Electricity & Industry Magazine Issue May-Jun 2017

Page 1





AD LUCY-C4-VCE

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

AW 2 Final CS4.pdf

1

5/24/2560 BE

10:33


Ö£¼¦ ʼĹÎ ÁÊ´¼É³´¼Ð¦¼ÈIJÉ³Ô ®­čºÊij¼¬Ê²

Ã¾É Ô ®­č Õ¾ÈÀÌ±Í Ê¼ÅÅ Õ³³ÅʣʼԷÏÜÅ Ê¼Å²Ð¼É Áč·¾É¦¦Ê²

ďÔæäŢöăííïøćèìĘĆöşĀì èąôÔáÔöăêöúÚÔąöĀĀÔĐííĀą×ąöďñĊėĀÔąöĀìċöĄÔüŢñøĄÚÚąì #&$

Hot Water System

êćöìĊęǰÖøöóĆçîćóúĆÜÜćîìéĒìîĒúąĂîčøĆÖþŤóúĆÜÜćîǰ óó ǰĕéšĂĂÖÖãÖøąìøüÜÖĈĀîéðøąđõìǰĀøČĂ×îćé×ĂÜĂćÙćøǰĒúąöćêøåćîǰĀúĆÖđÖèæŤ ĒúąüĉíĊÖćøĔîÖćøĂĂÖĒïïĂćÙćøđóČęĂÖćøĂîčøĆÖþŤóúĆÜÜćîǰó ý ǰ ǰàċęÜĕéšöĊÖćøÖĈĀîéðøąÿĉìíĉõćó×ĆĚîêęĈ×ĂÜøąïïñúĉêîĚĈøšĂîǰ )PUǰXBUFSǰTZTUFN

ìĊęñúĉêîĚĈøšĂîÿĈĀøĆïĔßšÜćîĔîĂćÙćøđðŨîǰ ǰßîĉéǰÙČĂǰĀöšĂêšöîĚĈøšĂîǰĀøČĂĀöšĂĕĂîĚĈǰ ď#PJMFS ǰĒúąăĊêðŦūöǰ )FBUǰQVNQ ǰàċęÜÝćÖÖćøÿĈøüÝÙŠćðøąÿĉìíĉõćó ÝćÖñĎñš úĉêĒúąñĎÝš ĈĀîŠć÷đðøĊ÷ïđìĊ÷ïÖĆïđÖèæŤǰ#&$ǰóïüŠćöĊÙŠćðøąÿĉìíĉõćóìĊęéĊǰéĆÜîĆĚîÝċÜĕéšîĈđÿîĂñúÖćøøüïøüöךĂöĎú×ĂÜøąïïñúĉêîĚĈøšĂîéĆÜîĊĚ

ú¼ű¯ºµ¾¤¥¾¬¼ª · ·Âű ¯£þ¨±¾ĥ¦Ï½¯û·¦ ĀöšĂêšöîĚĈøšĂîǰĀøČĂĀöšĂĕĂîĚĈǰ ď#PJMFS ǰóĉÝćøèćÝćÖÙŠćðøąÿĉìíĉõćó ×ĆĚîêęĈ×ĂÜĂčðÖøèŤǰéšü÷üĉíĊđðøĊ÷ïđìĊ÷ïóúĆÜÜćîÝćÖîĚĈøšĂîĀøČĂĕĂîĚĈìĊę ñúĉêĕéšÖĆïóúĆÜÜćî×ĂÜđßČĚĂđóúĉÜìĊęĔĀšÖĆïĀöšĂĕĂîĚĈǰöĊÙŠćéĆÜîĊĚ ǰ

ǰ ðøąđõì

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰÙŠćðøąÿĉìíĉõćó×ĆĚîêęĈ

Ö ǰĀöšĂĕĂîĚĈǰìĊęĔßšîĚĈöĆîđðŨîđßČĚĂđóúĉÜǰǰ ǰǰǰǰǰ 0JMǰųSFEǰTUFBNǰCPJMFS ǰ × ǰĀöšĂêšöîĚĈøšĂîǰìĊęĔßšîĚĈöĆîđðŨîđßČĚĂđóúĉÜǰǰ ǰǰǰǰǰ 0JMǰųSFEǰIPUǰXBUFSǰCPJMFS ǰ Ù ǰĀöšĂĕĂîĚĈǰìĊęĔßšĒÖŢÿđðŨîđßČĚĂđóúĉÜǰǰ ǰǰǰǰǰ (BTǰųSFEǰTUFBNǰCPJMFS ǰ Ü ǰĀöšĂêšöîĚĈøšĂîǰìĊęĔßšĒÖŢÿđðŨîđßČĚĂđóúĉÜǰǰ ǰǰǰǰ (BTǰųSFEǰIPUǰXBUFSǰCPJMFS ǰ

ǰǰǰǰ ǰ ǰǰǰǰ ǰ ǰǰǰǰ ǰ ǰǰǰǰ ǰ

ǰǰǰǰǰǰÿĈĀøĆïđÙøČęĂÜñúĉêîĚĈøšĂîĒïïăĊêðŦūöǰ )FBUǰQVNQ ǰđðŨîĂčðÖøèŤìĊę ñúĉêîĚĈøšĂîðøąöćèǰ ǰ ǰ ǰ|$ǰóĉÝćøèćÝćÖÙŠćÿĆöðøąÿĉìíĉĝÿöøøëîą ×ĆîĚ êęĈǰ $PFGųDJFOUǰPGǰQFSGPSNBODF ǰ$01 ǰéĆÜîĊĚ ǰǰǰúĆÖþèąǰ ÖćøĂĂÖĒïïǰ Ö ǰĒïïìĊęǰ ǰ × ǰĒïïìĊęǰ ǰ

ǰǰĂčèĀõĎöĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰĂčèĀõĎöĉǰǰǰǰǰǰǰǰǰĂčèĀõĎöĉ ǰ$01 ǰîĚĈđךćǰ |$ ǰǰǰǰǰîĚĈĂĂÖǰ |$ ǰǰǰǰǰĂćÖćýǰ |$ ǰ ǰǰǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ĭ­û·ĥû­¦Ï½¯û·¦ ĭ¯Á·ĭ­û·Ê·¦Ï½ !NHKDQ ǰǰǰǰǰǰĀöšĂêšöîĚĈøšĂîǰ )PUǰXBUFSǰCPJMFS ǰìĊĔę ßšîĈĚ öĆîĒúąĒÖŢÿđðŨîđßČĂĚ đóúĉÜ öĊÙŠćðøąÿĉìíĉõćó×ĆĚîêęĈǰ ǰàċęÜÝćÖÖćøđÖĘïךĂöĎú ÝĈîüîǰ ǰđÙøČęĂÜǰ ĕéšÙüćöÿĆöóĆîíŤøąĀüŠćÜ×îćéĀöšĂêšöîĚĈøšĂîÖĆïÙŠćðøąÿĉìíĉõćóǰéĆÜøĎðǰ óïüŠćðøąÿĉìíĉõćóĀöšĂêšöîĚĈøšĂîöĊÙŠćÿĎÜÖüŠćđÖèæŤǰ#&$ǰìĆĚÜĀöéǰēé÷öĊ ÙŠćðøąÿĉìíĉõćóđÞúĊę÷ ǰöĊÙŠćîšĂ÷ìĊęÿčé ÙČĂǰ ǰĒúąÙŠćöćÖ ìĊęÿčéǰ

ǰǰǰǰǰĀöšĂĕĂîĚĈǰ 4UFBNǰCPJMFS ǰìĊęĔßšîĚĈöĆîđðŨîđßČĚĂđóúĉÜǰöĊÙŠćðøąÿĉìíĉõćó ×ĆîĚ êęĈǰ ǰĒúąÝćÖÖćøđÖĘïךĂöĎú ÝĈîüîǰ ǰđÙøČĂę ÜǰóïüŠćöĊÙćŠ ðøąÿĉìíĉ õćóöćÖÖüŠćđÖèæŤǰ#&$ǰ ǰöĊÙŠćðøąÿĉìíĉõćóđÞúĊę÷ǰ ǰöĊÙŠćîšĂ÷ìĊęÿčé ÙČĂǰ ǰĒúąÙŠćöćÖìĊęÿčéǰ ǰÿĈĀøĆïðøąđõììĊęĔßšĒÖŢÿđðŨîđßČĚĂđóúĉÜ öĊÙŠćðøąÿĉìíĉõćó×ĆĚîêęĈǰ ǰÝćÖךĂöĎúǰÝĈîüîǰ ǰđÙøČęĂÜǰóïüŠćöĊ ÙŠćðøąÿĉìíĉõćóÿĎÜÖüŠć 4UFBNǰCPJMFSǰìĊęĔßšîĚĈöĆîđðŨîđßČĚĂđóúĉÜ đÖèæŤǰ#&$ǰ ǰĒúą öĊÙŠćðøąÿĉìíĉõćóđÞúĊę÷ǰ ǰöĊÙŠćîšĂ÷ìĊęÿčéÙČĂ ǰĒúąÙŠćöćÖìĊęÿčé ǰéĆÜîĆĚîÝćÖךĂöĎú ìĊîę ĈđÿîĂìĆÜĚ ĀöéĒÿéÜ 4UFBNǰCPJMFSǰìĊęĔßšĒÖŢÿđðŨîđßČĚĂđóúĉÜ ĔĀš đ ĀĘ î üŠ ć đìÙēîēú÷Ċ ×ĂÜĀöšĂêšöîĚĈøšĂîĀøČĂ ĀöšĂĕĂîĚĈðŦÝÝčïĆîöĊ Ù Š ć ðøąÿĉìíĉõćóÿĎÜÿćöćøë ñŠćîđÖèæŤǰ#&$ǰĕéš

¸¿ĥűĀĄ­ 'D@S OTLO ăĊêðŦūöǰ )FBUǰQVNQ ǰìĊęñúĉêîĚĈøšĂîĕéšǰ ǰĒúąǰ ǰ|$ǰÝąöĊÙŠćǰ$01ǰ ĒêÖêŠćÜÖĆî×ċĚîĂ÷ĎŠÖĆï×îćéĒúąßîĉé×ĂÜđÙøČęĂÜĂĆéĕĂéšü÷ǰêĆüĂ÷ŠŠćÜéĆÜøĎðđðŨî ÖøćôÙüćöÿĆöóĆîíŤøąĀüŠćÜ×îćéÖĆïÙŠćǰ$01ǰ×ĂÜăĊêðŦūöìĊęñúĉêîĚĈøšĂî ǰ|$ǰđÙøČĂę ÜĂĆéĕĂĒïï 4DSPMMǰÝĈîüîǰ ǰđÙøČĂę Ü óïüŠ ć öĊ Ù Š ć ǰ$01ǰñŠ ć î đÖèæŤǰ#&$ǰ ǰĒÿéÜ ĔĀšđĀĘîüŠćđìÙēîēú÷Ċ×ĂÜ ăĊêðŦūöǰĂčèĀõĎöĉ×ćĂĂÖǰ ǰ|$ǰ ăĊêðŦöū ðŦÝÝčïîĆ ǰöĊÙćŠ ǰ$01 ÿĎÜÿćöćøëñŠćîǰ#&$ǰĕéš Ô¼Í»³Ô¼Í»¦ÖIJ» ĹѲ»č´¼ÈÂʲ¦Ê² ʼÅÅ Õ³³ÅʣʼԷÏÅ Ü Ê¼Å²Ð¼ É Áč·¾É¦¦Ê² VVV D ATHKCHMF BNL Ö°¼ĹÉ·°č Ö°¼Âʼ

¼º·ÉĴ²Ê·¾É¦¦Ê²°IJÕ°²Õ¾ÈŲм É Áč·¾É¦¦Ê² Ô¾¡°ÍÜ ¯²²·¼È¼Êº Õ¡À¦¼Å¦ÔºÏŦ Ô¡ij´°ÐºÀɲ ¼Ð¦Ô°·ºÃʲ£¼


Samwa_21.59x29.21cm.pdf

1

3/28/17

11:02 AM


Electrical_MY-GS-c4.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

5/23/2560 BE

15:38








Mennekes_21.59x29.21cm_Cre.pdf

1

3/30/17

3:05 PM



Ö£¼¦ ʼĹÎ ÁÊ´¼É³´¼Ð¦¼ÈIJÉ³Ô ®­čºÊij¼¬Ê²

Ã¾É Ô ®­č Õ¾ÈÀÌ±Í Ê¼ÅÅ Õ³³ÅʣʼԷÏÜÅ Ê¼Å²Ð¼É Áč·¾É¦¦Ê²

ÔąöĒÝşñøĄÚÚąìþôċìďúĈõì èąôÔáÔöăêöúÚÔąöĀĀÔĐííĀą×ąöďñĊėĀÔąöĀìċöĄÔüŢñøĄÚÚąì #&$

Renewable Energy

ÖãÖøąìøüÜÖĈĀîéðøąđõìǰĀøČĂ×îćé×ĂÜĂćÙćøǰĒúąöćêøåćîǰĀúĆÖđÖèæŤĒúąüĉíĊÖćøĔîÖćøĂĂÖĒïïĂćÙćøđóČęĂÖćøĂîčøĆÖþŤóúĆÜÜćîǰó ý ǰ ǰ đðŨîÖãĀöć÷ìĊęÿŠÜđÿøĉöĒúąÿîĆïÿîčîĔĀšöĊÖćøĂĂÖĒïïĂćÙćøđóČęĂÖćøĂîčøĆÖþŤóúĆÜÜćîǰĒïŠÜÖćøóĉÝćøèćÖćøñŠćîÖãĀöć÷đðŨîǰ ǰìćÜđúČĂÖǰĕéšĒÖŠǰÖćøñŠćî đÖèæŤøć÷øąïïǰĒúąÖćøñŠćîđÖèæŤÖćøĔßšóúĆÜÜćîēé÷øüö×ĂÜĂćÙćøǰàċęÜñĎšĂĂÖĒïïÿćöćøëúéÙŠćÖćøĔßšóúĆÜÜćîēé÷øüö×ĂÜĂćÙćøúÜĕéšǰēé÷ÖćøîĈÙŠć óúĆÜÜćîĕôôŜćìĊęñúĉêĕéšÝćÖĂčðÖøèŤñúĉêóúĆÜÜćîĀöčîđüĊ÷îǰđߊîǰđàúúŤĒÿÜĂćìĉê÷ŤǰöćĀĆÖĂĂÖÝćÖÙŠćóúĆÜÜćîēé÷øüöǰàċęÜöĊךĂöĎúĒúąüĉíĊÖćøóĉÝćøèćéĆÜîĊĚ

Æ ±±þǵ ·¼¤¾ĥ®þ /GNSNUNKS@HB DMDQFX đàúúŤĒÿÜĂćìĉê÷ŤđðŨîĂčðÖøèŤìĊęđðúĊę÷îóúĆÜÜćîĒÿÜĂćìĉê÷ŤĔĀšđðŨî óúĆÜÜćîĕôôŜćǰ 1IPUPWPMUBJDǰ&MFDUSJųDBUJPOǰ4ZTUFN ǰēé÷ÿćøÖċÜę êĆüîĈ ðøąđõìàĉúĉÙĂîǰàċęÜđöČęĂöĊĒÿÜÖøąìïïîĒñŠîđàúúŤÝąìĈĔĀšĂĉđúĘÖêøĂîđÖĉé ÖćøđÙúČęĂîìĊęĒïïïĂĉÿøąìĈĔĀšđÖĉéĕôôŜćÖøąĒÿêøÜ×ċĚîǰðŦÝÝčïĆîđàúúŤĒÿÜ Ăćìĉê÷ŤǰĒïŠÜĂĂÖđðŨîǰ ǰðøąđõìǰêćöÿćøÖċęÜêĆüîĈÙČĂ ǰǰǰǰǰ ǰñúĉêÝćÖàĉúÙĉ ĂîǰđߊîǰßîĉéñúċÖđéĊ÷ę üǰ 4JOHMFǰDSZTUBMMJOFǰTJMJDPO TPMBSǰDFMM ǰĒúąßîĉéĀúć÷ñúċÖǰ 1PMZǰDSZTUBMMJOFǰTJMJDPOǰTPMBSǰDFMM ǰ ĒúąßîĉéĕöŠđðŨîøĎðñúċÖǰ "NPSQIPVT ǰöĊðøąÿĉìíĉõćóéĆÜîĊĚ

³¼­¯û·¦ĭ­Â¦Æ³¿®¦Æ¤¿®§Æ¤ú¼ª±» ¼¦Ê««ö¼ 'D@S SN DKDBSQHB@K DMDQFX ǰǰǰǰǰÖćøĔßšóúĆÜÜćîÙüćöøšĂîĀöčîđüĊ÷îđóČęĂĔßšÿĈĀøĆïĂćÙćøǰÿćöćøëđìĊ÷ï ÙŠćóúĆÜÜćîÙüćöøšĂîđðŨîóúĆÜÜćîĕôôŜćđÞúĊ÷ę ǰ )FBUǰUPǰFMFDUSJDBMǰFOFSHZ ǰ îĈöćóĉÝćøèćđðŨîóúĆÜÜćîĀöčîđüĊ÷îĕéšǰđߊîǰøąïïìĈîĚĈøšĂîéšü÷óúĆÜÜćî ĒÿÜĂćìĉê÷Ťǰ4PMBSǰIFBUFSǰĀøČĂǰ4PMBSǰDPMMFDUPSǰđðŨîêšî

4JOHMFǰDSZTUBMMJOFǰTJMJDPOǰǰǰǰǰ1PMZǰDSZTUBMMJOFǰTJMJDPOǰǰǰǰǰǰǰǰ"NPSQIPVT

Solar collector

ǰǰǰǰ&GųDJFODZǰ ǰıǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰ&GųDJFODZǰ ǰıǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰ&GųDJFODZǰ ǰıǰ

ǰǰǰǰǰǰ ǰǰñúĉêÝćÖÿćøìĊęĕöŠĔߊàĉúĉÙĂîǰàċęÜÿŠüîĔĀâŠöĊðøąÿĉìíĉõćóÿĎÜǰ ×ċĚîĕðǰĒêŠöĊøćÙćÿĎÜöćÖǰîĉ÷öĔßšÜćîÿĈĀøĆïéćüđìĊ÷öĒúąøąïïøüöĒÿÜ đðŨîÿŠüîĔĀ⊠ǰǰǰǰǰǰàċęÜÝćÖÖćøøüïøüöךĂöĎúÙŠćðøąÿĉìíĉõćó×ĂÜđàúúŤĒÿÜĂćìĉê÷ŤìĊę ñúĉêÝćÖàĉúĉÙĂîǰßîĉéñúċÖđéĊę÷üǰÝĈîüîǰ ǰĒñÜǰĒúąßîĉéĀúć÷ñúċÖ ÝĈîüîǰ ǰĒñÜǰĕéšÖøćôÖćøÖøąÝć÷êĆü×ĂÜךĂöĎúÙŠćðøąÿĉìíĉõćóǰéĆÜîĊĚ

¼¯É ûª±» ¼¦ĭ­Â¦Æ³¿®¦¯Ãűǧ§·ÁΦ Ì .SGDQ QDMDV@AKD DMDQFX ǰǰǰǰǰìĆĚÜîĊĚĀćÖñĎšĂĂÖĒïïöĊÖćøĔßšóúĆÜÜćîĀöčîđüĊ÷îĔîøĎðĒïïĂČęîǰėǰ 0UIFS ǰSFOFXBCMFǰFOFSHZ ǰîĂÖÝćÖìĊęÖĈĀîéĕüšĔîđÖèæŤǰ#&$ǰîĊĚǰàċęÜÿćöćøë ĒÿéÜøć÷ÖćøÙĈîüèêćöĀúĆÖüĉßćÖćøǰđóČĂę ĒÿéÜüŠćöĊÖćøñúĉêóúĆÜÜćîĕôôŜć đóČęĂĔßšđðŨîóúĆÜÜćîìéĒìîǰĒúąóúĆÜÜćîĀöčîđüĊ÷îõć÷ĔîĂćÙćøĕéšǰđߊî ÖćøĔßšóúĆÜÜćîúöǰ 8JOEǰFOFSHZ ǰĒúąÖćøîĈÙüćöøšĂîìĉĚÜÖúĆïöćĔßšĔĀöŠ 8BTUFǰIFBUǰSFDPWFSZ

Wind energy

ǰǰǰǰǰóïüŠćßîĉéñúċÖđéĊę÷üöĊÙŠćðøąÿĉìíĉõćóđÞúĊę÷ǰ ǰĒúąßîĉéĀúć÷ ñúċÖöĊÙŠćðøąÿĉìíĉõćóđÞúĊę÷ǰ ǰìĆĚÜîĊĚÖćøóĉÝćøèćðøąÿĉìíĉõćó×ĂÜ đàúúŤĒÿÜĂćìĉê÷Ť×ĂÜđÖèæŤǰ#&$ǰëĎÖÖĈĀîéĔĀšđðŨîÖćøóĉÝćøèćøąïïøüö àċęÜöĊđÙøČęĂÜÙüïÙčöÖćøßćøŤÝĕôǰĒïêđêĂøŤøĊęǰĒúąđÙøČęĂÜĂĉîđüĂøŤđêĂøŤéšü÷ǰ

Economizer

ǰǰǰǰǰéĆÜîĆĚîÝąđĀĘîĕéšüŠćđÖèæŤöćêøåćîǰ#&$ǰîĆĚîǰĕöŠđóĊ÷ÜĒêŠÿîĆïÿîčîÖćø ĂĂÖĒïïĔĀšñŠćîđÖèæŤêćöøąïïÖøĂïĂćÙćøǰøąïïĕôôŜćĒÿÜÿüŠćÜǰĀøČĂ đÙøČĂę ÜðøĆïĂćÖćýđìŠćîĆîĚ ǰ÷ĆÜÿŠÜđÿøĉöĔĀšĔßšóúĆÜÜćîĀöčîđüĊ÷îõć÷ĔîĂćÙćøéšü÷ Լͻ³Ô¼Í»¦ÖIJ» ĹѲ»č´¼ÈÂʲ¦Ê² ʼÅÅ Õ³³ÅʣʼԷÏÅ Ü Ê¼Å²Ð¼ É Áč·¾É¦¦Ê² VVV D ATHKCHMF BNL Ö°¼ĹÉ·°č Ö°¼Âʼ

¼º·ÉĴ²Ê·¾É¦¦Ê²°IJÕ°²Õ¾ÈŲм É Áč·¾É¦¦Ê² Ô¾¡°ÍÜ ¯²²·¼È¼Êº Õ¡À¦¼Å¦ÔºÏŦ Ô¡ij´°ÐºÀɲ ¼Ð¦Ô°·ºÃʲ£¼


O TE T May - June

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย 29 32 35 38 39

การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การไฟฟานครหลวง การไฟฟาสวนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟา จำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน)

SPECIAL SCOOP 54 หนวยงานรวมสนับสนุน กองบรรณาธิการ

2017

เพอกาวสู

.

SPECIAL AREA 60 การติ ตังอุปกร  ปองกันเสิร สาหรับสวิตชบอร ไ าอยางเหมาะสม บริษัท เอวีรา จํากัด 64 าก สู บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด 66 การเลอกใชเ อรกิตเบรกเกอรแรง ันปานกลาง ( ) บริษัท ที แอนด ดี พาวเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด 70 นามันหมอแปลงไ า องเชลล ตอบโ ทยการผลิตไ า องชาติอยางไร บริษัท เชลลประเทศไทย จํากัด 72 องเ อรกิตเบรกเกอร บริษัท แม็กซิไมซ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จํากัด 74 Spectrum GmbH

45 IEEE Power & Energy Society – Thailand (IEEE PES - Thailand)

76 สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย

ARTICLE 48 เ าะลก หุนยนตเปลยนโลก ุ เริมตน องนวัตกรรมโลกอนา ต สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน 50 ยูนิเวอรแ ล โรบอทส ับมอกับนิสสัน มอเตอร... ยกระ ับกาลังการผลิตโ ยใชหุนยนตทสามารถป ิบัติงาน รวมกับมนุ ย ไ ยูนิเวอรแซล โรบอทส 58 เท โนโลย าน ทนา ับตาในป ชไนเดอร อิเล็คทริค

p.1 _

n en .indd 1

IT TECHNOLOGY 78 เท โนโลย ในเ รอ ายไวไ เรวและไรสั า รบกวน บริษัท ไซเซล (ไทยแลนด) จํากัด 81 84 88 90 92 95 99

PRODUCT PR NEWS

5/29/17

: 2 PM



EDITOR TALK

May - June

2017

เมือ่ เขาสูเ ดือนพ ษภาคมก็หมายถึงเริม่ เขาสู ดูฝนแลว ถึงแมจะมีคาํ พูดทีว่ า ประเทศไทยมีแค 2 ดูคอื ดูรอ นกับรอนมาก แตชวงนี้ก็มีสายฝนตกลงมาใหไดชุมฉ่ําขึ้นมาบาง รวมทั้งอาจจะทําใหอารมณของหลายๆ คนไดเย็นๆ ลงเหมือนอากาศบาง เพราะชวง 2-3 เดือนที่ผานมา รูสึกวาสถานการณบานเมืองจะทําใหหลายๆ คนรูสึกรอนรุม อยางไรก็ขอใหใจเย็นๆ เพราะคง ไมมีใครทําอะไรไดดั่งใจเราทั้งหมดได นิตยสารไฟฟาและอุตสาหกรรมฉบับนี้ ยังมีเนือ้ หาสาระทีห่ ลากหลายเชนเดิม โดยเฉพาะเรือ่ งของหุน ยนตทเี่ ริม่ มีบทบาท ในชีวติ ของเรามากขึน้ เมือ่ เร็วๆ นี้ สถาบันการจัดการปญญาภิวฒ ั น ไดเปดตัว ตเ ลี ล เร ต อ ต รร ล อ า ต สวนจะเปนหุนยนตอะไรบางนั้น ติดตามไดในฉบับ สวนในอุตสาหกรรมก็มีการใชหุนยนตมานานแลว โดยทาง เ อรแซล รบอ ส จับมือกับนิสสัน มอเตอร ... ร บ าล าร ลต ต สา ี าร บต า ร บ ไ นอกจากนั้นยังมีบทความที่นาสนใจจาก บร ไ เ อร อเล ร เรื่อง เ ล ี า o ี า บตา คอลัมน S A S นั้นเปนเรื่องเกี่ยวกับ 50 หนวยงานที่รวมสนับสนุน าร าเ ต ต รร ร เบี เ ร า ต ออ i aster o o i orri or o o atio เ อ า ส aila S A A A ในฉบับนี้ก็มีบทความที่นาสนใจมากมายเชนกัน อาทิ เรื่อง er olta e a S r e rote tio e i e การติดตั้งอุปกรณปองกันเสิรจสําหรับสวิตชบอรดไฟฟาอยางเหมาะสม ของบริษัท เอวีรา จํากัด บทความเรื่อง ้า อแ ล ไฟฟา อ เ ลล ตอบ  าร ลตไฟฟา อ าตอ า ไร ของบริษทั เชลลประเทศไทย จํากัด นอกจากนัน้ บทความจากบริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด บริษัท ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด บริษัท แม็กซิไมซ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จํากัด และบริษัท ดาคอน อินสเปคชั่น เซอรวิสเซส ก็ลวนนาสนใจไมแพกัน หวังเปนอยางยิ่งวาเนื้อหาสาระตางๆ ที่ทางคณะทํางานไดคัดสรรมานี้จะยังประโยชนใหแกผูอานทุกทาน พบกันใหมฉบับหนา ตต ส รต ล

ที่ปรกษา รศ.ฉดับ ปทมสูต / รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ / ไกรสีห์ กรรณสูต พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ์ / ประเจิด สุขแกว ผศ.พิชิต ลํายอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องค์วงศ์สกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร ศ. ดร.พีรศักดิ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ บรรณาธิการผูพิมพผูโ ษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ ดร.สุรพล ดํารงกิตติกุล ผูชวยบรรณาธิการ นิภา กลิ่นโกสุม เลขากองบรรณาธิการ ป มณฑ์ อุยพัฒน์ / จีราภา ขําแกว พิสูจนอักษร อําพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรมรูปเลม / ศิลปกรรมโ ษณา กันยา จําพิมาย ายโ ษณา ศิริภรณ์ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภิรมณ์ เลขานุการ ายโ ษณา ชุติมันต์ บัวผัน ายสมาชิก อังลนา สงวนสิน

p.20_ di r

.indd 20

บทความที่ปราก ใน S a a in เปนความคิดเห็น ส ว นตั ว ของผู เขี ย น ไม มี ส ว นผู ก พั น กั บ บริ ษั ท เทคโนโลยี มี เ ดี ย จํ า กั ด แต อ ย า งใด หากบทความใดที่ผูอานเห็นวามีการลอกเลียนหรือแอบอาง กรุณาแจงที่กองบรรณาธิการ S a a in บทความต างๆ ที่ ป ราก ในหนั ง สื อ ได ผ านการตรวจทานอย า งถี่ถ วนเพื่อ ใหเ กิด ความถูกตองและสมบูรณ์ที่สุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแกไขตอไป เจาของ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 p // . n l y ia. . เพลท-แยกสี บริษัท อิมเมจิ้น กราฟค จํากัด พิมพ์ที่ บริษัท านการพิมพ์ จํากัด จัดจําหนาย บริษัท ธนบรรณ ปนเกลา จํากัด

5/19/17 3:33 PM


AD_CORPORATE_AVERA-1.pdf 1 4/27/2017 5:37:42 PM

Í‹ÒàÊÕè§ !! ãËŒÍØ»¡Ã³ µŒÍ§ÁҾѧ à¾ÃÒÐáç´Ñ¹ä¿¿‡Ò¡ÃЪҡ

µÔ´µÑé§ Surge Protection §‹ÒÂ¡Ç‹Ò »‡Í§¡Ñ¹·Ñ駪ÕÇÔµ áÅзÃѾ ÊÔ¹

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

AVERA ¼ÙŒ¨Ñ´¨Ó˹‹ÒÂáÅÐ໚¹¼ÙŒàªÕèÂǪÒÞ´ŒÒ¹ • ÍØ»¡Ã³ ä¿¿‡Ò¡ÓÅѧÀÒÂã¹µÙŒÊÇÔ·ª ºÍà ´ • ÃкººÃÔËÒê‹Í§¨Í´Ã¶ §Ò¹ºÃÔ¡ÒÃËÅѧ¡ÒâÒÂáÅСÒúÓÃاÃÑ¡ÉÒ

ÍØ»¡Ã³ »‡Í§¡Ñ¹ä¿¿‡Ò¡ÃЪҡÀÒÂã¹áÅÐÀÒ¹͡ • ÃкºáÅÐÍØ»¡Ã³ ÍÑ´»ÃШØä¿¿‡ÒÊÓËÃѺÂҹ¹µ ä¿¿‡Ò

µÔ´µ‹ÍÊͺ¶ÒÁÃÒÂÅÐàÍÕ´䴌·Õè

AVERA Co., Ltd.

Tel : 088-001-0416

Website : www.avera.co.th

E-mail : sales@avera.co.th



InterLink_21.59x29.21cm.pdf

1

2/6/17

11:46 AM




Intermach_21.59x29.21cm.pdf

1

3/30/17

3:04 PM


BMAM-GBR 178.5x11.5 inches MT.pdf 1 4/19/2017 9:50:38 AM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K



การ

า ายผลิต หงประเท ทย

รมต.พลังงาน ตรวจยี่ยม กฟผ. รั มนตรีวาการกระทรวงพลังงานและคณะผูบริหารกระทรวง พลังงาน รวมประชุมหารือกับผูบริหาร กฟผ. ถึงการดําเนินงานดาน พลังงานไฟฟา เผยพลังงานหมุนเวียนเปนพลังงานที่จะมีสัดสวนเพิ่มขึ้น เรื่อยๆ ในอนาคต แตตองมีการบริหารจัดการและการรองรับที่ดี เพื่อ รั ก ษาความมั่ น คงของระบบไฟฟ า พร อ มขอบคุ ณ และชื่ น ชม กฟผ. ดําเนินการแกไขเหตุการณไฟฟาดับทีภ่ าคเหนือและภาคใตไดอยางรวดเร็ว เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2560 ลเอ อ ต ร า รต  รั มนตรีวาการกระทรวงพลังงาน พรอมคณะผูบริหารจากกระทรวง พลังงาน เดินทางมาตรวจเยี่ยมการดําเนินงานของ กฟผ. และประชุม หารือในประเด็นตางๆ โดยมี ร  ตา  ผูวาการ กฟผ. พรอมดวยรองผูว า การและผูบ ริหาร กฟผ. ใหการตอนรับ นําเสนอประเด็น สําคัญ และตอบขอซักถามจากกระทรวงพลังงาน ณ หองประชุม 6 ชั้น 20 อาคาร ท.102 สํานักงานใหญ กฟผ. ลเอ อ ต ร กลาววา มีความยินดีที่ไดมาประชุมหารือ กับ กฟผ. และขอขอบคุณที่ใหการตอนรับเปนอยางดี การเดินทางมา ในครั้งนี้มีจุดประสงคเพื่อพูดคุย หารือ ในประเด็นตางๆ เกี่ยวกับเรื่อง พลังงานที่ กฟผ. ดําเนินการ และหากมีประเด็นใดที่กระทรวงพลังงาน สามารถใหการสนับสนุนไดก็ยินดีที่จะนําไปดําเนินการ

คณะนักวิจย ั กฟผ. ควาเหรียญทองจากเวทีนานาชาติ ที่สมาพันธรัฐสวิส คณะนักวิจยั ของ กฟผ. สงผลงานเขารวมประกวดใน า t ter atio al ibitio o e tio s o e e a สามารถควา 1 เหรียญทอง 2 เหรียญเงิน และอีก 1 รางวัลพิเศษ ร รา ร ร า ผูอํานวยการฝายบริหารงานวิจัยและพัฒนา พรอมคณะ นั ก วิ จั ย และนั ก ประดิ ษ  กฟผ. เข า ร ว มการประกวดและจั ด แสดงผลงานวิ จั ย สิ่งประดิษ และนวัตกรรมในเวทีนานาชาติ “45th International Exhibition of Inventions of Geneva” ระหวางวันที่ 29 มีนาคม - 2 เมษายน 2560 ณ กรุงเจนีวา สมาพันธรั สวิส โดยมีสาํ นักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ (วช.) เปนผูด าํ เนินการ จัดงานนํานักวิจัยและนักประดิษ ไทยเขารวมการประกวดและจัดแสดงผลงาน 92 ผลงาน โดย กฟผ. ไดสงผลงานการประดิษ คิดคนที่ไดรับรางวัลดีเลิศ จํานวน 3 ผลงาน จากการประกวดผลงานทีค่ ดิ คนหรือสิง่ ประดิษ ท เี่ ปนประโยชนแก กฟผ. ประจําป 2559 ไดแก 1. ผลงานการปรับปรุงระบบเผาไหมของโรงไฟฟาแมเมาะ เพื่อรองรับถานหินลิกไนตที่มีสวนประกอบของ CaO สูง 2. Fully Redundancy EGAT A R และ 3. การดัดสตีมเทอรไบนโรเตอร

May-June 2017

P.29-31_

.indd 29

5/19/17 3:33 PM


สมาคมอุตสาหกรรม

า หงประเท ทย เรียบเรียงโดย : สุภร เหลืองกําจร

อนาคตของ

ถานหิน

จริงหรือไม ที่ถานหินตองหลีกทางใหพลังงานหมุนเวียน เพื่อ แกปญ  หาการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและคุณภาพอากาศทัว่ โลก หรือถานหินจะยังเปนพลังงานหลัก ชวยขับเคลื่อนเศรษ กิจของโลก ตอไป และอนาคตของถานหินสหรั อเมริกาจะกลับมาเฟองฟูอกี หรือไม ภายหลังประธานาธิบดีโดนัลด ทรัมป ประกาศจะยุตสิ งครามกับถานหิน

ขาวทั้งหมดลวนเปนความจริงทั้งสิ้น ขึ้นอยูกับฝายสนับสนุน หรือคัดคานการใชถานหินจะเลือกนําประเด็นใดหรือมุมใดมานําเสนอ เพื่ อ สนั บ สนุ น จุ ด ยื น ของตั ว เอง ลองมาดู ส ถานการณ ข องถ า นหิ น ในแตละประเทศ

สถานการณโรงไฟฟาถานหินของประเทศตางๆ

อ ประเทศทีก่ ารเผาถานหินนําไปสูก ารปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม เปนครัง้ แรกของโลก การใชถา นหินของอังก ษลดลงไปตามการบังคับใช ก เกณฑตา งๆ ทีเ่ ขมงวดขึน้ ผลทีต่ ามมาคือเหมืองถานหินจะปดตัวลง โรงไฟฟาที่เหลืออยูตองพึ่งถานหินนําเขาแทน อยางไรก็ตาม อังก ษ กําลังกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียร Hinkley Point C กําลังผลิต 3,200 เมกะวัตต เพื่อนําเขาใชงานในป ค.ศ. 2025 ทดแทนโรงไฟฟาถานหิน ทีจ่ ะทยอยปดลง เพือ่ ลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดสบู รรยากาศ และลดความเสี่ยงจากความไมแนนอนของพลังงานหมุนเวียน

โรง าถานหิน Ferrybridge C ประเท อังก กําลังผลิต 2,000 เมกะวัตต ถูกปดเมื่อเดือนมีนาคม 2 หลังจาก ชงานมากกวา 0 ป http: www ha arde onthenet net article 106 6 announces plans to close its coal fired power plants by 202 asp คาดการ ความตองการ ชถานหินของภูมิภาคตาง จาก World nergy utlook 2016 โดย I A

เ อร ี ยังไมมแี ผนจริงจังทีจ่ ะยกเลิกการใชถา นหิน การสรางงาน และคะแนนเสียงเลือกตั้ง จะยังเสียงดังกวาการเปลี่ยนแปลงสภาพ อากาศและความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม

ความเปนจริงสองดาน

ไมนาแปลกใจ ที่คนทั่วไปกําลังสับสนวาอนาคตของถานหิน จะเปนอยางไรแน เพราะแคในชวงไมกี่สัปดาหที่ผานมา หนังสือพิมพ ชื่อดังมีการนําเสนอทั้งในแงวาการใชถานหินจะลดลง เชน จํานวน โรงไฟฟ า ถ า นหิ น ที่ กํ า ลั ง ก อ สร า งทั่ ว โลกมี ป ริ ม าณลดลงมากกว า รอยละ 60 ในป พ.ศ. 2559 หรือการผลิตไฟฟาดวยถานหินในอังก ษ ลดลงรอยละ 3.5 ในไตรมาสสุดทายของป พ.ศ. 2559 แตอกี ดานยังมีการนําเสนอขาววา ในป พ.ศ. 2559 จีนมีกาํ ลังผลิต จากโรงไฟฟาถานหินเพิ่มขึ้น 42,000 เมกะวัตต และการใชถานหิน ในจีนจะเพิ่มขึ้นรอยละ 19 ในชวง 5 ปขางหนา แมจะมีการใชพลังงาน หมุนเวียนเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วก็ตาม หรือขาววาเยอรมนียังมีการผลิต ไฟฟาดวยถานหินในป พ.ศ. 2559 ถึงรอยละ 40 แมจะมีพลังงาน หมุนเวียนมหาศาลที่เกิดจากการจายเงินอุดหนุน

โรง าถานหิน L nen ประเท เยอรมนี กําลังผลิต 7 0 เมกะวัตต ชเทคโนโลยี ltra supercritical ( SC) มีประสิทธิภาพการผลิตรอยละ 6 ดชื่อวามีประสิทธิภาพและทันสมัยที่สุด นยุโรป http: www power technology com pro ects lnen coal fired power plant

May-June 2017

P.29-31_

.indd 30

5/19/17 3:33 PM


การ

า ายผลิต หงประเท ทย

ส ร อเ ร า สิ่ ง ที่ คุ ก คามอุ ต สาหกรรมถ า นหิ น เป น หลั ก กลับไมใชก หมายควบคุมดานสิ่งแวดลอม แตเปนเรื่องการแขงขัน ดานราคา โดยเฉพาะจากราคากาซธรรมชาติที่ต่ํา เนื่องจากการเติบโต ของอุตสาหกรรมขุดเจาะนํา Shale Gas มาใช ซึ่งจะยังสงผลใหเกิด การแขงขันดานราคาตอไปในอีก 10 ปขางหนา และยังมองไมเห็นวา รั บาลสหรั อเมริกาจะหาทางออกอยางไร ทีจ่ ะชวยเหลืออุตสาหกรรม ถานหินทีม่ บี ริษทั ยักษใหญอยาง Peabody Coal ตองลมละลายมาแลว ถานหินจึงจะยังคงบทบาทอยูในตลาดของบางรั แตจะประสบปญหา เรื่องราคาต่ํา ที่ทําใหการผลิตไมคุมคาในเชิงเศรษ กิจ

เหมืองถานหินแหงหนึ่งของบริ ัท Peabody nergy สหรั อเมริกา ที่ถูก องลมละลาย http: www bbc com news business 2 011

สําหรับ ี ประเทศที่ใชพลังงานถานหินรายใหญสุดของโลก กําลังมีนโยบายสนับสนุนการใชพลังงานหมุนเวียน และจํากัดการเติบโต ความตองการใชถานหิน ตามแผนพัฒนาพลังงานฉบับที่ 13 ซึ่งกิน ระยะเวลา 5 ป จากป พ.ศ. 2559-2563 จีนตั้งเปาเพิ่มสัดสวนการใช พลังงานหมุนเวียนเปนรอยละ 15 และลดการใชถา นหินจากรอยละ 62 เปนรอยละ 5 เพราะดูเหมือนวาโรงไฟฟาถานหินหลายๆ โรงที่สราง ในชวงทศวรรษทีผ่ า นมาจะไมไดใชงานเต็มที่ และทีก่ าํ ลังสรางในปจจุบนั เพื่อหวังกระตุนการจางงานเปนหลัก ก็ไมไดมีความจําเปนตอความ ตองการใชจริงๆ ตลาดถานหินสําคัญที่สุดตอนนี้คือ อ เ ี ประเทศที่ความ ตองการยังเพิ่มสูงตอเนื่อง มีการสรางโรงไฟฟาถานหินโรงใหมเพิ่ม ทุกเดือน อินเดียอาจจะไมไดมีอัตราการเติบโตทางเศรษ กิจเทียบเทา จีนในระยะ 30 ปทผี่ า นมา แตถอื ไดวา กําลังอยูใ นชวงกาวสูก ารเปนผูน าํ ดานเศรษ กิจ แตปญหาก็คือ การจะเติบโตทางเศรษ กิจ จําเปนตอง มีแหลงพลังงานราคาถูกในปริมาณมาก และในวินาทีนี้ แหลงพลังงาน นั้นคือ ถานหิน สวนพลังงานนิวเคลียร แสงอาทิตย และลม จะชวย เสริมได แตถานหินจะเปนพลังงานแหลงใหญสุด

โรง าถานหิน Mundra นรั คุชราต ประเท อินเดีย http: www acksongloballtd com news news power mundra thermal power plant mundra gu arat india

ปจจุบนั ถานหินยังคงมีปริมาณมากและมีราคาถูก ซึง่ จะถูกลงไป ไดอีก หากผูผลิตถานหินในสหรั อเมริกา ที่เผชิญกับภาวะกดดันจาก ราคากาซที่ต่ําของตลาดในประเทศ จะเลือกสงออกถานหินมากขึ้น จนกวาโลกจะมีแหลงพลังงานใหมทรี่ าคาต่าํ กวาถานหิน ถานหิน จะยังคงเปนเชื้อเพลิงหลักที่ใหความรอนและพลังงานไฟฟา โดยจะ ครองสัดสวนถึง 1 ใน 3 ภูมิภาคที่การใชถานหินจะเพิ่มสูงสุดคือเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต ที่มีอัตราการใชถานหินเพิ่มรอยละ 4.6 ตอป จนถึง ป พ.ศ. 2573 เพื่อสรางการเติบโตทางเศรษ กิจ ถานหินสามารถ ตอบโจทยทั้งในแงของตนทุนต่ําและการเขาถึงแหลงเชื้อเพลิงไดงาย ขณะเดียวกัน สัดสวนโรงไฟฟาที่มีประสิทธิภาพสูงและปลอยกาซ เรือนกระจกต่ําจะเพิ่มขึ้น ถานหินยังเปนทางเลือกของประเทศกําลัง พัฒนา อุตสาหกรรมถานหินอาจจะเผชิญภาวะลําบาก และการใช เทคโนโลยีถานหิน Sub-Critical อาจจะสงผลเสียตอสิ่งแวดลอม แต การใชถานหินไมไดลดลง

May-June 2017

P.29-31_

.indd 31

5/19/17 3:3 PM


สมาคมอุตสาหกรรม

า หงประเท ทย

กฟน. เสริมสรางความปลอดภัย ดานพาหนะและเครื่องมือกล ประจำป 2560  ร ผูว า การการไฟฟานครหลวง (กฟน.) เปนประธาน พรอมกลาวเปดงานเสวนาเชิงปฏิบตั กิ ารดานความปลอดภัย ประจําป 2560 สําหรับงานใชยานพาหนะและเครื่องมือกล และงานใชรถจักรยานยนต ใหแกเจาหนาที่ความปลอดภัยในระดับหัวหนางาน หัวหนากลุมงาน และ พนักงานที่ปฏิบัติงานใชยานพาหนะและเครื่องมือกล จํานวน 2 รุน ระหวาง วันที่ 27-2 เมษายน 2560 ณ หองประชุมใหญ ชั้น 1 อาคารสํานักงาน ใหญ การไฟฟานครหลวง การจัดงานเสวนาเชิงปฏิบตั กิ ารดานความปลอดภัยในครัง้ นีม้ วี ทิ ยากร จากสถานี ตํ า รวจนครบาลลุ ม พิ นี สํ า นั ก งานตํ า รวจแห ง ชาติ บริ ษั ท ทิพยประกันภัย และผูแทนฝายจัดการยานพาหนะและเครื่องมือกล มารวม แลกเปลี่ยนความรู ประสบการณดานการบริหารจัดการความปลอดภัย ตระหนักถึงอันตรายในการทํางาน และเกิดจิตสํานึกดานความปลอดภัยมากขึน้ ใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับหลักการใชยานพาหนะและเครื่องมือกล ดวยความปลอดภัย ถูกตองตามก หมาย ทั้งก หมายเกี่ยวกับการจราจร พ.ร.บ. คุมครองผูประสบภัยจากรถ เพื่อมุงหวังใหสามารถลดอุบัติเหตุ ดานการใชยานพาหนะและการใชเครื่องมือกล รวมถึงลดผลกระทบตอ ประชาชน จากการปฏิบัติงานใหบริการของพนักงาน กฟน. บนทองถนน

กฟน. จัดกิจกรรมคายครูอนุรก ั ษพลังงานและสิง่ แวดลอม โครงการ Energy Mind Award ประจำป 2560 าส ส ต ผูชวยผูอํานวยการฝายกิจการสังคมและสิ่งแวดลอม การไฟฟ า นครหลวง (กฟน.) เป น ประธานในพิ ธี เ ป ด ค า ยครู อ นุ รั ก ษ พ ลั ง งานและ สิ่งแวดลอม ซึ่งเปนกิจกรรมหนึ่งของโครงการ Energy Mind Award 2017 ณ หอง เจาพระยาสุรศักดิมนตรี อาคารสํานักงานใหญ การไฟฟานครหลวง โดยในปนมี้ โี รงเรียน เขารวมโครงการและไปเขาคายอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมจํานวน 106 โรงเรียน มีบุคลากรทางการศึกษาเขาคายครูอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม 4 วัน 3 คืน รวมจํานวน 212 คน โดยแบงเปน 3 รุน ในชวงระหวางวันที่ 23 เมษายน- พ ษภาคม 2560 ณ ศูนยรวมตะวัน จังหวัดกาญจนบุรี ทั้งนี้ บุคลากรทางการศึกษาที่เขาคายในครั้งนี้จะไดเรียนรูเกี่ยวกับการอนุรักษ พลังงานอยางถูกวิธีในทุกๆ ดาน ไมวาจะเปนเครื่องใชไฟฟา ระบบแสงสวาง ระบบ ปรับอากาศ การจัดการขยะ รวมถึงการจัดการน้ําใชและน้ําทิ้ง เพื่อเปนการสงเสริม การสรางจิตสํานึกในการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมใหแกบคุ ลากรในสถานศึกษา นําไปใชเปนแนวทางการดําเนินงานและประยุกตใชในสถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อนําไปคัดเลือกนักเรียนแกนนํารวมกิจกรรมคายเยาวชนอนุรักษพลังงานและ สิง่ แวดลอม สรางทีมทํางานในโรงเรียนทีม่ ารวมขับเคลือ่ นการดําเนินงานตามแนวทาง ของโครงการ Energy Mind Award พรอมทั้งนําไปบูรณาการเขากับหลักสูตรการเรียน การสอนของแตละสถานศึกษา เพื่อกาวสูความเปนเลิศในการเปนสถานศึกษาดีเดน ดานพลังงานตอไป May-June 2017

P.32-3 _M

.indd 32

5/19/17 3:3 PM


การ

สายไฟฟาทนไฟและการใชงาน FIRE RESISTANT CABLE AND USABILITY เรอ

บุญถิ่น เอมยานยาว : ฝายความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสิ่งแวดลอม oontin Aimyanyao : Environmental and Occupational Health and Safety Department

ทั้งนี้ อาคารที่ตองใชสายไฟฟาทนไฟสําหรับ ระบบไฟฟาดังกลาว ไดแก อาคารชุด อาคารสูง อาคารขนาดใหญพิเศษ อาคารเพื่อการสาธารณะ ใตผิวดิน (Sub-Surface uilding) สถานีอุโมงค รถไฟฟาใตดิน สนามบิน เปนตน

มาตรฐานที่กำหนดใช ดังนี้

สายไฟฟาทนไฟ เปนสายไฟฟาทีน่ ำมาใชในระบบของวงจรไฟฟาชวยชีวต ิ (เชน วงจรจายไฟฟาฉุกเฉิน ระบบแจงเหตุเพลิงไหม ระบบสัญญาณเตือน อัคคีภย ั ระบบไฟฟาแสงสวางฉุกเฉิน ระบบลิฟตผจญเพลิง ระบบเครือ่ ง สูบน้ำดับเพลิง เปนตน) ซึ่งหมายความวากรณีเกิดเหตุเพลิงไหม วงจร ไฟฟาดังกลาวยังสามารถจายกระแสไฟฟาใหทำงานได เพื่อใหสามารถ ชวยชีวิตผูคนที่ติดอยูในอาคารไดอยางปลอดภัย

Fire resistant cable is normally used in life safety electrical systems (e.g., emergency electrical power supply circuit, fire alarm system, emergency light system, fire resistant elevator system, and fire pump system, etc.). In case of fire, electric circuits in these systems are able to supply electrical power to rescue people who are trapped in buildings.

านครหลวง

แบงคุณสมบัติของสายไฟฟาเปน 4 ประเภท

ส บตตา เ ล เ ล la e ro a atio or la e etar a t คือ คุณสมบัติ การหนวงเหนี่ยวลุกลามของการลุกไหมของสาย ไฟฟาเมื่อเกิดไฟไหม สายไฟฟาจะชวยลดปญหา ลุกลามของไฟไปตามสายไฟฟา ดังนั้นบริเวณที่ถูก ไฟไหมจะไมขยายเปนบริเวณกวาง และเมือ่ นําแหลง ไฟออกก็จะดับเอง (Self-Extinguish) กําหนดใหใช มาตร านของ IEC 60332-1 หรือ IEC 60332-3 ส บต าร ลอ าซ ร A i s as issio คือ สายไฟฟาทั่วไปเมื่อถูกไฟไหม ส ว นประกอบบางส ว นจะทํ า ให เ กิ ด กาซขึ้ น กาซ บางอย า งก็ จ ะทํ า ให เ กิ ด กรด ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ ก าร กัดกรอนสูง แตสายไฟฟาทนไฟตองไมมสี ว นประกอบ ที่ทําใหเกิดสาร าโลเจน ( ero Halogen) กําหนด ใหใชมาตร านของ IEC 60754-2

May-June 2017

P.32-3 _M

.indd 33

5/19/17 3:3 PM


สมาคมอุตสาหกรรม

า หงประเท ทย

ส บต าร ลอ (Smoke Emission) คือ สายไฟฟาทีเ่ มือ่ ถูกไฟไหมสว นประกอบ หลายอยางจะทําใหเกิดควันขึน้ ควันเหลานีจ้ ะทําให การมองเห็ น ลดลง และทํ า ให สํ า ลั ก ควั น เสี ย ชี วิ ต ดังนั้น สายที่มีควันนอยกําหนดใหใชมาตร าน IEC 61034-2 ส บตตา า ารต ไฟ (Fire Resistance) คือ สายไฟฟาที่ทนตอการติดไฟไมกอ ให เ กิ ด การลุ ก ลามของไฟและขณะไฟลุ ก ไหม อ ยู ยังสามารถจายกระแสไฟฟาไดปกติ กําหนดใหใช มาตร านของ S 63 7 หรือ IEC 60331

Fire esistant cable must be used in electrical systems of buildings such as condominium, high-rise buildings, special large building, sub-surface building, subway station and airport, etc.).

Cable Standards

การติดตั้งใชงาน

เดินเกาะผนังในอากาศ เดินสายรอยทอโลหะ วางบนรางเคเบิลชนิดดานลางทึบ ไมมฝี าปด วางบน รางเคเบิลแบบระบายอากาศ ไมมีฝาปด หรือราง เคเบิลแบบบันได จากที่กลาวมาเปนขอมูลเบื้องตนกําหรับสาย ไฟฟ า ทนไฟและการใช ง าน ท า นที่ ส นใจสามารถ หาข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ได จ ากมาตร านการติ ด ตั้ ง ทาง ไฟฟาสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556

Cable qualifications are classified into 4 kinds as follows: la e ro a atio or a e retar a t able When fire starts, cable with flame propagation qualification or flame retardant cable will reduce spread of fire that can occur along the cable. Therefore, burnt area will not be enlarged and fire will become self-extinguish. Standard stipulated for this kind of cable is IEC 60332-1 or IEC 60332-3. A i s as e issio able When acids gas emission cable is burnt, some components of cable will produce gas that causes acid erosion. Component that produces zero halogen is not allowed for this kind of cable. Standard stipulated is IEC 60754-2.

S o e e issio able When smoke emission cable is burnt, its components will produce smoke, which reduces seeing capability and can cause suffocation to death. Standard stipulated for this kind of cable is IEC 61034-2. ire resista t able Cable that is resistant to fire without causing spread of fire and able to regularly supply electrical power during a fire. Standard stipulated for this kind of cable is S 63 7 or IEC 60331.

Cable Installation

Cable can be installed on wall and wired along metal conduit or wire tray in solid bottom type, perforated type or ladder type. The above content is basic information regarding fire resistant cable and usability. For more information, please see the Thailand Wire Installation Standard 2013.

May-June 2017

P.32-3 _M

.indd 3

5/19/17 3:35 PM


การ

าสวนภูมิภาค

PEA

หวงใย ใสใจสังคม และสิ่งแวดลอม เดินหนา 5 โครงการสำคัญ เพื่อชุมชนและสิ่งแวดลอม

การไฟฟาสวนภูมิภาค หรือ PEA มีภารกิจในการพัฒนาระบบไฟฟาใหบรรลุเปาหมาย รวมทั้งยังมีความหวงใย ตอคนไทยในทุกภูมิภาค จึงมุงมั่นดำเนินการขับเคลื่อนองคกรใหเติบโตอยางยั่งยืนรวมกับชุมชน โดยในป 2560 PEA ไดจัดทำโครงการสำคัญ 5 โครงการดวยกัน คือ

ร าร A ส ส า มอบอุปกรณการแพทยแก โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชทัว่ ประเทศ เพือ่ ใหประชาชนไดรบั โอกาส ในการรั ก ษาพยาบาลด ว ยเครื่ อ งมื อ แพทย ที่ ทั น สมั ย การไฟฟ า สวนภูมิภาคจึงไดดําเนินการปรับปรุงระบบไฟฟาภายในโรงพยาบาล และสนั บ สนุ น ทุ น ในการจั ด ซื้ อ จั ด หาอุ ป กรณ ห รื อ เครื่ อ งมื อ ทาง การแพทย อันเปนปจจัยสําคัญในการสงเสริมการรักษาพยาบาลใหกับ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชทั้ง 21 แหงทั่วประเทศ ร าร A ส ี ต บริจาคโลหิต 10 ลานซีซี สนั บ สนุ น โลหิ ต ให กั บ ศู น ย บ ริ ก ารโลหิ ต แห ง ชาติ สภากาชาดไทย โรงพยาบาลตางๆ ประจําจังหวัดทั่วประเทศ ดวยการเชิญชวนให พนักงาน ลูกจางและครอบครัวพนักงานการไฟฟาสวนภูมิภาค รวมทั้ง ประชาชน รวมกันบริจาคโลหิตเปาหมายรวม 10 ลานซีซี ร าร ลอ า ส า เปนอีกโครงการหนึง่ ทีก่ ารไฟฟา สวนภูมิภาคใหการสนับสนุนมูลนิธิคืนชางสูธรรมชาติที่กอตั้งขึ้นเพื่อ สนองตามพระราชดําริของสมเด็จพระนางเจา พระบรมราชินีนาถ ดานการอนุรักษชางไทย โดยในป พ.ศ. 2560 จะดําเนินการปลอยชาง จํานวน 4 เชือก ในวันที่ 12 สิงหาคม 2560 ซึ่งเปนวันชางโลก (World Elephant Day) อีกทั้งไดจัดทําโปงเทียมจํานวน 65 แหง ในพื้นที่ เขตรักษาพันธสุ ตั วปา ตางๆ เพือ่ เปนการเพิม่ สารอาหารแรธาตุทจี่ าํ เปน สําหรับสัตวปา

ร าร A ร ร าร ร  า้ สรา า า การไฟฟาสวนภูมิภาครวมกับมูลนิธิอุทกพัฒนในพระบรมราชูปถัมภ และชุมชนในพื้นที่ สรางฝายชะลอน้ําดวยการนําวัสดุคอนกรีตที่ชํารุด เช น เสาไฟฟ า เสาตอม อ คอนกรี ต มาเป น วั ส ดุ ใ นการสร า งฝาย พรอมทั้งตอยอดฝายเดิมเพื่อความยั่งยืนอีก 10 ฝาย โดยติดตั้งโซลาร ปมและทอลําเลียงน้ําเพื่อใหชุมชนและเกษตรกรสามารถนําน้ําไปใช ประโยชนไดอยางเพียงพอ ร าร ลอ ไฟ A การไฟฟ า สวนภูมิภาคจัดทําขึ้นเพื่อยกระดับมาตร านความปลอดภัยในการ ใชไฟฟาของประชาชน โดยเขาไปตรวจสอบปรับปรุงอุปกรณไฟฟา ในชุมชนใหมีความปลอดภัยครอบคลุมพื้นที่ 74 จังหวัดทั่วประเทศ รวมถึงการสงเสริมและปลูกจิตสํานึกใหประชาชนใชไฟฟาอยางถูกตอง ปลอดภัยและประหยัด ลดอุบัติภัยจากการใชไฟฟา สําหรับโครงการทั้ง 5 โครงการ PEA ใน านะรั วิสาหกิจ สังกัด กระทรวงมหาดไทย ที่ใหบริการพลังงานไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพแก ผูใชไฟฟาจํานวนกวา 1 .6 ลานราย ภาคภูมิใจที่ไดรวมเปนสวนหนึ่ง ในการเติมเต็มใหทกุ ชีวติ มีสขุ ภาพพลานามัยทีส่ มบูรณ มีความปลอดภัย จากการใชไฟฟา โดยขับเคลือ่ นการดําเนินงานดานสังคมและสิง่ แวดลอม เพื่อการเติบโตรวมกับชุมชนอยางยั่งยืน

May-June 2017

P.35-37_P

.indd 35

5/19/17 3:35 PM


สมาคมอุตสาหกรรม

า หงประเท ทย

กฟภ. ควารางวัลเหรียญทอง Green Office โลกจะนาอยูขึ้นได หากทุกคนชวยกันประหยัดทรัพยากรโลก โดยเฉพาะ การเริ่มตนประหยัดพลังงานในสถานที่ทํางาน เนื่องจากคนในยุคนี้ สวนใหญ มักใชชวี ติ อยูท ที่ าํ งานมากกวาอยูก บั บาน เพราะฉะนัน้ การใชพลังงานในทีท่ าํ งาน จึงมากกวาทีบ่ า นอยางแนนอน นัน่ หมายถึงวา ยอมสงผลกระทบตอสิง่ แวดลอม อยางมากมายมหาศาล

สําหรับ กฟภ. นัน้ จัดเปนหนวยงานรั วิสาหกิจทีเ่ กีย่ วของกับการใชพลังงานโดยตรง แตกลับเปนองคกรที่สงเสริมใหมีการใชพลังงานอยางประหยัด ดวยตั้งเปาที่จะเปน สวนหนึง่ ในการลดใชพลังงาน แกปญ  หาโลกรอน และมุง มัน่ พัฒนาองคกรใหเปนสํานักงาน สีเขียวในทุกสํานักงานทัว่ ประเทศ ครอบคลุมทัง้ การเปน อา ารสีเ ี ree il i ตามเกณฑ LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) ของสหรั อเมริกา ลาสุด การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) สามารถควารางวัลเหรียญทองสํานักงาน สีเขียวจากกรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม มาครอบครองไดอยางภาคภูมิใจ ซึ่งในปจจุบัน กฟภ.ไดดําเนินงานในการเปนสํานักงาน สีเขียวรวมทั้งสิ้น 40 แหง และควารางวัลดังกลาวในป พ.ศ. 2559 จํานวน 24 แหง ไดแก การไฟฟาสวนภูมิภาค จังหวัดเชียงราย เชียงใหม ตาก แพร ลพบุรี เพชรบูรณ สกลนคร บึงกา อุบลราชธานี รอยเอ็ด นครราชสีมา ชัยภูมิ พระนครศรีอยุธยา ปราจีนบุรี จันทบุรี ฉะเชิงเทรา นครป ม สุพรรณบุรี เพชรบุรี ราชบุรี นครศรีธรรมราช ตรัง สงขลา และพัทลุง ซึง่ ทัง้ หมดนีผ้ า นเกณฑของสํานักงานสีเขียว (Green O ce) โดยกรมสงเสริมคุณภาพ สิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทั้งนี้ เพื่อยกระดับมาตร าน สํานักงานใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม สรางสรรคสํานักงานที่นาอยู สบายกายสบายใจ ถูกสุขอนามัย และเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานใหกับพนักงาน สําหรับในอนาคต กฟภ. ไดตั้งเปาที่จะขยายผลใหเปนสํานักงานสีเขียวไปอีก 74 จังหวัด May-June 2017

P.35-37_P

.indd 3

5/19/17 3:35 PM


การ

าสวนภูมิภาค

กฟภ. ควารางวัลแหงความ ยั่งยืนประจำป 2016

CSR Club สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย โดยการสนับสนุนของสํานัก คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และสถาบันไทยพัฒน ไดจดั โครงการประกาศรางวัลรายงานความยัง่ ยืน (Sustainability Report Award) เพื่อสงเสริมและสนับสนุนบริษัทที่ดําเนินการเรื่องการเปดเผยขอมูล และ หรือ บริษทั ทีเ่ ริม่ มีนโยบายการจัดทํารายงานความยัง่ ยืน ซึง่ จัดตอเนือ่ งเปนปที่ 4 แลว สําหรับป พ.ศ. 2559 มีบริษัทสงรายงานเขารับการพิจารณาทั้งสิ้น 124 บริษัท ซึ่งการไฟฟาสวนภูมิภาค หรือ กฟภ. ควารางวัล Recognition จาก โครงการ ครัง้ นีไ้ ปครอง โดยในป 2560 นี้ กฟภ. ยังคงมุง มัน่ พัฒนาทางดานการ ออกแบบและการจัดการกอสรางอาคารสถานที่เพื่อความสะดวกและปลอดภัย ตอผูใชบริการ การอนุรักษสิ่งแวดลอม การประหยัดพลังงาน รวมถึงการบริหาร จัดการและธรรมาภิบาลในองคกรเพื่อประโยชนตอสาธารณะ ซึ่งตองอาศัยการ ทํางานรวมกันจากทุกภาคสวน

กฟภ. ควารางวัล EIT-CSR AWARDS 2016

หัวใจสําคัญของการทํางานในยุคนีไ้ มใชแคทาํ อยางไรใหประสบความสําเร็จ หากยังตองมีใจคํานึงถึงความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม (CSR) ซึ่งเปน แนวคิดและแนวปฏิบตั ทิ หี่ นวยงานทัว่ โลกไดนาํ มาปรับใชเปนหนึง่ ในนโยบายหลัก รวมทั้งกําลังไดรับความสนใจจากองคกรตางๆ ในประเทศไทยอยางแพรหลาย โดยปจจุบันมีหลายองคกรในเมืองไทยไดนําเอาหลักการของ CSR มา ปรับใชเปนนโยบายหลักและกลยุทธในการดําเนินงาน เพื่อสรางกรอบความ รับผิดชอบตอสังคมและสภาพแวดลอมจากผลกระทบของการดําเนินกิจการ ทั้งในแงของการเมือง เศรษ กิจ และสังคม สําหรับหนึ่งในกิจกรรมที่ชวยกระตุนใหองคกรตางๆ มีจิตสํานึกรับผิดชอบ ตอสังคมและสิ่งแวดลอมก็คือ โครงการสงเสริมผลงานจัดทํากิจกรรมรับผิดชอบ ตอสังคมและสิง่ แวดลอมของรั วิสาหกิจและสถานประกอบการ (EIT-CSR Awards 2016) ซึ่งจัดโดยวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) ลาสุดเปดโอกาสใหหนวยงานตางๆ รวมสงผลงานเขาประกวด เพือ่ สงเสริมใหเปน แบบอยางการทํากิจกรรม CSR พรอมรับโลรางวัลดีเดน EIT-CSR Awards 2016 จากรองนายกรั มนตรี สํ า หรั บ ผลการตั ด สิ น รางวั ล ที่ เ พิ่ ง ผ า นพ น ไปประกอบด ว ยหน ว ยงาน รั วิสาหกิจ 9 แหง ซึ่งการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) เปนหนึ่งในหนวยงาน รั วิสาหกิจที่สามารถควารางวัลอันนาภาคภูมิใจนี้มาครอง

May-June 2017

P.35-37_P

.indd 37

5/19/17 3:35 PM


สมาคมอุตสาหกรรม

า หงประเท ทย บริษัท ผลิต

า จากัด มหา น

เอ็กโก กรุป ประกาศความสำเร็จ

โอนหุนโรงไฟฟาพลังงานความรอนใตพิภพในอินโดนีเซีย

EGCO Group Completed Share Transfer of Indonesia’s Geothermal Assets

เอ็กโก กรุป

พาเยาวชนเดินปาตนน้ำ ตามรอยพอ ใน “คายเยาวชน เอ็กโกไทยรักษปา รุนที่ 49” บร

บร ลตไฟฟา า า หรือ เอ ร ประกาศความสําเร็จในการ โอนหุน โรงไฟฟาพลังงานความรอนใตพภิ พ “ซาลัก” และ “ดาราจัท” ในประเทศอินโดนีเซีย ในสัดสวนรอยละ 20.07 ร เ า  รต รร าร าร เอ ร กลาววา “บริ ัท รวมทุนระหวางเอกโก กรุป กลุมบริ ัทสตาร เอนเนอรยี่ และกลุมบริ ัทเอ ี เอนเนอรยี่ ดโอนหุน โรง าพลังงานความรอน ตพภิ พ “ าลัก” และ “ดาราจัท” นประเท อินโดนีเ ยี จากบริ ัท นเครือของเช รอนทั้งหมด โดยสัดสวนการลงทุนของเอกโก กรุป คิดเปน รอยละ 20 07 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2 60 การลงทุนครั้งนี้เปน ปตามแผนกลยุทธของ เอกโก กรุป นการขยายการลงทุน นธุรกิจพลังงานหมุนเวียน นภูมิภาคเอเชีย แป ิ ก” โรงไฟฟาพลังงานความรอนใตพิภพทั้ง 2 โรงดังกลาว ตั้งอยูในจังหวัดชวาตะวันตก ประเทศอินโดนีเซีย ประกอบดวยหนวยการผลิตไฟฟาและไอน้ํา ซึ่งมีกําลังการผลิตไฟฟา รวมทั้งสิ้น 402 เมกะวัตต และกําลังการผลิตไอน้ํารวมทั้งสิ้น 235 เมกะวัตต (เทียบเทา) โดยมีสัญญาซื้อขายไฟฟาและไอน้ําระยะยาวกับการไฟฟาประเทศอินโดนีเซีย (PLN) le tri it e erati bli o a i ite or ro successfully completed the share transfer of 20.07 indirect ownership interest in “Salak” and “Dara at” geothermal power plants in Indonesia. r a i ao irattisai resi e t o ro said that “ he a liate of C roup, Star nergy roup Holdings Pte Ltd , and AC nergy Holdings, Inc completely transferred the shares in “Salak” and “Dara at” geothermal power plants in Indonesia from Chevron s a liates on March 1, 2017 with C roup s investment interest of 20 07 his investment is in line with C roup s strategic plan to e pand its business in renewable power generation in Asia Pacific region ” The two geothermal power plants are located in West Java, Indonesia and consist of several geothermal steam and electricity generating units with the aggregate capacity of 402 MW of electricity and 235 MW equivalent of steam. The power plants have secured long-term energy sales contracts with PT PLN (Persero), the Indonesian government-owned electricity corporation.

ลตไฟฟา า า หรือ เอ ร รวมกับมูลนิธิไทยรักษปา องคกร สาธารณกุศลซึง่ กอตัง้ และสนับสนุนการดําเนินงาน โดยเอ็กโก กรุป และอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท ผนึกกําลังจัด า เ า เอ ไ ร  า ร ี า ตแ เ าต าตา ้ รอ อ พาเยาวชนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จาก โรงเรียนในทุกภูมิภาคทั่วประเทศ จํานวน 5 คน ไปเดินปาตนน้ําสูงสุดของประเทศไทย เพื่อปลูก จิ ต สํ า นึ ก การอนุ รั ก ษ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอมใหกับเยาวชนอยางยั่งยืน ณ อุทยาน แหงชาติดอยอินทนนท จ.เชียงใหม เมื่อวันที่ 1 25 มีนาคม 2560 ที่ผานมา ในเสนทางที่ในหลวง รัชกาลที่ 9 เคยเสด็จพระราชดําเนิน พรอมเรียนรู หลักการทรงงานในพื้นที่อินทนนท เชน กาแฟ พระราชทานตนแรก สถานีเกษตรหลวงอินทนนท ตลอดจนสัมผัสวิถชี วี ติ ของคนตนน้าํ ชาวปกาเกอะญอ ที่ ส ามารถผสมผสานวั ฒ นธรรมท อ งถิ่ น กั บ การ ใชทรัพยากรธรรมชาติอยางรูคุณคา เอ็กโก กรุป โดย าส า  ร เ ผู ช ว ยกรรมการผู จั ด การใหญ สํ า นั ก กรรมการ ผูจัดการใหญและกรรมการมูลนิธิไทยรักษปา รวม ดวย ส  าเ ล ผูชวยกรรมการผูจัดการ ใหญ สายงานบั ญ ชี และกรรมการมู ล นิ ธิ ไ ทย รั ก ษ ป า และ  าฟ ผู ช ว ยหั ว หน า อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม มอบประกาศนี ย บั ต รให แ ก เ ยาวชนที่ ผ า นการ ฝกอบรมจากคายเยาวชนเอ็กโกไทยรักษปา รุน ที่ 49

May-June 2017

p.3 _e

.indd 3

5/19/17 3:35 PM


บริษทั ผลิต

ารา บุรี ลดิง จากัด มหา น

ราชบุรีโฮลดิ้ง แตงตั้ง กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ

เปนกรรมการผูจัดการใหญคนใหม ตั้งแต 6 เมษายน ศกนี้

RATCH announced newly appointed CEO, Mr.Kijja Sripatthangkura, to be effective on April 6, 2017 บร ลตไฟฟารา บรี ล ้ า า รายงานวา ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั มีมติแตงตัง้ า รี า ร ดํารงตําแหนงกรรมการผูจ ดั การ ใหญ โดยจะมีผลตั้งแตวันที่ 6 เมษายน 2560 ภายหลัง ร  เ ราบต  เกษียณอายุการทํางานที่บริษัท า รี า ร เปนผูม คี วามรูค วามสามารถ ด า นวิ ศ วกรรม เศรษ กิ จ การบริ ห ารแผน การวาง กลยุทธ โดยเฉพาะงานระบบไฟฟาและระบบสง การ บริหารงานวิจยั และพัฒนา รวมถึงการบริหารเทคโนโลยี สารสนเทศเปนอยางดี ซึง่ ไดสงั่ สมประสบการณจากการ ทํางานในการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) มากวา 30 ป า ดํารงตําแหนงรองผูวาการนโยบาย และแผน กฟผ. เปนตําแหนงสุดทายกอนไดรับแตงตั้ง เปนกรรมการผูจัดการใหญของบริษัท ใน านะผูนําสูงสุดขององคกร า จะไดนํา ความรูแ ละความเชีย่ วชาญเขามาขับเคลือ่ นแผนกลยุทธ ของบริ ษั ท ที่ ว างเป า หมายจะขยายการลงทุ น ใน ประเทศและตางประเทศใหได 7,500 เมกะวัตต หรือ เทียบเทาใน พ.ศ. 2560 และผลักดันใหเติบโตถึง 10,000 เมกะวัตต หรือเทียบเทาใน พ.ศ. 2566 รวมทั้งผลักดัน แผนงานวิจยั และพัฒนาธุรกิจใหมของบริษทั ใหสาํ เร็จ เปนรูปธรรม เพื่อใหบริษัท สามารถเติบโตอยางมั่นคง และยัง่ ยืน ทามกลางกระแสการเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยี และภูมิอากาศของโลก า ปจจุบนั อายุ 57 ป สําเร็จการศึกษาวิศวกรรมศาสตรบั ณ ทิ ต สาขาวิ ศ วกรรมไฟฟ า มหาวิ ท ยาลั ย สงขลานครินทร และไดเขาศึกษาหลักสูตรระดับบริหาร หลายสาขา อาทิ หลั ก สู ต รการบริ ห ารเศรษ กิ จ สาธารณะสํ า หรั บ นั ก บริ ห ารระดั บ สู ง และหลั ก สู ต ร ไทยกับประชาคมเศรษ กิจอาเซียน สถาบันพระปกเกลา, หลั ก สู ต ร Advance Management Program ของ Harvard usiness School สหรั อเมริกา, หลักสูตร Senior Executive Program สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทรแหงจุ าลงกรณมหาวิทยาลัย เปนตน

Ratchaburi Electricity Generating Holding Public Company Limited (RATCH) today announced that r i a Sri att a ra has been appointed as the new Chief Executive O cer (CEO) as per the oard of Directors’ resolution. His appointment will be effective from April 6, 2017 after r erabat s retirement. With extensive experience over the past 30 years at Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT), r i a is well regarded for expertise in engineering, economics, business administration, strategic planning particularly for power and transmission system, research and development (R D), and IT system management. efore o cially assuming the role of RATCH CEO, r i a serves as EGAT’s Deputy Governor Policy and Planning. As RATCH’s leader, r i a will leverage his experience and expertise to drive the company’s strategic plan forward to achieve the 7,500 MW growth goal or equivalent in 2017 and the 10,000 MW goal or equivalent in 2023. He will pursue the real success in research and development of RATCH’s new businesses to secure sustainable growth and cope with disruptive technology and global climate changes. r i a aged 57, holds a bachelor’s degree in Electrical Engineering from Prince of Songkla niversity, with certificates from various executive programs, namely Advanced Certificate Course in Public Economics Management for Executives as well as Thailand and the ASEAN Community in Global Political Economy, from ing Pra adhipok’s Institute; Advance Management Program from Harvard usiness School, SA; and Senior Executive Program from Sasin Graduate Institute of usiness Administration, Chulalongkorn niversity. May-June 2017

p.39- 2_r

.indd 39

5/19/17 3:3 PM


สมาคมอุตสาหกรรม

า หงประเท ทย

ราชบุรีโฮลดิ้ง เผยแผนผลักดันกำลังผลิตโต 7,000 เมกะวัตต ในป 2570 RATCH announces the business plan to drive 7,000 MW growth by 2027 บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโ ลดิ้ง จํากัด (มหาชน) แถลงเปดตัว อยางเปนทางการ า รี า ร กรรมการผูจัดการใหญ ทีเ่ ขามารับภารกิจสานตอจาก ร  เ ราบต  ทีเ่ กษียณอายุการทํางาน เมื่อวันที่ 5 เมษายน ที่ผานมา สําหรับแผนธุรกิจในปนี้ยังคงเปาหมายตามที่คณะกรรมการ บริษัท เห็นชอบ โดยบริษัท จะตองเรงสรางกําลังผลิตเทียบเทา ใหเติบโตถึง 7,500 เมกะวัตต พรอมทัง้ บริหารสินทรัพยใหมปี ระสิทธิภาพ เพื่อรักษาการเติบโตของรายได โดยมุงเนนที่โรงไฟฟาสินทรัพยหลัก ไดแก โรงไฟฟาราชบุรี โรงไฟฟาหงสาใน สปป.ลาว กลุมโรงไฟฟา โคเจนเนอเรชั่น และกลุมโรงไฟฟาพลังงานทดแทน ทัง้ นี้ บริษทั ยังมีแผนทีจ่ ะผลักดันกําลังผลิตใหเพิม่ ขึน้ อีก 7,000 เมกะวัตต พรอมทัง้ เตรียมแผนการจัดหาเงินรองรับการลงทุนประมาณ 300,000 ลานบาท ภายใน 10 ปขางหนา หรือ พ.ศ. 2570 เพื่อรักษา และเสริมสราง านธุรกิจของบริษัท ใหแข็งแกรงและมั่นคงตอเนื่อง า รี า ร กรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั ผลิตไฟฟา ราชบุรีโ ลดิ้ง จํากัด (มหาชน) เปดเผยวา ทิศทางการดําเนินงานในปนี้ จะยังคงยึดเปาหมายเดิม แตกไ็ ดกาํ หนดเปาหมายทาทายเพือ่ เพิม่ กําลัง ผลิตอีก 7,000 เมกะวัตต ใน พ.ศ. 2570 ซึ่งจะตองดําเนินการควบคู กันไป แนวทางการลงทุนโครงการขนาดใหญจะใชรูปแบบการซื้อและ ควบรวมกิจการใหมากขึ้น เพื่อลดระยะเวลาการพัฒนาโครงการและ สามารถรับรูเมกะวัตตและรายไดในทันที สวนการลงทุนแบบพัฒนา

Ratchaburi Electricity Generating Holding Public Company Limited (“RATCH”) o cially announced the appointment of r i a Sri att a ra as the new CEO, to pursue its mission after r erabat s retirement on April 5, 2017. For this year, the company still continues to achieve the goal as approved by the oard of Directors by growing the equivalent capacity to 7,500 megawatts and focusing on effective asset management in order to maintain the revenue growth. The core assets focused include Ratchaburi power plant, Hongsa power plant in Lao PDR, the cogeneration power plants and the renewable power plants. Aiming to strengthen and sustain business fundamental in the long term, the company considerably plans to add up 7,000 MW equity capacity, with funding of about 300 billion-baht within the next ten year or in 2027. r i a Sri att a ra RATCH CEO, revealed that the company’s business operation plan will remain unchanged, while adding more challenging goal to increase capacity by 7,000 megawatts. The investment in large pro ects will more consider merger and acquisition in order to reduce the duration for pro ect development and immediately recognize capacity as

May-June 2017

p.39- 2_r

.indd

0

5/19/17 3:3 PM


บริษทั ผลิต

โครงการ หรือกรีนฟลด จะมุงเนนโครงการประเภทพลังงานทดแทน เพราะระยะเวลาพั ฒ นาโครงการสั้ น เพี ย ง 1-3 ป ด า นเป า หมาย การลงทุนไดขยายขอบเขตใหครอบคลุมตั้งแตธุรกิจไฟฟา เชื้อเพลิง พลังงานทดแทน สาธารณูปโภค ตลอดจนธุรกิจอื่นๆ ที่เปนนวัตกรรม หรือเทคโนโลยีใหมทตี่ อบสนองกระแสโลกในอนาคต เชน ธุรกิจสีเขียว ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับพลังงานทดแทน เปนตน “บริ ั ท ด ข ยายเปาหมายจากเดิ ม ที่ ต อ งสร า งกํ า ลั ง ผลิ ต หเติบโตอีกประมา ,000 เมกะวัตต ภาย น พ 2 66 เปน 7,000 เมกะวัตต น พ 2 70 เพื่อรัก าความมั่นคงของบริ ัท นระยะ ยาว สําหรับแผนงานหลักทีจ่ ะตองดําเนินการ หกา วหนาตอเนือ่ ง นปนี้ มี เรื่องดวยกัน คือ การติดตามโครงการที่กําลังพั นาและกอสราง จํานวน 6 โครงการ รวม 7 เมกะวัตต หแลวเสรจสามารถเดินเครือ่ ง เชิงพา ชิ ย ดตามกําหนดเวลา การปรับปรุงประสิทธิภาพความเชือ่ ถือ ดและความสามารถ นการพรอมจายของโรง าทีเ่ ปนสินทรัพยหลัก เพือ่ หสรางราย ด ดตามประมา การ สวนการลงทุนจะเรงหาโครงการ นตางประเท พรอมทั้งปรับวิธีประเมินความเสี่ยงและผลตอบแทน โครงการ หสอดคลองกับปจจัยและสภาพแวดลอมของแตละประเท ห ม ากขึ้ น ผมจะนํ า ความรู แ ละประสบการ มาเสริ ม การทํ า งาน ของราชบุรีโ ลดิ้ง หเขมแขงและนําพาบริ ัท ป หถึงเปาหมาย ห สําเรจ ผมเชื่อมั่นวา ราชบุรีโ ลดิ้งจะสามารถเติบโตตอเนื่องอยาง แขงแกรงและยังคงดํารงความเปนผูนําธุรกิจของประเท ทย ดตอ ป นระยะยาว” า กลาว ปจจุบัน ราชบุรีโ ลดิ้งรับรูกําลังผลิตจากการลงทุนรวม 6,9 0 เมกะวัตต โดยเปนกําลังผลิตในประเทศ 4,94 .59 เมกะวั ต ต และต า งประเทศ 2,031 เมกะวั ต ต หากโครงการโรงไฟฟากาซธรรมชาติ Riau ใน อินโดนีเซียดําเนินกระบวนการลงทุนสําเร็จ กําลัง ผลิตจะเพิ่มขึ้นเปน 7,115 เมกะวัตต

ารา บุรี ลดิง จากัด มหา น

well as revenues. On the part of investment for greenfield pro ects, the company will emphasize renewable pro ects due to its shorter development period of only 1-3 years. Moreover, the investment scope was enlarged to cover power, fuel, renewable energy, infrastructure business as well as other businesses engaging in innovation or new technology that meet global mega trends, such as green business and renewable energy-related business. “ he company plans stretch target for 7,000 megawatts by 2027, increasing from the formerly established goal of around ,000 megawatts his year, the company still continues progress for three main areas: monitoring the si pro ects that now are under development and under construction, with combined 7 megawatt capacity to ensure its commercial operation as planned, improving and maintaining reliability and availability of key power plants to ensure its revenue generation as estimated In addition, A CH will urgently seek new international pro ects and revisit the risk and return assessment procedure to suit changing factors and current conditions of each country I will integrate my knowledge and e perience into the strength of A CH s team and drive the company to success I am uite confident that A CH will grow further and remain its position as a leading independent power producer in hailand over the long run,” r i a added. RATCH current equity capacity is about 6,9 0 megawatts, comprising of 4,94 .59 megawatts in Thailand and 2,031 megawatts in aboard. If the investment process of Indonesiabased natural-gas-fired Riau pro ect completes, the company’s generation capacity will reach to 7,115 megawatts.

May-June 2017

p.39- 2_r

.indd

1

5/19/17 3:3 PM


สมาคมอุตสาหกรรม

า หงประเท ทย

RATCH ผนึก MPI ควาโรงไฟฟา 275 เมกะวัตต ในอินโดนีเซีย จัดตั้งบริษัทรวมทุนพัฒนา โรงไฟฟา และลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟาแลว คาดป 2564 เดินเครื่องเชิงพาณิชยได RATCH-MPI won a 275 MW power plant in Indonesia The joint operating company already established and signed PPA, Commercial generation scheduled in 2021 บร ลตไฟฟารา บรี ล ้ า า ประกาศ ความสําเร็จการลงทุนในประเทศอินโดนีเซียในโครงการโรงไฟฟา พลังความรอนรวม Riau กําลังผลิต 275 เมกะวัตต ใชกาซธรรมชาติ เปนเชื้อเพลิง ทั้งนี้ บริษัท อารเอช อินเตอรเนชั่นแนล (สิงคโปร) คอรปอเรชั่น จํากัด (RHIS) ซึ่งเปนบริษัทยอยทางออมของบริษัท ไดลงนามรวมทุนกับบริษทั PT Medco Power Indonesia (MPI) จัดตัง้ บริษัท PT Medco Ratch Power Riau (MRPR) เปนผูดําเนินงาน โครงการโรงไฟฟา Riau ดังกลาว โดยมี RHIS ถือหุน 49 และ PT Medco ถือหุน 51 เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2560 บริษัท MRPR ได ลงนามในสัญญาซื้อขายไฟฟาของโครงการโรงไฟฟาพลังความรอน รวม Riau ระยะเวลา 20 ป กับ Perusahaan Listrik Negara (PLN) หรือการไฟฟาประเทศอินโดนีเซีย เปนที่เรียบรอยแลว า รี า ร กรรมการผู จั ด การใหญ บริ ษั ท ผลิตไฟฟาราชบุรีโ ลดิ้ง จํากัด (มหาชน) เปดเผยวา โครงการนี้เปน ความกาวหนาสําคัญในการขยาย านธุรกิจในตางประเทศตามแผน ยุทธศาสตรของบริษัท และอินโดนีเซียถือเปนประเทศเปาหมายที่ มีศักยภาพและโอกาสการลงทุนทั้งในธุรกิจผลิตไฟฟาและพลังงาน ที่สําคัญโครงการนี้เปนการรวมทุนกับ MPI ซึ่งเปนบริษัทพลังงาน ชั้นนําของอินโดนีเซีย ถือเปนจุดแข็งที่ทําใหไดรับเลือกเปนผูพัฒนา โครงการโรงไฟฟาพลังความรอนรวม Riau จากรั บาลอินโดนีเซีย “M P เปนบริ ัทรวมทุนที่จัดตั้งขึ้นดวยทุนจดทะเบียน 12,000 ลานรูเปยห (ประมา 2 2 ลานบาท) ทําหนาทีด่ าํ เนินงาน โครงการโรง า iau มีมลู คาโครงการประมา 00 ลานเหรีย สหรั สําหรับเงินลงทุนจะ ชจาก 2 แหลง คือ เงินสวนทุนประมา 2 และเงินกูประมา 7 บริ ัท ดพิจาร าและปองกัน ความเสีย่ งทุกประเดนอยางรอบคอบและเชือ่ มัน่ วาโครงการนีจ้ ะชวย สร า งมู ล ค า องคกร ห เ ติ บ โตและมี ร าย ด นั บ จากเริ่ ม เดิ น เครื่ อ ง เชิงพา ชิ ย นป 2 6 ผมมัน่ จวาประสบการ และความเชีย่ วชา ดานการพั นาโรง าที่ยาวนานของบริ ัท และ MPI จะทํา ห โรง า iau ดําเนินการ ดแลวเสรจตามแผนงานที่วาง ว” า กลาว โครงการโรงไฟฟา Riau ตัง้ อยูท จี่ งั หวัด Riau บนเกาะสุมาตรา อินโดนีเซีย สามารถผลิตกระแสไฟฟาไดประมาณปละ 1,446 ลาน กิโลวัตตชวั่ โมง ซึง่ จะชวยใหระบบไฟฟาของอินโดนีเซียมีความมัน่ คง อันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาเศรษ กิจและสังคมใหเติบโต มั่นคงในระยะยาวดวย

at ab ri le tri it e erati ol i bli o a i ite A announced its successful expansion into Indonesia by awarding the natural gas-fired combined-cycle Riau power plant with 275 MW capacity. RH International (Singapore) Corporation Pte., Ltd. (“RHIS”), RATCH’s indirect subsidiary, already entered into a shareholder agreement with PT Medco Power Indonesia (“MPI”) to established PT Medco Ratch Power Riau (“MRPR”). Owned 49 equity by RHIS and 51 by MPI, the company will operate the Riau power pro ect. On April 7, 2017, MRPR has ust signed the 20 year term Power Purchase Agreement of Gas-Fired Power Plant 275 MW Independent Power Producer in Riau with Perusahaan Listrik Negara (“PLN”). r i a Sri att a ra RATCH CEO, views this marks key milestones for RATCH in expanding business internationally according to the corporate strategy. Indonesia is strategically placed as the promising investment destination, with potential opportunities lying ahead for power and energy business. In addition, the synergy with MPI, an Indonesia’s leading power firm, helps support decision making by the Indonesian government in selecting RATCH as the co-developer. “M P , a co investment company with 12 billion rupiah registered capital (appro imately 2 2 million baht), will develop, construct and run the iau power pro ect he pro ect cost is valued about 00 million S dollar, which will be funded from two sources 2 of capital and 7 of debt financing Concerning the pro ect risks, A CH has thoroughly assessed relevant probability and minimi ed e posure to acceptable level It is confident that iau IPP pro ect will substantially drive the growth of enterprise value and generate income once its commercial operation begins in 2021 I strongly believe that A CH and MPI s long term e periences and e pertise in power pro ect development will support progress of iau pro ect, with the completion as planned,” r i a added. Located in Riau province of Sumatra Island, Indonesia, Riau IPP power plant will generate about 1,446 million kilowatt-hours per year. It will help secure the Indonesia’s power system, thus benefiting its economic and social development over the long run.

May-June 2017

p.39- 2_r

.indd

2

5/19/17 3:3 PM


Asean_21.59x29.21cm.pdf

1

3/30/17

3:02 PM


ระบบผลิตไฟฟาจากขยะชุมชน IEEE Power and Energy Society- Thailand Chapter (IEEE PES Thailand) จัดสัมมนาเชิงวิชาการ เรื่อง ร บบ ลตไฟฟา า อ า ารออ แบบ ต ต้ บ แล บาร ร า วันที่ 22-24 พ ษภาคม 2560 ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ ในการนี้ ส  รีเ ร ผูช ว ยผูว า การ การไฟฟาสวนภูมภิ าค และ กรรมการบริ ห าร IEEE PES Thailand เป น ประธานกล า วเป ด การสั ม มนา โดยมี เรออา า ตรี ร ต า ตร ผูอํานวยการโครงการธุรกิจ พัฒนากิจการไฟฟา การไฟฟานครหลวง และกรรมการบริหาร IEEE PES Thailand เปน Session Chairman ดําเนินการสัมมนา โดยไดรับเกียรติจาก พพ. กรมควบคุมมลพิษ กฟน. กฟภ. กกพ. OI สถาบันอุดมศึกษา และผูเชี่ยวชาญจากภาคเอกชน เชน ร ตรเ า ล นายก IEEE Thailand Section, ร เร รีส ต  จุ า เปนตน รวมเปนวิทยากรในการสัมมนาเชิงวิชาการครั้งนี้ ซึ่งมีผูสนใจเขารวมสัมมนา กวา 200 คน

p.

_

.indd 1

5/30/17 3:3 PM



P.46_TSIA.pdf

1

5/19/17

3:38 PM



rt e

สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน

ในยุคปจจุบันที่นวัตกรรมและเทคโนโลยีพัฒนาอยาง กาวกระโดด กระแสการพัฒนาหุน ยนตและปญญาประดิษ  แบบกาวกระโดด ถือเปนหนึง่ สัญญาณทีบ่ ง ชีไ้ ดชดั วา ยุคแหง เทคโนโลยีไดพฒ ั นาขึน้ อีกหนึง่ ขัน้ แลว ซึง่ ในปจจุบนั หุน ยนต ระบบอัตโนมัติและปญญาประดิษ  ไดแทรกซึมและเขามา มีบทบาทในชีวติ ประจําวันมากขึน้ เรือ่ ยๆ ดวยการประยุกตใช ใหตอบโจทยมนุษยในดานตางๆ อาทิ ดานการใชงานใน ครัวเรือน ดานการแพทย ดานการบริการ ดานพัฒนาการ เรียนรู ดานการวิจยั ดานความมัน่ คง และดานอุตสาหกรรม ซึ่งลวนแตเปนสิ่งที่ใกลตัวเรามากขึ้นกวาเคย ดังตอไปนี้

1. หุนยนตเจียวไข นวัตกรรมหุนยนตอํานวยความสะดวกในการ ใชชีวิตประจําวัน ที่สามารถผสมและทอดไขเจียวไดเสร็จภายใน 5 นาที จาก บริษทั เกษตรภัณฑอตุ สาหกรรม จํากัด หนึง่ ในบริษทั กลุม เครือเจริญโภคภัณฑ (CP) ที่เขามาชวยอํานวยความสะดวกแกพอบานแมบานใหไมตองเสียเวลา กับการเขาครัวเพื่อทอดไขเจียว ขจัดปญหาทอดไขแลวน้ํามันกระเด็น ล 2. หุ น ยนต ช งกาแฟ หุ น ยนต แขนกลอั จ ฉริ ย ะที่ ส ามารถป อ น โปรแกรมเพื่อใหเปนบาริสตา ผูชวยในการชงกาแฟแบบอัตโนมัติ ซึ่งหุนยนต ดังกลาวมีชอื่ วา YuMi เปนของบริษทั เอบีบกี รุป ประเทศสวิตเซอรแลนด เดิมที เปนหุนยนตแขนกลที่ออกแบบมาเพื่อประยุกตใชในโรงงานอุตสาหกรรม สามารถทํางานรวมกับมนุษยไดโดยไมเปนอันตราย มีความแมนยําและ คลองแคลวสูง ซึ่งหุนยนตดังกลาวสามารถปอนโปรแกรมใหทํางานตางๆ ได อยางหลากหลาย เชน แกโจทยเกมรูบริค พับกระดาษ และอื่นๆ อีกมากมาย May-June 2017

p.

- 9_ r i e.indd

5/19/17 3: 0 PM


3. หุนยนตบริกร ผลงานหุนยนต “เลี่ยงเลี่ยง” จากบริษัท เซียซัน (SIAS N) ผูผลิตหุนยนต อันดับหนึง่ ของจีน ทีส่ ามารถบังคับทิศทางเดินไดอยางอิสระ สามารถเสิรฟ อาหาร แจกโบรชัวร กลาวตอนรับ ใหขอ มูลโปรโมชัน่ และแสดงสีหนาในรูปแบบดิจทิ ลั ทีล่ ว นเปนการสรางสีสนั และเพิม่ อรรถรสในการบริการ ไดอยางดี 4. หุนยนตจำลองมนุษย หรือหุนยนต ิวแมนนอยด ที่มาพรอมชื่อ “นาโอะ” (NAO) ที่พัฒนา โดยบริษัท Aldebaran Robotics จากประเทศฝรั่งเศส หุนยนตจําลองมนุษยขนาดเล็ก มีสวนสูง 5 เซนติเมตร และหนัก 5 กิโลกรัม สามารถจําคําพูด จําภาพ และปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมได ตอบโจทย การใชงานไดหลากหลายประเภท ทัง้ การเปนพนักงานตอนรับ การนําเสนอโปรโมชัน่ การตอบคําถามลูกคา เกีย่ วกับบริการตางๆ การเตนประกอบเพือ่ สรางความบันเทิง รวมไปถึงการตอสูเ พือ่ ความบันเทิง ล 5. หุนยนตมีตา นวัตกรรมหุนยนตจัดวางชิ้นสวนแบบถูกตอง แมนยําตาม ตําแหนง จากบริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด ซึ่งเปนหุนยนตผูชวยสําหรับใช ในอุตสาหรรมอิเล็กทรอนิกส สามารถจัดวางชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสหรือบรรจุภัณฑ (Packaging) ใหถูกตองตามตําแหนงไดอยางรวดเร็วและแมนยํา

6. หุนยนตคิวซี ผลงานหุนยนตตรวจสอบคุณภาพจาก บริษทั ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด ซึง่ สามารถตรวจสอบชิน้ สวน และอุปกรณอิเล็กทรอนิกสขนาดเล็กดวยกลองคุณภาพสูง ที่พรอม แสดงผลการตรวจสอบคุณภาพไปยังหนาจอคอมพิวเตอร พรอม ประเมินผลใน 2 รูปแบบ คือ คุณภาพดี (O ) และคุณภาพไมดี (NG: Not Good) โดยในกรณีที่ตรวจพบสินคาไมไดคุณภาพ ระบบ จะระบุจุดที่พบความผิดปกติไดในทันทีและแมนยํา 7. หุน ยนตเลโกเพือ่ การศึกษา นวัตกรรมหุน ยนต TETRI จากบริษัท แกมมาโก (ประเทศไทย) จํากัด ชุดประกอบหุนยนตเพื่อ การศึกษาจากชิ้นสวนอะลูมิเนียม ที่มาพรอมกับมอเตอรที่ใชในการ ขับเคลื่อน และอุปกรณควบคุมทิศทาง ความเร็ว (HiTechnic Servo Controller) เพือ่ ใหหนุ ยนตสามารถเคลือ่ นทีแ่ ละทําภารกิจทีต่ อ งการ ไดสาํ เร็จ อาทิ การเคลือ่ นทีเ่ ก็บสิง่ ของหรือวัตถุตา งๆ เปนตน หุน ยนต ดั ง กล า วถู ก ออกแบบมาด ว ยระบบที่ เ หมื อ นหุ น ยนต ข นาดใหญ

ทุกประการ เพื่อใหผูที่สนใจสามารถศึกษาระบบการขับเคลื่อน และ การควบคุมทิศทางการเคลื่อนไหวของหุนยนต จาก 7 ตัวอยางหุนยนตนวัตกรรมขางตนนั้น สามารถสะทอน ถึงการแทรกซึมเขามาในชีวิตประจําวันอยางรวดเร็วของเทคโนโลยี ประกอบกับตัวเลขสถิตคิ วามตองการใชหนุ ยนตของทัว่ โลกทีเ่ พิม่ ขึน้ อยางตอเนื่อง โดยเฉพาะในทวีปเอเชียที่มีความตองการใชหุนยนต สูงกวาทวีปอื่นถึง 3 เทา หรือมีความตองการมากถึง 275,000 ตัว ขณะที่ทวีปยุโรปและอเมริกามีความตองการใชหุนยนตประมาณ 66,000 และ 4 ,000 ตัว ตามลําดับ ประกอบกับผูน าํ ในการขับเคลือ่ น การเติบโตของอุตสาหกรรมหุนยนตโลกไดอยูในเอเชียเปนหลัก ไดแก จีน คิดเปน 25 เปอรเซ็นต ญี่ปุน 13 เปอรเซ็นต เกาหลีใต 11 เปอรเซ็นต รองลงมาจึงเปนสหรั อเมริกา 11 เปอรเซ็นต และ เยอรมนี 9 เปอรเซ็นต ทั้งหมดนี้สามารถสะทอนถึงโอกาสที่ดีหาก ประเทศไทยสามารถผลิตบุคลากรที่มีความรูความสามารถเทาทัน เทคโนโลยีดงั กลาว และสามารถพัฒนา คิดคน ประยุกตใชนวัตกรรม เพื่อใชไดจริง ทัง้ นีห้ นุ ยนตดงั กลาว พีไอเอ็ม (สถาบันการจัดการปญญาภิวฒ ั น) ได นํ า มาจั ด แสดงในงานเสวนาภายใต หั ว ข อ “บุ ค ลากรหุ น ยนต คนแหงอนาคต” เพื่อเปดตัวหลักสูตรวิศวกรรมหุนยนตและระบบ อัตโนมัติ คณะวิศวกรรมศาสตร ซึ่งผูเรียนจะไดมีโอกาสสัมผัสกับ นวัตกรรมหุน ยนตและระบบอัตโนมัตทิ ที่ นั สมัยทีส่ ดุ ระดับนานาชาติ พรอมคลุกคลีกับเนื้อหา การปฏิบัติงาน และเครือขายบริษัทผูผลิต ชั้นนําของโลกตลอดระยะเวลา 4 ปของหลักสูตร เพื่อใหสามารถ กาวสูก ารเปนบุคลากรดานนวัตกรรมหุน ยนต ทีต่ อบโจทยภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรมสําคัญในยุคปจจุบัน

May-June 2017

p.

- 9_ r i e.indd

9

5/19/17 3: 0 PM


rt e

ยูนิเวอรแซล โรบอทส

ยูนิเวอรแซล โรบอทส จับมือนิสสัน มอเตอร ยกระดับกำลังการผลิตโดยใชหุนยนต ที่สามารถปฏิบัติงานรวมกับมนุษยได

Universal Robots

Partners Nissan Motor Company to Enhance Manufacturing Productivity through Collaborative Robots

บริษัทพัฒนาและผลิตหุนยนตชั้นนํา ยูนิเวอรแซล โรบอทส ไดประกาศวา บริษทั นิสสัน มอเตอร ประสบความ สําเร็จในการนําแขนหุนยนตรุน R10 ของยูนิเวอรแซล โรบอทส ไปติดตัง้ ใชงานทีโ่ รงงานในโยโก ามาประเทศญีป่ นุ โดยกอนหนานี้มีบริษัทผูผลิตยานยนตชั้นนําของโลก ไดแก บีเอ็มดับเบิลยูและโฟลกสวาเกน ไดนําหุนยนตท่ีสามารถ ปฏิบัติงานรวมกับมนุษยได หรือโคบอทส (Collaborative Robots: Cobots) ของยู นิ เวอร แซล โรบอทส ไปใช ใ น กระบวนการผลิตอัตโนมัติแลว หลังจากที่นํา Cobots ของ ยูนิเวอรแซล โรบอทส ไปติดตั้งใชงาน กระบวนการผลิตของ นิสสันก็มีประสิทธิภาพสูงขึ้น สงผลใหสามารถผลิตชิ้นงาน ไดมากขึ้นและมีเสถียรภาพมากขึ้น ในขณะเดียวกันก็ชวย ประหยั ด เวลาและลดต น ทุ น ช ว ยให กํ า ลั ง คนของนิ ส สั น ที่มีอายุมากขึ้นไดมีภาระงานที่ตองรับผิดชอบนอยลงและ หมุนเวียนไปปฏิบัติงานที่ใชแรงงานนอยลงได

niversal Robots, the leading collaborative robotics company, has announced that Nissan Motor Company has successfully deployed niversal Robots’ R10 robot arms at its Yokohama factory; oining other global automotive manufacturers including MW and olkswagen who are using niversal Robots’ collaborative robots (cobots) to automate their processes. Through the deployment of niversal Robots’ cobots, Nissan has enhanced its production processes, resulting in a higher level of output and stability as well as time and cost e ciencies. Nissan’s aging workforce also en oy a reduced workload, and were redeployed to less strenuous tasks.

May-June 2017

p.50-53_ r i e.indd 50

5/19/17 3: 3 PM


เ อร อตเฟร เซ ผูจัดการใหญภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใตและโอเชียเนีย กลาววา “เรารูสึกตื่นเตนมากที่ ดรวมงานกับ นิ ส สั น นการปรั บ เปลี่ ย นกระบวนการผลิ ต ของนิ ส สั น ห เ ป น ระบบ อัต โนมัติ อุต สาหกรรมยานยนตระดั บโลกมีบ ทบาทสํ าคั อย างยิ่ ง นการนําโคบอทส ปประยุกต ชเพื่อผลิตชิ้นงานที่มีคุ ภาพดีขึ้น และ นับวาเปนเรื่องสําคั ที่จะทํา หผูเลน นอุตสาหกรรมนี้ยังคงมีความ สามารถ นการแขงขัน นการตลาด ึ่งยูนิเวอรแ ล โรบอทส เปนผูนํา เทรนดนี้ โคบอทสสามารถชวยสงเสริมกระบวนการผลิตอัตโนมัติ ด อยางมีประสิทธิภาพ ึ่งชวยยกระดับมาตร านความปลอดภัยและชวย ลดความตึ ง เครี ย ดของพนั ก งาน ด โดยโคบอทสของเรา ม เ พี ย งแต สามารถนํา ปประยุกต ชงาน นอุตสาหกรรมยานยนตเทานั้น แตยัง สามารถนํ า ป ช นการผลิ ต อุ ป กร อิ เ ลกทรอนิ ก ส อุ ป กร า เภสัชภั เคมีภั อาหาร รวม ปถึงสินคาการเก ตร ดอีกดวย” โคบอทสเปนสาขาหนึ่งที่แตกแขนงมาจากอุตสาหกรรมหุนยนต สมัยดั้งเดิม โคบอทสมีน้ําหนักเบาและสามารถนําไปใชงานไดสะดวก และมีความยืดหยุน ในการดัดแปลงเพือ่ นําไปประยุกตใชงานในดานตางๆ อุตสาหกรรมยานยนตใชโคบอทสในกระบวนการตางๆ ที่หลากหลาย ไมวา จะเปนการหยิบจับ การประกอบ การบรรจุ การจัดเรียง การติดฉลาก การทาสี การควบคุมคุณภาพ และการโหลดเครื่องจักร มูลคาการตลาด ของหุน ยนตทที่ าํ งานรวมกับมนุษยไดในอุตสาหกรรมยานยนตในป พ.ศ. 255 อยูที่ 23.56 ลานเหรียญสหรั และคาดการณวาจะพุงขึ้นถึง 469. 2 ลานเหรียญสหรั ภายในป พ.ศ. 2564 โดยมีอัตราการเติบโต เฉลี่ยตอป (CAGR) ในระดับ 64.67 ในระหวางป พ.ศ. 255 -2564

S er i e ot re se General Manager, SEA and Oceania, said, “We are e cited to be working with Nissan in their automation ourney he global automotive industry plays a key role in driving the adoption of collaborative robots (cobots) to produce better manufacturing output, and this is critical for industry players to stay competitive niversal obots is at the forefront of this trend our cobots e ectively support process automation, resulting in improved safety standards and less strain on human employees his can be applied not only in the automo tive industry, but also in the manufacturing of electronics and electrical, pharma and chemistry, and food and agriculture ” Cobots are an offshoot of traditional industrial robots. They are lightweight and mobile in terms of deployment, and are flexible enough to be modified for different applications. The automotive industry uses cobots in a wide variety of processes including handling, assembling, packaging, palletizing, labelling, painting, quality control and machine tending. The market value for collaborative industrial robots in the automotive industry was S 23.56 million in 2015 and is pro ected to reach S 469. 2 million by 2021, at a CAGR of 64.67 between 2015 and 2021.

Rise of Collaborative Industrial Robots in Thailand’s Automotive Industry

The automotive industry in SEA is poised for great growth with large markets experiencing important sales growth. As a key manufacturing hub producing for Asia and the world, SEA’s automotive sector has growth at 11 CAGR between 2010 and 20151. The upcoming implementation of Association of SouthEast Asian Nations (ASEAN) Free-Trade Area is expected to lower import and export taxes in the region, further driving demand for cost-effective regionally manufactured vehicles. Thailand and Indonesia are especially convenient manufacturing hubs to produce vehicles for export in the region, Asia and beyond. The Thai automotive sector is a ma or economic driver, accounting for approximately 12 of the country’s GDP2. It has strong infrastructure and an extensive network of companies all along the car-production supply chain; making it the top automotive manufacturer, with a 49 market share in the region3. With increasing manufacturing demand, the Thai automotive industry is moving towards automation using collaborative industrial robots. May-June 2017

p.50-53_ r i e.indd 51

5/19/17 3: 3 PM


กำเนิดหุนยนตที่สามารถปฏิบัติงานรวมกับมนุษยได ในอุตสาหกรรมยานยนตประเทศไทย

แขนหุนยนตรุน UR10 ที่บริษัท นิสสัน มอเตอร

บริษัท นิสสัน มอเตอร จําเปนตองยกระดับกระบวนการผลิต อุ ต สาหกรรมยานยนต ใ นภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต ของโรงงานในโยโก ามาซึง่ เปนโรงงานขนาดใหญ นอกจากนัน้ บริษทั พรอมทีจ่ ะเติบโตในอัตราสูง โดยมีตลาดขนาดใหญซงึ่ มีอตั ราการเติบโต ยังจําเปนตองบริหารจัดการคาแรงของกําลังคนทีม่ อี ายุมากขึน้ และการ ของยอดขายที่ สํ า คั ญ เนื่ อ งจากภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต สูญเสียบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ เปนศูนยกลางการผลิตที่สําคัญของทวีปเอเชียและของโลก ดังนั้น า า ร หั ว หน า ผู เชี่ ย วชาญฝ า ยเครื่ อ งยนต ข องโรงงาน อุตสาหกรรมยานยนตในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตจึงมีอัตรา กลาววา “เราจําเปนตอง ชหุนยนตขนาด ห มากพอที่จะยกสวนควบ การเติบโตเฉลี่ยตอป (CAGR) ในระดับ 11 ในระหวางป พ.ศ. 2553รถยนตทอรวม อดี (Intake Manifolds) ขนาด ห  ด ึ่งมีขนาดถึง 1 255 การเปดเขตการคาเสรีอาเซียนในอีกไมนานนี้ คาดวาจะทําให 6 กิโลกรัม เมือ่ เปรียบเทียบกับหุน ยนตของบริ ทั อืน่ แลว เราจึงเลือก ภาษีนาํ เขาและสงออกในภูมภิ าคนีต้ า่ํ ลง ซึง่ จะสงผลใหมคี วามตองการ รุน 10 เนื่องจากความ ดเปรียบ นแงของราคาสําหรับหุนยนต ยานยนตที่คุมคาและผลิตภายในภูมิภาคนี้สูงยิ่งขึ้น ตัวเดียว รวม ปถึงความสามารถ นเรื่องการรับน้ําหนัก ดดีดวย น ประเทศไทยและอินโดนีเซียเปนศูนยกลางการผลิตที่มีความ กระบวนการติดตั้งทอรวม อดีนั้น มีเพียงแขนหุนยนตรุน 10 ที่ สะดวกเปนพิเศษในการผลิตยานยนตเพื่อสงออกภายในภูมิภาคนี้ สามารถรองรับน้ําหนัก ดถึง 10 กิโลกรัม เมื่อเทียบกับผลิตภั อื่น รวมถึ ง ภายในทวี ป เอเชี ย และในระดั บ โลก อุ ต สาหกรรมยานยนต ที่เราพิจาร า” ในประเทศไทยเปนตัวขับเคลือ่ นเศรษ กิจทีส่ าํ คัญ โดยคิดเปนประมาณ โคบอทสของยูนิเวอรแซล โรบอทส เปนแขนหุนยนตที่สามารถ 2 12 ของคา GDP ทั้งประเทศ ประเทศไทยมีโครงสรางพื้น าน และ ปฏิ บั ติ ง านร ว มกั บ มนุ ษ ย ไ ด ใ นงานอุ ต สาหกรรม ซึ่ ง สามารถใช ใ น มีโครงขายบริษัทที่ครอบคลุมหวงโซอุปทานซัพพลายเชน (Supply กระบวนการผลิตอัตโนมัตซิ งึ่ รองรับน้าํ หนักไดถงึ 10 กิโลกรัม และงาน Partners Chain) ในการผลิตรถยนต จึงทําใหประเทศไทยเปนผูผลิตยานยนต ที่ตองอาศัยความละเอียด แมนยํา และความไววางใจได โคบอทส 3 อัto นดับEnhance ตนๆ โดยมีสวนแบManufacturing งตลาดในภูมิภาคนี้ถึง 49 Productivity และเนื่องจาก ออกแบบมาใหมรี ศั มีเอือ้ มถึง 1,300 มิลลิเมตร หรือประมาณ 1.3 เมตร วthrough ามีความตองการกํ าลังการผลิตที่สูงขึ้น ดังนัRobots ้น อุตสาหกรรมยานยนต จึงสามารถทํางานในพืน้ ทีก่ วางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ และ Collaborative ในประเทศไทยจึงกําลังเขาสูกระบวนการผลิตอัตโนมัติโดยใชหุนยนต สามารถประหยัดเวลาในสายการผลิตที่มีระยะทางเปนปจจัยสําคัญได ที่สามารถปฏิบัติงานกับมนุษยไดในงานอุตสาหกรรม โคบอทสของยูนเิ วอรแซล โรบอทส สามารถตัง้ โปรแกรมและตัง้ คาไดงา ย

ยูนิเวอรแซล โรบอทส จับมือนิสสัน มอเตอร ยกระดับกำลังการผลิตโดยใชหุนยนต ที่สามารถปฏิบัติงานรวมกับมนุษยได

Universal Robots

Nissan Motor Company

UR10 Robot Arms at Nissan Motor Company

Nissan Motor Company needed to streamline its production process at its large-scale Yokohama plant. The company also needed to manage labour costs with an aging workforce and the associated loss of vital skills. r a a ra Expert Headman for the plant’s Engine Section, said: “We needed a robot large enough to carry hefty intake manifold components, weighing up to 6kgs n comparison with other companies robots, we selected the 10 due to its cost advantages for a single robot, as well as its weight capacity In the process of installing the intake manifolds, only the 10 robot arm had the payload of 10kg among the other products we considered ” niversal Robots’ cobots are collaborative industrial robot arms that can automate processes and tasks that weigh up to 10 kg, and require precision and reliability. With a reach radius of up to 1300mm, the cobots are designed to be more effective at tasks across a larger area, and can save time on production lines where

distance can be a factor. niversal Robots’ cobots are easy to program and set up. They are designed to work alongside humans, as a tool, to help simplify and speed up tasks that might be complicated, or require greater physical strength. After deliberating on the range of safety and features required, Nissan decided on using the R10 robot arms which were easily installed, programmed and operational within a week. The deployment of R10 robot arms at Nissan reduced production time and quality as well as allowed employees to be relieved of monotonous tasks, allowing them to obtain valuable line experience elsewhere. Subsection Chief of Engine Section r is i said: “We are able to uickly respond to potential production time overruns as we can easily move the 10 to work on any process in the plant where the issue has been identified We plan to further the use of cobots by integrating the strong on site and engineering capa bilities, which will increase our level of cobots deployment going forward ”

May-June 2017

p.50-53_ r i e.indd 52

5/19/17 3: 3 PM


โดยออกแบบมาใหเปนเครือ่ งมือสําหรับทํางานรวมกับ มนุษย เพื่อใหการทํางานที่สลับซับซอนกลายเปนงาน ทีง่ า ยและสะดวกรวดเร็วยิง่ ขึน้ หรือเปนงานทีต่ อ งอาศัย ความแข็งแกรงทางรางกายมากๆ หลั ง จากที่ พิ จ ารณาเรื่ อ งความปลอดภั ย และ คุณสมบัติตางๆ ที่ตองการแลว นิสสันจึงตัดสินใจใช แขนหุน ยนตรนุ R10 ทีส่ ามารถติดตัง้ และตัง้ โปรแกรม ไดงาย และพรอมใชงานไดภายใน 1 สัปดาห เมื่อนํา แขนหุน ยนตรนุ R10 มาใชงานทีน่ สิ สันแลว พบวาชวย ลดเวลาในการผลิตลงได ตลอดจนชวยใหพนักงาน ไมตอ งทํางานเดิมๆ ซ้าํ ซากจําเจ และไปทํางานในสาย การผลิตอื่นเพื่อสั่งสมประสบการณที่เปนประโยชน แทน อ หัวหนาแผนกเครื่องยนตยอย กลาววา “เราสามารถตอบสนองตอความลาชา นการผลิต ด อยาง บั ว เนือ่ งจากเราสามารถเคลือ่ นยาย 10 ด อยางสะดวก ป ชงาน นกระบวนการ ดก ดภาย น โรงงานที่พบวาเกิดป หา เราวางแผนที่จะ ชโคบอทส เพิ่มเติมโดยผสานสมรรถนะของโรงงานเขากับความ สามารถดานวิ วกรรม าสตร ึ่งจะเพิ่มระดับการ ช โคบอทสของเรา หมากยิ่งขึ้น”

เกี่ยวกับยูนิเวอรแซล โรบอทส

ยูนิเวอรแซล โรบอทส ( niversal Robots) เปนผลลัพธของการศึกษาวิจัย มานานหลายป ข องศู น ย หุ น ยนต ที่ ป ระสบความสํ า เร็ จ แห ง หนึ่ ง ในประเทศ เดนมารก ซึ่งตั้งอยูในเมืองโอเดนซ เอสเบน ออสเตอรการด CTO ของบริษัท ยูนิเวอรแซล โรบอทส ไดรวมกอตั้งบริษัทขึ้นเมื่อป พ.ศ. 254 โดยตองการ ทําใหทกุ คนสามารถเขาถึงเทคโนโลยีหนุ ยนตได โดยพัฒนาหุน ยนตอตุ สาหกรรม ขนาดเล็ก ใชงานงาย ราคาสมเหตุสมผล ยืดหยุน การทํางานได ซึง่ สามารถทํางาน ดวยตัวเองและทํางานรวมกับมนุษยไดอยางปลอดภัย เพือ่ ยกระดับกระบวนการ ผลิตในอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑของบริษัทประกอบดวยแขนหุนยนตรุน R3, R5 และ R10 ซึง่ ตัง้ ชือ่ รุน ตามน้าํ หนักทีร่ บั ในหนวยกิโลกรัม นับตัง้ แตทเ่ี ปดตัว หุน ยนต R ตัวแรกเมือ่ เดือนธันวาคม 2551 บริษทั ก็เติบโตรุดหนาอยางรวดเร็ว โดยในปจจุบนั นีไ้ ดจาํ หนายหุน ยนตทใี่ ชงานงายนีแ้ ลวในกวา 50 ประเทศทัว่ โลก หุนยนต R มีระยะเวลาคืนทุนเร็วที่สุดในวงการ โดยเฉลี่ยอยูภายใน 12 เดือน บริษัท มีสํานักงานใหญตั้งอยูในเมืองโอเดนซ ซึ่งเปนสวนหนึ่งของบริษัท เทราไดน อิงค ในเมืองบอสตัน และมีบริษทั ในเครือและสํานักงานประจําภูมภิ าค ตั้งอยูในสหรั อเมริกา สเปน เยอรมนี สิงคโปร เช็ครีพลับลิค อินเดีย และจีน ยูนิเวอรแซล โรบอทส มีพนักงานทั่วโลกกวา 300 คน สามารถรับชมขอมูลเพิ่มเติมไดที่ http: www.universal-robots.com, http: www.universal-robots.com plus และบล็อกของบริษัท http: www. universal-robots.com media press-kit

1. Riding Southeast Asia’s automotive highway PWC, https: www.pwc.com gx en growth-markets-centre publications assets Riding Southeast Asia automotive highway.pdf 2. Thailand automotive industry overview, https: aseanup. com thailand-automotive-industry-overview 3. ASEAN automotive roadmap 2020 Overview, https: aseanup.com southeast-asia-automotive-industry-overview

About Universal Robots

niversal Robots is the result of many years of intensive research at Denmark’s successful robot cluster, which is located in Odense, Denmark. The company was co-founded in 2005 by the company’s CTO, Esben stergaard, who wanted to make robot technology accessible to all by developing small, user-friendly, reasonably priced, flexible industrial robots that are safe to work with and on their own can be used to streamline processes in the industry. The product portfolio includes the collaborative R3, R5 and R10 robotic arms named after their payload in kilos. Since the first R robot launched in December 200 , the company has experienced considerable growth with the user-friendly robots now sold in more than 50 countries worldwide. Within 12 months, the average payback period for R robots is the fastest in the industry. The company, a part of oston-based Teradyne Inc., is headquartered in Odense and has subsidiaries and regional o ces in the .S., Spain, Germany, Singapore, Czech Republic, India, and China. niversal Robots has more than 300 employees worldwide. Learn more at: www.universal-robots.com. For more information, please visit http: www.universal-robots.com, http: www.universal-robots.com plus and the company-owned blog. niversal Robots Press it http: www.universal-robots.com media press-kit May-June 2017

p.50-53_ r i e.indd 53

5/19/17 3: 3 PM


e

กองบรรณาธิการ

50 หนวยงาน

รวมสนับสนุน EECi เพื่อกาวสู Thailand 4.0 MOST and 50 Allied Organizations

Promote EECi towards

Thailand 4.0

ร ร า าสตร แ ล เ ล ี สา า า า าสตรแล เ ล ีแ าต ส ล า า ร อส บส าร า เ ต ต รร ร เบี เ ร า ต ออ i aster o o i orri or o o atio รวมกับ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัยทั้งในและ ตางประเทศ รวมถึงหนวยงานภาครั ที่เกี่ยวของ รวม 50 หนวยงาน ยกระดับความสามารถในการแขงขันของ ประเทศ และพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนด ว ย วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) หนุน ไทยแลนด 4.0 โดยคณะกรรมการนโยบายการพัฒนา ระเบียงภาคตะวันออก ซึง่ มี ลเอ ร  ร อ า นายกรั มนตรี เปนประธาน และใหเกียรติรวมถายภาพ เปนที่ระลึก

atio al S ie e a e olo e elo e t A e S A a e ber o i istr o S ie e a e olo S signed a memorandum of understanding with 50 allied organizations to promote the astern conomic Corridor of Innovation (EECi) with the presence of e eral ra t a o a the Prime Minister of Thailand. The allied organizations include the private sector, academia, research institutes (domestic and international), and the government sector. The pro ect aims to boost the competitiveness of the country and improve people’s quality of life with science, technology, and innovation (STI) towards the vision of Thailand 4.0.

May-June 2017

p.5 -57_

p.indd 5

5/19/17 3:

PM


ร อรร า สีบ เรอ รั มนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี กลาววา สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แหงชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดรบั มอบหมาย จากรั บาลในการจัดตั้งเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษ กิจภาคตะวันออก (EECi) รวมกับหนวยงานพันธมิตรจากทุกภาคสวน เพื่อนําวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) ไปยกระดับขีดความสามารถในการ แขงขันของประเทศ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน สําหรับพันธมิตรที่จะรวมมือพัฒนา EECi ในขณะนี้ประกอบดวย ภาคเอกชน สถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัยทั้งในและตางประเทศ รวมถึงหนวยงานภาครั ที่เกี่ยวของ รวม 50 หนวยงาน ประกอบดวย หนวยงานภาคเอกชน 20 หนวยงาน ไดแก บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน), บริ ษั ท สุ พ รี ม ไ ที ร า จํ า กั ด , บริ ษั ท เจริ ญ โภคภั ณ ฑ อ าหาร จํ า กั ด (มหาชน), บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน), บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน), บริษทั ไทวา จํากัด (มหาชน), บริษทั โกลบอล เพาเวอร ซินเนอรยี่ จํากัด (มหาชน), บริษทั โกลบอลกรีนเคมิคอล จํากัด (มหาชน), บริษทั เกษตรไทย อินเตอรเนชัน่ แนล ชูการ คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน), บริษัท เอเชีย สตาร เทรด จํากัด, บริษัท สยามไบโอไซเอนซ จํากัด, บริษัท แบ็กซเตอร เ ลธแคร (ประเทศไทย) จํากัด, สมาคมผูวิจัย และผลิตเภสัชภัณฑ, บริษัท ปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน), ประชารั กลุม D5 การพัฒนาคลัสเตอรภาคอุตสาหกรรมแหงอนาคต, บริษัท อาปโก ไ เทค จํากัด (มหาชน), บริษัท กราวิเทคไทย (ไทยแลนด) จํากัด, บริษัท อาร วี คอนเน็กซ จํากัด, บริษัท เอสเอไอซี มอเตอร-ซีพี จํากัด และ Corbion Purac (Thailand) Ltd.

At a a Sib r a the minister of Ministry of Science and Technology, said NSTDA under MOST is appointed by the Royal Thai Government to establish EECi with a close collaboration with our allies, in order to leverage science, technology, and innovation and boost the country’s competitiveness and people’s quality of life. Our EECi allies include 50 organizations from the private sector, academic sector, research institutes (domestic and international), as well as the government sector. 20 private organizations are as follows: PTT Public Co., Ltd., Supreme Hitera Co., Ltd., Charoen Pokphand Foods Public Co., Ltd., PTT Global Chemical Public Co., Ltd., etagro Public Co., Ltd., Thai Wah Public Co., Ltd., Global Power Synergy Public Co., Ltd., Global Green Chemical Public Co., Ltd., aset Thai International Sugar Corporation Public Co., Ltd., Asia Star Trade Co., Ltd., Siam ioscience Co., Ltd., axter Health Care (Thailand) Co., Ltd., Pharmaceutical Research and Manufacturers Association, Siam Cement Group Public Co., Ltd., D5 Future Industry Development Cluster (New S-Curve), Aapico Hitech Public Co., Ltd., Gravitech Thai (Thailand) Co., Ltd., R. . Connext Co., Ltd., SAIC Motor-CP Co., Ltd., and Corbion Purac (Thailand) Co., Ltd.

May-June 2017

p.5 -57_

p.indd 55

5/19/17 3:

PM


หนวยงานสถาบันการศึกษา 15 หนวยงาน ไดแก สถาบันวิทยสิริเมธี, จุ าลงกรณมหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, มหาวิทยาลัยนเรศวร, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, มหาวิทยาลัย ขอนแกน, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, มหาวิทยาลัยเชียงใหม, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า ธนบุ รี , สถาบั น เทคโนโลยี แ ห ง เอเชี ย , มหาวิทยาลัยมหิดล, สถาบันไทย-เยอรมัน และโรงเรียนกําเนิดวิทย สถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัยตางประเทศ 5 หนวยงาน ไดแก Chinese Academy of Sciences (CAS), orea Advanced Institute of Science Technology ( AIST), Japan-ASEAN Science, Technology, and Innovation Platform (JASTIP), yoto niversity, Tokyo Tech และสถาบันฟรอนโ เฟอร (Fraunhofer-Gesellschaft)

Our academic allies include: idyasirimedhi Institute, Chulalongkorn niversity, Suranaree niversity of Technology, Naresuan niversity, Prince of Songkla niversity, hon aen niversity, Walailak niversity, asetsart niversity, Chiang Mai niversity, Thammasat niversity, ing Mongkut’s niversity of Technology Thonburi, Asian Institute of Technology, Mahidol niversity, Thai-German Institute, and amnoetvidya Science Academy. Our allied international research institutes are: Chinese Academy of Sciences (CAS, orea Advanced Institute of Science Technology ( AIST, Japan-ASEAN Science, Technology, and Innovation Platform (JASTIP), yoto niversity, Tokyo Tech, and Fraunhofer-Gesellschaft Institute.

สถาบั น วิ จั ย ในประเทศ และหน ว ยงานภาครั ที่ เ กี่ ย วข อ ง 10 หนวยงาน ไดแก สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง ประเทศไทย, สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค ก ารมหาชน), กรมวิ ท ยาศาสตร บ ริ ก าร, สถาบั น มาตรวิ ท ยา แหงชาติ, สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวั ต กรรมแห ง ชาติ , ศู น ย ค วามเป น เลิ ศ ด า นชี ว วิ ท ยาศาสตร ประเทศไทย, สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน), กรม สงเสริมอุตสาหกรรม, การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย, สถาบัน ยานยนต EECi ตัง้ อยูบ นพืน้ ที่ 2 แหง ไดแก วังจันทรวลั เลย จังหวัดระยอง เนื้อที่ประมาณ 3,000 ไร เปนที่ตั้งของ ARIPOLIS ระบบอัตโนมัติ หุน ยนต และระบบอัจฉริยะ และ IOPOLIS อุตสาหกรรมชีวภาพ และ พืน้ ทีอ่ ทุ ยานรังสรรคนวัตกรรมอวกาศ (Space renovation Park, S P) ศรีราชา จังหวัดชลบุรี เนื้อที่ประมาณ 120 ไร มุงเนนอุตสาหกรรม การบินและอวกาศ (Aerospace) ร ร  รเล ร ล ผู อํ า นวยการสํ า นั ก งานพั ฒ นา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กลาววา สวทช. ไดรับ มอบหมายจากกระทรวงวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ให พั ฒ นา “เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษ กิจภาคตะวันออก” หรือเรียกวา EECi ใหมีระบบนิเวศนวัตกรรมที่สมบูรณ เปนพื้นที่เศรษ กิจใหมที่มีความ เขมขนของงานวิจัยและนวัตกรรม ตลอดจนการวิเคราะหทดสอบ ทีเ่ กีย่ วของเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมไทย ในตลาดโลก โดยในพื้นที่ EECi ประกอบดวย หองปฏิบัติการวิจัย ทั้งภาครั และเอกชน หองทดลองภาคสนาม โรงงานตนแบบและ โรงงานสาธิต รวมถึงกําหนดให EECi เปนเขตผอนปรนก หมายและ ก ระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข อ งเพื่ อ ให ส ามารถทดสอบนวั ต กรรมใหม ไ ด (Sandboxes for Regulatory Ad ustment) นอกจากนี้ EECi ยังจะดําเนิน กิจกรรมยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ดวย วทน. ควบคู ไปดวย

Our allied domestic research institutes include: Thailand Institute of Scientific and Technological Research, Geo-Informatics and Space Technology Development Agency (Public Organization), Department of Science Service, National Institute of Metrology, National Science Technology and Innovation Policy O ce, The Center of Excellence for Life Science (Public Organization), National Innovation Agency (Public Organization), Department of Industrial Promotion, Industrial Estate Authority of Thailand, and Thailand Automotive Institute. EECi will be comprised of two campuses. First, Wang Chan alley Campus is located in a 1,200-acre area in Rayong Province and it will consist of A S (for automation, robotics, and intelligent systems) and S (for life science and biotechnology). The second campus is S a e re o atio ar S , located in a 4 -acre area in Sriracha, Chonburi Province and specialized in the aeronautic and aerospace industry.

May-June 2017

p.5 -57_

p.indd 5

5/19/17 3:

PM


สํ า หรั บ กลุ ม เทคโนโลยี แ ละอุ ต สาหกรรมเป า หมายของ EECi จะประกอบไปดวย 3 สวน ไดแก A S ศูนยกลางการวิจัยและนวัตกรรมดานระบบอัตโนมัติ หุนยนต และระบบอัจฉริยะ S ศูนยกลางการวิจัยและนวัตกรรมดานชีววิทยาศาสตร และเทคโนโลยีชีวภาพ (Life Science iotechnology) SA A S (Space renovation Park) : ศูนยกลาง และ านในการรังสรรคนวัตกรรมจากเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษ กิจภาคตะวันออก (EECi) เปนพื้นที่ สงเสริมยกระดับอุตสาหกรรมเดิม สรางใหเกิดอุตสาหกรรมใหมดวยการ ทําวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมรวมกันระหวางภาคเอกชน มหาวิทยาลัย สถาบันวิจัย และภาครั รวมถึงชุมชนในพื้นที่ อันจะนําประเทศไทยไปสู การเปนประเทศแหงนวัตกรรม ควบคูกับการยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชนดวย วทน. และมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนตอไปในอนาคต องคประกอบของระบบนิเวศนวัตกรรมและแนวทางการดําเนินงาน หลักประกอบดวย า ร สรา ้ า า า อ ร เ (NQI : Advanced National Quality Infrastructure) เพือ่ การวิเคราะห ทดสอบ และ ประเมินตามหลักการทางวิทยาศาสตรในการรับรองคุณภาพ มาตร าน ของสินคาและบริการ และคุมครองผูบริโภคใหปลอดภัย ส า สอบแล าร าส าร ลตร บอตสา รร (Scale-up, Testbeds Living Lab, Green House, Field Demo) มุงเนน ขยายศูนยปฏิบัติการและศูนยทดสอบในพื้นที่ เพื่อใหสามารถรองรับการ เติบโตของภาคอุตสาหกรรมได า เ เ ต อ ร า แล ร เบี บ ี เ ี อ บ าร า แล ต รร (Sandboxed for Regulatory Ad ustment) เพื่อใหเปนสนามทดสอบ ผลิตภัณฑ อุปกรณ แพลตฟอรม และแอปพลิเคชันอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ที่ตองมีที่ทดสอบผลิตภัณฑใหมที่ ก หมายไมอนุญาตใหทดสอบในพื้นที่ทั่วไป

aro Sirilert ora l the President of NSTDA, said NSTDA is appointed by Ministry of Science and Technology to develop the astern conomic Corridor of Innovation (EECi) as a complete eco-system for innovation and a new economic estate specialized in research, innovation, and related testing and evaluation, that boost the country’s competitiveness in the world market. The EECi campuses will be constituted with government-funded and private research laboratories, field test centers, pilot plants, and demonstration plants. Exempt from preemptive legal regulations, EECi is a sandbox for regulatory ad ustment for innovation testing. Furthermore, EECi aims at supporting all kinds of activities that improve the quality of life for the local people with science, technology, and innovation. There are three target technological and industry groups of EECi. First, A S is the center of research and innovation for automation, robotics, and intelligent systems. Second, S is the center of research and innovation for life science and biotechnology. Third and last, S A A S is the incubation center for space technology and geo-informatics. In conclusion, the astern conomic Corridor of Innovation (EECi) improves the country’s existing industries and promotes new industries with science, technology, and innovation. With a close collaboration with the private, academic, and government sectors, as well as local people, our mission is to make Thailand an innovative country with stability, prosperity, and sustainability, as well as improve her people’s quality of life with science, technology, and innovation. To accomplish a complete eco-system for innovative industries, there are three crucial components to implement as follows: atio al alit rastr t re This component is dedicated for testing, and scientific analysis and evaluation, issuing quality assurance certificates of products and services, and controlling related health and safety standards. strial esti a S ali This component includes industrial scales-up, testbeds, living labs, green houses, and field demonstration plants, as a means to expand laboratories and testing centers in the area for supporting the growth of country’s industries. Sa bo es or e lator A st e t This component is dedicated for relaxing the legal regulations for any field tests, products, devices, platforms, and relevant applications that are prohibited in the other areas.

May-June 2017

p.5 -57_

p.indd 57

5/19/17 3:

PM


rt e

ชไนเดอร อิเล็คทริค

6ดาน IIoT เทคโนโลยี

ที่นาจับตาในป 2017

ชไนเดอร อิ เ ล็ ค ทริ ค ผู เชี่ ย วชาญระดั บ โลก ดานการจัดการพลังงาน และระบบออโตเมชั่น เผย อุตสาหกรรมออโตเมชั่นในปจจุบัน พัฒนาไปอยาง รวดเร็วยิง่ กวาชวงเวลาใดๆ ในประวัตศิ าสตรทผี่ า นมา หนึง่ ในสาเหตุหลักมาจากอินเทอรเน็ตออฟธิงสสาํ หรับ ภาคอุตสาหกรรม หรือ IIoT (Industrial Internet of Things) ซึง่ IIoT และการปฏิรปู สูด จิ ทิ ลั ชวยใหเกิดการ หลอมรวม และ เขาดวยกัน ซึ่ง นับเปนหัวใจสําคัญสําหรับผูใ ชงาน และผูป ระกอบการ OEMs แ อ ซาเลซ รองประธาน หนวยธุรกิจ อุตสาหกรรม ชไนเดอร อิเล็คทริค ประเทศไทย ชี้ 6 เทรนด ห ลั ก ของ IIoT ที่ ส ง ผลกระทบต อ ธุ ร กิ จ อุตสาหกรรมในวันนี้

1. การวิเคราะหขั้นสูง ปญญาประดิษฐ หรือ AI และเครื่องจักรที่เรียนรูได องค ก รธุ ร กิ จ นํ า แพลตฟอร ม ธุ ร กิ จ อั จ ฉริ ย ะและระบบอั จ ฉริ ย ะด า นการผลิ ต (EMI Enterprise Manufacturing Intelligence) มาใชในการสืบหาสาเหตุและทําความเขาใจ ถึงความผิดปกติที่เกิดขึ้น โดยปจจุบัน IIoT ทําใหผูประกอบการดานการผลิตสามารถนํา การวิเคราะหขั้นสูง รวมถึงปญญาประดิษ  (Artificial Intelligence) และการเรียนรูของ เครือ่ งจักรกล (Machine Learning) มาชวยสนับสนุนโซลูชนั ดานการวิเคราะหเชิงพยากรณ (Predictive) รวมถึงการวิเคราะหในระดับที่สามารถนําเสนอทางเลือกพรอมคาดการณ ผลลัพธที่จะตามมา (Prescriptive) โดยการเชื่อมตอขอมูลจากสมารทเซ็นเซอร อุปกรณ และสินทรัพยอื่นๆ ที่มีอยูเดิมเขากับแอพพลิเคชัน และระบบวิเคราะหเชิงพยากรณบน คลาวด จะชวยเพิม่ ศักยภาพเชิงกลยุทธให IIoT ชวยปรับปรุงประสิทธิภาพดานการผลิตได 2. อุปกรณสำหรับอุตสาหกรรมมีการใชงานอยูบนเอดจ (Edge) มากขึ้น ปจจัยหลักที่ทําใหระบบโครงสราง IIoT เติบโต คือ อุปกรณปลายทาง หรือเกตเวย อัจฉริยะ ซึ่งทําหนาที่ในการเก็บรวมรวม จัดกลุม คัดกรอง และสงขอมูลที่อยูใกลกับ กระบวนการทํ า งานในอุ ต สาหกรรมหรื อ สิ น ทรั พ ย ใ นส ว นของการผลิ ต นอกจากนี้ ยังสามารถนําขอมูลไปผานการวิเคราะห ตรวจจับความผิดปกติไดในแบบเรียลไทม และ ใหการแจงเตือน เพื่อใหผูดูแลงานสวนปฏิบัติการหรือผูควบคุมระบบสามารถดําเนินการ ตางๆ ไดอยางเหมาะสม การยายระบบวิเคราะหไปอยูที่สวนปลายของเครือขาย (Edge) และอยูใกลกับ แหลงขอมูลมากยิง่ ขึน้ นับเปนการชวยปรับปรุงคุณภาพดานการผลิตและใหผลิตผลทีด่ ขี นึ้ โดยเซ็นเซอรที่ราคายอมเยาพรอมระบบประมวลผล จะชวยเพิ่มความสามารถในการ รวบรวมขอมูลในสวนผลิตและประมวลผลไดจากสวนปลายเครือขาย (Edge) ดังนัน้ Edge computing ทีม่ าพรอมระบบวิเคราะหแบบฝงตัว จึงนับเปนทางเลือกทีด่ หี ากเราไมสามารถ รันระบบวิเคราะหบนคลาวดได หรือผูประกอบการผลิต (OEM) ไมไดเลือกใชโซลูชัน ที่ทํางานบนคลาวด ” ของระบบเครือขายในภาคอุตสาหกรรม กําลังกลายเปน ที่รองรับของอุปกรณตางๆ ทั้ง อีเธอรเน็ต ไวรเลสและเซลูลารเกตเวย อีเธอรเน็ต สวิตช และเราเตอร รวมไปถึงคอมพิวเตอรขนาดเล็ก ซึ่งอุปกรณที่อยูปลายขอบเครือขายเหลานี้ จะชวยเชื่อมโยงสภาพแวดลอมการทํางานในสวนงาน IT กับ OT เขาดวยกัน ชวยนํา อุปกรณตา งๆ ไมวา จะเปนเซ็นเซอร และคอนโทรลเลอร รวมถึงสินทรัพยอนื่ ๆ ไปสูร ะบบ ออโตเมชันหรือสถาปตยกรรมในระบบเอ็นเตอรไพรซ

May-June 2017

p.5 -59_ r i e.indd 5

5/19/17 3: 5 PM


3. การกำเนิดของฝาแฝดดิจิทัล (Digital Twins) IIoT และความเปนดิจิทัล ชวยใหบริษัทสามารถสรางสําเนา หรือตัวก็อปปของสินทรัพยใหอยูในรูปของดิจิทัล หรือที่เรียกวา ฝาแฝดดิจิทัล เพื่อใชในการจําลองสถานการณ และนํามาใชงาน บนสภาพแวดลอมระบบเสมือนใหเหมาะสม ( irtual Environment) กอนที่จะใชทรัพยากรจริง ตัวแทนเสมือนของสินทรัพยที่จับตองได ยังครอบคลุมไปถึงการทําสําเนาและจัดเก็บ (Archive) ขอมูลใน ประวัติศาสตรและขอมูลแบบเรียลไทม รูปวาด โมเดล ใบเสร็จของ สิ่งตางๆ การวิเคราะหในเชิงมิติและวิศวกรรม ขอมูลการผลิตและ ประวัติศาสตรการดําเนินงานที่สามารถนํามาใชเปนขอมูลพื้น าน เพื่อวัดมาตร านดานประสิทธิภาพการทํางาน ในทํ า นองเดี ย วกั น ข อ มู ล เรี ย ลไทม จ ากการรวบรวมของ เซ็นเซอร หรือแหลงขอมูลจากภายนอกองคกร สามารถนํามาใช ดําเนินการดานการวิเคราะห เชน การตรวจสอบเงือ่ นไข การคาดเดา สาเหตุของความลมเหลว ตลอดจนการวิเคราะหเชิงพยากรณและ การวิเคราะหเพื่อหาทางเลือกและคาดการณผลลัพธ ความรูตางๆ เหลานี้ สามารถเพิ่มคุณคาใหกับอายุการใชงานของสินทรัพยใน ประเด็นตอไปนี้ ● การปรับปรุงประสิทธิภาพ ● ลดดาวนไทม ● คาดการณลวงหนาเพื่อปองกันความลมเหลว ● ชวยเรือ ่ งการปรับปรุงสวนงานผลิตและออกแบบใหสามารถ ดําเนินการไดอยางตอเนื่อง 4. IIoT ชวยใหไดใชประโยชนจาก AR และ VR การฝกอบรมดวยโปรแกรมจําลองสถานการณใหกบั พนักงาน ใหม อาจเปนแนวทางทีใ่ หผลลัพธทดี่ ใี นการถายทอดความรูเ กีย่ วกับ โรงงาน ทั้งนี้เทคโนโลยีที่ใชงานรวมกับ IIoT เชน เกมตางๆ AR R และ 3D Immersive ที่ใชเปนอุปกรณสวมใส สามารถจําลองภาพ โรงงานและหนาทีก่ ารทํางานไดอยางสมจริง ตลอดจนระบบควบคุม และสินทรัพย เพื่อสรางประสบการณที่ใหความถูกตองแมนยําสูง การจําลองสถานการณชว ยใหการเรียนรูด ขี นึ้ และชวยพัฒนา ทักษะในการรับมือกับสถานการณไมคาดคิดทีเ่ กิดขึน้ ในโรงงาน และ ยังชวยเพิ่มความมั่นใจใหกับคนทํางานทั้งเรื่องการทํางานและการ รับมือกับสถานการณฉุกเฉิน ซึ่งแอพพลิเคชันจําลองสถานการณ ตางๆ ยังครอบคลุมถึงเรื่องการทดสอบซอฟตแวรใหมเพื่อใหใชงาน ไดจริง การสนับสนุนเรื่องการยายระบบ รวมไปถึงการทดสอบ โปรแกรมและตรวจสอบวาโปรแกรมนั้นทํางานไดตรงความตองการ ใชงานไดจริง ( alidation)

5. MQTT โปรโตคอลสงขอมูลสำหรับ IIoT essa e e ei ele etr ra s ort ซึ่งเปน โปรโตคอลการสงผานขอมูลระหวางอุปกรณไปยังอุปกรณ หรือเครื่องจักร ไปยังเครือ่ งจักร (Machine-to-Machine) จะเติบโตไปสูก ารใชเปนโปรโตคอล สงขอมูลสําหรับ IIoT เนื่องจาก MQTT ถูกออกแบบมาเพื่อใชในการสงและ รับขอความไดอยางคลองตัว ใชในการเชื่อมตอระหวางสถานที่ที่อยูไกล ออกไป ซึง่ ตองใชโคดทีม่ ขี นาดเล็กและ หรือแบนดวดิ ธเครือขายคุณภาพสูง ซึง่ การรับสงขอมูลดังกลาวใชสาํ หรับโมบายแอพพลิเคชัน เพราะมีขนาดเล็ก ใชพลังงานนอย และชวยลดแพ็กเกจขอมูลใหเล็กลง สามารถกระจายขอมูล ไปยังผูรับไมวาเพียงคนเดียวหรือหลายคนไดอยางมีประสิทธิภาพ 6. ระบบรักษาความปลอดภัยบนไซเบอรที่แข็งแกรงยิ่งขึ้น จะชวยลดความกังวลเรื่อง IIoT การปรับปรุงเทคโนโลยีและวิธีรักษาความปลอดภัยที่ดีขึ้น เชน การ รับรองของ Achilles (Achilles Certification) จะชวยลดความกังวล โดยการ รักษาความปลอดภัยบนไซเบอรจะไมใชอปุ สรรคอันยิง่ ใหญอกี ตอไปสําหรับ โซลูชันที่ใหความสามารถดาน IIoT ในสภาพแวดลอมดานอุตสาหกรรม และระบบโครงสรางสําคัญ ทั้งนี้ Achilles Communications Certification จะให ก ารรั บ รองความแข็ ง แกร ง ของเครื อ ข า ยสํ า หรั บ อุ ป กรณ ที่ ใช ใ น อุตสาหกรรม ใน 2 ระดับ โดยใหการตรวจสอบสําหรับผูประกอบการดาน การผลิตและลูกคาวาอุปกรณที่ไดรับการรับรองนั้นไดมาตร านเรื่องความ แข็งแกรงในการสื่อสาร ตามมาตร านที่ไดรับการยอมรับจากอุตสาหกรรม และมีการบังคับใชงานสําหรับผูดูแลระบบโครงสรางสําคัญสวนใหญ

ขอเสนอแนะ

ผูใชปลายทางและผูประกอบการดานการผลิต ควรใหการตอบรับ แทนการตอตาน เพราะ IIoT นํามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงอยางใหญหลวง ในทางที่ดี ในประเด็นตอไปนี้ ● การบริหารจัดการสินทรัพย และชวยหลีกเลี่ยงการเกิดดาวนไทม ซึ่งเปนสิ่งที่ตองคํานึงเปนอันดับแรก ● ซัพพลายเออรดานระบบออโตเมชัน จะตองชวยลูกคาคํานวณ เรื่องการคืนทุนซึ่งเปนเหตุผลสําคัญสําหรับการลงทุนโซลูชัน IIoT ใหมๆ เหลานี้ ● สินทรัพยเดิมจะยังคงเปนสวนหนึ่ง และจะถูกรวมอยูในโซลูชัน เทคโนโลยี IIoT เหลานี้เทาที่จะเปนไปได ทายที่สุด แนวโนมและการเปลี่ยนแปลงเหลานี้ จะทําใหชวงเวลานี้ เปนชวงเวลาที่นาตื่นเตนอยางยิ่งสําหรับระบบออโตเมชัน พรอมกับ อนาคตที่สวางไสวยิ่งขึ้นไปอีก May-June 2017

p.5 -59_ r i e.indd 59

5/19/17 3: 5 PM


< Special Area บร

เอ ีรา า

เสิร์จที่ดีเลือกอย่างไรกันนะ

ค�าตอบอยู่ที่นี่แล้ว

การป อ งกั น แรงดั น ไฟฟ า สู ง เกิ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในช ว งระยะเวลาสั้ น ๆ เนื่ อ งจากปรากฏการณ ฟ  า ผ า และ การสวิ ท ชิ่ ง ทางไฟฟ า ของโหลด ขนาดใหญ สงผลกระทบตอคุณภาพ ฉนวนของโหลดตางๆ ที่ตออยูภาย ในสวิทชบอรดไฟฟา เกิดความชํารุด เสี ย หายและเสื่ อ มสภาพก อ นระยะ เวลาอันควร การติดตัง้ อุปกรณปอ งกัน เสิรจ เปนการปองกันขั้นพื้น าน ซึ่ง จะต อ งทํ า งานร ว มกั บ ระบบการต อ ลงดินที่ถูกตองไดมาตร าน จึงจะชวย ใหอุปกรณปองกันเสิรจในระบบไฟฟา ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิด ความปลอดภัยสูงสุดตออุปกรณไฟฟา และผูใชงาน

การเกิดแรงดันไฟฟา สูงเกินในชวงระยะเวลาสั้นๆ พิกัดแรงดันไฟฟาอาจมีคาแรงดันไฟฟาสูง ถึงหลายหมื่นโวลท ถึงแมวาจะเกิดปรากฏการณนี้ภายใน ชวงระยะเวลาสัน้ ๆ แตพลังงานไฟฟาทีเ่ กิดขึน้ นัน้ จะสงผลกระทบโดยตรง ตออุปกรณไฟฟาที่ตออยูภายในระบบทําใหเกิดการชํารุดและเสียหายได การเกิ ด เสิ ร  จ ขึ้ น ในระบบไฟฟ า อาจมี ส าเหตุ ที่ แ ตกต า งกั น ออกไป เช น การเกิ ด ฟ า ผ า ขึ้ น จากภายนอก การเกิ ด ฟ า ผ า ลงบนสายส ง ไฟฟ า ทํ า ให เ กิ ด การเหนี่ ย วนํ า สนามแมเหล็กไฟฟาขึ้นบนสายตัวนํา สําหรับปรากฏการณที่ไมใชสภาพอากาศ เชน การเปลี่ยนแปลงแทปของหมอแปลงไฟฟา การตอโหลดขนาดใหญเขาสูระบบไฟฟาหรือ การตัดตอมอเตอรไฟฟาขนาดใหญ ที่อาจทําใหเกิดแรงดันไฟฟาสูงขึ้นชั่วขณะภายใน สายสงไฟฟา จึงทําใหมีผลกระทบตอระบบไฟฟาขางเคียงที่ตออยูภายในระบบเดียวกันได

จากผลของแรงดันไฟฟาเสิรจที่เกิดขึ้นในระบบไฟฟา เราสามารถปองกันไดโดย การติดตั้งอุปกรณปองกันเสิรจ เพื่อเปนเสนทางในการเบี่ยงเบนหรือระบายแรงดัน เสิรจลงสูดิน และยังเปนการปองกันแรงดันเสิรจไมใหไหลกลับเขาสูอุปกรณไฟฟาที่ ติดตั้งอยูภายในระบบไฟฟาได ดังนั้นการกําจัดแรงดันเสิรจจึงสงผลใหอุปกรณไฟฟา สามารถใชงานไดเปนปกติ และจะไมไดรับความเสียหายในสภาวะที่เกิดเสิรจขึ้นใน ระบบไฟฟา (สังเกตไดจากรูปที่ 1 เมื่อแรงดันไฟฟามีคาสูงเกินกวาที่อุปกรณกําหนด ชวง ระยะเวลาในการเกิดขึ้นชวงสั้นๆ อุปกรณไฟฟาจะไมสามารถทนทานได แตตัว Surge Protection Device จะทําการระบายแรงดันเสิรจดังกลาวลงดิน เพื่อปองกันอุปกรณไฟฟา ที่ตออยูภายในระบบไฟฟาเดียวกันไมใหเกิดการชํารุดเสียหายได แร ไฟฟาส เ ร ra sie ts olta e คือ การเปลี่ยนแปลงของระบบไฟฟากําลัง ซึง่ จะเกิดขึน้ ชัว่ ครูห รือชัว่ ขณะในธรรมชาติ และมีคาํ ศัพทอกี คําหนึง่ ทีม่ คี ณ ุ ลักษณะทีเ่ หมือนกัน คือ เสิรจ (Surge) ารเ เสร S r e คือ สภาวะชั่วครูที่เกิดจากฟาผา ซึ่งการปองกันสามารถทําไดโดย การติดตั้งกับดักเสิรจ (Surge Protection Device : SPD) นั่นเอง

รูปที่ 1 การป้องกันแรงดันของเสิร์จ Surge Protection Device (SPD)

May-June 2017

Faifa-Mag-Surge Protection-2017.indd 60

4/27/2017 5:44:22 PM


ผลกระทบจากฟ้าผ่าที่มีผลต่อคุณภาพไฟฟ้า...

รูปที่ 2 การเกิด ฟ้าผ่าทางตรง และทางอ้อมทีเ่ กิดขึน้ กับสิ่งปลูกสร้าง

การแพรกระจายของคลืน่ สนามแมเหล็กไฟฟา (Electromagnetic Field) จะกอให เกิดแรงดันไฟฟาสูงเกินชัว่ ขณะหรือแรงดันเสิรจ ขึน้ ทีส่ ายตัวนํา ซึง่ สามารถทําให อุปกรณไฟฟาไดรบั ความเสียหายไดงา ย ตามมาตร าน IEC 62305-4 เมือ่ มีฟา ผา ตอสิง่ ปลูกสรางเกิดขึน้ ใหถอื วากระแสฟาผา 50 จะถูกกระจายลงดินผานกราวด ของระบบปองกันฟาผาภายนอก และสวนทีเ่ หลืออีก 50 จะถูกเหนีย่ วนํากระจาย ตัวเขาไปสูร ะบบไฟฟาตางๆ ทีอ่ ยูภ ายในอาคารของสิง่ ปลูกสรางผานทางสายดิน เขาที่ตูเมนไฟฟา จากรูปที่ 2 กระแสฟาผาสูงสุดจะมีขนาดพิกดั กระแสไฟฟาที่ 200 kA อางอิงจาก มาตร าน IEC Standards กระแสไฟฟา 50 (200 kA 2 100 kA) จะไหล ผานลงดินผานสายกราวดของระบบปองกันฟาผาภายนอกอาคาร สวนกระแส ไฟฟาที่เหลืออีก 50 จะถูกเหนี่ยวนําเขาสูระบบไฟฟาภายในอาคารผานทาง สายดินเขาที่ตูเมนไฟฟา 3 เฟส 4 สาย โดยที่ N กับ G ตอถึงกัน จะกําหนดให ทําการติดตั้ง SPD Class I แบบ 3 โพล

o er re e er olta es คื อ การเปลี่ ย นแปลงของความถี่ มู ล าน (Fundamental Frequency) ของระบบไฟฟา กํ า ลั ง จากค า ที่ กํ า หนด 50Hz สาเหตุ ข อง การเปลี่ยนแปลงความถี่กําลังไฟฟาเกิดมาจาก การเกิดฟอลตขนึ้ ในสายสงไฟฟา (Transmission Line) การปลดโหลดขนาดใหญออกจากระบบ ไฟฟา นอกเหนือจากปรากฏการณของ overvoltages ชั่วคราว ซึ่งอาจมีผลตอตัวนําเฟสใดเฟสหนึ่ง ในสายสงไฟฟา สามารถสงผลกระทบที่ทําให แรงดั น ไฟฟ า ในเฟสอื่ น ๆ เกิ ด แรงดั น ไฟฟ า เปลี่ ย นแปลงสู ง ขึ้ น ชั่ ว ขณะหรื อ เรี ย กกั น ว า Power Frequency Overvoltages (POP) ซึ่ง เหตุการณเหลานี้ถือเปนแรงดันไฟฟาที่เพิ่มขึ้น สูงเกินกวา 10 ของคาแรงดันไฟฟาพื้น านที่ ใชงานตามการเกิด overvoltages ซึ่ง POP จะ เกิดมาจากปญหาในเครือขายการจัดจําหนาย กระแสไฟฟาหรือโดยปกติการเชื่อมตอที่ไมดี หรือการชํารุดเสียหายของตัวนําไฟฟา

โดยพิกัดกระแสของ SPD Pole 100 kA 3 33.33 kA Lightning Impulse Current : Iimp (10 350 s) 33.33 kA กําหนดใหเลือก SPD Class I ใหมีพิกัดกระแส Iimp 33.33 kA Pole Normal Discharge Current : In ( 20 s) 5 kA Pole

โดยปกติระบบการสงจายไฟฟาสวนมากยังใชสายตัวนําไฟฟาเปนหลัก ซึ่งจะมีสายนิวทรัลทําหนาที่เปน ศักดิเทียบศูนยโวลทและศูนยโอหม สําหรับใชเปนอางอิงแรงดันไฟฟาที่เฟสเทียบกับดิน ดังนั้นถาตัวนํา ไฟฟานิวทรัลนี้ถูกทําลาย เกิดการชํารุดเสียหายขึ้นหรือขาดหายไปจากระบบไฟฟา 3 เฟส 4 สาย แลวนั้น แรงดันไฟฟาในเสนเฟส 1 เฟส จะมีขนาดพิกัดแรงดันไฟฟาที่ลดลง และจะทําใหแรงดันเฟสที่เหลืออีก 2 เฟส ยกระดับพิกัดแรงดันไฟฟาที่สูงขึ้น จึงทําใหเกิดความไมสมดุลของแรงดันไฟฟาทั้ง 3 เฟส ทําให มีผลกระทบโดยตรงกับโหลดหรืออุปกรณไฟฟาจะไดรับแรงดันที่ไมครบเฟส และรับแรงดันไฟฟาที่สูงขึ้น ชั่วขณะ ซึ่งในขณะที่เกิดฟอลตจนมีผลทําใหไดรับความเสียหายขึ้นนั้น มาจากแรงดันไฟฟาสูงเกินหรือมี ความเสี่ยงที่จะเกิดเพลิงลุกไหมไดในที่สุด โดยปญหาของสิ่งรบกวนที่เกิดขึ้นนั้นมีความรุนแรงมากหากไมมี การตอลงดิน (Grounding) หรือระบบการตอลงดินที่ไมไดประสิทธิภาพจะทําใหไมสามารถกําจัดสัญญาณ รบกวนออกจากระบบได

การใช้งานทั่วไปของอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ

รูปที่ 3 แรงดันไฟฟ้าที่ไม่สมดุลเกิดขึ้น เนื่องมาจากสายนิวทรัลเกิดการช�ารุดเสียหาย

ารต ต้ เสร ติดตัง้ ใหขนานบริเวณหนาโหลดทีจ่ ะทําการปองกัน ส า ต คาความตานทานของ Surge Protection Device จะมีคาความตานทานสูงและมีคาเปนอนันต ส า เี แร ไฟฟา ร า ra sie t olta e คาความตานทานของ Surge Protection Device จะมีคา ความตานทานตํา่ (ลัดวงจร) จึงทําใหสามารถเหนีย่ วนําแรงดันไฟฟาสูงเกิน และกระแส ไฟฟากระชากชั่วขณะไหลผานแนวทางเดินของ Surge Protection ไหลไปยังสายดินลงสูดิน May-June 2017

Faifa-Mag-Surge Protection-2017.indd 61

4/27/2017 5:44:26 PM


การป้องกันเสิร์จส�าหรับสวิทช์บอร์ดไฟฟ้าแรงต�่า ท�ายังไง าร อ ารต ต้ อ ร  อ เสร ี ี าร ร สา ส oor i ate S r e rote tio e i e

Installing a surge protection device 

อุปกรณปองกันเสิรจ (Surge Protection Device : SPDs) เปนอุปกรณปองกันที่ ติดตัง้ ภายในระบบไฟฟา โดยทีจ่ ะตอวงจรเปน แบบ า กับอุปกรณไฟฟาหรือ โหลดที่จะทําการปองกัน และสามารถติดตั้งไดทุกระดับชั้นเพื่อปองกันแรงดันเกิน (Overvoltage) อุปกรณปองกันเสิรจจะถูกออกแบบมาใหทําหนาที่กําจัดแรงดันไฟฟาสูงเกิน ในลักษณะของทรานเชี ยนต ที่ เกิ ด ขึ้ น ชั่ ว ขณะอั น เนื่ องมาจากฟาผา และ การสวิทชิ่งโหลดทางไฟฟาใหอยูในระดับที่ไมกอใหเกิดอันตรายกับระบบ ไฟฟาและอุปกรณตางๆ ที่ติดตั้งอยูภายในระบบไฟฟาทําใหกระแสเสิรจ เปลี่ยนทิศทางการไหลผานอุปกรณปองกันเสิรจลงสูระบบการตอลงดิน กอนเขาไปทําอันตรายกับอุปกรณไฟฟาที่ตอรวมอยูในระบบ โดยเสิรจ จะจํากัดพิกัดแรงดันไฟฟาไมใหมีคาแรงดันที่สูงเกิน คาความทนทานได ของฉนวนของอุปกรณไฟฟา

รูปที่ 5 การติดตั้งเสิร์จในระบบไฟฟ้า

BS EN 62305-4

BS EN 61643

BS EN 62305

มาตร านการป อ งกั น ฟ า ผ า สํ า หรั บ ระบบสาธารณูปโภค เพลดความรุนแรง ของเสิรจ อันเนือ่ งมาจากฟาผาโดยตรง และผลที่เกิดจากฟาผาทางออม และ การสวิทชิ่งทางไฟฟาของโหลด

มาตร านการป อ งกั น เพื่ อ ลด ความรุ น แรงของเสิ ร  จ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากฟาผา และการสวิทชิ่งทาง ไฟฟา ตามยานการปองกันฟาผา

มาตร านการกําหนดคุณลักษณะ ของกระแสฟาผา และแรงดันฟาผา เพื่ อ ใช ใ นการทดสอบอุ ป กรณ ปองกันเสิรจ

ผลกระทบโดยตรงจากฟาผา (การนํา) และ ผลกระทบทางออม (การเหนี่ยวนําแมเหล็ก ไฟฟา) เมื่อมีความเสี่ยงที่จะเกิดการปลดปลอยพลังงานโดยตรง โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อ ติดตั้งระบบปองกันฟาผาภายนอก อุปกรณปองกันเสิรจจะตองสามารถรองรับกระแส ไฟฟาสูงเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบจากแรงดันไฟฟาสูงสุดที่มีขนาดหลายหมื่นโวลท (k ) อยางไรก็ตามเมื่อความเสี่ยงของแรงดันไฟฟาที่เกิดจากผลกระทบทางออมจากการถูก ฟาผาในบริเวณใกลเคียงกระแสทีเ่ กิดขึน้ ซึง่ จะตองสามารถปลดปลอยพลังงาน เนือ่ งจาก ฟาผาไดในระยะเวลาที่ตํ่า (ms) ในกรณีแบบนี้ จะเกิดแรงดันไฟฟาสูงสุดอาจเกิน 1 k ตอเมตร ของตัวนําที่ระยะทาง 100 เมตร จะเห็นไดจากตัวเลขที่วาแมในระดับปจจุบัน ปริมาณพลังงานที่อยูตาํ่ กวาเสนโคง 10 350 s (ฟาผาโดยตรง) จะมีอันตรายมากกวา ดานลางของเสนโคง 20 s (ผลของฟาผาทางออม) รูปที่ 6 รูปคลื่นมาตรฐาน Switching Surge 8/20 µs และ Lightning Surge 10/350 µs • รู ป คลื่ น ที่ ใ ช้ ใ นการทดสอบอุ ป กรณ์ ป้องกันเสิร์จจากฟ้าผ่าโดยตรง คือ 10/350 µs (Lightning Current Wave Shape) • รู ป คลื่ น ที่ ใ ช้ ใ นการทดสอบอุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น เสิ ร ์ จ จากการสวิ ท ชิ่ ง คื อ 8/20 µs (Lightning Current Wave Shape)

รูปที่ 7 การท�างานของอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ โดยทั่วไประบบปองกันที่ดีที่สุดที่สามารถปองกันกระแสเสิรจ และป อ งกั น แรงดั น เสิ ร  จ ได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพรวมทั้ ง การ ตอลงกราวดที่ดีของระบบปองกันฟาผา เพื่อบังคับใหกระแส ฟาผาบางสวนถูกเบี่ยงเบนเขาสูระบบตอลงดิน ซึ่งจากรูปที่ 7 การติดตั้ง อุปกรณปอ งกันเสิรจในระบบไฟฟ า เพื่ อที่ จ ะจํ า กั ด แรงดันเสิรจ ใหลดลงมาเหลือเทากับระดับพิกดั แรงดันปองกัน p ( oltage Protection Level) ตามความสามารถของอุปกรณปอ งกัน เสิรจที่เลือกใชงานในแตละพิกัดแรงดัน

May-June 2017

Faifa-Mag-Surge Protection-2017.indd 62

4/27/2017 5:44:28 PM


ค�าศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับข้อก�าหนดของ SPD ที่เราควรรู้

Protection parameters according to IEC 61643-1 Characteristics of the line to be protected

a

or al olta e คือ คาแรงดันของระบบไฟฟา เชน 120 , 230 เปนตน ai o ti o s erati olta e คือ คาแรงดันไฟฟา สูงสุดตอเนื่องของอุปกรณปองกันเสิรจกอนที่อุปกรณปองกันจะทํางาน สามารถรองรับไดอยางตอเนื่องโดยที่จะไมไดรับความเสียหาย เชน 250 , 275 เปนตน or al is ar e rre t คือ คากระแสทดสอบรูปคลืน่ 20 s ทีไ่ หลผานตัวอุปกรณปอ งกันเสิรจ เชน 2.5 kA, 15 kA, 25 kA เปนตน ai o i al is ar e rre t คือ คากระแสทดสอบ รูปคลื่น 20 s ที่ไหลผานตัวอุปกรณปองกันเสิรจไดสูงสุด โดยที่ ตัวมันเองจะไมไดรับความเสียหาย เชน 25 kA, 40 kA เปนตน

i

tr

i ti lse rre t คือ คาความสามารถของอุปกรณปอ งกัน เสิรจในการดิสชารจกระแสอิมพัลสทดสอบรูปคลื่น 10 350 s โดยที่ ตัวมันเองไมไดรับความเสียหาย เชน 60 kA, 75 kA, 100 kA เปนตน rote tio e el ai esi al olta e คือ คาแรงดัน ไฟฟาสูงสุดหลังจากอุปกรณปองกันทํางาน เมื่อมีกระแส In ไหลผาน อุปกรณปองกันเสิรจ เชน 2.5 k , 4 k เปนตน es o se i e คือ คาการตอบสนองการทํางานของอุปกรณปอ งกัน เชน 25 ms, 100 ms เปนตน Example of installation with the 3 Classes of protector

รูปที่ 7 ตัวอย่างการติดตั้ง อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ ในระบบไฟฟ้า

อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จแบ่งการป้องกันตามรูปคลื่นกระแสหรือ คลื่นแรงดันอิมพัลส์ในการทดสอบได้ 3 รูปแบบ คือ เป น การป อ งกั น ฟ า ผ า โดยตรงได รั บ การทดสอบด ว ยรู ป คลื่ น ขนาด 10 350 s (การทดสอบ Class I) ซึ่งจําลองกระแส ไฟฟาที่เกิดจากกระแสฟาผาโดยตรง ความสามารถในการถายเทกระแสฟาผาลงดิน p (ระดับการปองกันแรงดันไฟฟา) ตองติดตัง้ มาพรอม กับอุปกรณปองกันชั้นถัดมา Class II ออกแบบ มาสําหรับใชกับแผงไฟฟายอย เพื่อลดความเสี่ยง และลดระดับแรงดันไฟฟาจากการเกิดฟาผา เชน ในอาคารที่มีระบบปองกันภายนอก

เป น การป อ งกั น ฟ า ผ า ทางออมไดรับการทดสอบ ดวยรูปคลื่นขนาด 20 s (การทดสอบ Class II) ซึ่งจําลองกระแสไฟฟาที่เกิดขึ้น ในกรณีทมี่ ฟี า ผาบนสายตัวนําไฟฟาหรือ บริเวณใกลเคียง ความสามารถในการถ า ยเทกระแสสู ง ลงสูพื้นดินใหมีขนาดปานกลาง (ระดับ การปองกันแรงดันไฟฟา) ออกแบบมา สําหรับใชในแผงจําหนายที่อยูดานหลัง ของตัวปองกัน Class I

534 ะ IEC 60364-5ีหล่ะ IEC 60364-4-ะ44แล3้วเรแลาค นด ไห บบ วรเลือกแ มันต่างกันยังไงน Sele tio o base o t e ate or o e i e t to be rote te ควรเลือกอุปกรณปอ งกันเสิรจ เพือ่ ใหระดับการปองกันแรงดันไฟฟา ( p) เขากัน กับคาพิกัดแรงดันไฟฟาสูงสุดที่คงที่ในระบบไฟฟาแรงตํ่า โดยอุปกรณไฟฟาที่ ตองการปองกัน ( e) เพื่อจุดประสงคในการสรางมาตร านเกณฑการออกแบบ และการเลือกอุปกรณปองกันมาตร าน IEC 60364-4-443 โดยแบงออกเปน อุปกรณ 4 ประเภทตามแรงดันไฟฟาอิมพัลสที่สามารถทนได o i al i stallatio olta e ase s ste s 120-230 230/400 277/480 400/690 1000

e ire i i e t at t e ori i o t e i stallatio it sta s ate or s r e 4 6 8 12

lse olta e it sta

istrib tio a al ir it e i e t it sta s ate or o er olta e 2.5 4 6 8

or

A lia es it sta s ate or o er olta e 1.5 2.5 4 6

S e iall rote te e i et it sta s ate or o er olta e 0.8 1.5 2.5 4

รับปรึกษาและวางแผนระบบบริหารจัดการพลังงานสอบถามรายละเอียดไดเลยนะครับ... อาคารศุภาลัยแกรนด ทาวเวอร หองเลขที่ 02, 03 ชัน้ ที่ 15 เลขที่ 1011 ถนนพระราม 3 แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120

AVERA Co., Ltd.

Tel : 0-2074-4411 Fax : 0-2074-4400

Faifa-Mag-Surge Protection-2017.indd 63

เปนการปองกันฟาผาทางออมไดรับการทดสอบ ด ว ยรู ป คลื่ น ขนาด 1.2 50 s - 20 s (การทดสอบ Class III) จะจําลองกระแสและแรงดันไฟฟาที่ สามารถเขาถึงอุปกรณที่ไดรับการปองกัน ความสามารถในการถายเทกระแสไฟฟาขนาดตํา่ ลงสูพ นื้ ดิน ให มีระดับการปองกันแรงดันไฟฟาตํ่าขึ้น ติดตั้งในตําแหนงเดียว กับการปองกันแบบ Class II ทีอ่ อกแบบมาเพือ่ ปกปองอุปกรณ ไฟฟาทีม่ ผี ลตอการเปลีย่ นแปลงของแรงดันไฟฟา ซึง่ ตออยูห า ง จากอุปกรณ Class II มากกวา 20 เมตร โดยความทนทานของอุปกรณไฟฟาในการปองกันเสิรจ จะตอง พิจารณาถึงขนาดพิกดั ระดับแรงดันปองกันของเสิรจ โดยคา p ทีม่ ี คาแรงดันไฟฟาตํา่ กวาใหปอ งกันทีด่ กี วา แตจะมีเรือ่ งของการเลือก ขนาดพิกดั แรงดันไฟฟา c และ T ของอุปกรณปอ งกันเสิรจ ดวย

Sele tio o base o t e to olo a t e o i al s l olta e แรงดันไฟฟาที่ใชงานตอเนื่องสูงสุด ( c) ที่ตกครอมตัวอุปกรณปองกันเสิรจ แบบตอเนื่อง แลวอุปกรณปองกันเสิรจยังสามารถทํางานไดอยู ควรเลือก ใหมีพิกัดแรงดันไฟฟามีคาแรงดันไฟฟาสูงกวาคาแรงดันไฟฟาสูงสุดตอเนื่อง ของระบบไฟฟาจากแหลงจายไฟที่ติดตั้งไว ทั้งนี้ขึ้นอยูกับพารามิเตอรตาม มาตร าน IEC 60364-5-534 โดยกําหนดคาตํ่าสุดที่อนุญาตของ c ขึ้นอยูกับ การกําหนดคาพิกัดแรงดันของะบบไฟฟา rote tors o e te bet ee ase s ste s ase o tor a e tral o tor ase o tor a o tor e tral o tor a o tor ase o tor a o tor ase o tors

S arra e e t

l ro

i

arra e e t

arra e e t arra e e t it istrib te e tral

arra e e t it o t istrib te e tral N/A

1.1 Uo

1.1 Uo

1.1 Uo

1.1 Uo

1.1 Uo

U

Uo a

Uo a

Uo a

N/A

1.1 Uo

N/A

N/A

N/A

1.1 U

1.1 U

1.1 U

1.1 U

Mobile : 088-001-0416 E-mail : sales@avera.co.th

May-June 2017

4/27/2017 5:44:30 PM


e

re

บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด

วันนี้ขอพูดถึงรีเลยขวัญใจมหาชนคนทําตูอีกครั้งหนึ่ง นั่นคือรีเลยในตระกูล จากคายออมรอน ผานมาแลว เกือบ 50 ป สําหรับรีเลยรุนนี้ ที่ไดรับความไววางใจจากผูใชงานมากมายในเรื่องของความทนทาน จนในระยะหลังๆ เริม่ มีของเลียนแบบเขามาระบาดมากมาย ทัง้ ทีท่ าํ เลียนแบบตรงๆ หรือทําใหมรี ปู รางหนาตาเหมือนกันแตตดิ ยีห่ อ ใหม หลากหลายรูปแบบ จนทําใหผูใชงานเริ่มสับสนอันไหนของจริงอันไหนของปลอม ทางคายออมรอนเองก็ไมได นิ่งนอนใจยอมใหของปลอมเขามาทําใหเสียชื่อเสียงในเรื่องของคุณภาพ จึงไดปรับเปลี่ยนการผลิตใหมแบบยกเครื่อง เริม่ จากเปลีย่ นไลนการผลิตจากเดิมกึง่ อัตโนมัติ มาเปนแบบอัตโนมัตเิ ต็มรูปแบบ ทีเ่ รียกวา ll A to ate ro tio สามารถควบคุมการผลิตไดทุกขั้นตอน ผลิตรีเลยไดครั้งละจํานวนมาก ในขณะที่มีคุณภาพเหมือนกันทุกตัว นอกจากจะยกเครื่องเรื่องของไลนการผลิตใหมแลว ทางออมรอนเองยังไดปรับปรุงคุณลักษณะของรีเลย รุนใหมดวยการเพิ่ม Indicator บอกสถานะการทํางานใหเปนมาตร านในทุกรุน ผูใชงานสามารถดูสถานะการทํางาน ของรีเลยไดโดยไมตองใชอุปกรณเครื่องมือวัด นอกจากนี้แลวยังเพิ่ม LED บอกสถานะของระบบไฟที่จายใหกับ Coil ของรีเลย โดยใชโคดสีเปนตัวแยก ถาเปน Coil ไฟ DC. ก็เปน LED สีเขียว ถาเปน Coil ไฟ AC. ก็เปน LED สีแดง

May-June 2017

p.

- 5_ mr n.indd

5/30/17 3:3 PM


นอกจากนี้แลวยังยายตําแหนงการสกรีน S e i atio Sa et Sta ar ตางๆ มาไวที่ดานหนา ผูใชงานสามารถอาน o el S e i atio หรือ Sa et Sta ar ไดอยางสะดวก และที่สําคัญในรีเลย รุนใหมจะใชการสกรีนตัวอักษร โดยเครื่อง Laser Marker นอกจากจะเห็นไดชัดเจนแลวยังชวยปองกันการ เลียนแบบไดอีกดวย สําหรับรีเลยรนุ ใหมนี้ ยังเรียก เหมือนเดิม เพิม่ เติมคือคําวา S เขาไป มีไฟเลีย้ งใหเลือกหลากหลาย เหมือนเดิม จาก ในอดีตจนมาถึง S ในปจจุบัน คุณภาพก็ยังคงอยูคูกับแบรนดออมรอน และ ผูทํางานตูตลอดไป ส อ ลเ เต ไ ีเ บไซต tt o ro a o t ro ts a il รอสอบ า า ต แ า า ส าออ รอ อ า เ า าร

May-June 2017

p.

- 5_ mr n.indd

5

5/30/17 3:3 PM


e

re

บริษัท ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด

การเลือกใช

เซอรกิตเบรกเกอร

แรงดันปานกลาง

(Medium Voltage Circuit Breakers : MVCB)

เซอรกิตเบรกเกอรเปนอุปกรณที่ใชสําหรับเปดและปดวงจร ทั้งในขณะที่ระบบไฟฟากําลังอยูในภาวะปกติและภาวะผิดปกติ การเปด-ปดวงจรในภาวะปกติจะทําดวยมือเมื่อไรก็ไดตามความ ต อ งการ แต เ มื่ อ ระบบอยู ใ นภาวะผิ ด ปกติ เซอร กิ ต เบรกเกอร จะตองตัดอยางรวดเร็วที่สุดเทาที่จะทําได จึงจําเปนตองมีอุปกรณ อื่นๆ ชวยตรวจจับภาวะผิดปกติ และสั่งใหเซอรกิตเบรกเกอร เปดหรือปดวงจรโดยอัตโนมัติ ความรู แ ละความเข า ใจที่ ถู ก ต อ งถึ ง ลั ก ษณะสมบั ติ และ หลักการของเซอรกิตเบรกเกอรเปนสวนสําคัญที่ชวยใหเขาใจเรื่อง วิศวกรรมการปองกันไดดขี นึ้ เพราะในการกําจัดฟอลตนนั้ ตองมีการ ทํางานรวมกันระหวางเซอรกิตเบรกเกอรและรีเลยปองกันฉนวนที่ ใชดับอารกของเซอรกิตเบรกเกอรจะมีหลายแบบ โดยขณะใชงาน หนาสัมผัสจะถูกหอหุมดวยฉนวน เชน กาซ SF6 หรือน้ํามัน โดยมี ตัวถังทําหนาทีเ่ ปนกราวดอปุ กรณและมีหนาสัมผัสตอเขากับระบบ

เ อรกิตเบรกเกอรแบบสุ ากา ( C D AW P)

เ อรกิตเบรกเกอรแบบสุ ากา ( C FI D P )

ในบางทีฉนวนจะทําหนาที่ดับอารกและระบายความรอนในระบบไปพรอมๆ กัน ตัวถังของเซอรกิตเบรกเกอรจะตองออกแบบเพื่อใหเวลาที่บรรจุฉนวนลงไปแลว มีคา Dielectric Strength ที่เพียงพอ ความแตกตางของเซอรกิตเบรกเกอรจะขึ้นอยูกับชนิด ของฉนวน เชน กาซ น้ํามัน อากาศ สุญญากาศ และตัวกลไกในการสั่งทํางาน เชน ใชสปริงรวมกับลม (Pneumatic) หรือน้ํามันไ ดรอลิก (Hydraulic) แตสวนหลักจริงๆ ที่พิจารณาคือชนิดของฉนวน เชน น้ํามัน ไมตองการพลังงานจากกลไกเพื่อใชดับอารก เพราะใชพลังงานโดยตรงจากอารกที่เกิดขึ้น เปนตน

ประเภทของเซอรกิตเบรกเกอร

เ อรกิตเบรกเกอรแบบสุ

ากา ( C )

เซอรกิตเบรกเกอรที่นิยมใชปจจุบันมี 2 ชนิด ไดแก เซอร ตเบร เ อรแบบส า า a ir it rea er เมื่อ หนาสัมผัสของเซอรกติ เบรกเกอรแยกออกจากกัน จะทําใหเกิดอารกขึน้ ซึง่ อารกทีเ่ กิดขึน้ ประกอบดวย อิเล็กตรอน ไอออน สวนผสมของกาซ รวมเรียกวาพลาสมา (Plasma) ซึ่งทําใหเกิดการนําไฟฟาขึ้นได การเกิดอารกนี้ทําใหหนาสัมผัสของเซอรกิตเบรกเกอร เสียหายได ดังนั้นจึงจําเปนตองดับอารกในเวลาที่เร็วที่สุด เซอรกติ เบรกเกอรแบบสุญญากาศเปนการดับอารกแบบลดความดัน คือ ทีค่ วามดัน ต่าํ มาก จะมีคา ความคงทนของไดอิเล็กตริกสูงพอสมควร และมีโมเลกุลของอากาศเหลือ นอยมาก เนือ่ งจากเขาใกลสญ ุ ญากาศ เมือ่ โมเลกุลของอากาศเหลือนอยทําใหเกิดอารก ไดยาก และเมื่อกระแสสลับผานศูนยลงไปแลว จะลดความรุนแรงของอารกลง และคา คงทนของไดอิเล็กตริกสูงพอสมควร จึงทําใหอารกสามารถดับลงได

May-June 2017

p.

- 9_ re

.indd

5/29/17

:

PM


โครงสรางภายนอกเ อรกิตเบรกเกอรแบบสุ

ากา

เซอรกิตเบรกเกอรแบบสุญญากาศสวนมากจะติดตั้ง ภายในอาคารและตัวหนาสัมผัส (Interrupter) ไมตองการ การบํารุงรักษา เพราะหนาสัมผัสของเซอรกิตเบรกเกอรแบบ สุญญากาศอยูในสุญญากาศจึงไมมีสิ่งสกปรกและจะมีอายุ การใช ง านยาวนาน แต ก ารผลิ ต เซอร กิ ต เบรกเกอร แ บบ สุญญากาศนั้นทําไดยาก เพราะหนาสัมผัสจะเปนโลหะชนิด พิเศษ และไมสามารถสรางใหมีแรงดันสูงมากๆ ได

โครงสรางภาย นเ อรกิตเบรกเกอรแบบสุ

ากา

อ ี อ a อ ● หนาสัมผัสสึกกรอนชา ทําใหอายุใชงานยาว ● มีขนาดเล็ก ● สามารถติดตั้งไดทุกตําแหนง อเสี อ a อ ● acuum C ตั ด กระแสด ว ยเวลาสั้ น มาก ทํ า ให เ กิ ด Switching Overvoltage ที่สูง ● ในการใช ง าน acuum C บริษัทผูผลิตจะแนะนําใหติด Surge Absorber ซึ่งเปนวงจร R-C เขาชวยดวย

โครงสรางภาย น acuum Interrupter May-June 2017

p.

- 9_ re

.indd

7

5/29/17

:

PM


เซอร ตเบร เ อรแบบ S ซึ่งกาซ SF6 เปนกาซที่ไมมีสี ไมมีกลิ่น ไมมีรส ไมติดไฟ ไมชวยใหติดไฟ และไมทําปฏิกิริยากับสาร อื่น ทนความรอนไดสูง มีความหนาแนนมากกวาอากาศ และมีความ คงทนของสารไดอิเล็กตริกสูงมาก กาซ SF6 จะมีแรงดันเบรกดาวนสูง เนื่องจากสามารถจับตัวอิเล็กตรอนอิสระในสนามไฟฟาไดมาก ดังนั้น อิเล็กตรอนจะไปเกาะกาซ SF6 ทําใหมีคุณสมบัติทางไฟฟาเปนขั้วลบ ที่เคลื่อนที่ไดชา เปนผลทําใหอัตราการเพิ่มของอิเล็กตรอนอิสระถูก หนวงใหชาลงดวย สงผลใหกาซ SF6 มีแรงดันเบรกดาวนสูงกวากาซ ชนิดอื่น จึงเหมาะในการนํามาใชเปนฉนวนของเซอรกิตเบรกเกอร จากรูป เซอรกิตเบรกเกอรแบบ SF6 แสดงโครงสรางการทํางาน ของหองดับอารกของเซอรกติ เบรกเกอรแบบ SF6 รูปแบบหนึง่ ในหอง ดับอารก ประกอบดวย หนาสัมผัสที่อยูกับที่และหนาสัมผัสที่เคลื่อนที่ ไดกับกาซ SF6 ที่บรรจุในหองดับอารก โดยกาซ SF6 จะถูกเปาเขามา ในทรงกระบอก เมือ่ มีการแยกออกของหนาสัมผัสของเซอรกติ เบรกเกอร ทําใหความดันในหองดับอารกมีความดันเพิ่มขึ้น เมื่อกาซ SF6 เปา ลําอารก ทําใหเกิดแรงดันตกครอมลําอารก และทําใหอารกแตกตัวเปน ลําแคบๆ และรอบๆ จะมีอุณหภูมิต่ํา ทําใหอารกสามารถดับได และ กาซ SF6 สามารถกลับคืนสภาพไดอยางรวดเร็ว จึงทําใหยากตอการ เกิดแรงดันตกครอมหนาสัมผัส (Recovery oltage)

ารเลอ า ● M C ตองใชรว  มกับรีเลยปอ งกันใหการปองกันไดหลากหลาย ขึ้ น อยู กั บ Relay ที่ ใช ไม เ หมื อ น H HRC Fuses ซึ่ ง ป อ งกั น ได อยางเดียวคือ กระแสเกิน (Overcurrent) และลัดวงจร (Short Circuit) เทานั้น ● C มีราคาแพง ใชกบ ั ระบบไฟฟาขนาดใหญ เชน อาคารขนาด ใหญ โรงงานอุตสาหกรรม และสถานีไฟฟายอย (Substation) เปนตน ีตอ าร า ี ตอไ ี้ 1. พิกัดแรงดัน 2. คา IL 3. พิกัดกระแสปกติ 4. พิกัดกระแสลัดวงจร ทำไมตองเลือกใชเซอรกิตเบรกเกอรแบบสุญญากาศ “Hyundai Brand”

รูปเ อรกิตเบรกเกอรแบบ SF6 S

กาซ SF6 ไดถูกนํามาใชเปนฉนวนและตัวดับอารก ใชใน H C อยางไดผลมานานแลว ● ขณะนี้ไดมีการนํามาใชในระดับแรงดัน M ● ใน M C C แบบนี้ การตัดกระแสทําใน Chamber ซึ่ง บรรจุกาซ SF6 การตัดกระแสจะเปนแบบ Soft Switching ทําให ได Overvoltage ตํ่ามาก จึงเหมาะสําหรับการตัดตอวงจรมอเตอร หมอแปลง เปนตน ●

May-June 2017

p.

- 9_ re

.indd

5/29/17

: 5 PM


May-June 2017

p.

- 9_ re

.indd

9

5/29/17

: 5 PM


e

re

บริษัท เชลลประเทศไทย จํากัด

น้ำมันหมอแปลงไฟฟา GTL ของเชลล ตอบโจทยการผลิตไฟฟาของชาติอยางไร หมอแปลงสำคัญอยางไร

เมื่อเจาะลึกลงไปถึงกระบวนการจัดสงกระแสไฟฟาไปยังปลายทาง ซึ่งไดแก ระบบสาธารณูปโภค รวมถึงภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจและ ครัวเรือนนั้น องคประกอบที่มีความสําคัญและขาดไมไดคือ หมอแปลง ไฟฟา ซึ่งตองมีการเลือกชนิดของน้ํามันหมอแปลงไฟฟาใหเหมาะสม เพราะโจทยใหญที่ผูผลิตหมอแปลงไฟฟาหรือโรงไฟฟาสนใจและมักเปน กังวลคือ ทําอยางไรทีจ่ ะทําใหหมอแปลงไฟฟามีการระบายความรอนไดดี ฉนวนเสือ่ มสภาพชา มีอายุการใชงานยาวนาน เพราะปจจัยดังกลาวสงผล ตอการผลิตหรือสงกระแสไฟฟาไดอยางมีเสถียรภาพ ไมเกิดปญหาไฟดับ ไฟตก หรือหมอแปลงไฟฟาระเบิด ซึ่งสงผลกระทบและความเสียหาย ตอธุรกิจ หรือแมแตอาจเปนอันตรายตอชีวิตในกรณีที่หมอแปลงระเบิด

ทำไมตองสนใจชนิดของน้ำมันหมอแปลง

ในยุคสมัยที่เทคโนโลยีเขามามีบทบาทตอการพัฒนาเศรษ กิจและ สังคมของประเทศ สอดคลองกับแนวทางการทําธุรกิจของเชลล ใน านะ ผูนําดานพลังงานระดับโลก ที่ไมหยุดนิ่งในการคิดคนนวัตกรรมดานตางๆ เพื่อแกไขขอจํากัดดานพลังงานที่มีอยูใหลดลงหรือหมดไป ไมเวนแมแต การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตน้ํามันหมอแปลงไฟฟา เนื่องจากน้ํามัน หมอแปลงที่ใชกันอยูทั่วไปนั้น ผลิตจากน้ํามันแร (Mineral Oil) ซึ่ง เริ่มเจอกับขอจํากัดตางๆ ไมวาจะเปนเรื่องของจุดวาบไฟที่ต่ํากวา ประเทศไทยมีความตองการใชไฟฟา ดูดความชื้นงาย นอกจากนี้ ซัลเฟอรท่ีมีอยูในน้ํามันหมอแปลง เพิ่มสูงขึ้นทุกป เฉลี่ยรอยละ 2.67 ตอป ชนิดนี้ยังเปนสาเหตุทําใหมีสิ่งสกปรกและการกัดกรอนเกิดขึ้น ซึ่งคาดวาในป พ.ศ. 2579 หรือประมาณ 20 ปขางหนา จนทํ า ให ฉ นวนภายในหม อ แปลงเสื่ อ มสภาพ จนระบบ พลังไฟฟาสุทธิจะสูงขึ้นเปน 49.655 เมกะวัตต ทั้งนี้เปนผล การระบายความรอนภายในหมอแปลงมีปญหา และสงผล จากแนวโนมการขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทยที่มีการปรับตัว ตอประสิทธิภาพการทํางานของหมอแปลงไฟฟาในที่สุด แผนการลงทุนโครงสรางพื้นฐานตางๆ ตามนโยบายของรัฐบาล จากขอจํากัดที่พบในน้ํามันแร เชลลไดใชเวลากวา ตลอดจนการเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งสงผลตอการ 40 ป ในการพัฒนาเทคโนโลยีที่สามารถทลายขอจํากัด ใชไฟฟาของไทยโดยรวม ในการจัดทำแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟา ตางๆ จนสามารถสงผลใหน้ํามันหมอแปลงที่ใชเทคโนโลยี GTL ของเชลลมีคุณภาพสูง และเปนที่ยอมรับในระดับโลก ของประเทศไทย พ.ศ. 2558-2579 หรือ PDP 2015 รวมถึงการยอมรับและนําไปใชงานในภาคการผลิตไฟฟา หลักการสวนหนึ่งที่รัฐบาลเนนใหความสำคัญคือ ในดาน ของประเทศไทยอย า งกว า งขวางในช ว งหลายป ที่ ผ า นมา ความมั่นคงทางพลังงาน โดยตองจัดหาไฟฟาใหเพียงพอ จากการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การไฟฟาสวนภูมภิ าค ตอความตองการใชไฟฟาของประเทศ และในดาน และการไฟฟ า นครหลวง รวมถึ ง โรงไฟฟ า เอกชนรายใหญ ๆ เศรษฐกิจ โดยตองคำนึงถึงตนทุนการผลิต ของไทยอีกเปนจํานวนมาก ไฟฟาที่เหมาะสม

May-June 2017

p.70-71_

e _ di .indd 70

5/9/17

:11 PM


GTL คืออะไร ทำไมตองสนใจ

น้ํ า มั น หม อ แปลง Shell Diala S4 -I ของเชลล นับเปนนวัตกรรมใหมของวงการน้าํ มันหมอแปลง ที่เชลลพัฒนาขึ้น โดยนําเทคโนโลยี GTL หรือ Gas-to-Liquid มาใชในกระบวนการผลิตน้ํามันหมอแปลง เพื่อทําใหไดผลิตภัณฑน้ํามัน หมอแปลงที่มีความใสและบริสุทธิกวาน้ํามันดิบชนิด Naphthenic Oil โดยมีจุดเดน ตรงที่ไมมีซัลเฟอร จึงมีความสะอาดและบริสุทธิสูง และมีโครงสรางที่มีเสถียรภาพ Oxidation Stability เหนือกวา และยังสามารถเลือกขนาดโครงสรางของโมเลกุลไดดวย ซึ่งมีผลตอการเพิ่ม ประสิทธิภาพของหมอแปลงไฟฟาโดยตรง ในขัน้ ตอนการผลิตนัน้ เริม่ จากการผลิต GTL ทีป่ ระเทศกาตาร และสงไปทดสอบยังโรงงาน 3 แหงในโลก คือที่ ูสตั้น สหรั อเมริกา ัมบูรก เยอรมนี และ องกง กอนสงออกจําหนาย ทั่วโลกภายใตชื่อ Shell Diala S4 -I ขั้นตอนการผลิต GTL นั้นใชขั้นตอนปฏิกิริยาพิเศษที่จะ ไมทําใหผลิตภัณฑแปลงสภาพกลับไปเปนกาซอีก จึงเปนเรื่องที่ผูผลิตหมอแปลงไมตองเปนกังวล นอกจากนี้ น้ํามันหมอแปลงที่ผลิตจากกระบวนการ GTL ของเชลลยังมี Flash Point ที่สูงกวา ซึ่งสามารถสูงไดถึง 191 องศา ดังนั้น จึงทนตอสภาพแวดลอมในกรณีที่มีความรอนสะสม ปองกัน การระเบิดไดดีกวา มีโอกาสเกิดการกัดกรอนนอยกวา การระบายความรอนดีขึ้น น้ํามันมีคาความหนาแนน นอยกวา จึงมีความเบากวา สงผลใหหมอแปลงมีน้ําหนักโดยรวมนอยลง จึงมีความปลอดภัยมากกวา โดยเฉพาะ การติดตัง้ หมอแปลงในทีส่ งู และการทีน่ า้ํ มันมีการเสือ่ มสภาพชากวา จึงไมทาํ ลายกระดาษฉนวนในหมอแปลง สงผลใหฉนวน มีอายุการใชงานที่ยาวนาน และเนื่องจาก Shell Diala S4 -I ผลิตดวยเทคโนโลยี GTL ซึ่งมีอัตราการเกิดฟองนอย คายฟองเร็ว จึงชวยใหผูผลิตลดเวลาในการกรองน้ํามันลงไดดวย ทําใหผลิตหมอแปลงไดเร็วขึ้น ลดตนทุน สงมอบของไดรวดเร็วมากขึ้น เพราะตองไมลืมวา ปจจัยหลักในการเลือกซื้อหมอแปลงของลูกคาซึ่งนอกจากในเรื่องของคุณภาพแลว ราคาและความพรอม ในการสงสินคาไดอยางรวดเร็วก็เปนอีก 2 ปจจัยที่มีความสําคัญเชนกัน ในแงของการกําจัด หรือหกรั่ว ผูใชงานสามารถวางใจได เพราะวาน้ํามัน Shell Diala S4 -I จัดเปนน้ํามันที่ยอยสลายได จากการทดสอบ OECD 301 ลดความกังวลตอผูใชงานในแงของการกําจัดหลังใชงาน สวนในเรื่องของการเขากันไดของสิ่งที่อยู ในหมอแปลงนั้น สามารถเขากันไดกับน้ํามัน Naphthenic Oil ดังนั้นผูใชงานสามารถเติมน้าํ มันใหมเขาไปเพื่อใชงานอยางตอเนือ่ ง ไดทันที เรียกไดวาเทคโนโลยีปจจุบันไดกาวหนาไปมาก และการนําเทคโนโลยี GTL มาใชในการผลิตนั้น จะทําใหเราไดผลิตภัณฑ ที่มีคุณภาพสูงกวาเดิม ชวยใหผูผลิตสามารถเดินหนาผลิตไดอยางมีประสิทธิภาพ พรอมลดระยะเวลาผลิตเพื่อสงมอบใหลูกคา ไดเร็วกวา ดวยคุณภาพ ทําใหผูผลิตสามารถแขงขันไดอยางมีประสิทธิภาพ การพั ฒ นาน้ํ า มั น หม อ แปลงของเชลล นั้ น ทํ า ให ภ าคการผลิ ต หม อ แปลงได รั บ ประโยชน จากเทคโนโลยีใหมๆ สอดคลองกับทิศทางการผลิตกระแสไฟฟาของประเทศ ที่ตองการ ความเสถียร และลดตนทุนลง ในขณะทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงขึน้ ทัง้ นีเ้ พือ่ ไปในทิศทาง เดียวกันกับแนวทางแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย พ.ศ. 255 -2579 หรือ PDP 2015 ดวย

May-June 2017

p.70-71_

e _ di .indd 71

5/9/17

:11 PM


e

re

บริษัท แม็กซิไมซ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จํากัด

Characteristic tic ของเซอรกิตเบรกเกอร

เซอรกิตเบรกเกอร ชนิดมินิเอเจอร หรือที่นิยมเรียกกันวา MC นั้น จะมีใชงานอยู 2 มาตร านดวยกัน คือ IEC 60 9 -1 และ IEC 60947-2 ซึ่งในแตละมาตร านก็จะมี Characteristic ที่แตกตางกัน นั่นก็หมายความวามีคุณสมบัติและการใชงานที่แตกตางกัน

ara teristi A li atio

Wiring protection

Wiring protection, Wiring protection, Device protection Power circuits, Transformers, Motors

Wiring protection, Power circuits, Transformers, Motors

Wiring protection, Semiconductor Protection, High impedance

est rre ts

Thermal not tripping I1 (A) 1 h Thermal tripping I2 (A) 1 h Electromagnetic not tripping I4 (A) 0, 1 s Electromagnetic tripping I5 (A) 0, 1 s Reference calibration temperature of the thermal tripping

30 C 5 C

Rated AC voltage

230 400

Rated DC voltage L R 4 ms

1-pole 60 , 2-pole 125 in serial connection of both poles

Mechanical endurance

20,000 switching cycles (20,000 ON 20,000 OFF)

20 C 5 C

Influence of the ambient temperature on the thermal tripping: Decrease of the current values with higher ambient temperature and increase with lower temperatures of approximately 5 per 10 C difference in temperature

May-June 2017

p.72-73_m

imi e.indd 72

5/29/17

: 3 PM


ซึ่งจากตารางจะเห็นความแตกตางของคากระแส Test current ในแตละ Characteristic นัน้ แตกตาง ซึง่ สามารถดูความแตกตางไดจาก กราฟดานลาง ara teristi a

ara teristi a

to

to

ela e t er al o erloa tri i ate rre t Current which the miniature circuit breaker can sustain in uninterrupted operation b ate o eratio al rre t Current determined by the load during undisturbed operation er al ot tri i rre t Current which, under defined conditions, does not lead to switching off within 60 min er al tri i rre t Current which, under defined conditions, leads to switching off within 60 min to o itio s Current which, under defined conditions, is run up from I 1 to I 2 with a continuous increase, and leads to switch off within 60 min olera e li itatio at 2.55-times the rated current nominal current Current which, under defined conditions, does not lead to switch off within 1 sec Current which, under defined conditions, leads to switch off at rated currents up to 32 A within 60 sec, at rated currents above 32 A within 120 sec

ซึ่งผลิตภัณฑเซอรกิตเบรกเกอรในแตละยี่หอจะไดระบุชนิดของ Characteristic ไวบนตัวผลิตภัณฑนั้น นอกจากนั้นยังไดระบุคาพิกัด อื่นๆ อีกดวย ดังตัวอยางตอไปนี้

และเพื่อใหสามารถทํางานไดอยางปลอดภัยและครบสมบูรณ จึงจําเปนตองมีอุปกรณเสริมไวรองรับดวย เชน Lock-off Lock-on device, Shunt trip, ndervoltage trip, Auxiliary contact ล

ela e ele tro a eti s ort ir it tri i a eti ot tri i rre t Current which, under defined conditions, does not lead to switching off within 0.1 sec a eti tri i rre t Current which, under defined conditions, leads to switching off within 0.1 sec

รา ล เอี เ เต สา าร ต ตอไ ี บร แ ซไ ซ อ เ ร เ เ แฟ ซ ail i o it t aila o ebsite

ล ี า it t aila

o

May-June 2017

p.72-73_m

imi e.indd 73

5/29/17

: 3 PM


e

Spectrum GmbH

re

Spectrum

adds increased sensitivity

option to its digitizer products

Spectrum GmbH has announced an option (M4i.22xxir40m) for its highly successful, high-speed 22xx series of digitizer products that increases their sensitivity and therefore absolute resolution for low amplitude signals in the 40 m up to 0.5 range. The current products are optimized to acquire, store and analyze signals in the 200 m up to 2.5 range. li er o i i Spectrum’s CTO, said, “ he modular way that we design and build our products means that we can provide this front end option very easily as a new daughter board within the 22 range Matching the digiti er s range to the signal under test is important as it ensures ma imum dynamic range as well as better measurement accuracy and resolution For e ample, if a signal only covers half of a digiti er s selected full scale range then only half of the digiti er s available analog to digital converter (ADC) resolution can used Smaller, or lower level, signals will use even less of the ADC s capabilities and further reduce the

digiti er s overall signal to noise performance his new option lets users select more sensitive, full scale ranges so that, even for low amplitude signals, the ADC s complete dynamic range is available ” He explained the example of a 10-bit digitizer with a lowest 50 range at 0.5 full scale input range that has to acquire a signal with an amplitude of around 50 m . The 10-bit ADC offers 1024 (210) levels of resolution each of about 1 m (1 1024). The signal would therefore only cover about 50 levels of the 10-bit ADC’s available range. Spectrum’s 22xx series digitizers use -bit ADCs that give 256 (2 ) levels of resolution. So, by using this new low range option, the digitizer becomes more sensitive with around 0.3 m ( 0m 256) of resolution capturing the 50 m signal with around three times more resolution than the more expensive 10-bit unit. For extremely low amplitude signals, the 22xx series digitizers can also be used with Spectrum’s high bandwidth (up to 2 GHz) external SPA series amplifiers. These free-standing units offer additional x10 (20 d ) or x100 (40 d ) gain making it possible to capture and analyze signals that go down into the low m ranges. Spectrum’s 22xx series digitizers come in a variety of popular form factors including PCIe, P Ie and L I. Models are available with sampling rates of 1.25, 2.5 and 5 GS s and bandwidths of 500 MHz or 1.5 GHz (700 MHz with low input range option). ersions with one, two and four channels are available for units in the PCIe and P Ie formats, while the larger L I-based instruments offer models that have from 2 to 24 fully synchronous channels.

May-June 2017

p.7 -75_ re .indd 7

5/19/17 3:

PM


All Spectrum digitizers are designed so that each channel features its own ADC, large acquisition memory (1 GSample channel) and independent, front-end, signal conditioning circuitry. The ADCs are clocked synchronously to ensure inter-channel timing measurements can be made with the best possible accuracy as well as maintaining a constant phase relationship. The combination of fast sampling rate, wide bandwidth and long acquisition memory enables the digitizers to capture long, complex, high frequency signals. It also makes it possible to characterize and measure fast events that go down into the nano- and sub-nanosecond timing ranges.

Advanced acquisition modes

Designed to acquire and analyze a wide range of signals, the digitizers also include a host of acquisition modes. Single Shot mode is available for capturing transient events, Multiple Recording for storing numerous signals that arrive in bursts or packets, Gated Sampling synchronizes the acquisition with another event, and A A mode, which mimics the operation of a chart recorder and enables segments with fast and slow sampling rates to be recorded simultaneously. All the acquisition modes can be used with FIFO streaming that allows acquired data to be continuously transferred to a host PC. Each channel of the digitizer, as well as two external inputs, can act as a trigger source with the capability of combining all sources by AND OR logic functions. The logic feature makes it possible to trigger only when specific patterns are seen on the inputs, greatly simplifying complex trigger situations. Trigger events can also be date and time stamped to identify exactly when, and how often, they occurred.

Extensive software support

The digitizers come with all the tools necessary to capture, digitize and analyze electronic signals. The products are fully programmable and come with drivers that allow users to write their own control programs with a variety of popular programming languages, including C , isual asic, .NET, C , J , Delphi, I I, Java and Python code. Third party software support is also provided for Lab IEW, LabWindows and MATLA .

If users do not want to write their own programs, Spectrum offers S ench 6 -- an easy-to-use, graphical user interface. S ench 6 provides control all of the digitizer’s operating modes and settings. The software has a number of built-in features for waveform display, data analysis and documentation. Acquired and analyzed waveforms can be stored and exported to other devices, or other software programs, in a number of formats such as MATLA , ASCII, binary and wave.

Available now

The 22xx series digitizer products, together with the new M4i.22xx-ir40m front-end option, are available for immediate delivery. All units are shipped factory-tested and include a base version of Spectrum’s S ench 6 software, support drivers, a full SD and a two-year manufacturer’s warranty. Technical support, including software and firmware updates, is available free of charge.

About Spectrum GmbH

Founded in 19 9, Spectrum GmbH is a pioneer in the design and manufacture of PC-based test and measurement instrumentation used for electronic signal capture, generation and analysis. The company specializes in high-speed digitizer and generator technology and its unique, modular design philosophy enables it to offer over 500 products in the most popular industry standards; PCIe, L I and P Ie. The company is headquartered in Grosshansdorf, Germany and sells its products worldwide via an extensive sales network offering outstanding support directly from the design engineers. More information about Spectrum can be found at www.spectrum-instrumentation.com

May-June 2017

p.7 -75_ re .indd 75

5/19/17 3:

PM


การอบรมเรื่อง

“ขอเท็จจริงที่จำเปนตองรูของผลิตภัณฑแอลอีดี”

ระหวางวันที่ 19-20 มิถุนายน 2560 เวลา 09.00-16.00 น. ณ หองประชุม 3 ชั้น 3 อาคาร วสท. (ซ.รามคำแหง 39)

PDU

18 หนวย

หลักการและเหตุผล

ปจจุบันมีผลิตภัณฑแอลอีดี (LED Product) สําเร็จรูป ทั้งหลอดไฟและดวงโคมไฟฟา วางจําหนายในตลาดเพิ่มขึ้นอยางมาก ผลิตภัณฑ เหลานี้ไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง มีประสิทธิภาพและคุณภาพทางดานแสงสูงมาก และมีขอมูลทางเทคนิคเฉพาะตัวมากดวย เชน Power Factor and Harmonics, Light Flickering, Surgeprotection, lue Light Hazard, etc. ซึ่งผูจําหนาย วิศวกรโครงการ ตลอดจนผูบริโภคทั่วไป อาจไมรูจักหรือไมเขาใจอยางถองแทกับขอมูลทางเทคนิคเหลานี้ อาจทําใหเกิดปญหาทางดานการสื่อสารขอมูล การออกขอกําหนด ตลอดจน การใชงานอยางถูกตอง ดังนั้น สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย จึงกําหนดจัดอบรมเรื่องขอเท็จจริงที่จําเปนตองรูของผลิตภัณฑแอลอีดี

วัตถุประสงค

เพื่อใหผูเขาอบรมทราบรายละเอียดเกี่ยวกับขอมูลทางเทคนิคเฉพาะตัวของผลิตภัณฑแอลอีดี (LED Product) ในเชิงลึก ที่สามารถเลือก ใชงานรวมกับแพ็คเก็จแอลอีดี ตองเหมาะสมตามที่คาดหวัง ร ี 0 .30-09.00 น. 09.00-12.00 น. 12.00-13.00 น. 13.00-16.00 น.

อ าร ี 09.00-12.00 น. 12.00-13.00 น. 13.00-16.00 น.

รบ า เ าอบร า ร อตรา าล

า ลงทะเบียน อ ล าเ เ าต า พักรับประทานอาหารกลางวัน อ ล าเ เ าต า

าร

o er a tor a

ar o i s

i t li eri

อ ล าเ เ า ต า S r e rote tio พักรับประทานอาหารกลางวัน อ ล าเ เ า ต า l e i t a ar

: 40 ทาน : ผูท่ตี องการเพิ่มองคความรูทางเทคนิคเฉพาะตัวเชิงลึกเกี่ยวกับผลิตภัณฑแอลอีดี : ร ไ แ อ อดีตอาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา จุ าลงกรณมหาวิทยาลัย อุปนายก สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย (สฟสท.) เบี อ ี า สมาชิก 5,350 บาท บุคคลทั่วไป 5, 5 บาท ล ี า สมาชิก 5, 5 บาท บุคคลทั่วไป 6,420 บาท รา า ี้ร า ี ล าเ แล A ไ รบ าร เ าร า ี ี า รา า ี้ร าเอ สาร อา าร ลา อา าร า บตร

าร าร เ เ ส : ชําระที่ สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย เ : สั่งจายในนาม “สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย” โอนเขาบัญชี : ธนาคารกรุงไทย ออมทรัพย สาขาการไฟฟานครหลวง (เพลินจิต) เลขที่บัญชี 092-1-06644-9 : ธนาคารธนชาต ออมทรัพย สาขาสํานักชิดลม เลขที่บัญชี 001-2-0 323-0

May-June 2017

p.7 -77_pie .indd 7

5/29/17

: 2 PM


การอบรมเรื่อง

“ระบบควบคุมแสงสวาง”

วันพฤหัสบดีที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2560 เวลา 09.00-16.30 น. ณ หองประชุม 3 ชั้น 3 อาคาร วสท. (ซ.รามคำแหง 39)

PDU 9 หนวย

หลักการและเหตุผล

ปจจุบนั ผลิตภัณฑแอลอีดมี กี ารใชงานอยางแพรหลาย เนือ่ งจากเปนแหลงกําเนิดแสงทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง มีอายุการใชงานทีย่ าวนาน มีคณ ุ ภาพสี ที่ดี และขอไดเปรียบอีกประการของผลิตภัณฑแอลอีดีคือ สามารถควบคุมการทํางานไดงายในลักษณะดิจิทัล ทําใหเกิดการใชงานแสงสวางอยางมี ประสิทธิภาพและมีความยืดหยุนยิ่งขึ้น อยางไรก็ตาม ผูออกแบบจํานวนมากยังมีความสับสนในการเลือกระบบควบคุมที่เหมาะสม และยังพบปญหา ในการติดตัง้ อยูเ สมอ เนือ่ งจากการติดตัง้ ระบบควบคุมแสงสวางมีความแตกตางจากการติดตัง้ ระบบไฟฟาทัว่ ไป ทําใหไมไดระบบแสงสวางทีม่ คี ณ ุ ภาพ อยางที่คาดหวังไว ดังนั้น เพื่อใหผูมีสวนเกี่ยวของไดเลือกใชงาน ออกแบบ และติดตั้งไดอยางเหมาะสม สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย จึงกําหนด จัดอบรมเรื่องระบบควบคุมแสงสวางขึ้น

วัตถุประสงค

เพื่อใหผูเขาอบรมมีความรูพื้น านเกี่ยวกับประโยชนของระบบควบคุมแสงสวาง เขาใจคําศัพทที่ใชในระบบเครือขาย ภาษาที่ใชในการสื่อสาร ของระบบควบคุม ขอจํากัด และขอควรระวังตาง ๆ เพื่อที่จะเลือกใช ออกแบบ หรือติดตั้งระบบไดอยางเหมาะสม า

าร

สบ ี ี ส า 0 .30-09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-12.00 น. ร บร บบ บ แส ส า ฟ  าร า า ร  แล เ าร บ แส ส า า ลอ ไฟแตล 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-16.00 น. ร บบ บ แส ส า เ รอ า et or e อ ร  ร บบ า า ี ารสอสาร o i atio roto ol แล ารเ อ ตอ บร บบอ รบ า : 40 ทาน เ าอบร ผูที่ตองการเพิ่มองคความรูเกี่ยวกับระบบควบคุมแสงสวาง เพื่อการออกแบบ เลือกใช การติดตั้งและเชื่อมตอเขากับระบบอื่น า ร : ีร ล เอา าร ส ล เลขาธิการ สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย (สฟสท.) อตรา าล เบี อ ี ร า สมาชิก 2,140 บาท บุคคลทั่วไป 2,675 บาท ล ี ร า สมาชิก 2,996 บาท บุคคลทั่วไป 3,424 บาท รา า ี้ร า ี ล าเ แล A ไ รบ าร เ าร า ี ี า รา า ี้ร าเอ สาร อา าร ลา อา าร า บตร าร าร เ เ ส ชําระที่ สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย เ สั่งจายในนาม “สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย” โอนเขาบัญชี : ธนาคารกรุงไทย ออมทรัพย สาขาการไฟฟานครหลวง (เพลินจิต) เลขที่บัญชี 092-1-06644-9 : ธนาคารธนชาต ออมทรัพย สาขาสํานักชิดลม เลขที่บัญชี 001-2-0 323-0

May-June 2017

p.7 -77_pie .indd 77

5/29/17

: 2 PM


การอบรมเรื่อง

“ขอเท็จจริงที่จำเปนตองรูของผลิตภัณฑแอลอีดี”

ระหวางวันที่ 19-20 มิถุนายน 2560 เวลา 09.00-16.00 น. ณ หองประชุม 3 ชั้น 3 อาคาร วสท. (ซ.รามคำแหง 39)

PDU

18 หนวย

หลักการและเหตุผล

ปจจุบันมีผลิตภัณฑแอลอีดี (LED Product) สําเร็จรูป ทั้งหลอดไฟและดวงโคมไฟฟา วางจําหนายในตลาดเพิ่มขึ้นอยางมาก ผลิตภัณฑ เหลานี้ไดรับการพัฒนาอยางตอเนื่อง มีประสิทธิภาพและคุณภาพทางดานแสงสูงมาก และมีขอมูลทางเทคนิคเฉพาะตัวมากดวย เชน Power Factor and Harmonics, Light Flickering, Surgeprotection, lue Light Hazard, etc. ซึ่งผูจําหนาย วิศวกรโครงการ ตลอดจนผูบริโภคทั่วไป อาจไมรูจักหรือไมเขาใจอยางถองแทกับขอมูลทางเทคนิคเหลานี้ อาจทําใหเกิดปญหาทางดานการสื่อสารขอมูล การออกขอกําหนด ตลอดจน การใชงานอยางถูกตอง ดังนั้น สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย จึงกําหนดจัดอบรมเรื่องขอเท็จจริงที่จําเปนตองรูของผลิตภัณฑแอลอีดี

วัตถุประสงค

เพื่อใหผูเขาอบรมทราบรายละเอียดเกี่ยวกับขอมูลทางเทคนิคเฉพาะตัวของผลิตภัณฑแอลอีดี (LED Product) ในเชิงลึก ที่สามารถเลือก ใชงานรวมกับแพ็คเก็จแอลอีดี ตองเหมาะสมตามที่คาดหวัง ร ี 0 .30-09.00 น. 09.00-12.00 น. 12.00-13.00 น. 13.00-16.00 น.

อ าร ี 09.00-12.00 น. 12.00-13.00 น. 13.00-16.00 น.

รบ า เ าอบร า ร อตรา าล

า ลงทะเบียน อ ล าเ เ าต า พักรับประทานอาหารกลางวัน อ ล าเ เ าต า

าร

o er a tor a

ar o i s

i t li eri

อ ล าเ เ า ต า S r e rote tio พักรับประทานอาหารกลางวัน อ ล าเ เ า ต า l e i t a ar

: 40 ทาน : ผูท่ตี องการเพิ่มองคความรูทางเทคนิคเฉพาะตัวเชิงลึกเกี่ยวกับผลิตภัณฑแอลอีดี : ร ไ แ อ อดีตอาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา จุ าลงกรณมหาวิทยาลัย อุปนายก สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย (สฟสท.) เบี อ ี า สมาชิก 5,350 บาท บุคคลทั่วไป 5, 5 บาท ล ี า สมาชิก 5, 5 บาท บุคคลทั่วไป 6,420 บาท รา า ี้ร า ี ล าเ แล A ไ รบ าร เ าร า ี ี า รา า ี้ร าเอ สาร อา าร ลา อา าร า บตร

าร าร เ เ ส : ชําระที่ สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย เ : สั่งจายในนาม “สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย” โอนเขาบัญชี : ธนาคารกรุงไทย ออมทรัพย สาขาการไฟฟานครหลวง (เพลินจิต) เลขที่บัญชี 092-1-06644-9 : ธนาคารธนชาต ออมทรัพย สาขาสํานักชิดลม เลขที่บัญชี 001-2-0 323-0

May-June 2017

p.7 -77_pie .indd 7

5/29/17

: 2 PM


การอบรมเรื่อง

“ระบบควบคุมแสงสวาง”

วันพฤหัสบดีที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2560 เวลา 09.00-16.30 น. ณ หองประชุม 3 ชั้น 3 อาคาร วสท. (ซ.รามคำแหง 39)

PDU 9 หนวย

หลักการและเหตุผล

ปจจุบนั ผลิตภัณฑแอลอีดมี กี ารใชงานอยางแพรหลาย เนือ่ งจากเปนแหลงกําเนิดแสงทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง มีอายุการใชงานทีย่ าวนาน มีคณ ุ ภาพสี ที่ดี และขอไดเปรียบอีกประการของผลิตภัณฑแอลอีดีคือ สามารถควบคุมการทํางานไดงายในลักษณะดิจิทัล ทําใหเกิดการใชงานแสงสวางอยางมี ประสิทธิภาพและมีความยืดหยุนยิ่งขึ้น อยางไรก็ตาม ผูออกแบบจํานวนมากยังมีความสับสนในการเลือกระบบควบคุมที่เหมาะสม และยังพบปญหา ในการติดตัง้ อยูเ สมอ เนือ่ งจากการติดตัง้ ระบบควบคุมแสงสวางมีความแตกตางจากการติดตัง้ ระบบไฟฟาทัว่ ไป ทําใหไมไดระบบแสงสวางทีม่ คี ณ ุ ภาพ อยางที่คาดหวังไว ดังนั้น เพื่อใหผูมีสวนเกี่ยวของไดเลือกใชงาน ออกแบบ และติดตั้งไดอยางเหมาะสม สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย จึงกําหนด จัดอบรมเรื่องระบบควบคุมแสงสวางขึ้น

วัตถุประสงค

เพื่อใหผูเขาอบรมมีความรูพื้น านเกี่ยวกับประโยชนของระบบควบคุมแสงสวาง เขาใจคําศัพทที่ใชในระบบเครือขาย ภาษาที่ใชในการสื่อสาร ของระบบควบคุม ขอจํากัด และขอควรระวังตาง ๆ เพื่อที่จะเลือกใช ออกแบบ หรือติดตั้งระบบไดอยางเหมาะสม า

าร

สบ ี ี ส า 0 .30-09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-12.00 น. ร บร บบ บ แส ส า ฟ  าร า า ร  แล เ าร บ แส ส า า ลอ ไฟแตล 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-16.00 น. ร บบ บ แส ส า เ รอ า et or e อ ร  ร บบ า า ี ารสอสาร o i atio roto ol แล ารเ อ ตอ บร บบอ รบ า : 40 ทาน เ าอบร ผูที่ตองการเพิ่มองคความรูเกี่ยวกับระบบควบคุมแสงสวาง เพื่อการออกแบบ เลือกใช การติดตั้งและเชื่อมตอเขากับระบบอื่น า ร : ีร ล เอา าร ส ล เลขาธิการ สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย (สฟสท.) อตรา าล เบี อ ี ร า สมาชิก 2,140 บาท บุคคลทั่วไป 2,675 บาท ล ี ร า สมาชิก 2,996 บาท บุคคลทั่วไป 3,424 บาท รา า ี้ร า ี ล าเ แล A ไ รบ าร เ าร า ี ี า รา า ี้ร าเอ สาร อา าร ลา อา าร า บตร าร าร เ เ ส ชําระที่ สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย เ สั่งจายในนาม “สมาคมไฟฟาแสงสวางแหงประเทศไทย” โอนเขาบัญชี : ธนาคารกรุงไทย ออมทรัพย สาขาการไฟฟานครหลวง (เพลินจิต) เลขที่บัญชี 092-1-06644-9 : ธนาคารธนชาต ออมทรัพย สาขาสํานักชิดลม เลขที่บัญชี 001-2-0 323-0

May-June 2017

p.7 -77_pie .indd 77

5/29/17

: 2 PM


Presented by

Powered by

Organized by

THAILAND

lighting fair

2017

íó÷×ăÐāñè ýüôôŞ ďéċæÓ

ÖāèČùãÖèöĀäÐòòðďîîŖāČùÖùöŚāÖæĄēÓòéöÖ×òæĄēùćãĎèüāċÚĄñè

Smart City. Safe City.

H''ą:E2 2/ĉ: D&?L5D)?5 59 +<*8 D)?5 #-5 (9* ùĀðëĀùêòÿùéÐāòâŞ×òăÖÐĀé İ4NBSU $JUZ 4BGF $JUZ ı čÚèċ×ò×āçćòÐă×ċíĆēüÐāòôÖæćè İċðĆüÖüĀ×Øòăñÿı ÓôăèăÐĎúśÓĂêòąÐøāãśāèÐāòüüÐČééČùÖ ċæÓčèčôñĄüĀ×ØòăñÿċíĆēüÐāòêòÿúñĀãíôĀÖÖāè čÚôŚāòŞċíĆēüÐāòüñĈŚüā÷ĀñČôÿçćòÐă× þôþ ùćãñüãùĀððèāòÿãĀéïĈðăïāÓ "4&"/ "SDIJUFDUVSF -JHIUJOH %FTJHO 'PSVN čãñèĀÐüüÐČééČùÖÙĀĔèèĂòÿãĀéčôÐ ùĀððèāúôĀÐùĈäòêòÿÐā÷èĄñéĀäò×āÐïāÓòĀßČôÿùĀððèāúĀöÑśüäŚāÖđæĄēèŚāùèĎ× üāæă čÚôŚāòŞ íôĀÖÖāèæāÖċôĆüÐ -J'J ČùÖďîüĀ×ØòăñÿċÙĆēüðčôÐ ×Āãíòśüð

building fair 2017

ùèĎ××üÖéĈç +66 (0) 2664 6499 ext. 212

@thlightingfair

info@thailandlightingfair.com

www.thailandlightingfair.com


กลองติดรถยนตรุน “HUMMER” และ “IS220W” บร อาร ีบี เ ล ี า ผูนํานวัตกรรมสุดล้ําของเมืองไทย รวมรณรงค การขับขี่อยางปลอดภัยบนทองถนน ดวยการผนึกกําลังกับมูลนิธิเมาไมขับ เดินหนาสราง ความตระหนักในการใชรถใชถนนและปองกันพ ติกรรมเสี่ยงที่อาจกอใหเกิดอุบัติเหตุ ทางถนน พรอมสงสุดยอดนวัตกรรมกลองติดรถยนตจากแบรนดไตหวัน DOD (ดีโอดี) จํานวน 2 รุนใหมลาสุด ไดแก รุน และ S เปนหัวหอกในการลุยตลาด โดยกลองทั้ง 2 รุน มาพรอมเทคโนโลยีคุณภาพที่พัฒนาขึ้นลาสุดมากมาย โดยรองรับการบันทึกภาพความละเอียดสูงดวยเทคโนโลยีระดับ Full HD มีขนาด กะทัดรัด กลอง DOD H MMER ยังโดดเดนดวยเซ็นเซอร Sony CMOS ที่มีความละเอียดสูงถึง 14 Mega Pixels พรอมกับจอแสดงผลขนาด 1.5 นิ้ว จึงชวยใหคุณสามารถบันทึกภาพยามขับขี่ไดอยางคมชัดและรวดเร็ว

“HUMMER” and “IS220W” e olo o a i ite , Thailand’s advanced innovation leader, oins the Drive Safe campaign “Help Good People, Indicate iolaters,” in collaboration with Don’t Drink Drive Foundation, building awareness of car and road safety as well as protecting risk behavior causing road accidents, launching 2 flagship models of top-notched dash cam innovation from Taiwan DOD including “ ” and “ S ” to penetrate the market. e features the latest premium dash camera exclusively designed for motorcycles, delivering riding safety experience with waterproof technology complying with IP 6 standard. Ride on motorbike with no worry about getting wet or damage from water. Record video with Full HD 10 0p quality and 110 degree wide view to cover road situation and WDR (Wide Dynamic Range) processing system to provide perfectly balanced light exposure by ad usting the exposure timing for various conditions สอบถามสินคาเพิ่มเติม ดที่ Jaymart, Wemall, La ada, adgetthai และ Power Mall หรือสามารถติดตามรายละเอียดเพิ่มเติม ผานทาง www rtbtechnology com

Dell XPS 13 2-in-1 ell S i ตัวเครื่องขนาดเล็กที่สุด ล้ําหนาดวยดีไซนสวยงาม เพรียวบางโดดเดน พิถพี ถิ นั ในการออกแบบ สรีระโคงมนหรูหรา วัสดุพรีเมีย่ มดวยอะลูมเิ นียมและคารบอนไฟเบอร สะทอน ความเป น มื อ อาชี พ อย า งเต็ ม ตั ว ได รั บ รางวั ล CES Awards มาพร อ มความแรงเต็ ม พิ กั ด ด ว ย 7th Gen Intel Core i5 และ i7 โพรเซสเซอรใชพลังงานนอย ที่มากับเทคโนโลยี InfinityEdge บนหนาจอ ltraSharp Quad HD ที่ใหความละเอียดของภาพสูงถึง 5.7 ลานพิกเซล เพื่อภาพสวย คมชัดสูงสุด มาพรอมพอรต S S Type-C และ Thunderbolt 3 เพื่อการโอนถายขอมูลไดรวดเร็วกวาเดิมถึง x เครื่อง PS 13 2-in-1 ยังสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการใชงานไดถึง 360 องศา 4 รูปแบบ ทั้งในแบบแล็ปท็อป แท็บเล็ต แบบตั้งและแบบกระโจม เพื่อตอบสนอง การทํางานตามไลฟสไตลที่ผูใชตองการ

May-June 2017

p. 1- 3_pr d

.indd

1

5/19/17 3: 9 PM


“ออดิโอ เทคนิกา”

(Audio Technica)

บร อาร บี ี เ ล ี า เผยโฉมสุดยอดนวัตกรรม หูฟงอินเอียร (In-ear) จากประเทศญี่ปุน ในตระกูล S Series i e So Series พรอมกันถึง 5 รุน ลงตลาดภายใตแบรนด ออ อ เ า A io e i a ประกอบดวย A S iS A S is A S iS A S iS และ A S iS โดยทัง้ 5 รุน นีเ้ ปนหูฟง แบบ in-Ear ทีไ่ ดรบั ความสนใจ เปนอยางมากในงาน CES2017 ที่ลาสเวกัส สหรั อเมริกา เมื่อ ตนปที่ผานมา โดยหูฟงในตระกูล S Series i e So Series เปนหูฟง ทีผ่ สานสุดยอดเทคโนโลยีทางดานเสียงขัน้ สูงไวได อยางลงตัว เนนการออกแบบใหมีการผสมผสานเสียงจากไดรเวอร หลากหลายตัว เพือ่ ใหไดเสียงสุดคมชัดในทุกยานเสียง ยิง่ ไปกวานัน้ การทํางานของไดรเวอรในแตละรุนยังถูกออกแบบมาใหทํางาน ควบคูก บั ทอนําเสียงทีอ่ อกแบบใหมไดเปนอยางดี โดยเลือกสรรวัสดุ เกรดพรีเมีย่ ม ทีม่ สี ว นผสมของ Stainless Steel และ High-Durability Resin เขาไวดวยกัน รวมถึงเปลี่ยนตัวขั้วสายตอหูฟงใหมเปนแบบ A2DC (Audio Designed Detachable Coaxial) ที่มีความแข็งแรง และสามารถสงผานสัญญาณเสียงไดอยางมีประสิทธิภาพ สายหูฟง รองรับการใชงานไมโครโฟนและสามารถควบคุมการเลนเพลงได เปนอยางดีเมื่อเชื่อมตอกับสมารทโฟน

e olo o t continues to provide the ultimate music listening experience with hi-end and clear audio quality catered to music lovers, unveiling top-notched In-ear headphone innovation from Japan, the “LS Series” (Live Sound Series), a concurrent launch of 5 models under the brand “Audio Technica” including ATH-LS400iS, ATH-LS300iS, ATH-LS200iS, ATH-LS70iS and ATH-LS50iS. All launched models feature in-Ear headphones drawing great attention from the CES2017 exhibition in Las egas, SA organized early this year. The “LS Series” (Live Sound Series utilize newly developed multipledriver designs and additional innovations to deliver clear, powerfully immersive sound bringing the impact and excitement of the live concert experience to everyday listening The drivers operate in con unction with specially designed acoustic sound pipes made from hybrid stainless steel resin material. All come with detachable 3-foot 9-inch cables with Audio-Technica’s new A2DC (Audio Designed Detachable Coaxial) connector equipped with an inline mic and controller for handling phone calls and music and video playback on portable devices.

May-June 2017

p. 1- 3_pr d

.indd

2

5/19/17 3: 9 PM


รเ เตอร ro e tor เปนอุปกรณทชี่ ว ยในการแสดงภาพใหมขี นาดใหญขนึ้ โดยทัว่ ไปแลว จะใชกบั การนําเสนองานหรือทีเ่ ราเรียกวา Presentation แตปจ จุบนั มีการนํามาทําเปน Home Theater สําหรับการดูภาพยนตรทบี่ า น ซึง่ สามารถนํามาตอกับอุปกรณไดหลากหลายประเภท อาทิ เครือ่ งเลน วิดีโอ CD - D D รวมทั้งคอมพิวเตอร หรือแมกระทั่ง Display port D I HDMI S 3.0 และตัวอาน เมมโมรี่การด ซึ่งหากเลือกใชโปรเจกเตอรเพื่อการดูภาพยนตร ควรเลือกเครื่องโปรเจกเตอรที่มี คุณสมบัติเรื่องความละเอียดสูงเพื่ออรรถรสในการชมภาพยนตร ซึ่งปจจุบันมีเครื่องโปรเจกเตอร คุณภาพระดับ 4 DLP ทีส่ ามารถใหความละเอียดภาพสูงกวาโปรเจกเตอรทวั่ ไปถึง 4 เทา ดวยความ ละเอียด .3 ลานพิกเซล มีความแมนยํา และรายละเอียดภาพมีความสมบูรณสูงสุด เครื่องโปรเจกเตอร enQ W11000 เปนโปรเจกเตอร DLP 4 เครื่องแรกของโลกที่ไดรับ การรับรองอันทรงเกียรติ TH Certification TH HD Display Certification ซึง่ การรับรองนี้ เริม่ โดย ทีมวิศวกรของ Lucasfilm เพือ่ ยกยองผลิตภัณฑทดี่ ที สี่ ดุ ในกลุม ภาพและเสียงทีม่ คี ณ ุ ภาพ และถูกตอง ที่สุดเทาที่จะเปนไปได สอบถามขอมูลเพิ่มเติม ดที่ enQ ( hailand) Co , Ltd โทร ัพท 0 2670 0 10 t 116

โปรเจกเตอร (Projector) ระบบ 4K DLP

เมาสเลนเกมตัวใหมเอาใจคอเกมอีสปอรต New Gaming Mouse Designed For Professional eSports Players ล เ เปดตัว “เ าสเล เ ล เ ี ร ซึง่ มาพรอมกับคุณสมบัตขิ องระบบเซ็นเซอรแบบ ออฟติคัลของโลจิเทคที่แมนยําที่สุด ปุมรับแรงกดแบบสปริงโลหะ หนวยความจําในตัวเมาสซึ่งรองรับ ทุกระบบการแขงขันไดโดยไมตองใชไดรเวอร และการออกแบบใหใชงานไดสะดวกสบาย ทนทาน และ น้ําหนักเบา เมาสเลนเกม โลจิเทค จี โปร สรางขึ้นเพื่อสืบตอรูปลักษณของเมาสโลจิเทค จี100 เอส ซึง่ แพรหลายไปทัว่ โลกในหมูน กั แขงเกมออนไลน (eSports) มืออาชีพระดับแถวหนา ผสมผสานกับความเร็ว ความแมนยํา และการตอบสนองการใชงานไดอยางนาทึ่งของเมาสรุน จี303 Logitech today announced the Logitech G Pro Gaming Mouse. Designed for eSports athletes, this new gaming mouse features Logitech’s most accurate optical gaming sensor, a metal spring button tensioning system, onboard memory for driver-free operation on tournament systems, and a comfortable, durable yet lightweight design. The Logitech G Pro Gaming Mouse builds on the heritage and global popularity of the Logitech G100s shape with top competitive eSports professionals, and combines it with the incredible speed, accuracy and responsiveness of the G303. May-June 2017

p. 1- 3_pr d

.indd

3

5/19/17 3: 9 PM


กลุมบริษัทอินเตอรลิงค รวมเปนเจาภาพบาเพ กุ ล

ที ี ีเทค ละยู อเอ รวมนาเสนอกลยุท การพั นา ุรกิจ ยุคดิจิทัลในบทวิจัย อดี ี

ล บร อ เตอร ล้  ร ว มเป น เจ า ภาพและวางพวงมาลา ถวายสักการะ ในพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมพระบรมศพพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เพื่อนอมรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ และถวายเปนพระราชกุศล นําโดย ส บต อ ตร ร ประธานกรรมการ และกรรมการผูจัดการใหญ กลุมบริษัทอินเตอรลิ้งค พรอมดวย ล า อ ตร ร ประธานมูลนิธิอินเตอรลิ้งคใหใจ อีกทั้งคณะผูบริหาร พนักงาน รวมเปนเจาภาพสวดพระอภิธรรมพระบรมศพเมือ่ วันที่ 27 มีนาคม 2560 เวลา 19.00 น. ทั้งหมด 5 คณะ ดังนี้ บริษัท อินเตอรลิ้งค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (มหาชน), บริษทั อินเตอรลงิ้ ค เทเลคอม จํากัด (มหาชน), บริษทั อินเตอรลงิ้ ค โ ลดิ้ง จํากัด, บริษัท อินเตอรลิ้งค เพาเวอร แอนด เอ็นเนอรยี่ จํากัด, มูลนิธิ อินเตอรลิ้งคใหใจ โดยมีพระพิธีธรรม รูป จากวัดอนงคารามวรวิหารและ วั ด มหาธาตุ ยุ ว ราชรั ง ส ษ ิ วรมหาวิ ห าร สวดพระอภิ ธ รรมพระบรมศพ ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระบรมมหาราชวัง

ลี ร สา สต ผูอํานวยการ ฝายสื่อสารองคกร บริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จํากัด (ทีซีซีเทค) (ซาย) นํา ไ เ ล อราเ ตา ผูจัดการใหญประจําประเทศไทย สถาบันวิจัย ไอดีซี (ขวา) เขาพบ ส ต เ า ล รองกรรมการ ผูจัดการอาวุโส บริษัท ยูไนเต็ด อินฟอรเมชัน่ ไ เวย จํากัด (ยูไอเอช) (กลาง) เพือ่ รวมหารือเรือ่ งการนํากลยุทธในการพัฒนา ธุรกิจยูไอเอชดวยดิจิทัลในบทวิจัยของไอดีซี ทั้งนี้บทวิจัยสามารถติดตามเพิ่มเติมไดใน กรณีศึกษา ซึ่งจะเริ่มเผยแพรภายในไตรมาส 2 ป 2560 นี้

จัดประ ุมสามั ผูถอหุนประจาป 2560

enchachinda Tower, angkok, Recently, s alee or Sa asit, Corporate Communications Director of T.C.C. Technology Co., Ltd. (TCCtech) (left) brought r i ael Ara eta Country Manager of IDC Thailand (right) to connect with r S ti e a i l Senior Deputy Managing Director of nited Information Highway Company Limited ( IH) (middle) for the executive’s discussion. This is to find the corporate leader’s opinion and insightful technique of how IH smartly adapt technology to their business under the Digital Era. This will be highlighted in IDC Whitepaper, which is anticipated to be released in 2Q 2017.

20 6 บริ ษั ท อิ น เตอร ลิ้ ง ค คอมมิ ว นิ เ คชั่ น จํ า กั ด (มหาชน) ชื่ อ จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย แหงประเทศไทย (SET) ในนาม ILIN จัดการประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2560 นําโดย ส บต อ ตร ร ประธานกรรมการและกรรมการผูจัดการใหญ กลุมบริษัท อินเตอรลิ้งค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) พรอมดวย ล า อ ตร ร กรรมการผูจัดการ เเละประธานมูลนิธิอินเตอรลิ้งคใหใจ พรอมดวยคณะกรรมการบริษทั ไดกลาวถึงวาระผลการดําเนินงานในชวงป 2559 ทีผ่ า นมา สวนในป 2560 ตั้งเปาในการเติบโตทางธุรกิจดวยการเปนผูนําเขาและจัดจําหนายสายสัญญาณที่ใหญที่สุดในอาเซียน ดวยสินคาคุณภาพ ราคาถูกกวา และการบริการที่ดีกวา ทั้งนี้เพื่อการเติบโตอยางตอเนื่องและยั่งยืน ไปพรอมกับผูถือหุนทุกทาน โดยเนนกลยุทธการรักษา านลูกคาเดิมและการขยายกลุมลูกคาใหม รวมทั้ง การขยายไปยังตลาดในตางประเทศ

Interlink Communication Public Company Limited listed on the Stock Exchange of Thailand (SET) under the name ILIN held the Annual General Meeting of Shareholders for 2017 led by So bat A tar or Chairman and President of Interlink Group Communication Public Company Limited, and ali a A a tar or Managing Director and the President of the Interlink Foundation, along with the oard of Directors, report the business performance for 2016. In the year 2017, the company aims to grow by becoming the largest importer and distributor of cable in ASEAN. With better quality products, better price and better service for continuously and sustainably growth together with all shareholders. y focusing on strategies to maintain the existing customer base and the expansion of new customers including overseas markets expansion as well. May-June 2017

p.

- 7_pr e

.indd

5/19/17 3:50 PM


อิตัล ทยวิ วกรรม รวมพิ ี กออิ กอน รก เปด ครงการกอสรางระบบอาคาร การ า ายผลิต หงประเท ทย

การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย หรือ กฟผ. จัดพิธี First rick ถือ กษงาม ยามดีกออิ กอนแรกเปดโครงการ “EGAT HEADQ ARTER” ซึ่งบริษัท อิตัลไทย วิศวกรรม จํากัด หรือ (ITALTHAI Engineering : ITE ) โดยมี า ร ี  รองกรรมการผูจัดการ เขารวมพิธี ทั้งนี้ EGAT HEADQ ARTER เปนอาคารอนุรักษ พลังงานระดับสูงสุด ซึ่งบริษัท อิตัลไทยวิศวกรรม จํากัด ดูแลในสวนของวิศวกรรม ระบบ ประกอบดวยระบบไฟฟาและเครือ่ งกลทีส่ าํ คัญตางๆ อาคารรูปทรงสูงทันสมัย 20 ชั้น พรอมลานจอดเ ลิคอปเตอรที่ชั้น 21 และอาคารจอดรถ 4 ชั้น ซึ่งตอง ปฏิบัติงานใหแลวเสร็จในระยะเวลาโครงการทั้งสิ้น 300 วัน ณ อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เมื่อเร็วๆ นี้ Electricity Generating Authority of Thailand or EGAT organizes the First rick Ceremony. The first brick is the pro ect of “EGAT HEADQ ARTER” by Italthai Engineering Co., Ltd. (ITALTHAI Engineering: ITE) by atta ra o a ee, Deputy Managing Director. EGAT HEADQ ARTER is the highest energy conservation building that Italthai Engineering Co., Ltd. handles for engineering system, composed of electrical system and important mechanical as well. The modern 20-storey high building with helipad on the 21st floor and a four-storey car park which would be completed within 300 days at angkruay District, Nonthaburi Province.

อีสท วอเตอร

จัดประ ุมสามั ผูถอหุนประจาป 255

20 6

EASTW หรือบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ําภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) จัดประชุมสามัญผูถ อื หุน ประจําป 2559 พรอมเผยผลการดําเนินงานในป 2559 มีรายไดรวมทัง้ สิน้ 4,376.96 ลานบาท กําไรสุทธิ 1,299.71 ลานบาท โดยทีป่ ระชุมสามัญ ผูถ อื หุน มีมติใหจา ยเงินปนผลในอัตราหุน ละ 0.47 บาท กําหนดขึน้ เครือ่ งหมาย D และ ปดสมุดทะเบียนผูถือหุนวันที่ 24 และ 27 เมษายน 2560 ตามลําดับ และกําหนดจาย เงินปนผลวันที่ 16 พ ษภาคม 2560 สําหรับป 2560 เนนการเพิ่มศักยภาพแหลงน้ํา ตนทุน เพือ่ รองรับโครงการพัฒนาระเบียงเศรษ กิจภาคตะวันออก (EEC) เพือ่ ใหบริการ ผูใชน้ําทุกภาคสวนไดอยางเพียงพอ EASTW or Eastern Water Resources Development and Management Public Company Limited held the Annual General Meeting of Shareholders for 2016. Operating income for 2016 with total revenue of aht 4,376.96 million, net profit of aht 1,299.71 million. The company approved to pay a dividend of 0.47 aht per share, D sign and book closing date on April 24 and April 27, 2017 respectively. Dividend payment due on May 16, 2017. For year 2017, focused on the potential water resource costs increasing to support the Eastern Economic Corridor (EEC) pro ect to provide su cient water supply for all sectors.

กรมสงเสริมการคาระหวางประเท จัดงานเสวนา รางวัลผูประกอบ ุรกิจสงออกดีเดน ประจาป 2560 20 20 20

20

20

ตรา เอ้อ ร เสร รักษาการนักวิชาการพาณิชยเชี่ยวชาญ กรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ กระทรวง พาณิชย เปนประธานเปดงาน “เสวนารางวัลผูประกอบธุรกิจสงออกดีเดน ป 2560” โดย ล า อ อ ผูอ าํ นวยการสํานักสงเสริมนวัตกรรมและสรางมูลคาเพือ่ การคา กรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย ไดจัดงานดังกลาวขึ้นเพื่อประชาสัมพันธใหความรูแกผูประกอบธุรกิจสงออกไทยในหัวขอ “Smart Content” เจาะลึก ถึงการทําการตลาดอยางไรใหอยูท น อยูน าน และการประยุกใชเทคโนโลยี เพือ่ สรางสรรคการตลาดอยางมีประสิทธิภาพ ตอบโจทยโลกยุคดิจิทัล โดยมี ร ล เ ร ี สรร ส ี รร ร อ ร บรบร  รา ร  สร ี และ ร รเ ีแส า  เปนวิทยากร รวมไปถึงแนะนําการเตรียมเอกสาร หลัก านในการสมัคร ขอรับรางวัล และสิทธิประโยชนจากการไดรับรางวัล ณ หองบอลรูม 1 โรงแรม S31 ซ.สุขุมวิท 31 itra a rasert Acting Commercial Specialist, Department of International Trade Ministry of Commerce presided over the opening ceremony of the “Outstanding Export Entrepreneur of the Year 2017” by at at o o ai Director of the O ce of the Promotion of Innovation and alue for Trade Department of International Trade, Ministry of Commerce. The event was organized to promote knowledge about the Thai export business under the topic of “Smart Content”, focus on how to do marketing, how to survive sustainably and technology application to create effective marketing, to response the digital world. Guest speaker are So ol era a t ee a at Sarara si eet a a a o o ri oriboo ara or a sara si and ari e a eesae a it as well as introducing document preparation. Other references to apply for award and benefits at the allroom 1, S31 Hotel, Soi Sukhumvit 31. May-June 2017

p.

- 7_pr e

.indd

5

5/19/17 3:50 PM


เ ลล ฉลองความสาเรจผูควา ัย นะจากการ ง ัน เ ลล อี ค-มารา อน เอเ ีย 20 20

กระทรวงพลังงาน นําโดย ลเอ อ ต ร า รต  รั มนตรี วาการกระทรวงพลังงาน รวมกับบริษัท เชลล แหงประเทศไทย จํากัด โดย อ า ร สต ประธานกรรมการ และ าร เ สเบอเรอร รองประธาน กรรมการบริหาร ธุรกิจพลังงาน กลุม บริษทั รอยัล ดัทช เชลล รวมดวยผูบ ริหาร ระดับสูงจากกระทรวงพลังงาน จัดงานตอนรับและแสดงความยินดีกบั นักศึกษา ไทย โี รแหงวงการพลังงาน ผูค วาชัยชนะจากการแขงขันเชลล อีโค-มาราธอน เอเชีย 2017 ที่ประเทศสิงคโปร i istr o er le b e eral A a ta or a a arat, Minister of Energy, in cooperation with Shell Thailand Co., Ltd., by Asa a ari s tta, Chairman and ar ai sb rer, Executive ice President, Royal Dutch Shell’s Energy usiness Group, participated with senior executives from the Ministry of Energy welcoming and congratulating Thai students Hero of the energy industry. The winner of the Shell Eco-Marathon Asia 2017 at Singapore on March 16-19, 2017

5

รวมกับ

จัดงานสัมมนา 5

ร  ร เล า ต กรรมการผูอํานวยการและหัวหนาเจาที่บริหาร และ เ รเ อร อ ส กรรมการผูอํานวยการและหัวหนาเจาหนาที่ดานเทคโนโลยี บริษัท แพลนเน็ต คอมมิวนิเคชั่น เอเชีย จํากัด (มหาชน) หรือ PCA ผูนําดานเทคโนโลยีสื่อสาร โทรคมนาคม และระบบสือ่ สารไรสาย ถายภาพเปนทีร่ ะลึกรวมกับบริษทั Mimosa Networks ผูผลิตอุปกรณ Wireless ackhaul และ Wireless Access ชั้นนําในระดับสากล ไดจัดงาน สัมมนา “5G Fixed Gigabit Wireless” โดยใชยานความถี่สาธารณะ 5GHz โดยมุงเนนการ ใชงานกับกลุม ลูกคาทีต่ อ งการความเร็วสูงเทียบเทาสายสัญญาณไฟเบอรออพติกภายในงาน ไดรับความสนใจจากกลุมลูกคาเปนจํานวนมาก ณ อาคารแพลนเน็ตคอม ra at att alert ar Executive Director and Chief Executive O cer and re or o so Director and Chief Technology O cer, Planet Communication Asia PCL. or PCA the leading telecommunication technology and wireless communication take photo with Mimosa Networks, the world’s leading manufacturer of wireless backhaul and wireless access equipment, has organized a “5G Fixed Gigabit Wireless” seminar using the 5GHz public-address band, focusing on the needs of its customers for high-speed fiber optic cables at the event attracted a large number of customers. At the Planet Com uilding.

คาปลีก ทย พบนักลงทุนงาน ร กรรมการผูจัดการ บริษัท ธนพิริยะ จํากัด (มหาชน) หรือ TNP ผูประกอบธุรกิจ คาปลีกและคาสงรายใหญในจังหวัดเชียงราย พรอมดวย เ ส ร อ ร ร รองกรรมการผูจัดการ และ า ต าเส ผูอํานวยการฝายบัญชีและการเงิน ถายภาพรวมกันเปนที่ระลึกภายหลังนําเสนอขอมูล ตอนักลงทุนในงาน Opportunity Day ณ อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ย้ําความเชื่อมั่นคาปลีก คนไทยแกรงสุด ตั้งเปารายไดป 60 เติบโตอีก 10-15 จากการขยายสาขาเพิ่มอีก 4 สาขาในปนี้ โดยมี 2 สาขา ที่เขาไปขยายตลาดใน จ.พะเยา เปนครั้งแรก ขณะที่ศูนยกระจายสินคาแหงใหมเตรียมเปดใชบริการเร็วๆ นี้ ใชรองรับสาขาไดกวา 50 สาขา a at ai ti iri a Managing Director of Thanaphiriya Public Company Limited or TNP, the ma or retailer and wholesaler in Chiang Rai, along with female pharmacist A or t i iri a Deputy Managing Director and itta a it ase Director of Accounting and Finance. Take a photo together as a souvenir after presenting information to investors at Opportunity Day at the Stock Exchange of Thailand uilding. With confidence among Thais retail targeted 60 revenue by growth of 10-15 from the expansion of 4 more branches this year, with two branches to expand the market in Phayao for the first time while the new distribution center to service and support more than 50 branches opening soon.

May-June 2017

p.

- 7_pr e

.indd

5/19/17 3:50 PM


ตก ลน ุรกิจรีเทล เผย ฉม วิส ดอม วัน- อ-วัน

0 0

ส  าล รรต  ประธานเจาหนาที่บริหาร และ ส า เรอ ไ บล  ผูอ าํ นวยการบริหาร บร แ เลี อลตี้ เี ลอ เ ต อร อเร า (MQDC) บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย เจาของและผูพัฒนาโครงการที่พักอาศัยและ มิกซยูสคุณภาพแบรนด WHI DOM เปดตัว สซ อ อ ไลฟสไตล อ เ ล ซ ส ลแ แร แล แ เ ี เ อ ไ พรัง่ พรอม ไปดวยรานคาและสิง่ อํานวยความสะดวกครบครันทีส่ ดุ พรอมทัง้ ผสมผสานเทคโนโลยี และธรรมชาติไวอยางลงตัว เพื่อสรางสรรคประสบการณแปลกใหม ตอบสนองการใช ชีวิตประจําวัน และทุกแงมุมของชีวิตคนเมืองที่รักความสนุกสนาน สะดวกรวดเร็ว สุขภาพและสิ่งแวดลอม Magnolia Quality Development Corporation (MQDC), a property development and owner of high-quality residential and mixed-use pro ects under the brand WHI DOM, unveils Thailand’s first and only innovative lifestyle complex with complete digital experience at WHI DOM 101. oasting a comprehensive selection of shops and facilities along with a rare combination of technology and nature, the development aims to offer visitors a unique experience and fulfill modern urbanites’ needs for socialization, conveniences and well-being.

ลงนามสั

ารวมกับ

เพอพั นาระบบ ครง าย

ีเกท ประเท ทย ตอนรับอาจารย ละค ะนัก กษาเอมบีเอ จากมหาวิทยาลัยเรด ลนด สหรั อเมริกา ใน อกาส กษาดูงาน รงงานเทพารักษ -

เ ล ี เ เล ร ผูอ าํ นวยการฝายวัตถุดบิ และซัพพลายเชนทัว่ โลก บริษทั ซีเกท เทคโนโลยี จํากัด (มหาชน) และคณะผูบริหารซีเกท ประเทศไทย ใหการตอนรับ ี รเบรตส รักษาการคณบดีคณะบริหารธุรกิจ และนักศึกษาเอ็มบีเอจํานวน 14 คน จากมหาวิ ท ยาลั ย เรดแลนด ประเทศสหรั ที่ เ ดิ น ทางมาศึ ก ษาดู ง านในหั ว ข อ า แต ตา ร า าร า ร ร เ ส ร อเ ร าแล เอเ ี ณ โรงงานซีเกท เทพารักษ จ.สมุทรปราการ s elo ee elero r eit oi

1

oberts

b si ess i t e

ite States a

i Asia

o ariso bet ee

.

าอัจฉริยะตามน ยบายภาครั

ส ล เ ลาส รร ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท อิตัลไทยวิศวกรรม จํากัด (ITALTHAI Engineering : ITE) รวมกับ เ เฟ ซา (Mr.Weifeng hang) ประธานกรรมการ ei ing Sifang Automation Co., Ltd. (Sifang) ลงนามสัญญาความรวมมือการทําตลาดโครงขายไฟฟาที่ใชเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาบริหารจัดการ ควบคุมการผลิต สง และจายพลังงานไฟฟา เพื่อตอบสนอง นโยบายของภาครั ในการพัฒนาระบบโครงขายไฟฟาไปสูระบบโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) ซึ่ง บริษทั คาดหวังวาการลงนามความรวมมือดังกลาวจะมีสว นชวยสนับสนุนการดําเนินการตามนโยบายระบบ โครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) ของภาครั ใหสําเร็จลุลวง ณ ชั้น 29 อาคารอิตัลไทยทาวเวอร สํานักงานใหญ r Sa ol aos a Chairman of Italthai Engineering Co., Ltd. (ITE). ITALTHAI signed a cooperation agreement with r ei e a Chairman of ei ing Sifang Automation Co., Ltd. (Sifang), for marketing of the electricity network using information technology and communication management to control production, transmission and distribution of electricity to meet the government policy of developing the power grid system into the Smart Grid. The company expects that the cooperation would support the implementation of the Government Smart Grid System to be completed, at the 29th floor of Italthai Towers Headquarters.

May-June 2017

p.

- 7_pr e

.indd

7

5/19/17 3:50 PM


สัมมนา วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ โทรศัพท 0-2319-2410 โทรสาร 0-2319-2710 www.eit.or.th

2-24 มิ.ย. 60 2-4 มิ.ย. 60 2-3 มิ.ย. 60 2-3 มิ.ย. 60 2-4 มิ.ย. 60 6-7 มิ.ย. 60 7 มิ.ย. 60 -9 มิ.ย. 60 10-11 มิ.ย. 60 14 มิ.ย. 60 15-17 มิ.ย. 60 15 มิ.ย. 60 17-1 มิ.ย. 60 17 มิ.ย. 60 21 มิ.ย. 60 22 มิ.ย. 60 24 มิ.ย. 60 2 -30 มิ.ย. 60 2 -30 มิ.ย. 60 29 มิ.ย. 60 1 ก.ค. 60 1 ก.ค. 60 5-7 ก.ค. 60 5-7 ก.ค. 60 13-16 ก.ค. 60 13 ก.ค. 60 13-14 ก.ค. 60 21-23 ก.ค. 60 22 ก.ค. 60 22-23 ก.ค. 60 25 ก.ค. 60 2 ก.ค. 60 29-30 ก.ค. 60 29-30 ก.ค. 60

ตรวจสอบอาคาร รุนที่ 43 การอบรมเรื่อง มาตร านการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย รุนที่ 2 ประจําป 2560 ความรูทางโลหะวิทยาเพื่อการเลือกใชงานเหล็กและอะลูมิเนียม รุนที่ 2 โครงการอบรมเรือ่ ง พืน้ านความรูด า นวิศวกรรมพลังงาน เพือ่ เตรียมความพรอมสําหรับการขอใบอนุญาต ภาคีพิเศษ รุนที่ 7 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีกําลัง (Strength Design Method) สําหรับโครงสรางพิเศษ ผูตรวจสอบเครนชนิดติดตั้งบนรถบรรทุก Truck Mounted Crane Inspector การอบรมเชิงวิชาชีพเรื่อง การเลือกใช การออกแบบ การติดตั้ง และการบํารุงรักษาแผงสวิตชแรงต่ํา (MD ) รุนที่ 2 2560 จัดฝกอบรมหลักสูตรเรงรัด 2 วัน (ไมมีการสอบ) หัวขอ “Data NetWorking” การอบรมและฝกปฏิบัติงาน “สํารวจและการวางผังงานกอสรางเบื้องตน” รุนที่ 2D CADD รุนที่ 12 ทบทวนความรูเพื่อเตรียมตัวเลื่อนระดับเปนสามัญวิศวกร สาขาโยธา รุนที่ 2 ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับไฟฟา รุน 3 2560 การอบรมเรื่อง การออกแบบระบบทอภายในอาคาร รุนที่ 30 การประมาณราคางานกอสรางอาคารขนาดใหญ การสัมมนาและศึกษาดูงาน การเลือกใชพัดลมอยางถูกตอง เพื่อประหยัดคาติดตั้งและคาไฟฟา การอบรมเรื่อง การเลือก การใชงาน และการตรวจสอบ Safety alve สําหรับหมอน้ํา ตาม ASME และ API (Safety alve for oiler Safety) การฝกอบรมเรื่อง การบัญชีบริหาร : สําหรับวิศวกรและผูบริหารที่ไมใชนักบัญชี รุนที่ 2 2560 โครงการอบรมพื้น านความรูดานวิศวกรรมโยธา เพื่อเตรียมความพรอมสําหรับการขอใบอนุญาต ภาคีพิเศษจากสภาวิศวกร รุนที่ 24 จัดฝกอบรมและจัดสอบใหใบรับรอง (Certification) หัวขอ “Data NetWorking” (รุนที่ 3) การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การคํานวณกระแสลัดวงจรและแรงดันตก การอบรมเรื่อง เทคนิคการผูกรัดวัสดุสําหรับรถขนสง (Lashing Technique for Transportation) รุนที่ 1 การสัมมนาเรื่อง การเลือกใชเครื่องสูบน้ําอยางถูกตอง เพื่อประหยัดคาติดตั้งและคาไฟฟา จัดฝกอบรมและจัดสอบใหใบรับรอง (Certification) หัวขอ “Data Security” (ไมมีการสอบ) การพิจารณาขอมูลดิน ปญหา านราก และการแกไข จัดฝกอบรมและจัดสอบใหใบรับรอง (Certification) หัวขอ “Data Security” (มีการสอบ) ขอเชิญรวมการสัมมนาเรื่อง กรณีศึกษาอุบัติเหตุจากหมอน้ําและภาชนะรับความดัน การอบรมมาตร านเชิงปฏิบัติการเรื่อง การออกแบบ ติดตั้ง และทดสอบระบบแจงเหตุเพลิงไหม รุนที่ 1 2560 การอบรมเรื่อง การประเมินอายุการใชงานที่เหลือของภาชนะรับความดัน รุนที่ 4 เทคนิคการใชงานระบบล็อกและติดปายทะเบียนในงานวิศวกรรม รุนที่ 3 การคํานวณออกแบบถังเก็บน้ํา คสล. การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การตรวจสอบและทดสอบระบบไฟฟาอาคาร เพื่อการบํารุงรักษา และความปลอดภัย (ท ษ ีและปฏิบัติ) รุนที่ 47 การตรวจสอบและทดสอบระบบเครื่องสูบน้ําดับเพลิง (Fire Pump) (ภาคท ษ ีและภาคปฏิบัติ) รุนที่ การอบรมเรื่อง ระบบทอในโรงงานอุตสาหกรรม (Industrial Piping System) รุนที่ 14 การออกแบบระบบดับเพลิงสําหรับคลังสินคาและระบบสารสะอาดดับเพลิง รุนที่ 11

May-June 2017

p.

- 9_

end r.indd

5/19/17 3:51 PM


สัมมนา สวนฝกอบรม ฝายนโยบาย และยุทธศาสตร สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (มว.) โทรศัพท 0-2577-5100 ตอ 4206 หรือ 422 โทรสาร 0-2577-2 23 E-mail : training nimt.or.th www.nimt.or.th

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ โทรศัพท 0-2617-1727 ตอ 30 E-mail : training masci.or.th http: www.masci.or.th

13-16 มิ.ย. 60 14-16 มิ.ย. 60 15-16 มิ.ย. 60 20-21 มิ.ย. 60 20-22 มิ.ย. 60 20-22 มิ.ย. 60 24-25 ก.ค. 60 24-26 ก.ค. 60 24-26 ก.ค. 60 26-27 ก.ค. 60 27-2 ก.ค. 60 27-2 ก.ค. 60 5 มิ.ย. 2560 5 มิ.ย. 2560 6 มิ.ย. 2560 9 มิ.ย. 2560 12 มิ.ย. 2560 12 มิ.ย. 2560 12 มิ.ย. 2560 13 มิ.ย. 2560 14 มิ.ย. 2560 14 มิ.ย. 2560 16 มิ.ย. 2560 20 มิ.ย. 2560 20 มิ.ย. 2560 5 ก.ค. 2560 7 ก.ค. 2560 17 ก.ค. 2560 19 ก.ค. 2560 20 ก.ค. 2560 21 ก.ค. 2560 25 ก.ค. 2560 25 ก.ค. 2560

แผนกบริการฝกอบรม สถาบันอาหาร

โทรศัพท 0-2 6- 0 ตอ 2205 โทรสาร 0-2 6- 104 E-mail : training nfi.or.th http: www.nfi.or.th

7-9 มิ.ย. 60 3 มิ.ย. 60 15-16 มิ.ย. 60 15 มิ.ย. 60 20-22 มิ.ย. 60 22-23 มิ.ย. 60

การสอบเทียบเครื่องทดสอบความแข็งชนิด Rockwell ตามมาตร าน ISO 650 : 2015 และ ASTM E1 -16 การสอบเทียบ Laser Power Meter การทวนสอบผลการสอบเทียบเครื่องมือวัดความดันและการนําไปใชงาน การสอบเทียบ Hand Torque Tools ตามมาตร าน ISO 67 9:2003 การสอบเทียบ AC Power Harmonics การสอบเทียบ Thread Ring Gauge และ Thread Plug Gauge การสอบเทียบเครื่องชั่งอิเล็กทรอนิกส รุน 2 การประมาณคาความไมแนนอนของการวัดในการวิเคราะหทางเคมี (EM ) การสอบเทียบเทอรโมคัปเปลและตัวอานสําหรับเทอรโมคัปเปล หลักการสําคัญและการตรวจสอบ GD T ดวยเครื่องมือวัดขั้นสูง การตรวจสอบความใชไดของวิธีวัดทางเคมี (AM ) การสอบเทียบ Network Analyzer ISO 14001:2015 Introduction and Internal Auditor Introduction to ISO IEC 17025 (Testing and Calibration Laboratories) ISO 26000 erifier Lead erifier Transition to ISO 14001:2015 Transition to ISO 9001:2015 Introduction to ISO 29990 (Training Learning Service Provider) IRCA Certified ISO 14001:2015 Auditor Lead Auditor Training Course (IRCA 14153)(IRCA Reg. No. A1 127) ISO 22301 Auditor Lead Auditor ISO 9001:2015 Introduction and Internal Auditor ISO 22000:2005 Introduction and Internal Auditor Introduction to AA 1000 Stakeholder Engagement Standard (SES):2015 Introduction to ISO IEC 17020 (Inspection ody) FSPCA Preventive Controls for Human Food Integrated Management System Internal Auditor (ISO 9001, ISO 14001 TIS 1 001) Introduction to ISO 26000 IRCA Certified ISO 9001:2015 Auditor Lead Auditor Training Course (IRCA 9153) (IRCA Reg. No. A1 126) ISO 50001:2011 Introduction and Internal Auditor ISO 22301 Implementation GRI Sustainability Reporting Guidelines: G4 Introduction to ISO IEC 17065 (Product Certification ody) FSPCA Preventive Controls for Human Food การประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสของอาหาร (Sensory Evaluation) (รุนที่ 2 2560 ก ระเบียบดานความปลอดภัยของบรรจุภัณฑอาหารสําหรับการสงออกอาหารไปยังตลาดโลก (Food Contact Material) การวิเคราะหและการประเมินความเสี่ยงอันตรายในอุตสาหกรรมอาหาร วิธีทําความสะอาดและสารทําความสะอาดในโรงงานอาหาร Preventive Controls for Human Food (ระเบียบการควบคุมเชิงปองกันสําหรับอาหารมนุษย) (รุนที่ 2 2560) การประยุกตใช Hydrocolloid (สําหรับผลิตภัณฑเยลลี่ และวุน แยม และขนมหวาน ขนมขบเคี้ยว และซอส เครื่องดื่ม นม และเบเกอรี่ เนื้อสัตว และอาหารทะเล อิมัลชั่น และผลิตภัณฑอาหารอื่นๆ

May-June 2017

p.

- 9_

end r.indd

9

5/19/17 3:51 PM


หน วย 27

การอบรมเรื่อง

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 (มาตรฐานฉบับใหม) รุนที่ 2/2560

PD U

วันที่ 2-4 มิถุนายน 2560 (วันศุกร, เสาร, อาทิตย) ณ โรงแรม เอส ซี ปารค จัดโดย คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟา วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

หลักการและเหตุผล

เนื่องจากมาตร านการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 มีการปรับปรุงใหม โดยเฉพาะอยางยิ่งการปรับปรุง เพื่อใหสอดคลองกับมาตร านสายไฟฟาใหม ตาม มอก.11-2553 ซึ่งอางตามมาตร าน IEC การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญคือขอกําหนด การใชงาน การเดินสาย และขนาดกระแสของสายไฟฟา อีกทั้งเพิ่มขอกําหนดการติดตั้งสําหรับสถานที่เฉพาะและบทอื่นๆ ซึ่งจะมี ผลกระทบกับการออกแบบ การติดตั้ง และการตรวจสอบ ปจจุบันมาตร านดังกลาวไดพิมพเสร็จแลว ดังนั้น ผูที่เกี่ยวของจึงตองทราบ รายละเอียดเพื่อที่จะไดสามารถปฏิบัติไดอยางถูกตอง สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ จึงไดจัดอบรมขึ้นเพื่อเผยแพรมาตร าน ดังกลาว โดยมี วัตถุประสงคเพื่อใหผูที่เกี่ยวของมีความรูและความเขาใจตรงกัน ซึ่งจะสามารถประยุกตใชงานไดอยางถูกตอง

ผูรับผิดชอบโครงการ

ประธานคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟา วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ

คณะวิทยากร า า า า า

ตต  ีร รส ลอ อ ล ส ี ไ ส เ อ ร  เต ต บร อ ล

การไฟฟานครหลวง, ประธานคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟา วสท. พ.ศ. 2557-2559 ประธานคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟา วสท. พ.ศ. 2554-2556, กรรมการสภาวิศวกร กรมโยธาธิการและผังเมือง การไฟฟาสวนภูมิภาค เลขานุการคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟา วสท., บริษัท อาซีฟา จํากัด

May-June 2017

p.90-91_ emin r.indd 90

5/19/17 3:52 PM


กำหนดการ วันศุกรที่ 2 มิถุนายน 2560

บทที่ 1 นิยามและขอกําหนดทั่วไป บทที่ 2 มาตร านสายไฟฟาและบริภัณฑไฟฟา บทที่ 3 ตัวนําประธาน สายปอน วงจรยอย บทที่ สถานที่เฉพาะ บทที่ 11 มาตร านการทนไฟของสายไฟฟา บทที่ 12 วงจรไฟฟาชวยชีวิต บทที่ 13 อาคารเพื่อการสาธารณะใตผิวดิน บทที่ 14 การติดตั้งไฟฟาชั่วคราว

วันเสารที่ 3 มิถุนายน 2560

บทที่ 4 การตอลงดิน บทที่ 7 บริเวณอันตราย บทที่ 9 อาคารชุด อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญพิเศษ บทที่ 10 บริภัณฑเฉพาะงาน

วันอาทิตยที่ 4 มิถุนายน 2560

บทที่ 5 ขอกําหนดการเดินสายและวัสดุ บทที่ 6 บริภัณฑไฟฟา

ลงทะเบียน เวลา 0 .30-09.00 น. พักรับประทานอาหารวางเวลา 10.30-10.15 น. และ 14.30-14.45 น. พักรับประทานอาหารกลางวันเวลา 12.00-13.00 น. า เ ต า าร า ร อา ี ารเ ลี แ ล ตา า เ า ส ร ี ี รร ส า แ ร เ ไ เล าร อบร ส า า า เ อ า สาเ ต ตา เ บล าเต า ร ี ี ล เบี แ เล อ บต ี้ ● แจงยกเลิกกอนวันจัดอบรม สัมมนา 30 วัน คืนเงินใหเต็มจํานวนของคาลงทะเบียน ● แจงยกเลิกกอนวันจัดอบรม สัมมนา 15 วัน คืนเงินให 0 ของคาลงทะเบียน ● แจงยกเลิกกอนวันจัดอบรม 7 วัน คืนเงินให 50 ของคาลงทะเบียน ● แจงยกเลิกภายหลัง 7 วัน ไมคืนคาลงทะเบียน

ร เ ไ แล ตา ร เ

คาลงทะเบียน รเ ส า าร เ า ี าร เ า ล สมาชิก วสท. 4, 00 บาท คน 5,300 บาท คน ขาราชการ รั วิสาหกิจ บุคคลทั่วไป 5,300 บาท คน 6,000 บาท คน *วสท. ขอสงวนสิทธิสําหรับผูที่ชําระเงินกอนเทานั้น หากกรณีที่นั่งเต็ม จะตองเลือกเขาอบรมในรุนตอไป

สนใจติดตอไดที่ วสท. โทร. 0-2184-4600-9 ตอ 521, 522, 523, 525 www.eit.or.th May-June 2017

p.90-91_ emin r.indd 91

5/19/17 3:52 PM


e ent เอ็มเทค สวทช. จับมือ พพ. ขยายผลเทคโนโลยี H-FAME แกผผ ู ลิตไบโอดีเซลในประเทศ >> ร อารี บ ส บต รองผูอํานวยการศูนยเทคโนโลยี โลหะและวัสดุแหงชาติ (เอ็มเทค) สวทช. ร  ล นักวิจยั อาวุ โ สและหั ว หน า โครงการวิ จั ย เอ็ ม เทค สวทช. ต รา  กรรมการผูจัดการ บริษัท บางจากไบโอฟูเอล จํากัด ( F) และ ร  รตา  กรรมการผูจ ดั การ บริษทั โกลบอล กรีนเคมิคอล จํากัด (มหาชน) (GGC) รวมแถลงขาวความคืบหนา และลงนามความรวมมือโครงการ “สนับสนุนการเพิ่มสัดสวน การใชน้ํามันไบโอดีเซลใหสูงขึ้น” โดยใชกระบวนการ H-FAME ระดับโรงงานสาธิตในประเทศไทย จากโครงการความรวมมือ ไทย-ญีป่ นุ แกผผู ลิตไบโอดีเซลในประเทศ 2 ราย คือ บจก.บางจาก ไบโอฟูเอล และ บมจ.โกลบอลกรีนเคมิคัล เพื่อเปนทางเลือกหนึ่ง ในการผลักดันการเพิ่มสัดสวนไบโอดีเซลในอนาคต

<< ที แอนด ดี เพาเวอร เทค จัดสัมมนา “การติดตัง้ ระบบไฟฟาตามมาตรฐาน การติดตัง้ ทางไฟฟาสำหรับประเทศไทย พ.ศ.2556” เมือ่ วันศุกรท่ี 17 มีนาคม 2560 บร ี แอ  ี เ าเ อร เ ไ แล  า และ ร  ส บ อร นําโดย บ อบ า  กรรมการผู จั ด การ หจก.นครพิ ง ค สวิ ท ช บ อร ด ได ร ว ม สนับสนุนจัดบูธโชวสินคาเบรกเกอรไฟฟา ยี่หอ ุนได ใหกับผูเขารวม งานสัมมนา ในหัวขอ ารต ต้ ร บบไฟฟาตา าตร า าร ต ต้ า ไฟฟาสา รบ ร เ ไ จัดขึ้นโดย PEA การไฟฟาสวนภูมิภาค อ.แมริม จ.เชียงใหม โดยมี อ เร รร ผูจัดการการไฟฟาสวนภูมิภาค อ.แมริม จ.เชียงใหม กลาวเปดการ สัมมนาในครั้งนี้ ภายในงานบูธโชวสินคาเบรกเกอรไฟฟา ยี่หอ ุนได ไดรับความ สนใจจากผูเขารวมงานสัมมนามากมาย ซึ่งเปนผูรับเหมาติดตั้งระบบ ไฟฟ า ภายในและภายนอกอาคารในจั ง หวั ด เชี ย งใหม แ ละจั ง หวั ด ใกล เ คี ย งในภาคเหนื อ จํ า นวนกว า 100 ท า น โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เพื่อใหการติดตั้งระบบไฟฟาเปนมาตร านเดียวกัน อีกทั้งยังเปนการ สรางสัมพันธภาพอันดีระหวาง PEA กับหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมถึง ผูประกอบการและผูรับเหมาอีกดวย May-June 2017

p.92-9 _m

emen .indd 92

5/19/17 3:52 PM


e ent เกทส เผยโฉมสำนักงานใหญแหงใหม และศูนยบริการลูกคาในสิงคโปร >> อ เล ประธานเจาหนาที่บริหารของ เกทส คอรปอเรชัน่ รวมพิธเี ปดตัวสํานักงานใหญประจําภูมภิ าค แหงใหมในประเทศสิงคโปร เกทส คอรปอเรชั่น ผูนําดาน อุ ต สาหกรรมสายพานและผลิ ต ภั ณ ฑ กํ า ลั ง ของไหล นอกจากนี้เกทสยังไดลงทุนเพื่อเปดศูนยบริการลูกคาที่ ถูกออกแบบอยางล้ําสมัยเพื่อรองรับลูกคาและผูที่สนใจ ในผลิ ต ภั ณ ฑ ข องเกทส โดยกล า วในพิ ธี เ ป ด บริ ษั ท ว า บริษัทมีการลงทุนอยางมหาศาลในดานการวิจัยและการ พัฒนาผลิตภัณฑ โดยศูนยบริการลูกคาแหงนี้ถือเปนอีก ชองทางหนึง่ ทีจ่ ะไดแสดงถึงศักยภาพขององคกรสูส ายตา ของนักลงทุนและผูรวมธุรกิจในภูมิภาคนี้ โดยเกทสได สรางชื่อเสียงและมาตร านใหเปนที่ประจักษในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟก มานานกวา 40 ป ทําใหวนั นีเ้ กทสเปนผูน าํ ด า นการจั ด หาผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละงานระบบสํ า หรั บ ตลาด ยานยนตและอุตสาหกรรมหลากหลายประเภท

<< ปูนซีเมนตนครหลวง ซิสโก และ ฟูจต ิ สึ ผนึกกำลังวางรากฐานสำหรับ “อุตสาหกรรม 4.0” อ า รส า  ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั อินทรี ดิจติ อล จํากัด ซึ่งเปนบริษัทในกลุมบริษัทปูนซีเมนตนครหลวง ตส ร ร  กรรมการ ผูจัดการประจําประเทศไทยและภูมิภาคอินโดจีนของซิสโก และ ร อ ฟร า า กรรมการผูจัดการ บริษัท ฟูจิตสึ (ประเทศไทย) จํากัด รวมแถลงขาวการที่บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) หนึง่ ในผูผ ลิตปูนซีเมนตชนั้ นําของประเทศไทย ไดตดิ ตัง้ โครงสรางพืน้ าน Pervasive Network และระบบเชือ่ มตอไรสายครอบคลุม ทั่วทุกพื้นที่ภายในโรงงานผลิตปูนซีเมนต โรงงาน 3 จังหวัดสระบุรี นับเปนครั้งแรก ของอุตสาหกรรมในการติดตั้งเทคโนโลยีดังกลาวในประเทศไทย โดยใชเทคโนโลยี ที่กาวล้ําจากซิสโก และบริการติดตั้งระบบจากฟูจิตสึ การติดตั้งระบบโครงสราง พืน้ านครัง้ นีจ้ ะชวยเสริมสรางใหการทํางานของปูนซีเมนตนครหลวงมีประสิทธิภาพ มากขึ้น

May-June 2017

p.92-9 _m

emen .indd 93

5/19/17 3:52 PM


e ent

แพ็ค พริน ้ ท อินเตอรเนชัน ่ แนล 2017 ครัง้ ที่ 6 >> เ อร อ ร ล กรรมการผูจัดการ บริษัท เมสเซ ดุสเซลดอรฟ เอเชีย เ รี ไ ร เ ี ร ล รองประธาน สภาอุ ต สาหกรรม  ารา รา  นายก สมาคมการพิมพไทย และ ล ไ ร  นายกสมาคม การบรรจุ ภั ณ ฑ ไ ทย ร ว มแถลงข า วงาน แพ็ ค พริ้ น ท อินเตอรเนชั่นแนล 2017 ครั้งที่ 6 ที่สุดของงานจัดแสดง สินคาเพื่ออุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑชั้นนํา ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดกลับมาจัดแสดงที่ ประเทศไทยอีกครั้ง ระหวางวันที่ 20-23 กันยายน 2560 ซึ่งเปนการรวมมือระหวางเมสเซ ดุสเซลดอรฟ เอเชีย สมาคมการบรรจุภัณฑไทย และสมาคมการพิมพไทย และได รั บ แรงบั น ดาลใจมาจากงานแสดงสิ น ค า ชั้ น นํ า อันดับหนึ่งของโลกดานการพิมพและการบรรจุภัณฑคือ งานดรูปา และอินเตอรแพ็ค จัดโดยเมสเซ ดุสเซลดอรฟ กรุป

<< โครงการ Enjoy Science เสริมศักยภาพ ครูวทิ ย-คณิต ปน เด็กไทยยุค 4.0 บริษัท เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด รวมมือกับ พันธมิตรจากภาครั และภาคประชาสังคม ภายใต ร าร e ro o S ie e ส  ล เ ออ า ต ไดจัดการอบรม เชิงปฏิบัติการพัฒนาครูวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรระดับมัธยมศึกษา ตอนตน เพื่อเสริมศักยภาพและทักษะของครูใหมีความรูความเขาใจ ในการนํากระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู (Inquirybased learning) มาใชในชั้นเรียนของตน โดยมุงเนนครูในโรงเรียน ขยายโอกาสทางการศึกษา เพือ่ เปลีย่ นแนวทางการสอนจากการ “ทองจํา” ไปสู “การตั้งคําถามและหาคําตอบ” เพื่อวางราก านทักษะการเรียนรู แหงศตวรรษที่ 21 ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดย อา ต  ร รร ผูจ ดั การใหญฝา ยสนับสนุนธุรกิจ บริษทั เชฟรอนประเทศไทยสํารวจและผลิต จํากัด ใหการสนับสนุนโครงการนี้ อย า งเต็ ม ที่ เพื่ อ ส ง เสริ ม การพั ฒ นาการศึ ก ษาในสาขาวิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร หรือสะเต็ม อันเปนราก าน สําคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงของประเทศ

May-June 2017

p.92-9 _m

emen .indd 9

5/19/17 3:52 PM


Industry News

JWD ลดตนทุนคลังสินคาหองเย็นหลังติดตั้งแผงโซลาร รูฟท็อปแลวเสร็จ

JWD Wages Cold-Storage Cost-Saving Campaign, Completes Solar Rooftop Installation JWD ผูนําธุรกิจใหบริการโลจิสติกสภาคพื้นดินอยางครบวงจร งัดแผนลดตนทุนพลังงานในคลังสินคาหองเย็น หลังติดตั้งแผงโซลาร รูฟท็อปที่หองเย็นมหาชัยและสุวินทวงศแลวเสร็จ คาดชวยประหยัด คาไฟฟาไดปละกวา ลานบาท หรือกวา 12 ของคาไฟฟาหองเย็น ในแตละป เตรียมขยายการติดตั้งเฟส 2 เพิ่ม คาดแลวเสร็จเริ่มผลิต กระแสไฟฟาไดในไตรมาสที่ 3 และ 4 ปนี้ พรอมเล็งติดตัง้ ทีค่ ลังสินคา หองเย็นบางนาเพิ่มอีกแหง ตั้งเปาชวยดันกําไรขั้นตนปนี้พุงพรวด แตะ 42 ร บ ต า ร า รร ารบร ารแล ร า เ า า บร ี าร บร เ บเบ้ล ี อ ฟ ล สต ส า า รอ ผูนําธุรกิจใหบริการ โลจิสติกสภาคพืน้ ดินอยางครบวงจร เปดเผย วา ได ว างกลยุ ท ธ ล ดต น ทุ น ด า นพลั ง งาน เพือ่ เพิม่ อัตรากําไรขัน้ ตนจากการดําเนินงาน สูงขึ้นจากปกอน โดยเฉพาะธุรกิจคลังสินคา ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ แช เ ย็ น และแช แข็ ง (คลั ง สินคาหองเย็น) ทั้ง 3 แหง ที่มหาชัย ถนน สุวินทวงศและถนนบางนา-ตราด กม.19 ซึ่งมีคาใชจายดานพลังงาน ไฟฟาคอนขางสูง และถือเปนตนทุนหลักที่มีสัดสวนประมาณ 30 ของคาดําเนินงานรวมทั้งหมด บริษัท จึงทยอยติดตั้งแผงโซลาร รูฟท็อปบนหลังคาอาคาร คลังสินคาหองเย็นแลวเสร็จเปนที่เรียบรอย 2 แหง ไดแก คลังสินคา หองเย็นที่มหาชัยและคลังสินคาหองเย็นบนถนนสุวินทวงศ ใชงบ ลงทุนรวมทั้งหมดกวา 50 ลานบาท โดยคลังสินคาหองเย็นที่มหาชัย เริ่มผลิตกระแสไฟฟาไดตั้งแตเดือนมกราคมที่ผานมา สวนที่ถนน สุวินทวงศเริ่มผลิตกระแสไฟฟาตั้งแตเดือนกุมภาพันธที่ผานมา และ ประเมินวาจะสามารถลดคาไฟฟาของคลังสินคาหองเย็นทั้ง 2 แหง ไดประมาณปละกวา ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนกวา 12 ของ ประมาณการคาใชจายดานพลังงานไฟฟาของคลังสินคาหองเย็นทั้ง 3 แหงในปนี้ “เรามองวาการติดตั้งโ ลาร รู ทอป เปนการลงทุนที่คุมคา เพราะถาประเมินจากคา าทีป่ ระหยัด ดประมา กวา ลานบาท ตอป กจะ ชระยะเวลาคืนทุน 6 7 ป ข ะที่แผงโ ลารจะมีอายุ ชงาน โดยเ ลี่ยประมา 2 ป และมีความเหมาะสมกับประเท ทยที่มี สภาพอากา รอนเกือบตลอดทั้งป จึงสงผลดีตอความสามารถ นการ ผลิตพลังงาน า ดอยางมีประสิทธิภาพ” ร กลาว

JWD, a leading fully integrated in-land logistics service provider, has adopted plans to reduce electricity costs of coldstorage warehouses, having completed the installation of solar rooftop systems at Mahachai and Suwinthawong, which will cut more than TH million in power bills there, or more than 12 of cold-storage warehouses’ power bills, per year. It expects to complete the installation of, and begin power generation from, phase II systems in Q3 and Q4, and seeks to install the same system at the cold-storage warehouse at angna. These will enable it to record a 42 rise in gross profit margin this year. r ar a i it itsa a air a o t e e ti e o ittee a ie e ti e i er o o o isti s bli o a i ite a leading fully integrated in-land logistics service provider, revealed that the company has formulated strategies to reduce power bills in order to increase the operating profit margin from the previous year, especially for the cold- and frozen-storage warehouses at Mahachai, Suwinthawong Road and angna-Trat Road ( M.19), where electricity bills are high and represent a ma or cost item about 30 of total operating costs. With investments worth more than TH 50 million, the company has completed the installation of solar rooftop systems for the cold-storage warehouses at Mahachai and Suwinthawong Road. Power generation began at Mahachai in January and at Suwinthawong Road in February. The systems are estimated to cut the power bills by more than TH million per year for those two warehouses, or more than 12 this year for the three cold-storage warehouses. “We believe that the solar rooftop pro ects are great investments iven about H million power bills saved per year, the investments will break even in si or seven years Solar cells have an average service life of about 2 years, and are a suitable technology for hailand s virtually year round high temperature, which is good for the e ciency of power generation”, said he

May-June 2017

p.95-9 _ind

r .indd 95

5/19/17 3:53 PM


Industry News

ร า รร ารบร ารแล ร า เ า า ีบร าร กลาววา หลังจากเริม่ ผลิตพลังงานไฟฟาจากแผงโซลาร รูฟท็อป ไดแลว บริษัท เตรียมงบลงทุนอีกสวนหนึ่งจํานวนกวา 30 ลานบาท เพือ่ ขยายการติดตัง้ ในเฟส 2 ทีค่ ลังสินคาหองเย็นมหาชัยและบนถนน สุวินทวงศอยางตอเนื่อง โดยคาดวาจะทยอยติดตั้งแลวเสร็จและเริ่ม ผลิตพลังงานไฟฟาไดภายในไตรมาสที่ 3 และ 4 ของปนี้ตามลําดับ ซึ่งจะสงผลดีตอการลดตนทุนพลังงานไฟฟาไดมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ บริษัท ยังมีแผนติดตั้งโซลาร รูฟท็อป ที่คลังสินคาหองเย็นบนถนน บางนา-ตราด กม.19 อยางไรก็ตาม บริษัท จะประเมินอัตราการใช พลังงานไฟฟาและอัตราการใชพื้นที่รับฝากสินคากอนตัดสินใจลงทุน อีกครั้ง ทั้งนี้ จากการวางกลยุทธลดตนทุนดานพลังงานไฟฟาดังกลาว ประกอบกับการฟนตัวของความตองการใชพื้นที่รับฝากสินคาอาหาร ทะเลของหองเย็นที่มหาชัยเร็วกวาที่คาดไว และการขยายตลาด เจาะกลุมผูประกอบการสัตวปกเขามาเชาพื้นที่รับฝากสินคาเพิ่มขึ้น จึงคาดวาจะสงผลดีตอความสามารถการทํากําไรขั้นตนของธุรกิจ คลังสินคาหองเย็นทั้ง 3 แหงในปนี้ ที่ตั้งเปาหมายเพิ่มขึ้นเปน 42 จากปกอนอยูที่ประมาณ 37 รวมถึงสงผลดีตอภาพรวมอัตรากําไร ขั้นตนของ JWD

He added that, after the commencement of power generation from the installed solar rooftop systems, JWD will invest more than TH 30 million in phase II installation at the cold-storage warehouses at Mahachai and Suwinthawong Road, which is expected to be completed and ready for power generation in Q3 and Q4, respectively, and cut power bills there further. He also highlighted the company’s plan to install a solar rooftop system for the cold-storage warehouse on angna-Trat Road ( M.19). He noted, however, that the company will assess power consumption rates and occupancy ratios before making decisions to invest. The cost cutting strategy as mentioned above, coupled with the faster-than-expected recovery of the demand for cold storage services for seafood products at Mahachai and the company’s efforts to offer warehousing to more poultry business firms, are predicted to allow the company to post a 42 rise (compared with the 37 figure for the previous year) in gross profit margin for the three cold-storage warehouses, and a decent level of company-wide gross profit margin.

สมอ. เปดรับฟงความคิดเห็นผูมีสวนไดเสีย หลังปรับปรุงมาตรฐานสายไฟฟาหุมฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด

ส รส

สํานักงานมาตร านผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) เปดรับฟงความคิดเห็นผูมีสวนไดเสียหรือ ผูม ปี ระโยชนเกีย่ วของ หลังมีการปรับปรุงมาตร านสายไฟฟาหุม ฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด แรงดันไฟฟา ที่กําหนดไมเกิน 450 750 โวลต เลม 101 สายไฟฟามีเปลือกสําหรับงานทั่วไป กอนจะตราเปน พระราชก ษ ีกาบังคับใชตอไป ส ร ส  ล เลขาธิการ สมอ. กลาววา สมอ. ไดมีการทบทวนและปรับปรุงมาตร าน ผลิ ต ภั ณ ฑ อุ ต สาหกรรม เพื่ อ ให ส อดคล อ งกั บ การใช ง านในสถานการณ ป จ จุ บั น และเทคโนโลยี ทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยูต ลอดเวลา เพือ่ พัฒนาผูป ระกอบการและคุม ครองความปลอดภัยของผูบ ริโภค ลาสุด เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2560 สมอ. ไดมีประกาศใหมีการรับฟงความคิดเห็นของกลุมผูมีสวนไดเสียหรือ ผูมีประโยชนเกี่ยวของกับมาตร านผลิตภัณฑอุตสาหกรรมสายไฟฟาหุมฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด แรงดันไฟฟาที่กําหนดไมเกิน 450 750 โวลต เลม 101 สายไฟฟามีเปลือกสําหรับงานทั่วไป เพื่อนํามา ประกอบการพิจารณาดําเนินการตราพระราชก ษ ีกากําหนดใหผลิตภัณฑอุตสาหกรรมสายไฟฟา หุมฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด แรงดันไฟฟาที่กําหนดไมเกิน 450 750 โวลต เลม 101 สายไฟฟามีเปลือก สําหรับงานทั่วไป มอก.11 เลม 101-25xx ตองเปนไปตามมาตร าน เนื่องจากมาตร านดังกลาวมีการ แกไขปรับปรุงสาระสําคัญใหเหมาะสมกับการใชงาน สอดคลองกับมาตร านการติดตัง้ ทางไฟฟาสําหรับ ประเทศไทย ของวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) ทั้งนี้ สามารถขอดูรายละเอียดการกําหนดมาตร านดังกลาวไดที่ กองก หมาย สํานักงาน มาตร านผลิตภัณฑอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม หรือ www.tisi.go.th

May-June 2017

p.95-9 _ind

r .indd 9

5/19/17 3:53 PM


Industry News

บริดจสโตนประกาศเจตนารมณ “Our Way to Serve” เนนความเชี่ยวชาญในการพัฒนางาน CSR ในระดับสากล

BRIDGESTONE UNVEILS “OUR WAY TO SERVE” AND FOCUSES SCALE AND EXPERTISE ON ADVANCING GLOBAL CSR WORK บร ส ต อร อเร บร ส ต ประกาศเจตนารมณ เรื่องความรับผิดชอบตอสังคม (CSR) ที่เรียกวา r a o Ser e (วิถีในการดําเนินงานของเรา) ซึ่งจะนํามาใชกับบริดจสโตนทั่วโลก โดยมี 3 ประเด็นหลักที่ตองใหความสําคัญเปนอันดับแรก ไดแก ความคลองตัว ทรัพยากรมนุษย และสิ่งแวดลอม เจตนารมณใหมนี้ตอยอดขึ้นจากความ สําเร็จในการดําเนินธุรกิจเปนระยะเวลากวาหนึ่งทศวรรษ และจากการ เรียนรูจากกิจกรรม CSR ของบริดจสโตน ทั้ง 22 ประเด็น r a to Ser e (วิถีในการดําเนินงานของเรา) สะทอนถึงปรัชญาองคกรของ บริดจสโตนซึง่ ไดถกู นํามาใชสบื เนือ่ งจนถึงปจจุบนั คือ การรับใชสงั คมดวย คุณภาพทีเ่ หนือกวา และการสํานึกวาบริษทั ทีเ่ ปนเลิศ ไมเพียงดําเนินธุรกิจ ใหแกผูมีสวนเกี่ยวของทุกภาคสวนเทานั้น แตตองมีสวนรวมทําใหโลก ใบนี้ดียิ่งขึ้นอีกดวย “เราอยู นชวงเวลาแหงการเปลี่ยนแปลงของโลกทามกลางความ มเทาเทียมกัน นสังคมที่เพิ่มมากขึ้น ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน หรือผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากา ึ่งโลกกําลัง เผชิ กับป หาตาง มากมาย ร าซาอา ส ซีอี อแล ต แ บร าร บร ส ต อร อเร กลาว “ทีมงานของเรายินดีรับ หนาที่ นการชวยพั นาและแกป หาตาง ทีโ่ ลกกําลังเผชิ อยางยัง่ ยืน แตตอนนี้เรา หความสําคั กับ ประเดนดังกลาวขางตนเปนอันดับแรก ึ่งประสบการ เ พาะของความเปนผูนํา นอุตสาหกรรมของบริดจสโตน จะเปนประโยชนตอทั้ง ประเดนขางตน ดเปนอยางดี” ดวยนวัตกรรมทางเทคโนโลยี บริดจสโตนจึงมุงมั่นที่จะตอบสนอง ความตองการของผูบ ริโภคดวยความสะดวกสบายและปลอดภัยมากยิง่ ขึน้ นอกจากนี้ ดวยความทุมเทของพนักงานในการเชื่อมโยงกับผูคนทั่วโลก บริษัทจึงใหความสําคัญกับการสงเสริมความเขมแข็งและปลอดภัยใหแก ชุมชนมากยิ่งขึ้น พรอมกับสงเสริมใหผูคนเขาถึงการศึกษาไดมากยิ่งขึ้น บร ส ต ยังสงเสริมความยั่งยืนสูสิ่งแวดลอม โดยดําเนินธุรกิจ ที่เกื้อประโยชนตอสิ่งแวดลอม ใหความสําคัญกับทรัพยากรธรรมชาติ และลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด “บริดจสโตนเปนผูน าํ นระดับสากล เพราะพนักงานของบริดจสโตน ทัว่ โลกสรางสรรคนวัตกรรมทางเทคโนโลยีขนั้ สูงเพือ่ ตอบสนองการ ชชวี ติ การทํางาน และการพักผอนของผูบ ริโภค หดยี งิ่ ขึน้ ” ร าซาอา ส กลาวเสริม

ri esto e or oratio ri esto e today unveiled a refined global corporate social responsibility (CSR) commitment, r a to Ser e centered around three priority areas: Mobility, People and Environment. The new commitment builds upon a decade of progress and learning via ridgestone’s initial CSR program, the 22 CSR Focus Points. r a to Ser e reflects the company’s longstanding philosophy of Serving Society with Superior Quality and a recognition that the best companies not only perform for their stakeholders, but also contribute to a better world. “We live in a time of unprecedented global change Whether growing social ine ualities, the myriad impacts of globali ation, or the e ects of climate change the world is faced with many great challenges,” said asaa i s a Global CEO and Representative Executive Officer, ridgestone Corporation. “ ur team has always embraced its responsibility to help advance sustainable development and solve world problems, but is now focusing on Priority Areas that can best be impacted by ridgestone s leading scale and uni ue knowledge ” Through innovative technology, ridgestone is committed to providing easier, safer, smoother and more seamless mobility for its customers. uilding on the enthusiasm of its employees to connect with people worldwide, the company is also focused on building safer and healthier communities, and improving access to education. With regard to the environment, ridgestone continues to work toward a sustainable society by operating in harmony with nature, valuing natural resources, and reducing carbon dioxide emissions. “ ridgestone is a global leader because our employees around the world apply creative thinking and advanced technology to improve the way people move, live, work and play,” s a added.

May-June 2017

p.95-9 _ind

r .indd 97

5/19/17 3:53 PM


Industry News

ASEFA ลุยประมูลงาน ทั้งภาครัฐ-เอกชน

TSE พรอมขยายอาณาจักร พลังงานทดแทนอยางตอเนื่อง

ASEFA เดินหนาเขาประมูลงานทั้งภาครั และเอกชนอยาง ตอเนื่อง สะสมงานในมือเพิ่ม หลังตุน acklog แลวราว 1, 00 ลาน บาท ทยอยรับรูรายไดปนี้ 70 พรอมทั้งเรงขยายงานบริการดาน วิศวกรรมที่เกี่ยวของและงานบริการหลังการขาย มั่นใจรายไดปนี้ เติบโต 10-15 ตามเปาหมายที่วางไว ไ บล  อ า ร ล กรรมการผู จั ด การ บริ ษั ท อาซี ฟ า จํากัด (มหาชน) หรือ ASEFA ผูน าํ ดาน ผลิตภัณฑระบบกระจาย สงจาย และ บริหารจัดการพลังงานไฟฟา เปดเผย ถึงแผนการดําเนินธุรกิจในป 2560 วา บริษัท มีความพรอมในการเขารวม ประมูลและเสนองานทั้งภาครั และ เอกชนอยางตอเนือ่ ง เพือ่ เพิม่ สวนแบง ทางการตลาดใหมากขึ้น โดยปจจุบัน บริ ษั ท มี ส ว นแบ ง การตลาดอยู ที่ ประมาณ 10 และมีสัดสวนงานของภาคเอกชน 70- 0 และงาน ภาครั 20-30 ทั้งนี้เชื่อวาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับผลิตภัณฑ กระจายและสงจายไฟฟาและงานบริการวิศวกรรมที่เกี่ยวของจะ ยังเติบโตอยางตอเนื่อง ปจจุบันบริษัท มีงานในมือ ( acklog) อยูที่ประมาณ 1, 00 ลานบาท โดยจะทยอยรับรูรายไดในป พ.ศ. 2560 ราว 70 และสวนที่เหลือจะทยอยรับรูรายไดในป พ.ศ. 2561 ซึ่งจะสนับสนุนผลประกอบการของบริษัท ใหมีการเติบโตอยาง แข็งแกรง คาดวารายไดปนี้เติบโต 10-15 ไดตามเปาหมายที่ตั้งไว “AS FA มีโครงการเดน นป พ 2 60 หลายโครงการ โดย มองวาอุตสาหกรรมดานระบบกระจาย สงจาย และบริหารจัดการ พลังงาน าจะโตอยางตอเนือ่ งจากงานของโครงการหลายโครงการ ทั้งจากภาคเอกชนและภาครั รวมถึงการลงทุนของภาคเอกชนที่ยัง เปนปจจัยหนุนตอการดําเนินงานของบริ ัท หเติบโต ดมากกวา อุตสาหกรรม” นอกจากนี้ บริษัท มีแผนที่จะขยายงานบริการดานวิศวกรรม ทีเ่ กีย่ วของ การบริการหลังการขาย การดูแลบํารุงรักษาอยางครบวงจร การลดตนทุนโดยการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ตลอดจนการ พัฒนาบุคลากรเพื่อรองรับนโยบายและการขยายธุรกิจดังกลาว

ร แ ลี าลี  ประธานเจาหนาที่ บริหาร บริษัท ไทย โซลาร เอ็นเนอรยี่ จํากัด (มหาชน) หรือ TSE เปดเผยวา จากการเสนอ ขายหุ น กู ใ ห กั บ ประชาชนและนั ก ลงทุ น ทั่วไป รวมถึงนักลงทุนสถาบันของบริษัท ในชวงวันที่ 30-31 มีนาคม และวันที่ 3-4 เมษายน 2560 ทีผ่ า นมา ไดรบั การตอบรับ ที่ดี ทั้งนี้เงินที่ไดจากการระดมทุนดังกลาว จะใชเปนเงินทุนสําหรับการขยายการลงทุน ในธุ ร กิ จ พลั ง งานทดแทนของบริ ษั ท ทั้ ง โครงการในประเทศและตางประเทศ “การระดมทุนผานการเสนอขายหุนกู ดังกลาวจะชวย หบริ ทั มีความแขงแกรงทาง ดานของเงินทุน และมีความพรอม นการขยายการลงทุน นธุรกิจ พลังงานทดแทนทั้ง นและตางประเท ึ่งที่ผานมา S มีความ มุงมั่นที่จะขยายการลงทุนโ ลาร ารม นประเท ี่ปุนมาโดยตลอด อีกทั้งเรายังตองการเปนผูนําโรง าจากพลังงานหมุนเวียนทั้ง น และตางประเท โดยมีเปาหมายที่จะขยายการลงทุน นพลังงาน หมุนเวียนอื่น อยางครบวงจร” ร แ ลี กลาว ทั้งนี้ในปจจุบันบริษัท มีโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยทั้งใน ประเทศไทยและประเทศญี่ปุนรวมทั้งสิ้น 36 โครงการ กําลังการผลิต เสนอขายรวมทัง้ สิน้ 143.6 เมกะวัตต แบงเปนภายในประเทศจํานวน 29 โครงการ กําลังการผลิตเสนอขายจํานวน 121.7 เมกะวัตต ซึง่ รวม โครงการลาสุดที่ TSE ไดเขาลงทุนเมื่อเดือนกันยายน 2559 สําหรับ โรงไฟฟาชีวมวลของบริษัท ออสการ เซฟ เดอะ เวิลด จํากัด กําลัง การผลิต 17.6 เมกะวัตต และโรงไฟฟาชีวมวลของบริษัท บางสวรรค กรีน จํากัด กําลังการผลิต 4.6 เมกะวัตต และประเทศญี่ปุน จํานวน 7 โครงการ กําลังการผลิตเสนอขายจํานวน 21.9 เมกะวัตต

May-June 2017

p.95-9 _ind

r .indd 9

5/19/17 3:53 PM


อเอ เอสติดทาเนียบผูนาเมจิกควอ ดรนท 20 6 องการทเนอร ในประเภท 20 6

ไอเอฟเอส บริ ษั ท ผู ผ ลิ ต แอพพลิ เ คชั น สํ า หรั บ องค ก ร ระดับโลก ติดทําเนียบผูนําเมจิกควอแดรนทของการทเนอรดาน การบริหารจัดการบริการภาคสนาม* “เรารูสึกเปนเกียรติอยางยิ่งที่มีชื่อติดทําเนียบนี้อีกครั้ง สวนหนึ่งเปนเพราะเรายังคงเดินหนาขยายธุรกิจและเสริมสราง ขีดความสามารถดานการบริหารจัดการบริการภาคสนาม (Field Service Management: FSM) ของเราผานการทํางานรวมกับ ลูกคาและพันธมิตรทั่วโลกอยางตอเนื่อง” อลาสแตร ซอรบี้ ประธานเจาหนาที่ฝายบริหาร (ซีอีโอ) บริษัท ไอเอฟเอส กลาว ทั้งนี้ ไอเอฟเอสไดดําเนินแนวทางที่สําคัญหลายอยาง ในการยกระดับมูลคาใหกบั ขอเสนอดานการบริหารจัดการบริการ ภาคสนามใหถึงขีดสุด โดยมีรายละเอียดดังนี้ : ● ความมุง  มัน่ ในการเพิม่ ประสิทธิภาพการดําเนินงานของ อุตสาหกรรม ตั้งแตฟงกชันและขั้นตอนการทํางานเฉพาะทาง ไปจนถึงการปรับใชแทมเพลตและการจัดทําเอกสารสําหรับการ ฝกอบรม ● ผลิตภัณฑใหความสําคัญกับการกําหนดคาการทํางาน สําหรับผูใชที่งายดาย ครอบคลุมตั้งแตระดับกลยุทธลงไปจนถึง ระดับปฏิบัติการ ซึ่งรวมถึงความสามารถดานระบบเคลื่อนที่ ที่ชวยใหองคกรสามารถปรับขยายขนาดใหเหมาะสมกับความ ตองการทางธุรกิจไดโดยงาย ● การทุ ม เทในการทํ า งานร ว มกั บ ลู ก ค า รวมถึ ง กิ จ กรรม ความรวมมือตางๆ เชน การเปดฟอรั่มสําหรับผูใชที่เปนลูกคา และการฝกอบรมในหัวขอที่นาสนใจ ● การลงทุนในเทคโนโลยีใหมเพือ ่ ผลักดันใหเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และผลตอบแทนจากการลงทุน (อารโอไอ) ทีเ่ พิม่ ขึน้ จากโซลูชันที่ปรับใชและจากพนักงานภาคสนามทั้งหมด

Since 2014, IFS has been recognized by Gartner as a Leader in Field Service Management applications IFS, the global enterprise applications company, has once again been named a Leader in the Gartner Magic Quadrant for Field Service Management*. “We are honored to receive this acknowledgement again, as we continue to grow our field service management (FSM) business and capabilities through close work with our customers and partners around the world,” IFS CEO Alastair Sorbie said. IFS has undertaken several key initiatives to maximize the value of our field service management offering. These include : • A strong commitment to industry processes, from specific vertical functionality and workflows, to implementation templates and training documentation, • Driven product focus on user configurability, from a strategic level down to an operational one, including mobile extensibility, that allows organizations to scale easily to fit specific business needs, • Dedication to customer collaboration, which includes partnership activities such as customer user forums and focused training, • Investment in new technologies to drive productivity, efficiency, and increased ROI both from the solution standpoint and also from field forces as a whole. *Gartner “Magic Quadrant for Field Service Management,” Jim Robinson, William McNeill, Jason Wong, Michael Maoz, November 3, 2016.

May-June 2017

p.99-100_i ne

.indd 99

5/19/17 3:5 PM


ฉลองครบรอบ ปที่รับ

เดือนมีนาคมนี้ เปนเดือนครบรอบ 1 ป หลังจากที่ทาง Trend Micro (TYO : 4704; TSE: 4704) ผู นํ า ระดั บ โลกด า นโซลู ชั น ความปลอดภัยทางไซเบอร ไดปดดีลการเขาซื้อกิจการธุรกิจในสวนของ TippingPoint จากทาง Hewlett Packard Enterprise โดยในปแรก หลังจากควบรวมกิจการนั้น Trend Micro ไมเพียงรักษาประสิทธิภาพ การบริการและความตอเนื่องทางธุรกิจไวไดเทานั้น แตยังไดพัฒนา นวัตกรรมใหมๆ เพิ่มขึ้น จนทําใหสวนธุรกิจ TippingPoint มีการเติบโต เพิ่มขึ้นถึง 25 เปอรเซ็นต ซึ่งเพิ่มขึ้นทั้งสวนของธุรกิจและอันดับการเปน ผูนําในตลาด อีกทั้งเมื่อไมนานมานี้ Trend Micro TippingPoint ไดรับ ยกยองใหเปน “Leader” ในรายงาน 2017 Gartner Magic Quadrant ในดานระบบการปองกันและตรวจจับการบุกรุก ทั้งสวนของ “ความ สมบูรณแบบของวิสัยทัศนองคกร” และ “ความสามารถในการทํางาน”1 นอกจากนี้ Trend Micro ยังไดรบั ตําแหนง “แนะนําใหใช” จากการทดสอบ ความสามารถของระบบปองกันการบุกรุกแบบ Next-Gen โดย NSS Labs ประจําป 2559 อีกดวย จากปที่ผานมานั้น เสถียรภาพทางธุรกิจที่ทาง Trend Micro ได ดําเนินการสรางไวทั้งหมดขางตน ไดสงผลใหสามารถสานตอนวัตกรรม อันเปนตํานานของทาง TippingPoint พรอมทั้งยกระดับของเดิมใหดีขึ้น อีกหลายเทา ดวยการผสานการทํางานเขากับผลิตภัณฑของ Trend Micro ที่สรางความโดดเดนและความเชื่อมั่นใหเพิ่มขึ้นมากในตลาดความ ปลอดภัยบนเครือขายระดับองคกร อยางเชน TippingPoint NextGeneration IPS (NGIPS) ทีน่ าํ มาผสานเขากับเทคโนโลยีปอ งกันอันตราย ขั้นสูงของ Deep Discovery เพื่อใหไดโซลูชันปองกันภัยบนเครือขายที่ ทรงพลังมากยิง่ ขึน้ เปนตน เมือ่ เดือนมกราคมทีผ่ า นมา TippingPoint ได กลายเปนโซลูชัน NGIPS โซลูชันแรก ที่ให Throughput สูงถึง 100Gbps โดยมีความหนวง (Latency) ต่ํา สําหรับดาตาเซ็นเตอรประสิทธิภาพสูง และเครือขายระดับองคกรโดยเฉพาะ นอกจากนี้ เมื่อเดือนกุมภาพันธ ไดมกี ารเพิม่ เทคโนโลยี Machine Learning เขามายัง TippingPoint ทําให เราเปนผูจําหนาย NGIPS แบบ Standalone รายแรกที่สามารถตรวจจับ และสกัดกั้นการโจมตีบนเครือขายโดยตรงไดแบบเรียลไทม โดยใน 12 เดือนที่ผานมานี้ Trend Micro ไดยื่นขอจดสิทธิบัตรใหมถึง 16 ฉบับ ที่เกี่ยวของกับ Machine Learning ที่นํามาใชยกระดับความอัจฉริยะ ของระบบความปลอดภัย

เ ามาเปนสวนหน่ง องบริษัท

This March marks one year since Trend Micro Incorporated (TYO: 4704; TSE: 4704), a global leader in cybersecurity solutions, closed the acquisition of TippingPoint from Hewlett Packard Enterprise. In the first year of integration, Trend Micro committed not only to solid execution and seamless business continuity, but also to product innovation, resulting in a significant 25 percent year over year growth in TippingPoint new business and improved market leadership. Trend Micro TippingPoint was recently named a Leader in the 2017 Gartner Magic Quadrant for Intrusion Detection and Prevention Systems for both “completeness of vision” and “ability to execute.”1 In addition, Trend Micro received a “recommended” rating based on the 2016 NSS Labs Next Generation Intrusion Protection System (NGIPS) test. In the past year, this business stability enabled Trend Micro to continue its history of innovation, enhancing the TippingPoint offerings, seamlessly integrating them with Trend Micro products, and bolstering the company’s presence and reputation within the enterprise network security market. For example, TippingPoint next-generation IPS (NGIPS) was integrated with Deep Discovery’s advanced threat protection technology to deliver a more powerful Network Defense solution. In January, TippingPoint became the first standalone NGIPS solution to deliver up to 100 Gbps inspection throughput with low latency for high performance data centers and enterprise networks. In February, machine learning was added to TippingPoint making it the first standalone NGIPS vendor to detect and block attacks in-line in real-time using machine learning. In the last 12 months, Trend Micro has filed 16 new patents related to the application of machine learning for its security intelligence.

1 Magic Quadrant for Intrusion Detection and Prevention Systems, January 16, 2017, by Craig Lawson, Adam Hils and Claudio Neiva May-June 2017

p.99-100_i ne

.indd 100

5/19/17 3:5 PM


SUBSCRIPTION

ELECTRICITY & INDUSTRY magazine ป 2560

ขาพเจา ชื่อ .................................................................................................สกุล........................................................................................................ ตําแหนง .......................................................................................บริษัท/หาง/ราน ...................................................................................... ที่อยู (ที่ทํางาน) ............................................................................แขวง/ตําบล ........................................................................................... เขต/อําเภอ ...................................................................................จังหวัด ......................................................รหัสไปรษณีย์ ...................... โทร ...............................................................................................แฟกซ์ ..................................................................................................... ที่อยู (ที่บาน) .................................................................................แขวง/ตําบล .......................................................................................... เขต/อําเภอ ....................................................................................จังหวัด .....................................................รหัสไปรษณีย์ ...................... โทร ...............................................................................................แฟกซ์ ..................................................................................................... รหัสสมาชิก ...............................................................................

ประสงค์จะบอกรับวารสาร “ไฟฟาและอุตสาหกรรม” 1 ป 6 ฉบับ 480 บาท 2 ป 12 ฉบับ 960 บาท สมาชิกตออายุ 2 ป 12 ฉบับ 800 บาท ตั้งแตฉบับที่ ..............เดือน .....................................ป ................... โดยสงวารสารไปที่ ที่ทํางาน ที่บาน พรอมกันนี้ไดสงคาสมาชิกเปนจํานวนเงิน ............................. บาท (ตัวอักษร ........................................................................................) เช็คธนาคาร .............................................................................. สาขา ............................................................................................... เช็คครอมสั่งจาย “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด”

ธนาณัติ สั่งจายในนาม “คุณวาสนา แซอ้ง” ที่ทําการไปรษณีย์โทรเลขบางกอกนอย โอนเขาบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด” ชื่อธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี กรุงเทพ สะพานพระปนเกลา 162-0-74737-6 กสิกรไทย บางยี่ขัน 047-2-56333-5 ทหารไทย จรัญสนิทวงศ์ 020-2-27244-9 ไทยพาณิชย์ จรัญสนิทวงศ์ ซ.48 121-2-04080-0 หมายเหตุ กรุณาสงแฟกซ์ หรือสําเนาใบเขาบัญชี (Pay-in Slip) มาให บริษัทฯ พรอมเขียนชื่อ-นามสกุล และรหัสสมาชิก (ถามี) กํากับมาดวย

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด 471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. +66 (0)26 444 555, +66 (0)23 545 333 ตอ 301 โทรสาร +66 (0)26 446 649, +66 (0)23 545 322

p.101-103_member.indd 101

5/29/17

:

PM


หากผูอานทานใดสนใจรายละเอียดตางๆ ที่ปรากฏในวารสาร ELECTRICITY & INDUSTRY MAGAZINE

ปที่ 24 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม-มิถุนายน 2560 กรุณากรอกขอมูลดังกลาวใหครบถวนเพื่อการติดตอจัดสงขอมูลกลับไปยังทานตอไป ชื่อ .................................................................................................ชื่อสกุล........................................................................................................ ที่อยู ..............................................................................................แขวง/ตําบล ................................................................................................ เขต/อําเภอ ....................................................................................จังหวัด .....................................................รหัสไปรษณีย์ .......................... โทร ...............................................................................................แฟกซ์ .........................................................................................................

ประเภทของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ

ตําแหนงงานที่ทานรับผิดชอบ กรรมการผูจัดการ/เจาของกิจการ ผจก.โรงงาน ผจก.ฝายวิจัยและพัฒนา ผจก.วิศวกรรม ผจก.ฝายซอมบํารุง วิศวกรฝายผลิต วิศวกรทดสอบ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

อุตสาหกรรมเคมี/ปโตรเคมี อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมงานเชื่อม อุตสาหกรรมโลหการ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

ประเภทของกิจการ ผูผลิต

p.101-103_member.indd 102

ผูแทนจําหนาย

ผูผลิต/ผูแทนจําหนาย

หนวยงานราชการ

5/19/17 3:55 PM


ใบอนุญ�ตเลขที่ ปน. (ต)/1339 ปณจ.บ�งกอกน้อย ถ้�ฝ�กส่งในประเทศไม่ต้องผนึกตร�ไปรษณีย�กร

บริก�รธุรกิจตอบรับ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 619/5 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงอรุณอัมรินทร์ เขตบ�งกอกน้อย กรุงเทพมห�นคร 10700

ประโยชน์ทท่ี า่ นจะได้รบั จากวารสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” เนื้อหา............................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... โฆษณา/รายละเอียดผลิตภัณฑ์...................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................................................................

ความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ คอลัมน์ตา่ งๆ ทีป่ รากฏในวารสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” ชือ่ คอลัมน์

มีประโยชน์มาก

มีประโยชน์

พอใช้

ควรปรับปรุง

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย IEEE Power & Energy Society Thailand Chapter สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย Article Special Scoop Special Area IT Technology Product PR News Seminar Calendar Seminar Movement Industry News IT News

p.101-103_member.indd 103

5/19/17 3:55 PM


ดัชนีสินคาประจำเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน พ.ศ. 2560 บริษัท A

CO., LTD.

ASEAN S STAINA LE ENERGY WEE MAM G R E PO ASIA

ทร ัพท

ทรสาร

0-2665-1000

0-2324-0502

ประเภทสินคา

หนา

อุปกรณไฟฟา

ปกหลัง

0-2642-6911

งานแสดงสินคา

43

0-2 33-5302

0-2 33-5127-9 งานแสดงสินคา

27

INTERMACH

0-2642-6911

-

งานแสดงสินคา

26

MA IMI E INTEGRATED TECHNOLOGY CO., LTD.

0-2525-0299

0-2525-029

Industrial Relays

10

MENNE ES Elektrotechnik GmbH Co. G

0-2741-5266

0-2741-5267

ผูผลิตปลักอุตสาหกรรม

15

SAMWHA (THAILAND) CO., LTD.

0-3 4-7571-3

0-3 4-7575

จําหนาย ติดตั้งคาปาซิเตอร

7

WIRE T E SO THEAST ASIA

-

-

งานแสดงสินคา

2

0-2664-6499

-

งานแสดงสินคา

-

-

-

THAILAND LIGHTING FAIR กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน

0 6, 17

เชลลแหงประเทศไทย บจก.

0-2262-6000

0-2657-9

น้ํามันหลอลื่น

3

ซี.เค.แอล. โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2149-6990

0-2149-69 1

ตัวแทนจําหนายกลองและตูพลาสติกกันฝุนและละอองน้ํา

16

0-2002-4395-97

0-2002-439

อุปกรณไฟฟา

25

ไทยบํารุง เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-22 2-9191

0-22 2-9200

ผูนําเขาอุปกรณไฟฟา-คอนโทรล, ตูโหลดเซ็นเตอร-เซอรกิตเบรกเกอร

เพาเวอร เรด บจก.

0-2300-5671-3

0-2300-5937

อุปกรณไฟฟา

13

พี ไอ เอส พาวเวอร ดิสทริบิวชั่น บจก.

0-2105-3011-2

0-2105-3013

สวิตช

4

มหาธน อีเลคทริค หจก.

0-2 94-3447-9

0-2416-1659

อุปกรณไฟฟา

24

แมนิ่ง ไวทัล โพรดักส บจก.

-

-

เรเซล ควอลิตี้ เทรดดิ้ง บจก.

0-26 3-3040

0-2294- 19

อุปกรณไฟฟา

12

ลีฟเพาเวอร บจก.

0-2300-5671-3

0-2300-5937

อุปกรณไฟฟา

11

ลูซี่ อิเล็คทริค (ประเทศไทย) บจก.

0-336 -4333

-

สวิตชเกียร

5

เวอรทัส บจก.

0-2 76-2727-

0-2476-1711

Couplings

22

ออมรอน อีเลคทรอนิคส บจก.

0-2942-6700

0-2937-0501

อุปกรณไฟฟาและระบบควบคุมอัตโนมัติ

อะตอม-มิค พาวเวอร บจก.

0-2503-3535

อินเตอรลิ้งค คอมมิวนิเคชั่น บมจ.

0-2693-1222

0-2693-1399

สาย LAN

23

เอวีรา บจก.

0-26 1-5050

0-26 1-5995

อุปกรณไฟฟา

21

เอส เอ วี เมคคานิคคอล เซอรวสิ ส แอนด ซัพพลายส หจก.

0-2702-05 1-

0-2377-5937

ติดตั้ง EOCR อิเล็กทรอนิกสโอเวอรโหลดรีเลย ปองกันมอเตอรไหม

14

เอส.พี.วาย แอนด เคเบิ้ล บจก.

0-2434-0099

0-2434-3251

อุปกรณไฟฟา

19

อีเลคทรอนิคส ซอรซ บจก.

0-2062-4970

0-2062-4999

ชิ้นสวนอุปกรณอิเล็กทรอนิกส

106

เอ็น วาย อาร วิศวกรรม บจก.

0-2 61- 00

0-2 1-7 71

อุปกรณไฟฟา, อุปกรณเซฟตี้, เครื่องทดสอบกระแสไฟฟา

105

ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) บจก.

p.10 _inde .indd 10

LINEMAN’S PLIERS : คีมสําหรับชางมืออาชีพ

0-2503-3519-20 อุปกรณไฟฟา

ปกหนาใน

ปกหลังใน

9

5/29/17

: 0 PM


NYR Engineering_21.59x29.21cm.pdf

1

2/6/17

9:25 AM



Lineman s Pliers: คม ี สาำหรบ ั ชา่งมอ ื อาชพ ี

> สง่ผา่นแรงตด ั , แรงจบ ั ,แรงบบ ี หรอ ื เเรงงด ั จากมอ ื ไดอ ้ ยา่งมี ประสท ิ ธภ ิ าพ > ชว่ยทดแรงไดม ้ ากถงึ 50% เมอ ่ื เทย ี บกบ ั คม ี รวม ทว่ัไป > ตวัคม ี มค ี วามเเขง็เเรงสงู และใชง้านไดอ ้ ยา่งหลากหลาย > รป ู แบบของตวัคม ี ถก ู ออกแบบมาอยา่งดต ี ามหลก ั สรรีศาสตร์ เพอ ่ื ใหก ้ ารจบ ั หรอ ื ถอ ื ในการใชง้านไดอ ้ ยา่งกระชบ ั ไมเ่มอ ่ื ยลา้ > ปากคม ี ออกแบบใหฟ ้ น ั ของคม ี มเีเรงจบ ั ยด ึ สงู ทนทาน เเขง็เเรง > เพม ่ิ ฟงัคช ์ น ่ั การจบ ั ยด ึ สาำหรบ ั ดงึ หรอ ื งด ั บรเิวณคอของคม ี ,และย้ำหางปลา (0911240) > บรเิวณคมตด ั ของคม ี สามารถตด ั ไดท ้ ง้ัวส ั ดอ ุ อ ่ น และเเขง็ อยา่ง งา่ยดาย > คมตด ั ของคม ี มค ี วามแขง็แแรงสงูดว้ยการชบ ุ เเขง็แบบ อบรอ ้ น ทำาใหม ้ ค ี า่ความเเขง็ถงึ 64 HRC > ตวัคม ี ผลต ิ จากเหลก ็ คณ ุ ภาพาพสงู Vanadium steel พรอ ้ มการชบ ุ เเขง็แบบ Oil-hardened

ตอ ้ งการขอ ้ มล ู เพม ่ิ เตม ิ ตด ิ ตอ ่ คณ ุ สเุมธี เชอ ้ื สกล ุ โทร. 081-575 7557 E-mail : sumetee@knipex.com


108-c4-Ad ESI-Edit.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

4/10/2560 BE

16:26


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.