Electricity & Industry Magazine Issue Jan-Feb 2018

Page 1


LSIS_21.59x29.21cm.pdf

1

1/4/18

3:07 PM




INDEE Thai_21.59x29.21cm.pdf

1

1/4/18

3:09 PM



!:!:#+8D 0 ĉ: D-?5 G ÄŠ 5@# + Ä?H''Ä…: ;-9 L; =L$-< : /92 @D + &+=D)=L*) CHINA Headquarter

AVERA

Ä™ = 5 7/ Ę6&B)4A Ä&#x; =Ä™A 9I&+ 6g Ä™6 • 1< ' Äœ E##Ä”6 7)5 $6&D =Ä™.+è Äœ 1'Äœ â '4 'è/6' Ę1 1 ' 6 'è 6'/)5 6' 6&B)4 6' 7'< '5 -6

1< ' Ĝ Ĕ1 5 E##Ĕ6 '4 6 $6&D B)4$6& 1 '4 B)41< ' Ĝ15 '4 ĀE##Ĕ6.7/'5 &6 & Ĝ E##Ĕ6

8 Ę1.1 6%'6&)4A19& E ę 9I

AVERA Co., Ltd.

Tel : 0-2074-4411 Fax : 0-2074-4400 E-mail : sales@avera.co.th Website : www.avera.co.th


Omrom_21.59x29.21cm.pdf

1

1/4/18

3:10 PM



mit_print_LCD_MULLER_2018-c4.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

1/5/2561 BE

10:44




Steril-Aire Ad(ACAT-c4.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

1/12/2561 BE

15:03


14-SAV +

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

c4.pdf

1

1/12/2561 BE

15:19


Mennekes_21.59x29.21cm_Cre.pdf

1

3/30/17

3:05 PM



Rittal_21.59x29.21cm.pdf

1

1/4/18

3:11 PM


CONTENT January-February

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย 29 30 32 34 36 37

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำ�กัด (มหาชน) บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน)

IEEE PES GENERATION TRANSMISSION AND DISTRIBUTION (GTD) 43 Welcome from Supporting Utilities :

2018

SCOOP 58 การใช้พลังงานไทยปี 2560 เติบโตตามจีดีพี

กองบรรณาธิการ

completed in France using Heliatek’s Solar Film Solution, HeliaSol® กองบรรณาธิการ

60 The world’s largest BiOPV installation

SPECIAL SCOOP 62 นวัตกรรมพลังงานสีเขียวสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์

อย่างยั่งยืน กิตติ วิสุทธิรัตนกุล, ดร.สุรพล ด�ำรงกิตติกุล

คุณเสริมสกุล คล้ายแก้ว ผู้ว่าการการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค 45 กิจกรรมในงาน IEEE PES Dinner Talk 2017

SPECIAL AREA 65 มิเตอร์ไฟฟ้าคุณภาพสูง

บริษทั มิตซูบชิ ิ อีเล็คทริค ออโตเมชัน่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

IEEE POWER & ENERGY SOCIETY – THAILAND (IEEE PES - THAILAND) 47 IEEE PES Dinner Talk 2017 :

บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส์ จ�ำกัด ที่สุดแห่งเทคโนโลยีของสวิตช์นาฬิกา บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด โรงไฟฟ้าจะนะ ยกระดับความปลอดภัย ด้วยกล้องวงจรปิดระบบเครือข่ายจากแอ็กซิส แอ็กซิส คอมมูนิเคชั่นส์ หากคุณเจอปัญหาฮาร์มอนิกเล่นงานบ่อยๆ อย่าปล่อยให้เรื้อรัง บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด Energy Demands & Impact on Turbine Oil SHELL Thailand ข้อแตกต่างระหว่าง สวิตช์, รีเลย์ และแมกเนติก คอนแทคเตอร์ บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ปฏิรูปการด�ำเนินธุรกิจอุตสาหกรรม ด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่มาพร้อมกับโมเดลธุรกิจใหม่ ในยุคไทยแลนด์ 4.0 ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย

Modernizing the Thailand Grid มุ่งหน้า สู่ความล�้ำสมัยของระบบโครงข่ายไฟฟ้าไทย

สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย

51 คู่มือ : แนวทางการออกแบบการส่องสว่าง

ภายในอาคาร (Guidelines for Indoor Lighting Design)

68 พร๊อกซิมิตี้ตรวจจับระยะไกล 70

72

74

78

82

รายงานพิเศษ

39 EEC CO-WORKING SPACE :

ติดปีก SMEs-สตาร์ตอัพไทย ยกระดับธุรกิจสูย่ คุ 4.0 ส�ำนักงานเพื่อการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (สกรศ.)

ARTICLE 52 YuMi® หุ่นยนต์แบบแขนเดียว

(YuMi .. now with a single arm) ABB 54 เทคโนโลยีเตาเชือ ่ มโลหะต่างชนิดแบบไร้ตะเข็บในภาวะ สุญญากาศ (Vacuum Brazing Technology) ส�ำเริง ด้วงนิล 56 AI ฉลาดล�ำ้ โลก เปลี่ยนบ้าน คิดเองได้ ท�ำเองเป็น บนโครงข่ายไฟเบอร์ออฟติก กิตติ โกสินสกุล January-February 2018

86

IT TECHNOLOGY 89 การปรับใช้แพลตฟอร์ม IoT ในองค์กรจะเป็น

แนวโน้มด้านไอทีที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปี 2561 บริษัท ฮิตาชิ จ�ำกัด

93 PR NEWS 96 SEMINAR 98 MOVEMENT 101 INDUSTRY NEWS



EDITOR TALK

January-February

2018

สวัสดีปีใหม่ 2561 .... เนื่องในวาระเข้าสู่ปี 2561 คณะท�ำงาน Electricity & Industry Magazine บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด ขออวยพรให้ ทุกท่านประสบผลส�ำเร็จในทุกสิ่งที่มุ่งหวัง... Electricity & Industry Magazine ฉบับนี้ก็เข้าสู่ปีที่ 25 แล้ว ถือเป็นหนังสืออีกหัวหนึ่งที่ผ่านร้อนผ่านหนาวมายาวนาน ถึงแม้ในภาวะที่กระแสดิจิทัลโหมกระหน�่ำวงการสื่อสิ่งพิมพ์จนท�ำให้หัวหนังสือหลายๆ หัวที่คุ้นเคยหายไปจากแผงหนังสือ แต่ Electricity & Industry Magazine จะพยายามยืนหยัดให้ได้ เพราะเชื่อมั่นว่ายังมีสมาชิกและผู้สนใจอีกไม่น้อยที่ยังให้การ สนับสนุนหนังสือเฉพาะทางแบบนี้ ขอขอบคุณผูส้ นับสนุนทุกท่านทีย่ งั ให้การสนับสนุนเราด้วยดีตลอดมา และหวังว่าจะได้รบั การ สนับสนุนเช่นนี้ต่อไป อย่างไรก็ตาม การปรับตัวก็เป็นสิ่งจ�ำเป็น หากท่านใดต้องการอ่านทาง e-book สามารถติดตามอ่านได้ที่ www.technologymedia.co.th ตามทีท่ ราบกันดีวา่ Electricity & Industry Magazine เป็นสือ่ กลางเพือ่ เผยแพร่ความรูแ้ ละกิจกรรมของสมาคมอุตสาหกรรม ไฟฟ้าแห่งประเทศไทย สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย และ IEEE PES Thailand Chapter ซึง่ ทัง้ 3 องค์กรล้วนมีบทบาท ส�ำคัญในแวดวงไฟฟ้าและอุตสาหกรรมของประเทศไทยมากทีเดียว นอกจากนี้ นับจากฉบับนีเ้ ป็นต้นไป จะมีคอลัมน์ IEEE PES Generation Transmission and Distribution (GTD) เพิ่มเข้ามาอีก 1 คอลัมน์ สืบเนือ่ งจากในปี 2562 ประเทศไทยได้รบั ความไว้วางใจจาก IEEE PES ส�ำนักงานใหญ่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ให้ดำ� เนินการ จัดงานระดับนานาชาติทปี่ ระเทศไทย และเป็นครัง้ แรกในเอเชีย เรียกว่า GTD Asia 2019 โดยงานนีเ้ ป็นการรวมการจัดงาน 3 งาน ประกอบด้วย งาน Power Generation (PG Asia) งาน Transmission and Distribution (T&D Asia) และงาน Renewable Energy (RE Asia) เข้าด้วยกัน มีทง้ั การประชุมเชิงวิชาการ และการแสดงนิทรรศการระดับโลก การท�ำงานใหญ่เช่นนีจ้ งึ ต้องมีการวางแผน การท�ำงานล่วงหน้าเป็นเวลานาน โดย เสริมสกุล คล้ายแก้ว ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ได้มาให้รายละเอียดและแนวทาง การด�ำเนินงานต่อไป เพื่อให้งานครั้งนี้ออกมาดีที่สุด ส่วนเนื้อหาอื่นๆ ก็ยังคงเข้มข้นเช่นเดิม... พบกันใหม่ฉบับหน้า

กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

ที่ปรึกษา : รศ.ฉดับ ปัทมสูต / รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ์ / ไกรสีห์ กรรณสูต พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ์ / ประเจิด สุขแก้ว ผศ.พิชิต ล�ำยอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องค์วงศ์สกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ : ดร.สุรพล ด�ำรงกิตติกุล ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นิภา กลิ่นโกสุม เลขากองบรรณาธิการ : ปัฐฐมณฑ์ อุ่ยพัฒน์ / จีราภา รักแก้ว พิสูจน์อักษร : อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรมรูปเล่ม / ศิลปกรรมโฆษณา : กันยา จ�ำพิมาย ฝ่ายโฆษณา : ศิริภรณ์ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภิรมณ์ เลขานุการฝ่ายโฆษณา : ชุติมันต์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก : นันธิดา รักมาก

January-February 2018

บทความที่ปรากฏใน ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine เป็นความคิดเห็น ส่ ว นตั ว ของผู ้ เขี ย น ไม่ มี ส ่ ว นผู ก พั น กั บ บริ ษั ท เทคโนโลยี มี เ ดี ย จ� ำ กั ด แต่ อ ย่ า งใด หากบทความใดที่ผู้อ่านเห็นว่ามีการลอกเลียนหรือแอบอ้าง กรุณาแจ้งที่กองบรรณาธิการ ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine บทความต่ า งๆ ที่ ป รากฏในหนั ง สื อ ได้ ผ ่ า นการตรวจทานอย่ า งถี่ ถ ้ ว นเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความถูกต้องและสมบูรณ์ท่ีสุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแก้ไขต่อไป เจ้าของ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 http:// www.technologymedia.co.th เพลท-แยกสี : บริษัท อิมเมจิ้น กราฟิค จ�ำกัด พิมพ์ท่ี : บริษัท ฐานการพิมพ์ จ�ำกัด จัดจ�ำหน่าย : บริษัท ธนบรรณ ปิ่นเกล้า จ�ำกัด


Company profile 2016-ok-c4.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

1/5/2561 BE

14:42


House 1 1/9/2561 BE House Ad_21.59x29.21cm-OK-C4.pdf Ad_21.59x29.21cm.pdf 1 4/5/17 9:04 AM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

15:53



HOUSE AD TECHNO-C4.pdf

1

8/1/2560 BE

19:33

ITELTE¬;V7DLTE ÇìòïëÞé¬ÊÞäÞ÷æëâ <EþK9S _9'a;aGDW CW_6WD +lT$S6 >[> GV7LYO g LV*g @VC@ 9'Wg EO<'GZC$GZC _= TMCTD IþJI$EEC OZ7LTM$EEC `GRLVg*`I6G OC 9Wg9S;LCSD a6D$ER+TDL[ $GZ C_= TMCTDOD T*$I T*%IT*`GR7E*$GZ C ET*ISG'Z5BT@ ÑžÆɾËÁ ÂËÂÏÄÖ ¾Ô¾ÏÁÐ >[ L *_LEþC6 T;$TEO;ZES$K @GS**T;+T$$EC @S4;T@GS**T;96`9;`GRO;ZES$K @GS**T; ¥@«@«¦ $ER9EI*@GS**T; `GR ASIAN GREEN TJ AWARDS

Engineering Today öāòùāòòāñ ċãĆüè ċíĆē ü ÓöāðÐś ā öúèś ā ĎèöÖÐāòöă ÷ öÐòòðČôÿ üćäùāúÐòòð ċèśèùāòÿÓöāðòĈĎś èãśāèċæÓčèčôñĄ Ðāòëôăä Ðāòöă×Āñ ČôÿíĀáèā ÐāòüèćòĀÐøŞ íôĀÖÖāè ČôÿïāöÿÐāòäôāãæĄēðĄëôÐòÿæéäŚü öÖÐāòöă÷öÐòòðČôÿüćäùāúÐòòðÑüÖêòÿċæ÷ E-Book XXX FOHJOFFSJOHUPEBZ OFU CPPLTIFMG JOEFY IUNM

Electricity & Industry èăäñùāòòāñ ċãĆüè æĄēüñĈŚÓĈŚöÖÐāòüćäùāúÐòòðďîîŖā ċÓòĆēüÖÐô üć ä ùāúÐòòðďîîŖ ā Čôÿüă ċ ôĒ Ð æòüèă Ð ùŞ ñāèñèäŞČôÿÙăèĔ ùŚöè üćäùāúÐòòðêőčäòċÓðĄ òöðæĀĔÖùāòÿÓöāðòĈśãśāèÐāòëôăä Ðāòäôāã ðāÐöŚā êŒ ċíĆüē êòÿčñÙèŞäüŚ èĀÐüćäùāúÐòòð öă÷öÐò ÙŚāÖċæÓèăÓ èĀÐċòĄñè èĀÐ÷ąÐøā Čôÿ éćÓÓôæĀēöďêæĄēùèĎ× E-Book XXX UFDIOPMPHZNFEJB DP UI CPPLTIFMG

C

M

Y

CM

MY

CY

Thai Packaging Newsletter öāòùāò òāñ ċãĆ ü è čãñèčñéāñÑüÖùðāÓðÐāò éòò×ćïĀâàŞďæñ ×ĀãæĘāÑąĔèċíĆēüċëñČíòŚÑśüðĈô ÑŚāöùāòċÐĄēñöÐĀééòò×ćïĀâàŞĎúðŚ ċæÓčèčôñĄ ãś ā èÐāòíă ð íŞ Ðāòëôă ä ČôÿÐāòüüÐČéé üĀ è ċêŢ è êòÿčñÙèŞ äŚ ü öÖÐāòüć ä ùāúÐòòð éòò×ćïĀâàŞďæñ E-Book XXX UIBJQBDL PS UI

GREEN NETWORK èăäñùāòòāñ ċãĆüè ùĘāúòĀéÓèòĀÐøŞčôÐ ċíĆēüÓöāðòŚöððĆüãśāè ÐāòüèćòĀÐøŞíôĀÖÖāèČôÿùăēÖČöãôśüð æĄēæćÐ ïāÓùŚöèùāðāòåðĄùŚöèòŚöðĎèÐāòÙŚöñôã čôÐòś ü è èĘ ā ċùèüÓöāðċÓôĆē ü èďúöČôÿ ùāòÿÓöāðòĈś äŚ ā Öđ ċÐĄē ñ öÐĀ é ÐāòêòÿúñĀ ã íôĀÖÖāèČôÿüèćòĀÐøŞùăēÖČöãôśüð E-Book XXX HSFFOOFUXPSLUIBJMBOE DPN NBHB[JOF QIQ

CMY

ċúðĆüÖČòŚ öāòùāòòāñ ċãĆüè ïāñĎäśèčñéāñ ÑüÖÓâÿÐòòðÐāòùïāÐāòċúðĆ ü ÖČòŚ ď æñ ċíĆē ü èĘ ā ċùèüÑś ü ðĈ ô ÑŚ ā öùāò ÓöāðÓĆ é úèś ā üĀ è ċêŢ è êòÿčñÙèŞ Č ÐŚ Ð ôćŚ ð çć ò Ðă × ċúðĆ ü ÖČòŚ æĄē ÑąĔ è êòÿæāèéĀ ä òČôÿðĄ ùă æ çă éĀ ä òĎèÐāò êòÿÐüéÐă × ÐāòċúðĆ ü ÖČòŚ ÐāòùŚ Ö üüÐČôÿ èĘāċÑśāČòŚ ČúŚÖêòÿċæ÷ďæñ

K

üăèæāċèĄñ öāòùāòòāñ ċãĆüè čãñèčñéāñ ùðāÓðèăùăäċÐŚāöă÷öþ ×ćûāþ ċíĆēüċÙĆēüðčñÖ ÓöāðùĀðíĀèçŞòÿúöŚāÖèăùăäċÐŚāæćÐòćŚè čãñ ċèĆüĔ úā×ÿèĘāċùèüÓöāðċÓôĆüē èďúöÑüÖÐôćðŚ Ùāööă÷öÐòòð÷āùäòŞČúŚÖ×ćûāþ ùðāÓðþ ùåāéĀèČôÿÓâā×āòñŞ ČèöčèśðæāÖöă÷öÐòòð äôüã×èċëñČíòŚÑüś ðĈôÑŚāöùāòČÐŚúèŚöñÖāè ÙĀĔèèĘā æĀĔÖïāÓòĀßČôÿċüÐÙèæĄēċÐĄēñöÑśüÖÐĀé öÖÐāòöă÷öÐòòð ëôÖāèÑüÖèăùăäċÐŚāČôÿ Óâā×āòñŞ čãñùŚÖäòÖåąÖèăùăäċÐŚā ČôÿëĈśæĄē ċÐĄēñöÑśüÖüñŚāÖæĀēöåąÖČôÿùðēĘāċùðü

<Eþ$TE+S6LSCC;T

éòăøĀæ ċæÓčèčôñĄ ðĄċãĄñ ×ĘāÐĀã ðĄ ìŕ ā ñíĀ á èāçć ò Ðă × ČôÿďüæĄ æĄē ò üÖòĀ é Ðāò ×ĀãùĀððèāÓòéöÖ×ò ðĄòÿééßāèÑśüðĈôæĄē æĀèùðĀñ ċÑśāåąÖÐôćðŚ ċêŖāúðāñďãśüñŚāÖÙĀãċ×è äôüã×èðĄċÓòĆēüÖðĆüÐāòêòÿÙāùĀðíĀèçŞ æĄēÐöśāÖÑöāÖ ċÑśāåąÖÐôćŚðċêŖāúðāñ Čôÿ ċÙăÜČÑÐùĘāÓĀÜĎèöÖÐāòďãś×òăÖ

<Eþ$TE2T;% OC[G

<Eþ$TEOYg;e

×āÐÐāòæĄē é òă øĀ æ ðĄ Ð āò×Ā ã æĘ ā ďãċòĒ Ó æüòĄē Ðāò×Ā ã ùĀ ð ðèāČôÿ èăæòò÷Ðāò æĘāĎúśéòăøĀæðĄÑśüðĈôÑüÖ ëĈċś ÙĄñē öÙāÜùāÑāäŚāÖđ Ďèêòÿċæ÷ďæñ ÐöŚā òāñ ׹ÖùāðāòåĎúś éòă Ð āòãś ā è %JSFDU .BJMJOH Čôÿ 5FMFNBSLFUJOH 4FSWJDF

<EþKS9 _9'a;aGDW CW_6WD +lT$S6

<Eþ$TE Internet

éòăøĀæ ċæÓčèčôñĄ ðĄċãĄñ ×ĘāÐĀã ðĄìŕāñ íĀáèāçćòÐă× ÚąÖē ÙĘāèāÜãśāèÑśüðĈôÑŚāöùāòČôÿ *OUFSOFU ĎúśéòăÐāòÐāò×ãæÿċéĄñèÙĆēü %PNBJO òĀéüüÐČéé 8FC 1BHF ċÑĄñè 1SPHSBN éè 8FC æĘā 8FC %JSFDUPSZ æĘā 0O -JOF $BUBMPH öāÖČëèÐāòäôāã ČôÿĎúś ÓĘ ā êòą Ð øāãś ā è *OUFSOFU ÑāñäòÖéè *OUFSOFU

www.technologymedia.co.th

±´®¬°ª± @ Tc9_@GL 8;;JEÿODZ:DT 9Z *@ Tc9 ET-_9Iÿ $EZ*_9@Q ®­±­­ a9E« ­ª¯°²± ²°°°© ­ª¯³±±ª±²²² 7 O °­® Êß« ­µª¶´´¶ª´®±® ªêÞæé· êÞïèâñæëäÜêÞä½ñâàåëìéìäöêâáæÞ«àì«ñå MEāO èåâêçæïÞ¯­¶±½äêÞæé«àìê


Samwa_21.59x29.21cm.pdf

1

3/28/17

11:02 AM





สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย (TESIA) ได้จดั สัมมนาเรือ่ ง “สถานี ไฟฟ้าย่อยยุคใหม่ และ IEC 61850 : การออกแบบ ติดตั้ง และใช้งาน (Modern Distribution Substation and IEC 61850 : Design, Installation and Operation)” เมื่อวันที่ 15-17 พฤศจิกายน 2560 ณ ห้องธาราเทพ ฮอลล์ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค กรุงเทพฯ การจัดสัมมนาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้ารับสัมมนาได้รับความรู้ ความ เข้าใจ และการถ่ายทอดประสบการณ์เกีย่ วกับการออกแบบ ติดตัง้ และใช้งานสถานีไฟฟ้า ย่อยยุคใหม่ทใี่ ช้ระบบสือ่ สารข้อมูลตามมาตรฐาน IEC 61850 ทัง้ ของการไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และบริษัทผู้พัฒนาผลิตภัณฑ์

January-February 2018


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้ สาหกรรมไฟฟ้าาแห่ แห่งงประเทศไทย ประเทศไทย

โครงการ Move World Together

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ลงนาม MOU กับภาคีเครือข่าย ขับเคลื่อนโครงการ Move World Together พัฒนาอัจฉริยภาพของเด็ก และเยาวชนด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมต่อเนื่องอีก 3 ปี ตั้งเป้าเป็น นวัตกรรมทางสังคมที่ช่วยแก้ปัญหาให้สังคมและชุมชนสุขสมบูรณ์อย่าง ยั่งยืน โครงการนีเ้ ป็นความร่วมมือต่อเนือ่ งระหว่าง 4 หน่วยงาน คือ กฟผ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรมกิจการเด็กและเยาวชน และสมาคมพัฒนา ศักยภาพและอัจฉริยภาพมนุษย์ ซึง่ ได้เริม่ ด�ำเนินการตัง้ แต่ปี 2555 ในการ พัฒนาศักยภาพเยาวชนให้พร้อมรับมือกับปัญหาต่างๆ ในปัจจุบันและ โลกอนาคต โดยในอีก 3 ปีนับจากนี้ จะมุ่งเน้นขับเคลื่อนกิจกรรมตาม หลักการทรงงานด้านการพัฒนาพลังงานและสิง่ แวดล้อม และการพัฒนา นวัตกรรมเพือ่ แก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามแนว พระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช พร้อมทัง้ สร้างกลไกต่างๆ เพื่อให้ชุมชนและสังคมมีความสุขสมบูรณ์ อย่างยัง่ ยืน ตามแนวทางแห่งศาสตร์พระราชา ของในหลวงรัชกาลที่ 9 ตลอดไป

January-February 2018


การไฟฟ้าฝ่าฝ่ายผลิ ายผลิตตแห่แห่งงประเทศไทย ประเทศไทย การไฟฟ้

กรรมการปฏิรูปประเทศ ด้านพลังงาน เผยแนวทางปฏิรูป

ด้านพลังงานเปลี่ยน สุนชัย ค�ำนูณเศรษฐ์ ในฐานะกรรมการปฏิรูป ประเทศด้านพลังงาน เผยแนวคิดของคณะกรรมการ ปฏิ รู ป ด้ า นพลั ง งานว่ า ในอนาคตจะมี ก าร เปลีย่ นแปลงแน่นอน ด้วยปัจจัยจาก Disruptive Technology โดยมีแนวทางปฏิรูปพลังงาน ไฟฟ้า 3 ด้าน ทัง้ แผน PDP การส่งเสริมกิจการ ไฟฟ้าเสรี และโครงสร้างบริหารกิจการไฟฟ้า เพื่ อ รองรั บ สถานการณ์ ที่ เ ปลี่ ย นไป และ สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ชาติ เมื่ อ วั น ที่ 22 ธั น วาคม 2560 สุ น ชั ย ค�ำนูณเศรษฐ์ อดีตผูว้ า่ การ กฟผ. ในฐานะกรรมการ ปฏิรปู ประเทศด้านพลังงาน ได้ให้เกียรติบรรยายเรือ่ งแนวทาง การปฏิรูปประเทศด้านพลังงานตามนโยบายของรัฐบาล โดยมี ผูบ้ ริหารระดับสูงและผูแ้ ทนสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ กฟผ. เข้ารับฟัง ณ ห้องประชุม 201 อาคารส�ำนักผู้ว่าการ ส�ำนักงานใหญ่ กฟผ. สุนชัย ค�ำนูณเศรษฐ์ กล่าวว่า รัฐบาลได้ออกกฎหมายเป็น ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งเป็นแผนการพัฒนาประเทศที่จะก�ำหนด กรอบและแนวทางการพัฒนาให้หน่วยงานของรัฐทุกภาคส่วนต้อง ปฏิบตั ติ าม เพือ่ ให้บรรลุวสิ ยั ทัศน์ “ประเทศไทยมีความมัน่ คง มัง่ คัง่ ยั่งยืน” และเพื่อให้ประเทศเป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติ รัฐบาลได้ ออกพระราชบัญญัตกิ ารปฏิรปู ประเทศ ซึง่ จะมีคณะกรรมการปฏิรปู ประเทศ 11 ด้าน ท�ำหน้าทีว่ างแผนการปฏิรปู ด้านต่างๆ ทัง้ ในระยะ สั้นและระยะยาว โดยด้านพลังงานเป็น 1 ใน 11 ด้านดังกล่าว ตาม แนวคิดของคณะกรรมการปฏิรปู ด้านพลังงาน คือ ในอนาคตจะมีการ เปลีย่ นแปลงแน่นอน ด้วยปัจจัยจาก Disruptive Technology ซึง่ ตอนนี้ คณะกรรมการปฏิรูปด้านพลังงานก�ำลังพิจารณาแผนการปฏิรูปใน 5 ปีแรก ให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ชาติ 3 ด้าน คือ 1. ด้านความมัน่ คง 2. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน และ 3. ด้านการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพของคน โดยเน้นไปที่การจัดหาพลังงานให้ เพียงพอ มีการกระจายเชื้อเพลิงให้เหมาะสม การสร้างความมัน่ คง

ให้ระบบไฟฟ้า และการวิจยั พัฒนาเพือ่ ส่งเสริมศักยภาพ และสร้างความสามารถในการแข่งขันด้านพลังงาน ของประเทศ ในส่วนประเด็นด้านพลังงานไฟฟ้าทีถ่ กู ยกขึ้นเป็นแนวทางการปฏิรูปมีดังนี้ 1. การปฏิ รู ป แผนพั ฒ นาก� ำ ลั ง ผลิ ต ไฟฟ้า มีเนือ้ หาเกีย่ วกับสัดส่วนโรงไฟฟ้าฐาน และการเติบโตทีเ่ หมาะสม ค่าพยากรณ์ความ ต้องการไฟฟ้ารายภาค ศักยภาพของแหล่งผลิต ไฟฟ้ารายภาค และต้นทุนไฟฟ้ารายภาคทีแ่ ท้จริง การจัดหาส�ำรองเชื้อเพลิงทั้งระบบ การจัดท�ำ PDP ทีค่ ำ� นึงถึงความสมดุลรายภาค การศึกษาปรับปรุงระบบส่ง ระบบจ�ำหน่ายให้ทันสมัย 2. การส่งเสริมกิจการไฟฟ้าเสรี ได้กล่าวถึงการส่งเสริมไฟฟ้า เสรีทใี่ ช้พลังงานทดแทนในระดับชุมชนและระดับครัวเรือนประชาชน รวมถึงเสนอแนะรูปแบบโครงสร้างกิจการไฟฟ้าของประเทศทีเ่ หมาะสม เพื่อรองรับรูปแบบกิจการไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงไป 3. การปฏิรูปโครงสร้างบริหารกิจการไฟฟ้า ในประเด็นเรื่อง การส่งเสริมและจัดท�ำระเบียบกฎเกณฑ์สำ� หรับ Third Party Access ของระบบส่งและระบบจ�ำหน่าย และการส่งเสริมกิจการจัดจ�ำหน่าย (Retail) “กระแสต่างๆ ทีถ่ าโถมใส่ กฟผ. ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ ง Disruptive Technology นัน้ มีทงั้ ข้อดีขอ้ ด้อย กฟผ. ต้องชีใ้ ห้เห็น อธิบายให้สงั คม เกิดความเข้าใจ การที่จะไปตามกระแสทุกเรื่อง ประเทศไทยพร้อม แล้วหรือไม่ รวมถึงน�ำเสนอให้คณะกรรมการปฏิรูปได้เข้าใจเรื่อง พลังงานไฟฟ้าของประเทศ โดยข้อมูลที่ กฟผ. ได้รวบรวมกรณีศกึ ษา ของหลายๆ ประเทศ หรืองานวิจัยต่างๆ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ตอนนี้ กฟผ. ต้องเร่งปรับตัว เพราะ กฟผ. ไม่ได้อยูใ่ น Comfort Zone แล้ว” อดีตผู้ว่าการ กฟผ. กล่าวทิ้งท้าย

January-February 2018


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้ สาหกรรมไฟฟ้าาแห่ แห่งงประเทศไทย ประเทศไทย > บุญถิ่น เอมย่านยาว ฝ่ายความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม

เลือกซื้อ เลือกใช้

ชุดสายพ่วง…ให้ปลอดภัย! ชุดสายพ่วงหรือปลัก๊ พ่วง เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างหนึง่ ทีม่ ี ใช้อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นบ้านเรือน ส�ำนักงาน หรือโรงงานอุตสาหกรรม แต่บอ่ ยครัง้ ทีม่ กั ถูกละเลยในการใช้งาน หรือการตรวจสอบคุณภาพ จนน�ำไปสูเ่ หตุการณ์ไม่คาดฝันอย่าง เพลิงไหม้! การไฟฟ้านครหลวงจึงมีคำ� แนะน�ำดีๆ ในการเลือกซือ้ เลือกใช้ ชุดสายพ่วงหรือปลัก๊ พ่วง เพือ่ ให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดแก่คณ ุ ผูอ้ า่ น ทุกท่าน

ชุดสายพ่วงหรือปลั๊กพ่วง ก่อให้เกิดเพลิงไหม้ได้ อย่างไร

ความร้อนและประกายไฟจากการใช้ไฟฟ้า รวมถึงความร้อน จากกระแสเกินในสายไฟฟ้า นับเป็นสาเหตุหนึง่ ของการเกิดเพลิงไหม้ เนื่องมาจากการน�ำเครื่องใช้ไฟฟ้าที่กินกระแสไฟสูงหลายเครื่อง มาเสียบใช้งานพร้อมกัน จนท�ำให้เกิดกระแสไหลเกิน ซึ่งถ้าเป็นชุด สายพ่วงหรือปลั๊กพ่วงที่มีอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน จะสามารถ ตัดวงจรไฟฟ้าก่อนได้ แต่ถา้ ไม่มอี ปุ กรณ์ปอ้ งกันกระแสเกิน ผลลัพธ์

> Boontin Aimyanyao, Environmental and Occupational Health and Safety Department

Extension cord sets or adapter power plugs are electric devices which have been widely used these days in many households, offces and industrial factories. They are sometimes ignored in terms of usage or quality audit which lead to an unexpected event like...electrical fire! MEA Safety in this issue therefore offers you some good advice on the selection and application of extension cord sets for the sake of your own safety.

How Extension Cord Sets or Adapter Power Plugs Can Cause Fires?

Heat and sparks from power consumption, including January-February 2018

ทีต่ ามมาคือสายไฟฟ้าเกิดความร้อนสูงมาก ท�ำให้ฉนวนของสายไฟฟ้า เกิดการหลอมละลาย หรือเกิดเป็นไฟฟ้าลัดวงจร เป็นสาเหตุนำ� ไปสู่ การเกิดประกายไฟจนก่อให้เกิดเพลิงไหม้นั่นเอง overheat and overload in electric wires, are a cause of fires. Overloading extension cord sets by plugging in several electric appliances which consume much power at the same time leads to over current. If the cord sets have a safety switch or an RCD (Residual-Current Device), it will instantly break an electric circuit. If not, the cords will be overheated, making insulators melt, causing short circuit, producing sparks and starting electric fires Consequently, the power demand of the extension cord sets with numerous sockets should not exceed the sets’ or panel sockets’ wattage rating (usually it is not over 16 A or 2,600 W of total electricity consumed). While using the extension cord sets, heat is generated inside the cords. Their wattage rating is thus determined when the cords are stretched straight in the open air. If they are coiled or knotted in a bad air flow, this condition limits or decreases the cords’ wattage capacity, produces over heat, damages the cords and causes fires. Having a concern on the issue, Thailand Industrial Standards Institute (TISI) has announced extension cord sets as


านครหลวง การไฟฟ้าฝ่ายผลิการไฟฟ้ ตแห่งประเทศไทย ดังนัน้ ชุดสายพ่วงทีม่ เี ต้ารับหลายตัวจะต้องระวังไม่ให้กระแส ไฟฟ้าที่เกิดจากการใช้งานรวมกันเกินกว่าขนาดพิกัดกระแสของชุด สายพ่วงและไม่เกินขนาดพิกดั กระแสของเต้ารับติดผนังทีน่ ำ� เต้าเสียบ ของชุดสายพ่วงนัน้ ไปเสียบอยูด่ ว้ ย (พิกดั กระแสเต้ารับปกติจะไม่เกิน 16 A หรือคิดเทียบเท่าการใช้ไฟรวมกันประมาณ 2,600 W) เนือ่ งจาก ขณะใช้งานสายพ่วงจะเกิดความร้อนสะสมในสายไฟ ขนาดพิกัด กระแสไฟฟ้าของชุดสายพ่วงจึงก�ำหนดตามสภาพการใช้งานทีส่ ายไฟ ถูกคลีอ่ อกในแนวตรง และในทีท่ มี่ อี ากาศเปิด ดังนัน้ หากมีการใช้งาน ในขณะที่สายขดเป็นม้วนขมวดเป็นปมหรืออยู่ในที่ที่ไม่สามารถ ถ่ายเทอากาศได้ดี จะเป็นการจ�ำกัดหรือลดขนาดพิกดั กระแสไฟฟ้า ของสายไฟลง ซึ่งอาจท�ำให้เกิดความร้อนสูงเกินจนก่อให้เกิดความ เสียหายต่อสายไฟ และเกิดไฟไหม้ได้ ทั้งนี้ ส�ำนักมาตรฐานอุตสาหกรรม (สมอ.) ได้ก�ำหนดให้ชุด สายพ่วงเป็นมาตรฐานบังคับแล้ว คือมาตรฐานเลขที่ มอก.2432-2555 ดังนัน้ ทุกครัง้ ทีจ่ ะซือ้ ชุดสายพ่วงต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนว่าได้รบั การรับรองมาตรฐาน มอก. หรือไม่ เพือ่ ให้เกิดความมัน่ ใจในการเลือกซือ้ ชุดสายพ่วงหรือปลั๊กพ่วงส�ำหรับการใช้งานอย่างปลอดภัย โดยมี

สิ่งที่ต้องสังเกตดังนี้ 1. สายไฟฟ้าตาม มอก.11/มอก.955 (หากใช้สายขนาด 1 ตร.มม. ความยาวต้องไม่เกิน 2 เมตร หากใช้สายขนาด 1.5 ตร.มม. ความยาวต้องไม่เกิน 30 เมตร) 2. เต้ารับต้องเป็นแบบ 3 รู (L+N+G) และมีตัวปิดช่อง (Shutter) 3. เต้าเสียบเป็นไปตาม มอก.166-2549 (3 ขา L+N+G) 4. มีอปุ กรณ์ปอ้ งกันกระแสไฟฟ้าเกินแบบความร้อนหรือแบบ RCBO 5. สวิตช์ไฟ (ถ้ามี) ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มอก. ทีเ่ กีย่ วข้อง

Mandatory Standard for Plugs and Socket - Outlets for Household and Similar Purposes: Cord Extension Sets which has standard No.TIS 2432-2555. Therefore, when buying extension cord sets, make sure that they are approved by the TISI standard for safety reason and notice the following measures: 1. TISI 11/ TISI 955 cords (1 square millimetre cords shall not exceed 2 metres; 1.5 square millimetre cords shall not exceed 30 metres throughout the length of the cords). 2. The socket has 3 lines (L+N+G) with shutter. 3. The plug is in accordance with TISI Standard 166-2549 (3 lines: L+N+G). 4. The sets are equipped with safety switches, thermal or RCBO. 5. The button switch (if there is any) is in accordance with TISI standards involved.

3 Steps of Using Extension Cord Sets with Safety

3 ขั้นตอนใช้ชุดสายพ่วงอย่างปลอดภัย

1. ดูให้แน่ชัดว่าไม่ได้เปิดสวิตช์เครื่องใช้ไฟฟ้านั้นอยู่ 2. เสียบปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าเข้ากับชุดสายพ่วง 3. เสียบจ่ายไฟเข้ากับชุดสายพ่วง นอกจากนี้ ต้องหมัน่ ตรวจสอบสภาพของชุดสายพ่วงเป็นประจ�ำ โดยฉนวนของสายไฟฟ้าต้องอยู่ในสภาพสมบูรณ์ ไม่มีรอยหักแตก หรือการหลอมละลาย และห้ามใช้ชุดสายพ่วงในบริเวณอันตราย หรือสถานทีไ่ วไฟ (Hazardous Locations) ทัง้ หมดนีก้ เ็ พือ่ ใช้งานชุด สายพ่วงของคุณให้เกิดความปลอดภัยอย่างสูงสุดนั่นเอง ความปลอดภัยจะเกิดขึ้นได้ ไม่ใช่เพียงการเลือกใช้อุปกรณ์ ที่ได้มาตรฐานเท่านั้น แต่ยังต้องควบคู่ไปกับความรู้ความเข้าใจ ที่ถูกต้องเหมาะสมในการใช้งานของผู้ใช้งานเช่นกัน

1. Make sure that the button switch is not on 2. Plug electric appliances in extension cord sets 3. Insert the power plug of the cord sets in the socket Furthermore, it is necessary to check the devices’ condition regularly; that is, the insulator needs to be in a good condition, not broken nor melt. Do not use the cord sets in a dangerous areas or hazardous locations. All these suggestions are given for your safety. Safety comes with not only the use of up to standard appliances, but also the right knowledge and true understanding of electricity usage by users. (บทความจากนิตยสาร MEA Life+ ฉบับ 13/2560)

January-February 2018


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้ สาหกรรมไฟฟ้าาแห่ แห่งงประเทศไทย ประเทศไทย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จัดการประชุมวิชาการและนวัตกรรม ประจำ�ปี 2560 PEACON & INNOVATION 2017

เมื่อวันพุธที่ 13 ธันวาคม 2560 ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธชิ ยั พัฒนา เป็นประธานในพิธเี ปิดการประชุมวิชาการ และนวัตกรรม ประจ�ำปี 2560 (PEACON & INNOVATION 2017) พร้อมปาฐกถาพิเศษเรือ่ ง “หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชในการพัฒนาประเทศ” โดย มี เสริมสกุล คล้ายแก้ว ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ PEA กล่าวรายงานถึงวัตถุประสงค์การจัดประชุมดังกล่าว ณ ศูนย์ประชุม วายุภกั ษ์ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติและคอนเวนชัน่ เซ็นเตอร์ ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจัดงานประชุมวิชาการและนวัตกรรม กฟภ. ปี 2560 หรือ PEACON & INNOVATION 2017 เป็นการจัดงาน ต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2558 รองรับนโยบายการพัฒนาประเทศที่จะ ขับเคลือ่ นประเทศไทยสูย่ คุ “Thailand 4.0” โดยการด�ำเนินงานนีจ้ ะเป็น ส่วนหนึง่ ของแผนงานพัฒนาองค์กรก้าวเข้าสูย่ คุ “PEA 4.0” มุง่ เน้น การพัฒนาคนด้วยนวัตกรรม พัฒนางานด้วยเทคโนโลยี วัตถุประสงค์ ในการจัดงานเพือ่ ส่งเสริมการศึกษา งานวิจยั การสร้างนวัตกรรมและ พัฒนางานทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินงานของการไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่าย เป็นผูน้ ำ� ในด้านการให้บริการระบบไฟฟ้าก้าวสู่ PEA 4.0 มุง่ สูก่ ารเป็น องค์กรแห่งนวัตกรรมและส่งเสริมการจัดการความรู้ เปิดโอกาสให้ บุคลากร กฟภ. บุคคลภายนอก ได้พฒ ั นาความรูค้ วามสามารถทาง วิชาการ สนับสนุนในการพัฒนาระบบไฟฟ้า เป็นเวทีในการแลกเปลีย่ น ความรู้ระหว่างนักวิชาการ นักวิจัย และนักประดิษฐ์ ทั้งภายในและ January-February 2018

ภายนอก กฟภ. สร้างความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา หน่วยงาน ภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน ในงานวิจัยและพัฒนา การจัดงาน PEACON & INNOVATION 2017 ก�ำหนดจัดขึ้น ระหว่างวันที่ 13-14 ธันวาคม 2560 ณ ศูนย์ประชุมวายุภกั ษ์ โรงแรม เซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ กิจกรรมภายในงาน ประกอบด้วย • กิจกรรมวิชาการทีค่ รอบคลุมเนือ้ หาทัง้ ทางด้านวิศวกรรม และการบริหารจัดการองค์กร • การแสดงนวัตกรรมจากงานวิจยั ของ กฟภ. และหน่วยงาน ภายนอก • การเสวนาเรือ่ ง “การพัฒนาอุตสาหกรรมไฟฟ้าแบบบูรณาการ ในยุค 4.0” • การบรรยายพิเศษในหัวข้อต่างๆ อาทิ เรื่อง “Microgrid Development and Implementation” “Reliability Evaluation of Smart Grid including the impact of Cyber-physical Interactions” และ “จับตานวัตกรรมบนเส้นทางการไฟฟ้าแห่งอนาคต” • การน�ำเสนอบทความทางวิชาการจากนิสติ นักศึกษา อาจารย์ นักวิจยั นักวิชาการจากหน่วยงานต่างๆ รวมทัง้ พนักงาน กฟภ. ทีม่ ี ความรู้ความสามารถ รวมทั้งเชิญหน่วยงานที่มีชื่อเสียงทางด้าน พลังงานมาน�ำเสนอในช่วงบทความรับเชิญ จ�ำนวน 5 หน่วยงาน ได้แก่ บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย และการไฟฟ้า TNB ประเทศมาเลเซีย


การไฟฟ้ ส่วนภูมิภาค การไฟฟ้าฝ่ายผลิ ตแห่งาประเทศไทย

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เปิด Smart Micro

Grid บ้านขุนแปะ แห่งแรกของ ประเทศไทย

ณ บ้านขุนแปะ อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่

ให้มีความมั่นคงด้วยการผลิตไฟฟ้าแบบผสมผสาน โดยการติดตั้ง เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าดีเซลขนาด 56 กิโลวัตต์ และระบบผลิตไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์ขนาด 7.3 กิโลวัตต์ เพิ่มเติมจากโรงไฟฟ้า พลังน�้ำขนาด 96 กิโลวัตต์ ท�ำให้มีกำ� ลังผลิตรวม 159 กิโลวัตต์ เป็น จุดเริม่ ต้นของระบบไฟฟ้าแบบ Micro Grid หรือระบบไฟฟ้าขนาดเล็ก ที่มีแหล่งผลิตไฟฟ้าของตนเองโดยไม่ต้องพึ่งพาระบบไฟฟ้าหลัก และปี 2553 PEA ได้มีการก่อสร้างระบบจ�ำหน่ายจ่ายไฟเข้าพื้นที่ เพื่อเสริมความมั่งคงระบบไฟฟ้า ในปี 2560 PEA ร่วมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (มช.) พัฒนา

เมือ่ วันพฤหัสบดีที่ 21 ธันวาคม 2560 เสริมสกุล คล้ายแก้ว ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ PEA เป็นประธานในพิธีเปิด Smart Micro Grid บ้านขุนแปะ โดยมีผู้แทนหน่วยงานราชการและ รัฐวิสาหกิจร่วมในพิธี มี สมพงษ์ ปรีเปรม รองผู้ว่าการการไฟฟ้า ส่วนภูมภิ าค กล่าวรายงาน ณ โรงไฟฟ้าบ้านขุนแปะ อ�ำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ได้มกี ารก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ ขนาด เล็กมาก บ้านขุนแปะ อ�ำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ เมือ่ ปี 2532 เพื่ อ จ่ า ยไฟให้ กั บ ศู น ย์ พั ฒ นาโครงการหลวงขุ น แปะและชุ ม ชน ใกล้เคียงจ�ำนวน 10 หมูบ่ า้ น โดยเป็นการจ่ายไฟจากโรงไฟฟ้าพลังน�า้ อย่างเดียว ไม่มีการเชื่อมต่อกับระบบจ�ำหน่ายหลักของ กฟภ. การ จ่ายไฟจึงขึน้ กับปริมาณน�ำ้ ในแต่ละปี แต่ดว้ ยระยะทางทีไ่ กลมีปญ ั หา ไฟตกไฟดับ ในปี 2541 PEA ปรับปรุงการจ่ายไฟในพืน้ ทีบ่ า้ นขุนแปะ

ระบบไฟฟ้าในพื้นที่บ้านขุนแปะให้มีศักยภาพมากขึ้น โดยเน้นการ บริหารจัดการน�ำ้ ให้สอดคล้องกับวิถชี วี ติ ของชุมชน ด้วยการพัฒนา กังหันพลังน�้ำประสิทธิภาพสูง ติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสง อาทิตย์ขนาด 100 กิโลวัตต์ และระบบควบคุมการจ่ายไฟ (Micro Grid Controller) พร้อมติดตั้งระบบกักเก็บพลังงานขนาด 100 กิโลวัตต์ ชัว่ โมง ท�ำให้ระบบไฟฟ้าในพืน้ ทีบ่ า้ นขุนแปะเป็นระบบไฟฟ้าแบบ Smart Micro Grid อย่างสมบูรณ์ ท�ำงานในโหมดแยกตัวอิสระ (Islanding) หรือโหมดเชื่อมต่อกับระบบไฟฟ้าหลัก (Grid Connected) ควบคุม การจ่ายไฟฟ้าได้จากระยะไกล ซึ่งเป็นโครงการ Smart Micro Grid แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นต้นแบบในการพัฒนาระบบ Smart Micro Grid ในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ เป็นศูนย์การเรียนรูแ้ ละถ่ายทอดเทคโนโลยี ด้าน Smart Micro Grid รวมทัง้ เป็นพืน้ ทีน่ ำ� ร่องในการวิจยั และพัฒนา ระบบไฟฟ้าในด้านอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์กับชุมชน January-February 2018


บริษัท ผลิตตสาหกรรมไฟฟ้ ไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) สมาคมอุ าแห่งประเทศไทย

เอ็กโก กรุ๊ป ประกาศแต่งตั้งกรรมการผู้จด ั การใหญ่คนใหม่ บริษทั ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป๊ ประกาศแต่งตัง้ จักษ์กริช พิบลู ย์ไพโรจน์ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ตามมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการ บริษัท เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2560 จักษ์กริช จะเข้ารับต�ำแหน่งกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ของเอ็กโก กรุป๊ ในวันที่ 1 ตุลาคม 2560 แทน ชนินทร์ เชาวน์นริ ตั ศิ ยั โดยจะรับผิดชอบ และสานต่อภารกิจส�ำคัญ ได้แก่ การแสวงหาโอกาสในการลงทุน การ ก�ำกับดูแลโรงไฟฟ้าในกลุม่ เอ็กโกให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด และการบริหาร จัดการโครงการที่อยู่ระหว่างก่อสร้างให้แล้วเสร็จตามเป้าหมาย ปัจจุบัน จักษ์กริช ด�ำรงต�ำแหน่งรองผู้ว่าการพัฒนาธุรกิจ การ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และมีประสบการณ์ดา้ นการพัฒนา ประสิทธิภาพและบริหารจัดการโรงไฟฟ้ามาอย่างยาวนาน จักษ์กริช ส�ำเร็จ การศึกษาระดับปริญญาตรีวศิ วกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง จากสถาบันชั้นน�ำทั้งในประเทศและต่างประเทศ

เอ็กโก กรุ๊ป ขายหุ้น 49% ในโรงไฟฟ้ามาซินลอค ฟิลิปปินส์ จักษ์กริช พิบลู ย์ไพโรจน์ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป๊ เปิดเผยว่า เมือ่ วันที่ 17 ธันวาคม 2560 บริษทั เจน พลัส บี.วี จ�ำกัด ซึง่ เอ็กโก กรุป๊ ถือหุ้นร้อยละ 100 ได้ลงนามในสัญญาซื้อขายหุ้นกับบริษัท เอสเอ็มซี โกลบอล พาวเวอร์ โฮลดิ้งส์ คอร์ป จ�ำกัด (SMC Global Power Holdings Corp.) และเออีเอส ฟิล อินเวสเม้นท์ พีทีอี จ�ำกัด (AES Phil Investment Pte. Ltd.) เพื่อขายหุ้นที่ ถืออยูโ่ ดยทางอ้อมร้อยละ 49 ในบริษทั มาซินลอค พาวเวอร์ พาร์ทเนอร์ จ�ำกัด (เอ็มพีพซี แี อล) ให้แก่บริษทั เอสเอ็มซี โกลบอล พาวเวอร์ โฮลดิ้งส์ คอร์ป จ�ำกัด ทั้งนี้ เอ็กโก กรุ๊ป จะรับรู้รายได้จากการขายหุ้นครั้งนี้ จ�ำนวน 850 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (ประมาณ 27,660 ล้านบาท) ซึง่ จะน�ำไปลงทุนพัฒนาโครงการใหม่ในอนาคตต่อไป โดยการ ซือ้ ขายหุน้ ดังกล่าวจะต้องได้รบั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมาธิการ การแข่งขันแห่งฟิลิปปินส์ (The Philippine Competition Commission) และเงื่อนไขการโอนหุ้นได้รับความเห็นชอบ ร่วมกันจากทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ คาดว่าการโอนหุน้ จะแล้วเสร็จ ในครึ่งปีแรกของปี 2561 January-February 2018

เอ็มพีพซี แี อลเป็นเจ้าของและเป็นผูบ้ ริหารจัดการโรงไฟฟ้าถ่านหิน มาซินลอค ในจังหวัดแซมบาเลส ประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งประกอบด้วย หน่วยผลิต 2 หน่วย ก�ำลังการผลิตติดตั้งหน่วยละ 315 เมกะวัตต์ และ ระบบแบตเตอรี่เก็บไฟฟ้า (Battery Energy Storage) ขนาด 10 เมกะวัตต์ นอกจากนี้ เอ็มพีพซี แี อลยังอยูร่ ะหว่างก่อสร้างโรงไฟฟ้าส่วนขยาย (มาซินลอค หน่วยที่ 3) ก�ำลังการผลิตติดตัง้ 335 เมกะวัตต์ ในบริเวณเดียวกับโรงไฟฟ้า ปัจจุบัน


บริษัท ผลิตการไฟฟ้ ไฟฟ้าราชบุ ีโฮลดิต้งแห่จ�งำกัประเทศไทย ด (มหาชน) าฝ่ารยผลิ

ราชบุรีโฮลดิ้ง คาดหมายปี 2560 กำ�ลังผลิตเพิ่มเป็น 8,000 เมกะวัตต์ ประกาศกำ�ไร 9 เดือนแรก 5,421 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 69% บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) แถลงผลการด�ำเนินงาน 9 เดือนแรก (มกราคมกันยายน) และแนวโน้มปี 2560 ในวันนี้ว่า บริษทั ฯ คาดหมายก�ำลังการผลิตในปีนจ้ี ะ เพิ่มขึ้นอยู่ที่ 8,028 เมกะวัตต์เทียบเท่า ดี ก ว่ า เป้ า หมายที่ ก� ำ หนดไว้ 7,500 เมกะวัตต์เทียบเท่า เป็นผลจากความ ส� ำ เร็ จ การลงทุ น โครงการโรงไฟฟ้ า ขนาดใหญ่ในต่างประเทศ และโครงการ รถไฟฟ้าสายสีชมพูและสายสีเหลืองใน ประเทศไทย นอกจากนี้ ผลประกอบการ 9 เดือนแรกของปีน้ี ยังมีกำ� ไรเพิม่ ขึน้ 69% เป็นเงิน 5,421 ล้านบาท เทียบกับช่วงเดียวกัน ของปี 2559 กิจจา ศรีพฑ ั ฒางกุระ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า ผลการด�ำเนินงาน ในปีนี้มีแนวโน้มที่ดี เพราะบริษัทฯ สามารถขยายการลงทุนได้ตาม เป้าหมายใน 3 มิติ คือ 1.) ด้านก�ำลังผลิต มีแนวโน้มจะท�ำได้เกิน เป้าหมาย 2.) การขยายฐานธุรกิจใหม่ในต่างประเทศ ก็สามารถ เข้าไปลงทุนในอินโดนีเซียได้ส�ำเร็จ และคาดว่าจะสามารถสรุปการ ลงทุนในฟิลปิ ปินส์ได้ปนี เี้ ช่นเดียวกัน และ 3.) การลงทุนในธุรกิจอืน่ นอกภาคผลิตไฟฟ้า ประสบความส�ำเร็จในการเข้าสู่ธุรกิจคมนาคม ขนส่งระบบรางแล้ว “ในช่วง 9 เดือนทีผ่ า่ นมา ผลการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ เป็น ทีน่ า่ พอใจ โดยมีการสรุปการลงทุนใน 5 โครงการ แบ่งเป็นโครงการ โรงไฟฟ้าเชือ้ เพลิงฟอสซิล 1 แห่ง พลังงานทดแทน 2 แห่ง และโครงการ รถไฟฟ้า 2 โครงการ (รถไฟฟ้าสายสีเหลืองและสายสีชมพู) ซึง่ จะส่งผล ให้สดั ส่วนรายได้ทมี่ าจากสินทรัพย์ประเภท IPP พลังงานทดแทน และ ธุรกิจเกีย่ วเนือ่ งแข็งแกร่งขึน้ จากประมาณการปีนสี้ ดั ส่วนอยูท่ ี่ 84%, 8% และ 5% ตามล�ำดับ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังมุง่ ความส�ำคัญทีธ่ รุ กิจ เกีย่ วเนือ่ งกับไฟฟ้าและพลังงาน รวมทัง้ ธุรกิจอืน่ ๆ โดยปีนไี้ ด้ศกึ ษา

โอกาสและศักยภาพของหลายธุรกิจ ทัง้ ในประเทศและ ต่างประเทศ เช่น เชือ้ เพลิง สาธารณูปโภคพืน้ ฐาน สื่ อ สารโทรคมนาคม พื ช เชื้ อ เพลิ ง ไบโอ เทคโนโลยี เป็นต้น คาดว่าปีนโ้ี ครงการไบโอ เทคโนโลยี น่ า จะได้ ข ้ อ สรุ ป ที่ ชั ด เจน นอกจากธุรกิจรถไฟฟ้าที่ลงทุนแล้ว” กิจจา กล่าว ด้านผลประกอบการในช่วง 9 เดือนแรก บริษทั ฯ มีรายได้รวม (ไม่รวม ค่าเชือ้ เพลิง) 11,937 ล้านบาท ส่วนใหญ่ มาจากรายได้ค่าขายไฟฟ้าและสัญญา เช่าการเงินเป็นเงิน 8,321 ล้านบาท (คิดเป็น 70% ของรายได้รวม) และส่วนแบ่งก�ำไรจาก การร่วมทุน จ�ำนวน 2,870 ล้านบาท (24%) ส�ำหรับ ก�ำไรของบริษทั ฯ 9 เดือนแรก เพิม่ ขึน้ 69% เป็นเงิน 5,421 ล้านบาท เป็นผลมาจากการเพิม่ ขึน้ ของรายได้จากการขายและบริการ ส่วนแบ่งก�ำไรจากการร่วมทุน และก�ำไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเป็น ส�ำคัญ ณ 30 กันยายน 2560 ฐานะการเงินของบริษัทฯ ยังสะท้อน ความแข็งแกร่ง โดยมีสินทรัพย์รวม 95,696 ล้านบาท หนี้สินรวม 32,528 ล้านบาท ส่วนของผู้ถือหุ้น 63,168 ล้านบาท ก�ำไรสะสม จ�ำนวน 50,766 ล้านบาท เมื่อเดือนกันยายน ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจากผลการด�ำเนินงาน 6 เดือนแรก จ�ำนวน 1,668 ล้านบาท หรือ 1.15 บาทต่อหุ้น บริษทั ฯ รับรูก้ ำ� ลังการผลิตติดตัง้ ตามการลงทุนรวม 7,379.13 เมกะวัตต์เทียบเท่า โดยเป็นก�ำลังผลิตเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ รวม 6,495.51 เมกะวัตต์เทียบเท่า และก�ำลังผลิตที่อยู่ระหว่างก่อสร้าง และพัฒนา รวม 883.62 เมกะวัตต์เทียบเท่า ฐานการลงทุนนอกจาก ประเทศไทย ยังมีการลงทุนใน สปป.ลาว ออสเตรเลีย จีน และ อินโดนีเซีย

January-February 2018


LED thailand new ad_8-5x11-5Inches.pdf 1 12/12/2017 5:40:32 PM

Supporting Organization

Organizers

FUTURE OF LED ASEAN's Largest International Exhibition on LED Products & Technology C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

10-12 MAY, 2018

CHALLENGER 1

IMPACT EXHIBITION & CONVENTION CENTER BANGKOK, THAILAND

www.ledexpothailand.com

EXPO 2018

DO YOU WANT TO BE A LEADER IN THE LED LIGHTING INDUSTRY IN THAILAND AND ASEAN? BOOK YOUR SPACE NOW!

Line ID : @ledexpo

LED Expo Thailand


รายงานพิเศษ

EEC CO-WORKING SPACE ติดปีก SMEs-สตาร์ตอัพไทย ยกระดับธุรกิจสู่ยุค 4.0 ปัจจุบัน ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีถือเป็นเส้นเลือดใหญ่ใน การขับเคลือ่ นเศรษฐกิจไทยให้เติบโต ด้วยจ�ำนวนกว่า 2.78 ล้าน ราย หรือคิดเป็น 98% ของผู้ประกอบการทั้งประเทศ ก่อให้เกิด การจ้างงานกว่า 11.7 ล้านคน คิดเป็น 80.4% ของการจ้างงาน ทัง้ หมด สามารถสร้างมูลค่าเพิม่ ทางเศรษฐกิจได้มากกว่า 4.2 ล้าน ล้านบาท ด้วยเหตุนี้ การยกระดับความสามารถและเอือ้ อ�ำนวยความ สะดวกในการท�ำธุรกิจให้กบั ผูป้ ระกอบการพันธุเ์ ล็กเหล่านี้ จึงเป็น หัวใจส�ำคัญที่ภาครัฐให้ความส�ำคัญมาโดยตลอดทุกยุคทุกสมัย เพื่อให้พวกเขาอยู่รอดและเติบโตต่อไปได้ EEC CO-WORKING SPACE ทีเ่ ปิดตัวอย่างเป็นทางการ ไปเมื่อเร็วๆ นี้ ในนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี เป็นตัวอย่างล่าสุดของความพยายามดังกล่าว ซึง่ เกิดขึน้ จากความ ร่วมมือระหว่าง ส�ำนักงานเพื่อการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก (สกรศ.) และการนิคมอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย (กนอ.) ซึ่งมุ่งหวังที่จะช่วยเสริมความแข็งแกร่งแก่ ผูป้ ระกอบการธุรกิจสตาร์ตอัพและเอสเอ็มอี รองรับการลงทุนของ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายในโครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor) แผนยุทธศาสตร์สำ� คัญภายใต้นโยบาย ไทยแลนด์ 4.0 ทัศนีย์ เกียรติภัทราภรณ์ รองเลขาธิการ ส�ำนักงานเพื่อ การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (สกรศ.) กล่าวว่า โครงการ EEC CO-WORKING SPACE นี้ เกิดขึ้นเพื่อสนับสนุน ธุรกิจเอสเอ็มอีและสตาร์ตอัพโดยเฉพาะ นอกจากจะช่วยอ�ำนวย ความสะดวกเรือ่ งการด�ำเนินธุรกิจของผูป้ ระกอบการแล้ว ยังเป็น การสร้างคอมมูนติ เี้ ปิดโอกาสคนกลุม่ นีไ้ ด้เข้ามาแลกเปลีย่ นมุมมอง และประสบการณ์ระหว่างกัน โดยมีการพัฒนาโกลบอลดิจิทัล แพลตฟอร์มทีช่ อ่ื ว่า “KLONN” (กลอน) ขึน้ มาเป็นพิเศษ เพือ่ ให้

ผู้ที่ต้องการเข้ามามีส่วนร่วมหรือลงทุนกับโครงการ EEC จากทั่ว ทุกมุมโลกให้สามารถเชือ่ มโยงถึงกันได้จริง ซึง่ จะเป็นประโยชน์ทงั้ ต่อเจ้าของเทคโนโลยีและผู้ที่ต้องการใช้เทคโนโลยีนั้นๆ ในพื้นที่ EEC และหากโครงการน�ำร่องนี้ประสบความส�ำเร็จก็มีแผนจะ ต่อยอดโครงการนีไ้ ปยังระยองและฉะเชิงเทรา ซึง่ เป็นอีก 2 จังหวัด ของพื้นที่โครงการ EEC อีกด้วย ด้าน วีรพงศ์ ไชยเพิ่ม ผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย (กนอ.) เสริมว่า โครงการนีเ้ ป็นแนวคิดทีไ่ ด้รบั มอบหมาย จาก อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม เนือ่ งจากขณะนีร้ ฐั บาลให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาผูป้ ระกอบการ ขนาดกลางและขนาดย่อม รวมถึงสตาร์ตอัพ (Startup) ที่จะเน้น การยกระดับให้เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจภูมิภาคและอุตสาหกรรม เป้าหมาย เนื่องจากกิจการเหล่านี้จะมีส่วนส�ำคัญต่อการพัฒนา เศรษฐกิจฐานรากเพื่อขับเคลื่อนนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ที่มุ่งให้ ไทยหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลางในอนาคต EEC CO-WORKING SPACE ตัง้ อยูภ่ ายในโครงการไอเพลส พาร์ค แหลมฉบัง (iPLACE PARK Laem Chabang) บนพืน้ ทีข่ อง นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี พร้อมเปิดให้บริการแล้ว ด้วยพืน้ ทีใ่ ช้สอยรวม 250 ตารางเมตร ครบครันด้วยสิง่ อ�ำนวยความ สะดวกทีจ่ ำ� เป็นต่อการด�ำเนินธุรกิจยุคใหม่ ทัง้ การให้เช่าพืน้ ทีแ่ บบ รายชัว่ โมง รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน และรายปี เดินทางสะดวก อยู่ห่างจากทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (กรุงเทพฯ-พัทยา) เพียง 1 กิโลเมตร และยังเชื่อมโยงกับเส้นทางคมนาคมหลักหลายสาย ไม่วา่ จะเป็นสถานีรถไฟแหลมฉบัง สนามบินสุวรรณภูมิ สนามบิน อู่ตะเภา และท่าเรือน�ำ้ ลึกแหลมฉบัง ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ www.iplace.global หรือโทร. 095 828 2288

January-February 2018


รายงานพิเศษ

ส� ำ นั ก งานเพื่ อ การพั ฒ นาระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ภาคตะวันออก (สกรศ.) กระทรวงอุตสาหกรรม ขอรายงานชีแ้ จง ประเด็นเกีย่ วกับการรับฟังความเห็นของผูเ้ กีย่ วข้องในกระบวนการ จัดท�ำร่างพระราชบัญญัตเิ ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก รวมถึง ประเด็นคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เสนอคณะรัฐมนตรี และสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ แก้ไขร่างพระราชบัญญัตเิ ขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก ที่มีข้อเสนอ 4 ข้อ ดังนี้ 1) ในชั้นการพิจารณาของรัฐสภาควรจัดให้มีการรับฟัง ความเห็นของผูเ้ กีย่ วข้อง โดยเฉพาะผูท้ ไี่ ด้รบั ผลกระทบและผูม้ สี ว่ น ได้เสียจากร่างกฎหมายดังกล่าวในระดับพื้นที่เพิ่มเติม รวมทั้ง เปิ ด โอกาสให้ นักวิช าการและภาคประชาชนเสนอความเห็ น ข้อกังวล เป็นรายมาตราอย่างกว้างขวางและทัว่ ถึง เพือ่ ประกอบ การพิจารณาให้ครบถ้วนรอบด้าน 2) รัฐสภาควรพิจารณาแก้ไขมาตรา 36 ของร่างกฎหมาย ดังกล่าว ซึง่ ว่าด้วยเรือ่ งการเข้าใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ในเขตปฏิรปู ทีด่ นิ เพือ่ เกษตรกรรม หากเป็นการเข้าใช้ประโยชน์เพือ่ การอืน่ นอกจาก ทีก่ ำ� หนดในกฎหมายว่าด้วยการปฏิรปู ทีด่ นิ เพือ่ เกษตรกรรม ควร ด�ำเนินการเท่าที่จ�ำเป็นและต้องด�ำเนินการด้วยวิธีการเพิกถอน ที่ดินบริเวณนั้นจากการเป็นเขตปฏิรูปที่ดินตามกระบวนการ ขัน้ ตอนของกฎหมาย และชดเชยเยียวยาให้ผไู้ ด้รบั ผลกระทบอย่าง เป็นธรรม และ 3) แก้ไขเพิม่ เติมมาตรา 37 มาตรา 43 เพือ่ เป็นหลักประกัน ว่าการเปลี่ยนแปลง แก้ไขหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการ อนุมัติ อนุญาต หรือการอื่น จะไม่กระทบต่อสิทธิเสรีภาพและ กระบวนการมีส่วนร่วมที่มีอยู่ในกฎหมายว่าด้วยการนั้น

January-February 2018

4) เสนอคณะรัฐมนตรีควรก�ำชับให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดท�ำแผนการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ในภาพรวม และแผนผังการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน รวมทั้งการจัดท�ำผังเมืองในเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก ตามค�ำสั่ง คสช.ที่ 2/2560 เรื่องการพัฒนา ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ลงวันที่ 17 มกราคม 2560 ให้พจิ ารณาด้วยความระมัดระวัง โดยการด�ำเนินการต้องไม่กระทบ ต่อการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนที่ได้รับการรับรองไว้ตาม รัฐธรรมนูญ และพันธกรณีดา้ นสิทธิมนุษยชน ทีป่ ระเทศไทยเป็น ภาคีและสอดคล้องกับหลักการตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ตามกรอบสหประชาชาติ หลังปี 2558-2573 โดยในข้อเสนอ 1)-3) เป็นข้อเสนอทีจ่ ะส่งให้รฐั สภา ส่วนข้อ 4) จะเสนอคณะรัฐมนตรี โดย กสม.จะท�ำหนังสือถึง พรเพชร วิชติ ชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) และ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชำ นายกรัฐมนตรี ภายในวันที่ 15 ธันวาคม 2560

EEC เป็นนโยบายส�ำคัญของประเทศทีจ่ ะผลักดัน การพัฒนาประเทศ และเป็นตัวอย่างของการ พัฒนาประเทศที่ค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของประชาชน

ดังทีท่ ราบกันว่า รัฐบาลมีนโยบายในการพัฒนา EEC ครอบคลุม 3 จังหวัด ได้แก่ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง ซึง่ ต่อไปจะพัฒนาไปเป็น เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ให้เกิดขึน้ อย่างเป็นรูปธรรมโดยเร็ว เพื่อเป็นแกนน�ำในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การพัฒนา เทคโนโลยีขนั้ สูง ทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและยกระดับ คุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่


ทัง้ นีก้ ารพัฒนา EEC เป็นตัวอย่างการบูรณาการการพัฒนา ทีค่ ำ� นึงถึงการต่อเนือ่ งเชือ่ มโยงด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน การ zoning การใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ให้เกิดประโยชน์สงู สุด โดยมีการจัดวางต�ำแหน่ง สถานประกอบการ และต�ำแหน่งการจัดวางระบบสาธารณูปการ ที่เหมาะสม และอยู่บนพื้นฐานความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน ประชาชนในพืน้ ที่ และผูป้ ระกอบกิจการ รวมทัง้ การให้บริการภาครัฐ แบบเบ็ดเสร็จครบวงจร ซึ่งแน่นอนประชาชนในพื้นที่จะมีระบบ สาธารณูปโภคและสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นจากการพัฒนาที่เป็นระบบ อย่างไรก็ตาม การพัฒนาโครงการต่างๆ ใน EEC เป็นการ ต่อยอดจากการพัฒนาโครงการที่มีอยู่เดิม ซึ่งสอดคล้องกับ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยค�ำนึงถึงการสร้างนวัตกรรม ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โดยถือว่าการพัฒนา EEC เป็นกลไกขับเคลือ่ น ‘ประเทศไทย 4.0’ แบบก้าวกระโดด และเป็นพืน้ ทีเ่ ป้าหมายแรกในการสร้างการลงทุน อุตสาหกรรมเป้าหมาย สร้างระบบการถ่ายโอนเทคโนโลยีขั้นสูง สู่คนไทย ด้วยการพัฒนาเศรษฐกิจแบบมีส่วนร่วม ส�ำหรับข้อสังเกตเรื่องการจัดท�ำแผนการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในภาพรวมและแผนผัง ในกระบวนการท�ำงานจะต้องด�ำเนินการ ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งการด�ำเนินการต่างๆ ต้องผ่าน ความเห็นชอบจากคณะกรรมการนโยบายระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (กนศ.) ซึ่งมีรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องร่วมกันพิจารณา ให้ความเห็นชอบ อีกทัง้ ในส่วนของค�ำสัง่ คสช. 47/2560 ลงวันที่ 25 ตุลาคม 2560 เรือ่ งข้อก�ำหนดการใช้ประโยชน์ในทีด่ นิ ในพืน้ ที่ ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ทุกภาคส่วนให้ความส�ำคัญ กับการรับฟังความคิดเห็นของทุกภาคส่วนเสมอ ในส่วนของการรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ของภาคประชาชน สกรศ. ได้มีการรับฟังความคิดเห็นหลายๆ ช่องทาง ทั้งเว็บไซต์ของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) เว็บไซต์ส�ำนักงานเพื่อการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (สกรศ.) ตั้งแต่เริ่มต้น และยังได้มีการจัดกิจกรรม เพื่อรับฟังความคิดเห็นในพื้นที่ ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2560 จนถึง ปัจจุบัน ไม่น้อยกว่า 11 ครั้ง

ร่างพระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก พ.ศ. ...

ในกระบวนการจัดท�ำร่างพระราชบัญญัตเิ ขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก พ.ศ. ... ซึง่ เข้าสูก่ ระบวนพิจารณาร่างพระราชบัญญัตฯิ ของคณะรัฐมนตรีถงึ 3 ครัง้ นัน้ แสดงถึงการให้ความส�ำคัญในทุก ประเด็น ทุกมิติ อย่างรอบคอบ รัดกุม ของทุกภาคส่วน ถึงแม้

ปัจจุบนั ร่างพระราชบัญญัตดิ งั กล่าวอยูร่ ะหว่างการพิจารณาของ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัตเิ ขตพัฒนา พิเศษ ซึง่ กรรมการทุกท่านพิจารณาร่วมกันอย่างรอบคอบทุกมิติ โดยมิได้มีการเร่งรัดหรือละเลยในทุกประเด็นที่หลายฝ่ายกังวล อย่างไรก็ตาม ทีผ่ า่ นมากระบวนการจัดท�ำร่างพระราชบัญญัติ เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ... ได้ดำ� เนินการตามเจตนารมณ์ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ซึ่งประกาศ บังคับใช้เมือ่ วันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2560 ทุกประการ โดยมีการรับฟัง ความคิดเห็นของทุกภาคส่วนตามช่องทางสือ่ สารต่างๆ เช่น ประชุม ร่วมกับหน่วยงานเจ้าของกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับร่างพระราชบัญญัติ ผ่านสือ่ ออนไลน์ ประชุมร่วมกับหัวหน้าส่วนจังหวัด/ภาคเอกชน/ ประชาชนในพืน้ ที่ EEC อย่างต่อเนื่องทุกจังหวัด ถึงแม้ก่อนหน้า ทีร่ ฐั ธรรมนูญฯ ประกาศใช้ กระทรวงอุตสาหกรรมก็ให้ความส�ำคัญ กับการรับฟังความเห็นของผูเ้ กีย่ วข้อง โดยเฉพาะผูท้ ไี่ ด้รบั ผลกระทบ และผูม้ สี ว่ นได้เสียจากร่างกฎหมายมาตลอด อีกทัง้ น�ำข้อคิดเห็น มาปรับใช้ในขณะที่พิจารณาพระราชบัญญัติในชั้นกฤษฎีกา

ประชาชนได้ประโยชน์อะไรจากการพัฒนา EEC

ในการพัฒนา EEC เป้าหมายที่สำ� คัญคือประชาชนใน พืน้ ทีม่ วี ถิ ชี วี ติ ทีด่ ขี นึ้ มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ โดยการยกระดับรายได้ ให้ใกล้เคียงกับกรุงเทพฯ ด้วยสภาพชีวิตที่ดีกว่า มีเมืองที่น่าอยู่ ที่ดีกว่า อาทิ  โอกาสมาถึงบ้าน-รายได้มาถึงตัว งานดีมีมากขึ้น เป็น โอกาสใหม่ให้เยาวชน  ลูกหลานไม่ตอ ้ งออกนอกพืน้ ทีเ่ พือ่ หาสถานศึกษาทีด่ ขี นึ้ หางานทีด่ ขี นึ้ ท�ำให้สามารถอยูไ่ ด้กบั พ่อแม่เป็นครอบครัว อบอุ่น  ประชาชนในพืน ้ ทีส่ ามารถเข้าถึงสถาบันการศึกษา และ โรงพยาบาลที่ดีมีคุณภาพ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น  มีระบบสาธารณูปโภคและสิง ่ แวดล้อมทีด่ ี จากโครงการ ลงทุน และการท่องเที่ยว มีเส้นทางคมนาคมที่ดีขึ้น  มีกองทุนเพือ ่ พัฒนาชุมชน หากประชาชนได้รบั ผลกระทบ รัฐจะให้การดูแลอย่างทั่วถึงและรวดเร็ว โดยมีการตั้ง กองทุนขึ้นมาโดยเฉพาะ อย่างไรก็ตาม ทางส�ำนักงานฯ ยินดีให้ข้อมูลตอบข้อ ซักถามเพิ่มเติม โดยให้ติดต่อได้ที่ 0-2033-8000

January-February 2018


SETA_21.59x29.21cm.pdf

1

1/4/18

3:10 PM


Welcome From

Supporting Utilities

ความต อ งการใช พ ลั ง งานไฟฟ า ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ตามการขยายตั ว ทาง เศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจ เปนแรงผลักดันสําคัญที่ทําใหรัฐบาลมีนโยบายการสงเสริมใชพลังงาน ทดแทนตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก โดย เฉพาะพลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานน้ําขนาดเล็ก ชีวมวล กาซชีวภาพและขยะ เพราะหากเทคโนโลยีพลังงานทดแทนเหลานีม้ ตี น ทุน ถูกลงและไดรบั การยอมรับอยางกวางขวาง พลังงานทดแทนจะกลายเปน ทางเลือกที่สําคัญในการผลิตไฟฟาสําหรับประเทศไทยในอนาคต เพื่อ ทดแทนการผลิตพลังงานไฟฟาในปจจุบันที่ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง หลัก ซึ่งมีปริมาณจํากัด นอกจากนี้ ภายใตแผนการพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือกเพิ่มขึ้น เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาล ยังมีการสงเสริมให ชุมชนมีสวนรวมในการผลิตและการใชพลังงานทดแทนอยางกวางขวาง ปรับมาตรการจูงใจสําหรับการลงทุนจากภาคเอกชนใหเหมาะสมกับ สถานการณ และปรับปรุงระบบโครงสรางพื้นฐาน เชน ระบบสายสง สายจําหนายไฟฟา รวมทั้งการพัฒนาสูระบบ Smart Grid อีกดวย ดังนั้น ในอนาคตภาคประชาชนจะมีสวนรวมในการผลิตและใช พลังงานทดแทนมากขึ้น เชน การติดตั้งพลังงานแสงอาทิตยบนหลังคา หรือ Solar Rooftop การใชยานยนตไฟฟาหรือ EV รวมถึงระบบโครงขาย ไฟฟ า จะกลายเป น รู ป แบบของระบบโครงข า ยไฟฟ า ขนาดเล็ ก หรื อ Microgrid มากขึน้ ซึง่ การไฟฟาฝายจําหนาย ไดแก การไฟฟาสวนภูมภิ าค และการไฟฟานครหลวง จะตองปรับปรุงและพัฒนาระบบโครงขายไฟฟา ของตนเองใหรองรับกับรูปแบบพลังงานไฟฟาที่จะเปลี่ยนไปในอนาคต รวมทัง้ ภาคเอกชนจะตองพัฒนาอุปกรณและเทคโนโลยีใหมๆ เพือ่ รองรับ การเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมพลังงานในอนาคต สําหรับงาน GTD Asia 2019 ที่จะจัดขึ้นระหวางวันที่ 19-23 มีนาคม พ.ศ. 2562 ณ ศูนยการประชุมและนิทรรศการไบเทค บางนา กรุงเทพฯ นั้น นับเปนโอกาสอันดีของประเทศไทยที่ไดรับความไววางใจ จาก IEEE PES สํานักงานใหญ ประเทศสหรัฐอเมริกา ใหดําเนินการจัด งานระดับนานาชาติทปี่ ระเทศไทย และเปนครัง้ แรกในเอเชีย โดยงาน GTD Asia 2019 นี้เปนการรวมการจัดงาน 3 งาน ประกอบดวย งาน Power Generation (PG Asia) งาน Transmission and Distribution (T&D Asia) และงาน Renewable Energy (RE Asia) เขาดวยกัน ซึง่ การประชุมวิชาการ และนิทรรศการระดับโลกในครั้งนี้ จะมีเนื้อหาครอบคลุมทุกดานเกี่ยวกับ ระบบผลิต การสงและจําหนายไฟฟา การผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ

p.43-50_IEEE.indd 43

1/12/18 10:16 AM


การจัดงาน IEEE GTD ASIA 2019 จะเป นการ เป ดโลกทัศน ให ว�ศวกร นิสิต นักศึกษาของประเทศไทย ในการพัฒนาทักษะ ความรู ความสามารถด านพลังงาน ไฟฟ า และมีโอกาสได เร�ยนรู ประสบการณ การทํางาน ขององค กรชั้นนําด านพลังงานไฟฟ าทั่วโลก เพ�่อเป น กําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศไทยต อไปในอนาคต

ทั้งนี้ การไฟฟาสวนภูมิภาค ซึ่งเปนองคกรชั้นนําที่ใหบริการ พลังงานไฟฟา ถือวาเปนผูนําที่มีความเชี่ยวชาญดานระบบจําหนาย ไฟฟ า ของประเทศไทยและในระดั บ ภู มิ ภ าคได ใ ห ก ารสนั บ สนุ น การจัดงานดังกลาว โดยสนับสนุนบุคลากรที่มีความรูความสามารถ ทั้งผูบริหารระดับสูง ระดับรองผูวาการ จนถึงพนักงานระดับปฏิบัติ เขาไปเปนคณะทํางานในการจัดงานสัมมนา IEEE PES GTD ในครัง้ นี้ ในหลายๆ สวน รวมถึงการรวมกําหนดหัวขอการสัมมนาในสวนตางๆ ใหมีความนาสนใจ เปนประโยชนตอวิศวกร นิสิต นักศึกษา และ จะสนับสนุนใหพนักงานของการไฟฟาสวนภูมภิ าคเขารวมสงบทความ วิชาการ เพื่อจะไดมีโอกาสนําเสนอผลงานวิจัย แลกเปลี่ยนความรู ประสบการณในสวนงานของตนเอง เพื่อเปนการพัฒนาศักยภาพ ของบุคลากรดวย และในสวนของนิทรรศการ การไฟฟาสวนภูมิภาค จะจัดนิทรรศการใหความรูในงานดานระบบจําหนายไฟฟา นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ทันสมัยเกี่ยวกับระบบโครงขายไฟฟา เชน งานดาน Smart Grid, Smart Home, EV Charging Station เปนตน และ

p.43-50_IEEE.indd 44

งานดาน Renewable Energy เปนตน เปนการสงเสริมใหเกิดการ แลกเปลี่ ย นความรู ประสบการณ เ กี่ ย วกั บ ระบบโครงข า ยไฟฟ า นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหมๆ ทัง้ ยังเปนการสงเสริมธุรกิจอุตสาหกรรม พลังงานไฟฟาใหมีการคาการลงทุนเพิ่มมากขึ้นดวย นอกจากนี้ การไฟฟ า ส ว นภู มิ ภ าคยั ง มี ค วามยิ น ดี ที่ จ ะเป ด ศูนยสั่งการจายไฟ หรือ SCADA & Control Center ของการไฟฟา สวนภูมิภาคใหผูที่ลงทะเบียนรวมงาน Technical Visit ไดเขาเยี่ยมชม การปฏิบตั งิ าน การสัง่ การจายไฟและระบบควบคุมไฟฟาของการไฟฟา สวนภูมิภาคอีกดวย หวังเปนอยางยิ่งวา การจัดงาน IEEE GTD ASIA 2019 จะเปน การเปดโลกทัศนใหวิศวกร นิสิต นักศึกษาของประเทศไทยในการ พัฒนาทักษะ ความรูความสามารถดานพลังงานไฟฟา และมีโอกาส ไดเรียนรูป ระสบการณการทํางานขององคกรชัน้ นําดานพลังงานไฟฟา ทัว่ โลก เพือ่ เปนกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศไทยตอไปในอนาคต

1/12/18 10:16 AM


ประมวลภาพกิจกรรมประชาสัมพันธ์ เมื่อเร็วๆ นี้ IEEE Power&Energy Society - Thailand รวมกับสมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟาและอิเล็คโทรนิคสแหงประเทศไทย (IEEE Thailand Section) จัดงาน IEEE PES Dinner Talk 2017 เพื่อใหขอมูลทางดานนโยบายและทิศทางการพัฒนาดานพลังงานและโครงขายไฟฟาของประเทศ โดยมี ชัยพล ธิติศักดิ์ อธิบดีกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย และประธานกรรมการการไฟฟาสวนภูมิภาค เปนประธานเปดงาน พรอมการเสวนาในหัวขอ เรื่อง “Modernizing the Thailand Grid : มุงหนาสูความล้ําสมัยของระบบโครงขายไฟฟาไทย” ซึ่งไดรับเกียรติจาก ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอํานวยการ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กรศิษฏ ภัคโชตานนท ผูว า การการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ชัยยงค พัวพงศกร ผูว า การการไฟฟานครหลวง และ เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค รวมเสวนา พรอมกันนี้ ภายในงานยังมีการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธงานประชุมวิชาการและนิทรรศการระดับนานาชาติ IEEE PES Generation Transmission and Distribution (GTD) Grand International Conference and Exposition Asia 2019 ระหวางวันที่ 19-23 มีนาคม 2562 ณ ศูนยนิทรรศการและ การประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ ซึ่งเปน การรวมงาน Power Generation (PG Asia) งาน Transmission and Distribution (T&D Asia) และงาน Renewable Energy (RE Asia) เขาดวยกัน การประชุมวิชาการและนิทรรศการระดับโลกในครั้งนี้ จะมีเนื้อหาครอบคลุมทุกดานเกี่ยวกับระบบ ผลิต สง และจําหนายไฟฟา การผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ นอกจากนี้มีนิทรรศการจากบริษัทและองคกร ชั้นนําระดับโลก รวมถึงเปนการกระตุนเศรษฐกิจ และการพัฒนาดานงานวิจัยและนวัตกรรมดานเทคโนโลยีไฟฟาและพลังงานของประเทศ ใหกาวสูระดับสากลอยางเปนรูปธรรม ทัง้ นี้ กิจกรรมประชาสัมพันธดงั กลาว จัดขึน้ บริเวณดานหนาหองวิภาวดี บอลรูม โรงแรมเซ็นทารา แกรนด แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพราว กรุงเทพฯ

p.43-50_IEEE.indd 45

1/12/18 10:16 AM


ประมวลภาพกิจกรรมประชาสัมพันธ์

p.43-50_IEEE.indd 46

1/12/18 10:16 AM


Modernizing the Thailand Grid

เมื่อการผลิตกระแสไฟฟาในประเทศไทยมีความหลากหลาย มากขึ้น โดยเฉพาะพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) ที่มี ศักยภาพสูงขึ้น โดยจะมีแหลงผลิตไฟฟาที่หลากหลายและกระจาย อยูท วั่ ประเทศ ฉะนัน้ จึงมีความจําเปนในการเตรียมความพรอมของ โครงขายไฟฟาใหอัจฉริยะและทันสมัย (Modernizing the Thailand Grid) เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

มุ งหน าสู ความล้ำสมัย ของระบบโครงข ายไฟฟ าไทย ทําไมต อง

Modernizing Grid?

ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวง พลังงาน กลาววา การปรับโฉมระบบโครงขายไฟฟาไทยใหทันสมัย หรือ Modernizing the Thailand Grid เปนการสรางโอกาสในการจัดหาแหลงผลิตไฟฟาตนทุนต่ําใหกับผูใชไฟ การผลิตไฟฟาขนาดเล็กๆ ผลิตเองใชเองจะมีมากขึน้ กอปรกับการเขาสูย คุ ของการเปลีย่ นผาน ทางเทคโนโลยี โดยมีเทคโลยีดิจิทัลและอีกมากมายเขามาเกี่ยวของ ซึ่งเทคโนโลยีลักษณะนี้ ตองการให Grid มาเสริมการทํางานในหลาย ๆ เรื่อง เพื่อใหตนทุนการใชไฟของผูใชไฟถูกลง บริหารจัดการไฟฟาไดมากขึน้ ใชพลังงานหมุนเวียนมากขึน้ หาก Grid ไมสนับสนุน สิง่ เหลานัน้ ก็เกิดขึ้นไมได นอกจากนี้ความรวมมือของแตละภาคสวนในการ Modernizing the Thailand Grid ทัง้ 3 การไฟฟาตองชวยกัน กกพ. สนพ. จะชวยขับเคลือ่ น ผลักดัน ปลดล็อกกฎระเบียบ ที่ยังไมเอื้ออํานวยตอการปรับเปลี่ยนสูความล้ําสมัย January-February 2018

p.43-50_IEEE.indd 47

1/12/18 10:17 AM


ขับเคลื่อน Grid Modernzing ไปสู Smart Gird ได อย างไร ดร.ทวารัฐ กลาววา ประเทศไทยไดมแี ผนขับเคลือ่ นสมารทกริด ทําใหระบบไฟฟาตอบสนองความตองการได Real Time คือสามารถ ที่จะเลือกผลิตไฟฟาของตัวเองได ซื้อไฟจากการไฟฟาหรือจะซื้อไฟ เพื่อนบานขางๆ สิ่งที่ตองขับเคลื่อน Grid Modernzing ไปสู Smart Gird โดยมีทิศทางนโยบายที่ตองการให Grid เขามาชวย เชน เพิ่ม สัดสวนพลังงานทดแทน สงเสริมใหประเทศไทยใชพลังงานอยางมี ประสิทธิภาพมากขึ้น ลดตนทุนใหภาคการผลิต ทั้งนี้ ภาครัฐเองก็ อยากใหเกิดนวัตกรรมใหมๆ ที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการไฟฟา หรือตนทุนพลังงานของภาคเอกชน และ Grid ยังมีปญหา แตการ Modernzing Gird นั้นควรสอดคลองกับนโยบายภาพใหญ โดยโยง ออกมาเปนภาพนโยบายรัฐบาล หาก Smart Gird ทีม่ คี วามสมดุลระหวาง Demand Supply แบบ Real Time ไฟฟาตนทุนต่ําชวงที่ระบบมีความตองการใชไฟฟานอย (Off Peak) สามารถนํามาใชในชวงทีร่ ะบบมีความตองการใชไฟฟามาก (On Peak) ลดตนทุนคาไฟของผูใชไฟได ทําใหเกิดระบบนวัตกรรม

จ�ดที่มีการใช ไฟมากและมีความเสี่ยง ต อไฟตกไฟดับ ถ ามี Smart Grid เข าไปช วย การใช พลังงานจะมีประสิทธิภาพ และมีเสถียรภาพมากข�้น และคาดว า ในบางจ�ดจะช วยลดการซ้ำซ อน ของการลงทุน

ใหมๆ ที่บริหารจัดการไฟฟาของตัวเองได นํามาสูการใชพลังงานที่มี ประสิทธิภาพมากขึ้น การใชพลังงานที่มีคารบอนต่ํามากขึ้น และกาว ไปสู Grid Society การขับเคลื่อน Smart Gird ในประเทศไทย โดยมีแผนแมบท ที่สอดคลองกับแผน PDP ในอีก 20 ปขางหนา โดยแผน Smart Gird ประกอบดวย 3 เสาหลัก คือ การจัดการ Demand การพยากรณ สภาพอากาศ และการจัดหาเชื้อเพลิงที่หลากหลาย ไมใชเชื้อเพลิง เพียงชนิดเดียว มี Energy Storage Microgrid เปนตน การขับเคลื่อน 3 เสาหลักจะทําใหเกิดเทคโนโลยีใหม ๆ เพือ่ ใหเกิด Grid Modernzing และมีมาตรการเสริม เชน มาตรการ Demand Response หรือมาตรการ ที่จะทําใหเกิดการจัดการ Microgrid ดวยตัวเองได ขณะนี้ไดมีการประมาณการเบื้องตนวา สิ่งเหลานี้จะเกิดขึ้น ในอีก 20 ปขางหนา โดยมีการลงทุนกวา 2 แสนลานบาท เอกชน ตองมีสวนรวมในการที่จะให Grid Modernzing ขึ้น ทั้งนี้ ใน 5 ปแรก จะมีพนื้ ทีท่ ดลองประมาณ 3-5 พืน้ ที่ โดยมีเปาหมายกําหนดไวในแผน ชัดเจนวาจะลด Peak ใหไดประมาณ 350 เมกะวัตต สามารถบูรณาการ พยากรณสภาพอากาศ เมฆ แสงแดด และลม เขากับการสั่งการ โรงไฟฟาไดตอ ไปในอนาคต ในการขับเคลือ่ น 3 เสาหลัก มีงบประมาณ ในรูปแบบการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อการอนุรักษพลังงานอนุมัติ ไปแลว 3,000 ลานบาท และในปลายปจะมีการสนับสนุนอีก 2,000 ลานบาท “เชื่อวาถา Grid Modernzing กาวไปสู Smart Grid จะชวยให ผูใชไฟมีทางเลือกในการใชไฟฟามากขึ้น ทั้งไฟที่ผลิตเอง หรือจาก เพื่อนบานที่ผลิตไฟแลวเหลือใช ระบบไฟฟาโดยเฉพาะระบบไฟฟา ปลายสายจะมีความมัน่ คงมากขึน้ จุดทีม่ กี ารใชไฟมากและมีความเสีย่ ง ตอไฟตกไฟดับ ถามี Smart Grid เขาไปชวย การใชพลังงานจะมี ประสิทธิภาพและมีเสถียรภาพมากขึ้น และคาดวาในบางจุดจะชวย ลดการซ้ําซอนของการลงทุน” ความคาดหวังของความล้ําสมัย จะนําเราไปสูการจัดหาไฟฟาที่ มีทางเลือกที่หลากหลายขึ้นและตนทุนต่ําลงได และในขณะเดียวกัน Grid ก็จะรองรับพลังงานสะอาด พลังงานหมุนเวียนไดดีขึ้น และที่นา สนใจทั้งหลายทั้งปวงนําไปสู Customer Choice คือ ผูบริโภค ผูใชไฟ มีทางเลือกมากขึ้น โดยมีแผนพัฒนา Smart Grid เปนตัวขับเคลื่อน เพื่อจะใหเกิดผลลัพธที่คาดหวัง

ระบบกักเก็บพลังงาน กุญแจสําคัญสู เสถียรภาพและความมั่นคง

กรศิษฏ ภัคโชตานนท ผูวาการการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย กลาววา ระบบการผลิตไฟฟาในอนาคตจะไมใชแคโรงไฟฟาขนาดใหญ อีกตอไป พลังงานทดแทนทีเ่ ขามาเปนจํานวนมากทําให Energy Storage มีความสําคัญมากยิง่ ขึน้ เมือ่ มีพลังงานใหมๆ เขามาซึง่ เปนพลังงานทดแทน ก็จะเกิดการกระทบกับระบบการจัดการในเรื่องกักเก็บพลังงาน การแกไขปญหาที่เรียกวา “กราฟรูปเปด” หรือ Duck Curve การผลิตไฟฟาจาก แสงอาทิตยบนหลังคา ไมตรงกับชวงเวลาทีม่ กี ารใชไฟฟามาก ความตองการใชไฟฟาสูงสุดในตอนเชา การใชไฟฟาจะต่าํ ลงชวงทีป่ ระชาชนไมอยูบ า น ซึ่งเปนชวงที่การผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตยสูงที่สุด และการใชไฟฟาจะกลับมาสูงอีกครั้งในตอนเย็น ซึ่งการผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตยก็จะหายไป พรอมกัน ฉะนั้นจําเปนตองมีการกักเก็บพลังงาน การจัดการกําลังการผลิตในชวงที่แสงอาทิตยหายไป รวมไปถึงความยืดหยุนของระบบเดิมจะตอง รองรับพลังงานทดแทน นั่นคือ แสงอาทิตย เปนสิ่งที่ กฟผ. มุงพัฒนา โดยไดศึกษาเรื่อง แบตเตอรี่กักเก็บพลังงาน หรือ Battery Storage 3 แหง ทั่วประเทศ ที่จังหวัดแมฮองสอน ลพบุรี และชัยภูมิ ทําใหการจายไฟฟาจากพลังงานทดแทนมีเสถียรภาพ และชวยจายไฟฟาชวงความตองการสูง “กฟผ. ตองนําเอา Renewable Portfolio เขาไปอยูในโจทยนี้ดวย รองรับเทรนดของพลังงานหมุนเวียนและการจัดการใหล้ําสมัย บทบาทของ Energy Storage โดยมีระบบสารสนเทศเขามาบริหารจัดการมากขึ้น จะนําไปสูการจัดการที่ตอบโจทยความล้ําสมัยนี้” January-February 2018

p.43-50_IEEE.indd 48

1/12/18 10:17 AM


เตร�ยมพร อมสู Smart Grid รับการใช ไฟฟ าในอนาคต เสริมสกุล คลายแกว ผูว า การการไฟฟาสวนภูมภิ าค กลาววา การที่ ร ะบบไฟฟ า ของประเทศไทยจะก า วไปสู Modernizing the Thailand Grid ได จะตองไดรบั ความรวมมือจากทุกภาคสวน ทัง้ ภาครัฐ และเอกชน เพื่อรวมมือกันผลักดัน เตรียมความพรอมรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงของระบบไฟฟาในอนาคตที่จะเกิดขึ้น ในสวนของ PEA มีแผนงานสําคัญที่สอดคลองกับแผนงานของกระทรวงพลังงาน ทั้ง โครงการ Smart Meter, Smart Grid, Microgrid โครงการพลังงาน ทดแทน โดยปจจุบันอยูระหวางการทํา Smart Grid ซึ่งเปนโครงการ ตนแบบใน 2 พื้นที่นํารอง ไดแก จังหวัดชลบุรี ใชระยะเวลาในการ ดําเนินการประมาณ 3 ป ปจจุบนั อยูร ะหวางการจัดหาผูร บั จาง ในสวน ของโครงสรางพื้นฐานที่ไดจัดเตรียมในพื้นที่ชลบุรีและพัทยา จะมีการ ติดตั้ง Meter AMI จํานวน 1 แสนเครื่อง มีระบบ Automation บริหาร จัดการการจายไฟ รวมถึงการศึกษารูปแบบของการสื่อสารทั้งระบบ 3G 4G PLC และ RA ส ว นในเรื่ อ งของ Microgrid ป จ จุ บั น PEA พั ฒ นาต น แบบ Microgrid ในพื้นที่นํารองบานขุนแปะ จังหวัดเชียงใหม ซึ่งมีโรงไฟฟา พลังน้ํา กําลังผลิตไฟฟาขนาด 90 กิโลวัตต โซลารฟารม กําลังผลิต

ไฟฟาขนาด 100 กิโลวัตต มีผูใชไฟจํานวน 200 หลังคาเรือน และยังมี Microgrid ขนาดใหญขึ้นที่อําเภอแมสะเรียง จังหวัดแมฮองสอน กําลัง การผลิตไฟฟาขนาด 3 เมกะวัตต เปนตนแบบของ Micro Grid ที่ เกิดขึน้ ในประเทศไทย และยังเปนโครงขายไฟฟาในอนาคตทีเ่ หมาะสม กับสภาพภูมิประเทศของประเทศไทย “การบริหารจัดการพลังงาน เมือ่ มีแหลงผลิตไฟฟาเขามาในระบบ การจายกระแสไฟฟามากขึน้ การบริหารจัดการจะยากขึน้ มัน่ ใจ Smart Grid จะชวยในการบริหารจัดการระบบพลังงานทดแทนตางๆ ซึ่งเปน กระแสของโลกทีจ่ ะเขามาอยางแนนอน ดังนัน้ จึงมีการเตรียมความพรอม ในการบริ ห ารให มี ค วามเสถี ย รในด า นพลั ง งานทดแทนที่ เ พี ย งพอ ตอความตองในอนาคต” ในอนาคตระบบจําหนายจะเปลี่ยนโครงสราง มีอุปกรณตางๆ เขามาเชื่อมกับระบบจําหนาย โดยเฉพาะแหลงผลิตไฟฟาขนาดเล็ก ที่กระจายอยูตามพื้นที่ตางๆ (Distributed Generation) รวมไปถึง รถยนตไฟฟา Smart Appliances ทําใหระบบจําหนายจะเปนในลักษณะ Active Network มากขึ้น อยางไรก็ดี PEA มีแผน Smart Grid ซึ่งไมได พัฒนาเฉพาะดานเทคโนโลยีแตเพียงอยางเดียว แตยังพัฒนาในเรื่อง ธุรกิจ IT Platform ตางๆ ทีจ่ ะเขามารองรับดวย ฉะนัน้ ทิศทางของ PEA ในการดําเนินการเรื่องของ Modernzing Grid ภายใตภารกิจหลัก คือ การใชบริการจําหนายไฟฟา 19 ลานราย ไฟฟาตองมีเสถียรภาพและ ความมั่นคง เสริมสกุล กลาวเพิ่มเติม

Building Block Microgrid ยกระดับระบบจําหน ายไฟฟ าทีเ่ หนือกว า ชัยยงค พัวพงศกร ผูวาการการไฟฟานครหลวง กลาววา ระบบ Smart Grid ในพื้นที่เมืองหลวง เดิมทีโครงขายจะเปนลักษณะ ใยแมงมุม การบริหารจัดการจะยากมาก หากตองการใหเกิดความ มัน่ คง อาจจะตองมีการปรับปรุงระบบโครงขายไฟฟาในพืน้ ทีน่ ครหลวง ใหมทงั้ หมด ดวยการปรับเปน Metro Microgrid กฟน. มีแผนการพัฒนา Microgrid ที่ผลิตไฟเองขายไฟเอง ซึ่งจะตางกับ Microgrid ของ กฟผ. ที่จะอยูพื้นที่หางไกล จําเปนตองผลิตไฟใชเอง สวน Microgrid ของ กฟน.จะอยูในพื้นที่เมืองหลวง การบริหารจัดการพลังงานจากเดิมที่ ระบบไฟฟามีความซับซอน จึงมีการแบง Grid ดวยวิธที เี่ รียกวา Building Block Microgrid เปน Grid ยอยๆ โดยในแตละ Microgrid ตอเชื่อม ถึงกันเหมือนโครงขายเซลลูลาร เพื่อการบริหารจัดการที่งายขึ้น กรณี ที่ Grid ใดมีปญหาก็จะตัด Grid นั้นออกกอน เพื่อให Grid สวนใหญ สามารถจายไฟไดตามปกติ ชวยใหการบริหารจัดการงายขึ้นและมี ประสิทธิภาพที่ดีกวา

“เดิมทีในมุมมองของ กฟน. ไดมีแผนพัฒนา Smart Grid แต ป จ จุ บั น ได ป รั บ เปลี่ ย นแผนเป น Building Block Microgrid โดย Microgrid Smart Gird รวมทัง้ พลังงานทดแทนตางๆ จะถูกผนวกเขากับ Smart City อยู ด ว ยกั น ในพื้ น ที่ ที่ เ ป น จุ ด ยุ ท ธศาสตร สํ า คั ญ ที่ สุ ด ของกรุงเทพมหานคร นั่นก็คือ ถนนพระราม 1 - พญาไท และถนน พระราม 4 – รัชดาภิเษก โดยมีลูกคากวา 2 หมื่นรายในโครงการ นํารองนี้” อยางไรก็ตาม สิง่ สําคัญทีจ่ ะทําใหประเทศไทยกาวไปสู Thailand 4.0 คือการเตรียมระบบโครงขายใหทนั สมัย หรือทีเ่ รียกวา Modernizing Grid เพือ่ รองรับเทคโนโลยี Smart Gird และการผลิตไฟฟาจากพลังงาน ทดแทน ไดแก โครงการโซลารรูฟท็อป โครงการ Microgrid และ โครงการ Energy Storage การเตรียมระบบไฟฟาใหทันสมัย จะทําให สามารถบริหารจัดการและครอบคลุมระบบไฟฟาใหมีความมั่นคง เชื่อถือได และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น January-February 2018

p.43-50_IEEE.indd 49

1/12/18 10:17 AM


สมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสแหงประเทศไทย (IEEE Thailand Section) และ IEEE Power & Energy Society – Thailand (IEEE PES - Thailand) จัดงาน IEEE PES Dinner Talk 2017 ในหัวขอ “Modernizing the Thailand Grid มุง หนาสูค วามล้าํ สมัยของระบบโครงขาย ไฟฟาไทย” โดยไดรบั เกียรติจาก ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอ าํ นวยการสํานักงาน นโยบายและแผนพลังงาน กรศิษฏ ภัคโชตานนท ผูวาการการไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทย ชัยยงค พัวพงศกร ผูว า การการไฟฟานครหลวง และ เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค รวมเสวนา เพื่อใหขอมูลแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นดานนโยบายและทิศทางการพัฒนาดานพลังงานและโครงขายไฟฟาไทย แกผูรวมงาน

p.43-50_IEEE.indd 50

IEEE PES Dinner Talk 2017 :

Modernizing the Thiland Grid

มุ งหน าสู ความล้ำสมัย ของระบบโครงข ายไฟฟ าไทย

1/12/18 10:19 AM


สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย ได้ตีพิมพ์

“คู่มือแนวทางการออกแบบการส่องสว่างภายในอาคาร (Guidelines for Indoor Lighting Design)”

สนใจสอบถามได้ที่ สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย โทร. 0-2935-6905 http://www.tieathai.org/


Article > ABB

YuMi

®

หุ่นยนต์แบบแขนเดียว

ต่อเนื่องจากความส�ำเร็จของ YuMi® หุ่นยนต์อุตสาหกรรม แบบแขนคู่ ที่สามารถท�ำงานร่วมกันกับมนุษย์ได้อย่างแท้จริงเป็น ครั้งแรกของโลก ABB ได้เปิดตัวหุ่นยนต์แบบแขนเดียวที่สามารถ ท�ำงานร่วมกับมนุษย์พร้อมความสามารถที่เหนือชั้นในงานด้าน อุตสาหกรรมและมีขนาดที่เล็กลงกว่าเดิม ABB ก�ำลังจัดแสดงหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบแขนเดียว รุน่ ใหม่ลา่ สุดทีท่ ำ� งานร่วมกันกับมนุษย์ทงี่ าน International Robotics Exhibition (iREX) 2017 ในโตเกียว โดยหุน่ ยนต์รนุ่ ล่าสุดได้ถกู ออกแบบ ให้สามารถท�ำงานเคียงคูก่ บั พนักงานในโรงงาน เพือ่ ช่วยเพิม่ ผลผลิต และรองรับการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตตามค�ำสั่งซื้อ (Mass Customization) หุ่นยนต์รุ่นนี้จะเปิดตัวอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2561 เช่นเดียวกันกับ YuMi ซึง่ เป็นหุน่ ยนต์ทที่ ำ� งานร่วมกับมนุษย์ ในการประกอบชิน้ ส่วนขนาดเล็กทีไ่ ด้เปิดตัวในปี พ.ศ. 2558 หุน่ ยนต์ รุน่ ใหม่นสี้ ามารถรับน�ำ้ หนักชิน้ งานได้ 500 กรัม ซึง่ มีขนาดกะทัดรัด สามารถน�ำมาใช้งานในสายการผลิตและประกอบชิน้ ส่วนทีม่ อี ยูเ่ ดิม

January-February 2018

เพื่อเพิ่มผลผลิต หุ่นยนต์รุ่นใหม่นี้มีลูกเล่นที่สามารถท�ำโปรแกรม โดยการลากแขนของหุ่นยนต์ไปในต�ำแหน่งต่างๆ ได้โดยตรง ขจัด ปัญหาการฝึกอบรมพิเศษส�ำหรับพนักงานและผู้ใช้งาน “ความส�ำเร็จของ YuMi นั้นเกินความคาดหมาย เนื่องจาก แรกเริม่ มันถูกออกแบบมาเพือ่ ประกอบชิน้ ส่วนเล็กๆ แต่กลับกลาย เป็นว่ามันสามารถท�ำงานได้อย่างหลากหลาย เช่น การแก้ Rubik’s Cube ท�ำซูชิ ห่อของขวัญ รวมไปถึงความสามารถในการควบคุม วงออเคสตรา จากความส�ำเร็จอันล้นหลามของ YuMi เราคาดหวังว่า หุ่นยนต์แบบแขนเดียวแบบใหม่ของเราจะได้รับการยอมรับเป็น อย่างดีเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งมันได้รับการพัฒนาขึ้นตาม ความต้องการของลูกค้า” Mr.Sami Atiya ประธานกรรมการ ABB Robotics and Motion Division กล่าว “เรายังคงมุ่งมั่นสร้างผลงานในการพัฒนาหุ่นยนต์ที่ท�ำงาน ร่วมกับมนุษย์ต่อไป” Mr.Per Vegard Nerseth กรรมการผู้จัดการ ABB Robotics กล่าว “หุ่นยนต์ตัวใหม่นี้เป็นที่คาดหวังและเฝ้ารอ เพือ่ เสริมให้กบั โรงงานแห่งอนาคต ซึง่ จะช่วยให้ลกู ค้าของเราสามารถ


เติบโตและก้าวไปข้างหน้าเพื่อเข้าสู่ระบบการผลิตตามค�ำสั่ง ซือ้ การรวมหุน่ ยนต์นเี้ ข้ากับ ABB Ability™ ดิจทิ ลั โซลูชนั่ ของเรา จะช่วยให้ลกู ค้าสามารถเพิม่ ประสิทธิภาพและความน่าเชือ่ ถือ ให้กับโรงงานของเขาในอีกระดับหนึ่ง” ABB (ABBN: SIX Swiss Ex) เป็นผู้น�ำเทคโนโลยีใน ด้าน Electrification Products, Robotics and Motion, Industrial Automation และ Power Grids เราให้บริการลูกค้าใน ภาคสาธารณูปโภค อุตสาหกรรมและการขนส่งและโครงสร้าง พืน้ ฐานทัว่ โลก จากประวัตคิ วามเป็นมาของนวัตกรรมทีย่ าวนาน กว่า 125 ปี ABB ก�ำลังก้าวไปสู่ยุคอุตสาหกรรม ดิจิทัล ร่วมผลักดันการใช้พลังงานและ การปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรมครั้ ง ที่ 4 ABB ด� ำ เนิ น งานในกว่ า 100 ประเทศ โดยมีพนักงานประมาณ 136,000 คน

YuMi .. now with a single arm

Building on the success of YuMi®, the world’s first truly collaborative, dual-arm industrial robot, ABB unveils its single-arm collaborative robot, which combines industry-leading capabilities with a much smaller footprint ABB is previewing its newest collaborative robot, now with a single arm, at the International Robotics Exhibition (iREX) 2017 in Tokyo. As their name suggests, collaborative robots are designed to work alongside humans on the factory floor to raise productivity and support the transition to mass customization. The robot will be officially launched in 2018. Like YuMi, a small-parts assembly robot introduced in 2015, the new robot has a payload of 500 grams and, thanks to its compactness, is easily integrated into existing assembly lines, increasing productivity. The new robot also features lead-through programming, eliminating the need for specialized training for operators. “The success of YuMi has exceeded expectations; it was originally designed for small-parts assembly, but it has turned out to be exceptionally versatile - it can solve a Rubik’s Cube, make sushi, wrap gifts and conduct an orchestra. Based on YuMi’s enormous success, we fully expect our new single-arm robot to be equally well-received, especially since it was developed at the request of customers,” said Sami Atiya, President of ABB’s Robotics and Motion division. “We continue to build our collaborative robotics portfolio,” said Per Vegard Nerseth, Managing Director, ABB Robotics. “The newest robot is a much anticipated addition to the ‘factory of the future,’ enabling our customers to grow and thrive in the age of mass customization. Combining this robot with our ABB Ability™ digital solutions will allow our customers to take efficiency and reliability in their factories to the next level.” ABB (ABBN: SIX Swiss Ex) is a pioneering technology leader in electrification products, robotics and motion, industrial automation and power grids, serving customers in utilities, industry and transport & infrastructure globally. Continuing a more than 125-year history of innovation, ABB today is writing the future of industrial digitalization and driving the Energy and Fourth Industrial Revolutions. ABB operates in more than 100 countries with about 136,000 employees.

January-February 2018


Article

> ส�ำเริง ด้วงนิล สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)

เทคโนโลยีเตาเชื่อมโลหะต่างชนิด แบบไร้ตะเข็บในภาวะสุญญากาศ

(Vacuum Brazing Technology) เทคโนโลยีเตาเชื่อมโลหะต่างชนิดแบบไร้ตะเข็บในภาวะ สุญญากาศ ได้รับการพัฒนาขึ้นโดยทีมวิศวกรของสถาบันวิจัย แสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) (อนุสทิ ธิบตั รการประดิษฐ์ เลขที่ ค�ำขอ 1703001736) ข้อดีของการเชื่อมประสานด้วยเทคนิคนี้คือ โลหะที่เชื่อมจะเกิดการบิดตัวน้อย ท�ำให้ควบคุมความแม่นย�ำใน การเชื่อมได้ดี สามารถเชื่อมโลหะชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดได้เป็น อย่างดี และยังช่วยประหยัดค่าใช้จา่ ยจากการน�ำเข้าถึง 18 ล้านบาท สามารถพัฒนาต่อยอดได้กบั หลากหลายอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรม เครื่องมือตัด (Cutting Tools), อุตสาหกรรมการอบชุบโลหะ (Heat Treatment), อุตสาหกรรมระบบปรับอากาศ (Air Conditioning System) และอุตสาหกรรมการผลิตเครือ่ งฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกริ ยิ า (Catalytic Converter) เป็นต้น แนวคิดของการออกแบบในเบื้องต้นนั้น มีข้อก�ำหนดคือ เตาเชือ่ มในภาวะสุญญากาศชนิดนี้ เป็นเตาเชือ่ มชิน้ งานด้วยเทคนิค เชือ่ มแบบแล่นประสาน หรือเตาเบรซิง่ (Brazing) ภายในเป็นสภาวะ สุญญากาศที่ระดับต�่ำกว่า 10-5 ทอร์ มีช่องส�ำหรับวางชิ้นงานเชื่อม เป็นทรงสีเ่ หลีย่ มลูกบาศก์ ขนาด 300 x 300 x 500 มม. สามารถน�ำ ชิน้ งานเข้าและออกจากด้านหน้าเตาได้สะดวก เตาสามารถให้ความร้อน สูงสุดที่อุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส ด้วยการจ่ายกระแสไฟฟ้ำ ให้กบั แผ่นให้ความร้อน (Heating Element) ทีต่ ดิ ตัง้ ไว้ภายในเตา โดย สามารถท�ำอุณหภูมไิ ต่ระดับเพิม่ ขึน้ ได้ในช่วงอัตรา 0.5-30 องศาเซลเซียส ต่อนาที และจ�ำกัดความพลิ้วของอุณหภูมิ (Temperature Ripple) ได้อยู่ที่ระดับต�่ำกว่า ±2-5 องศาเซลเซียส และยังสามารถควบคุม และรักษาอุณหภูมิภายในเตาให้มีความสม�่ำเสมอได้ที่ระดับ ±5 องศาเซลเซียส โดยเฉลี่ย เตาเบรซิง่ ทีส่ ถาบันวิจยั แสงซินโครตรอนได้ออกแบบและพัฒนำ ขึน้ มีลกั ษณะดังแสดงในรูปที่ 1 โดยมีสว่ นประกอบหลัก 6 ส่วน คือ 1. ตัวถังหลักของเตา (Vacuum Chamber) 2. โซนร้อน (Hot Zone) 3. ตัวแลกเปลี่ยนความร้อน (Heat Exchanger) 4. ระบบการจ่ายแก๊สไนโตรเจน (Gas Quenching Using Nitrogen) 5. ระบบสร้างสภาวะสุญญากาศของเตา (Vacuum System) 6. ระบบควบคุมการท�ำงานของเตา (Control System) January-February 2018

รูปที่ 1 ส่วนประกอบที่เป็นระบบย่อยต่างๆ ของเตาเบรซิ่ง

รูปที่ 2 ภาพถ่ายเตาเบรซิ่งจากสถานที่จริง ณ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน จ.นครราชสีมา

กระบวนการเชื่อมแล่นประสานโลหะในสภาวะสุญญากาศ หรือเบรซิง่ (Brazing) เป็นกรรมวิธกี ารเชือ่ มต่อโลหะตัง้ แต่สองชิน้ หรือ มากกว่าเข้าด้วยกัน โลหะอาจเป็นชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกันก็ได้ มีโลหะเติมหรือลวดแล่นประสานเป็นโลหะ เช่น ลวดเงิน หรืออาจ เป็นโลหะผสม เช่น ลวดทองเหลือง ลวดทองแดงผสมฟอสฟอรัสก็ได้ โลหะเติมนีม้ จี ดุ หลอมเหลวสูงกว่า 450 องศาเซลเซียส แต่ตอ้ งต�ำ่ กว่ำ อุณหภูมหิ ลอมเหลวของโลหะทีน่ ำ� มาเข้ากระบวนการเบรซิง่ เราน�ำโลหะ ดังกล่าวนีเ้ ติมลงไปทีร่ อยต่อของชิน้ งานแล้วน�ำไปอบด้วยความร้อน โลหะเติมก็จะหลอมละลายและแทรกตัวซึมเข้าไปในช่องว่างระหว่าง รอยต่อด้วยปฏิกิริยาคาปิลารี (Capillary) หรือการซึมผ่านรูเล็ก


ขั้นตอนการเบรซิ่งเริ่มจากการเปิดระบบต่างๆ หลังจากนั้น จึงน�ำเอาชิ้นงานเข้าไปวางในเตา แล้วท�ำความดันสุญญากาศให้ได้ อย่างน้อย 5 x 10-4 ทอร์ แล้วเพิม่ อุณหภูมใิ นเตาให้สงู กว่าอุณหภูมิ หลอมละลายของลวดประสาน (Filler Metal) เพื่อท�ำการเชื่อม แล่นประสาน เมือ่ กระบวนการเชือ่ มแล่นประสานหรือเบรซิง่ แล้วเสร็จ จึงปิดแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าทีจ่ า่ ยให้กบั โซนร้อน รอจนกระทัง่ อุณหภูมิ ภายในเตาลดลงต�่ำกว่าอุณหภูมิหลอมละลายของลวดประสาน จึงท�ำการหล่อเย็นภายในเตาด้วยการเปิดแก๊สไนโตรเจนเข้าไปใน โซนร้อนและเปิดระบบน�้ำหล่อเย็นให้กับชุดแลกเปลี่ยนความร้อน เปิดพัดลมเพื่อระบายความร้อนออกจากเตา รอจนกว่าอุณหภูมิ ภายในเตาลดลงต�่ำกว่า 100 องศาเซลเซียส จึงจะสามารถเปิดเตำ และน�ำชิน้ งานออกได้ (รายละเอียดขัน้ ตอนการท�ำการเบรซิง่ ด้วยเตำ สุญญากาศแสดงไว้ในรูปที่ 3) Linear Accelerator รูปที่ 4 ตัวอย่างชิ้นงานที่พัฒนาขึ้นโดยการเชื่อมต่อโลหะ ด้วยวิธีเบรซิ่งสำ�หรับใช้ในระบบสุญญากาศ และเครื่องเร่งอนุภาคภายในสถาบันฯ

การเชื่อมประสานวัสดุคม ตัดติดกับด้ามจับ รูปที่ 3 ขั้นตอนดำ�เนินงานเชื่อมแล่นประสาน ด้วยเตาสุญญากาศ หรือเบรซิ่ง (Brazing)

การพัฒนาเตาเพื่อการเชื่อมแล่นประสานโลหะในภาวะ สุญญากาศหรือเตาเบรซิ่งนี้ ท�ำให้สถาบันสามารถเลี่ยงการจัดหำ ครุภัณฑ์จากต่างประเทศ เป็นการพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืนตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ช่วยให้สามารถประหยัดงบประมาณ แผ่นดินได้ถงึ 18 ล้านบาท ซึง่ ถือเป็นการพัฒนาเทคโนโลยีขององค์กร ภาครัฐขึ้นมาใช้ประโยชน์จริงโดยฝีมือคนไทย ความรูค้ วามช�ำนาญ และเทคโนโลยีทเี่ กิดจากการพัฒนาเตำ สุญญากาศนี้ สามารถน�ำไปต่อยอดพัฒนาเป็นนวัตกรรมส�ำหรับภาค อุตสาหกรรมทีต่ อ้ งการใช้งานเตาสุญญากาศได้หลากหลายลักษณะ งานที่ใช้การเชื่อมต่อโลหะด้วยการเบรซิ่ง ได้แก่ การเชื่อมประสาน วัสดุคมให้ตดิ กับด้ามจับ การเชือ่ มประสานท่อน�ำ้ ยาคอมเพรสเซอร์ ในระบบปรับอากาศ งานเชือ่ มต่อท่ออะลูมเิ นียมบางๆ หรือการอบ ชิน้ งานเพือ่ ปรับปรุงคุณสมบัตเิ ชิงกล (ดังแสดงในรูปที่ 4 และ 5)

การอบชิ้นงานเพื่อปรับปรุง คุณสมบัติทางกล

การเชื่อมชิ้นส่วนของเครื่อง ฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยำ

การเชื่อมท่อคอมเพรสเซอร์ ในระบบปรับอากาศ รูปที่ 5 ตัวอย่างงานอุตสาหกรรมที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี การเชื่อมต่อโลหะด้วยวิธีเบรซิ่ง January-February 2018


Article

> กิตติ โกสินสกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ไฟเบอร์วัน จ�ำกัด (มหาชน)

บ้านอัจฉริยะของจริง ต้องคิดเองได้ ท�ำเรือ่ งบางอย่างได้ดว้ ย ตัวเอง ปัญหาคือมันจะยุง่ ยากขนาดทีค่ ณ ุ ต้องเป็นสุดยอดอัจฉริยะ ล�้ำโลกเลยหรือไม่ เอาจริงๆ ตอนนี้ก็แค่อยากได้และพร้อมจ่ายเงิน แบบไม่ท�ำให้หมดตัว ก็มี AI ฉลาดๆ อยู่ในบ้านได้แล้ว ก่อนอืน่ อยากให้ลมื ๆ เรือ่ งวิวาทะระหว่าง อีลอน มัสต์ ซีอโี อ ยอดคนสมองเพชรแห่ง Tesla, SpaceX และ HyperLoop กับ มาร์ค ซักเกอร์เบิร์ก อัจฉริยะทีเชิร์ตกางเกงยีนส์เจ้าของเครือข่ายสังคม ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลกอย่างเฟซบุค๊ ในเรือ่ งประเด็นความเห็นความพร้อม ในการพัฒนา AI ทีท่ างอีลอนออกมาแสดงความเห็นว่าควรลดและ ระงับการลงมือท�ำให้มันฉลาดเกินไปกว่าที่วันนี้ยังควบคุมได้อยู่ ส่วนมาร์คกลับออกมาแย้งว่าความคิดของอีลอนมันก็ไม่ตา่ งจากการ กลัวท�ำตามคนอื่นไม่ทัน บอกแล้วว่าขอหยุดประเด็นนั้นไว้ก่อนจะดีกว่า เพราะว่า เหตุผลของทั้งสองฝ่ายก็ดีพอๆ กัน สิ่งที่ก�ำลังอยากให้สนใจก็คือ วันนีต้ ลาดบ้านอัจฉริยะก�ำลังน่าตืน่ เต้นและน่าสนใจ ก่อนอืน่ อยาก ยกตัวเลขจากส�ำนักวิจัยข้อมูลที่ปรากฏอยู่บนโลกอินเทอร์เน็ต อาจจะไม่ได้เป็นตัวเลขจากส�ำนักวิจยั ใหญ่ๆ แต่กท็ ำ� ให้เห็นว่าอัตรา การเติบโตน่าสนใจเลยทีเดียว จากรายงานทางการตลาด Artificial Intelligence (Chipsets) Market by Technology (Deep Learning, Robotics, Digital Personal Assistant, Querying Method, Natural Language Processing, January-February 2018

Context Aware Processing), Offering, End-User Industry, and Geography - Global Forecast to 2022 ของเว็บไซต์ Marketsandmarkets.com ภายในปี 2020 มูลค่าการตลาดของธุรกิจ AI (รวม ทุกอย่างที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีนี้ มีถึงเกือบหนึ่งหมื่นเจ็ดพันล้าน เหรียญสหรัฐฯ หรือรายงาน Smart home, Seamless life - Unlocking a culture of convenience ของ PwC ที่อ้างอิงการคาดการณ์ของ Gartner Research ว่าในปี 2563 จะมีอุปกรณ์ประเภท IoT สูงถึง 2.08 หมื่นล้านชิ้น ขณะที่ IDC ก็คาดว่ามูลค่าตลาดไอโอทีทั่วโลก จะแตะ 1.7 ล้านล้านดอลลาร์เช่นกัน การคาดการณ์เหล่านี้ ล้วน สะท้อนให้เห็นถึงพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปและโอกาส ในการเติบโตของตลาดสมาร์ทโฮม เทรนด์ของตลาดบ้านอัจฉริยะ มีการคาดการณ์วา่ มูลค่าตลาด ผลิตภัณฑ์สมาร์ทโฮมในปี 2563 จะสูงถึง 2,500 ล้านบาท เพิ่มขึ้น จากปี 2559 ที่ 645 ล้านบาท หรือเติบโตเฉลี่ยอยู่ที่ 40% ต่อปี พอพูดถึงค�ำว่า AI คุณคงนึกถึง Jarvis ผู้ช่วยที่หลายภาคใน การปรากฏตัว โทนี่ สตาร์ค มหาเศรษฐีในหนัง Ironman ก็เรียกว่า มาถูกทางครึ่งหนึ่ง (เพราะว่าจะให้มันเก่งขนาดนั้นก็คงมากเกินไป) แล้วบ้านอัจฉริยะนั้นท�ำไมต้องเอาไปผูกรวมกับเทคโนโลยีอย่าง IoT ด้วย น่าจะเรียกว่าจะมีบา้ นอัจฉริยะได้ ก็ตอ้ งมีปญ ั ญาประดิษฐ์ หรือ AI พร้อมกับ IoT ในหน้าทีข่ องการเป็นอุปกรณ์ในการท�ำงานแบบ ต่างๆ นั่นเอง


ด้วยการน�ำเทคโนโลยีอนิ เทอร์เน็ตของสรรพสิง่ (The Internet of Things) มาประยุกต์ใช้โดยเชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์ต่างๆ ภายใน บ้าน อาทิ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า ระบบรักษาความปลอดภัย และอืน่ ๆ โดย ผู้อยู่อาศัยสามารถควบคุม (Control) อุปกรณ์ต่างๆ เหล่านี้ได้ผ่าน ทางสมาร์ทโฟนและอุปกรณ์เคลือ่ นที่ ท�ำให้ได้รบั ความสะดวกสบาย (Convenience) แถมยังช่วยประหยัด (Savings) ค่าใช้จา่ ยด้านพลังงาน รวมไปถึงความปลอดภัย (Safety) ทีเ่ พิม่ มากขึน้ จากการมีระบบอัตโนมัติ ต่างๆ มาเป็น “ผูช้ ว่ ย” ภายในบ้าน เช่น ตรวจจับผูบ้ กุ รุกบ้าน ตัง้ อุณหภูมิ ที่เหมาะสมภายในบ้าน ไปจนถึงวัดค่าแก๊สในอากาศจากเซ็นเซอร์ เพือ่ ป้องกันการรัว่ ไหล เป็นต้น นอกจากนี้ อุปกรณ์สมาร์ทโฮมทีเ่ ริม่ มีให้เลือกมากขึน้ ในตลาด ท�ำให้ราคามีโอกาสลดลง และเป็นทีต่ อ้ งการ ในระยะยาว ทัง้ หมดทัง้ มวล เมือ่ เราเอา IoT มาท�ำงานทัง้ หมดนัน้ แล้ว มัน จะเกิดข้อมูลจ�ำนวนหนึง่ ขึน้ ซึง่ จริงๆ แล้วระบบการควบคุมการใช้งาน บน IoT ก็มีอยู่และควบคุมอยู่แล้ว แต่ว่าระบบทั้งหมดมันท�ำตามที่ คนสัง่ ในแบบทีเ่ รียกว่า Manual หรือต้องท�ำเองด้วยมือ จะเปลีย่ นให้ ระบบทัง้ หมดสามารถท�ำงานได้แบบอัตโนมัตหิ รือ Automatic งานนี้ คุณต้องพึ่งเจ้า AI นี่แหละ พืน้ ฐานของระบบ AI นัน้ จะมีเรือ่ ง Deep Learning, Robotics, Digital Personal Assistant, Querying Method, Natural Language Processing, Context Aware Processing แต่เราสนใจในเรือ่ ง Deep Learning, Digital Personal Assistant, Natural Language Processing และ Context Aware Processing เพราะอย่างแรกจะท�ำบ้านให้ฉลาด ด้วย AI นัน้ ต้องให้ระบบสามารถเรียนรูท้ กุ อย่างทีอ่ ยูใ่ นบ้านหรือทีเ่ รา เรียกว่า Deep Learning โดยทีอ่ าจจะมีการใส่ขอ้ มูลเริม่ ต้นบางส่วน ให้กับระบบ ส่วนที่เหลือจะเป็นเรื่องของการเรียนรู้ด้วยความฉลาด ของ AI เอง ที่จะสามารถน�ำเอาข้อมูลเบื้องต้นไปเทียบกับข้อมูลที่ ได้จากอุปกรณ์ IoT ต่างๆ และสั่งการท�ำงานกลับไป เช่น มีการตั้ง อุณหภูมิในบ้านไว้ที่ 25 องศา AI อาจจะรู้ว่ามาตรฐานคือเท่านั้น กับจ�ำนวนคนเพียง 5 คน แต่เมือ่ มีคนมาเพิม่ หรือมีแขกเข้ามาทีบ่ า้ น ระบบ AI นั้นก็จะสามารถคิดได้เองว่าต้องสร้างความเย็นที่อาจจะ มากกว่าเดิมเล็กน้อย ต่อมาจะให้บ้านฉลาดระดับอัจฉริยะได้มันก็ต้องมีระบบ Digital Personal Assistant หรือผู้ช่วยดิจิทัล นึกภาพง่ายๆ ก็อย่าง Jarvis นัน่ ไง หน้าทีข่ องผูช้ ว่ ยดิจทิ ลั ก็จะท�ำหน้าทีค่ อยจัดการทุกเรือ่ ง ทีค่ นในบ้านสัง่ ให้ทำ� ไม่วา่ สัง่ เปิดประตู หุงข้าว ตัง้ เวลาเปิดไฟในบ้าน

หรือแม้กระทัง่ บันทึกซีรสี เ์ รือ่ งโปรดในวันทีค่ ณ ุ ต้องท�ำงานล่วงเวลา และจะให้เจ้าผู้ช่วยดิจิทัลท�ำงานได้ก็ต้องอาศัย Natural Language Processing และ Context Aware Processing หรือระบบประมวลผล ค�ำและประโยคภาษามนุษย์ให้เปลีย่ นเป็นค�ำสัง่ ให้อปุ กรณ์ IoT ต่างๆ ในบ้านให้ทำ� งานหรือเอาไปประมวลผลเรื่องอื่นๆ ก็ว่าไป เรามาดูกันว่าถ้าเราอยากมีระบบ AI ส�ำหรับบ้านอัจฉริยะ ขัน้ แอดวานซ์จะต้องท�ำอย่างไรนอกจากเตรียมเงินเอาไว้ เริม่ ทีส่ เต็ป ธรรมดาแบบจ่ายเงินแล้วได้ทกุ อย่างไปเลย คุณสามารถเลือกจ่ายเงิน ให้กบั ระบบเชือ่ มต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าและระบบภายในบ้านบนแพลตฟอร์ม มาตรฐานทีใ่ ช้กนั อยูท่ วั่ ไป ไม่วา่ จะเป็น Zigbee, Z-Wave หรือ HomeKit แล้วเลือกเอาว่าคุณชอบเทคโนโลยีของใคร ถ้าคุณเป็นหนึง่ ในสาวก ผลไม้แหว่งอาจจะต้องรอให้ HomePod ล�ำโพงอัจฉริยะที่สามารถ เชือ่ มต่อระบบภายในบ้านผ่านการสัง่ งานด้วยการเรียก Siri เหมือน บนมือถือ iPhone หรืออุปกรณ์ของ Apple แต่ถา้ คุณอยูฝ่ ง่ั ของ Android ก็เตรียมตัวสัง่ เจ้า Google Home ที่ท�ำหน้าที่แบบเดียวกับอุปกรณ์ของ Apple แต่เวลาจะสั่งให้มัน ท�ำอะไรจะใช้คำ� ว่า Ok Google แบบเดียวกับบนมือถือสมาร์ทโฟน แอนดรอยด์ หรือคุณไม่อยากเลือกทัง้ สองค่าย Echo จาก Amazon ก็เป็นตัวเลือกทีด่ แี ละราคาย่อมเยากว่าสองตัวแรก วิธกี ารท�ำงานของ Echo นั้นก็สามารถสั่งด้วยเสียงได้เช่นเดียวกัน แค่เอ่ยค�ำว่า Alexa แล้วก็สั่งๆ เข้าไปว่าอยากได้อะไร หรือถ้าคุณอินดีม้ ากกว่านัน้ อีก คืออยากใช้มอื ถือสมาร์ทโฟน ทีม่ อี ยูแ่ ล้ว แต่อยากได้อะไรที่ Unique กว่านัน้ อีก คุณอาจจะต้องลอง มองไปทีแ่ พลตฟอร์มอย่าง Josh.ai (https://www.josh.ai/) ทีเ่ รียกว่า เปิดที่สุดแล้ว โดยที่สามารถตรวจสอบความสามารถว่าอุปกรณ์ใด บ้างรองรับระบบของ Josh.ai ได้ตามลิงค์ที่ให้ไปแล้วได้เลย แต่สงิ่ ทีอ่ ยากให้มองภาพให้ชดั ก่อนก็คอื ทุกคนนัน้ ไม่ใช้ชวี ติ อยูใ่ นบ้านตลอดเวลา ท�ำอย่างไรให้คณ ุ สามารถสัง่ งานและได้รบั การ ติดต่อจาก AI ที่อยู่ในบ้านอย่างต่อเนื่อง ถ้าคุณอาศัยอยู่ในคอนโด หรือหมูบ่ า้ น ลองสอบถามไปทีน่ ติ บิ คุ คลว่ามีการวางโครงข่ายไฟเบอร์ ออฟติกทีโ่ ครงการแล้วหรือยัง แต่ถา้ ยังไม่ซอื้ ลองมองหาทีอ่ ยูอ่ าศัย ทีม่ กี ารวางโครงข่ายไฟเบอร์แท้ๆ ทีส่ ามารถเลือกผูใ้ ห้บริการอินเทอร์เน็ต ได้เอง นอกจากนั้น ยังมั่นใจได้ว่าจะได้รับการบริการที่มากกว่าการ เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ไม่ว่าจะเป็นกล้องวงจรปิดหรือระบบรักษา ความปลอดภัยภายในบ้านแบบทีไ่ ม่ตอ้ งจ่ายแพงๆ อย่างที่ Fiber One ก�ำลังท�ำอยูใ่ นหลายโครงการ แถมต่อไปเมือ่ คุณจ่ายเงินซือ้ อุปกรณ์ ที่มี AI เข้ามาติดตั้ง แค่นี้ก็เปลี่ยนบ้านให้อัจฉริยะได้สบายๆ ตอนนีแ้ ค่เตรียมเงินไว้ให้พอ เพราะถ้าคุณจะให้บา้ นฉลาด แบบเต็มขัน้ และไม่อยากลงแรงมากนัก ก็คงต้องจ่ายหนักกว่าเดิม เท่านั้นเอง January-February 2018


Scoop

> กองบรรณาธิการ

การใช้พลังงานไทยปี 2560 เติบโตตามจีดีพี คาดปีหน้าจะปรับตัวเพิ่ม

ตามภาวะเศรษฐกิจที่ปรับตัวดีขึ้นเกือบทุกด้าน

ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ได้สรุปสถานการณ์พลังงานไทยปี 2560 ว่า การใช้พลังงาน ขัน้ ต้นเติบโต 2.4% ตาม GDP โดยเพิม่ ขึน้ เกือบทุกประเภท ทัง้ การใช้นำ�้ มัน ไฟฟ้าน�ำเข้า พลังงานทดแทน ยกเว้นก๊าซธรรมชาติลดลงเล็กน้อยจากเหตุแหล่งก๊าซหยุดซ่อมบ�ำรุงช่วงต้นปีและกลางปี พร้อม ชีแ้ นวโน้มการใช้พลังงานขัน้ ต้นปี 2561 ยังคงเพิม่ ขึน้ 2.1% เติบโตตาม GDP ทีส่ ภาพัฒน์คาดไว้ที่ 3.6-4.6% โดยเป็นการใช้เพิม่ ขึน้ เกือบทุกประเภท ยกเว้นก๊าซธรรมชาติทคี่ าดว่ามีการใช้ลดลง เป็นผลจากการใช้ในภาคการผลิตไฟฟ้า และ NGV ที่ลดลงนั่นเอง ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และ โฆษกกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า สนพ. โดยศูนย์พยากรณ์และสารสนเทศพลังงาน สรุปสถานการณ์ การใช้พลังงานของประเทศไทยในปี 2560 โดยมีการใช้พลังงานขั้นต้นเพิ่มขึ้น 2.4% เมื่อเทียบ กับปีก่อน โดยการใช้อยู่ที่ 2.75 ล้านบาร์เรลเทียบเท่าน�ำ้ มันดิบ/วัน ซึ่งเป็นการปรับตัวเพิ่มขึ้นเกือบ ทุกประเภท ทัง้ การใช้นำ�้ มัน การใช้ไฟฟ้าน�ำเข้า การใช้พลังงานทดแทน ยกเว้นก๊าซธรรมชาติ เนือ่ งจากแหล่ง January-February 2018


ก๊าซยาดานา เยตากุน และ ซอติก้าของเมียนมา หยุด จ่ายก๊าซในเดือนกุมภาพันธ์ และมีนาคม ประกอบกับ แหล่ง JDA-A18 ในอ่าวไทย ห ยุ ด ซ ่ อ ม บ� ำ รุ ง เ ดื อ น มิ ถุ น ายน-กรกฎาคม และ ตุลาคม ส่งผลให้กา๊ ซลดลงจาก ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ระบบ การเพิ่มขึ้นของการใช้ พลังงานนี้สอดคล้องกับการคาดการณ์การเติบโตทางเศรษฐกิจ (GDP) ของส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ (สภาพัฒน์) ที่ 3.9% ซึ่งเติบโตทั้งจากการส่งออก การ บริโภคภาคเอกชน รวมทัง้ การใช้จา่ ยภาครัฐบาลฯ และการลงทุน โดยรวม ด้านราคาน�ำ้ มันดิบดูไบเฉลีย่ อยูท่ ี่ 53 เหรียญสหรัฐฯ/บาร์เรล โดยปรับตัวสูงขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี 2560 ตามเศรษฐกิจโลก ทีฟ่ น้ื ตัวดีขนึ้ และข้อตกลงลดก�ำลังการผลิตของกลุม่ ผูผ้ ลิตน�ำ้ มัน สถานการณ์การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายแต่ละประเภทของ ปี 2560 พบว่า การใช้น�้ำมันส�ำเร็จรูปเพิ่มขึ้น 2% เมื่อเทียบกับปีที่แล้ว โดยเพิม่ เกือบทุกประเภท ยกเว้นการใช้นำ�้ มันเตา และ LPG ทีล่ ดลง โดยกลุ่มเบนซินและแก๊สโซฮอล์เพิ่มขึ้น 3.8% (การใช้เฉลี่ย 30.2 ล้านลิตร/วัน) เป็นการเพิ่มขึ้นจากปัจจัยปริมาณรถยนต์นั่งและ รถจักรยานยนต์ที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับราคาขายปลีกน�้ำมันใน ประเทศอยู่ระดับไม่สูง และการลอยตัว LPG ในวันที่ 1 สิงหาคม 2560 ส่งผลให้ผู้ใช้รถ LPG บางส่วนเปลี่ยนกลับมาใช้น�้ำมันแทน มากขึน้ ดีเซลการใช้เพิม่ ขึน้ 2.6% (การใช้เฉลีย่ 63.7ล้านลิตร/วัน) น�ำ้ มันเครือ่ งบินเพิม่ 4.4% ตามการขยายตัวของการท่องเทีย่ ว ส่วน LPG (ไม่รวม Feedstock ในปิโตรเคมี) ลดลง 1.8% จากการใช้ใน ภาคขนส่งที่ลดลงต่อเนื่อง การใช้กา๊ ซธรรมชาติ ปี 2560 มีปริมาณการใช้อยูท่ รี่ ะดับ 4,721 ล้านลูกบาศก์ฟตุ /วัน ลดลง 0.1% จากปีกอ่ น ทัง้ จากการใช้ เพื่อผลิตไฟฟ้า ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนหลักประมาณ 58% ของการใช้ ก๊าซธรรมชาติทงั้ หมด คาดว่าลดลง 1.7% เช่นเดียวกับการใช้ NGV ลดลง 12.6% เนือ่ งจากราคาขายปลีกน�ำ้ มันปรับตัวลดลง และจ�ำนวน สถานีบริการ NGV ที่ยังมีไม่มากนัก ท�ำให้ผู้ใช้รถยนต์บางส่วน หันไปใช้นำ�้ มันแทน ขณะทีก่ ารใช้กา๊ ซธรรมชาติภาคอุตสาหกรรม เพิ่มขึ้น 4.2% การใช้ไฟฟ้าในปี 2560 อยูท่ ี่ 185,370 ล้านหน่วย เพิม่ ขึน้ 1.4% จากปีก่อน เป็นผลมาจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ ประเทศ โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ ส่วนความต้องการ พลังไฟฟ้าสูงสุด (Peak) ในระบบ 3 การไฟฟ้า หรือ System Peak (รวม Peak ของ VSPP) ปี 2560 อยู่ที่ 30,303 เมกะวัตต์ ลดลง 2.2% เมื่อเทียบกับปี 2559

ส�ำหรับการคาดการณ์สถานการณ์พลังงานในปี 2561 สนพ. คาดว่า การใช้พลังงานขัน้ ต้นของประเทศไทยเพิม่ ขึน้ จาก ปี 2560 ประมาณ 2.1% หรือใช้อยู่ที่ประมาณ 2.81 ล้านบาร์เรล เทียบเท่าน�ำ้ มันดิบ/วัน โดยพิจารณาจากปัจจัย ราคาน�ำ้ มันดิบดูไบ เฉลีย่ ที่ 50-60 เหรียญสหรัฐฯ/บาร์เรล อัตราแลกเปลีย่ นมีแนวโน้ม อ่อนค่าลงอยู่ที่ 34-35 บาท/เหรียญสหรัฐฯ และการคาดการณ์ GDP ของสภาพัฒน์จะขยายตัวที่ 3.6-4.6% ซึ่งเป็นการขยายตัว จากภาคเศรษฐกิจทัง้ การส่งออก การลงทุนของภาครัฐและเอกชน ทีม่ แี นวโน้มเพิม่ ขึน้ ประกอบกับการปรับตัวดีขนึ้ ของการจ้างงาน และฐานรายได้ประชาชน โดยมีมาตรการดูแลเกษตรกรและ ผู้มีรายได้น้อยเป็นปัจจัยสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง การใช้พลังงานขัน้ ต้นปี 2561 ทีเ่ พิม่ ขึน้ นีจ้ ะเพิม่ ขึน้ เกือบทุก ประเภท ยกเว้นก๊าซธรรมชาติทคี่ าดว่าจะมีการใช้ลดลง โดยการใช้ พลังงานทดแทนจะเพิ่มขึ้นมากที่สุด 7.1% เมื่อเทียบกับปี 2560 เป็นผลมาจากนโยบายส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนของภาครัฐ การใช้นำ�้ มันเพิม่ 2.2% จากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และราคา น�ำ้ มันทีค่ าดว่ายังคงอยูใ่ นระดับต�ำ่ ลิกไนต์และถ่านหินน�ำเข้าเพิม่ 1.2% โดยเฉพาะการใช้ถา่ นหินในภาคอุตสาหกรรม การใช้ไฟฟ้า น�ำเข้าเพิม่ 0.4% ซึง่ เป็นการเพิม่ ขึน้ ในอัตราทีช่ ะลอตัวลง เนือ่ งจาก ฐานการน�ำเข้าจาก สปป.ลาว ที่สูงในปี 2560 ส่วนก๊าซธรรมชาติ ลดลง 1.2% จากการใช้เพือ่ ผลิตไฟฟ้า และการใช้ในภาคขนส่ง (NGV) ที่ลดลง การใช้พลังงานขัน้ สุดท้ายในกลุม่ น�ำ้ มันส�ำเร็จรูปปี 2561 คาดว่าจะเพิ่มขึ้นเกือบทุกประเภท ยกเว้นน�้ำมันเตาและ LPG โดยการใช้เบนซินและแก๊สโซฮอล์เพิม่ ขึน้ 3.6% เมือ่ เทียบปี 2560 (การใช้ 31.2 ล้านลิตร/วัน) ซึ่งเป็นผลมาจากราคาขายปลีกใน ประเทศที่คาดว่ายังอยู่ระดับต�ำ่ และผู้ใช้รถ LPG หันมาใช้น�้ำมัน แทนอย่างต่อเนื่อง ดีเซลเพิ่ม 2.7% (การใช้ 65.5 ล้านลิตร/วัน) น�ำ้ มันเครือ่ งบินเพิม่ 4.3% จากนโยบายกระตุน้ การท่องเทีย่ วของ ภาครัฐ น�ำ้ มันเตาลดลง 6.7% (การใช้ 5.4 ล้านลิตร/วัน) และ LPG ทีไ่ ม่รวม Feedstock ของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีลดลง 1.2% (การใช้ 21.3 ล้านลิตร/วัน) ภาพรวมการใช้ LPG โพรเพน และบิวเทน ปี 2561 คาดว่า จะมีการใช้เพิม่ ขึน้ 5.0% โดยการใช้ในภาคอุตสาหกรรมจะเพิม่ ขึน้ 5.7% ภาคครัวเรือนเพิม่ ขึน้ 2.5% เป็นไปตามแนวโน้มการขยายตัว ของเศรษฐกิจ และการใช้ในรถยนต์คาดว่าจะลดลง 10.9% ซึง่ ลดลง อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2558 จากการที่ผู้ใช้บางส่วนเปลี่ยนไปใช้ น�้ำมันซึ่งมีราคาถูกแทน ส่วนการใช้ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี จะเพิม่ ขึน้ 17.8% ตามการขยายตัวของอุตสาหกรรมต่อเนือ่ งจาก เศรษฐกิจโลกที่ขยายตัวดีขึ้น การใช้ไฟฟ้า ปี 2561 คาดว่าจะมีการใช้ไฟฟ้าอยูท่ ี่ 192,923 ล้านหน่วย เพิม่ ขึน้ 4.1% ตามภาวะเศรษฐกิจทีจ่ ะปรับตัวดีขนึ้ ทั้งในส่วนของเศรษฐกิจภายในประเทศและเศรษฐกิจ โลก January-February 2018


Scoop

> กองบรรณาธิการ

The world’s largest BiOPV installation completed in France using Heliatek’s Solar Film Solution, HeliaSol® Today ENGIE, Heliatek and the Department of Charentes-Maritimes officially inaugurated the world’s largest BiOPV installation on a roof. In the southwestern port of La Rochelle, France, 500 m² of Heliatek’s solar films were In a joint project with partner and investor ENGIE, the largest OPV project on a roof to date has been completed by Heliatek

January-February 2018

installed on the roof of the “Pierre Mendes France” middle school. With 3 different lengths of 2, 4 and 5, 7 meters, nearly 400 films were applied in record time. They were installed on two different roof surfaces. The result is the largest BiOPV - Building integrated Organic PhotoVoltaic - roof installation, worldwide to date, and the living proof of the ease and speed at which these solar films can be installed on a building.

First time use of HeliaSol® - installation in record time

The HeliaSol® “ready-to-use” film solution was used on a roof installation for the first time. With self-adhesive backside, as well as preconfigured wiring, HeliaSol® is mounted directly onto existing roof surfaces and only needs to be electrically connected. This 500 m² installation took very little time. Taking into account the preparation time, a team of 6 people needed only 8 hours to install 500 m² of HeliaSol® as deployment took just over 2 minutes per film. With an installed power of 22.5 kWp, about 23.8 MWh of electricity will be generated annually, which is equivalent of the annually consumption of 5 households. It represents approximately 15% of the school’s electricity demand.


About ENGIE

Heliatek’s HeliaSol on a standing seam roof system in La Rochelle, France

HeliaSol®

With HeliaSol®, Heliatek is expanding its product portfolio. BiOPV has been the focus of Heliatek for several years. HeliaSol® serves as an individualized “ready-to-use” solar product solution for the retrofitting market of roof surfaces and facades on existing industrial and commercial buildings. HeliaSol® is suitable for all energy-saving renovation projects where restrictions on weight, statics, access, insulation, guarantee or penetration of the roof play a role in product selection. This installation in France is the first step in preparing for a general market entry. Heliatek is anticipating market developments and increased requirements to integrate existing surfaces into the energy system of a building. “Light roofs, which usually do not allow for standard PV technology, can now produce green electricity with our HeliaSol®. This school reduces its carbon footprint and contributes to a more sustainable energy production. Thanks to our strong partner and investor ENGIE, we were able to realize this exciting project in no time,” says Thibaud Le Séguillon, CEO of Heliatek GmbH. ENGIE is assuming a leading role in the transformation of the energy sector. “Renewable energy is an essential part of our strategy of decarbonization, decentralization as well as digitalization of energy. Almost half of the energy consumption comes from the buildings sector. New, and above all existing buildings, will have to reduce energy consumption and make energy use far more efficient. Buildings that couldn’t previously be used for energy production will be able to cover their own electricity requirements in the future. With Heliatek’s technology, they will contribute to a decentralized and green energy supply,” says Isabelle Kocher, CEO of ENGIE. *HeliaSol and HeliaFilm are registered trademarks of Heliatek GmbH.

ENGIE is committed to take on the major challenges of the energy revolution, towards a world more decarbonized, decentralized and digitised. The Group aims at becoming the leader of this new energy world by focusing on three key activities for the future: low carbon generation in particular from natural gas and renewable energies, energy infrastructures and efficient solutions adapted to all its clients´ needs (individuals, businesses, territories, etc.). The customers´ satisfaction, innovation and digital are at the heart of ENGIE’s development. ENGIE is active in around 70 countries, employs 150,000 people worldwide and achieved revenues of €66.6 billion in 2016. The Group is listed on the Paris and Brussels stock exchanges (ENGI) and is represented in the main financial indices (CAC 40, BEL 20, DJ Euro Stoxx 50, Euronext 100, FTSE Eurotop 100, MSCI Europe) and non-financial indices (DJSI World, DJSI Europe and Euronext Vigeo Eiris - World 120, Eurozone 120, Europe 120, France 20, CAC 40 Governance).

About Heliatek

As technology leader in organic electronics, Heliatek develops, produces and distributes large area Organic PV solar films. Its business model is to supply the custom-designed solar film HeliaFilm® to partners in the building and construction material industry for integration into façade or roofing system elements. The stand-alone version HeliaSol® targets the retrofit market and can be easily applied on existing building envelops. Today Heliatek maintains a total staff of 110 specialists at its facilities in Dresden and Ulm, Germany. Research and development work, as well as the installation of production technology, has been funded by the Free State of Saxony, the Federal Republic of Germany and the European Union.

January-February 2018


Special Scoop

> กิตติ วิสุทธิรัตนกุล, ดร.สุรพล ด�ำรงกิตติกุล

นวัตกรรมพลังงานสีเขียวสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์อย่างยั่งยืน Green Energy Innovation Harmonising Creative Economy and Sustainability “Taiwan Green Industry and Photovoltaic-PV Exhibition Trip”, October 19-20, 2017 ช่วงวันที่ 18-20 ตุลาคม 2017 ที่ศูนย์แสดงประชุมและ นิทรรศการไทเป กองบรรณาธิการได้รบั เชิญให้ไปร่วมชมงานแสดง สินค้าอุตสาหกรรมนานาชาติพลังงานสีเขียวและพลังงานแสงอาทิตย์ ของไต้หวัน ที่มีการแสดงที่ยิ่งใหญ่ผสมผสานถึง 3 งาน ได้แก่ งานอุตสาหกรรมโฟโตโวลตาอิก (PV Taiwan) โลกพลังงานสีเขียว (TiGiS) และงานระบบกรองอากาศและอนามัย (TIAP) งานแสดงสินค้านีเ้ ป็นงานใหญ่ประจ�ำปี แสดงถึงอุตสาหกรรม พลังงานสีเขียวที่มีความก้าวหน้าและได้น�ำมาประยุกต์ใช้ด้าน พลังงานของชาติและธุรกิจพลังงานสีเขียว การแสดงของงานนี้ จัดขึน้ โดยหน่วยงานการส่งเสริมการค้าไต้หวัน ชือ่ Taiwan External Trade Development Council (TAITRA) และร่วมกับอีกหลายสถาบัน ของชาติ ได้แก่ Taiwan Photovoltaic Industry Association (TPVIA), Expo Union Corporation and Well-Supported by Different January-February 2018

Industry Organizations and Authorities in the Countries Including the Industrial Technology Research Institute (ITRI) under the commission of the Bureau of Energy, Ministry of Economic Affairs (MOEA) ภายในงานมีการจัดแสดงงานสัปดาห์แห่งพลังงานทดแทน มีการแสดงนวัตกรรมพลังงานที่มีศักยภาพและประสิทธิภาพสูง และเชือ่ มโยงแนวทางและเครือข่ายในการพัฒนาระดับโลกร่วมกัน ทีป่ ระสานงานเศรษฐกิจสังคมอย่างยัง่ ยืน ในลานธุรกิจเทคโนโลยี พลังงานสีเขียวเป็นอย่างยิ่ง และสืบสานมาถึง 11 ปี แล้ว มีบูธ และพาวิลเลียนกว่า 260 แห่ง ทีด่ งึ ดูดผูเ้ ข้าชมมาจาก 25 ประเทศ และยังรวมไปถึงงานประชุมนานาชาติอีกถึง 20 เรื่อง ส�ำหรับ กลุ่มนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญ ในรายละเอียดติดตามได้จาก www.pvtaiwan.com, www.greentaiwan.tw, and www.tiap.com.tw


รูปที่ 1 ประธานาธิบดีไต้หวัน ไช่ อิงเหวิน (Tsai Ing-wen) เปิดงานแสดงอุตสาหกรรมสีเขียว TiGiS และโฟโตโวลตาอิก PV เซลล์แสงอาทิตย์ 2017 สัปดาห์แห่งพลังงานทดแทน จัดโดย TAITRA, SEMI, TPVIA, อื่นๆ

Taiwan President Tsai Ing-wen Speech @Opening Ceremony

พิธเี ปิดทีด่ จู ะเรียบง่าย แต่มบี คุ คลส�ำคัญเข้าร่วมเต็มทุกทีน่ งั่ และได้รบั เกียรติสงู สุดจากประธานาธิบดีไต้หวัน Tsai Ing-wen มา เปิดงาน และแสดงวิสยั ทัศน์ทจ่ี ะน�ำพาประเทศไปสูก่ ารใช้พลังงาน ทดแทนหรือพลังงานสีเขียวผลิตไฟฟ้าสูงถึง 20% ในปี 2568 ซึ่ง จะมีการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ผลิตไฟฟ้าถึง 1.52 กิกะวัตต์ (GW) และท�ำให้พลังงานของไต้หวันอยู่ที่จุดเปลี่ยนที่จะเป็นไปอย่าง รวดเร็วเป็นเท่าตัว

การแสดงศักยภาพขับเคลื่อนตลาดผลึกพลังงาน ที่โดดเด่นและหลากหลาย

ไต้หวันและอีกหลายประเทศทั่วโลก มีแนวโน้มที่เด่นชัด ที่จะเติบโตอย่างเร็วในการใช้พลังงานทดแทนสีเขียวผลิตไฟฟ้า โดยเล็งไปที่พลังงานแสงอาทิตย์ อุตสาหกรรมด้านนี้จึงโดดเด่น มากทีส่ ดุ ในปี 2017 และแสดงให้เห็นถึงคุณค่าทางพลังงานสะอาด เพื่ อ สุ ข ภาพของชี วิ ต และสิ่ ง แวดล้ อ มในสั ง คมคาร์ บ อนต�่ ำ ตามแผนงานและนโยบายพลังงานทดแทนของประเทศไต้หวันได้ ตัง้ เป้าหมายสูงกว่าเท่าตัวในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ปัจจุบนั และน�ำไปสูส่ ดั ส่วน 20% ของพลังงานสีเขียว ทีท่ ำ� ให้การใช้ แผงเซลล์แสงอาทิตย์เพิ่มขึ้นแบบก้าวกระโดดจาก 1.52 GW ใน ปี 2017 ไปเป็น 6.5 GW ในอีก 3 ปี และจะเป็น 20 GW ในเวลา อีก 8 ปี จากการใช้พลังงานทดแทนทีส่ งู ถึง 27 GW ในอนาคตนัน้ นั บ เป็ น การท้ า ทายขบวนการผลิ ต และระบบเทคโนโลยี ใ น อุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิตย์ การติดตั้ง การลงทุนมหาศาล งานแสดงนี้ได้น�ำแนวทางหรือทางออกในการแก้ปัญหาได้อย่าง

ครบถ้วน และจะท�ำให้ไต้หวันขับเคลื่อนไปสูจ่ ดุ เปลีย่ นเป็นสังคม คาร์บอนต�ำ่ ที่มีการใชัพลังงานทดแทน 20% ถ่านหิน 30% และ ก๊าซธรรมชาติ 50% ในการผลิตไฟฟ้าอย่างสมบูรณ์ อุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิตย์ของไต้หวัน นับเป็นอันดับ 2 ของโลกทีผ่ ลิตและพัฒนาเซลล์แสงอาทิตย์ และแผงเซลล์ชนิดต่างๆ ทีม่ มี าตรฐานและคุณภาพ ซึง่ ปีที่ 11 นี้ มีการแสดงมีนวัตกรรมใหม่ๆ มากมาย และได้เชื่อมโยงลานเทคโนโลยีของโลกเข้าไว้ โฟโตโวลตาอิก หรือเรียกสัน้ ๆ ว่า PV นี้ ได้รบั การพัฒนา อย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ แบบผลึกเดียวและหลายผลึก ท�ำให้เกิดแผงเซลล์ แสงอาทิตย์ชนิดใหม่ รวมไปถึงแบบทีผ่ ลิตพลังงานได้ทงั้ สองด้าน ในเวลาเดียวกัน เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าที่มี ประสิทธิภาพสูงถึงระดับ 21% ขึ้นไปในทางการใช้งานติดตั้งจริง ที่เรียกว่า แผง Passivated Emitter Rear Contact (PERC) มีการ แสดงอีกหลายรูปแบบและมีการประยุกต์ใช้ทงั้ บนหลังคา บนดิน และลอยบนน�ำ้ ครบระบบอุตสาหกรรมและวิศวกรรมพลังงาน เป็น การแสดงที่น่าจดจ�ำและน�ำมาเป็นรูปแบบในการแสดงเพื่อสร้าง ศักยภาพในการพัฒนาอุตสาหรรมของประเทศต่างๆ รวมถึง การประยุกต์ใช้ที่เหมาะสมในชนบทห่างไกล เช่น การสูบน�้า ขนาดเล็ก ทีม่ เี ทคโนโลยีอนิ เวอร์เตอร์เป็นสินค้าชนิดใหม่ๆ มากมาย มาแสดงไว้ให้เลือกอย่างน่าสนใจยิง่ ควรได้ ติดตามในปีตอ่ ไปอีก อย่างทีบ่ ริษทั อุตสาหกรรมที่ น�ำมาแสดงดังต่อไปนี้ TSEC CORPORATION (www.tsecpv.com); BRAVE C&H SUPPLY CO., LTD. (www.bch.com.tw); WIN WIN PRECISION TECHNOLOGY CO., LTD. January-February 2018


รูปที่ 2 บริษัทอุตสาหกรรมแสดงสินค้าเด่น PV และการใช้งาน

January-February 2018

(www.winaico.com); CHUN YU WORKS & CO., LTD. (www.chunyu.com.tw); AU OPTRONICS CORPORATION (www.solar.auo.com); CSI TECHNOLOGY CO., LTD. (www.hamak-tech.com); MOTECH INDUSTRIES INC. SCIENCE PARK BRANCH (www.motechsolar.com); MOST-SHALUN GREEN ENERGY SCIENCE CITY OFFICE (www.sgesc.nat.gov.tw); INDUSTRIAL TECHNOLOGY RESEARCH INSTITUTE @ THE GREEN ENERGY AND ENVIROMENT LABORATORIES OF ITRI (www.itri.org.tw); @ GINTUNG ENERGY CORPORATION (www.gtectw.com) เป็นต้น


Special Area

> ทีมประยุกต์การใช้งานสินค้า ฝ่ายวิศวกรรมระบบเครื่องวัดและควบคุม บริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด

มิเตอร์ไฟฟ้าคุณภาพสูง

สำ�หรับการไฟฟ้า อพาร์ตเมนต์ ห้างฯ ตลาด โรงงาน และอาคารสูง มิเตอร์จานหมุนที่วางขายกันทั่วไปมีกี่ประเภท?

มิเตอร์เกรดสูง

จากข้อมูลการส�ำรวจของทีมพัฒนาธุรกิจมิเตอร์ไฟฟ้าบริษทั มิตซูบชิ ฯิ พบว่า ร้านจ�ำหน่ายอุปกรณ์ ไฟฟ้า และร้านค้าวัสดุก่อสร้างขนาดใหญ่ (Modern Trade) มีมิเตอร์อยู่ 4 ประเภท คือ • มิเตอร์เกรดสูง เป็นมิเตอร์แบบเดียวกับที่การไฟฟ้าใช้อยู่ มีค่าความผิดพลาดไม่เกิน มาตรฐานของ มอก./หรือไออีซี และสามารถใช้งานได้ยาวนานไม่ต�่ำกว่า 10 ปี • มิเตอร์เกรดปานกลาง มีคา่ ความผิดพลาดไม่เกินมาตรฐานของ มอก./หรือไออีซี ในตอน เริ่มต้น แต่เนื่องจากไม่ได้เลือกใช้ชิ้นส่วนเกรดสูง พอติดตั้งใช้งานไปสักระยะ เช่น 2-3 ปี ค่าความ ผิดพลาดอาจมากขึน้ จนเกินมาตรฐาน บางเครือ่ งติดลบมากกว่า 5% (จากข้อมูลการเช็คความแม่นย�า ของมิเตอร์หน้างาน) • มิเตอร์เกรดต�่า คือมิเตอร์ที่ไม่ได้ผ่านการรับรองมาตรฐาน มอก./หรือไออีซี โดยที่ค่า ความผิดพลาดอาจมากจนเกินมาตรฐานไปตัง้ แต่ตน้ นอกจากนัน้ พอใช้ไปสักระยะอาจจะช�ำรุดจนติดขัด หรือหมุนกลับ • มิเตอร์รบี วิ้ /ปลอม เป็นมิเตอร์มอื สองทีถ่ กู ประกอบขึน้ มาจากเศษชิน้ ส่วนมิเตอร์หลากหลาย ยีห่ อ้ ทีช่ ำ� รุดหรือหมดอายุแล้ว โดยไม่ได้ทำ� การสอบเทียบเลย ท�ำให้คา่ ความผิดพลาดมากจนเกินมาตรฐาน ไปตัง้ แต่ตน้ และพอใช้ไปสักระยะก็จะช�ำรุดจนติดขัด หรือหมุนกลับ บางกรณีมกี ารปลอมแปลงแผ่นป้ายชือ่ เป็นมิเตอร์ยี่ห้อดังๆ ด้วย

มิเตอร์ไม่เที่ยงตรง ทำ�ให้ท่านขาดทุนได้อย่างไร?

มิเตอร์เป็นเครือ่ งมือวัด ส�ำหรับจัดเก็บรายได้จากค่าไฟฟ้า ซึง่ ไม่ใช่แค่เครือ่ งใช้ไฟฟ้าเหมือน พัดลม ทีม่ เี พียงสถานะหมุนกับไม่หมุน แต่มเิ ตอร์นนั้ จะต้องวัดได้เทีย่ งตรงด้วย ดังนัน้ ในกระบวนการ ผลิตมิเตอร์จงึ ต้องท�ำการสอบเทียบความแม่นย�ำทุกเครือ่ งแบบ 100% และชิน้ ส่วนมิเตอร์จะต้อง ถูกคัดสรรและผลิตมาเป็นอย่างดีเพื่อให้ใช้งานได้ยาวนานนับ 10 ปี แบบไม่ต้องกังวลใจ ถ้ามิเตอร์มีค่าความผิดพลาดติดลบมากๆ ก็จะท�ำให้อพาร์ตเมนต์ขาดทุนในการเก็บค่าไฟ ตัวอย่างเช่น ผู้เช่าห้องแอร์ใช้ไฟจริงเดือนละ 200 หน่วย แต่มิเตอร์วัดได้น้อยกว่าความเป็นจริง 5% (หายไป 10 หน่วย จึงเหลือแค่ 190 หน่วย) ท่านก็จะขาดทุน 80 บาททุกเดือนตลอดไปเป็น 10 ปี (ค�ำนวณจากค่าไฟ 8 บาทต่อหน่วย) โดยทีท่ า่ นไม่มที างรูเ้ ลยจนกว่ามิเตอร์จะช�ำรุดจนกระทัง่ หยุดหมุน

สรุปขาดทุนต่อห้อง ต่อเดือน ต่อ 1 ปี ต่อ 10 ปี

80 บาท 960 บาท 9,600 บาท

ระบุชื่อผู้ผลิตที่ได้รบ ั ใบอนุญาตจริงอย่างชัดเจน

กว่าจะได้มาซึง่ มิเตอร์ทผี่ า่ นการรับรองผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน มอก. นัน้ บางครัง้ ใช้เวลานานหลาย เดือน ผู้ผลิตจะต้องผ่านหลากหลายขั้นตอน ตั้งแต่การส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบให้ผ่านทุกหัวข้อแบบ 100% ไปจนถึงการตรวจประเมินโรงงานอย่างละเอียดเพือ่ ยืนยันเรือ่ งระบบควบคุมคุณภาพ ผูผ้ ลิตบางรายอาจถูก เพิกถอนใบอนุญาตได้ในภายหลัง หาก สมอ. สุ่มตรวจแล้วพบว่าผลิตภัณฑ์ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน ดังนัน้ การเลือกมิเตอร์ไฟฟ้าทุกครัง้ ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าเป็นผูผ้ ลิตทีไ่ ด้รบั ใบอนุญาตจริง และไม่ได้ ถูกเพิกถอนไปแล้ว ผูผ้ ลิตบางรายอาจมีการปลอมแปลงเครือ่ งหมาย มอก. หรือไม่สามารถรักษาคุณภาพ ได้ดงั เดิม จึงพยายามหลีกเลีย่ งการระบุชอื่ ให้ชดั เจน (ตามกฎกระทรวงฯ) ซึง่ หากตรวจพบว่าปลอมแปลง ก็จะถูกด�ำเนินคดีตามกฎหมาย หรือพบว่าไม่ได้คุณภาพ อาจถูกเพิกถอนใบอนุญาตได้ January-February 2018


มิเตอร์สแตนด์อโลน เปลี่ยนแทนจานหมุนเก่าได้เลย

โดยส่วนมาก ตูค้ วบคุมระบบไฟฟ้าประจ�ำอาคาร/โรงงาน มักติดตัง้ เครือ่ งวัด ไฟฟ้าพืน้ ฐาน เช่น Watt-Hour Meter หรือมิเตอร์ชนิดจานหมุนไว้ ซึง่ จะเป็นมิเตอร์ แบบ 3 เฟส ต่อร่วมกับ CT ภายนอก การเปลี่ยนมิเตอร์สแตนด์อโลนแทนที่มิเตอร์จานหมุนเดิมนั้นก็ไม่ยาก เพียงแค่ย้ายสายแรงดันและสายกระแสจากมิเตอร์ตัวเดิมมาเข้าขั้วต่อสาย ของมิเตอร์ตัวใหม่ ซึ่งมาตรฐานการเรียงสายเข้าขั้วต่อก็จะเหมือนกัน เพียงแค่นี้มิเตอร์เก่าในตู้ควบคุมระบบไฟฟ้าที่ใช้งานมาหลายปีก็จะถูก อัพเกรดเป็นมิเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถวัดได้ทั้งค่าการใช้ไฟ kWh และค่า เรียลไทม์ต่างๆ เช่น kW, V, A, Power Factor, Harmonic

ทุกสิ้นเดือน มิเตอร์จะจดค่าเองอัตโนมัติภายในตัว

ปกติถา้ เป็นมิเตอร์แบบจานหมุน ทุกๆ สิน้ เดือน เจ้าหน้าทีไ่ ฟฟ้าประจ�ำอาคาร/โรงงาน จะต้องคอยไปเดินจดค่ามิเตอร์ตามจุดต่างๆ ซึง่ ช่วงสิน้ เดือนก็มกั มีงานอืน่ ๆ อีกหลายอย่าง เข้ามา จนท�ำให้ลืมจดค่ามิเตอร์หรือจดไม่ทัน กลายเป็นเรื่องยุ่งยากวุ่นวาย มิเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ชนิดสแตนด์อโลน ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยให้การจดหน่วยทุกๆ เดือนสะดวกขึน้ โดยไม่ตอ้ งพึง่ ระบบอ่านค่ามิเตอร์อตั โนมัตทิ มี่ คี า่ ใช้จา่ ยค่อนข้างสูง มิเตอร์ สแตนด์อโลน จะบันทึกค่าการใช้ไฟลงไปในหน่วยความจ�ำภายในตัว ณ เวลาเที่ยงคืน ของวันสุดท้ายทุกเดือน ตัวอย่างเช่น วันที่ 31 ของเดือนมกราคม เวลา 24.00 น. ค่าที่จด อัตโนมัตินี้ เมื่อถึงเดือนถัดไปก็จะไม่ซ้อนทับกัน เพราะมิเตอร์มีหน่วยความจ�ำที่บันทึกค่า ย้อนหลังได้ถึง 12 เดือน เมือ่ มิเตอร์จดค่าเองได้แล้ว ทุกๆ สิน้ เดือนก็ไม่ตอ้ งมากังวลอีก เจ้าหน้าทีไ่ ฟฟ้า ค่อย มากดปุ่มดูค่าย้อนหลังจากตัวมิเตอร์สัก 2-3 วัน หรือ 1 สัปดาห์ถัดไปก็ได้

ตรวจสอบการใช้ไฟ (ดีมานต์ kW) ในแต่ละช่วงเวลา โดยส่วนใหญ่ อาคารธุรกิจ โรงพยาบาล โรงแรม และโรงงาน อุตสาหกรรม มักจัดอยู่ในผู้ใช้ไฟประเภทที่ 3, 4, 5 (กิจการขนาด กลาง ขนาดใหญ่ และกิจการเฉพาะอย่าง) ซึ่งการไฟฟ้าฯ จะคิด ค่าความต้องการพลังงานไฟฟ้า หรือค่าดีมานต์ kW เพิ่มเติม ด้วย ซึ่งหากมีค่าสูงก็จะท�ำให้ต้องเสียค่าไฟที่แพงขึ้น การลดค่าดีมานต์นี้ ท�ำได้โดยการลดโหลดที่ใช้กำ� ลังไฟฟ้า สูงๆ ในช่วงเวลาเดียวกัน เช่น การเปิดแอร์-เครือ่ งจักรพร้อมๆ กัน หากติดตัง้ มิเตอร์สแตนด์อโลนแทนมิเตอร์ไฟฟ้าชนิดเดิม ก็จะ ท�ำให้ทราบค่าดีมานต์ kW ทุกๆ 15 นาที และน�ำไปวิเคราะห์เพือ่ หาทางลดค่าไฟได้ นอกจากข้อมูลดีมานต์ kW แล้ว เจ้าหน้าทีไ่ ฟฟ้ายังสามารถ ทราบถึงการใช้พลังงานไฟฟ้า kWh ในช่วงเวลาที่อัตราค่าไฟสูง (ช่วง Peak ค่าไฟจะสูงกว่า Off Peak 1.5-2 เท่าตัว) แล้วน�ำข้อมูล ไปท�ำโครงการอนุรักษ์พลังงาน หรือมาตรการการลดค่าไฟต่างๆ ได้ January-February 2018

Load Profile Graph Daily


มิเตอร์กบ ั ห้องรายวัน และเซอร์วิสอพาร์ตเมนต์

ในอดีตธุรกิจห้องพักรายวันมักจะไม่ตดิ ตัง้ มิเตอร์ไฟฟ้าแต่ละห้อง เพราะ ใช้วิธีเหมาจ่ายต่อคืนจึงไม่ต้องค�ำนวณค่าไฟในบิล แต่ไม่นานมานี้ห้องพัก รายวันหลายแห่งเริ่มติดตั้งมิเตอร์เพื่อตรวจสอบการใช้ไฟ หรือแม้กระทั่ง ใช้เช็คการทุจริตเก็บเงินของเจ้าหน้าที่ Front ด้วยเทคโนโลยีมเิ ตอร์เอเอ็มอาร์แบบ GEN3 ท�ำให้การตรวจสอบห้อง รายวันง่ายยิง่ ขึน้ โปรแกรมจะแจ้งเตือนอัตโนมัติ หากสถานะห้องว่างแต่มี กระแสไหลจากการเปิดเครือ่ งใช้ไฟฟ้า เช่น แอร์ ซึง่ เราสามารถคลิกเข้าไปดูกราฟ หน่วยใช้ไฟของห้องนัน้ ๆ ย้อนหลังได้เป็นวันๆ เป็นเดือนๆ หรือดูละเอียด ถึงระดับ 15 นาที นอกจากใช้ในการตรวจสอบแล้ว ข้อมูลการใช้ไฟรายวันยัง สามารถน�ำมาคิดค�ำนวณค่าไฟต่อคืน เพือ่ ปรับราคาห้องให้เหมาะสมกับต้นทุน ค่าไฟได้

หอพักนักศึกษามีแต่แม่บ้านจะดูแลระบบยังไง

หอพักส่วนใหญ่จะเป็นการพักระยะยาวแบบรายเดือน โดยเฉพาะหอพัก นักศึกษาแทบจะไม่มีการย้ายเข้า-ออกเลยเป็นปีๆ เจ้าของหอพักจึงมักจ้างเพียงแค่ แม่บ้านหรือพนักงานดูแลอาคาร ซึ่งถ้าจะให้ติดตั้งระบบมิเตอร์อัตโนมัติ และให้ พนักงานดูแลมาอบรมเพือ่ ใช้งานโปรแกรม Billing ด้วยคงไม่ไหว สุดท้ายเลยต้องเลือก ใช้อะไรง่ายๆ อย่างเช่นมิเตอร์แบบใช้คนเดินจด ระบบเอเอ็มอาร์ เจเนอเรชัน่ ที่ 3 นีถ้ กู พัฒนามาเพือ่ ทลายข้อจ�ำกัดแบบเดิมๆ ที่จะต้องติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ที่หอพักเท่านั้น โดย GEN3 จะใช้กล่องเอดีซี ที่ติดตั้งไว้ในแต่ละอาคาร ท�ำหน้าที่อ่านค่ามิเตอร์มาเก็บไว้ในหน่วยความจ�ำก่อน พอสิน้ เดือนเมือ่ จะออกบิล เจ้าของหอพักก็เพียงแค่นำ� คอมพิวเตอร์ (Notebook หรือ Desktop PC) ที่มีโปรแกรม Billing มาเชื่อมต่อกับกล่องทางสาย LAN ท�า การ Sync เพือ่ ดึงข้อมูลลงเครือ่ งกลับไปท�ำบิลต่อทีบ่ า้ นได้ หรือจะใช้คอมพิวเตอร์ เชือ่ มต่อระยะไกลแบบเครือข่าย VPN ผ่าน Internet เข้ามาดึงข้อมูลจากบ้าน ทีท่ ำ� งาน หรือแม้กระทั่งร้านกาแฟก็ได้

มีอพาร์ตเมนต์หลายแห่ง แต่ใช้โปรแกรมเดียว

เมือ่ เจ้าของกิจการมีทดี่ นิ ว่างขนาดใหญ่ จึงอยากสร้างทัง้ หอพักหญิง หอพักชาย และอพาร์ตเมนต์รายวัน-รายเดือน ในบริเวณใกล้ๆ กัน ซึง่ ตาม พรบ. หอพัก ก�ำหนดให้ตอ้ งจดทะเบียนแยกชือ่ กิจการ ดังนัน้ ถ้าจะต้องติดตัง้ มิเตอร์เอเอ็มอาร์พร้อมโปรแกรมบริหารหอพัก จะต้องมีเครือ่ งคอมพิวเตอร์ และพนักงานดูแลแยกแต่ละอาคาร ท�ำให้ค่าใช้จ่ายสูงขึ้นไปอีก ด้วยความสามารถใหม่ของระบบเอเอ็มอาร์แบบ GEN3 ท�ำให้ใช้ เพียงแค่โปรแกรม Billing ทีต่ ดิ ตัง้ ในคอมพิวเตอร์เครือ่ งเดียว อ่านมิเตอร์ จากทุกอาคาร แล้วมาออกบิลคิดค่าเช่า ค่าไฟ ค่าน�้ำ แบบแยกอาคาร แยกชื่อกิจการได้ ดังนั้นใช้พนักงานหรือเจ้าของกิจการเพียงแค่คนเดียว ก็ดูแลได้ทั้งหมด January-February 2018


Special Area

> บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส์ จ�ำกัด

พร๊อกซิมิตี้

ตรวจจับระยะไกล

ใช้เวลาเพียง 10 วินาที ในการเปลี่ยน

Proximity Switch ตัวใหม่ เพียงแค่ ติดตั้ง e-jig อุ ป กรณ์ เซนเซอร์ ย อดนิ ย มส� ำ หรั บ งานควบคุ ม อั ต โนมั ติ หลักๆ แล้วคงหนีไม่พ้น โฟโต้เซนเซอร์กับพร๊อกซิมิตี้เซนเซอร์ ซึ่งมี หลักการที่แตกต่าง แต่หน้าที่เหมือนกันคือ ใช้ตรวจจับวัตถุต่างๆ เพื่อส่งสัญญาณเข้าคอนโทรลเลอร์ ซึ่งตามความเข้าใจของเรานั้น พร๊อกซิมิตี้จะตรวจจับชิ้นงานในระยะใกล้ๆ ส่วนโฟโต้เซนเซอร์นั้น สามารถตรวจจับได้ท้ังในระยะใกล้และไกล ทั้งนี้เราจะใช้เซนเซอร์ ชนิดใดก็ขึ้นอยู่กับลักษณะงาน แต่เซนเซอร์ทั้ง 2 ชนิดนี้เป็นสาเหตุ หลักทีท่ ำ� ให้เครือ่ งจักรหยุดท�ำงาน ส่งผลให้กำ� ลังการผลิตหยุดชะงัก ซึง่ อาจจะสร้างความเสียหายตามมามากมาย การขจัดปัญหาตัง้ แต่ ต้นทางน่าจะเป็นวิธีป้องกันที่ดีที่สุด ในวันนี้จะขอพูดถึงพร๊อกซิมิตี้ซึ่งเราใช้ตรวจจับวัตถุที่เป็น โลหะเป็นส่วนใหญ่ (พร๊อกซิมติ สี้ ามารถตรวจจับวัตถุทเี่ ป็นโลหะและ ไม่ใช่โลหะ) โดยอุตสาหกรรมทีน่ ยิ มใช้พร๊อกซิมติ เ้ี ซนเซอร์สว่ นใหญ่ จะเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ และกลุ่มผู้ผลิตชิ้นส่วนให้กับ อุตสาหกรรมยานยนต์ โดยทั่วไปแล้วพร๊อกซิมิตี้จะมีระยะตรวจจับเริ่มตั้งแต่ 2 มม. จนถึง 20 มม. ตามแต่ขนาด Diameter ของพร๊อกซิมิตี้ เช่น M8, M12, M18, M30 มีระยะตรวจจับ 2 mm., 3 mm., 7mm., 10 mm., 20 mm. ตามล�ำดับ ซึง่ แน่นอนว่าในสภาวะการท�ำงานปกติมนั สามารถ ท� ำงานได้ดีอยู่แล้วตามที่ผู้ผลิตเครื่องจักรได้ค� ำ นวณออกแบบ เอาไว้ แต่จะดีกว่าไหมหากเรามีอกี หนึง่ ทางเลือกให้กบั ผูใ้ ช้งาน คือมี พร๊อกซิมิตี้ที่มีระยะตรวจจับที่ไกลขึ้น ในขณะที่ Diameter เท่าเดิม January-February 2018

ซึ่งอาจจะมีค�ำถามว่าท�ำไมต้องมีทางเลือกนี้ ค�ำถามนี้มีค�ำตอบ หากท่านก�ำลังประสบปัญหาดังต่อไปนี้ 1. เครื่ อ งจั ก รมี ก ารสั่ น สะเทื อ นและระยะตรวจจั บ ของ พร๊อกซิมติ ใี้ กล้เกินไป ท�ำให้พร๊อกท�ำงานติดๆ ดับๆ มีผล ต่อการท�ำงานของคอนโทรลเลอร์ 2. พร๊อกซิมติ ถ้ี กู ชนหรือถูกกระแทกบ่อยอันเนือ่ งมาจากระยะ ตรวจจับทีใ่ กล้เกินไปท�ำให้พร๊อกซิมติ ไ้ี ด้รบั ความเสียหาย 3. เสียเวลาในการปรับตั้งเมื่อต้องเปลี่ยนพร๊อกซิมิต้ีตัวใหม่ แทนตัวเดิมที่ได้รับความเสียหาย 4. พร๊อกซิมิตี้ติดตั้งในต�ำแหน่งที่เช็คสถานะการท�ำงานได้ ยาก ท�ำให้ใช้เวลานานในการค้นหาปัญหา ปัญหาทัง้ หมด สามารถแก้ได้ดว้ ย E2E-NEXT Long Distance Detection เป็นพร๊อกซิมติ ท้ี ม่ี รี ะยะตรวจจับไกลกว่าเดิมเมือ่ เทียบกับ Diameter ที่เท่ากันสูงสุด 40 มม.


1.

ด้วยระยะตรวจจับที่ไกลกว่า ท�ำให้หมดปัญหาเรื่อง อินพุตท�ำงานติดๆ ดับๆ อันเนื่องมาจากการสั่น สะเทือนของเครื่องจักร 1. Fasten the Sensor temporarily. 1. Insert the Sensor into an e-jig.

2.

ด้วยระยะตรวจจับที่ไกลกว่า ท�ำให้หมดปัญหาเรื่อง การกระแทก ส่งผลให้เครื่องจักรหยุดท�ำงานหรือ พร๊อกซิมิตี้ได้รับความเสียหาย

2. Then just fix the Sensor.

3. Loosen the nut and adjust the distance.

3.

เปลีย่ นตัวใหม่ได้รวดเร็ว โดยไม่เสียเวลาในการปรับตัง้ ด้วย e-jig ใช้เวลาเพียง 10 วินาที

เหลือเพียง 2 ขั้นตอนใน 10 วินาที

จากเดิมใช้เวลาเปลี่ยน 4 ขั้นตอน

4. Fix the nut and complete.

4.

มีไฟบอกสถานะการท�ำงาน 360 องศา ไม่วา่ จะติดตัง้ มุมไหนก็สามารถมองเห็นได้ ลดเวลาการค้นหาและ ปรับตั้ง

ทั้งหมดที่กล่าวมาสามารถช่วยแก้ปัญหาของท่านที่คิดว่ามี พร๊อกซิมติ ท้ี ม่ี รี ะยะตรวจจับใกล้เกินไปและก�ำลังมองหาพร๊อกซิมติ ้ี รุน่ ใหม่ทมี่ รี ะยะตรวจจับไกลกว่า และสามารถเปลีย่ นใช้งานได้ทนั ที โดยไม่ต้องปรับเปลี่ยนการติดตั้งมากนัก January-February 2018




Special Area > แอ็กซิส คอมมูนิเคชั่นส์

โรงไฟฟ้าจะนะ โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ยกระดับการดูแลพื้นที่รอบบริเวณโรงไฟฟ้าด้วยกล้องวิดีโอแบบ เครือข่ายจากแอ็กซิส คอมมูนิเคชั่นส์ พร้อมเผยแผนงานด้านการ เสริมสร้างความปลอดภัยของพนักงานในอนาคต เพื่อความอุ่นใจ ของชาวจังหวัดสงขลาและประชาชนในภาคใต้ โรงไฟฟ้าจะนะ ประกอบไปด้วยโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน จ�ำนวน 2 ชุด ครอบคลุมพื้นที่กว่า 800 ไร่ โดยน�ำก๊าซธรรมชาติ จากแหล่งพัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย มาใช้ผลิตพลังงานไฟฟ้าได้กว่า 1,571.8 เมกะวัตต์ เพื่อรองรับความต้องการใช้กระแสไฟฟ้าของ ประชาชนในภาคใต้ โดยเฉพาะในตัวจังหวัดสงขลาเอง ซึ่งเป็นอีก หนึ่งจังหวัดที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้าในระดับสูง “พื้นที่โรงไฟฟ้าจะนะแห่งนี้ต้องเผชิญกับความเสี่ยงและ เหตุการณ์ไม่คาดคิดในหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นการโจรกรรม การ ชุมนุม หรือแม้แต่ผปู้ ระสงค์ร้ายทีเ่ ข้ามาก่อกวน” ศักดิช์ ัย วงศ์วชิ ยั หัวหน้าฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศของโรงไฟฟ้าจะนะ กล่าว January-February 2018


“ด้วยเหตุนี้เอง เราจึงจ�ำเป็นต้องมีโซลูชันส�ำหรับการป้องกันและ ตรวจตราเหตุร้ายต่างๆ โดยมีระบบกล้องวงจรปิดเป็นหัวใจหลัก แต่จากประสบการณ์การใช้งานจริงทีผ่ า่ นมา เรากลับพบว่ากล้องใน ระบบแอนะล็อกไม่สามารถตอบสนองความต้องการของเราได้ อย่างเหมาะสม”

จากแอนะล็อกสู่ดิจิทล ั ยกระดับทั้งการใช้งานและ บำ�รุงรักษา

กล้องวงจรปิดแบบแอนะล็อกในระบบดั้งเดิมของโรงไฟฟ้า จะนะ มีปัญหาทั้งในด้านความเปราะบางของวัสดุและเสถียรภาพ ของระบบ ซึ่งท�ำให้เจ้าหน้าที่ของโรงไฟฟ้าต้องเสียเวลาเดินทาง ออกไปแก้ไขปัญหา ณ จุดติดตั้ง และยังท�ำให้เจ้าหน้าที่ไม่สามารถ ตรวจสอบเหตุผิดปกติได้ทันท่วงที ส่วนพนักงานของโรงไฟฟ้ารวม กว่า 180 ชีวิต ก็ได้รับผลกระทบในด้านขวัญก�ำลังใจ เนื่องจากขาด ความมั่นใจในระบบรักษาความปลอดภัยของโรงไฟฟ้า ด้วยเหตุนี้เอง ผู้บริหารของโรงไฟฟ้าจึงตัดสินใจปรับเปลี่ยน ระบบกล้องวงจรปิดใหม่ โดยพิจารณาจากคุณสมบัติที่จ�ำเป็นใน การใช้งานจริง นับตั้งแต่ความทนทานของอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับ สภาพแวดล้อมรอบโรงไฟฟ้า ความคมชัดของภาพ ประสิทธิภาพใน การซูมระยะไกล พร้อมด้วยระบบเครือข่ายและซอฟต์แวร์ทมี่ เี สถียรภาพ สูง ท�ำงานได้รวดเร็วและคล่องตัว ปัจจุบนั โรงไฟฟ้าจะนะได้เลือกไว้วางใจในโซลูชนั ระบบวิดโี อ เครือข่ายจากแอ็กซิส ด้วยอุปกรณ์กล้องวงจรปิดดิจทิ ลั ระบบเครือข่าย กว่า 87 ตัว จากหลากหลายรุน่ ผลิตภัณฑ์ ไม่วา่ จะเป็น AXIS Q6045 PTZ Dome กล้องวงจรปิดแบบโดมในเคสกันน�ำ้ กันฝุน่ พร้อมคุณสมบัติ การประมวลผลวิดีโอแบบอัจฉริยะเพื่อตรวจจับและติดตามสิ่ง แปลกปลอม AXIS M3007-PV กล้องทรงโดมขนาดเล็กส�ำหรับการ

ถ่ายภาพมุมกว้างสูงสุดถึง 360 องศา หรือ AXIS Q6115-E PTZ กล้อง ทรงโดมส�ำหรับการใช้งานในพืน้ ทีก่ ว้าง ซูมภาพได้สงู สุดถึง 30 เท่าตัว ทนทานได้ทงั้ น�ำ้ ฝุน่ และแรงกระแทก พร้อมคุณสมบัตกิ ารวิเคราะห์ ภาพวิดีโออัจฉริยะในตัว กล้องวงจรปิดทัง้ 87 ตัว เชือ่ มต่อกับระบบควบคุมผ่านเครือข่าย จึงท�ำให้เจ้าหน้าทีข่ องโรงไฟฟ้าสามารถตรวจตราหาผูบ้ กุ รุกหรือเหตุ ผิดปกติ เช่น เปลวไฟหรือการรัว่ ไหลของก๊าซได้อย่างรวดเร็ว ขณะที่ ลักษณะเด่นของกล้องแต่ละรุน่ ทีท่ างโรงไฟฟ้าเลือกใช้ ช่วยให้ระบบ สามารถดูแลทุกพื้นที่ได้อย่างครอบคลุมและทั่วถึงในทุกสภาวะ การใช้งานและสภาพอากาศ ส�ำหรับการติดตัง้ ระบบกล้องวงจรปิดครัง้ นี้ ทางโรงไฟฟ้าจะนะ ได้รบั ความร่วมมือเป็นอย่างดีจากบริษทั แอดวานซ์ คอร์ปอเรชัน่ กรุป๊ จ�ำกัด และบริษัท ดิจิตอลคอม จ�ำกัด ที่จัดเตรียมบุคลากรที่มีความ เชีย่ วชาญและเข้าใจในเทคโนโลยีดา้ นกล้องวงจรปิดอย่างแท้จริงมา ช่วยในการติดตั้งและด�ำเนินการช่วยเหลือทั้งหมด

เตรียมเดินหน้าต่อยอดงานปฏิบต ั ิการ

ในอนาคต โรงไฟฟ้าจะนะมีแผนที่จะขยายการใช้งานระบบ กล้องของแอ็กซิสให้ครอบคลุมมากกว่าความต้องการด้านความ ปลอดภัยพื้นฐาน เช่น ในกรณีของพื้นที่อันตรายในโรงไฟฟ้าที่อาจ มีความร้อนสูงหรือไวต่อประกายไฟ อาจเลือกใช้กล้องวงจรปิดรุ่น พิเศษที่ทนทานต่อสภาพความร้อนได้ดี และได้รับการรับรองว่าจะ ไม่กอ่ ให้เกิดประกายไฟหรือเกิดการระเบิดจากตัวกล้อง แทนทีจ่ ะใช้ เจ้าหน้าที่เข้าไปปฏิบัติงานในพื้นที่เพื่อตรวจสอบอุปกรณ์ต่างๆ ใน พื้นที่ดังกล่าว ทัง้ นี้ โรงไฟฟ้าจะนะจะเริม่ ด�ำเนินการติดตัง้ กล้องทีม่ คี ณ ุ สมบัติ ดังกล่าวจากแอ็กซิสในช่วงปี 2561 นี้

January-February 2018


< Special Area < บริษัท เอวีรา จํากัด

ËÒ¡¤Ø³à¨Í»˜ÞËÒÎÒà Á͹ԡàÅ‹¹§Ò¹º‹ÍÂæ Í‹һŋÍÂãËŒàÃ×éÍÃѧ

AVERA ¢Íá¹Ð¹íÒ Active Filter µÑǪ‹ÇÂ㹡ÒèѴ¡ÒÃÎÒà Á͹ԡã¹Ãкºä¿¿‡Ò䴌͋ҧà©Õº¢Ò´

3 Functions in 1

New!

ฮาร มอนิก

Harmonic filtering

การแกปญหาฮารมอนิกที่มีประสิทธิภาพ ชวยแกปญหาดวย คาใชจายที่ไมแพงในการติดตั้ง ลดกําลังไฟฟาสูญเสียในระบบไฟฟา และชวยเพิ่มอายุการใชงานของโหลดไดยาวนานขึ้น AFQevo Active Multi-Function Filter

Power factor correction

ผลกระทบจากโหลดที่ไมเปนเชิงเสนในระบบไฟฟาจะทําใหแรง ดันไฟฟาเกิดการผิดเพี้ยนและไมเปนรูปไซน เนื่องจากเกิดแรงดัน ไฟฟาตกครอมลงในอิมพีแดนซของสาย และหมอแปลงไฟฟา ซึ่งเรา สามารถพิจารณาความผิดเพี้ยนของรูปคลื่นแรงดันไฟฟา และกระแส ไฟฟาไดจากรูปที่ 1 กลาวคือ โหลดไมเปนเชิงเสนประเภทเฟสเดียว จะมีคา THDv ที่ตํ่า THDi ที่สูง และสําหรับโหลดไมเปนเชิงเสนแบบ สามเฟสจะมีคา THDv ที่สูง และ THDi ที่ตํ่า ความผิดเพี้ยนของรูป คลื่นแรงดันไฟฟา และกระแสไฟฟาสวนใหญไดมาจากโหลดที่ไมเปน เชิงเสนทัง้ 2 ประเภท ซึง่ ในทัง้ สองกรณีรปู ทรงของรูปคลืน่ แรงดันไฟฟา จะมีลักษณะที่มีความแตกตางอยางมาก โดยพิจารณาไดจากรูปที่ 1

เพื่อควบคุมปญหาเหลานี้ และจํากัดระดับความผิดเพี้ยนของ รูปคลืน่ แรงดันไฟฟาทีบ่ ริเวณจุดตอรวมของระบบไฟฟา จะมีมาตรฐาน สากลที่กําหนดขีดจํากัดในการปลอยฮารมอนิกเขาสูระบบไฟฟาที่ เชื่อมตอเขากับบริเวณจุดตอรวมของระบบไฟฟา (ตารางที่ 1) ที่สําคัญ ที่สุดคือความเขากันไดของระบบไฟฟา

รูปที่ 1 รูปคลื่นแรงดันฮารมอนิกและกระแสฮารมอนิกในระบบไฟฟา

ตารางที่ 1 International standards on harmonic emission limits

 MULTI-FUNCTION  INTUITIVE  EFFICIENT

Phase balancing

January - February 2018

P.74-77_Avera.indd 74

1/16/18 10:11 AM


Principles of

Harmonics Considerations

เราสามารถเขาใจปญหาฮารมอนิกไดดียิ่งขึ้น โดยดู จ ากแนวคิ ด พื้ น ฐานบางอย า งที่ ไ ด รั บ การตีพิมพในบทความ และหนังสือหลายเลม ซึ่งสรุปไดดังนี้ 1• ตนกําเนิดของปญหาเกี่ยวกับฮารมอนิก

คือโหลดประเภททีไ่ มเปนเชิงเสน (เรียกวา "Non-linear" Receivers) ที่จะสงผลทําให รู ป คลื่ น ของกระแส และแรงดั น ไฟฟ า เกิดการผิดเพี้ยนที่ไมใชรูปคลื่นไซน

2• ป ญ หาที่ แ พร ก ระจายไปยั ง ผู  ใช ไ ฟฟ า

รายอืน่ ทีเ่ ชือ่ มตอกับเครือขายระบบไฟฟา เดียวกัน โดยขึน้ อยูก บั ความตานทานของ ระบบไฟฟา และอุปกรณไฟฟาภายใน บริษัทนั้นๆ ซึ่งอิมพีแดนซนี้จะไมเทากัน แต ส ามารถคํ า นวณได จ ากกํ า ลั ง ไฟฟ า ลัดวงจรที่มีอยู (กระแสไฟฟาลัดวงจรมาก ขึ้นอยูกับคาความตานทานนอย)

3• ผูใ ชตอ งพิจารณาจุดเชือ่ มตอรวมของโหลด

ในระบบไฟฟา เนือ่ งจากคาอิมพีแดนซทมี่ ี คาเพิ่มมากขึ้นในการติดตั้ง

4• นอกจากนีใ้ นแงของการเดินสายออกไปใน

ระยะทางไกลๆ มีความจําเปนอยางยิ่งที่ จะตองใชสายไฟที่มีองคประกอบของการ ป อ งกั น การเกิ ด สั ญ ญาณรบกวนเป น สําคัญ อันเนื่องมาจากการเหนี่ยวนําตอ เมตรของสาย การหลีกเลี่ยงนี้สามารถ ทําไดโดยการใชสายถัก

5• ปญหาของการผิดเพีย้ นของแรงดันไฟฟาที่

จุดตอรวม (Point of Common Clopping ; PCC) สามารถทําใหเกิดการเรโซแนนซขนึ้ ไดระหวางอิมพีแดนซของระบบไฟฟากับ อิมพีแดนซของคาปาซิเตอรในระบบไฟฟา ขึ้นได ในการปรับปรุงคาตัวประกอบใน ระบบไฟฟา

6• ต อ งมี ก ารแก ไขโดยการติ ด ตั้ ง ตั ว กรอง

ฮารมอนิกขึ้นในระบบไฟฟาในตําแหนง ใกลเคียงกับโหลดที่สรางฮารมอนิก

ในการแกปญหาฮารมอนิกในระยะแรก สามารถทําได โดยผูใชจะตองจํากัดจํานวน ของกระแสฮารมอนิกทีส่ รางขึน้ ในระบบไฟฟา โดยการกระจายสงจายไฟฟาภายในโรงงาน ต อ งใช ส ายไฟฟ า ที่ มี ค วามต า นทานตํ่ า ต อ เมตรของสายเคเบิลเพื่อลิมิตเรื่องของอิมพี แดนซภายในสายไฟ ใหมคี า ความตานทานตํา่ ทีส่ ดุ และในทางกลับกันทีจ่ ดุ ตอรวมจะตองให กําลังไฟลัดวงจรที่นอยที่สุด และตองมั่นใจวา ผูใ ชจะตองไมเกินขีดจํากัด ซึง่ การผิดเพีย้ นนีจ้ ะ ไมกอ ใหเกิดอันตรายตอเพือ่ นบานหรือโรงงาน ขางเคียงที่ใชเครือขายระบบไฟฟารวมกัน เมื่อระดับของฮารมอนิกที่สรางขึ้นภายใน โรงงานมีคาเกินกําหนด มีความจําเปนอยาง มากที่ ต  อ งติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ ก รองฮาร ม อนิ ก เพื่อใชในการกําจัดและลดทอนปริมาณของ ฮารมอนิกทีเ่ กิดขึน้ ภายในโรงงานใหมปี ริมาณ ที่ ล ดลง และในบทความนี้ เราจะเน น การ อธิบายแนวความคิดในการกรองฮารมอนิกใน ระบบไฟฟา เพื่อหลีกเลี่ยงปญหาเหลานี้ จึงมี มาตรฐานกําหนดคุณภาพไฟฟาขั้นพื้นฐาน ซึ่งจะจํากัดระดับการผิดเพี้ยนสูงสุดสําหรับ รูปคลื่นแรงดันไฟฟาที่จัดให ที่จุดเชื่อมตอไป ยังเครือขายระบบไฟฟา (PCC) ซึ่งขีดจํากัด เหล า นี้ เรี ย กว า 'ขี ด จํ า กั ด ความเข า กั น ได ' ดังตารางที่ 1 แสดงถึงขอสรุปของขอจํากัด เหลานีส้ าํ หรับฮารมอนิกในระบบไฟฟาแรงตํา่ ในโรงงานอุตสาหกรรม

'ขีดจํากัดความเข ากันของฮาร มอนิก' • คุณภาพรูปคลืน่ แรงดันไฟฟ าทีล่ ดลง จะส งผล ต อโหลดที่มีความไวต อการเปลี่ยนแปลงของ แรงดันไฟฟ า • การเกิดโอเวอร โหลด และการเกิดเรโซแนนซ แบบขนานระหว างอิมพีแดนซ ในระบบไฟฟ า กับอิมพีแดนซ ของคาปาซิเตอร ที่ใช ในการ ปรับปรุงค าตัวประกอบกําลังไฟฟ า • การลดลงของแฟคเตอร พลังงาน • การเกิดโอเวอร โหลดในสายเคเบิล้ และหม อแปลง ไฟฟ า (การเพิ่มขึ้นอย างมากของการสูญเสีย ทางแม เหล็กไฟฟ าภายในหม อแปลงไฟฟ า) • ป ญหาของอุปกรณ ไฟฟ าเสียหายทีไ่ ม พงึ ประสงค

January - February 2018

P.74-77_Avera.indd 75

1/16/18 10:11 AM


มาตรฐานนี้แบ งสภาพแวดล อมทาง แม เหล็กไฟฟ าได 3 ประเภท (Class) คือ

Class 1

สามารถใช ได กับระบบไฟฟ าที่มีการป องกันและ ระดับความเข ากันได มีค าตํ่ากว าระบบไฟฟ าใน โครงข า ยสาธารณะ ซึ่ ง จะมี ค วามสั ม พั น ธ กั บ การใช อุปกรณ ไฟฟ าที่มีความไวต อการรบกวน ในระบบไฟฟ า เช น อุปกรณ เครื่องมือวัดทาง ไฟฟ า คอมพิวเตอร อุปกรณ ควบคุมอัตโนมัติ บางประเภท เป นต น (Class 1 เป นระดับทีต่ อ งการ คุณภาพไฟฟ าสูง)

Class 2

สามารถใช ได กบั จุดต อร วม (PCC) และจุดต อร วม ของโรงงานในสภาพแวดล อมที่เป นระบบกระจาย ส งจ ายไฟฟ าให กบั โรงงานอุตสาหกรรม และระบบ ไฟฟ าที่ไม ใช ระบบไฟฟ าในโครงข ายสาธารณะอืน่ ๆ ระดับความเข ากันได ของประเภทนี้ จะมีลักษณะ เดียวกันกับระบบจ ายไฟฟ าสาธารณะ ซึง่ สามารถ อธิบายได ว าอุปกรณ ไฟฟ าที่ออกแบบใช ได กับ ระบบไฟฟ าสาธารณะ สามารถนํามาใช ได กับ ระบบไฟฟ าอุตสาหกรรมนี้ได (เป นระดับคุณภาพ ไฟฟ าแบบปกติ)

การติดตั้ง

แอคทีฟฟ ลเตอร ควรติดตั้งเมื่อใด ? แอคที ฟ ฟ ล เตอร ที่ ใช ง านอยู  ขนาดที่ ต  อ ใช ง านนั้ น จะขึ้ น อยู  กั บ ขนาดของกระแส ฮารมอนิกที่เกิดขึ้นในระบบไฟฟา ประเภทของแอคทีฟฟลเตอรที่ใชจะมีอยู 2 ประเภท คือ ตัวกรองแบบอนุกรม (กําจัดกระแสฮารมอนิก THDv) และตัวกรองแบบขนาน (กําจัด กระแสฮารมอนิก THDi) ตัวกรองแบบขนานมักใชเพือ่ ใหสอดคลองกับมาตรฐาน IEC-61000-3-4 และ IEEE-519 เนื่องจากการใชอินเวอรเตอรในการฉีดกระแสฮารมอนิกสเขาไปหักลางที่โหลด โดยตรง ตามรูปที่ 3 ทีแ่ สดงหลักการทํางานของแอคทีฟฟลเตอร ซึง่ เราสามารถเห็นไดวา ผลรวม ของ ILOAD + IFILTER ทําใหเรามีรูปคลื่นของกระแสไฟฟาที่เขาใกลรูปคลื่นไซนเวฟมากที่สุด

Class 3

สามารถใช กับจุดต อร วมในโรงงานอุตสาหกรรม เท า นั้ น ซึ่ ง จะมี ร ะดั บ ความเข า กั น ได ที่ สู ง กว า 2 ประเภทแรก ที่ ได กล าวมาแล วในข างต น ซึ่ง ในประเภทนี้ จ ะถู ก พิ จ ารณาตามเงื่ อ นไข เช น โหลดส ว นใหญ รั บ ไฟฟ า จากอุ ป กรณ แ ปลง แรงดันไฟฟ า มีการใช งานเครื่องเชื่อม อาร ก ไฟฟ า โหลดทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอย างรวดเร็ว และ การเดินมอเตอร ไฟฟ าขนาดใหญ เป นต น

ตารางที่ 2 ระดับความเขากันไดของฮารมอนิก ของแรงดันไฟฟา THDv ในระบบไฟฟาแรงตํ่า ตามมาตรฐาน IEC61000-2-4

รูปที่ 3 หลักการทํางานของแอคทีฟฟลเตอรแบบขนาน

Paper industries

Large supermarkets and shopping centers

Airports and infrastructures

Automotive Industries

ในหลายๆ อุตสาหกรรมการติดตั้งแอคทีพฟลเตอรจะชวยใหอุปกรณตางๆ ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ

January - February 2018

P.74-77_Avera.indd 76

1/16/18 10:11 AM


การเลือกลําดับของ ฮารมอนิกในการ กําจัดได

การติดตั้งใชงานงาย ดวยการควบคุมโดย หนาจอ Touch Screen

การประยุกต ใช งาน แอคทีฟฟ ลเตอร

ทางออกสําหรับการแก ป ญหาฮาร มอนิก ซึง่ ทาง CIRCUTOR ได มกี ารออกแบบและ พัฒนาตัวกรองแอคทีฟฟ ลเตอร รุ นใหม ที่ มีข อได เปรียบหลายประการ

• • • • • • • • •

แอคทีฟฟ ลเตอร ขนาดกระแส 30A / เฟส และที่นิวทรัล 90A สามารถติดตั้งแอคทีฟฟ ลเตอร ในการกรองระบบสามารถต อขนานขยายได ถึง 100 Unit มีขนาดกระทัดรัด ติดตั้งกับผนังได ง าย สามารถเชื่อมต อเข ากับระบบบริหารจัดการพลังงานได โดยง าย รองรับความถี่ของแรงดันไฟฟ าได ทั้ง 50/60Hz สามารถกําจัดฮาร มอนิกได ถึง 50 ลําดับ สามารถเลือกลําดับของความถี่ในการกําจัดฮาร มอนิกได เพื่อให ได ประสิทธิภาพการทํางานที่สูงสุด สามารปรับปรุงค าตัวประกอบกําลังไฟฟ าได (PF Compensation) สามารถปรับบาลานต กระแสโหลดในแต ละเฟสให เท ากันได (Phase Balancing) และสามารถชดเชย กระแสไฟฟ าที่นิวทรัลได การแสดงผลที่หนาจอ ของแอคทีฟฟลเตอร ทําใหงายใน การวิเคราะหปญหา ฮารมอนิกในระบบไฟฟา

การปรากฏตัวของฮารมอนิกในระบบไฟฟากําลัง มีขนาดที่เพิ่มขึ้น ทําใหเกิดปญหาเกี่ยวกับการลดลงของคุณภาพรูปคลื่นแรงดันไฟฟา ซึ่งในระบบไฟฟาขนาดใหญจะเกิดความสูญเสียที่เพิ่มขึ้นเปนสําคัญ แมจะมีมาตรฐานที่กําหนดอยูก็ตาม ดังนั้นการใชงานแอคทีฟฟลเตอร เพื่อกําจัดปริมาณของฮารมอนิกที่เกิดขึ้นนี้ จะเปนประโยชนที่ชวยให คุณสามารถใชงานโหลดไดอยางมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังสามารถลด กําลังไฟฟาสูญเสียในระบบไฟฟาในไลนการผลิตลงได การแกปญหาฮารมอนิกที่มีประสิทธิภาพ คือ การออกแบบที่มี เหตุผลและครอบคลุมขนาดของตัวกรองฮารมอนิก เชน ตัวกรองที่ ใชงานซึ่งชวยแกปญหาดวยคาใชจายที่ไมแพง ประหยัดคาใชจายใน การติดตัง้ โดยการลดกําลังไฟฟาสูญเสียในระบบไฟฟาลง ชวยเพิม่ อายุ การใชงานของโหลด รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพใหกับระบบไฟฟาไดอีก ดวย แอคทีฟฟลเตอรคอื อุปกรณไฟฟาทีส่ าํ คัญในโครงสรางระบบไฟฟา ขั้นพื้นฐานภายในระบบไฟฟาที่หลากหลาย

ตัวอยางการติดตั้งแอคทีฟฟลเตอรภายในระบบไฟฟาตั้งแตตนทางไปจนถึงปลายทาง

รับปรึกษาและวางแผนระบบบริหารจัดการพลังงาน สอบถามรายละเอียดด านล าง

อาคารศุภาลัยแกรนด ทาวเวอร ห องเลขที่ 02, 03 ชัน้ ที่ 15 เลขที่ 1011 ถนนพระราม 3 แขวงช องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120

AVERA Co., Ltd.

Tel : 0-2074-4411 Fax : 0-2074-4400 E-mail : sales@avera.co.th January - February 2018

P.74-77_Avera.indd 77

1/16/18 10:11 AM


Special Area > SHELL Thailand

ENERGY DEMANDS & IMPACT ON TURBINE OIL • Reduce Levelized Cost of Energy (LCOE) capital & operating costs • Higher turbine efficiency • Reduced emissions • Flexibility of supply to meet demand (fast ramp rates) • Increased availability with less incidence of power outages/turbine trips • Cyclic peak-load operation is becoming more frequent and severe

We see the move towards higher turbine efficiencies, more combined cycle applications and gas turbines. There is also the demand to provide faster ramp-up rates to meet periods of peak demand and more operation in cyclic or peak loading rather than base load operation.

How are the deposits formed? SERVICE LIFE - PROGRESSIVE OXIDATIVE DEGRADATION

January-February 2018


• As a turbine oil oxidises it forms by-products which are highly polar - these include organic acids, ketones, aldehydes • The polar by-products react with each other and form higher molecular weight polymeric species (dimers/trimers) • The Turbine base oil has finite solvency and will hold these higher MW species in solution - this is temperature dependent - higher T’s give greater solvency

…once saturation point is reached, the by-products have such a high molecular weight and polarity, they can no longer be held in solution and they drop-out as sludges (still “wet”) initially, in the cooler spots in the lube system Metal surfaces typically are dipolar and hence attract polar molecules from the relatively non-polar lubricants, especially in cooler areas The continued action of cross links and heat dries sludges out to form varnishes or lacquers As these species reach a point of saturation they will effectively plate out in cooler areas of the turbine such as guide vanes, servo valves and in bearings or gears. While it may cause a visual issue on bearings it often will not lead to a system shutdown unlike the case of a hydraulic servo valve trip.

Shell new technology (Gas-to-liquids (GTL)) CATALYTIC PROCESS TO CONVERT GAS TO OIL PRODUCTS S tage 1: Gasification

S tage 2: S ynthesis

S tage 3: Hydro-C racking and S eparation

S Y NGAS

+ Methane (natural gas)

Oxygen (from air)

+ Hydrogen Carbon Monoxide

+

HY DR OC R AC KING C AT ALY S T

F ischer T ropsch Wax + Water

January-February 2018


GTL OIL, API GRP III PRIMARILY ISO-PARAFFINIC, NO IMPURITIES, EXCELLENT ANTIOXIDANT RESPONSE, NARROW MOLECULAR DISTRIBUTION

At the heart of the Shell Turbo S4 X and GX grades is Shell’s innovative Gas to Liquids group III base oils. Unlike the normal process where we take a crude oil, distill it down to specific fractions, we actually take natural gas and build up the desired base oil composition through a series of steps of synthesis using what we call the Fischer Tropsch process, hydro-treating and distillation to a very specific base oil with high purity and excellent repsonse to addtives.

Turbine oil - Oxidation stability tost life test

January-February 2018


TOS T L IFE TUBE S S hell Turbo S 4 X >20,000 hrs

If we look at leading OEM specifications TOST life varies anywhere from 3,000 hrs to 7,000 hrs minimum oil life. Our Shell Turbo T, and S4 products have over 10,000 hrs TOST life (this test is run at 95C in the presence of oxygen, water and metal catalysts). In fact we have modified this test to run for extended periods and the Turbo S4 grades have over 20,000 hrs TOST life with very little deposit formation as shown by the glass tubes at the end of the test.

น้ำ�มันหล่อลื่นสำ�หรับกังหันก๊าซ (Gas turbine) และกังหันไอน้ำ� (Steam turbine)

January-February 2018


Special Area

> บริษัท ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด

ขอแตกตางระหวาง สวิตช,

รีเลย

และแมกเนติกคอนแทคเตอร สวิตช (Switch)

สวิตชใชในการเปด-ปดอุปกรณไฟฟาตางๆ โดยใชหลักการทีส่ วิตชเปดหรือปดหนาสัมผัส ซึ่งคลายกับสะพานที่เชื่อมใหกระแสสามารถไหลไดในวงจรไฟฟา หนาสัมผัสปด (Closed Contact) คือหนาสัมผัสเชือ่ มตอกันทําใหกระแสไหลผานได สวนหนาสัมผัสเปด (Open Contact) คือหนาสัมผัสแยกออกจากกันทําใหกระแสไมสามารถไหลผานได สวิตชมหี ลายประเภทและถูกควบคุมดวยวิธตี า งๆ กัน พวกทีถ่ กู ควบคุมดวยแรงจากมนุษย ไดแก Push-button Switch, Toggle Switch, Foot Switch พวกที่ถูกควบคุมดวยแรงดันไฟฟา หรือความตางศักย ไดแก Relay, Magnetic Contactor หรือพวกที่ถูกควบคุมดวยแรงอื่นๆ เชน Pressure Switch, Photo Electric Switch, Level Switch เปนตน

รีเลย (Relay)

รีเลยเปนอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสทใ่ี ชในการตัด-ตอวงจรคลายกับ สวิตช โดยทั่วไปจะเปนแบบ Electromagnetic Relay หรือเรียกวา แบบหนาสัมผัส ประกอบดวยชุดหนาสัมผัส (Contacts) ที่ตอกับแทง อารเมเจอร (Armature) และคอยล (Coil) ทีถ่ กู พันดวยขดลวด เมือ่ มีการ จายแรงดันไฟฟาใหกับคอยล (Energize) จะทําใหเกิดสนามแมเหล็ก แทงอารเมเจอรทตี่ อ กับหนาสัมผัสจะถูกดูด ทําใหหนาสัมผัสเปลีย่ นการ เชือ่ มตอเปนตรงกันขาม กลาวคือ ปกติเปด (NO-Normally Open) เปน ปด หรือปกติปด (NC-Normally Closed) เปนเปด และเมื่อตัดไฟที่จาย ใหคอยล (De-energize) จะทําใหรีเลยกลับสูสถานะปกติ กลาวคือ หนาสัมผัสตางๆ จะกลับสูส ภาวะแรกกอนการจายไฟดวยแรงจากสปริง แบงออกตามลักษณะการใชงานไดเปน 2 ประเภทคือ 1. รีเลยกําลัง (Power Relay) หรือมักเรียกกันวาคอนแทคเตอร (Contactor or Magnetic Contactor) ใชในการควบคุมกําลังไฟฟาที่มี ขนาดใหญกวารีเลยธรรมดา 2. รีเลยควบคุม (Control Relay) มีขนาดเล็ก กําลังไฟฟาต่ํา ใชในวงจรควบคุมทั่วไปที่มีกําลังไฟฟาไมมากนัก หรือเพื่อการควบคุม รีเลยดวยกันหรือคอนแทคเตอรขนาดใหญ รีเลยควบคุมบางทีเรียกกัน งายๆ วา “รีเลย”

แมกเนติกคอนแทคเตอร (Magnetic Contactor)

เปนอุปกรณที่อาศัยการทํางานโดยอํานาจแมเหล็กในการเปด– ปดหนาสัมผัสในการควบคุมวงจรหรือเรียกวาสวิตชแมเหล็ก (Magnetic Switch) หรือคอนแทคเตอร (Contactor) ก็ได

สรุปก็คือ รีเลยและ Magnetic Contactor มีหนาที่การปด-เปด วงจรคลายสวิตช แตสามารถทําการปด-เปดที่คอนขางไวและซับซอน หลายๆ จังหวะในขณะเดียวกัน เชน ควบคุมใหเปดโหลดชุดแรกพรอมๆ กับใหปดโหลดอีกชุดหนึ่ง เปนตน Relay : คนทั่วไปเรียกกันคือ “Control Relay” ทนกระแสไฟฟา ไดไมสูง ใชในวงจรควบคุมทั่วไปที่มีกําลังไฟฟาไมมากนัก Magnetic Contactor : คนทั่วไปเรียกกันคือ “Power Relay” ทนกระแสไฟฟาไดสูง ใชในการควบคุมกําลังไฟฟาที่มีขนาดใหญ

ขอดีของการใชรีเลยและแมกเนติกคอนแทคเตอร เมื่อเทียบกับสวิตช

1. มีความปลอดภัยสูง เชน สามารถตอควบคุมระยะไกลได แทนการสับสวิตชดวยมือโดยตรง ทําใหผูควบคุมมอเตอรปลอดภัย จากอันตรายในการตัดตอวงจรกําลังซึ่งมีกระแสไฟฟาคอนขางสูง 2. สะดวกในการควบคุม เชน ควบคุมใหเปดโหลดชุดแรก พรอมๆ กับใหปด โหลดชุดอืน่ ๆ และยังสามารถตอรวมกับอุปกรณอนื่ ๆ ได เชน Pressure Switch, Photo Electric Switch, Level Switch เปนตน 3. ประหยัดกวาเมื่อเทียบกับการควบคุมดวยมือ เชน หาก ควบคุมดวยมือตองทําการเดินสายไฟของวงจรกําลังไปยังจุดควบคุม หลั ง จากนั้ น เดิ น สายไฟไปยั ง โหลด แต ห ากควบคุ ม ด ว ยแมกเนติ ก คอนแทคเตอร สายไฟของวงจรกําลังสามารถเดินไปยังโหลดไดโดยตรง สวนสายไฟวงจรควบคุมเดินสายจากจุดควบคุมไปยังโหลดใชสาย ขนาดเล็กกวา ทําใหประหยัดคาติดตั้งในการเดินสาย

January-February 2018

p.82-85_special area.indd 82

1/12/18 10:25 AM


โครงสรางและสวนประกอบของแมกเนติก คอนแทคเตอรหรือสวิตชแมเหล็ก

คอนแทคเตอรยี่หอใดรุนใดจะตองมีโครงสรางหลักที่สําคัญ เหมือนกัน ดังนี้ 1. แกนเหล็ก 2. ขดลวด 3. หนาสัมผัส

รูปแสดงลักษณะโครงสรางภายนอกของแมกเนติกคอนแทคเตอร

รูปแสดงลักษณะโครงสรางหลักของแมกเนติกคอนแทคเตอร รายละเอียดของสวนประกอบภายในแมกเนติกคอนแทคเตอร แกนเหล็กแบงออกเปน 2 สวน คือ 1. แกนเหล็กอยูกับที่ (Fixed Core) จะมีลักษณะขาทั้ง 2 ขาง ของแกนเหล็กมีลวดทองแดงเสนใหญตอ ลัดอยูเ ปนรูปวงแหวนฝงอยูท ี่ ผิวหนาของแกน เพื่อลดการสั่นสะเทือนของแกนเหล็กอันเนื่องมาจาก การสั่ น สะเทื อ นไฟฟ า กระแสสลั บ เรี ย กวงแหวนนี้ ว า เช็ ด เด็ ด ริ่ ง (Shaddedring) 2. แกนเหล็กเคลื่อนที่ (Stationary Core) ทําดวยแผนเหล็กบาง อัดซอนกันเปนแกน จะมีชุดหนาสัมผัสเคลื่อนที่ (Moving Contact) ยึดติดอยู

ขดลวด (Coil)

ขดลวดทํ า มาจากลวดทองแดงพั น อยู ร อบบอบบิ น สวมอยู ตรงกลางของขาอีกตัวที่อยูกับที่ ขดลวดทําหนาที่สรางสนามแมเหล็ก มีขั้วตอไฟเขาใช สัญลักษณอักษรกํากับ คือ A1-A2 หรือ a-b

หนาสัมผัส (Contact) คือ

หนาสัมผัสจะยึดอยูกับแกนเหล็กเคลื่อนที่ แบงออกเปน 2 สวน

1. หนาสัมผัสหลัก หรือเรียกวา เมนคอนแทค (Main Contact) ใชในวงจรกําลัง ทําหนาที่ตัดตอระบบไฟฟาเขาสูโหลด 2. หน า สั ม ผั ส ช ว ย (Auxiliary Contact) ใช กั บ วงจรควบคุ ม หนาสัมผัสชวยแบงออกเปน 2 ชนิด หนาสัมผัสปกติเปด (Normally Open : N.O.) หนาสัมผัสปกติปด (Normally Close : N.C.)

รูปแสดงลักษณะโครงสรางภายในของแมกเนติกคอนแทคเตอร

การเลือกใชแมกเนติกคอนแทคเตอร

1. วงจรกําลัง 1.1 พิกดั แรงดันไฟฟา (Rated Voltage) : แมกเนติกคอนแทคเตอรจะตองมีคา พิกดั ในการทนแรงดันไฟฟาไมตา่ํ กวาแรงดันของระบบ ไฟฟาที่ตอใชงาน ซึ่งโดยทั่วไปแมกเนติกคอนแทคเตอรตองรับแรงดัน ไดไมนอยกวา 416 โวลต (เนื่องจากแรงดันไฟฟาเมื่อไมมีโหลด แรงดัน ไฟฟาอาจเทากับที่หมอแปลง 416 โวลต สําหรับการไฟฟานครหลวง และ 400 โวลต สําหรับการไฟฟาสวนภูมภิ าค) ซึง่ โดยทัว่ ไปผูผ ลิตมักจะ ผลิตใหสามารถทนแรงดันเกินได เชน 440 โวลต

January-February 2018

p.82-85_special area.indd 83

1/12/18 10:25 AM


1.2 พิกัดกําลังไฟฟา (Rated Power) : คาพิกัดกําลังไฟฟาของ มอเตอรมักระบุเปนกิโลวัตต (kW) หรือแรงมา (Hp) แตโดยทั่วไปผูผลิต มักจะระบุเปนพิกัดการทนกระแสไฟฟา (Rated Current) : ซึ่งพิกัด คอนแทคเตอรตองไมนอยกวากระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร 1.3 ลักษณะของโหลด (Type of Application) : ตามมาตรฐาน IEC 60947-4 แบ ง ชั้ น การใช ง านของคอนแทคเตอร เพื่ อ ป อ งกั น คอนแทคเตอรชาํ รุดเนือ่ งจากการปลดหรือสับวงจร คอนแทคเตอรทใี่ ช กับไฟฟากระแสสลับโดยทั่วไปแบงเปน 4 ชนิด ตามลักษณะของโหลด ดังนี้ AC 1 : เหมาะสําหรับโหลดที่เปนความตานทาน หรือในวงจร ที่มีโหลดเปนชนิดอินดัคทีฟไมมากนัก AC 2 : เหมาะสําหรับใชในการสตารตและหยุดโหลดที่เปน สลิปริงมอเตอร AC 3 : เหมาะสําหรับใชในการสตารตและหยุดโหลดที่เปน มอเตอรกรงกระรอก (AC3 อาจใชงานกับมอเตอรที่มีการเดิน-หยุด สลับกันเปนครัง้ คราว แตการสลับตองไมเกิน 5 ครัง้ ตอนาที และไมเกิน 10 ครั้งใน 10 นาที) AC 4 : เหมาะสําหรับใชในการสตารต-หยุดมอเตอร แบบ Plugging (การหยุดหรือสลับเฟสอยางรวดเร็วในระหวางที่มอเตอร กําลังเดินอยู) แบบ Inching หรือ Jogging (การจายไฟใหมอเตอร ซ้ําๆ กันในชวงเวลาสั้นๆ เพื่อตองการใหมอเตอรเคลื่อนตัวเล็กนอย) AC 11 : คอนแทคชวยสําหรับวงจรควบคุม 1.4 Making Capacity : คากระแสที่คอนแทคเตอรสามารถ ตอวงจรไดโดยไมชํารุดขณะเริ่มเดินมอเตอร 1.5 Breaking Capacity : คากระแสที่คอนแทคเตอรสามารถ ปลดวงจรไดโดยไมชํารุด นอกจากนีว้ ธิ กี ารเริม่ เดินมอเตอรกม็ ผี ลในการเลือกใชคอนแทคเตอรเชนเดียวกัน 2. วงจรควบคุม 2.1 แรงดันไฟฟาและความถี่ของแหลงจายไฟเขาคอยล : คาแรงดันไฟฟาที่ใชสําหรับจายคอยลเพื่อใหคอนแทคเตอรทํางาน แบงเปน • แรงดันไฟฟากระแสสลับ (AC) 50/60 เฮิรตซ เชน 24, 48, 110, 230, 400, 415, 440 โวลต • แรงดันไฟฟากระแสสลับ (AC) 60 เฮิรตซ เชน 24, 48, 120, 230, 460, 480 โวลต • แรงดันไฟฟากระแสตรง (DC) เชน 12, 24, 48, 60, 110, 125, 220 โวลต 2.2 จํานวนคอนแทคชวย : จํานวนของคอนแทคชวยปกติเปด (NO) และคอนแทคชวยปกติปด (NC) ขึ้นอยูกับการออกแบบวงจร ควบคุมมอเตอร

แมกเนติกคอนแทคเตอร ใชกับงานประเภทใดบาง

แมกเนติกคอนแทคเตอรสามารถใชงานไดหลายประเภท เชน สตารตมอเตอร ตัดตอโหลดแสงสวาง ตัดตอคาปาซิเตอร หรืองาน ตัดตอสําหรับหมอแปลงโดยทัว่ ไปแลวอุปกรณประเภทนีจ้ ะใชประกอบ กับเทอรมัลโอเวอรโหลด ซึ่งสามารถกําหนดระดับกระแสเพื่อกําหนด คากระแสเกินพิกดั ได แมกเนติกคอนแทคเตอรนาํ ไปใชกบั อุตสาหกรรม ตางๆ ดังนี้ • Pumps • HVAC • Compressors • Power Supply Solution • Packing Machines • Cranes • Elevators and Escalators • Moulding Machines • Wood Machine • Robot • Wildmill, Solar System • Water Heating • Fule Cells • Traction • Etc.

ทําไมตองเลือกใชแมกเนติกคอนแทคเตอร “Hyundai Brand”

• ไดมาตรฐานทั้งบนบกและในทะเล ทั้งยุโรปและอเมริกา Standard : IEC 60947, EN 60947, UL 508, BS 47794, BS 5424, BS 4941 VDE 0660, DNV, KS C4504, JISC 8328, JEM 1038 Approval : ISO 18001, 14001, 9001, UL/C-UL CE : Community European : TÜV Rheinlend, GOST-R, CCC Shipping Approval : LR, BV, ABS, GL, NK, KR • ใชแรงดันไฟเลี้ยงไดทั้งกระแสสลับ (AC) และกระแสตรง (DC) • Rated Voltage : Up to 1,000 V, Rated Current : Up to 800 A • คอยลมาตรฐาน 100~240Vac, 100~220Vdc รับชวงแรงดัน ทํางานไดมากกวา • คาสูญเสียทางไฟฟาต่ํา ไมมีเสียงครางรบกวน

January-February 2018

p.82-85_special area.indd 84

1/12/18 10:25 AM


• • • • • • •

ทําจากวัสดุไมติดไฟ (Non Flammable; Class : V0 ) Safety Cover - IP20 ขั้วตอสาย IP20 ปองกันนิ้วมือสัมผัสสวนมีไฟ อุปกรณเสริมมีหลากหลาย ติดตั้งไดงาย มีประสิทธิภาพสูง ผลิตดวยวัสดุที่มีคุณภาพ สามารถเปลี่ยนคอยลและคอนแทคไดอยางสะดวก สามารถติดตั้งไดทั้งแบบยึดสกรูและแบบติดบนราง (การติดตั้งบนรางมีถึงรุน 100AF)

Thermal Overload • • • •

Manual และ Auto Reset ทุกรุน มีคอนแทคอยูในตัวแบบ 1NO+1NC มีฝาปดผนึกไดปองกันการเปลื่ยนคาที่ตั้งไว สามารถปองกันปญหามอเตอรทํางานเกินกําลังล็อคโรเตอร และกระแสไมสมดุลระหวางเฟส • มียา นการปรับตัง้ กระแส (Setting Current) ใหเลือกหลายขนาด (ทําใหปรับตัง้ กระแสไดตรงกับ NAME PLATE มอเตอรมากสุด)

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

บริษัท ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด

22/26 ถ.สุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2002-4395-97 แฟกซ 0-2002-4398 E-mail : info@tdpowertech.com January-February 2018

p.82-85_special area.indd 85

1/12/18 10:25 AM


Special Area

> มร.อลิ ฮาจ ฟราจ รองประธานอาวุโส โซลูชันเครื่องจักรกล ชไนเดอร์ อิเล็คทริค

ปฏิรูปการดำ�เนินธุรกิจอุตสาหกรรมด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ

ที่มาพร้อมกับโมเดลธุรกิจใหม่ในยุคไทยแลนด์ หนึ่ ง ในเหตุ ผ ลที่ เ ทคโนโลยี เ ปลี่ ย นโลกสามารถสร้ า งการ เปลีย่ นแปลงทีย่ งิ่ ใหญ่ได้กค็ อื เทคโนโลยีเหล่านีม้ กั จะมาพร้อมโมเดล ธุรกิจใหม่ ทีเ่ ปลีย่ นวิธกี ารแบบเดิมในการท�ำสิง่ ต่างๆ ทีย่ งุ่ ยาก พร้อม ช่วยปลดปล่อยโอกาสทางธุรกิจอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ในอุตสาหกรรมการผลิต จ�ำเป็นต้องมีการปกป้องการลงทุน ก้อนใหญ่ทลี่ งไปกับเครือ่ งจักรทีใ่ ช้งานอยู่ และนักลงทุนต้องระมัดระวัง ในการน�ำเทคโนโลยีใหม่มาใช้ เพราะอาจมีคา่ ใช้จา่ ย/การลงทุนเพิม่ เติม ในปีที่ผ่านมาความพร้อมใช้งานข้อมูลได้อย่างอิสระ เปลี่ยนวิถีการ ด�ำเนินงานของภาคอุตสาหกรรมและบริษทั ต่างๆ อย่างหน้ามือเป็น หลังมือ พร้อมกับน�ำไปสู่รูปแบบธุรกิจใหม่โดยสิ้นเชิง แต่สิ่งที่น่าสนใจซึ่งก�ำลังจะเกิดขึ้นกับภาพรวมในปัจจุบันของ ภาคอุตสาหกรรมในยุคไทยแลนด์ 4.0 ซึง่ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค มองว่ำ เป็นการค้นพบโมเดลธุรกิจใหม่ ที่จะสร้างแหล่งที่มาของรายได้ใหม่ ให้กับบริษัทเหล่านี้ และที่น่าสนใจคือการเปลี่ยนแปลงนี้ขับเคลื่อน มาจากการปฏิรูปของอุตสาหกรรมไปสู่ความเป็นดิจิทัลมากยิ่งขึ้น รวมถึงการอุบตั ขิ องสิง่ ทีเ่ รียกว่า อินเทอร์เน็ต ออฟ ธิงส์ ส�ำหรับภาค อุตสาหกรรม (IIoT - Industrial Internet of Things) January-February 2018

4.0

หนึ่งในนวัตกรรมที่ส�ำคัญที่สุดของ IIoT คือการก้าวกระโดด ในเรื่องความพร้อมของข้อมูล ที่ได้จากทั้งสินทรัพย์ เครื่องจักร และ กระบวนการ ข้อมูลพร้อมใช้ทหี่ ลัง่ ไหลเข้ามา เมือ่ น�ำมาท�ำให้มองเห็น ได้อย่างทะลุปรุโปร่ง ผสานเข้ากับเรือ่ งของการวิเคราะห์ ก็จะเป็นการ เปิดไปสูห่ นทางใหม่ทใี่ ห้ประสิทธิภาพมากขึน้ ได้อย่างแท้จริง ช่วยให้ ตัดสินใจได้อย่างถูกต้องในทุกขัน้ ตอนของกระบวนการผลิต ตามนิยาม ทีว่ า่ “การตัดสินใจทีถ่ กู ต้อง” คือการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง สร้างผลกระทบเชิงบวกในทุกเรื่อง ตั้งแต่เครื่องจักรธรรมดาไปจนถึง โรงงานทัง้ หมด อีกทัง้ ยังสามารถปูทางไปสูว่ ธิ กี ารทีก่ า้ วล�ำ้ ในเรือ่ งของ กระบวนการด�ำเนินงานและประสิทธิผลทางธุรกิจ นี่คือสิ่งที่โมเดล ธุรกิจใหม่เข้ามามีบทบาท เพราะสิ่งที่มาควบคู่กับประสิทธิภาพเรื่อง กระบวนการแบบใหม่ก็คือ การน�ำเสนอบริการเสริมที่สามารถสร้าง แหล่งรายได้ใหม่นั่นเอง Uber และ Airbnb เป็นตัวอย่างเกีย่ วกับผูบ้ ริโภคทีค่ นุ้ เคยกันดี ที่แสดงให้เห็นถึงการเกิดโมเดลธุรกิจที่ใช้นวัตกรรมจากการปฏิวัติ ในเรื่องความพร้อมด้านข้อมูลดังกล่าว ทั้งสององค์กรล้วนเป็นแหล่ง ขุมพลังระดับโลกในความเป็นธุรกิจเฉพาะทาง ที่ไม่ได้มีทั้งรถยนต์


หรือห้องเช่าเป็นของตัวเอง ในทางกลับกัน ทั้งสององค์กรนี้ได้สร้าง โมเดลธุรกิจที่ต้องพึ่งพาความพร้อมในการใช้งานข้อมูลที่สมบูรณ์ ได้อย่างทันท่วงที เพือ่ เสนอบริการให้กบั ลูกค้าของทัง้ คู่ ไม่วา่ จะเป็น ข้อมูลเกีย่ วกับต�ำแหน่งของรถยนต์ ระยะทางทีใ่ ช้ในการการเดินทาง ห้องว่าง...นับเป็นการปรับโฉม 2 อุตสาหกรรมทีม่ มี านานแล้วไปสูส่ งิ่ ใหม่ โอกาสในการทบทวนธุรกิจใหม่ในท�ำนองเดียวกัน มีพร้อม ส�ำหรับบริษัทในอุตสาหกรรมที่ต้องการและอยากส�ำรวจว่าจะท�ำ อะไรได้บา้ ง ตัวอย่างเช่น ผูส้ ร้างเครือ่ งจักร ก่อนหน้านีอ้ าจแค่นำ� เสนอ เครื่องจักรให้กับลูกค้า และในการจ�ำลองสถานการณ์ที่ดีที่สุด คือ ให้แนบสัญญาซ่อมบ�ำรุงครอบคลุมถึงการซ่อมเครื่องจักรดังกล่าว ไปด้วยหากต้องการ อย่างไรก็ตาม โมเดลใหม่ทวี่ า่ จะช่วยให้มขี อ้ มูล แบบเรียลไทม์ทั้งที่เกี่ยวกับตัวเครื่องจักรก็ดี รวมไปถึงสายงานด้าน เครื่องจักรทั้งหมด หรือกระบวนการเฉพาะทางในโรงงาน ที่ช่วยให้ ผู้ใช้ปลายทาง ผู้ผลิตในลักษณะ OEM หรือซัพพลายเออร์ระบบ ออโตเมชัน ได้มองเห็นข้อมูลอย่างโปร่งใส (ต้องขอบคุณการเปลี่ยน สู่ระบบดิจิทัล) นับเป็นการพลิกโฉมการน�ำเสนอและส่งมอบบริการ ด้านการซ่อมบ�ำรุงอย่างแท้จริง โมเดลธุรกิจอื่นที่มุ่งหวัง สร้างโดยอิงวิธีที่ให้จ่ายเงินตามการ ใช้งานจริง ส�ำหรับสินทรัพย์ดา้ นอุตสาหกรรม เช่น เครือ่ งจักร ดังนัน้ แทนที่จะต้องมีค่าใช้จ่ายและรับผิดชอบอย่างต่อเนื่องจากการเป็น เจ้าของและต้องบ�ำรุงรักษาอสังหาริมทรัพย์ที่ใช้ในการผลิตสินค้า บริษัทสามารถจ่ายแค่ค่าเตรียมความพร้อมเครื่องจักรไว้รองรับการ ใช้งานในเวลาทีต่ อ้ งการ คล้ายๆ กับการเช่ารถจากบริษทั เช่ารถ ผูส้ ร้าง เครือ่ งจักรจะอาศัยข้อมูลมาช่วยบริหารจัดการความพร้อมของเครือ่ งจักร และจัดความสามารถในการผลิตให้เหมาะกับความต้องการในตลาด ถึงอย่างไร โมเดลนีก้ ย็ งั ต้องอาศัยเวลา เนือ่ งจากเป็นโมเดลทีส่ นิ ทรัพย์ ทุกอย่างต้องเชื่อมต่อถึงกันทั้งหมดถึงจะท�ำได้ ในขณะเดียวกัน ก่อนที่เราจะไปถึงประเด็นที่วา่ ฝ่ายหนึ่งต้อง แบกค่าใช้จ่ายทั้งหมดในการเป็นเจ้าในส่วนการผลิต และอีกฝ่าย เพียงแค่จ่ายเงินส�ำหรับความพร้อมในการใช้งาน มีขั้นตอนเบื้องต้น บางอย่างที่เราต้องด�ำเนินการ ขัน้ ตอนส�ำคัญอย่างแรก คือการเชือ่ มต่อผลิตภัณฑ์และระบบ งานทัง้ หมด ทัง้ นี้ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ได้จดั ล�ำดับความส�ำคัญเรือ่ งนี้ ด้วย EcoStruxure ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มและสถาปัตยกรรมระบบ เพื่อการท�ำงานร่วมกัน อีกทั้งเป็นระบบเปิดที่ได้ใช้กับ IoT โดย EcoStruxure จะอาศัยความก้าวหน้าด้าน IoT ระบบโมบาย การ ตรวจจับ ระบบคลาวด์ และการวิเคราะห์ ตลอดจนเทคโนโลยีการรักษำ ความปลอดภัยไซเบอร์ เพือ่ มอบนวัตกรรมในทุกระดับ ตัง้ แต่ผลิตภัณฑ์ เชื่อมต่อ ไปยังระบบควบคุมในจุดที่มีการใช้อุปกรณ์ (Edge Control) ไปสูก่ ารใช้แอปพลิเคชัน การวิเคราะห์ และการบริการ อีกทัง้ ยังรองรับ การใช้งานในอุตสาหกรรมที่แตกต่างกันทั้งหมดได้ ตัวอย่างเช่น โซลูชนั EcoStruxure Machine จะรวมองค์ประกอบ ที่จ�ำเป็นทั้งหมด ทั้งผลิตภัณฑ์ ไดร์ฟ เซ็นเซอร์ ฯลฯ ดังนั้นขั้นตอน ต่อไปคือการท�ำให้ทุกองค์ประกอบสามารถเชื่อมต่อกันได้ ซึ่งเป็น เรื่องที่เราท�ำอยู่ และในวันนี้ผลิตภัณฑ์ของเราทั้งหมดล้วนให้ความ สามารถในเรื่องดังกล่าว

ล� ำ ดั บ ชั้ น ห รื อ ขั้นตอนถัดไป คือการรวม Edge Control เพื่อให้ผู้ใช้ สามารถควบคุมเครื่องจักรได้ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยจะ รวบรวมข้ อ มู ล และท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น เกตเวย์เพือ่ ส่งข้อมูลไปยังระบบคลาวด์ ทัง้ นีอ้ ปุ กรณ์ควบคุม (Controllers) ทัง้ หมด ของเราต้องสามารถเชื่อมต่อกับคลาวด์ได้ และนีค่ อื อีกหนึง่ ศักยภาพทีช่ ไนเดอร์ อิเล็คทริค น�ำเสนอ และเมือ่ ข้อมูลพร้อมใช้งานผ่านคลาวด์ เราก็ จ ะมอบความสามารถที่ โ ดดเด่ น ด้ า นการ วิเคราะห์ เพือ่ ช่วยให้ลกู ค้าของเรา รวมถึงแอปพลิเคชัน ต่างๆ สามารถน�ำข้อมูลนี้มาใช้งานได้

การทำ�งานของคลาวด์ และการเชือ่ มต่อ การทำ�ความเย็นเพือ่ ถนอมอาหารและเครือ่ งดืม ่

โรดแมปที่ก�ำหนดแนวทางไว้อย่างดีและมีความชัดเจน เป็นสิง่ ทีน่ ำ� ไปสูก่ ลยุทธ์ดา้ น IoT ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค รวมถึงการ พัฒนาบริการพร้อมข้อเสนอใหม่ๆ ให้แก่ลกู ค้า เช่น ในส่วนเครือ่ งท�ำ ความเย็นที่เชื่อมต่อการท�ำงานได้ ซึ่งเป็นส่วนของการมุ่งเน้นที่ แอปพลิเคชันด้านการท�ำความเย็น การน�ำเสนอดังกล่าวช่วยให้บริษทั เครื่องดื่มขนาดใหญ่มั่นใจได้ว่าเครื่องท�ำความเย็นที่เสนอให้กับ ซุปเปอร์มาร์เก็ต ร้านค้า ฯลฯ ซึง่ แสดงสต็อกสินค้าได้นนั้ มีการใช้งาน อยู่ที่ไหน และน�ำไปใช้งานอย่างไรบ้าง โซลูชันของเราฝังอยู่ในระบบ ควบคุมของเครือ่ งท�ำความเย็น โดยมีการใช้เทคโนโลยีบอกต�ำแหน่ง ทางภูมิศาสตร์เพื่อแจ้งเตือนซัพพลายเออร์ หากมีการย้ายเครื่องท�ำ ความเย็นจากจุดที่ก�ำหนด ระบบจะท�ำการปิดเครื่องโดยอัตโนมัติ เพื่อป้องกันไม่ให้มีการใช้งาน นี่คือตัวอย่างของโซลูชันที่ท�ำงานผ่านคลาวด์ ซึ่งเราน�ำเสนอ ให้กบั ลูกค้าของเราในปัจจุบนั โดยเทคโนโลยีจะช่วยให้ลกู ค้าสามารถ ติดตามเครื่องท�ำความเย็นจ�ำนวนหลายพันเครื่องที่อยู่ทั่วโลกได้ แทนการส่งพนักงานออกไปคอยดูว่าสินทรัพย์เหล่านี้มีการน�ำไป ใช้งานอย่างเหมาะสมหรือไม่ ซึ่งการน�ำเสนอดังกล่าวจะรวมบริการ คลาวด์และผลิตภัณฑ์เชื่อมต่อ พร้อมระบบควบคุมการใช้งานที่ใกล้ กับอุปกรณ์ หรือ Edge Control ดังนั้นเรามีทั้งการเชื่อมต่อ ระบบ คลาวด์ และแอปพลิเคชันทีช่ ว่ ยสอดส่องการท�ำงานอยูใ่ นโซลูชนั เดียว ช่วยให้บริษัท FMCG (Fast Moving Consumer Goods) ขนาดใหญ่ สามารถควบคุมสินทรัพย์และธุรกิจได้ดขี นึ้ เพราะนอกจากการท�ำให้ เครื่องดื่มเย็น เครื่องท�ำความเย็นเหล่านี้ยังเป็นเครื่องมือการตลาด ที่ส�ำคัญส�ำหรับบริษัทเหล่านี้ด้วยเช่นกัน โซลูชันอื่นที่ท�ำงานบนคลาวด์ อย่างเช่น TelevisBlue ซึ่งเป็น บริการตรวจสอบการท�ำงานในส่วนของการท�ำความเย็น โดยเป็น บริการแรกที่ใช้งานในลักษณะ Plug-and-Play ผ่านคลาวด์ ตัวอย่าง เช่น การช่วยร้านค้าสะดวกซื้อควบคุมอุณหภูมิส�ำหรับสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกด้านระบบท�ำความเย็นต่างๆ ซึ่งตั้งอยู่หลายสถานที่ได้ โดยใช้แค่สมาร์ทโฟนหรือแท็ปเล็ต ทัง้ นีโ้ ซลูชนั ดังกล่าว ช่วยให้ลกู ค้ำ January-February 2018


2. การบริหารจัดการทรัพย์สิน : เครื่องปั๊มน�้ำขนาดใหญ่, ไดรฟ์ ฯลฯ ล้วนเป็น สินทรัพย์ที่มีค่ามาก ดังนั้น ความพร้อมใช้งาน และการเข้าถึงข้อมูลทีถ่ กู ต้อง พร้อมบริการในการ ตรวจสอบ วินิจฉัย และการใช้งานทรัพย์สินเหล่านี้ ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ นับเป็นสิ่งที่ให้คุณค่าสูง ส�ำหรับลูกค้ำ ข้อมูลและการวิเคราะห์ ในแอปพลิเคชันเหล่านี้ ก็จะมีความซับซ้อนในระดับที่สูงขึ้นไปอีก เพราะทั้งตัว เครือ่ งจักรเอง รวมถึงกระบวนการท�ำงานก็จะซับซ้อนยิง่ ขึน้ ดังนั้น เรื่องนี้ยังคงต้องมีการพัฒนาอย่างใกล้ชิด ร่วมกับ ลูกค้าและผู้สร้างเครื่องจักร (OEMs)

เรือ่ งราวความสำ�เร็จ - เทคโนโลยีทป ี่ ฏิรป ู โมเดลในการก่อกำ�เนิดพลังงาน

ด�ำเนินการได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ด�ำเนินการได้สอดคล้องตาม กฎระเบียบเรื่องการควบคุมการจัดเก็บอาหาร และลดข้อผิดพลาด จากการด�ำเนินงานโดยใช้คน อีกทั้งยังช่วยให้ตัดสินใจทางธุรกิจได้ ดีที่สุด อุณหภูมขิ องบรรดาตูท้ ำ� ความเย็นเพือ่ ถนอมอาหารในร้านค้ำ เหล่านี้ ต้องมีการควบคุมอย่างละเอียด และต้องมีการจัดเก็บเอกสาร ยืนยันเพื่อให้สอดคล้องกับกฎระเบียบที่เคร่งครัดในการเก็บรักษำ อาหาร TelevisBlue จะให้การตรวจสอบระบบผ่านเว็บ ช่วยให้งานของ ผูจ้ ดั การร้านง่ายยิง่ ขึน้ อีกทัง้ ยังช่วยให้สามารถเชือ่ มต่อตูท้ ำ� ความเย็น และควบคุมอุณหภูมโิ ดยใช้เทคโนโลยีคลาวด์ และยังมีแดชบอร์ดทีม่ ี ประสิทธิภาพเพื่อบอกอุณหภูมิของตู้ท�ำความเย็น และดูว่ามีการ ท�ำงานในระดับที่เหมาะสมหรือไม่ หากเกิดปัญหาขึ้นและต้องได้รับ การแก้ไขในทันที (เช่น ปัญหาของการจ่ายไฟ) ก็จะมีการแจ้งเตือน ไปยังผู้ที่เหมาะสมเพื่อจัดการกับปัญหาดังกล่าว โซลูชันดังกล่าวอาศัยฐานการท�ำงานบนคลาวด์และความ สามารถด้านการเชื่อมต่อ ซึ่งมีพร้อมอยู่แล้วส�ำหรับร้านค้าที่ใช้ ตู้ท�ำความเย็นที่ใช้แผงควบคุมและระบบของเรำ

การเปลีย ่ นสูร่ ะบบดิจท ิ ล ั (Digitization) เรือ่ งใหญ่ถด ั ไปสำ�หรับแอปพลิเคชันด้าน OEM

ทัง้ การปัม๊ น�ำ้ การท�ำความร้อน และแอปพลิเคชันส�ำหรับ เครือ่ งจักรอุตสาหกรรมด้านการผลิต (บรรจุภณ ั ฑ์ การจัดการวัสดุ ฯลฯ) ล้วนเป็นจุดมุง่ เน้นทีต่ อ้ งมีการพัฒนาอย่างมากเพือ่ เปลีย่ นไปสูร่ ะบบ ดิจทิ ลั ตัวอย่างเช่น เครือ่ งปัม๊ น�ำ้ ทีจ่ ะต้องให้ประโยชน์อย่างมากจาก เทคโนโลยีใหม่ที่เปลี่ยนสู่ระบบดิจิทัล โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากปัจจัย ขับเคลื่อนเฉพาะทางใน 2 เรื่อง 1. การบริหารจัดการ และการประหยัดพลังงาน : ระบบ ปั๊มน�้ำใช้พลังงานจ�ำนวนมาก ดังนั้น การท�ำให้เกิดประสิทธิภาพ ในเรื่องนี้ นับเป็นสิ่งส�ำคัญอันดับต้นส�ำหรับธุรกิจ January-February 2018

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ได้ทำ� งานร่วมกับธุรกิจรับจ้างผลิตในลักษณะ OEM ทีม่ ชี อื่ เสียง คือ Entrade ซึง่ เป็นผูส้ ร้างโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก ภายใน ตู้คอนเทนเนอร์ ซึ่งสามารถผลิตพลังงานหรือความร้อน โดยการใช้ ของเสียที่มีอยู่หรือชีวมวลประเภทต่างๆ แรกเริ่ม Entrade วางแผนที่จะขายโรงงานขนาดเล็กของตน แต่ก็มีการเปลี่ยนโมเดลธุรกิจจากการขายเครื่องจักรไปเป็นการขาย ผลผลิตจากพลังงานแทน นี่เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของโมเดลธุรกิจที่มี การเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ แทนที่จะขายเครื่องจักร ตอนนี้บริษัทฯ ขายเฉพาะความพร้อมใช้งานของเครื่องจักรเพื่อส่งมอบพลังงาน ให้กับผู้ใช้ภายในระยะเวลาที่ก�ำหนด ความส�ำเร็จของโมเดลธุรกิจนี้ ขึน้ อยูก่ บั ศักยภาพของ Entrade ในการเข้าถึงและควบคุมเครือ่ งจักรได้จากระยะไกล ซึง่ สามารถกระจาย การน�ำเสนอให้ลูกค้าได้ไม่ว่าจะอยู่แห่งไหนก็ตาม ตั้งแต่ลิเวอร์พูล ไปยังแอฟริกา โดย Entrade ได้ร่วมกับชไนเดอร์ อิเล็คทริค ในการ พัฒนาโซลูชันดังกล่าว การควบคุมที่ Entrade ต้องการ เริ่มจากการเชื่อมต่อซึ่งเป็น หัวใจส�ำคัญของ IIoT ในระยะน�ำร่องของโครงการนี้ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ได้ให้การเชือ่ มต่อ รวมถึงระบบอัตโนมัตทิ ส่ี มบูรณ์แบบ โดยเซิรฟ์ เวอร์ ในระดับเอ็นเตอร์ไพรซ์ และแดชบอร์ด ช่วยให้ลกู ค้าสามารถบริหาร จัดการโรงงานไฟฟ้าหลายแห่งได้จากระยะไกล ซึ่งหมายความว่ำ องค์กรเหล่านี้สามารถขยายธุรกิจของตัวเองไปทั่วโลกได้

บทสรุป

ในปัจจุบัน ดูเหมือนจะมีโมเดลธุรกิจใหม่เกิดขึ้นในหลายแห่ง ทีไ่ ม่คาดคิดมาก่อน ซึง่ เข้ามาปฏิรปู ภาคธุรกิจหรืออุตสาหกรรม ที่ไม่เคยมีการเปลี่ยนแปลงเลยมานานนับทศวรรษ หรือนานกว่านั้น ในหลายกรณี การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เกิดขึ้นได้ด้วยเทคโนโลยีใหม่ จาก IIoT (การเชือ่ มต่อคลาวด์ และการเปลีย่ นสูร่ ะบบดิจทิ ลั ) ส�ำหรับ กรณีอนื่ ๆ แม้วา่ วิวฒ ั นาการโมเดลธุรกิจแบบดัง้ เดิมเป็นตัวขับเคลือ่ น การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ด้วยการสร้างความต้องการใหม่ๆ และ ขยายขอบเขตของสิง่ ทีเ่ ป็นไปได้ แต่ไม่วา่ เทคโนโลยีจะขับเคลือ่ นการ เปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ หรือการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจจะขับเคลื่อน เทคโนโลยี ผลลัพธ์ที่ได้คือโอกาสใหม่อันน่าตื่นตาตื่นใจ


IT Technology

> บริษัท ฮิตาชิ จ�ำกัด

ระบบจัดเก็บข้อมูลอัจฉริยะแบบออบเจ็กต์ การวิเคราะห์และ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และการน�ำแนวทางปฏิบัติเพื่อความคล่องตัว (Agile) มาใช้ครอบคลุมทั้งองค์กรจะมีบทบาทส�ำคัญในปีที่ก�ำลังจะ มาถึงนี้ บริษัท ฮิตาชิ แวนทารา ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของบริษัท ฮิตาชิ จ�ำกัด ได้เปิดเผยแนวโน้มธุรกิจและเทคโนโลยีทสี่ ำ� คัญส�ำหรับ ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกในปี 2561 โดยแนวโน้มดังกล่าวเป็นการ คาดการณ์ร่วมกันของ “ฮิวเบิร์ต โยชิดะ” ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่าย เทคโนโลยี และ “รัสเซลล์ สคิงส์ลยี ”์ ประธานเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยเทคโนโลยี ประจ�ำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก การปรับใช้แพลตฟอร์มอินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิง่ (Internet of Things หรือ IoT) จะมีอิทธิพลต่อกลยุทธ์ด้านไอทีขององค์กร ในปี 2561 ควบคูไ่ ปกับเรือ่ งอืน่ ๆ อีกเป็นจ�ำนวนมาก โดยโยชิดะและ สคิงส์ลยี ไ์ ด้ระบุแนวโน้มส�ำคัญ 10 ประการส�ำหรับตลาดเทคโนโลยี ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกประจ�ำปี 2561 ไว้ดังนี้

ฝ่ายไอทีจะใช้ แพลตฟอร์ม IoT เพื่ออ�ำนวยความสะดวก ในการใช้งานโซลูชัน IoT

โซลู ชั น IoT จะน� ำ เสนอข้ อ มู ล เชิ ง ลึ ก อั น มี ค ่ า เพื่ อ ช่ ว ย สนับสนุนองค์กรในการแปรรูปสูร่ ะบบดิจทิ ลั และก�ำลังเป็นทีต่ อ้ งการ อย่างมากในเกือบทุกตลาดและภาคอุตสาหกรรม ฝ่ายไอทีจะต้อง ท�ำงานอย่างใกล้ชดิ กับฝ่ายปฏิบตั กิ ารของธุรกิจเพือ่ ตอบโจทย์ความ ต้องการเฉพาะทางธุรกิจและก�ำหนดขอบเขตของโครงการ IoT

ระบบจัดเก็บข้อมูลแบบออบเจ็กต์ที่ชาญฉลาด

องค์กรต่างๆ ได้เริ่มกระบวนการแปรรูปสู่ระบบดิจิทัลแล้ว ในปีนี้ แต่ปญ ั หาเริม่ แรกทีเ่ กิดขึน้ คือความสามารถในการเข้าถึงข้อมูล ของพวกเขา เนือ่ งจากข้อมูลมักถูกล็อกอยูใ่ นคลังข้อมูลแบบแยกส่วน ที่ท�ำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายมากในการคัดแยกและใช้งาน คลังข้อมูล January-February 2018


เหล่านี้ถูกสร้างขึ้นตามวัตถุประสงค์และไม่มีการแชร์ข้อมูลร่วมกัน ซึง่ ส่งผลให้มขี อ้ มูลทีซ่ ำ�้ ซ้อน ล้าสมัย หรือใช้ไม่ได้อกี ต่อไปเมือ่ มีการ เปลี่ยนกระบวนการทางธุรกิจหรือการเป็นเจ้าของกิจการ แม้ว่าระบบจัดเก็บข้อมูลแบบออบเจ็กต์จะสามารถจัดเก็บ ข้อมูลแบบไม่มโี ครงสร้างได้เป็นจ�ำนวนมหาศาล และมีฟงั ก์ชนั ค้นหา และบริหารจัดการเมตาดาต้า แต่ยังคงขาดคุณสมบัติด้านการรับรู้ บริบททีเ่ กีย่ วข้อง ปัจจุบนั ระบบจัดเก็บข้อมูลแบบออบเจ็กต์มคี วาม สามารถอัน “ชาญฉลาด” ซึง่ ท�ำงานร่วมกับซอฟต์แวร์ทสี่ ามารถค้นหา และอ่านเนือ้ หาในไซโลข้อมูลทัง้ แบบทีม่ โี ครงสร้างและไม่มโี ครงสร้าง รวมทั้งยังสามารถวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวเพื่อคัดแยก จัดรูปแบบ และจัดท�ำดัชนีได้ด้วย

การวิเคราะห์และปัญญาประดิษฐ์

ในปี 2561 จะเห็นการเติบโตของการวิเคราะห์และปัญญา ประดิษฐ์ (AI) ในวงกว้าง เนือ่ งจากบริษทั ต่างๆ มองเห็นผลตอบแทน ที่แท้จริงจากการลงทุนของพวกเขา ข้อมูลจากบริษัท ไอดีซี ระบุว่า การเติบโตของรายได้จากผลิตภัณฑ์ทอี่ งิ กับข้อมูลจะเพิม่ ขึน้ เป็น 2 เท่า เมือ่ เทียบกับกลุม่ ผลิตภัณฑ์และบริการต่างๆ ทีเ่ หลือของ 1 ใน 3 ของ บริษัทที่ติดท�ำเนียบฟอร์จูน 500 จนถึงสิ้นปี 2560 การจัดระเบียบการเรียนรู้ของเครื่อง (Machine Learning) โดย Pentaho ที่รวมระบบภาษาต่างๆ เช่น R และ Python รวมถึง เทคโนโลยีต่างๆ ในการเรียนรู้ของเครื่อง เช่น Spark MLlib ถือเป็น ขัน้ ตอนทีส่ อดคล้องกับทิศทางการด�ำเนินงานดังกล่าว ทัง้ นี้ Lumada ซึง่ เป็นแพลตฟอร์ม IoT ของฮิตาชิ จะช่วยปรับขยายขีดความสามารถ ในการเรียนรูข้ องเครือ่ งด้วยอินพุตและเอาต์พตุ ทีย่ ดื หยุน่ ทัง้ ยังช่วย สร้างมาตรฐานให้กับการเชื่อมต่อ เพื่อให้สามารถก�ำหนดค่าและ จัดการทรัพยากรได้อย่างอัตโนมัติ ทั้งยังท�ำงานร่วมกับ Python, R และ Java ได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย

การปรับใช้การวิเคราะห์วิดีโอจะเพิ่มมากขึ้น

การวิเคราะห์เนื้อหาวิดีโอจะเป็น “ดวงตาที่สาม” ที่นำ� เสนอ ข้อมูลเชิงลึกและเพิ่มประสิทธิภาพการด�ำเนินงานในหลายๆ ด้าน นอกเหนือจากการรักษาความปลอดภัยให้กบั สาธารณะ โดยอัลกอริธมึ ของ Al จะท�ำหน้าทีต่ รวจจับและก�ำหนดเหตุการณ์ชวั่ คราวเชิงพืน้ ที่ และเชิงสัมพันธ์โดยอัตโนมัตดิ ว้ ยการผสานรวมกับข้อมูลอืน่ ๆ ของ IoT เช่น GPS ของระบบโทรศัพท์เคลือ่ นทีแ่ ละฟีดข้อมูลโซเชียลมีเดีย เพือ่ น�ำไปใช้กบั ธุรกิจทีห่ ลากหลาย อาทิ ธุรกิจค้าปลีก การดูแลสุขภาพ อุตสาหกรรมยานยนต์ การผลิต การศึกษา และความบันเทิง เป็นต้น โยชิดะ เชื่อว่า วิดีโอสามารถน�ำเสนอรูปแบบการท�ำงานได้ อย่างโดดเด่น เช่น การเคลื่อนที่ในรูปแบบอัตโนมัติ (การเคลื่อนที่ แบบสามมิตทิ ใี่ ช้ในการน�ำทางระบบหุน่ ยนต์อตั โนมัต)ิ การวิเคราะห์ พฤติกรรม และรูปแบบอื่นๆ ของการรับรู้เชิงสถานการณ์

January-February 2018

การน�ำแนวทางปฏิบัติเพื่อความคล่องตัว (Agile) มาใช้ครอบคลุมทั้งองค์กร

การแปรรูปสูร่ ะบบดิจทิ ลั เป็นเรือ่ งเกีย่ วกับความมีประสิทธิภาพ และการท�ำงานร่วมกันเพือ่ ขับเคลือ่ นให้เกิดผลลัพธ์ทางธุรกิจทีร่ วดเร็ว และมีความเกีย่ วข้องมากขึน้ จึงเป็นเหตุผลทีอ่ งค์กรด้านเทคโนโลยี สารสนเทศก�ำลังน�ำแนวทางปฏิบตั เิ พือ่ ความคล่องตัว (Agile) มาปรับใช้ เพิ่มมากขึ้น องค์กรด้านไอทีทมี่ กี ารด�ำเนินงานในรูปแบบดัง้ เดิมในลักษณะ ของการดูแลเซิรฟ์ เวอร์ เครือข่าย ระบบจัดเก็บข้อมูล ระบบเสมือนจริง และในตอนนีค้ รอบคลุมถึงระบบคลาวด์ดว้ ยนัน้ ก�ำลังก้าวเข้าสูก่ าร เปลี่ยนผ่านที่ส�ำคัญเกี่ยวกับการส่งมอบผลลัพธ์ทางธุรกิจ ในความ เป็นจริงแล้ว หลายคนอาจเถียงว่าไอทีควรมุง่ เน้นทีผ่ ลลัพธ์ดา้ นไอที ไม่ใช่ผลลัพธ์ทางธุรกิจ

การก�ำกับดูแลข้อมูล 2.0

ในปี 2561 จะเห็นความท้าทายใหม่ๆ ในการก�ำกับดูแลข้อมูล ซึง่ ก�ำหนดให้องค์กรต่างๆ ต้องน�ำกรอบการท�ำงานใหม่ๆ เข้ามาใช้งาน ความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ที่สุดจะมาจากกฎระเบียบคุ้มครองข้อมูล ทั่วไป (General Data Protection Regulation : GDPR) ซึ่งจะช่วยให้ ผูม้ ถี นิ่ พ�ำนักในสหภาพยุโรปมีสทิ ธิค์ วบคุมข้อมูลส่วนบุคคลของตน ได้มากขึ้น กฎระเบียบดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดต้นทุนเพิ่มขึ้นและ ยังเพิ่มความเสี่ยงในการรวบรวมและจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลด้วย การละเมิด GDPR อาจต้องเสียค่าปรับมากถึง 21.75 ล้านดอลลาร์ หรือคิดเป็น 4% ของยอดขายทัง้ ปีจากทัว่ โลกของสหภาพยุโรปในปี งบประมาณก่อนหน้านี้

คอนเทนเนอร์ช่วยยกระดับการเข้าสู่ระบบ เสมือนจริงได้อีกขั้น

ระบบเสมือนจริง (Virtualization) ที่ทำ� งานบนคอนเทนเนอร์ จะเป็นเทคโนโลยีเสมือนจริงล่าสุดที่จะได้รับการยอมรับอย่าง แพร่หลายในปี 2561 เมือ่ พิจารณาเครือ่ งเสมือน (VM) รุน่ ใหม่ๆ จะพบว่า มีหลายส่วนรวมอยูใ่ นอุปกรณ์เครือ่ งเดียว (รวมถึงระบบปฏิบตั กิ าร : OS) ขณะที่คอนเทนเนอร์จะมีเพียงแอพพลิเคชั่นเพียงอย่างเดียว และทั้งหมดจะขึ้นอยู่กับว่าแอพต้องการสิ่งใดเพิ่มเติม

โครงการบล็อกเชน (Blockchain) จะเติบโตเต็มที่

โยชิดะ กล่าวว่า บล็อกเชนจะอยูใ่ นกระแสในปี 2561 เนือ่ งด้วย เหตุผล 2 ประการ ดังนี้ ประการแรก คือการใช้สกุลเงินเข้ารหัส (Crypto Currency) ซึง่ ก�ำลังได้รบั การยอมรับอย่างมากในปีนี้ เนือ่ งจากเป็นสกุลเงินทีม่ ี เสถียรภาพในประเทศต่างๆ ทีก่ ำ� ลังตกอยูใ่ นภาวะเงินเฟ้อขัน้ รุนแรง (Hyperinflation) นอกจากนี้ ประเทศญีป่ นุ่ และสิงคโปร์กย็ งั แจ้งด้วยว่า


พวกเขาจะสร้างสกุลเงินเข้ารหัสแบบคงทีใ่ นปี 2561 ทีจ่ ะด�ำเนินการ โดยธนาคารและบริหารจัดการโดยหน่วยงานก�ำกับดูแลของรัฐ โดยผู้บริโภคจะใช้สกุลเงินนี้เพื่อการช�ำระเงินแบบ P2P, ในระบบ อีคอมเมิรซ์ และการโอนเงิน ซึง่ จะท�ำให้ธนาคารหลายแห่งหันมาใช้ บล็อกเชนเพือ่ ช่วยยกระดับขีดความสามารถทีจ่ ำ� เป็นในการบริหาร จัดการบัญชีในสกุลเงินเข้ารหัสได้ ประการทีส่ อง คือการใช้บล็อกเชนก�ำลังขยายตัวเพิม่ มากขึน้ ในภาคการเงินส�ำหรับกระบวนการท�ำงานทีเ่ ป็นกิจวัตร เช่น การควบคุม ภายใน การจัดท�ำเอกสารข้อมูลลูกค้า และการฟ้องร้องทางกฎหมาย นอกจากนี้ การโอนเงินระหว่างธนาคารผ่านระบบบัญชีแยกประเภท ของบล็อกเชนยังคาดว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้นในปี 2561 ด้วย รวมถึง ภาคส่วนอืน่ ๆ ทีจ่ ะเริม่ มองเห็นต้นแบบเกีย่ วกับสัญญาทีช่ าญฉลาด และบริการด้านการพิสูจน์ตัวตนต่างๆ ส�ำหรับการดูแลสุขภาพ หน่วยงานภาครัฐ ความปลอดภัยด้านอาหาร และสินค้าลอกเลียนแบบ

ได้เวลาของระบบพิสูจน์ตัวตนแบบไบโอเมตริกซ์ แล้ว

จ�ำนวนรหัสผ่านทีเ่ พิม่ มากขึน้ ของผูบ้ ริโภคในปัจจุบนั จะเป็น ตัวผลักดันให้เกิดการก้าวเข้าสูร่ ะบบพิสจู น์ตวั ตนแบบไบโอเมตริกซ์ ในปี 2561

การร่วมกันสร้างมูลค่า

ความคิดทางธุรกิจแบบดั้งเดิมมักเริ่มต้นด้วยสมมติฐานที่ว่า ผูผ้ ลิตจะเป็นผูก้ ำ� หนดมูลค่าโดยอัตโนมัตผิ า่ นผลิตภัณฑ์และบริการ ทีพ่ วกเขาเลือกไว้ ขณะทีผ่ บู้ ริโภคจะศึกษาข้อมูลผ่านการวิจยั ตลาด และมีส่วนร่วมในกระบวนการสร้างโซลูชันและมูลค่าในทางอ้อม ในปี 2561 โยชิดะเชื่อว่าเราจะเห็นการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบของ การร่วมกันสร้างมูลค่า ซึง่ จะเปลีย่ นจากการสร้างโซลูชนั และมูลค่า ที่มีผู้ผลิตเป็นศูนย์กลางมาเป็นการร่วมกันสร้างมูลค่าอย่างแท้จริง ทั้งนี้ บริษัท ฮิตาชิ เห็นว่าการร่วมกันสร้างมูลค่านั้นเป็น กระบวนการของการท�ำงานร่วมกับลูกค้าและผู้มีบทบาทส�ำคัญใน ระบบนิเวศเพื่อสร้างนวัตกรรมและสร้างมูลค่าใหม่ให้กับผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทางธุรกิจ ลูกค้า และสังคมโดยรวม ซึง่ ขณะนีบ้ ริษทั ได้รว่ มมือ กับลูกค้าจ�ำนวนมากในการสร้างสรรค์และพัฒนาแนวทางปฏิบัติ เกีย่ วกับการร่วมกันสร้างมูลค่า และคาดว่าจะมีความก้าวหน้าอย่าง มากในปี 2561 ผูส้ นใจสามารถหาข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ : Hu Yoshida’s blog / Twitter / LinkedIn

Adoption of IoT Platforms Will Be the Top IT Trend in 2018 Smart object storage, analytics and AI, and the extension of agile methodologies across the enterprise will all play key roles during the coming year Hitachi Vantara, a wholly owned subsidiary of Hitachi, Ltd., released its key business and technology trends for Asia Pacific in 2018. These trends are jointly predicted by Hubert Yoshida, chief technology officer, and Russell Skingsley, chief technology officer Asia Pacific. The adoption of Internet of Things (commonly referred to as IoT) platforms will dominate enterprise IT strategies in 2018, alongside a number of other areas. Yoshida and Skingsley have identified ten key trends for the Asia Pacific technology market in 2018.

1: IT will adopt IoT platforms to facilitate the application of IoT solutions

IoT solutions deliver valuable insight to support digital transformation and are rapidly becoming a strategic imperative in almost every industry and market sector. IT must work closely with the operations side of the business to focus on specific business needs and define the scope of an IoT project.

2: Object storage gets smart

Enterprises started their digital transformation this year but the first problem that they ran into was the ability to access their data. Data is often locked in isolated islands that make it costly to extract and use. These islands were built for purpose and not to be shared, and many contain data that is duplicated, obsolete or no longer used because of changes in business process or ownership.

3: Analytics and artificial intelligence

2018 will see a growth in analytics and artificial intelligence (AI) across the board as companies see real returns on their investments. According to IDC, revenue growth from informationbased products will double the rest of the product and services portfolio for a third of Fortune 500 companies by the end of 2017. Pentaho’s machine learning orchestration, with integrations for languages like R and Python and for machine learning January-February 2018


technologies like Spark MLlib, are steps in that direction. Lumada, Hitachi’s IoT platform, enables scalable IoT machine learning with flexible input and outputs, standardizes connections that can automatically configure and manage resources, and is compatible with Python, R and Java for machine learning.

a new generation of virtual machines (VMs), which abstracted an entire device including the operating system (OS), containers consist only of the application and all the dependencies that the application needs.

4: Wider adoption of video analytics

According to Yoshida, blockchain will be in the news in 2018 for two reasons: First is the use of cryptocurrencies, which saw growing acceptance this year as a stable currency in countries that were plagued by hyperinflation. Japan and Singapore are also indicating that they will create flat-denominated cryptocurrencies in 2018 that will be run by banks and managed by regulators. Consumers will use this for P2P payments, ecommerce and fund transfers. This will lead many banks to turn to blockchain to help them build the capacity needed to manage accounts in cryptocurrencies. Second is the growing use of blockchain in the financial sector for routine processes like internal regulatory functions, customer documentation and regulatory filings. Interbank fund transfers via blockchain ledgers are also expected to expand in 2018, and other sectors will begin to see prototypes with smart contracts and identity services for healthcare, governments, food safety and counterfeit goods.

Video content analytics will be a “third eye” for greater insight, productivity and efficiency in a number of domains beyond public safety. Algorithms that automatically detect and determine temporal, spatial and relational events combined with other IoT information, like cell phone GPS and social media feeds, to apply to a wide range of businesses like retail, healthcare, automotive, manufacturing, education and entertainment. Yoshida believes that video can provide unique functions like ego motion - 3D motion used in autonomous robot navigation - behavior analysis and other forms of situational awareness.

5: Extension of agile methodologies across the enterprise

Digital transformation is all about efficiency and working together to drive faster and more relevant business outcomes. This is why more information technology organizations are adopting agile methodology. IT organizations have a legacy of siloed operations with server, network, storage, database, virtualization, and now cloud administrators passing change notices back and forth to deliver a business outcome. In fact, many would argue that IT was more focused on IT outcomes and not business outcomes.

6: Data governance 2.0

2018 will see new challenges in data governance which will require organizations to implement new frameworks. The biggest challenge will come from the General Data Protection Regulation (GDPR), which will give EU residents more control over their personal data. This regulation will drive up costs and increase the risks involved in collecting and storing personal data. Violations of the GDPR could face fines totaling up to $21.75 million, or 4% of EU’stotal annual worldwide turnover of the preceding financial year.

7: Containers enable movement to the next level of virtualization

Container-based virtualization is the latest virtualization technology that will gain wider acceptance in 2018. Considered January-February 2018

8: Blockchain projects will mature

9: Time is right for biometric authentication

The increasing numbers of passwords required by today’s consumers will also support the shift towards biometric authentication in 2018.

10: Co-creation of value

Traditional business thinking starts with the premise that the producer autonomously determines value through its choice of products and services. Consumers have typically been consulted through market research and were passively involved in the process of creating solutions and value. In 2018, Yoshida thinks we will witness a shift in value creation, away from producer-centric, solution-value creation to a co-creation paradigm of value creation. Hitachi sees co-creation as the process of collaborating with customers and ecosystem players in order to innovate and create new value for business stakeholders, customers and society at large. The company has been co-creating with a number of customers and has developed a co-creation methodology that it expects will see further uptake in 2018. Find Out More : Hu Yoshida’s blog / Twitter / LinkedIn


กลุ่มผู้บริหารถิรไทย ร่วมยินดีบอสใหญ่รับพระราชทาน ปริญญาวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สัมพันธ์ วงษ์ปาน ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการ บริษัท ถิรไทย จ�ำกัด (มหาชน) หรือ TRT ได้รับพระราชทานปริญญาวิศวกรรม ศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิ ต ติ ม ศั ก ดิ์ สาขาวิ ศ วกรรมไฟฟ้ า จากมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ นับเป็นความภาคภูมิใจอย่างยิ่งส�ำหรับผู้บริหาร สูงสุดของบริษัทฯ ที่โชว์ศักยภาพด้านผู้น�ำตลาดผู้ผลิตหม้อแปลงไฟฟ้า และ อุตสาหกรรมด้านเกีย่ วกับพลังงานไฟฟ้ารายใหญ่ของประเทศมาอย่างสม�ำ่ เสมอ น�ำทีมโดย สุนันท์ สันติโชตินันท์ กรรมการบริษัทฯ ร่วมแสดงความยินดี

ซีเกท ประเทศไทย รับรางวัล “องค์กรทีม่ คี วามรับผิดชอบ ต่อสังคมดีเด่น” ระดับโกลด์

เจฟฟรี่ ดี. ไนการ์ด รองประธานบริหาร ฝ่ายปฏิบตั กิ ารทัว่ โลก บริษทั ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จ�ำกัด (ที่ 5 จากซ้าย) พร้อมคณะผูบ้ ริหาร รับรางวัล “องค์กรทีม่ คี วามรับผิดชอบต่อสังคมดีเด่น” ระดับโกลด์ ประจ�ำปี 2560 จาก หอการค้าอเมริกนั ในประเทศไทย มี กลิน ที. เดวีส์ เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา ประจ�ำประเทศไทย (ที่ 6 จากซ้าย) เป็นผู้มอบรางวัล นับเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ที่ซีเกท ประเทศไทย ได้รับรางวัลซึ่งเป็นผลมาจากความมุ่งมั่นของผู้บริหาร และพนักงานในการส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของผู้คนในชุมชน

แอ๊พซินท์ คว้า 2 รางวัลซิลเวอร์เอเจนซี่แห่งปี

มร.โรเบิรต์ แกลลาเกอร์ ผูก้ อ่ ตัง้ และกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั แอ๊พซินท์ เอเชีย จ�ำกัด เข้ารับรางวัลซิลเวอร์เอเจนซีแ่ ห่งปี ในงานแคมเปญเอเชียอะวอร์ดส์ ประจ�ำปี 2560 นี้ จัดขึน้ ทีป่ ระเทศสิงคโปร์ แอ๊พซินท์ บริษทั ผูพ้ ฒ ั นาซอฟต์แวร์ บนโมบายและเอเจนซีด่ า้ นการตลาดของไทย คว้ารางวัลซิลเวอร์ เอเจนซีแ่ ห่งปี ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถงึ 2 ประเภทด้วยกัน ประกอบด้วย ประเภท เอเจนซี่การตลาดบนโมบายแห่งปี (Mobile Marketing Agency) และประเภท เอเจนซีอ่ สิ ระแห่งปี (Independent Agency) รางวัลซิลเวอร์ประเภทเอเจนซีด่ า้ น การตลาดบนโมบายในระดับภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และรางวัลเอเจนซี่ อิสระแห่งปี ส�ำหรับประเทศไทยนัน้ นับเป็น 2 รางวัลทีพ่ สิ จู น์ถงึ การเติบโตของ บริการด้านการพัฒนาโมบายแอพพลิเคชั่นและบริการด้านการตลาด

บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป ประเทศไทย ยกระดับการศึกษา อาชีวะด้านยานยนต์ บีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ ประเทศไทย น�ำโดย มร.ซีซาร์ บาดิลย่า ผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ายบริการหลังการขาย สานต่อโครงการ BMW Service Apprentice Program สูป่ ที ี่ 5 ร่วมพัฒนาบุคลากรด้านยานยนต์ในระบบทวิภาคี มอบประกาศนียบัตร ให้แก่นกั ศึกษาอาชีวะทีผ่ า่ นการอบรมความรูแ้ ละฝึกฝนทักษะด้านยานยนต์จาก วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกมหานคร วิทยาลัยเทคนิคชุมแพ และวิทยาลัย การอาชีพบางแก้วฟ้า ทัง้ สิน้ 19 คน ณ ศูนย์ฝกึ อบรมบีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ ประเทศไทย โดยนักศึกษาทั้ง 19 คนที่ส�ำเร็จหลักสูตรภายใต้โครงการดังกล่าว ได้รับโอกาส ในการท�ำงานกับผู้จำ� หน่ายบีเอ็มดับเบิลยูในประเทศไทยต่อไป

January-February 2018


เอชไอเอส เอ็มเอสซี แนะน�ำโซลูชันใหม่ล่าสุด ส�ำหรับระบบบริหารบัญชีในส่วนของโรงแรม บริษัท เอชไอเอส เอ็มเอสซี จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทร่วมของ บริษัท เมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ MSC จัดงานสัมมนาเพือ่ แนะน�ำ “METRO.BRITA.HOTEL ACCOUNTING SYSTEM” ซึ่งเป็นระบบ บริหารบัญชีในส่วนของโรงแรม ซึง่ เป็นโซลูชนั ใหม่ลา่ สุดทีพ่ ฒ ั นาและออกแบบ เพือ่ รองรับระบบการจัดการทางการเงินของโรงแรมด้วยประสบการณ์ทมี่ ากกว่า 10 ปี เป็นซอฟต์แวร์ทปี่ ระสบความส�ำเร็จอย่างสูงในด้านการจัดการระบบส�ำนักงาน ห้องอาหาร และโรงแรม ทีม่ คี ณ ุ สมบัตใิ ช้งานง่ายและสามารถค�ำนวณการคืนทุน ได้อย่างรวดเร็ว

แสดงความยินดี ทีมผู้ชนะโครงการ DATATHON II Drone as a Service

คณะสมาชิกหลักสูตร วพน. เยี่ยมชมแหล่งผลิตน�้ำมัน และก๊าซธรรมชาติปลาทองบริษัทเชฟรอน

ขอแสดงความยินดีกบั ทีม Data Mining จากสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว (สปป.ลาว) ผูช้ นะโครงการ DATATHON II Drone as a Service โดยความร่วมมือระหว่างส�ำนักงานดรีม ออฟฟิต ซีอาเซียน ผู้ก่อตั้งโครงการฯ และบริษทั ทีซซี ี เทคโนโลยี จ�ำกัด (ทีซซี เี ทค) ในฐานะพันธมิตรให้การสนับสนุน ด้านความรู้ ผูเ้ ชีย่ วชาญและเทคโนโลยีคลาวด์ (ลีพ จีโอ พับลิก) ส�ำหรับให้ผเู้ ข้า แข่งขันใช้ทดลองและพัฒนาไอเดียได้จริงบนคลาวด์แพลตฟอร์มในระหว่างการ แข่งขัน รวมถึงได้รบั ความร่วมมืออันดีจากกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึง่ DATATHON II Drone as a Service ภายใต้โจทย์ Drone as a Service ตั้งเป้าพัฒนาอากาศยานไร้คนขับ (Drone) ร่วมกับเทคโนโลยีเด่นอย่าง Cloud และ Big Data Analytics สร้างคุณค่าให้โดรน เป็นมากกว่าของเล่นหรือแค่ FLY-ING Camcorder ทางโครงการมุง่ ผลักดันการ เติบโตอย่างยัง่ ยืนของสตาร์ตอัพทัง้ ไทยและต่างประเทศ โดยโครงการดังกล่าว จัดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ ณ ส�ำนักงานดรีม ออฟฟิต ซีอาเซียน กรุงเทพฯ

บริษัท เชฟรอนประเทศไทยส�ำรวจและผลิต จ�ำกัด น�ำโดย ศิริพร ไชยสุต ทีป่ รึกษาอาวุโสประธาน บริษทั เชฟรอนเอเชียแปซิฟกิ ส�ำรวจและผลิต จ�ำกัด ให้การต้อนรับคณะสมาชิกหลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการ พลังงาน (วพน.) รุน่ ที่ 10 น�ำโดย ดร.เจิมศักดิ์ ปิน่ ทอง อดีตสมาชิกวุฒสิ ภาและ นักวิชาการอิสระ ในการเยี่ยมชมแท่นผลิตปิโตรเลียมของแหล่งผลิตปลาทอง ของบริษทั เชฟรอนประเทศไทยส�ำรวจและผลิต จ�ำกัด ในอ่าวไทย เพือ่ ให้คณะฯ ได้รบั ทราบข้อมูลในการด�ำเนินงานในทุกขัน้ ตอนของกระบวนการผลิตปิโตรเลียม ได้เห็นการปฏิบตั งิ านจริง ตลอดจนตอบข้อซักถาม ทัง้ ในด้านความโปร่งใสในการ ท�ำงาน การปฏิบัติงานตามข้อก�ำหนดและกฎหมายต่างๆ รวมถึงการให้ความ ส�ำคัญกับความปลอดภัย ความเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และความน่าเชือ่ ถือตลอด ทุกขั้นตอนการท�ำงาน ตั้งแต่การส�ำรวจ ผลิต ขนถ่าย ไปจนถึงการซื้อขาย

โฮมโปร ร่วมกับ เอสพีซีจี จัดสัมมนา “ลงทุนโซลาร์รูฟเสรี กับ SPR” วิกรม โสทนา ผูจ้ ดั การเขตและฝ่ายบริหารกลุม่ สินค้า บริษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) พร้อมด้วย ดร.วันดี กุญชรยา คงจุลเจริญ กรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั เอสพีซจี ี จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมจัดสัมมนา “ลงทุนโซลาร์รฟ ู เสรี กับ SPR” ที่สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์และการสร้างก�ำไรจากพลังงาน แสงอาทิตย์ ช่วยให้ประหยัดเงิน ประหยัดพลังงาน งานนี้ได้รับความสนใจจาก ลูกค้าโฮมโปรและประชาชนทัว่ ไปเป็นจ�ำนวนมาก ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี

January-February 2018


กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย ฉลองครบรอบ 50 ปี และ กลุ่มบริษัทร่วมทุน เอสซีจี-ดาว ครบรอบ 30 ปี กลุม่ บริษทั ดาว ประเทศไทย จัดงานฉลองครบรอบ 50 ปี การด�ำเนินธุรกิจ ในประเทศไทย และครบรอบ 30 ปีของการก่อตัง้ กลุม่ บริษทั ร่วมทุน เอสซีจ-ี ดาว กรุ๊ป ภายในงานได้รับเกียรติจาก กลิน ที. เดวีส์ เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา ประจ�ำประเทศไทยเข้าร่วม โดยมี แอนดรูว์ ลิเวอริส ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และประธานกรรมการ บริษทั ดาว เคมิคอล และ รุง่ โรจน์ รังสิโยภาส กรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ เอสซีจี และพันธมิตรธุรกิจกลุม่ บริษทั ร่วมทุน เอสซีจ-ี ดาว ให้การ ต้อนรับ ณ โรงแรมพลาซ่า แอทธินี กรุงเทพมหานคร

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค มอบนวัตกรรมไฮเทค IIoT ให้ ม.ขอนแก่น

Smart City ขอนแก่น เมืองแห่งโอกาส ก้าวสู่ ไทยแลนด์ 4.0 มุ่งสู่ Global City

มร.มาร์ค เพลิทิเยร์ ประธานชไนเดอร์ อิเล็คทริค และ พรเพ็ญ โสธนะพันธุ์ รองประธานกลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรม ร่วมลงนามในบันทึกความ ร่วมมือทางวิชาการคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พร้อมด้วย รศ. ดร.กิตติชยั ไตรรัตนศิรชิ ยั อธิการบดี และ ศ. ดร.อภิรฐั ศิรธิ ราธิวตั ร คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในการจัดตัง้ ศูนย์การเรียนรูด้ า้ น วิศวกรรมศาสตร์ เพื่อถ่ายทอดความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี IIoT (Industrial Internet of Things) พร้อมสนับสนุนชุดสาธิตระบบอัตโนมัตใิ นโรงงานอุตสาหกรรม รวมมูลค่ามากกว่า 1 ล้านบาท เพื่อให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้การท�ำงานของ นวัตกรรมใหม่ๆ อย่างเป็นรูปธรรม โดยชไนเดอร์ให้ความส�ำคัญกับภาคการศึกษา ทีเ่ ป็นรากฐานของของประเทศในการผลิตก�ำลังคน เป็นขุมพลังในการขับเคลือ่ น เศรษฐกิจดิจิทัลของไทย

สมศักดิ์ จังตระกุล ผูว้ า่ ราชการจังหวัดขอนแก่น ให้เกียรติเป็นประธาน กล่าวถึงวิสยั ทัศน์เกีย่ วกับยุทธศาสตร์และแผนพัฒนา “Khon Kaen Smart City” ทัง้ 6 ด้าน ประกอบด้วย Smart Economy/Smart People/ Smart Mobility/Smart Living/Smart Environment/Smart Government เนื่องในโอกาสคณะผู้บริหาร ส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั น�ำโดย มีธรรม ณ ระนอง ผูช้ ว่ ยผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั เข้าเยีย่ มชมและติดตามการเตรียมความพร้อม สูก่ ารเป็น “Khon Kaen Smart City” ซึง่ จังหวัดขอนแก่นเป็นหนึง่ ในจังหวัดน�ำร่อง ด้าน Smart City ที่มีโครงสร้างการพัฒนาโดดเด่นในลักษณะการมีส่วนร่วมที่ แท้จริงของจังหวัด ท้องถิน่ เอกชน ประชาสังคม ส�ำนักงาน DEPA ได้รว่ มมือกับ จังหวัดขอนแก่นและ Start Up ในการวางแนวทางด�ำเนินงาน Medical Hub ด้าน Health Care & Medica อันเป็นเป้าหมายแรกในการขับเคลือ่ นจังหวัดขอนแก่น ไปสู่รูปแบบ Smart City อย่างเต็มระบบ

เคเจแอล ก้าวสู่ปีที่ 31 แถลงทิศทางธุรกิจ พร้อมก้าวสู่อุตสาหกรรม 4.0 รุกตลาดสากล การุณย์ สุจวิ โรดม ประธานกรรมการบริหาร กันยา สุจวิ โรดม รองประธาน กรรมการบริหาร และ เกษมสันต์ สุจวิ โรดม ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร พร้อมด้วย ทีมผูบ้ ริหาร บริษทั กิจเจริญ เอ็นจิเนียริง่ อีเลคทริค จ�ำกัด หรือเคเจแอล หนึง่ ใน ผู้น�ำทางด้านอุตสาหกรรมการผลิตตู้ไฟ รางไฟ เคเจแอล และงานสั่งท�ำพิเศษ จัดงานแถลงข่าว “ทิศทางธุรกิจ 30 ปี KJL ก้าวไปด้วยกัน ก้าวไปได้ไกล” พร้อม ก้าวสูอ่ ตุ สาหกรรม 4.0 ด้วยนวัตกรรมล�ำ้ สมัย ขยายตลาดระดับสากล ณ โรงแรม เซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว

January-February 2018


หลักสูตร

ความรู้พื้นฐานในการทำ�งาน เกี่ยวกับไฟฟ้าที่ผู้ปฏิบต ั ิงานด้าน ความปลอดภัยจำ�เป็นต้องรู้ รุ่นที่ 1 วันที่ 27 มกราคม 2561 ณ ห้องประชุม วสท.

จัดโดย สถาบันวิศวพัฒน์ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

หลักการและเหตุผล

พลังงานไฟฟ้านับได้ว่ามีความส�ำคัญต่อการขับเคลื่อนทาง ธุรกิจของทุกองค์กร ไม่ว่าจะเป็นภาคบริการ หรือภาคอุตสาหกรรม และการท�ำงานเกีย่ วกับไฟฟ้า หรือการใช้พลังงานไฟฟ้านัน้ ย่อมมีความ เสีย่ งอันตรายทีจ่ ะเกิดความสูญเสีย ทัง้ ต่อร่างกาย ชีวติ และทรัพย์สนิ อย่างใหญ่หลวงได้เช่นกัน ความปลอดภัยในการท�ำงานจึงถูกก�ำหนด เป็นนโยบายทีท่ กุ องค์กรให้ความส�ำคัญเป็นอันดับแรก โดยมีเจ้าหน้าที่ ความปลอดภัยในการท�ำงาน (จป.) และคณะกรรมการความปลอดภัยฯ (คปอ.) เป็นก�ำลังหลักในการผลักดันให้เกิดความปลอดภัยในการท�ำงาน ของทุกองค์กร ส�ำหรับความปลอดภัยในการท�ำงานเกีย่ วกับไฟฟ้านัน้ กระทรวงแรงงานได้มกี ารออกกฎกระทรวง ก�ำหนดมาตรฐานในการ บริหาร จัดการ และด�ำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน เกีย่ วกับไฟฟ้า พ.ศ. 2558 ซึง่ มีผลบังคับใช้ ในปัจจุบนั จึงเป็นสิง่ จ�ำเป็นอย่างทีบ่ คุ ลากรผูป้ ฏิบตั งิ านด้านความปลอดภัย ในการท�ำงานของทุกองค์กรควรต้องได้มกี ารอบรมในหลักสูตรดังกล่าว เพือ่ ให้มคี วามรูพ้ น้ื ฐานทีจ่ ำ� เป็นเกีย่ วกับไฟฟ้าทัง้ ภาคทฤษฎี และภาค ปฏิบตั ิ เพือ่ น�ำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุดในการท�ำงานเกีย่ วกับ ไฟฟ้า ร่วมกับช่างเทคนิค วิศวกร ในองค์กร และรวมถึงการติดตาม และควบคุม ตรวจสอบ การท�ำงานของช่างผูร้ บั เหมาทีเ่ ข้ามาท�ำงาน เกี่ยวกับไฟฟ้า ให้มีความปลอดภัยทั่วทั้งองค์กรต่อไป

เนื้อหาวิชา ประกอบด้วย

กฎหมายเกี่ยวกับงานด้านไฟฟ้า  กฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2558  พรบ. ส่งเสริมพัฒนาฝีมอ ื แรงงานฯ พ.ศ. 2545 แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557 January-February 2018

ไฟฟ้าเบื้องต้น ที่ผู้ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยต้องรู้ แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า ความต้านทานไฟฟ้า  กฎของโอห์ม และก�ำลังไฟฟ้า  ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า 

เครื่องมือ และการตรวจวัดทางไฟฟ้าพื้นฐาน การตรวจวัดแรงดันไฟฟ้า  การตรวจวัดกระแสไฟฟ้า  การตรวจวัดความต้านทานไฟฟ้า  การตรวจวัดความเป็นฉนวนไฟฟ้า  การตรวจวัดความต้านทานหลักดิน 

สายไฟฟ้า พื้นฐานการใช้งาน และการเปลี่ยนแปลง สายไฟฟ้า มอก.11-2531 (มาตรฐานเก่า)  สายไฟฟ้า มอก.11-2533 (มาตรฐานใหม่) 

อันตราย การประสบอันตรายจากไฟฟ้า และการป้องกัน ไฟฟ้าดูด และการป้องกัน  ไฟฟ้าลัดวงจร และการป้องกัน 

ระบบการจัดการเพื่อความปลอดภัยในการท�ำงาน เกี่ยวกับไฟฟ้า

พลังงานไฟฟ้าสะสมในพื้นที่ท�ำงาน ที่อาจเป็นอันตราย  การปลดปล่อยพลังงานไฟฟ้าสะสม ก่อนลงมือปฏิบัติงาน  การประยุกต์ใช้ระบบ Lockout Tagout เพือ ่ ความปลอดภัยในงาน ไฟฟ้า 


วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม

เพือ่ เรียนรูถ้ งึ กฎหมายเกีย่ วกับงานไฟฟ้า กฎหมายอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง และความส�ำคัญของความปลอดภัย  เพือ ่ เรียนรูถ้ งึ หลักการทางด้านเทคนิคเกีย่ วกับไฟฟ้าพืน้ ฐาน เพือ่ ความปลอดภัยในการท�ำงาน  เพือ ่ เรียนรูถ้ งึ อันตราย การประสบอันตรายจากไฟฟ้า และวิธปี อ้ งกัน ที่ถูกต้อง  เพื่อเรียนรู้ถึงระบบการจัดการด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน เกี่ยวกับไฟฟ้า 

กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าอบรม

ผู้ปฏิบัติงานช่างเทคนิค  วิศวกร  นักเรียน นักศึกษา  เจ้าหน้าทีค ่ วามปลอดภัยในการท�ำงาน (จป.), คณะกรรมการความ ปลอดภัยฯ (คปอ.) และผู้ที่สนใจ 

คณะวิทยากร

อาจารย์ วุฒิพงศ์ ปัทมวิสุทธิ์

ปริญญาตรี อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินยิ ม) วิศวกรรมไฟฟ้า อีเล็กทรอนิกส์  วิศวกรที่ปรึกษา/วิทยากร  ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านไฟฟ้าโครงข่ายสื่อสาร คอมพิวเตอร์ วิศวกรรมความปลอดภัย การอบรม การบรรยายวิชาการ 

อาจารย์ ชัยยา ปาณาราช

(วศ.บ.) ไฟฟ้าก�ำลัง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วข.อ. จังหวัด นครราชสีมา  อาจารย์พิเศษแผนกช่างไฟฟ้า วิทยาลัยการอาชีพพิมาย จังหวัด นครราชสีมา  วิศวกรอิสระและวิศวกรทีป ่ รึกษา งานออกแบบ ติดตัง้ บ�ำรุงรักษา ตรวจสอบ ระบบไฟฟ้า เทคนิคการอนุรกั ษ์พลังงานตามหลักวิศวกรรม 

ว่าที่ ร.ต.ธีรเทพ พราหมณ์มณี

ปริญญาตรี (วศ.บ.) ไฟฟ้าก�ำลัง (เกียรตินิยม) สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง  กรรมการผู้จัดการ บริษัท ออดิเนท จ�ำกัด  ออกแบบงานด้านระบบไฟฟ้า  ตรวจสอบความปลอดภัยระบบไฟฟ้า ในสถานประกอบการ โรงงาน  ตรวจสอบอาคาร ตรวจสอบป้าย  วิทยากรหลักสูตรความปลอดภัยในการท�ำงานเกีย ่ วกับไฟฟ้าและ การช่วยเหลือผูป้ ระสบอันตรายจากไฟฟ้าและปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น  อาจารย์พิเศษ ELECTRICAL SYSTEM & DRAWING DESIGN  คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) 

เวลา

เนื้อหา

09.00-12.00 น.  ทดสอบก่อนอบรม  ไฟฟ้าเบือ ้ งต้น ทีผ่ ปู้ ฏิบตั งิ านด้านความ ปลอดภัยต้องรู้  กฎหมายเกี่ยวกับงานด้านไฟฟ้า  เครื่องมือ และการตรวจวัดทางไฟฟ้า พื้นฐาน  สายไฟฟ้า พืน ้ ฐานการใช้งาน และการ เปลี่ยนแปลง 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-16.00 น.  สถานีที่ 1 (กลุม่ ที่ 1) อันตราย การประสบ อันตรายจากไฟฟ้า และการป้องกัน  สถานีท่ี 2 (กลุม ่ ที่ 2) ระบบการจัดการ เพื่ อ ความปลอดภั ย ในการท� ำ งาน เกี่ยวกับไฟฟ้า  ทดสอบหลังอบรม  มอบวุฒิบัตร, ปิดการอบรม 10.30-10.45 น. และ 14.30-14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง

อาจารย์ วุฒินันทน์ ปัทมวิสุทธิ์

วิทยากรหลักสูตรด้านความปลอดภัยในการท�ำงานทั่วไป ด้าน เครื่องจักร ปั้นจั่น เครื่องมือกล วิศวกรรมความปลอดภัย  อนุกรรมการยกร่างมาตรฐานในการบริหารจัดการและด�ำเนินการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน เกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน�้ำ ตามค�ำสั่งแต่งตั้งของ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการท�ำงาน  ประธานอนุกรรมการ คณะอนุกรรมการวิศวกรรมยกหิว ้ และปัน้ จัน่ ไทย ในคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมเครื่องกล วสท. 

เจ้าหน้าที่ผู้ดูแล : เจนจิรา จุฑานันท์ (โบว์) Tel : (02)184-4600-9 ต่อ 520 Fax : (02)184-4597-8 E-mail : janejirac@eit.or.th

January-February 2018


Movement

IEEE PES Dinner Talk 2017

Hyundai Electric & Energy Systems Co., Ltd. เข้าร่วมงาน IEEE PES Dinner Talk 2017 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 16 พฤศจิกายน 2560 ณ ห้องวิภาวดีบอลรูม โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว กรุงเทพฯ ภายในงานมีการเสวนาในหัวข้อ Modernizing the Thailand Grid : มุ่งหน้าสู่ความล�้ำสมัยของระบบโครงข่ายไฟฟ้าไทย โดยผู้เชี่ยวชาญและ มีประสบการณ์ด้านพลังงานระดับประเทศร่วมเสวนา Hyundai Electric & Energy Systems Co., Ltd. เป็นผูผ้ ลิตอุปกรณ์ ไฟฟ้าตัง้ แต่ Low Voltage จนถึง High Voltage ที่ 800 kV โดยมีสำ� นักงานใหญ่ ทีก่ รุงโซลเมืองหลวง และโรงงานตัง้ อยูท่ เี่ มืองอุลซัน (Ulsan) ทางตอนใต้ของ ประเทศเกาหลีใต้ บนพืน้ ทีก่ ว่า 87 ล้านตารางเมตร พนักงานกว่า 35,000 คน ผลิตและจ�ำหน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้า อาทิเช่น Gas Insulated Switchgear, Transformer, MV & LV Switchgear, Circuit Breaker, Magnetic & Contactor etc. ในปัจจุบนั ฮุนไดมีลกู ค้าทีใ่ ห้การยอมรับและเลือกใช้ผลิตภัณฑ์มากกว่า 70 ประเทศทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ซึ่งผลิตภัณฑ์ผ่านมาตรฐานสากล ทั้ง IEC, ANSI, KEPIC, KERI, KEMA, CSA, DIN, AS, JIS, ES, GOST, ATEX, CU&UL etc. สนใจผลิตภัณฑ์ติดต่อ T&D Powertech (Thailand) Co., Ltd. Tel. 0-2002-4395-7 E-mail : info@tdpowertech.com

ATSI จัดงาน “Thailand Software Fair 2017”

สมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย (ATSI) จัดงานใหญ่ “Thailand Software Fair 2017” เปิดงานอย่างยิ่งใหญ่ โดย พลอากาศเอก ดร.ประจิน จัน่ ตอง รองนายกรัฐมนตรี ให้เกียรติเป็น ประธานและปาฐกถาพิเศษ เรือ่ ง “Digital Transformation Strategy for Thailand 4.0” โดย พันเอก ดร.เศรษฐพงศ์ มะลิสวุ รรณ รองประธาน กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม แห่งชาติ และการบรรยายพิเศษ เรื่อง “สังคมไร้เงินสดในยุคดิจิทัล ไทยแลนด์ : กรณีศกึ ษา SCB” โดย สีหนาท ล�ำ่ ซ�า ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การใหญ่ ผูบ้ ริหารสูงสุด Payments & Disruptive Technology Office ธนาคาร ไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) พร้อมด้วยสัมมนาและเสวนาคับคั่ง โดยผูท้ รงคุณวุฒจิ ากภาครัฐและภาคธุรกิจตลอดวัน ซึง่ มีผสู้ นใจเข้าฟัง อย่างเนืองแน่น

January-February 2018


Thailand Lighting Fair 2017

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ร่วมกับเมสเซ่ แฟรงค์เฟิร์ต และดิ เอ็กซ์ซบิ สิ ร่วมกันจัดงาน Thailand Lighting Fair 2017 โดยมี เสริมสกุล คล้ายแก้ว ผูว้ า่ การการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ร่วมเปิดงาน Thailand Lighting Fair 2017 เป็นเวทีแสดงสินค้าและเทคโนโลยี นานาชาติด้านไฟฟ้าแสงสว่าง ภายใต้แนวคิด Smart City. Safe City. ดึงผูป้ ระกอบการไทย-ต่างประเทศเข้าร่วมกว่า 500 บูธ ยกทัพ เทคโนโลยีเพื่อการบริหารและจัดการพลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะ ให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุดและน�ำเสนอมิตใิ หม่แห่งการออกแบบแสง ในยุคสถาปัตยกรรม 4.0 จากนักออกแบบแสงชือ่ ดังระดับโลกและ ของไทย ด้านทีเส็บเผย Thailand Lighting Fair ยกระดับสูง่ านแสดง สินค้านานาชาติระดับภูมภิ าคอย่างแท้จริง คาดปีนจี้ ะดึงนักธุรกิจ ต่างชาติเข้าร่วมงานได้กว่า 1,000 คน และสร้างรายได้ให้ประเทศ ตลอด 3 วัน ประมาณ 100 ล้านบาท ผูเ้ ข้าชมงานมากกว่า 15,000 ราย จาก 40 กว่าประเทศ การจัดงานในปีนี้ นอกจากจะเป็นการเปิดโอกาสให้นกั ลงทุน จากทัว่ ภาคพืน้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใช้เป็นศูนย์กลางเครือข่าย ธุรกิจในระดับภูมภิ าคแล้ว ยังมุง่ เน้นผลิตภัณฑ์นวัตกรรมชาญฉลาด เทคโนโลยีทลี่ ำ�้ สมัย พร้อมความปลอดภัย และรูปแบบทีส่ ร้างสรรค์ เพื่อการใช้ชีวิตที่ง่ายขึ้น รวมทั้งจัดแสดงผลิตภัณฑ์ด้านไฟฟ้า แสงสว่างเพือ่ การประหยัดพลังงาน เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ เทคโนโลยีอาคารอัตโนมัติ และระบบรักษาความปลอดภัยอัจฉริยะ เพือ่ ส่งเสริมให้ชมุ ชนเมืองเป็นเมืองอัจฉริยะและเป็นเมืองปลอดภัย อย่างแท้จริง January-February 2018


Movement

Heidelberg Packaging Day 2017

Heidelberger Druckmaschinen AG เป็นผูใ้ ห้บริการโซลูชนั และบริการชั้นน�ำของโลกส�ำหรับอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์และสิ่งพิมพ์ บรรจุภณ ั ฑ์ ได้จดั Press Tours โดยเชิญสือ่ มวลชนจากทัว่ โลกเยีย่ มชม โรงงานของ Heidelberger และเยี่ยมชมโรงงานของลูกค้า รวมทั้ง เข้าร่วมงาน “Heidelberg Packaging Day” ทีเ่ มือง Heidelberger ประเทศเยอรมนี โดยมีลูกค้าและสื่อมวลชนในแวดวงอุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์จากทั่วโลกเข้าร่วมงาน โดยเปิดโรงงานที่ Wiesloch-Walldorf ให้เยี่ยมชมด้วย ซึ่งโรงงานแห่งนี้เป็นโรงงาน ผลิตเครือ่ งพิมพ์ทใี่ หญ่ทสี่ ดุ และทันสมัยทีส่ ดุ ผลิตเพือ่ ส่งออกไปยัง ประเทศต่างๆ ทั่วโลก นอกจากนี้ ยั ง ได้ จั ด เยี่ ย มชมโรงงานผลิ ต บรรจุ ภั ณ ฑ์ แ ละ เครื่องพิมพ์ฉลากติดบรรจุภัณฑ์ที่ใช้เครื่องจักรของ Heidelberger อาทิ โรงงาน Multi Packaging Solutions GmbH, Obersulm ซึ่ง เป็นผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ระดับเกรดพรีเมี่ยม เยี่ยมชมโรงงาน Acket Drukkerij Kartonnage ประเทศเนเธอร์แลนด์ เยีย่ มชมโรงงาน Smart Packaging Solution ประเทศเบลเยีย่ ม ส่วน Gallus Ferd. Rüesch AG ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เป็นผูผ้ ลิตเครือ่ งพิมพ์ฉลาก และโรงงาน บริษทั IST METZ GmbH ประเทศเยอรมนี ซึง่ ผูพ้ ฒ ั นาระบบอบแห้ง ส�ำหรับการพิมพ์ การเคลือบผิวโดยใช้แสงยูวี

January-February 2018


Industry News

สตีเบล เอลทรอน เอเซีย ตั้งเป้าผลประกอบการทะลุ 2 เท่าภายใน 5 ปี Stiebel Eltron Asia aims to double turnover in 5 years สตีเบล เอลทรอน บริษัทผู้ผลิตเครื่องท�ำน�้ำอุ่น เครื่องกรองน�้ำ และ เครือ่ งเป่ามือชัน้ น�ำจากประเทศเยอรมนี ตัง้ เป้าหมายเพิม่ ผลประกอบการเป็น 2 เท่าภายในระยะเวลา 5 ปี หลังจากเปิดโรงงานทีส่ องและขยายไลน์การผลิต อย่างเป็นทางการที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ บริษทั สตีเบล เอลทรอน จ�ำกัด เริม่ ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2467 ณ ประเทศ เยอรมนี ปัจจุบนั มีการด�ำเนินธุรกิจในประเทศไทยโดยมีโรงงานจ�ำนวน 2 แห่ง ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งมีส่วนช่วยในการผลักดันธุรกิจในประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้วา่ ตลาดเครือ่ งท�ำน�ำ้ อุน่ ในประเทศไทยในปีนไ้ี ม่มกี ารเติบโตเลย แต่ สตีเบล เอลทรอน เอเซีย สามารถเพิ่มยอดขายได้ตามเป้าที่ตั้งไว้ โดยคาดว่ำ ยอดขายใน พ.ศ. 2560 จะสามารถโตขึน้ อีก 10 เปอร์เซ็นต์ ซึง่ ปีทผี่ า่ นมา (พ.ศ. 2559) สตีเบล เอลทรอน เอเซีย ได้แถลงผลประกอบการด้วยยอดจ�ำหน่ายที่ มากกว่า 1.1 พันล้านบาท จัดจ�ำหน่ายเครือ่ งท�ำน�ำ้ อุน่ ไปทัง้ หมดกว่า 350,000 เครื่อง มร.โรลั น ด์ เฮิ น กรรมการผู ้ จั ด การ บริษทั สตีเบล เอลทรอน เอเซีย จ�ำกัด กล่าวว่า “เราให้ความส�ำคัญเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการปรั บ ตั ว ธุ ร กิ จ ให้ ต อบสนองความ ต้องการของแต่ละตลาดอย่างต่อเนือ่ ง ในฐานะ ผู้เชี่ยวชาญเรื่องน�้ำจากประเทศเยอรมนี เรามี ความเข้าใจเป็นอย่างดีเรื่องการพัฒนาระบบ น�ำ้ เพือ่ ตอบโจทย์การใช้นำ้� ทีส่ มบูรณ์แบบทีส่ ดุ ส�ำหรับทุกครัวเรือน” ปีทแี่ ล้ว สตีเบล เอลทรอนได้นำ� นวัตกรรม มาตรฐานวิศวกรรมเยอรมันมายังประเทศไทย มร.โรลันด์ เฮิน กับระบบพลังงานทดแทนที่สามารถติดตั้งได้ ในครัวเรือน คือ ฮีตปัม๊ และระบบระบายอากาศจากสตีเบล เอลทรอน ซึง่ เป็น กลไกหลักของดีไซน์บ้านประหยัดพลังงานนี้ สตีเบล เอลทรอน เอเซีย มุง่ มัน่ ทีจ่ ะเพิม่ ช่องทางการจัดจ�ำหน่ายในกรุงเทพฯ และภูมิภาคอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นไปที่ช่องทางออนไลน์หรือตลาด อี-คอมเมิร์ซ เพราะเป็นช่องทางการตลาดที่ส�ำคัญเพื่อเพิ่มศักยภาพในการ เข้าถึงผูบ้ ริโภคในปัจจุบนั โดยสตีเบล เอลทรอน เอเซีย สามารถขยายช่องทาง การจัดจ�ำหน่ายครอบคลุมแพลตฟอร์มตลาดออนไลน์ที่ส�ำคัญทั้งหมด มร.โรลันด์ เฮิน กล่าวเพิ่มเติมว่า “สตีเบล เอลทรอนมุ่งมั่นที่จะขยาย ผลิตภัณฑ์เพือ่ ให้ครอบคลุมและตอบโจทย์กลุม่ ลูกค้าทีห่ ลากหลาย ดังนัน้ เราจึง เดินหน้าออกผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ มาทุกๆ ปี เราตัง้ เป้าว่าในอีก 5 ปี เราจะสามารถ เพิม่ ผลประกอบการของบริษทั เป็น 2 เท่า ผมรูด้ วี า่ มันเป็นเป้าหมายทีท่ ะเยอทะยาน มาก แต่ผมเชือ่ ว่าเราสามารถประสบความส�ำเร็จได้ดว้ ยผลิตภัณฑ์ทห่ี ลากหลาย ในตลาด รวมถึงสินค้าพลังงานทดแทนของเรา”

Stiebel Eltron, Thailand’s leading manufacturer of water heaters, water filters and hand-dryers, is aiming to double turnover in the next five years following an expansion of its production facilities in Ayutthaya. The company, which was formed in 1924 in Germany, now operates two factories in Ayutthaya which has helped increase business streams in the Thai market and in other South East Asian markets. Despite the static water heater market, Stiebel Eltron Asia successfully increased sales targets for 2017 and expects to reach its target of 10 per cent growth this year. In 2016, the company reported revenues of more than 1.1 billion Baht with over 350,000 water heater units sold. Roland Hoehn, Managing Director of Stiebel Eltron Asia, said: “It is important to continue to develop and adapt our business to expand our customer base. As water specialists, we understand how to achieve the perfect water system for your house.” Stiebel Eltron Asia continues to focus on strengthening sales channels in Bangkok and in other regions and is more focused on online platforms to reach more customers as the market shifts to eCommerce. The company is currently broadening its online sales channels to cover all major online platforms. Last year, Stiebel Eltron brought German engineering innovation to Thailand with a new system that allows new housing to utilize renewable energy. The system is incorporated into the new buildingdesign and Stiebel Eltron heat pumps and air ventilations are a key factor in the energy saving design. “Stiebel Eltron is committed to achieving an extensive range of products for all needs and budgets. We will continue to bring out more models and product lines to suit every household. We target to double our Stiebel Eltron Asia turnover within the next five years. It is very ambitious goal but we believe that we can reach it with our extensive product range and future renewable energy products.” Mr.Hoehn added. January-February 2018


Industry News

แลนเซสส์ (LANXESS) ยังคงมีผลประกอบการสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในไตรมาสที่ 3 ของปี 2017 LANXESS on course for record year after excellent third quarter แลนเซสส์ (LANXESS) ประกาศผลประกอบการ ไตรมาสที่ 3 ของปี 2017 ออกมำ ยอดเยี่ยมตามคาดการณ์ และ จะเป็นปีที่บริษัทมีผลก�ำไรสูง ที่สุดเป็นประวัติการณ์ ยอดขายทั่วโลกในไตรมาสที่ 3 ของปีนี้เพิ่มขึ้น 25.1 เปอร์เซ็นต์ หรือ เพิม่ ขึน้ อีก 483 ล้านยูโร (18,837 ล้านบาท ทีอ่ ตั ราแลกเปลีย่ น 39 บาทต่อ 1 ยูโร) รวมเป็น 2.4 พันล้านยูโร (93,600 ล้านบาท) จากไตรมาสเดียวกันในปีที่แล้ว ที่ท�ำได้ 1.9 พันล้านยูโร (74,100 ล้านบาท) ไตรมาสนี้จึงมีก�ำไรก่อนหักภาษี ดอกเบีย้ และค่าเสือ่ มราคา จากการด�ำเนินงานตามปกติ (EBITDA pre exceptionals) เพิ่มขึ้น 35 เปอร์เซ็นต์ เป็น 347 ล้านยูโร (13,533 ล้านบาท) เปรียบเทียบกับ 257 ล้านยูโร (10,023 ล้านบาท) ของไตรมาสเดียวกันปีทแ่ี ล้ว ผลการด�ำเนินงาน ทีอ่ อกมาเป็นบวกนีเ้ กิดจากการควบรวมกิจการของบริษทั เคมทูรา (Chemtura) ร่วมกับยอดขายทีเ่ พิม่ ขึน้ ในทุกผลิตภัณฑ์ทว่ั โลก ไตรมาสที่ 3 ของปีนจ้ี งึ มีสดั ส่วน ของก�ำไรก่อนหักภาษี ดอกเบีย้ และค่าเสือ่ มราคา ต่อรายได้รวมจากการด�ำเนินงาน ตามปกติ (EBITDA margin pre exceptionals) คิดเป็น 14.4 เปอร์เซ็นต์ มากกว่ำ ไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้วที่ท�ำได้ 13.4 เปอร์เซ็นต์ “แลนเซสส์ก�ำลังพุ่งทะยานไปข้างหน้าอย่างเต็มก�ำลัง กลยุทธ์ของเรา ชัดเจน มุ่งไปที่การเพิ่มยอดขายผลิตภัณฑ์เคมีเฉพาะด้านซึ่งท�ำผลก�ำไรได้ ค่อนข้างสูง และเราท�ำได้ส�ำเร็จตามคาดหมาย ประกอบกับประสิทธิภาพใน การท�ำงานของเราสูงขึน้ เช่นกันหลังจากการปรับเปลีย่ นภายใน เรารูส้ กึ ยินดีที่ ยอดขายในทุกภูมภิ าคและในทุกๆ กลุม่ ผลิตภัณฑ์เคมีเฉพาะด้านของเราล้วน เพิม่ ขึน้ และส่งผลให้ผลก�ำไรเพิม่ ขึน้ อย่างชัดเจน” กล่าวโดย แมตเธียส แซกเชิรต์ (Matthias Zachert) ประธานคณะกรรมการบริหารของแลนเซสส์ เนื่องจากมีคา่ ใช้จา่ ยที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวเป็นกรณีพิเศษ ท�ำให้ก�ำไร สุทธิมีเพียง 55 ล้านยูโร น้อยกว่า 62 ล้านยูโร ที่ท�ำได้ในไตรมาสเดียวกันของ ปีที่แล้ว เป็นผลมาจากการเข้าซื้อโรงงานผลิตสารตั้งต้นผลิตภัณฑ์หล่อลื่น (lubricant precursors) และมีบางส่วนได้ยกเลิกการผลิตไปที่ Ankerweg ในเมือง Amsterdam (ประเทศเนเธอร์แลนด์) แต่ถา้ มองทีก่ ำ� ไรสุทธิจากการด�ำเนินงาน ตามปกติ (net income per exceptionals) กลับเพิม่ ขึน้ ถึง 37.7 เปอร์เซ็นต์ เป็น 106 ล้านยูโร (4,134 ล้านบาท) เทียบกับไตรมาสเดียวกันปีที่แล้วท�ำได้เพียง 77 ล้านยูโร (3,003 ล้านบาท) หลังจากตัวเลขที่ค่อนข้างแข็งแกร่งของไตรมาสที่ 3 ประมาณการณ์วำ่ ผลประกอบการของกลุ่มบริษัททั้งปี 2017 จะดีขึ้นคาดว่าจะมีก�ำไรสุทธิอยู่ที่ 25 ล้านยูโร (975 ล้านบาท) EBITDA pre exceptionals จะอยูร่ ะหว่าง 1.25-1.3 พันล้านยูโร (48,750-50,700 ล้านบาท) สูงสุดเป็นประวัตกิ ารณ์ มากกว่าตัวเลข 1.2 พันล้านยูโร (46,800 ล้านบาท) สูงสุดที่เคยท�ำได้ในปี 2012 (พ.ศ. 2555)

January-February 2018

Following an excellent third quarter of 2017, specialty chemicals company LANXESS is still on course for the highest earnings in its history. Global sales increased by 25.1 percent or EUR 483 million to EUR 2.4 billion. A year earlier, they amounted to EUR 1.9 billion. EBITDA pre exceptionals improved by 35 percent to EUR 347 million, compared with EUR 257 million in the prior-year quarter. The contributions from the acquired Chemtura businesses as well as higher volumes had a particularly positive effect. The EBITDA margin pre exceptionals in the third quarter of 2017 stood at 14.4 percent, which was considerably above the value of 13.4 percent reported in the prior-year period. “LANXESS is in full swing. Our clear strategic focus on high-margin specialty chemicals is increasingly paying off, and in operational terms we are performing very well in our new setup. It is particularly pleasing that all regions and all our specialty chemicals segments are seeing considerable earnings growth.” said Matthias Zachert, Chairman of the LANXESS Board of Management. Due to one-time exceptional charges, net income was EUR 55 million, after EUR 62 million in the prior-year quarter. These one-time effects resulted primarily from the consolidation of the production of lubricant precursors and the associated discontinuation of production at the Ankerweg site in Amsterdam (Netherlands). Net income pre exceptionals increased by 37.7 percent to EUR 106 million, compared with EUR 77 million in the prior-year quarter. After the strong figures of the third quarter, the Group is refining its earnings forecast for 2017 and lifting the lower end of the range by EUR 25 million. LANXESS now expects EBITDA pre exceptionals of between EUR 1.25 billion and EUR 1.3 billion. This would be a record for the Cologne based company, as its highest operating result to date is the roughly EUR 1.2 billion achieved in 2012.


SUBSCRIPTION

ELECTRICITY & INDUSTRY magazine ปี 2561

ข้าพเจ้า ชื่อ ............................................................................................. สกุล ......................................................................................................... ตำ�แหน่ง .................................................................................... บริษัท/ห้าง/ร้าน ...................................................................................... ที่อยู่ (ที่ทำ�งาน) ......................................................................... แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด .................................................... รหัสไปรษณีย์ ......................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... ที่อยู่ (ที่บ้าน) ............................................................................. แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ .......................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... รหัสสมาชิก ...............................................................................

ประสงค์จะบอกรับนิตยสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” 1 ปี 6 ฉบับ 480 บาท 2 ปี 12 ฉบับ 960 บาท สมาชิกต่ออายุ 2 ปี 12 ฉบับ 800 บาท ตั้งแต่ฉบับที่ ............. เดือน .................................... ปี ..................... โดยส่งนิตยสารไปที่ ที่บ้าน ที่ท�ำ งาน พร้อมกันนี้ได้ส่งค่าสมาชิกเป็นจำ�นวนเงิน ................................ บาท (ตัวอักษร .........................................................................................) เช็คธนาคาร ................................................................................ สาขา ................................................................................................. เช็คคร่อมสั่งจ่าย “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด”

ธนาณัติ สั่งจ่ายในนาม “คุณวาสนา แซ่อึ้ง” ที่ทำ�การไปรษณีย์โทรเลขบางกอกน้อย โอนเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด” ชื่อธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี กรุงเทพ สะพานพระปิ่นเกล้า 162-0-74737-6 กสิกรไทย บางยี่ขัน 047-2-56333-5 ทหารไทย จรัญสนิทวงศ์ 020-2-27244-9 ไทยพาณิชย์ จรัญสนิทวงศ์ ซ.48 121-2-04080-0 หมายเหตุ กรุณาส่งแฟกซ์ หรือสำ�เนาใบเข้าบัญชี (Pay-in Slip) มาให้ บริษัทฯ พร้อมเขียนชื่อ-นามสกุล และรหัสสมาชิก (ถ้ามี) กำ�กับมาด้วย

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธย� แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. +66 (0)26 444 555, +66 (0)23 545 333 ต่อ 301 โทรสาร +66 (0)26 446 649, +66 (0)23 545 322


หากผู้อ่านท่านใดสนใจรายละเอียดต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสาร ELECTRICITY & INDUSTRY MAGAZINE

ปีที่ 25 ฉบับที่ 1 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2561 กรุณากรอกข้อมูลดังกล่าวให้ครบถ้วนเพือ่ การติดต่อจัดส่งข้อมูลกลับไปยังท่านต่อไป ชื่อ .............................................................................................. สกุล ............................................................................................................. ที่อยู่ ........................................................................................... แขวง/ตำ�บล ................................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................. จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ .............................. โทร ............................................................................................. แฟกซ์ ...........................................................................................................

ประเภทของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง อุตสาหกรรมเคมี/ปิโตรเคมี

ตำ�แหน่งงานที่ท่านรับผิดชอบ

กรรมการผู้จัดการ/เจ้าของกิจการ ผจก.โรงงาน ผจก.ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ผจก.วิศวกรรม ผจก.ฝ่ายซ่อมบำ�รุง วิศวกรฝ่ายผลิต วิศวกรทดสอบ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมงานเชื่อม อุตสาหกรรมโลหการ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

ประเภทของกิจการ

ผู้ผลิต

ผู้แทนจำ�หน่าย

ผู้ผลิต/ผู้แทนจำ�หน่าย

หน่วยงานราชการ


ใบอนุญาตเลขที่ ปน. (ต)/1339 ปณจ.บางกอกน้อย ถ้าฝากส่งในประเทศไม่ต้องผนึกตราไปรษณียากร

บริการธุรกิจตอบรับ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 619/5 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงอรุณอัมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700

ประโยชน์ทท่ี า่ นจะได้รบั จากนิตยสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” เนื้อหา .................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ โฆษณา/รายละเอียดผลิตภัณฑ์ .............................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................

ความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ คอลัมน์ตา่ งๆ ทีป่ รากฏในนิตยสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” ชื่อคอลัมน์ สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย IEEE Power & Energy Society Thailand Chapter สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย Article Special Scoop Special Area IT Technology Product PR News Seminar Calendar Seminar Movement Industry News IT News

มีประโยชน์มาก

มีประโยชน์

พอใช้

ควรปรับปรุง


ดัชนีสินค้าประจำ�เดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ABB CO., LTD.

0-2665-1000

0-2324-0502

อุปกรณ์ไฟฟ้า

ปกหลังนอก

ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK 2018

0-2642-6911

0-2642-6919-20

งานแสดงสินค้า

28

IEEE PES GTD 2019

-

-

-

INDEE THAILAND 2018

-

-

งานแสดงสินค้า

5

INTERMACH 2018

0-2642-6911

-

งานแสดงสินค้า

12

LED EXPO 2018

0-2833-5013

-

งานแสดงสินค้า

38

LSIS

083-149-9994

-

ผู้นำ� ด้านระบบสั่งจ่ายและระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้า ครบวงจร

MAXIMIZE INTEGRATED TECHNOLOGY CO., LTD.

0-2525-0299

0-2525-0298

Industrial Relays

10

MENNEKES Elektrotechnik GmbH & Co. KG

0-2741-5266

0-2741-5267

ผู้ผลิตปลั๊กอุตสาหกรรม

15

RITTAL CO., LTD.

0-2704-6580

-

ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายตู้ระบบไฟฟ้า

17

0-3884-7571-3

0-3884-7575

จ�ำหน่าย ติดตั้งคาปาซิเตอร์

25

-

-

งานแสดงสินค้า

42

0-2262-6000

0-2657-9888

น�้ำมันหล่อลื่น

3

เซมมิเทรดดิ้ง บจก.

0-2428-6183-4

0-2427-3418

ผูผ้ ลิตหัวจ่ายอะลูมเิ นียมส�ำหรับระบบ ปรับอากาศ

14

ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) บจก.

0-2002-4395-97

0-2002-4398

อุปกรณ์ไฟฟ้า

9

เพาเวอร์ เรด บจก.

0-2300-5671-3

0-2300-5937

อุปกรณ์ไฟฟ้า

11

พี ไอ เอส พาวเวอร์ ดิสทริบิวชั่น บจก.

0-2105-3011-2

0-2105-3013

สวิตช์

4

มหาธน อีเลคทริค หจก.

0-2894-3447-9

0-2416-1659

อุปกรณ์ไฟฟ้า

16

0-2540-6991

-

0-2300-5671-3

0-2300-5937

0-3368-4333

SAMWHA (THAILAND) CO., LTD. SETA 2018 เชลล์แห่งประเทศไทย บจก.

มิตซูบิชิ อีเล็คทริค ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) บจก. ลีฟเพาเวอร์ บจก.

ประเภทสินค้า

มิเตอร์อิเล็กทรอนิกส์

หน้า

ปกหน้า

ปกหน้าใน

ปกหลังใน

อุปกรณ์ไฟฟ้า

13

-

สวิตช์เกียร์

21

0-2876-2727-8

0-2476-1711

Couplings

27

สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)

0-4421-7040

-

แสงซินโครตรอนเพื่อธุรกิจ SMEs

26

ออมรอน อิเลคทรอนิคส์ บจก.

0-2942-6700

0-2937-0501

อุปกรณ์ไฟฟ้าและระบบควบคุมอัตโนมัติ

8

อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.

0-2693-1222

0-2693-1399

สาย LAN

23

เอวีร่า บจก.

0-2074-4411

0-2074-4400

ผู้แทนจ�ำหน่ายและบริการด้านอุปกรณ์ ไฟฟ้าก�ำลัง ที่ใช้ในตู้สวิตช์บอร์ด

7

0-2702-0581-8

0-2377-5937

ติดตั้ง EOCR อิเล็กทรอนิกส์โอเวอร์โหลดรีเลย์ ป้องกันมอเตอร์ไหม้

14

0-2434-0099

0-2434-3251

อุปกรณ์ไฟฟ้า

19

0-2985-2081-9

0-2985-2091

หม้อแปลงไฟฟ้าและตัวเหนี่ยวน�ำไฟฟ้าทุกชนิด

6

ลูซี่ อิเล็คทริค (ประเทศไทย) บจก. เวอร์ทัส บจก.

เอส เอ วี เมคคานิคคอล เซอร์วิสส์ แอนด์ ซัพพลายส์ หจก. เอส.พี.วาย แอนด์ เคเบิ้ล บจก. เอสเทล บจก.

January-February 2018


Mitsubishi_21.59x29.21cm.pdf

1

1/4/18

3:12 PM


Ad_ESSVT-c4.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

1/5/2561 BE

21:27


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.