Active Learning Roadshow

Page 1

ศูนย์สนับสนุนและ พัฒนาการเรียนการสอน

ROAD SHOW ACTIVE LEARNING

แนวโน้มการจัดการศึกษาในยุค ศตวรรษที่ 21 เน้นให้ผู้เรียนสามารถนา

Teaching and Learning Support and Development Center

ความรู้ ไ ปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นชี วิ ต จริ ง มี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม สร้างสรรค์ และเป็นผู้แสวงหาความรู้อยู่เสมอ การ จัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ถือเป็น วิ ธี ก ารหนึ่ ง ที่ ช่ ว ยส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ เ รี ย นมี ค วามรู้ แ ละมี ทักษะเหมาะสาหรับการทางานในยุคศตวรรษที่ 21 ในปี การศึ กษา 2555 นี้ ศู นย์ สนั บสนุ นและ พัฒนาการเรียนการสอน (Teaching and Learning Support and Development Center) ได้ดาเนินการรวบรวม เทคนิคการสอนแบบ Active Learning ของอาจารย์ภายในมหาวิทยาลัยศรีปทุม สาหรับเป็น ตัวอย่างและเป็นแนวทางให้แก่ผู้ที่สนใจ

1


การสอนแบบเน้นประสบการณ์ : สอนโดยใช้การสาธิต อาจารย์สุจินต์ สุขะพงษ์ คณะศิลปศาสตร์

1 ตั ว อย่ า งเทคนิ ค การ ส อ น แ บ บ เ น้ น ประสบการณ์ ไ ด้ แ ก่ เทคนิ ค การสอนโดย ใช้ ก า รส า ธิ ต แล ะ เทคนิ ค การสอนแบบ ฝึกปฏิบตั ิ

2

การสอนแบบเน้นประสบการณ์ เป็นการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ จากประสบการณ์ ที่ เ ป็ น รู ป ธรรมเพื่ อ น าไปสู่ ความรู้ค วามเข้ า ใจเชิงนามธรรมซึ่ งเป็ น การ เรียนจากประสบการณ์ตรงและค้นพบความรู้ ด้วยตนเองจะช่วยให้ผู้เรียนมีความเข้าใจอย่าง ลึกซึ้ง

วิธีสอน ผู้ ส อนจั ด สถานการณ์ เ พื่ อ ให้ ผู้เรียนมีประสบการณ์ที่จาเป็นต่อการเรียนรู้ อาจอยู่ในรูปแบบของสถานการณ์จาลองหรือ สถานการณ์ จริ ง เน้ น กระบวนการให้ ผู้ เ รี ย น สะท้ อ นความคิ ด อภิ ป ราย สิ่ ง ที่ ไ ด้ รั บ จาก สถานการณ์

วิชา การประกอบอาหาร กระบวนการ : บรรยายเนื้อหา และมอบหมายใบงานให้นักศึกษาไปเลือกซื้อวัตถุดิบ จากนั้นสาธิตวิธีการประกอบอาหารและอธิบายเทคนิค ให้ นั กศึ กษาฝึ กปฏิ บั ติ ตาม และท้ ายชั่ วโมงมี การ ประเมินผลงานและสรุปเนื้อหาซ้าอีกครั้ง ผลสะท้อน จากนักศึกษา : สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันและ ประกอบอาชีพ ได้ อาจารย์สอนสนุก ใช้คาพูดเข้าใจง่าย สามารถทาตามได้ มีความสุขที่ได้เรียนวิชานี้ สอนโดยใช้การสาธิต เป็นการสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่ กาหนด โดยการแสดงหรือทาสิ่งที่ต้องการให้เรียนรู้โดยให้ผู้เรียนสังเกตดู แล้วทาตาม ซักถาม อภิปราย และสรุปการเรียนรู้ที่ได้จากการสังเกตการสาธิต

อาจารย์วิชัย โยธาวงค์ คณะดิจิทลั มีเดีย วิ ชา ทั ศนศิ ลป์ 2 กระบวนการ : บรรยายหลั กทฤษฎี ยกตั วอย่ างประกอบทั้ งผลงานคลาสสิ คและผลงานของ นักศึกษา จากนั้นสาธิตขั้นตอนการปฏิบัติงาน มอบหมาย งานให้ ปฏิบั ติ ขณะนักศึกษาฝึ กปฏิ บัติ อาจารย์เข้ าไปให้ คาแนะนาเป็นรายบุคคล ผลสะท้อนจากนักศึกษา : ชอบที่ อาจารย์ให้ข้อคิดเห็นงานนักศึกษาทุกคน ทาให้นักศึกษา ทราบทราบข้อบกพร่องของตนเอง การได้ลงมือปฏิบัติทาให้ เข้ าใจทฤษฎี สี เป็ นอย่ างดี อาจารย์ เป็ นกั นเองและให้ คาแนะนาทั่วถึงทุกคน

3


การสอนแบบเน้นประสบการณ์ : วิธีสอนแบบเน้นการฝึก

ปฏิบัติ

ดร.ถาวร ทิศทองคา คณะศิลปศาสตร์ วิชา ภาษาอังฤษเพื่อการสื่อสาร กระบวนการ : สอนแบบเน้นการฝึก ภาษาอังกฤษด้วยโปรเกรมการฝึกภาษา Tell Me More โดยเริ่มด้วยการ สอนคาศัพท์ที่ผู้เรียนจะพบในบทเรียน จากนั้นให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ 4 ทักษะ ได้แก่ การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน จากโปรแกรม ท้าย ชั่วโมงอาจารย์สรุปเนื้อหา และถาม – ตอบเพื่อสร้างความเข้าใจเพิ่มขึ้น ผลสะท้อนจากนักศึกษา : อาจารย์ช่วยเติมเต็มในส่วนที่ยังไม่เข้าใจจาก การฝึกปฏิบัติด้วยโปรแกรม และเอาใจใส่ดูแลเอาใจนักศึกษาเป็นอย่าง ดี อยากให้เพิ่มเวลาเรียนด้วยโปรแกรม Tell Me More ให้มากขึ้น

สอนแบบเน้ นการฝึ กปฏิ บั ติ เป็ นการสอนให้ ผู้ เรี ยนได้ มี ประสบการณ์ตรงหรือประสบการณ์จาลองในเรื่องที่เรียนเพื่อความ เข้าใจ สามารถประยุกต์ใช้และสร้างสิ่งใหม่

อาจารย์ณัฐกานต์ จูฉิม สถาบันภาษาและวัฒนธรรมนานชาติศรีปทุม วิชา ทักษะการเขียนและไวยากรณ์ กระบวนการ นาเข้าสู่บทเรียนด้วยการเล่าเรื่องใกล้ตัว จากนั้นตัง้ คาถามกระตุ้นให้ นักศึกษาฝึกแต่งประโยคภาษาอังกฤษที่ใช้ในชีวิตประจาวัน อาจารย์จูงใจให้นกั ศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียนโดย ฝึก การพูดและโต้ตอบเป็นภาษาอังกฤษ ท้ายชั่วโมงกาหนดโจทย์ให้นักศึกษาแต่งประโยคภาษาอังกฤษ ผลสะท้อนจาก นักศึกษา : อาจารย์ยกตัวอย่างจากสถานการณ์ใกล้ตัวทาให้เข้าใจได้ง่าย บรรยากาศการเรียนสนุกสนานไม่น่าเบื่อ

4

2 การสอนแบบเน้นปัญหา ตั ว อ ย่ า งเทค นิ ค การสอนแบบเน้ น ปัญหา ได้แก่ การ ส อ น แ บ บ ใ ช้ โครงงาน และการ สอนแบบใช้ ปัญ หา เป็นหลัก

ปั ญ หา ส า ม า ร ถ ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ ผู้ เ รี ย น เ กิ ด ความสังสัยและต้องการที่จะแสวงหาความรู้เพื่อ ขจัดข้อสงสัย การสอนแบบเน้นปัญหา คือ การใช้ปัญหาเป็ นเครื่องมือ ให้ช่ วยให้ผู้เ รีย น เกิดการเรียนรู้ โดยผู้สอนจัดสถานการณ์หรือ นา ให้ผู้เรียนเผชิญกับปัญหาและมีการร่วมกันคิดเพื่อ หาทางแก้ ไ ข ส่ ง ผลให้ ผู้ เ รี ย นสามารถพั ฒ นา ทัก ษะกระบวนการต่างๆที่ จาเป็น ต่อ การดาเนิ น ชีวิตและการประกอบอาชีพในอนาคต

5


การสอนแบบเน้นปัญหา : วิธีสอนแบบใช้โครงงาน ผู้สอนจัดสถานการณ์ให้ผู้เรียนร่วมกันเลือกโครงงานที่สนใจ วางแผนดาเนินการ ศึก ษาค้ น คว้าข้อมูล และลงมือปฏิบัติง านตามแผนจนได้ข้อค้ น พบหรือผลงาน สร้างสรรค์ใหม่ แล้วนาเสนอผลงาน ประสบการณ์การทางาน และสรุปผลการ เรียนรู้ที่ได้รับจากการทาโครงงาน

อาจารย์สุวรรณี รุ่งจตุรงค์ คณะบัญชี วิชา ระบบสารสนเทศทางการบัญชี กระบวนการ : บรรยาย เนื้ อหาทฤษฎี และแบ่ งนั กศึ กษาออกเป็ นกลุ่ ม ก าหนดให้ ออกแบบระบบสารสนเทศทางการบั ญชี ด้วยโปรแกรม visio พร้อมกับเสริมแรงด้วยการจัดการแข่ งขันประกวดโครงงาน ภายในชัน้ เรียน ผู้ชนะจะได้รบั รางวัลจากอาจารย์ ผลสะท้อนจาก นักศึกษา : ได้ลงมือเขียนโปรแกรมจริงทาให้เข้าใจเนื้อหามาก ขึ้น การที่อาจารย์จดั การแข่งขันช่วยสร้างแรงจูงใจในการเรียน เพิ่มขึ้น

การสอนแบบเน้นปัญหา : วิธีสอนแบบใช้ปญ ั หาเป็นหลัก อาจารย์ชานนท์ วาสิงหน และ อาจารย์กิตติภัทร์ หงศ์ชูเวช คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วิชา การออกแบบภายใน กระบวนการ : กาหนดโครงงานให้นักศึกษาดาเนินการออกแบบภายใน เริ่มจากศึกษา ข้อมูล วางแผน และพัฒนาผลงาน โดยอาจารย์มีบทบาทแป็นที่ปรึกษาคอยให้คาแนะนา จนนักศึกษาสามารถ ดาเนินโครงงานสาเร็จ สุดท้ายสรุปภาพรวมของโครงงานและนาเสนอผลงานโดยเชิญอาจารย์ประจาภาควิชา ร่วมกันประเมินผลงานนักศึกษา ผลสะท้อนจากนักศึกษา : การได้ลงมือทาจริงทาให้เกิดการเรียนรู้ได้มากกว่า การฟังอาจารย์พูด การให้คาปรึกษาของอาจารย์ชว่ ยเติมเต็มในส่วนที่นักศึกษามองไม่ออกหรือไม่ครบถ้วน เมื่อ เรียนวิชานี้แล้วทาให้ได้เรียนรู้หลักการคิดอย่างเป็นขั้นตอนมากยิ่งขึ้น

อาจารย์บรินดา ศัลยวุฒิ คณะบริหารธุรกิจ

6

วิชา การตลาดอิเล็กทรอนิกส์ กระบวนการ : บรรยายเนื้อหา ทฤษฎีและกาหนดโครงงานโดยให้นักศึกษาดาเนินการเปิด ร้านค้าแบบ e – Market ในเว็บไซด์ www.tarad.com โดยใช้ ความรู้จากการเรียนไปประยุกต์ใช้ และอาจารย์ให้คาแนะนา และให้นักศึกษานาเสนอความคืบหน้าของโครงงานเป็นระยะ ผลสะท้อนจากนักศึกษา : การได้เปิดร้านค้าจริงผ่านเว็บไซด์ ทาให้ได้ประสบการณ์และเกิดการเรียนรู้จากการลงมือทา

ผู้สอนจัดสถานการณ์ ให้ ผู้เรียนศึกษาปัญหาที่สมมติขึ้นจากความเป็น จริง และร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาพร้อมเสนอวิธีเพื่อให้ ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด อาจารย์สิริรัตน์ มัชฌิมาดิลก คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ วิชา การเขียนโปรแกรมทางธุรกิจ 1 กระบวนการ : บรรยายหลักการ เขียนโปรแกรมในชั้ นเรียน และยกตั วอย่างจากปัญหาจริง จากนั้ น กาหนดโจทย์ที่คล้ายคลึงกับปัญหาจริง ให้นักศึกษาร่วมกันวิเคราะห์ แล้วลงมือเขียนโปรแกรมเป็นรายบุคคล ผลสะท้อนจากนักศึกษา : การ ได้ลงมือเขียนโปรแกรมจริงทาให้เข้าใจเนื้อหามากขึ้น

7


า ร ส อ น แ บ บ เ น้ น ทั ก ษ ะ 3 กกระบวนการคิ ด กระบวนการคิ ด เป็ น กระบวนทาง ส ติ ปั ญ ญ า ที่ อ า ศั ย สิ่ ง เ ร้ า แ ล ะ สภาพแวดล้ อ มที่ เ หมาะสม การฝึ ก ทัก ษะการคิ ด ในแบบต่ า งๆและการ ฝึกกระบวนการคิดที่หลากหลาย จะ ช่ ว ยให้ ทั ก ษะการคิ ด ของผู้ เ รี ย นมี คุณภาพมากขึ้น ตัว อย่า งเทคนิ ค การสอนแบบ เน้ น กระบวนการคิ ด ได้ แ ก่ การสอนแบบเน้นกระบวนการ คิ ด ค านวณและการสอนแบบ เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ / คิดอย่างมีวิจารณญาณ

8

การสอนแบบเน้นทักษะกระบวนการคิด :

วิธีสอนแบบเน้นกระบวนการ คิดค านวณ เป็ นกระบวนการสอนที่ ผู้ ส อนสร้ า งโจทย์ ปั ญ หาหรื อ กิ จ กรรมเพื่ อ กระตุ้ น ให้ ผู้ เ รี ย นคิ ด เป็ น ล าดั บ ขั้ น ตาม กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ ได้แ ก่ การ แก้ปัญหา การให้ เหตุผ ล การสื่อ สาร การ เชื่อมโยง และการคิดสร้างสรรค์ เน้นการ จัดการเรียนรู้ตามสภาพจริงและเการฝึกซ้า

กระบวนการ : อาจารย์ทบทวนเนื้อหา จากนั้นนาเข้าสู่บทเรียนโดยการบรรยายเนื้อหาและแสดงวิธีการแก้ โจทย์ทางคณิตศาสตร์เป็นลาดับขั้น แล้วให้นักศึกษาฝึกแก้โจทย์ ปัญหา อาจเป็นรายบุคคลหรือกลุ่มก็ได้ ท้ายชั่วโมงอาจารย์ สรุป เนื้อหาอีกครัง้ เพื่อให้นกั ศึกษาเข้าใจอย่างถูกต้อง และมอบหมายงาน ให้ทาแบบฝึกหัดแก้โจทย์ปญ ั หาจาก e-Learning เป็นการบ้าน

9


การสอนแบบเน้นทักษะกระบวนการคิด : วิธีสอนแบบ เน้นกระบวนการคิดคานวณ รศ.ดร.กีรติ ชยะกุลคีรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ วิชา การป้องกันระบบไฟฟ้ากาลังและรีเลย์ ผลสะท้อนจากนักศึกษา : อาจารย์อธิบายอย่างละเอียดและทีละขั้นตอน และมีการทบทวนเนื้อหา ทาให้เข้าใจยิ่งขึ้น การทดสอบระหว่างเรียนช่วยกระตุ้นให้สนใจเรียน และการนาข้อสอบของสภาวิศวกรมาใช้สอนทาให้รู้สึกว่ามีประโยชน์ อาจารย์เป็นคนที่พัฒนาตนเองและศึกษาสิ่งใหม่ตลอดเวลาแล้วนามา ถ่ายทอดให้นักศึกษา

อาจารย์ศุภลักษณ์ ไชยสิทธิ์ คณะบริหารธุรกิจ วิชา วิธีเชิงปริมาณและสถิติทางธุรกิจ ผลสะท้อนจากนักศึกษา : อาจารย์เขียนอธิบายวิธีคิดแก้โจทย์ และการทาแบบฝึกหัดที่อาจารย์ เตรียมมาทาให้เข้าใจเนือ้ หาได้ดียิ่งขึน้ อาจารย์มีความกระตือรือร้นใน การสอนและเป็นวิชาที่ต้องมีสมาธิในการเรียนเพราะถ้าไม่ตั้งใจฟังจะ ไม่เข้าใจขั้นตอนการแก้โจทย์

ผศ.ปัทมา โกเมนจารัส คณะเศรษฐศาสตร์ วิ ชา คณิ ตศาสตร์ ทางเศรษฐศาสตร์ ธุ รกิ จ ผลสะท้ อนจาก นักศึกษา : การแสดงวิธีแก้โจทย์ช่วยให้เข้าใจเนื้อหาได้มากกว่า การสอนจากสไลด์ อาจารย์ทบทวนปูพื้นฐานโดยละเอียดทั้งเนื้อหา ที่ง่ายและเนื้ อหาที่ยาก เพราะบางครั้ งเนื้ อหาที่ ง่ายนักศึกษา อาจจะลืมไปแล้วและชอบที่ได้ทาแบบฝึกหัด

10

การสอนแบบเน้นทักษะกระบวนการคิด : วิธีส อนแบบ

เน้ น กระบวนการคิ ด วิ เ คราะห์ /คิ ด อย่ า งมี วิจารณญาณ เป็นกระบวนการสอนที่ผู้สอนใช้รูปแบบ วิ ธี ก าร และเทคนิ ค กระตุ้ น ให้ ผู้ เ รี ย นขยายความคิ ด ต่อเนื่องจากความคิดเดิม พิจารณาแยกแยะ ไตร่ตรอง เกี่ยวกับสถานการณ์หรือข้อมูล อย่างครบถ้วนรอบด้าน และมีเหตุผล จนสามารถตัดสินประเมินหาข้ อสรุปและ นาไปใช้แก้ปญ ั หาอย่ามีหลักการ

อาจารย์รัฐสภา แก่นแก้ว คณะนิเทศศาสตร์ วิชา การผลิตวิทยุโทรทัศน์ 1 กระบวนการ : นาเข้าสู่บทเรียนด้วย สื่อการสอน Presentation เพื่อดึงดูความสนใจ จากนั้นจัดการเรียน การสอนด้วยการบรรยายสลับกับ Case Study หลากหลายรูปแบบ ใช้ เทคนิคตั้งคาถามปลายเปิดเพื่อกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์และเน้น การอภิปราย ท้ายชั่วโมงให้นักศึกษาทาแบบฝึกหัด ผลสะท้อนจาก นักศึกษา : สื่อการสอนน่าสนใจ และเรียนด้วยความสนุกสนาน อาจารย์จาชื่อนักศึกษาได้แทบทุกคนและเรียกชื่อตลอดเพื่อกระตุ้น ความสนใจ อาจารย์ใส่ใจและเตรียมการสอนทุกครั้ง

11


การสอนแบบเน้นทักษะกระบวนการคิด : วิธีสอนแบบเน้น

กระบวนการคิดวิเคราะห์/คิดอย่างมีวิจารณญาณ ผศ.ดร.วรัชญ์ ครุจิต คณะนิเทศศาสตร์ วิ ชา ความคิ ดสร้ างสรรค์ เพื่ อการสื่ อสาร กระบวนการ : ก าหนด วัตถุประสงค์การเรียนรู้ในแต่ละครั้งแล้วเลือกสื่อการสอน เช่น คลิป วิดีโอ/เกม/สถานการณ์สมมติ/เงื่อนไข เพื่อเป็นโจทย์ให้นักศึกษาคิดและ ร่วมกันอภิปราย กระตุ้ นการคิด จิ นตนาการ โดยไม่เน้ นการตัดสิ น ความถูก-ผิด แล้วมอบหมายงานท้ายชั่วโมง ผลสะท้อนจากนักศึกษา : กิจกรรม และสไลด์ของอาจารย์นา่ สนใจ การสอนกระตุ้นให้ได้ลองคิดในสิ่ง แปลกใหม่ สร้างสรรค์จินตนาการ และรู้สึกว่าหลังจากเรียนแล้วตนเองมี มุมมองความคิดที่แตกต่างไปจากเดิม บรรยากาศการเรียนไม่น่าเบื่อ

อาจารย์ทัชชภร มหาแถลง คณะนิติศาสตร์ วิชา กฎหมายเอกชน กระบวนการ : บรรยายเนื้อหา ทฤษฎี แล้ว ยกตัวอย่างคดี จากนั้นตั้งคาถามกระตุ้นให้นักศึกษาคิดเป็น ลาดับขั้น เพื่อพิจารณาตัดสินคดี โดยเน้นการเชื่อมโยงหลัก กฎหมายมาประกอบการพิจารณาตัดสิน ผลสะท้อนจากนักศึกษา : การฝึกคิดพิจารณาคดี ตามตัวอย่างที่อาจารย์นามาสอนทาให้ เข้าใจมากกว่าการท่องจา และตัวอย่างคดีของอาจารย์เข้าใจง่าย

ผศ.มนนภา เทพสุด สานักวิชาศึกษาทั่วไป วิ ชา ชี วิ ตและสภาพแวดล้ อมในโลกแห่ งการเปลี่ ยนแปลง กระบวนการ : นาเข้าสู่ให้นกั ศึกษาเห็นความสาคัญของเรื่องที่จะ สอน จากนั้นนาตัวอย่างกรณีศึกษาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง เช่น มลพิษจากโรงไฟฟ้าแม่เมาะ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ ทาแบบฝึกหัด และสรุปประเด็น เพื่อสร้างความเข้าใจมากยิ่งขึ้น ผลสะท้ อนจากนั กศึกษา : อาจารย์อธิบายเนื้อหาอย่างละเอียด และมีการซักถามนักศึกษา เพื่อย้าความเข้าใจ เรียนวิชานี้แล้วเข้าใจสภาพแวดล้อมของโลก มากขึ้น

12

A.J. Joshua Johnson Sripatum International College วิชา COMPARATIVE SOCIETY AND CULTURES กระบวนการ : อธิบายและยกตัวอย่างความแตกต่างทางวัฒนธรรมในแต่ละ สังคม แล้วเปิดโอกาสให้นักศึกษาร่วมกันอภิปรายในชั้นเรียน ผลสะท้อนจากนักศึกษา : การได้แสดงความคิด อภิปรายโต้ตอบ เป็นการฝึกคิดอย่างมีเหตุผล มีหลักการ

13


ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน โทร : 1182,1198 สานักงานรองอธิการบดี (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิรัช เลิศไพฑูรย์พันธ์)

อ้างอิง ไพฑู ร ย์ สิ น ลารั ต น์ . (2555). หลั ก และเทคนิ ค การสอน ระดับอุดมศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ทิศนา แขมมณี. (2548). ศาสตร์การสอน องค์ความรูเ้ พือ่ การจัด กระบวนการเรียนรูท้ มี่ ปี ระสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

14

คณะผู้จัดทา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิรัช เลิศไพฑูรย์พันธ์ ดร.สิรินธร สินจินดาวงศ์ วิสาลักษณ์ สิทธิข์ ุนทด ธงไชย บุญสุทธิ์

ที่ปรึกษา ตรวจสอบเนื้อหา จัดทา ผู้ช่วย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.