ร ร
ลย
ร ร ม มม ล ย ร ร ร รย
ร
ม
มร ร
ร รม ม รยล ม
รย 28 ย ย 2554 ม ย ม
ลย
ร
ร รย
ร
รย
ร ญ ข
ร ภ ร ย ร ลย ร ร รย ร ย ไร หลักการและแนวคิดการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การเรียนการสอนบรรยาย Active Learning คือ อะไร องค์ประกอบของ Active Learning คุณลักษณะสาคัญของ Active Learning ประโยชน์ของ Active Learning ทฤษฎี Cone of Learning กลยุทธ์การเรียนการสอนแบบ Active Learning ตัวอย่างของการวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research) การเรียนการสอนคุณธรรมและจริยธรรม ข ร ภ ร ย ร ลย ร ร รย ร ย ไร กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
28
ย ย 2554
ร รม ม รยล ม
ลถ
ลถ
4 4 4 5 5 5 6 6 7 9 10 12 12 13 14
ย
ม
2
ลย
ร
ข
ร ร ม มม
ร
ร
ลย
28
ย ย 2554
ร ภ รย ร
ม
ร
ลย
ร
ล
ร รย
ร รย
ย
ร รย
รย
ร
ร
มร รย
ร รม ม รยล ม ร
ร
ร
ม
ย ไร
ย
ม
ลถ
ในปั จจุบั นแนวคิ ด และหลั ก การจั ดการเรีย นการสอนเน้ นผู้ เ รีย นเป็ นศู นย์ก ลางของการเรี ย นรู้ (Student Center) เนื่องจากผู้เรียนแต่ละคนมีพ้ืนฐานความรู้และประสบการณ์ที่แตกต่างกัน ดังนั้น จาเป็นที่ ผู้สอนจะต้องทราบบทบาทและหน้าที่ของตน โดยให้การสนับสนุนผู้เรียน จัดเตรียม และวางแผนข้อมูล การสอน การสอดแทรกกิจกรรม การนาสื่อการเรียนการสอนมาประยุกต์ และการส่งเสริมการนาความรู้ ไปใช้ ซึ่ ง ช่ ว ยให้ ผู้ ส อนได้ พั ฒ นาการจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ อ ย่ า งเป็ น ระบบ และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพไปสู่ จุดประสงค์ การเรียนรู้และจุดหมายของหลักสูตร อีกทั้งส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง รู้จัก คิดวิเคราะห์ วางแผน สามารถลงมือปฏิบัติจริง ได้ รู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และสามารถทางาน ร่วมกับผูอ้ ื่นได้ดี ดังนั้น การสอนจึงเป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการที่จะทาให้บรรลุวัตถุประสงค์และส่งเสริมให้ผู้เรียน เติบ โตทั้งทางกาย อารมณ์ สั งคม สติปัญ ญา และพัฒนาขึ้นไปสู่ความเป็น สมาชิก ที่ดีของสังคมต่อไป การสอนจึงเป็นวิธีที่ให้ความรู้ ทักษะ และประสบการณ์แก่ผู้เรียน เนื่องจากการสอนมีอยู่มากมายหลายวิธี แต่ละวิธีจึงเหมาะสมกับหลักสูตรและเนื้อหาเฉพาะวิชานั้นๆ นอกจากนี้ ยังมีองค์ประกอบอื่นที่เกี่ยวข้อง ด้วย เช่น ขนาดห้องเรียน โสตทัศนูปกรณ์ จานวนนักศึกษา เป็นต้น ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของผู้สอนที่จะต้อง ตัดสินใจเลือกวิธีการสอนอย่างไรให้เหมาะสม และการนาเทคนิคต่างๆ หรือวิธีการนาเสนอที่จะมากระตุ้น ความสนใจให้แก่นักศึกษา จึงต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมไปพร้อมกัน
28
ย ย 2554
ร รม ม รยล ม
ย
ม
3
ลย
ล
ร ล ร
ร
ร รย
ร
ร รย
ร
รย
ร
(Teaching) คือ การช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ (Teaching is to Facilitated) ซึ่งการ
เรียนรู้จะเกิดได้ดี ผูเ้ รียนต้องเข้าใจความหมายของสิ่งที่เรียน และการเรียนรู้ (จาได้( ถือเป็นการ “ต่อยอด” ความรูใ้ หม่กับความรูเ้ ดิมที่มีอยู่ ดังนัน้ การที่ผสู้ อนจะทาให้ผเู้ รียนเข้าใจในบทเรียนได้ ผู้สอนจะต้องทราบพื้นฐานความรู้ของผู้เรีย น เพื่อที่ผสู้ อนจะช่วยกระตุ้นให้ผเู้ รียนจาและเพิ่มความรูใ้ หม่ๆ ให้แก่ผเู้ รียน ทั้งนี้ หากผู้เรียนสามารถเชื่อมโยง ความรู้ใหม่กับความรู้ที่มีอยู่เดิม จะทาให้ผู้เรียนเข้าใจความหมายของสิ่งที่เรียนและจาได้นานขึ้น เพราะ การเรียนรู้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในสมองของผู้เรียนแต่ละคน (Learning is Individual) ทาให้ผู้เรียนแต่ละคนได้รับ ความรูไ้ ม่เท่ากัน ลย
ร รย
ร
รรย ย
ที่ผ่านมา ผู้สอนส่วนใหญ่จะให้ความสาคัญกับการสอนบรรยายในห้องเรียน การสอนที่ดีไม่ควรใช้ การบรรยายเพียงอย่างเดียว แต่ ผู้สอนควรนาสิ่งรอบตัวที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชา หรือนาประสบการณ์ที่ พบเห็นมาประยุ ก ต์ใ นการสอน เพื่อ พั ฒนาทัก ษะในการถ่ายทอดการสอนให้ถึงผู้เ รีย น และควรมีก าร สอดแทรกกิจกรรม หรือนาตัวอย่าง เช่น รูปภาพ เพลง ภาพยนตร์ หรือ คลิปวีดีโอ มาใช้ประกอบการเรียน การสอนบรรยาย และควรเลือกใช้ตัวอย่างที่เหมาะสมกับวัยและประสบการณ์ของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมี อารมณ์ร่วมกับผูส้ อน รู้สกึ ว่าเนือ้ หาวิชาเป็นเรื่องใกล้ตัว และทาให้ผเู้ รียนได้รับความรูต้ ามวัตถุประสงค์ The Shadow of the Valley
Sources : Almanac, Vol.50, December 9, 2003 (Robbins, 2003)
28
ย ย 2554
ร รม ม รยล ม
ย
ม
4
ลย
ร
ร รย
ร
รย
จากกราฟ จะเห็นว่าในช่วงต้นของการเรียนการสอน (Prime Time) ประมาณ 10-15 นาที จะเป็น ช่วงที่ผู้เรีย นมีความตื่นตัวมากที่สุด พร้อมจะเรียนรู้และรับเนื้อหาวิชาจากผู้สอน ดังนั้น ผู้สอนควรเน้น เนื้อหาที่สาคัญแก่ผู้เรียน เพราะหลังจากช่วงเวลาดังกล่าวความสนใจของผู้เรียนจะเริ่มลดลงและไม่สนใจ ในที่สุด (Down Time) ซึ่งในช่วงเวลานี้ ผู้สอนควรหากิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่สอนมาสอดแทรก เพื่อให้ผู้เรียนกลับมาให้ความสนใจในการเรียนอีกครั้ง ซึ่งเป็นลักษณะการเรียนการสอนแบบ Active Learning Active Learning
ไร
Active Learning เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนมากขึ้น ซึ่ง ไม่แตกต่างจากคาว่า Student Center เพียงแต่จะเห็นภาพได้ชัดเจนมากขึ้น กล่าวคือ ผู้เรียนจะเกิดการ เรียนรู้มากกว่าที่ผู้สอนถ่ายทอดให้ และสามารถลงมือปฏิบัติมากกว่าแค่การจดบันทึกในชั้นเรียน ร
ข
Active Learning มีดังนี้
1. การพูดและการฟัง (Talking and Listening) 2. การอ่าน (Reading) 3. การเขียน (Writing) 4. การสะท้อน (Reflecting) ทั้ง 4 องค์ประกอบ เป็นทักษะที่เกิดขึ้นในการเรียนการสอนทุกวิธี แต่ละวิธีจะเกิดทักษะดังกล่าว มากน้อยแตกต่างกัน เช่น การอภิปราย (Discussion) ใช้ทักษะการพูดและการฟัง การทากรณีศึก ษา (Case Study) ใช้ทักษะการอ่าน การเขียน และการสะท้อน เป็นต้น ล
ญข
Active Learning
เน้นการให้นักศึกษามีสว่ นร่วมในการเรียนการสอนมากขึ้น ซึ่งเป็นการพัฒนาทักษะในหลายๆ ด้าน และทาให้เกิด Higher Order Thinking ในระดับของการวิเคราะห์ (Analysis) การสังเคราะห์ (Synthesis) และการประเมินผล (Evaluation) และนักศึกษายังมีทักษะการอ่าน (Reading) การอภิปราย (Discussing) และการเขียน (Writing) อีกด้วย
28
ย ย 2554
ร รม ม รยล ม
ย
ม
5
ลย
ร ย ข
ร
ร รย
ร
รย
Active Learning
1. มีผลให้ปฏิสัมพั นธ์ ระหว่างผู้สอนและผู้เ รียนดีขึ้น
เพราะทั้งสองฝ่ายจะมี ก ารพูดคุยและ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันมากขึ้น อีกทั้งยังส่งผลดีต่อปฏิสัมพันธ์ระหว่างผูเ้ รียนกับผูเ้ รียนอีกด้วย 2. ผลการเรียนและทักษะในการสื่อสารของผู้เรียนมีแนวโน้มที่ดีขึ้น เพราะผู้เรียนเกิดแรงจูงใจใน การเรียน มีโอกาสได้เห็นและลงมือปฏิบัติดว้ ยตนเอง ซึ่งทาให้ความรู้ที่ผู้เรียนได้รับคงทนตลอดไป 3. ผูเ้ รียนจะเห็นความสาคัญของการทางานเป็นทีม รู้วา่ จะต้องทางานกับบุคคลอื่นอย่างไร ฤ ฎ Cone of Learning เป็นทฤษฎีการเรียนรู้และความจา “Cone of Learning” ของ Edgar Dale นักการศึกษาระดับโลก ซึ่งกล่าวไว้ว่า “มนุษย์จะมีความจาคงเหลือมากกว่า 90% ก็ต่อเมื่อได้ลงมือปฏิบัติ หรือสัมผัสจริงในสิ่ง นั้นๆ”
จากภาพ จะเห็นว่าการเรียนการสอนแบบ Active Learning จะทาให้ผู้เรียนเกิดความจาได้มากถึง 70-90% กล่าวคือ ถ้าผู้เรียนมีการพูดและการเขียนจะเกิดความจา 70% แต่ถ้าผู้เรียนได้ปฏิบัติจะเกิด ความจามากถึง 90% ดังนัน้ ถ้าผูส้ อนสามารถสอดแทรกการเรียนการสอนแบบ Active Learning ให้ผู้เรียน อยู่ตลอด จะทาให้ก ารเรียนการสอนของผู้สอนมีป ระสิท ธิภาพมากขึ้น และผู้เรีย นจะได้รับ ความรู้ดังที่ คาดหวังไว้ 28
ย ย 2554
ร รม ม รยล ม
ย
ม
6
ลย
ร
ร รย
ร
รย
นอกจากนี้ ในปัจจุบันวงการการศึกษาได้เกิดคาศัพท์ใหม่ที่เรียกว่า Student Engagement ซึ่ง เป็นการนา Active Learning และ Motivation มาผสมผสานกัน เรียกว่า Double Helix Model of Student Engagement
Active Learning
ลย
ร รย
ร
Motivation
Active Learning
1. Problem Based Teaching เป็นกลยุทธ์การเรียนการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1.1 รู้วา่ ปัญหาคืออะไร 1.2 หาแนวทางแก้ไขปัญหา 1.3 ทดลองทา ตัวอย่างปัญหาการขาดเรียน การเข้าเรียนสาย หรือการไม่สนใจเรียนของผู้เรียน โดยผู้สอน อาจแก้ไขด้วยการนาเสนอวิธีการสอนแบบใหม่ๆ เพื่อให้ผู้เรียนมีการตื่นตัว เช่น การปรับเปลี่ยนฐานการให้ คะแนน การเช็คชื่อผู้เรียนเป็นกลุ่มและให้คะแนน ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นการให้รางวัลแก่ ผู้เรียน หรือกาหนด ว่าถ้าที่นั่งหน้าชั้นเรียนว่างจะไม่เช็คชื่อให้ผเู้ รียน วิธีการเหล่านี้มีสว่ นทาให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นที่จะ เข้าชั้นเรียนมากขึน้ ซึ่งช่วยลดปัญหาข้างต้นได้มาก
28
ย ย 2554
ร รม ม รยล ม
ย
ม
7
ลย
ลย
ร
ร รย
ร
รย
Problem Based Teaching
2. Lead Thru Technique เป็นรูปแบบการสอนด้วยการใช้ตัวอย่าง ผู้เรียนได้สัมผัสและรู้จัก อุปกรณ์ต่างๆ การจูงมือผู้เรียนให้ลงมือปฏิบัติ การระดมสมองเพื่อหาวิธีคิด การสร้าง Conceptual Design การนาเสนอ และการสร้างต้นแบบหรือผลงาน ซึ่งเป็นวิธีการที่จะทาให้ผเู้ รียนรู้จักค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม รู้จักเลือกวิธีที่ดที ี่สุดสาหรับการสร้างผลงานของตนเองได้ ทาให้ผู้เรียนได้เรียนรูจ้ ริง
28
ย ย 2554
ร รม ม รยล ม
ย
ม
8
ลย
ร
ร รย
ร
รย
3. Activity Base เป็นการนากิจกรรมมาประยุกต์ใช้ร่วมกับวิธีการสอน เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ ผู้เรียนเกิดความสนใจ มีความสนุกสนาน และได้เรียนรู้เนื้อหาวิชา การสอนแบบ Activity Base จะทาให้ การสอนของผู้สอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ช่วยเพิ่มมิติของการสื่อสาร ลดปัญหาการไม่ให้ความสนใจ ของผูเ้ รียนในชั้นเรียน และยังทาให้ผสู้ อนใกล้ชิดและเข้าถึงผู้เรียนได้มากยิ่งขึ้น เช่น การประเมินผลงานของ ผู้เรียนโดยใช้วิธี Peer Review ด้วยการนาผลงานของผู้เรียนมาติดบอร์ดหน้าชั้นเรียน หรือนาผลงานแสดง ผ่าน Facebook แล้วให้เพื่อนๆ และผู้สอนได้ประเมินผลงาน ซึ่งถือว่าเป็นการนาสิ่งที่ผู้เรียนให้ความสนใจ และเป็นกิจกรรมที่ทาอยู่ในชีวติ ประจาวันมาประยุกต์ร่วมด้วย 4. Interactive Lecture เป็นการสอนแบบบรรยายกึ่งอภิปราย ทั้งผู้สอนและผู้เรียนสามารถ แสดงความคิดเห็น มีการถาม-ตอบ และมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนร่วมกัน ซึ่งจะมีการใช้สื่อการเรียน การสอนที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาวิชาที่ กาลังเรียนมาทากิจกรรม (Student Activity) เช่น เพลง คลิปวีดีโอ ภาพยนตร์ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่างๆ เป็นต้น มาเป็นสื่อประกอบในการสอนและให้ผู้เรียนมีส่วน ร่วมในกิจกรรมด้วย สื่อการสอนที่ดีอีกอย่าง คือ การใช้ Hand out ที่มีเนื้อหาวิชาที่อาจารย์กาลังสอน และเน้นเฉพาะ เนือ้ หาที่สาคัญ เพื่อให้ผเู้ รียนทาความเข้าใจในเนือ้ หาได้ง่าย และมีความสนใจเรียนมากขึ้น เพราะต้องตั้งใจ ฟังผูส้ อนอธิบายเนือ้ หาใน Hand out และท้ายชั่วโมงจะมีการนา Quiz ให้ผู้เรียนทา เพื่อทดสอบว่าผู้เรียนได้ เรียนรู้อะไรบ้าง ย ข
ร ย
รย (Classroom Action Research)
1. New Classroom Layout
ภ
ล ม ร รย
เป็นการปรับเปลี่ยนการ
จัดวางอุป กรณ์ต่างๆ ในห้องเรียน (Classroom Layout) เช่น สไลด์ กระดาน โต๊ะ เป็นต้น เพื่อปรับให้ เหมาะสมกับการเรียนการสอน และอานวยความสะดวกให้แก่ผสู้ อนและผูเ้ รียน 2. Guided Slide on Tablet Pc
ไมไ ฟั ฟั ไมไ
ร
ไ
ม ม ล
เป็นการนา Tablet PC มาทาเป็น Guided Slide เพื่อใช้ในการเรียนการสอน โดยผู้เรียนสามารถจดข้อมูลลง ใน Hand out ที่เตรียมให้ใน Tablet และนากลับไปทบทวนได้ ซึ่งวิธีนี้ทาให้ผู้เรียนมีความสนใจในชั้นเรียน มากขึ้น
28
ย ย 2554
ร รม ม รยล ม
ย
ม
9
ลย
3. Super T’s Model
DNA ข ซ
ร
ร
ร รย
ร
รย
รย ในทุกๆ สถาบันการศึกษาจะมีผู้สอนที่มี
แนวทางการสอนที่ดี แต่ไม่มีการนาแนวทางที่ดีของผู้สอนเหล่านั้นมาประยุกต์ใช้ในการสอน จึงมีการทา วิจัย Super T’s Model ด้วยการสอบถามเทคนิคการสอนของผู้สอน เช่น การใช้ไมโครโฟนในการสื่อสาร เพราะทาให้ผู้เรียนได้รับฟังข้อมูลที่ชัดเจน การแสดงวิธีทาโจทย์การคานวณให้ผเู้ รียนอย่างละเอียด การใช้ภาษาอังกฤษในการสอน โดยปรับกระบวนการเรียนการสอน เช่น ใช้ Textbook ภาษาอังกฤษ การทารายงานเป็นภาษาอังกฤษ เป็นต้น 4. Hand out Research การทาวิจัยในเรื่องของการแจก Hand out ให้แก่ผู้เรียน เพื่อศึกษา แนวความคิดและพฤติก รรมของผู้เรียน โดยใช้แบบสอบถามกับ นัก ศึก ษาแพทยศาสตร์ ตั้งแต่ชั้นปี 1-5 พบว่า นักศึกษามีเจตคติว่า ถ้าอาจารย์ไม่แจก Hand out มีผลทาให้ความตั้งใจเรียนของนักศึกษาลดลง และไม่ได้ทาให้นักศึกษาไปค้นคว้าหาความรู้ ด้วยตนเองเพิ่มขึ้น แต่ถ้าอาจารย์แจก Hand out นักศึกษาจะ ตั้งใจเรียน เพื่อจดเนือ้ หาเพิ่มเติมจากใน Hand out ที่อาจารย์ให้ และพฤติกรรมของนักศึกษาไม่ได้ขึ้นอยู่กับ เกรดเฉลี่ย จะเห็นได้ว่า Hand out เป็นสื่อชนิดหนึ่งที่ช่วยให้การเรียนบรรยายของนักศึกษาและการสอน บรรยายของอาจารย์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ถ้าอาจารย์คิดว่าจะไม่มีการแจก Hand out ใน การสอนบรรยาย อาจารย์ควรมีการใช้เทคนิคหรือสื่ออื่นๆ มาช่วยในการสอนด้วย ร รย
ร
รรม ล รย รรม
ในการประเมินผลการสอนคุณธรรมและจริยธรรมจะใช้กรอบของ Miller’s Pyramid ซึ่งมีแนวทาง 4 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับ Knows คือ มีความรูเ้ รื่องนั้นหรือไม่ รู้ไหมอะไรเรียกว่าถูก อะไรเรียกว่าผิด 2. ระดับ Knows How คือ ประยุกต์ใช้ได้หรือไม่ การนาเอากรณีศกึ ษามาให้ตัดสินว่าถูกหรือผิด 3. ระดับ Shows How คือ แสดงให้เห็นในสถานการณ์จาลอง 4. ระดับ Does คือ การประเมินว่าสามารถทาได้ในสถานการณ์จริง
28
ย ย 2554
ร รม ม รยล ม
ย
ม
10
ลย
ร
ร รย
ร
รย
ใน 2 ระดับแรกจะเป็นการประเมินองค์ความรู้ด้านพุทธิปัญญา (Cognitive) แต่สิ่งสาคัญคือ ผู้เรียน สามารถแสดงออกให้เห็นได้ในระดับ Shows How และระดับ Does
นอกจากนี้ยังมีการประเมินคุณธรรมจริยธรรมที่เรียกว่า Multiple Mini Interview เป็นการ สัมภาษณ์โดยใช้คาถามที่เป็นโจทย์ไม่มีถูกหรือผิด 100% นิยมใช้ในการคัดกรองผู้เรียน โดยวิธีการสังเกต พฤติก รรมและแนวคิ ด ของผู้เ รีย นในสถานการณ์ จาลอง และจะต้อ งติดตามประเมินผลของผู้เ รี ย นใน สถานการณ์จริงด้วย ดั งนั้น การประเมินผลถือว่าเป็นการกากับพฤติกรรมของผู้เรียนได้ ซึ่งหากมีการ ปฏิบัติอย่างสม่าเสมอจะทาให้พฤติกรรมเหล่านั้นติดตัวผูเ้ รียนตลอดไป การเรียนการสอนจะดีหรือไม่ดี ขึ้นอยู่กับการเตรียมการสอนของผู้สอน ถ้าผู้สอนอยากให้ผู้เรียน ได้รับความรูต้ ามวัตถุประสงค์ ผูส้ อนควรจะมีเทคนิคการสอนที่ทาให้ผู้เรียนได้รับความรู้ นอกจากนี้ ชั่วโมง แรกของการสอนจะเป็นช่วงเวลาที่สาคัญที่สุด ที่ผู้สอนควรจะทาให้ผู้เรียนประทับใจตั้งแต่แรก และควร สอนให้ผู้เรียนได้ทราบว่า ผู้สอนมีแนวคิดและการวิเคราะห์อย่างไร โดยการหยิบตัวอย่างมาวิเคราะห์ให้ ผูเ้ รียนได้ทราบแนวทาง อาจเริ่มต้นการสอนด้วยตัวอย่าง แล้ว นาไปสู่ทฤษฏี หรือการให้ความรู้ภาคทฤษฏี พอสังเขป แล้วจึงแสดงตัวอย่างแก่ผู้เรียน จึงจะเกิดความเข้าใจและเรียนรู้ในที่สุด
28
ย ย 2554
ร รม ม รยล ม
ย
ม
11
ลย
ร
ร รย
ร
รย
ร ผล ร ร ม ลมย ย
ข
ร
ลย
28
ย ย 2554
ร ภ รย ร
ร
ลย ลม ข
ร
ร รย
ร
รย
ร รม ม รยล ม ร
ร รย ม ย
ร ร ล
ม
ย ไร ม
ย
ม
ลถ ร
ไ 1. เริ่ ม จากกระบวนวิ ช า ควรมี ก ารแนะน าผู้ ส อนและนั ก ศึ ก ษา ให้ ท ราบถึ ง รายละเอี ย ด
เนือ้ หาวิชา รวมทั้งธรรมชาติของกระบวนวิชา 2. รายละเอียดของการเรียนการสอน มีแนวทาง ดังนี้ ภาคทฤษฎี มีวิธี ก ารหลากหลาย เพื่อให้ นัก ศึก ษาเข้าใจ เช่น การตั้งคาถาม-ตอบ คาถาม การทา Quiz การดูภาพยนตร์ การยกตัวอย่าง มีเอกสารคาสอนให้นักศึกษา อ่านล่วงหน้า ซึ่งอาจจะมีการนาเนื้อหาไปไว้บนเว็บไซต์ให้ก่อนและตัวอย่างต่างๆ ที่ยก มาควรเหมาะสมกับวัย ความสนใจ และประสบการณ์ของนักศึกษา ภาคปฏิบัติ ควรมีการสาธิตวิธีการให้นักศึกษาดู การฝึกปฏิบัติจากของจริง และผู้สอน ต้องแสดงความคิดเห็นหลังการปฏิบัติ 3. ในการประเมินผลการเรียนการสอน จะมีการให้คะแนนการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชั้น เรียน เพื่อสร้างแรงจูงใจในการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนของนักศึกษา 4. ในห้องเรียนผู้สอนต้องไม่ทาให้ผู้เรียนเครียด หรือเกิดความกลัวที่จะแสดงความคิดเห็น และผู้สอนต้องเปิดกว้าง เพื่อให้การเรียนการสอนราบรื่นโดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ได้แสดงความคิดเห็น สามารถถามคาถามต่างๆ ได้อย่างเต็มที่
28
ย ย 2554
ร รม ม รยล ม
ย
ม
12
ลย
ลม ข ร
ย
ร
ร ล
ร รย
ร
รย
ลย
ไ 1.
ลย
ล ไม
เรียนจากตัวอย่างจริง (Field Trip( การใช้ VDO Clip หรือการใช้ Quiz ในชั้นเรียน การแบ่งกลุ่มให้นักศึกษาใช้ Internet WiFi (Tablet , iPhone) หาข้อมูล หรือกระตุ้นด้วย In Trend Topic กิจกรรมในแต่ล ะปีก ารศึก ษาไม่ควรซ้ากั น เช่น นาผู้ป ระกอบการหลายอาชีพมา บรรยายให้ความรู้ การพาออกนอกสถานที่ หรือ การศึกษาด้วยตนเอง เป็นต้น การเรียนรูค้ าศัพท์โดยการสอนรากศัพท์ เช่น hydration , anhydrous On-time Comment ซึ่งเหมาะกับ Class เล็ก ตรวจงานของนักศึกษาทีละคน และส่งกลับคืนนักศึกษา เพื่อให้นักศึกษาได้รับทราบ ข้อผิด พลาดที่ค วรปรั บ ปรุง ซึ่งงานที่ใ ห้นั ก ศึก ษาควรมีความเหมาะสมในเรื่องของ เนือ้ หา และเวลา ให้การบ้านพิเศษ สาหรับนักศึกษาพิเศษ เช่น ให้โจทย์ยากสาหรับนักศึกษาเก่ง แบ่ ง กลุ่ ม ระดมความคิ ด ซึ่ ง ควรผสมผสานระหว่ า งนั ก ศึ ก ษาที่ มี ค วามสามารถ หลากหลาย เพื่อให้เกิดความร่วมมือกัน ให้ความสนิทสนม มีความเป็นกันเองกับนักศึกษา ในระดับหนึ่ง 2. ลย
ร รย
ร
ม ร
ภ
การสอนให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์และพิจารณาข้อมูลด้วยตนเอง การทางานส่งควรให้นักศึกษาเขียนด้วยลายมือของตนเอง ไม่ควรให้พิมพ์ Self Assessment : การประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา ควรสร้างแรงบันดาลใจ (Motivation( ให้นักศึกษารักที่จะเรียนรู้ และอยากจะค้นหา ความรูเ้ พิ่มเติมด้วยตนเอง เช่น การให้รางวัล การกล่าวชมเชย เป็นต้น การสร้างไอดอลให้นักศึกษา เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษามีความฝัน และพยายามปฏิบัติให้ บรรลุเป้าหมาย 28
ย ย 2554
ร รม ม รยล ม
ย
ม
13
ลย
ลม ข ร
ย
ร
ร รย
ร
รย
ร ขภ
ไ 1.
ร รยม
ล
ร
ผ
ร
ให้มรี ะยะเวลาการสอนแทรก พร้อมกับยกตัวอย่างให้นักศึกษาได้คิดและวิเคราะห์ แบ่งเป็น 4 ช่วงของการสอนคล้ายกับดนตรีคลาสสิค มีการยกตัวอย่างข้อสอบโดยใช้ ข้อสอบ สรว.เก่า ตั้งแต่ปี 2549 สอดแทรกระหว่างการสอน 2-3 ข้อ โดยไม่เน้นเฉลย แต่วิเคราะห์ให้นักศึกษาคิดและเข้าใจ โดยท้ายชั่วโมงมีข้อสอบทั้งหมด 10 ข้อ 2.
ร
ร
ผ รย
โดยให้มีระดั บของการสอนแบ่งตามชั้นปี โดยปีที่ 1-2 เป็นเรื่องของศัพท์เ ทคนิค ปี สุ ด ท้ า ยจะเป็ น การเข้ า สู่ วิ ช าชี พ ส าหรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ จ ะเข้ า สู่ ก ารประกอบวิ ช าชี พ นานาชาติเน้นเปิดวิสัยทัศน์กับทั่วโลก หลากหลายประเทศ นาเรื่องเล่าของนักศึกษามา แลกเปลี่ยนในชั้นเรียน และใช้ Brain-Based Learning 3. ร ใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อช่วยในการสอนวิชาปฏิบัติที่มนี ักศึกษาจานวนมาก แบ่งกลุ่มย่อยนักศึกษา เล่นเกมแข่งขันกัน ตอบคาถาม มีแรงจูงใจเป็นของรางวัลท้าย ชั่วโมง เช่น ขนม หรือทานข้าวร่วมกับอาจารย์ ใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย ปรับตัวเข้าหานักศึกษา เช่น Facebook และสร้างกลุ่มปิดเพื่อ แลกเปลี่ยนคาถามกับนักศึกษา มีการนาประเด็นในเว็บไซต์ หรือเนื้อหาที่เป็นปัจจุบัน กระตุน้ ให้นักศึกษาคิด ให้นักศึกษาทา Mind Map หลังจบชั่วโมงว่าได้เรียนรู้อะไรบ้าง ให้นักศึกษาสะท้อนแนวคิดและสอบถามว่านักศึกษาชอบวิธีการประเมินอย่างนีห้ รือไม่ ใช้ภาษาอังกฤษในการทา Powerpoint เพื่อให้นักศึกษาสามารถนาไปปรับตัวใช้ในการ อ่านตาราภาษาต่างประเทศได้ ลดช่ องว่า งกั บ นัก ศึก ษาโดยการให้ นัก ศึก ษาเขีย นชื่ อเล่ นลงในใบเซ็ นชื่ อและจ าชื่ อ นักศึกษาเพื่อเรียกถามในชั่วโมงเรียน
28
ย ย 2554
ร รม ม รยล ม
ย
ม
14
ลย
4.
ร
ล
ร
ร รย
ร
รย
ร ร ม ผล ร
ถามเรื่ อ งความคาดหวั ง จากการเรี ย นในชั่ ว โมงแรก ให้ นั ก ศึ ก ษาวิ เ คราะห์ จุ ด เด่ น จุดด้อยของตนเอง หลังจากจบชั่วโมงให้มีการสรุปวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน ในแต่ละข้อว่าบรรลุวัตถุประสงค์ที่นักศึกษาคาดหวังไว้
28
ย ย 2554
ร รม ม รยล ม
ย
ม
15