การบรรยาย เรื่อง “การจัดทา มคอ.3-4, 5-6 ตามแนวทางการ ปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554” ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ: มคอ. (Thai Qualifications Framework for Higher Education ; TQF : HEd)
ความหมายของ มคอ. กรอบที่ แ สดงระบบคุ ณ วุ ฒิ ก ารศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาของประเทศ ซึ่ ง ประกอบด้วย ระดับคุณวุฒิ การแบ่งสายวิชา ความเชื่อมโยงต่อเนื่องจากคุณวุฒิ ระดับหนึ่งไปสู่ระดับที่สูงขึ้น มาตรฐานผลการเรียนรู้ของแต่ละระดับคุณวุฒิซึ่งเพิ่ม สูงขึ้นตามระดับของคุณวุฒิ ลักษณะของหลักสูตรในแต่ละระดับคุณวุฒิ ปริมาณ การเรียนรู้ที่สอดคล้องกับเวลาที่ต้องใช้ การเปิดโอกาสให้เทียบโอนผลการเรียนรู้จาก ประสบการณ์ ซึ่งเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งระบบและกลไกที่ให้ ความมั่นใจในประสิทธิผลการดาเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติของสถาบันอุดมศึกษาว่าสามารถผลิตบัณฑิตให้บรรลุคุณภาพตามมาตรฐาน ผลการเรียนรู้
หลักการสาคัญของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 1. เป็ น เครื่ อ งมื อ ในการน าแนวนโยบายการพั ฒ นาคุ ณ ภาพและ มาตรฐานการจัดการศึกษาตามที่กาหนดใน พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติฯ ในส่วน ที่เ กี่ย วกับ มาตรฐานการอุด มศึก ษาและการประกั น คุณภาพการศึกษาสู่ก าร ปฏิบัติในสถาบันอุดมศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม 2. มุ่งเน้นที่ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) 5 ด้าน ซึ่งเป็น มาตรฐานขั้นต่าเชิงคุณภาพเพื่อประกันคุณภาพบัณฑิต 3. มุ่งประมวลกฎเกณฑ์และประกาศต่างๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องหลักสูตร และการจัดการเรียนการสอนเข้าไว้ด้วยกันและเชื่อมโยงให้เป็นเรื่องเดียวกัน 4. เป็นเครื่องมือการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพในการสร้างความเข้าใจ และความมั่นใจในกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้อง/มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น นักศึกษา ผู้ปกครอง ผู้ประกอบการ ชุมชน สังคมและสถาบันอื่นๆ ทั้งในและต่างประเทศเกี่ยวกับ คุณลักษณะของบัณฑิตที่คาดว่าจะพึงมี
หลักการสาคัญของกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (ต่อ) 5. มุ่งให้คุณวุฒิหรือปริญญาของสถาบันใดๆของประเทศไทยเป็นที่ยอมรับ และเทียบเคียงกันได้กับสถาบันอุดมศึกษาที่ดีทั้งในและต่างประเทศ โดย เปิดโอกาสให้สถาบันอุดมศึกษาสามารถจัดหลักสูตรตลอดจนกระบวนการ เรียนการสอนได้อย่างหลากหลาย โดยมั่นใจถึงคุณภาพของบัณฑิตซึ่งจะมี มาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่มุ่งหวัง สามารถประกอบอาชีพได้อย่างมี ความสุขและภาคภูมิใจ เป็นที่พึงพอใจของนายจ้าง 6. ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ประกาศ ศธ. เรื่ อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ .พ.ศ. 2552
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ สกอ . มหาวิทยาลัย
ไม่ ใช่
ติดตาม การดาเนินการ ตาม TQF
ใช่
วางแผนปรับปรุง + พัฒนา
รายงานประจาภาค และประจาปี การศึกษา (Semester/Annual Programme Report) รายงานรายวิชา (Course Reports)
เผยแพร่ หลักสูตรที่ ดาเนินการ ได้ มาตรฐาน TQF
1
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา ต่างๆ
5 ปี
7
1 ปี
2 3/4
5/6
ประกาศ กกอ. เรื่ อง แนวทางการปฏิบัตติ ามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2552
1
รายละเอียดของหลักสูตร (Programme Specification)
เสนอ
รายละเอียดของรายวิชาและภาคสนาม/ ฝึ กงาน (ถ้ ามี) (Course + Field Experience Specifications)
กระบวนการเรียนการสอน (ที่ทาให้ บรรลุผลการเรียนรู้ท่ คี าดหวัง)
การวัดและประเมินผล
สภา สถาบัน อนุมตั เสนอ ิ
สกอ. รับทราบ หลักสูตร และ บันทึกไว้ ในฐาน ข้ อมูล
(POD Network)
มุ่งเน้ นผลการเรี ยนรู้ ของนักศึกษา/บัณฑิต
Teaching Unit
นักศึกษา/บัณฑิตได้ รับการพัฒนาให้ มีมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามที่ กาหนดไว้ ในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (บัณฑิตมีคุณภาพเป็ นที่พึงพอใจของผู้จ้างงานและสังคม) กก.อ.กาหนดหลักเกณฑ์การปรับปรุง
ผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวัง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร เกณฑ์กาหนดชื่อปริ ญญา หลักเกณฑ์การเทียบโอน เกณฑ์/แนวทางอื่น ๆ
การจัดสิ่งอานวยความ สะดวก สภาพแวดล้ อม
ที่มา: คณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2554
ขัน้ ตอนการปฏิ สรุปความรั บัตติ บามกรอบ ผิดชอบมคอ. มคอ.1
มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา
สกอ. (จัดประชุมสภาวิชาชีพ /สาขา)
มคอ.2
รายละเอียดของหลักสูตร (ส่ง สกอ. ขึน้ ทะเบียน )
คณะ / ภาควิชา / สาขาวิชา กรรมการประจาหลักสูตร ก่อนสอน
มคอ.3 มคอ.4
การจัดทารายละเอียดของรายวิชา
กรรมการประจาหลักสูตร / ผูส้ อน
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม/ สหกิจศึกษา
ผูส้ อนรายวิชา / อาจารย์นิเทศ
เสร็จสิ้ นภาคการศึกษา นับจากวันสอบสุดท้าย 30 วัน
มคอ.5
มคอ.6
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ ภาคสนาม ( สหกิจศึกษา / ฝึ กงาน )
กรรมการประจาหลักสูตร / ผูส้ อน
ผูส้ อนรายวิชา / อาจารย์นิเทศ
หลังจากสิ้ นปี การศึกษา 60 วัน
มคอ.7
รายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร
กรรมการประจาหลักสูตร
6
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา รายละเอี ยดของรายวิ ชา (Course Specification) หมายถึง ข้อมู ล เกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการของแต่ละรายวิชาเพื่อให้การจัดการเรียนการสอน สอดคล้องและเป็นไปตามที่วางแผนไว้ ในรายละเอียดของหลักสูตร ซึ่งแต่ละรายวิชา จะกาหนดไว้อย่างชัดเจนเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และรายละเอียดของเนื้อหาความรู้ใน รายวิชา แนวทางการปลูกฝังทักษะต่างๆ ตลอดจนคุณลักษณะอื่นๆ ที่นักศึกษาจะ ได้รับการพัฒนาให้ประสบความสาเร็จตามจุดมุ่งหมายของรายวิชา มีการกาหนด รายละเอียดเกี่ยวกับระยะเวลาที่ใช้ในการเรียน วิธีการเรียนการสอน การวัด และ ประเมินผลในรายวิชา ตลอดจนหนัง สือสื่อทางวิชาการอื่นๆ ที่จาเป็นสาหรับการ เรียนรู้ นอกจากนี้ ยังกาหนดยุทธศาสตร์ในการประเมินรายวิชาและกระบวนการ ปรับปรุง มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา (ต่อ) ประกอบด้วย 7 หมวด ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ข้อมูลโดยทั่วไป จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ ลักษณะและการดาเนินการ การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา แผนการสอนและการประเมินผล ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1.1 รหัสและชื่อรายวิชา 1.2 จานวนหน่วยกิต : บรรยาย - ปฏิบัติ 1.3 หลักสูตรและประเภทของรายวิชา ระบุชื่อหลักสูตรที่ใช้รายวิชานี้ ยกเว้นวิชาที่เปิดเป็นวิชาเลือกทั่วไป ให้ใช้ “หลาย หลักสูตร” และให้ระบุว่าเป็นวิชาศึกษาทั่วไปหรือวิชาเฉพาะ เช่น วิชาแกน วิชาเฉพาะด้าน วิชา พื้นฐานวิชาชีพหรือวิชาชีพ วิชาเอก วิชาเอกเลือก เป็นต้น 1.4 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน 1.5 ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน : ระบุภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ตามแผนการศึกษาของหลักสูตร 1.6 รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) 1.7 รายวิชาที่ต้องเรียนมาพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) 1.8 สถานที่เรียน : ระบุสถานที่เรียนทุกแห่งทั้งในและนอกที่ตั้งหลักของมหาวิทยาลัยให้ครบถ้วน 1.9 วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 2.1 จุดมุ่งหมายของรายวิชา 2.2 วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา อธิบายโดยย่อเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ในการพัฒนารายวิชานี้ หรือการเปลี่ยนแปลงสาคัญๆ ที่เกิดขึ้น เช่น เพิ่มการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ หรือ web based การเปลี่ยนแปลงเนื้อหาของ รายวิชาซึ่งเป็นผลจากงานวิจัยใหม่ๆ ในสาขา มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ 3.1 คาอธิบายรายวิชา ตามที่ระบุไว้ในรายละเอียดหลักสูตร (ศึกษาตาม มคอ. 2) 3.2 จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา ระบุจานวนชั่วโมงบรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติงานภาคสนาม/ การฝึกงาน และการศึกาด้วยตนเอง 3.3 จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่ นักศึกษาเป็นรายบุคคล ระบุจานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่จะให้ปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่ นักศึกษานอกชั้นเรียน และวิธีการสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกาหนดเวลา ล่วงหน้า มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา การพัฒนาผลการเรียนรู้ในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้านที่มุ่งหวัง ซึ่งต้องสอดคล้องกับที่ระบุไว้ในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อ มาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ตามที่กาหนดนในรายละเอียดของหลักสูตร โดยมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละด้าน ให้แสดงข้อมูลต่อไปนี้ 1) สรุปสั้นๆ เกี่ยวกับความรู้หรือทักษะที่รายวิชามุ่งหวังที่จะพัฒนานักศึกษา 2) คาอธิ บายเกี่ ยวกับ วิธีก ารสอนที่ จะใช้ใ นรายวิชาเพื่ อพั ฒนาความรู้ หรื อ ทักษะในข้อ 1) 3) วิ ธี ก ารที่ จ ะใช้ วั ด ประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ ข องนั ก ศึ ก ษาในรายวิ ช านี้ เ พื่ อ ประเมินผลการเรียนรู้ในมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละด้านที่เกี่ยวข้อง มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา (ต่อ) 4.1 คุณธรรม จริยธรรม 1) คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล 4.2 ความรู้ 1) ความรู้ที่ต้องได้รับ 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล 4.3 ทักษะทางปัญญา 1) ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา (ต่อ) 4.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล 4.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล 4.6 ทักษะในการปฏิบัติทางวิชาชีพ 1) ทักษะในการปฏิบัติทางวิชาชีพที่ต้องพัฒนา 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 5.1 แผนการสอน ระบุหัวข้อ/รายละเอียดสัปดาห์ที่สอน จานวนชั่วโมงการสอน (ซึ่ง ต้องสอดคล้องกับจานวนหน่วยกิต) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ รวมทั้งอาจารย์ผู้สอน ในแต่ละหัวข้อ/รายละเอียดของรายวิชา 5.2 แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ระบุวิ ธีก ารประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ หัว ข้อ ย่ อยแต่ ล ะหั ว ข้อ ตามที่ ปรากฏในแผนที่ แ สดงการกระจายความรั บ ผิ ด ชอบของรายวิ ช า (Curriculum Mapping) ตามที่กาหนดในรายละเอียดของหลักสูตร สัปดาห์ที่ประเมินและสัดส่วนของการประเมิน มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 6.1 ตาราและเอกสารหลัก ระบุตาราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน 6.2 เอกสารและข้อมูลสาคัญ ระบุหนังสือ วารสาร รายงาน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ กฎระเบียบ ต่างๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์และแหล่งอ้างอิงที่สาคัญ ซึ่งนักศึกษจาเป็นต้อง ศึกษาเพิ่มเติม 6.3 เอกสารและข้อมูลแนะนา ระบุหนังสือ วารสาร รายงาน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ กฎระเบียบ ต่างๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์และแหล่งอ้างอิงที่สาคัญอื่นๆ ซึ่งนักศึกษาควร ศึกษาเพิ่มเติม มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 7.1 กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา 7.2 กลยุทธ์การประเมินการสอน ระบุวิธีการประเมินที่จะได้ขอ้ มูลการสอน เช่น จากผู้สังเกตการณ์ หรือทีมผู้สอน หรือผลการเรียนของ นักศึกษา เป็นต้น
7.3 การปรับปรุงการสอน อธิบายกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอน เช่น คณะ/ภาควิชามีการกาหนดกลไกและวิธกี ารปรับปรุงการ สอนไว้อย่างไรบ้าง การวิจัยในชั้นเรียน การประชุมเชิงปฏิบตั ิการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เป็นต้น
7.4 การทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา อธิบายกระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของรายวิชา เช่น ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย กระบวนการอาจจะต่างกันไปสาหรับรายวิชาที่ แตกต่างกัน หรือสาหรับมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน
7.5 การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา อธิบายกระบวนการในการนาข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 7.1 และ 7.2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงคุณภาพ
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา
มคอ.4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม รายละเอี ย ดของประสบการณ์ ภ าคสนาม (Field Experience Specification) หมายถึง ข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการในรายวิชาหรือ กิจกรรมที่นักศึกษาจะต้องออกฝึกงาน ออกฝึกภาคสนามหรือสหกิจศึกษา ซึ่งจะต้อง วางแผนให้สอดคล้องและเป็นไปตามที่กาหนดไว้ในรายละเอียดของหลักสูตร โดย จะต้องกาหนดไว้อย่างชัดเจนถึงวัตถุประสงค์และรายละเอียดของการดาเนินการของ กิจกรรมนั้นๆ ตลอดจนความรู้ ความเข้าใจที่นักศึกษาจะได้รับจากการออกฝึก มีการ กาหนดกระบวนการหรือวิธีการในการปลูกฝังทักษะต่างๆ ตลอดจนคุณลักษณะอื่นๆ ที่นักศึกษาจะได้รับการพัฒนาให้ประสบความสาเร็จตามจุดมุ่งหมายรวมทั้งเกณฑ์การ วัดและประเมิน ผลนักศึกษา และการประเมินการดาเนินการตามรายละเอียดของ ประสบการณ์ภาคสนาม มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ.4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ต่อ) ประกอบด้วย 7 หมวด ดังนี้ 1. ข้อมูลทั่วไป 2. จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 3. การพัฒนาผลการเรียนรู้ 4. ลักษณะและการดาเนินการ 5. การวางแผนและการเตรียมการ 6. การประเมินนักศึกษา 7. การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของการฝึกประสบการณ์ ภาคสนาม (เพิ่มเติมจากคณะกรรมการ มคอ. 4 การอุดมศึกษา) รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1.1 รหัสและชื่อรายวิชา 1.2 จานวนหน่วยกิต หรือจานวนชั่วโมง 1.3 หลักสูตรและประเภทของรายวิชา ระบุชื่อหลักสูตรที่ใช้รายวิชานี้ และระบุว่าเป็นวิชาบังคับหรือวิชาเลือก 1.4 อาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 1.5 ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่กาหนดให้มีการฝึกประสบการณ์ภาคสนามตาม แผนการศึกษาของหลักสูตร 1.6 วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชา ประสบการณ์ภาคสนามครั้งล่าสุด มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 2.1 จุดมุ่งหมายของประสบการณ์ภาคสนาม 2.2 วัตถุประสงค์ของการพัฒนาหรือปรับปรุงประสบการณ์ภาคสนาม อธิบายโดยย่อถึงวัตถุประสงค์การพัฒนาหรือปรับปรุง ประสบการณ์ภาคสนามหรือการเปลี่ยนแปลงสาคัญๆ ที่เกิดขึ้นและการ กระทาที่จะให้บรรลุวัตถุประสงค์
มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ การพัฒนาผลการเรียนรู้ในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้านที่ มุ่งหวังต้องสอดคล้องกับที่ระบุไว้ในรายละเอียดหลักสูตร (แบบ มคอ.2) โดยมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน ให้แสดงข้อมูลต่อไปนี้ 1. สรุปเกี่ยวกับความรู้หรือทักษะที่ต้องการจะพัฒนาจากประสบการณ์ที่ ได้จากการฝึกภาคสนาม/ฝึกในสถานประกอบการ 2. อธิบายกระบวนการหรือกิจกรรมต่างๆ ที่จะพัฒนาความรู้หรือทักษะ ในข้อ 1 3. วิธีการที่จะใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ในมาตรฐานผลการเรียนรู้ แต่ละด้านที่เกี่ยวข้อง มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 3 การผลการเรียนรู้ (ต่อ) 3.1 คุณธรรม จริยธรรม 1) คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2) กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ 3) วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ 3.2 ความรู้ 1) อธิบายถึงความรู้ที่จะได้รับ/ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ 2) กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ 3) วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ 3.3 ทักษะทางปัญญา 1) ทักษะทางปัญญาที่จะได้รับการพัฒนา/ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 2) กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ 3) วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ (ต่อ) 3.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 2) กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ 3) วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ 3.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศที่ต้องพัฒนา 2) กระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ 3) วิธีการประเมินผลการเรียนรู้ มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 4 ลักษณะและการดาเนินการ
4.1 คาอธิบายโดยทั่วไปของประสบการณ์ภาคสนามหรือคาอธิบายรายวิชา : ระบุคาอธิบายตามที่ระบุในรายละเอียดของ หลักสูตร 4.2 กิจกรรมของนักศึกษา : ระบุกิจกรรมหลักที่เกี่ยวข้องกับนักศึกษาระหว่างฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 4.3 รายงานหรืองานที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย : ระบุรายงานหรืองานที่มอบหมายนักศึกษา และกาหนดส่ง 4.4 การติดตามผลการเรียนรู้การฝึกประสบการณ์ภาคสนามของนักศึกษา ระบุกิจกรรมที่ใช้ในการติดตามผลการเรียนรู้ทั้งระหว่างฝึกและเมื่อสิ้นสุดการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 4.5 หน้าที่และความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยงในสถานประกอบการที่ดูแลกิจกรรมในภาคสนาม เช่น การวางแผนกิจกรรมสาหรับการพัฒนาทักษะของนักศึกษา การให้คาแนะนาแก่นักศึกษา การประเมินผลการ ฝึกประสบการณ์ 4.6 หน้าที่และความรับผิดชอบของอาจารย์ทปี่ รึกษา/อาจารย์นิเทศก์ เช่น การให้คาปรึกษา การประสานและร่วมวางแผนกับพนักงานพี่เลี้ยงในสถานประกอบการ การประเมินผล นักศึกษา การวางแผนสาหรับการออกนิเทศก์นักศึกษา 4.7 การเตรียมการในการแนะแนวและช่วยเหลือนักศึกษา 4.8 สิ่งอานวยความสะดวกและการสนับสนุนที่ต้องการจากสถานที่ที่จัดประสบการณ์ภาคสนาม /สถานประกอบการ เช่น ที่พัก การเดินทาง วัสดุอุปกรณ์สนับสนุนอื่นๆ เช่น เบี้ยเลี้ยง
มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 5 การวางแผนและการเตรียมการ 5.1 การกาหนดสถานที่ฝึก 5.2 การเตรียมนักศึกษา 5.3 เตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศก์ 5.4 การเตรียมพนักงานพี่เลี้ยงในสถานที่ฝึก 5.5 การจัดการความเสี่ยง
มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 6 การประเมินนักศึกษา 6.1 หลักเกณฑ์การประเมิน 6.2 กระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา 6.3 ความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยงต่อการประเมินนักศึกษาฃ 6.4 ความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบประสบการณ์ภาคสนามต่อ การประเมินนักศึกษา 6.5 การสรุปผลการประเมินที่แตกต่าง
มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการ ของการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
7.1 กระบวนการประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามจากผู้เกี่ยวข้อง ต่อไปนี้ 1) นักศึกษา 2) พนักงานพี่เลี้ยงหรือผู้ประกอบการ 3) อาจารย์ที่ดูแลกิจกรรมภาคสนาม 4) อื่นๆ เช่น บัณฑิตจบใหม่ 7.2 กระบวนการทบทวนผลการประเมินและการวางแผนปรับปรุง มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 4 รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา รายงานผลการดาเนิ น การของรายวิชา (Course Report) หมายถึ ง รายงานผลการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ผู้สอนแต่ละรายวิชาเมื่อสิ้นภาคเรียน เกี่ยวกับภาพรวมของการจั ดการเรียนการสอนในวิชานั้นๆ ว่า ได้ดาเนินการสอน อย่างครอบคลุมและเป็นไปตามแผนที่วางไว้ในรายละเอียดของรายวิชาหรือไม่ และ หากไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ ต้องให้เหตุผลและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการ จัดการเรียนการสอนของรายวิชาดังกล่าวในครั้งต่อไป รายงานนี้จะครอบคลุมถึงผล การเรียนของนักศึกษา จานวนนักศึกษาตั้งแต่เริ่มเรียนจนสิ้นสุด ปัญหาในการบริการ จั ด การและสิ่ ง อ านวยความสะดวก การิ ว เคราะห์ ผ ลการประเมิ น รายวิ ช าของ นักศึกษา/หัวหน้าภาค/หรือผู้ประเมินภายนอก รวมทั้งการสารวจความคิดเห็นของ ผู้ให้บัณฑิต การวางแผนและให้ข้อเสนอแนะต่อผู้ประสานงานหลักสูตรเพื่อปรับปรุง และพัฒนารายวิชา มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา(ต่อ) ประกอบด้วย 6 หมวด ดังนี้ 1. ข้อมูลทั่วไป 2. การจัดการเรียนการสอนเปรียบเทียบกับแผนการสอน 3. สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา 4. ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนินการ 5. การประเมินรายวิชา 6. แผนการปรับปรุง
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1.1 รหัสและชื่อรายวิชา 1.2 รายวิชาที่ต้องเรียนก่อนรายวิชานี้ (ถ้ามี) 1.3 อาจารย์ผู้รับผิดชอบ อาจารย์ผู้สอนและกลุ่มเรียน (Section) ให้รายงานเป็นรายกลุ่ม 1.4 ภาคการศึกษา/ปีการศึกษาที่เปิดสอนรายวิชา 1.5 สถานที่เรียน ระบุสถานที่เรียนทุกแห่งทั้งในและนอกที่ตั้งหลักของมหาวิทยาลัย ให้ครบถ้วน มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
หมวดที่ 2 การจัดการเรียนการสอนที่เปรียบเทียบกับแผนการสอน 2.1 รายงานชั่วโมงการสอนจริงเทียบกับแผนการสอน ระบุหัวข้อ จานวนชั่วโมงตามแผนการสอน จานวนชั่วโมงที่สอนจริง ระบุเหตุผลที่การ สอนจริงต่างจากแผนการสอนหากมีความแตกต่างเกิน ร้อยละ 25 2.2 หัวข้อที่สอนไม่ครอบคลุมตามแผน ระบุหัวข้อที่สอนไม่ครอบคลุมตามแผน และพิจารณานัยสาคัญของหัวข้อต่อผลการ เรียนรู้ของรายวิชาและหลักสูตร ในกรณีที่มีนัยสาคัญให้เสนอแนวทางชดเชย 2.3 ประสิทธิผลของวิธีสอนที่ทาให้เกิดผลการเรียนรู้ตามที่ระบุในรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) ระบุว่าวิธีการสอนเพื่อให้บรรลุผลการเรียนรู้แต่ละด้านตามที่ระบุในรายละเอียดรายวิชา มีประสิทธิผลหรือไม่มี และปัญหาของวิธีการสอนที่ใช้ (ถ้ามี) พร้อมข้อเสนอแนะในการแก้ไข 2.4 ข้อเสนอการดาเนินการเพื่อปรับปรุงวิธีสอน ระบุเสนอเพื่อการปรับปรุงวิธีสอน ซึ่งได้จากปัญหาที่พบในข้อ 2.3
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
หมวดที่ 3 สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา 3.1 จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน (ณ วันหมดกาหนดการเพิ่มถอน) 3.2 จานวนนักศึกษาที่คงอยู่เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา 3.3 จานวนนักศึกษาที่ถอน (W) 3.4 การกระจายของระดับคะแนน (เกรด) : ระบุจานวนและร้อยละของนักศึกษาในแต่ละระดับคะแนน 3.5 ปัจจัยที่ทาให้ระดับคะแนนผิดปกติ (ถ้ามี) 3.6 ความคลาดเคลื่อนจากแผนการประเมินที่กาหนดไว้ในรายละเอียดรายวิชา ระบุความคลาดเคลื่อนจากแผนการประเมินผลการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ใน มคอ. 3 หมวด 5 ข้อ 5.2 (แผนการประเมินผลการเรียนรู้) 1) ความคลาดเคลื่อนด้านกาหนดเวลาการประเมิน : ระบุความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นพร้อม เหตุผล 2) ความคลาดเคลื่อนด้านวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ (ถ้ามี) ระบุความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นพร้อมเหตุผล 3.7 การทวนสอบสัมฤทธิ์ของนักศึกษา : ระบุวิธีการทวนสอบ และสรุปผลการทวนสอบ
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
หมวดที่ 4 ปัญหาและผลกระทบต่อการดาเนินการ 4.1 ประเด็นด้านทรัพยากรประกอบการเรียนและสิ่งอานวยความสะดวก ระบุปัญหาในการใช้ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน (ถ้ามี) และผลกระทบ 4.2 ประเด็นด้านการบริหารและองค์กร ระบุปัญหาด้านการบริหารและองค์การ (ถ้ามี) และผลกระทบต่อ ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
หมวดที่ 5 การประเมินรายวิชา 5.1 ผลการประเมินรายวิชาโดยนักศึกษา (แนบเอกสาร) 1) ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมินโดยนักศึกษา ระบุข้อวิพากษ์ทั้งที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อน 2) ความเห็นของอาจารย์ผู้สอนต่อข้อวิพากษ์ ตามข้อ 1) 5.2 ผลการประเมินรายวิชาโดยวิธีอื่น 1) ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมินโดยวิธีอื่น ระบุข้อวิพากษ์ทั้งที่เป็นจุดแข็งและจุดอ่อน 2) ความคิดเห็นของอาจารย์ผู้สอนต่อข้อวิพากษ์ตามข้อ 1) มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง 6.1 ความก้าวหน้าของการปรับปรุงการเรียนนการสอนตามที่เสนอในรายงานของรายวิชาครั้งที่ ผ่านมา ระบุแผนการปรับปรุงที่เสนอในภาคการศึกษา/ปีการศึกษาที่ผ่านมาและอธิบายผลการ ดาเนินการตามแผน ถ้าไม่ได้ดาเนินการหรือไม่เสร็จสมบูรณ์ให้ระบุเหตุผล 6.2 การดาเนินการอื่นๆ ในการปรับปรุงรายวิชา อธิ บ ายการปรั บ ปรุ ง โดยย่ อ เช่ น ปรั บ เปลี่ ย นวิ ธี ก ารสอนส าหรั บภาคการศึ ก ษา/ปี การศึกษานี้ การใช้อุปกรณ์การสอนแบบใหม่ เป็นต้น 6.3 ข้อเสนอแผนการปรับปรุงสาหรับภาคการศึกษา/ปีการศึกษาต่อไป ระบุข้อเสนอพร้อมกาหนดเวลาที่ควรแล้วเสร็จและผู้รับผิดชอบ 6.4 ข้อเสนอแนะของอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 5 รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม รายงานผลการด าเนินการของประสบการณ์ภ าคสนาม (Field Experience Report) หมายถึง รายงานผลการฝึกงาน ออกฝึกภาคสนาม หรือสหกิจศึกษา ว่าได้บรรลุผลการเรียนตามแผนที่วางไว้ในรายละเอียด ของประสบการณ์ภาคสนามหรือไม่ และหากไม่เป็นไปตามแผนต้องให้ เหตุ ผลและข้อ เสนอแนะในการปรั บปรุ งการฝึก งาน ออกฝึกภาคสนาม หรื อ สหกิ จ ศึ ก ษาในครั้ ง ต่ อ ไป รายงานนี้ จ ะครอบคลุ ม ถึ ง การฝึ ก ประสบการณ์ภาคสนามตั้งแต่เริ่มจนสิ้นสุด ปัญหาด้านการบริหารจัดการ และสิ่ ง อานวยความสะดวก การวิ เ คราะห์ผ ลการประเมิ น การฝึก ของ นักศึกษาอาจารย์ผู้รับผิดชอบ/พนักงานพี่เลี้ยง มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม (ต่อ) ประกอบด้วย 6 หมวด ดังนี้ 1. ข้อมูลทั่วไป 2. การดาเนินการที่ต่างไปจากแผนการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 3. ผลการดาเนินการ 4. ปัญหาและผลกระทบด้านการบริหาร 5. การประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 6. แผนการปรับปรุง มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1.1 รหัสและชื่อรายวิชา 1.2 หลักสูตร 1.3 อาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 1.4 ภาคการศึกษา/ปีการศึกษาที่ฝึกประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 2 การดาเนินการที่ต่างจากแผนการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 2.1 การเตรียมนักศึกษา (ถ้ามี) ระบุว่าการเตรียมนักศึกษาต่างจากแผนอย่างไร และให้ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นเพื่อการวางแผน ในอนาคต 2.2 การเตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศก์ ระบุว่าการเตรียมอาจารย์ที่ปรึกษา/อาจารย์นิเทศก์ต่างจากแผนอย่างไร และให้ข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็นเพื่อการวางแผนในอนาคต 2.3 การเตรียมพนักงานพี่เลี้ยง (Field Supervisors) จากสถานประกอบการณ์ (ถ้ามี) ระบุ ว่ า การเตรี ย มพนั ก งานพี่ เ ลี้ ย งจากสถานประกอบการต่ า งจากแผนอย่ า งไรและให้ ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นเพื่อการวางแผนในอนาคต 2.4 การเปลี่ยนแปลงการจัดการในการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ระบุการเปลี่ยนแปลงต่อไปนี้ให้ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นเพื่อการวางแผน 1) การเปลี่ยนแปลงกิจกรรม และ/หรืองานที่มอบหมายให้นักศึกษา 2) การเปลี่ยนแปลงสิ่งอานวยความสะดวกในการสนับสนุนนักศึกษา 3) การเปลี่ยนแปลงอื่นๆ (ถ้ามี)
มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 3 ผลการดาเนินการ 3.1 จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียน/ส่งไปฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 3.2 จานวนนักศึกษาที่คงอยู่เมื่อสิ้นสุดการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 3.3 จานวนนักศึกษาที่ถอน (W) 3.4 การกระจายระดับคะแนน (เกรด) ระบุจานวนและร้อยละของนักศึกษาในแต่ละระดับคะแนน 3.5 ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี)
มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 4 ปัญหาและผลกระทบด้านการบริหาร 4.1 ปัญหาด้านการบริหารของสถาบันอุดมศึกษา และ/หรือสถาน ประกอบการ/สถานที่ฝึก 4.2 ผลกระทบต่อผลการเรียนรู้ของนักศึกษา 4.3 การเปลี่ยนแปลงที่จาเป็นเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาและอุปสรรคในอนาคต (ถ้ามี)
มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 5 การประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 5.1 การประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามโดยนักศึกษา (ให้แนบผลการสารวจ) 1) ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมิน :ระบุข้อวิพากษ์ทั้งที่เป็นจุดแข็ง และจุดอ่อน 2) ความเห็นของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึก ประสบการณ์ภาคสนาม 5.2 การประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามโดยสถานประกอบการหรือพนักงาน พี่เลี้ยง 1) ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมิน 2) ความเห็นของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ/อาจารย์ที่ปรึกษาการฝึก ประสบการณ์ภาคสนาม มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง 6.1 การดาเนินการเพื่อปรับปรุงการฝึกประสบการณ์ภาคสนามครั้งที่ผ่านมา สรุปย่อการพัฒนาที่สาคัญในปัจจุบัน อาทิ การพัฒนาอย่างมืออาชีพสาหรับคณะหรือที่ปรึกษา ประสบการณ์ภาคสนาม การปรับประสบการณ์ภาคสนาม และแนวทางใหม่ของการจัดการเชิงคุณภาพ 6.2 ความก้าวหน้าของการปรับปรุงการฝึกประสบการณ์ภาคสนามจากรายงานการประเมินครั้งก่อน ระบุประเด็นที่ระบุไว้ในครั้งที่ผ่านมาสาหรับการปรับปรุงนอกเหนือจากข้อ 6.1 และอธิบายถึง ความสาเร็จ ผลกระทบ ในกรณีที่ไม่สาเร็จให้ระบุเหตุผล 6.3 ข้อเสนอแผนการปรับปรุงสาหรับภาคการศึกษา/ปีการศึกษาต่อไป ระบุข้อเสนอพร้อมกาหนดเวลาที่ควรแล้วเสร็จและผู้รับผิดชอบ 6.4 ข้อเสนอแนะของอาจารย์ผู้รับผิดชอบการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม เสนอต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตร ระบุข้อเสนอแนะต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หากมีกิจกรรมหรือการดาเนินงานใดๆ ที่ต้อง ได้รับความเห็นชอบจากภาควิชาหรือสถาบัน หรืออาจจะมีผลกระทบต่อ รายวิชาอื่นๆ ในหลักสูตร
มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
มคอ. 6 รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
เอกสารอ้างอิง คณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2554. ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2558 จาก http://www.mua.go.th/users/tqf-hed/ มหาวิทยาลัยศรีปทุม. มปป. คู่มือ มคอ.3 และ 4. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2558. จาก http://scms.spu.ac.th/osis/adviserindexmain.cfm _____มปป. คู่มือ มคอ.5 และ 6. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2558. จาก http://scms.spu.ac.th/osis/adviserindexmain.cfm
เปิดประเด็นซักถาม พูดคุยและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เกี่ยวกับ TQF