Electricity & Industry Magazine Issue Mar-Feb 2017

Page 1





Lucy_21.59x29.21cm.pdf

1

3/30/17

3:05 PM


Siam Control_21.59x29.21cm.pdf

1

3/30/17

9:26 AM


Samwa_21.59x29.21cm.pdf

1

3/28/17

11:02 AM


Omron_21.59x29.21cm.pdf

1

3/28/17

11:42 AM


Atommics_21.59x29.21cm.pdf

1

3/30/17

3:00 PM







Mennekes_21.59x29.21cm_Cre.pdf

1

3/30/17

3:05 PM




CONTENT March - April

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย

27 การสัมมนาขอกำหนดการใชบริการ/การเชื่อมตอ และการปฏิบต ั ิการระบบโครงขายไฟฟา (ฉบับปรับปรุง) 31 การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 34 การไฟฟานครหลวง 36 การไฟฟาสวนภูมิภาค 38 บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน)

2017

SPECIAL AREA 54 เพิ่มความปลอดภัยและความสะดวกในการดูแลสําหรับระบบ การจายไฟดวย Socket Outlet Combination Unit และ Variabox Unit บริษัท พี ไอ เอส พาวเวอร ดิสทริบิวชั่น จํากัด 56 The Motor Starter บริษัท แม็กซิไมซ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จํากัด 58 ความหลากหลายของการตรวจทอดวยระบบตรวจสอบทออัจฉริยะ “INTELLIGENT PIGGING” บริษัท ดาคอน อินสเปคชั่น เซอรวิสเซส 63 ขอดีของความปลอดภัย Safety’s Advantage บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด 66 ตูคอนซูมเมอรยูนิตคืออะไร? บริษัท ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด 68 CVM-C10 เคร�องมือวัดคาพารามิเตอร ไฟฟาที่ตอบโจทย ทุกการใชงานที่หลากหลายและครบถวน บริษัท เอวีรา จํากัด 72 การเปลี่ยนแปลงหมอแปลงไฟฟาใหมีความนาเช�อถือทางวิศวกรรม บริษัท เชลล ประเทศไทย จํากัด

ขอมูลและไฟฟา จะขับเคลื่อนยานยนต

สูทิศทางใหมในป 2560 Data and electric driving Automotive in new directions in 2017

IT TECHNOLOGY 76 กลไกขับเคล�อนรูปแบบใหมเพ�อการเติบโตในสังคมเครือขายดิจิทัล Ericsson INTERVIEW 46 เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการ การไฟฟาสวนภูมิภาค Chairman, IEEE Power & Energy Society-Thailand (IEEE PES) สเตฟาน อิสซิกงาร กองบรรณาธิ ARTICLE 49 ขอมูลและไฟฟา จะขับเคล�อนยานยนต สูทิศทางใหมในป 2560 สเตฟาน อิสซิง ผูอํานวยการอุตสาหกรรมโลก ดานยานยนต จากไอเอฟเอส

p.18_content.indd 18

81 84 87 90 92 95 98

PRODUCT PR NEWS SEMINAR CALENDAR SEMINAR MOVEMENT INDUSTRY NEWS IT NEWS

4/3/17 4:50 PM



EDITOR TALK

March - April

2017

เมือ่ เขาสูเ ดือนมีนาคมของทุกป ก็ถอื วาเขาสูห นารอนเต็มตัว อากาศชวงนีเ้ รียกวารอนสุดๆ แตคาดวาเดือนเมษายนอากาศจะรอน มากขึ้นกวานี้ และสิ่งที่มาพรอมกับอากาศรอนก็คือ โรคภัยตางๆ ทั้งโรคจากอากาศรอน และอาหารการกิน อยางไรก็ขอใหทุกทาน รักษาสุขภาพดวย นิตยสารไฟฟาและอุตสาหกรรมฉบับนี้ก็ยังคงมีเนื้อหาที่นาสนใจมากมายเชนเดิม สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย จะจัดสัมมนาเรือ่ ง ขอกําหนดการใชบริการ/การเชือ่ มตอ และปฏิบตั กิ ารระบบโครงขายไฟฟา (ฉบับปรับปรุง) ระหวางวันที่ 27-28 เมษายน 2560 นี้ อีกคอลัมนที่ขอแนะนําคือ Interview เปนการพุดคุยกับ เสริมสกุล คลายแกว ซึ่งปจจุบันดํารงตําแหนงผูวาการ การไฟฟา สวนภูมิภาค แตในครั้งนี้ไดมาพูดคุยกันในฐานะทานรับหนาที่ประธาน IEEE Power & Energy Society-Thailand (IEEE PES) ที่อีก 2 ป ขางหนาจะตองรับหนาที่เปนเจาภาพจัดงาน IEEE PES GTD Grand International Conference and Exposition Asia 2019 งานนี้ ถือเปนงานนิทรรศการทางดานวิศวกรรมที่ใหญที่สุดในประเทศ และเปนงานที่ IEEE PES Headquarter ใหความสําคัญอยางมาก ทางนิตยสารไฟฟาและอุตสาหกรรมจะไดติดตามความคืบหนาของการเตรียมงานมานําเสนอตอไป ในอุตสาหกรรมรถยนตนั้นมีการคาดการณวาอนาคตรถยนตไฟฟาจะไดรับความนิยมมากขึ้น สเตฟาน อิสซิง ผูอํานวยการ อุตสาหกรรมโลก ดานยานยนต จากไอเอฟเอส จึงไดนําเสนอบทความเรื่อง ขอมูลและไฟฟา จะขับเคลื่อนยานยนตสูทิศทางใหม ในป 2560 โดยการแขงขันของยานยนตในป 2560 จะเปนไปอยางดุเดือด แตจะมาจากทิศทางที่เหนือความคาดหมาย และคาดวาจีน จะผงาดขึ้นมาเปนผูนําในการผลิตพาหนะที่ใชไฟฟา (อีวี) สวน Special Area นั้น ก็ลวนนาสนใจทั้งสิ้น อาทิ บทความจากบริษัท แม็กซิไมซ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จํากัด บทความ เรือ่ ง ความหลากหลายของการตรวจทอดวยระบบตรวจสอบทออัจฉริยะ “INTELLIGENT PIGGING” ของบริษทั ดาคอน อินสเปคชัน่ เซอรวิสเซส บทความเรื่อง ขอดีของความปลอดภัย Safety’s Advantage ของบริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด บทความเรื่อง CVM-C10 เครื่องมือวัดคาพารามิเตอรไฟฟาที่ตอบโจทยทุกการใชงานที่หลากหลายและครบถวน ของบริษัท เอวีรา จํากัด และ บทความจากบริษัท เชลล ประเทศไทย จํากัด ในเรื่อง การเปลี่ยนแปลงหมอแปลงไฟฟาใหมีความนาเชื่อถือทางวิศวกรรม เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท เชลล แหงประเทศไทย จํากัด ไดรวมกับ นิตยสารไฟฟาและอุตสาหกรรม โครงการ Green Network จัดสัมมนา “Transformer Oil Innovation 2017” ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ ซึ่งเทคโนโลยี GTL เปนเทคโนโลยีใหมที่ชวย เพิ่มประสิทธิภาพการทํางานใหกับหมอแปลงไฟฟา ยืดอายุของหมอแปลงไฟฟาใหใชไดนานขึ้น จึงเปนการลดตนทุนอีกทางหนึ่งดวย การจัดสัมมนาครั้งนี้มีผูสนใจเขารวมจํานวนมาก และทางคณะทํางานจะไดนําเสนอสิ่งดีๆ แกทุกทานตอไป พบกันใหมฉบับหนา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

ที่ปรึกษา : รศ.ฉดับ ปทมสูต / รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ์ / ไกรสีห กรรณสูต พรเทพ ธัญญพงศชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ / ประเจิด สุขแกว ผศ.พิชิต ลํายอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องควงศสกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม รศ. ดร.ปริทรรศน พันธุบรรยงก บรรณาธิการผูพิมพผูโฆษณา : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ : ดร.สุรพล ดํารงกิตติกุล ผูชวยบรรณาธิการ : นิภา กลิ่นโกสุม กองบรรณาธิการ : ศิรินทิพย โยธาพันธ เลขากองบรรณาธิการ : ปฐฐมณฑ อุยพัฒน / พรทิพย โซวสุวรรณ พิสูจนอักษร : อําพันธุ ไตรรัตน ศิลปกรรมรูปเลม / ศิลปกรรมโฆษณา : กันยา จําพิมาย ฝายโฆษณา : ศิริภรณ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย / กัลยา ทรัพยภิรมณ เลขานุการฝายโฆษณา : ชุติมันต บัวผัน ฝายสมาชิก : อังลนา สงวนสิน

p.20_Editor Talk.indd 20

บทความที่ปรากฏใน ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine เปนความคิดเห็น ส ว นตั ว ของผู เขี ย น ไม มี ส ว นผู ก พั น กั บ บริ ษั ท เทคโนโลยี มี เ ดี ย จํ า กั ด แต อ ย า งใด หากบทความใดที่ผูอานเห็นวามีการลอกเลียนหรือแอบอาง กรุณาแจงที่กองบรรณาธิการ ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine บทความต า งๆ ที่ ป รากฏในหนั ง สื อ ได ผ า นการตรวจทานอย างถี่ถ ว นเพื่อ ใหเ กิด ความถูกตองและสมบูรณที่สุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแกไขตอไป เจาของ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 http:// www.technologymedia.co.th เพลท-แยกสี : บริษัท อิมเมจิ้น กราฟค จํากัด พิมพที่ : บริษัท ฐานการพิมพ จํากัด จัดจําหนาย : บริษัท ธนบรรณ ปนเกลา จํากัด

4/3/17 4:51 PM


AVERA_21.59x29.21cm.pdf

1

3/30/17

3:04 PM



InterLink_21.59x29.21cm.pdf

1

2/6/17

11:46 AM




THLF 2017_21.59x29.21cm.pdf

1

3/30/17

2:55 PM


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย

การสัมมนา

ขอกำหนดการใชบริการ/การเชื่อมตอ และการปฏิบัติการระบบโครงขายไฟฟา

(ฉบับปรับปรุง)

SPP/VSPP Grid Code (Updated Version) หัวขอสัมมนา > > > > > >

Connection code - รูปแบบการเชื่อมตอ ระบบปองกันและมาตรฐานอุปกรณปองกัน Connection Code - ระบบมาตรวัดไฟฟาและอุปกรณประกอบ Connection Code - ระบบควบคุมระยะไกลและระบบการติดตอสื่อสาร Connection Code - ขอกําหนดเกณฑและการควบคุมคุณภาพไฟฟา Operation Code Service Code

คาใชจายในการสัมมนา ● ● ● ● ●

สมาชิก TESIA หนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และมหาวิทยาลัย คาลงทะเบียนปกติ ทานละ 5,000 บาท (รวมภาษีมูลคาเพิ่ม) บริษัท และบุคคลทั่วไป คาลงทะเบียนปกติ ทานละ 6,000 บาท (รวมภาษีมูลคาเพิ่ม) อัตรานี้รวมคาเอกสาร อาหารกลางวัน และอาหารวาง กรุณาชําระเงินภายใน 5 วัน นับจากวันลงทะเบียน วิธีการชําระเงิน โอนเงินผานธนาคารกรุงไทย สาขาบางกรวย ชื่อบัญชี สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย เลขที่บัญชี 109-6-05658-5 (บัญชีกระแสรายวัน) สนใจติดตอ www.tesia-thailand.com คุณสิทธิพงษ เชื้อชาติ โทร. 08-9521-6370 E-mail : sitthipong1234@hotmail.com

27-28 เมษายน 2560 หองธาราเทพ ฮอลล โรงแรมเจาพระยาปารค

P.27-30_TESIA.indd 27

4/3/17 4:52 PM


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย

Electricity Supply Industry Association of Thailand การสัมมนาขอกำหนดการใชบริการ/การเชื่อมตอ และการปฏิบัติการระบบโครงขายไฟฟา (ฉบับปรับปรุง) SPP/VSPP Grid Code (Updated Version) วันที่ 27-28 เมษายน 2560 หองธาราเทพ ฮอลล โรงแรมเจาพระยาปารค สนบัสนนุโดย

วัตถุประสงค

1. สรางความรูค วามเขาใจเกีย่ วกับขอกําหนดการเชือ่ มตอระบบโครงขายไฟฟาแกผสู นใจลงทุน ผูใ หบริการออกแบบและติดตัง้ ตลอดจน วิศวกรและเจาหนาที่ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวของ 2. เปดโอกาสใหปรึกษา แลกเปลี่ยนประสบการณระหวางผูเขาอบรมทุกคน และรับทราบแนวทางในการดําเนินการเกี่ยวกับขอกําหนด การเชื่อมตอระบบโครงขายไฟฟาของทั้ง 3 การไฟฟา

วันพฤหัสบดีที่ 27 เมษายน 2560 08.00 น. 08.30 น.

ลงทะเบียน พิธีเปด โดย คุณสาคร พยัคฆเรือง รองผูวาการปฏิบัติการและบํารุงรักษา กฟภ. อุปนายกคนที่ 1 สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย ดําเนินการสัมมนาโดย เรืออากาศตรี ดร.โตศักดิ์ ทัศนานุตริยะ ผูอํานวยการโครงการธุรกิจพัฒนากิจการไฟฟา กฟน. ประธานอนุกรรมการวิชาการ สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย

Session 1: Connection Code-รูปแบบการเชื่อมตอ ระบบปองกันและมาตรฐานอุปกรณปองกัน 08.45 น. 09.45 น. 10.45 น. 11.15 น. 12.15 น.

รูปแบบการเชื่อมตอและระบบปองกันของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย โดย คุณบรรเทิง กองแกว หัวหนาแผนกระบบรีเลย 4 ฝายระบบควบคุมและปองกัน กฟผ. รูปแบบการเชื่อมตอและระบบปองกันของการไฟฟานครหลวง โดย คุณราชศักดิ์ สรเลขกิตติ หัวหนาแผนกบํารุงรักษาระบบควบคุมและปองกัน 2 ฝายบํารุงรักษาระบบไฟฟา กฟน. รับประทานอาหารวาง รูปแบบการเชื่อมตอและระบบปองกันของการไฟฟาสวนภูมิภาค โดย คุณโสฬส อวยพร รองผูอํานวยการกองอุปกรณปองกันและรีเลย ฝายบํารุงรักษาสถานีไฟฟาและระบบไฟฟา กฟภ. รับประทานอาหารกลางวัน

Session 2: Connection Code–ระบบมาตรวัดไฟฟาและอุปกรณประกอบ 13.15 น. 13.45 น. 14.15 น. 14.45 น.

ระบบมาตรวัดไฟฟาและอุปกรณประกอบของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย โดย คุณพิมล พงษโสภณ วิศวกร ระดับ 9 ฝายระบบควบคุมและปองกัน กฟผ. ระบบมาตรวัดไฟฟาและอุปกรณประกอบของการไฟฟานครหลวง โดย คุณอดิศักดิ์ วารีย วิศวกรไฟฟา 9 ฝายอุปกรณงานจําหนาย กฟน. ระบบมาตรวัดไฟฟาและอุปกรณประกอบของการไฟฟาสวนภูมิภาค โดย คุณกฤษณพล ดวงหอม วิศวกร ระดับ 9 ฝายวางแผนระบบไฟฟา กฟภ. รับประทานอาหารวาง March-April 2017

P.27-30_TESIA.indd 28

4/3/17 4:52 PM


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย Session 3: Connection Code–ระบบควบคุมระยะไกลและระบบการติดตอสื่อสาร 15.15 น. 15.50 น. 16.25 น. 17.00 น.

ระบบควบคุมระยะไกลและระบบการติดตอสื่อสารของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย โดย คุณธัญพัฒน ศรีจันทรทับ วิศวกรระดับ 7 ฝายระบบสื่อสาร กฟผ. ระบบควบคุมระยะไกลและระบบการติดตอสื่อสารของการไฟฟานครหลวง โดย คุณอมร สังขเมือง วิศวกรไฟฟา 8 ฝายวางแผนและบริหารทรัพยสินเทคโนโลยี กฟน. ระบบควบคุมระยะไกลและระบบการติดตอสื่อสารของการไฟฟาสวนภูมิภาค โดย คุณพันรบ ชินบุตร หัวหนาแผนกวิศวกรรมระบบควบคุม ฝายควบคุมระบบไฟฟา กฟภ. ถาม-ตอบ คําถาม

วันศุกรที่ 28 เมษายน 2560 Session 4: Connection Code–ขอกำหนดเกณฑและการควบคุมคุณภาพไฟฟา 09.00 น. 09.50 น. 10.40 น. 11.10 น. 12.00 น.

ขอกําหนดเกณฑและการควบคุมคุณภาพไฟฟาของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย โดย คุณดํารงค กมลพัฒนานันท หัวหนาแผนกคุณภาพพลังงานไฟฟา ฝายระบบควบคุมและปองกัน กฟผ. ขอกําหนดเกณฑและการควบคุมคุณภาพไฟฟาของการไฟฟานครหลวง โดย คุณมนัส อรุณวัฒนาพร ผูอํานวยการกองพัฒนาระบบไฟฟา ฝายวิจัยและพัฒนา กฟน. รับประทานอาหารวาง ขอกําหนดเกณฑและการควบคุมคุณภาพไฟฟาของการไฟฟาสวนภูมิภาค โดย คุณวาริช ขุนอักษร วิศวกร ระดับ 9 ฝายวางแผนระบบไฟฟา กฟภ. รับประทานอาหารกลางวัน

Session 5: Operation Code 13.00 น. 14.00 น. 14.30 น. 15.00 น.

ขอกําหนดการปฏิบัติการระบบโครงขายไฟฟาของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย และกรณีศึกษา: ความเสียหายเนื่องจากการไมปฏิบัติตามขอกําหนดฯ โดย คุณเกรียงไกร จันทะมา หัวหนาแผนกตรวจรับรองการสั่งซื้อไฟฟา 1 ฝายควบคุมระบบกําลังไฟฟา กฟผ. ขอกําหนดการปฏิบัติการระบบโครงขายไฟฟาของการไฟฟานครหลวง โดย คุณวิทวัส ตั้งนพวีรวัฒน หัวหนาแผนกวางแผนการจายไฟฟา ฝายควบคุมระบบไฟฟา ขอกําหนดการปฏิบัติการระบบโครงขายไฟฟาของการไฟฟาสวนภูมิภาค โดย คุณวัฒณิฐ ออนหยับ วิศวกร ระดับ 9 ฝายควบคุมระบบไฟฟา กฟภ. รับประทานอาหารวาง

Session 6: Service Code 15.30 น. 16.00 น. 16.30 น. 17.00 น.

ขอกําหนดการใชบริการระบบโครงขายไฟฟาของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย โดย คุณวรพงศ วงศลิ้มอมรเลิศ วิศวกร ระดับ 5 ฝายสัญญาซื้อขายไฟฟา กฟผ. ขอกําหนดการใชบริการระบบโครงขายไฟฟาของการไฟฟานครหลวง โดย คุณศิริวรรณ วรเดช ผูชวยผูอํานวยการกองบริหารนโยบายเศรษฐกิจพลังงาน ฝายเศรษฐกิจพลังงานไฟฟา กฟน. ขอกําหนดการใชบริการระบบโครงขายไฟฟาของการไฟฟาสวนภูมิภาค โดย คุณวาริช ขุนอักษร วิศวกร ระดับ 9 ฝายวางแผนระบบไฟฟา กฟภ. กลาวปดการสัมมนา March-April 2017

P.27-30_TESIA.indd 29

4/3/17 4:52 PM


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย

ลงทะเบียน www.tesia-thailand.com ชื่อ-สกุล ..................................................................................................................................................................................................................................... หนวยงาน (บริษัท) .................................................................................................................................................................................................................. อาคาร ................................................................................................................. เลขที่ ................................................ หมูที่ ............................................ ซอย ..................................................................................................................... ถนน ............................................................................................................ แขวง/ตําบล ....................................................................................................... เขต/อําเภอ .............................................................................................. จังหวัด ................................................................................................................ รหัสไปรษณีย ........................................................................................... โทรศัพท ............................................................................................................. โทรสาร ...................................................................................................... โทรศัพทมือถือ ................................................................................................. E-mail ........................................................................................................ ชื่อ-สกุล ..................................................................................................................................................................................................................................... หนวยงาน (บริษัท) .................................................................................................................................................................................................................. อาคาร ................................................................................................................. เลขที่ ................................................ หมูที่ ............................................ ซอย ..................................................................................................................... ถนน ............................................................................................................ แขวง/ตําบล ....................................................................................................... เขต/อําเภอ .............................................................................................. จังหวัด ................................................................................................................ รหัสไปรษณีย ........................................................................................... โทรศัพท ............................................................................................................. โทรสาร ...................................................................................................... โทรศัพทมือถือ ................................................................................................. E-mail ........................................................................................................ คาลงทะเบียน

หมายเหตุ (รับจํานวนจํากัด)

5,000 บาท

สมาชิก TESIA หนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และมหาวิทยาลัย

6,000 บาท

บริษัท โรงงาน และบุคคลทั่วไป

กรุณาชําระเงินภายใน 5 วัน นับจากวันลงทะเบียน วิธีการชําระเงิน (อัตรานี้รวมภาษีมูลคาเพิ่ม) โอนเงินผานธนาคารกรุงไทย สาขาบางกรวย ชื่อบัญชี สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย เลขที่บัญชี 109-6-05658-5 (บัญชีกระแสรายวัน)

ติดตอสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม คุณสิทธิพงษ เชื้อชาติ : มือถือ 08-9521-6370 สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย (TESIA) 487 ชั้น 3 อาคารสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ซอยรามคําแหง 39 (ซอยเทพลีลา) ถนนรามคําแหง แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท: 0-2184-4610-11 โทรสาร: 0-2184-4502 E-mail: tesia-th@tesia-thailand.com March-April 2017

P.27-30_TESIA.indd 30

4/3/17 4:52 PM


การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

มูลนิธิกำธน สินธวานนท มอบรางวัล

ผลงานทางวิชาการ และผูกระทำความดี ประจำป 2559

มูลนิธิกําธน สินธวานนท มอบ 8 รางวัล ดานผลงานทาง วิชาการ และผูกระทําความดี ประจําป 2559 สงเสริมผูปฏิบัติงาน กฟผ. ที่ไมหยุดพัฒนา และบํารุงขวัญผูปฏิบัติงานที่ไดประกอบ คุณงามความดี สรางชื่อเสียงใหแก กฟผ. เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2560 วีระวัฒน ชลายน อดีตผูวาการ กฟผ. ในฐานะประธานกรรมการมูลนิธิ “กําธน สินธวานนท” เปน ประธานในพิธีมอบรางวัลมูลนิธิกําธน สินธวานนท แกผูปฏิบัติงาน กฟผ. ทีท่ าํ ประโยชนดา นวิชาการ และประกอบคุณความดี สรางชือ่ เสียง ใหแกองคการ โดยมี กรศิษฏ ภัคโชตานนท ผูวาการ กฟผ. สุทัศน ปทมสิริวัฒน และ วิทยา คชรักษ อดีตผูวาการ กฟผ. พรอมดวย ผูบริหารระดับสูง รวมแสดงความยินดี และมี สืบพงษ บูรณศิรินทร รองผูวาการบริหาร ในฐานะกรรมการและเลขานุการมูลนิธิ กลาว รายงานถึงความเปนมาของรางวัลฯ ณ หอประชุมเกษม จาติกวณิช อาคาร ต.040 สํานักงานใหญ กฟผ. วีระวัฒน ชลายน อดีตผูว า การ กฟผ. ในฐานะประธานกรรมการ มูลนิธิฯ กลาววา รูสึกดีใจและปลื้มใจที่องคการของเรายังมีชีวิตชีวาอยู เพราะผูปฏิบัติงานของเราไมเคยหยุดนิ่ง ไมเคยหยุดพัฒนา มีการ คิ ด ค น พั ฒ นาและทํ า คุ ณ ประโยชน เ พื่ อ องค ก ารและประเทศชาติ อยางตอเนือ่ ง ขอแสดงความยินดีกบั ทุกคนทีไ่ ดรบั รางวัลในวันนี้ ขอให คงรักษาความดีและความขยันหมั่นเพียรไวตลอดไป มูลนิธิ “กําธน สินธวานนท” จัดตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2537 โดยมี วัตถุประสงคเพื่อสงเสริมความคิดความสามารถของผูปฏิบัติงาน กฟผ. หรือผูท ที่ าํ ประโยชนดา นวิชาการ และหรือปรับปรุงประสิทธิภาพในการ ทํางานของ กฟผ. เพื่อบํารุงขวัญกําลังใจผูปฏิบัติงานที่ไดประกอบ คุณงามความดี สรางชือ่ เสียงใหแก กฟผ. และเพือ่ สงเสริมผูท สี่ รางความ สัมพันธอนั ดีใหเกิดขึน้ ระหวางบุคคล หรือหนวยงานภายนอกกับ กฟผ. รวมทั้งดําเนินการหรือรวมมือกับองคการอื่นๆ เพื่อสาธารณประโยชน รางวัลมูลนิธกิ าํ ธน สินธวานนท ไดจดั ขึน้ เปนประจําทุกป สําหรับ ป 2559 นั้ น คณะกรรมการคั ด เลื อ กผลงานวิ ช าการ ซึ่ ง มี สหรั ฐ บุญโพธิภักดี รองผูวาการประจําสํานักผูวาการ เปนประธานกรรมการ และคณะกรรมการคัดเลือกผูก ระทําความดี ซึง่ มี สมบัติ ศานติจารี อดีต ผูวาการ กฟผ. เปนประธานกรรมการ ไดพิจารณาคัดเลือกผลงาน ที่สมควรไดรับรางวัลมูลนิธิ “กําธน สินธวานนท ประจําป 2559” รวม

8 รางวัล ไดแก รางวัลผลงานทางวิชาการ 6 รางวัล และรางวัลผูกระทํา ความดี 2 รางวัล รางวัลผลงานทางวิชาการ ประกอบดวย รางวัลที่ 1 ไดรับ เงิ น รางวั ล 100,000 บาท พร อ มประกาศนี ย บั ต รเกี ย รติ คุ ณ สาขา วิ ศ วกรรมศาสตร แ ละอุ ต สาหกรรมวิ จั ย ได แ ก ผลงาน “อุ ป กรณ เคลื่อนยายตูบอรดขนาดใหญ ” เจาของผลงาน กองระบบควบคุม และทดสอบ ฝายกอสรางระบบสง รางวัลที่ 2 ไดรับเงินรางวัล 70,000 บาท พรอมประกาศนียบัตร เกียรติคณ ุ จํานวน 2 รางวัล สาขาวิทยาศาสตรและคอมพิวเตอรประยุกต ไดแก ผลงาน “ระบบ SCADA โทรมาตรลุมน้ํา กฟผ.” เจาของผลงาน กองเทคโนโลยีศนู ยควบคุม และสาขาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรม วิจัย ไดแก ผลงาน “ระบบปองกันการอุดตัน Intake โรงไฟฟา โดยวิธี Air Spiral Barrier” เจาของผลงาน นายณัฐพล พินจิ จันทร หัวหนาแผนก บํารุงรักษาโรงไฟฟา โรงไฟฟาพระนครเหนือ และคณะ รางวัลชมเชย ไดรบั เงินรางวัล 10,000 บาท พรอมประกาศนียบัตร เกียรติคณ ุ จํานวน 3 รางวัล สาขาวิทยาศาสตรและคอมพิวเตอรประยุกต ไดแก ผลงาน “สารสนเทศสนับสนุนการควบคุมระบบไฟฟา เพื่อ ติ ด ตามการใช ไ ฟฟ า ของประเทศ” เจ า ของผลงาน นายคงศั ก ดิ์ นันทธนะวานิช วิศวกรระดับ 10 ฝายควบคุมระบบกําลังไฟฟา และคณะ และผลงาน “โปรแกรมวิเคราะหและแสดงพิกัดตําแหนงฟาผาเทียบ แนวสายสง” เจาของผลงาน นายนวณัฐ เอื้ออนันต วิศวกรระดับ 9 ฝายปฏิบตั กิ ารภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และคณะ สาขาวิศวกรรมศาสตร และอุตสาหกรรมวิจยั ไดแก ผลงาน “Turbine Monitoring and Control System (TMC)” เจาของผลงาน นายณรงค แจมรัสมี ชางระดับ 7 แผนก ระบบควบคุมหมอน้ําและกังหัน ฝายบํารุงรักษาไฟฟา และคณะ ดานรางวัลผูก ระทําความดี รางวัลดีเลิศ ไดรบั โลรางวัลมีสญ ั ลักษณ มาน้ําทองคํา จํานวน 1 รางวัล สาขาทําคุณประโยชนตอ กฟผ. ไดแก น.ส.สายรุง เกิดแกว พนักงานวิชาชีพระดับ 7 แผนกประชาสัมพันธ และชุมชนสัมพันธ โรงไฟฟาบางปะกง รางวัลดีมาก ไดรับโลรางวัล มีสัญลักษณมาน้ําทองคํา จํานวน 1 รางวัล สาขาการสงเสริมคุณภาพ สิง่ แวดลอม ไดแก นายสมบูรณ คงปาน อดีตผูป ฏิบตั งิ าน กฟผ. วิทยากร ระดับ 8 กองบํารุงรักษาโยธา เขื่อนภูมิพล March-April 2017

P.31-33_EGAT.indd 31

4/3/17 4:52 PM


การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เครดิตภาพ www.powermag.com

โรงไฟฟาถานหินฮิตาชินากะที่ตั้งอยูบนพื้นที่ถมทะเล

ตามรอยพลังงานไฟฟาญี่ปุน... สูการสรางสมดุล

พลังงานไทย

หากพูดถึงประเทศญี่ปุน หลายคนนึกถึงนวัตกรรมและ เทคโนโลยีทันสมัย และสภาพแวดลอมที่คงความสวยงาม ตาม วิถธี รรมชาติ ทําใหญปี่ นุ เปนประเทศทีน่ กั ทองเทีย่ วแวะเวียนมา ไมเคยขาด ใครจะรูว า การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของญีป่ นุ ลวนมาจาก ปจจัยพื้นฐาน ดานระบบไฟฟาที่มั่นคงจากเชื้อเพลิงหลัก 3 ชนิด คือ พลังงานนิวเคลียร ถานหินและกาซธรรมชาติเหลว (LNG) ที่เปน ตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ กระทั่งเกิดแผนดินไหวครั้งใหญเมื่อป 2554

ญี่ปุนตองประสบเหตุการณพลิกผันดานพลังงาน โรงไฟฟาพลังงาน นิวเคลียรถูกปดตัวลงกวา 40 โรง สงผลใหญี่ปุนตองปรับทิศทาง พลังงานไฟฟาใหมตั้งแตป 2556 โดยลดสัดสวนพลังงานนิวเคลียร จากรอยละ 28 เปนรอยละ 2 และเพิ่มสัดสวนเชื้อเพลิงถานหิน จากรอยละ 25 เปนรอยละ 30 และกาซ LNG จากรอยละ 29 เปน รอยละ 43 ซึ่งสัดสวนที่เพิ่มขึ้นของกาซ LNG นี้ ทําใหประชาชน ตองแบกภาระคาไฟฟาทีแ่ พงขึน้ ญีป่ นุ จึงตองกลับมาทบทวนสัดสวน การใชเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาใหมอีกครั้ง ป จ จุ บั น ทิ ศ ทางพลั ง งานไฟฟ า ของญี่ ปุ น มี ลั ก ษณะการใช เชื้อเพลิงแบบผสมผสาน ไมพึ่งพิงเชื้อเพลิงชนิดใดชนิดหนึ่งมากไป จนเกิดปญหาเชนในอดีต โดยในปลายแผนป 2573 ญี่ปุนตองการ ใหประเทศกาวสูส ดั สวนพลังงานทีส่ มดุล คือลดสัดสวนกาซ LNG ลง ใหเหลือรอยละ 27 และเพิม่ สัดสวนจากการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน รอยละ 14 พลังงานนิวเคลียร รอยละ 22 และถานหิน รอยละ 26

March-April 2017

P.31-33_EGAT.indd 32

4/3/17 4:52 PM


การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

พ.ศ. 2558-2579 (PDP 2015) จึงใหความสําคัญตอการสรางสมดุล เชื้อเพลิงผลิตไฟฟามากขึ้น โดยปลายแผน ป 2579 ประเทศไทย จะใชกาซธรรมชาติ รอยละ 40 ถานหิน รอยละ 20 พลังงาน หมุนเวียน รอยละ 20 ซื้อไฟฟาพลังน้ําตางประเทศ รอยละ 20 โดยมองวาการพัฒนาโรงไฟฟาถานหินเปนทางออกที่เหมาะสม กับประเทศไทยที่สุดเวลานี้ ดวยศักยภาพในการสรางความมั่นคง ใหกับระบบไฟฟา ราคาคาเชื้อเพลิงถูก ทําใหคาไฟฟาถูกไปดวย และโรงไฟฟาถานหินมีเทคโนโลยีทันสมัย กําจัดมลสารไดอยาง สมบูรณ ไมสรางมลภาวะตอสิ่งแวดลอมและชุมชน การพัฒนาโรงไฟฟาถานหินในประเทศไทย ใชเทคโนโลยี ทันสมัย Ultra Super Critical เปนที่ยอมรับในระดับสากล แบบเดี ย วกั น กั บ ญี่ ปุ น สามารถควบคุ ม มลสารก า ซซั ล เฟอร ไดออกไซด ออกไซดของไนโตรเจน และฝุน ในระดับใกลเคียงกัน

เห็นไดอยางชัดเจนวา การปรับทิศทางพลังงานไฟฟาของญีป่ นุ แต ล ะครั้ ง “ถ า นหิ น ” ไม เ คยหลุ ด จากโผเชื้ อ เพลิ ง หลั ก ที่ เ ป น ตั ว ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศเลย อะไรทําใหญี่ปุนยอมรับการ พั ฒ นาโรงไฟฟ า ถ า นหิ น ทั้ ง ที่ ก ฎหมายควบคุ ม สิ่ ง แวดล อ มของ ประเทศญี่ปุนมีความรัดกุมและเขมขนอยางมาก นั่นอาจเปนเพราะ ญี่ปุนเปนประเทศแหงเทคโนโลยีที่เฝาติดตามนวัตกรรมที่ทันสมัย ตลอดเวลา จึงรูดีวาเทคโนโลยีสมัยใหม “เอาอยู” สามารถควบคุม การปลดปลอยมลสารไดเกือบทั้งหมด หากมองกลับมายังประเทศไทย มีแนวทางสรางความสมดุล ดานพลังงาน เชนเดียวกับประเทศญี่ปุน ที่ผานมาไทยพึ่งพากาซ ธรรมชาติผลิตไฟฟามากถึงเกือบรอยละ 70 มีความเสี่ยงตอความ มั่นคงของระบบไฟฟา แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย

สิ่งที่ประเทศไทยจะทําไดดีกวาญี่ปุนมีหลายอยาง เชน เพิ่มการ ติดตั้งเครื่องกําจัดปรอท ลานกองถานหินที่เปนระบบปดเพื่อขจัด ปญหาการฟุงกระจายของถานหินและการใหความสําคัญตอชุมชน ครอบคลุมทุกกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย โดยลงพื้นที่เพื่อใหขอมูลและ รับฟงขอวิตกกังวลของชุมชน มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนใหมี ความเปนอยูที่ดีขึ้นในรูปแบบของโครงการตางๆ นอกเหนือจาก เงินกองทุนพัฒนาพืน้ ทีร่ อบโรงไฟฟาถานหินทีช่ มุ ชนจะไดรบั ในอัตรา 2 สตางคตอหนวย นีค่ อื คํามัน่ การสรางสมดุลพลังงานทีเ่ คียงคูก นั ไปกับสมดุล ของวิถีชีวิต ชุมชนที่ยั่งยืน...รอเพียงพลังเสียงของประชาชนใน พื้นที่จะเปนผูกําหนดอนาคตพลังงานไฟฟาของประเทศไทย

March-April 2017

P.31-33_EGAT.indd 33

4/3/17 4:52 PM


การไฟฟานครหลวง

โครงการ MEA SAFE 1 และ MEA SAFE 2 ตรวจสุขภาพระบบไฟฟากับการไฟฟานครหลวง

ระบบไฟฟาก็เชนเดียวกับรางกายของคนเรา คือ ตองการการตรวจสุขภาพเปนประจำสม่ำเสมอ และะนีค ่ อ ื ทีม ่ าของโครงการ MEA SAFE 1 และ MEA SAFE 2 ซึง่ เปนบริการตรวจวิเคราะหสขุ ภาพ ระบบไฟฟากับการไฟฟานครหลวง

หลายคนอาจจะยังไมทราบวาการไฟฟานครหลวงดูแลลูกคาผูใชบริการอยาง ครบวงจร ตั้งแตการติดตั้งระบบไฟฟาและอุปกรณไฟฟา ไปจนถึงการดูแลและบํารุง รักษาหลังติดตัง้ โดยโครงการ MEA SAFE 1 และ MEA SAFE 2 นีเ้ ปนการดูแลระบบ ไฟฟาหลังมิเตอร ซึ่งสวนใหญเปนลูกคาประเภทอาคารสํานักงาน คอนโดมิเนียม สําหรับผูใชหมอแปลงไฟฟาและตูแผงสวิตชมาเกิน 10 ป เหมาะกับโครงการ MEA SAFE 1 ซึ่งเปรียบเหมือนการตรวจสุขภาพโปรแกรมใหญ ครอบคลุมการ ตรวจสอบและบํารุงรักษาหมอแปลงไฟฟา การตรวจสอบและบํารุงรักษาตูแ ผงสวิตช รวมไฟฟาแรงต่าํ (MDB) และการประเมินและวิเคราะหสภาพการใชงานอุปกรณไฟฟา เบื้องตน พรอมกับตรวจสอบสภาพการติดตั้งและสภาพทั่วไป สวนโครงการ MEA SAFE 2 เปรียบเหมือนการตรวจสุขภาพโปรแกรมเล็ก เหมาะกับกรณีทใี่ ชหมอแปลงไฟฟาและตูแ ผงสวิตชมาแลวประมาณ 3-5 ป เนือ่ งจาก อุปกรณยังมีสภาพดี มีความเสี่ยงนอยกวา จึงดําเนินการเฉพาะการตรวจสอบและ คนหาความผิดปกติดวยกลองสองความรอน (Thermoscan) โครงการดั ง กล า วควบคุ ม งานโดยที ม วิ ศ วกรผู เชี่ ย วชาญด า นระบบไฟฟ า พรอมทัง้ วิเคราะหผลการตรวจสอบอุปกรณไฟฟา และจัดทําผลการตรวจสอบใหกบั ผูใชไฟฟา สามารถนําไปประกอบการทําประกันภัย การตรวจสอบอาคาร หรือใช ประกอบการทํามาตรฐานคุณภาพที่ผูใชไฟฟาดําเนินการได ทัง้ หมดนีเ้ พือ่ ใหผรู บั บริการไดมพี ลังงานไฟฟาใชไดอยางตอเนือ่ ง มีประสิทธิภาพ ปลอดภัยจากปญหาไฟฟาลัดวงจร และลดความเสีย่ งอันตรายจากอุปกรณทขี่ าดการ บํารุงรักษา ขอขอบคุณขอมูล : ฝายธุรกิจบริการและคุณภาพไฟฟา การไฟฟานครหลวง March-April 2017

P.34-35_MEA.indd 34

3/31/17 1:36 PM


การไฟฟานครหลวง

Electrical system is like human body; it needs to be checked up regularly. Therefore, the Metropolitan Electricity Authority (MEA) by the Better Care and Power Quality Department has organized MEA Safe 1 and MEA Safe 2 projects, which are electrical system check-up services. Many may not know that MEA has prepared complete services to its customers, which comprise electrical system and equipment installation including maintenance. MEA Safe 1 and MEA Safe 2 are provided at customers’ sites, which consume electricity for 12/24 kV or above, to maintain electrical systems installed customer’s section. Most of them are office buildings and condominiums. MEA Safe 1 is suitable for electrical transformers and main distribution boards (MDB) that have been used for longer than 10 years. It is major electrical equipment check-up, which includes basic utility assessment and analysis as well as inspection and maintenance. MEA Safe 2 is minor check-up, which is suitable for electrical transformers and main distribution boards (MDB) that have been used approximately for 3-5 years. As the equipment is still in good condition, it is inspected by thermal imaging camera (thermoscan) to find out its irregularity. MEA Safe 2 also provides service for equipment’s general condition and installation check-ups. These projects are supervised by engineers, who are experts in electrical system. Analysis result and inspection report, which can be supporting documents for insurance, building inspection or quality standard application, are available for customer as well. All services as mentioned above are arranged to ensure reduction of electrical short and risks, which may occur from disrepair of electrical equipment. Consequently, MEA’s customers can receive best services of power stability, electrical efficiency and safety.

MEA SAFE 1 AND MEA SAFE 2 PROJECTS ELECTRICAL SYSTEMS CHECK-UP BY MEA

Information given by Better Care and Power Quality Department MEA สอบถามขอมูลและสมัครการใชบริการไดที่ ฝายธุรกิจบริการและคุณภาพไฟฟา การไฟฟานครหลวง โทร. 0 2878 5288 For more information and service application, please contact the Better Care and Power Quality Department, Tel.: +66 2878 5288

ขอขอบคุณภาพประกอบ / Photo : http://www.aeieng.com/index.php/services/electrical

March-April 2017

P.34-35_MEA.indd 35

3/31/17 1:36 PM


การไฟฟาสวนภูมิภาค

คณะผูบริหารการไฟฟาสวนภูมิภาค เขาเฝาถวายสักการะ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก องคที่ 20 แหงกรุงรัตนโกสินทร ตามทีส่ มเด็จพระเจาอยูห วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงมีพระบรม ราชโองการสถาปนา สมเด็จพระมหามุนีวงศ (อัมพร อมพรโร) เจาอาวาสวัดราชบพิธ สถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร เปน สมเด็จพระสังฆราช องคที่ 20 แหงกรุงรัตนโกสินทร เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ 2560 ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม นั้น เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2560 เวลา 09.00 น. เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการ การไฟฟ า ส ว นภู มิ ภ าค นํ า คณะผู บ ริ ห าร การไฟฟาสวนภูมภิ าค เขาเฝาถวายสักการะ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ณ พระอุโบสถวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร

การไฟฟาสวนภูมิภาค ออกหนวยแพทยเคลื่อนที่ จ.สุราษฎรธานี

เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค พรอม อวยชัย อินทรนาค ผูว า ราชการจังหวัดสุราษฎรธานี สวาสดิ์ ปุย พันธวงศ ประธานนักศึกษาวิทยาลัยปองกัน ราชอาณาจักร รุนที่ 27 และ ประพีร ปุยพันธวงศ ประธานมูลนิธิ แสง-ไซกี เหตระกูล รวมเปนประธานใน พิธเี ปดโครงการหนวยแพทยเคลือ่ นที่ โดยมี ภาณุมาศ ลิม้ สุวรรณ ผูอ าํ นวยการการไฟฟาสวนภูมภิ าค เขต 2 (ภาคใต) จังหวัดนครศรีธรรมราช กลาวรายงาน ณ โรงเรียนกาญจนดิษฐ อําเภอกาญจนดิษฐ จังหวัดสุราษฎรธานี โครงการหนวยแพทยเคลือ่ นที่ จัดขึน้ เพือ่ ถวายเปนพระราชกุศล แดพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มีประชาชนเขารับการตรวจรักษาประมาณ 6,400 คน โดยบริการตรวจรักษาประชาชนฟรีโดยไมคิดคาใชจายใดๆ March-April 2017

P.36-37_PEA.indd 36

3/31/17 1:37 PM


การไฟฟาสวนภูมิภาค

กอนคิดจะกอสราง ตัดกิง่ ไม ติดตัง้ สายสือ่ สารหรือปายโฆษณาภายนอกอาคาร จําเปนอยางยิ่งที่จะตองสังเกตสภาพแวดลอมโดยรอบใหดี ยิ่งหากตองทํางานใกล กับแนวสายไฟฟาแรงสูงดวยแลว ยิ่งตองไมประมาท เพราะอาจเกิดไฟฟารั่วจนเปน อันตรายถึงแกชีวิตได

ปลอดภัย

แมอยูใกลสายไฟฟาแรงสูง ทำความรูจักไฟฟาแรงสูง

กอนอื่นตองทราบวาเสาไฟฟา 1 ตน จะมีสายพาดผานอยู 3 ชนิด ไดแก สายไฟฟา แรงสูงจะอยูช นั้ บนสุด รองลงมาคือสายไฟฟา แรงต่ํา สวนสายชั้นลางสุด คือสายสื่อสาร โทรคมนาคม ประกอบดวย สายโทรศัพท สายเคเบิลทีวี และสายอินเทอรเน็ต ไฟฟาแรงสูงคือ ระบบไฟฟาทีม่ แี รงดัน ไฟฟาระหวางสายไฟฟาสูงเกินกวา 1,000 โวลต โดยมักจะอยูส งู จากพืน้ ดินตัง้ แต 9 เมตร ขึ้ น ไป หากเที ย บกั บ ความสู ง ของตึ ก แล ว สายไฟฟาที่มีระดับความสูงประมาณตึกชั้น ที่ 2-3 แสดงวามีแรงดันไฟฟาขนาด 12,00024,000 โวลต ถามีระดับความสูงเทียบเทา ตึกชัน้ ที่ 4-5 แสดงวามีแรงดันขนาด 69,000115,000 โวลต และถามีระดับความสูงตั้งแต ตึกชัน้ ที่ 6 ขึน้ ไป แสดงวามีแรงดันไฟฟาขนาด 230,000 โวลต

ติดตั้งฉนวนเพื่อความปลอดภัย

ขึ้นชื่อวาไฟฟาแรงสูงยอมอันตราย อยางมาก โดยเฉพาะสายไฟฟาแรงสูง ที่ใชสงกระแสไฟฟาไปตามถนน ดังนั้น หากตองการกอสราง ตัดกิ่งไม ติดตั้งปาย โฆษณา เสาอากาศ หรือประดับไฟภายนอก อาคารบ า นเรื อ น ควรสํ า รวจพื้ น ที่ ที่ จ ะ ทํ า การติ ด ตั้ ง ก อ นว า มี ส ายไฟฟ า แรงสู ง พาดผานหรือไม ถามี แนะนําใหหลีกเลีย่ ง แต ห ากจํ า เป น ต อ งทํ า งานใกล แ นวสาย ไฟฟาแรงสูงจริงๆ ควรติดตอการไฟฟา สวนภูมิภาคหรือ PEA ในพื้นที่ที่อยูใกล ที่สุดใหมาดําเนินการนําฉนวนครอบสาย ไฟฟาแรงสูงกอน เพือ่ ใหเกิดความปลอดภัย ในการทํางาน นอกจากนี้ หากพบว า มี กิ่ ง ก า น ของตนไมอยูใกลแนวสายไฟฟาแรงสูง ซึง่

ติดตอเจาหนาที่เพื่อนำฉนวนครอบสายไฟฟาแรงสูง กอนจะตัดแตงกิ่งไม หรือทำงานอื่นๆ เพื่อให เกิดความปลอดภัยในการทำงาน

อาจจะถูกลมพัดไปแตะสายไฟฟาแรงสูงได ก็ไมควร จะเสีย่ งตัดกิง่ ไมเอง และไมควรเขาใกลตน ไมตน นัน้ เนือ่ งจากอาจถูกกระแสไฟฟาดูดได ควรแจงเจาหนาที่ การไฟฟาสวนภูมิภาคใหมาทําการตัดออกโดยเร็ว หรือโทรสายดวน 1129 PEA Call Center ตลอด 24 ชั่วโมง

March-April 2017

P.36-37_PEA.indd 37

3/31/17 1:37 PM


บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน)

ราชบุรโี ฮลดิง้ ตัง้ เปาขยายการลงทุน 7,500 เมกะวัตต ป 2560 RATCH aims 7,500 megawatts investment expansion in 2017 บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) แถลง ทิศทางการดําเนินธุรกิจป 2560 โดยจะขยายการลงทุนในธุรกิจ ผลิตไฟฟาและพลังงาน พรอมทั้งกระจายการลงทุนสูธุรกิจที่ไมใช พลังงานมากขึน้ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ตัง้ เปาหมายการเติบโตของปนที้ ี่ 7,500 เมกะวัตต หรือเทียบเทา จากปจจุบันที่ 6,442 เมกะวัตต (เฉพาะ โครงการที่เดินเครื่องเชิงพาณิชยแลว) และไดจัดสรรงบลงทุนไว ราว 10,000 ลานบาท เพื่อรองรับเปาหมายการเติบโตของปนี้ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังรับรูกําไรจํานวน 6,166 ลานบาท สําหรับ ผลการดําเนินงานป 2559 ซึ่งเพิ่มขึ้น 93% จากป 2558 รั ม ย เหราบั ต ย กรรมการผู จั ด การใหญ บริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ า ราชบุ รี โ ฮลดิ้ ง จํ า กั ด (มหาชน) กล า วว า ทิ ศ ทางการดํ า เนิ น งานในป นี้ ยั ง คงเน น 2 ดานหลัก คือ การลงทุนและความสามารถในการ ทํากําไรของสินทรัพย เพือ่ ใหบริษทั ฯ สามารถเติบโต ไดอยางตอเนื่องและมั่นคง โดยมีเปาหมายขยาย การลงทุนใหได 7,500 เมกะวัตต และรักษาอัตรา ผลตอบแทนของสินทรัพย (Return on Asset) ใหอยู ที่ 6% ทัง้ นี้ บริษทั ฯ มีโครงการเปาหมายทีอ่ ยูร ะหวาง เจรจาขัน้ สุดทายและทีม่ ศี กั ยภาพการลงทุนประมาณ 1,100 เมกะวัตต หรือเทียบเทา และโครงการที่ลงทุนแลวซึ่งกําลัง พัฒนาและกอสรางอีก 538 เมกะวัตต ซึง่ เพียงพอทีจ่ ะบรรลุเปาหมาย ในปนี้ได “ปนี้ทิศทางการลงทุนจะกระจายออกไปธุรกิจอื่นนอกจาก ธุรกิจไฟฟามากขึ้น เพื่อเรงการเติบโตและสรางความมั่นคงของ รายได ปจจุบันบริษัทฯ มีโครงการเดินเครื่องเชิงพาณิชยแลว 6,442 เมกะวัตต หากรวมโครงการกําลังพัฒนาและกอสรางทีบ่ ริษทั ฯ ลงทุน ไปแลวจะทําใหกําลังผลิตเพิ่มขึ้นเปน 6,980 เมกะวัตต เราจะตอง แสวงหาโครงการใหมเพิม่ อีก 520 เมกะวัตต ซึง่ โครงการทีม่ อี ยูใ นมือ ขณะนี้ น า จะเพี ย งพอสํ า หรั บ เป า หมายหากดํ า เนิ น การได สํ า เร็ จ บริษัทฯ ไดเตรียมเงินทุนไวประมาณ 10,000 ลานบาท ซึ่งสวนหนึ่ง จะใชในโครงการที่กําลังพัฒนาและกอสราง ที่เหลือจะใชสําหรับ โครงการใหมที่จะเกิดขึ้น เรามองวา ไทย สปป.ลาว ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย ฟลปิ ปนส และเมียนมา มีศกั ยภาพและโอกาสการลงทุน ที่ดีมาก” รัมย กลาว นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีแผนที่จะลงทุนโครงการพลังงาน ทดแทนเพิ่ ม ให ไ ด 10% ของเป า หมาย 7,500 เมกะวั ต ต หรื อ

Ratchaburi Electricity Generating Holding Public Company Limited (“RATCH”) today announces its business direction for 2017, with an expansion plan in electricity and energy business as well as diversifying to non-power business. RATCH aimed to achieve the growth of 7,500 megawatts or equivalent, from the current operation capacity of 6,442 megawatts. The 10-billion-baht investment budget was provided to support the growth plan for this year. In addition, the company reported the 6.166-billion-baht profit for the 2016 operating results, rising 93% overyear. Mr.Rum Herabat, RATCH CEO, said that this year direction will focus on two drivers, including investment and asset’s profitability in order to support the continuous and stable growth under the expansion goal of 7,500 megawatts, with effort to maintain the return on asset at 6%. Apparently, the company has highly potential projects in pipeline, with combined capacity of 1,100 megawatts or equivalent, plus 538 megawatts capacity for projects under construction and development. It is adequate to the support the growth target for this year. “This year the company will diversify to non-power business to accelerate the growth and secure the source of revenues. Currently, RATCH owns the operation capacity of 6,442 megawatts. Including above said construction and development projects, the capacity will reach 6,980 megawatts. As a result, RATCH needs the additional capacity of 520 megawatts to meet our target. If the projects in the pipeline come to an end as planned, it is expected that the said goal can be achieved. The 10-billion-baht provision was prepared for funding the under construction and development projects and the new investments. The bright opportunity seems to lie ahead for Thailand, Lao PDR, Australia, Indonesia, Philippines and Myanmar,” Mr.Rum said. The company also planned to grow the renewable portfolio to 10% or 92 megawatts out of the 7,500-megawatt growth target, whilst the existing projects reach 658 megawatts. Our key investment

March-April 2017

P.38-39_RATCH.indd 38

3/31/17 1:38 PM


บริษทั ผลิตไฟฟาราชบุรโี ฮลดิง้ จํากัด (มหาชน)

92 เมกะวัตต จากปจจุบัน 658 เมกะวัตต โดยมีออสเตรเลีย ไทย และ สปป.ลาว เปนเปาหมายหลักสําหรับการบริหารสินทรัพย บริษัทฯ มุงเนนบริหารประสิทธิภาพของโรงไฟฟา ทั้งระดับความ เชื่อถือได (Reliability) และความพรอมจาย (Availability) ของ โรงไฟฟา เพือ่ เพิม่ ความสามารถในการทํารายไดใหแกบริษทั ฯ โดย เฉพาะโรงไฟฟาราชบุรี โรงไฟฟาหงสา โรงไฟฟาขนาดเล็กประเภท โคเจนเนอเรชั่น (SPP) และไดกําหนดเปาหมายผลตอบแทน ตอสินทรัพยไวที่ 6% ในป 2559 การดําเนินงานของบริษัทฯ มีผลเปนที่นาพอใจ โดยรับรูกําไรจากการดําเนินงานกอนตนทุนทางการเงินและภาษี เงินได จํานวน 8,338.23 ลานบาท และกําไรสวนของบริษัทฯ จํานวน 6,165.72 ลานบาท เพิม่ ขึน้ 93% จากปกอ นหนา สําหรับ รายไดรวมมีจํานวน 51,279.88 ลานบาท แบงเปนรายไดจากการ ขายและบริการ 93% (จํานวน 47,578.38 ลานบาท) สวนแบง จากกิจการทีค่ วบคุมรวมกันและเงินปนผล 6% (จํานวน 3,111.92 ลานบาท) ที่เหลือเปนรายไดจากดอกเบี้ยและอื่นๆ ทั้งนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2560 เสนอจายเงินปนผลแกผูถือหุน จํานวน 3,408 ลานบาท คิดเปน 2.35 บาทตอหุน โดยจะตองไดรับการอนุมัติ จากที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2560 ในวันที่ 5 เมษายน 2560 ซึ่งบริษัทฯ ไดจายเงินปนผลระหวางกาลใหผูถือหุนแลว เปนเงินจํานวน 1,595 ลานบาท ในอัตรา 1.10 บาทตอหุน เมื่อ วันที่ 22 กันยายน 2559 จึงคงเหลือเงินปนผลสําหรับงวดนี้ ในอัตราหุนละ 1.25 บาท คาดวาจะสามารถจายผูถือหุนไดใน วันที่ 27 เมษายน 2560 ฐานะการเงินของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 มี สิ น ทรั พ ย ร วมจํ า นวน 96,391.09 ล า นบาท หนี้ สิ น จํ า นวน 33,938.32 ลานบาท สวนของผูถือหุน 62,452.77 ลานบาท มีเงินสดและเงินลงทุน รวมจํานวน 12,594.69 ลานบาท และกําไร สะสมจํานวน 48,825.15 ลานบาท สําหรับอันดับความนาเชือ่ ถือ ของบริษัทฯ จัดอันดับโดยมูดีสอยูที่ระดับ Baa1 เอสแอนดพี อยูที่ระดับ BBB+ และทริสเรทติ้งที่ระดับ AAA ซึ่งสะทอนใหเห็น วาบริษัทฯ มีศักยภาพและความสามารถที่จะระดมทุนดวยตนทุน การเงินที่ดี เพื่อรองรับขยายการลงทุนในอนาคตไดอีกมาก

destinations included Australia, Thailand and Lao PDR. On the part of asset management, the company will put effort more on power plant efficiency management by enhancing its reliability and availability for optimizing its profitability, especially for Ratchaburi power plant, Hongsa power plant and the cogeneration power plants (SPP). Meanwhile, the return on Asset (ROA) was targeted at 6% in 2017. For the satisfactory operating performance in 2016, RATCH booked the 8.338-billion-baht profit before interest and tax expenses and 6.166-billion-baht profit, increasing 93% over year. The total revenues amounted to 51.280 billion baht which can be divided in to 93% (equal to 47.578 billion baht) from electricity sales and services, 6% (equal to 3.112 billion baht) from profit sharing from joint and associate companies and dividend, and the remainder from interest income and others. On February 15, 2017, the Board’s meeting resolved to propose the 2016 dividend payment of 3.408 billion baht (or 2.35 baht per share) for all shareholders. This payment shall be approved by the annual general meeting of shareholders on April 5, 2017 and the payment was expected to be made on April 27, 2017. However, the interim dividend payment amounting to 1.595 billion baht, at the rate of 1.10 baht per share was already made on September 22, 2016. For the financial position as of December 31, 2016, the company booked 96.391-billion-baht assets, 33.938-billion-baht liabilities, 62.453-billion-baht shareholder’s equity, 12.595-billion-baht cash and investment capital and 48.825-billion-baht retained earnings. RATCH also receives the “Baa1” Company’s credit rating from Moody’s Investors Service (Moody’s),“BBB+” from Standard & Poor’s (S&P) and “AAA” from TRIS Rating reflecting its potentiality and ability to raise fund at reasonable cost to drive future investment.

March-April 2017

P.38-39_RATCH.indd 39

3/31/17 1:38 PM



Asean_21.59x29.21cm.pdf

1

3/30/17

3:02 PM


Intermach_21.59x29.21cm.pdf

1

3/30/17

3:04 PM


Advanced Technology in Power System 2017

IEEE Power & Energy Society - Thailand และ สถาบันวิศวกร ไฟฟาจากประเทศญี่ปุน (The Institute of Electrical Engineers of Japan) รวมกับ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จัดสัมมนาทางวิชาการระดับนานาชาติ ระหวางวันที่ 7-8 มีนาคม พ.ศ. 2560 ณ หอประชุม IUP Auditorium, International Building (IUP) คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร กรุงเทพฯ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนําเสนอผลงานการวิจัย ถายทอดความรูแ ละแลกเปลีย่ นประสบการณระหวางวิศวกรและนักวิจยั ของประเทศไทยกับประเทศญี่ปุน

March-April 2017

p.43-44_IEEE.indd 43

3/31/17 1:38 PM


สัมมนาเชิงวิชาการ เรื่อง “ระบบผลิตไฟฟาพลังงานชีวมวลและชีวภาพ : ขอกำหนด การออกแบบ ติดตั้ง ควบคุม และบำรุงรักษา” ครั้งที่ 2 สมาคมวิศวกรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสแหงประเทศไทย (IEEE Thailand Section) และ IEEE Power & Energy Society - Thailand Chapter และ สถาบัน พัฒนาและวิจัยพลังงานนครพิงค มหาวิทยาลัยเชียงใหม รวมจัดการสัมมนา เชิงวิชาการ “ระบบผลิตไฟฟาพลังงานชีวมวลและชีวภาพ : ขอกําหนด การออกแบบ ติดตั้ง ควบคุม และบํารุงรักษา” ครั้งที่ 2 ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ โดย เล็งเห็นวาจะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการพัฒนาพลังงานทดแทนเพื่อนําไปสูการ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอยางยั่งยืน ซึ่งการจัดสัมมนาครั้งนี้มีผูสนใจเขารวม สัมมนากวา 120 คน

นายสมบัติ จันทรกระจาง ผูอํานวยการฝายอุปกรณงานจําหนาย การไฟฟานครหลวง และประธานฝาย ฝ ก อบรม IEEE Thailand Section และกรรมการบริหาร IEEE Power & Energy Society – Thailand กลาวเปด งานสัมมนา

March-April 2017

p.43-44_IEEE.indd 44

3/31/17 1:38 PM



Interview > กองบรรณาธิการ

ผูวาการ การไฟฟาสวนภูมิภาค

Chairman, IEEE Power & Energy Society - Thailand (IEEE PES - Thailand) IEEE Power Energy Society – Thailand (IEEE PES-Thailand) เปน Chapter หนึ่งของสมาคมสถาบัน วิศวกรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสแหงประเทศไทย (IEEE Thailand Section) โดยหนาทีข่ อง IEEE Power & Energy Society - Thailand Chapter คือ การรวมมืออยางใกลชดิ กับ IEEE Thailand เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการใช พลังงานไฟฟาและการถายโอนพลังงาน การแลกเปลี่ยน ขอมูลทางเทคนิคใหกบั สมาชิก IEEE และวิศวกรของไทย โดยทํ า งานร ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย ในประเทศและ ตางประเทศ จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการและการประชุม ดานพลังงาน

ประธานคณะกรรมการบริหาร IEEE PES - Thailand จะมีวาระในการทํางาน 3 ป โดยผูที่ดํารงตําแหนง ประธาน IEEE PES - Thailand ปจจุบนั คือ คุณเสริมสกุล คลายแกว ผูว า การการไฟฟาสวนภูมภิ าค โดยมีวาระดํารงตําแหนงระหวาง ป 2559-2561 Interview ฉบับนี้ จึงไดเขาพูดคุยกับ คุณเสริมสกุล คลายแกว ในฐานะประธาน IEEE PES - Thailand ถึงบทบาท ขององคกรทีผ่ า นมา รวมทัง้ การดําเนินงานในอนาคตเพือ่ ทําให IEEE PES - Thailand เปนองคกรที่เขมแข็งยิ่งขึ้น มีชื่อเสียง เปนที่ยอมรับในวงกวางมากขึ้น รวมทั้งการพัฒนาการไฟฟา สวนภูมิภาคใหเปนองคกรแหงอนาคตดวย คุณเสริมสกุล คลายแกว รับตําแหนงประธาน IEEE PES - Thailand เมื่อป 2559 หลังจากรับตําแหนงก็เริ่มทํางาน อย า งจริ ง จั ง โดยได รั บ ความร ว มมื อ จากคณะที่ ป รึ ก ษา คณะกรรมการบริหารสมาคมฯ และสมาชิกเปนอยางดี

March-April 2017

p.46-48_interview.indd 46

3/31/17 1:39 PM


“ผมเคยไดยินชื่อ IEEE PES - Thailand มาตั้งแตยังเปนนิสิต คณะวิศวฯ ม.เกษตรศาสตร หลังจากเรียนจบก็เริม่ ทํางานทีก่ ารไฟฟา สวนภูมภิ าคเปนแหงแรกและแหงเดียวจนถึงปจจุบนั เมือ่ เขาเปนพนักงาน ของ กฟภ. ก็ไดมีโอกาสเขารับการอบรมจาก IEEE PES - Thailand และทราบดีวา ผูบ ริหารของ กฟภ. จะเปนผูม บี ทบาทสําคัญในองคกรนี้ มาโดยตลอด ดังนัน้ เมือ่ ไดรบั ตําแหนงประธาน IEEE PES - Thailand จึงพยายามทํางานอยางเต็มที่และดวยความเต็มใจ กอปรกับเรามี คณะทีป่ รึกษา และคณะกรรมการบริหารทีเ่ ขมแข็ง ทําใหการดําเนินงาน ของ IEEE PES - Thailand ประสบความสําเร็จดวยดียิ่ง” IEEE PES - Thailand ไดสนับสนุนการพัฒนาวิชาการใน ประเทศเกี่ยวกับพลังงานไฟฟา โดยการรวมจัดงาน International Conference กับหนวยงานทางวิชาการ รวมทัง้ จัด IEEE Distinguished Lecturer Program และ Tutorial/Training Course โดยการเชิญ วิทยากรที่มีความรูเฉพาะดาน จากทั้งในประเทศและตางประเทศ มาใหความรูกับวิศวกร นิสิต นักศึกษา และผูสนใจอยางตอเนื่อง IEEE PES - Thailand ไดรวมจัดงานสัมมนากับหนวยงาน ตางๆ หลายแหง เชน IEEJ P & ES - IEEE PES Thailand Joint Symposium on Advanced Technology in Power Systems 2016 Joint Seminar KMILT & IEEE PES : Risk and Asset Management of Electrical Equipment Joint Seminar Cigre & IEEE PES : Understanding Power Circuit Breakers and Surge Arresters : Design Application and Testing Joint Seminar CEP & IEEE PES : Power Quality Problems & Solutions: Case Studies in Thailand and Asia Pacific 2016 Joint Seminar TGGS & IEEE PES นอกจากนั้น ยังไดเปนผูสนับสนุนคาใชจาย และการใช Logo สําหรับการจัด International Conference อีกหลายงาน อาทิ Asia Pacific Protection & Testing Conference 2016 : Improving the Quality and Efficiency of Protection and Control Systems The 2016 International Conference on Cogeneration, Small Power Plants and District Energy (ICUE 2016) 2016 International Conference on Energy and Environmental Science (ICEES 2016) 2016 University & Utility Research : Supporting Program for Students 2016 IEEE PES Asia – Pacific Power & Energy Engineering Conference (APPEEC 2016) จากความรวมมือรวมใจกันในการทํางาน และผลงานโดดเดน ทีก่ ลาวมา ในป 2016 IEEE PES -Thailand ไดรบั รางวัล Outstanding Chapter Award 2016 ซึ่งเปนรางวัลที่ IEEE PES Headquarter ●

มอบใหแก Chapter ที่ไดใหการสนับสนุนดานวิชาการใหแกสมาชิก วิศวกร นิสิต นักศึกษา และผูสนใจอยางตอเนื่อง “รางวัลนี้ถือเปนรางวัลของทุกคนที่รวมกันทํางานหนักมา ตลอดป ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ พัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมไฟฟาของประเทศ ใหมคี ณ ุ ภาพ ซึง่ ผลทีส่ ดุ แลวประโยชนกจ็ ะตกกับประเทศ เพราะเมือ่ บุคลากรมีคุณภาพแลว ไฟฟาของไทยก็จะไดคุณภาพไปดวย เมื่อ ไฟฟามีคุณภาพ มีความมั่นคง ก็สามารถดึงดูดนักลงทุนใหเขามา ลงทุนในประเทศมากขึ้น” สําหรับในป 2017 นั้น ทาง IEEE PES - Thailand ไดกําหนด แผนการดําเนินงานโดยเนนการพัฒนาศักยภาพของสมาชิก รวมถึง วิศวกรในประเทศเชนเดิม กิจกรรมอื่นนอกเหนือจากการจัดอบรม สัมมนาก็มี อาทิ 2017 IEEE PES - Thailand Dinner Talk เปนงานที่จัดขึ้น ประจําทุกป จุดประสงคกเ็ พือ่ เปนเวทีใหสมาชิกและหนวยงานตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับภาคพลังงานและภาคอุตสาหกรรม ไดรบั ฟงการแสดง ปาฐกถา และการอภิปรายในหัวขอที่เกี่ยวของนโยบายการพัฒนา พลั ง งานของประเทศ โดยผู บ ริ ห ารของภาครั ฐ และรั ฐ วิ ส าหกิ จ รวมทั้งภาคการศึกษา “งาน Dinner Talk ทุกครั้งก็ไดรับความรวมมือจากสมาชิก เขารวมงานอยางคับคั่ง ถือเปนงานใหญอีกงานหนึ่งที่ไดรับความ สนใจจากผูที่อยูในแวดวง และผูสนใจทั่วไป รวมทั้งสื่อมวลชนดวย” 2017 PES WiP Forum in Bangkok เปนเวทีที่เปดโอกาส ใหวิศวกรไฟฟาผูหญิง และเปนสมาชิก IEEE PES - Thailand ทั้งใน ภาคการศึกษา ภาคอุตสาหกรรม ไดแสดงความรูค วามสามารถ และ แลกเปลีย่ นประสบการณการทํางานดานวิศวกรรมไฟฟากําลัง รวมทัง้ ยังเปนการสรางแรงบันดาลใจในการทํางานสําหรับวิศวกรหญิง รุนใหมอีกดวย “งาน 2017 PES WiP Forum in Bangkok จะจัดขึ้นเปนปแรก ดวยปจจุบันมีผูหญิงสนใจงานดานวิศวกรรมมากขึ้น รวมทั้งวิศวกร หญิงของไทยเราทั้งในภาคการศึกษาและภาคอุตสาหกรรมเปนผูที่ มีความรูค วามสามารถ จึงหวังวางานนีจ้ ะเปนแรงบันดาลใจใหผหู ญิง รุนใหมสนใจงานวิศวกรรมมากขึ้น” Student Membership Supporting Program เป น โครงการที่ IEEE PES - Thailand ไดดําเนินการขึ้นเพื่อสนับสนุน เงิ น ค า สมั ค รสมาชิ ก สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษาในมหาวิ ท ยาลั ย ที่ มี ค ณะ วิ ศ วกรรมศาสตร (ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมไฟฟ า กํ า ลั ง ) โดยมี ว งเงิ น สนับสนุนทั้งสิ้น 160,000 บาท ซึ่งจะเปนการเปดโอกาสใหนิสิต นักศึกษาที่เปนอนาคตของวิศวกรไทยไดมีโอกาสเขามาเปนสมาชิก ของ IEEE และ IEEE PES เพื่อเรียนรูเทคโนโลยีและความรูใหมๆ เพิ่ ม เติ ม จากในตํ า ราเรี ย น ได มี โ อกาสพบปะกั บ วิ ศ วกรรุ น พี่ หลากหลายสายอาชีพ ถือเปนการเปดโลกทัศนดานวิศวกรรมใหแก วิศวกรรุนใหมๆ ●

March-April 2017

p.46-48_interview.indd 47

3/31/17 1:39 PM


“ป จ จุ บั น มี ส ถาบั น การศึ ก ษาในประเทศที่ เ ป ด สอนด า น วิศวกรรมไฟฟาหลายแหง แตละปผลิตวิศวกรออกมาจํานวนมาก แต ดวยขอจํากัดดานการเงินทําใหไมสามารถสมัครเปนสมาชิกของ IEEE ได จึงขาดโอกาสในหลายๆ สิง่ ทางคณะกรรมการตระหนักถึงปญหา นี้ จึงมีมติจะสนับสนุนเงินคาสมัครใหแกนิสิตนักศึกษา ซึ่งเปนปแรก ทีม่ นี โยบายนีอ้ อกมา ดวยนโยบายนีจ้ ะทําใหมคี นรุน ใหมเขามาเปน สมาชิกของ IEEE และ IEEE-PES มากขึ้น” นอกจากนัน้ IEEE PES - Thailand ยังไดรบั ความไววางใจจาก IEEE PES Headquarter ใหเปนเจาภาพจัดงาน IEEE PES GTD Grand International Conference and Exposition Asia 2019 โดยมี คุณเสริมสกุล เปน General Chair ในการจัดงาน ซึ่งงานนี้ ถือเปนการจัดงานนิทรรศการทางดานวิศวกรรมไฟฟาที่ยิ่งใหญ ระดับภูมิภาค ที่ไดรับความรวมมือจากหนวยงานดานพลังงานของ ประเทศไทย และพันธมิตรทั้งในประเทศและตางประเทศในภูมิภาค เอเชีย โดยในงานจะมีบูธแสดงเทคโนโลยีดานพลังงานไฟฟา และ งานวิชาการที่นาสนใจอีกมากมาย ซึ่งจะประกอบดวย 3 งานยอย คือ IEEE PES Power Generation Conference and Exposition Asia 2019 IEEE PES Power Transmission and Distribution Conference and Exposition Asia 2019 IEEE PES Renewable Energy Conference and Exposition Asia 2019 “ดวยผลงานทีผ่ า นมา เราจึงไดรบั ความไววางใจใหจดั งาน IEEE PES GTD Grand International Conference and Exposition Asia 2019 ที่เปนงานใหญระดับเอเชีย ถึงแมจะมีเวลาถึง 2 ป ในการเตรียมงาน แตดว ยเปนงานใหญ เวลา 2 ป ไมนานเลยสําหรับ งานใหญระดับนี้ ขณะนีไ้ ดเริม่ ทํางานกันไปบางแลว แตดว ยศักยภาพ ของคณะทํางานที่มีประสบการณ และมีความจริงจังในการทํางาน ทําใหเชือ่ มัน่ วางานครัง้ นีจ้ ะลุลว งดวยดีอยางแนนอน” คุณเสริมสกุล กลาวเพิ่มเติม คุ ณ เสริ ม สกุ ล จบการศึ ก ษาจากภาควิ ศ วกรรมไฟฟ า มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เมื่อป 2523 หลังเรียนจบก็เริ่มทํางาน ที่การไฟฟาสวนภูมิภาค เพราะรูสึกวาตรงกับที่เรียนมา รวมทั้งตั้งใจ ทํางานเพือ่ ชวยพัฒนาพืน้ ทีใ่ นตางจังหวัดดวย ซึง่ ก็ไดทาํ งานสมความ ●

ตัง้ ใจ ไดเดินทางไปทํางานทุกภาคของประเทศ โดยมีหลักการทํางาน ดวยความซื่อสัตย สุจริต และมุงมั่นในการทําหนาที่ที่รับผิดชอบ อย า งเต็ ม ความสามารถ ตามรอยในหลวงรั ช กาลที่ 9 ยึ ด หลั ก ธรรมาภิบาล ทั้งในการทํางานและการดําเนินชีวิต พัฒนาตนเอง เรียนรูสิ่งใหมๆ อยางสม่ําเสมอ… จาก คุณสมบัติดังกลาว ในป 2558 คุณเสริมสกุล คลายแกว จึงไดรับ การแตงตั้งใหดํารงตําแหนง ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค โดยมี หลั ก การและแนวคิ ด ในการส ง เสริ ม และผลั ก ดั น การบริ ห ารงาน ดวยความโปรงใส ใหมีการดําเนินงานอยางเปนรูปธรรม ภายใต นโยบาย Excellent in Governance ดวยการริเริม่ แผนงาน “การไฟฟา โปรงใส” ทั่วทั้งองคกร ซึ่งเปนผลงานที่สะทอนความมุงมั่น ตั้งใจ และจริงจังของ คุณเสริมสกุล นับเปนผลงานที่ประสบความสําเร็จ อยางยิ่ง ดังเห็นไดจากในป 2559 สํานักงาน ป.ป.ช. ไดมอบรางวัล ดี เ ลิ ศ “รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ มี ก ารพั ฒ นาสู ค วามเป น เลิ ศ ในการจั ด ทํ า แผนงานเสริมสรางคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงาน” ใหแก กฟภ. ซึ่งเปนรัฐวิสาหกิจแหงเดียวที่ไดรับรางวัลดังกลาว จากการสงแผนงาน “การไฟฟาโปรงใส” ดวยตําแหนงหนาที่ที่ตองรับผิดชอบลูกคาทั่วประเทศกวา 18 ลานราย องคกรแหงนี้จึงตองมีการพัฒนาอยูตลอดเวลา ในป ที่ผานมารัฐบาลไดประกาศนโยบาย Thailand 4.0 นั้นคือ พัฒนา ประเทศโดยใชนวัตกรรม กฟภ. จึงไดกําหนดแผนพัฒนาเพื่อมุงสู การเปน PEA 4.0 เชนเดียวกัน นั้นคือการขับเคลื่อนใหเปนองคกร ทีเ่ ติบโตอยางยัง่ ยืน มีมาตรฐานงานบริหารทีเ่ ปนเลิศ มีระบบไฟฟา ที่มั่นคง เชื่อถือได และทันสมัย มุงเนนพัฒนาคนดวยนวัตกรรม พัฒนางานดวยเทคโนโลยี โดยยึดหลักนโยบายการบริหารและ พัฒนา “4S-12 Strategies” และนโยบาย PEA 4.0 ซึ่งเปนการ วางรากฐานการดําเนินงานในธุรกิจใหม เนนพัฒนาใน 7 ดานหลัก นั้นคือ Human Capital, Service Excellence, Grid Modernization, Asset Management, Innovation, ICT และ Business Investment เพื่อกาวสูการเปน “การไฟฟาแหงอนาคต (The Electric Utility of the Future)” การไฟฟาสวนภูมิภาค เปนองคกรที่มีบทบาทสําคัญในการ พัฒนาประเทศ จึงตองพัฒนาองคกรใหกาวใหทันกับเทคโนโลยี ที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว และดวยวิสัยทัศนวา “กฟภ. เปน องคกรชัน้ นําทีท่ นั สมัยในระดับภูมภิ าค มุง มัน่ ใหบริการพลังงาน ไฟฟา และธุรกิจเกี่ยวเนื่องอยางมีประสิทธิภาพ เชื่อถือได เพื่อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต เศรษฐกิ จ และสั ง คมอย า งยั่ ง ยื น ” ด ว ย วิสัยทัศนดังกลาว กอปรกับความมุงมั่นของผูบริหารและพนักงาน จึงเชื่อมั่นวา การไฟฟาสวนภูมิภาค จะเปนอีกองคกรหนึ่งที่เติบโต อยางเขมแข็งและยั่งยืน เปนองคกรหลักในการพัฒนาประเทศ ใหทัดเทียมนานาประเทศที่เจริญแลวตอไป

March-April 2017

p.46-48_interview.indd 48

3/31/17 1:39 PM


Article

ขอมูลและไฟฟา จะขับเคลื่อนยานยนต

สูทิศทางใหมในป 2560 Data and electric driving Automotive in new directions in 2017

สเตฟาน อิสซิง

> สเตฟาน อิสซิง ผูอํานวยการอุตสาหกรรมโลก ดานยานยนต จากไอเอฟเอส Author: Stefan Issing Global Industry Director for Automotive at IFS

การแขงขันเพื่อนําวัสดุชนิดใหมที่มีน้ําหนักเบา เขามาเปนรูปแบบอันสําคัญจะรุนแรงมากขึ้น ขณะที่ กระบวนการผลิตที่ใชมานานหลายทศวรรษ จําเปน ตองเปลีย่ นรูปแบบใหม และจีนจะผงาดขึน้ มาเปนผูน าํ ในการผลิตพาหนะที่ใชไฟฟา (อีวี) การแข ง ขั น ของยานยนต ใ น พ.ศ. 2560 จะ เปนไปอยางดุเดือด แตจะมาจากทิศทางทีเ่ หนือความ คาดหมาย ซึง่ สเตฟาน อิสซิง ผูอ าํ นวยการอุตสาหกรรม ยานยนตโลก จากไอเอฟเอส คาดการณวา แนวโนม เหลานีจ้ ะเปนตัวขับเคลือ่ นอุตสาหกรรมใน พ.ศ. 2560

The race to integrate new lightweight materials into mainstream models will intensify, decades-old production processes will need to be transformed and China will grow its lead in Electric Vehicle (EV) production. Automotive competition in 2017 will be fierce-but will come from unexpected directions. Stefan Issing, Global Industry Director for Automotive at IFS, predicts that these trends will drive the industry in 2017.

March-April 2017

P.49-53_Article.indd 49

3/31/17 1:40 PM


อีวีมาแรงในฝงตะวันออก

ใหแรงจูงใจกับผูบริโภคไวดวย แตที่แตกตางจากยุโรป สหรัฐฯ หรือ แคนาดา ก็คือ ไดมีการกําหนดเปาหมายอยางเขมงวด สําหรับการ ลดปริมาณบริโภคพลังงาน ทั้งสําหรับรถยนตรายคัน และรถยนต จํานวนมาก แผนชวงที่ 4 ที่เปดฉากขึ้นในเดือนมกราคม 2559 กําหนด เปาหมายโดยเฉลี่ยสําหรับรถยนตใหมไวที่ 5.0 ลิตรตอ 100 กิโลเมตร สําหรับรถยนตทขี่ ายใน พ.ศ. 2563 และแมจะมีความซับซอน แตระบบ ก็มีความยืดหยุน โดยแผนชวงที่ 4 นี้ ไดกําหนดตารางเวลาที่ยืดหยุน สําหรับผูผลิต ที่จะปรับตัวใหไดตามนโยบายที่วางไว ประกอบกับ การใหเครดิตการบริโภคพลังงาน สําหรับเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน ในวงจรการทํางานตางๆ ของรถยนต อาทิ การติดหรือปดเครื่องยนต ระบบตรวจสอบแรงดันยาง ไฟบอกเกียร และระบบเครื่องปรับอากาศ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ซึง่ การตัง้ เปาหมายขับเคลือ่ นในระยะยาวนี้ จะทําให เกิดผูชนะขึ้นมา รายงานของแมคคินซียใ น พ.ศ. 2559 ทีช่ อื่ วา “คนหาทางดวน: แนวโนมเกิดใหมในตลาดรถยนตจีน” ระบุวา เจาของรถไฟฟา สวนใหญในจีนอยากซื้อรถไฟฟาอีก ซึ่งสัดสวนของผูบริโภคที่บอกวา พวกเขาสนใจทีจ่ ะซือ้ รถไฟฟานี้ เพิม่ ขึน้ ถึง 3 เทา นับตัง้ แต พ.ศ. 2554 เปนตนมา บทเรียนจากโออีเอ็ม และเจาหนาที่กําหนดนโยบายในยุโรป ทีเ่ ห็นไดชดั เจน คือ ในระยะยาว กลยุทธรถไฟฟา ทีร่ วมถึงการใหคาํ มัน่ สัญญาทีละนอยๆ กับลูกคาจะไดผลมากกวา ตัวอยางเชน เมื่อเทียบ ผลประกอบการของจีนกับเยอรมนีแลว แรงจูงใจระดับพรีเมียมทีน่ าํ เสนอ ใหกับผูซื้อจะทําใหเกิดยอดขายรถไฟฟาเพิ่มขึ้นเพียง 8% เทานั้น (ขายได 14,013 คัน)

EV powers up in the East

consumption, China, like Europe, included consumer incentives. But, unlike Europe the US or Canada, it also set strict targets for reducing fuel consumption-for individual vehicles as well as fleets. Phase IV, launched January 2016, set a new fleet average target of 5.0 L/100 km for vehicles sold in 2020. And although complex, the system is flexible. Phase IV offers manufacturers a flexible schedule for complying, plus fuel consumption credits for off-cycle fuel saving technologies like start-stop engines, tire pressure monitoring systems, gear shift indicators and efficient A/C systems. This long-term, target-driven approach has been a winner. A 2016 McKinsey report, ‘Finding the fast lane: Emerging trends in China’s auto market’, says: “The majority of EV owners (in China) are keen to buy EVs again. The proportion of consumers who say they are interested in buying an EV has tripled since 2011.” The lessons for European OEMs and policy makers are clear: a long-term EV strategy that includes more than piecemeal customer invectives is vital. Compare China’s performance to Germany for example, a buyer’s premium incentive resulted in a rise of only 8% (14,013 sold units) of EVs.

ใน พ.ศ. 2560 ผูบริโภคในโลกจะเดินหนาแขงขันลดการปลอย มลพิษลงมา ซึง่ จากการวิเคราะหของฮอรวาด ระบุวา ยอดขายรถยนต พลังงานทางเลือกจะเพิม่ ขึน้ 2 เทา คิดเปนสัดสวน 20% ของยอดขาย รถยนตทั่วโลกใน พ.ศ. 2560 เทียบกับระดับ 10% เมื่อ พ.ศ. 2558 ยอดขายที่เพิ่มขึ้นมาใหมนี้ สวนใหญยังมาจากจีน ประเทศที่ ยังเปนตลาดสําคัญในการผลิตรถไฟฟาเชิงพาณิชยอยางตอเนือ่ ง โดยที่ ยุโรป และสหรัฐฯ ยังลาหลังอยู ใน พ.ศ. 2558 จีนไดผลิตรถไฟฟาเพิ่มขึ้นจาก 109,000 คัน มาอยูที่ 240,000 คัน และยิ่งเห็นภาพชัดเจนขึ้น จากการที่ในชวง เดียวกันนั้น สหราชอาณาจักรมียอดขายรถไฟฟาเพิ่มขึ้นจาก 18,000 คัน มาอยูที่ 23,000 คัน เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2559 สวนแบงตลาดของรถไฟฟา ในจีน สามารถทะลุเสนกั้น 1% ได ขึ้นมาอยูที่ 1.1% ของยอดขาย รถยนตใหมทง้ั หมด ซึง่ แมจะดูไมมากนัก แต 1.1% ทีว่ า นี้ หมายความวา มีรถไฟฟาใหมเอีย่ ม 34,000 คัน ออกมาวิง่ บนทองถนนของจีนในเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2559 เพิ่มขึ้นจากเดือนมิถุนายนถึง 188% ใน พ.ศ. 2560 และ 2561 จีนยังจะแซงหนายุโรป และสหรัฐฯ ตอไปในดานการผลิตรถไฟฟา และสวนแบงทางการตลาด จีนทําอยางไรถึงประสบความสําเร็จในเรือ่ งนี้ และไดใหบทเรียน อะไรกับผูร บั จางผลิตสินคาใหกบั แบรนดตา งๆ (โออีเอ็ม) และเจาหนาที่ กําหนดนโยบายของสหรัฐฯ และยุโรป จี น ได กํ า หนดเป า หมายไว ใ นระดั บ สู ง สํ า หรั บ การลดบริ โ ภค พลังงานในรถยนตมาตั้งแต พ.ศ. 2548 ซึ่งในชวงเริ่มตนแผนชวงที่ 4 สําหรับการลดบริโภคพลังงานนั้น จีนไดทําเหมือนยุโรป คือ รวมการ

In 2017 global consumers will keep racing to reduce their emissions. Sales of alternative fuel cars will double, rising to 20% of total global sales in 2017, compared to 10% in 2015, according to analysts Horvath. And the bulk of these new sales will be in China, which will continue to corner the market in the mass production of EVs—whilst Europe and the US lag behind. In 2015 China increased production of EVs from 109,000 to 240,000 units. To put it into perspective: during the same period UK sales rose from 18,000 to 23,000 units. In July 2016 the market share for EVs in China broke through the 1% barrier, up to 1.1% of all new car sales. It may not sound like much, but 1.1% meant 34,000 new EVs on Chinese roads in July 2016, a 188% increase over June. In 2017 and 18 China will continue to outstrip Europe and the US in EV production and market share. So how did China achieve this? And what lessons does it offer US and European OEMs and policy makers? China already set the bar high for reducing fuel consumption in vehicles even back in 2005. At the beginning of its IV-Phase drive to reduce fuel March-April 2017

P.49-53_Article.indd 50

3/31/17 1:40 PM


เครือขายสถานีชารจไฟ ถือเปนศูนยกลางสําหรับความสําเร็จ ของจีนเชนกัน ซึ่งแมจะยังมีความตองการอีกมาก แตระหวาง พ.ศ. 2553-2558 จํานวนสถานีชารจไฟในจีนเพิม่ ขึน้ จาก 1,122 แหง มาอยู ที่ 49,000 แหง โดยมาจากสถานีชารจไฟของเอกชน และการตั้งสถานี สําหรับรถบัสและรถขนสง ใน พ.ศ. 2558 ยอดรวมของสถานีชารจไฟพุงถึง 160,000 แหง โดยจีนตั้งเปาที่จะสรางสถานีชารจไฟกลาง 12,000 แหง และสถานี ชารจไฟตามมณฑลตางๆ 4.8 ลานแหง ภายใน พ.ศ. 2563 เพือ่ รองรับ ความตองการของอีวที คี่ าดวาจะมีราว 5 ลานคัน โดยกลยุทธทีแ่ ข็งแกรง ในดานการจัดตัง้ สถานีชารจไฟ ถือเปนสิง่ จําเปนสําหรับการเพิม่ จํานวน ผูใชรถไฟฟา ใน พ.ศ. 2560 เราอาจเห็นผูผลิตยุโรปมีบทบาทในจีนเพิ่มขึ้น ในดานเทคโนโลยีความปลอดภัยกาวหนา และการทดสอบการชน ซึ่ ง ในป จ จุ บั น จี น ได มี ก ารนํ า รถยนต ที่ ผ ลิ ต ในท อ งถิ่ น จํ า นวนมาก ไปทดสอบในยุโรปอยูแลว โดย พ.ศ. 2560 และปตอๆ ไป ผูผลิตยุโรป จะชวยจีนพัฒนาความสามารถในดานความปลอดภัย และการทดสอบ จากการที่ จี น ยั ง คงแสดงให เ ห็ น ถึ ง ประโยชน ข องการมี ก ลยุ ท ธ อี วี แบบเบ็ดเสร็จ และแข็งแกรง

ยิ่งเบายิ่งแรง การแขงขันเพื่อวัสดุที่เบากวาใคร ฟอรมลู า วัน ถือเปนสถานทีร่ อ นแรงสําหรับการพัฒนาความเร็ว ที่สูงอยางมาก น้ําหนักที่เบาเปนพิเศษ ความแข็งแกรง และวัสดุที่ ทนทานตอการชน ใน พ.ศ. 2560 การพัฒนาวัสดุและเทคโนโลยีของ ฟอรมูลา วัน จะยังคงถายโอนไปสูผูผลิตกระแสหลัก แตตนทุนยังคง เปนปญหาทีส่ าํ คัญอยู การทําการตลาดดวยเงินกอนโต หมายความวา

Central to China’s success too has been its network of charging stations. It still leaves a lot to be desired. But between 2010 and 2015 the number of charging stations in China grew from 1,122 to 49,000. Factor in privately owned charging stations and stations for buses and logistics vehicles and in 2015 the total number of stations reached 160,000. China aims to build 12,000 centralized charging stations and 4.8 million provincial charging stations by 2020, to meet a forecast demand of 5 million EVs. A robust strategy for charging stations is essential for EV uptake. In 2017 we could well see European manufacturers increase their presence in China around advanced safety technology and crash testing. China is already coming to Europe to test many of their domestic car models. In 2017 and beyond European manufactures will help China develop its safety and testing capabilities-as China continues to showcase the benefits of a robust, comprehensive EV strategy.

Less weight, more power—the race for lighter materials

Formula One is a hothouse for the development of ultra-

ตนทุนของผูพัฒนาฟอรมูลา วัน จะไมใชเรื่องสําคัญเปนอันดับตนๆ อีกตอไป แตเปนเรื่องสําคัญของผูผลิตโออีเอ็ม อยางไรก็ดี สวนใหญ ประสบความสําเร็จในการเพิ่มคุณภาพ และลดคาใชจายลงมา พ.ศ. 2559 ถือวาเปนปที่มีความกาวหนาอยางมากสําหรับ รถยนตหลายรุน ที่มีความปลอดภัยมากขึ้น เบาขึ้น และมีกําลังแรง มากขึ้น และเราจะเห็นมากกวานี้ใน พ.ศ. 2560 ทั้งหมดนี้แสดงใหเห็น ถึ ง การแข ง ขั น อย า งจริ ง จั ง ที่ บ รรดาผู ผ ลิ ต ขนาดใหญ ต อ งเจอ เมื่ อ พวกเขาไดเรียนรูจากผูผลิตชั้นนํา ที่มีนวัตกรรม และมีขนาดเล็กกวา ลองพิจารณาจากเรนจโรเวอร อีโวค รุน ใหม ค.ศ. 2016 ทีม่ คี วาม ปลอดภั ย มากขึ้ น และกํ า ลั ง แรงมากขึ้ น ทั้ ง ยั ง มี ข นาดเบากว า รุ น กอนหนานี้ 300 กิโลกรัม เครื่องยนตอันทรงพลังของอีโวครุนใหม ผลิตจากอะลูมิเนียมทั้งหมด และมีน้ําหนักเบากวารุนกอนราว 20-30 กิโลกรัม ประหยัดน้ํามันไดมากสุดถึง 4.2 ลิตรตอ 100 กิโลเมตร และ มีระดับการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดที่ 109 กรัมตอกิโลเมตร บีเอ็มดับเบิลยูเอง ก็มีการบุกเบิกใชวัสดุที่เปนคารบอนไฟเบอร และอะลูมเิ นียมแบบใหม โดยรถยนตรนุ ไอ8 ค.ศ. 2016 ใชชน้ิ สวนทีเ่ ปน คารบอน และคารบอนไฟเบอร มากกวาทุกรุนที่ผานมา ประกอบดวย อะลูมเิ นียม แมกนีเซียม เหล็กกลากําลังสูง และพลาสติกเสริมแรงดวย คารบอนไฟเบอร (ซีเอฟอารพี) ไอ8 มีน้ําหนักเบากวารถรุนกอนนี้ มากกวา 63 กิโลกรัม แตรถในตระกูลอี-ตรอนใหม ของออดี้ นําเทรนดทกุ อยางมารวม ไวดว ยกัน ทัง้ ความเร็วสูง กําลังแรง ไฮบริดทีถ่ กู นํามารวมไวกบั แบตเตอรี่ ที่มีขนาดเพิ่มขึ้น และน้ําหนักที่เบาขึ้น เปนรถไฮบริดแบบเสียบปลั๊ก คันแรก ที่มาพรอมกับเครื่องยนตดีเซล 6 สูบ โดยอีตรอนเผาผลาญ พลังงาน 1.7 ลิตรตอ 100 กิโลเมตร ปลอยกาซคารบอนไดออกไซด high-speed, ultra-light-weight, tough, crash-resistant materials. In 2017 materials and technologies developed in Formula One will keep transitioning into mainstream serial manufacture. But cost will remain an issue. Big-money marketing means that for Formula One developers cost is not a priority. For OEM producers it is. But many are achieving increased quality and cost reduction. 2016 has seen excellent advances in serial vehicles that are safer, lighter and more powerful. In 2017 we’ll see even more. All show the serious competitive edge large-scale manufactures get when they learn closely from smaller, high-end, innovative manufactures, Take 2016’s new Range Rover Evoque. It’s safer, more powerful—and 300 kg lighter than its predecessors. The new Evoque has a powerful, all-aluminium engine that is 20-30 kg lighter than earlier models, delivering fuel economy of up to 4.2 l/100 km and CO2 emissions of 109 g/km. BMW too has pioneered new aluminium and carbon fibre materials. Its 2016 i8 model uses more carbon and carbon fibre parts than ever before, combining aluminium, magnesium, high-strength steel and carbon fibrereinforced plastic (CFRP). The i8 is over 63 kg lighter than earlier models. March-April 2017

P.49-53_Article.indd 51

3/31/17 1:40 PM


ไมถึง 50 กรัมตอกิโลเมตร แบตเตอรี่ลิเทียมไอออนเก็บไฟได 17.3 กิโลวัตต เมื่อใชงานระบบไฟฟาทั้งหมดสามารถวิ่งไกลสุดไดถึง 56 กิโลเมตร โครงสรางตัวถังพัฒนามาจากวัสดุใหมหลายแบบ ทีอ่ อกแบบ มาใหใชกบั อะลูมเิ นียม และเหล็กน้าํ หนักเบาคุณภาพสูง โดยรถเอสยูวี ทัง้ คัน มีนาํ้ หนัก 1,995 กิโลกรัม ใกลเคียงกับน้าํ หนักของแกรนดเปยโน ที่ใชแสดงคอนเสิรต เรื่ อ งของวั ส ดุ ใ หม ถื อ เป น เพี ย งครึ่ ง หนึ่ ง ของเรื่ อ งนี้ เ ท า นั้ น รถยนตรุนใหม หมายถึง กระบวนการใหมดวย การเติบโตของรถไฟฟาและไฮบริด หมายความวา ไมจําเปน ตองเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตสวนใหญ นับตั้งแตรถยนตรุนที ของฟอรด เปดตัวออกมาอยางแทจริง แบตเตอรี่ของรถไฟฟาและ ไฮบริด ถือเปนหนึง่ ในชิน้ สวนทายๆ ทีต่ อ งติดตัง้ เขาไปบริเวณสวนทาย ของรถยนต ซึง่ ถือเปนการเปลีย่ นแปลงไปอยางสิน้ เชิงจากกระบวนการ ผลิตแบบดั้งเดิม ในส ว นของออดี้ อี ต รอนนั้ น มี ก ารติ ด ตั้ ง เครื่ อ งยนต ต าม ความยาว สรางขึ้นโดยใชระบบเมตริกซโมดูลารที่มีความซับซอน หางไกลจากสายการผลิตแบบดั้งเดิมอยางมาก สําหรับผูจัดหาและผูผลิตระบบอัตโนมัติแลว กระบวนการผลิต แบบใหมจะชวยสงเสริมความไดเปรียบทางการแขงขันของพวกเขา โรงงานผลิตอยางโรงงานของเทสลา ทีม่ สี ถานีอตั โนมัตหิ ลายแหง แทนสายการผลิตแบบเดิม จะกลายมาเปนบรรทัดฐานใหม โดยโรงงาน ของเทสลา มีการจางงาน 3,000 คน และมีหุนยนตอเนกประสงค ที่เชี่ยวชาญเฉพาะดาน 180 ตัว ทําใหเกิดประสิทธิภาพในการผลิต ทุกดาน

อายุการใชงานของรถยนตลดลงไปทุกป รถยนตรุนใหมออกมา อยางรวดเร็ว ใน พ.ศ. 2560 เราจะเห็นแกนหลักของการผลิตรถยนต สายการผลิตรถยนตที่มีความกระชับ เปนแบบอัตโนมัติ และมีความ หลากหลาย ทัง้ ยังทําการผลิตไดเร็วขึน้ มาก เนือ่ งจากบรรดาผูผ ลิตและ ผูจัดหา ตางแขงกันผลิตรถยนตน้ําหนักเบา กําลังแรง ออกมาเร็วขึ้น ผลกระทบนี้ จะกระจายไปทั่ ว ซั พ พลายเชน ทั้ ง ผู จั ด หาเอง ก็จําเปนตองมีนวัตกรรม ความเร็ว และวองไวมากขึ้น เพื่อดําเนินการ เปลีย่ นแปลงดานโลจิสติก และกระบวนการผลิตใหบอ ยครัง้ เนือ่ งจาก บรรดาผูจัดหาที่มีขนาดเล็กกวา และมีความกาวหนาดานเทคโนโลยี มากกวา ไดเริ่มออกมาทาทายผูจัดหารายเดิมๆ แลว ความเร็วในการพัฒนา การผลิต และการจัดหา จะกลายมาเปน สิ่งที่จําเปน เชนเดียวกับเรื่องความคลองตัว และวิสัยทัศนที่มีความ สําคัญตั้งแตตนจนจบ

But Audi’s new e-tron range brings together all the trends. A high-speed, high-power hybrid it combines increased battery size and lighter weight. The first plug-in hybrid with a six-cylinder diesel engine, the e-tron consumes 1.7 l / 100 km—less than 50 grams CO2 per km. The lithium-ion battery stores 17.3 kWh of energy, delivering a range of up to 56 km in all-electric mode. Its body structure is developed from a new multi-material design that uses aluminium and high-grade lightweight steel. The whole SUV weighs 1,995 km—about the same as a concert grand piano. And new materials are only half the story. New vehicles mean new processes. The growth of EVs and hybrids mean many manufacturing processes largely unchanged since Ford’s Model T, are being turned on their head—literally. In EVs and hybrids the battery is one of the last parts to go in, in the rear of the car, a complete reversal of traditional processes. And take the Audi e-tron: It has a longitudinally mounted engine, constructed using a sophisticated modular matrix system, a far call from the traditional

production line. For suppliers and manufactures automation and new processes will power their competitive edge. Manufacturing plants like Tesla’s, that rather than having a sequential line have several automated stations, will become the norm. The Tesla plant employs 3,000 people and 180 highly versatile, specialized robots. Process efficiency drives everything. The life cycle of vehicles reduces year by year, new models arriving thick and fast. In 2017 we will see the backbone of auto manufacturing—the production line—streamline, automate and diversify at even greater speed as manufactures and supplier race to produce lighter more powerful vehicles faster. The effects will spread throughout the supply chain. Suppliers too will need to be more innovative, faster and more agile—often transforming their logistics and production processes as smaller, more technologically advanced suppliers start challenging older ones. Speed of development, production and supply will be of the essence. And end-to-end agility and visibility key.

พลังของรถเชื่อมตอไดกำลังมาถึง

อิทธิพลของแบรนดไมไดเปนเหมือนเดิมอีกตอไป ความภักดี ตอแบรนดลดลง เนื่องจากผูขับขี่ในยุคมิลเลนเนียล และรุนตอๆ มา เริ่มใหความสนใจกับการเชารถระยะยาว และการแบงปนใชรถรวมกัน มากขึ้น สําหรับลูกคากลุม ใหมทมี่ คี วามสามารถทางดิจทิ ลั เพิม่ ขึน้ จะเปน ปจจัยหลักในการสรางความแตกตาง แลวพวกเขาจะเขาถึงขอมูล เครือขาย และบริการตางๆ ไดหรือไม รถยนตของพวกเขาจะมีความ สามารถอยางไร ยอนกลับไปทีเ่ รนจโรเวอร อีโวคอีกครัง้ รถรุน นีม้ อี ปุ กรณ มาตรฐานเปนจอภาพระบบสัมผัสอินโฟเทนเมนต ขนาด 8 นิ้ว ติดตั้ง

March-April 2017

P.49-53_Article.indd 52

3/31/17 1:40 PM


อยู ซึ่งแอพสมารทโฟนที่ติดตั้งภายใน และระบบกระโปรงหลังแบบ แฮนดฟรี เปดทางใหเจาของรถยนตสามารถเปดและปดกระโปรงหลัง ไดโดยอัตโนมัติ เพียงแคกวาดเทาเขาไปบริเวณขางใตของกันชนหลัง บริการเหลานี้ถือเปนเรื่องผิดปกติหรือไม คําตอบคือ ไมใช รถยนตรุนนี้ยังเนนการขายที่กําลังขับเคลื่อน และน้ําหนัก โดยคาดวา ระบบดิจทิ ลั และแอพระดับพรีเมียม จะกลายมาเปนอุปกรณมาตรฐาน ของรถยนต นอกจากนี้ ยั ง จะมี ร ะบบไอที จํ า นวนมากที่ จ ะกลายมาเป น อุปกรณมาตรฐานของรถภายใน พ.ศ. 2561 ดวย โดยในสหรัฐฯ นั้น สํ า นั ก งานบริ ห ารความปลอดภั ย การจราจรบนทางหลวงแห ง ชาติ (นิซซา) ระบุวา จะมีการออกกฎหมายกําหนดใหรถยนตทุกคันตองมี กลองหลัง แตละปนั้น สหรัฐฯ จะมีผูเสียชีวิตราว 200 คน และบาดเจ็บอีก ราว 14,000 คน จากอุบัติที่เกิดขึ้นบริเวณดานหลังรถยนต เมื่อผูขับขี่ เกิดถอยหลังไปทับใครเขา เพราะไมทันสังเกตเห็นพวกเขา สําหรับผูผลิตแลว กลองหลังกลายเปนอุปกรณที่มีความสําคัญ อันดับตนๆ ไปแลว โดยภายใน พ.ศ. 2560 ราว 80% ของรถยนต ที่ผลิตออกมาทั้งหมด จะตองมีกลองหลังติดอยู 1 อัน ซึ่งทุกวันนี้ ราว ครึ่งหนึ่งของรถยนตรุนใหมที่ขายในสหรัฐฯ มีการติดตั้งกลองหลังแลว ขณะที่จุดกระจายสัญญาณไวไฟในรถยนตก็กําลังจะเปนสิ่งที่ กฎหมายบังคับใหติดตั้งเชนกัน โดยใน พ.ศ. 2560 ผูผลิตรถยนต 20% จะมีการติดตั้งจุดกระจายสัญญาณแลนไรสายไวในรถ ในยุโรป ออดี้ และบีเอ็มดับเบิลยู ตางเปนผูนําในเรื่องนี้ สวนที่สหรัฐฯ ไครสเลอร ฟอรด และจีเอ็ม ตางกําลังเดินหนาในเรื่องการติดตั้งจุดกระจาย

สัญญาณอินเทอรเน็ต เบาขึ้น เร็วขึ้น แรงขึ้น และปลอดภัยมากขึ้น เมื่อพิจารณาจากหลายๆ ทางแลว เรามีรถยนตรุนตอไปมาอยูกับเรา แลว ความเขาใจของเราเปลี่ยนแปลงไปอยางตอเนื่อง ในเรื่องที่วา รถยนตคืออะไร เราจะทําอะไรในรถยนตไดบาง และเราจะเพิ่มกําลัง ให กั บ รถยนต ไ ด อ ย า งไร สํ า หรั บ ผู ผ ลิ ต และผู จั ด หาแล ว เรื่ อ งนี้ หมายความถึงทิศทางใหม กระบวนการใหม ความสามารถใหม และ กลยุทธใหมๆ ยิ่งเร็วไดยิ่งดี เพราะถนนขางหนากําลังเพิ่มความเร็วขึ้น

Connected cars power ahead

in the US approximately 200 people are killed and 14,000 injured in back-over accidents, when drivers reverse over someone without noticing them. For most manufactures rear cameras are already a priority. By 2017 80% of all manufactured cars will have one. Back-up cameras are included on around half of all new cars sold in the US today. Wi-Fi hotspots in vehicles too will become the rule not the exception. In 2017 20% of car manufactures will provide WLAN hotspots. In Europe Audi and BMW are both leading the way. In the US Chrysler, Ford and GM are all powering ahead in hotspot enablement. Lighter, faster, more powerful and safer—in many ways the ‘next generation’ of vehicles is already with us. Constantly changing our understanding of what a ‘car’ is, what we can do in it and how we power it. For manufactures and suppliers it means new directions, new processes, new capabilities and new strategies— and the sooner the better as the road ahead speeds up.

Brand power isn’t what it used to be. Brand loyalty will dwindle as millennials and up and coming generations of drivers increasingly explore long-term leases and car sharing. For these new consumers digital capabilities will be a key differentiator. Which services, networks and data can they access? How enabled will their vehicle be? Take again the Range Rover Evoque. It has a centrally-mounted, eight-inch swipe infotainment touchscreen as standard. With smartphone apps built-in. A hands-free tailgate function lets owners automatically open and close the tailgate by waving their foot under the rear bumper. Is this range of services unusual? No. The model still sells primarily on power and weight. The premium range of apps and digital functions is expected as standard. Many IT requirements will become mandatory by 2018 too. In the US it will become law, says the National Highway Traffic Safety Administration (NHTSA), to have a rear camera. Every year

March-April 2017

P.49-53_Article.indd 53

3/31/17 1:40 PM


Special Area

> บริษัท พี ไอ เอส พาวเวอร ดิสทริบิวชั่น จํากัด

เพิ่มความปลอดภัยและความสะดวกในการดูแล

สำหรับระบบการจายไฟ

ดวย Socket Outlet Combination Unit และ Variabox Unit โดยปกติไดมกี ารใชอปุ กรณ Power Plug & Socket Oultet มาติดตัง้ ตามจุดตางๆ ของอาคาร และโรงงาน เพือ่ ใชในการจายไฟใหอปุ กรณทจี่ ะนํามาใชในจุดตางๆ เหลานัน้ ซึง่ จะเพียงพอสําหรับ การนําอุปกรณมาใชงานใหตรงกับขนาดของ Socket Outlet ทีต่ ดิ ตัง้ ตามจุดเหลานัน้ แตจะมีคาํ ถาม ตอไปคือ ถาหากบริเวณนัน้ มีการใชงานอุปกรณมากกวา 1 ตัวในเวลาเดียวกันจะตองมีวธิ ที าํ อยางไร บางคนอาจจะบอกวา ก็ติดตั้ง Socket Outlet เพิ่มตามประเภทและจํานวนอุปกรณที่ใชสิ นั่นก็เปน วิธที ถ่ี กู ตองวิธหี นึง่ แตอาจจะตองติดตัง้ Socket Outlet หลายจุดเยอะหนอย บางคนอาจจะบอกวา ก็เอาปลั๊กพวงที่มีหลาย Socket Outlet มาตอพวงสิ ก็สามารถมี Socket Outlet เพิ่มใชงานไดอีก หลายอุปกรณ แตวิธีนี้เปนวิธีที่พอใชได แตมีขอเสี่ยงคือ เราจะรูไดไงวาอุปกรณที่เรามาตอใชกับ Socket Outlet พรอมกันหลายๆ ตัวนี้มีการใชกระแสไฟรวมที่ Socket Outlet ตนทางรับได หรือเปลา ซึ่งถาหากกระแสรวมไมเกินขนาดของ Socket Outlet ตนทางก็ดีไป แตถาเกินเมื่อไหร อันนี้ก็เปนสาเหตุให Socket Oultet นั้นเสียหายและเปนอันตรายตอระบบและผูใชงานได ซึ่งถา สรุปปญหาแบบรวบรัดนาจะเปนดังนี้คือ การดูแลที่ยุงยาก เนื่องจากติดตั้ง Socket Outlet หลายจุด ในบริเวณใกลเคียงกัน ● ความไม ป ลอดภั ย เนื่ อ งจากเราไม ส ามารถควบคุ ม การใช ง าน ของผูใช Socket Outlet ได เพราะไมมีการติดตั้งอุปกรณปองกัน เชน เซอรกิตเบรกเกอร อุปกรณกันไฟฟารั่ว เปนตน ดั ง นั้ น ผู ผ ลิ ต จึ ง เห็ น ว า ทํ า ไมเราไม ทํ า กล อ งที่ ส ามารถรวมเอา Socket Outlet หลายตัวมาไวรวมกันทีก่ ลองเดียวและติดตัง้ อุปกรณปอ งกัน การใชกระแสเกินหรือไฟฟาลัดวงจร หรือแมกระทั่งไฟรั่ว เพื่อปองกันการ ใชงานเกินพิกัดของ Socket Oultet แตละตัว ดวยเหตุนี้ Socket Outlet ●

Combination Unit จึงเปนอุปกรณหนึ่งที่จะมาตอบโจทย สําหรับปญหาดังกลาว ดวยระบบ Socket Outlet Combination Unit นี้ ทางผูใชสามารถเลือกขนาด ประเภท และจํานวนของ Socket Outlet และอุปกรณปองกันที่ตองการใชใหตรงกับ อุปกรณที่ใชงานในจุดตางๆ เหลานั้น จะทําใหผูใชมั่นใจถึง ความปลอดภัยของการใชงาน Socket Outlet แตละตัวไดอยาง สบายใจ เพราะมีอปุ กรณปอ งกันติดตัง้ ไวอยูแ ลว แถมการดูแล รักษาก็สะดวก สามารถทําไดทเี่ ดียวโดยไมตอ งทําหลายๆ จุด อยางแตกอน ในหลายปทผี่ า นมาตู Socket Outlet Combination Unit ก็เริ่มมีการใชงานมากขึ้น มีทําขึ้นมาใชงานเองทั้งจากการใช ตูเหล็กหรือตูพลาสติกสําเร็จรูปมาเจาะและติดตั้ง Socket Outlet ที่ฝาตูหรือดานขางตูและติดตั้งอุปกรณปองกันไวในตู เปนตน แตอยางไรก็ตาม การติดตัง้ ตองคําถึงมาตรฐานสําหรับ การติดตั้งตูประเภทนี้ดวย เชน ● ฝาตู ห รื อ ตํ า แหน ง ที่ ติ ด ตั้ ง Socket มี ค วามแข็ ง แรง พอที่จะรับแรงดึงจากการใชงานไดหรือไม ● การเจาะรูและติดตั้ง Socket Outlet ลงที่ตูไดอยาง ถูกตองหรือเปลา เชน ขนาดรูเจาะตองใหเหมาะสมกับขนาด ของตัวและ Flange ของ Socket

March-April 2017

p.54-55 PIS.indd 54

4/3/17 4:53 PM


● ●

การเลือกใชขนาดสายไฟใหเหมาะสมกับขนาดของ Socket Outlet แตละตัวที่ติดตั้งที่ตู การเลือกใชงานอุปกรณปอ งกันไมควรใหญกวาขนาดและประเภทของ Socket Outlet หรือขนาดของสายไฟทีต่ ดิ ตัง้ ที่ Socket Outlet ดังนัน้ การเลือกใชงานตู Socket Outlet Combination Unit ทีม่ มี าตรฐานจึงเปนสิง่ สําคัญ ทีจ่ ะชวยในเรือ่ งของความปลอดภัยได ซึง่ ถาตูเ หลานัน้ ทํามาไมไดตามมาตรฐานแลว นอกจาก จะไมชว ยในเรือ่ งความปลอดภัยแลวยังอาจเปนตนเหตุใหเกิดความเสียหายกับอุปกรณทมี่ าใช รวมกับตูนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผูใชได

VARIABOX by BALS เจนเนอเรชั่นใหมสำหรับ ตู Socket Outlet Combination Unit

จากประสบการณอันยาวนานของ Bals ผูผลิตระบบ Power plug และ Socket Outlet ชัน้ นําจากประเทศเยอรมนี ไดคดิ คนและออกแบบระบบตู VARIABOX ขึน้ มาเพือ่ ทําใหการทํา ตู Socket Outlet Combination Unit ทําอยางสะดวกรวดเร็วและปรับเปลี่ยนไดตลอดการ ใชงาน เนือ่ งจากการออกแบบระบบใหมนี้ ทําเปนระบบโมดูลลาร (Modular) ทําใหผใู ชสามารถ ปรับเปลีย่ นรูปขนาดและประเภทของ Socket ไดตลอดโดยไมจาํ เปนตองเปลีย่ นตัวตูใ หม ทําให ลดคาใชจายในการดูแลบํารุงรักษาใหกับผูใชดวย นอกจากนี้ผูผลิตยังไดใชพลาสติกเกรดสูง พรอมซีล (Seal) ทีเ่ ลือกสรรมาเพือ่ ความคงทนในการใชงานกับสภาพการใชงานเกือบทุกสภาวะ นอกจากนี้ยังมีการปรับรูปแบบของตูมาดังตอไปนี้

ระบบหนาตางทํางานแบบ OTC (One Touch Close) ซึ่ ง จะช ว ยลดป ญ หาเรื่ อ งการลื ม ป ด ฝา หลังการใชงาน เพราะหนาตางจะทําการ ปดเองหลังการใชงาน

Sliding DIN Rail รางปกนกแบบเลื่อนสไลดขึ้นลงได เพื่อเพิ่มความสะดวกในการติดตั้ง และดูแล

Modular Flange หนากากยึด Socket เปนแบบโมดูล สามารถถอดเปลีย่ นได เพือ่ ความสะดวก ในการปรับเปลี่ยนในอนาคต

Hinged Top บานพับทีย่ ดื ระหวางฝาหนากับตัวถัง เพือ่ เพิม่ ความสะดวกในการเปด/ปดฝา โดยไมจําเปน ตองใชมือจับเหมือนแตกอน ดวยการปรับรูปแบบของตูตางๆ เหลานี้ ทําใหตู Variabox นี้จะเปนตู Socket Outlet Combination Unit ที่มีความสวยงามและ ใหปลอดภัยสูง ซึ่งพรอมกับความสะดวกในการติดตั้งและใชงานระยะยาว และลดตนทุนในการดูแลรักษาในอนาคตอีกดวย

สนใจตองการขอมูลเพิ่มเติม สามารถติดตอไดที่ บริษัท พี ไอ เอส พาวเวอร ดิสทริบิวชั่น จํากัด โทร. 02-105-3011-2 แฟกซ 02-105-3013 Website: http://www.pispd.com E-mail: sales@pispd.com March-April 2017

p.54-55 PIS.indd 55

4/3/17 4:53 PM


Special Area

> บริษัท แม็กซิไมซ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จํากัด

The Motor starter

Benedict ผูผลิตอุปกรณเริ่มเดินมอเตอรไฟฟา Motor starter คุณภาพสูงจากประเทศออสเตรีย ประกอบไปดวย Contactor, Overload Relay, Motor Circuit Breaker

K3 - Contactor คืออุปกรณใชสําหรับสตารท หรือเริ่มเดินมอเตอรไฟฟา ชนิด 3 เฟส Features

• • • • • • • • • •

เปนคอนแทคเตอรขนาดจิ๋ว มีแบบ 3 Pole และ 4 Pole ใหเลือกใช มีพิกัดกระแสสูงสุด 1200A มอเตอรสูงสุดขนาด 680 kW ที่ AC-3 สามารถเพิ่ม Aux Contact ไดตามตองการที่ละ 1 คอนแทค (1 NO หรือ 1 NC) ติดตั้งบนรางขนาดมาตรฐาน 35 มิลลิเมตร สามารถตอใชงานแบบกลับทางหมุน (Forward-Reverse) ได มาพรอมกับ Mechanical Interlock เปนคอนแทคเตอรที่มีหลากหลายขนาดใหเลือกใช มี Coil AC และ DC ใหเลือกใชงาน มีชุดกลับทางหมุน, Star-Delta ชนิดสําเร็จใหเลือกใช และมาพรอมกับ Mechanical Interlock สามารถตอเชื่อมกับ Overload Relays ได ทํางานที่อุณหภูมิไดตั้งแต -40 ํC ถึง + 60 ํC

K0

K1

K3

คอนแทคชวย (Auxiliary Contact) คือหนาคอนแทคชวย สําหรับตอเพิ่มในกรณีที่ตองการควบคุมวงจรที่คอนขางซับซอน ซึ่งจะเปนชนิด Double Contact และ สามารถทําความสะอาดหนาคอนแทคดวยตัวเองได แบรนดอื่น

จะมีทั้งหมด 8 รุนใหเลือก 1 NO + 1 NC 2 NO 2 NC 2 NO + 2 NC 3 NO + 1 NC 1 NO + 3 NC 4 NO 4 NC

BENEDICT

มีแค 2 รุนใหเลือก 1 NO (HN10) 1 NC (HN01) ขอดี • ทําใหประหยัดตนทุนในการเก็บสตอก • เลือกใชไดหลากหลายตามความตองการ • ประหยัดตนทุน เลือกใชแตพอดี

March-April 2017

p.56-57_mit-thailand.indd 56

3/31/17 1:41 PM


U12, U3 – Overload Relays คืออุปกรณสําหรับปองกันมอเตอรไฟฟาเสียหาย อันเนื่องมาจากกระแสไฟฟาเกิน โดยใชงานรวมกับคอนแทคเตอร • สามารถตอไดโดยตรงกับ Contactor • มีหนาคอนแทคชวย 1 NO + 1 NC • สามารถปรับคากระแสที่จะตัดวงจรได • มีปุมทดสอบการทํางาน • มีปุมใหเลือก Manual หรือ Auto Reset (ในรุน U3) K3 + U12 K3 + U3

Diagram L1 L2 L3 -F1

1 3 5

-Q11

2 4 6

-F2

2 4 6

97

95

98

96

PE U V W

M 3~ -M1

• • • • • • •

Motor Circuit Breaker คืออุปกรณสําหรับปองกันมอเตอรไฟฟาเสียหาย อันเนื่องมาจากกระแสไฟฟาเกินและกระแสลัดวงจร โดยใชงานรวมกับคอนแทคเตอร มีพิกัดกระแสสูงสุด 100A ใชงานกับมอเตอรไดสูงสุด 45kW, 400V (AC-3) ทนกระแสลัดวงจรสูงสุด 100kA สามารถปรับกระแสเกินได มีอุปกรณเสริมมากมาย เชน Aux Contact, Shunt release, Under voltage release, กลอง Enclosure ฯลฯ ติดตั้งบนราง 35 mm สามารถตอเปนชุดคูกับคอนแทคเตอรไดดวย Link Module

L1 L2 L3 1 3 5

-Q1

14 > >

2 4

-Q11

13

>

6

1 3 5 2 4

6

PE U V W

M 3~ -M1

Motor Circuit Breaker + Link module + contactor

Diagram

รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดตอไดที่ บริษัท แม็กซิไมซ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จํากัด โทร 02-194-8738-9 แฟกซ 02-003-2215 E-mail : info@mit-thailand.com www.mit-thailand.com March-April 2017

p.56-57_mit-thailand.indd 57

3/31/17 1:42 PM


Special Area

> บริษัท ดาคอน อินสเปคชั่น เซอรวิสเซส จํากัด

ความหลากหลายของการตรวจทอ

ดวยระบบตรวจสอบทออัจฉริยะ

“INTELLIGENT PIGGING” Diversity in Intelligent Pigging Solutions

ดาคอน อินสเปคชั่น เซอรวิสเซส ใหบริการ Intelligent Pigging Solution โดยใชระบบคลื่นเสียงอัลตราโซนิค (Ultrasonic) ในการ แกปญหาใหกับกลุมบริษัทหลักในอุตสาหกรรมน้ํามัน แกส ปโตรเคมี และอุตสาหกรรมเหมืองแรทวั่ โลก ซึง่ เปนกลุม ลูกคาผูซ งึ่ มีความตองการ เทคโนโลยีใหมๆ อยางสม่ําเสมอ และบริษัทดาคอนเปนที่ถูกถามถึง อยางตอเนื่อง เพื่อที่จะหาวิธีการแกปญหาสําหรับทอที่การตรวจสอบ ไมสามารถเขาถึงได (Unpiggable Pipelines) หรือการตรวจสอบภายใน ทอที่เคลือบดวยโลหะ (Internally Lined Pipelines) และทอที่ไมใชโลหะ (Non-metallic Pipelines)

March-April 2017

P.58-62_Special Area.indd 58

Dacon Inspection Services (Dacon) provide intelligent pigging solutions using a proprietary ultrasonic system to all the major companies in the oil, gas, petrochemical and mining industries globally. There is a constant thirst for new technology amongst our clientele, and Dacon are constantly being asked to produce solutions for unpiggable pipelines, internally lined pipelines, and non metallic pipelines.

PIG ขนาดเสนผานศูนยกลาง 48 นิ้ว Dacon PIG 48” diameters 3/31/17 1:42 PM


ทอ HDPE

HDPE Pipelines

ขอจำกัดในการตรวจสอบอันแสนทาทาย

Challenging Inspection Parameters

ทอโพลิแอททิลีน ชนิดความหนาแนนสูง หรือ High-density Polyethylene (HDPE) เปนอีกหนึ่งความตองการที่มาจากบริษัท เหมื อ งแร ข า มชาติ ใ นอิ น โดนี เซี ย เป น เหมื อ งที่ ไ ด รั บ อนุ ญ าตให ถายโอนของเหลวทีบ่ าํ บัดแลวไปยังทะเลน้าํ ลึกประมาน 3.5 กิโลเมตร นอกชายฝง ซึ่งทอสงแรอาจมีผลกระทบตอประมงในอินโดนีเซีย รั ฐ บาลจึ ง ยื น ยั น ให บ ริ ษั ท เหมื อ งใช ท อ ที่ ไ ม ใช โ ลหะ เพื่ อ ที่ จ ะลด ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ทีมผูบ ริหารเหมืองแรจงึ เลือกทีจ่ ะใชทอ HDPE ซึง่ หมายความวา จะมีอัตราการกัดกรอนสูงจากแรที่มีฤทธิ์กัดกรอนเมื่อผสมกับน้ํา นอกจากนีร้ ฐั บาลไดกาํ หนดวา บริษทั ควรตรวจสอบทอนีเ้ ปนประจํา และเมื่อถึงเกณฑขั้นต่ําของการใชงานแลว จําเปนตองเปลี่ยนใหม ดังนั้น บริษัทเหมืองแรจึงรวมมือกับดาคอนเพื่อที่จะพัฒนาระบบ ที่สามารถตรวจสอบทอ HDPE เหลานี้

มีความทาทายเกิดขึ้นมากมายในการพัฒนาระบบนี้ อันดับ แรก คือ ทอมีเสนผานศูนยกลางขนาด 48 นิ้ว มีความหนาปกติ ของผนังอยูท ี่ 110 มิลลิเมตร (4.3 นิว้ ) HDPE มีการลดทอนทีส่ งู มาก กับสัญญาณอัลตราโซนิค และยากที่จะรับสัญญาณจากเสนผาน ศูนยกลางภายนอกของทอ HDPE ที่มีความหนาปกติทั่วไป ดังนั้น ความหนาของผนังทออาจเปนขอกําจัดได ดาคอนจึงออกแบบและคิดคนเทคโนโลยี ระบบตรวจสอบทอ อัจฉริยะ “Ultrasonic Intelligent Pigs” จึงไดถูกพัฒนาขึ้นเพื่อรองรับ ปญหาในการตรวจสอบและสามารถตรวจสอบไดอยางตอเนื่อง ดาคอน UT Intelligent Pig ใช ร ะบบ Internal Rotating Inspection System (IRIS) ซึ่งประกอบดวย อุปกรณรับสงสัญญาณ คลื่นเสียงแนวนอน วางอยูกลางลําตัวของพิก (Pig) อุปกรณรับ-สง สัญญาณคลืน่ เสียงจะสงคลืน่ เสียงไปทีก่ ระจกทีถ่ กู ติดเอียง 45 องศา และจะสะทอนสัญญาณตั้งฉากไปยังผนังทอ ทุกๆ ครั้งที่สัญญาณ ชนกับผนัง มันจะสะทอนกลับมาที่เดิม และถูกสงไปยังคอมพิวเตอร เพื่อที่จะคํานวณหาคาเวลาการเดินทางของสัญญาณ คาเวลาการ เดินทางนี้จะถูกแปลงเปนระยะทาง และวัดคาความหนา

One such request came from a multinational mining company in Indonesia. The mine had been given permission to offload their treated tailings to a deep sea trench approximately 3.5 km offshore, but as the tailings pipeline would traverse protected fisheries the Indonesian government insisted they use non-metallic pipelines to reduce the environmental impact. The mine management team opted to go with HDPE pipelines, but this meant there would be a high erosion rate from the abrasive tailings mixed with water. The government stated that the company should inspect these lines on a regular basis, and that once they reached a minimum threshold they must be replaced. The mining company then approached Dacon to develop a system capable of inspecting these pipelines. There were many challenges in developing such a system. Firstly the pipelines were 48” in diameter, with a nominal wall thickness of 110 mm (4.3”). HDPE has a very high attenuation of ultrasonic signals, and it is very hard to get a signal from the outside diameter of a normal thickness HDPE pipe, so this wall thickness was on the boundaries of possibility. Due to the design and technology utilized by Dacon Ultrasonic Intelligent Pigs it was possible to develop a tool that was able to address this issue and gather repeatable results. The Dacon UT intelligent pig uses an Internal Rotating Inspection System (IRIS), which contains a horizontally placed transducer contained within the central body of the pig. The transducer sends its sound wave forward where it hits a 45° rotating mirror, which then directs the sound wave perpendicular on to the pipe wall. From the inner pipe wall the next signal will travel to the outer pipe wall. Every time the signal hits a surface it will reflect back the same way it was sent allowing the computer to calculate the time of travel. This time of travel is then converted to distance and measurement.

Outer Pipe Wall Inner Pipe Wall

Pig Body

Transducer Centralising Disks

Rotating Mirror

Motor Inner Pipe Wall

ภาพการทํางานของระบบอัลตราโซนิค ซึง่ มีระบบ IRIS Shows the Principle of Dacon UT Intelligent pig using IRIS method.

Outer Pipe Wall March-April 2017

P.58-62_Special Area.indd 59

3/31/17 1:42 PM


ตัว PIG อัจฉริยะ ออกมาจากการทดสอบบนภาคพื้นดิน An intelligent pig exiting the test spool onshore การสะทอนของคลืน่ อัลตราโซนิค (เอคโค) นี้ จะถูกสงไปสะทอน ผนังทั้งดานในและดานนอกของทอ และสัญญาณเอคโคนั้นจะสงกลับ มายังอุปกรณรับ-สงสัญญาณ และทําการประเมินขอมูลที่ไดรับมา ความแตกตางของระยะเวลาการเดินทางของคลื่นเสียงนี้ จะถูกนํามา คํานวณเปนความหนาของผนังทอ สวนความหนาของผนังของทอ ทีย่ งั เหลืออยูส ามารถคํานวณหาไดโดยใชความเร็วของเสียงทีอ่ ยูใ นวัตถุ ความเร็วของเสียงของน้าํ หรือของเหลวใดๆ ซึง่ สามารถใชเปนสือ่ กลาง (ของเหลวนีจ้ ะใชเปนสือ่ หรือ Couplant ระหวางอุปกรณรบั สงสัญญาณ คลืน่ เสียง และผนังของทอ) และเวลาการเดินทางของสัญญาณตอเทีย่ ว ระหวางเอคโคทั้ง 2 ครั้ง

เทคโนโลยีถูกพัฒนาขึ้นมาแบบพิเศษ

การใชเทคโนโลยีที่กลาวมาขางตนที่ดาคอนพัฒนาทําใหระบบ ความถี่ต่ําที่มีความไวสูง (Highly Sensitive Low Frequency System) ซึ่งทําใหการลดทอนของสัญญาณนอยลง และสามารถรับสัญญาณที่ นาเชื่อถือจากดานนอกของทอ (Outside Diameter, OD) ซอฟตแวร พิเศษนีไ้ ดรบั การพัฒนาโดยใชชดุ คําสัง่ ทีซ่ บั ซอนเพือ่ ประมวลผลขอมูล ทําใหสามารถเห็นภาพของการกัดกรอนในทอ และใหการตรวจสอบ ที่แมนยําถูกตองสําหรับความหนาที่เหลืออยู เครื่องมือทํางานเปน 3 ระบบ เพื่อที่จะสามารถเทียบเคียง ผลลัพธ และยืนยันความถูกตองของขอมูล เนื่องจากทอ HDPE ไมได อยูใ นมาตรฐานอยาง ASME B31.4 และ B31G, แตมาตรฐานเหลานี้ สามารถถูกนําไปปรับใชเพื่อคํานวณอัตราการสึกหรอ และคํานวณ อายุการใชงานที่เหลืออยูของแตละทอ และใหระยะเวลาที่จะตอง

An ultrasonic reflection (echo) will take place at the inner wall (ID) and outer wall (OD) of the pipelines. These echoes are reflected back, received and processed by the Data acquisition and Central processing units. The time between these two echoes represents the wall thickness of the pipe. The remaining wall thickness can be calculated by using the sound velocity in the material, the sound velocity of any liquid which used as a propellant medium (this liquid will be used as a couplant between the transducer and the pipe wall) and time of flight between two echoes.

Developing Specialized Technology

Using the above technology Dacon developed a highly sensitive low frequency system, which experienced less signal attenuation and was able to get reliable signals from the OD of the pipe. Specialist software was also developed to apply complex algorithms to the data, to be able to visualize the erosion in the pipe, and give accurate remaining thickness measurements. The tools are always run in triplicate to provide the ability to cross correlate results to confirm the accuracy of the data. HDPE pipelines fall outside of the normal codes and standards such as ASME B31.4 and B31G, but these standards were applied to calculate wear rates and remaining life of each pipeline, allowing the company to accurately estimate when the pipelines would need to be replaced.

March-April 2017

P.58-62_Special Area.indd 60

3/31/17 1:42 PM


เปลี่ยนทอใหม มีการคนพบวา โดยทั่วไปแตละทอมีอายุอยูระหวาง 1-2 ป ขึน้ อยูก บั แรธาตุ และกําลังการผลิต การทํางานรวมกับดาคอน ทําใหสามารถคิดคนระบบที่บอกไดวาเมื่อไรจะถึงเวลาทําการติดตั้ง ทอสํารอง เมือ่ ไรถึงควรจะมีแผนการตรวจสอบครัง้ ตอไป และเมือ่ ไร ที่จะตองเลิกใช เปนการเปลี่ยนเขาสูกลยุทธการติดตั้งทอสํารอง เพื่อหลีกเลี่ยงการหยุดการผลิตไดอยางลงตัว

It has been found that each pipeline lasts generally between 1-2 years depending on the ore and production output. Working with Dacon, the company was able to establish a system of when to install reserve lines, when to plan the next inspection, and when they must remove a line, seamlessly switching to a strategically installed reserve line to avoid interrupting production.

รูปแบบทีแ่ ตกตางกันในการกัดกรอนของทอ HDPE

Distinct Erosion Patterns in HDPE Slurry Lines

มากไปกวานั้น การคาดการณวาการกัดเปนรองนั้นจะถูกพบ เพิ่ ม เติ ม ขึ้ น ในส ว นที่ เชื่ อ มต อ กั น ของท อ HDPE เนื่ อ งจากการ หมุนวนของของเหลวภายในทอ (Turbulence) เปนสาเหตุใหน้ํา และสารละลายผสมกัน และไหลไปยังภายในทอที่มีจุดเชื่อม ซึ่ง สามารถเจอไดเมื่อทอ HDPE ถูกเชื่อมดวยความรอน

In addition to the expected erosion groove it was also found that additional erosion occurred in the HDPE weld join areas due to turbulence in the pipeline caused by the water and slurry mix travelling over the internal beading at the weld joints which is encountered when HDPE lines are heat welded.

ความทาทายในระบบการขนสง

Logistical Challenges

เนื่องจากธรรมชาติของการใชทอ (การขนสงสารละลาย หรือ Transporting Slurry) จึงสามารถคาดการณไดวาการกัดเปนรองนั้น สามารถพบบนท อ ที่ ตํ า แหน ง 6 นาิ ก า ซึ่ ง สามารถเห็ น ได ชั ด ตามภาพประกอบดานลาง

ในทายทีส่ ดุ ทอจะถูกเปดลงสูท ะเล พรอมกับทางออกของทอ โดยประมาน 130 เมตร ภายใตพื้นน้ํา ระบบไดคิดคนการนํา Pig ออกไปอยางปลอดภัยในสภาพเดิม ดังนั้น ดาคอนจึงไดติดตั้งโฟม เพื่อชวยให Pig ลอยตัวขึ้นสูผิวน้ํา และเก็บกลับมาโดยเรือ และ นักดําน้ํา

Due to the nature of the pipelines use (transporting slurry) it was expected that a significant erosion groove would be encountered on the pipeline in the 6 o clock position. This can clearly be found in the below illustration:

The pipeline is open to the sea at the end, with the exit of the pipe approximately 130 meters below the surface. A system had to be devised to safely retrieve the pigs, so Dacon added pressure resistant buoyancy foam to the external bodies of the tools to allow them to float to the surface and be retrieved by a support vessel and divers.

March-April 2017

P.58-62_Special Area.indd 61

3/31/17 1:42 PM


นักดําน้ําตามเก็บ PIG ดวยระบบ GPS และสั ญ ญาณไฟกะพริ บ ที่ ติ ด อยู ต รง ดานขวา Divers retrieving an intelligent pig, GPS and flashing beacon on right. Pig จะถูกติดตั้งระบบ GPS เพื่อใหแนใจวาจะไมสูญหาย และ มีสัญญาณกะพริบ เรือที่รอรับจะอยูที่ปลายทางของทอ โดยทราบ จาก GPS เครื่องมือยังสามารถเคลื่อนยายใตน้ําได แมวาจะมีกระแส น้ําในมหาสมุทร และอยูหางจากพื้นผิวหลายรอยเมตร เครื่องมือ ทั้งหมดจะถูกทดสอบการลอยในน้ํากอนการเริ่มตรวจสอบทุกครั้ง เนือ่ งจากเครือ่ งมือนัน้ มีนาํ้ หนักถึง 550 กิโลกรัม จึงสําคัญเปนอยางมาก ในการทําใหเครื่องมือลอย ปจจุบันนี้ พิก (Pig) ไดถูกพัฒนาสําหรับทอ HDPE ที่มีเสน ผานศูนยกลางขนาดเล็ก และสําหรับทอ HDPE ที่มีการเคลือบดวย (Liner) โลหะดวย และดวยขั้นตอนที่ซับซอนและเครื่องมือในการ วิเคราะหขั้นสูง สภาพของทอ HDPE และโลหะที่เคลือบอยูจะถูก ตรวจสอบไปพร อ มกั น เมื่ อ เสร็ จ สิ้ น การตรวจสอบ ข อ มู ล ทั้ ง หมด จะถูกดาวนโหลดโดยทันที และสแกนหาสวนบกพรองหลัก โดยสวนที่ มีขอบกพรองรุนแรงและสําคัญที่เกิดขึ้นในทอจะถูกรายงานไดภายใน ไมกี่ชั่วโมง ถึงแมวาการวิเคราะหแบบเต็มรูปแบบจะใชเวลานานกวา แต ท างดาคอนสามารถใช เวลาเพี ย ง 2 อาทิ ต ย ห ลั ง เสร็ จ สิ้ น การ ตรวจสอบ

The pigs are fitted with air activated GPS systems to ensure they cannot be lost and flashing beacons. The support vessel remains onsite above the end of the pipe via GPS, but the tools can move underwater due to ocean currents and surface several hundred meters away. The tools are all float tested before every inspection run. Given that the tools weigh approximately 550 kg, it takes a considerable amount of buoyancy force to keep them afloat. The system has now been developed for smaller diameter HDPE pipes, and HDPE internally lined steel pipes where both the liner and the steel can both be measured using advanced algorithms and analysis tools. All data is downloaded immediately and scanned for major defects, a site report can be issued within a few hours highlighting any major anomalies in the pipeline, although full analysis takes longer and can normally be completed within two weeks of demobilization.

ทดสอบ PIG ขนาด 40 นิ้ว ลอยน้ํากอนที่จะตรวจสอบจริง 40” intelligent pig flotation test prior to inspection

March-April 2017

P.58-62_Special Area.indd 62

3/31/17 1:42 PM


Special Area

> บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด

ขอดีของ

ความปลอดภัย

Safety’s Advantage กําไร คือ จุดมุงหมายอันแทจริงของทุกบริษัทหรือทุกโรงงาน ซึง่ ก็หมายถึงผลประกอบการหรือยอดขายสูงสุด ในขณะทีต่ น ทุนต่าํ สุด และนอกจากนี้ ทุกบริษัทยังตองการผลกําไรหรือผลประกอบการที่ มากขึน้ ในทุกๆ ป แตละบริษทั จึงจําเปนตองแขงขันกันเพือ่ แยงสวนแบง ตลาดซึง่ กันและกัน หลายบริษทั จึงมุง เปาไปทีก่ ารลดตนทุนทีไ่ มจาํ เปน เพื่อใหบรรลุจุดมุงหมายซึ่งกําไรสูงสุดนั้น และเพื่อเพิ่มอํานาจในการ แขงขันอีกดวย แตความปลอดภัยมิใชตน ทุนทีไ่ มจาํ เปนอยางทีห่ ลายๆ บริษทั สวนใหญเขาใจ เมือ่ พิจารณาถึงคาใชจา ยเมือ่ เกิดอุบตั เิ หตุขนึ้ แลว นอกจากคาใชจายทางดานคารักษาพยาบาล คาทดแทน คาทําขวัญ คาทําศพ คาประกันชีวิต ซึ่งเปนคาใชจายหรือความสูญเสียทางตรง ที่สามารถคิดเปนจํานวนเงินไดแนนอนแลว ยังมีคาใชจายแฝงอื่นๆ หรือความสูญเสียทางออมที่ไมสามารถคิดเปนจํานวนเงินไดแนนอน อีกมากมาย เชน คาการสูญเสียเวลาทํางานของคนงานหรือผูบาดเจ็บ คาการสูญเสียเวลาทํางานของคนงานอืน่ หรือเพือ่ นรวมงานทีต่ อ งหยุด ชะงักชัว่ คราวเนือ่ งจากเพือ่ ชวยเหลือผูบ าดเจ็บ ไทยมุง วิพากษวจิ ารณ หรือดวยความตื่นตระหนกและเสียขวัญ คาการสูญเสียเวลาทํางาน ของหัวหนางานหรือผูบังคับบัญชาเพื่อชวยเหลือผูบาดเจ็บ สอบสวน

หาสาเหตุ บันทึกและจัดทํารายงาน จัดหาคนงานอื่นและฝกสอนให เขาทํางานแทนผูบาดเจ็บ และหาวิธีแกไขและปองกันอุบัติเหตุไมให เกิดซ้ําอีก คาใชจายในการซอมแซมเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณที่ ไดรับความเสียหาย คาใชจายเนื่องจากวัตถุดิบหรือสินคาไดรับความ เสียหาย ตองโยนทิง้ ทําลาย หรือขายลด คาความเสียหายจากผลผลิต ลดลงเนื่องจากขบวนการผลิตขัดของ ตองหยุดชะงัก สงสินคาไมทัน ตามกําหนด คาสวัสดิการตางๆ ของผูบาดเจ็บ คาจางแรงงานของผู บาดเจ็บ ซึง่ โรงงานยังคงตองจายตามปกติ แมวา ผูบ าดเจ็บจะยังทํางาน ไมไดเต็มที่หรือตองหยุดงาน ประสิทธิภาพการทํางานลดลง คาการ สูญเสียโอกาสในการทํากําไร เพราะผลผลิตลดลงจากการหยุดชะงัก ของขบวนการผลิตและความเปลีย่ นแปลงความตองการของทองตลาด คาเชา คาไฟฟา น้ําประปา และโสหุยตางๆ ที่โรงงานยังคงตองจาย ตามปกติ แมวาโรงงานจะตองหยุดหรือปดกิจการหลายวันในกรณี เกิดอุบตั เิ หตุรา ยแรง คาการเสียชือ่ เสียงและภาพพจนของโรงงาน ฯลฯ ซึ่งจะเห็นไดวาคาใชจายแฝงอื่นๆ หรือความสูญเสียทางออมเมื่อเกิด อุบัติเหตุขึ้นแตละครั้งมีคามากมายมหาศาลกวาคาใชจายทางตรง มาก ซึ่งปกติมักจะไมคิดถึงกัน

March-April 2017

P.63-65_Omron.indd 63

3/31/17 1:44 PM


3. การปองกันอุบัติเหตุเปนหลักมนุษยธรรมที่พึงกระทํา และ การปองกันอุบัติเหตุนั้นจะเปนการกระทําที่มีผลกําไรเสมอ 4. คาใชจา ยในการปองกันอุบตั เิ หตุนนั้ นอยมากเมือ่ เปรียบเทียบ กับคาใชจายอยางอื่น

แนวทางในการปองกันอุบต ั เิ หตุและควบคุมอันตราย จากเครื่องจักร

ดังนัน้ ความปลอดภัยจึงเปนสิง่ สําคัญ และมิใชตน ทุนทีไ่ มจาํ เปน เพราะความปลอดภัยชวยใหไมตองเสียคาใชจายตางๆ ที่กลาวมา ขางตน ชวยใหพนักงานมีขวัญกําลังใจทีด่ ใี นการทํางาน ทําใหไดผลผลิต มากขึ้น สงของไดตามกําหนด และไดกําไรมากขึ้นในที่สุด

แนวคิดในการปองกันอุบัติเหตุ

เนื่องจากเมื่อมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นยอมนํามาซึ่งความสูญเสียตางๆ ดังไดกลาวมาแลว ดังนัน้ การปองกันอุบตั เิ หตุจงึ เปนสิง่ ทีม่ คี วามจําเปน อยางยิ่ง แตสาเหตุสําคัญที่ทําใหคนทั่วไปมองไมเห็นความจําเปน ในการปองกันอุบัติเหตุมักมาจากสาเหตุ 2 ประการคือ • อุบัติเหตุมักจะไมเกิดในระยะเวลาไลเลี่ยกันหรือในสถานที่ ใกลเคียงกันเสมอ ซึ่งไมเหมือนสาเหตุอื่น เชน โรคระบาดที่ทําให คนจํานวนรอยจํานวนพันหรือหมื่นเกิดเจ็บปวยขึ้น ทําใหคนทั่วไป รูสึกวาเหตุการณนี้รายแรงมาก จําเปนตองรีบปองกันโดยดวน • คนสวนมากเชือ่ วาอุบตั เิ หตุนนั้ เปนเรือ่ งของเคราะหกรรมทีไ่ มมี ทางหลีกเลี่ยงได คนที่ประสบอุบัติเหตุก็จะคิดเสมอวาเปนเพราะโชค ไมดี เปนคราวเคราะหทจ่ี ะตองเปนเชนนี้ หรือคิดวากรรมตามทัน เปนตน ทําใหไมสนใจที่จะหาทางปองกัน จนที่สุดอุบัติเหตุก็จะสูงขึ้นเรื่อยๆ กอนที่จะกลาวถึงแนวทางในการปองกันอุบัติเหตุ มีขอเท็จจริง บางประการเกี่ยวกับอุบัติเหตุที่ควรทราบและเขาใจ ดังนี้ 1. อุบัติเหตุนั้นตองมีสาเหตุ ไมใชเกิดขึ้นไดเอง 2. อุ บั ติ เ หตุ ป อ งกั น ได เ สมอ มิ ใช เรื่ อ งของเคราะห ก รรมที่ หลีกเลี่ยงไมได

ปองกันนิ้วมือ (Finger Protection)

ปองกันมือ (Hand Protection)

การปองกันอันตรายจากเครื่องจักร หรือเรียกวาการทําการด เครื่องจักร (Machine Guard) ก็คือ การออกแบบหรือหามาตรการ ปองกันไมใหมีอันตรายเกิดขึ้น การออกแบบ การสราง การติดตั้งและ การบํารุงรักษาการด (Machine Guard) ที่จะปองกันจุดอันตรายของ เครื่องจักรนี้ จําเปนตองเอาใจใสเปนพิเศษ เนื่องจากการบาดเจ็บ จากการเกิดอุบัติเหตุจากเครื่องจักรนั้น สวนใหญจะเกิดขึ้นคอนขาง รุนแรง อาจถึงขัน้ สูญเสียนิว้ ฝามือหรือแขน อันเปนผลใหผบู าดเจ็บตอง พิการไปตลอดชีวิต แตอยางไรก็ตาม เครื่องจักรที่ไมมีการด (Machine Guard) หรือมี แตไมเหมาะสมหรือเพียงพอ แมวา จะมีการใชมาเปนเวลา นานแลวก็ตาม แตยงั ไมเคยมีอบุ ตั เิ หตุเกิดขึน้ เลย ก็ไมไดหมายความวา เครื่องจักรนั้นจะไมเปนอันตราย เพียงแตผูปฏิบัติงานอาศัยความ ชํานาญหรือทํางานดวยความระมัดระวังเทานั้น นับวาเปนการกระทํา ที่เสี่ยงอันตรายมาก เนื่องจากพฤติกรรมของคนคอนขางจะคาดการณ ไดย าก และหวั่ นไหวแปรเปลี่ย นไดต ลอดเวลา แม ว าผูป ฏิ บัติง าน มีความระมัดระวังมากเพียงใดก็ตาม บางครัง้ ก็อาจพลาดพลัง้ ได ดังนัน้ จึงตองมีการทําการดเครื่องจักร (Machine Guard) ใหถูกตองและ เหมาะสมที่สุด การดเครื่องจักร (Machine Guard) นั้นจะตองถูกออกแบบ ทําการทดสอบ และจัดสรางโดยเฉพาะกับงานดานความปลอดภัย เทานั้น ไมวาจะเปนโครงสรางของอุปกรณ ฟงกชันและรูปแบบการ ใชงานตางๆ เพือ่ ใหเห็นความแตกตางชัดเจน จึงขอยกตัวอยางระหวาง เซนเซอรดานความปลอดภัย (Safety Sensor) กับเซนเซอรสําหรับ งานทั่วไป (Sensors for general purpose use) ดวยการขาดความรู ทางดานเทคนิค หรือตองการลดตนทุนที่ผิดวิธี จึงนําเซนเซอรสําหรับ งานทั่วไป เชน โฟโตอิเล็กทริกเซนเซอร (Photoelectric Sensor) และ แอเรี ย เซนเซอร (Area Sensor) มาใช ง านทํ า หน า ที่ เ ป น เซนเซอร เพื่อความปลอดภัย ทั้งที่ไมทราบวาเซนเซอรเหลานี้ไมสามารถใชงาน ทดแทนได เนื่ อ งจากไม ไ ด ถู ก ออกแบบมาสํ า หรั บ งานด า นความ

ปองกันแขนหรือขอมือ (Arm Protection)

ปองกันลำตัว (Body Protection)

March-April 2017

P.63-65_Omron.indd 64

3/31/17 1:44 PM


1 ตรวจจับอวัยวะของคนงาน เชน นิ้วมือ มือ แขน รางกาย โดยอนุญาตให ฃิ้นงานผานเขาออกได โดยมาน แสงนิรภัยรุน F3SJ

7 ตรวจจับการเขามาในบริเวณอันตราย

2 ตรวจจับสภาวะการเปด-ปดของประตูและ

ของคนงานในบริเวณกวาง ดวยมาน แสงนิรภัยยานการตรวจจับไกล (ไกลสุด 20 เมตร) รุน F3SJ

การล็อกประตู โดยสวิตชประตูบานพับ นิรภัย (ตรวจสอบสภาวะการเปด-ปดของ ประตู) รุน D4NH หรือสวิตชล็อกประตู นิรภัย (ตรวจสอบสภาวะการเปด-ปดของ ประตูและทำการล็อกประตูเมื่อเครื่องจักร กำลังทำงานอยูดวย) รุน D4GL/D4NL/ D4JL

6 การหยุดเครื่องจักรเมื่อมีคนงานอยู

ในบริเวณอันตรายดวยพื้นยางนิรภัย รุน D9M

5 การหยุดสายการผลิตในกรณีฉุกเฉินดวย 3 การหยุดฉุกเฉินเมื่อทำการทดสอบระบบบริเวณ อันตราย โดย Enabling Switch รุน A4E ติดตั้ง ไดทั้งในแนวนอนและแนวตั้ง

ปลอดภัยโดยเฉพาะ และในกรณีที่มีความผิดพลาดเกิดขึ้น เชน มีการ ลัดวงจรที่ภาคเอาตพุต หรือตัวรับ-สงแสงไมทํางาน หรือ CPU ทํางาน ผิดพลาด เปนตน ผูใชจะไมทราบและใชงานทั้งๆ ที่เซนเซอรบกพรอง อันเปนผลใหไมสามารถปองกันอุบัติเหตุได แตสําหรับเซนเซอรเพื่อ ความปลอดภัยแลวจะถูกออกแบบมาโดยมีฟงกชันสําหรับตรวจสอบ การทํางานของวงจรภายใน ฟงกชันสําหรับการตรวจสอบอินพุตและ เอาตพุต ฟงกชันวินิจฉัยตนเอง (Self Diagonostic) สําหรับตรวจสอบ ความผิดปกติตางๆ ของเซนเซอร และสั่งตัดทุกครั้งเมื่อตรวจพบ สิ่งผิดปกติ และยังมีการแสดงถึงสิ่งผิดปกติที่ตรวจพบอีกดวย นอกจากจะตองเลือกการดเครื่องจักร (Machine Guard) ที่ไดรับ การรับรองมาตรฐานสําหรับใชในงานเพื่อความปลอดภัยแลว จะตอง เลือกการด (Machine Guard) ที่เหมาะสมกับงานและเครื่องจักรดวย เชน การเลือกใชเซนเซอรดานความปลอดภัย (Safety Sensor) จะตอง เลือกเซนเซอรที่มีความสูงครอบคลุมพื้นที่การทํางานของผูปฏิบัติงาน และตองคํานึงถึงระยะหางของลําแสงดวย เพราะจะมีผลโดยตรงกับ ความเร็วในการตอบสนองการทํางานเพื่อตัดการทํางานของระบบ มักแยกเปนประเภทของการปองกันไดดังนี้ คือ • ปองกันนิ้วมือ (Finger Protection) จะมีระยะหางลําแสง ประมาณ 9 มิลลิเมตร • ปองกันมือ (Hand Protection) จะมีระยะหางลําแสงประมาณ 15 มิลลิเมตร • ปองกันแขนหรือขอมือ (Arm Protection) จะมีระยะหาง ลําแสงประมาณ 25 มิลลิเมตร • ปองกันลําตัว (Body Protection) จะมีระยะหางลําแสง ประมาณ 300 มิลลิเมตร นอกจากเซนเซอรดานความปลอดภัย (Safety Sensor) แลว ออมรอนยังมีอุปกรณการดเครื่องจักร (Machine Guard) อื่นๆ ที่ ไดรับการรับรองมาตรฐานสําหรับใชในงานเพื่อความปลอดภัยแลว หลากหลาย ใหเลือกใชงานตามความเหมาะสมกับงานและเครื่องจักร

4 การสรางระบบความปลอดภัยที่ยืดหยุน

สวิตชหยุดฉุกเฉิน รุน A22E

ติดตั้งไดงายและรวดเร็วดวย Safety Controller รุน F3SX หรือรุน G9SX

ทั้งสวิตชประตูนิรภัย (Safety Door Switch) ลิมิตสวิตชนิรภัย (Safety Limit Switch) สวิตชหยุดฉุกเฉิน (Emergency Stop Switch) และ พื้นยางนิรภัย (Safety Mat)

การตอใชงานการดเครือ่ งจักร (Machine Guard)

การดเครื่องจักร (Machine Guard) จะตองถูกตอใชงานรวมกัน กับ Safety Relay Unit หรือ Safety Controller Unit ที่มีวงจรการ ตรวจสอบความผิดพลาดภายใน Safety Relay Unit หรือ Safety Controller Unit เอง และวงจรตรวจสอบความผิดพลาดของอุปกรณ อิ น พุ ต และเอาต พุ ต ที่ ต อ ร ว ม โดยจะทํ า การสั่ ง ตั ด เครื่ อ งจั ก รและ แสดงผลเตือนถึงความผิดพลาดนัน้ ทันทีทกุ ครัง้ เมือ่ Safety Relay Unit หรือ Safety Controller Unit ตรวจพบความผิดพลาดใดๆ และตอง นําสัญญาณจาก Safety Relay Unit หรือ Safety Controller Unit นั้นไปสั่งหยุดเครื่องจักรโดยตรง มักมีการเขาใจผิดๆ นําสัญญาณจาก การด (Machine Guard) เชน เซนเซอรดานความปลอดภัย (Safety Sensor) ไปตอเขา PLC แลวใช PLC สั่งหยุดเครื่องจักร ซึ่งการตอ ลักษณะนีม้ คี วามเสีย่ งทีจ่ ะเกิดอุบตั เิ หตุได เนือ่ งจาก PLC เปนอุปกรณ ควบคุ ม การทํ า งานเท า นั้ น และมี โ อกาสทํ า งานผิ ด พลาดได ดั ง นั้ น ผูออกแบบระบบความปลอดภัยจึงควรคํานึงถึงจุดนี้ดวย จากทีก่ ลาวมาทัง้ หมด เราคิดวาทานคงมีความเขาใจและเล็งเห็น ความสําคัญของความปลอดภัยมากขึ้น เพราะในการเกิดอุบัติเหตุ แต ล ะครั้ ง ทํ า ให เ กิ ด ความสู ญ เสี ย มากมาย ซึ่ ง แนวทางหนึ่ ง ในการ ลดความเสีย่ งของการเกิดอุบตั เิ หตุคอื การติดตัง้ การด (Machine Guard) ที่มีการออกแบบและไดรับการรับรองมาตรฐานความปลอดภัยตามที่ กํ า หนด ทั้ ง นี้ ใ นการออกแบบระบบควบคุ ม และการเลื อ กใช ก าร ด (Machine Guard) ใหเหมาะสมนั้นมีความสําคัญอยางยิ่ง ซึ่งหากทาน ต อ งการรายละเอี ย ดและข อ แนะนํ า เพิ่ ม เติ ม สามารถติ ด ต อ ได ที่ บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด

March-April 2017

P.63-65_Omron.indd 65

3/31/17 1:44 PM


< Special Area

> บริษัท ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด

ตู้คอนซูมเมอร์ยูนิตคืออะไร ? ตูคอนซูมเมอรยูนิต (Consumer Unit) เปนชุดกลองเหล็กหรือกลองพลาสติกสําหรับ ใสฟวสหรือเบรกเกอร สวนใหญจะเรียงกันอยูในแถวเดียว นิยมใชเปนแผงไฟฟาสําเร็จรูป ตามบานหรือสํานักงานที่ใช ไฟฟาระบบ 1 เฟส 220 โวลต แบงออกเปน 2 ชนิด คือ 1. แบบปลั๊กอิน (Plug-in type) 2. แบบเดินราง (Din-rail type) Consumer Unit ทัง้ 2 ชนิด จะประกอบไปดวย เซอรกติ เบรกเกอรเมน (Main Circuit Breaker) หรือเรียกสัน้ ๆ วาเมนเบรกเกอร (2 ขัว้ ) และเซอรกติ เบรกเกอรวงจรยอย (Branch Circuit Breaker) หรือเรียกวาเบรกเกอรยอ ย (1 ขัว้ ) ทีเ่ สียบตออยูก บั บัสบาร (Bus bar) มีขว้ั ตอสายนิวทรัล และ ขัว้ ตอสายกราวด ขนาดทีน่ ยิ มใชทว่ั ไปจะมีจาํ นวนเบรกเกอรยอ ยหรือวงจรยอยตัง้ แต 4-18 วงจร การเลือก Consumer Unit มาใชงานนั้นใหพิจารณาจากจํานวนวงจรยอยที่ตองการและ ควรเผื่อไว 1-2 วงจรสําหรับโหลดในอนาคต การซื้อ Consumer Unit สวนใหญจะไดรับเพียง กลองเหล็กเทานั้น ตองซื้อเมนและเบรกเกอรยอยแยกตางหาก เนื่องจากความตองการใชเมน และเบรกเกอรยอ ยของผูใ ชแตละรายไมเหมือนกัน โดยขนาดของเมนเบรกเกอรสามารถเลือกได ตามตองการเบรกเกอร MCB แบบ 2 Pole ที่จะนํามาใชเปนเมนเบรกเกอร ในกรณีของระบบ ไฟฟาภายในบานพักอาศัยทั่วไปมาตรฐานไดกําหนดคา IC ของเมนเบรกเกอรตองไมต่ํากวา 10 kA ซึ่งคาดังกลาว คือคาพิกัดการทนกระแสลัดวงจรสูงสุดของตัวเบรกเกอร การติดตัง้ เบรกเกอรลงในตู Consumer ตองเปดฝาครอบออกกอนแลวจึงตอเมนเบรกเกอร ลงในชองดานซายมือสุดซึง่ สายมีไฟ (สาย line) จะตออยูด า นขวาของเบรกเกอร สวนสายนิวทรัล จะตอดานซายมือของเบรกเกอร หากตอผิดจะทําใหมีไฟฟาคางในวงจร เพราะเบรกเกอร จะตัดสายนิวทรัลแทน ซึ่งมีอันตรายมาก อาจสังเกตจุดตอสายงายๆ คือจะมีตัวอักษร L และ N กํากับไว Consumer Unit (คอนซูมเมอรยูนิต หรือตูคอนซูมเมอร) คือตูควบคุมระบบไฟฟาแบบ Single Phase 220V สามารถจายออกได ตั้งแต 6, 10, 14, 18 วงจร แลวแตยี่หอของผูผลิต บางวงจรที่ตองการปองกันไฟฟาดูดเพิ่มเติมก็สามารถใส ELCB (Earth Leakage Circuit Breaker) มาใสเฉพาะวงจรนั้นๆ เชน เครื่องทําน้ําอุน ตูเย็น สวนวงจรไฟฟาสําหรับแสงสวางอาจไมจําเปนตองใชเบรกเกอรสําหรับกันไฟฟาดูด ก็ อ าจจะใส MCB ที่ กั น ไฟฟ า ลั ด วงจรและกระแสเกิ น ก็ พ อในตู ค อนซู ม เมอร นี้ ว งจรย อ ยแต ล ะวงจรจะเป น อิ ส ระต อ กั น เช น ถ า ตู เ ย็ น มี ไฟฟารั่ว เวลาคนไปสัมผัสที่ตูเย็น ELCB ก็จะตัดวงจรนั้น สวนวงจรอื่นๆ ยังใชงานไดปกติ

Miniature Circuit Breakers

เซอร์กิตเบรกเกอร์ (MCBs)

เซอรกติ เบรกเกอรเปนอุปกรณปอ งกันทางไฟฟาทีท่ าํ หนาทีใ่ นการปองกันการใชไฟฟาเกินพิกดั (Overload) และกระแสลัดวงจร (Short Circuit) กลาวคือ เมื่อใดก็ตามที่มีการใชกระแสไฟฟาสูงเกิน กวาที่สายไฟฟาจะทนได จนเกิดความรอนสะสมขึ้น อาจทําความเสียหายตอสายไฟฟาและอุปกรณ ไฟฟา รวมถึงเมือ่ เกิดกระแสไฟฟาลัดวงจร เซอรกติ เบรกเกอรจะทําการตัดกระแสไฟฟาออกจากระบบ โดยอัตโนมัติ เพือ่ ปองกันไมใหเกิดความเสียหายทีอ่ าจนําไปสูก ารเกิดอัคคีภยั ในทีส่ ดุ ดังนัน้ การเลือก ใชเซอรกติ เบรกเกอรตอ งคํานึงถึงคาความสามารถในการตัดกระแสไฟาลัดวงจรตองสูงกวาคากระแส ไฟฟาลัดวงจรของระบบไฟฟาที่ตําแหนงติดตั้ง และคากระแสพิกัดจะตองนอยกวาคากระแสไฟฟา ที่สายไฟจะทนได • เซอรกิตเบรกเกอรของ HYUNDAI สามารถตัดวงจรไดภายใน 4 มิลลิวินาที (0.004 วินาที) • เซอรกิตเบรกเกอรของ HYUNDAI มีคุณสมบัติตรงตามมาตรฐาน March-April 2017

P.66-67_Area.indd 66

3/31/17 1:45 PM


• การติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย สําหรับที่ใชงานกับบานที่อยูอาศัย และ มาตรฐานทั่วไปตามมาตรฐาน IEC 60898 และสําหรับใชงานในโรงงานอุตสาหกรรมมาตรฐาน IEC 60947-2 เหมาะสําหรับติดตัง้ ในตู Consumer Unit หรือการติดตัง้ ในตู Panel Board 3 เฟส • เซอรกิตเบรกเกอรของ HYUNDAI สามารถใชอุปกรณเสริม เชน Auxiliary Contact, Signal Contact, Shunt Trip และ Under Voltage ได เปนตน Miniature Circuit Breaker : MCB • เปน CB ขนาดเล็ก ใชติดตั้งในแผงจายไฟ (Panelboard) และแผงจายไฟของทีอ่ ยูอ าศัย (Consumer Unit) • เพื่อปองกันวงจรยอยของระบบไฟฟาของบาน สํานักงานหรืออุตสาหกรรม • MCB สามารถทําตามมาตรฐาน IEC 60898, IEC 60947-2 • IEC 60898 Domestic, Unskilled people • IEC 60947-2 Commercial, Industrial Installations

ทําไมต้องเลือกใช้ตคู้ อนซูมเมอร์ยนู ติ “Hyundai Brand” • • • • • •

ตูคอนซูมเมอรยูนิต ระบบ Bolt On Busbar Link เปนทองแดงชุบดีบุก สามารถทนกระแสสูงสุด 160A ตูทําจากเหล็กไรสนิมชุบดวยไฟฟาและพนดวยสีฝุน (Epoxy Powder Pain Coating) แทง N, G ทําจากทองเหลือง หัวตอเขาสาย (Connector Kit 1 Ea) มีใหสาํ หรับชวยเขาสายใหญ (Incoming up 95mm2) MCB ไดมาตรฐานทั้งยุโรปและอเมริกา Standard : IEC 60898, IEC 60947-2, มอก.2425-2552 Approval : KEMA, TSE CE : Community European : TÜV Rheinlend, GOST-R

ติดตอ : บร�ษัท ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด 22/26 ถ.สุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2002-4395-97 แฟกซ 0-2002-4398 E-mail : info@tdpowertech.com March-April 2017

P.66-67_Area.indd 67

3/31/17 1:45 PM


Special Area < บริษัท เอวีรา จํากัด

“ตรวจวัด วิเคราะหคุณภาพไฟฟา”

CVM-C10 เครื่องมือวัดคาพารามิเตอรไฟฟาที่ตอบโจทย ทุกการใชงานที่หลากหลายและครบถวน

TIPS

ในป จ จุ บั น ปฏิ เ สธไม ไ ด ว  า เทคโนโลยี ไ ด เข า มามี บ ทบาทในชี วิ ต ประจําวันมากขึ้น ทั้งการทํางาน การเดินทาง การสื่อสาร รวมไปถึง ความตองการของการใชไฟฟา ซึ่งทางบริษัท เอวีรา จํากัด ไดเขาใจ ถึงความตองการของผูใชไฟฟาที่ตองการทราบขอมูลคาพารามิเตอร ตางๆ ผานเทคโนโลยีที่มีความเที่ยงตรง มีประสิทธิภาพ และสามารถ ตรวจวัดได ณ เวลานั้น (Real Time) อีกทั้งยังตอบโจทยความตองการ ของผูใ ชไฟฟาหรือหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ และสามารถทําใหเจาของกิจการ สามารถลดตนทุนการผลิตลงได ทางบริษัท เอวีรา จํากัด จึงขอนําเสนอ เครือ่ งมือวัดคาพารามิเตอรแบบดิจติ อลหรือทีเ่ รียกกันวา ‘ดิจติ อลมิเตอร’ แบรนดชั้นนําสัญชาติสเปน รุน CVM C-10 จากคาย วาจะตอบโจทยความตองการของผูท ตี่ อ งการตรวจวัดคาไฟฟาไดอยางไร ? พลั ง งานไฟฟ า ป จ จั ย หลั ก ในการขั บ เคลื่ อ นกระบวนการผลิ ต ทุกประเภทภายในโรงงานอุตสาหกรรม ดังนั้นโรงงานอุตสาหกรรม ตาง ๆ จึงตองหันมาใหความสนใจเกีย่ วกับแนวทางการใชพลังงานใหเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด โดยตองหาแนวทางในการลดตนทุนกระบวนการผลิต และแนวทางหนึ่งที่สามารถดําเนินการได คือ “การควบคุมปริมาณ การใชพลังงานไฟฟา” และสิ่งที่จะชวยใหผูบริหารหรือวิศวกรสามารถ เขาถึงขอมูลการใชพลังงานไฟฟาไดอยางงายที่สุด คือ การมอนิเตอร คาพารามิเตอรจากเครื่องมือวัดทางไฟฟาที่เที่ยงตรงถูกตอง และ มีประสิทธิภาพ

CVM-C10 นอกจากจะตรวจวั ด คุ ณ ภาพทางไฟฟ า ได หลากหลายแล ว ยั ง สามารถตรวจวั ด และวิ เ คราะห ก ารปล อ ย กาซเรือนกระจก (kgCO2) ตนเหตุสำคัญที่ทำใหเกิดโลกรอน ถาโรงงานไหนสนใจการอนุรกั ษพลังงานพรอมกับการลดคาใชจา ย ทางไฟฟา CVM-C10 ก็สามารถทำได...

สําหรับแนวทางการแกไขปญหาคุณภาพไฟฟาทีเ่ กิดขึน้ ภายในระบบ ไฟฟาที่ถูกตองจําเปนตองไดรับความรวมมือกันระหวางผูดูแลระบบ ไฟฟาและผูใชไฟฟา เชน ในสวนของผูดูแลและรับผิดชอบฝายอาคาร สถานที่ นั้ น จะต อ งมี ก ารตรวจสอบคุ ณ ภาพไฟฟ า ของแหล ง จ า ยไฟ หรือระบบสายสง และในระบบจําหนายไฟฟาไปยังภาคสวนตางๆ ซึ่ง สําหรับสวนของผูใชไฟฟานั้นจะตองมีการควบคุมปญหาคุณภาพไฟฟา ที่เกิดขึ้นจากการใชอุปกรณไฟฟาจากผูใชไฟฟาเอง และอาจจะตอง นําผลการบันทึกขอมูลทางไฟฟาและปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นในระบบ ไฟฟามารวมปรึกษากันเพื่อหาแนวทางในการปองกันมิใหเกิดซํ้า โดย ร ว มกั บ บริ ษั ท ที่ ดู แ ลระบบไฟฟ า ภายในอาคาร เพื่ อ พิ จ ารณาระดั บ การทํางานที่สัมพันธกันของอุปกรณไฟฟาตางๆ กับแหลงจายไฟฟา ซึ่งจะชวยลดปญหาคุณภาพไฟฟาภายในระบบไฟฟาได ดั ง นั้ น การสํ า รวจการใช พ ลั ง งานไฟฟ า เพื่ อ หาแนวทางในการ ลดค า ไฟฟ า จึ ง เป น สิ่ ง ที่ จํ า เป น และมี ค วามสํ า คั ญ อย า งยิ่ ง ในการ ตรวจวัดคาพารามิเตอรทางไฟฟา เพื่อใหงายเหมาะสมตอการใชงาน ของโหลดภายในโรงงาน ซึ่งเครื่องมือวัดทางไฟฟาจะมีความสําคัญ ในการศึกษาวิธกี ารใชพลังงานไฟฟาในหนวยงานของทานไดเปนอยางดี โดยดิจิตอลมิเตอรรุน CVM-C10 สามารถที่จะชวยตรวจวัดวิเคราะห คุณภาพไฟฟาภายในโรงงานใหมีประสิทธิภาพไดเปนอยางดี

July-August 2015 March-April 2017

P.68-70_AVERA.indd 68

3/31/17 1:46 PM


คุณสมบัติและความสามารถของ CVM-C10 Quick screen display

4-quadrant measurement

Capacitive control keypad

2 digital inputs Change of tariffs or detection of logic state of external signals

2 digital transistor outputs Generation of impulses or alarms

2 digital outputs per relay Alarm generation

Measurement of advanced parameters V, A, kW, kW•h, hours, kvar, cos φ, kgCO2, Costs

RS-485 Modbus/RTU communications

ตรวจวัดระบบไฟฟา Single-phase และ Three-phase N

L1

L2

L3

IP65 Tested & Approved

Alarm and Event Capability

6

ปองกันจากฝุนผงละอองของ สารที่อาจทำใหเกิดการกัดกรอน หรือเปนอันตรายได

5

ปองกันจากสายนํ้า (jet water) ไดรอบทุกทิศทาง

MONTH

PowerStudio SCADA

YEAR

DAY

ผูใชงานสามารถทำรายงานแสดงคาพารามิเตอรทางไฟฟาที่สำคัญหรือ Billing คาไฟฟาไดเปนรายวัน รายสัปดาห หรือรายเดือน ทั้งนี้ยังสามารถประยุกตใชเพื่อ จัดการคาไฟฟาในแตละแผนกไดอยางถูกตองแมนยำ ลดความผิดพลาดไดเปนอยางดี

มิเตอรสามารถตอใชงานรวมกับ CT ขนาด /5A หรือ /1A

CT, MC Wide range of measurement transformers

application with CVM-C10

4 Alarm

แสดงผลการเตือนและบันทึกเหตุการณทเี่ กิดขึน ้

การเชื่อมตอสื่อสารเครื่องวัดกับโปรแกรมสำเร็จรูป

Sense and Monitor

ตรวจสอบสถานะการใช พ ลั ง งานได แ บบ Real Time หรือคาพลังงานที่โหลดใชงานใน ขณะนั้นโดยตรง

up to 31th order harmonic

Production Plants Enables on-screen cost allocation and control Adapts to different types of network Avoids excessive consumption peaks

New Redesigned interface

• Backlight touch keyboard • Analog visualizations for instantaneous parameters (Power, MaxPower reach and Cosφ or PF) • Backlight display

Panel builders Controls consumption, costs and emissions of three tariff periods Warns of possible problems with up to 4 digital alarms Shows percentage of installation use and PF in analogue form

touch keyboard

Photovoltaic panels Controls generation, consumption, costs and emissions of three tariffs Generates generation or demand overpower alarms Accepts wide scale ranges. Autoscaling from kWh to MWh

Large consumers or generators

Increases the transformation ratio. Autoscale from kW to MW, 600 kV and 10 kA Control of installations with high consumption or generation Shows a large amount of data on one screen

July-August March-April 2015 2017

P.68-70_AVERA.indd 69

3/31/17 1:46 PM


รูปแบบพารามิเตอรที่ดิจิตอลมิเตอรตองมี เพื่อจัดการพลังงานไฟฟาไดอยางครอบคลุม ค า พารามิ เ ตอร ท างไฟฟ า คื อ โครงสร า งที่ มี ค วามสํ า คั ญ มาก ที่ สุ ด ในการประมวลผลเพื่อคาดการณในการบริหารจัดการ การใช พลังงานไฟฟาภายในอาคารสํานักงาน โรงงานอุตสาหกรรมไดอยาง มีประสิทธิภาพสูงสุด ดังนั้นเครื่องมือวัดทางไฟฟาจึงเปนเครื่องมือ ที่มีความสําคัญอยางยิ่งในการนําผลลัพธที่ไดมาปรับปรุงแกไข หรือ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการใชพลังงานไฟฟาของกลุมโหลดไดอยาง คุม คาและเกิดประโยชนสงู สุดไดตามความตองการ ลักษณะของขอมูลที่ ไดจากการตรวจวัดจะนําไปสูก ระบวนการวิเคราะหขอ มูลการใชพลังงาน ไฟฟาไดอยางถูกตอง นอกเหนือจากความแมนยําและความเที่ยงตรง ที่เชื่อถือไดจากเครื่องมือวัดแลว เครื่องมือวัดที่ดีตองแสดงผลลัพธทาง ไฟฟาไดอยางหลากหลายคาพารามิเตอร ซึ่งคาพารามิเตอรทางไฟฟา ที่สําคัญตางๆ ดังตารางที่ 1 ที่เครื่องมือวัด (Digital Meter) ควรจะพึงมี การตรวจวิ เ คราะห ก ารใช พ ลั ง งานภายในโรงงานอุ ต สาหกรรม ในการดําเนินการดานอนุรกั ษพลังงานภายในโรงงาน สิง่ ทีม่ คี วามจําเปน ที่เดนชัดที่สุดคือ การตรวจวิเคราะหการใชพลังงานไฟฟาในกลุมโหลด ต า งๆ ซึ่ ง จะทํ าใหทราบถึงขอมูลเพื่อที่จะนําไปเปรียบเทียบกับคา มาตรฐานหรื อ ค า พลั ง งานไฟฟ า ที่ ค วรใช เพื่ อ จะได ท ราบว า ควร ดําเนินการจัดการพลังงานไฟฟา หรือเพิ่มประสิทธิภาพอันจะกอใหเกิด การใชพลังงานไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้นอุปกรณเครื่องวัดทางไฟฟาที่ติดตั้งอยูภายในระบบไฟฟา จะเปนเทคโนโลยีใหมทจี่ ะมาเปลีย่ นรูปแบบการสงจายพลังงานไฟฟาให มีความทันสมัยมากขึ้น รวมไปถึงการปรับเปลี่ยนรูปแบบหรือพฤติกรรม การใชไฟฟาตามผลการวิเคราะหและประมวลผลของโปรแกรม ทําใหผใู ช งานสามารถวางแผนในการบริหารจัดการ จัดทํารายงานการใชพลังงาน ไฟฟา เพื่อใหเห็นถึงประโยชนที่ไดรับและตระหนักในความสําคัญของ การลดพลังงานและใชไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น ขอเสนอแนะสําหรับการปรับปรุงหรือการตอสายสัญญาณตางๆ เขาที่ตัวอุปกรณมิเตอร โดยสิ่งสําคัญที่สุดที่จะตองคํานึงถึงคือ ตอง ปลดแหลงจายไฟฟาที่จายเขามิเตอรออกทุกครั้ง เพื่อความปลอดภัย สูงสุดตอผูป ฏิบตั งิ าน แตถา ทีต่ วั อุปกรณยงั มีไฟฟาจายอยูห า มดําเนินการ ปรับปรุงแกไขทุกกรณี ซึ่งในกรณีเชนนี้จะเปนอันตรายไดโดยตรงตอ ผูปฏิบัติงาน จากเนื้อหาที่กลาวมาขางตนที่ชางเทคนิคหรือวิศวกรไฟฟารวมทั้งผูที่สนใจ จะตองใหความสำคัญกับประสิทธิผลที่ไดจากการมอนิเตอรคาพารามิเตอร

ตารางที่ 1 แสดงคาพารามิเตอรทางไฟฟาขัน้ พืน้ ฐาน Parameter

Total III

Vph-N

Phase-phase voltage

Vph-ph

Current

A

Frequency

Hz

Active power

M/kW

Apparent power

M/kVA

Total Reactive Power

M/kvar

Total Reactive Power - Consumption

M/kvar

Total Reactive Power - Generation

M/kvar

Total Inductive Reactive Power

M/kvarL

Inductive Reactive Power - Consumption

M/kvarL

Inductive Reactive Power - Generation

M/kvarL

Total Capactive Reactive Power

M/kvarC

Capacitive Reactive Power - Consumption

M/kvarC

Capacitive Reactive Power - Generation

M/kvarC

Power factor

PF

Cos φ

φ

THD % Voltage

% THD V

THD % Current

% THD A

harm V

Units

Phases L1-L2-L3

harm V

Harmonic Breakdown - Voltage (up to the 31th order harmonic)

Parameter Harmonic Breakdown - Current (up to the 31th order harmonic)

Total III

M/kWh

Total Inductive Reactive Energy

M/kvarLh

Total Capacitive Reactive Energy

M/kvarCh

Total Apparent Energy

M/kVAh

Active Energy Tariff 1

M/kWh

Inductive Reactive Energy Tariff 1

M/kvaLh

Capacitive Reactive Energy Tariff 1

M/kvarCh

Apparent Energy Tariff 1

M/kVAh

Active Energy Tariff 2

M/kWh

Inductive Reactive Energy Tariff 2

M/kvaLh

Capacitive Reactive Energy Tariff 2

M/kvarCh

Apparent Energy Tariff 2

M/kVAh

Active Energy Tariff 3

M/kWh

Inductive Reactive Energy Tariff 3

M/kvaLh

Capacitive Reactive Energy Tariff 3

M/kvarCh

Apparent Energy Tariff 3

M/kVAh

Total Active Energy

Maximum Demand of Active power

M/kW

Maximum Demand of Apparent Power

M/kVA

Parameter

N

N

A

Maximum Current Demand

Units

Tariff : T1-T2-T3

Total

No. of hours

hours

Cost CO2 Emissions

COST kgCO2

AVERA CO., LTD.

รับปรึกษาและวางแผนระบบบริหารจัดการพลังงาน สอบถามรายละเอียดดานลางนี้ไดเลยครับ...

พลังงานไฟฟาใหมีความเหมาะสม ซึ่งประโยชนที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลและ จัดการระบบไฟฟาในหลายดาน ทั้งการแสดงผล การเตือน การปองกันและ

อาคารศุภาลัยแกรนด ทาวเวอร หองเลขที่ 02, 03 ชัน้ ที่ 15 เลขที่ 1011 ถนนพระราม 3 แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120

การประหยัดพลังงานใหคุมคากับการลงทุน โดยครอบคลุมกับการใชงานใน แตละประเภทและใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใชงานตอไป อีกทัง้ ยังสามารถ ความสะดวกใหกบ ั ผูใชไฟฟาอีกดวย

Phases L1-L2-L3

Phase-neutral voltage

ทางไฟฟ า เพื่ อ นำข อ มู ล ต า งๆ มาใช ใ นการประกอบการพิ จ ารณาการใช

เชื่อมตอเขากับระบบไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) ไดอยางลงตัวเอื้ออำนวย

Units

avera.co.th

Tel : Mobile : E-mail :

0-2074-4411 088-001-0416 sales@avera.co.th

July-August 2015 March-April 2017

P.68-70_AVERA.indd 70

3/31/17 1:46 PM



Special Area

> บริษัท เชลล ประเทศไทย จํากัด

การเปลี่ยนแปลงหมอแปลงไฟฟา ใหมีความนาเชื่อถือทางวิศวกรรม หม อ แปลงไฟฟ า กํ า ลั ง เป น อุ ป กรณ ที่ มี ร าคาแพงและเป น อุปกรณหลักของธุรกิจ ซึง่ การรักษาเสถียรภาพการทํางานทีด่ มี คี วาม สําคัญเปนอยางยิง่ เพราะหากหมอแปลงเสียหายหรือประสบปญหา จะกอใหเกิดปญหารุนแรงตามมาเชนกัน เพราะจะทําใหกระแสไฟฟา ดับและสงผลตอความเสียหายทางเศรษฐกิจอยางมหาศาล รวมทั้ง จํานวนคาเบี้ยปรับกรณีที่สงกระแสไฟฟาไมได ดวยเหตุนี้ เชลล ไดคิดคนผลิตภัณฑน้ํามันหมอแปลงไฟฟาขึ้นเปนครั้งแรก โดยใช เทคโนโลยี GTL ที่มีการคนควาทางวิทยาศาสตรจากโครงการวิจัย หลัก ซึ่งปฏิวัติน้ํามันหมอแปลงรูปแบบเดิมเพื่อนําไปสูการพัฒนา เสถี ย รภาพและอายุ ก ารทํ า งานของหม อ แปลงในป จ จุ บั น และ ในอนาคต ปจจุบันหมอแปลงไฟฟาทั่วโลกมีสภาพคอนขางเกา (หลาย ประเทศมีอายุการใชงานมากกวา 30-40 ป) และบริษัทหลายแหง ยังคงใชหมอแปลงไฟฟาตามอายุที่กําหนดไวเดิม บางบริษัทก็ใช หมอแปลงเกินกวาอายุการใชงานจริง ทําใหตอ งมีการลงทุนสูงขึน้ เพือ่ เปลี่ยนหมอแปลงใหมมากถึง 4 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งตามหลักแลว เราสามารถเปลี่ยนวิกฤตเปนโอกาสทางเศรษฐกิจได ถาเสถียรภาพ การทํางานของหมอแปลงไฟฟามีการพัฒนาใหดีขึ้น เชลล ต ระหนั ก ถึ ง ป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น เหล า นี้ และได ร ว มลงทุ น ในงานวิจัยกับมหาวิทยาลัยชั้นนํา สถาบันวิชาการตางๆ และบริษัท ภาคเอกชน เพื่อเรงพัฒนานวัตกรรมนี้ ตั ว อย า งเช น เชลล ไ ด ร ว มมื อ กั บ กลุ ม บริ ษั ท วิ จั ย ของยุ โรป ใน ค.ศ. 2012 เพื่อศึกษาการออกแบบ การทํางานของหมอแปลง และอิทธิพลของน้าํ มันตอลักษณะของอายุการใชงานและเสถียรภาพ ของหมอแปลงไฟฟา

การวิจยั ครัง้ นีเ้ ปนงานวิจยั ทีใ่ หญทส่ี ดุ ในยุโรป ภายใตการนําของ คณะวิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร ซึ่งเปนหนวยงานวิชาการที่ไดรับการยอมรับในดานความสามารถ และความเปนเลิศในงานวิจัยไฟฟาเกี่ยวกับน้ํามันหมอแปลงและ หมอแปลงไฟฟาในสหราชอาณาจักร พรอมดวยกลุมบริษัทตางๆ ไดแก บริษทั ผูผ ลิตหมอแปลงไฟฟา บริษทั ทีเ่ กีย่ วของกับระบบไฟฟา หองปฏิบัติการทดสอบ บริษัทผูผลิตฉนวน และบริษัทเชลลซึ่งเปน ผูวิจัยน้ํามันหมอแปลงไฟฟา เชลลเชื่อวาโครงการนี้จะชวยทําใหเกิดการพัฒนาอายุการ ใชงานของหมอแปลงไฟฟาในอนาคต เนือ่ งจากเปนโครงการสงเสริม องคความรูทางวิทยาศาสตรในสาขาเฉพาะดังกลาวที่จะสงผลตอ การเสริมสรางความรูความเขาใจมากขึ้นวา น้ํามันและหมอแปลง มีอายุการใชงานอยางไร รวมทั้งชวยในการวิเคราะหคุณลักษณะ สําคัญที่จําเปนจะตองปรับปรุงเพื่อเพิ่มเสถียรภาพความนาเชื่อถือ ตลอดจนระยะเวลาการใชงานที่ยาวนานของน้ํามันและหมอแปลง ไฟฟาได นอกจากนั้นแลว การทดสอบที่มหาวิทยาลัยดังกลาว ยังชวย ให ก ารทดสอบน้ํ า มั น หม อ แปลงไฟฟ า ที่ ผ ลิ ต จากน้ํ า มั น หล อ ลื่ น พื้นฐานพิเศษที่ผสมสารตานทานปฏิกิริยาออกซิเดชั่น (เทคโนโลยี GTL) หรือเชลล ไดอาลา (เชลล ไดอาลา S4 ZX-I) มีความเที่ยงตรง อีกดวย กรณีตัวอยาง ไดแก การจําลองเพื่อทดสอบผลของการเกิด ภาวะแรงดันสูงชั่วขณะอันเนื่องมาจากฟาฝาและการปลดสับสวิตช แรงสูงของระบบไฟฟา และเพื่อวิเคราะหความยืดหยุนของน้ํามัน ที่แตกตางกันที่มีผลตอการเกิดสภาวะแรงดันสูงชั่วขณะดังกลาว รูปที่ 1 : Dr.Qiang Liu อาจารยสาขาระบบไฟฟาในโรงงาน และ คุณ Zhongdong Wang ศาสตราจารยทางดาน วิศวกรรมไฟฟาแรงสูงแหงมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร และ Dr.Peter Smith ผูจัดการฝายเทคโนโลยี บริษัท Shell Global Solutions กับเครือ่ งกําเนิดแรงดันอิมพัลส ทีบ่ ริษทั เชลลและมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอรมีสวนรวมในการวิจัย ร ว มกั บ กลุ ม บริ ษั ท ชั้ น นํ า เพื่ อ ศึ ก ษาการออกแบบ การ ทํางานของหมอแปลงและอิทธิพลของน้ํามันตอลักษณะ ของอายุการใชงานและเสถียรภาพของหมอแปลงไฟฟา

March-April 2017

P.72-75_Area.indd 72

3/31/17 1:47 PM


เชลล ไดอาลา S4 ZX-I ผลิตมาจากกาซธรรมชาติบริสุทธิ์ โดยทําให โครงสรางทางเคมีของ สารประกอบไฮโดรคารบอนแคบและเฉพาะเจาะจง (Tightly Specified Hydrocarbon) ในทาง ตรงกันขามองคประกอบของนํามันหมอแปลงที่มีพื้นฐานจากนํามันดิบก็จะมีองคประกอบของ ไฮโดรคารบอนที่หลากหลาย ขึ้นอยูกับแหลงและกระบวนการกลั่น รูปที่ 3 แสดงใหเห็นวาเชลล ไดอาลา S4 ZX-I มีคารับแรงดัน ความเสียหายเฉียบพลันอันเกิดจากแรงดันอิมพัลสฟาผาสูงกวา น้ํามันหมอแปลงแบบ Inhibited Conventional อยางมีนัยสําคัญ เมื่อมีการทดสอบโดยใชขั้วไฟฟาแบบเลขาคณิตทั้งสภาพขั้วบวก และขัว้ ลบ การทดสอบนีไ้ ดพสิ จู นวา เชลล ไดอาลา S4 ZX-1 มีความ สามารถทนตอแรงดันไฟฟาสูงชั่วขณะในระหวางการทํางาน เชน ในระหวางการปลดสับสวิตชแรงสูง หรือกรณีฟาผาเมื่อเทียบกับ น้ํามันหมอแปลงอื่นๆ

รูปที่ 2 : โครงแบบของขั้วไฟฟาแบบเข็มทรงกลม (Needle Sphere Electrode) ที่ใชในการทดสอบความเสียหายอันเกิดจากแรงดัน อิมพัลสฟาผา

“ในฐานะที่เราเปนหนึ่งในบริษัทดานสาธารณูปโภคขามชาติ ทีม่ สี ถานียอ ยแรงดันไฟฟาสูงมากเกือบ 500 แหง ทําใหเรามี ทรัพยสินที่ใชน้ํามัน (oil-filed asset) เปนจํานวนมาก อาทิ เชน หมอแปลงไฟฟา โดยเราใชน้ํามันที่เราไวใจ เรามีความ สนใจอยางมากในการยืดอายุการใชงานของหมอแปลงไฟฟา ใหยาวนานและมีเสถียรภาพมากขึ้น สิ่งเหลานี้จะชวยใหเรา สรรหาคุณคาทีด่ ที ส่ี ดุ ใหแกลกู คาของเรา พรอมๆ กับสรางความ มั่นใจวาลูกคาสามารถใชไฟฟาไดตามตองการ เราตระหนัก ดีวาน้ํามันที่เราใชมีบทบาทตอความนาเชื่อถือและอายุการ ใชงานของหมอแปลง ดังนั้นโครงการนี้จึงเปนโครงการที่ สําคัญยิ่งตอการเชื่อมตอโครงขายไฟฟา” Gordon Wilson, Technical Specialist in Insulating Liquids, National Grid plc Needle sphere +ve 10mm Needle sphere -ve

การทดสอบนี้จะวิเคราะหน้ํามันหมอแปลง 2 ชนิดของเชลล ไดแก เชลล ไดอาลา S4 ZX-I (inhibited GTL oil) และ เชลล ไดอาลา S3 ZX-I (conventional inhibited oil) ซึ่งมีสวนประกอบ ของน้ํานอยกวา 10 ppm เพื่อวิเคราะหความเสียหายเฉียบพลัน อันเกิดจากแรงดันอิมพัลสฟาผาในรูปทรงเลขาคณิตแบบขั้วไฟฟา เข็มแผนราบและเข็มรูปทรงกลม โดยขั้วไฟฟาเข็มรูปทรงกลมที่ใช (ขนาดชองวาง 25 มิลลิเมตร ทั้งแรงดันอิมพัลสขั้วบวกและขั้วลบ) ปรากฏในรูปที่ 2 โดยไดนาํ เครือ่ งกําเนิดไฟฟาแรงดันอิมพัลส 8 ระดับ ขนาดแรงดันไฟฟาสูงสุดที่ 800 kV และพลังงานที่ 4 kJ มาใชเพื่อ รองรับแรงดันฟาผามาตรฐานที่ 1.2/50 µs

10mm Needle plane +ve

Needle plane -ve

Shell Diala S3 ZX-I Shell Diala S4 ZX-I (GTL) 0

50

100

150

200

250

Source: University of Manchester

Breakdown voltage, kV

รูปที่ 3 : คาเฉลีย่ แรงดันไฟฟาทีจ่ ะไดรบั ความเสียหายจากแรงดันฟาผา ของน้าํ มันหมอแปลงเชลล ไดอาลา S4 ZX-1 (inhibited GTL) กับเชลล ไดอาลา S3 ZX-1 (conventional inhibited) ที่มีขนาดแกบขั้วไฟฟา ที่ 25 มิลลิเมตร เวนแตจะกําหนดไวเปนอยางอื่น March-April 2017

P.72-75_Area.indd 73

3/31/17 1:47 PM


เทคโนโลยี GTL : การผลิตนํามันหมอแปลงไฟฟาไฮโดรคารบอนที่ออกแบบเพ�อ

สมรรถนะที่สูงขึ้น ผลิตภัณฑ เชลล ไดอาลา S4 ZX-I ผลิตจากนํามันพื้นฐาน GTL ซึ่งเปน ไฮโดรคารบอนโครงสราง Isoparaffinic ทีม่ าจากกาซธรรมชาติ ซึง่ โครงสรางนีม้ ใี นกาซธรรมชาติ มากกวาในนํามันดิบ โดยที่กาซธรรมชาติที่นํามาจะตองบริสุทธิ์และผานการแปลงสภาพเปนนํามัน พื้นฐาน โดยใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมและทันสมัย เริ่มตนจากการนํามีเทนที่เปนโมเลกุลหลักของกาซธรรมชาติ มาทําปฏิกิริยากับออกซิเจนเพื่อทําใหเกิดกาซสังเคราะหขึ้นคือกาซ ไฮโดรเจนและกาซคารบอนมอนอกไซด จากนัน้ ใช catalyst เพือ่ ทําให เกิดเปนแวกซเหลวดวยกระบวนการ Fischer-Tropsch กระบวนการสุ ด ท า ยคื อ ทํ า ให แวกซ เ หลวเกิ ด การแตกตั ว ออกเปนโมเลกุลที่เล็กลง (Hydrocracked) ผนวกกับใชเทคโนโลยี ที่พัฒนาเปนพิเศษของเชลลและ Novel Catalysis จนสามารถกลาย มาเปนน้าํ มันทีส่ ามารถนํามาใชในหลากหลายผลิตภัณฑ เชน น้าํ มัน เชื้อเพลิง น้ํามันหลอลื่น เคมี ซึ่ง GTL มีความบริสุทธิ์สูง ปราศจาก สารปนเปอนและกํามะถัน ซึ่งตางจากผลิตภัณฑที่มาจากน้ํามันดิบ เนื่องจากสารตั้งตนสวนใหญคือคารบอนและไฮโดรเจน เมื่อ กลายสภาพเปนน้าํ มันจึงมีสว นประกอบของไฮโดรคารบอนทีบ่ ริสทุ ธิ์ เกื อ บทั้ ง หมด กระบวนการผลิ ต GTL เป น สิ่ ง ที่ ยื น ยั น ได ว า สาร ไฮโดรคารบอนที่มาจากกาซธรรมชาติเปนสารที่อิ่มตัว (Saturated Paraffins) ดังนั้นจึงไมพบสารกํามะถัน แทบไมพบสารอะโรมาติก และไฮโดรคาร บ อนที่ ไ ม อิ่ ม ตั ว และเมื่ อ เปรี ย บเที ย บคุ ณ สมบั ติ กับผลิตภัณฑที่มาจากน้ํามันดิบทั่วไป2 ผลิตภัณฑที่เปน GTL ให ขอไดเปรียบดานคุณสมบัติการใชงานที่ดีกวา โดยเฉพาะน้ํามัน หมอแปลงไฟฟา

STAGE 1 GASIFICATION

STAGE 2 SYNTHESIS

SYNGAS

Methane (natural gas)

Oxygen (from air)

Hydrogen

“น้าํ มันหมอแปลงไฟฟา GTL ของ SHELL มีสว นประกอบ ที่นาสนใจ เนื่องจากไมมีกํามะถัน คาอะโรมาติกและสาร ปนเปอนที่ไมอิ่มตัวนอยมาก ดวยเหตุนี้จึงเพิ่มศักยภาพ การทํางานใหกับสารเพิ่มคุณภาพ ทนตอการเสื่อมสภาพ และทํางานภายใตอณ ุ หภูมกิ ารทํางานทีส่ งู มากหรือต่าํ มาก ไดดี ทําใหสามารถเพิม่ เสถียรภาพและประสิทธิภาพใหกบั หมอแปลงได” Dr.Peter Smith ผู จั ด การฝ า ยเทคโนโลยี Shell Global Solutions

ลดความเสี่ยงของการเกิดการกัดกรอนทองแดง

กํามะถันหรือซัลเฟอรชนิดกัดกรอนในน้ํามันหมอแปลงไฟฟา ทั่วไปเปนสาเหตุหนึ่งของความเสียหายของหมอแปลงไฟฟา ดังนั้น Shell Diala (น้ํามันพื้นฐาน GTL) ไมมีสวนผสมของกํามะถัน ซึ่งจะ ไมทําใหเกิดความเสี่ยงของการเกิดการกัดกรอนทองแดงจากน้ํามัน ซึ่งจะชวยเพิ่มเสถียรภาพของหมอแปลงไฟฟา Below detection limits, according to ISO 14596/ASTM D2622

2

STAGE 3 REFINING Hydrocracking catalysts

CATALYST

Carbon monoxide

Fischer–Tropsch distillates (Normal paraffines)

Water

~3,500 SHELL PATENTS

Source: Shell

รูปที่ 4 : ของเหลวพื้นฐานที่ใชในเทคโนโลยี GTL ของเชลลทําจากกาซสังเคราะหซึ่งเปนสวนผสมระหวางไฮโดรเจนและคารบอนมอนอกไซด

March-April 2017

P.72-75_Area.indd 74

3/31/17 1:47 PM


เพราะวาเชลล ไดอาลา S4 ZX-I ไมมีสวนผสมจากซัลเฟอร จึงลดความเสี่ยงของการเกิด Corrosive Sulphur ซึ่งเปนสาเหตุของการกัดกรอนขดลวดทองแดง

ปจจุบันหมอแปลงไฟฟารุนใหมมีขนาดเล็กลงแตทํางานดวย แรงดันไฟฟาสูงมาก ความเครียดน้ํามันหมอแปลงก็สูงกวาที่เปนอยู ในอดีตมาก เชลล ไดอาลา GTL รวมตัวกับสารปองกันการเสือ่ มสภาพ ได อ ย า งดี จึ ง มี คุ ณ สมบั ติ ใ นการป อ งกั น การเสื่ อ มสภาพแม ใ น ทุกสภาวะ นอกจากนั้นยังมีความเปนกรดที่ต่ํากวาและเกิดตะกอน นอยกวาเมื่อใชเปนระยะเวลานาน รวมทั้งมีระดับสมรรถนะความ คงตัวตอการเกิดออกซิเดชัน่ ดีกวามาตรฐานทีก่ าํ หนดถึง 5 เทา ดวย เหตุนี้ เชลล ไดอาลา จึงชวยเพิ่มอายุการใชงานของฉนวนกระดาษ ใหยาวนานขึ้น

โมเดลอธิบายถึงการระบายความรอนที่ดีและเหนือกวา

การระบายความร อ นที่ ดี ใ นหม อ แปลงไฟฟ า วั ด ได จ ากค า ตัวแปรน้ํามัน 2 ประเภท คือ 1. สมบัติทางความรอน (ความจุ ความรอนจําเพาะ และการนําความรอน) และ 2. คุณสมบัตกิ ารไหล และความหนืด สมบัติความรอนของน้ํามันหมอแปลงเปนสัดสวน โดยตรงกั บ ค า ความหนาแน น ซึ่ ง จากการคํ า นวณและการวั ด คุณสมบัตพิ บวา ความจุความรอนจําเพาะและคาปริมาณความรอน ของเชลล ไดอาลา S4 ZX-I มีสูงกวาในน้ํามันหมอแปลงแบบดั้งเดิม ซึ่งหมายความวามีคุณสมบัติทางความรอนที่ดีกวานั่นเอง ชวย ระบายความรอนในหมอแปลงไฟฟา ซึง่ สามารถรับโหลดสูงขึน้ หรือ ลดการใชระบบระบายความรอนอื่น (Forced Cooling) หรือให ประโยชนตอ การออกแบบ เชน การลดขนาดของหมอแปลง เปนตน

ตัวแปรสํ าคัญอีกประเด็นหนึ่ง ที่มี อิทธิพลตอน้ํามันในการ ระบายความรอนในหมอแปลงก็คอื คุณสมบัตกิ ารไหลหรือความหนืด ในชวงของอุณหภูมิที่หมอแปลงทํางานปกติ ชวงของอุณหภูมิปกติ นั้นถูกกําหนดดวยมาตรฐานที่แตกตางกัน เชน IEC 60076 Part I ไดจํากัดอุณหภูมิที่ต่ํากวาสภาวะปกติสําหรับหมอแปลงไวที่ -25 องศาเซลเซียส ดังรูปที่ 5 แสดงการเปรียบเทียบของเหลว (ความหนืด) กับอุณหภูมิสําหรับน้ํามันหมอแปลงไฟฟาประเภท inhibited GTL (เชลล ไดอาลา S4 ZX-I) เมื่อเปรียบเทียบกับน้ํามันหมอแปลงแบบ ดัง้ เดิมหรือเชลล ไดอาลา ประเภท inhibited (เชลล ไดอาลา S3 ZX-I) น้ํามันหมอแปลงสวนใหญเมื่อมีอุณหภูมิสูงขึ้น จะมีความ หนื ด ต่ํ า เพื่ อ ช ว ยทํ า ให ก ารระบายความร อ นได ดี แต ใ นขณะที่ มี อุณหภูมิต่ํา น้ํามันจะขนขึ้นอยางมีนัยสําคัญ ซึ่งจะลดอัตราการ ไหลเวียนและความสามารถในการระบายความรอน รูปที่ 5 เปนการ ทดสอบซึ่งพบวาน้ํามันหมอแปลงประเภท inhibit GTL มีความขน นอยกวาเมื่อมีอุณหภูมิต่ํากวาน้ํามันหมอแปลงแบบดั้งเดิม ซึ่งก็ พิสูจนใหเห็นวาน้ํามันหมอแปลงแบบ GTL ยังคงรักษาคุณสมบัติ การไหลเวียนและความเปนของเหลวไดดีกวาแมในสภาวะวิกฤติ 1,800

1,600

1,400

IEC 60296 -30ºC maximum viscosity limit

ปองกันการเส�อมสภาพ

1,200

1,000

800

600 Shell Diala S2 ZU-I gt

400

Shell Diala S2 ZU-I ngt Shell Diala S3 ZX-I

200

Shell Diala S4 ZX-I (GTL) 0 –30

–20

–10

Source: Shell

0

รูปที่ 5 : เปรียบเทียบคุณสมบัติการเปนของเหลว (ความหนืด, cSt) กับอุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) ของน้ํามันหมอแปลงแบบ Inhibited GTL (เชลล ไดอาลา S4 ZX-I) กับน้ํามันหมัอแปลงแบบดั้งเดิม Uninhibited (เชลล ไดอาลา S2 ZU-I ngt) และประเภท Inhibited (เชลล ไดอาลา S3 ZX-I) อานตอฉบับหนา March-April 2017

P.72-75_Area.indd 75

3/31/17 1:47 PM


IT Technology > Ericsson

กลไกขับเคลื่อนรูปแบบใหมเพื่อการเติบโต

ในสังคมเครือขายดิจิทัล

พลิกการเปลี่ยนแปลงเปนโอกาส เสริมศักยภาพสูการเติบโตในประเทศไทยในยุคดิจิทัล

The innovation engine for growth in the Networked Society Let’s Turn Change into Growth, Realizing a Digital Thailand

จากรายงานขอมูลทางธุรกิจ Ericsson Mobility Report ของอีริคสัน ทําใหเราทราบวาเทคโนโลยี 5G กําลังมีการพัฒนา อยางรวดเร็วและจะมีการลงทะเบียนใชงานมากกวา 500 ลานครั้ง ทั่วโลกภายในป ค.ศ. 2022 ซึ่งเทคโนโลยีดังกลาวนี้จะนํามาซึ่ง โอกาสใหมๆ ในอนาคตทั้งสําหรับผูคนทั่วไป นักธุรกิจ และสังคม โดยรวม

According to Ericsson’s latest Ericsson Mobility Report, 5G technology is developing rapidly and will reach over half a billion subscriptions globally by 2022. This will create extraordinary new opportunities in the near future for people, business and society.

March-April 2017

p.76-80_IT Technology.indd 76

3/31/17 1:47 PM


เทคโนโลยี 5G คือพืน้ ฐานของการสรางศักยภาพสูงสุดของสังคมทีเ่ ชือ่ มโยงกัน เปนเครือขาย ซึ่งเครือขาย 5G นี้จะชวยใหองคกรตางๆ สามารถรุกสูตลาดและสราง รายรับรูปแบบใหมๆ ไดอยางตอเนื่อง โดยผานการใชโมเดลธุรกิจและผูใชงานระบบ รู ป แบบใหม ตั้ ง แต ขั้ น พื้ น ฐาน ซึ่ ง รวมถึ ง แอพพลิ เ คชั่ น การบริ ห ารสรรพสิ่ ง ด ว ย อินเทอรเน็ต (Internet of Things : IoT) โดยความสามารถในการทํางานของเทคโนโลยี 5G นั้นครอบคลุมคุณสมบัติหลายดาน ไมวาจะเปนความยืดหยุนในการทํางาน อันยอดเยี่ยม การใชพลังงานนอยกวา สมรรถนะการทํางานสูงขึ้น เสริมสราง สมรรถภาพดานความปลอดภัย และอัตราการใชขอมูล ทั้งยังมีความหนวงสัญญาณ และตนทุนอุปกรณที่ต่ําลง เครือขายโทรศัพทมือถือรุนแรกๆ (1G) จะทํางานเฉพาะเรื่องเสียงเทานั้น เครือขายรุน 2G ทํางานกับเสียงและขอความ เครือขาย 3G คือเสียง ขอความ และ ขอมูล สวนเครือขาย 4G ทํางานเหมือนกับ 3G ทุกประการแตเร็วกวา หากสําหรับ เครือขาย 5G นั้นจะเปนสิ่งที่แตกตางไปอยางสิ้นเชิง

สิ่งที่เราจะไดรับจากเครือขาย 5G

อัตราความเร็วของการสงผานขอมูลที่เพิ่มขึ้นถึง 100 เทา : มีการเขาถึง บริการและแอพพลิเคชั่นตางๆ ไดอยางรวดเร็ว ● ความรวดเร็วของการตอบสนองในการใชงานบนเครือขายเพิม ่ ขึน้ 5 เทา : เชน กรณีการใชงานของระบบการขนสงอัจฉริยะและระบบควบคุมเครือ่ งจักรจากระยะไกล ● ปริมาณขอมูลที่สงผานบนโทรศัพทมือถือขยายถึง 1,000 เทา ● ความสามารถของการใช ง านแบตเตอรี่ เ พิ่ ม ขึ้ น ได ใ นระยะเวลายาวนาน เพิ่มขึ้น 10 เทา : โดยเฉพาะอุปกรณเก็บขอมูลระยะไกล (Remote Sensor) ที่ตอง ทํางานดวยระบบแบตเตอรี่และเครือขายที่ยากตอการดูแลรักษา (Sustainable Networks) ●

5G is the foundation for realizing the full potential of the Networked Society. 5G will enable organizations to move into new markets and build new revenue streams with radically new business models and use cases, including Internet of Things (IoT) applications. The new capabilities of 5G span across several dimensions, including tremendous flexibility, lower energy requirements, greater capacity, bandwidth, security, reliability and data rates, as well as lower latency and device costs. The first generation mobile network (1G) was all about voice. 2G was about voice + texting. 3G was about voice + texting + data. 4G was everything in 3G but faster. 5G will be something totally different. It will deliver: ● Up to 100 times faster data rates: instant access to services and applications ● Network latency lowered by a factor of five:use cases in areas such as intelligent transport and remote machinery ● Mobile data volumes expanded by a factor of 1,000 ● Ten times better battery life: remote sensors and more sustainable networks March-April 2017

p.76-80_IT Technology.indd 77

3/31/17 1:47 PM


การเปลี่ยนเขาสูเครือขาย 5G มีวิวัฒนาการเชนเดียวกับการเปลี่ยน จากเครือขาย 2G ไปสู 3G แตการเปลี่ยนเขาสูเครือขาย 5G จะมีการเพิ่ม องคประกอบใหมอีกหนึ่งอยางนั่นก็คือ อินเทอรเน็ตเชิงอุตสาหกรรม และ เชนเดียวกับการเปลีย่ นเขาสูเ ครือขาย 4G โดยในเครือขาย 5G จะแสดงใหเห็น ถึงประสิทธิภาพการทํางานทีเ่ หนือกวามากเมือ่ นํามาเปรียบเทียบกัน แลวยังมี สิ่งอื่นที่นอกเหนือจากนั้นดวย คือในเครือขาย 5G เราจะไดเห็นการเชื่อมตอ เสมือนเปนบริการบนพื้นฐานของเครือขายแยกสวน โดย 5G จะชวยใหเรา สามารถทําธุรกรรมซือ้ ขายไดอยางปลอดภัยและมีประสิทธิภาพการใชพลังงาน ที่ดียิ่งขึ้นในการใชอุปกรณเพื่อการบริหารสรรพสิ่งดวยอินเทอรเน็ต (IoT) โดย สามารถใชงานแบตเตอรีไ่ ดยาวนานขึน้ ถึง 10 เทา เมือ่ เปรียบเทียบกับปจจุบนั ประโยชนเหลานี้จะนํามาซึ่งโอกาสของผูใชงานระบบรูปแบบใหมที่เราไม คาดฝน รวมถึงการเขาถึงตลาดใหม และการใชโมเดลธุรกิจใหมหมดตั้งแต องคประกอบพื้นฐาน

สิ่งที่ผูบริโภคสามารถคาดหวังไดจากเทคโนโลยี 5G > การเขาถึงบรอดแบรนดและสื่อไดในทุกสถานที่

ดวยเทคโนโลยี 5G ผูใ ชงานจะไดสมั ผัสประสบการณการเขาถึงเครือขาย บรอดแบรนดไดในพื้นที่ที่มีผูคนหนาแนน อาทิ งานคอนเสิรต รายการกีฬา และเทศกาลตางๆ ซึ่งจะชวยลดปญหาในเรื่องความจุ อินเตอรเฟซ และความ เชื่อถือไดในการทํางานของอุปกรณ ผูใชงานเครือขาย 5G ยังจะไดเพลิดเพลิน กับภาพยนตรความละเอียดระดับ 4K ซึ่งสามารถดาวนโหลดไดภายในไมกี่ วินาทีโดยไมตองเชื่อมตอสัญญาณ Wi-Fi ในขณะที่การชมรายการโทรทัศน และรายการกีฬาถายทอดสดจะกลายเปนประสบการณการรับชมที่ดื่มด่ําและ สมจริงราวกับคุณกําลังอยูใ นเหตุการณจริง สําหรับผูบ ริโภคทัว่ ไป เครือขาย 5G จะขยายประสบการณการเชื่อมตออินเทอรเน็ตทั้งภายในและภายนอกอาคาร ใหถึงขีดสุด และนําเสนอบรอดแบรนดที่มีการบริหารเครือขายคุณภาพสูง แมเครือขายจะอยูภายใตสภาวะที่ยากตอการทํางานเพียงใดก็ตาม

Like the transitions to 2G and 3G, the move to 5G will add a new element: the industrial internet. And like the transition to 4G, it will be much higher performance than the previous generation. But it will be much more than that. With 5G, we’ll see connectivity-as-a-service based on network slicing. 5G will enable more secure transactions and the energy efficiency to deploy IoT devices with a battery life that is 10X longer than today. All this will create opportunities for new use cases that we haven’t yet dreamed of, new markets, and radically new business models.

What consumers should expect from 5G: > Broadband and Media Everywhere

With 5G, users will experience broadband access in crowded areas like concerts, sporting events and festivals, alleviating issues with capacity, interference and reliability. 5G customers will also enjoy 4K movies downloaded in just seconds without a wifi connection, while live TV broadcasts and sporting events will become immersive viewing experiences, as if you were at the event in real-life. For customers, 5G will also maximize their experience in both indoor and outdoor connectivity and offer high QoS broadband even in challenging network conditions.

March-April 2017

p.76-80_IT Technology.indd 78

3/31/17 1:47 PM


> ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยและเครื่องจักรอุปกรณ

ประสิทธิภาพการทํางานระดับสูงของเครือขาย 5G จะทําให เราสามารถเขาถึงการบริหารสรรพสิ่งดวยอินเทอรเน็ต (IoT) ไดมาก ยิง่ ขึน้ โดยผานการปรับปรุงดานการรับรูต อ เนือ้ หาทีเ่ กีย่ วของกับการ ใชชีวิตของผูคน

> การควบคุมอุปกรณที่เสี่ยงตออันตราย

เครือขาย 5G จะทําใหเราสามารถควบคุมเครือ่ งจักรขนาดใหญ จากระยะไกลได ซึ่งถือเปนการเปดโอกาสใหมๆ อีกมากมาย อาทิ การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและลดตนทุนหรือความเสี่ยง ในการปฏิบัติงานในสภาวะที่เสี่ยงอันตราย

> เครือขายการตรวจจับ

เทคโนโลยี 5G จะขยายโอกาสทางธุรกิจและโมเดลธุรกิจผาน กระบวนการตรวจจับ การติดตาม และความสามารถในการทํางาน แบบอัตโนมัตใิ นงานขนาดใหญ ดวยการเชือ่ มโยงพืน้ ทีเ่ พาะปลูกและ เกษตรกรรมสูเ มืองและอาคารอัจฉริยะ ทําใหเทคโนโลยี 5G สามารถ ลดตนทุน ปรับปรุงประสิทธิภาพ และสงขอมูลแบบเรียลไทมไดใน รูปแบบที่นาอัศจรรย

> ยานพาหนะและการขนสงระบบอัจฉริยะ

การเคลือ่ นเขาสูย คุ 5G จะนําไปสูก ารสือ่ สารระหวางเครือ่ งจักร จํานวนมหาศาล ซึ่งจะชวยใหเมืองตางๆ อีกทั้งระบบขนสง และ สิง่ อํานวยความสะดวกขัน้ พืน้ ฐาน เกิดการรับสงขอมูลแบบเรียลไทม เพื่อยกระดับการบํารุงรักษาและเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงาน ใหดียิ่งขึ้น

> Human machine interaction

The high performance of 5G networks will make the Internet of Things (IoT) more accessible to humans by enhancing the awareness of the context in which people live.

> Critical control of remote devices

A 5G network allows for remote control of heavy machinery. This opens the way for new possibilities such as increased efficiency and reduced cost or risk reduction in hazardous environments.

> Sensors networks

5G technology will expand business opportunities and business models through monitoring, tracking and automation capabilities on a large scale. From connected farms and agriculture to smart cities and buildings, 5G technology reduces costs, improves efficiency and provides real-time data in amazing new ways.

> Smart vehicles and transport

The movement towards 5G means massive Machine Type Communications (mMTC) will allow cities, transportation and infrastructure to transmit real-time data for improved maintenance and greater operational efficiency.

March-April 2017

p.76-80_IT Technology.indd 79

3/31/17 1:47 PM


> บริการสำคัญและการควบคุมสาธารณูปโภค ขั้นพื้นฐาน

ความเชือ่ ถือไดในระดับสูงและความหนวงทีต่ า่ํ (Low Latency) ของ เทคโนโลยี 5G จะชวยปลดล็อกความสามารถในการควบคุมบริการที่มี ความสําคัญและสิง่ อํานวยความสะดวกขัน้ พืน้ ฐาน อันจะกอใหเกิดโอกาส ใหมๆ ตอความปลอดภัยสาธารณะ รัฐบาล การบริหารจัดการเมือง และ บริษัทที่เกี่ยวของกับสาธารณูปโภค

ความสำคัญของเครือขาย 5G ตอผูดำเนินธุรกิจ และอุตสาหกรรมโทรคมนาคม

สืบเนื่องจากรายงานธุรกิจเมื่อเร็วๆ นี้ของอีริคสัน “Opportunities in 5G: The view from eight industries” ระบุวา ● รอยละ 92 ของผูบ  ริหารจากผูด าํ เนินธุรกิจโทรคมนาคม 100 ราย เห็นพองวา เครือขาย 5G จะปูทางสูการอุบัติของเทคโนโลยีรูปแบบใหม อีกมากมาย ● รอยละ 94 ของผูบริหารจาก 8 อุตสาหกรรมหลัก จัดอันดับให เครือขายโทรศัพทมอื ถือรุน ใหมเปนสิง่ ทีม่ คี วามสําคัญสูงสุดในเชิงกลยุทธ ● มากกวารอยละ 80 ของผูดําเนินธุรกิจโทรคมนาคมที่ประกาศ แผน 5G เลือกทํางานกับอีริคสันมากกวาผูใหบริการรายอื่น อีริคสันทําใหนวัตกรรม 5G กลายเปนความจริง ดวยการวางระบบ นิเวศ 5G ระดับโลกที่แข็งแกรงที่สุดสําหรับการสรางความเจริญเติบโต ที่รวดเร็ว การนํานวัตกรรมที่ทํางานบนระบบ 5G ที่ดีที่สุดสูโลกแหงความ เปนจริง และการเปลีย่ นผานเขาสูก ารทํางานในยุค 5G อยางประสบความ สําเร็จ ปจจุบนั อีรคิ สันมีขอ ตกลงความรวมมือกับผูด าํ เนินธุรกิจโทรคมนาคม 27 ฉบับ พันธมิตรอุตสาหกรรม 12 ราย พันธมิตรกับมหาวิทยาลัยและ สถาบันวิจยั ทีเ่ กีย่ วของกับเทคโนโลยี 5G มากกวา 20 แหงทัว่ โลก ซึง่ ถือวา อีรคิ สันมีพนั ธมิตรในธุรกิจ 5G มากกวาผูใ หบริการรายอืน่ ๆ และมีหนุ สวน พันธมิตรกับอุตสาหกรรมรายใหญ ทั้งกับ ABB, SKF, Boliden, Volvo, Zucchetti, BMW และอีกมากมาย

> Critical services and infrastructure control

The high reliability and low latency of 5G unlocks the ability to control critical services and infrastructure. This creates new opportunities for public safety, government, city management and utility companies.

The importance of 5G to telecom operators and industries:

According to Ericsson’s recent report “Opportunities in 5G: The view from eight industries”: ● 92 percent of executives from 100 telecom operators agree that 5G paves the way for the emergence of new technologies. ● 94 percent of executives from 8 major industries rate next-generation mobile networks as a top strategic priority. ● More than 80 percent of operators who have announced 5G plans have chosen to work with Ericsson, more than any other vendor. Ericsson is making 5G innovation a reality, with the strongest global 5G ecosystem to enable rapid growth, leading innovation with the best 5G platforms for the real world, and transforming to 5G successfully. Globally Ericsson has 27 operator MoUs, 12 industry partners, more than 20 universities and research institutes partnerships in 5G. Ericsson has more operator partnerships in 5G than any other vendor, and large industry partnerships with ABB, SKF, Boliden, Volvo, Zucchetti, BMW, and many more.

March-April 2017

p.76-80_IT Technology.indd 80

3/31/17 1:47 PM


“บีดับเบิลยู คลิป 4” the BW Clip4 ฮันนี่เวลล (NYSE:HON) เปดตัว “บีดับเบิลยู คลิป 4 (BW Clip4)” เครื่องมือตรวจวัดกาซ 4 ประเภท แบบพกพารุนใหม ซึ่งเมื่อเปดใชงานแลวสามารถทํางานตอเนื่องยาวนาน 2 ปเต็ม โดยไมตองเปลี่ยนเซ็นเซอร หรือชารจแบตเตอรี่ ทั้งยังชวยยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติตามความปลอดภัยและลดตนทุนการบํารุงรักษา ของลูกคา เครื่องวัด บีดับเบิลยู คลิป 4 (BW Clips4) เปนเครื่องมือที่เหมาะกับการใชงานในอุตสาหกรรมน้ํามัน และกาซ น้ําเสีย อุตสาหกรรมหนัก พื้นที่อับอากาศ และงานดานอื่นๆ อุปกรณนี้ไมจําเปนตองมีการซอมแซม และไมจําเปนตองสํารองเซ็นเซอรและชิ้นสวนอะไหลเพิ่มเติม จึงชวยลดตนทุนดานการบํารุงรักษาลงอยางมาก ซึ่งเปนตนทุนที่มักจะเกิดกับเครื่องตรวจวัดกาซแบบพกพา และเนื่องจากบีดับเบิลยู คลิป 4 สามารถทํางานได ตลอดเวลา จึงมีสวนชวยเรื่องการปฏิบัติตามกฎระเบียบดานความปลอดภัยในการทํางาน เพราะชวยใหมั่นใจ ไดวา พนักงานที่ใชอุปกรณดังกลาวจะไดรับการปกปอง ดวยการใชเทคโนโลยีการวัดคากาซดวยรังสีอินฟราเรด ซึ่งกอนหนานี้มีเฉพาะในเครื่องตรวจวัดกาซ แบบติดตั้งกับที่ของฮันนี่เวลล อนาไลติกส บีดับเบิลยู คลิป 4 ใชพลังงานแบตเตอรี่นอยกวาเซ็นเซอรชนิด คาทาไลติก บีด (pellistor) ซึ่งเปนเทคโนโลยีแบบดั้งเดิมที่ใชในการตรวจวัดกาซไวไฟในอุปกรณพกพาถึง 1,000 เทา นอกจากนั้นยังมีคุณสมบัติเดนอื่นๆ ดังนี้ สามารถตรวจวัดกาซไฮโดรเจนซัลไฟด คารบอนมอนอกไซด ออกซิเจน และกาซติดไฟ (ปริมาณไอระเหยของเชื้อเพลิงขั้นต่ํา) แสดงการอานคากาซไดทนั ทีแมในสถานการณปกติ พรอมกับตรวจวัดระดับความเขมขนของกาซและการเปลีย่ นแปลงของสภาพบรรยากาศ เพิ่มความเรียบงายในการจัดการกลุมอุปกรณดวยการบันทึกและรายงานตามกฎระเบียบโดยอัตโนมัติ (ดวยการใชเครื่องมือระบบ การจัดการฮันนีเวลล อินเทลลิดอกซ) มีฟงกชันการทดสอบภายในอุปกรณที่จะแจงเตือนผูใชเมื่อถึงเวลาเปลี่ยนผลิตภัณฑใหม สนใจขอมูลเพิ่มเติม สามารถไปที่ http://www.honeywellanalytics.com/en/products/BW-Clip4 ● ● ●

Honeywell (NYSE:HON) today announced the BW Clip4, a new four-gas, portable monitor that once turned on can operate continuously for two years without the need to change sensors or charge batteries, helping customers boost safety compliance and reduce maintenance costs. Ideal for oil and gas, wastewater, heavy manufacturing, confined space and other applications, BW Clip4 significantly reduces maintenance costs associated with fleets of portable gas detectors by eliminating repair work and the need to stock additional sensors and spare units. Because it’s always on, the BW Clip4 helps drive safety compliance by assuring that workers wearing the device are protected. Using non-dispersive infrared (NDIR) technology, previously available only in fixed-gas detectors from Honeywell Analytics, the BW Clip4 consumes 1,000-times less battery power than a catalytic bead (pellistor) sensor, the traditional technology used to detect flammable gases in a portable device. Other features include: Simultaneous monitoring of H2S, CO, O2 and combustibles (LEL); Real-time display for instant gas readings even in non-alarm conditions, along with current gas concentration level and changes in atmospheric conditions; Simplifies fleet management by generating record and compliance reports automatically (using Honeywell Intellidox instrument management system); and Internal test function alerts users when the product should be replaced. For more information, please visit http://www.honeywellanalytics.com/en/products/BW-Clip4; E-mail detectgas@honeywell.com or call 800-538-0363. ● ●

March-April 2017

p.81-83_product.indd 81

3/31/17 1:48 PM


“โดรน PHANTOM 4 Pro” สินคาใหมสุดฮิตจาก DJI บริษัท ซินเน็ค (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) อวดโฉมสินคาไลนใหมลาสุด จาก DJI ทีก่ าํ ลังอยูใ นกระแสของคนรักการถายภาพมุมสูง ดวยโดรน PHANTOM 4 Pro ตัวเครื่องมากับดีไซนเรียบหรู โดดเดนดวยความแข็งแรง ทนทาน แตมีน้ําหนักเบา สามารถเคลื่อนไหวไดแมนยํา และมาพรอมกับกลองเซนเซอรขนาดใหญ 1 นิ้ว คมชัด ดวยความละเอียดสูงสุด 20 ลานพิกเซล และบันทึกวิดีโอระดับ 4K ไดที่ 60 เฟรม ตอวินาที แบบสบายๆ นอกจากนี้ ยังมีระบบเซนเซอรตรวจจับสิ่งกีดขวางรอบทิศทาง และระบบนําทาง GPS ดวยระยะเวลาการบินตอเนื่องไดนานกวาใคร เรียกไดวาพกพา ฟ เจอร ใ หม ๆ ที่ น า สนใจ เพื่ อ การเลื อ กเก็ บ ภาพสวยๆ ได ส ะดวกและถู ก ใจยิ่ ง ขึ้ น นอกจากนี้ ซินเน็คฯ เปนผูไดรับลิขสิทธิ์นําเขาและจัดจําหนาย DJI อยางถูกตอง ตามกฎหมาย

ดิจิทัลล็อก ยี่หอ Yale โปรซีเคียว แนะนํา ดิจิทัลล็อก ยี่หอ Yale อุปกรณล็อกประตูอัจฉริยะควบคุมการเขา-ออก ประตู ปลดล็อกโดยสแกนลายนิ้วมือ เพื่อชีวิตที่สะดวกสบายยิ่งขึ้น โดยสามารถบันทึกไดสูงสุด 20 ลายนิว้ มือ ตัง้ รหัสได 4-12 หลัก ดีไซนทนั สมัย หนาจอสัมผัสแบบอัจฉริยะเพือ่ ปองกันการคัดลอกรหัส มีสัญญาณเตือนจากการงัดแงะและการทําลาย ในราคาที่คุมคา

อุปกรณเน็ตเวิรก D-Link 10 Gigabit Ethernet Smart Switches บริษัท ซินเน็ค (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) นําเสนอโซลูชัน 10 กิกะบิต ดวยอุปกรณ เน็ตเวิรก D-Link 10 Gigabit Ethernet Smart Switches เพื่อใหการดําเนินงานเครือขายดวยสวิตช ที่มีประสิทธิภาพ DXS-1210-12TC งายตอการจัดการและติดตั้ง เพิ่มแบนดวิธบนเครือขาย หรือมีความเร็ว ในการสงขอมูลของอินเทอรเน็ตสูง โดยไมจาํ เปนตองซอมบํารุงหรือปรับปรุงระบบเครือขายใดๆ และมาพรอม กับระบบบริหารจัดการแบนดวิธ ดวยคุณสมบัติอัจฉริยะ ชวยเรียงลําดับความสําคัญการจราจรบนเครือขาย แบบอัตโนมัติ พรอมทั้งยังสามารถแกไขปญหาบนระบบเครือขายไดอยางทันทวงที นับเปนคําตอบที่ดีที่สุด ใหกลุมธุรกิจองคกร (SMEs) นําไปใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ March-April 2017

p.81-83_product.indd 82

3/31/17 1:48 PM


กลองวงจรปด

iNNEKT

กลองมีความละเอียดสูงสุด 2 ลานพิกเซล มุมมองภาพกวางไดถงึ 89 องศา มีระบบปรับแสง อัตโนมัติ มองเห็นชัดแมในเวลากลางคืน สามารถ ใชกบั เครือ่ งบันทึกไดถงึ 4 ระบบดวยกัน คือ AHD CVI TVI และ Analog ดีไซนสวยงาม ทนทาน รายละเอียดเพิ่มเติม www.prosecureshop.com

เราเตอร LINKSYS EA9500 MAX-STREAMTM AC5400 เราเตอร LINKSYS EA9500 MAX-STREAM™ AC5400 ผสานพลัง 3 คลืน่ ความถี่ Tri-Band และเทคโนโลยี MU-MIMO พรอมดวยหนวยประมวลความเร็วสูง 1.4 GHz Dual-Core โดย เราเตอร EA9500 ไดรับรางวัลผลิตภัณฑยอดเยี่ยม Network World Best of CES 2016 ดวย เทคโนโลยี Next Gen AC Wi-Fi, MU-MIMO, Tri-Band และเสาสัญญาณภายนอกพลังสูง 8 ชุด ทําให Wi-Fi เปยมประสิทธิภาพ ดวยความเร็วสูงสุดถึง 5.3 Gbps‡ เราเตอร EA9500 ชวยให การเชื่อมตอ Wi-Fi เพื่อเลนเกมวิดีโอ ฟงเพลง เช็คอีเมล ซื้อสินคาออนไลน สตรีมภาพยนตร 4K รวมถึงใชงานอื่นๆ ไดถึง 8 สตรีมในเวลาเดียวกัน สําหรับอุปกรณไคลเอนตที่รองรับ MU-MIMO* ทั้งนี้ Linksys Max-Stream AC5400 หรือ EA9500 เปนหนึ่งในเราเตอร Wi-Fi ที่มี ประสิทธิภาพสูงสุด โดยนําเสนอฟงกชันระดับธุรกิจใหแกผูใชตามบานหรือออฟฟศขนาดเล็ก ติดตัง้ และใชงานไดอยางรวดเร็วดวยซอฟตแวร Linksys Smart Wi-Fi สําหรับสมารทโฟน ซึง่ รองรับ การควบคุมการเขาถึงระยะไกลไดทกุ ทีท่ กุ เวลา นอกจากนี้ เราเตอร EA9500 Wi-Fi ยังมีคณ ุ สมบัติ ที่กาวล้ํา ดังตอไปนี้ โปรเซสเซอรดูอัลคอร ความเร็ว 1.4 GHz การเชือ่ มตอไรสาย AC5400 สามยานความถี่ (1000 Mbps 2.4Ghz + 2166 Mbps 5Ghz + 2166 Mbps 5GHz)‡ มาตรฐาน Wi-Fi ลาสุด – 802.11ac Wave 2 ประกอบดวย MU-MIMO การเชื่อมตอ Wi-Fi จากหองหนึ่งไปยังอีกหองหนึ่ง ดวยเทคโนโลยี Seamless Roaming พอรต Gigabit Ethernet จํานวน 9 พอรต (8 LAN, 1 WAN) และพอรต USB 3.0, 2.0 เสาสัญญาณภายนอก 8 ชุด เพื่อความครอบคลุมสูงสุด เราเตอรรุนแรกที่รองรับสตรีม MU-MIMO สูงสุด 8 สตรีมในเวลาเดียวกัน* การเขารหัส WPA2 และไฟรวอลล SPI ชวยใหเครือขายของคุณเชื่อมตออยางปลอดภัย แอพ Linksys Smart Wi-Fi เพือ่ ความสะดวกในการติดตัง้ การเขาถึงระยะไกล การควบคุม และการแกไขปญหา ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.linksys.com/th และติดตามขาวสารผานเฟสบุคแฟนเพจ ที่ www.facebook.com/LinksysThFans และ Line official account: @linksysthailand ● ●

● ● ● ● ● ● ●

March-April 2017

p.81-83_product.indd 83

3/31/17 1:48 PM


ซีเกท ประเทศไทย สงมอบนวัตกรรมแหงการเรียนรู ตอยอดการศึกษาสูโลกอนาคต Seagate Thailand Supports Learning Innovation into the Future-Oriented Education

สั ญ ชั ย ทองจั น ทรา ผู อํ า นวยการฝ า ยวิ ศ วกรรม บริ ษั ท ซี เ กท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จํ า กั ด โรงงานเทพารั ก ษ เป น ตั ว แทนส ง มอบ นวัตกรรมแหงการเรียนรูเพื่อประโยชนในการเรียนการสอนของวิทยาลัย นวัตกรรมการผลิตขั้นสูง ในหนวยปฏิบัติการวิจัยระบบควบคุมและระบบ อัตโนมัติ (Control and Automation Research Unit) และหนวยปฏิบัติการ เฉพาะทางดานมาตรวิทยาขั้นสูง (Advanced Metrology Research Unit) แก รศ. ดร.ศิริเดช บุญแสง คณบดีวิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการผลิตขั้นสูง Mr.Sanchai Thongjantar, Engineering Director, Seagate Technology (Thailand) Limited, Teparuk plant donated the learning innovation that will be used as the instructional materials at College of Advanced Manufacturing Innovation (AMI) in the Control and Automation Research Unit as well as the Advanced Metrology Research Unit to Asst. Prof. Dr.Siridech Boonsang, Dean, College of Advanced Manufacturing Innovation (AMI), King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang (KMITL) recently.

บีซีพีจี ควารางวัล “Best IPO Award” BCPG Named “Best IPO” at The Asset Award Ceremony

บัณฑิต สะเพียรชัย กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท บีซีพีจี จํากัด (มหาชน) รวมดวย ผูบริหารจากบริษัทหลักทรัพย ฟนันซา จํากัด บริษัทหลักทรัพย กสิกรไทย จํากัด (มหาชน) และบริษัทหลักทรัพย ทิสโก จํากัด ในฐานะบริษัทที่ปรึกษาทางการเงิน และผูจัดจําหนาย และรับประกันการจําหนายหุนของบีซีพีจี รวมเขารับรางวัล “Best IPO Award” จากงาน ประกาศรางวัล The Asset Country Awards 2016 ที่ฮองกง จัดโดย The Asset นิตยสาร ธุรกิจการเงินชัน้ นําของเอเชีย เปนการมอบรางวัลประจําปใหกบั หนวยงานและองคกรตางๆ เพื่อสะทอนถึงการบริหารจัดการธุรกิจอยางมีประสิทธิภาพ จนไดรับการยอมรับในระดับ สากล Mr.Bundit Sapianchai, President of BCPG Public Company Limited, together with executives from Finansa Securities Company limited, Kasikorn Securities Public Company Limited and Tisco Securities Company Limited, BCPG’s financial advisors and co-lead underwriters, received the “Best IPO Award” at the Asset Country Awards 2016 in Hong Kong, which was held by ‘The Asset’, a leading Asian financial magazine. The award indicates the success of BCPG in offering the IPO to investors and public in late September 2016. The Asset’s annual Triple A recognition represents the industry’s most prestigious awards for banking, finance, treasury and the capital markets.

เอสซีจี สนับสนุนรางวัล Sustainability Award ในการแขงขันแผนธุรกิจ The mai Bangkok Business Challenge @ Sasin 2017 SCG Supports Sustainability Award for The mai Bangkok Business Challenge @ Sasin 2017 ชลณัฐ ญาณารณพ รองผูจัดการใหญ และประธานกรรมการคณะกรรมการพัฒนาอยางยั่งยืน เอสซีจี รวมแสดงความยินดีและมอบเงินรางวัลใหกับทีม Swachh Toilet จาก S.P. Jain Institute of Management and Research นักศึกษาปริญญาโทจากประเทศอินเดีย ที่ไดรับรางวัล H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn’s Sustainability Award ซึ่งเปนรางวัลแผนธุรกิจดานการพัฒนาอยางยั่งยืน จาก การแขงขันแผนธุรกิจระดับโลกภาคภาษาอังกฤษ “The mai Bangkok Business Challenge @ Sasin 2017” โดยทีมผูชนะไดรับรางวัลถวยพระราชทานพรอมเงินรางวัล จากผลงานนวัตกรรมการออกแบบแผนธุรกิจ ใหบริการแอพพลิเคชันออนไลน รวบรวมแหลงหองน้าํ ทีม่ มี าตรฐานความสะอาดในประเทศอินเดีย เพือ่ ให บริการผูใชงานที่ตองการคนหาหองน้ําสะอาดในบริเวณใกลเคียง Cholanat Yanaranop, Executive Vice President of SCG and Chairman of SCG Sustainable Development Committee, congratulated and presented a money reward to Swachh Toilet team on winning H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn’s Sustainability Award granted for the top business plan on sustainable development in The mai Bangkok Business Challenge @ Sasin 2017 - a world-class business plan challenge competed entirely in English language. Comprising Master’s Degree students from S.P. Jain Institute of Management and Research, India, this year’s Sustainability Award winning team presented an innovative online application that provides a comprehensive list of clean toilets in India in order to facilitate users who are searching for hygienic toilets in close proximity. The team represented outstanding effort and thus received H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn’s trophy as well as a money reward. March-April 2017

p.84-86_pr news.indd 84

3/31/17 1:48 PM


ปตท.-ซัมซุง ลงนามสัญญาจางรับเหมาโครงการสถานี เพิ่มความดันกาซธรรมชาติ PTT-Samsung Signed for Wangnoi Compressor Station Project Contract

เทวินทร วงศวานิช ประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) เปนประธานพิธีลงนามสัญญาจางบริษัทผูรับเหมา โครงการสถานีเพิ่มความดันกาซธรรมชาติวังนอย ระหวาง ปตท. กับบริษัท ซัมซุง เอ็ น จิ เ นี ย ริ่ ง จํ า กั ด โดย Mr.Choong Huem Park, CEO และบริ ษั ท ซั ม ซุ ง เอ็นจิเนียริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด โดย Mr.Sang Wook Lee, Managing Director ภายใตนโยบายขอตกลงคุณธรรม โดยไดรบั เกียรติจากผูแ ทนองคกรตอตานคอรรปั ชัน (ประเทศไทย) เข า ร ว มพิ ธี ทั้ ง นี้ โครงการดั ง กล า วมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการจายกาซธรรมชาติของทอสงกาซธรรมชาติชวงราชบุรี-วังนอย จ.พระนครศรีอยุธยา เพิ่มขึ้นเปน 800 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน นําสงเปนเชื้อเพลิง ใหกับโรงไฟฟาพระนครใตและพระนครเหนือ PTT Public Co., Ltd., led by Mr.Tevin Vongvanich, President and CEO (standing 6th left), has signed contract for Wangnoi Compressor Station with the Consortium of Samsung Engineering Co., Ltd. by Mr.Choong Heum Park, President and CEO (standing 5th right), and Samsung Engineering (Thailand) Co., Ltd. by Mr.Sang Wook Lee, Managing Director (standing 3rd left), under the Integrity Pact agreements signed in 2016. The result of this project is to increase the Capacity of Ratchaburi-Wangnoi Pipeline up to 800 Million cubic feet per day and to support North and South Bangkok Power Plants.

มินีแบมิตซูมิ และเอ็นทีที คอม ควารางวัลริเริ่มเมืองอัจฉริยะ จากกระทรวงสิ่งแวดลอม ประเทศกัมพูชา MinebeaMitsumi’s NTT Com-supported Wireless LED Streetlight System Awarded as Smart-city Initiative by Cambodian Environment Minister

เอ็ น ที ที คอมมิ ว นิ เ คชั่ น ส คอร ป อเรชั่ น (เอ็ น ที ที คอม) ผู ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ให บ ริ ก ารด า นไอซี ที โซลู ชั่ น ส แ ละการสื่ อ สารระหว า งประเทศ ในเครื อ ของเอ็ น ที ที (NYSE: NTT) ไดแถลงถึงโครงการระบบไฟถนน LED ประสิทธิภาพสูง ติดตั้งโดย บริษัท มินีแบมิตซูมิ และบริษัท เอ็นทีที คอมมิวนิเคชั่นส ไดรวมสนับสนุนการวาง ระบบโครงขายเชื่อมตอระหวางประเทศและบริการคราวด ไดรับรางวัลจากกระทรวง สิง่ แวดลอม ประเทศกัมพูชา เมือ่ เดือนกุมภาพันธ 2560 โดยรางวัลนีม้ อบใหแกโครงการ ที่ใหการสนับสนุนประเทศกัมพูชาในการรักษาสิ่งแวดลอมโดยการลดการใชพลังงาน NTT Communications Corporation (NTT Com), the ICT solutions and international communications business within the NTT (NYSE: NTT) Group, announced that a high-efficiency system of LED streetlights constructed by MinebeaMitsumi Inc. and supported by global network and cloud services from NTT Com received a special award from the Cambodian environment minister in February 2017. The award recognizes the project’s contributions to Cambodia in terms of environmental protection by reduced energy consumption.

ฟูจิตสึ ลงนามความรวมมือกับสถาบันเทคโนโลยีปองกันประเทศ เพ�อสนับสนุนการวิจัยและพัฒนายุทโธปกรณเพ�อภารกิจทางทหารในสถานการณฉุกเฉิน Fujitsu Joins Forces with Defence Technology Institute to Support R&D Efforts พลเอกสมพงศ มุกดาสกุล ผูอ าํ นวยการสถาบันเทคโนโลยีปอ งกันประเทศ (องคการมหาชน) กระทรวง กลาโหม (DTI) และ อิจิ ฟูรูคาวา กรรมการผูจัดการ บริษัท ฟูจิตสึ (ประเทศไทย) จํากัด ไดรวมลงนามบันทึก ความเขาใจวาดวยความรวมมือดานการวิจัยและพัฒนาโครงการประยุกตใชแผนที่สถานการณรวมเพื่อจําลอง ภารกิจชวยเหลือทางทหารในสถานการณฉุกเฉิน (Common Operation Picture : COP) ซึ่งถือวาเปนจุดเริ่มตน ของความรวมมือในดานการวิจยั พัฒนา รวมกับเอกชนทีจ่ ะทําใหภารกิจในการดําเนินการโครงการวิจยั ขนาดใหญ ดานยุทโธปกรณที่ตองใชเทคโนโลยีขั้นสูงในการทําวิจัยและพัฒนาและทําการพัฒนาตนแบบยุทโธปกรณและ แบบอุตสาหกรรมเพื่อใชในการผลิตที่เปนรูปธรรม เกิดการพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืนและสามารถนําไปใชไดจริง กับหนวยงานตางๆ ทัง้ ภาครัฐและเอกชน ณ หองสยามปฐพีพทิ กั ษ สถาบันเทคโนโลยีปอ งกันประเทศ (องคการ มหาชน) กระทรวงกลาโหม General Sompong Mukdasakul, Director of National Defence Technology Institute (DTI) and Mr.Eiji Furukawa, Managing Director, Fujitsu (Thailand) Co., Ltd., signed a memorandum of understanding (MOU) to support cooperation on research and development for Common Operation Picture (COP). This MOU marks the beginning of DTI’s R&D collaboration with the private sector to facilitate munition development projects that require sophisticated technology for designing and production processes. These initiatives will lead to sustainable development and real-life applications in both public and private sectors. The MOU signing was held at Room Siam Patapeepitak, Defence Technology Institute (Public Organization), Ministry of Defence. March-April 2017

p.84-86_pr news.indd 85

3/31/17 1:49 PM


อิเมอรสัน เนทเวอรค พาวเวอร เปลี่ยนช�อเปน “เวอรทีฟ” อยางเปนทางการในประเทศไทย New Name, Same Trusted Capabilities: Emerson Network Power Rebrands as VertivTM in Thailand เวอรทีฟ (Vertiv™) ชื่อเดิม อิเมอรสัน เนทเวอรค พาวเวอร (Emerson Network Power) ประกาศเปดตัวอยางเปนทางการภายใตแบรนด ใหม ใ นประเทศไทย พร อ มรุ ก ตลาดเกิ ด ใหม ทั้งในประเทศและภูมิภาคอินโดจีน เวอรทีฟ ภายใตชื่อใหม เปนผูนําในอุตสาหกรรมทั่วโลก เปนพันธมิตรที่ผูประกอบการดานศูนยขอมูล ดาต า เซ็ น เตอร เครื อ ข า ยการสื่ อ สาร และ ผูใหบริการระบบบริหารจัดการภาคการพาณิชย และภาคอุตสาหกรรมใหความเชือ่ ถือ บริษทั ใหม สามารถบริ ห ารแบบสแตนด อ โลน ทํ า ให การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ รวดเร็ ว มี โ ฟกั ส และมี ค วาม ยืดหยุนในการแขงขันสูง การเปลี่ยนชื่อบริษัท ใหเปน เวอรทีฟ และการบริหารบริษัทแบบ สแตนดอโลน เปนไปหลังการขายหุน ใหกบั บริษทั แพลตินัม อีควิตี้ (Platinum Equity) เสร็จสิ้น สมบูรณ

มร.พอล เชอรชิล รองประธาน ฝายขายประจําภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต – เวอรทีฟ เอเชีย (Mr.Paul Churchill, Vice President, Southeast Asia Sales, Vertiv Asia)

Vertiv™, formerly Emerson Network Power, today officially launched under its new branding in Thailand, tapping into emerging markets both locally and in the Indochina region.

Vertiv is the new name, but the company is still an established global industry leader. It’s a trusted partner for the operators in data centers, communication networks and commercial and industrial facilities, and one with newfound speed, focus and flexibility as a standalone company. This follows the global campaign to rebrand Vertiv as a standalone company after completing the sale to Platinum Equity.

ชไนเดอรฯ รับมอบผลิตภัณฑประหยัดพลังงาน Schneider has received the energy-saving products.

แมทธิ ว กอนซาเลซ รองประธาน หน ว ยธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรม ชไนเดอร อิเล็คทริค ประเทศไทย รับมอบ “ฉลากประหยัดพลังงานประสิทธิภาพสูง” สําหรับ อุปกรณปรับความเร็วรอบมอเตอร จาก พลเอกอนันตพร กาญจนรัตน รัฐมนตรี วาการกระทรวงพลังงาน ใน “โครงการสงเสริมเครือ่ งจักรอุปกรณประสิทธิภาพสูง และวัสดุเพือ่ การอนุรกั ษพลังงานโดยการติดฉลาก” โดยอุปกรณปรับความเร็วรอบ มอเตอรดังกลาว จะชวยควบคุมความเร็วรอบใหเหมาะสมกับสภาวะความตองการ การใชงานจริง ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของมอเตอร และชวยใหประหยัด พลังงานและคาไฟฟา นับเปนอีกหนึ่งผลิตภัณฑที่ตอบโจทยภาคอุตสาหกรรม ในยุค อุตสาหกรรม 4.0 โดยงานมีขึ้น ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด คอนเวนชั่น Matthew A. Gonzalez, Executive Vice President of Schneider Electric Industry- Business Unit, had received “High Efficient Energy Saving Label” for variable speed motor equipment from General Anantaporn Kanjanaratt, Minister of Energy in “Project of High Performance Equipment and Material for Energy Conservation Promotion by Labeling.” This variable speed motor equipment will help speed control to suit with real working requirement, improves motor’s performance and energy and electricity charge saving as well. This is another product that responses to 4.0 Industrial Standard. The event was held at the Miracle Grand Convention Hotel.

งานเปดโตะรวมทุน MoneyTable VC Announcement 2017 MoneyTable, VC Announcement 2017 บริษทั มันนีเ่ ทเบิล จํากัด (มหาชน) ไดถอื โอกาสฤกษงามยามดีเปดตัวผูร ว มทุน กับนวัตกรรมดาน การเงิน ทีถ่ กู สรางขึน้ ดวยแนวคิดการมอบคุณภาพชีวติ ทีด่ ใี หแกคนในชุมชน โดยใชนวัตกรรมทางเทคโนโลยี แบบใหม เพือ่ ตอบสนองความตองการทางการเงินและการบริการของคนทํางาน โดยงานดังกลาวไดจดั ขึน้ ณ สํานักงานใหมของอนันดา ดีเวลลอปเมนท ภายใตบรรยากาศที่สะทอนใหเห็นถึงชีวิต Urban ที่ลงตัว โดยในงาน ตฤบดี อรุณานนทชัย ผูกอตั้ง ไดแสดงวิสัยทัศนอันกวางไกลที่จะเปนผูนําการพัฒนา ระบบทางการเงินออนไลนทเี่ ชือ่ มโยงความตองการระหวางบุคคลและองคกร นอกเหนือจากนัน้ ทางบริษทั ยังไดถอื โอกาสเปดตัวและขอบคุณผูร ว มลงทุน ซึง่ ไดแก ชัชวาลย เจียรวนนท จุลพยัพ ศรีกาญจนา บริษทั K2 Venture Capital, และบริษัท Kejora ที่ใหความไววางใจในบริษัท มันนี่เทเบิล จํากัด (มหาชน) MoneyTable Public Company Limited announced its VC (Venture Capital) investors and the innovations that the company is bringing to the FinTech (Financial Technology) industry by answering the financial needs of working people in the digital age. The company is aiming to improve lives of people in the community through the uses of new technology in finance. A press conference was held at the Ananda Development office where the emphasis of new technology and new ideas were seen and felt throughout the newly renovated campus. Mr.Tridbodi Arunanondchai, co-founder of MoneyTable, shared his vision of the new online ecosystem financial platform and how it will help bridge the gap between the financial needs of organizations and consumers. He also took the occasion to give gratitude toward the investors who saw the potential and trust in MoneyTable, which includes Mr.Chatchaval Jiaravanon, Mr.Chualapayap Srikarnchana, K2 Venture Capital, and Kejora Ventures.

March-April 2017

p.84-86_pr news.indd 86

3/31/17 1:49 PM


สัมมนา วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ โทรศัพท 0-2319-2410 โทรสาร 0-2319-2710 www.eit.or.th

1-2 เม.ย. 60 20-23 เม.ย. 60 20-21 เม.ย. 60 22 เม.ย. 60 22-23 เม.ย. 60 22-23 เม.ย. 60 26-27 เม.ย. 60 27-30 เม.ย. 60 28-29 เม.ย. 60 29 เม.ย. 60 17-20 พ.ค. 60 17-18 พ.ค. 60 19-20 พ.ค. 60 20-21 พ.ค. 60 25-27 พ.ค. 60 30-31 พ.ค. 60

สวนฝกอบรม ฝายนโยบาย และยุทธศาสตร สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (มว.) โทรศัพท 0-2577-5100 ตอ 4206 หรือ 4228 โทรสาร 0-2577-2823 E-mail : training@nimt.or.th www.nimt.or.th

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ โทรศัพท 0-2617-1727 ตอ 308 E-mail : training@masci.or.th http://www.masci.or.th

22-23 พ.ค. 60 22-23 พ.ค. 60 24 พ.ค. 60 24 พ.ค. 60 24-26 พ.ค. 60 25-26 พ.ค. 60 25-26 พ.ค. 60 29 พ.ค. 60 29-31 พ.ค. 60 29-31 พ.ค. 60 30-31 พ.ค. 60 3 เม.ย. 60 3 เม.ย. 60 3 เม.ย. 60 10 เม.ย. 60 18 เม.ย. 60 18 เม.ย. 60 19 เม.ย. 60 20 เม.ย. 60 21 เม.ย. 60 24 เม.ย. 60 25 เม.ย. 60 26 เม.ย. 60 4 พ.ค. 60 8 พ.ค. 60 15 พ.ค. 60 15 พ.ค. 60 15 พ.ค. 60 15 พ.ค. 60 16 พ.ค. 60 22 พ.ค. 60 23 พ.ค. 60 23 พ.ค. 60

โครงการอบรมหลักสูตรการประมาณราคากลางงานราชการ การอบรมเชิงวิชาการเรื่อง “การควบคุมและบริหารงานกอสราง” รุนที่ 50 จัดฝกอบรมและจัดสอบใหใบรับรอง (Certification) หัวขอ “ACCESSdatabase” จัดฝกอบรมหลักสูตรเรงรัด 1 วัน และจัดสอบใหใบรับรอง (Certification) หัวขอ “ICT basics” สําหรับผูใชงานคอมพิวเตอรทั่วไป การอบรมเรื่องมาตรฐานการปองกันฟาผา รุนที่ 1 ประจําป 2560 การอบรมเรื่องการวางแผนเครื่องจักรกลเชิงปองกัน รุนที่ 10 โครงการอบรมเรื่อง “Image Editing” (ไมมีการสอบ) การฝกอบรมและฝกปฏิบัติการ หลักสูตร “การพัฒนาบุคลากรเพื่อเปนผูตรวจสอบปนจั่น (Crane)” การอบรมเรื่องการออกแบบจุดตอและการสรางชิ้นสวนโครงสรางเหล็กสําเร็จรูป รุนที่ 9 การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการตรวจสอบและทดสอบระบบไฟฟาอาคาร เพื่อการบํารุงรักษา และความปลอดภัย (ทฤษฎีและปฏิบัติ) รุนที่ 46 การใชเทคโนโลยีภาพถายความรอนอินฟราเรดอยางมืออาชีพ ระดับ 1 รุนที่ 19 โครงการจัดฝกอบรมและจัดสอบใหใบรับรอง (Certification) หัวขอ “Image Editing” การอบรมเชิงวิชาชีพเรื่องการออกแบบพื้นคอนกรีตอัดแรงไรคาน (Design of Post-tensioned Flat Slab) รุนที่ 3 การอบรมเรื่องกิจกรรม TPM เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพสูงสุดการผลิตโดยการบํารุงรักษา รุนที่ 2 มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 (มาตรฐานฉบับใหม) จ.สงขลา (หาดใหญ) การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องมาตรฐานปองกันฟาผา (ภายนอกและภายใน) ป 2560 การสอบเทียบออสซิลโลสโคป การสอบเทียบเครื่องมือวัดอัตราการไหลของของเหลว การสอบเทียบ Conductivity Meter การใชงานเทอรโมมิเตอรแบบแผรังสีอยางถูกวิธี การสอบเทียบมาตรฐานสําหรับวัดคาความแตกตางถายเทระหวางไฟฟากระแสสลับและไฟฟากระแสตรง การทดสอบเครื่องมือวัดความดันโลหิตประเภทไมตองเจาะเสนเลือด วิธีการใชเกจบล็อกมาตรฐานในการสอบเทียบไมโครมิเตอรตามมาตรฐาน JIS B 7502 : 1994 และการประเมินคาความไมแนนอนของการวัด การประเมินคาความไมแนนอนในการวัดขนาดวัสดุนาโนดวยกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน การสอบเทียบเครื่องมือวัดดานสุญญากาศ การสอบเทียบเครื่องสอบเทียบทางไฟฟา การสอบเทียบเครื่องมือวัดความดันขั้นพื้นฐาน ISO 14001:2015 Introduction and Internal Auditor Integrated Management System Internal Auditor (ISO 9001, ISO 14001&TIS 18001) Introduction to ISO 26000 Transition to ISO 14001:2015 Transition to ISO 9001:2015 IRCA Certified ISO 9001:2015 Auditor Transition Training Course (IRCA/9150) (IRCA Reg. No. A17924 & A17925) ISO 9001:2015 Introduction and Internal Auditor Introduction to ISO/IEC 17021 (Management System Certification Body) GRI Sustainability Reporting Guidelines: G4 ISO 50001:2011 Introduction and Internal Auditor FSPCA Preventive Controls for Human Food Risk Management for ISO 9001:2015 and ISO 14001:2015 Introduction to Interested Party /Stakeholder Management Transition to ISO 14001:2015 Transition to ISO 9001:2015 IRCA Certified ISO 9001:2015 Auditor/Lead Auditor Training Course (IRCA/9153)(IRCA Reg. No. A18126) TIS/OHSAS 18001 Introduction and Internal Auditor Energy Management System Auditor (ISO 50001:2011) ISO 26000 Implementation Introduction to ISO/IEC 17024 (Personnel Certification Body) Introduction to ISO 22301 FSPCA Preventive Controls for Human Food

March-April 2017

p.87-89_seminar.indd 87

3/31/17 1:49 PM


สัมมนา สวนบริการฝกอบรมสัมมนา สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ

4 เม.ย. 60 4-5 เม.ย. 60 4 เม.ย. 60 5 เม.ย. 60 5 เม.ย. 60 18 เม.ย. 60 18 เม.ย. 60 18 เม.ย. 60

แผนกบริการฝกอบรม สถาบันอาหาร

22 มี.ค. 60 23 มี.ค. 60 28 มี.ค. 60 28 มี.ค. 60

โทรศัพท 0-2619-5500 ตอ 451-455 โทรสาร 0-2619-8098 E-mail : training@ftpi.or.th www.ftpi.or.th

โทรศัพท 0-2886-8088 ตอ 2205 โทรสาร 0-2886-8104 E-mail : training@nfi.or.th http://www.nfi.or.th

Innovation Management in The Organization (สรางนวัตกรรมในองคกร) Problem Solving and Decision Making Techniques (เทคนิคการแกปญหาและตัดสินใจ) Learning from Case Study Industry 4.0 (กรณีศึกษา อุตสาหกรรม 4.0) How to Master Change Management (การบริหารการเปลี่ยนแปลงเพื่อขับเคลื่อนองคกร) VSM-Value Stream Mapping (การวิเคราะหกระบวนการผลิตตามแนวทาง VSM) Voice of Customer-VOC Customer Insight (วิธีการรับฟงเสียงลูกคาเพื่อคนหา Customer Insight) Daily Management for Supervisor in Industrial Sector (การบริหารงานประจําวันสําหรับหัวหนางาน) Risk and Opportunity Management Techniques for Management System ISO 9001-2015 (เทคนิคการบริหารความเสี่ยงและโอกาสในมาตรฐานระบบการจัดการ ISO 9001-2015) 19-20 เม.ย. 60 Strategic Scenarios Planning & Strategic Destination for Sustainable Business (กลยุทธการสรางภาพสถานการณจําลองอนาคต และกําหนดทิศทางองคกรเพื่อความยั่งยืนทางธุรกิจ) 19-20 เม.ย. 60 KPIs-Principles to Practices (ดัชนีชี้วัดความสําเร็จของงาน) 19 เม.ย. 60 POKA-YOKE (ระบบปองกันความผิดพลาด ) 25 เม.ย. 60 Assignment & Controlling Tricks and Tips (เทคนิคการมอบหมายงานและติดตามงาน) 25 เม.ย. 60 Smarter Meeting (เทคนิคการประชุมอยางมีประสิทธิผล) 25 เม.ย. 60 Overall Equipment Effectiveness-OEE (การวิเคราะหและปรับปรุงประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร) 26-27 เม.ย. 60 Roadmap KM to Learning Organization (ตอยอดเสนทางเพื่อมุงสูองคกรแหงการเรียนรู) 26-27 เม.ย. 60 Effective Writing for Organizational Communication (การเขียนเพื่อสื่อสารองคกรอยางมีประสิทธิผล) 26-27 เม.ย. 60 ISO 14001-2015 Requirement (มาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ISO 14001-2015) 28 เม.ย. 60 Next Gen CEO จับเทรนผูบริหารรุนใหมยุค 4.0 หัวขอ Transforming HR for 4.0 3 พ.ค. 60 Winning Negotiation Strategies (เจรจาตอรองอยางมีกลยุทธ) 3 พ.ค. 60 Stress Management for Better Work/Life Balance(การบริหารความเครียดเพื่อสมดุลชีวิตและงาน) 4 พ.ค. 60 Advance Strategic Planning-ASP Model (ASP Model สุดยอดเครื่องมือบริหารเชิงกลยุทธในศตวรรษที่ 21) 4 พ.ค. 60 Customer Engagement (รูใหลึก เขาถึงลูกคา ดวยการสรางความผูกพัน) 16 พ.ค. 60 Holistic Management (การบริหารแบบองครวม) 16 พ.ค. 60 Creative Conflict Management (การบริหารความขัดแยงอยางสรางสรรค) 16 พ.ค. 60 Managing Employees for Performance Achieved (การบริหารคนเพื่อเพิ่มผลงาน) 17-18 พ.ค. 60 Knowledge Management Assessment (KMA เครื่องมือประเมิน KM Maturity) 17-18 พ.ค. 60 IE Techniques for Productivity Improvement (เทคนิควิศวกรรมอุตสาหการเพื่อการเพิ่มผลิตภาพ) 17 พ.ค. 60 Quality Control Circle (การบริหารวงจรคุณภาพ QCC) 18 พ.ค. 60 7 Wastes (การลดความสูญเสีย 7 ประการ) 23 พ.ค. 60 Action Plan Techniques (เทคนิคการวางแผนงานสูการปฏิบัติ) 23 พ.ค. 60 Coaching and Mentoring and Techniques (เทคนิคการเปนโคชและพี่เลี้ยงทีมงาน) 23 พ.ค. 60 Kaizen Suggestion for Work Improvement (ไคเซ็นเพื่อการปรับปรุงงาน) 24-25 พ.ค. 60 Warehouse and Inventory Management & Moving for 4.0 (การจัดการคลังสินคาและสินคาคงคลังสูยุค 4.0) 24-25 พ.ค. 60 Lean Production & First Step to Industry 4.0 (การผลิตแบบลีนและการเตรียมพรอมสูยุคการผลิต 4.0) 30-31 พ.ค. 60 7 QC Tools (เครื่องมือแกปญหาดานคุณภาพ 7 ชนิด) 30-31 พ.ค. 60 Total Productive Maintenance-TPM (การบํารุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีสวนรวม) 30 พ.ค. 60 Business Model Innovation & Improvement (การสรางนวัตกรรมโมเดลธุรกิจ) 31 พ.ค. 60 Big Data Analytic for Defining Strategic Insights (Big Data เครื่องมือเชิงกลยุทธเพื่อคนหา Strategic Insight) ฉลากอาหาร ฉลากโภชนาการและกฎหมายที่เกี่ยวของ (รุนที่ 1/2560) การประเมินอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑอาหาร (รุนที่ 1/2560) การสอบเทียบดิจิทัลเทอรโมมิเตอร กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวของกับวัตถุเจือปนอาหาร (รุนที่ 1/2560)

March-April 2017

p.87-89_seminar.indd 88

3/31/17 1:49 PM


แสดงสินคา 29 มี.ค. - 9 เม.ย. 60

31 มี.ค. - 3 เม.ย. 60

2-7 มี.ค. 60

11-13 พ.ค. 60

11-13 พ.ค. 60

11-13 พ.ค. 60

17-20 พ.ค. 60

24 พ.ค. - 4 มิ.ย. 60

The 38th Bangkok International Motor Show 2017

IMPACT Grand Prix International Public Co., Ltd. โทรศัพท 0-2522-1731-8 www.bangkokmotorshowgroup.com

The 5th Print Tech & LED Expo 2017

IMPACT 121 CREATION LTD. โทรศัพท 0-2060-0795-6 www.printtechexpo.com

Architect Expo 2017

IMPACT TTF International Co., Ltd. โทรศัพท 0-2717-2477 www.ArchitectExpo.com

LED Expo Thailand 2017

IMPACT IMPACT Exhibition Management Co., Ltd. โทรศัพท 0-2833-5328 www.ledexpothailand.com

PCB Expo Thailand 2017

IMPACT IMPACT Exhibition Management Co., Ltd. โทรศัพท 0-2833-5328 www.pcbexpothailand.com

Thailand Energy Saving Expo 2017

IMPACT IMPACT Exhibition Management Co., Ltd. โทรศัพท 0-2833-5328 www.thailandenergysavingexpo.com

INTERMACH 2017

BITEC UBM Asia (Thailand) Co., Ltd. โทรศัพท 0-2642-6911 www.intermachshow.com

` HOME & DECOR 2017

BITEC บริษัท เวิลดแฟร จํากัด โทรศัพท 0-2731-1331 www.worldfair.co.th

March-April 2017

p.87-89_seminar.indd 89

3/31/17 1:49 PM


การใชเทคโนโลยีภาพถายความรอน อินฟราเรดอยางมืออาชีพ : ระดับ 1 วันที่ 17-20 พฤษภาคม 2560 (วันพุธ-วันเสาร)

จัดโดย คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟา สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.)

หลักการและเหตุผล

รุนที่

19

เทคโนโลยีภาพถายความรอนอินฟราเรด (Thermography) เปนการทดสอบแบบไมทําลาย (Nondestructive Testing: NDT) วิธีหนึ่งที่นิยม ใชกันอยางแพรหลายในงานดานวิทยาศาสตร วิศวกรรมและภาคอุตสาหกรรมตางๆ ในประเทศไทยไดมีการใชเทคโนโลยีนี้ในกิจการที่เกี่ยวกับ งานวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง สวนใหญจะเปนงาน Predictive/Preventive Maintenance ของระบบตางๆ เชน งานตรวจสอบระบบไฟฟา งานอนุรักษพลังงาน งานตรวจสอบอาคาร อาคารเขียว งานเทคนิคในกระบวนการผลิต และงานตรวจสอบวิเคราะห ที่มีเรื่องของอุณหภูมิเขามาเกี่ยวของ แตในปจจุบันบุคลากรที่ใชงานและเกี่ยวของกับเทคโนโลยีดังกลาวสวนใหญยังขาดความรูและหลักการ ใชงานที่ถูกตอง เนื่องจากไมไดรับการฝกอบรมการใชงานอยางถูกตองและเปนมาตรฐานที่ยอมรับทั่วไป ดังนั้น วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) จึงรวมกับสํานักสงเสริมและบริการวิชาการ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง และบริษัท เมเชอรโทรนิกซ จํากัด จัดทําหลักสูตรฝกอบรมนี้ขึ้น เพื่อใหวิศวกร สถาปนิก แพทย ชางเทคนิค นักวิทยาศาสตรและผูสนใจทั่วไปสามารถเขารับการฝกอบรมเพื่อใหสามารถใชเทคโนโลยีภาพถายความรอนอินฟราเรดไดอยาง ถูกตองระดับมืออาชีพ โดยวิทยากรผูเชี่ยวชาญชาวไทย โดยไมจําเปนตองเดินทางไปเขารับการฝกอบรมดวยภาษาอังกฤษในตางประเทศ ซึ่งจะตองมีคาใชจายโดยรวมคอนขางสูง ผูเขารับการฝกอบรมในหลักสูตรของ วสท. จะไดเรียนรูทฤษฎีของคลื่นอินฟราเรด หลักการถายภาพความรอนเพื่อใหบันทึกขอมูลได อยางถูกตอง การวิเคราะหภาพถายความรอน การประยุกตใชกับงานแตละชนิด/ประเภท โดยผูที่เขาอบรมครบตามระยะเวลาที่กําหนดจะตอง ผานการทดสอบประเมินผลตามเกณฑที่กําหนด จึงจะไดรับประกาศนียบัตรของการฝกอบรมของหลักสูตรนี้ หลักสูตรนี้มุงเนนทางเทคนิคและความเปนกลางโดยไมโนมเอียงตอผลิตภัณฑใด ดังนั้นจึงขอแนะนําใหผูเขาอบรมที่มีกลองถายภาพ ความรอนหรือมีใชในหนวยงานใหนํากลองถายภาพความรอนเขาไปใชในระหวางการฝกอบรมได โดยไมจํากัดรุนและผลิตภัณฑ

วิทยากร

รศ. ดร.ทวีพล ซื่อสัตย ผูเชี่ยวชาญดาน Infrared Thermography สาขาวิชาวิศวกรรมการวัดและควบคุม คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง รศ. ดร.นวภัทรา หนูนาค ผูเชี่ยวชาญดาน Thermal Engineering สาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ดร.ยุทธพงศ ทัพผดุง Level II Thermographer ผูอํานวยการกองบริการบํารุงรักษา การไฟฟาสวนภูมิภาค ดร.ธีระวัฒน หนูนาค Level II Thermographer IR and PQ Product Manager บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จํากัด คุณศุภชัย บัวเจริญ Risk Management Manager บริษัท สมโพธิ์ เจแปน นิปปอนโคอะ ประกันภัย (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

ผูที่ควรเขารับการอบรม

วิศวกร ชางเทคนิค ที่ดูแลบํารุงรักษาระบบไฟฟา ระบบเครื่องกลทุกประเภท ● วิศวกร นักวิทยาศาสตร ชางเทคนิคที่งานเกี่ยวกับพลังงาน ● วิศวกร สถาปนิก ผูรับเหมากอสราง ผูทํางานเกี่ยวกับอาคารเขียวและอาคารทั่วไป ● พนักงาน บริษัทวิศวกรที่ปรึกษา ● เจาหนาที่บริษัทประกันวินาศภัยทุกระดับ ●

March-April 2017

P.90-91_Seminar.indd 90

3/31/17 1:50 PM


วันพุธที่ 17 พฤษภาคม 2560 08.30 - 08.50 น. ลงทะเบียน 08.50 - 09.00 น. กลาวเปดการอบรม 09.00 - 10.30 น. การวัดอุณหภูมิ • นิยามและคําสําคัญ • หลักการของเครื่องมือวัดอุณหภูมิ • การประยุกตใชงานของเครื่องมือวัดชนิดตางๆ • หลักการของเครื่องมือวัดอุณหภูมิชนิดอินฟราเรด 10.45 - 12.00 น. พื้นฐานฟสิกสทางความรอน • สสารและสถานะ • นิยามและหลักการของพลังงาน • อุณหภูมิและพลังงานความรอน • กฎของเทอรโมไดนามิกส โดย รศ. ดร.ทวีพล ซื่อสัตย 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.30 น. ความรอนและทฤษฎีการถายเทความรอน • นิยามความรอนและการถายเทความรอน • หลักการนําความรอน • กฎของฟูเรียร (Fourier’s law) • การประยุกตใชหลักการนําความรอนในภาพความรอน • ทดสอบการวัดตามหลักการนําความรอน ดวยกลองถายภาพความรอน 14.45 - 16.00 น. การพาความรอน • หลักการพาความรอน • Newton’s law of cooling • การประยุกตใชหลักการพาความรอนในภาพความรอน • ทดสอบการวัดตามหลักการพาความรอนดวยกลอง สองภาพความรอน โดย รศ. ดร.นวภัทรา หนูนาค 16.00 - 16.30 น. Review & Quiz วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤษภาคม 2560 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 10.30 น. การแผรังสีความรอน • ทฤษฎีพื้นฐานและหลักการการแผรังสีความรอน • สเปกตรัมของคลื่นแมเหล็กไฟฟาและคุณสมบัติของ คลื่นแมเหล็กไฟฟา • กฎของ Plank กฎของ Wien และรูปแบบ Stephan-Boltzman • วัตถุดํา (Black body) วัตถุจริง (Real body) 10.45 - 12.00 น. การแผรังสีความรอน • คุณสมบัติการแผ (Emissivity) • การสะทอน (Reflectivity) • การสงผานรังสี (Transmittivity) • การเคลื่อนที่ผานของรังสีอินฟราเรดในชั้นบรรยากาศ • ทดสอบผลกระทบของคุณสมบัตกิ ารแผและการสะทอน ดวยกลองถายภาพความรอน โดย รศ. ดร.นวภัทรา หนูนาค 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.30 น. เครื่องมือวัดอินฟราเรดและกลองถายภาพความรอน • หลักการทํางานของเครื่องมือวัดอินฟราเรดและกลอง ถายภาพความรอน • โครงสรางของเครื่องมือวัดอินฟราเรดและกลอง ถายภาพความรอน • การปรับคาเพื่อการใชงานที่ถูกตอง โฟกัส (Spatial focus และ Thermal focus) Level, Span, Brightness, Contrast Dynamic range 14.45 - 16.00 น. ทดลองปรับภาพดวยกลองถายภาพความรอน โดย คุณธีระวัฒน หนูนาค 16.00 - 16.30 น. Review & Quiz และมอบงานการบาน

กำหนดการ

วันศุกรที่ 19 พฤษภาคม 2560 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 10.30 น. ทบทวนทฤษฎีการถายเทความรอน ทดลองผลกระทบของผิวและสีดวยกลองถายภาพ ความรอนจากแบบจําลอง โดย รศ. ดร.ทวีพล ซื่อสัตย 10.45 - 12.00 น. ภาพถายความรอนและการแปลความหมาย • ปจจัยที่มีผลตอความผิดพลาดในการวัดคาอุณหภูมิ • ผลกระทบจากคุณสมบัติของวัสดุ Emissivity และ Reflectivity 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 14.30 น. ผลกระทบจากระยะทางการวัด • Field of View (FOV) • Instantaneous Field of View (IFOV) • Instantaneous Measurement Field of View (IMFOV) • Distance to Spot Ratio (D:S) • การทดสอบผลกระทบของการปรับระยะ ตอความถูกตองของการวัดอุณหภูมิ 14.45 - 16.00 น. ผลกระทบของการเลือกขนาดเลนสตอความถูกตอง ของการวัดอุณหภูมิ • การทดสอบหาคา Emissivity ของวัสดุตาง ๆ อยางงาย โดย คุณธีระวัฒน หนูนาค 16.00 - 16.30 น. Review & Quiz วันเสารที่ 20 พฤษภาคม 2560 08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 10.00 น. การประยุกตใชกลองถายภาพความรอนอินฟราเรด ในงานประกันภัยทรัพยสิน โดย คุณศุภชัย บัวเจริญ 10.15 - 10.45 น. การเลือกใชกลองถายภาพความรอนที่เหมาะสมกับงาน 10.45 - 12.00 น. การประยุกตใชกลองถายภาพความรอนชนิดอินฟราเรด • การตรวจสอบระบบไฟฟา • การตรวจสอบระบบทางกล • ตัวอยางการประยุกตใชงานในอุตสาหกรรมตางๆ และในทางการแพทย 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 16.00 น. การวิเคราะหและการจัดทํารายงานภาพถายความรอน อินฟราเรด โดย ดร.ยุทธพงศ ทัพผดุง 16.00 - 16.30 น. สอบวัดผล ปดการอบรมฯ หมายเหตุ: พักรับประทานอาหารวาง เวลา 10.30-10.45 น. และ 14.30-14.45 น. (โดยประมาณ) คาลงทะเบียน

ราคาปกติ

สมาชิก ขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ บุคคลทั่วไป นิสิต/นักศึกษาปริญญาตรี

20,000.25,000.25,000.20,000.-

ราคาพิเศษเมื่อชําระ กอนวันที่ 9 พ.ค. 60 15,000.20,000.20,000.15,000.-

ติดตอสอบถามไดที่ วสท.

โทรศัพท 0-2184-4600-4600-9 ตอ 521,525 โทรสาร 0-2319-2710-1 March-April 2017

P.90-91_Seminar.indd 91

3/31/17 1:50 PM


Movement

01

02

03

04

เชลล จัดสัมมนา เจาะลึกเทคโนโลยี GTL

ยกระดับองคความรูน วัตกรรมน้ำมันหมอแปลงไฟฟา >>

05

06

07

บริษทั เชลลแหงประเทศไทย จํากัด ไดรว มกับ นิตยสารไฟฟาและอุตสาหกรรม และ โครงการ Green Network จัดสัมมนา “Transformer Oil Innovation 2017” ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ โดยไดรับเกียรติจาก ดร.กมล ตรรกบุตร นายก สภาวิ ศ วกร เป ด การสั ม มนาอย า งเป น ทางการ ร ว มด ว ยวิ ท ยากรผู เชี่ ย วชาญด า น การพัฒนาและบํารุงรักษาหมอแปลงไฟฟาที่มาใหความรูภายในงาน อาทิ ดร.ครรชิต งามแสนโรจน กรรมการ IEEE-PES ผูชวยผูอํานวยการเขื่อนรัชชประภา การไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ประวิทย จันทรเอี่ยม หัวหนากองอุปกรณและระบบ ไฟฟา ฝายบํารุงรักษาไฟฟา กฟผ. และ เพิ่มศักดิ์ ควรสถิตย ผูเชี่ยวชาญดานการ บํารุงรักษาหมอแปลงไฟฟา และ พรเพ็ญ พลสมัคร วิศวกรที่ปรึกษา บริษัท เชลล แหงประเทศไทย จํากัด ทั้งนี้ เทคโนโลยี GTL เปนเทคโนโลยีใหม ที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน ใหกับหมอแปลงไฟฟา ดวยสวนประกอบที่ปราศจากกํามะถัน จึงลดความเสี่ยงของการ กัดกรอนทองแดง และยังชวยระบายความรอนไดดีกวาขณะใชงาน ทําใหอายุการใชงาน ของหมอแปลงยาวนานขึน้ ทนตอการเสือ่ มสภาพไดมากกวา 5 เทาเมือ่ เทียบกับคาสูงสุด ของมาตรฐานการตานทานการเสื่อมสภาพ เพราะสามารถทนตอคา Voltage ที่รุนแรง แบบฉับพลันได อีกทัง้ สามารถผสมไดกบั น้าํ มันหมอแปลงทัว่ ไป และชวยเพิม่ ประสิทธิภาพ ใหกับน้ํามันแรเกรดทั่วไปได

บรรยายภาพ 01 ดร.กมล ตรรกบุตร นายกสภาวิศวกร ใหเกียรติเปดการสัมมนาอยางเปนทางการ 02 วิทยากรและผูบริหาร บริษัท เชลลแหงประเทศไทย จํากัด รวมถายภาพกับนายก สภาวิศวกร 03 ประวิทย จันทรเอี่ยม หัวหนากองอุปกรณและระบบไฟฟา ฝายบํารุงรักษาไฟฟา กฟผ. 04 ดร.ครรชิต งามแสนโรจน กรรมการ IEEE-PES ผูช ว ยผูอ าํ นวยการเขือ่ นรัชชประภา การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) รวมเปนวิทยากรภายในงาน 05 อัจฉรา สุวรรณวรบุญ ผูจ ดั การฝายขาย ผลิตภัณฑนา้ํ มันหลอลืน่ กลุม ประเทศไทย บริษัท เชลลแหงประเทศไทย จํากัด มอบของที่ระลึกแดประธานในพิธีเปดการสัมมนา 06-09 บรรยากาศภายในงานสัมมนา “Transformer Oil Innovation 2017”

08

09

March-April 2017

p.92-94_movement.indd 92

3/31/17 1:51 PM


Movement “บารเทอรคารด แฟมิล่ี แรลลี่ ครัง้ ที่ 3 ตอน The Way to OSCAR” >> บารเทอรคารด จัดงานแรลลีฉ่ ลองความสําเร็จ “บารเทอรคารด แฟมิลี่ แรลลี่ ครั้งที่ 3 ตอน The Way to OSCAR” กิจกรรม เชือ่ มความสัมพันธระหวางสมาชิกองคกร นําโดย เรวดี วัฏฏานุรกั ษ กรรมการผูจัดการ บริษัท บารเทอรคารด (ประเทศไทย) จํากัด การจัดงานแรลลี่ครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเปดโอกาสใหนักธุรกิจ ในบารเทอรคารด ไดมีโอกาสทํากิจกรรมดีๆ รวมกัน โดยมีทั้งหมด 3 กิ จ กรรมหลั ก ๆ คื อ กิ จ กรรมแรลลี่ ส ร า งความสั ม พั น ธ อั น ดี และเพิ่มโอกาสในการแลกเปลี่ยนและตอยอดธุรกิจกัน กิจกรรม มอบอุปกรณการเรียน การศึกษา กีฬา ใหแกโรงเรียนถนนมิตรภาพ เพื่อใหสมาชิกธุรกิจทุกทานไดมีสวนรวมในการแบงปนใหกับสังคม และเพิม่ โอกาสในการศึกษาใหกบั เยาวชนทีข่ าดแคลน และกิจกรรม The OSCAR Party ซึ่งเปนงานปารตี้ที่สรางความสนุกสนานใหแก ผูเ ขารวมงาน กิจกรรมครัง้ นีม้ สี มาชิกเขารวมเปนจํานวนมาก นับวา ประสบผลสําเร็จเปนที่นาพอใจ

<< สถาบันยานยนต รวมกับ เดลตา อีเลคโทรนิคส พัฒนา SME ผูผ  ลิตชิน้ สวนยานยนตไฟฟา สถาบั น ยานยนต ร ว มกั บ บริ ษั ท เดลต า อี เ ลคโทรนิ ค ส (ประเทศไทย) จํ า กั ด จั ด งานเสวนา “อนาคตการเปลี่ ย นผ า น อุตสาหกรรมผลิตชิน้ สวนยานยนตเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต” สํ า หรั บ เอสเอ็ ม อี ผู ป ระกอบการชิ้ น ส ว นยานยนต ข นาดกลางและ ขนาดใหญกวา 100 ราย ณ เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) พรอมสานพลังประชารัฐเตรียมเปดศูนยการเรียนรูเทคโนโลยี EV และ ตนแบบสถานีอัดประจุไฟฟา การจั ด สั ม มนาครั้ ง นี้ นั บ เป น กิ จ กรรมหนึ่ ง ที่ จ ะส ง ผ า นข อ มู ล และความรูไปยังผูผลิตชิ้นสวนในประเทศไทย ไดเห็นภาพทั้งทฤษฎี และปฏิบัติครบทุกมิติ ทราบแนวทางการเตรียมความพรอมในดาน ตางๆ เพื่อยกระดับประสิทธิภาพการผลิตชิ้นสวนของไทยใหทัดเทียม ตางประเทศ โดยแลกเปลี่ยนความรูบรรยายทางวิชาการและเยี่ยมชม โรงงานเดลตา อีเลคโทรนิคส ซึง่ เปนหนึง่ ในผูน าํ อิเล็กทรอนิกสของโลก และเปนผูผลิตเครื่องชารจไฟสําหรับยานยนตไฟฟา (EV Charger)

March-April 2017

p.92-94_movement.indd 93

3/31/17 1:52 PM


Movement

ITAP สวทช. จับมือ โครงการอัพไซคลิง่ สรางมูลคาจากเศษเหลือใช >> สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และ รศ. ดร.สิงห อินทรชูโต ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบเพื่อสิ่งแวดลอม จากมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร รวมผลักดัน โครงการอัพไซคลิ่ง : สรางคุณคา ใหวสั ดุเหลือใชดว ยการออกแบบ (Upcycling : Value Creation with Design) ซึ่งดําเนินการโดยโปรแกรมสนับสนุนการพัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรม (ITAP) เพือ่ รวมกันสรางสรรคผลิตภัณฑ จากวัสดุเหลือใช จากการผลิตโดยโรงงาน SME ไทย ลาสุด โครงการอัพไซคลิง่ : สรางคุณคาใหวสั ดุเหลือใช ดวยการออกแบบ ไดสรางสรรคผลิตภัณฑจากวัสดุเหลือใช ใหบริษัทที่รวมโครงการกวา 40 บริษัท มีชิ้นงานที่นาสนใจและ ขายในทองตลาดมากมาย ไมวา จะเปนชุดโตะ เกาอีห้ รือลูกบันได จากเศษไม หองอบเซานาที่ทําจากเศษไมฮิโกนิ เกาอี้ที่ทําจาก เศษเหล็ก รูปรางสวยงามแปลกตา เสือ่ ทีท่ าํ จากพลาสติกรีไซเคิล ในแบบตางๆ

<< ที แอนด ดี เพาเวอร เทค เซ็นสัญญาแตงตัง้ ตัวแทนจำหนายเขตภาคเหนือ เมือ่ วันเสารท่ี 25 กุมภาพันธ 2560 บริษทั ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด รวมกับ บริษัท พีพี ซัพพลาย แอนด เทรดดิ้ง (99) จํากัด บริษัทในเครือ หางหุนสวนจํากัดนครพิงค สวิทชบอรด ไดจัดงาน เปดตัวเซ็นสัญญาแตงตั้งตัวแทนจําหนายเบรกเกอรไฟฟายี่หอฮุนได ในเขตภาคเหนืออยางเปนทางการ ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม โดยมีแขกผูมีเกียรติรวมถึงรานคาอุปกรณไฟฟาทางเขตภาคเหนือมารวม เปนสักขีพยานและมาชมงานเปนจํานวนมาก ภายในงานไดมีการจัดบูธกิจกรรมดวยกันทั้งหมด 4 บูธ อาทิเชน บูธโชวนวัตกรรมและคุณสมบัติของ Vacuum Circuit Breaker, Air Circuit Breaker, Molded Case Circuit Breaker, Magnetic Contactor & Overload Relay ทัง้ นีย้ งั มีตวั อยางตูส วิทชบอรด MDB ทีม่ กี ารใสเบรกเกอร การใชงานจริงใหลูกคาไดเห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น พรอมทั้ง Load center และ Consumer สาหรับบูธกิจกรรมสุดทายนั้นไดรับความสนใจจาก ผูเ ขารวมงานเปนจํานวนมาก คือ Power Capacitor บจก. ซัมวา (ไทยแลนด) นอกจากนีท้ าง บจก. ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) และ บจก. พีพี ซัพพลาย แอนด เทรดดิ้ง (99) บริษัทในเครือ หจก.นครพิงค สวิทชบอรด ไดจดั ของรางวัลมากมายมารวมจับรางวัลใหกบั แขกผูม เี กียรติทสี่ งั่ ซือ้ สินคา ราคาพิเศษภายในงาน และสงชิน้ สวนชิงโชคเพือ่ รับของรางวัลใหญมากมาย March-April 2017

p.92-94_movement.indd 94

3/31/17 1:52 PM


Industry News

“พีทีจี” ป 60 ลุยเต็มแม็กซ ตั้งเปาจํานวน สถานีบริการอันดับ 1 ของประเทศ “พีทีจี” ตั้งเปาขยายสถานีบริการน้ํามันครบ 1,800 สาขา ทั่วประเทศ มุงเพิ่มจํานวนผูถือบัตร PT Max Card เปน 7.4 ล า นสมาชิ ก พร อ มเป ด ตั ว แอพพลิ เ คชั น ที่ช่ือ ว า “พี ที โมบาย แอพพลิ เ คชั่น ” สนองตอบทุ ก ไลฟ ส ไตล แ ละเข า ถึ ง ใจลู ก ค า ทั่วประเทศมากขึ้น พรอมทุมเงินลงทุนมูลคาถึง 5,000 ลานบาท กาวสูผ นู าํ ธุรกิจบริการดานพลังงานแบบครบวงจร ลาสุดรวมมือกับ บริษทั ซัปโปโร โฮลดิง้ จํากัด จากประเทศญีป่ นุ ถายทอดองคความรู (Know-How) มุงเปนโรงงานแรกของโลก กับเทคโนโลยีการผลิต โดยนํากากมันสําปะหลังเหลือใชมากอใหเกิดมูลคาทางเศรษฐกิจ พิทกั ษ รัชกิจประการ ประธาน เจ า หน า ที่ บ ริ ห ารและกรรมการ ผูจัดการใหญ บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จํากัด (มหาชน) หรือ PTG เปดเผยถึง ทิศทางธุรกิจในป 2560 ตั้งเปาสราง ปริมาณการขายเพิม่ ขึน้ ราว 40% เมือ่ เทียบกับป 2559 ที่มีปริมาณการขาย รวมอยูที่ 2.9 พันลานลิตร ซึ่งในปนี้ เรามีแผนดําเนินธุรกิจที่สรางความ แข็งแกรงในอนาคต กับธีมที่มีชื่อวา “Age of Innovation” หรือการปรับใชนวัตกรรมเพื่อนําแบรนด มุ ง สู ก ารเป น ผู นํ า ธุ ร กิ จ พลั ง งานครบวงจร ซึ่ ง มี อ งค ป ระกอบ 3 สวนดวยกัน สวนแรกคือ การใชเทคโนโลยี SYN4MAX ในการ ชวยผลิตน้ํามันเครื่องคุณภาพสูง พีที แมกซนิตรอน สวนที่ 2 คือ การเปดตัวแอพพลิเคชัน “พีที โมบาย แอพพลิเคชัน” เพื่อให ความสะดวกสบายแกลูกคา และทายสุดคือ การใชองคความรู จากพารทเนอรอยาง “ซัปโปโร” จากประเทศญีป่ นุ เพือ่ นํานวัตกรรม ทางดานเทคโนโลยีมาผลิตพลังงานทดแทนอยางเอทานอล โดย ปนวี้ างงบลงทุนมูลคาสูงถึง 5,000 ลานบาท โดยแบงเปนการลงทุน ในการขยายและปรับปรุงธุรกิจหลัก 3,500 ลานบาท ธุรกิจ Non-oil 500 ลานบาท และธุรกิจใหม 1,000 ลานบาท ในสวนของสถานี บริการน้ํามัน ปจจุบันเรามีจํานวนกวา 1,400 สาขา ภายในสิ้นปนี้ เราตัง้ เปาวาจะเพิม่ ขึน้ เปน 1,800 สาขาทัว่ ประเทศ อีกทัง้ ยังมุง เพิม่

จํานวนผูถือบัตร PT Max Card เปน 7.4 ลานสมาชิก เพิ่มขึ้นจาก ป 2559 ที่มีจํานวน 5.6 ลานสมาชิก “ในป 2560 หากพีทีจีสามารถขยายสถานีบริการตามที่วาง เปาหมายไว เราจะขึ้นเปนอันดับหนึ่งของจํานวนสถานีบริการ เมื่อเทียบกับแบรนดอื่นๆ ในตลาด และถาปริมาณการขายเปนไป ตามเปาหมาย คือเติบโตขึ้น 40% เมื่อเทียบกับป 2559 เรานาจะ มีสวนแบงการตลาดขึ้นเปนอันดับ 4 ในตลาด นอกจากนี้ ยังตั้ง เปาหมายวาจะเขามาดูแลผูบริโภคในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล มากขึ้น” พิทักษ กลาว สําหรับปนี้ จะมุง เนนธุรกิจทีม่ โี อกาสเติบโตสูงก็คอื กลุม ธุรกิจ นอน-ออยล (Non-Oil) (รายไดที่ไมไดมาจากการขายน้ํามัน) ตั้งเปา ไววาจากปจจุบันที่มีรายไดอยูที่ประมาณ 1,000 ลานบาท จะ เพิ่มขึ้นเปนประมาณ 2,700 ลานบาท หรือเติบโตขึ้น 155% กาแฟ พันธุไทยจะมีสาขาครบ 100 สาขา ในกลางปนี้ และจะเพิ่มจํานวน ขึ้นเปน 200 สาขาทั่วประเทศ ภายในสิ้นป 2560 ซึ่งจะไมไดจํากัด พื้นที่แคเพียงในสถานีบริการน้ํามันเทานั้น แตจะขยายไปตาม หางสรรพสินคา ศูนยการคา มหาวิทยาลัย และสนามบินตางๆ เพื่อทําใหเขาถึงผูบริโภคไดงายขึ้น ตลอดจนเพิ่มจํานวนรานแม็กซ มารท (Max Mart) เปน 140 สาขาอีกดวย

กลุมทีพีไอ โพลีน เปดธุรกิจโรงไฟฟา พลังงานเชื้อเพลิงจากขยะ และโรงไฟฟาพลังงานความรอนทิ้ง กลุมทีพีไอ โพลีน เปดอาณาจักรธุรกิจโรงไฟฟาพลังงาน เชื้อเพลิงจากขยะ (RDF) ใหญที่สุดในประเทศไทย และโรงไฟฟา พลังงานความรอนทิ้ง ของ ‘บมจ. ทีพีไอ โพลีน เพาเวอร’ หรือ ‘TPIPP’ ในจังหวัดสระบุรี ที่กําลังเดินหนาเขาระดมทุนในตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยในไตรมาส 1 ของปนี้ เพื่อรองรับ การปรับโครงสรางทางธุรกิจและการเงินของกลุมทีพีไอ โพลีน ดานผูบริหารระบุปจจุบันมีโรงไฟฟาที่เปดดําเนินการเชิงพาณิชย แลว 4 โรง และอยูระหวางลงทุนขยายโรงไฟฟาเพิ่มขึ้นอีก 3 โรง คาดวาจะแลวเสร็จทยอยเปดดําเนินการเชิงพาณิชย หรือ COD (Commercial Operation Date) ภายในปนี้ สงผลใหมกี าํ ลังการผลิต ติดตั้งรวมเพิ่มขึ้นจาก 150 MW ในปจจุบัน เปน 440 MW

March-April 2017

p.95-97_industry.indd 95

3/31/17 1:52 PM


Industry News

ดาน ภัคพล เลี่ยวไพรัตน ร อ ง ก ร ร ม ก า ร ผู จั ด ก า ร ใ ห ญ สายงานบัญชีและการเงิน TPIPP กลาววา ปจจุบนั TPIPP มีโรงไฟฟา พลั ง งานเชื้ อ เพลิ ง จากขยะ และ โรงไฟฟ า พลั ง งานความร อ นทิ้ ง ซึ่ ง ตั้ ง อยู ภ ายในพื้ น ที่ เ ดี ย วกั น กั บ โรงงานปู น ซี เ มนต ข องบริ ษั ท แม ใน จ.สระบุ รี ที่ เ ป ด ดํ า เนิ น การ เชิงพาณิชยแลวจํานวน 4 โรง มีกําลังการผลิตติดตั้งรวม 150 MW และอยูระหวางการกอสรางโรงไฟฟาเพิ่มขึ้นอีก 3 โรง ซึ่งคาดวา จะทยอยแลวเสร็จ และเริม่ COD ภายในปนี้ โดยจะมีกาํ ลังการผลิต ติดตั้งรวมเพิ่มขึ้นอีก 290 MW ประกอบดวย โรงไฟฟาพลังงาน เชื้อเพลิงจากขยะ กําลังการผลิตติดตั้ง 70 MW โรงไฟฟาพลังงาน ถานหิน-พลังงานเชื้อเพลิงจากขยะ กําลังการผลิตติดตั้ง 70 MW และโรงไฟฟาพลังงานถานหิน กําลังการผลิตติดตั้ง 150 MW ซึ่ง เมื่อกอสรางแลวเสร็จจะสงผลให TPIPP มีกําลังการผลิตติดตั้ง รวมทั้งสิ้นเพิ่มขึ้นเปน 440 MW วรวิทย เลิศบุษศราคาม รองผูจัดการใหญ ฝายโรงงาน TPIPP กลาววา สําหรับโรงไฟฟาทัง้ 4 โรงในปจจุบนั มีกาํ ลังการผลิต ติดตั้งรวม 150 MW ประกอบดวย โรงไฟฟาพลังงานเชื้อเพลิงจาก ขยะ 2 โรง กําลังการผลิตติดตัง้ 20 MW และ 60 MW ซึง่ ตามขอมูล ของ AWR Lloyd ถือเปนโรงไฟฟาพลังงานเชื้อเพลิงจากขยะที่ใหญ ที่สุดในประเทศไทย โดยปจจุบันมี กฟผ. เปนผูรับซื้อไฟฟาจํานวน 73 MW (ไดรับ Adder ที่ 3.50 บาทตอกิโลวัตต-ชั่วโมง เปนระยะ เวลา 7 ป) และโรงไฟฟาพลังงานความรอนทิ้งอีก 2 โรง กําลัง การผลิตติดตั้ง 40 MW และ 30 MW โดยมี TPIPL เปนผูรับซื้อ ไฟฟา (ในอัตราคาไฟฟาเฉลี่ยที่ TPIPL ซื้อไฟฟาจาก กฟภ.) ในสวนโรงไฟฟาพลังงานถานหิน-พลังงานเชื้อเพลิงจากขยะ กําลังการผลิตติดตัง้ 70 MW ทีอ่ ยูร ะหวางการกอสรางถูกออกแบบ ใหมีความพิเศษ เพราะสามารถใชไดทั้งถานหินและเชื้อเพลิงจาก ขยะ ในการผลิตกระแสไฟฟา โดยกรณีทโี่ รงไฟฟาพลังงานเชือ้ เพลิง จากขยะโรงอื่นๆ จําเปนตองหยุดซอมบํารุง ก็สามารถใชโรงไฟฟา ดังกลาวผลิตไฟฟาดวยพลังงานเชื้อเพลิงจากขยะเพื่อจําหนาย ใหแก กฟผ. ทดแทนกันได “เราไดเตรียมความพรอมรองรับความตองการใชเชื้อเพลิง จากขยะทีจ่ ะเพิม่ ขึน้ หลังจากทีโ่ รงไฟฟาแหงใหมเริม่ COD แลว โดย

บริษัทฯ ไดลงทุนขยายสถานประกอบการผลิตเชื้อเพลิง RDF เพื่อ เพิ่มขีดความสามารถรองรับขยะจากชุมชนและขยะหลุมฝงกลบ เขาสูก ระบวนการผลิตเพิม่ ขึน้ เปน 6,000 ตันตอวัน จากเดิม 4,000 ตันตอวัน ซึ่งจะทําให TPIPP สามารถนําขยะมาผลิตเปนเชื้อเพลิง RDF ไดเพิ่มขึ้นเปน 3,000 ตันตอวัน จากเดิม 2,000 ตันตอวัน ซึ่งเปนการเพิ่มความมั่นคงดานเชื้อเพลิงจากขยะที่นํามาใชผลิต กระแสไฟฟา ดวยแนวคิด Clean Energy and Clean Up Country กลุม ทีพีไอโพลีนจึงเปนผูบุกเบิกและเปนผูผลิตโรงไฟฟาพลังงานขยะ รายใหญที่สุดในประเทศไทย (WTE : Waste to Energy) ทั้งนี้ เพือ่ ชวยลดปริมาณขยะในประเทศทีเ่ กิดขึน้ จํานวนมากในแตละวัน และยังสามารถลดภาวะเรือนกระจกที่สงผลกระทบตอสังคมและ สิ่งแวดลอม” วรวิทย กลาว

สถาบันไทย-เยอรมัน เปดยุทธศาสตรขับเคล�อน New S-Curve สถาบั น ไทย-เยอรมั น เป ด แผนยุ ท ธศาสตร ขั บ เคลื่ อ น ภาคอุตสาหกรรม รับนโยบายภาครัฐผลักดัน New S-Curve หลัง ครบรอบการดําเนินงาน 20 ป มุงสูการเปนสถาบันที่มุงสงเสริม พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตของผูประกอบการใน อุตสาหกรรม ในรูปแบบศูนยปฏิบตั กิ ารอุตสาหกรรม พรอมพัฒนา Smart Factory และสรางเครือขายพัฒนาอุตสาหกรรมแหงอนาคต เพื่อบูรณาการความรวมมือในการใชเทคโนโลยียกระดับขีดความ สามารถการผลิตของภาคอุตสาหกรรมไทย ส ม ห วั ง บุ ญ รั ก ษ เจ ริ ญ ผูอํานวยการสถาบันไทย-เยอรมัน เปดเผยวา จากนโยบายของกระทรวง อุตสาหกรรม มีนโยบายการขับเคลือ่ น อุตสาหกรรมในระยะ 20 ปขางหนา ดวย 3 แผนยุทธศาสตร ไดแก การ ปฏิรูปภาคอุตสาหกรรมที่ขับเคลื่อน ดวยปญญา การปฏิรปู นิเวศอุตสาหกรรมรองรับอุตสาหกรรมทีข่ บั เคลือ่ น ดวยปญญา และการเชื่อมโยงอุตสาหกรรมไทยกับเศรษฐกิจโลก

March-April 2017

p.95-97_industry.indd 96

3/31/17 1:52 PM


Industry News

ผ า นรู ป แบบการดํ า เนิ น งานด ว ยการสร า งเครื อ ข า ยเชื่ อ มโยง คลัสเตอรอุตสาหกรรมเพื่อยกระดับผลิตภาพ มาตรฐานการผลิต และสร า งนวั ต กรรมใหม เพื่ อ ผลั ก ดั น ประเทศก า วสู ก ารเป น ไทยแลนด 4.0 ทัง้ นี้ ในโอกาสทีส่ ถาบันไทย-เยอรมัน ครบรอบการดําเนินงาน 20 ป จึงไดจัดงานเปดแผนยุทธศาสตรถึงแผนงานที่มีเปาหมาย มุงสูการพัฒนาอุตสาหกรรมในอนาคต หรือ New S-Curve เพื่อ เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถการแขงขันของผูประกอบการ ไทย โดยสถาบันฯ จะเพิม่ ภารกิจบทบาทจากเดิมทีม่ งุ การถายทอด เทคโนโลยีและพัฒนาบุคลากรใหแกผปู ระกอบการ ไปสูก ารสงเสริม การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการผลิตของผูประกอบการใน อุตสาหกรรมอนาคต ผานรูปแบบการจัดตัง้ ศูนยปฏิรปู อุตสาหกรรม (Industry Transformation Center) โดยจะสนับสนุนขอมูลเพื่อ การวางนโยบายและแผนสําหรับอุตสาหกรรมหุนยนตและระบบ อัตโนมัติ (Robot and Automation Intelligence Unit) เพื่อไปชวย ผลักดันกลุมอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร การเกษตรและเทคโนโลยี ชีวภาพ การทองเที่ยว อิเล็กทรอนิกส ยานยนตสมัยใหม เปนตน “ก า วต อ ไปของสถาบั น ไทย-เยอรมั น จะต อ ยอดภารกิ จ บทบาทภารกิจใหมีขอบเขตกวางขึ้น โดยจะเพิ่มศักยภาพของ สถาบันฯ ในดานเทคโนโลยีอัตโนมัติและหุนยนต เครื่องจักรกล แมพมิ พและเทคโนโลยีการผลิตขัน้ สูง ไปสูก ารชวยพัฒนานวัตกรรม และเทคโนโลยี รวมถึงดานบุคลากรใหแกผปู ระกอบการ SMEs เพือ่ ใหเกิดการปรับตัวนําระบบเทคโนโลยีในการผลิตมาเพื่อยกระดับ ขีดความสามารถดานการผลิตทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ” สมหวัง กลาว ทั้งนี้ ผูประกอบการ SMEs จําเปนตองมีแนวคิดแบบ Smart Think ที่นําเทคโนโลยีเขามาชวยในกระบวนการผลิต ซึ่งจะนําไปสู การเปน Smart factory ทีช่ ว ยบริหารการผลิตไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยสถาบันฯ พรอมเขาไปชวยเหลืออบรม วางแผน และเปน ที่ปรึกษา เพื่อให SMEs ไดถูกพัฒนา รวมถึงมีแนวคิดจะสราง เครือขายพัฒนาอุตสาหกรรมในอนาคต (Industry Development Network) ที่ จ ะเกิ ด เป น ความร ว มมื อ ในการบู ร ณาการพั ฒ นา อุตสาหกรรมรวมกันระหวางภาครัฐและภาคเอกชน ที่จะทําให ผูประกอบการไทยทรานฟอรเมชั่นสูการเปนอุตสาหกรรม 4.0 ได ตามเปาหมายที่วางไว

TSE รุกโซลารฟารมญี่ปุนเต็มตัว ตั้งเปา กําลังผลิตไฟฟาแตะ 100 MW ใน 3 ป “ไทย โซลาร เอ็นเนอรยี่” รุกโซลารฟารมญี่ปุนเต็มตัว ตั้งเปากําลังผลิตไฟฟาแตะ 100 เมกะวัตต ภายในป 2562 จอคิว COD อีกหลายโรง พรอมเดินหนาควาโรงไฟฟาโซลารอีกปละ 40-60 MW ดร.แคทลีน มาลีนนท ประธานเจาหนาที่ บริหาร บริษัท ไทย โซลาร เอ็นเนอรยี่ จํากัด (มหาชน) หรือ TSE เปดเผยวา บริษัทมีแผน ที่จะเนนเขาลงทุนธุรกิจพลังงานแสงอาทิตย หรือโซลารฟารม ในประเทศญีป่ นุ มากยิง่ ขึน้ โดยบริษทั ตัง้ เปาทีจ่ ะเขาลงทุนโซลารฟารม ในประเทศญี่ปุนปละ 40-60 เมกะวัตต โดยในปจจุบนั บริษทั มีใบอนุญาตจําหนาย ไฟฟา PPA แลว 40 เมกะวัตต จํานวน 9 โครงการ อยูร ะหวางการกอสราง จํานวน 17 เมกะวั ต ต ซึ่ ง ป นี้ ค าดว า จะสามารถ ดําเนินการจายไฟเขาระบบเชิงพาณิชย หรือ COD ไดอกี 2 โครงการ กําลังการผลิตรวม 3.24 เมกะวัตต จากในปจจุบันที่ COD ไปแลว 4 โครงการ กําลังการผลิตรวม 5.24 เมกะวัตต และจะสามารถ COD ไดอีก 1 โครงการในป 2561 กําลังการผลิต 13.50 เมกะวัตต ทําใหคาดวากําลังการผลิตไฟฟาจากโซลารฟารมในประเทศญี่ปุน จะแตะที่ระดับ 100 เมกะวัตต ภายในป 2562 “ในปหนาเราจะเนนการลงทุนทัง้ ในประเทศและตางประเทศ โดยในประเทศจะมีการลงทุนในโรงไฟฟาชีวมวล 3 โรง กําลัง การผลิตรวม 22.2 เมกะวัตต รวมถึงบริษทั มีความพรอมทีเ่ ขาลงทุน โซลารฟารมเพิ่มเติม ทั้งในสวนของโครงการจากทางภาครัฐที่เรา อยูในระหวางติดตามอยางใกลชิด รวมถึงโครงการของภาคเอกชน เพือ่ เพิม่ กําลังการผลิตในประเทศ สวนการลงทุนในตางประเทศนัน้ บริษทั เนนการลงทุนโซลารฟารมในญีป่ นุ โดยเราเห็นโอกาสในการ เขาลงทุนในหลายโครงการ รวมถึงในปจจุบันก็มีบางโครงการที่ อยูระหวางเจรจา ซึ่งก็มีความคืบหนาอยางตอเนื่อง” ดร.แคทลีน กลาว

March-April 2017

p.95-97_industry.indd 97

3/31/17 1:52 PM


ทีซีซีเทค ประกาศแผนขยายธุรกิจ ดาตาเซ็นเตอรผสานบริการคลาวด TCCtech Announced its Cloud-Enabled Data Center Expansion Plan บริษทั ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จํากัด (ทีซซี เี ทค) ประกาศแผนการ ขยายตัวอยางตอเนื่องในธุรกิจ ณ ศูนยดาตาเซ็นเตอร ผสานบริการ คลาวด (Cloud-Enabled Data Center) ที่บางนา แผนครั้งนี้นับเปน ความรวมมือกันระหวางทีซีซีเทค (TCCtech) กับวันเนท (1-Net) ซึ่ง เปนพารทเนอรทไี่ ดรบั การเลือกสรรจากประสบการณ ความเชีย่ วชาญ อยางลึกซึ้งในดานดาตาเซ็นเตอรกวา 20 ป ใหเปนที่ปรึกษาในการ ออกแบบระบบ ตลอดจนบริ ห ารจั ด การโครงการเพื่ อ เสริ ม ความ แข็งแกรงใหกับโครงสราง ทั้งในดานระบบวิศวกรรมและไฟฟาภายใน ดาตาเซ็นเตอร การขยายตั ว ครั้ ง นี้ เ ป น ผลจากแนวโน ม ตลาดบริ ก ารดาต า เซ็นเตอรและตลาดบริการคลาวดทเี่ ติบโตอยางรวดเร็วในประเทศไทย จากผลการศึกษา1 ของบริษทั วิจยั ไอดีซี ประเทศไทย ณ ธันวาคม 2559 ดวยประมาณการเติบโตเฉลี่ย 25% ในชวงป 2558 ถึงป 2563 ทั้งนี้ เป น ส ว นหนึ่ ง ของผลพวงจากการที่ รั ฐ บาลไทยนํ า ประเทศสู แ ผน เศรษฐกิจดิจทิ ลั ซึง่ รวมถึงยุทธศาสตรในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ดิจิทัล ดวยการเนนความสําคัญดานการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ทางดานเทคโนโลยี วรดิ ษ ฐ วิ ญ ญรั ต น กรรมการ บริหารและรักษาการกรรมการผูจัดการ บริษทั ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จํากัด กลาววา เพื่ อ ขยายศู น ย ด าต า เซ็ น เตอร ซึ่ ง นั บ เปนศูนยที่มีกลยุทธลึกซึ้งและปรัชญา ที่โดดเดนที่สุดในประเทศไทย ในเรื่อง ความเป น ศู น ย ที่ อิ ส ระและเป น กลาง ศูนยแรกของประเทศไทย (Thailand’s 1st and most strategic Carrier Neutral Data Center) ทีซีซีเทคมีการดําเนินแผนการ ลงทุนอีกกวา 300 ลานบาท เพื่อรองรับ ปริมาณความตองการทีข่ ยายตัวขึน้ อยาง มหาศาลจากกลุม ลูกคาของเรา โดยเฟสใหมนมี้ กี าํ หนดพรอมใหบริการ ในชวงปลายเดือนมิถุนายน ปนี้ “ในฐานะพารทเนอรทยี่ าวนานของทีซซี เี ทค วันเนทมีความยินดี ที่ ไ ด แ บ ง ป น ประสบการณ จ ากการออกแบบศู น ย ข องวั น เนทเอง ตลอดจนแลกเปลี่ยนมุมมอง ใหคําปรึกษาในฐานะผูใหบริการดาตา เซ็นเตอรชั้นนําเชนกัน การดูแลบริหารดาตาเซ็นเตอรนั้นเปนเรื่อง สําคัญอยางยิ่ง เพื่อใหสามารถมั่นใจในระบบที่มีความเสถียร และ หลีกเลี่ยงปญหาหลักๆ อันอาจเกิดขึ้นไดจากการออกแบบระบบ ซึ่ง รวมถึงการบริหารจัดการในดานกระบวนการ การดูแลบํารุงรักษา ระบบ ตลอดจนการขจัดความผิดพลาดอันอาจเกิดจากการปฏิบตั งิ าน” วอง คาวิน กรรมการผูจัดการ บริษัท วันเนท ประเทศสิงคโปร กลาว 1

บริษัทวิจัยไอดีซี ประเทศไทย - ธันวาคม 2559

T.C.C. Technology Co., Ltd. (TCCtech) announced the upcoming completion of their cloud-enabled data center facility expansion in Bangna. In this collaboration with TCCtech, 1-Net provides design consultancy and project management to upgrade the mechanical and electrical infrastructure at TCCtech’s data center facility at Bangna. 1-Net is selected as TCCtech’s preferred partner for this expansion project due to their deep knowledge and skills in data center operation for more than two decades. This expansion is driven by strong growth trends in both data center and cloud market in Thailand. Based on IDC’s Research Report1, Thailand has an estimated a CAGR of 25% for the period 2015 to 2020. Thai government helps to boost the data center services market through favorable initiatives such as introduction of a Digital Economy Plan, which includes strategies to develop digital economy with a strong focus on the development of data centers and cloud computing within Thailand. Mr.Voradis Vinyaratn, Executive Director and Acting Managing Director of T.C.C. Technology Co., Ltd. TCCtech has invested over THB 300 million to expand Thailand’s 1st and most strategic Carrier Neutral Data Center to cater to the strong demand we are getting from our existing customer communities. This expanded facility will be ready for service in the first half of 2017. “Our customers and prospects will be able to enjoy the expanded capacity of 200 racks with additional 800 KVA power capacity. Our customer profiles include key industries such as digital technology providers, media and content providers, banking and insurance and energy from both local and multinational corporations.” continued Mr.Voradis. “As a long-term partner with TCCtech, we are glad to share our design and operation experience as we design our own data centers from the operations perspective given that we are also a data center service provider. The operations of a data center is critical as majority of data center failures were caused by operational design which includes process, maintenance and human error.” said Mr.Wong Ka Vin, Managing Director of 1-Net Singapore Pte Ltd. IDC Thailand, December 2016

1

March-April 2017

p.98-100_it news.indd 98

3/31/17 1:53 PM


Trend Micro ไดรับตําแหนงผูนําดานความปลอดภัยอีเมลในระดับโลก ตามรายงานของ IDC MarketScape Trend Micro Named as a Leader in IDC MarketScape on Worldwide E-mail Security

บริษัท Trend Micro (TYO: 4707) ผูนําระดับโลกดานโซลูชัน ความปลอดภัยทางไซเบอร ไดรบั ยกยองใหขนึ้ เปนตําแหนงผูน าํ (Leader) ในรายงาน IDC MarketScape: Worldwide Email Security 2016 Vendor Assessment (เลขที่เอกสาร #US41943716 ฉบับธันวาคม 2559) “Trend Micro ไดรับตําแหนงผูนําของกลุมผลิตภัณฑในรายงาน IDC MarketScape ประจําปน้ี เนือ่ งจากพัฒนาผลิตภัณฑดา นแมสเสจจิง้ ใหเปนสวนหนึ่งที่สําคัญในชุดผลิตภัณฑความปลอดภัยของตนเองที่ได รวมเอาผลิตภัณฑความปลอดภัยสําหรับเอนดพอยต, เว็บ, การเขารหัส, อุปกรณพกพา และในเร็วๆ นีจ้ ะมีผลิตภัณฑความปลอดภัยบนเครือขาย มาผสานรวมกัน” รายงานกลาว Trend Micro ไดใหความสําคัญกับแนวทางใหมลา สุดหลายประการ ในดานความปลอดภัยของอีเมล ไดแก ฟเจอรการวิเคราะหและปองกัน อันตรายแบบจําเพาะหรือ STAP ที่มีการใชทั้งเทคโนโลยีแซนดบ็อกส และกลไกการปองกันอีเมลหลอกลวงแบบเจาะจงเปาหมาย (Spear Phishing) ทําใหบริษัทไดรับตําแหนงผูนําครั้งนี้ อีกทั้งลูกคาหลายกลุม ตางชื่นชอบผลิตภัณฑดานอีเมลของ Trend Micro ตรงการติดตั้งและ ใชงานที่งายดายดวย “เรามุงมั่นที่จะกาวนําหนาของเทรนดการโจมตีอยูเสมอ และ ปกปองลูกคาของเราจากอันตรายดานความปลอดภัยที่กําลังพัฒนา ตัวเองอยางรวดเร็วเหลานี้” เควิน ซิมเซอร รองประธานบริหารฝาย งานขาย, การตลาด และดานการพัฒนาธุรกิจของ Trend Micro กลาว “เรามีเปาหมายที่ตองการใหผลิตภัณฑดานความปลอดภัยอีเมลของเรา เปนมิตรตอผูใชงาน พรอมทั้งใหความสามารถระดับชั้นนํามากมายที่ สามารถตอบสนองความตองการของลูกคาทีห่ ลากหลายและจําเพาะได ขณะที่ยังรักษาความปลอดภัยไวที่ระดับสูงสุดในการรับมือกับอันตราย และอีเมลประสงครายตางๆ” อางอิงจากรายงาน IDC MarketScape “Trend Micro เปนผูที่ รับฟงความเห็นของลูกคาไดดีมาก และปรับแตงผลิตภัณฑของตัวเอง ตามเทรนดความปลอดภัยปจจุบันใหเขากับความตองการของลูกคาได อยางลงตัว” รายงานยังไดอธิบายตอถึงความสามารถของ Trend Micro ในการ “สรางเครือขายพารทเนอรชองทางจัดจําหนาย, โครงสรางงาน ขาย และใหทางเลือกการผนวกชุดผลิตภัณฑของตนเองที่หลากหลาย ทําใหพารทเนอรเลือกซือ้ ผลิตภัณฑไดงา ย รวมทัง้ ใหขอ มูลชัดเจนเกีย่ วกับ วิธกี าร, เวลา และตําแหนงทีล่ กู คาควรซือ้ ผลิตภัณฑและฟเจอรเพิม่ เติม”

Trend Micro Incorporated (TYO: 4704), a global leader in cybersecurity solutions, has been named a Leader in the IDC MarketScape: Worldwide E-mail Security 2016 Vendor Assessment (doc #US41943716, December 2016). “Trend Micro is placed in the Leaders category in this [year’s] IDC MarketScape for making its messaging product a prominent part of its security suite, which also includes its endpoint, web, encryption, mobile, and soon network security products,” according to the report. Trend Micro’s focus on some of the newest concepts in E-mail security, such as specialized threat analysis and protection (STAP) features including sandboxing technologies, and anti-spear phishing protocols, helped to achieve a Leader position. In addition, customers liked Trend Micro’s easy set up and use of the E-mail product. “We are committed to staying at the forefront of attack trends and protecting our customers from these evolving security threats,” said Kevin Simzer, executive vice president, sales, marketing and business development for Trend Micro. “Our goal is to make our E-mail security products user-friendly, with numerous leading capabilities across a variety of environments to fit customers’ needs while providing the highest level of security against malicious E-mails and threats.” According to the IDC MarketScape report, “Trend Micro is very good at listening to customers and adjusting its products based on the current trends according to its customers.” The report further explains how Trend Micro’s “channel partnership, sales structure, and multiple bundling options with its own products and partners make it easy to purchase the product and any additional products and features exactly how, when, and where a customer requires them.”

March-April 2017

p.98-100_it news.indd 99

3/31/17 1:53 PM


ไซเซลควารางวัล Taiwan Excellence Awards เปนปที่ 12 Zyxel wins Taiwan Excellence Awards for 12 consecutive years ไซเซล คอมมิวนิเคชัน่ ส กวาดรางวัล Taiwan Excellence Awards รวม 10 รางวัล สงใหไซเซลเปนสุดยอดแบรนดผลิตภัณฑ เชื่อมโยงเครือขายแหงป โดยไซเซลไดรับรางวัลอันทรงเกียรตินี้ ตอเนื่องมาถึง 12 ปซอน รวมผลิตภัณฑคุณภาพไดรับรางวัล มาทั้งสิ้น 75 ประเภท ในเทคโนโลยีที่หลากหลาย กระทรวงเศรษฐกิจของไตหวันไดจดั การมอบรางวัล Taiwan Excellence Awards มาตั้งแต ค.ศ. 1992 เพื่อยกยองผลิตภัณฑ ที่ไดแสดงศักยภาพในการเปนตัวแทนไตหวันสูสังคมระดับโลก ทั้งนี้ นวัตกรรมขั้นสุดยอดตางๆ ไดผานการทดสอบและการ เลือกสรรอยางเหมาะสมโดยคณะกรรมการถึง 90 ทานดวยกัน ผลิตภัณฑตางๆ ของไซเซลที่ไดรับรางวัลอันทรงเกียรตินี้ เปนกลุมผลิตภัณฑและโซลูชันดานการเชื่อมโยงเครือขายใหแก ผูใหบริการโทรคมนาคม กลุมธุรกิจและกลุมผูใชงานในบาน สําหรับการใชงานในเชิงธุรกิจนัน้ ผลิตภัณฑ Wi-Fi Access point ที่ไดรับรางวัล ไดแก รุน WAC6503D-S บนมาตรฐาน 802.11ac มาพรอมกับเสาอากาศอัจฉริยะ ซึ่งไดรับการพิสูจน มาแลวทั่วโลกถึงประสิทธิภาพในการใหคาทรูพุธที่เร็วเหนือกวา คูแขงถึง 75% นอกจากนี้ ยังมีผลิตภัณฑดานความปลอดภัย เครือขายที่ไดรับรางวัลคือ วีพีเอ็นไฟลวอลลรุน USG20-VPN ที่ ส ามารถช ว ยองค ก รธุ ร กิ จ เชื่ อ มโยงเครื อ ข า ยระหว า งสาขา สํานักงานที่อยูหางไกลและพนักงานที่ทํางานนอกสถานที่ดวย เทคโนโลยีขนั้ สูง SHA-21VPN เพือ่ ปกปองการสือ่ สารใหปลอดภัย และยังชวยเพิ่มประสิทธิผลการทํางานใหมากขึ้นอีกดวย ในตลาดผูใหบริการนั้น ผลิตภัณฑที่ไดรับรางวัล ไดแก เราเตอร รุน LTE4506-M606 เป น อุ ป กรณ เราเตอร ท่ีร องรั บ เทคโนโลยี 4G LTE-A ทีใ่ ชงานในบานรุน แรกของโลก มีคณ ุ ภาพสูง รองรับเทคโนโลยีสื่อสารไรสายไดทั้ง LTE category 6 และ 802.11ac ซึ่งจะชวยใหผูใหบริการและลูกคาขยายการเชื่อมโยง ไปยังทุกหนทุกแหงโดยใชบริการโมบายบรอดแบนดของผูใ หบริการ ที่มีอยูไดทั่วโลก อุปกรณนี้มีขนาดเล็กเทาฝามือ มีน้ําหนักเบา ใชงานงายโดยกดปุม เพียงปุม เดียว จึงสามารถแชรสญ ั ญาณไวไฟ ทันทีทกี่ ดปุม ดวยการออกแบบใหมคี ณ ุ ลักษณะโดดเดนเหนือใคร นี้ สงผลใหผลิตภัณฑ LTE4506-M606 ไดรบั รางวัล 2016 Golden Pin Design Award ทันที กอรดอน หยาง ประธานของไซเซล กลาววา “เรามีความ มุงมั่นตั้งใจที่จะจัดหาอุปกรณและโซลูชันที่สามารถชวยแกไข ป ญ หาของลู ก ค า มาตลอดเวลา และได ป วารณาองค ก รเป น “พันธมิตรดานการเชือ่ มโยงเครือขายของทาน” (Your Networking Ally) ซึ่งการยอมรับในความมุงมั่นของเรานี้ยอมเปนกําลังใจ ที่สําคัญในการพัฒนานวัตกรรมใหมๆ ตอไป”

Zyxel Communications swept the Taiwan Excellence Awards again this year with 10 products receiving the honor, making Zyxel the top winning networking brand of the year. Zyxel has won the Taiwan Excellence recognitions for 12 years in a row, accumulating a portfolio of 75 award-winning products of a diverse range. The Ministry of Economic Affairs has organized the Taiwan Excellence Awards since 1992. The awards recognize products that represent Taiwan in the worldwide community and were reviewed and selected by 90 judges who gave the crown to the best-of-breed innovations across sectors. Zyxel’s award-winning products cover connectivity products and solutions for home, business and telecom service providers. For business, the 802.11ac Smart Antenna Wi-Fi access point (WAC6503D-S) earned a proven record in 2016 of outperforming competing products with an average 75% better throughput, thanks to the world-leading smart antenna design. The VPN firewall (USG20VPN) helps businesses connect with branch offices, remote locations or telecommuting employees with advanced SHA-21VPN technology to secure communications, boosting both security and productivity. For service providers, the LTE4506-M606 is the world’s first 4G LTE-A HomeSpot router which supports both LTE category 6 and 802.11ac technology to help service providers and their customers extend connectivity anywhere utilizing mobile broadband services all over the world. Its palm-size, light-weight design and the one-of-a-kind one touch button for instant Wi-Fi sharing also earned it the 2016 Golden Pin Design Award. “It has been our singular focus to deliver innovative products and solutions to help solve customers’ pain points - to be their networking ally,” commented Gordon Yang, President of Zyxel. “It’s a great encouragement to be recognized again for this focus.”

March-April 2017

p.98-100_it news.indd 100

3/31/17 1:53 PM


SUBSCRIPTION

ELECTRICITY & INDUSTRY magazine ป 2560

ขาพเจา ชื่อ .................................................................................................สกุล........................................................................................................ ตําแหนง .......................................................................................บริษัท/หาง/ราน ...................................................................................... ที่อยู (ที่ทํางาน) ............................................................................แขวง/ตําบล ........................................................................................... เขต/อําเภอ ...................................................................................จังหวัด ......................................................รหัสไปรษณีย์ ...................... โทร ...............................................................................................แฟกซ์ ..................................................................................................... ที่อยู (ที่บาน) .................................................................................แขวง/ตําบล .......................................................................................... เขต/อําเภอ ....................................................................................จังหวัด .....................................................รหัสไปรษณีย์ ...................... โทร ...............................................................................................แฟกซ์ ..................................................................................................... รหัสสมาชิก ...............................................................................

ประสงค์จะบอกรับวารสาร “ไฟฟาและอุตสาหกรรม” 1 ป 6 ฉบับ 480 บาท 2 ป 12 ฉบับ 960 บาท สมาชิกตออายุ 2 ป 12 ฉบับ 800 บาท ตั้งแตฉบับที่ ..............เดือน .....................................ป ................... โดยสงวารสารไปที่ ที่ทํางาน ที่บาน พรอมกันนี้ไดสงคาสมาชิกเปนจํานวนเงิน ............................. บาท (ตัวอักษร ........................................................................................) เช็คธนาคาร .............................................................................. สาขา ............................................................................................... เช็คครอมสั่งจาย “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด”

ธนาณัติ สั่งจายในนาม “คุณวาสนา เลิศสองแสง” ที่ทําการไปรษณีย์โทรเลขบางกอกนอย โอนเขาบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด” ชื่อธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี กรุงเทพ สะพานพระปนเกลา 162-0-74737-6 กสิกรไทย บางยี่ขัน 047-2-56333-5 ทหารไทย จรัญสนิทวงศ์ 020-2-27244-9 ไทยพาณิชย์ จรัญสนิทวงศ์ ซ.48 121-2-04080-0 หมายเหตุ กรุณาสงแฟกซ์ หรือสําเนาใบเขาบัญชี (Pay-in Slip) มาให บริษัทฯ พรอมเขียนชื่อ-นามสกุล และรหัสสมาชิก (ถามี) กํากับมาดวย

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด 471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. +66 (0)26 444 555, +66 (0)23 545 333 ตอ 301 โทรสาร +66 (0)26 446 649, +66 (0)23 545 322

p.101-103_member.indd 101

3/31/17 2:03 PM


หากผูอานทานใดสนใจรายละเอียดตางๆ ที่ปรากฏในวารสาร ELECTRICITY & INDUSTRY MAGAZINE

ปที่ 24 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2560 กรุณากรอกขอมูลดังกลาวใหครบถวนเพื่อการติดตอจัดสงขอมูลกลับไปยังทานตอไป ชื่อ .................................................................................................ชื่อสกุล........................................................................................................ ที่อยู ..............................................................................................แขวง/ตําบล ................................................................................................ เขต/อําเภอ ....................................................................................จังหวัด .....................................................รหัสไปรษณีย์ .......................... โทร ...............................................................................................แฟกซ์ .........................................................................................................

ประเภทของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ

ตําแหนงงานที่ทานรับผิดชอบ กรรมการผูจัดการ/เจาของกิจการ ผจก.โรงงาน ผจก.ฝายวิจัยและพัฒนา ผจก.วิศวกรรม ผจก.ฝายซอมบํารุง วิศวกรฝายผลิต วิศวกรทดสอบ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

อุตสาหกรรมเคมี/ปโตรเคมี อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมงานเชื่อม อุตสาหกรรมโลหการ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

ประเภทของกิจการ ผูผลิต

p.101-103_member.indd 102

ผูแทนจําหนาย

ผูผลิต/ผูแทนจําหนาย

หนวยงานราชการ

3/31/17 2:03 PM


ใบอนุญาตเลขที่ ปน. (ต)/1339 ปณจ.บางกอกน้อย ถ้าฝากส่งในประเทศไม่ต้องผนึกตราไปรษณียากร

บริการธุรกิจตอบรับ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 619/5 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงอรุณอัมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700

ประโยชน์ทท่ี า่ นจะได้รบั จากวารสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” เนื้อหา............................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... โฆษณา/รายละเอียดผลิตภัณฑ์...................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................................

ความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ คอลัมน์ตา่ งๆ ทีป่ รากฏในวารสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” ชือ่ คอลัมน์ Article Factory Visiting Industry News Interesting IT News IT Technology Maintenance Movement Product Project PR News Scoop Seminar Seminar Calendar Special Area Special Scoop TISIA

p.101-103_member.indd 103

มีประโยชน์มาก

มีประโยชน์

พอใช้

ควรปรับปรุง

3/31/17 2:03 PM


ดัชนีสินคาประจำเดือนมีนาคม - เมษายน พ.ศ. 2560 บริษัท

โทรศัพท

โทรสาร

ABB CO., LTD.

0-2665-1000

0-2324-0502

ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK

0-2642-6911

ASIAN CONSTRUCTION WEEK

0-2833-5208

INTERMACH

ประเภทสินคา

หนา

อุปกรณไฟฟา

ปกหลัง

งานแสดงสินคา

41

0-2833-5127

งานแสดงสินคา

106

0-2642-6911

-

งานแสดงสินคา

42

MAXIMIZE INTEGRATED TECHNOLOGY CO., LTD.

0-2525-0299

0-2525-0298

Industrial Relays

10

MENNEKES Elektrotechnik GmbH & Co. KG

0-2741-5266

0-2741-5267

ผูผลิตปลั๊กอุตสาหกรรม

15

SAMWHA (THAILAND) CO., LTD.

0-3884-7571-3

0-3884-7575

จําหนาย ติดตั้งคาปาซิเตอร

7

-

-

งานแสดงสินคา

71

THAILAND LIGHTING FAIR

0-2664-6499

-

งานแสดงสินคา

26

W.I.P ELECTRIC CO., LTD.

0-2410-5030-4

0-2408-8755

อุปกรณไฟฟา

105

YAMABISHI ELECTRIC CO., LTD.

0-2879-9699

0-2879-4200

ผูผลิตและจําหนายมอเตอรไฟฟา, พัดลมระบายอากาศ-อุตสาหกรรม

14

THAILAND ENERGY EFFICIENCY WEEK

เชลลแหงประเทศไทย บจก.

0-2262-6000

0-2657-9888

น้ํามันหลอลื่น

3

ซี.เค.แอล. โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2149-6990

0-2149-6981

ตัวแทนจําหนายกลองและตูพลาสติกกันฝุนและละอองน้ํา

16

0-2002-4395-97

0-2002-4398

อุปกรณไฟฟา

25

0-2282-9191

0-2282-9200

ผูนําเขาอุปกรณไฟฟา-คอนโทรล, ตูโหลดเซ็นเตอรเซอรกิตเบรกเกอร

ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) บจก. ไทยบํารุง เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

ปกหนาใน

เพาเวอร เรด บจก.

0-2300-5671-3

0-2300-5937

อุปกรณไฟฟา

11

พี ไอ เอส พาวเวอร ดิสทริบิวชั่น บจก.

0-2105-3011-2

0-2105-3013

สวิตช

4

มหาธน อีเลคทริค หจก.

0-2894-3447-9

0-2416-1659

อุปกรณไฟฟา

24

เรเซล ควอลิตี้ เทรดดิ้ง บจก.

0-2683-3040

0-2294-8198

อุปกรณไฟฟา

12

ลีฟเพาเวอร บจก.

0-2300-5671-3

0-2300-5937

อุปกรณไฟฟา

13

ลูซี่ อิเล็คทริค (ประเทศไทย) บจก.

0-3368-4333

-

สวิตชเกียร

5

สถาปนิก

0-2717-2477

-

งานแสดงสินคา

40

สยามคอนโทรล ซีสเต็มส บจก.

0-2291-3387

0-2291-3587

จําหนายชุดควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟา

6

เวอรทัส บจก.

0-2876-2727-8

0-2476-1711

Couplings

22

ออมรอน อิเลคทรอนิคส บจก.

0-2942-6700

0-2937-0501

อุปกรณไฟฟาและระบบควบคุมอัตโนมัติ

8

อะตอม-มิค พาวเวอร บจก.

0-2503-3535

อินเตอรลิ้งค คอมมิวนิเคชั่น บมจ.

0-2693-1222

0-2693-1399

สาย LAN

23

เอวีรา บจก.

0-2681-5050

0-2681-5995

อุปกรณไฟฟา

21

เอส เอ วี เมคคานิคคอล เซอรวสิ ส แอนด ซัพพลายส หจก.

0-2702-0581-8

0-2377-5937

ติดตั้ง EOCR อิเล็กทรอนิกสโอเวอรโหลดรีเลย ปองกันมอเตอรไหม

14

0-2503-3519-20 อุปกรณไฟฟา

9

เอส.พี.วาย แอนด เคเบิ้ล บจก.

0-2434-0099

0-2434-3251

อุปกรณไฟฟา

19

อีเลคทรอนิคส ซอรซ บจก.

0-2062-4970

0-2062-4999

ชิ้นสวนอุปกรณอิเล็กทรอนิกส

17

p.104_index.indd 104

4/3/17 5:31 PM



BMAM_21.59x29.21cm.pdf

1

3/30/17

3:06 PM


House Ad_21.59x29.21cm.pdf

1

4/5/17

9:04 AM


108-c4-Ad ESI-Edit.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

4/10/2560 BE

16:26


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.