ประณีตศิลปไทย ชาติไทย เปนชาติที่มีศิลปะวัฒนธรรม และประวัติความเปนมาที่ยาวนาน ประเทศหนึ่งใน ภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต$ โดยปรากฎหลักฐาน โบราณสถาน โบราณวัตถุ ที่เปนงานประณีต ศิลป.จํานวนมาก ที่ผ2านการคิดค$น สร$างสรรค3 ประดิษฐ3 ขึ้นมาด$วยความเพียรพยายาม ประณีต วิจิตร บรรจง สืบต2อกันมาเปนเวลานานหลายร$อยป9 หรืออาจถึงพันป9 งานที่จัดว2าเปนประณีตศิลป. ของไทย ที่มีลักษณะเฉพาะตัว ได$แก2งานศิลปะดังต2อไปนี้
1. เครื่องเงิน หมายถึง เครื่องเงินชนิดที่ทําเปนเครื่องรูปพรรณ เครื่องถม และเครื่องลงยา สีที่ทําในประเทศไทย ทําด$วยโลหะเงินมาตรฐาน ให$มีโลหะอื่นๆ เจือปนได$ไม2เกิน ร$อยละ 7.5 ของ น้ําหนัก ส2วนประกอบของเครื่องเงินไทย ต$องแข็งแรง ทนทาน มีลวดลายที่ชัดเจน เรียบร$อย ในประเทศไทยมีหลักฐานของการใช$โลหะเงินมาตั้งแต2 ก2อนยุคทวาราวดี เรื่อยมาจนถึง ป?จจุบัน ในแต2ละท$องถิ่น ภาคใต$ ภาคกลาง และภาคเหนือ โดยเฉพาะ เครื่องเงินของล$านนา นับว2ามีชื่อเสียงมาก กระบวนการผลิตเครื่องเงิน มีขั้นตอนสําคัญ 3 ขั้นตอน คือ 1. การหลอม เปนขั้นตอนแรกในการผลิต เปนการเตรียมวัตถุดิบ เพื่อใช$ทํางานขั้นต2อไป 2. การขึ้นรูป เปนการเตรียมภาชนะให$เปนรูปแบบตามต$องการ โดยทั่วไป มี 6 แบบ คือ การขึ้นรูปด$วยค$อน การตัดต2อด$วยการหล2อ ด$วยการชักลวด ด$วยการสาน และด$วยการบุ 3. การตกแต2งเครื่องเงิน เปนการทํางานขั้นสุดท$าย เพื่อให$เกิดความสวยงาม วิธีการ ตกแต2งเครื่องเงินโดยทั่วไป มี 7 ลักษณะ คือ การสลักดุน การเพลา การแกะลายเบา การถมยาดํา การถมยาทอง หรือตะทอง การลงยาสี และการประดับหรือฝ?งอัญมณี ลวดลายที่ปรากฎอยู2ในเครื่องเงินไทย มักเปนลวดลายธรรมชาติ รูปเทวดา รูปสัตว3หิม พานต3 รูปตัวละครในวรรณคดี รูปสัตว3 12 ราศี และลวดลายไทย
2. เครื่องทอง เปนสินแร2ที่มีราคา และมนุษย3นิยมนํามาใช$เปนวัตถุในการแลกเปลี่ยน ความสําคัญของทองเกิดจากการที่มีค2าสูงไม2เปลี่ยนแปลงไปตามป?จจัยต2างๆ มากนัก มีคตวาม สวยงาม มีสีเหลืองสว2างสดใสปละมีประกายสุกปลั่งเสมอ ไม2เปนสนิม มีความอ2อนเหนียวจน สามารถนํามาตีเปนแผ2นบางมากๆ ขนาด 0.000005 นิ้วได$ และเปนโลหะที่ไม2ละลายในกรดชนิดใด แต2จะละลายได$อย2างช$าๆ ในสารละลายผสมระหว2างกรดดินประสิวกับกรดเกลือ กระบวนการในการทําเครื่องทอง ในอดีต มีหลายวิธีแตกต2างกันออกไป ตามแต2เทคนิค หรือวัสดุ อุปกรณ3ที่นํามาใช$ ดังนี้คือ การหุ$ม การปGด(การลงรักปGดทอง) การบุ การดุน การหล2อ การสลัก การาไหล2หรือกะไหล2 การคร่ํา เปนต$น เครื่องทองที่นิยมทํากันมัก เปนวัตถุเกี่ยวกับของ สําคัญ และมีค2า เช2น เครื่องราชูปโภค เครื่องยศ เครื่องใช$สอย เครื่องประดับ เครื่องพุทธบูชา เครื่องประกอบ พิธีกรรมทางศาสนา พระพุทธรูป พระพิมพ3 แผ2นทองจารึก(สุพรรณบัฏ) ฯลฯ
3. เครื่องถม จัดเปนงานประณีตศิลป.ชนิหนึ่งที่มีมาแต2โบราณ และสืบทอดต2อมา จนกระทั่งถึงป?จจุบัน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให$ความหมายของเครื่องถมไว$ว2า "... เรียกภาชนะหรือเครื่องประดับที่ทําโดยใชผงยาดําผสมน้ําประสานทอง ถมลงบนลวดลายที่ แกะสลักบนภาชนะ หรือเครื่องประดับนั้น แลวขัดผิวใหเงางามว'า เครื่องถม หรือ ถม เช'น ถมนคร ถมทอง ถมเงิน..." เครื่องถม มีหลายประเภท จําแนกได$ดงันี้ 1. ถมดํา หรือ ถมเงิน เปนการทําเครื่องถมที่เก2าที่สุด ทําโดยการแกะสลักลวดลาย ลง บพื้นผิวภาชนะเครื่องเงิน จนเปนร2องลึก แล$วลงยาถมดําลงไปในร2องลึกนั้นจนเต็ม 2. ถมตะทอง โดยการใช$ "ทองเป9ยก" เปนแผ2นทองบดละเอียดผสมปรอทบริสุทธิ์แล$วนํามา ถมลายที่สลักไว$ 3. ถมป?ด ทําจากภาชนะที่เปนทองแดงและลงน้ํายาสีต2างๆ
4. เครื่องมุก การประดับมุก เปนงานประณีตศิลป.ที่เกิดจากความคิดสร$างสรรค3 ในการ ตกแต2งวัสดุให$สวยงามของคนไทยมาแต2โบราณ โดยใช$เปลือกหอยมุก ซึ่งมีทั้งหอยมุกทะเล และ หอยมุกน้ําจืด นํามาฉลุเปนลวดลายชิ้นเล็กๆ ประดับลงไปบนภาชนะ บานประตู หน$าต2าง ตู$ ฯลฯ
โดยใช$รักสีดํา เปนตัวเชื่อมให$ชิ้นมุก เกาะติดฝ?งลงไปกับภาชนะ หรือวัสดุ สีขาวแกมชมพูและความ แวววาวของหอยมุก จะตัดกับสีดําของรัก ทําให$ภาชนะ เครื่องใช$ หรือวัตถุชิ้นนั้นๆ สวยงามมาก ภาชนะที่นิยมประดับมุก ได$แก2 พาน กล2อง หีบ เครื่องใช$สําหรับพระสงฆ3 ถาด ฯลฯ
5. ไมแกะสลัก ไม$ที่นิยมนํามาแกะสลักมากที่สุด คือ ไม$สัก ไม$ตะเคียน ไม$ชิงชัน ไม$ประดู2 ไม$มะค2า ชนชาติไทยมีฝ9มือ ทางด$านการแกะสลักไม$มาแต2โบราณ และมีศิลปวัตถุที่แกะสลักจากไม$ เปนจํานวนมาก เนื่องจากในภูมิภาคแถบนี้ มีไม$สักและไม$อื่นๆ ที่นํามาแกะสลักได$จํานวนมาก แต2 ป?จจุบันได$ลดลงอย2างรวดเร็ว ทําให$หาได$ยากขึ้น ไม$แกะสลักมักนํามาทําเปนบานประตู หน$าต2าง พระพุทธรูป ลวดลายประดับตกแต2งอาคาร สิ่งของเครื่องใช$ต2างๆ การแกะสลักไม$ มีขั้นตอนที่ สําคัญๆ อยู2 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบลวดลาย การแกะสลักลาย และการตกแต2ง
6. เครื่องป%&นดินเผาไทย มนุษย3รู$จักทําเครื่องป?Pนดินเผา มาตั้งแต2สมัยหินกลาง ในยุคก2อน ประวัติศาสตร3 เมื่อ 10,000-7,000 ป9 มาแล$ว และทํากันมาจนถึงป?จจุบัน ในทุกภูมิภาคของโลก อาจกล2าวได$ว2า ชาติใดๆ ก็รู$จักการทําเครื่องป?Pนดินเผาทั้งสิ้น ในประเทศไทย มีการทํา เครื่องป?Pนดินเผาอยู2ทุกภูมิภาค ในสมัยดั้งเดิมเปนการเผาดินดิบ ต2อมามีการเคลือบด$วยน้ํายา
เคลือบ และพัฒนามาสู2การเขียนลวดลายลักษณะต2างๆ จากสีเดียว (เอกรงค3) มาเปนหลายสี (พหุ รงค3) ซึ่งมีมาตั้งแต2สมัยอยุธยา ซึ่งใช$สี 5 สี เรียกว2า ลายเบญจรงค3 และต2อมาในสมัยรัตนโกสินทร3 มีการเขียนลายทอง ที่เรียกว2าเบญจรงค3ลายน้ําทอง
7. งาชางแกะสลัก เปนงานประณีตศิลป.ที่มีความละเอียด และต$อใช$ฝ9มือที่เชี่ยวชาญเปน อย2างยิ่ง โดยปกติงาช$างเปนของมีค2าซึ่งต$องเก็บรักษาไว$อย2างดี เดิมมีสีขาวนวล เมื่อนานไป อาจ เปลี่ยนเปนสีเข$มขึ้นถึงน้ําตาล และมีรอยแตกราน อย2างที่เรียกว2า แตกลายงา งาช$างสลักนิยม นํามาทําเปน พระพุทธรูป กล2อง หรือตลับ ตราสัญลักษณ3 ตุSกตา ด$ามหรือปลอกมีด ฯลฯ
8. เรือพระราชพิธี เปนงานประณีตศิลป.อีกประเภทหนึ่งของวัฒนธรรมไทย ซึ่งผูกพันกัน แม2น้ํามาตั้งแต2โบราณกาลโดยใช$เรือ ชนิดต2างๆ เรือพระราชพิธี มักใช$ในกระบวนพยุหยาตราทาง ชลมารค ซึ่งเปนริ้วขบวนเรือที่จัดขึ้นในการที่พระเจ$าอยู2หัว เสด็จพระราชดําเนินไปในการต2างๆ ทั้ง เปนการส2วนพระองค3 และพระราชพิธี ซึ่งมีมาตั้งแต2สมัยสุโขทัย การจัดชบวนพยุหยาตราทาง ชลมารคนี้ กล2าวได$ว2า มีวิวัฒนาการมาจากการจัดกระบวนทัพเรือ ในยามว2างจึงมีการจัดขบวนทัพ เพื่อฝTกซ$อม มีการตกแต2งเรืออย2างสวยงาม และมีการประโคมดนตรี ไปในแระบวนเพื่อความ
เพลิดเพลินสนุกสนานอีกด$วย ถือเปนการแสดงออกถึงความเปนเอกลักษณ3 ทางด$านวัฒนธรรม ประเพณีอย2างหนึ่งของชาติไทยและพระราชวงศ3 ซึ่งมีอารยธรรมสูงส2งมาแต2โบราณกาล