LIST Model for Research and Social Development
¾ÃะÊØ ¸Õ ÃÑ µ ¹ºÑ ³ ±ิ µ ÃÈ.´Ã. สถาบั น วิ จั ย พุ ท ธศาสตร์�
มËาÇิ · ÂาลÑ Â มËา¨Ø Ì าล§¡Ã³ÃาªÇิ · ÂาลÑ Â
ที่ ป รึ ก ษา พระพรหมบั ณ ฑิ ต อธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย นพ.ชาญวิ ท ย์ วสั น ต์ ธ นารั ต น์ ผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก สนั บ สนุ น สุ ข ภาวะ องค์ ก รส� ำ นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การ สร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) รศ.ปาริ ช าติ วลั ย เสถี ย ร ผู ้ เขี ย น
พระสุ ธี รั ต นบั ณ ฑิ ต รศ.ดร. (สุ ทิ ต ย์ อาภากโร)
สนั บ สนุ น สถาบั น วิ จั ย พุ ท ธศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย ส� ำ นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) สาขาวิ ช าการพั ฒ นาสั ง คม มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย <<2
ปี ที่ พิ ม พ์ มกราคม 2561 จ� ำ นวน 2500 เล่ ม จั ด พิ ม พ์ โ ดย สถาบั น วิ จั ย พุ ท ธศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย 79 หมู ่ 1 ต� ำ บลล� ำ ไทร อ� ำ เภอวั ง น้ อ ย จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา 13170 ปก พระมหาเกรี ย งศั ก ดิ์ อิ นฺ ท ปญฺ โ ญ รู ป เล่ ม พระมหาเกรี ย งศั ก ดิ์ อิ นฺ ท ปญฺ โ ญ
สารบัญ
List Model คืออะไร
01
ความส�าคัญของ List Model
01
องค์ประกอบของ LIST MODEL 02
ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบใน 06 LISTMODEL
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับ LIST MODEL 10
การประยุกต์ใช้ LIST MODEL ใน การพัฒนาสังคม
16
LIST MODEL กับรูปแบบการวิจัย 19
เป้าหมายของ LIST MODEL ในการวิจยั
การวิเคราะห์ LIST MODEL
32
<<3
25
List Model for Research and Social Development
LIST MODEL คืออะไร List Model คือ แบบจำ�ลองของแนวคิดและกระบวนการที่เชื่อมโยงเข้าหากันเพื่อให้เกิดกระบวนการวิจัย การสร้างสรรค์นวัตกรรม และการพัฒนาสังคม โดยมีหลักการสำ�คัญว่า แนวคิด ความรู้ และกระบวนการที่บุคคลและสังคมได้ดำ�เนินการนั้น ก่อให้เกิดการเรียน รู้ การสร้างสรรค์ และการสร้างการเปลี่ยนแปลงที่นำ�ไปสู่การเรียนรู้ของบุคคลและสังคม โดยตระหนักถึงความยั่งยืน การปรับเปลี่ยน ตนเอง และการสร้างประโยชน์สุขร่วมกัน List Model มาจาก 4 คำ� ในภาษาอังกฤษประกอบด้วย Learning การเรียนรู้ Innovation นวัตกรรม Sustainability ความยั่งยืน Transformation การเปลี่ยนแปลงจากภายในของตัวบุคคลและสังคม
ความส�ำคัญของ LIST MODEL List Model มองว่าการวิจัย การสร้างสรรค์นวัตกรรม และ การพัฒนาสังคมนั้นเป็นสิ่งจำ�เป็นต่อการเรียนรู้ในสังคมที่จะนำ�ไปสู่ การพัฒนาคุณภาพชีวิต การสร้างดุลยภาพทางสังคมท่ามกลางการ เปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่ง แวดล้อมในกระแสโลกาภิวัตน์ List Model มีแนวคิดพื้นฐานว่า สังคม ใดมีการเรียนรู้ มีการสร้างสรรค์นวัตกรรมไม่ว่าจะเป็นนวัตกรรมทาง สังคมหรือนวัตกรรมทางเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ สังคมนัน้ ย่อมจะมีการ เปลี่ยนแปลงนำ�ไปสู่การใช้ความรู้เพื่อการพัฒนาคนและสังคมที่มีความ มั่นคง โดยมีเงื่อนไขว่าการพัฒนาบุคคลและสังคมนั้นจะต้องตั้งอยู่บนพื้น ฐานของความสมดุล ความเป็นธรรมและความยั่งยืน <<1
List Model for Research and Social Development
องค์ประกอบของ LIST MODEL List Model มีองค์ประกอบส�าคัญ 4 ประการ
<<2
List Model for Research and Social Development
1.LEARNING การเรียนรู้ ในการวิจัย การสร้างสรรค์นวัตกรรม และการพัฒนาสังคมนั้น จุดมุ่งหมายสำ�คัญ คือ การสร้าง องค์ความรู้และกระบวนการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นกับบุคคล องค์กร และสังคม เพื่อให้ทุกคน ทุกฝ่าย เกิดความรู้ ความเข้าใจและมีแนวปฏิบัติในการที่จะพัฒนาตนเองและสังคมให้มีความก้าวหน้า เกิดการเปลี่ยนแปลง และนำ�ไปสู่การกำ�หนดเป้าหมายร่วมกัน ดังนั้น การเรียนรู้ในสิ่งต่างๆ ที่ เชื่อมโยงจากอดีตถึงปัจจุบัน และสู่อนาคตจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาและการค้นหาข้อเท็จ จริงหรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อนำ�ไปสู่กระบวนการและวิธีการที่เหมาสมกับการเรียนรู้ใน เรื่องนั้นๆ และนำ�ไปสู่การพัฒนาสังคมและการสร้างสรรค์ที่ยั่งยืน ซึ่งกระบวนการเรียนรู้ในแบบ ของ List Model นั้นมาจากการเรียนรู้ในแต่ละวันของบุคคลไม่ว่าจะเป็นการฟัง การพูด การ คิด การทำ� การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่บุคคลนั้นได้รับและนำ�มาพิจารณาด้วยกำ�ลังสติปัญญาของ ตนเอง ซึ่งการเรียนรู้นั้นประกอบด้วยหลักการสำ�คัญ คือ 1
เรียนรู้จากภายในสู่ภายนอกและ จากภายนอกสู่ภายใน
4
การเรียนรู้ที่มาจากการใช้ความคิด ความ รู้ สติปัญญาและแนวปฏิบัติที่เหมาะสม
2
การเรียนรู้จากรายประเด็นสู่การ บูรณาการแบบองค์รวม
5
การเรียนรู้บนวิถีแห่งการรู้แจ้งเพื่อการตื่น รู้และปัญญาญาณ (รู้จักตนเอง)
3
การเรียนรู้จากอดีต ปัจจุบัน สู่อนาคตและความยั่งยืน
<<3
List Model for Research and Social Development
2. Innovation นวัตกรรม
หลังจากที่ทุกฝ่ายได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ฝึกฝน วิเคราะห์ และพัฒนาตนเองจาก ประสบการณ์และความรู้ดังกล่าว สิ่งที่เกิดจากการเรียนรู้ที่ได้ต่อยอดจะออกผลเป็น ผลงานการ สร้างสรรค์หรือ “นวัตกรรม” ของบุคคลและสังคม ผลงานและนวัตกรรมดังกล่าว จะกลายเป็นสิ่ง สำ�คัญที่สร้างกระบวนการใหม่ แนวคิดใหม่ ผลผลิตใหม่ ที่มีประสิทธิผลและมีพลังการเปลี่ยนแปลง มากกว่า หรือกลายเป็นสินค้าและบริการได้ แต่เหนือสิ่งอื่นใดของการเรียนรู้และการสร้างสรรค์ นวัตกรรม คือ การได้ใช้ความคิดและจินตนาการที่เป็นกระบวนการทางปัญญา ดังนั้น การมีผล งานและวัตกรรมเกิดขึ้น จึงเป็นเสมือนว่าทุกคน ทุกฝ่ายได้ใช้ความรู้ ความคิด จินตนาการที่นำ�ไปสู่ การแก้ไขปัญหาและการปฏิบัติได้จริงในชีวิต โดยนวัตกรรมในรูปแบบของ List Model นั้นเกิดจาก กระบวนการสร้างสรรค์ที่มาจากความคิดเชิงสร้างสรรค์ การมุ่งแก้ไขปัญหา การสร้างแรงบันดาล ใจ การมองไปถึงสิ่งที่ดีกว่าด้วยกำ�ลังสติปัญญาของตนเองและสังคม ผลที่เกิดขึ้นก็คือ กระบวนการ ผลผลิต การสร้างความรู้และการบริการที่นำ�ไปสู่นวัตกรรมร่วมสมัย คือ
1
นวัตกรรมที่เสริมสร้างความสุข และความยั่งยืน
4
นวัตกรรมที่มุ่งวัดผลด้วยความเป็นมนุษย์
2
นวัตกรรมที่ให้ความสำ�คัญกับ จิตใจและปัญญา
5
นวัตกรรมที่เรียบง่าย ไม่ล้างผลาญและ รุนแรง
3
นวัตกรรมที่มุ่งเน้นการใช้วิธี แห่งธรรมชาติ
<<4
List Model for Research and Social Development
3. Sustainability การพัฒนาที่ยั่งยืน
ปัจจุบันโลกมีปัญหาความไม่ยั่งยืนทั้งในด้านการพัฒนาคนสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และการเรียนรู้ของสังคม การตระหนักต่อความรับผิดชอบ และการมีกระบวนการ ที่นำ�ไปสู่ความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และความเป็นธรรมในสังคม จะ ทำ�ให้สังคมและระบบนิเวศเกิดดุลยภาพ ดังนั้น การสร้างสรรค์นวัตกรรมและการสร้างพลังการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมที่คำ�นึงถึงคนรุ่นต่อไปและอนาคตของโลกที่มีความสมดุลในระบบนิเวศ การมีเทคโนโลยีที่เหมาะสม จะทำ�ให้สังคมมีการพัฒนาที่เกื้อกูลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและ คุณภาพของสังคม โดยการพัฒนาที่ยั่งยืนในรูปแบบของ List Model นั้น มุ่งเน้นการสร้างและ การใช้จริยธรรมของบุคคลและสังคม รวมทั้งการมีความรับผิดชอบในสิ่งที่ตนเองได้กระทำ�ลงไป เพื่อความยั่งยืนยาวนานของสิ่งต่างๆ คือ 1
การพัฒนาคน
4
การสร้างสรรค์เทคโนโลยีที่เหมาะสม
2
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
5
การเสริมสร้างระบบเศรษฐกิจที่เป็นธรรม
3
การธำ�รงไว้ซึ่งวิถีวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญา
<<5
List Model for Research and Social Development
4.Transformation การเปลีย่ นแปลงอย่างสร้างสรรค์
ที่ผ่านมาผู้ในสังคมส่วนมากมักจะเป็นผู้รับการเปลี่ยนแปลงจากความคิด การกระทำ� และ การสร้างสรรค์ของบุคคลอื่น เช่น บิดา มารดา ครูอาจารย์ เพื่อน และบุคคลในสังคม เป็นต้น แต่ในความ เป็นจริงมนุษย์ทุกคนสามารถที่สร้างการพลังและการเปลี่ยนแปลงให้เกิดในตัวเองได้และสามารถที่จะ สร้างพลังนั้นให้เกิดขึ้นกับผู้อื่นและสังคมได้ การเป็นผู้ที่ร่วมสร้างการเปลี่ยนแปลงสังคมย่อมจะเป็นสิ่ง ที่ทรงพลังมากกว่า ดังนั้น การทำ�ให้บุคคลและสังคมมีการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงอย่างสร้างสรรค์ จะนำ�ไปสู่การเป็นสังคมที่มีคุณภาพ เป็นสังคมที่ทุกคนมีความรับผิดชอบร่วมกัน สามารถสร้างความ เสมอภาค ความยุติธรรม และสร้างสังคมแห่งการแบ่งปันให้เกิดขึ้นได้ การคำ�นึงถึงผลประโยชน์แต่เพียง ฝ่ายเดียวมิใช่การสร้างสรรค์ที่ก่อให้เกิดความยั่งยืนและความสุขของผู้คนในสังคม การเปลี่ยนแปลง ที่แท้นั้นเกิดจากการมีความรัก ความเมตตา และปัญญาสาธารณะ (Universal Intelligence) ที่ทำ�ให้ ทุกฝ่ายมีอนาคตที่ดีร่วมกัน โดยการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบของ List Model นั้นมุ่งการเปลี่ยนแปลงที่ นำ�ไปสู่การรู้จักและรู้แจ้งภายในตัวตน คือ
1
การเปลีย่ นทางการกระทำ�ทีม่ ี ความรัก ความเมตตาเป็นพืน ้ ฐาน
4
การสร้างสรรค์เทคโนโลยีที่เหมาะสม
2
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
5
การเสริมสร้างระบบเศรษฐกิจที่เป็นธรรม
3
การธำ�รงไว้ซึ่งวิถีวัฒนธรรม และภูมิปัญญา
<<6
List Model for Research and Social Development
ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบใน LIST MODEL ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบใน List Model เป็นความสัมพันธ์ที่เริ่มต้นจาก การเรียนรู้ (Learning) จากสิ่งที่ได้เห็น ได้ยิน ได้ฟัง ได้สนทนา และการได้แลกเปลี่ยน เรียนรู้ที่มาจากภายในของตนเอง (Visual-Verbal- Aural) รวมทั้งได้เรียนรู้จากความคิด และการกระท�า (Doing-Thinking) ที่น�าไปสู่การใช้เหตุผลหรือตรรกะของตนเอง การเรียน รู้จากภายใน (จิตใจ) และการเรียนรู้จากภายนอก (สังคม) จะท�าให้บุคคลมีมุมมองและ แนวปฏิบัติต่อผู้อื่นหรือโลกที่แตกต่างกันตามประสบการณ์ที่ได้รับมา อย่างไรก็ตาม การ เรียนรู้ของบุคคลไม่ว่าจะมาจากกแหล่งใดถือว่าเป็นสิ่งที่มีความส�าคัญ เพราะจะท�าให้เกิด ความรู้และปัญญาที่จะน�าไปสู่การด�ารงชีวิตเหมาะสม ยิ่งเป็นการเรียนรู้ของสังคมที่มาจาก ความปรารถนาร่วมกันแล้ว พลังของการเรียนรู้ย่อมทรงพลังและน�าไปสู่การสร้างสรรค์ นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง � ค ว า ม รÙ ้ แ ล ะ ป ˜ Þ Þ า ที่ ส ร ้ า ง ส ร ร ค ์ ¢ อ ง บุ ค ค ล ที่ มี ค ว า ม คิ ด � จิ น ต น า ก า ร � ( V I S I O N - I D E A I M A G I N A T I O N ) � เ พื่ อ แ ก ้ ไ ¢ ป ˜ Þ ห า และสร้ า งแรงบั น ดาลãจ� (SOLUTIONINSPIRATION)� ย‹ อ มจะก‹ อ ãห้ เ กิ ด นวั ต กรรม�(INNOVATION)�ทางสั ง คม และวิ ท ยาศาสตร์ เ ทคโนโลยี ที่ ต อบสนอง ต ‹ อ ก า ร เ รี ย น รÙ ้ แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า สั ง ค ม�
� นวั ต กรรมที่ ส ร้ า งสรรค์ ¢ึ้ น นั้ น จะต้ อ งคํ า นึ ง ถึ ง คน� สั ง คม� วั ฒ นธรรม� ÀÙ มิ ป ˜ Þ Þา� ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ � สิ่ ง แ ว ด ล ้ อ ม แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี � ( M a n - S o c i a l - C u l t u r e - E c o n o m i c Environment-Technology)�ที่ ¼ ‹ า นมานวั ต กรรมหลายประเÀทส‹ ง ¼ลต‹ อ การทํ า ลายล้ า งต‹ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ มที่ สÙ ง มาก� ก‹ อ ãห้ เ กิ ด มลพิ ษ � ไม‹ ป ระหยั ด � พึ่ ง พา¼Ù ้ เ ชี่ ย วชาÞ� วั ด ¼ลความ สํ า เร็ จ มากกว‹ า ความสุ ¢ และจิ ต วิ Þ Þา³�ดั ง นั้ น �นวั ต กรรมและกระบวนการ¢องโลกยุ ค ãหม‹ จ ะ ต้ อ งคํ า นึ ง ถึ ง ความยั่ ง ยื น ¢องมนุ ษ ย์ � โลก� ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม� วิ ถี วั ฒ นธรรม� การเรี ย นรÙ ้ ต ามวิ ถี วั ฒ นธรรม¢องมนุ ษ ยชนชาติ � รวมทั้ ง มี น วั ต กรรมที่ ส ‹ ง เสริ ม ระบบเศรษฐกิ จ ที่ แ บ‹ ง ป˜ น มากกว‹ า การครอบครอง¢องกลุ ‹ ม คนãนสั ง คม
<<7
List Model for Research and Social Development
การเปลี่ ย นแปลงที่ ยั่ ง ยื น นั้ น เกิ ด ขึ้ น ภายในตั ว คนก่ อ นที่ จ ะเปลี่ ย นแปลงโลก โดย การเปลี่ ย นแปลงเริ่ ม จากการเรี ย นรู ้ จ ากสิ่ ง ที่ อ ยู ่ ร อบตั ว ไปสู ่ ก ารวิ เ คราะห์ สั ง เคราะห์ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความรู ้ แ ละภู มิ ป ั ญ ญาที่ จ ะน� ำ ไปสร้ า งสรรค์ สั ง คม โดยการใช้ เ หตุ ผ ลในการใช้ ชี วิ ต ร่ ว มกั น ดั ง นั้ น การเริ่ ม ต้ น ของการเปลี่ ย นแปลงจึ ง เริ่ ม ต้ น จากการเปลี่ ย นแปลงทางกายภาพ เจตคติ มุ ม มอง ความรู ้ ประสบการณ์ ภู มิ ป ั ญ ญา และจิ ต วิ ญ ญาณ (PHYSICAL-ATTITUDEKNOWLEDGE-WISDOM-MIND-SPIRITUAL) จากตั ว ตนสู ่ จิ ต ใจและจิ ต วิ ญ ญาณที่ มั่ น คง และความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและธรรมชาติ ข องโลกและจั ก รวาล <<8
List Model for Research and Social Development
<<9
List Model for Research and Social Development
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับ LIST MODEL List Model มีปัจจัยที่สัมพันธ์อยู่ 4 ประการ
< < 10
List Model for Research and Social Development
1. ความปรารถนา (ASPIRATION) ความรักและความเพียรในการที่จะเรียนรู้ เป็นสิ่งส�าคัญต่อการเรียนรู้ หากขาดแรงจูง ใฝ่รู้ หรือฉันทะต่อสิ่งที่จะเรียนรู้และลงมือ ท� า แล้ ว ผลของการเรี ย นรู้ ย่ อ มไม่ เ กิ ด ขึ้ น อย่างเต็มที่ ดังนั้น ฉันทะและความเพียร จึงเป็นปัจจัยของการเรียนรู้ในยุคใหม่โดย เป็นการเรียนรู้จากสิ่งที่ตนเองชอบ (Love to Learn) เพราะความรักในการเรียนรู้จะ น�าไปสู่การสร้างสรรค์ที่มีพลังมากกว่า
< < 11
สั ง ค ม ใ ด ที่ มี ก า ร เรี ย น รู้ ใ น ร ะ ดั บ สู ง กระบวนการพัฒนาคนและสังคมนั้นย่อม มีการเปลี่ยนแปลงสูงตามไปด้วย เพราะ เกิ ด จากการใช้ ค วามรู้ แ ละกระบวนการ สร้างสรรค์ที่มีพลัง ดังเช่น สังคมแห่งการ เรี ย นรู้ ข ององค์ ก รธุ ร กิ จ หรื อ ภาคประชา สั ง คมที่ มี ก ารจั ด การความรู้ แ ละการ เปลี่ ย นแปลงระบบการท� า งานที่ ยึ ด หยุ่ น ย่อมจะพาองค์กรไปถึงเป้าหมายและการ จัดการที่มีประสิทธิภาพ
List Model for Research and Social Development
2. ความคิดสร้างสรรค์ (CREATIVE THINKING) เป็ น ปั จ จั ย สำ�คั ญ ของการสร้ า งสรรค์ นวั ต กรรม ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ม าจาก วิสัยทัศน์ การจินตนาการ และการสร้าง แรงบั น ดาลใจเพื่ อ พั ฒ นานวั ต กรรมทั้ ง ใน ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (ผลิตภัณฑ์) กระบวนการ และการบริ ก าร ซึ่ ง จะ กลายเป็นผลผลิ ต ของการเรี ย นรู้ และการ สร้างสรรค์
< < 12
บุ ค คลในสั ง คมใดที่ มี ก ารส่ ง เสริ ม ความ คิดและจินตนาการในระดับสูงเช่น ญี่ปุ่น เกาหลี หรือประเทศในกลุ่มยุโรป สังคม นั้นย่อมจะมีการพัฒนานวัตกรรมในระดับ สูงตามไปด้วย ผลต่อเนื่องจากการพัฒนา นวัตกรรม คือ คุณภาพชีวติ และการสร้างทัง้ มูลค่าและคุณค่าของบุคคลและสังคม
List Model for Research and Social Development
3. จริยธรรม (ETHICS) จริ ย ธรรมเป็ น ปั จ จั ย สำ�คั ญ ของการสร้ า ง ความยั่งยืน หากปราศจากความมีคุณธรรม จริยธรรม กิจกรรมน้อยใหญ่ของบุคคลหรือ องค์กร ย่อมจะสร้างความเสียหายต่อระบบ และการพัฒนา
< < 13
สังคมใดประเทศใดมีการทุจริต คอร์รัปชั่น ใ น ร ะ ดั บ สู ง สั ง ค ม นั้ น ป ร ะ เ ท ศ นั้ น กระบวนการพัฒนาย่อมลดลงไปด้วย ดัง เช่น ประเทศสิงคโปร์ที่มีความโปร่งใสและ ความรับผิดชอบในเชิงจริยธรรมสูง ความ เชื่อมั่นและการพัฒนาประเทศย่อมสูงตาม ไปด้วยทั้งด้านรายได้ การศึกษา คุณภาพ ชีวิตและการพัฒนาที่ยั่งยืน
List Model for Research and Social Development
4. จิตวิญญาณสากล (UNIVERSAL SPIRITUAL) เป็ น ปั จ จั ย ส� า คั ญ ของการเปลี่ ย นแปลง จากภายในของบุ ค คลสู่ ก ารอยู่ ร่ ว มกั น ใน สังคม การเปลี่ยนแปลงที่แท้จริงของโลก นั้นมิใช่เกิดจากการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ เทคโนโลยี แ ละกระบวนการทางสั ง คม เท่านั้น แต่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภายใน ของบุคคลที่มีอุดมการณ์และความมุ่งมั่นใน การที่จะสร้างสังคมใหม่บนพื้นที่ฐานของ ความถูกต้องเป็นธรรม
< < 14
บุ ค คลส� า คั ญ ของโลก เช่ น พระพุ ท ธเจ้ า มหาตมะคานธี เนลสั น แมนเดลา หรื อ บุ ค คลส� า คั ญ อื่ น ๆ ล้ ว นเป็ น ผู้ ที่ ม าจาก การเปลี่ยนแปลงภายในตนเอง โดยใช้จิต วิญญาณสากล คือ ความรัก ความเมตตา อหิงสา ความปรารถนาดี การสร้างสังคม ด้วยสันติวธิ ี การรูจ้ กั และรูแ้ จ้งภายในตนเอง ก่อนที่จะน�าโลกไปสู่การเปลี่ยนแปลง
List Model for Research and Social Development
ป˜ จ จั ย ทั้ ง � 4� ประการดั ง กล‹ า ว� มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ การ เสริมสร้างจิตสาธาร³ะ� (Public� Mind)� ที่สร้างบนพื้นที่ สาธาร³ะ� (Public� Space)� โดยมี ค วามรั บ ¼ิ ด ชอบ สากล� (Universal� Responsibility)� และป˜ÞÞาสากล� (Universal� Wisdom)� เป็นคุ³ธรรมพื้นฐาน� เพื่อสร้าง ประโยชน์และความสุ¢ร‹วมกัน�
< < 15
ดังเช‹น� การสร้างจิตสาธาร³ะãนพื้นที่สาธาร³ะหรือโรงพยาบาล¢องนัก ร้องตÙน�บอดีส้ แลม�ãนสังคมไทย�ย‹อมเป็นการสร้างพลังทางสังคมเพือ่ การãช้ ประโยชน์และความสุ¢ร‹วมกัน�ดังนัน ้ �การพัฒนาบุคคลด้วยการเรียนรÙ�้ การ เสริมสร้างãห้มีจต ิ สาธาร³ะและความรับ¼ิดชอบ�รวมทั้งการãช้Àม Ù ิปÞ ˜ Þา สากลไปพัฒนาสังคมหรือพืน ้ ทีส่ าธาร³ะย‹อมจะเป็นกระบวนการสำ�คัÞที่ นำ�ไปสÙ‹การพัฒนาบุคคลและสังคมที่ยั่งยืน
List Model for Research and Social Development
การประยุกต์ใช้ LIST MODEL ใน การพัฒนาสังคม
การประยุ ก ต์ ใช้ List Model ในการพั ฒ นา สังคม ปัญหาของการพัฒนาสังคมนอกจากจะ มาจากปั ญ หาเชิ ง โครงสร้ า งทางสั ง คมที่ มี ค วาม เหลื่ อ มล้� า สู ง และความไม่ เ สมอภาคในสั ง คม แล้ว ยังมาจากความไม่พยายามแสวงหาความ รู้ ข้อเท็จจริง และการสร้างกระบวนการเรียนรู้
อย่างแท้จริงของปัจเจกบุคคลและกลุ่มคน เมื่อ ไม่มีความรู้ กระบวนการ และข้อเท็จจริงที่เพียง พอ กระบวนการพั ฒ นาสั ง คมจึ ง ไม่ น� า ไปสู่ ก าร เปลี่ยนแปลงและการพัฒนาที่ยั่งยืนได้ เราสามารถ จะใช้ List Model ในการพัฒนาสังคมเพื่อสร้าง กระบวนการเหล่านี้ เช่น
1)�การแสวงหาความรÙ้และ¢้อเท็จจริงãนเรื่องนั้นæ�
2)�เสริมสร้างกระบวนการเรียนรÙ้แบบมีส่วน ร่วมหรือมีการจัดการความรÙ้อย่างต่อเนื่อง
สร้างสรรค์อย่างมีจุดหมาย
4)�สร้าง¼ลงานและนวัตกรรมที่เป็นรÙปธรรม
5)�ตระหนักถึงคนอื่นและความยั่งยืน¢อง
6)�รับ¼ิดชอบต่อสังคม
7)�สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุก½่าย
8)�ส่งเสริมความยุติธรรมและความเป็น ธรรมãนสังคม
9)�ãช้ความเมตตาและปัÞÞาเพื่อมนุษย์และ
ãห้ประจักษ์ชัด
สรรพสิ่ง
โดยคํ า นึ ง ถึ ง การพั ฒ นาคุ ³ Àาพชี วิ ต และคุ ³ Àาพ¢องสั ง คม�ดั ง Àาพนี้
< < 16
3)�ãช้ความคิด�จินตนาการ�และการ
สรรพสิ่ง
List Model for Research and Social Development
การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต - การเรี ย นรู ้ ข องบุ ค คล - สุ ข ภาพ - รายได้ - ครอบครั ว ที่ อ บอุ ่ น - ชุ ม ชนที่ เข้ ม แข็ ง - สภาพแวดล้ อ มที่ ดี - การสื่ อ สาร คมนาคม - ความเป็ น อิ ส ระแห่ ง จิ ต ใจ และปั ญ ญา - ความสุ ข
LIST MODEL
การพั ฒ นาสั ง คม LIST MODEL
< < 17
-
การพั ฒ นาคุ ณ ภาพสั ง คม สั ง คมที่ มี ค วามเสมอภาค สั ง คมที่ มี ค วามยุ ติ ธ รรม สั ง คมที่ ส งบสุ ข -มี สั น ติ ภ าพ สั ง คมที่ มี ห ลั ก ประกั น (Socio-Economic Security) สั ง คมที่ ไ ม่ ท อดทิ้ ง กั น (Social Inclusion) สั ง คมที่ เ ป็ น ธรรม (Cohesion) Social Empowerment สั ง คมที่ ส มดุ ล มั่ น คง ยั่ ง ยื น
List Model for Research and Social Development
ตั ว อย่ า งการตั้ ง ค� ำ ถาม ใน LIst Model การเรี ย นรู ้ 1. เรี ย นรู ้ เรื่ อ งอะไร 2. เรี ย นรู ้ กั บ ใคร 3. กระบวนการเรี ย นรู ้ เ ป็ น อย่ า งไร 4. ผลของการเรี ย นรู ้ เ ป็ น อย่ า งไร
นวั ต กรรม 1. พั ฒ นานวั ต กรรมด้ า น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ / วิ ท ยาศาสตร์ 2.พั ฒ นานวั ต กรรมเชิ ง กระบวนการเพื่ อ เรี ย นรู ้ 3. พั ฒ นานวั ต กรรมการ บริ ก ารเพื่ อ ความสุ ข 4. ความยั่ ง ยื น ของระบบ เศรษฐกิ จ และเทคโนโลยี
< < 18
การสร้ า งความยั่ ง ยื น 1. ความยั่ ง ยื น ของการเรี ย น รู ้ แ ละการพั ฒ นาคน 2. ความยั่ ง ยื น ของวิ ถี วั ฒ นธรรมและภู มิ ป ั ญ ญา 3. พั ฒ นานวั ต กรรมการ บริ ก ารเพื่ อ ความสุ ข 4. พั ฒ นานวั ต กรรมรู ป แบ บอื่ น ๆ ที่ ยั่ ง ยื น
การเปลี่ ย นแปลง 1. เปลี่ ย นแปลงจากปั จ เจก สู ่ สั ง คม 2. เปลี่ ย นแปลงจากประเด็ น สู ่ บู ร ณาการ 3. เปลี่ ย นแปลงจากไม่ รู ้ สู ่ การตื่ น รู ้ 4. จากรู ป ธรรมสู ่ จิ ต วิ ญ ญาณ
List Model for Research and Social Development
LIST�MODEL� ¡ÑºÃูปแºº¡าÃÇิ¨ÑÂ
< < 19
List Model for Research and Social Development
บรรดารÙปแบบการวิจัยãนทางสังคมศาสตร์� มนุษยศาสตร์� และเชิง สร้างสรรค์นน ั้ �ป˜จจุบน ั มีรป Ù แบบการวิจย ั ทีห่ ลากหลายนับตัง้ แต‹การ วิจัยãนเชิงเอกสาร�(Documentary�Research)�เชิงปริมา³/เชิง สำ�รวจ�(Quantitative�Research)�เชิงคุ³Àาพ��(Qualitative� Research)�การวิจยั กึง่ ทดลองและทดลอง�(Quasi�Experimental� Research�and�Experimental�Research�)�การวิจัยเชิงป¯ิบัติ การ� (Action� Research)� และการวิจัยเชิงป¯ิบัติการแบบมีส‹วน ร‹วม� (Participatory� Action� � Research� :� PAR)� รÙปแบบการ
< < 20
วิจัยดังกล‹าวมีความเหมาะสมกับกระบวนการและวัตถุประสงค์¢อง การวิจยั ทีม่ คี วามแตกต‹างกัน�มี¢อ้ จำ�กัดและ¢้อทีเ่ หมาะสมตามจุดมุง‹ หมายการวิจยั ãนครัง้ นัน ้ �อย‹างไรก็ตาม�หากพิจาร³าถึง�List�Model� จะพบว‹า� มีกระบวนการที่เน้นสร้างการเรียนรÙ้� การสร้างนวัตกรรม� และนําไปสÙ่การคํานึงถึงความยั่งยืนและการเปลี่ยนแปลงãห้เกิด¢ึ้น� ซึ่งจะãช้¼สม¼สานกับการวิจัยประเÀทอื่นæ� ได้� โดยมีพัฒนาการ ¢องการวิจัยทั่วไป�ดังนี้
List Model for Research and Social Development
รู ป แบบที่ 1 Documentary Research
รู ป แบบที่ 2 Quantitative Research
รู ป แบบที่ 3 Qualitative Research
รู ป แบบที่ 4 Rearch with Demo
รู ป แบบที่ 6 Research & Learning การวิ จั ย เชิ ง การวิ จั ย เชิ ง การวิ จั ย เชิ ง การวิ จั ย เชิ ง การวิ จั ย เชิ ง การวิ จั ย ที่ เ น้ น เอกสารเน้ น ปริ ม าณเน้ น การ คุ ณ ภาพเน้ น คุ ณ ภาพแบบ คุ ณ ภาพเน้ น การ การศึ ก ษาเรี ย น วิ เ คราะห์ รวบรวมความ การรวบรวม เน้ น การศึ ก ษา ระดมความคิ ด รู ้ กั บ กลุ ่ ม เป้ า สั ง เคราะห์ จ าก คิ ด เห็ น จากกลุ ่ ม ข้ อ มู ล โดยการ จากบุ ค คลหรื อ เห็ น จากกลุ ่ ม เป้ า หมายที่ เ ป็ น ต้ น เอกสารและสรุ ป ตั ว อย่ า ง แล้ ว น� ำ ศึ ก ษาจากกลุ ่ ม องค์ ก รต้ น แบบ หมายที่ มี ค วามรู ้ แบบ จากนั้ น เป็ น ชุ ด ความรู ้ มาวิ เ คราะห์ ใ น เป้ า หมาย แล้ ว และน� ำ ข้ อ มู ล ในเรื่ อ งนั้ น ๆ แล้ ว น� ำ ผลการเรี ย น เชิ ง สถิ ติ เ พื่ อ คาด น� ำ มาวิ เ คราะห์ มาวิ เ คราะห์ น� ำ มาวิ เ คราะห์ รู ้ ม าวิ เ คราะห์ การณ์ จ ากตั ว เลข สั ง เคราะห์ แ ละ สั ง เคราะห์ แ ล้ ว สงเคราะห์ เ ป็ น สั ง เคราะห์ เ ป็ น แล้ ว สรุ ป เป็ น ชุ ด สรุ ป เป็ น ชุ ด ความ สรุ ป เป็ น องค์ ชุ ด ความรู ้ แ ละ ชุ ด ความรู ้ แ ละ ความรู ้ รู ้ ความรู ้ ยุ ท ธศาสตร์ หลั ก ปฏิ บั ติ ใ นเพื่ อ การพั ฒ นา Research from Data Research with Demo (Best Practice) การวิ จั ย แบบไม่ ท ดลองและโดยมี นั ก วิ จั ย เป็ น ศู น ย์ ก ลางของการแสวงหาความรู ้ ผลลั พ ธ์ Information, Knowledge, Strategy and learning from the Best Practices
< < 21
รู ป แบบที่ 5 Research & Brainstorming
List Model for Research and Social Development
รู ป แบบที่ 7 Quasi Experimental Research การวิ จั ย กึ่ ง ทดลอง เน้ น การวิ จั ย ด้ ว ย การทดลองกั บ กลุ ่ ม ตั ว อย่ า งบางกลุ ่ ม โดย ใช้ ค วามรู ้ แ ละเทคนิ ค บางอย่ า งเพื่ อ ให้ ไ ด้ ผลการศึ ก ษาที่ น� ำ ไปสู ่ ก ารสรุ ป เป็ น ชุ ด ความรู ้
รู ป แบบที่ 8
รู ป แบบที่ 9
รู ป แบบที่ 10
Experimental Research
Action Research
การวิ จั ย เชิ ง ทดลอง เน้ น เป็ น การวิ จั ย โดย การลงมื อ ปฏิ บั ติ / ทดลองโดยใช้ ค วาม รู ้ แ ละเทคนิ ค ของ ศาสตร์ เ ฉพาะด้ า น กั บ กลุ ่ ม เป้ า หมาย มากกว่ า 1 กลุ ่ ม เพื่ อ ค้ น หาความรู ้ วิ ธี การ และการสร้ า ง นวั ต กรรม
การวิ จั ย เชิ ง ปฏิ บั ติ การเน้ น การลงมื อ ปฏิ บั ติ โดยใช้ ค วาม รู ้ ห ลายสาขาและ ความร่ ว มมื อ ของ หลายฝ่ า ย รวมทั้ ง การใช้ ก ระบวนการ ที่ ส ร้ า งสรรค์ เ พื่ อ น� ำ ไปสู ่ ก ารปฏิ บั ติ แ ละ เปลี่ ย นแปลง
Participatory Action Research : PAR การวิ จั ย แบบ PAR เน้ น กระบวนการมี ส่ ว นร่ ว มของทุ ก ฝ่ า ย และใช้ ส หวิ ท ยาการ เพื่ อ ค้ น หาปั ญ หาและ ทางออก ที่ จ ะน� ำ ไปสู ่ การสร้ า งความรู ้ แ ละ กระบวน การเปลี่ ย น แปลงในทุ ก มิ ติ
รู ป แบบที่ 11 List Model for Research
การวิ จั ย แบบ List เน้ น การเรี ย นรู ้ ข อง ทุ ก ฝ่ า ย(Learning) เพื่ อ น� ำ ไปสู ่ ก าร สร้ า งนวั ต กรรม (Innovation) โดย การลงมื อ ปฏิ บั ติ การและสร้ า ง การเปลี่ ย นแปลง (Sustainability -Transformation) ไปสู ่ ค วามยั่ ง ยื น Research and Development Research for Change การวิ จั ย แบบทดลองและปฏิ บั ติ ก ารที่ ทุ ก ฝ่ า ยได้ เรี ย นรู ้ แ ละสร้ า งสรรค์ ร ่ ว มกั น Information, Knowledge, Innovation, cooperation, Strategy and How to Practices < < 22
List Model for Research and Social Development
การประยุ ก ต์ ใช้ List Model การวิ จั ย ทางสั ง คมและมนุ ษ ยศาสตร์ นั้ น สามารถ ด� า เนิ น การได้ โดยด� า เนิ น การดั ง นี้ 1)�เสริมสร้างการเรียนรÙ้ร่วมกันãนการวิจัย ทั้งนักวิจัย�ประชาคมและทุก½่ายที่เกี่ยว¢้อง� (Learning)
4) การสร้างความยั่งยืนบนพื้นฐาน
2) พัฒนาความรÙ้และกระบวนการที่ได้จาก
5)�การสร้างการเปลี่ยนแปลงเพื่อสังคมที่
3) ãช้ความคิด�จินตนาการ�และการ สร้างสรรค์อย่างมีจุดหมาย
6)�การกําหนดบทบาท¢อง½่ายต่างæ�ãน
การเรียนรÙ้
¢องการ¢องการเรียนรÙ้และนวัตกรรม� (Sustainability)
ยั่งยืน�(Transformation)
การวิจัยและการสร้างการเรียนรÙ้
< < 23
7) การวิเคราะห์�สังเคราะห์บนพื้นฐาน¢อง ¢้อมÙล�¢้อเท็จจริงและนําไปสÙ่การพัฒนาที่ ยั่งยืน
List Model for Research and Social Development
< < 24
List Model for Research and Social Development
เป‡าหมาย¢อง� LIST�MODEL� 㹡าÃÇิ¨Ñ การãช้ � List� Model� ãนการวิ จั ย นั้ น มี เ ป‡ า หมายเพื่ อ สร้ า งความรÙ ้ � นวั ต กรรม และการพั ฒ นาคน� หากต้ อ งการที่ จ ะพั ฒ นาคนãห้ มี ค วามรÙ ้ � การเรี ย นรÙ ้ � ทั ก ษะ มุ ม มอง�ค‹ า นิ ย ม�คุ ³ ธรรม�และความสุ ¢ แล้ ว �บทบาท¢อง½† า ยต‹ า งæ�จะปราก¯ ¢ึ้ น ท‹ า มกลาง¢องการพั ฒ นาคน
< < 25
List Model for Research and Social Development
1. ครอบครัว
ครอบครั ว จะท� ำ หน้ า ที่ ใ นการส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู ้ ด ้ ว ยความรั ก และพลั ง การสร้ า งสรรค์ เพื่ อ ให้ เ ด็ ก เยาวชนในครอบได้ รู ้ จั ก ว่ า สิ่ ง นั้ น คื อ อะไร (What) ท� ำ ไมเป็ น เช่ น นั้ น (Why) จะท� ำ อย่ า งไรต่ อ (How to do) ความคิ ด (Idea) ความฝั น และแรงบั น ดาลใจ (Inspiration) จะเกิ ด ขึ้ น ได้ อ ย่ า งไร หากครอบครั ว ได้ ส ่ ง เสริ ม การเรี ย นรู ้ โ ดยนั ย นี้ พลั ง และความคิ ด สร้ า งสรรค์ (Creative) ของบุ ค คลย่ อ มเริ่ ม ต้ น ขึ้ น ด้ ว ย ความรู ้ แ ละกระบวนการฝึ ก ฝนที่ แ ท้ จ ริ ง < < 26
List Model for Research and Social Development
2. สถาบันการศึกษา
สถาบั น การศึ ก ษา จะท� ำ หน้ า ที่ ใ นการพั ฒ นาความรู ้ ทั ก ษะ และสภาพแวดล้ อ มที่ เ อื้ อ ต่ อ การเรี ย นรู ้ เพื่ อ พั ฒ นากาย จิ ต ปั ญ ญา และสั ง คม (Learning and Good Health)
< < 27
List Model for Research and Social Development
3. ชุมชน
ชุ ม ชน จะท� ำ หน้ า ที่ ใ นการให้ ข ้ อ มู ล ข่ า วสาร สารสนเทศ ความรู ้ และกระบวนการที่ ไ ม่ ท อดทิ้ ง กั น (Social Inclusion) ให้ ค วามเป็ น ธรรม (Social Cohesion) และเสริ ม สร้ า งพลั ง ร่ ว มกั น (Social Empowerment) เพื่ อ ให้ ค วามสุ ข วิ ถี วั ฒ นธรรม และความยั่ ง ยื น ร่ ว มกั น
< < 28
List Model for Research and Social Development
4. ระบบโลกาภิ ว ั ต น์
ระบบโลกาภิ วั ต น์ หรื อ ระบบในสั ง คมจะท� ำ หน้ า ที่ ใ นการส่ ง เสริ ม ความเป็ น ธรรม ความเสมอภาค ความยุ ติ ธ รรมของสั ง คม เพื่ อ น� ำ ไปสู ่ ก ารสร้ า งสั น ติ ภ าพและประชาธิ ป ไตย
< < 29
List Model for Research and Social Development
5. ภู ม ิ ป ั ญ ญาสากล
ภู มิ ป ั ญ ญาสากล เป็ น สิ่ ง ที่ จ ะตอบสนองต่ อ การเข้ า ถึ ง ความรู ้ ความดี ความงามและความจริ ง ของบุ ค คล และสั ง คม ภู มิ ป ั ญ ญาสากลนั้ น คื อ ภู มิ ป ั ญ ญาที่ ไ ม่ แ ฝงด้ ว ยผลประโยชน์ ซึ่ ง คนจ� ำ นวนมากมั ก ใช้ ป ั ญ ญาใน การแสวงหาผลประโยชน์ ใ ห้ กั บ ตนและพวกพ้ อ ง เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การเข้ า ถึ ง สั จ ธรรมที่ ส ากล คื อ การที่ ม นุ ษ ย์ ทุ ก คนเกิ ด มาต้ อ งมี ก ารเกิ ด แก่ เจ็ บ ตายเหมื อ นกั น เพราะฉะนั้ น ทุ ก คนก็ เ ป็ น มนุ ษ ย์ ที่ มี ศั ก ดิ์ ศ รี เ ท่ า เที ย มกั น มี ค วามรู ้ สึ ก มี ค วามต้ อ งการพื้ น ฐาน คื อ รั ก สุ ข เกลี ย ด ทุ ก ข์ เหมื อ นกั น จึ ง ไม่ มี ใ ครเหนื อ กว่ า ใคร และการ มี เ มตตาสากล ที่ เ น้ น การสร้ า งความรั ก ความเมตตาและปรารถนาดี ต ่ อ คนอื่ น < < 30
List Model for Research and Social Development
6. วิ ถ ี แ ห่ ง ธรรมชาติ
วิ ถี แ ห่ ง ธรรมชาติ จะท� ำ หน้ า ที่ ใ นการให้ เราด� ำ รงอยู ่ ร ่ ว มกั น อย่ า งพึ่ ง พาอาศั ย การท� ำ ลายธรรมชาติ แ ละ การเบี ย ดเบี ย นท� ำ ลายล้ า ง จะท� ำ ให้ ธ รรมชาติ ข าดความสมดุ ล ไม่ เ กื้ อ กู ล ต่ อ ด� ำ รงอยู ่ และที่ ส� ำ คั ญ คื อ การ ท� ำ ให้ คุ ณ ค่ า ของชี วิ ต และการด� ำ รงอยู ่ ล ดลง การผสมผสานบทบาทของฝ่ า ยต่ า งๆ ในการวิ จั ย และการส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาดั ง กล่ า ว จะท� ำ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาคนและการพั ฒ นาสั ง คมที่ เ กื้ อ กู ล ต่ อ การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น
< < 31
List Model for Research and Social Development
¢้อตระหนักãนการประยุกต์ãช้
การวิเคราะห์ LIST MODEL List Model นั้นจะใช้ค�าถามเป็นแนวทางเสมอว่า เราจะได้เรียนรู้อะไร ใครเรียนรู้ร่วมกับ เรา เราได้สร้างสรรค์อะไรที่ท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งที่ดีกว่า ผลงานหรือนวัตกรรม ที่เกิดขึ้นนั้นก่อให้เกิดขึ้นนั้นก่อให้เกิดความรู้ ความยั่งยืน ความสุขของผู้คนใช่หรือไม่ การ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขั้นนั้นเป็นไปเพื่อคุณภาพของสังคมที่เป็นธรรมใช่หรือไม่ หากตอบแนว ค�าถามดังกล่าวได้ ถือได้ว่า มีกระบวนการใช้ List Model เพื่อการวิจัยและการพัฒนาสังคม LIST
MODEL
LIST
MODEL
LIST MODEL
LIST LIST
LIST MODEL
MODEL
MODEL
< < 32
ส�าหรับการประยุกต์ใช้ List Model นั้ น เราสามารถเสริ ม สร้ า งเรี ย นรู้ (Learning) ควบคูไ่ ปกับการตระหนัก ถึงความยั่งยืน (Sustainability) เพื่อ สร้ า งนวั ต กรรมทางความคิ ด ทาง สังคมและเทคโนโลยี (Innovation) ที่ น� า ไ ป สู่ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง (Transformation) ของผูค้ นและโลก ใบนีไ้ ด้ การตัง้ ค่าค�าถามเพือ่ วิจยั และ การพัฒนาทีใ่ ช้ List Model มิใช่เพียง เทคนิคเพื่อให้เกิดการวิจัยและการ พัฒนาเท่านั้น แต่เป็นกระบวนการที่ น�าไปสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals) ของสหประชาชาติ (UN) และการสร้างความสมดุลของสรรพ สิ่ง
LIST Model for Research and Social Development ¾ÃะÊظÕÃѵ¹ºÑ³±ิµ ÃÈ.´Ã. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์� สา¢าวิชาการพัฒนาสังคม มËาÇิ·ÂาลÑÂมËา¨ØÌาล§¡Ã³ÃาªÇิ·ÂาลÑÂ
มËาÇิ · ÂาลÑ Â มËา¨Ø Ì าล§¡Ã³ÃาªÇิ · ÂาลÑ Â อ.วั ง น้ อ ย�จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา� 13170 รหั ส ไปรษ³ี ย ์