Electricity & Industry Magazine Issue Jan - Feb 2019

Page 1



LSIS_21.59x29.21cm.pdf

1

7/4/61 BE

6:03 AM


WORKS HERE.

A range of gas-engine oils that has been developed to deliver optimum value to equipment operators through enhanced wear protection, long oil life and high system efficiency. www.shell.com/lubricants





Samwa_21.59x29.21cm.pdf

1

3/28/17

11:02 AM



T&D_21.59x29.21cm.pdf

1

3/14/18

3:45 PM







Mennekes_21.59x29.21cm_Cre.pdf

1

3/30/17

3:05 PM




CONTENTS JANUARY-FEBRUARY

64

2019

SPECIAL SCOOP 55 GE’s Cross-Fleet ยืดอายุโรงไฟฟ้าเก่า

ด้วยนวัตกรรมทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ กองบรรณาธิการ

ARTICLE 58 แอปฯ เช็คค่าฝุน่ PM 2.5 เรียลไทม์ ทัว่ ประเทศ ฟรี!

บริษัท โกลบเทค จ�ำกัด

60 นวัตกรรมการขนส่งทีส่ ำ� คัญในอุตสาหกรรมยานยนต์

และเบื้องหลังความส�ำเร็จของธุรกิจยานยนต์ ดีเอชแอล เอ๊กซ์เพรส ประเทศไทย 62 ปลดล็อกกับดักไอทีด้วยไฮบริด คลาวด์ สุภัค ลายเลิศ 64 AI พลิกโฉมระบบงานจัดการทรัพยากรบุคคล เวสเลย์ โคววาสกี

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย 27 30 34 36 39 40

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

IEEE PES GENERATION TRANSMISSION AND DISTRIBUTION (GTD) 41 สมพงษ์ ปรีเปรม ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

คนที่ 14 44 ปรียนาถ สุนทรวาทะ น�ำทัพขับเคลื่อน บี.กริม เพาเวอร์ ก้าวสู่ยุคเปลี่ยนผ่านด้านพลังงาน 46 ชัยยศ ปิยะวรรณรัตน์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอบีบี (ประเทศไทย) จ�ำกัด IEEE POWER & ENERGY SOCIETY – THAILAND (IEEE PES - THAILAND) 48 ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา

และลอยน�้า

COVER STORY 51 The basic principles of protective elements

LSIS Co., Ltd.

January-February 2019

SPECIAL AREA 66 DC ENERGY MONITORING SOLUTIONS

บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด

บริษัท ออมรอน อีเล็คทรอนิคส์ จ�ำกัด

68 OMRON Smart Factory (Robot + IoT + AI) 70 Big Data...หัวใจแห่งความส�ำเร็จของธุรกิจขนส่ง

และโลจิสติกส์ นอสตร้า โลจิสติกส์ 72 แอปพลิเคชัน mySchneider Retailer ส�ำหรับร้านไฟฟ้า ชไนเดอร์ อิเล็คทริค 74 เซอร์กิตเบรกเกอร์ (Circuit Breaker) Ics = 100% Icu คืออะไร บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

IT ARTICLE 77 ฟอร์ตเิ น็ตคาดในปี 2019 องค์กรจะใช้ระบบอัตโนมัติ

มากขึ้นเพื่อต่อสู้กับภัยคุกคาม ฟอร์ติเน็ต

26 EXHIBITION 82 PRODUCT 85 PR NEWS 88 SEMINAR 90 MOVEMENT 93 IT NEWS 95 INDUSTRY NEWS

68



JANUARY-FEBRUARY

2019

Electricity & Industry Magazine ฉบับแรกของปี 2562 ...ในช่วงปี 2561 ที่ผ่านมา ประเทศไทยเราผ่านเรื่องราวมากมาย ทั้งเรื่องดี เรือ่ งร้าย และหวังว่าในปี 2562 นีป้ ระเทศไทยจะมีแต่เรือ่ งดีๆ เกิดขึน้ และทีพ่ เิ ศษของปีนค้ี อื ระหว่างวันที่ 21-23 มีนาคม 2562 ประเทศไทย ได้รบั เกียรติให้เป็นเจ้าภาพจัดงานประชุมวิชาการและนิทรรศการระดับนานาชาติ IEEE PES Generation Transmission and Distribution (GTD) Grand International Conference and Exposition Asia 2019 (IEEE PES GTD ASIA 2019) ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค ภายในงานจะมีวิศวกรไฟฟ้าและผู้ที่สนใจจากทั่วโลกเข้าร่วมงาน นอกจากการจัดการประชุมวิชาการแล้วยังมีงานออกบูธของบริษัท ต่างๆ อีกมากมาย ถือเป็นงานประชุมวิชาการและนิทรรศการที่ส�ำคัญงานหนึ่งของประเทศไทย ทุกท่านสามารถเข้าร่วมงานตามวันเวลา ดังกล่าวได้ โดยในส่วนของ Special Interview นั้นเป็นบทสัมภาษณ์ของผู้บริหารองค์กรขนาดใหญ่ 3 ท่าน คือ สมพงษ์ ปรีเปรม ผู้ว่าการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค คนที่ 14 ปรียนาถ สุนทรวาทะ น�ำทัพขับเคลื่อน บี.กริม เพาเวอร์ ก้าวสู่ยุคเปลี่ยนผ่านด้านพลังงาน และ ชัยยศ ปิยะวรรณรัตน์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอบีบี (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่งทุกท่านจะเข้าร่วมงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 ด้วย ส่วนคอลัมน์ Cover Story เป็นบทความจาก LSIS Co., Ltd. ในเรื่อง The basic principles of protective elements ส่วน Special Scoop เป็นเรื่องเกี่ยวกับ GE’s Cross-Fleet ยืดอายุโรงไฟฟ้าเก่าด้วยนวัตกรรมทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ นอกจากนั้น ยังมีบทความ ทีน่ า่ สนใจอีกหลายบทความ อาทิ บทความเรือ่ ง แอปฯ เช็คค่าฝุน่ PM 2.5 เรียลไทม์ ทัว่ ประเทศ จากบริษทั โกลบเทค จ�ำกัด บทความเรือ่ ง นวัตกรรมการขนส่งที่ส�ำคัญในอุตสาหกรรมยานยนต์ และเบื้องหลังความส�ำเร็จของธุรกิจยานยนต์ จากบริษัท ดีเอชแอล เอ๊กซ์เพรส ประเทศไทย เรือ่ ง ปลดล็อกกับดักไอทีดว้ ยไฮบริด คลาวด์ โดย สุภคั ลายเลิศ รวมทัง้ บทความเรือ่ ง AI พลิกโฉมระบบงานจัดการทรัพยากร บุคคล โดย เวสเลย์ โคววาสกี Special Area ก็ยงั คงมีบทความทีน่ า่ สนใจเช่นกัน เช่น บทความจากบริษทั แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด บทความเรือ่ ง OMRON Smart Factory (Robot + IoT + AI) โดยบริษัท ออมรอน อีเล็คทรอนิคส์ จ�ำกัด รวมทั้ง Big Data...หัวใจแห่งความส�ำเร็จ ของธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ โดยนอสตร้า โลจิสติกส์ บทความ แอปพลิเคชัน mySchneider Retailer ส�ำหรับร้านไฟฟ้า โดยชไนเดอร์ อิเล็คทริค และบทความ IT Article เรือ่ ง ฟอร์ตเิ น็ตคาดในปี 2019 องค์กรจะใช้ระบบอัตโนมัตมิ ากขึน้ เพือ่ ต่อสูก้ บั ภัยคุกคาม โดยฟอร์ตเิ น็ต หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเนื้อหาทั้งหมดนี้จะเป็นประโยชน์กับทุกท่าน พบกันใหม่ฉบับหน้า กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

ที่ปรึกษา : รศ.ฉดับ ปัทมสูต / รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ์ / ไกรสีห์ กรรณสูต พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ์ / ประเจิด สุขแก้ว ผศ.พิชิต ล�ำยอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องค์วงศ์สกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ : ดร.สุรพล ด�ำรงกิตติกุล ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นิภา กลิ่นโกสุม เลขากองบรรณาธิการ : ปัฐฐมณฑ์ อุ่ยพัฒน์ / ธิดาวดี บุญสุยา / เปมิกา สมพงษ์ พิสูจน์อักษร : อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรมรูปเล่ม / ศิลปกรรมโฆษณา : ชุติภา จริตพันธ์ / ศศิธร มไหสวริยะ ผู้จัดการฝ่ายการตลาด : เขมจิรา ปลาทิพย์ ฝ่ายโฆษณา : ศิริภรณ์ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภิรมณ์ / วีระวรรณ พุทธโอวาท / รุ่งทิพย์ อ�ำไพจิตต์ เลขานุการฝ่ายโฆษณา : ชุติมันต์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก : ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์ January-February 2019

บทความที่ปรากฏใน ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine เป็นความคิดเห็น ส่ ว นตั ว ของผู ้ เขี ย น ไม่ มี ส ่ ว นผู ก พั น กั บ บริ ษั ท เทคโนโลยี มี เ ดี ย จ� ำ กั ด แต่ อ ย่ า งใด หากบทความใดที่ผู้อ่านเห็นว่ามีการลอกเลียนหรือแอบอ้าง กรุณาแจ้งที่กองบรรณาธิการ ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine บทความต่ า งๆ ที่ ป รากฏในหนั ง สื อ ได้ ผ ่ า นการตรวจทานอย่ า งถี่ ถ ้ ว นเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความถูกต้องและสมบูรณ์ท่ีสุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแก้ไขต่อไป เจ้าของ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 http:// www.technologymedia.co.th เพลท-แยกสี : บริษัท อิมเมจิ้น กราฟิค จ�ำกัด พิมพ์ท่ี : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด รุ่งเรืองการพิมพ์


สนใจสอบถามข อ มู ล เพิ ่ ม เติ ม ได ท ี ่

www.interlink.co.th Tel 02 666 1111 (100 lines)




ได้คะแนนหน่วยความรู้การพัฒนาวิชาชีพต่อเนื่อง (CPD) ของสภาวิศวกร

หลักการออกแบบ มาตรฐานการติดตั้ง และการใช้งาน ส�ำหรับระบบสัญณาณเตือนอัคคีภัย แจ้งเหตุเพลิงไหม้ ระบบป้ายทางออก และไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน Design Principles, Standard Installation and Operating Procedure for :

Fire Detection and Alarm System, Fire Exit Sign and Emergency Lighting System รุ่นที่ 11

อบรมภาคทฤษฎี 2 วัน

วันพฤหัสบดี-ศุกร์ที่ 28-29 มีนาคม 2562 เวลา 09.00-16.30 น. (รวม 2 วัน) ณ ห้องแซฟไฟร์ ชั้น 4 โรงแรม ไอ เรสซิเด้นท์ ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ กรุงเทพฯ

ด�ำเนินการโดย ศูนย์เชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะด้านเทคโนโลยีไฟฟ้าก�ำลัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


คุณดวงใจ ขันสังข์ หรือคุณเพชรรัตน์ ยงยุทธชัยกุล ศูนย์เชี่ยวชำญพิเศษเฉพำะด้ำนเทคโนโลยีไฟฟ้ำก�ำลัง คณะวิศวกรรมศำสตร์ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย โทร. 0-2218-6542-3, 0-2218-6483 มือถือ 080-591-0549, 087-496-3940 โทรสำร 0-2218-6544 E-mail : cucepttraining@gmail.com, www.cepl.eng.chula.ac.th


THAILAND TOP COMPANY AWARDS 2019 สุดยอดองค์กรแห่งปี 2562

นิตยสาร BUSINESS+ โดยบริษัท เออาร์ไอพี จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมกับมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ขอเชิญองค์กรธุรกิจไทยเข้าร่วม ประกวดรางวัล “THAILAND TOP COMPANY AWARDS 2019” สุดยอด องค์กรแห่งปี 2562 ในสาขารางวัลตามความเป็นเลิศ รางวัล “THAILAND TOP COMPANY AWARDS 2019” คือ รางวัลทีม่ อบให้กบั บริษทั ทีม่ ผี ลการด�ำเนินงานยอดเยีย่ มในแต่ละกลุม่ ธุรกิจ ซึ่งมีทั้งสิ้น 30 รางวัล โดยแบ่งเป็น 2 ประเภท 1. รางวัลตามประเภทอุตสาหกรรม 16 ประเภท 2. รางวัลตามความเป็นเลิศ 14 ประเภท (เรียนเชิญองค์กรของท่าน ส่งผลงานเข้าประกวด) โดยรางวัลตามความเป็นเลิศที่คัดเลือกนั้น แบ่งเป็นสาขาดังนี้ 1. BEST NETWORK PROVIDER OF THE YEAR AWARD รางวัล ส�ำหรับสุดยอดองค์กรทีใ่ ห้บริการด้านระบบเครือข่ายทีด่ ที ส่ี ดุ แห่งปี ที่มีผลงานโดดเด่น เป็นที่ยอมรับ 2. CORPORATE SUSTAINABILITY AWARD รางวัลส�ำหรับองค์กรทีม่ ี แผนกลยุทธ์เพือ่ การพัฒนาองค์กรอย่างยัง่ ยืน และมีการด�ำเนินงาน ตามแผนงานอย่างมีประสิทธิภาพและเห็นผลได้อย่างชัดเจน 3. CSR OF THE YEAR AWARD รางวัลส�ำหรับองค์กรที่ตระหนักถึง ความส� ำ คั ญ ของการมี ส ่ ว นร่ ว มในการอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มและ ช่วยเหลือสังคมอย่างต่อเนื่อง 4. CUSTOMER FOCUS AWARD รางวัลส�ำหรับองค์กรทีใ่ ห้ความส�ำคัญ กับลูกค้า ซึ่งมีความส�ำคัญสูงสุดต่อองค์กร 5. DIGITAL INITIATIVE COMPANY AWARD รางวัลส�ำหรับองค์กรทีม่ ี การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพือ่ ปรับเปลีย่ นกระบวนการท�ำงาน หรือการให้สนิ ค้าหรือบริการแก่ลกู ค้าทีม่ คี วามโดดเด่นจนเป็นทีย่ อมรับ

6. FAST-GROWING COMPANY AWARD รางวัลส�ำหรับองค์กรที่มี ผลการด�ำเนินงานที่เติบโตอย่างรวดเร็วในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา หรือ พลิกฟื้นจากผลด�ำเนินการขาดทุนมาสู่ผลด�ำเนินการก�ำไรในเวลา รวดเร็ว 7. MOST POTENTIAL AWARD รางวัลส�ำหรับองค์กรทุกขนาด ไม่ว่า เล็ก กลาง หรือใหญ่ ที่มีแนวโน้มทางธุรกิจที่โดดเด่น ไม่ว่าจะเป็น ผลการด�ำเนินงาน นวัตกรรม การบริการ และมีโอกาสเติบโตทาง ธุรกิจสูง 8. MOST ADMIRED AWARD รางวัลส�ำหรับองค์กรที่มีตราสินค้า ที่ได้รับความเชื่อมั่นจากผู้บริโภค 9. OUTSTANDING AWARD รางวัลองค์กรทีม่ กี ารด�ำเนินธุรกิจทีโ่ ดดเด่น ทั้งด้านผลประกอบการ ด้านนวัตกรรม ด้านการบริหารจัดการ ด้านการบริการลูกค้าเป็นที่ยอมรับ 10. RISING STAR OF THE YEAR AWARD รางวัลส�ำหรับองค์กร ที่ด�ำเนินธุรกิจมาไม่นาน แต่มียอดขายและก�ำไรเติบโตอย่าง ก้าวกระโดด 11. TOP BUSINESS STRATEGY AWARD รางวัลส�ำหรับองค์กรที่มี ผลงานโดดเด่นเป็นที่ยอมรับในด้านการสร้างสรรค์กลยุทธ์ธุรกิจ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงธุรกิจ 12. TOP INNOVATIVE COMPANY AWARD รางวัลส�ำหรับองคก์ร ธุรกิจทีค่ ดิ ค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ทีม่ ผี ลต่อการเปลีย่ นแปลงยอดขาย และโครงสร้างของธุรกิจอย่างมีนัยส�ำคัญ 13. TOP MANAGEMENT AWARD รางวัลส�ำหรับองค์กรที่มีผลงาน ในการบริหารงานทีโ่ ดดเด่น ทัง้ ในด้านการเปลีย่ นแปลงองค์กร และ การสร้างผลประกอบการที่โดดเด่นกว่าบริษัทอื่นในอุตสาหกรรม


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

January-February 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

January-February 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

January-February 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

กฟผ. เตรียมลุยโครงการไฮบริดที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียน ‘พลังน�้ำ’ ผสาน ‘โซลาร์เซลล์บนเขื่อน’ โครงการ Hydro-Floating Solar Hybrid ที่ใหญ่ที่สุด ในอาเซียน (ASEAN)

การหันมาใช้พลังงานหมุนเวียนเป็นเรือ่ งทีท่ กุ ประเทศให้ความสนใจกันอย่างล้นหลาม เพราะเป็นพลังงานทีส่ ะอาดและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม แต่พลังงานหมุนเวียนก็ยงั มีขอ้ จ�ำกัด ที่ว่า ‘ยังไม่เสถียร’ เพราะพลังงานหมุนเวียนแต่ละชนิดจะมีข้อจ�ำกัดที่แตกต่างกัน การน�า พลังงานหมุนเวียนหลากหลายรูปแบบเข้ามาผสานกันเพือ่ สร้างเสถียรภาพ (Firm) ด้วยระบบ Integrated Renewable Firm Power System จึงเป็นหนึ่งทางเลือกที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) จะน�ำมาใช้ในการผลิตไฟฟ้าเพือ่ แก้ไขข้อจ�ำกัด ให้พลังงานหมุนเวียน สามารถจ่ายไฟฟ้าได้เต็มศักยภาพและเสถียรมากที่สุด January-February 2019

รูปแบบที่ กฟผ. จะด�ำเนินการเป็น “ระบบ Hydro-Floating Solar Hybrid” หรือระบบผลิตไฟฟ้าผสมผสานระหว่าง ‘พลังน�ำ้ จากเขือ่ น’ และ ‘พลังงานแสงอาทิตย์ จากโซลาร์เซลล์ลอยน�ำ้ บนเขือ่ น’ ซึง่ จะเป็น โครงการไฮบริดทีม่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ ในอาเซียน (ASEAN) ที่มีจุดเด่นของโครงการคือ 1. ราคาต�่า โดยองค์ประกอบที่ท�ำให้ราคา ต�่ำ ได้แก่  เป็ น โครงการขนาดใหญ่ ที่ มี ก� ำ ลั ง ผลิ ต มากกว่า 30 เมกะวัตต์ ขึน้ ไป (Economy of Scale)  ใช้โครงสร้างของระบบไฟฟ้าเดิมที่ กฟผ. มีรองรับอยู่ เช่น ระบบเชื่อมต่อไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า โดยใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุด และบริหารจัดการพื้นที่ที่มีอยู่ให้ เกิดประโยชน์สงู สุด (Maximized Existing Facility) 2. เสริ ม ความมั่ น คงของระบบไฟฟ้ า ด้วยระบบ Integrated Renewable Firm Power System โดยโครงการจะเริม่ ทีร่ ะบบ Hydro-Floating Solar Hybrid และใน อนาคตสามารถพัฒนาร่วมกับระบบกักเก็บ พลังงาน (Energy Storage System) เพือ่ ให้ ระบบไฟฟ้ามีความมั่นคงมากขึ้น 3. ไม่กระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม  จะใช้พื้นที่ผิวน�ำ ้ บนเขื่อน กฟผ. ในการ ติดตัง้ โซลาร์เซลล์ลอยน�ำ้ ท�ำให้ไม่กระทบ กับพื้นที่การเกษตร เส้นทางการเดินเรือ ของชุ ม ชน และผู ้ ที่ ใช้ ชี วิ ต ประจ� ำ วั น ในบริเวณพื้นที่เขื่อน  ใช้เทคโนโลยีในการส�ำรวจและตรวจสอบ สภาพสิง่ แวดล้อม เช่น ระบบสารสนเทศ (GIS) และหุ่นยนต์ถ่ายภาพใต้นา�้


การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

วัสดุที่ใช้ในการติดตั้งโซลาร์เซลล์ลอยน�้ำเป็นแบบเดียวกับ ท่อประปา จึงเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 

เดินหน้าโครงการนำ�ร่อง 2 เขื่อน

ปัจจุบัน กฟผ. อยู่ในช่วงส�ำรวจการติดตั้งโครงการ โซลาร์เซลล์ลอยน�ำ้ ใน 9 เขือ่ น ทัว่ ประเทศไทยพบว่า มีศกั ยภาพ ติดตั้งโซลาร์เซลล์ได้มากถึง 2,725 เมกะวัตต์ จึงมีแผนจะเริ่ม โครงการน�ำร่องก่อนจ�ำนวน 2 โครงการ ได้แก่ 1. เขือ่ นสิรนิ ธร จ.อุบลราชธานี ก�ำลังผลิต 45 เมกะวัตต์ 2. เขือ่ นอุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น ก�ำลังผลิต 24 เมกะวัตต์

ช่วยบริหารจัดการน�้ำให้เกิดประโยชน์สูงสุด

หลักการท�ำงานของระบบดังกล่าว ไม่เพียงช่วยเสริม ความมัน่ คงของระบบไฟฟ้า แต่ยงั ช่วยในเรือ่ งของการบริหาร จัดการน�ำ้ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดได้  ในกรณีท่ีปริมาณน�้ำมีมากพอ เขื่อนจะผลิตไฟฟ้า รองรับความพร้อมจ่ายของระบบสูงสุดได้  ในกรณีท่ีปริมาณน�้ำมีจ�ำกัด โซลาร์เซลล์จะช่วยให้ การบริหารจัดการน�ำ้ มีความยืดหยุน่ เช่น ผลิตไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์ในช่วงกลางวัน และการน�า

พลังน�ำ้ มาเสริมในช่วงความต้องการไฟฟ้าสูง (ก�ำลังการผลิตมาก เพือ่ เสริมช่วง Peak) ในเวลากลางคืน หรือการเดินเครือ่ งโรงไฟฟ้า พลังน�้ำต่อเนื่อง แต่ก�ำลังการผลิตน้อยเพื่อเสริมความต้องการ ของระบบไฟฟ้า แนวคิดการน�ำพลังงานหมุนเวียนมาใช้งานผสมผสานเพื่อเสริม ความมั่นคงของระบบไฟฟ้า เป็นความพยายามของ กฟผ. ในการพัฒนา พลังงานสะอาดควบคูไ่ ปกับภารกิจการสร้างเสถียรภาพทางไฟฟ้าให้คนไทย ตามวิสัยทัศน์ กฟผ. ที่ว่า “นวัตกรรมพลังงานไฟฟ้าเพื่อชีวิตที่ดีกว่า”

January-February 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

กฟผ. จับมือ มศว ทำ�หลักสูตร STEM2 เรื่องพลังงานไฟฟ้าในประเทศ

กฟผ. ร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตรศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มศว พัฒนาหลักสูตรพหุวิทยาการ STEM2 เรื่องพลังงานไฟฟ้าในประเทศ ภายใต้หวั ข้อ “ถ้าพรุง่ นีไ้ ม่มไี ฟฟ้า” โดยน�ำเสนอประเด็นปัญหาเกีย่ วกับ สถานการณ์พลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย ผ่าน 8 สาระวิชาในระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น พร้อมตัง้ เป้าหมายขยายผลใช้หลักสูตรนีก้ บั นักเรียน ระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้นทัว่ ประเทศ หลังจากประสบความส�ำเร็จแล้ว 80 โรงเรียน

January-February 2019

สมรักษ์ เพ็ชรเจริญ ผู้ช่วยผู้ว่าการแผนงานโรงไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ศ. ดร.ปานศิริ พันธุ์สุวรรณ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) และ ผศ. ดร.จรรยา ดาสา ผูอ้ ำ� นวยการ ศูนย์วิทยาศาสตรศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ร่วมในงานแถลงข่าวโครงการการขยายผล การใช้หลักสูตร “STEM2 เรื่องพลังงานไฟฟ้าในประเทศ” และร่ ว มกิ จ กรรมประกาศผลและมอบรางวั ล แก่ นั ก เรี ย น ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่ใช้หลักสูตรดังกล่าวและ ส่งผลงานเข้าประกวด ณ หอดนตรีและการแสดงอโศกมนตรี 2 อาคารนวัตกรรม ศ. ดร.สาโรช บัวศรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร สมรักษ์ เพ็ชรเจริญ ผู้ช่วยผู้ว่าการแผนงานโรงไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กล่าวว่า กฟผ. เห็นความส�ำคัญของการเรียนรู้แบบบูรณาการในโรงเรียน ซึง่ เป็นการเรียนรูท้ ม่ี ปี ระสิทธิภาพผ่านรายวิชาต่างๆ ทีม่ กี ารเรียน การสอนอยูแ่ ล้วในชัน้ เรียน จึงร่วมกับศูนย์วทิ ยาศาสตรศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มศว พัฒนาหลักสูตรพหุวทิ ยาการ STEM2 เรื่องพลังงานไฟฟ้าในประเทศ ภายใต้หัวข้อ “ถ้าพรุ่งนี้ไม่มี ไฟฟ้า” ส�ำหรับครูผสู้ อน และขยายผลหลักสูตรไปยังครูผแู้ ทน


การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

จากโรงเรียนในภูมิภาคต่างๆ รวมถึงพัฒนาเว็บไซต์ (http://stem2. science.swu.ac.th/) ส�ำหรับเป็นสื่อกลางเพื่อให้เกิดการถ่ายทอด องค์ความรู้แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นทั่วประเทศ โดยปัจจุบันมีโรงเรียนที่สนใจเข้าร่วมใช้หลักสูตรนี้และน�ำไปใช้ใน หลักสูตรการเรียนการสอน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ของ โรงเรียนแล้วจ�ำนวน 80 โรงเรียน พร้อมตั้งเป้าหมายจะขยายผล ใช้หลักสูตรนีส้ อนนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้นทัว่ ประเทศ

ทัง้ นี้ หลักสูตร STEM2 เป็นหลักสูตรส�ำคัญทีน่ ำ� เสนอประเด็น ปัญหาเกีย่ วกับสถานการณ์พลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย สถานการณ์ การใช้ไฟฟ้า การผลิตไฟฟ้า พฤติกรรมและแนวโน้มการใช้ไฟฟ้าผสาน การเรียนการสอนของ 8 กลุม่ สาระการเรียนรูใ้ นระดับชัน้ มัธยมศึกษา ตอนต้น ได้แก่ กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) กลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย กลุม่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ และกลุม่ สาระการเรียนรูส้ ขุ ศึกษา พลศึกษา ซึง่ จะช่วยส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีความรู้ ความเข้าใจทีถ่ กู ต้อง มีความตระหนักรูเ้ กีย่ วกับแหล่งพลังงานต่างๆ ทีใ่ ช้ในการผลิตไฟฟ้า สร้างส�ำนึกและปลูกฝังเยาวชนให้ใส่ใจในคุณค่าของพลังงาน และ น�ำความรูม้ าประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวันได้อย่างเหมาะสม ผศ. ดร.จรรยา ดาสา ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิทยาศาสตรศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กล่าว เพิม่ เติมว่า ความร่วมมือครัง้ นีถ้ อื เป็นมิตใิ หม่ของการสร้างการเรียนรู้ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้าให้กับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น ด้วยการใช้รปู แบบการเรียนรูแ้ บบบูรณาการในทุกสาระวิชา ด้วยการสอดแทรกเนื้อหาสาระเกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้าที่สอดคล้อง กับมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ดั ในหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเข้าใจสถานการณ์อย่างรอบด้าน เห็นความ เชื่อมโยงของการเรียนกับชีวิตจริง และส่งเสริมความสามารถใน การแก้ปญ ั หา การสร้างนวัตกรรม และสอดคล้องกับแนวทางการจัดการ เรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ทั้งนี้พบว่า ระดับชั้นที่มีมาตรฐานและตัวชี้วัดของสาระวิชา เหมาะสมกับเนื้อหาคือ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยได้กำ� หนด เป็นสถานการณ์กระตุ้นการเรียนรู้และเนื้อหาในการเรียนรู้ท่ีมุ่งให้ ผู้เรียนเข้าใจสถานการณ์ปัญหาและข้อมูลที่เกี่ยวข้องอย่างถูกต้อง จากแหล่งข้อมูลทีน่ า่ เชือ่ ถือ จนสามารถบูรณาการความรูแ้ ละข้อมูล ที่ได้จากการเรียนรู้มาออกแบบแนวทางหรือวิธีการผลิตพลังงาน ไฟฟ้าเพื่อให้มีพลังงานไฟฟ้าใช้อย่างยั่งยืน มั่นคง และออกแบบ การน�ำเสนออย่างสร้างสรรค์ นอกจากนี้ ภายในงานยังมีการเสวนาในหัวข้อ “หลักสูตร สะเต็มก�ำลังสอง สู่ความยั่งยืนทางไฟฟ่า” โดยมี ทิเดช เอี่ยมสาย ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายวิศวกรรมโรงไฟฟ้า กฟผ. รศ. ดร.ณสรรค์ ผลโภค นายกสมาคมวิทยาศาสตรศึกษา (ประเทศไทย) และอดีตผูอ้ ำ� นวยการ ศูนย์วิทยาศาสตรศึกษา และ ผศ. ดร.จรรยา ดาสา ผู้อำ� นวยการ ศูนย์วิทยาศาสตรศึกษา ร่วมเสวนา พร้อมทั้งมีการประกาศผลและ มอบรางวัลแก่นกั เรียนในระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้นทีใ่ ช้หลักสูตร ดังกล่าวและส่งผลงานคลิปสั้น หัวข้อ “ฉันจะไม่หมดไฟ (ฟ้า)” เพื่อ กระตุน้ ความเข้าใจการใช้และวางแผนด้านพลังงานไฟฟ้าอย่างมัน่ คง ต่อไป January-February 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

กฟน. เดินหน้า โครงการนำ� สายไฟฟ้าลงใต้ดิน ถนนวิทยุ

เทพศักดิ์ ฐิตะรักษา รองผูว้ า่ การการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมชี้แจง “โครงการเปลี่ยนระบบ สายไฟฟ้ า อากาศเป็ น สายไฟฟ้ า ใต้ ดิ น ถนนวิ ท ยุ ” โดยมี ผูป้ ระกอบการและผูแ้ ทนหน่วยงานต่างๆ ในพืน้ ทีถ่ นนวิทยุเข้าร่วม ประชุม ณ โรงแรม Grande Centre Point Ploenchit ชัยภัทร สุขไพบูลย์วัฒน์ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหาร โครงการ กฟน. กล่าวว่า ตามที่ กฟน. ได้มงุ่ เน้นการเพิม่ ประสิทธิภาพ พลังงานเพื่อวิถีชีวิตเมืองมหานคร เดินหน้าขับเคลื่อนนโยบาย กระทรวงมหาดไทยและรัฐบาล เร่งด�ำเนินโครงการเปลี่ยนระบบ สายไฟฟ้าอากาศเป็นสายไฟฟ้าใต้ดินมาอย่างต่อเนื่องนั้น ล่าสุด กฟน. จะด�ำเนินโครงการบนถนนวิทยุ (ถนนเพลินจิต-ถนนพระราม 4) รวมระยะทาง 2.1 กิโลเมตร มีระยะเวลาด�ำเนินการตั้งแต่เดือน มกราคม-ธันวาคม 2562 ภายใต้งบประมาณราว 171 ล้านบาท January-February 2019

ถื อ เป็ น โครงการที่ กฟน. มอบเป็ น ของขวั ญ ปี ใ หม่ ให้ กั บ ประชาชน ซึ่ ง การ ด� ำ เนิ น งานครั้ ง นี้ จ ะช่ ว ย สร้างความเพียงพอ มั่นคง ให้กับระบบไฟฟ้าเพิ่มมาก ขึ้ น เมื่ อ ด� ำ เนิ น โครงการ แล้ ว เสร็ จ จะท� ำ ให้ พื้ น ที่ โดยรอบมี ทั ศ นี ย ภาพที่ สวยงาม ส่งเสริมให้เกิดการ เติบโตทางธุรกิจท่องเที่ยว และเกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อประเทศไทย เนือ่ งจากเป็นพืน้ ทีต่ งั้ ของสถานเอกอัครราชทูตประเทศต่างๆ อีกด้วย ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารโครงการ กล่าวเพิ่มเติมว่า ส�ำหรับกิจกรรมในครั้งนี้ กฟน. ได้จัดประชุมขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อชี้แจงแผนงานการก่อสร้างที่จะด�ำเนินการบนผิวจราจรและ ทางเท้าบริเวณถนนวิทยุ ซึง่ อาจท�ำให้เกิดความไม่สะดวกกับประชาชน ในบริเวณใกล้เคียง ให้ได้รบั ทราบแผนงานของ กฟน. ล่วงหน้า โดย กฟน. จะด�ำเนินการก่อสร้างตัง้ แต่ชว่ งเวลา 22.00-05.00 น. ของทุกวัน เพื่อหลีกเลี่ยงการส่งผลกระทบต่อการจราจร แต่อย่างไรก็ตาม ในการประชุมครั้งนี้ยังถือเป็นโอกาสให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้แสดง ความคิดเห็น พร้อมให้ขอ้ มูลส�ำคัญและค�ำแนะน�ำที่ กฟน. จะได้นำ� มา พิจารณาปรับปรุงแผนงานให้มีความเหมาะสมและส่งผลกระทบ ต่อประชาชนให้นอ้ ยทีส่ ดุ โดยจะมีการชีแ้ จงในประเด็นต่างๆ ได้แก่


การไฟฟ้านครหลวง

แผนงานก่อสร้างด้านโยธา และระบบไฟฟ้า รวมถึงการจัดการจราจร ในบริเวณก่อสร้าง ซึ่งทั้งหมดนี้จะช่วยให้ กฟน. สามารถวางแผน การด�ำเนินโครงการได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้ ง นี้ ส� ำ หรั บ ภาพรวมการด� ำ เนิ น โครงการเปลี่ ย นระบบ สายไฟฟ้าอากาศเป็นสายไฟฟ้าใต้ดินของ กฟน. ในปี พ.ศ. 2562 ประกอบด้วย 1) โครงการที่จะด�ำเนินการแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2562 ได้แก่  โครงการถนนพิษณุโลก ถนนนครสวรรค์ (แยกนางเลิ้ง ถึงแยก เทวกรรม) และถนนเพชรบุรี (แยกยมราช ถึงแยกอุรุพงษ์) รวม ระยะทาง 0.3 กิโลเมตร ก�ำหนดรื้อถอนเสาไฟฟ้าแล้วเสร็จเดือน เมษายน  โครงการถนนนานา (ช่วงถนนสุขุมวิท ถึงคลองแสนแสบ) รวม ระยะทาง 0.75 กิโลเมตร ก�ำหนดรือ้ ถอนเสาไฟฟ้าแล้วเสร็จเดือน เมษายน  โครงการถนนสาธุประดิษฐ์และถนนสว่างอารมณ์ รวมระยะทาง 2 กิโลเมตร ก�ำหนดรื้อถอนเสาไฟฟ้าแล้วเสร็จเดือนธันวาคม  โครงการถนนวิทยุ รวมระยะทาง 2.1 กิโลเมตร ก�ำหนดรื้อถอน เสาไฟฟ้าแล้วเสร็จเดือนธันวาคม 2) โครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้าง 54.1 กิโลเมตร อาทิ โครงการนนทรี โครงการพระราม 3 โครงการรัชดาภิเษกพระราม 9 โครงการรอบพระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน โครงการ ตามแนวรถไฟฟ้าสายสีนำ�้ เงิน และโครงการถนนวิทยุ

3) โครงการทีจ่ ะลงนาม สัญญาก่อสร้างในปี พ.ศ. 2562 รวมประมาณ 114.9 กิโลเมตร มูลค่าของสัญญากว่า 20,000 ล้านบาท อาทิ โครงการพืน้ ที่ เมืองชัน้ ใน โครงการตามแนว รถไฟฟ้ า สายสี ต ่ า งๆ และ โครงการร่ ว มกั บ หน่ ว ยงาน สาธารณูปโภคอื่น อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับ โครงการเปลีย่ นระบบสายไฟฟ้าอากาศเป็นสายไฟฟ้าใต้ดนิ ทัง้ หมด ของ กฟน. ได้ดำ� เนินการรวมระยะทาง 214.6 กิโลเมตร โดยมีโครงการ ทีด่ ำ� เนินการก่อสร้างแล้วเสร็จ 45.6 กิโลเมตร โครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่าง ก�ำลังด�ำเนินการก่อสร้าง 54.1 กิโลเมตร และโครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่าง จัดหาผู้รับจ้าง 114.9 กิโลเมตร

January-February 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

PEA ได้รบั การจัดอันดับเครดิตองค์กร ที่ระดับ

“AAA” (Triple A)

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA) ได้รับการจัดอันดับ เครดิตองค์กรเป็นครัง้ แรกที่ระดับ “AAA” (Triple A) ซึง่ เป็นระดับที่ดีที่สุดจากบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด อันดับเครดิตสะท้อนความแข็งแกร่งขององค์กร นโยบายทางการเงิ น ที่ ร อบคอบและฐานะการเงิ น ที่ เข้มแข็ง รวมถึงการได้รบั และการสนับสนุนจากรัฐบาลไทย น�ำไปสู่การสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้ลงทุน

สมพงษ์ ปรีเปรม

January-February 2019

สมพงษ์ ปรี เ ปรม ผู ้ ว ่ า การการไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าค เปิ ด เผยว่ า บริษทั ทริสเรทติง้ จ�ำกัด ประกาศผลการจัดอันดับเครดิตองค์กรของ PEA ทีร่ ะดับ AAA (Triple A) ด้วยแนวโน้ม “Stable” หรือ “คงที่” โดยอันดับเครดิตสะท้อนถึง บทบาททีส่ ำ� คัญของ PEA ในฐานะเป็นรัฐวิสาหกิจทีร่ บั ผิดชอบในการจัดส่งและ จ�ำหน่ายกระแสไฟฟ้าทั่วประเทศ (ยกเว้น กรุงเทพฯ สมุทรปราการ นนทบุรี) รวมถึงแผนในอนาคตต่างๆ ของ PEA ซึ่งมีการเตรียมความพร้อมส�ำหรับการ ขยายขอบเขตธุรกิจองค์กรที่พร้อมรองรับ Disruptive Technology ที่เข้ามา มีบทบาทส�ำคัญต่ออุตสาหกรรมพลังงาน อันดับเครดิตองค์กรที่ระดับ AAA หมายถึง อันดับเครดิตองค์กรหรือ ตราสารหนี้มีความเสี่ยงต�ำ่ ที่สุด ผู้ออกตราสารหนี้มีความสามารถในการช�ำระ ดอกเบี้ยและคืนเงินต้นในเกณฑ์สูงสุด สะท้อนถึงฐานะการเงินที่แข็งแกร่ง เป็นตัวชี้วัดความเสี่ยงที่ผู้ลงทุนใช้ประกอบการตัดสินใจลงทุน ประกอบกับ ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) มีนโยบายสนับสนุนให้รัฐวิสาหกิจที่มี ศักยภาพสูง ด�ำเนินการจัดอันดับเครดิตเพือ่ ขยายฐานนักลงทุนทีจ่ ะเข้ามาลงทุน ในพันธบัตรรัฐวิสาหกิจ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้ออกประกาศเพื่อเป็นข้อปฏิบัติการเสนอขายตราสารหนี้ของหน่วยงาน ภาครัฐไทย ส่งผลให้รฐั วิสาหกิจทีจ่ ะเสนอขายหลักทรัพย์ตอ่ ผูล้ งทุนสถาบันหรือ ผู้ลงทุนรายใหญ่ และการเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนจะต้องน�ำส่งแบบ แสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์ (Filing) และมีการจัดอันดับเครดิต นอกจากนี้ ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับและส่งเสริมการประกอบ ธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ได้ปรับเงื่อนไขการลงทุน ซึ่งมีผลกระทบต่อการลงทุน ในพันธบัตรรัฐวิสาหกิจทีก่ ระทรวงการคลังไม่คำ้� ประกันและ ไม่ได้จดั อันดับเครดิต ดังนัน้ การจัดอันดับเครดิตดังกล่าว จึงเป็นประโยชน์ต่อการออกพันธบัตรของ PEA ช่วยในการขยายฐานลูกค้าให้กว้างขึน้ และเป็น การเสริมสร้างภาพลักษณ์ของ PEA ผลอันดับเครดิตองค์กรทีร่ ะดับ AAA มาจากความทุม่ เทของพนักงานและฝ่าย บริหารที่ได้ร่วมกันพัฒนาองค์กรอย่าง เต็มความสามารถ เพือ่ ขับเคลือ่ นองค์กร สู่การเป็น PEA Digital Utility


การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

รู้ไว้ไม่เสียหลาย...

> ที่มา : กองความปลอดภัยและชีวอนามัย โดย กองบรรณาธิการ วารสารสายใจไฟฟ้า

ป้องกันอันตรายในโรงงานอุตสาหกรรม ลักษณะการทำ�งานที่ต้องเกี่ยวข้องกับเครื่องมือ เครื่องจักรขนาดใหญ่ ตลอดจนมีผู้ร่วม ปฏิบัติงานเป็นจำ�นวนมากในโรงงานอุตสาหกรรม เสี่ยงต่ออุบัติเหตุและความเจ็บป่วย หลากหลายรูปแบบ ซึ่งเราสามารถป้องกันได้ ดังนี้

ติดตั้งเซฟการ์ดให้เครื่องจักร การป้องกันอันตรายจากการทำ�งานกับเครื่องจักร คือ การติดตั้งเซฟการ์ด (Safeguard) เช่น รัว้ กัน้ ทีป ่ ด ิ ล้อม ทีป ่ ด ิ ครอบเครือ่ งจักรแต่ละประเภท เพือ่ แยกส่วน ทีอ่ นั ตรายให้อยูต ่ า่ งหาก ซึง่ เป็นการช่วยควบคุมอันตรายจากต้นเหตุ โดยเครือ่ งจักร ที่ต้องการเซฟการ์ด ได้แก่

1. เครือ่ งส่งถ่ายก�ำลัง ได้แก่ เพลา สายพาน กระเดื่อง โซ่ พูลเลย์ เกียร์ อันตรายที่เกิดขึ้น ส่วนใหญ่มาจากการชน กระแทก หนีบ หรือ ถูกดึงเข้าไป 2. เครื่องจักรซ่อมบ�ำรุง ได้แก่ เครื่องกลึง เครือ่ งกัด เครือ่ งไส เครือ่ งเจีย เครือ่ งเจาะ ทีม่ กั เกิดอุบัติเหตุกับนิ้วมือ มือ แขน เท้า ใบหน้า ศีรษะ ล�ำตัว ผิวหนัง และมักเกิดกับผูป้ ฏิบตั งิ าน กับเครื่องจักรนั้นๆ โดยตรง

3. เครื่องจักรในกระบวนการผลิต ได้แก่ สายพานล�ำเลียงวัสดุ เครื่องปั๊มโลหะ ปั้นจั่น ยกเคลือ่ นย้าย เครือ่ งเป่า ฉีด หรือเครือ่ งจักร ขึน้ รูปต่างๆ อันตรายมักเกิดจากการกระเด็น วัสดุมีคมบาดมือ เท้า ฉุดดึงมือหรือเสื้อผ้า เข้าไป ทั้งนี้ เครื่องเซฟการ์ดที่ดีจะต้องได้รับ การออกแบบถูกต้องตามมาตรฐาน สามารถ ป้องกันอันตรายจากการท�ำงานได้มากที่สุด ตลอดจนไม่เป็นอุปสรรคต่อการท�ำงาน

อุปกรณ์ป้องกันการตก ความเสี่ยงการตกจากที่สูง ไม่ว่าจะด้วยการซ่อมบำ�รุง การควบคุมเครื่องจักรขนาดใหญ่ มักเป็นของคู่กันกับโรงงานอุตสาหกรรม แต่ก็สามารถป้องกันได้ด้วย 3 แนวทางนี้

1. ป้องกันในสถานที่ทำ� งาน  มี ก ารจั ด ระบบงานเพื่ อ จ� ำ กั ด การท�ำงานบนที่สูง  ติดตัง ้ อุปกรณ์ปอ้ งกันการตกเพือ่ ลดความเสีย่ ง เช่น นัง่ ร้าน ตาข่าย  ใช้ อุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น การตกที่ ตั ว ผูป้ ฏิบตั งิ าน เมือ่ ไม่สามารถติดตัง้ อุปกรณ์ป้องกันการตกได้

2. ป้องกันที่ตัวผู้ปฏิบัติงาน  การฝึกอบรมให้กบ ั ผูท้ ตี่ อ้ งขึน้ ไปปฏิบตั งิ านบนทีส่ งู ให้ทราบ ถึงอันตราย และวิธีป้องกัน ตนเอง

3. การป้ อ งกั น โดยใช้ อุ ป กรณ์ ป้องกัน  โดยการใช้อป ุ กรณ์ทไ่ี ด้มาตรฐาน ในกรณีที่ไม่มีมาตรฐานให้ขอ ใบรับรองผลการทดสอบจาก โรงงานผู้ผลิต  ไม่สร้างระบบการป้องกันการตก ด้วยตนเอง January-February 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

ป้องกันอันตรายจากเสียง ตามกฎกระทรวงกำ�หนดมาตรฐานในการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งานเกีย ่ วกับความร้อน แสงสว่าง เสียง พ.ศ. 2549 กำ�หนดให้ระดับำ ความดังของเสียงทีค ่ วรได้รบ ั ติดต่อกันไม่เกิน 90 เดซิเบล ในระยะเวลาทำ�งานไม่เกินวันละ 8 ชัว่ โมง ซึ่งหากดังเกินกำ�หนด 90 เดซิเบล ต้องลดระยะเวลาทำ�งานลง เพื่อป้องกันการสูญเสียระบำบำ การได้ยินเสียง ทั้งนี้ โรงงานอุตสาหกรรมสามารถทำ�ได้หลายวิธี เช่น

ปรับปรุงแก้ไขเพือ่ ลดเสียงจากเครือ่ งจักร อุปกรณ์ หรือแหล่งที่ทำ� ให้เกิดเสียงดัง  สวมอุปกรณ์ปอ ้ งกันหูตลอดเวลาการท�ำงาน เช่น ทีอ่ ดุ หู (Ear Plugs) จะสามารถลดเสียงทีม่ คี วามสูง ทีจ่ ะเข้าถึงหูได้ถงึ 25-30 เดซิเบล ขณะทีท่ คี่ รอบหู (Ear Muff) สามารถลดเสียงลงได้ถงึ 35-40 เดซิเบล 

เผยแพร่ความรูเ้ พือ่ ให้พนักงานตระหนักถึงอันตราย ของเสียงและประโยชน์ของการใช้อปุ กรณ์ปอ้ งกัน  ทดสอบสรรถภาพการได้ยินของพนักงานที่ต้อง สัมผัสกับเสียงดังเป็นประจ�า  ปฏิ บั ติ ต ามมาตรฐานความปลอดภั ย เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ระดับความดังของเสียงเกินมาตรฐานที่กำ� หนด 

อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ สถานประกอบกิจการทีม่ ค ี นทำ�งานเป็นจำ�นวนมาก โอกาสได้รบ ั เชือ้ โรคติดต่อทางเดินหายใจ ต่างๆ ทีป ่ นมากับเสมหะ น�ำ้ มูก น�ำ้ ลาย ซึง่ แพร่สก ู่ น ั ด้วยวิธไี อหรือจาม การสัมผัสมือ/สิง่ ของทีม ่ ี เชือ้ ปนเปือ้ นยิง่ สูง วิธที จี่ ะช่วยป้องกันทัง้ การแพร่เชือ้ และการติดเชือ้ ได้คอื การใช้หน้ากากอนามัย ทีส่ ามารถช่วยกรองเชือ้ โรคออกได้ถงึ ร้อยละ 80 ทัง้ ยังช่วยป้องกันฝุน่ ละอองทีล่ อยอยูใ่ นอากาศ ไปในคราวเดียวกัน หน้ากากอนามัยที่นิยมใช้ป้องกันการติดเชื้อทางเดินระบบหายใจ รวมถึงป้องกันอันตราย จากพิษของฝุ่นบางประเภท มี 2 แบบ คือ

1. หน้ากากอนามัยแบบทั่วไป หน้ากากอนามัย ประเภทนีค้ อ่ นข้างกระชับกับใบหน้า โดยแนบไปกับ ใบหน้า ซึง่ ใช้ในวงการแพทย์เป็นส่วนใหญ่ และมักใช้ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคผ่านทาง การไอหรือจามได้

2. หน้ากากอนามัยแบบ N95 เป็นหน้ากากอนามัย ชนิดที่ช่วยป้องกันเชื้อโรคที่มีขนาดเล็กมากๆ ได้ ประสิทธิภาพในการป้องกันจะสูงกว่าหน้ากากอนามัย แบบทั่วไป เนื่องจากหน้ากากอนามัยชนิดนี้จะมี ลักษณะครอบลงไปทีบ่ ริเวณหน้าปากและจมูกอย่าง มิดชิด ท�ำให้เชื้อไวรัสหรือสารปนเปื้อนไม่สามารถ ลอดผ่านได้

ทุกทีล่ ว้ นมีความไม่ปลอดภัยแฝงอยู่ เพราะฉะนัน้ นอกจากการจัดการสิง่ แวดล้อมให้เหมาะสม ติดตัง้ เครือ่ งป้องกันต่างๆ ภายในพืน้ ที่ ท�ำงาน การมีสติตง้ั อยูใ่ นความไม่ประมาท ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบความปลอดภัยอย่างเคร่งครัดของผูป้ ฏิบตั งิ านเองก็มสี ว่ นส�ำคัญอยูไ่ ม่นอ้ ย ข้อมูลอ้างอิง : เอกสารความปลอดภัย สถาบันความปลอดภัยในการท�ำงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน January-February 2019


บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) เอ็กโก กรุ๊ป ปิดดีลซื้อหุ้น

โรงไฟฟ้าพาจู อีเอส ในเกาหลีใต้

จักษ์กริช พิบลู ย์ไพโรจน์ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือเอ็กโก กรุป๊ เปิดเผยว่า เอ็กโก กรุป๊ ประสบความส�ำเร็จ ในการซือ้ หุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 49 ในบริษทั พาจู เอ็นเนอร์ยี่ เซอร์วสิ จ�ำกัด (พาจู อีเอส) ซึ่งเป็นเจ้าของและด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม พาจู อีเอส ในเกาหลีใต้ ขนาดก�ำลังการผลิต 1,823 เมกะวัตต์ โดยการ ซื้อขายหุ้นดังกล่าวได้เสร็จสิ้นสมบูรณ์แล้วเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2562 โรงไฟฟ้าพาจู อีเอส ตัง้ อยูท่ เี่ มืองพาจู จังหวัดคย็องกี ประเทศเกาหลีใต้ เริม่ เดินเครือ่ งเชิงพาณิชย์ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2560 โดยใช้แอลเอ็นจีนำ� เข้า เป็นเชือ้ เพลิง และจ�ำหน่ายไฟฟ้าให้แก่ Korea Electric Power Corporation ซึง่ เป็นผูร้ บั ซือ้ ไฟฟ้ารายเดียวในเกาหลีใต้ โดยซือ้ ขายผ่านตลาดกลางซือ้ ขาย ไฟฟ้าของประเทศเกาหลีใต้ (Korea Power Exchange)

อย่างเป็นทางการ

เอ็กโก กรุ๊ป เปิด บจก. อีแอนด์อี

เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ เซอร์วิส

ให้บริการเดินเครื่องและบำ�รุงรักษา โครงการโรงไฟฟ้าน�้ำเทิน 1 สปป.ลาว บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือเอ็กโก กรุ๊ป โดย จักษ์กริช พิบูลย์ไพโรจน์ (ซ้ายสุด) กรรมการผู้จัดการใหญ่ ร่วมท�า พิธเี ปิดบริษทั อีแอนด์อี เอ็นจิเนียริง่ แอนด์ เซอร์วสิ จ�ำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ร่วมทุนระหว่างบริษทั เอ็กโก เอ็นจิเนียริง่ แอนด์ เซอร์วสิ จ�ำกัด (ESCO) ในกลุ่มเอ็กโก กับ EDL-GEN Operation and Maintenance Service Sole Company Limited (EDL-GEN O&M) เพื่อให้บริการเดินเครื่อง และบ�ำรุงรักษาโครงการโรงไฟฟ้าน�ำ้ เทิน 1 ใน สปป.ลาว ซึง่ อยูร่ ะหว่าง การก่อสร้าง และมีก�ำหนดเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ในปี 2565 รวมทั้ง ให้บริการงานด้านอืน่ ๆ แก่โรงไฟฟ้าและโรงงานอุตสาหกรรมอืน่ ๆ ใน สปป.ลาว

ภายในงานได้รบั เกียรติจาก เรือเอกชัชวรรณ สาครสินธุ์ อุปทูตรักษาการ สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ เวียงจันทน์ ป.อ.ดาววง พอนแก้ว หัวหน้าห้องการกระทรวง กระทรวงพลังงาน และบ่อแร่ สปป.ลาว และ นางรัตนา ประทุมวัน ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ บริษทั ผลิตไฟฟ้าลาว จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมพิธเี ปิดอย่างเป็นทางการ เมื่อเร็วๆ นี้ ณ โรงแรมลาวพลาซ่า เวียงจันทน์ สปป.ลาว

มูลนิธิไทยรักษ์ป่า จับมือ อช.ดอยอินทนนท์ เปิดเส้นทางศึกษาธรรมชาติยอดดอย มุ่งเป็นแหล่งเรียนรู้ระบบนิเวศป่าเมฆ จุดสูงสุดแดนสยาม มูลนิธไิ ทยรักษ์ปา่ องค์กรสาธารณกุศลซึง่ ก่อตัง้ และสนับสนุนการด�ำเนินงาน โดยบริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือเอ็กโก กรุ๊ป เพื่อสนับสนุนการอนุรักษ์ สิง่ แวดล้อมและป่าต้นน�ำ้ ทีส่ ำ� คัญของประเทศให้เกิดความยัง่ ยืน จัดพิธเี ปิดและส่งมอบ “เส้นทางศึกษาธรรมชาติยอดดอย” บริเวณจุดสูงสุดแดนสยาม จังหวัดเชียงใหม่ ให้แก่อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช โดยมี จักษ์กริช พิบูลย์ไพโรจน์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ เอ็กโก กรุ๊ป และประธาน กรรมการมูลนิธิไทยรักษ์ป่า เป็นผู้ส่งมอบ โครงการนี้จัดท�ำขึ้นเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ ระบบนิเวศป่าเมฆทีส่ งู ทีส่ ดุ ของประเทศไทยส�ำหรับเยาวชนและนักท่องเทีย่ ว ซึง่ ได้ รับเกียรติจาก คมสัน สุวรรณอัมพา รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดเชียงใหม่ ร่วมในพิธี January-February 2019


บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

โรงไฟฟ้าราชบุรียิปซัมตราช้าง

ผนึกกำ�ลังความร่วมมือ เดินหน้ายกระดับคุณภาพชีวิต ชุมชน สร้างโอกาสให้เยาวชน เพื่อการพัฒนาที่ย่งั ยืน บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด ได้ร่วมลงนามความร่วมมือกับ บริษัท สยามอุตสาหกรรมยิปซัม (สระบุรี) จ�ำกัด หรือยิปซัมตราช้าง จัดท�ำ “โครงการติดตั้งฝ้ายิปซัมให้กับอาคารและสถานที่สาธารณประโยชน์ เพื่อชุมชนจังหวัดราชบุรี” โดยมุ่งเน้นตอบสนองนโยบาย ร่วมกันในด้านการรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม โครงการนี้มีข้ึน เพื่อยกระดับสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน รวมไปถึง การฝึกอบรมเพือ่ สร้างอาชีพ ทัง้ ยังเป็นการพัฒนาโรงเรียนซึง่ เป็นสถาบัน ที่อบรมให้ความรู้กับเยาวชนในชุมชน โดยน�ำร่องแห่งแรกที่โรงเรียน วัดพิกลุ ทอง (แปลกประชาคาร) เพือ่ สร้างโอกาสด้านการศึกษา และวิชาชีพ ให้กับบุคลากร และเยาวชน บุญชัย จรัญวรพรรณ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด กล่าวว่า “โรงไฟฟ้าราชบุรแี ละยิปซัมตราช้าง ได้ประสานความร่วมมือ จากการผสานนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมร่วมกัน โดยมุ่งเน้นที่การจัดท�า โครงการเพื่อชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืนด้วยการจัดฝึกอบรมวิชาชีพ ภายใต้ชื่อ “โครงการติดตั้งฝ้ายิปซัมให้กับอาคารและสถานที่สาธารณประโยชน์ เพือ่ ชุมชนจังหวัดราชบุร”ี จึงเป็นโอกาสทีจ่ ะสร้างความร่วมมือ ระหว่างกันในการสร้างความแข็งแกร่งให้ชุมชน และช่างฝ้าเพดานยิปซัม ให้กับกลุ่มช่างฝีมือชุมชน รวมถึงกลุ่มบุคลากรและนักศึกษาในชุมชน ให้สามารถน�ำไปต่อยอดเพื่อประกอบอาชีพสร้างมูลค่าให้กับครอบครัว และชุมชน โดยน�ำร่องทีโ่ รงเรียนวัดพิกลุ ทอง (แปลกประชาคาร) เป็นทีแ่ รก ซึ่งมีนักเรียนในระดับชั้นอนุบาลถึงมัธยมศึกษาตอนต้น เนื่องจากเด็กๆ ประสบปัญหาเรื่องอากาศร้อนจากอาคารเรียนเดิม ทางยิปซัมตราช้าง จึงได้เข้ามาช่วยแก้ไขปัญหาด้วยการติดตั้งฝ้าเพดานซึ่งช่วยลดความร้อน และระบายอากาศได้ดีข้ึน โดยกิจกรรมเพื่อสังคมครั้งนี้เป็นเจตนารมณ์ ที่ชัดเจนที่โรงไฟฟ้าราชบุรีและยิปซัมตราช้างต้องการมีส่วนร่วมต่อสังคม เพื่อประโยชน์แห่งการพัฒนาที่ยั่งยืน” จรุง กาญจนภูมิ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท สยามอุตสาหกรรมยิปซัม (สระบุรี) จ�ำกัด หรือยิปซัมตราช้าง ผู้น�ำนวัตกรรมฝ้าเพดานและระบบ ผนังยิปซัมแนวหน้าของประเทศไทย กล่าวว่า “บริษัทฯ มีความยินดีและ ภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการร่วมพัฒนาชุมชนราชบุรี ภายใต้ “โครงการติดตั้งฝ้ายิปซัมให้กับอาคารและสถานที่สาธารณJanuary-February 2019

ประโยชน์ เพือ่ ชุมชนจังหวัดราชบุร”ี ” ณ โรงเรียนวัดพิกลุ ทอง (แปลกประชาคาร) แห่งนี้ ด้วยพันธกิจที่สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกันของ ยิปซัมตราช้างและโรงไฟฟ้าราชบุรี เกี่ยวกับการรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ท�ำให้โครงการนี้ได้ถูกริเริ่มขึ้น โครงการนี้มีวัตถุประสงค์ส�ำคัญที่จะพัฒนาชุมชนให้มีชีวิต ความเป็นอยูท่ ส่ี มบูรณ์อย่างยัง่ ยืน กล่าวคือ นอกจากจะเข้ามา พัฒนาชุมชนแล้ว เรายังมุ่งเน้นที่การสร้างทักษะในงานช่าง ยิปซัมสู่การพัฒนาเป็นฝีมือแรงงานด้านงานยิปซัม เพื่อใช้ ประกอบอาชีพได้ เพื่อให้คนในชุมชนสามารถสร้างรายได้ ต่อไปในอนาคต รวมถึงน�ำความรูน้ ไี้ ปพัฒนาช่วยเหลือชุมชน ของตนเองได้

จรุง กาญจนภูมิ ชีแ้ จงรายละเอียดโครงการเพิม่ เติมว่า “กิจกรรมในครัง้ นี้ ทางยิปซัมตราช้างได้จดั ฝึกอบรมการติดตัง้ ฝ้าเพดานเป็นระยะเวลา 3 วัน ให้กับผู้เข้าร่วมอบรมทั้งหมด 41 ท่าน ประกอบด้วยบุคลากรจากวิทยาลัยเทคนิคราชบุรี และ ช่างทั่วไปในชุมชน ในการฝึกปฏิบัติงานจริงได้มีการติดตั้ง ระบบฝ้าทีบาร์พิมพ์ลาย “เปเปอร์ทัช ตราช้าง” รุ่นป้องกัน ความร้อน เพื่อเพิ่มความสบายและสร้างบรรยากาศที่ดี ในการเรียนการสอนให้กบั คณะครูอาจารย์ และน้องๆ นักเรียน โรงเรียนวัดพิกุลทอง (แปลกประชาคาร)”


Special Interview

สมพงษ์ ปรีเปรม

ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค คนที่ 14 มุ่งสู่องค์กรที่เป็นเลิศด้านธุรกิจ พลังงานไฟฟ้า ตอบสนองความคาดหวังของ ลูกค้า ร่วมสร้างคุณค่าสู่สังคมและสิ่งแวดล้อม ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล วิสัยทัศน์ผู้ว่าการ :

การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (PEA) มีภารกิจส�ำคัญคือ การจัดหา ให้บริการพลังงานไฟฟ้า และด�ำเนินธุรกิจอืน่ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง เพือ่ ตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าให้เกิดความพึงพอใจ ทั้งด้านคุณภาพและ บริการ โดยการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง มีความรับผิดชอบต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อม ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาได้ด�ำเนินกิจการ ตามภารกิจดังกล่าวมาโดยตลอด และด�ำเนินกิจการที่นอกเหนือ ภารกิจอีกมากมาย ท�ำให้ PEA เป็นองค์กรชั้นน�ำของประเทศและ ในระดับภูมิภาค ตลอดระยะเวลา 58 ปีที่ก่อตั้งมา PEA มีผู้ว่าการมาแล้ว 13 คน และเมือ่ เดือนตุลาคมปีทผี่ า่ นมา คณะรัฐมนตรีมมี ติเห็นชอบ การแต่งตั้ง สมพงษ์ ปรีเปรม ด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้ว่าการการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค (กฟภ.) คนที่ 14 Interview ฉบับนี้ ได้รับความกรุณา จากผู้ว่าการคนใหม่เพื่อร่วมพูดคุยเกี่ยวกับแนวทางการบริหาร องค์ ก รขนาดใหญ่ ท่ี มี ภ ารกิ จ ส� ำ คั ญ ด้ ว ยวิ สั ย ทั ศ น์ ผู ้ ว ่ า การคื อ “มุง่ สูอ่ งค์กรทีเ่ ป็นเลิศด้านธุรกิจพลังงานไฟฟ้า ตอบสนองความ คาดหวังของลูกค้า ร่วมสร้างคุณค่าสู่สังคมและสิ่งแวดล้อม ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล” ส�ำหรับนโยบายการบริหารและพัฒนาองค์กรนัน้ ยึดนโยบาย KEEN 14 นั่นคือ Keep Improving Existing Business, Enhance New Business, Employ Innovation and Technology, Nourish Human Resource หรือสานงานเดิม เสริมธุรกิจใหม่ ใช้นวัตกรรม หนุนน�ำทุนมนุษย์ ซึ่งประกอบด้วย 1. สานงานเดิม (Keep Improving Existing Business) :

ด� ำ เนิ น งานตามยุ ท ธศาสตร์ อ งค์ ก ร และสานนโยบายเดิ ม เพือ่ ความต่อเนือ่ งในการด�ำเนินงาน ด้วยการพัฒนาระบบ ไฟฟ้าและพัฒนาองค์กรเพื่อให้ธุรกิจหลักของ PEA แข็งแกร่ง สร้างการเติบโตอย่างยัง่ ยืน ประกอบด้วย

January-February 2019


KE1 : Grid Excellence ยกระดับมาตรฐานและปรับปรุงระบบ ไฟฟ้าให้มคี วามมัน่ คง ปลอดภัย ครอบคลุมทุกพืน้ ที่ เพือ่ รองรับการ เชือ่ มโยงจากบุคคลทีส่ าม (Third Party Access) และการผลิตไฟฟ้า รูปแบบต่างๆ รวมถึง Prosumer พร้อมทั้งเร่งรัดพัฒนาระบบไฟฟ้า ใต้ดินและระบบไฟฟ้าอัจฉริยะส�ำหรับพื้นที่สำ� คัญ KE2 : Smart Service พัฒนาระบบงาน เพิ่มความพึงพอใจ สร้างความผูกพันของลูกค้า มุง่ เน้นบริการทีเ่ ป็นเลิศ รวดเร็ว มีมาตรฐาน โดยมีลกู ค้าเป็นศูนย์กลาง ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทที่ นั สมัย และสร้าง ทีมงานมืออาชีพ พัฒนาระบบการตลาดแบบบูรณาการ การบริหาร ลูกค้าสัมพันธ์ และการบริหารประสบการณ์ลูกค้า KE3 : Smart Operation เพิ่มประสิทธิภาพองค์กร ปรับปรุง ระเบียบ หลักเกณฑ์ พัฒนากระบวนงานให้ชัดเจน ลดขั้นตอนเพื่อ ความรวดเร็วในการบริการและรองรับธุรกิจใหม่ พัฒนางานบริการ ลูกค้า โดยน�ำเทคโนโลยีมาช่วยในการด�ำเนินงาน KE4 : Smart Governance ด�ำเนินธุรกิจตามหลักธรรมาภิบาล โปร่งใส ตรวจสอบได้ และส่งเสริมการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี โดยน�า เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาสร้างกระบวนการติดตามและประเมินผล ส่งเสริม การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

3. ใช้นวัตกรรม (Employ Innovation and Technology) :

2. เสริมธุรกิจใหม่ (Enhance New Business) : เร่งรัดพัฒนา

4. หนุนนำ�ทุนมนุษย์ (Nourish Human Resource) : สร้าง

ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับภารกิจหลัก ขยายขอบเขตการด�ำเนินงานไปสู่ ธุรกิจที่มีโอกาสเติบโตได้ดี โดยด�ำเนินการเองหรือร่วมลงทุนกับ พันธมิตรทางธุรกิจผ่านบริษัทในเครือของ PEA ประกอบด้วย EB1 : Upstream Expansion ขยายการลงทุนไปสู่ธุรกิจ ต้นน�้ำ และธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการผลิตไฟฟ้า และขยายธุรกิจไปสู่ ต่างประเทศและแสวงหาโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ รวมถึงการเตรียมการ เพื่อรองรับ Disruptive Technology EB2 : PEA Product พัฒนาธุรกิจจากความเชี่ยวชาญ เช่น การก่อสร้างและบ�ำรุงรักษาระบบไฟฟ้า พัฒนาธุรกิจใหม่จาก การใช้งาน และความต้องการภายในองค์กรผลักดันสูภ่ ายนอก เช่น ธุรกิจยานยนต์ไฟฟ้า เผยแพร่มาตรฐาน PEA Standard และ PEA Product ให้เป็นที่ยอมรับในภูมิภาค EB3 : Behind Meter ขยายการให้บริการไปสูธ่ รุ กิจหลังมิเตอร์ เพือ่ ให้บริการด้านพลังงานแบบครบวงจร ด้วยระบบไฟฟ้าอัจฉริยะ และระบบสือ่ สารของ PEA พัฒนา Platform การให้บริการทีส่ ะดวก รวดเร็ว ทันสมัย และเข้าถึงง่าย

January-February 2019

พัฒนากระบวนงานต่างๆ โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่ อ เสริ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการปฏิ บั ติ ง านด้ ว ยการใช้ สิ น ทรั พ ย์ ท่ี มี ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และรองรับธุรกิจที่จะเกิดใหม่ ประกอบด้วย EI1 : Innovation Process พัฒนากระบวนการด�ำเนินงาน ที่ทันสมัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารองค์กร และบริการ โครงการ เปิดโอกาสให้เอกชนเข้ามาร่วมลงทุนในการผลิตไฟฟ้าและ ระบบไฟฟ้า พัฒนาระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้าส�ำรองในพืน้ ทีท่ พ่ี เิ ศษ และเพิม่ ช่องทางการจัดหาแหล่งทุนผ่านกองทุนรวมโครงสร้างพืน้ ฐาน EI2 : Digital Revolution พัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูล โดยการเชือ่ มโยงฐานข้อมูล ระบบงานและเครือ่ งวัดต่างๆ เข้าด้วยกัน (Big Data) แล้วน�ำมาวิเคราะห์ในเชิงลึก (Data Analytic and AI) รวมถึงน�ำเทคโนโลยี Blockchain มาประยุกต์ใช้ในงาน เช่น PEA Energy Trading Platform EI3 : Smart Utilization เร่งรัดพัฒนาการบริหารสินทรัพย์ ระบบไฟฟ้าให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น ระบบการติดตามประเมิน การบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์หลัก (Condition Based Maintenance) ใช้นวัตกรรมพัฒนากระบวนงาน พัฒนาระบบ Smart Patrol ระบบงานและกลไกเพื่ อ น� ำ ศั ก ยภาพของพนั ก งานมาใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรพัฒนาทักษะพนักงานด้านความรู้ (Hard Skills) และด้านอารมณ์ (Soft Skills) ส่งเสริมการสร้างและขยายผล การใช้งานนวัตกรรมอย่างเป็นระบบ และสนับสนุนการด�ำเนินงาน ขององค์กรให้มี Productivity สูงขึ้น NH1 : Smart Workforce สร้างระบบการพัฒนาขีดความ สามารถบุคลากรให้พร้อมกับการเปลีย่ นแปลง และรองรับธุรกิจใหม่ ประยุกต์ใช้การประเมินผลจากเป้าประสงค์ (Objective Key Result : OKR) และสร้างระบบการบริหารจัดการคนเก่ง (Talent Management) สนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ จัดตั้งระบบคลังนวัตกรรม (PEA Innovation Tank) NH2 : Smart Workplace สร้างสภาพแวดล้อมการท�ำงาน มุง่ สูอ่ งค์กรแห่งความสุข สร้างบรรยากาศให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ส่งเสริมการท�ำงานเป็นทีม มีการแลกเปลี่ยน และจุดประกาย ความคิดใหม่ในการท�ำงาน ริเริ่มระบบการหมุนเวียนการท�ำงานใน ระดับปฏิบัติการ NH3 : Smart Enterprise ปรับโครงสร้างองค์กรเพื่อมุ่งสู่ องค์กรสมรรถนะสูง มีแผนงานรองรับการเปลี่ยนแปลง กระจาย


Improving Existing Business, Enhance New Business, Employ Innovation and Technology และ Nourish Human Resource KEEN 14 : Keep

อ�ำนาจการบริหารสู่พื้นที่ ส่งเสริมกระบวนการจัดการความรู้ สร้างระบบงาน รองรับการพัฒนาและด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวเนื่อง NH4 : Smart CSV ปรับเปลีย่ นการด�ำเนินงานไปสูก่ ารร่วมสร้างคุณค่า สู่สังคม (Creative Share Value : CSV) โดยปรับรูปแบบการด�ำเนินธุรกิจให้ ตรงกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มุ่งเน้นการปรับตัวเข้าสู่การเป็น ธุรกิจที่ยั่งยืน สุดท้าย คุณสมพงษ์ ปรีเปรม ได้กล่าวถึง IEEE Power & Energy Society - Thailand (IEEE PES - Thailand) ซึง่ ปัจจุบนั คุณสมพงษ์ รับต�ำแหน่ง ประธานคณะกรรมการบริหารว่า...การท�ำงานให้กับ IEEE PES - Thailand ถือเป็นงาน Volunteer ซึ่งทาง IEEE PES - Thailand มีกิจกรรมที่สนับสนุน ให้วิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ได้เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเทคโนโลยีไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ๆ ของโลกยุคปัจจุบนั เพือ่ น�ำมาใช้ในการพัฒนาองค์กร ทัง้ ในภาครัฐและภาคเอกชน ภาคอุตสาหกรรม ภาคการศึกษา หรือประชาชน ทัว่ ไปทีม่ คี วามสนใจก็สามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ เช่น การจัดหลักสูตร Tutorial/ Training Course ซึง่ หลักสูตรทีม่ ผี เู้ ข้าร่วมสัมมนาให้ความสนใจเป็นอย่างมาก คือ ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาและลอยน�้ำ ระบบ สะสมพลังงาน ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานจากขยะชุมชน และ Smart City & Data Center เป็นต้น มีการจัดสัมมนาเชิงวิชาการ หรือการบรรยายพิเศษ เช่น IEEE PES Distinguished Lecturer Program (DLP) โดยเชิญผู้เชี่ยวชาญ ของ IEEE PES จากต่างประเทศมาบรรยายในหัวข้อที่น่าสนใจต่างๆ และ IEEE PES - Thailand ได้มีการให้ทุนสนับสนุนการสมัครสมาชิกส�ำหรับนิสิต นักศึกษาในมหาวิทยาลัย เพื่อเปิดโอกาสให้นิสิต นักศึกษา ได้เพิ่มพูนทักษะ ความรู้ ความสามารถในด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็น กิจกรรมทีป่ ฏิบตั กิ นั มาอย่างต่อเนือ่ ง นอกจากนี้ IEEE PES - Thailand มีแผนที่ จะด�ำเนินโครงการ Smart Village ซึง่ เป็นการติดตัง้ ระบบผลิตพลังงานแสงอาทิตย์ ให้กับชุมชนที่ยังไม่มีไฟฟ้าใช้หรือไม่เพียงพอต่อความต้องการ นอกจากกิจกรรมต่างๆ ทีก่ ล่าวมาแล้วนัน้ ยังมีบทความวิชาการมากมาย ที่เป็นความรู้ใหม่ๆ ที่น่าสนใจเกี่ยวกับไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ แต่ส่วนใหญ่ จะเป็นบทความที่ใช้ค�ำศัพท์เทคนิคเฉพาะทางที่ผู้สนใจทั่วไปเข้าใจได้ยาก ดังนัน้ คุณสมพงษ์ จึงมีแนวคิดทีจ่ ะน�ำองค์ความรูเ้ หล่านัน้ เผยแพร่และถ่ายทอด ในแวดวงวิศวกรรม รวมถึงกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจ ในรูปแบบ เนือ้ หาทีอ่ า่ นเข้าใจง่าย เพือ่ ให้ทกุ คนได้ทราบถึงความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ส�ำหรับกิจกรรมใหญ่ที่สุดในปี 2562 ของ IEEE PES - Thailand ที่จะ เกิดขึ้นเร็วๆ นี้ คือ การจัดงาน IEEE PES Grand International Conference and Exposition Asia 2019 หรือ IEEE PES GTD Asia 2019 เป็นการจัดงาน วิชาการและงานแสดงนิทรรศการทีใ่ หญ่ระดับโลกทีค่ รอบคลุมเรือ่ งของระบบ ไฟฟ้าและพลังงาน ตัง้ แต่ Power Generation, Transmission and Distribution, Renewable Energy รวมถึง Digital Technology ซึ่งจะจัดระหว่างวันที่ 19-23 มีนาคม 2562 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา จึงเชิญชวน ผู้สนใจทุกท่านเข้าร่วมชมการจัดงานดังกล่าว

ประวัติ

สมพงษ์ ปรีเปรม

ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การศึกษา : พ.ศ. 2527 พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2560

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าก�ำลัง มหาวิทยาลัยขอนแก่น บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วุฒิบัตร วิทยาลัยการทัพบก หลักสูตรหลักประจ�ำ ชุดที่ 60 (วทบ.60) ปริญญาบัตร วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร หลักสูตรการป้องกัน ราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 59

การท�ำงาน :

เริ่มท�ำงานกับ กฟภ. ในปี 2527-ปัจจุบัน พ.ศ. 2548 ผู้อ�ำนวยการกองออกแบบ สถานีไฟฟ้า พ.ศ. 2558 ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริการวิศวกรรม พ.ศ. 2558 ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การประจ�ำส�ำนักผูว้ า่ การ และปฏิบัติหน้าที่รองกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั พีอเี อเอ็นคอม อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด พ.ศ. 2559 ผู้ช่วยผู้ว่าการวางแผนและพัฒนา ระบบไฟฟ้า พ.ศ. 2560 รองผู้ว่าการวางแผนและพัฒนา ระบบไฟฟ้า January-February 2019


Special Interview

ปรียนาถ สุนทรวาทะ

นำ�ทัพขับเคลื่อน บี.กริม เพาเวอร์ ก้าวสู่ยุคเปลี่ยนผ่านด้านพลังงาน พร้อมโชว์วิสัยทัศน์ในงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 เร็วมาก ทางด้านพลังงานก็มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เช่นกัน ในอนาคตใครๆ ก็อาจจะผลิตไฟใช้เองได้ ทีเ่ ขาเรียกว่า Prosumer คือ ผูใ้ ช้สามารถติดตัง้ โซลาร์รฟู ท็อป ผลิตไฟใช้เอง และอาจจะขายเข้า Grid ได้ ด้วยเหตุที่ต้นทุนการผลิตของ โซลาร์รฟู ท็อปลดลงมาก ท�ำให้ตรงนีจ้ ะกลายเป็นทีน่ ยิ ม บางคน มองขนาดว่า ภายในอนาคตอันไม่ไกล แทบจะทุกหลังคาเรือน จะมีโซลาร์รูฟท็อปของตัวเอง ฉะนั้นทั้งรัฐบาลและเอกชน จะต้องปรับตัวให้ทัน

หัวใจของการผลิตไฟฟ้า คือความมีเสถียรภาพ

ในแวดวงพลังงาน คงไม่มีใครไม่รู้จัก บี.กริม หนึ่งในผู้ผลิตไฟฟ้า เอกชนรายใหญ่ที่สุดของประเทศ ด้วยก�ำลังการผลิต 2,076 เมกะวัตต์ ประกอบด้วยโรงไฟฟ้าก๊าซธรรมชาติ 15 แห่ง และในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา บริษัทได้ขยายไปสู่พลังงานหมุนเวียน โดยปัจจุบันมีโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์อกี 22 แห่ง ซึง่ เราได้รบั เกียรติจาก คุณปรียนาถ สุนทรวาทะ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมพูดคุยเกีย่ วกับเรือ่ งอนาคตของอุตสาหกรรมพลังงานและการขับเคลือ่ น ไปข้างหน้าของบี.กริม และการมีส่วนร่วมในงาน IEEE PES GTD ASIA 2019

แนวโน้มการผลิตพลังงานกำ�ลังเปลี่ยน ต้องก้าวให้ทันเทคโนโลยี

คุณปรียนาถ กล่าวถึงภาพรวมและแนวโน้มของอุตสาหกรรม พลังงานว่า ส�ำหรับภาพรวมของอุตสาหกรรมการผลิตพลังงานในประเทศไทย ปัจจุบนั จะเห็นว่าภาคเอกชนเริม่ เข้ามามีบทบาทในการผลิตไฟฟ้ามากขึน้ ในขณะทีเ่ มือ่ ก่อนจะผูกขาดให้ EGAT เป็นผูผ้ ลิต แต่เกือบ 20 ปีแล้วทีไ่ ด้มี การเปิดให้เอกชนได้เข้ามามีบทบาทในการร่วมผลิตไฟฟ้า ทัง้ นี้ ไม่วา่ ผูผ้ ลิต จะเป็นเอกชนหรือภาครัฐก็มีส่วนช่วยส่งเสริมความมั่นคงด้านพลังงาน ของประเทศ ส�ำหรับการเปลีย่ นแปลงในอนาคต ตอนนีค้ งไม่มใี ครไม่พดู ถึง Disruptive Change ซึ่งคือความเปลี่ยนแปลงทางด้านนวัตกรรม ที่เกิดขึ้น January-February 2019

คุณปรียนาถ กล่าวต่ออีกว่า ส�ำหรับบี.กริม เราท�า ธุรกิจพลังงานมายาวนานกว่า 20 ปี แต่สว่ นใหญ่เป็นโรงไฟฟ้า ความร้อนร่วมเชื้อเพลิงก๊าซ และอยู่ในนิคมอุตสาหกรรม แทบทัง้ สิน้ ซึง่ มีการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพและประสิทธิภาพ สูงขึ้นเรื่อยๆ และเป็น Model เดียวที่ขายตรงให้กับลูกค้า อุตสาหกรรมในนิคม ลูกค้าอุตสาหกรรมต้องการไฟฟ้าที่มี ความมัน่ คง มีเสถียรภาพ เพราะว่าโลกไม่ได้เปลีย่ นแค่พลังงาน แต่เปลีย่ นไปหมด เพราะฉะนัน้ ลูกค้าทีเ่ ป็นโรงงานอุตสาหกรรม ใหญ่ๆ จะมีการเปลีย่ นแปลง ใช้คนน้อยลง เป็นระบบออโตเมท มากขึน้ พอใช้โรโบติกมากขึน้ ประเด็นส�ำคัญเลยก็คอื ต้องใช้ ไฟมากขึน้ ฉะนัน้ ไฟจะต้องมีเสถียรภาพดีจริงๆ จะกะพริบไม่ได้ ซึ่งพลังงานทดแทนอย่างพลังแสงอาทิตย์หรือพลังงานลม ยังมีช่องว่างเรื่องนี้อยู่ ดังนั้นสิ่งที่ต้องพัฒนากันต่อไป คือ เรื่องของเทคโนโลยีการกักเก็บพลังงาน ในอนาคตพลังงานทีจ่ ะเข้ามามีบทบาทในชีวติ ประจ�ำวัน ของคนมากขึน้ และเทคโนโลยีทเี่ ปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วคือ ไม่วา่ ใครก็ตอ้ งปรับตัว เอกชนทีต่ อ้ งผลิตกระแสไฟฟ้าอย่างเรา ก็ตอ้ งปรับตัว ท�ำยังไงถึงจะรักษาฐานลูกค้า ท�ำให้ลกู ค้าพอใจได้ ถ้าลูกค้าอยากติดรูฟท็อป เรามีอะไรจะมาช่วยเสริมให้ลูกค้า ยังติดรูฟท็อปได้โดยไฟไม่กะพริบ ไม่มปี ญ ั หาด้านความเสถียร เพราะฉะนัน้ เราก็ตอ้ งพยายามวิง่ ตามเทคโนโลยีให้ทนั BGRIM ก็ให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งนีม้ าก โดยอาศัยการแชร์ความรูแ้ ละ ประสบการณ์กับพันธมิตรระดับยักษ์ใหญ่ของโลก


พัฒนาตัวเองให้ทันสมัย รุกสู่การพัฒนา ด้านพลังงานสะอาด

บี.กริมได้เริ่มปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงมาหลายปีแล้ว จากแรกเริม่ ธุรกิจของเราจะเป็นโรงฟ้าใช้แก๊ส คอมไบน์ไซเคิล แต่เมือ่ 4-5 ปีมาแล้ว เราเริ่มมองเห็นว่าโลกก�ำลังจะเปลี่ยน ธุรกิจเดิมก็ยัง มั่นคง เพราะเป็นสิ่งจ�ำเป็น เนื่องจากกระแสไฟจะนิ่งมาก แต่เรา ก็ต้องพยายามท�ำธุรกิจทางด้านพลังงานทางเลือกให้ได้ เพราะว่า เทรนด์ก�ำลังมาแรง เนื่องจากต้นทุนการผลิตถูกลง และความนิยม มากขึ้ น บี . กริ ม จึ ง ขยายธุ ร กิ จ มาทางด้ า นพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ เป็นระยะเวลา 4 ปีแล้ว ตอนนี้เราก็มีการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงาน แสงอาทิตย์ในประเทศไทยเกือบ 150 เมกะวัตต์ แล้วก็ขยายไป เวียดนาม เพราะเป็นประเทศทีเ่ พิง่ เปิด และมีการปรับเปลีย่ นนโยบาย กฎเกณฑ์ต่างๆ เพื่อเอื้ออ�ำนวยกับนักลงทุนต่างชาติมากขึ้น เราจึง กลายเป็นยักษ์ใหญ่ในเวียดนามทางด้านพลังงานแสงอาทิตย์ขณะนี้ เพราะมีทงั้ หมด 677 เมกะวัตต์ ซึง่ จะสร้างเสร็จภายในกลางปี 2019 “สาเหตุที่เลือกเวียดนาม เพราะนอกจากประเทศเขาจะเพิ่ง เปิดแล้ว ในเวียดนามมีคนรุ่นใหม่เยอะ แล้วเขาก็มีระบบการศึกษำ ที่ดีมาก เขาเน้นการสื่อสารภาษาอังกฤษ ผู้คนก็แอคทีฟ และมี ความเป็นชาตินยิ มมาก ซึง่ ข้อดีคอื ท�ำให้เขามีความรักชาติ มีความ กระตือรือร้นที่จะพัฒนาประเทศตัวเอง ในขณะเดียวกัน บี.กริม ก็ขยายไปประเทศอื่นๆ ด้วย เช่น มาเลเซีย และก�ำลังจะมีธุรกิจ พลังงานลมทีเ่ กาหลี คือเราต้องขยายธุรกิจออกไป และสิง่ เดิมทีเ่ รามี เราก็ต้องพัฒนามันให้ทัน เราสนใจเรื่องสมาร์ทกริด ซึ่งมีการท�ำ MOU กับบริษัทในเกาหลีและจีน ซึ่งเขาพัฒนาเรื่องนี้ไปได้ไกลมาก ในประเทศเราอาจจะยังไม่ได้มีการท�ำ R&D มากนัก เราจึงต้องใช้ วิธีเชื่อมกับพวกเขาแล้วพัฒนาความรู้ความเข้าใจของเราให้ทันกับ เทคโนโลยีทใี่ หม่ลา่ สุด ส�ำหรับบี.กริม แล้ว เราพยายามพัฒนาทุกอย่าง เพือ่ ตามให้ทนั เทคโนโลยี ท�ำให้ตวั เองทันสมัยอยูเ่ สมอ แล้วใช้สว่ นนัน้ ให้เป็นประโยชน์” คุณปรียนาถ กล่าว

EEC คือโอกาสสำ�คัญในการขับเคลื่อนธุรกิจ

ในเรื่ อ งของการเดิ น หน้ า นโยบายของภาครั ฐ ใน EEC คุ ณ ปรี ย นาถ พู ด ถึ ง โอกาสในการพั ฒ นาธุ ร กิ จ ตรงนี้ ว ่ า นิ ค ม อุตสาหกรรมที่เรามีโรงไฟฟ้าอยู่ก็อยู่ใน EEC แทบทั้งหมด ฉะนั้น มันเป็นโอกาสอันดีของเราอยู่แล้ว เพราะว่าวัตถุประสงค์ก็คือ การที่จะพัฒนาภาคอุตสาหกรรมเพื่อที่จะให้ต่างประเทศเข้ามา ลงทุนเพิ่มขึ้น เรามีลูกค้ามากที่สุดรายหนึ่งของประเทศไทยอยู่แล้ว และเป็นลูกค้าระดับเวิร์ลคลาส 130 กว่าราย เพราะฉะนั้น ตรงนี้ มันเหมือนสิง่ ทีเ่ ราท�ำอยูแ่ ล้ว และจะได้รบั การสนับสนุนจากภาครัฐ มากขึน้ จะเห็นว่า บี.กริมเพิง่ ประมูลทีจ่ ะเป็นผูร้ บั ผิดชอบเรือ่ งการขาย ไฟฟ้าและจัดไฟฟ้าให้เขตสนามบินอู่ตะเภาและกองทัพเรือสัตหีบ ตรงนี้เป็นความชัดเจนว่า เราจะส่งเสริมและสนับสนุนนโยบายของ ภาครัฐในเรือ่ ง EEC สิง่ ทีเ่ ราท�ำอยูท่ กุ วันนีก้ เ็ ป็นวัตถุประสงค์เดียวกัน กับที่ภาครัฐต้องการพัฒนา EEC เช่นกัน

จุดแข็งคือ “คน” ที่ทำ�ให้บี.กริม ขับเคลื่อน ไปข้างหน้าได้ตลอด

“จุดแข็งของบี.กริม ทีส่ ำ� คัญคือ คน เรามีคนเก่งๆ เข้ามาช่วย เยอะมาก และเราต้องพัฒนาบุคลากรอยู่ตลอดเวลา เรามีการ เทรนด์นิ่งอย่างต่อเนื่อง และหัวใจของเราก็คือ เราต้องมีค่านิยม ทีช่ ดั เจน การท�ำงานต้องท�ำอย่างมืออาชีพ เราต้องท�ำธุรกิจแบบไม่ เอาเปรียบใคร ต้องใช้ของดี เราต้องมี Pioneering Spirit และทีส่ ำ� คัญ คือเราต้องมีหุ้นส่วนที่ดี ท�ำให้เราได้อยู่ไปอีกยาวนาน เวลาไป ต่างประเทศส�ำคัญทีส่ ดุ เลยคือ ต้องเลือก Local Partner ทีแ่ ข็งแกร่ง ไม่อย่างนัน้ มันจะมีความเสีย่ ง เราพยายามจะมีสมั พันธภาพกับผูน้ ำ� ของรัฐในแต่ละประเทศ เพื่อการท�ำงานที่ง่ายขึ้น”

พร้อมโชว์วิสย ั ทัศน์ในงาน IEEE PES GTD ASIA 2019

คุณปรียนาถ กล่าวทิ้งท้ายถึงการมีส่วนร่วมในงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 ว่า IEEE PES เป็นองค์กรระหว่างประเทศ ที่ได้รับการยอมรับนับถือมาอย่างยาวนาน เป็นองค์กรวิชาชีพ ที่ไม่หวังผลก�ำไรและมีสมาชิกหลากหลายอยู่ทั่วโลก เป็นองค์กรที่ ช่วยเผยแพร่ความรู้ และอัปเดตอะไรใหม่ๆ แล้วมาแลกเปลี่ยนกับ สมาชิกท่านอื่นๆ ในประเทศอื่นๆ ซึ่งเป็นเรื่องที่ดี และเป็นโอกาส อันดีทจี่ ะมาจัดในประเทศไทยเป็นครัง้ แรก และครัง้ แรกในเอเชียด้วย เพราะฉะนั้น บี.กริมก็เห็นว่าเป็นโอกาสอันดี ที่เราจะเข้าไปมี ส่วนร่วมในเรื่องส�ำคัญและเป็นประโยชน์ของประเทศเช่นนี้ และ คาดว่าทุกคนจะได้ประโยชน์จากการจัดนิทรรศการครั้งนี้ ส่วนเรื่อง ที่บี.กริมจะเอาอะไรไปโชว์ในงานนั้น ก็คงจะเป็นวิสยั ทัศน์และสิง่ ทีเ่ รา จะท� ำ เพื่ อ ตอบรั บ กั บ การ เปลี่ยนแปลง อาจฟังดูสั้นๆ แต่เป็นเรื่องที่ต้องช่วยกัน ท� ำ เยอะเลย คื อ ถ้ า เรา หยุดนิง่ อยูก่ บั ที่ ไม่พยายาม อั ป เดตความรู ้ ข องเราเอง ก็เท่ากับเราก�ำลังเดินถอยหลัง เพราะฉะนั้ น ก็ อ ยากจะ เชิญชวนผูท้ สี่ นใจทุกท่าน ไปร่วมงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 ใน วันที่ 19-23 มีนาคมนี้ ณ ศูนย์นิทรรศการ และการประชุ ม ไบเทค บางนา

January-February 2019


Special Interview

ชัยยศ ปิยะวรรณรัตน์ กรรมการผู้จด ั การ บริษท ั เอบีบี (ประเทศไทย) จำ�กัด

เอบีบี ผู้น�ำด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและคิดค้นนวัตกรรม ด้านไฟฟ้า ประกาศร่วมเป็นส่วนหนึ่งในงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 ซึง่ เป็นงานวิศวกรรมพลังงานไฟฟ้าระดับโลกครัง้ แรกทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศไทย เตรียมน�ำเสนอนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ภาคพลังงาน บริษทั เอบีบี (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้ประกาศให้การสนับสนุน อย่างเป็นทางการ ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของงานประชุมวิชาการและ นิทรรศการระดับนานาชาติ IEEE PES Generation Transmission and Distribution (GTD) Grand International Conference and Exposition Asia 2019 (IEEE PES GTD ASIA 2019) ซึง่ จะจัดขึน้ ระหว่างวันที่ 19-23 มีนาคม พ.ศ. 2562 ณ ศูนย์นิทรรศการและ การประชุมไบเทค โดยจะจัดแสดงบูธนิทรรศการเพือ่ น�ำเสนอความ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีล่าสุด เอบีบีเป็นผู้น�ำเทคโนโลยีในด้าน Electrification Products, Robotics and Motion, Industrial Automation และ Power Grids เราให้ บ ริ ก ารลู ก ค้ า ทั่ ว โลกครอบคลุ ม ทั้ ง ในภาคสาธารณู ป โภค อุตสาหกรรม การขนส่งและระบบโครงสร้างพืน้ ฐาน นับเป็นเวลากว่า 130 ปี ที่ ABB คิดค้นพัฒนานวัตกรรมออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง ปัจจุบัน ABB ก�ำลังก้าวไปสู่ยุคอุตสาหกรรมดิจิทัลด้วยคุณค่าหลัก 2 หัวข้อที่เรามอบให้แก่ลูกค้า ได้แก่ การช่วยให้โรงไฟฟ้าสามารถ ส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าไปสู่ผู้ใช้ไฟฟ้าทุกหนทุกแห่ง และช่วยเสริม ศักยภาพอุตสาหกรรมด้วยระบบอัตโนมัติ ครอบคลุมตั้งแต่การ เก็บเกีย่ วพลังงานจากธรรมชาติ จนถึงการผลิตเป็นสินค้าส�ำเร็จ และ ในฐานะผูส้ นับสนุนหลักของ Formula E ซึง่ เป็นการแข่งขันมอเตอร์ สปอร์ตระดับนานาชาติในประเภทรถแข่งไฟฟ้าอย่างเต็มรูปแบบ ของสหพันธ์รถยนต์ระหว่างประเทศ (FIA) โดย ABB ก�ำลังร่วมผลักดัน และขยายขอบเขตของ E-Mobility เพือ่ ให้เกิดการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน January-February 2019

ในอนาคต ABB ด�ำเนินธุรกิจในกว่า 100 ประเทศ โดยมีพนักงาน ประมาณ 135,000 คน คุณชัยยศ ปิยะวรรณรัตน์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เอบีบี (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้กล่าวถึงเหตุผลส�ำคัญทีต่ ดั สินใจเข้าร่วมงาน เนือ่ งจากเอบีบเี ป็นบริษทั นานาชาติทเี่ ข้ามาด�ำเนินธุรกิจในประเทศไทย ตั้งแต่เมื่อปี ค.ศ. 1978 ซึ่งปีนี้ถือเป็นปีที่ครบรอบ 40 ปีของเอบีบี ในประเทศไทย เอบีบีในประเทศไทยได้รับการสนับสนุนจากผู้ที่เกี่ยวข้องใน อุตสาหกรรมไฟฟ้าและพลังงานมาด้วยดีตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ดังนั้นเมื่อประเทศไทยได้รับเกียรติให้จัดงานประชุมวิชาการและ นิทรรศการระดับโลก อย่างงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 นั้น จึงเป็นโอกาสอันดีท่ีเอบีบีจะได้มีบทบาทในการร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ของกิจกรรมครั้งส�ำคัญของประเทศไทย เพื่อส่งเสริมศักยภาพของ ประเทศไทยในเชิงเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม รวมถึงการท่องเทีย่ ว อีกทั้งยังเป็นอีกหนึ่งโอกาสที่เอบีบีจะได้เผยแพร่องค์ความรู้และ เทคโนโลยีตา่ งๆ ทีจ่ ะเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาอุตสาหกรรมด้าน พลังงานไฟฟ้าของประเทศในภาพรวม ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ส�ำหรับรูปแบบการน�ำเสนอภายในบูธนิทรรศการดังกล่าว เอบีบซี ง่ึ เป็น Pioneering Technology Leader จะมุง่ เน้นการน�ำเสนอ นวัตกรรมความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ Energy Revolution และ 4th Industrial Revolution ซึ่งจะมีบทบาทส�ำคัญ ต่อการเปลี่ยนผ่านประเทศไทยไปสู่โลกอุตสาหกรรมยุค 4.0 คุณชัยยศ ได้กล่าวว่า สิง่ ทีเ่ อบีบจี ะน�ำเทคโนโลยีมาน�ำเสนอ ในส่วนของ Energy Revolution นัน้ ก็คอื เรือ่ งของการเพิม่ ประสิทธิภาพ การท�ำงานของระบบ Power Grid ท�ำอย่างไรให้เป็น Stronger Smarter รวมถึง Greener Grid นีเ่ ป็นหนึง่ ธีมทีจ่ ะน�ำเสนอภายในงาน นอกจากนี้


ก็มอี กี หนึง่ ธีม คือ 4th Industrial Revolution ทีม่ คี วามเกีย่ วข้องกับ ความก้าวหน้าในเรือ่ งของ Digitalization ซึง่ ไม่เพียงแต่ครอบคลุมถึง เรื่องของการเป็นโลกธุรกิจที่ขับเคลื่อนอยู่ท่ามกลาง Digitalization หากยังรวมไปถึงการประยุกต์ใช้ AI (Artificial Intelligence) ในภาค อุตสาหกรรมต่างๆ โดยเอบีบไี ด้รวบรวมโซลูชนั และบริการในรูปแบบ ดิจิทัลทั้งหมดของเอบีบี ซึ่งเรียกว่า “ABB AbilityTM” ซึ่งน�ำมา ประยุกต์ใช้เพือ่ พัฒนาโซลูชนั ต่างๆ ให้ครอบคลุมทุกกลุม่ อุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็น Utilities, Industry หรือ Transport and Infrastruture ซึ่งเหล่านี้ถือเป็น 3 เซ็กเมนต์หลักที่เอบีบีมีความรู้ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ เอบีบีจะน�ำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการในด้าน ดิจทิ ลั ภายใต้ชอ่ื ABB Ability ทีน่ ำ� เสนอความสามารถในด้านดิจทิ ลั ของตัวอุปกรณ์ ระบบและโซลูชนั การบริการและแพลตฟอร์มต่างๆ จากทุกอุตสาหกรรม ซึง่ จะสามารถท�ำงานประสานเชือ่ มโยงถึงกันได้ ผ่านระบบคลาวด์ ช่วยให้ลกู ค้าสามารถเพิม่ ประสิทธิภาพกระบวนการ ผลิต ในขณะเดียวกันก็ช่วยลดค่าใช้จ่ายลง

ส�ำหรับ ABB AbilityTM ซึง่ ปัจจุบนั เอบีบมี มี ากกว่า 210 โซลูชนั ที่จะเข้าไปให้การสนับสนุน ช่วยเหลือให้ผู้ประกอบการให้สามารถ ยกระดับเทคโนโลยีการผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพการด�ำเนินธุรกิจ ได้อย่างมัน่ คงและปลอดภัย รวมถึงเรือ่ งการบริหารจัดการ การเพิม่ ประสิทธิภาพและเพิ่มผลผลิต ทั้งนี้ ส่วนที่เป็น Smart Technology ต่างๆ เอบีบีก็จะน�ำไป จัดแสดงภายในงานครัง้ นีด้ ว้ ย ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ ง E- Mobility, Smart Buildings ซึ่งจะสามารถท�ำงานเชื่อมโยงกันด้วย ABB AbilityTM ได้ นอกจากนี้ ยังมีโซลูชันอื่นๆ อีกมากมายที่เกี่ยวข้องกับระบบส่ง ระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้า และสถานีไฟฟ้า (Transmission and Distribution) อาทิเช่น Digital Substation, Microgrid และ Smart Grid เทคโนโลยี เหล่านี้เราก็จะน�ำมาโชว์ภายในงานด้วย ส�ำหรับในส่วนของการประชุมวิชาการ เอบีบีก็จะมีการส่ง Paper ผลงานทางวิชาการเข้าไปร่วมในงานนี้ด้วย เนื่องจากเอบีบี นั้นมี Paper ในเชิงวิชาการจ�ำนวนมาก ที่จะสามารถน�ำมาเสนอ

เพือ่ เป็นประโยชน์กบั บุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องกับอุตสาหกรรมไฟฟ้าและ พลังงานทุกระดับ ตั้งแต่นักเรียน นักศึกษา ไปจนถึงผู้ประกอบการ รวมถึงหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตาม คุณชัยยศ ได้กล่าวถึงภาพรวมอุตสาหกรรม ไฟฟ้าและพลังงานในประเทศไทยปัจจุบันและอนาคตว่า “ต้องยอมรับว่าอุตสาหกรรมไฟฟ้าและพลังงานในประเทศไทย ปัจจุบนั อยูใ่ นจุดทีก่ ำ� ลังมีการเปลีย่ นแปลงอย่างมาก พลังงานทดแทน จะเข้ามามีบทบาทมากขึ้น ขณะเดียวกันต้นทุนด้านเทคโนโลยีก็จะ มีราคาทีจ่ บั ต้องได้มากขึน้ ภายใต้กรอบของ Digitalization ซึง่ เข้ามำ มี บ ทบาทส� ำ คั ญ มากขึ้ น ทั้ ง นี้ โดยส่ ว นตั ว แล้ ว เชื่ อ ว่ า เป็ น การ เปลี่ยนแปลงเชิงบวก ที่จะส่งผลดีต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมของ ประเทศในทุกๆ ภาคส่วน เพียงแต่ผปู้ ระกอบการจะต้องเร่งปรับตัว ให้ทนั ต่อสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ และใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ให้ได้มากที่สุดเท่านั้น” คุณชัยยศ ยังได้กล่าวต่อไปอีกว่า แม้ที่ผ่านมาประเทศไทย จะมีศกั ยภาพเป็นผูน้ ำ� ในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและพลังงานของภูมภิ าค อาเซียน มีการขับเคลื่อนและพัฒนาพลังงานอย่างจริงจัง แต่ทว่า ประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคอาเซียนก็มีการพัฒนาด้วยเช่นกัน ดังนั้น การพัฒนาอุตสาหกรรมไฟฟ้าและพลังงานของประเทศไทย จึงยังต้องด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเชื่อว่าภาครัฐ โดยเฉพาะ หน่วยงานหรือองค์กรทีเ่ กีย่ วข้องจะมีการด�ำเนินงานทัง้ ในเชิงนโยบาย การบริหารจัดการและแนวทางการปฏิบตั ิ ควบคูไ่ ปกับการยกระดับ ประสิทธิภาพการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมไฟฟ้าและพลังงานตาม กรอบนโยบายและแผนการด�ำเนินงานทีไ่ ด้วางไว้ เพือ่ รักษาความเป็น ผู้น�ำด้านอุตสาหกรรมไฟฟ้าและพลังงานต่อไป และแน่นอน เอบีบี ก็จะเป็นหนึ่งในกลไกชิ้นส�ำคัญที่มีบทบาทในการน�ำนวัตกรรมและ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทมี่ อี ยูเ่ ข้าไปเติมเต็ม ท�ำให้อตุ สาหกรรม ไฟฟ้าและพลังงานของประเทศสามารถขับเคลือ่ นไปได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ

เกี่ยวกับ IEEE GTD ASIA 2019 งาน GTD ASIA 2019 เป็นการรวมการจัดงาน 3 งาน ประกอบด้วย งาน Power Generation (PG Asia) งาน Transmission and Distribution (T&D Asia) และ งาน Renewable Energy (RE Asia) เข้าด้วยกัน โดยจะ น�ำเสนอการประชุมเชิงวิชาการและจัดแสดงนิทรรศการ ที่ ค รอบคลุ ม ทุ ก ด้ า นเกี่ ย วกั บ ระบบผลิ ต การส่ ง และ จ�ำหน่ายไฟฟ้า การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง January-February 2019




ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ บนหลังคาและลอยน้ำ

IEEE Thailand Section และ IEEE PES-Thailand จัดสัมมนาเชิงวิชาการเรื่อง “ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา (Solar Rooftop) และลอยน�ำ้ (Floating) : ข้อก�ำหนด การออกแบบ ติดตั้ง ควบคุมและบ�ำรุงรักษา” เมื่อวันที่ 21-23 มกราคม 2562 ณ ห้อง Lotus ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อ การพัฒนาพลังงานทดแทนเพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอย่างยั่งยืน บรรยายโดยวิทยากรผูเ้ ชีย่ วชาญจาก พพ. กฟผ. กฟภ. สถาบันอุดมศึกษา และภาคเอกชน มีผู้เข้าร่วมสัมมนาครั้งนี้กว่า 200 คน January-February 2019


Cover Story > LSIS Co., Ltd.

The Basic Principles of Protective Elements หลักการเบื้องต้น ของอุปกรณ์ป้องกัน ทางเลือกของ Protective Relays จาก LS

A Typical Industrial System Models of LSIS Relay F / FI : Feeder or Incoming M : Motor T : Transformer DG : Distribution & Generator

Overcurrent Application

Over Current Relay ใช้เพื่อป้องกันอุปกรณ์ต่างๆ ทั้งในส่วนปฐมภูมิ (Primary) และ Backup และเป็นรีเลย์ที่นิยมใช้มากที่สุด  Over Current Relay มีหน้าที่ตรวจจับกระแส และรีเลย์จะท�ำการป้องกันเมื่อมีค่ากระแสเกินกว่าค่าที่กำ � หนดไว้  ส่วนมากจะใช้ Over Current Relay เพื่อตรวจจับและป้องกันความผิดพลาดที่เกิดจากกระแสเกิน (Overloads) และการลัดวงจร - Instantaneous Characteristic ลักษณะแบบทันทีทันใด : เป็นฟังก์ชัน High-Speed Tripping (≤50ms) - Time Delay Characteristic ลักษณะแบบมีการหน่วงเวลา : เป็นฟังก์ชัน Time-Delay Tripping เพื่อให้รีเลย์ท�ำงานในเวลาที่ก�ำหนด  ข้อดีของ Relay แบบดิจิทัล : สามารถตั้งค่าใหม่ (Reset) ได้รวดเร็ว ไม่มีการคลาดเคลื่อนอันเกิดจาก Over-Travel หรือ Seismic Shock สามารถตั้งค่าและวัดค่าต่างๆ ได้อย่างแม่นย�า 

January-February 2019


Inverse Time Characteristic Curves & Equations in Accordance with IEC Std. 0. 14

Standard Inverse :

t=

Very Inverse

13. 5 × TD + C t= (I I s ) − 1

:

Extremely Inverse :

t=

Long Inverse

t=

:

(I I s )0. 02 − 1

80

(I I s )2 − 1 120

(I I s ) − 1

× TD + C

I : Definite Time II : Standard Inverse III : Very Inverse IV : Extremely Inverse

× TD + C

× TD + C

t = Operating Time, I = Fault/Test Value, Is = Preset Value, TD = Time Dial, C = Time

Constant

Overcurrent An Example for Motor Feeder Pick-Up Current for Time Delay Characteristic - 105~120% of full load current Time Dial (Operating Time of Time Delay) - Over *2~3sec of starting time @ locked rotor current (Safe Stall Time > TD > Starting Time) Pick-Up Current for Instantaneous Characteristic - 1.75~2.5 times of startup current due to the inrush

Overcurrent Ground Consideration of Ground Fault Protection

เป็นความผิดพลาด (Fault) รูปแบบที่เกิดขึ้นได้บ่อย และสามารถกระจายได้อย่างรวดเร็ว ถึงแม้ว่าสาเหตุจะเริ่มมาจากความผิดพลาด จากเฟสหนึ่งไปยังอีกเฟสก็ตาม (Phase to Phase Fault)  การปกป้องในระดับแรงดันไฟฟ้าซึง ่ แต่ละระบบแยกขาดจากกัน ดังนัน้ การลัดวงจรลงดินนัน้ จะไม่มกี ารส่งผ่านจากหม้อแปลงไปสูร่ ะบบอืน่ ๆ  ค่า Continuous Load Current ไม่มีผลกระทบต่อการตอบสนองของอุปกรณ์ ดังนั้นจึงสามารถตั้งค่าได้ละเอียดกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับ อุปกรณ์ป้องกันเฟสอื่นๆ (Phase Protective Devices) 

สาเหตุการเกิด Ground Faults

ฉนวนเสื่อมสภาพ เนื่องจากความชื้น ตัวน�ำไฟฟ้าถูกปนเปื้อนจากบรรยากาศภายนอก ฉนวนเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน หรือมี สิ่งแปลกปลอมเข้าไปภายใน  เกิดความเสียหายในระบบฉนวน เนื่องจาก Mechanical การกดทับหรือฉนวนรั่ว  เกิดการมีแรงดันกระชากสูงเกินเป็นครั้งคราวหรือคงอยู่เป็นเวลานาน ที่บริเวณฉนวน 

January-February 2019


In accordance with the method of symmetrical coordinates, zero phase current can be calculated as follows 

Io =

1 ( Ia + Ib + Ic) 3

Classification of Ground Fault Relays Solidly / Resistance Grounded System

Ungrounded System

Required equipment

Nondirectional

OCGR

GR

Current sensing only

Directional

DGR

SGR

with GPT

Required equipment

CT

ZCT

Overcurrent Ground ระบบ Grounding ประเภทต่างๆ

1. Solid Grounding  การใช้งาน : ระบบ Utility หม้อแปลงทุตยิ ภูมลิ งไปจนถึง อุปกรณ์แรงดันต�่า  จุดเด่น : สามารถจ�ำกัดแรงดันเกินได้งา่ ย สามารถเชือ่ มต่อ จากเฟสไปยัง Neutral (Single Phase Load)  จุดด้อย : อาจท�ำให้เกิดกระแสลัดวงจรดิน (Ground Fault) ที่เป็นอันตรายได้ 2. Resistance Grounding  การใช้งาน : ส่วนมากใช้กับระบบแรงดันปานกลาง (MV Systems)  เชือ่ มระหว่างหม้อแปลงจ�ำหน่ายทุตยิ ภูมิ กับ Neutral และ กราวด์ด้วยตัวต้านทานกระแสไฟฟ้า (Resistor)  ตัวต้านทานไฟฟ้าถูกเลือกใช้เพือ่ จ�ำกัดขนาดของกระแส Ground-Fault และให้มคี า่ สูงพอทีร่ เี ลย์สามารถตรวจจับ ได้ 500~200A (Low-Resistance), 5~10A (High-Resistance)  สามารถจ�ำกัดค่ากระแสผิดพลาดสูงสุดได้ (Fault Currents) 3. Ungrounded System  ส่วนมากมักใช้อปุ กรณ์ตรวจจับกราวด์ (เช่น ไฟแสดงสถานะ) เพือ่ แจ้งเตือนเมือ่ มี Ground Fault และเพือ่ ระบุเฟสทีม่ ี ปัญหา  กระแส Ground-Fault คือค่ากระแสในการประจุของระบบ (ส่านมากมักมีค่าเพียงไม่กี่แอมแปร์)  ระบบนี้ไม่เป็นที่นิยมนัก เนื่องจากท�ำให้เกิดแรงดันเกิน ชัว่ คราว ระบุตำ� แหน่ง Ground Fault ครัง้ แรกได้คอ่ นข้าง ยาก

January-February 2019


Cast Resin Transformer

Metasol Series Medium Voltage Metal Clad Switchgear

Overcurrent Ground Application

Over Current Ground Relay เป็นรีเลย์อีกตัวที่นิยมใช้มาก ใช้เพื่อปกป้องอุปกรณ์ต่างๆ ทั้งในส่วน Primary และ Backup  โดยปกติจะต้องใช้อุปกรณ์บางชนิด เช่น ZCT หรือ GPT เพื่อจับ Zero Phase Components ซึ่ง Ground Relay มักนิยมใช้ส�ำหรับระบบ MV หรือสูงกว่า 

Ground Faults Protective Scheme

1. Residual Connection  โดยทั่วไปมักใช้เพื่อป้องกันระบบ MV 3 เฟส และเชื่อมต่อเข้ากับ 3 เฟส CTs  ซึ่งต้องค�ำนึงถึงค่า CT ซึ่งหากค�ำนวณผิดพลาดอาจก่อให้เกิดการทริปที่เกิดจาก Unbalanced Current หรือ Starting Current 2. Core Balance  อิงจากเฟเซอร์ (Phasor) ปฐมภูมิที่เพิ่มขึ้น หรือผลรวมฟลักซ์ (Flux) ที่ผ่านทาง Core Balance CT หรือ Window CT  เมื่อค�ำนึงถึง CT Ratio เมื่อเกิด Ground Fault วิธีนี้สามารถตอบสนองได้ดีกว่าแบบ Residual Method เนื่องจากโฟกัสที่ขนาดของ Ground Fault Current เป็นหลัก Jumpering Shielded Cable Source Side

Load Side

Ground Fault Current’s Flow January-February 2019


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

GE’s Cross-Fleet

ยืดอายุโรงไฟฟ้าเก่า ด้วยนวัตกรรม ทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ GE เป็นทีร่ จู้ กั ในประเทศไทยตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1900 ด�ำเนิน ธุรกิจในกลุ่มธุรกิจโครงสร้างพื้นฐาน ได้แก่ พลังงาน การบิน การดูแลสุขภาพ และการขนส่ง เมือ่ เร็วๆ นีท้ าง GE Thaialnd ได้เปิดแผนก Cross-Fleet ซึง่ ในต่างประเทศนัน้ ได้เปิดแผนกนี้ มาระยะหนึ่งแล้ว Interview ฉบับนีม้ โี อกาสพูดคุยกับ โกวิทย์ คันธาภัสระ Pesident and CEO, GE Thailand & Laos และ Mr.Paul Gilmurray, Repower Sales Leader, Power Services GE Thailand ถึงการตั้ง Cross-Fleet ในประเทศไทย และความ ส�ำคัญของธุรกิจนี้ในประเทศไทย ในการบริ ห ารจั ด การต้ น ทุ น การผลิ ต พลั ง งานนั้ น เป็นสิ่งจ�ำเป็นที่ผู้บริหารจะต้องหาวิธีการใหม่ๆ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการท�ำงานของทรัพยากรทางพลังงานที่มีอยู่ รวมถึงการลงทุนด้านบริการและเทคโนโลยี เพือ่ พัฒนาอุปกรณ์ และเครือ่ งจักรให้มคี วามคล่องตัว เชือ่ ถือได้ และมีประสิทธิภาพ ประเทศไทยมีโรงไฟฟ้าอยู่หลายแห่ง บางแห่งติดตั้ง เครือ่ งจักรมานานหลายปี และมีเครือ่ งหลายยีห่ อ้ เมือ่ ถึงเวลา ต้องบ�ำรุงรักษาก็ต้องให้เจ้าของเครื่องจักรเป็นผู้ด�ำเนินการ บางครัง้ กว่าจะได้ซอ่ มบ�ำรุงก็ตอ้ งรอนาน เครือ่ งจักรต้องหยุด ท�ำงาน ท�ำให้เกิดผลกระทบต่อความเชื่อมั่นด้านพลังงาน โดยรวม รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ�ำรุงก็สูงเกินไป เพราะ ไม่มีทางเลือกอื่น ด้วยข้อจ�ำกัดดังกล่าว ทางจีอี ประเทศไทย จึงได้เปิด ให้บริการโซลูชนั Cross-Fleet ด�ำเนินการภายใต้จอี ี พาวเวอร์ เซอร์วิส เป็นการให้บริการที่เข้าไปปรับปรุงประสิทธิภาพ แก๊สเทอร์บายของโรงไฟฟ้าให้ใช้งานได้นานขึน้ มีประสิทธิภาพ มากขึ้น ส่งผลถึงการลดค่าใช้จ่ายในการผลิตไฟฟ้า และการ บ�ำรุงรักษาด้วย “จีอี เป็นผู้ผลิตเครื่องจักรด้านแก๊สเทอร์บายมาอย่าง ยาวนาน เราสะสมประสบการณ์ดา้ นการผลิต การบ�ำรุงรักษา และการซ่อมบ�ำรุงเครื่องจักรมานาน มีองค์ความรู้มากมาย ซึง่ ศักยภาพของเรานัน้ นอกจากการดูแลซ่อมบ�ำรุงเครือ่ งของเรา เองแล้ว เรายังสามารถซ่อมบ�ำรุงและพัฒนาประสิทธิภาพของ เครื่องจักรอื่นที่ไม่ใช่ของจีดีได้อีกด้วย”

โกวิทย์ คันธาภัสระ “ระบบผลิตพลังงานในโรงไฟฟ้าของไทยนั้นเป็นแก๊สเทอร์บาย ซึ่ง หากมีการปิดเปิดบ่อยๆ จะมีผลต่อประสิทธิภาพการผลิต ดังนัน้ สิง่ ทีท่ าง จี อี จ ะด� ำ เนิ น การคื อ การปรั บ ปรุ ง ให้ แ ก๊ ส เทอร์ บ ายท� ำ งานได้ น านขึ้ น ทนความร้อนได้สงู ขึน้ ส่งผลให้ผลิตพลังงานได้ดขี นึ้ แต่การเข้าไปปรับปรุง ประสิทธิภาพเครื่องจักรของยี่ห้ออื่นนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย เราต้องศึกษา อย่างละเอียด นอกจากนัน้ ต้องสร้างความเชือ่ มัน่ ให้ลกู ค้าว่าเครือ่ งจักรนัน้ มีประสิทธิภาพดีขึ้นและลดค่าใช้จ่ายได้จริง” โกวิทย์ กล่าวเพิ่มเติม เครือ่ งแก๊สเทอร์บายของโรงไฟฟ้าในประเทศไทยนัน้ ส่วนใหญ่เป็น รุน่ SGT-800 มีถงึ 71 เครือ่ ง เรียกว่ามากทีส่ ดุ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทางจีอีได้เล็งเห็นตลาดในส่วนนี้ จึงได้เปิดให้บริการโซลูชัน Cross-Fleet ขึ้นในประเทศไทยเป็นแห่งแรกในเอเชีย โดยมีทีมงานที่พร้อมให้บริการ ทั่วโลกมากกว่า 350 คน ใช้งบประมาณมากกว่า 60 ล้านดอลลาร์ January-February 2019


Mr.Paul Gilmurray Mr.Paul Gilmurray กล่าวเพิม่ เติมว่า ทางจีอี พาวเวอร์ ได้ใช้ GE Cross-Fleet ให้กับโรงไฟฟ้า Tuxpan-Cycle Power Plant ประเทศเม็กซิโก โดยท�ำการอัปเกรดในส่วน Combustion and Hot Gas Path เป็นเครื่องกังหันน�้ำ 2 เครื่อง มีการใช้ เทคโนโลยี GE-F เข้าไปด�ำเนินการ โดยใช้เวลาในการด�ำเนินการ ประมาณ 1 ปี ผลปรากฏว่าประสบผลส�ำเร็จด้วยดี สามารถ เพิ่มก�ำลังการผลิตได้ในอัตราที่น่าพอใจ และสามารถเลื่อน ระยะเวลาที่ต้องบ�ำรุงรักษาเครื่องกังหันก๊าซออกไปนับหมื่น ชั่วโมง “ด้วยผลงานดังกล่าวสร้างความพึงพอใจให้กบั ผูบ้ ริหาร เพราะสามารถลดค่าใช้จ่าย รวมทั้งสร้างความมั่นคงด้าน พลังงานในทางหนึ่งด้วย” นอกจากนี้ จิม มาสโซ หัวหน้าฝ่ายวิศวกรรมกังหันก๊าซ ของบริษัทจีอี ได้ชี้แจงเกี่ยวกับความสามารถของโซลูชัน Cross-Fleet ที่สามารถยืดอายุโรงไฟฟ้าเก่าโดยใช้นวัตกรรม ทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ แนวทางการถ่ายทอดเทคโนโลยีและ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของจีอกี บั อุปกรณ์ของผูผ้ ลิตรายอืน่ ที่สามารถช่วยลดระยะเวลาการหยุดเดินเครื่องจักรและเพิ่ม ประสิทธิภาพโดยรวมของการผลิตไฟฟ้าไว้ว่า ในอุตสาหกรรมพลังงานที่มีพัฒนาการอยู่ตลอดเวลา เทคโนโลยีโรงไฟฟ้าจ�ำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงให้ทันกับความ ต้องการทีเ่ ปลีย่ นไป ดังนัน้ ผูป้ ระกอบการและผูบ้ ริหารโรงไฟฟ้า มีความต้องการทีจ่ ะลงทุนจัดซือ้ จัดหาบริการและกระบวนการ ท�ำงานต่างๆ ทีช่ ว่ ยให้อปุ กรณ์การผลิตไฟฟ้ามีความยืดหยุ่น เสถียร เชือ่ ถือได้ มีประสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ และสามารถกลับมา ท�ำงานใหม่ได้อย่างรวดเร็วหากต้องหยุดการท�ำงานไปด้วย เหตุใดก็ตาม บริการ Cross-Fleet ของจีอี พาวเวอร์ ให้บริการ January-February 2019

โซลูชนั ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงและใช้งานง่าย เพือ่ ช่วยให้ผปู้ ระกอบการโรงไฟฟ้า ก้าวข้ามความท้าทายของช่วงเปลี่ยนผ่านนี้ ประเทศไทยเป็นตลาดส�ำคัญตลาดหนึง่ ของจีอี พาวเวอร์ เนือ่ งจาก มีเครื่องกังหันก๊าซรุ่น SGT-800 ติดตั้งและใช้ในขบวนการผลิตไฟฟ้าและ ไอน�ำ้ แก่ลกู ค้าในกลุม่ อุตสาหกรรมอย่างต่อเนือ่ งอยูจ่ ำ� นวนมากทีส่ ดุ ในโลก (71 เครือ่ ง) ซึง่ กระบวนการคิดเรือ่ งนีไ้ ม่ซบั ซ้อนเลย เรามีบริการ มีขดี ความ สามารถ และประสบการณ์มากมาย สามารถปรับใช้กบั อุปกรณ์ได้มากมาย หลายประเภท และเราเห็นโอกาสที่จะเสนอทางเลือกที่ดีกว่าแก่โรงไฟฟ้า เพื่อเพิ่มสมรรถนะและประสิทธิภาพในการด�ำเนินงาน เราเริ่มด�ำเนินการเมื่อ 2 ปีก่อน ตอนเริ่มน�ำเสนอ Cross-Fleet นั้น เป็นเรื่องของการพัฒนาความสามารถด้านการบริการ เช่น การหยุดจ่าย กระแสไฟฟ้า การซ่อมเครือ่ งจักร การดัดแปลงระบบควบคุม ฯลฯ แต่ในปัจจุบนั เราได้ท�ำการอัปเกรดฮาร์ดแวร์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้เครื่องกังหันก๊าซ และท�ำให้เครือ่ งกังหันเหล่านีใ้ ช้งานร่วมกับอุปกรณ์อนื่ ๆ ในโรงไฟฟ้าได้ดขี นึ้ และเพื่อพัฒนาความรู้ด้านนี้ เราท�ำงานร่วมกับเจ้าของอุปกรณ์ หลายราย เพื่อเข้าถึงการท�ำงานของเครื่องจักรของผู้ผลิตเหล่านั้น และ ได้นำ� เสนอส่วนประกอบต่างๆ ของเครือ่ งยนต์และกังหันก๊าซแก่ธรุ กิจเหล่านี้ อย่างเต็มรูปแบบ ทั้งนี้ เราต้องการเข้าใจเทคโนโลยีอย่างถ่องแท้เฉกเช่น อุตสาหกรรมรายอื่นๆ

ในประเทศไทยได้มีการเพิ่มการลงทุนในด้านบุคลากรที่มีความ สามารถและในด้านทรัพยากรภายในประเทศเพือ่ ขยายธุรกิจ Cross-Fleet เช่น เรามีผเู้ ชีย่ วชาญด้านวิศวกรรมและการขาย ซึง่ มีความรูค้ วามเข้าใจอย่าง ถ่องแท้เกีย่ วกับอุปกรณ์และการออกแบบ เพือ่ รองรับเครือ่ งรุน่ SGT-800 ที่ใช้อยู่ในประเทศ ส่วนการน�ำเทคโนโลยีแห่งอนาคตมาปรับปรุงโรงไฟฟ้ายุคปัจจุบัน ได้อย่างไรบ้างนัน้ มาสโซ กล่าวว่า จีอมี จี ดุ เด่นจากการมีกงั หันก๊าซทีต่ ดิ ตัง้ แล้วจ�ำนวนมากทีส่ ดุ ในโลก จีอมี เี ทคโนโลยีกงั หันก๊าซสมัยใหม่ทก่ี า้ วหน้า มาก ผ่านการพิสจู น์จริงและได้รบั การยอมรับจากลูกค้า ได้มกี ารน�ำองค์ความรู้ จากการประยุกต์เทคโนโลยีใหม่กบั อุปกรณ์ของเรา ทัง้ รุน่ HA และ F-Class มาปรับใช้กบั เครือ่ งรุน่ อืน่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ จีอดี ำ� เนินการเช่นนีก้ บั ระบบ Hot Gas Path ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายหลักที่ผู้ประกอบการโรงไฟฟ้าต้องเผชิญ เมือ่ โรงไฟฟ้าต้องหยุดการเดินเครือ่ งเพือ่ ซ่อมบ�ำรุงตามแผนงาน มีการน�า ดีไซน์ของเครื่องกังหันก๊าซซึ่งเป็นเทคโนโลยีเมื่อ 10 ปีก่อนมาประเมิน


และพัฒนาเป็นระบบกังหันก๊าซซึง่ ประกอบด้วยโลหะผสมทีม่ คี ณ ุ ภาพ ดีขึ้น การเคลือบที่ทนทานขึ้น การเคลือบป้องกันความร้อนแนวตั้ง และระบบควบคุมความเย็นแบบล�ำ้ ยุค อุปกรณ์ทต่ี ดิ ตัง้ เทคโนโลยีใหม่ เหล่านีจ้ ะมีอายุการใช้งานนานกว่าสเปคเดิมถึง 2 เท่า เมือ่ การติดตัง้ ส�ำเร็จ เทคโนโลยีใหม่จะผลักดันให้ผู้ประกอบการตัดสินใจอัปเกรด อุปกรณ์อน่ื ในโรงไฟฟ้า เพือ่ รองรับเครือ่ งกังหันก๊าซทีม่ คี วามสามารถ เพิ่มขึ้น การอัปเกรดเครื่องกังหันก๊าซ โดยจีอี พาวเวอร์ จะช่วยเพิ่ม ปริมาณไฟฟ้าที่ผลิตได้ และท�ำให้ใช้เชื้อเพลิงอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งมีข้อได้เปรียบในแง่การลดรอบเวลาของการซ่อมบ�ำรุง และยืดอายุการใช้งานของชิ้นส่วนต่างๆ เมื่อเทียบกับอุปกรณ์ ดั้งเดิม คุณลักษณะเหล่านี้เกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่สั่งสมเรื่อยมา เนือ่ งจากจีอมี กี งั หันก๊าซทีต่ ดิ ตัง้ แล้วจ�ำนวนมากทีส่ ดุ ในโลก กังหันก๊าซ ที่มีระบบติดตามตรวจสอบการใช้งานจ�ำนวนมากที่สุดในโลก และ กังหันก๊าซที่ได้รับการอัปเกรดด้วยเทคโนโลยีใหม่จ�ำนวนมากที่สุด ในโลก เรามีเทคโนโลยีกงั หันก๊าซทีล่ ำ�้ หน้าในรุน่ 7 FA ทีม่ รี ะบบของ Hot Gas Path ที่ก้าวหน้าและได้ประยุกต์ใช้ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีน้ีของรุ่น 7FA มาใช้กับเครื่องกังหันก๊าซรุ่นอื่นด้วย

โดยเทคโนโลยีแรกทีผ่ า่ นการปรับปรุงและพัฒนา คือ ระบบการควบคุม ลมหล่อเย็นที่ก้าวหน้ามาก สามารถกระจายลมหล่อเย็นภายใน เครื่องได้ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังได้ปรับเปลี่ยนรูปทรงบริเวณปลาย Air Foil เพือ่ ให้ลมเย็นกระจายตัวได้ดยี งิ่ ขึน้ และทนทานต่อแรงกดดัน บริเวณปลายยอดได้มากขึน้ อีกด้วย จากนัน้ ได้เพิม่ การเคลือบป้องกัน ความร้อนพิเศษที่เรียกว่า DVC ซึ่งท�ำให้ผิวเคลือบหนากว่าเดิมถึง 4 เท่า การเพิ่มความหนาของผิวเคลือบสามารถช่วยในการปกป้อง Air Foil ได้ดมี ากยิง่ ขึน้ ผลทีไ่ ด้รบั คือเครือ่ งกังหันก๊าซสามารถท�ำงาน ท่ามกลางอุณหภูมิการเผาไหม้ที่สูงขึ้นและสามารถผลิตไฟฟ้าได้ มากกว่าทีอ่ อกแบบไว้เดิม เนือ่ งจากตัวเครือ่ งมีประสิทธิภาพการใช้ เชือ้ เพลิงทีส่ งู ขึน้ และชิน้ ส่วนทีม่ อี ายุการใช้งานนานขึน้ และเชือ่ ถือได้ นอกจากนี้ มาสโซ กล่าวเพิม่ เติมว่า การถ่ายทอดเทคโนโลยี และการอัปเกรดด้วยเทคโนโลยีใหม่ดงั กล่าวสามารถช่วยให้ผบู้ ริหาร โรงไฟฟ้ารับมือกับความท้าทายที่เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้า

ในปัจจุบันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถ้าคุณอยู่ในพื้นที่ท่ีมีพลังงานทดแทนมากมายหรือมีการ ด�ำเนินงานทีผ่ นั แปรตามวัฏจักร คุณจ�ำเป็นต้องเพิม่ ความสามารถใน การผันแปรตามวัฏจักรของอุปกรณ์ ซึ่งรวมถึงประสิทธิภาพที่สูงขึ้น การปล่อยอากาศเสียน้อยลง เพื่อเอื้อต่อการปรับปริมาณการผลิต ที่สามารถเพิ่มขึ้นหรือน้อยลงเพื่อชดเชยการจ่ายกระแสไฟฟ้าใน ระบบโครงข่ายไฟฟ้า วิธกี ารหนึง่ ทีส่ ามารถท�ำได้คอื การลดค่าใช้จา่ ยการด�ำเนินงาน หากจ�ำเป็นต้องเพิม่ ประสิทธิภาพของเครือ่ งผลิตไฟฟ้าเพือ่ เอาชนะ เครือ่ งรุน่ ใหม่ ต้องเดินเครือ่ งในอุณหภูมสิ งู ขึน้ และเผาไหม้เชือ้ เพลิง น้อยลง จึงต้องอาศัยการควบคุมความเย็นทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากขึน้ รวมถึงโลหะผสมที่มีคุณสมบัติดีข้ึนเพื่อรองรับความร้อนที่สูงขึ้น แต่คณ ุ ก็ตอ้ งลดการหยุดจ่ายกระแสไฟ ซึง่ ต้องอาศัยการเพิม่ Interval โดยใช้วัสดุและการเคลือบที่ดีกว่าเดิม รวมทั้งรูปทรงที่ผ่านการ พิสูจน์ในการใช้งานแล้ว ทั้งนี้ คุณต้องมั่นใจได้ว่าโรงไฟฟ้าที่ดูแลจะ สามารถด�ำเนินงานได้อย่างราบรืน่ ระหว่างการหยุดจ่ายไฟแต่ละครัง้ โดยไม่ตอ้ งปิดโรงไฟฟ้าหรือประสบปัญหาการหยุดเดินเครือ่ งทีไ่ ม่ได้ วางแผนไว้ เรือ่ งนีอ้ าจฟังดูเป็นเรือ่ งเล็กน้อย แต่การใช้เทคโนโลยีที่ผ่าน การพิสูจน์แล้ว ซึ่งเราต่อยอดและมีซัพพลายเชนเหมือนกับเครื่อง กังหันก๊าซอื่นๆ จะสามารถช่วยให้เกิดการประหยัดได้ เนื่องจาก ปริมาณการผลิตที่สามารถเพิ่มได้เร็วมากขึ้น ด้วยเหตุนี้ เราจึง สามารถประยุกต์เทคโนโลยีใหม่กับเครื่องผลิตไฟฟ้ารุ่นอื่นได้เร็ว มากยิ่งขึ้น ส�ำหรับความสามารถของโซลูชนั Cross-Fleet ของจีอใี นอนาคต จะมีการพัฒนาไปในแนวทางใดนั้น มาสโซ กล่าวว่า ในภาพรวม เราก�ำลังอัปเกรดการท�ำงานทั้งหมดโดยจะน�า เอาเทคโนโลยีก้าวหน้าที่สุดที่จีอีใช้กับเทคโนโลยีอากาศยานและ เครื่องกังหันก๊าซแบบ HA มาปรับใช้ ขณะนี้เราก�ำลังด�ำเนินการ ปรับปรุงเครื่องกังหันก๊าซหลายรุ่น ซึ่งในส่วนของ Cross-Fleet นั้น ได้มีการสั่งซื้อและรอการติดตั้งมูลค่ากว่า 200 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ดังนั้น จึงเป็นเวลาที่น่าตื่นเต้นมากส�ำหรับเรา ปัจจุบนั จีอมี คี วามก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสำ� หรับเครือ่ งผลิต ไฟฟ้ารุ่นต่างๆ ซึ่งช่วยให้โรงไฟฟ้ายุคก่อนมีความสามารถเพิ่มขึ้น เพือ่ แข่งขันกับโรงไฟฟ้าในยุคสมัยใหม่ นอกจากนี้ เทคโนโลยีดงั กล่าว จะสามารถช่วยให้ผู้บริหารโรงไฟฟ้ามีความพร้อมมากขึ้นในการ จัดการกับความท้าทาย ซึ่งเกิดขึ้นจากการขยายตัวของพลังงาน ทดแทนในอนาคต ดังนั้น การลงทุนติดตั้งเทคโนโลยีใหม่ล่าสุดกับ อุปกรณ์ตา่ งๆ ทีใ่ ช้อยูใ่ นปัจจุบนั จึงเป็นปัจจัยส�ำคัญทีก่ อ่ ให้เกิดความ มัน่ คง ความคล่องตัว และอายุการใช้งานทีย่ าวนานทีพ่ ร้อมส�ำหรับ อนาคต การอัปเกรดเทคโนโลยีเหล่านีจ้ ะช่วยยืดอายุการด�ำเนินงาน ของโรงไฟฟ้าท่ามกลางสภาวการณ์ที่ท้าทายมากขึ้น ก่อนที่จะต้อง หยุดเดินเครือ่ งหรือเปลีย่ นอะไหล่ เพราะถ้าวางใจกับอุปกรณ์ได้มาก เท่าไร ก็สามารถวางใจกับธุรกิจได้มากยิ่งขึ้นเท่านั้น January-February 2019


Article

> บริษัท โกลบเทค จ�ำกัด

แอปฯ เช็คค่าฝุ่น PM 2.5 เรียลไทม์ ทั่วประเทศ ฟรี!

นอสตร้า แอปฯ แผนที่ท่องเที่ยวคู่ใจนักเดินทาง โดยบริษทั โกลบเทค จ�ำกัด ผูใ้ ห้บริการแผนทีด่ จิ ทิ ลั ครบวงจร ละเอียด แม่นย�ำสูงสุดอันดับหนึ่งของประเทศไทย ในกลุ่ม บริษทั ซีดจี ี เตือนประชาชนรับมือฝุน่ ละออง PM 2.5 ทีก่ ระจาย ไปทั่วประเทศ โดยการดึงข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษ มาแสดงผลบนแผนทีน่ อสตร้า แมพ พบค่าฝุน่ ละอองล่าสุด เมื่อวันที่ 18 มกราคม เวลา 9.00 น. ในแอปพลิเคชันพบ 3 พื้นที่เสี่ยงในเขตกรุงเทพมหานคร ได้แก่ เขตปทุมวัน เขตดินแดง และเขตบางขุนเทียน ด้วยตระหนักถึงปัญหำ ดังกล่าว นอสตร้าได้สง่ แอปฯ เช็คค่าฝุน่ PM 2.5 แบบเรียลไทม์ โดยแสดงผลแบ่งเป็นพื้นที่สีฟ้า สีเขียว สีเหลือง สีส้ม และ สีแดง ตามระดับของผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย สามารถ ตรวจเช็คได้ทกุ พืน้ ทีท่ วั่ ประเทศ ตลอดเส้นทางการเดินทาง ให้ผู้ใช้สามารถวางแผนเตรียมตัวรับมือหรือหลีกเลี่ยงพื้นที่ ความเสี่ยงสูงได้ล่วงหน้า โดยทดลองดาวน์โหลดใช้งานฟรี ได้ที่ https://map.nostramap.com/mobile January-February 2019


วิชัย แสงหิรัญวัฒนา ผู้จัดการทั่วไป บริษัท โกลบเทค จ�ำกัด ในกลุ่มบริษัทซีดีจี เปิดเผยว่า จากวิกฤตฝุ่นละออง PM 2.5 ที่ฟุ้งกระจายครอบคลุมทั่วประเทศ และ เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพประชาชน โดยการดึง ข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษมาแสดงผลบนแผนที่ นอสตร้า แมพ ตรวจพบค่าฝุ่นละอองล่าสุดเมื่อ วันที่ 18 มกราคม เวลา 9.00 น. ในแอปพลิเคชัน พบ 3 พื้นที่เสี่ยงในเขตกรุงเทพมหานคร ได้แก่ เขตปทุมวัน AQI = 76/PM 2.5 = 44 เขตดินแดง AQI = 76/PM 2.5 = 44 และ เขตบางขุนเทียน AQI = 59/PM 2.5 = 40 เพือ่ รับมือปัญหาดังกล่าว นอสตร้าได้สง่ แอปฯ เพิ่มเลเยอร์เช็คค่าฝุ่นละอองแบบ เรียลไทม์ เป็นคู่มือส�ำหรับตั้งรับ โดยการ ป้องกันและหลีกเหลี่ยงพื้นที่สีแดง

เกี่ยวกับกลุ่มบริษท ั ซีดีจี

กลุ่มบริษัทซีดีจี (CDG Group) ผู้ให้บริการด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ แบบครบวงจรแก่องค์กรภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน ด�ำเนินธุรกิจมำ ยาวนานกว่า 50 ปี ในการให้บริการด้านไอทีโซลูชันที่เป็นเลิศ ตั้งแต่การให้ ค�ำปรึกษา ออกแบบระบบ พัฒนา จัดหาอุปกรณ์ พร้อมติดตัง้ ระบบฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และแอปพลิเคชันต่างๆ เพือ่ ให้ตอบสนองความต้องการของลูกค้ำ ได้ทุกรูปแบบ ตลอดจนบริการฝึกอบรมให้แก่บุคลากรในองค์กรของลูกค้ำ ให้พร้อมน�ำไปปฏิบตั งิ านได้ทนั ที ภายใต้วสิ ยั ทัศน์ผใู้ ห้บริการเทคโนโลยีโซลูชนั ที่ใช้งานได้จริง ที่มุ่งยกระดับคุณภาพชีวิตและแก้ปัญหาให้แก่สังคมอย่าง สร้างสรรค์ เพือ่ ชีวติ และความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ ข้อมูลเพิม่ เติมที่ www.cdg.co.th

“NOSTRA Map เป็นแอปพลิเคชันน�ำทางที่รองรับ ได้ทง้ั ระบบปฏิบตั กิ าร iOS และ Android เพิม่ เลเยอร์พเิ ศษ ใน NOSTRA Map App เพื่อการตรวจเช็คค่าฝุ่นละออง โดยการดึงข้อมูลจากกรมควบคุมมลพิษแสดงผลพร้อมกับ พิกดั ทีอ่ ยูข่ องผูใ้ ช้งานแบบเรียลไทม์ได้อตั โนมัติ โดยจับจาก GPS แบบไม่ต้องระบุชื่อสถานที่ พิกัดจะระบุต�ำแหน่งผู้ใช้ สามารถดูต�ำแหน่งค่าคุณภาพอากาศกรมควบคุมมลพิษ ทีใ่ กล้ทส่ี ดุ โดยแบ่งเป็นพืน้ ทีส่ ฟี า้ สีเขียว สีเหลือง สีสม้ และ สีแดง เรียงตามระดับของผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยที่ เกิดขึ้น ช่วยให้ผู้ใช้งานได้วางแผนการเดินทาง เพื่อป้องกัน หรือหลีกเลีย่ งพืน้ ทีค่ วามเสีย่ งสูงได้ลว่ งหน้าในแอปฯ เดียว โดย NOSTRA App ยังสามารถพร้อมจะน�ำ Dynamic Content ที่มีประโยชน์กับประชาชนมาแสดงให้กับผู้ใช้งาน พร้อมกับแผนทีค่ ณ ุ ภาพอย่างทันเหตุการณ์ โดยการ Interface ข้อมูลจากหน่วยงานทีน่ า่ เชือ่ ถือและมีขอ้ มูลทีเ่ ป็นประโยชน์ ต่อประชาชนต่อไปอีกในอนาคต” วิชัย กล่าว นอกจากนี้ NOSTRA Map ยังเป็นแอปฯ แผนทีน่ ำ� ทาง ที่ น อกจากค้ น หาและน� ำ ทางได้ ด ้ ว ยรถมอเตอไซค์ ห รื อ รถยนต์ส่วนตัวแล้ว ก็ยังสามารถเลือกการเดินทางโดย รถระบบขนส่งสาธารณะไว้ครบถ้วน ทัง้ รถประจ�ำทาง รถไฟ รถไฟฟ้า BTS MRT เรือ เครื่องบิน นอกจากประชาชน สามารถใช้ประโยชน์จากชัน้ ข้อมูล “On the Road” ในฟีเจอร์ ตรวจเช็คคุณภาพอากาศได้แล้ว ยังสามารถใช้งานฟีเจอร์อน่ื ๆ ได้อกี ด้วย เช่น ความหนาแน่นของการจราจร ดูเหตุการณ์ดว่ น บนท้องถนนจาก จส.100 ต�ำแหน่งของสถานีบริการน�้ำมัน เป็นต้น โดยทดลองดาวน์โหลดใช้งานฟรีได้ท่ี https://map. nostramap.com/mobile

บริษัท โกลบเทค จ�ำกัด ในกลุ่มบริษัท

ซีดีจี เป็นผู้น�ำการให้บริการโซลูชันด้านข้อมูล แผนที่ดิจิทัล และ Location Contents ที่มีความ ละเอียด ถูกต้อง และทันสมัยสูงสุด ครอบคลุม ถึง 10 ประเทศ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) ภายใต้แบรนด์ “นอสตร้า” (NOSTRA) รองรั บ การใช้ ง านทั้ ง ออนไลน์ แ ละออฟ ไลน์ สามารถใช้ ง านร่ ว มกั บ ระบบสารสนเทศทาง ภูมศิ าสตร์ (GIS) และเป็นแผนทีอ่ นั ดับ 1 ในตลาด อุ ป กรณ์ ร ะบบน� ำ ทางด้ ว ยจี พี เ อสในรถยนต์ มากกว่า 10 ปี ปัจจุบันร่วมมือกับพาร์ทเนอร์ ขยายตลาดให้บริการ IoT Platform และโซลูชัน ด้านความปลอดภัยในการขับขี่ (ADAS)

January-February 2019


Article

> ดีเอชแอล เอ๊กซ์เพรส ประเทศไทย

นวัตกรรมการขนส่ง

ที่สำ�คัญในอุตสาหกรรมยานยนต์ และเบื้องหลังความสำ�เร็จ ของธุรกิจยานยนต์

ช่วงนี้เราจะเห็นธุรกิจอุตสาหกรรมยานยนต์ถูกเปลี่ยนโฉม หรือทรานส์ฟอร์มโดยเทคโนโลยี (Digital Disruption) ทีช่ ดั เจนมากขึน้ รวมถึงรถขับเคลือ่ นอัตโนมัติ (Autonomous Driving) รถพลังงานไฟฟ้า (Electric Vehicles) และรถ Connected Car ที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต บนท้องถนนมากขึ้น และเมื่ออุตสาหกรรมหนึ่งมีการทรานส์ฟอร์ม ย่อมจะส่งผลให้มีการปรับปรุงกระบวนการด้านซัพพลายเชนและ โลจิสติกส์ดว้ ยเช่นกัน ซึง่ ถือเป็นกระบวนการส�ำคัญในการน�ำนวัตกรรม ยานยนต์มาสู่ผู้บริโภค ในยุค Automobility ทีต่ อ้ งการการขนส่งทีร่ วดเร็ว ไร้ขดี จ�ำกัด เรือ่ งระยะทางพร้อมการประหยัดต้นทุน คือปัจจัยทีธ่ รุ กิจลอจิสติกส์ ควรให้ความส�ำคัญพอๆ กับการให้ความส�ำคัญกับสินค้า ขณะทีโ่ ลก ก�ำลังเปลีย่ นผ่านจากรถยนต์ทใี่ ช้นำ้� มันไปสูร่ ถยนต์ไฟฟ้า และคาดว่า จะมีการยุติการผลิตรถยนต์ที่ใช้น�้ำมันในปี ค.ศ. 2035 เพื่อมุ่งสู่การ สร้างการเดินทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม1 รถยนต์ในอนาคตจะ มีความซับซ้อนขึ้นจากระบบคอมพิวเตอร์ที่ถูกติดตั้งเพื่อควบคุม สมรรถนะเครือ่ งยนต์ มีกลไกการตัดสินใจด้วยความสามารถของ AI การเชื่อมกับอินเทอร์เน็ตบนระบบ 5G และระบบคลาวด์ เพื่อให้ ผูใ้ ช้งานสามารถเข้าถึงบริการออนไลน์ขณะเดินทางและแชร์ตำ� แหน่ง January-February 2019

รถยนต์ได้ ความเปลี่ยนแปลงนี้ก่อให้เกิดผลต่อซัพพลายเชนใน อุตสาหกรรมยานยนต์หลายๆ ด้าน เช่น ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่มี ขนาดเล็กลง น�้ำหนักเบา มีความเปราะบางมากขึ้น และต้องการ การปกป้องเพื่อให้ปลอดภัยจากอุณหภูมิท่ีสูงหรือต�่ำมาก รวมถึง การคายประจุไฟฟ้าสถิต การกระแทก และการสัน่ สะเทือนระหว่าง การขนส่ง ผูใ้ ห้บริการขนส่งจึงต้องน�ำเทคโนโลยีและโซลูชนั เฉพาะด้าน มาใช้ในการจัดการปัญหาเหล่านี้ ดีเอชแอลได้จัดงาน DHL Auto-Mobility Discovery Fair เมือ่ เร็วๆ นี้ เพือ่ ตอกย�ำ้ ถึงความส�ำคัญของนวัตกรรมการขนส่งใหม่ๆ ในภาคธุรกิจยานยนต์ ที่ช่วยตอบโจทย์ความต้องการของตลาด ที่ประกอบด้วยความรวดเร็วในการจัดส่ง การล�ำเลียง การเรียกคืน สินค้า ความแม่นย�ำในการจัดเก็บชิ้นส่วนยานยนต์ในคลังสินค้า โดยใช้เทคโนโลยีและโซลูชนั ในการขนส่ง เช่น Ring Scanner อุปกรณ์ สวมใส่อจั ฉริยะทีช่ ว่ ยเพิม่ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านทีเ่ กีย่ วกับ ยานยนต์ และช่วยปรับปรุงงานประจ�ำในส่วนของการรับและจัดเรียง สินค้า Outbound Real-Time Dashboard เทคโนโลยีทชี่ ว่ ยเพิม่ ความ สะดวกในการจัดส่งสินค้าสู่โรงงานผลิตในอุตสาหกรรมยานยนต์ รองรับการวางแผนและจัดส่งแบบ Just-In-Time และถูกใช้งานใน


การกระจายสินค้าส�ำหรับคลังสินค้าอะไหล่รถยนต์ Vision Picking อุปกรณ์สวมใส่ AR ที่ช่วยแจ้งพนักงานคลังสินค้าให้เรียงและจัดเก็บสินค้าได้อย่างถูกต้อง และ On Demand Delivery ทีช่ ว่ ยให้ผบู้ ริโภคสามารถควบคุมวันที่ เวลา และสถานทีจ่ ดั ส่ง อย่างยืดหยุ่น แม้กระทั่งระหว่างการจัดส่ง การพัฒนาอย่างก้าวกระโดดของเทคโนโลยี AI หรือ IoT ที่ช่วยปรับปรุง การตรวจสอบซัพพลายเชนด้วยอุปกรณ์ตรวจสอบติดตามราคาประหยัดทีท่ ำ� งาน ได้อย่างแม่นย�ำ สามารถตรวจสอบและรายงานต�ำแหน่งที่ตั้งของสินค้าที่จัดส่งได้ หรื อ การใช้ เ ทคโนโลยี บ ล็ อ กเชนที่ ค าดว่ า จะช่ ว ยเพิ่ ม ความเชื่ อ มั่ น ในระบบ ซัพพลายเชนให้มีความโปร่งใส ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโลกของการขนส่ง รถยนต์ การปรับเปลีย่ นสูร่ ะบบดิจทิ ลั (Digitalization) ก�ำลังมีบทบาทส�ำคัญในการช่วย ยกระดับประสิทธิภาพ และน�ำเสนอแนวทางธุรกิจใหม่ๆ ในโลกของการขนส่งรถยนต์ อย่างไรก็ตาม เราจะสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มศักยภาพหากทุกภาคส่วน ที่เกี่ยวข้องในซัพพลายเชนการขนส่งรถยนต์ร่วมกันส�ำรวจรับมือกับความท้าทาย และโอกาสใหม่ๆ ปัจจุบนั ดีเอชแอลสร้างดิสทริบวิ ชันเซ็นเตอร์รว่ มกับการใช้หนุ่ ยนต์ รถยนต์ และรถยนต์ไฟฟ้ากว่าแสนคันส�ำหรับให้บริการลูกค้าในภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ จากการประเมินสัดส่วนจากศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ คาดว่าการใช้หุ่นยนต์ต่อจ�ำนวนแรงงานตามค่าเฉลี่ยโลกอยู่ท่ี 69 ตัวต่อแรงงาน 10,000 คน และหุ่นยนต์อย่างน้อย 3,000 ตัวจะถูกน�ำมาใช้ในงานด้านโลจิสติกส์ อีก 5 ปีขา้ งหน้า2 วงการโลจิสติกส์ในอนาคตจึงเริม่ มองหาบุคลากรทีเ่ ชีย่ วชาญด้าน บล็อกเชนเพือ่ เสริมสมรรถนะการขนส่งด้านความปลอดภัย ความโปร่งใส และคาดว่า จะช่วยลดต้นทุน และร่นระยะเวลาการท�ำงาน อย่างไรก็ดี ทักษะของบุคลากรและบุคลากรที่มีความสามารถยังคงเป็น กุญแจส�ำคัญในการปลดล็อกความท้าทายงานด้านโลจิสติกส์ในธุรกิจยานยนต์ ดีเอชแอลยังคงสร้างบุคลากรที่มีองค์ความรู้ด้านโลจิสติกส์และนวัตกรรมใหม่ อย่างต่อเนื่องเพื่อตอบโจทย์การท�ำงานในภาคอุตสาหกรรมยานยนต์และโลกที่มี การเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

DHL

ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ระดับโลก ดีเอชแอล ผู้น�ำระดับโลกทางด้าน อุ ต สาหกรรมโลจิ ส ติ ก ส์ มอบบริ ก ารและ ความเป็นเลิศด้านโลจิสติกส์ท้ังการขนส่ง ภายในและระหว่างประเทศ การขนส่งทางบก ทางเรื อ และการขนส่ ง ด่ ว นทางอากาศ ตลอดจนการบริ ห ารซั พ พลายเชนในภาค อุตสาหกรรม ด้วยบุคลากรกว่า 360,000 คน ใน 220 ประเทศและอาณาเขตต่างๆ ทัว่ โลก ดีเอชแอลเชื่อมโยงผู้คนและธุรกิจด้วยความ ปลอดภัยและบริการที่เชื่อถือได้ ซึ่งเป็นการ สนับสนุนและส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ด้วยความเชีย่ วชาญและโซลูชนั ด้านโลจิสติกส์ ทีค่ รบครันครอบคลุมตลาดและอุตสาหกรรม ทีเ่ ติบโต ซึง่ หมายรวมถึงธุรกิจด้านเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ชวี ภาพและบริการทางการแพทย์ พลังงาน ยานยนต์และการค้าปลีก รวมถึงความ มุ่งมั่นในการแสดงออกถึงความรับผิดชอบ ต่อสังคมและเครือข่ายในตลาดทีก่ ำ� ลังพัฒนา ดีเอชแอลจึงมั่นใจว่าเราเป็น “ผู้ให้บริการ โลจิสติกส์ระดับโลก” ดีเอชแอล เป็นส่วนหนึ่งของดอยช์ โพสต์ ดีเอชแอล โดยกลุม่ บริษทั มียอดรายได้ กว่า 60,000 ล้านยูโร ใน พ.ศ. 2560

ติดตามข่าวสารได้ที่ : https://www.facebook.com/DHLExpressThailandforSMEs, https://www.instagram.com/dhl_express_thailand/@dhl_express_thailand 1 2

บทความ “เติมเต็มศักยภาพธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ไทยด้วยหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ” โดย SCBEIC บทความ “เติมเต็มศักยภาพธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ไทยด้วยหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ” โดย SCBEIC January-February 2019


Article

> สุภัค ลายเลิศ กรรมการอ�ำนวยการ และประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ บริษัท ยิบอินซอย จ�ำกัด

ปลดล็อกกับดักไอทีด้วย

ไฮบริด คลาวด์

องค์กรธุรกิจส่วนใหญ่ ณ เวลานี้ ต่างยอมรับถึงประโยชน์และ ความจ�ำเป็นที่ต้องมีการใช้งานระบบคลาวด์มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็น การใช้งานผ่าน “คลาวด์ส่วนตัว (Private Cloud)” และ “คลาวด์ สาธารณะ (Public Cloud)” เพือ่ ให้องค์กรสามารถก้าวข้ามข้อจ�ำกัด ด้านงบประมาณจากการเลือกใช้เทคโนโลยีคลาวด์ได้อย่างเหมาะสม และตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งาน โดยไม่จ�ำเป็นต้องแบกภาระ ต้นทุนทีส่ งู เกินไป โดยเฉพาะอย่างยิง่ ค่าบ�ำรุงรักษาระบบจ�ำนวนมาก ขณะเดียวกัน ก็ชว่ ยสนับสนุนกระบวนการท�ำงานให้มคี วามคล่องตัว การเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการโครงสร้างพื้นฐานด้านไอที ที่ช่วยให้องค์กรสามารถแชร์การใช้งานหรือเข้าถึงทรัพยากรต่างๆ ในระบบ เช่น ข้อมูล แอปพลิเคชันธุรกิจต่างๆ ได้คุ้มค่าและรวดเร็ว ตลอดจนสามารถปรับแต่ง เพิม่ ลด โอนย้ายทรัพยากรไอทีขององค์กร ให้เหมาะสมกับปริมาณงาน หรือลักษณะการใช้งานในแต่ช่วงเวลา โดยทีผ่ า่ นมา องค์กรขนาดใหญ่จะมองว่า “ระบบคลาวด์สว่ นตัว” มีความเหมาะสมที่จะใช้เป็นโครงสร้างพื้นฐานหลักส�ำหรับบริหาร จัดการศูนย์ขอ้ มูล หรือดาต้าเซ็นเตอร์ ผ่านการใช้งานคลาวด์ในรูปแบบ On-Premises ที่ติดตั้งไว้ภายในองค์กร เป้าหมาย คือ การรองรับ “กระบวนการท�ำงานที่เป็นหัวใจหลักทางธุรกิจ (Core Business)” ที่เกี่ยวพันกับการใช้งานแอปพลิเคชันในการปฏิบัติงานที่มีปริมาณ มากและมี ค วามซั บ ซ้ อ น หรื อ การเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ส� ำ คั ญ ที่ ต ้ อ งมี “การก�ำกับดูแลความปลอดภัยที่สูงกว่า” ระบบคลาวด์สาธารณะ โดยเฉพาะเมื่อการด�ำเนินธุรกิจขององค์กรที่ต้องมีผลผูกพันกับ

January-February 2019

กฎหรือข้อก�ำหนดที่เคร่งครัดในเรื่องการควบคุมข้อมูล นอกจากนี้ ยังช่วยองค์กรในการ “จัดระเบียบและจัดสรรทรัพยากรไอทีได้ถูกที่ ถูกทาง และยืดหยุ่นกับการใช้งานมากขึ้น” ตลอดจนท�ำให้องค์กร สามารถ “เปลีย่ นผ่านการใช้งานบางส่วนบนสภาพแวดล้อมไอทีแบบ เดิมๆ” ไปสูก่ ารใช้งานผ่านแพลตฟอร์มทางเทคโนโลยีใหม่ๆ บนคลาวด์ เพือ่ ให้ระบบงานมีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพมากขึน้ พร้อมกับ การต่อยอดสู่การใช้งานนวัตกรรมไอที เพื่อสร้างโมเดลธุรกิจใหม่ หรือเพิม่ เขีย้ วเล็บให้กบั การแข่งขันทางธุรกิจทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคต อย่างเช่น ไอโอที เป็นต้น ขณะทีอ่ งค์กรเอสเอ็มอี หรือสตาร์ทอัพ อาจถูกใจกับ “คลาวด์ สาธารณะ” ซึ่งเป็นการใช้บริการทางด้านไอที “แบบจ่ายเท่าที่ใช้” (Pay as You Go) โดยไม่จำ� เป็นต้องสร้างระบบขึน้ มาเองก่อน จะเห็นว่า ผู้ให้บริการคลาวด์สาธารณะในปัจจุบัน เช่น อเมซอน เว็บเซอร์วิส (Amazon AWS) แพลตฟอร์มคลาวด์ โดยกูเกิล (Google GCP) หรือ ไมโครซอฟท์ อาซัวร์ (Microsoft Azure) ต่างพัฒนาบริการคลาวด์ เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการใช้งานได้รอบด้าน อาทิ บริการด้านซอฟต์แวร์ (Software as a Service - SaaS) บริการด้าน อินฟราสตรัคเจอร์ (Infrastructure as a Service - IaaS) บริการด้าน แพลตฟอร์ม (Platform as a Service - PaaS) ท�ำให้องค์กรเล็กๆ ที่ไม่ได้มีงบประมาณหรือบุคลากรด้านไอทีมากนัก สามารถเริ่มต้น ต่อยอดธุรกิจหรือขยายขีดความสามารถในการท�ำงานด้วยเทคโนโลยี ไอทีได้ง่ายและรวดเร็ว ด้วยบริการและการก�ำกับดูแลด้านไอที


บนคลาวด์ท่ีใกล้เคียงกับองค์กรขนาดใหญ่ และยังได้ใช้ซอฟต์แวร์ ที่ทันสมัยอยู่เสมอ โดยไม่ต้องยุ่งยากอัพเกรดด้วยตัวเอง อย่างไรก็ตาม ไม่มีใครคาดเดาความเปลี่ยนแปลงธุรกิจใน อนาคตได้ เมือ่ องค์กรขนาดใหญ่ อาจต้องคลาวด์สาธารณะไว้สำ� หรับ การทดสอบแอปพลิเคชันหรือบริการใหม่ๆ เพือ่ ประเมินความเป็นไปได้ ในการเพิม่ ประสิทธิภาพทางธุรกิจ แทนทีต่ อ้ งลงทุนอุปกรณ์เพิม่ เติม อยู่ตลอดเวลา ขณะที่เอสเอ็มอีอาจต้องการคลาวด์ส่วนตัวไว้ใช้ ในองค์กรเมื่อธุรกิจเริ่มเติบโต หรือเมื่อความปลอดภัยของระบบ เป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งใส่ใจมากขึน้ ท�ำให้บางครัง้ จึงเป็นการสุม่ เสีย่ งเกินไป หากองค์กรจะตัดสินใจเลือกเดินในเส้นทางใดทางหนึง่ ไปเลย เนือ่ งจาก ทั้ง 2 ระบบต่างมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ขณะเดียวกัน ถ้าองค์กรเลือก จะเก็บการใช้งานทัง้ 2 แบบไว้ ก็จะไม่ตา่ งจากการมีไอทีถงึ 2 ระบบ ในองค์กร การบริหารจัดการก็จะยุง่ ยาก เพราะทัง้ คลาวด์สว่ นตัวและ คลาวด์สาธารณะมีองค์ประกอบทีแ่ ตกต่าง ไม่วา่ จะเป็นการปรับแต่ง หรือตั้งค่าชุดค�ำสั่งในการท�ำงาน การวางรูปแบบความปลอดภัย ชุดเครื่องมือในการใช้งาน ซึ่งมีความซับซ้อนแตกต่างกัน และอาจ ส่งผลให้ขาดความราบรืน่ หรือความต่อเนือ่ ง เมือ่ ต้องสลับการท�ำงาน ไปมาระหว่างกัน และ ยั ง เพิ่ ม ภาระให้ กั บ ผูด้ แู ลระบบและผูใ้ ช้งาน ในองค์กรที่ต้องเรียนรู้ การท�ำงานของทัง้ 2 แบบ ซึ่ ง สิ้ น เปลื อ งทั้ ง เวลา และงบประมาณในการ บ�ำรุงรักษา เป็นเรื่องดีที่เรา ได้มกี ารพัฒนาเทคโนโลยี เพื่ อ แก้ ป ั ญ หาความ ยุ ่ ง ยากใจขององค์ ก ร โดยการบูรณาการข้อดีของระบบบริการแบบคลาวด์ และรูปแบบ โครงสร้างพื้นฐานแบบที่ติดตั้งในองค์กร ด้วยเทคโนโลยีท่ีเรียกว่า “ไฮบริด คลาวด์ (Hybrid Cloud) หรือคลาวด์ลูกผสม” ที่ช่วยให้ องค์กรสามารถบริหารจัดการต้นทุนได้ดขี น้ึ สามารถอุดรอยรัว่ หรือ ลดความไม่มีประสิทธิภาพที่เกิดจากการท�ำงานของคลาวด์ส่วนตัว และคลาวด์สาธารณะ และตอบสนองฟังก์ชนั การท�ำงานทีส่ ง่ ผลต่อ การเพิม่ ประสิทธิภาพการด�ำเนินธุรกิจได้อย่างคล่องตัวและครบถ้วน มากขึ้น ปัจจุบัน บริษัทผู้พัฒนาฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์หลายแห่ง ต่างหันมาร่วมมือกันในการพัฒนาฮาร์ดแวร์ในลักษณะพับลิค คลาวด์ แมชชีน (Public Cloud Machine) ส�ำหรับการท�ำงานกับชุดซอฟต์แวร์ คลาวด์แบบโอเพ่น สแตค (Open Stack) เพือ่ ให้การจัดการทรัพยากร ในระบบไอทีมปี ระสิทธิภาพเช่นเดียวกับคลาวด์สาธารณะ แต่ยงั คง คุณสมบัติการจัดการคลาวด์ส่วนตัวแบบ On-Premise ที่อยู่ภายใต้ การก�ำกับดูแลทีป่ ลอดภัยภายในศูนย์ดาต้าเซ็นเตอร์ขององค์กรเอง ซึง่ ช่วยเพิม่ ความสามารถในการติดตามและเฝ้าระวังโครงสร้างพืน้ ฐาน

ทั้งหมดได้จากจุดเดียว ท�ำให้องค์กรได้ประโยชน์สูงสุดจากความ ยืดหยุน่ ในการใช้งานระบบคลาวด์ได้ดกี ว่าทีผ่ า่ นมา รวมถึงสามารถ ปรับขยายขีดความสามารถของคลาวด์ให้ตอบโจทย์ความต้องการ ใช้งานทีห่ ลากหลายในแต่ละองค์กร ตัวอย่างเช่น ความร่วมมือระหว่าง ฮิวเลตต์-แพคการ์ด กับไมโครซอฟท์ ในการสร้างแพลตฟอร์มที่ เรียกว่า เอชพีอี โปรไลแอนท์ ฟอร์ ไมโครซอฟท์ อาซัวร์ สแตค (HPE ProLiant for Microsoft Azure Stack) เพือ่ ให้องค์กรสามารถส่งผ่าน การใช้งานคลาวด์สาธารณะบนไมโครซอฟท์ อาซัวร์ ไปเป็นการใช้งาน แบบไฮบริด คลาวด์ ได้จริงและมีประสิทธิภาพสูง หรือโซลูชันอย่าง วีม (Veeam) ทีอ่ อกแบบมาส�ำหรับความปลอดภัยบนคลาวด์ โดยเฉพาะ ในเรื่องการเชื่อมโยงและแบ็คอัพข้อมูล ตลอดจนการขนส่งข้อมูล ผ่านคลาวด์ได้มากขึน้ โดยใช้แบนด์วธิ น้อยลง ซึง่ ประหยัดทัง้ เวลาและ ค่าใช้จ่าย เป็นต้น นอกจากนี้ ไฮบริด คลาวด์ ยังช่วยปลดล็อกข้อติดขัดในเรื่อง ความคล่องตัวในการใช้งาน โดยองค์กรสามารถปรับเปลีย่ นการใช้งาน หรือโยกย้ายถ่ายโอนปริมาณงาน ตลอดจนทรัพยากรในศูนย์ขอ้ มูล หรือดาต้าเซ็นเตอร์ไปอยูบ่ นระบบนิเวศแบบคลาวด์สาธารณะ หรือ จะเปลีย่ นกลับมาสร้าง บริการการใช้งานแบบ คลาวด์สว่ นตัวในองค์กร เมื่อไหร่ก็ได้ สามารถ ลดภาระและเวลาใน การพัฒนาแอปพลิเคชัน เนื่ อ งจากปั ญ หาเดิ ม ในเรื่องความแตกต่าง ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การวางรูปแบบความ ปลอดภัย หรือชุดค�ำสัง่ ได้ถูกปรับแต่งเสียใหม่ ให้มหี น้าตาการใช้งานทีเ่ หมือนกัน ซึง่ ท�ำให้ผทู้ พี่ ฒ ั นาแอปพลิเคชัน สามารถเขียนโค้ดโปรแกรมเพื่อต่อยอดการใช้งานได้ท้ังบนคลาวด์ สาธารณะและคลาวด์สว่ นตัวได้ในคราวเดียวกัน ทัง้ ยังช่วยให้องค์กร ก้าวข้ามความเสีย่ งจากการลงทุนพัฒนาระบบไอที โดยไม่ตอ้ งยึดติด อยู่กับเทคโนโลยีใดเทคโนโลยีหนึ่งเท่านั้น ในอนาคตอันใกล้ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านไอทีที่มี ความยืดหยุน่ จะเป็นข้อได้เปรียบอย่างมีนยั ส�ำคัญส�ำหรับทุกองค์กร แพลตฟอร์มแบบไฮบริด คลาวด์ ทีส่ ามารถเชือ่ มโยงจุดแข็งและก�ำจัด จุดอ่อนของการใช้งานคลาวด์ทงั้ 2 ระบบท�ำงานร่วมกันได้อย่างราบรืน่ จึงนับเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือส�ำคัญที่ช่วยเติมเต็มขีดความสามารถ ทางเทคโนโลยีทอี่ งค์กรสามารถหยิบจับมาใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุด กับธุรกิจได้อย่างตรงจุดและทันท่วงที รวมถึงเปิดโอกาสให้องค์กร สามารถพัฒนากระบวนการท�ำงาน หรือสร้างสรรค์นวัตกรรมด้าน บริการใหม่ๆ ทีเ่ ท่าทันกับความต้องการของลูกค้า และสร้างข้อได้เปรียบ ในการแข่งขันได้อย่างไร้ขีดจ�ำกัดนั่นเอง January-February 2019


Article

> เวสเลย์ โคววาสกี หัวหน้าประจ�ำภูมิภาคอาเซียน อินโฟร์

AI พลิกโฉม

ระบบงานจัดการ ทรัพยากรบุคคล

ในการจัดการทรัพยากรบุคคล (HR) เทคโนโลยีการ เรียนรูข้ องเครือ่ ง (Machine Learning) อาจเป็นสาขาทีป่ ระสบ ความส�ำเร็จมากที่สุดของ AI ซึ่งช่วยให้องค์กรสามารถระบุ ผู้สมัครที่มีแนวโน้มว่าจะประสบความส�ำเร็จมากที่สุดใน ต�ำแหน่งงานนัน้ ๆ หรือตรวจสอบว่าพนักงานคนใดไม่เหมาะ กับบางต�ำแหน่งงานในช่วง 2-3 ปีข้างหน้า เราจะสามารถ คาดการณ์ล่วงหน้า และเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดการ ทรัพยากรบุคคลได้เพียงการป้อนข้อมูลเข้าสู่ระบบ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคาดการณ์เกี่ยวกับบุคลากร และแบบจ�ำลองความเสี่ยงที่พนักงานจะลาออกจะช่วยให้ การวางแผนทรัพยากรบุคลากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ได้อย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิง่ การทีเ่ ราสามารถป้อนข้อมูล เข้าไปในโปรแกรมจ�ำแนกประเภทและรับทราบข้อมูลเชิงลึก ที่มีประโยชน์ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากโลกของเรามีความ ซับซ้อน ดังนั้นจึงจ�ำเป็นที่จะต้องมีการตรวจสอบทบทวน January-February 2019

แบบจ�ำลองความเสีย่ งทีพ่ นักงานจะลาออกภายใต้สถานการณ์ ที่หลากหลาย ตัวอย่างเช่น ในกรณีของแบบจ�ำลองคาดการณ์การ ลาออก คุณทราบหรือไม่วา่ ข้อมูลของคุณถูกสร้างขึน้ อย่างไร การกระจายข้ อ มู ล แบบใดเกี่ ย วข้ อ งกั บ ตั ว แปรแต่ ล ะตั ว มีตวั แปรซ่อนเร้นทีอ่ าจท�ำให้ขอ้ มูลของคุณขาดความเทีย่ งตรง หรือไม่ แบบจ�ำลองของคุณท�ำให้การคาดการณ์มีลักษณะ เอนเอียงหรือไม่ และถ้าเป็นเช่นนัน้ จะส่งผลกระทบอย่างไรบ้าง องค์กรทีป่ ระสบความส�ำเร็จจะคาดการณ์คำ� ถามเหล่านี้ และออกแบบวิถีการท�ำงานและวิธีการเชื่อมโยงข้อมูลแบบ หลายขั้นตอนที่ปรับขนาดได้อย่างยืดหยุ่นให้กับแบบจ�ำลอง ที่ใช้งานอยู่ จึงช่วยให้สามารถตรวจจับแบบแผนและความ ผิดปกติในชุดข้อมูลได้ทุกขั้นตอน และได้รับข้อมูลเชิงลึกที่ เป็นประโยชน์แก่องค์กร ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการสรรหา บุคลากรและการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล


การปรับปรุงการเรียนรู้

ในแวดวง HR ได้มีการใช้ระบบจัดการการเรียนรู้และโมดูล การฝึกสอนมานานหลายปีแล้ว เพือ่ จัดหาข้อมูลด้านเส้นทางอาชีพ และการพัฒนาตนเอง ซึ่งจะช่วยให้บุคลากรท�ำงานในต�ำแหน่ง งานปัจจุบันได้อย่างดีเยี่ยม พร้อมความมุ่งหวังที่จะได้รับการเลื่อน ต�ำแหน่ง ในกรณีเช่นนี้ AI จะสามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี บิ๊กดาต้า (Big Data) เพื่อประมวลผลชุดข้อมูลจ�ำนวนมากที่มีความ หลากหลาย เช่น ข้อมูลประวัตยิ อ่ ทีม่ จี ำ� นวนหลายเทราไบต์ รวมถึง การตรวจสอบผลการปฏิบตั งิ านและข้อมูลในอดีต เพือ่ ปรับใช้โมดูล การเรียนรูแ้ ละการฝึกสอนแบบเฉพาะบุคคลทีส่ อดรับกับระดับของ ต�ำแหน่งงานและประสบการณ์ ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นกระบวนการแบบ อัตโนมัติ อย่างไรก็ดี แม้กระทัง่ ในสถานการณ์ดงั กล่าว องค์กรทีป่ ระสบ ความส�ำเร็จเข้าใจว่าตนเองจ�ำเป็นต้องว่าจ้างทีมพัฒนาระดับชัน้ น�ำ ซึ่งจะต้องใช้เวลานานในการออกแบบสถาปัตยกรรมข้อมูลที่มีการ แบ่งระดับชัน้ และจัดระเบียบเป็นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิง่ คลังข้อมูล ส่วนกลาง (Data Lake) เป็นตัวชี้วัดเส้นแบ่งระหว่างสถาปัตยกรรม ข้อมูลที่ประสบความส�ำเร็จและสถาปัตยกรรมข้อมูลที่ล้มเหลว แม้วา่ การทีบ่ ริษทั สามารถรวบรวมแหล่งข้อมูลต่างๆ มาไว้ในทีเ่ ดียวกัน จะถือเป็นความส�ำเร็จทีน่ า่ ชืน่ ชม แต่ขนั้ ตอนถัดไปในกระบวนการนี้ มีความส�ำคัญยิง่ กว่า นัน่ คือ การใส่ปา้ ยระบุและจัดระเบียบข้อมูลของ คุณ ขัน้ ตอนนีด้ เู หมือนง่าย แต่กลับมีความส�ำคัญอย่างมากต่อองค์กร ในการด�ำเนินการเกีย่ วกับข้อมูลบิก๊ ดาต้าให้ประสบความส�ำเร็จ และ จะมีความส�ำคัญอย่างยิง่ ส�ำหรับองค์กรทีต่ อ้ งการปฏิวตั กิ ระบวนการ พัฒนาบุคลากรโดยอาศัยการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ

การวิเคราะห์ความรู้สึกเพื่อดึงดูดพนักงาน

มีการใช้งานเทคโนโลยีการวิเคราะห์ความรู้สึกในช่วงไม่กี่ปี ทีผ่ า่ นมา เพือ่ เปิดเผยความรูส้ กึ แง่บวกและแง่ลบและอคติทป่ี รากฏ อยูใ่ นสิง่ ต่างๆ ตัง้ แต่ขอ้ ความทวีตไปจนถึงรีววิ บน Yelp แม้วา่ หลายๆ บริษทั ได้ลงทุนกับเทคโนโลยีดงั กล่าวแล้ว แต่ในช่วงหลายปีนบั จากนี้ เราจะพบเห็นการประยุกต์ใช้งานเพิม่ มากขึน้ ในงาน HR เพือ่ ตรวจวัด ความรูส้ กึ และระดับการมีสว่ นร่วมของพนักงาน เช่น พนักงานชอบ บริษัทหรือเปล่า พอใจกับงานที่ท�ำอยู่หรือไม่ หรือพนักงานรู้สึก ไม่พอใจที่ไม่มีโอกาสเลื่อนต�ำแหน่งหรือเปล่า การวิเคราะห์ความรูส้ กึ กับการมีสว่ นร่วมของพนักงานเกีย่ วข้อง กันอย่างไร โดยสาระส�ำคัญแล้ว ในค�ำตอบของพนักงานคนหนึ่งๆ จะมีค�ำส�ำคัญที่ถูกเชื่อมโยงเข้ากับบัญชีศัพท์ และจะมีการก�ำหนด คะแนนบวกหรือลบให้กับค�ำศัพท์ต่างๆ กลไกการให้คะแนนบาง รูปแบบมีลักษณะเรียบง่าย โดยมีการก�ำหนดเรตติ้ง + หรือ – ให้กับ ค�ำศัพท์ ขณะที่กลไกอื่นๆ จะมีการแบ่งระดับชั้น โดยมีการก�ำหนด คะแนนบวกและลบที่หลากหลาย (-5 ถึง +5)

ในทางปฏิบัติ การวิเคราะห์ความรู้สึกเพื่อตรวจวัดการมี ส่วนร่วมของพนักงานอาจมีประสิทธิภาพ แต่สิ่งที่ถูกมองข้ามก็คือ ระบบดังกล่าวอาจน�ำเสนอผลลัพธ์ที่เอนเอียงหรือไม่ถูกต้อง ที่จริง แล้วแทนที่จะเชื่อมโยงค�ำศัพท์ต่างๆ เข้ากับความรู้สึก องค์กรที่ ประสบความส�ำเร็จจะเข้าใจว่าการบันทึกข้อมูลบริบททีล่ ะเอียดทีส่ ดุ ของถ้อยค�ำนั้นๆ จะช่วยให้ได้รับข้อมูลเชิงลึกที่เที่ยงตรงมากกว่า ในเรื่องที่เกี่ยวกับระดับการมีส่วนร่วมของพนักงาน

แนวทางที่สมดุล

ขณะทีร่ ะบบต่างๆ ได้รบั การพัฒนาและมีขอ้ มูลพร้อมใช้งาน เพิ่มมากขึ้น เทคโนโลยี AI จะส่งผลกระทบต่องาน HR ในหลายๆ ด้าน และการศึกษาเกี่ยวกับข้อดีและข้อเสียของแนวทางต่างๆ ก็มี ความส�ำคัญมากพอๆ กับการสร้างอัลกอริธึมและสถาปัตยกรรม ข้อมูลที่ถูกต้องเหมาะสม แต่ผลลัพธ์ท่ีเกิดขึ้นในท้ายที่สุดจะก่อให้ เกิดประโยชน์มากมายแก่บริษัทที่พยายามในเรื่องนี้อย่างเต็มที่ ทัง้ นีม้ ขี อ้ มูลจากการวิจยั ของ Deloitte พบว่า AI และหุน่ ยนต์ ก�ำลังเปิดทางให้ HR ได้ใช้ความสามารถใหม่ๆ ที่มีอยู่ในซอฟต์แวร์ ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นความสามารถในการจดจ�ำใบหน้าและ แยกแยะเพศ สามารถฟังเสียงแล้วระบุได้ว่าเสียงนั้นอยู่ในอารมณ์ ไหน และสามารถถอดวิดโี อจากการสัมภาษณ์พนักงานออกมาได้วา่ ผูท้ มี่ าสมัครงานนัน้ มีการศึกษาระดับใด ท�ำการจับเท็จและวิเคราะห์ ผู้สมัครได้ เครื่องมือวิเคราะห์ต่างๆ จะท�ำการเลือกผู้สมัครอย่าง ชาญฉลาด ระบุทางเลือกในการประกอบอาชีพของพนักงาน และ โค้ชผูจ้ ดั การในเรือ่ งของการปรับปรุงทักษะความเป็นผูน้ ำ� ของตนได้ งานวิจัย AI, robotics and automation : Put humans in the loop ของ Deloitte ระบุว่า การที่ AI และเทคโนโลยีที่ลำ�้ หน้า เริ่มแทรกซึมเข้าสู่องค์กร ท�ำให้ทักษะการท�ำงาน เช่น การคิดเชิง วิเคราะห์และประเมินผล ความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถ ในการแก้ปัญหา เป็นเรื่องส�ำคัญ องค์กรชั้นน�ำต่างตระหนักดีว่า เทคโนโลยี เ หล่ า นี้ จ ะมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากที่ สุ ด เมื่ อ น� ำ มาใช้ ง าน ร่วมกับมนุษย์ ไม่ใช่แทนที่มนุษย์ จากรายงาน Rewriting the rules of the digital age ซึ่งเป็น รายงานด้านทุนมนุษย์ล่าสุดของ Deloitte ระบุว่า ทรัพยากรมนุษย์ แบบดิจิทัล การสรรหาผู้มีความสามารถพิเศษ ความเป็นผู้น�ำ เส้นทางอาชีพและการเรียนรู้ เป็นเทรนด์ดา้ นทุนมนุษย์ 3 อันดับแรก ของประเทศไทยในปีที่ผ่านมา รายงานนี้มีผู้ตอบแบบสอบถามมากกว่า 10,000 ราย จาก 140 ประเทศ ในจ�ำนวนนี้มีผู้ตอบแบบสอบถามจากประเทศไทย 42 ราย ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าภาคการจ้างงานในไทยให้ความ ส�ำคัญกับทรัพยากรบุคคลแบบดิจิทัล 98% การสรรหาผู้มีความ สามารถ 95% ความเป็นผู้นำ� อาชีพ และการเรียนรู้ 93% อีกไม่นาน AI จะเข้ามามีบทบาทส�ำคัญในการก�ำหนดลักษณะ ของงานด้านการจัดการทรัพยากรบุคคลทั่วโลก เนื่องจากการใช้ AI จะช่วยลดอคติของคน เพิ่มประสิทธิภาพในการสรรหาพนักงาน พัฒนาความสัมพันธ์ รวมถึงสร้างการเรียนรู้ในองค์กร January-February 2019


Special Area

> บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด

DC ENERGY MONITORING SOLUTIONS

ในปัจจุบันได้มีการติดตั้งโซลาร์เซลล์เพื่อช่วยเพิ่ม การใช้งานพลังงานทดแทน ชนิดพลังงานสะอาดกันอย่าง แพร่หลาย ทั้งในอาคารส�ำนักงาน โรงงานอุตสาหกรรม รวมไปถึงบ้านพักอาศัย ดังนัน้ หากเราสามารถวัดค่าไฟฟ้า และสามารถแจ้งเตือนความผิดปกติ หรือสามารถดูค่า ทางไฟฟ้าได้อย่างสะดวก ก็จะช่วยให้เราสามารถประเมิน ประสิทธิภาพของระบบโซลาร์เซลล์ได้อย่างดี LUMEL ผู้ผลิตอุปกรณ์ในระบบออโตเมชั่นและ เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า ได้พัฒนาอุปกรณ์ส�ำหรับแปลงค่า พลังงานไฟฟ้ากระแสตรงขึ้น ซึ่งสามารถบันทึกค่าเพื่อเก็บ ข้อมูลให้เราดูย้อนหลังได้ ในชื่อรุ่น P30H

P30H เป็น Transducer ที่วัดค่าพารามิเตอร์ทาง

ไฟฟ้า ในระบบไฟฟ้ากระแสตรง เช่น แรงดันไฟฟ้า กระแส ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า ฯลฯ ทีม่ คี วามแม่นย�ำสูง ออกแบบมา ให้สามารถใช้งานได้งา่ ย สามารถตัง้ ค่าด้วยปุม่ กดทีด่ า้ นหน้า หรือด้วยโปรแกรม e-con (โปรแกรมฟรี) ซึ่งจะมี 3 รุ่น ให้เลือกใช้งานคือ  รุ่นเบสิค  รุ่นที่บันทึกค่าด้วย SD/SDHC  รุ่น Ethernet และมีหน่วยความจ�ำภายใน

January-February 2019

รุ่นเบสิค

รุ่น SD/SDHC

รุ่น Ethernet

นอกจากนี้ยังมีฟังก์ชันเด่นๆ อีกมากมาย เช่น  โปรแกรมค่า Input ได้ - พารามิเตอร์คา่ DC - ค่ากระแสผ่าน Shunt +/- 150mV - แรงดัน 0...12/48/100/250V หรือ 0...600/1000V (กรณีแรงดัน 600/100V ต้องต่อผ่านตัวต้านทาน)  โปรแกรมค่า Output ได้ - 1 x Analog 0/4...20mA หรือ 0...10V - เพิ่มเอาต์พุตชนิด Analog 0/4...20mA หรือ 0...10V ได้ - เพิ่มรีเลย์ได้ 1 รีเลย์ ทนได้ 5A  หน้าจอเป็น LCD 2 บรรทัด และมีหลอด LED Backlight  แปลงค่าที่วัดได้เป็นสัญญาณ Output เพื่อท�ำกราฟชนิดเชิงเส้นได้


มีแหล่งจ่ายไฟ 85...253V a.c./d.c. หรือ 20...40V a.c./d.c., 20...60V d.c.  ตั้งค่าการเตือนได้ 1 หรือ 2 เอาต์พุต แบบรีเลย์ สามารถตั้งค่ำ การเตือนได้ 6 โหมด  บันทึกค่าในหน่วยความจ�ำภายในหรือบน SD/SDHC ขึ้นกับรุ่น 

มีดิจิทัลเอาต์พุต RS485-Modbus RTU  ติดต่อสื่อสารด้วย Ethernet Interface 10/100 Base-T ขึ้นกับรุ่น - Protocol Modbus TCP/iP, HTTP, FTP - Service : www server, ftp server, DHCP Client 

ตัวอย่างการต่อใช้งาน นอกจาก P30H แล้ว ทาง LUMEL ยังมี Transducer อีกหลากหลายชนิดให้เลือกใช้ เช่น AC Transducer (P21Z), Ultrasonic Level Transducer (ULT20), Humidity and Temperature Transducers (P18D) ฯลฯ

AC Transducer Ultrasonic Level Transducer

ตัวอย่างการดูค่าพารามิเตอร์และตั้งค่าด้วยพอร์ท Ethernet

Humidity and Temperature Transducers

รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดต่อได้ที่ บริษท ั แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จำ�กัด โทร. 0-2194-8738-9 แฟกซ์ : 0-2003-2215 E-mail : info@mit-thailand.com เว็บไซต์ : www.mit-thailand.com January-February 2019


Special Area

> บริษัท ออมรอน อีเล็คทรอนิคส์ จ�ำกัด

กระแสความต้องการ Industrial 4.0 เพื่อรองรับการผลิต สมัยใหม่ ประกอบกับการส่งเสริมภาครัฐ ท�ำให้ตลาด Automation มีการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างมีทศิ ทาง ผูป้ ระกอบการจึงควรให้ความ สนใจกับการประยุกต์ใช้อย่างจริงจังเพื่อให้เกิดผลต่อการพัฒนำ ประสิทธิภาพการผลิต การลดต้นทุน และการตอบสนองต่อตลาดที่ เติบโตอย่างรวดเร็วกว่า ออมรอนมีคำ� ตอบส�ำหรับกระบวนการผลิต อัจฉริยะ (Smart Factory) อย่างเป็นรูปธรรม นั่นคือเน้นเรื่องของ การน�ำไปใช้ได้จริง เห็นผลจริง และมีตวั อย่างการประยุกต์ใช้ชดั เจน Industry 4.0 ประกอบด้วย รูปแบบการพัฒนา 2 สิ่งคือการ เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกระบวนการผลิตและกระบวนการวางแผน หรือที่เรียกว่า Cyber Physical Systems ซึ่งเป็นการวางแผนให้มี การเชื่อมโยงเทคโนโลยีการผลิตและเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าไว้ รวมกันจนเกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างเต็มประสิทธิภาพ January-February 2019

อีกรูปแบบหนึ่งที่ประกอบใน Industry 4.0 คือการพัฒนำ การผลิตอัจฉริยะหรือ Smart Factory ซึง่ ประกอบด้วยการใช้หนุ่ ยนต์ IoT และการประยุกต์ใช้ AI หรือปัญญาประดิษฐ์ ว่ากันด้วยเรื่อง Smart Factory ดังที่กล่าวมา Smart Factory ประกอบด้วย 3 อย่าง คือการใช้หุ่นยนต์ การประยุกต์ใช้ IoT และการประยุกต์ใช้ AI ทัง้ 3 อย่าง นับเป็นเทคโนโลยีใหม่ทสี่ ง่ เสริมให้โรงงานอุตสาหกรรม สามารถจัดการกับต้นทุนแม้ว่าการผลิตจะมีขนาดลดลง ท�ำให้การ ตอบสนองในยุค IoT ที่ลูกค้ามีความต้องการที่หลากหลายมากขึ้น สามารถจัดการกับสภาวะการเปลีย่ นแปลงอย่างชาญฉลาด ประกอบ กับการพึ่งพาหุ่นยนต์แทนที่พนักงานที่เป็นมนุษย์ หุน่ ยนต์อตุ สาหกรรม รูปแบบของการใช้หนุ่ ยนต์ปรับเปลีย่ น จากการใช้ยกสินค้าขนาดหนัก เช่น ใช้ยกพาเลตสินค้าขนาดใหญ่ ในการขนส่ง ไปสู่การประยุกต์ใช้หุ่นยนต์ในการประกอบชิ้นงาน สามารถท�ำงานร่วมกับพนักงานอย่างปลอดภัย (Colaborative Robot) หุน่ ยนต์นอกจากจะท�ำงานได้อย่างต่อเนือ่ ง ยังเก็บค่าการผลิต เพื่อตอบสนองต่อระบบ IoT ในลักษณะ Realtime IoT หรือ Internet of Things คือการเชือ่ มโยงอุปกรณ์ผา่ นเครือข่ายหัวใจหลัก คือการใช้ขอ้ มูลฐานข้อมูลเดียวกัน โดยอุปกรณ์ตา่ งกัน เพือ่ จุดประสงค์ ทีแ่ ตกต่างกัน เช่น การวางแผนการผลิต การบ�ำรุงรักษา การตรวจสอบ ประสิทธิภาพเครื่องจักร เป็นต้น


AI หรือปัญญาประดิษฐ์ ถูกน�ำมาประยุกต์ใช้อย่าง จริงจังในปี ค.ศ. 2018 มุ่งเน้นในอุปกรณ์ตอบสนองต่อการ เปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการเสื่ อ มประสิ ท ธิ ภ าพหรื อ สภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ออมรอนน�ำ AI มาจ�ำลองเข้าสู่ Controller ในปัจจุบัน เพื่อใช้ในการประเมินการท�ำงานของ ระบบลูกสูบลม Air cylinder screw feeder and main conveyor. เนื่องจากระบบเหล่านี้มักมีผลต่อความต่อเนื่อง ในการผลิตอุปกรณ์เหล่านี้ท�ำงานอย่างต่อเนื่องโดยไม่ได้ รับการประเมิน การหยุดของเครือ่ งจักรกะทันหันมักเกิดจาก ปัญหาของอุปกรณ์เหล่านี้กว่า 80% ออมรอนตระหนักถึงความต้องการการประยุกต์ใช้ อย่างแท้จริงของ Smart Factory รวมถึงความเชื่อมโยงและ ครอบคลุมของทั้ง 3 ระบบ เพื่อการประยุกต์ใช้อย่างเป็น รูปธรรม

ศึกษาเพิ่มเติมที่ http://www.omron-ap.co.th/solutions/sysmacstyle/index.html January-February 2019


Special Area > นอสตร้า โลจิสติกส์

Big Data

...หัวใจแห่งความสำ�เร็จ ของธุรกิจขนส่ง

และโลจิสติกส์

ในยุคที่ก้าวเข้าสู่โลกของ Internet of Things (IoT) หรือยุค ทีอ่ ปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ตา่ งๆ ถูกเชือ่ มโยงสูโ่ ลกอินเทอร์เน็ต การใช้ ประโยชน์จาก Big Data ได้เข้ามามีบทบาทส�ำคัญในทุกอุตสาหกรรม โดยน�ำมาใช้ในการวิเคราะห์หาโอกาสทางธุรกิจ รวมถึงเป็นกุญแจ ส�ำคัญในการขับเคลื่อนองค์กร ไม่เว้นแม้แต่ในธุรกิจอุตสาหกรรม ยานยนต์และการขนส่งทีม่ กี ารน�ำเทคโนโลยีเทเลเมติกส์ (Telematics) มาใช้ประโยชน์ ทัง้ การบริหารจัดการกลุม่ รถ การพัฒนาระบบคมนาคม ขนส่งและโลจิสติกส์ ตลอดจนการเพิ่มมูลค่าให้แก่ธุรกิจจนประสบ ผลส�ำเร็จ นอสตร้า โลจิสติกส์ โซลูชนั ด้านการบริหารจัดการงานขนส่ง และโลจิสติกส์ โดยบริษัท จีไอเอส จ�ำกัด ในกลุ่มบริษัทซีดีจี ชี้ภาค อุตสาหกรรมยานยนต์และธุรกิจขนส่งเร่งปรับตัวรับเทคโนโลยี ย�ำ้ ความอัจฉริยะของ Telematics และ IoT สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ ที่ส�ำคัญที่สุด 2 ประการ คือ ความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน และการบ�ำรุงรักษายานยนต์ชะลอความสึกหรอของเครื่องยนต์ โดยพบว่าเทคโนโลยีเทเลเมติกส์และ IoT ช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุ ที่เกิดจากพฤติกรรมการขับขี่ที่ไม่ปลอดภัยได้ เพราะ 9 ใน 10 ของ ปิยวดี หงษ์ภักดี

January-February 2019

การเกิดอุบตั เิ หตุมสี าเหตุมาจากมนุษย์ จากงานวิจยั ของมหาวิทยาลัย ขอนแก่นชีว้ า่ สาเหตุหลักอันดับ 1 ของการเกิดอุบตั เิ หตุและเสียชีวติ บนท้องถนนของไทยคือ ขับรถเร็วเกินอัตราทีก่ ำ� หนด อันดับ 2 ขับรถ ตัดหน้ากระชัน้ ชิด และอันดับ 3 ขับรถตามกระชัน้ ชิด ดังนัน้ สิง่ ส�ำคัญ ล� ำ ดั บ แรกในการป้ อ งกั น และลดจ� ำ นวนอุ บั ติ เ หตุ ท างถนนคื อ การป้องกันพฤติกรรมการขับขี่ที่ไม่ปลอดภัยให้แก่ผู้ขับรถ ซึ่ง เทเลเมติกส์ คือเทคโนโลยีความปลอดภัยในรถยนต์เพือ่ ช่วยป้องกัน และแจ้งเตือนให้ผู้ขับรถทราบความเสี่ยงอันตรายในขณะขับรถ สามารถตรวจสอบเมื่อคนขับตาไม่มองถนน มือไม่จับพวงมาลัย สมองไม่มสี ติในการควบคุมรถ เพือ่ เพิม่ ความระมัดระวังหรือเปลีย่ น พฤติกรรมได้ทันเวลา ปิยวดี หงษ์ภกั ดี ผูอ้ ำ� นวยการส่วนผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ บริษทั จีไอเอส จ�ำกัด กล่าวว่า เทเลเมติกส์เป็นโซลูชนั ใหม่ทที่ ำ� หน้าที่ เก็บรวบรวมและเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างรถยนต์และผู้ใช้รถให้เป็น หนึง่ เดียว ผ่านเทคโนโลยี IoT โดยการเชือ่ มต่อและผสมผสานอุปกรณ์ หลายชนิดเข้าด้วยกัน ผ่านการสือ่ สารบนอินเทอร์เน็ตและส่งข้อมูล มารวบรวมไว้ยงั Cloud Server ท�ำให้เกิดการวิเคราะห์ขอ้ มูลขนาดใหญ่ หรือ Big Data ส�ำหรับการบริหารจัดการในธุรกิจยานยนต์และการ ขนส่ง ก่อให้เกิดผลดีต่อองค์กรทางธุรกิจเป็นอย่างมาก โดยจะเห็น ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูล Big Data ผ่านเทคโนโลยีเทเลเมติกส์ เช่น การจัดการความเสีย่ งจากพฤติกรรมการขับรถ (Risk Management) การจัดเส้นทางการเดินรถ (Routing Optimization) การประเมิน ความเสียหายและการบ�ำรุงรักษารถ (Breakdown and Maintenance Management) เป็นต้น สิ่งส�ำคัญที่สุด 2 ประการ ของการน�ำเทคโนโลยีเทเลเมติกส์ มาใช้คือ ด้านความปลอดภัยของคนขับรถและการบ�ำรุงรักษา ยานยนต์ รวมทั้งชะลอความสึกหรอของเครื่องยนต์ โดยในด้าน


ความปลอดภัย ด้วยการจัดการความเสี่ยงในพฤติกรรมการขับรถ สามารถใช้อุปกรณ์เทเลเมติกส์เพื่อตรวจสอบและแจ้งเตือนการ ขับขีท่ ไี่ ม่ปลอดภัยให้แก่ผขู้ บั ขีแ่ บบเรียลไทม์ ตลอดจนน�ำ Big Data ของข้อมูลการขับรถ เช่น ความเร็วในการขับขี่ การขับเร่งกระชาก การเบรกกะทันหัน ประวัติการเกิดอุบัติเหตุ ฯลฯ มาวิเคราะห์และ ประเมินความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการขับรถและการเกิด อุบตั เิ หตุผา่ นโมเดลการวิเคราะห์การขับขีท่ ไี่ ม่ปลอดภัย และแสดงผล รายงานในรูปแบบการให้คะแนนการขับขี่ เพื่อให้คนขับปรับปรุง พฤติกรรมการขับรถได้อย่างเหมาะสม เพื่อความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สนิ ด้านการประเมินความเสียหายและการบ�ำรุงรักษารถ ผ่านเทเลเมติกส์ที่สามารถเก็บข้อมูลจากระบบประมวลผลภายใน รถยนต์ เช่น ความเร็วรอบเครือ่ งยนต์ ความเร็วไมล์รถ ระดับน�้ำมัน แรงดันยางรถ ผนวกกับข้อมูลจ�ำพวกประวัติการบ�ำรุงรักษาและ ซ่อมแซมรถมาวิเคราะห์ เพื่อวางแผนบ�ำรุงรักษาหรือซ่อมแซมได้ อย่างถูกต้อง ท�ำให้ธรุ กิจสามารถใช้งานรถขนส่งได้เต็มประสิทธิภาพ อยูต่ ลอดเวลา ท�ำให้เกิดความรวดเร็ว ไม่เสียเวลาในการด�ำเนินธุรกิจ และลดความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุที่ไม่คาดคิดระหว่างการ เดินทางได้ ในภาพรวมระดับประเทศ หากมีการแชร์ขอ้ มูลต่างๆ ระหว่าง ภาครัฐและเอกชน จะสามารถน�ำเทเลเมติกส์เข้ามาใช้สำ� หรับวางแผน เส้นทางการจัดส่งสินค้าและการเดินรถ ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล Big Data จ�ำพวกต�ำแหน่งของรถยนต์ ความเร็วทีใ่ ช้ในการขับขี่ ข้อมูล การขับรถ และข้อมูลอืน่ ๆ เช่น การจ�ำกัดความเร็วรถจากป้ายจราจร สัญญาณไฟจราจร รายงานเหตุการณ์บนท้องถนนแบบเรียลไทม์ ซึง่ ข้อมูลเหล่านีช้ ว่ ยหลีกเลีย่ งปัญหาการจราจร และวางแผนเส้นทาง การขนส่งทีด่ ที สี่ ดุ แก่ผปู้ ระกอบการ ท�ำให้สามารถจัดส่งสินค้าแก่ลกู ค้า ได้ตรงตามเวลาและก�ำหนดเวลาล่วงหน้าได้อย่างชัดเจน ป้องกัน การทุจริตของพนักงานในเรื่องของเวลาการท�ำงานและระยะทางที่ เดินทางจริง ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในส่วนของค่าเชื้อเพลิง รวมถึง รักษาสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้นจากการใช้เชื้อเพลิงที่ลดลง ด้านการเพิ่มมูลค่าให้แก่ธุรกิจ พบว่าบริษัทผลิตรถยนต์มี การน�ำเทคโนโลยีเทเลเมติกส์เข้ามาติดตั้งและเชื่อมต่อกับรถยนต์ รุ ่ น ใหม่ ห ลายรุ ่ น มาพร้ อ มกั บ ฟั ง ก์ ชั น ใหม่ ที่ ใ ห้ความปลอดภัย ความสะดวกสบาย และความอุน่ ใจด้วยบริการตลอด 24 ชัว่ โมง เช่น ค้นหาต�ำแหน่งรถยนต์ ตรวจสอบต�ำแหน่งรถยนต์กรณีถกู โจรกรรม การแจ้งเตือนขณะจอดรถเมือ่ เกิดความผิดปกติกบั รถยนต์ การนัดหมาย เพือ่ น�ำรถเข้าบริการตามระยะ บริการความช่วยเหลือตลอด 24 ชัว่ โมง เป็นต้น ซึ่งจากที่กล่าวมาพบว่าเทเลเมติกส์มีความโดดเด่นในเรื่อง ของความปลอดภัย จึงท�ำให้ธุรกิจด้านอื่นอย่างธุรกิจประกันภัย น�ำเทเลเมติกส์เข้ามาเพิ่มมูลค่าให้กับธุรกิจในการพัฒนานวัตกรรม เพื่อตอบโจทย์การบริการแก่ลูกค้าให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ เทเลเมติกส์ยงั เพิม่ มูลค่าให้กบั ธุรกิจด้วยการผลิต ยานพาหนะทีไ่ ร้คนขับ หรือ Autonomous Vehicles ทีไ่ ด้เริม่ เข้ามาถึง อุตสาหกรรมการขนส่งในปีทผี่ า่ นมาแล้ว โดยกล่าวกันว่า เทคโนโลยี

ยานยนต์ไร้คนขับ จะช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพการขับรถและยังช่วย เพิ่มความปลอดภัยบนท้องถนน จากความสามารถของเทคโนโลยี ในการขับเคลื่อนได้ด้วยตัวเองที่เรียกว่า Connected Car ซึ่งก็คือ รถยนต์ทปี่ ระกอบด้วยอุปกรณ์ตา่ งๆ ทีส่ ามารถจะเข้าถึงอินเทอร์เน็ต และสามารถเชือ่ มโยงกับอุปกรณ์อนื่ ๆ ทัง้ ภายในรถยนต์และภายนอก รถยนต์ได้ เรียกว่าเป็น Vehicle-to-Vehicle Communication เพื่อ ควบคุมการขับรถทั้งหมดโดยไม่ต้องใช้คนขับ ทั้งนี้ ในระดับโลก มีการคาดการณ์ว่า Connected Car จะเติบโตในตลาดได้ 100% ในปี พ.ศ. 2569 แม้จะพบเป็นจ�ำนวนน้อยในปัจจุบนั แต่เทเลเมติกส์ จะเป็นส่วนส�ำคัญทีช่ ว่ ยเพิม่ ประสิทธิภาพในการจัดการระบบข้อมูล และพัฒนาเทคโนโลยีของยานพาหนะไร้คนขับให้เป็นที่ยอมรับ อย่างกว้างขวางในอนาคต ซึ่งนับว่าเป็นความหวังใหม่ในตัวสินค้า และบริการ เสมือนเป็นการเพิม่ โอกาสในการใช้ประโยชน์จากข้อมูล Big Data ให้เป็นนวัตกรรมใหม่ๆ ทีเ่ กิดขึน้ จากเทคโนโลยีเทเลเมติกส์ ปัจจุบัน ในยุคที่เข้าสู่ Digital Transformation ภาคธุรกิจ ยานยนต์และการขนส่ง ได้น�ำเทคโนโลยีเ ทเลเมติกส์ม าช่ว ยใน กระบวนการท�ำงาน เก็บรวบรวมข้อมูลในรูปแบบของดิจิทัล และ น�ำเสนอผลลัพธ์แบบ Visualization ที่เข้าใจง่ายและชัดเจนผ่านการ แสดงผลบน Dashboard แอปพลิเคชันหรือเว็บไซต์ทมี่ กี ารเชือ่ มโยง กับอุปกรณ์ ด้วยรูปแบบของสถิติ คะแนน หรือเกรดจากการวิเคราะห์ และประเมินผล ซึ่งสามารถน�ำข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ได้อย่าง ง่ายและสะดวก นับว่าเป็นเทคโนโลยีทที่ นั สมัยและตอบรับกับวิถชี วี ติ ของผู้คนในยุคใหม่ จากทีก่ ล่าวมาข้างต้น การใช้ขอ้ มูล Big Data จากเทเลเมติกส์ จึงเป็นหัวใจส�ำคัญต่ออุตสาหกรรมยานยนต์และการขนส่งทีป่ ระสบ ผลส�ำเร็จทัง้ ในด้านสินค้าและบริการต่อทัง้ ผูป้ ระกอบการ ลูกค้า และ คนขับรถ รวมทัง้ สามารถน�ำข้อมูลทีผ่ า่ นการวิเคราะห์และใช้งานแล้ว ในปัจจุบนั ไปพัฒนาให้เกิดข้อมูลเชิงลึกใหม่ๆ ส�ำหรับการบริหารและ จัดการในกลุม่ รถ ระบบคมนาคมขนส่ง และโลจิสติกส์ รวมถึงเข้าไป อยู่ในภาคธุรกิจอื่นๆ ให้มีความก้าวหน้า ทันสมัย และต่อยอดได้ อีกไกลในอนาคต

NOSTRA Logistics (นอสตร้า โลจิสติกส์) โดย Commercial Solutions Division (CSD) ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นงานหนึ่ ง ของบริ ษั ท จี ไ อเอส จ� ำ กั ด เป็ น โซลู ชั น ด้ า น การบริหารจัดการงานขนส่ง ได้แก่ การจัดการกลุ่มรถ (Fleet Management) การติ ด ตามต� ำ แหน่ ง (GPS Tracking) บนแผนที่ ค วามละเอี ย ดสู ง นอสตร้ า เพิ่ ม ความปลอดภั ย ในการขับรถด้วยเทคโนโลยีเทเลเมติกส์ (Telematics) และ เชื่อมโยงข้อมูลด้วยเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) พร้อมผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีในการน�ำเสนอโซลูชันที่ ตอบโจทย์ลูกค้าอุตสาหกรรมการขนส่งและโลจิสติกส์อย่าง มีประสิทธิภาพ

January-February 2019


Special Area > ชไนเดอร์ อิเล็คทริค

แอปพลิเคชัน

mySchneider Retailer สำ�หรับร้านไฟฟ้า

January-February 2019

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผูน้ ำ� ด้านดิจทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชันในการจัดการ พลังงานและระบบออโตเมชัน เดินหน้าต่อยอดสร้างประสบการณ์ดจิ ทิ ลั ให้คคู่ า้ เปิดตัวแอปพลิเคชัน mySchneider Retailer ส�ำหรับร้านไฟฟ้ำ ทีจ่ ำ� หน่ายอุปกรณ์ไฟฟ้าของชไนเดอร์ อิเล็คทริค ช่วยให้รา้ นค้าสามารถ สร้างปฏิสัมพันธ์กับช่างไฟที่มีแอปพลิเคชัน mySchneider Electrician ได้ง่ายขึ้น ซึ่งแอปพลิเคชันส�ำหรับช่างไฟนั้น ทางชไนเดอร์ได้เปิดให้ ดาวน์โหลดฟรีมาเป็นระยะเวลากว่า 3 เดือนแล้ว และมียอดผูด้ าวน์โหลด ใช้งานกว่า 10,000 คน หนุนการท�ำธุรกิจยุคดิจิทัล ให้ทั้งความสะดวก เรื่องการบริหารจัดการสต็อกสินค้า การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ รวมถึงการเข้าร่วมกับกิจกรรมส่งเสริมการขายต่างๆ จากชไนเดอร์ อิเล็คทริค ได้อย่างรวดเร็ว กุศล กุศลส่ง รองประธานฝ่ายธุรกิจค้าปลีก ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย “ปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในการน�ำมาใช้เพื่อ อ�ำนวยความสะดวกให้กบั การใช้ชวี ติ มากมาย การน�ำเทคโนโลยีมาใช้เป็น


ประโยชน์ ช่วยให้คคู่ า้ ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค สามารถท�ำธุรกิจได้งา่ ยขึน้ เราได้มกี ารวิจยั และพัฒนา เครือ่ งมือในการช่วยให้คคู่ า้ ของเราสามารถได้รบั ประโยชน์จากยุค 4.0 อย่างต่อเนือ่ ง โดยไตรมาสที่ 3 ได้ทำ� การเปิดตัว mySchneider Electrician หรือแอปฯ ส�ำหรับช่างไฟ 4.0 ซึง่ ได้มกี ารดาวน์โหลดจาก ช่างไฟเป็นจ�ำนวนมาก และในวันนีเ้ ราได้เปิดตัว mySchneider Retailer หรือแอปฯ ร้านไฟฟ้าชไนเดอร์ ซึ่งเป็นแอปพลิเคชันส�ำหรับร้านค้าปลีกอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ขายผลิตภัณฑ์ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค เพื่อ ยกระดับการขายที่ง่ายขึ้น สะดวกขึ้น ด้วยเครื่องมืออ�ำนวยความสะดวกที่แอปพลิเคชันของเรามีให้ ทั้งเรื่องการบริหารจัดการสต็อกสินค้า การรับรายการใบค�ำสั่งซื้อจากช่างไฟในพื้นที่ การแจ้งเตือน ต่างๆ และยังมีขอ้ มูลเกีย่ วกับผลิตภัณฑ์ทเ่ี ข้าใจง่าย เช่น เซอร์กติ เบรกเกอร์ ตัวกันดูด ตูไ้ ฟ สวิตช์ไฟ รุ่นต่างๆ นับเป็นการยกระดับการค้าปลีกด้านอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างชัดเจนรายแรกของประเทศไทย” การบริหารจัดการสต็อกสินค้า นับเป็นปัจจัยส�ำคัญส�ำหรับร้านค้า ซึ่งจะมีผลในการบริหาร จัดการพื้นที่ในการเก็บสินค้าด้วย เพราะผลิตภัณฑ์ย่อมมีขนาดที่ต่างกัน mySchneider Retailer จะเข้ามาเป็นผูช้ ว่ ยของร้านค้าในการบริหารจัดการสต็อก ร้านค้าจะสามารถเห็นยอดขายผลิตภัณฑ์ แต่ละชนิดได้อย่างชัดเจนในแต่ละช่วงเวลา เมือ่ มีการซือ้ ขายกับช่างไฟ สามารถตัดจ�ำนวนผลิตภัณฑ์ ในสต็อกได้แบบเรียลไทม์ ท�ำให้สามารถวางแผนการจัดการสต็อกและการสัง่ ซือ้ ผลิตภัณฑ์จากตัวแทน จ�ำหน่ายของชไนเดอร์ อิเล็คทริค ได้อย่างดีทสี่ ดุ ช่วยลดปัญหา Overstock ซึง่ สิน้ เปลืองทัง้ พืน้ ทีแ่ ละ เงินทุนได้อย่างชัดเจน กุศล กล่าวเพิม่ เติมว่า “แอปพลิเคชัน mySchneider Retailer นับเป็นความมุง่ มัน่ ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค ในการสร้างประสบการณ์การขายยุคใหม่ผา่ นแอปพลิเคชัน เพราะเราเชือ่ ว่าความต้องการ ของช่างไฟและผูบ้ ริโภคในแต่ละพืน้ ทีม่ คี วามแตกต่างกัน ดังนัน้ การใช้แอปตัวนีจ้ ะช่วยให้รา้ นค้าปลีก สามารถเห็นเทรนด์และความต้องการในพืน้ ทีน่ น้ั ๆ ได้อย่างชัดเจน ซึง่ อาจมีเหตุปจั จัยในพืน้ ทีช่ มุ ชน เช่น รูปแบบของที่พักอาศัย ไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิต ล้วนเป็นข้อก�ำหนดในการวางแผนในการขาย ผลิตภัณฑ์ทั้งสิ้น หากสต็อกสินค้าไม่พอยังสามารถติดต่อกับตัวแทนจ�ำหน่ายของตนเองได้ในทันที ผ่านแอปพลิเคชันดังกล่าว นอกจากนี้ แอปพลิเคชัน mySchneider Retailer ยังเป็นแพลตฟอร์มทีใ่ ห้ ความสะดวกกับร้านค้าในการรับสิทธิพิเศษ เช่น การสะสมแต้มจากยอดขายเพื่อแลกรับของรางวัล และรับทราบเกี่ยวกับโปรโมชันรายเดือนที่ชไนเดอร์ อิเล็คทริค มอบให้” แอปพลิเคชัน mySchneider Retailer นับเป็นเทคโนโลยีทร่ี า้ นค้าปลีกอุปกรณ์ไฟฟ้าจ�ำเป็นต้องมี ในยุคดิจิทัลนี้ เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ พร้อมให้ดาวน์โหลดแล้วที่เพลย์สโตร์ ส�ำหรับระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์เท่านั้น

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผูน้ ำ� ด้านดิจทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชันในการจัดการพลังงานและระบบ

ออโตเมชัน ตั้งแต่บ้าน อาคาร ดาต้าเซ็นเตอร์ ระบบโครงสร้างพื้นฐาน และอุตสาหกรรม ต่างๆ ด้วยการยืนหยัดอยู่ในเวทีระดับโลกในกว่า 100 ประเทศ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เป็น ผูน้ �ำทีโ่ ดดเด่นในด้านการจัดการพลังงาน ทัง้ แรงดันไฟฟ้าขนาดกลาง-ต�ำ่ และระบบส�ำรอง ไฟฟ้า รวมถึงระบบออโตเมชันต่างๆ เราน�ำเสนอโซลูชันแบบบูรณาการที่มีประสิทธิภาพ ด้วยการผสานการท�ำงานร่วมกันทั้งในส่วนของพลังงาน ระบบออโตเมชัน และซอฟต์แวร์ เรามีระบบนิเวศทัว่ โลก ซึง่ เป็นการประสานความร่วมมือกับคูค่ า้ รายใหญ่ทส่ี ดุ รวมถึงชุมชน นักพัฒนาและผู้วางระบบบนแพลตฟอร์มเปิด เพื่อมอบประสิทธิภาพด้านการด�ำเนินงาน และการควบคุมในแบบเรียลไทม์ เราเชื่อว่าด้วยผู้คนที่ยอดเยี่ยมเหล่านี้ และพันธมิตร ของเรา จะช่วยให้ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เป็นบริษทั ทีเ่ ยีย่ มยอด พร้อมกับค�ำมัน่ สัญญาของเรำ ที่มุ่งมั่นในเรื่องการสร้างนวัตกรรม ความหลากหลาย และความยั่งยืน ช่วยให้ทุกคนมั่นใจ ได้ว่า “Life is On” ในทุกที่ส�ำหรับทุกคนและทุกช่วงเวลำ

January-February 2019


Special Area

> บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

เซอร์กิตเบรกเกอร์ (Circuit Breaker) Ics = 100% Icu คืออะไร เซอร์กิตเบรกเกอร์แรงดันต�ำ่ (Low Voltage Circuit Breakers) เป็นบริภณ ั ฑ์ไฟฟ้าส�ำหรับเปิดปิด วงจรไฟฟ้าแรงดันต�ำ่ ในภาวะปกติ และจะเปิดวงจร โดยอัตโนมัติเมื่อเกิดภาวะผิดปกติ  การใช้กำ � ลังเกิน (Overload)  การลัดวงจร (Short Circuit) พิกัดที่สำ� คัญตามมาตรฐาน IEC 60947 - 2 มีดังต่อไปนี้ 1) Rated Voltages  Rated Operational Voltage (Ue) 400 V, 690 V  Rated Insulation Voltage (Ui) 1,000 V  Rated Impulse Withstand Voltage (Uimp) 8 kV, 12 kV 2) พิกัดกระแสต่อเนื่อง In ค่ากระแส RMS ที่ CB สามารถทนได้ที่ อุณหภูมิไม่เพิ่มเกินค่าที่ก�ำหนดให้ของอุณหภูมิ โดยรอบ (Ambient Temperature) บริษัทผู้ผลิต ส่วนมากจะท�ำ CB ทีม่ ขี นาดโครงเป็นช่วงกว้าง แล้ว ปรับตั้งกระแสพิกัดในระหว่างช่วงให้ละเอียดขึ้น

January-February 2019


Ampere Frame (AF) และ Ampere Trip (AT) 1. Ampere Frame (AF) คือ ขนาดพิกดั กระแสสูงสุดทีส่ ามารถใช้ได้กบั ขนาด โครงของ CB 2. Ampere Trip (AT) คือ ขนาดพิกัดกระแสที่ปรับตั้งให้ CB ใช้งาน 3) พิกดั การตัดกระแสลัดวงจร (Interrupting Capacity = IC, Breaking Capacity)  กระแสลัดวงจรสูงสุดที่ CB สามารถตัดได้โดยทีต ่ วั CB ไม่ได้รบั ความเสียหาย  ค่า IC ของ CB ต้องได้จากการทดสอบ และขึ้นกับตัวแปรหลายตัว เช่น แรงดัน ตัวประกอบก�ำลัง เป็นต้น  CB ที่สามารถใช้ได้กับหลายแรงดันจะต้องมีค่า IC ที่แต่ละแรงดันด้วย  ค่า IC ของ CB เป็นพิกัดที่สำ � คัญมากอย่างหนึ่งในการเลือก CB เพื่อใช้ ส�ำหรับงานหนึ่งงานใด

Icu (Rated shortcircuit breaking capacity)

หมายถึง ค่ากระแสลัดวงจรสูงสุดที่ CB สามารถป้องกันหรือตัดวงจรได้ส�ำเร็จ 2 ครั้ง ติดกัน โดย CB ไม่เสียหาย ปกติจะมีหน่วยเป็น KA r.m.s. การทดสอบลัดวงจร  Switching Sequence O - t - CO  หลังจากปรับตั้งค่าเครื่องให้ได้ kA และ P.F. เรียบร้อยแล้ว  ลัดวงจรด้านหนึ่งของ CB แล้วสับไฟฟ้าเข้า อีกด้านหนึ่ง  CB จะเห็นลัดวงจรและท�ำการตัดวงจรออก Open, O  รอเวลา 3 Minutes แล้วสับ CB เข้า ขณะ มีไฟจ่ายเข้า CB จะเห็นลัดวงจร และท�ำการ ตัดวงจรทันที Close Open, CO  น�ำ CB นี้ไปทดสอบอีกหลายรายการ เช่น O/L ถ้าผ่านการทดสอบ แสดงว่า CB มี Icu ตามค่าทดสอบ

Ics (Rated service short short-circuit breaking capacity) หมายถึง ค่ากระแสลัดวงจรสูงสุดที่ Circuit Breaker สามารถป้องกันหรือตัดวงจรได้สำ� เร็จ 3 ครัง้ ติดกัน โดย Circuit Breaker ไม่เสียหาย โดยจะระบุเป็นเปอร์เซ็นต์ของค่า Icu เช่น 25, 50, 75 และ 100% อุปกรณ์ทดี่ คี วรจะมีคา่ ICU = ICS ตัวอย่างเช่น Circuit Breaker ตัวหนึง่ ระบุคา่ Ics = 0.5 Icu หมายความว่า เมือ่ เบรกเกอร์ปลดวงจรหลังจากเกิดการ ลัดวงจรครั้งแรกแล้ว Circuit Breaker ตัวนั้นจะสามารถทน

กระแสลัดวงจรในครัง้ ถัดไปได้เท่ากับ 50% ของ Icu ได้ 3 ครัง้ โดยไม่เสียหาย การทดสอบลัดวงจร  Switching Sequence O - t - CO - t - CO  คล้ายการทดสอบ Icu แต่การตัดวงจรเพิ่มอีก 1 ครั้ง t - CB ต้องท�ำงาน หนักขึ้น  Ics อาจคิดเป็น % Icu, Ics = 50, 75, 100% Icu January-February 2019


Moulded-case circuit breaker ของ Hyundai เป็นอุปกรณ์ท่ี สามารถทนต่อกรดและการกัดกร่อนได้ดี เพราะว่าเซอร์กติ เบรกเกอร์ ของ Hyundai ได้ผลิตตามมาตรฐานเดียวกันทั้งบนบกและในทะเล อีกทั้งอุปกรณ์ที่ใช้ในทะเลจะต้องมีค่ากระแสลัดวงจรสูง (Icu) เพราะว่ามีพนื้ ทีจ่ ำ� กัดในการเดินสายไปยังจุดต่างๆ ซึง่ ท�ำให้ ต้องมีการเผือ่ ค่ากระแสลัดวงจร (Icu) ไว้สงู เช่นกัน ท�ำให้ลกู ค้าสามารถ ไว้วางใจได้ว่าจะได้รับค่ากระแสลัดวงจร (Icu) ที่สูงในราคาที่คุ้มค่า และสามารถน�ำไปใช้ในงาน Industrial, Office & Residence, Building ได้อย่างมั่นใจ เพราะผ่านการใช้กับงานอุตสาหกรรมที่หนักมาแล้วทั้งสิ้น อาทิ แท่นขุดเจาะน�ำ้ มันกลางทะเล (Off Shore) อุตสาหกรรมอูต่ อ่ เรือ (Ship Yards) โรงไฟฟ้า (Power Plants) โครงสร้างพื้นฐานคมนาคม (Infrastructure) พลังงานทางเลือก (Solar Plant) จุดเด่น  Ics = 100% Icu  Pollution Degree : สามารถน�ำไฟฟ้า แม้มลภาวะระดับ 3  Rated Insulation Voltage (Ui) : 1,000 V  Rated Impulse Withstand Voltage (Uimp) : 8 kV  Rated Operational Voltage (Ue) : Up to 690 V, Rated Current : 3A Up to 1,600 A

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

January-February 2019

Rated Breaking Capacity : Up to 150 kA  Tripping Device : Adjustable Thermal and Electronic  ได้รบ ั การออกแบบผลิตภัณฑ์ Breaker ยอดเยีย่ มจาก IF AWARD ในปี 2016 ทั้ง VCB, ACB, MCCB จนถึงปัจจุบันยังไม่มี ผลิตภัณฑ์ที่เป็น Breaker รายใดได้รับรางวัลนี้  การติดตั้งมีหลากหลายรูปแบบ อาทิ Fixed, Plug-In หรือ Withdrawable  มีขนาดกะทัดรัด ประหยัดเนื้อที่ติดตั้ง  อุปกรณ์เสริมมีหลากหลาย ติดตั้งได้ง่าย  มีประสิทธิภาพสูง ผลิตด้วยวัสดุที่มีคุณภาพ  สามารถติดตั้งได้ทั้งแบบยึดสกรูและแบบติดบนราง  การเข้าสายมีให้เลือกทั้งแบบสกรูและบัสบาร์  มีแผ่นกั้นระหว่างเฟสมาให้ทุกรุ่น  สามารถป้อนไฟได้สองทิศทาง (Reverse Feeder)  มีช่องส�ำหรับเสียบในการทดสอบการลัดวงจร 

Standard : IEC 60947-2, NEMA AB-1, KS C 8321 Approval & Certificate : CE, KEMA, KERI KS, GOST-R, CCC, TSE KR, LR, ABS, BV, NK, GL

บริษท ั ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จำ�กัด 22/26 ถนนสุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2002-4395-97 แฟกซ์ 0-2002-4398 E-mail: info@tdpowertech.com


IT Article > ฟอร์ติเน็ต

ฟอร์ติเน็ต คาดในปี 2019

องค์กรจะใช้ระบบอัตโนมัติมากขึ้น เพื่อต่อสู้กับภัยคุกคาม

...ใช้ AI Fuzzing และแมชชีนเลิร์นนิ่งช่วยค้นพบช่องโหว่ บนเครือข่ายและซอฟต์แวร์ใหม่ๆ ฟอร์ตเิ น็ต (NASDAQ: FTNT) ผูน้ ำ� ระดับโลกด้านโซลูชนั การ รักษาความปลอดภัยแบบไซเบอร์แบบบูรณาการและแบบอัตโนมัติ เปิดเผยถึงแนวโน้มภัยคุกคามในปี ค.ศ. 2019 รวบรวมโดยทีมงาน ฟอร์ตกิ าร์ดแล็บส์ (FortiGuard Labs) ซึง่ การคาดการณ์เหล่านีแ้ สดง ให้เห็นถึงวิธีการและเทคนิคที่นักวิจัยคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต อันใกล้ พร้อมกับการเปลีย่ นแปลงในด้านกลยุทธ์ทสี่ �ำคัญ ซึง่ จะช่วย ให้องค์กรสามารถป้องกันการโจมตีในอนาคตเหล่านี้ได้ วิทยา จันทร์เมฆา Network Security Architect แห่งฟอร์ตเิ น็ต ได้กล่าวว่า “เราจะเห็นความก้าวหน้า ในการใช้ทลู ส์และบริการอาชญากรรม ไซเบอร์ ที่ ใช้ ป ระโยชน์ จ ากระบบ อัตโนมัติและเอไอมากยิ่งขึ้น องค์กร จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งคิ ด ทบทวนกลยุ ท ธ์ ของตนเพื่อให้สามารถคาดการณ์ถึง ภัยคุกคามที่ดีขึ้น นอกจากนี้ องค์กร วิทยา จันทร์เมฆา ควรใช้ระบบอัตโนมัติและเอไอเพื่อ ลดโอกาสที่จะถูกบุกรุก เปลี่ยนจาก การถูกคุกคามให้เป็นการตรวจจับภัย และจากการตรวจจับไปเป็น การควบคุมภัย ซึ่งสามารถท�ำได้โดยบูรณาการองค์ประกอบด้าน ความปลอดภัยทัง้ หมดไว้ในเครือข่ายซีเคียวริตแี้ ฟบริค ซึง่ จะสามารถ แบ่งปันข้อมูลอัจฉริยะด้านความปลอดภัยแบบไดนามิก เพื่อการ ปกป้องที่ครอบคลุมครบถ้วนและเพื่อศักยภาพในการมองเห็นใน ทุกส่วนของเครือข่าย จากเครือข่ายไอโอทีไปจนถึงเครือข่ายมัลติคลาวด์”

การคุกคามจะฉลาดและซับซ้อนมากขึ้น

องค์กรอาชญากรรมจ�ำนวนมากพิจารณาใช้เทคนิคการโจมตี ไม่ใช่เพียงแต่ในแง่ของประสิทธิภาพของการโจมตีเท่านั้น แต่ยัง พิจารณาถึงหนทางทีจ่ ะสร้างรายได้มากทีส่ ดุ รวมถึงต้นทุนทีจ่ ำ� เป็น ในการพัฒนา ปรับเปลี่ยนและใช้งานเทคนิคนั้นอีกด้วย จึงเป็นผล ท� ำ ให้ อ าชญากรรมหยุ ด ใช้ เ ทคนิ ค กลยุ ท ธ์ โจมตี ห ลายประเภท เนือ่ งจากยังไม่ตอบสนองต่อโมเดลทางการเงินทีอ่ าชญากรไซเบอร์ ใช้อยู่ นอกจากนี้ องค์กรอาชญากรรมจึงเปลีย่ นกลยุทธ์มาให้ความ ส�ำคัญแก่ทรัพยากรมนุษย์ กระบวนการและเทคโนโลยี จึงท�ำให้ องค์กรอาชญากรรมกลับมาคิดทบทวนถึงมูลค่าทางการเงินของ เป้าหมายที่ตนก�ำหนดไว้ ในขณะทีอ่ งค์กรต่างๆ ก�ำลังน�ำเทคโนโลยีและกลยุทธ์ใหม่ๆ มาใช้งาน เช่น แมชชีนเลิรน์ นิง่ (Machine Learning) และระบบอัตโนมัติ (Automation) มาใช้ ซึ่งส่งผลกระทบให้อาชญากรไซเบอร์เปลี่ยน วิธกี ารโจมตีและเร่งพยายามพัฒนาตนเองให้เข้ากับแมชชีนเลิรน์ นิง่ และระบบอัตโนมัติเช่นกัน ทั้งนี้ ฟอร์ติเน็ตคาดการณ์ว่าชุมชน อาชญากรรมไซเบอร์มแี นวโน้มทีจ่ ะใช้กลยุทธ์ดงั ต่อไปนี้ ซึง่ จะท�ำให้ อุตสาหกรรมป้องกันภัยไซเบอร์ทงั้ หลายจะต้องติดตามอย่างใกล้ชดิ เช่นกัน การคาดการณ์ที่ 1 ในเรื่องการใช้ Artificial

Intelligence Fuzzing (AIF) และช่องโหว่ (Vulnerabilities)

ฟัสซิ่ง (Fuzzing) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้กันอย่างแพร่หลายใน ห้องทดลองโดยนักวิจยั ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านภัยคุกคามเพือ่ ค้นหาช่องโหว่ ในส่วนติดต่อกับฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์และแอปพลิเคชัน โดย การป้อนค่าข้อมูลทีไ่ ม่ถกู ต้อง ไม่คาดคิดหรือกึง่ สุม่ เข้าไปยังฟังก์ชนั January-February 2019


อินเทอร์เฟซหรือโปรแกรมต่างๆ และตรวจสอบเหตุการณ์ เช่น การหยุดท�ำงาน การกระโดดข้ามไปที่ขั้นตอนการแก้ไขโปรแกรม โดยที่ไม่มีค�ำสั่ง การยืนยันรหัสโค้ดที่ผิดพลาด การรั่วไหลของ หน่วยความจ�ำที่อาจเกิดขึ้น และท้ายสุด จะแจ้งให้ผู้พัฒนาท�ำการ แก้ไขข้อบกพร่อง ซึง่ ในอดีตนัน้ มีเพียงวิศวกรทีม่ ที กั ษะสูงจ�ำนวนหนึง่ ที่ทำ� งานในห้องปฏิบัติการเท่านั้นที่ใช้เทคนิคเหล่านี้ อย่ า งไรก็ ต าม ต่ อ มามี ก ารใช้ โ มเดลแมชชี น เลิ ร ์ น นิ่ ง กั บ กระบวนการเหล่านี้ จึงท�ำให้เราคาดการณ์ว่าเทคนิคนี้ท่ีเรียกว่า AIF (Artificial Intelligence Fuzzing) จะเปลีย่ นไป คือ มีประสิทธิภาพ มากขึน้ สามารถพัฒนาดัดแปลงให้ทำ� งานเฉพาะได้มากขึน้ และท�ำให้ เหล่าผู้ท่ีมีความรู้ด้านเทคนิคน้อยกว่าสามารถใช้งานได้กว้างขวาง มากขึ้น ดังนั้น เมื่ออาชญากรไซเบอร์เองเริ่มใช้แมชชีนเลิร์นนิ่งมา พัฒนาโปรแกรมฟัสซิ่งที่ทำ� งานอย่างอัตโนมัติตลอดเวลา จะท�ำให้ พวกเขาสามารถเร่งกระบวนการและพบช่องโหว่ใหม่ๆ ทีย่ งั ไม่มใี คร ค้นพบมาก่อน ซึง่ เรียกกันว่า ภัยประเภทซีโร่ เดย์ (Zero-Day Attack) ได้เร็วขึน้ จ�ำนวนการโจมตีแบบ Zero-Day ทีก่ ำ� หนดเป้าหมายไปยัง โปรแกรมและแพลตฟอร์มต่างๆ จะเพิ่มมากขึ้น การคาดการณ์ที่ 2 การทำ�เหมืองแบบ Zero-Day

โดยใช้ AIF

เมื่อมีเทคนิค AIF แล้ว อาชญากรไซเบอร์จะสามารถใช้ช้ี ไปที่โค้ดภายในสภาพแวดล้อมที่มีการควบคุมเพื่อขุดเหมืองให้กับ การโจมตีแบบ Zero-Day Exploit (เอ็กซ์ปลอยท์ หมายถึง พฤติกรรม การใช้ประโยชน์จาก “จุดอ่อน” หรือ “ช่องโหว่” ในซอฟต์แวร์) ท�ำให้ มีจำ� นวนภัย Zero-Day Exploit สูงมากขึน้ เมือ่ ขัน้ ตอนนีม้ คี วามคล่องตัว มากขึ้น จะเกิดบริการท�ำเหมืองแบบ Zero-Day Mining-a-Service ที่ ส ามารถสร้ า งการโจมตี เ ฉพาะส�ำ หรั บ เป้ า หมายแต่ ล ะรายได้ วิธนี จี้ ะเปลีย่ นวิธกี ารทีอ่ งค์กรต่างๆ รักษาความปลอดภัยเนือ่ งจาก จะไม่มีทางใดที่จะคาดการณ์ได้ว่าจะเกิดภัย Zero-Day ขึ้นที่ใดและ ไม่มีวิธีการการป้องกันอย่างเหมาะสมได้ ซึ่งเป็นเรื่องที่ท้าทายมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในองค์กรในวันนี้ท่ีใช้ทูลส์รักษาความปลอดภัย แบบดั้งเดิมที่แยกท�ำงานกัน

“มูลค่าบริการ” ของ Zero-Days

ในอดีตนั้น มูลค่าการโจมตีแบบ Zero-Day ค่อนข้างสูง เนื่องจากต้องใช้เวลา ความพยายามและทักษะที่จ�ำเป็นมากมาย เพื่อที่ค้นพบช่องโหว่ แต่เนื่องจากมีการใช้เทคโนโลยีเอไอมาเป็น ระยะเวลาหนึง่ แล้ว ท�ำให้การโจมตีแบบ Zero-Day กลายเป็นสิง่ ทีพ่ บ ได้งา่ ยมากขึน้ ทัง้ นี้ เราเองได้เห็นการแพร่กระจายของเอ็กซ์ปลอยท์ แบบดัง้ เดิมมาแล้ว เช่น Ransomware และ Botnets ซึง่ เป็นแรงผลักดัน ให้โซลูชนั ด้านความปลอดภัยแบบเดิมๆ ท�ำงานเต็มขีดจ�ำกัดของตน มาแล้วในช่วงนั้น ทั้งนี้ การเพิ่มจ�ำนวนและความหลากหลายของ ช่องโหว่ทม่ี อี ยูแ่ ละเอ็กซ์ปลอยท์ตา่ งๆ รวมถึงความสามารถในการ January-February 2019

สร้างการโจมตีแบบ Zero-Day และการให้บริการ Zero-Day Exploita-Service ทั้งหมดดังกล่าวจะมีผลต่อประเภทและอัตราค่าบริการ ในเว็บมืดสูงมากขึ้น การคาดการณ์ที่ 3 เกี่ยวกับบริการ

Swarm-as-a-Service

การโจมตีท่ีซับซ้อนมากมักจะใช้เทคโนโลยีอัจฉริยะที่ได้มา จากการท�ำงานแบบกลุ่มที่เรียกว่า Swarm-Based Intelligence Technology เช่น Hivenets (กลุม่ ภัยคุกคามท�ำงานรวมกันคล้ายรังผึง้ ) ซึ่งภัยคุกคามใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นนี้จะถูกใช้เพื่อสร้างบอทอัจฉริยะที่มี ขนาดใหญ่ ซึง่ สามารถท�ำงานร่วมกันได้และเป็นอิสระ เครือข่ายเหล่านี้ จะไม่เพียงกระตุ้นความจ�ำเป็นให้องค์กรต้องยกระดับเทคโนโลยี ในการปกป้องตนแล้ว ยังเหมือนกับการท�ำเหมืองแบบ Zero-Day ทีภ่ ยั รูปแบบนีจ้ ะมีผลกระทบต่อโมเดลการท�ำธุรกิจของอาชญากรรม ไซเบอร์ต่อไปในอนาคตอีกด้วย ในขณะปัจจุบันนี้ ระบบนิเวศทางอาชญากรรมใช้ทรัพยากร มนุษย์ท�ำงานเป็นจ�ำนวนมาก สามารถเช่าแฮกเกอร์มืออาชีพ บางรายในการสร้างเอ็กซ์ปลอยท์โดยจ่ายเป็นค่าธรรมเนียม หรือ แม้กระทัง่ ให้สร้างความก้าวหน้าใหม่ๆ ในด้านการแฮก เช่น บริการ Ransomware-as-a-Service ทีต่ อ้ งใช้วศิ วกรแฮกเกอร์ทแี่ ตกต่างกัน ในงานแต่ละประเภท อาทิ ในการสร้างและทดสอบเอ็กซ์ปลอยท์ และในการจัดการเซิร์ฟเวอร์ Back-End C2 แต่เมื่อเกิดบริการ Swarms-as-a-Service ที่เป็นอิสระและฉลาดสามารถเรียนรู้ด้วย ตนเอง จะท�ำให้ปริมาณการติดต่อกันโดยตรงระหว่างลูกค้าที่เป็น แฮกเกอร์ แ ละผู ้ ป ระกอบการให้ บ ริ ก ารภั ย แบล็ ค แฮทจะลดลง อย่างมาก การคาดการณ์ที่ 4 เมนูตามสั่ง A-la-Carte

Swarms

การแยกแบ่งกลุม่ (Swarm) หนึง่ ออกเป็นงานย่อยๆ ทีแ่ ตกต่าง กันเพือ่ ให้บรรลุผลทีต่ อ้ งการนัน้ จะคล้ายกันกับทีอ่ งค์กรทัว่ โลกก้าว ไปใช้งานแบบเสมือนจริง (Virtualization) ซึ่งในเครือข่ายเสมือนจริง นั้น ทรัพยากรต่างๆ จะใช้งานอุปกรณ์เสมือนมากหรือน้อยจะขึ้น อยูก่ บั ความจ�ำเป็นในการแก้ไขปัญหาเฉพาะนัน้ เช่น แบนด์วธิ และ ในท�ำนองเดียวกัน จะสามารถจัดสรรทรัพยากรในเครือข่ายแบบกลุม่


Swarm ในการจัดการกับความท้าทายเฉพาะทีพ่ บในกลุม่ การโจมตี ในครั้งนั้นได้ Swarm เป็นกลุ่มพฤติกรรมของระบบแบบกระจายศูนย์ ซึ่ง ถูกน�ำมาประยุกต์ใช้ในเอไอ และเมือ่ รวมกลุม่ Swarm ทีผ่ ปู้ ระกอบ ธุรกิจอาชญากรได้ตั้งโปรแกรมล่วงหน้าไว้แล้ว เข้ากับทูลส์ด้านการ วิเคราะห์และเอ็กซ์ปลอยท์ เข้ากับโปรโตคอลการเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง ที่อนุญาตให้ท�ำงานเป็นกลุ่มที่ปรับแต่งโปรโตคอลที่ใช้การโจมตี จะท�ำให้การซื้อการโจมตีทางไซเบอร์ท�ำได้ง่ายเหมือนการเลือก จากเมนูอาหารตามสัง่ เลยทีเดียว อาชญากรอาจเลือกซือ้ Swarm ได้ หลายรูปแบบ อาทิ ใช้ Swarm ในการท�ำ AI Fuzzing เพือ่ หาจุดอ่อน Zero-Day ใหม่ๆ หรือให้ Swarm ท่องไปในเครือข่าย หลบหลีกการ ตรวจจับและ/หรือเก็บข้อมูลพิเศษบางอย่าง หรือให้ Swarm เข้าไป ควบคุมการใช้งานหรือทรัพยากรของเครือข่ายบางอย่าง เป็นต้น การคาดการณ์ที่ 5 ภัยในแมชชีนเลิร์นนิ่ง แมชชีนเลิรน์ นิง่ เป็นทูลส์ทมี่ แี นวโน้มว่าจะถูกใช้งานมากทีส่ ดุ ทูลส์หนึ่ง ซึ่งระบบและอุปกรณ์รักษาความปลอดภัยสามารถได้รับ การฝึกอบรมเพือ่ ด�ำเนินการเฉพาะอย่างเป็นอิสระได้ เช่น พฤติกรรม พื้นฐานการประยุกต์การวิเคราะห์พฤติกรรมในการระบุภัยคุกคาม ที่ซับซ้อน หรือการติดตามและแก้ไขอุปกรณ์ต่างๆ แต่น่าเสียดาย ที่อาชญากรในโลกไซเบอร์ได้ใช้ประโยชน์จากแมชชีนเลิร์นนิ่งด้วย เช่นกัน ทัง้ นี้ อาชญากรไซเบอร์จะก�ำหนดเป้าหมายในกระบวนการ เรียนรูข้ องเครือ่ งคอมพิวเตอร์ และจะสามารถฝึกอุปกรณ์หรือระบบ เพื่อไม่ใช้แพทช์หรืออัปเดตลงบนอุปกรณ์ที่ระบุเฉพาะได้ หรือ ให้อุปกรณ์มองข้ามแอปพลิเคชันหรือพฤติกรรมบางประเภทไป หรือไม่บันทึกทราฟฟิกบางประเภทเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกตรวจพบ ทัง้ หมดนีม้ ผี ลกระทบสูงต่อวิวฒ ั นาการของเทคโนโลยีแมชชีนเลิรน์ นิง่ และเอไอ

กระบวนการป้องกันภัยคุกคามจะซับซ้อนมากขึ้น

เพือ่ ต่อต้านการพัฒนาด้านมืดเหล่านี้ องค์กรจะต้องยกระดับ ขีดความส�ำคัญของอาชญากรไซเบอร์ ทัง้ นี้ กลยุทธ์เชิงป้องกันต่อไปนี้ จะท�ำให้องค์กรให้บริการอาชญากรรมไซเบอร์ เปลีย่ นยุทธวิธี แก้ไข การโจมตีของตน และพัฒนาวิธีใหม่ในการประเมินโอกาสในการ คุกคามอีกด้วย การใช้กลยุทธ์การหลอกลวงขัน้ สูง : องค์กรควรรวมเทคนิค การหลอกลวงทัง้ หลายเข้ากับกลยุทธ์ดา้ นความปลอดภัยขององค์กร เพื่อให้ได้เครือข่ายที่สร้างขึ้นจากข้อมูลที่เป็นเท็จ ซึ่งจะบังคับให้ ผู้ประสงค์ร้ายตรวจสอบข้อมูลด้านภัยคุกคามอัจฉริยะ (Threat Intelligence) ของตนตลอดเวลา จะใช้เวลาและทรัพยากรในการ ตรวจหาข้อมูลที่ผิดพลาดไม่เป็นความจริง (False Positive) มากขึ้น และจะตรวจสอบว่าทรัพยากรเครือข่ายที่ตนเห็นนั้นถูกต้องมีจริง และเนือ่ งจากองค์กรสามารถพบการคุกคามบนทรัพยากรเครือข่าย ทีผ่ ิดพลาดนัน้ ได้ทันที และเรียกใช้มาตรการตอบโต้ได้โดยอัตโนมัติ

จึงท�ำให้ผบู้ กุ รุกจะต้องเพิม่ ความระมัดระวังมากขึน้ แม้แต่ในการใช้ กลยุทธ์พื้นฐานมากขึ้น เช่น การตรวจสอบเครือข่าย ใช้ความร่วมมือแบบเปิดและรวมเป็นหนึ่งเดียว : หนึ่งใน วิธีท่ีง่ายที่สุดส�ำหรับอาชญากรในโลกไซเบอร์ในการโจมตีท่ีมีอยู่ และหลบเลี่ยงการตรวจพบคือ ใช้วิธีเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย เท่านัน้ เช่น การเปลีย่ นไอพีแอดเดรส ดังนัน้ วิธกี ารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวคือการแบ่งปันข้อมูลด้าน ภัยคุกคามอัจฉริยะร่วมกันอย่างแข็งขัน เนือ่ งจากข้อมูลด้านภัยคุกคาม อัจฉริยะที่อัปเดตอย่างต่อเนื่อง จะช่วยให้ผู้ขายอุปกรณ์ด้านความ ปลอดภัยและลูกค้าสามารถติดตามสถานการณ์ภยั คุกคามล่าสุดได้ ทันท่วงที นอกจากนี้ การให้ความร่วมมือกันแบบเปิดและแบ่งปัน กลยุทธ์ทผ่ี โู้ จมตีใช้กนั ระหว่างองค์กรวิจยั ด้านภัยคุกคาม พันธมิตร ในอุตสาหกรรม ผู้ผลิตอุปกรณ์ด้านความปลอดภัย และหน่วยงาน ผูม้ อี ำ� นาจบังคับใช้กฎหมายจะช่วยลดเวลาในการตรวจจับภัยคุกคาม ใหม่ๆ ได้อย่างรวดเร็ว โดยการเปิดเผย

ความเร็ว บูรณาการ และระบบอัตโนมัติ เป็นพื้นฐานด้านความปลอดภัยไซเบอร์ ที่สำ�คัญ

ไม่มยี ทุ ธศาสตร์การป้องกันในอนาคตทีเ่ กีย่ วกับแมชชีนเลิรน์ นิง่ และระบบที่ท�ำงานโดยอัตโนมัติโดยปราศจากวิธีในการรวบรวม กระบวนการ และจัดการกับข้อมูลภัยในรูปแบบบูรณาการเพือ่ ให้ได้ การตอบสนองทีช่ าญฉลาด ดังนัน้ เพือ่ ต่อสูก้ บั ความซับซ้อนทีเ่ พิม่ ขึน้ ของภัยคุกคาม องค์กรจึงต้องรวมองค์ประกอบด้านความปลอดภัย ทัง้ หมดไว้ใน “เครือข่ายซีเคียวริตแี้ ฟบริค” เครือข่ายเพือ่ ความปลอดภัย ในการค้นหาและตอบสนองต่อภัยคุกคามด้วยความเร็วและสามารถ ปรับได้ตลอดเวลา ทั้งนี้ จะมีการแบ่งปันข้อมูลอัจฉริยะด้านความ ปลอดภัยขั้นสูงและใช้ร่วมกันในองค์ประกอบด้านความปลอดภัย ทั้งหมดบนเครือข่ายซีเคียวริตี้แฟบริคได้อย่างอัตโนมัติ จึงช่วยลด ความจ�ำเป็นในการตรวจจับและช่วยโต้ตอบภัยได้อย่างรวดเร็ว

ฟอร์ตเิ น็ต (NASDAQ: FTNT) ปกป้ององค์กรผู้ ให้บริการ

หน่วยงานรัฐบาลที่ใหญ่ที่สุดในโลก ฟอร์ติเน็ตช่วยให้ลูกค้า สามารถมีข้อมูลเชิงลึกและการป้องกันที่ราบรื่นเพื่อให้พ้น ภัยคุกคาม และยังเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานที่เยี่ยมยอด ให้เครือข่ายทีไ่ ร้พรมแดนในวันนีแ้ ละในอนาคต ซีเคียวริตแี้ ฟบลิค ซึง่ เป็นสถาปัตยกรรมใหม่จากฟอร์ตเิ น็ตเท่านัน้ ที่จะช่วยสร้าง เกราะความปลอดภัยโดยจะไม่ยอมแพ้แก่ภัยที่เข้ามา ไม่ว่าจะ อยู่ในเครือข่าย แอปพลิเคชัน คลาวด์ หรือโมบาย ฟอร์ติเน็ต ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น #1 ในการได้สง่ อุปกรณ์ดา้ นความปลอดภัย สูต่ ลาดโลกมากทีส่ ดุ และมีลกู ค้ามากกว่า 360,000 รายทัว่ โลก ที่ให้ความไว้วางใจฟอร์ติเน็ตในการช่วยสร้างเกราะป้องกัน องค์กรของตน January-February 2019


To Get In Front of Cyber Adversaries Fortinet Predicts Organizations Will Employ More Automation to Combat Threats

Prediction 1 Artificial Intelligence Fuzzing (AIF) and Vulnerabilities

Prediction 2 Zero-Day Mining Using AIF

Cyberattacks Will Become Smarter and More Sophisticated


Defenses Will Become More Sophisticated Prediction 3 Swarm-as-a-Service

Prediction 4 A-la-Carte Swarms

Speed, Integration, and Automation are Critical Cybersecurity Fundamentals Prediction 5 Poisoning Machine Learning


KEMPER

launches the WeldFil series on the market A leap in development for extraction and filtration systems: With its WeldFil series, KEMPER is taking its portfolio of central extraction systems into the digital age. The manufacturer is not only making the systems Internet compatible, but also comprehensively optimizing them with regards to expenditure of energy, maintenance needs and design. The WeldFil series replaces the previous central 8000 and 9000 extraction systems. The WeldFil series can be divided into the smaller plug and play version WeldFil Compact as well as WeldFil for larger installations. A new construction enables simple access to important components such as the fan, the filter cartridges or the compressed-air maintenance unit. This results in a reduction of maintenance costs for the system operator.

KEMPER comprehensively optimizes the combination of motor and fan. Its new and more efficient interaction has allowed the system constructor to reduce the motor power in some cases up to 40 percent, from 37 down to just 22 kW. The new systems are thus particularly energy efficient. These optimizations streamline the extraction system portfolio overall and assistance for specialist dealers will become significantly easier. The WeldFil series also meets all company requirements regarding volume flow and filter area. With their low noise emission of maximum 65 dB(A), KEMPER installations remain the quietest on the market, just like their predecessor models. KEMPER notes the generation change in central extraction and filtration systems by introducing a modern system design. This makes maintenance of the installations easier, too. A new base frame offers better corrosion protection, particularly when installed outside. Further information at: www.kemper.eu

Deco M4 เราเตอร์บ้านน้องเล็กในตระกูล Deco อุปกรณ์ Deco M4 เป็นเราเตอร์แบบ Mesh Wi-Fi รุน่ ล่าสุดทีท่ าง ทีพ-ี ลิงค์ ปล่อยลงตลาด มีดไี ซน์ การออกแบบสุดเรียบหรู ทรงสวย ทันสมัย เปรียบเสมือน เป็นของตกแต่งในบ้าน บวกกับกับประสิทธิภาพที่ ใส่มามีความเสถียร แรง เร็ว สุดๆ ในทุกพืน้ ทีก่ ารใช้งาน สามารถปล่อยสัญญาณ 2 ย่านความถีเ่ ป็น Dual Band ระดับ AC1200 ให้การเชื่อมต่อได้ทุกที่ โดยสัญญาณ ไม่มหี ยุด ซึง่ ในกล่องประกอบด้วย Deco ทัง้ หมด 2 เครือ่ ง ครอบคลุมพื้นที่ถึง 2,800 ตารางฟุต เชื่อมต่ออุปกรณ์ มากถึง 100 เครื่อง จุดเด่นของผลิตภัณฑ์ตระกูล Deco คือมีการใช้งานที่ง่าย เช่น สามารถตั้งค่าผ่านแอปพลิเคชันบน สมาร์ทโฟน เพราะได้เพิม่ Node ทีง่ า่ ย สัญญาณครอบคลุมได้ทว่ั ทัง้ บ้าน ช่วยแก้ปญ ั หาพืน้ ทีอ่ บั สัญญาณ และ มี Roaming Technology ช่วยให้ผใู้ ช้สามารถใช้งานอย่างต่อเนือ่ ง ด้วยจุดนีท้ ำ� ให้ Deco M4 ถือได้วา่ เป็นเราเตอร์ บ้านสุดชาญฉลาด ที่สามารถจับสัญญาณที่เหมาะสมได้อัตโนมัติ ท�ำให้สัญญาณแรงและเต็มอยู่เสมอๆ ไม่ว่า คุณจะอยู่บริเวณไหนของบ้าน และเรื่องการรับประกัน Deco M4 ยังมีการรับประกันแบบ Limited Lifetime Warranty อีกด้วย January-February 2019


SDXC/SDHC 700S

ทรานส์เซนด์ อินฟอร์เมชัน อิงค์, ผู้น�ำอุตสาหกรรมอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล และมัลติมีเดีย ขอแนะน�ำการ์ดหน่วยความจ�ำ SDXC/SDHC 700S Series ที่มี ประสิทธิภาพและความจุสงู รองรับมาตรฐาน UHS-II ส�ำหรับกล้องดิจทิ ลั DSLR และ กล้องวิดโี อดิจทิ ลั โดยมีความจุให้เลือกใช้สงู สุดถึง 64GB และมีอตั ราการรับส่งข้อมูล สูงขึน้ 285MB/s* การ์ดหน่วยความจ�ำทีร่ องรับมาตรฐาน UHS-II นีจ้ ะช่วยให้นกั สร้าง คอนเทนต์สามารถบันทึกและท�ำงานต่างๆ ได้สะดวกขึ้น รวมไปถึงการบันทึกภาพ ความละเอียดสูงในรูปแบบไฟล์ RAW และบันทึกภาพวิดีโอที่ความละเอียดในระดับ 4K ก็ตาม การ์ดหน่วยความจ�ำ SDXC/SDHC 700S Series ถูกสร้างมาให้มคี วามแข็งแรง ทนทาน ชิปหน่วยความจ�ำผลิตจาก MLC NAND Flash ที่ให้ความเร็วในการอ่าน สูงถึง 285MB/s และความเร็วในการเขียนข้อมูล 180MB/s+ ด้วยประสิทธิภาพตาม มาตรฐาน UHS Class 3 และ SD Class 10 นอกจากนี้แล้ว 700S Series ยังเข้ากัน ได้กบั มาตรฐาน UHS Class 90 (V90) ช่วยให้บนั ทึกวิดโี อในระดับ 4K ได้อย่างลืน่ ไหล ไม่มีกระตุก การ์ดหน่วยความจ�ำทัง้ หมดของทรานส์เซนด์ได้รบั การทดสอบความน่าเชือ่ ถือ และความเข้ากันได้อย่างเข้มงวด และ SDXC/SDHC 700S Series ก็ไม่มีข้อยกเว้น การ์ดหน่วยความจ�ำถูกทดสอบในช่วงอุณหภูมทิ ก่ี ว้างมากตัง้ แต่ -25 ถึง 85 องศาเซลเซียส โดยมีมาตรฐาน IPX7 ทีส่ ามารถทนน�ำ้ ลึกในระดับ 1 เมตร ได้นานถึง 30 นาที รวมทัง้ การใช้งานในสภาวะที่มีการกระแทก/การสั่นสะเทือนและการทดสอบด้วยรังสีเอกซ์ ซอฟต์แวร์ RevoveRx ที่เป็นเอกสิทธิ์เฉพาะของทรานส์เซนด์คือยูทิลิตี้ที่ใช้ ส�ำหรับการกูค้ นื ข้อมูลทีใ่ ช้งานได้ฟรี มีอนิ เทอร์เฟซทีใ่ ช้งานง่าย ซึง่ ช่วยให้ผใู้ ช้สามารถ ค้นหาลึกลงไปในอุปกรณ์จดั เก็บข้อมูลเพือ่ ตรวจสอบและกูข้ อ้ มูลทีเ่ ป็นรูปถ่าย เอกสาร เพลง และวิดโี อทีถ่ กู ลบออกไปได้ นอกจากนี้ RecoveRx ยังสามารถป้องกันการเขียน ข้อมูลทับลงบนการ์ดหน่วยความจ�ำ เพื่อป้องกันการสูญเสียข้อมูลโดยไม่ได้ต้ังใจได้ อีกด้วย

Transcend Information Inc., a leading manufacturer of storage and multimedia products, is introducing the 700S series of SDXC/SDHC memory cards, which provides the performance and capacity necessary to harness the full power of UHS-II compliant DSLR cameras and camcorders. With capacities of up to 64GB and transfer speeds of up to 285MB/s*, these UHS-II memory cards allow content creators to capture and work with high-resolution RAW images and high-quality 4K videos faster than ever. The SDXC/SDHC 700S series, constructed of durable MLC NAND flash, is capable of read speed up to 285MB/s and write speed up to 180MB/s+ with UHS Speed Class 3 and SD Speed Class 10 performance. In addition to incredible transfer speeds, the 700S series cards are UHS Video Speed Class 90 (V90) -compliant, making them ideal for smooth, interrupted 4K video capture and post-production. All of Transcend’s memory cards are subjected to rigorous reliability and compatibility tests, and the SDXC/SDHC 700S series is no exception, performing in temperature extremes from -25°C to 85°C, meeting IPX7 standards that can withstand immersion in 1 meter of water for up to 30 minutes, as well as being static, shock/vibration, and X-ray proof. January-February 2019


EcoStruxure Triconex

Tricon CX v11.3

คอนโทรลเลอร์

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผู้น�ำด้านดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชันในการ จัดการพลังงานและระบบออโตเมชัน เปิดตัว Tricon CX Version 11.3 ซึ่งเป็นเวอร์ชันที่ทรงพลังที่สุดของระบบเครื่องมือวัดความปลอดภัย EcoStruxurTM Triconex® Tricon CX Version 11.3 ยังคงสืบสานความเป็นฟีเจอร์ด้าน การรักษาความปลอดภัยไซเบอร์ทแ่ี ข็งแกร่งทีส่ ดุ ทีฝ่ งั อยูใ่ นระบบความ ปลอดภัยของกระบวนการผลิตทีโ่ ดดเด่นของชไนเดอร์ อิเล็คทริค ทัง้ นี้ Tricon CX ในเวอร์ชนั 11.3 ได้รบั มาตรฐาน IEC 62443 และการรับรอง จาก TÜV Rheinland ส�ำหรับการด�ำเนินงานที่ให้ความปลอดภัยสูง ในระดับ Safety Integrity Level 3 นอกจากนี้ ยังผ่านมาตรฐานการ รับรอง ISASecure® EDSA ระดับ 1 ซึง่ เป็นการรับรองความปลอดภัย ทางไซเบอร์ช้ันน�ำของอุตสาหกรรม ส�ำหรับระบบควบคุมการท�ำงาน ระบบความปลอดภัยและส่วนประกอบต่างๆ ของระบบ

ส่ ว นประกอบที่ ส� ำ คั ญ ของแพลตฟอร์ ม และ สถาปัตยกรรม EcoStruxure Plant ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค คือ Tricon CX Version 11.3 มีการออกแบบที่มั่นคง ปลอดภั ย ให้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพและขี ด ความสามารถใน ระดับสูง รวมถึงให้ความยืดหยุ่นตลอดอายุการใช้งาน ใช้ฟเี จอร์ดา้ นความปลอดภัยทีอ่ ยูใ่ น EcoStruxure Triconex ในการรักษา ความปลอดภัย ให้ความต่อเนื่องในการท�ำงาน ให้การปกป้องที่ได้รับ การพิสูจน์และยอมรับจากการใช้งานจริง โดยให้ศักยภาพยอดเยี่ยม เรื่องความต่อเนื่องในการท�ำงาน และให้ประสิทธิภาพตลอดอายุการ ใช้งานเพือ่ การปกป้องแอปพลิเคชันส�ำคัญทางธุรกิจ ครอบคลุมถึงเรือ่ ง กรณีฉุกเฉิน (Emergency Shutdown) รองรับระบบไฟและแก๊ส ระบบ การจัดการการเผาไหม้ รวมไปถึงระบบควบคุมและตรวจสอบแรงดัน (High Integrity Pressure Protection and Control) เมื่อผสานรวมการออกแบบที่กะทัดรัด ท�ำให้มีขนาดที่เล็กกว่า Tricon รุ่นเดิมถึง 50 เปอร์เซ็นต์ Tricon มีการปรับปรุงให้ใช้งานง่าย ขึ้น ใช้พื้นที่น้อยลง ใช้เวลาในการออกแบบน้อยลง ใช้งานง่ายและ ลดการเดินสายไฟน้อยลง ใช้เวลาในการด�ำเนินงานได้น้อยลงถึง 25 เปอร์เซ็นต์

ซีบรา ZC300 ซีรีส์ ซีบรา เทคโนโลยีส์ คอร์ปอเรชั่น ผู้น�ำด้านนวัตกรรม ผ่านโซลูชนั ทีท่ นั สมัย พร้อมเครือข่ายคูค่ า้ ทีค่ รอบคลุมเพือ่ เสริม ประสิทธิภาพให้องค์กรยุคใหม่ เปิดตัวเครื่องพิมพ์บัตรรุ่นใหม่ ล่าสุด ซีบรา ZC300 ซีรสี ์ ทีม่ าพร้อมซอฟต์แวร์สำ� หรับออกแบบ ที่ตอบโจทย์การใช้งานครอบคลุมทั้งในอุตสาหกรรมด้านความ ปลอดภัย อุตสาหกรรมค้าปลีก ธุรกิจด้านงานบริการ ธุรกิจด้าน การศึกษา และธุรกิจด้านการเงิน ทีมวิศวกรของซีบราซึง่ มีรางวัล ด้านการออกแบบเป็นเครื่องการันตีความสามารถออกแบบ เครื่องพิมพ์รุ่น ZC300 ซีรีส์ โดยเพิ่มขีดความสามารถจาก เครือ่ งพิมพ์บตั รแบบเดิมให้ใช้งานได้สะดวกและมีประสิทธิภาพ ยิ่งกว่าเดิม โดยเครื่องสามารถตั้งค่าให้เหมาะสมกับการใช้งาน ที่หลากหลาย สามารถบรรจุบัตรส�ำหรับพิมพ์ได้จ�ำนวนมาก ในขนาดความหนาที่ต่างกัน อีกทั้งสามารถเปลี่ยนหมึกพิมพ์ และท�ำความสะอาดเครื่องง่ายกว่าที่เคยมีมา

January-February 2019

นอกจากนี้ ซีบรายังได้เปิดตัวซอฟต์แวร์ CardStudio 2.0 ซึ่งเป็น ซอฟต์แวร์ส�ำหรับออกแบบและพิมพ์บัตรที่ทรงประสิทธิภาพ เหมาะส�ำหรับ ออกแบบและพิมพ์บัตรประจ�ำตัวแบบภาพ อาทิ บัตรพนักงาน บัตรผ่าน เข้าออกในสถานทีท่ เี่ ข้มงวดด้านการรักษาความปลอดภัย บัตรสมาชิก ฉลาก รับรองความปลอดภัยของอาหาร บัตรผ่านเข้างาน และอื่นๆ


อินเตอร์ลิ้งค์ฯ ดันหลักสูตรทางวิชาการ บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมกับสถาบัน เทคโนโลยีจิตรลดา ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อการ แลกเปลีย่ นความรูใ้ นด้านวิชาการต่างๆ น�ำโดย สมบัติ อนันตรัมพร ประธาน กรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มบริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) พร้อมด้วย ดร.ชลิดา อนันตรัมพร กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และ รศ. ดร.คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา ณ อาคารอินเตอร์ลิ้งค์ ส�ำนักงานใหญ่

เดลต้า คว้ารางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น ประจ�ำปี 2561 ประเภทอุตสาหกรรมศักยภาพ และความรับผิดชอบ ต่อสังคม

บริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) คว้ารางวัลอุตสาหกรรมประจ�ำปี 2561 ประเภทรางวัลใหม่ 2 ประเภท ได้แก่ ประเภทอุ ต สาหกรรมศั ก ยภาพและประเภทความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย เป็นประธานใน พิธมี อบรางวัลอุตสาหกรรมแก่ประธานบริษทั และ อนุสรณ์ มุทราอิส ผูอ้ ำ� นวยการ บริษัทเดลต้า

รองนายกรัฐมนตรี เปิดงาน “Thailand Software Fair 2018”

พลอากาศเอกประจิน จัน่ ตอง รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน เปิดงาน “Thailand Software Fair 2018” เพือ่ ขับเคลือ่ นอุตสาหกรรม พลังซอฟต์แวร์ไทยให้เติบโต แข็งแกร่ง รองรับยุทธศาสตร์ชาติในยุค เศรษฐกิจดิจิทัล จัดโดยสมาคมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย หรือ ATSI ผนึกก�ำลังร่วมกับส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั (depa) และพันธมิตร เพื่อแสดงผลงานซอฟต์แวร์แอปพลิเคชันที่ตอบโจทย์ผู้ประกอบการ ในกลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมเป้ า หมายของภาครั ฐ และอุ ต สาหกรรมทั่ ว ไป ณ C-Asean ชั้น 10 อาคาร CW ทาวเวอร์ ถนนรัชดาภิเษก

TRIS ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2013 ดร.ไวฑูรย์ โภคาชัยพัฒน์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ทริส คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด พร้อมทีมผู้บริหาร รับประกาศนียบัตรรับรองมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2013 จาก บุคลากร ใจดี ผู้อ�ำนวยการฝ่ายขาย บริษัท บีเอสไอ กรุ๊ป (ประเทศไทย) จ�ำกัด การได้รบั การรับรองดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงมาตรฐานใน ระบบบริหารงานทีม่ คี ณ ุ ภาพ ระบบบริหารความมัน่ คงปลอดภัยของเทคโนโลยี สารสนเทศ ระบบบริหารจัดการด้านการให้บริการระบบสารสนเทศ และระบบ การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ

January-February 2019


จีซี ฉลองครบรอบ 7 ปี ประกาศเจตนารมณ์ “Circular Living” รณรงค์คนไทยรักษ์โลก เพื่อสร้างความยั่งยืน สุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ จัดงานฉลองการด�ำเนินธุรกิจครบรอบ 7 ปี ของจีซี โดยมุง่ มัน่ เป็น ผูน้ ำ� นวัตกรรมเคมีภณ ั ฑ์ สร้างสรรค์คณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี พร้อมประกาศเจตนารมณ์ ในการเป็นบริษัทต้นแบบที่ด�ำเนินธุรกิจภายใต้แนวคิด Circular Living หรือ การใช้ชีวิตโดยค�ำนึงถึงทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ�ำกัด และใช้อย่างคุ้มค่าให้เกิด ประโยชน์สงู สุดตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน โดยมีผบู้ ริหารร่วมแชร์ประสบการณ์ การท�ำกิจกรรม Circular Living เพื่อสังคม ณ บมจ. พีทีที โกลบอล เคมิคอล ส�ำนักงานระยอง

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ต่อยอดวิชาการด้วยเทคโนโลยี ระดับโลก

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย น�ำโดย มาร์ค เพลิทิเยร์ ประธานชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ลงนามบันทึกข้อตกลงความ ร่วมมือทางวิชาการ กับ ศ. ดร.สุชาติ เซีย่ งฉิน อธิการบดี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ในการสานต่อโครงการ ด้านเทคโนโลยีส�ำหรับวิชาการ เพื่อถ่ายทอดทั้งความเชี่ยวชาญและ นวัตกรรมให้กับมหาวิทยาลัยฯ เพื่อสร้างบัณฑิต ต่อยอดองค์ความรู้ ด้านวิศวกรรมยุคดิจิทัลให้กับบุคลากร ทั้งภาครัฐและเอกชนในภาค อุตสาหกรรมและกระบวนการผลิตอัตโนมัติ โดยมีการด�ำเนินโครงการ ร่วมกันมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2548 ซึง่ มีคณะผูบ้ ริหารและบุคลากรทัง้ 2 หน่วยงาน เข้าร่วมแสดงความยินดีกันอย่างคับคั่ง เมื่อเร็วๆ นี้

แอ๊พซินท์ คว้า 2 รางวัลระดับภูมิภาคเอเชียจากงาน แคมเปญเอเชียอะวอร์ดส์

ภัทร์จรรย์ วิทยาบัณฑิต Project Manager จารุณี ศรีธัญญลักษณา Project Manager และ วสันต์ ศรีธัญญลักษณา Tech Lead บริษัท แอ๊พซินท์ เอเชีย จ�ำกัด เป็นตัวแทนรับมอบรางวัลซิลเวอร์ ซิลเวอร์ ประเภทการตลาด บนแพลตฟอร์มโมบายล์ ระดับภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Regional Southeast Asia Mobile Marketing Category) และอีกรางวัลคือ เอเจนซี่อิสระ ยอดเยี่ยมระดับประเทศ (Thailand Independent Agency of the Year) ในงาน แคมเปญเอเชียอะวอร์ดส์ ประจ�ำปี 2561 แอ๊พซินท์ บริษัทผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ บนโมบายและเอเจนซีด่ า้ นการตลาดของไทย ประกาศความส�ำเร็จช่วงท้ายปี 2561 ด้วยการคว้า 2 รางวัลระดับภูมิภาคเอเชียจากงานแคมเปญเอเชียอะวอร์ดส์ ประจ�ำปี 2561 เป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน

ซีเมนส์ จัดสัมมนามุง่ สนับสนุนอุตสาหกรรมไทยสูย่ คุ 4.0 บริษทั ซีเมนส์ จ�ำกัด ผูน้ ำ� การคิดค้นนวัตกรรมด้านระบบจัดการพลังงาน และไฟฟ้า ร่วมกับคู่ค้าทางธุรกิจ บริษัท มันตรา สวิทช์เกียร์ จ�ำกัด จัดสัมมนา เชิงวิชาการในหัวข้อ “Explore the world of intelligent protection & controls for power distribution-the pathway to INDUSTRY 4.0” ส�ำหรับกลุม่ บริษทั อุตสาหกรรมในจังหวัดระยอง งานสัมมนาครัง้ นีไ้ ด้รบั ความสนใจจากผูเ้ ข้าร่วมงาน ในแวดวงอุตสาหกรรมการผลิตและธุรกิจปิโตรเคมิคอลในนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด และนิคมอุตสาหกรรมข้างเคียง

January-February 2019


ดาว มอบเงินสนับสนุนการจัดการพลาสติกและขยะ อย่างยั่งยืน กลุม่ บริษทั ดาว ประเทศไทย โดย ภรณี กองอมรภิญโญ ผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ายองค์กรสัมพันธ์ ร่วมงานพิธีลงนามข้อตกลงความร่วมมือและการประชุม เชิงปฏิบัติการ โครงการความร่วมมือภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม เพื่อ จัดการพลาสติกและขยะอย่างยั่งยืน พื้นที่ต้นแบบ จังหวัดระยอง เมื่อไม่นาน มานี้ โดยมีตัวแทนจาก 26 องค์กรเข้าร่วมลงนาม ณ ห้องสร้อยเพชร โรงแรม โกลเด้นซิตี้ จังหวัดระยอง น�ำโดย สุรศักดิ์ เจริญศิริโชติ ผู้ว่าราชการจังหวัด ระยอง เพื่อสร้างความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการบูรณาการและพัฒนา ระบบการจัดการขยะให้มีประสิทธิภาพ

10 บมจ.เน็ตเบย์ เยี่ยมชมศูนย์แล็บ IBM ณ นครปักกิ่ง

อิตัลไทยวิศวกรรม จับมือพันธมิตร เอสซีจี เคมิคอลส์ ร่วมฝึกอบรมหลักสูตร CSM-Partnership Program

พิชติ วิวฒ ั น์รจุ ริ าพงศ์ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั เน็ตเบย์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ NETbay เข้าเยี่ยมชมศูนย์แล็บของ IBM ณ นครปักกิง่ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในโอกาสน�ำทีมผูบ้ ริหารและวิศวกร ของเน็ตเบย์ 10 คน ไปศึกษาดูงาน Digital Technology รวมทัง้ DeepTech ต่างๆ เพือ่ น�ำประสบการณ์และองค์ความรูม้ าประยุกต์ใช้ในการด�ำเนิน ธุรกิจของเน็ตเบย์ต่อไป โดยมี Mr.Peter Lee และ Ms.Gillian J He ผู้บริหารศูนย์แล็บ IBM Client Center ให้การต้อนรับ

ณัษฐา ประโมจนีย์ รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท อิตัลไทยวิศวกรรม จ�ำกัด น�ำทีมฝ่ายบริหารและพนักงานเข้าร่วมกิจกรรมฝึกอบรม Executive Leadership Workshop ในหลักสูตร CSM-Partnership Program ส�ำหรับ บริษทั พันธมิตร ซึง่ จัดขึน้ โดยบริษทั เอสซีจี เคมิคอลส์ จ�ำกัด เพือ่ ก�ำหนดทิศทาง ร่วมกันในการป้องกันอุบตั เิ หตุและลดความสูญเสียจากการท�ำงานให้เป็นศูนย์ อี ก ทั้ ง เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความปลอดภั ย และให้ ส ามารถท� ำ งานร่ ว มกั น ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ โดยมี วริทธิ์ กฤตผล ผู้จัดการฝ่าย Project & Engineering Management บริษัท เอสซีจี เคมิคอลส์ จ�ำกัด ให้การต้อนรับและร่วมกิจกรรม ในครั้งนี้ด้วย ณ โรงแรมสตาร์ คอนเวนชั่น ระยอง

ผู้ถือหุ้นไฟเขียวเพิ่มทุนรับแผนขยายธุรกิจ บรรจง จิตต์แจ้ง ประธานกรรมการ สมศักดิ์ บริสทุ ธนะกุล ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร และ กมล บริสุทธนะกุล ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน พร้อมคณะกรรมการ บริษัท ทีพีบีไอ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ TPBI ร่วมประชุม วิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2561 ณ ห้องมรกต สามพราน ริเวอร์ไซด์ จังหวัดนครปฐม โดยทีป่ ระชุมลงมติเห็นชอบออกหุน้ PP จ�ำนวน 16.8 ล้านหุน้ ขายให้แก่ผบู้ ริหาร Intelipac Limited เพื่อน�ำเงินที่ได้ไปขยายธุรกิจตามแผนยุทธศาสตร์การ ทรานส์ฟอร์เมชันธุรกิจ ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลดีต่อการสร้างการเติบโตที่ย่ังยืนให้แก่บริษัทฯ ในอนาคต

January-February 2019


หลักสูตรการอบรมเชิงปฏิบต ั ิการเรื่อง

การสร้างรายงานการจัดการพลังงาน (อัตโนมัติ)

ด้วยเทคนิค Excel

สำ�หรับโรงงานควบคุม รุ่นที่ 3 ระหว่างวันที่ 27-28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562

ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. จัดโดย สถาบันวิศวพัฒน์ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)

หลักการและเหตุผล

เนื่องจากหนึ่งในภารกิจของผู้ที่ถูกขึ้นทะเบียนเป็นโรงงาน ควบคุม หรืออาคารควบคุม ตามความที่ก�ำหนดใน พรบ.ส่งเสริม การอนุรักษ์พลังงานฉบับแก้ไขปรับปรุง (ปี พ.ศ. 2550) นั้นระบุว่า จะต้องจัดให้มีการจัดท�ำรายงานการจัดการพลังงานประจ�ำปีของ องค์กรที่ถูกขึ้นทะเบียนนั้นๆ ซึ่งจะต้องด�ำเนินการจัดส่งรายงาน สรุปผลการใช้พลังงานของหน่วยงานของตนให้ภาครัฐ (พพ.) ภายใน วันที่ 31 มีนาคมของปีถัดไปเป็นประจ�ำทุกปี ปีละ 1 ครั้ง การจัดท�ำรายงานการจัดการพลังงาน เป็นฉบับแรกส�ำหรับ ผู้ที่ถูกขึ้นทะเบียนเป็นอาคารควบคุม หรือโรงงานควบคุมแห่งใหม่ ประจ�ำปีน้ันๆ นับได้ว่าเป็นขั้นตอนที่ยุ่งยากพอสมควรส�ำหรับ ผูป้ ระกอบการรายใหม่ ซึง่ ไม่เคยจัดท�ำมาก่อนหรือไม่เคยได้รบั การ อบรมวิธกี ารเขียนรายงาน แม้แต่โรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุม เก่าที่เคยมีประสบการณ์ในการจัดท�ำรายงานฯ มาแล้ว ในบางครั้ง ก็ยังอาจพบความไม่สะดวกในการจัดท�ำได้เช่นกัน การจัดท�ำรายงานการจัดการพลังงานประจ�ำปีนั้น นับเป็น กิจกรรมทีจ่ ะต้องใช้ขอ้ มูลพืน้ ฐานและรูปแบบการเขียนรายงานตาม ที่กฎหมายก�ำหนด ซึ่งรูปแบบรายงานฯ ถูกก�ำหนดโดยกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน (พพ.) และจะต้องเข้าใจระบบ การใช้พลังงานขององค์กรของตนเป็นอย่างดี ซึ่งอาจสร้างความ สับสนให้กบั ผูท้ ไ่ี ม่คนุ้ เคยในการจัดท�ำรายงานฯ มาก่อนได้งา่ ย ทัง้ นี้ เนือ่ งจากมีขอ้ มูลต่างๆ ทีม่ กั จะกระจายไปยังส่วนต่างๆ ของรายงาน ในหลายส่วน และมีการอ้างถึงข้อมูลเหล่านั้นเพื่อท�ำการสรุปใน

ประเด็นต่างๆ บ่อยครัง้ ซึง่ หากพบว่ามีการอ้างถึงข้อมูลไม่สอดคล้อง ตรงกัน ก็อาจกลายเป็นข้อบกพร่องในการตรวจสอบ ดังนั้นหาก ผู้ด�ำเนินการจัดท�ำรายงานสรุปมิได้ท�ำการตรวจสอบความถูกต้อง ก่อนการจัดส่งรายงานฯ หรือไม่มกี ารออกแบบระบบการจัดท�ำเพือ่ ป้องกันความบกพร่องเหล่านี้ ก็อาจท�ำให้ตรวจพบข้อบกพร่องต่างๆ ปรากฏในรายงานผลการตรวจสอบจาก พพ. ได้อยู่เสมอ เพือ่ ให้การจัดท�ำรายงานการจัดการพลังงานเป็นเรือ่ งง่าย และ ผู้ประกอบการสามารถด�ำเนินการได้ด้วยตัวเอง ผู้พัฒนาโปรแกรม ได้เล็งเห็นว่าแทบทุกหน่วยงานมักจะคุน้ เคยกับการใช้งาน Microsoft Excel Spreadsheet ในการท�ำงานในปัจจุบนั อยูแ่ ล้ว หากสร้างระบบ การเก็บบันทึกข้อมูลทีส่ ามารถสนับสนุนการท�ำรายงานให้สะดวกขึน้ และใช้งานได้โดยง่ายด้วยค�ำสัง่ พืน้ ฐาน ประกอบกับการปรับเปลีย่ น รูปแบบการท�ำรายงานจากเดิมซึง่ มักเป็นเอกสารทีใ่ ช้ Word เป็นหลัก มาเป็นรูปแบบการใช้งาน Microsoft Excel ซึ่งสามารถสรุปเนื้อหา รายงานได้ทั้งฉบับในรูปแบบไฟล์ Excel เพียงไฟล์เดียว จะท�ำให้ การสร้างรายงานสรุปนั้นท�ำได้ง่ายขึ้น ใช้เวลาน้อยลง และมีความ ครบถ้วน ถูกต้องมากยิ่งขึ้น

คณะวิทยากร

เดชะ ตันมีสุข ประสบการณ์ เป็นที่ปรึกษาด้านการอนุรักษ์

พลังงานและผูต้ รวจสอบรายงานการจัดการพลังงาน มากกว่า 15 ปี

ผู้เข้าร่วมอบรมจะต้องน�ำเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Notebook / Tablet) ที่สามารถรองรับ Microsoft Excel Version 2010 ขึ้นไป January-February 2019


วันพุธที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 09:00 - 12.00 น. : การชีแ้ จงรูปแบบของการจัดการอบรม ทิปและเทคนิคเบือ้ งต้นต่างๆ ส�ำหรับการใช้งาน Excel ซึง่ ถูกบรรจุไว้ในไฟล์การจัดท�า รายงานการจัดการพลังงาน : แนะน�ำการใช้งานไฟล์สนับสนุนการสร้างรายงานการจัดการพลังงาน อาทิ ระบบฐานข้อมูลการใช้ไฟฟ้าของหน่วยงาน อัตราค่าไฟฟ้าประเภทต่างๆ และการอ่านข้อมูลจากใบเสร็จรับเงินค่าไฟฟ้าของหน่วยงาน รวมถึงการทดสอบการใช้งาน : แนะน�ำการใช้งานและทดสอบการใช้งาน Spreadsheet ระบบฐานข้อมูลสนับสนุนการท�ำ EMM (Energy Management Matrix) ส�ำหรับภาพรวมขององค์กรและหน่วยงานย่อย : แนะน�ำการใช้งานและทดสอบการใช้งาน Spreadsheet สนับสนุนการหาค่าสัดส่วนการใช้พลังงานด้านไฟฟ้าและความร้อน รวมถึงฐานข้อมูลการใช้เชื้อเพลิงของหน่วยงาน 13.00 - 16.30 น. : แนะน�ำการใช้งานไฟล์รายงานการจัดการพลังงาน (อัตโนมัติ) ที่ผู้พัฒนาโปรแกรมได้ปรับปรุงขึ้นใหม่จากรูปแบบรายงาน เดิม (Word หรือ Excel ในรูปแบบเก่า) โดยเปลี่ยนมาใช้รูปแบบของ Excel Spreadsheet เพียงไฟล์เดียวที่มีความยืดหยุ่น มากกว่าและเป็นรูปแบบใช้งานแบบใช้ระบบฐานข้อมูลเป็นศูนย์กลาง แทนที่จะท�ำรายงานแบบ Manual : อธิบายข้อจ�ำกัดต่างๆ ความเชื่อมโยงของข้อมูล รูปแบบการบันทึกข้อมูลและการรายงานผล : แนะน�ำการจัดเตรียมเอกสารและหลักฐานต่างๆ ที่จ�ำเป็นต้องใช้เพื่อสนับสนุนการท�ำรายงานสรุป : แนะน�ำวิธีการใช้งานระบบฐานข้อมูลด้านไฟฟ้า เชื้อเพลิง ความร้อน และข้อมูลการผลิตที่ถูกบรรจุไว้ในไฟล์รายงาน ฉบับดังกล่าว (เชื่อมโยงกับไฟล์สนับสนุนการท�ำงาน) : แนะน�ำการท�ำมาตรการอนุรกั ษ์พลังงานพืน้ ฐาน (เบือ้ งต้น) ทีม่ คี วามจ�ำเป็นต้องน�ำมาบรรจุไว้ในรายงานการจัดการพลังงาน (มีหลักสูตรการจัดท�ำมาตรการอนุรักษ์พลังงานเฉพาะรองรับ) : ทดสอบการใช้งานไฟล์การจัดท�ำรายงานการจัดการพลังงาน (รูปแบบใหม่) : การตอบข้อซักถาม ความคิดเห็น การก�ำหนดกิจกรรมที่จะท�ำในวันที่ 2 ของหลักสูตร

วันพฤหัสบดีที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 09.00 - 12.00 น. : ชีแ้ จงการเชือ่ มโยงของฐานข้อมูลต่างๆ วิธกี ารค�ำนวณค่าต่างๆ ทีร่ ายงานต้องการ และวิธกี ารน�ำผลไปแสดงผลทีบ่ ทต่างๆ ของรายงานฯ : ทดสอบการใช้งานจริง (Workshop) : การตรวจสอบความบกพร่องในขั้นตอนต่างๆ ด้วยตนเอง (Self-Auditing) : ตอบค�ำถาม 13.00 - 16.30 น. : กิจกรรม Workshop (ต่อ) โดยจัดให้ผู้เข้าร่วมอบรมสัมมนาได้ลงมือท�ำรายงานจริงด้วยตนเองในลักษณะกลุ่มย่อยหรือ งานส่วนบุคคล โดยใช้ขอ้ มูลเบือ้ งต้นของหน่วยงานของตนทีไ่ ด้จดั เตรียมมา เพือ่ ให้สามารถจัดท�ำรายงานฉบับสมบูรณ์ได้ เมื่อจบการอบรม : การตอบค�ำถาม ตอบข้อสงสัยต่างๆ พร้อมทั้งแนะน�ำการใช้งาน Excel Tips ต่างๆ เพิ่มเติม : การเพิ่มเติมเทคนิคการใช้งาน Excel ต่างๆ ที่ได้นำ� มาใช้ในการจัดท�ำรายงาน

คุณสมบัติผู้สมัคร

ผู้ท�ำหน้าที่รับผิดชอบด้านพลังงานประจ�ำองค์กร  ผู้ท�ำหน้าที่คณะกรรมการการจัดการด้านพลังงานประจ�ำ องค์กร คณะกรรมการตรวจประเมินภายใน (Internal Auditor) หรือคณะท�ำงานต่างๆ ที่ได้รับมอบหมายในภารกิจ  ผู้สนใจทั่วไป จ�ำนวนที่รับ : 30 คน หน่วยงานทีจ่ ดั : สถาบันวิศวพัฒน์ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 

สมาชิก

ปกติ

เมื่อช�ำระก่อน วันที่ 22 ก.พ. 62

สมาชิก วสท./นศ.ป.ตรี

6.500 บาท/คน

6,000 บาท/คน

ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ

7,000 บาท/คน

6.500 บาท/คน

บุคคลทั่วไป

7,500 บาท/คน

7,000 บาท/คน

เจ้าหน้าที่ผู้ดูแล : คุณสุพรรณีย์ แสนภักดี Tel. (02) 184-4600-9 ต่อ 538 FAX (02) 184-4662 E-Mail : supannee@eit.or.th January-February 2019


Movement

กระทรวงอุตสาหกรรม ลงพื้นที่ 3 จังหวัดภาคอีสาน โชว์ศักยภาพศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรม 4.0 ระดับจังหวัด (Mini ITC)

สมชาย หาญหิรัญ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ลงพืน้ ที่เยีย่ มชมศูนย์ปฏิรปู อุตสาหกรรม 4.0 ระดับจังหวัด (Mini ITC) ใน 3 จังหวัดภาคอีสาน ประกอบด้วยจังหวัดบึงกาฬ ขอนแก่น และอุดรธานี เพือ่ ให้ความช่วยเหลือ บ่มเพาะ และต่อยอดธุรกิจ SMEs ผ่านการถ่ายทอด องค์ความรูใ้ ห้แก่ผผู้ ลิตระดับชุมชนและผูป้ ระกอบการ เพือ่ ยกระดับโครงสร้าง พืน้ ฐานในการรองรับการบริการด้านนวัตกรรม การแปรรูป การออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ หวังยกระดับ SMEs ไทยในธุรกิจยุค 4.0 สูม่ าตรฐาน สากล พร้อมแข่งขันได้ในตลาดโลก กระทรวงอุตสาหกรรมได้ดำ� เนินการจัดตัง้ ศูนย์ปฏิรปู อุตสาหกรรม 4.0 ภายใต้โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูปและอุตสาหกรรมอาหาร ครบวงจร เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการยกระดับ โครงสร้างพื้นฐานในการรองรับการบริการด้านนวัตกรรม การแปรรูป การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ตลอดจนบรรจุภณ ั ฑ์ให้แก่ผปู้ ระกอบการ SMEs และวิสาหกิจชุมชนในอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป และยกระดับ การบริการของส�ำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสู่การเป็น “ศูนย์ปฏิรูป อุตสาหกรรม 4.0 ระดับจังหวัด (Mini ITC)” นั่นเอง

นักธุรกิจไทย-เดนมาร์ก ร่วมแลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์ เนื่องในโอกาสครบรอบ 160 ปี ความสัมพันธ์ ไทย-เดนมาร์ก

อุฟเฟอ โวล์ฟเฮซเชิล เอกอัครราชทูตเดนมาร์กประจ�ำประเทศไทย เป็นประธานเปิดเวลาแลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์ระดับสูง โดยมีนักธุรกิจไทยเดนมาร์กเข้าร่วม เนือ่ งในวาระครบรอบ 160 ปี ความสัมพันธ์ทางการทูต ของทัง้ 2 ประเทศ การแลกเปลีย่ นครัง้ นีจ้ ดั ขึน้ เพือ่ สร้างแรงบันดาลใจให้แก่ บริษัทขนาดใหญ่และบริษัทขนาดเล็กที่มีศักยภาพของทั้ง 2 ประเทศ งานครั้งนี้มีนักธุรกิจเข้าร่วมคับคั่งทั้งจากภาครัฐและเอกชน ภายในงานยังได้รบั เกียรติจาก พันธ์ศกั ดิ์ ศิรริ ชั ตพงษ์ ผูช้ ว่ ยรัฐมนตรี ประจ�ำกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม มากล่าวปาฐกถาพิเศษ รวมทั้ง สิทธิชัย หยุ่น มาท�ำหน้าที่เป็นผู้ด�ำเนินรายการด้วย

January-February 2019


สมาคมสถาปนิกสยามฯ จัดงานสถาปนิก ’62 ภายใต้แนวคิด “กรีน อยู่ ดี : Living Green”

อัชชพล ดุสติ นานนท์ นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ร่วมกับบริษัท เอ็น.ซี.ซี.เอ็กซิบิชั่น ออกาไนเซอร์ จ�ำกัด แถลงข่ า วการจั ด งานสถาปนิ ก ’62 (Architect ’19) “กรีน อยู่ ดี : Living Green” ซึ่งจะจัดระหว่างวันที่ 30 เมษายน - 5 พฤษภาคม 2562 ณ ชาเลนเจอร์ฮอลล์ 1-3 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี งานสถาปนิกเป็นงานจัดแสดงสถาปัตยกรรม วัสดุ และเทคโนโลยีการก่อสร้างทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในภูมภิ าคอาเซียน ริเริ่มโดยสมาคมสถาปนิกสยามฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 การจัดงานครั้งนี้นับเป็นครั้งที่ 33 จุดประสงค์ของการ จัดงานเพื่อแสดงศักยภาพและน� ำเสนอผลงานความ ก้าวหน้าทางสถาปัตยกรรม สร้างความตระหนักรูถ้ งึ บทบาท วิชาชีพสถาปนิกทีม่ ตี อ่ สังคม ผ่านนิทรรศการและกิจกรรม มากมายของสมาคมฯ จัดมาอย่างต่อเนือ่ งกว่า 3 ทศวรรษ มีผู้ชมงานกว่า 400,000 คนในปีที่ผ่านมา

ซานี่ ไทยยนต์ ประกาศความส�ำเร็จ ยอดทะลุ 1,000 ล้านบาท

จันทนา อริยะวุฒพิ นั ธ์ ประธานกรรมการ บริหาร บริษทั ซานี่ ไทยยนต์ จ�ำกัด ผูจ้ ดั จ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์รถขุดไฮดรอลิก รถตักล้อยาง รถบด และเครือ่ งจักรกลหนักซานี่ (SANY) ซึง่ ใช้ในงาน ก่อสร้าง งานท�ำถนน งานเหมืองแร่ ประกาศถึง ความส�ำเร็จอย่างมากในปี 2561 โดยมียอดขาย ทะลุ 1,000 ล้านบาท หรือคิดเป็นการเติบโตถึง 100% ในขณะที่ตลาดรถขุดในประเทศไม่ได้มี การเติบโตในปีที่ผ่านมา การเติบโตของซานีเ่ ป็นผลจากผลิตภัณฑ์ ของ SANY สามารถตอบโจทย์ลกู ค้าได้ทง้ั ในแง่ ของคุ ณ ภาพและราคาที่ คุ ้ ม ค่ า ต่ อ การลงทุ น รวมถึงบริการหลังการขายที่ดี รวดเร็ว และ มี คุ ณ ภาพ เพราะหากเครื่ อ งจั ก รเสี ย หรื อ ไม่สามารถใช้งานได้ จะมีผลกระทบอย่างมาก ต่องานของลูกค้า ซึ่งเป็นสิ่งที่ซานี่ ไทยยนต์ ยึดมั่นมาโดยตลอด January-February 2019


Movement

ดาว ประเทศไทย ประกาศผลรางวัล DOW-CST สนองนโยบายการศึกษาภาครัฐ

ฉัตรชัย เลือ่ นผลเจริญชัย ประธานบริหาร กลุม่ บริษทั ดาว ประเทศไทย ศาสตราจารย์ ดร.สุภา หารหนองบัว นายกสมาคมเคมีแห่งประเทศไทยฯ และ ดร.อภิญาณ์ หทัยธรรม รองผูอ้ ำ� นวยการองค์การพิพธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์ แห่งชาติ ร่วมงานประกาศผลรางวัล “การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ด้วยเทคนิคปฏิบตั กิ ารเคมีแบบย่อส่วน (DOW-CST AWARD) ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 ภายใต้โครงการห้องเรียนเคมีดาว” ซึ่งเป็นโครงการที่กลุ่ม บริษทั ดาว ประเทศไทย ร่วมกับสมาคมเคมีแห่งประเทศไทยในพระอุปถัมภ์ ของศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี และองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ร่วมกันจัดขึ้น การประกวดครั้งนี้มีรางวัลรวมมูลค่ากว่า 200,000 บาท มอบให้แก่ ครูและนักเรียนผู้ชนะการประกวดในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและ มัธยมศึกษาตอนปลาย นอกจากนั้น ผู้ท่ีชนะเลิศรางวัลยอดเยี่ยมจะได้ เข้ารับพระราชทานโล่เกียรติยศจากศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ในการประชุมวิชาการนานาชาติ Pure and Applied Chemistry International Conference (PACCON 2019) ในเดือนกุมภาพันธ์นี้

สแกนเนีย ประกาศความส�ำเร็จต่อเนือ่ ง พร้อมเปิดตัวรถบรรทุกรุน่ ใหม่ และโรงงานในไทย

สเตฟาน ดอร์สกี กรรมการผู้จัดการ บริษัท สแกนเนีย สยาม จ�ำกัด ประกาศความส�ำเร็จ ในการด�ำเนินธุรกิจในปี 2018 พร้อมวางแผนเพิม่ ยอดขายรถสูงขึน้ ขยายธุรกิจการบริการให้เติบโต ขึน้ อีก 25% ในปี 2019 และตัง้ เป้าหมายขัน้ ต่อไปด้วยการเปิดตัวรถบรรทุกรุน่ ใหม่ลา่ สุด พร้อมกับ การเปิดโรงงานใหม่อย่างเป็นทางการในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางในการขยายตลาดทีส่ ำ� คัญในภูมภิ าคเอเชียและโอเชียเนียทัง้ หมด โดยสแกนเนียได้จดั ตัง้ ส�ำนักงานใหญ่ประจ�ำภูมภิ าค และพร้อมเปิดท�ำการโรงงานประกอบแห่งใหม่ ทีป่ ระเทศไทย เพือ่ การขยายฐานการผลิตและจัดส่งสินค้าในแถบภูมภิ าค ซึง่ ในรอบปี 2018 ทีผ่ า่ นมา สแกนเนียได้ประสบความส�ำเร็จตามเป้าหมายหลัก คือการสร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้า ผ่านโซลูชนั ที่สมบูรณ์แบบ ที่ประกอบด้วยสินค้าและบริการที่โดดเด่นเหนือคู่แข่ง

January-February 2019


w

ทีซีซีเทค ร่วมฉลองความส�ำเร็จโกลเด้นแลนด์ ขึ้นระบบ “GoldPro” ฉลุย พร้อมลุยองค์กรดิจิทัล TCCtech Joined Golden Land’s GoldPro Launch to Step Towards Digital Organization

บริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จ�ำกัด (ทีซีซีเทค) ผู้น�ำการให้บริการด้าน โครงสร้างพืน้ ฐานไอทีครบวงจร (Leading Integrated Technology Infrastructure Provider) วลีพร สายะสิต ผู้อ�ำนวยการฝ่ายสื่อสารองค์กร เป็นตัวแทนบริษัทฯ ร่วมแสดงความยินดีกบั ธนพล ศิรธิ นชัย ประธานอ�ำนวยการ บริษทั แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือโกลเด้นแลนด์ ในโอกาส ขึน้ ระบบ “โกลด์โปร-GoldPro” ผ่านระบบเอสเอพี เอสโฟร์ฮาน่า (SAP S/4HANA) ชุ ด ซอฟต์ แวร์ ส� ำ หรั บ การจั ด การและวางแผนการใช้ ท รั พ ยากรขององค์ ก ร เพือ่ บริหารจัดการองค์กรในยุคดิจทิ ลั อ�ำนวยความสะดวกทางด้านบัญชี การเงิน จัดซือ้ และการบริหารสินทรัพย์ รวมถึงการวิเคราะห์ขอ้ มูล ให้พนักงานกว่า 800 คน สามารถท�ำงานนอกออฟฟิศได้แบบ “ทุกเครื่อง ทุกที่ ทุกเวลา” “ทีซีซีเทครู้สึกยินดีกับความส�ำเร็จของโกลเด้นแลนด์จากโครงการน�ำร่อง ยกเครื่องกระบวนการท�ำงานภายในองค์กรผ่านระบบ GoldPro ที่จะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพการท�ำงานของซัพพลายเชน รวมถึงลดความซับซ้อนด้านไอทีใน องค์กร ซึ่งทีซีซีเทคเชื่อมั่นว่าการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวถือเป็นก้าวส�ำคัญที่จะ ท�ำให้โกลเด้นแลนด์สามารถเชื่อมโยงซอฟต์แวร์ต่างๆ และบุคลากรเข้าด้วยกัน เพื่อการด�ำเนินธุรกิจแบบเรียลไทม์ตามเป้าหมายที่วางไว้ โดยมีระบบโครงสร้าง ทีไ่ ม่ซบั ซ้อน ใช้งานง่ายได้อย่างเต็มประสิทธิภาพและมีความคล่องตัวทีม่ ากยิง่ ขึน้ ” วลีพร กล่าว “ถึงเวลาแล้วทีโ่ กลเด้นแลนด์จะก้าวต่อไปเพือ่ เป็นผูน้ ำ� ในอสังหาริมทรัพย์ ความส�ำเร็จของการเปิดใช้ GoldPro ในวันนี้ เพราะเรามีพาร์ทเนอร์ทเ่ี ข้ามาช่วย ด�ำเนินงาน โดยเฉพาะทีซีซีเทคที่เข้ามาช่วยผสานข้อมูลระหว่างระบบเดิมไปสู่ ระบบ GoldPro อย่างราบรื่น เรามีความมั่นใจว่า GoldPro จะช่วยอ�ำนวยความ สะดวกการจัดการข้อมูลต่างๆ ให้กับองค์กร สอดรับกับการท�ำงานในยุคดิจิทัล หรือยุค 4.0 ที่สามารถท�ำงานได้แบบ “ทุกเครื่อง ทุกที่ ทุกเวลา” ซึ่งจะช่วยเสริม ศักยภาพการเติบโตขององค์กรในปัจจุบัน และเตรียมพร้อมรองรับการขยาย บริษัทในอนาคตเพื่อการก้าวขึ้นเป็นบริษัทอสังหาริมทรัพย์ 5 อันดับแรกของ ประเทศไทยในปี พ.ศ. 2563” ธนพล ศิริธนชัย กล่าวเสริม

T.C.C. Technology Co., Ltd. (TCCtech), a Leading Integrated Technology Infrastructure Provider represented by Mrs.Waleeporn Sayasit, Corporate Communications Director has joined and congratulated Mr.Thanapol Sirithanachai, President of Golden Land Property Development Public Company Limited or Golden Land in the launch of GoldPro system on SAP S/4HANA. The system was implemented to support operation management in digital era, for examples accounting, financing, purchasing, asset management and data analytics to empower 800 employees to have working mobility in all devices at anywhere and anytime. “TCCtech is grateful for Golden Land’s success in adopting GoldPro into their business operation as it could enhance efficiency in supply chain management and minimize complication in IT. We recognize that this implementation is another significant step that would support Golden Land in connecting software and people to operate business in real-time as targeted. The system functions is simple and could provide more optimization into business operation.” Stated Waleeporn. “The time has come for Golden Land to move forwards as a property leader starting from the success of GoldPro adoption. With supports from technology partners, especially from TCCtech in data deployment. We are confident that GoldPro will simplify organizational data management and will align company practice with digital 4.0. Our employees are having working mobility in all devices at anywhere and anytime, and this is the driving factor that enhance company potential at the current stage and to allow the company to be ready for its expansion and become Thailand top 5 property management within 2020.” Stated Thanapol.

January-February 2019


เช็คพอยท์ เปิดตัวการรักษาความปลอดภัยส�ำหรับเครือข่ายระดับไฮเปอร์สเกลครั้งแรก ในอุตสาหกรรมที่งานประชุมประจ�ำปี CPX360 Check Point Introduces Industry-First Hyperscale Network Security at CPX360 บริษทั เช็คพอยท์® ซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีส์ จ�ำกัด (NASDAQ : CHKP) ผูใ้ ห้บริการชัน้ น�ำด้านโซลูชนั การรักษาความปลอดภัยระดับ โลก เปิดงานประชุมประจ�ำปีสำ� หรับคูค่ า้ และลูกค้าภายใต้ชอ่ื CPX360 งานประชุมที่มีระยะเวลาการจัดงาน 3 วันนี้ จะให้ความส�ำคัญใน เรื่องของปัญหาด้านการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ ซึ่งก�ำลัง สร้างแรงกดดันอย่างมากทั้งในปัจจุบันและในอนาคต รวมถึงเน้น ให้ความช่วยเหลือองค์กรในทุกขนาดให้สามารถพัฒนากลยุทธ์ตา่ งๆ เพือ่ ป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์และเหล่าแฮกเกอร์ทม่ี ที กั ษะขัน้ สูง ที่สร้างผลกระทบให้กับธุรกิจขององค์กรได้ โดยงานนี้ กิล ชเวด ประธานคณะเจ้าหน้าที่บริหารบริษัท เช็คพอยท์ ได้กล่าวบรรยายเรื่อง ‘Cyber-Security for 2020’ (การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ส�ำหรับปี 2563) ซึ่งจะเน้นย�้ำ ให้เห็นว่าการโจมตีทางไซเบอร์ (ยุคที่ 5) อันเป็นการโจมตีขนาดใหญ่ และก�ำลังพุง่ เป้าไปทีเ่ ครือข่ายมือถือ ระบบคลาวด์ และองค์กรอย่าง รวดเร็วนั้น มีอัตราการเติบโตเพิ่มสูงขึ้นอย่างมากในช่วงปีที่ผ่านมา และยังส่งผลกระทบต่อบริษัทต่างๆ มากกว่าที่เคยเกิดขึ้นมาแล้ว ด้วย นอกจากนี้ กิล ชเวด ยังแสดงวิสยั ทัศน์ในเรือ่ งยุคที่ 6 (Gen VI) ซึง่ เป็นการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ยคุ ใหม่ดว้ ย นัน่ คือ นาโน ซีเคียวริตี้ (Nano Security) ทีส่ ามารถน�ำไปใช้ได้กบั ทุกอุปกรณ์ บริการ บนเว็บหรือคลาวด์ แอปพลิเคชันและเครือข่าย เพื่อให้การปกป้อง ระดับไฮเปอร์สเกลทีม่ กี ารเชือ่ มต่อถึงกันอย่างครอบคลุมในอนาคต กิล กล่าวด้วยว่า “ภารกิจของเราคือการดูแลโลกแห่งการรักษาความ ปลอดภัยทางไซเบอร์ให้มคี วามก้าวหน้าอยูเ่ สมอ เพือ่ ให้มน่ั ใจได้วา่ เราจะยังคงสามารถให้การป้องกันการโจมตีทางไซเบอร์ได้ทกุ รูปแบบ ยุคที่ 6 เพือ่ ความปลอดภัยจะช่วยให้เรามองเห็นเอเจนต์ซอฟต์แวร์ได้ ในระดับนาโนทีม่ กี ารติดตัง้ อยูใ่ นอุปกรณ์ทกุ ประเภท หรือแพลตฟอร์ม คลาวด์ ท่ี มี ก ารเชื่ อ มต่ อ กั น แบบเรี ย ลไทม์ ภ ายใต้ ร ะบบควบคุ ม อัจฉริยะทีส่ ามารถท�ำนาย ตรวจจับ และป้องกันการโจมตีได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยจะช่วยให้เราสามารถดูแลทุกสิง่ ได้อย่างปลอดภัย ทั้งอุปกรณ์ไอโอทีแต่ละเครื่องไปจนถึงเครือข่ายระดับไฮเปอร์สเกล ได้อย่างราบรื่น ตลอดจนก�ำจัดจุดอ่อนต่างๆ และให้การปกป้อง อนาคตของเราได้” เช็คพอยท์ยังเปิดตัว เมสโทร (Maestro) โซลูชันการรักษำ ความปลอดภัยทางไซเบอร์ระดับไฮเปอร์สเกลอย่างแท้จริงครั้งแรก ในอุตสาหกรรมด้วย โซลูชนั Check Point Maestro เป็นสถาปัตยกรรม ใหม่ ท่ี จ ะเข้ า มาพลิ ก โฉมองค์ ก รธุ ร กิ จ ในทุ ก ขนาดให้ ส ามารถใช้ แพลตฟอร์มการรักษาความปลอดภัยระดับคลาวด์ได้อย่างยืดหยุ่น และสามารถปรับขยายเกตเวย์ด้านการรักษาความปลอดภัยที่มีอยู่ ให้พร้อมรองรับความสามารถระดับไฮเปอร์สเกลได้อย่างราบรื่น โซลูชนั นีจ้ ะช่วยให้องค์กรสามารถน�ำเสนอการรักษาความปลอดภัย ให้กับระบบต่างๆ ที่ต้องใช้ทรัพยากรสูงสุดและเป็นจ�ำนวนมาก ซึ่ง รวมถึงศูนย์ข้อมูลระดับไฮเปอร์สเกล เครือข่ายโทรคมนาคม และ เครือข่ายโทรศัพท์มือถือ January-February 2019

Check Point® Software Technologies Ltd. (NASDAQ : CHKP), a leading provider of cybersecurity solutions globally, today kicked off its annual customer and partner event series, CPX360. The three-day events are dedicated to addressing today’s – and tomorrow’s – most pressing cybersecurity challenges and helping organizations of all sizes develop strategies to prevent cyberthreats and sophisticated hackers impacting their business. In his keynote ‘Cyber-Security for 2020’, Check Point founder and CEO Gil Shwed described how Gen V (5th Generation) cyber-attacks – large scale and fast moving across mobile, cloud and on-premise networks – had increased over the past year, impacting more companies than ever before. He said that organizations need to close the security ‘generation gap’ before the next generation of attacks takes hold, by deploying infrastructures which combine real-time threat prevention, shared intelligence and the most advanced security across all enterprise environments. Gil Shwed also gave his vision of the next generation, Gen VI, of cyber-security : Nano Security, which can be embedded on every device, web or cloud service, applications and network, to protect tomorrow’s hyper-connected, hyperscale world. He said: “Our mission is to keep advancing the cybersecurity world, to ensure we stay protected against all types of cyber-attacks. Gen VI of security will see nano-scale software agents placed on every type of device or cloud platform, connected in real time with an intelligent control system that can predict, detect and prevent attacks. This will enable us to secure everything from individual IoT devices to hyperscale networks seamlessly, eliminating weak links and protecting our future.” Check Point also introduced Maestro, the industry’s first truly hyperscale network security solution. Check Point Maestro is a revolutionary new architecture that enables businesses of any size to enjoy the power of flexible cloud-level security platforms, and to seamlessly expand their existing security gateways to hyperscale capacity. This enables organizations to secure the largest, most resource-hungry environments including hyperscale data centers, telcos and mobile networks.


Industry News

PTG เร่งต่อยอดธุรกิจนอนออยล์ เล็งหาพันธมิตรน�ำเทคโนโลยี ยกระดับการให้บริการ พีทีจี เอ็นเนอยี เผยยอดขายไตรมาส 3/61 โต 14% ย�ำ้ เป้า ปีนย้ี งั เดินหน้าเปิดสาขาสถานีบริการน�ำ้ มันและแก๊สแอลพีจี 1,900 สาขา ลุยหาพันธมิตรน�ำเทคโนโลยีเข้ามายกระดับการให้บริการ และ ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้า พิ ทั ก ษ์ รั ช กิ จ ประการ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั พีทจี ี เอ็นเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) หรือ PTG กล่าวว่า บริษัทมียอดขายในช่วง ไตรมาส 3/61 เติบโต 14% จาก ช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ประกอบกับ ยอดขายในกรุ ง เทพฯ โตมากถึ ง 31% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน พิทักษ์ รัชกิจประการ เนือ่ งจากการให้บริการทีค่ รอบคลุม มากขึ้น อีกทั้งยังคงเป้าการเปิดสาขาของสถานีบริการน�้ำมันและ แก๊สแอลพีจีอยู่ที่ 1,900 สาขา และจ�ำนวนสาขาของธุรกิจ Non-Oil อยูท่ ี่ 500 สาขา ซึง่ รวมร้านสะดวกซือ้ Max Mart ร้านกาแฟพันธุไ์ ทย ร้านคอฟฟี่เวิลด์ ร้านข้าวแกงครัวบ้านจิตร ร้านซ่อมบ�ำรุงส�ำหรับ รถบรรทุก Pro Truck และส�ำหรับรถยนต์ Autobacs หลังจากมีกระแส

การตอบรับที่ดีของการเปิดสถานีบริการใน กทม. และปริมณฑล “ในช่วงไตรมาส 3/61 เรามีส่วนแบ่งการตลาดในช่องทาง ค้าปลีก อยู่ที่ระดับ 14.20% เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ซึ่งอยู่ที่ 12.70% ซึ่งคาดว่าไตรมาส 4/61 ส่วนแบ่งการตลาดน่าจะเพิ่มมากขึ้นอยู่ที่ 15-15.5% จากการเข้าสูช่ ว่ ง High Season และจากกระแสการตอบรับ ทีด่ ขี องสถานีบริการใน กทม. และปริมณฑล โดยในปีหน้าจะคัดเลือก การลงทุนในพื้นที่ที่มีศักยภาพในการต่อยอดธุรกิจนอนออยล์ให้ มากขึ้น” พิทักษ์ กล่าว ทั้ ง นี้ บ ริ ษั ท จะยั ง ขยายสาขาด้ ว ยการเช่ า พื้ น ที่ ข องสถานี บริการเดิม และเพิม่ การให้บริการด้วยธุรกิจ Non-Oil ครบวงจร เพือ่ ช่วยสนับสนุนผลการด�ำเนินงาน และการลงทุนใน Non-Oil ครั้งนี้ จะเป็นการช่วยเสริมประสิทธิภาพของสถานีบริการน�ำ้ มันในอนาคต ขณะเดียวกันบริษทั ยังเพิม่ สิทธิประโยชน์ในบัตร PT Max Card เพื่อเพิ่มเติมความหลากหลาย และตอบโจทย์ความต้องการของ ลูกค้าในทุกรูปแบบ และบริษัทยังมีการเพิ่มเทคโนโลยีเข้ามาให้ บริการ เช่น การช�ำระเงินด้วย QR Code ในธุรกิจนอนออยล์ เพื่อ ช่วยสนับสนุนการให้บริการที่ความสะดวก รวดเร็ว และตอบสนอง ความต้องการของลูกค้า ท�ำให้บริษทั จึงมีการมองหาพันธมิตรอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อช่วยส่งเสริมการเติบโตแบบยั่งยืนในอนาคต

BBGI พร้อมสนับสนุนนโยบายรัฐในการเพิ่มสัดส่วนผสม B100

พงษ์ชัย ชัยจิรวิวัฒน์

พงษ์ ชั ย ชั ย จิ ร วิ วั ฒ น์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บีบีจีไอ จ�ำกัด (มหาชน) (BBGI) กลุ่มบริษัทผู้ผลิตพลังงานชีวภาพ และเป็นบริษทั ในกลุม่ บริษทั บางจาก คอร์ปอร์เรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) (BCP) เปิดเผยว่า จากสถานการณ์ปัญหา ราคาน�้ำมันปาล์มตกต�่ำในปัจจุบัน ส่ ง ผลให้ ร าคาน�้ ำ มั น ไบโอดี เซล ใกล้ เ คี ย งกั บ ราคาน�้ ำ มั น ดี เ ซล

หน้าโรงกลัน่ ทีไ่ ม่รวมภาษีและกองทุนต่างๆ ดังนัน้ การเพิม่ สัดส่วน การผสมน�ำ้ มันไบโอดีเซลให้มากขึน้ จากปัจจุบนั ในสัดส่วนร้อยละ 7 เป็นร้อยละ 10 หรือร้อยละ 20 จะไม่ท�ำให้มีผลกระทบด้านราคา ต่อผู้บริโภค ทั้งนี้ภาครัฐควรเร่งก�ำหนดคุณสมบัติน�้ำมันไบโอดีเซล เพื่อรองรับสัดส่วนการผสมที่จะเพิ่มขึ้นในส่วนของ BBGI มีความ พร้อมในการปรับกระบวนการผลิตเพื่อรองรับคุณสมบัติของน�้ำมัน ไบโอดีเซลทีจ่ ะเปลีย่ นไป ซึง่ จะมีตน้ ทุนการผลิตเพิม่ ขึน้ บ้าง แต่จะมี ผลดีในระยะยาว ที่จะช่วยให้การใช้ไบโอดีเซลในประเทศเพิ่มขึ้นได้ โดยไม่มีผลกระทบต่อเครื่องยนต์และสิ่งแวดล้อม

January-February 2019


Industry News

ปัจจุบันมีปริมาณน�้ำมันปาล์มดิบในประเทศออกสู่ตลาดสูง เมื่ อ เที ย บกั บ ความต้ อ งการใช้ ทั้ ง ภาคบริ โ ภคและภาคพลั ง งาน ในขณะที่ราคาน�ำ้ มันปาล์มดิบโลกก็อยู่ในภาวะตกต�่ำเช่นกัน ท�ำให้ ไม่สามารถส่งออกน�้ำมันปาล์มดิบได้ กระทบต่อสต็อกน�ำ้ มันปาล์ม ดิบเพิม่ ขึน้ เดือนละประมาณ 30,000-40,000 ตัน และส่งผลให้สต็อก น�ำ้ มันปาล์มในประเทศอยูใ่ นระดับ 400,000 ตัน เมือ่ เทียบกับปริมาณ สต็อกน�้ำมันปาล์มดิบของประเทศที่ควรจะเป็นที่ 250,000 ตัน ทั้งนี้ทุกๆ ร้อยละ 1 ของการเพิ่มสัดส่วนการผสมน�้ำมันไบโอดีเซล

จะสามารถดู ด ซั บ ปริ ม าณน�้ ำ มั น ปาล์ ม ดิ บ ส่ ว นเกิ น ได้ ป ระมาณ 15,000 ตันต่อเดือน “ในฐานะภาคเอกชนทีเ่ ป็นผูผ้ ลิตไบโอดีเซล เรามีความเห็นว่า การเพิม่ สัดส่วนการผสมน�ำ้ มันไบโอดีเซลให้มากขึน้ เป็นการกระตุน้ ความต้องการใช้น้�ำมันปาล์มภายในประเทศ ทดแทนการส่งออก อันจะส่งผลดีต่อการสร้างเสถียรภาพทางราคาของน�้ำมันปาล์มดิบ ในระยะยาว รวมทัง้ ยังเป็นการช่วยลดเงินตราทีจ่ ะออกนอกประเทศ อีกด้วย” พงษ์ชัย กล่าว

เดลต้า ร่วมขับเคลื่อนองค์ความรู้ด้านการชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย บริษทั เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เข้าร่วมโครงการยานยนต์ไฟฟ้าเพื่อการเรียนรู้ โดยมีจุดประสงค์ เพื่อการสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับโซลูชันการชาร์จยานยนต์ ไฟฟ้าและส่งเสริมการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย โครงการนี้ จัดขึน้ โดยผูน้ ำ� ยานยนต์ไฟฟ้าระดับโลก ซึง่ เดลต้าได้มสี ว่ นร่วมในการ สนับสนุนและแสดงให้เห็นถึงประโยชน์ของเครื่องชาร์จยานยนต์ ไฟฟ้าเดลต้า รุน่ AC Mini Plus ส�ำหรับการชาร์จไฟภายในบ้าน และ เครื่องชาร์จไฟยานยนต์ไฟฟ้าแบบเร็ว DC ซึ่งถือเป็นตัวเลือกหนึ่ง ของการน�ำมาปรับใช้ในประเทศไทย โครงการนีถ้ อื เป็นกิจกรรมเพือ่ สาธารณชน จัดขึ้น ณ ห้างสรรพสินค้าในเครือเซ็นทรัลในกรุงเทพฯ ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงมีนาคมนี้ ส�ำหรับงานเปิดตัวนี้จัดขึ้นที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์ เป็นแห่งแรก โดยลูกค้าต่างให้ความสนใจและสอบถาม เกี่ยวกับเครื่องชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าเดลต้า รุ่น AC Mini Plus นอกจากนี้ ทางผู้จัดงานยังได้เรียนเชิญลูกค้าให้เข้าร่วมกิจกรรม เรียนรูแ้ ละช่วงเสวนาพิเศษจากผูเ้ ชีย่ วชาญด้านยานยนต์ไฟฟ้าและ เครื่องชาร์จไฟยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทยอีกด้วย ส�ำหรับช่วง เสวนาพิเศษนี้ กิตติศักดิ์ เงินงอกงาม ผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนา ธุรกิจภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บมจ. เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) ได้เน้นย�ำ้ ถึงประสิทธิภาพด้านต่างๆ ทีม่ าพร้อมความ โดดเด่น ความปลอดภัย และความส�ำคัญของโซลูชันการชาร์จ ยานยนต์ไฟฟ้า อีกทัง้ กิตติศกั ดิ์ ยังได้อธิบายและให้ความรูเ้ กีย่ วกับ ตัวเลือกต่างๆ ส�ำหรับการชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าส�ำหรับผูบ้ ริโภคชาว ไทย รวมถึงเครือ่ งชาร์จไฟภายในบ้าน และตอบค�ำถามทีห่ ลากหลาย จากผู้ที่มาร่วมงานอีกด้วย

January-February 2019

โซนจัดแสดงสินค้าและช่วงเสวนาพิเศษได้ดึงดูดความสนใจ จากบรรดาเจ้าของรถยนต์ชาวไทยที่มาร่วมงานเป็นจ�ำนวนมาก นอกจากนี้ ความสามารถในการใช้งานจริงและความสามารถการ จ่ายไฟของเครื่องชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าภายในบ้านสามารถสร้าง ความประทับใจให้กบั บรรดาเจ้าของรถได้อย่างยอดเยีย่ ม นอกจากนี้ ค�ำอธิบายเชิงลึกจากเดลต้าเกีย่ วกับความปลอดภัยด้านการชาร์จไฟ และเครือข่ายการชาร์จไฟแบบเร็วทีก่ ำ� ลังด�ำเนินการอยูน่ น้ั ช่วยสร้าง ความรู้และแรงจูงใจแก่ผู้ชมได้เป็นอย่างดี เสียงตอบรับและการมี ส่วนร่วมทีห่ ลากหลายจากสาธารณชนท�ำให้งานในครัง้ นีส้ ำ� เร็จลุลว่ ง ไปได้ด้วยดี ในฐานะที่เป็นผู้ให้บริการโซลูชันพลังงานสีเขียว เดลต้ายินดี และพร้อมให้ความร่วมมือกับองค์กรต่างๆ เพือ่ สร้างความตระหนักรู้ เกี่ยวกับระบบคมนาคมเพื่อสิ่งแวดล้อม และสนับสนุนการใช้งาน ยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย นอกจากนี้ เดลต้ายังมุ่งมั่นที่จะเป็น ผูใ้ ห้บริการนวัตกรรมโซลูชนั สีเขียวเพือ่ ร่วมสร้างสังคมทีแ่ ข็งแรงและ ยัง่ ยืนไปพร้อมกับท�ำตามพันธกิจของเดลต้าทีว่ า่ Smarter, Greener, Together อย่างต่อเนื่อง


Industry News

บ้านปู เปิดตัวบริษัท บ้านปู เพาเวอร์ (เจแปน) จ�ำกัด สาขาโตเกียว

บริษทั บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) ผูน้ ำ� ธุรกิจด้านพลังงานแบบ ครบวงจรแห่งเอเชีย-แปซิฟกิ ประกาศเปิดตัว บริษทั บ้านปู เพาเวอร์ (เจแปน) จ�ำกัด สาขาโตเกียว (Banpu Power (Japan) Tokyo Branch) อย่างเป็นทางการ ณ สถานเอกอัครราชทูตไทย ประจ�า กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น โดยได้รับเกียรติจาก บรรสาน บุนนาค เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงโตเกียว ประเทศญีป่ นุ่ และภริยา ร่วมเป็น สักขีพยาน ซึง่ นับเป็นอีกหนึง่ ก้าวส�ำคัญของกลุม่ บ้านปูฯ ในโอกาสนี้ กลุ่มบ้านปูฯ ยังได้เฉลิมฉลองการเปิดด�ำเนินการเชิงพาณิชย์ของ โรงไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์นาริ ไอสึ จังหวัดฟุกุชิมะ อีกด้วย บริษัท บ้านปู เพาเวอร์ (เจแปน) จ�ำกัด สาขาโตเกียว มุ่งเน้น การขยายธุรกิจในกลุ่มพลังงานหมุนเวียน สอดคล้องกับกลยุทธ์ Greener & Smarter อันเป็นหัวใจส�ำคัญในการด�ำเนินธุรกิจของ กลุ่มบ้านปูฯ พร้อมเดินหน้าพัฒนาธุรกิจผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน แสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่นอย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มก�ำลังการผลิต รวมจากพลังงานหมุนเวียนเฉพาะในประเทศญี่ปุ่นให้ได้มากกว่า 400 เมกะวัตต์ แผนพัฒนานี้ตอบรับกับนโยบายรัฐบาลญี่ปุ่นที่ ต้องการเพิ่มสัดส่วนการผลิตพลังงานสะอาด และยังสอดคล้องกับ เป้าหมายของกลุ่มบ้านปูฯ ในการเพิ่มก�ำลังการผลิตรวมให้เป็น 4,300 เมกะวัตต์เทียบเท่า โดยมีสัดส่วนพลังงานหมุนเวียนไม่น้อย กว่าร้อยละ 20 ภายในปี พ.ศ. 2568 สมฤดี ชัยมงคล ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า “นับเป็นอีกหนึง่ ความส�ำเร็จทีส่ ำ� คัญของบ้านปูฯ ทีใ่ นวันนีเ้ ราได้ประกาศเปิดตัว บริษทั บ้านปู เพาเวอร์ (เจแปน) จ�ำกัด สาขาโตเกียว หรือ BPPJP ในกลุม่ บริษทั บ้านปู เพาเวอร์ฯ อย่างเป็น ทางการ นับตั้งแต่กลุ่มบ้านปูฯ ได้เริ่มท�ำธุรกิจครั้งแรกกับหุ้นส่วน ทางธุรกิจในประเทศญี่ปุ่นเมื่อ 20 ปีที่ผ่านมา และในปี พ.ศ. 2558 โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แห่งแรกในประเทศญี่ปุ่นก็ได้เริ่มเปิด ด�ำเนินการเชิงพาณิชย์ ปัจจุบันเรามีก�ำลังผลิตไฟฟ้าตามสัดส่วน

การลงทุนรวม 233.57 เมกะวัตต์ จากโครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ทอ่ี ยูร่ ะหว่างการพัฒนาและเปิดด�ำเนินการเชิงพาณิชย์ ไปแล้วในประเทศญี่ปุ่น และเรามีความยินดีท่ีโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์แห่งล่าสุดทีน่ าริ ไอสึ จังหวัดฟุกชุ มิ ะ ซึง่ มีกำ� ลังผลิตตาม สัดส่วนการลงทุน 15.35 เมกะวัตต์ ได้เริม่ เปิดด�ำเนินการเชิงพาณิชย์ แล้วเมื่อต้นเดือนธันวาคมที่ผ่านมา” “กลุ่มบ้านปูฯ พร้อมผนึกก�ำลังร่วมสร้างความแข็งแกร่งกับ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในประเทศญี่ปุ่น ประกอบด้วยกระทรวงพลังงาน กระทรวงอุตสาหกรรมและการค้า หน่วยงานภาครัฐ สถาบันการเงิน บริษัทพลังงาน คู่ค้าทางธุรกิจและชุมชนที่เราเข้าไปด�ำเนินธุรกิจ นอกจากนี้ บริษัทฯ เล็งเห็นถึงโอกาสอีกมากมายในการสร้างการ เติบโตอย่างยั่งยืนในญี่ปุ่น ภายใต้กลุ่มบริษัท บ้านปู เพาเวอร์ บริษัท บ้านปู อินฟิเนอร์จี จ�ำกัด และหน่วยงานบ้านปู อินโนเวชัน แอนด์ เวนเจอร์ เราพร้อมพัฒนานวัตกรรมต่างๆ เพือ่ ส่งมอบโซลูชนั พลังงานสะอาดอย่างชาญฉลาด รวมถึงสร้างสรรค์ชุมชนและ เทคโนโลยีอจั ฉริยะผ่านความร่วมมือทางธุรกิจใหม่ๆ ซึง่ สอดคล้อง กับกลยุทธ์ Greener & Smarter ทีบ่ า้ นปูฯ ใช้เป็นหลักในการพัฒนา ต่อยอดธุรกิจมาอย่างต่อเนื่อง” บริษัท บ้านปู เพาเวอร์ (เจแปน) จ�ำกัด สาขาโตเกียว ภายใต้ การบริหารงานของ มร.วาตารุ ชิมะ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร เริ่ม เปิดด�ำเนินการอย่างเป็นทางการแล้ว โดยบริษัทฯ จะด�ำเนินธุรกิจ บริหารจัดการธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศญี่ปุ่น ทั้งหมด ซึ่งครอบคลุมโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ทัง้ หมด 13 แห่งทัว่ ประเทศ โดยปัจจุบนั มีโครงการทีเ่ ปิดด�ำเนินการ เชิงพาณิชย์แล้ว 5 โครงการ ได้แก่ โครงการมูกาว่า โอลิมเปีย ฮิโน อาวาจิ และนาริ ไอสึ โครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง 2 โครงการ และโครงการที่อยู่ระหว่างการพัฒนาโครงการอีก 6 โครงการ โดย คาดว่าเมือ่ เปิดด�ำเนินการครบทัง้ หมดจะมีกำ� ลังการผลิตตามสัดส่วน การลงทุนรวมอยู่ 233.57 เมกะวัตต์ พร้อมวางแผนต่อเนื่องในการ เพิ่มก�ำลังการผลิตรวมให้มากกว่า 400 เมกะวัตต์ “ประเทศญีป่ นุ่ นับเป็นอีกหนึง่ ประเทศกลยุทธ์ ทีจ่ ะช่วยเสริม ความแข็งแกร่งให้แก่กลุ่มบ้านปูฯ ทั้งในแง่แหล่งทรัพยากรพลังงาน หมุนเวียน และในแง่ความร่วมมือทางธุรกิจ เพื่อพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านพลังงาน ให้องค์กรสามารถบรรลุเป้าหมาย กลุม่ บ้านปูฯ พร้อมเดินหน้ารับเทรนด์พลังงานสะอาด มองหาโอกาส ทางธุรกิจทีต่ อบรับความต้องการของผูบ้ ริโภค เพือ่ ส่งมอบพลังงาน อย่างยั่งยืน ตามพันธสัญญาที่ว่า Our Way in Energy พลังบ้านปูฯ สู่พลังงานที่ยั่งยืน” สมฤดี กล่าวเสริม January-February 2019


Industry News

สหภาพยุโรปยกระดับโครงการขนส่งในลุ่มแม่นำ�้ โขง โครงการขนส่ ง สิ น ค้ า และโลจิ ส ติ ก ส์ ท่ี ย่ั ง ยื น ในอนุ ภู มิ ภ าค ลุ่มแม่น้�ำโขง ซึ่งได้รับการสนับสนุนเงินทุนจากสหภาพยุโรป (EU) เพื่อด�ำเนินงานด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานและความ ปลอดภัยในภาคการขนส่งสินค้าและโลจิสติกส์ในประเทศกัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา เวียดนามและไทย บรรลุเป้าในการช่วยเหลือและ สนับสนุนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) กว่า 500 ราย ให้สามารถประหยัดเชื้อเพลิงและเกิดการขับขี่ท่ีปลอดภัย มีระบบ การขนส่งสินค้าอันตรายที่ปลอดภัย มีการพัฒนาแผนธุรกิจส�ำหรับ การเข้าถึงบริการทางการเงิน ตลอดจนเกิดการตระหนักรูถ้ งึ ความส�ำคัญ ของการขนส่งสีเขียว ตลอดระยะเวลา 3 ปีของการด�ำเนินงาน (ตัง้ แต่เดือนกุมภาพันธ์ 2559 - มกราคม 2562) โครงการได้ฝึกอบรม SMEs จ�ำนวน 513 ราย ในภูมภิ าค ซึง่ ครอบคลุมพนักงานขับรถบรรทุกมากกว่า 600 คน ส่งผลให้ เกิดการประหยัดเชือ้ เพลิงโดยเฉลีย่ ร้อยละ 15.90 ส�ำหรับรถหนักวิง่ เปล่า และร้อยละ 16.86 ส�ำหรับรถหนักบรรทุกสินค้า ในส่วนที่เกี่ยวกับการ ขนส่งสินค้าอันตราย โครงการฯ ได้ท�ำงานอย่างใกล้ชิดกับกระทรวง คมนาคมของประเทศเป้าหมายต่างๆ เพื่อปรับปรุงกฎระเบียบและ ข้อบังคับ ส่งผลให้กระทรวงคมนาคมและการสื่อสารของประเทศ เมียนมาสามารถออกกฎกระทรวงได้ทง้ั หมด 6 ฉบับอย่างเป็นทางการ ขณะที่กระทรวงของประเทศเวียดนาม กัมพูชา และสปป.ลาว ก�ำลัง แก้ไขพระราชกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งสินค้าอันตราย ในแง่ ของการสนับสนุนนโยบาย โครงการฯ ยังได้สนับสนุนกระทรวงคมนาคม ของประเทศเวียดนาม ในการพัฒนาคู่มือมาตรฐานส�ำหรับการขนส่ง สินค้าสีเขียวและได้ประกาศใช้แล้วเมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 นอกจากนี้ มาตรการด้านการขนส่งสินค้าสีเขียวยังถูกน�ำเสนอในวาระ “การมีสว่ นร่วมของประเทศ” (NDC) เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินงาน ด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของประเทศไทย และยังถูกหยิบยก มากล่าวเป็นวาระส�ำคัญในการประชุมครั้งที่ 24 ของภาคีอนุสัญญา สหประชาชาติวา่ ด้วยการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (COP24) ด้วย ชัยวัฒน์ ทองค�ำคูณ ปลัดกระทรวงคมนาคม กล่าวในพิธีปิด โครงการ ซึ่งจัดขึ้นภายใต้ความร่วมมือระหว่างกระทรวงคมนาคม และสหภาพยุโรปว่า “การคมนาคมขนส่ง ถูกยอมรับว่าเป็นส่วนส�ำคัญ ของการพัฒนาและบูรณาการเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค เพราะการ คมนาคมขนส่งมีบทบาทส�ำคัญในการขนย้ายสินค้า บริการและประชาชน นอกจากนี้ การคมนาคมขนส่งยังช่วยสนับสนุนให้เกิดการเชื่อมโยง เศรษฐกิจของอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง (GMS) ความพยายามผลักดัน ให้เกิดการพัฒนาถูกด�ำเนินการผ่านข้อตกลงและกรอบความร่วมมือ ระดับภูมภิ าค เช่น ความตกลงว่าด้วยการอ�ำนวยความสะดวกด้านขนส่ง ข้ามพรมแดนในอนุภมู ภิ าคลุม่ แม่นำ้� โขง (CBTA) และการอ�ำนวยความ สะดวกด้านการขนส่งของอาเซียน ซึง่ โครงการขนส่งสินค้าและโลจิสติกส์ ทีย่ ง่ั ยืนในอนุภมู ภิ าคลุม่ แม่นำ้� โขงได้ให้การสนับสนุน 5 ประเทศเป้าหมาย January-February 2019

ในการด� ำ เนิ น งานตามข้ อ ตกลงและกรอบความร่ ว มมื อ ดั ง กล่ า ว โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในประเทศไทยเอง ก็มงุ่ ด�ำเนินงานเพือ่ ส่งเสริมการ ขนส่งสินค้าและโลจิสติกส์อย่างยั่งยืน เช่น การขับขี่ท่ีปลอดภัยและ ประหยัดพลังงาน การขนส่งสินค้าอันตรายให้ปลอดภัย และการพัฒนา มาตรฐานส�ำหรับการให้บริการรถบรรทุก นอกจากนี้ ประเทศไทยยัง มุ่งมั่นในการด�ำเนินงานตามวาระการประชุมระดับโลกของข้อตกลง ปารีส ที่จะลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลงให้ได้ร้อยละ 20 เนื่องจากภาคคมนาคมขนส่งถือว่าเป็นภาคที่ปล่อยก๊าซคาร์บอน ไดออกไซด์มากเป็นอันดับต้นๆ ความพยายามของเราในการลดการใช้ เชื้อเพลิงและลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก โครงการนี้ จึงช่วยสนองต่อความมุ่งมั่นในวาระระดับโลก” ฯพณฯ เปียร์กา้ ตาปิโอลา เอกอัครราชทูตสหภาพยุโรปประจ�า ประเทศไทย กล่าวว่า “แผนงาน SWITCH-Asia เป็นหนึ่งในเครื่องมือ ทางการเงินของสหภาพยุโรปที่จะสนับสนุนประเทศต่างๆ ในภูมิภาค เอเชียให้มีการส่งเสริมการบริโภคและการผลิตอย่างยั่งยืน และจนถึง ปัจจุบนั มีโครงการจ�ำนวนกว่า 100 โครงการทีไ่ ด้รบั เงินทุนนีแ้ ล้ว ด้วย การสนับสนุนเงินทุนของสหภาพยุโรปจ�ำนวน 2.16 ล้านยูโร โครงการ ขนส่งสินค้าและโลจิสติกส์ท่ีย่ังยืนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้�ำโขง นับว่า ประสบผลส�ำเร็จในการด�ำเนินกิจกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ เชื้อเพลิงด้วยการมีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งของ SMEs ด้านการขนส่ง ส่งผลให้เกิดการประหยัดเชือ้ เพลิงโดยรวมเฉลีย่ ร้อยละ 16 และสามารถ ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ดว้ ย นอกจากนี้ โครงการฯ ยังให้ ความช่วยเหลือและสนับสนุนกระทรวงคมนาคมทั้ง 5 ประเทศในการ ปรับปรุงกฎระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวกับการขนส่งสินค้าอันตราย ผลลัพธ์ที่น่าพอใจเหล่านี้ เกิดจากความร่วมมือที่ดีจากพันธมิตรและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ส�ำคัญ รวมถึงหน่วยงานภาครัฐ SMEs ด้าน การขนส่งสินค้า และสมาคมการขนส่งต่างๆ แนวทางการปฏิบัติท่ีดี และบทเรียนที่ได้จากการด�ำเนินโครงการจะถูกน�ำไปเผยแพร่ต่อ เพื่อพัฒนาการขนส่งสินค้าที่ย่ังยืนในภาคการขนส่งให้กว้างขวาง และมีประสิทธิภาพมากขึ้น” อนึ่ง โครงการขนส่งสินค้าและโลจิสติกส์ที่ยั่งยืนในอนุภูมิภาค ลุม่ แม่นำ้� โขง ได้รบั เงินทุนสนับสนุนจ�ำนวน 2.4 ล้านยูโร จากแผนงาน SWITCH-Asia ของสหภาพยุโรปและจากกระทรวงเพื่อความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจและการพัฒนาของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (BMZ) โดยมีองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ด�ำเนินงาน หลักและได้รับความร่วมมืออย่างใกล้ชิดจากสถาบันความร่วมมือ เพือ่ พัฒนาเศรษฐกิจลุม่ น�ำ้ โขง (MI) สมาคมขนส่งอนุภมู ภิ าคลุม่ แม่นำ้� โขง (GMS-FRETA) รวมถึงโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และการบรรเทาผลกระทบต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศในภาค การขนส่งทางบกของภูมิภาคอาเซียนของ GIZ


ELECTRICITY & INDUSTRY magazine ปี 2562

ข้าพเจ้า ชื่อ ............................................................................................. สกุล .......................................................................................................... ตำ�แหน่ง .................................................................................... บริษัท/ห้าง/ร้าน ...................................................................................... ที่อยู่ (ที่ท�ำ งาน) ......................................................................... แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด .................................................... รหัสไปรษณีย์ .......................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... ที่อยู่ (ที่บ้าน) ............................................................................. แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ ........................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... รหัสสมาชิก ...............................................................................

ประสงค์จะบอกรับนิตยสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” 1 ปี 6 ฉบับ 480 บาท 2 ปี 12 ฉบับ 960 บาท สมาชิกต่ออายุ 2 ปี 12 ฉบับ 800 บาท ตั้งแต่ฉบับที่ ............. เดือน .................................... ปี ..................... โดยส่งนิตยสารไปที่ ที่ทำ�งาน ที่บ้าน พร้อมกันนี้ได้ส่งค่าสมาชิกเป็นจำ�นวนเงิน ................................. บาท (ตัวอักษร ..........................................................................................) เช็คธนาคาร ................................................................................. สาขา ................................................................................................. เช็คคร่อมสั่งจ่าย “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด”

ธนาณัติ สั่งจ่ายในนาม “คุณวาสนา แซ่อึ้ง” ที่ทำ�การไปรษณีย์โทรเลขบางกอกน้อย โอนเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด” ชื่อธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี กรุงเทพ สะพานพระปิ่นเกล้า 162-0-74737-6 กสิกรไทย บางยี่ขัน 047-2-56333-5 ทหารไทย จรัญสนิทวงศ์ 020-2-27244-9 ไทยพาณิชย์ จรัญสนิทวงศ์ ซ.48 121-2-04080-0 หมายเหตุ กรุณาส่งแฟกซ์ หรือสำ�เนาใบเข้าบัญชี (Pay-in Slip) มาให้ บริษัทฯ พร้อมเขียนชื่อ-นามสกุล และรหัสสมาชิก (ถ้ามี) กำ�กับมาด้วย

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธย� แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. +66 (0)26 444 555, +66 (0)23 545 333 ต่อ 301 โทรสาร +66 (0)26 446 649, +66 (0)23 545 322


หากผู้อ่านท่านใดสนใจรายละเอียดต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสาร ELECTRICITY & INDUSTRY MAGAZINE

ปีที่ 26 ฉบับที่ 1 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2562 กรุณากรอกข้อมูลดังกล่าวให้ครบถ้วนเพือ่ การติดต่อจัดส่งข้อมูลกลับไปยังท่านต่อไป ชื่อ .............................................................................................. สกุล .............................................................................................................. ที่อยู่ ........................................................................................... แขวง/ตำ�บล ................................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................. จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ ............................... โทร ............................................................................................. แฟกซ์ ...........................................................................................................

ประเภทของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง อุตสาหกรรมเคมี/ปิโตรเคมี

ตำ�แหน่งงานที่ท่านรับผิดชอบ

กรรมการผู้จัดการ/เจ้าของกิจการ ผจก.โรงงาน ผจก.ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ผจก.วิศวกรรม ผจก.ฝ่ายซ่อมบำ�รุง วิศวกรฝ่ายผลิต วิศวกรทดสอบ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมงานเชื่อม อุตสาหกรรมโลหการ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

ประเภทของกิจการ

ผู้ผลิต

ผู้แทนจำ�หน่าย

ผู้ผลิต/ผู้แทนจำ�หน่าย

หน่วยงานราชการ


ใบอนุญาตเลขที่ ปน. (ต)/1339 ปณจ.บางกอกน้อย ถ้าฝากส่งในประเทศไม่ต้องผนึกตราไปรษณียากร

บริการธุรกิจตอบรับ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 619/5 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงอรุณอัมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700

ประโยชน์ทท่ี า่ นจะได้รบั จากนิตยสาร เนื้อหา .................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ โฆษณา/รายละเอียดผลิตภัณฑ์ .............................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................

ความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ คอลัมน์ตา่ งๆ ทีป่ รากฏในนิตยสาร ชื่อคอลัมน์ สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย IEEE Power & Energy Society Thailand Chapter สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย Article Special Scoop Special Area IT Technology Product PR News Seminar Movement Industry News IT News

มีประโยชน์มาก

มีประโยชน์

พอใช้

ควรปรับปรุง


ดัชนีสินค้าประจำ�เดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ประเภทสินค้า

ABB CO., LTD.

0-2665-1000

ASEAN Sustainable Energy Week

0-2036-0500

-

งานแสดงสินค้า

10

BMAM EXPO ASIA

086-561-3344

-

งานแสดงสินค้า

16

LED EXPO

0-2833-5121

-

งานแสดงสินค้า

8

LSIS

083-149-9994

-

ผู้น�ำด้านระบบสั่งจ่ายและ ระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าครบวงจร

ปกหน้า, ปกหน้าใน

INTERMACH 2019

0-2036-0500

-

งานแสดงสินค้า

ปกหลังใน

MAXIMIZE INTEGRATED TECHNOLOGY CO., LTD.

0-2525-0299

0-2525-0298 Industrial Relays

5

MENNEKES Elektrotechnik GmbH & Co. KG

0-2741-5266

0-2741-5267 ผู้ผลิตปลั๊กอุตสาหกรรม

15

SAMWHA (THAILAND) CO., LTD. เชลล์แห่งประเทศไทย บจก.

0-2324-0502 อุปกรณ์ไฟฟ้า

หน้า

0-3884-7571-3 0-3884-7575 จ�ำหน่าย ติดตั้งคาปาซิเตอร์ 0-2262-6000

ปกหลังนอก

7

0-2657-9888 น�้ำมันหล่อลื่น

3

ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) บจก.

0-2002-4395-97 0-2002-4398 อุปกรณ์ไฟฟ้า

9

เพาเวอร์ เรด บจก.

0-2300-5671-3 0-2300-5937 อุปกรณ์ไฟฟ้า

11

ลีฟเพาเวอร์ บจก.

0-2300-5671-3 0-2300-5937 อุปกรณ์ไฟฟ้า

13

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727-8 0-2476-1711 Couplings

6

แวลูเอชั่น เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2183-9748

ออมรอน อิเลคทรอนิคส์ บจก.

0-2942-6700

0-2937-0501 อุปกรณ์ไฟฟ้าและระบบควบคุม อัตโนมัติ

4

อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.

0-2693-1222

0-2693-1399 สาย LAN

21

เอส เอ วี เมคคานิคคอล เซอร์วิสส์ แอนด์ ซัพพลายส์ หจก. เอส.พี.วาย แอนด์ เคเบิ้ล บจก.

January-February 2019

-

Solar

0-2702-0581-8 0-2377-5937 ติดตั้ง EOCR อิเล็กทรอนิกส์ โอเวอร์โหลดรีเลย์ ป้องกันมอเตอร์ไหม้ 0-2434-0099

0-2434-3251 อุปกรณ์ไฟฟ้า

17

14 19




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.