แผนแม่บทการวิจัย

Page 1

สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ADDRESS

CONTACT

ตาบลลาไทร อาเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Tel: 035 248 072-3 Email : budrsin@mcu.ac.th

http://bri.mcu.ac.th

แผนแม่บท การวิจัย มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย ประจาปี ๒๕๖๐-๒๕๖๔ จัดทาโดย คณะกรรมการจัดทาแผนแม่บทการวิจัยและสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ผู้อานวยการจัดทา พระสุธีรัตนบัณฑิต

30.12.2559

15.12.2564


สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

แผนแม่บทการวิจัย

คานิยม สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ในฐานะส่วนงานที่รับผิดชอบงานวิจัยของมหาวิทยาลัยและส่วนงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง ได้ จั ด ท าแผนแม่ บ ทการวิ จั ย มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย ประจ าปี ๒๕๖๐-๒๕๖๔ ตามแผนพั ฒ นา มหาวิทยาลัยระยะที่ ๑๒ เพื่อเป็นนโยบาย แนวทางในการดาเนินการของสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์และส่วนงานต่างๆที่ เกี่ยวข้อง และเป็นสื่อกลางให้ทุกภาคส่วนของสังคมรับรู้รับทราบแนวทางการดาเนินงานที่สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์จะพึง ได้ปฏิบัติ เพื่อก้าวสู่การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยที่มีการพัฒนาระบบให้มุ่งสู่วิจั ยที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ด้วยการสร้าง วัฒนธรรมวิจัย เพิ่มบุคลากรที่เชี่ยวชาญด้านการวิจัย การสรรหาทรัพยากรและงบประมาณที่เพียงพอต่อการศึกษาวิจัย การเข้าร่วมเครือข่ายมหาวิทยาลัยวิจัย วางระบบสนับสนุนและแรงจูงใจ การเพิ่มผลงานวิจัย รวมถึงวางระบบการ พัฒนางานวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์อย่างครบวงจร ในนามของสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในฐานะส่วนงานที่รับผิดชอบ การวิจัยของมหาวิทยาลัย ขอขอบคุณ ผู้บริหาร และบุคลากรทุกรูป/คนที่ให้ความร่วมมือร่วมใจในการทากิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้งสนับสนุนการทาภารกิจการวิจัยของมหาวิทยาลัยให้มีความเจริญก้าวหน้าสืบไป

พระพรหมบัณฑิต อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒


สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

แผนแม่บทการวิจัย

สารบัญ เนื้อหาสาระในแผนแม่บทมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีเนื้อหาที่เป็นส่วนสาคัญของ กระบวนการจัดทาแผนโดยมีการกาหนดเป็นส่วนย่อยๆดังต่อไปนี้ ส่วนที่๑

ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจแผนแม่บทการวิจัย

๐๑

ส่วนที่๒

ยุ ทธศาสตร์แผนแม่บทการวิจัย (๒๕๖๐-๒๕๖๔)

๐๗

ยุ ทธศาสตร์ท่ี ๑ : การพัฒนาองค์ความรู้

๑๐

ยุ ทธศาสตร์ท่ี ๒ : การพัฒนานักวิจัย

๑๑

ยุ ทธศาสตร์ท่ี ๓ : การจัดการความรู้

๑๑

ยุ ทธศาสตร์ท่ี ๔ : การเสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

๑๒

ยุ ทธศาสตร์ท่ี ๕ : การพัฒนาระบบการบริหารการวิจัย

๑๒

ยุ ทธศาสตร์ท่ี ๖ : การพัฒนาการเรียนการสอน

๑๒

เป้ าหมายการวิจัยตามแผนยุ ทธศาสตร์

๑๓

เกณฑ์บ่งชีก้ ารวิจัยตามแผนแม่บทการวิจัย

๑๕

กลไกการติดตามและประเมินผลแผนแม่บทการวิจัย

๒๐

รูปแบบและระบบการติดตามและประเมินผล

๒๑

กลไกการปฏิบัติงานตามแผน

๒๑

มาตรฐานและตัวชีว้ ัดความสาเร็จของแผนพัฒนาสถาบันวิจัยพุ ทธศาสตร์

๒๒

สรุ ป

๒๒

ส่วนที่๓


ปรัชญา ปณิธาน วิสยั ทัศน์ พันธกิจ แผนแม่บทการวิจัย

ส่วนที่

๐๑


สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

แผนแม่บทการวิจัย

ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ และพันธกิจ มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬาลงกรณราชวิ ท ยาลั ย โดย สถาบันวิจัยพุ ทธศาสตร์ และส่วนงานที่เกียวข้อง ได้ จัดทาแผนแม่บทการวิจัยของมหาวิทยาลัยมหาจุ ฬา ลงกรณราชวิทยาลัย

โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ และ แผนงานการวิจัยที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ยุทธศาสตร์การวิจัยของสานักงาน คณะกรรมการการวิ จั ย แห่ ง ชาติ (วช.) แผนพั ฒ นา มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย โดยใน แผนพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย ระยะที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐๒๕๖๔) สถาบั น วิ จั ย พุ ท ธศาสตร์ แ ละคณะท างานได้ จัดทาแผนแม่บทการวิจัยของมหาวิทยาลัยดังนี้

ปรัชญา

ปณิธาน

สร้างสรรค์การวิจัยทางพระพุทธศาสนา กับศาสตร์สมัยใหม่เพื่อพัฒนาจิตใจและ สังคม

เ ป็ น ศู น ย์ ก ล า ง ก า ร วิ จั ย ท า ง พระพุ ท ธศาสนาแบบบู ร ณาการใน ระดับชาติและนานาชาติ

วิสัยทัศน์ องค์ ก รแห่ งการวิ จั ย เชิ งพุ ท ธบู ร ณาการ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

พันธกิจ ๑. การพัฒนาองค์ความรู้ กระบวนการวิจัย และผลงานวิจัยเชิงพุทธบูรณาการเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ๒. การพัฒนานักวิจัย จริยธรรมการวิจัย และเสริมสร้างเครือข่ายการวิจัยทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ๓. ส่งเสริมการจัดการความรู้ การเผยแพร่และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้และผลงานวิจัยเพื่อการพัฒนา สังคมและกิจการคณะสงฆ์ ๔. การสร้างนวัตกรรมการวิจัยและสนับสนุนภาคีวิชาการวิจัย(Think Tank/Excellence Center)ในการ สร้างสรรค์สังคมอุดมปัญญา ๕. การพัฒนาระบบการบริหารการวิจัยและกองทุนการวิจัยของมหาวิทยาลัยที่มีประสิทธิภาพ ๖. การบู ร ณาการการวิ จั ย กับ การเรีย นการสอนและพั นธกิ จ ของมหาวิ ท ยาลั ยมหาจุ ฬ าลงกรณราช วิทยาลัย


แผนแม่บทการวิจัย

สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

เป้ าประสงค์ และยุ ทธศาสตร์การวิจยั มหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยสถาบันวิจัยพุ ทธศาสตร์ และส่วนงานที่เกียวข้อง ได้กาหนด เป้ าประสงค์และยุ ทธศาสตร์การวิจัยไว้ดังนี้

เป้ าประสงค์ ๑. มหาวิทยาลัยมีองค์ความรู้ รูปแบบ และกระบวนการวิจัย รวมทั้งผลงานวิจัยทางพระพุทธศาสนาเชิงบูรณาการที่ได้รับการ เผยแพร่ การประยุกต์ใช้ เพื่อการพัฒนาจิตใจและสังคมอย่าง ยั่งยืนทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ๒. มหาวิทยาลัยมีนักวิจัยที่มีคุณภาพ มีจริยธรรม และมาตรฐานการวิจัย และเครือข่ายความร่วมมือการวิจัยทั้งใน และต่างประเทศ เพื่อเป็นศูนย์บริการข้อมูลเพื่อการวิจัยและการ พัฒนาด้านพระพุทธศาสนาและการพัฒนาที่ยั่งยืน ๓. มหาวิ ท ยาลั ย มี ก ารบู ร ณาการองค์ ค วามรู้ ผลการวิจัย และงานสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้พระพุทธศาสนา เชิ ง บู ร ณาการ รวมทั้ ง ในการสนั บ สนุ น เรี ย นการสอน งาน สร้างสรรค์ การพัฒนาสังคม กิจการคณะสงฆ์ และการทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรมตามพันธกิจของมหาวิทยาลัย ๔. มหาวิ ท ยาลั ย มี ร ะบบการส่ ง เสริ ม การวิ จั ย ใน ลักษณะสหวิทยาการและการพัฒนาเชิงพื้นที่ (Social lap) บน พื้นฐานของพุทธธรรมและการพัฒนาที่ยั่งยืน ๕. มหาวิทยาลัยมีผลงานการสร้างสรรค์ นวัตกรรม การวิจัย และสนับสนุนภาคีวิชาการวิจั ย (Think Tank) ในการ สร้างสรรค์สังคมอุดมปัญญา ๖. การพัฒนาระบบการบริหารการวิจัย และกองทุน การวิ จั ย ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและความโปร่ ง ใสที่ ส อดคล้ อ งกั บ นโยบาย ยุ ท ธศาสตร์ ก ารวิ จั ย และงานสร้ า งสรรค์ ข อง มหาวิทยาลัยและการพัฒนาที่ยั่งยืน

ยุ ทธศาสตร์ด้านการวิจัย ยุทธศาสตร์ที่ ๑ : การพัฒนาองค์ความรู้และผลงานวิจัยเชิงพุทธ บูรณาการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : การพัฒนานักวิจัย การเสริมสร้างจริยธรรมการ วิจัย และเครือข่ายการวิจัยทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : การจัดการความรู้ การเผยแพร่และการ ประยุกต์ใช้องค์ความรู้และผลงานวิจัยเพื่อการพัฒนาสังคมและ กิจการคณะสงฆ์ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ : การเสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ด้วยองค์ ความรู้และกระบวนการวิจัยอย่างสร้างสรรค์ ยุทธศาสตร์ที่ ๕ : การพัฒนาระบบการบริหารการวิจยั กองทุน การวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ ๖ : การพัฒนาการเรียนการสอน ฐานข้อมูลวิจัย และการเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลเพื่อสนองพันธกิจของ มหาวิทยาลัยและการพัฒนาที่ยั่งยืน


สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

แผนแม่บทการวิจัย

แผนแม่บทการวิจัย มหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ยุ ทธศาสตร์ท่ี ๑ : การสร้างองค์ความรู้

ยุ ทธศาสตร์ท่ี ๒ : การพัฒนานักวิจัย

- การวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ(๔.๐) - การวิจัยเพื่อพันธกิจมหาวิทยาลัย - การวิจัยเพื่อพุทธศาสน์มั่นคง ธารง ศีลธรรม นาสังคมสันติสุข (๓๐%)

- การพัฒนานักวิจัยมืออาชีพ ยกย่อง นักวิจัย - การเสริมสร้างจริยธรรมการวิจัย - การสร้างเครือข่ายการวิจัยใน ระดับชาติและนานาชาติ

ยุ ทธศาสตร์ท่ี ๓ : การจัดการความรู้

ยุ ทธศาสตร์ท่ี ๔ : สร้างสังคมการเรียนรู้

- การจัดการความรู้ทางการวิจยั - การเผยแพร่ผลงานวิจัย/วารสาร TCI - การประยุกต์และการนาผลการวิจัย ไป ใช้ประโยชน์เพื่อสังคม

- Think Tank International - การวิจัยเพื่อตอบโจทก์สังคม (Hot Issue) - การวิจัยสหวิทยาการ (Excellence Center) เพื่อสังคมอุดมปัญญา

ยุ ทธศาสตร์ท่ี ๕ : การบริหารงานวิจัย

ยุ ทธศาสตร์ท่ี ๖ : การพัฒนาระบบฐานข้อมู ล

- การพัฒนาระบบ/กลไกการบริหาร งานวิจัย - การพัฒนาและบริหารกองทุนการวิจัย - การพัฒนาพื้นที่การวิจัย Social Lap ศูนย์กลางวิจัยในพื้นที่

- การพัฒนาระบบฐานข้อมูลการวิจัย - การเป็นศูนย์การบริการข้อมูลการ วิจัยเชิงพุทธ - การพัฒนาพัฒนาการเรียนการสอน โดยใช้กระบวนการวิจยั


แผนแม่บทการวิจัย

สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

ถ้อยแถลงผู อ้ านวยการสถาบันวิจัยพุ ทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์แห่ง คณะสงฆ์ไทย ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์พระ จุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว รั ช กาลที่ ๕ ได้ ท รงสถาปนาขึ้ น เพื่ อ เป็ น สถานศึกษาพระไตรปิฎกและวิชาชั้นสูง สาหรับพระภิกษุสามเณรและ คฤหัสถ์ทั่วไป มหาวิทยาลัย มีปณิธานอันมั่งคงในการที่จะเป็นศูนย์รวม แห่ งวิ ท ยาการด้ า นต่ า งๆ ที่ มี คุ ณ ค่ า ต่ อ มวลมนุ ษ ย์ มุ่ งมั่ น ในการท า หน้าที่ให้การศึกษา ค้นคว้า วิจัย แสวงหาความรู้ เกี่ยวกับวิชาการทาง พระพุทธศาสนาและประยุกต์ เข้า กับ ศาสตร์ส าขาต่า งๆ อันจะเป็ น ประโยชน์ ต่อการพัฒนาวิชาการของมหาวิทยาลัยและพระพุทธศาสนา ให้นาไปสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ และความเป็นสากล อีกทั้งจะทา หน้ า ที่ เ ป็ น แหล่ ง ให้ บ ริ ก ารความรู้ เ กี่ ย วกั บ กั บ วิ ช าการทาง พระพุทธศาสนา ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอันจะก่อให้เกิดการ พัฒนามวลมนุษย์ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ปั จ จุ บั น มหาวิ ท ย าลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย มี สถานภาพเป ็นมหาวิทยาลัยของรัฐในกากับของรัฐบาลและเป็นนิติ บุคคลเน้นจัดการศึกษาวิชาการด้านพระพุทธศาสนา สังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์ โดยรับผิดชอบในการผลิตบัณฑิตทั้งระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก นอกจากนั้น ยังมีภารกิจใน ด้ า นการวิ จั ย การบริ ก ารวิ ช าการแก่ สั ง คม การท านุ บ ารุ ง ศิลปวัฒนธรรม และการส่งเสริมพระพุทธศาสนา ดังนั้น ภายใต้แผนแม่บทการวิจัยของมหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย จึงเชื่อมั่นได้ว่าจะนาไปสู่การบรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการพัฒนาสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ตามปณิ ธานที่ ก าหนดไว้ ว่ า “ศู น ย์ ก ลางการวิ จั ย พระพุ ท ธศาสนา บู ร ณาการกับ ศาสตร์ ส มั ย ใหม่ เพื่ อ พั ฒ นาจิ ต ใจและปั ญ ญาในระดั บ ชาติ แ ละ นานาชาติ” และบรรลุตามพันธกิจด้านที่ ๒ ที่มหาวิทยาลัยกาหนดไว้ คือ การวิจัยและพัฒนาความรู้ที่สร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ต่อสังคม การส่งเสริมพระพุทธศาสนาและการให้บริการแก่สังคมด้วยมาตรฐาน แห่งความรู้และจิตสานึกในคุณธรรม และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ของไทยให้เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตและการจัดการทางสังคม

พระสุธีรัตนบัณฑิต ผู้อานวยการสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ ๕


สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

แผนแม่บทการวิจัย

ความสอดคล้องกับยุ ทธศาสตร์ของชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ และแผนการวิจัยของชาติ ฉบับที่ ๙ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาคน การสร้างโอกาสและความเสมอ ภาคทางสังคม การพัฒนาที่ยงั่ ยืน ดังนี้ กรอบยุ ทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี - ความมั่นคง - ความสามารถในการแข่งขัน - การพัฒนาคน - การสร้างโอกาสความเสมอ ภาคและความเท่าเทียมกัน ทางสังคม - การเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - การพัฒนาระบบบริหาร จัดการภาครัฐ/ธรรมาภิบาล - การสร้างความสมดุลยังยืนของ สังคมและการพัฒนา - Sustainable Development Goal

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ๑๒ - การพัฒนาคน - ลดความเหลื่อมล้าในสังคม - การสร้างความเข้มแข็งทาง เศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่าง ยั่งยืน - เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - ความมั่นคง - ประสิทธิภาพและธรรมาภิบาล ในภาครัฐ - การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน - วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม - การพัฒนาเมืองและพื้นที่ เศรษฐกิจ - การต่างประเทศ

แผนการวิจัยแห่งชาติฉบับที่๙ - สร้างสังคมฐานความรู้การวิจัย - ความสามารถในการแข่งขัน - การพัฒนานักวิจัยมืออาชีพ - การสร้างนวัตกรรมการวิจัย - ส่งเสริมกระบวนการวิจัย - การพัฒนาระบบนิเวศการวิจัย - การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ - การสร้างและใช้องค์ความรู้ - Research and Development - การสร้างมาตรฐานการวิจัย - การลงทุนการวิจัย

แผนแม่บทการวิจัย มหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิทยาลัย (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) - การพัฒนาคน (นักวิจัย เครือข่ายการวิจัย จริยธรรมการวิจัย เมธีวจิ ัย) - การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้และการวิจัย (Think Tank, การบูรณาการองค์ความรู้ ผลงานวิจัยเพือ่ การเรียนรู้ การประยุกต์ใช้ การเผยแพร่ สร้างสรรค์) - การพัฒนาระบบการบริหารงานวิจัย (ธรรมาภิบาล ,Social lap, Integrated, กองทุนการวิจัย ฯลฯ ) - ความสามารถในการเรียนรู้และนวัตกรรม (องค์ความรู้การพัฒนาสังคม ,การผลิตผลงานสร้างสรรค์ ,การสร้างนวัตกรรม , ที่ยั่งยืน)


ยุ ทธศาสตร์ ของแผนแม่บทการวิจัย

ส่วนที่

๐๒


สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

แผนแม่บทการวิจัย

แผนยุ ทธศาสตร์การวิจัย มหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยได้กาหนดยุทธศาสตร์ไว้ว่า “การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้เพื่อเพิ่มศักยภาพการ วิจัยทางพระพุทธศาสนาระดับชาติและนานาชาติ” โดยมีเป้าประสงค์คือ “มหาวิทยาลัยมีผลงานวิจยั ทางพระพุทธศาสนาที่ได้รับการ เผยแพร่ และประยุกต์ใช้พัฒนาจิตใจและสังคมในระดับชาติและนานาชาติ” โดยมีกลยุทธ์ ดังนี้

พั ฒ นานั ก วิ จั ย ผลิ ต ผลงานวิ จั ย ด้ า น พระพุ ท ธศาสนาที่ ค รอบคลุ ม ทุ ก กลุ่ ม ความรู้และสร้างเครือข่ายความร่วมมื อ นั ก วิ จั ย และการวิ จั ย ระดั บ ชาติ แ ละ นานาชาติ

ส่งเสริมและสนับสนุนการนาองค์ความรู้ จากการวิ จั ย ไปใช้ ใ นการเรี ย นการการ สอน พั ฒ นาตนงาน พั ฒ นาสั งคมและ กิ จ การคณะสงฆ์ ทั้ ง ในระดั บ ชาติ แ ละ นานาชาติ ส่งเสริมให้มีการเผยแพร่ผลงานวิจยั ในละดับชาติและนานาชาติ

ส่ งเสริ ม ให้ ผ ลการวิ จั ย ได้ รั บ การอ้ า งอิ ง การน าเสนอ การน าไปใช้ การตี พิ ม พ์ และได้รับรางวัลระดับชาติและนานาชาติ

พัฒนาระบบการบริห ารการจัดการ งานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ


สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

แผนแม่บทการวิจัย

่ (๒๕๖๐-๒๕๖๔) นโยบายและแผนยุ ทธศาสตร์การวิจยั ของชาติ ฉบับที๙ สภาวิจัยแห่งชาติและสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ โดยความร่วมมือของภาคีวจิ ัยต่างๆ ได้กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การ วิจัยไว้บนพื้นฐานแนวคิดและความต่อเนื่องจากนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ ฉบับที่ ๗ ดังนี้ ๑. เน้นการบูรณาการด้านการว ิจัยที่สอดคล้องกับแนวนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ สามารถเชื่อมโยงกับ แนวทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒) ความ ต่อเนื่องของนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติและการ ปฏิรูประบบวิจัยของประเทศ โดยการวิจัยจะตอบสนองความต้องการของชุมชนและปัญ หาที่สำคญ ั เร่งด่ว นเพื่อการพัฒนาประเทศ พร้อมกบั ดำเนินการควบคูก่ ับการวิจัยเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ อันเป็นรากฐานอันสำคัญ ของการพัฒนาประเทศ อย่างสมดุล และยั่งยืน ทั้งนี้ มุ่งให้เกิดการมีส ่ว นร่ว มจากทุกภาคส ่ว นที่เกี่ย วขอ้ งกับการว ิจัย ทั้งจากหน ่ว ยงานที่มี ภารกิ จ ประจำตามหน้า ที่ (function) ภารก ิ จ ตามนโยบายและย ุ ท ธศาสตร ์ข องชาต ิ ห ร ือ ร ั ฐ บาล (agenda) (area) ซึ่ ง จะส ่ง ผลให ้ก ารดำเน ิน การตาม ยุทธศาสตร์การวิจัยในระดับหน่วยงานและภูมิภาค เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการงานวิจัยและการบริหารงบประมาณเพื่อการ พัฒนาภูมิภาคต่าง ๆ อันจะทาให้เกิดประสิทธิผลต่อการพัฒนาประเทศโดยรวม ๒. ให้ทุกภาคส่วนที่เ กี่ยวกับ การวิจัย ตลอดจนในพื้นที่ไ ด้มีส่ว นร่ว มกันเสนอแนะ ปฏิบัติ และ ติดตามผล เพื่อให้เกิด การพัฒนางานวิจัยในทุกภาคส่ว นและทุกระดับของประเทศ อีกทัง้ เพื่อส่งเสริมให้เกิด งานวิจัยทีม่ ีการต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่นและ ตอบสนองการพัฒนาประเทศมากขึ้น ๓ เน้นงานวิจัยที่สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย ฉบับที่ ๙(พ.ศ. ๒๕๖๐ -๒๕๖๔) ซึ่งมีการกำหนดกลยุทธ์การ วิจัยที่สอดรับกบั แนวทางการพฒ ั นาประเทศบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยมี จุดเน้นที่สอดคล้องกบั บริบทการเปลี่ยนแปลงและ ภาวะความเสี่ยงในเชิงเศรษฐกจิ สังคม และสิ่งแวดล้อม ทีค่ าดว่า จะเกดิ ขึ้นในอนาคต โดยให้สามารถนาผลการวิจัยที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ ในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และสาธารณะ ในระดับชมุ ชนและระดับประเทศ ตลอดจนเชื่อมโยงสู่การนำผลการวิจัยไปสู่การลงทุนในเชิง พาณิชย์ให้มากยิ่งขึ้น ๔. จัดสรรงบประมาณการวิจัยให้กระจายไปยังหน่วยงานต่างๆ รวมทัง้ ในภูมิภาค โดยมีกระบวนการ บริหารจัดการงบประมาณ เพื่อการวิจัยอย่างมีประสิทธิภ าพ และมีกลไกกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือระหว่าง หน่วยงานวิจัยในสว่ นกลางและในส่วนภูมิภาค อัน จะนำไปสู่การสร้างเครือขา่ ยการวิจัยและพัฒนาการพัฒนา ศูนย์กลางการวิจัยเฉพาะทาง และการพัฒนาบุคลากรการวิจัยร่วมกัน ๕ ขั บ เคลื่อ นยุ ท ธศาสตร์ ก ารวิ จั ย ของชาติ (พ. ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) อย่ า งเป็ น เอกภาพและมี ประสิทธภิ าพ โดยมีการ ดำเนินการวิจัยและติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่องและเปน็ ระบบ โดยกำหนดแนวทาง ในการติด ตามและประเมิน ผลการว ิจัย รวมทัง้ ติดตามผลการใช้จ่ายงบประมาณเพื่อการวิจัยให้เป็นไปตาม ระยะเวลาและเป้าหมายที่กำหนดไว้ ๖. ให้นโยบายและยทุ ธศาสตร์การวิจัยของชาติ ฉบับที่ ๙ (พ. ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) เป็นพื้นฐานเชงิ นโยบายที่เชื่อมโยงกับการ ปฏิรูประบบวิจัยของประเทศ และนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของหน่วยงานต่าง ๆ ซึ่ง จะนาไปสู่การพัฒนางานวิจัยที่มีคุณภาพ เพื่อการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืนของประเทศนโยบายการวิจัยของชาติดังกล่าว รองรับวิสัยทัศน์การวิจัยของชาติ คือ “ประเทศ ไทยม ีแ ละใช้ งานวิจัยที่มีคุณภาพ เพื่อการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน” โดยมีพันธกจิ การวิจัยของชาติ คือ “พัฒนาศักยภาพ และขีด ความสามารถในการวิจัยของประเทศให้สูงขึ้น และสร้างฐานความรู้ที่มีค ุณค่า สามารถประยุกต์และพัฒนาวทิ ยาการที่เหมาะสมและ แพร่หลาย รวมทัง้ ให้เกิดการเรียนรู้และต่อยอดภูมปิ ัญญาท้องถิ่น เพือ่ ให้เกิด ประโยชนเ์ ชิงพาณิชย์และสาธารณะ ตลอดจนเกิดการพัฒนา คุณภาพชีวิต โดยใช้ทรัพยากรและเครือข่ายวิจัย อย่างมีประสิทธิภาพ ที่ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม” เพ ื่อ ให้บ รรลุต ามวิสั ย ทัศ น์แ ละพัน ธ กิจการวิจัย ของชาติ (พ. ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔) ๙


สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

แผนแม่บทการวิจัย

โดยมีการกาหนดเป้าหมายไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ และกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ที่มุ่งเน้นการพัฒนาคน การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ดังนี้ กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี - ความมั่นคง - ความสามารถในการแข่งขัน - การพัฒนาคน - การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมกันทางสังคม - การเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - การพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ - เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฯ ๑๒ - การพัฒนาคน - ลดความความเหลื่อมล้าในสังคม - การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน - เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - ความมั่นคง - ประสิทธิภาพและธรรมาภิบาลในภาครัฐ - การพัฒนาโครงการสร้างพื้นฐาน - วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม - การพัฒนาเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจ - การต่างประเทศและภูมภิ าค

ยุ ทธศาสตร์การวิจยั ของแผนแม่บทการวิจยั มหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิทยาลัย จากนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ของสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติและของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัยดังกล่าว สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์และส่วนงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจึงกาหนดยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ : การพัฒนาองค์ความรู้และผลงานวิจัยเชิงพุทธบูรณาการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : การพัฒนานักวิจัย การเสริมสร้างจริยธรรมการวิจยั และเครือข่ายการวิจัยทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : การจัดการความรู้ การเผยแพร่และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้และผลงานวิจัยเพื่อการพัฒนาสังคมและกิจการคณะสงฆ์ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ : การเสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ด้วยองค์ความรู้และกระบวนการวิจัยอย่างสร้างสรรค์ ยุทธศาสตร์ที่ ๕ : การพัฒนาระบบการบริหารการวิจยั กองทุนการวิจัยและงานสร้างสรรค์ทมี่ ีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ ๖ : การพัฒนาการเรียนการสอน ฐานข้อมูลวิจัย และการเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลเพื่อสนองพันธกิจของมหาวิทยาลัยและ การพัฒนาที่ยั่งยืน

ยุทธศาสตร์ที่ ๑ : การพัฒนาองค์ความรู้และผลงานวิจัยเชิงพุทธบูรณาการเพื่อการพัฒนาทีย่ ั่งยืน เป้าประสงค์ เพื่อการพัฒนาองค์ความรู้ รูปแบบและกระบวนการวิจัย ผลงานวิจัยเชิงพุทธบูรณาการ โดยมุ่งไปสู่ ความเป็นเลิศทางการวิจัยตามหลั กพระพุทธศาสนา ส่งเสริมและพัฒนาการวิจัยของมหาวิทยาลัยที่เป็นระบบและได้ มาตรฐานการวิจัย รวมทั้งส่งเสริมการสร้างสรรค์องค์ความรู้ ผลงานวิจัยเชิงบูรณาการ การสร้างนวัตกรรมทางเศรษฐกิจ และสังคม โดยมีกลยุทธ์ ดังนี้

๑๐


สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

แผนแม่บทการวิจัย

๑. พัฒนาองค์ความรู้ ผลงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ทางพระพุทธศาสนาเชิงบูรณาการที่ครอบคลุมทุก กลุ่มความรู้และศาสตร์สมัยใหม่ ๒. พัฒนานวัตกรรมและผลงานสร้างสรรค์ที่เป็นองค์ความรู้เพื่อต่อทางเศรษฐกิจ นวัตกรรมทางสังคมที่ สามารถสร้างสรรค์สังคมอุดมปัญญา ๓. ส่งเสริมและพัฒนาการวิจัยเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง ทางพระพุทธศาสนา ภูมิปัญญาท้องถิ่น การ ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม กิจการคณะสงฆ์ และการพัฒนาสังคมตามแนวพุทธ ๔. ส่ง เสริม อนุรัก ษ์ และพัฒ นาการวิจัย เพื่อ เพิ่ม คุณ ค่า ทางพระพุท ธศาสนา คุณ ธรรม จริย ธรรม ศิลปวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย ๕. การส่งเสริมการวิจัย การเรียนรู้ และการดารงวิถีชีวิตตามวิถีพุทธ ยุทธศาสตร์ ที่ ๒ : การพัฒนานักวิจั ย การเสริ มสร้ า งจริ ยธรรมการวิจั ย และเครื อข่า ยการวิ จั ย ทั้ง ในระดั บ ชาติ และนานาชาติ เป้าประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพและมาตรฐานการวิจัยของคณาจารย์ นักวิจัยและบุคลากรของมหาวิทยาลัย และการเสริมสร้างจริยธรรมการวิจัยในระดับสากล เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายการวิจัย การพัฒนาเครือข่ายการวิจัยในพื้นที่ และสร้างห้องปฏิบัติการวิจัยทางสังคม (Social Lap) โดยมีกลยุทธ์ ดังนี้ ๑. การพัฒนาขีดสมรรถนะและศกั ยภาพทางการวิจัยของคณาจารย์ นักวิจัย และบุคลากรของมหาวิทยาลัยบนพืน้ ฐานของ หลักพุทธธรรมและธรรมาภิบาล ๒. การส่งเสริมจริยธรรมการวิจัย ๓. การพัฒนาองค์ประกอบ ตัวชี้วัดและมาตรฐานการการวิจัยในมนุษย์เชิงพุทธ ๔. การยกระดับการวิจัยให้มีมาตรฐานสากล ๕. การเสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางการวิจัยในระดับชาติและนานาชาติ ๖. การเสริมสร้างมาตรฐานการวิจยั ที่ได้รับการยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ ๗. การพัฒนาเครือข่ายการวิจัยในพื้นที่และการเสริมการวิจยั ทางสังคม (Social Lap) ๘. การประชุมสัมมนาวิจยั ในระดับชาติและนานาชาติ

ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : การจัดการความรู้ การเผยแพร่และการประยุกต์ใช้องค์ความรู้และผลงานวิจัยเพื่อการพัฒนาสังคมและ กิจการคณะสงฆ์ เป้าประสงค์ เพื่อบูรณาการองค์ความรู้และกระบวนการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในมหาวิทยาลั ย กิจการคณะสงฆ์ การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม การบริการวิชาการด้านการวิจัยแก่สังคม และการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมีกล ยุทธ์ดังนี้ ๑. การบูรณาการองค์ความรู้และกระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในระดับต่างๆ ภายใน มหาวิทยาลัยและเครือข่ายการศึกษา ๒. การบูรณาการผลงานวิจัยและกระบวนการวิจัยเพื่อสนับสนุนกิจการคณะสงฆ์ ๑๑


แผนแม่บทการวิจัย

สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

๓. การใช้องค์ความรู้กระบวนการวิจัยเพื่อการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ๔. การบริการวิชาการด้านการวิจัยแก่สังคม และการพัฒนาทีย่ ั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ ๔ : การเสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ด้วยองค์ความรู้และกระบวนการวิจัยอย่างสร้างสรรค์ เป้าประสงค์ เพื่อการพัฒนาชุดความรู้และแนวปฏิบัติที่ตอบสนองความต้องการของสังคมในลักษณะของ ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู้ แ ละเครื อ ข่ า ยวิ ช าการ (excellence center) และการเผยแพร่ ผ ลงานวิ จั ย และงานสร้ า งสรรค์ เ พื่ อ สร้างสรรค์สังคมแห่งการเรียนรู้ โดยมีกลยุทธ์ ดังนี้ ๑. ส่งเสริมให้มีการเผยแพร่ผลงานวิจัยในระดับชาติและนานาชาติ ๒. ส่ งเสริ มให้ ผ ลการวิจั ย ได้รั บ การอ้ างอิ ง การนาเสนอ การนาไปใช้ การตีพิมพ์ และได้รับรางวั ล ระดับชาติและนานาชาติ ๓. พัฒนาวารสารของสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ที่ได้มาตรฐานระดับสูง ๔. การสร้างและพัฒนาศูนย์วิชาการ (excellence center) ยุทธศาสตร์ที่ ๕ : การพัฒนาระบบการบริหารการวิจัย กองทุนการวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่มีประสิทธิภาพ เป้า ประสงค์ : เพื่อส่งเสริมและปฏิรูประบบการบริห ารงานวิจัยของมหาวิทยาลัยตามหลักธรรมาภิ บาล โดยการบร ิห ารจ ัด การความรู้ การส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู้ การพั ฒ นานวั ต กรรมและภูม ิป ัญ ญาบูร ณาการของ มหาวิ ท ยาลั ย สู่การใช้ประโยชน์ในมิติที่หลากลาย โดยมีกลยุทธ์ ดังนี้ ๑. พัฒนาระบบการบริหารการจัดการงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ ๒. การวิเคราะห์และประเมินผลการพัฒนาศักยภาพและความสามารถด้านการวิจัยของมหาวิทยาลัย ที่มี ประสิทธิภาพ ๓. การบริหารความเสี่ยง การบริหารจัดการความรู้ การวิ เ คราะห์ ผลงานวิจัย นวัตกรรมและภูมิปัญญา บูรณาการเพื่ อ นาสู่การใช้ประโยชน์ที่หลากหลาย ๔. การเสริมสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้บนพื้นฐานของการวิจัย ยุ ทธศาสตร์ ที่ ๖ : การพั ฒนาการเรี ยนการสอน ฐานข้ อมู ลวิ จั ย และการเชื่ อมโยงระบบฐานข้ อมู ลเพื่ อสนองพั น ธกิ จ ของมหาวิทยาลัยและการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าประสงค์ เพื่อการพัฒนาการจัดการองค์ความรู้และการเผยแพร่การวิจัยทางพระพุทธศาสนาเชิงบูรณา การ เพื่อให้เ กิด ประโยชน์ต่อการพัฒ นาจิตใจและสังคม รวมทั้งการนาไปใช้ประโยชน์ในเชิง วิชาการ เชิงพาณิชย์ เชิง นโยบาย ประโยชน์ต่อสาธารณะ และการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมีกลยุทธ์ ดังนี้ ๑๒


แผนแม่บทการวิจัย

สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

๑. การพัฒนาการวิจัยและการจัดการองค์ความรู้ทางพระพุทธศาสนา หลักพุทธธรรม การวิเคราะห์คัมภีร์ ในเชิงบูรณาการกับศาสตร์ต่างๆ ๒. ส่งเสริมและสนับสนุนการนาองค์ความรู้จากการวิจัยไปใช้ในการเรี ยนการสอน การพัฒนาบุคคลและ สังคมทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ๓. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลการวิจัย นักวิจัย ผู้เชี่ยวชาญการวิจัย เพื่อการพัฒนาสังคมและชุมชน ท้องถิ่น ๔. เชื่อมโยงการวิจัยกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goal) ๕. การพัฒนาระบบเครือข่ายและเทคโนโลยีเพื่อการวิจัย เป้าหมายการวิจัยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยตามแผนยุทธศาสตร์ประจาปี ๒๕๖๐-๒๕๖๔ จากยุทธศาสตร์และเป้าหมายดังกล่าวสามารถนามาประยุกต์เป็นตาราง เพื่อให้เกิดความชัดเจนในเป้าหมาย ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ดังนี้

ระดับของเป้าหมาย

เป้าหมาย

ระดับนานาชาติ

- มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการ วิจัยด้านพระพุทธศาสนาเชิงบูรณาการร่วมกับมหาวิทยาลัยและองค์กร นานาชาติ - มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีมาตรฐานการวิจัย และมี มาตรฐานด้ายจริยธรรมการวิจัยและวิชาการด้านพระพุทธศาสนาใน ระดับสูง และได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติว่า สามารถเสริมสร้าง การวิจัยและการเรียนรู้ทางด้านพระพุทธศาสนาเชิงบูรณาการและมี ผลงานเผยแพร่ในระดับนานาชาติ - มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีบทบาทในการส่งเสริม ความสัมพันธ์อันดีกับประเทศเพื่อนบ้านในด้านการวิจัยและการส่งเสริม พระพุทธศาสนาและศิลปวัฒนธรรม - มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สามารถร่วมการจัดการวิจัย และการศึกษากับมหาวิทยาลัย/องค์กรที่เกี่ยวข้องในภูมิภาค - มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สามารถพัฒนาความร่วมมือใน ด้านการปริวรรตและแปลคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนากับประเทศเพื่อนบ้าน รวมทั้งสามารถส่งเสริมเพื่อการพัฒนาองค์ความรู้ทางพระพุทธศาสนา

๑๓


สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

แผนแม่บทการวิจัย

ระดับของเป้าหมาย

เป้าหมาย

- มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้รับการยอมรับจาก สังคมไทยในด้านการจัดการวิจัยและการศึกษาด้านพระพุทธศาสนาเชิง บูรณาการในระดับสูง - มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สามารถเป็นกลไกสาคัญที่ นาไปสู่การเสริมสร้างความรู้และจริยธรรมด้านการวิจัยต่อสังคมไทย - มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สามารถจัดระบบการวิจัย เพื่อให้คณะสงฆ์ นิสิตและประชาชนทั่วไปนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่าง กว้างขวางและมีประสิทธิภาพ - มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สามารถบริหารจัดการงานวิจัย และการพัฒนาองค์กรตามหลักความโปร่งใสหลักธรรมาภิบาลได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และมีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัยและการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งทางวิจัยได้ในระดับดี รวมทั้งมีชุดความรู้จากการวิจัยที่มี คุณภาพ - บุคลากรของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีมาตรฐานทาง วิชาชีพและมาตรฐานการทางานที่มีประสิทธิภาพ - มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สามารถพัฒนาไปสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้และการแบ่งปันทรัพยากรระหว่างองค์กรโดยใช้หลักการ เก่ง และ ดี - มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สามารถสร้างสรรค์งานวิจัย และจัดให้มีการบริการวิชาการด้านพระพุทธศาสนาได้อย่างเหมาะสม โดย สามารถผลิตผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการได้ตามมาตรฐานตามที่ มหาวิทยาลัยกาหนด - มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย สามารถพัฒนานักวิจัยอย่าง ต่อเนื่องและมีเครือข่ายงานวิจัยที่สร้างสรรค์ ระดับบุคคลและสถาบัน - คณาจารย์และบุคลากรของมีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัยและการ เสริมสร้างความเข้มแข็งทางวิจัยได้ในระดับดี รวมทั้งมีชุดความรู้จากการ วิจัยที่มคี ุณภาพ - มีมาตรฐานทางวิชาชีพ และมีความมั่นคงทางสวัสดิการที่ มหาวิทยาลัยจัด ให้อย่างเหมาะสม - บุคลากรของมหาวิทยาลัย ได้รับการส่งเสริมและการพัฒนาทางการวิจัย ความรู้ และทักษะในการปฏิบัติการวิจัยอย่างต่อเนื่อง - บุคลากรของมีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัยและการเสริมสร้างความ เข้มแข็งทางวิจัยได้ในระดับดี รวมทั้งมีชุดความรู้จากการวิจัยที่มคี ุณภาพ ระดับประเทศ

๑๔


แผนแม่บทการวิจัย

สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

ระดับของเป้าหมาย

เป้าหมาย

- สามารถผลิตผลงานทางวิชาการ การวิจัยได้ระดับดีและมีมาตรฐานเป็นที่ ยอมรับในทางวิชาการในระดับประเทศและสามารถสร้างสรรค์ผลงานวิจัย และการสร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม ตามมาตรฐานที่ มหาวิทยาลัยกาหนด โดยมีผลงานวิจัยเพิ่มขึ้นร้อยละ ๕-๑๐ ต่อปี - คณาจารย์และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับมีส่วนร่วมในการพัฒนา มหาวิทยาลัยและการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางวิจัยได้ในระดับดี รวมทั้ง มีชุดความรู้จากการวิจัยที่มคี ุณภาพ เกณฑ์บ่งชี้การวิจัยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยตามแผนแม่บทการวิจัย (๒๕๖๐-๒๕๖๔) เกณฑ์บ่งชี้การวิจัยตามแผนแม่บทการวิจัยของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (๒๕๖๐-๒๕๖๔) นี้ เป็นจัดทาขึ้นในภาพรวมของการดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์และเป้าหมายโดยมีเกณฑ์บ่งชี้ ดังนี้ สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

ผลงานวิจัยเพิ่มขึ้นร้อยละ ๑๐ ต่อปี ของ ผลงานวิจัยในปีงบประมาณที่ผ่านมา (ปี ๒๕๕๙ จานวน ๒๐๘ โครงการ)

๒๕๐

๓๐๐

๓๖๐

๔๒๐

๕๐๐

จานวนบุคลากรสายวิชาการและสาย สนับสนุน ได้รับการเสริมสร้างศักยภาพ ด้านการวิจัยไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๕๕ ของ บุคลากรทั้งหมด (ปี ๕๙ จานวน ๔๐๐ รูป/คน)

๕๐๐

๖๐๐

๗๐๐

๘๐๐

๙๐๐

รูป/คน

จานวนเครือข่ายการวิจัยในระดับชาติหรือ นานาชาติ

๑๐

๑๒

เครือข่าย

การใช้ผลงานวิจัยในการเรียนการสอน ร้อยละ ๓๐ ผลงานวิจยั /ปีงบประมาณ

๓๐

๓๕

๔๐

๔๕

๕๐

ร้อยละ

ยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

ค่าเป้าหมาย

ตัวชี้วัด

๒๕๖ ๐

๒๕๖ ๑

๒๕๖ ๒

๒๕๖ ๓

๒๕๖ ๔

รวม โครง การ

๑๕


สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

แผนแม่บทการวิจัย ๔

การใช้ผลงานวิจัยการพัฒนางานร้อยละ ๒๐ ของผลงานวิจัย/ปีงบประมาณ

๒๐

๓๐

๔๐

๕๐

๖๐

ร้อยละ

การใช้ผลงานวิจัยในการพัฒนาสังคมร้อย ละ ๑๐ ของผลงานวิจัย/ปีงบประมาณ

๑๐

๒๐

๓๐

๔๐

๕๐

ร้อยละ

การใช้ผลงานวิจัยในการพัฒนากิจการ คณะสงฆ์ร้อยละ ๑๐ ของผลงานวิจัย ทั้งหมดในปีงบประมาณ

๑๐

๑๕

๒๐

๒๕

๓๐

ร้อยละ

จัดทาวารสารสื่อสิ่งพิมพ์ผลงานวิจยั อย่าง น้อย ๑ หัวเรื่องที่ได้รับการบรรจุไว้ใน รายชื่อศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai – journal Citation Index :TCI)

เล่ม

เผยแพร่ผลงานทางวิชาการและงาน สร้างสรรค์ร้อยละ ๕๐ ของงานวิจัยใน ปีงบประมาณ

๕๐

๕๕

๖๐

๖๕

๗๐

ร้อยละ

สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

ยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

มีส่วนร่วมและสร้างเวทีเผยแพร่งานวิจัย ทั้งระดับชาติหรือนานาชาติ

๑๐

เวที

ผลงานวิจัยได้รับการอ้างอิงหรือตีพิมพ์ใน ระดับชาติ หรือนานาชาติร้อยละ ๓ ของ ผลงานวิจัยทั้งหมดในปีงบประมาณ

๑๕

๒๐

๒๕

๓๐

๓๕

ร้อยละ

บุคลากรหรือส่วนงาน ได้รับรางวัล ทางการวิจัย ระดับชาติหรือนานาชาติ ปี ละ ๓ รางวัล

รางวัล

บุคลากรหรือส่วนงานได้รับการยกย่อง ทางการวิจัยร้อยละ ๑ ของบุคลากร รวมทั้งมหาวิทยาลัย

๑.๕

๒.๐

๒.๕

๓.๐

ร้อยละ

๑๖

ค่าเป้าหมาย

ตัวชี้วัด ๒๕๖ ๐

๒๕๖ ๑

๒๕๖ ๒

๒๕๖ ๓

๒๕๖ ๔

รวม


แผนแม่บทการวิจัย

สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ ๖

มีระบบงานวิจัยตามวงจร PDCA

วงจร

มีระบบฐานข้อมูลงานวิจัย

ระบบ

มีการจัดตั้งหน่วยวิจัยประจาส่วนงาน ห้องปฏิบัติการวิจยั / เจ้าหน้าที่วิจัย / นักวิชาการ / ผู้ทรงคุณวุฒิประจาส่วนงาน

๑๕

๒๐

๒๕

๓๐

๓๕

ส่วนงาน

ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย และตัวชี้วัด

ยุทธศาสตร์

เป้าหมาย

ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๑ : การพั ฒ นาองค์ เพื่ อ การพั ฒ นาองค์ ค วามรู้ รู ป แบบและ ความรู้ แ ละผลงานวิ จั ย เชิ ง พุ ท ธ กระบวนการวิ จั ย ผลงานวิ จั ย เชิ ง พุ ท ธ บูรณาการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน บู ร ณาการ โดยมุ่ ง ไปสู่ ค วามเป็ น เลิ ศ ทางการวิ จั ย ตามหลั ก พระพุ ท ธศาสนา ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ก า ร วิ จั ย ข อ ง มหาวิทยาลัยที่เป็นระบบและได้มาตรฐาน การวิ จั ย รวมทั้ งส่ งเสริ ม การสร้ างสรรค์ องค์ความรู้ ผลงานวิจัยเชิงบูรณาการ การ สร้างนวัตกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม

ตัวชี้วัด - ร้อยละ ๔๐ ผลงานวิจัยที่ตอบโจทย์การพัฒนา ประเทศ - ร้ อ ยละ ๓๐ ผลงานวิ จัย ที่ต อบสนองพั นธกิจ ของมหาวิทยาลัย - ร้ อ ยละ ๓๐ ผลงานวิจั ยเพื่ อ ความมั่น คงของ พระพุทธศาสนา ธารงศีลธรรม ฯลฯ - ร้อยละ ๕๐ เป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการ (PAR) แบบ มีส่วนร่วม - ร้ อ ย ล ะ ๒ ๐ เ ป็ น ง า น วิ จั ย ที่ ส ร้ า ง กา ร เปลี่ยนแปลงของสังคมและมีนวัตกรรม

ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : การพัฒนานักวิจัย การเสริ ม สร้ า งจริ ย ธรรมการวิ จั ย แ ล ะ เ ค รื อ ข่ า ย ก า ร วิ จั ย ทั้ ง ใ น ระดับชาติและนานาชาติ

มหาวิ ท ยาลั ย มี นั ก วิ จั ย ที่ มี คุ ณ ภาพ มี - จ านวนนั ก วิ จั ย เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ ๑๐ จาก จริ ย ธรรมและมาตรฐานการวิ จั ยใน คณาจารย์มหาวิทยาลัยจากปีฐาน ระดับสูง และมีเครือข่ายความร่วมมือการ - ร้อยละ ๑๑ มีการดาเนินการตามจริยธรรมการ วิจัยทั้งในและต่างประเทศ วิจัยและวิจัยในมนุษย์ - ร้ อ ยละ ๕ ของเครื อ ข่ า ยการวิ จั ย ทั้ ง ใน ระดับชาติและนานาชาติ

๑๗


สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

แผนแม่บทการวิจัย ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : การจัดการความรู้ การเผยแพร่และการประยุกต์ใช้องค์ ความรู้ แ ละผลงานวิ จั ย เพื่ อ การ พัฒนาสังคมและกิจการคณะสงฆ์

เป้าหมาย

ตัวชี้วัด

มหาวิทยาลัยมีการจัดการความรู้ทางการ - ร้อยละ ๘๐ ของงานวิจัยที่ได้นาไปสู่การจัดการ วิจัย มีการเผยแพร่ผลงานวิจัย และการ ความรู้ ส่ งเสริ ม การประยุ ก ต์ ใ ช้ ผ ลงานวิ จั ย เพื่ อ - ร้อยละ ๘๐ ของผลงานวิจัยที่ได้รับการเผยแพร่ การพัฒนาที่ยั่งยืน ในระดับชาติ/นานาชาติ - ร้อยละ ๘๐ ของงานวิจัยที่ได้รับการนาไปใช้ ประโยชน์จากชุมชนและประชาคมในสังคม

ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๔ : การเสริ ม สร้ า ง - มหาวิทยาลัยมีผลงานการสร้างสรรค์ - ร้อยละ ๑๐ ของผลงานวิจัยที่นาไปสู่ชุดความรู้ สังคมแห่งการเรียนรู้ด้วยองค์ความรู้ นวั ต กรรมการวิ จั ย และสนั บ สนุ น ภาคี และการสร้างสรรค์ แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร วิ จั ย อ ย่ า ง วิชาการวิจัย (Think Tank) ในการ - ร้ อ ยละ ๑ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ของ Exchange สร้างสรรค์ สร้างสรรค์สังคมอุดมปัญญา Program และ Visiting Professor - ร้อยละ ๕ ของผลงานการวิจัยในลักษณะสห วิทยาการร่วมกับมหาวิทยาลัยในประเทศและ นานาชาติ - ร้อยละ ๕ ของการวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม (Hot Issue) ยุทธศาสตร์ที่ ๕ : การพัฒนาระบบ - มหาวิ ท ยาลั ย มี ก ารพั ฒ นาระบบการ - ร้ อ ยละ ๔ ของระบบการบริ ห ารงานวิ จั ย ที่ การบริหารการวิจัย กองทุนการวิจัย บริหารการวิจัยที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใสที่ เป็นไปตามการประกันคุณภาพ และงานสร้างสรรค์ที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้ อ งกั บ นโยบาย ยุ ท ธศาสตร์ ก าร - ร้อยละ ๒๕ ของส่วนงานที่มีมีการจัดตั้งและ วิจัยของมหาวิทยาลัยการพัฒนาที่ยั่งยืน บริหารกองทุนการวิจัย - มหาวิทยาลัยมีการจัดตั้งและการบริหาร - ร้อยละ ๒๐ ของส่วนงานที่มีการพัฒนาพื้นที่ กองทุ น การวิ จั ย ของมหาวิ ท ยาลั ย เพื่ อ การวิจัย Social lap สร้างคุณค่าและการเรียนรู้ของสังคม ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๖ : การพั ฒ นาการ เรียนการสอน ฐานข้อมูลวิจัย และ การเชื่ อ มโยงระบบฐานข้ อ มู ล เพื่ อ สนองพันธกิจของมหาวิทยาลัยและ การพัฒนาที่ยั่งยืน

๑๘

มหาวิทยาลัยมี การบูรณาการองค์ความรู้ ผลการวิจัย และงานสร้างสรรค์เพื่อการ เรียนรู้พระพุทธศาสนาเชิงบูรณาการ การ สนับสนุนเรียนการสอน งานสร้างสรรค์ การพั ฒ นาสั งคม กิ จ การคณะสงฆ์ และ การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมตามพันธกิจ ของมหาวิทยาลัย

- ร้อยละ ๘๐ งานวิจัยที่นาไปสู่การเรียนการสอน - ร้อยละ ๒๐ ของส่วนงานที่มีการพัฒนาระบบ ฐานข้อมูลการวิจัย - ร้อยละ ๒๐ ของส่วนงานที่มีการนาเทคโนโลยี เพื่อการวิจัย - ร้ อ ยละ ๒๐ ของส่ ว นงานที่ มี ก ารพั ฒ นาเป็ น


แผนแม่บทการวิจัย

สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์

เป้าหมาย

ตัวชี้วัด

รวมทั้งเป็นศูนย์บริการข้อมูลเพื่อการวิจัย ศูนย์บริการข้อมูลเพื่อการวิจัยและการส่งเสริม และการพัฒนาด้านพระพุทธศาสนาและ พระพุทธศาสนาและการพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน

๑๙


ยุ ทธศาสตร์ ของแผนแม่บทการวิจัย

ส่วนที่

๐๓


สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

แผนแม่บทการวิจัย

ส่วนที่ ๓ กลไกการติดตามและประเมินผลแผนแม่บทการวิจัย รูปแบบและระบบการติดตามและประเมินผล เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดไว้ สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ได้กาหนดกลไกการติดตามและประเมินผล แม่บทการวิจัยของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ไว้ ดังต่อไปนี้ ๑) แต่งตั้งคณะกรรมการกากับดูแลนโยบายและแผนพัฒนาการวิจัยเพื่อมีหน้าที่ในการนาแผนไปสู่การปฏิบัติ ๒) นาแม่บทการวิจัยของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เสนอต่อคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาใช้เป็นแนว ทางการบริหารตามแผนพัฒนามหาวิทยาลัย ระยะที่ ๑๒ (๒๕๖๐-๒๕๖๔) ๓) ส่งเสริมให้นักวิจัยและบุคลากรของมหาวิยาลัยให้รับทราบและถือเป็นแนวปฏิบัติ ๔) พัฒนาระบบและกลไกลการติดตามประเมินผลและสร้างดัชนีชี้วัดความสาเร็จของการพัฒนาทุกด้านตามแผนที่กาหนดไว้ ๕) มีระบบการปรับและพัฒนาแผน แม่บทการวิจัยของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นระยะๆ ให้สอดคล้อง กับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่งแวดล้อมและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ ๖) สนับสนุนให้ส่วนงานของมหาวิทยาลัยทาแผนเพื่อปฏิบัติการให้สอดคล้องแผนพัฒนามหาวิทยาลัยและตรงตามนโยบาย ของรัฐบาล ๗) ส่งเสริมและพัฒนาการจัดทาฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศการวิจัย กลไกการปฏิบัติงานตามแผน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีกลไกการปฏิบัติงานตามแผน ดังนี้ (๑มอบหมายให้สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์จัดประชุมคณะกรรมการจัดทาแผนพัฒนาและคณะกรรมการกากับดูแลนโยบายและ แม่บทการวิจัยของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เพื่อผลักดันให้มีการดาเนินการตามแผน และจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี (๒คณะกรรมการจัดทาแผนเสนอต่อคณะกรรมการการวิจัยของมหาวิทยาลัย ๓) ให้สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์แจ้งบุคลากรให้รับทราบและปฏิบัติตามแผน ๔) บุคลากรทุกส่วนงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการตามแผนปฏิบัติการประจาปีที่ได้กาหนดไว้ ๕) บุคลากรที่รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผน (๖ให้สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ทาการประเมินผลการปฏิบัติงาน (๗ให้สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์นาผลการประเมินมาใช้พัฒนาหน่วยงาน (๘ให้สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์รายงานผลการปฏิบัติงานต่อมหาวิทยาลัย ๒๑


แผนแม่บทการวิจัย

สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์

มาตรฐานและตัวชี้วัดความสาเร็จของแผนพัฒนาสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ ๑) ให้คณะกรรมการการวิจัยดาเนินการเพื่อจัดทามาตรฐานและตัวชี้วัดความสาเร็จของแผนพัฒนา ๒) จัดสร้างมาตรฐานและตัวชี้วัดของแผนพัฒนาฯ ๓) ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนที่กาหนดไว้ ๔) สรุปวิเคราะห์การดาเนินการตามแผนที่กาหนดไว้ สรุป มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งคณะสงฆ์ไทย ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา จุฬาลงกรณ์พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ ได้ทรงสถาปนาขึ้นเพื่อเป็นสถานศึกษาพระไตรปิฎกและวิชาชั้นสูง สาหรับพระภิกษุ สามเณรและคฤหัสถ์ทั่วไป มหาวิทยาลัย มีปณิธานอันมั่งคงในการที่จะเป็นศูนย์รวมแห่งวิทยาการด้านต่างๆ ที่มีคุณค่าต่อมวลมนุษย์ มุ่งมั่น ในการทาหน้าที่ให้การศึกษา ค้นคว้า วิจัย แสวงหาความรู้ เกี่ยวกับวิชาการทางพระพุทธศาสนาและประยุกต์เข้ากับศาสตร์สาขาต่างๆ อัน จะเป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนาวิชาการของมหาวิทยาลัยและพระพุทธศาสนาให้นาไปสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ และความเป็นสากล อีก ทั้งจะทาหน้าที่เป็นแหล่งให้บริการความรู้เกี่ยวกับกับวิชาการทางพระพุทธศาสนา ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอันจะก่อให้เกิดการพัฒนา มวลมนุษย์ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในกากับของรัฐบาลและเป็นนิติบคุ คล เน้นจัดการศึกษาวิชาการด้านพระพุทธศาสนา สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ โดยรับผิดชอบในการผลิตบัณฑิตทั้งระดับปริญญาตรี ระดับ ปริญญาโท และระดับปริญญาเอก นอกจากนั้น ยังมีภารกิจในด้านการวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และ การส่งเสริมพระพุทธศาสนา ดั งนั้ น ภายใต้ แ ผนแม่ บ ทการวิ จั ย ของมหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย จึ งเชื่ อ มั่ น ได้ ว่ า จะน าไปสู่ ก ารบรรลุ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการพัฒนาสถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ตามปณิธานที่กาหนดไว้ว่า “ศูนย์กลางการวิจัยพระพุทธศาสนา บูรณา การกับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อพัฒนาจิตใจและปัญญาในระดับชาติและนานาชาติ ” และบรรลุตามพันธกิจด้านที่ ๒ ที่มหาวิทยาลัยกาหนดไว้ คือ การวิจัยและพัฒนาความรู้ที่สร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ต่อสังคม การส่งเสริมพระพุทธศาสนาและการให้บริการแก่สังคมด้วยมาตรฐาน แห่งความรู้และจิตสานึกในคุณธรรม และการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมของไทยให้เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตและการจัดการทางสังคม

๒๒



สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตาบลลาไทร อาเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รหัสไปรษณีย์ ๑๓๑๗๐ Tel: ๐๓๕ ๒๔๘ ๐๗๒-๓ Email: budrsin@mcu.ac.th website: http://bri.mcu.ac.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.