Active learning

Page 1


หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ผศ.ดร.ศศิธร สุวรรณเทพ หัวหน้าสานักงานวิชาศึกษาทัว่ ไป คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วันศุกร์ที่ 3 เมษายน 2558 บรรยายให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 1


INTRODUCTION TO…

GEN

(GENERAL EDUCATION) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี วิชาศึกษาทั่วไป

[หลักสูตรปรับปรุง]

2


GEN-QF

HUMANIZATION

KMUTT

STUDENT QF

SOCIAL CHANGE AGENT

Value Potential and Leadership 3 Competent


DEFINITION

GEN

วิ ช าที่ มุ่ ง พั ฒ นาผู้ เ รี ย นให้ มี ค วามรอบรู้ อ ย่ า ง กว้างขวาง มีโลกทัศน์ที่กว้างไกล มีความเข้าใจใน ธรรมชาติ ตนเอง ผู้ อื่ น และสั ง คม เป็ น ผู้ ใ ฝ่ รู้ สามารถคิดอย่างมีเหตุผล สามารถใช้ภาษาในการ ติดต่อสื่อสารความหมายได้ดี เป็นคนที่สมบูรณ์ทั้ง ร่างกายและจิต ใจ มีคุณ ธรรม ตระหนัก ในคุณค่ า ของศิลปวัฒนธรรมทั้งของไทยและของประชาคม นานาชาติ สามารถน าความรู้ไปใช้ ในการดาเนิ น ชีวิตและดารงตนอยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดี

เกณฑ์มาตรฐาน

หลักสูตร

ระดับปริญญาตรี

2548

พ.ศ.

ที่มา : ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ ปริญญาตรี พ.ศ.2548, 25 พฤษภาคม 2548 4


STRUCTURE & COMPONENT

GEN

สถาบันอุดมศึกษาอาจจัดวิชาศึกษาทั่วไปใน ลั ก ษณะจ าแนกเป็ น รายวิ ช า หรื อ ลั ก ษณะ บู ร ณ า ก า ร ใ ด ๆ ก็ ไ ด้ โ ด ย ผ ส ม ผ ส า น เนื้ อ หาวิ ช าที่ ค รอบคลุ ม สาระของกลุ่ ม วิ ช า สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ภาษา และกลุ่ม วิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ ในสัดส่วนที่ เหมาะสม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของวิชา ศึก ษาทั่ ว ไป โดยให้ มี จ านวนหน่ ว ยกิ ต รวม ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต

เกณฑ์มาตรฐาน

หลักสูตร

ระดับปริญญาตรี

2548

พ.ศ.

ที่มา : ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ ปริญญาตรี พ.ศ.2548, 5 25 พฤษภาคม 2548


LEARNING

GEN

วิชาศึกษาทั่วไป มีเจตนารมณ์เพื่อเสริมสร้างความ เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ โดยให้ศึกษารายวิชาต่าง ๆ จนเ กิ ด ค ว าม ซา บ ซึ้ งแ ละ สา มา รถ ติ ด ต า ม ความก้าวหน้าในสาขาวิชานั้นได้ด้วยตนเอง การ จั ด การเรี ย นการสอนควรจั ด ให้ มี เ นื้ อ หาวิ ช าที่ เบ็ดเสร็จในรายวิชาเดียว ไม่ควรมีรายวิชาต่อเนื่อง หรื อ รายวิ ช าขั้ น สู ง อี ก และไม่ ค วรน ารายวิ ช า เบื้ อ งต้น หรื อ รายวิ ชาพื้ น ฐานของวิ ช าเฉพาะมา จัดเป็นวิชาศึกษาทั่วไป

แนวทางการบริหาร เกณฑ์มาตรฐาน

หลักสูตร

ระดับอุดมศึกษา

2548

พ.ศ.

ที่มา : ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง แ น วท างการ บ ริ ห าร เ กณฑ์ ม าตร ฐาน ห ลั กสู ต ร ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548, 25 พฤษภาคม 2548 6


กรอบมาตรฐาน มาตรฐาน

คุณวุฒิ ผลการเรียนรู้

ระดับอุดมศึกษา ระดับปริญญาตรี แห่งชาติ

2552

พ.ศ.

DOMAIN OF

LEARNING OUTCOME

GEN-QF

1 2 3 4 5

ด้านคุณธรรม จริยธรรม

ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 7


KMUTT-STUDENT QF Value

• KMUTT's citizenship • Social Responsibility

Potential and Leadership Competent •Knowledge •Thinking Skill •Learning Skill •Professional Skill •Communication Skill •Humanization

ที่ม า : KMUTT C4ED (http://www.c4ed.kmutt.ac.th/?q=node/18)

•Adaptability •Leadership •Management Skill

8


TQF VS KMUTT-STUDENT QF TQF

KMUTTSTUDENT QF

TQF1

TQF2

ด้านคุณธรรม จริยธรรม

ด้านความรู้

• KMUTT's citizenship • Social Responsibility • Humanization

• Knowledge

TQF3

TQF4

TQF5

ด้านทักษะทางปัญญา/ ด้านทักษะ ด้านทักษะการวิเ คราะห์ ด้านการเรียนรู้* ความสัมพันธ์ระหว่าง เชิงตัวเลข การสื่อสาร บุคคลและความ และการใช้เ ทคโนโลยี รับผิดชอบ สารสนเทศ • Thinking Skill • Learning Skill • Professional Skill • Management Skill

• Humanization • Adaptability • Leadership • Social Responsibility

• Thinking Skill • Learning Skill • Professional Skill • Management Skill • Communication Skill

*เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิร ะดับอุดมศึกษา ด้านการเรียนรู้ เป็นส่วนที่หลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป มจธ. ได้เพิ่มเติมขึ้นมา ซึ่งอาจจัดรวมในด้านของทักษะทางปัญญาได้ 9

ที่ม า : KMUTT C4ED (http://www.c4ed.kmutt.ac.th/?q=node/18)


การพัฒนาหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป มจธ.

TQF

KMUTT STUDENT QF GEN LEARNING OUTCOMES

FRAMEWORK LEARNING OUTCOME-BASED

COURSES OUTCOMES

10


การพัฒนาหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป มจธ.

CORE SUBJECT ที่มา: ร.ศ. ประภาภัทร นิยม

ที่ม า : Framework for 21st Century Learning (http://www.p21.org/our-work/p21-framework)

11


การพัฒนาหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป มจธ. • Curriculum • Teachers • Learning resources • Teaching aids, scientific instrument, etc. • Supporting facilities

Support

Input

What to learn? (contents)

How to learn? (method & strategies)

Process

DESIGN PROCESS

Outcome

ที่ม า : ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ภิร มย์ กมลรัตนกุล ในการประชุมหารือ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ วัน ที่ 18 เมษายน 12 2552 ณ โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพฯ อ้างใน จิร ณี ตัน ติรตั นวงศ์ (2552)


INTEGRATION CONCEPT

"เนื้อหาความรู้" ระหว่างศาสตร์ตา่ ง ๆ Problem"ความรู"้ และ "กระบวนการเรียนรู้" based "สิ่งที่เรียนรู"้ กับ "ชีวิตประจาวัน" Learning "ทีมอาจารย์ผู้สอน" จากหลากหลายสาขาวิชา Performance of Learning Activity-

Projectbased learning Researchbased Learning

based learning

Learning

GEN Staff Dev. Workshop GEN

Student Dev. Activities

Process of Learning Volunteer Mind Culture Oriented

Product of Learning

AUTHENTIC ASSESSMENT 13


TQF2 TQF5 ภาษาและ การสื่อสาร

TQF4

TQF1

คุณธรรม สุขพลานามัย จริยธรรมใน การดาเนินชีวิต

TQF3

TQF4

GEN GEN GEN GEN การเรียนรู้ ตลอดชีวิต

การคิด คุณค่าและ อย่างมีระบบ ความงาม

เทคโนโลยี นวัตกรรมและ การจัดการ

GEN GEN GEN GEN GEN GEN LNG 101 111 121 231 241 351 GEN KMUTT LEARNING OUTCOMES

14


โครงสร้างหลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป รายวิชาบังคับ (16+9 หน่วยกิต) กลุ่มวิชาภาษา กลุ่มวิชาสุขพลานามัย

9

นก.

กลุ่มวิชาบูรณาการ

16

รายวิชาบังคับเลือก (6 หน่วยกิต)

นก.

6

นก.

GEN GEN GEN GEN GEN GEN GEN LNG 101 111 121 231 241 351 บังคับ เลือก พลศึกษา 1(0-2-2)

มนุษย์กบั หลัก ทักษะการเรียนรู้ มหัศจรรย์ ความงดงาม การบริหาร จริยศาสตร์ และการแก้ปญ ั หา แห่งความคิด แห่งชีวิต จัดการยุคใหม่ 3(3-0-6) 3(3-0-6) และภาวะผูน้ า เพื่อการดาเนินชีวิต 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

LNG จัดการเรียนการสอนโดยสายวิชาภาษา

GEN จัดการเรียนการสอนโดยสานักงานวิชาศึกษาทัว่ ไป 15


รูปแบบการจัดการเรียนการสอนรายวิชาศึกษาทั่วไป

หลักสูตร หลักสูตร ปกติ นานาชาติ หลักสูตร ต่อเนื่อง

Liberal Arts

INTEGRATION

PROGRAM

INTERDISCIPLINARY •คณะวิศวกรรมศาสตร์ •คณะวิทยาศาสตร์ •คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมฯ •คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ •คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ •คณะศิลปศาสตร์ •หน่วยงานอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัย

LEARNING & TEACHING

16


รูปแบบการจัดการเรียนการสอนรายวิชาศึกษาทั่วไป

RATIO XL

Lecture Class : Activity Group

อาจารย์ 1 คน ต่อ นักศึกษา 30-40 คน

400-600 คน

L 150-200 คน

PEDAGOGY

Active Learning Class

M

60-80 คน 17


โครงสร้างการบริหารจัดการรายวิชาศึกษาทั่วไป

MAGEMENT GEN OFFICE วิชาการ

ประธาน รายวิชา

บริการจัดการ เทคโนโลยี

Course Design & Course Management

• นักพัฒนาการเรียนรู้ • นัก บริหารงานทัว่ ไป • นัก พัฒนาการเรียนรู้ • ผู้ช่วยนักวิจยั

• นัก บริการการศึกษา

ACADEMIC

(เน้นด้านเทคโนโลยีการเรียนรู)้

นักพัฒนา การเรียนรู้

 อาจารย์ประจา  อาจารย์พิเศษ Coordinate & Supporting  วิทยากร/ ผู้ทรงคุณวุฒิจาก อาจารย์ผสู้ อน ภายนอก

LA/ TA

 อาจารย์ประจา  อาจารย์เกื้อหนุน  อาจารย์พิเศษ  อาจารย์พิเศษ ผู้ทรงคุณวุฒิ (เกษียณ)  นักพัฒนาการเรียนรู้/ นักวิจัย  บุคลากรสายสนับสนุน

อาจารย์ทปี่ รึกษา กลุ่มกิจกรรม 18


GEN การจัดการเรียนการสอนรายวิชาศึกษาทั่วไป GEN GEN GEN GEN GEN 111 121 231 241 351 19


มนุษย์กับหลักจริยศาสตร์เพื่อการดาเนินชีวิต MAN AND ETHICS OF LIVING 20


รายวิชานี้มุ่งสอนแนวคิดในการดาเนินชีวิตและแนวทางในการทางานตามแนวศาสนา ปรัชญา และจิตวิทยา โดยเน้นส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม โดยจัดการเรียน การสอนแบบบูรณาการ องค์ความรู้ เพื่อนาไปใช้ในการดาเนินชีวิตและมีคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ เช่น ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบต่อสังคม การเคารพผู้อื่น ความอดทน และการยอมรับความแตกต่าง ความมีวินัยในตนเอง เคารพในหลักประชาธิปไตยและ จิตอาสา เป็นต้น และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นๆ ได้อย่างมีความสุข

มนุษย์กับหลักจริยศาสตร์เพื่อการดาเนินชีวิต MAN AND ETHICS OF LIVING 21


CORE CONCEPT : GREEN UNIVERSITY มจธ.ของ เรา

บุคคล GREEN ต้นแบบ ECONOMY

GEN SOCIETY

การดาเนินชีวิต GREEN LIVING อย่างมีคุณธรรม และจริยธรรม

KMUTT 22


GEN 111 LEARNING การศึกษาใน ชั้นเรียน  ความเหลื่อมล้าแนวราบ : ต้นกาเนิดความรุนแรง  มองสังคมผ่านชีวิตในชุมชน  โลกของคนไร้บ้าน  ฯลฯ

การอ่านหนังสือ/ เอกสาร ประกอบการ เรียนการสอนใน รายวิชา

การจัดกิจกรรม “GEN อาสา พัฒนา มจธ.” การจัด นิทรรศการใน รายวิชา “GEN อาสาพัฒนา มจธ.”

 รูปแบบที่ 1 การรณรงค์  รูปแบบที่ 2 การแก้ไขปัญหา  รูปแบบที่ 3 การจัดกิจกรรม

23


GEN 111 SCORE

50%

30%

 การทาโครงการ  การคิดวิเคราะห์สะท้อนการเรียนรู้ การจัดกิจกรรม

K S A P 5%

 สอบกลางภาค  Quiz  โต้วาที

15%

 การมีส่วนร่วมในการเข้าชั้นเรียน  Reflection

 อาจารย์ประเมิน  นักศึกษาประเมิน

24


ประมวลภาพกิจกรรมการเรียนรู้ที่จะเกิดขึ้นในรายวิชา GEN 111

25


GEN121

ทักษะการเรียนรู้และการแก้ปัญหา LEARNING AND PROBLEM SOLVING SKILLS 26


รายวิชานี้เน้นการพัฒนาการเรียนรู้อย่างยั่งยืนของนักศึกษา ฝึกทักษะในการคิด เชิงบวก ศึกษาการจัดการความรู้และกระบวนการการเรียนรู้ ผ่านการทาโครงงาน ที่นั กศึ กษาสนใจ ที่ เน้ น การกาหนดเป้ าหมายทางการเรี ยนรู้ รู้ จักการตั้ ง โจทย์ การศึ กษาวิ ธีการแสวงหาความรู้ การแยกแยะข้ อ มู ล กั บ ข้ อ เท็ จจริ ง การอ่ า น แก้ปัญหา การสร้างความคิด การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดเชิงขวาง การสร้าง แบบจาลอง การตัดสินใจ การประเมินผล และการนาเสนอผลงาน

GEN121

ทักษะการเรียนรู้และการแก้ปัญหา LEARNING AND PROBLEM SOLVING SKILLS 27


GEN 121 CORE CONCEPT Problem Solving Skills

Thinking Skills

Learning Skills

28


MODULE 1 : Learning Knowledge Theory of knowledge Types of knowledge Ways to get knowledge

Learning How the brain learns Nature of learning Learning styles

Perception and Memory Nature of perception and memory How to enhance memory Neuromarketing 29


MODULE 2 : Thinking Skill Critical Thinking Skill

Creative Thinking Skill

Thinking Skills

Synthesis Thinking Skill

Analytical Thinking Skill 30


GEN 121 LEARNING การฝึก ปฏิบัติทา กิจกรรมกลุ่ม

SHOW/ EXHIBITION

หนังสืออ่าน นอกเวลา การทา โครงงาน

31


GEN 121 SCORE Homework 10% In-class activity Final 20% 5% Activity 10% Quiz 15% Project I 20% Project II 20%

32


ประมวลภาพกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา GEN 121

33


ประมวลภาพกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา GEN 121

34


ประมวลภาพกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา GEN 121

35


GEN231 มหัศจรรย์แห่งความคิด MIRACLE OF THINKING 36


OLD DEFINITION

รายวิชานี้จะให้ความหมาย หลักการ คุณค่า แนวคิด ที่มาและธรรมชาติของการ คิด โดยการสอนและพัฒนานักศึกษาให้มีการคิดเป็นระบบ การคิดเชิงระบบ การ คิดเชิงวิพากษ์ และการคิดเชิงวิเคราะห์ การอธิบายทฤษฎีหมวก 6 ใบที่เกี่ยวข้อง กับการคิด นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงการเชื่อมโยงความคิด /การผูกเรื่อง การเขียน โดยมี การทาตัว อย่างหรือ กรณี เพื่ อ ศึกษาการแก้ ปัญ หาโดยวิธีการคิดเชิง ระบบ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคม บริหารจัดการ สิ่งแวดล้อมและอื่น ๆ

GEN231 มหัศจรรย์แห่งความคิด MIRACLE OF THINKING 37


NEW DEFINITION

มหัศจรรย์แห่งความคิด เป็นรายวิชาที่มีแนวคิดให้ความสาคัญ กับระบบการศึกษา (Education) ในฐานะเป็นองค์ประกอบหนึ่ง ของการเรียนรู้ (Learning) ในการ เรียนการสอนจะเน้นพัฒนาความรู้และความสามารถในการคิดเชิงสร้างสรรค์ ใช้ การเรียนรู้แบบโครงงาน (Project-based Learning) เป็นเครื่องมือหลักในการ พัฒนาทักษะ ให้ความส าคัญ กระบวนการทางานและการเรี ยนรู้ ของบุคคลและ กลุ่มที่นาไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม

GEN231 มหัศจรรย์แห่งความคิด MIRACLE OF THINKING 38


39


40


LEARNING HOW TO LEARN

INSPIRATION 41


GEN 231 CORE CONCEPT : THINKING PROCESS

42


GEN 231 LEARNING การเรียนรู้ นอก ห้องเรียน

การบรรยาย ผ่านสื่อการ สอนและ Video Clip

EXHIBITION

การชม ภาพยนตร์

การทา กิจกรรม กลุ่ม

43


การคัดเลือกเนื้อหาในรายวิชา GEN 231

44


หัวข้อการเรียนรู้ในรายวิชา GEN 231

Learning From the Things around Us

45


สื่อการเรียนรู้ในรายวิชา GEN 231

Learning Outside the Classroom

46


GEN 231 SCORE Extra Project 15%

Midterm Project 25% การสอบย่อย 10%

กิจกรรมในชั้น เรียน 50%

47


48


ประมวลภาพกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา GEN 231

49


ประมวลภาพกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา GEN 231

50


ประมวลภาพกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา GEN 231

51


GEN241 ความงดงามแห่งชีวิต BEAUTY OF LIFE 52


รายวิชานี้ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคุณค่าและความงาม ท่ามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรม เน้นที่การรั บรู้คุณค่า การสัมผั ส ความงามและการแสดงออกทางอารมณ์ของมนุษย์ รับรู้และเรียนรู้เกี่ยวกับ คุณค่าและความงามในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการดารงชีวิตมนุษย์ เช่น ชีวิตกับ ความงามในด้านศิลปะ ดนตรี วรรณกรรม รวมไปถึง ความงามในธรรมชาติ รอบ ๆ ตัวมนุษย์

GEN241 ความงดงามแห่งชีวิต BEAUTY OF LIFE 53


GEN 241 CORE CONCEPT

54


STORY LINE APPROACH การบูรณาการเนื้อหาการเรียนการสอนให้เป็นเรื่องราวเดียวกัน ตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั่งจบการเรียนการสอน

STAGE PLAY

TERM PROJECT 55


GEN 241 CORE CONCEPT : STAGE PLAY • • • • •

Research Team Management Laying Plan Casting Wrap up

• Rehearsal • Blocking • Technical run through • Showtime 56


GEN 241 LEARNING การฝึก ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์

การให้ความรู้ จากผู้มี ประสบการณ์ การเรียนรู้ ผ่านการสาธิต

การฝึก ความคิดเชิง วิเคราะห์

การมีส่วน ร่วมในการ ทางาน การสะท้อน การเรียนรู้ ผ่านกิจกรรม

57


GEN 241 SCORE

58


ประมวลภาพกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา GEN 241

59


ประมวลภาพกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา GEN 241

60


ประมวลภาพกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา GEN 241

61


ประมวลภาพกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา GEN 241

62


GEN351

การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา MODERN MANAGEMENT AND LEADERSHIP 63


รายวิ ช านี้ มุ่ ง สอนแนวคิ ดการบริ หารจั ดการยุ คใหม่ หน้ า ที่ พื้ น ฐานของ การจั ด การประกอบด้ ว ย การวางแผน การจั ด องค์ ก ร การควบคุ ม การตัดสินใจ การสื่อสาร การจูงใจ ภาวะผู้นา การจัดการทรัพยากรมนุษย์ การจั ด การระบบสารสนเทศ ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม ตลอดจน การประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ

GEN351

การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นา MODERN MANAGEMENT AND LEADERSHIP 64


GEN 351 CORE CONCEPT KMUTT-STUDENT QF Adaptability

Leadership

Management Skills

การบริหารจัดการตนเอง

ภาวะผู้นาและการทางานเป็นทีม

การบริหารจัดการยุคใหม่ 65


GEN 351 COURSE DESIGN : K-S-A

K

S

A A1 Passion

K1-S1 การกาหนดเป้าหมายในชีวิต K2 คุณลักษณะผู้นาที่ดี

S2 การสื่อสาร (การฟังอย่างลึกซึ้ง)

A2 EQ

K3 การบริหารคนและองค์กร

S3 การตัดสินใจของผู้นา

วินัยในตนเอง + CSR

S4 การทางานเป็นทีม (นาและตาม)

S5 การวางแผนกลยุทธ์ S6 การบริหารโครงการ

LEARNING OUTCOME

66


GEN 351 LEARNING การศึกษา ด้วยตนเอง

การฝึก ทักษะการ บริหาร

กิจกรรมใน ชั้นเรียน การ นาเสนอ/ อภิปราย 67


GEN 351 SCORE ประเมินโดย เพื่อนร่วม กลุ่ม-อาจารย์ 40%

ทดสอบย่อย 15%

สอบปลายภาค 35%

รายงาน 10% 68


ประมวลภาพกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา GEN 351

69


ประมวลภาพกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา GEN 351

70


ประมวลภาพกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา GEN 351

71


ประมวลภาพกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา GEN 351

72


ประมวลภาพกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา GEN 351

73


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.