Thai Dance History

Page 1

ประวัติศาสตร์นาฏกรรมไทย


อาจารย์ ดร. ธรรมจักร พรหมพ้วย

สาขาว ิชานาฏกรรมไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาว ิทยาลัยรามคาแหง

thummachuk.p@rumail.ru.ac.th

2


นาฏศิลป์

โขน

นาฏยศิลป์

รา

นาฏกรรม

ละคร

ระบา 3


นาฏกรรมเป็นศิลปะผสม (Mixed Arts) ○ ทัศนศิลป์ (Visual Arts) ○ จิตรกรรม (Painting) ○ ประติมากรรม (Sculpture) ○ ดุริยางคศิลป์ (Music) ○ จลนศิลป์ (Kinetic Art)*** ○ งานออกแบบ (Design)


มหรสพ

ละคร โขน หนัง หุ่น การละเล่น

ละครรา – ละครนอก ละครใน ละครพั นทาง ละครดึกดาบรรพ์ ละครพู ด ละครพู ดสลับลา ละครสังคีต

ละครร้อง ละครปรีดาลัย โขนกลางแปลง โขนโรงนอก โขนหน้าจอ โขนโรงใน โขนฉาก โขนพระราชทาน หนังใหญ่

หนังตะลุง หนังประโมทัย

หุ่นหลวง (หุ่นใหญ่) หุ่นกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ (หุ่นวังหน้า) หุ่นจีน หุ่นไหหลา หุ่นกระบอก หุ่นเล็ก ละครเล็ก (หุ่นละครเล็ก หุ่นโจหลุยส์) ระเบง โมงครุ่ม กุลาตีไม้ แทงวิไสย กระอัว้ แทงควาย ญวนราโคม

ไม้สูง หกคะเมน เดินแพน ไต่ลวด


การกาหนดยุคสมัยในประวัตศ ิ าสตร์นาฏกรรม ✢

แบ่งตามยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

แบ่งไปตามรัชกาลของกษัตริย์

○ ○ ○

ก่อนประวัติศาสตร์ / บ้านเชียง ภาพเขียนสี สมัยประวัติศาสตร์ / ลพบุรี ทวาราวดี ศรีวิชัย เชียงแสน สุโขทัย อยุธยา ธนบุรี รัตนโกสินทร์ เพราะส่วนหนึ่งเป็นเรื่องราชสานัก เพราะศิลปะในยุคคลาสสิก ต้องอาศัยระบบอุปถัมภ์ หลวง / ราษฎร์

6


หลวง

ใน

เจ้า

ราษฎร์

นอก

ไพร่

วัฒนธรรมในนาฏกรรมไทย


ชาวสยามมีการขับร้อง ฟ้อนรา ดนตรี อยู่แล้วหรือไม่ ?

ร้อง รา ทาเพลง

8


กระบวนราและสามัญลักษณะในนาฏกรรมไทย ✢ ✢

✢ ✢ ✢

✢ ✢

เพลงช้าเพลงเร็ว / ราเพลง แม่บท พระ นาง แม่ท่า ยักษ์ ลิง หน้าพาทย์พ้ื นฐาน / เชิด เสมอ รัว โอด หน้าพาทย์ชน ั้ สูง ราอาวุธ / ราทวน รากริช ราง้าว ไม้รบ ไม้บู๊ ราบท / ใช้บท ตีบท ○ การราบทเป็นปฏิภาณมากกว่าเป็นการ สืบกระบวนท่า กระบวนราเฉพาะโขนละครตอนต่างๆ

วง

เหลี่ยม

ยืด

ยุบ


ประวัติศาสตร์นาฏรรมไทย ✢ ✢ ✢ ✢ ✢

ก่อนสยาม ก่อนไทย อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมจีน อารยธรรมขอม อาณาจักรน่านเจ้า ? การก่อรูปในรัฐสยาม

✢ ✢ ✢ ✢ ✢

✢ ✢

ลพบุรี ทวารวดี ศรีวิชัย สุโขทัย อยุธยา ธนบุรี รัตนโกสินทร์


มนุษย์กบ


กลองกบ กลองมโหระทึก

กระทัง ่ ความอุดมสมบูรณ์


13


14


15


นาฏกรรมไทยเกิดขึ้นใน

จริงหรือ?

ระบานกยูง ระบาหมวก

16


NANZHAO KINGDOM DALI KINGDOM 17


18


19


ก่อนอินเดีย หลังอินเดีย 20


ภรตนาฏยศาสตร์ Bharata Natyashastra ศิวนาฏราช ตานานมะเดื่ออุทุมพร พระศิวะเสด็จลงสรง สนานที่ริมน้าที่มีผล มะเดื่อร่วงลงน้าเป็น จังหวะ น้าในมหาสาคร เสา คือต้นมะเดื่อ ตุ้ม คือลูกมะเดื่อสุก ที่ร่วงในมหาสาคร เครื่องดับอัปมงคล

ปณวะ (ป.) กลองฑมรุ (Damaru) (ส.) ปงปัง (ไทย) บัณเฑาะว์ - ไกว


ทศกัณฐ์โยกเขาไกรลาส ปราสาทบันทายศรี พระเจ้าชัยวรมันที่ ๕ พ.ศ. ๑๕๑๐ - ๑๕๕๐


Hall of Dancer ปราสาทพระขรรค์ พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗


24


โนรา


26

โนรา จิตรกรรมสมัยรัชกาลที่ ๔ วัดบวรนิเวศวิหาร


ละครชาตรี (ภาพถ่ายใน ร.๔)

27


ละครชาตรี

ละครแก้บน

28


ประวัติศาสตร์ ๘ สมัยของไทย ๑. สมัยทวาราวดี พ.ศ.๑๑๐๐-๑๖๐๐ (6th - 11th Centuries A.D.) ๒. สมัยศรีวิชัย พ.ศ.๑๓๐๐-๑๘๐๐ (8th - 13th Centuries A.D.) ๓. สมัยลพบุรี พ.ศ.๑๖๐๐-๑๙๐๐ (11th - 14th Centuries A.D.) ๔. สมัยเชียงแสน พ.ศ.๑๗๐๐-๒๐๐๐ (12th - 20th Centuries A.D.) ๕. สมัยสุโขทัย พ.ศ.๑๘๐๐-๒๐๐๐ (13th - 15th Centuries A.D.) ๖. สมัยอยุธยา พ.ศ.๑๘๙๓-๒๓๑๐ (1350 A.D. - 1767 A.D.) ๗. สมัยธนบุรี พ.ศ.๒๓๑๐-๒๓๒๕ (1767 A.D. - 1782 A.D.) ๘. สมัยรัตนโกสินทร์ พ.ศ.๒๓๒๕- (1782 A.D. - )


ระวัง ✢

แนวคิดกระบวนการสร้างระบาโบราณคดี สร้างจาลองจากท่าในหลักฐานทางโบราณคดีจริงๆ แล้วคิดท่าเชื่อม เติมท่า ให้เต็มตามทานองเพลง ใช้ลีลาท่าราตามสาเนียงของเพลง ได้ตัวอย่างจาก การออกตัวสิบสองภาษา ใช้มือตาม “มุทรา” หรือลักษณะมือที่ปรากฏในหลักฐาน สร้างทานองเพลงตามกลุ่มเชื้อชาติ ลพบุรีใช้เพลงสาเนียงและหน้าทับขอม ทวาราวดีใช้หน้าทับมอญ ศรีวิชัยใช้หน้าทับแขก อนุมานเครื่องดนตรีตามหลักฐานที่ปรากฏ สร้างเครื่องแต่งกายตามหลักฐาน เลือกสีใหม่ตามวัสดุที่มีในเวลานัน ้ ใช้วิธี ตัดเย็บแทนการนุ่งห่ม


สมัยลพบุร ี

( ขอมในประเทศไทย)

31


ภาพจาหลักศิวนาฏราช ปราสาทศิขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์


รูปหล่อสาริด ศิลปะลพบุรี


ซอสามสาย พิ ณน้าเต้า กระจับปี่ ปี่ ใน โทน ๒ ลูก ฉิ่ง ฉาบ และกรับคู่


ระบาลพบุรี


สมัยทวารวดี

36


ยักษ์วัดพระงาม จังหวัดนครปฐม


ท่าลลิตะ


ระบาทวารวดี


ภาพปูนปั้น พบที่คูบัว จังหวัดราชบุรี


สมัยศรวี ิชัย

41


42


พ.ศ. 2509 ตนกู อับดุล รามานห์ อดีตนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ได้แต่งเรื่อง Raja Bersiyong ซึ่งเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ อาณาจักรศรีวิชัย และได้เชิญคณะนาฏศิลป์ไทย ไปแสดง ประกอบภาพยนตร์เรื่องนี้ กรมศิลปากรได้จัดการแสดง 2 ชุด คือ ราชัดชาตรี และระบาศรีวิชัย ครูมนตรี ตราโมท ได้รับมอบหมายให้ประพั นธ์ทานองเพลง แต่ทาไม่ทันจึงนาทานองเพลงระบาไกรลาสสาเริงที่ทาไว้แล้ว (สาหรับละครเรื่องมโนห์รา พ.ศ.๒๔๙๘) ให้ครูลมุลประดิษฐ์ท่า ราสาหรับการถ่ายทาภาพยนตร์ก่อน https://youtu.be/dEvjR0Mxk8g


ระบาศรีวิชัย


นาฏกรรมสุโขทัย

45


ศิลาจารึกหลักที่ ๑ สมัยพ่ อขุนรามคาแหงมหาราช


47



ระบาสุโขทัย “...มีอยู่เพลงหนึ่งที่ยง ั สงสัยกันว่าจะเป็นเพลงสมัยสุโขทัย เพลงนัน ้ เป็นเพลง พื้ นเมืองที่เราเรียกว่า เทพทอง เทพทอง เป็นการแสดงพื้ นเมืองแบบเดียวกัน กับเพลงฉ่อย แต่ว่าถ้อยคาที่เขาเล่นเพลงพื้ นเมืองเทพทองนีห ้ ยาบโลนยิ่งกว่า อะไรทัง ้ นัน ้ …เพลงเทพทองนีเ้ มื่อได้วิวัฒนาการมาเป็นเพลงละคร มีปพาทย์ ี่ รับขึ้น ได้เรียกกันอีกอย่างหนึ่งว่าเพลงสุโขทัย บางท่านก็เรียกเพลงสุโขทัย บางท่าน ก็เรียกว่าเพลงเทพทอง…” มนตรี ตราโมท


นาฏกรรมอยุธยา

50


นาฏกรรมอยุธยา ✢

เป็นเครื่องเล่นบันเทิงธรณี

ใช้ในพระราชพิ ธี ○ พระราชพิธี ๑๒ เดือน ○ พระราชพิธีจร เช่น กลบบัตรสุมเพลิง (พลีวัง) สมโภชช้างเผือก ○ พระราชพิธีพิเศษ เช่น พระราชพิธีอินทราภิเษก พระราชพิธีเบญจาเพศ

ใช้เป็นมหรสพสมโภชในงานของหลวง ○ ฉลองพระอาราม สมโภชในงานพระเมรุ

กฎมณเทิยรบาล (พ.ศ.๑๙๐๑) 51


พระไอยการตาแหน่งนาพลเรือน พ.ศ.๑๙๙๘ ตาแหน่งละครและดนตรีคู่กัน มีข้อห้ามเรื่องการดนตรี เช่น สีซอเป่าขลุ่ยเมื่อผ่านเขตพระราชฐาน การเล่นเสภา - เล่านิทาน

52


เสียกรุงศรอยุ ี ธยา ✢

เสียกรุง ครัง ้ ที่ ๑ พ.ศ.๒๑๑๒

เสียกรุง ครัง ้ ที่ ๒ พ.ศ.๒๓๑๐

○ ○ ○ ○

รัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ สมเด็จพระนเรศวรทรงประกาศอิสรภาพ รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสุริยามรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศน์) ตัง ้ กรุงธนบุรี

53


การรับเอาอิทธิพลวัฒนธรรมขอม ✢

✢ ✢

สมัยสมเด็จเจ้าสามพระยา สมัยพระเจ้าปราสาททอง ฯลฯ

54


จดหมายเหตุลาลูแบร์ รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ✢

Du Royaume de Siam 1687 พ.ศ.๒๒๓๐ โดยซีมง เดอ ลา ลูแบร์ อัครราชทูตของ พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ แห่งฝรัง ่ เศส ซึ่งเข้ามาจาทูลพระราชสาส์น ณ กรุงสยาม ได้เห็น โขน ละคร ระบา เพลง ดนตรี ของชาวสยาม

55


สาย สมร เอย

เลี้ยว ประคอง สร เสื้อ

ขอแนบ เนื้อ ฉอ้อน

ข่วน เดี๋ยว เหนื่อย

เพลง นี้ ขอ เจ้า

เพลง ระบา หรือ ไฉน เจ้า ไถ่

เพลง นี้ ขอ เจ้า

เพลง สาว น้อย

เผย หวัง แล เชย ข้อง ของ

นาง ช่าง เฉลียว ระ เดิร เอย


รัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา พ.ศ.๒๒๓๑-๒๒๔๖ ✢ ✢ ✢

ต้นราชวงศ์บ้านพลูหลวง (จากเมืองสุพรรณบุรี) เริ่มเสด็จไปสมโภชพระพุ ทธบาท เมืองสระบุรี มีราพั ดชา ราพระแสงของ้าวถวายเป็นพุ ทธบูชา เป็นธรรมเนียมสาหรับกษัตริย์สืบมาจนถึงรัชกาลที่ ๕ กรุงรัตนโกสินทร์

57


พระเมรุมาศสมเด็จพระเพทราชา พ.ศ.๒๒๔๗



รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พ.ศ.๒๒๗๕-๒๓๐๑ ✢

✢ ✢ ✢

ยุคทองแห่งศิลปวัฒนธรรม ฉลองวัดหันตรา ฉลองช้างเผือกจากเขมร บุณโณวาทคาฉันท์ ของพระมหานาค วัดท่าทราย อิเหนา ของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ ○ อิเหนาใหญ่ ของเจ้าฟ้ากุณฑล (มาเป็น ดาหลัง ในรัชกาลที่ ๑) ○ อิเหนาเล็ก ของเจ้าฟ้ามงกุฎ (มาเป็น อิเหนา ในรัชกาลที่ ๒)

60


จิตรกรรมวัดเกาะ จังหวัดเพชรบุรี ศิลปะอยุธยา พ.ศ. ๒๒๗๗



กินนรรา




66


นาฏกรรมธนบุร ี

67


นาฏกรรมธนบุร ี รัชสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุร ี ✢

✢ ✢

สมเด็จพระเจ้าตากสิน พ.ศ.๒๓๑๐-๒๓๒๕ โขนละครส่วนใหญ่ถูกกวาดไปเป็นเชลยที่พม่า ยังเหลือละครตามหัวเมืองใหญ่ เช่น นครศรีธรรมราช พิ มาย ตาก (นายชู นายเกดละคร ถวายผ้าซับพระบาท) เจ้าฟ้าพิ นทวดี ในพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ยังทรงพระชนม์ วางแบบแผนราชสานัก รวมทัง ้ ละครหลวง

68


ละครผู้หญิงของพระเจ้าศรีธรรมโศกราช เจ้าประเทศราช (เจ้าพระยานคร หนู เจ้าเมืองนครศรีธรรมราช) “ให้ฝึกละครผู้หญิงเป็นเครื่องประดับ”


70


โปรดให้ชาระบทละครนอก การเกษ คาวี ไชยทัต พิ กุลทอง พิ มพ์ สวรรค์ พิ ณสุริยวงศ์ มโนห์รา โม่งป่า มณีพิชัย สังข์ทอง สังข์ศิลป์ชัย สุวรรณศิลป์ สุวรรณหงส์ โสวัต ไกรทอง ไชยเชษฐ์ พระรถ ศิลป์สุริวงศ์ ได้ “จัน” นางเอกละครหลวงกรุงเก่ามาเป็นครู

พระราชนิพนธ์สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี • • • • • • • •

สาหรับละครหลวง เล่นเรื่องรามเกียรติ์ หนุมานเข้าห้องนางวานรินทร์ วิรุญจาบังล้ม ท้าวมาลีวราชว่าความ ทศกัณฐ์ตง ั้ พิ ธีเผารูปเทวดา พุ ่ งหอกกบิลพั สดุ์ หนุมานผูกผมทศกัณฐ์กับนางมณโฑ ปล่อยม้าอุปการ (บุตรลพ)

71


สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตรย์ิ ศึก (ทองด้วง) ปราบดาภิเษก แล้วย้ายราชธานี

พ.ศ.๒๓๒๕

72


นาฏกรรมรัตนโกสินทร์

73


รัชกาลที่ ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พ.ศ.๒๓๒๕-๒๓๕๒



แม่บท

กรุงรัตนโกสินทร์ ✢ ✢

✢ ✢ ✢

กลอนตารารา กรุงศรีอยุธยา สมุดภาพพระตารารา รัชกาลที่ ๑ (วังหลวง วังหน้า) จิตรกรรมลายเส้น รัชกาลที่ ๓ จิตรกรรมลายเส้น รัชกาลที่ ๖ พ.ศ.๒๔๖๖ ภาพถ่าย รัชกาลที่ ๖ พ.ศ.๒๔๖๖ กระบวนรา “แม่บทใหญ่” ปลายรัชกาลที่ ๗ พ.ศ.๒๔๗๘



78


นาฏกรรมรัชกาลที่ ๑ ✢

บ้านเมืองยังติดการพระราชสงคราม

สมโภชปืนใหญ่นารายณ์สังการ มีโขนข้าหลวงเดิม เล่นกลางแปลง ที่สนามโรงละครหลังวัดพระแก้ว

สมโภชพระนคร มีละครผู้หญิง

สมโภชถวายพระเพลิงพระบรมอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก มีโขนชักรอกโรงใหญ่ ทัง ้ วังหลวง วังหน้า แล้วเล่นกลางแปลง ลากปืนบาเหรี่ยมมายิงกัน

สมโภชวัดพระแก้ว สมโภชวัดโพธิ์ (ทาเครื่องโขนใหม่ทง ั้ หมด)

โสกันต์เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี

ฉลองพระศรีศากยมุนี ที่จะเชิญไปวัดสุทัศน์เทพวราราม 79


พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ✢

✢ ✢ ✢

รามเกียรติ์ ๑๑๖ เล่มสมุดไทย อุณรุท ๑๘ เล่มสมุดไทย ดาหลัง ๓๒ เล่มสมุดไทย อิเหนา ๓๘ เล่มสมุดไทย

80


81


มหรสพสมโภช



ราเสนงในพระราชพิ ธต ี รีปวาย

นาฏกรรมในพระราชพิ ธี




บุคคลสาคัญ ✢

สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงเทพหริรักษ์

สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิ ทักษ์มนตรี

นายทองอยู่ พระ

นายรุ่ง นาง

นายบุญยัง พระ - วัดละครทา

นายบุญมี นาง

✢ ละครหลวงจากกรุงธนบุรี ○ เจ้าจอมบุนนากสีดา ○ เจ้าจอมภู่ สีดา ○ เจ้าคุณจอมมารดาศรี สีดา (เจ้าคุณพี ) ✢ ละครหลวงในรัชกาลที่ ๑ ○ เจ้าจอมมารดาอิ่ม อิเหนา ○ เจ้าจอมมารดาป้อม สีดา ○ เจ้าจอมมารดาอัมพา กัญจะหนา ○ เจ้าจอมมารดาลูกจันทน์เล็ก ○ ฯลฯ

87


รัชกาลที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พ.ศ.๒๓๕๒-๒๓๖๗


ยุคทองแห่งศิลปวัฒนธรรมกรุงโกสินทร์

89


พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ✢

ละครใน ○ รามเกียรติ์ แก้ไขของรัชกาลที่ ๑ ○ อิเหนา ทรงพระราชนิพนธ์ใหม่ทัง ้ เรื่อง

ละครนอก (แบบหลวง) ○ สังข์ทอง ○ ไกรทอง ○ คาวี ○ ไชยเชษฐ์ ○ มณีพิชัย ○ สังข์ศิลป์ชัย (ร.๓ ทรง)

90


อิเหนา


หนังพระนครไหว


นาฏกรรมรัชกาลที่ ๒ ✢ ✢ ✢ ✢ ✢

การกาหนดแบบแผนกระบวนราละครหลวง การสร้างบทละครใน ละครนอกแบบหลวง งานพระเมรุพระบาทสมเด็จพระพุ ทธยอดฟ้าฯ สมโภชวัดอรุณฯ วัดราชโอรสฯ ฉลองพระพุ ทธบุษยรัตน์ฯ (พระแก้วขาว) สมโภชช้างเผือก 93


พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ✢

ละครใน ○ รามเกียรติ์ แก้ไขของรัชกาลที่ ๑ ○ อิเหนา ทรงพระราชนิพนธ์ใหม่ทัง ้ เรื่อง

ละครนอก (แบบหลวง) ○ สังข์ทอง ○ ไกรทอง ○ คาวี ○ ไชยเชษฐ์ ○ มณีพิชัย ○ สังข์ศิลป์ชัย (ร.๓ ทรง)

สถานที่สาคัญ ✢

โรงละครต้นสน

โรงละครหลังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม

สวนขวา

94


ราฝรัง ่ คู่


รัชกาลที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ.๒๓๖๗-๒๓๙๔


ในราชสานัก

นอกราชสานัก

ทรงเอาพระทัยใส่เรื่อง ศาสนาและการค้ามากกว่า นาฏกรรม

รูปแบบนาฏกรรมของหลวงกระจายตัว สู่วังนอกและบ้านขุนนาง

ละครหลวง ในรัชกาลที่ ๑ และ ๒ ยังคงอยู่ในราชสานัก

เจ้าประเทศราช เจ้านายและ เสนาบดี มีละครตามเกียรติยศได้

นาฏกรรมสาหรับ พระราชพิธี ยังคงดาเนินไป ตามปกติ

ความบันเทิงและมหรสพ ของราษฎรมีมากขึ้น โดยเฉพาะ วัดที่สร้างขึ้นในรัชกาล

มิทรงหวงห้ามให้ผู้อื่นมีละคร แต่ ก็มิได้ทรงสนับสนุน

รายได้จากโรงบ่อนและโรงหวย ทาให้มีจานวนมหรสพเพิ่มมากขึ้น




100


บุคคลสาคัญ • วังหน้า

• เสนาบดี

• วังนอก

• ขุนนาง (ไทย, จีน)

• เจ้าประเทศราช

• แต่งบทละคร

• บอกบทละคร

เจ้านาย

ขุนนาง

กวี

ละคร อาชีพ • ครูทองอยู่ • นายบุญยัง • เจ้ากรับ


การกระจายตัวของแหล่งนาฏกรรมในพระนคร

102


โรงบ่อน


แอ่วลาว เป่าแคน (หมอลา)

มะโย่ง


แอ่วลาว เป่าแคน ลาวแพน ฟ้อนแพน

105


รัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระสยามเทวมหามกุฏววิทยมหาราช พ.ศ.๒๓๙๔-๒๔๑๑


นาฏกรรมรัชกาลที่ ๔ ✢ ✢ ✢ ✢ ✢

ละครหลวงรัชกาลที่ ๔ ประกาศว่าด้วยละครผู้หญิง พ.ศ.๒๓๙๔ ภาษีโขนละคร พ.ศ.๒๔๐๒ ประกาศมิให้เล่นแอ่วลาว พ.ศ.๒๔๐๘ ทรงสร้างพระราชวังสาหรับเสด็จประพาส พระราชวัง สราญรมย์ สระปทุมวัน พระนครคีรี นครปฐม พระนารายณ์ราชนิเวศน์ ลพบุรี พระราชวังจันทรเกษม อยุธยา จาอวดสวดศพ ละครเสภา ละครชาตรี ละครชาตรีของ หลวง (พระองคเจ้าปัทมราช) ละครผสมสามัคคี (เจ้าคุณมหินทรฯ)

107


108


พระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ✢ ✢ ✢

รามเกียรติ์ ○ พระรามเดินดง อิเหนา ○ อุณากรรณ ยุขัน

บทเบิกโรง นารายณ์ปราบบนนทุก

บทเบิกโรง พระรามเข้าสวนพิ ราพ

บทเบิกโรง ต้นไม้ทองเงิน

บทราโคม

บทโมงครุ่ม

บทกุลาตีไม้

109


ละครมีชื่อในรัชกาลที่ ๔ • • • • •

ละครผู้หญิงของหลวง ละครกรมหมื่นมเหศวรศิววิลาศ ละครพระองค์เจ้าดวงประภา (พระองค์ตุ้ย วังหน้า) ละครเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ ละครชาตรีของหลวง (พระองค์เจ้าปัทมราช)

110

ละครกุมปนี

ละครเจ้าจอมมารดาจัน ในรัชกาลที่ ๔

ละครพระยาสีหราชฤทธิไกร (เสือ)

ละครขุนยี่สาน วังหน้า

ละครจางวางเผือก

ละครนายนวล (บุตรเจ้ากรับ)

ละครนายเนตร นายต่าย

ละครนายทับ ล่าสา

ละครชาตรีนายหนู

ละครตาเสือ เล่นมะโย่ง ดาหลัง


ละครนอก เรื่อง สุวรรณหงส์ จิตรกรรมพระทีน ่ ัง ่ ทรงผนวช (เขียนในรัชกาลที่ ๕)



ละครชาวบ้าน ละครเจ้ากรับ

113


114


115


116


รัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ.๒๔๑๑-๒๔๕๓


การเล่นแต่งแฟนซี ตามอย่างความนิยมในโลกตะวันตก


นาฏกรรมรัชกาลที่ ๕ ✢

สมโภชช้างเผือก

บทจับระบาตลก

ฉลองพระนคร ๑๐๐ ปี

เสด็จนิวัติ พ.ศ.๒๔๔๐ อิเหนา รุ่นใหญ่

ละครหลวงรุ่นเล็ก

✢ ละครพระยาราชสุภาวดี (เจ้าคุณมหินทรฯ) ✢ ละครพระยาพิ ชัยสงคราม (อ่า) ✢ ละครสมัคร (ละครพู ด)

✢ ละครพระองค์เจ้าสิงหนาทดุรงคฤทธิ์ ✢ ละครเจ้าคุณจอมมารดาเอม ✢ ละครเจ้าพระยานรรัตนรามานิต (โต) ละครกลาย

✢ ละครเจ้าคุณจอมมารดาแพ บุนนาค ✢ ละครกรมหมื่นนราธิปประพั นธ์พงศ์ ✢ ละครหม่อมเจ้าเต่า ในกรมพระเทเวศร์วัชรินทร์



121


โรงโขน

122


ท้าววรจันทร์ (เจ้าจอมมารดาวาด รัชกาลที่ ๕) แมว อิเหนา ละครหลวงในรัชกาลที่ ๔

123


คุณหญิงนัฏกานุรักษ์ (เทศ สุวรรณภารต)

พระยานัฏกานุรก ั ษ์ (ทองดี สุวรรณภารต)


ละครคนแก่

125


ละครดึกดาบรรพ์

126


ละครกรมพระนราฯ (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพั นธ์พงศ์ )


128

ละครนอก เรื่อง สังข์ทอง ละครบรรดาศักดิ์ เล่นรับเสด็จ เสด็จนิวัติพระนคร พ.ศ. ๒๔๔๐


ละครเจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธารง (เพ็ ง เพ็ ญกุล)


Siamese Theatre Prince Theatre

130


ลิเกทรงเครื่อง

131


ละครไทยไปยุโรป


ละครบุศย์มหินทร์ พ.ศ. ๒๔๔๓

133


รัชกาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ.๒๔๕๓-๒๔๖๘


อิทธิพลการแสดงละครตะวันตก

135


โขนสมัคร / โขนสมเด็จพระบรมฯ โขนบรรดาศักดิ์


ละครรา เรื่อง ศกุนตลา


โรงละครสวนมิสกวัน


ละครพู ดคากลอน เรื่อง พระร่วง ทรงแสดงเป็น นายมัน ่ ปืนยาว


ท้าวศรีสุนทรนาฏ (แก้ว พนมวัน) ครูละครหลวงในรัชกาลที่ ๖


การบันทึกท่ารา ณ วังวรดิศ พ.ศ. ๒๔๖๘


142


ละครเจ้าคุณพระประยุรวงศ์ (แพ บุนนาค)


รัชกาลที่ ๗ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ.๒๔๖๘-๒๔๗๘


ครูเจริญใจ สุนทรวาทิน ละครหลวง รัชกาลที่ ๗

เจ้าพระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (ม.ร.ว.เย็น อิศรเสนา) 145


มหรสพสมโภชพระเศวตคชเดชน์ดิลก


โขนหลวงในรัชกาลที่ ๗ ชุด พรหมาสตร์ ณ โรงโขน สวนมิสกวัน


นาฏกรรมตอบสนอง การท่องเที่ยว

148


149


ระบาสี่บท ณ สวนโรมัน โฮเต็ลพญาไท (พระราชวังพญาไท)


เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ สละราชสมบัติ พ.ศ. ๒๔๗๘

151


รัชกาลที่ ๘ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐรามาธิบดินทร์ พ.ศ.๒๔๗๘-๒๔๘๙


การก่อตัง ้ โรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร์ (โรงเรียนศิลปากร, โรงเรียนนาฏศิลป, วิทยาลัยนาฏศิลป)


การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม ยุคจอมพล ป. พิบูลสงคราม ✢ ✢ ✢ ✢

ห้ามเล่นเครื่องดนตรีบางชนิด ราวง บัตรประจาตัวศิลปิน การตรวจบทละคร


รัชกาลที่ ๙ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พ.ศ.๒๔๘๙-๒๕๕๙


ทรงเป็นอัครศิลปิน ทรงเชี่ยวชาญศิลปะในหลายด้าน ทรงผูกพั นกับงานนาฏกรรม


ทรงสนับสนุนพระราชโอรส พระราชธิดา ในกิจกรรมด้านดนตรี นาฏศิลป์


การแสดงบัลเล่ต์ ชุด มโนห์รา และพระราชนิพนธ์เพลงกินรีสวีท และทรงออกแบบและจัดสร้างฉากการแสดง


ทรงใช้นาฏกรรมในทางการทูต การรับรองพระราชอาคันตุกะ ศิลปะประจาชาติ


เสด็จพระราชดาเนินยังโรงละคร พระที่นัง ่ อัมพรสถาน ทรงเป็นประธานในพิ ธต ี อ ่ ท่าราเพลงองค์พระพิ ราพ เต็มองค์ พ.ศ. ๒๕๑๖


พระราชทานด้ายมงคลและพระราชทานครอบนายรงภักดี (เจียร จารุจรณ) โขนหลวงในรัชกาลที่ ๖


162


การบันทึกท่า ราพระแสงบนคอช้าง

ทอดพระเนตรการราโนรา โดยขุนอุปถัมภ์นรากร (พุ ่ ม เทวา)


โรงละคอนศิลปากร

164


โรงโขนกรมศิลปากร



สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงใช้นาฏกรรมเพื่ อสานสัมพั นธ์ ทางการทูตและกับประชาชน

167


รัชกาลที่ ๑๐ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ.๒๕๕๙-ปัจจุบัน


169


Any question? 170


ขอขอบใจ 171


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.