Electricity & Industry Magazine Issue Nov-Dec 2017

Page 1







Samwa_21.59x29.21cm.pdf

1

3/28/17

11:02 AM









Mennekes_21.59x29.21cm_Cre.pdf

1

3/30/17

3:05 PM




CONTENT November - December

2017

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย 28 32 36 37 40

การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การไฟฟานครหลวง สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย การไฟฟาสวนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟา จำกัด (มหาชน)

46 IEEE Power & Energy Society – Thailand (IEEE PES - Thailand)

ARTICLE 50 “10 เทคโนโลยีที่นาจับตามองสําหรับธุรกิจ (10 Technologies to Watch)” กองบรรณาธิการ 55 10 เร�องควรรูเกี่ยวกับไฟเบอรออพติก vs สายทองแดง บริษัท ไฟเบอรวัน จํากัด (มหาชน) 58 ระบบอัตโนมัติชวยสนับสนุนการทํางานในอนาคตไดอยางไร NICE Ltd แหงภูมิภาคเอเชียแปซิฟก COVER STORY 60 LSIS ผู ใหบริการดานอุปกรณ ไฟฟาแบบครบวงจร กองบรรณาธิการ

p.18_content.indd 18

SPECIAL AREA 63 เอเอ็มอาร GEN3 e-Smart Online ตอบโจทยการใชงานในยุคดิจิทัล บริษัท มิตซูบิชิ อิเล็กทริก ออโตเมติก (ประเทศไทย) จํากัด 66 ความสั่นสะเทือนของเคร�องจักร บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด 68 ทางเลือกใหมสําหรับแอรเซอรกิตเบรกเกอรตัดตอวงจร เพ�อปองกัน สําหรับเมนประธาน และสายปอนที่มีคุณภาพสําหรับโหลดภายใน วงจรไฟฟาที่สมบูรณแบบ ‘ในราคาประหยัดแต ไดรับสินคาคุณภาพสูง’ บริษัท เอวีรา จํากัด 70 3 เคล็ดลับดานเทคโนโลยีเพ�อการปรับปรุงประสิทธิภาพโรงพยาบาล ชไนเดอร อิเล็คทริค ประเทศไทย 72 นวัตกรรมเทคโนโลยีระบายอากาศ สําหรับตูคอนโทรล บริษัท แม็กซิไมซ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จํากัด 74 การเลือกใชเซอรกิตเบรกเกอรแรงดันปานกลาง (Medium Voltage Circuit Breakers : MVCB) บริษัท ที แอนด ดี พาวเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด 88 Spectrum Instrumentation’s digitiser is key to breaking record for world’s highest ever, indoor magnetic fields by the University of Tokyo Spectrum Instrumentation IT ARTICLE 78 แนวโนมเทคโนโลยีใหมที่นาจับตามองจากงาน “Fintech Dynamics in Asia” บริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จํากัด IT TECHNOLOGY 84 ไอโอที (IoT): อดีต ปจจุบัน และอนาคต บริษัท ไอเอฟเอส 90 91 94 97 99

PRODUCT PR NEWS MOVEMENT SEMINAR INDUSTRY NEWS

11/6/17 3:59 PM



EDITOR TALK

November-December

2017

...สิ่งที่มีค่าที่สุดอย่างหนึ่งในชีวิตของคนเราคือ “เวลา” ไม่ว่าเราจะมีเงิน อ�ำนาจ หรือทรัพย์สิ่งของมากขนาดไหน เราก็ไม่สามารถ เพิ่มเวลาในชีวิตได้ เมื่อเราให้เวลาในชีวิตกับสิ่งไหนมาก เราก�ำลังให้ความส�ำคัญหรือความรักกับสิ่งนั้นมาก จึงไม่แปลกที่เราจะใช้เวลาเพื่อ ความสุขส่วนตัวได้ แต่น้อยคนนักที่จะใช้เวลาเพื่อความสุขของผู้อื่น... ในโลกนีม้ พี ระมหากษัตริยพ์ ระองค์หนึง่ ทรงประทาน “เวลา” ทีม่ คี า่ ทีส่ ดุ กับประชาชนของพระองค์ โดยมิได้หวังสิง่ ตอบแทน ทรงงาน หนัก และทุ่มเท เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชนของพระองค์ และผู้ที่พระองค์ประทานเวลาให้มากที่สุดคือพวกเราประชาชนชาวไทย เรา คือ สิ่งที่มีค่ามากที่สุดของพระองค์... แอนดริว เกร้กสัน นิตยสารแพรว ปีที่ 39 ฉบับที่ 915 (25 ตุลาคม 2560) ข้อความข้างบนเป็นส่วนหนึ่งของข้อความทั้งหมดทีค่ ุณแอนดริวเขียนถึงในหลวงรัชกาลที่ 9 ในนิตยสารแพรว ข้อความนี้ทำ� ให้เราได้ ฉุกคิดอะไรบ้าง ... ทีผ่ า่ นมา พวกเรามักจะพูดกันว่า ในหลวงรัชกาลที่ 9 มีโครงการในพระราชด�ำรินบั ร้อยนับพันโครงการ แต่สงิ่ หนึง่ ทีพ่ วกเรา ไม่ค่อยได้ตระหนักคือ สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดที่ท่านประทานให้เราคือ “เวลา” ต่างหาก... “เวลา” ที่ควรจะใช้เพื่อหาความสุขส่วนพระองค์ แต่สิ่งที่ เราประจักษ์ตลอด 70 ปีที่ผ่านมาคือ พระองค์กลับทุ่มเทเวลาทุกนาทีให้กับโครงการต่างๆ เพียงเพื่อให้ประชาชนของพระองค์มีชีวิตที่ดีขึ้น สามารถพึ่งพาตนเองได้ ให้มีความรักใคร่สามัคคีกันเท่านั้นเอง วันที่ 26 ตุลาคมที่ผ่านมา ได้มีพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ พระเมรุมาศ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง นอกจากพระราชพิธีถวายพระเพลิงที่บริเวณมณฑลพิธีท้องสนามหลวงแล้ว ในวันนั้นรัฐบาลได้เปิด โอกาสให้ประชาชนทุกหมูเ่ หล่าได้ถวายดอกไม้จนั ทน์ตามจุดต่างๆ ทีก่ ำ� หนดไว้ทวั่ ประเทศ บรรยากาศในวันนัน้ เชือ่ ว่าหลายคนคงได้รบั ทราบ ว่าประชาชนได้หลัง่ ไหลไปรวมตัวตามจุดต่างๆ เรือนหมืน่ เรือนแสน บางทีต่ อ้ งต่อคิวนาน 3 ชัว่ โมงบ้าง บางแห่งมากกว่า 10 ชัว่ โมง แต่ทกุ คน ก็ยังอดทนรอ เพราะหากเทียบกับเวลา 70 ปีที่พระองค์ทรงอุทิศให้แก่พสกนิกรแล้ว เวลาแค่นี้ถือว่าน้อยมาก... ขอกราบลา ฝ่าพระบาท ในชาตินี้ หากแม้นมี โอกาส ในชาติหน้า ขอกุศล ผลบุญ หนุนน�ำพา เกิดเป็นข้า รองพระบาท ทุกชาติไป กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

ที่ปรึกษา : รศ.ฉดับ ปัทมสูต / รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ์ / ไกรสีห์ กรรณสูต พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ์ / ประเจิด สุขแก้ว ผศ.พิชิต ล�ำยอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องค์วงศ์สกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ : ดร.สุรพล ด�ำรงกิตติกุล ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นิภา กลิ่นโกสุม เลขากองบรรณาธิการ : ปัฐฐมณฑ์ อุ่ยพัฒน์ / จีราภา รักแก้ว พิสูจน์อักษร : อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรมรูปเล่ม / ศิลปกรรมโฆษณา : กันยา จ�ำพิมาย ฝ่ายโฆษณา : ศิริภรณ์ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภิรมณ์ เลขานุการฝ่ายโฆษณา : ชุติมันต์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก : นันธิดา รักมาก

November-December 2017

บทความที่ปรากฏใน ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine เป็นความคิดเห็น ส่ ว นตั ว ของผู ้ เขี ย น ไม่ มี ส ่ ว นผู ก พั น กั บ บริ ษั ท เทคโนโลยี มี เ ดี ย จ� ำ กั ด แต่ อ ย่ า งใด หากบทความใดที่ผู้อ่านเห็นว่ามีการลอกเลียนหรือแอบอ้าง กรุณาแจ้งที่กองบรรณาธิการ ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine บทความต่ า งๆ ที่ ป รากฏในหนั ง สื อ ได้ ผ ่ า นการตรวจทานอย่ า งถี่ ถ ้ ว นเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแก้ไขต่อไป เจ้าของ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 http:// www.technologymedia.co.th เพลท-แยกสี : บริษัท อิมเมจิ้น กราฟิค จ�ำกัด พิมพ์ที่ : บริษัท ฐานการพิมพ์ จ�ำกัด จัดจ�ำหน่าย : บริษัท ธนบรรณ ปิ่นเกล้า จ�ำกัด


AVERA

ผู จัดจำหน ายและเป นผู เชี่ยวชาญด าน • อุปกรณ ไฟฟ ากำลังภายในตู สว�ทช บอร ด • ระบบบร�หารช องจอดรถ งานบร�การหลังการขายและการบำรุงรักษา

อุปกรณ ป องกันไฟฟ ากระชากภายในและภายนอก ระบบและอุปกรณ อัดประจ�ไฟฟ าสำหรับยานยนต ไฟฟ า

ติดต อสอบถามรายละเอียดได ที่

AVERA Co., Ltd.

Tel : 088-001-0416 Website : www.avera.co.th E-mail : sales@avera.co.th






www.thailandindustrialfair.com

th

16

THAILAND INDUSTRIAL FAIR 2018

 ณ ร ก ป ุ อ อ ื ม ง อ ่ ื ร เค ร ก ั จ ง อ ่ ื ร ค เ ี 6 ย 1 ล ่ ี โ ท น โ ง ้ ั ค ร เท ค ง ม ด ร ส ร แ าหก งาน ส ต ุ อ น า  ด ร า ก ิ ร บ ะ เครื่องใช แล

INDUSTRIAL MACHINERY ▲ INDUSTRIAL SUPPLIES ▲ GARAGE EQUIPMENT ▲ MATERIAL HANDLING & LOGISTICS ▲

For booking exhibit space please contact : Ms.Pornsawat Tel. : 0-2838-9999 # 1177 E-mail : pornsawatv@gmail.com



การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

โครงการโซลาร เซลล บนผ�นน้ํา ที่ใหญ ที่สุดในประเทศไทย “แสงอาทิตย” นอกจากจะให้พลังงานความร้อน ให้แสง สว่าง และความอบอุ่นแก่โลกแล้ว แสงจากดวงอาทิตย์ยังสามารถ นำามาใช้เป็นพลังงานไฟฟ้าได้ ซึ่งในภาคของการผลิตไฟฟ้านั้น พลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานสะอาดที่หลายคนเทใจให้มาก ที่สุด เพราะเป็นแหล่งพลังงานให้มนุษย์ได้ใช้ฟรีไม่มีวันหมด ทั้งยัง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อย่างไรก็ตาม การผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ยงั คงมีขอ้ เสียในเรื่องการสิ้นเปลืองพื้นที่ติดตั้ง อาทิ หากต้องการพลังงาน ไฟฟ้าเพียง 1 เมกะวัตต์ ต้องใช้พื้นที่ในการตั้งแผงโซลาร์เซลล์มาก ถึง 13 ไร่ การติดตัง้ บนพืน้ ดินนัน้ อาจต้องเสียพืน้ ทีเ่ ป็นจำานวนมาก ซึ่งอาจหมายรวมถึงพื้นที่การเกษตรและปาไม้ด้วย การไฟฟ้าฝายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้วิจัยและ พัฒนาพลังงานทดแทนอย่างต่อเนื่อง และเตรียมเปด “โครงการ ผลิ ต ไฟฟ า เซลล แ สงอาทิ ต ย บ นทุ น ลอยน้ํ า ขนาดใหญ ที่ สุ ด ในประเทศไทย ณ อ า งเก็ บ น้ํ า โรงไฟฟ า วั ง น อ ย” จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ซึ่งการติดตั้งบนผิวน้ำา นอกจากจะลดการใช้ พืน้ ทีโ่ ดยเปล่าประโยชน์แล้ว ยังช่วยลดการระเหยของน้าำ ส่งผลให้ สามารถใช้ทรัพยากรน้ำาได้อย่างคุ้มค่ามากที่สุดอีกด้วย

โครงการผลิตไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์บนทุ่นลอยน้ำา ณ อ่าง เก็บน้าำ โรงไฟฟ้าวังน้อย มีขนาดกำาลังผลิตติดตัง้ 2.6 เมกะวัตต์ บน พื้นที่ 20 ไร่ สามารถช่วยลดการปล่อยกาซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ ถึง 2,143 ตันต่อป ใช้เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดผลึกซิลิคอน (c-Si) ติด ตัง้ แบบคงทีบ่ นทุน่ ลอยน้าำ ซึง่ เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดผลึกซิลคิ อนนัน้ เป็นชนิดที่มีประสิทธิภาพสูง มีอัตราการเสื่อมสภาพต่ำา ทั้งยังใช้ พืน้ ทีต่ ดิ ตัง้ น้อย ทำาให้มคี า่ ใช้จา่ ยด้านโครงสร้างและอุปกรณ์ตา่ งๆ ลดลง

November- December 2017

p.28-41_�����.indd 28

11/6/17 4:00 PM


การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ค่าพลังงานแสงอาทิตย์เฉลี่ยของประเทศไทยอยู่ที่ 5 kWh/ m2/year (ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน) โดยแต่ละจังหวัดค่าพลังงานแสงอาทิตย์มีค่าใกล้เคียงกันมาก ซึ่ง หมายความว่าในการติดตัง้ แผงโซลาร์เซลล์เพือ่ การผลิตไฟฟ้า ไม่มี จังหวัดไหนได้เปรียบหรือเสียเปรียบไปกว่ากัน แต่การเลือกสถาน ทีต่ ดิ ตัง้ แผงนัน้ กลับเป็นสิง่ ทีส่ าำ คัญกว่า ตามคุณสมบัตทิ างเทคนิค ของแผงโซลาร์เซลล์ ประสิทธิภาพการทำางานของแผงโซลาร์เซลล์ จะสูงขึน้ เมือ่ อุณหภูมติ า่ำ ลง ซึง่ การติดตัง้ บนน้าำ ซึง่ มีอณ ุ หภูมติ า่ำ กว่า บนดิน จึงส่งผลให้ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าของแผงโซลาร์เซลล์ มากขึ้นประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์

ในด้านผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สามารถคลายความกังวล ได้เลยว่า โครงการผลิตไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์บนทุ่นลอยน้ำา ณ อ่างเก็บน้าำ โรงไฟฟ้าวังน้อย ไม่มผี ลกระทบแต่อย่างได้ เนือ่ งจากจะ เน้นพัฒนาในพืน้ ทีแ่ หล่งน้าำ ทีถ่ กู สร้างขึน้ เช่น อ่างเก็บน้าำ หรือเขือ่ น ที่รับน้ำาฝน ซึ่งมักจะมีสิ่งมีชีวิตหรือสัตว์น้ำาน้อยมาก โดยมีข้อ สันนิษฐานว่า การติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์บนผิวน้ำามีผลทำาให้การ สังเคราะห์แสงของพืชน้าำ ซึง่ เป็นกระบวนการผลิตของออกซิเจนใน น้าำ ลดลง แต่ในกรณีทอี่ า่ งเก็บน้าำ นัน้ เป็นอ่างเก็บน้าำ ทีม่ วี ตั ถุประสงค์ เฉพาะเจาะจง เช่น อ่างเก็บน้ำาในโรงไฟฟ้าหรืออ่างเก็บน้ำาเพื่อรอ การผลิตน้าำ ประปา ซึง่ ไม่มสี งิ่ มีชวี ติ ในน้าำ ผลกระทบจากโครงการฯ ก็จะมีแต่ผลด้านดีคอื ช่วยให้คณ ุ ภาพน้าำ ดีขนึ้ จากการลดการเติบโต ของพืชน้ำา อาทิ สาหร่ายและพืชดอก ซึ่งทำาให้เกิดสารพิษในแหล่ง น้ำา และช่วยลดการระเหยของน้ำา

หรือในกรณีหากแหล่งน้ำานั้นเป็นเขื่อนขนาดใหญ่ของ กฟผ. ถือได้ว่าเกิดผลกระทบน้อยมาก โดยหากเปรียบเทียบพื้นที่ติดตั้ง โครงการผลิตไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์บนทุ่นลอยน้ำาขนาดใหญ่ใน อนาคตขนาด 30 เมกะวัตต์ จะใช้พื้นที่ประมาณ 300 ไร่หรือ 0.48 ตารางกิโลเมตร โดยพื้นที่อ่างเก็บน้ำาในเขื่อนส่วนใหญ่มีขนาด มากกว่า 100 ตารางกิโลเมตร เช่น เขื่อนศรีนครินทร์ 419 ตาราง กิโลเมตร เขื่อนรัชชประภา 185 ตารางกิโลเมตร ซึ่งจะเห็นว่าคิด เป็นสัดส่วนไม่ถึง 1 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่เก็บน้ำาทั้งหมด

โครงการผลิตไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์บนทุ่นลอยน้ำา ณ อ่าง เก็บน้ำาโรงไฟฟ้าวังน้อย นับเป็นการต่อยอดจากงานโครงการวิจัย ของ กฟผ. จากโครงการผลิตไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์บนทุ่นลอยน้ำา ขนาดเล็ก ณ อ่างเก็บน้าำ เขือ่ นศรีนครินทร์ กำาลังผลิตติดตัง้ เพียง 30 กิโลวัตต์ ไปสู่การพัฒนาเป็นโครงการใหญ่อย่างเป็นรูปธรรมใน อนาคต กฟผ. เตรียมก่อสร้างเพิ่ม ณ อ่างเก็บน้ำาโรงไฟฟ้ากระบี่ และด้วยความพร้อมในการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน ทดแทนและความก้ า วหน้ า ของเทคโนโลยี คาดว่ า ขนาดของ โครงการผลิ ต ไฟฟ้ า เซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ บ นทุ่ น ลอยน้ำ า จะใหญ่ ขึ้ น เรื่อยๆ อย่างแน่นอน โครงการผลิตไฟฟาเซลลแสงอาทิตยบนทุนลอยน้ํา ณ อางเก็บน้ําโรงไฟฟาวังนอย กำาลังผลิตติดตั้ง ค่าพลังงานแสงอาทิตย์ ผลิตพลังงานไฟฟ้า ทดแทนน้ำามันเตา (ในการผลิตไฟฟ้า) ลดการปล่อย CO2 ลดการระเหยของน้ำา พื้นที่โครงการ พื้นที่อ่างเก็บน้ำา ติดตั้งแล้วเสร็จและจ่ายไฟ เข้าระบบ (COD)

2.6 เมกะวัตต์ 4.99 kWh/m2/day 3.75 ล้านหน่วย/ป 1.05 ล้านลิตร/ป 2,143 ตัน/ป 34,117 ลูกบาศก์เมตร/ป 20 ไร่ 45 ไร่ ธันวาคม 2561

November- December 2017

p.28-41_�����.indd 29

11/6/17 4:00 PM


การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

โครงการฟารมกังหันลมลอยน้ําแหงแรกของโลก เมืองแอเบอรดีน ประเทศสกอตแลนด ประกอบดวยกังหันลมจํานวน 5 ตน กําลังผลิตรวม 30 เมกะวัตต https://www.engadget.com/2017/10/18/first-floating-wind-farm-scotland/ http://www.bbc.com/news/uk-scotland-41652707 http://www.bbc.com/news/uk-scotland-41652707

สกอตแลนด เร��มจ ายไฟจาก

“ฟาร มกังหันลมลอยน้ํา แห งแรกของโลก” เข าระบบ สกอตแลนด หนึ่งในประเทศที่มีศักยภาพพลังงานลมสูงสุดในทวีปยุโรป เริม่ จายไฟฟาทีผ่ ลิตจากฟารมกังหันลมลอยน้าํ แหงแรกของโลก ในเมืองแอเบอรดนี เขาสูร ะบบแลว นับเปนการตอกย้าํ ภาพลักษณดา นผูน าํ พลังงานหมุนเวียนของโลก ขณะเดียวกัน ยังมีกระแสตอตานโครงการกังหันลมนอกชายฝง เนื่องจากความ กลัวอันตรายตอชีวิตของนกทะเล โครงการฟาร์มกังหันลมลอยน้าำ แห่งแรกของโลก หรือชือ่ โครงการว่า Hywind ประกอบด้วยกังหันลมจำานวน 5 ต้น กำาลังผลิตต้นละ 6 เมกะวัตต์ ตั้งอยู่ห่างจาก ชายฝังทะเลเป็นระยะทาง 15 ไมล์ ในเขต Peterhead เมืองแอเบอร์ดีน ประเทศ สกอตแลนด์ เริม่ ผลิตไฟฟ้าจ่ายเข้าระบบส่งของประเทศ เพือ่ สนองความต้องการ ใช้ไฟฟ้าของบ้านเรือนได้กว่า 20,000 หลังคาเรือน นิโคลา สเตอรเจียน นายกรัฐมนตรีสกอตแลนด์ เป็นประธานในพิธีเปด ฟาร์มกังหันลม Hywind อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2560 โดยได้ให้ สัมภาษณ์กับสื่อมวลชนว่า ความสำาเร็จของโครงการดังกล่าวตอกย้ำาชื่อเสียง ระดับโลกของสกอตแลนด์ในฐานะของผู้นำาด้านพลังงานหมุนเวียน

สำาหรับโครงการกังหันลมผลิตไฟฟ้าลอยน้ำา Hywind ดำาเนินการพัฒนาโดยบริษทั Statoil ประเทศ นอร์เวย์ เป็นระยะเวลามากกว่า 15 ป กังหันลม แต่ละต้นมีความสูงเกือบเท่าสะพาน Queensferry คือสูงถึง 253 เมตร โดยติดตั้งให้ส่วนที่โผล่พ้นจาก ผิวน้าำ มีความสูง 175 เมตร และอยูใ่ ต้ผวิ น้าำ 78 เมตร ปลายเสาทีล่ อยอยูใ่ ต้ผวิ น้าำ ถูกล่ามด้วยโซ่นา้ำ หนักถึง 1,200 ตั น ยึ ด ไว้ กั บ พื้ น ทะเล ในอนาคตจะมี ก าร ติดตั้งแบตเตอรี่ขนาดใหญ่ 1 เมกะวัตต์-ชั่วโมง เพื่อ เก็ บ พลั ง งานไฟฟ้ า ที่ ผ ลิ ต ได้ จ ากฟาร์ ม กั ง หั น ลม เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพอีกทางหนึ่ง

นิโคลา สเตอรเจียน นายกรัฐมนตรีสกอตแลนด แสดง ภาพถายกังหันลมลอยน้าํ Hywind ในโทรศัพทมอื ถือ ขณะ ขึ้นเครื่องบินชมวิวมุมสูงของฟารมกังหันลมลอยน้ํา https://twitter.com/nicolasturgeon

November- December 2017

p.28-41_�����.indd 30

11/6/17 4:00 PM


การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย

กังหันลมลอยน้าํ Hywind มีความสูงเกือบเทาสะพาน Queensferry ทีส่ รางเพือ่ อํานวยความสะดวก ของผูใชรถยนต ขามทะเลจากฝงเมืองเอดินบะระไปเมืองไฟฟ http://www.alphr.com/environment/1006801/queensferry-crossing-uk-bridge-open

เทคโนโลยีกังหันลมลอยน้ำาทำาให้สามารถติดตั้งกังหันลม ได้ที่ระดับน้ำาลึกกว่าการติดตั้งฟาร์มกังหันลมนอกชายฝังทั่วไป โดยฟาร์มกังหันลมนอกชายฝังทั่วไปประมาณร้อยละ 80 ติดตั้ง ในน้าำ ทะเลลึกกว่า 60 เมตร ขณะทีเ่ ทคโนโลยีกงั หันลมลอยน้าำ ทำาให้ สามารถติดตั้งกังหันในระดับน้ำาลึกได้ถึง 800 เมตร Share of Scotland Electricity Generation 2015 26.7%

58.3%

Wind Hydro Bio Solar Fossil/Nuclear

11.0% 3.6% 0.4%

ด้วยศักยภาพพลังงานลมในประเทศ แหล่งน้ำาทะเล และ สภาพภูมิประเทศที่เหมาะแก่การติดตั้งฟาร์มกังหันลมนอกชายฝัง สกอตแลนด์จึงเหมาะแก่การเป็นแหล่งลงทุนเทคโนโลยีกังหันลม ลอยน้ำา และยังคงเดินหน้าพัฒนาเทคโนโลยีรุ่นต่อไป อย่างไรก็ตาม ยังมีกลุ่มที่ต่อต้านการพัฒนาของโครงการ Hywind โดยเฉพาะ Bird Charity RSPB ด้วยเหตุผลว่าสกอตแลนด์ มีการอนุมัติโครงการพัฒนากังหันลมนอกชายฝังในพื้นที่ไปหลาย โครงการแล้ว ยิ่งมีฟาร์มกังหันลมในทะเลจำานวนมาก จะยิ่งเป็น อันตรายต่อนกทะเลจำานวนพันๆ ชีวิต

แปลและเร�ยบเร�ยง สุภร เหลืองกําจร

- World’s first floating wind farm powers up in Scotland: https:// www.engadget.com/2017/10/18/first-floating-wind-farmscotland/ - World’s first floating wind farm starts generating electricity: http://www.bbc.com/news/uk-scotland-41652707

สัดสวนการใชเชื้อเพลิงประเภทตางๆ ผลิตไฟฟาของประเทศสกอตแลนด มีสัดสวนการใชฟอสซิลและนิวเคลียรรวมกัน รอยละ 58.3 และในสัดสวน การใชพลังงานหมุนเวียน มีการใชพลังงานลมผลิตไฟฟาสูงสุดถึงรอยละ 26.7 https://notalotofpeopleknowthat.wordpress.com/2016/04/05/scotlandgenerated-more-than-half-of-its-electricity-in-2015-from-renewables/

November- December 2017

p.28-41_�����.indd 31

11/6/17 4:00 PM


การไฟฟานครหลวง

โครงการก อสร างอาคาร และงานตกแต งภายใน อาคารสำนักงานใหม

การไฟฟ านครหลวงเขตคลองเตย จากความตั้งใจที่ต องการเป นอาคารต นแบบด านการอนุรักษ พลังงาน ในอาคารเพ�่อช วยลดต นทุนของการผลิตพลังงานของชาติ และเพ��มคุณภาพ ชีว�ตของพนักงาน รวมทั้งต องการส งเสร�มภาพลักษณ ขององค กรในการ เป นมิตรต อสิง� แวดล อม การไฟฟ านครหลวง จ�งได กอ สร างอาคารสํานักงาน ใหม ที่ได ชื่อว าเป น “อาคารเข�ยว” แห งแรกขององค กร ตลอดจนมีความ เพ�ยบพร อมในฟ�งก ชันการใช งานที่คุ มค าที่สุด ในอาคารสำานักงานใหม่ที่ตั้งอยู่ที่ การไฟฟ้านครหลวงเขตคลองเตย นับเป็นอาคารเขียวแห่งแรกของการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) และยังเป็นต้นแบบ ของอาคารเขียว หรืออาคารประหยัดพลังงานอันดับต้นๆ ของประเทศไทย โครงการนี้ได้มีการวางแผนดำาเนินการด้านงานออกแบบและก่อสร้าง เพื่อให้ เป็นอาคารประหยัดพลังงานและเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมตามมาตรฐานอาคาร เขี ย วไทย (TREED –Thai’s Rating of Engergy and Environmental Sustainability) ที่พัฒนาโดยสถาบันอาคารเขียวไทย (Thai Green Building Institute-TGBI) โดยจะมีระบบการควบคุมการใช้พลังงานต่างๆ ในอาคารอย่าง

November- December 2017

p.28-41_�����.indd 32

11/6/17 4:00 PM


การไฟฟานครหลวง ประหยัด คุ้มค่า และเหมาะสม รวมถึงมีการ นำาวัสดุประเภทประหยัดพลังงานที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม เข้าใช้ในการก่อสร้างอาคาร ร่ ว มด้ ว ย ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ ต อบโจทย์ ข องการ พัฒนาอาคารเขียวแบบยั่งยืน พืน้ ทีท่ งั้ หมดของโครงการประกอบด้วย 3 อาคาร ได้แก่ อาคาร A อาคาร B และ อาคาร C โดยแบ่งพื้นที่การใช้สอยแตกต่าง กันไปตามความเหมาะสม โดยอาคาร A เป็น อาคารสำานักงานที่แบ่งเป็นส่วนของ Tower 25 ชัน้ ใช้เป็นพืน้ ทีส่ าำ นักงานเฉพาะพนักงาน และศูนย์ประชุมสัมมนา อีกส่วนหนึ่งจะเป็น Podium 6 ชั้น ใช้เป็นส่วนของสำานักงาน การไฟฟ้านครหลวงเขตคลองเตย และส่วน ให้บริการชำาระค่าไฟฟ้าแก่ประชาชน อีกทั้ง ยังมีห้องประชุม Auditorium ที่เชื่อมต่อกับ ศูนย์ประชุมของส่วน Tower ได้ ถัดมาคือ อาคาร B สูง 13 ชั้น เป็นอาคารสันทนาการ ประกอบด้วยศูนย์อาหาร และสถานพยาบาล มีพื้นที่จอดรถ 900 คัน รวมถึงมีห้องประชุม สัมมนาทีส่ ามารถรองรับการจัดงานขนาดใหญ่ ของการไฟฟ้านครหลวง และยังเปดให้องค์กร ภายนอกต่างๆ มาเช่าพืน้ ทีส่ าำ หรับจัดสัมมนา หรืองานอืน่ ๆ ได้เช่นกัน สุดท้ายคือ อาคาร C สูง 4 ชัน้ เป็นอาคารปฏิบตั กิ ารภาคสนามของ การไฟฟ้านครหลวงเขตคลองเตย และเพื่ อ ให้ ต อบโจทย์ ค นยุ ค ใหม่ ท่ามกลางบรรยากาศของความเป็น Smart Metro ทาง กฟน. ยังเปดโซนชั้นใต้ดินของ อาคาร A ให้หน่วยงานภายนอกอื่นๆ หรือ ประชาชนทั่ ว ไปสามารถเข้ า มาเช่ า พื้ น ที่ สำาหรับเปดให้บริการร้านค้าและร้านเครือ่ งดืม่ ซึ่งประชาชนทุกคนสามารถเข้ามาใช้บริการ จากร้ า นค้ า ต่ า งๆ ในพื้ น ที่ แ ห่ ง นี้ ไ ด้ ขณะ เดียวกันทางโครงการฯ ยังมีสวนหย่อมขนาด ย่ อ มตรงบริ เวณพื้ น ที่ ด้ า นหน้ า โครงการที่ เปดให้ประชาชนทั่วไปเข้ามาพักผ่อน ผ่าน บรรยากาศอันร่มรืน่ และยังเป็นการเพิม่ พืน้ ที่ สีเขียวให้กับชุมชนไปพร้อมๆ กันอีกด้วย ปัจจุบนั โครงการอยูร่ ะหว่างดำาเนินการ ซึ่งจะแล้วเสร็จและพร้อมใช้งานช่วงปลายป 2561...อีกไม่นานเกินรอ

Construction and Interior Design : MEA New Office Building, Khlong Toie

Thank you for the information from November- December 2017

p.28-41_�����.indd 33

11/6/17 4:00 PM


การไฟฟานครหลวง

จากอดีตทีม่ กั จะพบสายสือ่ สารบนเสาไฟฟ้า พาดระโยงระยาง และห้อยต่ำา ทำาให้เกิดภาพ ไม่น่ามอง และประการที่สำาคัญอาจสร้างความ ไม่ปลอดภัยให้แก่ประชาชนที่สัญจรผ่านไปมาได้ การไฟฟ้านครหลวงมิได้นิ่งนอนใจ โดยได้ดำาเนิน การประสานผู้ประกอบการเจ้าของสายสื่อสาร โทรคมนาคม จัดระเบียบสายสือ่ สารบนเสาไฟฟ้า ใหม่เพื่อให้เป็นระเบียบ ซึ่งเริ่มโครงการนับตั้งแต่ ป 2551 จนถึงปัจจุบัน โดยในระยะเริ่มแรก ระหว่างป 2551-2558 การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) ได้เริม่ แผนจัดระเบียบฯ ด้ ว ยการใช้ วิ ธี ร วบ รั ด มั ด ผู ก สายสื่ อ สารบนเสาไฟฟ้ า ให้ เ ป็ น ระเบี ย บเรี ย บร้ อ ยมากขึ้ น แต่เนื่องจากสายสื่อสารที่ติดตั้งอยู่บนเสาไฟฟ้ามีจำานวนมาก ทำาให้มีน้ำาหนักมากตามไปด้วย ซึง่ ส่งผลต่อการรับน้าำ หนักของคอนเสาไฟฟ้าโดยตรง ต่อมาในป 2559 จึงได้มกี ารเปลีย่ นนโยบาย การจัดระเบียบสายสื่อสารใหม่ ด้วยการติดตั้งคอนเสาไฟฟ้าใหม่ขนาดความยาวประมาณ 1.8 เมตร และพาดสายสื่อสารในรูปแบบที่ กฟน. สามารถเก็บข้อมูลสายสื่อสารเส้นต่างๆ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ พร้อมกับนำาสายสือ่ สารทีไ่ ม่จาำ เป็นออก เพือ่ ลดปริมาณสายสือ่ สาร ที่ติดตั้งอยู่บนเสาไฟฟ้าให้เหลือไม่เกิน 32 เส้น หรือลดให้เหลือจำานวนเส้นน้อยที่สุด เพื่อให้เกิด ทัศนียภาพที่น่ามอง และสร้างความปลอดภัยให้แก่ประชาชนเป็นสำาคัญ โดยหลักเกณฑ์การเลือกพื้นที่จัดระเบียบสายสื่อสารบนเสาไฟฟ้า จะพิจารณาจากพื้นที่ ที่มีสายสื่อสารรกรุงรังและห้อยต่ำากว่ามาตรฐาน ซึ่งอาจทำาให้เกิดปัญหาด้านทัศนียภาพ และ เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายที่จะส่งผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินประชาชน อีกทั้งยังพิจารณา จากความมั่นคงของระบบไฟฟ้า รวมไปถึงเส้นทางที่มีความสำาคัญที่เป็นพื้นที่ทางเศรษฐกิจ ตลอดจนสถานที่สำาคัญต่างๆ ที่เป็นภาพลักษณ์ของประเทศอีกด้วย

กฟน. จัดระเบียบสายสื่อสาร เพ�่อปรับทัศนียภาพและความปลอดภัย MEA Organises Telecommunication Wires for Better Scenery and Greater Safety MEA TEAM

November- December 2017

p.28-41_�����.indd 34

11/6/17 4:00 PM


การไฟฟานครหลวง ทั้ ง นี้ ตลอดระยะเวลาที่ ผ่ า นมา ได้ มี ก ารดำ า เนิ น งานเสร็ จ เรียบร้อยไปแล้วในหลายพื้นที่ อาทิ ถนนสุขุมวิท ถนนเพชรบุรี ถนนพระราม 1 ถนนพระราม 3 ถนนพระราม 4 ถนนรามคำาแหง ถนนสุขสวัสดิ์ ถนนราชดำาริ ถนนพญาไท ถนนงามวงศ์วาน เป็นต้น และในป 2560 นี้ยังได้ดำาเนินแผนการจัดระเบียบอย่างต่อเนื่อง อีก 6 เส้นทางหลักที่สำาคัญ ได้แก่ ถนนพหลโยธิน ช่วงพหลโยธิน 8 ถึง ร.1 พัน 1 รอ. ทีด่ าำ เนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว ต่อด้วย ถนนสาทร ช่วงสี่แยกถนนวิทยุถึงสามแยกถนนเจริญกรุง และถนนบางกรวยไทรน้อย ช่วงหน้าวัดสำาโรงถึงหน้าการไฟฟ้าฝายผลิตแห่งประเทศไทย ซึง่ อยูใ่ นระหว่างดำาเนินการจัดระเบียบ ส่วนถนนพรานนกและวังหลัง ช่วงสี่แยกไฟฉายถึงท่าน้ำาศิริราช และถนนพระราม 4 ช่วงหัวลำาโพง ถึงสามแยกพระโขนง รวมทั้งถนนรัชดาภิเษกช่วงสี่แยกคลองเตย ถึงสี่แยกวิภาวดีรังสิต อยู่ในระหว่างรอดำาเนินการต่อไป นอกจากนี้ยังมีพื้นที่พิเศษที่ได้รับการจัดระเบียบนอกเหนือ จากแผนที่วางไว้เพิ่มเติม คือช่วงบริเวณรอบสนามหลวง ซึ่งอยู่ใน ระหว่างดำาเนินการด้วยการนำาสายสื่อสารลงใต้ดินทั้งหมด เพื่อ เตรียมพร้อมสถานที่เนื่องในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ในเดือนตุลาคม ที่ผ่านมา ทั้งนี้ กฟน. ได้รับความร่วมมือจากทางภาครัฐและเอกชน ในการจัดระเบียบ ทั้งในส่วนของกรุงเทพมหานคร ที่เข้ามาช่วย ตัดแต่งกิ่งไม้ และต้นไม้ที่ระแนวสายสื่อสาร รวมถึงกองบัญชาการ ตำารวจนครบาล ที่ให้การสนับสนุนแก้ไขปัญหาการจราจรไม่ให้ ส่งผลกระทบต่อประชาชนที่สัญจรผ่านในพื้นที่ดำาเนินโครงการฯ รวมถึงผูป้ ระกอบการกิจการโทรคมนาคมต่างๆ (เจ้าของสายสือ่ สาร) ทีเ่ ข้ามาดำาเนินการปรับเปลีย่ นใหม่ให้เป็นไปตามแผนงานอย่างเป็น ระเบียบเรียบร้อย สำาหรับประชาชนทีต่ อ้ งสัญจรในพืน้ ทีเ่ ส้นทางต่างๆ ทีอ่ ยูใน ระหว่างดำาเนินการหรือระหว่างรอดำาเนินการ สามารถรับทราบ ข่าวสารจากทางการไฟฟ้านครหลวงได้เพื่อหลีกเลีย่ งเส้นทาง หรือ หากต้องการทราบข้อมูลการจัดระเบียบเพิม่ เติม สามารถสอบถาม รายละเอียดได้ที่ www.mea.or.th แอพพิเคชั่น MEA Smart Lige หรือ Facebook : การไฟฟ้านครหลวง (MEA) หรือ MEA Call Center โทร.1130

November- December 2017

p.28-41_�����.indd 35

11/6/17 4:00 PM


สถานีไฟฟายอยยุคใหม

และ IEC 61850 : การออกแบบ ติดตั้ง และใชงาน

(Modern Distribution Substation and IEC 61850 : Design, Installation and Operation) วันที่ 15-17 พฤศจิกายน 2560 ณ หองธาราเทพ ฮอลล โรงแรมเจาพระยาปารค กทม. หลักการและเหตุผล สถานีไฟฟ้าย่อยเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สำ�คัญของระบบผลิต ส่ง และจำ�หน่ายไฟฟ้า ที่มีค่าใช้จ่ายในการลงทุนสูง ปัจจุบัน เทคโนโลยีทปี่ ระยุกต์ใช้ในการออกแบบ ติดตัง้ และใช้งาน กับสถานีไฟฟ้าย่อยพัฒนาก้าวไปสูย่ คุ ดิจทิ ลั และมีมาตรฐาน เช่น IEC 61850 รองรับกับสถานีไฟฟ้าย่อยอัตโนมัติแล้ว ดังนั้นสมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย (TESIA) จึงจัดสัมมนาเชิงวิชาการเรื่อง สถานีไฟฟ้าย่อยยุคใหม่ และ IEC 61850: การออกแบบ ติดตัง้ และใช้งาน เพือ่ ให้เกิดการถ่ายทอดองค์ความรูแ้ ละประสบการณ์ระหว่างการไฟฟ้า ผู้พัฒนาผลิตภัณฑ์ ผู้ออกแบบ ผู้รับจ้างก่อสร้าง และผู้ใช้งาน อันจะนำ�ไปสู่การก่อสร้างและใช้งานสถานีไฟฟ้าย่อย ที่มีความมั่นคง เชื่อถือได้ ปลอดภัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมต่อไป

วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้ผเู้ ข้าสัมมนาได้รบั ความรู้ ความเข้าใจ และการถ่ายทอดประสบการณ์ เกี่ยวกับการออกแบบ ติดตั้ง และใช้งาน สถานีไฟฟ้าย่อยยุคใหม่ ที่ใช้ระบบ สือ่ สารข้อมูลตามมาตรฐาน IEC 61850 ทัง้ ของการไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค และบริษัทผู้พัฒนาผลิตภัณฑ์

กลุ่มเป้าหมาย 1. วิศวกร ช่างเทคนิค ผูค้ วบคุมงาน ผู้ประสานงานโครงการ 2. ผูร้ บั จ้างก่อสร้างและติดตัง้ สถานี ไฟฟ้าย่อย ที่ปรึกษาโครงการและ 3. ผู้ที่สนใจทั่วไป

p.28-41_�����.indd 36

11/6/17 4:01 PM


การไฟฟาสวนภูมิภาค

เสร�มสกุล คล ายแก ว

ผู ว าการ การไฟฟ าส วนภูมิภาค

“เราจะต องเดินหน าไปด วยกัน” November- December 2017

p.28-41_�����.indd 37

11/6/17 4:01 PM


การไฟฟาสวนภูมิภาค การดํารงความเป นองค กรที่มีอายุยืนยาวถึง 57 ป นั้น ย อมผ านการฝ าฟ�นป ญหาและอุปสรรคต างๆ นานา ซึ่งต องหล อหลอมพนักงานขององค กรให มีน้ําจ�ตน้ําใจเป นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพ�่อนําพาองค กรนั้น บรรลุสู เป าหมาย และในวาระครบรอบป ที่ 57 ของการไฟฟ าส วนภูมิภาค (กฟภ.) ในเดือนกันยายนที่ผ านมา ย อมเป นที่ประจักษ ชัดว า วันเวลาที่ผ านมา รัฐว�สาหกิจชั้นนําของประเทศแห งนี้ต องผ านอะไรต อมิอะไร มามากมายขนาดไหน และเพ�่อก าวเข าสู ป ที่ 58 อย างสง างาม จ�งขอนํา วาทะอันน าจดจํา ของ เสร�มสกุล คล ายแก ว ผู ว าการการไฟฟ าส วนภูมิภาคมาเล าสู กันฟ�ง ซึ่งนับจากวันนี้เป นต นไป… เราทุกคนจะต อง ‘เดินหน าไปด วยกัน’ นิยาม ‘ดีเอ็นเอ’ ของชาว กฟภ.

ผมเชือ่ มัน่ ว่าค่านิยมหลักของ กฟภ. ซึง่ ก็คอื “ทันโลก บริการดี มีคุณธรรม” ซึ่งในปนี้ได้มีการเพิ่มคำาว่า ทันโลกเข้ามาด้วย สิ่งนี้ จะเป็นดีเอ็นเอของชาว กฟภ. และจะนำาพาให้เราพัฒนาไปสู่การ สร้างองค์กรทีป่ ระสบผลสำาเร็จ หากพนักงานทุกคนร่วมกันปฏิบตั ติ น และยึดถือสิ่งนี้ให้อยู่ในดีเอ็นเอ ในสายเลือดของชาว กฟภ.

ที่ผ านมาได มีการประกาศนโยบาย PEA 4.0 ตอนนี้ดําเนินการถึงขั้นไหนแล ว

นโยบาย PEA 4.0 เป็นนโยบายทีม่ งุ่ พัฒนาทุกด้าน ซึง่ มีทงั้ หมดด้วยกัน 7 ด้าน ด้านแรกคือ Human Capital ตอนนี้ อ ยู่ ใ นขั้ น พั ฒ นาบุ ค ลากรเพื่ อ รองรั บ ความ เปลี่ยนแปลงหรือธุรกิจใหม่ๆ ซึ่งพนักงานยุคใหม่ต้องมี ทั ก ษะด้ า นคอมพิ ว เตอร์ ห รื อ ดิ จิ ทั ล เพราะโลก ยุคต่อไปเป็นยุคดิจิทัล เราจะมีการประเมิน หรือการวัดทีเ่ รียกว่า Digital Competency ซึง่ มีการกำาหนดศักยภาพด้านดิจทิ ลั ให้ พนักงานในองค์กร มีระบบการวัดผล และตอนนี้เรากำาลังอยู่ในระหว่าง การศึ ก ษาเรื่ อ งการจั ด ตั้ ง PEA Academy สถาบั น ศึ ก ษาครบ วงจรสำาหรับนักเรียนช่างและ พ นั ก ง า น ด้ า น ที่ ส อ ง คื อ Service เรามี แ ผนมากมาย ทั้ง GECC ศูนย์ราชการสะดวก รวมทั้งการดำาเนินการด้านกรีน ออฟฟ ศ เราก็ ทำ า มาเป็ น ป ที่ 2 ติดต่อกันแล้ว อีกหนึ่งโครงการที่น่าสนใจคือ PEA Smart Plus ต่อไปลูกค้าแทบไม่ตอ้ ง มาสำานักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเลย ทำาธุรกรรมและติดต่อเรื่องต่างๆ ได้ด้วย

PEA Smart Plus ปนี้เราจะได้เห็นความคืบหน้าของ Smart Grid และจะมี ก ารเพิ่ ม เติ ม Substation รุ่ น ใหม่ ๆ ให้ เ ป็ น Smart Substation ซึ่งควบคุมการจ่ายไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ในระบบ IEC 6.890 รวมทั้งเรื่อง Big Patrolling ซึ่งผมถือว่า เป็นกิจกรรมยุค 4.0 แทบทัง้ สิน้ เรือ่ งต่อไปคือการบริหารสินทรัพย์ ที่ ต้ อ งทำ า ทั้ ง องค์ ก ร ตั้ ง แต่ ต้ น น้ำ า ถึ ง ปลายน้ำ า เรากำ า ลั ง จะได้ Roadmap ออกมาและมี ISO มาตรฐานรับรองด้วย โดยมีเป้าหมาย ที่จะเดินไปถึงการรับรอง ISO 55000 ทางด้าน Innovation เราเป็นหน่วยงานที่เน้นนวัตกรรม ซึ่งจะเน้นเป็นรูปธรรม มากขึ้น ปนี้เรามีการจัดงาน Innovation Day และตั้งเป้า ขยายผลนวัตกรรมไปสู่เชิงพาณิชย์อย่างน้อย 5 ชิ้นงาน นอกจากนี้ในเรื่องของกระบวนการ ICT หรือการพัฒนา ระบบสือ่ สารโทรคมนาคม เราก็ทาำ มานาน ไม่วา่ จะเป็น e-Slip ใบเสร็จอิเล็กทรอนิกส์ ตอนนี้เราพัฒนา IoT ในรู ป สมาร์ ท โฮม เรากำ า ลั ง ทำ า Data Center ทีส่ าำ นักงานใหญ่ เราทำา IP Network ซึ่งยุคนี้การสื่อสารเป็นระบบ IP ทั้งหมด ทั้ง Video Conference, Digital Radio และสำาคัญทีส่ ดุ คือเรือ่ ง Cyber Security หรือการรักษาความปลอดภัยในระบบ สารสนเทศซึ่ ง เราผ่ า นการประเมิ น ISO 27001 แล้ว สำาหรับตัวสุดท้ายใน PEA 4.0 คือเรื่อง Business Investment การ ลงทุนธุรกิจใหม่ เรามีการเปดสถานี อั ด ประจุ ไ ฟฟ้ า สำ า หรั บ รถยนต์ ไ ฟฟ้ า ที่ผมอยากชี้แจงว่าเราต้องรีบทำา เพราะ แนวโน้ ม การใช้ ร ถ EV นั้ น เกิ ด ขึ้ น อย่ า ง รวดเร็ว เราเป็นหน่วยงานที่พร้อมให้บริการ การทำาธุรกิจ EV Charging และการติดแผงโซลาร์ บนหลั ง คาเป็ น อี ก หนึ่ ง ธุ ร กิ จ ที่ เราประกาศตั ว

November- December 2017

p.28-41_�����.indd 38

11/6/17 4:01 PM


การไฟฟาสวนภูมิภาค

ไปแล้ว เพื่อบอกว่าเราพร้อมให้บริการตั้งแต่เริ่มต้น เราเชื่อมั่นว่า ด้วยแบรนด์ ด้วยชื่อการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ลูกค้าย่อมเชื่อมั่นและ สนใจที่จะมาใช้บริการ อีกตัวหนึ่งคือ Smart Home เป็นธุรกิจใหม่ ที่เราทำาวิจัย Smart Home นั้นคือการติดตั้งระบบอัตโนมัติเพื่อใช้ ไฟฟ้าในบ้านที่ชาญฉลาดหรือบ้านอัจฉริยะ และงานวิจัยของเรา ขยายไปถึงขั้นสามารถดำาเนินการทางธุรกิจได้ ซึ่งจะเปดตัวในอีก ไม่นาน

เรื่องสุดท้ายคือ Cyber Security เทคโนโลยีสารสนเทศ มีประโยชน์มาก รวดเร็ว ทั่วถึง เชื่อถือได้ ปัจจุบันเรามีเครือข่าย สื่อสารทั่วประเทศ และต้องแจ้งพนักงานทั่วประเทศทราบว่าต้อง ร่วมมือกันอย่างไรเพื่อป้องกันการโจมตีจากแฮ็กเกอร์ซึ่งต้องขอ ความร่วมมือจากพนักงานทุกคนให้ปฏิบัติตามคู่มืออย่างเคร่งครัด นะครับ

คิดอย างไรกับคําว า New Normal

เรือ่ งแรก เป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งทำาต่อเนือ่ งจริงจัง นัน่ ก็คอื การไฟฟ้า โปร่งใส เราทำามาได้ดีแล้วตั้งแต่ป 2558-2559 ตอนนี้เราประกาศ ว่าเป็นการไฟฟ้าโปร่งใสทัว่ ทัง้ องค์กร และยกระดับไปถึงโปร่งใส 2.0 แล้ว เราเดินหน้าอย่างเดียวและต้องเร่งรัดขับเคลื่อนองค์กร เรื่อง ที่สอง คำาว่า PEA 4.0 ไม่ใช่คำาพูดเท่ๆ แต่ต้องพัฒนาทั้งองค์กร การสือ่ สารทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร ต้องร่วมมือกันในเรือ่ งนี้ เพื่อให้พนักงานทุกคนเดินหน้าไปด้วยกันตามแนวทางนี้ ถ้าไม่ พัฒนา เราจะไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่กำาลังเกิดขึ้น จริงอยู่ครับ ว่าองค์กรเราประสบความสำาเร็จมากในอดีต แต่ไม่ได้รับประกันว่า จะสำาเร็จต่อไปในอนาคต เราต้องปรับตัว ซึ่งผมจะย้ำาทุกครั้งที่มี โอกาสพบปะพนักงาน สำาหรับเรื่องความปลอดภัยนั้นเราให้ความสำาคัญกับเรื่องนี้ มาตลอด และต้ อ งสร้ า งกระบวนการทำ า งานให้ เ ป็ น มาตรฐาน สมบูรณ์แบบมากขึน้ ต้องขยายผลเรือ่ งความปลอดภัยให้ยงั่ ยืนเป็น วัฒนธรรม ไม่เพียงแค่มองเฉพาะพนักงาน ลูกจ้าง แต่เราต้องมอง ถึงลูกค้า ประชาชนด้วย สำาหรับบุคลากร เรายังต้องมุ่งเน้นการ พัฒนาคนต่อไปครับ คนของเราต้องได้รับการพัฒนา ต้องพร้อม ทำางานในสถานการณ์ที่มีความเปลี่ยนแปลง และสุดท้ายผมขอ น้อมนำาหลักที่มีคุณค่า อันเป็นพระราชดำารัสของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ว่า “การพยายาม ศึกษาวิทยาการ เทคโนโลยีอันก้าวหน้าจากทุกสาขาจากทั่วโลก แล้วเลือกสรรส่วนที่สำาคัญเป็นประโยชน์ นำามาปรับปรุงใช้ให้พอดี พอเหมาะกับสภาพและฐานะของประเทศของเรา เพื่อให้ประเทศ ของเราสามารถนำาเทคโนโลยีอันทันสมัยมาใช้พัฒนางานต่างๆ ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและไม่ สิ้ น เปลื อ ง” ขอให้ เราเทิ ด ทู น พระบรมราโชวาทนีไ้ ว้เหนือเกล้า และนำาไปใช้ในการทำางานนะครับ

ในยุค PEA 4.0 คำาว่า New Normal เป็นศัพท์ในทางการ บริหาร แปลง่ายๆ ได้คือสิ่งที่ไม่น่าเชื่อว่าจะเป็นก็เป็น และกลาย เป็นเรือ่ งปรกติ ตัวอย่างชัดทีส่ ดุ คือ โทรศัพท์มอื ถือเมือ่ ก่อนมีคนใช้ ไม่กี่คน แต่สมัยนี้กลายเป็นเรื่องปรกติไปแล้ว สำาหรับผม New Normal ที่น่าสนใจอย่างแรกคือแผงโซลาร์ มีงานวิจัยระบุว่าราคาแผงโซลาร์ลดลงถึง 400 เท่าตั้งแต่ป ค.ศ. 1970-2020 ฟั ง ดู แ ล้ ว ไม่ น่ า เชื่ อ และจากการประชุ ม World Economic Forum เมือ่ เดือนมีนาคมทีผ่ า่ นมา ได้มกี ารพูดถึงอนาคต ของระบบไฟฟ้า เมื่อก่อนทุกบ้านใช้ไฟฟ้าจากระบบไฟฟ้าปรกติ แต่อนาคต Grid จะเป็นแค่ไฟฟ้าสำารองและทุกบ้านจะมีแผงโซลาร์ ใช้งาน แต่ผมอยากจะบอกว่าที่เล่ามานี้ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค มีทั้งหมดและอยู่ในระยะกำาลังทำา บางเรื่องทำาแล้ว บางเรื่องคิดทำา ประเด็นสำาคัญอยู่ที่เราจะพัฒนาอย่างไรให้ทันเวลา เหมาะสม กับความต้องการ เพราะอนาคตจะเป็นแบบนี้แน่นอน สำาหรับ New Normal ต่อไปคือรถยนต์ EV ถามว่าทำาไมเราต้องรีบติดตั้ง สถานีอดั ประจุไฟฟ้า รถยนต์ EV นัน้ ราคาตกอย่างรวดเร็ว ป 2017 ราคารถยนต์ประเภทนี้เทียบเท่าราคารถชั้นนำาทีเดียว แต่ป 2021 คาดการณ์ กั น ว่ า ราคารถยนต์ EV จะเที ย บเท่ า ราคารถทั่ ว ไป คิดนะครับว่าเราจะซื้อรถ EV หรือรถที่ใช้น้ำามันดี เรือ่ งต่อไปคือ Big Data มันเป็นสิง่ ทีม่ ปี ระโยชน์ มีมลู ค่าด้วย องค์กรที่นำา Big Data มาใช้จะทำาให้เกิดผลผลิตสูงขึ้น 5% และทำา กำาไรสูงขึ้น 6% เมื่อเทียบกับคู่แข่ง เรามีข้อมูลลูกค้า 19 ล้านราย ข้อมูลนี้มีมูลค่ามหาศาล เรามองเห็นโอกาสนี้กันไหมครับ และตัว ต่อไปคือ Internet of Things อธิบายง่ายๆ คือต่อไปเครือ่ งใช้ไฟฟ้า พูดคุยกันผ่านระบบอินเทอร์เน็ต รวมทั้ง Blockchain เป็นการทำา ธุรกรรมทางบัญชีเรากำาลังจะร่วมมือกับธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารกรุงไทยพัฒนา National Blockchain เรือ่ งสัญญาค้าำ ประกัน ทีย่ งั เป็นเอกสารอยู่ ถ้านำาระบบ Blockchain มาใช้ มันจะเป็นดิจทิ ลั ทั้งหมดซึ่งมีการควบคุม ปลอดภัย สมาร์ท เชื่อถือได้ ยังใช้ในการ จ่ายไฟฟ้าได้ดว้ ย และการขายไฟฟ้านีก้ น็ าำ ระบบ Blockchain มาใช้ ซึ่งยังไม่เกิดขึ้นในเมืองไทย แต่ก็มีแนวโน้มสูงมากที่จะเกิดขึ้น กับ กฟภ.

อยากฝากอะไรถึงพนักงานทุกคนบ าง

(คัดลอกจากหนังสือ สายใจไฟฟา ฉบับที่ 9/2560)

November- December 2017

p.28-41_�����.indd 39

11/6/17 4:01 PM


บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน)

เอ็กโก กรุ ป ประกาศแต งตั้ง กรรมการผู จัดการใหญ คนใหม บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำากัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป ประกาศแต่งตั้ง จักษกริช พิบลู ยไพโรจน ดำารงตำาแหน่งกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ตามมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2560 จักษกริช จะเข้ารับตำาแหน่งกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ของเอ็กโก กรุป ในวันที่ 1 ตุลาคม 2560 แทนชนินทร์ เชาวน์นิรัติศัย โดยจะรับผิดชอบและสานต่อภารกิจสำาคัญ ได้แก่ การแสวงหาโอกาสในการลงทุน การกำากับดูแลโรงไฟฟ้าในกลุม่ เอ็กโกให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด และการบริหารจัดการโครงการที่อยู่ระหว่างก่อสร้างให้แล้วเสร็จตามเป้าหมาย ปั จ จุ บั น จั ก ษ์ ก ริ ช ดำ า รงตำ า แหน่ ง รองผู้ ว่ า การพั ฒ นาธุ ร กิ จ การไฟฟ้ า ฝ า ยผลิ ต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) และมีประสบการณ์ดา้ นการพัฒนาประสิทธิภาพและบริหารจัดการ โรงไฟฟ้ามาอย่างยาวนาน จักษ์กริชสำาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผ่านการฝกอบรมหลักสูตร ผู้บริหารระดับสูงจากสถาบันชั้นนำาทั้งในประเทศและต่างประเทศ

เอ็กโก กรุ ป เดินเคร�่องเชิงพาณิชย โรงไฟฟ า SPP “บ านโป ง” จ.ราชบุร� จักษกริช พิบูลยไพโรจน กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำากัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป เปดเผยว่า “โรงไฟฟ้า บ้านโปง ในกลุ่มเอ็กโก ซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 100 ได้เริ่ม เดินเครื่องเชิงพาณิชย์และจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบแล้ว เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2560 ที่ผ่านมา ซึ่งโรงไฟฟ้านี้จะช่วยเพิ่มรายได้ให้แก่ เอ็กโก กรุปอย่างต่อเนื่อง โดยจะรับรู้รายได้ตั้งแต่ไตรมาส 4 ของ ป 2560 เป็นต้นไป ทั้งนี้ โรงไฟฟ้าบ้านโปงจะช่วยส่งเสริมการ ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพด้วยระบบพลังความร้อนร่วม (Cogeneration) ตลอดจนช่วยเสริมความมั่นคงให้แก่ระบบไฟฟ้า ของประเทศอีกด้วย”

โรงไฟฟ้าบ้านโปง ตัง้ อยูท่ ตี่ าำ บลท่าผา อำาเภอบ้านโปง จังหวัด ราชบุรี เป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม ที่ใช้กาซธรรมชาติเป็น เชื้อเพลิง จำานวน 2 หน่วย มีกำาลังผลิตติดตั้งรวม 256 เมกะวัตต์ ซึ่งแต่ละหน่วยมีกำาลังผลิตติดตั้ง 128 เมกะวัตต์ ประกอบด้วย เครื่องกังหันกาซ กำาลังผลิต 44 เมกะวัตต์ จำานวน 2 เครื่อง และ เครื่องกังหันไอน้ำา กำาลังผลิต 40 เมกะวัตต์ จำานวน 1 เครื่อง โดยมี สัญญาซื้อขายไฟฟ้าประเภทผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (Small Power Producer - SPP) กับการไฟฟ้าฝายผลิตแห่งประเทศไทย จำานวน รวม 180 เมกะวัตต์ เป็นระยะเวลา 25 ป ในขณะที่กำาลังการผลิต ไฟฟ้าส่วนที่เหลือและไอน้ำาจากกระบวนการผลิตจะจำาหน่ายให้แก่ ลูกค้าอุตสาหกรรม

November- December 2017

p.28-41_�����.indd 40

11/6/17 4:01 PM


บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน)

ธุรกิจพลังงานที่เกี่ยวเนื่องของเอ็กโก กรุ ป นอกจากธุรกิจไฟฟ้าแล้ว เอ็กโก กรุป ยังประกอบธุรกิจด้าน พลังงานทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง ได้แก่ ธุรกิจให้บริการด้านพลังงาน ธุรกิจเหมือง ถ่านหิน และธุรกิจน้ำา 1. ธุรกิจดานพลังงาน เอ็กโก ถือหุน้ ในบริษทั เอ็กโก เอ็นจิเนียริง่ แอนด์ เซอร์วสิ จำากัด (เอสโก) ในสัดส่วนร้อยละ 100 เพื่อให้บริการด้านการเดินเครื่อง บำ า รุ ง รั ก ษา วิ ศ วกรรม และก่ อ สร้ า ง แก่ อุ ต สาหกรรมประเภท ต่างๆ ได้แก่ โรงไฟฟ้า โรงงานปโตรเคมี โรงกลั่นน้ำามัน และโรงงาน อุตสาหกรรมด้านอื่นๆ โดยครอบคลุมการให้บริการต่างๆ ดังนี้ - งานเดินเครื่องและบํารุงรักษา ด้ ว ยประสบการณ์ แ ละความชำ า นาญของที ม งาน เอสโก สามารถให้บริการงานซ่อมและบำารุงรักษาทีต่ อบสนองความต้องการ ของลูกค้าในกลุ่มอุตสาหกรรมหลากหลายประเภท เช่น งานบำารุง รักษาตามแผนที่กำาหนด งานบำารุงรักษาตามสัญญา งานแก้ปัญหา ที่จำาเป็นเร่งด่วน รวมทั้งการให้บริการตรวจซ่อมฉุกเฉินตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งเอสโกมีความชำานาญ ทั้งในด้านงานบำารุงรักษาอุปกรณ์ เครื่องกล อุปกรณ์ไฟฟ้า อุปกรณ์ตรวจวัด และระบบควบคุม - งานบํารุงรักษา เอสโกมี วิ ศ วกรที่ มี ป ระสบการณ์ ย าวนานทั้ ง ด้ า นพั ฒ นา โครงการ บริหารโครงการ งานวิศวกรรมออกแบบ จัดหาและก่อสร้าง ตั้งแต่โครงการขนาดเล็กถึงขนาดกลาง เช่น งานขยายระบบหรือ ปรับปรุงโรงไฟฟ้า สถานีไฟฟ้าแรงสูง สถานีไฟฟ้าย่อย สถานีสูบน้ำา เป็นต้น โดยสามารถรับผิดชอบในงานโครงการทั้งหมด ตั้งแต่งาน เตรียมพืน้ ที่ งานโยธา งานโครงสร้าง งานท่อ งานติดตัง้ และทดสอบ อุปกรณ์ งานไฟฟ้า งานระบบควบคุม และเครื่องมือวัด - งานวิศวกรรมกอสราง เอสโกมีความชำานาญในการเดินเครื่องและบำารุงรักษา ทั้ง โรงไฟฟ้ า พลั ง ความร้ อ น และโรงไฟฟ้ า พลั ง ความร้ อ นร่ ว ม โดย สามารถให้บริการครอบคลุมตั้งแต่ระยะเริ่มต้น คือ การทดสอบ

อุปกรณ์และตรวจรับโรงไฟฟ้า จนถึงขั้นตอนการเดินเครื่องเชิง พาณิชย์ ด้วยพนักงานที่มีประสบการณ์และผ่านการฝกอบรม มาเป็นอย่างดี นอกจากนี้ เอสโกยังให้บริการอื่นๆ เช่น งานด้าน ฝกอบรม งานบริการด้านเทคนิค และงานทดสอบเฉพาะทาง เป็นต้น - ธุรกิจเหมืองถานหิน เอ็กโก กรุป ถือหุ้นทางอ้อมในบริษัท พีที มานัมบัง เมารา อีนิม จำากัด (เอ็มเอ็มอี) ในสัดส่วนร้อยละ 40 โดยเอ็มเอ็มอีเป็น เจ้าของเหมืองถ่านหินชนิดเปด “มานัมบัง เมาราอีนิม” ตั้งอยู่ที่ เมืองเมาราอีนิม จังหวัดสุมาตราใต้ ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งได้รับ สัมปทานจากรัฐบาลอินโดนีเซีย เป็นระยะเวลา 28 ป ตั้งแต่เดือน มีนาคม 2553 ถึงเดือนมีนาคม 2581 มีปริมาณถ่านหินสำารอง 140 ล้านตัน โดยมีปริมาณการขายในป 2559 จำานวน 1.12 ล้านตัน

2. ธุรกิจน้ํา เอ็กโก กรุป ถือหุ้นในบริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ำา ภาคตะวันออก จำากัด (มหาชน) หรือ อีสท์ วอเตอร์ ในสัดส่วน ร้อยละ 18.72 ซึ่งอีสท์ วอเตอร์ รับผิดชอบการพัฒนาและดูแล การขายน้ำา รวมถึงระบบท่อส่งน้ำาดิบสายหลักในพื้นที่ชายฝังทะเล ภาคตะวันออก

November- December 2017

p.28-41_�����.indd 41

11/6/17 4:01 PM


KNIPEX Quality – Made in Germany

KNIPEX Tethered Tools*

www.knipex.com



NYR Engineering_21.59x29.21cm.pdf

1

2/6/17

9:25 AM




For more information about exhibiting and conference please contact : Office of Secretariat for GTD Asia 2019 Conference Contact : Meeting Matters International, Singapore Mr. Alex Ang Tel. +65 (6) 472-3108 Ext 111 Mobile +65 (9) 189-0822 Exposition Contact : Mr. Akachai Ponsomboon Tel. +66 (0) 2-229-3350 Fax. +66 (0) 2-229-3365 Mobile +66 (0) 93-195-1549 Email : gtdasia2019@gmail.com


ติดตามขาวสาร

ดานวิศวกรรมไฟฟาและพลังงาน และกำหนดการ

งานสัมมนา

ของสมาคมไดที่

September-October 2017



Article

> กองบรรณาธิการ

เทคโนโลยี ที่น่าจับตามองส�ำหรับธุรกิจ

(10 Technologies to Watch) เมื่อช่วงปลายเดือนกันยายนที่ผ่านมา ภายในงาน Thailand Tech Show 2017 กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) โดยส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้นำ� เสนอผลงานวิจยั ทีน่ า่ ลงทุนประจ�ำปี 2560 หรือ “นาสด้า อินเวสเตอร์เดย์ (NSTDA Investors’ Day 2017)” ที่ สวทช. จัดขึน้ ภายใต้แนวคิด “อินโนฟิวชัน่ : เสริมพลังธุรกิจด้วยวิทย์ และนวัตกรรม (INNO-FUSION : Power Up Business with STI)” เพือ่ ถ่ายทอดองค์ความรูแ้ ละ ต่อยอดนวัตกรรมให้กบั นักลงทุนเป้าหมายและผูป้ ระกอบการไทย โดยใช้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) พัฒนากระบวนการผลิตให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน November-December 2017


ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล

ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า ปัจจุบันการวิจัยจะต้องต่อยอดสู่เชิงพาณิชย์ เสริมสร้างศักยภาพ ยกระดับผูป้ ระกอบการและนักลงทุน เอกชนสามารถเข้าถึงได้งา่ ยและสะดวก ซึง่ กิจกรรม NSTDA Investors’ Day ยังเป็นการพัฒนาบุคลากรและนักวิจัยระดับแนวหน้าของประเทศให้สามารถ สร้างสรรค์งานวิจยั ทีต่ อบสนองความต้องการของภาคอุตสาหกรรม เอกชน และชุมชน ทีต่ อบโจทย์ ความต้องการของภาคอุตสาหกรรมและสังคม และกิจกรรมนี้ได้เปิดโอกาสให้นักลงทุนที่เข้าร่วม รับฟังการน�ำเสนอ 14 ผลงาน ร่วมโหวตรางวัล “ผลงานทีน่ า่ ลงทุนทีส่ ดุ และรางวัลทีน่ ำ� เสนอผลงาน ดีทสี่ ดุ ” เพือ่ เป็นก�ำลังใจให้กบั นักวิจยั ในการคิดค้นนวัตกรรม และน�ำไปต่อยอดในเชิงธุรกิจได้รวดเร็ว ขึน้ ตามความต้องการของตลาด ซึง่ จะเป็นส่วนเสริมพลังในการขับเคลือ่ นธุรกิจเทคโนโลยี พัฒนา เศรษฐกิจ ฐานนวัตกรรม ยกระดับประเทศให้ทัดเทียมกับนานาชาติได้ต่อไป นอกจากนัน้ ภายในงานนี้ ดร.ณรงค์ ยังได้กล่าวถึง “10 เทคโนโลยีทนี่ า่ จับตามองส�ำหรับ ธุรกิจ (10 Technologies to Watch)” ทีค่ าดว่าจะส่งผลกระทบในช่วงเวลา 5-10 ปีนี้ ซึง่ เทคโนโลยี เหล่านี้เป็นสิ่งที่ประชาชนและผู้ประกอบการจะต้องปรับตัวให้ทัน เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อทั้ง การด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน สังคม และเศรษฐกิจ

เทคโนโลยีที่น่าจับตามอง ประกอบด้วย

1.

สารเสริมสุขภาพเนรมิตได้ (Phytonutrients)

ปัจจุบนั สามารถน�ำพืชผัก ผลไม้ มาสกัดเอาสารส�ำคัญ และ ท�ำให้อยู่ในรูปลักษณะที่ชวนบริโภค ไม่ว่าจะเป็นแคปซูล ผง แท่ง หรือละลายน�้ำ ผลิตภัณฑ์ที่มีสารมีประโยชน์จากพืชออกสู่ตลาด เพิ่มขึ้นมากในแต่ละปี เรียกสารดังกล่าวรวมๆ ว่า Phytonutrients หรือ Phytochemicals ซึง่ จัดว่าอยูใ่ นกลุม่ ของอาหารเสริมเพือ่ สุขภาพ หรือ Functional Food

2.

เนื้อสัตว์ ไม่ต้องฆ่า (Cellular Agriculture)

ประเทศเนเธอร์แลนด์ทดลองน�ำเนื้อเยื่อของกล้ามเนื้อวัว ทีไ่ ด้จากการเลีย้ งในห้องปฏิบตั กิ ารมาท�ำเป็นแฮมเบอร์เกอร์ แนวคิด การผลิตเนือ้ สัตว์จากเซลล์แบบนี้ มาจากความต้องการผลิตเนือ้ สัตว์ แบบยั่งยืน ดีต่อโลก โดยใช้เทคโนโลยี Cell Culture เพิ่มจ�ำนวน สเต็มเซลล์อย่างรวดเร็ว เทคโนโลยีนี้มีข้อดีคือ ช่วยลดการปล่อย แก๊สเรือนกระจกได้ราว 14.5% ของแก๊สเรือนกระจกทัง้ หมด เป็นต้น November-December 2017


3.

จุลินทรีย์ผลิตสารมูลค่าสูงจากอากาศ (From-Air-To-Chemicals Bacteria)

นักวิจัยจาก University of Minnesota ผลิตแบคทีเรีย 2 ชนิด คือ ซินนีโคค็อกคัส (Synechococcus) ที่สังเคราะห์แสงโดยตรึง คาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศ แล้วเปลีย่ นให้เป็นน�ำ้ ตาล ก่อนส่งต่อ ให้แบคทีเรีย ชีวาเนลลา (Shewanella) เปลี่ยนให้เป็นกรดไขมัน ซึ่ง น�ำไปใช้ผลิต “คีโตน” ซึ่งเป็นวัตถุดิบตั้งต้นส�ำคัญของสารประกอบ อินทรีย์อื่นๆ และน�้ำมันดีเซลได้

4.

บรรจุภัณฑ์กินได้ (Edible Packaging)

เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจากผลผลิตทางการเกษตร เพื่อใช้ ห่อหุ้มอาหารไม่ให้เกิดความเสียหาย ยืดอายุ รักษาคุณภาพของ อาหารให้เก็บไว้ได้นานขึ้น และสามารถรับประทานอาหารชนิด นั้นๆ พร้อมกับส่วนที่ห่อหุ้มอยู่ได้เลย โดยไม่ก่อให้เกิดอันตราย ต่อผูบ้ ริโภค ปัจจุบนั มีงานวิจยั และได้เริม่ ทดลองใช้กนั แล้วในหลาย ประเทศ (แหล่งอ้างอิง : http://medicalfuturist.com/ wp-content/uploads/2016/10/ Future-of-Food.jpg)

November-December 2017

5.

ถุงปลูกเพิ่มผลผลิต (Nonwovens for Agriculture)

หากเอ่ยถึง นอนวูฟเวนส์ (Nonwovens) หรือ “ผ้าไม่ถักไม่ทอ” อาจไม่ค่อยคุ้นหูนัก แต่ตัวอย่างนอนวูฟเวนที่คุ้นเคยกันดี พบได้ แพร่หลาย คือ หน้ากากอนามัย เนื้อวัสดุมีลักษณะคล้ายกระดาษ แต่ให้สมั ผัสนุม่ คล้ายผ้า ผลิตภัณฑ์แบบนีอ้ าศัยการขึน้ รูปจากเส้นใย โดยตรง การน�ำเทคโนโลยีวสั ดุมาใช้เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ และเพิม่ ผลผลิตทางการเกษตร จึงมีความส�ำคัญมาก นักวิจยั จากศูนย์เอ็มเทค สวทช. ร่วมกับมหาวิทยาลัยนเรศวร ท�ำวิจัยถุงปลูกนอนวูฟเวน โดยมีเป้าหมายเพือ่ เพิม่ คุณภาพและปริมาณผลิตผลทางการเกษตร ให้มากขึ้น (แหล่งอ้างอิง : http://www.technicalnonwovens.com/uploads/ image/filename/thumb/t/Reemay_PBT_Composite.jpg


6.

หุ่นยนต์หมอนาโน (Medical Nanorobot)

ตัวยาทีใ่ ช้รกั ษามะเร็งขาดความจ�ำเพาะ จึงท�ำลายเซลล์มะเร็งเป้าหมายได้แค่ 1-2% ทีเ่ หลือกลับท�ำลายเซลล์ดี ท�ำให้เกิดผลข้างเคียง ต่างๆ ตามมา มีทีมวิจัยที่ศึกษาการน�ำ T Cell มาใช้เป็น Nanorobot น�ำส่งยาที่ใช้ฆ่าเซลล์มะเร็งได้อย่างจ�ำเพาะ หรืออาจใช้น�ำส่งอนุภาค นาโนบางอย่างที่เมื่อกระตุ้นด้วยรังสี จะท�ำให้เซลล์มะเร็งตาย โดยไม่กระทบต่อเซลล์ปกติอื่นๆ

7.

เข็มจิ๋วจิ้มไม่เจ็บ (Nano Needle)

การฉีดยาเป็นเรือ่ งเจ็บตัวและไม่พงึ ปรารถนาของทัง้ เด็กและ ผูใ้ หญ่ แต่เรือ่ งนีอ้ าจกลายเป็นอดีตไปในไม่ชา้ เข็มขนาดเล็กมากๆ ที่เรียกว่า Micro/Nano Needles หรือ MNN มีเส้นผ่านศูนย์กลาง ระดับไมโครและนาโนเมตร คือราว 1 ในล้าน และ 1 ในพันล้านส่วน ของเมตรเท่านัน้ ในเดือนมิถนุ ายน 2560 นีเ้ อง มีการสอบประสิทธิภาพ การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ให้กับอาสาสมัคร โดยใช้แผ่น MNN เป็น ครัง้ แรก โดยนักวิจยั จาก Georgia Institute of Technology ประเทศ สหรัฐอเมริกา ขณะนีม้ งี านวิจยั เพือ่ สร้างเข็มจิว๋ ทีเ่ หมาะกับการฉีดยา หรือวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนขั บ้า และการฉีดอินซูลนิ ส�ำหรับการรักษา โรคเบาหวาน อีกด้วย (แหล่งอ้างอิง : https://shop.gaube-kosmetik.at/media/catalog/ product/cache/1/thumbnail/175x250/9df78eab33525d08d6e5 fb8d27136e95/n/a/nano_hires_diag_corr_1.jpg

8.

บล็อกเชนเพื่อสุขภาพ (Blockchain for Health)

คือ เทคโนโลยีการเก็บข้อมูลธุรกรรมทีท่ ำ� ให้ทกุ คนทีเ่ กีย่ วข้องสามารถ เก็บข้อมูล และใช้การเข้ารหัส หรือคริปโตกราฟี (Cryptography) เพือ่ ป้องกันการแอบแก้ไขข้อมูล และก�ำหนดสิทธิการเข้าถึงข้อมูล ท�ำให้ ระบบมีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากไม่จ�ำเป็นต้องใช้คนในการบริหาร จัดการข้อมูล และปลอดภัยจากการแอบแก้ไขและแอบเข้าถึงข้อมูล ตัวอย่างเช่น นวัตกรรม Blockchain ด้านสุขภาพไทย บริษทั Block M.D. ทีเ่ ป็นบริษทั สตาร์ทอัพ ก�ำลังพัฒนา Electronic Health Record หรือ EHR บนบล็อกเชน โดยใช้โครงสร้างเวชระเบียน หรือประวัติผู้ป่วย มาตรฐาน ในปัจจุบันนั่นเอง (แหล่งอ้างอิง : https://themerkle.com/wp-content/ uploads/2017/03/shutterstock_554011084.jpg) November-December 2017


10.

พิมพ์ฟังก์ชัน 3 มิติ (Functional 3D Printing)

9.

โรงยิมสมอง (Brain Gym)

สมองเป็ น อวั ย วะที่ มี ค วามซั บ ซ้ อ นมาก ต้ อ งใช้ เ ครื่ อ ง คอมพิวเตอร์นับแสนนับล้านเครื่อง เพื่อจ�ำลองการท�ำงานของ สมองเพียงเสี้ยววินาที แต่ปัจจุบันมีเทคโนโลยีเซ็นเซอร์ (Sensor) ที่น�ำมาศึกษาสมองได้ดี เช่น มีเทคโนโลยีการสร้างภาพประสาท (Neuroimaging) เราอาจเคยเห็นเครื่องมือพวกนี้ในโรงพยาบาล กันบ้างแล้ว เช่น เครื่อง MRI หรือ EEG มี Sensor ต่างๆ ที่ช่วยให้ อ่านข้อมูลสมองได้สะดวก และเรายังมีเทคนิคการวิเคราะห์ Big Data ท�ำให้สามารถอ่านข้อมูลสมองได้อย่างรวดเร็ว ถือเป็นศาสตร์ใหม่ ที่เรียกรวมว่าเป็นนิวโรอินฟอร์เมติกส์ (Neuroinformatics) (แหล่งอ้างอิง : https://i1.wp.com/innovationtoronto.com/ wp-content/uploads/2015/01/BrainScanHiRes.jpg)

ข้อมูลจาก IDTechEx ก็ระบุวา่ ตลาดของวัสดุสำ� หรับการพิมพ์ 3 มิติ คาดว่าจะเติบโตและมีมูลค่าตลาดทั่วโลกสูงประมาณ 700,000 ล้านบาท ในอีก 10 ปีข้างหน้า ในอนาคตอันใกล้ วัสดุใหม่ๆ เช่น วัสดุคอมพอสิต จะช่วยให้สามารถพิมพ์วัสดุที่มีคุณสมบัติเฉพาะ ต่างๆ ได้หลากหลายขึ้น ท�ำให้สร้างอุปกรณ์ที่ท�ำงานได้เลยหลัง พิมพ์เสร็จ เรียกว่า Functional 3D Printing เช่น การพิมพ์พลาสติก ที่สามารถน�ำความร้อน เพราะมีวัสดุโลหะผสมอยู่ เช่น วัสดุผสม คอมพอสิต กับอนุภาคหรือเส้นใยของทองแดง หรืออะลูมิเนียม สามารถน�ำไปใช้ทดแทนชิน้ ส่วนโลหะได้ เช่น ชิน้ ส่วนโคมไฟรถยนต์ หรือใช้ระบายความร้อนในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ปัจจุบัน สามารถพิมพ์เส้นลวดน�ำไฟฟ้าได้แล้ว โดยศูนย์ นวัตกรรมการพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์และอิเล็กทรอนิกส์อินทรีย์ หรือ TOPIC ในสังกัดศูนย์เนคเทค สวทช. ร่วมมือกับบริษัทเอกชน ผลิต เส้นลวดพลาสติกน�ำไฟฟ้าด้วยวัสดุคอมพอสิตผสมกราฟีน ทีส่ ามารถ น�ำไฟฟ้าได้ดที สี่ ดุ ในโลก มีความต้านทานไฟฟ้าน้อยกว่า 0.5 โอห์ม ต่อเซนติเมตร และสามารถขึ้นรูปได้ด้วยเครื่องพิมพ์ 3 มิติทุกชนิด ซึ่งขณะนี้ได้ออกวางจ�ำหน่ายแล้ว (แหล่งอ้างอิง : http://somecosmiclove.com/wp-content/ uploads/2017/09/1505075583_maxresde)

เทคโนโลยีทคี่ วรจับตามองนัน้ ส่วนใหญ่ครอบคลุมเรือ่ งอาหาร สุขภาพ และการแพทย์ รวมทัง้ เรือ่ งเทคโนโลยีการพิมพ์และการเกษตรเข้ามามีบทบาทด้วย ซึง่ จะเป็นประโยชน์สำ� หรับนักลงทุนใน การท�ำความเข้าใจทิศทางและแนวโน้มเทคโนโลยีใหม่ เพือ่ เลือกพิจารณาลงทุนให้เหมาะสม เพราะ เทคโนโลยีเหล่านีอ้ าจจะเข้าไปเปลีย่ นรูปแบบธุรกิจหลายประเภททีเ่ ห็นอยูใ่ นปัจจุบนั นอกจากนัน้ ข้อมูลเหล่านี้น่าจะมีความส�ำคัญส�ำหรับคนทั่วไปเช่นกัน เพื่อให้ทันรับมือกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว November-December 2017


Article

> สมมาศเสถียร เลิศวัฒนกูล ประธานเจาหนาที่บริหารฝายการตลาด บริษัท ไฟเบอรวัน จํากัด (มหาชน)

มีคาํ ถามมากมายทีห่ ลายคนยังสงสัยเกีย่ วกับอินเทอรเน็ต ในแบบของไฟเบอรออฟติกวาดีกวาแบบสายทองแดงที่ใชกัน ทัว่ ไปอยางไร เราเลยรวบรวม 10 เรือ่ งควรรูเ กีย่ วกับอินเทอรเน็ต แบบไฟเบอร vs สายทองแดง สมมาศเสถียร เลิศวัฒนกูล ประธานเจาหนาที่บริหาร ฝายการตลาด บริษัท ไฟเบอรวัน จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปนผู ใหบริการวางโครงขายไฟเบอรออฟติกถึงที่พักอาศัยและชุมชน ของผูอยูอาศัย เปนการติดตั้งโครงขายดิจิทัลแบบรวมศูนย (Digital Service Platform) เพื่อรองรับอินเทอรเน็ตความเร็วสูง และบริการดิจิทัลอื่นๆ ในอนาคต โดยโครงขายที่ไฟเบอรวัน เดินสายเปนโครงขายไฟเบอรออฟติกเขาถึงบานแตละหลังหรือ หองพักในคอนโดมิเนียมแตละหอง แทนสายทองแดงในปจจุบนั ที่มีประสิทธิภาพดอยกวา โดยการติดตั้งโครงขายนี้ ไฟเบอรวัน มิไดคิดคาบริการใดๆ จากเจาของโครงการที่พักอาศัยหรือจาก นิตบิ คุ คลทีบ่ ริหารจัดการโครงการหรือจากผูอ ยูอ าศัยแตละราย แตอยางไร นอกจากนี้ ไฟเบอรวันยังใหบริการดูแลและซอม บํารุงรักษาโครงขายดิจิทัลแบบรวมศูนยนี้เปนเวลา 15 ปดวย คาใชจายของบริษัทเอง

1. ไฟเบอร ออฟติกใช เคเบิลทีต่ ดิ ตัง้ ใหม ส วนสายทองแดง ส วนใหญ เป นของเก า

แมวาวันนี้เทคโนโลยีการใหบริการบนสายทองแดงนั้น จะพัฒนามาถึง VDSL ที่มีความเร็วระดับ 50 Mbps. (เมกะบิต ตอวินาที) แตใชวาความเร็วระดับนี้จะสามารถใหบริการในทุก พื้นที่ จะมีพื้นที่สวนที่เพิ่งทําการอัพเกรดหรือวาติดตั้งใหม เท า นั้ น ที่ ใช ง านความเร็ ว ในระดั บ นี้ ไ ด แถมยั ง มี ป ญ หาการ รบกวนทางไฟฟา เพราะสายทองแดงนั้นถูกออกแบบมาใหมี ฉนวนที่เปนพลาสติกบางๆ หุมอยู ทําใหเกิดการรบกวนไดงาย ซึ่งสงผลตอการใชงานดานอินเทอรเน็ตที่ตองอาศัยการรับ-สง ขอมูลความเร็วสูง เทียบไดกับเมื่อหลายสิบปกอน (เด็กรุนใหม อาจไมเห็นภาพ) กับปญหาเกิดเสียงกอบแกบรบกวนการใช โทรศัพทตามบาน

เครื อ ข า ยไฟเบอร อ อฟติ ก แบบใหม ที่ กํ า ลั ง ขยายตั ว อยู ใ น ปจจุบนั นี้ อยูบ นเทคโนโลยี FTTx ทีม่ คี า ใชจา ยในการขยายเครือขาย ถู ก กว า และรองรั บ จํ า นวนผู ใช ง านรวมถึ ง รู ป แบบการใช ง านที่ หลากหลายกวา การขยายโครงขายดวยสายไฟเบอรออฟติกนั้น รองรับการใชงานไดสูงถึงระดับ Gigabit (กิกะบิตตอวินาที) แปลวา รองรับสูงกวาเทคโนโลยีปจจุบันอยาง VDSL ถึง 200 เทา แถมยัง สามารถอัพเกรดเพิ่มระดับความเร็วและการใชงานในอนาคตได เทียบงายๆ นี่คือทางดวนที่รองรับรถจํานวนมากหลายแบบและ ตอเติมเพิ่มในอนาคตไดนั่นเอง

10 เร�่องควรรู

เกี่ยวกับไฟเบอร ออฟติก

VS สายทองแดง

November- December 2017

p.55-57_article.indd 55

11/6/17 2:36 PM


2. ไฟเบอร ออฟติกสป ดเร็วกว า

ถึงแมวาปจจุบันเครือขายสายทองแดงนั้นจะมีเทคโนโลยี อยาง VDSL ที่ทําใหมีความเร็วในการใชงานอินเทอรเน็ตถึง 50 Mbps. แตก็อยาลืมวาครั้งแรกที่ อเล็กซานเดอร แกรมแฮม เบลล ออกแบบระบบโทรศัพทมาก็เพือ่ ใหใชสาํ หรับการสือ่ สารดวยเสียง เท า นั้น แม วา ยุ ค สมั ย ได เ ปลี่ย นให โ ครงข า ยสายทองแดงจาก อนาล็อกสูดิจิทัลแลวก็ตาม ทองแดงก็ยังคงมีขอจํากัดในฐานะ ตัวนําที่เปนสื่อในการนําไฟฟามีขอจํากัด แตไฟเบอรออฟติกนั้นถูกออกแบบมาเพื่อการใชงานการ เคลื่อนยายขอมูลทุกรูปแบบ ไมวาจะเปนภาพ เสียง มัลติมีเดีย และอื่นๆ เรียกวาอะไรก็ไดที่ถูกแปลงใหอยูในรูปขอมูลดิจิทัล ไฟเบอรออฟติกนั้นขนไดดีและเร็วกวาเครือขายสายทองแดง ทําใหทกุ วันนีเ้ ราไดเห็นโปรโมชัน่ บริการอินเทอรเน็ตสําหรับบานพัก อาศัยตั้งแต 50-1000 Mbps. หรือเรียกงายๆ วาถามีเงินจาย ในระดับ 10,000 บาทตอเดือน คุณก็สามารถมีอินเทอรเน็ต ความเร็ว 1 Gbps. มาใชในบานได

3. ไฟเบอร ออฟติกลื่นปร�๊ดดดด

ความเร็วกับความลื่น หลายคนอาจเขาใจผิดวาเปนเรื่อง เดียวกัน ทางเทคนิคแลวความลื่นก็คือ Latency หรือความหนวง ในการตอบสนองการทํางานของเครือขายในแตละแบบ ซึ่งยิ่ง ตัวเลขนอยก็ยงิ่ หมายความวาทํางานไดลนื่ มากกวา สวนใหญแลว เราจะวัดความลื่น หรือ Latency กันดวยวิธีการที่เรียกวา Ping คือการยิงแพคเกจไปและสงกลับมาจากเซิรฟเวอร มีหนวยเปน มิลลิวินาที (Millisecond) ซึ่งบนเครือขายทองแดงแมจะอยูบน เทคโนโลยีลาสุดอยาง VDSL คา Ping นั้นก็ยังอยูในหลัก 10 ขึ้นไป แตกับบนโครงขายแบบไฟเบอรออฟติกนั้นเราพูดกันที่ ตัวเลขต่ํากวา 10 มิลลิวินาทีลงมา อยางทีห่ ลายคนมักใหนยิ ามของการเลนเน็ตไฟเบอรออฟติก ไววา ลืน่ ปรืด๊ ดด นัน่ เอง ถามวาลืน่ แลวมีประโยชนอยางไร สําหรับ ผูใ ชตามบานหลายคนอาจจะสังเกตเห็นไดชดั เวลาใชอนิ เทอรเน็ต หลังจากทีเ่ ราพิมพ URL หรือทีอ่ ยูข องเว็บไซตตา งๆ แลวกด Enter แลวจะมีการสงคําสั่งไปยังเซิรฟเวอรปลายทางโดยที่ผานทาง เครื อ ข า ย แต ใ นความเป น จริ ง กว า ที่ เราจะส ง ไปถึ ง เซิ ร ฟ เวอร ปลายทางต อ งมี ก ารผ า นอุ ป กรณ เ ครื อ ข า ยหลายชั้ น การได โครงขายทีล่ นื่ หรือมีคา Latency ต่าํ ๆ นัน่ ก็หมายถึงวาคําสัง่ และ ขอมูลที่เราตองการจะเขาไปที่เซิรฟเวอรและกลับมาหาไดเร็วกวา นั่นเอง ปล. เอาตัวเลขกลมๆ กระแสไฟฟาเดินทางบนสายทองแดง ที่ความเร็วเกือบ 300 กิโลเมตร/วินาที เทียบกับแสงที่วิ่งบน ไฟเบอรออฟติกใกลเคียง 3 แสน กิโลเมตร/วินาที เอาแคนกี้ ร็ แู ลว วาอะไรลื่นกวากัน

p.55-57_article.indd 56

4. ไฟเบอร ออฟติกสัญญาณไฟฟ ารบกวน ไม มีผลเหมือนสายทองแดง

การสงสัญญาณไฟฟาผานทางสายนําสัญญาณ ปญหาที่ ทําใหประสิทธิภาพและความเร็วในการสงนั้นคือเรื่องของการ รบกวนทางแมเหล็กไฟฟา หรือ Electromagnetic Interference : EMI ทีจ่ ะเกิดแมเหล็กไฟฟาขึน้ ทุกครัง้ เมือ่ มีการสรางแรงดันไฟฟา ในตัวนําชนิดตางๆ จะมากหรือนอยก็ขึ้นอยูกับชนิดของตัวนํา ซึง่ ในโลกนีก้ จ็ ะมีตวั นําทีด่ กี วาทองแดง ไมวา จะเปนเงินหรือทองคํา แตในสภาพความเปนจริงแลวทองแดงนาจะเปนการลงทุนที่ ยอมรับไดมากที่สุด (ขนาดถูกที่สุดยังถูกขโมยตัดสายอยูเรื่อยๆ ไมเวนแตละวัน) เมือ่ เกิด EMI ขึน้ จะสงผลใหการใชงานอินเทอรเน็ต นั้นไมมีความเสถียรแบบที่เจอกันบอยๆ ก็คือ เน็ตชาหรือหลุด บอย แตบนโครงขายระบบไฟเบอรออฟติกไมไดใชกระแสไฟฟา สรางแรงดันในการสงขอมูล แตวา ใชวธิ เี ปลีย่ นขอมูลใหถกู สงออก ไปในรูปแบบของแสงผานทางเสนใยแกวนําแสง ทําใหไมวา บริเวณ พื้นที่ที่ลากสายไฟเบอรออฟติกผานจะมีคลื่นแมเหล็กไฟฟากวน มากขนาดไหน ก็ไมทาํ ใหเกิดปญหากับการสงและรับขอมูลในการ ใชงานอินเทอรเน็ตได

5. เคร�อข ายไฟเบอร ออฟติกรองรับลูกค ายได เยอะ ขยายโครงข ายได ไกล

ปญหาคลาสสิคของคนตองการติดตั้งอินเทอรเน็ตที่ผูให บริการตอบวา คูสายเต็ม หรือระยะติดตั้งไกลเกินระยะสาย ผูให บริการอินเทอรเน็ตที่ยังคงใหบริการอยูบนโครงขายสายทองแดง มักจะยกธงยอมแพ หากบานของจุดติดตั้งของลูกคานั้นอยูไกล จากอุปกรณกระจายสัญญาณหรือ DSLAM (Digital Subscriber Line Access Multiplexer) ในระยะ 1-2 กิโลเมตร (เอาเขาจริง ระยะ 1 กิโลเมตร นิดๆ ชางติดตัง้ ก็เริม่ จะมีขอ อางวาจะเกิดปญหา เน็ตชาใชงานไมเสถียร) สวนไฟเบอรออฟติกวันนี้เราพูดกันถึง ปลายทางในระยะเกินกวา 2 กิโลเมตรจากจุดเชื่อมตอ (ในกรณี ช า งติ ด ตั้ ง หรือบริษัทผูใหบริการยอมหรือใหลูกคาจายคาสาย ไฟเบอรออฟติกเพิ่มเติม) แถมขอจํากัดของอุปกรณ DSLAM ในเรื่องของจํานวนจุด กระจายสัญญาณ ในอุปกรณ 1 ตัวนั้น การเพิ่มจํานวนของจุด เชื่อมตอหรือพอรต นั้นทําไดอยางเดียวคือการเปลี่ยนตัวใหม ที่ ใ หญ ก ว า มี พ อร ต มากกว า ซึ่ ง ราคาถึ ง วั น นี้ แ ม ว า จะถู ก ลง แต ก็ ไ ม คุ ม ค า กั บ การลงทุ น การให บ ริ ก ารผ า นทางเครื อ ข า ย ไฟเบอรออฟติกนั้นขอใหสายนั้นไดลากผานไปในพื้นที่เทานั้น การสรางจุดเชือ่ มตอไมใชเรือ่ งยาก แมแตในรูปแบบของอาคารพัก อาศัยอยางคอนโดก็แคเพิม่ อุปกรณกระจายจุดเชือ่ มตอก็สามารถ ใหบริการไดเปนจํานวนมากเกือบไมมีขอจํากัด

11/6/17 2:36 PM


6. ไฟเบอร ออฟติกทําไมอัพโหลดได มากกว า

จากปญหาการรบกวนทางคลืน่ แมเหล็กไฟฟา EMI จากขอ 4 ความพยายามในการสงขอมูลปริมาณมากๆ ผานทางสายทองแดง ดวยอุปกรณที่สามารถสรางแรงดันอันนอยนิดอยาง Router ตาม บานที่ผูใหบริการอินเทอรเน็ตแจกมาใหตอนสมัครนั้นไมสามารถ ทนต อ การรบกวนดั ง กล า วได ผลก็ คื อ ไม ส ามารถส ง ข อ มู ล นั้ น ออกไปไดหรือสงออกไปขอมูลก็ไมถกู ตองสมบูรณ ตองเกิดการเรียก ขอมูลซ้าํ จากปลายทางอยูเ รือ่ ยๆ แตเมือ่ ปญหายังอยูท เี่ ดิม สุดทาย ก็เจอปญหาสงขอมูลไมไดหรือวาชาแบบเตาคลานอยางที่เจอกัน เลยทําใหผูใหบริการบนสายทองแดงนั้นไมสามารถใหบริการที่มี อัตราการสงขอมูลหรืออัพโหลดสูงๆ ไดมากนัก (นอกจากนัน้ ยังเปน ประเด็นเรื่องของความคุมคาในการลงทุนสรางโครงขาย ถาปลอย ใหอัพโหลดมากก็ตองมีทอที่มีขนาดใหญตามไปดวย ทําราคาใน ระดับ Mass ไมได) โจทย EMI เหมือนกันแตบนโครงขายไฟเบอรออฟติกซึ่งมี แตนอ ยมากจนไมไดสรางผลกระทบใหระคายอันใดเลย เพราะขอมูล ถูกสงออกไปในรูปแบบแสง การรบกวนดวยคลื่นแมเหล็ก ไฟฟา จึงไมมีผล ทําใหเดี๋ยวนี้อัพโหลดของโครงขายไฟเบอรเริ่มตนกันที่ 10 Mbps. ไปจนถึงระดับ 1-200 Mbps. กันเลยทีเดียว ทําใหอีก ไมนานไมวาใครก็สามารถจะไลฟสดจากที่บานของตัวเองผานทาง อินเทอรเน็ตแบบไฟเบอรในรูปแบบความคมชัดสูง เหมือนเปดทีวี ดิจิทัลไดเลยทันที

7. ไฟเบอร ออฟติกข อมูลปลอดภัยมากกว า

ขอนี้แมโอกาสจะนอย แตบางบริษัทที่ขอมูลสําคัญมากๆ หากมีความตองการจากผูไมหวังดี อาจเสี่ยงโดนแฮคไดดวยการ แตะสายอินเทอรเน็ต (แบบไมตอ งเชือ่ มตอ) เพราะสายอินเทอรเน็ต แบบที่สงสัญญาณดวยไฟฟาจะมี “คลื่นแมเหล็กไฟฟา” มากและ นอย ขึ้นอยูกับฉนวนหุมสายที่สามารถปองกันการกระจายตัวของ คลืน่ แมเหล็กไฟฟา แมจะนอยแตในบางเคสก็มากพอทีจ่ ะใชในการ แฮคขอมูล การเปลี่ยนมาใชอินเทอรเน็ตแบบเคเบิลชวยแกเรื่องนี้ ไดดีขึ้นดวยฉนวนที่หนาขึ้นของสายทองแดง แตถาเปนใยแกว นําแสง ก็จะตัดเรื่องรังสีแมเหล็กที่แผออกมานอกสายสัญญาณ ไดเลย ปลอดภัยสุด จะทําไดกแ็ คเอาอุปกรณอยาง SFU เขาไปเสียบ กับชุมสายไฟเบอรซึ่งก็ไมงาย เพราะถัดจากนั้นยังมีระบบเขารหัส ทั้งของบนโครงขายกับอุปกรณชุมสายหรือผูใหบริการอีก เพราะ อยางนั้นเลิกคิดดีกวา

8. ไฟเบอร ออฟติกรับแบนด วธ� ได เยอะกว า เชือ่ มต ออุปกรณ ได เยอะกว า

ขอนี้แนนอนไมตองบอกก็รู เมื่อไฟเบอรออฟติกมีความ สามารถใหบริการใชงานที่เร็วกวา ลื่นกวา งายกวา ก็ตองสามารถ รองรับการใชงานอุปกรณในการใชงานที่มากกวาไปดวย ในโลก ยุคที่ IoT กําลังครองโลก มีผลสํารวจวาอีกไมเกิน 10 ปจากนี้จะมี อุปกรณเชื่อมตอเขากับอินเทอรเน็ตหลายพันลานตัว ปจจุบันสิ่งที่ เราตองการมากขึน้ กวาเมือ่ 10 ปทแ่ี ลวก็คอื แบนดวธิ หรือเรียกงายๆ

p.55-57_article.indd 57

ก็คือความเร็วในการเขาถึงอินเทอรเน็ตที่มากขึ้น การที่สามารถ ดาวนโหลดขอมูลเร็วมากขึ้นก็หมายถึงเราสามารถใชงานอุปกรณ ไดจาํ นวนมากขึน้ ตามไปดวยนัน่ เอง เปรียบเสมือนทอน้าํ ถึงแมวา น้าํ แรงเทากัน แตทอใหญกวา ความเสถียรของสัญญาณเมื่อเรียกใช พรอมๆ กันของไฟเบอรออฟติกยอมมีมากกวา

9. ไฟเบอร ออฟติกเยอะยังไงก็รับได เหลือๆ

เมื่อวันนี้ผูใหบริการอินเทอรเน็ตกําลังพยายามเปลี่ยนไปสู โครงขายไฟเบอรออฟติก คําถามคือ แลวจะเจอปญหาเมื่อมีจํานวน ผูใ ชงานจํานวนมากเหมือนโครงขายสายทองแดงหรือไม ตอบไดเลย วา ไฟเบอรออฟติกนั้นมาชวยแกปญหาความคับคั่งของการใชงาน พรอมๆ กันไปไดมาก ขึน้ อยูก บั วาผูใ หบริการรายตางๆ ออกแบบให ระบบนั้นสามารถรองรับการใชงานไวมากนอยเพียงใด เอาเปนวา บนโครงขายไฟเบอรออฟติกนั้นยังไงก็รับจํานวน ผูใชที่มากกวาถึง 2-3 เทาตัว

10. ไฟเบอร ออฟติกในรูปแบบของ Digital Service Platform ทําให เลือกผู ให บร�การที่หลากหลาย

เทคโนโลยีโครงขายสายทองแดงนั้นไมคอยเอื้อที่จะทําให ผูใชงานตามหมูบานหรือคอนโดนั้นสามารถเลือกหรือมีตัวเลือกใน การใชบริการไดมากกวา 1 ราย การเปลี่ยนมาใชโครงขายไฟเบอร ออฟติกนั้น หมูบานหรือคอนโดสามารถเลือกการติดตั้งโครงขาย สําหรับใหบริการในแบบ Digital Service Platform หรือเปรียบเสมือน ประตูเชือ่ มทางดวนทีผ่ ใู หบริการอินเทอรเน็ตหรือบริการดิจทิ ลั อืน่ ๆ ทีเ่ หมือนทางดวนตางๆ ไมวา จะเปนโทลเวย ทางดวนขัน้ ที่ 1 ขัน้ ที่ 2 หรือมอเตอรเวย ที่ผูอาศัยสามารถเลือกที่จะเลือกผูใหบริการไดเอง อย า งบริ ก ารที่ ไ ฟเบอร วั น ให บ ริ ก ารติ ด ตั้ ง ให กั บ นิ ติ บุ ค คล หมูบานหรือคอนโดตางๆ ทั่วกรุงเทพฯ และปริมณฑล เปนบริการที่ ชวยใหผูพักอาศัยในหมูบานและคอนโดนั้นสามารถเลือกไดวาจะใช บริการอินเทอรเน็ตจากผูบริการไดมากกวาหนึ่งราย ในทางกลับกัน เปนชองทางทีช่ ว ยใหผใู หบริการอินเทอรเน็ตนัน้ สามารถเขาใชบริการ ในหมูบ า นหรือคอนโดนัน้ ทําไดงา ยขึน้ ไมตอ งเสียเวลาและคาใชจา ย ในการเดินระบบสายไฟเบอรออฟติกเอง ทัง้ หมดคือ 10 ขอเกีย่ วกับไฟเบอรออฟติกทีค่ วรรู เพราะระบบ สายทองแดงจะถูกแทนทีด่ ว ยไฟเบอรออฟติกทัง้ หมดในไมชา นี้

11/6/17 2:37 PM


Article

> ดารเรน รัสเวิรท ประธานบริษัท NICE Ltd. แหงภูมิภาคเอเชียแปซิฟก

ระบบอัตโนมัติ

ชวยสนับสนุนการทำงาน

ในอนาคตไดอยางไร อนาคตอีกไมไกลนักหุน ยนตจะกลายเปนเพือ่ นรวมงานของเรา งานอะไรทีต่ อ งทําซ้าํ ซากจําเจ ตองการความถูกตองและความรวดเร็ว และแทบไมมกี ารตัดสินใจเลย จะถูกนําไปใหหนุ ยนตเปนผูท าํ เพราะวา งานเหลานี้ถาลงมือทําโดยมนุษยจะเปนสิ่งที่ทําใหมนุษยคับของใจ และมีแนวโนมจะเกิดขอผิดพลาดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามระยะเวลาการ ทํางาน ดังนัน้ การนํางานใชแรงงานทีค่ อ นขางหนัก นาเบือ่ หนายมาให มนุษยที่มีสติปญญาทําไมใชการใชทรัพยากรที่คุมคา

ทางออกคือการใชระบบกระบวนการทํางานอัตโนมัติ โดยหุนยนต (Robotic Process Automation : RPA) ซึ่งปจจุบัน กําลังจะแพรหลายในเอเชีย ดวยการนํา RPA เขามาชวยทําให ธุรกิจตางๆ ในภูมภิ าคเอเชียสามารถพัฒนากระบวนการทํางาน ทีซ่ า้ํ ๆ ใหกลายเปนกระบวนการทํางานอัตโนมัติ ทัง้ ในสวนหนา และสวนหลังของสํานักงาน และสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพ และประสิทธิผลขององคกรใหมีความสามารถในการแขงขัน ในโลกยุคดิจิทัลเพิ่มขึ้น IDC คาดการณวาภายในป พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) 40% ของการเปลี่ยนแปลงการทํางานใหเปนดิจิทัลในภูมิภาค เอเชียแปซิฟก จะเปนการนําความสามารถของปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence : AI) เขามาชวยงาน ขณะที่ในปจจุบัน มี CIO (Chief Information Officers) เพียงประมาณ 12% ของ ภู มิ ภ าคนี้ เ ท า นั้ น ที่ เ ห็ น ว า ป ญ ญาประดิ ษ ฐ ห รื อ AI จะมี ผ ล กระทบทางบวกตอธุรกิจของตนในอีก 5 ปขางหนา เปนเรื่องที่ไมงา ยนักที่ CIO ผูก าํ ลังกุมบังเหียนธุรกิจดวย งบประมาณการลงทุนไอทีท่ีลดลงแตมีความตองการใชงาน ใหมๆ ของผูใ ชเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ เชนนีจ้ ะยอมเปลีย่ นมาเชือ่ มัน่ ใน เทคโนโลยีใหมๆ สิง่ ทีเ่ ขาตองการรูก อ นตัดสินใจ คือเทคโนโลยีน้ี ทํางานอยางไร มันสามารถทําตามความฝนทีว่ าดไวหรือไม และ มีอัตราผลตอบแทนผลการลงทุน (ROI) เปนอยางไร ตอไปนี้ เปนคําตอบของคําถามเหลานี้

November- December 2017

p.58-59_article.indd 58

11/6/17 2:37 PM


ลูกคามีความสุขมากขึ้น ธุรกิจก็ดีขึ้น

ความพึงพอใจของลูกคาทั้งหมดเปนเรื่องของการใหสิ่งที่ ลู ก ค า ต อ งการ ณ เวลาที่ ลู ก ค า ต อ งการ อุ ต สาหกรรมทั้ ง หมด ในปจจุบันเผชิญกับแรงกดดันอยางหนักในการตอบสนองลูกคา ในโลกที่ถือวาผูบริโภคเปนศูนยกลาง (Consumer-Centric World) ขณะเดียวกันตองมีตนทุนที่ต่ําสุดดวย ดวยการนํางานที่ตองใช มนุ ษ ย ทํ า แต ก อ นเป น เวลายาวนาน มาให ร ะบบกระบวนการ อั ต โนมั ติ ที่ ทํ า งานได เร็ ว กว า ทํ า แทน ธุ ร กิ จ ในทุ ก อุ ต สาหกรรม ของภูมิภาคเอเชียจะสามารถสรางความพึงพอใจใหลูกคาไดสูงขึ้น พรอมกับการประหยัดตนทุนการทํางานลง ทีผ่ า นมา เราไดเห็นองคกรในภาคบริการทางการเงินสามารถ ลดเวลาในการรั บ และโทรศั พ ท ห าลู ก ค า ของพนั ก งานลงได ถึ ง 82 เปอรเซ็นตโดยเฉลี่ย ดวยการใชกระบวนการแจงเตือนลวงหนา ลูกคาทั้งกระบวนการโดยใชระบบอัตโนมัติ เปนการนํา RPA มาใช แทนพนั ก งานในการทํ า งานซ้ํ า ซากเหล า นี้ ทํ า ให ก ารโทรศั พ ท ของพนักงานจริงๆ สามารถมุงทุมเทไปที่งานที่มีมูลคาเพิ่มมากขึ้น อยางเชน การสืบสวนความผิดพลาดในการใหบริการและใหบริการ อืน่ ๆ แกลกู คาเพิม่ ขึน้ ปจจุบนั องคกรสามารถรองรับการแจงเตือน ล ว งหน า มากกว า 8,000 ครั้ ง ต อ เดื อ น โดยมี ค วามถู ก ต อ งถึ ง 99 เปอรเซ็นต และทําใหเชื่อมั่นวาลูกคามีความพึงพอใจตลอด กระบวนการบริการขององคกร

เรื่องนี้สามารถนํามาประยุกตใชกับอุตสาหกรรมอื่นๆ ได เช น กั น เราจะเห็ น ว า บริ ษั ท ค า ปลี ก แห ง หนึ่ ง สามารถลดความ ผิดพลาดในกระบวนรับคําสั่งซื้อจากลูกคา (Order Entry) ลงไดถึง 100 เปอรเซ็นต โดยการนํา RPA มาใชชว ยเหลืองานรับคําขอจัดสง (Delivery Requests) และการติดตามบริการตามคําขอของลูกคา (Customer Follow-Ups) ผลลัพธที่ไดคือการปรับปรุงความถูกตอง ทางธุรกิจใหสงู ขึน้ สรางความภักดีและเพิม่ ความพึงพอใจของลูกคา มากขึ้ น และเพิ่ ม การเติ บ โตทางรายรั บ ให แ ก อ งค ก รไปได อี ก หลายๆ ป

RPA เพื่อนรวมงานที่ทานสามารถ มอบความเชื่อถือใหไดมากที่สุด

“หุนยนตกําลังมาแยงงานของเรา” เปนความหวาดวิตก ของพนักงานในหลายๆ องคกรในปจจุบัน แตความจริงก็คือ RPA ทํางานไดดีมากขึ้นเมื่อตองทํางานแบบรวมมือไปดวยกัน (Handin-Hand) กับมนุษย ไมใชการทํางานแทนมนุษย โดย RPA สามารถ ทํ า งานในลั ก ษณะเป น เครื่ อ งมื อ ช ว ยงานที่ ทํ า งานเป น เอกเทศ (Standalone Tool) สําหรับกระบวนการทํางานที่ตองการความเปน อัตโนมัติ สามารถชวยพนักงานที่เปนมนุษยใหทํางานไดเร็วและ ถูกตองมากขึ้น โดยการปลดปลอยพวกเขาออกจากงานที่ซ้ําซาก จําเจ งานที่มีคุณคาเล็กนอย ใหสามารถรับงานในเชิงกลยุทธของ ธุรกิจไดมากขึน้ และใหโอกาสทีจ่ ะเสริมสรางทักษะการทํางานใหมๆ เพื่ อ จะยั ง คงมี คุ ณ ค า และสามารถแข ง ขั น ได ตามการวิ เ คราะห

ทางอุตสาหกรรม พบวา RPA ทําใหองคกรขนาดใหญสามารถจัดการ การดําเนินงานทางธุรกิจใหเร็วขึ้นถึง 5-10 เทา โดยใชทรัพยากร ลดลง 37 เปอรเซ็นตโดยเฉลีย่ ประสิทธิภาพทีเ่ พิม่ ขึน้ นีไ้ มไดเกิดจาก การลดพนั ก งานลง แต เ กิ ด จากการที่ ทํ า ให อ งค ก รสามารถนํ า พนักงานเหลานี้ไปทํางานที่มีมูลคามากขึ้นและทํางานไดเพิ่มขึ้น อยางเชน บริษัทขนสงที่นํา RPA ไปประยุกตใชงานในการ จัดตารางเวลาการจัดสงสินคา (Package Re-delivery Scheduling) ปลดปลอยพนักงานทีท่ าํ หนาทีเ่ ปนศูนยกลางในการติดตอกับลูกคา จากการทํางานที่ซ้ําๆ และมีความกดดันสูงนี้ ใหสามารถไปทํางาน ที่โปรแอคทีฟและมีประสิทธิผลในความสัมพันธกับลูกคามากกวา RPA ทําใหองคกรตางๆ สามารถปรับปรุงการบริการลูกคา ขณะเดียวกันสามารถเพิ่มระดับความพึงพอใจของพนักงานได อีกดวย ถือวาเปนการยิงปนนัดเดียวไดนกสองตัว ระบบการทํางาน อัตโนมัตเิ กิดขึน้ มาหลายปแลว RPA ทําใหมนั กาวหนาไปอีกขึน้ หนึง่ โดยการนํามันขึ้นจากกระบวนการผลิตในโรงงานขึ้นมาใชกับการ ทํางานในสํานักงาน ศูนยกลางการติดตอ (Contact Centres) งาน บริหารความเสี่ยง และอื่นๆ อีกหลายประการ เมื่อผลที่คาดวา จะไดรับ คือลูกคามีความพึงพอใจมากขึ้น พนักงานมีความสุข ในการทํางานมากขึ้น ประสิทธิภาพการทํางานขององคกรโดยรวม สูงขึ้น และสงผลใหมีการเติบโตของรายไดเพิ่มขึ้น จึงไมควรที่จะ ลังเลที่จะเริ่มนํา RPA มาปรับประยุกตใชงานเสียตั้งแตวันนี้

เกี่ยวกับบริษัท NICE

NICE เปนบริษัทชั้นนําระดับโลกผูใหบริการซอฟตแวร โซลูชั่นสําหรับองคกรขนาดใหญทั้งบนคลาวดและในระบบเกา (On-promises) เพิ่มพลังใหองคกรทั้งหลายสามารถทําการ ตัดสินใจไดอยางเฉลียวฉลาดมากขึน้ โดยใชความสามารถในการ วิเคราะหทกี่ า วหนาบนฐานขอมูลทัง้ แบบทีม่ โี ครงสรางและไมมี โครงสราง (Unstructured Data) สามารถชวยองคกรในทุกขนาด ใหสามารถบริการลูกคาไดดีขึ้น เพิ่มความเชื่อมั่นวาดําเนินงาน สอดคลองตามมาตรฐานและกฎระเบียบ (Compliance) ขจัด ความผิดพลาดและปกปองความเปนสวนตัวของผูใ ช (Safeguard Citizens) โซลูชั่นของ NICE ถูกใชในองคกรมากกวา 25,000 องคกร ในกวา 150 ประเทศทัว่ โลก รวมทัง้ 85 บริษทั ใน Fortune 100 รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถดูไดที่ www.nice.com

November- December 2017

p.58-59_article.indd 59

11/6/17 2:37 PM


Cover Story > กองบรรณาธิการ

ผูใหบริการ

ดานอุปกรณไฟฟา แบบครบวงจร บริษัท LSIS กอตั้งขึ้นในป 1974 โดยใชชื่อวา LG Industrial System ซึ่งเปนบริษัทในเครือ LG ตอมาในป 2005 ไดเปลี่ยนชื่อ ใหม เปน LS ปจจุบันบริษัท LS มีสํานักงานใหญตั้งอยูที่ LS Tower เมือง Anyang ประเทศเกาหลีใต รวมถึงมีโรงงานในประเทศ อีก 5 แหง และยังมีสํานักงานสาขาอยูทั่วทุกมุมโลก LS เปนผูนําดานอุตสาหกรรมของประเทศเกาหลีใต และยังไดรับการจัดอันดับ ใหเปนกลุมธุรกิจภายในประเทศที่ใหญเปนอันดับ 7 อีกดวย LSIS เปนผูใ หบริการดานอุปกรณไฟฟาแบบครบวงจร ทัง้ ระบบอุปกรณไฟฟา ออโตเมชัน่ สมารทกริด ไปจนถึงระบบพลังงาน แสงอาทิตย เรามุงมั่นพัฒนาเพื่อผลิตอุปกรณไฟฟาที่มีคุณภาพและความปลอดภัยสูงสุด ดวยนวัตกรรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เพื่อสงมอบสิ่งดีๆ ไปสูมือลูกคาของเราในทั่วทุกมุมโลก

ดวยประสบการณที่สะสมมายาวนานกวา 40 ป เรามีความมุงมั่นที่จะพัฒนาสินคาและบริการ เพื่อสรางคุณภาพชีวิตที่ดี ปลอดภัย และสมบูรณแบบ เพื่อกาวไปสูอนาคตอันสดใส แหงโลกพลังงานอัจฉริยะ ตามคอนเซ็ปต

LSIS

<Android, iOS>

November- December 2017

p.60-62_Cover Story.indd 60

11/3/17 6:55 PM


Power Distribution

Industrial Control

LV / MV

VCB

ACB

• AC 4.76~40.5kV • Up to 4,000A • Up to 50kA • KEMA, CESI • IEC62271-100

MCCB

• AC 635V • Up to 5,000A • Up to 130kA • UL 1066 • IEC60947-2

• AC 690V • Up to 1600A • Up to 150kA • IEC60947-2

Drive Solution

Automation

VFD (LV)

MCB

• AC 400V • Up to 125A • Up to 10kA • IEC60898

Automation Solution

VFD (MV)

PLC

MMS

• AC 690V • Up to 800A • UL 508 • IEC60947-1/4

• AC 690V • Up to 100A • Up to 100kA • UL 508 • IEC60947-2/4

Power Semiconductor

HMI

PSC module

• 1Ø 240V:0.1~3hp • 3/4/6/10 kV • 5~15” touch screen • Redundancy & • 200kVA~11,000kVA • 65,536 colors • 3Ø 240V:0.1~100hp high performance • 3Ø 480V:0.5~1250hp • Sensorless, Vector control • Distributed I/O • Offline program • 3Ø 600V:7.5~150hp • Ladder & IEC language simulation • V/F, Sensorless, Vector control

GIS

HV

MC & OCR

• 420kV • Up to 8,000A • Up to 63kA

• 245kV • Up to 4,000A • Up to 50kA

Power TR

• 72.5~170kV • Up to 4000A • Up to 50kA

• 25.8~36kV • Up to 3,150A • Up to 40kA

• 72~550kV • Up to 800MVA • IEC 60076 / ANS(IEEE) C57

• 3.3~36kV • Up to 25MVA • IEC60726

ตวัแทนจำหนายหลกัในประเทศไทย MV Partner CPT Drives and Power Public Co., Ltd. 230/7 ถนนเทศบาลรงัรกัษเหนอื แขวงลาดยาว เขตจตจุกัร กทม. 10900 / โทร 02 954 2590-2, 02 954 2630-2 / www.cptthailand.com LV Partner United Modular System Co., Ltd. 99/99 หมู 2 ตำบลหอมเกรด็ อำเภอสามพราน จงัหวดันครปฐม 73110 / โทร 02 482 2155-8, 034 388 672-3 / www.unitedmodular.co.th JKT Electric Co., Ltd. (ชลบรุ/ี ระยอง) 84/5-7 หมู 5 ตำบลสรุศักดิ์ อำเภอศรรีาชา จงัหวดัชลบรุี 20110 โทร 038 775 159-60 / www.jktsiam.com UTC Tech Co., Ltd. (ตคูอนซมูเมอร) 627/8-9 ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดสุติ กทม. 10300 โทร 02 669 1890-1 November- December 2017

p.60-62_Cover Story.indd 61

11/3/17 6:55 PM


We e choose the most strict way!

PT&T technologies make other technologies perfect... เพราะเราไมเคยหยุดพัฒนา บริษัท LSIS ทุมทุนกวา 50 ลานเหรียญสหรัฐ หรือกวา 1,700 ลานบาท สรางหองปฏิบัติการ ทดสอบอุปกรณไฟฟา เพื่อทดสอบอุปกรณทุกชิ้นที่ LS พัฒนาขึ้น โดยใชชื่อวา PT&T (Power Testing & Technology Institute) ซึง่ เปนหองแล็ปอิสระ บริหารงานโดยบุคคลทีส่ าม ผูไ มมสี ว นเกีย่ วของกับ LS เพือ่ ใหมนั่ ใจไดวา ผลการทดสอบทีอ่ อกมานัน้ เทีย่ งตรง แมนยํา และเปนธรรม หองแล็ปของ PT&T สามารถทดสอบอุปกรณไฟฟาไดตั้งแตอุปกรณไฟฟาแรงต่ําไปจนถึงอุปกรณแรงสูง และสามารถทดสอบ การ short-circuit ไดสูงสุดถึง 2000 MVA เราจึงมั่นใจวาอุปกรณทุกชิ้นที่ผลิตจากโรงงานของเรามีประสิทธิภาพ เชื่อถือได ปลอดภัย ไดมาตรฐาน ในราคาที่เหมาะสม PT&T เปนหองปฏิบัติการทดสอบ และสอบเทียบทางไฟฟา ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 ที่ไดรับการรับรองจากสถาบัน KOLAS ของประเทศเกาหลีใต และในป 2013 PT&T ยังไดรับการยอมรับจาก ASTA วาเปนหองทดสอบที่ไดมาตรฐานและเปนที่ ยอมรับอีกดวย

November- December 2017

p.60-62_Cover Story.indd 62

11/3/17 6:55 PM


Special Area

> บริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด

ปวิธ จันทร์เทพ วิศวกร แผนกสนับสนุนด้านเทคนิคระบบเครื่องวัดและควบคุม บริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด

เอเอ็มอาร์ GEN3 e-Smart Online ตอบโจทย์การใช้งานในยุคดิจิทัล ดูข้อมูลห้องพัก Online ได้ทุกที่ทุกเวลา

ไม่วา่ จะอยูท่ ไี่ หน ก็สามารถจัดการอพาร์ทเมนท์ ห้องพัก ด้วยระบบเอเอ็มอาร์ GEN3 ได้ เพิ่มฟังก์ชันความสามารถใหม่เพื่ออ�ำนวยความสะดวก ไม่ว่าจะอยู่ ทีไ่ หน ก็สามารถดูขอ้ มูลห้องพัก เช็คสถานะห้อง การจอง การเช่า รายได้ รายงาน การใช้ไฟหรืออื่นๆ ได้ทันที เพียงมีสมาร์ทโฟนหรือแท็ปเล็ต โดยเชื่อมต่อด้วย e-Smart Online แสดงผลผ่าน Web Browser ท�ำให้รับรู้ข้อมูลได้ทันที ซึ่งข้อมูล ที่ได้สามารถน�ำมาปรับเปลี่ยนโปรโมชัน สัดส่วนห้องรายวัน-รายเดือน หรือตามช่วง เทศกาลเพื่อรองรับการให้บริการการเข้าพักของจ�ำนวนผู้เช่าได้เพิ่มมากขึ้น

กราฟการใช้ไฟตรวจสอบสถานะห้องว่าง

กิจการห้องพักรายวันบางแห่งอาจจะพบปัญหาถูกโกงค่าเช่า เจ้าหน้าทีฟ่ ร้อนท์ ไม่บันทึกการเข้าพัก ไม่ออกบิลให้ผู้เช่า ด้วยเทคโนโลยีระบบเอเอ็มอาร์ GEN3 นั้น e-Smart Online สามารถดูกราฟการใช้ไฟเพือ่ ตรวจสอบสถานะการใช้ไฟของห้องพัก ได้อย่างละเอียด และยังแก้ปัญหาการสูญเสียรายได้จากการถูกโกงค่าเช่าให้กับ เจ้าของกิจการ นอกจากนั้นยังเช็คการทุจริตเก็บเงินของเจ้าหน้าที่ฟร้อนท์ได้ ท�ำให้การตรวจสอบห้องพักรายวันง่ายยิ่งขึ้น เพียงเช็คกราฟการใช้ไฟเทียบกับ สถานะของห้อง การแสดงผลของข้อมูลดูง่าย ถ้ามีกราฟขึ้นแสดงว่ามีการใช้ไฟ ณ ขณะนั้น หากกราฟไม่ขึ้นก็ไม่มีการใช้ไฟ เพราะถ้ามีแขกเข้าพักย่อมมีการใช้ไฟเกิดขึ้น หรือจะ สุม่ ตรวจข้อมูลทีไ่ ด้กบั เจ้าหน้าทีฟ่ ร้อนท์ทแี่ จ้ง ว่าข้อมูลตรงกันหรือแอบทุจริตหรือไม่

ดูใบแจ้งหนี้ ค้างชำ�ระ

โดยปกติทั่วไปแล้วธุรกิจห้องพักทุกสิ้นเดือนจะมีการค�ำนวณค่าเช่า ค่าบริการ ตัดรอบบิลต่างๆ เพื่อเรียกเก็บกับทางผู้เช่า ในการ ออกบิลส่วนใหญ่กระท�ำโดยเจ้าหน้าที่ฟร้อนท์หรือแม่บ้าน ซึ่งเมื่อมีการออกบิลไปแล้วไม่ได้ติดตาม ผู้เช่าค้างจ่ายนาน ไม่ช�ำระเงินหรือเกิด การตกหล่นขึ้น ในฟังก์ชนั ของ e-Smart Online นัน้ เจ้าของกิจการสามารถ ตรวจสอบรายรับ-รายจ่าย ตลอดจนสถานะค้างช�ำระได้ ทุกที่ ทุกเวลา แม้วา่ จะไม่ได้อยูท่ หี่ อพัก อพาร์ทเมนท์กต็ าม สามารถทราบ ความเคลื่อนไหวของธุรกิจว่าผู้เช่ารายใดค้างช�ำระ แล้วท�ำการ ติดตามทวงถามกับเจ้าหน้าที่ฟร้อนท์ให้เร่งรัดติดตามกับผู้เช่า และ ยังรับรู้รายได้ สรุปยอดเงินต่างๆ ได้ทันที November-December 2017


ปวิธ จันทร์เทพ วิศวกร แผนกสนับสนุนด้านเทคนิคระบบเครื่องวัดและควบคุม บริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด

การพัฒนาขึ้นไปอีกขั้นของเอเอ็มอาร์ GEN3 ลดข้อถกเถียงกับผู้เช่าด้วยฟังก์ชน ั Real Time

ระบบเอเอ็มอาร์ เจเนอเรชัน่ ที่ 3 ได้ถกู พัฒนาให้มรี ะบบการ ดูค่าหน่วยไฟแบบ Real Time ที่จะสามารถดึงค่าจากมิเตอร์ ณ เวลานัน้ ได้ทนั ที ไม่วา่ จะย้ายเข้าย้ายออก ก็ไม่มปี ญ ั หาการขาดทุน จากการเก็บค่าไฟน้อยกว่าความเป็นจริง นอกจากนั้ น เทคโนโลยี อั จ ฉริ ย ะของกล่ อ งเอดี ซี ยั ง สามารถเก็บประวัติการใช้ไฟได้ละเอียดถึงราย 15 นาที หรือ ดูเป็นรายชั่วโมง รายวัน รายเดือนได้ สามารถตรวจสอบประวัติ การใช้ไฟย้อนหลัง ช่วยลดข้อถกเถียงกับผู้เช่า กรณีผู้เช่าร้องเรียน ค่าไฟฟ้าแพงได้

แจ้งเตือนอัตโนมัติ

ด้วยเทคโนโลยีของมิเตอร์อิเล็กทรอนิกส์บวกกับความ สามารถโปรแกรม e-Smart Billing ทีม่ ฟ ี งั ก์ชนั แจ้งเตือนอัตโนมัติ กรณีหากมีกระแสไฟฟ้าไหลมากกว่าที่ก�ำหนด (ส�ำหรับห้องพัก รายวัน) จากการแอบน�ำอุปกรณ์กินไฟสูง เช่น เตารีด กระทะไฟฟ้า เข้ามาใช้ในห้องพัก ช่วยให้ผู้ดูแลอพาร์ทเมนท์สามารถเห็นความ ผิดปกติการใช้กระแสไฟฟ้าได้จากหน้าคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ หากมี ห ้ อ งว่ า งแต่ เ ปิ ด ไฟหรื อ เปิ ด แอร์ ทิ้ ง ไว้ หลังจากแม่บ้านเข้าท�ำความสะอาด ผู้ดูแลพาแขกไปดูห้อง ฯลฯ ระบบจะแจ้งเตือนไปยังโปรแกรมฯ ท�ำให้ทราบเหตุการณ์ที่ก่อให้ เกิดการสูญเสีย

ออกบิลได้จากที่บ้านหรือส่วนกลาง

ส�ำหรับเจ้าของกิจการที่มีธุรกิจอพาร์ทเมนท์หลายแห่งอาจ เคยประสบปัญหาดูแลกิจการไม่ทั่วถึง ก็สามารถออกบิล จองห้อง หรือตรวจสอบการใช้ไฟได้จากที่บ้านหรือส่วนกลาง โดยไม่ต้องมี คอมพิ ว เตอร์ ที่ อ พาร์ ท เมนท์ ช่ ว ยลดต้ น ทุ น ในการจ้ า งผู ้ ดู แ ล อพาร์ทเมนท์ โดยเชือ่ มต่อระยะไกลแบบเครือข่าย VPN ดึงข้อมูล จากกล่อง ADC ของแต่ละอพาร์ทเมนท์มา ช่วยให้ดขู อ้ มูลห้องพัก การใช้ไฟฟ้า ตรวจสอบสถานะห้องพักได้ โดยไม่ตอ้ งเข้าหอพัก อพาร์ทเมนท์ ช่วยลดเวลาในการท�ำงาน (ส�ำหรับหอพักที่มีการ ย้ายเข้า-ออกไม่บ่อย) November-December 2017


นัฐพล ค่อยประเสริฐ วิศวกรอาวุโส แผนกสนับสนุนด้านเทคนิคระบบเครื่องวัดและควบคุม บริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด

ตรวจสอบการใช้ไฟฟ้าในโรงงาน

ด้วยระบบเอเอ็มอาร์ GEN3 e-Smart Energy ตรวจวัดคุณภาพระบบไฟฟ้า ระดับแรงดัน

คุณภาพระบบไฟฟ้าภายในโรงงาน เช่น ไฟตก ไฟเกิน แรงดันไม่สมดุล (Unbalance Voltage) ซึง่ อาจ เกิดจากการปรับแทปหม้อแปลงไม่เหมาะสม ขนาดสายไฟเล็กเกินไป โหลดแต่ละเฟสไม่สมดุล คาปาซิเตอร์ ปรับปรุงตัวประกอบก�ำลังบางเฟสเสีย หรือการจ่ายไฟจากโซลาร์เซลล์โดยไม่มตี วั ควบคุมทีด่ ี เป็นต้น แรงดัน ผิดปกติเหล่านี้ อาจท�ำให้อปุ กรณ์ปอ้ งกันตัด สายการผลิตหยุดชะงัก เครือ่ งจักรท�ำงานไม่เต็มประสิทธิภาพ กินไฟมากขึน้ หรือเสียหาย/เสือ่ มสภาพก่อนเวลาอันควรได้ การหาสาเหตุอาจใช้การวัดแรงดันแต่ละเฟส ตัง้ แต่ตน้ ทางทีอ่ อกจากหม้อแปลง ไล่ไปตามจุดต่างๆ ระหว่างทางจนถึงโหลดตัวสุดท้ายในระบบ มาเป็นข้อมูล เพื่อวิเคราะห์ ระบบเอเอ็มอาร์ GEN3 e-Smart Energy ซึง่ มีกราฟประวัตคิ า่ แรงดันและกระแสไฟฟ้าของแต่ละ โหลดหรือจุดทีต่ ดิ ตัง้ มิเตอร์ไฟตลอด 24 ชัว่ โมง (บันทึกค่าทุก 15 นาที) ช่วยให้การตรวจสอบ และติดตาม คุณภาพระบบไฟฟ้า ไฟตก ไฟเกิน แรงดันไม่สมดุล ท�ำได้ง่ายและบ่อยเท่าที่ต้องการ เจ้าหน้าที่ผู้ดูแล ระบบไฟในโรงงานสามารถน�ำข้อมูลไปวิเคราะห์ หรือเฝ้าติดตามได้ทันที

แรงดันไฟฟ้า Unbalance กราฟแรงดัน และกระแสไฟฟ้า

แรงดันไฟฟ้าตกเกินค่ามาตรฐาน เมื่อโหลดท�ำงาน

ตรวจความผิดปกติของเครื่องจักร (กินกระแสไฟสูง)

ในสภาพการท�ำงานจริง จ�ำนวนชัว่ โมงของรอบการบ�ำรุงรักษาเครือ่ งจักรอุตสาหกรรม อาจต่างจากสเปคหรือคูม่ อื ตามสภาพการติดตัง้ เช่น ในที่ความร้อนสูง หรือมีฝุ่นละอองมาก มอเตอร์และระบบระบายความร้อน รอบบ�ำรุงรักษา หล่อลื่น และท�ำความสะอาดมักถึงเร็วกว่าปกติ ซึ่งหาก ปล่อยทิ้งไว้ การกินไฟจะสูง และอาจส่งผลถึงอายุการใช้งานที่สั้นลงด้วย แต่ก็เป็นเรื่องยากที่ฝ่ายบ�ำรุงรักษาซึ่งมีภาระงานอื่นด้วยจะเดินตรวจวัด การกินไฟของเครื่องจักรทุกเครื่องในโรงงานบ่อยๆ เป็นประจ�ำได้ มิเตอร์ไฟและระบบอ่าน/บันทึกข้อมูลอัตโนมัตติ ลอด 24 ชัว่ โมง (ระบบเอเอ็มอาร์ GEN3 e-Smart Energy) สามารถแจ้งเตือนการใช้กระแสไฟฟ้า เกินของเครือ่ งจักรแต่ละเครือ่ งในโรงงานได้ (ตัง้ ระดับกระแสแจ้งเตือนต่างกันตามแต่ละเครือ่ งจักรได้) เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยบ�ำรุงรักษาทีอ่ ยูห่ น้าคอมพิวเตอร์ สามารถรู้ได้ว่าเครื่องจักรเครื่องไหนกินไฟมากจนเกินค่าที่ตั้งไว้แล้ว ก็จะเข้าท�ำการตรวจสอบ หรือบ�ำรุงรักษาตามสภาพการใช้งานจริงได้

วิเคราะห์ค่าไฟต่อการผลิต 1 หน่วย

เดิมทีนนั้ ต้นทุนค่าไฟของสินค้าเป็นเรือ่ งยุง่ ยากทีจ่ ะคิดค�ำนวณ ออกมา เพราะกว่าจะมาเป็นชิ้นงานสักชิ้นต้องผ่านเครื่องจักรตาม กระบวนการในสายการผลิตหลายเครือ่ ง บางเครือ่ งกินไฟมาก บางเครือ่ ง กินไฟน้อย บางกระบวนการใช้เวลานาน บางกระบวนการใช้เวลาไม่นาน

รูปสายการผลิตมีเครื่องจักร 3 เครื่อง (kWh1+kWh2+kWh3)/ จำ�นวนชิ้นงาน = หน่วยไฟต่อชิ้น (ค่าอ้างอิง)

เป็นต้น ดังนั้นต้นทุนค่าไฟต่อการผลิต 1 หน่วย มักถูกคิดค�ำนวณง่ายๆ โดยใช้ขอ้ มูลจริงบางส่วน เฉลีย่ หยาบๆ บางส่วนรวมกัน อีกทัง้ เมือ่ ท�ำการ ผลิตไประยะหนึง่ และมีการปรับเปลีย่ นกระบวนการผลิต ชนิดเครือ่ งจักร รายละเอียดผลิตภัณฑ์ ซึง่ ส่งผลให้ตน้ ทุนค่าไฟต่อหน่วยเพิม่ ขึน้ หรือลดลง ต่างไปจากเดิม ก็มักไม่ได้ปรับปรุงต้นทุนค่าไฟอ้างอิงใหม่ให้ถูกต้องเป็น ปัจจุบัน เพราะความยุ่งยากในการคิดค�ำนวณดังที่กล่าวมา มิเตอร์ไฟและระบบเอเอ็มอาร์ GEN3 e-Smart Energy ซีง่ มีกราฟ การใช้ไฟ (kWh) อย่างละเอียดของแต่ละเครื่องจักรในสายการผลิต ตลอด 24 ชั่วโมง (บันทึกค่าทุก 15 นาที) สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ ท�ำให้การหาต้นทุนค่าไฟต่อการผลิต 1 หน่วยของสินค้าแต่ละรุ่น ท�ำได้ง่าย ต้นทุนค่าไฟนี้สามารถใช้ประกอบกับต้นทุนจากส่วนอื่นเพื่อ ก�ำหนดราคา หรือตรวจสอบการใช้ไฟทีส่ ญ ู เปล่า เช่น ปริมาณผลิตได้ตาม ยอด แต่ปริมาณการใช้ไฟในสายการผลิตสูงกว่าการใช้ไฟอ้างอิงที่ท�ำ ข้อมูลไว้ ก็อาจแสดงว่ามีการผลิตของเสียมาก หรือมีการเปิดเครื่องจักร ในสายการผลิตทิ้งไว้โดยไม่เกิดชิ้นงาน ซึ่งเป็นหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องใน กระบวนการผลิตตรวจสอบในเชิงลึกต่อไป November-December 2017


Special Area

> บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด

ความสั่นสะเทือนของเครื่องจักร ความสัน่ สะเทือนมีหลากหลายรูปแบบทีส่ ามารถพบไดทวั่ ไป มีทงั้ ความสัน่ สะเทือนทีม่ ปี ระโยชน และไมมีประโยชน ตัวอยางความสั่นสะเทือนที่มีประโยชน เชน เสียงดนตรีซึ่งเกิดจากการสั่นของ เครื่องดนตรี นาิกาแบบลูกตุม เปนตน สวนความสั่นสะเทือนแบบไมมีประโยชน เชน แผนดินไหว หรือเสียงรบกวนตางๆ สําหรับในภาคอุตสาหกรรม ความสัน่ สะเทือนสวนใหญทพี่ บไดมกั จะเปนอุปสรรคตอการควบคุม เนื่องจากในภาคการผลิตมีความตองการการผลิตที่มีความเร็วสูง ความแมนยําสูง ซึ่งถามีการแกวง หรือการสั่นสะเทือนเกิดขึ้นกับเครื่องจักร ก็จะทําใหการควบคุมการทํางานทําไดยากขึ้น ความแมนยํา ลดลง ดังนัน้ จึงมีความจําเปนทีต่ อ งพิจารณาเรือ่ งการลดความสัน่ สะเทือนของเครือ่ งจักร ซึง่ มีหลายวิธี ทีจ่ ะลด เชน ทําเครือ่ งจักรใหหนักและแข็งแรงมากขึน้ เพือ่ ตานการสัน่ สะเทือน แตนน่ั ก็จะทําใหคา ใชจา ย เพิ่มมากขึ้นโดยไมจําเปน

November- December 2017

p.66-67_Omron.indd 66

11/3/17 6:58 PM


ด ว ยเทคโนโลยี ใ นป จ จุ บั น มี ท างเลื อ กมากขึ้ น ในการลดแรง จากการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร โดยไมจําเปนตองเพิ่มน้ําหนักของ เครือ่ งจักร แตใชเทคนิคในการโปรแกรมเพือ่ ลดแรงจากการสัน่ สะเทือน ลงได ออมรอนไดพัฒนาฟงกชันบล็อกสําหรับผูใชงานคอนโทรลเลอร รุน NJ และ NX1P เพื่อใหผูใชงานสามารถนําไปโปรแกรมควบคุม การสั่งงานเซอรโวมอเตอรใหเคลื่อนที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ หลักการการทํางานของฟงกชันบล็อกคือ ฟงกชันภายในจะทํา การปรับปรุงคาความเร็ว ความเรงใหม เพื่อลดการจายพลังงานของ เซอรโวมอเตอรในชวงทีม่ คี วามถีต่ รงกับความถีธ่ รรมชาติของเครือ่ งจักร เพื่อลดการสั่นของเครื่องจักรนั่นเอง

ปจจุบันการแขงขันในการผลิตสูงมาก ดังนั้นการใช เทคนิคใหมๆ ในการปรับปรุงเครือ่ งจักรใหไดประสิทธิภาพ ที่สูงขึ้น ก็จะนํามาซึ่งกําไรที่เพิ่มมากขึ้นนั่นเอง

!

สามารถนําหลักการนี้ไปประยุกตใชกับเครื่องบรรจุของเหลว เพื่ อ ลดการกระเพื่ อ มของของเหลวได หรื อ งานหยิ บ จั บ ชิ้ น ส ว น อิเล็กทรอนิกสที่ตองการความเร็วและความแมนยําสูง การลดการ สั่นสะเทือนของเครื่องจักรชวยใหการผลิตมีประสิทธิภาพสูงขึ้นได

Filling packaging machine

Control Axis Arm

Equipment vibration suppression

Shake

ดูขอมูลเพิ่มเติมไดที่ http://www.omron-ap.co.th/solutions/packagingsolutions/vibration-suppression/overview.asp ติดตอสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด โทรศัพท 0-2942-6700 November- December 2017

p.66-67_Omron.indd 67

11/3/17 6:58 PM




Special Area

> ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย

3 เคล็ดลับด้านเทคโนโลยี

เพื่อการปรับปรุงประสิทธิภาพโรงพยาบาล ในยุคปัจจุบนั ค่าใช้จา่ ยด้านพลังงานเพิม่ ขึน้ พนักงานมีงาน ล้นมือมากขึ้น ในขณะที่ต้องท�ำงานให้มากขึ้น ด้วยงบประมาณที่ ลดลง ปัจจัยเหล่านีเ้ ป็นปัญหาของผูด้ แู ลสิง่ อ�ำนวยความสะดวกของ โรงพยาบาลที่ต้องพบเจอและต้องหาทางออกให้ได้ เพื่อตอบโจทย์ ปัญหาเหล่านี้ พร้อมกับต้องเพิ่มประสิทธิภาพด้านพลังงานและ ประสิทธิภาพด้านการด�ำเนินงานภายในโรงพยาบาลให้ดียิ่งขึ้น ชไนเดอร์ อิเล็คทริค น�ำเสนอโซลูชนั ส�ำหรับโรงพยาบาลผ่าน แพลตฟอร์ม IoT ชื่อ EcoStruxure for Healthcare และซอฟต์แวร์ EcoStruxure Building Operation ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค (ซึ่งชื่อ ก่อนหน้านี้คือ StruxureWare Building Operation) ด้วยโซลูชัน Clinical Environment Optimization ใหม่นี้ จะช่วยให้ผดู้ แู ลสิง่ อ�ำนวย ความสะดวกในโรงพยาบาลสามารถตัดสินใจเกีย่ วกับการใช้พลังงาน ได้ดียิ่งขึ้น โดยอาศัยข้อมูลเกี่ยวกับการใช้งานห้องต่างๆ ซึ่งก่อน หน้านี้ไม่เคยน�ำมาใช้ได้เต็มศักยภาพ ไมเคิล ซัลลิแวน ประธานฝ่ายอาคาร ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค กล่าวว่า “ด้วยเทคโนโลยีนี้ ปัจจุบันโรงพยาบาลไม่ต้องสิ้นเปลือง พลั ง งานไปกั บ ระบบปรั บ อากาศหรื อ ระบบแสงสว่ า งในห้ อ งที่ ว่างเปล่าที่ไม่มีการใช้งานอีกต่อไป” โซลูชัน Clinical Environment Optimization จะน�ำข้อมูล เกีย่ วกับการใช้งานของห้องมาตัง้ ค่าปรับเงือ่ นไขหรือสถานะการใช้หอ้ ง ได้โดยอัตโนมัตติ ามข้อมูลทีล่ งไว้ในระบบ ADT ซึง่ เป็นระบบบริหาร จัดการผู้ป่วยตั้งแต่แรกรับผู้ป่วย (Admission) จนถึงผู้ป่วยออกจาก โรงพยาบาล (Discharge) หรือการส่งต่อผูป้ ว่ ยไปยังโรงพยาบาลอืน่ (Transfer) ระบบออโตเมชันส�ำหรับอาคารจะจัดการเรือ่ งการควบคุม November-December 2017

แสงสว่าง การควบคุมอุณหภูมิ และระบบอากาศหมุนเวียน โดย ข้อมูลนี้จะน�ำมาใช้โดยอัตโนมัติ อีกทั้งยังสามารถยกเลิกค�ำสั่งได้ ในเวลาที่ต้องการ และลดกระบวนการท�ำงานที่ซ�้ำซ้อน

โซลูชน ั Clinical Environment Optimization ทำ�งานอย่างไร?

โซลูชัน Clinical Environment Optimization ผสานรวม การท�ำงานร่วมกับระบบเดิมที่ใช้งานอยู่ได้อย่างไม่มีปัญหา ผ่าน อินเทอร์เฟส Health Level-7 (HL7) โดย HL7 ก็คือองค์กรที่พัฒนา มาตรฐานระบบเปิดทีส่ นับสนุนความสามารถในการท�ำงานร่วมกัน ของระบบงานด้านการดูแลสุขภาพ ซึ่งเป็นหนึ่งในมาตรฐานที่มี การติดตั้งใช้งานอย่างกว้างขวางมากที่สุดในสถานดูแลสุขภาพ มาตรฐานดังกล่าวคือตัวที่อนุญาตให้มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลทาง คลินิกและเชื่อมโยงระบบอ�ำนวยความสะดวกและระบบงานใน คลินิกเข้าด้วยกัน โซลูชนั Clinical Environment Optimization ยังสามารถเชือ่ มต่อ กับระบบโครงสร้างพื้นฐานที่มีอยู่ โดยใช้โปรโตคอล BACnet, LONworks หรือ Modbus ซึง่ นิยมใช้สำ� หรับระบบออโตเมชันส�ำหรับ อาคาร และแอพพลิเคชันเพื่อการควบคุม

เคล็ดลับ 3 ประการ สำ�หรับการทำ� Optimization ได้ง่าย?

1. ผสานการท�ำงานของระบบบริหารจัดการอาคาร และระบบ ADT ของโรงพยาบาลเข้าด้วยกัน เพือ่ ลดการใช้พลังงานในห้องผูป้ ว่ ย


รวมถึงห้องผ่าตัด และพื้นที่ในบริเวณคลินิกที่ไม่มีการใช้งาน 2. น�ำข้อมูลเกีย่ วกับห้องมาใช้ในการแจ้งเตือนฝ่ายดูแลความ สะอาด เมื่อห้องว่างและพร้อมที่จะให้เข้ามาท�ำความสะอาดได้ 3. น�ำข้อมูลเกีย่ วกับห้องมาใช้ในการแจ้งเตือนพนักงานดูแล สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ในช่วงเวลาที่ห้องว่างและพร้อมที่จะให้ เข้ามาด�ำเนินการเรื่องการซ่อมบ�ำรุง

เหมาะสำ�หรับโรงพยาบาล-ศูนย์ดแู ลสุขภาพทุกขนาด

สามารถใช้ร่วมกับสิ่งอ�ำนวยความสะดวกในโรงพยาบาลศูนย์ดูแลสุขภาพทุกขนาด โดยเป็นโซลูชันที่ให้ประโยชน์สูงสุด ส�ำหรับสภาพแวดล้อมแบบคลินิก ด้วยความสามารถดังต่อไปนี้  มีโพรไฟล์เรื่องการใช้พลังงานที่ยืดหยุ่น ส�ำหรับแผนกหรือพื้นที่ ของโรงพยาบาลที่มีความแตกต่าง  มียูสเซอร์อินเทอร์เฟสที่ช่วยให้เข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพ การใช้งานของห้องได้อย่างรวดเร็ว รวมถึงสามารถรีเซ็ตหรือซิงค์ ข้อมูลร่วมกันได้  มีเครื่องมือช่วยในการตั้งค่าการใช้งานเพื่อช่วยให้ติดตั้งใช้งาน ได้อย่างรวดเร็ว  ไม่จ�ำเป็นต้องเก็บข้อมูลเฉพาะของผู้ป่วยเพื่อให้สอดคล้องกับ มาตรฐานความเป็นส่วนตัว HIPAA

รองรับโหมดการท�ำงานของห้องได้ 4 ประเภท เพือ่ ช่วยให้ประหยัด พลังงานได้สงู สุด รวมถึงรองรับการปรับเปลีย่ น (Override) ค�ำสัง่ ได้  มีการใช้งาน (Occupied) - ห้องที่มีการใช้งานอยู่  ห้องว่าง (Unoccupied) - ห้องว่างชั่วคราว แต่มีกำ � หนด ใช้งาน  ห้องพร้อมใช้งาน (Available) - ห้องว่างและพร้อมส�ำหรับ การใช้งาน  ท�ำความสะอาด (Housekeeping) - ห้องว่างและสามารถ เข้าไปท�ำความสะอาดได้  สามารถเปลี่ยนค�ำสั่งห้องที่มีการใช้งาน (Local Override to Occupied) - ช่วยให้เปลีย่ นค�ำสัง่ การตัง้ ค่าเพือ่ ควบคุม การใช้ห้อง  รองรั บ การตั้ ง ค่ า ห้ อ งทั้ ง ห้ อ งนอนเตี ย งเดี่ ย วและห้ อ งนอน เตียงรวม  ผสานการท�ำงานร่วมกับ Apps Studio ได้โดยง่าย (ก่อนหน้านี้ รู้จักในชื่อ AdaptiApps ส�ำหรับธุรกิจเพื่อสุขภาพ)  รองรับการท�ำงานร่วมกับระบบบริหารจัดการอาคารของชไนเดอร์ อิเล็คทริค รวมถึงระบบของค่ายอืน่ ด้วยการใช้โปรโตคอล BACnet หรือ LONworks 

เกี่ยวกับชไนเดอร์ อิเล็คทริค

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เป็นผู้เชี่ยวชาญระดับโลกด้านการบริหารจัดการพลังงานและ ระบบออโตเมชัน โดยมีรายได้ประจ�ำปีงบประมาณ 2559 คิดเป็นมูลค่า 25 พันล้านยูโร บริษัทฯ มีพนักงาน 144,000 คน ไว้คอยให้บริการลูกค้าในกว่า 100 ประเทศทั่วโลก เพื่อช่วยให้ลูกค้าบริหารจัดการพลังงานและกระบวนการท�ำงานได้อย่างปลอดภัย มีเสถียรภาพ ประสิทธิภาพ และสร้างความยัง่ ยืนในการด�ำเนินธุรกิจ นับตัง้ แต่สวิตช์ไฟ ที่เรียบง่ายที่สุด ไปจนถึงระบบการท�ำงานที่ซับซ้อน ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ยังเป็น เจ้าของเทคโนโลยีซอฟต์แวร์ และการบริการ ที่ช่วยให้ลูกค้ายกระดับประสิทธิภาพด้าน การบริหารจัดการ และการด�ำเนินงานได้แบบอัตโนมัติ เทคโนโลยีที่มีความสามารถ ในการเชื่อมต่อของเรา จะช่วยปรับโฉมอุตสาหกรรม เปลี่ยนเมือง และช่วยให้ผู้คน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ส�ำหรับชไนเดอร์ อิเล็คทริค เราเรียกสิ่งนี้ว่า “Life is On” www.schneider-electric.co.th/th November-December 2017


Special Area

> บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด

นวัตกรรมเทคโนโลยีระบายอากาศ

สำ�หรับตู้คอนโทรล การระบายความร้อนที่ดีควรจะมีอากาศไหลเวียน มีการ ถ่ายเทอากาศที่ดี ดังนั้นจึงต้องมีอากาศเข้าและอากาศออก ซึ่งจะ มีอยู่ 2 ระบบด้วยกัน คือ ระบบใช้พัดลมดูดลมเข้า (FPI) และ ระบบใช้พัดลมเป่าลมออก (FPO)

ระบบ FPI ใช้พัดลมดูดลมเข้า

ระบบ FPO ใช้พัดลมเป่าลมออก November-December 2017

อุปกรณ์ในตูค้ อนโทรล, ตู้ MDB, ตูค้ าปาซิเตอร์แบงค์ ล้วนแต่มีอุปกรณ์ก�ำเนิดความร้อนอยู่ในตู้ เช่น เซอร์กิต เบรกเกอร์, บัสบาร์, โช้ค เป็นต้น ดังนั้นจึงจ�ำเป็นต้องมีการระบาย ความร้อนเหล่านี้ออกจากตู้ เพื่อเป็นการยืดอายุการใช้งานของ อุปกรณ์ภายในตู้ ซึ่งหากใช้เครื่องปรับอากาศ ก็จะมีราคาสูง และ พัดลมระบายอากาศคืออุปกรณ์ที่เหมาะสมที่สุดในการระบาย ความร้อน เนื่องจาก  ราคาประหยัด  บ�ำรุงรักษาต�่ำ  ประสิทธิภาพดี แต่พัดลมระบายอากาศก็มีข้อเสียอยู่บางประการ เช่น ต้อง ท�ำความสะอาดหรือเปลี่ยนแผ่นกรองอากาศบ่อย ดังนั้น STEGO ผู้ผลิตอุปกรณ์ระบายอากาศจึงได้คิดค้นนวัตกรรมใหม่ขึ้น เพื่อแก้ ข้อเสียของพัดลมระบายอากาศ โดยเรียกว่าเทคโนโลยี “AIR-FLAP OUTLET” โดยมีข้อดีดังนี้  บ า น เ ก ล็ ด ส า ม า ร ถ เปิ ด -ปิ ด ได้ เพื่ อ เป่ า ลมออก/ ดูดลมเข้า (ขึ้นอยู่กับรุ่น) ขณะที่ อุ ณ หภู มิ ใ นตู ้ ไ ม่ ร ้ อ น มอเตอร์ พัดลมจะไม่ทำ� งาน บานเกล็ดก็จะ ปิด เพือ่ ป้องกันฝุน่ เข้ามาภายในตู้ ท�ำให้เราไม่จำ� เป็นต้องติดตัง้ Filter เหมือนพัดลมระบายอากาศทัว่ ไป  ประหยัดค่าแผ่นกรอง อากาศ เนือ่ งจากใช้เพียงด้านเดียว นอกจากนั้น STEGO ยังคิดค้นเทคโนโลยีที่ช่วยให้ง่าย ต่อการติดตั้งพัดลมและฟิลเตอร์ ที่ชื่อว่า “RATCHET MOUNT MECHANISM” ซึ่งมีข้อดีดังนี้  ประหยั ด เวลาในการ เจาะรูยึด  ติดตัง ้ ง่ายด้วยคลิปล็อก  สามารถป้องกันน�้ำ ฝุ่น IP54 | UL Type 12 | NEMA 12


ซึ่งมีหลากหลายขนาดให้เลือกใช้งาน ตั้งแต่ 92 x 92 มม. จนถึง 291 x 291 มม.

 แบบ Bi-metal เป็นแบบทีน ่ ยิ มใช้งานมาก เหมาะกับงาน ทั่วไป เนื่องจากมีราคาประหยัด เหมาะส�ำหรับงานที่ไม่เน้นความ ละเอียดมากนัก โดยมีคา่ ความคลาดเคลือ่ นอยูท่ ี่ ±4K และมีคณ ุ สมบัติ อื่นๆ ดังนี้  ติดตั้งบนราง Din 35 มม.  หน้าคอนแทคสามารถต่อกับโหลดได้ 10(2)A @ 250VAC  มีอายุการใช้งานมากกว่า 100,000 ครั้ง KTO 011

ในตู้คอนโทรลบางชนิดนั้น ได้ติดตั้งในห้องที่มีอากาศเย็น และในขณะเดียวกันในตูค้ อนโทรลนัน้ มีอปุ กรณ์ทกี่ ำ� เนิดความร้อน เช่น หม้อแปลงไฟฟ้า อาจท�ำให้ในตู้คอนโทรลมีเหงื่อ ความชื้น เกิดขึ้นได้ ดังนั้นอุปกรณ์ที่เหมาะสมที่จะก�ำจัดความชื้นนี้ออกไป นัน่ คือ Heater ซึง่ Heater ทีเ่ หมาะกับตูค้ อนโทรลนัน้ ควรเป็นชนิด Semiconductor ซึง่ จะมีขนาดเล็ก และติดตัง้ ง่ายในราง DIN 35 มม. Heater ของ STEGO จะมีโครงสร้างท�ำจากพลาสติก ดังนั้น จึงปลอดภัยส�ำหรับที่จะเข้ามาท�ำงานภายในตู้ มีอยู่ 2 แบบด้วยกัน คือชนิดมีพัดลมภายใน (Fan Heater) เพื่อช่วยกระจายความร้อน และแบบธรรมดำ

ชนิด Fan Heater

KTS 011

 แบบ Electronic มีเซนเซอร์เป็นชนิด NTC เป็นแบบทีเ่ หมาะ กับการใช้งานที่เน้นความละเอียดสูง โดยมีค่าความคลาดเคลื่อน อยู่ที่ ±1K และมีคุณสมบัติอื่นๆ ดังนี้  ติดตั้งบนราง Din 35 มม.  หน้าคอนแทคสามารถต่อกับโหลดได้ 8(1.6)A @ 250VAC  มีอายุการใช้งานมากกว่า 50,000 ครั้ง  มีหลอด LED แสดงสถานะการท�ำงาน  ท�ำงานอย่างรวดเร็วด้วยเวลา 5 วินาที

ชนิดทั่วไป

อุปกรณ์ที่ส�ำคัญอีกตัวซึ่งจะเป็นตัวสั่งการท�ำงาน ทั้งพัดลม และ Heater นั่นคือ Thermostat ซึ่งจะท�ำหน้าที่สั่งงานตาม อุณหภูมิที่เราได้ตั้งไว้ โดยจะมีด้วยกัน 2 แบบ คือแบบ Bi-metal และแบบ Electronic

ตัวอย่างการต่อใช้งาน KTO 011, KTS 011

รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดต่อได้ที่ บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด โทร 02-194-8738-9 แฟกซ์ 02-003-2215 E-mail : info@mit-thailand.com เว็บไซต์ : www.mit-thailand.com November-December 2017


Special Area

> บริษัท ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด

การเลือกใช

เซอรกิตเบรกเกอร

แรงดันปานกลาง

(Medium Voltage Circuit Breakers : MVCB)

เซอรกิตเบรกเกอรเปนอุปกรณที่ใชสําหรับเปดและปดวงจร ทั้งในขณะที่ระบบไฟฟากําลังอยูในภาวะปกติและภาวะผิดปกติ การเปด-ปดวงจรในภาวะปกติจะทําดวยมือเมื่อไรก็ไดตามความ ต อ งการ แต เ มื่ อ ระบบอยู ใ นภาวะผิ ด ปกติ เซอร กิ ต เบรกเกอร จะตองตัดอยางรวดเร็วที่สุดเทาที่จะทําได จึงจําเปนตองมีอุปกรณ อื่นๆ ชวยตรวจจับภาวะผิดปกติ และสั่งใหเซอรกิตเบรกเกอร เปดหรือปดวงจรโดยอัตโนมัติ ความรู แ ละความเข า ใจที่ ถู ก ต อ งถึ ง ลั ก ษณะสมบั ติ และ หลักการของเซอรกิตเบรกเกอรเปนสวนสําคัญที่ชวยใหเขาใจเรื่อง วิศวกรรมการปองกันไดดขี นึ้ เพราะในการกําจัดฟอลตนนั้ ตองมีการ ทํางานรวมกันระหวางเซอรกิตเบรกเกอรและรีเลยปองกันฉนวนที่ ใชดับอารกของเซอรกิตเบรกเกอรจะมีหลายแบบ โดยขณะใชงาน หนาสัมผัสจะถูกหอหุมดวยฉนวน เชน กาซ SF6 หรือน้ํามัน โดยมี ตัวถังทําหนาทีเ่ ปนกราวดอปุ กรณและมีหนาสัมผัสตอเขากับระบบ

เซอรกิตเบรกเกอรแบบสุญญากาศ (VCB DRAWOUT TYPE)

เซอรกิตเบรกเกอรแบบสุญญากาศ (VCB FIXED TYPE)

ในบางทีฉนวนจะทําหนาที่ดับอารกและระบายความรอนในระบบไปพรอมๆ กัน ตัวถังของเซอรกิตเบรกเกอรจะตองออกแบบเพื่อใหเวลาที่บรรจุฉนวนลงไปแลว มีคา Dielectric Strength ที่เพียงพอ ความแตกตางของเซอรกิตเบรกเกอรจะขึ้นอยูกับชนิด ของฉนวน เชน กาซ น้ํามัน อากาศ สุญญากาศ และตัวกลไกในการสั่งทํางาน เชน ใชสปริงรวมกับลม (Pneumatic) หรือน้ํามันไฮดรอลิก (Hydraulic) แตสวนหลักจริงๆ ที่พิจารณาคือชนิดของฉนวน เชน น้ํามัน ไมตองการพลังงานจากกลไกเพื่อใชดับอารก เพราะใชพลังงานโดยตรงจากอารกที่เกิดขึ้น เปนตน

ประเภทของเซอรกิตเบรกเกอร

เซอรกิตเบรกเกอรแบบสุญญากาศ (VCB)

เซอรกิตเบรกเกอรที่นิยมใชปจจุบันมี 2 ชนิด ไดแก 1. เซอรกิตเบรกเกอรแบบสุญญากาศ (Vacuum Circuit Breaker) เมื่อ หนาสัมผัสของเซอรกติ เบรกเกอรแยกออกจากกัน จะทําใหเกิดอารกขึน้ ซึง่ อารกทีเ่ กิดขึน้ ประกอบดวย อิเล็กตรอน ไอออน สวนผสมของกาซ รวมเรียกวาพลาสมา (Plasma) ซึ่งทําใหเกิดการนําไฟฟาขึ้นได การเกิดอารกนี้ทําใหหนาสัมผัสของเซอรกิตเบรกเกอร เสียหายได ดังนั้นจึงจําเปนตองดับอารกในเวลาที่เร็วที่สุด เซอรกติ เบรกเกอรแบบสุญญากาศเปนการดับอารกแบบลดความดัน คือ ทีค่ วามดัน ต่าํ มาก จะมีคา ความคงทนของไดอิเล็กตริกสูงพอสมควร และมีโมเลกุลของอากาศเหลือ นอยมาก เนือ่ งจากเขาใกลสญ ุ ญากาศ เมือ่ โมเลกุลของอากาศเหลือนอยทําใหเกิดอารก ไดยาก และเมื่อกระแสสลับผานศูนยลงไปแลว จะลดความรุนแรงของอารกลง และคา คงทนของไดอิเล็กตริกสูงพอสมควร จึงทําใหอารกสามารถดับลงได

November- December 2017

p.74-77_area TD.indd 74

11/6/17 2:40 PM


โครงสรางภายนอกเซอรกิตเบรกเกอรแบบสุญญากาศ เซอรกิตเบรกเกอรแบบสุญญากาศสวนมากจะติดตั้ง ภายในอาคารและตัวหนาสัมผัส (Interrupter) ไมตองการ การบํารุงรักษา เพราะหนาสัมผัสของเซอรกิตเบรกเกอรแบบ สุญญากาศอยูในสุญญากาศจึงไมมีสิ่งสกปรกและจะมีอายุ การใช ง านยาวนาน แต ก ารผลิ ต เซอร กิ ต เบรกเกอร แ บบ สุญญากาศนั้นทําไดยาก เพราะหนาสัมผัสจะเปนโลหะชนิด พิเศษ และไมสามารถสรางใหมีแรงดันสูงมากๆ ได

โครงสรางภายในเซอรกิตเบรกเกอรแบบสุญญากาศ ขอดีของ Vacuum CB คือ ● หนาสัมผัสสึกกรอนชา ทําใหอายุใชงานยาว ● มีขนาดเล็ก ● สามารถติดตั้งไดทุกตําแหนง ขอเสียของ Vacuum CB คือ ● Vacuum CB ตั ด กระแสด ว ยเวลาสั้ น มาก ทํ า ให เ กิ ด Switching Overvoltage ที่สูง ● ในการใช ง าน Vacuum CB บริ ษั ท ผู ผ ลิ ต จะแนะนํ า ให ติ ด Surge Absorber ซึ่งเปนวงจร R-C เขาชวยดวย

โครงสรางภายใน Vacuum Interrupter November- December 2017

p.74-77_area TD.indd 75

11/6/17 2:40 PM


2. เซอรกิตเบรกเกอรแบบ SF6 ซึ่งกาซ SF6 เปนกาซที่ไมมีสี ไมมีกลิ่น ไมมีรส ไมติดไฟ ไมชวยใหติดไฟ และไมทําปฏิกิริยากับสาร อื่น ทนความรอนไดสูง มีความหนาแนนมากกวาอากาศ และมีความ คงทนของสารไดอิเล็กตริกสูงมาก กาซ SF6 จะมีแรงดันเบรกดาวนสูง เนื่องจากสามารถจับตัวอิเล็กตรอนอิสระในสนามไฟฟาไดมาก ดังนั้น อิเล็กตรอนจะไปเกาะกาซ SF6 ทําใหมีคุณสมบัติทางไฟฟาเปนขั้วลบ ที่เคลื่อนที่ไดชา เปนผลทําใหอัตราการเพิ่มของอิเล็กตรอนอิสระถูก หนวงใหชาลงดวย สงผลใหกาซ SF6 มีแรงดันเบรกดาวนสูงกวากาซ ชนิดอื่น จึงเหมาะในการนํามาใชเปนฉนวนของเซอรกิตเบรกเกอร จากรูป เซอรกิตเบรกเกอรแบบ SF6 แสดงโครงสรางการทํางาน ของหองดับอารกของเซอรกติ เบรกเกอรแบบ SF6 รูปแบบหนึง่ ในหอง ดับอารก ประกอบดวย หนาสัมผัสที่อยูกับที่และหนาสัมผัสที่เคลื่อนที่ ไดกับกาซ SF6 ที่บรรจุในหองดับอารก โดยกาซ SF6 จะถูกเปาเขามา ในทรงกระบอก เมือ่ มีการแยกออกของหนาสัมผัสของเซอรกติ เบรกเกอร ทําใหความดันในหองดับอารกมีความดันเพิ่มขึ้น เมื่อกาซ SF6 เปา ลําอารก ทําใหเกิดแรงดันตกครอมลําอารก และทําใหอารกแตกตัวเปน ลําแคบๆ และรอบๆ จะมีอุณหภูมิต่ํา ทําใหอารกสามารถดับได และ กาซ SF6 สามารถกลับคืนสภาพไดอยางรวดเร็ว จึงทําใหยากตอการ เกิดแรงดันตกครอมหนาสัมผัส (Recovery Voltage)

การเลือกใชงาน ● MVCB ตองใชรว  มกับรีเลยปอ งกันใหการปองกันไดหลากหลาย ขึ้ น อยู กั บ Relay ที่ ใช ไม เ หมื อ น HV HRC Fuses ซึ่ ง ป อ งกั น ได อยางเดียวคือ กระแสเกิน (Overcurrent) และลัดวงจร (Short Circuit) เทานั้น ● CB มีราคาแพง ใชกบ ั ระบบไฟฟาขนาดใหญ เชน อาคารขนาด ใหญ โรงงานอุตสาหกรรม และสถานีไฟฟายอย (Substation) เปนตน พิกัดที่ตองพิจารณามีดังตอไปนี้ 1. พิกัดแรงดัน 2. คา BIL 3. พิกัดกระแสปกติ 4. พิกัดกระแสลัดวงจร ทำไมตองเลือกใชเซอรกิตเบรกเกอรแบบสุญญากาศ “Hyundai Brand”

รูปเซอรกิตเบรกเกอรแบบ SF6 SF6 CB ● กาซ SF6 ไดถูกนํามาใชเปนฉนวนและตัวดับอารก ใชใน HV CB อยางไดผลมานานแลว ● ขณะนี้ไดมีการนํามาใชในระดับแรงดัน MV ● ใน MVCB CB แบบนี้ การตั ด กระแสทํ า ใน Chamber ซึ่ ง บรรจุกาซ SF6 การตัดกระแสจะเปนแบบ Soft Switching ทําให ได Overvoltage ตํ่ามาก จึงเหมาะสําหรับการตัดตอวงจรมอเตอร หมอแปลง เปนตน November- December 2017

p.74-77_area TD.indd 76

11/6/17 2:40 PM


สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ บริษัท ที แอนด ดี เพาเวอร เทค (ไทยแลนด) จํากัด 22/26 ถ.สุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2002-4395-97 แฟกซ 0-2002-4398 E-mail : info@tdpowertech.com November- December 2017

p.74-77_area TD.indd 77

11/6/17 2:40 PM


IT Article

> บริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จํากัด

แนวโนมเทคโนโลยีใหม ที่นาจับตามองจากงาน

จากเวทีสัมมนา ในหัวขอเทคโนโลยีฟนเทคที่ประสบความ สําเร็จดานการมีสวนรวมจากผูเชี่ยวชาญทางดานเทคโนโลยีและ ดานการเงินที่หลากหลาย จากงาน “Fintech Dynamics in Asia” ที่ผานมา ณ C asean โดยงานนี้เปนการรวมกลุมของผูที่เกี่ยวกับ เทคโนโลยีดา นการเงิน เพือ่ เปดโอกาสใหมกี ารสรางเครือขาย การ แบงปนประสบการณ และเพื่อเรียนรูเกี่ยวกับแนวโนมเทคโนโลยี ใหมๆ ที่นาจับตามอง ในการรวมมือครัง้ นีร้ ะหวาง บริษทั ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จํากัด หรือทีซีซีเทค (TCCtech) สมาคมฟนเทคแหงประเทศไทย (TFTA) และบริษัทวิจัยระดับโลก International Data Corporation (IDC) ไดเขารวมดวย โดยมีผูสนใจเขารวมงานกวา 70 ราย รวมถึง ผู ดู แ ลกฎระเบี ย บ (Regulator) ผู เชี่ ย วชาญด า นเทคโนโลยี ผูเชี่ยวชาญทางการเงิน นักลงทุนและผูประกอบการในธุรกิจ สตารทอัพฟนเทค ซึ่งงานดังกลาวไดสะทอนความมุงมั่นในการ ขับเคลื่อนความรวมมือระหวางกลุมฟนเทคในประเทศไทย และ ผูใหบริการโครงสรางพื้นฐานชั้นนําของประเทศอยาง TCCtech ปจจัยหลักที่นํามาซึ่งความสําเร็จของ Fintech Dynamics in Asia คือการมีสวนรวมของสมาคมฟนเทคแหงประเทศไทย ซึ่ง ปจจุบันถือเปนจุดศูนยรวมของนวัตกรรมแหงเทคโนโลยี Fintech ระดับประเทศอยางแทจริง และอีกหนึง่ ปจจัยคือ การสนับสนุนทีด่ ี จากกลุม ผูป ระกอบการฟนเทค กลุม สตารทอัพ ผูด แู ลกฎระเบียบ และสถาบันบริการดานการเงิน (FSI) ในประเทศไทย ทั้งนี้ เวทีดังกลาวประกอบไปดวย 3 สวนหลัก คือ 1. การ แนะนําวัตถุประสงคของการเปดเวทีสมั มนาจาก TCCtech มุง เนน การริเริ่มสรางสรรคและการนําเสนอเทคโนโลยีโครงสรางพื้นฐาน เพื่อสนับสนุนการเติบโตของเทคโนโลยีฟนเทค 2. การอัพเดต ทิศทางการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีฟนเทคในเอเชียแปซิฟก พรอมกรอบการทํางานเพือ่ ความรวมมือภายในอุตสาหกรรมและ

Top Technology Predictions by Fintech dynamics in Asia The first all-industry fintech forum in Thailand achieved record participation by various technology and financial experts. Tagged as “Fintech Dynamics in Asia 2017”, the forum was held on 18 July 2017 at the Dream Office of Casean in Bangkok, Thailand. The exclusive forum was to designed to bring together various groups involved in financial technology for networking, for sharing experiences, and for learning about new technology trends to watch. Co-hosted by TCC Technology, Thai Fintech Association, and IDC Financial Insights Asia/Pacific, the Fintech Dynamics in Asia attracted more than 70 participants including policymakers, technology experts, financial experts, and entrepreneurs. The forum represented a new level of joint effort among fintechs in Thailand as well as a major technology infrastructure provider like ‘TCC Technology’. Key to the success of the forum was the involvement of the Thai Fintech Association, which has now become a focal point in fintech innovation in Thailand, with strong support from fintechs and startups, regulators, and financial services institutions (FSIs) in Thailand. The Fintech Dynamics in Asia opened with three key sessions: first, an introduction of TCC Technology objectives which focused on their initiatives and proposed infrastructure technology offerings to support fintech

November- December 2017

p.78-83_it article.indd 78

11/6/17 4:02 PM


เพิ่มขีดความสําเร็จของเทคโนโลยีฟนเทค 3. การแบงปนความรู โดยผูเชี่ยวชาญไดชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของเทคโนโลยีฟนเทค ที่นําเสนอ เพื่อตอบสนองความตองการของผูใช โดยสามารถ นํามาประยุกตและใชประโยชนได นอกจากนัน้ มีการพูดคุยเพือ่ ใหตระหนักถึงการเปลีย่ นแปลง ที่เกิดจากเทคโนโลยี และรูปแบบธุรกิจใหมที่กระทบตอธุรกิจ สังคม และเศรษฐกิจทั้งในและตางประเทศ เพราะสิ่งเหลานี้มี อิทธิพลตอรูปแบบการทําธุรกิจของฟนเทค โดยธุรกิจสตารทอัพ ฟนเทค ตองพิจารณาหาพารตเนอรทถี่ กู ตอง เพือ่ จะรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงที่กลาวมาขางตนไดเปนอยางดี สําหรับในสวนของ TCCtech ไดเนนเรื่องการนําเสนอ เครื่องมือที่จะชวยตอบโจทยความตองการของกลุมฟนเทค ดาน การพัฒนาแพลตฟอรมสําหรับเทคโนโลยีตางๆ โดยสนับสนุน ตั้งแตกระบวนการคิด (Ideation) การพัฒนา (Development) จน ไปสูการลงมือปฎิบัติ (Execution) เพื่อรองรับใหฟนเทคสามารถ สงมอบบริการที่มีประสิทธิภาพและนาเชื่อถือ IDC Financial Insights ไดกลาวถึงการเปลี่ยนแปลงที่มี นัยสําคัญในตลาด โดยอางอิงถึงการคาดการณที่สําคัญสําหรับ บริการทางการเงิน อันเปนสวนหนึ่งของงานวิจัย FutureScape ซึ่ ง เป น เอกสารแสดงถึ ง แนวโน ม สํ า คั ญ ที่ ต อ งจั บ ตามองใน อุตสาหกรรมบริการทางการเงิน

growth; secondly, u an update on the landscape for fintech in Asia/Pacific and a conceptual framework for industry-wide collaboration to accelerate fintech success; and third, a knowledge-sharing session where panelists pointed to how fintech offerings must be especially tailored to the needs of the end customer, all to enable customer adoption and utilization. A key part of the discussion was how many awareness of the business, social and economic disruptions happening in Thailand and in the rest of the world. All these will influence the business models of these fintechs. Fintech startups also need to consider the right technology partners in order for them to respond well to these disruptions. For its part, TCC Technology also underlined how it is equipped to help the fintech community to fulfill the need to develop technology platforms and to ensure reliable delivery of services from ideation, development, to execution.

November- December 2017

p.78-83_it article.indd 79

11/6/17 4:02 PM


การคาดการณ เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่สําคัญ 10 อันดับแรก

1. การวิเคราะหพฤติกรรมดานการปฏิบัติตามกฎระเบียบ การทุจริต และการปองกัน/การตรวจจับทางไซเบอร จะถูกใชโดย 15% ของธนาคารทั้งหมด เพื่อหลีกเลี่ยงคาปรับและบทลงโทษ 2. ในป 2020 เทคโนโลยี Blockchain/Distributed Ledger จะถูกพัฒนาถึง 20% ของการทําธุรกรรมสินเชือ่ เพือ่ การคา (Trade finance) ทั่วโลก 3. ในป 2019 การพัฒนา Cloud จะชวยลดการใชจาย โครงสรางพื้นฐานถึง 25% ของธนาคารชั้นนํา 4. ในป 2018 การจายเงินดวยมือถือโดย Near-Field Communication (NFC) จะเพิ่มขึ้นถึง 15% ทั่วโลก สะทอนถึง ความไมแนนอนวาใครจะเปนเจาของอุปกรณนี้ 5. Disruptive Technology ตางๆ หรือเทคโนโลยีที่สราง ตลาดใหมและสรางคุณคาใหแกผลิตภัณฑ รวมถึงเทคโนโลยีแบบ Cognitive ระบบอั ต โนมั ติ ที่ ใช หุ น ยนต Robotic Process Automation (RPA) และ Blockchain จะถูกนํามาใชถึง 50% ของ ธนาคารทั่วโลกในป 2020 และเพิ่มการปฏิวัติดิจิทัลถึง 30% 6. การลงทุนใน Third Platform การคนหานวัตกรรม จะ เติบโตขึ้นถึงสองเทาของอัตราการใชจายทางดานเทคโนโลยี สารสนเทศของสถาบันทีใ่ หบริการทางการเงิน (FSIs) ทัง้ หมดในป 2020 ในขณะทีก่ ารใชจา ยเพือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศทัว่ โลกสูงกวา 5 แสนลาน 7. ในความพยายามที่จะสนับสนุนการติดตอสื่อสารกับ ลูกคาแบบ Live Chat โดยประมาณ 20% ของธนาคารจะเริ่ม โครงการทดสอบความเปนไปได (Proof-of-Concept) ที่จะรวม ทุกการสนทนาและการเชือ่ มตอตาง ๆ ในรูปแบบการเขาถึงลูกคา จากทุกชองทาง (Omni-Channel) ซึ่งถือเปนกลยุทธป 2560 นี้ 8. ในป 2018 ทุก ๆ การบริหารความมัง่ คัง่ และบริษทั ตลาด ทุนจะสรางหรือใหสิทธิ์ใชแพลตฟอรมหุนยนตที่ปรึกษา (RoboAdvisor Platform) หรือใชปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence) ในการจัดการเงินทุน 9. ในป 2019 ประกั น ภั ย ที่ ขึ้ น อยู กั บ การใช จ ริ ง (UBI) ถูกสรางขึ้นโดย Internet of Things (IoT) จะถูกใชอยางนอย 15% ในตลาดประกันรถยนตทั่วโลก และ 10% ในตลาดประกันที่อยู อาศัยทั่วโลก 10. ในขณะที่การพัฒนาอยางทั่วถึงจะเกิดขึ้นอยางชาๆ ในป 2017 เทคโนโลยีแบบ Cognitive จะถูกนํามาใช 15% ของ ธนาคาร โดยจะนําเสนอ “Voice Banking” บนอุปกรณตา งๆ ใหแก ลูกคา

IDC Financial Insights responded to the need to talk about the big shifts in the market, by referring to its key predictions for financial services, part of its FutureScape portfolio of documents that feature the most significant trends to watch in the financial services industry:

Top Technology Predictions

1. Behavioral analytics across compliance, fraud and cyber detection/prevention will be in place in 15% of banks in 2017 to help avoid regulatory fines and sanctions. 2. By 2020, blockchain/distributed ledger technology will be adopted by 20% of trade finance globally. 3. By 2019, cloud adoption will reduce infrastructure spend by 25% among top-tier banks. 4. By 2018, there will be a 15% increase in worldwide mobile payments using Near Field Communication (NFC), reflecting continued uncertainty in who will “own” the device. 5. Disruptive technologies including cognitive, robotic process automation, and blockchain will be in use at 50% of banks worldwide by 2020, accelerating digital transformation by 30%. 6. Investment in 3rd platform and innovation accelerators will grow at twice the rate of overall FSI IT spend through 2020 as global IT spending surpasses half a trillion. 7. In an effort to boost live chat customer interactions, 20% of banks will begin proof-of-concept projects to integrate conversational interfaces in their omni-channel strategy in 2017. 8. By 2018 virtually every wealth management and capital markets firm will have built or licensed a roboadvisor platform or leverage artificial intelligence to manage funds. 9. By 2019, Usage Based Insurance (UBI) enabled by Internet of Things (IoT) will account for at least 15% of the global vehicle insurance market and 10% of the global home insurance market. 10. While widespread adoption will be slow, in 2017 cognitive technologies will be deployed in 15% of banks, providing consumers with “voice banking” on numerous devices.

November- December 2017

p.78-83_it article.indd 80

11/6/17 4:02 PM


เทคโนโลยีที่ Fintech มองหา

ปจจุบัน อุตสาหกรรมบริการทางการเงิน รวมทั้งฟนเทค ตองการเทคโนโลยีใหมๆ ที่จะพัฒนา “ทุกอยางที่จะชวยนําสินคา และบริการเขาสูตลาด” จากโครงสรางพื้นฐาน ไปสูการประมวลผล การพัฒนาแอพพลิเคชัน่ กระบวนการทํางานทีเ่ ขาถึงงายและสะดวก ตลอดจนความสามารถในการทํางานของแอพพลิเคชัน่ สถาบันทีใ่ ห บริการทางการเงินทัว่ ไปจะเสียประโยชนอนั เนือ่ งมาจากเทคโนโลยี ทีไ่ มทนั ตอการเปลีย่ นแปลงซึง่ ตกทอดมาจากยุคกอน ในขณะทีต่ อ ง ประเมิ น ว า เทคโนโลยี อ ะไรที่ จ ะนํ า มาผสมผสานกั บ เทคโนโลยี ในอนาคต ฟนเทคสามารถตอบสนองตอความตองการของตลาดไดดี กวา ในมุมที่ไมมีภาระที่ตกทอดมามากนัก แตคือผูรับมรดกจาก เทคโนโลยีใหมๆ เปนทีร่ กู นั วางานทีแ่ ตเดิมตองทําดวยการรวบรวม บันทึก คอมพิวเตอรสว นตัว Workflow และใชคนทํางานจํานวนมาก ปจจุบนั นําเสนอไดอยางมีประสิทธิภาพโดยผานเทคโนโลยี Interface ยิ่ ง ไปกว า นั้ น บริ ษั ท สตาร ท อั พ ยั ง เห็ น ว า กิ จ กรรมทางการเงิ น สวนใหญ รวมทั้งการจายเงิน การบริหารความมั่งคั่ง การกูยืม และ การ Refinance ตางก็ตองใชความเฉลียวฉลาดทางธุรกิจและการ วิเคราะหขนั้ สูงเพือ่ วิเคราะหและคาดการณความตองการของลูกคา เชนเดียวกับการกําหนดกระบวนการทีฟ่ น เทคจะนํามาใชมดั ใจลูกคา เทคโนโลยีที่ผูเขารวมการเสวนาเชื่อวาจะไดรับชัยชนะในตลาด ไดเร็วและมีประสิทธิภาพมากที่สุดประกอบดวย 1. ปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence) 2. การเรียนรูดวยเครื่องจักร (Machine Learning) 3. วิทยาศาสตรขอ มูลและการวิเคราะหขนั้ สูง (Data Science and Advanced Analytics) 4. บริการ Cloud (Cloud Services) ทั้งนี้ 3 เทคโนโลยีแรกถูกจัดประเภทกวางๆ อยูใน “การ วิเคราะหขอ มูล” อันเปนอนาคตขององคกรตางๆ ทีจ่ ะลดคาใชจา ย เกี่ยวกับการวิเคราะหขอมูลแบบ Manual หรือดวยการใชแรงงาน มนุษยมหาศาล เทคโนโลยีเหลานี้จะชวยพัฒนาสินคาตามความ ตองการของลูกคา ในการนํา Artificial Intelligence (AI) และการเรียน รูดวยเครื่องจักรมาใชจริง ซึ่งฟนเทคจะตองเก็บขอมูลจากการทํา ธุรกรรม (มากที่สุดและ Real-time ที่สุดเทาที่จะเปนไปได) และจะ ตองมีแพลตฟอรมที่เชื่อถือไดเพื่อจะประสาน รวบรวม และเก็บ ขอมูลทั้งหมด ซึ่งเปนเหตุผลวาทําไมเทคโนโลยีลําดับที่ 4 อันไดแก แพลตฟอรมและบริการ Cloud ที่เชื่อถือไดจึงมีความสําคัญ

โอกาสในด านข อมูลและ Cloud

IDC Financial Insights ระบุวาการวิเคราะหจะถูกนํามาใช ในบริษทั ตางๆ และการใชงานทีห่ ลากหลาย อันจะสงผลตอการเพิม่ ขึน้ ของความตองการขอมูลทีเ่ ปน Real-time แมนยํา และเปนขอมูล ที่มีคุณคา อันจะเปนประโยชนตอการติดตอกับลูกคา

Technologies Required by Fintech

At present, the financial services industry, including fintechs, requires a whole set of new technologies that improve “everything in bringing a product or a service to market”: from infrastructure, to processing, to application development, to workflows, and application functionalities. Traditional financial services institutions are seen to be at a disadvantage because of the legacy technologies that they have to maintain, while at the same time evaluating what technologies to integrate and incorporate into their future technology lay-out. Fintechs, meanwhile, are able to respond much better to the new requirements of the market, as they do not have high legacy burden. They are the easy beneficiaries of the new technologies available. They recognize first for example that tasks once handled by a combination of notes, personal computers, workflows, and manpower are now being delivered effectively by new technology interfaces. Furthermore, startups see that most types of financial activity, including payments, wealth management, lending, and refinancing are all using advances in business intelligence and analytics to analyze and predict customer needs as well as to prescribe the right course of action that will allow a fintech to win the customer. The top technologies that participants in the forum cited to have the most promise to win the market faster and more effectively include: 1. Artificial Intelligence (AI) 2. Machine Learning 3. Data Science and Advanced Analytics 4. Cloud services The three top areas – categorized under a broad definition of “data analytics” speaks of the future of organizations reducing costs associated with analyzing data manually or with a great deal of human intervention. These technologies will also be able to further develop the product with a great alignment to customers’ needs. In order to put AI and Machine Learning into practice, fintechs believe that they must acquire data from transactions (as extensive and as real-time as possible) that would also require a reliable platform to interface, collect, and store all these data. This is the reason why the fourth key priority of reliable cloud platforms and cloud services makes sense. November- December 2017

p.78-83_it article.indd 81

11/6/17 4:02 PM


นอกจากนี้ IDC Financial Insights ยังไดแนะนําแนวคิดของ Data Monetization ทีจ่ ะเชือ่ มโยงธนาคารและฟนเทค ใหสามารถ สรางธุรกิจทีม่ รี ายไดจากธุรกรรมทีเ่ กิดขึน้ จากขอมูล ทัง้ นีใ้ นกรอบ การทํางานของโมเดลธุรกิจที่ใชขอมูลสรางรายไดนั้น องคกร จะตองสรางทอขอมูล ทั้งออกและเขา เพื่อแลกเปลี่ยนขอมูล อันจะนําไปสูการสรางมูลคาเพิ่มที่สมเหตุสมผล ซึ่งในที่สุดจะนํา ธนาคารและธุ ร กิ จ ฟ น เทคมาสู คํ า ถามว า จะสร า งธุ ร กิ จ ข อ มู ล ไดอยางไร คําวา “สมเหตุสมผล” จะตองเขาใจวาการแลกเปลี่ยน ข อ มู ล บางครั้ ง อาจไม มี ก ารแลกเปลี่ ย นด ว ยเงิ น ความเข า ใจ ของลูกคาขึ้นอยูกับวาขอมูลที่แบงปนนั้นมีมูลคามากพอในการ ตอบโจทยดานความพึงพอใจของลูกคาหรือไม ยิ่งไปกวานั้น สถาบันการเงิน (FSIs) ยังสามารถวิเคราะห ขอมูลลูกคาและนํามาพัฒนาเพือ่ ยกระดับการใหบริการพรอมเพิม่ ขีดความสามารถในการดําเนินธุรกิจรวมกัน อาทิ การเปด API (Application Program Interface) เพื่อประสานฟนเทคกับองคกร ภายนอกที่เชื่อถือได การเปดกวางเพื่อการไดมา การใช และการ สงขอมูล จะทําใหฟนเทคและสถาบันการเงินสามารถรวมกัน สงมอบสินคาและบริการไดถูกตองตามเวลาและสถานที่เพื่อ ประโยชนของลูกคา ในแงของประสิทธิภาพดานตนทุน รูปแบบการประมวลผล ดวย Cloud สะทอนใหเห็นชัดวามีการเปลี่ยนแปลงจากรายจาย ลงทุน (CAPEX) ขณะนี้ ไดเปลี่ยนเปนคาใชจายในการดําเนินงาน (OPEX) ในลักษณะการจายคาบริการ (As-a-Service) ใชเทาไร จายเทานั้น (Pay-per-Use) ชวยใหฟนเทคสามารถสงมอบสินคา และบริการใหแกลูกคาไดดวยตนทุนที่สมเหตุสมผลมากยิ่งขึ้น แมสําหรับผูที่อยูในวงการมานานยังเห็นประโยชนอยางชัดเจน การพัฒนาแพลตฟอรมเทคโนโลยีที่มากขึ้นบน Cloud นี้จะสงผล ตอคาใชจายที่ลดลงของรายจายลงทุน (CAPEX) ทําใหสามารถ ลงทุ น เพิ่ ม ขึ้ น ได ด า นนวั ต กรรมและการปฏิ วั ติ ดิ จิ ทั ล (Digital Transformation)

ความท าทายที่ต องกล าวถึง

ในเวที Fintech Dynamics in Asia ไดเผยถึงความทาทาย ที่ ฟ น เทคต อ งเผชิ ญ ในขณะที่ พ ยายามจะประสบความสํ า เร็ จ ในประเทศไทย ซึง่ แนวคิดหนึง่ ทีร่ ะบุคอื กรอบแนวคิดเรือ่ ง 3U ซึง่ นําเสนอโดย IDC Financial Insights เพื่อประเมินเสถียรภาพ ในการดําเนินธุรกิจของสตารทอัพฟนเทควาจะสําเร็จหรือจะ ลมเหลว โดยกรอบการทํางานของ IDC Financial Insights ที่ กลาวถึงคือ 1. Utility (ความมีประโยชน) 2. Usability (ความงาย ในการใช) 3. Ubiquity (ความสะดวกในการเขาถึงบริการ) กรณี ดั ง กล า วเป น ที่ ถ กเถี ย งกั น ในกลุ ม ธุ ร กิ จ ฟ น เทค ซึ่ ง ยอมรับวาประสบปญหาในการเขาถึงทั้ง 3 U สําหรับนวัตกรรม รวมกันระหวางฟนเทคและสถาบันบริการทางการเงิน (FSIs) ตามที่ IDC รายงานนั้ น โดยส ว นมากใช เวลาประมาณ 1 ป กวาจะนําสูตลาด (Go-to-Market) นอกจากนี้ทางออกสําหรับ

Some Opportunities: Data and Cloud

IDC Financial Insights indicated that analytics will be used across various enterprises and use cases. This will result in the upsurge of demand for real-time, accurate and valuable data that will be useful for customer interactions. IDC Financial Insights also introduced the concept of data monetization, that ultimately brings banks and fintechs to ask if and how they can build data businesses. In the data monetization framework, organizations will build data pipelines in and out of the organization, and exchange value for data, provided that monetary exchange makes sense. “What makes sense” is important to underscore here: some exchange of data might be made without any monetary exchange. A greater understanding of the customer based on shared data might be pursued for its own sake. Moreover, FSIs can use crucial customer data by opening APIs to fintechs and other trusted third parties. This type of openness to how data is acquired, used and delivered will make fintechs and traditional FSIs to jointly deliver services/products at the right time and place to the benefit of the customers. In terms of cost efficiency, the cloud computing model has clearly shown how traditional capital expensebased investments is now converted to operating expensebased (as-a-service, pay-per-use) spending. It enables fintech to deliver products and services to customers at a more reasonable cost. Even for traditional players, the benefit is obvious: the greater adoption of technology platforms built on the cloud will result in less spending on less capex, allowing them to spend on innovation and digital transformation.

Challenges Discussed

The Fintech Dynamics in Asia also discussed some challenges that fintechs face as they attempt to scale up in Thailand. One concept mentioned was the 3U conceptual framework, which was introduced by IDC Financial Insights at the forum for assessing whether a fintech startup will most likely succeed or fail. IDC Financial Insights’framework involved the three Us of Utility (usefulness), Usability (userfriendliness), Ubiquity (easy access to service). This was validated in the discussion among fintechs who admitted

November- December 2017

p.78-83_it article.indd 82

11/6/17 4:02 PM


ความทาทายขางตนถูกยกมากลาวถึงเชนกัน เปนเรื่องสําคัญ ที่ตองเลือกบริการและเทคโนโลยีที่ใช เพราะการตัดสินใจที่ ผิดพลาดจะนํามาสูปญหามากมาย แทนที่จะเพียงตอบโจทย กับความทาทายตางๆ ซึง่ เปนหนาทีห่ ลักของเทคโนโลยีในการ ถูกสรางมา

สิ�งจําเป นอื่นๆ ที่เห็นได ชัดในสิ�งที่ผู ให บร�การ แบบดั้งเดิมกับธุรกิจ Fintech มองหามีดังนี้

• ความสามารถในการขยายและต อ เติ ม โครงสร า ง พื้นฐานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ในฐานะที่ธนาคาร ตองทํางานรวมกับพารตเนอรใหมๆ (ธุรกิจฟนเทค นายหนา ผูใหบริการและผูใหขอมูล) • กลยุทธเพื่อความปลอดภัยแบบเชิงรุก (Proactive Security Strategy) ในฐานะทีอ่ งคกรยายระบบตางๆ เขาสูก าร ทํางานบน Cloud แบบหลากหลายและแบบผสมผสาน ในการ ชวยสนับสนุนพารตเนอรใหมๆ • การทําโครงสรางพื้นฐานใหทันสมัยโดยการใชขอมูล เปนศูนยกลาง โดยคํานึงวาการแลกเปลี่ยนขอมูลเพื่อเพิ่ม มูลคา (Data Monetization) นัน้ ไมอาจเกิดขึน้ ไดหากขาดขอมูล ที่แมนยําและเชื่อถือได • มาตรฐานที่สูงขึ้นสําหรับดานความเสถียรและความ น า เชื่ อ ถื อ ของศู น ย ข อ มู ล เนื่ อ งจากศู น ย ข อ มู ล กลายเป น สินทรัพยหลักในการสนับสนุน Data Monetization • วิธีการใหมๆ ในการกํากับขอมูล ไดแก นโยบายที่ เกีย่ วกับการเขาถึง การใช และความปลอดภัยของแหลงขอมูล ทัง้ หมด รวมทัง้ เครือขายจะตองบังคับใชอยางมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น ทายที่สุดนี้ Fintech Dynamics in Asia ไดเนนย้ําวา การคนหาพารตเนอรทางกลยุทธที่ถูกตองมีความคลายคลึง กั บ การค น หาผู ร ว มก อ ตั้ ง หรื อ พนั ก งานหลั ก ขององค ก ร เรื่องสําคัญสําหรับธุรกิจฟนเทค ที่ควรคํานึงคือทุกคนจะตอง ทํางานรวมกันอยางใกลชิดกับพารตเนอร ดังนั้นจึงเปนเรื่อง สําคัญที่จะตองมีคอนเนคชั่นที่ดี การทําใหพารตเนอรทาง เทคโนโลยีมนั่ ใจวาสามารถเขาใจสถานการณตา งๆ พรอมกัน อยางเทาเทียมและทันทวงที จะยิง่ ชวยยกระดับความรวมมือ การพั ฒ นาโอกาส ประสิ ท ธิ ผ ล และความสามารถที่ จ ะ ตอบสนองลูกคานําไปสูการขับเคลื่อนธุรกิจอยางแนนอน นอกจากนี้ พารตเนอรทางเทคโนโลยีควรมีความยืดหยุน เชน ในการใหคําปรึกษาและคําแนะนําในการสรางหรือออกแบบ โซลูชน่ั ทีเ่ หมาะสมกับตลาด เปนตน โดยเฉพาะอยางยิง่ สําหรับ ผูใหบริการเทคโนโลยีโครงสรางพื้นฐาน พารตเนอรที่ดีควร ใหแพลตฟอรมที่ยืดหยุนสําหรับผูพัฒนาในการออกแบบ ทดสอบ และใหงานบริการ

to struggles in ensuring that they meet the 3Us framework. This is probably reason why In terms of ‘go-to-market’ for innovation from both fintech and FSIs, IDC reported that it typically takes 1 year for a fintech-to-bank/insurer collaboration to go to market. Some resolutions to challenges were also discussed. It is important to select the right solutions and offerings there are so many types of technologies from which to choose. Making the wrong decision can result in additional problems instead of fixing those challenges the technology was designed to solve. Other requirements that will feature more prominently in the agenda of traditional services providers and fintechs include: • An ability to quickly expand and extend the edges of the IT infrastructure – as the bank works with new partners (fintechs, agents, providers of data and services) • Proactive security strategy as the organization moves to working on multi- and hybrid-clouds, accommodating many new external partners • A data-centric approach to infrastructure modernization, considering that data monetization is impossible without reliable and accurate data. • Higher standards for uptime and reliability of the data center, since the data center becomes a key asset to support data monetization. • New approaches in data governance: policies related to access, use, and security of all resources – including the network – should be more efficiently enforced. Lastly, the forum focused on how finding the right strategic partners are similar to finding your co-founder or key hires. It is important for fintechs to remember that they will be working closely together with partners, so it is important to have good connections. Making sure that technology partners are on the same page greatly improves chances, productivity, and the ability to serve intended customers that will inevitably accelerate business. The technology partner should provide flexibility as well, to for example, by giving consulting and advice in building or architecting solutions fit for the market. This is particularly true for technology infrastructure vendors, in how the right partner should provide flexible platforms for developers to design, test and deploy their services.

November- December 2017

p.78-83_it article.indd 83

11/6/17 4:02 PM


IT Technology

> รอย เวจแมนส ผูอํานวยการฝายการตลาดและการขาย บริษัท ไอเอฟเอส Roy Wagemans, Director Marketing and Pre-Sales, IFS Enterprise Operational Intelligence Global Competence Center

ไอโอที

(IOT) :

อดีต ปจจุบัน และอนาคต

มุมมองดานวิวฒ ั นาการของไอโอที (IoT) และวิธกี ารทีธ่ รุ กิจ ไดนําไปใชแลว กําลังใชอยู และมีแผนจะใชเพื่อสรางประโยชน จากแนวทางนี้ แนวคิดโรงงานอัจฉริยะ (Smart Manufacturing) หรือ อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) กลายเปนหัวขอยอดนิยม หลังจากงานนิทรรศการระหวางประเทศซีบิต (CeBIT) 2011 (พ.ศ. 2554) แมจะผานไปเพียง 6 ป แตดูเหมือนวาสิ่งนี้จะกลาย เปนสิ่งสําคัญตอการเติบโตของเทคโนโลยีไปแลว ปจจุบันผูคน

A look at the evolution of IoT and how businesses have used, are using and will be using it to their advantage. The notion of Smart Manufacturing or Industry 4.0 became a popular topic after the international CeBIT fair of 2011, a mere six years ago but a lifetime in terms of technology maturation. By now, most of us understand, at least intuitively, what the Internet of Things (IoT) means. But in an industrial setting, what are some of the useful things we can do with the data being produced and transmitted by smart devices? That seems to be the predominant question asked by most of the customers that I encounter today. So, I feel it’s about time we discuss how to hone that competitive edge into something that’s really compelling.

สวนใหญมคี วามเขาใจหรืออยางนอยก็เริม่ รับรูว า “อินเทอรเน็ต ออฟ ธิงส” หรือ ไอโอที (Internet of Things: IoT) หมายถึง อะไร แตในสภาพแวดลอมของอุตสาหกรรม มีคําถามเกิดขึ้นวา เราสามารถไดรับประโยชนจากขอมูลที่ถูกสรางขึ้นและสงผาน โดยอุปกรณอจั ฉริยะอยางไรบาง และดูเหมือนวาจะเปนคําถาม สําคัญที่ลูกคาสวนใหญตองพบเจอในตอนนี้ ผมจึงรูสึกวานาจะ ถึงเวลาที่เราจะตองมาพูดคุยกันถึงวิธียกระดับขีดความสามารถ ดวยสิ่งที่นาสนใจนี้กันแลว

ไอโอที ในอดีต

ในชวง 1 หรือ 2 ปที่ผานมา ผมไดมีโอกาสไปพูดในงาน ไอโอทีงานหนึง่ ซึง่ เกีย่ วของกับการใชขอ มูลจากอุปกรณอจั ฉริยะ ที่ไมเพียงเพื่อการตรวจสอบประสิทธิภาพการทํางานของระบบ การผลิตเทานั้น แตยังพิจารณาความสําเร็จของธุรกิจโดยรวม ดวยวาไดรบั ผลกระทบอยางไรเมือ่ ระบบการผลิตหรือกระบวนการ ทํางานอื่นๆ ของคุณลมเหลว สิ่งนี้เปนเรื่องเกี่ยวกับการบริหาร จั ด การประสิ ท ธิ ภ าพของสิ น ทรั พ ย แ ละการบริ ห ารจั ด การ กระบวนการทางธุรกิจขององคกรโดยตรง

IOT : YESTERDAY, TODAY, TOMORROW

November- December 2017

p.84-87_it technology.indd 84

11/6/17 2:41 PM


ในขณะนั้น เรื่องราวที่ผมกลาวถึงยังไมคอยโดนใจผูฟง มากนัก มีเพียงไมกคี่ นเทานัน้ ทีเ่ ขาใจ แตกม็ ผี เู ขารวมฟงหลายคน ทีก่ าํ ลังใหความสนใจอยางมากกับเรือ่ งฐานขอมูลในหนวยความจํา และโซลูชนั ขอมูลขนาดใหญ (Big Data) เพือ่ นํามาใชรบั มือกับการ ลนหลามของขอมูลที่คาดวาจะเกิดจากไอโอที ในขณะนั้นไอโอที มีความเสถียรอยางมากในหองปฏิบัติการ โดยบรรดาวิศวกรดาน ฮารดแวรและซอฟตแวรไดสาธิตใหเห็นถึงการใชงานที่มีศักยภาพ เปนอยางยิ่ง

ไอโอที ในปจุบัน

ปนผี้ มไดกลับไปทีง่ านไอโอทีงานเดิม และรูส กึ ประหลาดใจ อยางมากที่เห็นวาไอเอฟเอสไมใชบริษัทเดียวที่มุงเนนผลลัพธ จากแนวทางนี้ จากคํากลาวของ “เจอรรี่ ลี” ผูอํานวยการฝาย การตลาดผลิตภัณฑสาํ หรับไมโครซอฟทในประเทศเนเธอรแลนด ไดพดู ถึงการทีไ่ มโครซอฟทถกู คาดหวังจากบริษทั ตางๆ ใหสามารถ สรางสรรคผลิตภัณฑทสี่ ามารถทําการวิเคราะหได สําหรับวิทยากร ทานอื่นๆ ในงานนี้มีนาสนใจหลายทาน ไมวาจะเปนตัวแทนจาก บริษัท แบม (BAM) (ธุรกิจกอสราง) บริษัท ฮอรติลุกซ (Hortilux) (ผูสรางระบบเรือนกระจก) และบริษัท ฟลิปส (Philips) (ผูผลิต อุปกรณอิเล็กทรอนิกส) ซึ่งทุกคนลวนมีกรณีศึกษาทางธุรกิจที่ ดีเยี่ยมจากการนําเทคโนโลยีไอโอทีไปใชชวยในการดําเนินการ สิ่งตางๆ ใหดีขึ้นและมีตนทุนที่ลดต่ําลง

อีกตัวอยางหนึง่ ของกรณีศกึ ษาทางธุรกิจทีน่ า สนใจอยางยิง่ นั่นก็คือหนึ่งในลูกคาของเราเอง แอนติซิเมกซ (Anticimex) ซึ่ง เปนบริษัทผลิตอุปกรณดักจับหนูที่มีการเชื่อมตออุปกรณเขากับ ระบบออนไลน ชวยใหวิศวกรฝายบริการสามารถทํางานไดอยาง มีประสิทธิภาพมากขึ้นและสามารถคาดการณเวลาที่เหมาะสม ในการเปลี่ยนแบตเตอรี่ของอุปกรณได ซึ่งจะเห็นไดวา ไอโอที สามารถทํ า งานได อ ย า งสมบู ร ณ แ บบในห อ งปฏิ บั ติ ก ารและ เมื่อองคกรธุรกิจรายนี้นํามาปรับใชจริงและพบวาไดผลดีในทาง ปฏิบัติ นอกจากนีย้ งั มีการพูดคุยกันอยางมากเกีย่ วกับอินเทอรเน็ต ออฟ ธิงส สําหรับอุตสาหกรรม หรือไอไอโอที (Industrial Internet of Things: IIoT) (กล า วคื อ การผลิ ต ) แต ผ มคิ ด ว า แนวทางนี้ ยั ง ครอบคลุ ม กรณี ศึ ก ษาทางธุ ร กิ จ ด า นการควบคุ ม ศั ต รู พื ช การกอสราง เกษตรกรรม และการบริการทีม่ กี ารจัดการอืน่ ๆ ดวย เชนกัน แมวา จะยังไมมกี ารนําไปใชในทุกภาคสวนอยางเทาเทียม กัน แตระบบบางสวนก็เริ่มทํางานกันแลว นั่นคือมีการเชื่อมโยง ขอมูลเพื่อทําการวิเคราะหรวมกับระบบธุรกิจและเริ่มนําคุณคา ที่แทจริงใหกับองคกร

IOT YESTERDAY

A year or two ago I spoke at an IoT event about the use of data from smart devices for monitoring not only operational performance of production systems but determining how the business as a whole is impacted when your production systems or other processes fail. It was essentially a story about asset performance management and enterprise business process management. At the time, the story did not resonate very well with my audience. Yes, there were or few who understood, but the attendees were predominately star-struck with in-memory databases and big data solutions that could deal with the deluge of data that the onset of IoT was expected to generate. IoT was solidly in the labs at the time, with hardware and software engineers demonstrating potential applications.

IOT INTERNET

OF THINGS

November- December 2017

p.84-87_it technology.indd 85

11/6/17 2:41 PM


ไอโอที ในวันพรุงนี้

เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน โดยสิ่งที่เปนตัวกําหนดทิศทางการ เติบโตทีแ่ ทจริง คือการนําผลิตภัณฑและบริการใหมๆ เขามาใชงาน แนวคิดของบริษัทผลิตภัณฑที่กําลังเริ่มจําหนายผลิตภัณฑ ของตนในรูปแบบบริการจะเปนเรือ่ งทีเ่ ขาใจไดงา ย แตการดําเนินการ ตามแนวคิดนีอ้ าจไมใชเรือ่ งงายนัก ในดานเทคนิค คุณจะตองเขาใจ ผลิตภัณฑ สามารถคาดการณความลมเหลว และมั่นใจไดวาจะ สามารถสรางผลกําไรดวยการนําเสนอสิ่งดังกลาวในรูปแบบของ บริการ สําหรับดานการเงิน คุณจะตองปรับงบดุลอีกครัง้ เนือ่ งจาก ผลิตภัณฑเหลานี้ทั้งหมดไดกลายเปนสินทรัพยของคุณแลว นอกจากนี้ คุณจะตองรายงานการปฏิบัติตามขอกําหนด เอสแอลเอ (SLA) กับลูกคาของคุณดวย หากคุณไมใช บริ ษั ท ผู ผ ลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ แต เ ป น บริ ษั ท ผู ใ ห บ ริ ก าร คุณจะสามารถเรียนรูเกี่ยวกับตัวชี้วัดที่สําคัญของ ความลมเหลว ผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศ และ ประสิทธิภาพของซัพพลายเออร สําหรับชิ้นสวนอะไหล ทั้งหมดนี้ลวนเปนสิ่งที่มีคุณคาและสามารถทําตลาดได แต คุ ณ จํ า เป น ต อ งมี ม ากกว า ที ม ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ การนํ า ผลิตภัณฑออกสูตลาด

IOT TODAY

There is also a lot of talk about the Industrial Internet of Things (i.e. manufacturing), but as mentioned, I’m seeing business cases in pest control, construction, agriculture and other managed services, too. Even though not all applications are equally advanced, the system of systems is starting to work; connecting data to analytics to business systems and starting to deliver real value.

ตอนนี้องคกรธุรกิจที่อยูในระดับปฏิบัติการลวนเดินตาม แนวทางของไอโอที และถึงเวลาแลวที่ผูบริหารระดับซีจะตอง เดินหนาขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ใหสําเร็จ เนื่องจาก แนวทางนี้สรางประโยชนอยางมากในดานการลดตนทุนและ

This year I went to that same IoT event and I was pleasantly surprised to see that IFS wasn’t the only company focusing on outcomes. In his keynote speech, Jerry Lee, Director of Product Marketing for Microsoft in the Netherlands, talked about how Microsoft is focused on companies being able to act on analytics. Other speakers at this event represented the construction company, BAM, greenhouse system builder, Hortilux and electronics firm, Philips, all of which have well-defined business cases for applying IoT technology where things are done better and at a lower cost. AnticimexAnother example of a solid business case is one of our own customers, Anticimex, where connected rat traps enable more efficient routing of service engineers and the prediction of battery replacement. IoT is solidly out of the lab and the business has clearly taken ownership, coming up with practical applications.

IOT TOMORROW

Now that business at the operational level has come to grips with IoT, it’s time for the C-level to step up and drive transformation. Without a doubt, there is merit in reducing cost and being more efficient, but what will really move the needle in terms of top-line growth is the adoption of new products and services. The notion of a product company starting to sell its products as a service is easy to understand, but the execution of this idea is by no means trivial. Technically, you need to

November- December 2017

p.84-87_it technology.indd 86

11/6/17 2:41 PM


วิธีการเขารวมเปนธุรกิจที่สามารถเชื่อมโยง สิ่งตางๆ ไดอยางครอบคลุม

ธุรกิจที่ไดรับแรงผลักดันจากแนวคิดไอโอที ตองสามารถ เก็บรวบรวมขอมูล (การสือ่ สารและระบบเครือขาย) มีซอฟตแวร การวิเคราะหและซอฟตแวรธุรกิจเพื่อการทํางานที่สอดคลอง กันทั้งระบบ และมีบริษัทเพียงไมกี่แหงเทานั้นที่มีพนักงาน ในองคกรที่มีทักษะพรอมสําหรับดําเนินการดังกลาวดวย ตนเอง ป จ จุ บั น บริ ษั ท ส ว นใหญ กํ า ลั ง แสวงหาพั น ธมิ ต ร เชนเดียวกับไอเอฟเอส นับตั้งแตเปดตัวไอเอฟเอส ไอโอที บิซิเนส คอนเนคเตอร (IFS IoT Business Connector) เราไดขยายระบบเครือขายพันธมิตรของเราเพื่อใหลูกคา มีขีดความสามารถดานการรวบรวมขอมูล การวิเคราะห และการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจ หากตองการเรียนรูเ พิม่ เติมและเขารวมเปนธุรกิจที่ สามารถเชือ่ มโยงสิง่ ตางๆ ไดอยางครอบคลุมดวยตนเอง โปรดเขาไปที่หนาเว็บ IoT Business Connector (ใสกรอบ)

understand the product, predict its failures and be confident that you can turn a profit by providing it as a service. Financially, you’ll also need to re-engineer the balance sheet, as all these products now become your own assets. Plus, you’ll have to report on SLA compliance with your customers. If you’re not a product company but a service company, you’ll be in a position to learn about leading indicators to failure modes, the effects of climate and supplier performance for spare parts. All of these things are valuable and marketable, but they need more than the operations team to take them to market.

เกี่ยวกับไอเอฟเอส

ไอเอฟเอส (IFS™) เปนผูนําระดับโลกดานการพัฒนา และนําเสนอซอฟตแวรสาํ หรับการวางแผนทรัพยากรองคกร (Enterprise Resource Planning หรือ ERP) การบริหารจัดการ สินทรัพยขององคกร (Enterprise Asset Management หรือ EAM) และการบริหารจัดการงานบริการขององคกร (Enterprise Service Management หรือ ESM) ทั้งนี้ ไอเอฟเอสกอตั้งขึ้น ในป พ.ศ. 2526 โดยมีสวนชวยสนับสนุนใหลูกคาที่เปนกลุม เปาหมายสามารถดําเนินธุรกิจไดดีขึ้น ตลอดจนผลักดันใหเกิด ความคลองตัวในการดําเนินงาน พรอมทั้งจัดเตรียมสิ่งตางๆ สําหรับอุตสาหกรรมเพื่อใหพรอมรับมือกับอนาคต ไอเอฟเอส มีพนักงาน 2,800 คน ที่พรอมใหการสนับสนุนผูใชทั่วโลกมากกวา 1 ลานคน ผานสํานักงานสาขาในเขตพื้นที่ตางๆ และผานเครือขาย พันธมิตรที่กําลังขยายตัวเพิ่มมากขึ้น สําหรับขอมูลเพิ่มเติม โปรดไปที่เว็บไซต: IFSworld.com ติดตามทาง Twitter: @ifsworld

HOW TO BECOME A CONNECTED BUSINESS

IoT-driven business requires data acquisition (communications and networking), analytics and business software to work in unison —and very few companies have all the skills in-house to do this on their own. Most companies seek partnerships, so too with IFS. Since launching the IFS IoT Business Connecter, we have been expanding our partner ecosystem so that our customers are supported for data acquisition, analytics and business transformation. To learn more and become a connected business yourself, please visit the IoT Business Connector webpage.

About IFS

IFS™ develops and delivers enterprise software for customers around the world who manufacture and distribute goods, maintain assets, and manage service-focused operations. The industry expertise of our people and solutions, together with commitment to our customers, has made us a recognized leader and the most recommended supplier in our sector. Our team of 3,300 employees supports more than one million users worldwide from a network of local offices and through our growing ecosystem of partners. For more information, visit: IFSworld.com Follow us on Twitter: @ifsworld November- December 2017

p.84-87_it technology.indd 87

11/6/17 2:41 PM


< Special Area < บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด

ทางเลือกใหม่สำ�หรับแอร์เซอร์กิตเบรกเกอร์ตัดต่อวงจร เพื่อป้องกันสำ�หรับเมนประธาน และสายป้อนที่มีคุณภาพสำ�หรับโหลดภายในวงจรไฟฟ้าทีส่ มบูรณ์แบบ

'ในราคาประหยัดแต่ได้รับสินคา้คุณภาพสูง'

ทางเลือกในการใช้งานแอร์เซอร์กิตเบรกเกอร์สำ�หรับเมนประธานและสายป้อนของระบบไฟฟ้า ที่ทำ�หน้าที่ตัดต่อวงจร เพื่อป้องกันความผิดปกติในกรณีที่เกิดกระแสไฟฟ้าเกิน และกระแสไฟฟ้า ลัดวงจรภายในระบบไฟฟ้าที่มีความเหมาะสมกับการใช้งานทุกรูปแบบ โดยมีอุปกรณ์ที่ทันสมัย สามารถตรวจจับกระแสไฟฟ้าในรูปแบบ True – RMS ยิ่งช่วยให้เซอร์กิตเบรกเกอร์สามารถ ทำ�งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และมีความเหมาะสมกับงานทางด้านไฟฟ้าทุกประเภท

แอร์เซอร์กิตเบรกเกอร์แรงต�่ำเหมาะส�ำหรับการใช้เป็นบริภัณฑ์ ประธานในการป้องกันที่ส ามารถน�ำไปใช้ง านได้อย่ างหลากหลาย อีกทัง้ มีความเหมาะสมในการตัดต่อวงจรไฟฟ้า และป้องกันระบบไฟฟ้า ทุกรูปแบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ แนวทางในการพัฒนาให้สามารถ ใช้ ง านได้ ห ลากหลาย และครอบคลุ ม กั บ การออกแบบควบคุ ม ซึ่งผู้จัดจ�ำหน่ายขอน�ำเสนอรายละเอียดต่างๆ ที่เป็นส่วนประกอบที่ ส�ำคัญของแอร์เซอร์กติ เบรกเกอร์ให้ผใู้ ช้งาน หรือช่างเทคนิคได้ทราบถึง เทคโนโลยีใหม่ๆ ในปัจจุบัน โดยแอร์เซอร์กิตเบรกเกอร์ที่จะกล่าวถึงนี้ สามารถแจ้งสถานะ การท�ำงานให้ผใู้ ช้งานได้ทราบถึงรายละเอียดข้อมูลส�ำคัญ เช่น อุณหภูมิ การใช้งานของแอร์เซอร์กิตเบรกเกอร์แบบ Real Time เพื่อบ่งบอกถึง ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในระบบไฟฟ้า หรือการติดต่อสื่อสารและ การส่งผ่านข้อมูลผ่าน USB port เป็นต้น ซึ่งเป็นข้อดีที่ท�ำให้ผู้ใช้งาน สามารถน�ำข้อมูลเหล่านั้นมาพิจารณาได้อย่างละเอียด เพื่อให้มีความ ปลอดภัยสูงสุดในการใช้งานภายในระบบไฟฟ้ำ

ส่วนประกอบที่สำ�คัญของแอร์เซอร์กิตเบรกเกอร์ ที่สำ�คัญที่ควรเข้าใจถึงการใช้งาน มีดังต่อไปนี้

ภายในตัวแอร์เซอร์กติ เบรกเกอร์ได้ ติดตัง้ เซนเซอร์ไว้ภายในเพือ่ ท�ำหน้าที่ ตรวจวัดอุณหภูมิที่บริเวณบัสบาร์ ทองแดงแบบ Real-time เพื่อบ่งบอกถึงสถานะ อุณหภูมิการใช้งานของแอร์เซอร์กิตเบรกเกอร์ใน การจ่ายกระแสไฟฟ้าไปสู่โหลด โดยที่ย่านการวัด อุณหภูมิจะอยู่ที่ -35°C/+70°C เป็นช่วงอุณหภูมิ ของการใช้งาน ซึง่ รองรับต่อการใช้งานได้ทกุ สภาวะ

มี USB port ส�ำหรับเชื่อมต่อกับ อุปกรณ์หรือเครือ่ งจักรของผูใ้ ช้งาน แม้ แ ต่ อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งมื อ วั ด และ ควบคุมต่าง ๆ เพือ่ ให้ผใู้ ช้งานสามารถจัดการฟังก์ชนั่ ต่าง ๆ ได้ เช่น • อ่านข้อมูลการใช้งานของแอร์เซอร์กิตเบรกเกอร์ • ปรับตั้งค่าพารามิเตอร์ทางไฟฟ้า • ตรวจวัดค่าอุณหภูมขิ องกระแสไฟฟ้าในขณะใช้งาน • ตรวจจับค่าพารามิเตอร์ทางไฟฟ้าในขณะที่เกิด ความผิดปกติ (Fault) ภายในระบบไฟฟ้ำ

การแบ่งขนาดพิกัดกระแสไฟฟ้าที่ รายละเอี ย ดของขนาดเฟรมที่ ครอบคลุ ม ได้ เ ต็ ม ความต้ อ งการ ตั้งแต่ขนาด 1600A, 2000A, 3200A และ 4000A โดยครอบคลุมในการเลือกใช้งานได้อย่างคุ้มค่า

สามารถปรับตัวได้อย่างสมจริง ด้วยการท�ำงานที่มั่นคงและเชื่อ ถื อ ได้ ในสภาวะอุ ณ หภู มิ แ ละ ความชืน้ ในการใช้งานทีเ่ ปลีย่ นแปลงบ่อยครัง้ โดย เริ่มต้นที่ -35°C/+70°C

November - December 2017

Faifa-Mag-CHINT NEXT.indd 88

11/2/2017 10:52:43 AM


Electronic Trip Device เป็นอุปกรณ์ที่มีความส�ำคัญอย่างยิ่งใน การควบคุม และป้องกันที่ติดตั้งเพื่อใช้งานควบคู่กับแอร์เซอร์กิต เบรกเกอร์ ซึง่ ผูใ้ ช้งานสามารถเลือกรุน่ ในการใช้งานได้หลากหลาย เพือ่ ให้ตรงกับความต้องการใช้งานขัน้ พืน้ ฐาน โดยฟังก์ชนั่ การใช้งาน มีดังต่อไปนี้ Basic Type

• Overload protection • Short circuit protection • Earth fault protection • Neutral line overcurrent protection (4P)

Current Type (Basic Type+)

• Unbalance current protection • Ampere meter

Power Type (Basic Type+ Current Type+)

• Unbalanced voltage protection • Overvoltage and undervoltage protection • Overfrequency and underfrequency protection • Phase sequence protection • Reverse power protection • Energy meter • Current measurement • Voltage measurement • Frequency measurement • Power measurement • Electric energy measurement • Power factor measurement • Busbar temperature measurement • LCD three-color backlight

Harmonic Wave Type (Basic Type+ PowerType+)

• Load monitoring function • Zone selective interlock (ZSI) • Communication function • Input/output function • Harmonic analysis function

จากตารางแสดงสมรรถนะของอุปกรณ์ป้องกันที่ติดตั้งอยู่ภายใน แอร์ เซอร์ กิ ต เบรกเกอร์ โดยที่ ก ารตรวจวั ด ค่ า กระแสไฟฟ้ า นั้ น จะ ตรวจวัดแบบ True RMS ซึ่งเป็นค่ากระแสไฟฟ้าจริงที่รวบรวมเอา ค่ า กระแสไฟฟ้ า ในทุ ก ๆ แถบความถี่ เข้ า มาประมวลผล จึ ง ท� ำ ให้ ค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านได้เป็นค่ากระแสไฟฟ้าจริงที่มีความถูกต้อง มากที่สุด ท�ำให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกติดตั้งได้ตามความต้องการ และ มีความเหมาะสมส�ำหรับใช้ในการป้องกันระบบไฟฟ้า Earth Fault Protection ตามข้อก�ำหนดในมาตรฐานของ NEC Section 230 – 95 ได้ กล่าวถึงการป้องกันการลัดวงจรลงดินของบริภณ ั ฑ์ไฟฟ้า โดยข้อก�ำหนด ได้กล่าวถึงในระบบไฟฟ้าก�ำลังแบบ 3 เฟส 4 สาย ที่สายนิวทรัลต่อ ลงดินโดยตรง และแรงดันไฟฟ้าระหว่างไลน์ – ไลน์ ที่มีค่าตั้งแต่ 380 โวลท์ แต่ไม่เกิน 600 โวลท์ จะต้องก�ำหนดให้มีการป้องกันกระแส ไฟฟ้าเกิน เนื่องมาจากการเกิดการลัดวงจรลงดิน ถ้าอุปกรณ์ป้องกัน หรือเครือ่ งปลดวงจรที่ Main Circuit Breaker มีขนาดพิกดั กระแสไฟฟ้า ทีเ่ ฟรมตัง้ แต่ 1000A ขึน้ ไป (ตามกฎของการไฟฟ้าฯ แต่ในความปลอดภัย ขอให้ ใ ช้ แ บบการป้ อ งกั น การลงดิ น แบบประสานงานกั น หรื อ Earth Leakage Coordination)

Residual Current Earth Fault Type Protection ระบบนีน้ ยิ มใช้อย่างแพร่หลายในระบบไฟฟ้า โดยทีก่ ระแสลัดวงจร ลงดินจะถูกตรวจสอบโดยหม้อแปลงกระแส ที่ต่ออยู่ในแต่ละเฟส ซึ่ง ระบบการป้องกันแบบนี้ถ้าใช้ในเซอร์กิตเบรกเกอร์แรงต�่ำจะพบว่ามี หม้อแปลงไฟฟ้าอยู่ 3 ชุด ที่ติดตั้งอยู่ภายในตัวเซอร์กิตเบรกเกอร์และ จะมีอุปกรณ์โซลิตสเตทรีเลย์ (Solid State Trip หรือ Electronic Trip ควบคุมการท�ำงานโดย Microprocessor) ประกอบอยูภ่ ายในตัวเซอร์กติ เบรกเกอร์ โดยพื้นฐานการต่อวงจรแสดงได้ในรูปที่ 2 รีเลย์ในแต่ละเฟสจะถูก ต่อวงจรเข้ากับหม้อแปลงกระแส และในรูปที่ 2 นี้ จะเป็นลักษณะของ ระบบไฟฟ้าแบบ 3 เฟส 4 สาย ซึ่งจะไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลในรีเลย์ กระแสเกินภายใต้สภาวะเงื่อนไขปกติ ทั้งนี้เพราะในสภาวะดังกล่าว ที่เกิดการลัดวงจรลงดิน กระแสไฟฟ้ าที่ไหลลงดินจะถูกตรวจสอบ โดยหม้อแปลงกระแสในเฟสที่เกิดความผิดปกติภายในระบบไฟฟ้า ซึ่ง จะท�ำให้ผลลัพธ์รวมของหม้อแปลงกระแสทั้งสามชุด มีค่ากระแสที่ ไม่เท่ากับศูนย์แอมป์ ดังนัน้ รีเลย์ปอ้ งกันกระแสเกินก็จะท�ำงาน โดยรีเลย์ กระแสเกินที่ใช้จะไม่สามารถท�ำงานได้ไวมากนัก ทั้งนี้เนื่องมาจาก การอิม่ ตัวของแกนเหล็กทีเ่ กิดขึน้ ทีห่ ม้อแปลงกระแสทัง้ 3 ตัวไม่เท่ากัน ระบบป้องกันการลัดวงจรลงดินที่เลือกใช้แบบ Residual System นั้นจะมี CT Ground Fault Protection ติดตั้งเพิ่มเติมอยู่ที่บัสบาร์ นิวทรัลเพื่อท�ำหน้าที่ในการตรวจวัดค่ากระแสไฟฟ้าที่หลงเหลือหรือ ตกค้างจากผลรวมของกระแสไฟฟ้าทีไ่ หลในแต่ละเฟสทีน่ วิ ทรัลบัสบาร์ และจะน�ำมาประเมินผลเปรียบเทียบกับค่าปรับตั้ง (Pickup Value) ถ้า CT Ground Fault ตรวจวัดค่ากระแสทีน่ วิ ทรัลบัสบาร์โดยมีคา่ เกินกว่า ค่ากระแสปรับตัง้ และเกินระยะของการหน่วงเวลา อุปกรณ์โซลิตสเตทรีเลย์ ก็จะส่งสัญญาณสั่งให้เซอร์กิตเบรกเกอร์ปลดวงจร แต่ถา้ รีเลย์ทใี่ ช้ตอ้ งการให้มคี วามไวต่อการท�ำงาน จะต้องใช้อปุ กรณ์ ตามลักษณะของแกนสมดุล (Core Balance)

รูปที่ 1 การติดตั้ง Ground Fault Protection ที่เป็นแบบ Residual Sensing

ลักการ รูปที่ 2 ห ที่เป็นแบบ F งG P ท�ำงานขอ ual Sensing Resid

November - December 2017

Faifa-Mag-CHINT NEXT.indd 89

11/2/2017 10:52:44 AM


รูปที่ 4 หลักการท�ำงานของ GFP ที่เป็นแบบ Earth current type earth fault protection (Source ground return)

ผลรวมของกระแสไฟฟ้าทัง้ สามเฟสจาก CT จะรวมกันทางเวกเตอร์ เมื่อก�ำหนดให้ผลรวมของกระแสไฟฟ้าทั้งสามเฟสคือ = I1 + I2 +I3 Ip น�ำกระแสไฟฟ้าผลรวมมาเปรียบเทียบกับกระแสไฟฟ้าทีว่ ดั ได้จาก Neutral CT (IN) ≅ Ip - ถ้า IN แสดงว่าระบบไฟฟ้าปกติไม่มีกระแสไฟฟ้ารั่วไหล ≠ Ip IN - ถ้า แสดงว่าเกิดกระแสไฟฟ้ารั่วไหลขึ้น (Ground Fault) คือ Ig > Setting - ถ้า Ig แสดงว่าเกิดกระแสไฟฟ้ารั่วไหลขึ้น (Ground Fault) มากพอ เซอร์กิตเบรกเกอร์จะปลดวงจร (Open Circuit) ตามเวลาที่ปรับตั้ง Earth current type earth fault protection พิจารณาจากรูปที่ 3 กระแสไฟฟ้าที่ลัดวงจรลงดินที่ไหลย้อนกลับ เข้ามาสู่ระบบไฟฟ้าผ่านทางหม้อแปลงไฟฟ้า ซึ่งกระแสฟอลต์ดังกล่าว จะถูกตรวจสอบได้โดยหม้อแปลงกระแส ซึง่ จะถูกติดตัง้ ทีบ่ สั บาร์กราวด์ ท�ำการเชื่อมต่ออยู่ระหว่างบัสบาร์นิวทรัล และบัสบาร์กราวด์ในวงจร สายป้อนที่ท�ำการติดตั้ง เพื่อให้กระแสไฟฟ้าที่ลัดวงจรลงดินมีกระแส ไหลผ่านหม้อแปลงกระแส และเมื่อ CT Ground Fault มองเห็น กระแสฟอลต์ที่มีขนาดของกระแสที่เกินกว่าค่ากระแสปรับตั้ง และเกิน ระยะของการหน่วงเวลา อุปกรณ์โซลิตสเตทรีเลย์กจ็ ะส่งสัญญาณสัง่ ให้ เซอร์กติ เบรกเกอร์ปลดวงจร แต่วธิ กี ารต่อวงจรในลักษณะแบบนีจ้ ะไม่มี ความเหมาะสมกับระบบที่มีกราวด์รีเทิร์นหลายชุด

รูปที่ 3 การติดตั้ง GFP ที่เป็นแบบ Earth current type earth fault protection (Source ground return)

วิธีกราวด์รีเทิร์น (Ground Return Method) Ground Fault Protection จะถูกติดตัง้ ให้ตรวจจับกระแสลัดวงจร ลงดินทัง้ หมดทีไ่ หลผ่านมายังขัว้ ดิน (Grounding Electrode Conductor) วิธกี ารนีส้ ามารถใช้ได้เฉพาะเครือ่ งปลดวงจร ตัวเมนของระบบประธาน (Service Derived) หรือระบบไฟฟ้า ที่ติดตั้งแยก (Separately Derived) ถ้ า มี ก ารเพิ่ ม จุ ด ต่ อ ลงกราวด์ ภ ายในระบบไฟฟ้ า เดี ย วกั น จะ ส่งผลกระทบท�ำให้เกิดสัญญาณรบกวนขึ้นในการสั่ง Trip Circuit Breaker เนื่องมาจากมีกระแสแยกไหลได้หลายทิศทาง

ของ ารท�ำงาน รูปที่ 4 ก บ Earth current ็นแบ GFP ที่เป h fault protection a e e typ rt ground return) (Source

• สายกราวด์ (PE) จะต้องต่อเข้ากับสายนิวทรัล (N) • ติดตั้ง CT Ground Fault ณ จุดเชื่อมต่อระหว่างสายกราวด์ (PE) และสายนิวทรัล (N) • เมื่อเกิดกระแสไฟฟ้ารั่วไหลขึ้น (Ground Fault) กระแส Ig จะไหลเข้าไปยังจุดต่อนิวทรัล • ถ้า Ig > Setting แสดงว่าเกิดกระแสไฟฟ้ารัว่ ไหลขึน้ (Ground Fault) มากพอ เซอร์กิตเบรกเกอร์จะปลดวงจร (Open Circuit) ตามเวลาที่ปรับตั้ง Dual Earth Fault Protection เ ป ็ น วิ ธี ก า ร ผ ส ม ผ ส า น ระหว่ า งการตรวจจั บ กระแส ไฟฟ้าลัดวงจรลงดินด้วยวิธีการ Residual current earth fault type protection + และ Earth current type earth fault protection ซึ่ ง การตรวจจั บ กระแสไฟฟ้าลัดวงจรลงดินทั้ง 2 วิธี ที่ติดตั้งร่วมกันนี้ สามารถตรวจจับ กระแสไฟฟ้าลัดวงจรลงดินได้ในเวลาเดียวกัน แต่สิ่งที่แตกต่างกันของ ทั้ง 2 วิธีนี้ คือ วิธีการของ Residual current earth fault type protection จะตรวจสอบกระแสไฟฟ้าลัดวงจรลงดิน โดยค�ำนวณทาง เวกเตอร์ของกระแสไฟฟ้าทั้ง 3 เฟส (ถ้ามีกระแสไฟฟ้าหลงเหลืออยู่ที่ สายนิวทรัล และมีคา่ กระแสทีส่ งู เกินกว่าค่า Setting เซอร์กติ เบรกเกอร์ จะปลดวงจร) แต่วิธีการของ Earth current type earth fault protection จะตรวจสอบกระแสไฟฟ้าลัดวงจรลงดินโดยการตรวจจับ แต่ขนาดของกระแสไฟฟ้าลัดวงจรลงดินที่ไหลผ่านบัสบาร์กราวด์เพียง อย่างเดียว (ถ้ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านบัสบาร์กราวด์ทมี่ คี า่ กระแสสูงเกิน กว่าค่า Setting เซอร์กิตเบรกเกอร์ก็จะปลดวงจร) ซึ่งทั้ง 2 วิธีการนี้ มี ผลลัพธ์เดียวกันในการป้องกัน ดังนัน้ แล้วผูใ้ ช้งานควรเลือกให้เหมาะสม เพื่อประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้งาน รับปรึกษาและวางแผนระบบบริหารจัดการพลังงานสอบถามรายละเอียดด้านล่าง

AVERA Co., Ltd.

อาคารศุภาลัยแกรนด์ ทาวเวอร์ ห้องเลขที่ 02, 03 ชัน้ ที่ 15 เลขที่ 1011 ถนนพระราม 3 แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 Mobile : 088-001-0416 Tel : 0-2074-4411 Fax : 0-2074-4400 E-mail : sales@avera.co.th

November - December 2017

Faifa-Mag-CHINT NEXT.indd 90

11/2/2017 10:52:44 AM


นายกรัฐมนตรีและคณะเยี่ยมชมซีเกท พาวิลเลียน ในงาน “Digital Thailand Big Bang 2017” Prime Minister and the honorable guests visit Seagate Pavilion in the “Digital Thailand Big Bang 2017”

เมโทรซิสเต็มส์ฯ จัดงาน “SOLIDWORKS INNOVATION DAY 2018 by Metro SOLIDWORKS” Metro System organized “SOLID WORKS INNOVATION DAY 2018 by Metro SOLID WORKS”

พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอช� นายกรัฐมนตรี ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี และ ดร.พิเชษฐ์ ดุรงคเวโรจน์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม เยี่ยมชมซีเกท พาวิลเลียน ในงานมหกรรมดิจิทัลและ เทคโนโลยีระดับนานาชาติ “Digital Thailand Big Bang 2017” ภายใต้แนวคิด “Digital Transformation Thailand” โดยมี เพียงฤทัย ศิวารัตน์ ผู้จัดการประจำ� ประเทศไทยและรองประธานฝ่ายปฏิบัติการโรงงาน ตลอดจนคณะผู้บริหารบริษัท ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จำ�กัด ให้การต้อนรับ

ฐิติพงศ์ จรณะจิตต์ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการกลุ่มผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์โซลูชั่น บริษัท เมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) จัดงาน “SOLIDWORKS INNOVATION DAY 2018 by Metro SOLIDWORKS” อย่างยิ่งใหญ่ เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2560 ณ สำ�นักงานใหญ่ บริษทั เมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มหาชน) โดยมีลกู ค้าให้ความสนใจเข้าร่วมงานอย่างคับคัง่ ภายในงานมีการเปิดตัวซอฟต์แวร์ SolidWorks 2018 การบรรยายพิเศษจากบริษัท AAPICO และแขกรับเชิญพิเศษ ที่มาแชร์ข้อมูลใหม่ๆ เพื่อนําไปประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจําวัน

Prime Minister Prayuth Chan-o-cha, Dr.Somkid Jatusripitak, Deputy Prime Minister and Dr.Pichet Durongkaveroj, Digital Economy and Society Minister, recently visited Seagate Pavilion in the “Digital Thailand Big Bang 2017: Digital Transformation Thailand”. On this special occasion, Mrs.Piangruetai Sivaratana, Country Manager and Vice President of Korat Operation and a group of Seagate Technology (Thailand) Limited management team extended a warm welcome to the prime minister and these honorable guests.

Thitipong Joranajit, Assistant Director of Software Solution Products Group of Metro System Corporation (Public) Co., Ltd. organized a great event of “SOLIDWORKS INNOVATION DAY 2018 by Metro SOLIDWORKS” on 6 October 2017 at the head office of Metro System Corporation (Public) Co., Ltd. The customers have given much interest in attending this event. There was a launched of Solid Works 2018 software, a special lecture given by AAPICO and many special guests were invited to share new information which can be applied to daily life.

โอไบค์ ลงนามกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จัดทำ�โครงการ Abiky powered by oBike รองรับไทยแลนด์ 4.0 oBike signed an agreement with Thammasart Univerty to launch a project on Abiky powered by oBike to support Thailand 4.0

อัลเบิร์ต ชาง ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายสารสนเทศ บริษัท โอไบค์ ร่วมกับ ผศ.ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล กรรมการผูท้ รงคุณวุฒใิ นคณะกรรมการวิธปี ฏิบตั ิ ราชการทางปกครอง และผูบ้ ริหาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ลงนามในโครงการ Abiky powered by oBike เพื่อตอบสนองสู่การเป็นไทยแลนด์ 4.0 ซึ่งจักรยานใน โครงการนี้ทุกคันอัดเเน่นไปด้วยระบบล็อกอัจฉริยะ, GPS ระบุตำ�เเหน่ง, วัดการ เผาผลาญ Calories, เเละการเเสดงขี่จักรยานที่ถูกต้อง เพื่อให้ทุกๆ คนสามารถ เพลิดเพลินกับอากาศบริสุทธิ์ และการขนส่งระยะสั้นที่ช่วยให้สะดวกมากยิ่งขึ้นได้ Albert Chang, Chief of Information Section of oBike Company together with Associate Professor Prinya Tevarnaruemitkul, Honorary Member of the Committee on Administrative Procedure and Management of Thammasart University had signed an agreement to launch a project on Abiky powered by oBike in order to respond to Thailand 4.0. All bicycles in this project is fully equipped with Genius Lock System, GPS positioning, measurement of burned calories and presentation of correct bicycling, in order that everyone can enjoy the pure air and the shorten transportation which can provide more conveniences.

November-December 2017


ถิรไทย ร่วมลงนาม กฟน. เซ็นสัญญาซื้อขาย หม้อแปลงไฟฟ้าชนิดติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันสมบูรณ์ Tirathai jointly signed an agreement with MEA for the purchase of Completely Self Protect Transformer

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ติดปีกให้เศรษฐกิจดิจิทัล ในงาน Innovation Summit Hong Kong Schneider Electric powered Digital Economy at the Innovation Summit Hong Kong

สัมพันธ์ วงษ์ปาน กรรมการผู้จัดการ ของบริษัท ถิรไทย จำ�กัด (มหาชน) ลงนามสั ญ ญาซื้ อ ขายหม้ อ แปลงไฟฟ้ า ชนิ ด ติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น สมบู ร ณ์ (Completely Self Protect transformer) ขนาด 225 kVA 3 Ph 24000-416/240 V จำ�นวน 213 เครื่อง สัญญาเลขที่ MP9-8975-BGE มูลค่า 131,731,980 บาท กับ การไฟฟ้านครหลวง โดย ชัยยงค์ พัวพงศกร ผู้ว่าการไฟฟ้านครหลวง (กฟน) ร่วม ลงนาม ณ ห้องประชุมการไฟฟ้านครหลวง Mr.Sampandh Wongpan, Managing Director of Tirathai (Public) Co., Ltd. signed an agreement for the purchase of Completely Self Protect Transformer, size 225 kVA 3Ph 24000-416/240 V for 213 transformers under contract no. MP9-8975-BGE with a value of Baht 131,731,980, with Mr.Chaiyong Poorpongsakorn, Governor of Metropolitan Electricity Authority (MEA) at the Meeting Room of MEA.

“อิตัลไทย” คว้ารางวัลผู้ประกอบธุรกิจด้านไฟฟ้า ในระดับอาเซียน “Italthai” won the Best Electrical Contractor Award at the Asean level

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผู้นำ�ด้านดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชันในการจัดการ พลังงานและระบบออโตเมชัน ได้จัดงาน Innovation Summit ขึ้น ระหว่างวันที่ 25-26 กันยายน 2560 ณ เกาะฮ่องกง โดยผู้เชี่ยวชาญของชไนเดอร์ อิเล็คทริค พร้อมด้วยนักคิดด้านอุตสาหกรรมชัน้ นำ�ระดับโลก จะร่วมกันแลกเปลีย่ นความคิด ให้กลายเป็นโซลูชันในการมอบพลังให้กับเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ Powering the Digital Economy โดยมีลูกค้าชไนเดอร์จากทั่วโลกมากกว่า 1,000 ราย ม� รวมตัวกันรับฟังการบรรยายจากประธานบริษทั และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และ รองประธานบริหาร ฝ่าย IoT & Digital Transformation ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค Schneider Electric, a leader in digital transformation in managing power and automation system had organized an Innovation Summit during 25-26 September 2017 in Hong Kong. There were specialists of Schneider Electric together with the world leading industrial thinkers who have exchanged ideas to provide solution in Powering Digital Economy. More than 1,000 customers of Schneider came from all over the world to listen to lectures provided by the specialists, Head of the Company and Head of the Management group and Deputy Head of IoT & Digital Transformation Section of Schneider Electric.

ณัษฐา ประโมจนีย์ รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท อิตัลไทยวิศวกรรม จำ�กัด เป็น ผู้แทนบริษัทฯ รับมอบรางวัลสถานประกอบการผู้รับเหมาไฟฟ้ายอดเยี่ยม (Best Electrical Contractor Award) ประเภทโครงสร้างพื้นฐานในงาน “AFEEC & FAPECA Conference & Meeting 2017” โดยมี ชูว์ ฉี ฟู่ว์ ประธานสหพันธ์ผู้รับเหมาไฟฟ้าอาเซียน เป็นผู้มอบรางวัล โดยรางวัลดังกล่าวจัดขึ้นโดยสหพันธ์ผู้รับเหมาไฟฟ้าอาเซียน (AFEEC) ผู้ประกอบธุรกิจด้านไฟฟ้าในกลุ่มประเทศอาเซียน นับได้ว่าเป็นความภาคภูมิใจของ ประเทศไทยและเป็นการตอกย้ำ�ถึงการดำ�เนินธุรกิจที่เป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและ ประเทศในภูมิภาคอาเซียน ณ ศูนย์การประชุมกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย Natha Pramojnee, Deputy Managing Director of Italthai Engineering Co., Ltd. represented the company in receiving the Best Electrical Contractor Award under the category of Basic Infrastructure at the “AFEEC & FAPECA Conference and Meeting 2017” from Choo Shee Fu, Chairman of the ASEAN Electrical Contractor Federation. The event was organized by AFEEC, a business enterprise in electricity generation among ASEAN countries. It is considered most honored for Thailand and it reinforces that the business is being recognized both within the country and in ASEAN region. he event was held at the Kuala Lumpur Conference Center, Malaysia.

November-December 2017


ABB at Energy Symposium 2017

ไฟเบอร์วนั เซ็นสัญญาติดตัง้ ไฟเบอร์ออฟติก อินเทอร์เน็ต ความเร็วสูง สู่ชุมชนหมู่บ้านนักกีฬาแหลมทอง Fiber One Boosts High-Speed Internet Connectivity At Nakkila Laem Thong Village

เอบีบี ร่วมออกบูธในงานสัมมนาวิชาการประจำ�ปี Energy Symposium 2017 เรื่อง “Energy 4.0...โอกาสของอุตสาหกรรมไทย” จัดขึ้นโดยสถาบัน พลังงานเพือ่ อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ภายในงานได้รบั เกียรติ จากรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน พล.อ.อนันตพร กาญจนรัตน์ เข้าร่วมชม บูธ โดยมี ชัยยศ ปิยะวรรณรัตน์, Managing Director บริษทั เอบีบี จำ�กัด ให้การ รับรอง ซึง่ ผลิตภัณฑ์เอบีบที นี่ �ำ ไปจัดแสดงในงานคือ “ABB Ability™ EDCS”, ระบบ การบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพบนคลาวด์แพลตฟอร์ม รวมถึง “เทคโนโลยี ABB EV Charger” ที่สามารถตอบโจทย์ทุกมิติด้านโครงสร้างพื้นฐาน ของเทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้า เพื่อตอบสนองนโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงานและ สิ่งแวดล้อมที่ดีของคนไทยในอนาคต

สมมาศเสถียร เลิศวัฒนกูล ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายการตลาด บริษัท ไฟเบอร์วัน จำ�กัด (มหาชน) และประธานชุมชนหมู่บ้านแหลมทอง ร่วมเซ็น สัญญาติดตั้งโครงข่ายไฟเบอร์ออฟติกให้กับลูกบ้านที่มีมากกว่า 3,600 ครัวเรือน ประกอบด้วย บ้านเดี่ยว บ้านแฝด ทาวน์เฮ้าส์ และคอนโด ตั้งในพื้นที่โครงการที่มี ประมาณ 520 ไร่ ในเขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร เพื่อให้ลูกบ้านได้สัมผัส ประสบการณ์การท่องอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง บนโครงข่ายไฟเบอร์ออฟติกของ ไฟเบอร์วัน และลูกบ้านสามารถเลือกใช้บริการอินเทอร์เน็ตจากรายใดก็ได้

ABB joined annual technical seminar ‘Energy Symposium 2017 : Energy 4.0 - an opportunity of Thailand industries’ hosted by The Federation of Thai Industries at Centara Grand at Central Ladprao on September 6, 2017. On this occasion, Gen. Anantaporn Kanchanarat, The Minister of Energy, visited ABB booth welcoming by Mr.Chaiyot Piyawannarat, Managing Director of ABB Thailand, Myanmar, Laos, and Cambodia to see ABB innovation such as ABB Ability™ EDCS and ABB EV Charger.

Mr.Sommassathien Lertwattanakul, Chief Marketing Officer of Fiber One PLC President of Nakkila Laem Thong Village recently signed a contract to rollout a fiber optic network connecting more than 3,600 households - detached houses, twin houses, townhouses, and condominiums - at the 520-rai property in Bangkok’s Saphan Sung district. Homeowners can now enjoy the experience of high-speed Internet connectivity regardless of the Internet Service Provider (ISP) they choose.

ความร่วมมือเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ ไทย Further Cooperation in Developing Thai Electric Vehicle Industry

มร.เอ็ม กันดิ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ยูบเี อ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) ร่วมกับ ดร.ยศพงษ์ ลออนวล นายกสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย ลงนามความร่วมมือ จัดแสดงเทคโนโลยีด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้าและการประชุมนานาชาติ Electric Vehicle Asia 2018 และ iEVTech 2018 ครั้งแรกในอาเซียน ซึ่งงานนี้จะ กลายเป็นจุดนัดพบในระดับภูมิภาคสำ�หรับภาคีเครือข่ายและคู่ค้าจากภาครัฐและ เอกชน ตลอดจนคู่ค้านักวิจัยและผู้ประกอบการจากทั้งในและต่างประเทศ เพื่อ ช่วยพัฒนาอุตสาหกรรมยานพาหนะไฟฟ้าในหลายปีข้างหน้� Mr.M. Gandhi, Managing Director (ASEAN Business) of UBM Asia (Thailand) and Dr.Yossapong Laoonual, President of The Electric Vehicle Association of Thailand (EVAT) The exhibition and conference will become a regional meeting point for network parties and partners from government and private sectors as well as trade partners, researchers and entrepreneurs from both Thailand and foreign countries, helping to develop the electric vehicle industry in the years ahead.

November-December 2017


Movement

ก.พลังงาน เปิดตัวโครงการเปลีย่ นรถตุก๊ ตุก๊ เป็นรถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้า

พลเอกอนันตพร กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง พลังงาน เป็นประธานเปิดตัวโครงการสนับสนุนการลงทุนการเปลีย่ น รถตุก๊ ตุก๊ ให้เป็นรถตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้า (eTukTuk) พร้อมด้วย ธรรมยศ ศรีชว่ ย ปลัดกระทรวงพลังงาน ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงาน นโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และโฆษกกระทรวงพลังงาน กระทรวงพลังงานมีมาตรการส่งเสริมการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า เพื่อเพิ่มทางเลือกการใช้พลังงาน ผ่านการสนับสนุนของกองทุน เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ในการด�ำเนินโครงการสนับสนุน การลงทุนการเปลีย่ นรถตุก๊ ตุก๊ ให้เป็นรถตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้า (eTukTuk) เพือ่ น�ำร่องการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าในกลุม่ รถสาธารณะ โดยมอบหมายให้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เป็นผู้ด�ำเนินโครงการ แบ่งการด�ำเนินการเป็น 2 ระยะคือ ระยะที่ 1 ระยะสาธิตเทคโนโลยี ส่วนระยะที่ 2 ระยะทดลองตลาด จะสนับสนุนทั้งกลุ่มประเภท รถรับจ้างและประเภทส่วนบุคคล

เบรกเกอร์ไฟฟ้า ยี่ห้อ “ฮุนได” ร่วมจัดแสดง สินค้า ในงาน “PEA THE ELECTRIC UTILITY OF FUTURE” ก้าวสู่ไฟฟ้า แห่งอนาคต

วันที่ 13 กันยายน 2560 ตัวแทนจ�ำหน่ายเบรกเกอร์ไฟฟ้า ยีห่ อ้ “ฮุนได” ในเขตภาคเหนือ ห้างหุน้ ส่วนจ�ำกัดนครพิงค์ สวิทช์บอร์ด ได้เข้าร่วมจัดแสดงบูธโชว์สนิ ค้าเบรกเกอร์ไฟฟ้า ภายใต้ชอื่ งาน “PEA THE ELECTRIC UTILITY OF FUTURE” ก้าวสูไ่ ฟฟ้าแห่งอนาคต ณ ห้องแม่โขง โรงแรมอนันตรา สามเหลี่ยมทองค�ำ อ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย โดยมีลูกค้า หัวหน้าส่วนราชการ สื่อมวลชน คณะ ผูบ้ ริหารและพนักงาน PEA พร้อมทัง้ พันธมิตรร่วมออกบูธนิทรรศการ จ�ำนวนกว่า 120 ท่าน หลังจากนัน้ ในวันที่ 15 กันยายน 2560 ได้เข้าร่วมงานอีกครัง้ ณ สหพัฒน์ จังหวัดล�ำพูน เพื่อประชาสัมพันธ์สินค้าและให้ความรู้ ในเรื่องของการใช้เบรกเกอร์ไฟฟ้าแก่ผู้เข้าร่วมงาน พร้อมทั้งแจก ของรางวัลอีกมากมาย เพือ่ เป็นการส่งเสริมภาพลักษณ์ของแบรนด์ สินค้าเบรกเกอร์ไฟฟ้า ยีห่ อ้ “ฮุนได” อีกทัง้ ยังเป็นการสร้างสัมพันธภาพ อันดีระหว่าง PEA กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอีกด้วย สนใจผลิตภัณฑ์ตดิ ต่อ T&D Powertech (Thailand) Co., Ltd. Tel. : 0-2002-4395-7 E-mail : info@tdpowertech.com

November-December 2017


SCANIA DRIVER COMPETITIONS THAILAND 2017

บริษทั สแกนเนีย สยาม จ�ำกัด ได้มกี ารจัดกิจกรรม SCANIA DRIVER COMPETITIONS ขึน้ มาครัง้ แรกในยุโรป นับตัง้ แต่ ค.ศ.2003 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการลดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจาก การขับขี่ เพิม่ ความตระหนักด้านการขับขีป่ ลอดภัยบนท้องถนน และ การใช้เชื้อเพลิงอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น กิจกรรม SCANIA DRIVER COMPETITIONS THAILAND 2017 บริษัท สแกนเนีย สยาม จ�ำกัด ร่วมกับกรมการขนส่งทางบก ทุนง่วงอย่าขับ ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้า กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ มูลนิธิรามาธิบดี บริษัท สยามมิชลิน จ�ำกัด และสถาบันสอนขับรถ ไอดี ไดร์ฟเวอร์ เพือ่ ค้นหาสุดยอดนักขับรถบรรทุกและนักขับรถบัสโดยสารทีม่ คี วาม สามารถและศักยภาพ และพร้อมด้วยคุณสมบัติของการขับรถที่ดี ภายใต้คอนเซ็ปต์ “4 D” ได้แก่ 1. Dare to be (กล้าทีจ่ ะเป็นนักขับทีด่ )ี Dare to Change (กล้าที่จะเปลี่ยน มีมุมมองที่ดี) Dare to do (กล้า ทีจ่ ะท�ำความดี) และ Dare to Gift (กล้าทีจ่ ะส่งต่อความดีให้ผอู้ นื่ )

“ล็อกซซิม” สร้างศูนย์ฝกึ ขับรถบรรทุกจ�ำลอง ระบบ 6DOF มาตรฐานยุโรปแห่งแรกในไทย

บริษัท ล็อกซเล่ย์ ซิมูเลชั่น เทคโนโลยี จ�ำกัด หรือล็อกซซิม จัดตั้งขึ้นเพื่อด�ำเนินธุรกิจเป็นตัวแทนจ�ำหน่าย ติดตั้ง พัฒนาและ วิจัยเครื่องฝึกขับรถบรรทุกจ�ำลอง และระบบการเรียนการสอน เสมือนจริงที่ใช้ส�ำหรับหน่วยกู้ชีพกู้ภัย ซึ่งในช่วงเริ่มแรกบริษัทได้ สร้าง “ศูนย์ฝึกขับรถบรรทุกจ�ำลอง” (LoxSim Driving Simulation Center) ขึน้ มาเพือ่ เป็นต้นแบบศูนย์ฝกึ อบรมการขับรถบรรทุกขนาด ใหญ่ ตลอดจนเป็นศูนย์ศกึ ษาวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีซมิ เู ลเตอร์ ด้านความปลอดภัยอย่างมืออาชีพ โดยใช้เทคโนโลยีจากบริษัท ออโต้ซมิ (AutoSim) ผูน้ ำ� ด้านระบบซิมเู ลเตอร์จากนอร์เวย์ ซึง่ บริษทั ฯ ได้รับสิทธิให้เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายแต่เพียงผู้เดียวในประเทศไทย ศู น ย์ ฝ ึ ก ขั บ รถบรรทุ ก จ� ำ ลอง ตั้ ง อยู ่ ใ นบริ เวณส� ำ นั ก งาน ล็อกซเล่ย์ สาขาบางเขน บนพื้นที่ 130 ตารางเมตร ใช้งบลงทุนกว่า 30 ล้านบาท

November-December 2017


Movement

เมโทรซิสเต็มส์ฯ ได้รับแต่งตั้งเป็นตัวแทน จ�ำหน่าย “HP Jet Fusion 3D Printing” แห่งแรกในประเทศไทย

บริษทั เมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ประกาศ เปิดตัวเครื่องพิมพ์ 3 มิติ “HP Jet Fusion 3D Printing” เครื่องแรก ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีเทคโนโลยีสุดล�้ำสู่เมืองไทย ในฐานะทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายแห่งแรกของเอชพี อิงค์ ในประเทศไทยและเอเชียแปซิฟิก ลงทุนเปิดศูนย์สาธิตเทคโนโลยี การพิมพ์ 3 มิติ ให้ลกู ค้าได้สมั ผัสก่อนตัดสินใจ เตรียมผนึกพันธมิตร น�ำเสนอโซลูชันด้านการพิมพ์ 3 มิติ ช่วยตอบโจทย์ความต้องการ ของลูกค้าในภาคอุตสาหกรรมและสถาบันการศึกษา แนวทางการพัฒนาแพลตฟอร์มแบบเปิดในตัวอุปกรณ์และ ซอฟต์แวร์ของเอชพี จะช่วยเมโทรซิสเต็มส์ฯ ในการท�ำงานร่วมกับ พันธมิตรด้านซอฟต์แวร์ 3 มิติ ในการจัดงาน “HP Jet Fusion 3D Printing - The NEW era of Manufacturing and Prototyping” เพื่อ แนะน�ำโซลูชนั ใหม่ลา่ สุดทีจ่ ะมาปฏิวตั ริ ปู แบบใหม่ของการสร้างต้นแบบ และผลิตชิ้นงานที่สามารถใช้ได้จริงเป็นครั้งแรกในประเทศไทย

ดาวและธนาวุฒิ เปิดตัวผลิตภัณฑ์

โพลียูเรีย สเปรย์ อิลาสโตเมอร์

โทนี ลู ผูจ้ ดั การอาวุโสฝ่ายการตลาด บริษทั ดาว เคมิคอล และ วุฒชิ ยั ธรรมสุจริต กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ธนาวุฒิ คอมโพสิท จ�ำกัด ร่วมเปิดตัวโพลียูเรีย สเปรย์ อิลาสโตเมอร์ โซลูชันส�ำหรับเคลือบ พื้นผิวที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อป้องกันและยืดอายุของพื้นผิวชนิดต่างๆ ซึ่งนวัตกรรมโพลียูเรียประสิทธิภาพสูงมีคุณสมบัติโดดเด่นด้านการ ใช้งานทีร่ วดเร็ว มีความยืดหยุน่ สูง และมีความแข็งแรงคงทนทีด่ เี ยีย่ ม ส�ำหรับการใช้งานในภาคอุตสาหกรรม มีอายุการใช้งานยาวนานถึง 25-30 ปี โดยไม่ต้องมีการพ่นเคลือบใหม่ในระหว่างนั้น บริษทั ธนาวุฒิ คอมโพสิท จ�ำกัด เป็นผูจ้ ดั จ�ำหน่ายรายใหญ่ น�ำเข้าเครือ่ งพ่นสารเคลือบผิวเพือ่ ป้องกันน�ำ้ จากประเทศสหรัฐอเมริกา รวมถึงโพลียูเรีย ภายใต้ชื่อ Graco GlasCraft โดยบริษัทมีบริการ หลังการขายแบบครบวงจรตลอดอายุการใช้งานของผลิตภัณฑ์ และ มีทีมท�ำงานที่เชี่ยวชาญด้านการใช้สารเคมี ผ่านการสนับสนุนและ ให้ความรู้จากดาว

November-December 2017


การอบรมเรื่อง

มาตรฐานการออกแบบและติดตั้ง เครื่องกำ�เนิดไฟฟ้า รุ่นที่ 7 ระหว่างวันที่ 22-23 พฤศจิกายน 2560 (วันพุธ-วันพฤหัสบดี) เวลา 9.00-16.30 น. ณ ห้องประชุมอาคาร วสท.

จัดโดย คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมการป้องกันอัคคีภัย วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับสมาคมเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าไทย หลักการและเหตุผล

เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าเป็นส่วนหนึ่งของระบบอ�ำนวยความ สะดวกและระบบป้องกันอัคคีภัยของอาคาร การออกแบบและ ติดตั้งเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าเพื่อให้เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าสามารถจ่าย กระแสไฟฟ้าส�ำรองขณะที่กระแสไฟฟ้าหลักดับหรือขัดข้องได้ ตลอดเวลาจึงมีความส�ำคัญ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ จึงได้ร่างมาตรฐานใหม่ การออกแบบและติดตั้งเครื่องก�ำเนิด ไฟฟ้าขึ้นมาเพื่อใช้เป็นแนวทางในการออกแบบและติดตั้งฯ ด้วยเหตุดังกล่าว วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ จึง จัดการอบรมเรือ่ ง มาตรฐานการออกแบบและติดตัง้ เครือ่ งก�ำเนิด ไฟฟ้าขึน้ เพือ่ ให้ผเู้ ข้าอบรมได้เพิม่ พูนทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ ระบบเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ามากยิ่งขึ้น

กลุ่มเป้าหมาย

1. วิศวกรผู้ออกแบบงานระบบไฟฟ้า เครื่องกล สิ่งแวดล้อม 2. วิศวกรควบคุมงานและติดตั้งงานระบบฯ 3. วิศวกรผู้ดูแลบ�ำรุงรักษาอาคารและระบบไฟฟ้าส�ำรอง 4. เจ้าของอาคาร เจ้าของโครงการ วิศวกรฝ่ายขายและผู้ติดตั้ง ระบบเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ำ 5. ผู้สนใจงานระบบไฟฟ้าส�ำรองทั่วไป

คณะวิทยากร

วิเชียร บุษยบัณฑูร

กรรมการจรรยาบรรณ สภาวิศวกร  กรรมการสาขาวิศวกรรมความปลอดภัยอาคาร วสท.  อนุกรรมการมาตรฐานติดตัง ้ ทางไฟฟ้าของประเทศไทย วสท.  อนุกรรมการร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องก�ำเนิด ไฟฟ้า วสท.  กรรมการผู้จัดการ บริษัท แอซเซ็ท เพอฟอร์แมนซ์ โซลูชั่น จ�ำกัด 

ผศ.ชลชัย ธรรมวิวัฒนุกูร

อนุกรรมการร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องก�ำเนิด ไฟฟ้ำ  คณะกรรมการอ�ำนวยการ วสท. ประจ�ำปีวาระ 2560-2562 ต�ำแหน่งนายทะเบียน  วุฒิวิศวกรไฟฟ้าก�ำลัง วฟก.1119 

ธวัช มีชัย

นายกสมาคมเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าไทย  ประธานอนุกรรมการร่างมาตรฐานออกแบบและติดตัง ้ เครือ่ ง ก�ำเนิดไฟฟ้ำ 

ผศ.ดร.ส�ำเริง ฮินท่าไม้

อนุกรรมการร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องก�ำเนิด ไฟฟ้ำ

ธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี

อนุกรรมการและเลขานุการร่างมาตรฐานออกแบบและติดตัง้ เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ำ  เลขาธิการสมาคมเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าไทย  วุฒิวิศวกรไฟฟ้า วฟก.818/ ACPE.01242-TH 

สุชาติ จงควินิต

อนุกรรมการร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องก�ำเนิด ไฟฟ้ำ  อุปนายกสมาคมคนที่ 2 สมาคมเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าไทย  กรรมการผู้จัดการ บริษัท อัลติเมท คอมเมอร์เชียล จ�ำกัด 

พรชัย บรรจงใหม่

อนุกรรมการร่างมาตรฐานออกแบบและติดตั้งเครื่องก�ำเนิด ไฟฟ้ำ  มาตรฐานการซ่อมบ�ำรุงรักษาเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ำ 

November-December 2017


วันพุธที่ 22 พฤศจิกายน 2560

08.00 - 09.00 น. 09.00 - 10.30 น. 10.30 - 10.45 น. 10.45 - 12.15 น. 12.15 - 13.15 น. 13.15 - 14.45 น. 14.45 - 15.00 น. 15.00 - 16.00 น. 16.00 - 16.30 น.

ลงทะเบียน ห้องเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า ฐานแท่นเครื่องและ ความต้องการในการติดตั้งห้องเครื่องก�ำเนิด ไฟฟ้ำ  ฐานแท่นเครื่อง  ต�ำแหน่งติดตั้ง วิทยากร ผศ.ชลชัย ธรรมวิวัฒนุกูร พักรับประทานอาหารว่าง การติดตั้งทางเครื่องกล  ฐานแท่นรองรับความสั่นสะเทือน  ระบบท่อไอเสีย  ระบบระบายอากาศภายในห้องเครือ ่ งก�ำเนิด ไฟฟ้ำ  ระบบระบายความร้อนด้วยน�ำ ้ หรือของเหลว ระบายความร้อน วิทยากร สุชาติ จงควินิต พักรับประทานอาหาร การติดตั้งทางเครื่องกล (ต่อ)  ระบบระบายความร้อนฯ แบบต่างๆ  ระบบน�้ำมันเชื้อเพลิง วิทยากร ธวัช มีชัย พักรับประทานอาหารว่าง การซ่อมบ�ำรุงรักษาเครื่องยนต์ก�ำเนิดไฟฟ้ำ วิทยากร พรชัย บรรจงใหม่ สรุปการบรรยายและถาม-ตอบปัญหาข้อสงสัย

วันพฤหัสบดีที่ 23 พฤศจิกายน 2560

08.00 - 09.00 น. 09.00 - 10.30 น. 10.30 - 10.45 น. 10.45 - 12.15 น. 12.15 - 13.15 น. 13.15 - 14.45 น. 14.45 - 15.00 น. 15.00 - 16.00 น. 16.00 - 16.30 น.

ลงทะเบียน การทดสอบเครื่องยนต์ก�ำเนิดไฟฟ้ำ  การทดสอบเพื่อส่งมอบงาน  การทดสอบประจ�ำเดือน  การทดสอบประจ�ำปี วิทยากร พรชัย บรรจงใหม่ พักรับประทานอาหารว่าง การติดตั้งทางไฟฟ้ำ  รูปแบบการติดตั้งทั่วไปส�ำหรับระบบแรงต�่ำ  การจัดระดับชั้นของระบบจ่ายไฟฟ้าส�ำรอง  เกณฑ์ทั่วไปประกอบการพิจารณาเบื้องต้น ในการก�ำหนดประเภทการจ่ายระบบไฟฟ้ำ ส�ำรอง  การเชือ ่ มต่อทางไฟฟ้าและการเดินสายไฟฟ้ำ วิทยากร ผศ.ดร.ส�ำเริง ฮินท่าไม้ พักรับประทานอาหารกลางวัน การติดตั้งทางไฟฟ้า (ต่อ)  การป้องกันทางไฟฟ้ำ  ระบบสายดิน  อุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟ  การขนานแหล่งจ่ายไฟเข้าระบบ วิทยากร วิเชียร บุษยบัณฑูร พักรับประทานอาหารว่าง ระบบป้องกันเสียง (Soundproof System) ภาคผนวก ก, ข และตัวอย่างการค�ำนวณ วิทยากร ธัมรัต พรหมเพ็ญรังษี สรุปการบรรยายและถาม-ตอบปัญหาข้อสงสัย

ค่าลงทะเบียน ประเภทสมาชิก

 สมาชิก วสท. 6,000 บาท/คน  บุคคลทั่วไป 6,500 บาท/คน หมายเหตุ : 1. ราคานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ค่าเอกสาร ค่าอาหาร และเครื่องดื่ม (วสท. ได้รับการยกเว้นภาษีหัก ณ ที่จา่ ย 3%) 2. ส�ำหรับผูเ้ ข้าอบรมทีช่ ำ� ระค่าลงทะเบียนในราคาบุคคลทัว่ ไป ท่านจะได้รบั สิทธิประโยชน์ในการเป็นสมาชิก วสท. 1 ปี (ฟรี) โดยท่านต้องเตรียมหลักฐานการสมัครสมาชิก วสท. (ส�ำเนาบัตรประชาชน และส�ำเนาใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกร หรือ ส�ำเนาวุฒิการศึกษา) เพื่อแจ้งความจ�ำนงในการใช้สิทธิ์โดยสมบูรณ์ ภายในวันที่จัดอบรมเท่านั้น ข้อปฏิบัติกรณีการยกเลิกอบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน ทั้งในและต่างประเทศ และได้ช�ำระเงินค่าลงทะเบียนก่อนล่วงหน้า ดังนี้  กรณี วสท. เป็นผู้ยกเลิกเนื่องจากเหตุใดก็ตาม จะคืนเงินให้กับลูกค้าเต็มจ�ำนวน  กรณีที่ผู้ลงทะเบียน (ช�ำระเงินแล้ว) แจ้งยกเลิกเนื่องจากสาเหตุใดก็ตามขอให้ถือปฏิบัติดังต่อไปนี้  แจ้งยกเลิกก่อนวันจัดอบรม สัมมนา ดูงาน 30 วัน คืนเงินให้เต็มจ�ำนวนของค่าลงทะเบียน  แจ้งยกเลิกก่อนวันจัดอบรม สัมมนา ดูงาน 15 วัน คืนเงินให้ 80% ของค่าลงทะเบียน  แจ้งยกเลิกก่อนวันจัดอบรม สัมมนา ดูงาน 7 วัน คืนเงินให้ 50% ของค่าลงทะเบียน  แจ้งยกเลิกก่อนวันจัดอบรม สัมมนา ดูงาน 3 วัน หรือภายในวันจัดงาน ไม่คืนค่าลงทะเบียน

ประสานงานและสอบถามข้อมูล : โทร. 0-2184-4600-9 ต่อ ฝ่ายวิชาการ และโครงการ E-Mail : eit@eit.or.th November-December 2017


Industry News

ABB IS DELIVERING ON DIGITAL FOR POWER GENERATION AND WATER IN ASIA

Building on 40 years in digital and the world’s largest installed base of digitally enabled devices and control systems, ABB is helping power and water customers realize the promise of the digital era. This week at Asia Power Week in Bangkok, Thailand, ABB will announce a new strategy that enables customers in the power generation and water sectors to harness the potential of big data and digitalization and evolve, adapt and thrive on their journey of digital transformation. The power generation industry in particular is battling complex challenges and rapid change: shifting and ever-widening regulations, the large-scale integration of renewables and distributed energy resources, the increasing risk of cyberattack, a generational shift in the workforce, aging plant equipment, volatile dynamic pricing and business model disruption. Digitalization, big data and analytics offer a timely and uniquely powerful solution to solve these challenges. They give power and water companies visibility and insights into the performance of their equipment, plants and fleet that open new ways of operating more competitively in ever-changing markets. Digitalization of the power generation and water industries is already under way and gathering momentum. More and more utilities are launching digital initiatives that encompass not only critical assets such as turbines, boilers and generators, but also secondary equipment that has a significant impact on plant availability. The benefits of digitalization are already proven. Gains of 10 percent and more for productivity, maintenance and reliability are being achieved, compared to 1-2 percent for companies that don’t

embrace digitalization, according to a new report by LNS Research. ABB is uniquely positioned to unlock these benefits for power and water customers. We have the world’s largest installed base of digitally enabled industrial products and devices and are the world’s leading supplier of distributed control systems, both overall and in the power generation sector. As a result, our ABB Ability™ Symphony® Plus portfolio of digital solutions for power and water applications is considered the most advanced on the market. Collaboration is at the heart of ABB’s digital strategy. We work hand in hand with each customer to better understand their digital requirements and provide solutions that meet those requirements. Through our collaborative operations center for power generation we monitor plant and fleet performance, deliver actionable information and - when needed - provide ABB expertise, all in a spirit of collaboration. Collaboration is only possible in an open ecosystem. Our ABB Ability™ platform uses industry-standard, opensource and proprietary ABB software. It combines our technology leadership and deep domain expertise with strategic partnerships, including with Microsoft and IBM. This approach makes it easier for customers to integrate our solutions with other platforms. Such an open ecosystem delivers massive benefits to customers. In addition to spotlighting ABB digital solutions that have improved customer operations in Asia, we will also unveil a report we commissioned on digitalization in the power generation industry. Authored by LNS Research, a leading research and advisory firm on the industrial Internet of things, the report is entitled “Driving better decision making with big data” “We are incredibly privileged to have worked with the world’s leading power companies, partnering with them to November-December 2017


Industry News

deliver digital solutions that solve their real world problems,” says Kevin Kosisko, managing director of ABB’s power generation and water business. “Our experience, expertise, installed base and product portfolio provide our customers with proof-points for turning the potential of digital into profitability.” “The power generation industry is in the midst of a major paradigm shift,” says Matthew Littlefield, President and Principal Analyst LNS Research. “35% of power generation companies have already invested in the Industrial Internet of Things (IIoT) in 2017. In our newest research report, we

have identified the key steps for power generation companies to successfully deploy big data analytics to address dynamic market pressures in a scalable and cost-effective way; avoiding the need for high-risk big-bang technology projects.” ABB is a leading provider of integrated power and automation solutions with unparalleled experience in partnering with the energy and water industries, bringing them improved operations and sustainable progress. We deliver integrated and secure digital systems, services and solutions to automate and optimize the performance of conventional and renewable power plants and water facilities.

HONEYWELL AWARDS THREE SCHOLARSHIPS TO CHEMICAL ENGINEER STUDENTS IN PHILIPPINES

Honeywell (NYSE: HON) announced today that it has awarded scholarships to three Filipino students majoring in chemical engineering at a leading university in Philippines, affirming Honeywell’s continued investment in building the future engineering talent in the country. The scholarship will include three students from Mapua Institute of Technology and they will be awarded US$1500 each. As a part of the scholarship program held in The Philippines, as well as Vietnam and Myanmar, five of the scholars will conduct internships at the U.S. research and development campus of Honeywell UOP, a global leader in refining and petrochemical technology. One of the chemical engineering students selected for internships will further develop their skills through direct participation with UOP technology. “We’re very excited to extend the scholarship program in The Philippines to augment the country’s growth by November-December 2017

supporting its talented students in their pursuit of education in chemical engineering,” said Jim Rekoske, Vice President and Chief Technology Officer of Honeywell UOP. “Working with leading university in The Philippines, our program invests in the next generation of the country’s scientific and research talent, which will benefit its refining, gas processing and petrochemical industries for many years.” “The cash award from Honeywell UOP is very important because it comes from the leading company in petroleum engineering,” said a student at Mapua Institute of Technology, and one of the students who completed an internship at Honeywell UOP last summer. “I was invigorated by the experience, and I look forward to applying my new expertise in my work in The Philippines.” In addition to the scholarships and internships, Honeywell UOP also provides an annual lecture series in refining and petrochemicals to each of 12 leading universities in Vietnam, Singapore, Thailand, Indonesia, Myanmar, Malaysia, and The Philippines. The lecture series contributes greatly to the academic curriculum in chemical engineering at these institutions, helping to develop a strong pool of talent in the industry across the region.


Industry News

STIEBEL ELTRON OPENS SECOND FACTORY WITH NEW PRODUCTION LINE Stiebel Boost is a sleek water pump developed using premium material like stainless steel. Moreover, it is designed to provide powerful performance without the disturbing loud noises. The Stiebel Boost took three years to conceptualize, develop and test. The domestic water pump is designed to operate efficiently even at low power flow unlike anything else in the market. This is especially useful in combination with other water appliances in the household. Stiebel Eltron, Thailand’s leading manufacturer of water heaters, water filters and hand dryers has officially opened its second factory to expand its water pump range. Stiebel Eltron Asia recently welcomed Dr.Nicholas Matten, Managing Director for Sales, Marketing and Finance and Dr.Kai Schiefelbein, Managing Director of Technology from Stiebel Eltron headquarters to its Ayutthaya plant. The auspicious occasion was to officially open its new Stiebel Boost water pump which is the company’s latest innovation. Stiebel Eltron’s core mission is to bring ‘German Engineering’ quality to every product provided to its consumers. With Stiebel Boost, Stiebel Eltron aims to expand its existing customer base and provide quality water solutions. Mr.Roland Hoehn, Managing Director, Stiebel Eltron Asia said, “We always strive to provide innovations to improve our customers’ daily tasks and I strongly believe that the Stiebel Boost is the perfect addition to our range of quality domestic water appliances. Our dedicated engineers and research and development teams are constantly brainstorming on how to provide efficient and best products in the market and that is why we are one of the main players in Asia.”

Mr.Kai Brusdeylins

Mr.Kai Brusdeylins, Product Development Manager, Stiebel Eltron Asia added; “As a water specialist company, we thrive to provide the best and most reliable water appliances for our consumers. From our past experience dealing with our consumers’ problems, steady and reliable water supply sources can ease the comfort at home.”

With the launch of the new product line, Stiebel Eltron will be able to produce up to 2,000 units per month. The production capacity will be doubled by the beginning of 2018 and will increase later according to the market demands.

November-December 2017


Industry News

เชลล์และ KUFPEC ยกเลิกข้อตกลงการขายหุ้น ของสองบริษัทในเครือเชลล์ในประเทศไทย BG Asia Pacific Holdings Pte Limited บริษัทในเครือกลุ่ม รอยัลดัทช์เชลล์ และ KUFPEC Thailand Holdings Pte Limited บริษทั ในเครือ Kuwait Foreign Petroleum Exploration Company (KUFPEC) ตกลงร่วมกันทีจ่ ะยกเลิกสัญญาซือ้ ขายหุน้ ของบริษทั ในเครือของเชลล์ Shell Integrated Gas Thailand Pte Limited (SIGT) และ Thai Energy Co Limited (TEC). SIGT และ TEC มีสัดส่วนการถือหุ้นรวมทั้งหมด 22.222% ใน แหล่งก๊าซธรรมชาติบงกชและแปลงทีต่ ดิ กับแหล่งก๊าซธรรมชาติบงกช นอกฝัง่ ทะเลตอนใต้ของประเทศไทย ประกอบด้วยแปลงหมายเลข 15 แปลงหมายเลข 16 แปลงหมายเลข 17 และแปลงหมายเลข G12/48 แหล่ ง ก๊ า ซธรรมชาติ บ งกชเป็ น การลงทุ น ร่ ว มกั น ระหว่ า งเชลล์ (22.222%) บริษัท ปตท. ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) (ปตท. สผ.) (44.445%) และบริษทั Total (33.333%) โดยมี (ปตท. สผ.) เป็นผู้ด�ำเนินการ

SIGT จะยังคงให้การสนับสนุนการด�ำเนินงานของบริษทั ปตท. สผ. เพือ่ คงไว้ซงึ่ การท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัยของแหล่ง ก๊าซธรรมชาติบงกชต่อไป SIGT ยังคงมุง่ มัน่ ทีจ่ ะเข้าร่วมในการประมูล สัมปทานของแหล่งก๊าซธรรมชาติบงกชที่กำ� ลังจะเปิดขึ้นในรอบถัดไป กลุ่มบริษัทเชลล์ยังคงไว้ซึ่งเจตนารมณ์ที่จะด�ำเนินการขยาย ธุรกิจทัง้ ในด้านธุรกิจนํา้ มันขัน้ ปลาย ด้านก๊าซธรรมชาติ และด้านก๊าซ ธรรมชาติเหลว ในประเทศไทยต่อไป และยังคงถือสิทธิสัมปทานใน แปลงหมายเลข 7 แปลงหมายเลข 8 และแปลงหมายเลข 9 บริษทั เชลล์ แห่งประเทศไทยด�ำเนินกิจการในประเทศไทยเป็นเวลานานถึง 125 ปี มีความภูมใิ จเป็นอย่างยิง่ ทีธ่ รุ กิจการค้านาํ้ มันเชือ้ เพลิง นาํ้ มันหล่อลืน่ และยางมะตอย ซึง่ เป็นทีย่ อมรับและมีชอื่ เสียงทัง้ ในด้านคุณภาพและ ด้านนวัตกรรม มีส่วนเสริมสร้างความมั่นคงของประเทศตลอดระยะ เวลาที่ผ่านมา และเชลล์มุ่งมั่นที่จะด�ำเนินการขยายธุรกิจดังกล่าวให้ เติบโตพร้อมไปกับการพัฒนาของประเทศอย่างยั่งยืนสืบไป

บ้านปู อินฟิเนอร์จี เตรียมแผนขยายตลาดต่างประเทศในอนาคต บริษัท บ้านปู อินฟิเนอร์จี จ�ำกัด (BPIN) ผู้ให้บริการด้าน การวางระบบผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ แ บบครบวงจร One Stop Service ด้วยเทคโนโลยีทสี่ ะอาดและทันสมัย ภายใต้แนวคิด “Go Green Together” ประกาศการลงทุนครั้งส�ำคัญ ด้วยการเข้า ซือ้ หุน้ ผ่านบริษทั ลูก BPIN Investment Co., Ltd. จ�ำนวนร้อยละ 25.7 ของซันซีป กรุ๊ป (Sunseap Group Pte Ltd.) ผู้นำ� ด้านการให้บริการ พลังงานแสงอาทิตย์รายใหญ่ของสิงคโปร์ ซึง่ เป็นหุน้ เพิม่ ทุนทีอ่ อกใหม่ มูลค่าประมาณ 75 ล้านเหรียญสิงคโปร์ (หรือเทียบเท่าประมาณ 55.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 1,860 ล้านบาท) ซึ่งภายหลังการ ซือ้ หุน้ ครัง้ นีจ้ ะท�ำให้บริษทั BPIN Investment เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ทสี่ ดุ ในซันซีป กรุป๊ ทีป่ จั จุบนั มีกำ� ลังการผลิตอยูท่ ปี่ ระมาณ 93.3 เมกะวัตต์ และจะเพิม่ ขึน้ เป็นประมาณ 182.9 เมกะวัตต์ จากโครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่าง การพัฒนา ภายใต้การเป็นพันธมิตรครั้งนี้ จะมีการถ่ายทอดโนว์ฮาวและ ประสบการณ์ของซันซีป กรุป๊ จากการให้บริการลูกค้ายักษ์ใหญ่หลายราย ในสิงคโปร์ ทั้งหน่วยงานรัฐบาล สถาบันการศึกษา และบริษัทชั้นน�ำ ระดับโลก อาทิ Apple คณะกรรมการพัฒนาทีอ่ ยูอ่ าศัยแห่งสิงคโปร์ หรือ Housing Development Board, โรงเรียนนานาชาติสิงคโปร์อเมริกัน สถาบันราฟเฟิลส์ กลุม่ เครือบริษทั ยูไนเต็ด เทคโนโลยี ท่าเรือจูรง่ เอบีบี และพานาโซนิค ต่อยอดมาสูล่ กู ค้าบ้านปู อินฟิเนอร์จฯี ในประเทศไทย November-December 2017

สมฤดี ชัยมงคล กรรมการ บริษัท บ้านปู อินฟิเนอร์จี จ�ำกัด กล่าวว่า “นอกจากการเร่งขยายตลาดในไทยแล้ว บ้านปู อินฟิเนอร์จฯี ให้ความส�ำคัญในการเสริมรากฐานบริษัทให้มั่นคงและแข็งแกร่งด้วย ความช�ำนาญ เพื่อสามารถให้บริการลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตอบโจทย์ความต้องการทางธุรกิจและส่งเสริมการใช้พลังงานสะอาด ในไทย ซึ่งการลงทุนครั้งนี้เกิดจากการที่บ้านปู อินฟิเนอร์จีฯ และ ซันซีป กรุป๊ มีกลยุทธ์การด�ำเนินธุรกิจและวิสยั ทัศน์ตรงกันในการน�ำเอา เทคโนโลยี เข้ า มาผนวกกั บ การผลิ ต พลั ง งานไฟฟ้ า จากพลั ง งาน แสงอาทิตย์ การให้ความส�ำคัญในการบริการ และการดูแลระบบ พร้อม ผนึกจุดแข็งของทัง้ สองฝ่ายในด้านเครือข่ายทางธุรกิจและประสบการณ์ ด้านพลังงาน เพื่อมุ่งพัฒนานวัตกรรมพลังงานสะอาดแก่ภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม และสังคม ถือเป็นอีกก้าวที่สำ� คัญของ BPIN ในการเข้า ไปสูป่ ระเทศทีม่ รี ปู แบบการท�ำธุรกิจพลังงานทีท่ นั สมัยและมีศกั ยภาพ การเติบโตในธุรกิจพลังงานสะอาด สอดคล้องกับกลยุทธ์ของบ้านปูฯ Greener & Smarter ทีม่ งุ่ มัน่ พัฒนาสูก่ ารเป็นบริษทั ชัน้ น�ำด้านพลังงาน อย่างครบวงจร อีกทั้งยังเป็นการเตรียมความพร้อมส�ำหรับการขยาย ตลาดต่างประเทศของบ้านปู อินฟิเนอร์จีฯ ต่อไปในอนาคต” การลงทุนครัง้ นีจ้ ะท�ำให้บา้ นปู อินฟิเนอร์จฯี ได้สดั ส่วนก�ำลังการ ผลิตไฟฟ้าจากพลังแสงอาทิตย์เพิ่มขึ้นอีก 47 เมกะวัตต์ จากโครงการ ที่ได้เซ็นสัญญาแล้ว เสริมแกร่งการเดินหน้าสู่เป้าหมายการผลิต 300 เมกะวัตต์ ที่ตั้งไว้ในอีก 5 ปีข้างหน้า


ELECTRICITY & INDUSTRY magazine

ปี 2560

SUBSCRIPTION

ข้าพเจ้า ชื่อ ............................................................................................. สกุล ......................................................................................................... ตำ�แหน่ง .................................................................................... บริษัท/ห้าง/ร้าน ...................................................................................... ที่อยู่ (ที่ท�ำ งาน) ......................................................................... แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด .................................................... รหัสไปรษณีย์ ......................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... ที่อยู่ (ที่บ้าน) ............................................................................. แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ .......................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... รหัสสมาชิก ...............................................................................

ประสงค์จะบอกรับวารสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” 1 ปี 6 ฉบับ 480 บาท 2 ปี 12 ฉบับ 960 บาท สมาชิกต่ออายุ 2 ปี 12 ฉบับ 800 บาท ตั้งแต่ฉบับที่ ............. เดือน .................................... ปี ..................... โดยส่งวารสารไปที่ ที่ทำ�งาน ที่บ้าน พร้อมกันนี้ได้ส่งค่าสมาชิกเป็นจำ�นวนเงิน ................................ บาท (ตัวอักษร .........................................................................................) เช็คธนาคาร ................................................................................ สาขา ................................................................................................. เช็คคร่อมสั่งจ่าย “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด”

ธนาณัติ สั่งจ่ายในนาม “คุณวาสนา แซ่อึ้ง” ที่ทำ�การไปรษณีย์โทรเลขบางกอกน้อย โอนเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด” ชื่อธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี กรุงเทพ สะพานพระปิ่นเกล้า 162-0-74737-6 กสิกรไทย บางยี่ขัน 047-2-56333-5 ทหารไทย จรัญสนิทวงศ์ 020-2-27244-9 ไทยพาณิชย์ จรัญสนิทวงศ์ ซ.48 121-2-04080-0 หมายเหตุ กรุณาส่งแฟกซ์ หรือสำ�เนาใบเข้าบัญชี (Pay-in Slip) มาให้ บริษัทฯ พร้อมเขียนชื่อ-นามสกุล และรหัสสมาชิก (ถ้ามี) กำ�กับมาด้วย

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธย� แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. +66 (0)26 444 555, +66 (0)23 545 333 ต่อ 301 โทรสาร +66 (0)26 446 649, +66 (0)23 545 322


หากผู้อ่านท่านใดสนใจรายละเอียดต่างๆ ที่ปรากฏในวารสาร ELECTRICITY & INDUSTRY MAGAZINE

ปีที่ 24 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2560 กรุณากรอกข้อมูลดังกล่าวให้ครบถ้วนเพื่อการติดต่อจัดส่งข้อมูลกลับไปยังท่านต่อไป ชื่อ .............................................................................................. ชื่อสกุล ......................................................................................................... ที่อยู่ ........................................................................................... แขวง/ตำ�บล ................................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................. จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ .............................. โทร ............................................................................................. แฟกซ์ ...........................................................................................................

ตำ�แหน่งงานที่ท่านรับผิดชอบ

กรรมการผู้จัดการ/เจ้าของกิจการ ผจก.โรงงาน ผจก.ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ผจก.วิศวกรรม ผจก.ฝ่ายซ่อมบำ�รุง วิศวกรฝ่ายผลิต วิศวกรทดสอบ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

ประเภทของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง อุตสาหกรรมเคมี/ปิโตรเคมี

อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมงานเชื่อม อุตสาหกรรมโลหการ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

ประเภทของกิจการ

ผู้ผลิต

ผู้แทนจำ�หน่าย

ผู้ผลิต/ผู้แทนจำ�หน่าย

หน่วยงานราชการ


ใบอนุญาตเลขที่ ปน. (ต)/1339 ปณจ.บางกอกน้อย ถ้าฝากส่งในประเทศไม่ต้องผนึกตราไปรษณียากร

บริการธุรกิจตอบรับ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 619/5 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงอรุณอัมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700

ประโยชน์ทท่ี า่ นจะได้รบั จากวารสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” เนื้อหา .................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ โฆษณา/รายละเอียดผลิตภัณฑ์ .............................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................

ความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ คอลัมน์ตา่ งๆ ทีป่ รากฏในวารสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” ชื่อคอลัมน์ สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย IEEE Power & Energy Society Thailand Chapter สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย Article Special Scoop Special Area IT Technology Product PR News Seminar Calendar Seminar Movement Industry News IT News

มีประโยชน์มาก

มีประโยชน์

พอใช้

ควรปรับปรุง


ดัชนีสินค้าประจำ�เดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม พ.ศ. 2560 บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ประเภทสินค้า

หน้า

EPMC CO., LTD.

0-2322-4330-2

LSIS CO., LTD.

083-149-9994

-

ผู้นำ�ด้านระบบสั่งจ่ายและระบบจำ�หน่ายไฟฟ้าครบวงจร ปกหน้า

INTERMACH 2018

0-2642-6911

-

งานแสดงสินค้า

MAXIMIZE INTEGRATED TECHNOLOGY CO., LTD.

0-2525-0299

0-2525-0298 Industrial Relays

10

MENNEKES Elektrotechnik GmbH & Co. KG

0-2741-5266

0-2741-5267 ผู้ผลิตปลั๊กอุตสาหกรรม

15

RITTAL CO., LTD.

0-2704-6580

SAMWHA (THAILAND) CO., LTD.

0-3884-7571-3

THAILAND INDUSTRIAL FAIR 2018

0-2838-9999 # 1177

0-2720-5155 นำ�เข้าและจำ�หน่ายอุปกรณ์ระบบไอน้ำ�และวาล์วอุตสาหกรรม 45

-

27

ผู้ผลิตและจำ�หน่ายตู้ระบบไฟฟ้า 9

0-3884-7575 จำ�หน่าย ติดตั้งคาปาซิเตอร์ 7 -

งานแสดงสินค้า

26

0-2879-9699 0-2879-4200 ผู้ผลิตและจำ�หน่ายมอเตอร์ไฟฟ้า, 14 YAMABISHI ELECTRIC CO., LTD. พัดลมระบายอากาศ-อุตสาหกรรม เซฟการ์ด เทคโนโลยี หจก.

0-2897-0303

-

ไฟฉุกเฉิน, อุปกรณ์ไฟฉุกเฉินและแสงสว่าง

เชลล์แห่งประเทศไทย บจก.

0-2262-6000

0-2657-9888 น้ำ�มันหล่อลื่น 3

ซี.เค.แอล. โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2149-6990

0-2149-6981 ตัวแทนจำ�หน่ายกล่องและตู้พลาสติกกันฝุ่นและละอองน้ำ� 16

ไทยบำ�รุง เอ็นจิเนียริ่ง บจก. 0-2282-9191 0-2282-9200 ผู้นำ�เข้าอุปกรณ์ไฟฟ้า-คอนโทรล, ตูโ้ หลดเซ็นเตอร์-เซอร์กิตเบรกเกอร์

43

ปกหน้าใน

ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) บจก.

0-2002-4395-97

0-2002-4398 อุปกรณ์ไฟฟ้า

25

พี ไอ เอส พาวเวอร์ ดิสทริบิวชั่น บจก.

0-2105-3011-2

0-2105-3013 สวิตช์

4

เพาเวอร์ เรด บจก.

0-2300-5671-3

0-2300-5937 อุปกรณ์ไฟฟ้า

11

มหาธน อีเลคทริค หจก.

0-2894-3447-9

0-2416-1659 อุปกรณ์ไฟฟ้า

24

มิตซูบิชิ อีเล็คทริค ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) บจก.

0-2540-6991

-

มิเตอร์อิเล็กทรอนิกส์

แมนิ่ง ไวทัล โปรดักส์ บจก.

0-81-575-7557

-

คีม KNIPEX

เรเซล ควอลิตี้ เทรดดิ้ง บจก.

0-2683-3040

0-2294-8198 อุปกรณ์ไฟฟ้า

12

ลีฟเพาเวอร์ บจก.

0-2300-5671-3

0-2300-5937 อุปกรณ์ไฟฟ้า

13

ลูซี่ อิเล็คทริค (ประเทศไทย) บจก.

0-3368-4333

เวอร์ทัส บจก.

-

ปกหลัง 42

สวิตช์เกียร์

5

0-2876-2727-8

0-2476-1711 Couplings

22

ออมรอน อิเลคทรอนิคส์ บจก.

0-2942-6700

0-2937-0501 อุปกรณ์ไฟฟ้าและระบบควบคุมอัตโนมัติ

8

อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.

0-2693-1222

0-2693-1399 สาย LAN

23

อีลีเน็ต บมจ.

0-2899-9480-1

0-2899-1256 Neutrol Grounding Resistiors (NGR) PCM Multiplexer

17

เอวีร่า บจก. 0-2074-4411 0-2074-4400 ผู้แทนจำ�หน่ายและบริการด้านอุปกรณ์ไฟฟ้ากำ�ลัง 21 ทีใ่ ช้ในตู้สวิทช์บอร์ด เอส เอ วี เมคคานิคคอล เซอร์วิสส์ แอนด์ ซัพพลายส์ หจก. 0-2702-0581-8 0-2377-5937 ติดตั้ง EOCR อิเล็กทรอนิกส์โอเวอร์โหลดรีเลย์ ป้องกันมอเตอร์ไหม้

14

เอส.พี.วาย แอนด์ เคเบิ้ล บจก.

0-2434-0099

0-2434-3251 อุปกรณ์ไฟฟ้า

19

เอสเทล บจก.

0-2985-2081-9

0-2985-2091 หม้อแปลงไฟฟ้าและตัวเหนี่ยวนำ�ไฟฟ้าทุกชนิด 6

เอ็น วาย อาร์ วิศวกรรม บจก.

0-2881-8008-9

0-2881-7871 อุปกรณ์ไฟฟ้า, อุปกรณ์เซฟตี้, เครื่องทดสอบกระแสไฟฟ้า

44


HOUSE AD TECHNO-C4.pdf

1

8/1/2560 BE

19:33

ITELTE¬;V7DLTE ÇìòïëÞé¬ÊÞäÞ÷æëâ <EþK9S _9'a;aGDW CW_6WD +lT$S6 >[> GV7LYO g LV*g @VC@ 9'Wg EO<'GZC$GZC _= TMCTD IþJI$EEC OZ7LTM$EEC `GRLVg*`I6G OC 9Wg9S;LCSD a6D$ER+TDL[ $GZ C_= TMCTDOD T*$I T*%IT*`GR7E*$GZ C ET*ISG'Z5BT@ ÑžÆɾËÁ ÂËÂÏÄÖ ¾Ô¾ÏÁÐ >[ L *_LEþC6 T;$TEO;ZES$K @GS**T;+T$$EC @S4;T@GS**T;96`9;`GRO;ZES$K @GS**T; ¥@«@«¦ $ER9EI*@GS**T; `GR ASIAN GREEN TJ AWARDS

Engineering Today öāòùāòòāñ ċãĆüè ċíĆē ü ÓöāðÐś ā öúèś ā ĎèöÖÐāòöă ÷ öÐòòðČôÿ üćäùāúÐòòð ċèśèùāòÿÓöāðòĈĎś èãśāèċæÓčèčôñĄ Ðāòëôăä Ðāòöă×Āñ ČôÿíĀáèā ÐāòüèćòĀÐøŞ íôĀÖÖāè ČôÿïāöÿÐāòäôāãæĄēðĄëôÐòÿæéäŚü öÖÐāòöă÷öÐòòðČôÿüćäùāúÐòòðÑüÖêòÿċæ÷ E-Book XXX FOHJOFFSJOHUPEBZ OFU CPPLTIFMG JOEFY IUNM

Electricity & Industry èăäñùāòòāñ ċãĆüè æĄēüñĈŚÓĈŚöÖÐāòüćäùāúÐòòðďîîŖā ċÓòĆēüÖÐô üć ä ùāúÐòòðďîîŖ ā Čôÿüă ċ ôĒ Ð æòüèă Ð ùŞ ñāèñèäŞČôÿÙăèĔ ùŚöè üćäùāúÐòòðêőčäòċÓðĄ òöðæĀĔÖùāòÿÓöāðòĈśãśāèÐāòëôăä Ðāòäôāã ðāÐöŚā êŒ ċíĆüē êòÿčñÙèŞäüŚ èĀÐüćäùāúÐòòð öă÷öÐò ÙŚāÖċæÓèăÓ èĀÐċòĄñè èĀÐ÷ąÐøā Čôÿ éćÓÓôæĀēöďêæĄēùèĎ× E-Book XXX UFDIOPMPHZNFEJB DP UI CPPLTIFMG

C

M

Y

CM

MY

CY

Thai Packaging Newsletter öāòùāò òāñ ċãĆ ü è čãñèčñéāñÑüÖùðāÓðÐāò éòò×ćïĀâàŞďæñ ×ĀãæĘāÑąĔèċíĆēüċëñČíòŚÑśüðĈô ÑŚāöùāòċÐĄēñöÐĀééòò×ćïĀâàŞĎúðŚ ċæÓčèčôñĄ ãś ā èÐāòíă ð íŞ Ðāòëôă ä ČôÿÐāòüüÐČéé üĀ è ċêŢ è êòÿčñÙèŞ äŚ ü öÖÐāòüć ä ùāúÐòòð éòò×ćïĀâàŞďæñ E-Book XXX UIBJQBDL PS UI

GREEN NETWORK èăäñùāòòāñ ċãĆüè ùĘāúòĀéÓèòĀÐøŞčôÐ ċíĆēüÓöāðòŚöððĆüãśāè ÐāòüèćòĀÐøŞíôĀÖÖāèČôÿùăēÖČöãôśüð æĄēæćÐ ïāÓùŚöèùāðāòåðĄùŚöèòŚöðĎèÐāòÙŚöñôã čôÐòś ü è èĘ ā ċùèüÓöāðċÓôĆē ü èďúöČôÿ ùāòÿÓöāðòĈś äŚ ā Öđ ċÐĄē ñ öÐĀ é ÐāòêòÿúñĀ ã íôĀÖÖāèČôÿüèćòĀÐøŞùăēÖČöãôśüð E-Book XXX HSFFOOFUXPSLUIBJMBOE DPN NBHB[JOF QIQ

CMY

ċúðĆüÖČòŚ öāòùāòòāñ ċãĆüè ïāñĎäśèčñéāñ ÑüÖÓâÿÐòòðÐāòùïāÐāòċúðĆ ü ÖČòŚ ď æñ ċíĆē ü èĘ ā ċùèüÑś ü ðĈ ô ÑŚ ā öùāò ÓöāðÓĆ é úèś ā üĀ è ċêŢ è êòÿčñÙèŞ Č ÐŚ Ð ôćŚ ð çć ò Ðă × ċúðĆ ü ÖČòŚ æĄē ÑąĔ è êòÿæāèéĀ ä òČôÿðĄ ùă æ çă éĀ ä òĎèÐāò êòÿÐüéÐă × ÐāòċúðĆ ü ÖČòŚ ÐāòùŚ Ö üüÐČôÿ èĘāċÑśāČòŚ ČúŚÖêòÿċæ÷ďæñ

K

üăèæāċèĄñ öāòùāòòāñ ċãĆüè čãñèčñéāñ ùðāÓðèăùăäċÐŚāöă÷öþ ×ćûāþ ċíĆēüċÙĆēüðčñÖ ÓöāðùĀðíĀèçŞòÿúöŚāÖèăùăäċÐŚāæćÐòćŚè čãñ ċèĆüĔ úā×ÿèĘāċùèüÓöāðċÓôĆüē èďúöÑüÖÐôćðŚ Ùāööă÷öÐòòð÷āùäòŞČúŚÖ×ćûāþ ùðāÓðþ ùåāéĀèČôÿÓâā×āòñŞ ČèöčèśðæāÖöă÷öÐòòð äôüã×èċëñČíòŚÑüś ðĈôÑŚāöùāòČÐŚúèŚöñÖāè ÙĀĔèèĘā æĀĔÖïāÓòĀßČôÿċüÐÙèæĄēċÐĄēñöÑśüÖÐĀé öÖÐāòöă÷öÐòòð ëôÖāèÑüÖèăùăäċÐŚāČôÿ Óâā×āòñŞ čãñùŚÖäòÖåąÖèăùăäċÐŚā ČôÿëĈśæĄē ċÐĄēñöÑśüÖüñŚāÖæĀēöåąÖČôÿùðēĘāċùðü

<Eþ$TE+S6LSCC;T

éòăøĀæ ċæÓčèčôñĄ ðĄċãĄñ ×ĘāÐĀã ðĄ ìŕ ā ñíĀ á èāçć ò Ðă × ČôÿďüæĄ æĄē ò üÖòĀ é Ðāò ×ĀãùĀððèāÓòéöÖ×ò ðĄòÿééßāèÑśüðĈôæĄē æĀèùðĀñ ċÑśāåąÖÐôćðŚ ċêŖāúðāñďãśüñŚāÖÙĀãċ×è äôüã×èðĄċÓòĆēüÖðĆüÐāòêòÿÙāùĀðíĀèçŞ æĄēÐöśāÖÑöāÖ ċÑśāåąÖÐôćŚðċêŖāúðāñ Čôÿ ċÙăÜČÑÐùĘāÓĀÜĎèöÖÐāòďãś×òăÖ

<Eþ$TE2T;% OC[G

<Eþ$TEOYg;e

×āÐÐāòæĄē é òă øĀ æ ðĄ Ð āò×Ā ã æĘ ā ďãċòĒ Ó æüòĄē Ðāò×Ā ã ùĀ ð ðèāČôÿ èăæòò÷Ðāò æĘāĎúśéòăøĀæðĄÑśüðĈôÑüÖ ëĈċś ÙĄñē öÙāÜùāÑāäŚāÖđ Ďèêòÿċæ÷ďæñ ÐöŚā òāñ ׹ÖùāðāòåĎúś éòă Ð āòãś ā è %JSFDU .BJMJOH Čôÿ 5FMFNBSLFUJOH 4FSWJDF

<EþKS9 _9'a;aGDW CW_6WD +lT$S6

<Eþ$TE Internet

éòăøĀæ ċæÓčèčôñĄ ðĄċãĄñ ×ĘāÐĀã ðĄìŕāñ íĀáèāçćòÐă× ÚąÖē ÙĘāèāÜãśāèÑśüðĈôÑŚāöùāòČôÿ *OUFSOFU ĎúśéòăÐāòÐāò×ãæÿċéĄñèÙĆēü %PNBJO òĀéüüÐČéé 8FC 1BHF ċÑĄñè 1SPHSBN éè 8FC æĘā 8FC %JSFDUPSZ æĘā 0O -JOF $BUBMPH öāÖČëèÐāòäôāã ČôÿĎúś ÓĘ ā êòą Ð øāãś ā è *OUFSOFU ÑāñäòÖéè *OUFSOFU

www.technologymedia.co.th

±´®¬°ª± @ Tc9_@GL 8;;JEÿODZ:DT 9Z *@ Tc9 ET-_9Iÿ $EZ*_9@Q ®­±­­ a9E« ­ª¯°²± ²°°°© ­ª¯³±±ª±²²² 7 O °­® Êß« ­µª¶´´¶ª´®±® ªêÞæé· êÞïèâñæëäÜêÞä½ñâàåëìéìäöêâáæÞ«àì«ñå MEāO èåâêçæïÞ¯­¶±½äêÞæé«àìê



Bangkok, Thailand

Conference

19 -23rd March 2019 th

Exposition

21 -23rd March 2019 st

Bangkok International Trade & Exhibition Centre (BITEC), Bangkok, Thailand

For more information please visit

www.ieeegt-d.org

org

10/27/60 BE 9:32 AM


First Time in Asia

Happen Here Bangkok, Thailand

IEEE PES Generation Transmission and Distribution (GTD) Grand International Conference and Exposition Asia 2019 Bangkok, Thailand 19th-23rd March 2019 at BITEC, Bangna

เนือ่ งด้วย IEEE Power & Energy Society (PES) - Thailand Chapter และ สมาคม สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเลคโทรนิคส์แห่งประเทศไทย (IEEE Thailand Section) ร่วมกับ IEEE PES (Headquarter, USA) จะจัดงานประชุมวิชาการและนิทรรศการระดับ นานาชาติ เรือ่ ง IEEE PES Generation Transmission and Distribution (GTD) Grand International Conference and Exposition Asia 2019 ระหว่างวันที่ 19-23 มีนาคม 2562 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค นับเป็นโอกาสอันดี ที่งานระดับโลกดังกล่าว ได้มาจัดที่ประเทศไทยเป็นครั้งแรก ในเอเชีย หลังจากที่ได้มีการจัดมาอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลากว่า 40 ปี ในประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยงานนีเ้ ป็นการรวมงาน Power Generation (PG Asia) งาน Transmission and Distribution (T&D Asia) และงาน Renewable Energy (RE Asia) เข้าด้วยกัน การประชุมวิชาการและนิทรรศการระดับโลกในครัง้ นี้ จะมีเนือ้ หาครอบคลุมทุกด้าน เกี่ยวกับระบบผลิต ส่ง และจ�ำหน่ายไฟฟ้า การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน และ อุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง นอกจากนีย้ งั มีนทิ รรศการจากบริษทั และองค์กรชัน้ น�ำระดับโลก รวมถึงเป็นการกระตุน้ เศรษฐกิจ และการพัฒนาด้านงานวิจยั และนวัตกรรมด้านเทคโนโลยี ไฟฟ้าและพลังงานของประเทศให้ก้าวสู่ระดับสากลอย่างเป็นรูปธรรม


Themes and Tracks PG Asia: Shifting Trends in Power Generation Technologies

 Strategic generation planning, electricity policies and regulations  Energy markets and business  Emerging power generation techniques and technologies  Power plant digitalization  Condition and power plant monitoring  Modern power plant management, operation and maintenance  Blackout prevention and self restoration of power systems  Environmental, operational and economic aspects of power generation

T&D Asia: The Utility and Grid of the Future

 Modern T&D Technologies, supergrid and frontiers of DC Technology  Smart substation, smart cities, smart buildings and homes  Protection and real-time monitoring and emergency control  Sensors, communication networks, advanced metering infrastructure, cyber and physical security  Asset management, implications and importance of aging infrastructure  Impacts of distributed generation, energy storage technologies, electric vehicle infrastructure and integration and microgrid  Infrastructure for rail electrification systems and their impacts  Big data utilization and analytics

RE Asia: Integrated at the Beginning - Distributed Energy Resources

 Electricity markets design and regulatory issues  New Trends and Technologies for Renewable energies system  Renewable energy in smart cities, utilization of residential generation  Microgrid design, installation and automation  Energy storage for commercial renewable integration  Optimization and control techniques of hybrid renewable energy systems with energy storage  Power quality issues associated with PVs and wind generators  Operation and maintenance of renewable energy systems


S15A S12A

FD.

S10B

SHOWER

SEE DETAIL WC.51 G174

S28C S19A

SN

S10C

S16B

S10B

FD.

S15A S12A

S10B

S8C S3E

FD.

SHOWER

S19A

S4A

S16B S10C

FD.

S10B

SEE DETAIL WC.50 G174 S28C

S8C S3E

FHC MDB

Become an Exhibitor at GTD ASIA 2019 With an expected attendee count of 5,000 registered participants, at least 400 exhibiting companies and more than 10,000 visitors, the IEEE PES Generation, Transmission and Distribution Grand International Conference & Exposition Asia 2019 (IEEE PES GTD Asia 2019) is definitely the go-to place to connect with industry experts and professionals! Don’t miss this opportunity to expand your brand awareness and exposure within the relevant communities of the power & energy field.


10,000+ ATTENDEES

400+ EXHIBITORS

300+ INTERNATIONAL SPEAKERS

24 CONFERENCE TRACKS

SUPER SESSIONS

PANEL SESSIONS

FORUM SESSIONS

POSTER SESSIONS

MULTIPLE NETWORKING OPPORTUNITIES

CONTACTS Office of Secretariat for GTD Asia 2019 Mr. Alex Ang Meeting Matters International, Singapore Tel. +65 6472 3108 Ext 111 Mobile +65 9189 0822

For More Information Please Visit

www.ieeegt-d.org

Mr. Akachai Ponsomboon N.C.C. Management & Development Co., Ltd., Thailand Tel. +66(02)229-3350 Fax. +66(02)229-3365 Mobile +66(0)93-195-1549 E-mail: gtdasia2019@gmail.com


Technical Tour



CONTACTS Office of Secretariat for GTD Asia 2019 Mr. Alex Ang Meeting Matters International, Singapore Tel. +65 6472 3108 Ext 111 Mobile +65 9189 0822 For More Information Please Visit

www.ieeegt-d.org

Mr. Akachai Ponsomboon N.C.C. Management & Development Co., Ltd., Thailand Tel. +66(02)229-3350 Fax. +66(02)229-3365 Mobile +66(0)93-195-1549 E-mail: gtdasia2019@gmail.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.