ณ แดนใต AT SOUTHERN THAILAND
ปตตานี
วังเกายะหริ่ง ปาชายเลน มัสยิดกลางปตตานี
ยะลา
อำเภอเบตง ไกเบตง อุโมงปยะมิตร
นราธิวาส
วัดชลธาราสิงเห น้ำตกปาโจ ใบไมสีทอง มัสยิดเกา 300 ป 1
AD SPACE
2
3
ณ แดนใต AT SOUTHERN THAILAND
THE TEAM Panu Uthairat Director Wunwilai Punnern Graphic Designer
Suebsakul Supsin Editor in chief Siam I Am Company & Luxe International Media
4
CONTENTS 8 10
6
ข่าวประชาสัมพันธ์ รู้จักกับ ศอ.บต.
12 14 18 20
ปัตตานี มัสยิดกลางปัตตานี ป่าชายเลนที่บางปู วังยะหริ่ง
26 28 32 34
ยะลา อำ�เภอเบตง ก่เบตง อุโมงค์ปิยะมิตร
38 40 44 46 48
นราธิวาส วัดชลธาราสิงเห น้ำ�ตกปาโจ ใบไม้สีทอง มัสยิด 300 ปี
50
ข้าวยำ�
52
เรือกอและ
7
Íի٫ءѺâ¤Ã§¡Òà “ÍÕ«Ù«ØãËŒ¹éÓ...à¾×èͪÕÇÔµ”
µÅÍ´ÃÐÂÐàÇÅÒ 58 »‚ ¢Í§¡ÒôÓà¹Ô¹¸ØáԨ㹻ÃÐà·Èä·Â ÍÕ««Ù Â Ø ´ Ö Áѹ è ¹âºÒ¡ÒÃ໚¹ “¹Ôµº Ô ¤ Ø ¤Å·Õ´ è ”Õ ¢Í§Êѧ¤Áä·ÂÁÒâ´ÂµÅÍ´ µÒÁÇÔÊÂ Ñ ·Ñȹ ͧ¤ ¡Ã ËÃ×Í “ÇÔ¶Í Õ «Õ «Ù ”Ø ¹Ñ¹ è ¤×Í “¼Ù㌠ªŒÊ¢Ø 㨠à¾ÔÁ è ¾Ù¹ÃÒÂä´Œ ª‹ÇÂãËŒÊ§Ñ ¤Á¾Ñ²¹Ò”
“ทิพยประกันชีวิต” รับบริษัทที่มีการพัฒนาดีเด่น 2557 จาก คปภ.
Å‹ÒÊØ´ ¡ÅØ‹ÁÍÕ«Ù«58 Øã¹»ÃÐà·Èä·Âä´Œ ÃÔàÃÔ�èÁเนิ â¤Ã§¡Òà à¾×èÍÊѧ¤ÁãËÁ‹ã¹ª×èÍอี⤧¡Òà ٫ØãËŒ¹éÓ...à¾×èͪÕÇÔµ”น¢Ö鹓นิ à¾×ต èÍá¡Œ ˜ÞËÒด ´×èÁÊÐÍÒ´” ¢Í§âçàÃÕ¹㹶Ôè¹·ØÃ¡Ñ ¹´ÒÃ·Ñ »ÃÐà·È ตลอดระยะเวลา ปี ของการดำ นธุรกิจในประเทศไทย ซซ ู ย ุ ด ึ มั“ÍÕ น ่ «นโยบายการเป็ บ ิ ค ุ »คลที ่ “¹é”ี Óของสั งคมไทยมาโดยตลอด ตามวิ สย ั èÇทั ศน์องค์กร หรือ “วิถอ ี ซ ี ซ ู ”ุ นัน ่ คือ “ผูใ้ ช้«Öสè§ข ุ¨Ò¡¡ÒÃÊÓÃǨ¾ºÇ‹ ใจ เพิม ่ พูนรายได้ÒÁÕช่âçàÃÕ วยให้ สง ั คมพั ฒ นา” ÁÒ¡¡Ç‹ ล่าสุด Òกลุ ม ่ อีซซ ู âçàÃÕ ใุ นประเทศไทยได้ รเิ ริËÒ¹é ม ่ โครงการ เพือ ่ สังคมใหม่ ในชืÊอ ่ Òû¹à»„ โคงการ “อีซÓซ ู à¡Ôใุ ¹ห้Áҵðҹ น�ำ้ ...เพือ ่ ชีÊ‹ว§ต ิ ¼Åµ‹ ” ขึÍน ้ ¤Øเพื ่ ÀÒ¾ªÕ แก้ปÇญ ั Ôµã¹ªØ หาÁ“น้ ำ ดืม ่ สะอาด” Â¹ã¹¶Ô è¹·ØÃ¡Ñ ¹´Òà 10,000 ¹·Õè»ÃÐʺ»˜Þ Ó´×èÁ ·Ñ駡ÒâҴá¤Å¹¹é ÓáÅÐÁÕ œÍ¹ã¹¹é ³อ ª¹� ของโรงเรี น ่ ทุรกัน§ดารทั ว่ ประเทศ ่è¨Ðŧ¾× จากการสำ รวจพบว่ มีโรงเรียนในถิ น ่ ทุèÍรºÃÃà·Ò»˜ กันดาร Þ มากกว่ า Ò10,000 โรงเรี นทีป ่ ระสบปั ญหาน้ �ำ ดืม ่ ¡ÃзÃǧ·ÃÑ ทัง ้ การขาดแคลนน้ �ำ และมีáสÅÐÊÔ ารปนเปื ้ ÍÁนในน้�ำ ¡ÅØ‹ÁÍÕ«ยÙ«นในถิ Øã¹»ÃÐà·Èä·Â¨Ö ¾ÂÒÂÒÁÍ‹ Ò§ÂÔè§ซึ ·Õง é¹·ÕèãËŒ¡� Òê‹ ÇÂàËÅ×ÍาµÒÁ¤ÇÒÁàË §´‹Ç¹à¾× ËҴѧ¡Å‹ Ç â´ÂËÇÁÁ× Í¡Ñย º¡ÃÁ·ÃÑ ¾Âҡùé ÓºÒ´ÒÅ ¾ÂҡøÃÃÁªÒµÔ è§áÇ´ÅŒอ เกินมาตรฐาน งผลต่´อà¨Òйé คุณÓภาพชี ิต¹ในชุ มชน กลุ่มµอี¹éÓซ´×ูซèÁุใ¹Ñนประเทศไทยจึ งพยายามอย่ างยิ ่งที§ÀÙ่จÁะลงพื ้นที่ให้การช่ วยเหลื บรรเทาปั หาดั¡งàÃÕกล่ 㹡ÒèѴÊÃŒÒส่§Ãкº¢Ø ºÒ´ÒÅวÈÙ Â ÊÒ¸Ô µ¡ÒüÅÔ ¡àÃÕ¹Ẻ¤ÃºÇ§¨Ã ¾ÃŒÍÁ¡ÒûÃÑ º»ÃØ Ô·Ñȹ â´ÂÃͺãËŒ ¡ÑºâçàÃÕ Â¹µ‹อÒตามความเร่ §æ Í‹ҧµ‹Íà¹×ง èͧด่ว à¾×นเพื èͤس่อÀÒ¾ªÕ ÇÔµ·Õè´Õ¢ญ Ö鹢ͧ¹Ñ ¹าว โดยร่¤ÃÙ วมมื อกับáÅÐªØ กรมทรั พยากรน้ บาดาล ÍÒ¨ÒàÁª¹Ãͺ¢Œ ҧ͋Òำ�§ÂÑ è§Â×¹ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในการจัดสร้างระบบขุดเจาะน้ำ�บาดาล ศูนย์สาธิตการผลิตน้ำ�ดื่มนักเรียนแบบครบวงจร พร้อมการปรับปรุงภูมิทัศน์โดยรอบให้กับโรงเรียนต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของนักเรียน ครูอาจารย์ และชุมชนรอบข้างอย่างยั่งยืน
บริษัท ทิพยประกันชีวิต จำ�กัด (มหาชน) โดยนายนพพร บุญลาโภ (คนกลาง) กรรมการผู้จัดการใหญ่ เข้ารับรางวัล “บริษัทประกันชีวิตที่มีการพัฒนาดีเด่น ประจำ�ปี 2557” จากงานประกาศรางวัลประกันภัยดีเด่นครบวงจร (Prime Minister’s Insurance Awards) ประจำ�ปี 2558 ซึ่งจัดขึ้นโดยสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริมการ ประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) โดยมีนายสมพร สืบถวิลกุล (ที่ 3 จากซ้าย) รองประธานบริษัท, นายกิตติ ชุณหชวาลวง ( ที่ 2 จากขวา ) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานประกันสามัญและการตลาด, นายศุภชัย จงศุภวิศาลกิจ (ที่ 2 จากซ้าย) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานประกันกลุ่มและสถาบัน, นายนิธิศ มนุญพร (ขวาสุด) รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานลงทุน, นายกฤษณ วลีนนท์ ( ซ้ายสุด ) ที่ปรึกษาบริษัท และนายอิสระ วงศ์รุ่ง ( ที่ 3 จากขวา ) รองผู้อำ�นวยการธนาคารออมสิน กลุ่มลูกค้าบุคคล ร่วมแสดงความยินดี ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
โครงการ “อีซูซุให้น้ำ�...เพื่อชีวิต” นี้เป็นโครงการระยะยาวที่กลุ่มอีซูซุมุ่งมั่นจะดำ�เนินการอย่างต่อเนื่องจนกว่าจะไม่มีโรงเรียนในประเทศไทยที่มีปัญหาเรื่องน้ำ�ดื่มสะอาดอีกต่อไป
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม : บริษัท ทิพยประกันชีวิต จำ�กัด (มหาชน) โทร.02-260-5536 ต่อ 772, 103 สุภารัตน์ จันทร์เกิด (จ๋า) 089-127-1246, นันทวรรณ ราชประดิษฐ์ (ปุ้ย) 083-543-0990
â¤Ã§¡Òà “ÍÕ«Ù«ØãËŒ¹éÓ...à¾×èͪÕÇÔµ” ¹Õé໚¹â¤Ã§¡ÒÃÃÐÂÐÂÒÇ·Õè¡ÅØ‹ÁÍÕ«Ù«ØÁØ‹§ÁÑ蹨дÓà¹Ô¹¡ÒÃÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧ¨¹¡Ç‹Ò¨ÐäÁ‹ÁÕâçàÃÕ¹㹻ÃÐà·Èä·Â·ÕèÁÕ»˜ÞËÒàÃ×èͧ¹éÓ´×èÁÊÐÍÒ´ÍÕ¡µ‹Íä»
สุภารัตน์ จันทร์เกิด (จ๋า) 089-127-1246, นันทวรรณ ราชประดิษฐ์ (ปุ้ย) 083-543-0990
หาดทิพย์ โรงงานสีเขียวเป็นมิตรสิ่งแวดล้อม
“ทิพยประกันชีวิต” บริษัทที่มีการพัฒนาดีเด่น
โค้ก-หาดทิพย์ ดำ�เนินธุรกิจในภาคใต้ ควบคู่ไปกับ การยืนเคียงข้าวชาวใต้ ทั้งยามสุข และยามทุกข์ มากว่า 40 ปี ด้วยการใส่ใจทุกขั้นตอนในการลดการใช้พลังงาน และทรัพยากรทุกชนิด หาดทิพย์ได้ขยายกำ�ลังการผลิต และสร้างโรงงานแห่งใหม่ที่ทันสมัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตั้งอยู่ ณ อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี บนเนื้อที่กว่า 300 ไร่ โดยได้นอ ้ มนำ�แนวพระราชดำ�ริฯ การปลูกหญ้าแฝก “พันธุส ์ รุ าษฎร์ธานี” จำ�นวนกว่า 1 ล้านต้น ปลูกรอบโรงงาน เพือ ่ ลดปัญหาน้�ำ กัดเซาะหน้าดิน ปรับคุณภาพดิน บำ�บัดน้�ำ เสีย และ ในปี 2558 ได้รบ ั พระราชทานรางวัลชนะเลิศระดับประเทศ “หญ้าแฝกทองคำ�” จาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ วั ฯ ในโครงการประกวด การพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝก อันเนื่องพระราชดำ�ริ ครั้งที่ 9 ประจำ�ปี 2557-2558 ซึ่งหาดทิพย์เป็นภาคเอกชนหน่วยงานแรกที่ได้รับรางวัลนี้ อีกทั้ง ได้มีส่วนร่วมช่วยเหลือ และ พยุงราคายางในภาคใต้ โดยนำ�น้ำ�ยางพารามาเป็นส่วนผสมในการทำ�ถนนในโรงงาน และลานจอดรถ หรือ ที่เรียกว่า ถนนพาราแอสฟัลติกคอนกรีต ซึ่งใช้งบประมาณสูงกว่าปกติ 25 %. เพราะเราชาวหาดทิพย์ระลึกอยู่เสมอว่า “หาดทิพย์เป็นส่วนหนึ่งของภาคใต้”
บริษัท ทิพยประกันชีวิต จำ�กัด (มหาชน) โดยนายนพพร บุญลาโภ กรรมการผู้จัดการใหญ่ เข้ารับรางวัล “บริษัทประกันชีวิตที่มีการพัฒนาดีเด่น ประจำ�ปี 2557 จาก นายอภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในงานประกาศรางวัลประกันภัยดีเด่นครบวงจร (Prime Minister’s Insurance Awards) ประจำ�ปี 2558 ซึ่งจัดขึ้นโดยสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2558 ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
สุภารัตน์ จันทร์เกิด (จ๋า) 089-127-1246, นันทวรรณ ราชประดิษฐ์ (ปุ้ย) 083-543-0990
นายนพพร กล่าวว่า “ถือว่าเป็นรางวัลแรกที่บริษัทได้รับจากคณะกรรมการกำ�กับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) สร้างความภาคภูมิใจและเป็นขวัญ และกำ�ลังใจที่ดีสำ�หรับพวกเราชาวทิพยไลฟ์อย่างมาก แม้บริษัทจะดำ�เนินกิจการในอุตสาหกรรมประกันภัยได้เพียงไม่กี่ปี แต่ก็มีความมุ่งมั่นในการพัฒนาระบบการจัดการ ให้เป็นมาตรฐาน และได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของการกำ�กับดูแลกิจการที่ดี มีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ในแนวทางที่เป็นมาตรฐานสากล โดยนำ�หลักการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีซึ่งกำ�หนดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมากำ�หนดเป็นนโยบาย โดยให้ความสำ�คัญต่อการดำ�เนินกิจการด้วยความโปร่งใส มีระบบควบคุมภายในที่ครอบคลุมทั้งด้านการเงิน และการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบต่างๆ ลูกค้า คู่ค้าจึงมั่นใจในการดำ�เนินกิจการของเราได้ บริษัทเองก็ยังมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาบริการ และสินค้าให้มีความแตกต่าง หลากหลาย บนความพึงพอใจสูงสุด โดยคำ�นึงถึงลูกค้าเป็นศูนย์กลางเป็นหลักด้วย” สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม : บริษัท ทิพยประกันชีวิต จำ�กัด (มหาชน) โทร.02-260-5536 ต่อ 772, 103 สุภารัตน์ จันทร์เกิด (จ๋า) 089-127-1246, นันทวรรณ ราชประดิษฐ์ (ปุ้ย) 083-543-0990
8
9
รู้จักกับ ศอ.บต.
ศอ.บต. คืออะไร ศูนย์อำ�นวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (Southern Border Provinces Administration Centre) หรือเรียกโดยย่อว่า ศอ.บต. (SBPAC) เป็นองค์กรพิเศษที่รัฐบาลก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2524 ในเวลาต่อมาได้รับการยกฐานะเป็นนิติบุคคลที่เป็นหน่วยงานขึ้นตรง ต่อนายกรัฐมนตรี ไม่ขึ้นต่อสำ�นักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรมใดๆ ทำ�ให้การบริหารและการแก้ไขปัญหาเป็นไปด้วยความรวดเร็ว คล่องตัว ทันต่อสถานการณ์ ปัจจุบันมี นายภาณุ อุทัยรัตน์ ดำ�รงตำ�แหน่งเลขาธิการศูนย์อำ�นวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) บทบาท หน้าที่ ของ ศอ.บต. ศอ.บต. ทำ�หน้าที่คล้ายกับเป็นรัฐบาลส่วนหน้ามาตั้งหน่วยอำ�นวยการอยู่ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยจำ�ลองหน่วยงานอำ�นวยการด้านแผนงาน แผนเงิน และแผนคน ของรัฐบาลกลางมาอยู่ด้วย กัน สามารถสรุปภารกิจของ ศอ.บต. ได้ 3 ประการ คือ
10
1. ระดมส่วนราชการและหน่วยงาน รัฐวิสาหกิจมาดำ�เนินการพัฒนา และแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยอาศัยระบบการประสาน แผนเป็นเครื่องมือหลัก เพื่อแปรนโยบายสู่การปฏิบัติ รวมทั้งใช้ระบบ การประสานงาน ในการดำ�เนินมาตรการ ต่าง ๆ เป็นเครื่องมือกำ�กับ การดำ�เนินงานให้เป็นไปตามนโยบาย ฯ 2. ให้ความสำ�คัญกับข้าราชการและบุคลากรของรัฐ คุ้มครองสิทธิ เสรีภาพและอำ�นวยความเป็นธรรมแก่ประชาชน ให้ความช่วยเหลือ ผู้ที่ได้ระบผลกระทบจากการกระทำ�ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ส่งเสริมการ มีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วนในการแก้ไขปัญหา ส่งเสริมด้าน การศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม รวมทั้งเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีแก่ คนไทยทั้งในและต่างประเทศ. 3. ดำ�เนินภารกิจอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี โดยเฉพาะงานที่เกี่ยวกับสังคมจิตวิทยา
สถานการณ์ปัจจุบัน ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมาเราสามารถมองในภาพรวมว่าสถานการณ์ ต่างๆ ดีขึ้นอย่างเป็นลำ�ดับ ไม่ว่าจะเป็นการได้รับการยอมรับความ ร่วมมือและพัฒนาความต้องการที่แท้จริงของประชาชน ทำ�ให้หน่วย งานทำ�งานได้อย่างถูกจุดและมีประสิทธิภาพ การมีส่วนร่วมของ ประชาชนทำ�ให้หน่วยงานได้รับข้อมูลและเฝ้าระวังจึงสามารถทำ�ให้ เหตุร้ายลดลงได้อย่างต่อเนื่อง ด้วยความร่วมมือทั้งภาครัฐและประชาชน ความจริงใจ ความทุ่มเท ที่มีให้มาตลอดหลายสิบปี บวกกับแผนงานนโยบายต่างๆที่วางไว้ จึงทำ�ให้ ณ ปัจจุบัน จังหวัดชายแดนใต้ของเราพร้อมที่จะต้อนรับ นักท่องเที่ยวด้วยความอบอุ่น จากใจท่านเลขาธิการ ศอ.บต. ผมเองเป็นคนท้องที่โดยกำ�เนิด และประชาชนที่นี่มีความภาคภูมิใจ ในพื้นที่แห่งนี้ มีสถานที่สวยงามและของดีมากมาย มีความเป็นมิตร มีวัฒนธรรม ศาสนพิธี วิถีมุสลิม ซึ่งเป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นที่เราหวงแหน มันมีคุณค่าและเป็นสมบัติของชาติไทย
ผมอยากให้ประชาชนที่อื่นได้รับรู้เกี่ยวกับเรื่องการท่องเที่ยว เรามีสถานที่น่าสนใจมากมายที่อยากจะนำ�เสนอ จึงจัดให้มีโครงการ ต่างๆ เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ ไม่ว่าจะเป็น “โครงการยิ้ม ชายแดนใต้” เป็นโครงการที่ส่งภาพถ่ายประกวดทางโปรแกรมไลน์ หรือทางอินเตอร์เน็ต ซึ่งจัดเป็นประจำ�ทุกเดือน จัดให้มี “โครงการงาม ชายแดนใต้” และโครงการ “สามเดือน สามจังหวัด สามหมื่น” ซึ่งมีความหมาย คือ สามเดือน: กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน สามจังหวัด: ยะลา ปัตตานี นราธิวาส สามหมื่น: จำ�นวนนักท่องเที่ยวทั้งคนไทยและต่างชาติ เช่น มาเลเซีย และอินโดนิเซีย ภายในงานจะมี มหกรรมฮาวีรายอปัตตานี สิงหาอาหารยะลา นราบิคไบค์ สามประเทศ(ไทย มาเลเซีย อินโดนิเซีย ) ซึ่งกิจกรรม และงานต่างๆที่จัดขึ้น จะเป็นแรงจูงใจให้นักท่องเที่ยวได้มาเที่ยว เปิดโอกาสให้นักท่องเที่ยวได้มาลองสัมผัสวิถีชีวิต และความเป็น เอกลักษณ์ของชายแดนใต้ หากได้ลองมาเที่ยวแล้ว รับรองว่าทุกคน จะประทับใจและอยากจะกลับมาอีกครั้งอย่างแน่นอน
11
ปัตตานี
“เมืองงามสามวัฒนธรรม ศูนย์ฮาลาลเลิศล้ำ� ชนน้อมนำ�ศรัทธา ถิ่นธรรมชาติงามตา ปัตตานีสันติสุขแดนใต้”
12
13
มัสยิดกลางปัตตานี
14
15
ในปีพุทธศักราช 2497 รัฐบาลได้ตระหนักถึงความสำ�คัญ ของศาสนาอิสลาม จึงได้พิจารณาพื้นที่บริเวณริมถนนทางหลวงสายปัตตานี-ยะลา ตำ�บลอาเนาะรู อำ�เภอเมือง ปัตตานี เนื้อที่ประมาณ 3 ไร่ 55 ตารางวา สร้างมัสยิด ที่มีขนาดใหญ่ และสวยงามขึ้น เพื่อเป็นศรีสง่าแก่ชาวไทย ผู้นับถือศาสนาอิสลามทั่วประเทศตลอดจนเป็นสถานที่ ประกอบศาสนกิจของชาวไทยมุสลิม มัสยิดกลาง จังหวัดปัตตานี เป็นตึกคอนกรีตสองชั้น กลางอาคารมียอดโดมขนาดใหญ่และมีโดมบริวาร 4 ทิศ มีหอคอยสองข้างสูงเด่นเป็นสง่า แต่ก่อนนั้นหอคอย ทั้งสองข้างเป็นหอกลางสำ�หรับตีกลอง เป็นสัญลักษณ์ เรียกให้คนมุสลิมมาร่วมปฏิบัติศาสนกิจ ต่อมาใช้เป็นที่ติด ลำ�โพงขยายเสียงแทนเสียงกลอง - บริเวณด้านหน้าของ มัสยิดมีสระน้ำ�ขนาดใหญ่สวยงาม 16
ภายในมัสยิดนั้นเป็นห้องโถงกว้างใหญ่ มีไว้เพื่อประกอบ พิธีทางศาสนา ภายในห้องยังมีบัลลังก์ทรงสูงและแคบ เป็นที่ใช้สำ�หรับ “คอฎีบ” ยืนอ่านคุฏบะฮ์ในการละหมาด ทุกวันศุกร์ มัสยิดเปิดให้เข้าชมทุกวัน และจะใช้เป็นที่ประกอบศาสนกิจ คือ ประกอบพิธีละหมาดวันละ 5 เวลา ซึ่งเป็นกิจประจำ�วัน และยังใช้ในการละหมาดใหญ่ทุกวันศุกร์ โดยมีชาวมุสลิม ทั้งในและต่างประเทศมาร่วมพิธีอย่างมากมาย นอกจากนี้ มัสยิดกลางปัตตานียังถูกใช้เป็นโรงเรียนสอน ศาสนา โดยในวันเสาร์จะมีการสอนอัลกุรอานแก่เด็กๆ ทำ�ให้มัสยิดแห่งนี้ผูกพันธ์กับชุมชนและเป็นส่วนหนึงในวิถี ชีวิตของชาวมุสลิมในจังหวัดปัตตานีและพื้นที่ใกล้เคียง เป็นอย่างมาก 17
ป่าชายเลน
ที่ชุมชนบางปู
เดิมชุมชนบางปูเป็นศูนย์เพาะเลี้ยงปูนิ่ม แต่เนื่องจาก น้ำ�ทะเลกลายเป็นน้�ำ กร่อยทำ�ให้ไม่สามารถเลีย ้ งปูได้ จึงได้ยกเลิกไป แต่ด้วยความร่วมมือร่วมใจของคนใน ชุมชน ความมุง ่ มัน ่ ทีจ ่ ะพัฒนาท้องถิน ่ รวมถึงแนวคิด เชิงสร้างสรรค์ที่จะปรับปรุงสภาพพื้นที่เพื่อที่จะพร้อม รองรับนักท่องเที่ยว ทำ�ให้บางปูวันนี้กลายเป็น “ชุมชนท่องเที่ยวบางปู” ชุมชนท่องเที่ยวบางปู เป็นชุมชนที่มีจุดเด่นในเรื่อง ของการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และการท่องเที่ยว
18
เชิงนิเวศน์ มีแหล่งท่องเที่ยวภายในชุมชนเป็นป่าชาย เลนที่อาจเรียกได้ว่ามีระบบนิเวศที่สมบูรณ์ที่สุดในประเทศไทย ชุมชนท่องเที่ยวบางปูมีกิจกรรมให้ทำ� มากมาย อาทิเช่น การล่องเรือชมป่าชายเลน อุโมงค์ โกงกาง การตกปลาในอ่าวปัตตานี การนั่งเรือชม พระอาทิตย์ และดูนกนานาพันธุ์บินกลับเข้ารังยาม ตะวันตกดิน และจุดสำ�คัญของคืนเดือนแรมที่พลาด ไม่ได้ก็คือ จะได้พบกับบรรดาหิ่งห้อยนับแสนนับล้าน ที่บินเล่นในป่าชายเลน
19
วังยะหริง ่ 20
21
ชั้นบน ภายในอาคารจัดเป็นห้องโถงขนาดใหญ่ บริเวณระเบียงมีประตูเปิดเข้าสู่ห้องโถงใหญ่ ลักษณะคล้ายกับท้องพระโรง ด้านข้างของตัว อาคารทั้ง 2 ด้าน เป็นห้องสำ�หรับพักผ่อนของ เจ้าเมือง และบุตรธิดาข้างละ 4 ห้อง ส่วนชั้นล่าง นั้นเป็นลานโล่งแบบใต้ถุนบ้าน วังยะหริ่งไม่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถาน เนื่องจากปัจจุบัน ผู้สืบเชื้อสายรุ่นที่ 5 ยังคง อาศัยและดูแลรักษาวังเป็นอย่างดี หากผู้ใดสนใจที่จะเข้าเยี่ยมชมวังยะหริ่ง เพื่อชม สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น จะต้องติดต่อขออนุญาต เจ้าของวังก่อน เพื่อที่เจ้าของบ้านจะได้ให้ข้อมูล เกี่ยวกับวังยะหริ่งได้ถูกต้อง และชัดเจนมากที่สุด วังยะหริง ่ ตัง ้ อยู่ หมูท ่ ่ ี 1 ตำ�บลยามู ในเขตสุขาภิบาลยามู อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
วังยะหริง ่ เป็นอาคารสถาปัตยกรรม 2 ชัน ้ ครึง ่ ปูน-ครึง ่ ไม้ เป็นแบบเรือนไทยมุสลิม ผสมกับแบบบ้านแถบยุโรป ตามลักษณะของสถาปัตยกรรมทางใต้ ถูกสร้างขึน ้ ประมาณ พ.ศ. 2438 ในปลายรัชสมัยของรัชกาลที่ 5 ผู้สร้างคือ พระยาพิพิธเสนามาตยาธิบดี ศรีสุรสงคราม ตัววังเป็นรูปตัวยู ตามเชิงชายหลังคาประดับประดาด้วย ไม้สลักเสลา เป็นลวดลายอ่อนช้อยสวยงาม หากมองจากด้านนอกจะเห็นลักษณะเด่นของวัง คือ ด้านข้างของตัวอาคารจะมีลักษณะบันไดโค้งแบบยุโรป ทอดสู่ระเบียง มีช่องแสงประดับด้วยกระจกสีเขียว แดง และน้ำ�เงิน ช่องระบายอากาศ และหน้าจัว่ ทำ�ด้วยไม้ ฉลุท�ำ เป็นลวดลาย พรรณพฤกษาตามแบบศิลปะชวาและตะวันตก ช่วยทำ�ให้ ตัววังดูสง่างาม 22
23
24
25
ยะลา “ใต้สุดสยาม เมืองงามชายแดน”
26
27
อำ�เภอเบตง 28
29
เบตง เป็นอำ�เภอที่ตั้งอยู่ใต้สุดของประเทศไทย โดยมีลักษณะเป็น หัวหอกยืน ่ เข้าไปในประเทศมาเลเซีย ตัง ้ อยูใ่ นแนวเทือกเขาสันการาคีรี มีเนื้อที่ประมาณ 1,328 ตารางกิโลเมตร ห่างจากตัวเมืองยะลา ประมาณ 140 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 1,590 กิโลเมตร ด้วยภูมิประเทศของเบตงส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูง จึงทำ�ให้เบตงมีอากาศดี และมีหมอกตลอดทั้งปี ดังคำ�ขวัญประจำ� อำ�เภอที่ว่า “เมืองในหมอก ดอกไม้งาม ใต้สุดสยาม เมืองงาม ชายแดน” ชือ ่ เดิมของอำ�เภอเบตงคือ ยะรม เป็นภาษามลายูมค ี วามหมายว่า “เข็มเย็บผ้า” ต่อมาเมื่อปีพุทธศักราช 2473 อำ�เภอยะรมได้ถูก เปลี่ยนชื่อมาเป็นอำ�เภอเบตงในปัจจุบัน ซึ่งคำ�ว่า เบตง มาจากภาษา มลายู ว่า “Buluh Betong” หมายถึง “ไม้ไผ่ขนาดใหญ่” คือ ไผ่ตง ซึ่งมีอยู่มากในท้องถิ่น ต้นไผ่ตงจึงกลายเป็นสัญลักษณ์หนึ่งของ อำ�เภอเบตง พื้นที่โดยทั่วไปของเบตงสูงกว่าระดับน้ำ�ทะเลประมาณ 1,900 ฟุต ตัวเมืองเบตงอยูห ่ า่ งจากด่านชายแดนเบตงเป็นระยะทาง 7 กิโลเมตร เป็นเมืองที่มีความสำ�คัญด้านการท่องเที่ยวและการขนส่งสินค้า เป็นเมืองหน้าด่านที่จะนำ�สินค้าเข้าออกไปยังท่าเรือน้ำ�ลึกปีนังของ มาเลเซีย ปัจจุบัน อำ�เภอเบตงมีจำ�นวนประชากรรวมทั้งสิ้น 61,794 คน (นับปี พ.ศ. 2557) ประกอบด้วยคนไทยหลากหลายเชื้อชาติ เป็นคน ไทยเชื้อสายมลายู, คนไทยเชื้อสายจีน (เช่น กวางไส ฮกเกี้ยน แต้จิ๋ว จีนแคะ ) และคนไทยพุทธ ทั้งนี้จะเห็นได้ว่าประชากรในอำ�เภอเบตง เป็นประชากรที่ความผสมผสานด้วยคนไทยหลากหลายเชื้อชาติ และ ศาสนา จึงทำ�ให้มีความหลากหลายทางประเพณี และวัฒนธรรม วิถีชีวิต อาหารการกิน บรรยากาศของเมือง และประวัติศาสตร์ โดยคนเหล่านีอ ้ ยูร่ ว่ มกันอย่างสงบสุขเกิดการผสมผสานกันระหว่าง วัฒนธรรมทีห ่ ลากหลายได้อย่างลงตัว เมือ ่ รวมสิง ่ ต่างๆ เหล่านีเ้ ข้าด้วยกันจึงเป็นเอกลักษณ์ของอำ�เภอเบตงซึง ่ แตกต่างจากพืน ้ ทีอ ่ น ่ื ๆ
30
31
ไก่เบตง ครั้งเมื่อชาวจีนอพยพมาตั้งหลักแหล่งทำ�มาหากินในอำ�เภอเบตง ได้นำ�ไก่พันธุ์ เนื้อพื้นเมืองที่ชื่อว่าไก่กวางไส ซึ่งเป็นไก่ที่มีต้นกำ�เนิดมาจากไก่พันธุ์แลนซาน จากจีน มาแพร่หลายในอำ�เภอเบตง จึงเป็นที่มาของ “ไก่เบตง” ไก่พันธุ์เบตง เป็นไก่ที่ชอบหากินเป็นฝูง หากินอิสระในสนามหญ้า บริเวณบ้าน ตามป่าโปร่ง อาจเป็นเพราะไก่พันธุ์นี้มีลักษณะความเป็นไก่ป่าอยู่มาก ไก่เบตงจะมีหงอนสีแดงสด มีขนสีเหลืองทองเกือบจะทั้งตัว บั้นท้ายตัด คอและขาแข็งแรง หากโตเต็มที่ บางตัวมีน้ำ�หนักมากถึง 4-5 กิโลกรัม ไก่เบตงเป็นไก่เนื้อที่มีคนนิยมรับประทานมากเนื่องจากมีรสชาติที่อร่อย เนื้อเยอะ มันน้อย หนังหนา ตรงส่วนหนังจะมีสเี หลืองอ่อนเนือ ้ ค่อนข้างเหลืองและนุม ่ มีกลิน ่ หอม ไม่ค่อยจะมีไขมัน ซึ่งเหมาะแก่การทำ�ข้าวมันไก่ ข้าวหมกไก่ อย่างยิ่ง
32
33
อุโมงค์
ปิยะมิตร
34
35
อุโมงค์ปิยะมิตร เป็นอุโมงค์ที่ผู้ร่วมพัฒนาชาติไทย หรือ อดีตกลุ่มโจรคอมมิวนิสต์มลายา (จคม.) สร้างขึ้นเป็นฐาน ของพรรคคอมมิวนิสต์มลายา เขต 2 เมื่อปี พ.ศ. 2519 ใช้หลบการโจมตีทางอากาศและสะสมเสบียง การสร้างใช้ กำ�ลังคน 40 - 50 คน ขุดเข้าไปในภูเขา และใช้เวลาเพียง 3 เดือน ในการสร้าง อุโมงค์มีความกว้าง 50-60 ฟุต ยาวประมาณ 1 กิโลเมตร สามารถจุคนได้เกือบ 200 คน มีทางเข้าออกทั้งหมด 9 ทาง เชื่อมต่อถึงกันหมด แต่ในปัจจุบันเหลือ 6 ทาง ภายในมีสถานีวิทยุของ จคม. ห้องนอน ห้องเก็บเสบียง มีซอกมีมุมให้เลี้ยวลัดเลาะ ด้านบนเป็นป่ารกมีต้นไม้น้อยใหญ่มากมายปกคลุม ซึ่งยากแก่การค้นหาและถูกค้นพบโดยทหารฝ่ายรัฐบาล
36
ในปัจจุบันอุโมงค์ปิยะมิตรได้เปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยว เปิดบริการให้เข้าชมทุกวัน เวลา 8.00 - 16.30 น. การท่องเที่ยวอุโมงค์ใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง ภายในมี การติดตั้งไฟฟ้าตลอดแนวอุโมงค์ อากาศเย็นสบาย ไม่อึดอัด บริเวณทางเข้าสองข้างทางเต็มไปด้วยพรรณไม้ นานาพันธุ์ และมีแอ่งน้ำ�ที่ไหลมาจากภูเขา ด้านนอกอุโมงค์ ซึ่งเคยเป็นลานฝึกทหารจัดให้มีนิทรรศการแสดงภาพและ เรื่องราวประวัติศาสตร์ รวมถึงวิถีการดำ�เนินชีวิตในป่า นอกจากนี้ ยังมีเห็ดและยาสมุนไพรจากป่าจำ�หน่ายแก่นัก ท่องเที่ยว
37
นราธิวาส ทักษิณราชตำ�หนัก ชนรักศาสนา นราทัศน์เพลินตา ปาโจตรึงใจ แหล่งใหญ่แร่ทอง ลองกองหอมหวาน
38
39
วัดชลธาราสิงเห 40
41
วัดนี้มีความสำ�คัญเกี่ยวข้องกับดินแดนตากใบ ตอนแบ่งแยกดินแดนระหว่างประเทศสยาม กับ ประเทศมลายูซึ่งเป็นเมืองขึ้นของประเทศอังกฤษ ในขณะนั้น โดยฝ่ายไทยได้มีการยกเอาพระพุทธ ศาสนา วัดและศิลปะในวัด ใช้เป็นเหตุผลอ้างอิง ต่อรองในการปักปันเขตแดนในปี พ.ศ. 2441 ซึ่ง อังกฤษก็ยอมรับเหตุผล โดยไม่นับดินแดนแห่งนี้ ผนวกเป็นประเทศมาเลเซีย แต่ให้ใช้แม่น้ำ�ตากใบและ แม่น้ำ�สุไหงโก-ลก เป็นเส้นแบ่งเขตแดนแทน บริเวณวัดชลธาราสิงเห มีสง ่ ิ ก่อสร้างทางพุทธศาสนา ศิลปะฝีมือแบบไทยปักษ์ใต้ ที่เป็นจุดเด่นและงดงาม หลายชิ้น อาทิ เช่น
วัดชลธาราสิงเห หรือ วัดพิทักษ์แผ่นดินไทย สร้างในปลาย รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ก่อนที่จะตั้งอำ�เภอตากใบ 49 ปี ในสมัยนั้นดินแดนตากใบยังเป็นดินแดนของรัฐกลันตัน ท่านพระครูโอภาสพุทธคุณ (พุด) เป็นผู้เริ่มก่อตั้งวัดนี้ขึ้น และต้องไปขอที่ดินเพื่อที่จะสร้างวัดจากพระยากลันตัน
42
หอระฆัง (หอกลอง) มีลักษณะเป็นหอระฆัง 3 ชั้น หลังคาทรงมณฑป ฝาผนังหอระฆังชั้นบนเป็นฝา ไม้ มีช่องหน้าต่างขนาดเล็ก มีลวดลายประดับ คล้ายฝาผนังกุฏเิ จ้าอาวาส ภายในหอระฆังมีระฆัง 2 ใบ โดยใบหนึง่ สร้างเมือ ่ พ.ศ. 2460 อีกใบสร้าง พ.ศ. 2533 โบสถ์เก่าที่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งมีอายุ ประมาณ 140 ปี และได้รับการบูรณะใหม่ทำ�กำ�แพง ล้อมรอบโบสถ์ ภายในมีพระประธานเก่าแก่ที่สร้าง เมื่อปี พ.ศ.2426
ศาลาธรรมรุ่นเก่า ซึ่งเป็นศิลปะปักษ์ใต้ผสมอิทธิพล สถาปัตยกรรมจีนแปลกตา และในวิหารเก่าด้านหลังวัด มีประติมากรรมปูนปั้น รูปพระนารายณ์ 4 กร กับ เครื่องถ้วยชาม ซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นเครื่องถ้วยชาม สมัยราชวงศ์ซอ ้ ง กับพระพุทธไสยาสน์ ทีส ่ ร้างเมือ ่ ปี พ.ศ.2484 ซึ่งตามผนังจะประดับด้วยเครื่องถ้วย สังคโลกเก่าแก่ จากการที่วัดชลธาราสิงเหสามารถปกป้องดินแดน ตากใบเอาไว้ได้ วัดนี้จึงได้รับสมญานามว่า วัดพิทักษ์ แผ่นดินไทย และวัดพิทักษ์แผ่นดินไทยนี้เอง คือศูนย์ รวมความศรัทธาในพระพุทธศาสนาของชาวไทย ในเขตอำ�เภอตากใบ อำ�เภอใกล้เคียง รวมทั้งชาว มาเลเซียมาเนิ่นนาน
43
น้ำ�ตกปาโจ
น้ำ�ตกปาโจ เป็นน้ำ�ตกใหญ่ที่มีน้ำ�ตลอดปี มีความสูงประมาณ 60 เมตร เป็นส่วนหนึ่งของอุทยาน แห่งชาติบูโด - สุไหงปาดี มีพื้นที่คลอบคลุมอยู่ในท้องที่อำ�เภอบาเจาะ อำ�เภอยี่งอ อำ�เภอระแง อำ�เภอรือเสาะ อำ�เภอสุไหงปาดี อำ�เภอจะแนะ อำ�เภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส อำ�เภอรามัน จังหวัดยะลา และอำ�เภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
44
45
ใบไม้สีทอง ใบไม้สท ี อง หรือ ย่านดาโอ๊ะ เป็นพืชเฉพาะถิน ่ ของไทยและเป็นพันธุไ์ ม้ชนิดใหม่ของโลก พบครัง ้ แรกเมือ ่ ปี พ.ศ. 2531 ทีบ ่ ริเวณน้�ำ ตกปาโจ อุทยานแห่งชาติบโู ด–สุไหงปาดี จ.นราธิวาส และจะพบเฉพาะในเขต 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย คือ ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ใบไม้สีทอง เป็นไม้เถาเลื้อยเนื้อแข็งขนาดใหญ่มีมือเกาะม้วนงอเป็นตะขอคู่ เลื้อยขึ้นไปคลุมตามเรือนยอดของต้นไม้ใหญ่ มีลักษณะเด่นตรงที่มีใบสีทอง และผิวใบนุม ่ เนียนราวกับกำ�มะหยี่ รูปร่างคล้ายใบกาหลงหรือชงโค แต่ขนาดใหญ่กว่า มีขอบหยักเว้าเข้าทั้งโคนใบและปลายใบ ระยะที่จะสามารถเห็นใบเป็นสีทองชัดเจน คือ ในช่วงเดือน มิถุนายน - กรกฎาคม ของทุกปี
46
47
มัสยิด 300 ปี มัสยิดวาดีอัลฮูเซ็น หรือ มัสยิดตะโละมาเนาะ
48
มัสยิดวาดิลฮูเซ็น เป็นมัสยิดเก่าแก่และมีประวัตอ ิ น ั ยาวนาน สันนิษฐานว่าสร้างเมื่อปี พ.ศ.231 ลักษณะของมัสยิด มีความแตกต่างจากมัสยิดทั่วไป คือเป็นอาคาร 2 หลัง ติดต่อกัน สร้างด้วยไม้ตะเคียนทั้งหลัง ลักษณะการสร้าง จะใช้ไม้สลักแทนตะปู รูปทรงของอาคารเป็นแบบไทยพื้นเมืองประยุกต์เข้ากับศิลปะจีนและมลายูอย่างลงตัว
ส่วนหลังที่ 2 จะมีหลังคา 2 ชั้นมุงด้วยกระเบื้องดินเผา หลังคาชัน ้ ที่ 2 จะมีจว่ั อยูบ ่ นหลังคาชัน ้ แรก มีฐานดอกพิกล ุ หงายรองรับจั่ว หลังคาอีกชั้นหนึ่ง มีรูปแบบทรงไทย แบบหลังคาโบสถ์วัดทั่วๆ ไป รอบๆ ฐานดอกพิกุลหงาย จะแกะสลักเป็นลายเถาว์ ก้านมุมหลังคาด้านบนของอาคารทั้ง 2 หลัง ใช้ปูนปั้นเป็นลายกนก ลายเถาว์ก้าน
ส่วนที่เด่นที่สุดของมัสยิดจะอยู่ที่หลังคาอาคารหลังแรก ส่วนทีเ่ ป็นมิหรอบ หลังคามี 3 ชัน ้ มุงด้วยกระเบีอ ้ งดินเผา หลังคาชั้นที่ 3 มีโดมเป็นเก๋งจีนอยู่บนหลังคา เป็นศิลปะ แบบจีนแท้ เสาจะแกะสลักเป็นรูปดอกพิกล ุ โดยในสมัยนัน ้ เก๋งจีนจะใช้เป็นหออะซาน (สำ�หรับตะโกนเรียกคนมาละหมาด)
ปัจจุบันมัสยิดนี้ยังใช้เป็นสถานประกอบศาสนกิจของชาว มุสลิม หากต้องการเข้าชมภายในต้องได้รับอนุญาตจาก โต๊ะอิหม่ามประจำ�หมู่บ้านก่อน โดยบุคคลทั่วไปสามารถ เข้าชมได้บริเวณภายนอกเท่านั้น
49
ข้าวยำ� ข้าวยำ� เป็นอาหารท้องถิน ่ ทางภาคใต้ทน ่ี �ำ ข้าวมาคลุกรวมกับ เครือ ่ งปรุงและผัก โดยเครือ ่ งปรุงจะประกอบด้วย กุง ้ แห้งป่น มะพร้าวคัว่ และน้�ำ บูดู ส่วนผักทีท ่ านคูก ่ บ ั ข้าวยำ�เรียกว่าผักหมวด นิยมนำ�ถัว่ ฝักยาว ถัว่ งอก ตะไคร้ กระถิน ยอดมะม่วงหิมพานต์ ผักบุง ้ ใบยอ ถัว่ พู และพาโหม มาเป็นผักหมวด ชาวไทยมุสลิมจะนิยมนำ�สีจากพืชมาหุงกับข้าวให้ได้ขา้ วสีตา่ งๆ เพือ ่ ให้ขา้ วเหล่านัน ้ มีสส ี น ั และรสชาติทน ่ี า่ รับประทานมากขึน ้ โดย เรียกว่า ข้าวยำ�ห้าสี (นาซิกราบู ลิมอจายอ) ส่วนข้าวยำ�ทาง จังหวัดสตูลจะมีเอกลักษณ์เฉพาะคือไม่ใส่น�ำ้ บูดู แต่จะนำ�ข้าวมา คลุกกับเครือ ่ งแกงและผัก โดยเครือ ่ งปรุงหลักคือข่า เรียกว่า ข้าวยำ�หัวข่า (นาซิกราบู กรูวะห์)
50
51
เรือกอและ จิตกรรมชิน ้ เอกของชายแดนใต้
เรือกอและ เปรียบเสมือนศิลปกรรมทีม ่ ค ี ณ ุ ค่าชิน ้ หนึง ่ ซึง ่ สะท้อนถึง จิตวิญญาณของชาวประมงพืน ้ บ้านในจังหวัดชายแดนใต้ ทีบ ่ รรจง ประดิษฐ์และสร้างสรรค์ขน ้ึ มา โดยความงดงามและความโดดเด่นของเรือ สร้างความประทับใจให้กบ ั ผูพ ้ บเห็นเสมอมา คำ�ว่า “กอและ” ในภาษายาวี มีความหมายว่า โคลงเคลง เรือกอและจึงหมายถึงลักษณะของเรือทีม ่ ส ี ภาพโคลงเคลง ไม่หยุดนิง ่ เหมือนกระแสคลืน ่ ในทะเล เรือกอและ มีลก ั ษณะเป็นเรือยาว ทีต ่ อ ่ ด้วยไม้กระดาน โดยส่วนหัวและท้าย จะสูงขึน ้ จากลำ�เรือเพือ ่ ให้ดส ู วยงาม นิยมทาสีแล้วเขียนลวดลายด้วยสีสน ั ฉูดฉาด ท้องเรือจะมีลก ั ษณะกลม เป็นรูปทรงทีร่ องรับกับคลืน ่ ในทะเล เรือกอและจึงเป็นเรือทีม ่ ค ี วามคล่องตัวสูง โต้คลืน ่ ได้ดี และคว่�ำ ได้ยาก เราจะสามารถพบเรือได้ตง ้ั แต่ อำ�เภอยะหริง ่ ปะนาเระ และอำ�เภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี เรือ ่ ยไปจนถึง อำ�เภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส เพราะริมฝัง ่ ทะเลด้านนีม ้ น ี �ำ้ ตืน ้ เหมาะแก่การออกเรือเล็กเพือ ่ ทำ�ประมง ชายฝัง ่ 52
53
54
55
56