Engineering Today No.180 (Issue Nov-Dec 2020)

Page 1






Taiwan Excellence Y%A W1 Y3Y?<OW =QG_ "#K =X5==S58?LD/N X?J<L" =R3 ZE; 1WO_ 5 3;N/=/ GDN"_ XA.? G;

üĦõøěĦĕĉʀ ġ ûõĦėċĩĸ İ ĒĨĸ ĕ öĪĹ č öġû ġĬ ĉ ĞĦğõėėĕĈʀ Ħ čėĊĖčĉʃ ġĬ ď õėćʃ ġĨ İ ęķ õ ċėġčĨ õĞ ʃ ČĬ ė õĨ ü õĦ ė ı Ē ċĖ ʃ ĎėėüĬĔĥćąʃ ıęĤûĦčõɿġĞėʀĦû ċĽĦijğʀõĦė ĐęĨ ĉ ĐęĨ ĉ Ĕĥ ć ąʃ Ē ęĦĞĉĨ õ ċĥĸ ě IJęõĖĥ û øû İĒĨĸĕöĪĹčġĖɿĦûĉɿġİčīĸġû ĞɿûĐęijğʀĕĩøěĦĕ ĉʀ ġ ûõĦėİøėīĸ ġ ûüĥ õ ėċĩĸ Ğ ĦĕĦėĊıďėėĭ ď ĒęĦĞĉĨõıęĤĖĦûĕĦõöĪĹč ďėĤõġĎõĥĎ Ğ Ĕ Ħ Ē Ğĥ û ø ĕ ċĩĸ ĉ ė Ĥ ğ čĥ õ ĊĪ û ď ʅ ā ğ Ħ ĞĨĸûıěĈęʀġĕĕĦõöĪĹč IJĈĖġĥĉėĦõĦėėĩĴÿİøĨę öĖĤĒęĦĞĉĨõõęĦĖİďʇčďʅāğĦċĩĸĞĽĦøĥā ċĩĞĸ ĈĬ ijčġčĦøĉöġûġĬĉĞĦğõėėĕĒęĦĞĉĨõ ıęĤĖĦû ĞĽ Ħ ğėĥ Ď ƯĴĉʀ ğ ěĥ č ư čĥ Ď ĴĈʀ ě ɿ Ħ ĕĩ þīĸ ġ İĞĩ Ė ûijčĈʀ Ħ čõĦėčĽ Ħ İĞčġĐęĨ ĉ Ĕĥ ć ąʃ İøėīĸ ġ ûüĥ õ ėıďėėĭ ď ĒęĦĞĉĨ õ ıęĤĖĦû øĬćĔĦĒĞĭû ıęĤĕĩďėĤĞĨċČĨĔĦĒĈĩİĖĩĸĖĕ üčĴĈʀėĥĎõĦėĖġĕėĥĎijčėĤĈĥĎčĦčĦþĦĉĨ ĕĩ Ė ġĈõĦėĞɿ û ġġõİøėīĸ ġ ûüĥ õ ėıďėėĭ ď ĒęĦĞĉĨõıęĤĖĦûİďʇčġĥčĈĥĎċĩĸ öġûIJęõ öʀġĕĭęüĦõĞĕĦøĕġĬĉĞĦğõėėĕİøėīġĸ ûüĥõė ığɿûĴĉʀğěĥč 5".*

ěġęİĉġėʃ İĖ ďėĤČĦčıęĤďėĤČĦč İüʀĦğčʀĦċĩĸĎėĨğĦė ĞĔĦĞɿûİĞėĨĕõĦėøʀĦ ıęĤõĦėĞɿûġġõığɿûĴĉʀğěĥč ğėīġ TAITRA õęɿ Ħ ěěɿ Ħ ġĬ ĉ ĞĦğõėėĕİøėīĸ ġ ûüĥ õ ėõĦė ıďėėĭďĒęĦĞĉĨõıęĤĖĦûöġûĴĉʀğěĥčĴĈʀėĎĥ õĦėĒĥĆčĦĕĦõěɿĦ ďɷ İďʇčċĩĸėĭʀüĥõıęĤ ĴĈʀėĥĎõĦėĖġĕėĥĎijčěûõĦėġĬĉĞĦğõėėĕ ijčĈʀ Ħ čõĦėčĽ Ħ İċøIJčIJęĖĩ ċĩĸ ÿĥ Ď ÿʀ ġ čĕĦ ĒĥĆčĦõĦėĐęĨĉ ıęĤøĬćĔĦĒĎėĨõĦėğęĥû õĦėöĦĖ ďʅüüĬĎĥčĕĩĐĭʀĐęĨĉİøėīĸġûüĥõėõĦė ıďėėĭďĒęĦĞĉĨõıęĤĖĦûďėĤĕĦć ėĦĖijčĴĉʀ ğ ěĥ č ċĩĸ Ĵ Ĉʀ Ēĥ ĆčĦõĦėĐęĨ ĉ İĒīĸ ġ ĉġĎĞčġûčIJĖĎĦĖġĬ ĉ ĞĦğõėėĕ ġĬ ĉ ĞĦğõėėĕİøėīĸ ġ ûüĥ õ ėõĦėıďėėĭ ď

ĒęĦĞĉĨõıęĤĖĦûöġûĴĉʀğěĥčĴĈʀĐĞĕĐĞĦč øěĦĕıöķ û ıõėɿ û Ĉʀ Ħ čİċøIJčIJęĖĩ *$5 ıęĤ "*P5 İþɿč ėĤĎĎġĥĉIJčĕĥĉĨġĥüýėĨĖĤ İÿķ č İÿġėʃ ġĥ ü ýėĨ Ė Ĥ ıęĤİċøIJčIJęĖĩ õĦėĐęĨĉöĥčĹ ĞĭûİĒīġĸ ĞėʀĦûIJÿęĭþčĥ õĦėĐęĨĉċĩĸ ƯþĦāýęĦĈėĤĈĥĎĴĢİġčĈʃ ıęĤĞĦĕĦėĊ ďėĥ Ď ďėĤĖĬ õ ĉʃ IJ ÿęĭ þĥ č ijğʀ ĉ ėûõĥ Ď øěĦĕ ĉʀġûõĦėöġûıĉɿęĤĎėĨĝĥċĴĈʀư ÿĪĸûIJÿęĭþĥččĩĹ Ċī ġ İďʇ č Ğɿ ě čĞĽ Ħ øĥ ā öġûğɿ ě ûIJÿɿ ġĬ ď ċĦč ĒęĦĞĉĨõıęĤĖĦûėĤĈĥĎIJęõ õěč üīĹġ ęĩ ĐĭʀĎėĨğĦėėĤĈĥĎĞĭûöġû ĞĽ Ħ čĥ õ õĦėøʀ Ħ ĉɿ Ħ ûďėĤİċĜ õėĤċėěû İĜėĝĄõĨüĴĉʀğěĥč ğėīġ MOEA õęɿĦěěɿĦ İĜėĝĄõĨüğĕĬčİěĩĖč $JSDVMBS &DPOPNZ üĤİďʇčİċėčĈʃöġûġĬĉĞĦğõėėĕijčġčĦøĉ İčīĸġûüĦõďʅāğĦĕĦĉėõĦėõĽĦüĥĈõĦėĐęĨĉ ĒęĦĞĉĨ õ ėĤĈĥ Ď IJęõ ÿĪĸ û Đĭ ʀ Đ ęĨ ĉ ĉʀ ġ û ĉġĎĞčġûĉɿġõĂėĤİĎĩĖĎõĦėĐęĨĉijğĕɿ ġĖɿ Ħ ûėěĈİėķ ě Đĭ ʀ Đ ęĨ ĉ üĦõĴĉʀ ğ ěĥ č Ėĥ û øû İėɿûĞėʀĦûİøėīġĸ ûýĩĈöĪčĹ ėĭďĈʀěĖĴēēɻĦċĥûĹ ğĕĈ ċĩijĸ ğʀĐęĈĩĉġɿ ĞĨûĸ ıěĈęʀġĕ ĕĩİĞĩĖûėĎõěčĉĽĦĸ ĕĩıėûĞĥĸčĞĤİċīġčĉĽĸĦ ďėĤğĖĥĈĒęĥûûĦč ďėĤğĖĥĈčĽĦĹ ğęɿġİĖķč ıęĤďėĤğĖĥĈøɿĦijþʀüĦɿ Ė İĒīġĸ İďʇčĒĥčČĕĨĉėċĩĈĸ ċĩ Ğĩĸ ĈĬ öġûġĬĉĞĦğõėėĕ õĦėĐęĨĉėĤĈĥĎIJęõĈʀěĖİøėīġĸ ûüĥõėġĥüýėĨĖĤ ċĩĸİďʇčĕĨĉėĉɿġĞĨĸûıěĈęʀġĕ İĒīġĸ þɿěĖijğʀĐĐʀĭ ęĨĉĒęĦĞĉĨõıęĤĖĦû ijčėĤĈĥĎčĦčĦþĦĉĨėĥĎĕīġõĥĎõĦėİĉĨĎIJĉ öġûøěĦĕĉʀġûõĦėõĦėĐęĨĉĒęĦĞĉĨõijč ġčĦøĉ õėĕõĦėøʀĦĉɿĦûďėĤİċĜĴĉʀğěĥč (BOFT) R.O.C ıęĤĞĔĦĞɿûİĞėĨĕõĦėøʀĦ

2N>CJ2 $R

ıęĤõĦėĞɿ û ġġõĴĉʀ ğ ěĥ č 5"*53" üĥ Ĉ ûĦčıĊęûöɿ Ħ ěġġčĴęčʃ “Taiwan Excellence Plastic & Rubber Machinery Online Press Conference ư İĒīĸ ġ ıčĤčĽ Ħ ĎėĨ ĝĥ ċ İøėīĸ ġ ûüĥ õ ė ıďėėĭďĒęĦĞĉĨõıęĤĖĦûþĥčĹ čĽĦöġûĴĉʀğěĥč ĎėĨ ĝĥ ċ ĴĈʀ ı õɿ Fu Chun Shin Machinery Manufacture Co., Ltd. (FCS), ChumPower Machinery Corp., Fong Kee International Machinery Co., Ltd. ıęĤ Diing Kuen Plastic Machinery Co., Ltd. ÿĪĸûüĤ čĽĦİĞčġİċøIJčIJęĖĩijğĕɿęĦɿ ĞĬĈĉĥûĹ ıĉɿİøėīġĸ û ýĩ Ĉ öĪĹ č ėĭ ď ıęĤİøėīĸ ġ ûİďɺ Ħ öĪĹ č ėĭ ď ĴďüčĊĪ û İøėīĸġûġĥĈöĪĹčėĭďıõɿĐĭʀÿīĹġıęĤĞīĸġċĥĸěIJęõ čĩęĞĥč Đĭüʀ Ĉĥ õĦėđɺĦĖöĦĖ 'V $IVO Shin Machinery Manufacture Co., -UE '$4 ĎėĨ ĝĥ ċ Đĭ ʀ Đ ęĨ ĉ İøėīĸ ġ ûýĩ Ĉ ĒęĦĞĉĨõþĥčĹ čĽĦöġûĴĉʀğěĥč õęɿĦěěɿĦ İĒīġĸ ĉġĎĞčġûøěĦĕĉʀġûõĦėġĥčğęĦõğęĦĖ öġûęĭ õ øʀ Ħ ijčďʅ ü üĬ Ďĥ č '$4 ĕĬ ɿ û Ēĥ ĆčĦ İøėīĸ ġ ûýĩ Ĉ öĪĹ č ėĭ ď ğęĦĖġûøʃ ď ėĤõġĎċĩĸ ĞĦĕĦėĊõĽ Ħ ğčĈõĦėijþʀ û ĦčİýĒĦĤijğʀ İğĕĦĤõĥĎġĬĉĞĦğõėėĕ þɿěĖöĖĦĖöġĎİöĉ õĦėijþʀ û ĦčijčġĬ ĉ ĞĦğõėėĕijğʀ õěʀ Ħ ûöĪĹ č ÿĪĸûĴĈʀėĥĎĐęĉġĎėĥĎċĩĸĈĩüĦõęĭõøʀĦ IJĈĖ '$4 ĴĈʀİďɶĈĉĥě ƯİøėīĸġûĐęĨĉ ıĕɿ ĒĨ ĕ Ēʃ ı ĎĎýĩ Ĉ øĭ ɿ Ē ėʀ ġ ĕIJĉʁ Ĥ ğĕĬ č '# 3 ư ıęĤ ƯİøėīĸġûĐęĨĉıĕɿĒĨĕĒʃ ıĎĎýĩ Ĉ øĭ ɿ ı čěčġčöčĦĈijğāɿ Ē ėʀ ġ ĕ IJĉʁĤğĕĬč )# 3 ư

X02N^ @R


“Rotary Table Two-Component Injection Molding Machine (FB-230R)ư by FCS

“Large Horizontal Rotary Table Two-Component Injection Molding Machine (HB-1400R)ư CZ '$4

ƴ Ư'# 3ư ĕĩøěĦĕıĕɿčĖĽĦıęĤ ďęġĈĔĥĖ IJĈĖĕĩġĬďõėćʃğęĥõ þĬĈ Ďč IJĉʁĤ ğĕĬ č ıęĤėĤĎĎėĤĎĦĖøěĦĕėʀ ġ č ijčıĕɿĒĨĕĒʃ ĊīġİďʇčĉĥěİęīġõċĩĸĈĩċĩĸĞĬĈijč ġĬĉĞĦğõėėĕďʅüüĬĎĥč İčīĸġûüĦõIJĉʁĤğĕĬč üĤĴĕɿĞĥ ĕ Đĥ Ğ õĥĎıċɿ čěĦûıęĤęĈIJġõĦĞ ċĩĸ ü ĤİõĨ Ĉ øěĦĕİĞĩ Ė ğĦĖĴĈʀ čġõüĦõčĩĹ ėĤĎĎõĦėěĦûĉĽĦığčɿ û IJĉʁĤ ğĕĬč Ēėʀ ġ ĕ øęĨďIJęğĤĞĦĕĦėĊċĽĦijğʀõėĤĎěčõĦėýĩĈ öĪĹ č ėĭ ď ıęĤĐęĨ ĉ Ĕĥ ć ąʃ ĕĩ İ ĞĊĩ Ė ėĔĦĒıęĤ ıĕɿčĖĽĦĕĦõöĪĹč ƴ Ư)# 3ư IJĉʁĤğĕĬčĞĦĕĦėĊ ğĕĬčĴĈʀ ġûĜĦĉĦĕıčěčġč ěĦû ıĕɿĒĨĕĒʃijğʀİċɿĦĶ õĥčċĥĹûĞġûĈʀĦčöġûIJĉʁĤ ğĕĬč İĒīĸġęĈıėûIJčʀĕĊɿěûıęĤøěĦĕİýīĸġĖ ċĩĸ İ õĨ Ĉ üĦõõĦėğĕĬ č ijčıčěĉĥĹ û ĴĈʀ ıęĤ ıĐɿ č ėġûİĒĩ Ė ûĞġûþĨĹ č ĞĽ Ħ ğėĥ Ď þĬ Ĉ üĥ Ď ĖĪ Ĉ Ĵĕɿ İ Ēĩ Ė ûþɿ ě ĖďėĤğĖĥ Ĉ ĒīĹ č ċĩĸ ıĉɿ Ėĥ û ĉġĎĞčġûøěĦĕĉʀ ġ ûõĦėĐęĨ ĉ Ĕĥ ć ąʃ ċĩĸ ijþʀıĕɿĒĨĕĒʃĞġûġûøʃďėĤõġĎöčĦĈijğāɿ ĖĨĸûĴďõěɿĦčĥĹčğĦõijþʀİøėīĸġûüĥõėčĩĹijčõĦė ĐęĨ ĉ ĐęĨ ĉ Ĕĥ ć ąʃ ġ ûøʃ ď ėĤõġĎİĈĩ Ė ěüĤ ĞĦĕĦėĊİĒĨĸĕõĽĦęĥûõĦėĐęĨĉİďʇčĞġûİċɿĦ ıęĤİĒĨĕĸ ďėĤĞĨċČĨĔĦĒõĦėĐęĨĉĴĈʀġõĩ ĈʀěĖ IJċčĩĸ ěĭ ěĨĜěõėđɺĦĖöĦĖ öġûĎėĨĝĥċ $IVN1PXFS .BDIJOFSZ $PSQ ĐĭĐʀ ęĨĉ İøėīĸġûİďɺĦöěĈ 1&5 čĽĦİĞčġ Ưİøėīĸġû ĖīĈİďɺĦøěĦĕİėķěĞĭû - 4FSJFTư ÿĪĸûİďʇč İøėīĸġûİďɺĦċĩĸİėķěċĩĸĞĬĈijčIJęõ ĞĦĕĦėĊĞėʀĦû

$K< >C VD@ ;

ĐęĐęĨĉĉɿġþɿġûĴĈʀ öěĈĉɿġþĥĸěIJĕû İėķěõěɿĦöġûøĭɿıöɿû öěĈĉɿġ þĥĸěIJĕû ĞĦĕĦėĊİþīĸġĕõĥĎİøėīĸġûĎėėüĬİĒīĸġ ĞėʀĦûĞĦĖõĦėĐęĨĉõĦėİďɺĦöěĈ õĦėĎėėüĬ ıęĤõĦėďɶĈ İğĕĦĤĞĽĦğėĥĎĞĦĖõĦėĐęĨĉ ċĩĸĕĩõĽĦęĥûõĦėĐęĨĉďĦčõęĦûĊĪûĞĭû ıęĤ ĕĩøěĦĕøĬʀĕøɿĦĞĭû İøėīĸġûčĩĹİğĕĦĤĞĽĦğėĥĎ ĉęĦĈğęĦĖďėĤİĔċ İĒīĸġijþʀijčõĦėĐęĨĉ öěĈċĩĸıĉõĉɿĦûõĥč ıęĤijþʀĴĈʀõĥĎõĦėĎėėüĬ čĽĹĦıėɿ þĦ čĽĹĦĐęĴĕʀ čĽĹĦĕĥčĞĽĦğėĥĎõĦė ĎėĨIJĔø öěĈĖĦ İøėīĸġûďėĬûėĞ ĐęĨĉĔĥćąʃ ĎėėüĬİøėīġĸ ûĞĽĦġĦûıęĤġīčĸ Ķ ÿĪûĸ ıĎėčĈʃĈûĥ ėĤĈĥĎIJęõ İþɿč İďʇďÿĩĸ øĦIJġ ęġĉİĉʀ ıęĤ ġīčĸ Ķ ĉɿĦûijþʀİøėīġĸ ûüĥõėöġû $IVN1PXFS ijčõĦėĐęĨĉöěĈ 1&5 ċĥĹûĞĨĹč

“High speed stretch blow molding machine: L-Seriesư CZ $IVN1PXFS

þĦėʃęĞʃ İğěɿĖ üĦõĎėĨĝĥċ 'POH ,FF *OUFSOBUJPOBM .BDIJOFSZ ĐĭʀĐęĨĉ İøėīĸ ġ ûüĥ õ ėġĬ ĉ ĞĦğõėėĕõĦėġĥ Ĉ öĪĹ č ėĭ ď ĒęĦĞĉĨõöġûĴĉʀğěĥč ĕĩĐęĨĉĔĥćąʃğęĦõ ğęĦĖ İþɿč ıĕɿĒĨĕĒʃİďɺĦ İøėīĸġûİďɺĦēɶęʃĕ ēɶęʃĕýĩĈ ıĐɿčĒęĦĞĉĨõ İøėīĸġûİøęīġĎ İďɶĈĉĥě ƯİøėīĸġûİďɺĦöĪĹčėĭďĴēēɻĦġĥüýėĨĖĤ ıĎĎ þĥĹčư ÿĪĸûĐęĨĉĔĥćąʃijğĕɿčĩĹİďʇčĕĨĉė ĉɿġĞĨĸûıěĈęʀġĕ ęĈõĦėijþʀĒęĥûûĦčĴēēɻĦ İýęĩĸĖ ęĈøɿĦĈĥþčĩõĦėijþʀĒęĥûûĦč ĉɿġğčɿěĖõĦėĐęĨĉ ęĈėĤĈĥĎİĞĩĖû ėĎõěčęû İĈÿĨİĎę ıęĤęĈõĦėďęɿġĖ õʁĦÿøĦėʃĎġčĴĈġġõĴÿĈʃęû ijč öćĤċĩĸİĒĨĸĕġĥĉėĦõĦėĐęĨĉĴĈʀ

VF<M VD@ ;

“Intelligent All-Electric three-layer Blow Moulding Machine (FK/EHB-55/65G/55T20SS)ư by Fong Kee

čġõüĦõčĩĹĖĥûĕĩėĤĎĎ 4$"%" ÿĪĸû ėěĎėěĕöʀġĕĭęõĦėĐęĨĉ ĞĦĕĦėĊčĽĦĕĦijþʀ ijčõĦėěĨİøėĦĤğʃıęĤďėĥĎďėĬûďėĤĞĨċČĨĔĦĒ õĦėĐęĨĉİĒīĸġęĈĉʀčċĬčıęĤİĒĨĸĕ ĐęõĽĦĴė øėĥĹûĉɿġĴďijğʀĈĩĖĨĸûöĪĹč İġėĨø İğěɿĖ ėġûďėĤČĦčõėėĕõĦė ĎėĨĝĥċ %JJOH ,VFO 1MBTUJD .BDIJOFSZ ĐĭʀİþĩĸĖěþĦāĈʀĦčİøėīĸġûġĥĈėĩĈĒęĦĞĉĨõ ĞĽĦğėĥĎĐęĨĉĔĥćąʃĒęĦĞĉĨõğęĦõğęĦĖ ďėĤİĔċ İďɶ Ĉ ĉĥ ě İøėīĸ ġ ûġĥ Ĉ ėĩ Ĉ þĥĹ č ĞĽĦğėĥĎġĬĉĞĦğõėėĕİøėīġĸ ûĒĥčĒĦİęĉ čĽĦ ĕĦijþʀijčõĦėöĪĹčėĭďİĒėĦĤĕĩďėĤĞĨċČĨĔĦĒ Ğĭû İğĕĦĤĞĽĦğėĥĎİĞʀčēɶęĕʃ İďɺĦġĥĈėĩĈğęĦĖ þĥĹč ĞĦĕĦėĊďėĥĎøɿĦıėûĈĥčıĎĎęĤİġĩĖĈ ijčĉĥěIJĈĖġĥĉIJčĕĥĉĨ ĐɿĦčċĦûġġčĴęčʃ ÿĪĸû ĉĥěİøėīĸġûĕĦĒėʀġĕėĤĎĎİõķĎöʀġĕĭęıęĤ ėĤĎĎěĨİøėĦĤğʃ ġĩõċĥĹûĕĩėĤĎĎďɻġčöʀġĕĭę ġĥĉIJčĕĥĉĨ ċĩĸİďʇčġĬďõėćʃ **P5 (BUFXBZ *OEVTUSJBM *OUFSOFU PG 5IJOHT (BUFXBZ ĞĦĕĦėĊİöʀ Ħ ĊĪ û Ĉʀ ě ĖėĤĎĎėĤĖĤĴõęĴĈʀ ġĖɿĦûďęġĈĔĥĖ ûĦčıĊęûöɿ Ħ ěøėĥĹ û čĩĹ ĈĪ û Ĉĭ Ĉ øěĦĕ ĞčijüĐĭþʀ ĕĕĦõõěɿĦ øč ċĦûġġčĴęčʃ üĦõďėĤİċĜĉɿĦûĶ İþɿč ġĩĖĨďĉʃ İĖġėĕčĩ Ģɿġûõû ġĨčİĈĩĖ ġĨčIJĈčĩİÿĩĖ ġĨĉĦęĩ āĩĸďĬɺč ďĦõĩĞĊĦč ēɶęĨďďɶčĞʃ ėĥĞİÿĩĖ İõĦğęĩĴĉʀ ĴċĖ ĉĬėõĩ İěĩĖĈčĦĕ ıęĤġīĸčĶ

“Five layers co-extrusion for industrial stretch-hood (TK-HTRL-5C-2)ư CZ %JJOH ,VFO




EDITOR TALK กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

วิศวกรไทย 2021 กับการปรับตัวในโลกยุควิถใี หม่ (New Normal)

เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝ่ายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝ่ายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th คณะที่ปรึกษา ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปัทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร์, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ต่อตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค์ ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร บรรณาธิการอ�ำนวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย์ เรืองติก พิสูจน์อักษร อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ์ ฝ่ายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ์ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย์, กัลยา ทรัพย์ภิรมย์, วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายผลิต ชุติมณฑน์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์ โรงพิมพ์ หจก. รุ่งเรืองการพิมพ์ แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Engineering Today www.engineeringtoday.net

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

ในงานวิศวกรรมแห่งชาติ 2563 (National Engineering 2020) ซึ่ง จัดโดย วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) มีหัวข้อ สัมมนาที่น่าสนใจหลายหัวข้อ หนึ่งในนั้น คือ เสวนาเรื่อง “วิศวกรไทย 2021 กับการปรับตัวในโลกยุควิถีใหม่” โดย ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกุลชัย ราชบัณฑิต และผู้อ�ำนวยการ สถาบันนวัตกรรมบูรณาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ให้ เกียรติบรรยายให้ความรู้ ซึง่ สรุปใจความส�ำคัญได้วา่ ในช่วง 50 ปีทผี่ า่ นมา วิชาชีพ วิศวกรรมได้ขับเคลื่อนเปลี่ยนแปลงโลกแห่งนวัตกรรมและการค้าอุตสาหกรรม มากมาย ต่อเมือ่ มีการพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ซึง่ ได้กลายเป็นกุญแจดอกส�ำคัญ ในการสร้างสรรค์นวัตกรรมให้เติบโตอย่างก้าวกระโดด ท�ำให้เกิดการพัฒนา Digitization ในวงการวิศวกรรมและออกแบบ ช่วยให้การวิเคราะห์ข้อมูลมี ประสิทธิภาพและบูรณาการ สามารถออกแบบโครงสร้างต่างๆ อย่างไร้ขีดจ�ำกัด โดยเทคโนโลยี ใ หม่ ที่ จ ะเข้ า มาเปลี่ ย นผ่ า น (Transform) การท� ำ งาน ของวิศวกร ได้แก่ 1. หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) ที่จะเข้ามาช่วยในกระบวนการวิเคราะห์ ออกแบบ ก่อสร้าง และการท�ำงานของ วิศวกร สามารถท�ำงานภายใต้ข้อจ�ำกัดได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ประหยัดเวลา ประหยัด ต้นทุนและก�ำลังคน 2. เทคโนโลยี 3D Printing ซึ่งจะเข้ามาปฏิวัติการก่อสร้าง จากรูปแบบเดิมๆ ช่วยปลดล็อกงานออกแบบสู่ความเป็นอิสระ 3. โดรน หรือ อากาศยานไร้คนขับ ใช้เพื่อการส�ำรวจพื้นที่และอาคาร ช่วยให้วิศวกรท�ำงานได้ สะดวกรวดเร็ว และประหยัดแรงงานได้อย่างทีไ่ ม่เคยมีมาก่อน 4. BIM (Building Information Model) ช่วยสร้างแบบจ�ำลอง 3 มิติ ท�ำให้วิศวกรและสถาปนิก สามารถท�ำงานได้ทุกที่ทุกเวลา ส่งแบบได้ง่าย ปรับเปลี่ยนแบบ ค�ำนวณต้นทุน ได้ง่าย รวมถึง VR (Virtual Reality) AR (Augmented Reality) ซึ่งจะช่วยให้การ เสริมวัตถุจำ� ลองเข้าไปในวัตถุและสภาพแวดล้อมทีม่ อี ยูจ่ ริง ท�ำให้สามารถมองเห็น สิ่งก่อสร้างแบบเสมือนจริง ส�ำหรับนิตยสาร “Engineering Today” ฉบับสุดท้ายของปี พ.ศ. 2563 นี้ ยังพรั่งพร้อมด้วยเนื้อหาสาระความรู้ด้านวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเช่นเคย เริ่มจาก “วิศวกรไทย 2021 กับการปรับตัวในโลกยุค New Normal”, “ITAP สวทช. สนับสนุนทริปเปิล้ เอ เอ็นจิเนียริง่ ผลิตหุน่ ยนต์เคลือ่ นทีอ่ ตั โนมัตนิ ำ� ทาง ด้วยเส้น ใช้ขนสิ่งของให้ผู้ป่วยใน รพ.ชลบุรี-ลดการแพร่เชื้อช่วง COVID-19”, “พัฒนาคนให้มีทักษะและเก่ง 3 ด้าน ช่วยองค์กรไทยอยู่รอดในยุค New Normal” และคอลัมน์อื่นๆ ที่น่าสนใจ ทั้งนี้ ในปีหน้า นิตยสาร Engineering Today จะเพิ่มข้อมูลความเคลื่อนไหวทางด้านอุตสาหกรรมก่อสร้างและโครงการ Mega Project เต็มรูปแบบผ่านหัวหนังสือน้องใหม่ “Construction Thailand” ซึ่งจะอยู่อีกด้านของนิตยสาร “Engineering Today” อย่าลืมติดตามกันนะครับ สวัสดีปีใหม่ครับ


CONTENTS Engineering Today

November - December 2020 VOL. 6 No. 180

COLUMNS 10 E-Talk

วิศวกรไทย 2021 กับการปรับตัวในโลกยุควิถีใหม่ (New Normal)

• กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

12 Report

ITAP สวทช. สนับสนุนทริปเปิ้ล เอ เอ็นจิเนียริ่ง ผลิตหุ่นยนต์เคลื่อนที่อัตโนมัติน�ำทางด้วยเส้น ใช้ขนสิ่งของให้ผู้ป่วยใน รพ.ชลบุรี-ลดการแพร่เชื้อช่วง COVID-19

• กองบรรณาธิการ

16 Technology

ไบโอเทค สวทช. พัฒนาและถ่ายทอดข้าวเหนียว “พันธุ์หอมนาคา” ให้เกษตรกรผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวเองตามเกณฑ์มาตรฐาน สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน

• กองบรรณาธิการ

18 In Trend

พัฒนาคนให้มีทักษะและเก่ง 3 ด้าน ช่วยองค์กรไทยอยู่รอดในยุค New Normal

• กองบรรณาธิการ

22 Cover Story

From simple to complex

• VEGA

24 Environment

นักวิจัย AIT ส�ำรวจ “ขยะบนเกาะสมุย” หลัง COVID-19 พบขยะเปียกสูงสุด เดินหน้าต่อยอดงานวิจัยสร้างเครื่องมือแก้ปัญหา ขยะล้นเกาะที่ได้ผลจริง

• กองบรรณาธิการ

Digital Economy

33 EEC

สกพอ. หารือแนวทางแก้ปัญหาผลกระทบผังเมือง EEC หวังส่งเสริมการลงทุน เศรษฐกิจ คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม

• กองบรรณาธิการ

35 IoT (Internet of Things)

กระทรวงอุตฯ จับมือญี่ปุ่นเดินหน้าโครงการ Smart Monozukuri ดึง IoT ปั้นอุตสาหกรรมอัจฉริยะ Transform ภาคการผลิตไทยปี ’64

• กองบรรณาธิการ

IT Update 37 ฟูจติ สึ (ประเทศไทย) เปิดตัวศูนย์ปฏิบัติการด้านความปลอดภัย

SOCaaS มุ่งเฝ้าระวัง-แจ้งเตือน-ป้องกัน การโจมตีทางไซเบอร์ ให้ลูกค้าระดับองค์กร

• กองบรรณาธิการ

39 เอปสันเปิดตัวเครื่องพิมพ์หมึกสะท้อนแสงรุ่นแรกของโลก

จัดแพคเกจหนุนสตาร์ตอัปเริ่มต้นธุรกิจด้วยเงินทุนไม่ถึง 1 แสนบาท

• กองบรรณาธิการ

41 Management Tools Today

OKRs (Objective and Key Results)

• ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล

46 Logistics

ผังเมืองโลจิสติกส์ทางทะเล กับผลประโยชน์ทางทะเลของประเทศไทย

• รศ. ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ์

Construction Construction 53 วิศวกรไทย 2021 กับการปรับตัวในโลกยุค New Normal

• กองบรรณาธิการ

56 “เอ็ม เอ เอ็น” เปิดตัวรถบรรทุกหัวลากเรือธง TGS 3 รุ่น

ชูจุดเด่น CBU ประกอบจากเยอรมนี เจาะตลาดขนส่งไทย

• กองบรรณาธิการ

58 Property

28 Digital

Energy Today 60 บ้านปู เน็กซ์ อีพรอมต์มูฟ โซลูชันผลิตและกักเก็บไฟฟ้า

ทรู ดิจิทัล พาร์ค เปิดตัว “ศูนย์รวมสถาบันการเรียนรู้ด้านดิจิทัลระดับโลก” แห่งแรกในไทย

• กองบรรณาธิการ

31 Robotics

หุ่นยนต์ “โคบอทส์” รับมือ COVID-19 เติบโตเร็วที่สุดในบรรดาหุ่นยนต์ คาดปี ’68 ยอดใช้พุ่ง 34% ของค่าใช้จ่ายหุ่นยนต์ทั่วโลก

• บริษัท ยูนิเวอร์ซัล โรบอท

“เมเจอร์ ดีเวลลอปเม้นท์” แตกไลน์ธุรกิจใหม่ “PeopleScape” ธุรกิจที่ปรึกษาพัฒนาคนและองค์กรครบวงจรรับยุค New Normal

• กองบรรณาธิการ

พลังงานสะอาดเคลื่อนที่คันแรกของไทย ตอบโจทย์พื้นที่ภัยพิบัติ

• กองบรรณาธิการ

62 BGRIM โชว์แกร่งก�ำไรไตรมาส 3 ปี’63 สูงสุดเป็นประวัติการณ์

พร้อมการเงินที่แข็งแกร่ง-ชี้ลูกค้าอุตสาหกรรมกลับสู่ภาวะปกติ

• กองบรรณาธิการ


Report • กองบรรณาธิการ

ITAP สวทช. สนับสนุน

ทริปเปิ้ล เอ เอ็นจิเนียริ่ง ผลิตหุ่นยนต์เคลื่อนที่ อัตโนมัติน�ำทางด้วยเส้น

ชนากานต์ สันตยานนท์ ที่ปรึกษาอาวุโส โปรแกรมสนับสนุน การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ITAP) สวทช.

ใช้ขนสิ่งของให้ผู้ป่วยใน รพ.ชลบุรี • แบ่งเบาภาระเจ้าหน้าที่ • ลดการแพร่เชื้อช่วง COVID-19

ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี (Technology Management Center : TMC) โดย โปรแกรม สนั บ สนุ น การพั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม (Innovation and Technology Assistance Program : ITAP) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ (สวทช.) สนั บ สนุ น ผู้เชี่ยวชาญแก่ บริษัท ทริปเปิ้ล เอ เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ ซัพพลาย จ�ำกัด ผลิตหุ่นยนต์เคลื่อนที่ อัตโนมัติประเภทน�ำทางด้วยเส้น ส�ำหรับช่วยขนส่ง ของอั ต โนมั ติ ซึ่ ง ใช้ ง านจริ ง ที่ โ รงพยาบาลชลบุ รี จังหวัดชลบุรี เพื่อเพิ่มความปลอดภัยจากการแพร่ กระจายเชื้อโรค เช่น COVID-19 วัณโรค อีสุกอีใส และอื่ น ๆ ช่ ว ยแบ่ ง เบาภาระงานของเจ้ า หน้ า ที่ ทางการแพทย์ ใ นการลดสั ม ผั ส ผู ้ ป ่ ว ยได้ อ ย่ า ง เหมาะสมและปลอดภั ย ซึ่ ง ช่ ว ยลดการแพร่ เ ชื้ อ สู่บุคลากรในโรงพยาบาล คนไข้และอื่นๆ

Engineering Today November - December 2020

ITAP ส่งผู้เชี่ยวชาญให้ค�ำปรึกษาทางด้านเทคนิค ทั้ง 2 โครงการจนผลิตหุ่นยนต์อัตโนมัติส�ำเร็จ ชนากานต์ สันตยานนท์ ที่ปรึกษาอาวุโส โปรแกรมสนับสนุน การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า โปรแกรม ITAP สวทช. เป็นหน่วยงานบริการสนับสนุน ภายใต้การก�ำกับดูแลของศูนย์บริหาร จัดการเทคโนโลยี (TMC) ของ สวทช. ซึ่งถือเป็นหนึ่งในกลไกส�ำคัญ ในการขับเคลื่อนภาคธุรกิจแก่ผู้ประกอบการ SME ทั้งด้านเงินทุน สนับสนุนและให้ค�ำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ โดยโปรแกรม ITAP สวทช. มีประสบการณ์ในการยกระดับเทคโนโลยีแก่ภาคเอกชนมากกว่า 4,000 โครงการ มีผเู้ ชีย่ วชาญทีม่ ปี ระสบการณ์ในการท�ำงานร่วมกับภาคเอกชน กว่า 1,300 คน และมีพันธมิตรเชื่อมโยงกับหน่วยงานสนับสนุนอื่นๆ เช่น ทางด้านการเงิน การตลาด เป็นต้น ทั้งนี้โปรแกรม ITAP ได้สนับสนุนผู้เชี่ยวชาญในการให้ค�ำปรึกษา ทางด้านเทคนิคแก่ บริษัท ทริปเปิ้ล เอ เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ ซัพพลาย

12


อนุกูล สุคโต ผู้เชี่ยวชาญจากโปรแกรม ITAP และอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มสธ.

จ�ำกัด ในเบือ้ งต้น เจ้าของบริษทั ฯ ซึง่ มีพนื้ ฐานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) มีความสนใจ ที่จะขอรับการสนับสนุนในการผลิตออโตเมชัน หุ่นยนต์ แขนกลต่างๆ และแผนการท�ำตลาดแบบครบวงจรในประเทศไทย เนื่องจากพบว่า ในปี พ.ศ. 2562 การลงทุนด้านระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นบริษัทข้ามชาติ ราคาจ�ำหน่าย จึงค่อนข้างสูง บริษัทฯ จึงเกิดแนวคิดที่จะผลิตและจ�ำหน่ายรถเคลื่อนที่ อัตโนมัติ ภายใต้แบรนด์ของบริษัทฯ จ�ำหน่ายเอง จากนั้นได้ต่อยอดเข้าสู่โครงการที่ 2 เริ่มตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2562 และเสร็จสิ้นวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2563 โดยบริษัทฯ ต้องการเพิ่มช่องทางธุรกิจระบบรถเคลื่อนที่อัตโนมัติ ซึ่งต่อยอดจาก โครงการแรกทีไ่ ด้รบั การตอบรับทีด่ จี ากลูกค้าในประเทศไทย ประกอบกับ มีโอกาสได้ไปศึกษาดูงานกับทาง ITAP ที่ประเทศจีน จึงคิดค้นและ ต่อยอดสร้างหุน่ ยนต์อตั โนมัตปิ ระเภทน�ำทางด้วยเส้นขึน้ ขณะนัน้ มีความ ต้องการใช้หนุ่ ยนต์ในการช่วยเหลือทางการแพทย์เพือ่ รองรับสถานการณ์ COVID-19 ในโรงพยาบาล โดยหุ่นยนต์ตัวแรกที่คิดค้นได้และน�ำไปใช้ จริงแล้วที่โรงพยาบาลชลบุรี ซึ่งจะช่วยแบ่งเบาภาระงานของเจ้าหน้าที่ ทางการแพทย์ในการลดการสัม ผัสกับผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมและ ปลอดภัยในการลดการแพร่เชือ้ สูบ่ คุ ลากรในโรงพยาบาล คนไข้และอืน่ ๆ

ทริปเปิ้ล เอ เอ็นจิเนียริ่ง มีพื้นฐานวิศวกรรมเครื่องกล ช่วยให้สร้างหุ่นยนต์ ได้ ไม่ยาก อนุกูล สุคโต ผู้เชี่ยวชาญจากโปรแกรม ITAP และอาจารย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ.) กล่าวว่า บริษัท ทริปเปิ้ล เอ เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ ซัพพลาย จ�ำกัด มีพื้นฐานที่ดีในด้านวิศวกรรมเครื่องกลอยู่แล้ว ท�ำให้การสนับสนุน ของ ITAP ในฐานะที่ปรึกษาคอยให้ค�ำแนะน�ำในการพัฒนาและสร้าง หุ่นยนต์ขนส่งระบบอัตโนมัติประสบความส�ำเร็จได้ไม่ยากนัก ส�ำหรับ องค์ความรู้ที่น�ำเข้าไปใช้ต่อยอดเพิ่มให้กับบริษัทฯ นั้น ส่วนใหญ่จะเป็น

13

สาธิตการใช้งานหุ่นยนต์เคลื่อนที่อัตโนมัติ ประเภทน�ำทางด้วยเส้น ใน รพ.ชลบุรี

ข้ อ มู ล ทางเทคนิ ค เทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ เ กี่ ย วกั บ อุปกรณ์ทจี่ ะน�ำมาใช้ในการผลิตหุน่ ยนต์ขนส่งระบบ อัตโนมัติ (Automated Guide Vehicle : AGV) โดยเฉพาะเรื่องระบบส่งก�ำลังที่จะต้องเลือกใช้ให้ เหมาะสมกับงานในการผลิตหุ่นยนต์ส�ำหรับลูกค้า แต่ละประเภทในการน�ำไปใช้งาน นอกจากนี้ยังมี การน� ำ องค์ ค วามรู ้ ใ นการเลื อ กใช้ อุ ป กรณ์ เ สริ ม ส�ำหรับบริการหลังการขาย เพราะหุ่นยนต์ที่ผลิตได้ ต้องมีการบ�ำรุงรักษา ซ่อมแซมตามระยะเวลาใช้งาน ของเครื่องอุปกรณ์แต่ละชนิดที่ประกอบใส่ไว้ในตัว หุ่นยนต์ เช่น มอเตอร์ ล้อรถ และอื่นๆ พร้อมทั้ง หาแหล่งซือ้ อุปกรณ์ทมี่ รี าคาไม่แพงแต่มคี ณ ุ ภาพทีด่ ี ในประเทศไทยเพื่ อ ประหยั ด ต้ น ทุ น ให้ กั บ ผู้ประกอบการมากยิ่งขึ้น จนเกิดเป็นรถเคลื่อนที่ อัตโนมัติประเภทน�ำทางด้วยเส้นได้ส�ำเร็จตามที่ ผู้ประกอบการตั้งใจไว้ ในอนาคต โครงการนี้ ยั ง สามารถน� ำ มา ต่อยอดพัฒนาเพิ่ม เติมทางด้านระบบขับ เคลื่อน ให้ มี ก ารตอบสนองที่ ร วดเร็ ว และแรงบิ ด ที่ สู ง ขึ้ น โดยใช้ระบบ IIoT (Industrial Internet of Things) ซึ่งหากท�ำส�ำเร็จจะช่วยตอบโจทย์ลดการผลิตของ ภาคอุตสาหกรรมไทยได้มากยิ่งขึ้น พร้อมการท�ำ ระบบ Overall Equipment Effectiveness (OEE) เพื่อน�ำมาใช้ในอุตสาหกรรมด้านขนถ่ายวัสดุอย่าง เต็มรูปแบบในคลังสินค้าและอื่นๆ ต่อไป

Engineering Today November - December

2020


หุ่นยนต์เคลื่อนที่อัตโนมัติประเภทน�ำทางด้วยเส้น

ให้ผู้เชี่ยวชาญวิจัยตลาด พร้อมศึกษาการผลิตรถ AGV แล้วต่อยอดสร้างหุ่นยนต์แบบอัตโนมัติ พงษ์เจริญ รัชตะธรรมสุข กรรมการผูจ้ ดั การ บริษัท ทริปเปิ้ล เอ เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ ซัพพลาย จ� ำ กั ด กล่ า วว่ า ด้ ว ยครอบครั ว ประกอบอาชี พ โรงกลึ ง อยู ่ ที่ จั ง หวั ด ระยอง จึ ง สนใจเรี ย นด้ า น วิศวกรรมศาสตร์ โดยได้เลือกสอบและเข้าเรียน ในระดั บ ปริ ญ ญาตรี คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ซึ่งมีสาขาวิชาเครื่องกล สามารถน�ำความรู้มาช่วย ธุรกิจของครอบครัวได้เป็นอย่างดี ในระหว่างทีเ่ รียน ก็มีความสนใจในเรื่องหุ่นยนต์อัตโนมัติเป็นทุนเดิม อยู่แล้ว เมื่อเรียนจบจึงได้กลับมาช่วยสานต่อธุรกิจ ที่บ้าน ซึ่งในขณะนั้น ธุรกิจหลักๆ ที่บ้านนอกจาก โรงกลึ ง แล้ ว ยั ง พยายามหาช่ อ งทางในการสร้ า ง เครื่ อ งจั ก รและระบบอั ต โนมั ติ ผ ลิ ต ให้ แ ก่ ลู ก ค้ า แบบ OEM ตามทีล่ กู ค้าต้องการน�ำไปใช้งานในแต่ละ ประเภทอุตสาหกรรม ในช่วงนัน้ ความนิยมในการใช้

Engineering Today November - December 2020

พงษ์เจริญ รัชตะธรรมสุข กรรมการผู้จัดการ บริษัท ทริปเปิ้ล เอ เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ ซัพพลาย จ�ำกัด

เครือ่ งจักรและหุน่ ยนต์อตั โนมัตเิ ริม่ เข้ามาในประเทศไทยมากขึน้ ทีส่ ำ� คัญ ตลาดมีความต้องการในเรื่องของระบบอัตโนมัติ โดยเฉพาะรถขนส่ง ของอัตโนมัติ (Automated Guide Vehicle : AGV) จึงตัดสินใจขอรับ การสนับสนุนผู้เชี่ยวชาญจากโปรแกรม ITAP สวทช. “ในครัง้ แรกทีเ่ ริม่ ขอการสนับสนุนนัน้ มีแนวคิดอยากได้คำ� แนะน�ำ จากผู้เชี่ยวชาญที่มีความช�ำนาญและเงินทุนมาช่วยส่งเสริมการท�ำวิจัย ตลาดเรื่องความเป็นไปได้ในการผลิตรถเคลื่อนที่อัตโนมัติหรือ AGV เพื่อจ�ำหน่ายในตลาดมีทิศทางอย่างไรบ้าง เมื่อได้ข้อมูลที่เพียงพอและ สร้างความมัน่ ใจว่าบริษทั ฯ สามารถทีจ่ ะพัฒนาสร้างหุน่ ยนต์สญ ั ชาติไทย ขายในตลาดได้แล้ว จึงได้ตัดสินใจอีกครั้งในการขอรับการสนับสนุน ต่อเนื่องเป็นโครงการที่ 2 เพราะได้รับการตอบรับจากการเริ่มออกแบบ และท�ำแขนกลให้แก่ลูกค้าจากการไปออกบูธแสดงสินค้าต่างๆ ของ บริษัทฯ และมีลูกค้าหลายรายให้ค�ำแนะน�ำกลับมาว่าน่าจะมีการสร้าง หุ่นยนต์รูปแบบอัตโนมัติอื่นๆ บ้าง ทางบริษัทฯ จึงน�ำแนวคิดที่ลูกค้า แนะน�ำมาพัฒนาและสร้างหุ่นยนต์อัตโนมัติประเภทน�ำทางด้วยเส้น ทดลองขึ้นขายเอง ในราคาตัวละ 300,000 บาท” พงษ์เจริญ กล่าว

14


แผงหน้าจอแสดงผลการท�ำงาน แพทย์หญิงจิรวรรณ อารยะพงษ์ ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลชลบุรี

น�ำหุ่นยนต์อัตโนมัติน�ำทางด้วยเส้น ไปใช้งานใน รพ.ชลบุรี ส�ำหรับราคาหุ่นยนต์ 300,000 บาท เมื่อเทียบกับราคาน�ำเข้า จากต่างประเทศมาจ�ำหน่ายในประเทศไทยแล้วถือว่าราคาค่อนข้าง ถูกมากเมือ่ เทียบกับระบบอืน่ ๆ เพราะได้ทงั้ บริการหลังการขายทีพ่ ดู คุย กันได้ หุ่ยนต์สามารถหยุดจอดตามจุดที่ก�ำหนดได้ค่อนข้างแม่นย�ำ เมื่อ ชาร์จแบตเตอรี่เต็มแล้วสามารถท�ำงานได้ประมาณ 10-12 ชั่วโมง ขณะนี้ได้น�ำไปใช้งานจริงแล้วในโรงพยาบาลชลบุรี เพื่อน�ำไปใช้งาน ในส่วนของการขนส่งอาหาร ยา เสื้อผ้า แก่ผู้ป่วย COVID-19 เพื่อลด การแพร่เชื้อ ในอนาคตจะพัฒนารูปแบบหุ่นยนต์ให้มีความกะทัดรัด เหมาะส�ำหรับใช้งานในรูปแบบต่างๆ มากขึน้ ทัง้ ในโรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล โรงเรียน โรงแรม และอื่นๆ เพื่อส่งออกจ�ำหน่ายไปยัง ต่างประเทศในภูมิภาคอาเซียนและอื่นๆ ต่อไป

ใช้เจ้าหน้าที่เพียง 1 คนควบคุมรถ ลดระยะเวลาท�ำงาน - ลดการสัมผัสช่วง COVID-19 แพทย์หญิงจิรวรรณ อารยะพงษ์ ผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาลชลบุรี กล่าวว่า โรงพยาบาลชลบุรีเป็นโรงพยาบาลขนาดใหญ่ มี 850 เตียง มีผมู้ ารับบริการรักษาอาการป่วยต่างๆ ประมาณ 4,000 คนต่อวัน แต่มี บุคลากรไม่เพียงพอ โดยเฉพาะในการบริการน�ำส่งอาหาร ยา น�้ำดื่ม เสือ้ ผ้าและสิง่ ของอืน่ ๆ แก่ผปู้ ว่ ยทีพ่ กั รักษาตัวในโรงพยาบาลตามอาการป่วย และการรักษา ให้ยาของแพทย์ ซึ่งต้องน�ำส่งสิ่งเหล่านี้หลายรอบต่อวัน ทั้งเช้า กลางวัน เย็น และดึก แต่เมื่อน�ำหุ่นยนต์ขนส่งอัตโนมัติมาใช้งาน จริงที่โรงพยาบาลชลบุรี พบว่าสามารถช่วยลดภาระงานของเจ้าหน้าที่ ได้ค่อนข้างมาก โดยเฉพาะในส่วนของการน�ำอาหารหรือสิ่งของต่างๆ ส่งให้ผู้ป่วย ท�ำให้โรงพยาบาลสามารถปรับลดจ�ำนวนเจ้าหน้าที่เพื่อไป ช่วยเหลือในส่วนงานอืน่ ๆ ทีส่ ำ� คัญได้มากขึน้ เพราะสามารถใช้เจ้าหน้าที่

15

เพียง 1 คน ในการควบคุมรถได้ตั้งแต่เริ่มจนกระทั่ง สิ้นสุด ลดระยะเวลาในการท�ำงาน ท�ำให้งานเสร็จ ได้เร็วขึ้น โดยเฉพาะในช่วงที่เกิด COVID-19 ซึ่ง ต้องใช้มาตรการควบคุมความปลอดภัยเป็นพิเศษ เหมาะในการบั ง คั บ เคลื่ อ นที่ เ ว้ น ระยะห่ า งจาก ผู้ติดเชื้อ ผู้ที่เข้ามากักตัวในตึกเฉพาะโรคติดต่อ ของโรงพยาบาลที่มีอยู่ประมาณ 8 เตียงในช่วงแรก ต่อมามีการเพิ่มปริมาณพื้นที่รองรับมากขึ้นตาม มาตรการของรัฐบาล

เตรียมใช้งานในพื้นที่ ผู้ป่วยผู้ติดเชื้อวัณโรค แนะปรับหุ่นยนต์ท�ำงานได้ใน พื้นที่แคบๆ-ติดตั้ง IPad ใช้สื่อสาร ในอนาคตคาดว่าผลงานนีส้ ามารถน�ำมาใช้งาน ในส่วนของพื้นที่ผู้ป่วยผู้ติดเชื้อ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็น วั ณ โรคระยะแรกที่ ต รวจพบเชื้ อจะมี ก ารจั ด แยก แล้วน�ำมาไว้ยังห้องผู้ป่วยติดเชื้อทันที และผู้ป่วย ระยะแพร่เชือ้ เพราะปัจจุบนั เชือ้ วัณโรคมีแบบดือ้ ยา และไม่ มี ย าที่ รั ก ษาให้ ห ายได้ ซึ่ ง จะต้ อ งค่ อ ยๆ ให้ยารักษาตามอาการและต้องให้ผู้ป่วยแยกพัก รับการรักษาต่างหากจากผู้ป่วยทั่วไป นอกจากนี้ ยังมีโรคติดเชื้ออื่นๆ ที่ควรจะแยกเพื่อป้องกันการ แพร่เชื้อ เช่น โรคอีสุกอีใส ถ้าสามารถแพร่เชื้อได้ ก็ควรกักตัวผู้ป่วยเช่นกัน “อยากให้มีการพัฒนาเพิ่มเติมปรับหุ่นยนต์ ให้มีรูปแบบเข้ากับพื้นที่แคบๆ กว้างๆ มีการติดตั้ง IPad เพื่ อ ใช้ สื่ อ สารระหว่ า งเจ้ า หน้ า ที่ พ ยาบาล กับผู้ป่วย ผู้ป่วยกับญาติที่เข้ามาเยี่ยม เพื่อป้องกัน การติดเชื้อ และแพร่เชื้อ เป็นต้น” แพทย์หญิง จิรวรรณ กล่าว

Engineering Today November - December

2020


Technology • กองบรรณาธิการ

ดร.วรรณพ วิเศษสงวน ผู้อ�ำนวยการไบโอเทค

รวงข้าวเหนียวพันธุ์หอมนาคา

ไบโอเทค สวทช.

พัฒนาและถ่ายทอดข้าวเหนียว

“พันธุ์หอมนาคา” ให้เกษตรกรผลิต เมล็ดพันธุ์ข้าวเอง ตามเกณฑ์มาตรฐาน สร้างความเข้มแข็ง ให้ชุมชน

Engineering Today November - December 2020

ดร.ธีรยุทธ ตู้จินดา หัวหน้าทีมพัฒนาพันธุ์ข้าว ไบโอเทค

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยศูนย์ พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) และพันธมิตร พัฒนาพันธุ์ข้าวเหนียว “หอมนาคา” ขยายผลสู่เกษตรกรในพื้นที่อ�ำเภอ ห้างฉัตร จังหวัดล�ำปาง พร้อมถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว คุณภาพดี เพื่อเพิ่มผลผลิตข้าว ลดต้นทุนการผลิต ตลอดจนเสริมสร้าง ศักยภาพการผลิตข้าวคุณภาพตรงตามพันธุ์ เมื่อเร็วๆ นี้ ดร.วรรณพ วิเศษสงวน ผู้อ�ำนวยการ ศูนย์พันธุวิศวกรรม และเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) พร้อมด้วย ดร.ธีรยุทธ ตู้จินดา รักษาการรองผู้อ�ำนวยการไบโอเทค ด้านวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ เกษตร ในฐานะหัวหน้าทีมพัฒนาพันธุ์ข้าวไบโอเทค ดร.กัญญณัช ศิริธัญญา มูลนิธริ วมใจพัฒนา และ ธีรภัทร์ ค�ำสม ผูจ้ ดั การ สหกรณ์การเกษตรห้างฉัตร จ�ำกัด ลงพื้นที่ดูผลผลิตข้าวเหนียวพันธุ์หอมนาคา ที่พร้อมเก็บเกี่ยวผลผลิต ของเกษตรกรใน อ.ห้างฉัตร จ.ล�ำปาง ภายหลังจากทีมวิจัยไบโอเทค สวทช. และพั น ธมิ ต ร ถ่ า ยทอดการผลิ ต เพื่ อ กระจายเมล็ ด พั น ธุ ์ ใ ห้ แ ก่ เ กษตรกร โดยสหกรณ์การเกษตรห้างฉัตร จ�ำกัด น�ำเมล็ดพันธุ์จ�ำนวน 400 กิโลกรัม แจกจ่ายแก่เกษตรกรผู้สนใจในพื้นที่ อ.ห้างฉัตร น�ำพันธุ์ข้าวเหนียวหอมนาคา ไปปลูกจนสามารถเก็บเกี่ยวได้เป็นฤดูกาลแรก ดร.วรรณพ วิเ ศษสงวน ผู้อ�ำนวยการไบโอเทค สวทช. กล่าวว่า ไบโอเทค สวทช. โดยทีมวิจยั นวัตกรรมด้านเทคโนโลยีชวี ภาพพืชและการเกษตร แบบแม่นย�ำ ได้ทำ� งานร่วมกับศูนย์วทิ ยาศาสตร์ขา้ ว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โดยมุ่งเน้นสร้างความเข้มแข็ง ให้กับภาคเกษตรกรรมของประเทศ ด้วยการพัฒนาพันธุ์พืช และการบริหาร จัดการการผลิตที่มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม “ปัจจุบันไบโอเทค สวทช. เป็นเลิศทางด้านนวัตกรรมการปรับปรุงพันธุ์ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะการปรับปรุงพันธุ์แนวอณูวิธี (Molecular Breeding) กับพืชเศรษฐกิจที่ส�ำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าว ซึ่งเน้นพัฒนาพันธุ์ข้าวตามความต้องการของผู้ผลิต ผู้บริโภค และของตลาด ทัง้ ในและต่างประเทศ และเน้นพันธุข์ า้ วทีม่ คี ณ ุ สมบัตโิ ภชนาการทีเ่ ป็นประโยชน์

16


ข้าวเหนียวพันธุ์หอมนาคา

ธีรภัทร์ ค�ำสม ผู้จัดการสหกรณ์การเกษตรห้างฉัตร จ�ำกัด

แปลงข้าวเหนียวพันธุ์หอมนาคา

นุ่มเหนียวและมีกลิ่นหอม โดยไบโอเทคได้ยื่นขอหนังสือรับรอง พันธุพ์ ชื ขึน้ ทะเบียนตามพระราชบัญญัตพิ นั ธุพ์ ชื พ.ศ. 2518 และ ได้รับการขึ้นทะเบียนพันธุ์จากกรมวิชาการเกษตรเรียบร้อยแล้ว ด้าน ธีรภัทร์ ค�ำสม ผู้จัดการสหกรณ์การเกษตรห้างฉัตร จ�ำกัด กล่าวว่า สหกรณ์ได้น�ำเมล็ดพันธุ์ข้าวเหนียวหอมนาคา จากไบโอเทค สวทช. กว่า 400 กิโลกรัม มาปลูกในพื้นที่อ�ำเภอ ห้างฉัตร รวมจ�ำนวนกว่า 58 ไร่ แบ่งเป็นพื้นที่ของสหกรณ์ ห้ า งฉั ต รฯ 8 ไร่ และกลุ ่ ม เกษตรกรที่ เ ป็ น สมาชิ ก สหกรณ์ ฯ รวม 50 ไร่ โดยผลผลิตทีเ่ ก็บเกีย่ วในฤดูกาลแรกคาดว่าจะได้เป็น เมล็ ด พั น ธุ ์ ข ้ า วคุ ณ ภาพดี 10-15 ตั น เพื่ อ ปลู ก ในฤดู ถั ด ไป และข้ า วเปลื อ ก 20-25 ตั น ซึ่ ง ถื อว่ า เป็ น ปริ ม าณที่ สู ง เมื่ อ เทียบกับข้าวเหนียวพันธุ์ กข6 ที่เป็นพันธุ์ดั้งเดิมที่มีเกษตรกร ในพื้นที่ปลูกกันอยู่แล้ว “ข้าวเหนียวพันธุ์ กข6 มีขอ้ เสียคือ มีความไวต่อแสง ล�ำต้น สูงหักล้มง่าย และปลูกได้เพียงครั้งเดียวต่อปีเท่านั้น ขณะที่ ข้าวเหนียวหอมนาคามีลักษณะเด่นของพันธุ์ คือ ล�ำต้นเตี้ย แข็งแรง ไม่หักล้มง่าย ท�ำให้เก็บเกี่ยวได้ง่ายขึ้น ลดค่าแรงคนใน การเก็บเกีย่ ว และปลูกได้ 2 ครัง้ ต่อปี ทนต่อโรคได้” ธีรภัทร์ กล่าว ขณะนี้มีเกษตรกรในพื้นที่ให้ความสนใจสอบถามถึงพันธุ์ ข้าวหอมนาคาจ�ำนวนมาก เพราะเห็นถึงลักษณะเด่นของพันธุข์ า้ ว ที่มีล�ำต้นเตี้ย ไม่หักล้มง่าย และผลผลิตต่อไร่ค่อนข้างดี ท�ำให้ สหกรณ์ฯ เตรียมวางแผนขยายผลโดยจะถ่ายทอดให้ความรู้ เกษตรกรในพื้นที่ตั้งแต่การผลิตเมล็ดพันธุ์ที่ได้รับถ่ายทอดการ ผลิตจากทีมวิจัย สวทช. และเครือข่าย เพื่อกระจายเมล็ดพันธุ์ ให้แก่เกษตรกรทีส่ นใจน�ำพันธุข์ า้ วเหนียวหอมนาคาไปปลูก เมือ่ ได้ ผลผลิตแล้วมีแผนวางจ�ำหน่ายข้าวสารบรรจุถงุ ซึง่ เกษตรกรทีเ่ ป็น สมาชิกจ�ำนวนหนึ่งสามารถน�ำข้าวมาสีที่โรงสีของสหกรณ์ฯ เพื่อ จ�ำหน่ายได้ในทันที โดยในเบื้องต้นวางจ�ำหน่ายข้าวเปลือกราคา 30 บาทต่อกิโลกรัม และข้าวสาร 35 บาทต่อกิโลกรัม

ต่อสุขภาพของผู้บริโภค” ดร.วรรณพ กล่าว ส�ำหรับ “ข้าวเหนียวหอมนาคา” เป็นพันธุ์ข้าวเหนียวใหม่ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ พิ เ ศษเหนื อ ข้ า วเหนี ยวชนิ ด ไม่ ไ วต่ อ ช่ ว งแสงใน ปัจจุบนั เช่น ทนต่อน�ำ้ ท่วม ทนแล้ง ต้านทานโรคไหม้และขอบใบ แห้ง มีความหอมและนิ่ม เป็นต้น นอกจากนี้ ไบโอเทค สวทช. ยัง ได้ท�ำงานร่วมมือทั้งกับหน่วยงานภาครัฐ และมหาวิทยาลัยต่างๆ รวมทัง้ ท�ำงานร่วมกับชุมชนในแง่ของการให้ชมุ ชนมีสว่ นร่วมในการ เลือกสายพันธุ์ที่เหมาะสมเอง และการสร้างความเข้มแข็งให้กับ ชุมชนในแง่ของการผลิตเมล็ดพันธุ์คุณภาพดีไว้ใช้เองอีกด้วย ดร.ธีรยุทธ ตู้จินดา หัวหน้าทีมพัฒนาพันธุ์ข้าวไบโอเทค กล่ า วว่ า ไบโอเทคได้ น� ำ ความเชี่ ย วชาญทางด้ า นจี โ นมและ เครื่องหมายโมเลกุลมาใช้ในกระบวนการคัดเลือก (MarkerAssisted Selection, MAS) เพื่อปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้รวดเร็ว และมีลักษณะตามความต้องการที่เกื้อกูลการผลิตที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม โดยพัฒนาพันธุ์ข้าวเหนียวของประเทศ เน้นไปที่ ผู ้ บ ริ โ ภคและเกษตรกรผู้ผลิตเพื่อ เสริมสร้างความมั่นคงด้าน อาหารแก่พื้นที่ที่บริโภคข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก ซึ่งได้พัฒนา พันธุ์ข้าวเหนียวนาปีหลายสายพันธุ์ที่ตอบโจทย์เกษตรกร ล่าสุดทีมวิจัยพัฒนาข้าวเหนียวที่สามารถปลูกได้ตลอดปี (นาปีและนาปรัง) คือ ข้าวเหนียวสายพันธุ์ใหม่ “หอมนาคา” เป็นข้าวไม่ไวแสง มีระยะเวลาในการปลูกประมาณ 130-140 วัน ให้ผลผลิตสูง ผลจากการทดลองปลูกพบว่า ในพื้นที่ภาคเหนือ ได้ผลผลิต 800–900 กิโลกรัมต่อไร่ และภาคอีสานได้ผลผลิตสูง ถึง 700–800 กิโลกรัมต่อไร่ มีคณ ุ สมบัตทิ นทานต่อภาวะน�ำ้ ท่วม ฉั บ พลั น ทนแล้ง และต้า นทานต่อ โรคไหม้ โรคขอบใบแห้ง นอกจากนีย้ งั มีลำ� ต้นแข็งแรง ไม่หกั ล้มง่าย ขนาดต้นสูงปานกลาง ท�ำให้เก็บเกี่ยวได้ง่าย สอดรับกับการท�ำนาสมัยใหม่และแนวโน้ม การท� ำ นาในอนาคตที่เ ครื่อ งจักรจะเข้า มาแทนที่ นอกจากนี้ ข้ า วเหนี ย วพั น ธุ ์ ห อมนาคายั ง มี คุ ณ สมบั ติ เ มื่ อ น� ำไปหุ ง สุ ก จะ

17

Engineering Today November - December

2020


In Trend • กองบรรณาธิการ

พัฒนาคนให้มีทักษะและเก่ง 3 ด้าน ช่วยองค์กรไทยอยู่รอดในยุค New Normal

ในยุคปัจจุบันที่เทคโนโลยีก้าวหน้าไปอย่างไม่หยุดยั้ง ท�ำให้เกิดมิติใหม่ๆ ในการใช้ชีวิต จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกๆ องค์กรและทุกๆ ภาคส่วนจะต้องเตรียมความพร้อมในการสร้างคน และ พัฒนาคนเพื่อรองรับการใช้เทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป โดยเฉพาะการเสริมทักษะให้คนมีทักษะและ ประสบการณ์เก่ง 3 ด้าน ได้แก่ “เก่งงาน เก่งคน และเก่งความคิด” เพื่อให้เกิดความตระหนักถึง ความเปลี่ยนแปลง และเข้าใจถึงทักษะที่จ�ำเป็นในการท�ำงานในยุค New Normal

รศ. ดร.จักษ์ พันธ์ชเู พชร ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการ อว.

แนะมหาวิทยาลัยปรับหลักสูตรใหม่ ให้ตรงกับความต้องการของตลาดในแต่ละปี

รศ. ดร.จักษ์ พันธ์ชูเพชร ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) กล่าวว่า ท่ามกลางกระแสโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในทุกๆ มิติ อีกทั้งสถานการณ์ COVID-19 เป็นอีกหนึ่งตัวเร่งที่ท�ำให้เกิดการพัฒนาทางเทคโนโลยีอย่าง ไม่หยุดยัง้ บุคคลใดทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถด้านเทคโนโลยียอ่ มจะได้เปรียบในการท�ำธุรกิจ ในการ เรียนการสอนและการใช้ชวี ติ สิง่ จ�ำเป็นอันยิง่ ยวดในการรับมือความเปลีย่ นแปลงทุกๆ สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ได้ดีคือการเตรียมก�ำลังคน ทรัพยากรบุคคลที่ค่อนข้างจะเตรียมได้ยาก เนื่องจากแต่ละส่วนมีการ พัฒนาก�ำลังคนทีแ่ ตกต่างกันไป เช่น ในระดับมหาวิทยาลัยก็จะเน้นการเรียนการสอนตามหลักสูตร ที่แต่ละมหาวิทยาลัยถนัด มีอาจารย์เพียบพร้อมในการถ่ายทอดองค์ความรู้ แต่ไม่เคยมองถึง ความต้องการที่แท้จริงของภาคตลาดแรงงาน ภาคธุรกิจที่รองรับ เมื่อนิสิตนักศึกษาจบออกจาก มหาวิทยาลัยในแต่ละปีจะอยู่ในภาวะตกงานจ�ำนวนมาก “อยากแนะว่า จากนี้ต่อไปการเรียนการสอนในระดับมหาวิทยาลัยควรปรับวิธีการเรียน การสอน ปรับหลักสูตรใหม่ให้ตรงกับความต้องการของตลาดมากขึ้น และควรมีการท�ำงานวิจัย รองรับว่าความต้องการแท้จริงของตลาดแรงงานในแต่ละปีนั้น แท้จริงแล้วตลาดแรงงานต้องการ นิสิตนักศึกษาที่จบใหม่ออกมาในคณะใดบ้าง เทรนด์ตลาดแรงงานในระยะ 3-5 ปี เชื่อมระหว่าง แต่เดิมผูผ้ ลิตกับผูร้ บั ว่าจะผลิตบุคลากรแบบไหนสูต่ ลาดแรงงาน เป็นต้น เพือ่ ไม่ให้เสียเวลาในการ ผลิตหลักสูตร เสียงบประมาณในการเรียนการสอน และเสียเวลาส�ำหรับประเทศทีร่ อนิสติ นักศึกษา ที่จบใหม่เข้าสู่ตลาดแรงงาน เพื่อที่จะน�ำนิสิตนักศึกษาเหล่านี้ไปช่วยขับเคลื่อนร่วมท�ำงาน สร้างธุรกิจแข่งขันกับประเทศอื่นๆ ในทุกๆ การค้าระหว่างประเทศ” รศ. ดร.จักษ์ กล่าว

ศ.เกียรติคณ ุ ดร.ปานสิริ พันธุส์ วุ รรณ รักษาการแทนรองอธิการบดี ฝ่ายวิชาการ มศว.

มนู เลียวไพโรจน์ ประธานกรรมการ บมจ.เออาร์ ไอพี

ถาวร ชลัษเฐียร รองประธาน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) และประธานสถาบันเสริมสร้าง ขีดความสามารถมนุษย์

Engineering Today November - December 2020

18


3 ทางเลือกในการอยู่รอดยุคเทคโนโลยี ดิสรัปชัน

ที่ได้นี้ไปใช้งาน เพื่อประโยชน์ต่อองค์รวมในการน�ำไปพัฒนา การศึกษา พัฒนาธุรกิจ และพัฒนาประเทศไทย

เป็นทีแ่ น่นอนว่าการปรับเปลีย่ นรองรับเทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่จะถูกดิสรัปชันในทุกๆ ปี ไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะหากมี Mindset ที่ ไ ม่ คิ ด จะปรั บ เปลี่ ย น ก็ จ ะไม่ ส ามารถที่ จ ะน� ำพาองค์ ก รให้ เดินหน้าต่อ อยู่รอดได้ ถึงแม้ว่าองค์กรหรือบริษัทนั้นๆ จะมีคน ที่เก่งอยู่จ�ำนวนมากก็ตามแต่ ดังนั้นการที่จะอยู่รอดในเทคโนโลยี ดิสรัปชันได้จะต้องเรียนรู้และมี 3 ทางเลือก คือ 1. อยู่ภายใต้ การควบคุมของเทคโนโลยีและท�ำตามทีเ่ ทคโนโลยีสงั่ 2. ท�ำงาน ร่วมกับเทคโนโลยีนั้นให้ได้ และ 3. ควบคุมเทคโนโลยี “วันนี้เราต้องมานั่งทบทวนว่า ในโลกที่เปลี่ยนแปลงไปนั้น ธุ ร กิ จ ของเราอยู ่ ต รงจุ ด ไหนของเส้ น ทางธุ ร กิ จ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในยุ ค New Normal จะรอการค้าระหว่างประเทศเพียงอย่างเดียวคง ไม่ได้ เพราะสถานการณ์ COVID-19 ไม่มีใครสามารถที่จะบ่งชี้ ได้แน่ชัดว่าจะยุติเมื่อไร และเมื่อยุติแล้วจะมีสถานการณ์อื่นใด กระทบตามมาอีกบ้าง ควรมีแนวทางในการท�ำธุรกิจช่องทางใหม่ๆ มารองรับ โดยน�ำคนที่มีความเก่งในแต่ละด้านมาร่วมกันท�ำงาน ให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ๆ ที่เหมาะสมกับประเทศไทย พร้อมทั้ง เสริมทักษะให้กับคนเก่งเพิ่มเติมใน 3 เรื่อง ได้แก่ 1. เก่งงาน เป็น มืออาชีพ ต้องรู้บางเรื่องในทุกเรื่อง เรื่องอื่นก็ต้องรู้เพื่อให้เห็น ความเชื่อมโยงว่าสิ่งที่เราท�ำส่งผลต่อคนอื่นอย่างไร 2. เก่งคน เราท� ำ งานกั บ คน ต้ อ งมี ค วามเป็ น มนุ ษ ย์ มองลู ก ค้ า เป็ น คน ที่มีคุณค่า ให้สิ่งที่ดีกับลูกค้า และ 3. เก่งคิด ต้องสอนให้คิดเป็น คิดไกลกว่าผลประโยชน์ของตัวเอง คิดในมุมกว้าง และต้องมีการ Upskill และ Reskill ใส่ความคิดบวก คิดรอบด้าน คิดไกลและ คิดเก่งในการท�ำงานร่วมกับทุกๆ คน อย่าเก่งเพียงล�ำพัง ทีส่ ำ� คัญ ควรยอมรับและเปิดโอกาสให้นักธุรกิจที่เขาประสบความส�ำเร็จ แม้จะไม่ได้จบสูงมาเป็นที่ปรึกษา มาให้ค�ำแนะน�ำเพื่อความรู้ ที่เพิ่มเติม ก้าวอย่างช้าๆ แต่มั่นคง บนพื้นฐานความรับผิดชอบ เพื่อความยั่งยืนของประเทศในอนาคต” รศ. ดร.จักษ์ กล่าว

ร่วมมือกับ มศว. พัฒนาสมรรถนะ ในการใช้เทคโนโลยีในอนาคตในทุกระดับ

มนู เลียวไพโรจน์ ประธานกรรมการ บริษัท เออาร์ไอพี จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ในโลกที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาท ในการท�ำธุรกิจ การเรียนการสอนและอื่นๆ จึงเป็นความท้าทาย อย่างยิ่ง ที่เราทุกคนจะต้องเรียนรู้เทคโนโลยีเพิ่มเติมเพื่อน�ำมา ปรับใช้และผลักองค์กรให้อยู่รอด การให้องค์กรอยู่รอดจะต้อง อาศัยการเสริมทักษะการเรียนรู้ที่เหมาะสมเพิ่มเติม อาจจะ ออกมาในรูปแบบการสัมมนาเฉพาะหัวข้อ เฉพาะแผนก เนือ่ งจาก แต่ละแผนกมีพื้นฐานทางด้านการรับรู้เรื่องเทคโนโลยีไม่เท่ากัน จึงเป็นภารกิจที่จ�ำเป็นส�ำหรับองค์กรที่จะศึกษาข้อมูลคัดเลือก หัวข้อปรับการใช้เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมส�ำหรับในแต่ละแผนกของ องค์กร พร้อมทั้งมีงบประมาณรองรับอย่างเหมาะสมด้วย อีกทั้ง ควรมีงานวิจัยเข้ามาเป็นส่วนเติมเต็มส�ำหรับเป็นเครื่องมือในการ ที่จะก�ำหนดทิศทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีที่มีงาน วิจัยรองรับ เพื่อให้การด�ำเนินงานมีเป้าประสงค์ มีระเบียบวิธี ท�ำงานอย่างเป็นระบบ แต่ยังขาดเครื่องมือในการเข้าไปชี้วัด ประสิทธิภาพในการใช้เทคโนโลยีตา่ งๆ ภายในองค์กร จึงเป็นทีม่ า ของความร่วมมือกับทาง มศว. ในการพัฒนาสมรรถนะในการใช้ เทคโนโลยีในอนาคตในทุกระดับ เพื่อเติมเต็มในทุกๆ สมรรถนะ ที่ยังขาดอย่างเหมาะสม

มาตรฐานทักษะที่ภาคอุตสาหกรรมต้องการ ในยุค New Normal

ถาวร ชลั ษ เฐี ย ร รองประธานสภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย (ส.อ.ท) และประธานสถาบันเสริมสร้างขีดความ สามารถมนุษย์ กล่าวว่า สถานการณ์ COVID-19 เป็นตัวเร่ง การเปลี่ยนแปลงในการท�ำงานทุกภาคส่วน ไม่เว้นแม้แต่ภาค อุตสาหกรรมให้ก้าวสู่ New Normal ให้รวดเร็วกว่าเดิมมาก ยิ่งขึ้น เนื่องจากการพบปะ การท�ำธุรกิจแบบเจอหน้าจะลดลง การน� ำ เทคโนโลยี ใ นการติ ด ต่ อ กระท� ำ ธุ ร กิ จ จะมากขึ้ น โดย เฉพาะในภาคอุ ต สาหกรรมที่ จ ะมี ก ารใช้ เ ทคโนโลยี IIoT (Industrial Internet of Things) มาปรับใช้มากขึ้น ด้วยภาวะ ขาดแคลนแรงงาน การท�ำงานที่ต้องลดระยะห่างของคนท�ำงาน แต่ขนาดบริษทั และยอดขายจะเพิม่ ขึน้ และมียอดขายมากกว่าเดิม ทั้งยังสามารถ Monitoring ได้แบบเรียลไทม์ ซึ่งจากการประเมิน พบว่า IIoT จะช่วยให้ผลผลิตเพิม่ ขึน้ 80% และพนักงานจะลดลง 57% ดั ง นั้ น หากแรงงานในภาคอุ ต สาหกรรมไม่ ป รั บ ตั ว จะ ถูกดิสรัปชันออกจากแรงงานภาคอุตสาหกรรมได้ จึงจ�ำเป็น ที่แรงงานต้องปรับตัวและมองหาทักษะเฉพาะการท�ำงานเสริม อยู่ตลอดเวลา

สถาบันวิจัยพัฒนาฯ มศว. จับมือเออาร์ ไอพี วิจัยพัฒนาก�ำลังคน

ศ.เกียรติคุณ ดร.ปานสิริ พันธุ์สุวรรณ รักษาการแทน รองอธิการบดีฝา่ ยวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว.) กล่าวว่า สถาบันวิจัยพัฒนา และสาธิตการศึกษา มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ตระหนักและเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี องค์ความรู้ใหม่ในประเทศไทย มาโดยตลอด ล่าสุดได้ร่วมมือกับ บริษัท เออาร์ไอพี จ�ำกัด (มหาชน) ท�ำการวิจัยหาแนวทางในการพัฒนาคนทั้งใหม่และเก่า ให้ตรงกับมาตรฐานทักษะแห่งอนาคต เพื่อน�ำพาองค์กรไทยให้ อยูร่ อดในยุค New Normal นัน้ โดยเน้นงานวิจยั ทีจ่ บั ต้องได้ ลงลึก บนพื้นฐานข้อมูลข้อเท็จจริงเพื่อเป็นฐานข้อมูลในการน�ำไปใช้ ประโยชน์ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในทุกๆ การน�ำงานวิจัย

19

Engineering Today November - December

2020


ชี้อายุ 45-51 ปี ระดับ Management ต้องปรับและเร่งเรียนรู้เทคโนโลยีเพิ่มเติม

ของคนเรามากขึ้น ซึ่งอันที่จริงเทคโนโลยีดิจิทัลอยู่รอบๆ ตัวเรา แต่จะมีใครสามารถที่จะน�ำมาใช้ให้ตรงกับการท�ำงาน การเรียนรู้ และต่อยอดการเรียนรู้เพิ่มเติมให้มีทักษะเรียนรู้เครื่องมือและ เทคโนโลยีได้อย่างง่าย เร็วขึน้ เพือ่ ให้เข้าใจ เข้าถึง และใช้งานเป็น ให้เกิดประโยชน์สูงสุด สร้างคนที่เหมาะกับองค์กรพร้อมกับ ประสานคนรุน่ เก่ากับรุน่ ใหม่รว่ มท�ำงานอย่างเข้าใจถึงความส�ำคัญ ของการน�ำเทคโนโลยีมาใช้มากขึ้น โดยเฉพาะช่องทางโซเชียล มีเดีย เพื่อตอบสนองทางสังคม การท�ำธุรกิจ การท่องโลกกว้าง ได้หลายทิศทาง “แต่จะมีองค์กรหรือหน่วยงานใดทีจ่ ะมีความสามารถในการ ใช้โซเชียลมีเดียให้เกิดประโยชน์กับธุรกิจของตนเองมากน้อยนั้น ขึน้ อยูก่ บั ทักษะ ประสบการณ์และคูค่ า้ ทีใ่ ช้โซเชียลมีเดียนัน้ ๆ ด้วย ใช่ว่าใช้โซเชียลมีเดียทุกช่องทางแล้วจะก่อให้เกิดผลดีเสมอไป ต้องค่อยๆ ศึกษา และดูงบประมาณในการใช้โซเชียลมีเดียด้วย” ดร.ชนนิกานต์ กล่าว

ส�ำหรับช่วงอายุทจี่ ะต้องใช้เทคโนโลยีในการเพิม่ ทักษะและ คุณสมบัติในการท�ำงาน โดยเฉพาะยิ่งแรงงานในช่วงอายุตั้งแต่ 45-51 ปี ซึ่งเป็นคนระดับ Management อาจพัฒนาไม่ทัน เทคโนโลยี ต้องยิ่งปรับและเร่งเรียนรู้เทคโนโลยีเพิ่มเติม ไม่ต้อง ถึงขนาดเก่งมาก แต่ให้เข้าใจ ใช้งานได้ และอธิบายงานให้ ผู้ร่วมงานปฏิบัติตามได้

6 ทักษะการเรียนรู้ส�ำหรับแรงงาน ภาคอุตสาหกรรมต้องมีในยุค New Normal

นอกจากนี้ แ ล้ ว ทั ก ษะการเรี ย นรู ้ ส� ำ หรั บ แรงงานภาค อุตสาหกรรมควรต้องมีในยุค New Normal มี 6 เรื่อง ได้แก่ 1 เรียนรู้ตลอดชีวิต อย่าหยุดการเรียนรู้เพราะหากหยุด เท่ากับการท�ำงานของท่านได้สนิ้ สุดลง อาจจะต้องถูกเลิกจ้างงาน เป็นต้น 2 บริหารการเปลีย่ นแปลง พร้อมทีจ่ ะรับทุกๆ สถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากปัจจัยทางเศรษฐกิจ การเมืองและ สถานการณ์โรคระบาด อย่าง COVID-19 3 ความคิดเชิงวิพากษ์ พร้อมที่จะแลกเปลี่ยนความรู้ ในเชิงวิพากษ์และรับการวิพากษ์จากการท�ำงานของทีมร่วมท�ำงาน อย่ามีอคติหรืออีโก้ที่ไม่ยอมรับความคิดเห็นของผู้ร่วมท�ำงาน เพราะหากเพิกเฉยต่อการรับและยอมรับการวิพากษ์อาจจะท�ำให้ การท�ำงานชะงักหรือไม่ประสบความส�ำเร็จ เดินหน้าต่อไม่ได้ 4 ทักษะด้านนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ พร้อมที่ จะมองหางานวิจัย นวัตกรรมใหม่ๆ จากผู้ร่วมท�ำงาน สถาบัน การศึกษา รัฐบาลและหน่วยงานอื่นๆ มาร่วมหล่อหลอมจนเกิด เป็นนวัตกรรมใช้เองภายในองค์กร 5 ทักษะความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ยอมรับใน การใช้เทคโนโลยีในยุคดิจิทัลมากขึ้น อะไรที่ไม่เข้าใจให้สอบถาม จากผู้ที่เขาเข้าใจ แม้จะมีช่วงวัย ช่วงอายุงานที่น้อยกว่า จะได้น�ำ มาใช้งานได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 6 ทักษะความเข้าใจในมนุษย์ดว้ ยกัน ทุกคนมีความจ�ำเป็น และการท�ำงานที่รับผิดชอบไม่เหมือนกัน “ดั ง นั้ น การเห็ น อกเห็ น ใจและช่ ว ยกั น ท� ำ งาน แบ่ ง เบา ภาระงานซึง่ กันและกัน ถามไถ่ในการท�ำงาน จะช่วยให้การท�ำงาน ขับเคลื่อนไปข้างหน้าได้ แต่ถ้าธุร กิจใดหรือองค์กรใดท�ำงาน แบบไม่ประสานกัน ไม่พดู คุยตกลงเนือ้ งานและถามไถ่การท�ำงาน กันเลย รับประกันได้ว่าการท�ำงานยากที่จะประสบความส�ำเร็จ ได้” ถาวร กล่าว

ไทยใช้โซเชียลมีเดียผ่านทางมือถือ ราว 9 ชั่วโมงต่อวัน

จากผลการศึ ก ษาพบว่ า การเติ บ โตของโซเชี ย ลมี เ ดี ย ในทุกๆ ช่องทางจะเติบโตเพิ่มขึ้นทุกปีทั่วโลกอย่างน้อย 10.3% ส�ำหรับในประเทศไทยใช้โซเชียลมีเดียผ่านทางโทรศัพท์มือถือ ประมาณ 9 ชั่วโมงต่อวัน เสมือนว่าโลกดิจิทัลโซเชียลมีเดียเข้ามา มี บ ทบาทมากยิ่ ง ขึ้ น แต่ จ ะมี สั ก กี่ อ งค์ ก ร กี่ ค นที่ ส ามารถน� ำ โซเชียลมีเดียมาประยุกต์ใช้ในการท�ำธุรกิจให้ประสบความส�ำเร็จ ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นธุรกิจด้านดิจิทัลที่มีการพัฒนาเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล รองรั บ มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เช่ น APPLE, AMAZON, FACEBOOK, TWITTER และ ALIBABA เป็นต้น ซึ่งจ�ำเป็นต้อง พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง ผ่านไป 5 ปี ฮาร์ดแวร์จะ ล้าสมัย จึงต้องมีการเรียนรู้ปรับปรุง Upskill อัปฮาร์ดแวร์ให้ ทันสมัยอยูเ่ สมอ พร้อมทีจ่ ะรองรับการท�ำงาน รองรับการซับซ้อน ของการท�ำงาน ผสมผสานทักษะความคิดสร้างสรรค์ การท�ำงาน ร่วมกัน การลดทางอารมณ์ การยืดหยุ่นในการท�ำงานร่วมกัน ให้เกิดการท�ำงานที่หลอมรวม ใช้ในการแก้ปัญหาทุกๆ เรื่อง ทั้งด้านเทคโนโลยี การเจรจาต่อรองทางธุรกิจและการใช้ชีวิต ประจ�ำวันให้มีความสมดุล

Digital Literacy ทักษะส�ำคัญเมื่อเทคโนโลยี อยู่รอบตัว

ดร.ชนนิกานต์ จิรา ผูอ้ ำ� นวยการ True Digital Academy บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า คงจะปฏิเสธ ไม่ได้ว่าปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทส�ำคัญในการใช้ชีวิต

Engineering Today November - December 2020

ดร.ชนนิกานต์ จิรา ผู้อ�ำนวยการ True Digital Academy บมจ.ทรู คอร์ปอเรชั่น

20


มศว. เตรียมข้อมูลรองรับการเปลี่ยนแปลง ในโลกการท�ำงานในอนาคตอย่างเหมาะสม

หล่อหลอมรวมคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกความถนัดให้เข้ามาช่วย ท�ำงานก็จะเกิดความส�ำเร็จในระยะเวลาที่ไม่มากนัก แต่หาก องค์กรใดไม่มีการคัดเลือกคน ไม่มีมาตรฐานการก�ำหนดทิศทาง การท�ำงาน แผนการท�ำงานก็ยากที่จะประสบความส�ำเร็จได้ แม้จะมีคนเก่งมาร่วมงานอยู่จ�ำนวนมากก็ตาม นอกจากนี้แล้ว การใช้เทคโนโลยีเข้ามาใช้ขับเคลื่อนธุรกิจ หากองค์กร ธุรกิจใด ทีม่ คี วามรูค้ วามเชีย่ วชาญแล้วก็ไม่ตอ้ งกังวลหรือกลัวทีจ่ ะถูกดิสรัปชัน ที่ส�ำคัญควรพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้มีความพร้อม แม้จะมี ปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามาท�ำงานมากขึ้น แต่ AI ไม่สามารถ ที่จะท�ำงานได้เพียงล�ำพัง ต้องอาศัยคนเขียนโปรแกรมท�ำงาน ต้องอาศัยคนควบคุม และต้องอาศัยคนไปติดต่อท�ำธุรกิจ และควร มีการท�ำงานวิจยั เป็นฐานข้อมูลภายในองค์กรว่าในแต่ละปี องค์กร บริษัท มีการท�ำงานอย่างไร มีงานวิจัยอะไรเข้ามาช่วยเสริม ประสิทธิภาพการท�ำงานบ้าง

ภายในงานยังมีการจัดงานเสวนาหัวข้อ “ผลงานวิจัยกับ มาตรฐานทักษะของคนท�ำงานที่ภาคธุรกิจไทยต้องมี” โดย วิทยากรที่ท�ำงานทางด้านนี้โดยตรง รศ. ดร.ศิริยุภา พูลสุวรรณ ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัย พัฒนา และสาธิตการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว.) กล่าวว่า มศว. มีผู้เชี่ยวชาญที่หลากหลายที่จะเข้ามาร่วม ท�ำงานวิจยั ในเรือ่ งมาตรฐานทักษะของคนท�ำงานทีภ่ าคธุรกิจไทย ต้องการในยุคดิสรัปชัน ซึ่งแต่ละธุรกิจต้องรู้ตัวเองก่อนว่าธุรกิจ ของตนเองอยูต่ รงไหน แล้วโฟกัสการด�ำเนินธุรกิจไปตามเป้าหมาย มีโอกาสทีจ่ ะข้ามชัน้ ท�ำธุรกิจร่วมได้มยั้ หากท�ำแล้วจะมีผลทีด่ ขี น้ึ หรือแย่ลงอย่างไรในงานศึกษางานวิจัยจะมีการเก็บข้อมูลอย่าง ละเอียด จะมีการแยกประเภทคนท�ำงานประจ�ำว่ามีความช�ำนาญ ด้านใด เช่น กราฟิกดีไซน์ การตลาดออนไลน์และโฆษณา การท�ำ เว็บไซต์โปรแกรมเมอร์ และงานเขียนและแปลภาษา ส่วนคนทีช่ อบท�ำงานฟรีแลนซ์เขามีองค์ความรูท้ เี่ ก่งด้านใด เทรนด์ธุรกิจอาหารออนไลน์เขาต้องการคนประเภทไหน รองรับ คนท�ำงานทุกเพศทุกวัย เพื่อเตรียมข้อมูลน�ำไปใช้รองรับการ เปลี่ยนแปลงในโลกการท�ำงานในอนาคตอย่างเหมาะสม

เดินหน้าพัฒนาหลักสูตร เสริมสร้างความเชี่ยวชาญบุคลากร ทั้ง Workshop-ออนไลน์

บุ ญ เ ลิ ศ น ร า ไ ท ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เออาร์ไอพี จ�ำกัด (มหาชน) กล่ า วว่ า จาก ความร่วมมือของเออาร์ไอพี กับสถาบันวิจัยพัฒนา และ สาธิตการศึกษา มหาวิทยาลัย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ ในการ ท�ำวิจัยสมรรถนะที่จ�ำเป็น ของบุคลากรต่อการท�ำงานในอนาคต และพัฒนาระบบประเมิน สมรรถนะที่จ�ำเป็นส�ำหรับการท�ำงานในโลกอนาคต (Future Competency Assessment System) ทีเ่ หมาะสมส�ำหรับองค์กร ธุรกิจไทยขึน้ พร้อมทัง้ เผยแพร่งานวิจยั ทีไ่ ด้สอู่ งค์กรไทยในอนาคต โดยมีพาร์ทเนอร์ส�ำคัญคือ JOBBKK.com ในการเป็นช่องทาง เข้าถึงกลุ่มบุคลากรในทุกกลุ่มอุตสาหกรรม ให้สามารถเข้ามาท�ำ แบบทดสอบในระบบประเมิ น สมรรถนะที่ จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ การ ท�ำงานในโลกอนาคต เพื่อส�ำรวจข้อมูลจนเกิดค่ามาตรฐานระดับ ความพร้อมความเชี่ยวชาญในสมรรถนะที่จ�ำเป็น พร้อมทั้งหาคน ที่ตรงกับงาน หลังจากนั้น เออาร์ไอพี และ มศว. จะน�ำผลดังกล่าวมา พัฒนาหลักสูตรเพือ่ เสริมสร้างระดับความเชีย่ วชาญของบุคลากร ในรูปแบบการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร และเรียนรูบ้ นระบบออนไลน์ โดยมีแพลตฟอร์ม WISIMO ซึ่งเป็นระบบบริหารจัดการการ เรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรขององค์กรรองรับ ซึ่งเป็น ระบบที่มีความสามารถตั้งแต่การวัดระดับความสามารถของ บุคลากร แนะน�ำหลักสูตรการเรียนรู้ที่เหมาะสม พร้อมทั้งการ วัดผลที่รอบด้าน

เผย Soft Skills ปรับใช้ ได้ในทุกๆ สายอาชีพ แต่ Hard Skills ต้องการคนจบเกียรตินิยม

ทัศไนย เหมือนเสน ผู้ก่อตั้ง JOBBKK.COM และ อุปนายกสมาคมดิจิทัลไทย กล่าวว่า JOBBKK มีฐานข้อมูล ลูกค้าอยู่ประมาณ 10 ล้านคน มีฐานข้อมูลที่ปรับเปลี่ยนสถานะ อาชีพในการสมัครงานในทุกๆ ช่วง โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วง COVID-19 ที่ผู้สมัครงานมีการปรับฐานข้อมูลเป็นการท�ำงาน ผ่านช่องทางดิจิทัลมากขึ้น โดยระบุว่ามีความสามารถในการใช้ โซเชียลมีเดียที่ดีขึ้น ซึ่งตรงกับความต้องการของผู้ประกอบการ ทีเ่ ข้ามาค้นหาฐานข้อมูลทีต่ อ้ งการคนท�ำงานทีม่ คี วามรู้ เชีย่ วชาญ ด้านโซเชียลมีเดีย เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั และทักษะทางด้าน Soft Skills เป็นทักษะทีส่ ามารถน�ำไปใช้ได้ในทุกๆ สายอาชีพ แต่ทกั ษะ Hard Skills ก็ยังต้องการคนที่จบเกียรตินิยมจ�ำนวนนี้อยู่ประมาณ 5% ร่วมท�ำงานขับเคลื่อนองค์กร หากองค์กรใดสามารถที่จะ

เวทีเสวนา “ผลงานวิจัยกับ มาตรฐานทักษะของคนท�ำงาน ที่ภาคธุรกิจไทยต้องมี”

21

Engineering Today November - December

2020


Cover Story • VEGA

From simple to complex

VEGA completes its portfolio for hygienic processes with new pressure sensors and level switches. The special challenges faced by the food and pharmaceutical industries result from the wide diversity of their processes. Success depends on the consistency and continuity of the production processes – whether it be mixing, filling, evaporation or CIP and SIP cleaning. This makes it all the more important for operators to be able to rely fully on the measurement technology deployed on their plant. Level and pressure sensors from VEGA have made a name for themselves over many decades for their reliability and longevity. Robust, versatile and easy to use: even under extreme conditions or strict regulations, they provide important impulses for greater plant safety and efficiency.

Complete supplier for level and pressure

VEGA now completes its measurement technology portfolio with two new compact instrument series comprising pressure sensors and level switches for hygienic processes. The product families: the VEGABAR pressure sensor/switch and VEGAPOINT level switch prove that automation can be both simple and highly efficient at the same time, without compromising on reliability, hygiene or accuracy. The new measuring instruments are perfectly tailored to standard applications with no compromise on quality. Their universal hygienic adapter system provides the flexibility needed to keep installation effort and parts inventory costs low. The process

Engineering Today November - December 2020

22

fittings can be selected as needed and adapted to suit local requirements.

Brilliant advantage: 360 ďœ‘switching status display

Thanks to the all-round switching status display, all switching states can be easily seen from any direction. The colour of the illuminated ring, which can be selected from over 256 different colours, remains clearly visible even in daylight. At a glance, the user can see if the measuring process is running, if the sensor is switching or if there is a possible sensor management requirement.

Universal communication via IO-Link

There is a lot of sensor intelligence built into the new compact series: the standard IO-Link protocol ensures universal and, at the same time, particularly simple communication. This means that the instruments have a standardized communication platform that enables seamless data transfer and simple system integration.


Wireless transmission of measured values

Both the new VEGABAR and VEGAPOINT instrument series can easily communicate via a smartphone or tablet. This is especially useful, in environments such as clean rooms, where physical access involves a lot of work, which means setup and operation become considerably easier. VEGABAR pressure switches/sensors and VEGAPOINT level switches represent an important milestone for VEGA.

Users not only get an entire range of level and pressure measurement technology from a single source, but also hygienically optimised instruments. They are designed to be extremely easy to install with an application-based combination of reliability, flexibility and accuracy for food and pharmaceutical processes.

Characters:

»

(PN-VEGABAR2x_VEGABAR3x_ VEGAPOINT21-300DPI.tif): The new VEGABAR compact pressure sensors with switch function and VEGAPOINT capacitive level switches are perfectly tailored to standard applications. One special feature is the 360° status display, which can be set to any one of 256 different colours and easily seen from any direction.

»

(PN-VEGABAR38_VEGAPOINT21Hygadapter-300DPI-cmyk.tif): The universal, flexible hygienic adapter system of the new instrument series reduces not only the amount of work involved, but also the spare parts inventory.

VEGA Instruments Co., Ltd.

(Head Office) 9 G Tower Grand Rama 9, 24th Floor #GN03 North Wing, Rama 9 Road, Huay Kwang, Bangkok 10310

23

Tel : +66-0-2700-9240 Fax : +66-0-2700-9241 E-mail : info.th@vega.com Web : www.vega.com

Engineering Today November - December

2020


Environment • กองบรรณาธิการ

นักวิจัย AIT

ส�“ขยะบนเกาะสมุ ำรวจ ย” หลัง COVID-19 พบขยะเปียกสูงสุด เดินหน้าต่อยอดงานวิจัยสร้างเครื่องมือ แก้ปัญหาขยะล้นเกาะที่ได้ผลจริง

ที ม นั ก วิ จั ย สถาบั น เทคโนโลยี แ ห่ ง เอเชี ย (AIT) ลงพืน้ ทีส่ ำ� รวจขยะรอบเกาะสมุย หลังปิดเกาะ จากสถานการณ์ COVID-19 เป็นระยะเวลานาน ร่วม 6 เดือน เพื่อรวบรวมข้อมูลขยะที่ถูกผลิตขึ้น บนเกาะอย่างละเอียด ทั้งปริมาณและประเภทของ ขยะจากชุมชนต่างๆ ซึ่งเป็นต้นทางของขยะ ก่อน ถูกส่งไปบ่อขยะ (Landfill) พบภาพรวมของขยะ ทั้งเกาะเป็นขยะเปียก (Organic Waste) มากที่สุด กว่ า ร้ อ ยละ 50 ขณะที่ ข ยะพลาสติ ก (Plastic Waste) ตามมาเป็นอันดับ 2 ส่วนปริมาณขยะ ที่ ถู ก เก็ บ ณ บ่ อ ขยะรวมต่ อวั น ช่ ว งปิ ด เกาะไร้ นั ก ท่ อ งเที่ ยวอยู ่ ที่ ร าว 90-100 ตั น ลดลงจาก ช่ วงเวลาปกติ ประมาณ 50 ตัน และลดลงจาก ช่วงไฮซีซั่นประมาณ 100 ตัน เตรียมน�ำข้อมูล เชิงลึกไปวิเคราะห์เพื่อคิดค้นเครื่องมือแก้ปัญหา ขยะล้ น เกาะที่ ตรงจุดได้ผลจริง และแปรรูปขยะ บางประเภทให้เป็นรายได้สู่ชุมชน ด้านชาวสมุย เตรียมปรับตัวสร้างการท่องเที่ยวท้องถิ่นแบบยั่งยืน

Engineering Today November - December 2020

24


ทีมนักวิจัยสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) ลงพื้นที่ส�ำรวจขยะรอบเกาะสมุย

ส�ำหรับทีมนักวิจัย ซึ่งประกอบด้วย ธนพัฒน์ จันทร์สระคู, พีรวิชญ์ จันทร์ตา, ณิชกุล โพธิ์ศิริกุล, เกศิรินทร์ จินดา และ สิทธิกร ค�ำงาม โดย ธนพัฒน์ จันทร์สระคู หนึ่งในทีมนักวิจัยสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) กล่าวว่า โครงการนีช้ อื่ ว่า “การศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดการขยะมูลฝอย และขยะประเภทอื่นๆ ตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียนบนเกาะสมุย” ภายใต้ สาขาวิชาการจัดการขยะพลาสติกทางทะเล (MPA) และวิศวกรรมสิง่ แวดล้อมฯ (EEM) โดยลงพื้นที่เดือนตุลาคม 2563 ที่ผ่านมา เพื่อเก็บข้อมูลปริมาณขยะ และประเภทขยะตามต้นทาง ซึ่งเป็นแหล่งสร้างขยะที่แท้จริง กระจายไปพื้นที่ ต่างๆ รอบเกาะ โดยทีมวิจัยแบ่งตามประเภทการใช้ประโยชน์จากที่ดิน คือ ตลาด บ้านพักอาศัย เกษตรกรรม ชายหาด และพื้นที่โรงแรมและบริการ แตกต่างจากการไปเก็บตัวอย่างจากบ่อขยะเพียงแหล่งเดียว ซึ่งเป็นปลายทาง เช่น การส�ำรวจขยะบริเวณตลาดเจริญลาภ พบว่ามีขยะเปียกมากที่สุด ขณะที่ เส้นเลียบหาดเฉวง ซึ่งเป็นพื้นที่โรงแรม ท่องเที่ยว ในช่วงเวลาที่ส�ำรวจพบว่า มีขยะพลาสติกมากกว่าขยะประเภทอื่น ทั้งนี้ การได้ข้อมูลของประเภทขยะ ที่ ผ ลิ ต มากที่ สุ ด ในแต่ ล ะพื้ น ที่ ช ่ ว ยให้ ก ารน� ำ ไปต่ อ ยอดคิ ด ค้ น เครื่ อ งมื อ และออกแบบเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาขยะบนเกาะสมุยได้เฉพาะเจาะจง และเห็นผลขึ้น

25

Engineering Today November - December

2020


งานวิชาการจะมาสนับสนุนคนบนเกาะ ให้ใช้ประโยชน์จากขยะเปียกที่มีมากที่สุด ให้กว้างขวาง และช่วยออกแบบเทคโนโลยี ในการท�ำปุ๋ยให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ขณะที่บางจุดพบขยะพลาสติกมากที่สุด ก็ต้องมาคิดต่อว่าจะใช้วิธี RDF หรือ จะเป็นการรี ไซเคิล ต้องมาค�ำนวณ ให้ละเอียดจากชนิดพลาสติกและ ความคุ้มค่า คุ้มทุนในการใช้ แต่ละวิธี

พีรวิชญ์ จันทร์ตา หนึ่งในทีมนักวิจัยสถาบัน AIT กล่าวว่า จากการเก็บขยะพื้นที่ที่ใช้จริง จะเห็น ว่าแต่ละพืน้ ทีม่ อี งค์ประกอบของขยะทีไ่ ม่เหมือนกัน ซึง่ จะเป็นประโยชน์ให้เรารูว้ า่ จะสามารถใช้เทคโนโลยี หรือเครือ่ งมือแบบไหนมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพทีด่ ี มากยิ่งขึ้น เช่น จุดที่พบขยะเปียกมากที่สุด ก็ต้อง ออกแบบว่าควรใช้วธิ กี ำ� จัดอย่างไร การน�ำขยะเปียก มาท�ำเป็นเชื้อเพลิง (Refuse Derived Fuel : RDF) คงไม่เหมาะสม แต่อาจท�ำเป็นปุ๋ย ซึ่งมีชาวสมุย จ�ำนวนหนึ่งท�ำอยู่แล้ว “งานวิชาการจะมาสนับสนุนคนบนเกาะให้ใช้ ประโยชน์จากขยะเปียกที่มีมากที่สุดให้กว้างขวาง และช่ ว ยออกแบบเทคโนโลยี ใ นการท� ำ ปุ ๋ ย ให้ มี ประสิทธิภาพมากขึน้ ขณะทีบ่ างจุดพบขยะพลาสติก มากที่สุด ก็ต้องมาคิดต่อว่าจะใช้วิธี RDF หรือจะ เป็นการรีไซเคิล ต้องมาค�ำนวณให้ละเอียดจากชนิด พลาสติกและความคุ้มค่า คุ้มทุนในการใช้แต่ละวิธี” พีรวิชญ์ กล่าว ที ม วิ จั ย ได้ อ ธิ บ ายว่ า การศึ ก ษาขยะบน เกาะสมุยในช่วงยังไม่เปิดเกาะเต็มรูปแบบ และ ยังไม่มีนักท่องเที่ยวมากนัก นับเป็นช่วงเวลาที่ดี ซึ่ ง จะท� ำ ให้ ที ม วิ จั ย ได้ ข ้ อ มู ล ขยะที่ เ กื อ บทั้ ง หมด สร้ า งขึ้ น โดยชาวสมุ ย ไม่ ใ ช่ ป ระชากรแฝงหรื อ นักท่องเทีย่ ว การน�ำข้อมูลขยะมาชีใ้ ห้คนในพืน้ ทีเ่ ห็น จะชัดเจนและน�ำไปสูก่ ารร่วมกันแก้ปญ ั หาได้มากขึน้ ทั้ ง การลดขยะ และน� ำ ขยะมาสร้ า งประโยชน์ รูปแบบต่างๆ แทนที่การขนขยะจ�ำนวนมากออกไป ทิง้ นอกเกาะเพียงอย่างเดียว ขณะเดียวกันเกาะสมุย

Engineering Today November - December 2020

นับเป็นพื้นที่ตัวอย่างในการศึกษาปัญหาขยะที่ดี เพราะเป็นพื้นที่ปิด ขยะที่พบ เกือบทั้งหมดเป็นขยะที่ผลิตขึ้นบนเกาะ ท�ำให้ได้ข้อมูลที่เป็นจริง จากข้อมูลเดือนกุมภาพันธ์ 2563 ระบุว่า จ�ำนวนคนบนเกาะสมุย แบ่งเป็นผูท้ มี่ ภี มู ลิ ำ� เนาหรือมีทะเบียนบ้านบนเกาะสมุย ประมาณ 70,000 คน ประชากรแฝง ประมาณ 300,000 คน และนักท่องเที่ยวประมาณ 3,000 คน ต่อวัน ด้าน ษมาภรณ์ บุญสา ชาวเกาะสมุย กล่าวว่า การลงพื้นที่เก็บข้อมูล อย่างละเอียดโดยทีมนักวิจยั เป็นเรือ่ งดีทจี่ ะท�ำให้คนสมุยได้ขอ้ มูลขยะในพืน้ ที่ ชัดเจนขึ้น ทั้งยังเป็นข้อมูลที่ชาวบ้านเข้าถึงได้ง่าย และรู้ว่าขยะแต่ละประเภท มาจากไหน พื้นที่ไหนผลิตขยะอะไรมากที่สุด ที่ผ่านมารู้ว่าช่วงปิดเกาะ มีขยะ 90 ตันต่อวัน แต่ไม่รู้ว่าใน 90 ตันนั้นมีขยะอะไรบ้าง “ถ้ า เราน� ำ สิ่ ง นี้ ม าสื่ อ สารและบอกว่ า เช่ น ตอนนี้ พ ลาสติ ก มี ม าก เราจะลดปริมาณยังไง จะน�ำไปสู่การปฏิบัติที่ง่าย ช่วงนี้คนที่ไม่มีงานท�ำมีมาก ก็จะเห็นช่องทางว่าขยะพลาสติกขายได้ แยกออกมาแล้วก็เป็นรายได้ ตอนนี้ เป็นช่วงที่ดีที่สถานการณ์ COVID-19 ท�ำให้ไม่มีนักท่องเที่ยว มีแต่คนสมุย ล้วนๆ ประชากรแฝงก็น้อย ถ้าเป็นการตั้งต้นเริ่มเปลี่ยนแปลง การจัดการ ขยะในสมุยก็เป็นสิ่งที่เกิดได้ หากมีคนกล้าลุกขึ้นมาผลักดัน เพราะเรามีฐาน ข้อมูลจากสถาบัน AIT มารองรับ” ษมาภรณ์ กล่าว หลั ง จากได้ ข ้ อ มู ล ตั ว เลขปริ ม าณขยะและประเภทของขยะน� ำ มา วิ เ คราะห์ อ ย่ า งละเอี ย ด ที ม วิ จั ย จะน� ำ มาประมวลผลเพื่ อ ออกแบบวิ ธี แก้ปัญหาขยะ รวมถึงแนวทางสร้างเครื่องมือและเทคโนโลยีรูปแบบใหม่ๆ ใช้ในการเพิ่มมูลค่าให้กับขยะ สร้างรายได้รูปแบบใหม่ให้ชุมชน เป็นธุรกิจ สี เ ขี ย วของคนบนเกาะ โดยจะน� ำ โครงการไปเสนอขอทุ น เพิ่ ม เติ ม จาก Alliance to End Plastic Waste (AEPW) องค์กรไม่แสวงหาก�ำไรทีส่ นับสนุน การแก้ปัญหาขยะพลาสติกในสิ่งแวดล้อม เพื่อน�ำทุนมาสร้างเครื่องมือและ พัฒนาเทคโนโลยี เข้าไปติดตั้งและทดลองใช้แก้ปัญหาขยะบนเกาะสมุย โดยคาดว่าจะสามารถน�ำเสนอโครงการให้กับ AEPW ได้ภายในสิ้นปี พ.ศ. 2563 นี้

26


Digital Economy @Engineering Today Vol. 6 No. 180

ทรู ดิจิทัล พารค เปดตัว “ศูนยรวมสถาบันการเร�ยนรู ดานดิจิทัลระดับโลก” แหงแรกในไทย

สกพอ. หาร�อแนวทางแกปญหา ผลกระทบ ผังเมือง EEC หวังสงเสร�มการลงทุน เศรษฐกิจ คุณภาพชีว�ตและสิ�งแวดลอม

กระทรวงอุตฯ จับมือ ญี่ปุน เดินหนาโครงการ Smart Monozukuri ดึง IoT ปนอุตสาหกรรมอัจฉร�ยะ Transform ภาคการผลิตไทยป ’64

หุนยนต “โคบอทส” รับมือ COVID-19 เติบโตเร็วที่สุดในบรรดาหุนยนต คาดป ’68 ยอดใชพง่� 34% ของคาใชจายหุนยนตทั่วโลก


Digital • กองบรรณาธิการ

ทรู ดิจิทัล พาร์ค เปิดตัว

“ศูนย์รวมสถาบันการเรียนรู้ด้านดิจิทัลระดับโลก” แห่งแรกในไทย รวมพลังองค์กรดิจิทัลชั้นน�ำ ยกระดับความรู้คนไทยด้านดิจิทัล

ทรู ดิจิทัล พาร์ค ศูนย์กลาง เทคและสตาร์ตอัปที่ใหญ่ทสี่ ดุ ใน อาเซียน ตอกย�้ำความแข็งแกร่ง ของระบบนิ เ วศครบวงจรเพื่ อ สตาร์ตอัปและผูป้ ระกอบการเทค เปิดตัว “ศูนย์รวมสถาบันการ เรี ย นรู ้ ด ้ า นดิ จิ ทั ล ระดั บ โลก” (True Digital Park House of Digital Academy) แห่งแรกและ แห่งเดียวในไทยที่รวมทุกโอกาส การเรียนรู้ส�ำหรับทุกคน ด้วย หลั ก สู ต รยกระดั บ ความรู ้ แ ละ ทักษะด้านดิจิทัลจาก Alibaba Cloud Thailand, Amazon Web Services, Cisco System (Thailand), Google Thailand, Huawei Cloud Thailand, Microsoft (Thailand), Mitsubishi, Sea (Thailand), True Digital Academy, Bit. studio, Tellscore, สมาคม โปรแกรมเมอร์ ไทย และการตลาด วันละตอน เปิดพื้นที่ทรู ดิจิทัล พาร์ค ให้ผู้ที่สนใจเข้ามาเรียนรู้ และอัปสกิลด้านดิจิทัล เจาะลึก ทุกความรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และทักษะด้านดิจิทัลที่สามารถ น�ำไปใช้ ได้จริงในการท�ำงานและ การท� ำ ธุ ร กิ จ ตอบโจทย์ วิ ถี การท� ำ งานของคนยุ ค ดิ จิ ทั ล มุ ่ ง เตรี ย มความพร้ อ มด้ า น บุคลากรดิจิทัลสู่ตลาดแรงงาน อนาคตในยุคเศรษฐกิจใหม่

Engineering Today November - December 2020

ฐนสรณ์ ใจดี กรรมการผู้จัดการใหญ่ ทรู ดิจิทัล พาร์ค กล่าวว่า ทรู ดิจิทัล พาร์ค สานต่อพันธกิจในการสร้างระบบนิเวศสมบูรณ์แบบครบวงจรเพื่อสตาร์ตอัป และผู้ประกอบการเทค ด้วยแนวคิด Open Innovation จากการรวมตัวกันของบริษัท ข้ามชาติขนาดใหญ่ เหล่าสตาร์ตอัปและผูป้ ระกอบการเทค นักลงทุน รวมทัง้ ศูนย์วจิ ยั และพัฒนา (R&D) ของมหาวิทยาลัย และหน่วยงานภาครัฐ เป็นแหล่งหลอมรวม องค์ความรูท้ เี่ อือ้ ประโยชน์ตอ่ การสร้างสรรค์นวัตกรรม ล่าสุดได้เปิดตัว “ศูนย์รวมสถาบัน การเรียนรูด้ า้ นดิจทิ ลั ระดับโลก” (True Digital Park House of Digital Academy) แห่งแรกและแห่งเดียวในไทย เพื่อเป็นศูนย์รวมทุกโอกาสการเรียนรู้และเพิ่มทักษะ ด้านเทคโนโลยีและดิจิทัล นับเป็นอีกหนึ่งความภาคภูมิใจของทรู ดิจิทัล พาร์ค ที่ได้ ร่วมมือกับพันธมิตรองค์กรเทคโนโลยีดิจิทัลระดับแนวหน้าของประเทศและของโลก ทีม่ แี นวคิดตรงกันในการเสริมสร้างบุคลากรของประเทศให้มที กั ษะสอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดแรงงานและตอบโจทย์องค์กรต่างๆ ที่เร่งทรานส์ฟอร์มธุรกิจสู่ ยุคดิจิทัล เตรียมพร้อมรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมและการลงทุนในยุค 4.0 ด้วยความรู้ความเชี่ยวชาญขององค์กรพันธมิตรทุกราย ไม่ว่าจะเป็น Alibaba Cloud Thailand, Amazon Web Services, Cisco System (Thailand), Google Thailand, Huawei Cloud Thailand, Microsoft (Thailand), Mitsubishi, Sea (Thailand, True Digital Academy, Bit.studio, Tellscore, สมาคมโปรแกรมเมอร์ไทย และ การตลาดวันละตอน ผสานกับความแข็งแกร่งของทรู ดิจิทัล พาร์ค ศูนย์กลางเทค และสตาร์ตอัปที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียน มั่นใจว่าความร่วมมือในครั้งนี้จะยกระดับ ความรูแ้ ละทักษะด้านดิจทิ ลั ของคนไทย ช่วยเพิม่ ศักยภาพในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจ ดิจิทัลและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดร.ธาริต นิมมานวุฒิพงษ์ ผู้จัดการทั่วไป ทรู ดิจิทัล พาร์ค กล่าวว่า ศูนย์รวม สถาบันการเรียนรู้ด้านดิจิทัลระดับโลกได้เปิดพื้นที่ทรู ดิจิทัล พาร์ค ให้ผู้ที่สนใจ มาเรียนรู้และอัปสกิลด้านดิจิทัล พร้อมกันนี้ ยังเป็นโอกาสให้ได้พบปะสร้างเครือข่าย สตาร์ตอัปและเทคคอมมูนิตี้ ในบรรยากาศที่เปิดโล่งและเชื่อมต่อถึงกันในแต่ละชั้น เอื้อต่อการสร้างสรรค์นวัตกรรม ตอบโจทย์วิถีการท�ำงานของคนยุคดิจิทัล ทั้งยัง เพียบพร้อมด้วยสิ่งอ�ำนวยความสะดวกครบครัน ไม่ว่าจะเป็นห้องประชุม เวิร์กช้อป ทาวน์ฮอลล์ อีเว้นต์ และกิจกรรมอีกมากมาย ซึ่ง True Digital Park House of Digital Academy จะช่วยขยายความก้าวหน้าและเปิดโอกาสการเติบโตของคนไทย ในการท�ำงานและการด�ำเนินธุรกิจในยุคดิจทิ ลั ให้เข้าถึงความรูแ้ ละอัปสกิลด้านดิจทิ ลั ผ่านหลักสูตรต่างๆ ที่คัดสรรและออกแบบโดยพันธมิตรองค์กรเทคโนโลยีและดิจิทัล ชัน้ น�ำทีเ่ ปีย่ มด้วยองค์ความรูแ้ ละความเชีย่ วชาญเฉพาะทางในแต่ละด้านอย่างแท้จริง

28


True Digital Park House of Digital Academy จะช่วยขยาย ความก้าวหน้าและเปิดโอกาส การเติบโตของคนไทยในการ ท�ำงานและการด�ำเนินธุรกิจ ในยุคดิจิทัล ให้เข้าถึงความรู้ และอัปสกิลด้านดิจิทัล ผ่านหลักสูตรต่างๆ ที่คัดสรร และออกแบบโดยพันธมิตร องค์กรเทคโนโลยีและดิจิทัล ชั้นน�ำที่เปี่ยมด้วยองค์ความรู้ และความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ในแต่ละด้านอย่างแท้จริง

ฐนสรณ์ ใจดี กรรมการผู้จัดการใหญ่ ทรู ดิจิทัล พาร์ค

ดร.ธาริต นิมมานวุฒิพงษ์ ผู้จัดการทั่วไป ทรู ดิจิทัล พาร์ค

True Digital Park House of Digital Academy รวบรวมหลักสูตรการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะด้านดิจิทัล ด้วยความร่วมมือกับเหล่าพันธมิตรต่างๆ อาทิ • Alibaba Cloud Thailand จั ด หลั ก สู ต รพร้ อ มมอบประกาศนี ย บั ต ร จาก Alibaba Cloud Academy เรี ย นรู ้ ก ารประมวลผลระบบคลาวด์ แ ละ ประกาศนียบัตรการรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรม เพื่อความก้าวหน้าในอาชีพหรือ ส่งเสริมธุรกิจของตนเอง โดยมีหลักสูตรการรับรองที่หลากหลายและเหมาะสมกับ เส้นทางการศึกษาและระดับการเรียนรูท้ ผี่ ใู้ ช้ตอ้ งการ ได้แก่ ระดับคลาวเดอร์ ท�ำความ เข้าใจฟังก์ชนั และผลิตภัณฑ์ Alibaba Cloud หรือสถาปัตยกรรมโซลูชนั อย่างรวดเร็ว, ระดับมืออาชีพ - ทดสอบความเป็นมืออาชีพด้วยประกาศนียบัตรจาก Alibaba Cloud ผ่านการรับรองและการพิสูจน์ความสามารถด้านเทคนิค และระดับผู้เชี่ยวชาญ พิเศษ - การฝึกอบรมเฉพาะทางด้วยตนเองแบบออนไลน์ เรียนรูแ้ ละฝึกฝนผลิตภัณฑ์ และโซลูชนั ของ Alibaba Cloud โดยผูฝ้ กึ สอนทีผ่ า่ นการรับรอง พร้อมมอบสิทธิพเิ ศษ เครดิตส�ำหรับเริ่มต้นใช้บริการสูงสุด 1,000 เหรียญสหรัฐฯ • Amazon Web Services ด้วยโปรแกรม AWS Activate, Amazon Web Services มอบสิทธิประโยชน์หลายด้านให้ startup เพื่อช่วยผู้ก่อตั้งในการเริ่มต้น และการขยายธุรกิจ และการฝึกอบรม เช่น 1 AWS เครดิต AWS Activate ช่วยให้ Startup เข้าถึง AWS Cloud ได้ สะดวก และช่วยเปลี่ยนไอเดียให้กลายเป็นจริง เครดิต AWS Activate ส�ำหรับ startup: รับเครดิต AWS Activate ทีใ่ ช้กบั บัญชี AWS โดยอัตโนมัติ เพื่อให้ครอบคลุมการใช้บริการ AWS 2 AWS Technical Support ส�ำหรับ Startup ได้รับการซัพพอร์ตจาก ผูเ้ ชีย่ วชาญของ AWS Business and AWS Developer Support, รวมไปถึง การให้ค�ำแนะน�ำด้าน Architecture และ Best Practices ต่างๆ 3 การฝึกอบรมและทรัพยากร AWS เรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญของ AWS เพื่อ พัฒนาทักษะและความรู้ รับการฝึกอบรมเพื่อช่วยให้มีประสิทธิภาพและ ท�ำสิ่งต่างๆ ได้มากขึ้นบนระบบคลาวด์ • Cisco System (Thailand) จัดหลักสูตรออนไลน์ Cisco Networking Academy พัฒนาความรู้ ทักษะและสร้างโอกาสด้วยพลังของเทคโนโลยีที่สามารถ เข้าถึงการเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา โดยไม่จ�ำกัดเพศและวัย โดยใช้แพลตฟอร์มและ หลักสูตรมาตรฐานเดียวกันทัว่ โลก สามารถเลือกเรียนรูไ้ ด้ตามความสนใจ ทัง้ หลักสูตร ด้านระบบเครือข่ายสารสนเทศ CCNA โปรแกรมมิ่ง IoT (Internet of Things) และ ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ ซึ่งผู้เรียนจะสามารถใช้ Packet Tracer ที่เป็น เครื่องมือเสมือน (Simulation Tool) เพื่อเป็นตัวช่วยในการเรียนโดยไม่มีค่าใช้จ่าย รวมทั้งได้รับข่าวสารและโอกาสเข้าร่วมโครงการอื่นๆ ของ Cisco Networking Academy อาทิ การสัมมนาอัปเดตเทคโนโลยี และการแข่งขันความสามารถในระดับ ภูมิภาค นอกจากนี้ ผู้เรียนที่ผ่านการทดสอบจะได้รับประกาศนียบัตรจาก Cisco Networking Academy ด้วย • Google ประเทศไทย กระทรวงพาณิชย์ พร้อมพันธมิตรธุรกิจในโครงการ Saphan Digital มุ่งช่วยเหลือและแบ่งปันความรู้ โดยจัดการเรียนการสอนผ่าน ออนไลน์ฟรีส�ำหรับผู้ประกอบการ (SMEs) องค์กรไม่แสวงหาผลก�ำไร (NGOs) และ ประชาชนทั่วไป ให้ได้เรียนรู้ทักษะการท�ำธุรกิจเบื้องต้นและเข้าถึงเครื่องมือที่จะช่วย ให้ธุรกิจเติบโตและมีตัวตนบนโลกออนไลน์ เพิ่มทักษะทางดิจิทัลให้รู้จักเทคนิคการ ใช้เครื่องมือดิจิทัลในด้านต่างๆ เพื่อให้ธุรกิจเติบโตและท�ำงานได้มีประสิทธิภาพมาก ขึ้น และเรียนรู้ลงมือปฏิบัติผ่านประสบการณ์จริง จากการใช้เครื่องมือดิจิทัลร่วมกัน ระหว่างผูเ้ รียน ท�ำให้มคี วามเข้าใจในการใช้งานอย่างลึกซึง้ และสามารถนําทักษะและ ความรูใ้ หม่ๆ ไปเพิม่ ศักยภาพและพัฒนาให้เหมาะสมกับรูปแบบธุรกิจและองค์กรของ

29

Engineering Today November - December

2020


ตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน • Microsoft (Thailand) จัดโครงการ Microsoft Thailand Digital Skills Initiative ให้ความรูด้ า้ นการใช้งานคลาวด์ในทุกรูปแบบ กั บ Microsoft ตั้ ง แต่ ขั้ น พื้ น ฐาน ถึ ง workshop แบบลงมื อ ท� ำ โดยโครงการ Microsoft Azure Fundamentals Training ให้ความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ วกับ Cloud Infrastructure จนถึ ง การดู แ ลระบบ พร้ อ มรั บ สิ ท ธิ์ ส อบ AZ-900 certification โดยไม่ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ย แต่อย่างใด นอกจากนี้ยังมีโครงการอื่นๆ อีก มากมาย อาทิ Microsoft Power BI, Microsoft AI, Microsoft Azure DevOps ส�ำหรับ นักพัฒนา ซึ่งเปิดให้บุคคลในองค์กร ไม่จ�ำกัด สาขา ไม่ จ� ำ กั ด สายงาน ไม่ จ� ำ กั ด อาชี พ สามารถเข้าลงทะเบียนเรียนรูก้ บั ไมโครซอฟท์ ประเทศไทย เพือ่ ให้ความรูแ้ ละทักษะทางด้าน เทคโนโลยีแก่คนไทย สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อธุรกิจทุกประเภท • Mitsubishi FA Product Training Course โครงการพัฒนาทักษะของบุคลากร ให้ ภ าคอุ ต สาหกรรมที่ ต ้ อ งการปรั บ ปรุ ง โรงงานหรือมีสว่ นเกีย่ วข้องกับระบบ Factory Automation ทัง้ ทางด้าน Upskill และ Reskill โดยใช้ e-F@ctory Concept เป็นแนวทาง ในการพัฒนาให้ตอบโจทย์ Industry 4.0 ด้วย หลักสูตรเฉพาะกว่า 23 หลักสูตร ครอบคลุม ความรู ้ ตั้ ง แต่ ร ะดั บ พื้ น ฐานจนถึ ง ระดั บ สู ง มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถน�ำความรู้ไปใช้งาน ได้จริง เพื่อการใช้งานผลิตภัณฑ์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ อบรมโดยทีมวิศวกรและวิทยากร ที่มีประสบการณ์ผ่านหลักสูตรการฝึกอบรม โดยตรงจากบริษัทมิตซูบิชิที่ประเทศญี่ปุ่น • Sea (Thailand) น� ำ โครงการ Garena Academy เสริมความรู้ความเข้าใจ แก่กลุ่มนักเรียนและอาจารย์ เกี่ยวกับอาชีพ ใหม่ ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น พร้ อ มการเติ บ โตของ อุตสาหกรรมเกมและอีสปอร์ต น�ำร่องโดย Garena Academy Day Camp ที่จัดขึ้นใน ช่วงกลางเดือนพฤศจิกายน 2563 และได้รับ การตอบรับเป็นอย่างดี มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม กว่า 250 คน และมีผู้เข้าชมข้อมูลอาชีพจาก รายการ Level Up You Passion และเว็บไซต์ แล้วกว่า 1,250,000 คน พร้อมเปิดให้ผู้ ที่สนใจสามารถเข้าถึงข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับ แต่ละอาชีพ และ Career Assessment ได้

Engineering Today November - December 2020

ทาง www.garenaacademy.com นอกจากนี้ Sea (Thailand) ยังเตรียมน�ำคลาส พัฒนาทักษะดิจิทัลอื่นๆ มาสู่ True Digital Park House of Digital Academy ใน ปี ค.ศ. 2021 • True Digital Academy จัดหลักสูตร Product Management รวบรวม แบบทดลองปฏิบัติที่ดีที่สุดในด้าน Product Management ให้เรียนรู้พื้นฐานการท�ำ Product Design ฝึกฝนการออกแบบโดยมีผใู้ ช้เป็นศูนย์กลาง การพัฒนาและประเมินผล กลยุ ท ธ์ ส� ำ หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ค้ น หาแนวทางที่ ใ ช้ ต ้ น ทุ น ต�่ ำ ที่ สุ ด ส�ำ หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ และวัดผลผลิตภัณฑ์ที่เข้ากับตลาด การออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ ความรู้พื้นฐาน ด้านธุรกิจ และปัจจัยในการสร้างการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพกับนักลงทุน รวมถึง การบริหารจัดการ Audience ซึ่งเป็นหลักสูตรที่เหมาะส�ำหรับ Product Manager หรือผู้ที่ใฝ่ฝันเป็น Product Manager, ผู้ประกอบการ และผู้ที่สนใจในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ของตัวเอง หรือผู้ที่ต้องการน�ำทักษะไปประยุกต์ใช้กับอาชีพที่ใกล้เคียง • Bit.studio สร้างแหล่งการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนความรู้ด้าน Creative Technology ซึ่ ง ปั จ จุ บั น เป็ น ที่ รู ้ จั ก แพร่ ห ลายและมี ผู ้ พั ฒนางานด้ า นนี้ ม ากขึ้ น ในประเทศไทย ขณะที่การศึกษาและพื้นที่ส�ำหรับแบ่งปันความรู้ยังหาได้ไม่ง่ายนัก โดยจัดโครงการ Creative Technology Camp; New Media Art Master Class ใน รูปแบบ Master Class ให้เรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญระดับโลกผ่านการบรรยายและ พูดคุยในประเด็นหลากหลาย ช่วยให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถน�ำความรู้ไปต่อยอด ในงานของตัวเองได้ในอนาคต เพือ่ พัฒนา ต่อยอดและส่งเสริมอุตสาหกรรม Creative Technology ในประเทศไทย • Tellscore ผู้น�ำด้านอินฟลูเอนเซอร์มาร์เก็ตติ้งแพลตฟอร์ม เปิดคลาส Tellscore Influencer Academy อบรมและอัปเดตเทรนด์ Influencer Marketing ให้เหล่า Influencers ทั้ง Hard Skill และ Soft Skill เพื่อให้ Influencer ได้พัฒนา Skills ครบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นการสร้าง Content เทคนิคการไลฟ์ วิดีโอแนวใหม่ ทักษะการขาย และแชร์ประสบการณ์ตรงจากกูรู รวมถึงการท�ำงานร่วมกับแบรนด์ สร้าง Content ที่ตอบโจทย์ธุรกิจของแบรนด์ ทั้งการสร้าง Awareness, Brand love และ Conversion ที่ส�ำคัญยังเป็นพื้นที่ที่สร้าง Community ให้ Influencers และ แบรนด์ได้พบปะแลกเปลี่ยนไอเดียสร้างสรรค์ในการท�ำตลาดในยุค Next Normal • สมาคมโปรแกรมเมอร์ ไทย จัด โครงการ Chapter ส่งเสริม การสร้าง ผู้ประกอบการยุคใหม่ สู่เส้นทางการเป็นเจ้าของธุรกิจดิจิทัลอย่างถูกวิธี สร้างไอเดีย ทางธุรกิจดิจิทัลใหม่ๆ พร้อมเครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจ และโปรแกรม TPA Live talk อัปเดตความรู้ เทรนด์ และเทคโนโลยี ส�ำหรับโปรแกรมเมอร์และผู้ที่สนใจ ในเทคโนโลยีโดยเฉพาะ • การตลาดวันละตอน จัดหลักสูตร Data Thinking เพิ่มความรู้ความเข้าใจ เรื่อง Data ที่จะกลายเป็นทักษะส�ำคัญของคนท�ำงานในศตวรรษที่ 21 และหลักสูตร Social Listening ส�ำหรับนักการตลาด เจ้าของธุรกิจ และบุคคลทั่วไป ให้เข้าถึงและ เข้าใจ Consumer Insight ที่มีอยู่มากมายบนออนไลน์ เพื่อน�ำไปต่อยอดทางการ ตลาด เพิ่มพูนโอกาสทางธุรกิจได้

30


Robotics

Robotics

• บริษัท ยูนิเวอร์ซัล โรบอท

หุ่นยนต์ “โคบอทส์”

รับมือ COVID-19 เติบโตเร็วที่สุดในบรรดาหุ่นยนต์ คาดปี ’68 ยอดใช้พุ่ง 34% ของค่าใช้จ่ายหุ่นยนต์ทั่วโลก

บริษัท ยูนิเวอร์ซัล โรบอท ผู้ผลิตหุ่นยนต์จากประเทศเดนมาร์กและผู้น�ำตลาดด้านเทคโนโลยีหุ่นยนต์ ร่วมปฏิบัติงาน หรือที่เรียกว่า “โคบอทส์” (Collaborative Robots: Cobost) ที่ออกแบบให้ท�ำงานร่วมกับมนุษย์ แนะผู้น�ำธุรกิจในภาคอุตสาหกรรมด้านสุขภาพและอุตสาหกรรมหลักที่เกี่ยวข้องในการใช้ประโยชน์จากระบบ หุ่นยนต์อัตโนมัติ รับมือความท้าทายจากภาวการณ์ระบาดใหญ่ของเชื้อไวรัส COVID-19 ปัจจุบันโคบอทส์ได้เข้ามามีบทบาทส�ำคัญอย่างมหาศาลในการต่อสู้ระดับโลกกับ COVID-19 ในการปรับใช้ โคบอทส์ของบริษัท ยูนิเวอร์ซัล โรบอท เพื่อรับมือกับภาวการณ์ระบาดใหญ่นั้น ได้ครอบคลุมในอุตสาหกรรมแนว หน้าที่ส�ำคัญต่างๆ เช่น การดูแลสุขภาพ การทดสอบทางการแพทย์ การจัดการด้านสุขอนามัย การฆ่าเชื้อโรค อุปกรณ์ทางการแพทย์ รวมถึงเครื่องมือที่ช่วยสนับสนุนการผลิตและท�ำให้การด�ำเนินงานมีความยืดหยุ่นยิ่งขึ้น ดาร์เรลล์ อดัมส์ หัวหน้าผูด้ แู ลภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และโอเชียเนีย ของบริษทั ยูนเิ วอร์ซลั โรบอท กล่าวว่า การระบาดของ COVID-19 ท�ำให้เศรษฐกิจโลกเกิดการสั่นสะเทือนครั้งใหญ่ บริษัทต่างๆ ทั่วโลกและ ในสิงคโปร์จ�ำเป็นต้องปรับเปลี่ยนและปรับตัวเพื่อรับมือกับความเป็นจริงใหม่นี้ให้ได้ภายในเวลาอันรวดเร็ว และการ น�ำหุ่นยนต์เข้ามาใช้งานก็ก�ำลังได้รับการส่งเสริมเพิ่มมากขึ้นเพื่อรองรับขั้นตอนการปฏิบัติงานในมาตรฐานใหม่ ซึ่งรวมถึงการเว้นระยะห่างทางกายภาพและการสัม ผัสกับมนุษย์ให้น้อยที่สุด จึงเป็นสาเหตุท�ำให้หุ่นยนต์ที่ได้รับ การออกแบบให้ท�ำงานร่วมกับมนุษย์หรือหุ่นยนต์ร่วมปฏิบัติงาน ที่เรียกว่า “โคบอทส์” ถูกวางตัวให้รับมือกับ ความท้าทายเหล่านี้ การลดการติ ด ต่ อ ของมนุ ษ ย์ แ ละการปกป้ อ งผู ้ ป ่ ว ยและบุ ค ลากรทางการแพทย์ จ าการติ ด เชื้ อ ท� ำ ให้ แอปพลิเคชันด้านโคบอทส์ในด้านสุขภาพและอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้องได้ถกู พัฒนาขึน้ อย่างรวดเร็วและออกมาให้เห็น ทั่วโลกในปีนี้ โดยมีบางตัวอย่างของการปรับใช้ที่ประสบความส�ำเร็จล่าสุด ดังนี้:

31

Engineering Today November - December

2020


Robotics

โคบอทส์กับภารกิจจัดการด้านสุขอนามัยและการฆ่าเชื้อ เทคโนโลยีการฆ่าเชื้อและการท�ำความสะอาด อย่างละเอียดและมีประสิทธิภาพโดยไม่ต้องมีการสัม ผัสจากมนุษย์โดยตรงในบริเวณที่อาจเกิดการติดเชื้อก�ำลัง เป็นที่ต้องการอย่างมากในปัจจุบัน และในเดือนเมษายน พ.ศ. 2563 นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีนันยาง (Nanyang Technological University: NTU) ในสิงคโปร์ได้เปิดตัว eXtremeDisinfection roBOT (XDBOT) ซึ่งประกอบด้วยโคบอทส์ ยูอาร์ 5 (UR5) ที่มาพร้อมหัวฉีดพ่นระบบไฟฟ้าสถิตและติดตั้งอยู่บนแพลตฟอร์มแบบ เคลื่อนที่ได้ โดยโคบอทส์ถูกตั้งโปรแกรมให้เลียนแบบการเคลื่อนไหวของมือมนุษย์เพื่อให้สามารถเข้าไปยังบริเวณ ที่ยากต่อการเข้าถึง เช่น ใต้เตียงและใต้โต๊ะ โคบอทส์กับการตรวจทดสอบ COVID-19 เอสเบน ออสเตอร์การ์ด ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท ยูนิเวอร์ซัล โรบอท ได้พฒ ั นาหุน่ ยนต์ปา้ ยล�ำคอตัวแรกของโลกขึน้ ภายใต้ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเซาเทิรน์ เดนมาร์ก (University of Southern Denmark: SDU) หุน่ ยนต์ตวั นีใ้ ช้แขนโคบอทส์ ยูอาร์ 3 (UR3) ทีต่ ดิ ตัง้ พร้อมกับปลายแขนกล ซึง่ สามารถ ออกแบบและสร้างขึ้นได้ตามต้องการโดยใช้เทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติ โดยโคบอทส์รุ่นนี้ช่วยให้กระบวนการ ตรวจป้ายล�ำคอสามารถเสร็จสิน้ ได้ภายในเวลา 7 นาที และใช้เวลาเพียง 25 วินาที ในการล้างท�ำความสะอาดตัวเอง นอกจากนี้ บริษัท เบรน เนวี่ ไบโอเทคโนโลยี (Brain Navi Biotechnology) ประเทศไต้หวัน ได้พัฒนา หุ่นยนต์เก็บตัวอย่างอัตโนมัติด้วยวิธีการล้วงเข้าไปในโพรงจมูกตัวแรกของโลกโดยใช้โคบอทส์ ยูอาร์ (UR) โคบอทส์ รุ่นนี้สามารถจดจ�ำโครงสร้างใบหน้าของผู้ป่วยได้โดยอัตโนมัติ ทั้งยังสามารถระบุต�ำแหน่งของโพรงจมูก ถือไม้ป้าย โพรงจมูก (ลักษณะเหมือนไม้พันส�ำลีแบบยาว) โดยใช้มือหุ่นยนต์จับ แล้วแทงไม้ป้ายเข้าไปในช่องจมูกของผู้ป่วย โดยอัตโนมัติและค้างอยู่ประมาณ 10 ถึง 25 วินาที เพื่อเก็บรวบรวมตัวอย่างสารคัดหลั่ง ซึ่งทั้งหมดนี้ใช้เวลา ด�ำเนินการเพียง 2-5 นาทีเท่านัน้ ส่งผลให้สามารถเก็บตัวอย่างได้เกือบ 100 คน ภายในเวลา 8 ชัว่ โมง กระบวนการ ดังกล่าวไม่จำ� เป็นต้องมีการแทรกแซงจากมนุษย์ จะมีกเ็ พียงขัน้ ตอนการตัง้ ค่าการสแกนต�ำแหน่งใบหน้าเริม่ ต้นเท่านัน้ ที่จ�ำเป็นต้องด�ำเนินการโดยเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ที่ยืนอยู่หลังแผงป้องกัน ทั้งนี้ หุ่นยนต์ป้ายล�ำคอและโพรงจมูกจะช่วยปกป้องเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ ด้วยการลดการสัมผัสระหว่าง เจ้าหน้าที่กับผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดการติดเชื้อ ณ จุดที่ท�ำการทดสอบ “หุ่นยนต์ร่วมปฏิบัติงาน ได้ถูกน�ำไปใช้งานในหลากหลายรูปแบบเพื่อช่วยบริษัทต่างๆ รับมือกับภาวะระบาด ใหญ่ทวั่ โลก และด้วยคุณสมบัตทิ สี่ ำ� คัญ เช่น ความปลอดภัย ความรวดเร็ว ความยืดหยุน่ และการใช้งานง่าย จึงท�ำให้ เกิดความต้องการโคบอทส์อย่างมากในภาคส่วนต่างๆ ที่ต้องการกลับมาด�ำเนินธุรกิจต่อและยกระดับประสิทธิภาพ การท�ำงานให้ถึงขีดสุด” อดัมส์ กล่าวสรุป แม้ว่าโคบอทส์จะเป็นผลิตภัณฑ์ส�ำหรับตลาดเฉพาะกลุ่มที่มีสัดส่วนเพียง 3% ของการใช้จ่ายด้านหุ่นยนต์ ทั่วโลกในปี พ.ศ. 2561 แต่ ณ ปัจจุบันโคบอทส์กลับมีอัตราการเติบโตอย่างรวดเร็วสูงสุดในภาคส่วนของ อุตสาหกรรมหุน่ ยนต์ ซึง่ มีการคาดการณ์วา่ ภายในปี พ.ศ. 2568 อัตราการเติบโตของโคบอทส์จะก้าวกระโดดจาก ที่จ�ำกัดเพียงในตลาดเฉพาะทางไปเป็นผลิตภัณฑ์กระแสหลัก ซึ่งคิดเป็นสัดส่วน 34 เปอร์เซ็นต์ของการใช้จ่าย ด้านหุ่นยนต์ทั่วโลก1 ข้อมูลอ้างอิง: 1

https://blog.universal-robots.com/adaptation-business-continuity-cobots

Engineering Today November - December 2020

32


EEC • กองบรรณาธิการ

การพัฒนาระบบคมนาคมและขนส่งในพื้นที่ EEC มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยง การเดินทาง และการขนส่งสินค้าครอบคลุมเขตชุมชนและพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ซึ่งเป็นรากฐานส�ำคัญของการพัฒนาอุตสาหกรรม ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออก (สกพอ.) โดย คณิศ แสงสุพรรณ เลขาธิการ ร่วม ประชุมกับ พรพจน์ เพ็ญพาส อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง เพื่อหารือแนวทางแก้ปัญหาผลกระทบแผนผังระบบคมนาคม และขนส่ง EEC ณ ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก ชัน้ 25 อาคาร กสท โทรคมนาคม (บางรัก) โดยการประชุมครั้งนี้มีข้อหารือ 3 ประเด็น ดังนี้

สกพอ. หารือ แนวทางแก้ปัญหา ผลกระทบ ผังเมือง EEC

01 02

หวังส่งเสริมการลงทุน เศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดล้อม

33

แผนผังการใช้ประโยชน์ที่ดิน หากพบปัญหา จะด�ำเนินการแก้ไขโดยกรมโยธาธิการและผังเมือง ในชั้นการจัดท�ำผังเมืองรวมระดับอ�ำเภอ แ ผ น ผั ง โ ค ร ง ส ร ้ า ง พื้ น ฐ า น แ ล ะ ร ะ บ บ สาธารณูปโภค ส�ำหรับปัญหาแนวถนนโครงการ ในเบือ้ งต้น กรมโยธาธิการและผังเมืองได้เสนอ แนวทางปรั บ เป็ น ถนนเสนอแนะ จ� ำ นวน 54 สาย ประกอบด้วย

Engineering Today November - December

2020


2.1 แก้ไขถนนโครงการที่ก�ำหนดใหม่เพื่อเชื่อมพื้นที่เขต ส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ เป็นถนนเสนอแนะ จ�ำนวน 16 สาย 2.2 แก้ไขถนนโครงการใหม่ที่อยู่ในร่างผังเมืองรวม ซึ่ง กรมโยธาธิการฯ ก�ำลังเตรียมปิดประกาศ 15 วัน เป็นถนนเสนอแนะ จ�ำนวน 38 สาย ส�ำหรับการแก้ไขถนนโครงการจ�ำนวน 54 สาย ให้เป็น “ถนนเสนอแนะ” ดังกล่าว สกพอ. และกรมโยธาธิการฯ จะ ร่วมกันด�ำเนินการและเสนอต่อคณะอนุกรรมการจัดท�ำแผนผัง การพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เพื่อพิจารณาต่อไป

ทั้งนี้ การพัฒนาระบบคมนาคมและขนส่งในพื้นที่ EEC มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงการเดินทาง และการ ขนส่ ง สิ น ค้ า ครอบคลุ ม เขตชุ ม ชนและพื้ น ที่ เ ขตพั ฒ นาพิ เ ศษ ภาคตะวันออก ซึง่ เป็นรากฐานส�ำคัญของการพัฒนาอุตสาหกรรม เป้าหมายต่างๆ ให้สามารถขับเคลื่อนอย่างไร้รอยต่อ และเติบโต ได้อย่างรวดเร็ว จากการที่หน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ ตลอดจนภาคเอกชน สามารถวางแผนการพัฒนาและ การลงทุนได้ชดั เจน ขณะเดียวกันก็ชว่ ยรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม พร้อมกับส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงการบริการ สาธารณู ป โภค-สาธารณู ป การได้ อ ย่ า งสะดวกสบาย รวมถึ ง ใช้ชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดี มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน

03

กรณี ที่ ป ระชาชนมี ป ั ญ หาหรื อ ข้ อ สงสั ย ใดๆ เกี่ยวกับเรื่องแผนผัง EEC หรือผังเมืองรวม สามารถติ ด ต่ อ สอบถามรายละเอี ย ดได้ ที่ หน่วยงาน ดังนี้ 3.1 แผนผัง EEC สามารถสอบถามได้ที่ สกพอ. หรือ กรมโยธาธิการและผังเมือง หรือส�ำนักงานโยธาธิการ และผังเมืองจังหวัด 3.2 ผังเมืองรวม สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ ที่หน่วยงาน ดังนี้ กรณีเป็นผังเมืองรวมที่อยู่ระหว่าง การจัดท�ำผังเมืองรวม (ชั้นการปิดประกาศ 15 วัน และชั้นการปิดประกาศ 90 วัน) ให้ติดต่อที่กรม โยธาธิการและผังเมือง หรือส�ำนักงานโยธาธิการและ ผั ง เมื อ งจั ง หวั ด หรื อ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ผู้วางและจัดท�ำผังเมืองรวม

กรณีเป็นผังเมืองรวมที่ประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมายแล้ว ให้ติดต่อที่กรมโยธาธิการและผังเมือง หรือส�ำนักงานโยธาธิการ และผังเมืองจังหวัด หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการใช้ บังคับผังเมืองรวมในพื้นที่นั้น

คณิศ แสงสุพรรณ เลขาธิการคณะกรรมการนโยบาย เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.)

พรพจน์ เพ็ญพาส อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง

Engineering Today November - December 2020

34


IoT (Internet of Things) • กองบรรณาธิการ

กระทรวงอุตฯ จับมือญี่ปุ่น เดินหน้าโครงการ Smart Monozukuri

ดึง IoT ปั้นอุตสาหกรรมอัจฉริยะ Transform ภาคการผลิตไทยปี ’64

ณัฐพล รังสิตพล อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.)

ระทรวงอุตสาหกรรม จับมือกระทรวงเศรษฐกิจ การค้า และอุตสาหกรรมญี่ปุ่น (METI) พัฒนา อุตสาหกรรมไทยไปสู่การเป็นอุตสาหกรรมอัจฉริยะ ผ่านการ ด�ำเนินโครงการสมาร์ทโมโนซึครุ ิ (Smart Monozukuri) พัฒนา บุคลากรภาคการผลิตในอุตสาหกรรมให้สามารถน�ำระบบ IoT (Internet of Things) มาเป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหา พร้อม ฝึกทักษะสร้างผูเ้ ชีย่ วชาญพิเศษเพือ่ ขยายผลไปยังผูป้ ระกอบการ ทีส่ นใจพัฒนาขีดความสามารถในภาคการผลิตในปี พ.ศ. 2564 โดยเน้นทักษะการปรับใช้เทคโนโลยี โดยไม่จ�ำเป็นต้องลงทุน มหาศาล ณัฐพล รังสิตพล อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กระทรวงอุ ต สาหกรรม กล่ า วว่ า จากนโยบายของ สุ ริ ย ะ จึงรุ่งเรืองกิจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ส่งเสริม อุตสาหกรรมไทยไปสู่การเป็นอุตสาหกรรมอัจฉริยะ ภายใต้ เป้าหมายส�ำคัญสู่การเป็นอุตสาหกรรม 4.0 เพื่อเพิ่มศักยภาพ และเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคการผลิต โดย ได้ร่วมมือกับกระทรวงเศรษฐกิจ การค้า และอุตสาหกรรมญี่ปุ่น (METI) และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีความเชี่ยวชาญใน ด้านอิเล็กทรอนิกส์ทส่ี ามารถเชือ่ มโยงโดยใช้โครงข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet of Things) หรือ IoT ด้วยประเทศไทยและญีป่ นุ่ ประสบ

ปัญหาขาดแคลนแรงงานที่มีศักยภาพเฉพาะทาง จากการเข้าสู่ สังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว จึงมีโครงการจัดตั้งทีมสนับสนุน อุตสาหกรรมอัจฉริยะของประเทศไทย หรือ Smart Monozukuri เพื่อสร้างบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในด้านเทคโนโลยี อัจฉริยะ เพื่อเป็นฟันเฟืองส�ำคัญไปสู่การพัฒนาอุตสาหกรรม ในอนาคต โครงการดังกล่าวด�ำเนินการฝึกอบรมบุคลากรโดย AOTS และ JTECS ซึง่ ใช้วธิ กี ารไคเซน (Kaizen) ทีม่ งุ่ เน้นการมีสว่ นร่วม ของพนักงานทุกคน เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและหาแนวทางแก้ไข ร่วมกัน ผ่านการใช้เครื่องมือ IoT ซึ่งได้เริ่มโครงการตั้งแต่ พ.ศ. 2562 โดยเดินทางไปฝึกอบรมทีป่ ระเทศญีป่ นุ่ แต่ดว้ ยสถานการณ์ การแพร่ระบาดของ COVID-19 การด�ำเนินงานในปีนจี้ งึ มีรปู แบบ การฝึกอบรมผ่านระบบ Virtual และมีการเยี่ยมชมและติดตาม การด�ำเนินงานของผู้ประกอบการที่ได้น�ำระบบ IoT มาปรับใช้ใน ภาคการผลิต โดยได้แบ่งผู้เชี่ยวชาญเป็น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มแรกหรือ Master Instructor เป็น ผู้เชี่ยวชาญที่สามารถ ถ่ายทอดความรูแ้ ก่ผปู้ ระกอบการ SMEs รายอืน่ ได้ และกลุม่ ที่ 2 หรือ Instructor คือ ผู้เชี่ยวชาญที่เรียนรู้การแก้ปัญหาด้วย IoTs ในขั้นต้น โดยโครงการนี้จัดขึ้นระหว่างเดือนเมษายน 2563มีนาคม 2564

35

Engineering Today November - December

2020


ณัฐพล กล่าวว่า หลักการส�ำคัญของ Smart Manufacturing คือการฝึกบุคลากรให้สามารถวิเคราะห์ปญ ั หาเพือ่ ท�ำการปรับปรุง และมองหาโอกาสการพัฒนากระบวนการผลิตในโรงงานด้วย IoT ตั ว อย่ า งเช่ น การควบคุ ม สถานะกระบวนการผลิ ต ผ่ า น คอมพิวเตอร์จวิ๋ Raspberry Pi (ราสเบอร์รี่ พาย) และจอแสดงผล ที่เชื่อมกับสัญญาณไวไฟ (wifi) ซึ่งเป็นการลงทุนไม่ได้สูงมาก แต่สามารถช่วยให้ควบคุมการผลิตได้ตลอดเวลา หรือ Real Time ท�ำให้ฝ่ายผลิตเห็นภาพข้อมูลและมีการแจ้งเตือนเมื่อเกิดปัญหา ในสายการผลิตผ่านไปยังไลน์กลุ่มในสมาร์ทโฟนได้

Engineering Today November - December 2020

“อย่างไรก็ดีการน�ำระบบ IoT เข้ามาใช้ในภาคการผลิต ของอุตสาหกรรมในเบือ้ งต้น ไม่ใช่การลงทุนเพือ่ การเปลีย่ นแปลง ทั้งระบบที่ใช้เงินลงทุนจ�ำนวนมาก แต่สิ่งส�ำคัญของการน�ำ IoT มาใช้ ใ นโรงงานได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพนั่ น คื อ การที่ บุ ค ลากร สามารถวิเคราะห์ประเด็นปัญหาในโรงงานได้อย่างตรงจุดและ เลื อ กใช้ เ ทคนิ ค ที่ เ หมาะสมในการพั ฒนากระบวนงาน สร้ า ง บุคลากร 4.0 เพื่อเป็นก�ำลังส�ำคัญขับเคลื่อนองคาพยพไปสู่ อุตสาหกรรม 4.0 อย่างเป็นรูปธรรมในปี พ.ศ. 2564” ณัฐพล กล่าวทิ้งท้าย

36


IT Update • กองบรรณาธิการ

ฟูจติ สึ (ประเทศไทย) เปิดตัวศูนย์ปฏิบัติการ ด้านความปลอดภัย SOCaaS ๏ มุ่งเฝ้าระวัง ๏ แจ้งเตือน ๏ ป้องกันการโจมตี ทางไซเบอร์ ให้ลูกค้า ระดับองค์กร

บริษัท ฟูจิตสึ (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด เปิ ด ตั ว ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารด้ า น ความปลอดภัย (Security Operation Center As a Service) หรือ SOCaaS ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของกลยุทธ์การบริการ ด้านเทคโนโลยีในปี พ.ศ. 2563 ใน กลุม่ บริการด้านดิจทิ ลั DX-Modernize เพื่อให้บริการ เฝ้าระวัง แจ้งเตือนและ ให้ค�ำแนะน�ำระบบความปลอดภัยทาง ไซเบอร์ให้กับองค์กรลูกค้าเพื่อสร้าง ความปลอดภัยที่ดีมากยิ่งขึ้น

โทชิโร มิอุระ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ฟูจิตสึ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า ศูนย์ปฏิบัติการด้านความปลอดภัย (Security Operation Center As a Service) หรือ SOCaaS เป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธ์การบริการด้าน เทคโนโลยีในปี พ.ศ. 2563 ในกลุ่มบริการด้านดิจิทัล DX-Modernize เพื่อ เพิม่ ขีดความสามารถในการสร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้าให้ได้มากยิง่ ขึน้ และ สนองตอบความต้องการของลูกค้าระดับองค์กร โดยจัดเตรียมทีมงานทีเ่ ชีย่ วชาญ ด้านระบบความปลอดภัยที่เชื่อถือได้ เพื่อให้บริการ เฝ้าระวัง แจ้งเตือนและ ให้คำ� แนะน�ำ ระบบความปลอดภัยทางไซเบอร์ให้กบั องค์กรของลูกค้าโดยลูกค้า ไม่จ�ำเป็นต้องใช้เงินลงทุนจัดตั้งระบบรักษาความปลอดภัยในมูลค่าที่สูงมาก เบื้องต้นจะมีค่าบริการประมาณ 50,000 บาทต่อเดือน ซึ่งสามารถเช่า ใช้บริการส่วนนี้จากผู้เชี่ยวชาญและทีมงานที่พร้อมให้บริการของฟูจิตสึได้ ช่วยลดงบประมาณด้านไอทีให้กับองค์กรได้อย่างรวดเร็ว สามารถรักษาระบบ ความปลอดภัยด้านไซเบอร์ให้กับองค์กรได้อย่างดี โดยทีมงานฟูจิตสึ สามารถตอบโจทย์ด้านระบบความปลอดภัยไซเบอร์ ให้กับลูกค้าองค์กร ด้วยความพร้อมของ 3 องค์ประกอบหลัก คือ ทีมงาน ที่ เ ชี่ ยวชาญ (People) มี ร ะบบการจั ด การที่ ทั น สมั ย และให้ บ ริ ก ารตลอด 24 ชั่วโมง (Process) และได้ร่วมมือกับเทคโนโลยีพาร์ทเนอร์ LogRhythm (Technology) ทีแ่ ข็งแกร่งและได้รบั การยอมรับระดับสากลมาใช้ในการบริหาร ศูนย์ฯ SOC มีทักษะความรู้ ความสามารถในการรับมืออย่างดีมีประสบการณ์ เท่าทันภัยคุกคามในโลกไซเบอร์ จากการส�ำรวจไซเบอร์ซเี คียวริตี เวนเจอร์ส บริษทั วิจยั และจัดท�ำรายงาน ด้านความมัน่ คงทางไซเบอร์ของสหรัฐอเมริกา คาดการณ์วา่ ผลกระทบจากการ โจมตีด้วยแรนซัมแวร์ หรือมัลแวร์เรียกค่าไถ่ ที่เกิดขึ้นทั่วโลก อาจสูงถึง 20,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หรือมากกว่า 620,000 ล้านบาท ภายในปี พ.ศ. 2564 ตัวเลขดังกล่าวเพิม่ ขึน้ กว่า 57 เท่า ของมูลค่าความเสียหายทัว่ โลก สุ ป รี ดี วั ฒ นการุ ณ ผู ้ อ� ำ นวยการกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ บริ ก าร Managed Infrastructure Service, System Integration บริษทั ฟูจติ สึ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า ศูนย์ Fujitsu’s Security Operation Center As A Service (SOCaaS) จะให้บริการ Security Intelligence Platform ทีท่ ำ� ให้การวิเคราะห์ ถึ ง ภั ย คุ ก คามทางไซเบอร์ ต ่ า งๆ นั้ น ชั ด เจนมากยิ่ ง ขึ้ น ด้ ว ยการรวบรวม ความสั ม พั น ธ์ ข องเหตุ ก ารณ์ ต ่ า งๆ และรวบรวมข้ อ มู ล จากหลายแหล่ ง ผ่านกระบวนการคิดวิเคราะห์ทงั้ ในรูปแบบอัตโนมัตทิ ที่ นั สมัยร่วมกับผูเ้ ชีย่ วชาญ ทางด้าน Cybersecurity ท�ำให้สามารถค้นหาและตรวจจับถึงภัยคุกคามและ ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับองค์กรได้อย่างแม่นย�ำ นอกจากนี้ข้อมูลและพฤติกรรมต่างๆ ที่ถูกรวบรวมมายัง SOCaaS ยังได้ถกู น�ำมาประเมินถึงความเสีย่ งและแจ้งเตือนถึงความเสีย่ งทีม่ คี วามรุนแรง และมีผลกระทบต่อระบบของลูกค้า รวมถึงค�ำแนะน�ำและแนวทางป้องกัน เพื่อช่วยลดการละเมิดการเข้าถึงข้อมูลหรือทรัพยากรต่างๆ ขององค์กรโดยที่

โทชิโร มิอุระ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ฟูจิตสึ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

37

Engineering Today November - December

2020


สุปรีดี วัฒนการุณ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มธุรกิจบริการ Managed Infrastructure Service, System Integration บริษัท ฟูจิตสึ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

วัณฏ์รัตติกา ดิษฐ์เจริญ ผู้อ�ำนวยการผลิตภัณฑ์ บริษัท เอ็กซ์คลูซีพ เน็ตเวิร์ค (ประเทศไทย) จ�ำกัด

ไม่ได้รับอนุญาต หรือก่อนที่เหตุการณ์ที่เกิดจาก ภั ย คุ กคามทางไซเบอร์จะเกิดขึ้น ซึ่ง จะสามารถ ถู ก ตรวจพบได้ ก ่ อ นด้ ว ย The Indicator of Compromise และ Threat Intelligence Services (TIS) Feeds จึ ง ท� ำ ให้ ส ามารถตอบสนองและ ลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับองค์กรได้อย่าง รวดเร็ว “SOCaaS จะท�ำหน้าที่ประเมิน ตรวจสอบ และแก้ไขเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อลดผลกระทบ และความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับองค์กรให้อยู่ใน ระดับที่ไม่รุนแรง อีกทั้ง ยังเป็นการเตรียมรับมือ ล่วงหน้าก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์บุกรุกขึ้น และเมื่อ เกิดเหตุการณ์บุกรุกขึ้น ทีมงาน CSIRT จะเข้า ด�ำเนินการตรวจสอบ ช่วยเหลือ และให้ค�ำแนะน�ำ เพื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ หตุ ก ารณ์ ลั ก ษณะเดิ ม เกิ ด ขึ้ น ซ�้ำอีกในอนาคต” สุปรีดี กล่าว

Engineering Today November - December 2020

สําหรับลูกค้าที่กําลังมองหามาตรฐานด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ เพิม่ ขึน้ กับการจัดการบริการรักษาความปลอดภัยทีห่ ลากหลาย สามารถเลือก ใช้บริการได้ โดยอาจจะเริ่มใช้บริการด้านความปลอดภัยที่ฟูจิตสึในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง เช่น บริการการป้องกันภัยคุกคามขั้นสูง ข่าวกรองภัยคุกคามไซเบอร์ การตรวจจับและการตอบสนองของปลายทาง (EDR) การวิเคราะห์ทปี่ รับปรุงแล้ว และการวิเคราะห์ภัยคุกคาม ข้อมูลความปลอดภัยและการจัดการเหตุการณ์ (SIEM และ SIEMaaS) และการตอบสนองภัยคุกคาม ซึ่งทางฟูจิตสึมีบริการ ให้ลูกค้าเลือกใช้ได้ตามความต้องการ โดยไม่จ�ำเป็นต้องซื้อทั้งโปรแกรมการให้ บริการ ซึ่งจะคิดค่าบริการดีไวซ์ 12,000 บาทต่อเดือน “ฟู จิ ต สี มั่ น ใจว่ า ด้ ว ยจุ ด แข็ ง และพั น ธมิ ต รที่ แ ข็ ง แกร่ ง จะท� ำ ให้ ศู น ย์ ปฏิบัติการด้านความปลอดภัย (SOCaaS) สามารถตรวจจับ แจ้งเตือน และ ป้องกันการโจมตีทางไซเบอร์ ตลอด 24 ชัว่ โมง เพือ่ ให้ทกุ ลูกค้า องค์กรสามารถ เดินหน้าท�ำงาน ท�ำธุรกิจ ได้อย่างมั่นใจ ไร้กังวลเรื่องภัยไซเบอร์” สุปรีดี กล่าว ส่วนเป้าหมายภายหลังเปิดให้บริการ SOCaaS นอกจากจะอยากให้ ลูกค้าได้รับการบริการที่ปลอดภัยในเรื่องการถูกคุกคามทางไซเบอร์มากยิ่งขึ้น เมื่อใช้บริการของฟูจิตสึ โดยเฉพาะลูกค้าในกลุ่มโรงงาน การเงินและธนาคาร ซึ่งในปีแรกตั้งเป้าไว้ที่ประมาณ 20 ล้านบาท “ส�ำหรับคู่แข่งที่ให้บริการด้านความปลอดภัย SOCaaS ในประเทศไทย นั้นมีอยู่ 4-5 บริษัท ซึ่งแนวทางการให้บริการจะมีการท�ำงานที่ชัดเจนและ แตกต่างกันตามความต้องการของลูกค้าแต่ละประเภท เพราะตลาดการท�ำธุรกิจ ด้านความปลอดภัย SOCaaS เป็นตลาดขนาดใหญ่และยังมีโอกาสในการท�ำ ธุรกิจอีกมาก ท�ำให้ลูกค้ามีทางเลือกรับบริการมากยิ่งขึ้น” สุปรีดี กล่าว ในส่ ว นของมู ล ค่ า ตลาดบริ ก ารด้ า นความปลอดภั ย SOCaaS ใน ระดับโลกจากการส�ำรวจเมื่อ 2 ปีท่ีผ่านมาอยู่ที่ประมาณ 5,000 ล้านบาท แบ่งเป็นการให้บริการประมาณ 30% และหากคาดการณ์มูลค่าตลาดบริการ ด้านความปลอดภัย SOCaaS ในปัจจุบันคาดว่าจะเติบโตมากขึ้น จากความ ต้ อ งการใช้ ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น อาจจะโตเพิ่ ม ขึ้ น ได้ ป ระมาณ 7,000 ล้ า นบาท เนื่องจากทุกองค์กรให้ความส�ำคัญในเรื่องความต้องใช้ระบบการดูแลด้าน ความปลอดภัย SOCaaS ในตลาดการค้าทุกรูปแบบมากขึ้น วัณฏ์รัตติกา ดิษฐ์เจริญ ผู้อ�ำนวยการผลิตภัณฑ์ บริษัท เอ็กซ์คลูซีพ เน็ตเวิร์ค (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า จากผลการศึกษา CISO Benchmark พบว่า หลายๆ ประเทศ รวมถึงประเทศไทย ต่างเผชิญกับอุปสรรคส�ำคัญที่สุด 3 ข้ อ ในการที่ จ ะปรั บ ใช้ เ ทคโนโลยี ก ารรั ก ษาความปลอดภั ย ที่ ก ้ า วล�้ ำ ประกอบด้วย การขาดความรู้ที่เพียงพอเกี่ยวกับเทคโนโลยีและกระบวนการ การขาดแคลนบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ และปัญหาเรื่องการใช้งานร่วมกับ ระบบรุน่ เก่า อย่างไรก็ดี องค์กรธุรกิจหลายแห่งพยายามทีจ่ ะเอาชนะอุปสรรค ดังกล่าว ด้วยการท�ำงานร่วมกับผูใ้ ห้บริการทีเ่ ป็นผูน้ ำ� ตลาด เพือ่ รันและจัดการ ระบบรักษาความปลอดภัยบนแพลตฟอร์มของ LogRhythm “เรารู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้ร่วมมือกับบริษัทชั้นน�ำอย่างฟูจิตสึ ซึ่งมี ความรู ้ ค วามเชี่ ยวชาญ ประสบการณ์ และชื่ อ เสี ย งเป็ น ที่ ย อมรั บ ในเรื่ อ ง ของการน�ำเสนอโซลูชนั ไซเบอร์ซเี คียวริตเี้ พือ่ ตอบโจทย์ความต้องการขององค์กร ต่างๆ ในปัจจุบัน” วัณฏ์รัตติกา กล่าว

38


IT Update • กองบรรณาธิการ

เปิดตัวเครื่องพิมพ์หมึกสะท้อนแสงรุ่นแรกของโลก

เอปสั น เปิดตัวเครื่องพิมพ์ หมึกสะท้อนแสง รุ่นแรกของโลก

ยรรยง มุนีมงคลทร ผู้อ�ำนวยการบริหาร บริษัท เอปสัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า นับตั้งแต่เปิดปีงบประมาณ 2563 มาได้ราว 6 เดือน (เมษายน-กันยายน) กลุม่ ผลิตภัณฑ์เครือ่ งพิมพ์ ระดับมืออาชีพของบริษัทฯ ถือว่าท�ำได้ดีเกินกว่าที่ตั้งเป้าไว้ โดยมี F-Series เครื่องพิมพ์ส�ำหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอที่ท�ำ ยอดขายได้มากสุด คิดเป็น 35% ของยอดขายทั้งหมดของกลุ่ม ผลิตภัณฑ์ รองมาคือ S-Series เครื่องพิมพ์ป้ายโฆษณา 28% และ P-Series เครื่องพิมพ์เพื่อธุรกิจโฟโต้และงานศิลป์ 27% ตามมาด้วย T-Series เครือ่ งพิมพ์ในองค์กรส�ำหรับงานเขียนแบบ งานกราฟิก พิมพ์เขียว และโปสเตอร์ 8% และ SurePress เครื่ อ งพิ ม พ์ ฉ ลากดิ จิ ทั ล 2% โดยมี ป ั จ จั ย สนั บ สนุ น จากการ ที่ผู้ประกอบการจ�ำนวนมากในอุตสาหกรรมต่างๆ ก�ำลังน�ำธุรกิจ เข้าสู่ยุคดิจิทัลมากขึ้น และให้ความสนใจกับเทคโนโลยีที่ช่วย ลดต้ น ทุ น การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ เพิ่ ม โอกาสในการรั บ งานแบบ ออนดีมานด์ และไม่สร้างมลภาวะในที่ท�ำงาน

จัดแพคเกจหนุนสตาร์ตอัป เริ่มต้นธุรกิจด้วยเงินทุน ไม่ถึง 1 แสนบาท เอปสัน ผู้น�ำเทคโนโลยีการพิมพ์ระบบดิจิทัล เปิดตัว เครื่องพิมพ์เพื่ออุตสาหกรรมสิ่งทอประเภท Dye Sublimation ซีรี่ส์ SureColor SC-F500 รองรับการขยายตัวของการพิมพ์ แบบออนดีมานด์ ชูไฮไลต์รุ่น SC-F531 ที่สามารถพิมพ์หมึก สะท้อนแสง (Fluorescent) เครื่องแรกของโลก พร้อมปั้น แพคเกจสนับสนุนสตาร์ตอัปให้เริ่มต้นธุรกิจได้ด้วยเงินทุน ไม่ ถึ ง 1 แสนบาท เผย 4 จุ ด แข็ ง ส� ำ คั ญ ส่ ง ผลให้ ต ลาด เครื่องพิมพ์เพื่ออุตสาหกรรมสิ่งทอของเอปสันเติบโต

39

Engineering Today November - December

2020


เครื่องพิมพ์หน้ากว้าง 24 นิ้ว มีขนาดกะทัดรัด สามารถพิมพ์งาน ทีม่ สี สี นั สดใส คมชัด ด้วยเทคโนโลยีหวั พิมพ์ PrecisionCore และ ชิป Micro Thin-Film Piezo ทีค่ วบคุมการหยดหมึกได้อย่างแม่นย�ำ ทั้งยังใช้หมึก UltraChrome ประเภท Dye Sublimation ของ เอปสันที่ท�ำให้งานพิมพ์ทนได้ทั้งแสง น�้ำ และกรดด่างได้ดี และ เป็นหมึกที่ผ่านการรับรองตามมาตรฐาน OEKO-TEX ว่าไม่มี อันตรายจากสารตกค้างที่เป็นพิษ ไม่ระคายเคืองต่อผิวเด็ก และ ไม่ท�ำลายธรรมชาติ ซึ่งเป็นจุดเด่นของเอปสัน ขณะที่ตลาดทั่วไป ยังไม่มีมาตรฐานนี้ โดย รุ่น SureColor SC-F531 เป็นเครื่องพิมพ์หมึก สะท้อนแสงเครื่องแรกของโลก ใช้ชุดหมึก 4 สี ได้แก่ สีฟ้า สีชมพู สะท้อนแสง สีเหลืองสะท้อนแสง และสีด�ำ นอกจากนี้ ทั้ง 2 รุ่น ยังมาพร้อมกับซอฟต์แวร์ Edge Print RIP ลิขสิทธิ์ของเอปสัน ที่ช่วยเพิ่มความคมชัดและความสะดวกในการจัดการไฟล์ภาพ และโปรแกรม LFP Accounting Tool ที่ช่วยเรื่องการค�ำนวณ ต้นทุนการพิมพ์ได้อย่างแม่นย�ำ หมึกสะท้อนแสงจะสามารถช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับงานพิมพ์ ประเภทต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นของพรีเมียม เช่น เคสมือถือ แก้ว ทีร่ องแก้ว หรือหมอน เป็นต้น หรือชุดและอุปกรณ์กฬี า เช่น เสือ้ วิง่ เสื้อจักรยาน หรือแบรนด์เสื้อผ้าที่ต้องการผลิตสินค้าเพื่อทดลอง ตลาด หรือชุดต้นแบบเพือ่ จัดแสดง ทัง้ ยังสามารถพิมพ์วสั ดุสำ� หรับ ตกแต่งภายในสถานที่ต่างๆ อย่างร้านอาหารและสถานบันเทิง ปลวัชร กล่าวว่า สถานการณ์ COVID-19 ช่วยเร่งให้โรงงาน ขนาดใหญ่ต้องปรับตัว เนื่องจากมีการย้ายฐานการผลิตจากไทย ไปเวียดนามมากขึ้น และท�ำให้มี SME ผู้ประกอบการรายใหม่ ที่ รั บ ผลิ ต สิ น ค้ า พรี เ มี ย ม โดยบริ ษั ท ฯ ได้ จั ด แพคเกจพิ เ ศษ ซื้อ SureColor SC-F530 หรือ SC-F531 วันนี้ รับฟรีกระดาษ ทรานสเฟอร์ 2 ม้วน หมึกพิมพ์ 2 ชุด พร้อมประกัน 2 ปี รวม ในราคา 98,000 บาท รวม VAT พร้อมโปรโมชัน ผ่อน 0% นาน 10 เดือน “กระดาษทรานสเฟอร์ มี ค วามยาวทั้ ง หมด 30 เมตร สามารถตัดกระดาษขนาด 8 x 10 ได้ 280 แผ่น ส�ำหรับต้นทุน การพิมพ์เสื้อยืดตกตัวละประมาณ 4 บาท เป็นค่ากระดาษ 1.80 บาท และค่าหมึก 2 บาท โดยใช้หมึกพิมพ์เพียง 0.5 ซีซี หมึกพิมพ์ 1 ชุด พิมพ์ได้ 1,000 แผ่น ทั้งนี้ราคาต้นทุนเสื้อยืด อยูท่ ี่ 60 บาท น�ำไปจ�ำหน่ายราคา 199 บาท หากมียอดผลิตกว่า 500 ตัว ก็คืนทุนได้แล้ว” ปลวัชร กล่าว ยรรยง กล่าวทิง้ ท้ายว่า หากสินค้ามีแบรนด์ ซือ้ SureColor SC-F530 หรือ SC-F531 ใช้เวลาเพียง 2 ปีก็คืนทุนแล้ว ทั้งนี้ มีแบรนด์ใหญ่ที่น�ำไปผลิตเป็น ผ้าพันคอ ผลิตออกมาจ�ำนวน ไม่มาก จ�ำหน่ายในราคาหลักพันบาท ซึ่งจะช่วยสร้างมูลค่าเพิ่ม และคาแรกเตอร์ให้สนิ ค้า และสร้างโอกาสให้ดไี ซน์เนอร์หน้าใหม่ๆ เข้ามาสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์กันมากขึ้น

คณิน ธรรมภิบาลอุดม (ซ้าย) ผู้จัดการอาวุโส ฝ่ายวางแผนพัฒนา ผลิตภัณฑ์และการตลาด และ ปลวัชร นาคะโยธิน (ที่ 2 จากซ้าย)

“สภาพเศรษฐกิ จ ในปี นี้ ประกอบกั บ สถานการณ์ COVID-19 ท� ำ ให้ มี ค นเลื อ กที่ จ ะท� ำ งานเป็ น ฟรี แ ลนซ์ ห รื อ เปิ ด ธุ ร กิ จ ของตั ว เองมากขึ้ น ในธุ ร กิ จ ให้ บ ริ ก ารการพิ ม พ์ ก็ มี ผูป้ ระกอบการทีเ่ น้นงานประเภทออนดีมานด์เกิดใหม่เพิม่ ขึน้ อย่าง รวดเร็ว และหันมาลงทุนเครื่องพิมพ์ขนาดเล็กและกลางมากขึ้น โอกาสทางการตลาดส�ำหรับเครื่องพิมพ์ของเอปสันโดยเฉพาะใน กลุม่ สิง่ ทอจึงเปิดกว้างมาก SureColor SC-F530 และ SC-F531 ที่เปิดตัวในวันนี้ เป็นเครื่องพิมพ์เพื่ออุตสาหกรรมสิ่งทอรุ่นล่าสุด ของเอปสัน ส�ำหรับรองรับตลาดที่ก�ำลังขยายตัว โดยมีลูกค้า เป้าหมายเป็นสตาร์ตอัป นักออกแบบ มินิแล็บ โรงงานพิมพ์ผ้า ร้านรับท�ำของพรีเมียม ร้านเสื้อผ้ากีฬา แบรนด์แฟชั่น รวมถึง สถาบันการศึกษา” ยรรยง กล่าว ยรรยง กล่าวถึงปัจจัยที่ท�ำให้เอปสันมั่นใจว่าการเข้าสู่ ระบบดิจทิ ลั ส่งผลให้ตลาดเครือ่ งพิมพ์หน้ากว้างของเอปสันเติบโต คือ 1. เอปสันเป็นแบรนด์เดียวที่ผลิตแบบ end to end ให้ ลูกค้าได้ 2. เอปสันเป็นผู้ผลิตหัวพิมพ์ Ink Jet และมีทีมงานวิจัย และพัฒนาที่ผลิตหมึกเองทั้งหมด 3. ในส่วนของ Media เอปสัน ใช้เครื่องคิดค้นเอง และ 4. เอปสันเป็น ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์เอง ทั้งหมด ซึ่งถือเป็นจุดแข็งส�ำคัญ ท�ำให้เครื่องพิมพ์แบรนด์เอปสัน แตกต่างจากแบรนด์อื่นๆ ปลวั ช ร นาคะโยธิ น ผู ้ จั ด การฝ่ า ยขาย ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เครื่องพิมพ์ระดับมืออาชีพ บริษัท เอปสัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า เครื่องพิมพ์ SureColor SC-F530 และ SC-F531 เป็น

Engineering Today November - December 2020

40



Management Tools Today • ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล dr.pornchai.ong@gmail.com

OKRs

(Objective and Key Results) การบริ ห ารองค์ ก รโดยประยุ ก ต์ ใ ช้ KPIs เป็ น เครื่องมือที่ส�ำคัญของระบบการบริหารผลการด�ำเนินงาน หรือ MBO (Management by Objectives) ถูกน�ำมาใช้ ส�ำหรับการบริการกันอย่างแพร่หลาย ผู้พัฒนาแนวคิดการ บริหารโดยวัตถุประสงค์คอื ศาสตราจารย์ ปีเตอร์ ดรักเกอร์ (Peter Drucker) ซึ่งเรามักจะยอมรับกับค�ำกล่าวที่ว่า “What gets measure, gets done.” หรือหมายถึงการ มี KPI เพื่อ ให้ เรายึดเป็น เป้าหมายต่อ การด�ำเนินงาน เพื่อบรรลุความส�ำเร็จ เป็นมุมมองที่ผู้บริหารวางนโยบาย วางเป้าหมายและก�ำหนดความส�ำเร็จ อีกทั้งมีการก�ำหนด รางวั ล ที่ ไ ด้ จ ากความส� ำ เร็ จ นั้ น ในลั ก ษณะที่ เ รี ย กว่ า การสร้างแรงจูงใจ (Motivation) เป็นการบริหารแบบ Top–Down รู ป แบบคื อ การสร้ า งพลั ง ด้ ว ยแรงจู ง ใจ (Power of Motivation) ด้วย KPIs แต่ OKRs ให้เป็นเครื่องมือที่ส�ำคัญในการติดตาม ผลลัพธ์ความคืบหน้าอย่างต่อเนือ่ งแบบ On time & In time ในวัตถุประสงค์และผลลัพธ์ (Objective and Key Results) ที่ตั้งไว้ เป็นมุมมองที่ผู้บริหารมีการก�ำหนดวัตถุประสงค์ ให้สอดคล้องกับแผน แต่ให้ฝ่ายปฏิบัติการก�ำหนดผลลัพธ์ มาตอบวั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ ตั้ ง ไว้ เ อง เป็ น การบริ ห ารแบบ Bottom–Up (ขออภั ย บทที่ แ ล้ ว มี ก ารเขี ย นผิ ด เป็ น Top-Up ครับ) รูปแบบคือการสร้างพลังด้วยแรงบันดาลใจ (Power of Motive) ด้วย OKRs ในหนังสือ Measure What Matters ที่ John Doerr ให้ความส�ำคัญเป็นอย่างมาก ได้กล่าวไว้ว่า “เป้าหมายที่ คนอื่ น ก� ำ หนดให้ เ รา เราจะไม่ รู ้ สึ ก ผู ก พั น เหมื อ นกั บ เป้าหมายที่เราก�ำหนดขึ้นมาเอง” และด้วยปรัชญาทาง ความคิดในหนังสือเล่มนี้ ที่สามารถถ่ายทอดจิตวิญญาณ และสร้างพลังภายใน John Doerr ยังได้กล่าวย�้ำว่า “WE CAN and DO MATTER”

Engineering Today November - December 2020

ศาสตราจารย์ ปีเตอร์ ดรักเกอร์ (Peter Drucker) : MBO (Management by Objectives) In 1911, เทย์เลอร์ (Frederick Winslow Taylor) วิศวกรเครือ่ งกล ที่น�ำประสบการณ์การท�ำงานในสายการผลิตมาบริหารจัดการและ ได้สรุปเทคนิคประสิทธิภาพของเขาไว้ในหนังสือ The Principles of Scientific Management เป็นการบริหารแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management) เป็น ผู้บุกเบิกการวัดเวลาและการเคลื่อนไหวของงาน ในสายการผลิตโดยมีความสัมพันธ์กับผลผลิต (โดยทั่วไปคือผลผลิต ต่อหน่วยของอินพุต) จากนั้นจึงก�ำหนดสมมติฐานเกี่ยวกับวิธีปรับปรุง ผลลัพธ์เหล่านี้ นั่นเป็นวิธีที่คนเหล่านี้ค้นพบสิ่งที่น่าสนใจ เช่น ช่วงเวลา พักผ่อนที่เหมาะส�ำหรับคนงานในโรงงานแห่งหนึ่งซึ่งควรวางอุปกรณ์ไว้ รอบตัวคนงานเพือ่ การเข้าถึงทีเ่ หมาะสมและรูปแบบการจัดแสงทีด่ ยี งิ่ ขึน้ ในสายการผลิตที่ช่วยลดความผิดพลาดและของเสีย ในปี พ.ศ. 2459 Fayol ได้ เ สนอให้ ใ ช้ เ ป้ า หมายในกระบวนการวางแผนการจั ด การ (the use of goals in the management planning process) จึงนับ ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการก�ำหนดวัตถุประสงค์ (Objective) และก�ำหนด เป้ า หมาย (Goal) มาใช้ ใ นการบริ ห ารจั ด การในยุ ค อุ ต สาหกรรม (Industrial Age) วัตถุประสงค์ขององค์กร (Corporate Objective) มีความส�ำคัญ มากที่จะตอบโจทย์ของแผนธุรกิจที่วางไว้ ในปี ค.ศ. 1954 ศ.ปีเตอร์ ดรักเกอร์ (Peter Drucker) ศาสตราจารย์ผู้เขียนต�ำราด้านการบริหาร ได้แต่งต�ำราชื่อ Management by Objective (MBO) ดรักเกอร์ ให้ความหมายของ MBO ไว้ว่าหมายถึง “เป็นการจัดการ ซึ่งผู้บังคับ บัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาร่วมกันก�ำหนดวัตถุประสงค์ มาตรฐาน และ เลือกปฏิบตั งิ าน โดยผูใ้ ต้บงั คับบัญชามีภาระหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ต่อวัตถุประสงค์ โดยมีผู้บังคับบัญชาสนับสนุนและกระตุ้นเพื่อให้เกิด การควบคุมตนเอง ฉะนั้น ความส�ำคัญของการวางแผนและการควบคุม จึงขึน้ อยูก่ บั ความสามารถในการบริหารข้อมูลโดยการสร้างความสัมพันธ์ ของระบบข้อมูลกับการวางแผน และการควบคุมสนับสนุนการตัดสินใจ ร่วมกัน”

42


จุดเด่นของหลักการบริหารแบบ MBO ก็คือมีการ ก�ำหนดวัตถุประสงค์ของการบริหารจัดการ ท�ำให้มีทิศทาง ในการบริหารที่ชัดเจนขึ้น มีหลักการสั่งการแบบบนลงล่าง (Top-down) ซึ่งเหมาะสมและมีประสิทธิภาพกับองค์กร หรือ แผนกที่ต้อ งมีการควบคุมการท�ำงานให้เป็นระบบ และเป็นหลักการบริหารที่เป็นข้อก�ำหนดหลักการบริหาร ใหม่ๆ ในยุคใหม่ๆ หลายตัวที่ประสบความส�ำเร็จและ มีประสิทธิภาพ การน�ำ MBO ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยก�ำหนดเป้าหมายส�ำคัญคือ เป้าหมายต้องสอดคล้องกับกลยุทธ์หรือทิศทาง ขององค์กร เป้าหมายต้องก�ำหนดร่วมกันที่ชัดเจน Specific เป้าหมายที่จับต้องและวัดผลได้ Measurable เป้าหมายต้องท้าทาย Achievement เป้าหมายต้องท�ำได้จริง Realistic มีการก�ำหนดระยะเวลาที่ชัดเจน Time Frame มีการตอบแทนผลของความส�ำเร็จ ศ.ปีเตอร์ ดรักเกอร์ ได้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง ภารกิจและเป้าหมายไว้อย่างชัดเจน ธุรกิจได้ถูกระบุโดย ภารกิจทางธุรกิจ ค�ำนิยามทางธุรกิจที่ชัดเจนขององค์การ เท่านั้นจะท�ำให้เป้าหมายทางธุรกิจชัดเจนและเป็นจริงได้ ภารกิจและวิสัยทัศน์อาจจะใช้แทนกันได้ บริษัทบางบริษัท อาจจะรวมภารกิจและวิสัยทัศน์เข้าด้วยกันเป็นถ้อยแถลง ภารกิจอย่างเดียว และบริษทั บางบริษทั อาจจะมีถอ้ ยแถลง ปรัชญาและค่านิยมแยกต่างหากด้วย นักวิชาการบางคน มองว่าภารกิจและวิสัยทัศน์จะเป็นแนวความคิดที่แตกต่าง กัน วิสยั ทัศน์คอื ความฝันในอนาคตของบริษทั ธุรกิจของเรา ต้องการจะกลายเป็นอะไร โจนาธาน สวีฟท์ นักเขียน ชาวไอร์แลนด์ ได้กล่าวว่า วิสัยทัศน์คือ ศิลปของการมอง สิ่งที่มองไม่เห็น วิสัยทัศน์จะไม่เหมือนกับภารกิจที่ได้ระบุ ความมุ่งหมายของบริษัท ณ เวลานี้ แต่วิสัยทัศน์จะมุ่ง อนาคต บริษัทที่มีวิสัยทัศน์จะมีความรู้สึกที่ชัดเจนต่อสิ่งที่ บริษัทต้องการจะเป็นในอนาคต โคคา-โคล่า มีวิสัยทัศน์ที่ มีพลังและบันดาลใจภายในอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม “แขนที่ เอื้อมไปถึง” ลูกค้าทุกคนไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนภายในโลกใบนี้

หลักการบริหารจัดการของ ศ.ปีเตอร์ ดรักเกอร์ เสนอแนวคิดหลักการบริหารไว้ 5 ประการดังนีค้ อื

1

ตั้งวัตถุประสงค์ (Objectives) นักบริหาร จัดการมีหน้าที่ตัดสินใจว่างานนี้ต้องการ ท�ำให้บรรลุวัตถุประสงค์ใด และจะสื่อสาร น�ำวัตถุประสงค์เหล่านี้ไปยังผู้คนที่มีส่วน

ในการท�ำงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่างไร

2

3

4

จัดระบบ (System Planning) นักบริหารจัดการต้อง บอกได้ว่างาน (task) ที่จ�ำเป็นต้องท�ำเพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ ประกอบด้วยงานใดบ้าง หลังจากนั้นก็ ตัดสินใจเลือกเฉพาะงานที่จ�ำเป็นจริงๆ แล้วน�ำงาน แต่ละอย่างมาย่อยเป็นกิจกรรมทีส่ ามารถบริหารจัดการ และติดตามได้ง่าย จัดกลุ่มกิจกรรมและงานให้เป็น ระบบที่มีโ ครงสร้างชัด เจน และสุด ท้ายจึงเลือกคน ที่จะมาท�ำงานนั้นๆ ในระบบบริหารจัดการ POLCE (Planning-Organizing-Leading-ControllingEvaluating) การกระตุ้น (Motivate) และ ชี้ทิศทาง (Direction) ให้ ด�ำเนินไปสู่การบรรลุเป้าหมาย (Goals) นักบริหาร จั ด การต้ อ งกระตุ ้ น ผู ้ ค นด้ ว ยการเปิ ด โอกาสให้ เ ขา ตัดสินใจท�ำหรือไม่ท�ำงานในส่วนของเขาด้วยตัวเอง การกระตุน้ ให้ทำ� ได้ดว้ ยการแลกเปลีย่ นกับสิง่ ตอบแทน การเลื่อนต�ำแหน่ง หรือรางวัลตามลักษณะของงาน นอกจากนั้นยังควรสร้างบรรยากาศการท�ำงานเป็นทีม ด้วยการพูดคุยสื่อสารกับลูกน้อง เพื่อนร่วมงานหรือ หัวหน้างานอย่างสม�่ำเสมอ วั ด ความสามารถในการท� ำ งาน (Performance) ด้วยการสร้างหน่วยวัดเพือ่ ดูวา่ แต่ละคนมีความสามารถ ในการท�ำงานมากน้อยเท่าใด หลังจากนั้นจึงน�ำมาวัด ผลการท�ำงานของแต่ละคน โดยระลึกเสมอว่า เป้าหมาย การท� ำ งานของแต่ ล ะบุ ค คลต้ อ งสอดคล้ อ งไปกั บ เป้าหมายขององค์กรด้วย นอกจากนั้นต้องมั่นใจว่า บุ ค ลากรทุ ก คนเข้ า ใจหน่ ว ยวั ด นั้ น เป็ น อย่ า งดี แ ละ มีอปุ กรณ์ชว่ ยให้สามารถท�ำงานบรรลุผลตามหน่วยวัดได้

พัฒนาตนเองและผูอ้ นื่ นักบริหารจัดการต้องไม่หยุดนิง่ เขาต้องหมัน่ หาความรูเ้ พือ่ พัฒนาตนเองและคนรอบข้าง อยู่เสมอ จึงเป็นทีม่ าของหลักการบริหารองค์กรธุรกิจทีน่ ำ� เอา BSC & KPIs มาเป็นเป้าหมายที่ส�ำคัญขององค์กรในโลกธุรกิจขนาดกลางและใหญ่ จนประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างมาก ในข้อสุดท้ายมีการตั้งรางวัลใน รูปแบบที่เรียกว่าการสร้างแรงจูงใจ (Motivation) ด้วยการตอบแทนผล ของความส�ำเร็จ การที่ KPIs จะมีประสิทธิภาพที่ดีหรือไม่นั้น ส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับ การก�ำหนดตัวชีว้ ดั หลักทีม่ สี ว่ นส�ำคัญต่อการประเมินผลการปฏิบตั งิ าน อย่างยิ่ง เพราะตัวชี้วัดนั้นจะเป็นเกณฑ์ตลอดจนมาตรฐานของการ

5

43

Engineering Today November - December

2020


ประเมินผลนั่นเอง การก�ำหนดตัวชี้วัดนั้นต้องพิจารณาให้ เหมาะสมและรอบคอบ ในขณะเดียวกันต้องมองถึงความ เป็นไปได้ในการบรรลุความส�ำเร็จที่เหมาะสมกับธุร กิจ นโยบายองค์กร ตลอดจนขนาดของบริษัทด้วย ซึ่งตัวชี้วัด ความส�ำเร็จทัง้ 4 มุมมองนัน้ ถูกก�ำหนดโดยคณะกรรมการ ผู ้ บ ริ ห ารและก� ำ หนดผลตอบแทนความส� ำ เร็ จ ซึ่ ง เป็ น ลักษณะ Top-Down Management ที่น�ำพลังขับเคลือ่ น ธุรกิจด้วยการสร้างแรงจูงใจ (Power of Motivation)

Andy Grove and Intel : iMBO (Intel Management by Objectives) หลังจากจบปริญญาเอก ในปี ค.ศ. 1963 แอนดี่ โกรฟ ได้เข้าท�ำงานทีบ่ ริษทั แฟร์ไชลด์ เซมิคอนดักเตอร์ ใน ต�ำแหน่งนักวิจัย และในปี ค.ศ. 1967 ได้กลายเป็นผู้ช่วย ผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนา งานของเขาท�ำให้เขาคุ้นเคยกับ การพัฒนาวงจรรวมในยุคแรกๆ ซึ่งจะน�ำไปสู่ “การปฏิวัติ ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer Revolution)” ในปี ค.ศ. 1970 ปี ค.ศ. 1990 ซึ่ง Andrew Grove เป็นประธาน คณะกรรมการบริหารหนึ่งในยักษ์ใหญ่ด้านเทคโนโลยีของ โลกคือ Intel (Intel Corporation) เขาน�ำ MBO มาใช้ ในอีกรูปแบบหนึ่งกับการบริหารองค์กรของตัวเอง รวมถึง ตีพมิ พ์ในหนังสือ High Output Management โดยมีความ คิดเห็นว่าองค์กรควรให้ความส�ำคัญกับการตัง้ วัตถุประสงค์ ที่ ม าจากการมี ส ่ ว นร่ ว มจากระดั บ ปฏิ บั ติ ก าร โดยหวั ง ผลลั พ ธ์ ที่ ร ่ ว มกั น รั บ ผิ ด ชอบในลั ก ษณะ Bottom Up ที่ Intel การจั ด การเป้ า หมายเรี ย กว่ า “iMBO” หรื อ

Engineering Today November - December 2020

“Intel Management by Objectives” (หมายถึ ง ค� ำ ว่ า MBO จาก Drucker) ทุกคนในส�ำนักงานมีส่วนร่วมโดยก�ำหนดวัตถุประสงค์ ประจ�ำปีและรายไตรมาส และเหตุการณ์ส�ำคัญที่มีขอบเขตเวลาเพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์เหล่านั้น ซึ่ง Grove ขนานนามว่า Key Results วิธกี ารนีไ้ ด้รบั การสอนในหลักสูตรเตรียมความพร้อม ซึง่ พนักงานทุกคน เรียกว่าองค์กรปรัชญาและเศรษฐศาสตร์ของ Intel ต่อมาในปี ค.ศ. 1975, John Doerr (at the time a sales person working for Intel OKRs Implementation) ได้น�ำมาใช้ เต็มรูปแบบในหลักการตั้งวัตถุประสงค์และการวัดผลลัพท์ที่ส�ำคัญ (Objectives and Key Results) และเรียกโดยย่อว่า OKRs และได้น�ำ หลักการดังกล่าวมาใช้ใน Google จนเป็นที่ยอมรับ และ John Doerr ยังบอกกับทุกคนว่า Andrew Grove คือต้นฉบับของ OKRs และเรียก Andrew Grove ว่าเป็น “The Father of OKR” (Objectives and Key Results) Approach to Management” เป็นการนับถืออย่างจริงใจ ในฐานะบรมครูที่สอนมา

OKRs (Objective and Key Results) พลังขับเคลือ่ นธุรกิจ ด้วยการสร้างแรงดลใจ (Power of Motive) ในปี ค.ศ. 2018 John Doerr ได้เขียนหนังสือชื่อว่า Measure What Matters ซึ่งเป็นผู้ที่นําเอา OKRs มาใช้ใน Google สิ่งที่ทําให้ หนังสือเล่มที่มีอธิบายความรู้ในเรื่องของ OKRs ได้ดีเป็นอย่างยิ่ง โดยอธิบายตัง้ แต่เขาเริม่ ทํางานที่ Intel ซึง่ เป็นบริษทั แรกทีน่ าํ เอา OKRs มาใช้อย่างได้ผล และเมื่อเขาลาออกมาเป็นนักลงทุนและได้ลงทุน ในบริษัท Google ในปี ค.ศ. 1999 ระยะเริ่มแรก เขาก็ได้แนะนําให้ Google นําระบบนี้ไปใช้จน Google ประสบความสําเร็จเป็นอย่างมาก จนมาถึงปัจจุบัน

44


John Doerr ได้กล่าวถึง OKRs ว่าเป็นการก�ำหนดวัตถุประสงค์คือสิ่งที่เราต้องการให้ประสบความส�ำเร็จ และผลลัพธ์ที่ส�ำคัญ จะระบุว่าเราจะท�ำให้ประสบความส�ำเร็จได้อย่างไร (Objectives are what you want to have accomplished and Key Results are how I’m going to get that done.) โดยสามารถแยกให้เห็นเด่นชัดใน OKRs ดังนี้

Objectives

Key

Results

Specific & Significant

Measurement and Method

Realistic

มีความเฉพาะและความส�ำคัญ อย่างชัดเจน เด่นชัด • สามารถสร้างแรงบันดาลใจ (Inspiration) • มีความยืดหยุ่นและทันความ เปลี่ยนแปลง ให้สามารถบรรลุ เป้าหมายได้ตลอดไตรมาส เพื่อที่จะหาวิธีการที่ได้ผลมากกว่า ในไตรมาสหน้า • เปิดโอกาสให้เกิดการเรียนรู้ จากข้อผิดพลาดและอุปสรรค

มีมาตรฐานการชี้วัด และมีวิธีการ • ทั้งในเชิงปริมาณ (Quantity) • ทั้งในเชิงคุณภาพ (Quality) • บรรลุความส�ำเร็จ/ผิดหวัง (Success and Fail)

ความสมจริง/ความเหมาะสม กับบริบท/สภาพจริง • เป็นรูปธรรม เกิดขึ้นได้หากปฏิบัติ (Action Oriented)

Attainable หรือ Achievable

Timely

ส�ำเร็จได้หรือความสามารถที่จะ บรรลุผลส�ำเร็จได้ • เป็นความท้าทายตามทิศทาง Align ตามแผนกลยุทธ์และ เป้าประสงค์ • มีความท้าทายทะเยอทะยาน (Ambition)

ความสามารถในการวัดผลภายใน เวลาที่ก�ำหนดในระยะเวลาที่จ�ำกัด • มีการประเมินผลในช่วงเวลาสั้น เป็นรายไตรมาส (Quarterly)

John Doerr ซึ่ ง เป็ น ผู ้ เ ขี ย นได้ บ อกว่ า OKRs บนพื้ น ฐานของพลั ง จากการสร้ า งแรงบั น ดาลใจจาก FACTS (Focus-Align-Commit-Track-Stretch) เมื่อมา รวมกับพลังจากแรงจูงใจของผู้บริหารหรือหัวหน้างาน ด้วย CFR (Conversation-Feedback-Recognition) ก็จะเป็นระบบที่เรียกว่า Continuous Performance Management นั้นคือระบบการจัดการผลการดําเนินงาน อย่างต่อเนื่องที่เกิดพลังภายในและก�ำลังใจภายนอก ซึ่ง จะแตกต่างกับระบบ KPIs แบบเดิมๆ ที่เน้นการผลักดัน ด้ ว ยการประเมิ น ผลปี ล ะครั้ ง ตอนสิ้ น ปี แ ละตั้ ง เกณฑ์ ให้สูงขึ้นเพื่อตบรางวัล ซึ่งอาจจะช้าเกินไปและจะไม่มี ความยืดหยุ่น เพราะผลลัพธ์ที่ได้คือการสร้างก�ำไรและ ผลตอบแทนหลัก หัวใจส�ำคัญของ OKRs คือการน�ำวัตถุประสงค์หลัก และเป้ า หมายที่ เ ป็ น ตั ว ชี้ วั ด ใน KPIs มาก� ำ หนดเป็ น วัตถุประสงค์ย่อย (Objective) ใน OKRs เพื่อตั้งเป็นโจทย์ ให้พนักงานระดับล่างมีส่วนร่วมคิดว่าหน่วยงานของแต่ละ หน่วยงานจะท�ำอะไร มีผลชี้วัดอย่างไร (Key Results) ด้วยตนเอง ให้เกิดพลังความคิดอย่างมีส่วนร่วมที่เรียกว่า พลังขับเคลื่อนธุรกิจด้วยการสร้างแรงดลใจ (Power of

Motive) ด้วยตนเอง ในเมื่อผู้ปฏิบัติเป็นผู้คิดและตั้งเป้าหมายเองและ สอดคล้องกับความต้องการหลักของวัตถุประสงค์เป็นลักษณะ Bottom Up ย่อมเกิดแรงพลังผลักดันให้เกิดความส�ำเร็จ ในรูปแบบ FACTS ความส�ำเร็จของผลงาน นั้นคือหัวใจของ OKRs Dr.Andy Grove ให้ความส�ำคัญกับ 2 สิ่งคือ “The two key phrases of the management by objective systems are the objectives and the key results, and match the two purposes. The objective is the direction. The key results have to be measured, but at the end you can look and without any argument say, “Did I do that, or did I not do that?” Yes. No. Simple.” และในหนังสือ Measure What Matters ที่ John Doerr เขียนไว้ยังย�้ำอีกว่า “Objective are what you want to have accomplished and Key Results are how I’m going to get that done.” นั่นหมายถึงว่า วัตถุประสงค์ คือ สิ่งที่เราต้องการให้ประสบ ความส�ำเร็จ (What) ท�ำไมต้องท�ำ (Why) และผลลัพท์ที่ส�ำคัญ จะระบุว่าเราจะท�ำให้ประสบความส�ำเร็จได้อย่างไร (How) ในบทนี้ แสดงให้ เ ห็ น ว่ า หลั ก การและที่ ม าของ OKRs นั้ น มี ที่ ม าอย่ า งไร และสามารถอธิ บ ายถึ ง ความส� ำ คั ญ ที่ จ ะน� ำ ไปใช้ ในบทต่ อ ไปจะ เป็นการประยุกต์ใช้ OKRs จริงต่อการท�ำงานทีจ่ ะเพิม่ ทัง้ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลต่อการใช้ OKRs ต่อไป

45

Engineering Today November - December

2020


Logistics • รศ. ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ์

ผังเมืองโลจิสติกส์ ทางทะเล กับผลประโยชน์ทางทะเล ของประเทศไทย บ้านเมืองเราทุกวันนี้เหมือน ตั้งอยู่ในหมู่หัวไม้ ถ้าเราไม่เตรียม พลองไว้สู้กับพวกหัวไม้บ้าง พวกหัวไม้ก็ย่อมจะมี ใจก�ำเริบมารังแกอยู่ร�่ำไป ถึงโดยจะสู้ให้ชนะจริงไม่ได้ ก็ให้เป็นแต่พอให้พวกหัวไม้รู้ว่า พลองของเรามีอยู่ ถ้าจะเข้ามา รังแกก็คงจะเจ็บบ้าง

พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในการทรงตรวจรับปืนเล็กยาว Steyr-Mannlicher M1888 จากประเทศออสเตรีย เมื่อปี ร.ศ. 121

Engineering Today November - December 2020

ในการวิจัยทางวิชาการทางทะเล ของเอเชียหรือทั่วโลกนั้นจะมี “ข้อห้าม” ท�ำโครงการที่เกี่ยวข้องกับ ยุทธศาสตร์ ความมั่ น คงระหว่ า งประเทศทั้ ง สิ้ น (ตัวอย่างเช่น โครงการ South-East Asia Network for Education and Training (SEA-NET) 2010/2014 ที่ได้เข้าร่วม โครงการอบรม) อย่างไรก็ตาม ด้วยการ ทับซ้อนของพื้นที่ชายฝั่งทะเล ความไม่ ชั ด เจนของเส้ น เขตพรมแดนในทะเล มหาสมุทร และผลประโยชน์มหาศาลใน ทะเลของ 3E: Energy, Economic and Environment (พลั ง งาน/การขนส่ ง พาณิชย์นาวี/การประมง) ในน่านน�ำ้ สากล นัน้ จะเกีย่ วข้องกับยุทธศาสตร์การแสวงหา ผลประโยชน์ทางทะเลของชาติทั้งสิ้น ในฐานะอาจารย์ ก ารวางแผน ภาคและเมื อ ง อาจารย์ ห ลั ก สู ต รการ จัดการโลจิสติกส์ และอาจารย์หลักสูตร การบริหารกิจการทางทะเล จุฬาลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งทางด้ า นนี้ โดยตรง ขอเล่าเรือ่ งราววิชาการทีเ่ กีย่ วกับ การรักษาผลประโยชน์ทางทะเล ทีอ่ าจจะ เกิดประโยชน์แก่ประเทศชาติบ้าง

46

ตอนที่ 1

South-East Asia Network for Education and Training SEA-NET 2010 การบรรยายเรื่อง “การวิเคราะห์ คลืน่ ใต้นำ�้ ในทะเลจีนใต้” ของ Professor Dr.Fuh-Kwo Shiah สถาบัน Institute of Oceanography ของมหาวิทยาลัย National Taiwan University, Taiwan โครงการ South-East Asia Network for Education and Training Project (SEA-NET) ริเริ่มโดยสถาบัน Institute of Oceanography ของ มหาวิทยาลัย National Taiwan University ประเทศไต้ ห วั น นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ข อง ประเทศกลุ่มทะเลจีนใต้ มีการประชุม วิทยาศาสตร์ทางทะเลครั้งแรกที่ประเทศ อินโดนีเซีย ปี ค.ศ. 2002 เสนอภาค รัฐบาลของประเทศในการสร้างโครงการ ความร่วมมือการวิจยั ทางทะเล แต่ปรากฏ ว่ า ได้ รั บ การปฏิ เ สธจากหลายประเทศ เนื่ อ งจากทะเลมหาสมุ ท รนั้ น มี ค วาม ส�ำคัญมากกว่าการค้นคว้าวิทยาศาสตร์ แต่ ก ลั บ มี ค วามส� ำ คั ญ ทางเศรษฐกิ จ สังคม การเมือง และความมัน่ คงทางทหาร เป็นอย่างมาก คณะผู้ริเริ่มจึงต้องก�ำหนด กรอบการค้นคว้าวิจยั เพือ่ หลีกเลีย่ งปัญหา จนได้ รั บ อนุ ญ าตจากองค์ ก รระหว่ า ง ประเทศ ในโครงการความร่วมมือนี้ และ จัดเป็นเจ้าภาพหมุนเวียนประเทศต่างๆ ซึ่งในปี ค.ศ. 2010 เป็นวาระของไต้หวัน น อ ก จ า ก เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ข อ ง SEA-NET แล้ว ยังได้ชมการท�ำงานของ Lab และทีมส�ำรวจของห้องคอมพิวเตอร์ Ocean Data Bank ทีร่ ว่ มกับมหาวิทยาลัย สหรัฐฯ ในการท�ำแผนที่ทางทะเลและ ปรากฏการณ์ในทะเล โดยทิ้งทุ่นส�ำรวจ


จ� ำ นวนหนึ่ ง เพื่ อ รายงานข้ อ มู ล ของ กระแสน�้ ำ คลื่ น เสี ย งและอุ ณ หภู มิ ฯลฯ ในทะเลจีนใต้ โดยเฉพาะรอบเกาะ ไต้หวัน การบรรยายนี้สถาบันได้แสดง โครงการวิ จั ย ที่ ร ่ ว มมื อ กั บ หน่ ว ยงาน สหรั ฐ อเมริ ก า เป็ น การส� ำ รวจและ วิเคราะห์ Internal Wave (คลื่นใต้น�้ำ) ทีก่ ล่าวว่ามีผลกระทบมากกว่าคลืน่ ผิวน�ำ้ เสี ย อี ก โดยเฉพาะกั บ แท่ น ขุ ด เจาะ ทางทะเลและเรื อ ด� ำ น�้ ำ พร้ อ มทั้ ง แสดงลั ก ษณะที่ เ รื อ ด� ำ น�้ ำ เสี ย สมดุ ล ในการปล่อยขีปนาวุธข้ามทวีป ICBM เ มื่ อ ไ ด ้ ส อ บ ถ า ม ว ่ า ทุ ่ น ร อ บ ทะเลจี น ใต้ นี้ ส ามารถฟั ง เสี ย งได้ ไ กล เท่าใด วิศวกรไต้หวันตอบว่าไม่สามารถ ก� ำ หนดได้ แต่ ใ นปั จ จุ บั น เสี ย งใต้ น�้ ำ Sonar จะเริ่มตรวจจับได้ที่ 50 MHZ และเสริมว่าเรือด�ำน�้ำของประเทศเอเชีย ทั้งหมด รวมทั้งของไต้หวันและประเทศ จีน มีเสียงตั้งแต่ 80 MHZ ขึ้นไป อาจ หมายความว่า ไต้หวันสามารถใช้ Sonar ตรวจจับเรือด�ำน�้ำที่เข้ามาในเขตน่านน�้ำ ของไต้หวันหรือไม่ จึงท�ำให้เข้าใจได้ว่า เหตุใดการส�ำรวจทางวิทยาศาสตร์ทาง ทะเลนี้จึงมีความส�ำคัญต่อยุทธศาสตร์ ความมั่นคงทางทะเลเป็นอย่างยิ่ง

47

Engineering Today November - December

2020


รายงานความก้าวหน้าเทคโนโลยี ของไต้หวัน ปี ค.ศ. 2014 แผนที่ทะเล Digital ที่ แ สดงผลของทุ ก อย่ า งใน ท้ อ งทะเลรอบเกาะไต้ ห วั น จะมี รั ศ มี เพิ่มขึ้น 800-1,000 ไมล์ทะเล และมี ความก้าวหน้าคือ 1 แผนที่จากเดิมเป็นการแสดงผล OFF-TIME ทุกช่วง 1 วัน จะเป็นการ แสดงผล REAL-TIME ทุกนาที 2 ไต้หวันสามารถสร้างจรวดวิเคราะห์ ใต้ น�้ ำ แบบของอัง กฤษ BLUEFIN 21 ที่ใช้ค้นหาซากเครื่องบิน MH 370 ใน ราคา 1/10 ของเครื่องต้นแบบ 3 ยานใต้ น�้ ำ ของไต้ ห วั น ชุ ด ใหม่ ทั น สมั ย กว่ า เดิ ม ลึ ก กว่ า เดิ ม มี ห ้ อ ง สังเกตการณ์เคลื่อนที่ใหญ่กว่าเดิม

ตอนที่ 2

South-East Asia Network for Education and Training SEA-NET 2014 การบรรยายเรื่อง “แนวความคิด ผั ง เมื อ งโลจิ ส ติ ก ส์ กรณี เ กาะโลซิ น จั ง หวั ด ปั ต ตานี ประเทศไทย, The Proposal of Urban Logistics Planning: Losin Island, Pattani, THAILAND” Assoc. Prof. Dr.Rahuth Rodjanapradied, Chulalongkorn University ในการประชุมกลุ่มย่อยของการสัมมนา 15th APEC 2014 ในฐานะนักวิจยั ทีร่ ว่ ม ในโครงการ SEA-NET 2014 ของ National Taiwan University, Taiwan Attending the 15 th APEC Roundtable Meeting on the Involvement of the Business/Private Sector in the Sustainability of the Marine Environment, Taiwan, during September 23-25, 2014, at National Cheng Kung University (NCKU), in Tainan, the southern Taiwan. The representative from nine

Engineering Today November - December 2020

countries including China, Japan, Korea, Malaysia, Vietnam, and the Philippines. Dr.Shin-Cheng Yeh, Deputy Minister of Environmental Protection Administration. NCKU President Hwung-Hweng Hwung extended his warm welcome to the guests. And Suseno Sukoyono, Director General of Marine Affairs and Fisheries Human Resources Development, Ministry of Marine Affairs and Fisheries, Indonesia, attended. เรื่ อ งราวของสถานการณ์ ค วาม มั่นคงและผลประโยชน์ทางทะเล กรณี เกาะโลซิ น ที่ เ ป็ น เกาะหิ น ปู น อยู ่ ใ น อ่ า วไทย จั ง หวั ด ปั ต ตานี เป็ น แหล่ ง ปะการังที่อุดมสมบูรณ์ และเป็นที่ตั้งของ ประภาคารที่มีไฟสัญญาณเตือน ตั้งอยู่ บนหินโผล่น�้ำประมาณ 10 เมตร มีพื้นที่ เพียง 100 ตารางเมตร

48

ในช่วงปี พ.ศ. 2520-2522 สมัย ของ พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ นายก รัฐมนตรีของประเทศไทย กับ ตนกูอบั ดุลรามาน นายกรั ฐ มนตรี ข องประเทศ มาเลเซีย ทุกประเทศได้ขยายเขตน่านน�้ำ ออกไป 200 ไมล์ทะเลจากชายฝั่ง ด้วย สภาพภูมิศาสตร์ของประเทศไทยที่งองุ้ม เข้ามาด้านในอ่าวไทย ท�ำให้อาณาเขตทาง ทะเลเว้าเข้ามากึ่งกลางอ่าวไทย นายก รั ฐ มนตรี ข องไทยจึ ง ได้ ท� ำ ข้ อ ตกลงกั บ นายกรั ฐ มนตรี ข องมาเลเซี ย ให้ มี ก าร ก� ำ หนดเขตแดนทางทะเลในอ่ า วไทย อย่างยุตธิ รรม ว่าด้วยมิตรภาพทีด่ รี ะหว่าง ประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย และ ความสัมพันธ์ที่ดีส่วนตัวของทั้ง 2 ท่าน รวมทั้งสมุททานุภาพของราชนาวีไทยที่ เหนือกว่ากองทัพเรือมาเลเซียในขณะนั้น การตกลงจึงเป็นไปอย่างมิตรภาพ นายกรัฐมนตรีของไทยได้สงั่ การให้ กองทัพเรือค้นหาเกาะแก่งที่จะอ้างอิง


อาณาเขตทางทะเลได้ แล้ ว ก็ ค ้ น พบ “เกาะโลซิน” ซึง่ มีสภาพเป็นโขดหินเล็กๆ สูงจากน�้ำทะเลเพียง 10 เมตรเท่านั้น (แต่ มี ต ้ น ไม้ พื ช พั น ธ์ุ ขึ้ น อยู ่ 2-3 ต้ น ซึ่งตามหลักวิทยาศาสตร์แล้ว ถือว่าเป็น “เกาะแก่ง” มิใช่ “โขดหิน”) เกาะโลซิน ท�ำให้ประเทศไทยได้กรรมสิทธิ์บนพื้นที่ สั ม ปทานก๊ า ซกลางอ่ า วไทยพื้ น ที่ ก ว่ า 7,250 ตารางกิ โ ลเมตร และมี แ หล่ ง ส�ำรองก๊าซถึง 5 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต หรื อ 50% ของแหล่ ง ก๊ า ซของไทยใน ปัจจุบันนี้ เ ก า ะ โ ล ซิ น ที่ เ ป ็ น จุ ด อ ้ า ง อิ ง อาณาเขตทางทะเลนี้ ก�ำลังจะถูกยกเลิก โดยประเทศมาเลเซียในปี พ.ศ. 2567 จึ ง ท� ำ ให้ ก องทั พ เรื อ มาเลเซี ย เพิ่ ม ขีดความสามารถการป้องกันทางทะเล เพิ่มขึ้น โดยการประจ�ำการกองเรือด�ำน�้ำ Scorpions ของฝรัง่ เศสถึง 2 ล�ำ ดุลยภาพ ทางทะเลเปลี่ยนไป และกองทัพเรือไทย ก็ต้องการสร้างสมุททานุภาพทางทะเล ด้ ว ยการมี ก องเรื อ ด� ำ น�้ ำ ที่ ฐ านทั พ เรื อ สัตหีบ และจะประจ�ำการเรือด�ำน�้ำใน อนาคต แต่ด้วยสถานการณ์ในปัจจุบัน ก็อาจเกิดปัญหาขึ้นได้ ด้ ว ยความที่ เ กาะโลซิ น มี ส ภาพ เป็นเพียงโขดหินที่สูงเพียง 10 เมตรนี้ อาจสุ ่ ม เสี่ ย งต่ อ การสู ญ เสี ย สภาพ ทางภู มิ ศ าสตร์ ด ้ ว ยภั ย พิ บั ติ ท างทะเล แผ่ น ดิ น ไหว พายุ โ ซนร้ อ นหรื อ สึ น ามิ และหากต้องสูญสิ้นสภาพเกาะไปแล้ว อาจเป็นข้ออ้างของประเทศเพื่อนบ้าน ในการล้ ม ล้ า งสนธิ สั ญ ญาอาณาเขต ทางทะเลในอนาคตได้ เกาะโลซิ น จึ ง ต้องการสถานภาพทางภูมิศาสตร์พื้นที่ ที่มั่นคงถาวร ในปี ค.ศ. 2014 ทางวิชาการด้าน สถาปัตยกรรมผังเมืองโลจิสติกส์ได้มกี าร ร่างโครงการตัวอย่างเรือ่ ง “แนวความคิด ผั ง เมื อ งโลจิ ส ติ ก ส์ กรณี เ กาะโลซิ น จั ง หวั ด ปั ต ตานี ประเทศไทย The Proposal of Urban Logistics Planning: Losin Island, Pattani,

THAILAND” โดย Assoc. Prof. Dr.Rahuth Rodjanapradied, Chulalongkorn University และได้ถูก น�ำเสนอเป็น Research Paper ในการ บรรยายกลุ ่ ม ย่ อ ยของ 15 th APEC Roundtable Meeting on the Involvement of the Business/Private Sector in the Sustainability of the Marine Environment, Taiwan, during September 23-25, 2014, at National Cheng Kung University (NCKU), in Tainan, the southern Taiwan. โดยมี สมมุติฐานที่ว่า หากจะมีการสร้างชุมชน ชาวเลแห่ ง ใหม่ บ ริ เ วณเกาะโลซิ น ที่ มี ทรั พ ยากรธรรมชาติ ท างทะเลที่ อุ ด ม สมบูรณ์นนั้ โดยอาจเป็นเมืองลอยน�ำ้ เพือ่

หลีกเลี่ยงการรบกวนระบบนิเวศใต้น�้ำ และอยู ่ ร ่ ว มกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า ง บูรณาการ ชุมชนชาวเลแห่งใหม่นี้จะมี ลั ก ษณะทางสถาปั ต ยกรรมทางทะเล Maritime Architecture เป็นอย่างไร…

ตอนที่ 3

Bletchley Park: Royal Navy Research for “Enigma” Code-Breaking ในบทนี้ ข อเสนอบางส่ ว นของ บทความสถาปั ต ยกรรมโลจิ ส ติ ก ส์ ทางทะเล ที่อาจเกิดประโยชน์แก่วงการ รักษาผลประโยชน์ทางทะเล ดังนี้

ร่างงานวิจัยโลจิสติกส์ทางทะเล วารสารนาวิกศาสตร์ ราชนาวิกสภา กองทัพเรือ กุมภาพันธ์, 2019

49

Engineering Today November - December

2020


...มีเรื่องราวเกี่ยวกับเรือด�ำน�้ำและ เทคโนโลยีทางทหารคือ ที่ใกล้กับเมือง Milton Keynes (Buckinghamshire) มีสถานที่แห่งหนึ่งชื่อ Bletchley Park เป็นศูนย์วจิ ยั เฉพาะกิจของราชนาวีองั กฤษ ที่จะคิดค้นวิธีถอดรหัสเครื่อง Enigma ของกองเรือด�ำน�้ำ U-Boat ของกองทัพ เยอรมันในสงครามโลกครั้งที่ 2 เครื่ อ ง Enigma เป็ น เครื่ อ งมื อ เหมื อ นชวเลขส� ำ หรั บ เลขานุ ก ารทั่ ว ไป ทีเ่ ดิมซือ้ ขายกันตามท้องตลาดจนกองทัพ นาซี พ บว่ า มั น สามารถสร้ า งรหั ส ลั บ ทางทหารได้ ดี จึ ง กว้ า นซื้ อ มาใช้ ใ น กองทั พ เครื่ อ ง Enigma สร้ า งในปี ค.ศ. 1918 โดยวิศวกรไฟฟ้าชาวเยอรมนี Arthur Scherbius ในปี ค.ศ. 1923 กองทัพนาซีน�ำมาใช้ในกองทัพบกและ กองทั พ อากาศ เป็ น เครื่ อ ง Enigma 3 เฟือง แต่สำ� หรับกองเรือด�ำน�ำ้ U-Boats ได้ ใ ช้ Enigma 4 เฟื อ งที่ ยิ่ ง ซั บ ซ้ อ น กว่ า มาก โดยเครื่ อ งนี้ จ ะเปลี่ ย นตั ว อักษรเป็นพันๆ ครั้งต่อวินาที แล้วจะได้ ตัวอักษรตรงกันทั้งผู้ส่งสารและผู้รับสาร ในเดือนพฤษภาคม ปี ค.ศ. 1941 ราชนาวี อั ง กฤษยึ ด เรื อ ด� ำ น�้ ำ U-boat ที่ Norwegian Sea, Narvik, Norway และยึด Enigma กับหนังสือถอดรหัส (Code Books) ได้

Engineering Today November - December 2020

เครื่อง Enigma 4 rotors ที่สัมพันธมิตรยึดได้จากเรือด�ำน�้ำ U-Boats ใน Norwegian Sea, Narvik, Norway (จากการ Visit Narvik war museum, Norway 21 December 2018)

ต่อมานักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ Dr.Alan Turing ที่ศูนย์ปฏิบัติการลับ ของอังกฤษ Bletchley Park ได้สร้าง เครื่องมือถอดรหัส The British Bombe (ลูกระเบิดอังกฤษ-เพราะตู้แผงวงจรมี ขนาดใหญ่ แ ละเสี ย งดั ง มากขณะเดิ น เครื่ อ ง) ที่ ส ามารถอดรหั ส Enigma ได้ส�ำเร็จ Dr.Alan Turing ได้ ท� ำ ให้ สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติเร็วขึ้น 7 ปี รักษาชีวิตผู้คนหลายล้านคน จนได้รับ เกียรติพิมพ์รูปลงบนธนบัตร 50 ปอนด์ ใหม่ จะใช้ ใ นปี ค.ศ. 2021 ร่ ว มกั บ The British Bombe และลายเซ็ น ที่ Bletchley Park, England... (วารสาร นาวิกศาสตร์, กุมภาพันธ์ 2562)

50

บทส่ ง ท้ า ย วั ต ถุ ป ระสงค์ ข อง การเล่ า เรื่ อ งราวเก่ า ๆ ของการรั ก ษา ผลประโยชน์ทางทะเลของประเทศไทยนี้ เพื่ อ รองรั บ กั บ สถานการณ์ ป ั จ จุ บั น ที่ มี การต่อต้านการมีเรือด�ำน�้ำของราชนาวี ไทย ในขณะที่ ก ารรั ก ษาความมั่ น คง ทางทะเลระหว่ า งประเทศกลั บ ทวี ความรุนแรงมากขึ้น

บทความนีเ้ รียกร้องให้มกี ารจัดตัง้ ศู น ย์ วิ จั ย ยุ ท ธศาสตร์ ท างทะเลเหมื อ น Bletchley Park, England ของราชนาวี อังกฤษในอดีต โดยอาจประสานความ ร่ ว มมื อ กั บ University college of London, England และ National Taiwan University, Taiwan ขอให้ส่ง นักวิจัยมาค้นคว้าระบบป้องกันภัยทาง ทะเล ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ทั้ ง 2 แห่ ง ก� ำ ลั ง วิจัยระบบนี้ ถึงแม้ว่ากองทัพเรือจะไม่มี เรื อ ด� ำ น�้ ำ ประจ� ำ การในอนาคตอั น ใกล้ แต่ ก็ ค วรที่ จ ะมี ร ะบบเตื อ นภั ย จากเรื อ ด� ำ น�้ ำ ต่ า งชาติ ที่ เ ข้ า มาละเมิ ด น่ า นน�้ ำ ประเทศไทยอยู ่ บ ่ อ ยครั้ ง โดยจะเป็ น สมุ ท ทานุ ภ าพเชิ ง รั บ ของราชนาวี ไ ทย ที่มีประสิทธิภาพยิ่ง ในการป้องกันและ รักษาผลประโยชน์ทางทะเลของประเทศชาติ และปวงชนชาวไทยต่อไป


@Engineering Today Vol. 6 No. 180

ว�ศวกรไทย 2021

กับการปรับตัวในโลกยุค New Normal “เมเจอร ดีเวลลอปเมนท” แตกไลนธุรกิจใหม “PeopleScape” ธุรกิจที่ปร�กษาพัฒนาคน และองคกรครบวงจรรับยุค New Normal

“เอ็ม เอ เอ็น” เปดตัว รถบรรทุก หัวลากเร�อธง TGS 3 รุน ชูจ�ดเดน CBU ประกอบจากเยอรมนี เจาะตลาดขนสงไทย


Construction • กองบรรณาธิการ

วิกับศการปรัวกรไทย 2021 บตัวในโลกยุค New Normal ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกุลชัย ราชบัณฑิต และผู้อ�ำนวยการ สถาบันนวัตกรรมบูรณาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ในงานวิ ศ วกรรมแห่ ง ชาติ 2563 (National Engineering) ซึง่ จัดโดยวิศวกรรม สถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) เปิดเวทีเสวนา เรือ่ งวิศวกรไทย 2021 กั บ การปรั บ ตั ว ในโลกยุ ค วิ ถี ใ หม่ โดยมี 3 ผูเ้ ชีย่ วชาญชัน้ น�ำของประเทศ เปิดมุมมอง และเทคนิควิธีการปรับตัว เพื่อเปลี่ยนชีวิต เปลีย่ นธุรกิจ และเปลีย่ นโลกไว้อย่างน่าสนใจ โดยมี ผศ. ดร.รัฐภูมิ ปริชาตปรีชา ประธาน คณะกรรมการวิ ศ วกรรมระบบราง วสท. เป็นผูด้ ำ� เนินรายการ เมือ่ เร็วๆ นี้ ณ อิมแพ็ค ฟอรั่ม เมืองทองธานี

→ แนะวิศวกรเสริมทักษะการใช้เทคโนโลยีและประสบการณ์ เปิดรับองค์ความรู้ใหม่ๆ ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกุลชัย ราชบัณฑิตและผู้อ�ำนวยการ สถาบันนวัตกรรม บูรณาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ใน 50 ปีที่ผ่านมา วิชาชีพวิศวกรรม ได้ขับเคลื่อนเปลี่ยนแปลงโลกแห่งนวัตกรรมและการค้าอุตสาหกรรมมากมาย ดังจะ เห็นได้ชัดจาก Skylines แนวขอบฟ้าของเมืองต่างๆ ทั่วโลก ที่มีความทันสมัยและ เป็นสมาร์ทซิตี้มากขึ้น ประกอบกับการพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นกุญแจ ดอกส�ำคัญในการสร้างสรรค์นวัตกรรมให้เติบโตอย่างก้าวกระโดด เกิดการพัฒนา Digitization ในวงการวิศวกรรมและออกแบบ ช่วยให้การวิเคราะห์ข ้อมูลเกิด ประสิทธิภาพและบูรณาการ สามารถออกแบบโครงสร้างต่างๆ อย่างไร้ขีดจ�ำกัด ในอนาคตทุกอย่างจะถูกแทนทีด่ ว้ ยเครือ่ งมือ ซอฟต์แวร์ และเทคโนโลยี วิศวกร จึงจ�ำเป็นต้องสร้างเสริมทักษะการใช้เทคโนโลยีและประสบการณ์ควบคูก่ บั การเปิดรับ องค์ความรู้ใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา

53

Engineering Today November - December

2020


→ วิศวกรยุคใหม่ 2021 ต้องมีความรู้ในการเพิ่มอัจฉริยภาพ ให้เมืองสมาร์ทและทันสมัย

รศ. ดร.สมยศ เกียรติวนิชวิ ไล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.)

ผศ. ดร.ธนพล เพ็ญรัตน์ รองผู้อ�ำนวยการ ภารกิจก�ำกับติดตามการใช้งบประมาณ สกสว. และอาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

เทคโนโลยีใหม่ที่จะเข้ามาเปลี่ยนผ่านการท�ำงานของวิศวกร ได้แก่ 1. หุ่นยนต์ และปัญญาประดิษฐ์ (AI) ทีจ่ ะเข้ามาช่วยในกระบวนการวิเคราะห์ ออกแบบ ก่อสร้าง และการท�ำงานของวิศวกร สามารถท�ำงานภายใต้ข้อจ�ำกัดได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ประหยัด เวลา ประหยัดต้นทุนและก�ำลังคน 2. เทคโนโลยี 3D Printing ปฏิวัติการก่อสร้าง จากรูปแบบเดิมๆ ช่วยปลดล็อกงานออกแบบสู่ความเป็นอิสระ 3. โดรน หรือ อากาศยานไร้คนขับ น�ำมาใช้เพื่อการส�ำรวจพื้นที่และอาคาร ช่วยวิศวกรให้ท�ำงาน ได้สะดวกรวดเร็ว และประหยัดแรงงานได้อย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน 4. BIM ช่วยสร้าง แบบจ�ำลอง 3 มิติ ท�ำให้วิศวกรและสถาปนิกสามารถท�ำงานได้ทุกที่ทุกเวลา ส่งแบบ ได้ง่าย ปรับเปลี่ยนแบบ ค�ำนวณต้นทุนได้ง่าย สามารถ Up Scale และยังประหยัด ค่าใช้จ่ายในการคัดลอกซ�้ำ รวมถึง VR/AR ซึ่งจะช่วยให้การเสริมวัตถุจ�ำลองเข้าไป ในวัตถุและสภาพแวดล้อมทีม่ อี ยูจ่ ริง ท�ำให้สามารถมองเห็นสิง่ ก่อสร้างแบบเสมือนจริง “วิ ศ วกรยุ ค ใหม่ 2021 จะต้ อ งมี ค วามรู ้ แ ละความสามารถในการเพิ่ ม อัจฉริยภาพ (Smartness) ให้เมืองมีความสมาร์ทและทันสมัย ภายใต้โครงสร้าง พื้นฐานทางดิจิทัล (Digital Infrastructure) ในด้านต่างๆ ทั้งการใช้ข้อมูลของผู้ใช้ บริการสาธารณะในการปรับปรุงบริการสาธารณะและท�ำนายอุปสงค์ของพลเมือง รวมถึง การใช้ระบบเซนเซอร์ (Sensors) ส�ำหรับจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ เพื่อน�ำมา วิเคราะห์พฤติกรรมของผูใ้ ช้บริการและใช้ในการขับเคลือ่ นนโยบายผูใ้ ห้บริการ กระตุน้ ให้ ป ระชาคมเมื อ งมี ส ่ ว นร่ ว มและผู ก พั น ให้ เ กิ ด พลั ง สามั ค คี ก ้ า วเดิ น ไปด้ ว ยกั น ” ศ. ดร.วรศักดิ์ กล่าว

→ แนวโน้มวิถีการท�ำงานทางวิศวกรรมในอนาคต

ดังนั้นวิศวกรยุคใหม่จ�ำเป็น ต้องเตรียมพร้อม คือ

1 2

Environmental Scanning ติดตามก้าวทันสถานการณ์ ของโลกที่ ไร้พรมแดน

Relevant Positioning เลือกปรับธุรกิจให้ตรงกับ แนวโน้มในการเปลี่ยนแปลง ของโลก

3

ReSkilling Strength ปรับเปลี่ยนทักษะจุดแข็ง ให้ตรงกับธุรกิจที่มีศักยภาพ ในอนาคต

4

Globalization พร้อมท�ำงาน กับบุคลากรในหลากหลาย วัฒนธรรมและวิชาชีพ

Engineering Today November - December 2020

แม้วา่ ปัจจุบนั ปัญหา COVID-19 ยังแพร่ระบาดในหลายภูมภิ าคของโลก แต่ใน ทางกลับกันยังท�ำให้วถิ ชี วี ติ ของวิศวกรและผูค้ นเกิดการเปลีย่ นแปลง เช่น 1. Work From Home/Online Meeting ช่วยลดค่าใช้จ่ายภายในส�ำนักงาน และลดการเสียเวลา ในการเดินทางของพนักงาน โดยต้องก�ำหนด KPI ชุดใหม่ ที่ไม่วัดด้วยเวลาในการ ท�ำงาน แต่วัดด้วยปริมาณผลงานหรือความก้าวหน้าของโครงการ 2. Gig Economy งานไม่ประจ�ำ รับจ้างเป็นครั้งๆ จะมาแทนที่การจ้างงานแบบนายจ้าง-ลูกจ้าง โดยเฉพาะในวิชาชีพ เช่น แพทย์ วิศวกร สถาปนิก นักบัญชี นักกฎหมาย เป็นต้น 3. Fund Efficiency บริ ษั ท วิ ศ วกรรมจะเปลี่ ย นตั ว ชี้ วั ด จากผลผลิ ต มาเป็ น ประสิทธิภาพของการใช้เงินทุน ซึง่ บริษทั ทีใ่ ช้เงินทุนน้อยและเงินสดหมุนเวียนมาก จะ สามารถอยู่ได้อย่างยั่งยืน 4. Get Jobs Anywhere, Produce Anywhere and Deliver Anywhere ผลิ ต ภั ณ ฑ์ วิ ศ วกรรมทุ กอย่ า งจะต้ อ งแปลงให้ เ ป็ น ดิ จิ ทั ล เพื่ อ สามารถส่ ง ให้ ลู ก ค้ า และผู ้ เ กี่ ยวข้ อ งได้ ท างออนไลน์ สิ่ ง นี้ จ ะสอดคล้ อ งกั บ แนวคิดว่า รับงานที่ไหนก็ได้ ผลิตงานที่ไหนก็ได้ และส่งงานที่ใดก็ได้ 5. Business Shift To Areas With Great Potential To Scale Up บริษัทที่จะอยู่รอดได้ ในอนาคตจะต้องพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนธุรกิจไปสู่ธุรกิจที่ยังมีช่องว่างในการขยายตัว เช่น วิศวกรรมเมืองอัจฉริยะ เทคโนโลยีสขุ ภาพ พลังงานสะอาด วิศวกรรมพันธุกรรม ซอฟต์แวร์ หุ่นยนต์ และปัญญาประดิษฐ์ (AI)

54


เทคโนโลยีใหม่ที่จะเข้ามา เปลี่ยนผ่านการท�ำงาน ของวิศวกร ได้แก่

1

หุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์ (AI) ที่จะเข้ามาช่วยใน กระบวนการวิเคราะห์ออกแบบ ก่อสร้างและการท�ำงาน ของวิศวกร

2 3 4

เทคโนโลยี 3D Printing ช่วยปลดล็อกงานออกแบบ สู่ความเป็นอิสระ โดรน หรืออากาศยาน ไร้คนขับ ช่วยวิศวกร ให้ท�ำงานได้สะดวกรวดเร็ว

BIM ช่วยสร้างแบบจ�ำลอง 3 มิติ ท�ำให้วิศวกรและ สถาปนิกสามารถท�ำงานได้ ทุกที่ทุกเวลา

→ วิศวกรไทยต้องยกระดับการ ท�ำงานปรับตัวพัฒนาในสิ่ง ที่ AI ท�ำไม่ ได้ รศ. ดร.สมยศ เกียรติวนิชวิไล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง (สจล.) กล่าวว่า วิศวกรไทยต้องยกระดับ การท�ำงานด้วยความรู้ ประสบการณ์ และ ปรับตัวพัฒนาในสิ่งที่ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ท�ำไม่ได้หรือท�ำได้ไม่ดเี ท่ามนุษย์ หลายคนเข้าใจ ว่าเรื่องของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เป็นสิ่งใหม่ แต่จริงๆ แล้วในแวดวงวิศวกรรม AI ถูกน�ำมาใช้ตั้งแต่ช่วงปี 80 ซึ่งปัจจุบัน ได้ขยายบทบาทการใช้งานมากขึ้น เนื่องจาก ประสิ ท ธิ ภ าพและความสามารถที่ เ พิ่ ม ขึ้ น การค้นหาข้อมูลมหาศาลภายในไม่กี่วินาที อีกทัง้ การแพร่ระบาดของ COVID-19 ยังช่วย เร่งการพัฒนาด้าน AI เพิ่มขึ้น เพราะมี Drive Force งานวิจัยสิ่งที่ต้องการเอาชนะร่วมกัน

การคิดนอกกรอบภายใต้ขีดจ�ำกัด ทั้งด้านเวลา เงินทุน และความปลอดภัย ดังนัน้ วิศวกรยุคใหม่จำ� เป็นต้องเตรียมพร้อม คือ 1. Environmental Scanning ติดตามก้าวทันสถานการณ์ของโลกที่ไร้พรมแดน 2. Relevant Positioning เลือก ปรับธุรกิจให้ตรงกับแนวโน้มในการเปลี่ยนแปลงของโลก 3. ReSkilling Strength ปรับเปลี่ยนทักษะจุดแข็งให้ตรงกับธุรกิจที่มีศักยภาพในอนาคต 4. Globalization พร้อมท�ำงานกับบุคลากรในหลากหลายวัฒนธรรมและวิชาชีพ

→ COVID-19 กระตุ้นจิตส�ำนึกคน ให้หันมาใส่ใจปัญหาสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ผศ. ดร.ธนพล เพ็ญรัตน์ รองผู้อ�ำนวยการภารกิจก�ำกับติดตามการใช้ งบประมาณ ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) และอาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร กล่าวว่า ปัญหาทีน่ า่ กังวลและน่าเป็นห่วงมากยิง่ กว่า COVID-19 คือการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกและปัญหามลพิษ จะเห็นว่าเมื่อ COVID-19 ได้แพร่ระบาดไปทั่วโลก รัฐบาลไทยได้สั่งให้มีการล็อกดาวน์เพื่อป้องกัน การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ซึ่งช่วยลดการปลดปล่อยมลพิษได้เพียง ระยะสั้นเท่านั้น และช่วยยืดระยะเวลาการใช้ทรัพยากรประเทศเพียง 3 สัปดาห์ แต่คลื่นกระทบใหญ่ที่ก�ำลังตามมาคือ ปัญหาขยะเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งปัญหาสารเคมี ปนเบื้อนในแหล่งน�้ำและระบบนิเวศ ซึ่งเกิดจากการใช้สารเคมีฆ่าเชื้อโรค “ในด้านสิ่งแวดล้อม วิกฤต COVID-19 ท�ำให้เกิดการปรับจุดอ้างอิงใหม่ (Arbitrary Coherence) ทีช่ ว่ ยกระตุน้ จิตส�ำนึกให้ผคู้ นใส่ใจถึงปัญหาสิง่ แวดล้อมและ ปัญหามลพิษเพิ่มมากขึ้น” ผศ. ดร.ธนพล กล่าว ดังนั้นวิศวกรทุกสาขาต้องรวมพลังกันเพื่อช่วยกันรับมือกับปัญหาต่างๆ เหล่านี้ ได้แก่ 1. การเป็นผู้น�ำแนวคิดและวิศวกรรรมใหม่ๆ (Circular Economy) ในการน�ำเสนอเทคโนโลยีทดี่ ใี ห้กบั โครงการและลูกค้า 2. การเป็นผูน้ ำ� เสนอทางเลือก วิศวกรรมที่รับผิดชอบ (Internalize Externality) โดยค�ำนึงถึงความยั่งยืน ผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียและผลกระทบอย่างรอบด้าน 3. การเป็นผู้ร่วมออกแบบสังคมใหม่ (Social Co-Designer) เนื่องจากวิศวกรเป็นจุดเริ่มจุดแรกของการพัฒนาเมือง จึ ง มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ที่ จ ะส่ ง ผ่ า นการพั ฒนาด้ ว ยบริ ก ารและเทคโนโลยี ที่ ส ะอาด การพัฒนาสมาร์ทซิตี้เข้าไปในระบบ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในทุกมิติและเกิด องค์ความรู้ที่ยั่งยืนต่อชุมชนเมือง ประเทศ และสังคมโลก

55

Engineering Today November - December

2020


Construction • กองบรรณาธิการ

“เอ็ม เอ เอ็น” เปิดตัวรถบรรทุกหัวลากเรือธง TGS 3 รุ่น จักรพงษ์ ศานติรัตน์ ผู้อ�ำนวยการ เอ็ม เอ เอ็น ทรัค แอนด์ บัส ประเทศไทย

“เอ็ม เอ เอ็น”

เปิดตัวรถบรรทุก หัวลากเรือธง TGS 3 รุ่น ชูจุดเด่น CBU ประกอบจาก เยอรมนี เจาะตลาดขนส่งไทย

Engineering Today November - December 2020

เอ็ม เอ เอ็น ทรัค แอนด์ บัส ประเทศไทย เดินเครือ่ งรุกตลาดรถบรรทุก ไทยส่งท้ายปี เปิดตัวรถบรรทุกเรือธง TGS 3 รุ่น ได้แก่ TGS 6x4 360 แรงม้า TGS 6x4 400 แรงม้า และ TGS 6x4 440 แรงม้า ที่มาพร้อม เครื่องยนต์ดีเซล D2066 6 สูบ ขนาด 10,518 ซีซี ท�ำงานด้วยระบบหัวฉีด แบบคอมมอนเรล พร้ อ มอิ น เตอร์ คู ล เลอร์ เ ทอร์ โ บชาร์ จ ให้ ก� ำ ลั ง สู ง สุ ด 360 แรงม้า ที่ 1,400-1,900 รอบต่อนาที 400/440 แรงม้า ที่ 1,900 รอบ ต่ อ นาที และให้ แ รงบิ ด สู ง สุ ด ที่ 1,800/1,900/2,100 นิ ว ตั น เมตร ที่ช่วงรอบการท�ำงานตั้งแต่ 1,000-1,400 รอบต่อนาที มาพร้อมกับระบบ เกียร์อตั โนมัตอิ จั ฉริยะ MAN TipMatic อี และในส่วนของระบบความปลอดภัย มาพร้อม MAN BrakeMatic ซึ่งเป็นดิสก์เบรกทุกล้อ ระบบเบรกควบคุมด้วย ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (EBS) ระบบป้องกันล้อล็อกอัตโนมัติ (ABS) และระบบ ช่วยการออกตัวบนทางลาดชัน (MAN EasyStart) เป็นอุปกรณ์มาตรฐาน รวมถึงเทคโนโลยีที่เป็นนวัตกรรมประสิทธิภาพสูงสุดอีกมากมาย เพื่อรองรับ การใช้งานของผูข้ บั ขีอ่ ย่างเหมาะสมทีส่ ดุ ในทุกพืน้ ที่ ตลอดจนสามารถปรับแต่ง ทั้งอุปกรณ์ภายในและภายนอกให้เหมาะกับความต้องการของประเภทธุรกิจ ตอบโจทย์ทุกมิติการขนส่งได้อย่างครอบคลุม

56


จักรพงษ์ ศานติรตั น์ ผูอ้ ำ� นวยการ เอ็ม เอ เอ็น ทรัค แอนด์ บัส ประเทศไทย กล่าวว่า หลังจาก เอ็ม เอ เอ็น (MAN) ลุยตลาดรถบรรทุกเพือ่ การพาณิชย์ในประเทศไทย ล่าสุดเปิดตัวรถบรรทุกไฮไลต์ที่ได้รับการผลิตและน�ำเข้า ทั้งหมดเป็น CBU 100% จากประเทศเยอรมนี ได้แก่ รถบรรทุกหัวลาก MAN รุ่น TGS แบบ 10 ล้อ ทั้งหมด 3 รุ่นย่อย ประกอบด้วย 1. TGS 6x4 360 แรงม้า 2. TGS 6x4 400 แรงม้า และ 3. TGS 6x4 440 แรงม้า ทีม่ าพร้อมความแข็งแรงทนทานและเทคโนโลยีระดับชัน้ น�ำ โดดเด่ น ด้ ว ยเครื่ อ งยนต์ อั น เป็ น เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะตั ว สุดประหยัด อีกทั้งมาพร้อมเทคโนโลยีที่เป็นนวัตกรรม ประสิทธิภาพสูงสุด ทัง้ ความปลอดภัยทีเ่ ชือ่ ถือได้ดว้ ยระบบ ช่วยเหลืออัจฉริยะและระบบความปลอดภัยเพื่อรองรับ ผูข้ บั ขีอ่ ย่างเหมาะสมทีส่ ดุ ในทุกพืน้ ที่ นอกจากนีย้ งั สามารถ ปรับแต่งอุปกรณ์ทงั้ ภายในและภายนอกให้เหมาะกับความ ต้องการของประเภทธุรกิจได้ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและ การบริการของธุรกิจให้ก้าวหน้าได้อย่างราบรื่นน่าเชื่อถือ และปลอดภัย ตอบโจทย์ทกุ มิตกิ ารขนส่งได้อย่างครอบคลุม เช่น การขนส่งระยะทางไกล การใช้งานในไซต์งานก่อสร้าง การขนส่งและบรรทุกอาหาร การขนส่งยานยนต์พิเศษ การขนส่งแก๊ส ของเหลว ฯลฯ

ส�ำหรับรถบรรทุก TGS ทั้ง 3 รุ่น มาพร้อมเครื่องยนต์ดีเซล D2066 6 สูบ ขนาดปริมาตรความจุกระบอกสูบ 10,518 ซีซี ท�ำงาน ด้วยระบบหัวฉีดแบบคอมมอนเรล พร้อมอินเตอร์คูลเลอร์เทอร์โบชาร์จ ให้ก�ำลังสูงสุด 360 แรงม้า ที่ 1,400-1,900 รอบต่อนาที 400/440 แรงม้า ที่ 1,900 รอบต่อนาที และให้แรงบิดสูงสุดที่ 1,800/1,900/ 2,100 นิวตันเมตร ที่ช่วงรอบการท�ำงานตั้งแต่ 1,000-1,400 รอบ ต่อนาที ด้านระบบเกียร์เป็นเกียร์แบบ 12 เกียร์เดินหน้า 2 เกียร์ ถอยหลัง ท�ำงานแบบกึ่งอัตโนมัติ (Automated Manually Operated) ด้วยระบบการเปลีย่ นเกียร์อตั โนมัติ แบบ TipMatic แบบ Smartshifting ทีท่ ำ� ให้การเปลีย่ นเกียร์เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว รวมถึงระบบการตรวจจับ ภาระการรับน�ำ้ หนัก (Load Detection) ของตัวรถ เพือ่ ท�ำการเลือกเกียร์ ที่เหมาะสมในการออกตัว โดยค�ำนึงถึงน�้ำหนักของตัวรถและน�้ำหนัก บรรทุกขณะขับขี่ ส่วนล้อทั้ง 3 รุ่น มาพร้อมกระทะล้อเหล็กขนาด 9 นิ้ว-22.5 นิ้ว พร้อมยางเรเดียล Tubeless ขนาด 295/80R22.5 มาพร้อมล้อและ ยางอะไหล่ ด้านไฟส่องสว่าง ด้วยไฟหน้าแบบฮาโลเจน H7 พร้อมไฟ LED Daytime Driving Light ในขณะทีก่ ารออกแบบห้องโดยสารเป็นไป ตามหลักสรีระศาสตร์เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานมีความเป็นอยู่ที่ดี มีสุขภาพ พลานามัยที่ดี มีความปลอดภัย และเกิดประสิทธิภาพในการท�ำงาน สูงสุด ด้านระบบความปลอดภัยมาพร้อม MAN BrakeMatic เป็นระบบ เบรกล้อแบบลมล้วน ควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (EBS) แบบดิสก์เบรก ทัง้ ด้านหน้าและด้านหลัง ติดตัง้ มาพร้อมกับระบบป้องกันล้อล็อกอัตโนมัติ (ABS) และระบบช่วยการออกตัวบนทางลาดชัน (MAN EasyStart) มาให้เป็นอุปกรณ์มาตรฐาน ในส่วนระบบการขับเคลื่อนเป็นเพลาหน้า และหลัง เป็นแบบแหนบ (Parabolic Leaf Spring) พร้อมกันโคลง เพื่อให้การรองรับน�้ำหนักและการทรงตัวเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ รองรับทุกการใช้งาน นอกจากนี้ยังเพิ่มความมั่นใจให้ผู้ซื้อรถบรรทุก TGS ด้วยการ รับประกันคุณภาพสินค้าตามมาตรฐานของประเทศเยอรมนี โดยรถบรรทุก ทุกคันทีจ่ ำ� หน่ายในประเทศไทยจะได้รบั การรับประกันสินค้าทัง้ คุณภาพ ของตัวรถ ระบบขับเคลื่อน และอะไหล่ ได้แก่ 1. การรับประกันคุณภาพ ของตัวรถทัง้ คัน 12 เดือน โดยไม่จำ� กัดระยะทาง 2. การรับประกันระบบ ขับเคลื่อน 24 เดือน โดยไม่จ�ำกัดระยะทาง พร้อมกับบริการช่วยเหลือ ฉุกเฉิน Roadside Assistance 24 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 24 เดือน โดยไม่จ�ำกัดระยะทาง และ 3. การรับประกันคุณภาพของอะไหล่ 24 เดือน โดยไม่จำ� กัดระยะทาง รวมถึงมีชา่ งเทคนิคทีผ่ า่ นการฝึกอบรม ตามมาตรฐานของเอ็ม เอ เอ็น เพือ่ สร้างความมัน่ ใจตลอดจนการบริการ หลังการขายทีค่ รอบคลุมทุกด้าน พร้อมมอบความพึงพอใจสูงสุดแก่ลกู ค้า ทั้งนี้รถบรรทุกหัวลาก MAN รุ่น TGS แบบ 10 ล้อ ทั้งหมด 3 รุ่นย่อย เริ่มต้นที่ราคา 4.2 ล้านบาท พร้อมกันนี้ เอ็ม เอ เอ็น มอบข้ อ เสนอส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ส นใจ รั บ ฟรี สั ญ ญาบริ ก ารการบ� ำ รุ ง รั ก ษา COMFORT เป็นระยะเวลา 3 ปี หรือ 300,000 กิโลเมตร พร้อมบริการ ถึงสถานที่ตั้งแต่วันนี้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2563

57

Engineering Today November - December

2020


Property • กองบรรณาธิการ

<< เพชรลดา พูลวรลักษณ์ กรรมการบริหาร บริษัท เมเจอร์ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ MJD

“เมเจอร์ ดีเวลลอปเม้นท์”

แตกไลน์ธุรกิจใหม่ “PeopleScape” ธุรกิจที่ปรึกษาพัฒนาคนและองค์กรครบวงจร

รับยุค New Normal

เมเจอร์ ดีเวลลอปเม้นท์ น�ำประสบการณ์ 20 ปี ต่อยอด ธุ ร กิ จ ใหม่ “PeopleScape” ธุ ร กิ จ ที่ ป รึ ก ษาและพั ฒ นา บุคลากรด้านอสังหาฯ ครบวงจรในยุค New Normal ด้วย 4 บริการหลัก ทีป่ รึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การที่ปรึกษาด้านการพัฒนากระบวนการธุรกิจ-การจัดฝึกอบรม สัมมนา-การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล หวังเป็นศูนย์รวม นวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อทั้งบุคคลและองค์กร ช่วยเพิ่มทักษะ และประสิทธิภาพในการท�ำงาน ตอบโจทย์การเปลี่ยนแปลง ยุค New Normal ประเดิมหลักสูตรแรก “Transforming Real

Engineering Today November - December 2020

Estate Management” เติมเต็มทักษะการบริหารโครงการ ลักซ์ชัวรี่ผสานองค์ความรู้ด้านดิจิทัลและ PropTech พร้อม กลยุทธ์การขายอย่างเข้าใจลูกค้า เพชรลดา พูลวรลักษณ์ กรรมการบริหาร บริษัท เมเจอร์ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ MJD กล่าวว่า ตลอดเวลา กว่า 20 ปีที่ผ่านมา เมเจอร์ ดีเวลลอปเม้นท์ มุ่งมั่นพัฒนา บุ ค ลากรอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ ให้ ที ม งานทุ ก คนมี ทั ก ษะที่ ดี มีองค์ความรู้ที่เข้มข้น และมีความเข้าใจผู้บริโภค เพื่อให้สามารถ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ภายใต้แนวคิด “Crafting Lifescape to

58


(Business Process Consulting) เช่ น ช่ ว ยออกแบบ กระบวนการท� ำ งานตั้ ง แต่ ต ้ น น�้ ำ ถึ ง ปลายน�้ ำ และออกแบบ ระบบควบคุมภายในเพื่อเตรียมความพร้อมในการน�ำบริษัทเข้าสู่ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพชรลดา กล่าวว่า ส�ำหรับธุรกิจการบริการจัดอบรม จะมี ทั้งการจัดคอร์สให้แต่ละองค์กรโดยตรง ตามความต้องการของ องค์กรนัน้ และหลักสูตรใหม่ทเี่ ปิดกว้างให้บคุ คลทัว่ ไปหรือผูส้ นใจ ในการพัฒนาตัวเองเข้ามาร่วมอบรมได้ ล่าสุด PeopleScape ได้ เปิดหลักสูตรแรกภายใต้ชื่อ “Transforming Real Estate Management” เป็นกุญแจไขสูตรส�ำเร็จในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ในยุค New Normal อาทิ การวิเคราะห์ตลาดเพื่อเปลี่ยนวิกฤต ให้เป็นโอกาส เทคนิคการลงทุนหลัง COVID-19 การวิเคราะห์ พฤติกรรมผู้บริโภคและกลยุทธ์มัดใจลูกค้า แนวคิดการพัฒนา โครงการลักซ์ชัวรี่ การประยุกต์ใช้ PropTech และดิจิทัลเทรนด์ ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ รวมถึงการบริหารจัดการนิติบุคคล โดย เป็นหลักสูตรระยะสั้น 4 วัน พร้อมศึกษาดูงานจากสถานที่จริง “จากพฤติ ก รรมผู ้ บ ริ โ ภคที่ ก ้ า วผ่ า นสู ่ New Normal เราเล็งเห็นถึงการเปลีย่ นแปลงครัง้ ยิง่ ใหญ่ทจี่ ะปฏิวตั กิ ารท�ำธุรกิจ อย่างสิ้นเชิง โดยรวมถึงวงการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ แต่เราจะไม่ พั ฒ นาไปคนเดี ย วแล้ ว ทิ้ ง เพื่ อ นร่ ว มอุ ต สาหกรรมและต่ า ง อุตสาหกรรมไว้เบื้องหลัง PeopleScape จะเป็นตัวช่วยให้แก่ ทัง้ ผูบ้ ริหาร นักลงทุน พนักงาน นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์รนุ่ ใหม่ ตลอดจนผูท้ ตี่ อ้ งการเพิม่ พูนความรูเ้ พือ่ ต่อยอดธุรกิจให้ได้เรียนลัด กับเราผ่านความรู้ที่สั่งสมมากว่า 20 ปี” เพชรลดา กล่าว ทั้งนี้ PeopleScape จะมีการพัฒนาหลักสูตรใหม่ๆ ออกมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ตอบโจทย์ทุกความเปลี่ยนแปลง ของโลก ช่วยให้ทั้งคนและองค์กรต่างๆ เติบโตไปข้างหน้า

Excellence” และส่งมอบคุณภาพการอยู่อาศัยที่ดีที่สุดให้แก่ ลูกบ้าน ด้วยองค์ความรูจ้ ากประสบการณ์ดงั กล่าว บริษทั จึงมองเห็น โอกาสในการต่อยอดธุรกิจใหม่ ภายใต้ชื่อ “PeopleScape: HROD Consulting & Services” เพื่อด�ำเนินธุรกิจที่ปรึกษา และบริการด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ (HR & Organization Development Consulting) “เราเชื่อว่า เมื่อมีทีมที่ดี องค์กรก็จะดี ท�ำให้เกิดสินค้าที่ดี มี คุ ณ ภาพ ตอบโจทย์ ค วามต้ อ งการและความพึ ง พอใจของ ผู้บริโภค วันนี้โลกเปลี่ยนแปลงเร็วขึ้น จากทั้งกระแส Digital Disruption และสถานการณ์ COVID-19 การจะสร้างบุคลากร ที่ดี เพื่อให้เกิดทีมที่ดี มีความท้าทายมากขึ้น เราเองมีโนว์ฮาว ด้านการจัดการองค์กรและการพัฒนาทรัพยากรบุคคลมากว่า 20 ปีแล้ว เราจึงมองว่า นอกจาก Crafting Lifescape to Excellence แล้ว ต่อไปเรายังสามารถเข้าไปช่วยทั้งพนักงาน และองค์กรอื่นในการ Crafting People to Excellence ด้วย” เพชรลดา กล่าว ส�ำหรับ PeopleScape จะด�ำเนินงานภายใต้ 4 บริการ ได้แก่ 1. ที่ปรึกษาและบริการด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และองค์การ (HR & OD Consulting) เช่น การพัฒนาและ ออกแบบองค์กร การบริหารระบบทรัพยากรบุคคล การสร้าง วัฒนธรรมองค์กร 2. การบริการจัดอบรม (Training Services) ทั้งรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ ภายในองค์กรและภายนอก องค์กร หลักสูตรการบริหารงานก่อสร้าง หลักสูตรการบริหารงาน ขาย หลักสูตรโบรกเกอร์และตัวแทนการขายแต่เพียงผูเ้ ดียว (Sole Agent) และหลักสูตรการบริหารงานนิติบุคคล 3. การจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ (HR Services) เช่น การจัดหาพนักงาน จั ด การระบบบั ญ ชี เ งิ น เดื อ น การสร้ า งและพั ฒ นาที ม ให้ มี ประสิทธิภาพ และ 4. ที่ปรึกษาด้านกระบวนการด�ำเนินธุรกิจ

การจัดหลักสูตรอบรมภายใต้ Peoplescape รุ่นแรก

59

Engineering Today November - December

2020


Energy Today

โฉมหน้า “บ้านปู เน็กซ์ อีพรอมต์มูฟ” โซลูชันผลิตและกักเก็บไฟฟ้า พลังงานสะอาดเคลื่อนที่คันแรกในไทย

• กองบรรณาธิการ

บ้านปู เน็กซ์

อีพรอมต์มูฟ

โซลูชันผลิตและกักเก็บไฟฟ้า พลังงานสะอาดเคลือ่ นทีค่ นั แรกของไทย ตอบโจทย์พนื้ ทีภ่ ยั พิบตั ิ “พลังงานไฟฟ้า” ถือเป็นปัจจัยส�ำคัญในการใช้ชีวิต และการด�ำเนินงานของทุกภาคส่วน ทั้งภาคประชาชน อุตสาหกรรม และเศรษฐกิจ แต่ปัจจุบันประเทศไทยยัง พบปัญหาด้านการใช้ไฟฟ้าอยู่หลายประเด็น อาทิ การ ขาดแคลนไฟฟ้าเนือ่ งจากอยูใ่ นพืน้ ทีห่ า่ งไกล ไม่สามารถใช้ ไฟฟ้าในกรณีเร่งด่วนได้ โดยเฉพาะในพื้นที่เกิดภัยพิบัติ หรือไฟฟ้าทีใ่ ช้ไม่มเี สถียรภาพ ดังนัน้ บ้านปู เน็กซ์ ในฐานะ ผู้ให้บริการด้านพลังงานสะอาดชั้นน�ำในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิก จึงน�ำความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในแวดวง ธุรกิจพลังงาน รวมถึงเทคโนโลยี และโซลูชันด้านพลังงาน สะอาดมาพัฒนาเป็นต้นแบบชุดเครื่องผลิตและกักเก็บ ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบออฟกริด (Off-grid) “บ้ า นปู เน็ ก ซ์ อี พ รอมต์ มู ฟ ” (Banpu NEXT e-PromptMove) ที่ประยุกต์ใช้กับรถเทรลเลอร์รายแรก ในไทย มาพร้อมกับ 8 ข้อดีของชุดผลิตและกักเก็บไฟฟ้าฯ นี้ อาทิ สามารถเคลื่อนย้ายไปใช้งานได้ทุกพื้นที่แม้ในพื้นที่ ประสบภัยพิบัติ พื้นที่ที่ไฟฟ้าเข้าไม่ถึง ท�ำให้เกิดความ สะดวก รวดเร็ว ครบวงจรทั้งผลิต กักเก็บ จ่ายไฟฟ้า และ เชื่อมต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าได้อิสระ ทุกที่ ทุกเวลา ทั้งยังช่วย ตอบเทรนด์การใช้พลังงานสะอาดที่เพิ่มสูงขึ้น ลดการใช้ พลังงานเชื้อเพลิง และส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างมี ประสิทธิภาพ และยั่งยืน ส ม ฤ ดี ชั ย ม ง ค ล ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร บริษทั บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) และ บริ ษั ท บ้ า นปู เน็ ก ซ์ จ�ำกัด กล่าวว่า บ้านปู เน็กซ์ เล็ ง เห็ น ถึ ง ปั ญ หาด้ า นการ ขาดแคลนพลังงานในหลายพื้นที่ รวมทั้งในยามวิกฤต จึง ต้องการเป็นส่วนส�ำคัญทีจ่ ะช่วยให้ประชาชนเข้าถึงพลังงาน ได้ง่าย รวดเร็ว และทั่วถึง ในฐานะบริษัทลูกของบ้านปูฯ ที่ ด�ำเนินธุรกิจภายใต้กลยุทธ์ Greener & Smarter เราจึงได้

Engineering Today November - December 2020

ภายใน บ้านปู เน็กซ์ อีพรอมต์มูฟ

ระบบการบริหารจัดการพลังงาน (Energy Management System) และแบตเตอรี่

น�ำนวัตกรรมความรู้ ประสบการณ์ด้านพลังงาน เทคโนโลยี และโซลูชัน ด้านพลังงานที่หลากหลาย มาพัฒนาต้นแบบชุดผลิตและกักเก็บไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์ “บ้านปู เน็กซ์ อีพรอมต์มูฟ” (Banpu NEXT e-PromptMove) โซลูชัน ผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานสะอาดในรูปแบบ รถเทรลเลอร์รายแรกของไทย ที่สามารถพร้อมเคลื่อนย้ายไปใช้งานได้ ทุกที่ทุกเวลา แม้ในพื้นที่ประสบภัยพิบัติ ซึ่งทีมนักวิจัย วิศวกร และ ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละด้านของบ้านปู เน็กซ์ ได้ร่วมกันคิดค้นโซลูชัน และ หาเทคโนโลยีที่สามารถตอบโจทย์การใช้งานมาออกแบบและผสาน เข้าด้วยกันได้อย่างรัดกุม โดยเน้นการท�ำงานแบบครบวงจร ความ กะทัดรัด และปลอดภัย นอกจากนี้ยังได้มาตรฐานตรงตามที่กรมการ ขนส่งทางบกก�ำหนด โดยได้ผ่านการตรวจสอบและทดลองระบบเป็นที่ เรียบร้อยจึงสามารถน�ำไปใช้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ Banpu NEXT e- PromptMove มีขนาดกว้าง 2,300 มิลลิเมตร ยาว 4,500 มิลลิเมตร และสูง 2,825 มิลลิเมตร มีน�้ำหนักโดยรวม ประมาณ 3,000 กิโลกรัม ตัวรถประกอบด้วยระบบฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์ที่ท�ำงานสอดประสานกันอย่างมีประสิทธิภาพ โดยระบบ ฮาร์ดแวร์ ได้แก่ แผงโซลาร์เซลล์ชนิดพิเศษน�้ำหนักเบา จ�ำนวน 12 แผง ก�ำลังการผลิตรวมกว่า 4,320 วัตต์ แบตเตอรี่ลิเทียมเฟอร์โรฟอสเฟต (LFP) คุณภาพสูง อุปกรณ์แปลงผันไฟฟ้า (Inverter) ตัวรถเทรลเลอร์ ออกแบบและผลิตขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อให้เหมาะกับการใช้งาน และ แข็งแรงทนทาน รวมถึงมีระบบจอแสดงผลภายในรถ ส�ำหรับตรวจสอบ ข้อมูลการใช้ไฟฟ้า ด้านระบบซอฟต์แวร์ มีระบบการบริหารจัดการ พลังงาน (Energy Management System) และอินเทอร์เน็ตออฟติงส์ (IoT) เพื่อใช้ควบคุมการผลิต กักเก็บ และประมวลผลการท�ำงาน เรียกได้ว่าเป็นรถเทรลเลอร์ที่เหมาะจะน�ำไปใช้ในพื้นที่ที่ไฟฟ้าเข้าไม่ถึง พื้ น ที่ ป ระสบภั ย พิ บั ติ หรื อ พื้ น ที่ ที่ ต ้ อ งการหน่ ว ยสนั บ สนุ น ทางการ ส่งก�ำลัง อย่างหน่วยแพทย์ หน่วยซ่อมบ�ำรุง เป็นต้น

60


8

ข้อดี

ของ Banpu NEXT e-PromptMove คือ

01

เป็นแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้าพลังงาน สะอาด 100% และครบวงจร •

ด้วยองค์ประกอบของ Banpu NEXT e-PromptMove ท�ำให้ สามารถผลิต กักเก็บ และแปลงไฟฟ้าเพื่อใช้งานได้แบบ ครบวงจร ที่ส�ำคัญเป็นแหล่งก�ำเนิดไฟฟ้าจากพลังงาน แสงอาทิตย์ ไม่พงึ่ พาพลังงานเชือ้ เพลิง อีกทัง้ ไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้ สามารถน�ำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเสถียรภาพ

02

เข้าถึงได้ทกุ พืน้ ที่ ทุกสถานการณ์ • ตัวรถเทรลเลอร์ ถูกออกแบบให้

เคลือ่ นทีไ่ ด้งา่ ย มีระบบลากจูง สามารถน�ำไปต่อพ่วงกับรถ ได้ทุกชนิด รวมถึงตัวรถยังเคลื่อนที่ผ่านระดับน�้ำสูงได้ถึง 90 เซนติเมตร กันน�้ำ กันฝุ่น ตามมาตรฐาน IP55 และ มีระบบระบายอากาศภายใน จึงสามารถน�ำไปใช้ในพื้นที่ ประสบอุทกภัยได้

03

ผลิตไฟฟ้าได้อย่างไร้ขีดจ�ำกัด แม้ในพื้นที่แสงน้อย • ใช้แผงโซลาร์

เซลล์ชนิดโมโนคริสตัลไลน์ (Monocrystalline silicon) คุณภาพสูงระดับเทียร์ 1 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงสุด และใช้ ระบบผลิตไฟฟ้าแบบออฟกริด (Off-grid) จึงผลิตไฟฟ้า ได้เอง 100% แม้ในสภาพอากาศที่มีแสงน้อย

04

กักเก็บพลังงานไว้ใช้ยามกลางคืน หรือเหตุ ฉุกเฉินได้ • Banpu NEXT e-PromptMove

มีแบตเตอรี่ในตัว จึงสามารถกักเก็บพลังงานไว้ใช้ในช่วงกลางคืนได้ สามารถจ่ายไฟได้อย่างต่อเนื่อง และช่วยเพิ่มเสถียรภาพในการจ่ายไฟ ซึ่งแบตฯ ตัวนี้สามารถเก็บพลังงานได้สูงสุด 34.4 กิโลวัตต์/ชั่วโมง เทียบเท่ากับการเปิดไฟจากหลอด LED ขนาด 5 วัตต์ จ�ำนวน 100 หลอดได้ยาวนานกว่า 68 ชั่วโมง

05

มอนิเตอร์ผลการผลิต กักเก็บ และใช้ ไฟฟ้า ได้ แ บบเรี ย ลไทม์ • มี แ อปพลิ เ คชั น ในการ

ตรวจสอบการท�ำงานของแผงโซลาร์เซลล์และแบตเตอรรี่ รวมถึงแสดง ผลการผลิตและการใช้ไฟฟ้าได้อย่างแม่นย�ำ ท�ำให้เอื้อต่อการวางแผน ในการใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถวางแผนซ่อมบ�ำรุง ได้ล่วงหน้า นอกจากนี้ยังมีระบบค�ำนวณเปรียบเทียบการลดการสร้าง CO2 ในอากาศจากการใช้งานอีกด้วย

มีความปลอดภัยสูง • ทุกองค์ประกอบของ

Banpu NEXT e-PromptMove มีมาตรฐานความ 06 ปลอดภัยระดับสากล อาทิ เซลล์แบตเตอรี่มีความแข็งแรงสูง ทนต่อการ เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้ดี หากเกิดความเสียหายจะไม่ระเบิด หรือ ลุกไหม้ ตัวรถเทรลเลอร์มชี ดุ เพลาล้อพร้อมระบบรองรับการสัน่ สะเทือน รวมถึงมีการติดตัง้ ระบบกันไฟช็อต ไฟดูด ไฟไหม้ การป้องกันการระเบิด รวมถึงมีระบบสายดิน (Grounding) เพือ่ ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านลงดิน

ใช้งานง่าย ไม่ยุ่งยาก • สามารถกางและเก็บ

แผงโซลาร์ เ ซลล์ ไ ด้ ด ้ ว ยรี โ มตคอนโทรลที่ มี ก าร 07 ออกแบบการใช้งานอย่างรัดกุม รวมถึงเพิ่มความปลอดภัยด้วยระบบ ล็อกแผงด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า

มีอายุการใช้งานที่ยาวนานกว่า 10 ปี • โดย

แผงโซลาร์เซลล์มอี ายุการใช้งานยาวนานกว่า 25 ปี 08 และแบตเตอรีม่ อี ายุการใช้งานไม่ตำ�่ กว่า 10 ปี หรือสูงสุด 10,000 รอบ การใช้งาน

ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar System)

“บ้านปู เน็กซ์ เชื่อว่าด้วยความพร้อมด้านองค์ความรู้ เทคโนโลยี โซลูชนั ด้านพลังงาน และทีมผูเ้ ชีย่ วชาญ จะท�ำให้เราสามารถน�ำต้นแบบ นวัตกรรมนี้ไปต่อยอด และพัฒนาให้มีฟังก์ชันการใช้งานที่ตอบโจทย์ ความต้องการของแต่ละหน่วยงานในอนาคตหรือผู้บริโภครายย่อยได้ เช่น น�ำไปพัฒนาเป็นรถหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ หรือรถบ้าน เป็นต้น นอกจากนี้ยังเชื่อว่าขีดความสามารถในการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงาน สะอาดของบ้านปู เน็กซ์ ไม่ได้หยุดอยู่เพียงเท่านี้ แต่เราสามารถน�ำ ความพร้อมทั้งหมดมาพัฒนาโซลูชันและนวัตกรรมต่างๆ ที่ตอบเทรนด์ การใช้พลังงานแห่งอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ” สมฤดี กล่าวสรุป

61

Engineering Today November - December

2020


Energy Today • กองบรรณาธิการ

BGRIM โชว์แกร่งก�ำไรไตรมาส 3 ปี’63

ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริงจากอัตราแลกเปลี่ยน 310 ล้านบาท เนื่องจากเงินบาทอ่อนค่าลงเมื่อเปรียบเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ อย่างไรก็ดี รายการดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายทางบัญชีที่ไม่กระทบ กระแสเงินสด และเป็นสาเหตุหลักที่ท�ำให้ก�ำไรสุทธิอยู่ที่ 859 ล้านบาท โดยเป็นส่วนของบริษัทใหญ่ที่ 501 ล้านบาท ในช่วงที่เหลือของปีนี้ คาดว่าปริมาณการขายไฟฟ้าของ ลู ก ค้ า อุ ต สาหกรรมจะฟื ้ น ตั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยปริ ม าณการ จ�ำหน่ายไฟฟ้าให้กบั ลูกค้าอุตสาหกรรมนัน้ ได้ผา่ นจุดต�ำ่ สุดไปแล้ว เมื่อเดือนพฤษภาคม หลังจากนั้นมีการฟื้นตัวอย่างมีนัยส�ำคัญ ต่อเนื่องมาโดยตลอด และกลับสู่ภาวะปกติในเดือนกันยายนตุลาคม ด้วยปริมาณการใช้ไฟฟ้าของลูกค้าอุตสาหกรรมทีก่ ลับมา อยู่ในระดับสูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนต่อเนื่องมา 2 เดือนแล้ว ซึ่ ง เป็ น การฟื ้ น ตั ว จากทุ ก กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรม โดยเฉพาะกลุ ่ ม อุตสาหกรรมรถยนต์และโรงงานผลิตยางรถยนต์ ซึง่ ได้รบั อานิสงส์ จากการฟื้นตัวของความต้องการภายในประเทศ รวมถึงจากการ ย้ า ยค� ำ สั่ ง ผลิ ต จากประเทศที่ มี ก ารแพร่ ร ะบาดอย่ า งหนั ก ของ เชื้ อ COVID-19 ขณะเดี ยวกั น กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมบรรจุ ภั ณ ฑ์ และอิเล็กทรอนิกส์ ยังคงเติบโตตลอดช่วง 9 เดือนในปี พ.ศ. 2563 ด้วยปริมาณขายไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 16% และ 12% ตามล�ำดับ นอกจากนี้แนวโน้มราคาก๊าซธรรมชาติ ยังเอื้อประโยชน์ต่อธุร กิจโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม โดยใน ไตรมาสสุดท้ายของปีตามประมาณการของ ปตท. คาดจะมีราคา ลดลงอีกราว 6-7% จากไตรมาส 3 ปี พ.ศ. 2563 ส�ำหรับโครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง ได้แก่ โครงการ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ Ray Power ในประเทศกัมพูชา ขนาดก�ำลังการผลิตติดตั้ง 39 เมกะวัตต์ และโครงการโรงไฟฟ้า พลังงานลมบ่อทอง วินด์ฟาร์ม 1&2 ขนาดก�ำลังการผลิตติดตั้ง 16 เมกะวั ต ต์ มี ค วามคื บ หน้ า ตามแผน มี ก� ำ หนดการเปิ ด ด�ำเนินการเชิงพาณิชย์ (COD) ในไตรมาส 4/2563 ถึงไตรมาส 1/2564 นอกจากนีย้ งั เดินหน้าก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม 7 โครงการ ก�ำลังการผลิตรวม 980 เมกะวัตต์ มีกำ� หนดการ COD ในปี พ.ศ. 2565-2566 ตามแผนที่วางไว้ มั่นใจเติบโตอย่างมั่นคง และยัง่ ยืน ตัง้ เป้าการมีกำ� ลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญาการซือ้ ไฟฟ้า ที่ 7.2 กิกะวัตต์ ภายในปี พ.ศ. 2568 นอกจากนี้ สถานะทางการเงินของบี.กริม เพาเวอร์ ยังคง แข็งแกร่งด้วยเงินสดในมือกว่า 2 หมื่นล้านบาท มีกระแสเงินสด ที่มั่นคงจากโครงการโรงไฟฟ้าที่เปิดด�ำเนินการแล้ว 47 โครงการ มีอัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นที่ระดับต�่ำ 1.3 เท่า และได้รับการสนับสนุนจากหลายสถาบันการเงิน ซึ่งเพียงพอ ในการพัฒนาโครงการที่อยู่ในแผนทั้งหมด

สูงสุดเป็นประวัติการณ์

พร้อมการเงินที่แข็งแกร่ง-ชี้ลูกค้า อุตสาหกรรมกลับสู่ภาวะปกติ BGRIM พิสจู น์ความแข็งแกร่งผ่านพ้นทุกวิกฤตมาตลอด ระยะเวลามากกว่า 24 ปี ไม่ว่าจะวิกฤตเศรษฐกิจ การระบาด ของเชือ้ COVID-19 หรือแม้แต่สถานการณ์ตา่ งๆ ทางการเมือง ล่าสุดโชว์ศักยภาพคว้าสถิติก�ำไรจากการด�ำเนินงานใหม่ใน ไตรมาส 3 ปี พ.ศ. 2563 เติบโต 13% จากไตรมาสก่อนหน้า มาที่ 1,245 ล้านบาท โดยเป็นส่วนของผู้ถือหุ้นใหญ่ 745 ล้านบาท จากก�ำลังการผลิตไฟฟ้าต่อเนื่อง การฟื้นตัวกลับสู่ ภาวะปกติ ข องลู ก ค้ า อุ ต สาหกรรม การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ โรงไฟฟ้าอย่างต่อเนือ่ ง ผลักดัน EBITDA Margin สูร่ ะดับสูงสุด ที่ 30.4% สถานะการเงิ น แข็ ง แกร่ ง เงิ น สดในมื อ กว่ า 2 หมื่นล้านบาท มั่นใจโครงการ SPP ทั้ง 7 ทยอย COD ปี พ.ศ. 2565-2566 เป็นไปตามแผน ตอกย�ำ้ ความส�ำเร็จการเป็นผูน้ ำ� ด้านพลังงาน ด้วยรางวัลการันตีมากมาย ปรี ย นาถ สุ น ทรวาทะ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด (มหาชน) หรื อ BGRIM ผู ้ ผ ลิ ต ไฟฟ้ า ภาคเอกชนชัน้ น�ำของไทย กล่าวว่า ผลประกอบการไตรมาส 3 ปี พ.ศ. 2563 บริษัทฯ มีก�ำไรสุทธิ จากการด�ำเนินงานอยู่ที่ 1,245 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 13% จาก ไตรมาสก่อนหน้า โดยเป็นส่วนของบริษัทใหญ่ที่ 745 ล้านบาท ซึง่ เป็นผลมาจากการเติบโตของก�ำลังการผลิตไฟฟ้าจากการขยาย ธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ปริมาณการใช้ไฟฟ้าของลูกค้าอุตสาหกรรม ที่ฟื้นตัวอย่างแข็งแกร่งในอัตราถึง 28% จากไตรมาสก่อนหน้า การปรับปรุงประสิทธิภาพโรงไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง (ท�ำให้ล่าสุด ได้รับรางวัล Power Plant Upgrade of the Year-Thailand จากนิตยสาร Asian Power) ซึ่งช่วยผลักดัน EBITDA Margin สูร่ ะดับสูงสุดที่ 30.4% ทัง้ นี้ BGRIM มีการกูเ้ งินสกุลต่างประเทศ เพื่ อ ป้ อ งกั น ความเสี่ ย งในส่ ว นของรายได้ ส กุ ล ต่ า งประเทศ (Natural Hedge) ท�ำให้ในช่วงไตรมาส 3/2563 เกิดรายการ

Engineering Today November - December 2020

62


ใบสมัครสมาชิก 2021

ที่อยูในการรับวารสาร / สิ่งพิมพ : ................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... เบอรโทรศัพทที่ทำงาน : ......................................................... มือถือ : ........................................................... E-mail.................................................................................. ID Line : .........................................................

สมาชิกใหม

ตออายุสมาชิก

สมาชิกใหม

ตออายุสมาชิก

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

1 ป 6 ฉบับ 450 2 ป 12 ฉบับ 900

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

1 ป 6 ฉบับ 450 2 ป 12 ฉบับ 900

ใบเสร็จรับเงินออกในนาม บุคคล บริษัท/องคกร ที่อยูในการออกใบเสร็จ ............................................... ................................................................................. ................................................................................. หมายเหตุ : กรุณาสงสำเนาการชำระเงิน (Pay-in Slip) มาใหบริษัทฯ ตามที่อยูที่แนบไวดานลาง

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำกัด

.................................................................................

TECHNOLOGY MEDIA CO., LTD.

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท 0-2354-5333, 0-2644-4555 Ext. 231 โทรสาร 0-2644-6649 ID Line : membertechno E-mail : member.technologymedia.co.th@gmail.com / marketing_mag@technologymedia.co.th


INDEX ADVERTISING November - December 2020

Engineering Today

บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ต�ำแหน่งหน้า

-

-

ปกหลัง

PISANU ENGINEERING CO., LTD.

0-2245-9113

0-2642-9220

8

www.pisanu.co.th

SANY HEAVY INDUSTRY (THAILAND) CO., LTD.

0-2693-3108

0-2693-3180

3

www.sanygroup.com, E-mail : sany@sany.co.th

VEGA INSTRUMENTS CO., LTD.

0-2700-9240

0-2700-9241

ปกหน้า

กุลธร บจก.

0-2282-5775-8

0-2281-0009

9

คณิต เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2642-9209-11

0-2246-3214

8, 66

เบย์ คอร์ปอเรชั่น บจก.

0-2926-0111

0-2926-0123-4

2

www.bay-corporation.com, E-mail : sales@bay-corporation.com

วาย เอส ไอ เอส บจก.

08-1750-4630

-

6-7

E-mail : mee@ysisasia.com

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727

0-2476-1711

52

www.virtus.co.th, E-mail : welcome@virtus.co.th

เอส เอ วี เมคคานิคคอลเซอร์วิส แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.

0-2702-8801, 0-2702-0581-8

0-2395-1002

4

E-mail : savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com

อาทิตย์เวนติเลเตอร์ หจก.

0-2509-3065, 0-2509-2884

0-2943-1814

9

www.artith.com, E-mail : contact@artith.com

PROPAK 2021

Engineering Today November - December 2020

64

Website/E-mail www.propakasia.com

www.vega.com www.kulthorn.com www.kanitengineering.com






Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.