Electricity & Industry Magazine Issue May-June 2018

Page 1


LSIS_21.59x29.21cm.pdf

1

1/4/18

3:07 PM


WORKS HERE.

SHELL TURBO OILS – FOR ENHANCED PROTECTION, EXTENDED OIL LIFE, AND EXCELLENT SYSTEM EFFICIENCY.

www.shell.com/lubricants


PIS_21.59x29.21cm-c4.pdf PIS_21.59x29.21cm.pdf 1

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

15/3/2561 5/17/2561 BE BE 5:0819:35 PM


T&D_21.59x29.21cm.pdf

1

3/14/18

3:45 PM



Ad Electricity&Industry 8_5x11_5 In_final create-c4.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

5/17/2561 BE

18:42


Omron_21.59x29.21cm-c4.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

5/17/2561 BE

19:31


Bangkok Cable_21.59x29.21cm-c4.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

5/17/2561 BE

19:41



aw_ADs_Electrical-Industial-c4.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

5/17/2561 BE

18:28



aw_ADs_Electrical-Industial_STERIL-AIRE-c4.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

5/17/2561 BE

19:45



Mennekes_21.59x29.21cm_Cre.pdf

1

3/30/17

3:05 PM



Samwa_21.59x29.21cm.pdf

1

3/28/17

11:02 AM


CONTENT May-JUNE

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย 28 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 32 การไฟฟ้านครหลวง 34 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 36 บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำ�กัด (มหาชน) 38 บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำ�กัด (มหาชน)

พื้นที่พิศษ

40 ส�ำนักงานระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ

ภาคตะวันออก

IEEE PES GENERATION TRANSMISSION AND DISTRIBUTION (GTD) 42 คณะท�ำงาน IEEE PES GTD ASIA 2019

ร่วมออกบูธที่งาน IEEE PES T&D Conference & Exposition

IEEE POWER & ENERGY SOCIETY – THAILAND (IEEE PES - THAILAND) 43 IEEE PES

สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย 84 การอบรมสัมมนา

INTERVIEW 44 คุณชัยยศ ปิยะวรรณรัตน์ กรรมการผู้จัดการ

บริษัท เอบีบี (ประเทศไทย) จ�ำกัด กองบรรณาธิการ 46 ศาสตราภิชาน พูลพร แสงบางปลา นายกสมาคมวิศวกรหญิงไทยคนแรก กองบรรณาธิการ

SPECIAL SCOOP 48 EATON...South East Asia Mobile Techday

กองบรรณาธิการ

59 การแข่งขันซอฟต์แวร์ควบคุมรถยนต์จ�ำลอง

ไร้คนขับ... กองบรรณาธิการ 62 สกล เหล่าสุวรรณ...“อิตัลไทยวิศวกรรม” เตรียมตัวบุก Smart Grid เต็มตัว กองบรรณาธิการ May-June 2018

2018

SCOOP 52 ไบเออร์สด๊อรฟ ขยายฐานการผลิตในประเทศไทย

กองบรรณาธิการ

ARTICLE 55 ความเชื่อเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์

บาส เดอ โวส

SPECIAL AREA 65 Spectrum General Purpose Digitizers Now

50% Faster Spectrum Instrumentation 66 Nanusens now live on crowdcube for Pre-Series a fund raising Nanusens 67 Tiny sample volume and ultra fast response of GSS CO2 sensor enables a new generation of MAP gas analysers to be built by SCS Gas Sensing Solutions 68 ข้อดีของเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าชนิด CANORY SOUND PROOF บริษัท พี ไอ เอส พาวเวอร์ ดิสทริบิวชั่น จ�ำกัด 70 Photovoltaic Protection บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด 72 AIV/Mobile Robot การล�ำเลียงในยุค Industry 4.0 บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส์ จ�ำกัด 74 HEAVY DUTY CAPACITOR บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด 78 อินเวอร์เตอร์ (Inverter) คืออะไร? บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด IT ARTICLE 81 GDPR กับการบริหารความเสี่ยงของข้อมูล

ส่วนบุคคลเพื่อแต้มต่อทางธุรกิจ วิชญ์ วงศ์หาญเชาว์

86 PRODUCT 88 PR NEWS 92 SEMINAR 94 EXHIBITION 95 MOVEMENT 98 IT NEWS 100 INDUSTRY NEWS



EDITOR TALK

MaY-JUNE

2018

Electricity & Industry ฉบับนี้ มีเนือ้ หามากมายทีอ่ ยากเชิญชวนให้ทกุ ท่านได้อา่ น เริม่ ตัง้ แต่เรือ่ งของแนวนโยบายการบริหาร การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ของ คุณวิบลู ย์ ฤกษ์ศริ ะทัย ผูว้ า่ การ กฟผ. คนใหม่ ซึง่ มีนโยบายทัง้ หมด 7 แนวทางด้วยกัน แนวนโยบายเหล่านี้เป็นสิ่งที่จะน�ำพาให้ กฟผ. ก้าวหน้ามากขึ้นเรื่อยๆ ส่วนเรือ่ งของการจัดการพลังงานแสงอาทิตย์นนั้ ทีผ่ า่ นมาประชาชนยังขาดความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการติดตัง้ และการใช้ พลังงานจาก Solar Rooftop อย่างแท้จริง บริษัทผู้รับจ้างการติดตั้งขาดความช�ำนาญ อุปกรณ์ไม่มีมาตรฐาน และไม่มีบริการ หลังการขาย รวมถึงขาดทีป่ รึกษาในการบริหารจัดการพลังงานได้อย่างถูกต้อง ดังนัน้ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค จึงได้ทำ� PEA SOLAR HERO แอพพลิเคชั่นบริหารจัดการพลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อให้เข้ากับไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่ นับเป็นเรื่องที่น่าสนใจมาก ช่วงเดือนมีนาคม ค.ศ. 2019 เป็นช่วงเวลาทีน่ า่ สนใจมากของคนในแวดวงไฟฟ้าและบุคคลทัว่ ไปทีส่ นใจ เพราะจะมีการจัด งานใหญ่ระดับโลกขึ้นที่ประเทศไทยของเรา นั้นคืองาน IEEE PES GTD ASIA 2019 เป็นงานที่รวบรวมบุคคลในแวดวงไฟฟ้า จากทั่วโลกที่จะมาร่วมประชุมและจัดสัมมนาในหัวข้อที่น่าสนใจมากมาย เมื่อมีงานใหญ่เช่นนี้ ทีมงานจึงต้องท�ำงานกันเต็มที่ เต็มก�ำลัง เพื่อให้งานออกมาราบรื่นที่สุด เพราะเป็นหน้าเป็นตาและชื่อเสียงของประเทศ เมื่อเร็วๆ นี้ คณะท�ำงานน�ำโดย ศาสตราจารย์ ดร.นพพร ลีปรีชานนท์ Organizing Chair, IEEE PES GTD ASIA 2019 ได้ร่วมออกบูธนิทรรศการภายในงาน IEEE PES T&D Conference & Exposition 2018 ที่ Colorado Convention Center Denver, Colorado ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นการประชาสัมพันธ์งาน IEEE PES GTD ASIA 2019 พร้อมทั้งเชิญชวนผู้ประกอบการระบบผลิต ระบบส่ง ระบบจ�ำหน่าย ไฟฟ้าและพลังงาน รวมถึงวิศวกรไฟฟ้า นักลงทุนและบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนนิสติ นักศึกษาเข้าร่วมงานดังกล่าว ทีป่ ระเทศไทย เป็นเจ้าภาพในการจัดงานเป็นครัง้ แรกในภูมภิ าคเอเชียและครัง้ แรกในประเทศไทย โดยงานดังกล่าวจะจัดขึน้ ระหว่างวันที่ 19-23 มีนาคม 2562 ณ ศูนย์การประชุมและนิทรรศการนานาชาติไบเทค บางนา ขอบอกกล่าวกันไว้ตั้งแต่เนิ่นๆ แล้วทางกองบรรณาธิการจะแจ้งความคืบหน้าของการจัดงานครั้งนี้เป็นระยะๆ พบกันใหม่ฉบับหน้า กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

ที่ปรึกษา : รศ.ฉดับ ปัทมสูต / รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ์ / ไกรสีห์ กรรณสูต พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ์ / ประเจิด สุขแก้ว ผศ.พิชิต ล�ำยอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องค์วงศ์สกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ : ดร.สุรพล ด�ำรงกิตติกุล ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นิภา กลิ่นโกสุม เลขากองบรรณาธิการ : ปัฐฐมณฑ์ อุ่ยพัฒน์ / จีราภา รักแก้ว พิสูจน์อักษร : อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรมรูปเล่ม / ศิลปกรรมโฆษณา : กันยา จ�ำพิมาย ผู้จัดการฝ่ายการตลาด : เขมจิรา ปลาทิพย์ ฝ่ายโฆษณา : ศิริภรณ์ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภิรมณ์ / วีระวรรณ พุทธโอวาท / รุ่งทิพย์ อ�ำไพจิตต์ เลขานุการฝ่ายโฆษณา : ชุติมันต์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก : นันธิดา รักมาก May-June 2018

บทความที่ปรากฏใน ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine เป็นความคิดเห็น ส่ ว นตั ว ของผู ้ เขี ย น ไม่ มี ส ่ ว นผู ก พั น กั บ บริ ษั ท เทคโนโลยี มี เ ดี ย จ� ำ กั ด แต่ อ ย่ า งใด หากบทความใดที่ผู้อ่านเห็นว่ามีการลอกเลียนหรือแอบอ้าง กรุณาแจ้งที่กองบรรณาธิการ ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine บทความต่ า งๆ ที่ ป รากฏในหนั ง สื อ ได้ ผ ่ า นการตรวจทานอย่ า งถี่ ถ ้ ว นเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแก้ไขต่อไป เจ้าของ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 http:// www.technologymedia.co.th เพลท-แยกสี : บริษัท อิมเมจิ้น กราฟิค จ�ำกัด พิมพ์ที่ : บริษัท ฐานการพิมพ์ จ�ำกัด จัดจ�ำหน่าย : บริษัท ธนบรรณ ปิ่นเกล้า จ�ำกัด


Lucy Electric_21.59x29.21cm_Cre-c4.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

5/17/2561 BE

19:28



AW-NEW-Visitor Ad-ASE2018-225x297mm-c4.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

5/17/2561 BE

19:19



AD CIRCUTOR_Final-c4.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

5/17/2561 BE

18:36




สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย

ผวก. กฟผ.

ชู 7 นโยบาย

สรางความเขมแข็งสูอนาคต

มุงให กฟผ. เปนกลไกหลักในการ พัฒนาประเทศ

ผูวาการ กฟผ. แถลงนโยบายตอผูปฏิบัติงานอยางเปน ทางการพรอมกันทั่วประเทศ วางแนวนโยบาย 7 ขอ สูอนาคต ให กฟผ. มีความเขมแข็งและเปนกลไกหลักในการพัฒนาประเทศ โดยมุง เนนยืนหยัดความสําเร็จในภารกิจหลัก เสริมสรางธุรกิจใหม และให ค วามสํ า คั ญ กั บ ชุ ม ชนและสิ่ ง แวดล อ ม เพื่ อ แก ป ญ หา การสรางโรงไฟฟาใหมในระยะยาว ขอใหผูปฏิบัติงานเชื่อมั่น ในองคการ และรวมมือกันทํางานเพื่อประโยชนประเทศชาติ เปนสําคัญ นายวิ บู ล ย ฤกษ ศิ ร ะทั ย ผู ว า การการไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แหงประเทศไทย (กฟผ.) คนที่ 14 แถลงนโยบายตอผูปฏิบัติงาน อยางเปนทางการเปนครั้งแรก โดยมีผูบริหารและผูปฏิบัติงาน ทั้ ง ส ว นกลางและภู มิ ภ าคสนใจเข า ร ว มรั บ ฟ ง อย า งเนื อ งแน น ณ หอประชุมเกษม จาติกวณิช สํานักงานใหญ กฟผ. เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2561 ที่ผานมา นายวิ บู ล ย ฤกษ ศิ ร ะทั ย ได เข า ทํ า งานที่ กฟผ. ตั้ ง แต ป 2525 สมัยผูวาการ กฟผ. คนแรก คือคุณเกษม จาติกวณิช สําหรับทิศทางและแนวนโยบายการดําเนินงานของผูว า การ กฟผ. คนที่ 14 มี 7 คือ

1. ผลักดันงานโครงการทีไ่ ดรบั อนุมตั ใิ หเปนไปตามแผน ซึ่งเปนงานหลักของ กฟผ. บรรจุไวในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา ของประเทศ หรือ PDP 2015 ใหสําเร็จ ทั้งโครงการโรงไฟฟา อาทิ โครงการพั ฒ นาโรงไฟฟ า ทดแทนโรงไฟฟ า พระนครใต ระยะที่ 1 โครงการพัฒนาโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟาบางปะกง เครื่องที่ 1-2 และโครงการพัฒนาโรงไฟฟาทดแทนโรงไฟฟา แมเมาะ เครื่องที่ 4-7 รวมถึงโรงไฟฟากระบี่และเทพา เนื่องจาก ยังอยูในแผน PDP 2015 ดานโครงการระบบสง ปรับปรุงระบบ สงไฟฟาภาคกลางและภาคใต ขนาด 500 เควี ซึ่งไดเดินหนา โครงการไปแลวบางสวน และบางสวนอยูระหวางการออกแบบ เพื่ อ สร า งความพร อ มให ป ระเทศไทยที่ จ ะเป น ศู น ย ก ลางของ ASEAN POWER GRID และรองรับพลังงานหมุนเวียน นอกจากนี้ ยังมีการบริหารจัดการดานเชือ้ เพลิงทีต่ อ งทําให สําเร็จ คือ การจัดหาเชือ้ เพลิง LNG ไมเกิน 1.5 ลานตัน ในป 2561 และการดําเนินโครงการ FSRU 5 ลานตัน/ป ภายในป 2567 ซึ่ง หาก กฟผ. สามารถดําเนินตามแผนงานไดแลวจะเปนประโยชน อยางยิ่งกับ กฟผ. ในระยะยาว ที่ไดแสดงศักยภาพของ กฟผ. ซึง่ จะกอใหเกิดความเชือ่ มัน่ และอาจจะตอยอดไปถึงการที่ กฟผ. สามารถเข า ไปลงทุ น ในการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมอื่ น ๆ ต อ ไป สําหรับโครงการพลังงานหมุนเวียน อาทิ โครงการโซลารลอยน้ํา ในเขือ่ นของ กฟผ. โครงการพลังน้าํ ทายเขือ่ นชลประทาน โครงการ ชีวมวลประชารัฐวิสาหกิจ ซึ่งโครงการชีวมวลนี้อาจแกไขปญหา สายสงที่ไมสามารถเขาถึงไดในบางพื้นที่ สวนจะมีการเพิ่มเติม

May-June 2018

p.28-38_�����.indd 28

5/31/2561 BE 1:40 PM


การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

สั ด ส ว น กํ า ลั ง ผ ลิ ต ใ น โ ร ง ไ ฟ ฟ า ช นิ ด ไ ห น อย า งไร ต อ งรอแผน PDP ฉบับใหมทคี่ าดวา จะออกในราวเดื อ น

กรกฎาคม-สิงหาคม 2561 2. ใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของชุมชน ตั้งแตตนทาง ควรมีการเปดเผยขอมูลอยางโปรงใส เพื่อ ใหประชาชนทราบรายละเอียดวาเปนโครงการเกีย่ วกับอะไร ซึ่งเปนเรื่องของสิทธิชุมชนที่ควรจะตองรูและรับทราบ ขอมูลโครงการทัง้ หมด โดยทําความเขาใจและพูดคุย กับชาวบาน รวมถึงผูมีสวนไดสวนเสียทุกฝาย เพื่อ สรางการมีสว นรวมอยางแทจริง เมือ่ ชาวบานเขาใจ แลว จะตองนําไปสูขอตกลงรวมของชุมชนกอน เดินหนาโครงการ ทัง้ โครงการกอสรางโรงไฟฟา และโครงการกอสรางระบบสง ซึง่ จะชวย ลดปญหาการไมยอมรับการสราง โรงไฟฟาใหมดังเชนที่เกิดขึ้น ในปจจุบัน 3. แสวงหาพันธมิตร และความร ว มมื อ จากทุ ก ภาคส ว น เครื อ ข า ยพั น ธมิ ต รเป น ฟนเฟองสําคัญในการสรางการเติบโตอยางยั่งยืน ซึ่งในอนาคต ตองมีความรวมมือกับหลายภาคสวนเพื่อใหสามารถดําเนินงาน ไปไดอยางสะดวก ทั้งพันธมิตรเกา และแสวงหาพันธมิตรใหม 4. สงเสริมนวัตกรรมเพื่ออนาคตสูเวทีโลก เนนที่การ สรางสิ่งประดิษฐและแนวคิดใหม โดยเฉพาะนวัตกรรมที่ กฟผ. คิดคนมาได สงเสริมการประกวดผลงานไปสูตางประเทศ และ

ไม ล ะเลยนวั ต กรรมที่ ป ระกวดจนได รั บ รางวั ล ต อ งนํ า กลั บ มา ใชประโยชน และสื่อสารใหสาธารณชนไดรับทราบ รวมถึงการ สนับสนุนใหหนวยงานทัง้ ภายในและภายนอก กฟผ. นํานวัตกรรม ไปตอยอดจากของเดิมหรือนวัตกรรมที่ประสบความสําเร็จแลว โดยมุงหวังใหเกิดการพัฒนานวัตกรรมในรูปแบบอื่นที่ไมจํากัด เพียงแวดวงพลังงานไฟฟาเทานั้น 5. สรางการเติบโตในธุรกิจใหม ไดแก การพัฒนาผลงาน วิ จั ย สร า งผลิ ต ภั ณ ฑ ใ หม ห รื อ ตลาดใหม เพื่ อ ต อ ยอดธุ ร กิ จ ของ กฟผ. รวมถึงการรวมมือกับเอกชน โครงการประชารัฐ การขยายงานผานบริษัทในกลุม กฟผ. 6. ปรับโครงสรางและพัฒนาคน เนื่องจากภายใน 4-5 ป ขางหนา จะมีผูเกษียณอายุกวา 6,000 คน ดังนั้น จึงตองมีการ ปรับตัว ปรับการทํางาน ปรับโครงสรางใหมคี วามกระชับคลองตัว โดยดํ า เนิ น การอย า งเป น ขั้ น ตอน ซึ่ ง ขณะนี้ อ ยู ร ะหว า งการ พิจารณาของคณะกรรมการ กฟผ. หากผานความเห็นชอบแลว จะมีการชีแ้ จงกับผูป ฏิบตั งิ านตอไป ยืนยันวาไมมกี ารปลดพนักงาน แนนอน สวนในอนาคตอาจมีการเปดรับพนักงานเพิ่มในสาขา วิชาชีพที่มีความจําเปน นอกจากนี้ยังจะเรงสรางระบบสืบทอด ตําแหนง (Successor) ทัง้ ตําแหนงภายใน กฟผ. และบริษทั ในกลุม ทั้งยังจะยึดนโยบายเรื่องลดกระบวนการที่ไมจําเปน (LEAN) เพื่อใหงานขององคการมีประสิทธิภาพมากขึ้น 7. กาวสูองคการแหงความภาคภูมิใจของประเทศ เรา จะทําอยางไรใหคนในประเทศเห็นวาควรมี กฟผ. อยู และตอง เห็นคา กฟผ. ในวันนี้ ไมใชในวันทีไ่ มมี กฟผ. อยูแ ลว ดังนัน้ กฟผ. ตองแสดงใหเห็นวา กฟผ. ตองดํารงอยูเพื่อความสุขของคนไทย และเปนกลไกสําคัญของประเทศ โดยพนักงานทุกคนเปนเสมือน ผูแทนภาพลักษณ กฟผ. ทุกคนจึงเปนสวนสําคัญที่จะสรางความ เชื่อมั่นแกสาธารณชนได นอกจากนี้ ผูวาการ กฟผ. ยังไดฝากแนวคิดและหลักการ บริ ห ารงาน 4 ข อ ได แ ก 1. ดํ า เนิ น งานตามกรอบกฎหมาย และนโยบายภาครัฐ ตามระบบการกํากับดูแลที่ดี ภายใตกรอบ ธรรมาภิบาล 2. มุงเนนผลประโยชนของประเทศชาติ ประชาชน โดยคํ า นึ ง ถึ ง ผลกระทบต อ ชุ ม ชนและสิ่ ง แวดล อ มเป น สํ า คั ญ 3. มุงสรางและพัฒนาบุคลากรใหเปนคนดี คนเกง มีความคิด สร า งสรรค แ ละทั ก ษะด า นนวั ต กรรม และ 4. ส ง เสริ ม การใช ทรั พ ยากรให เ กิ ด ประโยชน สู ง สุ ด และนํ า นวั ต กรรมมาเพิ่ ม ประสิทธิภาพงาน

May- June 2018

p.28-38_�����.indd 29

5/31/2561 BE 1:40 PM


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย

EIA คาดการณ

อเมริกาจะยังใชถานหิน ผลิตไฟฟาไปอีกหลายทศวรรษ แปลและเรียบเรียง : สุภร เหลืองกําจร

คาดการณปริมาณความตองการใชถานหิน และการสงออกถานหินของประเทศสหรัฐอเมริกา

สํ า นั ก บริ ห ารสารสนเทศพลั ง งานของสหรั ฐ อเมริ ก า (U.S. Energy Information Administration-EIA) จัดทํารายงาน คาดการณพลังงานประจําป 2561 หรือ Annual Energy Outlook 2018 ระบุวา การผลิตถานหินของสหรัฐอเมริกาเพือ่ ใชในประเทศ และสงออกจะมีปริมาณคงที่ตอเนื่องไปจนถึงป 2593 แมวา จะมีการปดโรงไฟฟาถานหินหลายโรงก็ตาม

คาดการณปริมาณความตองการใชถา นหินและการสงออกถานหิน ของประเทศสหรัฐอเมริกา ภายใตเงื่อนไขที่ตางกัน (1. กรณีที่ยัง ใชนโยบายพลังงานในปจจุบนั 2. กรณีทเี่ ทคโนโลยีนา้ํ มันและกาซ พัฒนาในระดับสูง 3. กรณีที่เทคโนโลยีน้ํามันและกาซพัฒนา ในระดับต่ํา)

May-June 2018

p.28-38_�����.indd 30

5/31/2561 BE 1:40 PM


การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย รายงานของ EIA ระบุดวยวา ณ สิ้นป 2560 สหรัฐอเมริกา มี กํ า ลั ง ผลิ ต โรงไฟฟ า ถ า นหิ น 260,000 เมกะวั ต ต ซึ่ ง ลดลง จากป 2554 ที่มีกําลังผลิตโรงไฟฟาถานหินสูงสุดถึง 310,000 เมกะวัตต โดยในชวง 3 ป ขางหนา คือระหวางป 2561-2563 สหรัฐอเมริกามีแผนจะปดโรงไฟฟาถานหินกําลังผลิตรวม 25,000 เมกะวัตต สวนชวงป 2561-2573 กําลังผลิตโรงไฟฟาถานหิน จะลดลงอีก 65,000 เมกะวัตต แตระหวางป 2573-2593 จะไมมี การปดโรงไฟฟาถานหินเพิ่มเติมอีก คาดการณราคาถานหินและกาซธรรมชาติ และตนทุนการผลิต ไฟฟาจากเชื้อเพลิงประเภทตางๆ

คาดการณกําลังผลิตโรงไฟฟาถานหินและอัตราการใชงาน โรงไฟฟาถานหินของสหรัฐอเมริกา แตถึงแมจะไมมีการสรางโรงไฟฟาถานหินโรงใหม ปริมาณ การผลิตไฟฟาจากถานหินจะยังคงที่ เนื่องจากการปดโรงไฟฟา ถานหินจะทยอยปดเพียงบางสวน และอัตราการเดินเครื่องของ โรงไฟฟาถานหินที่ยังใชงานอยูจะเพิ่มจากรอยละ 56 ในป 2560 เปนรอยละ 70 ในป 2573 ซึง่ เปนอัตราทีส่ งู พอๆ กับในชวงระหวาง ป 2543-2553 ณ ปจจุบัน สหรัฐอเมริกาผลิตไฟฟาดวยถานหินเปนลําดับ ที่ 2 รองจากกาซธรรมชาติ และมีการคาดการณวา สัดสวนการ ใชถานหินผลิตไฟฟาของสหรัฐอเมริกาจะลดลงจากรอยละ 31 ในป 2560 เปนรอยละ 22 ในป 2593 เนือ่ งจากการใชกา ซธรรมชาติ และพลังงานหมุนเวียนในการผลิตไฟฟามีสัดสวนเพิ่มขึ้น หากพิจารณาเทียบจากปจจัยคาความรอน กาซธรรมชาติ จะมีราคาสูงกวาถานหิน โดยในป 2560 กาซธรรมชาติมีตนทุน เฉลีย่ 3.47 เหรียญสหรัฐฯ ตอหนึง่ ลานบีทยี ู เทียบกับถานหินทีม่ ี ราคาอยูที่ 2.15 เหรียญสหรัฐฯ ตอหนึ่งลานบีทียู อยางไรก็ตาม เนื่องจากโรงไฟฟากาซธรรมชาติในสหรัฐอเมริกามีประสิทธิภาพ สูงกวา จึงทําใหตนทุนการผลิตไฟฟาของโรงไฟฟากาซธรรมชาติ ใกลเคียงกับโรงไฟฟาถานหิน โดยในป 2560 ที่ผานมา ตนทุน การผลิตไฟฟาของโรงไฟฟากาซเฉลี่ยอยูที่ 26 เหรียญสหรัฐฯ ตอเมกะวัตต-ชัว่ โมง เทียบกับโรงไฟฟาถานหินซึง่ อยูท ี่ 22 เหรียญ สหรัฐฯ ตอเมกะวัตต-ชั่วโมง

EIA ยังคาดการณดวยวา ภายใตสมมติฐานวาเทคโนโลยี ของกาซและน้าํ มันไดรบั การพัฒนาในระดับสูง ราคากาซธรรมชาติ ที่ลดลงจะกระตุนใหมีการปดโรงไฟฟาถานหินเพิ่ม ซึ่งหากเปน กรณีนี้ คาดการณวาจะมีการปดโรงไฟฟาถานหินกําลังผลิตรวม 85,000 เมกะวัตต ในป 2573 และอีก 18,000 เมกะวัตต ในป 2593 สัดสวนการใชถานหินผลิตไฟฟาจะลดลงเหลือรอยละ 14 ในป 2593 และอัตราการใชโรงไฟฟาถานหินผลิตไฟฟาจะต่ํากวา รอยละ 60 ตรงกันขาม ภายใตสมมติฐาน หากเทคโนโลยีของกาซ และน้ํามันไมไดรับการพัฒนา ราคากาซธรรมชาติที่สูงจะทําใหมี โรงไฟฟาถานหินปดเพียงไมกี่โรง เนื่องจากการผลิตไฟฟาจาก ถานหินใหผลกําไรที่ดีกวากาซธรรมชาติ ในกรณีนี้ จะมีโรงไฟฟา ถานหินกําลังผลิต 44,000 เมกะวัตต ปดลงในป 2573 แตชวง ป 2573-2593 จะไม มี โรงฟ า ถ า นหิ น ป ด เพิ่ ม และสั ด ส ว น การใชถานหินผลิตไฟฟาจะอยูที่ประมาณรอยละ 26 สวนอัตรา การใชโรงไฟฟาถานหินผลิตไฟฟาจะสูงกวารอยละ 70 ในชวง ป 2564-2593 ทั้ ง นี้ ปริ ม าณถ า นหิ น ที่ ส หรั ฐ อเมริ ก าผลิ ต ได ทั้ ง หมด นอกจากนํ า ไปใช ใ นภาคการผลิ ต ไฟฟ า ที่ ค รองสั ด ส ว นสู ง สุ ด รอยละ 82 แลว ยังสงออกไปตางประเทศในสัดสวนรอยละ 11 ที่เหลืออีกรอยละ 7 ถูกนําไปใชในภาคพาณิชยและอุตสาหกรรม ขอมูลจาก EIA Projects That U.S. Coal Demand Will Remain Flat for Several Decades http://theenergycollective. com/todayinenergy/2430170/eia-projects-that-u-s-coaldemand-will-remain-flat-for-several-decades

May- June 2018

p.28-38_�����.indd 31

5/31/2561 BE 1:40 PM


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย

ขอควรรู กอนมีรถยนตไฟฟา ไวในบาน รถยนตไฟฟา หรือ EV กําลังกลายเปนทางเลือกใหม ของผูบริโภค เห็นไดจากชวงที่ผานมามีการเปดตัวรถยนต ไฟฟาหลายรุนอยางตอเนื่อง อยางไรก็ตามแมจะมีขอดี มากมาย ทั้งเรื่องการประหยัดพลังงาน และเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม แตคุณควรพิจารณาถึงขอเท็จจริงดังตอไปนี้ กอนจะมีรถยนตไฟฟาไวในบาน

WHAT TO KNOW BEFORE HAVING AN ELECTRIC CAR เรื่อง Thanyalak Y. ภาพ 123rf

คุณจะชารจไฟที่ไหน

สิ่งที่ตองคํานึงหากอยากเปนเจาของรถยนตไฟฟา สักคัน คือคุณจะชารจไฟที่ไหน สิ่งนี้อาจไมใชปญหาถาหาก คุณมีบา นเปนของตนเอง แตหากคุณอาศัยอยูใ นอพารตเมนต หรือคอนโดมิเนียม คุณจําเปนตองพิจารณาสิ่งนี้เปนขอแรก เลยทีเดียว Electric Vehicle or EV has become an alternative option for consumers as lately seen from several new models of electric cars continually unveiled. Despite its advantages such as energy saving or eco-friendliness, you should consider the following matters before having an EV at home.

Where to charge?

If you want to own an electric car, what you need to know is a place to charge it. This may not be a problem if you have your own house. But if you stay in an apartment or condominium, you probably have to think this trough as first priority.

Available Charging Stations

Even though EV charging stations have been installed in many places, they cannot fit to all electric cars because each EV model has different chargers. Thus, before there are enough stations to recharge an EV and cover requirements of every EV model, you should think about charging options every time you are going out. Otherwise, your trip might cause a problem.

May-June 2018

p.28-38_�����.indd 32

5/31/2561 BE 1:40 PM


การไฟฟานครหลวง

Driving Limitation

สถานีชารจตองพรอม

จริงอยูที่ทุกวันนี้เริ่มมีจุดชารจไฟติดตั้งตามสถานที่ตางๆ แตก็ใชวาจะใชงานไดกับรถยนตไฟฟาทุกรุน เพราะรถแตละรุน ก็มีหัวชารจไฟที่ตางกัน ดังนั้น กอนที่สถานีชารจไฟจะมีจํานวน เพียงพอและครอบคลุมความตองการของรถทุกรุน คุณจึงตอง พิจารณาถึงการชารจไฟเวลาออกนอกบานแตละครั้ง เพราะหาก วางแผนไมดีอาจทําใหการเดินทางของคุณมีปญหาได

ระยะทางการขับขี่จำกัด

รถยนตไฟฟามีใหเลือกหลายรุนหลายราคา ซึ่งหากราคา ยอมเยาจะมีระยะทางในการขับขี่ไมสูงมากนัก เชน Nissan Leaf มีระยะทางในการขับขี่ 250 กิโลเมตรตอการชารจ 1 ครั้ง หรือ หากเปน Chevrolet Bolt EV ก็มีระยะทางในการขับขี่ราว 320 กิโลเมตร ซึ่งหากการใชรถของคุณวนเวียนอยูแคไปทํางานและ กลับบาน ก็อาจจะไมเปนปญหา แตหากคุณคิดเดินทางไกลอาจตอง วางแผนการชารจไฟตลอดเสนทางใหดี ในขณะที่รถยนตไฟฟา สเปกสูง เชน Tesla Model S ที่มีระยะทางในการขับขี่ประมาณ 400-500 กิโลเมตรตอการชารจ 1 ครั้ง นั่นหมายถึงคุณตองยอม ควักกระเปาจายในราคาที่สูงลิบ

The EV has many models and prices to offer. The lower-priced one gives a short distance of driving range; Nissan Leaf gets 250 km on a single charge; Chevrolet Bolt EV provides 320 km. If your daily commute to work is regular, it will not cause any trouble. When taking a longer trip, however, it is necessary to make a charging plan throughout the route. The high-spec like Tesla Model S which has a driving range at 400-500 km per charge, it indicates that you have to pay for the charging with a very high price.

Charging Takes Time

As electric vehicles come with a highvoltage battery, their charging time takes long accordingly, at least 8-9 hours. This is probably uneasy for those who usually go home late at night and get out early in the morning. Although there are fast-charging stations, called Supercharger, in central points all over USA and some European countries, which reduce the charging time to 1 hour and 15 minutes, the system cannot be installed in ordinary households. Even though EV is the future of driving, before owning it, you probably need to think whether it serves your lifestyle so that your road trip will be the most efficient. (บทความจาก http://www.mea.or.th/)

ตองใชเวลาในการชารจ

ดวยเหตุทรี่ ถยนตไฟฟามาพรอมแบตเตอรีป่ ระจุไฟสูง ดังนัน้ ระยะเวลาชารจจึงมากขึ้นตามไปดวย คืออยางนอย 8-9 ชั่วโมง ดังนั้น จึงอาจเปนปญหาสําหรับคนที่กลับบานดึก และตองออก จากบ า นแต เช า ในวั น รุ ง ขึ้ น นอกจากนี้ แม ป จ จุ บั น จะมี ส ถานี ชารจดวนทีเ่ รียกวา Supercharger ไวตามจุดสําคัญทัว่ สหรัฐฯ และ ยุโรปบางประเทศ ซึ่งสามารถยนระยะเวลาชารจใหเหลือเพียง 1 ชั่วโมง 15 นาที แตระบบดังกลาวไมสามารถนํามาติดตั้งกับ บานเรือนทั่วไปได แมรถยนตไฟฟาจะเปนอนาคตของการขับขี่ แตกอนที่จะซื้อ มาครอบครอง คุณควรพิจารณาวาตอบโจทยดา นไลฟสไตลของคุณ หรือไม เพื่อใหรถยนตชวยใหการเดินทางของคุณมีประสิทธิภาพ ที่สุดนั่นเอง May- June 2018

p.28-38_�����.indd 33

5/31/2561 BE 1:41 PM


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย

แอปพลิเคชันบริหารจัดการ

พลังงานแสงอาทิตย พลังงานแสงอาทิตยมขี อ ดีมากมายทีม่ นุษยสามารถนําไปใช ประโยชนไดอยางกวางขวาง เนื่องจากเปนพลังงานธรรมชาติ สะอาด ปลอดภัย ไมมีวันหมด และไมกอใหเกิดมลพิษในชั้นบรรยากาศ ปจจุบัน จึ ง มี ก ารผลิ ต ไฟฟ า จากพลั ง งานแสงอาทิ ต ย ที่ ติ ด ตั้ ง บนหลั ง คา (Solar Rooftop) ซึ่งเปนพลังงานทางเลือกอันชาญฉลาดที่จะนําไปใชผลิตไฟฟา ไดอยางยั่งยืน เมื่อโลกเปลี่ยนไป บทบาทของผูบริโภคก็เปลี่ยนตาม จากเดิมที่ การไฟฟาสวนภูมิภาคเปนผูใหบริการดานพลังงานไฟฟาแกประชาชน แต ในปจจุบันผูใชไฟฟาสามารถผลิตพลังงานไฟฟาใชเองไดแลว (Prosumer) และในอนาคต ประชาชนคนไทยก็มีแนวโนมที่จะนิยมผลิตไฟฟาจาก พลังงานแสงอาทิตยในรูปแบบของการติดตั้ง Solar Rooftop เพิ่มมากขึ้น

อย า งไรก็ ต าม ที่ ผ า นมาผู ใช ไ ฟฟ า จากระบบ ดังกลาวยังประสบปญหาหลายดาน อาทิ ขาดความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการติดตั้งและการใชพลังงานจาก Solar Rooftop อยางแทจริง บริษัทผูรับจางการติดตั้ง ขาดความชํานาญ อุปกรณไมมมี าตรฐาน และไมมบี ริการ หลังการขาย รวมถึงขาดที่ปรึกษาในการบริหารจัดการ พลังงานไดอยางถูกตอง “การติ ด ตั้ ง Solar Rooftop ในป จ จุ บั น เป น เทคโนโลยีที่มาใหมและเปนไลฟสไตลของคนรุนใหม สถานการณ Solar PV ในประเทศไทยมีการ พั ฒ นาเรื่ อ ยมา จนกํ า ลั ง จะก า วสู Solar Rooftop เสรีในปหนาหรือปถัดไป ในสวน ของการไฟฟาสวนภูมภิ าคเอง เรามีนโยบาย ขายไฟเสรี บานตอบาน หรือ Peer to Peer ซึ่งใน ตางประเทศทํากันแลว และประเทศไทยจะตองถึงจุดนัน้ ในวันหนึ่ง ปจจุบันการไฟฟาสวนภูมิภาคมีเครือขาย เรามีเสาสายซึ่งรองรับนโยบายนี้ ผูขายจึงไมจําเปนที่จะ ตองไปสรางเครือขายขึ้นอีก” เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค กลาวไวในงานเสวนา PEACON & INNOVATION ที่ผานมา การไฟฟาสวนภูมภิ าค มุง หวังใหประชาชนสามารถ ใชไฟฟาจากระบบ Solar Rooftop ไดอยางครอบคลุม ทุกรูปแบบ การดําเนินชีวติ มีความปลอดภัย และสามารถ ใชงานไดอยางถูกตอง จึงไดคดิ คนและพัฒนา PEA Solar Hero Application ขึน้ มา เพือ่ ดูแลลูกคาทีม่ คี วามตองการ จะใชพลังงานจากระบบ Solar Rooftop ตั้งแตเริ่มตน ติดตั้ง ไปจนถึงบริหารจัดการพลังงานแสงอาทิตยได ดวยตัวเอง PEA Solar Hero จะเริ่ ม ต น ดู แ ลลู ก ค า ตั้ ง แต การประเมินความคุมทุน เปนที่ปรึกษาดานการลงทุน มีพันธมิตรที่เชื่อถือได ทั้งดานวินาศกรรม การลงทุน และด า นอื่ น ๆ อี ก ทั้ ง มี ที ม ติ ด ตั้ ง และอุ ป กรณ ที่ ไ ด มาตรฐาน รวมทั้งใหคําปรึกษาหลังการติดตั้ง ทําให ลูกคาเกิดความเชื่อมั่นและอุนใจ ปจจุบัน PEA Solar Hero จึงถือวาเปนแอปพลิเคชันสาธารณะที่ชวยอํานวย ความสะดวกใหกบั ลูกคาทีต่ อ งการติดตัง้ Solar Rooftop โดยลูกคาสามารถนําพลังงานแสงอาทิตยมาผลิตเปน พลังงานไฟฟาไดอยางปลอดภัย รวมถึงบริหารจัดการ พลังงานดังกลาวไดอยางงายดาย ตอบสนองไลฟสไตล การใชชีวิตในยุค 4.0 ไดสมบูรณแบบ

May-June 2018

p.28-38_�����.indd 34

5/31/2561 BE 1:41 PM


การไฟฟาสวนภูมิภาค หลายคนอาจสงสัยวา Solar Hero Application ทํางานอยางไร? คํ า ตอบก็ คื อ Solar Hero Application มี ฟ ง ก ชั น การทํ า งานหลั ก ๆ 4 ข อ เริ่มตั้งแตวิเคราะหขอมูลเบื้องตนในแตละครัวเรือน เพื่อหาขนาดกําลังการผลิตติดตั้ง ที่เหมาะสมของระบบผลิตไฟฟาจาก Solar Rooftop จากนั้นจึงมีฟงกชันใหลูกคา เลือกรูปแบบการลงทุนติดตั้งระบบ Solar Rooftop ตามความตองการ ซึ่งปจจุบัน มีใหเลือก 3 รูปแบบคือลงทุนเอง/ผอนชําระ/พันธมิตรรวมลงทุน ขั้นตอนตอไปจึงเปนการเลือกผลิตภัณฑ ผูติดตั้ง และการบํารุงรักษา รวมถึง ระเบียบตางๆ ทีเ่ กีย่ วของใหลกู คา ภายใตมาตรฐานรับรองจากการไฟฟาสวนภูมภิ าค สุดทายคือติดตามขั้นตอนการดําเนินการติดตั้ง Solar Rooftop พรอมใหคําแนะนํา และบริการในการบริหารจัดการพลังงานใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในส ว นของการลงทุ น ติ ด ตั้ ง ระบบ Solar Rooftop นั้ น ด า น Solar Hero Application จะชวยลูกคาคํานวณความคุม ทุนในการติดตัง้ มีแหลงเงินทุนชวยสนับสนุน ในการติดตั้ง รวมทั้งมี Vendor List จากการไฟฟาสวนภูมิภาค ทั้งผูผลิตและผูรับจาง ติดตั้งใหประชาชนไดเลือกใช อธิบายขอกําหนดและระเบียบการทุกขั้นตอนในการ ดําเนินการติดตั้ง Solar Rooftop อยางถูกกฎหมาย ตลอดจนมีบริการ Maintenance & Assurance ภายหลังการติดตั้ง ที่สําคัญ แอปพลิเคชันนี้ยังเปนที่รับฝากพลังงานเพื่อสงตอใหลูกคารายอื่นๆ สุดทายจะมีการสรุปขอมูลรวมทัง้ ประเทศไดวา ปจจุบนั มีผใู ช Solar Hero Application อยู เ ป น จํ า นวนเท า ไร และช ว ยโลกลดมลภาวะทางด า นต า งๆ ไปได เ ท า ไรแล ว รวมไปถึงลูกคาจะไดรบั ความรูแ ละทราบความเคลือ่ นไหวของการเพิม่ ขึน้ ของพลังงาน สะอาดจาก Solar Rooftop ในภาพรวมของประเทศอีกดวย อยางไรก็ตาม โครงการ Solar Hero Application ดังกลาวนี้ จะนํามาใชงานจริง รวมกับโครงการรับซื้อไฟฟาสวนเกินจาก Solar Rooftop (Net-Billing) เพื่ออํานวย ความสะดวกใหกับผูที่สนใจอยากหันมาใชพลังงานสะอาดจากธรรมชาติ ซึ่งมีความ ปลอดภัยและยั่งยืนยาวนาน มีกําหนดเปดตัวใหบริการกลางป 2561 โดยเริ่มในพื้นที่ 4 จังหวัด ไดแก เชียงใหม นครราชสีมา ระยอง และภูเก็ต

May- June 2018

p.28-38_�����.indd 35

5/31/2561 BE 1:41 PM


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย

เอ็กโก กรุป ประกาศกำไรป 2560 ทะลุเปากวา 1.1 หมื่นลานบาท ลุยลงทุนธุรกิจไฟฟาในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป ประกาศกําไรสุทธิป 2560 ทะยานถึง 11,818 ลานบาท เล็งปนผล ครึง่ ปหลัง 3.50 บาท พรอมเผยทิศทางการดําเนินธุรกิจป 2561 เดินหนาขยายการลงทุนธุรกิจไฟฟาตางประเทศในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟก มุงเพิ่มสัดสวนการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนใหไดรอยละ 30 ภายในป 2569 • การขายสินทรัพย จํานวน 1 โครงการ ไดแก การขายหุน ที่ถืออยูโดยทางออมรอยละ 49 ในบริษัท มาซินลอค พาวเวอร พารทเนอร จํากัด (เอ็มพีพีซีแอล) ซึ่งจะทําใหเอ็กโก กรุป รับรู รายได 850 ลานเหรียญสหรัฐฯ (ประมาณ 27,660 ลานบาท)

ป 61 ลุยขยายธุรกิจไฟฟาเอเชียแปซิฟก มุง เพิม ่ สัดสวนผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน รอยละ 30 ภายในป 2569

ป 60 กำไรทะลุเปา ผลจากการรับรูกำไรเต็มป จากโรงไฟฟาที่ COD แลว

จักษกริช พิบลู ยไพโรจน กรรมการผูจ ดั การใหญ เอ็กโก กรุป เปดเผยวา “ผลประกอบการของเอ็กโก กรุป ป 2560 ดีกวา เปาหมายที่กําหนดไว มีกําไรสุทธิ 11,818 ลานบาท เพิ่มขึ้นจาก ปกอน จํานวน 3,497 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 42 โดย คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติใหเสนอตอที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2561 ใหจายเงินปนผลจากผลการดําเนินงานครึ่งปหลัง ของป 2560 ในอัตราหุนละ 3.50 บาท ซึ่งหากไดรับการอนุมัติ เทากับบริษัทฯ จายเงินปนผลตลอดป 2560 ในอัตราหุนละ 7 บาท” สําหรับผลการดําเนินงานที่โดดเดนในป 2560 ประกอบ ดวยการบริหารโครงการที่อยูระหวางกอสรางใหแลวเสร็จและ เดินเครือ่ งเชิงพาณิชยไดตามกําหนด การขยายการลงทุนในธุรกิจ ไฟฟา และการขายสินทรัพย • โครงการทีอ่ ยูร ะหวางกอสรางแลวเสร็จและเดินเครือ่ ง เชิงพาณิชยไดตามกําหนด จํานวน 2 โครงการ ไดแก โรงไฟฟา “คลองหลวง” จังหวัดปทุมธานี และโรงไฟฟา “บานโปง” จังหวัด ราชบุรี • การขยายการลงทุนในธุรกิจไฟฟา จํานวน 2 โครงการ ไดแก การโอนหุน 20.07 ในโรงไฟฟาพลังงานความรอนใตพิภพ “ซาลัก” และ “ดาราจัท” ประเทศอินโดนีเซีย แลวเสร็จ และการ ลงทุนใหมในโครงการโรงไฟฟาพลังน้ํา “น้ําเทิน 1” สปป.ลาว ใน สัดสวนรอยละ 25

สําหรับทิศทางการดําเนินธุรกิจป 2561 เอ็กโก กรุป ใหความสําคัญกับการสรางความเติบโตอยางยั่งยืนใหกับองคกร และสร า งผลตอบแทนที่ ดี อ ย า งต อ เนื่ อ งให แ ก ผู ถื อ หุ น ด ว ย เปาหมายที่จะรักษาอัตราผลตอบแทนผูถือหุน (ROE) อยางนอย รอยละ 10 โดยบริษัทฯ ยังคงมุงเนนการลงทุนในธุรกิจไฟฟา ซึ่ง เปนความเชีย่ วชาญ โดยขับเคลือ่ นธุรกิจดวย 3 กลยุทธหลัก ไดแก • การบริหารจัดการโรงไฟฟาที่เดินเครื่องเชิงพาณิชยแลว ใหมีประสิทธิภาพสูงสุด และการบริหารจัดการโครงการที่อยู ระหวางกอสรางใหแลวเสร็จตามกําหนดและภายใตงบประมาณ ที่วางไว • การแสวงหาโอกาสในการซื้ อ สิ น ทรั พ ย ที่ เ ดิ น เครื่ อ ง เชิงพาณิชยแลว และการพัฒนาโครงการ Greenfield ทัง้ ในประเทศ และในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก • การขยายการลงทุนในโครงการประเภทพลังงานหมุนเวียน เพือ่ เพิม่ สัดสวนการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน รอยละ 30 ภายในป 2569 รวมทั้งการแสวงหาโอกาสการลงทุนในธุรกิจใหม

May-June 2018

p.28-38_�����.indd 36

5/31/2561 BE 1:41 PM


บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) “เรายั ง คงให ค วามสํ า คั ญ กั บ ธุ ร กิ จ ไฟฟ า ซึ่ ง เป น ความ เชี่ยวชาญของเอ็กโก กรุป โดยจะตอยอดธุรกิจในตางประเทศ ที่มีฐานอยูแลว ไดแก ฟลิปปนส ซึ่งเปนตลาดหลัก รวมทั้ง สปป.ลาว และอินโดนีเซีย รวมทั้งแสวงหาโอกาสขยายการ ลงทุนไปยังประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก โดยเฉพาะ โครงการพลังงานหมุนเวียน เพื่อเพิ่มสัดสวนการผลิตไฟฟา จากแหลงพลังงานหมุนเวียนใหไดรอยละ 30 ภายในป 2569 ตามเปาหมาย ปจจุบนั เอ็กโก กรุป มีโรงไฟฟาพลังงานหมุนเวียน ทีเ่ ดินเครือ่ งเชิงพาณิชยแลวทัง้ ในและตางประเทศรวม 16 แหง คิดเปนกําลังการผลิตตามสัญญาซื้อขายและตามสัดสวนการ ถือหุน 876 เมกะวัตต หรือรอยละ 20.56 ของกําลังการผลิต ทั้งหมด” “สําหรับการลงทุนในประเทศไทย เอ็กโก กรุป มีความ พรอมสําหรับการลงทุน ตามนโยบายของภาครัฐและแผน พัฒนากําลังการผลิตไฟฟาของประเทศไทย (PDP) ที่กําลังจะ มีการปรับปรุงใหม โดยเฉพาะการลงทุนในโครงการโรงไฟฟา ขนาดเล็กและขนาดเล็กมาก (SPP และ VSPP) ประเภท พลังงานหมุนเวียน รวมทั้งบริษัทฯ อยูระหวางพิจารณาความ เหมาะสมของการต อ สั ญ ญาซื้ อ ขายไฟฟ า ของโรงไฟฟ า ขนาดเล็ก (SPP) และมีความพรอมทีจ่ ะขยายโครงการโรงไฟฟา IPP ในพื้นที่เดิม” จักษกริช กลาวเสริม ในปนี้ เอ็กโก กรุป ไดเตรียมงบลงทุนไวประมาณ 12,000 ลานบาท สําหรับ 3 โครงการที่อยูระหวางกอสราง ไดแก โรงไฟฟา “ไซยะบุรี” และ “น้ําเทิน 1” สปป.ลาว และโรงไฟฟา “ซานบัวนาเวนทูรา” ประเทศฟลปิ ปนส ซึง่ จะกอสรางแลวเสร็จ และทยอยเดินเครื่องเชิงพาณิชยในป 2562 และ 2565 ทั้งนี้ งบลงทุนดังกลาวยังไมนับรวมโครงการใหมที่จะเขาไปลงทุน และโครงการที่ อ ยู ร ะหว า งการพั ฒ นา 3 โครงการ ได แ ก โรงไฟฟา “ปากแบง” สปป.ลาว โรงไฟฟา “สตาร เอนเนอรยี่ สวนขยาย (หนวยที่ 3 และ 4)” ประเทศอินโดนีเซีย และ โรงไฟฟา “กวางจิ” ประเทศเวียดนาม “นอกจากบริษัทจะมีพื้นฐานทางธุรกิจที่แข็งแกรงทั้ง บุคลากรทีม่ คี วามรูค วามเชีย่ วชาญ ความแข็งแกรงทางการเงิน และความนาเชื่อถือแลว เอ็กโก กรุป ยังตระหนักดีวา ความ ยั่งยืนของธุรกิจตองอยูบนพื้นฐานขององคความรู ควบคูกับ การพัฒนาอยางไมหยุดนิ่ง จึงใหความสําคัญกับการสงเสริม ใหเกิดนวัตกรรมทัง้ ดานธุรกิจและสังคม เพือ่ เพิม่ ความสามารถ ในการแขงขันและกอใหเกิดประโยชนตอ สังคมและสิง่ แวดลอม ไปพรอมกัน เพื่อใหบริษัทสามารถเติบโตอยางยั่งยืน รวมทั้ง สามารถสรางผลตอบแทนที่มั่นคงใหกับผูถือหุนในแตละป” จักษกริช กลาวสรุป

เอ็กโก กรุป ปดดีลขายหุน อีสตวอเตอร รับรูรายได 5,226 ลานบาท

บริษทั ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป ประสบ ความสําเร็จในการขายหุน บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้าํ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) (อีสท วอเตอร) โดยโอนหุน แลวเสร็จและรับรูรายไดทันที 5,226 ลานบาท จักษกริช พิบูลยไพโรจน กรรมการผูจัดการใหญ เอ็กโก กรุป กลาววา “เอ็กโก กรุป ไดขายหุนที่ถืออยูทั้งหมดรอยละ 18.72 ในอีสท วอเตอร ใหแกบริษัท มะนิลา วอเตอร จํากัด ประเทศฟลิปปนส เสร็จสมบูรณแลว เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2561 ซึ่งเปนผลใหเอ็กโก กรุป รับรูรายไดทันทีจํานวน 5,226 ลานบาท โดยจะนําไปลงทุนขยายธุรกิจในอนาคต”

เอ็กโก กรุป  ขายหุน โรงไฟฟามาซินลอคแลวเสร็จ รับรูรายได 850 ลานเหรียญสหรัฐฯ

บริษทั ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป ประสบ ความสําเร็จในการขายหุนโรงไฟฟามาซินลอค ประเทศฟลิปปนส โอนหุนแลวเสร็จ รับรูรายไดทันที 850 ลานเหรียญสหรัฐฯ จักษกริช พิบูลยไพโรจน กรรมการผูจัดการใหญ เอ็กโก กรุป กลาววา “บริษัท เจน พลัส บี.วี จํากัด ซึ่งเอ็กโก กรุป ถือหุน รอยละ 100 ไดขายหุน ทีถ่ อื อยูโ ดยทางออม รอยละ 49 ในบริษทั มาซินลอค พาวเวอร พารทเนอร จํากัด ใหแกบริษัท เอสเอ็มซี โกลบอล พาวเวอร โฮลดิ้งส คอรป จํากัด เสร็จสมบูรณแลว เมื่อ วันที่ 20 มีนาคม 2561 ซึ่งเปนผลใหเอ็กโก กรุป รับรูรายได จํ า นวน 850 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ ฯ โดยจะนํ า ไปลงทุ น พั ฒ นา โครงการใหมในอนาคตตอไป” May- June 2018

p.28-38_�����.indd 37

5/31/2561 BE 1:41 PM


บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน)

โครงการ “คนรักษปา ปารักชุมชน” ป 2561 ขอเชิญชวนปาชุมชนทั่วประเทศรวมประกวดปาชุมชน ถวยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี “2018 Love the Forest and the Community project”

invites community forests nationwide to join the contest program, with a chance to win the HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn’s Trophy

กรมปาไม รวมกับบริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) ขอเชิญชวนปาชุมชนทั่วประเทศเขาประกวดปาชุมชน โครงการ “คนรักษปา ปารักชุมชน” ตามแนวทาง “ปายั่งยืน ชุมชนไดประโยชน” เพื่อเฟนหาปาชุมชนที่มีความอุดมสมบูรณ ของทรัพยากรปาไม มีกระบวนการบริหารจัดการอยางมีสวนรวม ของสมาชิกในชุมชนอยางเขมแข็ง ในการอนุรักษ พัฒนา และ ใชประโยชนจากปาอยางยัง่ ยืน สามารถเปนตนแบบในการพัฒนา ปาชุมชนอื่นได การประกวดป า ชุ ม ชนครั้ ง นี้ กํ า หนดมอบรางวั ล จํ า นวน ทัง้ สิน้ 144 รางวัล เงินรางวัลมูลคารวมกวา 3.1 ลานบาท ประกอบ ดวย รางวัลชนะเลิศระดับประเทศ จะไดรบั รางวัลถวยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปายประกาศ เกี ย รติ คุ ณ และเงิ น กองทุ น อนุ รั ก ษ ป า ชุ ม ชน 200,000 บาท รางวัลรองชนะเลิศระดับประเทศ 3 รางวัล จะไดรับถวยรางวัล ปายประกาศเกียรติคณ ุ และเงินกองทุนอนุรกั ษปา ชุมชน รางวัลละ 100,000 บาท รางวัลปาชุมชนระดับภาค 4 รางวัล จะไดรับโล รางวัล ปายประกาศเกียรติคุณ และเงินกองทุนอนุรักษปาชุมชน รางวัลละ 30,000 บาท รางวัลปาชุมชนระดับจังหวัด 66 รางวัล จะไดรับโลรางวัล ปายประกาศเกียรติคุณ และเงินกองทุนอนุรักษ ปาชุมชน รางวัลละ 25,000 บาท และ รางวัลชมเชย 66 รางวัล จะไดรับโลรางวัล และเงินกองทุนอนุรักษปาชุมชน รางวัลละ 10,000 บาท พร อ มกั น นี้ ยั ง ได จั ด ประกวด ป า ชุ ม ชนดี เ ด น ด า น “การจัดการความหลากหลายทางชีวภาพสูการพัฒนาอยาง ยั่งยืน” โดยปาชุมชนชนะเลิศจะไดรับถวยรางวัล ปายประกาศ เกียรติคุณ และเงินกองทุนอนุรักษปาชุมชน 100,000 บาท และ รองชนะเลิศ 3 รางวัล จะไดรับโลรางวัล ปายประกาศเกียรติคุณ และเงินกองทุนอนุรักษปาชุมชน รางวัลละ 25,000 บาท

The Royal Forest Department (RFD), in partnership with Ratchaburi Electricity Generating Holding Public Company Limited (RATCH), invites communities nationwide to participate in the ‘Love the Forest and the Community’ contest program under the “sustainable community forests for the benefit of communities” concept. This program aims at selecting the best practice community forests having plentiful forest resources, with strong community participation in forest management, conservation and development for sustainability to be a role model of other community forests. For this contest, there were 144 prizes in total, with a total value of 3.1 million baht. The prizes can be divided into: the national community forest that will be granted the HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn Trophy and a 200,000-baht Community Forest Conservation Fund, Three runner up community forest prizes that will be granted an honorary plaque, certificate and a 100,000-baht Community Forest Conservation Fund, four regional community forest prizes that will be granted an honorary plaque, certificate and a 30,000-baht Community Forest Fund, 66 provincial model community forest awards will be granted an honorary plaque, certificate and a 25,000-baht support fund and 66 consolation prizes that will be granted a 10,000-baht Community Forest Conservation Fund. In addition, the program has an annual special award, the outstanding community forest for “biodiversity management for sustainable development” award. The winner for this category will get an honorary plaque, certificate and a 100,000-baht Community Forest Conservation Fund. Meanwhile, three runner up community forest prizes for this category will be granted a 25,000-baht Community Forest Conservation fund.

May-June 2018

p.28-38_�����.indd 38

5/31/2561 BE 1:41 PM


คณะทำงาน IEEE PES

GTD ASIA 2019

รวมออกบูธทง่ีาน

IEEE PES T&D Conference & Exposition

เมื่อเร็วๆ นี้ คณะทำ�งาน IEEE PES GTD ASIA 2019 นำ�โดย ศ. ดร.นพพร ลีปรีชานนท์ Organizing Chair, IEEE PES GTD ASIA 2019 พร้อมด้วยคณะทำ�งาน การจัดงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 ร่วมออกบูธนิทรรศการภายในงาน IEEE PES T&D Conference & Exposition 2018 ซึ่งจัดขึ้นภายใต้แนวคิด “POWER FORWARD” ที่ Colorado Convention Center Denver, Colorado ประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่างวันที่ 16-19 เมษายน 2561 เพื่อประชาสัมพันธ์งานประชุมวิชาการและนิทรรศการ IEEE PES GTD ASIA 2019 พร้อมทั้งเชิญชวนผู้ประกอบการระบบผลิต ระบบส่ง ระบบจำ�หน่าย ไฟฟ้าและพลังงาน รวมถึงวิศวกรไฟฟ้า นักลงทุนและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนนิสิต นักศึกษาเข้าร่วมงานดังกล่าว ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในการจัดงานเป็นครั้งแรก ในภูมภิ าคเอเชียและครัง้ แรกในประเทศไทย โดยงานดังกล่าวจะจัดขึน้ ระหว่างวันที่ 19-23 มีนาคม 2562 ณ ศูนย์การประชุมและนิทรรศการนานาชาติไบเทค บางนา

May- June 2018

p.39_IEEE PES.indd 39

5/31/2561 BE 3:02 PM


พื้นที่พิเศษ > สํานักงานระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก

คณิศ แสงสุพรรณ เลขาธิการคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ย้ําชัดเจนวา “ราง พ.ร.บ. อีอีซี ทุกรางตลอดเกือบ 2 ป ระบุวา “การเชา เชาชวง หรือใหเชาชวงที่ดิน ตองดําเนินการในเขตสงเสริมเศรษฐกิจพิเศษ และเพื่อดําเนินการ ใหเปนไปตามวัตถุประสงคในการพัฒนาและสงเสริมอุตสาหกรรมเปาหมายพิเศษ โดยใหทําสัญญาไดไมเกิน 50 ป จะตอสัญญาเชา เกิน 49 ป นับแตวันครบ 50 ปไมได” เหมือนกับ พ.ร.บ. การเชาอสังหาริมทรัพยเพื่อการพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2542 ที่ระบุ วา “สิทธิในการเชาอสังหาริมทรัพยเพื่อพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมเกินกวา 30 ป แตไมเกิน 50 ป กรณีครบกําหนดสัญญาแลว สามารถตอระยะเวลาการเชาไดอีกมีกําหนดไมเกิน 50 ป” คือการตออายุตองพิจารณาเหมือนเชาใหมทุกครั้งเหมือน พ.ร.บ. สงเสริมการ ลงทุน และ พ.ร.บ. การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ไมเคยมีการระบุ 99 ป แตอยางใด” โดยขอชี้แจงถึงสาระสําคัญเกี่ยวกับการใหตางชาติเชาที่ดินของราง พ.ร.บ. อีอีซี ดังนี้ 1. ประเด็นการใหตางชาติเชาที่ดินของราง พ.ร.บ. อีอีซี มีรายละเอียดอยางไร ความสําคัญ : ไมเกิน การใหเชาทีด่ นิ ทีอ่ ยูใ นพระราชบัญญัตกิ ารเชาอสังหาริมทรัพย พาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม ป 2542 ซึ่งใชอยูในปจจุบันที่ใหเชา 50 ป ขยายไดอีกไมเกิน 50 ป (รวมแลว 100 ป) มาตรา 52 ของรางพระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. .... การเชา เชาชวง ใหเชา หรือใหเชาชวงที่ดิน หรืออสังหาริมทรัพย ในเขตสงเสริมเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อดําเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคในการพัฒนาและสงเสริม อุตสาหกรรมเปาหมายพิเศษ มิใหนําความในมาตรา 540 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และมาตรา 5 แหง พระราชบัญญัติการเชาอสังหาริมทรัพยเพื่อพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2542 มาใชบังคับ การเชา เชาชวง ใหเชา หรือใหเชาชวงตามวรรคหนึ่ง หามมิใหทําสัญญาเชาเปนกําหนดเวลาเกิน 50 ป ถาไดทําสัญญากันไวเปนกําหนดเวลานานกวานั้น ก็ใหลดลงมาเปน 50 ป การตอสัญญาเชาอาจทําได แตจะตอสัญญาเกิน 49 ป นับแตวันครบ 50 ปไมได หมายเหตุ 1. มาตรา 540 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย : กําหนดเวลาเชา อสังหาริมทรัพย อันอสังหาริมทรัพย ทานหามมิใหเชากันเปนกําหนดเวลาเกินกวา 30 ป ถาไดทําสัญญากันไวเปนกําหนดเวลานานกวานั้นทานก็ใหลดลงมาเปน 30 ป อนึ่ง กําหนดเวลาเชาดังกลาวมานี้ เมื่อสิ้นสุดลงแลวจะตอสัญญาอีกก็ได แตตอง อยาใหเกิน 30 ป นับแตวันตอสัญญา 2. มาตรา 5 แหงพระราชบัญญัติการเชาอสังหาริมทรัพยเพื่อ พาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2542 : ผูใหเชาตอง เปนเจาของอสังหาริมทรัพยเทานั้น โดยการเชา เกิน 100 ไร ตองไดรบั อนุญาตจากอธิบดี กรมที่ดิน

เลขาธิการอีอีซีย้ำ

ราง พ.ร.บ. อีอีซี

ไมมีการเชาที่ดิน 99 ป

3. อยางไรก็ตาม การจะอนุญาตใหตอสัญญาเชาที่ดินหรือไม ตองมีการประเมินผล วาการ ประกอบกิจการที่ผานมาสงผลดีตอประเทศอยางไร และมีแนวทางที่ดีขึ้นอยางไร 2. สัญญาเชาที่ดิน เกิดไดในกรณีไหนบาง ความสําคัญ : เพือ่ ใหความมัน่ ใจในการลงทุนระยะยาว นักลงทุนตองการลงทุนโครงการขนาดใหญ ตองการการถือครองระยะยาว อีกทั้ง ระยะการคืนทุนของการลงทุนตองใชเวลา และหลายประเทศ ที่กําลังพัฒนาก็ทํา ธุรกิจบางประเภทอาจไมจาํ เปนตองเปนเจาของกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ อยางเชน กิจการบริการทีไ่ มตอ งการ พื้ น ที่ จํ า นวนมากในการดํ า เนิ น กิ จ การ คนต า งชาติ ก็ ส ามารถประกอบธุ ร กิ จ ด ว ยการเช า ที่ ดิ น หรื อ อสังหาริมทรัพยได เพือ่ เปนการจูงใจใหมาลงทุนในประเทศไทย ซึง่ กรณีการเชาทีด่ นิ หรืออสังหาริมทรัพย จะมีกฎหมายหลายฉบับ ไดแก 2.1 พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย พ.ศ. 2522 มาตรา 6 (3) กนอ. สามารถใหเชา ใหเชาซื้อ และขายอสังหาริมทรัพย หรือสังหาริมทรัพยในนิคม อุตสาหกรรม หรือเพื่อประโยชนแกกิจการของนิคมอุตสาหกรรมโดยตรง 2.2 ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 540 กําหนดใหการเชาอสังหาริมทรัพย สามารถเชากันไดเต็มที่ไมเกิน 30 ป หากครบ 30 ปแลว จะตอสัญญาอีกก็ตองไมเกิน 30 ป นับแตวันตอสัญญา 2.3 พระราชบัญญัติการเชาอสังหาริมทรัพยเพื่อพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2542 May-June 2018

p.40-41_EEC.indd 40

5/31/2561 BE 1:42 PM


หนึง่ ในกฎหมายฟน ฟูเศรษฐกิจ มีผลบังคับใชตงั้ แตวนั ที่ 19 พฤษภาคม 2542 (มาตรา 3 ถึงมาตรา 7) ใหสทิ ธิในการเชาอสังหาริมทรัพย เพื่อพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมเกินกวา 30 ป แตไมเกิน 50 ป กรณีครบกําหนดสัญญาแลวสามารถตอระยะเวลาการเชาไดอีก มีกําหนด ไมเกิน 50 ป โดยการทําสัญญาเชาตามกฎหมายนี้ตองทําเปนหนังสือ และจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ ผูใหเชาตองเปนเจาของ อสังหาริมทรัพยเทานั้น โดยการเชาเกิน 100 ไร ตองไดรับอนุญาตจากอธิบดีกรมที่ดิน สิทธิการเชาสามารถนําไปใชเปนหลักประกันการชําระหนี้โดยการจํานองได สิทธิหนาที่ตามการเชาตกทอดแกทายาทได นอกจากนั้น หากสัญญาเชาอนุญาตก็สามารถใหเชาชวง หรือโอนสิทธิการเชาทัง้ หมดหรือบางสวนได โดยตองทําเปนหนังสือ และจดทะเบียนตอพนักงาน เจาหนาที่ เรียกวามาตรานี้เทียบเคียงกับการมีกรรมสิทธิ์ที่ดินได 2.4 การเชาที่ดินในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตามคําสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ 17/2558 ซึ่งกําหนดใหกรมธนารักษ จัดใหหนวยงานของรัฐใชประโยชน หรือจัดใหการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย หนวยงานอื่นของรัฐ หรือเอกชนเชาเพื่อใชเปนพื้นที่ พัฒนา โดยระยะเวลาการเชาดังกลาวตองไมนอยกวาคราวละ 50 ป และอาจตอสัญญาอีกไดตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่คณะกรรมการ นโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (กนพ.) กําหนด (ไมไดกําหนดระยะเวลาการตอสัญญา) 3. กฎหมายเกี่ยวกับการใหเชาพื้นที่สําหรับชาวตางชาติ ในบานเราเหมือนหรือแตกตางจากประเทศเพื่อนบานอยางไรบาง (ยกตัวอยางแตละประเทศ) ความสําคัญ : เมือ่ เปรียบเทียบการเชาพืน้ ทีส่ าํ หรับชาวตางชาติระยะยาว เพือ่ ลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศเพือ่ นบาน แลว จะเห็นวาไมไดเปนเรื่องใหมสําหรับประเทศเพื่อนบาน

เขตเศรษฐกิจพิเศษ ประเทศในอาเซียน

ระยะเวลาการเชาสูงสุด (ป)

เงื่อนไขการตอสัญญา (ป)

50 ไมนอยกวา 50

ไมเกิน 50 เชาไดตอเนื่อง อาจตอไดอีก

50 50 99

อาจตอไดอีก อาจตอไดอีก -

50-99 99

พิจารณาเปนกรณีๆ ไป -

มาเลเซีย ● เขต ศก.พิเศษอีสกันดาร เมียนมาร ● เขต ศก.พิเศษติละวา และทวาย

99 50

25

เวียดนาม

99

-

ไทย ● พ.ร.บ. การเชาอสังหาฯ เพื่อพาณิชยและอุตฯ ป 2542 ● กนอ. (กรณีประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรม) ● คําสั่ง คสช.17/58 เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน กัมพูชา

เขต ศก.พิเศษสีหนุ ● เขต ศก.พิเศษกัมปอต ● นิคมฯ เกาะกง

สปป.ลาว

เขต ศก.พิเศษบึงธาตุหลวง

เขต ศก.พิเศษ Van Don (โครงการสําคัญตามยุทธศาสตร)

4. สิทธิการเชาลักษณะนี้จะเกิดประโยชนกับใครบาง ความสําคัญ : การเชาที่ดินระยะเวลายาวกวา 50 ป ผูรับประโยชนหลักจะเปนคนไทย มิใชนักลงทุนตางชาติ โดย 4.1 เจาของที่ดินไทยสามารถมีรายไดมากขึ้นโดยไมตองสูญเสียความเปนเจาของ 4.2 ผูประกอบการชาวไทยจะสามารถพัฒนาโครงการที่มีมาตรฐานดีกวาปจจุบัน เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแขงขัน 4.3 การเขาถึงเงินกูจากธนาคารของทั้งผูประกอบการและผูซื้อไดงายขึ้น โดยเฉพาะกลุมผูมีรายไดนอย 4.4 เปนจุดเปลี่ยนสําคัญของประเทศไทยสําหรับการดึงดูดการลงทุนจากตางประเทศและการพัฒนาใหประเทศไทยเปนศูนยกลางของ ภูมิภาค AEC 4.5 ตลาดมีการแขงขันกันมากขึ้น 4.6 ลดการคอรรัปชันที่เกี่ยวกับการเปนเจาของที่ดิน และเพิ่มประสิทธิภาพของการวางผังเมือง 4.7 เปนการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมการถือกรรมสิทธิ์โดยนอมินี เพราะการจํากัดระยะเวลาการเชาไวที่ 30 ป กอใหเกิดสถานการณ ทีน่ กั ลงทุนตางชาติพยายามหาชองทางทุกๆ ทางในกฎระเบียบเพือ่ เขามาถือครองทีด่ นิ ในประเทศไทย ทําใหการใชนอมินกี ลายเปนวัฒนธรรม ในประเทศไทย 4.8 อสังหาริมทรัพยทม่ี สี ญ ั ญาเชานอยกวา 50 ป จะมีราคาซือ้ ขายทีต่ าํ่ กวาแบบกรรมสิทธิม์ าก แตถา มีการยืดระยะเวลาการเชา เปน 90 ป หรือมากกวานั้น สวนตางก็จะไมมาก 4.9 ผูซื้ออสังหาริมทรัพยแบบสัญญาเชาระยะยาวจะไดรับสิทธิ์สินเชื่อจํานองในอัตราตามมูลคาที่ใกลเคียงกับผูซื้อสังหาริมทรัพยแบบ กรรมสิทธิ์ (ธนาคารไมเสี่ยงที่จะใหกูยืม แบบเดียวกับกรรมสิทธิ์เหมือนโฉนดที่ดิน) หากจะกลาวอางเปนอยางอื่นกรุณาติดตอไดที่ สํานักงานระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก โทรศัพท 0-2033-8026 และศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ www.eeco.or.th May- June 2018

p.40-41_EEC.indd 41

5/31/2561 BE 1:42 PM


คณะกรรมการ IEEE PES Thailand และวิทยากรถายภาพรวมกัน

ศ ิทยากรตางประเท ไดรับเกียรติจากว การสัมมนาครั้งนี้ มารวมบรรยายใน

คุณณรงค ตันติฉายากร ผูเ ชีย่ วชาญ 13 ประจําสํานักรองผูว า การปฏิบตั กิ ารและ บํารุงรักษา การไฟฟาสวนภูมิภาค และ คณะทํางาน IEEE Power & Energy Society – Thailand เปนประธานกลาว เปดการสัมมนา >>

IEEE PES Thailand จัดสัมมนา ความปลอดภัยและขอปฏิบัติ สำหรับการบำรุงรักษาอุปกรณ ในสถานีไฟฟาแรงสูงฯ

IEEE Power and Energy Society - Thailand จัดสัมมนา เชิงวิชาการเรือ่ ง “ความปลอดภัยและขอปฏิบตั ิ สําหรับการบํารุง รักษาอุปกรณในสถานีไฟฟาแรงสูงและระบบสงจายไฟฟา และ มอเตอรและเครือ่ งกําเนิดไฟฟาในโรงจักรไฟฟา” ณ ศูนยการประชุม แห ง ชาติ สิ ริ กิ ต์ิ โดยได รั บ เกี ย รติ จ าก คุ ณ ณรงค ตั น ติ ฉ ายากร ผูเชี่ยวชาญ 13 ประจําสํานักรองผูวาการปฏิบัติการและบํารุงรักษา การไฟฟาสวนภูมิภาค และคณะทํางาน IEEE Power & Energy Society Thailand เปนประธานกลาวเปดการสัมมนา และ เรืออากาศตรี ดร.โตศักดิ์ ทั ศ นานุ ต ริ ย ะ เป น Session Chairman ดํ า เนิ น การสั ม มนา โดยมี วิ ท ยากร ผูเชี่ยวชาญจาก กฟผ. กฟน. กฟภ. และบริษัทเอกชน มีผูสนใจเขารวมสัมมนากวา 150 ทาน

p.42_IEEE PES.indd 1

5/31/2561 BE 2:59 PM



Interview > กองบรรณาธิการ

เอบีบี ผู้นำ�ด้านการพัฒนา

เทคโนโลยีและคิดค้นนวัตกรรม ด้านไฟฟ้า ประกาศร่วมเป็นำ ส่วนหนึ่งในงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 ซึ่งเป็นำ งานวิศวกรรมพลังงานไฟฟ้า ระดับโลกครั้งแรกที่เกิดขึ้นในำ ประเทศไทย เตรียมนำ�เสนอ นวั ต กรรมที่ ต อบโจทย์ ภ าค พลังงานำ

เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท เอบีบี (ประเทศไทย) จำ�กัด ได้ประกาศให้การสนับสนุนอย่างเป็นทางการ ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของ งานประชุมวิชาการและนิทรรศการระดับนานาชาติ IEEE PES Generation Transmission and Distribution (GTD) Grand International Conference and Exposition Asia 2019 (IEEE PES GTD ASIA 2019) ซึง่ จะจัดขึน้ ระหว่าง วันที่ 19-23 มีนาคม พ.ศ. 2562 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค โดยจะจัดแสดงบูธนิทรรศการเพื่อนำ�เสนอ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีล่าสุด

คุณชัยยศ ปิยะวรรณรัตน์

กรรมการผู้จด ั การ บริษท ั เอบีบี (ประเทศไทย) จำ�กัด เอบี บี เป็ น ผู ้ น� ำ เทคโนโลยี ใ นด้ า น Electrification Products, Robotics and Motion, Industrial Automation และ Power Grids เราให้บริการลูกค้าทั่วโลกครอบคลุมทั้งใน ภาคสาธารณูปโภค อุตสาหกรรม การขนส่งและ ระบบโครงสร้างพืน้ ฐาน นับเป็นเวลากว่า 130 ปี ที่ ABB คิดค้นพัฒนานวัตกรรมออกสู่ตลาด อย่างต่อเนือ่ ง ปัจจุบนั ABB ก�ำลังก้าวไปสูย่ คุ อุตสาหกรรมดิจิทัลด้วยคุณค่าหลัก 2 หัวข้อ ทีเ่ รามอบให้แก่ลกู ค้า ได้แก่ การช่วยให้โรงไฟฟ้า สามารถส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าไปสู่ผู้ใช้ไฟฟ้า ทุ ก หนทุ ก แห่ ง และช่ ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพ อุตสาหกรรมด้วยระบบอัตโนมัติ ครอบคลุม ตั้ ง แต่ ก ารเก็ บ เกี่ ย วพลั ง งานจากธรรมชาติ จนถึงการผลิตเป็นสินค้าส�ำเร็จ และในฐานะ ผู้สนับสนุนหลักของ Formula E ซึ่งเป็นการ แข่งขันมอเตอร์สปอร์ตระดับนานาชาติใน ประเภทรถแข่งไฟฟ้าอย่างเต็มรูปแบบของ สหพันธ์รถยนต์ระหว่างประเทศ (FIA) โดย ABB ก� ำ ลั ง ร่ ว มผลั ก ดั น และขยายขอบเขตของ E-Mobility เพือ่ ให้เกิดการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนใน อนาคต ABB ด�ำเนินธุรกิจในกว่า 100 ประเทศ โดยมีพนักงานประมาณ 135,000 คน May-June 2018

คุณชัยยศ ปิยะวรรณรัตน์ กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท เอบีบี (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้กล่าวถึงเหตุผลส�ำคัญทีต่ ดั สินใจเข้าร่วมงาน เนื่องจาก เอบีบีเป็นบริษัทนานาชาติที่เข้ามา ด�ำเนินธุรกิจในประเทศไทยตั้งแต่เมื่อปี ค.ศ. 1978 ซึง่ ปีนถี้ อื เป็นปีทคี่ รบรอบ 40 ปีของเอบีบี ในประเทศไทย เอบีบี ในประเทศไทยได้รบั การสนับสนุน จากผู้ที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและ พลังงานมาด้วยดีตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ดังนั้นเมื่อประเทศไทยได้รับเกียรติให้จัดงาน ประชุ ม วิ ช าการและนิ ท รรศการระดั บ โลก อย่างงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 นั้น จึงเป็นโอกาสอันดีที่เอบีบีจะได้มีบทบาทใน การร่วมเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมครั้งส�ำคัญ ของประเทศไทย เพื่อส่งเสริมศักยภาพของ ประเทศไทยทัง้ ในเชิงเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม รวมถึงการท่องเทีย่ ว อีกทัง้ ยังเป็นอีกหนึง่ โอกาส ทีเ่ อบีบจี ะได้เผยแพร่องค์ความรู้ และเทคโนโลยี ต่ า งๆ ที่ จ ะเป็ น ประโยชน์ ต ่ อ การพั ฒ นา อุตสาหกรรมด้านพลังงานไฟฟ้าของประเทศ ในภาพรวม ทั้งในปัจจุบันและอนาคต

ส�ำหรับรูปแบบการน�ำเสนอภายในบูธ นิทรรศการดังกล่าว เอบีบีซึ่งเป็น Pioneering Technology Leader จะมุ่งเน้นการน�ำเสนอ นวั ต กรรมความก้ า วหน้ า ทางเทคโนโลยี ที่ เกีย่ วข้องกับ Energy Revolution และ 4th Industrial Revolution ซึง่ จะมีบทบาทส�ำคัญต่อการเปลีย่ น ผ่านประเทศไทยไปสูโ่ ลกอุตสาหกรรมยุค 4.0 คุณชัยยศ ได้กล่าวว่า สิง่ ทีเ่ อบีบจี ะน�า เทคโนโลยีมาน�ำเสนอในส่วนของ Energy Revolution นั้ น ก็ คื อ เรื่ อ งของการเพิ่ ม ประสิทธิภาพการท�ำงานของระบบ Power Grid ท�ำอย่างไรให้เป็น Stronger Smarter รวมถึง Greener Grid นีเ่ ป็นหนึง่ ธีมทีจ่ ะน�ำเสนอภายใน งาน นอกจากนีก้ ม็ อี กี หนึง่ ธีม คือ 4th Industrial Revolution ที่ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บ ความ ก้าวหน้าในเรือ่ งของ Digitalization ซึง่ ไม่เพียง แต่ครอบคลุมถึงเรื่องของการเป็นโลกธุรกิจที่ ขับเคลือ่ นอยูท่ า่ มกลาง Digitalization หากยัง รวมไปถึงการประยุกต์ใช้ AI (Artificial Intelligence) ในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ โดยเอบีบไี ด้รวบรวม โซลูชั่นและบริการในรูปแบบดิจิทัลทั้งหมด ของเอบีบี ซึ่งเรียกว่า “ABB AbilityTM” ซึ่ง น�ำมาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาโซลูชั่นต่างๆ ให้


ครอบคลุมทุกกลุ่มอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็น Utilities, Industry หรือ Transport and Infrastruture ซึ่งเหล่านี้ถือเป็น 3 เซ็กเมนต์หลัก ที่เอบีบีมี ความรูค้ วามเชีย่ วชาญและประสบการณ์ เอบีบี จะน�ำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการในด้านดิจทิ ลั ภายใต้ชอื่ ABB Ability ทีน่ ำ� เสนอความสามารถ ในด้านดิจทิ ลั ของตัวอุปกรณ์ ระบบและโซลูชนั่ การบริการและแพลตฟอร์มต่างๆ จากทุก อุตสาหกรรม ซึ่งจะสามารถท�ำงานประสาน เชื่อมโยงถึงกันได้ผ่านระบบคลาวด์ ช่วยให้ ลูกค้าสามารถเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการ ผลิตและในขณะเดียวกันก็ชว่ ยลดค่าใช้จา่ ยลง ส�ำหรับ ABB AbilityTM ซึง่ ปัจจุบนั เอบีบี มีมากกว่า 210 โซลูชั่นส์ ที่จะเข้าไปให้การ สนับสนุน ช่วยเหลือให้ผปู้ ระกอบการสามารถ ยกระดั บ เทคโนโลยี ก ารผลิ ต และเพิ่ ม ประสิทธิภาพการด�ำเนินธุรกิจได้อย่างมั่นคง และปลอดภัย รวมถึงเรื่องการบริหารจัดการ การเพิ่มประสิทธิภาพและเพิ่มผลผลิต ทัง้ นี้ ส่วนทีเ่ ป็น Smart Technology ต่างๆ เอบีบกี จ็ ะน�ำไปจัดแสดงภายในงานครัง้ นีด้ ว้ ย ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ ง E-Mobility, Smart Buildings ซึ่งจะสามารถท�ำงานเชื่อมโยงกันด้วย ABB AbilityTM ได้ นอกจากนี้ ยังมีโซลูชั่นอื่นๆ อีกมากมาย ที่เกี่ยวข้องกับระบบส่ง ระบบ

จ�ำหน่ายไฟฟ้า และสถานี ไฟฟ้า (Transmission and Distribution) อาทิเช่น Digital Substation, Microgrid และ Smart Grid เทคโนโลยี เหล่านี้เราก็จะน� ำมาโชว์ ภายในงานด้วย ส�ำหรับในส่วนของ การประชุมวิชาการ เอบีบี ก็จะมีการส่ง Paper ผลงาน ทางวิชาการเข้าไปร่วมใน งานนีด้ ว้ ย เนือ่ งจากเอบีบี นัน้ มี Paper ในเชิงวิชาการ จ�ำนวนมาก ทีจ่ ะสามารถน�า มาเสนอ เพือ่ เป็นประโยชน์ กับบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องกับ อุ ต สาหกรรมไฟฟ้ า และ พลังงานทุกระดับ ตั้งแต่นักเรียน นักศึกษา ไปจนถึงผูป้ ระกอบการ รวมถึงหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตาม คุณชัยยศ ได้กล่าวถึง ภาพรวมอุ ต สาหกรรมไฟฟ้ า และพลั ง งาน ในประเทศไทยปัจจุบันและอนาคตว่า “ต้อง ยอมรับว่าอุตสาหกรรมไฟฟ้าและพลังงาน ในประเทศไทยปัจจุบันอยู่ในจุดที่ก�ำลังมีการ เปลีย่ นแปลงอย่างมาก พลังงานทดแทนจะเข้า มามีบทบาทมากขึน้ ขณะเดียวกันต้นทุนด้าน เทคโนโลยีกจ็ ะมีราคาทีจ่ บั ต้องได้มากขึน้ ภายใต้ กรอบของ Digitalization ซึ่งเข้ามามีบทบาท ส�ำคัญมากขึน้ ทัง้ นี้ โดยส่วนตัวแล้วเชือ่ ว่าเป็น การเปลี่ยนแปลงเชิงบวก ที่จะส่งผลดีต่อการ พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมของประเทศในทุ ก ๆ ภาคส่วน เพียงแต่ผู้ประกอบการจะต้องเร่ง ปรับตัวให้ทนั ต่อสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ และใช้ประโยชน์ จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีให้ได้มาก ที่สุดเท่านั้น” คุ ณ ชั ย ยศ ยั ง ได้ ก ล่ า วต่ อ ไปอี ก ว่ า แม้ที่ผ่านมาประเทศไทยจะมีศักยภาพเป็น ผู้น�ำในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและพลังงานของ ภูมิภาคอาเซียน มีการขับเคลื่อนและพัฒนา พลังงานอย่างจริงจัง แต่ทว่าประเทศเพือ่ นบ้าน ในภูมิภาคอาเซียนก็มีการพัฒนาด้วยเช่นกัน

ดั ง นั้ น การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมไฟฟ้ า และ พลังงานของประเทศไทยจึงยังต้องด�ำเนินการ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งเชื่อว่าภาครัฐ โดยเฉพาะ หน่ ว ยงานหรื อ องค์ ก รที่ เ กี่ ย วข้ อ งจะมี ก าร ด�ำเนินงานทัง้ ในเชิงนโยบายการบริหารจัดการ และแนวทางการปฏิบตั ิ ควบคูไ่ ปกับการยกระดับ ประสิทธิภาพการขับเคลือ่ นอุตสาหกรรมไฟฟ้า และพลังงานตามกรอบนโยบายและแผนการ ด�ำเนินงานทีไ่ ด้วางไว้ เพือ่ รักษาความเป็นผูน้ า� ด้านอุตสาหกรรมไฟฟ้าและพลังงานต่อไป และแน่นอนเอบีบกี จ็ ะเป็นหนึง่ ในกลไกชิน้ ส�ำคัญ ที่ มี บ ทบาทในการน� ำ นวั ต กรรมและความ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่มีอยู่เข้าไปเติมเต็ม ท�ำให้อุตสาหกรรมไฟฟ้าและพลังงานของ ประเทศสามารถขับเคลือ่ นไปได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ สุ ด ท้ า ยขอเชิ ญ ชวนให้ ผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและพลังงานทุกภาคส่วน ทุกระดับ ตัง้ แต่นกั เรียน นิสติ นักศึกษา ไปจนถึง ผู้ประกอบการ รวมถึงหน่วยงาน และองค์กร ภาครัฐ ภาคเอกชน เข้าร่วมงานประชุมวิชาการ และนิทรรศการระดับชาติ IEEE PES GTD Asia 2019 เพราะถือเป็นโอกาสที่ดีอย่างยิ่งในการ เก็บเกี่ยวองค์ความรู้ต่างๆ และเป็นเวทีใน การอัพเดตนวัตกรรม และความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีในแวดวงอุตสาหกรรมไฟฟ้าและ พลังงาน ซึ่งถือเป็นงานใหญ่ระดับโลก และ ยังเป็นครั้งแรกในประเทศไทยและครั้งแรกใน เอเชียอีกด้วย

เกี่ยวกับ IEEE GTD ASIA 2019

งาน GTD ASIA 2019 เป็นการรวมการจัดงาน 3 งาน ประกอบด้วย งาน Power Generation (PG Asia) งาน Transmission and Distribution (T&D Asia) และงาน Renewable Energy (RE Asia) เข้าด้วยกัน โดยจะน�ำเสนอการประชุมเชิงวิชาการและ จัดแสดงนิทรรศการที่ครอบคลุมทุกด้าน เกีย่ วกับระบบผลิต การส่งและจ�ำหน่ายไฟฟ้า การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนและ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง

May-June 2018


Interview > กองบรรณาธิการ

❞ เมื่อเปนสมาคมแลว ก็จะเขารวมมีบทบาท อยางเปนทางการมากขึ้น โดยจะมีผูรับผิดชอบ อยางแทจริง เพื่อไมให ไทยเรานอยหนา ชาติอื่นๆ

ศาสตราภิชาน พูลพร แสงบางปลา นายกสมาคมวิศวกรหญิงไทยคนแรก ความเปนมาของสมาคมวิศวกรหญิงไทย วิศวกรหญิงปจจุบันมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ สมัยกอน มีจํานวนนอยมาก เริ่มจากรุนละ 1-2 คน 4-5 คน บางรุนก็ไมมี เลย ภายใน 40 ปมีไมถึง 20 คน ก็เจอกันงายไมไดทําเปนสมาคม แตปจจุบันเฉพาะจุฬาฯ มีมากกวา 300 คน และยังมีจากสถาบัน การศึกษาอื่นอีกดวย จึงคิดวาควรจะรวมตัวกันเปนสมาคมเพื่อ ชวยเหลือซึง่ กันและกัน ซึง่ ทีต่ า งประเทศเขาก็มสี มาคมวิศวกรหญิง เกือบทุกประเทศแลว เริ่มตั้งแต ค.ศ. 1960 เชน ที่อเมริกา อิตาลี อังกฤษ ฝรั่งเศส ญี่ปุน แมแตที่อิหรานก็ยังมี แตไทยเรายังไมมี ทุกปเขาจะมีจัดการประชุมนานาชาติ เพื่อนําวิศวกรหญิงจาก

ทัว่ โลกมาพูดถึงปญหาของวิศวกรหญิงและแลกเปลีย่ นความคิดเห็น กัน เขาก็เชิญมาที่ประเทศไทยดวยแมเราจะไมมีสมาคมก็ตาม เมือ่ 12 ปกอ น เราตัง้ เปนชมรมวิศวกรหญิงและชวยกันทํางาน โดยใชเงินบริจาคกันเอง เชน จัดไปดูงาน จัดสัมมนาใหความรูเพื่อ ชวยเหลือวิศวกรหญิงที่กําลังเรียนอยูและวิศวกรหญิงที่จบไปแลว ชมรมไดไปเขารวมประชุมนานาชาติวิศวกรหญิงบางเปนครั้งคราว แตเมื่อเปนสมาคมแลวก็จะเขารวมมีบทบาทอยางเปนทางการ มากขึน้ โดยจะมีผรู บั ผิดชอบอยางแทจริง เพือ่ ไมใหไทยเรานอยหนา ชาติอื่นๆ

May-June 2018

p.46-47_Interview.indd 46

5/31/2561 BE 2:01 PM


วัตถุประสงค

กิจกรรมที่วางแผนไว

สมาคมวิศวกรหญิงไทย (Thai Women Engineers กิจกรรมหลักที่สมาคมวางแผนไวมีดังนี้ Association : TWEA) ได รั บ การจดทะเบี ย นกั บ 1. จะนัดประชุมปละ 6 ครัง้ หรือ 2 เดือนครัง้ ปจจุบนั มีวศิ วกรหญิง นายทะเบียนสมาคมกรุงเทพมหานคร กรมการปกครอง เปนสมาชิกแลวราว 30 คน คาสมาชิกปละ 100 บาท เปนคาแรกเขา เพือ่ เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ พ.ศ. 2561 ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อ ทําบัตร หลังจากนั้นอาจบริจาคเพิ่มไดตามสมัครใจ มีรุนพี่บริจาคไวแลว 1. แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ความรูทางวิศวกรรม ราว 2 แสนบาท เพื่อจัดกิจกรรมฟรี เชน แลกเปลี่ยนประสบการณ และเทคโนโลยี โดยรุน พีจ่ ะมาเลาสูก นั ฟง สําหรับนิสติ อาจชวยแกปญ  หาไมมเี งิน ไมสบาย 2. ส ง เสริ ม วิ ศ วกรหญิ ง ให มี บ ทบาทด า นงาน มีปญ  หาการเรียน เมือ่ จบแลวอยากไปศึกษาตอตางประเทศ หรือมีปญ  หา วิศวกรรมใหทันสมัยยิ่งขึ้น เกี่ยวกับการงาน เชน มีปญหากับเพื่อนรวมงาน หรือหัวหนาที่เปนผูชาย 3. ใหคําปรึกษา แนะนํา ชวยเหลือวิศวกรหญิง 2. จะชวยพัฒนาบุคลิกภาพของวิศวกรหญิง ซึง่ ตอนเรียนอาจเหมือน ในดานวิชาชีพ และดานสังคม ผูชาย แตเมื่อจบแลวก็ตองรูจักแตงตัวใหสวยงามแบบผูหญิงบาง เชน 4. แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และประสบการณ แตงหนา ทาปาก ใสสน สูง มีมารยาทเรียบรอยชวนมองไดดว ย คือจะใหเรา ดานวิชาชีพวิศวกรรมกับวิศวกรหญิงตางประเทศ ทั้งแกรง เกง และสวย 5. จัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมสังคมและสาธารณ 3. จะทํางานเพื่อสังคม เชน ชวยตอนน้ําทวม บริจาคของใช ใหทุน ประโยชน การศึกษาตามโรงเรียน บริจาคเพื่อซอมแซมและสรางวัด 6. สมาคมนี้ไมเกี่ยวของกับการเมือง 4. จะไปตามโรงเรียนเพื่อแนะแนวตามโรงเรียนมัธยมใหเด็กผูหญิงที่ สมาคมตั้งอยู ณ ตึกวิศวกรรมยานยนต ชั้น 2 จะจบมาเรียนวิศวะมากขึ้น แตก็มีนอย และอาจารยผูสอนก็ไมคอยสนใจ คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เด็กก็กลัวไมอยากมาเรียน กลัวเจอแตผูชาย เพราะเดิมมีแตสาขาหนักๆ เชน เลขที่ 254 ถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน โยธา ไฟฟา เครื่องกล แตปจจุบันมีหลายสาขา เชน คอมพิวเตอร เคมี กรุ ง เทพมหานคร โดยได รั บ ความอนุ เ คราะห สิง่ แวดลอม ซึง่ ผูห ญิงทําไดดกี วา เพราะเราอดทนกวาผูช าย ก็จะมีผหู ญิงสนใจ สถานที่ฟรีจากคณะวิศวกรรมศาสตร มาเรียนวิศวะเพิ่มขึ้น 5. จะเพิม่ การประชาสัมพันธในวงกวางใหมากขึน้ เชน การจัดทํา Website, Facebook: TWEA by WE Thai

ขอแนะนำสงทาย ไมจาํ ตองเปนวิศวกรหญิงก็มาเปนสมาชิกสมทบของสมาคมได เปนผูช ายก็มาได เราจะจัดสัมมนาเรือ่ งตางๆ ทีเ่ ขาอาจสนใจก็มารวม ดวยได เราไมขัดของ เชน เรามีวิศวกรหญิงที่ทํางานกับนาซา ทํางานบนแทนขุดเจาะ ทําวิจัยจนไดรับสิทธิบัตร ซึ่งก็เคยมาบรรยายในงาน สัมมนาที่จัดไปแลว ลาสุดมีการสาธิตการนุงผาไทยแบบตางๆ ซึ่งกําลังเปนที่นิยมมาก สุดทายอาจารยยังเลาใหฟงถึงการวางตัว ในฐานะที่เปนนิสิตหญิงคนเดียวในคณะวิศวฯ จุฬาฯ รุนบุกเบิกเมื่อกวา 60 ปมาแลววา เราจะไมนึกวาตัวเองเปนผูหญิงเลย เวลาผูชายเฮทําอะไรเราก็เฮทําดวย เชน เขาเตะตะกรอเราก็รวมดวย เวลาเรียนเราไมสบายมีปญหา เรื่องเฉพาะของผูหญิงพวกผูชายก็ไมรวมรับรู เราก็ตองทําตัวเขมแข็งแบบผูชายตลอด แตปจจุบันอาจารยกลายเปนผูหญิงไทยนุงผาถุง ตามรอยยอดนิยม เพราะขาหักจึงนุงแตกระโปรงยาว แลวกลายมาเปนนุงผาถุงไทยจนทุกวันนี้ และยังไดรับรางวัลในฐานะกุลสตรีไทย ดีเดนมาแลวดวย แตอาจารยยา้ํ วาวิศวกรหญิงควรแตงตัวใหเหมาะกับสถานการณ เชน จะตองไปปนปายตรวจงานก็ควรนุง กางเกงใหรดั กุม แตเวลาออกงานก็นุงผาถุงสวยแบบไทยไดดวย สรุปวาวิศวกรหญิงไทยเราควรเตรียมตัวให เกง สวย รวย ดี นะออเจา May- June 2018

p.46-47_Interview.indd 47

5/31/2561 BE 2:01 PM


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

EATON South East Asia Mobile Techday บริษัท อีตั้น อิเล็คทริค จํากัด เปนบริษัทจัดการพลังงาน ที่มีรายไดในป 2560 สูงถึง 20,400 ลานเหรียญสหรัฐฯ มีประวัติ อันยาวนาน กอตั้งมากวา 107 ป อีตั้นนําเสนอโซลูชันพลังงาน ที่มีประสิทธิภาพเพื่อชวยใหลูกคาสามารถจัดการกับพลังงาน ไฟฟ า พลั ง งานน้ํ า และพลั ง งานจากเครื่ อ งจั ก รได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ ปลอดภัย และมีความยั่งยืน อีตั้นใหบริการลูกคา ในกวา 175 ประเทศทั่วโลก มร.จิมมี่ ยัม รองประธานฝายขายประจําภูมิภาคเอเชีย ตะวันออก สวนธุรกิจไฟฟา บริษัท อีตั้น อิเล็คทริค จํากัด มี หนาที่ดูแลรับผิดชอบในกลุม 3 โซนหลัก ไดแก โซนเอเชียเหนือ

ครอบคลุมประเทศญีป่ นุ เกาหลี ฟลปิ ปนส มองโกเลีย โซนเอเชียใต ครอบคลุมประเทศไตหวัน สิงคโปร อินโดนีเซีย สวนเอเชียกลาง ครอบคลุมประเทศไทย มาเลเซีย เวียดนาม บังกลาเทศ พมา ลาว และกัมพูชา “อีตน้ั เปนผูน าํ ดานธุรกิจไฟฟาระดับโลก ดวยความเชีย่ วชาญ ในการบริหารจัดการพลังงาน อุปกรณตัดกระแสไฟฟา ระบบ สํารองไฟฟา ระบบควบคุมและสั่งการ ระบบไฟฟาและการรักษา ความปลอดภัย โครงสรางโซลูชันและอุปกรณเดินสายไฟ โซลูชัน สําหรับบรรเทาสภาพแวดลอมที่เสี่ยงภัยและเปนอันตราย และ บริการทางวิศวกรรม อีตั้นใหบริการโซลูชันระดับโลกที่ตอบโจทย ความตองการ และสามารถจัดการความทาทายในการบริหาร พลังงานระดับโลกไดเปนผลสําเร็จ” นอกเหนื อ จากการผลิ ต แล ว อี ตั้ น ให ค วามสํ า คั ญ ด า น การวิจยั และพัฒนาสินคามาโดยตลอด มีการวิจยั และพัฒนาสินคา ใหเหมาะสมกับภูมภิ าคนัน้ ๆ ดวย ในเอเชียนัน้ มีโรงงานทีป่ ระเทศ จีน และฟลปิ ปนส สามารถผลิตสินคาทีเ่ หมาะสมกับแตละประเทศ ในภูมิภาคเอเชีย นอกจากนั้นเพื่อใหสินคามีความหลากหลาย ยิ่งขึ้น อีตั้นไดเขาซื้อกิจการของยี่หออื่นเพื่อขยายการใหบริการ ลูกคาไดครบถวนยิ่งขึ้น

May-June 2018

p.48-51_Special Scoop.indd 48

5/31/2561 BE 2:02 PM


“ตลาดในกลุม ภูมภิ าคเอเชียตะวันออก มียอดขายรวมกัน ประมาณ 20% ของยอดขายทั้งหมด ประเทศจีนเปนตลาดที่ ใหญที่สุด แตในป ค.ศ. 2017 ที่ผานมา ประเทศที่มีการเติบโต มากที่สุด คือเวียดนามและอินโดนีเซีย เพราะรัฐบาลมีการ ลงทุนระบบสาธารณูปโภคเพิ่มขึ้น ทําใหสินคาอิเล็กทรอนิกส ขยายตัวตามไปดวย แตในป 2518 นี้คาดวาประเทศเกาหลีกับ มาเลเซียจะมีการขยายตัวเพิม่ ขึน้ สูงสุดในกลุม เอเชียตะวันออก ซึ่งประเทศเกาหลีมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจมาตลอด แตใน ปที่ผานมามีปญหาการเมืองภายในประเทศทําใหการลงทุน ชะลอตัว ในปน้กี ารเมืองนิ่งแลวจึงคาดวาการลงทุนจะเพิ่มขึ้น สวนประเทศมาเลเซียนัน้ รัฐบาลไดประกาศสรางรถไฟความเร็วสูง เชื่อมไปยังประเทศสิงคโปร ตองลงทุนจํานวนมาก จึงคาดวา จะทําใหเศรษฐกิจภายในประเทศขยายตัวขึ้นเชนกัน” ในส ว นของประเทศไทยนั้ น มร.จิ ม มี่ ยั ม กล า วว า “ประเทศไทยคือหนึง่ ในตลาดทีส่ าํ คัญเปนลําดับตนๆ ของอีตนั้ ดวยการเติบโตอยางเขมแข็งและตอเนือ่ งของธุรกิจระบบไฟฟา สําหรับอุตสาหกรรมตลอดหลายปทผ่ี า นมา นอกจากนี้ นโยบาย จากภาครัฐในการสรางและปรับปรุงรางรถไฟ การคมนาคม ขนสงทั้งอากาศและทางน้ํา ซึ่งจะใชงบประมาณกวา 18,900 ลานบาท การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดังกลาวจะชวยผลักดัน ให GDP ของประเทศเติบโตในระดับ 0.3 ถึง 1% ในแตละป และยังมีสวนชวยกระตุนการลงทุนจากภาคเอกชนใหสูงขึ้น โครงการพัฒนาระดับมหภาคตางๆ เหลานี้ จะชวยตอยอด และสรางความเติบโตในหลายภาคอุตสาหกรรมตางๆ ตั้งแต อุตสาหกรรมการกอสราง การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ไป จนถึงธุรกิจการบินเชิงพาณิชย ธุรกิจคาปลีก ธุรกิจโรงแรมและ การขนสง”

อีตั้นใหบริการโซลูชันระดับโลก ที่ตอบโจทยความตองการ และสามารถจัดการความทาทาย ในการบริหารพลังงานระดับโลก ไดเปนผลสำเร็จ

❞ “อีตั้นครองสวนแบงทางการตลาดที่นาพอใจในธุรกิจจัดการ พลังงานในประเทศไทย นอกจากนี้สิ่งสําคัญที่สุดก็คือวิสัยทัศน ของบริษัทฯ ยังสอดคลองกับนโยบายของรัฐที่ตองการปรับปรุง คุณภาพชีวิตของประชาชน รวมทัง้ สรางสภาพแวดลอมที่ดีขึ้น ดวย นวัตกรรมและโซลูชนั ทีช่ ว ยใหพลังงานมีความเสถียร มีประสิทธิภาพ ไววางใจไดและปลอดภัยแกผูใชงาน พรอมชวยลดคาใชจายในการ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ แต ยั ง คงประสบความสํ า เร็ จ ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ” มร.ยัม กลาวย้ํา

May- June 2018

p.48-51_Special Scoop.indd 49

5/31/2561 BE 2:02 PM


เมื่อเร็วๆ นี้ อีตั้น อิเล็คทริค ไดเปดตัว Power Defense™ เครือ่ งตัดกระแสไฟแบบหอหุม ฉนวนมิดชิด หรือ MCCB (Molded Case Circuit Breakers) โซลูชันปองกันไฟฟารั่วรุนใหมซึ่งใช เทคโนโลยีทไี่ ดรบั การพัฒนาลาสุดจากอีตนั้ ในงานโมบายเทคเดย เอเชียตะวันออกเฉียงใต (South East Asia Mobile Techday) เปน ครั้งแรกในประเทศไทย งานโมบายเทคเดยฯ เปดตัวอยางเปนทางการที่จังหวัด ภูเก็ต ตั้งแตวันที่ 6 มีนาคม ถึง 14 มีนาคม 2561 ซึ่งการจัดงาน ในครัง้ นี้ เปนครัง้ แรกในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยอีตนั้ ไดออกแบบโมบายเทคเดยในรูปแบบตูค อนเทนเนอร เปดโอกาส ใหหนวยงานและองคกรตางๆ รวมทั้งพันธมิตรทางธุรกิจ และ ประชาชนทัว่ ไปไดเรียนรูเ กีย่ วกับเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ รวมทัง้ สัมผัสนวัตกรรมลาสุดของอีตนั้ ชวยตอบโจทยความตองการ และ สามารถจัดการความทาทายในการบริหารพลังงานระดับโลกได เปนผลสําเร็จ โมบายเทคเดย หรืองานแสดงเทคโนโลยีในแบบเคลื่อนที่ จะดําเนินกิจกรรมติดตอกันเปนเวลา 3 เดือน ในประเทศตางๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต อีตั้นโมบายเทคเดยจะเปดโอกาสให ลูกคาไดสัมผัสเทคโนโลยีของอีตั้นพรอมใหคําปรึกษา โดยรถ นิทรรศการนีเ้ ปนสวนสําคัญของกลยุทธทางธุรกิจของอีตนั้ ทัว่ โลก ซึ่งประกอบดวยการจัดงานหลากหลายรูปแบบที่ชวยใหอีตั้น เขาถึงกลุมลูกคา ผูมีอิทธิพลในแวดวงธุรกิจและผูใชงาน และเปด โอกาสใหอีตั้นไดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับอุตสาหกรรมหลักๆ ทั่วภูมิภาค ตูคอนเทนเนอรนี้มีขนาด 11 ตารางเมตร มีการจัดแสดง ผลิตภัณฑและโซลูชันที่ชวยบริหารพลังงานไฟฟาซึ่งอีตั้นเปนผู ออกแบบวางระบบใหเหมาะกับธุรกิจอุตสาหกรรมตางๆ ทีส่ าํ คัญ อาทิ ดาตาเซ็นเตอร อุตสาหกรรมผลิตเครือ่ งจักร และอุตสาหกรรม น้ํามันและกาซธรรมชาติ

หลั ง จากจั ด แสดงที่ ภู เ ก็ ต แล ว โมบายเทคเดย เ อเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต ข องอี ตั้ น จะเดิ น ทางไปตามจั ง หวั ด ต า งๆ ทั่วประเทศไทยจนถึงสิ้นเดือนเมษายน อาทิ กรุงเทพฯ สระบุรี สุราษฎรธานี หาดใหญ และหัวเมืองหลักในภาคเหนือและภาค ตะวันออก กอนที่จะเดินทางไปยังประเทศมาเลเซียตอไป สํ า หรั บ กลุ ม ลู ก ค า ของอี ตั้ น ในประเทศไทยนั้ น มี ทั้ ง หนวยงานรัฐวิสาหกิจขนาดใหญ และอุตสาหกรรมภาคเอกชน โดยมีสัดสวนภาครัฐรอยละ 40 และภาคเอกชนรอยละ 60 และ ในป 2018 อีตั้นมีแผนจะขยายกลุมลูกคาในสวนของภาคเอกชน ใหมากขึ้น โดยออกสินคาใหมที่เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศ ของประเทศไทย แตคุณภาพดีในราคาที่เหมาะสม ผลิตภัณฑที่โดดเดนของอีตั้นในงานวันเทคโนโลยีประจําป 2018 นั้น ประกอบดวย Power Defense™ คือ เครื่องตัด กระแสไฟแบบหอหุมฉนวนมิดชิด หรือ MCCB (Molded Case Circuit Breakers) ที่มาพรอมเทคโนโลยีประมวลผลระดับจุลภาค และชุดคําสั่งที่ไดรับการพัฒนาลาสุดเพื่อแจงเตือนผูใชงานเมื่อ ระบบจายไฟจําเปนตองไดรับการซอมแซมหรือเปลี่ยนตัวเครื่อง นอกจากนี้เครื่องตัดไฟตัวนี้ยังสามารถเก็บขอมูลและมีระบบ แจงเตือนผูใ ชงานใหควบคุมและสัง่ การจากระยะทีป่ ลอดภัย โดยที่ กระแสไฟฟายังสามารถทํางานไดตามปกติ Power Defense™ มีการรับประกันจากอีตั้นทั่วโลก เครื่องสํารองไฟฟาอีตั้น รุน 93PR เปน UPS แบบโมดุล ระดับชั้นนํามาตรฐานโลกที่สามารถนําไปใสทดแทน เสริม และ ปรับขนาดไดตามความตองการของผูใชงาน ใหประสิทธิภาพ สู ง สุ ด ในระดั บ ต น ทุ น การเป น เจ า ของที่ ต่ํ า ที่ สุ ด ช ว ยยกระดั บ สมรรถภาพ ความปลอดภัย ความยืดหยุน และเพิม่ ความสามารถ ในการปรับขนาดไปสูอีกขั้น โหมด Double Conversion จะมอบ ประสิทธิภาพไดเหนือกวามาตรฐานของอุตสาหกรรม

May-June 2018

p.48-51_Special Scoop.indd 50

5/31/2561 BE 2:02 PM


❞ ดวยนวัตกรรมและโซลูชัน ที่ชวยใหพลังงานมีความเสถียร มีประสิทธิภาพ ไววางใจได และปลอดภัยแกผูใชงาน

❞ Eaton Micro Date Center & PoE (Power over Ethernet) Micro Date Center มอบโซลูชันในการ จัดเก็บเครื่องมือของไอทีที่งายตอการติดตั้งสําหรับ การทํางานในรูปแบบประมวลผลที่ขอบของคลาวด (Edge-of-Cloud) ทําใหสามารถจัดเรียงอุปกรณได อยางงายดายตามความตองการ โซลูชันที่ครบวงจรนี้ ยังลดความจําเปนในการติดตัง้ เครือ่ งทําความเย็นไวใน หองเซิรฟ เวอร ตลอดจนชวยเพิม่ ระยะเวลาทีเ่ ครือขาย สามารถทํางานไดอยางตอเนื่องและมีประสิทธิภาพ ไดสูงสุด แบตเตอรี่ลิเธียมไอออนอีตั้น แบตเตอรี่ที่ชวย ประหยัดเวลา พื้นที่ และพลังงาน ซึ่งปจจุบันที่เปนตัว ชวยกําหนดระดับประสิทธิภาพของ UPS ก็คอื คุณภาพ ของแบตเตอรี่ ด ว ยเหตุ น้ี อี ตั้ น จึ ง คิ ด ค น และพั ฒ นา ทางเลือกใหมเพื่อมาทดแทนแบตเตอรี่ VRLA (Valve Regulated Lead Acid) ที่ใชกันมายาวนานจนเปน มาตรฐานของอุตสาหกรรม แตแบตเตอรี่ลิเธียมของ อีตั้นนั้นมีความปลอดภัยและมีเสถียรภาพกวาสําหรับ นําไปใชรวมกับระบบ UPS ทําใหอายุการใชงานของ แบตเตอรี่ยาวนานขึ้น น้ําหนักเบาลง ใชพื้นที่นอยลง และระยะเวลาคุมครองที่เพิ่มมากขึ้น “ดวยคุณภาพสินคาและกลยุทธทางการตลาดที่ เขาถึงกลุมผูใช คาดวาในป 2018 ตลาดในประเทศไทย จะเติบโตเปนตัวเลข 2 หลัก” มร.จิมมี่ ยัม กลาวย้ํา

ตัวอยางความสำเร็จในประเทศไทย

บริษัท อําพลฟูดส โพรเซสซิ่ง จํากัด : เพิ่มรอบการผลิต และลด ตนทุนทางธุรกิจได ดวยทางอําพลฟูดประสบปญหาดานความตอเนื่องใน กระบวนการผลิต ทางอีตั้นไดนําเสนอผลิตภัณฑที่ชวยใหระบบจายไฟมี เสถียรภาพยิ่งขึ้น พรอมใหไฟสํารองเพียงพอสําหรับเครื่องจักรหลัก 2 เครื่อง ในกระบวนการผลิต นอกจากนั้นยังชวยลดตนทุนทางพลังงานไดอีกดวย ● บมจ.ธนาคารกรุ ง ไทย : การออกแบบระบบใหม ช ว ยแก ป ญ หา คาไฟฟาที่สูงขึ้นขณะที่ประสิทธิภาพการดําเนินงานไมเปนไปตามเปาหมาย หลังจากนําผลิตภัณฑอีตั้นที่ออกแบบทันสมัย ใหประสิทธิภาพสูงสุด และ สามารถไววางใจได ในขณะเดียวกันก็ชวยลดตนทุนคาไฟฟาลงอีกดวย ● บริษท ั เอเชีย เอวิเอชัน่ จํากัด (มหาชน) : เพิม่ ความมัน่ คงในระบบ การจัดการหลังบานของไทยแอรเอเชีย และสรางภาพลักษณของสายการบิน ทีม่ คี ณ ุ ภาพ ราคาทีเ่ ปนมิตร ไทยแอรเอเชียนําเทคโนโลยีมาชวยลดตนทุนและ ยกระดับการบริหารไปพรอมๆ กัน ซึ่งปญหาที่สายการบินประสบปญหาคือ อุ ป กรณ จ า ยไฟขาดเสถี ย รภาพและความต อ เนื่ อ งในสนามบิ น หลายแห ง ของประเทศไทย ทําใหเกิดปญหาไฟกระตุก และดับอยางฉับพลัน แตหลังจาก แกปญหาไดก็ทําใหมีความมั่นคงดานไฟฟาสํารอง และชวยใหการบริหาร จัดการมีความราบรื่นขึ้น ● บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) : ซีพีเอฟไดสราง โรงงานปศุสัตวในเมืองไพลินของกัมพูชา ซึ่งจําเปนตองอาศัยระบบจายไฟ และจัดการพลังงานที่มีเสถียรภาพ อีตั้นไดทํางานรวมกับบริษัท อะตอม-มิค พาวเวอร จํากัด ในฐานะพันธมิตรทางธุรกิจ นําเสนออุปกรณตัด-ตอไฟฟา แรงต่าํ การเริม่ เดินมอเตอรไฟฟาทัง้ ระบบ บัสบาร (จุดรวมของวงจรจํานวนมาก) อุ ป กรณ สั่ ง การและควบคุ ม ทํ า ให โรงงานปศุ สั ต ว ข องซี พี เ อฟในกั ม พู ช า ดําเนินงานไดอยางราบรื่นและมีประสิทธิภาพ ●

May- June 2018

p.48-51_Special Scoop.indd 51

5/31/2561 BE 2:02 PM


Scoop > กองบรรณาธิการ

ไบเออร ส ด อ รฟ บริ ษั ท ชั้ น นํ า ผู ผ ลิ ต แบรนด ดั ง ระดั บ โลกอย า งนี เวี ย และยู เซอริ น ได ข ยายโรงงาน ผลิ ต ภั ณ ฑ ก ารบํ า รุ ง ผิ ว ในกรุ ง เทพมหานคร โดยฐาน การผลิตตั้งอยูที่บางพลี และจะมีการลงทุนถึง 47.4 ลาน ยูโร ไบเออรสดอรฟ (ประเทศไทย) มีพนักงานในสวน ของออฟฟศและฝายการผลิตมากถึง 700 คน และได มีการผลิตสินคาสําหรับนีเวียและยูเซอริน สําหรับสง จําหนายในประเทศไทยและอีก 43 ประเทศ การขยาย ฐานการผลิตในครัง้ นีแ้ สดงใหเห็นการเติบโตอยางตอเนือ่ ง ของอุตสาหกรรมเครื่องสําอางในภูมิภาคนี้

ไบเออรสดอรฟ

ขยายฐานการผลิต ในประเทศไทย Beiersdorf celebrates expansion of its Bangkok production facility with First Stone ceremony

Beiersdorf, owner of world leading brands such as NIVEA and Eucerin, has begun work on the expansion of its skincare products factory in Bangkok. The group’s industrial unit, located in Bangplee will be an investment of €47.4 for the company. Its offices and production center together employ more than 700 staff and manufacture products for two of its brands, NIVEA and Eucerin, for the Thai market and export to 43 other countries. This expansion is reflective of the continued growth this cosmetics giant has enjoyed within the region.

May-June 2018

p.52-54_scoop.indd 52

5/31/2561 BE 2:03 PM


มาคุส ดาเบอเกอร ผูอํานวยการโครงการ บริษัท ไบเออร สดอรฟ (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา “โปรเจ็กตไพลิน เปนสิ่งที่ สะทอนใหเห็นวา ไบเออรสดอรฟมุงมั่นที่จะเพิ่มกําลังการผลิต เปน 2 เทา เพื่อรองรับความตองการของตลาดในภูมิภาคนี้ ในฐานะตั ว แทนของไบเออร ส ด อ รฟ (ประเทศไทย) เรารู สึ ก เปนเกียรติและขอขอบคุณภาครัฐและองคกรทองถิ่นที่ใหความ ชวยเหลือและสนับสนุนเราในครั้งนี้ โปรเจ็กตนี้ไมใชเพื่อขยาย ฐานการผลิตเพียงอยางเดียว แตเปนการขยายครอบครัวไบเออร สด อ รฟอี ก ด ว ย เพราะเราจะเป ด รั บ พนั ก งานใหม ก ว า 200 ตําแหนง ในปหนา เราภูมใิ จทีจ่ ะประกาศใหทราบวาโปรเจ็กตไพลิน ในประเทศไทยมีความใหญเปนอันดับที่ 2 รองจากศูนยการผลิต ในประเทศเยอรมนี” เปาหมายหลักของโปรเจ็กตนค้ี อื การปรับปรุงสภาพแวดลอม การทํ า งานให แ ก พ นั ก งานทุ ก คน ด ว ยนวั ต กรรมที่ ล้ํ า สมั ย สํานักงานที่มีโครงสรางการใชงานที่เหมาะสมกับการทํางานและ เครือ่ งหมายมาตรฐาน CE รวมถึงการปรับปรุงอาคารผลิตเดิมทีม่ ี อยูแ ลว พืน้ ทีโ่ ดยรอบจะถูกทําใหม โดยเปลีย่ นมาใชเครือ่ งผสมใหม 4 ตัว ในขณะที่ทางเขาโรงงาน โรงอาหาร สํานักงานและพื้นที่ นันทนาการทั้งหมดจะไดรับการตกแตงใหมอีกดวย นอกจากนี้ การขยายโรงงานจะสงผลถึงประสิทธิภาพของ สายการผลิต ซึ่งเปนอีกหนึ่งปจจัยหลักที่สําคัญของโครงการ โดย ประสิทธิภาพของสายการผลิตจะพัฒนาขึ้นเพื่อรองรับการผลิต สูงสุดที่ 240 ขวดตอนาทีในหนึ่งสายผลิต การขยายตัวนี้จะรวมถึงหลังคาแผงโซลารเซลล ที่สามารถ ผลิตกําลังไฟฟาไดถงึ 500 กิโลวัตต และเปนไปตามเปาหมายเพือ่ ใหไดใบรับรองการออกแบบและกอสรางอาคารเขียว ตามเกณฑ มาตรฐานอาคารเขียวในระดับนานาชาติ ในระดับโกลด (LEED: Leadership in Energy and Environment Design) อีกดวย ซึง่ การ รับรองอันทรงเกียรติของสภาอาคารเขียวแหงสหรัฐอเมริกานี้ จะทํ า หน า ที่ เ ป น เครื่ อ งมื อ ในการจั ด การโครงการเพื่ อ ให เ กิ ด อาคารเขียวที่ยั่งยืนและมีประสิทธิภาพสูงสุด

Mr. Markus Daburger, Beiersdorf Thailand says: “The Pailin Project is Beiersdorf’s commitment towards doubling production performance in order to support the demand of the region. As a representative of Beiersdorf Thailand, we appreciate the on-going support of the Government and local agencies in our expansion project, which not only sees the production line expand, but also our Beiersdorf family, as up to 200 jobs new will be created in the next years. We are proud to say that the Pailin Project in Thailand is now the second biggest hub of the company after Germany.” A key target of the project is to improve the working environment for all employees, with cutting-edge innovation, structured offices, optimized work ergonomics and CE-standard machines as well as a refurbishment of the existing production building. The compounding area will be renewed with four mixers replaced while the factory entrance, canteen, offices and recreation area will all be refurbished, too.

Efficiency is also a key consideration. Line performance will be improved to see production peak at 240 bottles per minute on a single line. The expansion will include a solarpaneled roof with the capability to produce 500kW of power, and is on target to achieve a gold LEED (Leadership in Energy and Environment Design) certification. The U.S Green Building Council’s prestigious certification serves as a project management tool to achieve more sustainable, high-performance green buildings.

May- June 2018

p.52-54_scoop.indd 53

5/31/2561 BE 2:03 PM


การขยายตัวเพื่อรองรับสายการผลิตใหมของผลิตภัณฑ ดีโอ โรลออน มีขนาดอาคาร 72 เมตร x 97 เมตร และพื้นที่ กอสรางทั้งหมดกวา 9,679 ตารางเมตร โครงการอันกวางขวาง นีม้ กี าํ หนดแลวเสร็จในไตรมาสแรกของป 2562 และจะเริม่ ผลิต โรลออนในไตรมาสถัดไป สวนอาคารผลิตที่มีอยูจะไดรับการ ตกแตงใหมเพื่อรองรับการผลิตลิปแคร ซึ่งจะเริ่มในชวงกลางป 2563 บริษัท ไบเออรสดอรฟ จํากัด คือหนี่งในบริษัทชั้นนํา ทีม่ นี วัตกรรมและผลิตภัณฑในการดูแลผิวพรรณคุณภาพสูง และ มีประสบการณในตลาดมาเปนระยะเวลากวา 130 ป บริษัท กอตัง้ ขึน้ ทีเ่ มืองฮัมบวรค มีพนักงานมากกวา 18,000 คนทัว่ โลก และจดทะเบียนอยูใน DAX ดัชนีหุนหลักของเยอรมนี ไบเออร สดอรฟมีรายไดมากถึง 6.8 พันลานยูโรในรอบปงบประมาณ ประจําป 2559 นีเวีย แบรนดผลิตภัณฑดูแลผิวอันดับหนึ่งของ โลก* คือแบรนดหลักของบริษัท โดยยังรวมไปถึงแบรนดอื่นๆ เชน Eucerin, La Prairie, Labello, และ Hansaplast/Elastoplas นอกจากนีไ้ บเออรสดอรฟยังเปนเจาของบริษทั ในเครือ tesa SE อีกหนึ่งบริษัทผูผลิตในอุตสาหกรรมความงามชั้นนําระดับโลก ที่เปนผูจัดหาผลิตภัณฑตางๆ แบบ self-adhesive และระบบ โซลูชั่นตางๆ ใหแกภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ และผูบริโภค

The expansion, due to house new production lines for Deo Roll-Ons, has a building footprint dimension of 72m x 97m and a construction area of 9,679m2. This vast project is scheduled for completion in the first quarter of 2019 and will begin production of Roll-Ons in the following quarter. The existing building will be refurbished to accommodate Lip Care production which will begin in the middle of 2020. Beiersdorf AG is a leading provider of innovative, high-quality skin care products and has over 130 years of experience in this market segment. The Hamburg-based company has over 18,000 employees worldwide and is listed on the DAX, the German benchmark equities index. Beiersdorf generated sales of €6.8 billion in fiscal year 2016. NIVEA, the world’s No. 1 skin care brand*, is the cornerstone of the company’s brand portfolio, which also includes brands such as Eucerin, La Prairie, Labello, and Hansaplast/ Elastoplast. Beiersdorf’s wholly owned affiliate tesa SE, another globally leading manufacturer in its field, supplies self-adhesive products and system solutions to industry, craft businesses, and consumers.

*ที่มา: ยูโรมอนิเตอร อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด; นีเวีย ในแง มู ล ค า ค า ปลี ก ซึ่ ง รวมถึ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ ป ระเภทผลิ ต ภั ณ ฑ ดู แ ล ผิวกาย ผลิตภัณฑดูแลผิวหนา และผลิตภัณฑดูแลผิวมือ

* Source: Euromonitor International Limited; NIVEA as umbrella brand in the categories Face Care, Body Care, and Hand Care; in retail value terms, 2016.

May-June 2018

p.52-54_scoop.indd 54

5/31/2561 BE 2:03 PM


Article > บาส เดอ โวส ผูอํานวยการกลุมนักคิดดานเทคโนโลยีภายในองคกร ของ ไอเอฟเอส แลบส บริษัท ไอเอฟเอส Bas de Vos As Director of IFS’s in-house technology think tank, IFS Labs,

ความเชื่อเกี่ยวกับ

ปญญาประดิษฐ Artificial intelligence myths

ปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence: AI) เปนหนึ่งในหัวขอการสนทนาที่ไดรับความนิยมสูงสุดและมีการ แบงขั้วทางความคิดเปนจํานวนมาก แตสิ่งที่เห็นไดชัดก็คือ เอไอ (AI) มีศักยภาพที่จะนําไปสูการพัฒนาใน หลากหลายดานสําหรับธุรกิจและชีวิตความเปนอยูของเราทุกคน บางคนอาจเห็นวา เอไอจะเขาควบคุมโลกภายใน 2 ปจากนี้ ขณะที่บางคนอาจคิดวาไมมีทางเปนจริงได โดยปกติแลว ความเปนจริงมักจะอยูตรงกลางเสมอ แมวาเอไอจะนํามาซึ่งความเปนไปไดมากมายที่แทบ ไมนาเชื่อ แตก็ไมใชวาทุกสิ่งจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล เราจะมาไขความสงสัยของความเชื่อบางอยางเกี่ยวกับเอไอ Artificial intelligence (AI) is a very polarizing subject in that it’s one of the most overhyped subjects. Yet at the same time, AI has the potential to enact many profound developments in so many areas of business, and our lives. Some people see AI taking over the world within a couple of years, while others think it isn’t even real. As usual, the truth will lie somewhere in the middle. AI brings an incredible number of possibilities, but not everything will be possible in the near future. We’ll have a look at dispelling some of the myths around AI.

May- June 2018

p.55-58_Article.indd 55

5/31/2561 BE 2:04 PM


เอไอก็เหมือนกับคนคนหนึ่ง : สามารถคิดและแกปญหาตางๆ ได ในลักษณะเดียวกับที่มนุษยทำ

เอไอกลายเปนคําศัพททางการตลาดที่มีการพูดถึงกันอยางกวางขวาง แตกระนั้น เอไอก็ยังไมไดมีสติปญญาทั่วไปเหมือนกับมนุษยเลยทีเดียว และแนนอนวาเราอาจยัง ไมตองการใหเปนแบบนั้น อยางไรก็ตาม ปจจุบันเอไอมีฟงกชันเกี่ยวกับการสอนลีเมอรใหรูจักคิดวาควรไดรับ อาหารมากกวาลิงชิมแปนซี และยังมีการสรางฟงกชันเอไออีกเปนจํานวนมากที่มีประโยชน และมีคณ ุ คาอยางมาก ฟงกชนั เหลานีม้ กั ไดรบั การพัฒนาขึน้ เพือ่ วัตถุประสงคเฉพาะ เชน การ ประมวลผลภาษาธรรมชาติ (NLP) การจดจํารูปภาพ เครือ่ งมือคนหาขอมูล เกม การพยากรณ หรื อ คุ ณ ลั ก ษณะเฉพาะในรถยนต ที่ ขั บ เคลื่ อ นอั ต โนมั ติ แน น อนว า การเป น ผู เชี่ ย วชาญ มักเสริมสรางมูลคาทางธุรกิจไดสงู กวาการเปนผูม คี วามรูใ นรูปแบบสหวิทยาการ เชน หากคุณ ตองไปพบแพทยเพื่อวินิจฉัยโรครายแรงที่มีผลตอชีวิต คุณตองการใหใครเปนผูรักษา แพทย เวชปฏิบัติทั่วไปหรือแพทยผูเชี่ยวชาญที่มีชื่อเสียงในสาขานั้นๆ

AI is like a person: it can think and solve any problem in the same way that humans can

AI has become a marketing term that is an overhyped generalization. There is no such thing as general intelligence in any AI yet, and perhaps we don’t need it to be either. If anything, today an AI function is more about teaching a lemur how to get food than a chimpanzee figuring it out for themselves. Still, there are many AI functions that have been created that are very useful and valuable. These functions are typically developed for a very specific purpose, such as natural language processing (NLP), image recognition, search engines, gaming, predictions or specific features in self-driving cars. Being specialized often brings higher business value than being a generalist. If you go see a doctor for a serious lifethreatening condition, who would you like to see leading your treatment? A general practitioner or the renowned medical specialist in the field?

It’s very easy to develop an AI, after all, it learns by itself

If only! Even machine learning, being an important part of AI, remains relatively difficult to implement. Of course, there are easier and more difficult challenges, but in general, to implement algorithms that work well for your enterprise application or problem can be quite tedious. Often, the actual machine learning algorithms are easy enough to understand. The challenge is in selecting the right algorithm for the problem and presenting the problem to the algorithm in the correct way. This requires a detailed knowledge of the problem as well as a relatively deep understanding of the capabilities and constraints of the available algorithms and models. Still, this is a problem that’s relatively common throughout computer science. Complicating matters further is that machine learning needs the correct amount of training so that the model remains general enough to be useful for new problems. Troubleshooting, if it doesn’t work as expected, can be time-consuming since the models built by neural networks, for instance, can be very complex and difficult to understand.

May-June 2018

p.55-58_Article.indd 56

5/31/2561 BE 2:04 PM


เปนเรื่องงายมากที่จะพัฒนาเอไอ เพราะเอไอจะเรียนรูทุกสิ่งดวยตัวเอง

แตอยาเพิ่งตัดสินใจ! เพราะแมวาการเรียนรูของเครื่อง (Machine Learning) จะถือวาเปนสวนสําคัญของเอไอ แตก็ยัง เปนเรื่องยากที่จะนําไปใชไดจริง แนนอนวามีความทาทายทั้งที่ เปนเรือ่ งงายและยากจะจัดการ แตโดยทัว่ ไปแลวการใชอลั กอริทมึ ทีท่ าํ งานรวมกับแอพพลิเคชันหรือปญหาขององคกรไดดอี าจไมใช เรื่องที่นาเบื่ออยางมาก บอยครั้งที่อัลกอริธึมการเรียนรูของเครื่องดูจะเขาใจไดงาย แตความทาทายก็คือการเลือกอัลกอริธึมที่เหมาะสมกับปญหา และนําเสนอปญหาใหกับอัลกอริทึมดวยวิธีที่ถูกตอง สิ่งนี้ตองใช รายละเอียดที่เกี่ยวของกับปญหา รวมถึงความเขาใจที่คอนขาง ลึกซึ้งถึงความสามารถและขอจํากัดของอัลกอริทึมและโมเดล ที่ มี อ ยู ซึ่ ง ยั ง คงเป น ป ญ หาที่ พ บได ทั่ ว ไปในแวดวงวิ ท ยาการ คอมพิวเตอร เรือ่ งทีซ่ บั ซอนยิง่ ขึน้ คือการเรียนรูข องเครือ่ งนัน้ จําเปนตอง มีการฝกสอนอยางถูกตองเปนจํานวนมาก เพื่อใหโมเดลดังกลาว มีมาตรฐานเพียงพอสําหรับนําไปใชประโยชนกับปญหาใหมๆ ที่ เกิดขึ้น หากใชการไมไดตามที่คาดไว การแกปญหาอาจใชเวลา นาน เนื่องจากโมเดลที่สรางโดยเครือขายเสนประสาท (เปนตน) อาจซับซอนมากและยากเกินกวาที่จะเขาใจ

ขอมูลขนาดใหญหรือ Big Data มีอยูทั่วไป

ถู ก ต อ งแล ว ! มี ข อ มู ล จํ า นวนมากอยู ทั่ ว ไป ตั ว อย า งเช น เที่ ย วบิ น เดี ย วของโบอิ้ ง 787 สามารถสร า งข อ มู ล ได ม ากถึ ง 500 กิ ก ะไบต (GB) จากเซ็ น เซอร

Big data is everywhere

Yes! There is a lot of data out there. A single flight of a Boeing 787 generates 500 GB of data from the various sensors and instruments it carries. At any one time there are more than 170 Boeing 787s in the air, so that’s a lot of data. But often with implementing machine learning algorithms, the question is “do we have the right data?” and also “can we make useful information out of all this data?” An example that we worked on in IFS Labs is Sentiment Analysis. According to Wikipedia, sentiment analysis (or opinion mining) refers to the use of natural language processing, text analysis and computational linguistics to identify and extract subjective information in source materials.

และเครือ่ งมือตางๆ ทีใ่ ชงานขณะบิน ในชวงเวลาหนึง่ มีโบอิง้ 787 ทําการบินมากกวา 170 ลํา ดังนั้นจึงมีขอมูลเกิดขึ้นเปนจํานวน มาก แตเมื่อมีการใชอัลกอริทึมการเรียนรูของเครื่อง มักจะมี คําถามเกิดขึ้นวา “เรามีขอมูลที่ถูกตองหรือไม” และ “เราสามารถ สรางขอมูลที่เปนประโยชนจากขอมูลเหลานี้ไดหรือไม” ตัวอยางที่เราใชในไอเอฟเอส แลบส (IFS Labs) คือการ วิเคราะหความเชือ่ มัน่ (Sentiment Analysis) วิกพิ เี ดีย (Wikipedia) ใหคําจํากัดความของการวิเคราะหความเชื่อมั่น (หรือการทํา เหมืองความคิดเห็น) วาหมายถึงการใชการประมวลผลภาษา ธรรมชาติ การวิเคราะหขอความ และภาษาศาสตรคอมพิวเตอร เพื่อระบุและคัดแยกขอมูลอัตนัยออกจากแหลงขอมูลตางๆ เชน คุณสามารถใชการวิเคราะหความเชื่อมั่นบนโซเชียลมีเดียเพื่อ ปรับปรุงความถูกตองของความตองการในอนาคตทีค่ าดการณได และมี ข อ มู ล เกิ ด ขึ้ น มากมายในโซเชี ย ลมี เ ดี ย เช น Twitter, Facebook เปนตน ซึ่งในทางปฏิบัติแลวทุกสิ่งจะขึ้นอยูกับการ ใชงานจริงของคุณ หากตองการเขาใจความรูสึกที่มีตอ iPhone รุน ลาสุด คุณอาจคนหาขอมูลทีเ่ พียงพอไดไมยาก แตหากตองการ ทําความเขาใจเกี่ยวกับความเชื่อมั่นตอการรับรูของผูคนเกี่ยวกับ การติดตัง้ มิเตอรอจั ฉริยะในประเทศ อาจเปนเรือ่ งยากทีจ่ ะคนหา ขอมูลที่เพียงพอและเฉพาะเจาะจงไดมากพอที่จะนําไปสูผลลัพธ ที่มีความหมายได เชนเดียวกับการวิเคราะหเรื่องตางๆ จํานวนและความ น า เชื่ อ ถื อ ของชุ ด ข อ มู ล พื้ น ฐานมี ค วามสํ า คั ญ ต อ ความสํ า เร็ จ ในการเรียนรูของเครื่อง ซึ่งไมใชเรื่องงายนักที่จะ ดําเนินการ

For example, can you use sentiment analysis on social media to improve the accuracy of predicted future demand, and there is a lot of social media data available, e.g. Twitter, Facebook, etc. In practice, it depends a lot on your actual use-case. If you would like to understand the sentiment on the newest iPhone, you can probably find sufficient data. But if you would like to understand the sentiment on people’s perception of the smart meter installations in a country, it’s already difficult to find sufficient, specific enough data to get meaningful results. As with any type of analysis, the amount and reliability of underlying datasets are critical to the success of the machine learning and it just isn’t always there. May- June 2018

p.55-58_Article.indd 57

5/31/2561 BE 2:04 PM


หุนยนตจะเขามาแทนที่งานทั้งหมดของเรา

จากอดีตจนถึงปจจุบนั การปฏิวตั เิ ทคโนโลยีในแตละครัง้ นัน้ ไดสรางงานใหเกิดขึ้นมากกวาที่จะทําลายลาง ไมวาจะพิจารณา ไปที่ ก ารปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรมหรื อ การเพิ่ ม จํ า นวนการใช ง าน อินเทอรเน็ต ในตอนทาย ผูคนมากขึ้นจะมีงานเพิ่มขึ้นกวาที่ เคยมีมากอน และมักจะไดรับคาตอบแทนที่ดีกวาเดิม เนื่องจาก สามารถดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพเพิม่ มากขึน้ ดวยเหตุนี้ ผมจึงคาดหวังวาขอดีของเอไอจะมีมากกวาขอเสีย โดยเฉพาะ อย า งยิ่ ง หากผู ค นได รั บ ความช ว ยเหลื อ และสนั บ สนุ น ในการ เรียนรูทักษะใหมๆ ที่พวกเขาจะตองทํางานควบคูไปกับระบบ อัจฉริยะตางๆ นอกจากนี้ การพัฒนาดานเทคโนโลยีมักใชเวลานานกวาที่ เราคาดการณไวในตอนตน และเครือ่ งทีม่ สี ติปญ  ญาทัว่ ไปเหมือน มนุษยอาจตองใชเวลาพัฒนาอีกหลายทศวรรษจึงจะเปนจริงได ทั้งหมด ดังนั้นสถานการณที่เปนไปไดในตอนนี้ก็คือมนุษยและ เอไอจะตองทํางานรวมกัน สิ่งนี้ไมใชเรื่องเลวราย แตถือเปน สถานการณที่สรางปรากฏการณไดไมนอยเลยทีเดียว

All of our jobs will be replaced by robots

So far in history, each and every technology revolution has created more jobs than it destroyed. Whether we look at the industrial revolution or the rise of the internet, in the end, more people had a job than before, and often better-paid ones as they were more productive. So, I expect that the benefits of AI will outweigh the disadvantages, especially if people are helped and encouraged to learn the new skills they will need to work alongside intelligent systems. Also, technological developments often take longer than we initially predict and machines with general intelligence are probably many decades away from being developed if they are possible at all. Therefore, a more likely scenario is that humans and AI will work together, collaborating and enforcing each rather than the pessimistic, but headline-generating doom scenarios.

และแมวาเทคโนโลยีเอไอจะชวยใหเราสามารถเพิ่มและ ทดแทนงานของมนุษยบางสวนได แตในขณะเดียวกันก็มกี ารสราง งานใหมๆ เกิดขึน้ ดวย และงานใหมๆ เหลานีย้ งั คงตองใชแรงงาน คนที่มีทักษะสูงกวา จากการคาดการณของการทเนอรที่ระบุวา “ในป พ.ศ. 2563 เทคโนโลยีเอไอจะกลายเปนตัวกระตุนเชิงบวก ในการสรางงานไดมากถึง 2.3 ลานงาน โดยจะมีงานลดลงเพียง 1.8 ลานงานเทานั้น” ยังไมจบเพียงเทานี้ นี่ไมใชทุกสิ่งที่จะเกิดขึ้น มีคํากลาวและความคิดเห็นอีก มากมายเกีย่ วกับความสําคัญของเอไอ และบางทีอาจมองวาเปน ความเชื่อก็ได เชนเดียวกับทุกสิ่งทุกอยาง การหาสมดุลระหวาง การมองโลกในแงบวกและลบยอมเปนเรือ่ งดีสาํ หรับคุณเมือ่ พูดถึง เรื่องเอไอ อยาเชื่อทุกสิ่งที่กลาวมา แตใหลงทุนในโอกาสที่เปน ไปไดและมีศักยภาพในการเปลี่ยนแปลงวิธีการดําเนินการธุรกิจ ของเรา

And although AI technology will provide us the opportunity to augment and partially replace human work while creating new jobs, those new jobs will require higher skilled people. Or, as Gartner is predicting, “already in 2020, AI becomes a positive net job motivator, creating 2.3 million jobs while only eliminating 1.8 million jobs.” There’s more This is not everything of course. There are many more statements and quotes out there on AI worth looking into and perhaps most of them can be considered myth as well. As with most things, finding a balance between being optimistic and pessimistic works well for you in AI. Don’t believe everything that’s said, but invest in those opportunities that are actually feasible as they have the potential to change the way we do business.

May-June 2018

p.55-58_Article.indd 58

5/31/2561 BE 2:04 PM


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

การแขงขัน ไรคนขับ บริษทั โตโยตา ทูโช อิเล็กทรอนิกส (ไทยแลนด) จํากัด กอตัง้ ขึน้ ใน พ.ศ. 2548 (2005) เพือ่ พัฒนาระบบซอฟตแวรควบคุม รถยนต โดยประเทศไทยเปนหนึ่งในประเทศที่เปนฐานพัฒนา และสงออกซอฟตแวรควบคุมรถยนตไปยังประเทศญี่ปุน และ ในเดือนเมษายน 2560 ที่ผานมา โตโยตา ทูโช อิเล็กทรอนิกส คอรปอรเรชัน่ ไดควบรวมกิจการกับบริษทั โตเมน อิเล็กทรอนิกส คอร ป อร เรชั่ น และเปลี่ ย นชื่ อ เป น เน็ ก ซ ตี้ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส คอรปอเรชัน่ (NEXTY Electronics Corporation) ทําใหบริษทั ลูก ในประเทศไทยเปลี่ยนชื่อจากโตโยตา ทูโช อิเล็กทรอนิกส (ไทยแลนด) เปนโตโยตา ทูโช เน็กซตี อิเล็กทรอนิกส (ไทยแลนด) เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท โตโยตา ทูโช เน็กซตี อิเล็กทรอนิกส (ไทยแลนด) จํากัด จัดแขงขันประกวดซอฟตแวรควบคุมรถยนต จําลองไรคนขับ หวังเพิ่มบุคลากรดานซอฟตแวรอุตสาหกรรม ยานยนต ตอยอดสูยานยนตแหงอนาคต โตโยตา ทูโช เน็กซตี อิเล็กทรอนิกส (ไทยแลนด) ผูพัฒนา ระบบซอฟตแวรควบคุมรถยนตใหกับโตโยตา ผูผลิตยานยนต ชั้ น นํ า ของประเทศไทยและของโลก จั ด การแข ง ขั น ประกวด เขียนซอฟตแวรควบคุมรถยนตจําลองไรคนขับ (Annual Student Meeting on Automotive Embedded System หรือ AMAS) ติดตอกันเปนปที่ 2 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มจํานวนบุคลากร ของไทยดานการพัฒนาซอฟตแวรควบคุมยานยนต และถายทอด เทคโนโลยีใหกบั นักศึกษาในมหาวิทยาลัยตางๆ รวมถึงตัง้ เปาหมาย ใหไทยเปนฐานในการพัฒนาซอฟตแวรควบคุมยานยนตในภูมภิ าค เอเชียแปซิฟก May- June 2018

p.59-61_Scoop.indd 59

5/31/2561 BE 2:05 PM


มิสเตอร มาซามิ อิครุ ะ ผูจ ดั การทัว่ ไป ฝายพัฒนาซอฟตแวร บริษัท โตโยตา ทูโช เน็กซตี อิเล็กทรอนิกส (ไทยแลนด) กลาววา “ประเทศไทยถือวาเปนฐานในการผลิตและพัฒนายานยนตที่มี ความสําคัญอยางมาก จะทําอยางไรใหระดับความสามารถของ ประเทศไทยไปสูก ารแขงขันระดับโลก การพัฒนาระบบซอฟตแวร จัดการภายในรถยนตจะสามารถเขามาเปลี่ยนโฉมหนาใหกับ อุตสาหกรรมยานยนตของประเทศไทยไปสูระดับโลกในอนาคต อันใกล ทําใหเรามองเห็นถึงความสําคัญในการใหความรูกับภาค การศึกษาในประเทศไทย เพือ่ เปนการบมเพาะและสรางบุคลากร ทางดานการพัฒนาระบบซอฟตแวรที่ตอไปจะเปนเหมือนกับ สมองสั่งการยานยนตในอนาคต ซึ่งหากประเทศไทยสามารถ เดินนําหนาประเทศอืน่ ๆ ไปไดกอ นจะสามารถสรางความไดเปรียบ เชิงการแขงขันเปนอยางสูง และสามารถพัฒนาไปสูศูนยกลาง ในการพัฒนาซอฟตแวรสําหรับยานยนตอนาคตที่สาํ คัญของโลก ตอไป”

การจัดงานในครัง้ นี้ บริษทั โตโยตา ทูโช เน็กซตี อิเล็กทรอนิกส (ไทยแลนด) จํากัด รวมมือกับบริษทั โตโยตา ทูโช เด็นโซ อิเล็กทรอนิกส (ไทยแลนด) จํากัด รวมถึงหนวยงานภาครัฐและเอกชน ประกอบดวย สมาคมสมองกลฝงตัวไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และบริษัท เทคซอรสซิสเต็ม (ไทยแลนด) ในการจัดงานประกวดเขียนซอฟตแวร ควบคุ ม รถยนต จํ า ลองไร ค นขั บ AMAS เป น การแข ง ขั น ระดั บ มหาวิทยาลัย โดยมีนกั ศึกษาเขารวมแขงขัน 12 ทีมจากมหาวิทยาลัย ตาง ๆ ประกอบดวย มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล า ธนบุ รี FIBO ภายใต ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุน จุฬาลงกรณ มหาวิ ท ยาลั ย สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า เจ า คุ ณ ทหาร ลาดกระบัง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ May-June 2018

p.59-61_Scoop.indd 60

5/31/2561 BE 2:05 PM


การจัดการแขงขัน AMAS ทางบริษัทมีวัตถุประสงคสําคัญ คือ การเพิม่ และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรดานการพัฒนาระบบ ซอฟตแวรควบคุมรถยนต โดยทางบริษัทโตโยตา ทูโชฯ ไดเขามา สนับสนุนทั้งทางดานอุปกรณ คือ รถจําลอง และชิ้นสวนตางๆ รวมถึงการถายทอดความรูใหกับทีมนักศึกษาเพื่อพัฒนาระบบ ซอฟตแวร โดยพัฒนาตามรูปแบบ Model Base Development Base (MBD) ทัง้ นี้ ในปจจุบนั ประเทศไทยอยูใ นอันดับที่ 10 ของโลกในแง ของกําลังการผลิตรถยนตที่ประมาณ 2 ลานคัน มีอัตราการเติบโต อยูท่ีประมาณ 3% โดยเฉลี่ย แตดวยการเปลี่ยนแปลงทางดาน เทคโนโลยีที่ทําใหทุกวันนี้มากกวาครึ่งของโลกนั้น คือรถยนตนั่ง ที่มีความตองการและกําลังเปลี่ยนแปลงระบบขางในที่เต็มไปดวย เทคโนโลยีและเชื่อมกันดวยซอฟตแวร บริษัทวิจัย Zion Market Research ประมาณการมู ล ค า ตลาดระบบซอฟต แวร สํ า หรั บ ยานยนตทั่วโลกจะมีมูลคาประมาณ 159,000 ลานดอลลาร และ จะถีบตัวสูงขึ้นถึง 225,340 ลานดอลลาร ใน ค.ศ. 2021 โตเฉลี่ย ในระดับ 6% ตอป* โดยปจจุบันแหลงพัฒนาซอฟตแวรเหลานี้ ยังกระจุกตัวอยูในประเทศเดิมๆ ไมวา สหรัฐอเมริกา อังกฤษ เยอรมนี จีน และญี่ปุน จากการสํารวจลาสุดของสํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA) ตลาดซอฟตแวรสมองกลฝงตัว (Embedded Software) ในประเทศไทย พ.ศ. 2559 มีมลู คาตลาดรวม 5,277 ลานบาท โดย กลุมที่มีการเติบโต คือ สวนของผูพัฒนาซอฟตแวรสมองกลฝงตัว เพื่ อ ใช กั บ สิ น ค า ของบริ ษั ท โดยมี ฐ านะเป น หน ว ยผลิ ต ภายใน (in-house producer) มีจํานวนผูประกอบการพุงสูงขึ้น ซึ่งโตโยตา ทูโช เน็กซตี้ เปนผูพัฒนาซอฟตแวรสมองกลฝงตัวแบบหนวยผลิต ภายใน (in-house producer) มร.มาซามิ ยังเสริมอีกวา “ปจจุบนั ในอุตสาหกรรมยานยนต มี ก ารพู ด ถึ ง ยานยนต อั จ ฉริ ย ะที่ ส ามารถขั บ เคลื่ อ นด ว ยตั ว เอง หรือ Autonomous Car หรือยานยนตไรคนขับ (Self Driving) โดยที่ปจจุบันเริ่มไดเห็นความสามารถของรถยนตในปจจุบันที่ มี ข ายอยู ท่ัวไปแตยังอยูในรูปแบบกึ่งอัตโนมัติ โดยที่บริษัทวิจัย การตเนอรไดคาดการณวา Autonomous Car จะเพิ่มจํานวนขึ้น 25% ใน ค.ศ. 2030 ในประเทศทีม่ คี วามพรอม สําหรับประเทศไทย ยังไมมีความชัดเจนวาจะสามารถพัฒนารูปแบบการใชงานภายใต

กฎหมายไปถึ ง ระดั บ ใด แต ท างโตโยต า ทู โชฯ ได ดํ า เนิ น การ สนับสนุนใหประเทศไทยเปนแหลงพัฒนาซอฟตแวรระบบยานยนต อัจฉริยะที่สําคัญของโลกตอไป” รูปแบบการแขงขัน Annual Student Meeting on Automotive Embedded System หรือ AMAS นั้นคือ การแขงขันประกวด ซอฟต แวร ค วบคุ ม รถยนต จํ า ลองไร ค นขั บ โดยมี ก ารคั ด เลื อ ก นักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยจากทัว่ ประเทศ กอนแขงขันทางบริษทั ไดจัดอบรมใหกับผูเขารวมโครงการทั้งหมดตั้งแตเดือนสิงหาคม 2560 ที่ผานมา เพื่อถายทอดความรูและเทคโนโลยีใหมๆ ที่ สามารถนํามาใชกับซอฟตแวรระบบควบคุมรถยนต โดยที่มีโจทย ใหบรรดาทีมที่เขารวมการแขงขันนั้นสรางซอฟตแวรระบบควบคุม รถยนตจําลองใหสามารถขับเคลื่อนดวยตัวเอง ผานสิ่งกีดขวาง ไปยังจุดที่กําหนด “สิ่งที่เราตองการใหเกิดจากโครงการการประกวด AMAS ตอเนื่องมาเปนป 2 นั้น คือ การเปดโอกาสและกระจายความรู สูภาคการศึกษาของประเทศไทยในเรื่องของซอฟตแวรควบคุม รถยนต ซึ่งสามารถตอยอดไปสูการพัฒนาไปสูเทคโนโลยียุคใหม อยาง Autonomous Car หรือรถยนตไรคนขับไดในอนาคต และ เมื่อประเทศไทยสามารถเปลี่ยนตัวเองจากศูนยกลางในการผลิต ไปสูศ นู ยกลางในการพัฒนา ทัง้ แงของการผลิตและสรางซอฟตแวร ยานยนตเพื่ออนาคตไดแลว เชื่อวาประเทศไทยจะสามารถพัฒนา ไปสูประเทศพัฒนาชั้นนําของโลกไดอยางไมยาก” มร.มาซามิ กลาว สําหรับทีมที่ชนะการแขงขัน คือ ทีมนักศึกษาจาก LKB48 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ไดรบั เงิน รางวัล 30,000 บาท พรอมทัศนศึกษาที่ประเทศญี่ปุน ซึ่งจะไดรับ โอกาสใหเขาเยี่ยมชมศึกษาดูงานพิพิธภัณฑของโตโยตา และ เดนโซในญีป่ นุ ทีมรองชนะเลิศ คือ ทีม Double E จากมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ไดเงินรางวัล 10,000 บาท และทีม Antman จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ไดรับรางวัลถึง 2 รางวัล คือ รางวัลที่ 3 ไดเงินรางวัล 5,000 บาท และรางวัลพิเศษ คือ รางวัลการออกแบบยอดเยีย่ ม (Good Design Award) ไดเงินรางวัล 5,000 บาท *อางอิงจาก http://www.marketresearchstore.com/report/ embedded-systems-market-z60569 May- June 2018

p.59-61_Scoop.indd 61

5/31/2561 BE 2:05 PM


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

“อิตลั ไทยวิศวกรรม” ผูน้ ำ� ตลาดของกลุม่ “อิตลั ไทย กรุป๊ ” บุกตลาด ขยายธุรกิจใหม่ๆ Smart Grid โครงสร้างพืน้ ฐานต่างๆ ทีน่ ำ� ไปสูก่ ารพัฒนา ระบบของประเทศ ทั้ง Smart Substation, Micro Grid รวมถึงระบบดิจิทัล เพือ่ พัฒนาระบบการจ่ายไฟของการไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ประเดิมโครงการน�ำร่องแห่งแรกคือการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ในพืน้ ทีเ่ มืองพัทยา พร้อมขยายธุรกิจไปยังประเทศเพือ่ นบ้าน ตัง้ เป้ายอดขายปีนี้ 6,000 ล้านบาท หลังมี Backlog แล้วกว่า 9,000 ล้านบาท พร้อมเตรียมลงทุน 200-300 ล้านบาท ในการปรับตัวเข้าสู่ยุคดิจิทัล สกล เหล่าสุวรรณ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั อิตลั ไทยวิศวกรรม จ�ำกัด หรือ (ITALTHAI Engineering : ITE) หนึง่ ในบริษทั ผูน้ ำ� ตลาดทางด้านวิศวกรรม ภายใต้ “อิตัลไทย กรุ๊ป” กล่าวว่า “ในปัจจุบนั ITE มีการขยายธุรกิจทัง้ ในประเทศและต่างประเทศอย่าง ต่อเนื่อง โดยธุรกิจพื้นฐานหลักของอิตัลไทยวิศวกรรม ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจ Substation มีการเดินหน้าเข้าประมูลกับการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคและการไฟฟ้า นครหลวงมาโดยตลอด ในส่วนธุรกิจ Power Generation ธุรกิจก่อสร้างโรงไฟฟ้า ธุรกิจพลังงานทางเลือก ทางอิตัลไทยวิศวกรรมเข้าไปมีส่วนร่วมประมูลใน โครงการต่างๆ รวมถึงธุรกิจที่เกี่ยวกับ Building Utility ทางเราได้โฟกัสไปที่

May-June 2018


Office Building, Luxury Condominium โรงพยาบาล และ Healthcare นอกจากนี้ยังมีธุรกิจ ก่อสร้างโรงงาน งานระบบไฟฟ้าเครื่องกลของ กลุ่มปิโตรเคมิคอล และ Oil & Gas ที่ยังคงรุกตลาดและ สร้างผลงานมาอย่างต่อเนื่อง” อิตลั ไทยวิศวกรรม ด�ำเนินธุรกิจในการเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญงาน วิศวกรรมก่อสร้างแบบ EPC หรือ Turnkey ในทุกสาขา ครอบคลุมงาน ออกแบบวิศวกรรม งานจัดซือ้ จัดหางานก่อสร้าง ติดตัง้ และทดสอบ น�ำเข้าใช้งาน และงานบ�ำรุงรักษา ภายใต้การรับรองมาตรฐานระบบ บริหารคุณภาพ ISO 9001:2015 และระบบบริหารอาชีวอนามัย และความปลอดภัยตามมาตรฐาน OHSAS 18001: 2007 และระบบ บริหารสิ่งแวดล้อมมาตรฐาน ISO 14001:2015

ขยายธุรกิจใหม่ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ

บริษทั ได้มกี ารขยายธุรกิจใหม่ๆ เพือ่ ขยายขีดความสามารถ และรองรับโครงการทีเ่ กีย่ วข้องกับโครงสร้างพืน้ ฐานต่างๆ ทีน่ ำ� ไปสู่ การพัฒนาระบบของประเทศ อย่างเช่น ธุรกิจ Smart Grid ทีเ่ กีย่ วข้อง กับ Smart Substation, Micro Grid รวมถึงระบบดิจิทัลต่างๆ เพือ่ พัฒนาระบบการจ่ายไฟของการไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วน ภูมภิ าค โดยอิตลั ไทยวิศวกรรมได้มกี ารเซ็นสัญญาร่วมกับการไฟฟ้า ส่วนภูมภิ าค เกีย่ วกับ Smart Grid ไปแล้วหลายโครงการ โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง โครงการพัฒนาโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid) ใน พืน้ ทีเ่ มืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ซึง่ เป็นโครงการน�ำร่องโครงการแรก ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค “ในปี 2561 เราได้เดินหน้าอย่างเต็มตัวเพือ่ ทีจ่ ะเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญ ในด้านธุรกิจ Smart Grid โดยบริษทั ได้ขยายตัวมากขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง

บริษัทได้มีการขยายธุรกิจใหม่ๆ เพื่อขยายขีดความสามารถและรองรับ โครงการที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้าง พื้นฐานต่างๆ ที่นำ�ไปสู่การพัฒนา ระบบของประเทศ

มีการเตรียมความพร้อม ที่จะเข้าสู่ธุรกิจนี้ตั้งแต่ปี 2560 นอกจากนี้เรามี Business Partner ที่ แข็งแกร่งจากประเทศจีน (Beijing Sifang Automation) ซึง่ จะท�ำให้เราสามารถเข้าสูธ่ รุ กิจ Smart Grid ได้อย่างเต็มตัว ในปี 2561 และปีต่อๆ ไป” สกล กล่าวต่อว่า “นอกจากนี้ ยังมีในส่วนของธุรกิจ High Rise Building ซึง่ ทางเราได้โฟกัสไปทีโ่ ครงการ Mixed Use ขนาดใหญ่ อาทิ โครงการ One Bangkok โครงการ The Forestier หรือโครงการ The Trust City ที่มีมูลค่าหลายหมื่นล้านบาท อีกทั้งมีแผนรับงานที่ เกีย่ วข้องกับโรงพยาบาลและ Healthcare มากยิง่ ขึน้ เราได้มกี ารเตรียม ทีมงานและบุคลากรเพือ่ เข้าไปรับงานในกลุม่ ระบบการขนส่งมวลชน ต่างๆ เช่น โครงการ Signaling & Communication ของการรถไฟแห่ง ประเทศไทย รวมถึงงานระบบไฟฟ้าและเครือ่ งกลของโครงการรถไฟฟ้า ทีอ่ ยูภ่ ายใต้การดูแลของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (MRTA) อีกด้วย และก�ำลังเตรียมตัวเข้าสู่ธุรกิจการน�ำสายไฟฟ้าลง ใต้ดนิ ทัง้ ในกรุงเทพฯ และเมืองใหญ่ของแต่ละจังหวัด เช่น หาดใหญ่ พัทยา”

ขยายธุรกิจไปต่างประเทศในกลุ่มงานที่ชำ�นาญ

ส�ำหรับการขยายธุรกิจไปยังต่างประเทศนั้น สกล กล่าว เพิ่มเติมว่า “ส�ำหรับแผนการเข้าไปลงทุนก่อสร้างในกลุ่มประเทศ เพื่อนบ้านนั้น โดยหลักๆ แล้วจะโฟกัสไปที่ธุรกิจ Building Utility งานอาคารสูง Substation และ Power Distribution การก่อสร้าง โรงงานทุกประเภท โดยเมือ่ ปี 2560 ทีผ่ า่ นมา เราได้เข้าไปตัง้ บริษทั ทีป่ ระเทศเมียนมา เพือ่ รองรับงานในด้านดังกล่าว และได้มโี ครงการ ที่เซ็นสัญญาไปแล้วกับบริษัท Sahadharawat ในประเทศเมียนมา ที่อยู่ระหว่างการด�ำเนินงาน โดยคาดว่าจะเสร็จสิ้นภายในสิ้นปีนี้ นอกจากนีไ้ ด้เข้าประมูลโครงการใหญ่ๆ ในประเทศเมียนมาอีกหลาย โครงการ เช่น โครงการ Landmark ที่มีการลงทุนร่วมจากประเทศ ญีป่ นุ่ สิงคโปร์ และเมียนมา หรือโครงการสร้างโรงเบียร์ของ กลุ่ม ThaiBev มูลค่างานกว่า 2,500 ล้านบาท หรือ ประมูลงานระบบไฟฟ้า ประปา และแอร์ ของ โรงแรมเพนนินซูลา่ เป็นต้น และยังได้ ร่วมประมูลกับโรงพยาบาล May-June 2018


แผนการเข้าไปลงทุนก่อสร้างในกลุ่ม ประเทศเพื่อนบ้านนั้น โดยหลักๆ แล้ว จะโฟกัสไปที่ธุรกิจ Building Utility งานอาคารสูง Substation และ Power Distribution การก่อสร้าง โรงงานทุกประเภท

และ Healthcare ต่างๆ อีกด้วย ทั้งนี้เรายังได้เริ่มศึกษาตลาดของ ประเทศลาวและกัมพูชา เพือ่ หาโอกาสในการขยายธุรกิจในอนาคต อันใกล้นี้” ซึ่งปีที่ผ่านมาบริษัทฯ มีรายได้อยู่ที่ 4,000 ล้านบาท มาจาก กลุม่ Power Generation ธุรกิจก่อสร้างโรงไฟฟ้า 30% กลุม่ Substation 20% กลุม่ Office Building, Luxury Condominium อย่างละ 20% และ อืน่ ๆ อีก 10% และคาดว่าในปี 2561 นี้ ภาพรวมธุรกิจดีขนึ้ บริษทั ฯ จึงได้ตั้งเป้าไว้ที่ 6,000 ล้านบาท โดยบริษัทฯ มี Backlog แล้วกว่า 9,000 ล้านบาท

ให้ความสำ�คัญกับกิจกรรมเพื่อสังคม เพื่อความยั่งยืน สกล กล่าวต่อไปอีกว่า นอกจากการ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ หลั ก ที่ ก� ำ ลั ง เติ บ โตดั ง ที่ กล่าวมาข้างต้นแล้ว นโยบายหนึง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของบริษทั

May-June 2018

เรา คือ ต้องด�ำเนินธุรกิจควบคูไ่ ปกับการท�ำกิจกรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ ต่อสังคม เพือ่ ให้เกิดความยัง่ ยืนต่อไปในอนาคต โดยเราได้ตระหนัก ดีวา่ ธุรกิจจะเติบโตอย่างยัง่ ยืนได้นนั้ ไม่ได้ขนึ้ อยูก่ บั ก�ำไรของบริษทั เพียงอย่างเดียว แต่ต้องค�ำนึงถึงการคืนก�ำไรในทิศทางที่ดีสู่สังคม ควบคูไ่ ปด้วย อีกทัง้ บริษทั ด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงถึงสภาพสิง่ แวดล้อม เป็นสิ่งส�ำคัญ และปฏิบัติตามข้อบังคับเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและ มาตรฐานความปลอดภัยทีใ่ ช้อยูอ่ ย่างเคร่งครัด เพือ่ ให้สง่ ผลกระทบ ต่อแหล่งชุมชนและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่บริเวณนั้นๆ ให้น้อยที่สุด โดยในปีนไี้ ด้วางแผนการท�ำกิจกรรม CSR อยู่ 2 แนวทาง คือ โครงการ ที่พัฒนาสังคม และโครงการรักษ์สิ่งแวดล้อมและพลังงาน ซึ่งเป็น กิจกรรมทีส่ อดคล้องกับธุรกิจของบริษทั และจะท�ำขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ปีละ 1 ครั้ง “บริษทั ได้ดำ� เนินธุรกิจมาแล้วกว่า 50 ปี จึงเป็นทีร่ จู้ กั และเป็นที่ ยอมรับในแวดวงธุรกิจรับเหมาก่อสร้างมานาน ทั้งด้านมาตรฐาน ในการท�ำงานสูงและมีบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ ซึ่งถือว่า เป็นข้อได้เปรียบที่ท�ำให้เรามีศักยภาพในการดึงดูดพันธมิตรทาง ธุรกิจที่แข็งแกร่งและมีคุณภาพเข้ามาร่วมงานกับเราได้ ทุกวันนี้เรา มีบุคลากรทั้งฝ่ายเทคนิคและการตลาดที่เต็มไปด้วยศักยภาพ และ เรายังมีผลงานที่ผ่านมาเป็นเครื่องรับประกันคุณภาพงานของเรา ทัง้ นีเ้ รายังมีระบบการบริหารจัดการโครงการทีไ่ ด้มาตรฐานสากล และ ระบบการตรวจสอบตามมาตรฐาน ISO รวมถึงท�ำงานตามมาตรฐาน ด้านสิ่งแวดล้อม และมาตรฐานด้านชีวอนามัย ที่แสดงให้เห็นถึง ความมุ ่ ง มั่ น และพั น ธสั ญ ญาในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ตาม มาตรฐานสากลอย่างดีตลอดมา ที่ท�ำให้เป็น ปัจจัยหลักส่งผลต่อธุรกิจให้เติบโตและ สร้างผลงานอย่างยัง่ ยืน” สกล กล่าว


Special Area

> Spectrum Instrumentation

Spectrum

General Purpose Digitizers now 50% faster Maximum sampling rate increased from 80 to 125 MS/s

Spectrum M2p.59xx series of PCIe cards

Spectrum Instrumentation has announced the addition of five new models to its general purpose M2p.59xx series of PCIe 16-bit digitizer cards. The new versions extend the performance range by increasing the maximum sampling rate from 80 MS/s up to 125 MS/s. The increased sampling rate, together with higher overall bandwidth, enables the new cards to capture a wider range of electronic signals. It makes them ideal for use in applications where signals in the DC to 50 MHz frequency range need to be acquired and analyzed with speed and accuracy. Based on the latest 16-bit analog to digital (ADC) technology, the new M2p-596x series includes models that provide 1, 2, 4 or 8 input channels. Multi-channel models each have their own ADC and signal conditioning circuitry to allow fully synchronous acquisitions on all the inputs. Importantly, the high-resolution 16-bit ADCs deliver sixteen times more resolution than digitizers using older 12-bit technology and 256 times more resolution than what is available from digital scopes that commonly use 8-bit ADCs. The extra resolution translates directly into improved measurement capabilities and superior dynamic performance. It delivers a higher Signal-to-Noise Ratio (SNR), better Spurious Free Dynamic Range (SFDR) and less distortion than 12- or 14-bit products. Oliver Rovini, CTO at Spectrum, said : “We’re delighted to expand our mid-range digitizer lineup with these new 125 MS/s, 16-bit models. They offer a great combination of speed, accuracy and performance, all at a very affordable price. We expect they will be very popular in a diverse number of applications such as Ultrasound, Laser, Lidar, Radar, Power, Automotive, Medical Science and even big Physics experiments.”

Compact and Powerful

The complete product has been packed into a half-length PCIe card, yet it still offers a full set of digitizer features. Each channel has its own programmable input amplifier with ranges between ±200 mV and ±10 V, programmable input offset for unipolar measurements, programmable input termination of 50 Ohms and 1 MOhms and an integrated calibration circuit. Models are available with up to 8 single-ended and up to 4 differential channels.

About Spectrum Instrumentation

Founded in 1989 as Spectrum Systementwicklung Microelectronic GmbH and renamed to Spectrum Instrumentation GmbH in 2017, the company is a pioneer in using modular design to create over 500 digitizer and generator products in the most popular industry standards; PCIe, LXI and PXIe. These high-performance PC-based test and measurement designs are used for electronic signal capture, generation and analysis. The company is headquartered in Grosshansdorf, Germany and sells its products worldwide via an extensive sales network offering outstanding support directly from the design engineers.

More information about Spectrum can be found at https://www.spectrum-instrumentation.com

May-June 2018


Special Area > Nanusens

Nanusens now live on

Crowdcube for Pre-Series A fund raising

Nano-technology Company, Nanusens, has taken an innovative step of crowd funding for a round of investment. Investment starts from as little as £10 on www.crowdcube.com/nanusens

Nanusens CEO, Dr.Josep Montanyà i Silvestre, explained : “We have venture capital firms already investing in this round that have been supporting us for a number of years as they believe in our novel technology. I think we are one of the first high technology companies to also offer the opportunity for people to easily invest using the simple process of Crowdcube. We already have 135 investors and raised £131,500 on Crowdcube, which is a 32% of the way to our target.” Investing via Crowdcube can be done via a credit card payment or PayPal and only becomes effective once 90% of the target figure of £400,000 has been reached at the end of the crowd funding campaign.

Dr.Josep Montanya` i Silvestre

with GLOBALFOUNDRIES will ensure good yields and that we will be able to rapidly ramp up production as sales take off. We have a disruptive technology solution that will revolutionise the sensor market and meet the ever-increasing demand for low cost sensors in smartphones, wearable technology and IoT devices that has already made sensors a multi-billion dollar industry.” Nanusens has the supply chain fully defined, having partnered with trusted providers, like JCAP, member of JCET, the largest assembly group in China. The first product is planned to be ready by September. Upon finishing the electronic part and doing final qualification, sales will start. Nanusens is already in conversations with potential customers in China with whom the final specifications have been defined.

How the sensors are made using standard CMOS processes

Nanusens NEMS motion sensor

Close up of spring

Until now, sensors had to come off the standard CMOS production line to have the MEMS created on them using different processes. Nanusens multi-patent pending technology enables it to create nano-sensors using a standard CMOS processes within the same production flow as the rest of the chip production. This innovative approach dramatically reduces the size and cost of the sensors along with up to 85% reduction in the time to market. “Our first silicon nano-sensor samples from GLOBALFOUNDRIES exceeded our expectations,” explained Dr.Montanyà, “with a sensitivity that is an order of magnitude above what is needed for a motion sensor in most applications. The mechanical operation of the nano-sensor design was the tricky part to get right, as that is where the innovation happens. That works perfectly and the design is fixed. Everything from now onwards just involves standard CMOS processes. Partnering May-June 2018

The Inter Metal Dielectric (IMD) is etched away through the pad openings in the passivation layer using vapour HF (vHF) to create the nano-sensor structures. The holes are then sealed and the chip packaged as necessary. As only a standard CMOS process with minimal post-processing is used, and the sensors can be directly integrated with active circuitry as required, the sensors can potentially have high yields similar to CMOS devices.

About Nanusens

Founded in 2014, Nanusens is pioneering the development of nano-scale sensors that overcome a major problem of MEMS inertial sensors stiction - by two orders of magnitude by reducing the sensor size by an order of magnitude into the nano-realm. Nanusens is VC funded by Inveready (www.inveready.com/venture-capital/), Caixa Capital Risc (www.caixacapitalrisc.es/en/) and Dieco Capital (www.dieco-capital.com).


Special Area

> Gas Sensing Solutions

Tiny sample volume and ultra fast response of The SCS 354 Dual Gas Analyser measures CO2 levels from 0-20% and O2 from 0-25%

Modified Atmosphere Packaging (MAP) is used to prolong the shelf life of fruits, vegetables and salads with a specific level of CO2 to keep the produce fresher for longer. The optimal level varies widely according to the product*. On the production line, sample packs are taken at regular intervals and the CO2 levels checked by inserting a hollow needle into the pack and drawing out a sample of the gases for analysis. However, standard CO2 sensors take several minutes to stablise on a reading -during which time many bags can progress along a high-speed line. The longer the read time, the more bags are made with potentially the wrong CO2 level, which wastes product and money. In addition, packages that ship with the wrong CO2 levels can spoil before the use by date, resulting in claims against the producer by the supermarkets. Storage Control Systems (SCS) wanted to create a portable gas analyser that would provide an accurate CO2 reading in seconds, and only need a small sample volume. The sensor that they had been using in their products has a very high power consumption, which limits the operational life for a battery powered portable device, and was not fast enough in providing a reading for this application. To achieve the performance specifications of the new class of analyser that they wanted to create for MAP application, the company used a SprintIR™ InfraRed CO2 sensor from Gas Sensing Solutions. The SprintIR sensor can provide 20 readings per second from only a 3ml sample due to its patented design. This means that the analyser only has to sample 30 ml of gases in order for the sensor to obtain a clear reading of the gas composition. This amount is greater than that required by the actual sensor because of the volume of tubing used to obtain the sample gases that needs to be purged. Another key benefit of using the GSS CO2 sensor is its very low power requirement (3.5 mW). SprintIR uses a specially developed LED as a light source for the NDIR absorption. It only needs a fraction of the power of competitor InfraRed CO2 sensors, so it can be easily battery powered. Kevin Johnson, Production Manager at SCS, said : “Our customers told us that there was a market need for a new class of gas analyser for MAP that could provide a reading within

GSS CO2 sensor enables a new generation of MAP gas analysers to be built by SCS seconds, so that they can save money on the production line by taking swift corrective action when CO2 levels are outside the requirements. The innovative technology of the GSS sensor has enabled us to create a solution for this need that no other CO2 sensor could. The result is our new SCS354 Dual Gas Analyser and we have sold 60 already.” He added that, “The level of CO2 required for optimal self life varies according to the type of product being packaged. This analyser measures levels of CO2 from 0 to 20% with great accuracy, ensuring that the use by date is achieved. Customers are so impressed with it that they are asking us to make a version that covers from 0 to An example of 50%. GSS is helping us with this new MAP packaging design, and we have already received pre-production orders for this model. Having a GSS sensor at the heart of our new designs has enabled us to create the next generation of products to address a whole new market. We can now offer rapid response, handheld CO2 analysers for Modified Atmosphere Packaging that are easy use and save customers money through improved quality control.”

Gas Sensing Solutions (GSS)

GSS is a world leader in CO2 sensor design, manufacture and customisation. Its disruptive technology uses proprietary, mid Infra-Red LED sensors to enable best-in-class records for fastest response times, lowest power consumption and longest product lifetime. Based in Scotland, this technology pioneer exports state-of-the-art sensors worldwide, and has in-house bespoke development capabilities to support its International customer base. sales@gassensing.co.uk

May-June 2018


Special Area

> บริษัท พี ไอ เอส พาวเวอร ดิสทริบิวชั่น จํากัด

ขอดีของ

เครื่องกำเนิดไฟฟา

ชนิด CANOPY SOUND PROOF

เครื่องปนไฟ (GENERATOR)

เครื่องปนไฟ หรือเครื่องกําเนิดไฟฟา เปนเครื่องที่ใชแปลง พลังงานกลเปนพลังงานไฟฟา ซึง่ แหลงทีม่ าของพลังงานจะอาศัย การทํางานเมื่อสนามแมเหล็กเคลื่อนผานขดลวด หรือขดลวด เคลื่ อ นตั ว ผ า นสนามแม เ หล็ ก ก็ จ ะได พ ลั ง งานไฟฟ า ออกมา เครื่องกําเนิดไฟฟานี้จะมีสวนประกอบที่สําคัญ 2 สวนคือ สวนที่ ใชสรางสนามแมเหล็ก เรียกวา ฟลด สวนที่ใชสรางแรงดันไฟฟา เรียกวา อาเมเจอร โดยในเครื่องปนไฟกระแสตรงนี้ อาเมเจอร จะเคลื่อนที่ ฟลดจะอยูกับที่ สวนกระแสสลับนั้นทั้งฟลดและ อาเมเจอรสามารถเปนไดทั้งอยูกับที่และเคลื่อนที่ ซึ่งแรงดันที่ เกิดขึ้นจะมากหรือนอย ก็ขึ้นอยูกับสวนประกอบทั้ง 2 อยางนี้

May-June 2018

p.68-69_Area PIS.indd 68

5/31/2561 BE 2:12 PM


เครื่องปนไฟที่ใชในปจจุบัน

เครื่องปนไฟ หรือเครื่องกําเนิดไฟฟา ที่เราใชในปจจุบันนั้น เปนแบบกระแสสลับ ซึ่งลักษณะการทํางานจะมีขดลวดหมุนตัว ทําใหกระแสไฟโคจรกลับไปมา

S

โวลต

เฟส A เฟส B ขดลวดเฟส A N

ขดลวดเฟส C ขดลวดเฟส B ภาพแสดงภายในของไดนาโม สามเฟส

0 ํ 120 ํ 240 ํ

เฟส C องศาไฟฟา เวลา

โดยการทํางานแบบกระแสสลับจะมีสว นประกอบ 2 สวนหลัก คือ เครื่องยนตกับไดนาโม ทําใหการทํางานแบบกระแสสลับเปนที่ รูจักของคนทั่วไป การใชงานเครื่องกําเนิดไฟฟาใหมีประสิทธิภาพ มากสุดคือ การใชเครือ่ งขนาดเล็กและขนาดกลางเปนแหลงพลังงาน สํารอง เหมาะสําหรับใชในครัวเรือน ไซตกอ สราง หรือการเพาะปลูก สวนเครื่องขนาดใหญจะเหมาะกับโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม พลังงานถือวาเปนสิง่ ทีส่ าํ คัญ เพราะสามารถขับเคลือ่ นทางเศรษฐกิจ และรวมไปถึงการดําเนินชีวิตประจําวันอีกดวย

ลักษณะไฟฟากระแสสลับชนิดสามเฟส

ประโยชนของเครื่องปนไฟ

เครื่องปนไฟเปนเครื่องที่สามารถผลิตไฟสํารองไดเอง สาเหตุที่ตอง เลือกใชเครื่องปนไฟ เพราะวาเมื่อมีเหตุขัดของใชไฟฟาไมได การมีเครื่อง ปน ไฟไวใชจะชวยใหไมเกิดความเสียหายกระทบตองานของคุณ การใชเครือ่ ง สํารองไฟเมื่อกอนอาจจะมีใชในอุตสาหกรรม ตามองคกรตางๆ แตปจจุบัน ตามธุรกิจโทรทัศน ก็นิยมนํามาใชกันบางแลว เพราะถาขาดไฟฟาไปก็ไม สามารถปฏิบัติงานได ซึ่งนั้นจะสรางความเสียหายเปนมูลคาที่สูงเลยทีเดียว

ประโยชนของชุดเครื่องกำเนิดไฟฟาแบบเก็บเสียง (Canopy Soundproof Type)

เครื่องกําเนิดไฟฟาแบบโครงครอบเก็บเสียง (Canopy Soundproof Type) เปนเครื่องกําเนิดไฟฟาที่มีการนําเครื่องกําเนิดไฟฟา เขาไปติดตัง้ ภายในตูค รอบเก็บเสียง จึงทําใหเครือ่ งกําเนิดไฟฟามีเสียงทีเ่ บาลง (ระดับความดังของเสียง Sound Power (Lw) และ Sound Pressure (Lp) ตามมาตรฐาน ISO 3744) โดยไมจําเปนตองวางเครื่องกําเนิดไฟฟาไวในหองเครื่อง หรือตองเสียคาใชจายในการทํา หอง Soundproof จึงทําใหลดคาใชจายในการทําหอง Soundproof ไดถึง 2-3 แสนบาทเลยทีเดียว นอกจากนั้ น เครื่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟ า ชนิด Canopy Soundproof ยังสามารถ ติ ด ตั้ ง ภายนอกอาคารได อี ก ด ว ย จึ ง ทําใหประหยัดพื้นที่ในการติดตั้ง หรือ เคลื่อนยายไปยังจุดอื่นๆ ที่จําเปนตอง ใชเครื่องกําเนิดไฟฟาได

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่

บริษัท พี ไอ เอส พาวเวอร ดิสทริบิวชั่น จํากัด

877/36 ถนนพระราม 9 แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวงกรุงเทพฯ 10250

Tel. 0-2105-3011-2 Fax. 0-2105-3013 E-mail : sales@pispd.com www.pispd.com www.facebook.com/pispd May- June 2018

p.68-69_Area PIS.indd 69

5/31/2561 BE 2:12 PM


Special Area

> บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด

Photovoltaic Protection ในปัจจุบนั ได้มกี ารใช้งาน ติดตัง้ ระบบพลังงานไฟฟ้าทดแทน แพร่หลายมากขึ้น ไม่วา่ จะเป็นในรูปแบบของพลังงานลม พลังงาน แสงอาทิตย์ (โซลาร์เซลล์) พลังงานชีวมวล เป็นต้น แต่ที่เป็นที่นิยม และใกล้ตวั มากทีส่ ดุ ก็คอื พลังงานแสงอาทิตย์ เนือ่ งจากสามารถติดตัง้ ได้ด้วยตนเอง แต่สิ่งส�ำคัญต้องติดอุปกรณ์ป้องกันให้ถูกต้องและ เหมาะสม เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของเรานั่นเอง

ทำ�ไมต้องมีอุปกรณ์ป้องกันในระบบโซลาร์เซลล์

เนื่องจากแผงโซลาร์เซลล์ได้ผลิตไฟฟ้าออกมาเป็นแรงดัน ไฟฟ้ากระแสตรง (DC) และได้ทำ� การต่อรวมกันหลายชุดเข้าเป็นสตริง เพือ่ เพิม่ แรงดันไฟฟ้า ก่อนแปลงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) โดยมาก จะมีแรงดันไฟฟ้าอยูป่ ระมาณ 800-1000 VDC. ซึง่ เป็นแรงดันไฟฟ้ำ ที่สูงมากหากเทียบกับแรงดันไฟฟ้าปกติ ซึ่งหากไม่ได้มีการติดตั้งที่ ถูกต้อง อาจมีผลลัพธ์ตามมาดังภาพด้านล่าง

อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน

1. เซอร์กิตเบรกเกอร์ (Circuit Breaker) ใช้สำ� หรับตัดวงจรเมือ่ มีกระแสไฟฟ้าเกินใน PV Array ซึง่ ผ่าน มาตรฐาน IEC 60947-2 และต้องไม่เป็นแบบป้องกันการกลับขั้ว (Polarity Sensitive) จะมีราคาสูงเมื่อติดตั้งครั้งแรก 2. ฟิวส์ (Fuse) ใช้สำ� หรับตัดวงจรเมือ่ มีกระแสไฟฟ้าเกินเนือ่ งจากลัดวงจรหรือ มีโหลดเกิน แต่เมื่อไฟเสียหายแล้วจ�ำเป็นต้องหาตัวใหม่มาเปลี่ยน ซึง่ จะมีราคาถูกกว่าเซอร์กติ เบรกเกอร์เมือ่ ติดตัง้ ครัง้ แรก แต่หากเมือ่ เสียหายแล้วจ�ำเป็นต้องเปลี่ยนใหม่ซึ่งจะมีค่าใช้จา่ ยตามภายหลัง May-June 2018

กล่องรวมสาย (PV String Combiner Box)

เป็นกล่องต่อสายทีใ่ ช้เชือ่ มต่อ PV String เข้าด้วยกัน ซึง่ รวม อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน และ/หรือสวิตช์ตัดต่อวงจร ซึ่งเป็นการ ติดตัง้ ภายนอกอาคารจึงต้องมีการป้องกัน IP54 เป็นอย่างน้อย แต่ หากติดตัง้ ทีอ่ าจได้รบั ผลกระทบจากการฉีดน�ำ้ เพือ่ ท�ำความสะอาด PV Array ควรมีการป้องกัน IP 55 EPN ผูผ้ ลิต Enclosure จากประเทศโปแลนด์ ได้ผลิตกล่องรวมสาย ส�ำหรับงาน PV โดยมีคุณสมบัติดังนี้  เป็นชนิดทน UV  ออกแบบและผลิตตามมาตรฐาน IEC 60670-1  มีระบบการป้องกัน IP65


อุปกรณ์ลดไฟกระชาก (Surge Protection Device)

เนื่องจากระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ติดตั้งอยู่ ในทีโ่ ล่งแจ้ง และมีพนื้ ทีข่ นาดใหญ่ จึงมีความเสีย่ งสูงทีจ่ ะเกิดความ เสียหายจากฟ้าผ่าทัง้ โดยตรงและโดยอ้อม ซึง่ กระแสฟ้าผ่าท�ำให้เกิด ผลเสียหายแก่สิ่งติดตั้งในระบบ PV ได้ ดังนั้นเพื่อหลีกเลี่ยงความ เสียหายเนื่องจากฟ้าผ่า จึงจ�ำเป็นต้องมีการป้องกันฟ้าผ่าและการ ป้องกันเสิร์จที่ประสานสัมพันธ์กันอย่างดี ZOTUP ผู้ผลิต Surge Protection จากประเทศอิตาลี ได้ผลิต Surge Protection ส�ำหรับงาน PV โดยมีคุณสมบัติดังนี้  สามารถทนแรงดันไฟฟ้าได้สูงสุดถึง 1000 VDC  ออกแบบและผลิตตามมาตรฐาน IEC 61643-11  เป็นชนิด Type T1+T2  เป็นแบบติดตั้งบนราง DIN 35 มม.

สวิตช์ตัดต่อวงจร (Switch Disconnector)

เป็นสวิตช์ตดั ตอนไฟฟ้าทีใ่ ช้สำ� หรับตัดวงจรไฟฟ้ากระแสตรง ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน IEC 60947 และต้องมีกลไกทีท่ ำ� งานด้วยมือ แบบกึง่ เป็นอิสระ หรือการท�ำงานด้วยมือทีเ่ ป็นอิสระ มีวตั ถุประสงค์ ป้องกันหรือตัดวงจร ไว้ส�ำหรับบ�ำรุงรักษาเมื่อระบบไฟฟ้ามีปัญหา ซึ่งจะได้ตัดระบบไฟได้อย่างทันท่วงที และต้องไม่เป็นแบบป้องกัน การกลับขั้ว (Polarity Sensitive) BENEDICT ผู้ผลิตสวิตช์ตัดต่อวงจรคุณภาพสูงจากประเทศออสเตรีย ได้ออกแบบและผลิตสวิตช์ส�ำหรับงาน PV มีคุณสมบัติดังนี้  สามารถทนแรงดันไฟฟ้าได้สูงสุดถึง 1000 VDC  ออกแบบและผลิตตามมาตรฐาน IEC 60947  สามารถรองรับกระแสได้สูงสุด 85A  มีทั้งแบบติดตั้งหน้าตู้ ติดบนราง DIN 35 มม. และกล่อง Enclosure

ตัวอย่างไดอะแกรมของระบบ PV

รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดต่อได้ที่ บริษท ั แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จำ�กัด โทร. 02-194-8738-9 แฟกซ์ : 02-003-2215 E-mail : info@mit-thailand.com เว็บไซต์ : www.mit-thailand.com May-June 2018


Special Area > บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด

AIV/Mobile Robot การลำเลียงในยุค

การลําเลียงชิน้ สวนหรือผลิตภัณฑในโรงงาน และสายการผลิต ทุกทานคงคุนเคยกับสายพาน ลํ า เลี ย ง (Conveyor) ซึ่ ง มี ห ลากหลายแบบ อย า งเช น Belt Conveyor, Slat Conveyor, Free Flow Conveyor ซึง่ ตอมาก็เริม่ มีการนํา AGV (Automated Guided Vehicle) เขามาใชในการ ลํ า เลี ย งแทน เนื่ อ งจากสายพานลํ า เลี ย งจะมี ขอจํากัดในบางประการ ซึ่ง AGV จะเปนรถลําเลียงอัตโนมัติที่วิ่งตามเสน ที่กําหนดไว แตในปจจุบัน AGV ไดถูกพัฒนาขึ้นมาเปน AIV (Automated Intelligent Vehicle) AIV หรื อ เรี ย กอี ก ชื่ อ ว า Mobile Robot จะเป น รถลํ า เลี ย งที่ วิ่ ง โดย ไมจําเปนตองตีเสนใหวิ่งตามเหมือน AGV แตอาศัยแผนที่ในการกําหนด เสนทางการวิ่ง ซึ่งการสรางแผนที่บริเวณที่จะใหทํางานก็สามารถทําไดงาย โดยการพาตัว AIV ใหแลนไปตามทางที่ตองทํางาน ที่ตัวของมันจะมีเซนเซอร สแกนบริเวณรอบขางแลวนําขอมูลที่ไดมาสรางเปนแผนที่สําหรับพื้นที่ที่จะ ทํางาน

Industry 4.0

May-June 2018

p.72-73_Area Omron_Edit.indd 72

5/31/2561 BE 2:13 PM


นอกจากความสามารถของ AIV ที่วิ่งทํางานโดยไมตองอาศัยการตีเสนบนพื้นแลว AIV ยังสามารถ หาเสนทางใหมเพื่อหลบเลี่ยงเมื่อมีสิ่งกีดขวางไดดวย ทําใหการลําเลียงมีความคลองตัวและยืดหยุนมาก AIV ของออมรอนสามารถทํางานรวมกันไดหลายตัวโดยอาศัยอุปกรณจดั การการทํางานของ AIV หลายๆ ตัว ซึ่งเรียกวา EM (Enterprise Manager) โดยตัว EM สามารถจัดการ AIV ไดสูงสุดถึง 100 ตัวเลยทีเดียว หนาที่ของ EM คือรับคําสั่งงานจากอุปกรณภายนอก แลวจัดการเลือก AIV แตละตัวใหทํางานสําหรับ คําสั่งที่ไดรับมา โดยจะเลือกตามความเหมาะสมใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางานสูงสุด ประโยชนในการนํา AIV มาใชงานแทนระบบคอนเวเยอร หรือ AGV ความยืดหยุนในการทํางานสูง สามารถปรับเปลี่ยนเสนทางการทํางานใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด สามารถปรับเปลี่ยนตามตําแหนงจัดวางเครื่องจักรไดงาย ทําใหเมื่อมีการปรับเลยเอาตแผนที่ โรงงานทําไดงาย ประหยัดตนทุนในการทํางาน เพราะจะใชพลังงานเมื่อวิ่งทํางานเทานั้น ไมมีการเสียพลังงาน โดยเปลาประโยชน สภาพโรงงานดูดี ไมตองมีโครงสราง ทําใหเกิดพื้นที่วางมากขึ้น ดูเปนโรงงานในยุค 4.0 ลดปญหาการเกิดอุบัติเหตุ และลดคาใชจายในการบํารุงรักษา ● ●

● ●

หากมีความสนใจนํา AIV หรือ Mobile Robot ไปประยุกตใชงาน สามารถติดตอ บริษทั ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด เพื่อทราบรายละเอียดและทดสอบการทํางานไดตามเว็บไซต http://www.omron-ap.co.th/robotics/mobilerobot/ May- June 2018

p.72-73_Area Omron_Edit.indd 73

5/31/2561 BE 2:13 PM


Special Area > บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด

May-June 2018


May-June 2018


May-June 2018


May-June 2018


Special Area > บริษัท ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด

อินเวอรเตอร

(Inverter) คืออะไร?

อินเวอรเตอร (Inverter) คือ อุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสทใี่ ชในการปรับเปลีย่ นความเร็วรอบของ 3-Phase Squirrel-Cage Induction Motor โดยวิธีการปรับแรงดันและความถี่ไฟฟาใหเหมาะสมกับมอเตอร บางครั้งจะเรียกวา “V/F Control” อินเวอรเตอร (Inverter) ยังมีชื่อเรียกอีกหลายอยาง เชน ● VSD : Variable Speed Drives ● VVVF : Variable Voltage Variable Frequency ● VC : Vector Control หลักการทำงาน อินเวอรเตอร (Inverter) จะแปลงไฟกระแสสลับ (AC) จากแหลงจายไฟทั่วไปที่มีแรงดันและความถี่ คงที่ ใหเปนไฟกระแสตรง (DC) โดยวงจรคอนเวอรเตอร (Converter Circuit) จากนั้นไฟกระแสตรง จะถูกแปลงเปนไฟกระแสสลับที่สามารถปรับขนาดแรงดันและความถี่ไดโดยวงจรอินเวอรเตอร (Inverter Circuit) วงจรทั้งสองนี้จะเปนวงจรหลักที่ทําหนาที่แปลงรูปคลื่น โดยทั่วไปแหลงจายไฟกระแสสลับมีรูปคลื่นซายน แตเอาตพุตของอินเวอรเตอรจะมีรูปคลื่น แตกตางจากรูปซายน นอกจากนั้นยังมีชุดวงจรควบคุม (Control Circuit) ทําหนาที่ควบคุมการทํางาน ของวงจรคอนเวอรเตอรและวงจรอินเวอรเตอรใหเหมาะสมกับคุณสมบัตขิ อง 3-Phase Induction Motor

DC/AC Inverter

DC In

AC Out

รูปแสดงหลักการทํางาน

AC DC

Connector supply power

โครงสรางภายใน ● ชุ ด คอนเวอร เ ตอร (Converter Circuit) ทํ า หน า ที่ แ ปลงไฟ กระแสสลับจากแหลงจายไฟ AC Power Supply (50 Hz) ใหเปนไฟ กระแสตรง (DC Voltage) ● ชุดอินเวอรเตอร (Inverter Circuit) ทําหนาทีแ ่ ปลงไฟกระแสตรง (DC Voltage) ใหเปนไฟกระแสสลับ (AC Voltage) ทีส่ ามารถเปลีย่ นแปลง แรงดันและความถี่ได ● ชุดวงจรควบคุม (Control Circuit) ทําหนาที่ควบคุมการทํางาน ของชุดคอนเวอรเตอรและชุดอินเวอรเตอร

DC AC

Converter

Smooting Circuit

General-purpose squirrel-cage (Induction) motor

Inverter

IM

Control Circuit VR Frequency command

May-June 2018

p.78-80_Area T and D.indd 78

The inside of this frame is generally called inverter.

รูปแสดงโครงสรางภายในของอินเวอรเตอร (Inverter)

5/15/2561 BE 11:32 AM


วิธีการเลือกอินเวอรเตอร (Inverter) ● ระบบไฟฟาทีจ ่ า ยใหกบั อินเวอรเตอร : ถือเปนรายละเอียด ที่สําคัญมาก เราควรดูวาอินเวอรเตอรที่เราเลือกนั้นใชกับระบบ ไฟฟาแบบใด แบบ 1 เฟส หรือแบบ 3 เฟส และมีชวงแรงดันและ กระแสในการใชงานอยูที่เทาไร ● กําลังของมอเตอร : ใชกับกําลังมอเตอรขนาดเทาไร ● ความถี่ ข องแหล ง จ า ยไฟมอเตอร : ความถี่ ข องมอเตอร ที่สามารถใชได ● แรงบิด (Torque) ของโหลด : ควรพิจารณาจากการใชงาน วาเราตองการแรงบิดที่จะปอนใหกับโหลดเทาใด

สภาพแวดลอมในการติดตั้ง : บริเวณที่ทําการติดตั้งนั้นมี อุณหภูมอิ ยูใ นชวงประมาณเทาไร มีความชืน้ แคไหน และหากบริเวณ ที่เราติดตั้งนั้นตองเผชิญกับฝุนและน้ําเราก็ควรเลือกอินเวอรเตอร ที่ไดรับมาตรฐานการปองกันฝุนและน้ํา ● ขนาด : ขนาดของอินเวอรเตอรเราควรพิจารณาจากพื้นที่ ที่เราทําการติดตั้ง ● Cooling Method : เวลาใช ง านตั ว อิ น เวอร เ ตอร จ ะเกิ ด ความรอนขึ้น เพื่อไมใหอินเวอรเตอรรอนเกินไปในขณะใชงาน ทางที่ดีเพื่อปองกันความเสียหายควรเลือกอินเวอรเตอรท่ีมีระบบ การระบายความรอน ●

ทำไมตองเลือกใช INVERTER User -Friendly Excellent Durability

High Torque Performance

Extensive Application

Powerful performance Main Features

Customer Benefits

May- June 2018

p.78-80_Area T and D.indd 79

5/15/2561 BE 11:32 AM


ขอดีของการใชอุปกรณปรับความเร็วรอบมอเตอร (HYUNDAI) ● การสตารทที่นุมนวล (Soft Start) ● ไมมีการกระชากของกระแส (Inrush Current) ● สามารถปรั บ อั ต ราเร ง และอั ต ราหน ว งได (Adjustable Acceleration and Deceleration Time) ● สามารถควบคุมไดจากระยะไกล (Remote Control) ● สามารถควบคุมการทํางานโดยตอเชื่อมกับคอมพิวเตอร ● มีระบบ Protection ● ประหยัดพลังงาน (Energy Saving) ● ลดคาใชจา  ยในการซอมบํารุง (Reduce Maintenance Cost) ● ไดรับมาตรฐานสากล : CE, UL, cUL, TR-CU, KC

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ บริษัท ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด 22/26 ถ.สุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2002-4395-97 แฟกซ 0-2002-4398 E-mail : info@tdpowertech.com

May-June 2018

p.78-80_Area T and D.indd 80

5/15/2561 BE 11:32 AM


IT Article > วิชญ์ วงศ์หาญเชาว์ Business Development – Digital Transformation บริษัท ยิบอินซอย จำ�กัด

กับการบริหารความเสี่ยง

ของขอมูลสวนบุคคล เพื่อแตมตอทางธุรกิจ ก่ อ นจะไปทำ � ความรู้ จั ก กับ จีดีพีอาร์ (GDPR) ผมขอเริ่มต้น บทความนี้ ด้ ว ยการชวนผู้ อ่ า นตั้ ง คำ � ถามกั บ ตั ว เองว่ า เราได้ เ คยเปิ ด เผยข้ อ มู ล ส่ ว นตั ว ไปกั บ การ ทำ�ธุรกรรมใดบ้าง อย่างเช่น ติดต่อกับธนาคาร หน่วยบริการสุขภาพ ลงทะเบี ย นใช้ งานผ่ า นอิ น เทอร์ เ น็ ต หรื อ เล่ น โซเชี ย ลเน็ ต เวิ ร์ ก และใน แต่ละครั้งเราต้องเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวไปมากแค่ไหน เป็นการให้ข้อมูลเพียงชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ อีเมล หรือละเอียดถึงขั้นต้องให้เลขที่บัตรประชาชน เลขบัตร เครดิต หรือกระทัง่ การตัง้ พาสเวิรด์ ซึง่ ถูกบันทึกไว้ในระบบของผูใ้ ห้บริการ รวมถึงเราจะมัน่ ใจได้อย่างไร กับการที่องค์กรหรือหน่วยงานผู้ให้บริการเหล่านั้นต่างการันตีว่า ข้อมูลส่วนตัวของเราจะไม่ถูกเปิดเผยจนได้รับ ความเสียหาย หรือถูกนำ�ไปใช้เพื่อประโยชน์ทางธุรกิจอื่นใด จะเห็นว่า หลายประเทศในขณะนี้เริ่มมีความกังวลต่อการเข้าถึงและใช้งานข้อมูลบิ๊ก ดาต้าแบบชนิดไร้พรมแดน จนเกินขีดความสามารถที่แต่ละประเทศจะกำ�กับดูแลให้ใช้งานได้อย่างเหมาะสมและไม่ขัดต่อการทำ�ผิดกฎหมาย โดยเฉพาะการป้องกันไม่ให้เกิดการใช้งานที่ละเมิดความเป็นส่วนตัวของเจ้าของข้อมูล ซึ่งปัจจุบันมีกฎหมายหรือ ข้อบังคับในการกำ�กับดูแลการเข้าถึงข้อมูลในหลายรูปแบบ อาทิ กฎหมายปกป้องข้อมูลที่ใช้เฉพาะในแต่ละประเทศ กฎหมายกำ � กั บ การใช้ ข้ อ มู ล เป็ น การเฉพาะในแต่ ล ะอุ ต สาหกรรม ไปจนถึ ง กฎหมายคุ้ ม ครองการรั บ -ส่ ง ข้ อ มู ล ข้ามพรมแดนในรูปแบบประเทศต่อประเทศ หรือองค์กรต่อองค์กร ถึงบรรทัดนี้ ต้องชวนคุยต่อถึง “กฎการคุม้ ครองข้อมูลส่วนตัวของประเทศในกลุม่ สหภาพยุโรป (อีย)ู ทีเ่ รียก ว่า จีดีพีอาร์ (General Data Protection Regulation-GDPR)” ซึ่งเป็นกฎข้อบังคับที่ออกมาเพื่อคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคลของพลเมืองชาวอียูที่อาศัยกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป รวมถึงในประเทศต่างๆ ทั่วโลก และกำ�ลังจะมีผล บังคับใช้ในเดือนพฤษภาคมปีนี้ เราจะเห็นว่า แม้จีดีพีอาร์จะเป็นกฎหมายที่ออกโดยอียู แต่ก็เป็นสิ่งที่ไม่ควรมองข้าม เพราะมีอำ�นาจครอบคลุมการใช้งานข้อมูลส่วนบุคคลที่กว้างขวางในระดับประเทศต่อประเทศเลยทีเดียว May- June 2018

p.81-83_IT Article.indd 81

5/31/2561 BE 2:15 PM


ความเขมขนของจีดีพีอาร คือ การไมยินยอมใหมีการ ไหลออกของขอมูลสวนบุคคลไปยังประเทศที่มีมาตรฐาน การคุม ครองทีต่ าํ่ กวา หรือไมไดมาตรฐาน ซึง่ ถาหากประเทศที่ ประกอบธุรกิจ หรือเกีย่ วของกับอียจู ะดวยเรือ่ งใด เกิดตกชัน้ เรือ่ งเกณฑการคุม ครองขอมูลตามทีจ่ ดี พ ี อี ารกาํ หนด ก็จะเสีย โอกาสในการทําธุรกิจกับอียูไปโดยปริยาย ส่ ว นกฎของจี ดี พี อ �ร์ ที่ ป ระเทศหรื อ องค์ ก รไทยที่ มี ก �ร ประกอบธุรกิจหรือติดต่อกับพลเมืองของอียูควรจะศึกษ�และ เตรียมคว�มพร้อมแต่เนิ่นๆ สรุปโดยย่อ ได้แก่ ก�รที่ประเทศ หรือองค์กรนั้นๆ ต้องกำ�หนดให้มีก�รคุ้มครองสิทธิของเจ้�ของ ข้ อ มู ล ให้ ส �ม�รถย้ � ยและลบข้ อ มู ล ส่ ว นตั ว ที่ อ ยู่ ใ นระบบของ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก �รได้ แ ล้ ว แต่ ก รณี และห�กมี ก �รนำ � ข้ อ มู ล ไปใช้ ห รื อ ประมวลผล จะต้องขอคว�มยินยอม (Consent) จ�กเจ้�ของข้อมูล เสียก่อน รวมถึงต้องจัดเก็บข้อมูลนัน้ ๆ ไว้ในรูปแบบทีไ่ ม่ส�ม�รถ ระบุตวั ตนได้ (Anonymous) เพือ่ ปกป้องคว�มเป็นส่วนตัว แม้ก�ร เคลือ่ นย้�ยถ่�ยโอนข้อมูลข้�มพรมแดนก็ตอ้ งมีคว�มปลอดภัยสูง นอกจ�กนี้ องค์กรต่�งๆ ต้องสร้�งม�ตรฐ�นก�รปกป้อง ข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อกันก�รสูญห�ย หรือถูกนำ�ไปเปิดเผยโดย ไม่ได้รับก�รยินยอมจ�กเจ้�ของข้อมูล จะต้องมีระบบแจ้งเตือน เมื่อเกิดข้อมูลรั่วไหล โดยจีดีพีอ�ร์กำ�หนดให้ต้องร�ยง�นคว�ม เสียห�ยที่เกิดขึ้นภ�ยใน 72% ชั่วโมง รวมถึงก�รประเมินแนว นโยบ�ยก�รปกป้องข้อมูล เพื่อนิย�มคว�มเสี่ยงที่มีผลต่อข้อมูล ของลูกค้� ก�รทบทวนข้อปฏิบตั เิ พือ่ บ่งชีค้ ว�มเสีย่ งได้อย่�งแม่นยำ� ซึ่งประเทศหรือองค์กรที่ไม่ปฏิบัติต�มข้อบังคับของ จีดีพีอ�ร์จะมีบทลงโทษด้วยก�รเสียค่�ปรับ ตั้งแต่ 10 ถึง 20 ล้�นยูโร เลยทีเดียว

มองในมุมบวก จีดีพีอ�ร์จึงไม่ต่�งจ�กก�รสร้�งม�ตรฐ�น ใหม่ของก�รปกป้องข้อมูลที่ทำ�ให้เจ้�ของข้อมูลเข้�ใจถึงสิทธิ คว�มเป็นส่วนตัวของข้อมูลทีต่ อ้ งไม่ถกู ละเมิด ขณะทีอ่ งค์กรหรือ หน่วยง�นต่�งๆ ส�ม�รถใช้เป็นโอก�สในก�รยกระดับระบบ บริห�รจัดก�รข้อมูลเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภ�พก�รดำ�เนินง�น หรือก�ร ประกอบธุรกิจ และสร้�งคว�มเชื่อมั่นในส�ยต�ลูกค้� ผ่�นก�ร นิย�มข้อมูลส่วนบุคคลให้ชัดเจน และกำ�หนดระดับก�รป้องกัน อย่�งเข้มข้น ทัง้ นี้ กฎของจีดพี อี �ร์ได้ชว่ ยกำ�หนดนิย�มข้อมูลส่วนบุคคล ที่ให้ก�รคุ้มครองไว้ชัดเจนแล้ว ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลที่ใช้ระบุ ตัวตนเบื้องต้น เช่น ชื่อ ที่อยู่ เลขที่บัตรประช�ชน ข้อมูลที่ระบุ ตัวตนบนเว็บ เช่น จุดทีอ่ ยู่ (Location) ไอพีแอดเดรส ข้อมูลบันทึก ก�รเข้�เว็บไซต์ (Cookies) ป้�ยอิเล็กทรอนิกส์ที่อ่�นค่�ได้ด้วย คลืน่ วิทยุ (RFID tag) ข้อมูลท�งด้�นสุขภ�พและพันธุศ�สตร์ ข้อมูล ด้�นชีววิทย� ข้อมูลด้�นช�ติพันธุ์หรือชนกลุ่มน้อย หรือข้อมูล คว�มคิดเห็นท�งก�รเมือง เป็นต้น ส่วนก�รดำ�เนินก�รจะครอบคลุมใน 3 ขัน้ ตอน คือ ขัน้ ตอน การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล (Data Collectors) ซึ่ ง เป็ น ก�รกำ � หนด วัตถุประสงค์และแนวปฏิบัติในก�รจัดเก็บข้อมูลประเภทต่�งๆ เพื่อใช้ในก�รประมวลผลไว้ให้ชัดเจน ขั้นตอนการประมวลผล ข้อมูล (Data Processors) โดยก�รนำ�ข้อมูลไปประมวลผล จะต้องทำ�บนคว�มรับผิดชอบที่จะไม่ให้เกิดก�รรั่วไหลของข้อมูล หรือนำ�ไปใช้ง�นทีไ่ ม่ตรงต�มวัตถุประสงค์หรือข้อกำ�หนดทีว่ �งไว้ และ ขั้นตอนการปกปองข้อมูล (Data Protection) คือ ก�ร จั ด ให้ มี เจ้ � หน้ � ที่ ด้ � นก�รปกป้ อ งข้ อ มู ล (Data Protection Officer - DPO) ทีม่ หี น่วยง�นก�รกำ�กับควบคุมโดยตรง (Supervisory Authorities) เพื่ อ ติ ด ต�มดำ � เนิ น ก�รให้ เ ป็ น ไปต�มกลยุ ท ธ์ ด้�นคว�มปลอดภัยของข้อมูลต�มข้อบังคับของจีดีพีอ�ร์ หรือ จะลงร�ยละเอียดถึงระดับของก�รประเมินคว�มเสี่ยง (Risk Assessment) หรื อ ประเมิ น ผลกระทบต่ อ คว�มเป็ น ส่ ว นตั ว (Privacy Impact Assessment – PIA) ก็ไม่ว่�กัน เพร�ะนั่นจะยิ่ง เป็นก�รก�รันตีว่� เร�มีคว�มตั้งใจปฏิบัติต�มกฎก�รคุ้มครอง ข้อมูลส่วนบุคคล และพย�ย�มลดคว�มเสีย่ งทุกรูปแบบในส�ยต� ของน�น�ประเทศเมื่อติดต่อกับองค์กรของเร� เมือ่ ไม่น�นม�นี้ อาร์เอสเอ ซีเคียวริตี้ อิงค์ (RSA Security Inc.) บริษัทซึ่งให้บริก�รเทคโนโลยีด้�นคว�มปลอดภัยบนระบบ เครือข่�ยและก�รพิสูจน์ตัวตนได้ออกม�เปิดเผยร�ยง�นเรื่อง “ความปลอดภัยและความเปนส่วนตัวของข้อมูล” ที่บริษัทได้

May-June 2018

p.81-83_IT Article.indd 82

5/31/2561 BE 2:15 PM


ได้ท�ำ ก�รสำ�รวจลูกค้�กว่� 7,500 ร�ย ในประเทศฝรัง่ เศส เยอรมนี อิต�ลี อังกฤษ และสหรัฐอเมริก� พบว่� 80% ของผู้เป็นเจ้�ของ ข้อมูลกังวลกับก�รสูญห�ยของข้อมูลท�งก�รเงินก�รธน�ค�รเป็น อันดับต้น 76% กังวลถึงข้อมูลที่ใช้เพื่อสร้�งคว�มปลอดภัย เช่น พ�สเวิร์ด และข้อมูลที่ระบุตัวตน เช่น พ�สปอร์ต ใบอนุญ�ตขับขี่ รถ ว่�จะสูญห�ยหรือโดนแฮค 62% เลือกที่จะตำ�หนิบริษัทเมื่อ ข้อมูลสูญห�ยแทนก�รกล่�วโทษแฮคเกอร์ 41% จึงตัง้ ใจให้ขอ้ มูล เท็จเมือ่ มีก�รลงชือ่ เข้�ใช้บริก�รออนไลน์ต�่ งๆ ขณะเดียวกัน 72% จะบอยคอทบริษทั ทีเ่ พิกเฉยต่อก�รปกป้องข้อมูลของพวกเข� และ 50% เลือกที่จะซื้อของกับบริษัทที่พิสูจน์ตัวเองได้ว่� ให้คว�ม สำ�คัญอย่�งม�กกับก�รปกป้องข้อมูล ร�ยง�นฉบั บ ดั ง กล่ � วได้ ส รุ ป ส่ ง ท้ � ยว่ � ธุ ร กิ จ จะเดิ น สู่ ก�รเปลี่ยนถ่�ยข้อมูลยุคดิจิทัล โดยก�รใช้ประโยชน์จ�กบริก�ร สินทรัพย์ข้อมูลดิจิทัล และบิ๊ก ด�ต้� อย่�งต่อเนื่องได้นั้น จะต้อง แม่นยำ�ในก�รสอดส่องและปกป้องข้อมูลที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ส่วน ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส (PWC) ซึ่งสำ�รวจบริษัท สัญช�ติอเมริกัน พบว่� 92% มีก�รพิจ�รณ�ถึงข้อบังคับของ จีดีพีอ�ร์ และเห็นว่� มีคว�มสำ�คัญเป็นอันดับต้นในก�รปกป้อง ข้อมูล คําถามตอไป คือ แลวเราจะสรางหรือรักษาโอกาสทางธุรกิจ ทามกลางความกังวลของลูกคาเหลานี้ไดอยางไร ก�รศึกษ�ที่ม�ที่ไป และประเภทของข้อมูลที่มีหรือใช้อยู่ใน องค์กร ก�รศึกษ�ถึงก�รไหลของข้อมูล ซึง่ ณ เวล�นีอ้ �จต้องเน้น ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอียู ว่�มีผลกระทบต่อธุรกิจอย่�งไร ข้อมูล ได้ถูกจัดเก็บและมีก�รประมวลผล ณ ที่ใด และห�กข้อมูลนั้น ถู ก จั ด เก็ บ และประมวลผลอยู่ ภ �ยนอกองค์ ก รจะเป็ น อย่ � งไร น่�จะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในก�รตอบรับกฎของจีดีพีอ�ร์ ขั้นตอนต่อไป คือ ก�รประเมินระบบคว�มปลอดภัยด้�น ข้อมูล เพื่อดูว่�ส่วนใดที่เป็นไปต�มกฎของจีดีพีอ�ร์ แล้วส่วนใด ทีต่ อ้ งตรวจสอบและปรับปรุงต่อเนือ่ งต่อไป ห�กไม่มแี ผนตอบรับ คว�มเสี่ยงต่อก�รรั่วไหลของข้อมูลก็ให้ดำ�เนินก�รเสีย หรือถ้�มี อยู่แล้วก็ต้องทดสอบแผนว่� ส�ม�รถบรรเท�คว�มเสียห�ยได้ ภ�ยใน 72 ชั่วโมงหรือไม่ เพร�ะก�รปรับปรุงแผนให้สอดรับกับ

กฎของจีดพี อี �ร์ จะเป็นหนท�งหนึง่ ในก�รก�รันตีคว�มได้เปรียบ ท�งก�รแข่งขันท�งธุรกิจหรือบริก�รกับกลุม่ ประเทศหรือพลเมือง ช�วอียูได้อย่�งแน่นอน สำ�หรับองค์กรที่ทำ�ง�นร่วมกับผู้ให้บริก�รด้�นไอที เช่น ผูใ้ ห้บริก�รด้�นคล�วด์ เวนเดอร์ในก�รให้บริก�รซอฟต์แวร์ (SaaS) อยู่แล้ว หรืออยู่ระหว่�งพิจ�รณ�คัดเลือกผู้ให้บริก�รระบบคว�ม ปลอดภัยเพิ่มเติม จะต้องแน่ใจว่� ผู้ให้บริก�รหรือเวนเดอร์นั้นๆ จะต้องเข้�ใจ และให้คว�มสำ�คัญกับก�รแสวงห�มุมมองใหม่ๆ ด้�นเทคโนโลยีเพื่อพัฒน�ระบบคว�มปลอดภัยด้�นส�รสนเทศ ทั้ ง มี ค ว�มพร้ อ มที่ ขั บ เคลื่ อ นไปข้ � งหน้ � ด้ ว ยกั น ในฐ�นะภ�คี ท�งธุรกิจ โดยเฉพ�ะง�นด้�นคว�มปลอดภัยในก�รประมวลผล ข้อมูลต�มกฎของจีดีพีอ�ร์ ซึ่งเป็นง�นเร่งด่วนในขณะนี้ รวมถึง เป็นก�รเตรียมรับมือต่อกฎด้�นคว�มปลอดภัยอื่นใดที่จะเกิดขึ้น ต่อไปในอน�คต เมื่อโลกของข้อมูลนั้นไร้พรมแดน และเต็มไปด้วยบรรด� อ�ชญ�กรคอมพิวเตอร์ที่ยังคงท้�ท�ยกฎหม�ยด้วยก�รสร้�ง เว็บไซต์ปลอม หรือฟิชชิ่ง สแกม (Phishing Scam) แฮคเกอร์ ทีย่ งั คงใช้เทคโนโลยีทกี่ �้ วหน้�เพือ่ ล้วงลึกข้อมูลเพือ่ ห�ประโยชน์ อันมิควรได้ ก�รนำ�ข้อมูลส่วนบุคคลที่ถูกนำ�ไปใช้ประโยชน์ท�ง ก�รค้� หรือถูกเปิดเผยโดยไม่ได้รับอนุญ�ตบนโลกโซเชียลและ สร้�งคว�มเสียห�ยให้เจ้�ของข้อมูลจะโดยคว�มตัง้ ใจหรือไม่กต็ �ม จะยิ่งทำ�ให้ก�รสร้�งกฎเกณฑ์และข้อบังคับเพื่ออุดรอยรั่วต่�งๆ เหล่�นี้ก็จะยิ่งเข้มข้นม�กขึ้น จึงขึ้นอยู่กับว่� องค์กรจะส�ม�รถ บริห�รดุลยภ�พระหว่�งกฎเกณฑ์ที่เข้มงวดกับแนวปฏิบัติภ�ยใน องค์กรได้อย่�งเหม�ะสม และแปรเปลี่ยนให้เป็นอ�วุธที่สร้�ง มูลค่�ท�งธุรกิจได้หรือไม่นั่นเอง

May- June 2018

p.81-83_IT Article.indd 83

5/31/2561 BE 2:15 PM


การอบรมเรื่อง

แสงสว่างพื้นฐาน

วันศุกร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2561 เวลา 09.00 - 16.30 น.

ณ อาคารไทยซัมมิททาวเวอร์ ชั้น 26 บริษัท ฟิลิปส์ อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด หลักการและเหตุผล

แสงสว่างเป็นสิง่ จ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวติ ของมนุษย์มาตั้งแต่ยุคโบราณ ปัจจุบันมนุษย์ ได้ คิ ด ค้ น ประดิ ษ ฐ์ แ หล่ ง ก� ำ เนิ ด แสงเพื่ อ ใช้ ทดแทนแสงธรรมชาติ มีเทคโนโลยีที่ก้าวล�้า และมีการใช้งานอย่างกว้างขวาง (จนบางครั้ง เกินความจ�ำเป็น) อย่างไรก็ตาม การใช้แสงสว่าง ที่ดีต้องท�ำให้เกิดการมองเห็นที่ชัดเจน สร้าง บรรยากาศทีเ่ หมาะสม และส่งเสริมความเป็นอยู่ ที่ดี เพือ่ ให้มสี ภาพแวดล้อมการส่องสว่างทีด่ ี ผูอ้ อกแบบจ�ำเป็นต้องมีความรูเ้ กีย่ วกับคุณสมบัติ ของแสงและสามารถออกแบบให้ มี คุ ณ ภาพ เหมาะสมทัง้ ในเชิงปริมาณ (เช่น ระดับความสว่าง) และเชิงคุณภาพ (เช่น ความสวยงาม) ส่วนผูใ้ ช้งาน ต้องตระหนักถึงความส�ำคัญ เลือกใช้และติดตัง้ อุปกรณ์ที่มีคุณภาพ รวมถึงมีการบ�ำรุงรักษาที่ เหมาะสม ดั ง นั้ น สมาคมไฟฟ้ า แสงสว่ า งแห่ ง ประเทศไทย ร่วมกับบริษทั ฟิลปิ ส์ อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด จึงได้จดั ท�ำหลักสูตรการอบรม “Lighting Awareness” เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้ ตระหนักถึงความส�ำคัญของแสงสว่าง และสร้าง ความรู้ความเข้าใจในการใช้แสงสว่าง รวมทั้ง การออกแบบอย่างถูกต้องเพื่อให้ได้ระบบการ ส่องสว่างที่มีคุณภาพ

May-June 2018

วันศุกร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2561 08.00 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.30 - 12.00 น.  ความหมายและความส�ำคัญของแสงสว่าง  คุณสมบัติที่ส�ำคัญของแสง 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 16.00 น.  ปริมาณทางแสงและหน่วยวัด  หลอดไฟชนิดต่างๆ  ชนิดของโคมไฟและคุณลักษณะที่ส�ำคัญ 16.00 - 16.30 น. (ถาม - ตอบ) รับจ�ำนวน : 50 ท่าน วิทยากร : คุณวีรพล เอาทารย์สกุล เลขาธิการ สมาคมไฟฟ้าแสงสว่าง แห่งประเทศไทย (สฟสท.) อัตราค่าลงทะเบียน ก่อนวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 สมาชิก 2,140 บาท บุคคลทั่วไป 2,675 บาท *ถ้าสมัครเข้ารับอบรม 6 รายการ ราคารวมทั้งหมดตามแพ็คเก็ต 10,700 บาท (จากปกติ 12,500 บาท)  ราคานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% และ TIEA ได้รับการยกเว้นการหักภาษี ณ ที่จ่าย 3%  ราคานี้รวมอาหารว่าง / วุฒิบัตร


การอบรมเรื่อง

เจาะลึกการออกแบบการส่องสว่าง ภายในและภายนอกอาคาร วันศุกร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 เวลา 09.00 - 16.30 น. ณ อาคาร วสท. (ซ.รามค�ำแหง 39) หลักการและเหตุผล

แสงสว่างเป็นสิง่ จ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวติ ของมนุษย์มาตัง้ แต่ยคุ โบราณ ปัจจุบนั มนุษย์ได้คดิ ค้นประดิษฐ์แหล่งก�ำเนิดแสงเพือ่ ใช้ทดแทนแสงธรรมชาติ มีเทคโนโลยีที่ก้าวล�้ำและมีการใช้งานอย่างกว้างขวาง (จนบางครั้งเกิน ความจ�ำเป็น) อย่างไรก็ตาม การใช้แสงสว่างที่ดีต้องท�ำให้เกิดการมองเห็น ที่ชัดเจน สร้างบรรยากาศที่เหมาะสม และส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดี เพื่อให้มีสภาพแวดล้อมการส่องสว่างที่ดี ผู้ออกแบบจ�ำเป็นต้องมี ความรูเ้ กีย่ วกับคุณสมบัตขิ องแสงและสามารถออกแบบให้มคี ณ ุ ภาพเหมาะสม ทัง้ ในเชิงปริมาณ (เช่น ระดับความสว่าง) และเชิงคุณภาพ (เช่น ความสวยงาม) ส่วนผู้ใช้งานต้องตระหนักถึงความส�ำคัญ เลือกใช้และติดตั้งอุปกรณ์ที่มี คุณภาพ รวมถึงมีการบ�ำรุงรักษาที่เหมาะสม ดังนัน้ สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย ร่วมกับบริษทั ฟิลปิ ส์ อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด จึงได้จดั ท�ำหลักสูตรการอบรม “Lighting Awareness” เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของแสงสว่าง และสร้างความรู้ความเข้าใจในการใช้แสงสว่าง รวมทั้งการออกแบบอย่าง ถูกต้องเพื่อให้ได้ระบบการส่องสว่างที่มีคุณภาพ

วันศุกร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 08.00 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.30 - 12.00 น  เทคโนโลยี LED  คุณสมบัติที่สำ � คัญของแสง 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 16.00 น.  ส่วนประกอบในระบบ LED  มาตรฐานทีเ่ กี่ยวข้อง  สมรรถนะของระบบ LED 16.00 - 16.30 น. (ถาม - ตอบ)

รับจ�ำนวน : 50 ท่าน วิทยากร : คุณวีรพล เอาทารย์สกุล เลขาธิการ สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย (สฟสท.) อัตราค่าลงทะเบียน ก่อนวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 สมาชิก 2,675 บาท บุคคลทั่วไป 3,210 บาท *ถ้าสมัครเข้ารับอบรม 6 รายการ ราคา รวมทัง้ หมดตามแพ็คเก็ต 10,700 บาท (จากปกติ 12,500 บาท)  ราคานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% และ TIEA ได้ รับการยกเว้นการหักภาษี ณ ที่จ่าย 3%  ราคานี้รวมอาหารว่าง / วุฒิบัตร การชำ�ระเงิน เงินสด : ช�ำระที่สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่ง ประเทศไทย เช็ค : สัง่ จ่ายในนาม “สมาคมไฟฟ้าแสงสว่าง แห่งประเทศไทย” โอนเข้าบัญชี :  ธนาคารกรุงไทย / ออมทรัพย์ สาขา การไฟฟ้านครหลวง (เพลินจิต) เลขที่บัญชี 092-1-06644-9  ธนาคารธนชาต / ออมทรัพย์ สาขา ส�ำนักชิดลม เลขที่บัญชี 001-2-08323-0

May-June 2018


การดหนวยความจำ แบบ SD และ microSD ซีรีส 500S และ 300S ทรานสเซนด อินฟอรเมชัน, อิงค (Transcend) ผูนําการผลิตอุปกรณจัดเก็บขอมูล และอุปกรณมัลติมีเดีย เปดตัวการดหนวยความจําแบบ SD และ microSD ในซีรีส 500S และ 300S ที่ใหอัตราการรับสงขอมูลไดสูงสุดถึง 95 MB/s* ที่ออกแบบมาเพื่อตอบสนองตอความ ตองการของผูใ ชงานในยุคปจจุบนั การดหนวยความจําในซีรสี  500S จะมาในธีมสีทอง โครงสราง ภายในใชชิปหนวยความจําแบบ MLC flash เหมาะสําหรับแอคชันคาเมราและโดรน ในขณะที่ การดหนวยความจําในซีรีส 300S ถูกออกแบบมาใหมีความจุสูงสุดถึง 512GB, ในขณะเดียวกัน ยังมีการดหนวยความจํา microSD ที่ออกแบบมาเพื่อใชงานรวมกับสมารทโฟนอีกดวย สําหรับการดหนวยความจําของทรานสเซนดทั้งหมด ผานการทดสอบอยางเขมงวด การดหนวยความจําเหลานี้สามารถทํางานไดดีในอุณหภูมิระหวาง -25°C ถึง 85°C กันน้ํา กันสะเทือน ปลอดภัยจากการตกหลน และผานมาตรฐานการทดสอบรังสี X-ray พรอมดวย คุณสมบัติปองกันการบันทึกขอมูลที่ผิดพลาด เพื่อทําใหทุกไฟลขอมูลที่บันทึกสามารถใชงานได

เตารับยูเอสบี ชารจเจอร

ชไนเดอร อิเล็คทริค ตอนรับเทรนดสมารทบิลดิง้ สมารทโฮมมาแรงพรอมกับ สังคมเมืองที่มีการขยายตัวมากขึ้น ทั้งสมารทโฟน แท็บเล็ต และแวรเรเบิล โดยใช ทํางานและความบันเทิงในที่ตางๆ ไดสะดวกขึ้น โดยชไนเดอร อิเล็คทริค เปดตัว เตารับยูเอสบี ชารจเจอร แบบติดผนัง 2 รุน คือรุนคอนเซ็ปต และเซ็นเซโล เตารับยูเอสบี ชารจเจอร (USB Charger) แบบติดผนังของชไนเดอร อิเล็คทริค จายกระแสไฟฟาสูงสุด 2.1A ชารจไดอยางรวดเร็วและมีระบบปองกัน อุปกรณที่ชารจในเครื่องเดียว สามารถปองกันไฟกระชาก ไฟเกิน ไฟฟาลัดวงจร และอุณหภูมิเกิน พรอมวางตลาดแลว 2 รุน ไดแก รุนคอนเซ็ปต (Concept) และ เซ็นเซโล (Zencelo) มีความทนทาน ใชงานยาวนาน 10 ป โดยไดรับมาตรฐาน ที่ยุโรปรองรับ ลาสุดเตรียมประเดิมตลาดรานกาแฟ ที่พักอาศัย โรงแรม และอาคาร ใชไดทั้งอาคารใหมและอาคารตอเติม หรือติดตั้งรวมไปกับเฟอรนิเจอรก็ได เต า รั บ ยู เ อสบี ชาร จ เจอร ของชไนเดอร อิ เ ล็ ค ทริ ค มาพร อ มการออกแบบที่ ส วยงาม เรี ย บง า ย ทั น สมั ย เข า กั บ เฟอรนิเจอร และการดีไซนอาคารไดอยางลงตัว ที่สําคัญคือ ใหความปลอดภัยแกผูใชงานอยางเหนือชั้น ใชไดกับสมารทดีไวซ แบรนดหลักๆ ในทองตลาดไดทุกยี่หอ

May-June 2018

p.86-87_Product.indd 86

5/31/2561 BE 2:16 PM


กลองวงจรปด ระดับ Hi-end

i26 / 180° Angle Lens : i26 ถูกสรางขึ้นดวยเลนสพิเศษ ที่ถูกออกแบบตามหลักการเดียวกับสายตามนุษย ที่สามารถจับภาพ ไดถงึ 180° ชวยแกไขจุดบอดของการบันทึกภาพ จากเดิมทีท่ าํ ไดเพียง มุมแคบๆ ใหกวางขึ้น ● Q26 / 360° Angle Lens : Q26 มีคุณสมบัติการเก็บภาพได กวางถึง 360° มากที่สุดเทาที่สิ่งมีชีวิตจะมองเห็นได ● M26 / MxIRLight Infrared Illuminator : M26 มีเทคโนโลยี นวั ต กรรมพิ เ ศษจาก Mobotix ที่ ส ามารถจั บ ภาพได ใ นสภาวะที่ แสงนอยถึงมืดสนิทไดอยางชัดเจน ● M16 / Thermal Cameras : มีความสามารถในการตรวจจับ และ M16 ไมเพียงแตจะวัดอุณหภูมขิ องสิง่ มีชวี ติ ไดเทานัน้ แตยงั ใชได กับเครื่องจักรในโรงงานที่ตองมีการวัดอุณหภูมิตลอดเวลาไดอีกดวย ● M16 / Shock-Resistant, Weather Proof : สามารถคงทน ในทุกสภาวะ ไมวาจะเปนฝุน น้ํา หรือการกระแทก และเพื่อใหพิเศษ มากขึ้น Mobotix ไดเสริมนวัตกรรมความคงทนตอแรงระเบิดและ อุณหภูมิติดลบเขาไปในกลอง M16 รุนนี้ดวย ● Q26 / Traffic Analysis : ด วยความสามารถพิ เ ศษที่ ้ มากกวาการบันทึกภาพ โดยการบันทึกการเคลื่อนไหวของผูคน เพื่อ นํามาวิเคราะหและถายทอดออกมาเปนทิศทาง จํานวน และชวงเวลา ในการสัญจรบริเวณนั้นๆ ไดอยางแมนยํา

เหนือล้ำกวาทุกความ ปลอดภัย

TC 20 และ TC 25

Q26 / Direction : ชูความโดดเดนดานการรักษาความ ปลอดภัยใหชัดเจนยิ่งขึ้น กับความสามารถในการสงสัญญาณ เตือนไปทีจ่ อมอนิเตอร เมือ่ มีบคุ คลเดินเขาไปในพืน้ ทีต่ อ งหาม ● D16 / Two-Way Communication : D16 มีความ สามารถในการบันทึกเสียง และยังเหนือไปอีกขัน้ ในการวิเคราะห เสียงที่บันทึกพรอมสงสัญญาณเสียงตอบกลับ จึงสามารถ โตตอบกับบุคคลทั่วไปได ถือเปนกลองรุนแรกๆ ที่มีนวัตกรรม การสือ่ สารแบบ 2 ทาง และเปนคุณสมบัตชิ ว ยเปดประสบการณ ใหมของกลองวงจรปดไดอยางมีเอกลักษณ ●

TC 20 และ TC 25 เปนผลิตภัณฑทอี่ อกแบบมาเพือ่ การสแกน บารโคด 1 มิติ และ 2 มิติ ทีต่ อบสนองความตองการของอุตสาหกรรม ขนาดเล็กและขนากลาง ซึ่งเปนอุปกรณที่มาพรอมคุณภาพระดับ องคกรและการอาน RFID เพื่อชวยลดความจําเปนในการใชกลอง ของสมารทโฟนที่ไมเสถียรและใชพลังงานนอยลง งายตอการใชงานโดยไมตองฝกอบรมพนักงานเปนเวลานาน ผลิตภัณฑ TC 20 และ TC 25 มาพรอมหนาจอขนาด 4.3 นิว้ ระบบ ปฏิบัติการแอนดรอยด เพื่อใหประสบการณการใชงานที่สะดวก และงายขึ้น

ซีบรา เทคโนโลยีส ผูนําผลิตภัณฑและการบริการที่ ใหความสามารถในการผลิตคอมพิวเตอรพกพา เครือ่ งสแกน บารโคด และพรินเตอร ไดออกผลิตภัณฑพกพาในตระกูล TC ใหม คือ TC 20 และ TC 25 โดยทั้ง 2 รุน มีคุณสมบัติ ที่มีความทนทานตอการใชงานนอกสถานที่ ถูกออกแบบมา เพื่อรองรับการใชงานในสภาพอากาศรอนและเย็น อีกทั้ง เต็มไปดวยฝุนละออง นอกจากนี้ยังชวยลดคาใชจายในการ บํารุงรักษาอีกดวย May- June 2018

p.86-87_Product.indd 87

5/31/2561 BE 2:16 PM


BSH เปดตัว BOSCH แบรนดเครื่องใชไฟฟาอันดับ 1 ในยุโรป BSH unveils Boschpremium home appliances in Thailand

ทีซีซีเทค เปดศูนยดาตาเซ็นเตอร ตอนรับผูบริหารบีโอไอ ณ นครแฟรงกเฟรต และคณะสื่อจากยุโรป TCC Technology hosted a warm welcome to the executives of Board of Investment of Frankfurt and the European press delegates at Bangna Data Center

Mr.Hendrik Kretzer, Regional Executive Vice President BSH Home Appliances, Asia Pacific ชลวิทย ณ สงขลา กรรมการผูจ ดั การ บริษทั บีเอสเอช โฮม แอ็พพลายแอ็นซ จํากัด ประเทศไทย และ เพ็ญศรี เพ็งพัฒน กรรมการ ฝายการเงินและบริหารธุรกิจ บริษัท บีเอสเอช โฮม แอ็พพลายแอ็นซ จํากัด ประเทศไทย รวมแถลงถึงนโยบายและแนวทางการตลาด พรอมเปดตัว 4 กลุม ผลิตภัณฑ ประกอบดวย กลุมเครื่องซักผาและอบผา กลุมเครื่องใชไฟฟาในครัว และเตาอบ กลุมตูเย็น และกลุมเครื่องลางจาน ณ หองบอลรูม โรงแรมเซนทารา แกรนด แอทเซ็นทรัลเวิลด Mr.Hendrik Kretzer, Regional Executive Vice President BSH Home Appliances, Asia Pacific Mr.Chollawit Na Songkhla, Managing Director, BSH Home Appliances Co., Ltd., Thailand and Ms.Pensri Pengpat, Director Finance and Business Administration of BSH Home Appliances Co., Ltd., Thailand, together to present the BSH business direction and marketing strategy and launch washing machines, dryers, in-built cooking appliances, refrigerators and dishwashers. The event was held at Ballroom, Centara Grand and Bangkok Convention Centre at CentralWorld. ■

สํานักงานเศรษฐกิจการลงทุน ณ นครแฟรงกเฟรต (บีโอไอแฟรงกเฟรต) นําโดย ดร.รัชนี วัฒนวิศษิ ฏพร ผูอ าํ นวยการสํานักงานเศรษฐกิจการลงทุนฯ นําคณะ สื่ อ มวลชนและหน ว ยงานพั น ธมิ ต รในอุ ต สาหกรรมดิ จิ ทั ล จากยุ โรป เข า เยี่ ย มชม ประสิทธิภาพของศูนยดาตาเซ็นเตอร ผสานบริการคลาวด (Cloud-Enabled Data Center) บนถนนบางนา-ตราด กรุงเทพมหานคร ของบริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จํากัด (ทีซีซีเทค) โดยมี วรดิษฐ วิญญรัตน กรรมการบริหารและรักษาการกรรมการผูจัดการ เปนตัวแทนบริษัทฯ ตอนรับ TCC Technology welcomed Ratchanee Wattanawisitporn, Ph.D., the Director of the Board of Investment of Thailand, and a group of executives of Frankfurt’s Board of Investment, partners, and European reporters to visit the Cloud-Enabled Data Center at the Bangna site. TCC Techology’s event representatives included Mr.Voradis Vinyaratn, the Executive Director and Acting Managing Director, summarized as follows. ■

โตชิบา จับมือ เอสวีโอเอ รุกตลาดคอมพิวเตอร โนตบุก ระดับไฮ-เอ็นด Toshiba Joins Hands with SVOA to Tap High-end Notebook Market วู เท็งโก กรรมการผูจัดการ บริษัท โตชิบา สิงคโปร พีทีอี ลิมิเต็ด และ ฐิตกร อุษยาพร กรรมการผูจัดการ บริษัท เอสวีโอเอ จํากัด (มหาชน) ไดรวมกันประกาศความพรอมในการรุกตลาด คอมพิวเตอร โนตบุก ระดับไฮ-เอ็นดในประเทศไทย ในงานโตชิบา คูณ เอสวีโอเอ โปรดักท ลอนชิ่ง 2018 (Toshiba x SVOA Product Launching 2018) และไดเปดตัวคอมพิวเตอร โนตบุก ของโตชิบา รุนใหมลาสุด รุนเอ็กซ-ซีรี่ส (X-Series) หรืออี-เจนเนอเรชั่น (E-Generation) ที่มีประสิทธิภาพสูง และความทนทานในระดับมืออาชีพรองรับผูใชงานในขณะเดินทาง Mr.Wu Tengguo, Managing Director, Toshiba Singapore Pte. Ltd., and Mr.Thitakorn Ussayaporn, Chief Operating Officer, SVOA Public Company Limited, jointly announced both companies’ plan to tap the high-end notebook market in Thailand at Toshiba x SVOA Product Launching 2018. A wide range of products have been launched at the event, including the new Toshiba X-Series (E-Generation), which deliver enhanced performance and higher durability, specifically designed for mobile professionals. ■

May-June 2018

p.88-91_PR News.indd 88

5/31/2561 BE 2:17 PM


“CCE South East Asia-Thailand 2018” และ “ICE South East Asia 2018” “CCE South East Asia-Thailand 2018” and “ICE South East Asia 2018”

4 พันธมิตร ประกอบดวย สมาคมบรรจุภัณฑกระดาษลูกฟูกไทย สมาคม อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษไทย สมาคมการพิมพสกรีนไทย และสํานักงานสงเสริม การจัดงานประชุมและนิทรรศการ (สสปน.) จับมือรวมกันสงเสริมเพิ่มผลผลิตและ ประสิทธิภาพสูย คุ อุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑกระดาษลูกฟูก 4.0 ในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟก ประกาศหนุนการจัดงานแสดงสินคานานาชาติ “CCE South East Asia-Thailand 2018” และงาน “ICE South East Asia 2018” ระหวางวันที่ 5-7 กันยายน 2561 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค เพื่อการเติบโตอยางยั่งยืน เตรียมตัวเขาสู ยุคดิจิทัลตามนโยบาย Industry 4.0 Four-member group joins forces with the aim to develop the Thai Corrugated Packing Production Industry as the regional hub. A group of industry associations and a Thai government body has announced the 2nd edition of the CCE South East Asia-Thailand 2018 trade show, highlighting the Thai Corrugated Packaging industry. The event runs concurrently with ICE South East Asia from 5-7 September 2018 at the Bangkok International Trade and Exhibition Centre (BITEC), Bangna, The CCE-ICE 2018 event is part of the group’s broader aim to expand manufacturing capabilities and drive sustainable growth in the Thai Corrugated Packaging Manufacturing industry, in line with government’s ‘Thailand 4.0’ digital-era development plan. ■

ซีเกท ประเทศไทย มอบอุปกรณเพื่อพัฒนาองคความรู ทางดานอุตสาหกรรม Seagate Thailand donates equipment for industrial knowledge base development

เชาวลิต จิญาธรรม ผูจัดการอาวุโสฝายวิศวกรรม บริษัท ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จํากัด มอบอุปกรณออโตเมชั่นและเครื่องมือวัดเชิงกล เพื่อสนับสนุน การพัฒนาองคความรูทางดานอุตสาหกรรม โดยมี ผศ. ดร.กฤษดา อัศวรุงแสงกุล ผู ช ว ยหั ว หน า ภาคฝ า ยกิ จ การนั ก ศึ ก ษา ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมอุ ต สาหการ คณะ วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ เปนผูรับมอบ Mr.Chaowalit Jiyatham, Senior Engineering Manager, Seagate Technology (Thailand) Limited donated the automation and mechanical test devices to support the industrial knowledge base development to Asst. Prof. Dr.Krisada Asawarungsaengkul, Deputy Head of Student Affairs, Department of Industrial Engineering, Faculty of Engineering, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. ■

PTT Digital จับมือ RISE นําทีมสตารทอัพ 15 ทีมจากทั่วโลก เขา Bootcamp ภายใตโครงการ D-NEXT by PTT Digital x RISE PTT Group and RISE Lead 15 Startup Teams to Bootcamp to Accelerate Startup Innovation under the D-NEXT by PTT Digital x RISE Project บริษัท พีทีที ดิจิตอล โซลูชั่น จํากัด (PTT Digital) ผูใหบริการดานดิจิทัลในกลุม ปตท. รวมกับ RISE สถาบันเรงสปดนวัตกรรมองคกรและสตารทอัพระดับภูมภิ าค รวมเปดตัวสตารทอัพ 15 ทีม จาก 7 ประเทศ ทั่วโลก ไดแก ประเทศไทย สหรัฐอเมริกา ฟลิปปนส เวียดนาม มาเลเซีย เกาหลี และสิงคโปร เขารวม Bootcamp ภายใตโครงการ D-NEXT by PTT Digital x RISE ในประเทศไทย เปนเวลา 3 เดือน เพื่อเปด โอกาสใหสตารทอัพไดเปนสวนหนึ่งของโครงการ Digital Transformation ของกลุม ปตท. รวมถึงการขยาย การลงทุนในธุรกิจใหมของบริษัท พีทีที ดิจิตอล โซลูชั่น จํากัด Recently, PTT Group, represented by PTT Digital Solutions Company Limited, has collaborated with RISE, an expert in startups and the first corporate accelerator in Thailand, to introduce a brand-new growth accelerator program known as ‘D-NEXT by PTT Digital x RISE’, with the debut of 15 most innovative startup teams from seven countries, including USA, Philippines, Vietnam, Malaysia, South Korea, Singapore, and Thailand. The selected startup teams are invited to join the Bootcamp, a well-supervised startup training program, for a period of three months. The purpose of this project are a great opportunity to be part of PTT Group’s Digital Transformation program and startups will also be encouraged to scale their business in Thailand by leveraging from all the corporate networks which RISE will be providing. ■ May- June 2018

p.88-91_PR News.indd 89

5/31/2561 BE 2:17 PM


สตีเบล เอลทรอน ซื้อกิจการปมความรอน ของบริษัทดันฟอรส ภายใตแบรนดเธอร .. เมีย (Thermia) Stiebel Eltron acquires Danfoss Varmepumpar AB (Thermia)

กลุมบริษัท สตีเบล เอลทรอน ประเทศเยอรมนี ไดประกาศซื้อกิจการ ปมความรอนของบริษัทดันฟอรส (Danfoss A/S) หรือที่รูจักกันภายใตชื่อแบรนด ‘เธอรเมีย’ (Thermia) จากบริษัท ดันฟอรส ของประเทศเดนมารก โดยทางกลุม บริษัทฯ ไดมีการตกลงที่จะไมเปดเผยราคาซื้อขาย บริษัทดันฟอรส (Danfoss A/S) เปนผูจัดจําหนายปมความรอนรายใหญ อันดับ 3 ของตลาดในกลุมประเทศนอรดิก ดวยยอดขายตอปที่ประมาณ 68 ลาน ยูโร แบรนดเธอรเมีย (Thermia) จากเมืองอารวิกา (Arvika) ประเทศสวีเดน มีพนักงาน 210 คน ในสวีเดน ฟนแลนด และนอรเวย The Stiebel Eltron Group has acquired Danfoss Värmepumpar AB, known under the brand name ‘Thermia’, from Danfoss A/S of Denmark. The parties have agreed not to disclose the transaction value. Danfoss Värmepumpar AB (Thermia) is the third largest supplier in the Nordic heat pump market with annual sales of around 68 million euros. Thermia, based in Arvika, Sweden, employs 210 people in Sweden, Finland and Norway. ■

ซุปเปอรแนป ประเทศไทย ควาสองรางวัลชนะเลิศ จากงาน Datacloud Asia SUPERNAP (Thailand) Wins Two Datacloud Asia Awards

ซุปเปอรแนป ประเทศไทย ผูนําที่ไดรับการยอมรับในการบริการเชาพื้นที่ ดาตาเซ็นเตอร (Data Colocation) ควารางวัลชนะเลิศ “บริการดาตาเซ็นเตอร ยอดเยี่ยมประจําภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต” และ “สถานที่ตั้งดาตาเซ็นเตอร ที่ดีที่สุด” ในงาน Datacloud Asia 2018 จัดขึ้นที่โรงแรม Capella ประเทศสิงคโปร นับเปนครั้งแรกที่ดาตาเซ็นเตอรในประเทศไทยสามารถควารางวัลชนะเลิศจากการ ประชุมชั้นนําระดับนานาประเทศสําหรับดาตาเซ็นเตอร และเทคโนโลยีดานคลาวด ระดับภูมิภาค รางวัล Datacloud Asia จัดทําขึ้นเพื่อใหการยอมรับผูที่ทุมเทกับนวัตกรรม รวมถึงการมีวิวัฒนาการอยางตอเนื่องในตลาดโครงสรางพื้นฐานบนระบบดิจิทัล ในเอเชียที่พัฒนาอยางรวดเร็ว SUPERNAP Thailand, the recognized leader in colocation services, won “Excellence in Data Centre Service Award Southeast Asia” and the best “Data Centre Location Award” at Datacloud Asia 2018 held at the Capella Hotel in Singapore recently. It is the first time that a data center in Thailand won an award from the international premier conference for data centres and cloud technology in the region. The Datacloud Asia award recognizes genuine innovation and the continuing evolution in the flourishing Asia digital infrastructure market. ■

กลุมบริษัทภิรัชบุรี รวมกับ ดีไซน 103 เปดบานตอนรับพันธมิตรทางธุรกิจ BHIRAJ BURI and Design 103 welcomed business partners ดร.ประสาน ภิรัช บุรี ประธานเจาหนาที่บริหาร กลุมบริษัทภิรัชบุรี ปติภัทร บุรี กรรมการ ผูจัดการ บริษัท ภิรัชแมนเนจเมนท จํากัด ปนิษฐา บุรี กรรมการผูจัดการ ศูนยนิทรรศการและการ ประชุมไบเทค และ วิญู วานิชศิริโรจน รองประธานบริหาร บริษัท ดีไซน 103 อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัทที่ปรึกษาและออกแบบดานสถาปตยกรรมและวิศวกรรม ผูรวมออกแบบอาคารศูนย นิทรรศการและการประชุมไบเทค อาคารสมัชชาวาณิช 2 (UBC II) ภิรัชทาวเวอร แอท เอ็มควอเทียร และภิรัชทาวเวอร แอท ไบเทค พรอมกับบริษัทพารทเนอรชั้นนําของประเทศไทย ตอนรับพันธมิตร ทางธุรกิจและสื่อมวลชนดวยกิจกรรมเยี่ยมชมสถานที่และงานประชุมสัมนาสุดพิเศษ Dr.Prasarn Bhiraj Buri, President and CEO of BHIRAJ BURI GROUP, Pitiphatr Buri, Managing Director of BHIRAJ Management Co., Ltd., Panittha Buri, Managing Director of BITEC Management Co., Ltd. and Winyou Wanichsiriroj, Executive Vice President of Design 103 International Ltd., a consulting and architecture firm that collaborates with BHIRAJ BURI GROUP-designed BITEC, UBC II, BHIRAJ TOWER at EmQuartier and BHIRAJ TOWER at BITEC and other leading Thai partner companies, welcomed their business partners and press to an exclusive inspection and seminar. ■

May-June 2018

p.88-91_PR News.indd 90

5/31/2561 BE 2:17 PM


ทีซีซีเทค รวมยินดีกับความสําเร็จของไทยเบฟ ควารางวัล ICT Excellent Awards 2018 TCCtech Welcomed ThaiBev’s Success in Winning ICT Excellent Awards 2018

วลีพร สายะสิต ผูอ าํ นวยการฝายสือ่ สารองคกร เปนตัวแทนบริษทั ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จํากัด (ทีซีซีเทค) รวมแสดงความยินดีกับทีมผูบริหาร บริษัท ไทย เบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) นําโดย วิริยา วสุนธราธรรม ที่ปรึกษา และ ธีรพันธุ เหลืองนฤมิตชัย ผูอํานวยการสํานักสารสนเทศ ในโอกาสรับรางวัล ICT Excellent Awards 2018 จากโครงการ VSMS (Van Sales and Merchandising System) ใน สาขาโครงการพัฒนากระบวนการหลักภายใน (Core Process Improvement Project) ณ หองคริสตัลฮอลล โรงแรมดิ แอทธินี โฮเทล แบงค็อก TCC Technology Company Limited (TCCtech) congratulates the Thai Beverage Public Company Limited (ThaiBev) regarding their success in winning ICT Excellent Awards 2018 - Core Process Improvement Project Category, awarded for their Van Sales and Merchandising System Project (VSMS). TCCtech was represented at the awards ceremony by Mrs.Waleeporn Sayasit, Corporate Communications Director, joining Thai Beverage senior executives Mr.Viriya Vasoontharatham, Consultant and Mr.Teerapan Luengnaruemitchai Vice President - Office of Information Technology. At Crystal Hall, The Athenee Hotel Bangkok. ■

ซีเกท ประเทศไทย ตอนรับคณะอาจารยและนักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง Seagate Thailand welcomes a group of King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang lecturers and students

สัญชัย ทองจันทรา ผูอํานวยการฝายวิศวกรรม บริษัท ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จํากัด โรงงานเทพารักษ ใหการตอนรับคณะอาจารยและนักศึกษา ปริญญาตรีจํานวน 30 คน จากคณะวิศวกรรมศาสตร สาขาวิศวกรรมโทรคมนาคม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง เนื่องในโอกาสศึกษาดูงาน และเรียนรูเกี่ยวกับ Read Channel ในเทคโนโลยีการจัดเก็บขอมูล ณ โรงงานซีเกท เทพารักษ Mr.Sanchai Thongjantar, Engineering Director, Seagate Technology (Thailand) Limited, Teparuk Plant welcomed a group of lecturers and 30 undergraduate students from the Faculty of Engineering, Department of Telecommunications Engineering, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang (KMITL) during their visit and study about Read Channel in Data Storage Technology at Seagate Teparuk plant recently. ■

กฟผ. ขอเชิญรวมสงบทความวิชาการดานพลังงานไฟฟาเพือ่ นำเสนอในงาน GTD ASIA 2019 กฟผ. ขอเชิญชวนผูประกอบการ นักธุรกิจ นักลงทุน วิศวกร ตลอดจนนิสิตนักศึกษาดานวิศวกรรมและพลังงาน รวมสง บทความทางเทคนิค-วิชาการภาษาอังกฤษ ความยาวไมเกิน 6 หนา เกี่ยวกับเรื่อง Power Generation, Transmission and Distribution และ/หรือ Renewable Energy เพื่อรวมนําเสนอบทความในงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 ซึ่งเปนงานจัดแสดง ความกาวหนาทางเทคโนโลยีดา นการผลิต ระบบสงและจําหนาย และพลังงานทดแทน ระดับนานาชาติ มาทีเ่ ว็บไซต http://www. ieeegt-d.org/a_call1.html ไดตงั้ แตวนั นีถ้ งึ 30 กันยายน 2561 สามารถดูรายละเอียด รูปแบบและหัวขอสําหรับการเขียนบทความ เพิม่ เติมไดท ี่ http://www.ieeegt-d.org/ หรือติอตอสอบถาม ดร.ครรชิต งามแสนโรจน เลขานุการคณะทํางานรวมจัดงานประชุม วิชาการและนิทรรศการฯ กฟผ. E-mail : kanchit.n@egat.co.th

May- June 2018

p.88-91_PR News.indd 91

5/31/2561 BE 2:17 PM


การอบรมหลักสูตร

มาตรฐาน ดาตาเซนเตอร์ สำ�หรับ ประเทศไทย

ระหว่าง วันที่ 12-15 มิถุนายน พ.ศ. 2561 ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. จัดโดย สถาบันวิศวพัฒน์ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)

หลักสูตรความเข้าใจในมาตรฐานของดาตาเซนเตอร์ ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) และข้อก�ำหนดในกฎหมายและข้อบังคับของไทย เป็ น คุ ณ สมบั ติ พื้ น ฐานของการสอบรั บ รองมาตรฐาน ดาตาเซนเตอร์ของ วสท. การอบรมนีจ้ ดั ขึน้ เพือ่ ช่วยในการ เตรียมสอบรับรองมาตรฐานและเป็นการปูพื้นฐานความ เข้าใจในระบบต่างๆ ภายในดาตาเซนเตอร์ โดยให้คำ� นึงถึง ปัจจัยน�ำเข้าต่างๆ ขององค์กร และองค์ประกอบต่างๆ ภายในดาตาเซนเตอร์เพื่อประกอบในการออกแบบเพื่อ ให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดและข้อบังคับตามกฎหมายไทย ซึ่งมาตรฐานต่างประเทศอาจไม่ควบคุมและหรือไม่ได้ บัญญัติไว้

วัตถุประสงค์

การน�ำระบบคอมพิวเตอร์รวมทั้งระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สาร (ICT) มาใช้งานชนิดต่างๆ และ การทีม่ ผี ใู้ ช้งานเป็นจ�ำนวนมาก ท�ำให้ระบบดังกล่าวมีความ ยุง่ ยากและซับซ้อนขึน้ จึงมีการจัดท�ำเป็นระบบดาตาเซนเตอร์ แต่กย็ งั มีความบกพร่องและไม่เหมาะสมจนท�ำให้เกิดปัญหา มากยิ่งขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้งานโดยตรง นอกจากนั้นระบบคอมพิวเตอร์และระบบ ICT ยัง ต้องการระบบสนับสนุนเพือ่ ให้สภาพการใช้งานเหมาะสม ทั้งในรูปแบบท�ำงานตามล�ำพังและรูปแบบท�ำงานเป็น เครือข่าย ซึ่งหากจัดท�ำระบบสนับสนุนอย่างไม่เหมาะสม จะส่งปัญหาถึงการท�ำงาน การเก็บข้อมูล การผลิต การควบคุม ความปลอดภัย การสือ่ สาร การประหยัดพลังงาน ตลอดจน ประสิทธิภาพในการใช้งานและบ�ำรุงรักษา May-June 2018

การอบรมครั้งนี้จะให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับดาตาเซนเตอร์ตั้งแต่ พื้นฐานจนถึงการประยุกต์ใช้งานด้านดาตาเซนเตอร์ได้อย่างเหมาะสมและ มีประสิทธิภาพ รวมทั้งลดความสูญเสียและเกิดเสถียรภาพที่เชื่อถือได้ให้กับ หน่วยงานต่างๆ ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์และระบบ ICT เช่น อาคารส�ำนักงาน โรงงาน โรงพยาบาล โรงแรม ธนาคาร บริษทั ด้านการเงินการลงทุน บริษทั ประกันภัย และประกันชีวิต เป็นต้น อีกทั้งการอบรมครั้งนี้ยังเป็นโอกาสที่ผู้เข้ารับการอบรมได้แลกเปลี่ยน ความรู้ด้านดาตาเซนเตอร์กับผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานต่างๆ อีกด้วย

การอบรมนี้เหมาะสำ�หรับ

เจ้าของโครงการ ผู้จัดการโครงการ ผู้ออกแบบ ผู้ติดตั้ง ผู้บริหารดาตา เซนเตอร์ ผู้ดูแลงานระบบและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับดาตาเซนเตอร์ วิศวกร สถาปนิก ช่างเทคนิค ผู้ควบคุมงาน ผู้ตรวจสอบงาน ผู้จัดหา ผู้ดูแลอาคาร ผู้ประกอบการ ผู้ผลิต ผู้จัดจ�ำหน่าย อาจารย์ นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป

วิทยากร วสท.

คณะกรรมการเทคนิคจัดท�ำมาตรฐานดาตาเซนเตอร์สำ� หรับประเทศไทย


วันอังคารที่ 12 มิถุนายน 2561

08.00 - 09.00 น. 09.00 - 10.30 น. 10.30 - 10.45 น. 10.45 - 12.00 น. 12.00 - 13.00 น. 13.00 - 14.15 น. 14.15 - 14.30 น. 14.30 - 16.00 น. 16.00 - 17.00 น.

ลงทะเบียน มาตรฐานดาตาเซนเตอร์ที่อ้างอิงในปัจจุบัน และมาตรฐาน วสท. ประสิทธิ์ เหมวราพรชัย พักรับประทานอาหารว่าง พิจารณาท�ำเลที่ตั้งและการจัดพื้นที่ เอกชัย ประสงค์ รับประทานอาหารกลางวัน ความพร้อมใช้งานได้และการจัดประเภท ดาตาเซนเตอร์ (MTBF, MTTR, MTPD) ผศ.ถาวร อมตกิตติ์ พักรับประทานอาหารว่าง พื้นฐาน Topology N, N+1, 2N, 2 (N+1) ไพศาล ไตรชวโรจน์ ทดสอบความรู้

วันพุธที่ 13 มิถุนายน 2561

08.00 - 09.00 น. 09.00 - 10.30 น. 10.30 - 10.45 น. 10.45 - 12.00 น. 12.00 - 13.00 น. 13.00 - 14.15 น. 14.15 - 14.30 น. 14.30 - 16.00 น. 16.00 - 17.00 น.

ลงทะเบียน งานสถาปัตยกรรมและโยธา เอกชัย ประสงค์ พักรับประทานอาหารว่าง ระบบไฟฟ้าส�ำหรับดาตาเซนเตอร์ 1 ประสิทธิ์ เหมวราพรชัย เตชทัต บูรณะอัศวกุล รับประทานอาหารกลางวัน ระบบไฟฟ้าส�ำหรับดาตาเซนเตอร์ 2 ผศ.ชายชาญ โพธิสาร พัฒน์พงศ์ เพชร์แก้วณำ พักรับประทานอาหารว่าง การต่อลงดินและป้องกันฟ้าผ่าส�ำหรับ ดาตาเซนเตอร์ ผศ. ดร.ส�ำเริง ฮินท่าไม้ ทดสอบความรู้

วันพฤหัสบดีที่ 14 มิถุนายน 2561

08.00 - 09.00 น. 09.00 - 10.30 น. 10.30 - 10.45 น. 10.45 - 12.00 น. 12.00 - 13.00 น. 13.00 - 14.15 น. 14.15 - 14.30 น. 14.30 - 16.00 น. 16.00 - 17.00 น.

ลงทะเบียน ระบบสายสัญญาณส�ำหรับดาตาเซนเตอร์ 1 ผศ. ดร.สุรินทร์ กิตติธรกุล พักรับประทานอาหารว่าง ระบบสายสัญญาณส�ำหรับดาตาเซนเตอร์ 2 สุรชัย อินทชื่น ปราการ กาญจนวตี รับประทานอาหารกลางวัน ระบบปรับสภาพอากาศส�ำหรับดาตาเซนเตอร์ ประสิทธิ์ พัวภัทรกุล พักรับประทานอาหารว่าง การป้องกันอัคคีภัยส�ำหรับดาตาเซนเตอร์ เมธี อนิวรรตน์ ทดสอบความรู้

วันศุกร์ที่ 15 มิถุนายน 2561

08.00 - 09.00 น. 09.00 - 10.30 น. 10.30 - 10.45 น. 10.45 - 12.00 น. 12.00 - 13.00 น. 13.00 - 14.15 น. 14.15 - 14.30 น. 14.30 - 16.00 น. 16.00 - 17.00 น.

ลงทะเบียน ระบบความมั่นคงและสนับสนุนต่างๆ เช่น แจ้งเตือนน�้ำรั่ว ควบคุมการเข้าออก ประสบชัย จลาสุภ พักรับประทานอาหารว่าง การบริหารด�ำเนินการ (DCIM) การตรวจสอบ และบ�ำรุงรักษาดาตาเซนเตอร์ ผศ. ดร.มนตรี วิบูลยรัตน์ รับประทานอาหารกลางวัน การรับรองเกี่ยวกับมาตรฐานดาตาเซนเตอร์ (ตัวดาตาเซนเตอร์เอง) วสท. พิจักษ์ เพิ่มประเสริฐ พักรับประทานอาหารว่าง กรณีศึกษาและการวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ ประสิทธิ์ เหมวราพรชัย และคณะกรรมการ ทดสอบความรู้

จ�ำนวนที่รับ : 25 คน (จ�ำนวนที่ว่าง 25 ที่)

ค่าลงทะเบียน

สมาชิก สมาชิก วสท. ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ/บุคคลทั่วไป

ราคาปกติ 1,700 บาท 2,000 บาท

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร. 0-2184-4600-9 ต่อ 510 รุ้งลาวรรณ สท้านภพ ฝ่ายวิชาการและโครงการ E-Mail : runglawan@eit.or.th May-June 2018


Exhibition

Over 28 years dedicated to innovation, transformation

and sustainable development as ASEAN’s energy platform.

นิทรรศการดานพลังงานและสิง่ แวดลอมทีย่ ง่ิ ใหญและครบครันทีส่ ดุ ในอาเซียน รวบรวมเทคโนโลยีชน้ั นําทีท่ นั สมัยทีส่ ดุ อาทิ เทคโนโลยี ดานพลังงานทดแทน การอนุรกั ษพลังงาน การเพิม่ ประสิทธิภาพการใชพลังงาน และเทคโนโลยีการจัดการเพือ่ สิง่ แวดลอม ซึง่ เปนอีกหนึง่ บทบาท สําคัญที่จะชวยขับเคลื่อนเศรษฐกิจพลังงานทดแทนไทยอยางยั่งยืน อีกทั้งยังชวยลดการนําเขาพลังงานจากตางประเทศ ลดตนทุนคาใชจาย เพิ่มประสิทธิภาพดานพลังงานของภาคอุตสาหกรรมและครัวเรือน ASEAN Sustainable Energy Week 2018 features… ● Technology Showcase - กวา 1,000 แบรนดชั้นนําจาก 45 ประเทศ ● 8 National Pavilions - พาวิเลียนนานาชาติ อาทิ เยอรมนี สวิตเซอรแลนด สิงคโปร สหรัฐอเมริกา เปนตน ● Trade Visitors - ผูเขาชมงาน 27,000 คน จาก 45 ประเทศทั่วโลก ● Major Conferences - รวบรวมการประชุมนานาชาติสําคัญๆ ไวดวยกัน อาทิ ● การประชุมนานาชาติ ครัง ้ ที่ 14 กับหัวขอ “The Future of ASEAN’S Energy Journey E-mobility - Smart Grid Smart City” ครอบคลุมเนื้อหาสาระสําคัญ กาวสูความเปน “เมืองอัจฉริยะ” ดวยเทคโนโลยี และประเด็นที่นาสนใจตางๆ มากมาย ● ครั้งแรกในประเทศไทยและอาเซียน กับการประชุมวิชาการนานาชาติดานพลังงานไฟฟาเพื่อการขนสง (International Transportation Electrification Conference (ITEC Asia-Pacific 2018) ในหัวขอ “E-mobility A Journey from Now and Beyond” ● การประชุมนานาชาติดานพลังงานชีวมวลและอุตสาหกรรมชีวมวล ภายใตหัวขอ ASEAN Step towards Bioenergy and Bioeconomy under Global Changes ● การประชุมในหัวขอ “อนาคตการลงทุนในโครงสรางพืน ้ ฐานศูนยขอ มูลของประเทศไทย The Future of Data Center Investment in Thailand” มีคําตอบใหคุณหากคุณกําลังดําเนินธุรกิจอยูในยุคดิจิทัล คุณควรจะมีความพรอมหรือไดรับการสนับสนุนจากภาครัฐและเอกชนอยางไรบาง ● สัมมนาวิชาการ โดยความรวมมือของกรมโรงงานอุตสาหกรรม และบริษัท ยูบีเอ็ม (เอเชีย) ประเทศไทย จํากัด ภายใตหัวขอ “SMART FACTORY สูการพัฒนาอุตสาหกรรมอยางยั่งยืน” ● Knowledge Enhancement - สั ม มนาพิ เ ศษกว า 80 หั ว ข อ ด า นเทคโนโลยี พ ลั ง งาน สิ่งแวดลอมและการประหยัดพลังงาน จัดรวมกับงาน Boilex Asia and Pumps & Valves Asia 2018 งานแสดงเทคโนโลยีเฉพาะทางนานาชาติระดับภูมิภาคดานหมอไอน้ํา ภาชนะ รับความดัน ปม วาลว ทอ ขอตอ และอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของกับพลังงานและการใชพลังงาน อยางคุมคา

ครั้งแรก!!! ELECTRIC VEHICLE ASIA 2018

ดวยการเติบโตดานยานยนตไฟฟาที่จะเกิดขึ้น งาน Electric Vehicles Asia 2018 ไดจัดแสดงเทคโนโลยีและใหความรูโครงขายพลังงาน รวมถึง รถไฟฟาและสวนประกอบตางๆ เชน ระบบจัดการแบตเตอรี่ อุปกรณ ควบคุม และสถานีปะจุอัดไฟฟา นอกจากนี้ยังจัดรวมกับงานประชุม นานาชาติดา นยนยนตไฟฟา อัพเดทการพัฒนายานยนตและนวัตกรรม EV โดยผูเชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมการผลิต ไมควรพลาด!! กาวสู ASEAN Sustainable Energy Week 2018 อุตสาหกรรมใหม EV ครบวงจรเรื่องพลังงาน วันที่ 6-9 มิถุนายน พ.ศ. 2561 ณ ไบเทค บางนา May-June 2018

p.94_Exhibition.indd 94

ลงทะเบียนเขางานลวงหนาวันนี้ รับ CD-Show Directory www.asew-expo.com

5/31/2561 BE 2:18 PM


Movement

SHELL จัดสัมมนา “Shell Turbo S4 นวัตกรรมการยืดอายุการใช้งาน และ เพิม่ ประสิทธิภาพในเครือ่ งจักรอุตสาหกรรม โรงไฟฟ้า”

บริษทั เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด ได้จดั การสัมมนา เรื่อง “Shell Turbo S4 นวัตกรรมการยืดอายุการใช้งาน และเพิม่ ประสิทธิภาพในเครือ่ งจักรอุตสาหกรรมโรงไฟฟ้า” ขึน้ ณ โรงแรมพูลแมน จี พัทยา จังหวัดชลบุรี เพือ่ เสริมสร้าง องค์ความรู้เกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานของ เครือ่ งจักรระบบเทอร์ไบน์ในอุตสาหกรรมโรงไฟฟ้า การเลือกใช้ น�้ำมันเทอร์ไบน์ที่เหมาะสมเพื่อยืดอายุการใช้งาน รวมถึง การอัพเดตความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของน�ำ้ มันเทอร์ไบน์ ทีม่ สี ว่ นส�ำคัญในการบ�ำรุงรักษาระบบเทอร์ไบน์ในโรงไฟฟ้า ภายในงานได้รบั เกียรติจาก ดร.ครรชิต งามแสนโรจน์ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการเขื่อนรัชชประภา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย บรรยายพิเศษในหัวข้อ “ภาพรวมแนวโน้ม อุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้า” พร้อมด้วยการสัมมนาใน หัวข้อที่น่าสนใจตลอดทั้งวัน จากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ อาทิ Dr.Felix Guerzoni วิศวกรผู้เชี่ยวชาญจาก Shell Shanghai Technology Ltd. และ ไชยนรินทร์ โชควิกรัยกิจ กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท ลองวินไทย จ�ำกัด นอกจากนี้ ผู้เข้าร่วมการ สัมมนายังได้รว่ มกิจกรรมต่างๆ ทีบ่ ธู SHELL Turbo S4 และ SHELL Turbo S4 GX ที่น�ำเสนอภายในงานอีกด้วย

ภาพประกอบ

1. ณัฐชยา จันทร์พัฒนะ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาด ผลิตภัณฑ์นำ�้ มันหล่อลื่น ประเทศไทย 2. ดร.ครรชิต งามแสนโรจน์ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ เขื่อนรัชชประภา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 3. ไชยนรินทร์ โชควิกรัยกิจ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ลองวินไทย จ�ำกัด 4. Dr.Felix Guerzoni วิศวกรผูเ้ ชีย่ วชาญจาก Shell Shanghai Technology Ltd. 5. วิทยากรและผู้บริหารถ่ายภาพร่วมกัน 6. บรรยากาศการสัมมนา 7.-9. ผูเ้ ข้าร่วมสัมมนาเล่นเกมชิงของรางวัลทีบ่ ธู แสดงสินค้า 10. ทีมงานจากบริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด 11. ผู้เข้าร่วมงานสัมมนาถ่ายภาพเป็นที่ระลึก

May-June 2018


Movement

งานนครพิงค์แฟร์ ครั้งที่ 3

เมือ่ วันที่ 15-17 มีนาคม 2561 หจก.นครพิงค์ สวิทช์บอร์ด ตัวแทนจ�ำหน่ายเบรกเกอร์ไฟฟ้า ยี่ห้อ “ฮุนได” ในเขตภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ ได้จัดงาน นครพิงค์แฟร์ ครัง้ ที่ 3 ซึง่ ภายในงานนีท้ างเบรกเกอร์ ไฟฟ้าฮุนไดได้รว่ มเปิดบูธกิจกรรมโชว์สนิ ค้าเบรกเกอร์ ไฟฟ้า อาทิเช่น Air Circuit Breaker, Molded Case Circuit Breaker, Magnetic Contactor & Overload Relay ทั้งนี้ยังมีตัวอย่างตู้ MDB ที่มีการใส่เบรกเกอร์ การใช้งานจริงให้ลกู ค้าเห็นภาพชัดเจนยิง่ ขึน้ และยังมี Power Capacitor จากบริษทั ซัมวา (ไทยแลนด์) จ�ำกัด มาร่วมเปิดบูธภายในงานด้วยเช่นกัน ภายในงานมีโปรโมชัน่ สินค้าราคาพิเศษมากมาย ซึง่ ได้รบั ความสนใจจากลูกค้าเป็นจ�ำนวนมาก ลูกค้าทีซ่ อื้ สินค้าภายในงานมีสทิ ธิล์ นุ้ รับของรางวัลแบบพรีเมีย่ ม สนใจผลิ ต ภั ณ ฑ์ ติ ด ต่ อ T&D Powertech (Thailand) Co., Ltd. Tel. 0-2002-4395-7 E-mail : info@tdpowertech.com

กระทรวงแรงงาน จับมือ โปรทรัค ลงนามความร่วมมือ พัฒนาฝีมือช่างซ่อมบ�ำรุงรักษารถบรรทุก

กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กระทรวงแรงงาน จับมือบริษทั สามมิตร พีทจี ี โปรทรัค โซลูชัน เซ็นเตอร์ จ�ำกัด ลงนามความร่วมมือในการพัฒนาฝีมือ ให้แก่พนักงานศูนย์บริการซ่อมบ�ำรุงรักษารถบรรทุก “โปรทรัค” ในปี 2561 จ�ำนวน 22 แห่ง ครอบคลุมพื้นที่ 18 จังหวัดทั่วประเทศ พลต�ำรวจเอกอดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน เป็นประธานในพิธลี งนามความร่วมมือระหว่างกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กับ บริษทั สามมิตร พีทจี ี โปรทรัค โซลูชนั เซ็นเตอร์ จ�ำกัด เพือ่ พัฒนาฝีมอื ให้แก่ พนักงานศูนย์บริการซ่อมบ�ำรุงรักษารถบรรทุก พร้อมเปิดศูนย์บริการโปรทรัค สาขาหนองแค จังหวัดสระบุรี อย่างเป็นทางการ โดยมี ตฤณ ศิริจารุวร กรรมการผู้จัดการ บริษัท สามมิตร พีทีจี โปรทรัค โซลูชัน เซ็นเตอร์ จ�ำกัด ร่วมในพิธี May-June 2018


ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ฉลอง 40 ปีในไทย พร้อมเปิดแคมเปญ “Bold Idea”

มาร์ค เพลิทิเยร์ ประธาน ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย เป็นประธานในพิธีเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาส ที่ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ฉลองครบ 40 ปีในประเทศไทย รวมทั้งแถลงวิสัยทัศน์ตอกย�้ำจุดยืนสนับสนุนการก้าวสู่ เศรษฐกิจดิจทิ ลั เต็มสปีด ตัง้ เป้ายกระดับธุรกิจประเทศไทย ชูจุดแข็งด้านความเชี่ยวชาญตลาดอันยาวนานใน 6 สาขา หลัก เพือ่ รองรับภาคธุรกิจในการก้าวสู่ Thailand 4.0 อย่าง เต็มรูปแบบ ทัง้ พลังงาน ไอที อาคาร เครือ่ งกล โรงงาน และ โครงข่ายไฟฟ้า พร้อมเปิดตัวแคมเปญ “Bold Idea” ภายใต้ หัวข้อ “40 Years for 4.0 Life” เจาะ 4 หัวข้อหลัก คือทีพ่ กั อาศัย อาคารและเมือง อุตสาหกรรม และไอที มุ่งสร้าง แรงบันดาลใจ กระตุน้ ให้องค์กรตระหนักถึงการใช้เทคโนโลยี เพื่อร่วมพัฒนาประเทศสู่ยุคดิจิทัลแบบก้าวกระโดด และ ทุก 1 โครงงานที่ส่งเข้ามามีส่วนช่วยบริจาคโคมไฟโมบิยา พลังงานแสงอาทิตย์ เปลีย่ นพืน้ ทีท่ ไี่ ร้พลังงานให้มพี ลังงาน ใช้

เชลล์ เปิดตัวแคมเปญ “คุณปลอดภัย ทุกคนปลอดภัย ร่วมใช้ถนนอย่างรับผิดชอบ”

อรรถ เหมวิ จิ ต รพั น ธ์ รองประธานกรรมการ บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด อรอุทัย ณ เชียงใหม่ กรรมการบริหาร ธุรกิจการตลาดค้าปลีก บริษัท เชลล์แห่ง ประเทศไทย จ�ำกัด และ นายแพทย์พรหมมินทร์ กัณธิยะ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ ร่วมเปิด แคมเปญ “คุณปลอดภัย ทุกคนปลอดภัย ร่วมใช้ถนน อย่างรับผิดชอบ” บริษทั เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด ตอกย�ำ้ ความมุง่ มัน่ ในการสร้างความตระหนักรู้ และส่งเสริมความปลอดภัย ทางถนนด้วยการเปิดตัวแคมเปญ “คุณปลอดภัย ทุกคน ปลอดภัย ร่วมใช้ถนนอย่างรับผิดชอบ” โดยความร่วมมือ ระหว่างเชลล์ ภาครัฐ ภาคเอกชน เครือข่ายประชาสังคม และ องค์กรอิสระ เพือ่ สนับสนุนให้ทอ้ งถนนไทยมีความปลอดภัย อย่างยัง่ ยืนและเพิม่ ประสิทธิภาพในการใช้รถใช้ถนนร่วมกัน แคมเปญดังกล่าวมีแผนด�ำเนินงานเป็นเวลา 3 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2561-พ.ศ. 2563

May-June 2018


ไอเอฟเอส เปิดตัว ไอเอฟเอส ฟิลด์ เซอร์วิส แมเนจเม้นท์ 6 IFS Announces IFS Field Service Management 6 ไอเอฟเอส บริษทั ระดับโลกด้านแอพพลิเคชันส�ำหรับองค์กร จัดการ แสดงพรีววิ การอัปเดตครัง้ ส�ำคัญของ ไอเอฟเอส ฟิลด์ เซอร์วสิ แมเนจเม้นท์ หรือเอฟเอสเอ็ม (IFS Field Service Management™ (FSM)) ภายในงาน ไอเอฟเอส เวิรล์ ด์ คอนเฟอเรนซ์ (IFS World Conference) ณ เมืองแอตแลนตา ประเทศสหรัฐอเมริกา “เรารู ้ สึ ก ยิ น ดี อ ย่ า งมาก ทีไ่ ด้นำ� เสนอขีดความสามารถของ ไอเอฟเอส เซอร์วสิ แมเนจเม้นท์ 6 ก่ อ นจ� ำ หน่ า ยจริ ง ซึ่ ง โซลู ชั น นี้ พร้อมรองรับการใช้งานในตลาด ทัว่ โลก ทัง้ ยังช่วยเสริมความสามารถ ด้ า นการก� ำ หนดค่ า การท� ำ งาน การเชือ่ มต่อ และมีความยืดหยุน่ สูง” มาร์ก บริวเวอร์ ผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ า ยอุ ต สาหกรรมโลกส� ำ หรั บ Mark Brewer การบริหารจัดการบริการ บริษัท ไอเอฟเอส กล่าว และว่า “การปรับโฉมอย่างยิ่งใหญ่ในครั้งนี้ นอกจากจะเป็นการสร้างความ แตกต่างให้กบั คุณค่าทีน่ ำ� เสนอแก่ลกู ค้าแล้ว ยังเป็นการช่วยให้ลกู ค้าสามารถ เลือกฟังก์ชันการท�ำงานและปรับใช้ในรูปแบบที่ต้องการได้อย่างอิสระ ไม่ว่าจะบนระบบคลาวด์หรือภายในองค์กร การมีตัวเลือกถือเป็นสิ่งที่ดี และไอเอฟเอสพร้อมช่วยลูกค้าในการตัดสินใจเลือกสิง่ ทีส่ ามารถตอบโจทย์ ความต้องการทางธุรกิจได้อย่างแท้จริง จะเห็นได้ว่าโซลูชันนี้เป็นการผสาน รวมความยืดหยุ่นเข้ากับฟังก์ชันการท�ำงานระดับชั้นน�ำของอุตสาหกรรม ซึง่ จะเชือ่ มโยงเข้ากับเทคโนโลยีเอไอ และการเพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงาน อย่างสูงสุด รวมถึงสร้างประสบการณ์ใหม่สำ� หรับผูใ้ ช้ และยังเป็นการตอกย�า้ อย่างชัดเจนว่าไอเอฟเอสเป็นโซลูชนั บริการภาคสนามทีค่ รบวงจรและพร้อม ให้การรองรับการเชื่อมต่อที่ครอบคลุมมากที่สุดในตลาด” ตัวอย่างของผู้ที่น�ำโซลูชันนี้มาใช้ก่อนใคร คือ อิกฮอฟฟ์ (Eickhoff) บริษทั ผูผ้ ลิตชัน้ น�ำด้านเครือ่ งจักรกลและเทคโนโลยีเฟืองทีใ่ ช้ในอุตสาหกรรม เหมือง กังหันลม และในภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ ดีทมาร์ ชมิตซ์ หัวหน้าฝ่ายบริการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของอิกฮอฟฟ์ (Eickhoff) ให้ความเห็นต่อไอเอฟเอส ฟิลด์ เซอร์วิส แมเนจเม้นท์ 6 ว่า “ในฐานะผู้ให้บริการด้านเครื่องจักรกลส�ำหรับภารกิจส�ำคัญ เรามองเห็นว่า บริการเป็นสิ่งที่ช่วยสร้างความแตกต่างให้กับการแข่งขันและถือเป็นความ สามารถหลักขององค์กร ด้วยเหตุนี้ เราจึงต้องการโซลูชันที่จะเข้ามาช่วย จัดการกับรายการชิน้ ส่วนของเราทีม่ มี ากกว่า 6.5 ล้านชิน้ ในบัญชีชนิ้ ส่วนที่ มีความซับซ้อนส�ำหรับเครือ่ งจักรแบบปรับแต่งตามความต้องการทีม่ จี ำ� นวน มากกว่า 15,000 เครือ่ ง โดย IFS FSM 6 น�ำเสนอแนวทางทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และช่วยสนับสนุนให้ความต้องการของเราเป็นไปได้”

May-June 2018

IFS, the global enterprise applications company, previews major updates of its IFS Field Service Management™ (FSM) offering at the IFS World Conference in Atlanta. “We are very excited to offer a preview of IFS Field Service Management 6, which leads the market in terms of usability, configurability, connectivity, and flexibility,” said Mark Brewer, IFS global industry director for service. “With this major new release, we are further differentiating our value proposition but are continuing to provide customers with the ability to choose the functionality they need and deploy in the way they want—be it in the cloud or on-premise. Choice is a good thing, and with IFS, the customer can decide what makes sense for their business. Combine this flexibility with industry-leading functionality, leading AI and optimization technology and a new user experience and it is evident that IFS really does represent the most complete, connected field service solution on the market.” One of the early adopters is Eickhoff, a leading manufacturer of machinery and gearing technology used in mining, wind turbines, and other industrial applications. Commenting on IFS Field Service Management 6, Dietmar Schmitz, Head of Product Development Service at Eickhoff, said, “As a provider of mission-critical machinery, we see service as a core competency and competitive differentiator. Consequently, we needed a solution to manage our more than 6.5 million items in complex parts lists for over 15,000 custom units. IFS FSM 6 provides an engaging and effective way to make this possible.” IFS™ develops and delivers enterprise software for customers around the world who manufacture and distribute goods, maintain assets, and manage service-focused operations


ไฟร์วอลล์ ซีรีส์ FortiGate 6000F Series New FortiGate 6000F series

ฟอร์ติเน็ตเปิดตัวกลุ่มผลิตภัณฑ์ไฟร์วอลล์เน็กซ์เจเนอเรชั่น ซีรีส์ใหม่ “FortiGate 6000F Series” เพื่อตอบสนองเทรนด์ความ ต้องการใหม่ๆ ขององค์กรระดับเอ็นเตอร์ไพร้สต์ อ้ งการผลิตภัณฑ์ดา้ น ความปลอดภัยเครือข่ายในระดับสูงขึน้ เพือ่ รองรับการเชือ่ มต่อไปยัง เครือข่ายมัลติคลาวด์ การใช้อุปกรณ์โมบายและไอโอทีที่มีมากขึ้น รองรับข้อมูลที่ถูกเข้ารหัสจ�ำนวนมากมายเข้ามาในเครือข่ายองค์กร ในปัจจุบนั เครือข่ายองค์กรส่วนเอจ (EDGE) รองรับการใช้งาน อุปกรณ์โมบาย เครือข่ายมัลติคลาวด์ และไอโอทีทมี่ กี ารเข้ารหัสข้อมูล มากขึน้ ซึง่ เป็นปรากฏการณ์ทตี่ อ้ งการใช้แบนวิธด์สงู ขึน้ มีทรูพตุ สูงขึน้ รวมถึงความจุดา้ น Session Capacity สูงขึน้ องค์กรจึงจ�ำเป็นต้องพัฒนา เครือข่ายส่วน EDGE ให้มีความทันสมัย มีศักยภาพการท�ำงานให้ สูงขึ้น นอกจากนี้ พืน้ ทีท่ อี่ าจโดนภัยคุกคามประเภทดิจทิ ลั สามารถ เกิดขึน้ ได้กว้างขวางขึน้ ภัยมีความซับซ้อนมากขึน้ ยิง่ ท�ำให้องค์กรมี อุปกรณ์ดา้ นความปลอดภัยทีท่ นั สมัย สามารถปรับให้เข้ากับความเร็ว และขนาดของอุปกรณ์ที่เชื่อมโยงเข้ามาในเครือข่าย บริหารจัดการ ได้ง่าย อุปกรณ์ตระกูล “FortiGate 6000F Series” ใหม่นี้สร้างขึ้น จากสถาปัตยกรรมฮาร์ดแวร์ยุคหน้าของฟอร์ติเน็ต ซึ่งรวมเอาการ์ด ประมวลผลหลายซีพยี แู บบแยกส่วน (Multi-CPU Processing Card) ช่วยให้สามารถใช้งานได้อย่างคล่องตัวและมีสมรรถนะในขนาดกะทัดรัด สร้างประสิทธิภาพการท�ำงาน ความเสถียร ความจุของอุปกรณ์ขนาด คอมแพคนี้ ให้เป็นในระดับอุปกรณ์ที่มีชัสซีได้ ปาสคาล ปัวโร รองประธานฝ่ายกลยุทธ์การรักษาความ ปลอดภัยของ ePlus กล่าวว่า “คอมพิวเตอร์ในระบบคลาวด์กำ� ลังเป็น ทีน่ ยิ มมากขึน้ แต่ชอ่ งว่างในการป้องกันอาจเกิดขึน้ ได้หากโซลูชนั ด้าน ความปลอดภัยไม่สามารถทันกับสภาพแวดล้อมแบบคลาวด์ของรัฐ เอกชนและไฮบริดได้อย่างคล่องตัว การเติบโตของ IoT และ Mobility ยั ง ท� ำ ให้ ค วามต้ อ งการขนาดใหญ่ เ กี่ ย วกั บ ประสิ ท ธิ ภ าพและ สถาปัตยกรรมด้านความปลอดภัยเนือ่ งจากข้อมูลจะไปถึงจุดหล่านี้ ePlus ได้ ตระหนักถึงเทรนด์นี้และได้ลงทุนอย่างมากในการจัดหา โซลูชันด้านความปลอดภัยที่ครบถ้วนเพื่อตอบสนองความต้องการ ทีเ่ พิม่ ขึน้ เหล่านี้ เรารูส้ กึ เป็นเกียรติทไี่ ด้รว่ มเป็นพันธมิตรกับฟอร์ตเิ น็ต และยกระดับแพลตฟอร์มที่แข็งแกร่งให้มีขนาดและรักษาสภาพ แวดล้อมแบบแปรผันเหล่านี้ได้” ฟอร์ติเน็ต (NASDAQ : FTNT) ปกป้ององค์กร ผู้ให้บริการ หน่วยงานรัฐบาลทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในโลก ฟอร์ตเิ น็ตช่วยให้ลกู ค้าสามารถ มีข้อมูลเชิงลึกและการป้องกันที่ราบรื่นเพื่อให้พ้นภัยคุกคาม และ ยังเพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงานทีเ่ ยีย่ มยอดให้เครือข่ายทีไ่ ร้พรมแดน ในวันนี้และในอนาคต

Fortinet® (NASDAQ : FTNT), the global leader in broad, integrated and automated cybersecurity solutions, today introduced its FortiGate 6000F Series of Next-Generation Firewalls (NGFW). The first in the series, the FortiGate 6000F incorporates a new hardware processing architecture that delivers the validated performance of a Fortinet chassis in a compact appliance form-factor to deliver advanced security for exponentially increasing enterprise traffic. The FortiGate 6000F series NGFWs are ideally suited for enterprise edge networks that prioritize threat protection and encryption inspection throughput in a form-factor that enables high density, energy efficiency, and deployment simplicity. The FortiGate 6000F is built around Fortinet’s next-generation hardware architecture that combines discrete, multi-cpu processing cards that enable chassis-class performance, resilience, and capacity in a compact apppliance form factor. Delivers unparalleled processing power and speed to meet the security needs of enterprise edge traffic with industry-leading encrypted traffic inspection, threat protection and NGFW performance.

Pascal Perot, VP strategic alliances, security at ePlus “Cloud computing is becoming increasingly popular, but gaps in protection can occur if security solutions can’t keep pace with agile public, private, and hybrid cloud environments. The growth of IoT and Mobility also puts large demands on performance and security architectures as data traverses these end points. ePlus recognizes these advances and has invested significantly in providing our customers with comprehensive security solutions to meet these growing demands. We are proud to partner with Fortinet and leverage their robust platform to both scale and secure these transformative environments.” Fortinet (NASDAQ : FTNT) secures the largest enterprise, service provider, and government organizations around the world. Fortinet empowers its customers with intelligent, seamless protection across the expanding attack surface and the power to take on ever-increasing performance requirements of the borderless network — today and into the future.

May-June 2018


Industry News

บ้านปู อินฟิเนอร์จี และ FN ประกาศเป็นพันธมิตร ต่อยอดพลังงานสะอาดสู่การพัฒนากรีนเอ๊าท์เลทอย่างยั่งยืน บริษัท บ้านปู อินฟิเนอร์จี จ�ำกัด หนึ่งในบริษัทลูก ของบ้านปูฯ ในฐานะผูใ้ ห้บริการด้านการวางระบบผลิตไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์แบบครบวงจร One Stop Service ด้วยเทคโนโลยีสะอาดและทันสมัย ทีด่ ำ� เนินธุรกิจตามกลยุทธ์ บ้านปูฯ Greener & Smarter มุง่ มัน่ พัฒนาสูก่ ารเป็นบริษทั ชัน้ น�า ด้านพลังงานอย่างครบวงจร โดย สมฤดี ชัยมงคล กรรมการ ประกาศความร่วมมือกับ บริษทั เอฟเอ็น แฟคตอรี่ เอ๊าท์เลท จ�ำกัด (มหาชน) (FN) ผูน้ ำ� ธุรกิจศูนย์การค้าประเภทเอ๊าท์เลท แห่งแรกในประเทศไทย โดย เบญจ์เยีย่ ม ส่งวัฒนา ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร ในโครงการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์บนหลังคา (โซลาร์รูฟท็อป) ที่เอฟเอ็นเอ๊าท์เลท สาขาพระนครศรีอยุธยา ด้วยก�ำลังผลิตไฟฟ้า 640 กิโลวัตต์ คาดว่าจะแล้วเสร็จและพร้อมใช้งานภายในครึ่งปีแรกของ 2561

สมฤดี ชัยมงคล

เบญจ์เยี่ยม ส่งวัฒนา

ความร่วมมือครั้งนี้เกิดจากแนวคิดร่วมกันระหว่างเอฟเอ็น และบ้านปู อินฟิเนอร์จีฯ ในการส่งเสริมการด�ำเนินธุรกิจอย่างมี ประสิทธิภาพและลดต้นทุนอย่างชาญฉลาดด้วยพลังงานสะอาด อีกทัง้ เอฟเอ็นยังเชือ่ มัน่ ในความเชีย่ วชาญของบ้านปู อินฟิเนอร์จฯี ที่ใช้อุปกรณ์ที่มีคุณภาพและมีบริการหลังการขายอย่างมืออาชีพ โดยเอฟเอ็นมีแผนที่จะติดตั้งโซลาร์รูฟท็อปในสาขาอื่นๆ ต่อไปใน อนาคต ซึง่ ในงานเซ็นสัญญาดังกล่าว ทีมผูบ้ ริหารเอฟเอ็นได้เยีย่ มชม

May-June 2018

ห้องคอนโทรลรูมของบ้านปู อินฟิเนอร์จฯี ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ เพือ่ ให้บริการ และมอบความช่วยเหลือแก่ลูกค้าตลอด 24 ชั่วโมง บริษัท บ้านปู อินฟิเนอร์จี จ�ำกัด เป็นบริษัทในเครือของ บริษทั บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) ผูน้ ำ� ด้านพลังงานแห่งเอเชีย ในฐานะ ผู้ให้บริการด้านการวางระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ แบบครบวงจรอย่างมืออาชีพ ตัง้ แต่การให้คำ� ปรึกษา ออกแบบระบบ ติดตัง้ ตรวจสอบ และซ่อมบ�ำรุง ส�ำหรับลูกค้าภาคอุตสาหกรรมและ ธุรกิจขนาดใหญ่ทตี่ อ้ งการลดต้นทุนการบริหารจัดการจากการประหยัด ค่าไฟฟ้า โดยน�ำประสบการณ์ในการด�ำเนินธุรกิจด้านพลังงานของ บ้านปูฯ มากกว่า 30 ปี ทั้งในประเทศและต่างประเทศ และความ ช�ำนาญจากธุรกิจโซลาร์ฟาร์มในประเทศจีนและญีป่ นุ่ มาต่อยอดเป็น ธุรกิจพลังงานสะอาดส�ำหรับประเทศไทยในอนาคต บริษทั เอฟเอ็น แฟคตอรี่ เอ๊าท์เลท จ�ำกัด (มหาชน) (FN) ด�ำเนินธุรกิจศูนย์จำ� หน่ายสินค้า “เอ๊าท์เลท” แห่งแรกในประเทศไทย ภายใต้แนวคิด “คุณภาพส่งออก ราคาผูผ้ ลิต” ทีเ่ น้นสร้างความแตกต่าง และสร้างประสบการณ์ในการจับจ่ายใช้สอยที่น่าประทับใจให้แก่ ลูกค้า สินค้าที่วางจ�ำหน่ายที่ FN เป็นสินค้าที่ได้รับการคัดสรรมา อย่างดี โดยพิจารณาทั้งด้านคุณภาพและราคาที่เหมาะสม


Industry News

ตลาดไฟส่องสว่างแอลอีดีโตต่อเนื่อง ตลาดไฟส่องสว่างของไทยในปี 2560 มีมลู ค่า 3.73 พันล้านบาท ในด้านการประหยัดพลังงาน อายุการใช้ทยี่ าวนานกว่า และมัน่ ใจใน และคาดว่าจะเติบโตเฉลี่ย 38 เปอร์เซ็นต์หรือกว่า 5 พันล้านบาท ความคุม้ ค่าการลงทุน รวมทัง้ นโยบายของภาครัฐในการรณรงค์ให้มี ภายในปี 2563 โดยมีไฟส่องสว่างประเภทแอลอีดเี ป็นปัจจัยสนับสนุน การเปลี่ยนมาใช้หลอดไฟแอลอีดีแทนหลอดฟลูออเรสเซนต์ก็เป็น ปัจจัยส�ำคัญให้ตลาดแอลอีดเี ติบโต อย่างไรก็ตาม แม้ตลาดแอลอีดี หลักต่อการเติบโตของตลาด จะก�ำลังเติบโตขึ้น แต่มูลค่าตลาดแอลอีดีของไทยโดยรวมยังอยู่ที่ ล่าสุดการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) ร่วมกับ เมสเซ่ แฟรงค์เฟิรต์ ประมาณ 18 เปอร์เซ็นต์ ซึง่ หมายความว่ายังมีพนื้ ทีใ่ ห้กบั ผูป้ ระกอบการ ออกาไนเซอร์ผู้จัดงานแสดงสินค้าด้านไฟฟ้าแสงสว่างและอาคาร ในการท�ำตลาดส่วนนี้อีกถึง 80%” ระดับโลก เตรียมจัดงาน “ไทยแลนด์ ไลท์ตงิ้ แฟร์ 2018” ให้เป็นเวที กลางเพือ่ สนับสนุนองค์กรทีด่ ำ� เนินธุรกิจด้านการประหยัดพลังงาน “ส� ำ หรั บ แนวโน้ ม ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ด ้ า นไฟฟ้ า แสงสว่ า งใน ไฟฟ้า และมุ่งเน้นให้เป็นเวทีในการรวบรวมองค์ ประเทศไทย ผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์การใช้งานที่ ความรูจ้ ากผูพ้ ฒ ั นาเทคโนโลยีดา้ นไฟฟ้าแสงสว่าง สะดวกสบายมากขึ้นในกลุ่มสมาร์ทไลท์ติ้งและ และอาคารจากนานาประเทศ เพือ่ สนับสนุนการ สมาร์ทโฮม รวมทัง้ การใช้แอปพลิเคชันต่างๆ เข้ามา เติบโตของอุตสาหกรรมไฟฟ้าแสงสว่างทีเ่ น้นการ ใช้กบั ระบบไฟฟ้าแสงสว่างจะมีแนวโน้มการเติบโต ประหยัดพลังงานของประเทศ ที่เห็นได้ชัดเจน นอกจากนั้น เทคโนโลยี IOT ก็ เป็นจุดเปลี่ยนที่ส�ำคัญของผลิตภัณฑ์ด้านไฟฟ้า พาขวัญ เจียมจิโรจน์ ผู้จัดการทั่วไป บริษทั ดิ เอ็กซิบสิ จ�ำกัด ผูจ้ ดั งาน ไทยแลนด์ ไลท์ตงิ้ แสงสว่างที่ปัจจุบันไม่ใช่เป็นเพียงแค่หลอดไฟ แฟร์ 2018 และตัวแทนของเมสเซ่ แฟรงค์เฟิร์ต แต่ต้องเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ ซึ่งนับเป็น เทรนด์ทมี่ าแรง โดยเฉพาะอุปกรณ์ไฟฟ้าส�ำหรับ ในประเทศไทย กล่าวว่า “ในช่วง 2-3 ปีทผี่ า่ นมา บ้านอัจฉริยะ หรือสมาร์ทโฮม ทีต่ อ้ งควบคุมการ ตลาดผลิตภัณฑ์ประเภทหลอดไฟทั่วไปที่ไม่ใช่ ท�ำงานได้ด้วยสมาร์ทโฟนหรือแทบเลต ในขณะ แอลอีดีเริ่มหดตัวลงในขณะที่ตลาดไฟแอลอีดี ค่อยๆ เติบโตขึน้ อย่างมีนยั ส�ำคัญ เนือ่ งด้วยราคา เดียวกันอาคารบ้านเรือน โรงงานและเมืองก็ตอ้ งการ ของผลิตภัณฑ์ที่ค่อยๆ ปรับลดลง ประกอบกับ สมาร์ทไลท์ตง้ิ เพือ่ การประหยัดพลังงานเป็นส�ำคัญ” พาขวั ญ เจี ย มจิ โ รจน์ ผูใ้ ช้ไฟมีความเข้าใจในประสิทธิภาพของไฟแอลอีดี พาขวัญ กล่าวเสริม

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เผยขุมพลังเศรษฐกิจดิจิทัลในงานแสดงเทคโนโลยีระดับโลก ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผูน้ ำ� ด้านดิจทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชัน่ ในการ จัดการพลังงาน และระบบออโตเมชัน่ จัดงานแสดงนวัตกรรมระดับ โลก (Innovation Summit 2018) ณ กรุงปารีส ประเทศฝรัง่ เศส มีลกู ค้า คู่ค้า และผู้ทรงอิทธิพลในวงการต่างๆ กว่า 5,000 ราย เข้าร่วมงาน กันอย่างอุน่ หนาฝาคัง่ โดยกิจกรรมในครัง้ นีม้ บี รรดาผูเ้ ชีย่ วชาญจาก ชไนเดอร์ อิเล็คทริค พร้อมด้วยนักคิดในวงการอุตสาหกรรมชั้นน�า ระดับโลก ร่วมกันแบ่งปันข้อมูลเชิงลึก พร้อมน�ำเสนอ Bold Idea ขานรับความท้าทาย และโอกาสในการเพิ่มขุมพลังให้กับเศรษฐกิจ ดิจิทัล

“โลกก�ำลังเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมายอย่างที่ไม่เคยเกิด มาก่อนในประวัตกิ ารณ์ เนือ่ งจากความเฟือ่ งฟูของเศรษฐกิจดิจทิ ลั โดยเทคโนโลยี อย่างเช่น อินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิง่ หรือ Internet of things (IoT) ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) และการวิเคราะห์ บิ๊กดาต้า ช่วยให้บริษัทต่างๆ สร้างนวัตกรรมได้มากขึ้น ท�ำธุรกิจได้ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ช่วยส่งเสริมความสามารถด้านการแข่งขัน” ฌอง ปาสคาล ตริควั ร์ ประธานบริษทั และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ชไนเดอร์ อิเล็คทริค กล่าว

May-June 2018


Industry News

“ในฐานะผู ้ น� า อุตสาหกรรมทีม่ คี วาม รับผิดชอบ เราต้องการ ส า ธิ ต ใ ห ้ เ ห็ น ว ่ า น วั ต ก ร ร ม ข อ ง เร า สามารถช่วยลูกค้าและ คู ่ ค ้ า ก้ า วสู ่ ก ารปฏิ รู ป ทางดิ จิ ทั ล ได้ ส� ำ เร็ จ ทัง้ ในระบบออโตเมชัน ฌอง ปาสคาล ตริคัวร์ และการจัดการพลังงาน เทคโนโลยีของเราสร้าง บนฐานของ EcoStruxure™ ทีช่ ว่ ยควบคุมอ�ำนาจในการเปลีย่ นแปลง สูย่ คุ ดิจทิ ลั ช่วยให้ลกู ค้าของเรากลายเป็นผูน้ ำ� ในเศรษฐกิจแบบใหม่ ทีม่ ที งั้ ประสิทธิภาพ ความปลอดภัย ความน่าเชือ่ ถือยิง่ ขึน้ การเชือ่ มต่อ ที่ดีขึ้น และยั่งยืนมากขึ้น”

งาน Innovation Summit World Tour ปีนี้ จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 โดยครอบคลุมอีก 20 งานที่จัดขึ้นทั่วโลก นับเป็นโปรแกรมการ จัดงานทีม่ ากกว่าปี 2017 ถึง 2 เท่า โดยงานทีจ่ ดั ขึน้ ณ กรุงปารีส นี้ นับเป็นงานใหญ่ที่สุดที่ชไนเดอร์ อิเล็คทริคเคยจัดมา มีการโชว์เคส ถึงการพัฒนาล่าสุดของ EcoStruxure ที่เป็นสถาปัตยกรรมและ แพลตฟอร์มระบบเปิด ให้ศกั ยภาพด้าน IoT รองรับการใช้งานในลักษณะ Plug and Play สามารถท�ำงานร่วมกับระบบอืน่ ได้ ซึง่ EcoStruxure มอบคุณค่าที่เหนือชั้นยิ่งขึ้น ในเรื่องของ IoT โมบิลิตี้ การตรวจจับ คลาวด์ การวิเคราะห์ และระบบรักษาความปลอดภัยบนไซเบอร์ เพือ่ มอบนวัตกรรมในทุกระดับ ตั้งแต่ผลิตภัณฑ์เชื่อมต่อ ระบบควบคุม ปลายทางไปยังแอปพลิเคชัน่ (Edge Control) การวิเคราะห์ และการ บริการต่างๆ โดยทีผ่ า่ นมา EcoStruxure ได้มกี ารติดตัง้ ใช้งานมากกว่า 480,000 ครั้ง โดยผู้วางระบบกว่า 20,000 รายที่ให้การสนับสนุน ในการติดตัง้ ซึง่ มีการเชือ่ มต่อสินทรัพย์หรืออุปกรณ์มากกว่า 1.5 ล้าน รายการ

เชลล์ เปิดตัว เชลล์ โอมาล่า เอส 2 จีเอ็กซ์ น�้ำมันเกียร์สูตรใหม่ บริษทั เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด ตอกย�ำ้ ความเป็นผูน้ า� ด้านนวัตกรรมเทคโนโลยีน�้ำมันหล่อลื่นระดับโลก ด้วยการเปิดตัว เชลล์ โอมาล่า เอส 2 จีเอ็กซ์ (Shell Omala S2 GX) น�้ำมันเกียร์ สูตรใหม่ส�ำหรับงานอุตสาหกรรม ที่ได้รับการพัฒนาและปรับปรุง ประสิทธิภาพให้ดยี งิ่ ขึน้ ช่วยให้อายุการใช้งานของน�ำ้ มันยาวนานขึน้ เสริมประสิทธิภาพให้เครื่องจักรท�ำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ รวมถึงช่วยลดภาระต้นทุนโดยรวมในการบ�ำรุงรักษาเครื่องจักร วีธรา ตระกูลบุญ กรรมการบริหาร ธุรกิจน�ำ้ มัน หล่อลื่น บริษัท เชลล์แห่ง ประเทศไทย จ�ำกัด กล่าวว่า “ในฐานะที่เชลล์เป็นผู้น�า ด้านนวัตกรรมเทคโนโลยี น�้ ำ มั น หล่ อ ลื่ น ระดั บ โลก เราเดินหน้าสร้างสรรค์และ พัฒนาน�้ำมันหล่อลื่นสูตร ใหม่ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพดี ยิ่งกว่าเดิม ด้วยเหตุนี้เอง เราจึงลงทุนในการวิจยั และ วีธรา ตระกูลบุญ พัฒนาเป็นมูลค่ามากกว่า May-June 2018

30,000 ล้านบาทต่อปี เพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมในการผลิตน�ำ้ มัน หล่อลืน่ คุณภาพสูง พร้อมน�ำเสนอผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพสูงทุกรูปแบบ สู่ตลาดเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่หลากหลาย เชลล์หวังว่าน�้ำมันเกียร์สูตรใหม่ “เชลล์ โอมาล่า เอส 2 จีเอ็กซ์” จะเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยขับเคลื่อนธุรกิจของลูกค้าทุกท่านให้ ประสบความส�ำเร็จอย่างยั่งยืน” เชลล์ โอมาล่า เอส 2 จีเอ็กซ์ ได้รบั การออกแบบเพือ่ ลดอัตรา การเสือ่ มสภาพของน�ำ้ มันหล่อลืน่ จากความร้อนและปฏิกริ ยิ าทางเคมี ระหว่างการใช้งาน รวมถึงลดการสึกหรอบนหน้าฟันเกียร์ นอกจากนี้ ยังมีคณ ุ สมบัตใิ นการต่อต้านการเกิดฟองอากาศอันเกิดจากปฏิกริ ยิ า ทางเคมีที่เหนือกว่าค่ามาตรฐานที่ต้องการในระดับอุตสาหกรรม รวมถึงลดการปนเปื้อนจากสิ่งแปลกปลอมภายนอก เช่น ทราย ฝุ่น และผงซีเมนต์ ทั้งนี้ เชลล์ โอมาล่า เอส 2 จีเอ็กซ์ ยังสามารถใช้ร่วม กับผลิตภัณฑ์นำ�้ มันเกียร์เชลล์ โอมาล่า เอส 2 สูตรเดิมได้ โดยไม่ตอ้ ง ล้างหรือเปลีย่ นถ่ายเต็มระบบ หากต้องการเปลีย่ นมาใช้งานผลิตภัณฑ์ สูตรใหม่


SUBSCRIPTION

ELECTRICITY & INDUSTRY magazine ปี 2561

ข้าพเจ้า ชื่อ ............................................................................................. สกุล ......................................................................................................... ตำ�แหน่ง .................................................................................... บริษัท/ห้าง/ร้าน ...................................................................................... ที่อยู่ (ที่ทำ�งาน) ......................................................................... แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด .................................................... รหัสไปรษณีย์ ......................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... ที่อยู่ (ที่บ้าน) ............................................................................. แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ .......................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... รหัสสมาชิก ...............................................................................

ประสงค์จะบอกรับนิตยสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” 1 ปี 6 ฉบับ 480 บาท 2 ปี 12 ฉบับ 960 บาท สมาชิกต่ออายุ 2 ปี 12 ฉบับ 800 บาท ตั้งแต่ฉบับที่ ............. เดือน .................................... ปี ..................... โดยส่งนิตยสารไปที่ ที่บ้าน ที่ท�ำ งาน พร้อมกันนี้ได้ส่งค่าสมาชิกเป็นจำ�นวนเงิน ................................ บาท (ตัวอักษร .........................................................................................) เช็คธนาคาร ................................................................................ สาขา ................................................................................................. เช็คคร่อมสั่งจ่าย “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด”

ธนาณัติ สั่งจ่ายในนาม “คุณวาสนา แซ่อึ้ง” ที่ทำ�การไปรษณีย์โทรเลขบางกอกน้อย โอนเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด” ชื่อธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี กรุงเทพ สะพานพระปิ่นเกล้า 162-0-74737-6 กสิกรไทย บางยี่ขัน 047-2-56333-5 ทหารไทย จรัญสนิทวงศ์ 020-2-27244-9 ไทยพาณิชย์ จรัญสนิทวงศ์ ซ.48 121-2-04080-0 หมายเหตุ กรุณาส่งแฟกซ์ หรือสำ�เนาใบเข้าบัญชี (Pay-in Slip) มาให้ บริษัทฯ พร้อมเขียนชื่อ-นามสกุล และรหัสสมาชิก (ถ้ามี) กำ�กับมาด้วย

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธย� แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. +66 (0)26 444 555, +66 (0)23 545 333 ต่อ 301 โทรสาร +66 (0)26 446 649, +66 (0)23 545 322


หากผู้อ่านท่านใดสนใจรายละเอียดต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสาร ELECTRICITY & INDUSTRY MAGAZINE

ปีที่ 25 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม-มิถุนายน 2561 กรุณากรอกข้อมูลดังกล่าวให้ครบถ้วนเพือ่ การติดต่อจัดส่งข้อมูลกลับไปยังท่านต่อไป ชื่อ .............................................................................................. สกุล ............................................................................................................. ที่อยู่ ........................................................................................... แขวง/ตำ�บล ................................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................. จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ .............................. โทร ............................................................................................. แฟกซ์ ...........................................................................................................

ประเภทของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง อุตสาหกรรมเคมี/ปิโตรเคมี

ตำ�แหน่งงานที่ท่านรับผิดชอบ

กรรมการผู้จัดการ/เจ้าของกิจการ ผจก.โรงงาน ผจก.ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ผจก.วิศวกรรม ผจก.ฝ่ายซ่อมบำ�รุง วิศวกรฝ่ายผลิต วิศวกรทดสอบ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมงานเชื่อม อุตสาหกรรมโลหการ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

ประเภทของกิจการ

ผู้ผลิต

ผู้แทนจำ�หน่าย

ผู้ผลิต/ผู้แทนจำ�หน่าย

หน่วยงานราชการ


ใบอนุญาตเลขที่ ปน. (ต)/1339 ปณจ.บางกอกน้อย ถ้าฝากส่งในประเทศไม่ต้องผนึกตราไปรษณียากร

บริการธุรกิจตอบรับ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 619/5 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงอรุณอัมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700

ประโยชน์ทท่ี า่ นจะได้รบั จากนิตยสาร เนื้อหา .................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ โฆษณา/รายละเอียดผลิตภัณฑ์ .............................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................

ความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ คอลัมน์ตา่ งๆ ทีป่ รากฏในนิตยสาร ชื่อคอลัมน์ สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย IEEE Power & Energy Society Thailand Chapter สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย Article Special Scoop Special Area IT Technology Product PR News Seminar Movement Industry News IT News

มีประโยชน์มาก

มีประโยชน์

พอใช้

ควรปรับปรุง


ดัชนีสินค้าประจำ�เดือนพฤษภาคม - มิถุนายน พ.ศ. 2561 บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ABB CO., LTD.

0-2665-1000

0-2324-0502

อุปกรณ์ไฟฟ้า

ปกหลังนอก

ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK 2018

0-2036-0500

-

งานแสดงสินค้า

22

0-2651-9221-9

0-2253-5973

Cable

9

BMAM EXPO ASIA

0-2833-5208

-

งานแสดงสินค้า

26

ELECTRIC VEHICLE ASIA

0-2036-0500

-

งานแสดงสินค้า

23

-

-

-

ปกหลังใน

LSIS

083-149-9994

-

ผู้น�ำด้านระบบสั่งจ่ายและระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้า ครบวงจร

ปกหน้าใน

MAXIMIZE INTEGRATED TECHNOLOGY CO., LTD.

0-2525-0299

0-2525-0298

Industrial Relays

10

MENNEKES Elektrotechnik GmbH & Co. KG

0-2741-5266

0-2741-5267

ผู้ผลิตปลั๊กอุตสาหกรรม

15

SAMWHA (THAILAND) CO., LTD.

038-559-002

038-559-003

จ�ำหน่าย ติดตั้งคาปาซิเตอร์

17

THAILAND LIGHTING FAIR

-

-

งานแสดงสินค้า

24

กระทรวงพลังงาน

-

-

-

7

0-2262-6000

0-2657-9888

น�ำ้ มันหล่อลื่น

3

ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) บจก.

0-2002-4395-97

0-2002-4398

อุปกรณ์ไฟฟ้า

5

พี ไอ เอส พาวเวอร์ ดิสทริบิวชั่น บจก.

0-2105-3011-2

0-2105-3013

สวิตช์

4

เพาเวอร์ เรด บจก.

0-2300-5671-3

0-2300-5937

อุปกรณ์ไฟฟ้า

11

มหาธน อีเลคทริค หจก.

0-2894-3447-9

0-2416-1659

อุปกรณ์ไฟฟ้า

16

ลีฟเพาเวอร์ บจก.

0-2300-5671-3

0-2300-5937

อุปกรณ์ไฟฟ้า

13

0-3368-4333

-

สวิตช์เกียร์

21

0-2876-2727-8

0-2476-1711

Couplings

12

ออมรอน อิเลคทรอนิคส์ บจก.

0-2942-6700

0-2937-0501

อุปกรณ์ไฟฟ้าและระบบควบคุมอัตโนมัติ

8

อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.

0-2693-1222

0-2693-1399

สาย LAN

27

เอวีร่า บจก.

0-2681-5050

0-2681-5995

อุปกรณ์ไฟฟ้า

25

0-2702-0581-8

0-2377-5937

ติดตั้ง EOCR อิเล็กทรอนิกส์โอเวอร์โหลดรีเลย์ ป้องกันมอเตอร์ไหม้

14

0-2434-0099

0-2434-3251

อุปกรณ์ไฟฟ้า

19

0-2985-2081-9

0-2985-2091

หม้อแปลงไฟฟ้าและตัวเหนีย่ วน�ำไฟฟ้าทุกชนิด

6

BANGKOK CABLE CO., LTD.

IEEE PES GTD

เชลล์แห่งประเทศไทย บจก.

ลูซี่ อิเล็คทริค (ประเทศไทย) บจก. เวอร์ทัส บจก.

เอส เอ วี เมคคานิคคอล เซอร์วิสส์ แอนด์ ซัพพลายส์ หจก. เอส.พี.วาย แอนด์ เคเบิ้ล บจก. เอสเทล บจก.

May-June 2018

ประเภทสินค้า

หน้า




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.