Rubric scoring

Page 1


2/24/2016

การประเมินผลการเรียนรู ้ กระบวนการทางการศึกษา

จุดมุ่งหมายทางการศึกษา 

จุดมุง่ หมายทางการศึกษา

Objective

การสร้างเครือ่ งมือ และเกณฑ์ประเมินแบบ SCORING RUBRICS อ.ดร.สาธิดา สกุลรัตนกุลชัย

Bloom’s taxonomy

การจัดประสบการณ์ การเรียนรู้

การประเมิน

Learning experience

Evaluation

ด้านพุทธิพิสยั (ความรูค้ วามคิด) (cognitive domain) ด้านจิตพิสยั (อารมณ์ความรูส้ ึก) (affective domain) ด้านทักษะพิสยั (การปฏิบตั ิ) (psychomotor domain)

25/2/2559

การวัดและการประเมิน 

การวัด (measurement) การกําหนดตัวเลขให้กบั สิ่งต่าง ๆ ตามกฎเกณฑ์  การประเมิน (evaluation) การตัดสินคุณค่า Evaluation = Measurement + Judgment

การวัด

ดุลพินิจ

การ ประเมิน

1


2/24/2016

บทบาทของการประเมิน

แนวคิดการประเมิน

การประเมินความก้าวหน้า (formative evaluation) เพื่อการปรับปรุงและพัฒนา  การประเมินสรุปรวม (summative evaluation) เพื่อตัดสินคุณค่า 

Formative

• ระหว่างการดําเนิ นงาน Summative

• สิ้ นสุดการดําเนิ นงาน

ตัวบ่งชี้ เกณฑ์ มาตรฐาน 

ตัวบ่งชี้ /ตัวชี้ วัด (indicator) ตัวแปร/คุณลักษณะซึ่งใช้บ่งบอกสถานภาพการดําเนิ นงาน หรือผลการดําเนิ นงาน เกณฑ์ (criteria) คุณลักษณะหรือระดับ ซึ่งเป็ นคุณภาพหรือความสําเร็จของ การดําเนิ นงาน มาตรฐาน (standard) คุณลักษณะหรือระดับ ซึ่งเป็ นคุณภาพหรือความสําเร็จของ การดําเนิ นงาน ที่เป็ นมาตรฐานที่ยอมรับโดยทัว่ ไป

วัตถุประสงค์ของการประเมิน ประเมินทําไม  การประเมินที่เน้นการตัดสินใจ (Decision-oriented evaluation) นําเสนอสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ / นักประเมินไม่ควรมีบทบาทการตัดสินใจ  การประเมินที่เน้นการตัดสินคุณค่า (Value-oriented evaluation) ตัดสินคุณค่า / นักประเมินเป็ นผูต้ ดั สินคุณค่า วิธีการประเมิน ประเมินอย่างไร วิธีเชิงระบบ (Systematic approach) ปรนัย / มีการวางแผน สร้างเครื่องมือ อย่างเป็ นระบบ  วิธีเชิงธรรมชาติ (Naturalistic approach) อัตนัย / ยืดหยุน่ เน้นการเก็บข้อมูลในสภาพธรรมชาติ 

ตัวอย่างตัวบ่งชี้ (indicator) ตัวบ่งชี้ เชิงปริมาณ (วัดเป็ นตัวเลข) คุณภาพนํ้า ค่า BOD ความสนใจในการเรียน จํานวนครั้งการเข้าชั้นเรียน ความทุ่มเท • % เวลาทํางาน • จํานวนครั้งการมา ในการทํางาน ทํางานสาย คุณภาพการให้บริการ • เวลาที่ใช้ในการรอคิว คุณลักษณะที่ประเมิน

ตัวบ่งชี้ เชิงคุณภาพ (ใช้การบรรยาย) สีของนํ้า การมีปฏิสมั พันธ์กบั ผูส้ อน • การให้ความร่วมมือกับ ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง • คุณภาพของผลงาน • ความพึงพอใจของ ผูร้ บั บริการ

2


2/24/2016

คุณสมบัตขิ องตัวบ่งชี้ ที่ดี

ประเภทของการประเมินผลการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน

ความตรง (validity)  ความเที่ยง (reliability)  ความเป็ นกลาง (neutrality)  ความไว (sensitivity)  ความสะดวกในการนํ าไปใช้ (practicality)

การประเมินเพื่อจัดวางตําแหน่ ง (placement evaluation) การประเมินความก้าวหน้า (formative evaluation) การประเมินเพื่อวินิจฉัย (diagnostic evaluation) การประเมินสรุปรวม (summative evaluation)

การประเมินตามสภาพจริง (authentic assessment) การประเมินการปฏิบตั ิ (performance assessment) การประเมินแฟ้ มสะสมงาน (portfolio assessment)

การประเมินตามสภาพจริง (Authentic assessment) 

เป็ นกระบวนการตัดสินความรูค้ วามสามารถและทักษะต่าง ๆ ของ ผูเ้ รียนในสภาพที่สอดคล้องกับชีวติ จริง  ใช้เรื่องราว เหตุการณ์ สภาพจริง เป็ นสิ่งเร้าให้ผเู ้ รียนตอบสนอง โดยการแสดงออก ลงมือทํา  เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รียนได้ประเมินตนเอง สามารถนํ าผลการประเมิน ไปปรับปรุงและพัฒนาตนเองได้  คํานึ งถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็ นการตีคา ่ การปฏิบตั ิและ ความสามารถที่แท้จริงของผูเ้ รียน

เกณฑ์ในการประเมินเป็ นเกณฑ์ที่เปิ ดเผยแสดงถึงความหลากหลาย ในมุมมองของผูเ้ กี่ยวข้อง  เน้นการประเมินการปฏิบต ั ิ (performance assessment)  วิธีการประเมินมีความหลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การทดสอบภาคปฏิบตั ิ การใช้แฟ้มสะสมงาน (portfolio)  เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน เช่น แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก แบบประเมินการปฏิบตั ิงาน แบบตรวจสอบรายการ (checklist)

3


2/24/2016

ในชั้นเรียนของท่าน...

วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

ปั ญหาในการประเมินที่เกิดขึ้ นมีอะไรบ้าง  ท่านแก้ไขปั ญหาเหล่านั้ นอย่างไร

วิธีการประเมิน การสังเกต

ตัวอย่างเครื่องมือ : Checklist

ประเภทของแบบตรวจสอบรายการ (checklist)

แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา ชื่อ-สกุล.............................วันที่.................... 1. การเข้าชั้นเรียน ตรงเวลา สาย ไม่มาเรียน 2. การส่งงาน ครบถ้วน ส่งงานไม่ครบ ไม่มีงานส่ง 3. การมีปฏิสมั พันธ์ในชั้นเรียน ชอบซักถาม/แสดงความคิดเห็น ตอบเฉพาะเวลาอาจารย์ถาม ไม่แสดงความคิดเห็น/เฉยๆ เงียบๆ

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน แบบสังเกต ซึ่งมีลกั ษณะมาตรวัดแบบต่าง ๆ เช่น • แบบตรวจสอบรายการ (checklist) • แบบมาตรประเมินค่า (rating scale) แบบบันทึก การสัมภาษณ์ แบบสัมภาษณ์ การทดสอบภาคปฏิบตั ิ แบบทดสอบภาคปฏิบตั ิ การใช้แฟ้ มสะสมงาน แบบประเมิน ซึ่งมีเกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (scoring rubric)

Laundry list: ใช้เพื่อแยกประเภท  Sequential checklist: ใช้ตรวจสอบลําดับการดําเนิ นงาน  Diagnostic checklist: ใช้วเิ คราะห์สาเหตุ  Criteria of merit checklist (comlist): ใช้ตรวจสอบ ความถูกต้องหรือสอดคล้องตามเกณฑ์ที่กาํ หนด 

4


2/24/2016

การประเมินการปฏิบตั ิ (Performance assessment)

ตัวอย่างเครื่องมือ : Rating scale แบบประเมินพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา ชื่อ-สกุล........................................................... พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา

มากที่สุด 5

มาก 4

ปานกลาง 3

น้อย 2

น้อยที่สุด 1

ประเมินอะไร…  กระบวนการปฏิบต ั ิงาน (process) ประสิทธิภาพในการทํางานและความถูกต้องของกระบวนการทํางาน  คุณภาพของผลงาน (product)

1. ความตรงต่อเวลา 2. ความรับผิดชอบในการส่งงาน 3. การมีปฏิสมั พันธ์ในชั้นเรียน

ขั้นตอนการประเมินการปฏิบตั ิ

วิธีการประเมินการปฏิบตั ทิ าํ อย่างไร... 

กําหนด จุดมุ่งหมาย

กําหนด สถานการณ์ ในการปฏิบตั ิ

กําหนด คุณลักษณะที่ ต้องการวัด/ ตัวบ่งชี้ / เครื่องมือ

กําหนด วิธีการ ประเมิน

การสังเกต  การสัมภาษณ์  การทดสอบภาคปฏิบต ัิ  การใช้แฟ้ มสะสมงาน

5


2/24/2016

การประเมินแฟ้มสะสมงาน (Portfolio assessment) ประเภทของแฟ้มสะสมงาน  แฟ้มสะสมงานที่เน้นกระบวนการ  แฟ้มสะสมงานที่เน้นผลผลิต การประเมินแฟ้มสะสมงาน  เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (scoring rubric)

ประเภทของรูบริค รูบริคแบบองค์รวมหรือภาพรวม (holistic scoring rubric)  เป็ นเกณฑ์การให้คะแนนการปฏิบต ั ิ/ผลงาน โดยพิจารณาภาพรวมของการ ปฏิบตั ิ/ผลงาน ที่มีการบรรยายคุณภาพลดหลัน่ ตามระดับคุณภาพ รูบริคแบบแยกองค์ประกอบ (analytic scoring rubric)  เป็ นเกณฑ์การให้คะแนนการปฏิบต ั ิ/ผลงาน โดยพิจารณาคุณภาพของชิ้ นงาน เป็ นรายองค์ประกอบหรือรายมิติ ที่มีการบรรยายคุณภาพลดหลัน่ ตามระดับ คุณภาพ  เหมาะสําหรับการประเมินความก้าวหน้าที่ตอ ้ งการให้ขอ้ มูลย้อนกลับ (feedback) เพื่อให้ผเู้ รียนได้ปรับปรุงและพัฒนา

เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (scoring rubric) รูบริค (rubric) เป็ นชุดของเกณฑ์ที่ใช้สาํ หรับให้คะแนนในการประเมินหรือตัดสิน ความสําเร็จของผลงานหรือผลการปฏิบตั ิงาน มีลกั ษณะเป็ นระดับคะแนน ตั้งแต่ระดับดีเยี่ยมจนถึงต้องปรับปรุง ข้อดีของการใช้เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค  ช่วยให้ผส ู้ อนและผูเ้ รียนเข้าใจตรงกัน  เกิดความเที่ยงในการประเมิน  ทําให้ผเู ้ รียนทราบขอบเขตที่ผส ู้ อนจะประเมิน ทั้งการประเมิน กระบวนการและผลการปฏิบตั ิงาน

ตัวอย่างรูบริคแบบองค์รวม คะแนน 5 4 3 2 1

แนวความคิดในการออกแบบ แนวความคิดมีความโดดเด่นแปลกใหม่ สะท้อนความเป็ นไทยอย่างชัดเจน สะดวกในการนําไปใช้ และประหยัดทรัพยากร แนวความคิดมีความโดดเด่น สะท้อนความเป็ นไทยอย่างชัดเจน สะดวกในการ นําไปใช้ และประหยัดทรัพยากร แนวความคิดมีความน่ าสนใจ สะท้อนความเป็ นไทย สะดวกในการนําไปใช้ แต่ ยังไม่ประหยัดทรัพยากร แนวความคิดมีความน่ าสนใจ สะท้อนความเป็ นไทย แต่ไม่สะดวกในการ นําไปใช้ และไม่ประหยัดทรัพยากร แนวความคิดสับสน ไม่สะท้อนความเป็ นไทย ไม่สะดวกในการนําไปใช้ และไม่ ประหยัดทรัพยากร

6


2/24/2016

ตัวอย่างเกณฑ์การให้คะแนนรูบริค (กําหนดนํ้าหนักแต่ละองค์ประกอบเท่ากัน)

ตัวอย่างรูบริคแบบแยกองค์ประกอบ องค์ประกอบ

ระดับคุณภาพ

ดี (3 คะแนน) มีความโดดเด่นและ แปลกใหม่ ไม่ซ้าํ งาน อื่น ๆ ความเป็ นไทย สะท้อนความเป็ นไทย อย่างชัดเจน สื่อสาร ให้เข้าใจได้ตรงกัน การนําไปใช้ ใช้งานได้ตรง วัตถุประสงค์ และ สะดวกในการนําไปใช้

ความคิด สร้างสรรค์

คะแนน

ไม่มีความเป็ นไทย

ใช้งานไม่ตรงวัตถุประสงค์ และไม่สะดวกในการ นําไปใช้

ค่านํ้าหนัก

ระดับคุณภาพ ดี (3 คะแนน)

พอใช้ (2 คะแนน)

มีความโดดเด่นและแปลก ใหม่ ไม่ซ้าํ งานอื่น ๆ

ความเป็ นไทย

2

สะท้อนความเป็ นไทยอย่าง สะท้อนความเป็ นไทย ชัดเจน สื่อสารให้เข้าใจได้ แต่ยงั สื่อสารให้เข้าใจ ตรงกัน ได้ไม่ตรงกัน

ไม่มคี วามเป็ นไทย

การนําไปใช้

1

ใช้งานได้ตรงวัตถุประสงค์ และสะดวกในการนําไปใช้

ใช้งานไม่ตรงวัตถุประสงค์ และ ไม่สะดวกในการนําไปใช้

มีความน่ าสนใจ แต่ยงั ไม่มคี วามน่ าสนใจ คล้ายงาน ไม่โดดเด่นมากนัก อื่น ๆ ทัว่ ไป

ความหมาย

16-18

ดี

11-15

พอใช้

6-10

ต้องปรับปรุง

มีความโดดเด่นและแปลก ใหม่ ไม่ซ้าํ งานอื่น ๆ

มีความน่ าสนใจ แต่ยงั ไม่ โดดเด่นมากนัก

ไม่มคี วามน่ าสนใจ คล้ายงานอื่น ๆ ทัว่ ไป

ความเป็ นไทย

สะท้อนความเป็ นไทยอย่าง ชัดเจน สื่อสารให้เข้าใจได้ ตรงกัน

สะท้อนความเป็ นไทย แต่ยงั สื่อสารให้เข้าใจได้ไม่ตรงกัน

ไม่มคี วามเป็ นไทย

การนําไปใช้

ใช้งานได้ตรงวัตถุประสงค์ และสะดวกในการนําไปใช้

ใช้งานได้ตรงวัตถุประสงค์ แต่ไม่สะดวกในการนําไปใช้

ใช้งานไม่ตรงวัตถุประสงค์ และไม่ สะดวกในการนําไปใช้

ความหมาย

8-9

ดี

5-7

พอใช้

2-4

ต้องปรับปรุง

 ผ่าน  ไม่ผ่าน (ต้องปรับปรุง)

ขั้นตอนการสร้างรูบริค คะแนน

3

คะแนน

คะแนน ควรปรับปรุง (1 คะแนน)

ควรปรับปรุง (1 คะแนน)

ความคิด สร้างสรรค์

ใช้งานได้ตรง วัตถุประสงค์ แต่ไม่ สะดวกในการนําไปใช้

พอใช้ (2 คะแนน)

ความคิด สร้างสรรค์

คะแนน

ตัวอย่างเกณฑ์การให้คะแนนรูบริค (กําหนดนํ้าหนักแต่ละองค์ประกอบไม่เท่ากัน) องค์ประกอบ

ระดับคุณภาพ ดี (3 คะแนน)

พอใช้ (2 คะแนน) ควรปรับปรุง (1 คะแนน) มีความน่ าสนใจ แต่ ไม่มีความน่ าสนใจ คล้าย ยังไม่โดดเด่นมากนัก งานอื่น ๆ ทัว่ ไป สะท้อนความเป็ นไทย แต่ยงั สื่อสารให้เข้าใจ ได้ไม่ตรงกัน ใช้งานได้ตรง วัตถุประสงค์ แต่ไม่ สะดวกในการ นําไปใช้

องค์ประกอบ

กําหนดเนื้ อหา/ วัตถุประสงค์ของการ ประเมิน

ระบุตวั บ่งชี้ /รายการ พฤติกรรม/คุณลักษณะ/ มิติที่ตอ้ งการประเมิน

คัดเลือกตัวบ่งชี้ /รายการ พฤติกรรม/คุณลักษณะ/ มิติที่ตอ้ งการประเมิน

บรรยายคุณภาพของ เกณฑ์การประเมินแต่ละ ระดับให้ชดั เจน

จัดลําดับความสําคัญ/ กําหนดระดับคุณภาพ

 ผ่าน  ไม่ผ่าน (ต้องปรับปรุง)

7


2/24/2016

ตัวอย่างงานวิจยั รูปแบบการสอนศิลปะแบบบูรณาการเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และ ความคิดเชื่อมโยงของนักเรียนในศิลปะกับวัฒนธรรมไทย

ความคิดสร้างสรรค์

แผนผังการเรียนรูแ้ บบเน้นประสบการณ์ 4 ขั้นตอนของ Kolb (Experiential Learning)

4. ขั้นนําไป ประยุกต์ใช้

1. ขั้นรับ ประสบการณ์ ที่เป็ นรูปธรรม

3. สรุปเป็ น แนวคิด

2. ขั้นอภิปราย สะท้อนความคิดที่ ได้จาก ประสบการณ์

วิธีการสอน รูปแบบการสอนแบบเน้น ประสบการณ์ 4 ขั้นตอนของ Kolb

ความคิดเชื่อมโยง

สุมิตรา เทียนตระกูล. (2548). วารสารครุศาสตร์, 34(2), 164-179.

นักเรียนสามารถนํารูปร่าง รูปทรง เส้น และสี ความคิดสร้างสรรค์ มาใช้ในการออกแบบหน้ากากผีตาโขนได้ตาม ความคิดของตัวเอง

ระดับ 1 ไม่ได้ขนาดและสัดส่วนที่เหมาะสม ระดับ 2 ได้ขนาด สัดส่วน แต่ยงั ด้อยเรื่องการออกแบบตกแต่งใบหน้า ระดับ 3 ได้ขนาด สัดส่วน ตกแต่งใบหน้าได้ดี แต่ยงั ไม่โดดเด่นเรื่องการใช้สี ระดับ 4 สวยงาม สมบูรณ์ ได้ขนาด สัดส่วน และมีสีสนั ที่เด่นสะดุดตา

ความคิดเชื่อมโยง

นักเรียนสามารถคิดนําหวดนึ่งข้าวเหนียวไป สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ได้โดยการเขียนแบบ บนกระดาษ

ระดับ 1 ส่วนหัวของหน้ากากทุกประเภท ระดับ 2 ของใช้ ของประดับ ตกแต่ง หรือของเล่น ที่ไม่มีวสั ดุอื่นประกอบ ระดับ 3 ของใช้ ของประดับ ตกแต่ง หรือของเล่น ที่มีวสั ดุอื่นประกอบ ระดับ 4 ของใช้ ของประดับ ตกแต่ง หรือของเล่น ที่มีวสั ดุอื่นประกอบ และมีการดัดแปลงตัด ต่อ เติม รูปทรงของหวดนึ่ งข้าวเหนี ยว

8


2/24/2016

ฝึ กปฏิบตั กิ าร: สร้างเครื่องมือในการประเมิน 

ฝึ กปฏิบตั ิสร้างเครื่องมือโดยใช้เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค  นํ าเสนอและอภิปรายร่วมกัน

รายการอ้างอิง  

สถานการณ์การประเมินผลงาน 1. การประเมินโครงงาน รายวิชาโครงงาน/การปฏิบตั ิการ 2. การประเมินรายงาน รายวิชาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. การประเมินรายงานวิจยั รายวิชาระเบียบวิธีวิจยั ทางธุรกิจ 4. การประเมินภาพถ่าย/ภาพวาด รายวิชาถ่ายภาพ คณะนิ เทศศาสตร์/สถาปั ตย์/ดิจิทลั มีเดีย 5. การประเมินการนําเสนอ รายวิชาทางนิ ติศาสตร์ 6. อื่นๆ

กมลวรรณ ตังธนกานนท์. (2549). การประเมินตามสภาพจริง. วารสารครุศาสตร์, 34(3), 1-13. ศิริชยั กาญจนวาสี. (2548). ทฤษฎีการทดสอบแบบดัง้ เดิม. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศิริชยั กาญจนวาสี. (2550). ทฤษฎีการประเมิน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สมหวัง พิธิยานุ วฒ ั น์. (2549). วิธีวทิ ยาการประเมิน ศาสตร์แห่งคุณค่า. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

9


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.