฎา วัฒนศิรธิ รรม ประธานกรรมการเป็นประธานในทีป่ ระชุม ร่วมด้วยคณะกรรมการสมาคมฯ อีก 8 ท่าน ขึน้ กล่าวรายงานผล การด�ำเนินงานของสมาคมฯ ในปีทผ่ี า่ นมา พร้อมตอบข้อซักถามแก่ สมาชิกทีเ่ ข้าร่วมประชุม การประชุมใหญ่ฯ ครัง้ นี้ มีสมาชิกเข้าร่วมลงคะแนนเสียง ในการพิจารณาระเบียบวาระการประชุมครบองค์ประชุมตามข้อบังคับ สมาคม จ�ำนวน 57 คน และมีสมาชิกทีล่ งคะแนนเสียงล่วงหน้า จ�ำนวน 18 คน รวมมีสมาชิกลงคะแนนเสียงทัง้ หมด 75 เสียง โดยได้พจิ ารณา วาระต่างๆ ได้แก่ การอนุมตั ริ ายงานการประชุมสามัญประจ�ำปี 2555 การแถลงกิจกรรมทีผ่ ่านมาในปี 2555 การพิจารณาและอนุ มตั งิ บ การเงินปี 2555 การพิจารณาเลือกตัง้ ผูส้ อบบัญชีของสมาคมฯ ประจ�ำ ปี 2556 และก�ำหนดค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชี และอีกวาระหนึ่งที่ ส�ำคัญคือ การแต่งตัง้ คณะกรรมการของสมาคมฯ แทนคณะกรรมการ เดิมทีค่ รบวาระการด�ำรงต�ำแหน่งในการประชุมครัง้ นี้ ได้แก่ คุณหญิง ชฎา วัฒนศิรธิ รรม นายยุทธ วรฉัตรธาร นายกิตพิ งศ์ อุรพีพฒ ั นพงศ์ นายโชติ โภควนิช ทังนี ้ ้ คณะอนุกรรมการสรรหาและก�ำกับดูแลกิจการ ได้เสนอ ชือ่ บุคคลทีเ่ ข้ารับการเสนอชือ่ จ�ำนวน 4 คน จาก 9 คน เพือ่ ให้ประชุม ลงมติ ซึ่ง การพิจารณาคัดเลือกบุ คคลที่เ หมาะสมเป็ น กรรมการ สมาคมฯ นัน้ คณะอนุกรรมการสรรหาและก�ำกับดูแลกิจการพิจารณา โดยได้คำ� นึงถึงองค์ประกอบและโครงสร้างของสมาคมฯ ได้แก่ เพศ วัย มีความเชีย่ วชาญในธุรกิจทีห่ ลากหลาย มีความเชีย่ วชาญด้าน กฎหมาย มีประสบการณ์ดา้ นการต่างประเทศ การเป็ นแบบอย่าง


Before the meeting, the IOD organized a seminar on "The Integrity Pact, a Tool to Prevent Corruption." The aim was to help members understand the pact and the importance of adopting such a pact in Thailand's public procurement process. The panelists were Mr. Manas Jamveha, ComptrollerGeneral at the Comptroller-General's Department; Mr. Vichai Assarasakorn, Vice Chairman of both the Thai Chamber of Commerce and the Board of Trade of Thailand; Dr.Somkiat Tangkitvanich, President of the Thailand Development Research Institute; and Dr. Kanokkarn Anukansai, Director of the Center of Philanthropy and Civil Society at the National Institute of Development Administration. Mr. Chainarong Indharameesup, Chairman of Boyden Associates (Thailand) Limited, was the moderator. We've included a briefing on the event in this issue. The IOD would like to express its appreciation to the sponsors of the seminar: Banpu Public Company Limited; PTT Public Company Limited; PTT Global Chemical Public Company Limited; and Tisco Financial Group Public Company Limited. The IOD will continue organizing interesting and important activities for its members.

ทีด่ ใี นด้านความส�ำเร็จ และการได้รบั การยอมรับ โดยในทีป่ ระชุม ได้มมี ติแต่งตัง้ กรรมการใหม่ 4 ท่าน คือ นายดอน ปรมัตถ์วนิ ัย นางนวลพรรณ ล�่ำซ�ำ นางภัทรียา เบญจพลชัย และนายวีระศักดิ ์ โค วสุรตั น์ รวมมีคณะกรรมการทัง้ หมด 15 ท่าน ส�ำหรับการด�ำเนินงาน ของสมาคมฯ ในปี 2555 ดร.บัณฑิต นิจถาวร กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ สมาคมฯ รับหน้าทีเ่ ป็ นผูช้ แ้ี จงผลการด�ำเนินงานปี ทผ่ี า่ นมา ซึง่ ผล คะแนนเสียงในทีป่ ระชุมฯ ท่านสมาชิกสามารถติดตามได้ทเ่ี ว็บไซต์ ของ IOD (www.thai-iod.com) ทัง้ นี้ ก่อนการประชุมใหญ่ สามัญประจ�ำปี 2556 IOD ได้จ ัด งานสัม มนาเรื่อ ง “Integrity Pact มาตรการส�ำ คัญ ของ ั หาคอร์ร ปั ชัน” การแก้ไ ขป ญ ่ เพื่อ เป็ น เวทีใ นการอธิบ ายถึง ที่ม า และชี้ให้เห็นถึงความส�ำคัญของการน� ำ Integrity Pact มาใช้ใน ประเทศไทย เพื่อแก้ไขปญั หาการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ในการสัมมนา ครัง้ นี้ IOD ได้รบั เกียรติจากนายมนัส แจ่มเวหา อธิบดี กรมบัญชีกลาง นายวิชยั อัศรัสกร รองประธานหอการค้าไทย และสภาหอการค้า แห่งประเทศไทย ดร.สมเกียรติ ตัง้ กิจวานิชย์ ประธาน สถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ดร.กนกกาญจน์ อนุแก่นทราย ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์สาธารณประโยชน์และประชาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ให้เกียรติร่วมอภิปราย โดยมีนายชัยณรงค์ อินทรมีทรัพย์ ประธานกรรมการ บริษทั บอยเดน แอสโซซิเอทส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เป็ นผูด้ ำ� เนินการอภิปราย ซึง่ สรุปการสัมมนา ครัง้ นี้สามารถติดตามได้ในคอลัมน์ถดั ไป ส�ำหรับการจัดงานในครัง้ นี้ IOD ขอขอบคุณ บริษทั บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษทั ทิสโก้ไฟแนนเชียลกรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) ทีใ่ ห้การสนับสนุนเป็ นอย่างดี และ IOD จะจัดกิจกรรมดีๆ ให้กบั สมาชิกอย่างต่อเนื่องต่อไป

Board Briefing

> 


> Board Briefing แนะน�ำกรรมการใหม่ Introducing IOD New Directors (Alphabetical)

นายดอน ปรมัตถ์วินัย

นางนวลพรรณ ล่ำ�ซำ�

Mr. Don Pramudwinai

Mrs. Nualphan Lamsam

อายุ 63 ปี

อายุ 47 ปี

Age 63 Years old DCP 155/2012

Age 47 Years old DCP 67/2005

Education

Education

M.A. (International Relations), Tufts University, U.S.A. M.A. (International Relations), University of California, Los Angeles, U.S.A. B.A. in Political Science (Hons.), University of California, Los Angeles, U.S.A.

Master of Education in Educational Leadership (Administration) Boston University, USA (1989 / 2532) Bachelor of Commerce and Accountancy, Marketing Management Chulalongkorn University (1987/2530)

Current Position

2012 – Present Chairman of the Nomination and Remuneration Committee, CH. Karnchang Plc. 2010 – Present Chairman of the Corporate Social and Environmental Responsibility Committee, CH. Karnchang Plc. 1994 – Present Independent and Audit Committee Director, CH. Karnchang Plc. Work Experiences

2009 – 2010 Ambassador, Royal Thai Embassy in Washington D.C., U.S.A. 2007 – 2008 Ambassador and Permanent Representative of Thailand, to the United Nations in New York City การศึกษา

ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาโท

สาขารัฐศาสตร์ (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยทัฟทส์ สหรัฐอเมริกา สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา

ต�ำแหน่งกรรมการในปัจจุบัน

2555 – ปจั จุบนั ประธานกรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน บมจ. ช.การช่าง 2553 – ปจั จุบนั ประธานกรรมการความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิง่ แวดล้อม บมจ. ช.การช่าง 2537 – ปจั จุบนั กรรมการตรวจสอบ บมจ. ช.การช่าง ประวัติการท�ำงาน

2552 – 2553 2550 – 2551

 <

เอกอัครราชทูต สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุง วอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา เอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรแห่งประเทศไทย ประจ�ำสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก

Board Briefing

Present Positions

Present 2007 – Present 2012 – Present 2013

President , Muang Thai Insurance Plc. Director, Phatra Leasing Plc. Director, Muang Thai Real Estate Plc. Advisor of Director , Muang Thai Group Holding Company Limited (2556)

Other Positions

- Director, Navanakorn Plc. - Honorary Chairman, Saint Honoré (Bangkok) Company Limited (Distributor of the product of HERMÈS) - Director, The Thai Chamber of Commerce - Chairman Development and Public Relations Committee, The General Insurance Association (2556-2558) การศึกษา

ปริญญาตรี ปริญญาโท

บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศึก ษาศาสตร์ม หาบัณ ฑิต สาขาการจัด การ การศึกษา มหาวิทยาลัยบอสตัน สหรัฐอเมริกา

ต�ำแหน่งกรรมการในปัจจุบัน

ปจั จุบนั 2550 – ปจั จุบนั 2554 – ปจั จุบนั 2556

กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เมืองไทยประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั ภัทรลิสซิง่ จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั เมืองไทย เรียล เอสเตท จ�ำกัด (มหาชน) กรรมการ บริษทั เมืองไทย กรุป๊ โฮลดิง้ จ�ำกัด

ต�ำแหน่งอื่น ๆ ในปัจจุบัน

กรรมการ บริษทั นวนคร จ�ำกัด (มหาชน) ประธานกิตติมศักดิ ์ บริษทั ซังออนอเร่ (กรุงเทพ) จ�ำกัด (ผูน้ �ำเข้า และจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ HERMÈS จากฝรังเศส) ่ กรรมการรองเลขาธิการ หอการค้าไทย อุปนายก สมาคมประกันวินาศภัย (2554 - 2556) กรรมการ ในคณะกรรมการร่ ว มหอการค้ า ไทย และ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (2554 - 2555)


นางภัทรียา เบญจพลชัย

นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์

Mrs. Patareeya Benjapolchai

Mr. Weerasak Kowsurat

อายุ 58 ปี

อายุ 48 ปี

Age 58 Years old DCP 1/2000

Age 48 Years old DCP 125/2009

Education

Education

Master of Business Administration, Thammasat University Bachelor of Accountancy (Accounting), Chulalongkorn University Certificate, Advanced Accounting and Auditing, Chulalongkorn University Certificate, The Executive Program, University of Michigan, USA

LL.M 1991 – 1992 Harvard Law School, Harvard University, Cambridge MA, USA International Economics Law LL.B. (Hons) 1985 – 1989 Chulalongkorn University, Faculty of Law, Bangkok Thailand

Current Position

Current Position

2011-Present Independent Director and Member of the Audit Committee, TISCO Financial Group Public Company Limited 2011-Present Independent Director and Member of the Audit Committee, TISCO Bank Public Company Limited Bank

Secretary General, The Federation of Thai Films Associations

Work Experiences

2006-2010 President and Executive Committee The Stock Exchange of Thailand Stock Exchange การศึกษา

ปริญญาตรี ปริญญาโท

บัญชีบณ ั ฑิต (บัญชีทฤษฎี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บริหารธุรกิจ คณะพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ The Executive Program, University of Michigan, USA. ประกาศนียบัตรด้านการสอบบัญชีชนั ้ สูง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ต�ำแหน่งกรรมการปัจจุบัน

2554 – ปจั จุบนั กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บมจ.ทิสโก้ไฟแนลเชียลกรุป๊ 2554 – ปจั จุบนั กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ ธนาคารทิสโก้ จ�ำกัด (มหาชน) ประวัติการท�ำงาน

2555 – ปจั จุบนั อนุกรรมการศูนย์พฒ ั นา CG, ตลาดหลักทรัพย์ฯ 2554 – ปจั จุบนั กรรมการจรรยาบรรณ, สภาวิชาชีพบัญชี 2553 – ปจั จุบนั กรรมการตรวจสอบและประเมินผลประจ�ำ กระทรวงกลาโหม 2553 – ปจั จุบนั ผูพ้ พิ ากษาสมทบในศาลทรัพย์สนิ ทางปญั ญา และการค้าระหว่างประเทศกลาง 2549 – 2553 กรรมการและผูจ้ ดั การ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

Work Experiences

- Executive Director of the International Institute for Trade and Development (ITD), - Minister of Tourism and Sports - Vice Minister for Culture - Vice Minister for Social Development and Human Security การศึกษา

ปริญญาตรี ปริญญาโท

นิตศิ าสตร์บณ ั ฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นิตศิ าสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา

ต�ำแหน่งปัจจุบัน

เลขาธิการสมาพันธ์ สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ ประวัติการท�ำงาน

2552 – 2554 2552 2551

ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันระหว่างประเทศเพือ่ การค้า และการพัฒนา (ITD) ประธานกรรมการการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา

งานด้านวิชาการ

อาจารย์พเิ ศษ ภาคบัณฑิตศึกษา คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง อาจารย์ผบู้ รรยาย หลัก สู ต รระหว่ า งประเทศ, สาขาปรัช ญา กฎหมายและเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ผูบ้ รรยายพิเศษ หลักสูตรอบรมผูบ้ ริหารงานกฎหมายระดับสูง คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บรรณาธิการทีป่ รึกษาวารสาร Harvard International Law Journal

Board Briefing

> 


> Board Development

Board Diversity Survey Report of Thai Listed Companies in 2013 รายงานผลส�ำรวจ Board Diversity ของบริษัทจดทะเบียนไทย 2556

The Thai Institute of Directors Association (IOD) plays an important role in promoting corporate governance among Thai listed companies and so it tries to promote, and spread knowledge about, the diversity of the membership of company boards. For this reason, the IOD recently did a survey report on the current practices and opinions among the companies about board diversity. The IOD report was based on data from companies' annual reports and on a questionnaire that the IOD sent to members of boards and company executives. We received 194 responses to the questionnaire and collected board composition data from the annual report for 135 listed companies. Companies can use our report to develop their board director nomination process in the future. The survey showed that board directors of listed companies range in age from 30 years to more than 70 years old. The companies did not express any significant preferences on age, although most directors are 51-70 years old. Most of the directors are knowledgeable about various fields such as administration, economics, accounting, finance, political science, and science. The survey showed that 85 percent of the board directors are men. Most questionnaire respondents agreed that board diversity increased the performance effectiveness of the board (see figure 1) rather than directly affected the value for shareholders. In other words, the goal of board diversity had a mainly "social rationale" rather than a "business rationale"diversity of members increased interaction, ideas and discussion in the board. Thus, the perceptions of the

 <

Board Development

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (Thai Institute of Directors Association: IOD) ในฐานะองค์กรทีม่ บี ทบาทส�ำคัญใน การส่งเสริมการก�ำกับดูแลกิจการของบริษทั จดทะเบียน ได้ตระหนัก ถึงความส�ำคัญของการสนับสนุนและเผยแพร่ความรูแ้ ละความเข้าใจ เกี่ยวกับ Board Diversity จึงได้จดั ท�ำรายงานผลส�ำรวจ Board Diversity ของบริษทั จดทะเบียนไทย 2556 นี้ข้นึ เพื่อเผยแพร่ แนวปฏิบตั แิ ละความคิดเห็นเกีย่ วกับ Board Diversity ในปจั จุบนั โดยข้อมูลมาจากการส�ำรวจในรายงานประจ�ำปี จ�ำนวน 135 เล่ม และ แบบส�ำรวจทีส่ ง่ ให้กบั กรรมการ และผูบ้ ริหารของบริษทั จดทะเบียน ซึง่ มีผตู้ อบแบบส�ำรวจทัง้ สิน้ 194 คน โดยรายงานฉบับนี้สามารถ น� ำไปใช้เป็ นข้อมูลในการศึกษาและพัฒนาแนวทางในการสรรหา กรรมการของบริษทั จดทะเบียนต่อไป การส�ำรวจแนวปฏิบตั ใิ นปจั จุบนั ของบริษทั จดทะเบียน พบว่า กรรมการบริษทั จดทะเบียนไทยในทุกกลุม่ ธุรกิจประกอบด้วย กรรมการทุกช่วงอายุ ตัง้ แต่ 30 ปี ถึงสูงกว่า 70 ปี โดยไม่มปี จั จัย ใดแสดงให้เห็นว่า กลุ่มธุรกิจมีผลต่อช่วงอายุใดช่วงอายุหนึ่งของ กรรมการอย่างมีนยั ส�ำคัญ ทัง้ นี้ กรรมการส่วนใหญ่มชี ว่ งอายุระหว่าง 51 ปี ถึง 70 ปี การส�ำรวจในส่วนของการศึกษาพบว่า กรรมการบริษทั จดทะเบียนมีความรูใ้ นหลากหลายสาขาวิชา อาทิ การบริหารจัดการ เศรษฐศาสตร์ บัญชีและการเงิน รัฐศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เป็ นต้น และบริษทั ในทุกกลุ่มธุรกิจมีคณะกรรมการทีป่ ระกอบด้วยกรรมการ เพศหญิงและกรรมการเพศชาย โดยมีสดั ส่วนเฉลีย่ อยูท่ ่ี 15 : 85 จากการสอบถามความคิดเห็นเกีย่ วกับ Board Diversity พบว่า ผูต้ อบแบบส�ำรวจส่วนใหญ่ยอมรับและเห็นด้วยว่า Board Diversity เพิม่ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการ มากกว่าส่งผลต่อมูลค่าของผูถ้ อื หุน้ หรืออีกนัยหนึ่งคือ ผูต้ อบแบบ ส�ำรวจส่วนใหญ่เห็นว่า Board Diversity มีผลกระทบต่อบริษทั บน


respondents appeared to be inconsistent with some academic research that found a statistically significant relationship between board diversity and company performance. Figure 1: Do you agree that board diversity increases the performance effectiveness of the board? % of survey respondant

พืน้ ฐานของเหตุผลทางสังคม (Social Rationale) มากกว่าพืน้ ฐาน ของเหตุผลทางธุรกิจ (Business Rationale) ดังนัน้ ผลส�ำรวจความ คิดเห็นไม่สอดคล้องกับงานวิจยั เชิงสถิตทิ พ่ี บว่า Board Diversity ส่งผลต่อผลการด�ำเนินงานของบริษทั (Company Performance) แผนภูมทิ ่ี 1 ท่านเห็นด้วยหรือไม่ว่า Board Diversity ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการ

agree Not agree Not sure

Most survey respondents agreed that when choosing board directors, it would be of more benefit to the company to consider the candidates' knowledge and experience rather than their age, nationality and gender. They did agree that boards should be gender-diverse (see figure 2), and that the current low proportion of female directors should be taken into account nomination process. However, they said that gender diversity should not be a requirement because that may lead companies to neglect other attributes that are important to the composition of the board. Figure 2: What you think should be the proper proportion of female to male director?

ผู้ต อบแบบส�ำ รวจส่ว นใหญ่ เ ห็น ว่า บริษัท จดทะเบีย น ไทยควรพิจารณาองค์ประกอบของคณะกรรมการตาม ความรูแ้ ละ ประสบการณ์ของกรรมการทีเ่ หมาะสมและเป็ นประโยชน์ต่อบริษทั เป็ นหลัก มากกว่าเน้นความส�ำคัญในเรือ่ งอายุ เชือ้ ชาติ และเพศของ กรรมการ และผูต้ อบแบบส�ำรวจเห็นด้วยกับการพิจารณาเพิม่ สัดส่วน กรรมการเพศหญิงให้เป็ นปจั จัยหนึ่งในการสรรหากรรมการ แต่สว่ น ใหญ่เห็นว่า การสนับสนุนเรือ่ ง Gender Diversity ไม่ควรก�ำหนดให้ เป็ นข้อบังคับ เพราะอาจท�ำให้บริษทั ค�ำนึงสัดส่วนเพศของกรรมการ โดยปราศจากการค�ำนึงถึงความสมดุลด้านอื่นๆ ในการก�ำหนดองค์ ประกอบของคณะกรรมการ แผนภูมทิ ่ี 2 ท่านคิดว่าสัดส่วนกรรมการทีเ่ ป็ นเพศหญิงต่อกรรมการ ทีเ่ ป็ นเพศชายควรเป็ นเท่าไร

% of director

Male Director Female Director

To promote good corporate governance, Thai companies should include board diversity and gender diversity as criteria when nominating board directors, as is done in Western countries and some other ASEAN countries. You can read the full Board Diversity Survey Report of Thai Listed Companies in 2013 at www.thai-iod.com by using your IOD member as username and password to log-in. (For more information, please contact member relations department 0-2955-1155 ext.402)

ผลส�ำรวจแนวปฏิบตั แิ ละความคิดเห็น Board Diversity แสดงให้เ ห็น ว่า บริษัท จดทะเบีย นได้ใ ห้ค วามส�ำ คัญ ต่ อ Board Diversity ซึง่ เป็ นปจั จัยในการเพิม่ ประสิทธิภาพของคณะกรรมการ ทัง้ นี้ ในการสนับสนุนการน�ำ Board Diversity ไปปฏิบตั อิ ย่างเป็ น รูปธรรม บริษทั จดทะเบียนควรพิจารณา Board Diversity รวมทัง้ สัดส่วนกรรมการเพศหญิง หรือ Gender Diversity ดังเช่นแนวปฏิบตั ิ ในต่างประเทศทัง้ ทางตะวันตกและประเทศในกลุม่ ASEAN เป็นหนึ่ง ในหลักเกณฑ์ของการสรรหากรรมการ ท่ า นสมาชิก สามารถอ่ า น รายงานผลส�ำ รวจ Board Diversity ของบริษั ท จดทะเบี ย นไทย 2556 ฉบับ เต็ ม ได้ ท่ี www.thai-iod.com โดยใช้หมายเลขสมาชิกของท่านเป็ น username และ password ในการ log-in (สอบถามข้อมูลติดต่อฝา่ ยสมาชิก สัมพันธ์ 0-2955-1155 ต่อ 402)

Board Develpoment

> 


> Anti-Corruption Update

INTEGRITY PACT: มาตรการส�ำคัญ ในการแก้ ไ ขปั ญหาคอร์ รั ปชั่ น

At a May 31 seminar at Renaissance Hotel, private and public sector leaders took an important step forward in discussions on promoting transparency in the public procurement process. They urged the Thai government to quickly adopt a global standard, the Integrity Pact (IP), in order to create a business environment based on fair competition and innovation as opposed to corruption. They concluded that adoption of an IP should be the common goal of the public and the private sectors because corruption wastes the money of both sides. About 120 people attended the seminar organized by the IOD, the secretariat of the Thailand's Private Sector Collection Action Collation Against Corruption Project. The participants heard speakers including Mr. Manas Jamveha, Comptroller at the Comptroller General's Department, which governs regulations in the public procurement process, and Mr. Vichai Assarasakorn, Vice Chairman of both the Thai Chamber of Commerce and the Board of Trade of Thailand, representing the private sector. IOD also invited two experts to explain the IP, how it is used, and the experiences of countries that have adopted it. They were Dr. Kanokkarn Anukansai, Director of the Center of Philanthropy and Civil Society, the National Institute of Development Administration, and Dr.Somkiat Tangkitvanich, President of the Thailand Development Research Institute. Mr. Chainarong Indharameesap, Chairman of the Board of Boyden Associates (Thailand), the moderator of this session, started the discussion by using a poetic phrase to compare the IP with a floating log in a stream that we can grab onto to save ourselves from drowning in corruption. Dr. Kanokkarn said the IP which Transparency International has been promoting worldwide since 1993, government agencies offering contracts and companies

 <

Anti-Corruption Update

เมื่อ วัน ที่ 31 พฤษภาคมที่ผ่า นมา นับ เป็ น ก้า วส�ำคัญ ของการพูดถึงเรื่องการสร้างความโปร่งใสในกระบวนการจัดซื้อ จัดจ้างของภาครัฐ โดยมีภาคเอกชนเป็ นฝ่ายทีร่ ่วมผลักดันและให้ การสนับสนุนทีจ่ ะน�ำเอาข้อตกลงคุณธรรม หรือ Integrity Pact มาใช้เป็น เครื่องมือสร้างพื้นที่ในการเข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดซื้อ จัดจ้างอย่างขาวสะอาดและสร้างสภาพแวดล้อมการแข่งขันทางธุรกิจ ทีว่ ดั กันด้วยความสามารถในการแข่งขันและนวัตกรรม โดยมิได้อาศัย การซือ้ หาความได้เปรียบจากการทุจริตคอร์รปั ชันเหมื ่ อนทีผ่ า่ นๆมา ในอดีต ข้อตกลงคุณธรรม จึงเป็ นจุดหมายทีท่ งั ้ ภาครัฐและภาคธุรกิจ ต่างแสดงความประสงค์ทจ่ี ะแสวงหาหนทางทีจ่ ะหลุดพ้นจากทุจริต คอร์รปั ชันที ่ ค่ อยเกาะกินงบประมาณรัฐและเอกชน งานสัม มนา “Integrity Pact มาตรการส�ำ คัญ ในการ ั หาคอร์ ร ัป ชัน ” จัด ขึ้น ก่ อ นการจัด การประชุ ม สามัญ แก้ ไ ขป ญ ใหญ่ ป ระจ� ำ ปี ข อง IOD ณ โรงแรมเรอเนอซองส์ ม ีผู้ เ ข้า ร่ ว ม งานกว่า 120 คน โดย IOD ในฐานะเลขานุ การแนวร่วมปฏิบตั ิ ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริตได้จดั ขึ้น ซึ่งในงานสัมมนา ได้ ร ับ เกีย รติจ ากวิท ยากรผู้ท รงคุ ณ วุ ฒ ิเ ป็ น ตัว แทนจากฝ่ า ยที่ เกี่ย วข้อ งทัง้ จากภาครัฐ ได้แ ก่ นายมนัส แจ่ ม เวหา อธิบ ดีก รม บัญชีกลาง ในฐานะหน่ วยงานกลางที่ก�ำกับดูแลเรื่องกฎระเบียบ การจัดซือ้ จัดจ้างของภาครัฐ และภาคเอกชนได้แก่ นายวิชยั อัศรัศกร ซึ่ง เป็ น กรรมการเลขาธิก ารหอการค้า ไทยและสภาหอการค้า แห่งประเทศไทยเป็ นตัวแทน และเพือ่ ให้การสัมมนาตอบโจทย์เรือ่ ง ความเข้าใจ Integrity Pact ว่าคืออะไร มีประโยชน์อย่างไร และจะ น� ำไปใช้ได้อย่างไรนัน้ IOD จึงเชิญนักวิชาการสองท่านมาเพื่อให้ ความรูแ้ ละบอกเล่าประสบการณ์ของประเทศอื่นๆทัวโลก ่ หรืองาน วิจยั ที่ผ่านมาเพื่อสะท้อนความส�ำคัญของการน� ำ Integrity Pact ไปใช้ โดยนักวิช าการท่า นแรก ดร.กนกกาญจน์ อนุ แ ก่นทราย ผูอ้ ำ� นวยการศูนย์สาธารณประโยชน์และประชาสังคม สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์ มาเป็ นตัวแทนในฐานะองค์กรเพือ่ ความโปร่งใส ประเทศไทย ท่านที่สอง ดร. สมเกียรติ ตัง้ กิจวานิชย์ ประธาน สถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย (TDRI) โดยมี นายชัยณรงค์ อินทรมีทรัพย์ ประธานกรรมการบริษัท Boyden Associates


bidding for them formally agree to not engage in bribery, special favors or other corrupt practices. IP has to be in a written form and legally binding. It must clearly spell out the regulations as well as the punishments for violators, including being blacklisted, fined, and having their contracts terminated. She said it also must cover the entire procurement process, from the first step till the end of the project; it can't cover just the tender or just a portion of the procurement process. The IP has been adopted mostly for large-scale infrastructure projects such as dams and railways. Dr. Kanokkan said that many countries that have adopted an IP agree that it has significantly decreased corruption by bringing transparency and information disclosure to every step of the project implementation process. She and others said that the law may empower authorities to prevent corruption but, in fact, that's not enough. IP is additional monitoring system that supports the normal process and enhances all the laws; it creates a clear understanding between the two parties and a legally binding basis for sanctions in cases of violations e.g. blacklist, penalty and cancel contract. Importantly, an IP also authorizes third parties to monitor procurement auctions to ensure that no one asked for or gave a bribe to obtain a contract, Dr. Kanokkan said. Mr. Manas said an IP would increase the efficiency of government organizations and that the public sector was ready and waiting for the Cabinet to approve the Thai draft. Mr. Vichai emphasized the importance the private sector places on preventing corruption. He said that the Anti-Corruption Thailand (ACT) is negotiating for the adoption of the IP in the public procurement processes of the Ministry of Finance and the Ministry of Transport. The Anti-Corruption Organization also stresses the importance of having third parties monitor and investigate activities that may be prone to corruption. Mr. Vichai said that when the IP is adopted in Thailand, there will be an initial period of adjustment during which third parties would have a limited role as observers.

(Thailand) ด�ำเนินการอภิปราย ซึง่ ท่านได้กล่าวเปิดการอภิปรายได้ อย่างน่าสนใจว่า “ตอนนี้ Integrity Pact เปรียบเสมือนมีขอนไม้ลอย มาใกล้ให้พวกเราทีก่ ำ� ลังจะจมน�้ำได้เกาะพยุงตัว” จากนัน้ ได้มอบให้ ดร.กนกกาญจน์ อนุแก่นทราย กล่าวถึงแนวคิดเรือ่ ง Integrity Pact ที่ องค์กรเพือ่ ความโปร่งใสสากลผลักดันให้ทกุ ๆ ประเทศทัวโลกน� ่ ำไป ปรับใช้ตงั ้ แต่ปี 1993 ซึง่ การน�ำไปปรับใช้กบั กระบวนการจัดซือ้ จัดจ้าง นัน้ จะเริม่ ต้นตัง้ แต่ขนตอนแรกของการเริ ั้ ม่ ต้นโครงการของภาครัฐไป จนสิน้ สุดโครงการและมีการประเมินผลสรุปเป็ นรายงานผล โดยมาก นิยมน�ำ Integrity Pact ไปใช้ในการก่อสร้างโครงการสาธารณูปโภค ขนาดใหญ่ เช่น การสร้างเขือ่ น การสร้างระบบรางรถไฟ เป็ นต้น ซึง่ ในหลายประเทศทีต่ ่างเคยน�ำไปใช้แล้วนัน้ ต่างก็ยอมรับว่า Integrity Pact สามารถช่วยลดการคอร์รปั ชันได้ ่ มาก แม้จะไม่หมดไปซะทีเดียว แต่กส็ ามารถสร้างกลไกเสริมระบบการการตรวจสอบทีป่ กติมเี พียง ข้อบัญญัตติ ามกฎหมายให้มคี วามรัดกุมมากยิง่ ขึน้ เพราะ Integrity Pact เข้าไปสร้างความโปร่งใส ช่วยเปิ ดเผยข้อมูลส�ำคัญๆ ของ การด�ำเนินโครงการในทุกขัน้ ตอน และทีส่ ำ� คัญคือ เปิดพืน้ ทีใ่ ห้บคุ คล ทีส่ ามเข้ามาตรวจสอบ เพื่อเป็ นการสร้างหลักประกันความเชื่อมัน่ ให้แก่ทงั ้ ภาครัฐและเอกชนที่เข้าร่วมในการจัดซื้อจัดจ้างและการ ประมูลงานว่าจะไม่มฝี า่ ยใดฝา่ ยหนึ่งละเมิดเรียกรับหรือจ่ายสินบน เพือ่ ให้ได้มาซึง่ สัญญาจ้างในโครงการนัน้ ๆ ด้วยเหตุน้ี Integrity Pact จึงต้องมีรูปแบบเป็ นลายลักษณ์อกั ษรทีม่ ผี ลสืบเนื่องตามกฎหมาย (Legally binding) ซึง่ ต้องมีการระบุไว้อย่างชัดเจนถึงข้อปฎิบตั แิ ละ บทลงโทษเมือ่ มีผลู้ ะเมิด เช่น การขึน้ บัญชีดำ � การปรับเงินค่าเสียหาย การยกเลิกสัญญาฯ นายมนัส แจ่มเวหา ในฐานะตัวแทนจากภาครัฐกล่าว เพิม่ เติมว่า “เป็ นทีน่ ่าสนใจว่า Integrity Pact เป็ นเครือ่ งมือทีจ่ ะช่วย เสริมสร้างการท�ำงานของหน่ วยงานรัฐให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ และตอนนี้ได้ภาครัฐเองก็เตรียมการพร้อมแล้ว เหลือแต่เพียงรอมติ จากคณะรัฐมนตรีอนุญาตให้ดำ� เนินการ” ด้ า นนายวิช ัย อัศ รัศ กร ได้ เ น้ น ถึ ง ความส� ำ คัญ ของ ้ การปองกันการทุจริต ซึ่งเป็ นเรื่องที่ส�ำคัญอย่างยิง่ ที่ภาคเอกชน ต้องการ Integrity Pact และอยากมีสว่ นร่วมในเรือ่ งนี้ โดยมีองค์กร ต่อต้านคอร์รปั ชันประเทศไทย ่ (ACT) เป็ นองค์กรทีป่ ระสานงาน ร่วมกับภาครัฐโดยมีการเจรจาให้น�ำเอา Integrity Pact ไปใช้งาน

Anti-Corruption Update

> 


> Anti-Corruption Update During this period, they would not be able to oppose the implementation of any tainted project or seek punishments for violators. They would only be able to inform the authorities such as the Office of the National Anti-Corruption Commission. Dr. Somkiat said that participation from society, information disclosure and political will were important components for an efficient IP. Previously, he said, we focused only on legal measures -- but experience showed that the weakness of the public procurement process in Thailand was not the law but monitoring and law enforcement. Without these key mechanisms of an IP, there cannot be any serious punishments for violators, Dr. Somkiat said. And the auditor or other third party monitor must have equal access to procurement information from both the public and the private sectors, he said. Non-disclosure agreements prevent third parties from publicizing any confidential information or using that information to their own advantage. Dr. Somkiat said that it was important that third parties have the ability to modify the procurement process if it was not transparent and led to concerns about corruption. In the current procurement system in Thailand, the audit committee can serve notice to the project owner but the project owner is not obligated to comply with it. However, under the IP framework, if the auditors request modifications to the procurement process and the project owner does not respond, the auditors can disclose that information to the public, Somkiat said. Thus, cooperation with the mass media is one way to create public pressure in cases of suspected violations of an IP. In other countries, an IP includes a process for arbitrating between procurers and bidders so that the parties would not have wait for a long and complicated criminal law process. But the IP draft in Thailand does not contain an arbitration process, Dr. Somkiat said. According to Transparency Thailand, a non-profit that fights corruption, in countries with corporate governance standards that are lower than Thailand's (such as Pakistan), the IP and the resulting fair competition in tenders reduces by up to 75 percent the costs of state projects. Dr. Kanokkan said that in countries that successfully adopted the IP, 1) bidders were compelled to sign the IP before joining the procurement process, and all parties were told how important the IP was; 2) public sector leaders were serious in creating, monitoring, and protecting transparency; and 3) inspectors who had experience with the procurement process often invited retired government officers to join the inspections. In some countries, a central organization was specifically tasked with conducting inspections. The inspection fee usually comes to only 1 percent of the total budget of a project, which is worth it since the

 <

Anti-Corruption Update

ในการจัดซื้อจัดจ้างของรัฐกับทัง้ กระทรวงการคลังและกระทรวง คมนาคม เพื่อให้โครงการจัดซื้อจัดจ้างต่างๆ ของรัฐ ยินยอมให้ม ี การตรวจสอบจากบุคคลทีส่ าม ซึง่ แม้จะยังคงถูกจ�ำกัดบทบาทเป็ น เพียงผูส้ งั เกตการณ์ ในช่วงเริม่ ต้นของการน�ำ Integrity Pact มาใช้ ในประเทศไทย (กล่าวคือ ผูส้ งั เกตการณ์ไม่มสี ทิ ธิคดั ค้านการด�ำเนิน โครงการทีก่ ำ� ลังจะน�ำไปสูก่ ารทุจริต และการใช้บทลงโทษเมือ่ พบการ ฝา่ ฝืนข้อตกลง เพียงแต่ให้แจ้งหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องเข้ามาด�ำเนินการ แทน เช่น ปปช. เป็ นต้น ) ในมุมของนักวิชาการ ดร.สมเกียรติ ตัง้ กิจวานิชย์ ให้ความ เห็นว่าการสร้างการมีสว่ นร่วมจากสังคมท�ำได้โดยการน�ำบุคคลากรที่ มีความรูค้ วามสามารถเข้ามาช่วยตรวจสอบ การเปิดเผยข้อมูล และ ปจั จัยทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือเจตจ�ำนงค์ทางการเมือง (Political Will) ทัง้ สาม ส่วนนี้เป็ นองค์ประกอบทีจ่ ะท�ำให้ Integrity Pact สามารถท�ำงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ทีผ่ า่ นมาเราเน้นเพียงแต่มาตรการทางกฎหมาย เพียงอย่างเดียวซึง่ มีขอ้ จ�ำกัด และจากประสบการณ์ทผ่ี า่ นมาจุดอ่อน ของการจัดซือ้ จัดจ้างของไทยไม่ได้อยูท่ ต่ี วั บทกฎหมาย หากแต่อยูท่ ่ี การตรวจสอบ ติดตาม และการบังคับใช้กฎหมาย ซึง่ เป็นหัวใจส�ำคัญ ของ Integrity Pact ทีจ่ ะสร้างสิง่ เหล่านี้ให้เกิดขึน้ ในกระบวนการจัดซือ้ จัดจ้าง ซึง่ จะท�ำให้มกี ารลงโทษผูล้ ะเมิดอย่างหนัก รวมทัง้ การเปิดเผย ข้อมูลโดยผูต้ รวจสอบหรือบุคคลทีส่ ามทีส่ ามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล ได้อย่างเท่าเทียมกันทัง้ ภาครัฐและเอกชน ซึ่งแม้จะเป็ นข้อมูลชัน้ ความลับก็มวี ธิ กี ารขอดูขอ้ มูลทีผ่ ขู้ อดูตอ้ งเซ็นสัญญาว่าจะไม่เปิดเผย ข้อมูลให้กบั ใคร (Non-Disclosure Agreement) และทีส่ ำ� คัญบุคคล ทีส่ ามยังต้องสามารถขอให้แก้ไขการจัดซือ้ จัดจ้างได้หากขันตอนหรื ้ อ วิธกี ารนัน้ ไม่มคี วามโปร่งใสและน� ำไปสู่การทุจริต ในระบบการจัด ซือ้ จัดจ้างของไทยปจั จุบนั มีคณะกรรมการพัสดุ ทีเ่ พียงให้ขอ้ สังเกต เสนอความเห็นไปยังหน่ วยงานเจ้าของโครงการเท่านัน้ ซึ่งหน่ วย งานนัน้ จะปฏิบตั ติ ามหรือไม่กไ็ ด้ แต่สำ� หรับ Integrity Pact นัน้ หาก คณะตรวจสอบยืน่ ข้อเสนอให้มแี ก้ไข แต่ถา้ ไม่ได้รบั การตอบสนอง นัน้ ก็สามารถน�ำข้อมูลทีพ่ บไปเผยแพร่สสู่ าธารณะได้ เพือ่ ให้สงั คม ตัดสิน ดังนัน้ การท�ำงานร่วมกับสื่อสารมวลชนจึงเป็ นช่องทางหนึ่ง ที่จะช่วยสร้างแรงกดดันจากสังคมในกรณีท่พี บว่าอาจจะมีหรือมี การฝา่ ฝืนข้อตกลงคุณธรรม ในต่างประเทศ จะมีกระบวนการอนุญาโตตุลาการ ขึน้ เพือ่ ช่วยให้เกิดความชัดเจน โดยไม่ตอ้ งรอกระบวนการยุตธิ รรมตามปกติ เพราะการพิสูจน์ ความสงสัยในการกระท�ำผิดตามกฎหมายอาญา นัน้ ใช้เวลาตรวจสอบข้อมูลหลักฐานเป็ นเวลานานและมีขนั ้ ตอนที่ ยุ่งยากมาก กระบวนการอนุ ญาโตตุลาการจึงมีประโยชน์ ต่อการ ด�ำเนินโครงการ แต่สำ� หรับ Integrity Pact ฉบับประเทศไทยนัน้ ไม่ม ี การตัง้ กระบวนการอนุญาโตตุลาการทีว่ า่ นี้ กับค�ำถามทีว่ ่า Integrity Pact ท�ำแล้วจะมีผลดีหรือไม่ อย่างไร จากการศึกษารายงานขององค์กรเพื่อความโปร่งใสพบ ว่า ประเทศที่มกี ารก�ำกับดูแลกิจการที่แย่กว่าประเทศไทย เช่น ปากีสถาน ก็สามารถลดงบประมาณในโครงการทีใ่ ช้ Integrity Pact ได้ถงึ 75 % หรืออย่างประเทศโคลัมเบีย สามารถลดค่าใช้จ่ายได้ 30 % เหล่านี้รายงานผลประโยชน์ทป่ี ระเทศทีน่ �ำ Integrity Pact ไปใช้ ได้ชว่ ยประหยัดงบประมาณให้แก่รฐั ได้มาก ทัง้ นี้ ในหลายๆ ประเทศ


inspection reduces the project cost. Thus, the IP is an important tool to reduce risk and increase efficiency in project management. It does not add any burden, as we previously thought it would. Also the inspections can increase confidence among creditors, investors and entrepreneurs and encourage them to join in projects, because they know that the competition will be fair and cost-efficient. IP strengthens democratic participation and monitoring. It raises people's awareness of the public interest and of the fact that the government and the people are the main beneficiaries when projects are done at non-inflated prices. The collective Action Coalition against Corruption project is supporting the efforts to adopt an IP. The coalition is trying to create a level-playing field, and this is turn puts pressure on companies that have not publicly declared anti-corruption policies. The public sector can select companies in the coalition for bidding on public projects. There is a global trend to make transparent business a priority and it is time for Thai society to do the right thing and join the trend. The question is: Is your company ready to be a leader or a follower in the anti-corruption campaign.

ทีส่ ามารถน�ำไปใช้แล้วเกิดผลส�ำเร็จเนื่องจาก 1) มีผลเป็ นการบังคับ ให้ผเู้ ข้าร่วมประมูลงานต้องลงนามใน Integrity Pact ก่อนและเริม่ ต้นท�ำความเข้าใจกับทุกภาคส่วนว่าโครงการมีความส�ำคัญอย่างไร 2) ผูน้ � ำในภาครัฐเอาจริงเอาจังในการตรวจสอบป้องกัน และสร้าง ความโปร่งใส 3) ผูต้ รวจสอบมีประสบการณ์และเข้าใจการท�ำงาน ของกระบวนการจัดซือ้ จัดจ้าง โดยมักจะมีการเชิญข้าราชการเกษียณ อายุมาร่วมตรวจสอบ ในบางประเทศมีการตัง้ องค์กรกลางเพือ่ ด�ำเนิน การตรวจสอบโดยเฉพาะ ซึ่งค่าตรวจสอบนัน้ มีการค�ำนวนแล้วว่า ค่าใช้จา่ ยคิดเป็นสัดส่วน 1% ของงบโครงการประมาณเท่านัน้ ซึง่ เป็น เงินทีค่ ุม้ ค่ามากถ้าหากสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายได้เหมือนตัวอย่าง ประเทศอืน่ ๆ Integrity Pact ถือเป็ นเครื่องมือที่เข้ามาช่วยลดความ เสีย่ ง และเพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการโครงการ โดยมิได้ เป็ นภาระเพิม่ อย่างที่คดิ รวมทัง้ ยังสร้างความเชื่อมันให้ ่ แก่แหล่ง เงินกู้ นักลงทุน และผูป้ ระกอบการให้เข้ามาร่วมโครงการ อันน�ำไปสู่ การแข่ง ขัน และเพิม่ ประสิท ธิภ าพตามแนวกลไกตลาด ที่ส�ำ คัญ Integrity Pact ยังเป็ นตัวเสริมสร้างการมีสว่ นร่วมและตรวจสอบตาม แนวทางประชาธิปไตยให้เกิดแก่สงั คมที่จะตื่นตัวในผลประโยชน์ สาธารณะทีเ่ กิดขึน้ และท้ายทีส่ ดุ ผูท้ ไ่ี ด้รบั ประโยชน์สงู สุดจากการน� ำ Integrity Pact ไปใช้กค็ อื รัฐ และประชาชน ทีจ่ ะได้รบั โครงการทีม่ ี คุณภาพในราคาสมเหตุสมผล สุดท้ายนี้ กลยุทธ์ Collective Action Coalition ทีแ่ นวร่วม ั ยส�ำคัญทีจ่ ะช่วยเกือ้ หนุนให้การน�ำ ปฏิบตั ฯิ ด�ำเนินการอยูน่ นั ้ เป็นปจจั Integrity Pact ไปปฏิบตั เิ กิดผลส�ำเร็จมากยิง่ ขึน้ เนื่องจากการรวมตัว ของบริษทั ธุรกิจจะเกิดการสร้างกลุม่ ก้อน ของบริษทั ทีส่ ร้างแรงกดดัน จากการแบ่งแยกระหว่างบริษทั ทีป่ ระกาศตนว่าจะไม่โกง กับบริษทั ทีไ่ ม่สนใจจะเข้าร่วม ซึง่ จะช่วยให้ภาครัฐสามารถเลือกใช้กลุม่ บริษทั ทีอ่ ยูใ่ นวงของ Collective Action Coalition ไปร่วมในการประมูล งานจัดซือ้ จัดจ้าง ทัง้ นี้แม้ในปจั จุบนั เรายังไปไม่ถงึ จุดนัน้ ก็ตาม แต่ แนวโน้มการท�ำธุรกิจอย่างโปร่งใสและขาวสะอาดก็เป็ นสิง่ ทีท่ วโลก ั่ ให้ความส�ำคัญเป็ นอันดับแรก และสังคมไทยก็ถงึ เวลาทีต่ อ้ งเริม่ ต้น ท�ำอะไรบางอย่างทีด่ กี ว่าเดิม ค�ำถามคือ บริษทั ของท่านพร้อมทีจ่ ะ เป็ นผูน้ �ำหรือจะเป็ นผูต้ ามในเรือ่ งนี้

Anti-Corruption Update

> 


> Anti-Corruption Update

The Opinion Survey of Private Sector Leaders on

Corruption Problem ผลส�ำรวจความคิดเห็นของผูน้ ำ� ภาคธุรกิจ

เกี่ ย วกั บ ปั ญ หาการทุ จ ริ ต

On 3rd June, Dr.Bandid Nijathaworn, Khunying Jada Wattanasiritham and Mr. Rapee Sucharitakul organized a press conference to reveal the result of opinion survey of business leaders about corruption problem. Dr.Bandid Nijathaworn summarized the information from the survey which was conducted for the second time after the first one in 2010 to monitor the changes in corruption problem and gather opinions of private business leaders to make a plan for solving corruption with other parties.

เมือ่ วันที่ 3 มิถุนายน ดร.บัณฑิต นิจถาวร คุณหญิงชฎา วัฒนศิรธิ รรมและนายรพี สุจริตกุลได้จดั การแถลงข่าวผลการส�ำรวจ ั หาการทุ จ ริต โดย ความคิด เห็น ของผู้น� ำ ภาคธุ ร กิจ เกี่ย วกับ ป ญ ดร.บัณ ฑิ ต ได้ ก ล่ า วรายงานผลสรุ ป ข้ อ มู ล ที่ น่ า สนใจในเรื่ อ ง สถานการณ์ ปญั หาคอรัปชัน่ ซึ่งการส�ำรวจความคิดเห็นครัง้ นี้ได้ ด�ำเนินจัดท�ำเป็ นครัง้ ทีส่ องต่อจากครัง้ แรกทีส่ ำ� รวจเมือ่ ปี 2553 เพือ่ ติดตามการเปลีย่ นแปลงของปญั หาการทุจริตคอร์รปั ชัน่ และรวบรวม ความคิดเห็นของผูน้ �ำในภาคธุรกิจเอกชน ส�ำหรับการวางแนวทางใน การแก้ไขปญั หาร่วมกับทุกภาคส่วนในสังคมต่อไป

The survey was conducted in January to April 2013 by interviewing directors, chairman of the board and executives from 1,066 companies after it had been prepared since last September. The private companies participated in this survey were very diverse consisting of more than 27 business groups, both listed in the stock market and non-listed companies, Thai and foreign companies, located in Bangkok and other provinces, companies in domestic business and export business and companies from all sizes. The annual revenue varied from less than $50 million to more than 50,000 million baht. The distribution of the sample companies was quite complete. IOD would like to thank every company and organization for their cooperation in this survey to reflect the truth of corruption problem in Thailand right now.

การส�ำรวจได้ท�ำในช่วงเดือนมกราคมถึงเมษายน 2556 เป็ นการสอบถามความคิดเห็นของนักธุรกิจในระดับ กรรมการบริษทั ประธานกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหารบริษทั จ�ำนวนทัง้ หมด 1,066 บริษทั ครอบคลุมบริษทั ในสาขาธุรกิจต่างๆ กว่า 27 สาขาธุรกิจ มี ทัง้ บริษทั จดทะเบียนและบริษทั นอกตลาดหลักทรัพย์ มีทงั ้ บริษทั ของ คนไทยและบริษทั ของต่างประเทศ บริษทั ในกรุงเทพมหานครและ บริษทั ในต่างจังหวัด บริษทั ที่ท�ำธุรกิจการค้าภายในประเทศและ บริษทั ทีท่ ำ� ธุรกิจส่งออก และมีบริษทั ทุกขนาดของธุรกิจเข้าร่วม คือ ตัง้ แต่รายได้ต่อปีต่ำ� กว่า 50 ล้านบาท ไปถึงทีม่ รี ายได้ต่อปีมากกว่า 50,000 ล้านบาท ถือได้วา่ เป็ นกลุม่ ตัวอย่างบริษทั ทีม่ กี ารกระจาย ตัวค่อนข้างสมบูรณ์ ทัง้ นี้ IOD ต้องขอขอบคุณ ทุกบริษทั และทุก องค์กรทีไ่ ด้ให้ความร่วมมือเป็ นอย่างดีในการส�ำรวจครัง้ นี้ เพื่อให้ ผลส�ำรวจสะท้อนความเป็ นจริงของปญั หาทุจริตคอร์รปั ชัน่ ทีก่ �ำลัง เกิดขึน้ ในประเทศขณะนี้ โดยผลการส�ำรวจ สามารถสรุปได้ทงั ้ หมด 10 ประเด็น ดังนี้

The survey result of 58 pages could be summarized into 10 issues. IOD will try to publish the full report in Thai and English later to provide information to the public in the following issues 1. Problem situation Regarding the current corruption problem, 93% of the business leaders agreed that the severity of corruption problem were in high and very high level. Moreover, 73% of them agreed that the corruption problem had increased. The result was similar with the survey in 2010 that 77% of the business leaders agreed that there were more corruptions as well. 2. The effect of corruption to the country The business leaders agreed that the most significant effect of corruption on Thailand was the decrease in competitiveness, decline in morality of the society and a bad reputation for Thailand.

 <

Anti-Corruption Update

1. สถานการณ์ปัญหา ส�ำหรับปญั หาทุจริตคอร์รปั ชันในป ่ จั จุบนั ผูน้ � ำธุรกิจกว่า ร้อยละ 93 มีความเห็นว่า ระดับความรุนแรงของการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ในปจั จุบนั อยูใ่ นระดับสูงและสูงมาก โดยร้อยละ 75 ของผูน้ �ำธุรกิจ มีความเห็นว่าปญั หาการทุจริตคอร์รปั ชันในช่ ่ วงที่ผ่านมาได้เพิม่ มากขึน้ ใกล้เคียงกับข้อมูลทีไ่ ด้สำ� รวจในปี 2553 ทีร่ อ้ ยละ 77 มีความ เห็นว่ามีการทุจริตเพิม่ มากขึน้ เช่นกัน 2. ผลของการทุจริตที่มีต่อประเทศ ผูน้ �ำธุรกิจมองว่า ผลทีก่ ารทุจริตคอร์รปั ชันมี ่ ตอ่ ประเทศไทย มากที่สุด คือ ลดทอนประสิท ธิภ าพในการแข่ง ขัน ของประเทศ น�ำประเทศสูค่ วามตกต�่ำในจริยธรรมของสังคม และสร้างชื่อเสียงที่ ไม่ดใี ห้กบั ประเทศ ในเรื่องนี้ IOD มีความเห็นเพิม่ เติมว่า ผลของ การทุจริตทัง้ สามข้อ จะน� ำไปสู่ความไม่น่าเชื่อถือในการท�ำธุรกิจ ในประเทศไทย ถ้าปญั หาทุจริตคอร์รปั ชันไม่ ่ ได้รบั การแก้ไข หรือ รุนแรงขึน้ และจะส่งผลกระทบโอกาสทางเศรษฐกิจของประเทศและ ต่อโอกาสทางธุรกิจของภาคเอกชน


In this issue, IOD would like to add that these 3 effects of corruption will lead to unreliability in doing business in Thailand. If the corruption problem is not solved or it increases severity, it will have a negative effect to economic opportunity of the country and business opportunity of private sector. 3. The effect of corruption on doing business 63% of the business leaders agreed that the severity of corruption problem still existed and had an effect on doing business of the companies in high and very high level. Corruption led to higher cost. According to the opinions, the cost increased 1-5% or more than 30% and at the unspecifiable level depending on type of the business and corruption. 54% of the business leaders agreed that the cost increased more than 10% to more than 30% and at the unspecifiable level. 4. The processes in business that have corruption most. In this issue, the business leaders indicated 11 processes in business that had significant level of corruption in statistics, including doing business between public sector to private sector and between the private sector to private sector. The 3 business processes that had corruption most were 1) public procurement process 2) registration and permits 3) bidding in public project. All 3 processes were agreed by opinions from almost 50% of the business leaders. 5. Forms of corruption The business leaders agreed that the most common forms of corruption currently were 1) the abuse of political power for the benefit of their own comrades accounting for 20% of the participated companies. 2) Bribery (17%) 3) corruption policy by political appointees (15%)

6. The industry that are most likely to have corruption. The business leaders indicated more than 15 industries that were statistically likely to have corruption. The first 3 industries according to the frequency of the answers were 1) telecommunication industry 2) energy and infrastructure 3) agriculture followed by real estate development and building materials. 7. Causes of corruption The business leaders agreed that the important causes of corruption were 1) laws, regulations and orders that allowed the government personnel to use their discretion for the corruption of their comrades 2) the political process was not transparent and difficult to monitor 3) political benefit. More than 49% of the business leaders agreed that these 3 causes were the main causes of the current corruption. 8. The effort to solve corruption problem and effect on development of Thailand The business leaders gave the opinions that if Thailand

3.ผลของการทุจริตต่อการท�ำธุรกิจ ร้อยละ 63 ของผูน้ �ำธุรกิจมีความเห็นว่าความรุนแรงของ ปญั หาทุจริตคอร์รปั ชันที ่ ม่ อี ยู่ ส่งผลต่อการท�ำธุรกิจของบริษทั ใน เกณฑ์สงู และสูงมาก โดยการทุจริตคอร์รปั ชันน� ่ ำมาสูก่ ารเพิม่ ต้นทุน ซึง่ มีเพิม่ ขึน้ ในระดับ 1-5 เปอร์เซ็นต์ ไปจนถึงมากกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ ทัง้ นี้ ขึน้ อยูก่ บั ประเภทธุรกิจและลักษณะของทุจริตคอร์รปั ชันที ่ เ่ กิด ขึน้ โดย ผูน้ �ำธุรกิจกว่าร้อยละ 54 ให้ความเห็นว่าขนาดของต้นทุนที่ เพิม่ ขึน้ อยูใ่ นระดับทีม่ ากกว่าร้อยละ 10 ไปถึงมากกว่าร้อยละ 30 4.กระบวนการท�ำธุรกิจทีเ่ กิดการทุจริตคอร์รปั ชัน่ มากทีส่ ดุ ในประเด็นนี้ ผูน้ � ำธุรกิจระบุกระบวนการท�ำธุรกิจที่เกิด การทุจริตคอร์รปั ชันมากที ่ ส่ ดุ ทีม่ นี ยั ส�ำคัญทางสถิตไิ ว้ 11 กระบวนการ ซึ่งรวมการท�ำธุรกิจระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน และระหว่าง ภาคเอกชนกับเอกชน โดยกระบวนการที่เกิดการทุจริตมากที่สุด สามอันดับแรก คือ อันดับหนึ่ ง กระบวนการจัดซือ้ จัดจ้างกับภาค รัฐ อันดับสอง การจดทะเบียนและการขออนุญาตต่างๆ และ อันดับ สาม การร่วมประมูลโครงการของภาครัฐ โดยทัง้ สามกระบวนการ เป็ นความเห็นของผูน้ �ำธุรกิจเกือบ ร้อยละ 50 ทีใ่ ห้ความเห็น 5. รูปแบบการทุจริต ผู้น�ำธุรกิจให้ความเห็นว่า รูปแบบการทุจริตคอร์รปั ชัน่ ที่พบเห็นมากที่สุดขณะนี้ก็คอื อันดับหนึ่ ง การใช้ต�ำแหน่ งทาง การเมืองเอื้อประโยชน์ ให้แก่พรรคพวกของตนเอง คิดเป็ นร้อยละ 20 ของบริษทั ทีร่ ว่ มการส�ำรวจ อันดับที่สอง การให้ของขวัญหรือ การติดสินบน (ร้อยละ 17) และอันดับสาม การทุจริตเชิงนโยบาย โดยผูด้ ำ� รงต�ำแหน่งทางการเมือง (ร้อยละ 15) 6. กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมที่ มี แ นวโน้ ม การเกิ ด การทุ จ ริ ต คอร์รัปชั่นมากที่สุด มีมากกว่า 15 อุตสาหกรรมทีผ่ ูน้ � ำธุรกิจได้กล่าวถึงว่ามี แนวโน้มการเกิดทุจริตคอร์รปั ชันมาก ่ และมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ โดย สามอุตสาหกรรมแรกที่มกี ารเกิดทุจริตคอร์รปั ชันมากที ่ ่สุด ตาม ความถีข่ องค�ำตอบทีไ่ ด้รบั ทัง้ หมด พบว่า อันดับหนึ่ ง อุตสาหกรรม โทรคมนาคม อันดับสอง พลังงานและสาธารณูปโภค และอันดับสาม การเกษตร ตามมาด้วยธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์และธุรกิจวัสดุ ก่อสร้าง 7. สาเหตุของการเกิดการทุจริต ผู้น�ำธุรกิจมีความเห็นว่าสาเหตุ ส�ำคัญของการเกิดการ ทุจริตคอร์รปั ชันในป ่ จั จุบนั ก็คอื หนึ่ ง กฏหมาย ระเบียบ และค�ำสัง่ ต่างๆ เปิดโอกาสให้บคุ ลากรภาครัฐสามารถใช้ดลุ ยพินจิ ทีเ่ อือ้ อ�ำนวย ให้พวกพ้องท�ำการทุจริต สอง กระบวนการทางการเมืองขาดความ โปร่งใส และตรวจสอบได้ยาก และสาม ก็คอื ผลประโยชน์ทางการ เมือง ซึง่ กว่าร้อยละ 49 ของผูน้ �ำธุรกิจมีความเห็นว่า สามสาเหตุน้ี เป็ นต้นเหตุหลักของการเกิดการทุจริตคอร์รปั ชันในป ่ จั จุบนั 8. ความพยายามในการแก้ไขปัญหาการทุจริต ผลต่อการ เจริญเติบโตของประเทศ ผูน้ � ำธุรกิจมีความเห็นว่า ถ้าประเทศไทยไม่มกี ารทุจริต คอร์รปั ชัน่ เศรษฐกิจของประเทศจะเติบโตได้มากขึน้ กว่าทีเ่ ป็ นอยูใ่ น ั บนั อีกถึงร้อยละ 50 ซึง่ ชัดเจนว่า จากความเห็นส่วนใหญ่ การทุจริต ปจจุ คอร์รปั ชันเป็ ่ นตัวถ่วงการเจริญเติบโตของประเทศ และลดโอกาส ประเทศทีจ่ ะเติบโตทัดเทียมประเทศทีเ่ จริญแล้ว

Anti-Corruption Update

> 


> Anti-Corruption Update had not have corruption; the economy would have grown 50% better than the current situation. Most opinions suggested that corruption was a burden of the country and decreased the chance of Thailand to develop into a developed country. Although the corruption problem was severe, one fourth of the business leaders had a high confidence that corruption problem could be solved. The most important people to solve this problem were 1) government (68%) 2) politicians (66%) 3) associations in business sector (52%). The business leaders also presented a strategy for the public sector to use to solve the problem based on priority as follows, 1. To enforce the law with the corruptors seriously as the example of serious law enforcement. 2. To create a transparent process/procurement that could be inspected by external party 3. To build private sector collective action coalition against corruption 9. The role of private sector in solving corruption problem 72% of the business leaders from private sector viewed the role of private sector in solving corruption problem at high and very high level. And 58% of them viewed private sector as an efficient mechanism to prevent corruption at high and very high level. 51% of the business leaders were ready to join Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption, higher than 14% in the last three years. Meanwhile, 56% were ready if there was a practical plan. Lastly, the business leaders recommended private companies to cooperate to solve corruption problem. They believed that private sector was an important power to solve the problem and they had to refuse corruption in all forms. They have to cooperate as follows, 1. To inform the employees about corruption to create the consciousness and lead to common measure for the problem. 2. To monitor the company processes regularly. 3. To build the transparent and checkable procurement process of the company 4. To train and develop the employees to prevent corruption 5. To communicate with the staffs that corruption was unacceptable. 6. To promote the companies in the business with high corruption to be a part of anti-corruption 7. To set an anti-corruption policy as policy the company policy and have a common declaratory judgment in very company. 8. To praise an organization or business unit that improved in the anti-corruption process.

 <

Anti-Corruption Update

แม้ปญั หาจะรุนแรงแต่ 1 ใน 4 ของผูน้ �ำภาคธุรกิจ มีความ เชื่อมันในระดั ่ บสูงถึงสูงมาก ว่าปญั หาทุจริตคอร์รปั ชัน่ จะสามารถ แก้ไขได้ และบุคคลทีจ่ ะต้องช่วยในการแก้ไขปญั หาในความเห็นของ ผูน้ �ำธุรกิจ ก็คอื รัฐบาล (ร้อยละ 68) นักการเมือง (ร้อยละ 66) และ สมาคมในภาคธุรกิจเอง (ร้อยละ 52) รวมถึงได้เสนอกลยุทธ์ทภ่ี าครัฐ ควรน�ำไปใช้ในการแก้ไขปญั หาตามล�ำดับความส�ำคัญ ดังนี้ 1. ด�ำเนินการบังคับใช้กฎหมายกับผูท้ ก่ี ระท�ำการทุจริต คอร์รปั ชันอย่ ่ างจริงจัง เพือ่ ให้เป็ นตัวอย่างในการบังคับใช้กฎหมาย ทีจ่ ริงจัง 2. สร้างกระบวนการ/วิธกี ารจัดซือ้ จัดจ้างทีม่ คี วามโปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยบุคคลภายนอก 3. สร้างแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้าน การทุจริต (Collective Action Coalition) 9. บทบาทภาคเอกชนในการแก้ ไ ขปั ญ หาการทุ จ ริ ต คอร์รัปชั่น ร้อยละ 72 ของผูน้ �ำภาคธุรกิจมองบทบาทของภาคเอกชน ในการแก้ไขปญั หาการทุจริตว่าสามารถท�ำได้ในระดับสูงถึงสูงมาก และ ร้อยละ 58 มองภาคเอกชนเป็นกลไกทีใ่ ช้ในการป้องกันการฉ้อโกง และทุจริตทีม่ ปี ระสิทธิภาพในระดับมากถึงมากทีส่ ดุ โดยร้อยละ 51 ของผูน้ �ำภาคธุรกิจ พร้อมทีจ่ ะเข้าเป็นแนวร่วมปฏิบตั ขิ องภาคเอกชน ในการต่อต้านการทุจริตอย่างแน่นอน สูงกว่าร้อยละ 14 เมือ่ สามปี ก่อน ขณะทีอ่ กี ร้อยละ 46 พร้อมทีจ่ ะเข้าร่วมหากมีแผนทีป่ ฏิบตั ไิ ด้ สุดท้ายนี้ของผูน้ � ำภาคธุรกิจได้เสนอข้อแนะน� ำให้บริษทั เอกชนทุกแห่งร่วมกันช่วยแก้ไขปญั หาการทุจริตคอร์รปั ชัน่ โดยมี ั ความเห็นว่า ภาคเอกชนเป็นพลังส�ำคัญของการแก้ไขปญหาและต้ อง ร่วมกันปฏิเสธการทุจริตคอร์รปั ชันทุ ่ กรูปแบบ โดยบริษทั เอกชนต้อง ร่วมมือกัน ดังนี้ 1. ให้ความรู้ พนักงานบริษทั ในเรือ่ งการทุจริตคอร์รปั ชัน่ เพือ่ ให้เกิดจิตส�ำนึกและน�ำไปสูม่ าตรการทีจ่ ะร่วมแก้ไขปญั หา 2. หมันตรวจสอบกระบวนการท� ่ ำงานของบริษทั 3. สร้างกระบวนการจัดซือ้ จัดจ้างของบริษทั ทีโ่ ปร่งใสตรวจ สอบได้ 4. มีการอบรมพัฒนาพนักงาน ไม่ให้เกิดการทุจริต 5. สือ่ สารให้พนักงานทราบว่า คอร์รปั ชันเป็ ่ นสิง่ ทีย่ อมรับ ไม่ได้ 6. ผลักดันให้บริษทั ในธุรกิจทีม่ กี ารทุจริตคอร์รปั ชันสู ่ งให้ มาเป็ นส่วนหนึ่งของการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่


In addition, regarding the progress of certification process, there are 3 more companies that submitted the assessment forms. Collective Action Coalition Committee will have a meeting to approve the request on 5th July.

7.วางนโยบายไม่ทุ จ ริต คอร์ร ปั ชันให้ ่ เ ป็ น นโยบายของ บริษทั และให้มคี ำ� ปฏิญาณร่วมกันในทุกบริษทั 8. เชิดชูหน่ วยงานหรือองค์กรธุรกิจที่มกี ารปรับปรุงใน ลักษณะดังกล่าว

Regarding the knowledge activity, IOD is going to organize a seminar on 7th August 2013 on the topic "Future cooperation of private sector in anti-corruption" if you are interested in this seminar, you can register via e-mail nithidol@thai-iod.com

นอกจากนี้ ในด้ า นความคืบ หน้ า ของบริษัท ที่ย่ืน ขอ รับรอง (Certification Process) ได้มบี ริษทั แสดงความประสงค์ยน่ื แบบประเมินเข้ามาเพิม่ อีก 3 บริษทั โดยคณะกรรมการแนวร่วม ปฎิบตั ฯิ จะประชุมเพือ่ พิจารณารับรองในวันที่ 5 กรกฎาคมนี้

In May-June, IOD joined other 7 companies have signed an intention declaration in anti-corruption. Therefore, there have been 168 companies that signed the declaration now. In July, Thai General Insurance Association will sign an intention declaration in anti-corruption which will increase the number of companies to more than 200 companies. It is an extension of business areas that are free from corruption and strengthen the cooperation to cope with all forms of corruption. For the companies that have signed the intention declaration but still lack of the personnel with knowledge and understanding in structuring corruption prevention system in the organization, you can send your executives and employees to train in the training courses. IOD will organize 2 training courses continuously in 2013. The schedules for both courses are as follows, Anti-Corruption for Executive Program (ACEP) will be held on 30th August and Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG) will be held on 18th-19th July. If you are interested in these courses, please contact Mr. Nithidol Pattanatrakulsuk, 02-955-1155 ext. 400.

ส่วนกิจกรรมการให้ความรูน้ นั ้ IOD จะจัดสัมมนา ในวันที่ 7 สิงหาคม 2556 ในหัวข้อ “อนาคตความร่วมมือภาคเอกชนใน การต่อต้านการทุจริต” ท่านทีส่ นใจสามารถลงทะเบียนผ่านทางอีเมล์ มาที่ nithidol@thai-iod.com ได้ตงั ้ แต่บดั นี้เป็ นต้น ในช่วงเดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนมิถุนายนที่ผ่านมานี้ มีบริษทั เข้าร่วมลงนามประกาศเจตนารมณ์เพิม่ เติมอีกทัง้ 7 บริษทั ท�ำให้จำ� นวนรวมบริษทั ทีป่ ระกาศเจตนารมณ์มที งั ้ สิน้ 168 บริษทั และ ในเดือนกรกฎาคม สมาคมบริษทั ประกันวินาศภัยก็จะจัดพิธลี งนาม ประกาศเจตนารมณ์ต่อต้านการทุจริตขึน้ ซึง่ คาดว่าจะท�ำให้มบี ริษทั ทีป่ ระกาศเจตนารมณ์เพิม่ ขึน้ ถึง 200 กว่าบริษทั นับเป็ นการขยาย วงพื้นที่การท�ำธุรกิจที่ปราศจากการทุจริตให้กว้างมากยิง่ ขึน้ และ สร้างพลังการรวมตัวเพือ่ ต่อต้านการคุกคามจากการทุจริตทุกรูปแบบ ส�ำหรับตารางการจัดหลักสูตรฝึกอบรม ทัง้ 2 หลักสูตรใน ช่วงครึง่ ปีหลังนี้ มีกำ� หนดการ ดังนี้ หลักสูตร Anti-Corruption for Executive Program (ACEP) ครัง้ ที่ 6 จะจัดขึน้ วันที่ 30 สิงหาคม ส่วนหลักสูตร Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG) ครัง้ ที่ 5 จะจัดขึน้ วันที่ 18-19 กรกฎาคม ส�ำหรับท่านทีส่ นใจจะเข้าร่วมอบรมในหลักสูตรดังกล่าว สามารถติดต่อสอบถามได้ท่ี คุณนิธดิ ล พัฒนตระกูลสุข 02-955-1155 ต่อ 400

Anti-Corruption Update

> 


200 บริ ษทั กับอนาคตความร่ วมมือของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริ ต ในรอบปี ที�ผา่ นมา จํานวนบริ ษทั สมาชิกแนวร่ วมปฎิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริ ตได้เพิ�มขึ�นเป็ นเท่าตัว โดยปั จุบนั มี สมาชิก ทั�งสิ� นกว่า 200 บริ ษทั นับเป็ นปรากฎการณ์ที�แสดงให้ถึงความต้องการของผูน้ าํ ภาคธุ รกิจที�ตอ้ งการเข้ามามีส่วนร่ วมในการแก้ไขปั ญหาทุจริ ต คอร์ รัปชัน� อันเป็ นอุปสรรคสําคัญในการพัฒนาประเทศไทย ทั�งยังเป็ นมูลเหตุสาํ คัญที�ก่อให้เกิดปั ญหาสังคมอีกหลายประการ ด้วยเหตุน� ี IOD ในฐานะเลขานุการแนวร่ วมปฎิบตั ิฯ จึงจัดสัมมนา ในหัวข้อ “200 บริ ษทั กับอนาคตความร่ วมมือของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริ ต” ขึ�นเพือ� ให้บริ ษทั สมาชิกแนวร่ วมฯ และบริ ษทั ที�กาํ ลังสนใจเข้าร่ วมเป็ นแนวร่ วม ฯ ได้ตระหนักถึงความสําคัญของการสร้างระบบป้ องกันการทุจริ ต ภายในองค์กรตามแนวทางมาตรฐานสากล ในงานสัมมนานี�ผเู ้ ข้าร่ วมจะได้รับฟังตัวอย่างจริ งของบริ ษทั ที�ผา่ นการรับรองว่าเป็ นบริ ษทั ที�ดาํ เนินธุรกิจอย่างโปร่ งใสปราศจากการทุจริ ต มาแบ่งปั นประสบการณ์ของการดําเนินงานในการสร้างระบบการป้ องกันการทุจริ ตคอรัรัปชัน� ส์ภายในองค์กร โดยจะตอบคําถาม อาทิ • บริ ษทั ควรจะเริ� มต้นอย่างไร • อะไรคือปั ญหาและอุปสรรคสําคัญ การสัมมนานี�เหมาะสําหรับ • วิธีการรับมือกับคําถามต่าง ๆ จากผูบ้ ริ หารระดับสูง • คณะกรรมการและผูบ้ ริ หารของบริ ษทั เอกชน • วิธีการทําความเข้าใจกับพนักงานในองค์กร เพื�อให้เห็นว่าการป้ องการทุจริ ตมี • ผูท้ ี�ได้รับการมอบหมายให้ดูแลเรื� องการป้ องกันการ ผลดีอย่างไร และถ้าไม่ปฎิบตั ิตามจะส่ งผลเสี ยอย่างไรตามมา ทุจริ ตคอร์รัปชัน� ส์ในองค์กร • การเข้าสู่กระบวนการรับรอง (Certification Process) จะต้องเตรี ยมตัวอย่างไรบ้าง • ผูท้ ี�สนใจเข้าร่ วมเป็ นแนวร่ วมปฏิบตั ิภาคเอกชนไทย ในการต่อต้านการทุจริ ต ค่าใช้จ่ายในการเข้าร่ วมการสัมมนา • สมาชิกแนวร่ วมปฏิบตั ิ – ไม่มีค่าใช้จ่าย (จํากัดที�นง�ั 3 คน/ บริ ษทั ) • บุคคลทัว� ไป – 1,500 บาท กําหนดการ 13.00 – 13.30 น. 13.30 – 13.45 น. 13.45 – 15.00 น.

15.15 – 15.30 น. 15.30 น.

ลงทะเบียน เปิ ดการสัมมนา โดย ดร.บัณฑิต นิจถาวร กรรมการผูอ้ าํ นวยการ สมาคมส่ งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษทั ไทย (IOD) การอภิปรายเรื� อง “อนาคตความร่ วมมือภาคเอกชนในการต่อต้านการทุจริ ต” ผูร้ ่ วมอภิปราย • คุณชาลี จันทนยิง� ยง รองเลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ • คุณสุ ภิรัช โพธิ�ถาวร รองประธานฝ่ ายกํากับดูแลธุรกิจ บริ ษทั เอไอเอ จํากัด • คุณธนกฤต เพิ�มพูนขันติสุข ผูจ้ ดั การทัว� ไปและเลขานุการบริ ษทั บริ ษทั สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จํากัด(มหาชน) ดําเนินการอภิปราย โดย • คุณรพี สุ จริ ตกุล ที�ปรึ กษาโครงการแนวร่ วมปฎิบตั ิของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริ ต ถาม-ตอบ ปิ ดการสัมมนา

วันพุธที� 7 สิงหาคม 2556 เวลา 13.00 – 15.30 น. ณ ห้ องแกรนด์ บอลรูม โรงแรมเรอเนสซองซ์

สนใจสอบถามข้อมูลได้ที� คุณนิธิดล โทร 02-955-1155 ต่อ 400 ลงทะเบียนโดยกรอกแบบตอบรับตามที�แนบมาด้วย และส่ งมาทางโทรสาร 02-955-1156-7 หรื ออีเมลล์ nithidol@thai-iod.com



> CR Column

A New Step of

Sustainability Report

ก้ า วใหม่ ข องการจั ด ท� ำ รายงานความยั่ ง ยื น

Thai companies can now prepare to adopt a new global standard for corporate sustainability reporting issued by the Global Reporting Initiative, or GRI, the nonprofit group that promotes economic, environmental and social sustainability. The new guidelines were discussed at the Global Conference on Sustainability and Reporting, held on May 22-24 in Amsterdam, the Netherlands. More than 1,600 people from 80 countries attended the conference, including a team from the Thaipat Institute, which does corporate social responsibility projects. On June 18, the institute's director, Dr. Pipat Yodprudtikan, led a discussion on the conference results for IOD and other organizations gathered at the Stock Exchange of Thailand building. Global trends and prospects on corporate sustainability and sustainability reporting were discussed, most importantly, a new tool called G4 for organizations to produce improved sustainability reports. IOD is presenting a short summary here because this is an important issue for our members.

เมื่อวันอังคารที่ 18 มิถุนายนทีผ่ ่านมาทาง IOD ได้รบั เชิญจากทางสถาบันไทยพัฒน์เพือ่ เข้าร่วมงานเสวนา “GRI Global Conference Debrief on Sustainability and Reporting”ณ หอประชุม ศาสตราจารย์สงั เวียน อินทรวิชยั ชัน้ 3 อาคารตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย เพือ่ รับฟงั การน�ำเสนอเนื้อหาและเครือ่ งมือใหม่ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับการจัดท�ำรายงานแห่งความยังยื ่ น (Sustainability Report) ซึ่งทางทีมงานของสถาบันไทยพัฒน์ น�ำโดย ดร.พิพฒ ั น์ ยอดพฤติการ ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันฯ ได้เข้าร่วมการประชุมระดับโลก ว่าด้วยรายงานและความยังยื ่ น (Global Conference on Sustainability and Reporting) ณ กรุงอัมสเตอร์ดมั ประเทศเนเธอร์แลนด์ เมือ่ วัน ที่ 22-24 พฤษภาคมในการจัดประชุมระดับโลกนี้มผี เู้ ข้าร่วมงานกว่า 1,600 คน จาก 80 กว่าประเทศทัวโลก ่ สาระส�ำคัญของการประชุม คือการเสวนาเรือ่ งสถานการณ์ความเคลือ่ นไหวเรือ่ งความยังยื ่ นและ การจัดท�ำรายงานในระดับโลก แนวโน้มทีส่ ำ� คัญของการรายงานในรูป แบบใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การจัดท�ำ Global Reporting Initiative (GRI) ฉบับใหม่ทเ่ี รียกว่า G4 ซึง่ ปรับปรุงจากฉบับ 3.1 ทีใ่ ช้อา้ งอิงอยู่ ั บนั ซึง่ IOD เห็นว่าเนื้อหาเป็นประโยชน์กบั ผูอ้ า่ น Boardroom ในปจจุ ทุกท่านจึงขอสรุปเนื้อหาโดยย่อในนิตยสารฉบับนี้

What is a Sustainability Report?

อะไรคือ Sustainability Report

A sustainability report gives information about a company's strategy, governance, administration framework, and performance in terms of the company's positive or negative impact on the sustainable development of the overall economy, society and natural environment.

รายงานแห่งความยังยื ่ น เป็ นรายงานทีใ่ ห้ขอ้ มูลเกีย่ วกับ กลยุทธ์การด�ำเนินงาน การก�ำกับดูแล แนวการบริหารจัดการ และ ผลการด�ำเนินงานด้านเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม ทีส่ ะท้อนทัง้ ใน ทางบวกและทางลบ โดยมุง่ เป้าสูก่ ารพัฒนาทีย่ งยื ั่ น

More than 5,000 organizations worldwide produce sustainability reports according to the GRI framework, especially large listed companies. According to a GRI survey, during the last 10 years, the companies included in the MSCI World and S&P 500 indexes that produced sustainability reports enjoyed better performance than the average performance of all companies in the indexes. That's illustrated by the figures below.

 <

CR Column

ปจั จุบนั มีองค์กรทัวโลกที ่ จ่ ดั ท�ำรายงานแห่งความยังยื ่ น ตามกรอบของ GRI แล้วมากกว่า 5,000 แห่ง โดยเฉพาะบริษทั ขนาดใหญ่ทจ่ี ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในภูมภิ าคต่างๆ โดยจากการส�ำรวจข้อมูลผลการด�ำเนินงานของบริษัท ทีม่ กี ารจัดท�ำรายงานแห่งความยังยื ่ น พบว่า สามารถให้ผลตอบแทน อยูเ่ หนือกลุม่ บริษทั ทีอ่ ยูใ่ นดัชนีอย่าง MSCI World และ S&P 500 ตลอดช่วงเวลา 10 ปีทผ่ี า่ นมา


The aim of sustainability reporting under the GRI framework is not to simply produce a report, but rather to use the reporting process to add value to the company by responding to the sustainability concerns of all stakeholders. It involves adding value not only for the company's shareholders or investors, but also for its clients, trade partners and suppliers, as well as the community, the environment and the society.

หัวใจของการรายงานความยังยื ่ นตามกรอบ GRI มิได้ อยูท่ ก่ี ารจัดท�ำเพือ่ ให้ได้เล่มรายงานเป็ นผลลัพธ์หลัก แต่เป็ นการใช้ กระบวนการของการจัดท�ำรายงานมาสร้างคุณค่าให้แก่องค์กรใน บริบทของความยังยื ่ น โดยให้ความส�ำคัญกับความครอบคลุมผูม้ สี ว่ น ได้เสียของกิจการ ทีไ่ ม่จำ� กัดเฉพาะการสร้างมูลค่าให้แก่ผถู้ อื หุน้ หรือ นักลงทุน แต่ยงั รวมถึงลูกค้า คูค่ า้ ผูส้ ง่ มอบ ชุมชน สิง่ แวดล้อม และ สังคมโดยรวม

What is G4?

อะไรคือ G4

The GRI's new reporting framework, G4, is a step up from the G3.1 version that is currently used by many Thai listed companies. Companies are to switch to G4 at the start of 2016. The improvements are:

G4 เป็ นแนวทางการรายงานของ GRI ซึง่ ปรับปรุงจาก ฉบับ G3.1 ซึง่ บริษทั จดทะเบียนไทยหลายแห่งใช้อยู่ โดยฉบับเดิม จะใช้จนถึงสิน้ ปี 2558 การปรับปรุงใหม่นนั ้ มีความแตกต่างจากเดิม ดังนี้

Under the previous framework, companies reported all the details of all their activities. Under G4, companies are to report only the significant issues ("the material aspects") affecting the company's sustainability. Therefore the report will more "strategic" in nature, and not written simply to document all activities. The new reporting framework is linked with other important frameworks such as OECD guidelines, the UN Global Compact's 10 Principles, and the UN Guiding Principles on Business and Human Rights. Information disclosure is improved in the areas of governance, ethics and honesty, the supply chain, anti-corruption efforts, greenhouse gas emissions, and any new company management processes that are adopted to suit the new sustainability strategy. No longer can the reporting just indicate the policy of the organization; it must include the actual practice, and evaluations of that practice. Under G4, there are now two types of reporting: the core method and the comprehensive method. The core method presents only one issue in one significant strategy, while the comprehensive method presents all issues in one significant strategy.

เน้ นการเปิ ดเผยเรื่องที่เป็ นสาระส�ำคัญ (Materiality) ของ กระบวนการรายงานและเปิดเผยข้อมูล กล่าวคือไม่จำ� เป็ นต้อง เปิดเผยทุกเรือ่ งแต่เน้นเรือ่ งทีท่ ำ� จริงทีเ่ ป็นสาระส�ำคัญ พร้อมทัง้ ให้เหตุผลว่าท�ำไมสิง่ นัน้ ถึงมีความส�ำคัญและใครทีเ่ กีย่ วข้องบ้าง ท�ำให้รายงานความยังยื ่ นเป็ นระดับกลยุทธ์มากขึน้ กรอบการรายงานดังกล่าวจะเชื่อมโยงกับกรอบแนวความคิด อืน่ ๆ ทีส่ ำ� คัญ อาทิ OECD guidelines, UN Global Compact 10 Principles, UN Guiding Principles on Business and Human Rights มีการปรับปรุงให้มกี ารเปิดเผยข้อมูลในเรือ่ งของการก�ำกับดูแล จริยธรรมและความสุจริต ห่วงโซ่อปุ ทาน การต่อต้านทุจริต และ การปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมถึงรูปแบบของการเปิดเผยแนว การบริหารจัดการทีไ่ ด้รบั การปรับปรุงใหม่ การรายงานนัน้ ไม่เพียงแต่ระบุว่าองค์กรมีนโยบายอย่างไร จะต้องมีการเขียนถึงสิง่ ที่ปฏิบตั ิจริงและการวัดผลของการ ด�ำเนินงานด้วย หลักเกณฑ์การเปิดเผยรายงานจะมี 2 แบบคือแบบหลัก (Core) หรือแบบรวม (Comprehensive) แทนวิธกี ารเดิมทีก่ ำ� หนดเป็ น เกรด A,B,C ซึง่ การเปิดเผยข้อมูลในแบบหลัก ให้เปิดเผยอย่าง น้อย 1 ตัวชีว้ ดั ทีเ่ กีย่ วข้องในแต่ละประเด็นซึง่ ถูกระบุวา่ มีสาระ ส�ำคัญ ส่วนในแบบรวม ต้องรายงานครบทุกตัวชีว้ ดั ทีเ่ กีย่ วข้อง ในแต่ละประเด็นซึง่ ถูกระบุวา่ มีสาระส�ำคัญดังกล่าว

CR Column

> 


> CR Column

What is an Integrated Report?

อะไรคือ Integrated Report

In the conference they are another issue regarding to companies' report, which they should present the Sustainable report separately from the Annual report or they should combine it in one report which called, Integrated Report. The conventional annual report emphasizes the company's financial performance. The sustainability report emphasizes the company's impact on the economy, the society and the environment, and focuses on the concerns of all stakeholders in the company. The integrated report combines the two reports in a way that truly benefits all stakeholders, as shown in the table below.

ในการเสวนาครัง้ นี้ ได้ให้ความส�ำคัญเรื่อง Integrated Report หรือรายงานแบบบูรณาการด้วย กล่าวคืออาจเป็ นการจัด ท�ำรายงานแห่งความยังยื ่ นรวมเข้าไว้กบั รายงานประจ�ำปี (Annual Report) ขององค์กร ท�ำให้รายงานประจ�ำปี ได้รบั การพัฒนามากยิง่ ขึน้ ก่อนหน้านี้รายงานประจ�ำปี จะเน้นการรายงานเรือ่ งผลประกอบ การ ในขณะทีร่ ายงานแห่งความยังยื ่ น เน้นเรือ่ งเศรษฐกิจ สังคม และ สิง่ แวดล้อม โดยเน้นไปทีผ่ อู้ า่ นทีเ่ ป็นผูม้ สี ว่ นได้เสียขององค์กร การจัด ท�ำรายงานแบบบูรณาการนัน้ จะรวมรายงานทางการเงินและรายงาน ทีไ่ ม่ใช่การเงินเข้าด้วยกันท�ำให้รายงานดังกล่าวเป็นประโยชน์ตอ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างแท้จริงโดยเปรียบเทียบได้ดงั นี้

ลักษณะ

Characteristics

การจัดท�ำรายงานแบบบูรณาการ

การจัดท�ำรายงานประจ�ำปีแบบเดิม

Integrated report

Conventional annual report

ความน่าเชือ่ ถือ Trust ขอบเขต

เปิดเผยในแวดวงทีจ่ ำ� กัด

เปิดเผยอย่างโปร่งใสมากขึน้

รายงานด้านการเงิน

รายงานครอบคลุมทุกด้าน

แนวคิด

แยกส่วน

บูรณาการ

เรือ่ งทีใ่ ห้ความส�ำคัญ

เรือ่ งในอดีตและตัวเลขทางการเงิน

เรือ่ งทัง้ ในอดีตและอนาคตทีส่ อดคล้องกับกลยุทธ์องค์กร

ช่วงเวลา

ระยะสัน้

ระยะสัน้ ระยะกลาง และระยะยาว

การปรับตัว

ยึดกับกฎระเบียบ

เป็ นตามสถานการณ์

ความกระชับ

ไม่กระชับและซับซ้อน

กระชับและเน้นในส่วนทีเ่ ป็ นสาระส�ำคัญ

การใช้เทคโนโลยี

ทำ�โดยตีพิมพ์เป็นเล่ม

เน้นการใช้เทคโนโลยี

Stewardship Thinking Focus

Time Frame Adaptive Concise

Technology Enable

Disclosure in a limited context Financial report Separated Past issues and financial number Short term Based on regulation Not concise and complex Emphasize on hard copy report

More transparent disclosure Comprehensive report Integrated Past and future issues in line with organization strategy Short term, medium term and long term Depend on situation Concise and emphasize on important issue Emphasize on technology

Source: KPMG International, www.kpmg.com

อ้างอิง www.kpmg.com

For more information, visit the Global Reporting Initiative at www.globalreporting.org

ท่ า นผู้อ่ า นที่ส นใจทราบข้อ มู ล มากขึ้น สามารถอ่ า นข้อ มู ล ได้ใ น www.globalreporting.org

 <

CR Column



> CR Column

Compostable Bioplastic:

Boost Your Company and Help Save the Earth

นวัตกรรมการตลาดพลาสติ ก ชี วภาพชนิ ด สลายตั ว ได้ Associate Professor Dr. Phietoon Trivijitkasem รองศาสตราจารย์ ดร.พิฑูร ตรีวิจิตรเกษม

Background

ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา

Many leading businesses and businesses that want to be leaders now have to compete with each other in burnishing their corporate social responsibility credentials. They even have to add some out-of-the-ordinary CSR activities in order to maintain their competitiveness. One area for such competition are campaigns to conserve the environment and to reduce global warming.

นั บ วัน องค์ ก รต่ า งๆ ต้ อ งแข่ ง ขัน กัน เพื่อ แสดงความ รับผิดชอบต่อสังคม เนื่องจากธุรกิจที่เป็ นผูน้ � ำหรือก�ำลังขยับขึน้ เป็ นผูน้ �ำย่อมมีความพร้อมในทุกด้านค่อนข้างสมบูรณ์ จึงจะอยู่ใน ต�ำแหน่งดังกล่าวได้ ดังนัน้ เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน จึงต้องเพิม่ สิง่ ทีพ่ เิ ศษกว่ากิจกรรมธรรมดาทัวไป ่ จากการศึกษาทีม่ ี ผลกระทบโดยตรงต่อมนุษยชาติ ก็ไม่พน้ เรือ่ งการรักษาสิง่ แวดล้อม ของโลกซึ่งถูกมนุ ษย์กระท�ำจนเสียศูนย์ความสมดุลจากดัง้ เดิมไป มาก ในทีน่ ้ีจะเน้นเฉพาะเรื่องการลดภาวะโลกร้อนและการรักษา ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยังยื ่ น

The latest innovation in environmentally friendly materials is bioplastic. It is derived from plants and can be used as a substitute for conventional plastic, which is produced from non-renewable fuels. We can say that compostable bioplastic is produced from the earth's most sustainable source, a source that will never be depleted as long as we can grow plants as raw materials. Therefore, it would be quite interesting to do CSR activities involving compostable bioplastic. Disposable plastic bags distributed free at shopping malls and stores pollute the environment. We lack the discipline and the good management to separate different types of garbage based on their different properties. Thus, the garbage remains where it is disposed and causes pollution. We can use compostable bioplastic to reduce this pollution. Compostable bioplastic bags are suitable for food contaminated with fat or organic waste. They can be taken to organic waste composting plants where they will decompose into good compost. Conventional plastic bags contaminated with fat or organic waste normally cannot be recycled because it is not worth it to wash them. So they are destroyed by burning, and that pollutes the air with carbon dioxide and other greenhouse gases that cause global warming. These gases usually cause health problems, as we often see reported in the media, such as the toxic pollution at the Map Ta Phut community in Rayong. The use of bioplastic can help in efforts to conserve the environment and to reduce the global warming problem.

 <

CR Column

ปจั จุบนั มีผลิตภัณฑ์จากนวัตกรรมล่าสุด คือ พลาสติก ชีวภาพโดยเฉพาะชนิด “สลายตัวได้ทางชีวภาพ (Compostable)” ซึง่ จะเป็ นค�ำตอบได้โดยท�ำหน้าทีต่ อบสนองได้ทงั ้ ลดภาวะโลกร้อน และอนุ ร กั ษ์ ท รัพ ยากรธรรมชาติไ ด้อ ย่ า งยังยื ่ น คู่ข นานพร้อ มๆ กันไป ทัง้ นี้ยงิ่ เป็ นผลิตภัณฑ์ได้มาจากพืชซึง่ ถือว่าเป็ นวัสดุทดแทน พลาสติกทัวไปซึ ่ ง่ เคยได้จากน�้ำมันทีน่ ับวันจะหมดไป จึงกล่าวได้ ว่าพลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพเป็ นผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้จากแหล่ง ก�ำเนิดที่ยงยื ั ่ นที่สุด โดยไม่มวี นั ที่จะหมดไปตราบเท่าที่สามารถ ปลูกพืชนัน้ ๆ ทีเ่ ป็ นวัตถุดบิ ได้อยู่ ด้วยเหตุน้ีจงึ เป็ นเรือ่ งทีน่ ่าสนใจ อย่างยิง่ ที่จะน� ำผลิตภัณฑ์ท่เี ป็ นพลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพ มาใช้ในกิจกรรมแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม โดยศึกษาด้าน บรรจุภณ ั ฑ์ในรูปแบบถุงทีใ่ ช้ในห้างสรรพสินค้า ร้านค้า และห้าง สะดวกซื้อ ทัง้ นี้พบว่าปจั จุบนั ถุงพลาสติกแบบธรรมดาทัวไป ่ ใช้ ครัง้ เดียวแล้วทิง้ (Disposable) ทีแ่ จกให้ฟรีจากแหล่งต่างๆ ข้างต้น ก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิง่ แวดล้อมเป็ นอย่างมาก ด้วยผูค้ นมีการใช้ มันแบบขาดวินัยในการจัดการ และแยกแยะอย่างเหมาะสมตาม คุณสมบัตเิ ฉพาะของมัน ซึง่ พลาสติกทัวไปนี ่ ้ทไ่ี ด้มาจากปิโตรเลียมมี ความคงทนไม่สามารถย่อยสลายได้เลย จึงคงอยูต่ ลอดในทีท่ ม่ี นั ถูก ทิง้ ยังผลให้เกิดปญั หามลภาวะสิง่ แวดล้อมโดยตลอด ผลิตภัณฑ์พลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพสามารถน� ำ มาประยุก ต์กบั งานดังกล่า ว เพื่อแก้ปญั หามลภาวะสิง่ แวดล้อม ได้อย่างสมบูรณ์ กล่าวคือถุงพลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพนี้ม ี ความเหมาะสมทีใ่ ช้บรรจุอาหารซึง่ ปนเปื้อนไขมัน หรือขยะอินทรีย์ โดยน� ำถุงและสิง่ ทีบ่ รรจุทงั ้ หมดทิง้ เข้าโรงหมักขยะอินทรียใ์ ห้ย่อย ั สลายทางชีวภาพเป็นปุ๋ยหมักได้เป็นอย่างดี ทัง้ ๆ ทีป่ ญหานี ้เป็นเรือ่ ง ใหญ่สำ� หรับถุงพลาสติกธรรมดาทัวไป ่ ซึง่ เมือ่ เปรอะเปื้อนอาหาร หรือ ขยะอินทรีย์ ก็ไม่สามารถน�ำไปรีไซเคิลตามปรกติได้ เพราะถ้าน�ำไป ล้างท�ำความสะอาดจะไม่คมุ้ ค่า จึงมักจะน�ำไปเผาท�ำให้เกิดมลภาวะ


Terms and definitions - Bioplastic is made of biobase and petrobase. Its shape is similar to conventional plastic. It can be melted and produced using the same process and the same machine as conventional plastic. (The machine needs only a minor modification.) There are two types of bioplastic: compostable bioplastic and non-compostable bioplastic. - The Royal Institute of Thailand defines compostable bioplastic as a product derived from either plants or petroleum, although the material will be developed so that in the future, it will be made only from plants. It can be processed into different products just like conventional plastic. Importantly, it biodegrades into small pieces and decomposes. This process releases carbon dioxide into the air and composts the earth. The product of the process is used by plants in photosynthesis as they grow. Compostable bioplastic is internationally certified for its unique properties; conventional plastic is not. - Non-compostable bioplastic is derived from plants only. It is as durable as conventional plastic but it is not degradable. However, it is very useful plastic because it conserves petroleum and reduces carbon dioxide emissions. It is produced by low-energy fermentation, which emits less carbon dioxide than the production of conventional plastic. - Biodegradable plastic is derived from adding some additives to conventional plastic. This kind of plastic degrades into small pieces that are then destroyed by microbes. However, some residues from the plastic remain in the environment; these residues can cause health problems in people and in animals. Therefore, biodegradable plastics have to be buried in landfills for safety. This type of plastic is not internationally certified because it does not decompose into compost. It can be certified only if the plastic can be used as compost with the same qualities as natural fertilizer.

Concept and practice Previously, there was only conventional plastic, which had to be destroyed by burning, emitting greenhouse gases that cause global warming. Conventional plastic bags contaminated with fat and organic waste are not worth recycling. Therefore, we should undertake serious studies on proper waste management and proper sorting of garbage. The use of compostable bioplastic plays an important role by promoting better management. Compostable bioplastic bags holding organic waste can be disposed of in the organic waste composting plant. They are not burned, so no greenhouse gases are generated. Conventional plastic bags must not be used for food waste. They should be kept clean

ทางอากาศ โดยมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทเ่ี ป็ นตัวการก่อให้เกิด ภาวะโลกร้อน และก๊าซพิษอื่นๆ ซึง่ มีผลการเกิดโรคภัยไข้เจ็บต่อ ั ั สุขภาพ โดยจะพบเห็นปญหาดั งกล่าวอยูเ่ นืองๆ อาทิ ปญหามลภาวะ เป็ นพิษในแหล่งชุมชนมาบตาพุด ดังนัน้ จะเห็นได้ว่าทัง้ พลาสติก สลายตัวได้ทางชีวภาพ และพลาสติกทัวไป ่ ยังสามารถน� ำมาใช้ ร่วมกับการรณรงค์เพือ่ รักษาสิง่ แวดล้อมได้อย่างสมบูรณ์กว่าเดิม ไม่ เพียงจะสนองตอบ เรือ่ งการลดสภาวะโลกร้อนเท่านัน้ ก็ยงั สามารถ ตอบสนองอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติได้ดว้ ย โดยมีพลาสติกสลายตัว ั ได้ทางชีวภาพเป็นกุญแจส�ำคัญในการแก้ปญหาครบทุ กด้านได้อย่าง หมดจรด และสมบูรณ์แบบ ดังจะกล่าวอย่างละเอียดในบทความต่อไป ค�ำนิยามศัพท์

- พลาสติ กชีวภาพ (Bioplastics) เป็นนวัตกรรมล่าสุดมีทงั ้ ท�ำมา จากพืช (Biobase) และ จากน�้ำมันปิโตรเลียม(Petrobase) มี ลักษณะเป็ นเม็ดพลาสติกคล้ายพลาสติกทัวไป ่ สามารถน�ำมาหลอม และผลิตตามกระบวนการปกติด้วยเครื่องจักรเดิมที่ใช้ผลิตด้วย เม็ดพลาสติกธรรมดา โดยอาจมีการปรับแต่งเครือ่ งจักรบ้างเล็กน้อย เท่านัน้ เพื่อความเหมาะสม พลาสติกชีวภาพนี้สามารถแบ่งออก เป็ นสองจ�ำพวกหลักๆคือ จ�ำพวก พลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพ (Composable Bioplastics) และจ�ำพวก พลาสติกสลายตัวไม่ได้ ทางชีวภาพ (Non Compostable Bioplastic) - Compostable Bioplastics ตามศัพท์ราชบัณฑิตฯ ไทยได้บ ญ ั ญัติไ ว้เ ป็ น “พลาสติก สลายตัว ได้ท างชีว ภาพ” เป็ น ผลผลิตทีไ่ ด้ทงั ้ จากพืช หรือ จากปิโตรเลียมก็ได้ แต่ในอนาคตอัน ใกล้จะถูกพัฒนาให้ทำ� จากพืชอย่างเดียว ท�ำผลิตภัณฑ์ได้หลายรูป แบบเหมือนพลาสติกทัวไป ่ แต่สงิ่ ทีส่ ำ� คัญยิง่ คือ ต้องเน้นสามารถ สลายตัว ได้ ท างชีว ภาพ ซึ่ ง ผ่ า นการ แตกสลายทางชีว ภาพ (Biodegradation) จนเป็ นชิน้ เล็กๆแล้วจึงสลายตัวตามขบวนการ หมัก ปุ๋ ย โดยให้ก๊ า ซคาร์บ อนไดออกไซด์แ ละปุ๋ ยหมัก คืน สู่ดิน ผลผลิตทีไ่ ด้ทงั ้ คู่พชื สามารถน�ำไปใช้ในการสังเคราะห์แสงและช่วย การเจริญเติบโตได้ตามล�ำดับ และผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวข้างต้นจึงมี มาตรฐานสากลรองรับโดยที่ พลาสติกธรรมดาทัวไป ่ (Conventional Plastic) ไม่สามารถให้คณ ุ ลักษณะพิเศษนี้ได้ - Non Compostable Bioplastics เป็ นผลิตผลจาก พืช เพีย งอย่า งเดีย ว ด้ว ยเป้ า ประสงค์เ พื่อ เป็ น แหล่ ง ทรัพ ยากร ทดแทนปิ โตรเลียม จึงเป็ นผลิตภัณฑ์ท่มี คี ุณสมบัตคิ งทนเหมือน พลาสติก ธรรมดาทุ ก ประการ ไม่ส ามารถสลายตัว ได้ เรีย กว่ า พลาสติก สีเ ขีย ว (Green Plastics) แต่ ม ีป ระโยชน์ ม ากเพราะ เข้า ข่ า ยการอนุ ร ัก ษ์ ท รัพ ยากรน�้ ำ มัน ทัง้ ยัง กระบวนการผลิต คายก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์น้อยกว่าของการผลิตพลาสติกทัวไป ่ เพราะเป็ นการผลิตโดยกระบวนการหมัก (Fermentation) ไม่ตอ้ ง ใช้พลังงานมาก ท�ำให้ได้มูลค่าเพิม่ ของการลดก๊ าซเรือนกระจก เรียกกันว่า คาร์บอนเครดิต (Carbon Credit) - Biodegradable Plastics (พลาสติกแตกสลายทาง ชีวภาพ) เป็ นพลาสติกทีไ่ ด้มาจากการผสมสารเติมแต่งในพลาสติก ธรรมดาทัวไป ่ โดยท�ำให้มกี ารแตกเป็ นชิน้ เล็กๆ และเล็กมากพอจน เข้าใจว่าจุลนิ ทรียส์ ามารถท�ำลายมันได้ แต่สดุ ท้ายมักจะมีการทิง้ สาร ตกค้างอยูด่ ว้ ย ซ�้ำร้ายเมือ่ ผงดังกล่าวเข้าสูร่ า่ งกายสัตว์หรือมนุษย์ก็

CR Column

> 


> CR Column

Disposable plastic

จะก่อให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บตามมา จึงต้องมีการปิดให้มดิ ชิดหลังการ ฝงั กลบด้วยวินยั ทีเ่ คร่งครัดมากๆ จึงจะปลอดภัย จึงไม่มมี าตรฐาน สากลรองรับ เพราะไม่สามารถสลายตัวได้ทางชีวภาพให้เป็นปุ๋ยหมัก ซึง่ ต้องผ่านเงือ่ นไขตัวชีว้ ดั โดย “พืชทีป่ ลูกด้วยปุ๋ยหมักดังกล่าว จะ ต้องเจริญเติบโตทัดเทียมกับปุ๋ยในดินธรรมชาติ”

Household waste

แนวคิดและการปฏิบัติ

and in good condition so that they can be recycled instead of burned.

Bioplastic

Conventional plastic Thin bags for free

Thick bags sold

(Should stop using these) Waste separation Households

Food waste

Goods bags

Bangkok Metropolitan: Give away

Shopping Mall: Sell

Keep organic waste

Public areas Dirty

Dirty

Burning

Clean

Clean

Organic waste composting plant

Use as fuel

Compost

Recycle

Use forplants growing

Plastic

Diagram 1 How to manage used conventional plastic bags and compostable bioplastic bags. The management of disposable plastic packages involves bags, plates, bowls and boxes, especially food packages. The diagram shows we should make these products from compostable bioplastic. They are disposed of in organic waste composting plants, returning the materials to the earth through decomposition into compost. As shown in the diagram, the management of plastic packages involves management in households and management in public areas.

1. Household Management This category includes shopping malls, stores and government offices. Managing the waste from these sources is the duty of the municipality, which may dispose of garbage by means of landfills, organic waste composting, recycling, or burning. This waste often pollutes the environment. Therefore, it is crucial to separate the different types of waste from the very beginning. Each household will receive three types of garbage bags for free. The first is a conventional plastic bag for plastic, paper, cans and bottles. The municipality will come collect the bag 1-2 times a month. The other bags are compostable bioplastic bags for organic waste and for food waste. These wastes are put together in a compostable bioplastic bag and closed tightly. The bag is put in front of the house for the municipality to take away 1-2 times a week. The household waste is thus clearly separated, making waste management more convenient. Recyclable garbage, especially clean plastic, paper and bottles, is sorted

 <

CR Column

เนื่ อ งจากก่ อ นหน้ า นั น้ มีเ พีย งพลาสติก ธรรมดาทัว่ ไป ซึ่ง ต้อ งมีก ารก� ำ จัด ด้ว ยการเผาทิ้ง โดยตลอด จึง ก่ อ ให้เ กิด ก๊ า ซ เรือนกระจกน� ำไปสู่ภาวะโลกร้อน เพราะถุงพลาสติกดังกล่าวมัก เปรอะเปื้ อนไขมันอาหาร และขยะอินทรีย์ จึงไม่คุม้ ค่าทีจ่ ะน� ำไป รีไซเคิลด้วยเหตุน้ีแนวคิดการบริหารจัดการอย่างถูกต้อง และการมี วินยั ในการแยกขยะพลาสติกหลังการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ จึง ควรมีการศึกษาอย่างจริงจังเพือ่ ให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ ปจั จุบนั มี พลาสติกชีวภาพชนิดสลายตัวได้ทางชีวภาพ ซึง่ มีบทบาทส�ำคัญโดย เฉพาะเป็นการเสริมให้ครบวงจรอย่างสมบูรณ์ขน้ึ กว่าเดิม การทีน่ �ำถุง ดังกล่าวมาใช้บรรจุขยะอินทรีย์ แล้วน�ำรวมทัง้ ถุงทิง้ ในโรงหมักขยะ อินทรียไ์ ด้เลย จึงไม่กอ่ ให้เกิดก๊าซเรือนกระจก เพราะไม่ตอ้ งมีการน�ำ ไปเผาทิง้ เหมือนเดิมอีกต่อไปในขณะเดียวกันถุงพลาสติกธรรมดา ทัวไป ่ จะต้องถูกห้ามมิให้ใส่อาหารซึง่ มีไขมัน หรือขยะอินทรียโ์ ดย เด็ดขาด ดังนัน้ ถุงทีว่ ่านี้กไ็ ม่ตอ้ งถูกน� ำไปเผา ก่อให้เกิดก๊าซเรือน กระจกอีก ในทางกลับกันก็จะสามารถน�ำไปรีไซเคิลได้ดี เพราะมี ความสะอาด คุณภาพดี ได้มลู ค่าเพิม่ จากเดิม เป็ นการแก้ปญั หา ความบกพร่องเดิมๆ ได้อย่างสิน้ เชิง จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้นสามารถน� ำมาประมวลเป็ นรูป แบบการบริหารจัดการหลังการใช้สอย ของถุงพลาสติกทัง้ 2 ประเภท กล่าวคือ พลาสติกธรรมดาทัวไป ่ และพลาสติกสลายตัวได้ทาง ชีวภาพ ตามผังภูมทิ แ่ี สดงใน รูปที่ 1 ดังต่อไปนี้ หลักการบริหารจัดการพลาสติกบรรจุภณ ั ฑ์ใช้ครัง้ เดียวทิง้ แบ่งเป็ น 2 ประเภท - พลาสติกธรรมดาทัวไป ่ (Conventional Plastics) - พลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพ (Compostable Bioplastics)

รูปที่ 1 การจัดการหลังการใช้ของพลาสติกแบบธรรมดาทัวไปและ ่ พลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพ


and sold. Organic waste will become compost. This will add value to all processes. To achieve the goal, we must promote the use of food packages made of compostable bioplastic.

2. Management in Public Areas The principle of waste separation is the same here. Four bins are provided -- three bins for plastic, paper, cans, and bottles, and one bin for organic waste only. It is the same approach as using different types of plastic bags in the household. At the same time, we should encourage all stores to charge for plastic bags instead of giving them out free. They might sell both conventional plastic bags and bioplastic bags that are beautifully designed and attractive and can be repeatedly used. Repeated use certainly will reduce the amount of plastic garbage. The diagram shows the management of the two types of plastic. On the left is the management of conventional plastic. We should encourage people to use conventional plastic products repeatedly, as is done in many countries. The bag is used until it is torn, then disposed of in the same bin as other dry garbage. It must not be disposed of together with organic waste. That way, the bag will stay clean and can be recycled. Some dirty bags might be burned to generate energy to substitute for electricity production. The right side of the diagram shows the management of compostable bioplastic. This also focuses on repeated use until the bag is no longer in good condition. Then, the bag is used only for organic waste and taken directly to the organic waste composting plant to produce compost. The compostable bioplastic bag must be clearly marked "to contain organic waste only" and the conventional plastic bag must be marked "to contain inorganic waste only." Achieving the goal will require comprehensive communication among all parties, incentives for cooperation, and strict and consistent application of the rules.

Conclusion Proper management of plastic bag use and disposal will help reduce global warming and environmental degradation. As environmental issues become more pressing, companies can improve their image and their competitiveness with a bioplastic bag campaign as one of their corporate social responsibility or corporate environmental social responsibility projects.

จากรูปที่ 1 พบว่าการบริหารจัดการพลาสติกบรรจุภณ ั ฑ์ท่ี ใช้ครัง้ เดียวทิง้ ซึง่ ครอบคลุมถึง ถุง ถาด ถ้วย และกล่อง โดยเฉพาะ ทีใ่ ช้บรรจุอาหาร จะมีความเหมาะสมอย่างยิง่ ให้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ จะ ต้องผลิตจากเม็ดพลาสติกชีวภาพชนิดสลายตัวได้ ทัง้ นี้จะสนองตอบ ได้ถงึ ความสมบูรณ์แบบ ทีเ่ มือ่ น�ำไปทิง้ ในโรงหมักขยะอินทรียจ์ ะได้ ้ าประสงค์ทต่ี อ้ งการ คือ การคืนสูด่ นิ โดยสลายตัว ผลสัมฤทธิตามเป ์ ได้ป๋ ุยหมัก และเพือ่ ให้เข้าใจกระบวนการตามผังภูมนิ ้ี การบริหาร จัดการสามารถแบ่งเป็ น 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 การบริหารจัดการในครัวเรือน

ในที่น้ี ร วมถึง ห้า งสรรพสิน ค้า ห้า งสะดวกซื้อ ร้า นค้า และสถานทีร่ าชการต่างๆ การก�ำจัดขยะจากแหล่งเหล่านี้เป็ นงาน โดยตรงของเทศบาล หรือ กทม. ทีจ่ ะน�ำไปก�ำจัดด้วยการ ฝงั กลบ หมักปุ๋ยอินทรีย์ รีไซเคิล และเผาทิง้ โดยมักมีผลกระทบทางมลภาวะ แวดล้อม ด้วยเหตุน้ีจงึ มีความส�ำคัญอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องเริม่ แยกขยะ ตัง้ แต่ตน้ ทาง โดยแต่ละครัวเรือนจะได้รบั การแจกฟรีถงุ ใส่ขยะขนาด ใหญ่ 3 ใบ เป็นถุงพลาสติกธรรมดาทัวไปให้ ่ เก็บไว้ภายในบ้าน เพือ่ ใช้ แยกเก็บขยะชนิดพลาสติก กระดาษ กระป๋องและขวด โดยทาง กทม. จะมารับเดือนละ 1 – 2 ครัง้ ส่วนถุงพลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพ อีก 1 ใบ เพื่อใช้แยกบรรจุขยะอินทรีย์ เศษอาหาร ถุงทีใ่ ช้บรรจุ อาหาร ซึง่ ต่อไปนี้จะต้องท�ำจากพลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพ เช่น กัน แล้วจึงน�ำมาทิง้ รวมกันในถุงขยะสลายตัวได้ทางชีวภาพเท่านัน้ โดยมัดให้มดิ ชิดทิง้ ไว้หน้าบ้าน เพือ่ ทาง กทม. จะมาเก็บสัปดาห์ละ 1 – 2 ครัง้ จะเห็นได้วา่ ขยะจากครัวเรือนจะถูกแยกอย่างชัดเจนให้ ฝา่ ยบริหารจัดการท�ำได้งา่ ยมากขึน้ และสะดวก ส่งผลให้ได้ขยะที่ รีไซเคิล โดยเฉพาะพลาสติกสะอาด กระดาษ กระป๋องและขวด เพือ่ น�ำไปจ�ำหน่ายได้ ส่วนขยะอินทรียจ์ ะได้ป๋ ยหมั ุ ก ซึง่ ล้วนสร้างมูลค่า เพิม่ ได้ทุกภาคส่วนโดยตลอด ดังนัน้ เพือ่ ให้สอดรับกัน และเพือ่ ได้ ผลสมบูรณ์ จึงต้องรณรงค์เน้นเรื่อง บรรจุภณ ั ฑ์ทใ่ี ส่อาหารจะต้อง เป็ นพลาสติกชีวภาพชนิดสลายตัวได้เท่านัน้ ส่วนที่ 2 การบริหารจัดการในสาธารณะสถาน

โดยให้มกี ารจัดเก็บแยกขยะในหลักการเดียวกัน มักจัดให้ มีถงั 4 ใบ แยกถัง 3 ใบ เพือ่ ทิง้ ขยะพลาสติก กระดาษ กระป๋องและ ขวด กับถังอีก 1 ใบ เพือ่ ทิง้ ขยะอินทรียโ์ ดยเฉพาะ ทัง้ นี้คอื เลียน วิธกี ารเดียวกันกับการใช้ถุงขยะในครัวเรือนดังทีก่ ล่าวมาแล้ว ใน ขณะเดียวกันควรส่งเสริมให้ห้างร้านต่างๆ ขายแทนการแจกฟรี โดยขายถุงพลาสติกทัง้ สองชนิดทีอ่ อกแบบ สวยงาม น่ าใช้ซ้�ำได้ หลายครัง้ แทนการแจกถุงบางๆฟรีชนิดใช้ครัง้ เดียวทิ้งซึ่งสร้าง ปญั หาเดิมๆตามทีท่ ราบกันดี การทีก่ ระตุน้ ให้ใช้ถุงซ�้ำหลายครัง้ จะ เป็ นการลดขยะพลาสติกได้อย่างแน่นอน จากรูปที่ 1 จะเห็นได้วา่ มีการแบ่งวิธกี ารเป็ น 2 ทาง ทาง ซีกซ้ายและขวาทางซีกซ้ายจะเป็ นของพลาสติกชนิดทัวไปสลายตั ่ ว ไม่ได้ ในทีน่ ้ีส่งเสริมเฉพาะการใช้ซ้�ำหลายครัง้ ซึ่งหลายประเทศ ก็ใช้วธิ เี ดียวกันนี้แล้ว โดยใช้ถุงดังกล่าวจนหมดสภาพก่อนจึงน� ำ ไปทิ้งใส่ขยะแห้งทัวไป ่ และห้ามใช้ใส่ขยะอินทรียโ์ ดยเด็ดขาด ก็ จะได้พลาสติกที่สะอาดปราศจากไขมันเปรอะเปื้ อน ท�ำให้น�ำไป รีไซเคิลได้อย่างมีมูลค่าสูงในการจ�ำหน่ าย เพื่อให้ใช้งานได้ต่อไป

CR Column

> 


> CR Column

The public sector should teach people how to separate their garbage, distribute both types of plastic bags free, explain how to use them, and create incentives for everyone to cooperate.

อาจมีสว่ นทีส่ กปรกบ้างจึงค่อยน�ำไปเผาเพือ่ ได้พลังงานทดแทนใช้ ในการผลิตไฟฟ้าได้ดว้ ย ในขณะเดียวกันทางซีกขวามือในผังภูม ิ ดังกล่าวจะเป็ นของพลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพ ก็จะเน้นให้ใช้ ซ�้ำตามวิธกี ารเดียวกันจนกระทังถุ ่ งนัน้ หมดสภาพ จึงน� ำไปบรรจุ ขยะอินทรียเ์ ท่านัน้ ท�ำให้งา่ ยต่อการรวบรวมเข้าโรงหมักปุ๋ยอินทรีย์ ได้เลย สร้างมูลค่าในรูปปุ๋ยหมักทัง้ นี้ถุงพลาสติกสลายตัวได้ทาง ชีวภาพและพลาสติกธรรมดาทัวไปจะต้ ่ องพิมพ์ขอ้ ความอย่างชัดเจน ถึงวิธใี ช้งาน ด้วยค�ำว่า “ใช้บรรจุขยะอินทรียเ์ ท่านัน้ ” และ “ใช้บรรจุ ขยะอนินทรียเ์ ท่านัน้ ” ตามล�ำดับ

There should be a ban on the use of conventional plastic bags for food, wet garbage or organic waste. They can be used only for dry waste.

ในทีส่ ุดความส�ำเร็จจะบรรลุผลได้อย่างดีเยีย่ มก็ต่อเมื่อมี การสือ่ สารให้ความเข้าใจอย่างทัวถึ ่ ง พร้อมๆกับการมีรางวัลจูงใจ ให้รว่ มกิจกรรม โดยช่วยกันรักษากติกาอย่างเคร่งครัดและสม�่ำเสมอ

Compostable bioplastic bags should be used only for food for sale, wet garbage and organic waste.

บทสรุป

The campaign would involve these steps:

Stores should stop giving thin plastic bags for free. They should design both types of plastic bags so they are thick, durable and attractive, so people will use them repeatedly.

Compostable bioplastic bags are more expensive than conventional plastic bags but they can be used as media to promote environment conservation. Companies can use their PR budgets to produce them. Companies can use compostable bioplastic bags not only in environmental campaigns, but as a marketing innovation. Different companies can place advertisements on the same bag in order to share costs. Conventional plastic bags cannot be used in environmental conservation campaigns.

 <

CR Column

จากความสมบู ร ณ์ ข องรู ป แบบการบริห ารจัด การถุ ง พลาสติกหลังการใช้งานทีก่ ล่าวมาข้างต้น จะน�ำไปสูก่ ารแก้ปญั หา สิง่ แวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือสามารถสนองตอบ การลดภาวะโลกร้อน และการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยังยื ่ น ซึ่งเป็ นเรื่องทีอ่ งค์กรชัน้ น� ำต่างๆจะน� ำไปประยุกต์เข้ากับกิจกรรม การรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม และสังคม (CESR หรือ CSR) ได้ อย่างดี ท�ำให้สามารถเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันเหนือคูแ่ ข่ง ได้ดว้ ยภาพลักษณ์ทด่ี กี ว่า และเข้าถึงผูซ้ อ้ื ได้ดี เพราะภัยธรรมชาติ เป็ นเรือ่ งใกล้ตวั เราเข้ามาทุกทีๆ โดยตลอด ซึง่ ผลต่อเนื่องทีต่ ามมา อาจสรุปได้ดงั นี้ ห้างร้าน ควรหยุดการแจกถุงบางๆฟรี โดยจะออกแบบ ขายถุงทัง้ สองประเภท ทีม่ คี ุณภาพดี หนา สวยงาม มีประโยชน์ น่าน�ำมาใช้ซ้ำ� หลาย ๆ ครัง้ ทางราชการ ควรสื่อให้มวลชนเข้าใจการแยกขยะตัง้ แต่ ต้ น ทางอย่ า งมีว ินั ย ตามคุ ณ สมบัติ เ ฉพาะ โดยมีก ารอ� ำ นวย ความสะดวกให้ทุกรูปแบบ อาทิ การแจกถุงขยะทัง้ 2 ประเภท และอธิบายวิธกี ารใช้งานให้ถูกต้อง ซ�้ำยังมีการให้รางวัลจูงใจเพื่อ ทุกภาคส่วนจะร่วมกันรณรงค์อย่างจริงจัง ถุ ง พลาสติ ก ธรรมดาทัว่ ไป จะถู ก ห้ า มใช้ ก ับ อาหาร ขยะเปียก หรือขยะอินทรีย์ ให้ใช้ใส่ขยะแห้งอย่างเดียว ถุงพลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพ ให้ใช้บรรจุอาหารใน การจ�ำหน่าย และใช้ใส่ขยะเปียกหรือขยะอินทรียเ์ ท่านัน้ ถุงพลาสติกสลายตัวได้ทางชีวภาพมีราคาสูงกว่าพลาสติก ธรรมดาทัว่ ไปค่ อ นข้า งมาก แต่ เ นื่ อ งจากถุ ง พลาสติก ชีว ภาพนี้ สามารถใช้เป็ นสือ่ ในการรณรงค์รกั ษาสิง่ แวดล้อมได้ จึงมีคณ ุ สมบัติ พิเศษไม่ใช่ใช้เพือ่ ห่อสินค้าอย่างเดียว โดยงบใช้จ่ายนี้อาจแบ่งจาก งบประมาณของการสร้างภาพลักษณ์องค์กรได้ เกิดนวัตกรรมการตลาดขึ้นมาใหม่ โดยใช้ถุงพลาสติก ชีวภาพดังกล่าวในการรณรงค์กจิ กรรม ทีร่ บั ผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม และสังคม มีการพิมพ์ขอ้ ความรณรงค์ ไว้บนถุงใบเดียวกันแต่อาจ จะมากกว่า 1 องค์กร ท�ำให้มกี ารช่วยเฉลีย่ ออกค่าใช้จา่ ย เพือ่ แต่ละ องค์กรจะได้ไม่ต้องแบกภาระมากเกิน เมื่อเทียบกับถุงพลาสติก ธรรมดาทัวไป ่ ซึง่ ถุงทัวไปที ่ ว่ า่ นี้ไม่สามารถท�ำหน้าทีเ่ ป็ นสือ่ รณรงค์ ช่วยสิง่ แวดล้อมได้


> Board Review

Fundamentals of Risk Management: Understanding, Evaluating and Implementing Effective Risk Management

AUTHOR (ผู ้ เ ขี ย น): Paul Hopkin

World event such as terrorism, natural disasters and global financial crisis have raised the profile of risk. Now more than ever, organizations must plan, respond and recognize all forms of risks that they face. Risk management is a core business skill and understanding and dealing with risks effectively can both increase success and reduce the likelihood of failure. Fundamentals of Risk Management provides a comprehensive introduction to the subject of commercial and business risk. It is suitable for those studying for a career in risk as well as a broad range of risk professionals. The book examines the key components of risk management and how it can be applied. Examples are provided that demonstrate the benefits of risk management to organisations in the public and private sector. Paul Hopkin is a Fellow and Non-executive Director of The Institute of Risk Management. He is currently Technical Director of the Association of Insurance and Risk Management (AIRMIC). Previously he was Director of Risk Management for the Rank Group Plc and prior to that, Head of Risk Management at the BBC.

สถานการณ์ ใ นโลกป จั จุ บ ั น อาทิ การก่ อ การร้ า ย ภัยธรรมชาติ และปญั หาเศรษฐกิจในโลกท�ำให้ความเสี่ยงมีมาก ยิง่ ขึน้ องค์กรต่างๆ จึงต้องให้ความสนใจในเรื่องนี้มากยิง่ ขึน้ ทัง้ การวางแผนป้องกัน การตอบสนอง และตระหนักรูถ้ งึ ความเสีย่ ง ทุกด้านทีอ่ าจเกิดขึน้ การบริหารความเสีย่ งจึงเป็ นทักษะทางธุรกิจ ทีม่ คี วามส�ำคัญเป็ นอย่างยิง่ การเข้าใจ และจัดการความเสีย่ งอย่าง มีประสิทธิภาพจะท�ำให้องค์กรประสบความส�ำเร็จได้มากขึน้ อีกทัง้ ลดความล้มเหลวทีอ่ าจเกิดขึน้ หนังสือ Fundamentals of Risk Management จะท�ำให้ ผูอ้ ่านเข้าใจเรื่องของความเสีย่ งทางธุรกิจและการค้า ซึง่ เหมาะกับ ผูอ้ ่านทีเ่ ป็ นผูบ้ ริหารทีท่ ำ� งานเกีย่ วกับเรือ่ งนี้ หนังสือเล่มนี้ได้แสดง ให้เ ห็น ถึง องค์ป ระกอบหลัก ของการบริห ารความเสี่ย งและการ ประยุกต์ใช้ โดยมีตวั อย่างขององค์กรทัง้ ในภาครัฐและเอกชนทีไ่ ด้ รับประโยชน์จากการวางแผนความเสีย่ งให้ผอู้ า่ นได้รบั ทราบอีกด้วย Paul Hopkin ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการของสถาบันบริหาร ความเสีย่ ง (The Institute of Risk Management) และกรรมการ ของสมาคมประกันและการบริหารความเสีย่ ง ก่อนหน้านี้เคยด�ำรง ต�ำแหน่งกรรมการบริหารความเสีย่ งของบมจ. Rank Group และเคย ด�ำรงต�ำแหน่งหัวหน้างานบริหารความเสีย่ งของ BBC

Board Review

> 


Risk Management Committee บ่อยครัง้ การดําเนิ น ธุร กิจ มักจะมีความเสี่ยงที่ไ ม่คาดคิดเกิดขึ้น ทําให้ผ ลการดําเนิ น งานขององค์กรผิดไปจาก เป้าหมายทีว่ างไว้ หรือทําให้การดําเนินงานของธุรกิจล่าช้า อันเป็ นอุปสรรคสําคัญต่อการแข่งขันในภาวะการเติบโต ของเศรษฐกิจในปจั จุบนั ด้วยเหตุน้ี องค์กรต่างๆ จึงหันมาให้ความสนใจในการหาวิธกี าร เทคนิค รวมทัง้ กระบวนการต่างๆ ที่จะควบคุมหรือ จัดการกับความเสีย่ งหรือความไม่แน่ นอนทีอ่ าจเกิดขึน้ และสร้างความเสียหายให้กบั องค์กรเหล่านัน้ ได้ คณะกรรมการบริ หารความเสี่ยง จึงกลายเป็นกลุ่มทีถ่ ูกคาดหวังจากผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียทัง้ จากภายในและภายนอก องค์กร ให้ทาํ หน้าทีบ่ ริหารและจัดการกับความเสีย่ งเพื่อป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ กับองค์กร แต่จากการสํารวจ บริษทั ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกลับพบว่า มีบริษทั จดทะเบียนเพียง 45% เท่านัน้ ที่มกี าร จัดตัง้ คณะกรรมการบริห ารความเสี่ยง อย่างไรก็ตาม ด้วยสภาพแวดล้อมต่ างๆ ไม่ว่าจะเป็ น ภาวะการแข่ง ขัน ความผัน ผวนทางเศรษฐกิจ ตลอดจนปจั จัยอื่นๆ ต่างเป็ นตัวช่วยในการผลักดันให้บริษทั ต่ างๆ เริม่ ให้ความสําคัญ ในการจัดตัง้ คณะกรรมการชุดดังกล่าวมากขึน้ IOD ในฐานะองค์กรหนึ่งทีส่ นับสนุ นการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องกรรมการบริษทั ไทยภายใต้การกํากับดูแลกิจการที่ดี จึงได้ เปิดหลักสูตร Risk Management Committee Program (RMP) ขึน้ เพื่อให้คณะกรรมการได้เข้าใจบทบาทหน้าที่ท่ี แท้จริงของกรรมการบริหารความเสีย่ ง และได้แลกเปลีย่ นมุมมองกับผูเ้ ข้าร่วมอบรมท่านอื่นๆ ผ่านการทํา Workshop พร้อมรับคําแนะนําจากวิทยากรผูม้ คี วามเชีย่ วชาญ โดยหลักสูตรนี้ จัดขึน้ เป็นครัง้ แรกในวันที่ 30 กันยายน 2556

สอบถามรายละเอียดหรือขอใบสมัครได้ที่ ฝา่ ยฝึ กอบรม 0 2955 1155 ต่อ 207 หรือ 214


> Board Activities National Director Conference 2013

เป็ นงานใหญ่แห่งปี อกี หนึ่งงานของ IOD ที่รวมกรรมการ บริษทั ทัง้ ไทยและต่างชาติกว่า 300 คน เพือ่ ร่วมแลกเปลีย่ นความคิดเห็น และข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์ในการท�ำหน้าทีก่ รรมการบริษทั รวมถึงทิศทาง การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ใี นประเทศและต่างประเทศ IOD จัดงาน IOD’s 2nd National Director Conference 2013 เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน ทีผ่ า่ นมา ณ โรงแรมพลาซ่าแอทธินี โดยในปีน้ี IOD ได้รบั เกียรติจาก นายอานันท์ ปนั ยารชุน นายกกรรมการ ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็ นผูก้ ล่าวปาฐกถาพิเศษในงานเรือ่ งความท้าทายการก�ำกับ ดูแลกิจการทีด่ ใี นประเทศไทย (Thailand’s Governance Challenge) ร่วมด้วยวิทยากรชัน้ น�ำอีกหลายท่าน อาทิ มร.จอห์น โคลวิน กรรมการ ผูอ้ ำ� นวยการ Australian Institute of Corporate Directors (AICD) และ เลขาธิการ Global Network of Director Institutes (GNDI) มร. จอห์น ลิม ประธานกรรมการ Singapore Institute of Directors มร. สตีเฟน ยัง Global Executive Director, Caux Round Table เป็ นต้น ส�ำหรับสรุป งานประชุมครัง้ นี้สามารถติดตามได้ใน Boardroom ฉบับถัดไป และ ดาวน์โหลดเอกสารงานสัมมนาได้ท่ี www.thai-iod.com

National Director Conference 2013

About 300 Thai and foreign company directors participated in IOD's 2nd National Directors Conference on June 12. The directors shared their experiences and views on trends in corporate governance, both locally and globally. We were honored to have as keynote speaker Mr. Anand Panyarachun, Chairman of the Board, Siam Commercial Bank, who discussed "Governance Developments in Thailand." We also were honored by the participation of corporate governance gurus including. Mr. John Colvin, CEO and Managing Director of the Australian Institute of Company Directors and Chairman of the Global Network of Director Institutes; Mr. John Lim, Chairman of the Singapore Institute of Directors; and Mr. Stephen Young, Global Executive Director of the Caux Round Table. A briefing on the seminar will be published in the next issue of Boardroom Magazine. Please visit www.thai-iod.com to download the presentations at the event.

Orientation DCP 173-174

การปฐมนิเทศของหลักสูตร Director Certification Program DCP รุน่ 173-174 ทีผ่ า่ นมา ผูเ้ ข้าอบรมทัง้ สองรุน่ ได้เข้าอบรมและ ท�ำกิจกรรมร่วมกันอย่างสนุกสนาน โดยในรุน่ นี้มผี เู้ ข้าอบรมทีม่ าจาก ทัง้ ภาครัฐ และเอกชน รับรองได้วา่ รุน่ นี้ได้แลกเปลีย่ นความคิดเห็น กันได้รอบด้านอย่างแน่นอน

Orientation DCP 173-174

We held an orientation for Director Certification Program (class 173-174) for company directors and other senior executives. At the orientation, the participants from both private and public sectors enjoyed networking with each other and learning from our facilitators Board Activities

> 


> Board Activities DAP เพื่อโครงการ “หุ้นใหม่ ความภูมิใจของจังหวัด”

เมือ่ วันที่ 20 พฤษภาคมทีผ่ า่ นมา IOD มีโอกาสต้อนรับ ผูป้ ระกอบการในโครงการ “หุน้ ใหม่ ความภูมใิ จของจังหวัด” รุน่ ที่ 1 ในการอบรมหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) ซึง่ เป็นส่วนหนึ่งของโครงการฯ ทีท่ าง ก.ล.ต. ได้จดั ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างให้ผู้ประกอบการทัวประเทศมี ่ ความรู้ความเข้าใจ เกีย่ วกับประโยชน์ของตลาดทุน การใช้ตลาดทุนเป็ นช่องทางในการ ระดมทุน รวมถึงการสร้างความเข้าใจเกีย่ วกับการเตรียมตัวระดมทุน จากตลาดหลักทรัพย์ ซึง่ จะสนับสนุนให้ธรุ กิจมีแหล่งเงินทุนระยะยาว ทัง้ ยังเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ และกระตุน้ ให้ เตรียมความพร้อมทีจ่ ะรับมือกับการเปิดเสรีของประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ทีก่ ำ� ลังจะมาถึงในปี 2558 นี้ ส�ำหรับผูท้ พ่ี ลาดโอกาส ไปในรุน่ แรก สามารถติดตามการเปิดรับสมัครในรุน่ ถัดไป หรือราย ละเอียดข้อมูลโครงการได้ท่ี www.sec.or.th

DAP for "New Shares, Pride of the Province" Project IOD has organized a special Director Accreditation Program (DAP) for entrepreneurs under a project called "New Shares, Pride of the Province." The project is supported by the Securities and Exchange Commission. It is aimed at helping entrepreneurs from around Thailand understand the stock market and how to list on the market. It is also aimed at preparing them for the challenges of the formation of the ASEAN Economic Community in 2015. A total of 58 people attended the first class, held on May 20. For information about future classes, please visit www.sec.or.th เศรษฐกิจและCG ในเอเซีย

IOD ได้รบั เกียรติเป็ นครัง้ ที่ 3 จากนักเศรษฐศาสตร์ชอ่ื ดัง Mr. Andrew Sheng, President of Fung Global Institute ทีใ่ ห้ เกียรติเป็ นวิทยากรบรรยายในงาน IOD Tea Talk 2/2013 หัวข้อ “Effective Regulation and Corporate Governance in Asia” เมือ่ วันที่ 27 พฤษภาคม เพือ่ บอกเล่าถึงสถานการณ์และแนวโน้ม รวมทัง้ ชีใ้ ห้เห็นถึงจุดอ่อนจุดแข็งทางเศรษฐกิจของเอเซีย สมาชิกทีเ่ ข้าร่วม งานบอกได้เป็ นเสียงเดียวว่าไม่ผดิ หวังจริงๆ

Economic Guru Discusses Corporate Governance in Asia Mr. Andrew Sheng, an international economic guru who is President of the Fung Global Institute, spoke about "Effective Regulation and Corporate Governance in Asia" at an IOD Tea Talk on May 27. Mr. Sheng shared his views on the strengths and weaknesses of Asia's economies. It was that third time that Mr. Sheng had spoken at an IOD event.

 <

Board Activities


Opportunities & Pitfalls for Thai Companies Expanding in Asia and Beyond

งาน Special Seminar งานแรกของปีเมือ่ วันที่ 23 เมษายน IOD เริม่ ด้วยหัวข้อ Opportunities & Pitfalls for Thai Companies Expanding in Asia and Beyond เพือ่ เสวนาในเรือ่ งโอกาสการขยายธุรกิจในภาคพืน้ เอเซีย โดยมีวทิ ยากรทัง้ ไทยและต่างชาติ ให้เกียรติรว่ ม อภิปราย อาทิ คุณชินภัทร วิสทุ ธิแพทย์ Partner HNP Counsel Taxand, Thailand, Helmar J. Klink, Ernst & Young, Partner International Tax Services, The Netherlands, Julian Kwek, Drew & Napier LLC, Singapore และ Jeroen van Zanten, Head International Business Development Citco, Singapore และปิดท้ายงานด้วยค๊อกเทลปาร์ต้ี ในวันนัน้ ผูเ้ ข้าร่วมงานหลายท่านกลับบ้านด้วยความประทับใจอยากให้ จัดงานลักษณะนี้อกี บ่อยๆ IOD ต้องขอบคุณ Citco Singapore Pte. Ltd. ทีใ่ ห้การสนับสนุนงานในครัง้ นี้

Opportunities & Pitfalls for Thai Companies Expandingin Asia and Beyond IOD held a special seminar on April 23 on "Opportunities & Pitfalls for Thai Companies Expanding in Asia and Beyond." An audience of more than 80 people heard from Thai and international speakers including Mr. Chinapat Visuttipat, Partner, HNP Counsel Taxand, Thailand; Mr. Helmar J. Klink, Partner, International Tax Services, Ernst & Young, the Netherlands; Mr. Julian Kwek, Drew & Napier, Singapore; and Mr. Jeroen van Zanten, Head, International Business Development, Citco, Singapore. We organized a networking cocktail reception after the seminar for our members. Thank you to our sponsor Citco Singapore for helping us organize the event.

บริจาคตู้หนังสือ เพื่อน้องแดนใต้

เมือ่ เดือนเมษายนทีผ่ า่ นมา หลังกิจกรรม IOD Golf Challenge Cup 10/2013 ที่ เหล่าสมาชิกได้รว่ มออกรอบกันสนุกสนาน และสังสรรค์ในงานเลีย้ งกระชับมิตรกันไปนัน้ IOD น� ำรายได้ส่วนหนึ่งหลังหักค่าใช้จ่ายจากการจัดแข่งขันกอล์ฟฯ จ�ำนวน 120,000 บาท ไป บริจาคให้โครงการหนังสือเพือ่ น้องแดนใต้ โดยมอบเป็ นตูห้ นังสือ จ�ำนวน 10 ตู้ เพือ่ ส่งต่อไป ยังโรงเรียนในเขต 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพือ่ ส่งเสริมคุณภาพการศึกษาให้กบั เด็กนักเรียน ระดับประถมศึกษาถึง มัธยมศึกษาตอนต้นในพืน้ ทีด่ งั กล่าว ส�ำหรับกิจกรรมดีๆ ทีเ่ ป็นประโยชน์ ต่อสังคมงานหน้าจะเป็ นกิจกรรมใดนัน้ ทาง IOD จะประชาสัมพันธ์ให้ทราบกันต่อไป

IOD Donates Bookshelves to School Children in the South Using receipts from the "IOD Golf Challenge Cup 10/2013," IOD donated 12,000 baht to the Bookshelves Donation for Children in the South project. Ten bookshelves were purchased and sent In May to primary and secondary schools in the three southernmost provinces. IOD thanks our members for supporting our charity projects and looks forward to their participation in our future projects.

Board Activities

> 


> Board Success

CONGRATULATIONS DCP 166-169 ขอแสดงความยินดีกบั ผูผ้ า่ นการอบรมหลักสูตร DCP 166-169 และหลักสูตร Advance Audit Committee รุน่ 10 คอลัมน์ Board Success ขอประมวลภาพบรรยากาศวันงานรับประกาศนียบัตรมาให้ชมกันบางส่วน ทีส่ นุกกันก่อนเข้างานกับเกมส์ตา่ งๆ ภายในงานก็สนุกกับ การร้องเล่นเต้นร�ำ ชืน่ มืน่ แค่ไหน ไปชมกันเลย

Congratulations to the participants who passed the DCP 166-169 Courses and Advance Audit Committee Course 10. Boardroom would like to compile pictures taken on the diploma day and display them on this column. Let's experience again the enjoyable atmosphere of the event. Advanced Audit Committee Program 10/2013

นางณัฎฐ์ณชั ชา ไชยประเสริฐ นายดนัย ปรัชญนันทน์ นพ.กฤษฎา บานชืน่ นางทิพวรรณ บุศยพลากร นางดนุชา ยินดีพธิ นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค นายเทียร เมฆานนท์ชยั นายพงศ์สนั ต์ ชืน่ ประสิทธิ ์ นายบรรเจิด ตัง้ เลิศไพบูลย์ น.ส.มนวิภา จูภบิ าล น.อ. รศ.ดร.ประสงค์ ปราณีตพลกรัง ผศ.พญ.ยุวเรศมคฐ์ สิทธิชาญบัญชา นายปรีดา ศรีพงษ์ นายรัฐพล อุณากัณฑ์พร น.ส.พจนีย์ ธนวรานิช นายรัฐา อุรโุ สภณ ดร.พักตร์ผจง วัฒนสินธุ ์ นายวรธรรม ตัง้ อิทธิพลากร พล.อ.อ.พิธพร กลิน่ เฟื่อง นายวรัญญู ศิลา นางวรานุช หงสประภาส นายวิวฒ ั น์ เสนียม์ โนมัย นายวรุณเทพ วัชราภรณ์ นายวุฒกิ ร สุรยิ ะฉันทนานนท์ ศ.ดร.ศุภลักษณ์ พินิจภูวดล นายสมัย อนุวตั รเกษม นายสมชาย สัยละมัย นายสราญโรจน์ สุทศั น์ชโู ต นายสันติ บางอ้อ นายสุวทิ ย์ อารยะวิไลพงศ์ นายสุพจน์ พิทยพงษ์พชั ร์ นายอธิวฒ ั น์ ศุภสวัสดิ ์วัชร นายอนันต์ เอกวงศ์วริ ยิ ะ Director Certification Program 166/2013 นายอภิสท ิ ธิ ์ รุจเิ กียรติกำ� จร นายอาคม ชีวะเกรียงไกร น.ส.เกษรา วงศ์เกตุ นายจักรพันธุ์ ยมจินดา นายจารึก แสงเพชร Director Certification Program 167/2013 นางจิราวัฒน์ วินิจชีวติ นายกายสิทธิ ์ พิศวงปราการ ดร.ฉกาจ วิสยั นางสาวจันทร์จริ า แพรรังสี นายชาลี ทิพยวาน นางสาวจิราภรณ์ แพรรังสี นางสาวฐานิสรา สถาวรวิศษิ ฎ์ นางจิราภรณ์ รุง่ ศรีทอง นายณกรณ์ ตรรกวิรพัท นายฉัตรชัย ทวีสกุลวัชระ นายณรงค์ฤทธิ ์ ถาวรวิศษิ ฐพร นายช�ำนาญ งามพจนวงศ์

 <

Board Success

นางสาวณัฏฐ์รวีพร รัตนไทย นายทรงวุฒ ิ ศักดิชลาธร ์ นายธราภุช คูหาเปรมกิจ นางธิดารัตน์ เศรษฐวรวิจติ ร นายธีระศักดิ ์ ประกายบุญทวี นายนรินทร์ กัลยาณมิตร นายนิรธุ เกาะแก้ว นายประสิทธิ ์ สีชงั นางสาวพรทิพย์ เหลืองก�ำธร นายรัฐพล กิตศิ กั ดิ ์ไชยกุล นายวรพล โลพันธ์ศรี นายศิรยิ ศ โปรณานันท์ นายศิรศิ กั ดิ ์ นาใจคง นางสาวสกลภา ประจวบเหมาะ นพ.สมชาย จันทร์สว่าง นางสมณีย์ มงคลโภชน์ นายสุรพงษ์ เตชะหรูวจิ ติ ร นางสาวสุรนิ ทร์ทพิ ย์ ถาวรทวีวงษ์ นายองอาจ วรฉัตรธาร นายอรรถ เหมวิจติ รพันธ์ Director Certification Program 168/2013

นายกฤษณ์ ธีรเกาศัลย์ ดร.กวีพงษ์ หิรญ ั กสิ น.ส.จีระพันธ์ จินดา นายเจริญ จารุไสลพงษ์ นายชวน ศิลปสุวรรณ นายชัยวัฒน์ โควาวิสารัช


นายฐิตกิ ุล บุณยะกาญจน์ นายสุพฒ ั น์ กรชาลกุล นายณัฐวุฒ จิตะสมบัต ิ นางสุวรรณี สุขวัจน์ นายด�ำรงค์ จูงวงศ์ น.ส.เสาวนีย ์ สุวรรณรงค์ พล.ต.ท.ทวีศกั ดิ ์ ตูจ้ นิ ดา นายอนุรกั ษ์ ธารีรตั นาวิบลู ย์ นายทองใหญ่ จันทนวัลย์ พล.ต.ต.อรรถกฤษณ์ ธารีฉตั ร นายพล ณรงค์เดช น.ส.อรวรรณ รัตนาวิญญู น.ส.พัชรรัตน์ พัชรภุช นายมณเฑียร ทองนิตย์ Director Certification Program 169/2013 นายรัฐพล ชืน่ สมจิตต์ นางกนกทิพย์ สายชุม่ อินทร์ น.ส.วราวรรณ เวชชสัสถ์ นายกอบพงษ์ ตรีสขุ ี นายวรินทร์ ศิษยนเรนทร์ นางขวัญธิดา วัฒนวรกิจกุล นายวีรชัย ชืน่ ชมพูนุท ผศ.ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์ นายวุฒ ิ อัศวเสริมเจริญ นางจันทรจรัส บุญคุณ นายศรายุทธ์ มุง่ จิตวิศวกร นายจุมพฏ ตัณมณี นางศรีประภา พริง้ พงษ์ นางสาวดวงดาว วงค์พนิตกฤต นายสันติ อนุรกั ษ์วงศ์ศรี นางสาวนวพร มหารักขกะ นายสัมฤทธิ ์ ลูว่ รี ะพันธ์ นางบุษยา สถิรพิพฒ ั น์กุล น.ส.สุจนิ ต์ แซ่หลี นายประพันธ์ เอีย่ มรุง่ โรจน์

นายพงศ์พทั จิตรส�ำเริง นายพิพฒ ั น์ ยอดพฤติการ นางสาวภัทรา เลาหะพลวัฒนา นายยุทธชัย เตยะราชกุล นางรสยา เธียรวรรณ นางสาวรัญชน์ภาวี แดงน้อย นางสาวร�ำภา ค�ำหอมรืน่ นายเรวัต พจนวิลาส นางสาววลัยทิพย์ จรณะจิตต์ นายวสุ สุวรรณวิหค นายวัชระ อิม่ พิทกั ษ์ นายวิชยั อุดมศาสตร์พร นายวินิจ แสงอรุณ นายศักดิธชั จันทรเสรีกุล นางสาวศันสนีย์ สัมฤทธิ ์ นายศุภชัย ตัง้ วรชัย น.ส.สุนทรียลักษณ์ สัมฤทธิ ์ นายอภินนท์ สุชวี บริพนธ์ นางสาวอังคณา สวัสดิ ์พูน

Board Success

> 


> Welcome New Member

WELCOME New Member สมาชิกสามัญบุคคล Mr.Brenton Justin Maurielle Chairman DWP Company Limited Ms.Caroline Link President B. Grim Real Estate Company Limited Mr.Ewen McDonald Managing Director Rolls-Royce (Thailand) Company Limited Mr.Fabian Doppler Managing Director Frank Legal &Tax Co., Ltd. Mr.Fabrice Merle Executive Director Plusketoo Limited Mr.Finbarr Roland O’Connor Managing Director Goodyear (Thailand) Company Limited Mr.Garry Kirkland Managing Director Marriott Vacation Club (Thailand) Mr.Gunnar Bertelsen Non-Executive Director Telenor Asia (ROH) LTD. Mr.Joffrey Lauthier Executive Director Bombardier Transportation Signal (Thailand) Ltd. Mr.Johnson Tan Executive Director Rimonland Plc.

 <

Welcome New Member

Mr.Peter Michener Vice President Mitr Phol Sugar Group Mr.Seil Jeong Vice Chairman Asia Gangnam Company Limited Ms.Siobhan Kennedy Independent Director The Kenedy Group Asia Company Limited Ms.Sun-Hye Park Company Secretary Ayudhya Development Leasing Co.,Ltd. Mr.Tore Johnsen Non-Executive Director Total Assess Communication Plc. (DTAC) Mr.Venkata Subba Reddy Jonnala Operation Director Mega Lifescience Company Limited Mr.Vincent Siaw Company Secretary Mermaid Maritime Plc. ดร.กริ ชผกา บุญเฟื่ อง กรรมการบริหาร บริษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทลี ติ ส้ี ์ จ�ำกัด นายกฤษณ์นันท์ วีรวรรณ กรรมการ บริษทั ซีเอชซีเอ็นจีเนียริง่ จ�ำกัด นายเกษม แพใหญ่ กรรมการ บริษทั กรุงไทยคอมพิวเตอร์เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด นายเกษมสิ ทธิ์ ปฐมศักดิ์ กรรมการตรวจสอบ บริษทั คริสเตียนีและนีลเส็น (ไทย) จ�ำกัด (มหาชน)


นายเกียรติ ณรงค์ วงศ์น้อย กรรมการ บริษทั กรุงไทยคอมพิวเตอร์เซอร์วสิ เซส จ�ำกัด

นางชนาทิ พย์ วีระสืบพงศ์ กรรมการบริหาร การประปาส่วนภูมภิ าค

นายขจรเกียรติ อรุณไพโรจนกุล Partner บริษทั ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส จ�ำกัด

นางชลัมพร อธิ วิทวัส กรรมการ บริษทั ชัวร์แทงค์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

นายจริ นทร์ จักกะพาก กรรมการ การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย

นางสาวชลิ ดา ชาญสุรีย ์ กรรมการ บริษทั ซอฟต์สแควร์ อินเตอร์เนชันแนล ่ จ�ำกัด

นายจรูญ อิ นทจาร ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญ

นายชวลิ ต พันธ์ทอง กรรมการ บริษทั ปตท.บริหารธุรกิจค้าปลีก จ�ำกัด

นายจักรกฤช จารุจินดา กรรมการบริหาร บริษทั ปตท.บริหารธุรกิจค้าปลีก จ�ำกัด

คุณชัชวาล เตรียมวิ จารณ์กลุ กรรมการอิสระ บริษทั เอแคป แอ๊ดไวเซอรี่ จ�ำกัด (มหาชน)

รศ.ดร.จิ รพล จิ ยะจันทน์ กรรมการบริหาร บริษทั กาญจนบุรกี ารศึกษา จ�ำกัด

นายชัยพฤกษ์ เสรีรกั ษ์ ประธานกรรมการ สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย

รศ.ดร.จิ รศักดิ์ จิ ยะจันทน์ ประธานกรรมการบริหาร บริษทั กาญจนบุรกี ารศึกษา จ�ำกัด

นายชาย วัฒนสุวรรณ กรรมการบริหาร บริษทั พีซแี อล แพลนเนอร์ จ�ำกัด

นางจิ ราภรณ์ รุ่งศรีทอง ประธานเจ้าหน้าทีก่ ารลงทุน บริษทั จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จ�ำกัด (มหาชน)

นายชุณห์ เลาหกลิ นทรัตน์ กรรมการบริหาร บริษทั เอเซียกังนัม จ�ำกัด

นายเจน ชาญณรงค์ กรรมการบริหาร บริษทั สยาม เจนเนอรัล เอวิเอชัน่ จ�ำกัด

นายโชติ ชยั สุวรรณาภรณ์ กรรมการ บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)

นายเจษฎา ศิ ริมงคลเกษม ประธานกรรมการ บริษทั จีเอฟพีที นิชเิ ร (ประเทศไทย) จ�ำกัด

นายณัฏฐวิ ทย์ สุฤทธิ กลุ ประธานรรมการ บริษทั ศูนย์ให้บริการคงสิทธิเลขหมายโทรศัพท์ จ�ำกัด

นายฉัตรชัย พรหมเลิ ศ ประธานกรรมการ การประปาส่วนภูมภิ าค

นางณัฐฐิ นี พิ ทยศิ ริ รองประธานกรรมการ บริษทั เจเอสอาร์ บีเอสที อิลาสโตเมอร์ จ�ำกัด Welcome New Member

> 


> Welcome New Member

WELCOME New Member นางดนูนาถ สุวรรณานนท์ กรรมการบริการ การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย

นางสาวธิ ติมา วัฒนศักดากุล กรรมการบริหาร บริษทั แปซิฟิก ไพพ์ จ�ำกัด (มหาชน)

นายตริ ณญ์ อิ นทรโอภาส เลขานุการบริษทั บริษทั ทีทแี อนด์ที จ�ำกัด (มหาชน)

นายธีระศักดิ์ ประกายบุญทวี กรรมการ บริษทั ไตร เอนเนอจี ้ จ�ำกัด

นายต่อ สันติ ศิริ Independent Director บริษทั เมก้า ไลฟ์ไซแอ็นซ์ จ�ำกัด

นางสาวนันทวัน วงศ์ขจรกิ ตติ ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักวิศวกรรมและปฏิบตั โิ ครงสร้าง ส�ำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)

นายถาวร นิ ติภาวะชน กรรมการบริหาร บริษทั ประปาปทุมธานี จ�ำกัด

นายบูรณิ น รัตนสมบัติ กรรมการ บริษทั ปตท.(กัมพูชา) จ�ำกัด

นายทรงกฤช บุญญาบารมี กรรมการ บริษทั ไทยลูบ้ เบล็นดิง้ จ�ำกัด

นางเบญญาภรณ์ จารุจินดา กรรมการบริหาร บริษทั บิซเิ นส เซอร์วสิ เซส อัลไลแอนซ์ จ�ำกัด

นางสาวทิ พวรรณ บุศยพลากร รองผูว้ า่ การ การประปานครหลวง

นางประพีร์ บุรี กรรมการบริหาร บริษทั ปรินทร จ�ำกัด

นายเทพชัย แซ่หย่อง กรรมการบริหาร บริษทั เนชัน่ มัลติมเี ดีย กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน)

นางประภาศิ ริ โฆษิ ตธนากร Partner บริษทั ทีป่ รึกษากฎหมายและภาษีอากร ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส จ�ำกัด

นายธนัชกฤศ เตชะรัตนไกร กรรมการตรวจสอบ บริษทั เอ็กโซติค ฟู้ด จ�ำกัด

นายพงศ์สนั ต์ ชื่นประสิ ทธิ์ ผูจ้ ดั การฝา่ ยขายอาวุโส บริษทั จีพวี ี เอเซีย (ประเทศไทย) จ�ำกัด

นายธนา ถิ รมนัส กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั พรอพเพอร์ต้ี แคร์ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

นายพงษ์เดช ศรีวชิ รประดิ ษฐ์ ประธานกรรมการ บริษทั ท๊อปเทคไดมอนด์ทลู ส์ จ�ำกัด

นายธเนศ วรศรัณย์ กรรมการตรวจสอบ การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย

นายพรเทพ พิ พฒ ั น์ ทงั ้ สกุล กรรมการบริหาร บริษทั ควอลิตเ้ี ฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน)

นางสาวธมนวรรณ นริ นทวานิ ช กรรมการบริหาร บริษทั มาสเตอร์ แอด จ�ำกัด (มหาชน)

นางพรรณี ฉันทรวรลักษณ์ เลขานุการบริษทั บริษทั สหโคเจน จ�ำกัด (มหาชน)

 <

Welcome New Member


นายพอ บุญยรัตพันธุ ์ กรรมการบริหาร บริษทั พาราไซแอนติฟิค จ�ำกัด

นายวรวุฒิ อนุรกั ษ์วงศ์ศรี กรรมการ บริษทั บางปะอิน โคเจนเนอเรชัน่ จ�ำกัด

นายพิ พฒ ั น์ ยอดพฤติ การ ผูอ้ ำ� นวยการ สถาบันไทยพัฒน์

นายวัชร วิ ทยฐานกรณ์ กรรมการ บริษทั พรอดิจิ จ�ำกัด

นางสาวพิ มลพรรณ พจน์ ไตรทิ พย์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไทย-นิฮอน ซีลส์ จ�ำกัด

นางวิ ภาดา ตันติ ประภา ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษทั จี แคปปิตอล จ�ำกัด (มหาชน)

นายพูศกั ดิ์ หิ รณ ั ยตระกูล กรรมการบริหาร บริษทั พาราไซแอนติฟิค จ�ำกัด

นางวิ ภารัตน์ อัศววิ รฬุ หการ กรรมการอิสระ การประปานครหลวง

นางภัทรา บุศราวงศ์ กรรมการบริหาร บริษทั ไทยแอร์เอเชีย จ�ำกัด

นายวิ รชั บุญบ�ำรุงชัย กรรมการบริหาร บริษทั พีทที ี เมนเทนแนนซ์ แอนด์ เอนจิเนียริง จ�ำกัด

นายภาสิ ต ลี้สกุล กรรมการ บริษทั ทีอาร์ซี คอนสตรัคชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

นายวิ ศาล ชวลิ ตานนท์ กรรมการบริหาร บริษทั ปตท. (ฟิลปิ ปินส์) คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด

นายมงคล สกุลแก้ว กรรมการ บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุร ี จ�ำกัด

นายวุฒิพงศ์ วิ บลู ย์วงศ์ กรรมการ ธนาคารออมสิน

นางมีนา ศุภวิ วรรธน์ กรรมการบริหาร บริษทั ปิโตรเอเชีย (ประเทศไทย) จ�ำกัด

นายศักดิ์ ศรีสนัน่ กรรมการ บริษทั วินเซอร์ โฮเต็ล จ�ำกัด

นายยุพดี ควน กรรมการ บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

นายศิ ริยศ โปรณานันท์ ผูอ้ ำ� นวยการ สายงานกฎหมาย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน)

นายรุง่ โรจน์ โชคงามวงศ์ กรรมการ ส�ำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)

นายศิ ษฎวัชร ชีวรัตนพร ประธานกรรมการ บริษทั ควอลิต้ี เอ็กซ์เพรส จ�ำกัด

นายเลิ ศชัย กิ ตติ รตั นไพบูลย์ กรรมการบริหาร บรรษัทประกันสินเชือ่ อุตสาหกรรมขนาดย่อม

นายสมเกียรติ เมสันธสุวรรณ กรรมการ บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) Welcome New Member

> 


> Welcome New Member

WELCOME New Member นายสมชาติ วงศ์วฒ ั นศานต์ กรรมการ องค์การสุรา กรมสรรพสามิต

นายสุเทพ เหลี่ยมศิ ริเจริ ญ กรรมการ บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)

นายสมศักดิ์ เปรมมณี รักษาการ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั พีทที ี โพลีเมอร์ โลจิสติกส์ จ�ำกัด

นายสุพิชญ์ สุวกูล ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)

นายสมศักดิ์ จันทวัฒนา กรรมการบริหาร บริษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทลี ติ ส้ี ์ จ�ำกัด

นายสุรพันธุ์ ตนุมธั ยา กรรมการบริหาร องค์การสุรา กรมสรรพสามิต

นายสมศักดิ์ อุปโชติ สวุ รรณ กรรมการตรวจสอบ บริษทั หลักทรัพย์ อาร์เอชบี โอเอสเค จ�ำกัด

นายโสรัตน์ วณิ ชวรากิ จ กรรมการ บริษทั อาร์เอส จ�ำกัด (มหาชน)

พลอากาศโทสมศักดิ์ นะวิ โรจน์ กรรมการ บริษทั เอเซียกังนัม จ�ำกัด

นายใหญ่ โรจน์ สวุ ณิ ชกร กรรมการบริหาร บริษทั ยูนิเวอร์แซล ยูทลี ติ ส้ี ์ จ�ำกัด

นายสรรพิ ชญ์ เศรษฐพรพงศ์ ประธานกรรมการ บริษทั เมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน)

นางอนงค์ อนันตชิ นะ Director บริษทั พรอพเพอร์ต้ี แคร์ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด

นายสรสิ ทธิ์ สุนทรเกศ กรรมการ สถาบันคุม้ ครองเงินฝาก

นายอนุรกั ษ์ ลีลาปิ ยมิ ตร กรรมการบริหาร บริษทั มาซาร์ส จ�ำกัด

นางสุกญ ั ญา วนิ ชจักรวงศ์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั วันทูวนั คอนแทคส์ จ�ำกัด

นายอภิ รกั ษ์ เหลืองธุวปราณี ต รองผูว้ า่ การฯ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค

นายสุชาติ ระมาศ กรรมการ บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)

นายอภิ สิทธิ์ ฉัตรทนานนท์ ประธานกรรมการ บริษทั คอมมูนิเคชัน่ แอนด์ มอร์ จ�ำกัด

นายสุดใจ นิ โลดม กรรมการอิสระ บริษทั เอ็กโซติค ฟู้ด จ�ำกัด

นายอรรถพล ภมรพล กรรมการบริหาร บริษทั พรีไซซ อีเลคโทร-แมคคานิเคิล เวอร์คส์ จ�ำกัด

นายสุทธิ ศกั ดิ์ ประศาสน์ ครุการ กรรมการ บริษทั อาร์เอส จ�ำกัด (มหาชน)

นายอุทยั พัฒนวีระกิ จ รองผูว้ า่ การ (จ�ำหน่ายและบริการ(ภาค2)) การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค

 <

Welcome New Member


นายเอกวัฒน์ ไพบูลย์วรชาติ รองผูว้ า่ การ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค

ธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน) Mr.James Stent กรรมการ

นายเอนก บัวนาเมือง กรรมการ บริษทั บิซเิ นส เซอร์วสิ เซส อัลไลแอนซ์ จ�ำกัด

บริ ษทั กรุงไทยธุรกิ จลีสซิ่ ง จ�ำกัด นางสุมนา วงษ์กะพันธ์ กรรมการอิสระ

สมาชิกสามัญนิติบุคคล

นางสาวอารยา ตัง้ ตระกูล กรรมการ

ธนาคารกสิ กรไทย จ�ำกัด (มหาชน) นายกฤษฎา ล�ำ่ ซ�ำ กรรมการ

บริ ษทั คริ สเตียนี และนี ลเส็น (ไทย) จ�ำกัด (มหาชน) Mr.Anumolu Ramakrishna กรรมการ

นายกลิ นท์ สารสิ น กรรมการ

บริ ษทั คอมเซเว่น อิ นเตอร์เนชันแนล ่ จ�ำกัด นายกฤชรัตน์ วรวานิ ช กรรมการ

นางกอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร กรรมการ นายธีรนันท์ ศรีหงส์ กรรมการ พญ.นลิ นี ไพบูลย์ กรรมการ

นายบัญชา พันธุมโกมล กรรมการ นายสุระ คณิ ตทวีกลุ ประธานกรรมการ

นายสมเกียรติ ศิ ริชาติ ไชย กรรมการ

บริ ษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันอก จ�ำกัด (มหาชน) นายจิ รฏั ฐ์ นิ ธิอนันตภร กรรมการ นายชนิ นทร์ เย็นสุดใจ ประธานกรรมการการ

นายสราวุฒิ อยู่วิทยา กรรมการ

นายชิ นวัฒน์ อัศวโภคี กรรมการ

ดร.ปิ ยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ กรรมการ

พล.อ.ชูชยั บุญย้อย กรรมการ นายไทยรัตน์ โชติ กะพุกกะณะ กรรมการ

Welcome New Member

> 


> Welcome New Member

WELCOME New Member บริ ษทั ไทยพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรม จ�ำกัด (มหาชน) นายพิ สทุ ธิ์ วิ ริยะเมตตากุล กรรมการ

บริ ษทั อิ โนเวรับเบอร์ จ�ำกัด (มหาชน) รศ.ดร.เจษฎา โลหอุ่นจิ ตร กรรมการ

บริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) นายวิ กรม คุ้มไพโรจน์ กรรมการ

สมาชิกสมทบ

บริ ษทั ผลิ ตไฟฟ้ าราชบุรีโฮลดิ้ ง จ�ำกัด (มหาชน) นายประจวบ อุชชิ น กรรมการ

Mr.Deepak K Panjwani Chief Risk and Compliance Officer Mega Lifescience PTY Co.,Ltd.

นายเมฆิ นทร์ เพ็ชรพลาย กรรมการ

Mr.Sanjay Ahuja Senior Senior Vice President - Finance Indorama Venture Plc.

นางสาวรัตนา ตรีพิพฒ ั น์ กลุ กรรมการ

Mr.Sanjeev Bhatia Senior Vice President - Global HR Head Indorama Venture Plc

นายสุนชัย ค�ำนูณเศรษฐ์ กรรมการ นายสุวิท คงแสงภักดิ์ กรรมการ บริ ษทั เฟรเกรนท์ พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด Ms.Jeejen Saechang Director Mr.Yung-Ping Liu Director นางสาวนริ ศรา อึ้งตระกูล เลขานุการบริษทั นางมุทิตา ทวีการไถ กรรมการบริหาร บริ ษทั วิ นเทจ วิ ศวกรรม จ�ำกัด (มหาชน) นายนันทศักดิ์ สุทธิ นันท์ กรรมการ

 <

Welcome New Member

Mr.Travis Lee White Director of Business Development Minor Hotel Group Limited นายกฤษณ คงเจริ ญนิ วตั ิ Coporate Finance and investment manager บริษทั เฟรเกรนท์ พร็อพเพอร์ต้ี จ�ำกัด นางสาวกัญพัชร์ ศรัทธาวิ สิฐกุล เลขานุการ บริษทั รีกลั จิวเวลลี่ แมนูแฟคเจอร์ จ�ำกัด นายโกวิ ท จึงเสถียรทรัพย์ ผูจ้ ดั การฝา่ ยบริหารโครงการ บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จ�ำกัด นางสาวจิ ราพร นุกิจรังสรรค์ ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการธนาคารออมสิน สายงานธุรกิจสินเชือ่ ลูกค้า บุคคล กลุม่ สินเชือ่ รายย่อย ธนาคารออมสิน นางสาวฉัตรานันท์ ตะละภัฎ ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการ ธนาคารออมสิน


นางสาวเฉลิ มวรรณ ทิ ณพงษ์ เลขานุการคณะกรรมการ บริษทั สมิตเิ วช จ�ำกัด (มหาชน)

นายพยนต์ อัมพรอารีกลุ ผูจ้ ดั การฝา่ ยวิศวกรรมและบ�ำรุงรักษา บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จ�ำกัด

นายชัยพัฒน์ ไพฑูรย์ รองประธานฝา่ ยกลยุทธ์และการลงทุน บริษทั ไมเนอร์ อินเตอร์เนชันแนล ่ จ�ำกัด (มหาชน)

นางสาวพรปรียา นาถะศิ ลปเกษม ฝา่ ยกฎหมาย บริษทั เน็ตเบย์ จ�ำกัด

นายชูเกียรติ ธิ ติหิรญ ั เจริ ญ ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการธนาคารออมสิน สายงานธุรกิจสินเชือ่ ลูกค้า ขนาดใหญ่ และภาครัฐ กลุม่ สินเชือ่ ธุรกิจ ธนาคารออมสิน

นายพิ ษณุ วานิ ชผล ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ไปรษณียไ์ ทย จ�ำกัด

นางสาวฐนิ ตา สุวรรณกิ ตติ เจ้าหน้าที ่ บริษทั เซาท์อสี ท์ เอเชีย เอนเนอร์จี จ�ำกัด นายณัฐวุฒิ ตรีวิศวเวทย์ ผู้จ ัด การส� ำ นั ก งานเลขานุ ก ารบริษัท และผู้ช่ ว ยเลขาคณะ กรรมการบริษทั บริษทั ช. การช่าง จ�ำกัด (มหาชน) นางสาวธัญพร ตันติ กลุ ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การ (บัญชีการเงิน) การประปานครหลวง นางสาวนันทนา พจนานันทกุล ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักสถาปตั ยกรรมรัฐบาลอิเล็กทรอนิคส์ ส�ำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) นางสาวนิ ตยา พจน์ สมพงศ์ เจ้าหน้าที ่ บริษทั เซาท์อสี ท์ เอเชีย เอนเนอร์จี จ�ำกัด นายบรรลือ พันธ์พงษ์เจริ ญ รองผูอ้ ำ� นวยการธนาคารออมสิน กลุ่มสินเชือ่ ธุรกิจธนาคารออ มสิน นายประวิ ช สุขมุ Corporate Affairs Director - Government Affairs บริษทั เอก-ชัย ดิสทริบวิ ชัน่ ซิสเทม จ�ำกัด

นายไพโรจน์ สว่างตระกูล ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการ ธนาคารออมสิน นางสาวรุง่ ทิ พย์ เจริ ญวิ สทุ ธิ วงศ์ ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส บริษทั ทริสเรทติง้ จ�ำกัด นางสาวไรทิ วา นฤมล ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส บริษทั ทริสเรทติง้ จ�ำกัด นายวรายุทธ ญาณทัศนกิ จ Senior Auditor บริษทั เมก้า ไลฟ์ไซแอ็นซ์ จ�ำกัด นายวิ ทยา อิ นทชิ ต ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การ (แผนและพัฒนา) การประปานครหลวง นางวิ ภาภรณ์ ชัยรัตน์ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการธนาคารออมสิน สายงานบริหารเงินและ ต่างประเทศ กลุม่ ลงทุนและบริหารเงิน ธนาคารออมสิน นางศรัญญา โล่หเ์ พ็ชร์ ผูจ้ ดั การฝา่ ยบัญชีการเงิน บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จ�ำกัด

Welcome New Member

> 


> Welcome New Member

WELCOME New Member นางสาวศศิ กาญจน์ ตันธนสิ น ผูจ้ ดั การฝา่ ยพัฒนาธุรกิจ บริษทั คิวทีซี เอนเนอร์ย่ี จ�ำกัด (มหาชน)

นางสาวอัญชลี พงศ์วฒ ั นโรจน์ ผูช้ ว่ ย บริษทั พีทที ี เอนเนอร์ย่ี โซลูชนส์ ั ่ จ�ำกัด

นางสาวเศรษฐวลี วรศะริ น หัวหน้าทีมส�ำนักกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และเลขานุการบริษทั บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน)

นายอิ นทัช วงศ์ไวยาจร เลขานุการบริษทั บริษทั ทิพยประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน)

นพ.สมศักดิ์ ภู่ธงชัยฤทธิ์ ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การ (ทรัพยากรบุคคล) การประปานครหลวง

นางอุไร ปลืม้ ส�ำราญ โรเจอร์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จดั การใหญ่สายงานบริหารความเสี่ยงและ การก�ำกับดูแล บริษทั โทรีเซนไทย เอเยนต์ซสี ์ จ�ำกัด (มหาชน)

นางสาวสิ ฤดี สัมฤทธิ์ ผูจ้ ดั การทัวไป ่ บริษทั พรีไซซ กรีน โปรดักส์ จ�ำกัด นายสุเทพ เรืองพรวิ สทุ ธิ์ ผูจ้ ดั การฝา่ ยแผนงานองค์กร บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จ�ำกัด

ปรับปรุงข้อมูลเล่ม 27

สมาชิกสามัญบุคคล

นายสุปรีชา ลิ มปิ กาญจนโกวิ ท กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จ�ำกัด

นางสาวอนุสรา โชควาณิ ชพงษ์ กรรมการบริษทั บริษทั เอก-ชัย ดิสทริบวิ ชัน่ ซิสเทม จ�ำกัด

นายสุพฒ ั น์ เอี้ยวฉาย ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

สมาชิกสมทบ

นายสุรศักดิ์ อุทโยภาศ ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโส บริษทั ซีเอส ล็อกซอินโฟ จ�ำกัด (มหาชน) นายสุวิทย์ ตรีรตั น์ ศิริกลุ อนุกรรมการ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร นางสาวอภิ ญญา ตันติ เมธ Associate Director บริษทั ฟิทช์ เรทติง้ ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด นางสาวอรุณรักข์ วัฒนศิ ริธรรม ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการ ธนาคารออมสิน

 <

Welcome New Member

นางสาวสมพร เกตุอรุณรัตน์ รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั อีซบ่ี าย จ�ำกัด (มหาชน) นางสาวพันธุว์ ดี พิ มพ์พนั ธุ ์ หัวหน้างานอาวุโส บริษทั อีซบ่ี าย จ�ำกัด (มหาชน)


Apply for IOD Membership Today

สมัครสมาชิก IOD วันนี้ Receive Special Benefits Pay member price rate for all director training courses Attend IOD member activities for free of charge or if a fee is involved, pay only the discounted member price Send another representative from your organization to attend some IOD events Receive information about good corporate governance and related reports and research Entitled to receive more detailed information on new developments indicated in the flash messenger service sent by email or posted on the website Entitled to receive the bi-monthly Boardroom Magazine issues. Eligible to have your profile details in the IOD database that contains professional information of members and directors Use of IOD lounge and access to the IOD library Purchase IOD books, academic publications and other merchandise at a special rate

Special discount in many businesses. Among them are: * * * * * **

LDC Dental Clinic (www.ldcdental.com) The Pine Golf and Lodge Baanhuangnamrin Resort Mom Chailai River Retreat Mind and Wisdom Development Center Membership card must be shown.

Membership Fees / อัตราคาสมาชิก สมาชิกสมทบ Associate Member

Initial Fee: THB 1,500

Annual Fee: THB2,500

สมาชิกสามัญบุคคล Individual Member

Initial Fee: THB 5,000

Annual Fee: THB4,000

สมาชิกสามัญนิติบุคคล Juristic Member

Initial Fee: THB 3,000/ Person Annual Fee: 3 representatives THB 4,000 each 4-6 representatives THB 3,500 each More than 7 representatives THB3,000 each

Special offer! Only THB 7,500 for 3 years membership

รั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษมากมาย สวนลดสําหรับหลักสูตรฝกอบรมตาง ๆ ในอัตราสมาชิกตาม ที่สมาคม ฯ กําหนด สวนลดสําหรับสงตัวแทนบริษัทเขารวมกิจกรรมของสมาคม ฯ ในราคาสมาชิก สิทธิ์เขารวมกิจกรรมสมาชิก โดยไมเสียคาใชจายหรือในราคา สมาชิก รับบริการขอมูลดานการกํากับดูแลกิจการที่ดี,ขอมูลเชิงสถิติ และรายงานการสํารวจหรือการวิจัยที่สมาคมฯจัดทําขึ้นจาก Board Room Flash ทาง Email และ Website และนิตยสาร Board Room Magazine ที่จัดพิมพปละ 6 เลม รับสิทธิ์ในการประกาศสถานะสมาชิก Graduate Member and Fellow Member และบันทึกฐานขอมูลสมาชิกในโครงการ คนหากรรมการ (Director Search) สิทธิ์ในการใช IOD Lounge ในการประชุมพบปะ หรือคนควา หนังสือที่เปนประโยชนสําหรับกรรมการในหองสมุดที่มีกวา 500 เลม สิทธิ์ในการซื้อหนังสือ สินคา และคูมือตาง ๆ จากทาง IOD ใน ราคาพิเศษ สิทธิ์ในการใชหองสัมมนาของ IOD ในราคาพิเศษ (มีส่ิงอํานวย ความสะดวกอาทิ Internet และเครื่องประมวลผลการลง คะแนน) สวนลดพิเศษสําหรับสมาชิกสมาคมฯในการซื้อหนังสือรายงาน ผลสํารวจการกํากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียน,รายงานผล สํารวจคาตอบแทนกรรมการ

รวมไปถึงสินคาและบริการจากบริษัทและองคกรชั้นนํา ที่รวมมือและสนับสนุน IOD อาทิ

* ศูนยทันตกรรมแอลดีซีทุกสาขา * เดอะไพน กอลฟ แอนด ลอดจ * บานหวยนํ้าริน รีสอรท * หมอมไฉไล แนเชอรัล รีทรีท * ศูนยพัฒนาจิตและปญญา ยุวพุทธิกสมาคมแหงประเทศไทยฯ * ธุรกิจสนับสนุนอื่นๆ อยูระหวางการประสานงาน

• Cash • Cheque in favour of Thai Institute of Directors Association • Bank Transfer to "Thai Institute of Directors Association" Saving account No. 049-4-03425-5 Siam Commercial Bank, Witthayu Branch Please fax pay in slip to Thai Institute of Directors after transferring fax no. 02-955-1156-57 • เงินสด ชําระไดที่สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย • เช็คสั่งจาย “สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย” • โอนเขาบัญชีออมทรัพย เลขที่บัญชี 049-4-03425-5 ชื่อบัญชี“สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ”ธนาคารไทยพาณิชย สาขาถนนวิทยุ และ Fax สําเนาการโอนเงินมายัง หมายเลข 02-955-1156-57

สนใจสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ฝายสมาชิกสัมพันธ โทร. 0-2955-1155 ตอ 401 – 404 หรือดาวนโหลดใบสมัครไดที่ www.thai-iod.com



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.