เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ โครงการพัฒนาครูและบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์อากาศยาน
สานักพัฒนาวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2
คานา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นหน่วยงานหลักในการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐาน ของประเทศไทย ได้ตระหนั กถึงความต้องการพัฒนาคุณภาพผู้ เรียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการสร้างนักวิทยาศาสตร์ โดยการสร้างเยาวชนของชาติให้มีความรู้ความสามารถทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีอย่างเป็นระบบ ซึ่งจาเป็นต้องเริ่มตั้งแต่เยาว์วัย โดยการปลูกฝังให้เยาวชนรักที่จะเป็นผู้สร้าง วิทยาการด้านวิท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยอาศัย การศึ กษาเป็ นรากฐาน เพื่อให้ เ ยาวชนมีทั กษะ และนวัตกรรมการเรี ยนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Scientific and Technology Literacy) ซึ่งในปัจจุบันพบว่าตลาดแรงงานในประเทศไทย ขาดแรงงานที่มีทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทาให้ขาดแคลนบุคลากรที่สาคัญและเป็นกาลังหลักสาคัญในการพัฒนาประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้า ทัดเทียมนานาอารยประเทศ ส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน โดยส านั ก พั ฒ นานวั ต กรรมการจั ดการศึ ก ษา จึ ง ได้ ด าเนิ น กิ จ กรรมการแข่ ง ขั น นั ก บิ น น้ อ ย สพฐ. ในงานศิ ล ปหั ต ถกรรมนั ก เรี ย น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ ค รู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาได้ เ รี ย นรู้ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความรู้ ค วามเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ วิ ท ยาศาสตร์ อ ากาศยาน เสริ ม สร้ า งทั ก ษะ กระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ ปลู ก ฝั ง ให้ นั ก เรี ย น มีจิ ตวิท ยาศาสตร์ รู้ จั ก ใช้เวลาว่างให้ เป็ นประโยชน์ เกิด แรงบั นดาลใจใฝ่ รู้ ผ่ านกิ จกรรมการแข่งขั น เครื่ อ งร่ อ นกระดาษพั บ เครื่ อ งร่ อ น เครื่ อ งบิ น พลั ง ยาง เพื่ อ เป็ น พื้ น ฐานให้ ค รู แ ละบุ ค ลากรทาง ด้านการศึกษานาความรู้ ทักษะ และกระบวนการที่ได้รับนาไปต่อยอดในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบ ใหม่ตามทิศทางการจัดการศึกษาเพื่อทักษะในศตวรรษที่ 21 ต่อไป
สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา 11 กรกฎาคม 2557
3
สารบัญ เรื่อง คานา สารบัญ ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอากาศยาน ตอนที่ 2 บทปฏิบัติการ 2.1 บทปฏิบัติการเครื่องบินกระดาษพับ 2.2 บทปฏิบัติการเครื่องร่อน 2.3 บทปฏิบัติการเครื่องบินพลังยาง คณะผู้จัดทา
หน้า 2 3 4 4 7 15 24 38
4
ตอนที่ 1 ความรู้เบือ้ งต้นเกี่ยวกับอากาศยาน โครงสร้างและหน้ าที่พื้นฐานของอากาศยาน ( Structure of aircraft) เครือ่ งบินทัวไปมี ่ โครงสร้าง ส่วนประกอบพืน้ ฐานหลักทัวไป ่ ดังนี้ คือ ลาตัว(Fuselage)
ปีก (wing) ปีกเล็กเอียง(Aileron)
หางเสือ(Rudder) แพนหางดิง่ (Vertical stabilizer ) Flap
แพนหางระดับ (horizontal stabilizer) Elevator
ชุดพวงหาง(Empennage)
1. ลาตัว (Fuselage) ลาตัวเครือ่ งบิน มีหน้าทีเ่ ป็นจุดเชื่อมต่อของส่วนประกอบหลักต่างๆ ทีป่ ระกอบรวมกันเป็ น เครือ่ งบิน 2. ปี ก (Wing) ปีกของเครือ่ งบิน จะทาให้เกิดแรงยกทีเ่ รียกว่า Lift ขณะมีอากาศไหลผ่านปีก พืน้ ทีด่ า้ นหลังของปีกทัง้ สองข้าง เป็น Ailerons และ Flap ซึง่ ทัง้ สองส่วนนี้มหี น้าทีส่ าคัญ คือ 2.1 Ailerons เป็นพืน้ ผิวทีเ่ คลื่อนไหว ใช้ในการควบคุมท่าทางของเครือ่ งบิน ติดตัง้ อยูท่ ช่ี ายปีกหลังส่วนของปลายปีกทัง้ สองข้าง จุดมุ่งหมายเพื่อ ควบคุมอาการเอียงของเครือ่ งบิน 2.2 Flap เป็นพืน้ ผิวทีเ่ คลื่อนไหว ติดตัง้ อยูท่ ช่ี ายหลังปีกใกล้กบั ลาตัว จะมีลกั ษณะ คล้ายบานพับ หรือ แบบเลื่อนถอยออกไปก็ได้ เพื่อเพิม่ หรือลดแรงยกของปีก โดยการเพิม่ พืน้ ทีแ่ ละ ความโค้งของปีก โดยปกติแล้วจะใช้ตอนเครือ่ งบิน บินขึน้ และตอนลง 3. ชุดพวงหาง(Empennage) ชุดพวงหางประกอบไปด้ วย Flap 3.1 แพนหางดิง่ (Vertical stabilizer )หรือ หางเสือ (fin) 3.2 แพนหางระดับ (horizontal stabilizer) ทัง้ สองจะช่วยให้เราสามารถบังคับเครือ่ งบินให้บนิ ในระดับ และทิศทางทีต่ อ้ งการได้ Rudder คือแผ่นพืน้ บังคับทีต่ ดิ ตัง้ อยู่ทส่ี ่วนท้ายของ แพนหางดิง่ ใช้ในการบังคับให้ เครือ่ งบินไปในทิศทางซ้ายหรือ ขวา ในการใช้งานจริงนัน้ rudder จางานร่วมกับ Ailerons เพื่อบังคับ ให้เครือ่ งบินเลีย้ วไปในทิศทางตามทีต่ อ้ งการ Elevator คือ แผ่นพืน้ บังคับทีต่ ดิ ตัง้ อยูท่ ส่ี ่วนท้ายของ Horizontal stabilizer ใช้ใน การควบคุมการยกหัวขึน้ หรือกดหัวลง เพื่อให้เราไปยังความสูงทีต่ อ้ งการ เครือ่ งบินส่วนใหญ่จะมี แผ่นบังคับเล็กๆติดตัง้ อยูท่ ป่ี ลายของ Elevator เรียกว่า trim tab โดย trim tab มีหน้าทีช่ ่วยให้ใช้แรง น้อยลงในการควบคุมเครือ่ งบินให้อยูใ่ นตาแหน่งทีต่ อ้ งการ
5
แรงที่กระทาต่อเครื่องบิน แรงทีก่ ระทาต่อเครือ่ งบินขณะเครือ่ งบินกาลังบินอยู่ มี 4 แรง ตลอดเวลา คือ 1. แรงยก ( Lift) คือ แรงทีด่ งึ เครือ่ งบินให้ลอยตัวขึน้ 2. น้าหนัก(Weight) คือ แรงทีด่ งึ เครือ่ งบินให้ตกลงสู่พน้ื โลก 3. แรงขับเคลื่อน (Trrust) คือ แรงทีด่ งึ ให้เครือ่ งบินไปข้างหน้า 4. แรงฉุด ( Drag)คือ แรงทีฉ่ ุดเครือ่ งบินให้เคลื่อนทีไ่ ปข้างหลัง
แรงยก(Lift)
เป็นแรงลัพธ์ทม่ี ที ศิ ขึน้ เกิดขึน้ เกิดจากความกดอากาศต่าทีเ่ กิดขึน้ ทีพ่ น้ื ผิว ด้านบนของปีกเมือ่ เทียบกับความกดอากาศทีพ่ น้ื ผิวด้านล่างของปีกเครือ่ งบิน ส่งผลให้แรงทีก่ ระทา บนพืน้ ผิวด้านบนของปีกน้อยกว่าแรงทีก่ ระทาทีพ่ น้ื ผิวของปีก ด้านล่างของปีก จึงทาให้เกิดแรงยกมีทศิ ขึน้ ข้างบนทีป่ ีกของ เครือ่ งบิน ลักษณะและรูปร่างของปีกเครือ่ งบิน จะถูกออกแบบ มาให้อากาศทีไ่ หลผ่านด้านบนของปีกจะมีระยะทางทีม่ ากกว่า ด้านล่างปีก จึงทาให้อากาศไหลผ่านด้านบนเร็วกว่าด้านล่าง ทาให้มคี วามกดอากาศต่า ทัง้ นี้แรงยกขึน้ อยูก่ บั (1) รูปร่างของ Airfoil (2) มุมปะทะ( Angle of Attack) (3) พืน้ ทีผ่ วิ ทีอ่ ากาศไหลผ่าน (4) ความเร็วของอากาศ (5) ความ หนาแน่นของอากาศ
แรงโน้ มถ่วงของโลก(Gravity force or Weight)
เป็นแรงทีโ่ ลก ดึงดูดวัตถุ จะดึงดูดเครือ่ งบินลงมายังโลกถือว่ากระทาทีจ่ ดุ ศูนย์กลางของแรง หรือ CG ของเครือ่ งบิน
แรงขับเคลื่อน(Thrust)
คือแรงทีข่ บั เคลื่อนไปข้างหน้าจะเป็ นแรงผลักหรือแรงฉุดทีเ่ กิด จากเครือ่ งยนต์ของเครือ่ งบินไม่ว่าจะเป็นเครือ่ งยนต์ลกู สูบ,เครือ่ งยนต์เทอร์โบเจ็ท หรือ เทอร์โบแฟน
แรงต้าน (Drag)เป็นแรงทีต่ า้ นการเคลื่อนทีข่ องวัตถุในอากาศมีทศิ ทางตรงข้าม กับแรงขับเคลื่อน เครือ่ งบิน
เกิดจากแรงเสียดทานของอากาศทีผ่ ่านพืน้ ผิวส่วนต่างๆ ของ
6
เครื่องบินบินได้อย่างไร
เครื่องบิน จะลอยตัวไปในอากาศได้นัน้ ตัวเครือ่ งบินจะต้องมีความเร็วไปทาง ด้านหน้าเพื่อให้ปีกของเครือ่ งบินปะทะ กับอากาศ กระแสอากาศทีไ่ หลมาปะทะด้านบนปีกมีความเร็วกว่าทางด้านล่างปีก จะทาให้เกิด แรงยก (Lift) มีทศิ ขึน้ เป็นแรงทีย่ กเครือ่ งบินให้สามารถลอยตัวขึน้ ได้ตราบเท่าทีเ่ ครือ่ งบินยังมี ความเร็วเพียงพอ
แรงขับ (Thrust) จะทาให้เครือ่ งบินเคลื่อนทีไ่ ป ข้างหน้า แรงขับอาจเกิดจากเครือ่ งยนต์และใบพัด หรือ เครือ่ งยนต์ไอพ่นผลักมวลอากาศไปด้านหลัง ทาให้เกิดแรง ปฏิกริ ยิ าขับให้เครือ่ งบินเคลื่อนทีไ่ ปข้างหน้า เมือ่ เครือ่ งบินเคลื่อนทีไ่ ปข้างหน้าด้วยความเร็วก็จะปะทะกับ กระแสอากาศ ทาให้เกิด แรงต้าน(Drag) มีทศิ ทางสวนไป ทางด้านหลังพยายามต้านให้ความเร็วของเครือ่ งบินลดลง น้าหนักของเครือ่ งบินรวมทัง้ น้าหนักบรรทุกทาให้เกิดแรง โน้มถ่วงมีทศิ ลงสู่พน้ื โลก แรงทีเ่ กิดจากแรงดึงดูดของโลกเรา เรียกว่า แรงโน้ มถ่วง (Gravity) ในขณะทีเ่ ครือ่ งบินทาการ วิง่ ขึน้ (Take Off) แรงขับต้องมากว่าแรงต้าน และแรงยก ต้องมากกว่าแรงโน้มถ่วง ในขณะทีเ่ ครือ่ งบินบินตรงระดับ (Level Flight) แรงยกจะเท่ากับแรงโน้มถ่วง ในขณะทีเ่ ครือ่ งบินบินลงสู่สนามบิน (Landing) แรงขับต้องน้อยกว่าแรงต้าน และแรงยกต้องน้อย กว่าแรงโน้มถ่วง
7
ตอนที่ 2 บทปฏิบตั ิ การ 2.1 บทปฏิบตั ิ การเครื่องบินกระดาษพับ
เครื่องบินกระดาษ ทาไมเครื่ องบินกระดาษจึงบินได้ อาจารย์ราม ติวารี นักวิชาการสาขาฟิ สิ กส์ สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.) เล่าถึงหลักการทรงตัวของเครื่ องบินกระดาษว่า ต้องอธิ บายการลอยของกระดาษ 1 แผ่นก่อน เมื่อเรา ปล่ อยกระดาษจากที่ สูงในแนวราบ กระดาษจะร่ อนและลดระดับไปเรื่ อยๆ สิ่ งที่ ทาให้เคลื่ อนที่ คื อ น้ าหนัก แรงดึงคือน้ าหนัก แรงที่ทาให้ลอยคือแรงต้านของอากาศ และเมื่อนากระดาษมาวางบนมือแล้วพุง่ ไปข้างหน้า กระดาษจะเคลื่อนที่ไปในระยะสั้นมากและ ไม่มีทิศทาง ก่อนจะหล่นลงมาภายใต้เงื่อนไข คือแรงโน้มถ่วง แรงอากาศ และแรงผลักหรื อแรงพุ่งไป ข้างหน้า อาจารย์รามบอกว่า การพับเครื่ องบินไม่วา่ จะเทคนิ คอะไร ตัววีเหมือนจรวด มีหวั มีปีกลู่ไป ด้านหลังแล้วพุง่ ไปด้านหน้า แรงที่กระทาจะเหมือนเดิม แต่แรงแหวกอากาศจะดีกว่า หลักการนี้ ไม่วา่ จะ เป็ นสัตว์น้ าอย่างปลาหรื อเครื่ องบิน สิ่ งใดๆ ก็ตามที่เคลื่อนผ่านของไหล (ของเหลว ก๊าซหรื ออากาศ) จะ เคลื่อนที่ได้ไกลแม้จะมีแรงต้านหรื อแรงพุง่ จาก http://www.kroobannok.com/18391 แม้ ว่ า รู ปร่ างส าเร็ จ ของเครื่ องบิ น กระดาษพับ ที่ ไ ด้ จ ะ สวยงามเพียงใด แต่ถา้ ไม่สามารถบินได้ก็จะไม่มีประโยชน์ใด ๆ เลย และถึ ง แม้วิธีก ารพับ จะมี ความซับ ซ้อนก็ ต าม แต่ เครื่ องบิ นที่ พ บั ส าเร็ จ แล้ว จะต้อ งเรี ย บง่ า ยไม่ ซับ ซ้ อ น เครื่ อ งบิ น กระดาษที่ จ ะ สามารถบิ นได้ดีน้ นั ต้องมี จุดศูนย์ถ่วงอยู่ค่อนไปทางด้านหน้า มี ความต้า นทานอากาศน้อ ย ตามหลัก ของอากาศพลศาสตร์ ห รื อ อาจจะกล่ าวได้ว่า สิ่ งที่เครื่ องบินกระดาษพับแตกต่างกับกระดาษ พับชนิ ดอื่ น ๆ คื อ การให้คุณค่าทางวิทยาศาสตร์ กบั กระดาษหนึ่ ง แผ่น
8
เทคนิคที่ทาให้ เครื่องบินกระดาษพับร่ อนได้ดี เมื่อพับเครื่ องบินแต่ละลาเสร็ จแล้ว ให้ทาการเปรี ยบเทียบภาพฉาย 3 ด้า น เพื่อตรวจดู มุมองศาของปี ก หากมีก ารบิ ดเบี้ ยวให้ท าการปรั บเพื่อแก้ รู ปทรง ถ้าไม่ทาการปรับในส่ วนนี้ ให้ดี ก็ยงั เรี ยกไม่ได้ว่าการพับนั้น “เสร็ จ สมบูรณ์” อุตส่ าห์พบั แล้วทั้งทีแต่ก็กลายเป็ นเพียงเศษกระดาษที่ไม่พร้อมด้วย คุณสมบัติของเครื่ องบิน นอกเหนื อจากนั้นแล้ว การที่จะร่ อนให้ได้ไกลขึ้นและสวยงาม ต้อง ประกอบ “พิธี” ที่สาคัญให้กบั เครื่ องบิ นกระดาษที่พบั เสร็ จแล้ว นัน่ ก็คือการสร้ างหางเสื อปรั บระดับ ซึ่ งระดับในการดัดหางเสื อจะทาให้ลกั ษณะของการบินแตกต่างกันไป โดยใช้ปลายนิ้วมือดัดส่ วนหลัง ของปี กให้นูนขึ้น หากไม่ทาการปรับแต่งอย่างนี้ แล้ว เครื่ องบินกระดาษที่อุตส่ าห์พบั มาก็จะบินได้ไม่ดี อย่างที่หวัง นอกจากวิธีการพับที่ถือว่าเป็ นสิ่ งสาคัญแล้ว ยังจะต้องเรี ยนรู ้เทคนิคในการร่ อนด้วย การปรับระดับแพนหางดิ่งและแพนหางระดับ ประมาณ 5 ปี มาแล้วที่ผมได้ทาการศึกษาหาความรู้ และฝึ กบินฝึ กสร้างเครื่ องบินบังคับวิทยุ ประเภท 4 ช่ องสั ญญาณ ในหลากหลายรู ป แบบ โดยในการสร้ า งแต่ ล ะแบบนั้นก่ อนสร้ า งผมจะได้ ทาการศึกษาจากเครื่ องบินจริ งของแบบนั้น ๆ เพื่อดูอาการบิน ลักษณะควบคุมบังคับว่ามีความแตกต่าง กันอย่างไรในแต่ละแบบ สิ่ งหนึ่ งที่เหมือนกันของเครื่ องบินในทุก ๆ แบบที่บินได้ก็คือ แพนหางระดับ และแพนหางดิ่ งของเครื่ องบิ น จะเป็ นตัวที่ช่วยบังคับควบคุ มการบิน กล่าวคือ แพนหางระดับจะช่ วย บังคับควบคุมการขึ้นลงของเครื่ องบิน ส่ วนแพงหางดิ่งทาหน้าที่ในการบังคับควบคุมให้ไปทางด้านซ้าย หรื อขวา จากผลที่ได้จากการศึกษาดังกล่าว จึงได้นากลับมาทดลองปรับใช้กบั เครื่ องบินกระดาษพับ โดย นาเอาเครื่ องบิ นกระดาษพับลาที่ บินไม่เสถี ยรมาทาการปรั บแต่งแพนหางดิ่ งและแพนหางระดับใหม่ ปรากฏว่า ลักษณะการบินของเครื่ องบินกระดาษพับลาดังกล่าวสามารถบินได้โดยมีความเสถี ยรในการ บินมากขึ้น
9 ซึ่ งจากการเริ่ มเข้าใจเทคนิคในเรื่ องของการปรับระดับแพนหางดิ่ง แพนหางระดับ และการ เปรี ยบเทียบกับภาพฉาย 3 ด้าน สาหรับเครื่ องบินกระดาษพับ ทาให้ต่อมาผมสามารถปรับแต่ง เครื่ องบินกระดาษพับให้มีเสถียรภาพได้ในทุก ๆ แบบ วิธีการร่ อน อันดับแรก เมื่อพับเสร็ จทดลองร่ อนดูโดยไม่ตอ้ งปรับระดับของแพนหาง ดิ่ง หรื อแพนหางระดับ โดยขว้างออกไปตรง ๆ เหมือนกับดันออกไปข้างหน้าให้ เฉียงลงเล็กน้อย
องศาของแพงหางระดับ ส่ วนใหญ่มกั จะบินตกลงในทิศทางคล้าย ๆ กับ (1) แต่ก็ไม่เป็ นไร จากนั้นให้ใช้นิ้วดัดส่ วนท้าย ของปี กเพื่อปรับแพนหางระดับขึ้น โดยไม่ตอ้ งดัดขึ้นมากนัก แต่หากดัดน้อยเกินไปส่ วนที่ดดั จะกลับสู่ สภาพเดิมได้ง่าย ดังนั้นจึงควรทาให้เกิดร้อนโดยอาจจิกให้เป็ นรอยเล็บ เมื่อเพิ่มมุมองศาที่ดดั ขึ้นเรื่ อย ๆ ทิศทางการบินก็จะเปลี่ยนแปลงตามลาดับจาก (1) ถึง (5) ถ้า ทิศทางการบินมีลกั ษณะเหมือนกับ (1) หรื อ (2) แสดงว่าดัดขึ้นน้อยไป แต่ถา้ เหมือน (4) หรื อ (5) แสดงว่าดัดขึ้นมากเกินไป ดังนั้นควรพยายามปรับมุมให้งอพอดี โดยให้มีทิศทางการบินเหมือนกับ (3) ถ้าปรับแพงหางระดับจนเครื่ องบินบินได้ทิศทางลักษณะเหมือนกับ (3) แล้ว ก็จะสามารถใช้ วิธีการร่ อนแบบ “ขว้างขึ้น” และจะทาให้เครื่ องบินกระดาษพับบินได้อย่างดี
สาหรับวิธีการร่ อนแบบ “ขว้างขึ้น” ให้ต้ งั ท่าเตรี ยมโดยเอียงลาเครื่ องบินเหมือนในรู ป เทคนิค ในการร่ อนอยูท่ ี่ตอ้ งขว้างเครื่ องบินโดยรักษามุมเอียงนี้ไว้ ลักษณะเหมือนกับปาลูกดอก
10
จับเครื่ องบินให้เอียง
ร่ อนออกไปเหมือนปาลูกดอก
ถ้าขว้างเครื่ องบินขึ้นอย่างแรงโดยจับลาให้ตรง จะทาให้เครื่ องบินตีลงั กา แต่ถา้ ขว้างโดยจับให้ เอียง ประมาณ 45 องศา เครื่ องบินจะบินเฉี ยงวาดวิธีโค้งเหมือนกับบูมเมอแรง เมื่อเรี ยนรู้วธิ ีขว้างแบบนี้ แล้ว ลองฝึ กขว้างขึ้นข้างบนให้สูง โดยให้สามารถกลับลามาบินใน แนวระดับหลังจากขึ้นไปถึงจุดสู งสุ ด หากสามารถทาอย่างนั้นได้แล้ว จะทาให้เวลาบินในอากาศของ เครื่ องบินกระดาษเพิ่มขึ้นจากเดิม 4.5 วินาที เป็ น 15-30 วินาทีได้เลยทีเดียว
ถ้าจับเครื่ องบินตรง ๆ แล้ว ขว้างแรงเครื่ องบินจะบินม้วนตีลงั กา
ลักษณะวิถีบินที่ดีของการขว้างเครื่ องบินกระดาษ
ที่มา : เครื่ องบินกระดาษพับ 1 บวก 2 โดย ทาคูโอะ โทดะ สมาคมเครื่ องบินพับกระดาษ
11
Stern des Orients 1. นากระดาษ A4 พับแบ่งครึ่ งตามรู ป
2. พับมุมของกระดาษลงตามลูกศร
3. พับมุมสามเหลี่ยมของกระดาษลงตามลูกศร
4. พับมุมของกระดาษลงไปยังจุดกึ่งกลาง
5. พับมุมกระดาษซึ่ งอยูใ่ นจุดกึ่งกลาง โดยพับขึ้นจากเส้นกึ่งกลาง
6. พับครึ่ งกระดาษตามเส้นประ โดยให้พบั กลับหลัง
7. พับกระดาษลงตามรอยเส้นประทั้งสองด้าน
8. ภาพสาเร็ จของ Stern des Orients
12
Sky King 1. พับเข้าหารอยพับตรงกลาง
2. พับให้ได้อตั ราส่ วน 1 : 1.5
3. พับเข้าแล้วคลี่กลับ
4. พับเข้าให้ห่างจากรอย 1 มม.
5. พับเข้าตามรอยพับข้อ 3
6. พับเข้าแล้วคลี่กลับ
7. พับครึ่ งไปด้านหลัง
8. พับเข้าแล้วคลี่กลับ
9. สร้างหัวเครื่ องบิน
พับปลายลง
พับปลายขึ้นข้างบน โดยกางออกตามรอยพับ
พับไปด้านหลัง
13 10. พับปี กให้ขนานทั้งสองด้าน
12. กางปี กออกด้งรู ป เสร็ จเรี ยบร้อย
11. พับให้เท่ากัน
14
Triumph 1. นากระดาษ A4 พับ แบ่งครึ่ งตามรู ป
4. พับมุมที่พบั ลงมา กลับไปยังขอบด้านขวา อีกครั้ง
7. พับกระดาษลงตามรอย เส้นประลงมายังตาแหน่ง ดังภาพ
10. พับกระดาษตามแนว เส้นประเพื่อสร้างปี ก
2. พับครึ่ งของกระดาษซีก ด้านซ้าย เพื่อให้ เกิดรอยแล้ว กางออกไว้ให้เหมือนเดิม
5. พับมุมบนซ้ายลงมา ด้านตามตาแหน่งที่ศรชี้
8. พับมุมด้านข้างลงมายัง จุดกึ่งกลางตามเส้นประ
3. นามุมบนด้านขวามือลง มายังจุดที่ทาเครื่ องหมายไว้
6. แล้วพับมุมที่พบั ลงมากลับไปยัง ด้านซ้าย (คล้ายขั้นตอนที่ 4)
9. พับมุมปลายรู ป สามเหลี่ยมขึ้นด้านบน
11. รู ปสาเร็ จของ Triumph
15
2.2 บทปฏิบตั ิ การเครื่องร่อน
เครื่องร่อน
หมายถึง อากาศยานชนิดหนึ่งซึง่ หนักกว่าอากาศ คล้ายเครื่องบินแต่ไม่ใช้เครือ่ งยนต์ เคลื่อนทีไ่ ปในอากาศโดยอาศัยกระแสลมและความ โน้มถ่วงของโลก. การร่อนเครือ่ งร่อน เป็ นศาสตร์อย่างหนึ่งในการศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์อากาศยาน เหมาะ สาหรับผูท้ ม่ี ใี จรักกีฬาทางด้านการบิน นอกจากจะให้ทงั ้ ความรูพ้ น้ื ฐานทางการบินและด้านวิศวกรรม แล้ว ยังให้พลานามัยและความสนุกสนานแก่ผเู้ ล่นอีกด้วย
ส่วนประกอบที่สาคัญของเครื่องร่อนมีอะไรบ้าง?
วิ ธีทาให้ เครื่องร่อนของท่ านร่อนได้ดี การทีจ่ ะทาเครือ่ งร่อน ร่อนได้ดที ส่ี ุด มีเงือ่ นไขทีส่ าคัญทีส่ ุดอยูส่ องประการ คือ 1. เครื่องร่อนจะต้องมีสมรรถภาพในการร่อนที่ดี หมายความว่า อัตราส่วนของการร่อนสูง และ อัตราการลดตัวลง ต่า 2. เครื่องบินจะต้องมีเสถียรภาพดี หมายความว่า มันจะต้องสามารถปรับตัวของมันเองได้ และบินไปได้อย่างดี หลังจากการเอียงตัวหรือการเลีย้ ว หากเครื่องบินของท่านมีคุณลักษณะทัง้ สองประการนี้ เมื่อท่านพุ่งมันสูงขึน้ ในอากาศ มันจะ ั ่ ว่ นอยูบ่ า้ งเล็กน้อย ร่อนอย่างราบเรียบเป็ นระยะไกล แม้ว่าจะมีกระแสอากาศปนป
16
วิธีทาให้ สมรรถภาพการบินดีขนึ้ 1. ปี กหลัก ปี กหลัก มีหน้าที่สาคัญที่สุดคือ พยุงเครื่ องร่ อนไว้ ขณะที่อยู่กลางอากาศ ลักษณะของปี กที่ ดี เช่ น ลัก ษณะปี กเหมาะสม ปี กมี แ พนอากาศ (airfoil) ปี กมี แรงยกมาก มี แรงหน่ ว งน้อย ปี ก มีมุม ปะทะ (angle of attack)ทีเ่ หมาะสม ปี กมีมุมตั้งที่เหมาะ สมปี กมีน้ าหนักเบาและแข็งแรง
ลักษณะของปี กหลัก ปี กลู่ไปหน้า ข้างหน้า
ปี กเรี ยว
ปี กลู่หลัง
ปี กสี่ เหลี่ยม
ปี กรู ปไข่
2. การสร้ างตัวเครื่องบิน คุ ณสมบัติที่ดีของลาตัวเครื่ องร่ อน เช่ น มีรูปร่ างเพรี ยวลม แต่จะต้องมีการต้านทานเล็กน้อยต่อ กระแสลม มีน้ าหนักเบาที่สุดที่จะทาได้ มีความแข็งแรง ทนทาน สามารถซ่อมแซมได้ง่ายเมื่อชารุ ด
3. แพนหางดิ่ง แพนหางระดับ (ชุดพวงหาง) เครื่อ งร่ อน สามารถร่ อ นได้ ดี มันจะต้องมีเสถียรภาพ ส่วนที่ควบคุมเสถียรภาพ คือ จุดศูนย์ถ่วง แพนหางระดับ (Horizontal การผงก Stabilizer) ค ว บ คุ ม ก า ร ผ ง ก การพลิกตัว (pitching) Y การส่ า ย จุดศูนย์ถ่วงและมุมตัง้ ปี กของปี ก แพนหางดิง่ (Vertical stabilizer) Z X ควบคุมการส่าย (yawing) Z
Y
17
4. จุดศูนย์ถ่วง จุดศูนย์ถ่วงของเครือ่ งร่อน จะต้องพิจารณาถึงมุมปะทะตามแบบของเครื่องร่อนทีท่ ่านเลือกไม่ ว่าจะเป็ นการบินระยะเวลานาน หรือการบินระยะไกล การกาหนดจุดศูนย์ถ่วง และมุมตัง้ ปีกของ ปีกหลักและแพนระดับของเครือ่ งร่อนสองแบบนี้ได้แสดงไว้ในรูป ประเภทบินนาน ปี กหลัก มุมตั้งปี ก การกาหนดจุดศูนย์ถ่วง 50% จากชายขอบหน้าของปี กหลัก 2 องศา แพนระดับ
เส้นฐาน
จุดศูนย์กลาง
จัดตั้ง 0 องศา
ประเภทบินไกล การกาหนดจุดศูนย์ถ่วง 25% จากชายขอบหน้าของปี กหลัก ปี กหลัก,มุมตั้งปี ก 3 องศา
เส้นฐาน
แพนระดับ
จุดศูนย์กลาง
มุมตั้งปี ก -0.5 องศา
เครื่องบินซึ่งมีจุดศูนย์ถ่วงค่อนไปทางท้ายจะได้ดุลภาพดีเป็ นพิเศษต่ออาการผงก ทัง้ เมื่อบิน ด้วยความเร็วสูงเมื่อยิงส่งขึน้ และระหว่างร่อนลงช้า ๆ ดังนัน้ เครื่องบินที่แผนแบบให้มจี ุดศูนย์ถ่วง ค่อนไปทางท้ายจึงเหมาะสาหรับอัตราความเร็วเป็นส่วน
18
5. การปรับสมดุลเครื่องร่อน หาสมดุลคร่าวๆ โดยการยกเครือ่ งร่อนตรงจุด C.G. บริเวณใต้ปีก (1/3 ของความกว้างปีก) แล้วดูให้แนวลาตัวเครือ่ งร่อนอยูใ่ นแนวระดับ ในกรณีทเ่ี ครือ่ งร่อนยังไม่ได้ระดับให้ปรับสมดุลโดยการ เลื่อนถ่วงน้าหนักจนกว่าได้ตาแหน่งทีแ่ นวลาตัวเครือ่ งร่อนอยูใ่ นแนวระดับ
เทคนิคการร่อนเครื่องร่อน สถานทีท่ จ่ี ะใช้รอ่ นควรเป็นสนามทีเ่ ปิดกว้างและ จะต้องสังเกตตรวจสอบทิศทางลมเสียก่อน วิธกี ารร่อนทีด่ ที ส่ี ุดคือการร่อนตามลม กรณีรอ่ นไกล หรือร่อนขวางลม กรณีรอ่ นนาน แต่ในกรณี กระแสลมแรงมาก ผลการบินไม่ดคี วร จะรอให้กระแสลมอ่อนกาลังลงก่อน
วิ ธีการจับเครื่องร่อน ดูภาพประกอบ ไม่ว่าจะด้วยวิธกี ารจับเครือ่ งร่อน ด้วยปลายนิ้ว หรือใช้น้วิ ชีก้ บั นิ้วกลางจับเครือ่ งร่อนที่ ด้านหลังของปีก ใช้วธิ ใี ดก็ได้ทเ่ี รารูส้ กึ ว่าจับง่ายและถนัด ทีส่ ุด
19
การตรวจสอบเครื่องร่อน ตรวจสอบและปรับแต่งส่วนทีโ่ ค้ง งอและบิด ให้ตรงตามแบบการตรวจสอบ เครือ่ งร่อน จากเช่น - ลาตัวไม่บดิ โค้ง-งอ - ปีกซ้าย-ขวาตรงอยูใ่ นแนวเดียวกัน - ปีกทัง้ สองข้างมีมุมปะทะและมุมยก เท่ากัน - ปีกและแสตปไม่บดิ -งอ - ฟินไม่บดิ -งอ ตรวจสอบเครือ่ งร่อนจากทาง ด้านข้างว่าปีกทัง้ สองข้างให้อยูใ่ น แนวเดียวกัน วิ ธีการร่อน ถ้าหากเราจับเครือ่ งร่อนขนานกับ แนวระดับ เมือ่ ปล่อยเครือ่ งร่อน ออกไป เครือ่ งร่อนของเราจะบิน ตี ลังกาจนครบ 1 รอบแล้วก็จะดิง่ ลงสู่พน้ื หากเราร่อนด้วยวิธกี ารนี้จะทาให้เราบินขึน้ สูงได้ยากมาก เพื่อทีจ่ ะทาให้เครือ่ งร่อนของเรา บินขึน้ สูงได้งา่ ยขึน้ ให้เอียงเครือ่ งร่อนทามุม 45 - 60 องศา กับแนวระดับ เมือ่ ร่อนเครือ่ งร่อนออกไป เครือ่ งร่อนของเราจะบินโค้ง ออกด้านนอกในขณะทีบ่ นิ สูงขึน้ จากนัน้ ก็จะค่อยๆ ลดความสูงลงและ บินตรงขึน้
หากต้องการจะร่อนเครือ่ งร่อนให้บนิ สูงทีส่ ุด วิธกี ารทีด่ ที ส่ี ุดคือการร่อนเครือ่ งร่อนขวางลม เนื่องจากการร่อนเครือ่ งร่อนทวนลมจะทาให้ เครือ่ งร่อนบินตีลงั กาได้ง่ายในขณะทีก่ ารร่อนเครือ่ งร่อน ตามลมก็จะทาให้ได้ระยะไม่ไกล ดังนัน้ การร่อน เครือ่ งร่อนขวางลมจึงเป็ นวิธกี ารทีด่ ที ส่ี ุด ทีจ่ ะ หลีกเลีย่ งปญั หาข้างต้นซึง่ จะให้ผลการบินทีด่ ที ส่ี ุดด้วย
การร่อนทดสอบ
20 ทาการทดสอบร่อนเครือ่ งร่อน สังเกตลักษณะการร่อนเพื่อปรับแต่งส่วนต่างๆให้ถูกต้อง ใน ทีส่ ุดเราก็จะได้เครือ่ งร่อนที่ร่อนได้ดแี ละสมบูรณ์แบบ
จะทาการปรับแต่งเครื่องร่อนได้อย่างไร? - เมือ่ เครือ่ งร่อนเลีย้ วไปทางซ้าย-ขวาให้ทาการปรับแต่งทีบ่ ริเวณชายหลังปีกส่วนปลายและบริเวณ ส่วนชายหลังฟิน - เมือ่ เครือ่ งร่อนเชิดขึน้ หรือกดหัวลง ให้ทาการปรับแต่งทีบ่ ริเวณชายหลังของสแตป
ลกษณะการร่อนที่เครื่องร่อนส่วนหัวเบาเกิ นไป แก้โดยการเพิม่ ปริมาณน้ าหนักถ่วงหรือเลื่อนน้าหนักถ่วงให้เคลื่อนทีไ่ ปด้านหัวอีกเล็กน้อย
21
เครื่องร่ อนประเภทต่ างๆ
เครื่องร่ อนพุ่งด้ วยมือ เครื่องร่ อนยางดีด เครื่องร่ อนใช้ สายลาก เครื่องร่ อน Thermal Glider เครื่องร่ อน Slope Glider เครื่องร่ อน Power Glider
เครื่องร่อนพุ่งด้วยมือ ขนาดเล็ก 10-12 นิ้ ว ลักษณะของ เครื่องร่ อนที่ดี มีการออกแบบทีเ่ หมาะสม มีรูปทรงทีช่ ่ วยลดแรงต้ านอากาศได้ มากทีส่ ุ ด ปี กมีขนาด รู ปทรง Airfoil และมุมยกเมาะสม ชุ ดหางมีขนาดพอดี และจัดวางอย่ างเหมาะสม เลือกใช้ วสั ดุ และเทคนิคการสร้ างทีเ่ หมาะสม
การออกแบบ รู ปทรงลาตัวเรียวยาว เพือ่ พยายามลดแรงต้ านอากาศให้ มากทีส่ ุ ด กาหนดสัดส่ วนทีเ่ หมาะสม ตาแหน่ งปี กอยู่เหนือแกนลาตัว เพือ่ ให้ จุดศู นย์ ถ่วงอยู่ตา่ ทีส่ ุ ด แกนหางมัน ่ คง แข็งแรง นา้ หนักเบา ไม่ บิด มีการวางแผนเรื่องการเพิม่ นา้ หนักถ่ วง รู ปทรงปี ก ความยาวและความกว้ างปี กทีเ่ หมาะสม Airfoil ทีเ่ หมาะกับเครื่องร่ อน Dihedral ทีเ่ หมาะสมกับความยาวปี ก จุดต่ อปี กแข็งแรง ปี กมีความแข็งเพียงพอ ทนแรงขณะพุ่งได้ โดยไม่ แอ่ น หรือหัก เลือกใช้ วสั ดุ และเทคนิคการสร้ างทีเ่ หมาะสม
22
การออกแบบมุมยกปี ก
ชุดพวงหาง ขนาดของแพนหางดิง่ และแพนหางระดับ รู ปแบบของแพนหางดิง่ และแพนหางระดับ ชุ ดหางวางอยู่ในระยะทีเ่ หมาะสม ความมัน ่ คง แข็งแรงของชุดหาง เลือกใช้ วสั ดุ และเทคนิคการสร้ างทีเ่ หมาะสม
การหาตาแหน่ ง CG CG = Center of Gravity ตาแหน่ งจุดศู นย์ ถ่วงทีเ่ หมาะสม วัสดุทจี่ ะใช้ ถ่วงนา้ หนัก
23
ปี กเครื่องร่ อน... เป็ นสิ่ งสาคัญ ถ้ าสร้ างปี กได้ ดี...เครื่องร่ อนก็จะร่ อนได้ ดี ขั้นตอนการสร้ างเครื่องร่ อน เริ่มทีก่ ารแผนแบบ วางแผนการออกแบบ กาหนดขนาด สัดส่ วนให้ เหมาะสม เลือกรู ปแบบปี กทีจ่ ะใช้ เลือกและจัดหาวัสดุทจี่ ะสร้ าง เครื่องมือต้ องพร้ อม....
การปรับตั้งเครื่องร่ อน
สร้ างเครื่องร่ อน ทีมละ 1 ลา จากวัสดุทจี่ ดั ให้ กางปี กประมาณ 16-20 นิว้ (วัสดุทจี่ ดั ให้ เพียงพอ สบายๆ) ออกแบบเอง กาหนดสัดส่ วนต่ างๆเอง ตามแนวทางการ
ออกแบบในเอกสารประกอบกิจกรรม เน้ น...การสร้ างปี กทีเ่ ป็ นรู ป Airfoil พยายามสร้ างให้ ดที สี่ ุ ด ขัดให้ สวย เท่ ากัน 2 ข้ าง
24
2.3 บทปฏิบตั ิ การเครื่องบินพลังยาง
การออกแบบและสร้างเครื่องบินพลังยาง
ส่วนประกอบเครือ่ งบิ นพลังยางแบบลาตัวชิ้ นเดียว ส่วนประกอบทีส่ าคัญของเครื่องบินพลังยาง เหมือนกับ เครื่องร่อน แต่จะชุดมีใบพัดและพลังงานทีใ่ ช้ในการ ขับเคลื่อนจาก พลังงานศักย์ยดื หยุ่นจากการคลายตัวของ ยาง เพิม่ เข้ามาลาตัว (Fuselage) ปี ก(Wing) เป็ นส่วนที่ รับภาระกรรมทางการบิน คือการสร้างแรงยก (Lift) มีปีก เล็กแก้เอียง(Ailerons) ไว้แก้อาการเอียงของปี ก แพนหาง ระดับ (Horizontal Stabillizer) รักษาเสถียรภาพทางการบินใน แนวระดับ โดยมี (Elevator) อยู่บริเวณชายหลังของแพนหาง ระดับ แพนหางดิง่ (Vertical Stabilizer) รักษาเสถียรภาพทางการบินในแนวตัง้ โดยมี (Rudder) “หางเสือเลีย้ ว” อยู่ บริเวณชายหลังของแพนหางดิง่ ชุดหน่วยกาลัง (Power System)ประกอบด้วย ใบพัด(Propeller)และยาง การสร้างเครือ่ งบิ นพลังยางแบบลาตัวชิ้ นเดียว ทาการประกอบชุดใบพัดเข้ากับลาตัวของเครื่องบินพลัง ยางก่อน โดยมี แท่นรองรับแกนเสือ้ เพลาทีท่ าการแก้ แรงบิด (Right Thrust) และ (Dorwm Thrust) โดยให้แกนเสือ้ เพลามีมมุ ก้มลงระหว่าง 3-5 องศา และมีมุมบิดไปทาง ขวามือ ระหว่าง 3-5 องศาเช่นเดียวกัน
25 การแก้แรงบิ ด โดยการ Dorwn Thrust ต้องพิจารณาถึง ขนาดและมุมบิด(Pitch) ของใบพัดด้วยการแก้แรงบิดโดยการ Right Thrust
การติดตัง้ ชุดพวงหาง
การติดตังตะขอเกีย่ ว
การติดตัง้ ชุดพวงหาง
การหาค่า CG
การใส่ยางสาหรับเป็ นชุดกาลังขับ
โดยการวางลาตัวเครื่องบินพลังยาง บนวัสดุ ทรงกระบอกยาวในทีน่ ้ี เป็ นไม้ตะเกียบ โดยให้ ส่วนหัวของเครื่องมีมุมก้มลงเล็กน้อยระหว่าง 3-5 องศา แล้วทาการกาหนดจุด CG เอาไว้ การทา การติดตัง้ ปี กโดยให้จุด 1/3 ของปี กลงบนจุด กาหนดCGของลาตัว ข้อเสนอแนะ นาเครื่องบินพลังยางไปทาการบิน ทดสอบการบิน และปรับแก้ตามหลักการบินต่อไป
26
ส่วนประกอบของเครื่องบินพลังยางลาตัวไม้ชิ้นเดียว 1. ส่ วนประกอบของลาตัว 50 ซม.
1 ซม.
2. ส่วนประกอบของปีก
ปี กเครื่ องบิน
8ซม.
50ซม.
3. ส่วนประกอบของชุดพวงหางแบบต่าง ๆ (ภาพชุดพวงหาง)
แพนหางดิง่
แพนหางระดับ 6 ซม.
8 ซม. 20 ซม.
7 ซม.
27
ตัวอย่างแบบแปลนเครื่องบินพลังยาง
28
การสร้างส่วนประกอบเครื่องบินพลังยาง 3D ด้วยโฟม การออกแบบเครื่องบินพลังยาง 3D
ส่วนประกอบเครื่องบิน ลาตัว
เครือ่ งบิ น ใช้โฟมอัดหนา 3-5 มม. ตัดให้ได้ขนาดตามแบบ จานวน 2 ชิน้
ปี กเครือ่ งบิ น ใช้โฟมอัดหนา 3-4 มม. ตัดให้ได้ ขนาดตามแบบ จานวน 2 ชิน้
29 แพนหางระดับ ใช้โฟมอัดหนา 3-4 มม. ตัดให้ได้ ขนาดตามแบบ 1 ชิน้
แพนหางดิ่ ง ใช้โฟมอัดหนา 3 มม. ตัดให้ได้ขนาด ตามแบบ 1 ชิน้
ใช้โฟมอัดหนา 3มม. ขนาด3x28.5 ซ.ม. จานวน 1 ชิ้น
ใช้โฟมอัดหนา 3 มม. ขนาด3x11 ซ.ม. 2 ชิ้น
2.5x3 ซ.ม.
2x3 ซ.ม.
ใช้ไม้บลั ซ่า ฟิ วเจอร์บอร์ดหรื อไม้โสนขนาด 1x25 ซ.ม. จานวน 2 ชิ้น
แผ่นปิ ดด้านท้องเครื่องบิน
แผ่นปิ ดด้านบนลาตัวเครื่องบิน
ไม้อดั ยึดใบพัดและขอเกีย่ วยาง
แผ่นไม้บลั ซ่าดามลาตัว
30
วิธีการสร้างชิ้นส่วนเครือ่ งบิน
1. ขยายแบบในแผ่นไม้อดั กระดาษแข็งหรือกระดาษขาว เทาให้เท่ากับขนาดจริง 2. นาแบบทีข่ ยายได้มาทาบลง บนแผ่นโฟม ขีดเส้นตามแนว ขอบของแบบ 3. ใช้มดี คัทเตอร์ทม่ี คี วามคม ตัดตามเส้นแบบทีว่ าดไว้ให้ได้ ชิน้ ส่วนตามต้องการ 4. ให้ปฏิบตั เิ ช่นเดียวกับการสร้างส่วนของลาตัวเครือ่ งบินจนได้ชน้ิ ส่วนครบ ดังนี้ 4.1 ลาตัวเครือ่ งบิน 2 ชิน้ 4.2 ปีกเครือ่ งบิน 2 ชิน้ 4.3 แพนหางระดับ 1 ชิน้
31 4.4 แพนหางดิง่ 1 ชิน้ 4.5 แผ่นปิดด้านท้องเครือ่ งบิน 1 ชิน้ 4.6 แผ่นปิดด้านบนเครือ่ งบิน 2 ชิน้ 5. สร้างไม้ยดึ ใบพัดและขอเกีย่ วยางให้มขี นาดเท่ากับแบบกาหนด อย่างละ 1 ชิน ้
6. ตัดไม้สาหรับดามด้านในของลาตัวเครื่องบิน 2 ชิน้
32 การสร้างส่วนประกอบของเครือ่ งบิ นพลังยาง 3Dด้วยโฟม คาชี้แจง ตัดส่วนประกอบของเครื่องบินพลังยาง 3D จากโฟมให้ครบถ้วน ถูกต้อง สวยงาม
5. 6. 7. 8. 9.
ลาตัว 2 ชิ้น ปีก 2 ชิน้ แพนหางระดับ 1 ชิน้ แพนหางดิง่ 1 ชิน้ แผ่นติดใต้ทอ้ ง 1 ชิ้น
1. 2. 3. 4.
แผ่นปิดด้านบนเครือ่ งบิน 2 ชิน้ ไม้ยดึ ใบพัดและขอเกีย่ วยาง ไม้ดามลาตัวเครือ่ งบิน 2 ชิน้ ฐานล้อ ล้อโฟม ลาตัวเครือ่ งบิ น
ปี กเครือ่ งบิ น
แพนหางระดับ
แพนหางดิ่ ง
3x28.5 ซ.ม.
แผ่นปิ ดด้านท้อง เครือ่ งบิ น
33 3x11 ซ.ม. 2.5x3 ซ.ม.
แผ่นปิ ดด้านบนลาตัวเครือ่ งบิน 2x3 ซ.ม.
ไม้อดั ยึดใบพัดและขอเกี่ยวยาง
1x25 ซ.ม.
แผ่นไม้บลั ซ่าดามลาตัว
ขัน้ ตอนการติ ดตัง้ ชิ้ นส่วนเครื่องบิน 3D โฟม 1.การประกอบลาตัวเข้าด้วยกัน นาชิน้ ส่วนด้านข้างของลาตัวและด้านท้องเครื่องบิน ทาด้วยกาวติด โฟม (UHU) ถูให้ทวั ่ รอจนกาวใกล้แห้ง นามาประกบเข้าด้วยกันให้สนิทแน่นตลอดลาตัวทีละข้าง จนครบ 2 ข้าง ดังภาพ
2. ติ ดตัง้ ชุดใบพัดเข้ากับไม้ยึด โดยเจาะรูตรงกลางไม้อดั แผ่นทีม่ ขี นาด 2.5 x 3 ซ.ม. ให้มี ขนาดรูเท่ากับขนาดของท่อทีเ่ ตรียมไว้ ใส่ท่อ ติดกาวให้แน่น ร้อยลวดเสียบกระดาษผ่านใบพัด ลูกปดั ท่อ สร้าง ขอเกีย่ วยางเสร็จแล้วจึงนาไปติดตัง้ เข้ากับส่วนหัวของลาตัวเครือ่ งบิน และติดตัง้ ไม้อดั เข้ากับส่วนหัวของเครื่องบิน ดังภาพ
34 ขัน้ ที่ 1 ใส่ใบพัด
ขัน้ ที่ 2 ใส่ลกู ปดั
ขัน้ ที่ 4 ดัดตะขอเกีย่ วยาง
ขันที ้ ่ 3 ใส่ไม้ยดึ
ขัน้ ที่ 5 ติดไม้ยดึ เข้ากับหัวเครื่องบิน
2.1 นาไม้อดั แผ่นทีม่ ขี นาด 2x3 ซ.ม. เจาะรูตรงกลาง และข้างกันอีกหนึ่งรู ขนาดรูเท่ากับขนาดของ ลวดเสียบกระดาษ ร้อยลวดเสียบกระดาษและล็อก สร้างขอเกีย่ วยางและนาไปติดตัง้ ส่วนหางของเครื่องบิน ดัง ภาพ
ขัน้ ที่ 1 เจาะรู
ขัน้ ที่ 4 ล็อกลวด
ขัน้ ที่ 1 สร้างขอเกีย่ ว
ขัน้ ที่ 3 เสียบลวด
ขัน้ ที่ 5 ดัดตะขอเกีย่ วยาง ขัน้ ที่ 6 ติดไม้ยดึ กับลาตัว
2.2 นายางรัดของหรือยางสาหรับเครื่องบินพลังยางโดยเฉพาะเกีย่ วเข้ากับขอเกีย่ วด้านหัวกับด้านหาง ของเครื่องบิน ดังภาพด้านล่าง
35 3. การติ ดตัง้ ชุดพวงหาง
3.1 ติดตัง้ แพนหางดิง่ เข้ากับแพนหางระดับให้มลี กั ษณะตัง้ ฉากโดยใช้กาวติดโฟม ดังภาพ
ขัน้ ที่ 1 ขีดเส้นแบ่งครึง่
ขัน้ ที่ 2 ทากาวติดตัง้
3.2 ติดตัง้ ชุดพวงหางเข้ากับลาตัว ดังภาพ
4. ติ ดตัง้ ด้านบนของเครือ่ งบิ น 4.1 ติดตัง้ แผ่นปิ ดด้านบนส่วนหัว
ขีดเส้นแบ่งครึง่
ติดเทปใยสับปะรดด้านหลัง กรีดตรงลอยขีดเบา ๆ อย่าให้ขาด
ติดกาวเฉพาะท่อนบน 4.2 ติดตัง้ แผ่นปิดด้านบนส่วนหาง ให้ปฏิบตั เิ ช่นเดียวกับการติดตัง้ ส่วนหัว
ติดกาว
5. การติ ดตัง้ ปี ก
5.1 การดัดปี กให้เกิดส่วนโค้ง โดยใช้ขอบโต๊ะหรือท่อ PVC เพื่อช่วยให้ปีกมีส่วนโค้ง สร้างแรงยกใต้ปีก ได้ดขี น้ึ ดังภาพ
36
5.2 นาปี ก 2 ชิน้ ทากาวติดโฟม นามาประกบเข้าด้วยกัน ทาให้เกิดมุมยกเล็กน้อย แล้วนาปีกที่ ประกอบได้วางตรงช่องว่างของลาตัวด้านบน
6. การติ ดตัง้ ฐานล้อเครือ่ งบิ น ดัดลวดสปริงให้มลี กั ษณะดังภาพ ให้มคี วามสูงมากกว่ารัศมีของใบพัด เพื่อป้องกันไม่ให้ใบพัดตีกบั พืน้ เวลาวิง่ ขึน้ ติดเพลาล้อทีท่ าด้วยท่อพลาสติก ใส่ลอ้ ล็อกล้อด้วยการพันด้วยใย สับปะรดหรือเทปกาว
37 7. การหาจุดศูนย์ถว่ งเครือ่ งบิน หลังจากติดตัง้ ส่วนประกอบครบทุกส่วนแล้ว หาจุดสมดุลของเครื่องบินด้วย วิธกี ารดังภาพ
หมายเหตุ การติดตัง้ ชุดกาเนินพลังงาน 1) ติดตัง้ ฐานติดท่อเข้าส่วนหัวของลาตัวเครื่องบิน โดยให้มมี ุม ก้มประมาณ 3.5 องศา โดยใช้กาว CA หยดบริเวณรอยต่อเพียงเล็กน้อย ติดท่อกับฐานด้วยกาว CA รอจนกว่าจะแห้ง หลังจากนัน้ ใช้ดา้ ยเย็บผ้าพันให้รอบตัวเครื่องบิน ฐานติดท่อ และท่อให้แน่ น หลังจากนัน้ หยอดกาว CA ทีด่ า้ ยทัง้ 2 ข้าง เป็ นการช่วยให้ท่อติดแน่ นกับฐานได้ดขี น้ึ (ระวังกาวจะ ไหลเข้าไปในท่อ จะทาให้ไม่สามารถใส่แกนเพลาได้)
38
คณะผู้จัดทา เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร โครงการพัฒนาครูและบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์อากาศยาน นายสินมหัต ฝ่ายลุย นายสุรเกียรติ ลิบลับ นายสาราญ วังนุราช นายสุริยา จันทร์ประสพโชค นายวิรัตน์ ปุ๋ยกระโทก นายเสนีย์ ศรีมณี นายสมนาม ณ เชียงใหม่ นายทนงศักดิ์ ทองสินธุ์ นางจารวย ทองสินธุ์ นายพรชัย ถาวรนาน
อาจารย์คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ นักวิชาการอิสระ ศึกษานิเทศก์ สพป.ศรีสะเกษ เขต 1 ครู โรงเรียนวัดบ้านพริก สพป.นครนายก ครู โรงเรียนวัดวังรีบญ ุ เลิศ สพป. นครศรีธรรมราช เขต 2 ครู โรงเรียนชุมชนบ้านบางโหนด สพป. นครศรีธรรมราช เขต 4 ครูโรงเรียนประเทียบวิทยาทาน สพม. เขต 4 ครูโรงเรียนเทพา สพม. เขต 16 ครูโรงเรียนเทพา สพม. เขต 16 นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา **********************