1 minute read
Print Industry Summit 2019 Printing 4.0 and Packaging Countdown to DRUPA 2020
VMDA สมาคมด้านอุตสาหกรรมชั้นน�ำจากประเทศเยอรมันนี, PrintPromotion หน่วยงานที่ส่งเสริมอุตสาหกรรมการพิมพ์ ชั้นน�ำของโลก และ DRUPA งานแสดงเทคโนโลยีด้านการพิมพ์ อันดับ 1 ของโลก (ซึ่งจัดขึ้นทุก ๆ 4 ปี โดยบริษัท เมสเซ่ ดุสเซอร์ดอร์ฟ ประเทศเยอรมันนี) ได้ร่วมกันจัดงานประชุม สุดยอดอุตสาหกรรมการพิมพ์ Print Industry Summit 2019: Printing 4.0 and Packaging – Countdown to DRUPA 2020 ซึ่งเป็นการเปิดตัวรอบโลกของงานดรูป้า ที่จัดขึ้น ใน 27 ประเทศ ทั่วทั้ง 5 ทวีป โดยเริ่มขึ้นที่กรุงเม็กซิโก ซิตี้ ในเดือนกันยายน 2562 และตามด้วยภูมิภาคเอเชีย ซึ่งดรูป้า ได้ให้ความส�ำคัญกับประเทศไทยในการจัดงานครั้งนี้ ในฐานะ ที่ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านการพิมพ์ของภูมิภาค
Advertisement
งานประชุมสุดยอดอุตสาหกรรมการพิมพ์ Print Industry Summit 2019: Printing 4.0 and Packaging – Countdown to DRUPA 2020 จัดขึ้นในวันที่ 12 ธันวาคม 2562 ที่โรงแรม พูลแมน แกรนด์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ โดยได้ผู้เชี่ยวขาญจาก VDMA เยอรมันนี PrintPromotion และ ดรูป้า รวมถึงบริษัท แบรนด์ชั้นน�ำของโลกด้านอุตสาหกรรมการพิมพ์ เข้าร่วมให้ ความรู้และข้อมูลเชิงลึกของอุตสาหกรรมการพิมพ์และการพิมพ์ บรรจุภัณฑ์ ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่ ระบบอัตโนมัติ โซลูชั่นเวิร์คโฟลว์ อัจฉริยะ โซลูชั่นระบบการพิมพ์กราเวียร์ส�ำหรับบรรจุภัณฑ์แบบ อ่อนตัว และเทคโนโลยีอื่นๆ อีกมากมาย งานประชุมดังกล่าวนี้ ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี โดยมีผู้ที่อยู่ในแวดวงการพิมพ์และ บรรจุภัณฑ์เข้าร่วมงานอย่างล้นหลาม
งานประชุมดังกล่าว ได้รับเกียรติจาก คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย เข้ากล่าวเปิดงานและให้ข้อมูล เกี่ยวกับภาพรวมของอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย โดยได้กล่าวว่า ประเทศไทยเป็นที่ตั้งของบริษัทด้านการพิมพ์ บรรจุภัณฑ์ และ อุตสาหกรรมกระดาษ กว่า 5,800 บริษัท ซึ่งมีบริษัทเฉพาะ ด้านการพิมพ์อย่างเดียวกว่า 3,500 บริษัท และมีการจ้างงาน กว่า 150,000 คน มูลค่าอุตสาหกรรมการพิมพ์ในประเทศ ปัจจุบันมีมูลค่าสูงกว่า 3.7 พันล้านเหรียญสหรัฐ ขณะที่ อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์กระดาษเพียงอย่างเดียวสร้างมูลค่า สูงถึง 5.7 พันล้านเหรียญสหรัฐ และยังมีแนวโน้มเติบโตขึ้น อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากนักลงทุนยังให้ความสนใจประเทศไทย ในฐานะศูนย์กลางการผลิตที่รายล้อมด้วยประชาคมอาเซียน ที่มีจ�ำนวนผู้บริโภคสูงกว่า 660 ล้านคน
อุตสาหกรรมการพิมพ์ของไทย มีความจ�ำเป็นที ่ จะต้องปรับตัว เข้าสู่ภูมิทัศน์ใหม่ของการแข่งขัน ปรับปรุงรูปแบบของธุรกิจใหม่ และหาหนทางใหม่ๆ เพื ่ อสร้าง มูลค่าเพิ ่ ม เพื ่ อเป็นการเพิ ่ ม ศักยภาพในการเตรียมตัวของ อุตสาหกรรมการพิมพ์ของ ประเทศให้พร้อมส�ำหรับอนาคต และชิงความได้เปรียบให้กับ บริษัทไทยเพื ่ อฉกฉวยโอกาส ในตลาดโลก
คาดว่าความต้องการของการพิมพ์บนบรรจุภัณฑ์ของไทยจะ เพิ่มขึ้นทั้งตลาดในประเทศ และตลาดส่งออกในผลิตภัณฑ์ทุก ประเภท โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารแปรรูป ยาและเครื่องส�ำอาง และอีคอมเมิร์ซ ที่จะยังคงมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นไปอีก ในปีหน้า อุตสาหกรรมการพิมพ์บนบรรจุภัณฑ์น่าจะมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น ถึง 10-20 เปอร์เซ็นต์ จากการบริโภคภายในประเทศที่เพิ่มขึ้น อันเนื่องมาจากการผลักดันของธุรกิจอีคอมเมิร์ซและภาคส่วน อาหารและเครื่องดื่ม ดังนั้นภาคธุรกิจการพิมพ์จ�ำเป็นที่จะต้อง เพิ่มศักยภาพและความช�ำนาญในการผลิต ส�ำหรับงานพิมพ์ คุณภาพสูง การพิมพ์ภาพสีคุณภาพสูง หรือ high-fidelity printing การพิมพ์แบบไฮบริด ขบวนการผลิตอัตโนมัติ และปรับเปลี่ยน เป็นโรงงานอัจฉริยะ หรือ smart factory ตลอดจนบรรจุภัณฑ์ที่ สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความต้องการของลูกค้า ด้วยการพิมพ์ ระบบดิจิทัลที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและราคาไม่แพง ส�ำหรับอุตสาหกรรมการพิมพ์ของไทย มีความจ�ำเป็นที่จะต้อง ปรับตัวเข้าสู่ภูมิทัศน์ใหม่ของการแข่งขัน ปรับปรุงรูปแบบของ ธุรกิจใหม่ และหาหนทางใหม่ๆ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม เพื่อเป็นการ เพิ่มศักยภาพในการเตรียมตัวของอุตสาหกรรมการพิมพ์ของ ประเทศให้พร้อมส�ำหรับอนาคต และชิงความได้เปรียบให้กับ บริษัทไทยเพื่อฉกฉวยโอกาสในตลาดโลก งานแสดงสินค้าที่ มีชื่อเสียงและเป็นที่ยอมรับในระดับโลก อย่างเช่นงานดรูป้า จะแสดงให้เห็นถึงสมรรถนะอันน่าทึ่งของเทคโนโลยีและการ พิมพ์แห่งอนาคต ตลอดจนแนวโน้มและทิศทางใหม่ๆ ในอนาคต ในขณะเดียวกันก็จะเป็นสถานที่เพื่อให้ภาคอุตสาหกรรมได้มี โอกาสทดสอบประเด็นต่างๆกับความต้องการในปัจจุบัน และ ท�ำความเข้าใจทิศทางและแนวโน้มที่ก�ำลังเกิดขึ้นในภาคการผลิต และการตลาดของผลิตภัณฑ์รูปแบบต่างๆ ในปัจจุบันเพิ่มเติม ทั้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงและที่เกี่ยวเนื่องกัน