การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา โดย
ดร.สุทธศรี วงษสมาน เลขาธิการสภาการศึกษา การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
1
การกาวสูศตวรรษที่ ๒๑ ทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ (21 st Century Skills) ถือ เปนความจําเปนเรงดวนในโลกยุคใหม ซึ่งเปลี่ยนผานจากการ เรียนรูในศตวรรษที่ ๒๐ ที่เนนการสรางคนออกไปทํางานใน ภาคอุตสาหกรรม สรางผลผลิตซ้ําๆ ในสิ่งแวดลอมเดิมๆ แตโลก ปจจุบันประชากรในศตวรรษที่ ๒๑ ตองการ “ทักษะ” ที่จะอยู ทามกลางโลกที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
2
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ดังนั้นการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ จึงตองเปนกระบวนการ เรียนรูที่เปนไปเพื่อ ๑. สรางประชากรในประเทศใหสามารถดํารงชีวิต ทํางานและ เปนผูขับเคลื่อนสังคมไดอยางมีคุณภาพ ๒. มีทักษะในการเรียนรูและพรอมเรียนรู เรียนรูไดตลอดเวลา จากทุกสถานที่ ๓. มีทักษะชีวิตที่ดี และปรับตัวยืดหยุนไดทุกรูปแบบ
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
4
“การศึกษาเพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” การศึกษาที่มีคุณภาพ จะสรางเด็ก-เยาวชนที่มีคุณภาพ เปนจุดเริ่มของพลเมืองและกําลังงานที่มคี ุณภาพ
กระบวนทัศนการจัดการศึกษาใหม • สรางพลเมืองไทยแหงศตวรรษที่ ๒๑ ใหเปนรากฐานของประเทศ • สรางกําลังงานไทยแหงศตวรรษที่ ๒๑ ใหเปนพลังขับดันประเทศ
การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคนไทย ๖๗ ลานคน มิใชการจัดการศึกษาเฉพาะคนในวัยเรียน ๑๓ ลานคน
ปฐมวัย (๐-๕ ป)
การศึกษาภาคบังคับ ม.ปลาย/ปวช. และ อุดมฯ (๖-๒๑ ป)
วัยทํางาน
สูงวัย
(๑๕-๕๙ ป)
(๖๐ ปขึ้นไป)
วัยเรียน ๑๓ ลานคน
วัยแรงงาน ๓๘ ลานคน ประชากรไทย ๖๗ ลานคน
กระทรวงศึกษาธิการ
๓
“การศึกษาเพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” เปาหมายการศึกษาใหม
“วางรากฐาน”
“เรงพัฒนา”
การพัฒนาประเทศ เพื่อความมั่นคงยั่งยืน
ศักยภาพการแขงขัน ของประเทศ เพื่อความมั่งคั่ง ยั่งยืน
สอดคลองกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและทิศทางการพัฒนาประเทศ
ตัวชี้วัดสําคัญ
• ตัวชี้วัดความสําเร็จพื้นฐานและเพิ่มศักยภาพการแขงขันเปนตัวชี้วัดหลัก เนน Benchmarking • ตัวชี้วัดเพื่อติดตามการดําเนินการสูเปาหมาย (Monitoring Indicators) เปนตัวชี้วัดรอง
กระทรวงศึกษาธิการ
๔
๕ ยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
๕
การผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา แกไขปญหา ขจัดอุปสรรค : (ป ๕๗) การแกไขปญหาใบประกอบวิชาชีพครูโดยเฉพาะสาขาวิชาที่ขาดแคลน การคืนครูสูหองเรียน และการลดกิจกรรมที่ดึงครูออกจากหองเรียน
วางรากฐาน : (ป ๕๘) การกําหนดหลักเกณฑการโยกยายครูอยูในพื้นที่เพื่อประโยชนตอผูเรียน การกําหนดหลักเกณฑการประเมินครูเพื่อเลื่อนวิทยาฐานะใหผูกโยงกับผลการเรียน การแกไขปญหาหนี้สินครูทั้งระบบ โครงการพัฒนาครูผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัด Coaching Team เพื่อพัฒนาครูและปรับการเรียนเปลี่ยนการสอน
ขับเคลื่อนตอเนื่อง : (ป ๕๙ – ๖๓) โครงการคุรุทายาท เพื่อแกไขปญหาการขาดแคลนครูและสงเสริมจรรยาวิชาชีพ โครงการทุนชางเทคนิคและบัณฑิตนักปฏิบัติ เพื่อแกไขปญหาการขาดแคลนครูสายอาชีพ และเทคโนโลยีชั้นสูง การกําหนดใหสถาบันอุดมศึกษาและโรงเรียนที่เปนเลิศในพื้นที่รับผิดชอบในการพัฒนาครู การพัฒนาระบบคูปองพัฒนาครู การปรับปรุงระบบการนิเทศและศึกษานิเทศก การกําหนดอัตราพนักราชการสําหรับครูอาชีวศึกษา เพื่อแกไขปญหาการขาดแคลนครูสายอาชีพ อยูระหวางขั้นตอนการเสนอ/อนุมัตใิ หดําเนินการ อยูระหวางขั้นตอนการดําเนินการ/ดําเนินการแลว ยังไมไดดําเนินการ (ติดขัดดานกฎหมายหรืออุปสรรคอื่น ๆ)
กระทรวงศึกษาธิการ
๙
การปรับเปลี่ยนบทบาทคณาจารย เมื่อกระบวนการเรียนรูเปลี่ยน บทบาทของคณาจารยก็ตอง เปลี่ยนไป “ครูเพื่อศิษย” จึงตองเปลี่ยนจุดเนนจาก “การสอน” ไปเนนที่ “การเรียน” (ทั้งของศิษยและของตนเอง) ตองเรียนรูและปรับปรุงรูปแบบการเรียนรูที่จัดใหแกศิษย ตองเปลี่ยนบทบาทของครูอาจารยจาก ครูสอน (Teacher) ไป เปน ครูฝก (Coach) หรือผูอํานวยความสะดวกในการเรียนรู (Learning Facilitator) การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
9
บทบาทคณาจารยในศตวรรษที่ ๒๑ ควรเปนอยางไร ? “ครู/คณาจารย” จึงเปนบุคลากรที่มีความสําคัญยิ่ง สําหรับการ เรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ เพราะเปนฟนเฟองหลักในการจัดการ เรียนรู จึงตองเปลี่ยนเปาหมายการเรียนรูของศิษยที่เนนความรู ไปสูการพัฒนาทักษะที่สําคัญในการเรียนรู เพื่อการดํารงชีวติ ประกอบดวย ๓ ทักษะหลัก ไดแก ๑. การเรียนรูและนวัตกรรม (Critical Thinking and Innovation) ๒. การเรียนรูสื่อดิจิตอล (Digital and Life) ๓. ทักษะชีวิตและการทํางาน (Career and Life) การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
10
สถาบันอุดมศึกษา.....กับบทบาทคณาจารยที่เปลี่ยนไป เมื่อบทบาทของคณาจารยเกิดการเปลี่ยนแปลง สถาบันอุดมศึกษาจึง เปนสถาบันสําคัญที่ตองปรับเปลีย่ นรูปแบบการผลิตบัณฑิต การสรางความ พรอมและความเขมแข็งใหแกสถาบันอุดมศึกษาจึงเปนเรื่องจําเปนเรงดวน เปาหมายของสถาบันอุดมศึกษา คือ การผลิตบัณฑิตที่จบจากสถาบันใหเปน คนมีความรู มีความสามารถ มีงานทํา เปนคนดีของสังคม คณาจารย จึงตองมีคุณภาพ มีการพัฒนาอยางเหมาะสมและ ตอเนื่อง
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
11
(ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) ในฐานะฝายเลขานุการฯ ของคณะอนุกรรมการปฏิรูประบบการผลิตและพัฒนาครู ไดจัดทํา (ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครูขนึ้ ประกอบดวย ๕ ยุทธศาสตร ๑๘ มาตรการ โดยมี เปาหมายในการสรางพลเมืองทีม่ ีคุณภาพเหมาะกับ การเปนประชากรในศตวรรษที่ ๒๑
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
12
กรอบแนวคิดยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู พลเมืองที่มีคุณภาพเหมาะกับการเปนประชากรในศตวรรษที่ ๒๑ ยุทธศาสตรที่ ๕ การสรางกลไกการขับเคลื่อน ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู
ยุทธศาสตรที่ ๔ การปฏิรูปการวิจัยของสถาบันผลิต และพัฒนาครู
ยุทธศาสตรที่ ๓ การปฏิรูประบบการใชครูและ ระบบบริหารงานบุคคลของครู
ยุทธศาสตรที่ ๒ การปฏิรูประบบและรูปแบบการ พัฒนาครู
ยุทธศาสตรที่ ๑ การปฏิรูประบบและรูปแบบการ ผลิตครู
ครูมืออาชีพที่มีสมรรถนะเปนเลิศในระดับสากลเหมาะสมกับบริบทของไทย
หนวยงานที่เกี่ยวของ ๑. คุรุสภา ๒. ก.ค.ศ. ๓. สกอ. ๔. สภาคณบดี ๕. สพฐ. ๖. สอศ. ๗. สช. ๘. กศน. ๙. กทม. ๑๐. อปท. ๑๑. วชช. ๑๒. สถาบันผลิตครู ๑๓. หนวยผูใชครู ๑๔. ๓ พระจอม ๙ มทร. ๑๕. ทปอ. ๑๖. สคบศ. ๑๗. ภาคสังคม ชุมชน ๑๘. สสวท. ๑๙. ตชด.
(ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู ยุทธศาสตรและมาตรการทีเ่ กี่ยวของกับสถาบันอุดมศึกษาในการพัฒนา ศักยภาพคณาจารย ประกอบดวย ๒ ยุทธศาสตร ไดแก ยุทธศาสตรที่ ๑ การปฏิรูประบบและรูปแบบการผลิตครู มาตรการ ๒ เสริมสรางความพรอมและความเขมแข็งใหสถาบันผลิตครู
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
14
ยุทธศาสตรที่ ๑ การปฏิรูประบบและรูปแบบการผลิตครู
๑. จัดทํา แผนการ ผลิตครูที่ สัมพันธกับ แผนการใชครู
๒. เสริมสราง ความพรอม และความ เขมแข็งให สถาบัน ผลิตครู
๓. วางระบบ การจัดสรรทุน สําหรับ นักศึกษาครู
๔. ปรับ ระบบและ รูปแบบการ ผลิตครู
๕. กําหนด แนวทาง การเตรียม นักศึกษาครู เพื่อใหไดครูดี มีคุณภาพ
หนวยงานที่เกี่ยวของ ๑. คุรุสภา ๒. ก.ค.ศ. ๓. สกอ. ๔. สภาคณบดี ๕. สพฐ. ๖. สอศ. ๗. สช. ๘. กศน. ๙. กทม. ๑๐. อปท.
๑๑. วชช. ๑๒. สถาบันผลิตครู ๑๓. หนวยผูใชครู ๑๔. ๓ พระจอม ๙ มทร. ๑๕. ทปอ. ๑๖. สคบศ. ๑๗. ภาคสังคม ชุมชน ๑๘. สสวท. ๑๙. ตชด.
(ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู ยุทธศาสตรที่ ๑ การปฏิรูประบบและรูปแบบการผลิตครู มาตรการ ๒ เสริมสรางความพรอมและความเขมแข็งใหสถาบันผลิตครู เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนรูของสถาบันผลิตครูใหไดมาตรฐาน มี สมรรถนะในระดับสากล มีแนวดําเนินการ ดังนี้ ๑. กําหนดกลยุทธเสริมสรางความพรอมและความเขมแข็งของสถาบัน ผลิตครู ๒. สงเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพคณาจารย (ครูของครู) ในสถาบัน ผลิตครู โดยสงเสริมการวิจัยเพือ่ คิดคนนวัตกรรมดานการเรียนการสอน นวัตกรรมหลักสูตรที่เหมาะสมกับการเปนวิชาชีพชัน้ สูง การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
16
(ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู ๓. จัดระบบงบประมาณตรงแกคณะครุศาสตร/ศึกษาศาสตรเพือ่ การ พัฒนาสูความเปนสถาบันผลิตวิชาชีพชั้นสูง ๔. เรงรัดการผลิตคณาจารย (ครูของครู) ยุคใหมของคณะครุศาสตร/ ศึกษาศาสตร ทดแทนคณาจารยที่เกษียณอายุราชการ โดยการจัดสรรทุน ปริญญาเอกหรือทุนหลังปริญญาเอกที่มีคณ ุ ภาพสูง เพือ่ พัฒนาคณาจารย ของสถาบันผลิตครูและเสริมสรางความเชีย่ วชาญเฉพาะทาง ๕. สถาบันผลิตครูปรับกระบวนการเรียนการสอนใหมีมาตรฐานในระดับ สากล โดยมีจุดเนนอยูที่การใหผูเรียนเปนศูนยกลาง และเกิดการเรียนรูด วย ตนเอง การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
17
(ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู ๖. กําหนดแนวทางและมาตรฐานการฝกประสบการณวิชาชีพทีเ่ หมาะสม และมีคุณภาพ ไดแก องคประกอบโรงเรียนฝกประสบการณวิชาชีพ ระบบ การคัดเลือกครูพเี่ ลีย้ ง แนวทางการเสริมสรางความรวมมือระหวางสถาบัน ผลิตครูและหนวยงานที่เกี่ยวของ ๗. จัดใหมีกลไกหรือระบบประกันคุณภาพการผลิตครูและการรับรอง มาตรฐานสถาบันผลิตครูและคุณภาพบัณฑิต ๘. จัดใหมีระบบตรวจสอบผลการปฏิบัติงานของคณาจารยตามภารกิจที่ กําหนดและกํากับดูแลใหคณาจารยประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีแก นักศึกษาครูและชุมชน การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
18
(ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู ยุทธศาสตรและมาตรการทีเ่ กี่ยวของกับสถาบันอุดมศึกษาในการพัฒนา ศักยภาพคณาจารย (ตอ) ยุทธศาสตรที่ ๔ การปฏิรูปการวิจัยของสถาบันผลิตและพัฒนาครู มาตรการ ๑ วิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการผลิตครู มาตรการ ๒ วิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาครู มาตรการ ๓ พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรูและสรางสิง่ แวดลอมทาง วิชาการ การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
19
ยุทธศาสตรที่ ๔ การปฏิรูปการวิจัยของสถาบันผลิตและพัฒนาครู
๑. วิจัยเพื่อพัฒนา นวัตกรรมการผลิตครู
๒. วิจัยเพื่อพัฒนา นวัตกรรมการ พัฒนาครู
๓. พัฒนานวัตกรรม การจัดการเรียนรูและ สรางสิ่งแวดลอมทาง วิชาการ
หนวยงานที่เกี่ยวของ ๑. คุรุสภา ๒. ก.ค.ศ. ๓. สกอ. ๔. สภาคณบดี ๕. สพฐ. ๖. สอศ. ๗. สช. ๘. กศน. ๙. กทม. ๑๐. อปท.
๑๑. วชช. ๑๒. สถาบันผลิตครู ๑๓. หนวยผูใชครู ๑๔. ๓ พระจอม ๙ มทร. ๑๕. ทปอ. ๑๖. สคบศ. ๑๗. ภาคสังคม ชุมชน ๑๘. สสวท. ๑๙. ตชด.
(ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู ยุทธศาสตรที่ ๔ การปฏิรูปการวิจัยของสถาบันผลิตและพัฒนาครู มาตรการ ๑ วิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการผลิตครู มีแนวดําเนินการดังนี้ ๑. จัดใหมีแผนแมบทในการดําเนินงานวิจัยดานครุศกึ ษา เพื่อพัฒนา รูปแบบและวิธีการผลิตครูที่ตอเนื่อง ๒. สํารวจหาความตองการในการวิจัยนวัตกรรมที่สอดคลองกับความ ตองการในการผลิตครูของแตละพืน้ ที่และสถานศึกษาฯ ๓. กําหนดใหการวิจัยเปนสวนหนึง่ ของภาระงานของสถาบันผลิตครู/ สถาบันอุดมศึกษา ฯลฯ การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
21
(ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู ยุทธศาสตรที่ ๔ การปฏิรูปการวิจัยของสถาบันผลิตและพัฒนาครู มาตรการ ๒ วิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาครู มีแนวดําเนินการดังนี้ ๑. จัดใหมีแผนแมบทในการดําเนินงานเพือ่ พัฒนารูปแบบและวิธีการ พัฒนาครูที่เหมาะสม ๒. สํารวจหาความตองการในการวิจัยนวัตกรรมที่สอดคลองกับความ ตองการในการพัฒนาครูของทุกระดับทุกประเภทและสถานศึกษาฯ ๓. กําหนดใหการวิจัยนวัตกรรมการพัฒนาครูเปนวิถีการพัฒนางานปกติที่ ทําอยูในปจจุบัน (Routine to Research : R2R) ฯลฯ การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
22
(ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู ยุทธศาสตรที่ ๔ การปฏิรูปการวิจัยของสถาบันผลิตและพัฒนาครู มาตรการ ๓ พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรูแ ละสรางสิ่งแวดลอมทาง วิชาการ มีแนวดําเนินการดังนี้ - กําหนดใหการวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรูเปนสวนหนึง่ ของภาระงาน (Work Force) ของครู/คณาจารยทุกคน ฯลฯ
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
23
สรุปสาระสําคัญ (ราง) ยุทธศาสตรการผลิตและพัฒนาครู ใหความสําคัญกับการพัฒนา ศักยภาพคณาจารยในสถาบันอุดมศึกษา ซึง่ เปนครูของครู ในฐานะฝาย ผลิตกําลังคนหลักของประเทศ ดั้งนั้น สถาบันอุดมศึกษาตองเสริมสราง ความเขมแข็งใหแกคณาจารยดวยรูปแบบวิธีการที่เหมาะสมอยางตอเนื่อง ทั้งในดานวิชาการ การวิจัย เครือขายวิชาการ เพือ่ ใหคณาจารยไดเพิ่มพูน ความเชี่ยวชาญเชิงวิชาชีพของตนอยางยั่งยืนตอไป
การบรรยายพิเศษ เรื่อง ทิศทางการพัฒนาศักยภาพอาจารยในระดับอุดมศึกษา วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๘ เวลา ๙.๒๐-๑๐.๕๐น. ณ หองออดิทอเรียล ชั้น ๑๔ อาคาร ๔๐ ป มหาวิทยาลัยศรีปทุม
24