Factory : Thailand
Samwha (Thailand) Co., Ltd. 66 Moo 4 T.Takai A.Muang, Chachoengsao, Thailand 24000 Tel : 66-38-847-571 ext. 113 or 114 Fax : 66-38-847-575 www.samwha.com E-mail : sales@samwha.co.th
Head Office : Korea
Samwha Capacitor Co., Ltd. 124, Buk-Ri, Namsa-Myun, Cheoin-Gu, Yongin-Si, Kyunggi-Do, Korea Tel : 82-31-332-6441 Fax : 82-31-332-7661 E-mail : sales@samwha.co.th www.samwha.com
PoweRAD_21.59x29.21cm.pdf
1
2/2/17
3:50 PM
Leaf power_21.59x29.21cm.pdf
1
1/26/17
3:55 PM
$ TI% TC%ÿ6+U$S6_6VCe
b;$TE=$= O* MC O`=G*cAA T 6 ID ;IS7$EEC_9'a;aGDW ;hUCS;MC O`=G*'Z5BT@L[*
@GT6cC c6
OS@_67 $0ER_<WD< CT7E2T;MC O`=G*cAA T
_9';V'$TE<UEZ*ES$KT `GR $TE_@VgC=ERLV9:þBT@
@E OC-C $TELT:þ7$TE>GV7 ÄÑÉ ;IS7$EECbMC %O*;hUCS;MC O`=G*cAA T
iPad Mini4
TRANSFORMER OIL
INNOVATION 2017
SMART PHONE
GZ ; TABLET
ET*ISG Éòàèö ÁïÞô `GR %O*9WgERGX$BTDb;*T;
IS;JZ$E 9Wg ®´ CW;T'C @«J« ¯²³ _IGT µ«°ª®²« ;« 5 M O* ÉÌÑÒÐ J[;D $TE=ER-ZC`M *-T7VLVEþ$V7Vk <EþMTE*T;a6D ·
L;S<L;Z;a6D ·
NYR Engineering_21.59x29.21cm.pdf
1
2/6/17
9:25 AM
CONTENT January - February
สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย
27 30 34 37 40
การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การไฟฟานครหลวง การไฟฟาสวนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน)
COVER STORY 46 การเปลี่ยนแปลงหมอแปลงไฟฟาใหมีความนาเช�อถือ ทางวิศวกรรม บริษัท เชลล ประเทศไทย จํากัด SPECIAL SCOOP 51 เทสโก โลตัส กับการอนุรักษสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน กองบรรณาธิการ 60 โครงการวิจัย “รหัสลับควอนตัม” สุดยอดเทคโนโลยี ปองกันการโดนแฮกขอมูลในโลกแหงอนาคต กองบรรณาธิการ ARTICLE 54 อาเซียน ไชน…เพ�อพัฒนามาตรฐานการทดสอบ และดานประสิทธิภาพทางพลังงานใหเปนหนึ่งเดียว อาเซียน ไชน 62 การกาวสูอุตสาหกรรม 4.0 กับไอโอที แอนโทนี่ บอรน
2017
SCOOP 56 บี. กริม เพาเวอร เปดโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ใน 4 จังหวัด กองบรรณาธิการ 58 พลังงานนิวเคลียร สามารถชวยแกปญหาภูมิอากาศ พลังงาน ไดหรือไม กองบรรณาธิการ SPECIAL AREA 64 Spectrum expands family of Modular PXIe Digitizers for wideband applications Spectrum GmbH 66 E5CC-T, E5EC-T, E5AC-T Setting By Cx-Thermo บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด 68 Multifunction Power Meter and Programmable Relay บริษัท แม็กซิไมซ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จํากัด 70 ขอแตกตางระหวางสวิตช, รีเลย และแมกเนติกคอนแทคเตอร บริษัท ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด 74 ขอเสนอแนะสําหรับการแกปญหาฮารมอนิกสดวย Active Filter บริษัท เอวีรา จํากัด IT ARTICLE 78 ความสําเร็จของ “ซิปา” ตอการจัดระเบียบซอฟตแวร และดิจิทัลคอนเทนต ไทย สํานักงานสงเสริมอุตสาหกรรมซอฟตแวรแหงชาติ (องคการมหาชน) 81 84 87 90 92 95 98
PRODUCT PR NEWS SEMINAR CALENDAR SEMINAR MOVEMENT INDUSTRY NEWS IT NEWS
P.58
p.18_content.indd 18
2/6/17 11:41 AM
EDITOR TALK
January - February
2017
เริ่มศักราชใหม พ.ศ. 2560 คณะทํางาน นิตยสาร Electricity & Industry Magazine ขอใหผูอานทุกทานประสบความสําเร็จ ในทุกๆ สิ่งที่หวังไว ชวงตนเดือนมกราคม 2560 หลายๆ จังหวัดในภาคใตประสบปญหาอุทกภัยอยางหนัก บานเรือนไรนา และพื้นที่เศรษฐกิจ ไดรับความเสียหายมูลคามหาศาล อยางไรก็ขอเอาใจชวยใหพี่นองชาวใตกลับเขาสูสภาวะปกติไดโดยเร็ว สําหรับเนื้อหาของนิตยสารฉบับนี้ยังคงเต็มไปดวยสาระเชนเดิม คอลัมน SPECIAL SCOOP ทานจะไดรับทราบเกี่ยวกับ แนวทางการดําเนินการของ เทสโก โลตัส ในการมุงเปนองคกรสีเขียว โดยเฉพาะการติดตั้งแผงโซลารเซลลบนหลังคา ถือเปนผู คาปลีกรายใหญรายแรกๆ ของประเทศทีท่ าํ เชนนี้ และ โครงการวิจยั “รหัสลับควอนตัม” สุดยอดเทคโนโลยีปอ งกันการโดนแฮก ขอมูลในโลกแหงอนาคต นั้นนาสนใจเปนอยางยิ่ง เพราะความลับที่เคยคิดวาเปนความลับก็อาจจะไมลับอีกตอไป!! สวนคอลัมน ARTICLE ก็นาสนใจไมแพกัน เปนเรื่องของ อาเซียน ไชน…เพื่อพัฒนามาตรฐานการทดสอบและดาน ประสิทธิภาพทางพลังงานใหเปนหนึง่ เดียว และบทความเรือ่ ง การกาวสูอ ตุ สาหกรรม 4.0 กับไอโอที เรียบเรียงโดย แอนโทนี่ บอรน จากบริษัท ไอเอฟเอส (IFS) คอลัมน SPECIAL AREA ก็ยังมีเนื้อหาที่หลากหลาย อาทิ เรื่อง E5CC-T, E5EC-T, E5AC-T Setting By Cx-Thermo โดยบริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด เรื่อง Multifunction Power Meter and Programmable Relay โดยบริษัท แม็กซิไมซ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จํากัด เรื่อง ขอแตกตางระหวาง สวิตช, รีเลย และแมกเนติกคอนแทคเตอร โดยบริษัท ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด และเรื่อง ขอเสนอแนะสําหรับการแกปญหาฮารมอนิกสดวย Active Filter โดยบริษัท เอวีรา จํากัด สุดทาย ขอแจงเรือ่ งทีน่ า ยินดีคอื นับจากฉบับนีไ้ ป ทาง นิตยสาร Electricity & Industry Magazine จะรวมมือกับ IEEE-PES Thailand เพื่อเผยแพรความรูและกิจกรรมของ IEEE-PES Thailand ตอไป ทางกองบรรณาธิการหวังเปนอยางยิ่งวาทุกทานจะไดรับความรูในเนื้อหาสาระที่ไดสรรหามานี้ พบกันใหมฉบับหนา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
ที่ปรึกษา : รศ.ฉดับ ปทมสูต / รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ์ / ไกรสีห กรรณสูต พรเทพ ธัญญพงศชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ / ประเจิด สุขแกว ผศ.พิชิต ลํายอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องควงศสกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม รศ. ดร.ปริทรรศน พันธุบรรยงก บรรณาธิการผูพิมพผูโฆษณา : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ : ดร.สุรพล ดํารงกิตติกุล ผูชวยบรรณาธิการ : นิภา กลิ่นโกสุม กองบรรณาธิการ : ศิรินทิพย โยธาพันธ เลขากองบรรณาธิการ : ปฐฐมณฑ อุยพัฒน / พรทิพย โซวสุวรรณ พิสูจนอักษร : อําพันธุ ไตรรัตน ศิลปกรรมรูปเลม / ศิลปกรรมโฆษณา : กันยา จําพิมาย ฝายโฆษณา : ศิริภรณ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย / กัลยา ทรัพยภิรมณ / กฤณากร แดงสําราญ เลขานุการฝายโฆษณา : ชุติมันต บัวผัน ฝายสมาชิก : อังลนา สงวนสิน
p.20_Editor Talk.indd 20
บทความที่ปรากฏใน ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine เปนความคิดเห็น ส ว นตั ว ของผู เขี ย น ไม มี ส ว นผู ก พั น กั บ บริ ษั ท เทคโนโลยี มี เ ดี ย จํ า กั ด แต อ ย า งใด หากบทความใดที่ผูอานเห็นวามีการลอกเลียนหรือแอบอาง กรุณาแจงที่กองบรรณาธิการ ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine บทความต า งๆ ที่ ป รากฏในหนั ง สื อ ได ผ า นการตรวจทานอย างถี่ถ วนเพื่อ ใหเ กิด ความถูกตองและสมบูรณที่สุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแกไขตอไป เจาของ
บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด
471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 http:// www.technologymedia.co.th เพลท-แยกสี : บริษัท อิมเมจิ้น กราฟค จํากัด พิมพที่ : บริษัท ฐานการพิมพ จํากัด จัดจําหนาย : บริษัท ธนบรรณ ปนเกลา จํากัด
1/27/17 8:42 AM
Avera_21.59x29.21cm.pdf
1
1/26/17
5:10 PM
เอวรีา ผจูัดจำหนายและเปน ผเูชย ่ี วชาญดาน • • • • •
อป ุ กรณไฟฟากำลังภายในตส ู วท ิ ชบ อรด อป ุ กรณป อ งกันไฟฟากระชากภายในและภายนอก อป ุ กรณเครอ ่ื งมอ ื ตรวจจับพายแุละฟาผา ระบบบรห ิ ารชอ งจอดรถ งานบรก ิ ารหลังการขายและการบำรงุรักษา ตด ิ ตอ
บรษ ิ ัท เอวรีา จำกัด
Tel : 088-001-0416
Website : www.avera.co.th
E-mail : sales@avera.co.th
InterLink_21.59x29.21cm.pdf
1
2/6/17
11:46 AM
การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
เว็บไซต กฟผ. รับรางวัล
Thailand Energy Award ประจําป 2559 เว็บไซต กฟผ. www.egat.co.th รับรางวัล Thailand Energy Award ประเภทการเผยแพรขอมูลความรูดานพลังงานตอสาธารณชน กฟผ. ไดรางวัลในประเภทผูส ง เสริมดานการอนุรกั ษพลังงานและ พลังงานทดแทน ป 2559 โดยการเผยแพรขอมูลความรูดานพลังงาน ตอสาธารณชน ผานเว็บไซต www.egat.co.th วั น ที่ 6 ธั น วาคม 2559 พลอากาศเอกประจิ น จั่ น ตอง รองนายกรัฐมนตรี เปนประธานในพิธีมอบรางวัล Thailand Energy Awards ประจําป 2559 โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน กระทรวงพลังงาน ซึ่งจัดขึ้น ณ หองบอลรูม ศูนยการประชุม แหงชาติสิริกิติ์
โดยในปนมี้ ผี ลงานทีช่ นะการประกวดจํานวนทัง้ สิน้ 64 โครงการ จากจํานวนผูสนใจสงเขาประกวดรวมจํานวนทั้งสิ้น 260 โครงการ จากการประกวด 5 ดาน ไดแก ดานพลังงานทดแทน ดานอนุรักษ พลังงาน ดานบุคลากร ดานพลังงานสรางสรรค และดานผูสงเสริม การอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน คิดเปนมูลคาการประหยัด พลั ง งานได ม ากกว า 2,200 ล า นบาทต อ ป สามารถช ว ยลดก า ซ คารบอนไดออกไซดใหกับโลกไดมากถึง 280,000 ตันตอป พลเอกอนั น ตพร กาญจนรั ต น รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวง พลังงาน กลาววา “Thailand Energy Awards นับเปนรางวัลดาน
พลั ง งานไทยระดั บ สากล ซึ่ ง เป น โครงการของกระทรวงพลั ง งานที่ มี ความกาวหนาและประสบความสําเร็จ อยางมาก สวนหนึง่ เปนผลมาจากการ ปรับปรุงแผนอนุรักษพลังงาน และแผนพัฒนาพลังงานและพลังงาน ทางเลือก พ.ศ. 2558-2579 ซึ่งอยูในแผนบูรณาการกระทรวงพลังงาน ระยะยาว หรือ Thailand Integtated Energy Blueprint (TIEB) การ จัดประกวด Thailand Energy Awards ถือเปนกาวสําคัญที่ทําให การดําเนินนโยบายดานพลังงานในระยะยาวมีทิศทางที่ชัดเจนขึ้น ทั้งยังมีสวนชวยในการคิดคนวิธีการประหยัดพลังงาน เกิดเทคโนโลยี และนวัตกรรมการประหยัดพลังงานที่มีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถพิสูจนความสําเร็จไดจากการที่ประเทศไทยครองแชมป ความเปนผูนําดานพลังงานของภูมิภาคอาเซียนติดตอกันเปนปที่ 12 แสดงใหเห็นถึงความกาวหนาและศักยภาพดานการอนุรักษพลังงาน ตอกย้ํา ภารกิจการดําเนินนโยบายดานพลังงานไทยสู ความมั่น คง มั่งคั่ง ยั่งยืน ในทุกมิติ สอดรับกับถอยแถลงของรัฐมนตรีพลังงาน อาเซียนครั้งที่ 34 ที่จะขับเคลื่อนประชาคมอาเซียนสูภูมิภาคพลังงาน สะอาดและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ประพนธ วงษ ท า เรื อ อธิ บ ดี ก รมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทน และอนุรักษพลังงาน ไดกลาวเพิ่มเติมวา “นอกจากนี้ ยังไดคัดเลือก ผู แ ทนที่ มี ผ ลงานโดดเด น ส ง เข า ประกวดในระดั บ อาเซี ย นจํ า นวน 24 ผลงาน และสามารถควารางวัลมาครองไดถึง 16 รางวัล จากเวที ASEAN Energy Awards 2016 ทํ า ให ไ ทยยั ง ครองแชมป ที่ 1 ดานพลังงานในอาเซียน” ธาตรี ริ้วเจริญ ผูชวยผูวาการกิจการสังคม เปนผูแทนผูวาการ มารับมอบรางวัล Thailand Energy Award ที่ศูนยการประชุมแหงชาติ สิริกิติ์ ซึ่งรองนายกรัฐมนตรี พลอากาศเอกประจิน จั่นตอง เปน ประธานมอบรางวัล January-February 2017
p.27-41_egat.indd 27
1/26/17 5:11 PM
การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
โรงไฟฟามัตซูอุระ
อีกหนึ่งตัวอยางโรงไฟฟาที่อยูคูกับชุมชน ภาพลั ก ษณ ข องประเทศญี่ ปุ น คงหนี ไ ม พ น เป น ประเทศที่ เ ป น ผู นํ า ด า นเทคโนโลยี ความกาวหนาดานการคนควาวิจยั ความเปนผูน าํ ดานเศรษฐกิจในระดับแนวหนาของทวีปเอเชีย และแนนอนปจจัยพื้นฐานสําคัญในการพัฒนาประเทศของญี่ปุนก็คือพลังงานไฟฟานั่นเอง หลายคนคิ ด ว า โรงไฟฟ า ของประเทศญี่ ปุ น จะต อ งเป น โรงไฟฟ า ที่ มี ค วามทั น สมั ย ใชเทคโนโลยีใหมลา สุด มีผลกระทบตอสิง่ แวดลอมนอยทีส่ ดุ ซึง่ ก็คงไมผดิ นัก สําหรับเทคโนโลยี ที่ดีที่สุดตอนนี้คือเทคโนโลยี Ultra-Super Critical เปนเทคโนโลยีที่เนนประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งวัตถุดิบและกระบวนการผลิต อยางเชน โรงไฟฟามัตซูอุระ ของบริษัทเจพาวเวอร ประเทศ ญี่ปุน ซึ่งตั้งอยูชายฝงทะเลเกาะคิวชู อําเภอมัตซูอุระ จังหวัดนางาซากิ ใชเชื้อเพลิงถานหิน คุณภาพดี คือบิทูมินัสและซับบิทูมินัส ซึ่งเปนถานหินชนิดที่ใหความรอนสูง คากํามะถันต่ํา (กาซซัลเฟอรไดออกไซดนอย) และขี้เถานอย นําเขาจากประเทศอินโดนีเซียและออสเตรเลีย ผานการลําเลียงโดยใชกระพอตักไปยังลานกองถานหินระบบเปดซึ่งสามารถวางกองไดถึง 480,000 ตัน พรอมทั้งมีการฉีดพนน้ําตลอดเวลาใหถานหินเปยกเพื่อปองกันการฟุงกระจาย ของละอองถานหิน โรงไฟฟามัตซูอุระใชปริมาณถานหินในการผลิตประมาณ 4,500,000 ตัน ตอป มีกําลังผลิตยูนิตละ 1,000 เมกะวัตต จํานวน 2 ยูนิต รวม 2,000 เมกะวัตต และกําลัง กอสรางอีก 1,000 เมกะวัตต แลวเสร็จประมาณ ค.ศ. 2019 โดยในอดีตพื้นที่ของโรงไฟฟา มัตซูอุระเคยเปนทะเล แลวจึงถูกถมเพื่อสรางโรงไฟฟา พื้นที่สวนหนึ่งใชเถาหนักที่เกิดจาก กระบวนการผลิตนํามาถม โดยมีการลอมพื้นที่ที่จะนําเอาขี้เถามาถม สวนน้ําที่ลนจะมีการ บําบัดกอนปลอยลงไปในทะเล ซึ่งขณะนี้คงเหลือพื้นที่ที่ยังไมไดถมอีกรอยละ 3 เทานั้น
January-February 2017
p.27-41_egat.indd 28
1/26/17 5:11 PM
การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
โรงไฟฟามัตซูอุระ เปนโรงไฟฟาที่คํานึงถึงสิ่งแวดลอม โดยติดตั้งอุปกรณดูแล รักษาสิ่งแวดลอม ไดแก ระบบดักจับฝุน ระบบกําจัดกาซไนโตรเจนออกไซด และระบบ กําจัดซัลเฟอรไดออกไซดท่ีมีประสิทธิภาพสูง นอกจากนั้นยังเปนโรงไฟฟาที่ใชระบบ ชี ว มวล เช น เปลื อ กไม ร ว มกั บ เชื้ อ เพลิ ง จากถ า นหิ น เพื่ อ ลดปริ ม าณการปล อ ย คารบอนไดออกไซดอีกดวย สําหรับชุมชนรอบโรงไฟฟานั้น สวนหนึ่งจะประกอบอาชีพประมงชายฝง โดย ใน ค.ศ. 2015 ในนานน้าํ บริเวณเกาะคิวชูสามารถจับปลาอาจิไดถงึ 31,000 ตัน คิดเปน มูลคา 6,000 ลานเยน และปลาซาบะ 36,000 ตัน ปริมาณที่จับไดเปนอันดับ 4 ของญี่ปุน นอกจากนี้ยังมีการทํากระชังปลาอยูหางจากโรงไฟฟาเพียง 2 กิโลเมตร โดยประชากรรอยละ 20 ของเมืองจะประกอบอาชีพทํากระชังปลา ฮามาจิ ซาบะ และมากูโดะ มีฟารมปลา และชุมชนที่อาศัยอยูรอบโรงไฟฟายังสามารถทําอาชีพ เกษตรกรรมปลูกผักทําสวนไดตามปกติ ในดานผลกระทบตอชุมชน ทางโรงไฟฟามัตซูอุระไดดําเนินการพูดคุยทําความ เขาใจกับชุมชนมาโดยตลอดทัง้ ในเรือ่ งของการดูแลมลสารทีเ่ กิดจากโรงไฟฟาใหเปนไป ตามคามาตรฐานที่กําหนดไว ในดานปญหาของอุณหภูมิน้ําก็จะมีการปรับอุณหภูมิ ใหใกลเคียงกอนจะปลอยสูทะเล สวนในเรื่องของเรือบรรทุกถานหินซึ่งมีขนาดบรรทุก 80,000-150,000 ตัน ก็จะมีการควบคุมความเร็วเพื่อไมใหเกิดคลื่น พรอมกับมีการ ดําเนินการในดานตางๆ หากเกิดผลกระทบจากโรงไฟฟาโดยมีการประชุมรับฟงและ รวมกันแกไขปญหาแบบไตรภาคีรวมกับชุมชนและหนวยงานของจังหวัดในทันที อยางไรก็ตาม กลไกของโรงไฟฟาในประเทศญี่ปุนไมมีกองทุนพัฒนาชุมชน รอบโรงไฟฟาแตอยางใด คงมีเพียงในเรื่องของการรับแรงงานในทองถิ่นเทานั้น ซึ่ง ตางจากโรงไฟฟาในบานเราที่นอกจากจะมีการควบคุมดานสิ่งแวดลอมตามมาตรฐาน ตางๆ ทีก่ าํ หนดไวแลว ในทุกเมกะวัตตทผี่ ลิตออกมายังเปนกองทุนพัฒนารอบโรงไฟฟา เพื่อนําไปพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนซึ่งอาศัยอยูรอบโรงไฟฟาใหมีคุณภาพชีวิต และความเปนอยูที่ดีขึ้นอยางยั่งยืนตลอดไป
January-February 2017
p.27-41_egat.indd 29
1/26/17 5:11 PM
การไฟฟานครหลวง
รางวัลแหงความภาคภูมิ ใจของเรา
MEA’S AWARDS OF PERFORMANCE
การไฟฟานครหลวง (กฟน.) ในฐานะองคกรชั้นนําดาน ธุรกิจพลังงานไฟฟาในระดับสากล มีความมุง มัน่ ในการพัฒนา ระบบไฟฟาใหมคี วามมัน่ คง บริการมัน่ ใจ โปรงใส หวงใยสังคม และสิ่งแวดลอม ดวยการบูรณาการนวัตกรรมที่ล้ําสมัย พรอม พนักงานทีเ่ ปย มไปดวยศักยภาพ และการดําเนินงานโดยยึดหลัก ESG (Environmental Social Governance) จากความมุงมั่นดังกลาว ในปนี้นับเปนอีกหนึ่งปแหงความ สําเร็จ โดย กฟน. ไดรบั รางวัลจากหลากหลายสถาบันระดับประเทศ ดั ง นี้ รางวั ล รั ฐ วิ ส าหกิ จ ดี เ ด น ประจํ า ป 2559 จากสํ า นั ก งาน คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง จํานวน 3 รางวัล ไดแก รางวัลการบริหารจัดการองคกรดีเดน จากความมุงมั่น ในการพัฒนาคน พัฒนางาน การสรางองคกรแหงการเรียนรู การนํา นวัตกรรมมาปรับใชในการบริหาร และการดําเนินงานโดยยึดหลัก ESG (Environmental Social Governance) รางวัลการดําเนินงานเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอมดีเดน จากโครงการ Energy Saving Building ที่เสริมสรางเครือขายและ สงเสริมใหอาคารสํานักงานตางๆ ไดเกิดความตระหนัก พรอมทั้ง สนับสนุนการอนุรักษพลังงานอยางยั่งยืน และ รางวัลชมเชยระดับองคกร ประเภทนวัตกรรมดีเดน ประจําป 2559 จากผลงานระบบบริหารภาคสนาม (Field Force Management หรือ FFM) ที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ภาคสนามของพนักงาน กฟน. ในการแกไขปญหาไฟฟาขัดของได อยางสะดวกรวดเร็ว โดยเชือ่ มโยงกับ MEA Smart Life Application และเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพของ กฟน.
นอกจากนี้ กฟน. ยังไดรับ รางวัลบริการภาครัฐแหงชาติ ประจําป 2559 ประเภทรางวัลการพัฒนาการบริการที่เปนเลิศ ซึ่ ง จั ด โดยคณะกรรมการพั ฒ นาระบบราชการ (ก.พ.ร.) จาก 2 ผลงาน ได แ ก รางวั ล ระดั บ ดี เ ด น จาก “MEA Smart Life Application : App เดียวจบ ครบทุกเรือ่ งไฟฟา” มอบใหแกฝา ยพัฒนา ระบบงานประยุกต การไฟฟานครหลวง และรางวัลระดับดี จาก “สะดวก จายทุกที่ ทุกเวลา กับ MEA Online Payment” มอบใหแก ฝายพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ การไฟฟานครหลวง และดวยความมุงมั่นในการดําเนินงานดาน Green Office กฟน. ยังไดรบั รางวัลระดับดีเยีย่ ม (G ทอง) ดานหนวยงานทีผ่ า น เกณฑ ม าตรฐานการเป น สํ า นั ก งานสี เขี ย ว จากกรมส ง เสริ ม คุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งถือเปนรางวัลแหงความสําเร็จที่เกิดจากความรวมมือรวมใจกัน ของพนั ก งานทุ ก คนในการช ว ยกั น ปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรม เพื่ อ อนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมใหอาคารสํานักงานใหญ การไฟฟา นครหลวง เปนอาคารตนแบบในการเปนสํานักงานสีเขียว ตระหนัก ถึงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน สอดคลองกับความมุงมั่น สูการเปนองคกรชั้นนําดานธุรกิจพลังงานไฟฟาในระดับสากล ทั้ ง หมดนี้ ถื อ เป น สิ่ ง ที่ ยื น ยั น ถึ ง การดํ า เนิ น งานอย า งมี ประสิทธิภาพของ กฟน. พรอมทั้งยังเปนขวัญและกําลังใจใหแก พนักงาน กฟน. ทุกคน ในการมุงมั่นดําเนินกิจการ โดยใหความ สําคัญตอผูใชไฟฟาและผูมีสวนไดสวนเสียทุกกลุม ดวยการสราง ระบบไฟฟาใหมีความมั่นคง บริการมั่นใจ หวงใยสังคม พรอมนํา นวัตกรรมที่ล้ําสมัยมาอํานวยความสะดวกใหการดําเนินกิจการ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพและสรางความยัง่ ยืนใหแกองคกรสืบไป
January-February 2017
p.27-41_egat.indd 30
1/26/17 5:11 PM
การไฟฟานครหลวง
As an international leader in electrical power business, the Metropolitan Electricity Authority (MEA) has focused on its electrical power stability, service excellence, transparency, society and environmental developments. MEA integrates advance innovations with its high-performance groups of official including conducting business in compliance with principles of the ESG (Environmental Social Governance). As a result, this year is one of successful years which MEA proudly received many awards from various national institutes comprising: The outstanding State-Owned-Enterprise Awards 2016 organized by State Enterprise Policy Office, the Ministry of Finance. MEA totally received 3 awards as follows: The Outstanding Corporate Management Award for MEA’s commitment to human resource development, a knowledgebased organization development, innovation application to its management and the ESG (Environmental Social Governance) conduct. The Outstanding Social and Environmental Management Award for MEA’s Energy Saving Building project, which promotes networks and electrical efficiency awareness as well as sustainable energy conservation in office buildings. The Honorable Award for Outstanding Innovation 2016 for MEA’s Field Force Management (FFM), which helps improve the efficiency of MEA’s staffs in fieldworks to conveniently solve problems while experiencing power outages by linking to MEA Smart Life Application and MEA’s functional information technology network.
Moreover, MEA also received the Service Improvement Awards from the Thailand Public Service Award 2016, which was organized by the Office the Public Sector Department Commission (OPDC). MEA received 2 awards included the Outstanding Award for “MEA Smart Life Application: Just One App to Handle All Electrical Issues”, which was given to MEA’s Application System Development Department and the Recognition Award for “Easy Payment at Anytime and Anywhere with MEA Online Payment”, which was given to MEA’s Information Development Department. With commitment to conduct the Green Office, MEA passed the Green Office standard and received the Golden Prize (G Level) from the Department of Environmental Quality Promotion, the Ministry of Natural Resources and Environment. The award is deemed as success that derived from all MEA’s officials in having their behaviors changed to save energy and environment. Their cooperativeness delivers excellent result as MEA’s Head office has become an exemplar for the Green Office that is attentive to sustainable environmental impact, which corresponds to MEA’s determination in being the international leader in electrical power business. All awards affirm MEA’s operational efficiency as well as increase morale and encourage MEA’s officials to perform their duties by giving priority to electrical users and all stakeholders. MEA commits to carry out power system stability, service excellence, and society concerns including conducting business with advance innovations to maximize its organizational efficiency and sustainability.
January-February 2017
p.27-41_egat.indd 31
1/26/17 5:11 PM
การไฟฟานครหลวง
“Smart District Office” อาคารแหงอนาคตเพื่อสังคมคารบอนต่ํา
SMART DISTRICT OFFICE BUILDING OF THE FUTURE FOR LOW CARBON SOCIETY เรือ่ ง : งานโครงขายอัจฉริยะ กองวิศวกรรมไฟฟา ฝายวางแผนระบบไฟฟา Topic : Smart Grid Planning Section, Electrical Engineering Division, Power System Planning Department
จากมติการประชุมคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) โดย พลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี เปนประธาน ไดเห็นชอบแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย พ.ศ. 25582579 (Power Development Plan: PDP 2015) ซึ่งเปนแผนจัดหา ไฟฟาในระยะยาว โดยปรับลดคาพยากรณความตองการใชไฟฟาให สอดคลองกับทิศทางการขยายตัวทางเศรษฐกิจ รวมทัง้ ใหสอดคลอง กับแผนอนุรักษพลังงาน (Energy Efficiency: EE) และแผนพัฒนา พลั ง งานทดแทนและพลั ง งานทางเลื อ ก (Alternative Energy Development Plan: AEDP) สาระสําคัญของแผน PDP 2015 ประการหนึง่ ในดานความมัน่ คง ของระบบไฟฟ า ของประเทศ คื อ การปรั บ ลดสั ด ส ว นการพึ่ ง พา กาซธรรมชาติ ที่ปจจุบันสูงถึงรอยละ 65 ใหเหลือไมเกินรอยละ 40 ใน พ.ศ. 2579 โดยเพิ่มสัดสวนการผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทน และ การรับซื้อไฟฟาจากประเทศเพื่อนบาน ในขณะที่สัดสวนการผลิตไฟฟา สํารองของประเทศจะอยูในระดับไมต่ํากวารอยละ 15 ของปริมาณ ความตองการไฟฟาสูงสุด ทั้งนี้เพื่อเสริมสรางระบบไฟฟาของประเทศ ใหมเี สถียรภาพและความมัน่ คง อันจะเปนประโยชนและความไดเปรียบ ทางเศรษฐกิจในอนาคต ในฐานะหนวยงานรับผิดชอบระบบจําหนายไฟฟาของประเทศ การไฟฟานครหลวง (กฟน.) ตระหนักดีวา พลังงานไฟฟามีสว นเกีย่ วของ กับภาวะโลกรอน อันเนื่องมาจากการปลอยกาซเรือนกระจกที่เกิดจาก กิจกรรมการใชพลังงานไฟฟาขึ้นสูชั้นบรรยากาศ ดังนั้น กฟน. จึงริเริ่ม โครงการทดลองเทคโนโลยีระบบสมารทกริด โดยการบริหารจัดการ พลังงานจากพลังงานหมุนเวียน (พลังงานแสงอาทิตย) เขากับระบบไฟฟา หลัก กฟน. (Main Grid) โดยมีระบบกักเก็บพลังงานไฟฟา (ESS: Energy Storage System) ชวยลดผลกระทบจากการผลิตพลังงานหมุนเวียน ที่ไมสม่ําเสมอ เพื่อควบคุมคุณภาพไฟฟาที่จายใหกับอุปกรณไฟฟา ในอาคารอยางมีประสิทธิภาพ ภายใตช่ือโครงการวา “Smart District Office” ซึ่งจะติดตั้งเสร็จสมบูรณพรอมใชงานใน พ.ศ. 2559
(ก) โหมดการทํางาน On Grid (Load Leveling)
(ข) โหมดการทํางาน Off Grid (Backup Power) รูปที่ 1 ภาพรวมโครงสรางขององคกรประกอบระบบ Smart District Office ภาพรวมโครงสรางขององคประกอบระบบ Smart District Office ณ ที่ทําการของการไฟฟานครหลวงเขตราษฎรบูรณะ (ฟขบ.) แสดงไดดังรูปที่ 1 ระบบ Smart District Office นั้นใชพลังงานจาก แผงเซลลแสงอาทิตย เพื่อจายไฟใหแกอุปกรณไฟฟาภายในอาคาร และอัดประจุไปยังระบบ ESS หากพลังงานไฟฟาที่ไดจากแผงเซลล แสงอาทิตยเกินความตองการจึงจะจายพลังงานไฟฟาเขากับระบบ ไฟฟาหลัก กฟน. (Main Grid) แตในกรณีที่มีการใชพลังงานไฟฟา ภายในอาคารมากกวาพลังงานไฟฟาที่ไดจากแผงเซลลแสงอาทิตย ระบบจะดึ ง พลั ง งานไฟฟ า จาก Main Grid โดยจะมี ชุ ด ควบคุ ม คอยบริหารจัดการพลังงานไฟฟา (Master Controller + Energy Management System) ใหแกอาคารอยางชาญฉลาด และในกรณีที่ ระบบไฟฟาหลักมีปญหา (Off-Grid) ระบบฯ นี้ก็ยังสามารถจายโหลด ไดอยางตอเนือ่ งจากพลังงานไฟฟาจากแผงเซลลแสงอาทิตยและระบบ ESS
January-February 2017
p.27-41_egat.indd 32
1/26/17 5:11 PM
การไฟฟานครหลวง
อุปกรณ Equipment
พิกัด Rating
แผงเซลลแสงอาทิตยชุดที่ 1 (Solar cells set 1)
ประมาณ 55 kWp (Approximate 55 kWp)
แผงเซลลแสงอาทิตยชุดที่ 2 (Solar cells Set 2)
ประมาณ 50 kWp (Approximate 50 kWp)
ระบบกักเก็บพลังงานไฟฟา (Energy Storage System)
30 kWh (Li-lon)
โหลด (ชั้น 9) (Electrical load on the 9th floor)
ประมาณ 30 kWp (Approximate 30 kWp)
รูปที่ 2 การเชื่อมตอระบบ Smart Districe Office กับระบบไฟฟาหลัก นอกเหนือจากการริเริ่มโครงการ Smart District Office เพื่อ เปนการสงเสริมและสนับสนุนการเพิ่มปริมาณพลังงานทดแทน การใชพลังงานสะอาดและอนุรักษสิ่งแวดลอมตามนโยบายของ รัฐบาล ซึ่ง กฟน. ไดกําหนดเปาหมายการดําเนินการเพื่อมุงสูการ ลดการปลอยกาซเรือนกระจกอยางเปนระบบ ในขณะทีอ่ กี ดานหนึง่ นั้น กฟน. ยังดําเนินการบริหารสภาพแวดลอมทางกฎหมายและ ระเบียบขอบังคับดานสิ่งแวดลอม รวมถึงมาตรฐานสากล เชน ISO 26000 เขามาบูรณาการกับกระบวนการดําเนินธุรกิจในเชิงรุก เพื่อใหมั่นใจวา กฟน. จะกาวสูการเปนองคกรตนแบบชั้นนําดาน อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมในระดับสากล
“
General Prayut Chan-o-cha presided over the Energy Policy and Planning Office (EPPO)’s meeting. He agreed with its resolution regarding electrical generating capacity development for 2015-2036 (Power Development Plan: PDP 2015); a long term power procurement plan that its demand forecasting is adjusted to correspond to directions of economic growth, the Energy Efficiency (EE) plan and the Alternative Energy Development (AEDP) plan.
“
ในโครงการนี้จะแยกโหลดชั้น 9 จากโหลดรวมของอาคาร ที่ทําการ ฟขบ. ดังรูปที่ 2 เพื่อศึกษาและพัฒนารูปแบบการผลิต และจําหนายไฟฟาในอาคารอยางมีประสิทธิภาพ และศึกษาดาน เสถียรภาพ (Stability) และคุณภาพไฟฟา (Power Quality) ที่จาย โดยพลังงานทดแทน นอกจากนี้จะติดตั้งจอแสดงผล (Dashboard Display) ที่ชั้น 1 เพื่อสรางความตระหนักรูดานพลังงานทดแทน ใหแกประชาชนทั่วไป และเปนการเสริมสรางภาพลักษณ กฟน.
To strengthen and stabilize power system in the country which will lead to benefits and economic advantages in the future; therefore, one of the PDP 2015’s subject matters is to reduce natural gas dependency from 65% currently to be not over than 40% in 2036. To accomplish accordingly, proportion of electrical generation from renewable energy and power purchase from neighbor countries will be increased while reserved electrical generation in the country will not lower than 15% of the its highest demand. As the agency in charge for electrical distribution of the country, MEA is well aware that greenhouse gas emission is caused by uses of electricity and resulted in global warming. Therefore, MEA initiates technology experimental project, which is called the Smart Grid. The renewable energy (solar energy) would be integrated to MEA’s main grid whereby ESS (Energy Storage System) would help to reduce impact from unstableness of the renewable energy productivity in order to efficiently control quality of electric power that supplied to equipment in the building. The project is called the “Smart District Office”, which would be completely installed and ready to use in 2016. The overall structure of the Smart District Office at MEA Rat Burana is shown in picture no.1. The Smart District Office consumes electrical power form solar cells and supply electricity to equipment in the building including charging electricity to the ESS. In case electrical power from solar cell is oversupply, it would be distributed to MEA’s main grid. However, if electrical power consumption in the building is higher than electrical power quantity derived from solar cells, the Master Controller + Energy Management system would intelligently retrieve electrical power from the main grid and supply it to equipment in the building. Additionally, in case the main grid experiences some problems (Off - Grid); the systems will continually supply electrical power by retrieving it from solar cells and the ESS. To study and develop efficient electrical generation and distribution model in the building as well as electrical power stability and quality from renewable energy, the electrical load on the 9th floor is separated from MEA Rat Burana building’s load center as per shown in picture no.2. Moreover, its dashboard display is presented on the 1st floor to provide knowledge regarding renewable energy to people and promote MEA’s organizational image as well. To comply with the Government’s policy, MEA has promoted and supported the increase of green energy and environmental conservation by initiating the Smart District Office with systematic procedure for greenhouse gas emission reduction. Moreover, to ensure its international leading exemplar in energy and environmental conservations, MEA has integrated its proactive business operation with the environmental management that enforced by laws and environmental regulations including the international standard such as ISO 26000. January-February 2017
p.27-41_egat.indd 33
1/26/17 5:11 PM
การไฟฟาสวนภูมิภาค
รางวัล
แหงความภาคภูมิใจ บนเสนทาง ‘การไฟฟาแหงอนาคต’ (The Electric Utility of the Future) การไฟฟาสวนภูมภิ าค หรือ PEA ไดพัฒนาองคกรในทุกมิติ เพื่อสงมอบ ‘คุณคา’ สูสังคม นอกจากความพึงพอใจที่ ผูใชไฟฟาไดรับแลว ยังมีอีกสิ่งที่สะทอนความสําเร็จขององคกร คือ รางวัลเกียรติยศในดานตางๆ ไมวาจะเปนดานนวัตกรรม ธรรมาภิบาล มาตรฐานการบริการ และแรงงานสัมพันธ ซึ่ง PEA ภาคภูมิใจอยางยิ่งที่สามารถทําผลงานจนผานมาตรฐานที่หนวยงานตางๆ กําหนดไวอยางเขมขน
รัฐวิสาหกิจดีเดน ดานนวัตกรรมดีเดน ประเภทชมเชย
ในฐานะที่ PEA เปนรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทยทีใ่ หความสําคัญกับการสรางมูลคาเพิม่ ใหกบั องคกร ขณะเดียวกันก็สนองนโยบายของรัฐบาลในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจและสังคมใหมคี วามเขมแข็งอยางยัง่ ยืน ยิง่ ในปจจุบนั รัฐบาลมีนโยบาย Thailand 4.0 ซึ่งมุงมั่นจะขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศดวยนวัตกรรม PEA จึงพัฒนาองคกร ใหสอดคลองสําหรับการกาวสูยุค PEA 4.0 ภายใตแนวคิด ‘พัฒนาคนดวยนวัตกรรม พัฒนางานดวยเทคโนโลยี’ โดยลาสุด PEA ประดิษฐ ‘เครื่องมือปรับเสาเอน 360 องศา และถอนเสาดวยระบบไฮดรอลิก’ สําหรับปรับระดับ เสาไฟฟาและถอนเสาไฟฟาทีช่ าํ รุดแลวไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิง่ กวาเดิม ทัง้ ยังลดระยะเวลาและคาใชจา ยในการ ดําเนินงาน เปนการเพิม่ ศักยภาพเพือ่ พัฒนาประเทศดวยนวัตกรรม จึงไดรบั รางวัล ‘รัฐวิสาหกิจดีเดน’ ประจําป 2559 ดานรางวัลนวัตกรรมดีเดน ประเภทชมเชย จากสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ถือเปนจุดเริ่มตนที่ดี ของการพัฒนา PEA สูการเปนองคกรแหงนวัตกรรม นอกจากนี้ PEA ไดจัดทําแผนงานเชิงบูรณาการและกําหนดผูรับผิดชอบดานงานวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ทั้งระดับนโยบายและปฏิบัติการอยางชัดเจน รวมทั้งใหความสําคัญกับการบริหารทรัพยสินทางปญญา ที่สําคัญ คือ การสรางบรรยากาศในการทํางาน เพื่อสงเสริมใหพนักงานของ PEA เปนนักวิจัยและนักประดิษฐ ซึ่งจากนี้ไปเราคง จะไดเห็นผลงานนวัตกรรมใหมๆ จาก PEA มากขึ้น
January-February 2017
p.27-41_egat.indd 34
1/26/17 5:11 PM
การไฟฟาสวนภูมิภาค
รัฐวิสาหกิจที่มีการพัฒนาสูความเปนเลิศฯ แผนงาน ‘การไฟฟาโปรงใส’ ป 2559
PEA เข า ร ว มโครงการประเมิ น คุ ณ ธรรมและความ โปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA) มาตั้งแตป 2557 จนถึง ปจจุบนั เพือ่ พัฒนาและยกระดับดัชนีความโปรงใสขององคกร รวมทัง้ เพิม่ ประสิทธิภาพการใหบริการประชาชนโดยปราศจาก การเลือกปฏิบตั ิ อํานวยความสะดวกอยางเปนธรรมและทัว่ ถึง โดยใน พ.ศ. 2557 PEA ไดรับคะแนนประเมินเฉลี่ยใน ภาพรวมรอยละ 77.87 หรือมีระดับคุณธรรมและความโปรงใส ในการดําเนินงานสูง ใน พ.ศ. 2558 มีคะแนนเฉลี่ยในภาพรวมรอยละ 89.86 หรือมีระดับคุณธรรมความโปรงใสในการดําเนินงานสูงมาก โดยได คะแนนดานความปลอดภัยจากการทุจริตในการปฏิบัติงานสูงถึงรอยละ 99.25 คะแนนดานความพรอมรับผิดชอบสูงถึงรอยละ 97.20 และคะแนน ดานความโปรงใสสูงถึงรอยละ 96.36 สําหรับ พ.ศ. 2559 PEA ไดรบั คะแนนการประเมินเฉลีย่ ในภาพรวม รอยละ 89.86 และไดรับการคัดเลือกใหรับรางวัล ‘รัฐวิสาหกิจที่มีการ พัฒนาสูความเปนเลิศในการจัดทําแผนงานเสริมสรางคุณธรรมและความ โปรงใสในการดําเนินงาน’ รางวัลดีเลิศ แผนงาน ‘การไฟฟาโปรงใส’ พ.ศ. 2559 ซึ่งเปนรางวัลที่สอดคลองกับดัชนี/ตัวชี้วัดในการประเมินคุณธรรม และความโปรงใสของสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการ ทุจริตแหงชาติ คูม อื การประเมินเกณฑมาตรฐานและตัวชีว้ ดั ความโปรงใส ของสํานักงานนายกรัฐมนตรี รวมทัง้ คูม อื แนวทางการสรางมาตรฐานความ โปรงใสของสวนราชการของสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน รางวัลอันทรงเกียรติดังกลาวสะทอนถึงความเปนเลิศของ PEA ในการเปนองคกรที่มีความโปรงใส ตรวจสอบได ตามหลักธรรมาภิบาล และบรรษัทภิบาลอันเปนมาตรฐานสากล โดยไดกําหนดกระบวนการ ทํางานของตนแบบ ‘การไฟฟาโปรงใส’ ใหเปนมาตรฐานเดียวกันทัง้ องคกร และนํารองดําเนินงานในพื้นที่การไฟฟาสวนภูมิภาค 12 เขต ภายใน พ.ศ. 2559 กอนจะขยายผลไปยังการไฟฟาสวนภูมิภาคทุกแหงทั่วประเทศ เพื่ อ บรรลุ เ ป า หมายการไฟฟ า จุ ด รวมงานจะต อ งผ า นการประเมิ น ตามเกณฑมาตรฐานการไฟฟาสวนภูมิภาคโปรงใสจํานวน 186 แหง และ ใน พ.ศ. 2560 การไฟฟาสาขาและการไฟฟาสาขายอยจะตองผานการ ประเมินตามเกณฑ จํานวน 747 แหง โดยคาดวา PEA จะมีคะแนนการ ประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานมากกวารอยละ 90
รางวัลและตรารับรองมาตรฐาน การใหบริการของศูนยราชการสะดวก (GECC)
PEA ยังไดรบั รางวัลและตรารับรองมาตรฐาน ใหบริการของศูนยราชการสะดวก (Government Easy Contact Center : GECC) ประจําป 2559-2561 ซึ่ ง เป น รางวั ล ที่ แ สดงให เ ห็ น ถึ ง ‘การบู ร ณาการ การบริการ’ ดวยความรวมแรงรวมใจและความ สามัคคีของผูบ ริหารและพนักงานในองคกร ในการ พั ฒ นาและรั ก ษาคุ ณ ภาพการให บ ริ ก ารตาม มาตรฐาน GECC เพือ่ ใหประชาชนผูใ ชไฟไดรบั ความ ‘สะดวก รวดเร็ว เขาถึงงาย’ เมื่อมาใชบริการที่ศูนยของ PEA ทั้งนี้ใน พ.ศ. 2559 มีหนวยงานที่ขอรับการรับรองมาตรฐานฯ รวม 119 ศู น ย คณะกรรมการอํ า นวยการศู น ย ร าชการสะดวก ไดพิจารณารับรองมาตรฐานจํานวน 41 ศูนย เปนระยะเวลา 3 ป โดย PEA ไดรับรางวัลจํานวน 15 ศูนย ไดแก การไฟฟาสวนภูมิภาค จังหวัดกําแพงเพชร การไฟฟาสวนภูมิภาคอําเภอตาคลี การไฟฟา สวนภูมภิ าคจังหวัดลําปาง การไฟฟาสวนภูมภิ าคจังหวัดนครพนม การ ไฟฟาสวนภูมภิ าคจังหวัดสุรนิ ทร การไฟฟาสวนภูมภิ าคจังหวัดรอยเอ็ด การไฟฟาสวนภูมิภาคจังหวัดสกลนคร การไฟฟาสวนภูมิภาคจังหวัด กาญจนบุรี การไฟฟาสวนภูมิภาคออมนอย การไฟฟาสวนภูมิภาค รังสิต การไฟฟาสวนภูมิภาคจังหวัดนครนายก การไฟฟาสวนภูมิภาค อําเภอบางปะกง การไฟฟาสวนภูมิภาคจังหวัดราชบุรี การไฟฟา ส ว นภู มิ ภ าคจั ง หวั ด สุ ร าษฎร ธ านี และการไฟฟ า ส ว นภู มิ ภ าค จังหวัดยะลา ปจจัยที่ทําให PEA ไดรับรางวัลในครั้งนี้ เกิดจากการใสใจ อํานวยความสะดวกใหประชาชนเขาถึงการใหบริการอยางรวดเร็ว อาทิ PEA Mobile Shop รถบริการเคลื่อนที่ที่สามารถเขาถึงชุมชน อันหางไกลได PEA Mobile Application ใหบริการตรวจสอบคากระแส ไฟฟา แจงกระแสไฟฟาขัดของ และแจงขอรองเรียนผานแอพพลิเคชัน่ ในโทรศัพทมือถือ ระบบการใหบริการแบบ One Touch Service ที่ พัฒนาจนสามารถรับคํารองขอติดตั้งมิเตอรขนาดไมเกิน 30 แอมป พรอมรับชําระเงินภายใน 15 นาที การติดตั้งมิเตอรในเขตเมืองที่มี ระยะหางจากสํานักงานการไฟฟาไมเกิน 10 กิโลเมตร ติดตั้งมิเตอร January-February 2017
p.27-41_egat.indd 35
1/26/17 5:11 PM
การไฟฟาสวนภูมิภาค
ภายใน 24 ชั่วโมง หรือการรับคํารองขอขยายเขตระบบจําหนาย แรงต่ําระยะทางไมเกิน 200 เมตร พรอมรับชําระเงินภายใน 30 นาที การพัฒนาคุณภาพการใหบริการก็มีความสําคัญไมแพกัน เชน การนําระบบจัดคิวอัจฉริยะ (Smart Queue) และระบบประเมิน ความพึงพอใจ ณ จุดใหบริการ (Smile Box) มาใชงาน การจัดชองทาง Drive Through ใหชําระเงินคาไฟฟา ระบบ Call Center 1129 การ ใหบริการสอบถามขอมูลและแจงเหตุไฟฟาขัดของรวมถึงรับเรื่อง รองเรียน ซึ่งปจจุบันเปดใหบริการจํานวน 90 คูสาย
ขณะเดียวกัน การใหบริการหลักของศูนยบริการลูกคา PEA เชน การรับชําระคากระแสไฟฟา การบริการรับคํารอง การขอใชไฟฟา การตอกลับการใชไฟฟา การขอใชบริการดานมิเตอร การโอนเปลีย่ นชือ่ การใชไฟฟา การขอยกเลิกการใชไฟฟา การรับแจงเหตุและขอรองเรียน การรับแจงเหตุไฟฟาขัดของ และการตอบขอรองเรียน ยังคงไดรับ การปรับปรุง พัฒนา และรักษามาตรฐานการใหบริการอยูตลอดเวลา เพื่อใหประชาชนผูใชไฟเกิดความพึงพอใจสูงสุด
รางวัลองคกรตนแบบ ดานบริหารจัดการแรงงานสัมพันธฯ
เพราะทรั พ ยากรบุ ค คลเป น สิ่ ง ที่ มี ค า และ เปนหัวใจสําคัญในการขับเคลื่อน PEA สู ‘ความเปน องคกรทันสมัย ยึดหลักธรรมาภิบาล มีขีดสมรรถนะ สูง สรางความสุขใหแกพนักงานและลูกจางอยาง ยั่งยืน’ ไมวาจะเปนการสรางการมีสวนรวม โดยเปด โอกาสใหผูบริหาร พนักงาน และลูกจางของ PEA แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ร ว มกั น ตั ด สิ น ใจและ แกปญ หาในกิจกรรมดานแรงงานสัมพันธ เพือ่ ชวยเหลือและคุม ครอง ผลประโยชนของสมาชิกผานชองทางที่เปนธรรม การสรางความ สัมพันธที่ดี ความไวเนื้อเชื่อใจ ยอมรับเหตุผลซึ่งกันและกัน เคารพ ในสิทธิและบทบาทหนาที่ของอีกฝาย เพื่อสรางบรรยากาศในการ ทํางานรวมกันอยางมีความสุข นอกจากนี้ PEA ยังใหความสําคัญกับการสื่อสารขอมูลดาน แรงงานสัมพันธ ระหวางผูบ ริหาร พนักงาน และลูกจางในองคกร โดย มีคณะกรรมการกิจการสัมพันธเปนศูนยกลาง รวมถึงจัดใหมีการ เผยแพรขอมูลขาวสารดานแรงงานสัมพันธผานชองทางตางๆ อีกทั้ง คํานึงถึงความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิง่ แวดลอม และสิทธิประโยชน ในการทํ า งาน ซึ่ ง สอดคล อ งตามมาตรฐานการบริ ห ารจั ด การที่ กฎกระทรวงไดกาํ หนดไว และทีส่ าํ คัญคือ ยึดหลักธรรมาภิบาล ความ โปรงใส ความยุติธรรม และความสุจริตในการบริหาร ซึ่งทําใหการ บริหารงานใน PEA มีประสิทธิภาพ และเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน
ผลของความใสใจปฏิบตั ติ ามแนวทางทีส่ อดคลองกับมาตรฐาน สิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ รวมทัง้ หลักเกณฑตามมาตรฐานสากล มาโดยตลอด PEA จึงไดรับรางวัล ‘องคกรตนแบบดานบริหารจัดการ แรงงานสัมพันธของประเทศไทย’ (Thailand’s Model Organization on Labour Relations Management Award) ประเภทพลังงาน จาก กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน ซึ่งไดพิจารณาองคกรในมิติตางๆ แบงออกเปน 6 หมวด ไดแก หมวดที่ 1 นโยบาย แผนงาน และกิจกรรมดานแรงงานสัมพันธ หมวดที่ 2 โครงสรางการบริหารแรงงานสัมพันธ หมวดที่ 3 การมีสว นรวมขององคกรลูกจางในการปรึกษาหารือ หมวดที่ 4 การปรึกษาหารือรวมแบบทวิภาคี/ไตรภาคี หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบทางสังคม หมวดที่ 6 ความตอเนือ่ งและผลสัมฤทธิจ์ ากการปรับปรุงสภาพ การจาง โดย PEA สามารถบริหารจัดการแรงงานสัมพันธกระทั่งผาน หลักเกณฑครบทุกหมวด จะเห็นวารางวัลทั้ง 4 นี้มิไดไดมาโดยงาย หากแตเกิดจาก ความเพี ย รพยายามของผู บ ริ ห ารและพนั ก งานทุ ก คนในองค ก ร ความรวมแรงรวมใจทํางานโดยคํานึงถึงประโยชนของผูใชไฟฟาและ สังคมเปนสําคัญ อันนํามาซึ่งรางวัลแหงความภาคภูมิใจ และปูทาง สรางความสําเร็จที่ยั่งยืนใหแก PEA ตอไปในอนาคต
January-February 2017
p.27-41_egat.indd 36
1/26/17 5:11 PM
บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน)
เอ็กโก กรุป ขยายการลงทุน
ซื้อหุนโรงไฟฟาพลังงานความรอนใตพิภพในอินโดนีเซีย
EGCO Group Expands its Portfolio in Indonesia with Successful Acquisition of Geothermal Assets
บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป ประสบ ความสําเร็จในการซือ้ หุน ในธุรกิจผลิตไฟฟาในตางประเทศอยางตอเนือ่ ง ลาสุดจับมือกับพันธมิตรซื้อหุนในโรงไฟฟาพลังงานความรอนใตพิภพ ที่อินโดนีเซีย กําลังการผลิตไฟฟารวมทั้งสิ้น 402 เมกะวัตต และกําลัง การผลิตไอน้ํารวมทั้งสิ้น 235 เมกะวัตต (เทียบเทา) ชนิ น ทร เชาวน นิ รั ติ ศั ย กรรมการผู จั ด การใหญ บริ ษั ท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป กลาววา “การลงทุน ครั้งนี้ เอ็กโก กรุป ไดรวมกับกลุมบริษัท สตาร เอนเนอรยี่ (Star Energy Group Holdings Pte. Ltd.) และกลุม บริษทั เอซี เอนเนอรยี่ (AC Energy Holdings, Inc.) เขาซื้อหุนโรงไฟฟาพลังงานความรอนใตพิภพ “ซาลัก” (Salak) และ “ดาราจัท” (Darajat) จากบริษัทในเครือของเชฟรอน ใน ประเทศอินโดนีเซีย โดยเอ็กโก กรุป จะเขาถือหุน โดยทางออมในสัดสวน รอยละ 20.07 ทัง้ นี้ ไดลงนามในสัญญาซือ้ ขายหุน เมือ่ วันที่ 22 ธันวาคม 2559 และคาดวาจะโอนหุนแลวเสร็จในไตรมาสที่ 1 ของป 2560” โรงไฟฟาพลังงานความรอนใตพิภพ “ซาลัก” และ “ดาราจัท” ตัง้ อยูใ นจังหวัดชวาตะวันตก เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ประกอบดวย หนวยการผลิตไฟฟาและไอน้ํา โดยมีกําลังการผลิตไฟฟารวมทั้งสิ้น 402 เมกะวัตต และกําลังการผลิตไอน้ํารวมทั้งสิ้น 235 เมกะวัตต (เทียบเทา) โรงไฟฟาทั้ง 2 โรงดังกลาวมีสัญญาซื้อขายไฟฟาและไอน้ํา ระยะยาวกับการไฟฟาประเทศอินโดนีเซีย (PLN) ชนินทร กลาวเพิ่มเติมวา “การขยายการลงทุน ครั้งนี้ เปนไปตามแผนการขยายธุรกิจของเอ็กโก กรุป ในประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งมีฐานธุรกิจเดิมอยูแลว และ สอดคลองกับกลยุทธการดําเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ทีม่ งุ แสวงหาโอกาสการลงทุนในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟก อยาง ตอเนื่อง” เอ็กโก กรุป เริ่มเขาลงทุนในประเทศอินโดนีเซีย เมือ่ พ.ศ. 2557 โดยถือหุน รอยละ 20 ในโรงไฟฟา พลังงานความรอนใตพิภพ “สตาร เอนเนอรยี่” ขนาดกําลังการผลิตติดตั้ง 227 เมกะวัตต และล า สุ ด ได ข ยายการลงทุ น เพิ่ ม ใน โรงไฟฟาพลังงานความรอนใตพภิ พ 2 โรง ดังกลาว
Electricity Generating Public Company Limited or EGCO Group continued its success in the acquisition of overseas power plant assets. The Company, together with its strategic partners, successfully acquired shares in 2 geothermal power plants with the aggregate capacity of 402 MW of electricity and 235 MW equivalent of steam. Mr.Chanin Chaonirattisai, President of Electricity Generating Public Company Limited or EGCO Group revealed that “For this investment, the affiliate of EGCO Group, Star Energy Group Holdings Pte. Ltd., and AC Energy Holdings, Inc. have entered into Share Sales and Purchase Agreements to acquire shares from Chevron’s affiliates in “Salak” and “Darajat” geothermal power plants in Indonesia on December 22, 2016. Among the Consortium, EGCO Group will hold 20.07% indirect ownership interest in the Project. The share transfer is expected to be completed in the first quarter of 2017. “Salak” and “Darajat” geothermal power plants are located in West Java province, Java island, Indonesia and composed of several geothermal steam and electricity generating units with the aggregate capacity of 402 MW of electricity and 235 MW equivalent of steam. The power plants have secured long-term energy sales contracts with PT PLN (Persero), the Indonesian government-owned electricity corporation. “The acquisition fulfills our business plan in enhancing EGCO Group’s presence in Indonesia which we have existing business, and in line with our strategic directions to pursue investment opportunities in asia pacific region” added Mr.Chanin. EGCO Group started its investment in Indonesia since 2014 by holding 20% indirect ownership interest in “Star Energy” Geothermal Power Plant which has the total installed capacity of 227 MW. Such acquisition of Chevron’s geothermal assets reiterates the Company’s strategic investment in Indonesia. January-February 2017
p.27-41_egat.indd 37
1/26/17 5:11 PM
บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน)
เอ็กโก กรุป เผยโรงไฟฟา “ชัยภูมิ วินดฟารม”
เริ่มจายไฟฟาเชิงพาณิชยแลว
EGCO Group Starts Commercial Operation of Its Latest “Chaiyaphum Wind Farm”
ชนิ น ทร เชาวน นิ รั ติ ศั ย กรรมการผู จั ด การใหญ บริ ษั ท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป เปดเผยวา “โรงไฟฟาชัยภูมิ วินดฟารม ในกลุมเอ็กโก เริ่มเดินเครื่องเชิงพาณิชยและจายไฟฟา เขาระบบแลว เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2559 ที่ผานมา ซึ่งโรงไฟฟา พลังงานลมแหงใหมนี้จะชวยเพิ่มรายไดใหแกบริษัทฯ อยางตอเนื่อง และสอดคลองกับนโยบายของภาครัฐในการสงเสริมการผลิตไฟฟา จากพลังงานหมุนเวียน” โรงไฟฟาชัยภูมิ วินดฟารม ตั้งอยูใน อ.ซับใหญ จ.ชัยภูมิ มีสัญญาซื้อขายไฟฟากับการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) จํ า นวน 80 เมกะวั ต ต ประกอบด ว ยกั ง หั น ลม จํ า นวน 32 ต น (2.5 เมกะวัตตตอตน) ภายใตสัญญาซื้อขายไฟฟาจากผูผลิตไฟฟา รายเล็ก ประเภทสัญญา Non-firm ระยะเวลา 5 ป ซึ่งสามารถตออายุ สัญญาไดคราวละ 5 ป ทั้งนี้ โรงไฟฟาชัยภูมิ วินดฟารม นับเปน โรงไฟฟาพลังงานลมแหงที่ 3 ของเอ็กโก กรุป โดยโรงไฟฟาแหงแรก ไดแก โรงไฟฟาเทพพนา วินดฟารม อ.เทพสถิต จ.ชัยภูมิ และโรงไฟฟา โบโค ร็อค วินดฟารม ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งเปนแหงที่ 2 ปจจุบันเอ็กโก กรุป มีโรงไฟฟาพลังงานหมุนเวียนที่เดินเครื่อง เชิงพาณิชยแลวจํานวน 15 โรง คิดเปนปริมาณพลังไฟฟาตามสัญญา ซื้อขายและตามสัดสวนการถือหุน 746 เมกะวัตต แบงเปนในประเทศ 12 โรง คิดเปน 213 เมกะวัตต และในตางประเทศ ไดแก สปป.ลาว อินโดนีเซีย และออสเตรเลีย จํานวน 3 โรง คิดเปน 533 เมกะวัตต ทั้งนี้ โรงไฟฟาพลังงานหมุนเวียนของเอ็กโก กรุป ผลิตไฟฟา จากเชื้อเพลิงหลากหลายประเภท ทั้งชีวมวล ขยะ พลังน้ํา พลังงาน แสงอาทิตย พลังงานลม และพลังงานความรอนใตพิภพ โดยคิดเปน รอยละ 18.11 ของกําลังการผลิตทั้งหมดของเอ็กโก กรุป
Mr.Chanin Chaonirattisai, President of Electricity Generating Public Company Limited or EGCO Group stated that “Our latest wind power plant, “Chaiyaphum Wind Farm” has commenced the commercial operation to supply electricity to the national grid since December 16, 2016. The new wind power plant would constantly provide additional revenues to the Company and help support the government’s policy in promotion of renewable energy.” EGCO Group’s “Chaiyaphum Wind Farm” wind power plant is located in Subyai district, Chaiyaphum province. The power plant has the total contracted capacity of 80 MW, comprising 32-unit wind turbines at 2.5 MW each, and sells its net electricity output to Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT) under a 5-year non-firm PPA for Small Power Plant scheme which can be renewed every 5 years. It is the Company’s third wind power plant following “Thappana Wind Farm” located in Thepsathit district, Chaiyaphum province and “Boco Roc Wind Farm” in Australia. EGCO Group presently runs 15 operating renewable power plants with total equity contracted capacity of 746 MW, comprising 12 domestic plants with total equity contracted capacity of 213 MW and 3 plants in countries across the Asia Pacific region – Lao PDR, Indonesia and Australia, with total equity contracted capacity altogether of 533 MW. Those power plants generate electricity using several fuel sources such as biomass, waste, hydro, solar, wind, and geothermal. The renewable portfolio accounted for 18.11% of the Company’s total equity contracted capacity.
January-February 2017
p.27-41_egat.indd 38
1/26/17 5:11 PM
บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน)
เอ็กโก กรุป เผยวินดฟารมแหงใหมพรอมจายไฟเขาระบบปลายปนี้ EGCO Group Posted over 7 Billion Baht Profit for First Nine Months New Wind Power Project Ready for Commercial Operation this Year-End ชนินทร เชาวนนิรัติศัย กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป เปดเผยถึงความกาวหนาของการดําเนินงาน ในชวงไตรมาส 3 จนถึงปจจุบันวา “ผลการดําเนินงานไตรมาส 3 เติบโตอยาง ต อ เนื่ อ งและเป น ไปตามเป า หมายที่ ตั้ ง ไว เนื่ อ งมาจากผลประกอบการที่ เพิ่มขึ้นของโรงไฟฟาขนอม หนวยที่ 4 และโรงไฟฟาขนาดใหญในตางประเทศ การเติบโตดังกลาวแสดงใหเห็นวาเอ็กโก กรุป สามารถบริหารจัดการโรงไฟฟา ที่มีอยูใหเดินเครื่องอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งมีการติดตามผลการ ดําเนินงานของบริษัทตางๆ ที่เขาไปรวมทุนอยางตอเนื่อง ในขณะเดียวกัน บริษัทฯ ก็ใหความสําคัญในการบริหารจัดการโครงการที่อยูระหวางดําเนินการ ใหแลวเสร็จตามกําหนดและงบประมาณที่วางไว โดยโรงไฟฟาพลังงานลม แหงใหม “ชัยภูมิ วินดฟารม” กําลังการผลิต 80 เมกะวัตต จะกอสรางแลวเสร็จ และพรอมจายไฟฟาเขาระบบในเดือนธันวาคมนี้” สําหรับผลการดําเนินงานในไตรมาส 3 ของป 2559 สิ้นสุด ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 บริษัทมีกําไรจากการดําเนินงานกอนผลกระทบจากอัตรา แลกเปลีย่ น ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี การรับรูร ายไดแบบสัญญาเชาและสัญญา สัมปทาน และการดอยคาของสินทรัพย จํานวน 2,781 ลานบาท เพิ่มขึ้น จากชวงเดียวกันของปกอน จํานวน 119 ลานบาท ในขณะที่ผลการดําเนินงาน 9 เดื อ นแรกของป 2559 บริ ษั ท มี กํ า ไรจากการดํ า เนิ น งานก อ นผลกระทบ จากอัตราแลกเปลี่ยน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี การรับรูรายไดแบบสัญญาเชา และสัญญาสัมปทาน และการดอยคาของสินทรัพย จํานวน 7,080 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเวลาเดียวกันของปกอน จํานวน 519 ลานบาท ปจจุบนั เอ็กโก กรุป มีโครงการทีอ่ ยูร ะหวางกอสรางทัง้ ในและตางประเทศ รวม 7 โครงการ ซึ่งจะทยอยเดินเครื่องเชิงพาณิชยและจายไฟฟาเขาระบบ ตั้งแตปลายป 2559 ถึงป 2562 นอกจากนี้ ยังมีโครงการที่อยูระหวางการศึกษา ความเปนไปไดในตางประเทศอีก 6 โครงการ ไดแก สปป.ลาว มี 2 โครงการ คือ โครงการโรงไฟฟาพลังน้ํา “ปากแบง” กําลังการผลิต 912 เมกะวัตต ซึ่ง สปป. ลาว ไดทําเรื่องแจงคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงอยางเปนทางการ เพื่อพิจารณา ดําเนินการตอไป และโครงการโรงไฟฟาพลังน้ํา “น้ําเทิน 1” กําลังการผลิต 650 เมกะวัตต อินโดนีเซีย มี 2 โครงการ คือ โครงการโรงไฟฟาพลังงาน ความรอนใตพิภพ “สตาร เอนเนอรยี่ สวนขยาย” กําลังการผลิต 120 เมกะวัตต และโครงการโรงไฟฟาพลังงานความรอนใตพิภพของเชฟรอน ซึ่งบริษัทสนใจ จะเขารวมประมูล เวียดนาม มี 1 โครงการ คือ โครงการโรงไฟฟาถานหิน “กวางจิ” กําลังการผลิต 1,220 เมกะวัตต และเมียนมา มี 1 โครงการ คือ โครงการ โรงไฟฟาในนิคมอุตสาหกรรมทวาย สําหรับในประเทศไทย บริษัทฯ ยังแสวงหา โอกาสการลงทุนในธุรกิจไฟฟาเชนกัน เชน โครงการโรงไฟฟาจากพลังงาน หมุนเวียน “นอกจากนี้ ลาสุดเอ็กโก กรุป ยังไดรับการคัดเลือกจากตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยใหเปน 1 ใน 55 บริษัทจดทะเบียนที่อยูในรายชื่อหุนยั่งยืน (Thailand Sustainability Investment - THSI) ตอเนื่องเปนปที่ 2 โดยบริษัท จดทะเบียนที่ไดรับการคัดเลือกตองมีความโดดเดนดานสิ่งแวดลอม สังคม และบรรษัทภิบาล (Environmental, Social and Governance - ESG) และมี คะแนนอยางนอยกึ่งหนึ่งในมิติเศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม และสังคม ซึ่งในปนี้มีการ พิจารณาเพิม่ เติมเรือ่ งผลประกอบการ และการคัดกรองดานการกํากับดูแลตางๆ ในประเด็นที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอม สังคม และบรรษัทภิบาล เพื่อสรางความ มั่นใจใหแกผูลงทุนดวย” ชนินทร กลาวสรุป
Mr.Chanin Chaonirattisai, President of Electricity Generating Public Company Limited or EGCO Group revealed the progress of the Company’s operating performance for the third quarter of 2016 that “The Company has recorded satisfactory operating results as targeted, mainly due to the increased operating profits of Khanom power plant Unit 4 and overseas large-scale power plants. Such continuous growth proved our capability in ensuring maximum efficiency of existing power plants and the close monitoring of our assets. Equally important, we have focused on managing projects under construction to be completed as scheduled and within the planned budget. As such, the new 80 MW “Chaiyaphum Wind Farm” power project is on its schedule for commercial operation in December 2016. For the third quarter of 2016 ending 30 September 2016, EGCO Group’s operating profit before the effects of Foreign Exchange, Deferred Tax, Lease Income and Income from Service Concession and Impairment was 2,781 million baht, a rise of 119 million baht when compared to the same period last year. Considering the first nine months, the Company has successfully posted 7,080 million baht operating profit before the effects of Foreign Exchange, Deferred Tax, Lease Income and Income from Service Concession and Impairment, an increase of 519 million baht from last year. Presently, EGCO Group is constructing seven domestic and overseas power projects that are scheduled to start commercial operations from late 2016 until 2019. Meanwhile, the Company is pursuing investment opportunities in six overseas projects including two projects in Laos; 912 MW “Pak Beng” hydropower project which has been submitted to the Mekong River Commission for the project review by the Government of Laos and 650 MW “Nam Thuen 1” hydropower project, two projects in Indonesia; expansion of 120 MW “Star Energy” geothermal power plant and Chevron’s geothermal power plants which the Company eyes for bidding. The Company is also pursuing in 1,220 MW “Quang Tri” coal-fired power project in Vietnam and a power project in Dawei Industrial Estate in Myanmar. EGCO Group is also well prepared for domestic investment opportunities including renewable energy projects. EGCO Group’s President added that “EGCO Group was recently among 55 listed companies ranked in Thailand Sustainability Investment (THSI) 2016 list for two years in a row. To pass sustainability assessment conducted by the Stock Exchange of Thailand (SET), each participating firm shall have outstanding performance on Environmental, Social and Governance (ESG) aspects and must achieve scores at least 50 percent in economic, social and environmental dimensions. Additional criteria embracing business performance and governance aspect related to ESG was added to serve the need of investors who are keen to invest in firms with sustainability performance.” January-February 2017
p.27-41_egat.indd 39
1/26/17 5:12 PM
บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน)
ราชบุรีโฮลดิ้ง เดินหนาขยายธุรกิจ
ในประเทศและตางประเทศสรางการเติบโตตอเนื่อง
รัมย เหราบัตย บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) รายงาน ผลการดําเนินงาน 9 เดือนแรกป 2559 (มกราคม-กันยายน) บริษทั ฯ มีกําไรสุทธิจํานวน 3,202 ลานบาท เพิ่มขึ้น 37% จากงวดเดียวกัน ของป 2558 ขณะที่กําไรกอนหักผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน เปนจํานวน 4,438 ลานบาท เพิ่มขึ้น 4% จากปกอนหนา รัมย เหราบัตย กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ผลิตไฟฟา ราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) เปดเผยวา สวนแบงกําไรจากกิจการ รวมทุนและเงินปนผลมีนัยสําคัญตอการเติบโตของรายไดบริษัทฯ ในชวง 9 เดือนทีผ่ า นมา โดยสัดสวนรายไดจาํ นวนนีเ้ พิม่ ขึน้ เปน 5% ของรายไดรวม เปนเงิน 1,975 ลานบาท ซึ่งเปนผลมาจากการรับรู รายไดของโครงการใหม คือ โรงไฟฟาหงสา โรงผลิตไฟฟานวนคร โรงไฟฟา สงขลาชี ว มวล รวมทั้ ง เงิน ป น ผลรั บ จากเงิน ลงทุ น หุ น EDL-Gen เปนจํานวนมากขึ้น ขณะเดียวกันบริษัทฯ ก็มุงหาการ ลงทุนใหมเพื่อขยายฐานรายไดของบริษัทฯ ใหแข็งแกรงยิ่งขึ้น ซึ่ง โครงการพลังงานลมเมาท เอเมอรัลด กําลังผลิต 180 เมกะวัตต ในออสเตรเลี ย เดิ น หน า จนสามารถเริ่ ม ก อ สร า งได ใ นเดื อ น พฤศจิกายนศกนี้ และมีกําหนดเดินเครื่องจําหนายไฟฟาในเดือน กันยายน 2561 นอกจากนี้ การกอสรางโครงการพลังน้ําเซเปยน เซน้าํ นอย กําลังผลิต 410 เมกะวัตต ใน สปป.ลาว มีความกาวหนา ตามแผนงาน และคาดวาจะแลวเสร็จและเดินเครื่องเชิงพาณิชย จําหนายไฟฟาใหการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยไดตามกําหนด ใน พ.ศ. 2561
“แผนยุทธศาสตรของบริษัทฯ ไดขยายขอบเขตการลงทุน เพื่ อ เพิ่ ม โอกาสสร า งการเติ บ โตให ม ากขึ้ น ไม จํ ากั ด เพี ย งธุ ร กิ จ ผลิตไฟฟาและพลังงานเทานั้น แมจะยังเปนธุรกิจหลักของบริษัทฯ อยูก ต็ าม ทีผ่ า นมา บริษทั ฯ ไดศกึ ษาศักยภาพและโอกาสธุรกิจอืน่ ๆ อยางจริงจังทั้งในประเทศและตางประเทศ และไดเริ่มตนที่ธุรกิจ ขนสงคมนาคมดวยการเขารวมประมูลโครงการรถไฟฟาสายสีชมพู และสีเหลือง ในนาม “กิจการรวมคา บีเอสอาร” เพราะความชํานาญ และความเชี่ยวชาญดานการบริหารจัดการระบบไฟฟาของเรา สามารถนํามาตอยอดในธุรกิจนี้ได นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังสนใจ โครงการสาธารณู ป โภคในประเทศเพื่ อ นบ า น ซึ่ ง ได เริ่ ม ศึ ก ษา ความเหมาะสมเบื้องตนแลวหลายโครงการ สวนการขยายธุรกิจ ผลิตไฟฟายังคงดําเนินการคูข นานกันไป โดยเนนทีป่ ระเทศเพือ่ นบาน และอาเซี ย นเพราะความต อ งการใช ไ ฟฟ า ยั ง เติ บ โตต อ เนื่ อ ง โครงการที่กําลังศึกษาจะเปนประเภทกรีนฟลดและบราวนฟลด ใชเชื้อเพลิงฟอสซิล ซึ่งตองใชเวลาศึกษาประเด็นความเสี่ยงและ ผลตอบแทนการลงทุนอยางละเอียดรอบคอบ ในออสเตรเลียมี โครงการพลังงานแสงอาทิตยคอลลินสวลิ ล กําลังผลิต 42 เมกะวัตต ซึ่งไดรับทุนสนับสนุนจํานวน 9.5 ลานเหรียญออสเตรเลียจาก Australian Renewable Energy Agency (ARENA) และอยูระหวาง เจรจาผูรับซื้อไฟฟาและจัดหาเงินกู คาดวาจะดําเนินการแลวเสร็จ ประมาณตนป 2560” รัมย กลาว ภาพรวมการดําเนินงานรอบ 9 เดือน ป 2559 บริษัทฯ มี รายได ร วมจํ า นวน 39,283 ล า นบาท ในจํ า นวนนี้ เ ป น รายได คาขายไฟจากโรงไฟฟาราชบุรีและไตรเอนเนอจี้จํานวน 31,400 ลานบาท นอกจากนี้ ยังมีรายไดจากสวนแบงกําไรของกิจการ รวมทุนจํานวน 1,771 ลานบาท เพิ่มขึ้น 154% สวนตนทุนและ คาใชจายรวม มีจํานวน 33,390 ลานบาท ลดลง 16% ฐานะ การเงิ น ของบริ ษั ท ฯ ณ วั น ที่ 30 กั น ยายน 2559 มี สิ น ทรั พ ย รวมจํานวน 91,927 ลานบาท หนี้สินจํานวน 31,834 ลานบาท สวนของผูถือหุน 60,093 ลานบาท มีเงินสดและเงินลงทุน รวม จํานวน 7,226 ลานบาท และกําไรสะสมจํานวน 45,861 ลานบาท
January-February 2017
p.27-41_egat.indd 40
1/26/17 5:12 PM
บริษทั ผลิตไฟฟาราชบุรโี ฮลดิง้ จํากัด (มหาชน)
ราชบุรีโฮลดิ้ง เดินหนาโครงการพลังงานลม
เมาท เอเมอรัลด ขนาด 180 เมกะวัตต กําหนดเดินเครื่องเชิงพาณิชย ป 2561 บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) ประกาศความกาวหนาโครงการพลังงานลมเมาท เอเมอรัลด กําลังการผลิต 180 เมกะวัตต เมือ่ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 บริษัท ราช-ออสเตรเลีย คอรปอเรชั่น จํากัด (RAC) ซึ่งเปน บริษัทยอยของ RATCH ซึ่งถือหุน 80% ไดบรรลุขอตกลง ทางการเงิน (Financial close) วงเงินกูร วม 258.3 ลานเหรียญ ออสเตรเลีย หรือประมาณ 7,120 ลานบาท กับสถาบัน การเงินขนาดใหญ 4 แหง ไดแก Australia and New Zealand Bank (ANZ), National Australia Bank (NAB), The Bank of Tokyo Mitsubishi (BTMU) และ Societie Generale (SG) นอกจากนี้ RAC ยังไดบรรลุขอตกลงในสัญญารับเหมา วิศวกรรม จัดหาอุปกรณ และกอสราง สัญญาเชือ่ มตอระบบ ไฟฟา สัญญาเดินเครื่องและบํารุงรักษาและสัญญาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ทําใหโครงการพลังงานลมเมาท เอเมอรัลด สามารถเริ่มกอสรางไดในเดือนพฤศจิกายน 2559 และ มีกําหนดเดินเครื่องเชิงพาณิชยใน พ.ศ. 2561 รัมย เหราบัตย กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรโี ฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) เปดเผยวา บริษทั ฯ ยินดีกับความสําเร็จในการระดมเงินกูครั้งนี้และนับเปน กาวสําคัญในการพัฒนาโครงการเมาท เอเมอรัลด ซึ่งเปน โรงไฟฟาพลังงานลมขนาดใหญที่สุดของรัฐควีนสแลนด มีมูลคาโครงการประมาณ 400 ลานเหรียญออสเตรเลีย โครงการนี้จะใชเวลากอสรางประมาณ 2 ป โดยจะติดตั้ง กังหันลมจํานวน 53 เครื่อง กําหนดเดินเครื่องเชิงพาณิชย ในเดือนกันยายน 2561 โดยมี Ergon Energy Queensland (รัฐวิสาหกิจไฟฟาของรัฐควีนสแลนด ออสเตรเลีย) เปนผู รับซื้อไฟฟาภายใตสัญญาซื้อขายไฟฟาระยะเวลา 13 ป นับตั้งแตกันยายน 2561-31 ธันวาคม 2573
“โครงการพลังงานลมเมาท เอเมอรัลด ดําเนินการ ตามแผนธุรกิจของ RAC ที่มุงเนนการพัฒนาและลงทุน โครงการพลังงานหมุนเวียน โดยเฉพาะพลังงานลม เพื่อ ตอบสนองเป า หมายของ RATCH ที่ ต อ งการขยาย กําลังผลิตพลังงานทดแทนใหได 20% ของกําลังผลิตรวม 10,000 เมกะวัตต ใน พ.ศ. 2566 ทัง้ นี้ รัฐบาลออสเตรเลีย มีเปาหมายและทิศทางชัดเจนในการพัฒนาพลังงาน หมุนเวียน จึงเปนโอกาสทางธุรกิจที่ RAC สามารถสราง มูลคาเพิ่มใหแกกิจการในอนาคตได ความสําเร็จของ โครงการนี้สะทอนถึงความเชื่อมั่นของผูมีสวนไดเสีย ที่มีตอ RAC และยังเปนฐานให RATCH ขยายธุรกิจใน ออสเตรเลียอยางจริงจังในระยะยาว บริษทั ฯ เชือ่ มัน่ วา โครงการอื่นๆ ที่อยูระหวางการศึกษาและพัฒนาตาม แผนธุรกิจของ RAC จะสามารถผลักดันใหบรรลุผลสําเร็จ เชนเดียวกับโครงการเมาท เอเมอรัลด ตอไป” รัมย กลาว RAC ลงทุนในหุนทั้งหมดของโครงการพลังงาน ลมเมาท เอเมอรัลด ซึง่ สงผลใหกาํ ลังผลิตตามสัดสวน การถือหุนของ RAC เพิ่มขึ้นอีก 144 เมกะวัตต รวม เปน 654 เมกะวัตต โดยมีกําลังผลิตจากพลังงานลม รวม 198 เมกะวัตต นอกจากนี้ RAC ยังถือหุนใน โรงไฟฟาที่ใชเชื้อเพลิงกาซธรรมชาติอีก 3 แหง กําลัง ผลิตตามสัดสวนการลงทุนรวม 456 เมกะวัตต ความ สําเร็จของโครงการเมาท เอเมอรัลด ครั้งนี้ยังสงผล ใหกําลังผลิตรวมของ RATCH เติบโตเปน 6,980 เมกะวัตต มาจากกําลังผลิตพลังงานทดแทนรวม 894 เมกะวัตต คิดเปน 13% ของกําลังผลิตรวม
January-February 2017
p.27-41_egat.indd 41
1/26/17 5:12 PM
Cover Story
> บริษัท เชลล ประเทศไทย จํากัด
การเปลี่ยนแปลงหมอแปลงไฟฟา ใหมีความนาเช�่อถือทางว�ศวกรรม หม อ แปลงไฟฟ า กํ า ลั ง เป น อุ ป กรณ ที่ มี ร าคาแพงและเป น อุปกรณหลักของธุรกิจ ซึง่ การรักษาเสถียรภาพการทํางานทีด่ มี คี วาม สําคัญเปนอยางยิง่ เพราะหากหมอแปลงเสียหายหรือประสบปญหา จะกอใหเกิดปญหารุนแรงตามมาเชนกัน เพราะจะทําใหกระแสไฟฟา ดับและสงผลตอความเสียหายทางเศรษฐกิจอยางมหาศาล รวมทั้ง จํานวนคาเบี้ยปรับกรณีที่สงกระแสไฟฟาไมได ดวยเหตุนี้ เชลล ไดคิดคนผลิตภัณฑน้ํามันหมอแปลงไฟฟาขึ้นเปนครั้งแรก โดยใช เทคโนโลยี GTL ที่มีการคนควาทางวิทยาศาสตรจากโครงการวิจัย หลัก ซึ่งปฏิวัติน้ํามันหมอแปลงรูปแบบเดิมเพื่อนําไปสูการพัฒนา เสถี ย รภาพและอายุ ก ารทํ า งานของหม อ แปลงในป จ จุ บั น เและ ในอนาคต ปจจุบันหมอแปลงไฟฟาทั่วโลกมีสภาพคอนขางเกา (หลาย ประเทศมีอายุการใชงานมากกวา 30-40 ป) และบริษัทหลายแหง ยังคงใชหมอแปลงไฟฟาตามอายุที่กําหนดไวเดิม บางบริษัทก็ใช หมอแปลงเกินกวาอายุการใชงานจริง ทําใหตอ งมีการลงทุนสูงขึน้ เพือ่ เปลี่ยนหมอแปลงใหมมากถึง 4 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งตามหลักแลว เราสามารถเปลี่ยนวิกฤตเปนโอกาสทางเศรษฐกิจได ถาเสถียรภาพ การทํางานของหมอแปลงไฟฟามีการพัฒนาใหดีขึ้น เชลล ต ระหนั ก ถึ ง ป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น เหล า นี้ และได ร ว มลงทุ น ในงานวิจัยกับมหาวิทยาลัยชั้นนํา สถาบันวิชาการตางๆ และบริษัท ภาคเอกชน เพื่อเรงพัฒนานวัตกรรมนี้ ตั ว อย า งเช น เชลล ไ ด ร ว มมื อ กั บ กลุ ม บริ ษั ท วิ จั ย ของยุ โรป ใน ค.ศ. 2012 เพื่อศึกษาการออกแบบ การทํางานของหมอแปลง และอิทธิพลของน้าํ มันตอลักษณะของอายุการใชงานและเสถียรภาพ ของหมอแปลงไฟฟา
การวิจยั ครัง้ นีเ้ ปนงานวิจยั ทีใ่ หญทส่ี ดุ ในยุโรป ภายใตการนําของ คณะวิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร ซึ่งเปนหนวยงานวิชาการที่ไดรับการยอมรับในดานความสามารถ และความเปนเลิศในงานวิจัยไฟฟาเกี่ยวกับน้ํามันหมอแปลงและ หมอแปลงไฟฟาในสหราชอาณาจักร พรอมดวยกลุมบริษัทตางๆ ไดแก บริษทั ผูผ ลิตหมอแปลงไฟฟา บริษทั ทีเ่ กีย่ วของกับระบบไฟฟา หองปฏิบัติการทดสอบ บริษัทผูผลิตฉนวน และบริษัทเชลลซึ่งเปน ผูวิจัยน้ํามันหมอแปลงไฟฟา เชลลเชื่อวาโครงการนี้จะชวยทําใหเกิดการพัฒนาอายุการ ใชงานของหมอแปลงไฟฟาในอนาคต เนือ่ งจากเปนโครงการสงเสริม องคความรูทางวิทยาศาสตรในสาขาเฉพาะดังกลาวที่จะสงผลตอ การเสริมสรางความรูความเขาใจมากขึ้นวา น้ํามันและหมอแปลง มีอายุการใชงานอยางไร รวมทั้งชวยในการวิเคราะหคุณลักษณะ สําคัญที่จําเปนจะตองปรับปรุงเพื่อเพิ่มเสถียรภาพความนาเชื่อถือ ตลอดจนระยะเวลาการใชงานที่ยาวนานของน้ํามันและหมอแปลง ไฟฟาได นอกจากนั้นแลว การทดสอบที่มหาวิทยาลัยดังกลาว ยังชวย ให ก ารทดสอบน้ํ า มั น หม อ แปลงไฟฟ า ที่ ผ ลิ ต จากน้ํ า มั น หล อ ลื่ น พื้นฐานพิเศษที่ผสมสารตานทานปฏิกิริยาออกซิเดชั่น (เทคโนโลยี GTL) หรือเชลล ไดอาลา (เชลล ไดอาลา S4 ZX-I) มีความเที่ยงตรง อีกดวย กรณีตัวอยาง ไดแก การจําลองเพื่อทดสอบผลของการเกิด ภาวะแรงดันสูงชั่วขณะอันเนื่องมาจากฟาฝาและการปลดสับสวิตช แรงสูงของระบบไฟฟา และเพื่อวิเคราะหความยืดหยุนของน้ํามัน ที่แตกตางกันที่มีผลตอการเกิดสภาวะแรงดันสูงชั่วขณะดังกลาว รูปที่ 1 : Dr.Qiang Liu อาจารยสาขาระบบไฟฟาในโรงงาน และ คุณ Zhongdong Wang ศาสตราจารยทางดาน วิศวกรรมไฟฟาแรงสูงแหงมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร และ Dr.Peter Smith ผูจัดการฝายเทคโนโลยี บริษัท Shell Global Solutions กับเครือ่ งกําเนิดแรงดันอิมพัลส ทีบ่ ริษทั เชลลและมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอรมีสวนรวมในการวิจัย ร ว มกั บ กลุ ม บริ ษั ท ชั้ น นํ า เพื่ อ ศึ ก ษาการออกแบบ การ ทํางานของหมอแปลงและอิทธิพลของน้ํามันตอลักษณะ ของอายุการใชงานและเสถียรภาพของหมอแปลงไฟฟา
January-February 2017
เชลล ไดอาลา S4 ZX-I ผลิตมาจากกาซธรรมชาติบริสุทธิ์ โดยทําให โครงสรางทางเคมีของ สารประกอบไฮโดรคารบอนแคบและเฉพาะเจาะจง (Tightly Specified Hydrocarbon) ในทาง ตรงกันขามองคประกอบของนํามันหมอแปลงที่มีพื้นฐานจากนํามันดิบก็จะมีองคประกอบของ ไฮโดรคารบอนที่หลากหลาย ขึ้นอยูกับแหลงและกระบวนการกลั่น รูปที่ 3 แสดงใหเห็นวาเชลล ไดอาลา S4 ZX-I มีคารับแรงดัน ความเสียหายเฉียบพลันอันเกิดจากแรงดันอิมพัลสฟาผาสูงกวา น้ํามันหมอแปลงแบบ Inhibited Conventional อยางมีนัยสําคัญ เมื่อมีการทดสอบโดยใชข้ัวไฟฟาแบบเลขาคณิตทั้งสภาพขั้วบวก และขัว้ ลบ การทดสอบนีไ้ ดพสิ จู นวา เชลล ไดอาลา S4 ZX-1 มีความ สามารถทนตอแรงดันไฟฟาสูงชั่วขณะในระหวางการทํางาน เชน ในระหวางการปลดสับสวิตชแรงสูง หรือกรณีฟาผาเมื่อเทียบกับ น้ํามันหมอแปลงอื่นๆ
รูปที่ 2 : โครงแบบของขั้วไฟฟาแบบเข็มทรงกลม (Needle Sphere Electrode) ที่ใชในการทดสอบความเสียหายอันเกิดจากแรงดัน อิมพัลสฟาผา
“ในฐานะที่เราเปนหนึ่งในบริษัทดานสาธารณูปโภคขามชาติ ทีม่ สี ถานียอ ยแรงดันไฟฟาสูงมากเกือบ 500 แหง ทําใหเรามี ทรัพยสินที่ใชน้ํามัน (oil-filed asset) เปนจํานวนมาก อาทิ เชน หมอแปลงไฟฟา โดยเราใชน้ํามันที่เราไวใจ เรามีความ สนใจอยางมากในการยืดอายุการใชงานของหมอแปลงไฟฟา ใหยาวนานและมีเสถียรภาพมากขึ้น สิ่งเหลานี้จะชวยใหเรา สรรหาคุณคาทีด่ ที ส่ี ดุ ใหแกลกู คาของเรา พรอมๆ กับสรางความ มั่นใจวาลูกคาสามารถใชไฟฟาไดตามตองการ เราตระหนัก ดีวาน้ํามันที่เราใชมีบทบาทตอความนาเชื่อถือและอายุการ ใชงานของหมอแปลง ดังนั้นโครงการนี้จึงเปนโครงการที่ สําคัญยิ่งตอการเชื่อมตอโครงขายไฟฟา” Gordon Wilson, Technical Specialist in Insulating Liquids, National Grid plc Needle sphere +ve 10mm Needle sphere -ve
การทดสอบนี้จะวิเคราะหน้ํามันหมอแปลง 2 ชนิดของเชลล ไดแก เชลล ไดอาลา S4 ZX-I (inhibited GTL oil) และ เชลล ไดอาลา S3 ZX-I (conventional inhibited oil) ซึ่งมีสวนประกอบ ของน้ํานอยกวา 10 ppm เพื่อวิเคราะหความเสียหายเฉียบพลัน อันเกิดจากแรงดันอิมพัลสฟาผาในรูปทรงเลขาคณิตแบบขั้วไฟฟา เข็มแผนราบและเข็มรูปทรงกลม โดยขั้วไฟฟาเข็มรูปทรงกลมที่ใช (ขนาดชองวาง 25 มิลลิเมตร ทั้งแรงดันอิมพัลสขั้วบวกและขั้วลบ) ปรากฏในรูปที่ 2 โดยไดนาํ เครือ่ งกําเนิดไฟฟาแรงดันอิมพัลส 8 ระดับ ขนาดแรงดันไฟฟาสูงสุดที่ 800 kV และพลังงานที่ 4 kJ มาใชเพื่อ รองรับแรงดันฟาผามาตรฐานที่ 1.2/50 µs
10mm Needle plane +ve
Needle plane -ve
Shell Diala S3 ZX-I Shell Diala S4 ZX-I (GTL) 0
50
100
150
200
250
Source: University of Manchester
Breakdown voltage, kV
รูปที่ 3 : คาเฉลีย่ แรงดันไฟฟาทีจ่ ะไดรบั ความเสียหายจากแรงดันฟาผา ของน้าํ มันหมอแปลงเชลล ไดอาลา S4 ZX-1 (inhibited GTL) กับเชลล ไดอาลา S3 ZX-1 (conventional inhibited) ที่มีขนาดแกบขั้วไฟฟา ที่ 25 มิลลิเมตร เวนแตจะกําหนดไวเปนอยางอื่น January-February 2017
เทคโนโลยี GTL : การผลิตนํามันหมอแปลงไฟฟาไฮโดรคารบอนที่ออกแบบเพ�อ
สมรรถนะที่สูงขึ้น ผลิตภัณฑ เชลล ไดอาลา S4 ZX-I ผลิตจากนํามันพื้นฐาน GTL ซึ่งเปน ไฮโดรคารบอนโครงสราง Isoparaffinic ทีม่ าจากกาซธรรมชาติ ซึง่ โครงสรางนีม้ ใี นกาซธรรมชาติ มากกวาในนํามันดิบ โดยที่กาซธรรมชาติที่นํามาจะตองบริสุทธิ์และผานการแปลงสภาพเปนนํามัน พื้นฐาน โดยใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมและทันสมัย เริ่มตนจากการนํามีเทนที่เปนโมเลกุลหลักของกาซธรรมชาติ มาทําปฏิกิริยากับออกซิเจนเพื่อทําใหเกิดกาซสังเคราะหขึ้นคือกาซ ไฮโดรเจนและกาซคารบอนมอนอกไซด จากนัน้ ใช catalyst เพือ่ ทําให เกิดเปนแวกซเหลวดวยกระบวนการ Fischer-Tropsch กระบวนการสุ ด ท า ยคื อ ทํ า ให แวกซ เ หลวเกิ ด การแตกตั ว ออกเปนโมเลกุลที่เล็กลง (Hydrocracked) ผนวกกับใชเทคโนโลยี ที่พัฒนาเปนพิเศษของเชลลและ Novel Catalysis จนสามารถกลาย มาเปนน้าํ มันทีส่ ามารถนํามาใชในหลากหลายผลิตภัณฑ เชน น้าํ มัน เชื้อเพลิง น้ํามันหลอลื่น เคมี ซึ่ง GTL มีความบริสุทธิ์สูง ปราศจาก สารปนเปอนและกํามะถัน ซึ่งตางจากผลิตภัณฑที่มาจากน้ํามันดิบ เนื่องจากสารตั้งตนสวนใหญคือคารบอนและไฮโดรเจน เมื่อ กลายสภาพเปนน้าํ มันจึงมีสว นประกอบของไฮโดรคารบอนทีบ่ ริสทุ ธิ์ เกื อ บทั้ ง หมด กระบวนการผลิ ต GTL เป น สิ่ ง ที่ ยื น ยั น ได ว า สาร ไฮโดรคารบอนที่มาจากกาซธรรมชาติเปนสารที่อิ่มตัว (Saturated Paraffins) ดังนั้นจึงไมพบสารกํามะถัน แทบไมพบสารอะโรมาติก และไฮโดรคาร บ อนที่ ไ ม อิ่ ม ตั ว และเมื่ อ เปรี ย บเที ย บคุ ณ สมบั ติ กับผลิตภัณฑที่มาจากน้ํามันดิบทั่วไป2 ผลิตภัณฑที่เปน GTL ให ขอไดเปรียบดานคุณสมบัติการใชงานที่ดีกวา โดยเฉพาะน้ํามัน หมอแปลงไฟฟา
STAGE 1 GASIFICATION
STAGE 2 SYNTHESIS
SYNGAS
Methane (natural gas)
Oxygen (from air)
Hydrogen
“น้าํ มันหมอแปลงไฟฟา GTL ของ SHELL มีสว นประกอบ ที่นาสนใจ เนื่องจากไมมีกํามะถัน คาอะโรมาติกและสาร ปนเปอนที่ไมอิ่มตัวนอยมาก ดวยเหตุนี้จึงเพิ่มศักยภาพ การทํางานใหกับสารเพิ่มคุณภาพ ทนตอการเสื่อมสภาพ และทํางานภายใตอณ ุ หภูมกิ ารทํางานทีส่ งู มากหรือต่าํ มาก ไดดี ทําใหสามารถเพิม่ เสถียรภาพและประสิทธิภาพใหกบั หมอแปลงได” Dr.Peter Smith ผู จั ด การฝ า ยเทคโนโลยี Shell Global Solutions
ลดความเสี่ยงของการเกิดการกัดกรอนทองแดง
กํามะถันหรือซัลเฟอรชนิดกัดกรอนในน้ํามันหมอแปลงไฟฟา ทั่วไปเปนสาเหตุหนึ่งของความเสียหายของหมอแปลงไฟฟา ดังนั้น Shell Diala (น้ํามันพื้นฐาน GTL) ไมมีสวนผสมของกํามะถัน ซึ่งจะ ไมทําใหเกิดความเสี่ยงของการเกิดการกัดกรอนทองแดงจากน้ํามัน ซึ่งจะชวยเพิ่มเสถียรภาพของหมอแปลงไฟฟา Below detection limits, according to ISO 14596/ASTM D2622
2
STAGE 3 REFINING Hydrocracking catalysts
CATALYST
Carbon monoxide
Fischer–Tropsch distillates (Normal paraffines)
Water
~3,500 SHELL PATENTS
Source: Shell
รูปที่ 4 : ของเหลวพื้นฐานที่ใชในเทคโนโลยี GTL ของเชลลทําจากกาซสังเคราะหซึ่งเปนสวนผสมระหวางไฮโดรเจนและคารบอนมอนอกไซด
January-February 2017
เพราะวาเชลล ไดอาลา S4 ZX-I ไมมีสวนผสมจากซัลเฟอร จึงลดความเสี่ยงของการเกิด Corrosive Sulphur ซึ่งเปนสาเหตุของการกัดกรอนขดลวดทองแดง
ปจจุบันหมอแปลงไฟฟารุนใหมมีขนาดเล็กลงแตทํางานดวย แรงดันไฟฟาสูงมาก ความเครียดน้ํามันหมอแปลงก็สูงกวาที่เปนอยู ในอดีตมาก เชลล ไดอาลา GTL รวมตัวกับสารปองกันการเสือ่ มสภาพ ได อ ย า งดี จึ ง มี คุ ณ สมบั ติ ใ นการป อ งกั น การเสื่ อ มสภาพแม ใ น ทุกสภาวะ นอกจากนั้นยังมีความเปนกรดที่ต่ํากวาและเกิดตะกอน นอยกวาเมื่อใชเปนระยะเวลานาน รวมทั้งมีระดับสมรรถนะความ คงตัวตอการเกิดออกซิเดชัน่ ดีกวามาตรฐานทีก่ าํ หนดถึง 5 เทา ดวย เหตุนี้ เชลล ไดอาลา จึงชวยเพิ่มอายุการใชงานของฉนวนกระดาษ ใหยาวนานขึ้น
โมเดลอธิบายถึงการระบายความรอนที่ดีและเหนือกวา
การระบายความร อ นที่ ดี ใ นหม อ แปลงไฟฟ า วั ด ได จ ากค า ตัวแปรน้ํามัน 2 ประเภท คือ 1. สมบัติทางความรอน (ความจุ ความรอนจําเพาะ และการนําความรอน) และ 2. คุณสมบัตกิ ารไหล และความหนืด สมบัติความรอนของน้ํามันหมอแปลงเปนสัดสวน โดยตรงกั บ ค า ความหนาแน น ซึ่ ง จากการคํ า นวณและการวั ด คุณสมบัตพิ บวา ความจุความรอนจําเพาะและคาปริมาณความรอน ของเชลล ไดอาลา S4 ZX-I มีสูงกวาในน้ํามันหมอแปลงแบบดั้งเดิม ซึ่งหมายความวามีคุณสมบัติทางความรอนที่ดีกวานั่นเอง ชวย ระบายความรอนในหมอแปลงไฟฟา ซึง่ สามารถรับโหลดสูงขึน้ หรือ ลดการใชระบบระบายความรอนอื่น (Forced Cooling) หรือให ประโยชนตอ การออกแบบ เชน การลดขนาดของหมอแปลง เปนตน
ตัวแปรสํ าคัญอีกประเด็นหนึ่ง ที่มี อิทธิพลตอน้ํามันในการ ระบายความรอนในหมอแปลงก็คอื คุณสมบัตกิ ารไหลหรือความหนืด ในชวงของอุณหภูมิที่หมอแปลงทํางานปกติ ชวงของอุณหภูมิปกติ นั้นถูกกําหนดดวยมาตรฐานที่แตกตางกัน เชน IEC 60076 Part I ไดจํากัดอุณหภูมิที่ต่ํากวาสภาวะปกติสําหรับหมอแปลงไวที่ -25 องศาเซลเซียส ดังรูปที่ 5 แสดงการเปรียบเทียบของเหลว (ความหนืด) กับอุณหภูมิสําหรับน้ํามันหมอแปลงไฟฟาประเภท inhibited GTL (เชลล ไดอาลา S4 ZX-I) เมื่อเปรียบเทียบกับน้ํามันหมอแปลงแบบ ดัง้ เดิมหรือเชลล ไดอาลา ประเภท inhibited (เชลล ไดอาลา S3 ZX-I) น้ํามันหมอแปลงสวนใหญเมื่อมีอุณหภูมิสูงขึ้น จะมีความ หนื ด ต่ํ า เพื่ อ ช ว ยทํ า ให ก ารระบายความร อ นได ดี แต ใ นขณะที่ มี อุณหภูมิต่ํา น้ํามันจะขนขึ้นอยางมีนัยสําคัญ ซึ่งจะลดอัตราการ ไหลเวียนและความสามารถในการระบายความรอน รูปที่ 5 เปนการ ทดสอบซึ่งพบวาน้ํามันหมอแปลงประเภท inhibit GTL มีความขน นอยกวาเมื่อมีอุณหภูมิต่ํากวาน้ํามันหมอแปลงแบบดั้งเดิม ซึ่งก็ พิสูจนใหเห็นวาน้ํามันหมอแปลงแบบ GTL ยังคงรักษาคุณสมบัติ การไหลเวียนและความเปนของเหลวไดดีกวาแมในสภาวะวิกฤติ 1,800
1,600
1,400
IEC 60296 -30ºC maximum viscosity limit
ปองกันการเส�อมสภาพ
1,200
1,000
800
600 Shell Diala S2 ZU-I gt
400
Shell Diala S2 ZU-I ngt Shell Diala S3 ZX-I
200
Shell Diala S4 ZX-I (GTL) 0 –30
–20
–10
Source: Shell
0
รูปที่ 5 : เปรียบเทียบคุณสมบัติการเปนของเหลว (ความหนืด, cSt) กับอุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) ของน้ํามันหมอแปลงแบบ Inhibited GTL (เชลล ไดอาลา S4 ZX-I) กับน้ํามันหมัอแปลงแบบดั้งเดิม Uninhibited (เชลล ไดอาลา S2 ZU-I ngt) และประเภท Inhibited (เชลล ไดอาลา S3 ZX-I) อานตอฉบับหนา January-February 2017
Shell Celebrates its 10th Year
as a Leader on the Challenging Global Lubricants Market, According to Kline
As a result of slow economic growth in some Asian economies, as well as in Europe, and expanding synthetics penetration and longer oil drain intervals on a global basis, the global finished lubricant demand is down by 1.4% in 2015, finds Kline’s recently published Global Lubricants: Market Analysis and Assessment report. Consumer automotive is the driving force in almost all of the key lubricants-consuming markets as new vehicle sales are forecast to remain strong. Rankings among the top three global players remain stable, with Shell celebrating its 10th consecutive year as the #1 supplier of finished lubricants. John Abbott, Shell Downstream Director, said, “In an environment where competition continues to be tough, this is a tremendous achievement for the Shell Lubricants business. Our success has been underpinned by our customer-focused approach, continuous product and service innovation, technology leadership, brand investment and a strong team. We have also consistently invested in upgrading and growing our world-class supply chain, to align with global demand patterns. Our future focus will continue to build on close customer and industry collaborations. These will deliver innovative and integrated product and service solutions to meet changing customer needs and opportunities that the energy transition brings.” George Morvey, Industry Manager, Energy at Kline, said, “Despite a generally flat market and growing competition from national oil companies, independents, and OEM genuine products, Shell has managed to defend its positions in all three market segments and retain its leading market share.” Kline analysis showed that Shell edged out ExxonMobil, its largest competitor, in 2006 via the acquisition of a 75% share in Beijing Tongyi Petroleum Chemical Company Ltd. and Xianyang Tongyi Petroleum Company Ltd., which together
produced and marketed China’s leading independent lubricant brand. Since then, Shell has accomplished many strategic moves to consolidate its dominance. The gap between the leading market of the United States and China has been shrinking. However, in 2015, this divide widens due to the contraction in China in the commercial automotive and industrial oils and fluids market segments, as well as the relative stability in the United States. Europe is third to Asia-Pacific and North America, continuing to be the largest market for high quality and high performance lubricants as measured by the penetration of synthetics and low viscosity engine oils. Despite that, European share in global lubricant demand has declined. Lubricant formulators face a future with reducing API Group I basestock supply, which will also affect the availability of heavy neutrals and brightstocks. Kline estimates that, even with limited new capacity additions, the brightstock market will experience a potential deficit of at least 6.0 KBD by 2025. An increasing Group II/II+, III/III+ supply will affect how products are formulated. Due to reduced Group I availability, increased Group II supply, a marketing push from Group II suppliers, and supply chain cost savings for blenders (lower tankage etc.), Group II has penetrated into a number of automotive formulations not needing Group II (non-API oils), as well as industrial products, such as hydraulic fluid, gear oil, and turbine oil. The demand for high performance, low viscosity PCMO continues to accelerate in both developed and developing countries, driven by Group II - III+ basestock availability, OEM technical demand, government and industry specs, consumer behavior, and improved maintenance practices.
About Kline Kline is a worldwide consulting and research firm dedicated to providing the kind of insight and knowledge that helps companies find a clear path to success. The firm has served the management consulting and market research needs of organizations in the agrochemicals, chemicals, materials, energy, life sciences, and consumer products industries for nearly 60 years. For more information, visit www.KlineGroup.com.
January-February 2017
Special Scoop
> กองบรรณาธิการ
หากกลาวถึง เทสโก โลตัส ทุกคนจะคิดถึงผูนําในวงการ คาปลีก เปนศูนยรวมของสินคาอุปโภคบริโภคที่มีสาขากระจายอยู ทั่วประเทศ ประมาณ 1,800 สาขา ในแตละปจึงมีคาใชจายดาน พลังงานไฟฟาจํานวนมาก ดังนั้น เทสโก โลตัส จึงริเริ่มโครงการ ประหยัดพลังงานเพื่ออนุรักษสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนขึ้น โดยใน พ.ศ. 2547 ไดเริ่มโครงการ “กรีนสโตร” แหงแรกที่สาขาพระราม 1 โดยนําพลังงานทดแทนมาใช เชน พลังงานแสงอาทิตยที่ไดจาก แผงโซลารเซลลทตี่ ดิ ตัง้ บนหลังคา ตอมา พ.ศ. 2551 จึงเปดกรีนสโตร แหงที่ 2 สาขาศาลายา จังหวัดนครปฐม โดยนําพลังงานลมมาใช รวมถึงการรีไซเคิลในรูปของไบโอแกซ และไบโอดีเซลมาใชอยาง คุมคา ป พ.ศ. 2554 เปด “สโตรปลอดคารบอนฯ” สาขาบางพระ จังหวัดชลบุรี ซึ่งถือเปนแหงแรกของประเทศไทยและภูมิภาคเอเชีย ที่ใชเทคโนโลยีลาสุดในการลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนฯ ที่ เกิดจากการใชไฟฟา และชดเชยปริมาณกาซคารบอนฯ ที่เหลือดวย พลังงานทดแทนที่ไดจากแหลงผลิตภายในสาขา จนมีคาการปลอย กาซคารบอนฯ เทียบเทากับศูนย
เทสโก โลตัส
กับการอนุรักษสิ่งแวดลอม
อยางยั่งยืน
เกษมสุข บุญเจริญ
January-February 2017
p.51-53_scoop.indd 51
1/26/17 5:12 PM
ป พ.ศ. 2558 เทสโก โลตัส เอ็กซเพรส สาขาถนนนวมินทร กรุงเทพฯ ไดลงทุนปรับเปลี่ยนระบบจนไดการรับรองจากองคการ บริ ห ารจั ด การก า ซเรื อ นกระจก (องค ก ารมหาชน) ว า เป น สโตร “คารบอนนูทรัล” หรือเครื่องหมายรับรองการชดเชยคารบอน เปนศูนย ในชวงปลาย พ.ศ. 2559 เทสโก โลตัส ไดประกาศถึงความ สํ า เร็ จ ในการติ ด ตั้ ง แผงพลั ง งานแสงอาทิ ต ย บ นหลั ง คาร า นค า และศูนยกระจายสินคาทั่วประเทศรวม 13 แหง คาดประหยัดไฟได 56 ลานบาทตอป ลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ตอกย้ําเจตนารมณการอนุรักษสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนขององคกร ที่ตั้งเปาลด CO2 ใหได 50 เปอรเซ็นต ใน ค.ศ. 2020
ป ค.ศ. 2020 ตองลดปริมาณ CO2 ให ได 50 เปอรเซ็นต
เกษมสุ ข บุ ญ เจริ ญ รองประธานกรรมการฝ า ยบริ ห าร อสังหาริมทรัพยและพลังงาน เทสโก โลตัส กลาววา เทสโก โลตัส มีความมุงมั่นเปนผูนําธุรกิจคาปลีก ทีด่ าํ เนินธุรกิจเปนมิตรตอสิง่ แวดลอมอยางชัดเจน โดยตั้ ง เป า ลดปริ ม าณคาร บ อนไดออกไซด 50 เปอรเซ็นต ในป ค.ศ. 2020 “กาวตอไปของเทสโก โลตัส ในการเปน ผูน าํ คาปลีกสีเขียว คือการติดตัง้ แผงพลังงาน แสงอาทิตยหรือโซลารเซลล ชวยผลิต
กระแสไฟฟาสําหรับใชภายในสาขาและศูนยกระจายสินคา และลด ปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ป พ.ศ. 2559 มีการลงทุน ประมาณ 450 ลานบาท เพื่อติดตั้งแผนโซลารบนหลังคารานคา ทัง้ หมด 8 สาขา และศูนยกระจายสินคาทัง้ หมด 5 สาขา มีกาํ ลังผลิต กระแสไฟฟาประมาณ 15 ลานกิโลวัตตชั่วโมง หรือเทียบเทาการใช ไฟฟาสําหรับกวา 30,000 ครัวเรือน แผนโซลารมีพื้นที่รวมทั้งหมด กวา 65,000 ตารางเมตร หรือเทียบเทากับสระวายน้ําโอลิมปก 52 สระ สามารถประหยัดไฟไดมากถึง 56 ลานบาทตอป และลด การปลอยคารบอนไดออกไซดได 7,925 ตันตอป” สาขาที่ไดรับการติดตั้งแผงพลังงานแสงอาทิตยประกอบดวย สาขาบานบึง สาขาอุดรธานี 1 สาขาอุดรธานี 2 สาขานาดี สาขา ขอนแกน 2 สาขาปากชอง สาขาอรัญประเทศ สาขาปราจีนบุรี สาขาสระบุรี และศูนยกระจายสินคา 5 แหงคือ วังนอย สามโคก บางบัวทอง ลําลูกกา และขอนแกน
เปาหมายป 2560 คือ ติดตั้ง 35 สาขาทั่วประเทศ
กระแสไฟฟาที่ผลิตได สามารถชวยประหยัดพลังงานใหแก แตละสาขาและศูนยกระจายสินคาที่ติดตั้งโดยเฉลี่ย 20% กระแส ไฟฟาที่ผลิตไดจะถูกนํามาใชเพื่อใหพลังงานในทุกสวน ไมวาจะเปน แสงสวาง เครื่องปรับอากาศ เครื่องทําความเย็น “เทสโก โลตัส มีศักยภาพในการติดตั้งหลังคาโซลารเพิ่มขึ้น อีกมากในอนาคต โดยทั้ง 1,800 สาขา และศูนยกระจายสินคา ทั้ง 6 แหง มีพื้นที่หลังคารวมกันถึง 1 ลานตารางเมตร หากติดตั้ง หลั ง คาโซลาร เ ต็ ม พื้ น ที่ จ ะสามารถมี กํ า ลั ง ผลิ ต ไฟฟ า ได ถึ ง 150 เมกะวัตต แผนการสําหรับ พ.ศ. 2560 คือจะติดตั้งหลังคาโซลาร เพิ่มเติม โดยตั้งเปาหมายกําลังการผลิตไวที่ 20 เมกะวัตต หรือ ประมาณ 35 สาขาทั่วประเทศ” เกษมสุข กลาวเพิ่มเติม
January-February 2017
p.51-53_scoop.indd 52
1/26/17 5:12 PM
โครงการเพื่ออนุรักษสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
“กรีนสโตร” ของเทสโก โลตัส เปนอาคารที่ไดรับการออกแบบ ตั้ ง แต พื้ น จรดหลั ง คาให ส ามารถประหยั ด พลั ง งานและเป น มิ ต รกั บ สิ่งแวดลอม บนหลังคาจะติดตั้งแผงพลังงานแสงอาทิตย มีการควบคุม ความเร็วการหมุนของพัดลม มีระบบบําบัดน้าํ เสียทีส่ ามารถนํากลับไปใชใหม ในหองน้ํา ใชหนาตางกระจกเคลือบแบบพิเศษที่สามารถกันไอรอนจาก ภายนอก รับแสงสวางจากภายนอกได ดวยระบบนี้สามารถประหยัดไฟที่ใชกับ เครื่องปรับอากาศและไฟฟาเพื่อใหแสงสวางได ซึ่งเทสโก โลตัส สาขาพระราม 1 จัดเปนกรีนไฮเปอรมารทสาขาแรกของโลกที่กลุมเทสโกไดเริ่มตนในป พ.ศ. 2547 เมื่อป พ.ศ. 2554 เทสโก โลตัส ไดประกาศวา เทสโก โลตัส สาขาบางพระ จังหวัดชลบุรี เปน “สโตรปลอดคารบอนฯ” แหงแรกของประเทศไทยและภูมิภาคเอเชีย โดยใชเทคโนโลยี อันทันสมัยจนมีคาการปลอยกาซคารบอนฯ เทียบเทากับศูนย สโตรปลอดคารบอน หรือ Zero Carbon จะไมมกี ารปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกมา จากขัน้ ตอนการทํางานของสโตร มีการนําองคความรูที่สะสมมาผสมผสานกับนวัตกรรมดานการ อนุรกั ษสงิ่ แวดลอมทีห่ ลากหลาย เชน ระบบแสงสวาง เปลีย่ นมาใชหลอด LED ทีใ่ ชปริมาณไฟฟา ต่ํา ประหยัดไฟมากกวาเดิม และใหความสวางเพิ่มขึ้น รวมไปถึงระบบทําความเย็นที่ใชสาร ไฮโดรคารบอน เปนตน ตัวอาคารไดออกแบบเพื่อใหพื้นที่มีการรับแสงจากธรรมชาติมาใชไดมากที่สุด ผนังดิน คลายรอน ชวยปองกันความรอนจากภายนอกสูภายใน พื้นคอนกรีตมีรูพรุนที่ชวยลดความรอน เขาสูตัวอาคาร มีกังหันลมและฟารมโซลารเซลลในการผลิตพลังงานไฟฟาเพื่อปอนสูตัวสโตร สรางบอกักเก็บน้ําฝนเพื่อใชในการลางรถและการกดชักโครก สวนที่เทสโก โลตัส เอ็กเพรส สาขาถนนนวมินทร ที่ไดรับการรับรองจากองคการบริหาร จัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) วาเปนสโตร “คารบอนนูทรัล” หรือเครือ่ งหมายรับรอง การชดเชยคารบอนเปนศูนยนั้น กอนจะไดรับการรับรองก็ไดดําเนินการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ระบบตางๆ ในรานมากมาย ทัง้ การเปลีย่ นเปนใชหลอด LED เปลีย่ นผนังบางสวนเปนกระจกเพือ่ ใหแสงสวางภายนอกไดเขาราน เลือกใชเครื่องปรับอากาศเบอร 5 ประสิทธิภาพสูง ติดตั้งพัดลม เพดานเพือ่ ใหความเย็นกระจายทัว่ ถึงไดเร็วขึน้ ติดตัง้ ชุดควบคุมการทํางานเพือ่ ประหยัดพลังงาน ของตูแชเย็น ติดตั้งประตูสําหรับตูแชเย็นเพื่อไมใหความเย็นรั่วไหล เปลี่ยนสารทําความเย็นจาก R404A เปน R407F ซึ่งใหความเย็นมากกวา และลดการปลอยคารบอนไดออกไซดดวย
January-February 2017
p.51-53_scoop.indd 53
1/26/17 5:12 PM
Article > อาเซียน ไชน
อาเซี ย น ไชน (ASEAN SHINE)
เ ่อ ั นามาตร าน
การ ดสอบ ล ดานปร สิ ิภา าง ลังงานใ เ ปน น่งเดียว โครงการริเริ่มระดับภูมิภาคอาเซียนเพื่อพัฒนามาตรฐานการทดสอบและดานประสิทธิภาพ ทางพลังงานใหเปนหนึ่งเดียว กระตุนการเติบโตทางการคาและการประหยัดพลังงานอยางมหาศาล สู “ยุคทองของอาเซียน” โครงการอาเซียน ไชน (ASEAN SHINE) นับเปนโครงการ ระดั บ ภู มิ ภ าคอาเซี ย นเพื่ อ พั ฒ นาและกํ า หนดมาตรฐานด า น ประสิทธิภาพทางพลังงานใหเปนหนึง่ เดียว ไดรบั เงินทุนสนับสนุนจาก สหภาพยุโรปประมาณ 80% คิดเปนจํานวนเงินกวา 1,749,000 ยูโร หรื อ ประมาณ 72 ล า นบาท บริ ห ารจั ด การโดยสมาคมทองแดง นานาชาติ และมีการชวยเหลือทางเทคนิคจากโครงการสิ่งแวดลอม แหงสหประชาชาติ (UNEP) มีจุดมุงหมายเพื่อยกระดับมาตรฐาน การทดสอบและประสิทธิภาพของเครื่องใชไฟฟาใหเปนหนึ่งเดียว ซึ่งจะนําไปสูการประหยัดพลังงานไดกวา 21,500 ลานบาท และชวย กระตุ น การค า ให แ ก อ าเซี ย นได ม ากถึ ง ร อ ยละ 4.55 โดยเริ่ ม จาก เครื่ อ งปรั บ อากาศ และป จ จุ บั น มี ก ารพั ฒ นาไปถึ ง หลอดไฟ และ ความพยายามในการขยายไปยังเครื่องใชไฟฟาอื่นๆ ในอนาคต อาทิ ตูเย็น ทีวี หมอแปลงไฟฟา และมอเตอร เปนตน
เปดเออีซี…เปดเสรีการคาภายในอาเซียน
โครงการอาเซียน ไชน เปนกรอบยุทธศาสตรท่ีมีลักษณะเปน องครวม ริเริ่มขึ้นเพื่อผลประโยชนของสวนรวม คือภูมิภาคอาเซียน หากประสบความสํ า เร็ จ จะทํ า ให เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงครั้ ง ใหญ ของตลาดสินคาอาเซียน สงเสริมประสิทธิภาพของเครื่องใชไฟฟา เปนการสรางมาตรฐานระดับสูงแกภูมิภาคที่มีอัตราการเจริญเติบโต ของเศรษฐกิจอยางกาวกระโดด และเปนการอํานวยความสะดวก ทางการค า ระหว า งประเทศในภู มิ ภ าค สอดคล อ งและส ง เสริ ม การรวมตั ว เป น ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย นในป ที่ ผ า นมา (AEC) ปรั บ เปลี่ ย นอาเซี ย นให เข า สู ชุ ม ชนการค า เกิ ด การค า เสรี ใ นกลุ ม ประเทศสมาชิก มีการถายโอนความรูแ ละความเชีย่ วชาญไปสูป ระเทศ เพื่อนบาน โดยเฉพาะอยางยิ่งในภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับ ประสิทธิภาพทางพลังงาน
ผลสําเร็จ
ในชวง พ.ศ. 2556-2559 มีการดําเนินกิจกรรมภายใตโครงการ ASEAN SHINE และความสําเร็จที่ไดมีมากมาย อาทิเชน ● มี ก ารปรั บ ประสานมาตรฐานการทดสอบให ส อดคล อ งกั น ในอาเซียน ตามมาตรฐานสากล ISO 5151-2010 ● มี ก ารรั บ รองแผนในระดั บ ภู มิ ภ าคที่ เ น น กลยุ ท ธ ก าร ปรับประสานมาตรฐานประสิทธิภาพการใชพลังงานขั้นต่ํา (Minimum Energy Performance Standards) ใหเปนหนึง่ เดียวและสอดคลองกัน ในอาเซียน ในที่ประชุมรัฐมนตรีดานพลังงานของอาเซียนครั้งที่ 33
January-February 2017
p.54-55_article.indd 54
1/26/17 5:13 PM
กระทรวงที่รับผิดชอบดานพลังงานของประเทศในอาเซียนปจจุบันกําลังรางแผนระดับ ประเทศขึ้น เพื่อใหสอดคลองกับวัตถุประสงคและเปาหมายของแผนในระดับภูมิภาค ● มี ก ารฝ ก อบรมเพิ่ ม พู น ความรู ใ ห แ ก ผู ผ ลิ ต เครื่ อ งปรั บ อากาศและห อ งทดสอบต า งๆ ในภูมิภาคอาเซียน ● มี ก ารพั ฒ นาโปรแกรมช ว ยเลื อ กซื้ อ เครื่ อ งปรั บ อากาศ โดยชี้ ใ ห ผู บ ริ โ ภคเห็ น ถึ ง ความ คุมคาทางเศรษฐศาสตร และตัดสินใจเลือกเครื่องปรับอากาศประสิทธิภาพสูงในที่สุด ●
จากผูผลิต มาสูผูบริโภค
นอกจากการปรับมาตรฐานและประสิทธิภาพพลังงานอาเซียนใหสอดคลองกัน รวมถึง การพัฒนาศักยภาพของหองทดสอบและผูผลิตแลว การสงเสริมใหผูบริโภคมีจิตสํานึกและมี ความรูดานความคุมคาทางเศรษฐศาสตร ก็นับเปนสิ่งจําเปนและสําคัญอีกดานหนึ่ง โครงการ ไดออกแบบสรางแอพพลิเคชันชื่อวา “เอซี ซีเล็ก” (AC Select) ขึ้น เพื่อใหผูบริโภคที่ตองการซื้อ เครื่องปรับอากาศไดคํานวณถึงความคุมคาและตัดสินใจซื้อเครื่องปรับอากาศที่มีประสิทธิภาพสูง ทีม่ รี าคาแพงขึน้ แตใหผลความคุม คาและประหยัดเงินในระยะยาวไดอยางถูกตอง แอพพลิเคชัน นี้สามารถดาวนโหลดไปใชงานไดแลวตั้งแตวันนี้เปนตนไป “โครงการอาเซียน ไชน นับเปนการกาวไปสูยุคทองของอาเซียนในการเปนผูนํา ทางดานพลังงานและความมั่นคงทางสิ่งแวดลอม ในยุคที่พลวัตทางเศรษฐกิจเคลื่อน มาสูทวีปเอเชีย เปนหนาที่ของทุกฝาย ไมวาจะเปนผูใหทุน ผูบริหารโครงการ รัฐบาล ผูผลิต รวมไปถึงภาคประชาชนซึ่งเปนผูบริโภค ใหความรวมมือในสวนของตนเพื่อ ความสําเร็จในระดับประเทศ ซึง่ จะนําไปสูค วามสําเร็จของภูมภิ าคอาเซียนโดยรวม” กิตติศักดิ์ สุขวิวัธน ผูจัดการโครงการ กลาวทิ้งทาย
กิตติศักดิ์ สุขวิวัธน ผูจัดการโครงการ
เกี่ยวกับ ASEAN SHINE (www.aseanshine.org) มาตรฐาน ASEAN SHINE ไดรับเงินทุนสนับสนุนจากโครงการหลัก EU SWITCH-Asia มีจุดมุงหมายเพื่อเพิ่มสวนแบง ทางการตลาดของเครื่องปรับอากาศประสิทธิภาพสูงในอาเซียน ผานวิธีปรับมาตรฐานการทดสอบ และกําหนดนโยบาย ประสิทธิภาพการใชพลังงานขัน้ ต่าํ (Minimum Energy Performance Standards) ใหเปนหนึง่ เดียวในระดับภูมภิ าค และการเปลีย่ น ทัศนคติของผูบริโภคในการเลือกซื้อเครื่องปรับอากาศที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น January-February 2017
p.54-55_article.indd 55
1/26/17 5:13 PM
Scoop
> กองบรรณาธิการ
บี.กร�ม เพาเวอร
เปดโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ใน 4 จังหวัด บริษทั บี.กริม เพาเวอร จํากัด (มหาชน) เดินหนาเพิม่ กําลังผลิตไฟฟาในระบบ โดยใชพลังงานหมุนเวียน เสริมความแข็งแกรงทางธุรกิจและหนุนนโยบายพลังงาน หมุนเวียนของประเทศ เพือ่ ลดการพึง่ พา “พลังงานนําเขา” และลดคารบอนไดออกไซด โดยเปดตัวโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยใน 4 จังหวัด ขนาดกําลังผลิตรวม 114.2 เมกะวัตต พรอมย้ําชัด “โรงไฟฟาตองอยูคูกับชุมชนและสิ่งแวดลอม” พรอมกันนี้ ไดวางแผนเพิ่มการผลิตไฟฟาสําหรับโครงการในอนาคตใหไดตามเปาใหได ปรียนาถ สุนทรวาทะ ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท บี.กริม เพาเวอร จํากัด (มหาชน) กลาววา ในชวง 2-3 ปที่ผานมาการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน ในประเทศไทย อันไดแก พลังงานชีวมวล พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม กาซชีวภาพ พลังงานขยะ และเทคโนโลยีอื่นๆ ไดเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว โดยขอมูล ณ เดือนมีนาคม 2559 นั้น มีกําลังการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนสูงถึง 4 กิกะวัตต และเปน พลังงานไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยประมาณ 1.5 กิกะวัตต ซึ่งคาดวาในปลาย พ.ศ. 2559 ปริมาณจะเพิ่มเปน 3 กิกะวัตต สงผลใหสัดสวนของไฟฟาพลังงาน แสงอาทิตยมีสัดสวนมากกวารอยละ 5 ของกําลังผลิตไฟฟารวมของประเทศ บมจ. บี . กริ ม เพาเวอร เห็ น ความสํ า คั ญ ต อ การผลิ ต ไฟฟ า จากพลั ง งาน หมุนเวียน โดยไดลงทุนในโครงการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยในพื้นที่ที่มี ศักยภาพเชิงพลังงานแสงอาทิตยสูง ไดแก ในเขตอําเภอบางเลน และอําเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม และอําเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รวมกําลังผลิตรวม 59.7 เมกะวัตต (ตามสัดสวนการถือครองหุน) นอกจากนี้ยังมีโรงไฟฟาอีก 4 แหง ในพื้นที่จังหวัดนครปฐม และอีก 2 จังหวัด ไดแก จังหวัดสระบุรี และสระแกว มีกําลัง ผลิตรวมอยูที่ 54.5 เมกะวัตต รวมกําลังผลิตทั้งสิ้น 114.2 เมกะวัตต
ปรียนาถ สุนทรวาทะ
January-February 2017
p.56-57_scoop.indd 56
1/26/17 5:13 PM
ปรี ย นาถ กล า วต อ ไปว า “การผลิ ต ไฟฟ า จากพลั ง งาน แสงอาทิตย ถือเปนอีกโครงการหนึ่งที่สําคัญของบริษัทฯ ซึ่งไมเพียง แตจะสรางศักยภาพในเชิงธุรกิจใหแก บมจ. บี.กริม เพาเวอร เทานัน้ หากแต ยั ง เป น โครงการที่ ช ว ยสนั บ สนุ น ให ก ารพั ฒ นาพลั ง งาน หมุ น เวี ย นในประเทศไทยเดิ น หน า ไปตามเป า หมายในการลด การพึ่งพาการนําเขาพลังงานจากตางประเทศ และลดการปลอยกาซ คาร บ อนไดออกไซด หรื อ CO 2 อั น เป น สาเหตุ สํ า คั ญ ของภาวะ โลกรอน รวมทั้งเสริมสรางความมั่นคงในระบบไฟฟาใหแกประเทศ และผูประกอบการอุตสาหกรรมในพื้นที่นั้นๆ ดวย” กระแสไฟฟาที่ผลิตได บริษัทฯ ไดจําหนายใหแกการไฟฟา สวนภูมภิ าค (กฟภ.) ผานโครงขายเชือ่ มโยงการจายไฟฟาผานสายสง ไฟฟา 22 กิโลโวลต หรือ 115 กิโลโวลต ซึ่งเชื่อมตอกับสถานียอย ของ กฟภ. ซึ่งบริษัทฯ ไดลงทุนสรางสายสงไฟฟาเหลานี้เองทั้งหมด อยางไรก็ตาม แมวาบริษัทฯ จะเปนผูสรางสายสงเหลานี้เอง แตกลุม บริษทั ฯ เปนเจาของสายสงไฟฟาเหลานีเ้ ฉพาะบริเวณภายในโครงการ โรงไฟฟาของกลุมบริษัทฯ เทานั้น ขณะที่ กฟภ. จะเปนเจาของและ เปนผูบ าํ รุงรักษาสายสงไฟฟาระหวางสถานีไฟฟายอยทีต่ งั้ อยูบ ริเวณ โครงการโรงไฟฟาของกลุมบริษัทฯ ไปยังจุดที่เชื่อมตอกับ กฟภ. บมจ. บี.กริม เพาเวอร ไดใชเงินลงทุนในโครงการโรงไฟฟา พลังงานแสงอาทิตยจํานวน 8,000 ลานบาท ตั้งอยูบนพื้นที่ขนาด (รวมทั้งหมด) 1,670 ไร ใน 4 จังหวัด โดยมีกําลังการผลิตจํานวน 114.2 เมกะวัตต และจําหนายเขาระบบ กฟภ. เปนสัดสวน 100% และมีรายไดจากการจําหนายไฟฟาในชวงครึ่งปแรก 500 ลานบาท โดยการดําเนินงานของโครงการนี้นั้น ถือเปนการประกอบธุรกิจ ผลิตไฟฟาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและชุมชนอยางแทจริง กลาวคือ ตั้งแตแหลงที่มาของพลังงาน กระบวนการผลิต และการดําเนินกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมรวมกับชุมชน โดยบริษัทฯ ไดเลือกใชเทคโนโลยีอินเวอรเตอรที่ใชในการผลิตไฟฟาจากยุโรป ซึ่งไดรับการยอมรับถึงคุณภาพไฟฟาและกระบวนการผลิตไฟฟา ที่ไดมาตรฐานในระดับสากล โดยชุดแผงพลังงานแสงอาทิตยจะถูก รวบรวมและติดตั้งใหเปนกลุมเพื่อสรางกระแสไฟฟาใหไดปริมาณ ตามตองการ แลวสงออกไปรวมกันเพื่อใหมีปริมาณกระแสไฟฟา สูงขึ้น กอนที่จะสงไปยังเครื่องแปลงกระแสไฟฟา เพื่อเปลี่ยนไฟฟา จากกระแสตรงใหเปนไฟฟากระแสสลับ ใหสามารถเชื่อมตอกับ ระบบไฟฟาทั่วไป ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดมีการเพิ่มแรงดันไฟฟาโดยใช หมอแปลงไฟฟาชนิดเพิ่มแรงดันเพื่อใหไฟฟาที่ไดสามารถตอกับ ระบบสายสงของ กฟภ. ดวย นอกจากกระบวนการผลิตไฟฟาฯ ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม แลว บริษทั ฯ ยังไดเห็นความสําคัญของการสงเสริมกิจกรรมกับชุมชน และสั ง คมโดยรอบ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง การส ง เสริ ม ให เ กิ ด ความ ตระหนักรูเกี่ยวกับการดูแลรักษาสิ่งแวดลอม โดยบริษัทฯ ไดดําเนิน โครงการที่เกี่ยวของมากกวา 10 โครงการ และไดจัดสรรงบประมาณ ในแตละปเปนจํานวนมากกวา 10 ลานบาท เพื่อเปนการสงเสริม กิจกรรมรวมกันระหวางชุมชนกับโรงไฟฟา อันจะเปนรากฐานสําคัญ ที่นําไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืน
“เรามองวา สิ่งสําคัญในการทําธุรกิจโรงไฟฟา คือ ทําอยางไร ที่จะสรางสรรคสิ่งที่ดีใหเกิดขึ้น ทั้งในดานความมั่นคงทางพลังงาน ควบคูไปกับการรักษาสิ่งแวดลอมและดูแลชุมชนโดยรอบ ตองบอกวา นับตั้งแตเริ่มทําโครงการนี้ สิ่งที่เราภาคภูมิใจคือ เราไดรับการตอนรับ ที่ดีจากสังคมและชุมชนโดยรอบ เรามีกระบวนการอยูรวมกันอยาง สันติ” อนึ่ง บริษัท บี.กริม เพาเวอร จํากัด (มหาชน) ไดประกอบธุรกิจ โครงการโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยเปนจํานวน 15 โครงการ มีกาํ ลัง การผลิตไฟฟาติดตั้ง 114.2 เมกะวัตต ครอบคลุมพื้นที่ 4 จังหวัด คือ จังหวัดนครปฐม จังหวัดสระบุรี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ จังหวัดสระแกว โดยเปนการลงทุนผานบริษัทยอยและบริษัทรวมคา 4 บริษัท คือ บริษัท บี.กริม ยันฮี โซลาร เพาเวอร จํากัด (BGYSP) บริษทั โซลารวา จํากัด (Solarwa) บริษทั ทีพเี อส คอมเมอรเชียล จํากัด (TPS) และบริษัท บี.กริม โซลาร เพาเวอร (สระแกว) จํากัด (BGPSK) ปรียนาถ กลาวเพิ่มเติมวา ขณะนี้บริษัทฯ ไดมีการเซ็นสัญญา แล ว รวมกั บ กํ า ลั ง ผลิ ต ที่ มี อ ยู แ ล ว ทั้ ง ในและต า งประเทศ จํ า นวน ประมาณ 2,383 เมกะวัตต มัน่ ใจวาการพัฒนาและการกอสรางเปนไป ตามเปาหมาย สําหรับแผนงานในอนาคตที่คาดวาจะทําใหบริษัทฯ ดําเนินการ ไดตามเปาจํานวน 5,000 เมกะวัตตนนั้ บริษทั ไดศกึ ษาความเหมาะสม และพิจารณาการลงทุนเพิ่มเติมในประเทศที่มีศักยภาพรอบบานเรา อาทิ ลาว อินโดนีเซีย เวียดนาม กัมพูชา และฟลิปปนส เปนตน คาดวาในอนาคตจะมีการเพิ่มสัดสวนการผลิตไฟฟาโดยใชพลังงาน หมุนเวียนจาก 10% เปน 25-30% ทั้งพลังงานแสงอาทิตย พลังงาน ลม และพลังงานน้าํ นอกนัน้ จะเปนการผลิตโดยใชเชือ้ เพลิงผสมผสาน แบบคอมไบนไซเคิล ซึง่ ทําใหมคี วามเปนไปไดทจี่ ะทําใหการดําเนินงาน เปนไปตามแผนงานที่ตั้งไว
January-February 2017
p.56-57_scoop.indd 57
1/26/17 5:13 PM
Scoop
> กองบรรณาธิการ
พลังงานนิวเคลียร
สามารถชวยแกปญหาภูมิอากาศ พลังงาน ไดหร�อไม วันที่ 12 ธันวาคม 2015 ขอตกลงปารีสไดรับการลงนามในการ ประชุมภาคี COP21 โดยมีเปาหมายเพือ่ ยับยัง้ การเพิม่ ขึน้ ของอุณหภูมิ เฉลี่ยโลกภายใน ค.ศ. 2100 ไมใหเกิน 2 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับ ยุคกอนอุตสาหกรรม ประเทศไทยใหคํามั่นตอที่ประชุมความเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ณ กรุงปารีส วาจะลดการปลอยกาซเรือนกระจกใหได รอยละ 20-25 ภายใน ค.ศ. 2030 โดยขอตกลงปารีสจะมีผลบังคับใช ใน ค.ศ. 2020 โดยกําหนดใหทุกประเทศตองปองกันไมใหอุณหภูมิ เฉลี่ยของโลกสูงขึ้นเกิน 2 องศาเซลเซียส ทั้งนี้ นักวิทยาศาสตรระบุวาหากอุณหภูมิโลกที่เพิ่มสูงขึ้น 1.5 องศาเซลเซียส จะทําใหมีสิ่งมีชีวิตสายพันธุตางๆ ตายไปรอยละ 18 ของทั้งหมด และหากอุณหภูมิสูงขึ้นเกิน 2 องศาเซลเซียส ระดับ น้ําทะเลก็จะเพิ่มสูงขึ้น 7 เมตร และทําใหเกิดภัยพิบัติอื่นๆ ตามมา ผูเ ชีย่ วชาญจึงใหความเห็นวาหากประเทศไทยตองการทีจ่ ะรักษาคํามัน่ ที่ใหไวในที่ประชุมกรุงปารีส ก็ควรทบทวนแผนการใชพลังงานใน ประเทศ
พลังงาน เปนปจจัยพืน้ ฐานในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การพั ฒ นาทางสั ง คม และสวั ส ดิ ก ารต า งๆ โดยรายงานภาพร า ง นโยบายใหม (New Policies Scenario) ของทบวงการพลังงานระหวาง ประเทศ (IEA) ซึ่งเปนองคการอิสระภายใตกรอบองคการเพื่อความ รวมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) คาดการณวาความ ตองการพลังงานโลก ซึ่งสวนมากขับเคลื่อนโดยประเทศที่มีเศรษฐกิจ ขนาดใหญและเติบโตเร็ว หรือเศรษฐกิจเกิดใหม จะเพิ่มขึ้น เทียบได เกือบเทาน้ํามัน 18 กิกะตัน (Gtoe) ภายใน ค.ศ. 2040 ในทาง ตรงกันขาม การจะบรรลุเปาหมายจํากัดการเพิ่มของอุณหภูมิให ไมเกิน 2 องศาเซลเซียสนัน้ ตองลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ใหไดรอยละ 41 ของการใชพลังงานทั้งหมด และลดการปลอยแกส จากการผลิ ต ไฟฟ า ลงให ไ ด ร อ ยละ 70 ตามข อ มู ล ของทบวงการ พลังงานปรมาณูระหวางประเทศ (IAEA) การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ การเปลี่ยนแปลงของ สวนผสมพลังงานโลกจากการแสวงหาสมดุลทีล่ งตัว และการบูรณาการ ประเภทของพลังงานสะอาด พลังงานนิวเคลียร กระบวนการดักจับ และกักเก็บคารบอน โครงขายไฟฟาอัจฉริยะ และเทคโนโลยีการขนสง ใหม ที่ มี ใช อ ยู สามารถลดทอนการปล อ ยแก ส เรื อ นกระจกลงได ขณะเดี ย วกั น ก็ ต อ งส ง เสริ ม ความตระหนั ก รู ด า นความมั่ น คงทาง พลังงาน ตลอดจนดําเนินการเพือ่ ประโยชนดา นสิง่ แวดลอมและสังคม ใหกวางขวางยิ่งขึ้น
January-February 2017
p.58-59_scoop.indd 58
1/26/17 5:15 PM
ดังนั้น หนึ่งในอุปสรรคสําคัญในชวงทศวรรษขางหนาก็คือ การ เสริมสรางการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจ โดยการจัดสรรพลังงาน ที่ปลอดภัย นาเชื่อถือ และราคาไมแพง ขณะที่ตองสามารถลดการ ปลอยกาซเรือนกระจกลงไดดวย แลวจึงมีคําถามตามมาวา พลังงาน นิวเคลียรเปนหนึง่ ในแหลงพลังงานและเทคโนโลยีทมี่ ใี ชอยูใ นปจจุบนั ทีส่ ามารถชวยบรรเทาปญหาภูมอิ ากาศ-พลังงานดังกลาวไดหรือไม... แอกนีตา ไรซิง ผูอํานวยการใหญสมาคมนิวเคลียรโลก ระบุ ในชวงแถลงขาวระหวางการประชุมกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติ วาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภาคี COP22 ในเมือง มารราเกช ระหวางวันที่ 7-18 พฤศจิกายน 2016 ที่ผานมาวา “ไฟฟาเปนสวนสําคัญของโลกสมัยใหม การเขาถึงแหลงผลิต ไฟฟาที่เชื่อถือไดและราคาไมแพงไดทั่วทั้งโลกอยางเต็มที่ถือเปน สิ่งจําเปน การจะบรรลุเปาหมายดานการเปลี่ยนแปลงของสภาพ ภูมอิ ากาศตามขอตกลงปารีสจําเปนตองใชไฟฟาทีม่ าจากกระบวนการ ผลิตที่คารบอนต่ํา ซึ่งนิวเคลียรเปนพลังงานที่ไดรับการพิสูจนแลววา เปนแหลงผลิตไฟฟาคารบอนต่ํา ซึ่งจะชวยสงเสริมพันธกิจลดการ ปลอยกาซเรือนกระจกลง โดยที่ยังคงมีการพัฒนาอยางยั่งยืน” ในงานเดียวกัน คิรลิ ล โคมารอฟ รองซีอโี อฝายพัฒนาบรรษัท และธุรกิจระหวางประเทศของรอสอะตอม บริษัทพลังงานนิวเคลียร แหงชาติของรัสเซีย กลาววา การจะผลิตไฟฟาไดตามความตองการ และแกปญหาสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไปดวยนั้น จําเปนตอง พิ จ ารณาแหล ง พลั ง งานทั้ ง โลกแล ว ตั้ ง เป า การลดทอนการปล อ ย กาซเรือนกระจก “เราเชื่อวาในสถานการณเชนนี้ ทางออกที่ดีที่สุดคือการขยาย สัดสวนการผลิตไฟฟาดวยพลังงานนิวเคลียร” เขาย้ําอีกวา “เรามั่นใจ วาอนาคตของพลังงานจะขึ้นกับการผสมผสานอยางสมดุลระหวาง เทคโนโลยีคารบอนต่ําตางๆ ซึ่งชวยใหมีราคาไมแพง ผลิตไดอยาง เพียงพอตอความตองการ และสงผลกระทบตอสิง่ แวดลอมนอยทีส่ ดุ ” โรงไฟฟานิวเคลียรมกี ารปลอยกาซเรือนกระจกในปริมาณนอย รวมทั้งยังใชรวมกับพลังงานสะอาดอื่นๆ ไดอยางลงตัว ถือเปนหนึ่ง ในวิธีผลิตพลังงานที่ปลอยกาซเรือนกระจกนอยเมื่อพิจารณาจาก ปริมาณการปลอยแกสทั้งกระบวนการ จากขอไดเปรียบของโรงไฟฟา นิวเคลียรในเชิงการปลอยคารบอนต่ํา ในเชิงการแขงขันและความ น า เชื่ อ ถื อ เมื่ อ เที ย บกั บ พลั ง งานอื่ น จึ ง เป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ที่ ทํ า ให หลายประเทศเริ่มหันมาใชพลังงานนิวเคลียรในชวงหลายทศวรรษ ขางหนา หรือขยายโครงการจากที่มีอยูเดิม
รายงานของสมาคมนิวเคลียรโลกระบุวา สมาชิกในแวดวง อุตสาหกรรมนิวเคลียรของโลกตางก็มีเปาหมายที่จะรวมผลิตไฟฟา จากนิวเคลียรใหได 1,000 กิกะวัตต ภายใน ค.ศ. 2050 เพื่อให นิวเคลียรมีสัดสวนรอยละ 25 ในการผลิตไฟฟาในโลก นิทรรศการเกีย่ วกับการพัฒนาแบบคารบอนต่าํ ทีจ่ ดั ขึน้ ระหวาง การประชุมภาคี COP22 โดยรัฐบาลรัสเซียนัน้ แสดงใหเห็นถึงบทบาท ของพลังงานนิวเคลียรในการบรรเทาการเปลี่ยนแปลงของสภาพ ภูมิอากาศ การแกไขพลังงานขาดแคลน และการลดการปลอยกาซ เรือนกระจก ขณะเดียวกับที่คงระดับการผลิตพลังงานในปริมาณมาก เพือ่ ตอบสนองความตองการของประชากรโลกทีเ่ พิม่ จํานวนขึน้ เรือ่ ยๆ และการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจ ในนิทรรศการนัน้ แสดงใหเห็นวาโรงไฟฟานิวเคลียรไมปลอยกาซ เรือนกระจกหรือมลพิษทางอากาศออกมาระหวางกระบวนการผลิต และมีการปลอยกาซออกมาไมมากตลอดระยะอายุการใชงานทัง้ หมด นอกจากนั้นยังชวยใหเกิดความมั่นคงทางพลังงานและการพัฒนา ดานอุตสาหกรรม โดยการสงมอบกระแสไฟฟาอยางมีเสถียรภาพ และคงที่ ในราคาที่คาดการณลวงหนาได คิ ริ ล ล โคมารอฟ กล า วเพิ่ ม เติ ม ว า “เราส ง เสริ ม การใช เทคโนโลยี VVER ในโรงไฟฟานิวเคลียรทั้งในรัสเซียและตางประเทศ ซึ่งไดรับการยอมรับ” จากคําพูดของเขา โรงไฟฟานิวเคลียร VVER (เตาปฏิกรณ แรงดันน้ําของรัสเซีย) สามารถยับยั้งการปลอยคารบอนไดออกไซด ไวไดราว 15 กิกะตัน ดาน แอกนีตา ไรซิง กลาววา “ฝรัง่ เศส สวีเดน สวิตเซอรแลนด และรั ฐ ออนตาริ โ อในแคนาดา สามารถผลิ ต ไฟฟ า จากพลั ง งาน คารบอนต่าํ ไดกวารอยละ 80 จากทัง้ หมดดวยการใชพลังงานนิวเคลียร รวมกับพลังงานสะอาดอืน่ ๆ ซึง่ เทากับวาประเทศเหลานีบ้ รรลุแนวทาง การผสมผสานพลั ง งานคาร บ อนต่ํ า ที่ ทั่ ว โลกเตรี ย มจะทํ า ภายใน ค.ศ.2050 ตามขอตกลงปารีสไดแลว” โคมารอฟ เนนย้ําวา “เรามั่นใจวาอนาคตของอุตสาหกรรม พลั ง งานขึ้ น อยู กั บ การสร า งดุ ล ระหว า งเทคโนโลยี ค าร บ อนต่ํ า ที่ หลากหลาย ที่จะทําใหราคาพลังงานไมแพง ปลอดภัย และไมกระทบ กับสิ่งแวดลอม” นอกจากนี้ โคมารอฟ ได เ ป ด เผยถึ ง โครงการล า สุ ด ของ รอสอะตอมในการผลิตไฟฟาจากพลังงานลมดวย การลงทุนทั้งหมด ของรอสอะตอมครั้งนี้มีมูลคากวา 1,000 ลานยูโร January-February 2017
p.58-59_scoop.indd 59
1/26/17 5:15 PM
Special Scoop > กองบรรณาธิการ
ร การวิ ย
รส
สุดย ด ท การ ด
ผศ. ดร.สุวิทย กิระวิทยา
ก
ว
ย ก ก
า
จากความก า วหน า อย า งรวดเร็ ว ของการสื่ อ สาร ทํ า ให “ความลั บ ” ที่ หลายๆ คนคิดวาเปนความลับนั้นอาจจะไมลับอีกตอไป โดยเฉพาะความลับของ องคกรขนาดใหญ หรือของรัฐบาลที่เปนเปาหมายของคนที่เฝาจะเจาะขอมูลลับ เหลานั้นอยู กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการ โทรคมนาคม เพือ่ ประโยชนสาธารณะ (กทปส.) ภายใตการกํากับดูแลของสํานักงาน กสทช. ไดใหทุนเพื่อสนับสนุนการวิจัยใน โครงการวิจัย “การสื่อสารปลอดภัย สูงสุดดวยรหัสลับควอนตัม : การถายทอดเทคโนโลยีและพัฒนาบุคลากร” โดยมี ผศ. ดร.สุวิทย กิระวิทยา อาจารยคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย นเรศวร จังหวัดพิษณุโลก เปนหัวหนาโครงการ
ผศ. ดร.สุวิทย กิระวิทยา เปนผูที่มีประสบการณการทํางาน ในตําแหนงนักวิทยาสตร และหัวหนากลุมวิจัย ในสถาบันวิจัยใน ประเทศเยอรมนี โดยทีห่ ลังจากจบปริญญาเอกก็ไดทนุ ไปศึกษาวิจยั ที่ประเทศเยอรมนี และไดทํางานตอที่เยอรมนี รวม 8 ป จากนั้นได กลับมาทํางานวิจัยตอที่ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยไดมสี ว นรวมในการ ดํ า เนิ น การปรั บ ปรุ ง ระบบของเครื่ อ งปลู ก ผลึ ก ด ว ยลํ า โมเลกุ ล ที่ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และไดทําวิจัย ตอยอดอีกหลายโครงการ ผศ. ดร.สุวิทย กลาววา “การสื่อสารเชิงควอนตัม เปน เทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารใหม ที่ กํ า ลั ง จะมาถึ ง โดยตั ว เทคโนโลยี จะรับประกันความปลอดภัยสูงสุด เนือ่ งจากผูใ ชสามารถรับรูไ ดทนั ที วามีการดักฟงหรือไม โดยวัดจากระดับความผิดพลาดจากการสง ข อ มู ล ผ า นช อ งทางควอนตั ม ซึ่ ง แตกต า งจากการสื่ อ สารทั่ ว ไป ในปจจุบันที่ใชคลื่นวิทยุ เชน โทรศัพทมือถือ อินเทอรเน็ต หรือการ ชําระเงินผานบัตรเครดิต ซึ่งเปนการสงสัญญาณในอากาศ หากมี เสาอากาศรั บ หรื อ มี เ ครื่ อ งถอดรหั ส ข อ มู ล ดั ง กล า วก็ จ ะไม เ ป น
ความลับอีกตอไป แตยงั โชคดีทกี่ ารทํางานในระบบดังกลาวจะมีการ เขารหัสอัตโนมัติ และปจจุบันยังไมมีเครื่องถอดรหัส ขอมูลจึงยังคง มีความปลอดภัยอยู” เทคโนโลยีการสื่อสารเชิงควอมตัมนั้น ยืนยันไดวามีความ ปลอดภัยจากการถูกถอดรหัสไดโดย ‘ควอนตัมคอมพิวเตอร’ ซึ่ง ก็คือ ‘คอมพิวเตอรในอนาคต’ ที่กําลังจะมาถึงนั่นเอง และเปนที่ คาดการณวา ระบบความปลอดภัยเชิงคอมพิวเตอรในปจจุบนั จะถูก ควอนตัมคอมพิวเตอรแฮกไดภายในไมกี่นาที เนื่องดวยแนวทาง การประมวลผลแบบใหมทมี่ ปี ระสิทธิภาพ และความนาอัศจรรยดว ย คุณสมบัติของควอนตัมที่สามารถนําขอมูลมาซอนทับกันได ฯลฯ ยกตั ว อย า ง สมมุ ติ ว า บั ญ ชี ธ นาคารของคุ ณ มี ก ารรั ก ษาความ ปลอดภัยดีมาก โดยถาใชคอมพิวเตอรทวั่ ไปในการแฮก ตองใชเวลา ถึ ง 1 พั น ป แต ห ากเรามี เ ครื่ อ งคํ า นวณที่ เร็ ว ขึ้ น 100 ล า นเท า ก็หมายความวา ระบบรักษาความปลอดภัยเดียวกันนี้จะถูกแฮกได ภายใน 5 นาที เปนตน จึงเปนเรื่องที่ประเทศไทยควรตระหนักถึง ความสําคัญ และเรงพัฒนาเพือ่ หาแนวทางปองกันและวิธกี ารรับมือ กับเหตุการณที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
January-February 2017
p.60-61_scoop.indd 60
1/26/17 5:15 PM
ผศ. ดร.สุวิทย กลาวตอวา เมื่อป พ.ศ. 2557 ประเทศอังกฤษไดประกาศทุมทุน วิจัย “การเขารหัสลับเชิงควอนตัม” ในระยะเวลา 5 ป เปนเงินถึง 270 ลานปอนด หรือประมาณ 1,400 ลานบาท และประเทศจีนไดประสบผลสําเร็จจากการสงดาวเทียม เพื่อการสื่อสารเชิงควอนตัม หรือมีชื่อยอวา “ควอนตัมอินเทอรเน็ต” เปนรายแรก ของโลกและกลายเปนผูน าํ ดานเทคโนโลยีไปแลว นอกจากนี้ บริษทั กูเกิล ยังไดออกตัว ประกาศสรางควอนตัมคอมพิวเตอร เมื่อป 2556 และเมื่อเดือนกันยายน 2559 ที่ ผานมา บริษัท Intel ยังไดประกาศจับมือกับนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีเดวท ประเทศเนเธอรแลนด เพื่อลุยสรางควอนตัมคอมพิวเตอร ดวยเงินลงทุนถึง 50 ลาน ดอลลารสหรัฐฯ หรือราวๆ 1.25 พันลานบาท และยังมีอีกหลายประเทศ อาทิ ญี่ปุน อเมริกา ออสเตรีย เยอรมนี ทีส่ นับสนุนเงินลงทุนในการวิจยั ดานควอนตัมเปนจํานวน เงินมหาศาล อยางไรก็ตาม ขณะนีต้ อ งใชความพยายามนําเสนอถึงคุณประโยชนมหาศาลจาก เทคโนโลยีเชิงควอนตัม เนื่องดวยนักวิจัยในประเทศไทยนอยคนนักที่จะรูจักศาสตร ในเชิงควอนตัม เพราะตองอาศัยความรูความเขาใจในศาสตรถึง 3 แขนง นั่นคือ ทั้ง ดานฟสิกส ดานวิศวกรรมศาสตร และดานวิทยาการคอมพิวเตอร จึงจะสามารถวิจัย พัฒนาตอยอดในการพัฒนาสารสนเทศเชิงควอนตัมนี้ได บวกกับอีก 4 ปจจัยสําคัญที่ ไมเอือ้ อํานวย ไดแก 1) บุคลากร 2) งบประมาณ 3) วิทยาการ และ 4) นโยบายสนับสนุน ดังนั้น โครงการ “การสื่อสารปลอดภัยสูงสุดดวยรหัสลับควอนตัม: การ ถายทอดเทคโนโลยีและพัฒนาบุคลากร” จึงมุงเนนสรางความรูความเขาใจใหแก บุคลากรและการถายทอดเทคโนโลยีจากตางประเทศ เพื่อสรางรากฐานใหแข็งแกรง ไวกอ น ซึง่ ไดดาํ เนินการใหความรูแ กอาจารยนกั วิจยั ตามสถานศึกษา หนวยงานของรัฐ ไปบางสวนแลว นอกจากนี้ ยังไดจัดตั้งหองปฏิบัติการวิจัยเทคโนโลยีทางแสงขั้นสูง ที่คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อหวังวาจะไดพัฒนาตอยอดใหแก นักศึกษาหรือทีมนักวิจยั ในเชิงคนควาวิจยั และพัฒนาสูก ารใชงานจริงตอไป โดยในสวน ดังกลาวนี้ นับวาเปนนิมิตหมายของการเริ่มตนที่ดี ที่กองทุน กทปส. ไดเห็นคุณคา และใหเงินทุนสนับสนุนโครงการฯ ครั้งนี้
ผูส นใจสามารถศึกษารายละเอียดของโครงการ ไดที่เว็บไซตของ กทปส. https://btfp.nbtc. go.th และติดตามขอมูลขาวสารไดที่ http:// www.quantum-thai.org/, http://www.qinfo. nu.ac.th/ และ https://www.facebook.com/ QuantumCryptoThailand
ผศ. ดร.สุวิทย กลาวทิ้งทายวา “ทีมนักวิจัยโครงการฯ ยังตองการตอยอดในอีก หลายๆ ดาน และตองการการสนับสนุนจากภาครัฐทัง้ ในแงนโยบาย และความรวมมือ จากหนวยงานตางๆ ที่มีสวนเกี่ยวของผลักดันประเทศเพื่อกาวสูยุคดิจิทัล ไดรวมกัน สนับสนุนสงเสริมเพือ่ สรางบุคลากรนักวิจยั คนไทยในดานวิทยาการรหัสลับเชิงควอนตัม เพื่อรองรับงานวิจัยทางดานการสื่อสารเชิงควอนตัมในอนาคต รวมจัดทําโครงการ ความรวมมือกับมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาที่มีการสอนเกี่ยวกับเทคโนโลยี สารสนเทศเชิงควอนตัม โดยมีศูนยทําหนาที่เปนศูนยทดสอบและฝกงานสําหรับ นักศึกษาจากสถาบันการศึกษาตางๆ รวมถึงการสรางเครือขายวิจัยวิทยาการรหัสลับ เชิงควอนตัมระหวางสถาบันวิจยั กับของตางประเทศ เนือ่ งจากหากประเทศไมเรงสราง นักวิจัยคนไทยดวยกันแลว ในอนาคตก็คงตองทุมซื้อเทคโนโลยีปองกันการโดนแฮก ขอมูลดวยเม็ดเงินมหาศาลอยางไมมีวันจบอยางแนนอน” อนึ่ง โครงการดังกลาวนับเปนหนึ่งในหลายๆ โครงการที่ทาง กทปส. ไดใหการ สนับสนุนเพื่อมุงหวังใหเกิดการพัฒนาและสรางองคความรูใหแกบุคลากรที่เกี่ยวของ ในสาขาโทรคมนาคม ซึ่งจะชวยเสริมสรางศักยภาพดานการแขงขันและยกระดับ โครงสรางพื้นฐานการใชเทคโนโลยีในยุคดิจิทัลใหมีความแข็งแกรง ตอบโจทยตรงตาม วัตถุประสงคของ กทปส.
January-February 2017
p.60-61_scoop.indd 61
1/26/17 5:15 PM
Article
> แอนโทนี่ บอรน ผูอํานวยการอุตสาหกรรมสวนกลาง บริษัท ไอเอฟเอส (IFS)
การกาวส
อุตสาหกรรม 4.0
กับไอโอที
อุตสาหกรรม 4.0 เปนระบบอัจฉริยะที่รวมสวนตางๆ เขาดวยกัน และครอบคลุมมากกวาไอโอที
ในชวง 10 ปที่ผานมา มีบริษัทมากถึง 70% ในทําเนียบ Fortune 1000 ทีห่ ายไป สถิตนิ อี้ าจทําใหเกิดความหวาดวิตก แตสงิ่ ทีค่ วรตระหนัก ก็คือความสําคัญของการใชประโยชนจากการเปลี่ยนแปลงใหเต็มที่ แทนความหวาดกลัว ประเทศเยอรมนีเปนประเทศหนึ่งที่เดินหนาสนับสนุนแนวคิดนี้ อยางเต็มที่ ดวยการสรางใหอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) เปน วิสัยทัศนแหงอนาคตของอุตสาหกรรมการผลิต ทั้งนี้ อุตสาหกรรม 4.0 หรือการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมครัง้ ที่ 4 เปนคําศัพททห่ี มายรวมถึงเทคโนโลยี อันทันสมัยดานระบบอัตโนมัติ การแลกเปลี่ยนขอมูล และการผลิต การเปลี่ยนแปลงอยางเปนธรรมชาติของเทคโนโลยีและการกาวขาม ขอจํากัดตางๆ ลวนเปนสิ่งที่เอื้อตอการสรางอุตสาหกรรม 4.0 อยาง แทจริง
แนวโน ม หนึ่ ง ที่ เรามองเห็ น ในขณะนี้ ก็ คื อ ผู ค นกํ า ลั ง หั น มาใช คําศัพท อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) อินเทอรเน็ต ออฟ ธิงส หรือ ไอโอที (Internet of Things: IoT) หรือแมแตอินเทอรเน็ต ออฟ ธิงส สําหรับอุตสาหกรรม หรือไอไอโอที (Industrial Internet of Things: IIoT) มากยิ่งขึ้น แมวาอุตสาหกรรม 4.0 ใหความสําคัญกับการสรางระบบ อัจฉริยะที่รวมสวนตางๆ เขาดวยกัน (ซึ่งรวมถึงกระบวนการผลิต) และ ครอบคลุมมากกวาการเนนแคไอโอที เนื่องจากเปนการผสานรวมระบบ อัตโนมัติที่ทันสมัย การสงเสริมการผลิต และการพิจารณาทุกสิ่งบน พื้นฐานของความเปนจริง เปนตน บรรดาผูผลิตตองแนใจใหไดวามีความเขาใจเกี่ยวกับแนวโนมนี้ อยางแทจริง รวมถึงประโยชนที่ไดรับจากแนวโนมนี้ และองคกรธุรกิจ ในทุกระดับจะไดรบั ผลกระทบจากแนวโนมนีอ้ ยางไรบาง และผูท สี่ ามารถ เดินตามแนวทางนี้ไดจะกลายเปนผูที่แข็งแกรงยิ่งกวาเดิม ขณะที่คูแขง จะคอยๆ หายไป
อนาคตของอุตสาหกรรม 4.0
การเลื อ กที่ จ ะไม ต อบรั บ กั บ เทคโนโลยี ใ หม ซึ่ ง ในกรณี นี้ คื อ อุตสาหกรรม 4.0 ถือเปนเรื่องเสียหายที่เกิดขึ้นกับบริษัทผูผลิตบางแหง อย า งแน น อน แนวคิ ด นี้ ค วรเป น สิ่ ง สํ า คั ญ อั น ดั บ แรกที่ อ งค ก รธุ ร กิ จ ใหความสําคัญ ไมวาจะเปนเรื่องการปรับใชเทคโนโลยีใหมและของเดิม ที่คุณสามารถใชตอไปได โดยคุณตองจัดอับดับ 1 ถึง 10 ในเรื่องการ กาวสูโลกดิจิทัลอยางแทจริง อาทิ การปรับใชระบบอัตโนมัติและการ วิเคราะหขอมูล กรณี ที่ คุ ณ ไม แ น ใ จว า จะเดิ น ไปทางไหน คุ ณ อาจอยู รั้ ง ท า ย ก็เปนได และขออยาใหเปน Woolworths หรือ Kodak รายตอไปเลย แมจะเห็นไดอยางชัดเจนวาเทคโนโลยีทอี่ ยูเ บือ้ งหลังอุตสาหกรรม 4.0 ควรเป น สิ่ ง ที่ ไ ด รั บ ความสํ า คั ญ เมื่ อ ต อ งปรั บ ใช เ ทคโนโลยี ต าม แผนงานที่วางไว แตสิ่งหนึ่งที่ไมควรมองขามคือทักษะที่เกี่ยวของกับ เทคโนโลยีนั้นสําหรับแรงงานทั้งในปจจุบันและอนาคต แมจะยังไมจําเปนที่จะตองกาวเขาสูอุตสาหกรรม 4.0 (ซึ่งใหความ สําคัญกับเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเปนหลัก) แตจําเปนอยางยิ่งที่องคกร
January-February 2017
p.62-63_article.indd 62
1/26/17 5:16 PM
จะตองมองไปที่เทคโนโลยีสําหรับผูบริโภคที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ ดวย เชน เทคโนโลยีที่สวมใสได และพิจารณาวาเทคโนโลยีเหลานี้สามารถสราง ประโยชนใหกับองคกรไดอยางไรบาง การใชนาิกาอัจฉริยะ (Smart Watch) เพื่อสงขอมูลอัพเดตและการแจงเตือน ลวงหนาตามบทบาทของผูใชและขอกําหนดขององคกรเปนสิ่งที่บางองคกรใหความ สําคัญอยูใ นขณะนี้ ตัวอยางเชน เมือ่ ปฏิบตั งิ านภาคสนาม พนักงานจะไดรบั การแจงเตือน เมือ่ สินคาสําคัญไดรบั การจัดสงแลว เมือ่ โครงการสําคัญเริม่ ดําเนินงานหรือเสร็จเรียบรอย แลว หรือแมแตการแจงเตือนเมื่อมีการชําระใบแจงหนี้ อยาพยายามตัดสินทุกสิ่งทุกอยางโดยทันที มิฉะนั้นอาจตองลงเอยดวยปริมาณขอมูล ที่มากเกินกวาจะสามารถจัดการได
อยาหลงเชื่ออะไรงายๆ
อุตสาหกรรม และไอโอที เปนแนวโนมที่ดีมากสําหรับการนําวิธีการใหมๆ เขามา ปรับใชในกระบวนการผลิต แตอยาเพิ่งวิ่งหากคุณยังเดินไมได ทั้งนี้เปนเรื่องงายมาก ที่จะหลงเชื่อคําชักชวนเกี่ยวกับไอโอทีจนตองเสียเงินไปกับระบบเซ็นเซอรที่ไมได มีความจําเปนเลยแมแตนอย ทั้งยังตองสูญเสียทรัพยากรที่นาจะนําไปใชประโยชน อยางอื่นไดดีกวา ตลาดไอโอทีกําลังเปลี่ยนแปลงไปจากที่เคยเปน มีบริษัทนองใหมมากมาย ที่นําเสนอผลิตภัณฑใหมๆ เขาสูตลาดอยางตอเนื่อง คุณไมตองติดตั้งเซ็นเซอร ทั้งโรงงาน เพราะอีก 2-3 เดือนตอมาก็จะมีสิ่งที่ดีกวาออกสูตลาดแลว โปรดจํา ไววาผูที่กาวเดินบนถนนสายไอโอทีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไดอยางสําเร็จ นั้น จําเปนตองเริ่มตนจากสิ่งเล็กๆ กอน อยาพยายามตัดสินทุกสิ่งทุกอยางโดยทันที มิฉะนั้นอาจตองลงเอยดวย ปริมาณขอมูลที่มากเกินกวาจะสามารถจัดการได กาวถอยหลังออกมาและ พิจารณาสิ่งที่มีความสําคัญตอคุณจริงๆ บางทีอาจมีหวงโซการผลิตบางจุดที่ ลาชา และคุณปรับแกใหถกู ตองเฉพาะจุด หรืออาจตองใชการติดตามตรวจสอบ ไซตงานจากระยะไกลแทนที่จะเสียเงินไปกับการจัดสงพนักงานไปดูแลเอง โดยตรง การวิเคราะหการผลิตเปนสวนสําคัญของอุตสาหกรรม 4.0 และเปน สิ่งที่อุตสาหกรรมกําลังใหความสนใจอยางมาก เมื่อผมพูดกับเพื่อนๆ ใน แวดวงอุตสาหกรรม เห็นไดชัดวาเรากําลังเดินหนาเขาสูการแปรรูประบบ การทํางานเปนดิจิทัลและทุกสิ่งมีพรอมใหเลือกใชงานอยูแลว ซึ่งมีความ จําเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตองรักษาสมดุลระหวางการรับเอานวัตกรรมมาใชงาน กับความสามารถในการแยกแยะความแตกตางระหวาง “สิ่งใหม” กับ “สิ่งที่มีประโยชน” สําหรับคุณ
เกี่ยวกับไอเอฟเอส
ไอเอฟเอส (IFS™) เป น ผู นํ า ระดั บ โลก ดานการพัฒนาและนําเสนอซอฟตแวรสาํ หรับการ วางแผนทรัพยากรองคกร (Enterprise Resource Planning หรือ ERP) การบริหารจัดการสินทรัพย ขององคกร (Enterprise Asset Management หรือ EAM) และการบริหารจัดการงานบริการขององคกร (Enterprise Service Management หรือ ESM) ทั้ ง นี้ ไอเอฟเอสก อ ตั้ ง ขึ้ น ในป พ.ศ. 2526 โดยมีสวนชวยสนับสนุนใหลูกคาที่เปนกลุมเปาหมาย สามารถดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ได ดี ขึ้ น ตลอดจนผลั ก ดั น ให เกิดความคลองตัวในการดําเนินงาน พรอมทัง้ จัดเตรียม สิ่งตางๆ สําหรับอุตสาหกรรมเพื่อใหพรอมรับมือกับ อนาคต ไอเอฟเอสมีพนักงาน 2,800 คนที่พรอมใหการ สนับสนุนผูใชทั่วโลกมากกวา 1 ลานคน ผานสํานักงาน สาขาในเขตพืน้ ทีต่ า ง ๆ และผานเครือขายพันธมิตรทีก่ าํ ลัง ขยายตัวเพิ่มมากขึ้น สําหรับขอมูลเพิ่มเติมไปที่เว็บไซต : IFSworld.com
January-February 2017
p.62-63_article.indd 63
1/26/17 5:16 PM
Special Area > Spectrum GmbH
Spectrum expands family of Modular PXIe Digitizers for wideband applications Versatile 5 GS/s modules for the capture and analysis of electronic signals from DC to the GHz range Spectrum GmbH has expanded its line of PXIe-based (PXI Express) high-speed digitizers with nine new cards. The new M4x.22xx series includes modules that offer one, two or four fully synchronous channels (see Table 1). Each channel is equipped with its own analog-to-digital converter (ADC) with real-time signal sampling at rates from 1.25 GS/s to 5 GS/s and scope-like signal conditioning circuitry that allows programming of parameters such as input gain, signal offset and coupling. The ultra-fast digitizers also offer bandwidth up to 1.5 GHz making them ideal for automated testing applications where wideband electronic signals from DC to the GHz range need to be acquired and analyzed. Typical applications include semiconductor and component testing, radar, wireless and digital communications, laser and optical systems, automotive, power, physics, surveillance, medical science, aerospace and defense. Versatile triggering and acquisition modes for easy signal capture The flexible front-end circuitry of the M4x.22xx series digitizers is complemented by a powerful trigger system, a massive on-board acquisition memory of 4 GSamples and a host of data acquisition and readout modes. The combination makes it simple for the cards to capture even the most complex signals as well work effortlessly with other modules in a test system. For example, the trigger source can be any of the digitizers input channels, either of the two external trigger inputs, any of the eight PXI trigger lines or the PXI star trigger. Trigger modes include positive or negative edge, both edges (window) and software. In addition, logic triggering can be implemented based on the state of the channel and the external trigger inputs. Acquisition and readout modes include single-shot capture (for transient recording), FIFO (for streaming data directly over the bus), segmented memory (Multiple Recording), gated acquisition (Gated Sampling) or the combination of segmented acquisition of
fast signals in parallel with slow continuous data recording (ABA mode). Trigger events can also be time stamped to know exactly when they occurred. Harness the power of PXIe performance and modularity All the M4x.22xx series digitizers are packaged in a dual width 3U module, which incorporates a four lane PCI-Express Generation 2 interface. The high-performance interface allows data transfer speeds in excess of 1.7 GB/s making the cards perfect for use in today’s high-performance PXIe mainframe systems. For rapid waveform display and analysis, acquired data can be transferred to an embedded or external processor. In addition, data can be shared with other modules like arbitrary waveform generators (AWGs) to create more sophisticated capture-replay or stimulus-response, testing scenarios. Precision and accuracy To ensure measurement quality and repeatability, the M4x.22xx series digitizers are all optimized for dynamic performance. On-board calibration is standard and a high quality clocking system drives the 8-bit ADCs on each channel synchronously so that timing measurements are precise and inter-channel phase errors are minimized. Best in class dynamic parameters provide effective bit measurement (ENOB) as high as 7.5 bits, signal-to-noise ratio (SNR) up to an impressive 46.9 dB and spurious free dynamic range (SFDR) of over 62 dB. The modules also incorporate the latest in FPGA-based firmware so that acquired data can be processed on-board prior to being transferred over the bus. Block averaging and block statistics packages are available for high trigger rate applications that require hardware-based processing functions. Block averaging can be used to reduce signal noise and improve measurement resolution, while block statistics perform a peak detection process that yields a waveform’s maximum, minimum and average values.
January-February 2017
p.64-65_special area.indd 64
1/26/17 5:16 PM
Ideal for automated test To allow easy integration into any test system, the units are shipped with a host of software tools so that users can create their own control programs with almost any popular programming language. This includes C++, Visual Basic, VB.NET, C#, J#, Delphi, Java and Python code. Third party software support is also provided for LabVIEW, LabWindows and MATLAB. For users not wanting to write software, Spectrum also offers its powerful SBench6 Pro software. SBench6 enables users to control all of the digitizer’s operating modes and hardware settings from one simple, easy-to-use, graphical user interface. The software has a host of built-in features for waveform display, data Model M4x.2210-x4 M4x.2211-x4 M4x.2212-x4 M4x.2220-x4 M4x-2221-x4 M4x.2223-x4 M4x.2230-x4 M4x.2233-x4 M4x.2234-x4
Channels 1 2 4 1 2 2 1 2 4
Sampling Rate 1 Ch 1.25 GS/s 1.25 GS/s 1.25 GS/s 2.5 GS/s 2.5 GS/s 2.5 GS/s 5 GS/s 5 GS/s 5 GS/s
analysis (such as FFT, parameters and mathematics) and documentation. Waveforms can also be stored and exported to other devices and software programs using the most popular formats such as ASCII, binary and Wave. The M4x.22xx digitizers are available with immediate delivery. All units are shipped factory-tested and include a base version of Spectrum’s SBench 6 software, support drivers for most popular programming languages and a two year manufacturer’s warranty. Technical support, including software and firmware updates, is available free of charge.
2 Ch
4 Ch
1.25 GS/s 1.25 GS/s
1.25 GS/s
2.5 GS/s 1.25 GS/s 2.5 GS/s 2.5 GS/s
1.25 GS/s
Bandwidth 500 MHz 500 MHz 500 MHz 1.5 GHz 1.5 GHz 1.5 GHz 1.5 GHz 1.5 GHz 1.5 GHz
On-board Memory 4 GSample 4 GSample 4 GSample 4 GSample 4 GSample 4 GSample 4 GSample 4 GSample 4 GSample
Table 1. M4x.22xx Digitizer series selection table
spectrum’s M4x.22xx modular PXIe Digitizers For more information please visit our web site at www.spectrum-instrumentation.com/en/m4x22xx-x4-pxi-express-pxie-x4 About Spectrum Instrumentation Founded in 1989, Spectrum is a pioneer in the design and manufacture of PC-based test and measurement instrumentation used for electronic signal capture, generation and analysis. The company specializes in high-speed digitizer and generator technology and has available over 450 modular products in the most popular industry standards; PCIe, LXI and PXI. The company is headquartered in Grosshansdorf, Germany and sells its products worldwide via an extensive sales network offering outstanding support directly from the design engineers. More information about Spectrum can be found at www.spectrum-instrumentation.com January-February 2017
p.64-65_special area.indd 65
1/26/17 5:16 PM
Special Area
> บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด
E5CC-T, E5EC-T, E5AC-T Setting By Cx-Thermo
Temperature Controller E5_C-T สามารถ Set โปรแกรมได 8 Programs แตละโปรแกรมได 32 Segment รวมทั้งหมด 256 Segment งานที่ตองการควบคุมอุณหภูมิเปน STEP เชน งานที่ตองการควบคุมอุณหภูมิและเวลาไปพรอมๆ กันสามารถ นํา Temp. รุนดังกลาวไปใชงานได โดยที่เราไมตองเขียนโปรแกรมใน PLC ใหยุงยาก และภายในตัว Temp. ยังมีฟงกชัน PID และ Auto-Tune เพื่องายตอการควบคุมอุณหภูมิไดอยางถูกตองแมนยํา
มีขั้นตอนการตั้งคาตางๆ ดังตอไปนี้ 1. ติดตั้งโปรแกรม CX-Thermo ตอง Version 4.61 ขึ้นไปถึงจะสามารถเชื่อมตอกับ Computer ได 2. เชื่อมตอ E5CC กับ Computer โดยใชสาย E58-CIFQ2 (ลง Driver สายใหเรียบรอย) 3. การ Set โปรแกรมได 8 Programs แตละโปรแกรมได 32 Segment
January-February 2017
p.66-67_special area.indd 66
1/26/17 5:16 PM
4. เลือกรุน Temp.
6. เลือก Program เลือก Segment
5. ไปที่ Programmer Editor แลวกด Start 7. ไปที่ Pattern ตั้ง set point ตั้ง Time จากนั้น Download ลงไปที่ Temp.
สามารถศึกษาขอมูลเพิ่มเติมไดที่
http://www.omron-ap.co.th/products/family/3101/feature.html
January-February 2017
p.66-67_special area.indd 67
1/26/17 5:16 PM
Special Area
> บริษัท แม็กซิไมซ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จํากัด
Multifunction Power Meter and Programmable Relay Multitek ผูนําดานอุปกรณเครื่องมือวัดทางไฟฟาจากประเทศอังกฤษ เชน Power Meter, Transducer, Protection Relays ไดพัฒนาออกแบบ Multifunction Power Meter ที่สามารถโปรแกรม Relay Output ได ในซีรี่ส รุน M880 ซึ่งมีดวยกัน 2 รุนคือ M880-DMF และ M880-DPC
M880-DMF
M880-DPC
หนาจอ
มีหนาจอเปนชนิด LCD สามารถเปลี่ยนสีหนาจอได 7 สี ไดแก สีน้ําเงิน, ฟา, เขียว, มวง, แดง, ขาว และเหลือง และสามารถตั้งคาใหเปลี่ยนสีหนาจอเมื่อเกิด Alarm ได
หนาจอปกติ
หนาจอหลัง Alarm
M880 เปน Multifunction Power Meter ในระบบ 3 เฟส 3 สาย และ 3 เฟส 4 สาย ที่สามารถโปรแกรมตั้งคารีเลยและพัลซเอาตพุต ซึ่งสามารถตั้งคา Set Point ไดทั้งหมด 8 พารามิเตอร หรือตั้งคาเปน Pulse Output สําหรับ Wh, VArh, VAh หรือ Ah โดยมี Port RS485 Modbus ติดตั้งมาดวยเพื่อสามารถติดตอสื่อสารกับคอมพิวเตอรได โดยในรุน M880-DPC เปนรุนที่สามารถตอกับ CT ชนิด 3 เฟส โดยตอผาน สาย RJ45 ทําใหประหยัดเวลาและลดความผิดพลาดในการตอสาย M880 สามารถวัดคาทางไฟฟาตางๆ ไดดังนี้ * Phase Voltage (V) * Phase to Neutral (V) * Phase Current (I) * Neutral Current * Frequency (Hz) * Average Power Factor (PF) * Import Active Power (W) * Import Active Power per phase L1 L2 L3 (W) ** * Export Active Power (W) * Export Active Power per phase L1 L2 L3 (W) ** * Import Reactive Power (Var) * Export Reactive Power (Var) * Apparent Power (VA) * Import Active Energy (W.h) * Export Active Energy (W.h) ** = 3 Phase 4 wire only
* System Amp Demand (A Dmd) * System Import Active Power Demand (W Dmd) * System Export Active Power Demand (W Dmd) * System Apparent Power Demand (VA Dmd) * System Amp Maximum Demand (A Max Dmd) * System Import Active Power Max Dmd (W Max Dmd) * System Export Active Power Max Dmd (W Max Dmd) * System Apparent Power Max Dmd (VA Max Dmd) * THD Voltage 1% upto 31st * THD Current 1% upto 31st * Import Reactive Energy (VAr.h) * Export Reactive Energy (Var.h) * VA Energy (VA.h) * Amp Hour (A.h)
January-February 2017
p.68-69_special area.indd 68
1/26/17 5:17 PM
คาที่สามารถ Set ไดมีดังนี้ • Voltage • Current • Frequency (Hz) • Import Active Power • Export Active Power • Import Reactive Power • Export Reactive Power
• Apparent Power Voltage • Balance • Import Active Energy • Export Active Energy • Import Reactive Energy • Export Reactive Energy • VA Energy
• Amp Hour • System Amp Demand • System Import Active Power • Demand • Demand System Apparent • System Export Active Power • Power Demand
โปรแกรมสําหรับตั้งคา Multiview
ความแมนยํา (Accuracy) Voltage and Current Frequency Active Power Reactive Power Apparent Power Power factor Energy
0.5% of reading ± 2 ทศนิยม 0.1 Hz ± 1 ทศนิยม 1% of reading ± 2 ทศนิยม 1% of reading ± 2 ทศนิยม 1% of reading ± 2 ทศนิยม 1% IEC 1036 Class 1
ตัวอยางการตอสาย (Connection Diagram)
ELECTROMAGNETIC COMPATIBILITY
Immunity to:electrostatic discharges: IEC 61000-4-2-Level III radiated radio-Hz fields: IEC 61000-4-3-Level III electrical fast transient/bursts: IEC 61000-4-4-Level III impulse waves: IEC 61000-4-5-Level III conducted disturbances: IEC 61000-4-6-Level III voltage dips: IEC 61000-4-11 short interruptions: IEC 61000-4-11 Emissions to:Conducted and radiated: CISPR11-Class A Dimensions
M880-DMF
M880-DPC
รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดตอไดที่ บริษทั แม็กซิไมซ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จํากัด โทร. 02-194-8738-9 แฟกซ 02-003-2215 E-mail : info@mit-thailand.com www.mit-thailand.com January-February 2017
p.68-69_special area.indd 69
1/26/17 5:17 PM
Special Area
> บริษัท ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด
ขอแตกตางระหวาง สวิตช,
รีเลย
และแมกเนติกคอนแทคเตอร สวิตช (Switch)
สวิตชใชในการเปด-ปดอุปกรณไฟฟาตางๆ โดยใชหลักการทีส่ วิตชเปดหรือปดหนาสัมผัส ซึ่งคลายกับสะพานที่เชื่อมใหกระแสสามารถไหลไดในวงจรไฟฟา หนาสัมผัสปด (Closed Contact) คือหนาสัมผัสเชือ่ มตอกันทําใหกระแสไหลผานได สวนหนาสัมผัสเปด (Open Contact) คือหนาสัมผัสแยกออกจากกันทําใหกระแสไมสามารถไหลผานได สวิตชมหี ลายประเภทและถูกควบคุมดวยวิธตี า งๆ กัน พวกทีถ่ กู ควบคุมดวยแรงจากมนุษย ไดแก Push-button Switch, Toggle Switch, Foot Switch พวกที่ถูกควบคุมดวยแรงดันไฟฟา หรือความตางศักย ไดแก Relay, Magnetic Contactor หรือพวกที่ถูกควบคุมดวยแรงอื่นๆ เชน Pressure Switch, Photo Electric Switch, Level Switch เปนตน
รีเลย (Relay)
รีเลยเปนอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสทใ่ี ชในการตัด-ตอวงจรคลายกับ สวิตช โดยทั่วไปจะเปนแบบ Electromagnetic Relay หรือเรียกวา แบบหนาสัมผัส ประกอบดวยชุดหนาสัมผัส (Contacts) ที่ตอกับแทง อารเมเจอร (Armature) และคอยล (Coil) ทีถ่ กู พันดวยขดลวด เมือ่ มีการ จายแรงดันไฟฟาใหกับคอยล (Energize) จะทําใหเกิดสนามแมเหล็ก แทงอารเมเจอรทตี่ อ กับหนาสัมผัสจะถูกดูด ทําใหหนาสัมผัสเปลีย่ นการ เชือ่ มตอเปนตรงกันขาม กลาวคือ ปกติเปด (NO-Normally Open) เปน ปด หรือปกติปด (NC-Normally Closed) เปนเปด และเมื่อตัดไฟที่จาย ใหคอยล (De-energize) จะทําใหรีเลยกลับสูสถานะปกติ กลาวคือ หนาสัมผัสตางๆ จะกลับสูส ภาวะแรกกอนการจายไฟดวยแรงจากสปริง แบงออกตามลักษณะการใชงานไดเปน 2 ประเภทคือ 1. รีเลยกําลัง (Power Relay) หรือมักเรียกกันวาคอนแทคเตอร (Contactor or Magnetic Contactor) ใชในการควบคุมกําลังไฟฟาที่มี ขนาดใหญกวารีเลยธรรมดา 2. รีเลยควบคุม (Control Relay) มีขนาดเล็ก กําลังไฟฟาต่ํา ใชในวงจรควบคุมทั่วไปที่มีกําลังไฟฟาไมมากนัก หรือเพื่อการควบคุม รีเลยดวยกันหรือคอนแทคเตอรขนาดใหญ รีเลยควบคุมบางทีเรียกกัน งายๆ วา “รีเลย”
แมกเนติกคอนแทคเตอร (Magnetic Contactor)
เปนอุปกรณที่อาศัยการทํางานโดยอํานาจแมเหล็กในการเปด– ปดหนาสัมผัสในการควบคุมวงจรหรือเรียกวาสวิตชแมเหล็ก (Magnetic Switch) หรือคอนแทคเตอร (Contactor) ก็ได
สรุปก็คือ รีเลยและ Magnetic Contactor มีหนาที่การปด-เปด วงจรคลายสวิตช แตสามารถทําการปด-เปดที่คอนขางไวและซับซอน หลายๆ จังหวะในขณะเดียวกัน เชน ควบคุมใหเปดโหลดชุดแรกพรอมๆ กับใหปดโหลดอีกชุดหนึ่ง เปนตน Relay : คนทั่วไปเรียกกันคือ “Control Relay” ทนกระแสไฟฟา ไดไมสูง ใชในวงจรควบคุมทั่วไปที่มีกําลังไฟฟาไมมากนัก Magnetic Contactor : คนทั่วไปเรียกกันคือ “Power Relay” ทนกระแสไฟฟาไดสูง ใชในการควบคุมกําลังไฟฟาที่มีขนาดใหญ
ขอดีของการใชรีเลยและแมกเนติกคอนแทคเตอร เมื่อเทียบกับสวิตช
1. มีความปลอดภัยสูง เชน สามารถตอควบคุมระยะไกลได แทนการสับสวิตชดวยมือโดยตรง ทําใหผูควบคุมมอเตอรปลอดภัย จากอันตรายในการตัดตอวงจรกําลังซึ่งมีกระแสไฟฟาคอนขางสูง 2. สะดวกในการควบคุม เชน ควบคุมใหเปดโหลดชุดแรก พรอมๆ กับใหปด โหลดชุดอืน่ ๆ และยังสามารถตอรวมกับอุปกรณอนื่ ๆ ได เชน Pressure Switch, Photo Electric Switch, Level Switch เปนตน 3. ประหยัดกวาเมื่อเทียบกับการควบคุมดวยมือ เชน หาก ควบคุมดวยมือตองทําการเดินสายไฟของวงจรกําลังไปยังจุดควบคุม หลั ง จากนั้ น เดิ น สายไฟไปยั ง โหลด แต ห ากควบคุ ม ด ว ยแมกเนติ ก คอนแทคเตอร สายไฟของวงจรกําลังสามารถเดินไปยังโหลดไดโดยตรง สวนสายไฟวงจรควบคุมเดินสายจากจุดควบคุมไปยังโหลดใชสาย ขนาดเล็กกวา ทําใหประหยัดคาติดตั้งในการเดินสาย
January-February 2017
p.70-73_special area.indd 70
1/27/17 9:12 AM
โครงสรางและสวนประกอบของแมกเนติก คอนแทคเตอรหรือสวิตชแมเหล็ก
คอนแทคเตอรยี่หอใดรุนใดจะตองมีโครงสรางหลักที่สําคัญ เหมือนกัน ดังนี้ 1. แกนเหล็ก 2. ขดลวด 3. หนาสัมผัส
รูปแสดงลักษณะโครงสรางภายนอกของแมกเนติกคอนแทคเตอร
รูปแสดงลักษณะโครงสรางหลักของแมกเนติกคอนแทคเตอร รายละเอียดของสวนประกอบภายในแมกเนติกคอนแทคเตอร แกนเหล็กแบงออกเปน 2 สวน คือ 1. แกนเหล็กอยูกับที่ (Fixed Core) จะมีลักษณะขาทั้ง 2 ขาง ของแกนเหล็กมีลวดทองแดงเสนใหญตอ ลัดอยูเ ปนรูปวงแหวนฝงอยูท ี่ ผิวหนาของแกน เพื่อลดการสั่นสะเทือนของแกนเหล็กอันเนื่องมาจาก การสั่ น สะเทื อ นไฟฟ า กระแสสลั บ เรี ย กวงแหวนนี้ ว า เช็ ด เด็ ด ริ่ ง (Shaddedring) 2. แกนเหล็กเคลื่อนที่ (Stationary Core) ทําดวยแผนเหล็กบาง อัดซอนกันเปนแกน จะมีชุดหนาสัมผัสเคลื่อนที่ (Moving Contact) ยึดติดอยู
ขดลวด (Coil)
ขดลวดทํ า มาจากลวดทองแดงพั น อยู ร อบบอบบิ น สวมอยู ตรงกลางของขาอีกตัวที่อยูกับที่ ขดลวดทําหนาที่สรางสนามแมเหล็ก มีขั้วตอไฟเขาใช สัญลักษณอักษรกํากับ คือ A1-A2 หรือ a-b
หนาสัมผัส (Contact) คือ
หนาสัมผัสจะยึดอยูกับแกนเหล็กเคลื่อนที่ แบงออกเปน 2 สวน
1. หนาสัมผัสหลัก หรือเรียกวา เมนคอนแทค (Main Contact) ใชในวงจรกําลัง ทําหนาที่ตัดตอระบบไฟฟาเขาสูโหลด 2. หน า สั ม ผั ส ช ว ย (Auxiliary Contact) ใช กั บ วงจรควบคุ ม หนาสัมผัสชวยแบงออกเปน 2 ชนิด หนาสัมผัสปกติเปด (Normally Open : N.O.) หนาสัมผัสปกติปด (Normally Close : N.C.)
รูปแสดงลักษณะโครงสรางภายในของแมกเนติกคอนแทคเตอร
การเลือกใชแมกเนติกคอนแทคเตอร
1. วงจรกําลัง 1.1 พิกดั แรงดันไฟฟา (Rated Voltage) : แมกเนติกคอนแทคเตอรจะตองมีคา พิกดั ในการทนแรงดันไฟฟาไมตา่ํ กวาแรงดันของระบบ ไฟฟาที่ตอใชงาน ซึ่งโดยทั่วไปแมกเนติกคอนแทคเตอรตองรับแรงดัน ไดไมนอยกวา 416 โวลต (เนื่องจากแรงดันไฟฟาเมื่อไมมีโหลด แรงดัน ไฟฟาอาจเทากับที่หมอแปลง 416 โวลต สําหรับการไฟฟานครหลวง และ 400 โวลต สําหรับการไฟฟาสวนภูมภิ าค) ซึง่ โดยทัว่ ไปผูผ ลิตมักจะ ผลิตใหสามารถทนแรงดันเกินได เชน 440 โวลต
January-February 2017
p.70-73_special area.indd 71
1/27/17 9:12 AM
1.2 พิกัดกําลังไฟฟา (Rated Power) : คาพิกัดกําลังไฟฟาของ มอเตอรมักระบุเปนกิโลวัตต (kW) หรือแรงมา (Hp) แตโดยทั่วไปผูผลิต มักจะระบุเปนพิกัดการทนกระแสไฟฟา (Rated Current) : ซึ่งพิกัด คอนแทคเตอรตองไมนอยกวากระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร 1.3 ลักษณะของโหลด (Type of Appication) : ตามมาตรฐาน IEC 60947-4 แบ ง ชั้ น การใช ง านของคอนแทคเตอร เพื่ อ ป อ งกั น คอนแทคเตอรชาํ รุดเนือ่ งจากการปลดหรือสับวงจร คอนแทคเตอรทใี่ ช กับไฟฟากระแสสลับโดยทั่วไปแบงเปน 4 ชนิด ตามลักษณะของโหลด ดังนี้ AC 1 : เหมาะสําหรับโหลดที่เปนความตานทาน หรือในวงจร ที่มีโหลดเปนชนิดอินดัคทีฟไมมากนัก AC 2 : เหมาะสําหรับใชในการสตารตและหยุดโหลดที่เปน สลิปริงมอเตอร AC 3 : เหมาะสําหรับใชในการสตารตและหยุดโหลดที่เปน มอเตอรกรงกระรอก (AC3 อาจใชงานกับมอเตอรที่มีการเดิน-หยุด สลับกันเปนครัง้ คราว แตการสลับตองไมเกิน 5 ครัง้ ตอนาที และไมเกิน 10 ครั้งใน 10 นาที) AC 4 : เหมาะสําหรับใชในการสตารต-หยุดมอเตอร แบบ Plugging (การหยุดหรือสลับเฟสอยางรวดเร็วในระหวางที่มอเตอร กําลังเดินอยู) แบบ Inching หรือ Jogging (การจายไฟใหมอเตอร ซ้ําๆ กันในชวงเวลาสั้นๆ เพื่อตองการใหมอเตอรเคลื่อนตัวเล็กนอย) AC 11 : คอนแทคชวยสําหรับวงจรควบคุม 1.4 Making Capacity : คากระแสที่คอนแทคเตอรสามารถ ตอวงจรไดโดยไมชํารุดขณะเริ่มเดินมอเตอร 1.5 Breaking Capacity : คากระแสที่คอนแทคเตอรสามารถ ปลดวงจรไดโดยไมชํารุด นอกจากนีว้ ธิ กี ารเริม่ เดินมอเตอรกม็ ผี ลในการเลือกใชคอนแทคเตอรเชนเดียวกัน 2. วงจรควบคุม 2.1 แรงดันไฟฟาและความถี่ของแหลงจายไฟเขาคอยล : คาแรงดันไฟฟาที่ใชสําหรับจายคอยลเพื่อใหคอนแทคเตอรทํางาน แบงเปน • แรงดันไฟฟากระแสสลับ (AC) 50/60 เฮิรตซ เชน 24, 48, 110, 230, 400, 415, 440 โวลต • แรงดันไฟฟากระแสสลับ (AC) 60 เฮิรตซ เชน 24, 48, 120, 230, 460, 480 โวลต • แรงดันไฟฟากระแสตรง (DC) เชน 12, 24, 48, 60, 110, 125, 220 โวลต 2.2 จํานวนคอนแทคชวย : จํานวนของคอนแทคชวยปกติเปด (NO) และคอนแทคชวยปกติปด (NC) ขึ้นอยูกับการออกแบบวงจร ควบคุมมอเตอร
แมกเนติกคอนแทคเตอร ใชกับงานประเภทใดบาง
แมกเนติกคอนแทคเตอรสามารถใชงานไดหลายประเภท เชน สตารตมอเตอร ตัดตอโหลดแสงสวาง ตัดตอคาปาซิเตอร หรืองาน ตัดตอสําหรับหมอแปลงโดยทัว่ ไปแลวอุปกรณประเภทนีจ้ ะใชประกอบ กับเทอรมัลโอเวอรโหลด ซึ่งสามารถกําหนดระดับกระแสเพื่อกําหนด คากระแสเกินพิกดั ได แมกเนติกคอนแทคเตอรนาํ ไปใชกบั อุตสาหกรรม ตางๆ ดังนี้ • Pumps • HVAC • Compressors • Power Supply Solution • Packing Machines • Cranes • Elevators and Escalators • Moulding Machines • Wood Machine • Robot • Wildmill, Solar System • Water Heating • Fule Cells • Traction • Etc.
ทําไมตองเลือกใชแมกเนติกคอนแทคเตอร “Hyundai Brand”
• ไดมาตรฐานทั้งบนบกและในทะเล ทั้งยุโรปและอเมริกา Standard: IEC 60947, EN 60947, UL 508, BS 47794, BS 5424, BS 4941 VDE 0660, DNV, KS C4504, JISC 8328, JEM 1038 Approval: ISO 18001, 14001, 9001, UL/C-UL CE : Community European : TÜV Rheinlend, GOST-R, CCC Shipping Approval : LR, BV, ABS, GL, NK, KR • ใชแรงดันไฟเลี้ยงไดทั้งกระแสสลับ (AC) และกระแสตรง (DC) • Rated Voltage : Up to 1,000 V, Rated Current : Up to 800 A • คอยลมาตรฐาน 100~240Vac, 100~220Vdc รับชวงแรงดัน ทํางานไดมากกวา • คาสูญเสียทางไฟฟาต่ํา ไมมีเสียงครางรบกวน
January-February 2017
p.70-73_special area.indd 72
1/27/17 9:12 AM
• • • • • • •
ทําจากวัสดุไมติดไฟ (Non Flammable; Class : V0 ) Safety Cover - IP20 ขั้วตอสาย IP20 ปองกันนิ้วมือสัมผัสสวนมีไฟ อุปกรณเสริมมีหลากหลาย ติดตั้งไดงาย มีประสิทธิภาพสูง ผลิตดวยวัสดุที่มีคุณภาพ สามารถเปลี่ยนคอยลและคอนแทคไดอยางสะดวก สามารถติดตั้งไดทั้งแบบยึดสกรูและแบบติดบนราง (การติดตั้งบนรางมีถึงรุน 100AF)
Thermal Overload • • • •
Manual และ Auto Reset ทุกรุน มีคอนแทคอยูในตัวแบบ 1NO+1NC มีฝาปดผนึกไดปองกันการเปลื่ยนคาที่ตั้งไว สามารถปองกันปญหามอเตอรทํางานเกินกําลังล็อคโรเตอร และกระแสไมสมดุลระหวางเฟส • มียา นการปรับตัง้ กระแส (Setting Current) ใหเลือกหลายขนาด (ทําใหปรับตัง้ กระแสไดตรงกับ NAME PLATE มอเตอรมากสุด)
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
บริษัท ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด
22/26 ถ.สุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2002-4395-97 แฟกซ 0-2002-4398 E-mail : info@tdpowertech.com January-February 2017
p.70-73_special area.indd 73
1/27/17 9:12 AM
< บริษัท เอวีรา จํากัด
ขอเสนอแนะสำหรับการแกปญหาฮารมอนิกสดวย
Active Filter
without AFQ
with AFQ
หลักการทำงาน การควบคุมและตำแหนงการติดตัง้ การใชงาน ตลอดจนการเปรียบเทียบการใชงาน ระหวางพาสซีฟและแอคทีฟฟลเตอร
ปญหาทางดานคุณภาพไฟฟาที่เกิดขึ้นภายในโรงงานอุตสาหกรรม สามารถที่ จ ะนิ ย ามได ว า ป ญ หาของการเกิ ด การเปลี่ ย นแปลงหรื อ เกิดการเบี่ยงเบนของแรงดันไฟฟา กระแสไฟฟา ความถี่ไฟฟาหรือ ความผิดเพี้ยนของรูปคลื่น (Waveform Distortion) ที่สงผลกระทบ ตออุปกรณไฟฟาของผูใชงาน เกิดความผิดพลาดในการทํางาน
รูปที่ 1 แสดงการติดตั้งวงจรกรองแบบแอคทีฟฟลเตอรภายในระบบไฟฟา
เมื่อพิจารณาในรูปที่ 1 โหลดสวนใหญที่ตอวงจรใชงานอยูภายใน โรงงานอุตสาหกรรมนั้นสามารถแบงออกไดเปน 4 สวนหลักๆ ดวยกัน คือโหลดทีเ่ ปนเชิงเสน (Linear Load) โหลดทีไ่ มเปนเชิงเสน (Non-Linear Load) มอเตอรไฟฟา (Motor) และคาปาซิเตอร (Capacitor) ซึ่งใน ขณะที่ โ หลดทุ ก ประเภททํ า งานพร อ มกั น จะส ง ผลกระทบโดยตรง ตอคุณภาพไฟฟาที่เกิดขึ้นภายในโรงงานอุตสาหกรรม กลาวคือเกิด การเปลี่ ย นแปลงคุ ณ ลั ก ษณะรู ป คลื่ น ของ 3 องค ป ระกอบหลั ก คื อ เกิดความผิดเพี้ยนของแรงดันไฟฟา กระแสไฟฟา และความถี่ไฟฟา โดยจะส ง ผลกระทบต อ กลุ ม โหลดที่ มี ค วามไวต อ การเปลี่ ย นแปลง ดังกลาวทีเ่ กิดขึน้ เชน หมอแปลงไฟฟา มอเตอรไฟฟา คาปาซิเตอรแบงค สายตัวนําไฟฟา บัสบารทองแดง บัสเวยบริภัณฑปองกัน และบริภัณฑ เครื่องวัดทางไฟฟา เปนตน
จากปญหาที่ไดกลาวมาขางตน สวนมากจะสงผลกระทบตอการ ทํ า งานของอุ ป กรณ ไ ฟฟ า ซึ่ ง มี ส าเหตุ เ กิ ด จากความผิ ด เพี้ ย นของ แรงดันไฟฟา (Voltage Distortion) และความผิดเพี้ยนของกระแสไฟฟา (Current Distortion) หรือที่เรียกวา ‘ฮารมอนิกส’ นั่นเอง การลดทอนปริมาณฮารมอนิกสในระบบไฟฟา (Harmonics Mitigation) แนวทางในการลดทอนปริมาณของฮารมอนิกสทเี่ กิดขึน้ ในระบบไฟฟา สําหรับโหลดทีส่ รางฮารมอนิกสในระบบไฟฟาสามารถดําเนินการได โดย การติดตั้งวงจรกรองฮารมอนิกสแบบแอคทีฟฟลเตอร (Active Filter) Active Filter คือ อุปกรณไฟฟาที่ทําหนาที่ลดหรือกําจัดปริมาณ ของกระแสฮารมอนิกสที่มีไหลอยูภายในระบบไฟฟา โดยโครงสรางของ แอคทีฟฟลเตอรจะประกอบไปดวยวงจรอินเวอรเตอรที่ถูกออกแบบ มาใหทําหนาที่แทนวงจรแบบพาสซีฟ ซึ่งจะทําหนาที่วัดคากระแส ฮารมอนิกสในระบบไฟฟาเพื่อทําการวิเคราะหและคํานวณเพื่อสราง ปริมาณของกระแสฮารมอนิกสขึ้นมาใหอยูในทิศทางที่ตรงกันขามเปน มุม 180 องศาทางไฟฟากับฮารมอนิกสที่มีอยูภายในระบบ จากนั้นจึง ฉีดกระแสฮารมอนิกสทถี่ กู สรางขึน้ เขาสูร ะบบ ทําใหฮารมอนิกสในระบบ ถูกหักลางออกไปจนหมดเหลือเพียงแตกระแสไฟฟาที่ความถี่มูลฐาน (Fundamental Frequency ที่ 50 Hz) ทําใหกระแสไฟฟาในไลนกลายเปน กระแสทีป่ ราศจากฮารมอนิกสนนั่ เอง คุณสมบัตขิ องแอคทีฟฟลเตอร คือ จะไมเกิดโอเวอรโหลดไดเหมือนพาสซีฟฟลเตอร โดยทีแ่ อคทีฟฟลเตอร จะสามารถเลือกหมวดการทํางานทีเ่ หมาะสมไดเองโดยอัตโนมัติ และจะ เริ่มทําการกรองฮารมอนิกสไดหมด อีกทั้งการแกไขเพาเวอรแฟคเตอร หลักการทํางานของวงจรกรองกระแสฮารมอนิกสแบบแอคทีฟฟลเตอร 1. วัดและวิเคราะหฮารมอนิกสในระบบไฟฟา 2. กรองฮารมอนิกสออกจากระบบไฟฟาโดยตรง 3. ตรวจสอบผลการตอบสนองการกรองฮารมอนิกสใหอยูในเกณฑที่ ตองการตลอดเวลา
July-August 2015 January-February 2017
p.74-77_avera.indd 74
2/6/17 1:08 PM
อุปกรณไฟฟาสมัยใหม (High Technology) ที่เปนแหลงกำเนิดของขยะ ในระบบไฟฟา (Harmonic Distortion)
Automations
Robots
PLC
Harmonic without AFQ
รูปที่ 2 แสดงหลักการทํางานของ Active Filter โดยการจายกระแสฮารมอนิกสที่มีเฟส ตรงขาม 180° เพื่อใหไดรูปกระแสที่เปนรูปไซนที่สมบูรณ
การควบคุมวงจรกรองกระแสฮารมอนิกสแบบแอคทีฟฟลเตอร การควบคุมการทํางานของแอคทีฟฟลเตอรจะมี 2 แบบ คือ 1. การควบคุมวงรอบเปด (การควบคุมทางดาน Load Side) (Open Loop Control / Current Control without Feedback Active Filter) การควบคุมวงรอบเปดนั้นจะทําการคํานวณกระแสฮารมอนิกสทาง ดานโหลด และจะตองสรางกระแสฮารมอนิกสขึ้นมาชดเชยเพื่อที่จะ ฉีดหรือจายกระแสเขาสูระบบไฟฟา ซึ่งขอดีคือระบบควบคุมงายกวา ไมซับซอน มีความแมนยําถูกตอง แตความปลอดภัยนอยกวาเนื่องจาก ตองใช CT ชนิดพิเศษที่มีความแมนยําสูง
Inverters
Variable Frequency Drive
Rectifier
LED Lighting
Harmonic with AFQ
2. การควบคุมวงรอบปด (การควบคุมทางดาน Main Side หรือ Network Side) (Close Loop Control / Current Control with Feedback Active Filter) ซึ่งแอคทีฟฟลเตอรจะทําการวัดกระแสฮารมอนิกสดานแหลงจาย ไฟฟา และทําการคํานวณกระแสฮารมอนิกสที่ตองสรางขึ้นมาชดเชย เพื่อฉีดกลับเขาสูระบบ ขอดีคือจะสามารถควบคุมผลของการกรอง กระแสฮารมอนิกสโ ดยตรง มีความแมนยําถูกตองสูง และมีความ ปลอดภัยในการกําจัดกระแสฮารมอนิกส อยางไรก็ตามระบบควบคุมก็ จะมีความยุงยากและสลับซับซอนมากกวาทั้งยังตองการระบบควบคุม ที่มีประสิทธิภาพสูง มีความนาเชื่อถือในการแกไขปญหาฮารมอนิกส เพราะสามารถกําจัดกระแสฮารมอนิกสไดอยางแมนยํา และไมตองใช CT ชนิดพิเศษ
Advantages : High precision, Better safety Disadvantages : Higher requirement on control รูปที่ 4 การควบคุมแอคทีฟฟลเตอรแบบวงรอบปด (Close Loop Main Side)
Advantages : Simple control algorithm Disadvantages : Larger tolerance, Higher requirement on the CT รูปที่ 3 การควบคุมแอคทีฟฟลเตอรแบบวงรอบเปด (Open Loop / Load Side)
จากที่ ไ ด ก ล า วมาแล ว ในข า งต น สํ า หรั บ แนวทางในการลดทอน ปริมาณฮารมอนิกสที่อยูภายในระบบไฟฟาระหวางพาสซีฟฟลเตอร และแอคทีฟฟลเตอรคงจะเปนประโยชนตอวิศวกรหรือชางเทคนิคที่จะ นําไปเปนแนวทางในการพิจารณาหาทางเลือกกําจัดฮารมอนิกสออก ไปจากระบบไฟฟาเพื่อเปนการปรับปรุงคุณภาพไฟฟาภายในโรงงาน อุตสาหกรรมไดเปนอยางดี July-August 2015 January-February 2017
p.74-77_avera.indd 75
2/6/17 1:08 PM
ตำแหนงการติดตั้งแอคทีฟฟลเตอร การเลือกตําแหนงการติดตั้งแอคทีฟฟลเตอรที่มีความเหมาะสมจะ ทําใหกําลังสูญเสียภายในสายตัวนําไฟฟาในระบบและปญหาคุณภาพ ไฟฟา รวมทั้งการรบกวนกันเองภายในระบบลดลง 1. แบบศูนยกลาง (Central Compensation) ทํ า การติ ด ตั้ ง แอคที ฟ ฟ ล เตอร ไว ใ นบริ เวณตู MDB หรื อ หลั ง หมอแปลงไฟฟา วิธกี ารนีจ้ ะมีคา ใชจา ยในการกําจัดฮารมอนิกสนอ ยและ ยังสามารถใชงานแอคทีฟฟลเตอรในการกําจัดฮารมอนิกสจากโหลดที่ สรางฮารมอนิกสในระบบไฟฟาไดอยางมีประสิทธิภาพ ขอดี • ควบคุมกระแสฮารมอนิกสที่จุดตอรวมไดงาย • ติดตั้งเครื่องขนาดใหญเพียงเครื่องเดียว ขอเสีย • มีกําลังสูญเสียในสายตัวนําไปยังโหลดตางๆ เนื่องจากกระแสฮารมอนิกสอยู • มีผลกระทบจากฮารมอนิกสภายในระบบไฟฟา 2. แบบกลุม (Group Compensation) วิ ธี ก า ร นี้ เ ห ม า ะ ส ม ที่ สุ ด สํ า ห รั บ โร ง ง า น ทั่ ว ไ ป ที่ มี โ ห ล ด ฮาร ม อนิ ก ส เ ป น จํ า นวนมากอยู เ ป น กลุ ม ๆ Feeder หรื อ Bus เดียวกัน การติดตั้งแอคทีฟฟลเตอรแบบกลุมนี้ สามารถลดขนาดของ แอคทีฟฟลเตอรลงได นอกจากนี้ แอคทีฟฟลเตอรยังสามารถทํางาน ไดอยางเต็มประสิทธิภาพเพื่อกําจัดฮารมอนิกสจากโหลดฮารมอนิกสที่ ทํางานไมพรอมกัน อีกทั้งยังมีความงายในการแกไขปญหาในภายหลัง ขอดี • ลดกําลังสูญเสียในสายตัวนําไปยังโหลดตางๆ เนื่องจากกระแสฮารมอนิกส • ลดปญหาฮารมอนิกสในระบบลง ขอเสีย • ตองติดตั้ง Active Filter หลายเครื่อง • โหลดที่ไมไดตอ Active Filter อาจจะทําใหกระแสฮารมอนิกส ที่จุดตอรวมเกินพิกัด 3. แบบติดตั้งที่โหลดฮารมอนิกสโดยตรง (Direct Compensation) วิ ธี ก ารนี้ จ ะมี ค า ใช จ า ยในการกํ า จั ด ฮาร ม อนิ ก ส ที่ สู ง กว า ซึ่ ง จะ เหมาะสมกับโหลดฮารมอนิกสขนาดใหญๆ ที่มักทํางานสมํ่าเสมอ หากไมเปนเชนนั้นแลวแอคทีฟฟลเตอรจะไมถูกใชงานใหคุมคา ขอดี • ควบคุมกระแสฮารมอนิกสที่จุดตอรวมไดงาย • ลดกําลังงานสูญเสียในสายตัวนําไปยังโหลดตางๆ เนื่องจากกระแสฮารมอนิกส ขอเสีย • ตองติดตั้ง Active Filter หลายเครื่อง • เงินลงทุนในการติดตั้งสูง
รูปที่ 5 แสดงตัวอยางตําแหนงการติดตั้งแอคทีฟฟลเตอร
โดยทั่ ว ไปการติ ด ตั้ ง แอคที ฟ ฟ ล เตอร แ บบวิ ธี ที่ 1 และ 2 จะ เป น ที่ นิ ย ม เพราะสามารถใช ง านแอคที ฟ ฟ ล เตอร เ พี ย งชุ ด เดี ย ว เพื่อกําจัดฮารมอนิกสจากโหลดฮารมอนิกสหลายๆ ตัวได โดยการ ติ ด ตั้ ง เพิ่ ม เติ ม ในอนาคตจะทํ า ได ง า ยกว า หากมี ก ารเพิ่ ม เติ ม โหลด ฮารมอนิกส นอกจากนี้แอคทีฟฟลเตอรจะมีขนาดไมใหญเกินความ จําเปนในการติดตั้ง เนื่องจากโหลดฮารมอนิกสแตละตัวจะผลิตกระแส ฮารมอนิกสที่มีเฟสตางกันมาหักลางกันเองบางสวนไดอีกดวย การติดตัง้ แอคทีฟฟลเตอรใชงานรวมกันกับคาปาซิเตอรแบงค โดยปกติ เ มื่ อ มี ก ารขนานคาปาซิ เ ตอร แ บงค เข า สู ร ะบบไฟฟ า เพื่อปรับปรุงตัวประกอบกําลังไฟฟา ในขณะที่มีฮารมอนิกสขึ้นอยู ในระบบ อาจจะทําใหเกิดปรากฏการณเรโซแนนซแบบขนานขึ้นใน ระบบไฟฟาระหวางอิมพีแดนซของคาปาซิเตอรกับอิมพีแดนซของ ระบบได และจะเปนผลที่ทําใหมีกระแสฮารมอนิกสไหลผานเขามา ขยายตัวภายในคาปาซิเตอร จนเปนสาเหตุทําใหคาปาซิเตอรไดรับ แรงดันฮารมอนิกสสูงสุด (Over Voltage ที่ Capacitor) ทําใหเกิดความ เสียหายในลักษณะของ Dielectric Loss และเกิด Partial Discharge กับ ฉนวนของคาปาซิเตอรอันเนื่องมาจากผลของความรอน ดังนั้นการออกแบบติดตั้งคาปาซิเตอรเพื่อปรับปรุงคาตัวประกอบ กํ า ลั ง ไฟฟ า ในกรณี ที่ ใ นระบบมี ฮ าร ม อนิ ก ส แ ละใช ง านควบคู กั บ แอคทีฟฟลเตอร จะตองติดตัง้ อุปกรณปอ งกันขึน้ เปนพิเศษสําหรับระบบ ไฟฟา เชน ดีจนู ฟลเตอร เพือ่ ปองกันการขยายตัวของกระแสฮารมอนิกส ภายในคาปาซิเตอรได อีกทั้งยังชวยปรับปรุงคาตัวประกอบกําลังไฟฟา ไดเปนอยางดี ซึ่งจะเปนผลที่ทําใหมีกระแสฮารมอนิกสไหลเขาสูระบบ ไฟฟาในปริมาณที่ลดลงนอยกวาที่มาตรฐานกําหนด การติดตั้งแอคทีฟฟลเตอรควรติดตั้งดานหลังจากคาปาซิเตอรตาม รูปที่ 6 โดยที่แอคทีฟฟลเตอรจะทําการกําจัดฮารมอนิกสทําใหรูปคลื่น กระแสเขาใกลรปู คลืน่ ไซน และสําหรับคาปาซิเตอรจะทําหนาทีป่ รับปรุง คาตัวประกอบกําลังไฟฟาตอไป ซึง่ ทําใหกระแสกระชากของคาปาซิเตอรมี ขนาดลดลงและทําใหอายุการใชงานของคาปาซิเตอรยาวนานยิง่ ขึน้
July-August 2015 January-February 2017
p.74-77_avera.indd 76
2/6/17 1:08 PM
ตารางแสดงคุณสมบัติของฮารมอนิกสฟลเตอรแตละชนิดในการเลือกใชงาน คุณสมบัติ
Active Filter
การกําจัด ฮารมอนิกส
สามารถแยกกําจัดแตละลําดับได แตตองติดตั้งวงจรกรองเรียงตั้งแต ลําดับต่ําเสมอเพื่อปองกันการ เกิดเรโซแนนซ
สามารถแยกกําจัดฮารมอนิกส ลําดับใดๆ ก็ไดหรือจะกําจัด หมดก็ได
ขนาด
ใหญ
เล็กกวา
ความสามารถใน การกําจัด ฮารมอนิกส
ขึ้นอยูกับคาอิมพีแดนซของ แหลงจาย โดยออกแบบให คา Q สูง
ไมขึ้นอยูกับคาอิมพีแดนซของ แหลงจาย กําจัดฮารมอนิกส ลําดับสูงๆ ไดไมดี
ความเปลี่ยนแปลง ของความถี่ แหลงจาย
คุณสมบัติการกรองลดลง โดย เฉพาะเมื่อคา Q สูงๆ
ไมมีการเปลี่ยนแปลง
การเพิ่มปริมาณ ของฮารมอนิกส
ทําใหเกิดโหลดเกิน เกิดความรอน และเสียหายได การเพิม่ ขนาด กําลังโดยการขนานวงจรกรองตอง ระมัดระวังเมือ่ มีการแบงโหลด
ไมเกิดโหลดเกิน และสามารถเพิ่ม ขนาดกําลังไดงาย โดยเพิ่มเฉพาะ ในสวนของวงจรอินเวอรเตอร
ปริมาณกําลัง รีแอคทีฟ
จายกําลังรีแอคทีฟเสมอ ซึ่งอาจเกินความตองการ
เลือกใหจายกําลังรีแอคทีฟ หรือไมก็ไดตามที่ผูใชกําหนด
กําลังงานสูญเสีย
นอย
มากกวา (ประสิทธิภาพมากกวา 90%)
ราคา
ถูกกวา
แพงกวา
ปญหาเรโซแนนซ กับอิมพีแดนซของ แหลงจาย
อาจเกิดเรโซแนนซแบบขนาน เมื่อมองจากโหลด หรือ เรโซแนนซแบบอนุกรมเมื่อมอง จากแหลงจาย ทําใหเกิดกระแส และแรงดันเกินในวงจรกรอง
ไมมี
การวิเคราะห อิมพีแดนซของ ระบบ
ตองวิเคราะหอยางละเอียด
โดยทั่วไปไมจําเปน
การออกแบบ
เปนกรณี
ใชงานไดทันทีโดยไมตองออกแบบ
รูปที่ 6 แสดงการติดตั้งแอคทีฟฟลเตอรใชงานรวมกันกับคาปาซิเตอร
จากรูปที่ 6 เปนการติดตั้งแอคทีฟฟลเตอรที่ถูกตอง เนื่องจาก ชุ ด วั ด กระแสไฟฟ า CT ของแอคที ฟ ฟ ล เตอร จ ะวั ด ปริ ม าณของ กระแสฮารมอนิกสที่มีอยูในระบบดานแหลงจายไฟฟาไดอยางแมนยํา และทําการคํานวณกระแสฮารมอนิกสที่ตองสรางขึ้นมาชดเชยเพื่อ ฉีดกลับเขาสูระบบ ซึ่งจากรูปจะเปนการควบคุมแบบวงรอบปด (Close Loop Control/Main Side) ทําใหมีความแมนยําถูกตองสูงในการกําจัด กระแสฮารมอนิกส จากตัวอยางระบบไฟฟารูปที่ 6 จะเปนการกําจัดฮารมอนิกสภายใน ระบบไฟฟาโดยการติดตั้งแอคทีฟฟลเตอร (Active Filter) ปองกันกระแส ฮารมอนิกสไหลเขาไปขยายตัวภายในคาปาซิเตอรแลวจะถูกปองกันโดย พาสซีฟฟลเตอร (Passive Filter) หรือทีเ่ รียกวาดีจนู ฟลเตอร (Detuned Filter) โดยทั่วไปการติดตั้งแอคทีฟฟลเตอรเขาไปในระบบไฟฟาเพียงแค ทําหนาที่กําจัดฮารมอนิกสที่มีอยูภายในระบบไฟฟาอยางเดียวเทานั้น ซึ่งถือไดวาเปนหนาที่หลักของแอคทีฟฟลเตอร ในสวนของการปรับปรุง คาตัวประกอบกําลังไฟฟาก็ใหเปนหนาที่ของดีจูนฟลเตอร (Detuned Filter) แตสิ่งที่สําคัญที่สุดในการติดตั้งแอคทีฟฟลเตอรนั้น โดยเฉพาะ ติดตั้งแบบศูนยกลาง (Central Compensation) เพื่อความปลอดภัยและ ประสิทธิภาพสูงสุดในการใชงานแอคทีฟฟลเตอรมีความจําเปนอยางยิ่ง ที่จะตองปรับปรุงตูคาปาซิเตอรแบงคเดิมใหเปนดีจูนฟลเตอรเทานั้น อันเนื่องมาจากวาแอคทีฟฟลเตอรที่ติดตั้งรูปที่ 6 นั้นจะกลายเปนโหลด อยูในระบบไฟฟา ทั้งนี้คือแหลงจายฮารมอนิกส (Harmonics Source) นั่นเอง ซึ่งในบางชวงเวลาแอคทีฟฟลเตอรจะฉีดกระแสฮารมอนิกส ไหลเขาไปขยายตัวภายในคาปาซิเตอรจนทําใหเกิดความเสียหายขึ้นได ภายหลังการติดตั้งและใชงานแอคทีฟฟลเตอรจะกรองฮารมอนิกส ออกจากระบบไฟฟาใหอยูภายในเกณฑที่ตองการตลอดเวลา โดย ปรับปริมาณการกรองอัตโนมัติ และมีการตรวจสอบการทํางานของ ตัวเองตลอดเวลาเพื่อใหมีประสิทธิภาพในการแกปญหาสูงสุด
Passive Filter
ประเภทรุรกิจที่ควรติดตั้ง ACTIVE FILTER • • • • • • • • •
Data processing centres Airports Banking institutions Telecommunications centers Presses facilities Office buildings Audiovisual centres Universities Welding systems
• • • • • • • •
Fuel and gas plants Water treatment plants Automotive plants Cement plants Paper plants Hotels Shopping centres etc.
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่
บริษัท เอวีรา จำกัด
อาคารศุภาลัยแกรนด ทาวเวอร หองเลขที่ 02, 03 ชัน้ ที่ 15 เลขที่ 1011 ถนนพระราม 3 แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120
avera.co.th
Tel : 088-001-0416 E-mail : sales@avera.co.th Website : www.avera.co.th July-August 2015 January-February
p.74-77_avera.indd 77
2/6/17 1:08 PM
IT Article
> สํานักงานสงเสริมอุตสาหกรรมซอฟตแวรแหงชาติ (องคการมหาชน)
ซิปา ประกาศความสําเร็จโครงการขึน้ ทะเบียนและรับรองผูป ระกอบการ SIPA announces project success in registration ซอฟตแวรและดิจทิ ลั คอนเทนตไทย ตบเทาเขารับการขึน้ ทะเบียนนับรอยราย and certification for Thai software and digital contents หลังเปดโครงการฯ 8 เดือน พรอมขับเคลื่อนและกระตุนการใชซอฟตแวร operators, registering over 100 operators after 8 months ไทย เปดเวทีประกวดเฟนหาองคกรธุรกิจจากทั่วประเทศที่ใชซอฟตแวร of project launch, ready to drive and encourage the use เพิม่ ศักยภาพใหธรุ กิจและลดคาใชจา ยองคกรอยางมีประสิทธิภาพ ลาสุด of Thai software, organizing contest forum countrywide บริษัท ไอเอสเอส อินเตอรเนชั่นแนล เซอรวิส ซิสเต็ม จํากัด ควารางวัล in search of business organizations using software to ชนะเลิศตนแบบการใชซอฟตแวรขับเคลื่อนธุรกิจใหมีศักยภาพและ enhance business competitiveness and reduce organization การเติบโตทางธุรกิจ cost with efficiency. Lately ISS International Service System จีราวรรณ บุญเพิม่ ประธานกรรมการบริหาร สํานักงานสงเสริม Co., Ltd., wins the Award for piloting the use of business อุตสาหกรรมซอฟตแวรแหงชาติ (องคการมหาชน) หรือซิปา กลาววา software to achieve business efficiency and growth. ซิปาขอประกาศความสําเร็จกับภารกิจการสงเสริมและสนับสนุน Mrs.Jirawan Boonperm, Chairman of the Executive ศั ก ยภาพผู ป ระกอบการในอุ ต สาหกรรมซอฟต แวร แ ละดิ จิ ทั ล Board of Software Industry Promotion Agency (Public คอนเทนตไทย จากการดําเนินงาน “โครงการขึ้นทะเบียนและ Organization) or SIPA, disclosed “SIPA is pleased to declare รับรองผูประกอบการซอฟตแวรและดิจิทัลคอนเทนตไทย” mission success to promote and support potentials of Thai เพื่อสนับสนุนสงเสริมผูประกอบการใหไดรับการยอมรับ และ software and digital contents operators in the project “Registration มัน่ ใจในการใชซอฟตแวรไทยยิง่ ขึน้ ซึง่ โครงการฯ ดังกลาวไดจดั and Certification for Thai software and digital content กิจกรรมโฟกัสกรุป เพื่อรับฟงความคิดเห็นจากผูประกอบการ operators” in order to support the operators to ensure acceptance January-February 2017
p.78-80_it article.indd 78
1/26/17 5:18 PM
ซอฟตแวรและดิจิทัลคอนเทนตไทย พรอมดวยการจัดกิจกรรม โรดโชวประชาสัมพันธไปยังสวนภูมิภาค ประกอบดวย จังหวัด เชียงใหม ขอนแกน ภูเก็ต และในสวนกลางคือ กรุงเทพฯ ตลอดระยะเวลาการดํ า เนิ น งาน 8 เดื อ นที่ ผ า นมา ไดรบั ความสนใจและตอบรับจากผูป ระกอบการเขารวมโครงการฯ 200 ราย ตามที่ตั้งเปาไวในปแรกจะมีผูประกอบการขึ้นทะเบียน 200 ราย นับเปนอีกกาวของความสําเร็จในการดําเนินโครงการฯ ซึ่งจะทําใหบริษัทตางๆ หรือองคกรธุรกิจที่ตองการจะเลือกซื้อ ซอฟตแวร สามารถคนหา ตรวจสอบ ผูใหบริการ จําหนาย ซอฟตแวรไดสะดวก มีขอ มูลครบถวน และตรงกับความตองการ ของบริษัทหรือผูใชงานอีกดวย
and confidence in using Thai software. The project arranges a focus group activity to receive opinion from Thai software and digital contents operators together with the public relation roadshow in Bangkok and regions including Chiangmai, Khonkaen and Phuket. Throughout the 8 months of project period, over 200 interested operators have participated in the project set as the first year target with 200 registers operators. Companies or business organizations willing to purchase software conveniently source and verify software distributors and service providers with complete information relevant to Company or user demand.”
ดาน มีธรรม ณ ระนอง รองผูอํานวยการ สํานักงาน สงเสริมอุตสาหกรรมซอฟตแวรแหงชาติ (องคการมหาชน) หรือ ซิปา กลาววา โครงการขึ้นทะเบียนและรับรองผูประกอบการ ซอฟตแวรและดิจทิ ลั คอนเทนตไทย จัดทําขึน้ เพือ่ เปนศูนยกลาง ฐานขอมูลของกลุมผูประกอบการซอฟตแวรไทย ซึ่งมีขอมูล เกี่ยวกับสินคาและบริการซอฟตแวร เพื่อใหองคกรธุรกิจและ ประชาชนที่มีความสนใจหรือกําลังมองหาซอฟตแวรเพื่อไป ใชงานมีขอมูลในการตัดสินใจ และยังเปนบริษัทซอฟตแวรที่มี ความนาเชื่อถือ นอกจากนี้ยังเปนการสนับสนุนและกระตุน ใหเกิดการนําเทคโนโลยีไปใชในภาคอุตสาหกรรมตางๆ อีกดวย และยังเปนการชวยสรางเครือขายความรวมมือภายในกลุม ผูใหบริการและผูประกอบการทางดานซอฟตแวร พรอมทั้ง ยังชวยขยายฐานตลาดภาคอุตสาหกรรมซอฟตแวรไทยไปสู การแขงขันในตลาดโลก สําหรับแผนการดําเนินงานโครงการฯ ในปตอไป ซิปา มุ ง หวั ง ในการขึ้ น ทะเบี ย นผู ป ระกอบการซอฟต แวร เ พิ่ ม ขึ้ น อยางนอยปละ 200 ราย และมีการอัพเดตขอมูลใหมที่บางราย
Mr.Meetham Na Ranong, Vice President of Software Industry Promotion Agency (Public Organization) or SIPA, unveils “The project Registration and Certification for Thai software and digital contents operators has been established to serve as the Thai software operator information center providing software product and service information for interested business organization and people looking for software to make decision from the list of trusted software companies. Moreover the project supports and encourages the application of technology to various industries, build cooperation network between software service providers and entrepreneurs as well as expanding market base for Thai software industry to global competition. Regarding the operation plan next year, SIPA expects to increase at least 200 registered operators per year and update information change if applicable, followed up by dedicated officers on a regular basis to maintain a prime source of Thai software industry information playing a key role in promoting, supporting January-February 2017
p.78-80_it article.indd 79
1/26/17 5:18 PM
อาจมีการเปลี่ยนแปลง โดยมีเจาหนาที่ติดตาม ตรวจสอบอยางตอเนื่อง เพื่อเปนฐานขอมูลสําคัญของอุตสาหกรรมซอฟตแวรไทยในการสงเสริม สนั บ สนุ น และพั ฒ นาซอฟต แวร ใ ห ไ ด ม าตรฐาน พร อ มผลั ก ดั น สู ก าร สงออกไปตลาดตางประเทศ ซึ่งที่ผานมามีบริษัทซอฟตแวรไทยหลายแหง มีลูกคาจากตางประเทศใหการยอมรับและเลือกใชงานเปนจํานวนมาก โดยจากผลสํ า รวจมู ล ค า การส ง ออกซอฟต แวร แ ละบริ ก ารซอฟต แวร พ.ศ. 2558 ของประเทศไทยมีมูลคา 3,330 ลานบาท เติบโต 0.3% ขณะที่ ก ารนํ า เข า ซอฟต แวร แ ละบริ ก ารซอฟต แวร จ ากต า งประเทศ มีมลู คา 32,944 ลานบาท ทัง้ นีจ้ ะเห็นไดวา มูลคาการสงออกเมือ่ เทียบเทา นําเขายังแตกตาง หากซอฟตแวรไทยไดรับการสนับสนุนและสงเสริม มั่นใจวาจะสามารถผลักดันสูตลาดโลกไดเพิ่มมากขึ้น นอกจากนีผ้ ลการสํารวจยังระบุเพิม่ เติมวาใน พ.ศ. 2559 มูลคาการ ผลิตซอฟตแวรและบริการซอฟตแวรยังคงมีการเติบโตอยางตอเนื่อง โดยคาดการณอัตราการเติบโตราว 4.4% ดวยมูลคา 54,893 ลานบาท ขณะที่ พ.ศ. 2560 คาดวาจะมีอัตราการเติบโต 4.3% ดวยมูลคา 57,257 ลานบาท ทั้งนี้ซิปามีเปาหมายที่จะสงเสริมศักยภาพทั้งดานบุคลากร การทําตลาด รวมถึงการจัดกิจกรรมสัมมนาใหแกผปู ระกอบการซอฟตแวร รวมทั้งองคกรที่จะนําซอฟตแวรไปใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหแกธุรกิจ อยางตอเนื่อง และขยายเพิ่มขึ้นใหครอบคลุมทุกกลุมอุตสาหกรรม พรอมกันนีท้ างซิปา ยังไดจดั เวทีประกวดองคกรทีน่ าํ ซอฟตแวรไทย ไปใชในการบริหารจัดการธุรกิจเพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน ลดตนทุนและเวลาใหไดผลจริง โดยมีหลักเกณฑการพิจารณาคัดเลือก จากคณะกรรมการผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ ประกอบด ว ยวั ต ถุ ป ระสงค ก ารใช ซอฟตแวร สามารถลดหรือแกไขปญหาขององคกร หรือเพิม่ ประสิทธิภาพ การดําเนินกิจกรรมขององคกร ความสามารถในการทํางานของซอฟตแวร ซึ่ ง สามารถตอบสนองต อ การทํ า งาน อํ า นวยความสะดวกและเกิ ด ประสิทธิภาพในการทํางานตรงตามวัตถุประสงค จุดเดนของซอฟตแวร ที่เลือกใช ตอบสนองความตองการของผูใชงาน ผลลัพธที่ไดรับจากการ ใชซอฟตแวร ซึ่งตองมีความเปลี่ยนแปลงกอนและหลังการใชซอฟตแวร พรอมดวยการนําเสนอและการตอบคําถาม ซึ่งในการประกวดครั้งนี้ ไดรับความสนใจสมัครเขารวมกิจกรรมกวา 100 ราย ผูชนะจะไดรับ โลประกาศเกียรติคุณและเงินรางวัล โดยมีผลรางวัลดังนี้ รางวัลที่ 1 (มี 1 รางวัล) ไดแก บริษัท ไอเอสเอส อินเตอร เนชั่นแนล เซอรวิส ซิสเต็ม จํากัด โดยใชซอฟตแวรของบริษัท ชัวร ซัคเซค โซลูชั่น จํากัด รางวัลที่ 2 (มี 1 รางวัล) ไดแก บริษัท สุวรรณไพศาลขนสง 2010 จํากัด โดยใชซอฟตแวรของบริษัท โปรจิเทค จํากัด รางวัลที่ 3 (มี 3 รางวัล) ประกอบดวย บริษัท เอสดีเอส เคอร จํากัด (เคอร ไทยแลนด) โดยใชซอฟตแวรของบริษัท ไอ คอนเน็ค มาร เ ก็ ต ติ้ ง จํ า กั ด และร า นโซนไนน โดยใช ซ อฟต แวร ข องบริ ษั ท พี เอ็น พี โซลูชั่น จํากัด และบริษัท ขอนแกนซิตี้บัส จํากัด โดยใช ซอฟตแวรของบริษัท จัมป อัพ จํากัด ทั้งนี้ในการจัดทําโครงการฯ ดังกลาวถือเปนชองทางสําคัญให ผูประกอบการซอฟตแวรและผูใชงานไดพบกัน โดยมุงหวังยกระดับ จัดทัพและเสริมศักยภาพซอฟตแวรไทยใหแข็งแกรงในเวทีโลก
and developing standard software leading to export market. So far a number of Thai software companies have been accepted and selected by foreign customers. According to the 2015 survey, Thailand exported 3.33 billion Baht value of software products and services or a 0.3% growth while imported 32.944 billion Baht value of software products and services. As we can see the wide gap of export value compared with import, there is ample opportunity for Thai software to be supported and promoted to world market. In addition, the survey indicates that software products and services in 2016 continues to grow with 54.893 billion Baht value or a 4.4% growth and projected 57.257 billion Baht value or a 4.3% growth in 2017. SIPA targets to support personnel and marketing capabilities and will continue to host seminar for software entrepreneurs and the organizations planning to use software to enhance business efficiency and expanding to cover every industry. SIPA organizes contest forum for the organizations using Thai software to manage business, increase efficiency, save cost and reduce time, selected by the expert Committee with criteria consisting of objectives, problem solving, operation efficiency, software capacity to support and facilitate works with efficiency as per objectives, software highlight, ability to respond to user requirements and performance improvement after using software through presentation and Q&A session. The contest draws attentions from over 100 participants. The finalists winning honorary shield and cash prize include; Winner (1 Award): ISS International Service System Co., Ltd. using software of Sure Success Solution Co., Ltd. 1st Runner-up (1 Award): Suwanpaisarn Transportation 2010 Co., Ltd. using software of Progitech Co., Ltd. 2nd Runner-up (3 Awards): SDS Kerr Co., Ltd. (Kerr Thailand) using software of I Connect Marketing Co., Ltd., So Nine shop using software of PNP Solution Co., Ltd. and Khonkaen City Bus Co., Ltd. using software of Jump Up Co., Ltd. The project offers an important channel for software entrepreneurs and users to meet, in an effort to upgrading, organizing and reinforcing Thai software to be competitive in the world market. Interested companies may join the project by registering at http://member.sipa.or.th/register. php. For more information, call 0 2141 7101
January-February 2017
p.78-80_it article.indd 80
1/26/17 5:18 PM
ABB Motor Starter ดวยเทคโนโลยีอันล้ําหนาของเอบีบี ที่ไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่องในกลุมผลิตภัณฑสําหรับควบคุม และปองกันมอเตอร ทําใหเอบีบีสามารถนําเสนอชุดสตารตมอเตอรรุนใหมที่ไดรับการออกแบบอยาง ชาญฉลาด และยังใชงานไดงายอีกดวย โดยชุดสตารตจะประกอบไปดวย Manual Motor Starter รุน MS132, Contactor รุน AF09…AF38, Overload relays รุน TF & EF และ Softstarter ในรุน PSR โดยสามารถสตารต มอเตอรไดสูงถึง 18.5kW หรือ 20hp ● มีฟงกชันการปองกันกระแสลัดวงจรและกระแสเกินดวย Manual Motor Starter ● สามารถเลือกใชไดทั้ง Thermal และ Electronic overload relays ● ชุดสตารตเตอรทุกตัวมีขนาดความกวางที่ 45 มิลลิเมตร เทากัน ● ชวยใหประหยัดทั้งเวลาและตนทุน
SACE EMAX 2 สรางนิยามใหมดวยเทคโนโลยีที่ล้ําหนาของ SACE EMAX 2 รุนใหมลาสุดจากเอบีบี แตกตางจากเซอรกิต เบรกเกอรทั่วๆ ไปอยางเหนือชั้น ดวยเทคโนโลยี Power Manager ที่จะชวยควบคุมระบบไฟฟาใหใชพลังงานได อยางมีประสิทธิภาพ ชวยลดคาพลังงานไฟฟา SACE EMAX 2 มาพรอมกับอุปกรณหนวยประมวลผล (trip unit) รุน Ekip โดยสามารถเลือกใชรนุ ทีม่ าพรอม กับจอแสดงผลแบบสัมผัสขนาดใหญ หนาจอสี อีกทั้งสามารถตั้งโปรแกรมและดูสถานะของระบบไดทั้งทาง แท็บเลตหรือสมารทโฟนทั้งในระบบ iOS หรือ Android หรือผานคอมพิวเตอร นอกจากจะงายตอการติดตั้ง และอานคาแลว ยังสามารถวัดปริมาณกระแสไฟฟาและพลังงานไฟฟาดวยความแมนยํา สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ บริษัท เอบีบี จํากัด โทร. 0-2665-1000 www.abb.com/connecttocontrol
ชุดพาวเวอรไลน รุน AV500 Powerline
Ac Wi-Fi Kit TL-WPA1530 KIT
TP-Link ผูใหบริการผลิตภัณฑเครือขาย Wi-Fi วางจําหนายอุปกรณพาวเวอรไลน AV500 Powerline ac Wi-Fi-Kit TL-WPA1530 KIT ความเร็วสูงถึง 500 Mbps สามารถสงขอมูลความเร็วสูงผานสายไฟฟา ในบานสําหรับการสตรีมมิ่งวิดีโอ HD หรือวิดีโอ 3D และการเลนเกมออนไลน ที่ใหสัญญาณ Dual Band802.11ac Wi-Fi – ดวยความเร็ว Wireless Dual Band 2.4GHz (300 Mbps) + 5GHz (433Mbps) ชวยขยายการเชื่อมตอ Wi-Fi ไปยังทุกๆ หองในบาน และการออกแบบใหมีปุม Clone Wi-Fi ยังชวยลด ความยุงยากในการตั้งคา Wi-Fi เหมาะสําหรับตลาด SOHO (Home Office / Small Office) ชุด Powerline รุน AV500 มีพอรต LAN 3 พอรตที่ตัว TL-WPA4230 ใหการเชื่อมตอแบบมีสายสําหรับอุปกรณแบบใชสายไดถึง 3 พอรต ในตัวเดียว เชน เครื่องคอมพิวเตอร เกมคอนโซล และสมารททีวี กับเครือขายในบานก็สามารถทองอินเทอรเน็ตไดสะดวก ปดไฟ LED ดวยการกดปุม LED On/Off หรือควบคุมดวย App tpPLC*บนสมารทโฟน หรือ Utility TpPLC บนเครื่องคอมพิวเตอร รวมทั้งผูใชสามารถดาวโหลด app tpPLC สําหรับ iOS และ Android มาใชงานไดสะดวก ● อุปกรณ Powerline จะตองมีการเชื่อมตอกับไฟวงจรเดียวกันและจะตองใชเปนคูหรือมากกวา ● อุปกรณ Powerline TP-Link ทํางานรวมกับ HomePlug AV หรือ HomePlug AV2 อุปกรณ Powerline ใชงานรวมกันไดกับทุกแบรนด สนใจขอมูลเพิ่มเติมคลิก www.tp-link.co.th หรือ https://www.facebook.com/TPLinkTH/ January-February 2017
p.81-83_product.indd 81
1/26/17 5:18 PM
In-Sight VC200 มัลติสมารทคาเมราว�ชั่น กลองวิชั่นซิสเต็มสแบบมัลติสมารทคาเมราตัวแรกของโลก ที่พัฒนาขึ้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การทํางานใหรวดเร็วขึ้นตามจํานวนกลองแตละตัวที่เพิ่มเขามา In-Sight® VC200 ซีรีส ซึ่งเปน ผลิตภัณฑในตระกูลกลองวิชั่นซิสเต็มสแบบมัลติสมารทคาเมรา In-Sight VC200 ซีรีสเปนการ นําประสิทธิภาพและความนาเชื่อถือของ In-Sight วิชั่นซิสเต็มสมาผนวกรวมเขากับการใชงาน กลองวิชั่นซิสเต็มสมัลติสมารทคาเมรา In-Sight VC200 รวมเอา HMI ที่ใชงานบนเว็บและปรับแตงไดอยางเต็มที่ เพื่อใหการเฝาดู และควบคุมการเขาถึงสําหรับแตละระดับผานการปกปองโดยใชรหัสผาน ดวย In-Sight VC200 ผูปฏิบัติงานสามารถเรียกดูการตรวจสอบ วิศวกรฝายควบคุมสามารถปรับเปลี่ยนคาพารามิเตอร และผูจัดการโรงงานสามารถตรวจสอบประสิทธิภาพการทํางานเชิงสถิติไปพรอมๆ กัน ผานระบบ ปฏิบัติการ iOS®, Android®® หรือจากอุปกรณใดๆ ที่รันบน Windows® รวมกับเว็บบราวเซอร เชนเดียวกับ In-Sight วิชั่นซิสเต็มสในทุกๆ รุน การตั้งคาการใชงานมัลติคาเมราใน In-Sight VC200 นั้นงายมาก ดวยประสิทธิภาพของซอฟตแวร In-Sight Explorer เวิรคโฟลวแบบกราฟก ชวยใหการใชงานระบบวิชนั่ เรียบงาย โดยระบบจะทําการแยกขัน้ ตอนการตรวจสอบลงในทูลสบล็อก นอกจากนี้ยังสามารถเขาถึง In-Sight วิชั่นทูลส (ที่รวมเอาเทคโนโลยี PatMax Redline, OCRMax และอื่นๆ) ผานอินเตอรเฟซแบบสเปรดชีตที่คุนเคย สําหรับขอมูลเพิ่มเติม โปรดเยี่ยมชม www.cognex.com/VC200
StruxureWare Data Center Operation v8.0 ชไนเดอร อิเล็คทริค ประกาศเปดตัว StruxureWare Data Center Operation v8.0 ตอยอดความสามารถ StruxureWare สําหรับ Data Centers และชุดซอฟตแวรบริหาร จัดการระบบโครงสรางดาตาเซ็นเตอร (Data Center Infrastructure Management (DCIM) จากชไนเดอร อิเล็คทริค โดยระบบปฏิบตั กิ ารดาตาเซ็นเตอร เวอรชนั่ 8.0 นี้ รวมฟงกชนั ใหมที่ชวยใหผูที่เกี่ยวของในดาตาเซ็นเตอร รวมถึงผูเชาบริการโคโลเคชั่น สามารถ มองเห็นสินทรัพยทั่วทั้งระบบไอทีที่สําคัญตางๆ ไดดียิ่งขึ้น ชวยเพิ่มประสิทธิภาพ ใหการบริหารจัดการดาตาเซ็นเตอรในหลายสวน สรางสมดุลดานความพรอมของ ระบบงานและประสิทธิภาพการทํางานในชวงพีค ตลอดชวงวงจรการทํางานของดาตา เซ็นเตอร เนื่องจากซอฟตแวร V8.0 สรางบนฟเจอรของ StruxureWare Data Center Operation รุนปจจุบัน จึงชวยใหสามารถบริหารจัดการดาตาเซ็นเตอรไดอยางงายดาย StruxureWare Data Center Operation v8.0 เปนชุดซอฟตแวรบริหารจัดการดาตาเซ็นเตอร ที่ไดรับการ ออกแบบมาเพื่อรวบรวมและจัดการขอมูลเกี่ยวกับอุปกรณตางๆ ในดาตาเซ็นเตอร รวมถึงการใชทรัพยากร และสถานะการทํางานของดาตาเซ็นเตอร ตลอดวงจรชีวิตการทํางานของดาตาเซ็นเตอรนั้นๆ ซึ่งขอมูลดังกลาว จะใชเปนแนวทางชวยใหผูดูแลเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของดาตาเซ็นเตอรไดตามเปาหมาย ทั้งเรื่อง การบริการ เรื่องธุรกิจ และตอบโจทยไอทีดวยเชนกัน สําหรับขอมูลเพิ่มเติม โปรดเยี่ยมชม www.schneider-electric.com/th January-February 2017
p.81-83_product.indd 82
1/26/17 5:18 PM
UCS S-Series สําหรับการจัดเก็บขอมูล ชุดโซลูชันคลาวดระดับองคกร
ซิสโกเปดตัว UCS S-Series หมวดหมูใหมของเซิรฟเวอรที่ปรับแตงเปนพิเศษสําหรับสตอเรจ ภายใตกลุมผลิตภัณฑ Cisco Unified Computing System™ (USC) ซึ่งออกแบบเปนพิเศษเพื่อตอบสนอง ความตองการของเวิรกโหลดที่มีการประมวลผลขอมูลจํานวนมาก เชน บิ๊กดาตา (Big Data) และสําหรับ การใชงานสตอเรจทีก่ าํ หนดดวยซอฟตแวร การจัดเก็บขอมูลแบบอ็อบเจ็กต และโซลูชนั การปกปองขอมูล UCS S- Series สามารถจัดการกับการเพิม่ ขึน้ อยางรวดเร็วของขอมูลทีไ่ มมโี ครงสราง ซึง่ สรางดวย Internet of Things, วิดโี อ, โมบิลติ ,ี้ การทํางานรวมกัน และระบบวิเคราะหขอ มูลขัน้ สูง ดังนัน้ องคกรธุรกิจจึงสามารถ เขาถึงและวิเคราะหขอมูลอยางรวดเร็ว เพื่อสรางขอมูลเชิงลึกในแบบเรียลไทม สตอเรจเซิรฟ เวอร UCS S3260 ซึง่ เปนผลิตภัณฑรนุ แรกในตระกูล UCS S-series รองรับการใชงาน ที่หลากหลาย ปรับขนาดไดอยางรวดเร็ว สามารถเชื่อมตอกับระบบคลาวด ชวยใหลูกคากลั่นกรองขอมูล ขาวกรองและขอมูลเชิงลึกทางดานธุรกิจ พรอมกันนี้ ซิสโกไดเปดตัวชุดโซลูชนั ONE Enterprise Cloud Suite รุน ใหม ซึง่ เปนโซลูชนั ซอฟตแวร สําหรับไฮบริดคลาวดทมี่ อบอิสระในการเลือกใชงานสําหรับทีมงานฝายแอพพลิเคชัน และนําเสนอพอรทลั บริการตนเองที่สามารถปรับแตงสําหรับผูใช ผูพัฒนาแอพพลิเคชัน และบุคลากรฝายไอที ดูขาวและขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับซิสโกไดที่ newsroom.cisco.com
Philips LED SceneSwitch รุนใหม บริษัท ฟลิปส อิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด เปดตัวหลอดไฟ Philips LED SceneSwitch–Brightness Change หลอดไฟแอลอีดีรุนใหม ที่มาพรอมกับคุณสมบัติที่สามารถปรับความสวางของแสงได 3 ระดับในหลอดเดียว โดยสามารถใชสวิตชไฟตัวเดิมโดยไมตองมีอุปกรณใดๆ เพิ่มเติม ตอบโจทยทุกความตองการที่หลากหลายของผูบริโภค ชวยสรางบรรยากาศและปรับอารมณใหเหมาะสมสําหรับกิจกรรมตางๆ ภายในบาน ไมวา จะเปนการแตงหนา การทําอาหาร หรือการพักผอน หลอดไฟ Philips LED SceneSwitch–Brightness Change มีโทนสีใหเลือก 2 แบบ ไดแก คูลเดยไลทหรือแสงขาว (6500k) และโทนแสงวอรมไวทหรือแสงเหลืองนวล (3000K) มาในหลอดขนาด 9 วัตต และสามารถปรับความสวาง ของแสงได 3 ระดับ ตามความตองการในการใชงานของผูบริโภค ตั้งแต Bright light (6,5000K/800Lm) มีระดับความสวาง ของแสงเต็ม 100% เหมาะสําหรับชวงเวลาที่ตองการแสงสวางในการทํางาน Normal light (6,500K/320Lm) มีระดับความ สวางของแสง 40% ใกลเคียงกับแสงธรรมชาติ และ Low light (6,500K/80Lm) มีระดับมีความสวางของแสง 10% เหมาะกับชวงเวลาที่ตองการใชแสงนอย เชน เวลาชมภาพยนตร นอกจากนี้ หลอดไฟ Philips LED SceneSwitch– Brightness Change ยังชวยประหยัดพลังงานไดสูงสุด 87% พรอมอายุการใชงานที่ยาวนานถึง 15 ป หลอดไฟ Philips LED SceneSwitch–Brightness Change มีวางจําหนายแลว ในราคา 259 บาท สามารถหาซื้อไดตามหาง สรรพสินคาชั้นนําทั่วไป และรานคาตัวแทนจําหนายหลอดไฟ ฟลิปสทั่วประเทศ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ศูนยขอมูลผูบริโภค ฟลิปส โทร. 0-2268-8522 หรือสามารถชมวิดีโอเกี่ยวกับ หลอดไฟ Philips LED SceneSwitch–Brightness Change ไดที่ http://bit.ly/2beyNcs และติดตามขาวสารเกีย่ วกับฟลปิ ส ไดที่ www.facebook.com/philipslilghtingthailand January-February 2017
p.81-83_product.indd 83
1/26/17 5:18 PM
ABB รวมมือ FIBO พัฒนาหุนยนตตอบโจทยอุตสาหกรรม ABB & FIBO to develop robotic for industrial support.
ตัวแทนบริษทั เอบีบี จํากัด และผูอ าํ นวยการสถาบันวิทยาการ หุน ยนตภาคสนาม มจธ. ไดรว มลงนามความรวมมือในโครงการสงเสริม และพัฒนาการเรียนรูด า นวิทยาการหุน ยนตและระบบอัตโนมัติ ระหวาง ABB และ FIBO ณ สถาบันวิทยาการหุนยนตภาคสนาม มจธ. โดยทาง เอบีบีไดสงมอบหุนยนต YuMi ซึ่งเปนหุนยนตแขนกลของทางบริษัท ใหแก FIBO เพือ่ นําไปพัฒนาตอใหเกิดประโยชนในดานตางๆ โดยเฉพาะ งานวิจัย การพัฒนาเชิงอุตสาหกรรม การแพทย และการเรียนการสอน ABB’s representative and Director of the Institute of Field Robotics / KMUTT had signed for cooperated project to promote & develop field robotics and automation system learning between ABB and FIBO at the Institute of Field Robotics / KMUTT. ABB had delivered his Arm Robot YuMi to FIBO for further productivity development i.e. research, industrial development, medical and teach & learn.
เชฟรอนสนับสนุนเพิ่มพื้นที่สีเขียว Chevron support to enlarge green area
บริษทั เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด โดย พรสุรยี กอนันทา ผูจ ดั การฝายสือ่ สารองคกรและกิจการสัมพันธ ไดเปนตัวแทนมอบงบประมาณจํานวน 1,428,000 บาท แก ชาญวิทย อมตะมาทุชาติ ผูจัดการใหญอุทยานสิ่งแวดลอม นานาชาติ สิ ริ น ธร เพื่ อ สนั บ สนุ น โครงการ “รวมพลั ง พลิ ก ฟ น คื น ธรรมชาติ สู สิง่ แวดลอม เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี” ซึ่งทางอุทยานฯ จัดขึ้นเนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุครบ 5 รอบ ในป 2558 โดย งบประมาณสวนนี้จะนําไปฟนฟูสภาพพื้นที่ปาที่เสื่อมโทรมใหกลายเปนพื้นที่สีเขียว ดูแลรักษาบํารุงกลาไมในพื้นที่ รวมทั้งพัฒนาพื้นที่อุทยานฯ ใหเปนแหลงเรียนรู ธรรมชาติแกประชาชนที่เขาเยี่ยมชม Chevron Exploration and Production (Thailand) Co., Ltd. by Pornsuree Konanta, Corporate Communications and Activity Relations Manager, as company’s representative to fund the project “The cooperation for natural recovering to environment to honored HRH Princess Chakri Sirindhorn,” amount of Baht 1,428,000 to Chanwit Amatamathuchat, President of Sirindhorn International Environmental Park. The project held by the Park on the occasion of celebrating the fifth anniversary of HRH in 2015 to rehabilitation of degraded forests into a green area, young plant preserving and park area development as natural education resource to visitors.
ไอ.ซี.ซี. อินเตอรเนชั่นแนล วางใจ ฟาชัย วิศวกรรม ติดตั้งระบบโซลารเซลลขนาด 86.94 กิโลวัตต ICC International believes in Farchai Engineering to install a 86.94 kW Solar Cell System บุญเกียรติ โชควัฒนา ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) พรอมดวยคณะผูบริหารบริษัท ฟาชัย วิศวกรรม จํากัด นําโดย โชติทิวัตถ จิรภัทรพุฒิธนา กรรมการผูจัดการ และ ดร.อัครนันท อริยศรีพงษ กรรมการผูจัดการ บริษัท เอเคเอ็น โฮลดิ้ง จํากัด รวมลงพื้นที่ตรวจดูความ เรียบรอยของระบบการผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย โครงการ Cool the World มีขึ้นเพื่อใหโรงงานในเครือ ลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) จากกระบวนการผลิต นับเปนอีกขั้นของ ไอ.ซี.ซี. อินเตอร เนชั่นแนล ที่มุงมั่นพัฒนานโยบายดานพลังงานทดแทนเพื่อการพัฒนาธุรกิจและสังคมไทยรวมกันอยางยั่งยืน Boonkiat Chokewattana, President of ICC International PCL along with the management of Farchai Engineering Co., Ltd. led by Chotethiwat Jirapatputtitana, Managing Director, and Dr.Akaranan Ariyasipong, Managing Director of AKN Holding Co. had site visited to inspect “ Solar System Production Project : Cool the World” for subsidiary company to reduce carbon dioxide emissions drive (CO2) from production process. This is another step of ICC commitment to develop renewable energy policies for both Thai social and business development sustainability.
January-February 2017
p.84-86_pr news.indd 84
1/26/17 5:19 PM
ชไนเดอร รับรางวัลดีเดนดานพลังงาน Schneider’s Awarded for Outstanding Energy Management
นอรทเทิรน จับมือ แอพคอน พรอมสงเชื้อเพลิงชีวมวลปอนโรงไฟฟาทับสะแก “Northern” handshake with “Apcon” to deliver biomass fuel for Thap Sakae Power Plant
มร.มารค เพลิทิเยร ประธาน ชไนเดอร อิเล็คทริค ประเทศไทย รับโล รางวัลดีเดน ประเภทโรงงานควบคุม ในงาน Thailand Energy Awards 2016 จาก พลอากาศเอกประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ซึ่งรางวัลดังกลาว เปนผลมาจากการใชเทคโนโลยีติดตามการใชพลังงานของชไนเดอร อิเล็คทริค ที่ชวยใหสามารถมองเห็นพลังงานที่ถูกใชได จึงสามารถลดการใชพลังงาน ที่ไมจําเปนออกไปไดอยางมีประสิทธิภาพ จัดโดยกระทรวงพลังงาน และ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน ณ ศูนย การประชุมแหงชาติสิริกิติ์
บริษัท นอรทเทิรน รีนิวเอเบิ้ล เอเนอรจี้ จํากัด (NRE) เผยพรอม เซ็นสัญญาระยะยาว จัดสงเชื้อเพลิงชีวมวลปอนโรงไฟฟาทับสะแกใหแก บริษัท แอดวานซ เพาเวอร คอนเวอรชั่น จํากัด (APCON) หลังอัดฉีดเม็ดเงิน ลงทุนเพิ่มอีก 500 ลานบาท เพื่อเขาดําเนินกิจการตอจากกลุมผูถือหุนเดิม หวังตอยอดการสรางรายไดระยะยาว โดยสัญญาการซื้อเชื้อเพลิงชีวมวล ในครั้งนี้แบงเปน 2 เฟส เฟสละ 10 ป
Mr.Mark Pelitier, President of Schneider Electrics (Thailand) received a trophy awarded for Outstanding Factory in Thailand Energy Awards 2016 from ACM of Prajin Jantong, Deputy Prime Minister, organized by the Department of Energy and the Department of Alternative Energy Development and Energy Conservation, Minister of Energy at the Queen Sirikit National Convention Center. This award comes from trace technology of Schneider Electric allowing to see while energy using, thus the unnecessary energy could be reduced effectively.
Northern Renewable Energy Co., Ltd. (NRE) reveals a long-term contract to deliver biomass fuel Thub Sakae power plant is ready to sign with the Advanced Power Conversion Limited (APCON), after invested of additional Baht 500 million to take over business from the previous shareholders and expected for long term income. The biomass purchasing agreement are divided into 2 phases each of 10 years.
ปตท.สผ. เปนเจาภาพจัดอบรมเชิงปฏิบัติการดานความหลากหลายทางชีวภาพในอุตสาหกรรมปโตรเลียมครั้งแรกในไทย PTTEP hosts Thailand’s first workshop on Biodiversity and Ecosystem Services in Oil and Gas industry ลาวัลย พรสกุลศักดิ์ ผูจ ดั การอาวุโส ฝายบริหารงานสิง่ แวดลอม บริษทั ปตท.สํารวจและผลิต ปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) หรือ ปตท.สผ. ตอนรับคณะผูแทนจากสมาคมอนุรักษส่ิงแวดลอม ของอุตสาหกรรมปโตรเลียมนานาชาติ (IPIECA) สมาคมผูผลิตน้ํามันและกาซนานาชาติ (IOGP) และ ศูนยตดิ ตามตรวจสอบการอนุรกั ษโลก โครงการสิง่ แวดลอมแหงสหประชาชาติ (UNEP-WCMC) ในโอกาส ที่ ปตท.สผ. เปนเจาภาพจัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารในหัวขอการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ และการใหบริการของระบบนิเวศในอุตสาหกรรมปโตรเลียมเปนครั้งแรกในประเทศไทย โดยจัดอบรม ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนดแอนดบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร เซ็นทรัลเวิลด กรุงเทพฯ Lawan Pornsakulsakdi, Vice President, Environment Management Department of PTT Exploration and Production Company Limited (PTTEP) welcomed representatives from the International Petroleum Industry Environmental Conservation Association (IPIECA), International Association of Oil and Gas producer (IOGP) and the United Nations Environment Programme World Conservation Monitoring Centre (UNEP-WCMC), on occasion that PTTEP is a host of “Biodiversity and Ecosystem Services (BES) Peer-to-Peer training workshop: Managing Biodiversity and Ecosystem Services issues in the oil and gas industry” for the first time in Thailand.
January-February 2017
p.84-86_pr news.indd 85
1/26/17 5:19 PM
วิทยาศาสตร มธ. เปดตัว “ทีมอฟ” วัสดุผงนาโนมหัศจรรยดูดซับแกส–สารเคมี TU Science introduces “TMOFs” miracle nanopowder materials to absorb gas-chemicals.
สยามคูโบตา เปดตัวรุน U55 ตอบโจทยการทํางานคลองตัว Siam Kubota launches U55 Model, solution for active movement
ผศ. ดร.กิตติพงศ ไชยนอก อาจารยประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีวัสดุ และสิ่งทอ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปดตัว “ทีมอฟ (TMOFs)” วัสดุผงนาโนมหัศจรรยดดู ซับแกส-สารเคมีทม่ี ปี ระสิทธิภาพสูง ครั้งแรกในประเทศไทย นวัตกรรมที่มีโอกาสนําไปวิจัยตอยอดเพื่อประยุกตใช ในหลากหลายอุตสาหกรรม ในอนาคตหากไดรับการวิจัยตอยอดจนพรอม เขาสูเ ชิงพาณิชย คาดวาจะสามารถลดตนทุนการนําเขาไดราว 30-50 เปอรเซ็นต
บริษัท สยามคูโบตาคอรปอเรชั่น จํากัด นําโดย ฮิโรชิ คาวาคามิ กรรมการผูจัดการใหญ โอภาศ ธันวารชร กรรมการรองผูจัดการใหญอาวุโส และ สมบูรณ จินตนาผล ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การใหญ ผูจ ดั การทัว่ ไป สายงาน ขายและบริการ รวมเปดตัวรถขุดคูโบตารุนใหมลาสุด U55 ขนาด 5 ตัน เหมาะกับงานกอสรางในที่แคบที่ตองการความคลองตัวสูง มาพรอมอุปกรณ ตอพวง เพิ่มการทํางานที่หลากหลาย
Prof. Dr.Kittipong, teacher of Materials Technology and Textile Department, Science and Technology Faculty, Thammasat University has launched “TMOFs” miracle nano powders to absorb gas-chemicals, highly effective for the first time in Thailand. Innovations that may led to further research for application in various industries. In the future, researching may be capped to commercial sector. Expected to reduce import costs by 30-50 percent.
Siam Kubota Corporation Limited, led by Hiroshi Kawakami, President, Opas Tanwanrachara, Senior Vice President and Somboon Jintanapol, Vice President and General Manager Sales and Services, had launched new Kubota Excavators model: U55, 5-ton suitable for limited area construction that require active movement, fully equipped accessory for multipurpose works.
อิตัลไทยวิศวกรรม สงมอบงาน TPE PILOT PLANT COMPLEX PROJECT Ital-Thai Engineering delivered TPE PILOT PLANT COMPLEX PROJECT. บริษทั ไทยโพลิเอททิลนี จํากัด บริษทั ในเครือบริษทั ปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) หรือ SCG รับสงมอบงานจาก บริษทั อิตลั ไทยวิศวกรรม จํากัด (ITALTHAI Engineering : ITE) ซึง่ ไดรบั ความไววางใจจากบริษทั ไทยโพลิเอททิลนี จํากัด ใหดแู ล งานในโครงการ “TPE PILOT PLANT COMPLEX PROJECT” เพื่อเปนศูนยวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑของ SCG Chemical สําหรับการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต และลดปญหาดานสิ่งแวดลอม ณ นิคมอุตสาหกรรมอารไอแอล จังหวัดระยอง Thai Poly Ethylene Co., Ltd., a subsidiary of Siam Cement (Thailand) or SCG has been delivered project from Ital-Thai Engineering : ITE, which has been entrusted by the company, Thai Poly Ethylene Co., Ltd. to handle the project “TPE PILOT PLANT COMPLEX PROJECT” to be research & development center of SCG Chemical Products to increase production efficiency and reduce environmental problems at RIL Industrial Estate, Rayong Province.
January-February 2017
p.84-86_pr news.indd 86
1/26/17 5:19 PM
สัมมนา วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ
25-26 มี.ค. 60
การอบรมเรื่อง เทคนิคการตรวจสอบสลิงและอุปกรณชวยยก รุนที่ 5 การสัมมนาเรื่อง เทคนิคการควบคุมตนทุนกอสราง รุนที่ 14 มาตรฐานใหมการออกแบบและติดตั้งเครื่องกําเนิดไฟฟา รุนที่ 4 ทบทวนความรูเพื่อเตรียมตัวเลื่อนระดับเปนสามัญวิศวกร สาขาโยธา รุนที่ 1 การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การประเมินความเสี่ยงเพื่อความปลอดภัย รุนที่ 3 โครงการอบรมและฝกปฏิบตั กิ าร การออกแบบ Model 3 มิติ ดวย Google Sketchup ขัน้ พืน้ ฐาน รุน ที่ 12 การอบรมเรื่อง พื้นฐานการออกแบบระบบโฟมดับเพลิง Low-Expansion Foam สําหรับคลังน้ํามัน และโรงงานอุตสาหกรรม รุนที่ 1 การพิจารณาขอมูลดิน ปญหาฐานราก และการแกไข การอบรมเรื่อง มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 (มาตรฐานฉบับใหม) รุนที่ 1/2560 โครงการอบรม หลักสูตร “การออกแบบ ตรวจสอบ และบํารุงรักษาสะพาน” เทคนิคการใชงานระบบล็อกและติดปายทะเบียนในงานวิศวกรรม รุนที่ 2 โครงการอบรมพื้นฐานความรูดานวิศวกรรมโยธา เพื่อเตรียมความพรอมสําหรับการขอใบอนุญาตภาคีพิเศษ จากสภาวิศวกร รุนที่ 23 การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การออกแบบ และติดตั้งระบบดับเพลิงดวยน้ํา รุนที่ 30 โครงการศึกษาดูงานและสาธิต การตรวจสอบและทดสอบสําหรับสลิงและอุปกรณชวยยก โครงการอบรมหลักสูตร “การออกแบบโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็กดวยวิธีหนวยแรงใชงาน” วิศวกรรมบริหารอาคาร เพื่อความปลอดภัยและประหยัดพลังงาน รุนที่ 4 การพิจารณาขอมูลดิน ปญหาฐานราก และการแกไข การอบรมและฝกปฏิบตั กิ าร หลักสูตร การตรวจสอบเครือ่ งดับเพลิงแบบยกหิว้ เพือ่ ความปลอดภัย รุน ที่ 1 การออกแบบฐานรากเสาเข็ม Cement Column รุนที่ 5 ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับไฟฟา รุนที่ 2/2560 การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การตรวจสอบและทดสอบระบบเครื่องสูบน้ําดับเพลิง (Fire Pump) (ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ) รุนที่ 7 การอบรมเรื่อง การออกแบบระบบดับเพลิงสําหรับคลังสินคาและระบบสารสะอาดดับเพลิง รุนที่ 10
สวนฝกอบรม ฝายนโยบาย และยุทธศาสตร สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (มว.)
16-17 ก.พ. 60 16-17 ก.พ. 60 16-17 ก.พ. 60 21-22 ก.พ. 60 21-23 ก.พ. 60 21-24 ก.พ. 60 23-24 ก.พ. 60 24 ก.พ. 60 8-10 มี.ค. 60 8-10 มี.ค. 60 13-14 มี.ค. 60 20-21 มี.ค. 60 20-21 มี.ค. 60 22-23 มี.ค. 60 22-24 มี.ค. 60 24 มี.ค. 60
การตรวจติดตามระบบคุณภาพภายในหองปฏิบัติการ การประเมินคาความไมแนนอนของการวัด รุน 2 หลักการใชงานเครื่องวัดความหยาบตามมาตรฐานสากล การสอบเทียบความเรียบของโตะระดับ การสอบเทียบ Hydrometer ดวยวิธี Cuckow’s การสอบเทียบ Digital Thermometer & Temperature Source การประเมินคาความไมแนนอนของเครื่องมือวัดทางดานมิติ ความเขาใจและการตีความใบรับรองผลการสอบเทียบ การสอบเทียบ Infrared Thermometer การสอบเทียบดิจิทัลมัลติมิเตอร หลักการใชงานและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดละเอียดดานมิติ ระบบคุณภาพหองปฏิบัติการตาม ISO/IEC 17025:2005(E) รุน 2 การสอบเทียบและการประเมินคาความไมแนนอนในการสอบเทียบ Dial Gauge Tester การสอบเทียบเครื่องมือวัดทางดานไฟฟาแรงดันสูง การสอบเทียบตุมน้ําหนักมาตรฐานตาม OIML R 111-1 และตุมน้ําหนักขนาดใหญ การสอบเทียบเครื่องวัดความหวาน
สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ
3 ก.พ. 60 6 ก.พ. 60 7 ก.พ. 60 8 ก.พ. 60 8 ก.พ. 60 14 ก.พ. 60 15 ก.พ. 60 17 ก.พ. 60 20 ก.พ. 60 21 ก.พ. 60 22 ก.พ. 60 2 มี.ค. 60 6 มี.ค. 60 7 มี.ค. 60 10 มี.ค. 60 13 มี.ค. 60 15 มี.ค. 60 15 มี.ค. 60 16 มี.ค. 60 17 มี.ค. 60 20 มี.ค. 60 21 มี.ค. 60 21 มี.ค. 60 28 มี.ค. 60
Transition to ISO 9001:2015 ISO 14001:2015 Introduction and Internal Auditor ISO 26000 Implementation TIS/OHSAS 18001 Introduction and Internal Auditor ISO 22301 Implementation Transition to ISO 14001:2015 ISO 9001:2015 Introduction and Internal Auditor Introduction to Interested Party /Stakeholder Management Introduction to ISO/IEC 17025 (Testing and Calibration Laboratories) FSPCA Preventive Controls for Human Food ISO 22301 Auditor/Lead Auditor Introduction to ISO/IEC 17065 (Product Certification Body) ISO 14001:2015 Introduction and Internal Auditor ISO 26000 Verifier/Lead Verifier Transition to ISO 14001:2015 Transition to ISO 9001:2015 ISO 9001:2015 Introduction and Internal Auditor GMP/HACCP Introduction and Internal Auditor Introduction to ISO 29990 (Training/Learning Service Provider) Introduction to AA 1000 Stakeholder Engagement Standard (SES) 2015 ISO 50001:2011 Introduction and Internal Auditor ISO 22301 Internal Auditor FSPCA Preventive Controls for Human Food Introduction to ISO/IEC 17020 (Inspection Body)
โทรศัพท 0-2319-2410 โทรสาร 0-2319-2710 www.eit.or.th
3-4 ก.พ. 60 3-5 ก.พ. 60 8-9 ก.พ. 60 9-11 ก.พ. 60 10-12 ก.พ. 60 18-19 ก.พ. 60 18 ก.พ. 60 22-24 ก.พ. 60 24-26 ก.พ. 60 24-26 ก.พ. 60 25 ก.พ. 60 1-3 มี.ค. 60 3-5 มี.ค. 60 4 มี.ค. 60 10-12 มี.ค. 60 10-11 มี.ค. 60 15-17 มี.ค. 60 18-19 มี.ค. 60 18-19 มี.ค. 60 22 มี.ค. 60 24 มี.ค. 60
โทรศัพท 0-2577-5100 ตอ 4206 หรือ 4228 โทรสาร 0-2577-2823 E-mail : training@nimt.or.th www.nimt.or.th
โทรศัพท 0-2617-1727 ตอ 308 E-mail : training@masci.or.th http://www.masci.or.th
January-February 2017
p.87-89_seminar.indd 87
1/26/17 5:19 PM
สัมมนา แผนกบริการฝกอบรม สถาบันอาหาร
โทรศัพท 0-2886-8088 ตอ 2205 โทรสาร 0-2886-8104 E-mail : training@nfi.or.th http://www.nfi.or.th
สวนบริการฝกอบรมสัมมนา สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ
โทรศัพท 0-2619-5500 ตอ 451-455 โทรสาร 0-2619-8098 E-mail : training@ftpi.or.th www.ftpi.or.th
2 ก.พ. 60 6-7 ก.พ. 60 9 ก.พ. 60 15-17 ก.พ. 60 20 ก.พ. 60 21 ก.พ. 60 27 ก.พ.-3 มี.ค. 60 28 ก.พ. 60 16-17 ก.พ. 60 16-17 ก.พ. 60 20-23 ก.พ. 60 21 ก.พ. 60 21 ก.พ. 60 21 ก.พ. 60 21-24 ก.พ. 60 22 ก.พ. 60 22 ก.พ. 60 22 ก.พ. 60 23-24 ก.พ. 60 23 ก.พ. 60 23 ก.พ. 60 24 ก.พ. 60 24 ก.พ. 60 28 ก.พ. 60 28 ก.พ. 60 2-3 มี.ค. 60 7 มี.ค. 60 7 มี.ค. 60 7 มี.ค. 60 8-9 มี.ค. 60 8 มี.ค. 60 8-9 มี.ค. 60 14 มี.ค. 60 14 มี.ค. 60 14-16 มี.ค. 60 14 มี.ค. 60 14-15 มี.ค. 60 15 มี.ค. 60 15-16 มี.ค. 60 16 มี.ค. 60 21 มี.ค. 60 21 มี.ค. 60 21 มี.ค. 60 22-23 มี.ค. 60 22-23 มี.ค. 60 22-23 มี.ค. 60 28 มี.ค. 60 28 มี.ค. 60 28 มี.ค. 60 29 มี.ค. 60 29 มี.ค. 60 30-31 มี.ค. 60 30-31 มี.ค. 60
การจัดการสารกอภูมิแพหรือสารกอภูมิไวเกินจากอาหาร (Allergen Control) (รุนที่ 1/2560) การตรวจสอบความถูกตองของวิธีทดสอบทางจุลชีววิทยา การประเมินพื้นที่เพื่อปองกันจากการกอการรายผานอาหาร (Threat Assessment and Critical Control Point (TACCP)) การประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสของอาหาร (Sensory Evaluation) (รุนที่ 1/2560) ระเบียบการแสดงขอมูลฉลากอาหารของสหภาพยุโรป (EU Food Information Regulation) การตรวจสอบความถูกตองของวิธีทดสอบอาหารทางเคมี การจัดการสุขลักษณะและการจัดระบบ HACCP ในอุตสาหกรรมอาหาร (Rev.4-2003) (รุนที่ 1/2560) การจัดการเครื่องมือวัด การอานใบรับรองผล และการประเมินผลการสอบเทียบ Effective Cost Management (การบริหารตนทุน) Problem Solving and Decision Making Techniques (เทคนิคการแกปญหาและตัดสินใจ) Productivity Facilitator Techniques for Smart Leader (PF) (เทคนิคการเปนนักสงเสริมการเพิ่มผลิตภาพ สําหรับสุดยอดหัวหนางาน) Intelligence Leadership (เสริมสรางภาวะผูนํา) Coaching and Mentoring and Techniques (เทคนิคการเปนโคชและพี่เลี้ยงทีมงาน) Kaizen Suggestion for Work Improvement (ไคเซ็นเพื่อการปรับปรุงงาน) Six Sigma Green Belt Training รุน 12 Handling and Managing Customer Complaints (วิธีจัดการขอรองเรียนลูกคาเปนความประทับใจ) Winning Negotiation Strategies (เจรจาตอรองอยางมีกลยุทธ) Business Model Innovation & Improvement (การสรางนวัตกรรมโมเดลธุรกิจ) Strategic Risk & Opportunity Management (กลยุทธบริหารความเสี่ยงและโอกาสทางธุรกิจ) Creative Conflict Management (การบริหารความขัดแยงอยางสรางสรรค) Wastes (การลดความสูญเสีย 7 ประการ) Personality and Communication for Frontline Services (พัฒนาบุคลิกภาพและการสื่อสารในงานบริการ) Advance Strategic Planning – ASP Model (ASP Model สุดยอดเครื่องมือบริหารเชิงกลยุทธในศตวรรษที่ 21) Production Management (กลยุทธบริหารการผลิต) Quality Control Circle (การบริหารวงจรคุณภาพ QCC) Smart People Smart Work : เสริมแกรงนักสงเสริมผลิตภาพ สรางองคกรยั่งยืน Handling Difficult & Demanding Customer (เทคนิครับมือลูกคาที่มีความคาดหวังสูง) Practical Knowledge Management- KM (การจัดการความรูจากทฤษฎีสูการปฏิบัติ) Process Management in Practices (การจัดการกระบวนการอยางเหนือชั้น) Total Quality Management (การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองคกร) Communication with High Impact (การสื่อสารอยางไดผล ) Statistical Process Control (การควบคุมกระบวนการดวยวิธีทางสถิติ) Motivate Employees Through Performance (จิตวิทยาจูงใจเพื่อผลงานที่ดี) Personal Productivity (การเพิ่มผลิตภาพตนเอง) Professional Trainer (การเปนวิทยากรมืออาชีพ) Visual Control (การควบคุมดวยการมองเห็น นักสงเสริมกิจกรรมกลุมปรับปรุงคุณภาพ : QCC Facilitator Big Data Analytic for Defining Strategic Insights (Big Data เครื่องมือเชิงกลยุทธเพื่อคนหา Strategic Insight) Professional Project Management (การบริหารโครงการมืออาชีพ) Maximize Time and Priorities Management (การบริหารเวลาและจัดความสําคัญ) Strategic Business Sustainability by Social Responsibility (กลยุทธการสรางธุรกิจที่ยั่งยืนดวยความรับผิดชอบตอสังคม) Superb Supervisor (สุดยอดหัวหนางาน) Work System Design (การออกแบบระบบงาน) Balanced Scorecard เครื่องมือแปลงกลยุทธสูการปฏิบัติ Job Method (เทคนิคการปรับปรุงวิธีการทํางาน) Total Productive Maintenance- TPM (การบํารุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีสวนรวม) Stakeholder Engagement for Sustainability (การสรางความผูกพันกับผูมีสวนไดสวนเสียเพื่อความยั่งยืน) Power up Positive Thinking (เพิ่มศักยภาพการทํางานดวยความคิดบวก ) 5S Audit Technique for Productivity Improvement (เทคนิคการตรวจ 5ส เพื่อเพิ่มผลิตภาพ) Team Productivity (การเพิ่มผลิตภาพดวยทีม) Cost Reduction (เทคนิคการลดตนทุน) Core Competency- Your Competitiveness to Sustain the Business (สรางการแขงขันและยั่งยืนดวย Core Competency ขององคกร) Systems Thinking (คิดอยางเปนระบบ)
January-February 2017
p.87-89_seminar.indd 88
1/26/17 5:19 PM
แสดงสินคา 2-6 ก.พ. 60
9-12 ก.พ. 60
11-19 ก.พ. 60
15-17 ก.พ. 60
2-5 มี.ค. 60
2-5 มี.ค. 60
29 มี.ค. – 9 เม.ย. 60
Thailand Inventors’ Day 2017
BITEC สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ โทรศัพท 0-2561-2445 Ext. 516, 530 www.nrct.go.th
Thailand Mobile Expo 2017
ศูนยสิริกิติ์ บริษัท เอ็ม วิชั่น จํากัด www.thailandmobileexpo.com
Bangkok Expo 2017
IMPACT Union Pan Exhibitions Co., Ltd. โทรศัพท 0-2719-0408 www.unionpan.com
FESPA Asia
BITEC FESPA โทรศัพท 0-2207-2412 www.fespa-asia.com
Thailand Industrial Fair 2017
BITEC T.B.P. Publications Co., Ltd. โทรศัพท 0-2967-9999 www.thailandindustrialfair.com
Food Pack Asia 2017
BITEC T.B.P. Publications Co., Ltd. โทรศัพท 0-2967-9999 www.foodpackthailand.com, www.foodpackasia.com
The 38th Bangkok International Motor Show 2017
IMPACT Grand Prix International Public Co., Ltd. โทรศัพท 0-2522-1731-8 www.bangkokmotorshowgroup.com
January-February 2017
p.87-89_seminar.indd 89
1/26/17 5:19 PM
“Towards A Low-Carbon Society” กระทรวงพลังงาน รวมกับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมดวยกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวง คมนาคม และกระทรวงอุตสาหกรรม ประกาศความพรอม เดินหนาการจัดประชุมวิชาการและนิทรรศการนานาชาติ “โครงการพลั ง งานและเทคโนโลยี ที่ ยั่ ง ยื น แห ง เอเชี ย 2560” หรือ “SETA 2017” ตอเนื่องเปนปที่ 2 ภายใตธีม “Towards A Low-Carbon Society” ใน 4 หัวขอหลัก ไดแก นโยบายและการวางแผนด า นพลั ง งาน เทคโนโลยี ร ะบบ ผลิตกระแสไฟฟาเพื่อปลอยคารบอนต่ํา พลังงานเพื่อการ คมนาคมขนสงเพื่อปลอยคารบอนต่ํา และเมืองอัจฉริยะ และอุตสาหกรรมสีเขียว เพื่อผลักดันและพัฒนาองคความรู ดานพลังงานและเทคโนโลยีอยางตอเนื่อง โดยในปนี้เนน เทรนดอุตสาหกรรมไฮบริด และรถยนตพลังงานไฟฟา
รศ. ดร.ธัชชัย สุมิตร
งานประชุมวิชาการและนิทรรศการนานาชาติ “โครงการ พลังงานและเทคโนโลยีที่ยั่งยืนแหงเอเชีย 2560” หรือ “SETA 2017” เปดโอกาสใหผูบริหารภาครัฐและภาคเอกชน ผูผลิต บริษัท ผูผลิตไฟฟา นักวิชาการ ผูเชี่ยวชาญ บริษัทผูผลิตพลังงานทดแทน ธนาคาร นักลงทุน จากทุกภาคสวนและผูสนใจทั่วไป ทั้งในประเทศ และตางประเทศ ไดรูจักเทคโนโลยีดานพลังงานล้ําหนา พรอมรับ คําปรึกษาจากผูเชี่ยวชาญในหนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งดานวิชาการ และดานธุรกิจ
January-February 2017
p.90-91_seminar.indd 90
1/26/17 5:20 PM
รศ. ดร.ธัชชัย สุมิตร ประธานคณะกรรมการดําเนินงานโครงการพลังงานและเทคโนโลยีที่ยั่งยืนแหง เอเชีย 2560 กลาววา “งาน SETA 2017 เปนการจัดงานระดับนานาชาติ โดยในปนี้จัดตอเนื่องเปนปที่ 2 จากการ ประสบความสําเร็จในการจัดงานในปแรกที่ผานมา ถือเปนอีกกาวที่สําคัญในความรวมมือของหนวยงานหลัก ของประเทศ โดยกระทรวงพลังงาน กระทรวงคมนาคม กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และกระทรวง อุตสาหกรรม รวมทัง้ องคกรรัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชน ผูม สี ว นรวมตอการสรางบทบาทและความรวมมือระหวาง หนวยงานในการผลักดันประเทศไทยใหกาวสูความเปนผูนําดานพลังงานในภูมิภาคอาเซียนอยางแทจริง โดยมี วัตถุประสงคในการสรางเวทีพูดคุย และรวมหาคําตอบตั้งแตการหาแหลงพลังงาน ตลอดจนการใช ระบบผลิต กระแสไฟฟา ภาคขนสง ภาคอุตสาหกรรม และภาคครัวเรือน โดยในงานประชุมครั้งนี้จะมุงเนนไปในประเด็นที่ ทั้งเอเชียและทั่วโลกลวนใหความสําคัญ โดยเฉพาะประเด็นดานแหลงพลังงานคารบอนต่ํา ในปนี้มีการเพิ่มพื้นที่ แสดงนิทรรศการอีกเทาตัว โดยมีความเปนพิเศษ มุง เนนถึงอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีไฮบริด และรถทีใ่ ชพลังงาน ไฟฟา และกิจกรรมการจับคูธ รุ กิจ กวา 200 บริษทั เพือ่ สงเสริมการลงทุนและการถายทอดเทคโนโลยีดา นพลังงาน ใหกับประเทศ โดยตั้งเปาผูเขาชมและรวมงานตลอดทั้ง 3 วัน จํานวนกวา 10,000 คน จาก 50 ประเทศทั่วโลก” ดานกิจกรรมในงานประชุมวิชาการและนิทรรศการนานาชาติ “โครงการพลังงานและเทคโนโลยีที่ยั่งยืน แหงเอเชีย 2560” หรือ “SETA 2017” ไดรบั เกียรติจากวิทยากรปาฐกถาหลัก ไดแก พลเอกอนันตพร กาญจนรัตน รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงพลั ง งาน นายอาคม เติ ม พิ ท ยาไพสิ ฐ รั ฐ มนตรี ก ระทรวงคมนาคม ดร.พิ เชฐ ดุรงคเวโรจน รัฐมนตรีกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดร.แมกซิมัส จอนนิตี้ อองกิลิ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน น้ํา และเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดลอม ประเทศมาเลเซีย (Dr.Maximus Johnity Ongkili, Minister of Energy, Green Technology and Water, Malaysia) ฯพณฯ เฆซุส มิเกล ซันส เอกอัครราชทูตแหงสหภาพยุโรปประจําประเทศไทย (H.E. Jesús Miguel Sanz, Ambassador and Head of Delegation of the European Union in Thailand) แอคเนตา ไรซิ่ง ผูอํานวยการใหญ สมาคมนิวเคลียรโลก (Ms.Agneta Rising, Director General of World Nuclear Association) และ ฯพณฯ ชิโร ซะโดะชิมะ เอกอัครราชทูตญี่ปุนประจําประเทศไทย (H.E. Mr.Shiro Sadoshima, Ambassador of Japan in Thailand) นอกจากนี้ ยังจัดใหมีการบรรยาย ประชุมสัมมนา และเวิรคช็อปจากองคกรระดับนานาชาติ และบริษัท ที่เปนผูนําในหัวขอตางๆ อาทิ “CEO Energy Forum” “CLMVT Energy Forum” Financing in Energy โดย มูดีส (Moodys)” “Hybrid & EV Technology” เปนตน ผูสนใจสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติม และลงทะเบียน รวมงานไดในเว็บไซต www.SETA.Asia
January-February 2017
p.90-91_seminar.indd 91
1/26/17 5:20 PM
Movement
ดาคอน รวมโชวเทคโนโลยีงานเซฟตีเ้ ดย โรงไฟฟาบางปะกง >> บริษัท ดาคอน อินสเปคชั่น เซอรวิสเซส จํากัด ผู นํ า ทางด า นการตรวจสอบทางวิ ศ วกรรม นํ า เสนอ เทคโนโลยีของบริษัทฯ ในงาน “สมภพเซฟตี้เดย ปที่ 25” ณ อาคารนันทนาการ โรงไฟฟาบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา งานดังกลาว ไดจัดขึ้นเปนประจําทุกปเพื่อเปนการ ระลึกถึงวีรกรรมของ นายชางสมภพ ภูตโิ ยธิน อดีตวิศวกร เดินเครื่องประจําโรงไฟฟาพลังความรอนรวมบางปะกง ชุ ด ที่ 1-2 ที่ ไ ด ส ละชี วิ ต ของตนเองเพื่ อ รั ก ษาทรั พ ย สิ น ของประเทศ ในคราวเหตุการณเพลิงไหมโรงไฟฟาบางปะกง เมือ่ วันที่ 5 พฤศจิกายน 2534 และเปนการกระตุน จิตสํานึก ใหแกพนักงานของโรงไฟฟาบางปะกง รวมถึงผูรับเหมา ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ของโรงไฟฟาไดปฏิบัติหนาที่ภายใต ความปลอดภัยเปนสําคัญ ภายใตคอนเซ็ปต “ดูแลสภาพ แวดล อ มในการทํ า งานให มี ค วามปลอดภั ย ส ง เสริ ม อาชีวอนามัยใหมีสุขภาพอนามัยที่ดี”
<< มจธ. เปดสถานี Electric Car Sharing แหงแรกในไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) ได พ ยายามส ง เสริ ม และผลั ก ดั น ให เ กิ ด Smart Mobility หรือการเดินทางที่ยั่งยืนภายในมหาวิทยาลัยอยางตอเนื่อง ไมวาจะสงเสริมใหนักศึกษาใชจักรยาน หรือเดินทางเปน หมูค ณะดวยระบบขนสงภายในมหาวิทยาลัย เพือ่ ลดปริมาณ การปลอยมลพิษออกสูสภาวะแวดลอม ซึ่งลาสุด มจธ. ได จัดตั้งโครงการ “Electric Vehicle Charging and Car Sharing Zones” หรือเรียกงายๆ วา Charge & Share Charge & Share เปนโครงการนํารองที่มีระยะเวลา 2 ป เปนโครงการภายใตศูนย Lo-Ve หรือ Center of Low Carbon Vehicle ภายใตคลัสเตอรวิจัยยานยนตของ มจธ. โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ศึกษาความเปนไปไดในการใชยานยนต ไฟฟาและระบบ Car Sharing (การใชยานพาหนะรวมกัน) ในประเทศไทย
January-February 2017
p.92-94_movement.indd 92
1/26/17 5:20 PM
Movement
อิตลั ไทย รวมกับพันธมิตร สรางฝายชะลอนาํ จังหวัดชัยภูมิ >> บริษัท อิตัลไทย วิศวกรรม จํากัด ไดรับ ความรวมมือจากทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้งบริษัท ชัยภูมิ วินดฟารม จํากัด ในกลุมเอ็กโก และบริษัท โกลดวินด อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จํากัด รวมเทปูนสรางฝายชะลอน้ํา ณ อําเภอซับใหญ จังหวัดชัยภูมิ บริเวณรอยตอระหวางตําบลซับใหญ (บ า นซั บ ห า ง หมู 9) กั บ ตํ า บลตะโกทอง (บ า น ทุ ง กระถิ น พั ฒ นา หมู 10) จํ า นวน 2 ฝาย ใน “โครงการสรางฝายชะลอน้ํา สรางความชุมชื้น สู ดิ น เพิ่ ม ความยั่ ง ยื น สู ชุ ม ชน” เพื่ อ ให ไ ด ใช ประโยชนในการอุปโภคและบริโภคของชาวบาน ในพื้นที่ตั้งของโครงการฯ
<< ITAP สวทช. หนุนผูเ ชีย่ วชาญวิจยั รวม SMEs กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) จัดงานแถลงขาว “Biotechnology Lab to Market ตอน เทคโนโลยี ชี ว ภาพ สูนวัตกรรมไลยุง และผลิตภัณฑความงาม” โดยการสนับสนุน ของโปรแกรม ITAP สวทช. เพื่อนําเสนอผลงานวิจัยและพัฒนา ทางวิทยาศาสตรดานเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) ที่ เปนการสกัดสารสกัดจากพืช ไดแก สมุนไพร และขาว ใหออกมา เป น รู ป แบบของนวั ต กรรมและผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ผู ป ระกอบการ สามารถนํ า ไปต อ ยอดเชิ ง พาณิ ช ย ไ ด จํ า นวน 2 ราย ได แ ก นวัตกรรมสูตรน้ําไลยุงชนิดไมโครแคปซูล โดยบริษัท บาริแคร จํากัด และนวัตกรรมสารสกัดโปรตีนจากขาวไรซเบอรรี่ เปน ผลิตภัณฑความงาม โดยบริษัท เบลลิส บิวตี้ จํากัด
January-February 2017
p.92-94_movement.indd 93
1/26/17 5:20 PM
Movement
PEA เชียงใหม จัดประชุมสัมมนาผูร บั เหมาติดตัง้ ระบบไฟฟาภายในและภายนอกอาคาร ประจําป 2559 >> PEA เชียงใหม จัดประชุมสัมมนาผูรับเหมาติดตั้งระบบไฟฟา ภายในและภายนอกอาคาร ประจําป 2559 ตามมาตรฐานการติดตั้ง ระบบไฟฟาสําหรับประเทศไทย โดยมี ชูเกียรติ จันโททัย รองผูจ ดั การ (บริ ก ารลู ก ค า ) เป น ประธานในพิ ธี และได รั บ เกี ย รติ จ ากวิ ท ยากร รวมบรรยายใหความรู ไดแก อาจารยวิสุทธิ์ องคคุณารักษ อาจารย ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมไฟฟ า มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า พระนครเหนือ การประชุ ม สั ม มนาฯ ในครั้ ง นี้ มี ผู รั บ เหมาระบบไฟฟ า และ ผูเ กีย่ วของ ไดแก เจาหนาทีข่ อง PEA เจาหนาทีส่ ว นงานราชการ เอกชน และหนวยงานองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนผูที่สนใจเขารวม สัมมนาจํานวนทั้งสิ้น 300 คน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหการติดตั้ง ระบบไฟฟาภายในอาคารเปนมาตรฐานเดียวกัน ปองกันอันตราย อันอาจเกิดจากการติดตั้งอุปกรณไฟฟาที่ไมถูกตอง อีกทั้งยังเปนการ สรางสัมพันธภาพอันดีระหวาง PEA กับหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมถึง ผูป ระกอบการและผูร บั เหมาอีกดวย ไดรบั การสนับสนุนจาก หางหุน สวน จํากัด นครพิงค สวิทชบอรด นําโดย บุญชอบ คชานันท และบริษัท ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด นําโดย Mr.Eung Jin Lee ณ หองอิมพีเรียลบอลรูม ชั้น 2 โรงแรมดิเอ็มเพรส เชียงใหม
<< อะตอม-มิค เพาเวอร
บริจาคสิง่ ของแกโรงเรียนตางจังหวัด
พนักงานบริษัท อะตอม-มิค เพาเวอร จํากัด รวมกับลูกคาและ ผูร ว มบริจาค ไดรว มกันมอบสิง่ ของเครือ่ งใช เครือ่ งอุปโภค-บริโภค และ อุปกรณการเรียนการสอน รวมทั้งเงินบริจาคแกโรงเรียนบานทาเยี่ยม จั ง หวั ด ลพบุ รี เพื่ อ นํ า ไปใช ใ นการเรี ย นการสอน พร อ มกั น นี้ ก็ ไ ด เลีย้ งไอศกรีมแกเด็กนักเรียนดวย นับเปนอีกหนึง่ กิจกรรมดีๆ ทีบ่ ริษทั อะตอม-มิค เพาเวอร ไดใหการสนับสนุน และจะดําเนินการอยาง ตอเนื่อง
January-February 2017
p.92-94_movement.indd 94
1/26/17 5:21 PM
Industry News
การจัดซื้อเคร�องผลิตไฟฟาสําหรับโครงการเข�อนโรงไฟฟาพลังนํา นําอู 4 ของประเทศลาว Toshiba Wins Major Orders for Nam Ou 4 Hydro Power Plant in Laos โตชิบา คอรปอเรชั่น แถลงวา โตชิบา ไฮโดร พาวเวอร (หางโจว) หรือ Toshiba Hydro Power (Hangzhou) Co., Ltd. (THPC) ซึ่งเปนบริษัท ในเครือโตชิบาในประเทศจีน ดําเนินธุรกิจเปนผูผลิต จําหนาย และ บํารุงรักษาเครือ่ งผลิตไฟฟาพลังน้าํ ไดรบั มอบความไววางใจใหเปนผูผ ลิต เครือ่ งผลิตไฟฟาพลังน้าํ ขนาด 44 เมกะวัตต จํานวน 3 ยูนติ ใหกบั โครงการ เขื่อนโรงไฟฟาพลังน้ํา เขื่อนน้ําอู 4 ในแขวงหลวงพระบาง สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว การสงมอบอุปกรณจะเริ่มในเดือนมีนาคม 2561 และคาดวาจะเริ่มดําเนินการผลิตกระแสไฟฟาเพื่อจําหนายได ใน พ.ศ. 2563 ประเทศลาวมีแหลงน้ําจํานวนมาก รวมทั้งแมน้ําโขง โดยตั้งเปา เปนแบตเตอรี่แหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในการเปนผูผลิตและสงออก ไฟฟาดวยพลังน้ําใหกับประเทศเพื่อนบาน อาทิ จีน ไทย และเวียดนาม โรงไฟฟาพลังน้ําทั้งหมดในลาวมีกําลังการผลิตมากถึง 3.27 กิกะวัตต และคาดวาจะเพิ่มเปน 11 กิกะวัตต ใน พ.ศ. 2563*1 การจัดซือ้ ครัง้ นีม้ าจากบริษทั พาวเวอร ไชนา รีซอรส จํากัด (Power China Resources Ltd.) ซึ่งเปนหนึ่งในบริษัทผูผลิตพลังงานที่ใหญที่สุด ในจี น ทั้ ง นี้ อุ ป กรณ ต า งๆ อาทิ กั ง หั น ผลิ ต ไฟฟ า พลั ง น้ํ า แบบ bulb ขนาด 5 ใบพัด จะไดรับการออกแบบและผลิตโดย THPC โตชิบาไดทําการสงมอบและติดตั้งระบบผลิตไฟฟาพลังน้ําครั้งแรก ในลาว เมือ่ พ.ศ. 2553 และไดรบั ความไววางใจอยางตอเนือ่ งในโครงการ เขื่อนน้ํางึม 2 เขื่อนน้ําเงี้ยบ 2 และเขื่อนน้ําอู 5 โดยเปนกังหันผลิตไฟฟา พลังน้ําและเครื่องผลิตไฟฟา รวมแลวจํานวน 9 ยูนิต กําลังการผลิตรวม ทั้งหมด 1,000 เมกะวัตต มร.ทาคาโอะ โคนิชิ รองประธานบริหารฝายระบบและบริการ พลังงานความรอนและพลังน้ําของโตชิบา กลาววา “นับตั้งแตครั้งแรก ของการสงมอบเครือ่ งผลิตไฟฟาพลังน้าํ ขนาด 60 กิโลวัตต ใหแกโครงการ คีอาเกะ ประเทศญี่ปุน ใน พ.ศ. 2437 เปนตนมา กลุมบริษัทโตชิบาไดรับ สรางตํานานในการเปนผูจัดหาอุปกรณกวา 2,000 ยูนิต ใหแกตลาดโลก รวมกําลังการผลิตทั้งหมด 58 กิกะวัตต รวมทั้ง ฟลิปปนส เวียดนาม ลาว มาเลเซีย ไทย และเมียนมาร ดวยประสบการณและการพัฒนาเทคโนโลยี อย า งไม ห ยุ ด ยั้ ง โตชิ บ ายั ง คงมุ ง มั่ น ที่ จ ะทุ ม เทกํ า ลั ง ในการสนั บ สนุ น โครงการในประเทศลาว เพื่อเสริมศักยภาพและเพิ่มกําลังการผลิตไฟฟา พลังน้ําใหมีประสิทธิภาพในเชิงตนทุน” เขื่ อ นโรงไฟฟ า พลั ง น้ํ า น้ํ า อู 4 ตั้ ง อยู ใ นแขวงหลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยบริษทั รวมทุนระหวาง Power China Resources Ltd. กับ Électricité du Laos จะเปนผูดําเนินการจัดหา กังหันผลิตพลังงานไฟฟาพลังงานน้ําขนาด 44 เมกะวัตต จํานวน 3 ยูนิต จะเริม่ ดําเนินงานติดตัง้ ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2561 มีกาํ หนดเริม่ เดินกําลัง การผลิตใน พ.ศ. 2563 หมายเหตุ : *1: ขอมูลจาก : Japan Electric Power Information Center, Inc.
Toshiba Corporation today announced that Toshiba Hydro Power (Hangzhou) Co., Ltd. (THPC), its Chinese subsidiary for the manufacture, sales and maintenance of hydroelectric equipment, has won a major order to supply three sets of 44-megawatts hydroelectric generating equipment for the Nam Ou 4 Hydro Power Plant in Luang Phabang Province, Laos. Equipment delivery will start in March 2018, and the new plant is scheduled to start commercial operation in 2020. Laos, rich in water resources, including the Mekong, is known as “the battery of Southeast Asia” for exports of hydro-generated electricity to neighboring China, Thailand and Vietnam. Hydro power plants accounts for most of Laos’ 3.27 GW generation capacity, and this is expected to increase to 11.0 GW by 2020.*1 The order was received from Power China Resources Ltd., one of China’s biggest power generation companies, and the equipment including first five-blade bulb water turbine will be designed and manufactured by THPC. Toshiba installed its first hydropower system in Laos in 2010 and its supply record to date, including Nam Ngum 2, Nam Ngiep 2 and Nam Ou 5, is 9 hydroelectric turbines and generators with total capacity of 1,000 MW. Commenting on the order, Takao Konishi, Vice President of the Thermal & Hydro Power Systems & Services Div. in Toshiba’s Energy Systems & Solutions Company said, “Since its first shipment of a 60 kW hydroelectric generator to Japan’s Keage Power Plant in 1894, Toshiba Group has built up a long track record of providing more than 2,000 units with a total capacity of more than 58 GW worldwide, including the Philippines, Vietnam, Laos, Malaysia, Thailand and Myanmar. With experience and technology shaped by this history, Toshiba will strengthen its efforts to support Laos’ plan to increase hydro power generation by delivering cost-effective, high performance hydro power products.” Project Outline Power Plant Nam Ou Stage 4 Hydro Power Plant, Site location Luang Phabang Province, Laos Plant operator Joint venture of Power China Resources Ltd. and Électricité du Laos. Scope of supply Three sets of 44 MW hydro turbines and generators. Scheduled installation From March 2018 (planned). Scheduled operation 2020 (planned) Note : *1: Source: Japan Electric Power Information Center, Inc.
January-February 2017
p.95-97_industry.indd 95
1/26/17 5:21 PM
Industry News
เต็ดตรา แพค ตั้งเปาใชพลังงานไฟฟาทดแทนในการผลิตให ได 100% ภายในป 2030 Tetra Pak Commits to 100% Renewable Electricity by 2030 เต็ดตรา แพค บริษัทผูนําดานกระบวนการผลิตและบรรจุ อาหารดวยโซลูชันครบวงจรระดับสากล ลงนามเขารวม RE100 มุงมั่นเปนสวนหนึ่งในการนําพลังงานไฟฟาทดแทนมาใชในระบบ การผลิตทั่วโลกใหครบ 100% ภายใน ค.ศ. 2030 จาก 20% ใน ป จ จุ บั น โดยการประกาศครั้ ง สํ า คั ญ นี้ มี ขึ้ น ที่ ก ารประชุ ม Clean Energy Ministerial เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2559 ที่ผานมา ณ เมือง ซานฟรานซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกา มิสเตอร ชารลส แบรนด รองประธานบริหารดานการจัดการ ผลิตภัณฑและการดําเนินงานเชิงพาณิชย (Vice President, Product Management and Commercial Operations) ของกลุ ม บริ ษั ท เต็ดตรา แพค กลาววา “การลงนามรวมเปนสวนหนึ่งของ RE100 สะทอนใหเห็นถึงความมุงมั่นในการดําเนินธุรกิจแบบยั่งยืนอยาง ต อ เนื่ อ งของเรา โดยหนึ่ ง ในนั้ น คื อ การลดผลกระทบต อ การ เปลีย่ นแปลงของสภาพอากาศโลก รวมถึงการหันมาใชพลังงานไฟฟา ทดแทนในระบบการผลิตมากขึ้น “เราไดตั้งเปาหมายที่ยิ่งใหญเอาไววา อัตราการปลอยกาซ ตางๆ จากโรงงานของเราทัง้ หมดใน ค.ศ. 2020 จะตองไมมากไปกวา จํานวนที่เคยปลอยใน ค.ศ. 2010 และเรามีพัฒนาการอยางดีเยี่ยม โดยใน ค.ศ. 2015 อัตราการปลอยกาซจากระบบการผลิตทั่วโลก ของเราลดลงถึง 15% เมือ่ เทียบกับ ค.ศ. 2010 ในขณะทีก่ าํ ลังการผลิต เพิ่มขึ้นถึง 16%” “เปาหมายอันชัดเจนทําใหเราพยายามลดการใชพลังงาน ในการผลิตโดยรวมมาตลอด และการหันมาใชพลังงานไฟฟาทดแทน ถื อ เป น ก า วต อ ไปที่ สํ า คั ญ ดั ง นั้ น การเข า ร ว ม RE100 นอกจาก จะเปนการรวมดูแลรักษาสภาพอากาศของโลกแลว ยังชวยใหเรา ดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพและเหมาะสมจากการเรียนรูและ แลกเปลี่ยนประสบการณ ทั้งจากผูเชี่ยวชาญและองคกรอื่นๆ ที่มี จุดมุงหมายเดียวกัน” RE100 เปนการรวมมือกันของภาคธุรกิจเอกชนระดับสากล ในการนําพลังงานไฟฟาทดแทน 100% มาใชในระบบการทํางาน และการผลิต เนื่องจากปจจุบันสัดสวนการใชพลังงานไฟฟารวม ของภาคเอกชนนัน้ คิดเปนประมาณเกือบครึง่ หนึง่ ของปริมาณการใช พลังงานไฟฟาทั้งหมดของโลก ดังนั้นหากกลุมผูประกอบการธุรกิจ เอกชนชั้นนําของโลกหันมารวมตัวกันเพื่อใชพลังงานไฟฟาทดแทน แลว จะชวยทําใหมีการสรางวงจรการใชพลังงานหมุนเวียนเพิ่มขึ้น และลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมไดอยางมีนัยสําคัญ ซึ่ง RE100 นําโดยเดอะไคลเมทกรุป รวมกับซีดีพี (CDP) การตัดสินใจเขารวม RE100 ของเต็ดตรา แพค นั้นเปนการ ตอกย้ําถึงปณิธานที่จะมีสวนรวมในการชวยแกปญหาโลกรอน และ การเขารวมครั้งนี้เกิดขึ้นเพียง 6 เดือนหลังจากที่บริษัทฯ ไดเขารวม ปฏิญาณในงาน Paris Pledge for Action at COP21 ที่ประเทศ ฝรั่งเศส
Tetra Pak has joined RE100, committing to increase its use of renewable electricity from 20% today to 100% across all global operations by 2030. The announcement was made at the Clean Energy Ministerial forum yesterday in San Francisco, US. Charles Brand, Executive Vice President, Product Management and Commercial Operations at Tetra Pak said: “Signing up to RE100 reflects our on-going commitment to minimising our climate impact and increasing our use of renewable resources.” “We have set an ambitious target to ensure carbon emissions across our value chain are capped at 2010 levels through to 2020, and we are making excellent progress. In 2015 emissions were down 15% from the 2010 baseline, despite a 16% increase in production.” “Since setting our climate goal we have maximized our efforts to reduce energy consumption; committing to a renewable electricity target is a natural next step. By joining RE100 we will benefit from expert guidance and peer-to-peer learning on renewable electricity options in different markets.” Mark Kenber, CEO of The Climate Group, said at the forum, “The demand push from corporates is as important as supportive government policy – bold action by businesses, cities and governments sends a strong market signal and means we can hold global warming below two degrees far more quickly. “The Clean Energy Ministerial is shining the spotlight on RE100 as a model of best practice in galvanizing the switch to renewable energy, and the leadership of influential companies – such as Tetra Pak, which is joining RE100 today – shows the business case for 100% renewables is as strong as ever.” RE100 is a global, collaborative business initiative led by The Climate Group in partnership with CDP to drive demand for, and delivery of, renewable power. Tetra Pak’s decision to join RE100 once again underscores its commitment to tackle climate change, and comes just six months after the company joined the Paris Pledge for Action at COP21.
January-February 2017
p.95-97_industry.indd 96
1/26/17 5:21 PM
Industry News
TRT เตรียมเพิ่มกําลังการผลิต เพ�อรองรับความตองการของภาครัฐ ถิรไทย หรือ TRT ผูนําตลาดหมอแปลงไฟฟา และอุตสาหกรรม เกี่ยวกับพลังงานรายใหญของประเทศ มีรายได 9 เดือน ป 2559 กวา 1,846.18 ล า นบาท ป จ จั ย หลั ก มาจากยอดขายหม อ แปลงไฟฟ า ภาคเอกชนในประเทศปรับตัวสูงขึ้น 36% รวมถึงการรับรูรายไดจาก งาน O&M โดยกําไรขั้นตนใน 9 เดือนแรกปรับตัวสูงขึ้น 26% โดยมี ปจจัยหลักมาจากการปรับตัวกําไรขั้นตนของกลุม Transformer และ Non-Transformer ตามลําดับ โดยการบริหารจัดการ ทัง้ ควบคุมคาใชจา ย ขาย และบริหารใหอยูในงบประมาณ จากขาดทุนในชวงเดียวกันของ ปกอนมามีกําไรสุทธิ 24 ลานบาท พรอมเตรียมเดินสายการผลิตของ โรงงานผลิตหมอแปลงไฟฟาใหม เพิม่ กําลังการผลิตหมอแปลงจาก 5,000 MVA เปน 9,000 MVA รองรับการเติบโตของ TRT ไปอีก 5-7 ปขางหนา สัมพันธ วงษปาน ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร และกรรมการผูจ ดั การ บริษัท ถิรไทย จํากัด (มหาชน) หรือ TRT กลาววา ผลประกอบการ รายไดรวมสําหรับงวด 9 เดือน ป 2559 นั้นเปนเพราะบริษัทฯ และ บริษัทยอยสามารถสงมอบสินคาและบริการไดตามกําหนด นอกจากนั้น บริษัทสามารถควบคุมตนทุนไดตามประมาณการ และมีคาใชจายในการขายเทากับ 113.59 ลานบาท เพิ่มขึ้น 29.97 ลานบาท หรือ 35.84 % เนื่องจากมีคาใชจายในการสงออกเพิ่มขึ้น และมีคา ใชจา ยในการบริหาร 312.95 ลานบาท เพิม่ ขึน้ 44.88 ลานบาท หรือ 16.74 % มาจากบริษัทยอยรับรูคาใชจายในการบริหารจากการ ใหบริการเต็มจํานวน ทัง้ นี้ รายไดรวมทีป่ รับตัวสูงขึน้ 22% เปรียบเทียบกับชวงเดียวกัน ของปกอน ซึ่งมีปจจัยหลักมาจากยอดขายหมอแปลงไฟฟาในประเทศ สวนใหญเปนของภาคเอกชนปรับตัวสูงขึ้น 36% รวมถึงการรับรูรายได จากงาน O&M (Operation and Maintenance) และมีกําไรขั้นตนใน 9 เดือนแรก ป 2559 ปรับตัวสูงขึ้นจาก 15% ในชวงเดียวกันของปกอน เปน 26% ซึ่งมีปจจัยหลักมาจากการปรับตัวของกําไรขั้นตนใน 9 เดือน ป 2559 ของกลุม Transformer และ Non-Transformer ซึ่งปรับตัวจาก 17% และ 8% ตามลําดับ ในชวงเดียวกันของปกอน มาเปน 22% และ 37% ตามลําดับ ปจจุบนั กลุม TRT มีมลู คางานคงเหลือทีย่ งั ไมไดสง มอบ (Backlog) ณ 30/9/2559 จํานวน 2,221 ลานบาท โดยแบงเปนการสงมอบภายใน พ.ศ. 2559, 2560 และ 2561 จํานวน 829, 1,006 และ 386 ลานบาท ตามลําดับ รวมถึงยังมีงานรอประมูลและอยูระหวางการเสนอราคา จํานวนทั้งสิ้น 8,592 ลานบาท โดยกลุม TRT มีสวนแบงการตลาด อยูที่ 20-25% สําหรับทิศทางของบริษัทฯ (Business Plan) สัมพันธ กลาวตอวา ในกลุม TRT มีแผนทีจ่ ะเพิม่ ยอดขายใหถงึ 5,000 ลานบาท ใน พ.ศ. 2561
ดวยกลยุทธการเพิ่มประสิทธิภาพของกลุมงาน Steel Fabrication และ งาน EPC ดวยการเตรียมแผนเพือ่ เขารับการรับรองมาตรฐานขัน้ สูงตางๆ (ตัวอยางเชน UL Stamp) ทั้งดานศักยภาพการผลิต และบุคลากร เพื่อเพิ่ม Value Added ที่จะสามารถทําใหยอดขายของงานกลุมงานนี้ สามารถเติบโตจาก 486 ลานบาท ใน พ.ศ. 2558 เปน 1,000 ลานบาท ใน พ.ศ. 2561 นอกจากนี้ยังมีกลยุทธการขยายฐานตลาดสงออกหมอแปลง ไฟฟา ซึ่งจะเนนตลาดในกลุมประเทศที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง โดยเฉพาะกลุมประเทศ AEC ที่ตองการวิศวกรรมการออกแบบ ซึ่ง คาดวาจะสามารถเพิ่มยอดสงออกจาก 650 ลานบาท ใน พ.ศ. 2558 เปน 880 ลานบาท ใน พ.ศ. 2561 หรือมีอัตราเติบโตคิดเปน 35% สําหรับกลยุทธการเพิ่มกําลังการผลิตของโรงงานผลิตหมอแปลง ไฟฟา เพื่อรองรับความตองการหมอแปลงไฟฟากําลังของภาครัฐที่ เพิ่มขึ้นจากแผน PDP 2015 ซึ่งประมาณการงบลงทุนในโครงการระบบ สายสงไฟฟาแรงสูงของการไฟฟาฝายผลิตสําหรับ พ.ศ. 2559-2563 ตองการหมอแปลงไฟฟาอยูที่ประมาณ 10,000 ลานบาท หรือเฉลี่ย ปละ 2,000 ลานบาท ซึ่ง TRT มีสวนแบงการตลาดอยูที่ 25-30% สัมพันธ กลาวสรุปทิ้งทายวา TRT จะเริ่มเดินสายการผลิตของ โรงงานผลิตหมอแปลงไฟฟาใหมในไตรมาส 4/59 นี้ เพื่อเพิ่มศักยภาพ ในการผลิ ต หม อ แปลงไฟฟ า ระบบ จําหนาย และสงเสริมกําลังการผลิต ของหม อ แปลงไฟฟ า กํ า ลั ง ซึ่ ง จะ ทําใหกําลังการผลิตหมอแปลงไฟฟา ระบบจําหนายเพิ่มจาก 1,000 MAV เป น 1,500 MVA และเพิ่ ม กํ า ลั ง การผลิ ต หม อ แปลงไฟฟ า กํ า ลั ง จาก 4,000 MVA เป น 7,500 MVA รวมเปน 9,000 MVA ซึ่งจะ สามารถรองรับการเติบโต ธุรกิจของ TRT ไปอีก 5-7 ป อีกดวย
สัมพันธ วงษปาน January-February 2017
p.95-97_industry.indd 97
1/26/17 5:21 PM
ไอเอฟเอสเปิดตัว IFS Mobile Workforce Management IFS launches new and enhanced version of IFS Mobile Workforce Management
ไอเอฟเอส บริษัทผู้ผลิตแอพพลิเคชันสำ�หรับองค์กรระดับโลก เปิดตัว โซลูชันไอเอฟเอส โมบาย เวิร์คฟอร์ซ แมเนจเม้นท์ (IFS Mobile Workforce Management) เวอร์ชัน 5.8 ในงานไอเอฟเอส เวิลด์ คอนเฟอเรนซ์ (IFS World Conference 2016) สำ�หรับประสิทธิภาพได้รับการปรับเพิ่มให้แก่โซลูชันเวอร์ชันใหม่นี้ ได้แก่ การสร้างกะการทำ�งานแบบอัตโนมัติ : โซลูชนั เวอร์ชนั ใหม่พร้อมให้การสนับสนุน ด้านการวางแผนกะการทำ�งานแบบอัตโนมัติ ตลอดจนการจัดทำ�บัญชีรายชื่อ ทั้งแบบรายบุคคลและแบบกลุ่ม โดยพิจารณาจากข้อจำ�กัดต่างๆ เช่น จำ�นวน ชั่วโมงทำ�งาน จำ�นวนวันทำ�งาน และรูปแบบกะการทำ�งานที่ได้รับอนุญาตให้ ดำ�เนินการได้ โดยโซลูชันนี้จะสามารถวางแผนกะการทำ�งานที่เหมาะสมตาม ข้อกำ�หนดและข้อจำ�กัดของบริษัทให้โดยอัตโนมัติด้วยการคลิกเพียงครั้งเดียว การจัดกำ�หนดการจากการเรียนรูข้ อ้ มูลในอดีต : ใช้ขอ้ มูลทีจ่ ดั เก็บไว้ในคลัง มาใช้ช่วยในการตัดสินใจเพื่อจัดกำ�หนดการที่สมเหตุสมผลและมีความน่าเชื่อถือ มากยิง่ ขึน้ โดยพิจารณาจากข้อมูลในอดีต โซลูชนั นีจ้ ะเรียนรูโ้ ดยอัตโนมัตเิ พือ่ สร้าง กำ�หนดการทำ�งานทีถ่ กู ต้องแม่นยำ�ยิง่ ขึน้ ด้วยการวิเคราะห์ขอ้ มูลอย่างครอบคลุม รวมถึงระยะเวลาทำ�งานโดยเฉลี่ยตามประเภทกิจกรรม ลูกค้า และสัญญา ตัวเลือกการปรับใช้ระบบคลาวด์แบบใหม่ : ขณะนีค้ ณ ุ สมบัตติ า่ งๆ เช่น การวางแผนกำ�ลังการผลิตและการจัดกำ�หนดการตามเป้าหมาย สามารถทำ�งาน บนระบบไมโครซอฟต์ เอชัวร์ (Microsoft Azure) ที่พร้อมรองรับผู้ใช้งานจำ�นวน มาก และสามารถปรับขยายระบบเพื่อสนับสนุนผู้ใช้แบบครั้งคราว และทำ�ให้ แน่ใจได้วา่ ระบบจะมีความพร้อมใช้งานสูงสุดสำ�หรับไดนามิก สเกดวลลิง่ เอ็นจิน้ (ดีเอสอี) (Dynamic Scheduling Engine (DSE)) ของโซลูชัน การปรับใช้ขอ้ มูลขนาดใหญ่ (บิก๊ ดาต้า) อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด : โซลูชนั ใหม่นใี้ ห้การสนับสนุนชุดข้อมูลขนาดใหญ่ได้ดยี งิ่ ขึน้ รวมถึงการสนับสนุนด้านการ รวมและการแยกข้อมูลการวางแผน ตัวเลือกทีค่ รอบคลุมสำ�หรับการกรองงานและ ช่วงเวลา รวมทั้งการจัดสรรเวลาในการประมวลผลอย่างชาญฉลาดด้วย ข้อมูลเชิงลึกทีม่ องเห็นภาพได้ชดั เจนยิง่ ขึน้ : มุมมองของส่วนควบคุมใหม่ จะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพให้ผใู้ ช้ดว้ ยตัวบ่งชีป้ ระสิทธิภาพหลักทีส่ ามารถกำ�หนดได้เอง เพื่อการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย รวมทั้งสามารถช่วยเสริมสร้าง ประสิทธิภาพและประสบการณ์การใช้งานของผู้ใช้ในเชิงบวกมากขึ้นกว่าเดิม จอร์เกน รอดจ์ ผู้อำ�นวยการฝ่ายผลิตภัณฑ์ด้านโซลูชันที่แยกตามการ บริการ สินทรัพย์ และโครงการ กล่าวว่า “เวอร์ชันใหม่ของโซลูชันการจัดกำ�หนด เวลาทำ�งานแบบไดนามิกของเรา แสดงให้เห็นว่าผลิตภัณฑ์ของเราสามารถ ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าได้อย่างตรงจุด ไม่วา่ จะเป็นการจัดกำ�หนดเวลา ในรูปแบบโดยอัตโนมัติและมีประสิทธิภาพ ทั้งยังสามารถรักษาและเพิ่มความ ยืดหยุ่นของโซลูชันผ่านตัวเลือกใหม่ของการปรับใช้ระบบคลาวด์และการจัดการ ข้อมูลขนาดใหญ่ด้วย ส่งผลให้ลูกค้าของเราสามารถใช้ทรัพยากรของตนได้มี ประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ ซึง่ นัน่ จะนำ�ไปสูก่ ารประหยัดค่าใช้จา่ ยและเวลาได้อย่างสูงสุด”
IFS, the global enterprise applications company, announced today at the IFS World Conference 2016 the launch of IFS Mobile Workforce Management version 5.8. Among the enhancements in the new version are Automatic shift generation - The new version supports automatic shift planning and rostering for individuals or groups based on constraints such as number of work hours, number of work days, and permissible shift patterns. With only one click, the solution then automatically plans shifts that are optimized for the company’s requirements and constraints. Self-learning scheduling - Leverages an extended data archive to allow for more educated and informed scheduling decisions based on historical data. The solution automatically learns to produce more accurate work schedules by analyzing a broad range of data including average job duration by activity type, customer and contract. New cloud deployment options - Features such as capacity planning and target-based scheduling can now run in scalable, multi-tenant Microsoft Azure environments to support occasional users and ensure maximum system availability for the solution’s Dynamic Scheduling Engine (DSE). Big data optimization - The new version offers even better support for large datasets, including support for aggregation and de-aggregation of planning data, extended options for filtering tasks and time-slicing as well as intelligent support for allocating processor time. Enhanced visual insights - A new cockpit view empowers users with customizable key performance indicators for quick and easy data access, driving efficiency and a positive user experience. IFS product director for service-, asset-, and project-based solutions Jørgen Rogde added, “The new version of our dynamic work scheduling solution represents a major product investment aimed at helping our clients streamline and automate their scheduling processes while maintaining and enhancing the flexibility of the solution through new options for cloud deployment and big data management. It will help our customers use their resources more effectively, ultimately saving them time and money.”
January-February 2017
p.98-100_it news-c4.indd 98
1/27/2560 BE 15:25
Sophos ขึน้ แท่นตำ�แหน่งผูน้ �ำ ในรายงาน Endpoint Security Suites ในรายงานของนักวิเคราะห์จากฟอร์เรสเตอร์ Sophos Placed as a Leader in Endpoint Security Suites Report from Leading Industry Analyst Sophos (LSE: SOPH) ได้แถลงข่าวว่า Sophos ได้รับการยกย่อง ให้ เ ป็ น “ผู้ นำ � ” ในรายงานฉบั บ ใหม่ ข อง Forrester Research ชื่ อ “The Forrester Wave™: Endpoint Security Suites, Q4 2016” ซึ่งรายงาน ฉบับนี้ยังให้คะแนน Sophos ในด้านยุทธศาสตร์ผลิตภัณฑ์สูงที่สุดอีกด้วย โดย Forrester ยกให้ผลิตภัณฑ์ Sophos Endpoint Protection เป็น “ชุดผลิตภัณฑ์ความปลอดภัยเอนด์พอยต์แบบ SaaS ที่เหมาะกับระดับ องค์กรมากทีส่ ดุ ” รายงานนีย้ งั ย้�ำ ด้วยว่า “ผูซ้ อื้ ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวจะชืน่ ชอบ อินเทอร์เฟซการบริหารจัดการทีส่ ะดวกสบาย ทีม่ าพร้อมกับความยืดหยุน่ และการรองรับการเปลี่ยนขนาดของระบบอย่างคล่องตัว ซึ่งเป็นความ ต้ อ งการหลั ก ในการติ ด ตั้ ง สำ � หรั บ เกื อ บทุ ก องค์ ก ร ทั้ ง ขนาดเล็ ก และ ขนาดใหญ่” Forrester ยังพบด้วยว่า ลูกค้าส่วนใหญ่ของ Sophos “พึงพอใจ ในระดับสูงมาก โดยเฉพาะกับประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์” Forrester ประเมิ น ผู้ จำ � หน่ า ย ผลิตภัณฑ์ 15 ราย โดยใช้เกณฑ์การให้ คะแนน 25 รายการ และแบ่งกลุม่ ความ สามารถของผู้จำ�หน่ายออกตามความ ต้องการหลัก 3 ประการ ได้แก่ การ ป้ อ งกั น ตรวจจั บ และฟื้ น ฟู ห ลั ง การ โจมตี โดยรายงานฉบั บ นี้ แ นะนำ � ลู ก ค้ า ให้ พิ จ ารณาความสามารถของ ผู้จำ�หน่ายก่อนตัดสินใจซื้อ โดยเฉพาะ ในเรื่องของ : การป้องกันมัลแวร์และ การใช้ประโยชน์จากช่องโหว่ การตรวจจับกิจกรรมที่เป็นอันตรายหลังจาก มัลแวร์เริ่มทำ�งาน การฟื้นฟูและจำ�กัดบริเวณกิจกรรมที่เป็นอันตราย กับ ช่องโหว่ที่มีความเสี่ยง รายงานนี้ยังได้รวมเอาผู้จำ�หน่ายที่มีผลิตภัณฑ์ที่ความสามารถ ตรงตามรายการข้างต้น และได้แสดงศักยภาพในตลาดระดับองค์กรมาแล้ว ว่า โซลูชันดังกล่าวได้รับความสนใจในระดับสูงจากลูกค้าระดับองค์กร ในรายงานฉบับนี้ Forrester ยังได้ประเมินยุทธศาสตร์ของผูจ้ �ำ หน่าย โดยแบ่งเกณฑ์ดา้ นยุทธศาสตร์ทจี่ ะให้คะแนนออกเป็นด้านโมเดลค่าใช้จา่ ย และการซื้อไลเซนส์ โร้ดแมปของผลิตภัณฑ์ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ออกสู่ตลาด Forrester กล่าวย้ำ�ว่า “ในตลาดที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ความปลอดภัยเอนด์พอยต์ทั้งเก่าและใหม่นั้น โร้ดแมปของ Sophos ที่ ต้องการพัฒนาระบบการป้องกันและตรวจจับอันตรายแบบไม่ใช้ซกิ เนเจอร์ ซึ่งมีประสิทธิภาพแข็งแกร่ง จะทำ�ให้ผลิตภัณฑ์ของ Sophos มีศักยภาพ สูงมากในการแข่งกับตลาดในระยะยาว” Sophos Intercept X เป็นผลิตภัณฑ์ความปลอดภัยเอนด์พอยต์ แบบ Next-Gen ทีห่ ยุดยัง้ มัลแวร์แบบ Zero-Day, ช่องโหว่ทไี่ ม่ทราบมาก่อน ต่างๆ และการซุ่มโจมตีแบบเงียบๆ รวมทั้งยังมีฟีเจอร์ต่อต้านแรนซัมแวร์ ระดับสูง ทีส่ ามารถตรวจจับแรนซัมแวร์ทไี่ ม่รจู้ กั มาก่อนได้ภายในไม่กวี่ นิ าที Sophos Intercept X สามารถติดตั้งพร้อมกับซอฟต์แวร์ความปลอดภัย เอนด์ พ อยต์ จ ากผู้ จำ � หน่ า ยรายอื่ น ได้ ซึ่ ง จะช่ ว ยยกระดั บ การปกป้ อ ง เอนด์พอยต์ด้วยการตรวจจับแบบไม่ต้องพึ่งพาซิกเนเจอร์
Sophos (LSE: SOPH) today announced it has been positioned as a ‘Leader’ in Forrester Research, Inc.’s new report, The Forrester Wave™: Endpoint Security Suites, Q4 2016. Recognizing that Sophos received the highest scores in the Strategy category, Forrester refers to Sophos Endpoint Protection as delivering “the most enterprise-friendly SaaS endpoint security suite.” The report cites that “buyers will appreciate its intuitive administrative interface along with the flexibility and scalability required for most enterprise deployments, both large and small.” Forrester also found that overall Sophos customers report a “high level of satisfaction with the product’s effectiveness.” Forrester evaluated 15 vendors against 25 criteria and categorizes vendor capabilities into three core needs: attack prevention, detection and remediation. The report recommends that before purchase, customers should consider a vendor’s ability to specifically: • Prevent malware and exploits from executing • Detect malicious activity post-execution • Remediate and contain malicious activity and potential vulnerabilities The report included vendors who have products with the above capabilities and have demonstrated an enterprise market presence with a high-level of interest for their solutions from enterprise customers. In the report, Forrester also assesses a vendor’s strategy. Sophos scored a maximum rating across the board in the cost and licensing model, product roadmap and go-to-market strategy criteria. Forrester cites, “In a field crowded with both new and legacy endpoint security technologies, Sophos’ roadmap to develop strong signatureless prevention and detection capabilities…should make the product highly competitive over the long term.” Sophos Intercept X is a next-generation endpoint security product that stops zero-day malware, unknown exploit variants and stealth attacks and includes an advanced anti-ransomware feature that can detect previously unknown ransomware within seconds. Sophos Intercept X installs alongside existing endpoint security software from any vendor, immediately boosting endpoint protection with signatureless detection. Sophos Intercept X is now available.
January-February 2017
p.98-100_it news-c4.indd 99
1/27/2560 BE 15:25
Symantec Endpoint Protection Cloud คุ้มครองธุรกิจขนาดเล็ก ต่อสู้กับภัยคุกคามที่เพิ่มมากขึ้น Symantec Endpoint Protection Cloud Secures Small Businesses Against Growing Threats
บริษัท ไซแมนเทค (Symantec Corp.) (NASDAQ: SYMC) เปิดตัว Symantec Endpoint Protection Cloud โซลูชนั ใหม่ส�ำ หรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (เอสเอ็มอี) ช่วยป้องกันภัยคุกคามแบบเจาะจงเป้าหมาย และมัลแวร์ เรียกค่าไถ่ (Ransomware) จากรายงานภั ย คุ ก คามด้ า นความปลอดภั ย บน อินเทอร์เน็ตฉบับล่าสุดของไซแมนเทคระบุวา่ 65 เปอร์เซ็นต์ ของการโจมตีแบบเจาะจงเป้าหมายพุ่งเป้าไปที่องค์กรธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดย่ อ มในช่ ว ง พ.ศ. 2558 โดยมี จุ ด มุ่งหมายเพื่อโจรกรรมข้อมูลที่มีค่าของบริษัท Symantec Endpoint Protection Cloud จะช่วยให้ผู้ประกอบการธุรกิจ ขนาดเล็ ก ได้ รั บ การปกป้ อ งในระดั บ เดี ย วกั น กั บ องค์ ก ร ขนาดใหญ่ ด้วยโซลูชันที่ติดตั้งได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว ภายในเวลาไม่ถึง 5 นาที และสามารถควบคุมการใช้งาน โดยบุคลากรที่มีความรู้ทางด้านไอทีในระดับทั่วไป Symantec Endpoint Protection Cloud เหมาะสำ�หรับ องค์กรที่มีพนักงานไม่ถึง 1,000 คน ซึ่งกำ�ลังมองหาวิธีการที่ มีประสิทธิภาพในการปกป้องอุปกรณ์ของบริษทั และอุปกรณ์ ส่วนบุคคลบนเครือข่ายขององค์กร โดยการ์ทเนอร์ (Gartner) ระบุว่า ภายใน พ.ศ. 2561 ราว 95 เปอร์เซ็นต์ขององค์กร ทัว่ โลกจะเปิดโอกาสให้พนักงานเลือกใช้อปุ กรณ์ตามทีต่ อ้ งการ (Choose Your Own Device - CYOD) และสามารถนำ�อุปกรณ์ ส่วนตัวมาใช้ในที่ทำ�งาน (Bring Your Own Device - BYOD) แนวทางดังกล่าวจะทำ�ให้เกิดการใช้งานอุปกรณ์ใหม่ๆ มากมาย ซึ่ ง จะสร้ า งแรงกดดั น ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น ต่ อ องค์ ก รธุ ร กิ จ ที่ มี ทรัพยากรไอทีอย่างจำ�กัด อลัน ลี ผู้จัดการอาวุโส ฝ่ายการจัดการผลิตภัณฑ์ ทั่วโลก กลุ่มธุรกิจการป้องกันภัยคุกคามขั้นสูง ไซแมนเทค กล่าวว่า “ด้วย Symantec Endpoint Protection Cloud เรา จัดหาโซลูชันบนระบบคลาวด์ที่ประกอบด้วยฟีเจอร์ทั้งหมด ที่จำ�เป็นสำ�หรับการปกป้องข้อมูลของลูกค้าเอสเอ็มอีให้มี ความปลอดภัย โดยไม่สร้างภาระให้กบั ฝ่ายไอทีมากจนเกินไป” Symantec Endpoint Protection Cloud ใช้งานได้จาก คอนโซลเดียวบนระบบคลาวด์ สำ�หรับการปกป้องอุปกรณ์ ลูกข่าย การบริหารจัดการ ความคล่องตัวในการใช้งาน และ การเข้ารหัส จึงช่วยเพิ่มความสะดวกในการบริหารจัดการ และลดค่าใช้จา่ ยโดยรวมของการดำ�เนินงาน ซึง่ ถือเป็นปัญหา สำ�คัญสำ�หรับธุรกิจเอสเอ็มอี
อลัน ลี Symantec Corp. (NASDAQ: SYMC), the global leader in cyber security, today introduced Symantec Endpoint Protection Cloud, a new solution for small and mid-sized businesses to protect them from targeted attacks and ransomware. According to the latest Symantec Internet Security Threat Report, 65 percent of all targeted attacks struck small and mid-sized organizations in 2015 to steal valuable company information. Symantec Endpoint Protection Cloud gives small business owners enterprise-grade protection in a solution that can be set up in less than five minutes and operated by someone with general IT knowledge. Symantec Endpoint Protection Cloud is for organizations with less than 1,000 employees that are looking for an effective way to protect corporate and personal devices on the corporate network. Gartner indicated that by 2018, 95 percent of global enterprises will have both a Chose Your Own Device (CYOD) and a formal Bring Your Own Device (BYOD) plan in place. This expected flood of new devices will put increasing pressure on businesses with limited IT resources. Alan Lee, Senior Manager, Global Product Management, Advanced Threat Protection Group, Symantec. “Attackers no longer aim just for the Fortune 500. small and mid-sized business owners must adopt the same vigilance against advanced attacks and deploy the same modern defense capabilities found in enterprise solutions like machine learning to protect their businesses,” said Alan Lee, Senior Manager, Global Product Management, Advanced Threat Protection Group, Symantec. “With Symantec Endpoint Protection Cloud, we’re providing a cloud-based solution with all the features necessary to keep our SMB customers’ information secure without over-taxing already stretched IT departments.” Symantec Endpoint Protection Cloud provides a single cloud-based console for endpoint protection, management, mobility and encryption, bringing users a solution that simplifies management and reduces total cost of operation, typical pain points for SMBs.
January-February 2017
p.98-100_it news-c4.indd 100
1/27/2560 BE 15:25
SUBSCRIPTION
ELECTRICITY & INDUSTRY magazine ป 2560
ขาพเจา ชื่อ .................................................................................................สกุล........................................................................................................ ตําแหนง .......................................................................................บริษัท/หาง/ราน ...................................................................................... ที่อยู (ที่ทํางาน) ............................................................................แขวง/ตําบล ........................................................................................... เขต/อําเภอ ...................................................................................จังหวัด ......................................................รหัสไปรษณีย์ ...................... โทร ...............................................................................................แฟกซ์ ..................................................................................................... ที่อยู (ที่บาน) .................................................................................แขวง/ตําบล .......................................................................................... เขต/อําเภอ ....................................................................................จังหวัด .....................................................รหัสไปรษณีย์ ...................... โทร ...............................................................................................แฟกซ์ ..................................................................................................... รหัสสมาชิก ...............................................................................
ประสงค์จะบอกรับวารสาร “ไฟฟาและอุตสาหกรรม” 1 ป 6 ฉบับ 480 บาท 2 ป 12 ฉบับ 960 บาท สมาชิกตออายุ 2 ป 12 ฉบับ 800 บาท ตั้งแตฉบับที่ ..............เดือน .....................................ป ................... โดยสงวารสารไปที่ ที่ทํางาน ที่บาน พรอมกันนี้ไดสงคาสมาชิกเปนจํานวนเงิน ............................. บาท (ตัวอักษร ........................................................................................) เช็คธนาคาร .............................................................................. สาขา ............................................................................................... เช็คครอมสั่งจาย “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด”
ธนาณัติ สั่งจายในนาม “คุณวาสนา เลิศสองแสง” ที่ทําการไปรษณีย์โทรเลขบางกอกนอย โอนเขาบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด” ชื่อธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี กรุงเทพ สะพานพระปนเกลา 162-0-74737-6 กสิกรไทย บางยี่ขัน 047-2-56333-5 ทหารไทย จรัญสนิทวงศ์ 020-2-27244-9 ไทยพาณิชย์ จรัญสนิทวงศ์ ซ.48 121-2-04080-0 หมายเหตุ กรุณาสงแฟกซ์ หรือสําเนาใบเขาบัญชี (Pay-in Slip) มาให บริษัทฯ พรอมเขียนชื่อ-นามสกุล และรหัสสมาชิก (ถามี) กํากับมาดวย
บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด 471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. +66 (0)26 444 555, +66 (0)23 545 333 ตอ 301 โทรสาร +66 (0)26 446 649, +66 (0)23 545 322
p.101-103_member.indd 101
1/26/17 5:23 PM
หากผูอานทานใดสนใจรายละเอียดตางๆ ที่ปรากฏในวารสาร ELECTRICITY & INDUSTRY MAGAZINE
ปที่ 24 ฉบับที่ 1 มกราคม-กุมภาพันธ 2560 กรุณากรอกขอมูลดังกลาวใหครบถวนเพื่อการติดตอจัดสงขอมูลกลับไปยังทานตอไป ชื่อ .................................................................................................ชื่อสกุล........................................................................................................ ที่อยู ..............................................................................................แขวง/ตําบล ................................................................................................ เขต/อําเภอ ....................................................................................จังหวัด .....................................................รหัสไปรษณีย์ .......................... โทร ...............................................................................................แฟกซ์ .........................................................................................................
ประเภทของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ
ตําแหนงงานที่ทานรับผิดชอบ กรรมการผูจัดการ/เจาของกิจการ ผจก.โรงงาน ผจก.ฝายวิจัยและพัฒนา ผจก.วิศวกรรม ผจก.ฝายซอมบํารุง วิศวกรฝายผลิต วิศวกรทดสอบ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................
อุตสาหกรรมเคมี/ปโตรเคมี อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมงานเชื่อม อุตสาหกรรมโลหการ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................
ประเภทของกิจการ ผูผลิต
p.101-103_member.indd 102
ผูแทนจําหนาย
ผูผลิต/ผูแทนจําหนาย
หนวยงานราชการ
1/26/17 5:23 PM
ใบอนุญาตเลขที่ ปน. (ต)/1339 ปณจ.บางกอกน้อย ถ้าฝากส่งในประเทศไม่ต้องผนึกตราไปรษณียากร
บริการธุรกิจตอบรับ
บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 619/5 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงอรุณอัมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700
ประโยชน์ทท่ี า่ นจะได้รบั จากวารสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” เนื้อหา............................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... โฆษณา/รายละเอียดผลิตภัณฑ์...................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................................
ความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ คอลัมน์ตา่ งๆ ทีป่ รากฏในวารสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” ชือ่ คอลัมน์ Article Factory Visiting Industry News Interesting IT News IT Technology Maintenance Movement Product Project PR News Scoop Seminar Seminar Calendar Special Area Special Scoop TISIA
p.101-103_member.indd 103
มีประโยชน์มาก
มีประโยชน์
พอใช้
ควรปรับปรุง
1/26/17 5:23 PM
ดัชนีสินคาประจำเดือนมกราคม - กุมภาพันธ พ.ศ. 2560 บริษัท
โทรศัพท
โทรสาร
ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK
0-2642-6911
-
งานแสดงสินคา
44
INTERMACH
0-2642-6911
-
งานแสดงสินคา
45
MAXIMIZE INTEGRATED TECHNOLOGY CO., LTD.
0-2525-0299
0-2525-0298
Industrial Relays
10
MENNEKES Elektrotechnik GmbH & Co. KG
0-2741-5266
0-2741-5267
ผูผลิตปลั๊กอุตสาหกรรม
15
SAFEGUARD TECHNOLOGY CO., LTD.
0-2897-0303
0-2897-0304
อุปกรณไฟฟา
43
SAMWHA (THAILAND) CO., LTD.
0-3884-7571-3
0-3884-7575
จําหนาย ติดตั้งคาปาซิเตอร
7
SETA
-
-
งานแสดงสินคา
42
THAILAND ENERGY EFFICIENCY WEEK
-
-
งานแสดงสินคา
26
W.I.P ELECTRIC CO., LTD.
0-2410-5030-4
0-2408-8755
อุปกรณไฟฟา
105
เชลลแหงประเทศไทย บจก.
0-2262-6000
0-2657-9888
น้ํามันหลอลื่น
ปกหนา, 3
เพาเวอร เรด บจก.
0-2300-5671-3
0-2300-5937
อุปกรณไฟฟา
11
เรเซล ควอลิตี้ เทรดดิ้ง บจก.
0-2683-3040
0-2294-8198
อุปกรณไฟฟา
12
เวอรทัส บจก.
0-2876-2727-8
0-2476-1711
Couplings
22
เอ็น วาย อาร วิศวกรรม บจก.
0-2861-8008
0-2881-7871
อุปกรณไฟฟา อุปกรณเซฟตี้ เครื่องทดสอบกระแสไฟฟา
17
เอวีรา บจก.
0-2681-5050
0-2681-5995
อุปกรณไฟฟา
21
เอส เอ วี เมคคานิคคอล เซอรวสิ ส แอนด ซัพพลายส หจก.
0-2702-0581-8
0-2377-5937
ติดตั้ง EOCR อิเล็กทรอนิกสโอเวอรโหลดรีเลย ปองกันมอเตอรไหม
14
เอส.พี.วาย แอนด เคเบิ้ล บจก.
0-2434-0099
0-2434-3251
อุปกรณไฟฟา
19
ไทยบํารุง เอ็นจิเนียริ่ง บจก.
0-2282-9191
0-2282-9200
ผูนําเขาอุปกรณไฟฟา-คอนโทรล, ตูโหลดเซ็นเตอร-เซอรกิตเบรกเกอร
ซี.เค.แอล. โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง บจก.
0-2149-6990
0-2149-6981
ตัวแทนจําหนายกลองและตูพลาสติกกันฝุนและละอองน้ํา
16
ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) บจก.
0-2002-4395-97
0-2002-4398
อุปกรณไฟฟา
25
พี ไอ เอส พาวเวอร ดิสทริบิวชั่น บจก.
0-2105-3011-2
0-2105-3013
สวิตช
4
มหาธน อีเลคทริค หจก.
0-2894-3447-9
0-2416-1659
อุปกรณไฟฟา
24
ลีฟเพาเวอร บจก.
0-2300-5671-3
0-2300-5937
อุปกรณไฟฟา
13
ลูซี่ อิเล็คทริค (ประเทศไทย) บจก.
0-3368-4333
-
สวิตชเกียร
5
ออมรอน อิเลคทรอนิคส บจก.
0-2942-6700
0-2937-0501
อุปกรณไฟฟาและระบบควบคุมอัตโนมัติ
6
อะตอม-มิค พาวเวอร บจก.
0-2503-3535
อินเตอรลิ้งค คอมมิวนิเคชั่น บมจ.
0-2693-1222
0-2693-1399
สาย LAN
23
อีลีเน็ต บมจ.
0-2899-9480-1
0-2899-1256
Neutral Grounding Resistiors (NGR) PCM Multiplexer
9
p.104_index.indd 104
ประเภทสินคา
0-2503-3519-20 อุปกรณไฟฟา
หนา
ปกหนาใน
ปกหลัง
2/16/17 4:31 PM
ระบบผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย ครั้งที่ 4 >> IEEE Power and Energy Society - Thailand จั ด สั ม มนาเชิ ง วิ ช าการ เรื่ อ ง ระบบผลิ ต ไฟฟ า จาก พลังงานแสงอาทิตย : ขอกําหนด การออกแบบ ติดตั้ง ควบคุมและบํารุงรักษา (ครั้งที่ 4) ระหวางวันที่ 30 มกราคม – 1 กุมภาพันธ 2560 ณ หองโลตัส ศูนย การประชุมแหงชาติสิริกิตติ์ โดยมีผูสนใจลงทะเบียน เขารวมสัมมนากวา 200 คน ในการนี้ คุณณรงค ตันติฉายากร ผูอ าํ นวยการ ฝายบํารุงรักษาสถานีไฟฟาและระบบไฟฟา การไฟฟา สวนภูมิภาค, กรรมการ IEEE PES Thailand เปน ประธานกลาวเปดการสัมมนา และ เรืออากาศตรี ดร.โตศักดิ์ ทัศนานุตริยะ กรรมการบริหาร IEEE PES เปน Session Chairman ดําเนินการสัมนาทั้ง 3 วัน โดยมี วิ ท ยากรจาก พพ. กกพ. BOI, MEA, PEA, มหาวิ ท ยาลั ย และผู เ ชี่ ย วชาญจากบริ ษั ท ต า งๆ มาถายทอดประสบการณ
p.106_movement.indd 106
2/10/17 2:02 PM
biomass_21.59x29.21cm.indd 1
2/9/17 3:15 PM