ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ: มคอ. (Thai Qualifications Framework for Higher Education ; TQF : HEd)
เป็นมาตรฐานที่แสดงให้เห็นว่า สามารถผลิตบัณฑิตให้บรรลุคุณภาพ ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ (Learning Outcome)
หลักการสาคัญ 1.การนาแนวนโยบายการพัฒนาคุณภาพสู่การปฏิบัติ
2. มุ่งเน้นที่ผลการเรียนรู้(Learning Outcomes) 3. เชื่อมโยงมฎเกณฑ์และประกาศต่างๆ ที่เกี่ยวกับเรื่อง หลักสูตรเข้าไว้ด้วยกัน
หลักการสาคัญ (ต่อ) 4.การสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจและความมั่นใจในกลุ่มผู้ ที่เกี่ยวข้อง
5. ให้ปริญญาของสถาบันใดๆของประเทศไทยเป็นที่ยอมรับ
6. ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
มคอ. 1
• มาตรฐานคุณวุฒิ สาขาวิชา
มคอ.2
• รายละเอียด ของหลักสูตร
มคอ.3
• การจัดทา รายละเอียด ของรายวิชา
มคอ. 5
รายงานผล รายวิชา
มคอ.7
รายงานผล หลักสูตร
ขั้นตอนการปฏิบตั ติ ามกรอบ มคอ. มคอ.1 มคอ.2
มาตรฐานคุณวุฒิสาขาวิชา รายละเอียดของหลักสูตร (ส่ง สกอ. ขึน้ ทะเบียน )
สกอ. (จัดประชุมสภาวิชาชีพ /สาขา) คณะ / ภาควิชา / สาขาวิชา กรรมการประจาหลักสูตร ก่อนสอน
มคอ.3 มคอ.4
การจัดทารายละเอียดของรายวิชา
กรรมการประจาหลักสูตร / ผูส้ อน
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม/ สหกิจศึกษา
ผูส้ อนรายวิชา / อาจารย์นิเทศ
เสร็จสิ้ นภาคการศึกษา นับจากวันสอบสุดท้าย 30 วัน
มคอ.5 มคอ.6
รายงานผลการดาเนินการของรายวิชา รายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ ภาคสนาม ( สหกิจศึกษา / ฝึ กงาน )
กรรมการประจาหลักสูตร / ผูส้ อน ผูส้ อนรายวิชา / อาจารย์นิเทศ
หลังจากสิ้ นปี การศึกษา 60 วัน
มคอ.7
รายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร
กรรมการประจาหลักสูต6 ร
ประกาศ ศธ. เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณฑวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ .พ.ศ. 2552
กรอบมาตรฐานคุณฑวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ สกอ . มหาวิทยาลัย
ไม่ ใช่
ติดตาม การดาเนินการ ตาม TQF
ใช่
วางแผนปรับปรุง + พัฒนา
รายงานประจาภาค และประจาปี การศึกษา (Semester/Annual Programme Report) รายงานรายวิชา (Course Reports)
เผยแพร่ หลักสูตรที่ ดาเนินการ ได้ มาตรฐาน TQF
1
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา ต่างๆ
5 ปี
7
1 ปี
2 3/4
5/6
ประกาศ กกอ. เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบ มาตรฐานคุณฑวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2552
1
รายละเอียดของหลักสูตร (Programme Specification)
เสนอ
รายละเอียดของรายวิชาและภาคสนาม/ ฝึ กงาน (ถ้ ามี) (Course + Field Experience Specifications)
กระบวนการเรียนการสอน (ที่ทาให้ บรรลุผลการเรียนรู้ท่ คี าดหวัง)
การวัดและประเมินผล
สภา สถาบัน อนุมตั เสนอ ิ
สกอ. รับทราบ หลักสูตร และ บันทึกไว้ ในฐาน ข้ อมูล
(POD Network)
มุ่งเน้ นผลการเรี ยนรู้ของนักศึกษา/บัณฑิิต
Teaching Unit
นักศึกษา/บัณฑิิตได้ รับการพัฒนาให้ มีมาตรฐานผลการเรี ยนรู้ ตามที่ กาหนดไว้ ในกรอบมาตรฐานคุณฑวุฒิ (บัณฑิิตมีคุณฑภาพเป็ นที่พงึ พอใจของผู้จ้างงานและสังคม) กก.อ.กาหนดหลักเกณฑ์การปรับปรุง
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร เกณฑ์กาหนดชื่อปริ ญญา หลักเกณฑ์การเทียบโอน เกณฑ์/แนวทางอื่น ๆ
การจัดสิ่งอานวยความ สะดวก สภาพแวดล้ อม
ที่มา: คณะกรรมการการอุดมศึกษา, 2554
มคอ. 2 รายละเอียดของหลักสูตร
คาอธิบายรายวิชา
ระเบียบวิธีวิจยั เบื้ องต้น ขั้นตอนและประโยชน์ของการวิ จยั ในธุรกิจ การบิ น การตั้ง ปั ญ หาการวิ จัย การออกแบบการวิ จัย การสุ่ ม ตัวอย่าง การสร้างเครื่องมือที่ ใช้ในการเก็บข้อมูล การเก็บข้อมูล การใช้โปรแกรมสถิติเพื่อวิเคราะห์ขอ้ มูล ตลอดจนนาเสนอข้อมูล เพื่อนาไปพัฒนาธุรกิจในด้านต่างๆ นาไปกาหนดวัตถุประสงค์รายวิชา
วัตถุประสงค์ (จุดมุ่งหมายรายวิชา) 1. สามารถอธิบาย ความสาคัญของการวิจยั ขั้นตอนของการวิจยั เพื่อธุรกิจการบินได้ 2. สามารถบอกประโยชน์ของการวิจยั ในธุรกิจการบินได้ 3. อธิบายหลักการกาหนดปั ญหาการวิจยั และสามารถกาหนดปั ญหาการวิจยั ได้ถูกต้อง 4. สามารถอธิบายและดาเนิ นการออกแบบการวิจยั ได้ 5. อธิบายและยกตัวอย่างการกาหนดประชากร และสามารถระบุกลุ่มตัวอย่างในการวิจยั ได้ 6. อธิบายและลงมือสร้างเครื่องมือการวิจยั พร้อมหาคุณภาพเครื่องมือได้ 7. อธิบายกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจยั และสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้ 8. สามารถใช้โปรแกรมสาเร็จรูปสาหรับการวิจยั ได้ 9. สามารถนาความรูจ้ ากการศึกษาไปใช้ในการพัฒนาธุรกิจด้านอื่นๆได้ 10. สามารถเขียนเค้าโครงการวิจยั รายงานการวิจยั และนาเสนองานวิจยั ได้
Curriculum Mapping
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification) หมายถึง แนวทางการบริหารจัดการของแต่ละรายวิชาเพื่อให้การ จัดการเรียนการสอนสอดคล้องและเป็นไปตามที่วางแผนไว้ในรายละเอียด ของหลักสูตร วัตถุประสงค์และรายละเอียดของเนื้อหาความรู้ในรายวิชา แนวทางการปลูกฝังทักษะต่างๆ ตลอดจนคุณลักษณะอื่นๆ ที่นักศึกษาจะ ได้ รั บ การพั ฒ นาให้ ป ระสบความส าเร็ จ ตามจุ ด มุ่ ง หมายของรายวิ ช า ก าหนดระยะเวลาที่ ใ ช้ ใ นการเรี ย น วิ ธี ก ารเรี ย นการสอน การวั ด และ ประเมิน ผลในรายวิชา ตลอดจนหนั งสื อสื่ อทางวิช าการอื่นๆ ที่จาเป็น สาหรับการเรียนรู้ นอกจากนี้ยังกาหนดยุทธศาสตร์ในการประเมินรายวิชา และกระบวนการปรับปรุง
มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา (ต่อ) ประกอบด้วย 7 หมวด ดังนี้ 1. ข้อมูลโดยทั่วไป 2. จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 3. ลักษณะและการดาเนินการ 4. การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา 5. แผนการสอนและการประเมินผล 6. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 7. การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1.1 รหัสและชื่อรายวิชา 1.2 จานวนหน่วยกิต : บรรยาย - ปฏิบตั ิ 1.3 หลักสูตรและประเภทของรายวิชา ระบุชื่อหลักสูตรที่ใช้รายวิชานี้ ยกเว้นวิชาที่เปิดเป็นวิชาเลือกทั่วไป ให้ใช้ “หลาย หลักสูตร” และให้ระบุว่าเป็นวิชาศึกษาทั่วไปหรือวิชาเฉพาะ เช่น วิชาแกน วิชาเฉพาะด้าน วิชา พื้นฐานวิชาชีพหรือวิชาชีพ วิชาเอก วิชาเอกเลือก เป็นต้น 1.4 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน 1.5 ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน : ระบุภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ตามแผนการศึกษาของหลักสูตร 1.6 รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) 1.7 รายวิชาที่ต้องเรียนมาพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) 1.8 สถานที่เรียน : ระบุสถานที่เรียนทุกแห่งทัง้ ในและนอกที่ตั้งหลักของมหาวิทยาลัยให้ครบถ้วน 1.9 วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 2.1 จุดมุ่งหมายของรายวิชา 2.2 วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา อธิบายโดยย่อเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ในการพัฒนารายวิชา นี้หรือการเปลี่ยนแปลงสาคัญๆ ที่เกิดขึ้น เช่น เพิ่มการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ web based การเปลี่ยนแปลงเนื้อหา ของรายวิชาซึ่งเป็นผลจากงานวิจัยใหม่ๆ ในสาขา
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ 3.1 คาอธิบายรายวิชา ตามที่ระบุไว้ในรายละเอียดหลักสูตร (ศึกษาตาม มคอ. 2) 3.2 จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา ระบุจานวนชั่วโมงบรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติงานภาคสนาม/การ ฝึกงาน และการศึกษาด้วยตนเอง 3.3 จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่ นักศึกษาเป็นรายบุคคล ระบุจานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่จะให้ปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษา นอกชั้นเรียน และวิธีการสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกาหนดเวลาล่วงหน้า
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา การพัฒนาผลการเรียนรู้ในมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้านที่มุ่งหวัง ซึ่ง ต้องสอดคล้องกับที่ระบุไว้ในแผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อมาตรฐาน ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ตามที่กาหนดนใน รายละเอียดของหลั ก สูต ร โดยมาตรฐานการเรียนรู้แ ต่ ละด้ าน ให้ แ สดงข้อ มู ล ต่อไปนี้ 1) สรุปสั้นๆ เกี่ยวกับความรู้หรือทักษะที่รายวิชามุ่งหวังที่จะพัฒนานักศึกษา 2) คาอธิบายเกี่ยวกับวิธีการสอนที่จะใช้ในรายวิชาเพื่อพัฒนาความรู้ หรือทักษะ ในข้อ 1) 3) วิ ธี ก ารที่ จ ะใช้ วั ด ประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ ข องนั ก ศึ ก ษาในรายวิ ช านี้ เ พื่ อ ประเมินผลการเรียนรู้ในมาตรฐานการเรียนรู้แต่ละด้านที่เกี่ยวข้อง
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา (ต่อ) 4.1 คุณธรรม จริยธรรม 1) คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล 4.2 ความรู้ 1) ความรู้ที่ต้องได้รับ 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล 4.3 ทักษะทางปัญญา 1) ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา (ต่อ) 4.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล 4.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล 4.6 ทักษะในการปฏิบัติทางวิชาชีพ 1) ทักษะในการปฏิบัติทางวิชาชีพที่ต้องพัฒนา 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 5.1 แผนการสอน ระบุหัวข้อ/รายละเอียดสัปดาห์ที่สอน จานวนชั่วโมงการสอน (ซึ่งต้อง สอดคล้องกับจานวนหน่วยกิต ) กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ รวมทั้ง อาจารย์ผู้สอน ในแต่ละหัวข้อ/รายละเอียดของรายวิชา 5.2 แผนการประเมินผลการเรียนรู้ ระบุวิธีการประเมินผลการเรียนรู้หัวข้อย่อยแต่ละหัวข้อตามที่ปรากฏใน แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบของรายวิชา (Curriculum Mapping) ตามที่กาหนดในรายละเอียดของหลักสูตร สัปดาห์ที่ประเมินและสัดส่วนของการ ประเมิน
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 6.1 ตาราและเอกสารหลัก ระบุตาราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน 6.2 เอกสารและข้อมูลสาคัญ ระบุหนังสือ วารสาร รายงาน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ กฎระเบียบ ต่างๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์และแหล่งอ้างอิงที่สาคัญ ซึ่งนักศึกษจาเป็นต้องศึกษา เพิ่มเติม 6.3 เอกสารและข้อมูลแนะนา ระบุหนังสือ วารสาร รายงาน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ กฎระเบียบ ต่างๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์และแหล่งอ้างอิงที่สาคัญอื่นๆ ซึ่งนักศึกษาควรศึกษา เพิ่มเติม
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 7.1 กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา 7.2 กลยุทธ์การประเมินการสอน ระบุวิธีการประเมินที่จะได้ข้อมูลการสอน เช่น จากผู้สังเกตการณ์ หรือทีมผู้สอน หรือผลการเรียนของ นักศึกษา เป็นต้น
7.3 การปรับปรุงการสอน อธิบายกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอน เช่น คณะ/ภาควิชามีการกาหนดกลไกและวิธีการปรับปรุงการ สอนไว้อย่างไรบ้าง การวิจัยในชั้นเรียน การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เป็นต้น
7.4 การทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา อธิบายกระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของรายวิชา เช่น ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย กระบวนการอาจจะต่างกันไปสาหรับรายวิชาที่ แตกต่างกัน หรือสาหรับมาตรฐานผลการเรียนรู้แต่ละด้าน
7.5 การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา อธิบายกระบวนการในการนาข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 7.1 และ 7.2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงคุณภาพ
เอกสารอ้างอิง คณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2554. ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง แนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 10 กุมภาพันธ์ 2558 จาก http://www.mua.go.th/users/tqf-hed/ มหาวิทยาลัยศรีปทุม. มปป. คู่มือ มคอ.3 และ 4. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2558. จาก http://scms.spu.ac.th/osis/adviserindexmain.cfm _____มปป. คู่มือ มคอ.5 และ 6. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2558. จาก http://scms.spu.ac.th/osis/adviserindexmain.cfm