การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่ อสาร ในการเรี ยนรู้ แบบปฏิบัติจริ ง วิรัช เลิศไพฑูรย์ พันธ์ สิรินธร สินจินดาวงศ์ วรสรวง ดวงจินดา ด้ วยความก้ าวหน้ าทางด้ านเทคโนโลยี และการเปลี่ ย นแปลงของ สภาพแวดล้ อมและสังคมในศตวรรษที่ 21 ประกอบกั บประเทศไทยได้ มี ก ารน า โมเดลการพัฒนาเศรษฐกิ จใหม่ หรื อ Thailand 4.0 เป็ นกระบวนทัศน์ในการพัฒนา ประเทศให้ เจริ ญก้ าวหน้ าไปอย่ า งมั่ น คง มั่ ง คั่ ง และยั่ ง ยื น จึ ง น าไปสู่ ก าร เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากของระบบการศึก ษาที่ ต้ องปฏิ รู ปการศึ ก ษาใหม่ เ พื่ อ ตอบสนองความต้ องการของภาคอุตสาหกรรม และยังนาผลไปสู่การเปลี่ยนแปลง ของลักษณะการเรี ยนรู้ ของนักศึกษาอย่างสิ ้นเชิง จากการเปลีย่ นแปลงดังกล่าวนี ้เป็ นความท้ าทายสาหรั บสถาบันการศึกษา และโดยเฉพาะอย่างยิ่งอาจารย์ผ้ สู อนในมหาวิทยาลัยผู้ที่มีหน้ าที่ในการสร้ างและ พัฒนาทรั พยากรบุคคลที่มีความสามาร ถเพื่ อป้อนเข้ าสู่ ต ลาดอุ ต สาหกรรม ด้ วยเหตุนี ้ มหาวิทยาลัยศรี ปทุ ม (Sripatum University: SPU) ได้ ตระหนั ก และ ให้ ความสาคัญกั บการจัดการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาการจัดการเรียน การสอนเพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ แบบลงมือปฏิบตั ิ หรื อ Active Learning ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิรัช เลิศไพฑูรย์ พันธ์ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิรินธร สินจินดาวงศ์ ผู้อานวยการศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรี ยนการสอน ดร.วรสรวง ดวงจินดา ผู้อานวยการสานักการจัดการศึกษาออนไลน์ ปฏิบตั ิการการเรี ยนรู้
1
นอกจากการจัดการเรี ยนการสอนแบบ Active Learning ที่มหาวิทยาลั ย ศรี ปทุ ม มุ่งเน้ นให้ อาจารย์นาไปปฏิบตั ิอย่ า งเป็ นรู ปธรรมแล้ ว ยั ง มี น โยบายสนั บสนุ น การนาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เข้ ามาช่วยเพือ่ ให้ การจัดการเรี ยน การสอนแบบ Active Learning มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น และเพื่ อ ให้ สอดคล้ อง กั บลักษณะการเรี ยนรู้ และความสนใจของผู้เรี ยนในยุคปั จจุบนั โดยได้ กาหนดกรอบ แนวความคิด SPU IOT ซึ่งเป็ นคาพ้ องเสียงกั บวลีหนึ่งในยุค Thailand 4.0 นั่นคื อ Internet of Things (IoT) สาหรั บกรอบแนวความคิด SPU IOT ครอบคลุ ม เนื อ้ หา และการทางานของ 3 หน่วยงานภายในมหาวิ ท ยาลั ย ศรี ปทุ ม ที่ ท างานอย่ า ง บูรณาการเพื่อขับเคลื่อนความสาเร็ จและการพัฒนาการจั ด การเรี ยนการสอน ในยุคดิจิทัลอย่างมั่งคั่ง มั่นคง และยั่งยืน ดังนี ้ I = Information and Communication Technology (ICT) หมายถึ ง ระบบ ICT ที่มีประสิทธิภาพสูงของมหาวิทยาลัย ทั ้งในด้ า น Hardware / Software และ กาลังพลสนับสนุน ซึ่งเป็ นสาธารณู ปโภคพื ้นฐาน (ICT Infrastructure) ที่สาคัญใน การบริ หารจัดการองค์กรการศึกษายุค 4.0 โดยมีศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร (ICT Center) เป็ นหน่วยงานที่รับผิดชอบหลักในการพัฒนาและดู แ ล ICT ของมหาวิทยาลัย O = Online Education หมายถึ ง การนาเทคโนโลยีดจิ ิทัล มาสนับสนุนการ เรี ยนการสอน โดยใช้ สาธารณูปโภคพื ้นฐานในการพัฒนาและจัดการเรี ยนการสอน แบบออนไลน์ทั ้งในห้ องเรี ยนและนอกห้ องเรี ยนอย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ สามารถ ตอบสนองต่อความต้ องการของผู้เ รี ยนในยุ ค ศตวรรษที่ 21 และเป็ นเครื่ องมื อ แห่งการสอนในยุค University 4.0 ได้ อย่ า งยั่ ง ยื น และมั่ น คง โดยมี ส านั ก การ จั ด การศึ ก ษาออนไลน์ (Office of Online Education - OOE) เป็ นหน่ ว ยงาน ที่รับผิดชอบผลักดันการขับเคลื่ อนด้ าน Online Education ของมหาวิทยาลัย
2
ปฏิบตั ิการการเรี ยนรู้
T = Teaching and Learning Excellence หมายถึ ง การพัฒนาศักยภาพ ของคณาจารย์เพื่อการจั ด การเรี ยนการสอนคุ ณ ภาพสู ง แห่ ง ศตวรรษที่ 21 โดยการสนับสนุน ส่งเสริ ม และพั ฒ นาอาจารย์ ด้ านการเรี ยนการสอนที่ เ น้ น Active Learning รวมถึ งการน า ICT Infrastructure และ Online Education มาประยุกต์ใช้ ในการจัดการเรี ยนการสอนแบบ Active Learning โดยมีหน่วยงาน รั บผิดชอบคือ ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอน (Teaching and Learning Support and Development Center - TLC) เป็ นหน่วยงานขับเคลื่ อน งานดังกล่าว นอกจากกรอบการท างานตามแนวความคิ ด SPU.IOT ข้ างต้ นแล้ ว มหาวิทยาลัยศรีปทุมยังได้ กาหนดกลยุทธ์ในการขับเคลือ่ นการนาเทคโนโลยีเข้ ามา ใช้ ในการจัดการเรี ยนการสอน 2 กลยุทธ์ ได้ แก่ 1) กลยุทธ์ การสนับสนุนด้ านเทคโนโลยีในการจัดการเรี ยนการสอน โดยสานักการจัดการศึกษาออนไลน์ (Office of Online Education: OOE) และ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Center) ทาหน้ าที่ในการส่งเสริ ม และสนับสนุนให้ เกิ ดการจัดการเรี ยนการสอนที่มีประสิทธิภาพ ภายใต้ หลั ก การ ของการศึกษาในยุคศตวรรษที่ 21 โดยได้ พัฒนา ส่งเสริ มและสนับสนุนให้ มีระบบ การเรี ยนการสอนที่ ใ ช้ e-Learning เพื่ อเสริ มการเรี ยนการสอนในห้ องเรี ยน (Blended Learning) และการเรี ยนรู้ นอกห้ องเรี ยนโดยไม่จากั ดเวลาและสถานที่ (Anytime Anywhere and Anyone) โดยมีการใช้ ห้องเรี ยนออนไลน์ด้วยระบบการ จัดการการเรี ยนรู้ (Learning Management System: LMS) ที่ทันสมั ย มี ก ารบู ร ณาการฐานข้ อมูลของมหาวิทยาลัยแบบอัตโนมัติทาให้ ระบบการจัดการเรี ยนการ สอนออนไลน์ของมหาวิทยาลัยมีความพร้ อมสาหรั บทุกวิชาที่เปิ ดสอน ในปั จจุบนั คณาจารย์สามารถน าสื่ อการสอน (Educational Content) หลากหล ายรู ปแบบมาแสดงในห้ องเรี ย นออนไ ลน์ รวมถึ งสื่ อมั ลติ มี เ ดี ย (Multimedia) และสื่ อดิ จิ ทั ล แบบมี ปฏิ สั ม พั น ธ์ (Interactive Digital Content) อีกทั ้งยังสามารถสร้ างแบบทดสอบออนไลน์ (Quiz).จากระบบคลั ง ข้ อสอบ ปฏิบตั ิการการเรี ยนรู้
3
คุณภาพสูง มีระบบอัตโนมัติที่บนั ทึกการสอนในห้ องเรี ยนและสรุ ปเนื ้อหาการสอน เป็ นวีดีทัศน์และเสียงบันทึก (Camtasia Relay) ที่นักศึกษาสามารถเข้ าชมหรื อฟั ง ผ่านห้ องเรี ยนออนไลน์ (LMS) ได้ จ ากทุ ก อุ ปกรณ์ คอมพิ ว เตอร์ รวมถึ ง Smart Device ต่างๆ เช่น Tablet หรื อ Smartphone นอกจากนี ้ มหาวิทยาลัยยังร่ ว มกั บ บริ ษัทซอฟต์แวร์ พัฒ นานวั ต กรรม ระบบหนั ง สื อเรี ยนอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ บบ มี ปฏิสัมพันธ์ (SPU Interactive eBook: SPU i-eBook) โดยมีวัตถุ ประสงค์ เ พื่ อให้ คณาจารย์สามารถสร้ างตาราที่มีคุณภาพ ถูกต้ องตามหลักวิชาการ ลิขสิทธิ์ และ สามารถตอบโจทย์การจัดการเรี ยนการสอนยุคศตวรรษที่ 21 ซึ่ง SPU i-eBook ได้ ถูกนามาใช้ ประกอบการเรี ยนการสอนจริ งตั ้งแต่ปีการศึกษา 2558 สาหรั บ SPU ieBook เป็ นระบบที่คณาจารย์สามารถสร้ างได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องมีความรู้ ด้ าน การเขียนซอฟต์แวร์ ใดๆ มีระบบจัดการหนังสือและการจาหน่ายที่มีประสิทธิภาพสูง สามารถเผยแพร่ SPU i-eBook ผ่ า นอุ ปกรณ์ ที่ ใ ช้ ระบบปฏิ บัติ ก าร iOS และ Android ภาพรวมของการบูรณาการเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อน าไปสู่ ก ารใช้ ICT in Active Learning ของมหาวิทยาลัยศรี ปทุม แสดงในภาพที่ 1
ภาพที่ 1 องค์ประกอบของระบบการศึกษาออนไลน์ของมหาวิทยาลัยศรีปทุม
(SPU Online Education Ecology) 4
ปฏิบตั ิการการเรี ยนรู้
การดาเนินงานตามกลยุทธ์การสนับสนุนด้านเทคโนโลยีในการจัดการเรียน การสอนประสบความสาเร็ จอย่างดียิ่ง (ภาพที่ 2) โดยสังเกตได้ จากมหาวิทยาลัย ศรี ปทุ มได้ รั บราง วั ล ชนะเลิ ศการ จั ด ก ารจั ด การเ รี ยนการส อนออนไล น์ ระดับอุดมศึกษาจากกระทรวงศึกษาธิการในงานประชุมวิชาการระดั บชาติ ข อง สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจาปี 2554 "สกอ. วิ ช าการ 2554: คุณภาพอุดมศึกษาไทยสู่สากล" ณ อาคารชาเลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี นอกจากนี ้ ในปี พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยศรี ปทุมเข้ าร่ วมโครงการระบบ การศึกษาแบบเปิ ดแห่งชาติ (Thai Massive Open Online Course: Thai MOOC) โดยจะเป็ นหนึ่งในสถาบันอุดมศึกษาแรกๆ ของประเทศที่ดาเนินการสอนออนไลน์ แบบคุณภาพสูง เพื่อเปิ ดโอกาสทางการศึกษาให้ ทุกคนที่สนใจไม่วา่ จะเป็ นนักเรียน นิสิต นักศึกษาและประชาชนทั่วไปสามารถเข้ าเรี ยนผ่านอินเทอร์ เน็ตได้ โดยไม่ มี เงื่อนไขใดๆ มาเป็ นข้ อจากั ด ผ่านทางเว็บไซต์ thaimooc.org โดยในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลัยศรี ปทุมได้ เปิ ดสองรายวิชา คือ วิชาหลักการจัดการโลจิ สติกส์และโซ่อุปทานเบื ้องต้ น และวิชาการบริ หารการสือ่ สารและการทางานร่ วมกัน ด้ วยเครื่ องมือ Cloud-Based แห่งศตวรรษที่ 21 เพื่อให้ ผ้ ทู ี่สนใจสามารถศึกษาหรือ เรี ยนรู้ เนื ้อหาได้ ผ่านโครงการระบบการศึกษาเปิ ดแห่งชาติ ในระดับนานาชาติ มหาวิทยาลัยศรี ปทุมได้ รับการยอมรั บด้ านการจัดการ เรี ยนการสอนออนไลน์อยู่เสมอ อาทิ ได้ รับการแต่งตั ้งให้ เ ป็ นสถาบัน อุ ด มศึ ก ษา ผู้แทนประเทศไทย เข้ าร่ วมก่ อตั ้งมหาวิทยาลัยไซเบอร์ อาเซี ยน (ASEAN Cyber University: ACU) ด้ วยการเสนอโดยกระทรวงศึกษาธิการ ตั ้งแต่ปี พ.ศ. 2556 และ ได้ รับการยอมรั บจากต่างประเทศและสถาบันสมาชิกให้ เป็ นผู้นาในการศึกษาวิจัย เรื่ อง OER (Open Educational Resources) หรื อ แหล่ ง ทรั พยากรการศึ ก ษา แบบเปิ ดสาหรั บ ACU เพื่อนาผลการศึกษาไปพัฒนาการดาเนินงานด้านการจัดตั ้ง มหาวิทยาลัยไซเบอร์ อาเซียน ต่อไป
ปฏิบตั ิการการเรี ยนรู้
5
ภาพที่ 2 รางวัลชนะเลิศการจัดการเรี ยนการสอนออนไลน์ระดับอุดมศึกษา จากกระทรวงศึกษาธิการ ด้ านความสาเร็ จการนา ICT เข้ ามาสนับสนุน การจัดการเรี ยนการสอนด้ วย SPU Online Education Ecology 2) กลยุทธ์ การพั ฒ นาอาจารย์ ที่ เน้ นการประยุ ก ต์ ใช้ เทคโนโลยี ในการจัดการเรี ยนการสอนแบบ Active Learning โดยศู น ย์ ส นั บสนุ น และ พั ฒ นาการจั ด การเรี ยนการสอน (Teaching and Learning Support and Development Center :TLC) มีหน้ าที่ในพัฒนาการจั ด การเรี ยนการสอนของ อาจารย์ในมหาวิทยาลัยศรีปทุม โดยการขับเคลื่อนการนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ ในการจัดการเรี ยนการสอนแบบ Active Learning เพื่อให้ สอดคล้ องกั บลั ก ษณะ การเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยนในยุคศตวรรษที่ 21 ผ่ า นการจั ด ฝึ กอบรม สั ม มนา หรื อ การแลกเปลี่ยนเทคนิคการจัดการเรี ยนการสอน อาทิ โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการ 6
ปฏิบตั ิการการเรี ยนรู้
Facebook ในการเรี ยนการสอน โครงการ ICT for Flipped Classroom เป็ นต้ น การผลักดันให้ จัดการเรี ยนการสอนแบบบู ร ณาการโดยน าเทคโนโลยี ม าใช้ ให้ เหมาะสม ตัวอย่างเช่น การนา Social network, Social Media เข้ ามากระตุ้ น การเรี ยนรู้ (Technology Driven Learning) แลกเปลี่ยนข้ อมูล ให้ คาปรึ กษาด้ าน การเรี ยนรู้ รวมถึ งการติดต่อสื่อสารระหว่างอาจารย์และนักศึกษา การน า Web Blog, e-Learning เพื่อช่วยบริ หารจัดการข้ อมูลเกี่ยวกั บการสอน เป็ นพื ้นที่สาหรั บ แลกเปลี่ยนข้ อมูลด้ านการเรี ยน รวมถึ งช่วยในการทบทวนบทเรี ยน นอกจากนี ้ ยังผลักดันให้ อาจารย์ได้ นา ICT ต่างๆ มาประยุกต์ใช้ ในการจัดการเรี ยนการสอน แบบห้ องเรี ยนกลับทาง (Flipped Classroom) อีกด้ วย การพัฒนาอาจารย์คณะบริ หารธุรกิ จ ในการจัดการเรี ยนการสอนแบบใช้ ปั ญหาเป็ นฐาน (Problem-based Learning) ในรายวิชาการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ โดยการนาเว็บไซต์ www.Tarad.com มาใช้ ในการจั ด การเรี ยนการสอนของ รายวิชาเพื่อให้ นักศึกษาทดลองเปิ ดหน้ าร้ านออนไลน์ เพื่ อขายสินค้ าที่ตนเองสนใจ พร้ อมทั ้งการวางแผนการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ควบคู่กับการทาหน้ าร้ านออนไลน์ เพื่อปรั บปรุ งรู ปแบบให้ ตรงกั บความต้ องการของลูกค้ าในตลาด ยิ่งไปกว่านั ้น ในด้ านของการพัฒนาอาจารย์เพือ่ การประยุกต์ใช้ เทคโนโลยี ในการสอน มหาวิทยาลัยยังได้ ดาเนินโครงการ The Teacher Project โครงการ ต่อเนื่องตั ้งแต่ปี พ.ศ. 2557 จนถึ งปั จจุบัน เพื่ อพั ฒ นาอาจารย์ ใ นการสร้ างสื่ อ การสอนออนไลน์ หรื อ SPU e-learning และการสอนแบบนาเทคโนโลยี Kahoot และ Prickers ร่ ว มกั บ SPU e-learning ในการสอนแบบ Flipped Classroom ด้ วย การดูแลจากอาจารย์ผ้ เู ชี่ ย วชาญหรื อโค้ ช ด้ านการพั ฒ นาสื่ อการสอน e-learning การสอนแบบ Active Learning และการพัฒนา iBook เพื่ อการสอน มีการกากั บติดตามจากพี่เลี ้ยงหรื อรุ่ นพี่ในการกระตุ้นการพัฒนาอย่ า งต่ อเนื่ อง ท าให้ มี อาจาร ย์ ที่ ไ ด้ รั บก ารพั ฒนาด้ า นก ารจั ดก าร เรี ย นก ารส อนแบบ
ปฏิบตั ิการการเรี ยนรู้
7
Active Learning ใน The Teacher Project#2 ทั ้งสิ ้น 21 ท่ า น และยั ง ผลท าให้ มีอาจารย์พี่เลี ้ยง (Buddy) ในการพัฒนาการสอนอีก 11 ท่าน นอกจากการพัฒนาอาจารย์ที่เน้ นการประยุ กต์ใ ช้ เทคโนโลยี ใ นการจั ด การเรี ยนการสอนแบบ Active Learning ผ่านโครงการฝึ กอบรมแล้ ว ศูนย์สนับสนุน และพัฒนาการเรี ยนการสอน ยังมีนโยบายสนับสนุนทุนวิจัยเพื่อพัฒนาการเรี ยน การสอน เพื่อเป็ นการพัฒ นาการจั ด การเรี ยนการสอนแบบ Active Learning รวมทั ง้ ยั ง เป็ นข้ อมู ล รู ปธรรมที่ ส าคั ญ ที่ จ ะบ่ง บอกได้ ถึ งความส าเร็ จจา ก การนาเทคโนโลยีเข้ ามาประยุกต์ใช้ ในการจัดการเรี ยนการสอนในสถานการณ์ ของ โลกและคุณลักษณะการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยนที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป อาทิ การศึ ก ษา ผลการเรี ยนรู้ และความพึงพอใจของนั ก ศึ ก ษาในรายวิ ช า EEG371 หลั ก การ สื่อสาร ผ่ า นระบบ E-Learning ของ รองศาสตราจารย์ ดร.ปรี ชา กอเจริ ญ คณะ วิ ศ ว กรร มศ าสต ร์ กา รพั ฒ นาสื่ อกา รส อนค อมพิ วเ ตอร์ ช่ ว ย สอน ในร า ย วิ ช า IEG320.ค ว า ม น่ า จะ เ ป็ น แล ะ ส ถิ ติ ส า หรั บวิ ศ ว ก ร ขอ ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธริ นี มณี ศรี วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน เป็ นต้ น สาหรั บภาพรวมของกลยุทธ์การพัฒนาอาจารย์ที่เน้ นการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยี ในการจั ด การเรี ยนการสอนแบบ Active.Learning ของศู น ย์ ส นั บสนุ น แล ะ พัฒนาการเรี ยนการสอน แสดงในภาพที่ 3
8
ปฏิบตั ิการการเรี ยนรู้
ภาพที่ 3 การพัฒนาอาจารย์ที่เน้ นการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยี ในการจัดการเรี ยนการสอนแบบ Active Learning จากกลยุทธ์การสนับสนุนด้ านเทคโนโลยีในการจัดการเรี ยนการสอน และกลยุทธ์การพัฒนาอาจารย์ที่เน้ นการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีในการจัดการเรี ยน การสอนแบบ Active Learning ทาให้ คณะวิช าต่ า งๆ ในมหาวิ ท ยาลั ย ศรี ปทุ ม มีการพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอนที่นา ICT มาขั บเคลื่ อนการจั ด การเรี ยน การสอนในลักษณะ Active Learning อย่างเป็ นรู ปธรรม ตัวอย่างเช่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ ใช้ ระบบ SPU e-Learning ร่ วมกั บ Facebook เป็ นเครื่ องมือหลักในการจัดการเรี ยนการสอนที่เน้ นรู ปแบบ Flipped Classroom และ Project based Learning วิทยาลัยการท่องเที่ยวและบริ การ ได้ ประยุกต์การใช้ งาน SPU e-Learning และ SPU i-eBook โดยผสมผสาน Flipped Classroom กั บ Buddy system ในการจัดการเรี ยนการสอน ปฏิบตั ิการการเรี ยนรู้
9
คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิ จ ประยุกต์ใช้ ไลน์ เป็ นเครื่ อง มื อในการพั ฒนาทั ก ษะภาษาอั ง กฤษ ของนั ก ศึ ก ษ าสาขาวิ ช า ภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิ จ คณะศิ ล ปศาสตร์ และยั ง น าเสนอผลการพั ฒ นา การใช้ ไลน์ในการจัดการเรี ยนการสอน ในเวที ประชุ ม วิ ช าการระดั บชาติ แ ละ นานาชาติ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ครั ง้ ที่ 11 ประจาปี 2559 มหาวิทยาลัยศรีปทุมได้ สร้ างเครือข่ายความร่ วมมือด้ านการนาเทคโนโลยี เข้ ามาใช้ ในการจัดการเรี ยนการสอนแบบ Active Learning ทั ้งในระดั บชาติ แ ละ นานาชาติ กล่าวคือ ในระดับชาติ มหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกั บสมาคมเครือข่าย พัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (ควอท) โดย การส่งคณาจารย์เข้ าร่ วมอบรม แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ด้ านการจัดการเรี ยนการ สอนในศตวร รษที่ 2 1 ตั ง้ แต่ รุ่ น 11 จนปั จจุ บั น คว ามร่ วมมื อกั บสมาค ม สถาบันการศึกษาขั ้นอุดมแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ประจาประเทศไทย (สออ. ประเทศไทย) ที่ส่งคณาจารย์นาเสนองานวิจัยการเรี ยนการสอนแบบ Active Learning ที่นาเทคโนโลยีเข้ ามาประยุกต์ใ ช้ ในการจั ด กา รเรี ยนการสอบแบบ ห้ องเรี ยนกลับทางและได้ รับคัดเลือกให้ เป็ นตัวแทนประเทศไทยนาเสนอบทความ วิจัยด้ านการเรี ยนการสอนในเวที ประชุ ม วิ ช าการระดั บภู มิ ภ าค ของ ASAIHL ณ ประเทศกั มพูชา ในระดับนานาชาติ จากที่มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ได้ รับเชิญจากมหาวิทยาลัย ไซเบอร์ อาเซียน (ASEAN Cyber University Project: ACU) ในการเผยแพร่ ความรู้ จัดการอบรมเชิงปฏิบตั ิการด้ านการใช้ เทคโนโลยีสนับสนุนการสอนให้ กับประเทศ สมาชิก และล่าสุดคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยศรี ปทุมที่จัดการเรี ยนการสอนแบบ นาเทคโนโลยีเข้ ามาใช้ ในการจัดการเรี ยนการสอนแบบ Active Learning ได้ รั บ เชิญไปแลกเปลี่ยนข้ อมูลการจัดการเรี ยนการสอน ณ ประเทศสาธารณรั ฐเกาหลี
10
ปฏิบตั ิการการเรี ยนรู้
ความสาเร็ จของการส่งเสริ มดังกล่าว นามาสู่การขยายผลการประยุ ก ต์ ใ ช้ เทคโนโลยี ใ นการจั ด การเรี ยนการสอนแบบ Active Learning และแนวทาง การปฏิบตั ิที่ดี (Best Practice) ด้ านการพัฒนาการสอน ผ่ า นเวที เ พื่ อเผยแพร่ แนวคิด แลกเปลี่ยนข้ อมูลด้ านการจัดการเรี ยนการสอนและการพัฒนาการสอน ภายใต้ โครงการ SPU-Teaching and Learning Forum เพื่อสร้ างชุมชนนักปฏิบตั ิ ด้ านการจัดการเรี ยนการสอน (Community of Practice: CoP) อย่ า งต่ อเนื่ อง ตัวอย่างเช่น Forum เทคนิคและนวัตกรรมการสอน ที่ ร วบรวมแนวคิ ด เทคนิ ค วิธีการจัดการเรี ยนการสอนของอาจารย์ในมหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2556 และ The Teacher Project เป็ น การพั ฒ นาศั ก ยภาพอาจารย์ รุ่ นใหม่ กั บอาจารย์ มืออาชีพ ในปี พ.ศ. 2557 เพื่ อน าเสนอทิ ศ ทางการพั ฒ นาศั ก ยภาพอาจารย์ ในระดับอุดมศึกษา และนาเสนอผลงานการพัฒนาศักยภาพอาจารย์ สู่ อาจารย์ มืออาชีพในการจัดการการเรี ยนการสอนแบบ Active Learning และแนวทาง การปฏิบตั ิที่ดี (Best Practice) จนได้ มีการรวบรวมผลงานการพั ฒ นาอาจารย์ เผยแพร่ ในวารสาร International Journal of Information and Education Technology ชื่ อ เรื่ อง A Development New Generation of Professional Teachers, Sripatum University นอกจากนี ้ ผลงานดั ง ก ล่ า ว ได้ รั บรางวั ล ผลงานวิจัยในชั ้นเรี ยนยอดเยี่ยม ใน “การประชุมวิชาการการวิจัยระบบการศึกษา ไทย ครั ง้ ที่ 1” (The 1st Conference on Research for Thai Education System; CRTES) ระหว่างวันที่ 24 - 25 พฤศจิกายน 2559 ณ โรงแรมนงนุช การ์ เด้ น รี สอร์ท จังหวัดชลบุรี อีกด้ วย ภาพการขยายผลการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยี ใ นการเรี ยน การสอน ปรากฏในภาพที่ 5 และรางวัลผลงานวิ จั ย ในชั น้ เรี ยนยอดเยี่ ย มด้ าน การพัฒนาศักยภาพอาจารย์รุ่นใหม่ แสดงในภาพที่ 4
ปฏิบตั ิการการเรี ยนรู้
11
ภาพที่ 4 รางวัลผลงานวิจัยในชั ้นเรี ยนยอดเยี่ยม ใน “การประชุ ม วิ ช าการ การวิจัยระบบการศึกษาไทย ครั ง้ ที่ 1 นอกจากนี ม้ หาวิ ท ยาลั ย ศรี ปทุ ม ยั งมี ร ะบบการจั ด การองค์ ค วามรู้ (Knowledge Management: KM) ด้ านการเรี ยนการสอนภายในมหาวิ ท ยาลั ย ในเรื่ องการนาเทคโนโลยีเข้ ามาบูรณาการจัดการเรี ยนการสอนอย่ า งเหมาะสม และอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ สอดคล้ องกั บการเรี ยนรู้ ในทั ก ษะศตวรรษที่ 21 อาทิ การจัดการองค์ความรู้ ภายใต้ หัวข้ อ “ชีวิตดี๊ดีกับการสอน ทาได้ ง่ายได้ นิดเดี ย ว ” ซึ่งเป็ นเวทีสาหรั บอาจารย์ในมหาวิทยาลัยนาเทคนิคการสอนที่ใช้ สอนแล้ วประสบ ผลสาเร็ จมาเล่าให้ เพื่อนอาจารย์ฟัง รวมถึ งการนาเสนอเทคโนโลยีเพื่อใช้ สาหรั บ การสอน สาหรั บพื ้นที่ในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ด้ านการสอน ศูนย์ ส นั บสนุ น และพัฒนาการเรี ยนการสอน ได้ สร้ าง Blog เพื่อเป็ นพื ้นที่สาหรั บการแลกเปลี่ย น ประสบการณ์ ก ารสอน เทคนิ ค วิ ธี ก ารสอน ผ่ า น Community of Practice in Teaching and Learning ภายใต้ ชื่อ “ชวนอาจารย์คุยเรื่ องการสอน” โดยจะเป็ น ธนาคารที่เก็ บรวบรวมองค์ความรู้ ด้ านการสอน สาระด้ านการสอนไว้ ในที่เดียวกั น และมีการจัดกลุ่มของเนื ้อหาไว้เพื่อให้ ง่ายต่อการใช้ ประโยชน์ เช่น เครื่ องมือสาหรั บ การสอน เทคนิคการสอน ข่าวประชาสั ม พั น ธ์ ด้ านการจั ด การเรี ยนการสอน และรวมถึ งบันทึกความรู้ และแนวปฏิบตั ิที่ดีด้านการเรี ยนการสอน 12
ปฏิบตั ิการการเรี ยนรู้
ภาพที่ 5 การขยายผลการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีในการเรี ยนการสอน
ปฏิบตั ิการการเรี ยนรู้
13