LSIS_21.59x29.21cm.pdf
1
7/4/61 BE
6:03 AM
WORKS HERE.
A range of gas-engine oils that has been developed to deliver optimum value to equipment operators through enhanced wear protection, long oil life and high system efficiency. www.shell.com/lubricants
Lucy Electric (Thailand) Ltd 388 Exchange Tower, Unit 3702, 37th Floor, Sukhumvit Rd, Klongtoey, Klongtoey, Bangkok Thailand 10110 Salesth@lucyelectric.com +66 (0) 2 663 4290
Samwa_21.59x29.21cm.pdf
1
3/28/17
11:02 AM
HOUSE AD TECHNO-C4.pdf
1
8/1/2560 BE
19:33
ITELTE¬;V7DLTE ÇìòïëÞé¬ÊÞäÞ÷æëâ <EþK9S _9'a;aGDW CW_6WD +lT$S6 >[> GV7LYO g LV*g @VC@ 9'Wg EO<'GZC$GZC _= TMCTD IþJI$EEC OZ7LTM$EEC `GRLVg*`I6G OC 9Wg9S;LCSD a6D$ER+TDL[ $GZ C_= TMCTDOD T*$I T*%IT*`GR7E*$GZ C ET*ISG'Z5BT@ ÑžÆɾËÁ ÂËÂÏÄÖ ¾Ô¾ÏÁÐ >[ L *_LEþC6 T;$TEO;ZES$K @GS**T;+T$$EC @S4;T@GS**T;96`9;`GRO;ZES$K @GS**T; ¥@«@«¦ $ER9EI*@GS**T; `GR ASIAN GREEN TJ AWARDS
Engineering Today öāòùāòòāñ ċãĆüè ċíĆē ü ÓöāðÐś ā öúèś ā ĎèöÖÐāòöă ÷ öÐòòðČôÿ üćäùāúÐòòð ċèśèùāòÿÓöāðòĈĎś èãśāèċæÓčèčôñĄ Ðāòëôăä Ðāòöă×Āñ ČôÿíĀáèā ÐāòüèćòĀÐøŞ íôĀÖÖāè ČôÿïāöÿÐāòäôāãæĄēðĄëôÐòÿæéäŚü öÖÐāòöă÷öÐòòðČôÿüćäùāúÐòòðÑüÖêòÿċæ÷ E-Book XXX FOHJOFFSJOHUPEBZ OFU CPPLTIFMG JOEFY IUNM
Electricity & Industry èăäñùāòòāñ ċãĆüè æĄēüñĈŚÓĈŚöÖÐāòüćäùāúÐòòðďîîŖā ċÓòĆēüÖÐô üć ä ùāúÐòòðďîîŖ ā Čôÿüă ċ ôĒ Ð æòüèă Ð ùŞ ñāèñèäŞČôÿÙăèĔ ùŚöè üćäùāúÐòòðêőčäòċÓðĄ òöðæĀĔÖùāòÿÓöāðòĈśãśāèÐāòëôăä Ðāòäôāã ðāÐöŚā êŒ ċíĆüē êòÿčñÙèŞäüŚ èĀÐüćäùāúÐòòð öă÷öÐò ÙŚāÖċæÓèăÓ èĀÐċòĄñè èĀÐ÷ąÐøā Čôÿ éćÓÓôæĀēöďêæĄēùèĎ× E-Book XXX UFDIOPMPHZNFEJB DP UI CPPLTIFMG
C
M
Y
CM
MY
CY
Thai Packaging Newsletter öāòùāò òāñ ċãĆ ü è čãñèčñéāñÑüÖùðāÓðÐāò éòò×ćïĀâàŞďæñ ×ĀãæĘāÑąĔèċíĆēüċëñČíòŚÑśüðĈô ÑŚāöùāòċÐĄēñöÐĀééòò×ćïĀâàŞĎúðŚ ċæÓčèčôñĄ ãś ā èÐāòíă ð íŞ Ðāòëôă ä ČôÿÐāòüüÐČéé üĀ è ċêŢ è êòÿčñÙèŞ äŚ ü öÖÐāòüć ä ùāúÐòòð éòò×ćïĀâàŞďæñ E-Book XXX UIBJQBDL PS UI
GREEN NETWORK èăäñùāòòāñ ċãĆüè ùĘāúòĀéÓèòĀÐøŞčôÐ ċíĆēüÓöāðòŚöððĆüãśāè ÐāòüèćòĀÐøŞíôĀÖÖāèČôÿùăēÖČöãôśüð æĄēæćÐ ïāÓùŚöèùāðāòåðĄùŚöèòŚöðĎèÐāòÙŚöñôã čôÐòś ü è èĘ ā ċùèüÓöāðċÓôĆē ü èďúöČôÿ ùāòÿÓöāðòĈś äŚ ā Öđ ċÐĄē ñ öÐĀ é ÐāòêòÿúñĀ ã íôĀÖÖāèČôÿüèćòĀÐøŞùăēÖČöãôśüð E-Book XXX HSFFOOFUXPSLUIBJMBOE DPN NBHB[JOF QIQ
ċúðĆüÖČòŚ öāòùāòòāñ ċãĆüè ïāñĎäśèčñéāñ ÑüÖÓâÿÐòòðÐāòùïāÐāòċúðĆ ü ÖČòŚ ď æñ ċíĆē ü èĘ ā ċùèüÑś ü ðĈ ô ÑŚ ā öùāò ÓöāðÓĆ é úèś ā üĀ è ċêŢ è êòÿčñÙèŞ Č ÐŚ Ð ôćŚ ð çć ò Ðă × ċúðĆ ü ÖČòŚ æĄē ÑąĔ è êòÿæāèéĀ ä òČôÿðĄ ùă æ çă éĀ ä òĎèÐāò êòÿÐüéÐă × ÐāòċúðĆ ü ÖČòŚ ÐāòùŚ Ö üüÐČôÿ èĘāċÑśāČòŚ ČúŚÖêòÿċæ÷ďæñ
CMY
K
üăèæāċèĄñ öāòùāòòāñ ċãĆüè čãñèčñéāñ ùðāÓðèăùăäċÐŚāöă÷öþ ×ćûāþ ċíĆēüċÙĆēüðčñÖ ÓöāðùĀðíĀèçŞòÿúöŚāÖèăùăäċÐŚāæćÐòćŚè čãñ ċèĆüĔ úā×ÿèĘāċùèüÓöāðċÓôĆüē èďúöÑüÖÐôćðŚ Ùāööă÷öÐòòð÷āùäòŞČúŚÖ×ćûāþ ùðāÓðþ ùåāéĀèČôÿÓâā×āòñŞ ČèöčèśðæāÖöă÷öÐòòð äôüã×èċëñČíòŚÑüś ðĈôÑŚāöùāòČÐŚúèŚöñÖāè ÙĀĔèèĘā æĀĔÖïāÓòĀßČôÿċüÐÙèæĄēċÐĄēñöÑśüÖÐĀé öÖÐāòöă÷öÐòòð ëôÖāèÑüÖèăùăäċÐŚāČôÿ Óâā×āòñŞ čãñùŚÖäòÖåąÖèăùăäċÐŚā ČôÿëĈśæĄē ċÐĄēñöÑśüÖüñŚāÖæĀēöåąÖČôÿùðēĘāċùðü
<Eþ$TE+S6LSCC;T
éòăøĀæ ċæÓčèčôñĄ ðĄċãĄñ ×ĘāÐĀã ðĄ ìŕ ā ñíĀ á èāçć ò Ðă × ČôÿďüæĄ æĄē ò üÖòĀ é Ðāò ×ĀãùĀððèāÓòéöÖ×ò ðĄòÿééßāèÑśüðĈôæĄē æĀèùðĀñ ċÑśāåąÖÐôćðŚ ċêŖāúðāñďãśüñŚāÖÙĀãċ×è äôüã×èðĄċÓòĆēüÖðĆüÐāòêòÿÙāùĀðíĀèçŞ æĄēÐöśāÖÑöāÖ ċÑśāåąÖÐôćŚðċêŖāúðāñ Čôÿ ċÙăÜČÑÐùĘāÓĀÜĎèöÖÐāòďãś×òăÖ
<Eþ$TE2T;% OC[G
<Eþ$TEOYg;e
×āÐÐāòæĄē é òă øĀ æ ðĄ Ð āò×Ā ã æĘ ā ďãċòĒ Ó æüòĄē Ðāò×Ā ã ùĀ ð ðèāČôÿ èăæòò÷Ðāò æĘāĎúśéòăøĀæðĄÑśüðĈôÑüÖ ëĈċś ÙĄñē öÙāÜùāÑāäŚāÖđ Ďèêòÿċæ÷ďæñ ÐöŚā òāñ ׹ÖùāðāòåĎúś éòă Ð āòãś ā è %JSFDU .BJMJOH Čôÿ 5FMFNBSLFUJOH 4FSWJDF
<EþKS9 _9'a;aGDW CW_6WD +lT$S6
<Eþ$TE Internet
éòăøĀæ ċæÓčèčôñĄ ðĄċãĄñ ×ĘāÐĀã ðĄìŕāñ íĀáèāçćòÐă× ÚąÖē ÙĘāèāÜãśāèÑśüðĈôÑŚāöùāòČôÿ *OUFSOFU ĎúśéòăÐāòÐāò×ãæÿċéĄñèÙĆēü %PNBJO òĀéüüÐČéé 8FC 1BHF ċÑĄñè 1SPHSBN éè 8FC æĘā 8FC %JSFDUPSZ æĘā 0O -JOF $BUBMPH öāÖČëèÐāòäôāã ČôÿĎúś ÓĘ ā êòą Ð øāãś ā è *OUFSOFU ÑāñäòÖéè *OUFSOFU
www.technologymedia.co.th
±´®¬°ª± @ Tc9_@GL 8;;JEÿODZ:DT 9Z *@ Tc9 ET-_9Iÿ $EZ*_9@Q ®± a9E« ª¯°²± ²°°°© ª¯³±±ª±²²² 7 O °® Êß« µª¶´´¶ª´®±® ªêÞæé· êÞïèâñæëäÜêÞä½ñâàåëìéìäöêâáæÞ«àì«ñå MEāO èåâêçæïÞ¯¶±½äêÞæé«àìê
Mennekes_21.59x29.21cm_Cre.pdf
1
3/30/17
3:05 PM
CONTENTS NOVEMBER-DECEMBER
สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย 26 28 30 33 34
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)
สํานักงานเพื่อการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษ ภาคตะวันออก (สกรศ.)
35 ความคืบหน้าโครงการ EEC เพื่อสร้างความเชื่อมั่น
แก่นักลงทุน โครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
IEEE POWER & ENERGY SOCIETY – THAILAND (IEEE PES - THAILAND) 38 เมืองอัจฉริยะและศูนย์ข้อมูล
(Smart City & Data Center)
IEEE PES GENERATION TRANSMISSION AND DISTRIBUTION (GTD) 40 IEEE PES GTD ASIA 2019
ร่วมออกบูธประชาสัมพันธ์ ภายในงาน IEEE PES Dinner Talk 2018
ARTICLE 42 การพัฒนาปั๊มสุญญากาศแบบสปัตเตอร์ไอออน
(Sputter Ion Pump) สุพรรณ บุญสุยา 54 ยุคของโรงงานอัจฉริยะ : เหล่าผูผ ้ ลิตจะมุง่ สูอ่ นาคต ให้เร็วขึ้นได้อย่างไร แอนโธนี บอร์น 58 ปรับโฉมคนท�ำงาน ด้วยความสามารถด้าน การเชื่อมต่อ และระบบอัจฉริยะในยุคดิจิทัล ทอมมี่ เหลียง 62 รถยนต์ไฟฟ้า รถไฟฟ้า รถไฟไฟฟ้า ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ 54
SPECIAL SCOOP 44 เชลล์ ประเทศไทย ฉลองครบรอบ 126 ปี ในไทย
กองบรรณาธิการ
48 การพยากรณ์อากาศที่เแม่นย�ำจากโซลูชัน
ประมวลผลสมรรถนะสูง กองบรรณาธิการ 50 Power Purchase Agreement : PPA โมเดลพลังงาน กองบรรณาธิการ 60 ผลการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ AWS Hackday 2018 กองบรรณาธิการ INTERVIEW 46 ฮีมา…น�ำข้อมูลเชิงลึกและองค์ความรู้เรื่อง
“เซฟเคียวริตี้” (Safecurity) สู่ภูมิภาคเอเชีย กองบรรณาธิการ
SPECIAL AREA 64 GSS ultrafast CO2 sensor used to upgrade
66
68
72
74
CO2Meter’s datalogger for quicker results GSS technology IoT Network Power Meter บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด เลือกใช้ Surge Protection Device อย่างถูกวิธี ต้อง...CPT Cirprotec บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด ฉลากไม่สวย กล่องไม่ถูกชนิด สินค้าไม่เต็มภาชนะ... อื่นๆ อีกมากมาย บริษัท ออมรอน อีเล็คทรอนิคส์ จ�ำกัด การน�ำเอาอินเวอร์เตอร์ (Inverter) มาประยุกต์ ใช้งานกับมอเตอร์ (Motor) บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด
IT ARTICLE 77 การบริการลูกค้าจะเป็นอย่างไร
เมื่อเข้าสู่ดิจิทัล ทรานส์ฟอร์เมชั่น ทอม เดฟรอย
81 EXHIBITION 82 PRODUCT 85 PR NEWS 88 SEMINAR 90 MOVEMENT 94 IT NEWS 95 INDUSTRY NEWS November-December 2018
2018
50
EDITOR TALK
NOVEMBER-DECEMBER
2018
Electricity & Industry Magazine ฉบับนีเ้ ป็นฉบับสุดท้ายของปี พ.ศ. 2561 ฉบับหน้าเราก็จะเข้าสูศ่ กั ราชใหม่ ส่วนจะมีอะไรเปลีย่ นไป หรือไม่ ต้องรอติดตามกันต่อไป... เนือ้ หาภายในเล่มทีข่ อแนะน�ำให้ทกุ ท่านติดตามก็มหี ลากหลายเช่นเคย ฉบับนีเ้ ราน�ำเสนอความคืบหน้าโครงการ EEC เพือ่ สร้างความ เชื่อมั่นแก่นักลงทุน ในขณะนี้โครงการมีความคืบหน้าไปแล้วในหลายๆ เรื่อง ติดตามอ่านกันได้ ในส่วนของบทความนั้น ฉบับนี้มีบทความหลายเรื่องที่ล้วนแต่น่าสนใจ เช่น เรื่อง การพัฒนาปั๊มสุญญากาศแบบสปัตเตอร์ไอออน (Sputter Ion Pump) โดย สุพรรณ บุญสุยา จากสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) บทความเรื่อง ยุคของโรงงานอัจฉริยะ : เหล่าผู้ผลิตจะมุ่งสู่อนาคตให้เร็วขึ้นได้อย่างไร โดย แอนโธนี บอร์น บทความเรื่อง รถยนต์ไฟฟ้า รถไฟฟ้า รถไฟไฟฟ้า โดย ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ซึง่ เป็นนักวิชาการทีไ่ ด้รบั การยอมรับโดยทัว่ ไป นอกจากนัน้ ยังมีบทความส�ำหรับคนท�ำงานยุคใหม่ นัน่ คือบทความเรือ่ ง ปรับโฉม คนท�ำงาน ด้วยความสามารถด้านการเชื่อมต่อ และระบบอัจฉริยะในยุคดิจิทัล โดย ทอมมี่ เหลียง จากบริษัท ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ส่วนคอลัมน์ Special Scoop นั้นก็ล้วนมีเนื้อหาที่มีประโยชน์ทั้งสิ้นเช่นกัน เช่น เรื่องของบริษัท เชลล์ประเทศไทย ที่ฉลองครบรอบ 126 ปี ที่ได้เข้ามาด�ำเนินธุรกิจในประเทศไทย เรื่องการพยากรณ์อากาศที่แม่นย�ำ โดยซอฟต์แวร์ของบริษัท เอชพี ซึ่งมีการประมวลผลที่ให้ สมรรถนะสูง เชื่อถือได้ ส่วนเรื่อง PPA นั้นเป็นเรื่องเกี่ยวกับโมเดลพลังงานของประเทศ การผลิตพลังงานให้เพียงพอกับความต้องการของ ประชาชนเป็นเรือ่ งส�ำคัญ การด�ำเนินงานจึงต้องมีโมเดลทีช่ ดั เจน แน่นอน จึงจะมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนัน้ เรายังได้นำ� เสนอผลการแข่งขัน AWS Hackday 2018 ซึ่งเป็นการแข่งขันเครื่องกลไร้คนขับ ผลปรากฏว่าทีมซันเดย์ มอร์นิ่ง คว้าชัยไปครอง ซึ่งทีมซันเดย์ มอร์นิ่งนั้นเป็นทีม นักวิทยาศาสตร์ข้อมูลจาก Sunday Ins Co. (easysunday.com) เป็นองค์กรที่มีฐานอยู่ที่ประเทศไทย และเป็นบริษัท Insurtech เต็มรูปแบบ แห่งแรกของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยทางซันเดย์ มอร์นิ่ง จะได้รับรางวัลตั๋วเครื่องบินพร้อมที่พัก และบัตรเข้าร่วมงาน AWS re : Invent 2018 ที่ลาส เวกัส คอลัมน์ Interview เราได้รว่ มพูดคุยกับผูบ้ ริหารของบริษทั ฮีมา ซึง่ เป็นบริษทั สัญชาติเยอรมัน ทีม่ ปี ระวัตคิ วามเป็นมายาวนาน ถือเป็น ผูน้ ำ� ด้านโซลูชนั ความปลอดภัยอัจฉริยะส�ำหรับแอปพลิเคชันอุตสาหกรรมเลยทีเดียว บริษทั ฮีมา ได้บกุ เบิกการผสานรวมความปลอดภัยและ ระบบรักษาความปลอดภัยเข้าไว้ดว้ ยกัน เพือ่ ให้โรงงานและโครงสร้างพืน้ ฐานต่างๆ สามารถท�ำงานร่วมกันภายใต้แรงกดดัน และไม่ตกเป็นเหยือ่ ของการโจมตีทางไซเบอร์ พบกันใหม่ฉบับหน้า... กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
ที่ปรึกษา : รศ.ฉดับ ปัทมสูต / รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ์ / ไกรสีห์ กรรณสูต พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ์ / ประเจิด สุขแก้ว ผศ.พิชิต ล�ำยอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องค์วงศ์สกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ : ดร.สุรพล ด�ำรงกิตติกุล ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นิภา กลิ่นโกสุม เลขากองบรรณาธิการ : ปัฐฐมณฑ์ อุ่ยพัฒน์ / จีราภา รักแก้ว / เปมิกา สมพงษ์ พิสูจน์อักษร : อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรมรูปเล่ม / ศิลปกรรมโฆษณา : ชุติภา จริตพันธ์ / ศศิธร มไหสวริยะ ผู้จัดการฝ่ายการตลาด : เขมจิรา ปลาทิพย์ ฝ่ายโฆษณา : ศิริภรณ์ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภิรมณ์ / วีระวรรณ พุทธโอวาท / รุ่งทิพย์ อ�ำไพจิตต์ เลขานุการฝ่ายโฆษณา : ชุติมันต์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก : ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์ November-December 2018
บทความที่ปรากฏใน ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine เป็นความคิดเห็น ส่ ว นตั ว ของผู ้ เขี ย น ไม่ มี ส ่ ว นผู ก พั น กั บ บริ ษั ท เทคโนโลยี มี เ ดี ย จ� ำ กั ด แต่ อ ย่ า งใด หากบทความใดที่ผู้อ่านเห็นว่ามีการลอกเลียนหรือแอบอ้าง กรุณาแจ้งที่กองบรรณาธิการ ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine บทความต่ า งๆ ที่ ป รากฏในหนั ง สื อ ได้ ผ ่ า นการตรวจทานอย่ า งถี่ ถ ้ ว นเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแก้ไขต่อไป เจ้าของ
บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด
471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 http:// www.technologymedia.co.th เพลท-แยกสี : บริษัท อิมเมจิ้น กราฟิค จ�ำกัด พิมพ์ที่ : บริษัท ฐานการพิมพ์ จ�ำกัด จัดจ�ำหน่าย : บริษัท ธนบรรณ ปิ่นเกล้า จ�ำกัด
=Ä&#x2022;A I9&+ 6g Ä&#x2022;6 E##Ä?6 9IE Ä&#x2022;'5 +6%E+Ä&#x2022;+6 D 6 )= Ä&#x2022;6%6 +Ä&#x201D;6 ĂŁÂ&#x201E; Ä&#x152;
Authorized Distributor
AVERA Company Limited Tel : 088-001-0416 l Website : www.avera.co.th l E-mail : sales@avera.co.th
สนใจสอบถามข อ มู ล เพิ ่ ม เติ ม ได ท ี ่
www.interlink.co.th Tel 02 666 1111 (100 lines)
T&D_21.59x29.21cm.pdf
1
3/14/18
3:45 PM
สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย
กฟผ. คว้า 10 รางวัล
สิ่งประดิษฐ์จากเวทีนานาชาติ
มุ่งพัฒนานวัตกรรมพลังงาน เพื่ออนาคต
กฟผ. คว้ารางวัลเกียรติยศจากการประกวดและ จัดแสดงผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรม ในเวที “The International Trade Fair-Ideas, Inventions and New Products” (iENA 2018) ณ เมืองนูเรมเบิร์ก สหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนี พร้อมคว้า 1 เหรียญทอง 2 เหรียญเงิน 4 เหรียญทองแดง และรางวัลพิเศษจากประเทศโปแลนด์ อีก 2 รางวัล มุง่ สูก่ ารเป็นองค์กรนวัตกรรมพลังงานเพือ่ อนาคต ดร.จิราพร ศิรคิ า� ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การวิจยั นวัตกรรม และ พัฒนาธุรกิจ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กล่าวว่า กฟผ. ให้ความส�ำคัญและมุ่งมั่นพัฒนานวัตกรรม มาอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านการด�ำเนินธุรกิจและการสร้าง ประโยชน์ตอ่ สังคม เพือ่ รับมือกับการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ อยู ่ ต ลอดเวลาและการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของคนไทย โดยล่าสุดทีมนักวิจัยและนักประดิษฐ์ กฟผ. สามารถคว้า 10 รางวัล จาก 8 ผลงาน ในเวที “The International Trade Fair-Ideas, Inventions and New Products” (iENA 2018) ณ เมืองนูเรมเบิร์ก สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เมื่อวันที่ 1-4 พฤศจิกายน 2561 ซึ่งมีผลงานเข้าร่วมจัดแสดงกว่า 800 ผลงาน จาก 30 ประเทศทั่วโลก
ส�ำหรับการประกวดครั้งนี้ ผลงาน “เครื่องดันสายและชุดคันโยกสาย OVER HEAD” (Special Tools for Overhead Ground Wire Installation) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยติดตั้งสายล่อฟ้า บนเสาส่งไฟฟ้าแรงสูงโดยไม่ตอ้ งปลดสายลงพืน้ ดิน ท�ำให้ กฟผ. ไม่ตอ้ งดับไฟและไม่ตอ้ งปิดกัน้ ถนน จึงไม่กระทบต่อประชาชน ผลงานนีไ้ ด้รบั รางวัลเกียรติยศจากคณะผูบ้ ริหารการจัดงานประกวด และ รางวัลเหรียญทองแดง ผลงาน “ประแจเปิด-ปิดวาล์วอเนกประสงค์” (Smart Wrench for Multi-Type Valves) เป็นประแจชนิดพิเศษที่ช่วยผ่อนแรงในการเปิด-ปิดวาล์ว สามารถท�ำงานได้หลากหลายและใช้งาน ในพื้นที่ที่มีข้อจ�ำกัดต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย คว้ารางวัลเหรียญทอง ผลงาน “การออกแบบระบบการเปิดของบานประตูนำ�้ ในโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ แบบสูบกลับ” (Enhancement of Wicket Gate Control System in Pumped-Storage Power Plant) ช่วยรักษา สภาพการเดินเครือ่ งให้อยูใ่ นจุดทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงสุดแบบอัตโนมัติ และลดค่าใช้จา่ ยในการซือ้ อุปกรณ์ จากต่างประเทศได้กว่า 6 ล้านบาทต่อเครื่อง คว้ารางวัลเหรียญเงิน และรางวัลพิเศษจากสมาคม นักประดิษฐ์ของประเทศโปแลนด์ November-December 2018
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
ประแจเปิด-ปิดวาล์วอเนกประสงค์
เครื่องดันสายและชุดคันโยกสาย OVER HEAD
อุปกรณ์เคลียร์เศษโลหะออกจาก สายพานท้ายเครื่องโม่ถ่านกึ่งอัตโนมัติ
การยกระดับกระบวนการเชื่อมซ่อม หม้อน�้ำด้วยอุปกรณ์ช่วยกันลม
เครื่องมือสอบเทียบไดอัลเกจแบบอัตโนมัติ
ผลงาน “เครื่ อ งมื อ สอบเที ย บ ไดอัลเกจแบบอัตโนมัติ” (Automatic Dial Gauge Calibrator) เป็นอุปกรณ์ที่ กฟผ. พัฒนาเครือ่ งมือสอบเทียบขึน้ มาใหม่ เพิ่มความรวดเร็วและความแม่นย�ำใน การสอบเทียบ ลดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อ อุ ป กรณ์ จ ากต่ า งประเทศได้ ก ว่ า 2.4 ล้านบาทต่อเครือ่ ง คว้ารางวัลเหรียญเงิน ส่วนผลงานที่คว้าเหรียญทองแดง ได้แก่ “อุปกรณ์เคลียร์เศษโลหะออกจาก สายพานท้ายเครือ่ งโม่ถา่ นกึง่ อัตโนมัต”ิ (Metal Scrap Removal Machine for Lignite Belt Conveyor System) ป้องกัน เศษโลหะที่ปะปนมาจากหน้างานถ่าน ลิ ก ไนต์ สามารถก� ำ จั ด เศษโลหะแบบ อั ต โนมั ติ ช่ ว ยลดระยะเวลาการหยุ ด เดินเครือ่ งและลดค่าเสียโอกาสในการผลิต ถ่านลิกไนต์ถึงปีละกว่า 23.6 ล้านบาท
ผลงาน “โปรแกรมคาดการณ์ค่าความพร้อมจ่ายของโรงไฟฟ้า” (Prediction Software for Availability Declaration of Power Plant) ช่วยคาดการณ์ค่าความ พร้อมจ่ายของโรงไฟฟ้าในวันถัดไป ลดการสูญเสียรายได้ และช่วยให้โรงไฟฟ้ามีคา่ ความ ร้อน (Heat Rate) ต�ำ่ ลงจากการเดินเครือ่ งผลิตเต็มสมรรถนะ และผลงาน “การยกระดับ กระบวนการเชื่อมซ่อมหม้อน�ำ้ ด้วยอุปกรณ์ช่วยกันลม” (Enhancement of Boiler ั หาลมแรงขณะท�ำการเชือ่ มท่อ Welding with Wind Shield Box) เป็นอุปกรณ์ทชี่ ว่ ยแก้ปญ ในอาคาร Boiler ทีม่ คี วามสูงกว่า 70 เมตร ลดความเสีย่ งในการเกิดจุดบกพร่องในงานเชือ่ ม จากลมภายนอก และเพิ่มเสถียรภาพในการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้า นอกจากนี้ ยังมีผลงาน “ระบบวางแผนและบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าในยุค 4.0” (Smart Power Plant Maintenance Planning Program) ที่จะจัดเก็บประวัติการบ�ำรุง รักษาโรงไฟฟ้าอย่างต่อเนือ่ ง ช่วยลดความซ�ำ้ ซ้อนในการสัง่ ซือ้ อะไหล่และการซ่อมบ�ำรุง อุปกรณ์ สามารถออกใบสัง่ ซือ้ อะไหล่ได้อตั โนมัติ โดยตรวจสอบผ่าน QR Code ได้อย่าง รวดเร็ว คว้ารางวัลพิเศษจากสมาคมนักประดิษฐ์ของประเทศโปแลนด์ “วันนีเ้ ทคโนโลยีและนวัตกรรม เป็นหัวใจส�ำคัญในการขับเคลือ่ นและพัฒนาประเทศ ไปสูค่ วามยัง่ ยืนในอนาคต กฟผ. จึงส่งเสริมให้พนักงานมีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ในการ ประดิษฐ์คดิ ค้นนวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ์ จนได้รบั รางวัลจากเวทีนานาชาติมาอย่างต่อเนือ่ ง ซึ่งผลงานวิจัยดังกล่าวจะช่วยเพิ่มความมั่นคงของระบบไฟฟ้า ลดความสูญเสียทาง เศรษฐกิจ และเป็นการสร้างชือ่ เสียงให้กบั ประเทศไทย กฟผ. จะสร้างนักวิจยั และนักประดิษฐ์ เพื่อมุ่งสู่การเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมพลังงานเพื่อชีวิตที่ดีกว่า และท�ำประโยชน์ให้กับ ประเทศไทยต่อไป” ผู้ช่วยผู้ว่าการวิจัยนวัตกรรม และพัฒนาธุรกิจ กล่าว November-December 2018
สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการแต่งตั้ง กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ ด�ำรง ต�ำแหน่งผูว้ า่ การการไฟฟ้านครหลวง (ผูว้ า่ การ กฟน.) คนที่ 17 ตามทีก่ ระทรวง มหาดไทยเสนอ (ตามมติคณะกรรมการการไฟฟ้านครหลวงในการประชุม ครัง้ ที่ 698 เมือ่ วันที่ 23 สิงหาคม 2561 และครัง้ ที่ 699 เมือ่ วันที่ 20 กันยายน 2561) กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ เกิดเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2504 อายุ 57 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าก�ำลัง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นอกจากนี้ ท่านยังได้รบั ประกาศนียบัตรหลักสูตร ประกาศนียบัตรชั้นสูงการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน รุ่นที่ 16 สถาบันพระปกเกล้า ประกาศนียบัตรหลักสูตร Leadership Succession Program (LSP) รุน่ 9 มูลนิธสิ ถาบันวิจยั และพัฒนาองค์กรภาครัฐ (IRDP) ประกาศนียบัตร หลักสูตร Advanced School in Power Engineering, Pennsylvania State University ประกาศนียบัตรหลักสูตร Electricity Distribution Management SwedPower International AB ประเทศสวีเดน ประกาศนียบัตรหลักสูตร Underground Transmission and Distribution Line, JEPIC (Japan Electric Power Information Center) ประเทศญีป่ นุ่ ประกาศนียบัตรหลักสูตร Modern Managers Program จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประกาศนียบัตรหลักสูตร Modern Marketing มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก่อนเข้ารับการแต่งตัง้ เป็นผูว้ า่ การ กฟน. ในครัง้ นี้ กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ ได้ด�ำรงต�ำแหน่งรองผู้ว่าการวิชาการและบริหารพัสดุ ต�ำแหน่งผู้ช่วยผู้ว่าการ สายวิ ช าการและบริ ห ารพั ส ดุ เคยเป็ น ผู ้ อ� ำ นวยการไฟฟ้ า เขตบางใหญ่ รองผู้อ�ำนวยการไฟฟ้าเขตสามเสน และรองผู้อ�ำนวยการไฟฟ้าเขตคลองเตย ผลงานที่โดดเด่นของ กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ ได้แก่ การด�ำรงต�ำแหน่ง คณะท�ำงานแผนงานเปลี่ยนระบบสายไฟฟ้าอากาศเป็นสายไฟฟ้าใต้ดิน เพื่อรองรับการเป็นมหานครแห่งอาเซียน (พ.ศ. 2559-2566) คณะกรรมการ แผนแม่บทโครงข่ายสมาร์ทกริด (พ.ศ. 2559-2564) คณะท�ำงานตามแผนปรับปรุง และขยายระบบจ�ำหน่ายพลังไฟฟ้า ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ประธาน คณะท�ำงานแผนส่งเสริมการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า (พ.ศ. 2561-2564) ทีมทีป่ รึกษา ในการพัฒนาระบบจ�ำหน่ายในกลุม่ ประเทศอินโดจีน นอกจากนี้ ท่านยังด�ำรง ต�ำแหน่งอื่นๆ ทางสังคมในฐานะรองประธานคณะกรรมการองค์การซีเกร ฝ่ายไทย (Thailand National Committee of CIGRE) ทีป่ รึกษากรรมการบริหาร IEEE Power & Energy Society Thailand และสมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและ November-December 2018
การไฟฟ้านครหลวง
อิเล็กทรอนิกส์แห่งประเทศไทย (IEEE Thailand Section) คณะกรรมการ อ� ำ นวยการศู น ย์ เชี่ ย วชาญพิ เ ศษด้ า นเทคโนโลยี ไ ฟฟ้ า ก� ำ ลั ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยมาตรฐาน เทคนิคทางไฟฟ้าระหว่างประเทศ ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม คณะอนุกรรมการเพือ่ ศึกษาแนวทางการพัฒนาระบบ โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid) ส�ำนักนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน และ Organizing Co-Chair of IEEE PES GTD ASIA 2019
Distribution Line from JEPIC (Japan Electric Power Information Center) in Japan, the Certificate of Modern Managers Program from Chulalongkorn University and the Certificate of Modern Marketing from Thammasat University. Prior to being appointed as the MEA Governor, Mr.Kirapat served as the Deputy Governor and the Assistant Governor for Technology and Material Management. He was formerly the MEA Director of Bang Yai District, the Deputy Director of Samsen district and the Deputy Director of Khlong Toei District. He has been recognized for his outstanding work as a key member of the Overhead-to-Underground Power Line Conversion Team for the ASEAN Metropolis Project (2016-2023), a committee member of the Smart Grid Master Plan (2016-2021), a key member of the Electric Power Distribution Improvement and Expansion Plan no.12 (2017-2021), the Chairman of the Electric Vehicle Promotion Panel (2018-2021) and a member of the Indochina Distribution Development Advisory Board. He also held other social positions as a Vice President of Thailand National Committee of CIGRE, an advisor to the IEEE Power & Energy Society Thailand Committee and the IEEE Thailand Section, a committee member of the Center of Excellence in Electrical Power Technology, Chulalongkorn University, a national committee member of the International Electrical Standard Commission under the Thai Industrial Standards Institute, a subcommittee member of the Smart Grid Development Studies under the Energy Policy and Planning Office, Ministry of Energy, and an organizing co-chair of the IEEE PES GTD ASIA 2019.
Cabinet approves the appointment of
Mr.Kirapat Jiamset as new MEA Governor
On October 16, 2018, the Cabinet approved the appointment of Mr.Kirapat Jiamset as the 17th Governor of the Metropolitan Electricity Authority (MEA Governor), as proposed by the Ministry of Interior (according to the MEA board of directors’ resolutions in the 698th meeting on August 23, 2018 and the 699th meeting on September 20, 2018). Kirapat Jiamset, 57, was born on August 22, 1961 and graduated with a Bachelor’s Degree in Electrical Power Engineering from Prince of Songkla University. He also completed the Advanced Certificate Course in Public Administration and Public Law, Class 16, King Prajadhipok’s Institute and received the Certificate of Leadership Succession Program (LSP), Class 9, from the Institute of Research and Dialogue for Peace (IRDP), including the Certificate of Advanced School in Power Engineering from Pennsylvania State University, the Certificate of Electricity Distribution Management Program from SwedPower International AB in Sweden, the Certificate of Underground Transmission and
November-December 2018
EA Focus
เรียบเรียง : กองบรรณาธิการ
8 นวัตกรรมแห่งปี เปลี่ยนโลกให้เป็นเรื่องง่าย รองรับชีวิตยุค 4.0
สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย เพือ่ ก้าวสูก่ ารเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมทีแ่ ท้จริง การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ไม่เคยหยุดนิง่ คิดค้นและ
สร้างสรรค์นวัตกรรมโดยทีมนักวิจยั จนประสบความสำาเร็จ สามารถตอบโจทย์การใช้ชวี ติ ทันสมัยของ คนรุน่ ใหม่ได้อย่างเต็มภาคภูมิ และนีค่ อื 8 นวัตกรรมสำาคัญแห่งปีทอ่ี ยากพาทุกคนไปทำาความรูจ้ กั PEA HiVE Platform HOME CONNEXT Application
PEA Smart Plus
PEA Volta Platform SOLAR HERO EV TUK TUK
เพื่อก้าวสู่การเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรมที่แท้จริง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคไม่เคยหยุดนิ่งคิดค้นและ สร้างสรรค์นวัตกรรมโดยทีมนักวิจัยจนประสบความส�ำเร็จ สามารถตอบโจทย์การใช้ชีวิตทันสมัยของคนรุ่นใหม่ ได้อย่างเต็มภาคภูมิ และนี่คือ 8 นวัตกรรมส�ำคัญแห่งปี ที่อยากพาทุกคนไปท�ำความรู้จัก
Fomm ONE IHAPM
8
• ฉบับที่ 9 / 2561
HOME CONNEXT Application
IHAPM
ชีวิตยุคใหม่ ที่ควบคุมได้ด้วยแอปพลิเคชัน
เครื่องมือตรวจจับและควบคุมการใช้ พลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะ
Home Connext Application by PEA Connext เป็นแอปพลิเคชัน ทีถ่ กู ออกแบบเพือ่ ใช้ควบคุมอุปกรณ์และเครือ่ งใช้ไฟฟ้าต่างๆ ภายใน ที่อยู่อาศัย (บ้านเดี่ยว/โครงการบ้านจัดสรร/คอนโด) ผ่านการควบคุม ด้วยสมาร์ตโฟนและเสียง จึงช่วยให้ทกุ การเชือ่ มต่อของอุปกรณ์ไฟฟ้า ถูกรวมไว้เป็นหนึ่งเดียวกัน จุดเด่น
ใช้งานง่าย เพียงลงทะเบียนและล็อกอินเข้าใช้งานได้ทนั ที ซึง่ แต่ละบ้าน สามารถลงทะเบียนได้มากกว่า 1 บัญชี สั่งการเปิด ปิด และดูสถานะการท�ำงานของอุปกรณ์นั้นๆ ได้ทุกที่ ทุกเวลา ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน มีระบบแจ้งเตือนความผิดปกติของการใช้พลังงานไฟฟ้าและอุปกรณ์ ต่างๆ ภายในบ้าน มีระบบ Energy Report ท�ำให้ตรวจสอบปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า ภายในบ้านได้ สามารถแสดงค่าพลังงานทีผ ่ ลิตได้จาก Solar Inverter เทียบกับพลังงาน ที่ใช้ภายในบ้าน
ประโยชน์
จัดการการใช้พลังงานภายในบ้านได้อย่างคุม้ ค่าและมีประสิทธิภาพ ลดความกังวลใจ หายห่วง และให้ความรูส ้ กึ อุน่ ใจ แม้เมือ่ ไม่ได้อยูบ่ า้ น ติดตามปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในบ้านได้ตลอดเวลา ผ่าน ระบบ Energy Report พร้อมตัวเลือก Scene Mode ทีเ่ หมาะสมกับ ความต้องการของผู้อยู่อาศัย เป็นมิตรต่อสุขภาพผูอ ้ ยูอ่ าศัย ด้วยระบบตรวจจับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือค่าแสง UV ที่มากเกินไป ท�ำให้รู้ทุกสภาวะไปกับระบบรายงาน สภาพอากาศภายนอกบ้านและภายในบ้าน
November-December 2018
Intelligent Home Appliances Power Monitoring (IHAPM) เป็นเครื่องตรวจจับและควบคุมการใช้พลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะส�ำหรับ เครือ่ งใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน สามารถควบคุมการเปิด-ปิดของอุปกรณ์ไฟฟ้า ตรวจสอบสถานะและปริมาณไฟฟ้าทีใ่ ช้ของอุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้านผ่าน โทรศัพท์มือถือสมาร์ตโฟนได้ทุกที่ทุกเวลา จุดเด่น
ตรวจสอบสภาพและการใช้พลังงานไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าได้ แบบ Real Time ตลอด 24 ชั่วโมง ผ่านสัญญาณอินเทอร์เน็ต แยกปริ ม าณพลั ง งานไฟฟ้ า ของเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า แต่ ล ะชนิ ด ภายใน บ้านพักอาศัย เก็บและอ่านข้อมูลของหน่วยการใช้พลังงานย้อนหลังได้ ใช้งานสะดวกผ่านแอปพลิเคชันบนโทรศัพท์มือถือทุกระบบ ใช้ ไ ด้ กั บ อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ที่ ติ ด ตั้ ง อยู ่ เ ดิ ม และอุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ที่ ร องรั บ รูปแบบ loT ใช้งา ่ นง่าย มีสวิตช์รโี มตควบคุมทีเ่ ปิด-ปิดเครือ่ งใช้ไฟฟ้าจากทีต่ า่ งๆ ได้ทั่วโลก ส่ ง สั ญ ญาณแจ้ ง เตื อ นมายั ง โทรศั พ ท์ เ มื่ อ มี เ หตุ ก ารณ์ ใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ ผิดปกติหรือกระแสไฟฟ้าดับ มีการแจ้งเตือนความบกพร่องของสัญญาณ WiFi ที่หายไปได้ สามารถควบคุมการเปิด-ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าด้วยเสียง โดยท�ำงาน ร่วมกับ Google Home Assistance
ประโยชน์
สามารถตรวจจับคนแปลกหน้าผ่านกล้องวงจรปิด โดยส่งสัญญาณ แจ้งเตือนมายังโทรศัพท์ และไม่ต้องเปิดแอปพลิเคชัน ช่วยประหยัดค่าไฟฟ้า ลดการใช้พลังงานที่ไม่จำ � เป็นลง
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค PEA HiVE PLATFORM ตัวช่วยเรือ่ งจัดการพลังงานภายในบ้าน PEA HiVE Platform คือ ซอฟต์แวร์แพลตฟอร์ม ระบบบริหารและจัดการพลังงานอัจฉริยะส�ำหรับบ้านพัก อาศัยและอาคารให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้เทคโนโลยี Internet of Things และ Artificial Intelligence จุดเด่น
ช่วยควบคุมเครือ่ งใช้ไฟฟ้าต่างๆ ภายในบ้านและอาคาร สามารถเลือกใช้พลังงานไฟฟ้าจากระบบการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาคหรือแหล่งพลังงานทางเลือก ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าทีไ ่ ม่จำ� เป็นลงและตอบสนอง ต่อสภาวะวิกฤตด้านพลังงาน
ประโยชน์
ช่วยติดตามและควบคุมการท�ำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ทั้งภายในและนอกบ้าน สามารถใช้งานร่วมกับระบบพลังงานทางเลือก เช่น โซลาร์รฟ ู ท�ำให้ประหยัดพลังงาน ไฟฟ้าและค่าใช้จ่าย มีระบบการเรียนรูด ้ ว้ ยตนเอง เพือ่ ท�ำการบริหารจัดการพลังงานภายในบ้านได้ดว้ ย ตนเอง มีการวิเคราะห์ข้อมูล และรวบรวมสถิติการใช้พลังงานภายในบ้าน สามารถใช้ได้ทั้งระบบ iOS และ Android สามารถควบคุมรายจ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าได้เป็นอย่างดี
PEA SMART Plus
PEA Volta Platform
จัดให้ง่าย ได้ทุกเรื่อง
สำ�หรับสถานีอด ั ประจุไฟฟ้า
PEA Smart Plus เป็นแอปพลิเคชันทีใ่ ช้ตรวจสอบ ข้อมูลต่างๆ เกีย่ วกับการไฟฟ้าด้วยตนเอง เช่น ตรวจสอบ และช�ำระค่าไฟฟ้า ค้นหาสถานที่ช�ำระเงินค่าไฟฟ้า สร้าง QR Code และ Barcode เพื่อน�ำไปช�ำระเงินที่ จุดรับช�ำระเงินค่าไฟฟ้า แจ้งไฟฟ้าขัดข้อง การขอต่อกลับ มิเตอร์ ติดตามข่าวสาร ประชาสัมพันธ์และประกาศ ดับไฟล่วงหน้า ตลอดจนแจ้งข้อเสนอแนะ ข้อร้องเรียน เป็นต้น จุดเด่น
ผู้ใช้ไฟฟ้าสามารถดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน PEA Smart Plus ได้ฟรีผ่านสมาร์ตโฟน หรือแท็บเล็ต เพิม ่ ความสะดวกสบายในการเข้าถึงบริการออนไลน์ แบบครบวงจรของ PEA ในรูปแบบ One Touch Service ‘จัดให้ง่าย ได้ทุกเรื่อง’ ทุกที่ ทุกเวลา เป็นแอปพลิเคชันที่ใช้เทคโนโลยี Virtual Machine มาตรฐาน SDLC ซึง่ มีระบบรักษาความปลอดภัยของ ข้อมูลและความเป็นส่วนตัวสูงสุด
ประโยชน์
ใช้งานง่าย สะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลา และค่าใช้จา่ ย ในการเดินทางไปติดต่อยังส�ำนักงาน ให้ข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้าได้ตามต้องการ ทุกที่ ทุกเวลา มี ร ะบบค� ำ นวณและแจ้ ง เตื อ นค่ า ไฟฟ้ า เมื่ อ ใกล้ ถึ ง ก�ำหนดช�ำระ ท�ำให้ป้องกันการลืมจ่ายค่าไฟฟ้า สามารถติ ด ต่ อ ขอใช้ ไ ฟฟ้ า ใหม่ แจ้ ง ไฟฟ้ า ขั ด ข้ อ ง การขอต่อกลับมิเตอร์ การแจ้งสถานะค�ำร้อง รับแจ้ง ไฟฟ้าดับ ฯลฯ ได้รวดเร็วและทันที
PEA HiVE Platform สามารถเชือ่ มต่อกับอุปกรณ์และเครือ่ งใช้ไฟฟ้าจากหลากหลาย ยี่ห้อและผู้ผลิต เป็นระบบทีเ่ ปิดกว้างให้นก ั พัฒนาซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ได้รว่ มพัฒนาแอปพลิเคชัน ให้ตรงความต้องการมากขึ้น
PEA Volta Platform เป็นระบบโครงข่ายข้อมูลสถานีอัดประจุไฟฟ้า ที่มีการ สื่อสารเพื่อส่งข้อมูลระหว่างเครื่องอัดประจุไฟฟ้ากับฐานข้อมูลกลางของผู้ให้บริการ พลังงานไฟฟ้า เพื่อน�ำข้อมูลที่ได้มาจัดท�ำเป็นฐานข้อมูลของเครื่องอัดประจุไฟฟ้า แบบทีม่ ขี ายในเชิงพาณิชย์ และเครือ่ งอัดประจุไฟฟ้าทีก่ ารไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคพัฒนาขึน้ เอง จุดเด่น
PEA Volta Platform ประกอบด้วยส่วนของระบบสื่อสารข้อมูล PEA Volta ระบบ บริหารจัดการข้อมูลระหว่างเครือ่ งอัดประจุไฟฟ้ากับฐานข้อมูลกลางของการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาคและระบบบริหารจัดการข้อมูล (Mobile Application & Web Service) PEA Volta รองรั บ การส่ ง ข้ อ มู ล ให้ กั บ ฐานข้ อ มู ล ที่ ใช้ ก ารสื่ อ สารผ่ า นมาตรฐาน โปรโตคอล OCPP ติดตั้งกับเครื่องอัดประจุไฟฟ้าได้ง่าย เพียงติดตั้งอุปกรณ์ Kit Volta และ Sim Card ที่เครื่องอัดประจุไฟฟ้าที่ต้องการ ก็สามารถส่งข้อมูลไปยังระบบฐานข้อมูลกลาง ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคได้ การส่งข้อมูลของ Volta มีความรวดเร็ว และมีประเภทข้อมูลทีม ่ ากกว่าการส่งข้อมูล ผ่านระบบ OCPP ของเครื่องอัดประจุไฟฟ้าทั่วไป
ประโยชน์
ผูใ้ ช้ยานยนต์ไฟฟ้าสามารถใช้ระบบแผนทีแ่ ละระบบน�ำทาง ไปยังสถานีอดั ประจุไฟฟ้า ในโครงข่ายของการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ท�ำให้ทราบสถานะหัวชาร์จทีส่ ถานีอดั ประจุ ไฟฟ้าทีต่ อ้ งการและจองคิวอัดประจุไฟฟ้า รับรูก้ ารท�ำงานของระบบประจุไฟฟ้าและ แบตเตอรี่ของยานยนต์ไฟฟ้า สามารถบริหารจัดการเวลาในการอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าของตนเอง โดยทราบเวลา ที่เหลืออยู่ของการอัดประจุไฟฟ้าผ่าน Mobile Application ค่าบริการสถานีอัดประจุไฟฟ้าลดลง เนื่องจากสามารถลดต้นทุนของผู้ให้บริการ สถานีอัดประจุไฟฟ้าได้ ผูใ ้ ช้ยานยนต์ไฟฟ้าสามารถรับรูถ้ งึ สถานการณ์ผดิ ปกติของยานยนต์ไฟฟ้าของตนเองได้ เพิม ่ ความสะดวกสบายในการช�ำระค่าบริการการอัดประจุไฟฟ้าของสถานีอดั ประจุ ไฟฟ้าในโครงข่ายของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
November-December 2018
สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย SOLAR HERO แอปพลิเคชันคำ�นวณพลังงานแสงอาทิตย์ Solar Hero เป็นแอปพลิเคชันที่คิดค้นและออกแบบมาเพื่อ ช่วยส่งเสริมการติดตั้ง Solar Rooftop ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ตอบสนองลูกค้าที่มีความต้องการใช้พลังงานจาก Solar Rooftop โดยเริ่มตั้งแต่วิเคราะห์ข้อมูล การติดตั้ง ไปจนถึงการบริหารจัดการ พลังงานแสงอาทิตย์ได้ด้วยตนเอง จุดเด่น
ฟังก์ชันการท�ำงานเป็นระบบ ตั้งแต่วิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นใน แต่ละครัวเรือน เพือ่ หาขนาดก�ำลังการผลิตและการติดตัง้ ทีเ่ หมาะสม ของระบบผลิตไฟฟ้าจาก Solar Rooftop โปรแกรมแสดงก�ำลังผลิต การติดตั้ง และมลภาวะด้านต่างๆ ที่ สามารถลดได้จากการติดตั้งและค�ำนวณค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง
ให้ทั้งหมด มีบริการ Maintenance & Assurance ภายหลังการติดตั้ง เป็นที่รับฝากพลังงานเพื่อส่งต่อให้ลูกค้ารายอื่นต่อไป ประโยชน์
เป็นเครื่องมือที่ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับประโยชน์ของการใช้ พลังงานสะอาด และโทษของการใช้พลังงานจากฟอสซิลที่ก่อให้เกิด มลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม ท�ำให้ทราบข้อมูลโดยรวมทั้งประเทศว่า ปัจจุบันมีผู้ใช้แอปพลิเคชัน Solar Hero เป็นจ�ำนวนเท่าใด และช่วยโลกลดมลภาวะทางด้านต่างๆ ไปได้เท่าใด เป็ น แอปพลิเ คชั น ที่ใช้ง านร่ว มกั บโครงการรับ ซื้ อ ไฟฟ้า ส่ ว นเกิน จาก Solar Rooftop (Net-Billing) เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้กับผู้ที่สนใจ อยากหันมาใช้พลังงานสะอาดจากธรรมชาติ ซึ่งมีความปลอดภัยและ ยั่งยืน
FOMM ONE
EV TUK TUK
สุดยอดยนตรกรรมขนาดเล็กที่ขบ ั เคลื่อน ด้วยพลังงานไฟฟ้า
รถสามล้อไฟฟ้าแห่งแรกของไทย
ฟอมม์ (Fomm) หนึ่งในยานยนต์ที่ผ่านมาตรฐานรถยนต์ ขนาดเล็ก L7e จากยุโรป ซึง่ เป็นมาตรฐานเดียวกันกับทีใ่ ช้ในหมวด รถยนต์ขนาดเล็กและรถจักรยานยนต์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จุดเด่น
มีขนาดเล็กที่สุดในโลก ใช้ชิ้นส่วนในการประกอบ 1,600 ชิ้น ท�ำให้ลดระยะเวลาในการผลิต ในขณะที่รถยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิง ทั่วไป ใช้ชิ้นส่วนในการประกอบมากกว่า 30,000 ชิ้น รู ป ทรงรถยนต์ ทั น สมั ย ด้ ว ยแนวคิ ด การออกแบบสไตล์ ญี่ ปุ ่ น Kabuki ผสานประโยชน์ใช้สอยเข้ากับประวัตศิ าสตร์และวัฒนธรรม ได้อย่างกลมกลืน
ประโยชน์
โครงการรถสามล้อไฟฟ้า (EV TUK TUK) อีกหนึง่ ธุรกิจของการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค ด้านยนตรกรรมที่ใช้พลังงานไฟฟ้าทดแทนน�้ำมันหรือก๊าซ โดยบริษัท พีอีเอ เอ็นคอม อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด บริษัทในเครือ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคเป็นผูด้ ำ� เนินการและได้มกี ารเปิดให้บริการทีจ่ งั หวัด เชียงใหม่เป็นแห่งแรก โดยใน พ.ศ. 2563 การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคจะเปลีย่ น รถสามล้อไฟฟ้าจ�ำนวน 450 คันในจังหวัดเชียงใหม่มาเป็นระบบไฟฟ้า และขับเคลือ่ นเป็นรถสามล้อไฟฟ้ารับจ้าง จ�ำนวน 18,000 คันทัว่ ประเทศ เพือ่ ตอบสนองการใช้งานของผูข้ บั ขีร่ ถรับจ้าง และกลุม่ ลูกค้านักท่องเทีย่ ว ที่นิยมนั่งรถสามล้อ อีกทั้งยังช่วยสนับสนุนการท่องเที่ยวและรณรงค์ ให้คนไทยหันมาช่วยกันประหยัดพลังงานโลก จุดเด่น
เป็นรถสามล้อที่ใช้พลังงานไฟฟ้า ทดแทนการใช้นำ�้ มันหรือก๊าซ มีขนาดกะทัดรัด ขับเคลือ ่ นคล่องตัว สามารถให้บริการรับ-ส่งผูโ้ ดยสาร ได้สะดวก รวดเร็ว
มีความคล่องตัวสูง และรองรับได้ถึง 4 ที่นั่ง โครงสร้างเล็กกะทัดรัด ช่วยลดการใช้พลังงาน แต่ให้ประสิทธิภาพ สูงสุดในการขับขี่ ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า 100% จึงไม่สร้างมลพิษ เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม ลดค่าใช้จ่ายในการเติมน�้ำมัน สามารถชาร์จไฟฟ้าในบ้านได้ ซึ่งค่าไฟฟ้ามีราคาถูกกว่าน�้ำมัน โดยการชาร์จพลังงานเต็ม 1 ครั้ง วิ่งได้ถึง 160 กิโลเมตร ติดตัง ้ ระบบ Cooler System แบบใหม่ทพี่ ฒ ั นาขึน้ ตามสภาพอากาศ ของไทยและอาเซียน มีคน ั เร่งติดตัง้ บนพวงมาลัย จึงช่วยลดความผิดพลาดของการเบรก โดยไม่ตั้งใจ ติดตัง ้ ระบบป้องกันน�ำ้ เข้ารถและลอยตัวได้เมือ่ มีนำ�้ ท่วมกะทันหัน แม้ในกรณีน�้ำท่วมก็สามารถลอยตัวและเคลื่อนที่ไปในน�้ำได้
November-December 2018
ประโยชน์
ใช้พลังงานไฟฟ้า จึงช่วยประหยัดพลังงานจากธรรมชาติ ลดมลพิษทางเสียงและสิ่งแวดล้อม ลดค่าใช้จ่ายในการขับขี่ มีสถานีอด ั ประจุไฟฟ้าหัวจ่ายแบบธรรมดา (EV Charging Station) กระจาย ทั่วเมืองเชียงใหม่ จ�ำนวน 10 จุด ท�ำให้ง่ายต่อการอัดประจุไฟฟ้า ผูโ ้ ดยสารสามารถวางแผนการเดินทาง และการพักรถเพือ่ อัดประจุไฟฟ้า ได้ล่วงหน้า ผู้ให้บริการหรือ EV Network Operator สามารถใช้ข้อมูลที่เชื่อมต่อ กับหัวชาร์จไฟฟ้ามาวิเคราะห์และจัดท�ำแผนบริหารจัดการพลังงาน ให้เหมาะสมเพียงพอกับยานยนต์ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น
บริษัทาฝ่ ผลิายผลิ ตไฟฟ้ตาแห่จ�งำกัประเทศไทย ด (มหาชน) การไฟฟ้
เอ็กโก กรุ๊ป โชว์กำ�ไรครึ่งปีแรก สูงกว่า 17,000 ล้านบาท
จักษ์กริช พิบูลย์ไพโรจน์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำ�กัด (มหาชน)
จักษ์กริช พิบูลย์ไพโรจน์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป๊ เปิดเผยผลการด�ำเนินงาน 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2561 ว่า “การด�ำเนินงานในช่วงครึ่งปีแรก เป็นไปตามแผนงาน โดยมีกำ� ไรสุทธิ 17,807 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก ช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนจ�ำนวน 11,313 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 174 หากพิจารณาเฉพาะผลการด�ำเนินงานในไตรมาส 2 ของ พ.ศ. 2561 บริษทั ฯ ขาดทุนสุทธิจำ� นวน 2,364 ล้านบาท ลดลง จากช่วงเดียวกันของปีก่อนจ�ำนวน 5,894 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 167 โดยมีสาเหตุหลักจากผลกระทบของอัตราแลกเปลี่ยน ขณะเดียวกัน คณะกรรมการบริษทั ฯ มีมติให้จา่ ยเงินปันผลระหว่างกาล จากผลการด�ำเนินงานครึง่ ปีแรกของ พ.ศ. 2561 ในอัตราหุน้ ละ 3.50 บาท และจ่ายเงินปันผลพิเศษในอัตราหุ้นละ 2.50 บาท รวมเป็น หุ้นละ 6 บาท ในวันที่ 14 กันยายน 2561” ปัจจุบัน เอ็กโก กรุ๊ป มีโครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง 3 โครงการ ได้แก่ โรงไฟฟ้า “ไซยะบุรี” และ “น�้ำเทิน 1” สปป.ลาว และโรงไฟฟ้า “ซานบัวนาเวนทูรา” ประเทศฟิลปิ ปินส์ มีความก้าวหน้า ตามแผนงาน โดยคาดว่าจะก่อสร้างแล้วเสร็จและทยอยเดินเครื่อง เชิงพาณิชย์ใน พ.ศ. 2562 และ พ.ศ. 2565 คิดเป็นปริมาณพลังไฟฟ้า ตามสัญญาซือ้ ขายและตามสัดส่วนการถือหุน้ ประมาณ 544 เมกะวัตต์ ส�ำหรับทิศทางการด�ำเนินธุรกิจในช่วงครึง่ ปีหลังของ พ.ศ. 2561 จักษ์กริช กล่าวเสริมว่า “เอ็กโก กรุป๊ ยังคงเดินหน้าสร้างความเติบโต อย่างยั่งยืนและสร้างผลตอบแทนที่ดีอย่างต่อเนื่องให้แก่ผู้ถือหุ้น ตามแผนกลยุทธ์ที่วางไว้ โดยให้ความส�ำคัญกับธุรกิจไฟฟ้าซึ่งเป็น ความเชี่ยวชาญ และเน้นขยายธุรกิจในต่างประเทศที่มีฐานอยู่แล้ว และสามารถขยายตลาดได้อกี รวมทัง้ แสวงหาโอกาสขยายการลงทุน ไปยังประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยการซื้อสินทรัพย์ ที่ เ ดิ น เครื่ อ งเชิ ง พาณิ ช ย์ แ ล้ ว และการพั ฒ นาโครงการประเภท Greenfield ส�ำหรับการลงทุนในประเทศ บริษทั ฯ มีความพร้อมส�ำหรับ การลงทุนตามนโยบายของภาครัฐและแผนพัฒนาก�ำลังการผลิต ไฟฟ้าของประเทศไทย (พีดีพี) ที่ก�ำลังปรับปรุงใหม่” ด้านการยอมรับจากหน่วยงานต่างๆ เอ็กโก กรุ๊ป ได้รับ การประเมินจากสถาบันไทยพัฒน์ให้อยูใ่ นกลุม่ หลักทรัพย์ ESG 100 หมวดทรัพยากร ต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 ในฐานะบริษัทจดทะเบียนที่มี การด�ำเนินงานโดดเด่นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (Environmental, Social and Governance) และได้รับการคัดเลือก จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยให้เป็น 1 ใน 45 หุ้น ที่อยู่ใน ดัชนีความยั่งยืน “SET THSI” ในฐานะบริษัทจดทะเบียนที่ดำ� เนิน ธุรกิจอย่างยัง่ ยืน ล่าสุด เอ็กโก กรุป๊ ได้รบั การประเมินและจัดอันดับ เป็น 1 ใน 2,000 บริษัท จดทะเบียนที่ใหญ่ที่สุดในโลกจาก Forbes Global 2000 ประจ�ำปี 2561 โดยใช้เกณฑ์การประเมินจากมูลค่า ตลาดสินทรัพย์ รายได้ และก�ำไรของบริษัท November-December 2018
บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)
ผลิตไฟฟ้า นวนคร ลงนามสัญญา EPC พร้อมก่อสร้างส่วนขยายเพิ่ม 60 เมกะวัตต์ บริษัท ผลิตไฟฟ้า นวนคร จ�ำกัด (NNEG) ซึ่งเป็นบริษัท ร่วมทุน 3 ฝ่าย ประกอบด้วย บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด ซึง่ เป็น บริษทั ย่อยของบริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุน้ 40% บริษัท นวนคร จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (มหาชน) ถือหุ้นฝ่ายละ 30% เดินหน้าก่อสร้าง โครงการผลิตไฟฟ้านวนครส่วนขยาย ก�ำลังผลิตติดตัง้ 60 เมกะวัตต์ และก�ำลังผลิตไอน�ำ้ 10 ตันต่อชัว่ โมง มูลค่าโครงการประมาณ 3,105 ล้านบาท โดยก�ำหนดเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ในปี พ.ศ. 2563 ส่งผล ให้กำ� ลังการผลิตไฟฟ้าและไอน�ำ้ รวมของโครงการผลิตไฟฟ้านวนคร เพิ่มขึ้นเป็น 185 เมกะวัตต์ และไอน�้ำประมาณ 40 ตันต่อชั่วโมง พลอากาศเอก ดร.นพพร จันทวานิช ประธานกรรมการ บริษทั ผลิตไฟฟ้า นวนคร จ�ำกัด เปิดเผยว่า ความส�ำเร็จในครัง้ นีเ้ ป็นผล จากความแข็งแกร่งของพันธมิตรธุรกิจทัง้ 3 ราย ทีร่ ว่ มมือกันพัฒนา โครงการส่วนขยายก้าวหน้ามาเป็นล�ำดับ จนมาถึงขั้นตอนของ การก่อสร้างโครงการ ส�ำหรับพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตจากส่วนขยาย 60 เมกะวัตต์ และไอน�ำ้ 10 ตันต่อชัว่ โมง จะจ�ำหน่ายตรงให้กบั ลูกค้า อุตสาหกรรมทีต่ งั้ อยูใ่ นเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมนวนครจ�ำนวน 3 ราย ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ประมาณการรายได้จากส่วนขยายปีละประมาณ 1,300 ล้านบาท ส�ำหรับเงินลงทุนในการพัฒนาและก่อสร้างโครงการส่วนขยาย มาจากการระดมทุนผ่านหุ้นกู้ โดยบริษัทฯ ประสบความส�ำเร็จใน การออกและเสนอขายหุน้ กูช้ นิดทยอยช�ำระคืนเงินต้น ไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มีหลักประกัน และมีผู้แทนผู้ถือหุ้นกู้ มูลค่ารวม 6,400 ล้านบาท จ�ำนวน 4 รุน่ โดยแบ่งเป็นหุน้ กูอ้ ายุ 3 ปี อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 2.68 หุ้นกู้อายุ 5 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 3.00 หุ้นกู้อายุ 10 ปี อัตรา ดอกเบีย้ ร้อยละ 3.85 และหุน้ กูอ้ ายุ 16 ปี อัตราดอกเบีย้ ร้อยละ 4.22
ให้กับนักลงทุนสถาบันและ/หรือผู้ลงทุนรายใหญ่ โดยมีธนาคาร กรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) และธนาคารทหารไทย จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผูจ้ ดั การการจัดจ�ำหน่าย หุ้นกู้ดังกล่าวได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถือที่ “A-” แนวโน้ม เครดิตมีเสถียรภาพ โดยบริษัท ฟิทช์ เรทติ้งส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เงินที่ได้รับจากการออกหุ้นกู้ในครั้งนี้นอกจากน�ำมาใช้ในการขยาย ก�ำลังการผลิตแล้ว ยังจะน�ำไปช�ำระเงินกู้เดิมด้วย นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ลงนามสัญญากับบริษัท ไอเอชไอ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด บริษัท จูรองเอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด และบริษัท ไทยจูรองเอ็นจิเนียริง่ จ�ำกัด เพือ่ ด�ำเนินการออกแบบวิศวกรรม จัดหา อุปกรณ์เครือ่ งจักร และก่อสร้างโครงการส่วนขยาย เป็นทีเ่ รียบร้อย แล้ว ท�ำให้การก่อสร้างสามารถเริ่มด�ำเนินการได้ในเดือนกันยายน ศกนี้ และมีก�ำหนดแล้วเสร็จเพื่อเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ในเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 โครงการผลิตไฟฟ้านวนคร เป็นผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) ประเภทสัญญา Firm ระบบโคเจนเนอเรชั่น ตั้งอยู่ในเขตส่งเสริม อุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดปทุมธานี โครงการระยะที่ 1 มีก�ำลัง การผลิต 125 เมกะวัตต์ และก�ำลังการผลิตไอน�้ำประมาณ 30 ตัน ต่อชั่วโมง ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลัก เริ่มเดินเครื่องผลิต ไฟฟ้าเชิงพาณิชย์แล้ว เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2559 เพื่อผลิตกระแส ไฟฟ้าและจ�ำหน่ายให้กบั การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ภายใต้ สัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าที่ 90 เมกะวัตต์ ระยะเวลา 25 ปี โดยไฟฟ้าและ ไอน�ำ้ ส่วนทีเ่ หลือจะจ�ำหน่ายให้กบั ลูกค้าอุตสาหกรรมในเขตส่งเสริม อุตสาหกรรมนวนคร ส�ำหรับโครงการผลิตไฟฟ้านวนครส่วนขยาย ระยะที่ 2 มีก�ำลังการผลิตประมาณ 60 เมกะวัตต์ และไอน�้ำ 10 ตัน ต่อชั่วโมง จ�ำหน่ายโดยตรงแก่ลูกค้าอุตสาหกรรม
บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) น�ำโดย กิจจา ศรีพฑ ั ฒางกุระ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) เข้ารับรางวัล “หุน้ ยัง่ ยืน” หรือ Thailand Sustainability Investment (THSI) จาก ดร.ภากร ปีตธวัชชัย กรรมการและผูจ้ ดั การ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในพิธปี ระกาศผลและมอบรางวัล ด้านความยัง่ ยืน SET Sustainability Awards 2018 ซึง่ บริษทั ฯ ได้รบั รางวัลดังกล่าวเป็น ปีที่ 4 ติดต่อกัน สะท้อนถึงการด�ำเนินธุรกิจตามแนวทางการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ทีส่ ร้าง ความเติบโตทางธุรกิจควบคู่กับความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนให้ความ ส�ำคัญกับการดูแลสังคม สิง่ แวดล้อม และบรรษัทภิบาล หรือ ESG (Environmental, Social and Governance) ปีนี้มีบริษัทจดทะเบียนที่ผ่านการคัดเลือกอยู่ในกลุ่มหุ้นยั่งยืน จ�ำนวน 79 บริษัท จากบริษัทที่ผ่านเกณฑ์คัดกรองคุณสมบัติเบื้องต้น 623 บริษัท November-December 2018
สํานักงานเพื่อการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (สกรศ.) > โครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
ความคืบหน้า
โครงการ EEC
เพื่อสร้างความเชื่อมั่น แก่นักลงทุน ส� ำ นั ก งานเพื่ อ การพั ฒ นาระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ภาคตะวันออก (สกรศ.) พร้อมด้วย ส�ำนักงานส่งเสริมการลงทุน (BOI) และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ร่วมแถลง รายละเอียดความคืบหน้าการลงทุน การปรับตัวของภาคอุตสาหกรรม ในพื้นที่โครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เพื่อ สร้างความเชื่อมั่นแก่นักลงทุนชาวไทยและชาวต่างชาติในการ เข้ามาร่วมลงทุนเพิ่มเติม ดร.วีรพงศ์ ไชยเพิ่ม ผู้เชี่ยวชาญพิเศษด้านการลงทุน อุ ต สาหกรรมเป้ า หมาย คณะกรรมการนโยบายส� ำ นั ก งาน เพื่อการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (สกรศ.) กล่าวว่า นับตั้งแต่ พ.ศ. 2520 ทีท่ างรัฐบาลได้ดำ� เนินโครงการ อีสทิรน์ ซีบอร์ด จากนัน้ กว่า 30 ปี ก็ไม่มีโครงการใหม่ๆ ที่จะมา ต่อยอดโครงการอีสทิรน์ ซีบอร์ด ดั ง นั้ น การพั ฒ นาโครงการ ระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาค ตะวันออก (EEC) ถือเป็นการ ต่อยอดโครงการเดิม โดย EEC นี้ จะขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยนวั ต กรรม และเทคโนโลยี ต ามนโยบาย Thailand 4.0
ตามแผนการด�ำเนินการนั้น ช่วง พ.ศ. 2560-2565 จะเป็น World-Class Economic Zone เร่งพัฒนาพื้นที่ Hub ส�ำหรับภาค อุตสาหกรรม ครอบคุลมพื้นที่อีสเทิร์นซีบอร์ดเดิม และเพิ่มเติม พื้นที่ EEC ในพื้นที่ 3 จังหวัด ได้แก่ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง เพื่อพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมไทย โดยเฉพาะอุตสาหกรรม ชิน้ ส่วนยานยนต์ของไทยและอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ทนี่ กั ลงทุน ชาวญี่ปุ่นได้เข้ามาร่วมบุกเบิกกับนักธุรกิจชาวไทยในช่วงก่อตั้ง อีสเทิร์นซีบอร์ดให้กลับมาเฟื่องฟูอีกครั้ง ตลอดช่วง 1 ปีทผี่ า่ นมา การด�ำเนินงานได้คบื หน้าในระดับหนึง่ ผู ้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก หน่ ว ยงานได้ มี ก ารประชุ ม ติ ด ตามรายงานผล ความคืบหน้าการท�ำงานในส่วนต่างๆ เดือนละ 2-3 ครัง้ โครงการทีม่ ี ความคืบหน้า เช่น การลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐานและระบบโลจิสติกส์ การคมนาคมทางถนน ทางอากาศ และทางน�้ำ ให้มีการเชื่อมโยง อย่างไร้รอยต่อ ความคืบหน้าไปถึงขั้นไหน มีปัญหาหรือข้อติดขัด อย่างไรบ้าง เพือ่ ให้โครงสร้างพืน้ ฐานและระบบโลจิสติกส์ซงึ่ ถือเป็น หัวใจหลักที่ส�ำคัญต้องแล้วเสร็จก่อนภาคส่วนอื่นๆ เพื่อที่จะเข้าไป ด�ำเนินการในพื้นที่ EEC ได้สะดวกยิ่งขึ้น ในส่วนของงบประมาณการลงทุนนัน้ รัฐบาลคาดว่าจะใช้งบ การลงทุนไม่น้อยกว่า 1.5 ล้านล้านบาท ภายใน 5 ปี เพื่อรองรับ การพัฒนาอุตสาหกรรมการลงทุนใน 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ประกอบด้วย 1.อุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 2.อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ 3.อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อัจฉริยะและหุ่นยนต์ 4.อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร 5.การเกษตร November-December 2018
เทคโนโลยีชีวภาพ 6.เชื้อเพลิงและเคมีชีวภาพ 7.อุตสาหกรรม การบิน 8.อุตสาหกรรมโลจิสติกส์ 9.อุตสาหกรรมดิจทิ ลั 10.การแพทย์ ครบวงจร และเพิม่ เติมในส่วนอุตสาหกรรมป้องกันประเทศทุกรูปแบบ งบประมาณแบ่งเป็นการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย ประมาณ 5 แสนล้านบาท การลงทุนด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน 3 เส้นทาง ครอบคลุมทางถนน ทางอากาศ และทางน�ำ้ ประมาณ 4 แสนล้านบาท การลงทุนเพือ่ การพัฒนาเมืองใหม่ สร้างโรงพยาบาล โรงเรียน ทีอ่ ยู่ อาศัยนักลงทุน ประชาชน ภาคส่วนต่างๆ ประมาณ 4 แสนล้านบาท และการลงทุนด้านการท่องเที่ยวเชิงคุณภาพและสุขภาพประมาณ 2 แสนล้านบาท การส่งเสริมและพัฒนาจะแบ่งเป็น 6 เขต คือ 1. เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษไบโอเทคโนโลยีและอาหาร จังหวัด ฉะเชิงเทรา 2. เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษยานยนต์อนาคต จังหวัดชลบุรี 3. เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษท่าเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี 4. เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษอุปกรณ์อากาศยาน จังหวัดระยอง 5. เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษอุตสาหกรรมปิโตรเคมี และไบโออีโคโนมี จังหวัดระยอง 6. เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษสนามบินอู่ตะเภาและพื้นที่ข้างเคียง จังหวัดระยอง นอกจากนัน้ แบ่งพืน้ ทีเ่ พือ่ การลงทุนใน 10 กลุม่ อุตสาหกรรม เป้าหมายประมาณ 70,259 ไร่ โดยค�ำนึงถึงการใช้พนื้ ทีใ่ ห้เกิดประโยชน์ สูงสุดแก่ทุกๆ หน่วยงานพันธมิตรที่เข้ามาร่วมพัฒนาพื้นที่ รวมทั้ง มีแผนการจัดการทางด้านสิ่งแวดล้อมในระดับสากล ประกอบด้วย อุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม 18,000 ไร่ อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ อิเล็กทรอนิกส์อจั ฉริยะและหุน่ ยนต์ 7,259 ไร่ อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร การเกษตรเทคโนโลยีชวี ภาพ เชือ้ เพลิงชีวภาพ 21,500 ไร่ อุตสาหกรรมการบิน 500 ไร่ อุตสาหกรรม โลจิสติกส์ 20,000 ไร่ อุตสาหกรรมดิจิทัลและการแพทย์ครบวงจร 3,000 ไร่ และอุตสาหกรรมป้องกันประเทศที่เพิ่มเข้ามาใหม่อีก 100 ไร่ เนื่องจากที่ผ่านมาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศที่ใช้ใน ประเทศไทยนั้นเป็นการคิดค้นและใช้เองภายในประเทศ แต่ยังไม่ สามารถทีจ่ ะท�ำการส่งออกเพือ่ จ�ำหน่ายเชิงพาณิชย์ไปยังต่างประเทศ ทัง้ ยุทโธปกรณ์ทางทหาร รถถัง จรวด อาวุธอืน่ ๆ ทางรัฐบาลต้องการ ให้นกั ลงทุนชาวไทยและชาวต่างชาติเข้ามาร่วมลงทุนและถ่ายทอด เทคโนโลยีเหล่านี้ร่วมกันในอนาคตด้วย ซึ่งในเบื้องต้นประเทศ สหรัฐอเมริกา ประเทศในยุโรปทีเ่ ขามีการพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศ ได้แสดงความสนใจทีจ่ ะเข้ามาลงทุนแล้ว 3-5 ราย ผ่านการ โรดโชว์ทั้งในและต่างประเทศเพื่อชักชวนนักลงทุนทั่วทุกมุมโลก เข้ามาลงทุนและตั้งฐานการผลิตที่ประเทศไทยให้ในอุตสาหกรรม ต่างๆ ตามที่ก�ำหนดไว้ เพื่อสร้างความเชื่อมั่น เสริมความแข็งแกร่ง ในการด�ำเนินโครงการ EEC
November-December 2018
อย่างไรก็ตาม มีขอ้ กังวลว่าหลังการเลือกตัง้ โครงการพัฒนา พื้นที่ EEC จะเกิดสุญญากาศ หรือต้องชะลอออกไปหรือไม่นั้น ตามแผนการพัฒนาพื้นที่ EEC มีการวางขั้นตอนการด�ำเนินการ มีคณะกรรมการนโยบายสาํ นักงานเพือ่ การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก (สกรศ.) ดูแลในทุกๆ ส่วนของการท�ำงานให้ เดินหน้าตามก�ำหนดการและแผนที่วางเอาไว้เป็นสัดส่วน แม้มีการ เลือกตั้ง หรือยังไม่ได้รัฐบาลใหม่เข้ามาสานต่อโครงการ ก็สามารถ ขับเคลื่อนไปได้อย่างต่อเนื่องตามแผน 5 ปีอย่างแน่นอน
อุตสาหกรรมเป้าหมายจะได้รบ ั ยกเว้นภาษีสูงสุด
อัจฉรา สุนทรครุฑ ผูอ้ ำ� นวยการกองยุทธศาสตร์และแผน ส�ำนักงานส่งเสริมการลงทุน (BOI) กล่าวว่า BOI มีการจัดการ ส่งเสริมการลงทุนในทุกรูปแบบแก่นกั ลงทุนชาวไทยและชาวต่างชาติ และมีสิทธิประโยชน์มอบให้แก่นักลงทุนที่เข้ามาลงทุนในพื้นที่ EEC ตามยุทธศาสตร์ส�ำคัญ เช่น การถ่ายทอดเทคโนโลยี ให้แก่ผู้ประกอบการชาวไทย โดยเฉพาะกลุ่มผู้ประกอบการ รายย่อยหรือ SME การสร้าง นวัตกรรมสีเขียว Green Industry การสร้างนวัตกรรมลดค่าใช้จา่ ย เกี่ยวกับพลังงาน ของเสียใน รูปแบบต่างๆ ตามนโยบายของ รัฐบาลได้วางเอาไว้ในแต่ละ อุตสาหกรรม ส่วนเรื่องการลดหย่อน ภาษีนั้น ทาง BOI ได้หารือกับกรมสรรพากรเพื่อขอลดหย่อนภาษี เงินได้บคุ คลธรรมดาให้กบั ผูเ้ ชีย่ วชาญ นักวิจยั และบุคลากรทีอ่ นื่ ๆ ที่จะเข้าไปร่วมท�ำงานในพื้นที่ EEC ลดหลั่นกันตามวัตถุประสงค์ ในการลงทุน อาทิ ถ้าลงทุนในอุตสาหกรรม AI ซึ่งเป็นการลงทุนใน อุตสาหกรรมฐานความรูท้ เี่ น้นงานวิจยั การออกแบบทีท่ นั สมัยตาม เป้าหมาย ก็จะได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นติ บิ คุ คลสูงสุดคือ 8 ปี ไม่จำ� กัด วงเงิน เพราะถือเป็นการลงทุนเพือ่ ความมัน่ คงและยัง่ ยืนตามเกณฑ์
Technology-Based Incentives ก็จะให้สิทธิประโยชน์พิเศษกับ การลงทุนเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีเป้าหมายที่ไทยมีศักยภาพ ส�ำหรับใน พ.ศ. 2560 ทีผ่ า่ นมานักการลงทุนต่างชาติทเี่ ข้ามา ลงทุนใน EEC อันดับ 1 ได้แก่ นักลงทุนจากประเทศญี่ปุ่น อันดับ 2 เป็นนักลงทุนชาวจีน และอันดับ 3 เป็นนักลงทุนในยุโรปและประเทศ ในเอเชียเริ่มเข้ามาขอรับการลงทุนเพิ่มขึ้น และมีโครงการที่ได้รับ อนุมตั ลิ งทุนในประเทศไทยรวม 1,227 โครงการ มูลค่ารวม 625,080 ล้านบาท โดยเป็นการอนุมตั ใิ ห้สง่ เสริมการลงทุนใน 10 อุตสาหกรรม เป้าหมาย จ�ำนวน 588 โครงการ มีมูลค่ารวม 201,627 ล้านบาท โดยจ�ำนวนนี้มีโครงการที่ได้รับอนุมัติลงทุนในพื้นที่เขตเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก 259 โครงการ มูลค่ารวม 310,337 ล้านบาท ส่วนใน พ.ศ. 2561 นีค้ าดว่าจะมียอดค�ำขอรับการส่งเสริมการลงทุน ใน EEC เพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 300,000 ล้านบาท ใน 600 โครงการ
เร่งส่งเสริมการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาร่วมทำ�งานมากขึ้น
สุพนั ธ์ มงคลสุธี ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่า ผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมของไทยมีหลาย ประเภท ทั้งคนรุ่นเก่าที่ไม่มี โอกาสได้ ใช้ น วั ต กรรมและ เทคโนโลยีใดๆ เข้ามาท�ำงาน ในโรงงานหรื อ ในกิ จ การเลย กับผูป้ ระกอบการรายใหม่ๆ ซึง่ ส่วนใหญ่จะเป็นรุน่ ลูกรุน่ หลาน ทีไ่ ด้มโี อกาสเรียนรูใ้ นนวัตกรรม และเทคโนโลยีตา่ งๆ ทีท่ นั สมัย ทีเ่ ข้ามามีบทบาทส�ำคัญในการ ท�ำธุรกิจในยุค Thailand 4.0 เช่น การสร้างเครือข่ายการค้าขาย การท�ำธุรกิจผ่านโซเชียลเน็ตเวิรก์ เข้าใจเรื่อง Startup, Big Data, Blockchain, Facebook, Line และ AI หากผู้ประกอบการรายใดที่สามารถเข้าถึงนวัตกรรมและ เทคโนโลยีทที่ นั สมัยเหล่านีแ้ ล้วน�ำมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ เชือ่ ว่า
อุตสาหกรรมจะมีการพัฒนาและได้รบั การเชือ่ ถือจากตลาดทีเ่ ปลีย่ น ไปมากขึ้น แต่หากไม่เปิดใจยอมรับการเปลี่ยนแปลง คิดว่ายังไม่มี ความจ�ำเป็น ขายของแบบเดิมๆ ผลิตแบบเดิม ก็จะไม่สามารถทีจ่ ะ อยู่ในธุรกิจแวดวงอุตสาหกรรมนั้นๆ ได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการที่นำ� นวัตกรรมและเทคโนโลยี มาใช้ก็ควรที่จะรู้เท่าทันในสิ่งเหล่านั้นด้วย เพราะทุกๆ อย่างมีทั้ง คุณและโทษ หากไม่มีความเข้าใจก็ควรมีที่ปรึกษา ซึ่งในปัจจุบันนี้ มีหน่วยงานภาครัฐและเอกชนมากมายที่พร้อมจะให้ค�ำปรึกษา อุตสาหกรรมธุรกิจของท่าน ท่านไม่ได้ทำ� ธุรกิจประกอบอุตสาหกรรม เพียงล�ำพัง เพียงแต่ควรเปิดใจรับสิ่งใหม่ๆ สิ่งที่ดีก็เลือกไปปรับใช้ สิ่งที่ไม่ดีก็ทิ้งไป อีกประเด็นทีท่ ำ� ให้ผปู้ ระกอบการไทย โดยเฉพาะผูป้ ระกอบการ SME ทีอ่ ยูร่ อด เข้มแข็งได้ในปัจจุบนั มีจำ� นวนไม่มากนักนัน้ ส่วนใหญ่ มาจากการเข้าถึงแหล่งข้อมูลทีส่ นับหนุนค่อนข้างยาก เงินลงทุนใน ระยะยาวมีนอ้ ย แนะน�ำว่าให้เข้าไปปรึกษาหน่วยงานของกระทรวง อุตสาหกรรม กระทรวงพาณิชย์ มหาวิทยาลัย ทีม่ ขี อ้ มูล มีเจ้าหน้าที่ คอยให้ค�ำแนะน�ำและปรึกษาได้ตรงจุด ส่วนสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย ซึ่งมีสมาชิกในสังกัดกว่า 20,000 คนนั้นก็พร้อมที่จะ แนะน�ำการท�ำธุรกิจในอุตสาหกรรมต่างๆ เพียงแต่ต้องแจ้งความ ประสงค์ว่าต้องการองค์ความรู้ ต้องการให้ช่วยในเรื่องใด จะได้จัด เจ้าหน้าทีเ่ ข้าไปดูแลได้ตรงกับความต้องการ เชือ่ ว่าผูป้ ระกอบการทุกๆ คนอยากเป็นผู้ประกอบการที่ประสบความส�ำเร็จในการท�ำธุรกิจ ด้วยกันทัง้ นัน้ ดังนัน้ สิง่ แรกทีผ่ ปู้ ระกอบการทีต่ อ้ งการประสบความ ส�ำเร็จในยุคนีต้ อ้ งมีคอื MindSet ปรับกระบวนการความคิด ไม่เข้าใจ การท�ำงานขั้นตอนไหนรีบหาความรู้เพิ่มเติม ต้องท�ำบัญชีอย่าง สม�่ำเสมอ เพื่อให้ทราบรายรับรายจ่ายที่แท้จริง เพื่อน�ำมาประเมิน ก�ำไรขาดทุน นอกจากนั้นต้องรู้จักน�ำประสบการณ์ของนักธุรกิจที่ประสบ ความส�ำเร็จทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติมาปรับใช้ เพื่อให้ภาค อุตสาหกรรมไทยเกิดการสร้างรายได้กระจายตัว ไม่ใช่โตกระจุก จนกระจายอย่างปัจจุบันอีกต่อไป
November-December 2018
เมืองอัจฉริยะและศูนย์ข้อมูล
(Smart City & Data Center)
สมาคมวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์แห่งประเทศไทย (IEEE Thailand Section), IEEE Power & Energy Society - Thailand Chapter จัดสัมมนาเชิงวิชาการ “เมืองอัจฉริยะ และศูนย์ขอ้ มูล : แนวคิด การออกแบบ และกรณีศกึ ษา” ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสริ กิ ติ ิ์ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและการบริหารจัดการองค์กรหรือเมืองให้มีประสิทธิภาพตาม นโยบาย Thailand 4.0 และเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจในระบบสมาร์ตซิตี้ (Smart City) หรือเมืองอัจฉริยะ และศูนย์ข้อมูล (Data Center) ซึ่งการจัดสัมมนาครั้งนี้มีผู้สนใจเข้าร่วม สัมมนากว่า 100 คน โดยงานสัมมนาครัง้ นี้ ได้รบั เกียรติจาก ผศ. ดร.จิตรเกษม งามนิล นายกสมาคมวิศวกร ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์แห่งประเทศไทย (IEEE Thailand Section) กล่าวเปิดงานสัมมนา และ ผศ. ดร.นพพร ลีปรีชานนท์ ภาควิชาไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และกรรมการบริหาร IEEE Power & Energy Society - Thailand Chapter เป็นผู้ด�ำเนินงานสัมมนา
November-December 2018
IEEE Power & Energy Series:
Power Engineering
ขอเชิญเข าร วมงานสัมมนาเชิงว�ชาการ ครั้งที่ 2
สถานี ไฟฟ าแรงสูง:
ข อกำหนดการเชือ่ มต อ, การออกแบบ, การทดสอบและการนำเข าใช งาน
High Voltage Substation: Connection Code, Design, Testing and Commissioning
วันที่ 25 -27 กุมภาพันธ 2562
ณ ห อง Lotus ศูนย การประชุมแห งชาติสิร�กิติ์
Substation automation protection and control system with IEC 61850 station bus
IEC 61850 process bus, connecting the switchyard ti the protection and control system
Non-conventional instrument transformers increase safety and reduce footprint
Merging units, bridging the gap between analog and digital world. Compliant to IEC 61850
Source : ABB
หมายเหตุ : วิทยากรอยูระหวางการทาบทาม อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
ขอกำหนดการเชื่อมตอสถานีไฟฟาเอกชนระดับแรงดัน 115 เควี และขอกำหนดที่สำคัญในการออกแบบสถานีไฟฟา รูปแบบการจัดวาง และประเภทของสถานีไฟฟาแรงสูง การจัดสัมพันธทางฉนวนและการเลือกกับดักเสิรจของสถานีไฟฟาแรงสูง การออกแบบและการคำนวณหาแรงทางกลและระยะตกหยอนของบัส, การปองกันฟาผา, ระบบลงดิน การทดสอบอุปกรณ และระบบสถานีไฟฟา และการนำเขาใชงาน ระบบปองกันและการบำรุงรักษาสถานีไฟฟา โดย ผูเชี่ยวชาญจาก การไฟฟานครหลวง การไฟฟาสวนภูมิภาค สถาบันการศึกษา ผูประกอบการ และผูผลิต
www.greennetworkseminar.com/substation
November-December 2018
เวทีเสวนา IEEE PES Dinner Talk 2018 ชูประเด็น Disruptive Technology ฉายภาพอนาคตการพลิกโฉมธุรกิจ ไฟฟ้าและพลังงาน ชี้ทุกภาคส่วนต้องเร่งปรับตัว บูรณาการ เทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ ยกระดั บ ศั ก ยภาพการผลิ ต ไฟฟ้ า และ พลังงาน เสริมสกุล คล้ายแก้ว ผูว้ า่ การการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ในฐานะ Chairman, IEEE Power & Energy Society - Thailand ได้กล่าวถึง การจัดงาน IEEE PES Dinner Talk 2018 ว่า งาน IEEE PES Dinner Talk 2018 ในปีนจี้ ดั ขึน้ ภายใต้หวั ข้อ “Disruptive Technology for Thailand Grid and Energy Supplies of the Future : พลิกโฉมธุรกิจไฟฟ้าและพลังงานในอนาคต” เนือ่ งจากตระหนักดี ถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ท�ำให้การพัฒนาไฟฟ้าและพลังงานในประเทศไทยต้องปรับตัว เพือ่ รองรับกระแสการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีที่ก�ำลังเข้ามาหรือ Disruptive Technology ซึง่ จะท�ำให้อตุ สาหกรรมไฟฟ้าและพลังงาน เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้น จึงต้องมีการพัฒนาเทคโนโลยีการบริหาร จัดการพลังงานและการควบคุมสัง่ การระบบไฟฟ้าให้มปี ระสิทธิภาพ และมีความอัจฉริยะเพิ่มมากขึ้น หรือการพัฒนาระบบ Smart Grid เพื่อรองรับรูปแบบการผลิต ส่งและจ�ำหน่ายไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงไป
งาน IEEE PES Dinner Talk 2018 ได้รับเกียรติจาก ดร.ศิริ จิระพงษ์พันธ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน มากล่าวเปิดงาน และแสดงปาฐกถาหัวข้อ “มุมมองภาพพลังงานในอนาคต” โดย ภายในงานยังได้จดั ให้มเี สวนา หัวข้อเรือ่ ง “Disruptive Technology for Thailand Grid and Energy Supplies of the Future : พลิกโฉมธุรกิจไฟฟ้าและพลังงานในอนาคต” มีผู้ร่วมเสวนา ประกอบด้วย วิบูลย์ ฤกษ์ศิระทัย ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ รองผู้ว่าการวิชาการและ บริหารพัสดุ รักษาการผูว้ า่ การการไฟฟ้านครหลวง สมพงษ์ ปรีเปรม รองผู้ว่าการวางแผนและพัฒนาระบบไฟฟ้า การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และ วิทวัส สวัสดิ-์ ชูโต ประธานเจ้าหน้าทีเ่ ทคโนโลยีและวิศวกรรม บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ด�ำเนินรายการช่ว งเสวนาโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นพพร ลีปรีชานนท์ หัวหน้าภาควิชา วิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ และด�ำเนินรายการโดย ดร.อริสรา ก�ำธรเจริญ ผู้ประกาศข่าวและพิธีกร ภายในงานดังกล่าว คณะท�ำงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 ได้เข้าร่วมงานเพื่อจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์งาน IEEE PES GTD ASIA 2019 ที่จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 19-23 มีนาคม พ.ศ. 2562 ณ ศูนย์นทิ รรศการและการประชุมไบเทค บางนา โดยจัดตัง้ บูธและ กิจกรรมภายในบริเวณงาน เพือ่ เชิญชวนให้ผทู้ เี่ ข้าร่วมงาน IEEE PES Dinner Talk 2018 ร่วมเป็นผู้สนับสนุนการจัดงานด้วยการออกบูธ นิทรรศการ น�ำเสนอความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อการผลิตไฟฟ้าและพลังงาน และลงทะเบียนรับข้อมูลข่าวสาร งาน IEEE PES GTD ASIA 2019 ทีก่ ำ� ลังจะเกิดขึน้ ผ่านโซเชียลมีเดีย ด้วย
November-December 2018
Article
> สุพรรณ บุญสุยา สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)
ปัม๊ สุญญากาศแบบสปัตเตอร์ไอออน (Sputter Ion Pump) เป็นปัม๊ ทีเ่ หมาะ ส�ำหรับงานที่ต้องการความเป็นสุญญากาศระดับสูงยิ่งยวด (Ultra High Vacuum : UHV) ที่ความดันประมาณ 10-8 torr-10-11 torr ปั๊มชนิดนี้ไม่มีชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ จึงไม่มีการสั่นสะเทือน ดังนั้นจึงเหมาะส�ำหรับงานที่ต้องการความละเอียดและ เที่ยงตรงสูง เช่น งานวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เครื่องเร่งอนุภาค เป็นต้น สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) มีความพร้อมในการออกแบบและ สร้างปั๊มสุญญากาศชนิดนี้ เพื่อเป็นต้นแบบในการศึกษาและพัฒนาองค์ความรู้ ทางด้านเทคโนโลยีสญ ุ ญากาศ ทดแทนการน�ำเข้า และใช้งานจริงภายในสถาบันต่อไป ซึ่งถือเป็นการพัฒนาเทคโนโลยีขององค์กรภาครัฐขึ้นมาใช้ประโยชน์จริงโดยฝีมือ คนไทย
หลักการทำ�งานของ Sputter Ion Pump
โครงสร้างภายในของปัม๊ แบบสปัตเตอร์ไอออน ประกอบด้วย ขั้วแอโนด (Anode) ซึ่งผลิตจากสเตนเลสเกรดพิเศษ SUS316L ทรงกระบอก ขัว้ แคโทด (Cathode) ผลิตจากแผ่นไททาเนียมบริสทุ ธิ์ วางประกบกันในระยะห่างที่เหมาะสม อยู่ภายใต้สนามแม่เหล็ก ที่เกิดจากแม่เหล็กถาวรที่วางอยู่ด้านนอกถังสุญญากาศ ปั๊มแบบ สปัตเตอร์ไอออนมีหลักการท�ำงาน ดังนี้ 1. จ่ายแรงดันไฟฟ้าทีป่ ระมาณ 3,000-7,000 โวลต์ ให้กบั ขัว้ แอโนด และแคโทดทีว่ างอยูภ่ ายใต้สนามแม่เหล็กเพือ่ ท�ำให้เกิด Plasma ขึ้นบริเวณดังกล่าว 2. อิเล็กตรอนจะถูกเร่งให้หลุดออกมาจากแผ่นแคโทด แล้ว เคลือ่ นทีเ่ ป็นรูปเกลียวตามแนวของสนามแม่เหล็กไปยัง แอโนด 3. ในระหว่างการเคลือ่ นที่ อิเล็กตรอนจะชนเข้ากับโมเลกุล ของอากาศ ท�ำให้อากาศเกิดการแตกตัวเป็นไอออนบวก ที่มีความเร่งพุ่งเข้าชนแผ่นแคโทด
4. ไอออนบวกที่พุ่งชนแผ่นแคโทดจะฝังตัวอยู่ในแผ่นแคโทด และ ท�ำให้อะตอมของไททาเนียมหลุดออกมาในลักษณะที่เรียกว่า Sputtering 5. อะตอมของไททาเนียมทีห่ ลุดออกมาจะวิง่ เข้าไปเกาะตัวรวมกัน เป็นฟิลม์ บางอยูท่ ผี่ วิ ภายในทรงกระบอกของแอโนด ซึง่ ฟิลม์ ของ ไททาเนียมนี้มีคุณสมบัติที่ดีเลิศในการดูดจับกับโมเลกุลแก๊ส เรียกว่า Chemisorption ดังนัน้ โมเลกุลของแก๊สจึงถูกปัม๊ ดูดจับไว้ ที่ผิวภายในทรงกระบอกของแอโนดนั่นเอง
รูปที่ 1 แสดงการทำ�งานของ Sputter Ion Pump
การออกแบบ Sputter Ion Pump
การออกแบบมีปัจจัยพื้นฐานที่ต้องพิจารณาหลายอย่าง เช่น ขนาดแรงดันไฟฟ้า ความเข้มสนามแม่เหล็ก Discharge Intensity ขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางของทรงกระบอกแอโนด (Cell) จ�ำนวนทรงกระบอก แอโนด ระยะห่างระหว่างแอโนดกับแคโทด ความดันทีใ่ ช้งาน และอืน่ ๆ จากการศึกษาและออกแบบ Sputter Ion Pump ขนาด Pumping Speed 150 l/s สามารถก�ำหนดค่าองค์ประกอบทีใ่ ช้ในการสร้างได้ ดังนี้ Magnetic Field 1,000-1,500 gauss Anode Cell Diameter (ID) 25.4 mm. Anode Cell Length 25.4 cm. Number of Anode Cell 30 pcs. Anode to Cathode Spacing 10 mm. November-December 2018
รูปที่ 2 การใช้โปรแกรมออกแบบโครงสร้างปั๊ม
ส่วนประกอบของ Sputter Ion Pump
วัสดุที่ใช้เป็นส่วนประกอบหลักของ Sputter Ion Pump คือ Pump Body Stainless Steel (SUS316L or SUS304L) Anode Stainless Steel (SUS316L) Cathode Titanium Grade A. Magnet Ferrite Magnet 1,000-1,500 gauss Insulator Alumina Al2O3
การสร้าง Sputter Ion Pump
เมือ่ ท�ำการออกแบบโครงสร้างและชิน้ ส่วนเรียบร้อยแล้ว จึงด�ำเนินการ สร้างและผลิตชิ้นส่วนต่างๆ ของ Sputter Ion Pump ต่อไป หลังจากการสร้างและผลิตชิ้นส่วนต่างๆ แล้วเสร็จ จึงเข้าสู่ขั้นตอน ท�ำความสะอาด แล้วจึงน�ำมาประกอบ ติดตั้งและทดสอบประสิทธิภาพ การท�ำงานของทั้งระบบ
การทดสอบประสิทธิภาพ
จากการทดสอบการท�ำงานพบว่า Sputter Ion Pump ขนาด 150 l/s ทีส่ ร้างขึ้นนีส้ ามารถสร้างสภาวะสุญญากาศ ได้ค่าความดันต�ำ่ สุด (Ultimate Pressure) 3.2 x 10-10 torr
ทดสอบการท�ำงานของ Sputter Ion Pump Electropolish Anode Cell
Helium Leak Test
Ultimate Pressure Magnets Assembly
Magnetic Field Test
รูปที่ 4 แสดงการทดสอบประสิทธิภาพการทำ�งาน ของระบบ Sputter Ion Pump
บทสรุป
Pumping Elements Assembly
Sputter Ion Pump 150 l/s
รูปที่ 3 แสดงการทำ�ความสะอาด ประกอบ และติดตั้ง ระบบ Sputter Ion Pump
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) มี ความพร้อมทางด้านเครือ่ งมือและบุคลากรทีม่ คี วามสามารถ ในการสร้างปัม๊ สุญญากาศแบบไอออน Sputter Ion Pump ใช้ได้เองเป็นแห่งแรกในประเทศไทย ด้วยต้นทุนที่ถูกกว่า น�ำเข้าจากต่างประเทศถึงเท่าตัว ถือเป็นการพัฒนาองค์ความรู้ ทางด้ า นเทคโนโลยี สุ ญ ญากาศขั้ น สู ง ภายในประเทศ สามารถน�ำไปต่อยอดพัฒนาเป็นนวัตกรรมส�ำหรับภาค อุตสาหกรรมที่ต้องการใช้งานสุญญากาศได้หลากหลาย ในอนาคต November-December 2018
Special Scoop > กองบรรณาธิการ
บริษทั เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด ฉลองครบรอบ 126 ปี สานต่อเจตนารมณ์ในการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน มุง่ เน้น สนับสนุนการเติบโตทางเศรษฐกิจ ร่วมดูแลสังคมและ ส่งเสริมคุณภาพชีวิต ด้วยกลยุทธ์ “พลังงานสะอาด เพิ่ม ประสิทธิภาพ และดีตอ่ สิง่ แวดล้อม” (More & Cleaner Energy) พร้อมมุ่งพัฒนาทรัพยากรบุคคลของประเทศด้วยนโยบาย “Believe-Become-Belong” ทั้งนี้เพื่อตอบสนองความ ต้องการด้านพลังงานของประเทศไทย โดยเน้นความร่วมมือ ในการเปลีย่ นผ่านพลังงานสูอ่ นาคต ซึง่ ทุกภาคส่วนมีความ ต้องการพลังงานทีเ่ พิม่ ขึน้ เหมาะสมกับการพัฒนาประเทศ ในขณะเดียวกันก็จำ� เป็นอย่างยิง่ ในการร่วมกันลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก เพือ่ คุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ ของคนในประเทศ
เชลล์ ประเทศไทย ฉลองครบรอบ 126 ปี ในไทย
อัษฎา หะรินสุต November-December 2018
อัษฎา หะรินสุต ประธานกรรมการ บริษทั เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด กล่าวว่า “ในฐานะที่เป็นบริษัทด้านพลังงานแห่งแรกในไทย เชลล์ ประเทศไทย ภูมิใจเป็นอย่างยิ่งที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาประเทศ และสังคมมาตลอด 126 ปี และในฐานะหนึง่ ในผูน้ ำ� ด้านพลังงานและน�ำ้ มัน เชื้อเพลิง เรามีความมุ่งมั่นในการขับเคลื่อนการพัฒนาอย่างยั่งยืนด้วยการ ให้ความส�ำคัญกับการบริหารจัดการพลังงานที่มีประสิทธิภาพและสะอาด ยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายระดับโลกของเราในการลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกลง 20% ภายในปี พ.ศ. 20351 เราเชือ่ ว่าแผนพัฒนาของเราจะเป็นไป ในทิศทางเดียวกันกับการมุ่งสู่เป้าหมายด้านความยั่งยืน รวมถึงสนับสนุน นโยบายภาครัฐในการเดินหน้าขับเคลื่อนประเทศไทยภายใต้นโยบาย ไทยแลนด์ 4.0” ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2435 ทีเ่ ชลล์ได้เริม่ ต้นด�ำเนินธุรกิจในไทย บริษทั ได้ชว่ ย ยกระดับการพัฒนานวัตกรรมพลังงานและคุณภาพการผลิตน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง ในประเทศ โดยในปีนบี้ ริษทั ด�ำเนินกลยุทธ์ “พลังงานสะอาด เพิม่ ประสิทธิภาพ และดีต่อสิ่งแวดล้อม” เพื่อบรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาพลังงานเพื่อ ความยั่งยืน โดยมีองค์ประกอบหลัก 3 ด้าน คือ การพัฒนาด้านนวัตกรรม การร่วมมือกันของทุกฝ่าย และการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวติ ของคน ในประเทศไทย นอกจากนี้ เชลล์ ประเทศไทยยังสร้างสรรค์โครงการเพือ่ สังคม อย่างต่อเนือ่ ง โดยให้ความส�ำคัญกับการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพือ่ ปกป้องดูแลสิง่ แวดล้อม มาตรการความปลอดภัยทางถนน รวมถึงการพัฒนา ทรัพยากรบุคคลเพื่อชีวิตความเป็นอยู่อย่างพอเพียง
การพัฒนาด้านนวัตกรรม ความมุ่งมั่นในการชดเชยคาร์บอนให้เป็นศูนย์ โดยเน้นการลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพื่อปกป้องดูแลสิ่งแวดล้อม คือแนวทางในการ เปลีย่ นผ่านด้านพลังงานเพือ่ ความยัง่ ยืน เชลล์ ประเทศไทย ได้เริม่ การรณรงค์ ตั้งแต่ภายในองค์กร สร้างจิตส�ำนึกให้มีความรับผิดชอบในการใช้พลังงาน รวมถึงการวางเป้าหมายด้านการผลิตพลังงานที่มีรูปแบบเหมาะสม เพิ่ม ประสิทธิภาพ อีกทั้งยังให้ความส�ำคัญกับนวัตกรรมพลังงานที่มีคุณภาพ การจัดการขยะอย่างเป็นระบบ ตลอดจนการพัฒนาพลังงานทางเลือกใหม่ๆ ไปพร้อมกัน โดยมีการด�ำเนินงานทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร อาทิ การใช้ หลังคาโซลาร์ในพืน้ ทีบ่ ริเวณและอาคารส�ำนักงานใหญ่ การเลือกใช้เชือ้ เพลิง ชีวภาพ ซึง่ มีสว่ นสนับสนุนความเป็นอยูท่ ดี่ ขี องเกษตรกร ซึง่ เป็นคนส่วนใหญ่ ในประเทศ ขณะเดียวกันก็สามารถสร้างความเข้มแข็งในการแข่งขันทางธุรกิจ ด้วย
การทำ�งานร่วมกันของทุกฝ่าย ความส�ำเร็จในการเปลีย่ นผ่านพลังงานจ�ำเป็นต้องได้รบั ความร่วมมือ จากผูท้ มี่ สี ว่ นเกีย่ วข้องทุกฝ่าย ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม การเปลี่ยนผ่านพลังงานจะไม่สามารถส�ำเร็จได้ หากขาดการสนับสนุนจาก ภาครัฐในเชิงนโยบาย บริษทั ผูผ้ ลิตรถยนต์ทพี่ ฒ ั นาเครือ่ งยนต์ให้สามารถใช้ เชื้อเพลิงชีวภาพได้มากขึ้น และผู้ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพต่างๆ ที่เน้นพัฒนา และเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากเทคโนโลยีทกี่ า้ วหน้ามากขึน้ ทีส่ ำ� คัญ หากวิเคราะห์ จากมุมมองด้านสังคม ซึง่ ต้องเติบโตอย่างสมดุลพร้อมกับการพัฒนาเศรษฐกิจ และสิง่ แวดล้อมนัน้ เชลล์ ประเทศไทย ตระหนักดีวา่ ความปลอดภัยคือปัจจัย หลักในการเติมความสุขให้กบั ทุกชีวติ โดยเฉพาะในเรือ่ งของการเดินทางอย่าง ปลอดภัย หนึง่ ในโครงการอันเกิดจากความร่วมมือจากหลากหลายภาคส่วน ได้แก่ โครงการความปลอดภัยบนท้องถนนทีเ่ ชิญชวนให้เยาวชนไทยรุน่ ใหม่ หันมาให้ความส�ำคัญและมีบทบาทในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริม รณรงค์เรื่องความปลอดภัยทางถนนและในชุมชนด้วย
ด้วยเป้าหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนและการดูแลเคียงข้าง สังคม เชลล์ ประเทศไทย จึงได้ดำ� เนินงานด้านการพัฒนา ที่ยั่งยืน ผ่านแนวคิด “Believe-Become-Belong” โดย “Believe” เป็นการสร้างความเชือ่ มัน่ และความเข้าใจเกีย่ วกับ การตอบสนองความท้าทายด้านพลังงานการเปลี่ยนแปลง ด้านสภาพอากาศบนความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสีย โดย ค�ำนึงถึงการมีพลังงานที่มากขึ้นและในขณะที่ตอบโจทย์ ความต้ อ งการสิ่ ง แวดล้ อ มที่ มี คุ ณ ภาพไปพร้ อ มกั น “Become” คือการด�ำเนินงานทีม่ งุ่ เน้นเป้าหมายด้านความ ยัง่ ยืน 6 ประการ ตามกรอบ UN Sustainable Development Goals (UNSDGs) ตลอดทั้งห่วงโซ่ธุรกิจ โดยเฉพาะภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาสังคม ซึ่งมีส่วนส�ำคัญอย่างยิ่งใน การก�ำหนดทิศทางอนาคตพลังงานของประเทศไทย และ “Belong” หมายถึงการส่งเสริมให้พนักงานทุกคนเป็น สมาชิกส่วนหนึ่งของสังคม ส่งเสริมบทบาทความร่วมมือ ในการขับเคลื่อนความก้าวหน้าด้านพลังงาน เอาใจใส่ดูแล ลูกค้าและภาคส่วนต่างๆ ของสังคมไทยสู่ความสุขที่ยั่งยืน 1
Shell Investor Handbook http://reports.shell.com/ investors-handbook/2017/company-overview/ in-focus-net-carbon-footprint.html
การพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตของคน ในประเทศ การลงทุนด้านทรัพยากรบุคคลคือกุญแจส�ำคัญทีน่ ำ� ไปสูช่ วี ติ และโลก ของเราทีด่ ขี นึ้ ด้วยเช่นกัน การพัฒนาทรัพยากรบุคคลเพือ่ ชีวติ ความเป็นอยู่ อย่างพอเพียง เป็นแนวคิดหลักทีเ่ ชลล์มงุ่ เน้น โดยค�ำนึงถึงชุมชนเกษตรกรรม และเยาวชนรุ่นใหม่ให้มีส่วนร่วมขับเคลื่อนพัฒนาประเทศ การลงทุนใน การพัฒนาทักษะชีวิตและการศึกษาเรียนรู้ คือหลักการที่จ�ำเป็นอย่างยิ่งใน การน�ำไปสูพ่ ลังงานสะอาดทีย่ งั่ ยืนและเพิม่ โอกาสสูค่ ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ เชลล์ ประเทศไทย ด�ำเนินโครงการเชลล์เติมสุข (Fuel the Happiness) อย่างต่อเนือ่ ง โดยจัดสรรพื้นที่ภายในสถานีบริการน�้ำมันของเชลล์ ให้คนในชุมชนเข้ามา สร้างแปลงปลูกผักและขายพืชผลทางการเกษตรให้กับลูกค้าที่มาเติมน�ำ้ มัน นอกจากนี้ ยังจัดให้มกี ารอบรมและเปิดโอกาสแก่นกั เรียนในการท�ำงานพิเศษ ช่วงปิดภาคเรียน รวมไปถึงการพัฒนาความรูแ้ ละทักษะของเยาวชนรุน่ ใหม่ เช่น โครงการแข่งขันประดิษฐ์รถประหยัดพลังงาน รักษาสิ่งแวดล้อม เชลล์ อีโค-มาราธอน เป็นต้น November-December 2018
Interview > กองบรรณาธิการ
บริษทั ฮีมา กรุป๊ เป็นผูน้ ำ� ระดับโลกด้านการจัดหาโซลูชนั ความปลอดภัย อัจฉริยะส�ำหรับแอปพลิเคชันอุตสาหกรรมต่างๆ วิศวกรผู้เชี่ยวชาญของ บริษัทได้พัฒนาโซลูชันที่พร้อมปรับแต่งให้สอดคล้องกับความต้องการ ของลูกค้า ซึ่งสามารถช่วยเพิ่มความปลอดภัย การป้องกันความปลอดภัย บนโลกไซเบอร์ และท�ำให้โรงงานท�ำก�ำไรได้ในยุคดิจิทัล บริษัท ฮีมา ก่อตั้ง เมื่อปี ค.ศ. 1908 ปัจจุบันมีสาขามากกว่า 50 แห่งทั่วโลก ส�ำนักงานใหญ่ ตั้งอยู่ที่เมืองบรูเอห์ ประเทศเยอรมนี บริษัท ฮีมา ได้รับความไว้วางใจจากบริษัทน�้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ เคมีภัณฑ์ และบริษัทผลิตพลังงานรายใหญ่สุดของโลก ซึ่งใช้โซลูชัน บริการ และการให้คำ� ปรึกษาของบริษทั ฮีมา เพือ่ ให้การด�ำเนินงานในโรงงานเป็นไป อย่างราบรืน่ ทัง้ ยังช่วยปกป้องทรัพย์สนิ ผูค้ น และสภาพแวดล้อมให้มคี วาม ปลอดภัยมากยิ่งกว่าเดิม ทัง้ นี้ ยังครอบคลุมถึงโซลูชนั ความปลอดภัยอัจฉริยะทีช่ ว่ ยเพิม่ ความ ปลอดภัยและช่วงเวลาการท�ำงานที่ต่อเนื่องโดยที่สามารถเปลี่ยนข้อมูลให้ เป็นสารสนเทศส�ำคัญที่ธุรกิจสามารถน�ำไปปรับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ บริษทั ฮีมา ยังมีโซลูชนั ทีค่ รอบคลุมส�ำหรับการควบคุมและ การตรวจสอบเครือ่ งจักรกลเทอร์โบ (TMC) เตาเผาและหม้อไอน�ำ้ (BMC) และ ท่อ (PMC) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส�ำหรับในอุตสาหกรรมรถไฟทัว่ โลก ระบบ ควบคุมความปลอดภัย SIL4 COTS ที่ได้รับการรับรองจาก CENELEC ของ บริษทั ฮีมา เป็นผูน้ ำ� ในด้านการเพิม่ ความปลอดภัย การรักษาความปลอดภัย และการท�ำก�ำไรให้กับองค์กร เมือ่ เร็วๆ นี้ บริษทั ฮีมา ได้จดั งาน ฮีมา ยูสเซอร์ คอนเฟอเร็นซ์ เอเชีย แปซิฟิก 2018 (HIMA Users Conference Asia Pacific 2018) เป็นครั้งแรก ในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 24-25 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ที่ผ่านมำ การประชุ ม ที่ จั ด ขึ้ น นี้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล เชิ ง ลึ ก เกี่ ย วกั บ อุ ต สาหกรรม 4.0 ไซเบอร์ซเิ คียวริตี้ ความปลอดภัยในอุตสาหกรรม และแนวโน้มอุตสาหกรรม น�ำ้ มันและก๊าซ จากวิทยากรชัน้ น�ำ เช่น สตีเฟ่น ฟิลปิ ป์ ผูจ้ ดั การด้านพันธมิตร บริษทั ฮีมา สันการ์ รามากริสนัน ซีอเี อ บริษทั ฮีมา ทวีลาภ พรกุล รองประธาน บริษทั พีทที ี เอนเนอร์ยี่ โซลูชน่ั และ บ๊อบ กิลล์ ผูจ้ ดั การทัว่ ไปประจ�ำภูมภิ าค เอเชียตะวันออก บริษัท เออาร์ซี แอดไวเซอรี่ กรุ๊ป November-December 2018
เซฟเคียวริตี้ (Safecurity) สำ�หรับอุตสาหกรรม ปัจจุบันทั้งความปลอดภัย (Safety) และระบบการ รักษาความปลอดภัย (Security) ถือเป็นสิ่งจ�ำเป็นที่ทุก ภาคส่วนต้องให้ความส�ำคัญ “เซฟเคียวริต”ี้ (Safecurity) เป็น วิวฒ ั นาการของบริษทั ฮีมา ในการให้ความส�ำคัญกับการน�ำ ความปลอดภัยและระบบการรักษาความปลอดภัยอัจฉริยะ มาผสานรวมส�ำหรับแอปพลิเคชันในภาคอุตสาหกรรม ในขณะที่โลกก�ำลังพยายามปกป้องและป้องกันแฮกเกอร์ ในอีคอมเมิร์ซ การบริการด้านการเงิน การดูแลสุขภาพ หน่วยงานภาครัฐ และภาคส่วนอืน่ ๆ แต่ภาคส่วนอุตสาหกรรม มักถูกละเลยในแง่ของความปลอดภัยบนโลกไซเบอร์ บริษัท ฮีมา ได้ผสานรวมความปลอดภัยและระบบ รักษาความปลอดภัยเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้โรงงานและ โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ สามารถท�ำงานร่วมกันภายใต้ แรงกดดันและไม่ตกเป็นเหยื่อของการโจมตีทางไซเบอร์ได้ โดยง่าย จะเห็นได้ว่า 9 ใน 10 ของบริษัทก๊าซที่ใหญ่ที่สุด และ 10 ใน 10 ของบริษทั น�ำ้ มันทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลกต่างพึง่ พำ เทคโนโลยีและโซลูชนั ของบริษทั ฮีมา โดยด�ำเนินการภายใต้ แนวทาง “มาตรฐาน คือ ทุกสิง่ ” ตลอดจนพัฒนาโซลูชนั ต่างๆ ของบริษัทให้สอดคล้องกับมาตรฐานด้านความปลอดภัย ระดับสูงสุด เพื่อให้มั่นใจได้วา่ ลูกค้าจะสามารถปฏิบัติตาม ข้อก�ำหนดและเตรียมพร้อมรับมือส�ำหรับอนาคต นอกจากนี้ กลุม่ นักวิเคราะห์ชนั้ น�ำอย่างบริษทั ฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน ยังได้ให้การยกย่องบริษัท ฮีมา (HIMA) เมือ่ เดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2561 ด้วยการมอบรางวัลการเป็น ผู้น�ำยอดเยี่ยมด้านระบบความปลอดภัยในกระบวนการ ท�ำงานของเอเชีย แปซิฟิก “Asia Pacific Process Safety System Growth Excellence Leadership Award” การได้รบั รางวัลในครั้งนี้ยังบังเอิญตรงกับปีนี้ที่บริษัท ฮีมา ครบรอบ 110 ปีของการก่อตั้งบริษัทด้วย
เดินหน้าสู่ประเทศไทยด้วยการจัดเวที เสริมสร้างองค์ความรู้ ฟรีดแฮล์ม เบสท์ รองประธานประจ�ำภูมภิ าคเอเชีย แปซิฟกิ บริษทั ฮีมา กล่าวว่า “ประเทศไทยได้รบั เลือกให้เป็นเจ้าภาพจัดงาน เพื่อรองรับผู้เข้าร่วมงานในอุตสาหกรรมน�้ำมันและก๊าซ รวมถึง เคมีภณ ั ฑ์ทที่ นั สมัยทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ของภูมภิ าค โดยมีเจ้าหน้าทีผ่ ปู้ ฏิบตั ิ งานจากประเทศและภูมิภาคต่างๆ ต้องการเข้าร่วมงานในครั้งนี้ เพือ่ เสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจในการปฏิบตั งิ านของตน เนือ่ งจาก ในปัจจุบันสิ่งอ�ำนวยความสะดวกและโครงสร้างพื้นฐานที่ส�ำคัญ ในภาคอุตสาหกรรมเริ่มพบกับความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น อันเป็นผล สืบเนื่องของอุตสาหกรรม 4.0 และอินเทอร์เน็ต ออฟ ธิงส์ ส�ำหรับ ภาคอุตสาหกรรม (Industrial Internet of Things : IIoT) และจากกรณี ทีเ่ กิดปัญหาการบุกรุกระบบรักษาความปลอดภัยในโลกไซเบอร์และ การบังคับให้องค์กรต่างๆ ในภาคส่วนอุตสาหกรรมต้องปฏิบัติตาม กฎหมาย ท�ำให้ขณะนี้มีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเสริมสร้าง
ความมัน่ ใจทีน่ อกเหนือจากการทีโ่ รงงานอุตสาหกรรมและโครงสร้าง พื้นฐานที่ส�ำคัญๆ จะสามารถท�ำงานได้อย่างต่อเนื่องโดยไม่เกิด ปัญหาแล้ว ยังจะต้องมั่นใจด้วยว่าแฮกเกอร์จะไม่สามารถเข้าโจมตี โรงงานและโครงสร้างพื้นฐานในภาคอุตสาหกรรมได้” “หลังจากติดตัง้ ระบบรักษาความปลอดภัยทีไ่ ด้รบั การรับรอง จากทูฟ (TÜV) มากกว่า 35,000 แห่งทั่วโลกในช่วง 45 ปีที่ผ่านมา เราก็ได้ริเริ่มปรัชญาที่เรียกว่า เซฟเคียวริตี้ (Safecurity) ซึ่งเป็นการ ผสานรวมแนวทางด้านความปลอดภัยและระบบการรักษาความ ปลอดภัยเข้าไว้ด้วยกันอย่างแนบแน่น เพื่อป้องกันและคุ้มครองให้ การด�ำเนินงานของโรงงานและโครงสร้างพืน้ ฐานทัว่ โลกเป็นไปอย่าง ปลอดภัยและมัน่ คง ส�ำหรับการประชุม ยูสเซอร์ คอนเฟอเรนซ์ 2018 ทีจ่ ดั ขึน้ ในกรุงเทพฯ เป็นการรวมตัวของวิทยากรชัน้ น�ำและผูป้ ฏิบตั ิ งานที่มีประสบการณ์จากหลากหลายสาขาอุตสาหกรรม โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเรียนรู้และแบ่งปันความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ พันธกิจและข้อมูลเชิงลึกของเซฟเคียวริตี้ ทีส่ ามารถน�ำไปด�ำเนินการ ได้จริง” ผู้ประกอบการและผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ ในอุตสาหกรรม น�ำ้ มันและก๊าซทีส่ ำ� คัญของไทยประมาณ 70% ก�ำลังจะมารวมตัวกัน ในงานฮีมา ยูสเซอร์ คอนเฟอเรนซ์ เอเชีย แปซิฟกิ 2018 เพือ่ ค้นหำ แนวทางปฏิบัติที่เป็นประโยชน์ส�ำหรับอุตสาหกรรม โดยเฉพาะ อย่างยิ่งกับกระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและ ห่วงโซ่คุณค่า รวมถึงความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภัย บนโลกไซเบอร์ จะเห็นได้วา่ ผลก�ำไรขององค์กรในอุตสาหกรรมแห่งนี้ ก�ำลังเป็นเรื่องที่สวนทางกับการก�ำหนดราคาและการปฏิบัติงาน ข้ามพรมแดนทัว่ โลก ดังนัน้ จึงจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีต่ อ้ งพิจารณาแนวทาง ที่ดีกว่าในการท�ำก�ำไรและส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน การประชุมในครั้งนี้จะเป็นการระดมความคิดที่ดีที่สุดเพื่อก�ำหนด สถานการณ์ที่เหมาะสมในการท�ำก�ำไรและเสริมสร้างการพัฒนำ อย่างยั่งยืนในหลายๆ กรณี นอกจากนี้ยังเป็นเวทีที่ดีเยี่ยมในการ สร้างเครือข่ายกับเพื่อนร่วมงานและพันธมิตรรายใหม่ๆ ด้วย November-December 2018
Special Scoop > กองบรรณาธิการ
เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท ฮิวเลตต์-แพคการ์ด เอ็นเตอร์ไพรส์ (Hewlett Packard Enterprise : HPE) แถลงถึงความร่วมมือกับ กรมอุตุนิยมวิทยา (TMD) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ในการน�ำโซลูชันประมวลผลสมรรถนะสูง (HPC) เพื่อให้สามารถ พยากรณ์อากาศและคาดการณ์ภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติได้อย่างแม่นย�ำ ยิ่งขึ้น บริษัท ฮิวเลตต์-แพคการ์ด เอ็นเตอร์ไพรส์ เป็นผู้น�ำด้าน เทคโนโลยีระดับโลก มุ่งเน้นการพัฒนาโซลูชันอัจฉริยะที่จะช่วยให้ ลูกค้าสามารถจับภาพ วิเคราะห์ และใช้งานข้อมูลได้อย่างต่อเนื่อง จากการใช้งานที่ Edge ไปสู่คลาวด์ (Cloud) HPE จะช่วยให้ลูกค้า สามารถเร่งประสิทธิผลทางธุรกิจโดยการผลักดันรูปแบบ
ธุรกิจใหม่ สร้างประสบการณ์ใหม่ๆ รวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพการ ท�ำงานทั้งในปัจจุบัน และมุ่งหน้าสู่อนาคต เพือ่ ปรับปรุงประสิทธิภาพเพือ่ ตอบโจทย์ความต้องการด้าน การดูแลรักษา การปรับขนาดตามรูปแบบงาน และเพิม่ ความสามารถ ในการท�ำงานของแบบจ�ำลองสภาพอากาศ Weather Research and Forecast (WRF) ที่จะ ช่วยในการวิจยั สภาพบรรยากาศ และการด�ำเนินการพยากรณ์ อากาศ กรมอุตนุ ยิ มวิทยา ได้ เ ลื อ กเซิ ร ์ ฟ เวอร์
การพยากรณ์ อากาศที่เแม่นยำ�จาก โซลูชน ั ประมวลผล สมรรถนะสูง Thailand Meteorological Department improves weather forecast accuracy with HPE high performance computing solution
HPE solution to support atmospheric research and natural disaster predictions in Thailand Hewlett Packard Enterprise (HPE) today announced that the company has partnered with the Thai Meteorological Department (TMD) to implement a high performance computing (HPC) solution to better forecast weather changes and more accurately predict natural disasters. Hewlett Packard Enterprise is a global technology leader focused on developing intelligent solutions that allow customers to capture, analyze and act upon data seamlessly from edge to cloud. HPE enables customers to accelerate business outcomes by driving new business models, creating new customer and employee experiences, and increasing operational efficiency today and into the future. November-December 2018
To improve efficiency, portability, maintenance, scalability and productivity in the department’s Weather Research and Forecast (WRF) Model, which supports atmospheric research and operational weather prediction, TMD selected HPE Apollo 2000 servers, featuring the unique capability to store data using HPE 3PAR, a world-class storage array designed to work seamlessly with HPE Apollo. As the main organization in Thailand responsible for forecasting weather changes and natural disasters, TMD is constantly looking to improve the technology supporting its
HPE Apollo 2000 ที่มีความสามารถโดดเด่นในการจัดเก็บข้อมูล โดยใช้ HPE 3PAR Storage ความจุรวมขนาด 3PB ซึ่งเป็นระบบ จัดเก็บข้อมูลระดับโลก ทีถ่ กู ออกแบบมาให้สามารถท�ำงานได้อย่าง ราบรื่นกับ HPE Apollo Server ในฐานะที่เป็นองค์กรหลักของประเทศไทย ที่รับผิดชอบ การพยากรณ์อากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ กรมอุตุนิยมวิทยา ได้ ว างแผนการบริ ห ารจั ด การด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศทาง อุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาที่ จ ะมาช่ ว ยค� ำ นวณข้ อ มู ล ขนาดใหญ่ เ พื่ อ สร้ า ง แบบจ�ำลองสภาพอากาศ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าจะสามารถพยากรณ์ สภาพอากาศและแนวโน้มการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติใน พืน้ ทีท่ มี่ กี ารระบุความเสีย่ งได้อย่างมีประสิทธิภาพและแม่นย�ำ การพยากรณ์อากาศและภัยธรรมชาติจำ� เป็นต้องมีเทคโนโลยี ที่ใช้คอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงในการปรับระดับความถูกต้อง แม่นย�ำในการคาดการณ์สภาพอากาศทัง้ ในปัจจุบนั การคาดการณ์ ระยะสั้น และการคาดการณ์ในระยะยาว ในการนี้ บุญเลิศ อาชีวระงับโรค ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน วิ จั ย และพั ฒ นาอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยา กรมอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยา กล่ า วว่ า “ประเทศไทย จ�ำเป็นต้องใช้ขอ้ มูลของหน่วยงานของเราในการช่วย คาดการณ์สภาพอากาศอย่างแม่นย�ำ เพือ่ น�ำข้อมูลไปบริหารจัดการ ประเทศในมิติต่างๆ ซึ่งไม่ใช่เพียงการคาดการณ์สภาพอากาศ ที่เปลี่ยนแปลง แต่ยังรวมถึงภัยพิบัติทางธรรมชาติขนาดใหญ่ เช่น พายุไซโคลนเขตร้อน หรือพายุชายฝั่งที่อาจจะสร้างความเสียหาย ต่อเศรษฐกิจ ต่อทรัพยากร รวมถึงประชาชน ทั้งทรัพย์สินและการ
ด�ำเนินชีวิตของพวกเขา ซึ่งกรมอุตุนิยมวิทยาได้พิจารณาแล้วว่า บริษัท HPE มีโซลูชันที่มีความโดดเด่นในด้านไฮบริดไอทีโซลูชัน อันล�้ำสมัยในระดับโลกที่ตอบโจทย์ความต้องการของเรา โดยช่วย สนับสนุนระบบบริหารจัดการ Mission Critical ของหน่วยงานที่ รับผิดชอบ และตอบสนองความต้องการของประเทศได้” ระบบการจ� ำ ลองสภาพอากาศ ที่ ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยระบบ ประมวลผลสมรรถนะสูง พร้อมช่วยให้กรมอุตุนิยมวิทยาสามารถ คาดการณ์ปริมาณน�ำ้ ฝนในระยะพืน้ ที่ 4 ตารางกิโลเมตร และสามารถ พยากรณ์สภาพอากาศล่วงหน้าได้มากกว่า 7 วัน ไม่วา่ จะเป็นรายเดือน หรื อ รายฤดู ก าล ที่ ส� ำคั ญ ยั ง ช่ ว ยให้ ก รมอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาสามารถ สนับสนุนการพัฒนานโยบายของรัฐบาลในด้านการบริหารจัดการน�ำ้ อย่างยั่งยืน และปรับปรุงระบบการป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ โดยรวม “กรมอุตุนิยมวิทยาได้มองหาโซลูชันในการบริหารจัดการ ปริมาณงานทีไ่ ม่สามารถคาดการณ์ได้ เพือ่ ให้สามารถพยากรณ์อากาศ ได้อย่างถูกต้องแม่นย�ำ โซลูชันของเราจะช่วยให้กรมอุตุนิยมวิทยา สามารถบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศด้านอุตนุ ยิ มวิทยา ที่มีโครงสร้างที่ยืดหยุ่น ให้สามารถปรับขนาดได้ และสามารถ บริหารต้นทุนให้คุ้มกับงบประมาณ โซลูชันของ HPE สามารถช่วย เร่งประสิทธิภาพการท�ำงานของ Mission Critical Application ทีส่ ำ� คัญ และปรับปรุงการคาดการณ์ได้” พลาศิลป์ วิชิวานิเวศน์ กรรมการ ผูจ้ ดั การ บริษทั ฮิวเลตต์-แพคการ์ด เอ็นเตอร์ไพรส์ ประเทศไทย กล่าวปิดท้าย
WRF model to ensure more effective and accurate forecasts of natural disasters in identified risk areas. It needed a technology boost using high performance computing to fine tune the accuracy with which it delivered weather predictions in the present, short and long term. “Thailand depends on our department for spot-on forecasting, and not just for weather changes, but also massive natural disasters--like tropical cyclones or shore storms that could cause damage to the economy, and to our people, their property and their livelihood. HPE stood out with an innovative hybrid IT solution that met our needs and delivered a solution that helped us support our mission-critical business functions and deliver on the needs of the country,” said Boonlert Archevarahuprok, Senior Meteorologist, Thailand Meteorological Department The HPC-supported WRF system is expected to help TMD forecast rainfall within a four square kilometre spatial resolution and forecast weather more than seven days in
advance, by month or by season. The high performance computing system will also help deliver intelligence that will help TMD support the development of government policies in areas such as sustainable water management and improve overall protection against natural disasters. “The Thai Meteorological Department was looking for a solution to manage unpredictable mixed workloads to enable accurate weather forecasting,” said Palasilp Vichivanives, Managing Director, Hewlett Packard Enterprise Thailand. “Our customized solution delivers a flexible, scalable and cost-effective configuration for the TMD to accelerate performance of their mission-critical applications and improve forecasting.”
November-December 2018
Special Scoop > กองบรรณาธิการ
เมื่อปลายปีที่ผ่านมา ผศ. ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล รองอธิการบดีฝา่ ยความยัง่ ยืนและบริหารศูนย์รงั สิต (ต�ำแหน่งปัจจุบนั ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประกาศถึงเป้าหมายของมหาวิทยาลัย ที่ต้องการเพิ่มสัดส่วนของการใช้ไฟฟ้าจากพลังงานสะอาดมากขึ้น นั่นเป็นที่มาของการอนุญาตให้เอกชนเข้ามาติดตั้งแผงโซลาร์บน หลังคาตึก 5 ตึกในวิทยาเขตรังสิต เพื่อแปลงพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นไฟฟ้าขนาด 5 เมกะวัตต์ และตั้งเป้าเพิ่มเป็น 10 เมกะวัตต์ ในปี พ.ศ. 2561 นี้ ทั้งนี้ธรรมศาสตร์ไม่ต้องลงทุนในแผงโซลาร์หรือ ระบบจัดการใดๆ เพียงแค่อนุญาตให้ติดตั้งและจ่ายค่าไฟฟ้าตาม พลังงานแสงอาทิตย์ในสัดส่วนที่ใช้จริงเท่านั้น โมเดลทีธ่ รรมศาสตร์เลือกใช้นเี้ ป็นโมเดลพลังงานทีพ่ บเห็นได้ ทัว่ ไปในอเมริกาและยุโรป แต่อาจยังไม่เป็นทีค่ นุ้ เคยกับคนไทยนัก... โมเดลพลังงานนี้มีชื่อว่า PPA หรือ Power Purchase Agreement (ข้อตกลงการซือ้ ขายพลังงานแสงอาทิตย์) ซึง่ เป็นโมเดล พลังงานที่เอื้อให้องค์กร หน่วยงานธุรกิจ หรือแม้กระทั่งครัวเรือน และปัจเจก ร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับการผลิตไฟฟ้าจากแหล่งพลังงาน แสงอาทิตย์ได้ง่าย สะดวก โดยไม่ต้องลงทุนเอง ถือเป็นโมเดลที่เพิ่มอ�ำนาจให้กับผู้ที่อยากมีส่วนร่วมกับการ ผลิตพลังงานสะอาดเป็นอย่างยิ่ง!...
PPA คืออะไร
PPA มาจาก Power Purchase Agreement คือ ข้อตกลง การซื้อขายพลังงานแสงอาทิตย์ที่ผลิตได้จาก Solar Rooftop ซึ่ง เป็นแผงโซลาร์ที่ติดตั้งบนหลังคา ทั้งนี้ PPA ถือเป็นโมเดลพลังงาน
November-December 2018
แบบใหม่ทเี่ พิม่ อ�ำนาจให้กบั ครัวเรือน องค์กร และภาคธุรกิจทีต่ อ้ งการ ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ไว้ใช้เอง แต่ไม่ต้องการลงทุน หรือต้องการลงทุนแต่เพียงเล็กน้อย โดยโมเดล PPA นี้ บริษัท ซึง่ จ�ำหน่ายแผงและระบบโซลาร์จะเป็นผูล้ งทุนในอุปกรณ์ การติดตัง้ รวมถึงดูแลและซ่อมแซมระบบ ครัวเรือน องค์กร และภาคธุรกิจ เพียงแค่จ่ายค่าไฟฟ้า (ที่ผลิตจากแผงโซลาร์) รายเดือนตามระยะ สัญญาเท่านัน้ โดยอัตราไฟฟ้าจะคิดตามหน่วยทีใ่ ช้ในอัตราต่อหน่วย เทียบเท่าหรือต�ำ่ กว่าการไฟฟ้า โดยคิดแบบอัตราคงที่ (Flat Rate) ท�ำให้ในระยะยาวค่าไฟฟ้าจากโมเดล PPA ทีจ่ า่ ยจะถูกกว่าการจ่าย ค่าไฟให้รฐั โดยทีม่ นั่ ใจได้วา่ อ�ำนาจในการผลิตไฟฟ้าทีใ่ ช้งานยังเป็น ของตัวเอง แถมพลังงานนั้นยังสะอาด และดีต่อสิ่งแวดล้อมด้วย ทีม่ า : Solar Power Purchase Agreement - https://www.epa.gov/ greenpower/solar-power-purchase-agreements และ Solar City YouTube Channel - https://www.youtube.com/ watch?v=6AuKCvfQfx0
แล้วทำ�ไมเราต้องสนใจ PPA
นอกเหนือจากการเป็นโมเดลที่เอื้อให้คุณใช้พลังงานจาก แผงโซลาร์บนหลังคาบ้านได้โดยที่คุณไม่ต้องควักเงินลงทุนเองแล้ว PPA ยังถือเป็นโมเดลพลังงานที่เพิ่มอ�ำนาจให้ประชาชน โดย ประชาชนสามารถเลือกได้วา่ จะผลิตไฟฟ้าจากหลังคาใช้เองหรือไม่ หรือจะพึง่ พาไฟจากระบบพลังงานแบบเก่าทีม่ รี ฐั เป็นผูข้ ายรายเดียว หรือจะผสมผสานสองทางเลือกนี้เข้าด้วยกัน
ชีวิตที่มีทางเลือกมากขึ้น คือค�ำตอบที่ว่า ท�ำไมเราควรต้อง สนใจโมเดลพลังงานใหม่อย่าง PPA นั่นเอง
โฉมหน้าของโมเดลพลังงานแบบเก่า
คุณเคยสังเกตไหมว่า ทุกวันนี้พลังงานไฟฟ้าที่เราใช้ชาร์จ แบตมือถือ ใช้เปิดไฟในครัวเรือน หรือใช้เป็นแหล่งพลังงานของ ห้างร้าน นั้นมาจากไหน แน่นอนว่าไฟฟ้ามาจากสายส่งไฟ แต่ค�ำถามต่อมาคือ ใครคือผู้ผลิต ใครคือผู้กระจาย และใคร คือผู้ขายไฟให้กับเรา โมเดลพลังงานแบบเดิม ซึ่งถือเป็นโมเดลที่เราใช้กันอยู่ใน ปัจจุบันด้วยนี้ เป็นโมเดลที่รัฐเป็นผู้ผลิตหลัก รัฐเป็นเจ้าของและ ผูค้ วบคุมสายส่ง และยังเป็นผูม้ สี ทิ ธิขายไฟฟ้าแต่เพียงรายเดียวด้วย ในแง่การผลิตไฟฟ้านั้น เดิมทีรัฐเป็นผู้ผลิตรายเดียว แต่เมื่อ สภาพสังคม เศรษฐกิจ และเทคโนโลยีเปลีย่ นแปลง รัฐก็อนุญาตให้ มีผผู้ ลิตรายอืน่ เข้ามาร่วมผลิตไฟฟ้าได้ แต่ในแง่การกระจายและการ ขายไฟให้แก่ประชาชน รัฐยังเป็นผู้ควบคุมและผูกขาดหนึง่ เดียวอยู่ นั่นหมายความว่า ถ้าเราจ�ำเป็นต้องใช้ไฟฟ้าจากสายส่ง ทางเลือกก่อนหน้านี้ของประชาชนคือ เราต้องซื้อจากรัฐเท่านั้น แต่เมือ่ เทคโนโลยีพฒ ั นาไปข้างหน้า และเกิดโมเดลพลังงาน แบบใหม่ขนึ้ ทีเ่ อือ้ ให้เราเป็นเจ้าของแผงโซลาร์ได้ในต้นทุนทีต่ ำ�่ มาก ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้บ้านเรือน องค์กร หรือภาคธุรกิจสามารถใช้ แผงโซลาร์แปลงแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้าไว้ใช้เอง โดยไม่จำ� เป็น ต้องรอพึ่งพาไฟฟ้าจากสายส่งแต่เพียงอย่างเดียว นั่นเท่ากับว่า ทางเลือกได้เปิดกว้างมากกว่าหนึ่งทางแล้ว และทางเลือกทีเ่ พิม่ ขึน้ ย่อมหมายถึงผลประโยชน์ทปี่ ระชาชน อย่างเราๆ จะได้รับเพิ่มขึ้นนั่นเอง
ประเภทำ
ผู้ถือครองเป็น เจ้าของแผงโซลาร์
ทางเลือกอื่น นอกเหนือจาก PPA
โมเดลการติดตั้งแผงโซลาร์บนหลังคา เพื่อใช้ผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทิตย์นั้น ไม่ได้มีโมเดลแค่เพียง PPA หรือข้อตกลง ซือ้ ขายพลังงานเท่านัน้ หากประชาชนคนไทยยังมีทางเลือกอืน่ ด้วย ทางเลือกอืน่ ๆ นัน้ ได้แก่ การซือ้ เงินสด (ซึง่ ใช้เงินลงทุนสูง) และการ ผ่อนสินเชื่อ หรือที่เรียกว่า Solar Loan ประเภทำ
ซื้อ (Buy) ผ่อนสินเชื่อ PPA (Loan)
จ่ายเงินก้อน ผ่อนสินเชื่อรายเดือน เท่ากันทุกเดือน จ่ายตามปริมาณไฟฟ้า ในแต่ละเดือน จ่ายค่าซ่อมบ�ำรุง และดูแล ติดสัญญาระยะยาว (ประมาณ 20 ปี) * ส�ำหรับค่าซ่อมบ�ำรุงและดูแล ทางบริษทั โซลาร์มกั จะยกเว้นให้แก่ ประเภท Loan ในช่วงปีแรกๆ ส่วนลูกค้า PPA จะได้รบั การยกเว้น ตลอดสัญญา
ผู้ลงทุน
อัตราค่าไฟจากแผงโซลาร์ที่ต้องจ่าย (ซื้อ)
ซื้อ (Buy)
ผู้ซื้อ (ครัวเรือน, ธุรกิจ, ผู้ซื้อ (ครัวเรือน, ธุรกิจ, ไม่ต้องซื้อ องค์กร) องค์กร)
Solar Loan (ผ่อนสินเชื่อ)
ผู้ซื้อ (ครัวเรือน, ธุรกิจ, ธนาคารหรือสถาบัน องค์กร) เงินกู้
ไม่ต้องซื้อไฟ แต่ผ่อนจ่ายสินเชื่อรายเดือนให้ธนาคาร หรือสถาบันเงินกู้
PPA บริษัทผู้ให้บริการระบบ บริษัทผู้ให้บริการระบบ จ่ายค่าไฟรายเดือนตามสัดส่วนที่ใช้งานจริง (สัญญาซื้อขายพลังงาน) โซลาร์ครบวงจร โซลาร์ครบวงจร
November-December 2018
ส�ำหรับโมเดลการซือ้ ขาด (Buy) เป็นโมเดลทีเ่ ราน่าจะคุน้ เคย กันอยู่แล้ว แต่โมเดลนี้มีข้อจ�ำกัดตรงที่ว่า ต้องจ่ายเงินงวดเดียว ในจ�ำนวนที่สูงมาก อีกทั้งบริษัทส่วนใหญ่จะไม่มีบริการติดตั้งและ ซ่อมบ�ำรุง (ยกเว้นบางบริษัทที่มีบริการนี้แถมให้) ท�ำให้โมเดลการ ซื้อขาดจึงไม่ได้รับความนิยม ขณะที่อีกโมเดล คือ การผ่อนสินเชื่อ หรือ Solar Loan ถือ เป็นโมเดลทีค่ รัวเรือน องค์กร หรือภาคธุรกิจ จะท�ำการกูส้ นิ เชือ่ จาก ธนาคารหรือสถาบันการเงิน แล้วน�ำมาซือ้ แผงโซลาร์และระบบติดตัง้ โดยสินเชื่อที่กู้มานั้น ลูกค้าต้องผ่อนช�ำระและเสียดอกเบี้ยตาม ระยะสัญญา แต่ระหว่างนัน้ ก็สามารถใช้พลังงานไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้จาก แผงโซลาร์ได้ฟรี เพราะถือว่าลูกค้าเป็นเจ้าของอุปกรณ์แล้ว ขณะที่โมเดลแบบ PPA แม้ลูกค้าจะไม่ได้ลงทุนค่าแผงและ ระบบโซลาร์เอง แต่ต้องจ่ายค่าพลังงานไฟฟ้าตามอัตราที่ใช้จริง ให้กบั บริษทั โซลาร์ ซึง่ มักจะมีราคาถูกกว่าเมือ่ เทียบกับค่าพลังงานที่ เราต้องจ่ายให้กบั การไฟฟ้าของภาครัฐ ทัง้ นีส้ ญ ั ญาการซือ้ พลังงาน ไฟฟ้าจากโมเดล PPA นี้ มักจะมีระยะเวลาประมาณ 20 ปีขึ้นไป ปัจจุบัน โมเดลพลังงานทั้งแบบซื้อ (Buy) ผ่อนสินเชื่อ (Solar Loan) และ PPA ล้วนมีให้บริการในไทย โดยถ้าวัดจากความนิยม อาจต้องบอกว่า โมเดล PPA ได้รบั ความนิยมมากกว่า แต่ทงั้ นีท้ งั้ นัน้ ทัง้ 3 โมเดลก็ลว้ นมอบทางเลือกให้ครัวเรือน องค์กร และภาคธุรกิจ สามารถผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ไว้ใช้เองได้ ... โดยลด การพึ่งพิงการใช้ไฟฟ้าจากรัฐลง
พลังงานแสงอาทิตย์ : “ทางเลือก” ของประชาชน และ “โอกาสใหม่” สำ�หรับความมัน ่ คงทางพลังงาน ของรัฐ
เมื่ อ เปรี ย บเที ย บโมเดลการผลิ ต ไฟฟ้ า จากแสงอาทิ ต ย์ กับโมเดลพลังงานไฟฟ้าแบบเก่า ที่เราต้องซื้อไฟฟ้าจากรัฐ อาจให้ ความรูส้ กึ ว่า การผลิตไฟจากแผงโซลาร์และโมเดลพลังงานแบบเก่า เป็นคู่แข่งกัน แต่จริงๆ แล้ว หากประชาชนสามารถผลิตไฟฟ้าจากแผงโซลาร์ ใช้เองได้มากขึ้น ย่อมสร้างให้เกิดความมั่นคงทาง พลังงานแก่รัฐเพิ่มขึ้นได้
November-December 2018
ความคิดนี้ ผศ. ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล รองอธิการบดี ฝ่ายความยัง่ ยืนและบริหารศูนย์รงั สิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ให้มุมมองที่น่าสนใจไว้ดังนี้ “ปั จ จุ บั น ประเทศเรามี ปริ ม าณไฟฟ้ า ส� ำ รองอยู ่ 33% แล้ ว ปริ ม าณไฟฟ้ า ส� ำ รองนี้ คิ ด จากอะไรบ้างล่ะครับ ก็คดิ จากว่า ปี ที่ แ ล้ ว ประเทศใช้ ไ ฟฟ้ า สู ง สุ ด เท่าไหร่ แล้วภาครัฐก็จะต้องหาทาง ผลิตให้ได้มากกว่านั้น ซึ่งส่วนที่ เกินมาคือ ‘ไฟฟ้าส�ำรอง’ แต่ทีนี้ การเพิม่ ปริมาณไฟฟ้าส�ำรองของ ประเทศ ไม่ได้มีทางเลือกแค่ว่า ต้องผลิตเพิ่มเท่านั้น เพราะเรา ผศ. ดร.ปริญญา ผลิตได้ 33% ก็มากแล้ว วิธีหนึ่ง เทวานฤมิตรกุล ที่ท�ำได้คือ ลดการใช้ไฟฟ้าลงมา ถ้าลดได้ ถึงภาครัฐจะผลิตเท่าเดิม แต่เราก็จะได้ปริมาณไฟฟ้าส�ำรองเพิ่มขึ้น” “วิธกี ารลดการใช้ไฟฟ้าลงมา ก็อย่างทีธ่ รรมศาสตร์กำ� ลังท�ำอยู่ นี่แหละครับ คือการหันมาผลิตไฟฟ้าใช้เอง ถ้าหน่วยงานของรัฐ เทศบาล โรงเรียน หรือแม้กระทั่งครัวเรือนไทย หันมาผลิตไฟฟ้า ใช้เองมากขึน้ ปริมาณการใช้ไฟฟ้า (จากสายส่งของภาครัฐ) ก็จะลดลง ยอดพีคก็จะลดลง ปริมาณไฟฟ้าส�ำรองก็เพิม่ ขึน้ อัตโนมัติ ความมัน่ คง ทางพลังงานของประเทศก็เพิ่มขึ้น” “ข้อเสนอนี้ถือเป็นขั้นต�่ำเลย รัฐส่งเสริมหรือเปิดโอกาสให้ ประชาชนทั่วไปผลิตไฟฟ้าเองได้ไหม แทนที่ภาครัฐจะกังวลว่าจะ ผลิตพลังงานส�ำรองไม่เพียงพอ แล้วต้องไปหาทางขยายโรงไฟฟ้า เพิ่มขึ้น หรือหาทางเลือกอื่นอย่างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ซึ่งตัวเลือก เหล่านีก้ ก็ อ่ ให้เกิดความไม่สบายใจแก่ประชาชน ท�ำให้รฐั ต้องทะเลาะ กับประชาชนในพื้นที่นั้นๆ อีก ดังนั้น หากรัฐส่งเสริมให้ประชาชน ผลิตไฟฟ้าได้เอง โดยอาจจะออกมาตรการทีใ่ ห้ธนาคารของรัฐเสนอ สินเชือ่ ราคาถูกเพือ่ ให้ประชาชนติดตัง้ แผงโซลาร์ อย่างนีน้ า่ จะดีกว่า ไหม เพราะเป็นพลังงานสะอาด ประชาชนก็มีส่วนร่วมในการผลิต ความมั่นคงทางพลังงานของประเทศก็เพิ่มขึ้นโดยไม่ต้องสร้าง โรงไฟฟ้าถ่านหินหรือนิวเคลียร์เพิ่ม”
อำ�นาจการผลิตไฟฟ้าเอง : เริ่มต้นที่ก้าวเล็กๆ ก่อนขยายไปก้าวที่ใหญ่ขึ้น
ส� ำ หรั บ สั ม ฤทธิ์ สิ ท ธิ ว รานุ ว งศ์ กรรมการผู ้ จั ด การ บริษัท โซลาร์ ดี (Solar D) คอร์เปอร์เรชั่น จ�ำกัด ผู้ให้จ�ำหน่าย และติดตั้งโซลาร์เซลล์ครบวงจร ซึ่ ง เชื่ อ ว่ า การที่ ป ระชาชนมี ส่วนร่วมในการผลิตพลังงานไฟฟ้า มากขึ้นนั้น เกี่ยวพันกับอ�ำนาจ สิทธิ และระดับประชาธิปไตยใน สังคมไทย เขามีมุมมองว่า การที่ ประชาชนสามารถมีอำ� นาจในการ ผลิ ต ไฟฟ้ า ได้ เ อง นั่ น ถื อ เป็ น ก้าวเล็กๆ ทีน่ า่ สนใจ ยิง่ ประกอบ กับเทคโนโลยีที่เจริญรุดหน้าขึ้น ทุกวัน ก้าวเล็กๆ นั่นอาจขยาย สัมฤทธิ์ สิทธิวรานุวงศ์ ไปสู่ก้าวใหญ่ได้ในไม่ช้า “PPA เป็นโมเดลทีน่ า่ สนใจ เพราะช่วยให้ประชาชนสามารถติดตั้งแผงโซลาร์ได้โดยแทบไม่ต้อง ควักกระเป๋าสตางค์เลย เพียงแต่ว่าในปัจจุบันบริษัทผู้จำ� หน่ายและ ติดตั้งระบบโซลาร์จะเน้นเสนอขายโมเดล PPA ให้แก่กลุ่มธุรกิจ เช่น โรงงาน บริษัท เป็นหลัก โดยยังไม่เปิดตลาดในส่วนครัวเรือน แต่อย่างใด แต่ครัวเรือนทีส่ นใจอยากติดตัง้ แผงโซลาร์เพือ่ ผลิตไฟฟ้า เอง ก็สามารถท�ำได้ผ่านการซื้อขาดหรือกู้สินเชื่อ (Solar Loan) ซึ่ง ทางบริษัท โซลาร์ ดี (Solar D) ของเราก็มีบริการตรงนี้อยู่” “การที่ประชาชนไทย ไม่ว่าจะเป็นภาคครัวเรือน หรือภาค ธุรกิจ สามารถเข้าถึงแผงโซลาร์ที่ราคาถูกลง และผลิตไฟฟ้าจาก
พลังงานแสงอาทิตย์ดว้ ยตนเองได้ ผมถือว่าเป็นก้าวเล็กๆ แห่งความ เปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจ เพราะนั่นสะท้อนให้เห็นถึงการมีทางเลือก ในด้านพลังงานของประชาชน จริงอยู่ ถึงแม้วา่ กฎระเบียบหลายอย่าง ของไทยในตอนนี้จะยังไม่เปิดกว้างถึงขั้นที่ลุกขึ้นมาอนุญาตให้ ประชาชนผลิตและขายไฟคืนให้แก่รัฐโดยตรงได้เหมือนโมเดล Net Metering ในอเมริกา แต่ตอ้ งยอมรับว่าความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ได้เปิดทางเลือกใหม่ๆ ให้กับประชาชนระดับครัวเรือนไม่น้อย โดยเฉพาะเทคโนโลยีแบตเตอรี่ หรือ Storage ที่ช่วยให้ครัวเรือน กักเก็บพลังงานไฟฟ้าไว้ใช้ยามกลางคืนหรือยามทีต่ อ้ งการได้ โดยที่ ไม่จำ� เป็นต้องเชื่อมต่อกับเครือข่ายสายส่งตลอดเวลา” “อย่างไรก็ดี ต้องยอมรับว่าโครงข่ายสายส่งยังมีความส�ำคัญ อยู่อย่างแน่นอน แต่การที่ประชาชนมีทางเลือกมากขึ้น สามารถ เลือกได้วา่ จะผลิตไฟฟ้าเองจากพลังงานแสงอาทิตย์ในช่วงกลางวัน และกักเก็บไฟส�ำรองในแบตเตอรีเพื่อใช้ยามกลางคืน หรือจะหัน ไปใช้ไฟฟ้าจากสายส่งของภาครัฐ อย่างน้อยการมีสิทธิเลือกนี้ ก็ถือเป็นก้าวแรกๆ ที่น่าสนใจ เพราะสะท้อนให้เห็นถึงแนวโน้ม ในการจัดการตนเองของประชาชน ลดการรวมศูนย์ทางพลังงาน ของประเทศลง รวมถึงเผยให้เห็นอ�ำนาจที่เพิ่มขึ้นในหมู่ประชาชน ที่อยากเข้ามามีส่วนร่วมกับการผลิตพลังงานด้วย ซึ่งนี่ถือเป็นเรื่อง ที่น่าจับตามองว่าจะน�ำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงที่ใหญ่ขึ้นหรือไม่” สัมฤทธิ์ กล่าวปิดท้าย PPA แผงโซลาร์ และการผลิตพลังงานแสงอาทิตย์ใช้เอง จึง เป็นมากกว่าเรื่องของพลังงานสะอาดและความคุ้มทุนทางการเงิน ด้วยประการฉะนี้ เพราะนีค่ อื โมเดลทีเ่ สนอทางเลือก และเพิม่ อ�ำนาจ ให้กับผู้ที่อยากมีส่วนร่วมกับการผลิตพลังงานสะอาด เพื่อความ มั่นคงทางพลังงานของตนเองและของประเทศอย่างแท้จริง November-December 2018
Article
> แอนโธนี บอร์น ประธาน บริษัท ไอเอฟเอส อินดัสทรีส์
ธุรกิจต่างๆ มักจะพูดอยู่บ่อยครั้งว่า พวกเขาจะล้มละลาย ถ้าหากไม่เปลีย่ นไปเป็นดิจทิ ลั อย่างรวดเร็ว แต่สำ� หรับบรรดาผูผ้ ลิต แล้ว การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ใช่เรื่องง่ายนัก ถ้าหากต้องหยุด การผลิตแม้จะเพียงแค่วนั เดียว ก็อาจเกิดความเสียหายทีเ่ รียกกลับ คืนมาไม่ได้ และมีความเป็นไปได้ที่จะสูญเสียรายได้หลายล้าน จากมุมมองด้านสิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจ และการจัดวางรูปแบบ ของที่ท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพนั้น โรงงานอัจฉริยะได้รับการ ยกย่องว่า เป็นวิธที เี่ หล่าผูผ้ ลิตจะสามารถประสบความส�ำเร็จในการ มุ่งสู่การเปลี่ยนแปลงดิจิทัลอย่างแท้จริง โดยในโรงงานเหล่านี้ หุ่นยนต์และเครื่องจักรจะรับข้อมูลที่ถ่ายทอดตามเวลาจริงจาก อุปกรณ์ทเี่ ชือ่ มต่อเอาไว้ เพือ่ เรียนรูแ้ ละปรับตัวเข้ากับความต้องการ ใหม่ พร้อมบริหารจัดการกระบวนการผลิตทั้งหมดแบบอัตโนมัติ
November-December 2018
อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับหลายคนแล้ว โรงงานอัจฉริยะยังเป็น ดินแดนในฝันทีอ่ ยูห่ า่ งไกลออกไป โดยผลการศึกษาเมือ่ เร็วๆ นีข้ อง แคปเจมิไน แสดงให้เห็นว่า 76% ของผูผ้ ลิตก�ำลังริเริม่ โรงงานอัจฉริยะ หรือก�ำลังท�ำงานเพือ่ มุง่ ตรงสูด่ า้ นนีอ้ ย่างต่อเนือ่ ง มีเพียง 14% เท่านัน้ ที่มีความพึงพอใจอย่างแท้จริงกับระดับความส�ำเร็จของพวกเขา กระนั้นก็ตาม กลุ่มผู้ผลิตไม่ควรรู้สึกว่าถูกครอบง�ำจนเกินไป และกลุ่มที่มีความเคลื่อนไหวในเรื่องโรงงานอัจฉริยะนี้ ก็ไม่ควร เปลีย่ นแปลงมากเกินไป เร็วเกินไป หรือลงมือท�ำโดยไม่ได้รบั ค�ำปรึกษา อย่างเหมาะสมเสียก่อน ส�ำหรับเรื่องที่ผู้ผลิตทุกรายจ�ำเป็นที่จะต้องพิจารณาหาก ต้องการเปิดตัวโรงงานอัจฉริยะ สามารถติดตามได้ตามข้างล่างนี้ หรือผ่านทางคอมพิวเตอร์วีคลีที่ตีพิมพ์บทความนี้เป็นครั้งแรก
1.
การเข้าถึงครั้งแรกของธุรกิจ
เจ้าของธุรกิจหรือผูจ้ ดั การโครงการ และผูอ้ ำ� นวยการ ทีต่ อ้ งการ จะเริ่มต้นท�ำโรงงานอัจฉริยะ ไม่ควรบอกลูกค้าหรือคณะกรรมการ บริหารบริษทั ว่า พวกเขาก�ำลังเปลีย่ นแปลงสูด่ จิ ทิ ลั แต่การประสบผล ทางธุรกิจที่ดีกว่าเดิมในอนาคต จะเป็นการพิสูจน์ถึงการคงอยู่ของ ธุรกิจ และการได้รับมูลค่าที่เพิ่มขึ้นอย่างมากจากโรงงานผลิตและ ระบบนิเวศโดยรวม สิ่งส�ำคัญอย่างหนึ่งก็คือ ในโรงงานอัจฉริยะควรสร้างการ เชือ่ มต่อระบบไอที/โอทีในวงกว้าง และน�ำทุกอย่างมารวมไว้ดว้ ยกัน อย่างสมบูรณ์ โรงงานอัจฉริยะจะช่วยให้ผู้ผลิตได้รับประโยชน์จากการเก็บ รวบรวมข้อมูลจ�ำนวนมหาศาล ซึง่ ด้วยข้อมูลเหล่านี้ พวกเขาสามารถ ระบุและแก้ไขปัญหาเรื่องคุณภาพ เรียนรู้และปรับเข้ากับความต้องการใหม่ได้อย่างรวดเร็ว คาดการณ์ถึงความไร้ประสิทธิผลในการด�ำเนินงาน หรือ ความผันผวนในการจัดหาและความต้องการที่เกิดขึ้น ตอบสนองต่อความต้องการได้ทันเวลา
ที่จะขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงให้กับอุตสาหกรรมนั้น จึงเป็นเรื่อง ส�ำคัญที่ผู้ผลิตจะต้องเปลี่ยนเครื่องจักรที่ล้าสมัยในทันทีที่ท�ำได้ ไม่ใช่เพียงแค่การปรับปรุงเครื่องจักรเท่านั้น เทคโนโลยีหนึ่งที่จ�ำเป็นส�ำหรับโรงงานอัจฉริยะทุกแห่งและ อยู่กึ่งกลางระหว่างโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพและดิจิทัล ก็คือ อินเทอร์เน็ต ออฟ ธิงส์ (IoT) โดยประโยชน์จากอินเทอร์เน็ต ออฟ ธิงส์ ส�ำหรับอุตสาหกรรม (IIoT) ได้รบั การสนับสนุนอย่างแพร่หลาย ซึ่งอุปกรณ์ IoT จะรับข้อมูลมาจากเซ็นเซอร์ที่อยู่นอกโรงงานผลิต และจากเครือ่ งจักรในโรงงาน แต่ทสี่ ำ� คัญก็คอื แนวทางนีย้ งั ช่วยธุรกิจ ขยายการด�ำเนินงานและน�ำเสนอบริการใหม่ๆ ให้กับลูกค้าได้ด้วย จึงไม่นา่ แปลกใจทีบ่ ริการภิวฒ ั น์จะขึน้ อยูก่ บั ตัวเรา และบรรดาผูผ้ ลิต ที่ไม่ได้ให้ความส�ำคัญกับการเพิ่มบริการให้กับผลิตภัณฑ์ตัวเอง เพื่อน�ำเสนอผลลัพธ์ได้มากขึ้นจากความช่วยเหลือของโซลูชัน IoT
2.
เชื่อมต่อเทคโนโลยีทางกายภาพและดิจิทล ั เข้าด้วยกัน
ผู้ผลิตบางรายมีระบบจักรกลที่ใช้มานานกว่า 50 ปี ซึ่งการ ทีเ่ ทคโนโลยีตา่ งๆ อาทิ ระบบกระบวนการท�ำงานโดยอัตโนมัตดิ ว้ ย หุ่นยนต์ (Robotic Processing Automation : RPA) น�ำเสนอโอกาส
> Antony Bourne President, IFS Industries
Era of the Smart Factory :
How can manufacturers get to the future quicker? Businesses are constantly told they will go broke if they do not digitally transform and quickly, but for manufacturers it’s not quite as simple. If production goes down even for a day, the impact can be irreversible, with potentially millions in revenue lost. From an ergonomic, economic and environmental perspective, smart factories are heralded as the way manufacturers can strive towards true digital transformation. In these factories, robots and machines relay real-time data from connected devices to learn and adapt to new demands and autonomously manage entire production processes.
However, for many the smart factory is a faraway utopia. According to a recent Capgemini study, whereas 76 percent of manufacturers have an ongoing smart factory initiative or are working towards one, only 14 percent are actually satisfied with their level of success. However, manufacturers should not feel overwhelmed, and those embarking on their journey should not change too much too soon or do so without the proper counsel. November-December 2018
พวกเขาอยู่รอดบนการเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีแนวโน้มที่จะน�ำไปสู่การ ปรับเป้าหมายในสถานทีท่ ำ� งาน แม้จะเป็นภาระอันยิง่ ใหญ่ แต่กเ็ ป็น ความรับผิดชอบที่จำ� เป็นต้องท�า
4.
เริ่มต้นจากสิ่งเล็กๆ แล้วค่อยๆ ปรับขยาย
ก็ มี สิ ท ธิ์ ที่ จ ะ พลาดโอกาสทาง ธุ ร กิ จ ที่ มี ค ่ า หรื อ อาจแย่ กว่านั้นก็เป็นได้
3.
มุ่งเน้นในเรื่องผู้คนและการสร้างพันธมิตร
โฉมหน้าภายในโรงงานจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างคาดไม่ถึง ในช่วงไม่กี่ปีที่จะถึงนี้ หุ่นยนต์จะท�ำงานอัตโนมัติ 24 ชั่วโมง 7 วัน ในสภาพแวดล้อมทีไ่ ม่มหี น้าต่างและมีแสงน้อย อย่างไรก็ตาม สิง่ หนึง่ ทีจ่ ะไม่เปลีย่ นไป ก็คอื คนจะยังเป็นสินทรัพย์ทสี่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของผูผ้ ลิต การปรับทักษะใหม่และเพิ่มทักษะให้กับลูกจ้างถือเป็นการ เปิดวิสยั ทัศน์พวกเขาให้เห็นถึงศิลปะของความเป็นไปได้ และท�ำให้
So what are some of the essentials for any manufacturer considering a smart factory rollout? Find out below or via ComputerWeekly where this piece first appeared.
1.
Business first approach : Business owners
or project managers and directors should want to rollout a smart factory initiative not to tell customers or the board that they are ‘digitally transforming’, but to achieve better business results, future-proof the existence of the business and derive greater value from production plants and the entire ecosystem. Importantly, a smart factory should form part of a wider interconnected IT/OT landscape and be a holistic endeavor. Smart factories enable manufacturers to benefit from the accumulation of massive amounts of valuable data. With this they can: Identify and address quality issues Rapidly learn and adapt to new demands Predict operational inefficiencies or oscillations in sourcing and demand Respond to customer needs ahead of time November-December 2018
การลงทุนด้านโรงงานอัจฉริยะจ�ำเป็นต้องแบ่งย่อยการ ท�ำงานให้มีขนาดเล็กลง โดยค�ำนึงถึงโอกาสในลักษณะที่จ�ำเพาะ เจาะจงเป็นอย่างแรก จะเห็นได้ว่ามูลค่าและการเติบโตนั้นสามารถ สร้างขึ้นมาได้จากการปรับขนาดสินทรัพย์เพียงอย่างเดียว รวมถึง ด�ำเนินการทดสอบกระบวนการท�ำงานและเทคโนโลยีทอี่ ยูร่ ายล้อม อย่างละเอียด ซึง่ ปัจจุบนั มีศนู ย์ทดสอบทีน่ า่ ทึง่ และพร้อมให้บริการ อยูท่ วั่ โลก (อย่างเช่น “แคตาปุลท์” ในสหราชอาณาจักร) ทีช่ ว่ ยให้ผผู้ ลิต สามารถทดสอบแนวคิดนี้ได้อย่างปลอดภัยภายใต้สภาพแวดล้อม ที่บริหารจัดการได้ อ�ำนาจทีแ่ ท้จริงของโรงงานอัจฉริยะ คือความสามารถในการ ปรับตัวและเติบโตไปพร้อมกับความต้องการที่ปรับเปลี่ยนไปของ องค์กร ผู้ผลิตจ�ำเป็นต้องก้าวไปทีละขั้นเพื่อเดินหน้าสู่อนาคตและ ต้องตระหนักว่า มีความเชีย่ วชาญทีถ่ กู ต้องเหมาะสมรออยูข่ า้ งนอก เพือ่ ช่วยเหลือพวกเขาให้ประสบความส�ำเร็จตามเป้าหมายทางธุรกิจ ทีว่ างไว้จากการปรับใช้แนวทางโรงงานอัจฉริยะทีม่ คี วามเข้ากันได้ดี กับระบบปัจจุบนั ท�ำงานในรูปแบบอัตโนมัติ และมีความยืดหยุน่ สูง นี่เป็นเรื่องที่คุณเห็นด้วยใช่ไหม?
2.
Connecting physical and digital technologies : Some manufacturers have had
mechanical systems in place for over 50 years. As technologies such as Robotic Processing Automation (RPA) offer the opportunity to drive transformation in the sector, it is important that manufacturers replace outdated machinery when possible, not just update it. One technology essential to any smart factory, and which sits in-between physical and digital infrastructure, is the Internet of Things (IoT). The benefits of Industrial Internet of Things (IIoT) have been widely espoused. IoT devices derive valuable data from sensors outside of the manufacturing plant and from machines on the shop floor, but importantly, also enable businesses to expand their operations and offer new services to customers. Servitization is upon us, and manufacturers not focused on adding services to their products to make them more outcome-based with the help of IoT solutions will miss out on valuable business opportunities, or worse.
เกี่ยวกับไอเอฟเอส ไอเอฟเอส (IFSTM) เป็นผูน้ ำ� ระดับโลกด้านการพัฒนาและน�ำเสนอซอฟต์แวร์ ส�ำหรับการวางแผนทรัพยากรองค์กร (Enterprise Resource Planning หรือ ERP) การบริหารจัดการสินทรัพย์ขององค์กร (Enterprise Asset Management หรือ EAM) และการบริหารจัดการงานบริการขององค์กร (Enterprise Service Management หรือ ESM) ทั้งนี้ ไอเอฟเอสก่อตั้ง ขึ้นในปี พ.ศ. 2526 โดยมีส่วนช่วยสนับสนุนให้ลูกค้าที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย สามารถด�ำเนินธุรกิจได้ดีขึ้น ตลอดจนผลักดันให้เกิดความคล่องตัว ในการด�ำเนินงาน พร้อมทั้งจัดเตรียมสิ่งต่างๆ ส�ำหรับอุตสาหกรรมเพื่อ ให้พร้อมรับมือกับอนาคต ไอเอฟเอสมีพนักงาน 2,800 คนที่พร้อมให้ การสนับสนุนผู้ ใช้ทั่วโลกมากกว่า 1 ล้านคน ผ่านส�ำนักงานสาขาในเขต พื้ น ที่ ต ่ า งๆ และผ่ า นเครื อ ข่ า ยพั น ธมิ ต รที่ ก� ำ ลั ง ขยายตั ว เพิ่ ม มากขึ้ น ส�ำหรับข้อมูลเพิ่มเติม โปรดไปที่เว็บไซต์ IFSworld.com
3.
Focus on people and partnerships :
The face of the shop floor will change unimaginably over the coming years. Robots will work autonomously 24/7 in a windowless, lightless environment. However, there is one aspect that won’t change—people will still be a manufacturer’s most important asset. Reskilling and upskilling employees, opening their eyes to the art of the possible and getting them on board with change—a change that will likely reshape their purpose in the workplace—is a massive but necessary undertaking.
4.
Start small and scale : Smart factory investments
need to be broken down into bite-sized chunks, with specific opportunities realized first. Value and growth can be created through scaling a single asset and testing the processes and technologies around it. There are some incredible centers globally (one example in the UK is Catapult) that help manufacturers test these concepts in a safe, manageable environment. The true power of the smart factory is its ability to adapt and grow with the shifting needs of an organization. Manufacturers need to take one step at a time in getting to the future and
recognize that the right expertise is out there to help them achieve their business goals by implementing a harmonious, automated and resilient smart factory. Is this something you agree with?
About IFS IFSTM develops and delivers enterprise software for customers around the world who manufacture and distribute goods, maintain assets, and manage service-focused operations. The industry expertise of our people and solutions, together with commitment to our customers, has made us a recognized leader and the most recommended supplier in our sector. Our team of 3,500 employees supports more than ten thousand customers worldwide from a network of local offices and through our growing ecosystem of partners. For more information, visit: IFSworld.com November-December 2018
Article
> ทอมมี่ เหลียง ประธานบริษัท ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประจ�ำภาคพื้นเอเชียตะวันออกและญี่ปุ่น
เราใช้ ชี วิ ต อยู ่ ใ นโลกดิ จิ ทั ล ที่ เ ปลี่ ย นแปลงอย่ า ง รวดเร็ว จากโมเดลธุรกิจใหม่ ไปสู่ระบบพลังงานใหม่ การ ปฏิรูปสู่ดิจิทัลได้แผ่ขยายอย่างเต็มก�ำลังรอบตัวเรา ด้วย สภาพการแข่งขันอย่างสูงในธุรกิจ ความส�ำเร็จขององค์กร ในวันนี้ จึงขึ้นอยู่กับว่าองค์กรธุรกิจน�ำความสามารถด้าน การเชื่อมต่อ ความสามารถในการคาดการณ์ รวมถึงความ เรียบง่ายในการบริหารจัดการข้อมูลมาช่วยเพิ่มศักยภาพ ให้กบั พนักงาน เพือ่ เพิม่ ผลลัพธ์และความเชีย่ วชาญในการ สร้างคุณค่าและการเติบโตให้กับองค์กรได้อย่างไร การปฏิรูปทางดิจิทัลถูกขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี เช่น คลาวด์ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI) และ IoT ส�ำหรับอุตสาหกรรม (IIoT) ซึ่งหลายอุตสาหกรรม ต่างค่อยๆ ทยอยกันปฏิรูปสู่ดิจิทัล นอกเหนือจากการ เปลีย่ นแปลงรูปแบบธุรกิจในปัจจุบนั สิง่ จ�ำเป็นส�ำหรับธุรกิจ คือต้องแน่ใจด้วยว่าบุคลากรจะต้องได้รับการ “ปฏิรูปทาง ดิจทิ ลั ” ด้วยเช่นกัน ดังนัน้ ผูท้ สี่ ามารถปรับใช้เทคโนโลยีได้ดี หรือผูท้ กี่ า้ วทันโลก จะมีความสามารถน�ำโอกาสทีเ่ กิดในยุค IoT มาใช้กบั การท�ำงานเพือ่ ให้ได้ผลลัพธ์ทด่ี แี ละมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น November-December 2018
เพิ่มขีดความสามารถของพนักงาน จากความร่วมมือและการฝึกอบรม
แม้วา่ บริษทั มากมายต่างตระหนักดีถงึ ความส�ำคัญของ การปรับโฉมให้กบั คนท�ำงาน แต่กย็ งั คงมีชอ่ งว่างในเรือ่ งของ ทักษะอยูม่ าก จากรายงานของ Accenture ระบุวา่ 40 เปอร์เซ็นต์ ของนายจ้างพูดถึงการขาดแคลนผู้ที่มีความสามารถโดดเด่น และตัวเลขนีจ้ ะเพิม่ ขึน้ เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงสูย่ คุ ดิจทิ ลั อย่าง เต็มรูปแบบ ในภาพรวมของเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว บริษทั ต่างๆ จ�ำเป็นต้องดูแลและสร้างคนท�ำงาน ที่พร้อมส�ำหรับอนาคต ด้วยการลงทุนเรื่องของการฝึกอบรม เพิ่มทักษะให้กับพนักงานและส่งเสริมวัฒนธรรมการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่องในระยะยาว ตัวอย่างเช่น ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ให้โอกาสกับพนักงาน ในการฝึกอบรมต่างออฟฟิศ เพือ่ ให้ได้ทกั ษะทีแ่ ตกต่าง รวมถึง มีมมุ มองใหม่ๆ ซึง่ มีสว่ นช่วยเร่งให้เกิดความก้าวหน้าในสาย อาชีพ พร้อมส่งเสริมการเติบโตทางธุรกิจ ผูน้ ำ� ธุรกิจในปัจจุบนั ต้องท�ำมากกว่าการพัฒนาทักษะด้านเทคนิค โดยการเพิ่ม ทักษะด้านอารมณ์ เช่น การแก้ปัญหาและการคิดเชิงวิพากษ์ เพือ่ เติมเต็มความมุง่ มัน่ จากภาครัฐบาล เช่น โครงการ “SMEs Go Digital”, SkillsFuture และคุณสมบัติทักษะฝีมือแรงงาน บริษัทฯ ยังมีอีกบทบาทส�ำคัญในการดูแลผู้ที่มีความ สามารถพิเศษก่อนเข้าสูก่ ารท�ำงาน ด้วยการเข้าไปมีสว่ นร่วม กับสถาบันการศึกษาต่างๆ ซึง่ อาจรวมถึงความร่วมมือกับทาง มหาวิทยาลัย เพือ่ ให้นกั ศึกษามีทกั ษะด้านเทคนิคจากโปรแกรม ฝึกงานและการฝึกอบรมในที่ท�ำงาน รวมถึงการจัดแข่งขันน�ำเสนอ แผนธุรกิจในการท�ำงานจริง
ประโยชน์ของบุคลากรที่มีความสามารถ ทางเทคโนโลยี (Smart Workforce)
คนท�ำงานที่มีความพร้อมในการใช้ประโยชน์จาก IoT จะมี อนาคตไกล เพือ่ พิสจู น์วา่ บริษทั ไปได้ดใี นยุคดิจทิ ลั การเปลีย่ นธุรกิจ สู่ดิจิทัลจะปูทางไปสู่การหลอมรวมข้อมูลจากการวางแผนและ การด�ำเนินการจริงเข้าด้วยกัน เพื่อการบริหารจัดการสินทรัพย์และ ความสูญเสีย โดยใช้เทคโนโลยีการบริหารข้อมูลและระบบวิเคราะห์ ข้อมูลมาช่วยให้ผู้ประกอบการมองเห็นภาพของความสามารถ ในการท�ำก�ำไรในโครงการนัน้ ๆ ก่อนทีจ่ ะเริม่ ด�ำเนินการ หรือทนุบำ� รุง ดูแลสินทรัพย์ก่อนที่จะเกิดความเสียหาย การผสานรวมเทคโนโลยีตา่ งๆ เช่น อุปกรณ์ AR (AugmentedReality) ที่ใช้ IoT ช่วยเพิ่มศักยภาพให้แก่ผู้ใช้งาน ด้วยทักษะและ ความรู้ใหม่ๆ ที่ช่วยให้สามารถบริหารจัดการกับสินค้าคงคลังได้ดี ยิ่งขึ้น ด้วยความสามารถในการเชื่อมต่อที่มากขึ้นจากการใช้ IoT ช่วยให้ผู้ผลิตสามารถบ�ำรุงรักษาเชิงพยากรณ์ โดยน�ำข้อมูลมาใช้ คาดการณ์ถึงความล้มเหลวได้ล่วงหน้า บุคลากรสามารถท�ำงานได้
คนทำ�งานยุคใหม่จำ�ต้องมีความสามารถในการควบคุม การใช้เทคโนโลยีทเี่ ปลีย ่ นแปลงอยูต ่ ลอดได้ เพือ่ เพิม ่ ความ สามารถในการแข่งขันของบริษัทำ
อย่างมีประสิทธิภาพและเท่าทันเหตุการณ์มากขึน้ ด้วยการด�ำเนินการ ซ่อมแซมและเปลี่ยนอุปกรณ์ก่อนที่เครื่องจะท�ำงานผิดปกติ ซึ่ง ส่งผลต่อประสิทธิภาพการท�ำงาน ความก้าวหน้าด้านความฉลาด ของเครื่องจักรยังช่วยให้มนุษย์สามารถท�ำงานโต้ตอบกับระบบ เซ็นเซอร์ได้ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของงานและให้ผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น เทคโนโลยีบำ� รุงรักษาเชิงพยากรณ์ กระทัง่ โซลูชนั AI และเทคโนโลยี ML (Machine Learning) ล้วนใช้การจดจ�ำรูปแบบ ขัน้ สูง เพือ่ เรียนรูเ้ กีย่ วกับโปรไฟล์การปฏิบตั งิ านทีเ่ ป็นอัตลักษณ์ของ สินทรัพย์และกระบวนการต่างๆ ข้อมูลที่ได้จากอุปกรณ์เซ็นเซอร์ ของเครื่องจักรถูกน�ำมาเปรียบเทียบกับข้อมูลการด�ำเนินงานได้ ในแบบเรียลไทม์ โดยให้การแจ้งเตือนล่วงหน้าเกี่ยวกับปัญหาของ อุปกรณ์ต่างๆ ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถระบุปัญหาที่อาจเกิดขึ้น ได้ล่วงหน้า เทคโนโลยีในวันนี้จะถูกแทนที่ด้วยเทคโนโลยีที่ใหม่กว่า ในวันพรุง่ นี้ คนท�ำงานยุคใหม่จำ� ต้องมีความสามารถในการควบคุม การใช้เทคโนโลยีทเี่ ปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดได้ เพือ่ เพิม่ ความสามารถ ในการแข่งขันของบริษัท องค์กรจ�ำต้องลงทุนในเรื่องของการอบรม และพัฒนาผู้ที่มีความสามารถโดดเด่น พร้อมกันนี้ สิ่งส�ำคัญคือ การฝึกอบรมให้กับผู้มีความสามารถที่เพิ่งเข้ามาเริ่มงานใหม่ เพื่อ สร้างความมัน่ ใจว่าจะมีบคุ คลทีพ่ ร้อมด้วยความสามารถและทักษะ ความช�ำนาญเข้ามาร่วมทีมและสามารถท�ำงานร่วมกันได้อย่าง ต่อเนือ่ ง การเปลีย่ นแปลงคือสิง่ เดียวทีเ่ กิดขึน้ ตลอดเวลาในชีวติ และ เราจ�ำเป็นต้องด�ำเนินบทบาทในการสร้างความมัน่ คงให้กบั อนาคต November-December 2018
Special Scoop > กองบรรณาธิการ
บริษัท อะเมซอน เว็บ เซอร์วิสเซส จ�ำกัด (Amazon Web Services Inc.) (AWS) บริษัทในเครือ Amazon.com ประกาศให้ ซันเดย์ มอร์นิ่ง เป็นผู้ชนะเลิศในรอบชิงชนะเลิศ AWS Hackdays 2018 ทั้งนี้ ซันเดย์ มอร์นิ่ง สามารถฝึกยานยนต์แบบไร้คนขับที่เร็ว ที่สุด ฉลาดที่สุด จาก 6 ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันทั่วภูมิภาคอาเซียน และได้ รั บ ชั ย ชนะด้ ว ยการคว้ า รางวั ล ทริ ป เดิ น ทางเข้ า ร่ ว มงาน AWS re:Invent 2018 ที่ลาสเวกัส ประเทศสหรัฐอเมริกา การแข่งขันรอบชนะเลิศ AWS Hackdays Grand Final ถือเป็นจุดที่สูงสุดของงานแฮคกาธอน (Hackathon) ที่จัดขึ้นใน 6 ประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยทีมที่ชนะเลิศ จากประเทศสิงคโปร์ เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และประเทศไทย ได้ฝึกฝนและแข่งรถที่ปรับแต่งในสัดส่วน 1/16th หรือที่รู้จักในนาม Robocars ไปรอบเส้นทางทั้ง 4 แล็ป ซึ่งซันเดย์ มอร์นิ่ง สามารถฝึกฝนการใช้ Robocar ได้ดีที่สุดและจบการแข่ง ในแล็ปด้วยระยะเวลาทีเ่ ร็วทีส่ ดุ จึงได้รบั รางวัลชนะเลิศกลับบ้านไป นิค วอลตัน กรรมการผูจ้ ดั การประจ�ำภาคพืน้ อาเซียน ของ AWS กล่าว “ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และแมชชีน เลิร์นนิ่ง (ML) ให้ ศักยภาพทีช่ ว่ ยยกระดับการใช้ชวี ติ ในทุกวันให้ดขี นึ้ และเรือ่ งนีเ้ ห็นได้ จากงาน AWS Hackdays ซึ่งเป็นงานที่ผู้พัฒนาได้น�ำเฟรมเวิร์ก AI และ ML มาทดลองใช้ในรูปแบบทีแ่ ตกต่างกันไป พร้อมน�ำเทคโนโลยี เหล่านีไ้ ปใส่ไว้ในแอปพลิเคชัน ทัง้ นี้ ความสามารถของซันเดย์ มอร์นงิ่ ในการฝึกฝน Robocar ให้เรียนรู้การขับขี่ และหลบหลีกไปตาม เส้นทางได้ในระยะเวลาอันสัน้ โดยใช้บริการ AI และ ML จาก AWS นัน้ น่าประทับใจเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งการควบคุมการใช้งานเทคโนโลยีของ AWS เช่น Amazon SageMaker ทั้งการฝึกฝนและการน�ำโมเดล ML มาใช้อย่างง่ายดายและรวดเร็วนั้น ท�ำให้ผู้เข้าแข่งขันได้รับ ประสบการณ์กอ่ นใครในแง่มมุ ที่ AI และ ML สามารถสร้างผลกระทบ November-December 2018
ต่อแอปพลิเคชันในเชิงบวก และยกระดับการใช้ชีวิตในทุกวันได้ดี ยิ่งขึ้น” ซันเดย์ มอร์นิ่ง เป็นทีมนักวิทยาศาสตร์ข้อมูลจาก Sunday Ins Co. (easysunday.com) ซึง่ เป็นองค์กรทีม่ ฐี านอยูท่ ปี่ ระเทศไทย และเป็นบริษทั Insurtech เต็มรูปแบบแห่งแรกของเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ บริษัทฯ น�ำเฟรมเวิร์ก AI และ ML บนแพลตฟอร์ม AWS มาใช้ และน�ำเทคโนโลยีชนั้ น�ำมาช่วยในการก�ำหนดราคาสินค้าด้าน การประกันทีเ่ หมาะกับลูกค้าแต่ละรายได้ ซึง่ ซันเดย์ มอร์นงิ่ มีความ คุน้ เคยกับแพลตฟอร์ม AWS เป็นอย่างดี จึงช่วยให้ทำ� โมเดลออกมา ได้สมบูรณ์แบบภายในระยะเวลาอันสัน้ และช่วยให้ชนะการแข่งขัน ด้วยสถิตทิ นี่ า่ ประทับใจคือ 32 วินาที เอาชนะทีมอืน่ ทีใ่ ช้เวลาในการ จบแล็ปนานกว่าถึง 2 เท่า “ในการโปรแกรมรถ เราได้พิจารณาในเรื่องความท้าทาย อย่างการบังคับรถให้เลี้ยวซ้ายและเลี้ยวขวาในองศาที่แตกต่างกัน ตามการออกแบบเส้นทางการแข่งขัน Amazon SageMaker ช่วย ให้เราสามารถฝึกฝนโมเดลในการเรียนรู้ของเครื่องกลได้อย่างมี ประสิทธิภาพและท�ำให้เกิดประสิทธิผล ปรับแต่งเพื่อให้เกิดการ คาดการณ์ทดี่ ที สี่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็นไปได้ และน�ำโมเดลทีไ่ ด้รบั การฝึกฝน อย่างเต็มรูปแบบมาใช้กับ Robocar ได้อย่างง่ายดาย ทั้งหมดนี้ ท้ายที่สุดก็คือท�ำให้เราถึงจุดหมายได้เร็วกว่าทีมที่เหลือ ครั้งนี้ นับเป็นครัง้ แรกทีเ่ ราได้เข้าร่วมงานอีเวนต์ลกั ษณะนี้ และความคุน้ เคย กับเทคโนโลยีของ AWS บวกกับความง่ายในการใช้งาน Amazon SageMaker ช่วยให้เราโปรแกรมรถได้ประสบความส�ำเร็จ” ธรรญชนก งามเสาวรส สมาชิกของทีมกล่าว ผลจากความส� ำ เร็ จ ในการแข่ ง ขั น รอบชิ ง ชนะเลิ ศ AWS Hackdays 2018 Grand Finale ก็คอื ซันเดย์ มอร์นงิ่ จะได้รบั รางวัล ตัว๋ เครือ่ งบินพร้อมทีพ่ กั และบัตรเข้าร่วมงาน AWS re:Invent 2018 ที่ลาสเวกัส ซึ่ง AWS จัดขึ้นเพื่อคลาวด์คอมพิวติ้ง คอมมูนิตี้ทั่วโลก ซึง่ เป็นงานอีเวนต์ทมี่ กี ารประกาศ Keynote และการฝึกอบรม รวมถึง โอกาสในการได้รับใบรับรอง (Certification) อีกทั้งยังสามารถเข้าถึง การประชุมด้านเทคนิคนับ 2,000 กว่าหัวข้อ และการจัดแสดงใน
ส่วนของคู่ค้า (Partner Expo) พร้อมร่วมสังสรรค์ในงานอีเวนต์ หลังการประชุม ฯลฯ ส�ำหรับทีมทีไ่ ด้รบั รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ในการแข่งขัน AWS Hackdays 2018 Grand Finale ร่วมกัน คือ Makati Boyz (ฟิลิปปินส์) และ Hypervalence (สิงคโปร์) ทั้ง 2 ทีมจะกลับบ้าน ไปพร้อมรางวัลบัตรก�ำนัล Amazon Gift Card มูลค่า 100 เหรียญ สหรัฐฯ ส�ำหรับสมาชิกในทีมแต่ละราย และส�ำหรับทีมทีไ่ ด้รบั รางวัล รองชนะเลิศอันดับที่ 2 คือ Team Astro (มาเลเซีย) จะกลับบ้านไป พร้อมรางวัลบัตรก�ำนัล Amazon Gift Card มูลค่า 75 เหรียญสหรัฐฯ ส�ำหรับสมาชิกในทีมแต่ละรายเช่นกัน
เกี่ยวกับ AWS Machine Learning ด้วยสายผลิตภัณฑ์ดา้ นการบริการทีก่ ว้างขวาง ครอบคลุม เทคโนโลยีใน Stack ทั้ง 3 เลเยอร์ โดยมีลูกค้ามากมายที่ให้ ความไว้วางใจใช้แมชชีน เลิรน์ นิง่ จาก AWS มากกว่าผูใ้ ห้บริการ อื่นๆ และส�ำหรับผู้พัฒนาระบบขั้นสูง และนักวิทยาศาสตร์ ที่ สะดวกใจทีจ่ ะสร้าง ปรับแต่ง ฝึกอบรม และใช้งาน รวมถึงบริหาร จัดการโมเดลการท�ำงานเหล่านี้ด้วยตัวเอง AWS ก็น�ำเสนอ P2 และ P3 Instances เป็นฐานล่างของ Stack ที่ให้ประสิทธิภาพ ทีด่ กี ว่า GPU Instance ทีม่ อี ยูใ่ นคลาวด์ปจั จุบนั ถึง 6 เท่า พร้อม ด้วย AMI ที่ให้ความสามารถในการเรียนรู้เชิงลึกจาก AWS ที่ฝัง เฟรมเวิร์กการท�ำงานหลักทั้งหมดมาด้วย เช่น TensorFlow และ MXNet โดยในเลเยอร์ชั้นกลางของ Stack องค์กรที่ต้องการใช้ แมชชีน เลิรน์ นิง่ อย่างครอบคลุม สามารถใช้ Amazon SageMaker ซึ่งเป็นบริการด้านการจัดการอย่างเต็มรูปแบบที่ช่วยก�ำจัดงาน หนัก ที่ซับซ้อน และงานที่ต้องคาดเดาในแต่ละขั้นตอนของ กระบวนการท�ำงานด้านแมชชีน เลิร์นนิ่ง ช่วยเพิ่มอ�ำนาจให้กับ ผู้พัฒนาและนักวิทยาศาสตร์ที่ต้องใช้แมชชีน เลิร์นนิ่ง ท�ำงาน ทุกวันให้ประสบความส�ำเร็จได้ Amazon SageMaker สามารถ ใช้ร่วมกับ AWS DeepLens ได้ โดยเป็น Deep-Learning ที่ช่วย ให้กล้องวิดีโอแบบไร้สายสามารถ Pair การท�ำงานร่วมกับ HD Camera Developer Kit ทีม่ าพร้อมชุดตัวอย่างโครงการทีช่ ว่ ย ให้ผพู้ ฒ ั นาสามารถเรียนรูเ้ กีย่ วกับแนวคิดการท�ำงานของแมชชีน เลิร์นนิ่งได้ โดยในเลเยอร์ชั้นบนสุดของ Stack นั้น AWS ก็จะ มอบโซลูชนั เช่น Amazon Rekognition ส�ำหรับการวิเคราะห์ภาพ และวิดีโอในลักษณะ Deep-Learning รวมถึง Amazon Polly ส�ำหรับการแปลงตัวหนังสือเป็นค�ำพูด Amazon Lex ส�ำหรับการ สร้างบทสนทนา Amazon Transcribe ส�ำหรับการแปลงค�ำพูดเป็น ตัวหนังสือ Amazon Translate ส�ำหรับการแปลระหว่างภาษา และ Amazon Comprehend เพื่อให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์และหา มุมมองเชิงลึกจากตัวหนังสือได้ นอกจากนี้ สิง่ ทีม่ าพร้อมบริการ และอุปกรณ์ที่ครอบคลุมหลากหลายนี้ คือการที่ลูกค้าจะได้ ท�ำงานไปพร้อมกับนักวิทยาศาสตร์ดา้ นข้อมูลทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ จาก AWS ใน AWS ML Lab เพื่อติดตั้งกรณีการใช้งานจริง
เกี่ยวกับอะเมซอน เว็บ เซอร์วิสเซส เป็นเวลากว่า 12 ปีแล้ว ที่อะเมซอน เว็บ เซอร์วิส ถือเป็นแพลตฟอร์มที่สมบูรณ์และมีการใช้งานแพร่หลาย มากทีส่ ดุ ในโลก เนือ่ งจาก AWS มอบบริการทีใ่ ห้คณ ุ ลักษณะ การท�ำงานทีส่ มบูรณ์ทสี่ ดุ ส�ำหรับการประมวลผลสตอเรจ ฐานข้อมูล การเชื่อมต่อเครือข่าย การวิเคราะห์ แมชชีน เลิร์นนิ่ง และปัญญาประดิษฐ์ (AI) อินเทอร์เน็ต ออฟ ธิงส์ (IoT) โมบาย การรักษาความปลอดภัย ระบบไฮบริด เทคโนโลยี VR (Virtual) และ AR (Augmented Reality) มีเดีย และ การพัฒนาแอปพลิเคชัน โดยมีการน�ำมาใช้งานและบริหาร จัดการ จาก 55 Availability Zones (AZs) ใน 8 ภูมิภาค (Geographic Regions) และ 1 Local Region ทั่วโลก ครอบคลุมสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย บราซิล แคนาดา จีน ฝรัง่ เศส เยอรมนี อินเดีย ไอร์แลนด์ ญีป่ นุ่ เกาหลี สิงคโปร์ และสหราชอาณาจักร ทั้งนี้ บริการของ AWS ได้รับความ ไว้วางใจจากลูกค้าทั่วโลกในการน�ำไปใช้งานอย่างจริงจัง นับหลายล้านรายด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นบรรดาองค์กร สตาร์ทอัพ องค์กรธุรกิจขนาดใหญ่ และหน่วยงานรัฐบาล ชัน้ น�ำ เพือ่ เพิม่ ขุมพลังให้กบั ระบบโครงสร้างพืน้ ฐาน ให้เกิด ความคล่องตัวมากขึ้น และช่วยลดค่าใช้จ่าย
เกี่ยวกับอะเมซอน อะเมซอน ยึดหลักการส�ำคัญ 4 ประการในการ ด�ำเนินธุรกิจ ได้แก่ ใส่ใจในลูกค้ามากกว่ามุ่งเน้นที่คู่แข่ง หลงใหลในเรื่องของการสร้างนวัตกรรม มุ่งมั่นในความ เป็นเลิศด้านการด�ำเนินงาน และคิดยาวไกล โดยลูกค้าให้ การรีววิ มากมาย ไม่วา่ จะเป็นการช้อปปิง้ ได้ภายใน 1 คลิก, ให้ ค� ำ แนะน� ำ ที่ ต รงต่ อ ความต้ อ งการส่ ว นตั ว , Prime, Fulfillment by Amazon, AWS, Kindle Direct Publishing, Kindle, แท็ปเล็ต Fire, Fire TV, Amazon Echo และ Alexa เหล่านีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของผลิตภัณฑ์และการบริการทีค่ ดิ ค้น โดย Amazon
November-December 2018
Article
> ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ นักวิชาการอิสระ
รถยนต์ไฟฟ้า รถไฟฟ้า รถไฟไฟฟ้า
November-December 2018
วันก่อนผมไปงานเลีย้ ง เจอเพือ่ นทีเ่ ป็นวิศวกรใหญ่ของบริษทั รับเหมาก่อสร้าง 1 ใน 5 ยักษ์ใหญ่ของเมืองไทย ก็ได้คุยกัน เพื่อน : ‘เมื่อวานไปดูเขาประกวดราคารถไฟฟ้ากัน’ ผม : ‘กี่ตังค์เหรอ แพงไหม’ เพื่อน : ‘สี่หมื่นกว่าล้าน’ ผม : ‘รถไฟฟ้าอะไรกันแพงขนาดนั้น ของจีนเดี๋ยวนี้ ตกคันละ 4 ซ้า 5 แสนเอง นีพ่ ดู เรือ่ งอะไรกันเนีย่ ’ ทีค่ ยุ กันข้างบนนัน้ เป็นเหตุการณ์สมมุติ แต่ความเข้าใจผิดกัน เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้จริง เพราะ 2 คนมีค�ำจ�ำกัดความของรถไฟฟ้า ทีม่ อี ยูใ่ นหัวไม่เหมือนกัน คนหนึง่ พูดเรือ่ ง Electric Train แต่อกี คน ก�ำลังนึกถึง Electric Car และด้วยความที่รัฐบาลไทยก�ำลังเร่ง โครงการขนาดยักษ์ที่เกี่ยวกับทั้ง Electric Train และ High Speed Train ซึ่งเป็นโครงการที่รวมๆ กันแล้วมีราคาเหยียบล้านล้านบาท ถ้าปล่อยให้ความเข้าใจไม่ตรงกันนีเ้ กิดขึน้ ในคนทีเ่ กีย่ วข้อง โครงการ หลายแสนล้านบาทนี้จะมีปัญหาได้เมื่อเกิดเหตุต้องขึ้นโรงขึ้นศาล ยังจ�ำกันได้ใช่ไหมครับ ที่อดีตนายกรัฐมนตรีของไทยถูกให้ออก เพราะการตีความรูปศัพท์การท�ำอาหารตามที่ราชบัณฑิตยสภาได้ บัญญัติไว้ เรามาลองดูซวิ า่ ราชบัณฑิตยสภาบัญญัตคิ ำ� ว่า รถ รถยนต์ รถไฟ รถไฟฟ้า ไว้อย่างไร
รถ คือ ยานทีม่ ลี อ้ ส�ำหรับเคลือ่ นไป เช่น รถกระบะ รถจักรยาน รถตีนตะขาบ รถบดถนน รถประจ�ำทาง รถพยาบาล รถไฟ รถม้า รถยนต์ รถสองแถว เรียกว่าค�ำว่ารถนีค้ รอบคลุมยานพาหนะทุกชนิด ที่มีล้อและเคลื่อนไปได้ ไม่ว่าจะมีเครื่องยนต์หรือไม่มี รถยนต์ คือ ยานพาหนะทีข่ บั เคลือ่ นด้วยเครือ่ งยนต์ ตามปกติ มี 4 ล้อ (โดยมีเครื่องยนต์เป็นส่วนส�ำคัญ) รถไฟ คือ รถทีพ่ ว่ งกันเป็นขบวนยาว ขับเคลือ่ นโดยมีหวั รถจักร ลากให้แล่นไปตามราง รถไฟฟ้า คือ รถที่พ่วงกันเป็นขบวนยาว โดยขับเคลื่อนด้วย ไฟฟ้า แล่นไปตามราง (โดยมีไฟฟ้าเป็นค�ำส�ำคัญ) ค�ำสุดท้ายนี้แหละที่เป็นปัญหา แต่ก็เป็นสิ่งที่ประชาชน ทัว่ ประเทศเข้าใจว่าเป็นเช่นนัน้ เหมือนกับทีพ่ ดู กันว่าจะไปขึน้ รถไฟฟ้า ที่สถานี BTS ซอยอารี โดยคนพูดและคนฟังเข้าใจตรงกันว่าก�ำลัง พูดถึง ‘รถไฟ’ หรือรถทีพ่ ว่ งกันเป็นขบวนยาว ทีข่ บั เคลือ่ นด้วย ‘ไฟฟ้า’ ไม่ใช่ ‘รถ’ ใดๆ ก็ได้ที่ขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าและไม่ต้องวิ่งไปบนราง ตามรูปศัพท์ตรงตัวของ ‘รถไฟฟ้า’ ที่ไม่ใช่ตามที่ราชบัณฑิตยสภา บัญญัติไว้ อ่านแล้วงง ใช่ไหมครับ... ดังนั้นถ้าจะไม่ให้สับสนและไม่เป็นปัญหากับโครงการหลาย แสนล้านของประเทศ รัฐบาลต้องเร่งท�ำความเข้าใจในเชิงวิศวกรรม ที่ได้พัฒนาก้าวหน้าไปเร็วกว่าอัตราเร็วของการบัญญัติศัพท์ของ ราชบัณฑิตยสภา โดยบัญญัติเสียให้ถูกต้อง คือถูกต้องทั้งทาง วิศวกรรมศาสตร์และทางภาษาศาสตร์ ผมที่เป็นเพียงอาจารย์สอน ทางวิศวกรรมศาสตร์ และไม่ใช่นกั ภาษาศาสตร์ใดๆ ทัง้ สิน้ ขออาสา หาญกล้ามาเสนอค�ำศัพท์พวกนี้ให้เกิดความกระจ่างขึ้น ดังนี้
ถ้าเราต้องการหมายถึงรถไฟที่ขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า เราก็ก�ำลังพูดถึง Electric Train ฉะนั้นค�ำที่ถูกต้องต้องเป็น ‘รถไฟไฟฟ้า’ ส่วนถ้าเราหมายถึงรถเมล์ที่วิ่งได้ด้วยพลังไฟฟ้า เรา ก็ต้องใช้คำ� ว่า รถประจ�ำทางไฟฟ้า ซึ่งตรงกับค�ำว่า Electric Bus แต่ถ้าเราใช้ค�ำว่า รถยนต์ไฟฟ้า ค�ำนี้น่าจะตรงกับรถ ที่เป็นแบบไฮบริด หรือ Hybrid Car หรือรถพันทาง คือ ใช้ทั้ง เครื่องยนต์และมอเตอร์ไฟฟ้าในการขับเคลื่อน สลับกันไป ซึ่งจะเห็นได้ว่าไม่ตรงกับความเข้าใจที่พวกเรามีกันอยู่ใน ปัจจุบนั ทุกคนทีม่ กั นึกไปถึงค�ำว่า Electric Car ส�ำหรับรถยนต์ ไฟฟ้า แต่โลกได้เปลีย่ นไปแล้ว วิวฒ ั นาการทางเทคโนโลยีกไ็ ด้ ล�ำ้ หน้าไปแล้ว เราจึงมีหน้าทีท่ ตี่ อ้ งปรับความเข้าใจไปให้ตรงกับ สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ จริงในสังคม ทัง้ สังคมวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ บริสุทธิ์ หากถ้ามองได้ทะลุแบบนี้ ค�ำว่า ‘รถไฟฟ้า’ โดยรูปศัพท์ จึงเป็นค�ำรวมๆ ซึ่งจะเป็นรถจักรยานไฟฟ้า รถกระบะไฟฟ้า รถจักรยานยนต์ไฟฟ้า รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้า ฯลฯ ก็ได้ แต่ถ้าเป็น เช่นนัน้ แล้วค�ำว่า Electric Car จะใช้คำ� ไทยว่าอะไรหากใช้คำ� ว่า รถไฟฟ้าไม่ได้ ผมก็อยากจะเสนอทางออกที่เป็นไปได้ในทาง ปฏิบัติ ซึ่งไม่ถูกต้องนักในทางรากศัพท์ คือ ให้เราใช้ค�ำว่า รถไฟฟ้า กับ Electric Car นี่แหละ ด้วยเหตุผลของความ เคยชินทีเ่ ป็นทีย่ อมรับกันไปแล้วว่า ‘รถ’ ในทีน่ หี้ มายถึง ‘Car’ เท่านั้น ซึ่งแน่ละ อาจจะมีคนเห็นแย้ง แต่ก็ไม่แปลกอะไร เพราะเราก�ำลังถกกันว่าอะไรเป็นสิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ ของประเทศไทย ยังมีอีกค�ำหนึ่งครับที่สับสนมาก คือค�ำว่า Electric Vehicle หรือ EV ที่หลายคนชอบเรียกว่ารถไฟฟ้า ค�ำไทย ค�ำนี้ผิดอย่างสิ้นเชิง เพราะโดรนก็เป็น EV เรือก็เป็น EV ได้ เครื่องบินสมัยนี้ก็เป็นแบบ EV กันแล้ว ถ้างั้นจะเรียก EV ว่า อะไร คณะอนุกรรมการบัญ ญัติศัพ ท์วิศวกรรมโยธาของ ราชบัณฑิตยสภาได้ก�ำหนดให้ใช้ค�ำว่า ‘ยานพาหนะไฟฟ้า’ ครับ คือยานพาหนะ (Vehicle) ใดๆ ก็ได้ทใี่ ช้ไฟฟ้าเป็นพลังงาน ขับเคลื่อน ส่วนถ้าจะให้เรียกง่ายๆ จ�ำได้ไม่ยาก ผมเสนอเรียก ‘อีว’ี เลย ง่ายดี สั้นดี แต่มีบางกลุ่มโดยเฉพาะสื่อมวลชนบางคน เรียกว่า ‘รถอีวี’ อันนี้ผิดแน่นอนร้อยเปอร์เซ็นต์ครับ
November-December 2018
Special Area > GSS Technology
sensor used to upgrade CO2Meter's datalogger for quicker results
Carbon dioxide (CO2) is an ideal fire suppressor for many applications, because apart from actual fire damage, there is no clean-up or residue associated with a CO2 system — unlike with foaming agents or water. When a fire starts, high-pressure CO2 is released into the area it is protecting. Carbon dioxide gas displaces the oxygen until there is no longer enough required for combustion. The fire can then be controlled or extinguished. A common application is the protection of switch rooms or control panels, and other confined space environments which house electrical components, computer or process equipment such as server farms. Other common uses include gas turbine enclosures, power generation stations, and flammable liquid storage areas.
GSS Technology Most CO2 sensors work by measuring how much light is absorbed by CO2 molecules in the 4.2 to 4.4 microns range as it passes through the sample gas, which is called Non-Dispersive Infra Red (NDIR) absorption. The amount of absorption indicates how much CO2 is present. GSS developed proprietary LEDs that are specifically tuned to emit at these wavelengths. The LEDs use very little power and turn on almost instantly, enabling sensor readings to be made in a few seconds. As a result, GSS has pioneered the development of CO2 sensors that can be powered by batteries for long periods of up to ten years. Competitor sensors use IR sources that require significantly more power per measurement and also take much longer to reach a stable condition for a measurement, resulting in the need November-December 2018
However, there are two key challenges when using CO2. First, the cylinders of CO2 used in these Fire Suppression Systems could leak. Therefore, the areaswhere they are stored need to be monitored. Second, when such a system has been deployed, the atmosphere must be checked to ensure that the CO2 has dispersed to safe levels for re-entry. CO2Meter has developed a data logger, the CM-0003, that is capable of measuring up to 100% CO2 concentrations. The portable device is ideally suited for leak detection testing in fire extinguisher systems, and can detect even a slight change in the level of CO2. By attaching a length of tubing, the unit for mains power. Examples of the wide range of applications for GSS CO2 sensors can be found on the company’s website www.gassensing.co.uk
CO2Meter www.co2meter.com
The company was founded in 2008 after CEO Irene Hicks found first-hand how important hazardous gas detection instruments were in the South African mining industry where she represented a gas detection company. Once she took the opportunity to become head of their US facility, she decided to the move to the States and met Ray Hicks — a successful entrepreneur and engineer looking for a new project. He became fascinated by gas detection technology and the result of their shared interest spiked the successful business that is constantly growing today. Its approach is one based in the science of gas and how best to accurately and repeatedly measure that gas
The data logger model (CM-0003) is available from the CO2Meter website : https://www.co2meter.com/collections/fire-suppression/products/ co2-sampling-data-logger-100-percent?variant=50696225108 can be run in real-time along pipe connections and valves to pinpoint leaks — even in hard-to-reach places. This unit is also used to create a three-dimensional map of the CO2 levels in a particular space, by sampling from both horizontal and vertical locations. This helps determine when it is safe for emergency services to enter an area after a CO2 extinguisher has been used. “Our original design used a GSS ExplorIR®-W CO2 sensor, as the low power requirements of their LED-based technology enabled us to create a portable, battery-powered product that could go weeks between recharges.” explained Irene Hicks, CEO of CO2Meter. “It is also highly accurate right up to 100% CO2 concentrations, which is vital for a sensor in safety applications. However, an almost instant CO2 reading is needed in some situations, so in future we will be using a high speed GSS SprintIR®-6S sensor in our datalogger. This sensor takes 20 readings per second, so it’s ideal for recording fluctuating CO2 levels, particularly in fast changing
environments. The beauty of the SprintIR-6S is that it’s still low power enough to be used in our portable data logger, so you can have high speed and low power sensing effectively combined.” A customer of the CM-0003, who uses them for full discharge tests of CO2 fire suppression systems, said, “The meters are small enough to take as carry-on luggage, which I find very useful. I typically use three or four meters simultaneously, with test times ranging from 30 to 60 minutes each. To date, I’ve used these CM-0003 meters for testing well over 200 sites.” Rachael Yates, Marketing Manager at GSS, added, “We have a very close working relationship with CO2Meter who use a variety of our sensors in their products. The solid-state design of our LED-based sensors makes them particularly rugged so that they can withstand the rough handling that portable devices are subjected to. We are delighted to be working with them as they integrate our latest designs of ultra-fast reacting sensors into their product range. In particular, our unique, low power, 100% CO2 sensors are opening new market opportunities for them to create solutions for.”
for the end user’s purposes. Its business partners in agriculture, HVAC, science, safety, research, pharmaceuticals, beverage, and other fields find its devices to be highly accurate and cost effective.
Sources 1) CO2 for fire suppression : http://www.fireextinguisherguide.co.uk/types-of fire-extinguishers/co2-fire-extinguishers/ 2) Active fire suppression systems : http://www.hse.gov.uk/comah/sragtech/ techmeasfire.htm 3) Risks of CO2 as a fire suppressant : https://www.epa.gov/sites/production/files/ 2015-06/documents/co2report.pdf 4) Monitoring of fire suppression systems : http://www.legislation.gov.uk/uksi/2005/1541/ article/17/made CozIR, SprintIR and ExplorIR are registered trademarks of Gas Sensing Solutions Limited.
Gas Sensing Solutions (GSS)
www.gassensing.co.uk GSS is a world leader in CO2 sensor design, manufacture and customisation. Its disruptive solid-state technology uses proprietary, mid-infrared LED sensors to enable best-in-class records for fastest response times, lowest power consumption and longest product lifetime. Based in Scotland, this technology pioneer has been exporting its state-of-the-art sensors worldwide for over ten years, and has in-house bespoke development capabilities to support its international customer base. Tel: +44 1236 781900 info@gassensing.co.uk
November-December 2018
Special Area
> บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด
IoT Network Power Meter IoT Network Power Meter ทุกวันนี้เราไม่สามารถเลี่ยง ได้ว่า IoT หรือ Internet of Thing ได้เริ่มเข้ามามีบทบาทในชีวิตเรำ มากขึ้นทุกวัน โดยเริ่มต้นด้วยอุปกรณ์ใกล้ตัวในชีวิตประจ�ำวันก่อน เช่น อุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน เช่น กล้องวงจรปิด สวิตช์ไฟฟ้า หรือ เครื่องปรับอากาศ และเริ่มเข้ามาแพร่หลายกับอุปกรณ์ในวงการ อุตสาหกรรม เช่น อุปกรณ์ในระบบออโตเมชัน่ อุปกรณ์วดั ค่าทางไฟฟ้า หรือมิเตอร์ไฟฟ้ำ LUMEL ผูผ้ ลิตอุปกรณ์ในระบบออโตเมชัน่ และเครือ่ งมือวัด ทางไฟฟ้า ได้พัฒนาอุปกรณ์มารองรับระบบ IoT เรียบร้อยแล้ว ซึ่ง จะขอกล่าวถึง IoT Network Power Meter มิเตอร์ทวี่ ดั ค่าทางไฟฟ้ำ และสามารถน�ำข้อมูลไปเก็บบนคลาวด์ ในชื่อรุ่น ND30IoT
ND30IoT เป็นดิจิทัลเพาเวอร์มิเตอร์ที่รองรับระบบ IoT
ซึ่งสามารถวัดค่าพารามิเตอร์ทางไฟฟ้าได้มากถึง 54 พารามิเตอร์ และวัดค่าฮาร์โมนิกส์ได้ถงึ ล�ำดับที่ 51 ออกแบบมาให้สามารถใช้งาน ได้ง่าย ซึ่งเราสามารถดูค่าพารามิเตอร์ต่างๆ จากที่ใดก็ได้ โดยผ่าน โปรโตคอล MQTT โปรโตคอลส�ำหรับแอปพลิเคชัน IoT นอกจากนี้ ยังมีฟังก์ชันเด่นๆ อีกมากมาย เช่น สามารถใช้กับระบบไฟฟ้า 1 เฟส, 3 เฟส ได้ หน้าจอเป็นชนิด LCD TFT, 3.5” - หน้าจอมี 10 หน้า หน้าละ 8 พารามิเตอร์ - แสดงฮาร์โมนิกส์ 2 หน้ำ - แสดงผลอนาล็อก 1 หน้ำ มีหน่วยความจ�ำส�ำหรับค่าสูงสุดและต�่ำสุด ตั้งค่าการเตือนได้ 2 เอาต์พุต มีออฟชั่นอนาล็อกเอาต์พุต 4-20mA และ 2xPt100 มีออฟชั่นหน่วยความจ�ำ 8GB มีดิจิทัลเอาต์พุต RS485-Modbus Protocol ติดต่อสื่อสารด้วย Ethernet Interface 10/100 Base-T - Protocol Modbus TCP/iP, HTTP, FTP - MQTT - Service : www server, ftp server, DHCP Client มีแบตเตอรี่ส�ำหรับบันทึกเวลา RTC
November-December 2018
นอกจากนี้ LUMEL ยังได้พัฒนาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องกับระบบ IoT อีกมากมาย เช่น
SM61IoT คือ Data Logger ส�ำหรับระบบ IoT ใช้สำ� หรับบันทึกข้อมูลต่างๆ ในระบบ RS485 ผ่านทาง คลาวด์ในระบบ IoT
ท�ำให้ติดต่อสื่อสาร ดูข้อมูลผ่านโทรศัพท์มือถือที่ใดก็ได้ โดยมีหน่วยความจ�ำอยู่ที่ 8GB
HT20IoT อุปกรณ์ดูค่าอุณหภูมิและความชื้นด้วยระบบ IoT เหมาะกับเทคโนโลยีเกษตรสมัยใหม่หรือ Smart Farm ท�ำให้เรา
สามารถดูอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนของเราที่ใดก็ได้ผ่านโทรศัพท์มือถือ
รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดต่อได้ที่ บริษท ั แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จำ�กัด โทร. 0-2194-8738-9 แฟกซ์ : 0-2003-2215 E-mail : info@mit-thailand.com เว็บไซต์ : www.mit-thailand.com November-December 2018
Special Area > บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด
แม้ ว ่ า หน้ า ฝนก� า ลั ง จะผ่ า นไปแล้ ว หลายๆ สถานที่ อาจจะไม่ได้รบั ผลกระทบจากปรากฏการณ์ฟา้ ผ่า ซึง่ ส่งผลกระทบ ต่อเสถียรภาพของระบบไฟฟ้าและความปลอดภัยในอุปกรณ์ ไฟฟ้าที่อาจจะส่งผลต่อการ Break Down อันเนื่องมาจาก ปรากฏการณ์ฟ้าฝ่า และเกิดความเสียหายในแง่ของเศรษฐกิจ, ชีวิตและทรัพย์สิน หรือผลกระทบอื่นๆ อีกมากมาย
เนื่องจากปัจจุบันการออกแบบระบบป้องกันฟ้าผ่า ตามมาตรฐานการออกแบบ IEC 60305 และมาตรฐาน การออกแบบของ วสท. ซึ่ ง หนึ่ ง ในหั ว ข้ อ การออกแบบ เพื่อป้องกันระบบป้องกันฟ้าผ่าของ IEC 60305 เล่มที่ 4 นั้น เป็นการป้องกันฟ้าผ่าแบบภายใน เพื่อป้องกันอุปกรณ์ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ในสิง่ ปลูกสร้างให้มคี วามปลอดภัย โดยใช้ SPD (Surge Protection Device) ในการออกแบบป้องกันดังกล่าว
SPD หรืออุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิร์จ (Surge) แยกการออกแบบ หรือ Classification เป็น 2 มาตรฐานคือ UL1449 และ IEC/EN61643-11 ในการ Test อุปกรณ์ปอ้ งกันแรงดันเสิรจ์ ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับผู้ออกแบบว่าออกแบบตามมาตรฐานใด ซึ่ง SPD ของ Cirprotec ได้ถูก ออกแบบเพื่อรองรับมาตรฐานการออกแบบทั้ง 2 มาตรฐาน
November-December 2018
ใ น บ ท ค ว า ม นี้ จ ะ เ น ้ น ใ น ตั ว อุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น แรงดั น เสิ ร ์ จ ที่ Classified ตามมาตรฐาน IEC/EN 61643-11 เป็นหลักเพือ่ ความสอดคล้องในการออกแบบระบบป้องกัน ฟ้าผ่าตาม IEC 60305-4 หรือตามมาตรฐาน วสท. ที่นิยมใช้ในการออกแบบในประเทศไทยปัจจุบัน
ผลกระทบจากการเกิ ด ฟ้ า ผ่ า ในระบบไฟฟ้ า ที่ เ ห็ น ได้ ชั ด คื อ การเกิ ด ผลกระทบที่ เ กิ ด จากฟ้ า ผ่ า โดยตรง (Direct) ซึ่ ง ปกติ จะมี ค วามรุ น แรงและความเสี ย หายค่ อ นข้ า งมาก โดยทั่ ว ไป มั ก ออกแบบเลื อ กใช้ SPD Class I (10/350µs) ในการป้ อ งกั น ความเสียหาย อุปกรณ์เสิร์จแบรนด์ Cirprotec ได้ออกแบบรุ่น CSH ซึง่ มีคา่ Iimp สูงถึง 50kA และมีคา่ Follow Up Current (In) สูงถึง 50kA รวมถึงค่า Up ที่ ≤ 2kV
November-December 2018
และยังออกแบบ SPD Class I ที่ ใช้ ใ นการต่ อ ระหว่ า ง N และ PE ในกรณีที่มีการ Separate ระหว่าง N และ PE (TN-S) หรือระบบ Grounding แบบ TT โดยใช้ รุ ่ น CSH1-100N ซึ่ ง รองรั บ การป้อ งกัน ฟ้าผ่าแบบผ่าน ระบบ Grounding เข้าสูร่ ะบบไฟฟ้าตาม มาตรฐานการออกแบบ IEC 61312-1 รองรับค่า Iimp สูงถึง 100kA (ระหว่าง N และ PE เท่านั้น)
อี ก ทั้ ง Cirprotec ยั ง ออกแบบ SPD Class II (8/20µs) ให้มีค่า Imax สูงถึง 40kA และมีค่า In = 20kA โดยสามารถใช้ต่อกับระบบ Grounding แบบ TN-C, TN-S หรือ TT (รุ่น PSM4-40 SG) และยังมี Feature
November-December 2018
“SAFE Ground Indication Light” ที่ช่วยในการ ตรวจสอบสาย Ground ว่าหลุดออกจาก SPD หรือไม่ ซึ่งเป็นสิ่งส�าคัญที่ท�าให้กระแสฟ้าผ่า ลงสู่ระบบ Grounding ต่อไป
SPD Class II ของ Cirprotec รุ่น PSM Range ยังมี Indicator เป็ น แถบสี เ พื่ อ บอกสถานะความเสี ย หายของ SPD ว่ า จ� า เป็ น ต้องเปลี่ยน (Replacement) หรือไม่
ทั้งนี้ยังสามารถเปลี่ยนเป็นลักษณะ Plug In ได้ ที ล ะ Module บน Base On ที่ ไ ม่ จ� า เป็ น ต้องถอด Screw ในการยึดสายออก และมี Indicator Contact ส�าหรับส่งสัญญาณเพื่อเข้าสู่ระบบ SCADA หรือ Warning Light ตามต้องการ
สุดท้ายนี้ผลิตภัณฑ์ Cirprotec ได้รับการ Test ทดสอบตามมาตรฐาน IEC/EN 61643-11 จากสถาบันที่ได้มาตรฐานสากล และน�าเข้าจาก ประเทศสเปนทีน่ า่ เชือ่ ถือได้ อีกทัง้ ยังมี Feature ต่างๆ ที่ตรงตามความต้องการของตลาดหลายๆ อย่าง ซึ่งเป็นทางเลือกที่น่าสนใจในการออกแบบ และติ ด ตั้ ง เพื่ อ ป้ อ งกั น แรงดั น เสิ ร ์ จ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระบบไฟฟ้าได้อย่างดี โดย : สิทธิโชค แสงโคตร์ ; วิศวกรไฟฟ้า (สฟก.5575)
บริษทั เอวีรา่ จ�ากัด
รับปรึกษาและวางแผนบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้าด้วยประสบการณ์ผู้เชี่ ยวชาญ เฉพาะทางและมีผลิตภัณฑ์ให้เลือกหลากหลายไว้คอยอ�านวยความสะดวก Tel : 0-2074-4411 E-mail : sales@avera.co.th
FB : บริษัท เอวีร่า จ�ากัด Website : www.avera.co.th November-December 2018
Special Area
> บริษัท ออมรอน อีเล็คทรอนิคส์ จ�ำกัด
ฉลากไม่สวย กล่องไม่ถูกชนิด สินค้าไม่เต็มภาชนะ... อื่นๆ อีกมากมาย ปฏิเสธไม่ได้ว่า สินค้าจะมีคุณภาพดีขนาดไหน การบริการ จะยอดเยีย่ มหรือโฆษณาจะจูงใจเพียงใด หากสินค้าทีล่ กู ค้าก�ำลังเล็ง บรรจุอยู่ในแพคเกจจิ้งที่มีปัญหา ความเชื่อถือและการซื้อคงไม่เกิด ขึ้น ซ�้ำร้ายยังจดจ�ำภาพลักษณ์ทางด้านลบไปอีกนาน โดยเฉพาะ ในปัจจุบันเข้าสู่ยุคที่ผู้ซื้อมีทางเลือกมากมาย เอาแค่แชมพูสระผม ก็มีให้เลือกมากมาย โอกาสที่ลูกค้าจะเปลี่ยนยี่ห้อนั้นสูงมาก ผู้ประกอบการขนาดใหญ่ยินยอมเสียค่าใช้จ่ายมากมาย ใช้ในการตรวจสอบบรรจุภัณฑ์ รูปลักษณ์ ไม่ว่าจะจ้างพนักงาน หลายร้อยคนเพือ่ ตรวจเช็คคุณภาพ บ้างก็หาเครือ่ งจักรราคาแพงเพือ่ ตรวจสอบ โดยเครือ่ งจักรเหล่านัน้ ถึงแม้จะแม่นย�ำและมีประสิทธิภาพ สูงเนื่องจากการใช้เทคโนโลยีเฉพาะทาง แต่ก็มีข้อเสียตรงที่แพง ไม่สามารถปรับเปลีย่ นให้ใช้ตรวจสอบสินค้ารุน่ อืน่ ๆ หรือถ้าได้กต็ อ้ ง จ้างวิศวกรเจ้าของเครื่องจากต่างประเทศ ส�ำหรับผู้ประกอบการที่รองลงมาอาจต้องพิจารณาถึงการ ตรวจเช็คคุณภาพที่ถูกกว่า ปรับเปลี่ยนได้ง่ายกว่าได้ด้วยตนเอง แน่นอนว่าโดยเฉพาะยุคพอเพียงแบบนี้ ต้องพิจารณาถึงความคุม้ ค่ำ ของการลงทุนมากเป็นพิเศษ ในโอกาสนี้ผมขอยกตัวอย่างปัญหำ บรรจุภัณฑ์และวิธีใช้เทคโนโลยีที่ไม่ซับซ้อนช่วยแก้ปัญหำ
November-December 2018
สินค้าไม่เต็มจำ�นวน / พร่อง / ขาดหาย คงไม่ ดี แ น่ ห ากลู ก ค้ า พบว่ า สิ น ค้ า ที่ ซื้ อ ไปแล้ ว มี ไ ม่ ค รบ ขาดหายจนสังเกตได้ บะหมีส่ ำ� เร็จรูปไม่มซี องเครือ่ งปรุง ระดับน�ำ้ ผลไม้ ในขวดอยูต่ ำ�่ ปัญหานีน้ บั ว่ามีความส�ำคัญสูงสุด เพราะลูกค้าจะเป็น ผู้ได้รับความเสียหายโดยตรง สร้างความไม่พอใจหากสินค้าเป็น ของเหลวในขวดใสหรือกึ่งใส เราสามารถใช้กล้องอุตสาหกรรมเป็น ตัวตรวจจับ กล้องจะฟ้องทันทีที่ระดับของสินค้าไม่ได้ตามก�ำหนด ปริมาณของสินค้าประเภทของแห้งทีเ่ ป็นชิน้ ภายในถาดหลุม ลักษณะของขนมขบเคีย้ วทีน่ ยิ มกัน สามารถเช็คได้จากการวัดระดับ ของขนมชิน้ บนสุด หากปริมาณทีบ่ รรจุไว้ตำ�่ กว่ามาตรฐาน เซนเซอร์ วัดความสูงสามารถส่งสัญญาณเตือนเพื่อให้พนักงานตรวจสอบ แก้ไข ในกรณีที่รูปทรงมีความซับซ้อนมากขึ้น กรณีของขาดหาย ไม่ครบจ�ำนวน ยังสามารถใช้กล้องอุตสาหกรรม ประยุกต์เพื่อตรวจสอบได้ ชิ้นขนมหรืออาหารสามารถถูกนับเพื่อ ตรวจเช็คจ�ำนวนจากการใช้กล้องเช่นเดียวกัน หากขาดไประบบ ตรวจนับจะส่งสัญญานแจ้งเตือนทันที ในกรณีนี้กล้องยังสามารถ แจ้งเตือนเมื่อสินค้าล้มหรือไม่อยู่ในต�ำแหน่งอีกด้วย
สินค้าทีจ่ ำ� เป็นต้องมีทศิ ทางในการเรียง ตัวบรรจุ การตรวจสอบทิศทางและต�ำแหน่ง ของสินค้าสามารถท�ำได้ผา่ นกล้องอุตสาหกรรม รุ่นประหยัด ซึ่งสามารถตรวจสอบทิศทางและ สัญญาณออกมาเมือ่ สินค้ากลับด้านหรือกลับทิศ
ฉลากสินค้าที่มองข้ามไม่ได้
ว่ากันด้วยรูปลักษณ์ภายนอก รูปลักษณ์ภายนอกนับว่ามีความส�ำคัญ เพราะเป็นสิง่ แรกทีล่ กู ค้าใช้ประเมินคุณภาพ และมีส่วนในการตัดสินใจซื้อ รูปลักษณ์ภายนอกในปัจจุบันมักออกแบบให้สะดุดตา ง่ายกับการใช้งาน แสดงเอกลักษณ์ของสินค้า เช่น แชมพู มีมากมายหลายสีแทนหลายสูตร หลายกลิ่น การตรวจสอบรูปลักษณ์ภายนอกด้วยเครื่องจักรส�ำเร็จรูปจึงมักมีราคาแพง เนือ่ งจากต้องรองรับความหลากหลายของตัวสินค้า แต่ปญ ั หาบางอย่างเราสามารถประยุกต์ เทคโนโลยีเซนเซอร์ได้ไม่ยาก สินค้าทีม่ โี อกาสมีฉลากหรือฝาปิดผิดรุน่ ผิดสี สามารถตรวจเช็คด้วยเซนเซอร์ชนิด ทีต่ รวจสอบสีได้ เช่น ไฟเบอร์เซนเซอร์รนุ่ ทีเ่ ช็คสี หรือกล้องอุตสาหกรรมในกรณีทรี่ ปู ร่าง มีความซับซ้อน หรือมีขนาดเล็ก ต�ำแหน่งไม่แน่นอน ฝาขวดทีป่ ดิ ไว้อาจหลุดหลวม จากความผิดพลาดของครือ่ งจักร ไม่วา่ จะเป็นฝาเกลียว หรือฝาฟลิป หากเป็นฝาเกลียวสามารถใช้ไฟเบอร์เซนเซอร์หรือดิสเพลสเมนท์เซนเซอร์ ตรวจวัดความสูงเพือ่ ตรวจจับฝาทีถ่ กู ขันไม่สดุ เกลียว หรือใช้กล้องอุตสาหกรรมตรวจจับ ฝาฟลิปที่ไม่สนิท
โดยส่วนใหญ่ฉลากหรือ Label ท�ำหน้าที่ 3 อย่างครับ คือ มีหน้าทีจ่ ำ� แนกชนิดของสินค้ำ ออกจากกัน มีหน้าที่ให้ข้อมูลการใช้งานและ ค�ำเตือน สุดท้ายคือท�ำหน้าที่ประดับสินค้ำ ให้สวยงาม น่าซื้อน่าใช้ เพื่อบรรลุจุดประสงค์ ผู้ผลิตควรต้องคุมคุณภาพตรงนี้ให้ดี อาหารและยาจ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ก ารระบุ วันเดือนปีการผลิตและวันหมดอายุ ข้อมูลที่ ขาดหายหรือลบเลือนจะเป็นปัญหาใหญ่ต่อ ความเชื่อมั่น และผิดข้อบังคับ การตรวจสอบ โดยใช้กล้องอุตสาหกรรม สามารถท�ำได้ตั้งแต่ การตรวจสอบว่ามีการพิมพ์หรือไม่โดยกล้อง รุน่ ประหยัด หรือหากต้องการตรวจสอบความ สมบูรณ์พร้อมอ่านรหัส ก็สามารถใช้กล้อง อุตสาหกรรมรุ่นใหญ่ขึ้น การติดฉลากเบีย้ ว เอียง ไม่สนิท ปัญหำ ที่มักเกิดขึ้นบ่อย โดยเฉพาะเมื่อใช้เครื่องติด สติกเกอร์ความเร็วสูง ในกรณีนกี้ ล้องอุตสาหกรรม มีความสามารถในการตรวจสอบต�ำแหน่งของ ฉลากโดยเทียบกับขวด บอกเป็นความสูงต�่ำ ซ้ายขวา หรือเอียง รวมทั้งการปิดฉลากสลับ หน้าหลัง การติดฉลากแบบรอบขวดหรือภาชนะ บรรจุ มักพบปัญหาคุณภาพตรงขอบฉลากที่ มักเหลื่อมกัน ซึ่งสามารถเช็คได้จากเซนเซอร์ อย่างง่ายเช่นเดียวกัน สิ น ค้ า ที่ มี ก ารติ ด สติ ก เกอร์ โ ปรโมชั่ น สามารถตรวจสอบชนิ ด ของสติ ก เกอร์ แ ละ ต�ำแหน่ง เพือ่ ความถูกต้องด้วยเซนเซอร์กล้อง อุตสาหกรรมเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ ปัญหาของบรรจุภณ ั ฑ์ยงั อาจ มีรปู แบบอืน่ ให้พจิ ารณาอีก ทัง้ นีก้ ารพิจารณำ เลือกเทคโนโลยีทถี่ กู ต้องเป็นช่องทางประหยัด ค่าใช้จา่ ย ประหยัดเวลา ตัวอย่างข้างบนน่าจะ ท�ำให้เห็นภาพกว้างของการแก้ไขปัญหา ตัวอย่าง หรือรายละเอียดอื่นคงจะได้มีการน�ำเสนอใน โอกาสต่อไป November-December 2018
Special Area
> บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด
การนำ�เอาอินเวอร์เตอร์ (Inverter) มาประยุกต์ใช้งานกับมอเตอร์ (Motor) การน�ำเอาอินเวอร์เตอร์ (Inverter) มาประยุกต์ใช้งานร่วมกับระบบควบคุมมอเตอร์ (Motor Control) ในโรงงานอุตสาหกรรมอเตอร์ (Motor) เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ในการ แปลงพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล โดยน�ำพลังงานที่ได้รับนี้ไปขับเคลื่อนเครื่องจักร อื่นๆ ต่อไป โดยความเร็วของมอเตอร์สามารถก�ำหนดได้โดย 1. แรงบิดของโหลด 2. จ�ำนวนขั้วของมอเตอร์ 3. ความถี่ของแหล่งจ่ายไฟที่ใช้กับมอเตอร์ 4. แรงดันที่จ่ายให้กับมอเตอร์ ความเร็วของมอเตอร์สามารถหาได้จากสูตร จากสูตรข้างต้นพบว่า ถ้าความถีข่ องแหลงจ่ายไฟเปลีย่ นแปลงไป จะมีผลท�ำให้ มอเตอร์มีความเร็วเปลี่ยนแปลงด้วย แต่เมื่อท�ำการเปลี่ยนความถี่โดยให้แรงดันคงที่ จะมีผลท�ำให้เกิดฟลักส์แม่เหล็กเพิม่ มากขึน้ จนอิม่ ตัว ซึง่ อาจท�ำให้มอเตอร์รอ้ นจนเกิด ความเสียหายได้ ดังนัน้ จึงต้องท�ำการเปลีย่ นแรงดันควบคูไ่ ปกับความถี่ ซึง่ การเปลีย่ นแปลงความถี่ ของแหล่งจ่ายไฟสามารถท�ำได้โดยการใช้อินเวอร์เตอร์ซึ่งมีวงจรการท�ำงานของ อินเวอร์เตอร์
หลักการทำ�งาน อินเวอร์เตอร์ (Inverter) จะแปลงไฟกระแสสลับ (AC) จากแหล่งจ่ายไฟทั่วไปที่มีแรงดันและความถี่คงที่ ให้เป็นไฟกระแสตรง (DC) โดยวงจรคอนเวอร์เตอร์ (Converter Circuit) จากนั้นไฟกระแสตรงจะถูกแปลงเป็นไฟกระแสสลับที่สามารถปรับขนาดแรงดันและความถี่ได้ โดยวงจรอินเวอร์เตอร์ (Inverter Circuit) วงจรทั้งสองนี้จะเป็นวงจรหลักที่ท�ำหน้าที่แปลงรูปคลื่น โดยทั่วไปแหล่งจ่ายไฟกระแสสลับมีรูปคลื่นซายน์ แต่เอาท์พุตของอินเวอร์เตอร์จะมีรูปคลื่นแตกต่างจากรูปซายน์ นอกจากนั้นยังมี ชุดวงจรควบคุม (Control Circuit) ท�ำหน้าที่ควบคุมการท�ำงานของวงจรคอนเวอร์เตอร์และวงจรอินเวอร์เตอร์ให้เหมาะสมกับคุณสมบัติของ 3-Phase Induction Motor
รูปแสดงหลักการทำ�งานของอินเวอร์เตอร์ (Inverter) November-December 2018
โครงสร้างภายใน ชุดคอนเวอร์เตอร์ (Converter Circuit) ซึ่งท�ำหน้าที่แปลงไฟสลับจากแหล่งจ่ายไฟ AC. Power Supply (50 Hz) ให้เป็นไฟตรง (DC Voltage) ชุดอินเวอร์เตอร์ (Inverter Circuit) ซึ่งท�ำหน้าที่แปลงไฟตรง (DC Voltage) ให้เป็นไฟสลับ (AC Voltage) ทีส่ ามารถเปลีย่ นแปลงแรงดันและความถีไ่ ด้ ชุดวงจรควบคุม (Control Circuit) ซึง่ ท�ำหน้าทีค่ วบคุมการท�ำงานของชุดคอนเวอร์เตอร์ และ ชุดอินเวอร์เตอร์
รูปแสดงโครงสร้างภายในของอ น ิ เวอร์เตอร์ (Inverter)
รูปแสดงโครงสร้างภายในของอินเวอร์เตอร์ (Inverter)
วิธีการเลือกอินเวอร์เตอร์ (Inverter) ระบบไฟฟ้าที่จ่ายให้กับอินเวอร์เตอร์ : ถือเป็นรายละเอียด ที่ส�ำคัญมาก เราควรดูว่าอินเวอร์เตอร์ที่เราเลือกนั้นใช้กับระบบ ไฟฟ้าแบบใด แบบ 1 เฟส หรือแบบ 3 เฟส และมีชว่ งแรงดันและ กระแสในการใช้งานอยู่ที่เท่าไร ก�ำลังของมอเตอร์ : ใช้กับก�ำลังมอเตอร์ขนาดเท่าไร ความถีข ่ องแหล่งจ่ายไฟมอเตอร์ : ความถีข่ องมอเตอร์ทสี่ ามารถ ใช้ได้ แรงบิด (Torque) ของโหลด : ควรพิจารณาจากการใช้งานว่าเรา ต้องการแรงบิดที่จะป้อนให้กับโหลดเท่าใด
สภาพแวดล้อมในการติดตัง้ : บริเวณทีท่ ำ� การติดตัง้ นัน้ มีอณ ุ หภูมิ อยูใ่ นช่วงประมาณเท่าไร มีความชืน้ แค่ไหน และหากบริเวณทีเ่ รา ติดตั้งนั้นต้องเผชิญกับฝุ่นและน�ำ้ เราก็ควรเลือกอินเวอร์เตอร์ที่ ได้รับมาตรฐานการป้องกันฝุ่นและน�ำ้ ขนาด : ขนาดของอินเวอร์เตอร์เราควรพิจารณาจากพื้นที่ที่เรา ท�ำการติดตั้ง Cooling Method : เวลาใช้งานตัวอินเวอร์เตอร์จะเกิดความร้อน ขึ้น เพื่อไม่ให้อินเวอร์เตอร์ร้อนเกินไปในขณะใช้งาน ทางที่ดี เพื่อป้องกันความเสียหายควรเลือกอินเวอร์เตอร์ที่มีระบบการ ระบายความร้อน
ทำ�ไมต้องเลือกใช้ Inverter
November-December 2018
Powerful Performance
ข้อดีของการใช้อุปกรณ์ปรับความเร็วรอบมอเตอร์ การสตาร์ทที่นุ่มนวล (Soft Start) ไม่มีการกระชากของกระแส (Inrush Current) สามารถปรับอัตราเร่งและอัตราหน่วงได้ (Adjustable Acceleration and Deceleration Time) สามารถควบคุมได้จากระยะไกล (Remote Control)
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
November-December 2018
สามารถควบคุมการท�ำงานโดยต่อเชื่อมกับคอมพิวเตอร์ มีระบบ Protection ประหยัดพลังงาน (Energy Saving) ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ�ำรุง (Reduce Maintenance Cost) ได้รับมาตรฐานสากล : CE, UL, cUL, TR-CU, KC
บริษท ั ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จำ�กัด 22/26 ถนนสุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2002-4395-97 แฟกซ์ 0-2002-4398 E-mail: info@tdpowertech.com
IT Article
> ทอม เดฟรอย ผู้เชี่ยวชาญผลิตภัณฑ์ด้านการจัดการการบริการองค์กร บริษัท ไอเอฟเอส > Tom Devroy Product Evangelist - Enterprise Service Management, IFS
การบริการลูกค้า จะเป็นอย่างไร
เมื่อเข้าสู่ดิจิทล ั ทรานส์ฟอร์เมชั่น ผลการศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้ ของดับเบิลยูบีอาร์ (WBR) ชี้ให้เห็นว่า อุตสาหกรรมบริการก�ำลังอยูใ่ นช่วงจุดเปลีย่ นส�ำคัญ โดยในช่วง 24 เดือน ข้างหน้านี้ เทคโนโลยีจะเข้ามาขับเคลือ่ นให้เกิดดิจทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชัน่ (การปรับเปลีย่ นเพือ่ พลิกโอกาสธุรกิจด้วยดิจทิ ลั ) ในหลายบริษทั ทีม่ งุ่ มัน่ พัฒนาองค์กรของตนและคาดหวังรายได้ให้เพิ่มสูงขึ้น ควบคู่ไปกับการ ปรับปรุงประสิทธิภาพในการด�ำเนินงาน รายงานแสดงให้เห็นว่าเกือบ 3 ใน 4 ของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็ น ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารด้ า นอุ ป กรณ์ ที่ ใช้ เซ็ น เซอร์ เ ป็ น ส่ ว นประกอบหลั ก โดยความสามารถในการเก็บรวบรวมรูปแบบการใช้งานและการจัดท�า เอกสารผลประกอบการสินทรัพย์ ช่วยให้ธุรกิจบริการสามารถน�ำพา องค์กรก้าวสู่รูปแบบการด�ำเนินงานที่สามารถคาดการณ์ได้ ทั้งยังช่วย เสริมสร้างความสามารถในการขายสินทรัพย์ในรูปแบบบริการ ซึง่ ไม่ใช่ แค่การจ�ำหน่ายอุปกรณ์พร้อมกับบริการหลังการขายเท่านั้น ในหลายกรณีลูกค้าต้องการความสามารถด้านการประเมิน ค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการได้มาซึง่ ผลลัพธ์ตามทีก่ ำ� หนดไว้ แต่สำ� หรับ องค์กรด้านการบริการแล้วนัน้ ก�ำไรจะเป็นตัวขับเคลือ่ นแนวโน้มนี้ และ จากข้อมูลที่บริษัท ไอเอฟเอส รวบรวมมาได้นั้น แสดงให้เห็นว่ายิ่งมี บริการภิวฒ ั น์แบบก้าวหน้ามากเท่าใด ก็ยงิ่ สามารถเพิม่ ผลก�ำไรได้เกือบ 20% แต่กระนั้นก็มีความจ�ำเป็นที่จะต้องมีการลงทุนในเทคโนโลยีบางอย่าง เพือ่ เอือ้ ต่อการเปลีย่ นแปลงดังกล่าว รายงานของดับเบิลยูบอี าร์ฉบับนี้ จะบอกให้ทราบถึงเทคโนโลยีที่เหมาะสม พร้อมทั้งเจาะลึกถึงวิธีการ ที่เทคโนโลยีสามารถท�ำให้เกิดการบริหารจัดการแรงงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าเดิม
ผลลัพธ์มหาศาลจากบิ๊กดาต้า (Big Data)
อุปกรณ์ประเภทใดก็ตามที่ใช้งานเซ็นเซอร์ได้สามารถ สร้างข้อมูลได้เป็นจ�ำนวนมหาศาล และ “บิ๊กดาต้า” (Big Data) เป็นค�ำที่ใช้ในการอธิบายการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าว รวมถึง การเผยแพร่ขอ้ มูลไปยังระบบอืน่ ๆ เพือ่ ใช้ในการด�ำเนินงานด้วย ซึง่ ความสามารถในการรวบรวม วิเคราะห์ กลัน่ กรอง และสือ่ สาร ข้อมูลนี้เองที่สามารถสร้างผลตอบแทนด้านการเงินและส่งผล ต่อการด�ำเนินงานได้เป็นอย่างมาก เมื่ อ อุ ป กรณ์ ท่ี ใช้ ห รื อ ติ ด ตั้ ง เซ็ น เซอร์ ไว้ ต รวจพบการ ท�ำงานทีล่ ม้ เหลว ก็จะสามารถสร้างโค้ดเพือ่ การวินจิ ฉัยขึน้ มาได้ และเมื่อน�ำเอาระบบความรู้มาผสานรวมเข้ากับกระบวนการ ท�ำงาน ก็จะช่วยให้สามารถตัดสินใจได้วา่ มีชนิ้ ส่วนหรืออุปกรณ์ ใดบ้างทีท่ ำ� ให้เกิดความผิดพลาดขึน้ ทัง้ ยังสามารถให้คำ� แนะน�า เกี่ยวกับการเปลี่ยนชิ้นส่วน หรือแม้กระทั่งอาจดาวน์โหลด ค�ำแนะน�ำด้านเทคนิคเกี่ยวกับการซ่อมภาคสนาม ภาพร่างของ สินทรัพย์ และต�ำแหน่งของชิ้นส่วนที่ติดตั้งอยู่ภายในอุปกรณ์ โดยเมือ่ เร็วๆ นี้ งานแสดงสินค้าดับเบิลยูบอี าร์ได้จดั แสดงให้เห็นถึง ประสิทธิภาพการท�ำงานของระบบรายงานไอโอที (IoT) แบบ สแตนด์อโลน เมือ่ น�ำไปใช้ในโลกแห่งความเป็นจริงแล้ว ระบบนี้ สามารถช่วยส่งเสริมให้เกิดการดิจทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชัน่ ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ทั้งยังช่วยให้ช่างเทคนิคและพันธมิตรด้านการ บริการของพวกเขามีขอ้ มูลทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การซ่อมก่อนทีจ่ ะ เดินทางไปยังไซต์งานเพื่อด�ำเนินการซ่อมในสถานที่จริง November-December 2018
ระบบคลาวด์
การท�ำงานร่วมกันระหว่างเทคนิคเอไอ (AI) กับแมชชีนเลิร์นนิง (Machine Learning) สามารถ ก�ำหนดสถานะการด�ำเนินงานของสินทรัพย์ได้อย่าง ชัดเจน โดยความสามารถในการคาดการณ์ความ ล้มเหลวหรือการด�ำเนินงานของสินทรัพย์ที่แย่ลงใน ช่วงเวลาหนึง่ สามารถช่วยในการวางแผนก�ำหนดการ บ�ำรุงรักษาในเชิงรุก การเรียกใช้บริการซ่อมบ�ำรุง การเปลี่ยนชิ้นส่วน หรือการปรับเทียบอุปกรณ์ใหม่ ได้อย่างทันท่วงที สิง่ นีช้ ว่ ยให้ผใู้ ห้บริการจัดหาอุปกรณ์ หรื อ ตั ว แทนบริ ก ารที่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าตสามารถขาย สัญญาการปฏิบตั งิ านทีส่ ามารถสร้างส่วนต่างผลก�ำไร ภายใต้ความเชื่อมั่นระดับสูงได้อย่างเห็นผล นอกจากนี้ เซ็นเซอร์เหล่านี้ยังสามารถเก็บรวบรวมข้อมูล เกี่ ย วกั บ การใช้ ง านของสิ น ทรั พ ย์ รวมถึ ง ปริ ม าณสิ น ทรั พ ย์ ทั้ ง กระบวนการท�ำงาน หรือชัว่ โมงการท�ำงาน และเป็นอีกครัง้ หนึง่ ทีก่ าร สร้างสัญญาการปฏิบัติงานตามประสิทธิภาพการท�ำงานสามารถ รับประกันถึงสิ่งที่ลูกค้าจะได้รับจากสินทรัพย์ได้อย่างชัดเจน โดย สัญญาการใช้งานเหล่านีจ้ ำ� เป็นต้องได้รบั การปรับปรุงอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะในเรื่องของการใช้สินทรัพย์และสถานะของสินทรัพย์ เนื่องจากประสิทธิภาพของสินทรัพย์มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับ รายได้ที่คาดการณ์ไว้ จากนั้นเทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือจะส่งข้อมูลนี้ไปยังช่าง เทคนิคหรือทีมงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้ทำ� งาน โดยข้อมูลทัง้ หมดนี้ จะได้รับการกลั่นกรองและส่งต่อไปให้กับบุคคลที่เหมาะสมที่สุด โดยตรง ซึ่งผู้จัดการฝ่ายบริการจะสามารถตรวจสอบกิจกรรมได้ทั้ง กระบวนการ และช่างเทคนิคด้านการบริการก็จะสามารถใช้ขอ้ มูลนี้ เพื่อการปฏิบัติงานที่ดียิ่งขึ้น โดยข้อมูลอาจอยู่ในรูปแบบต่างๆ ครอบคลุมตั้งแต่การวิเคราะห์ตามที่ก�ำหนดไว้เพื่อให้ได้แนวทาง แก้ปัญหาที่เหมาะสม ผ่านการแสดงภาพเสมือนจริงของสิ่งที่ก�ำลัง จะเกิดขึน้ ภายในอุปกรณ์ นอกจากนี้ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความเป็นจริงเสริม หรือเออาร์ (Augmented Reality : AR) เพื่อ งานซ่อมก็ถอื เป็นตัวอย่างหนึง่ ทีแ่ สดงให้เห็นถึงวิธกี ารทีช่ า่ งเทคนิค อาจน�ำไปใช้ร่วมกับข้อมูลเสมือนจริง เพื่อดูการวางทับซ้อนของ ชิน้ ส่วนหรือส่วนประกอบในขณะทีพ่ วกเขาก�ำลังตรวจสอบเครือ่ งจักร จริงๆ อยู่ โดยทีมงานยังอาจให้ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ สามารถ มองเห็นทุกสิ่งได้จากส่วนกลางในรูปแบบเสมือนจริงที่ไม่ต่างจาก สิ่งที่นักเทคนิคก�ำลังเห็นอยู่ในไซต์งานขณะนั้น และเมื่อน�ำเออาร์
November-December 2018
เข้ามาใช้ร่วมด้วยก็จะช่วยให้ผู้เชี่ยวชาญสามารถให้ค�ำแนะน�า กับเพื่อนร่วมงานจากระยะทางไกลได้ทันที ซึ่งวิธีการนี้จะช่วยให้ หน่วยงานบริการสามารถรับมือกับสถานการณ์การเปลี่ยนผ่าน จากแรงงานสูงวัยทีก่ ำ� ลังมีจำ� นวนลดน้อยลง ไปสูแ่ รงงานรุน่ ใหม่ทมี่ ี อายุนอ้ ยแต่มปี ระสบการณ์การท�ำงานน้อยได้อย่างประสบผลส�ำเร็จ
ช่างเทคนิค การทำ�งาน และเวลาที่ถูกต้อง
เครื่องมือการจัดล�ำดับงานอัจฉริยะจะท�ำให้ผู้คนอยู่ถูกที่ ถูกเวลามากขึ้น และถือเป็นอีกครั้งหนึ่งที่มีการน�ำเทคนิคปัญญา ประดิษฐ์ หรือเอไอ (Artificial Intelligence : AI) เข้ามาใช้เพื่อช่วยให้ ระบบจั ด ล� ำ ดั บ งานและตารางการผลิ ต เหล่ า นี้ จั ด วางต� ำ แหน่ ง ช่างเทคนิคไว้ในสถานที่ที่เหมาะสม เพื่อการให้บริการที่ประสบ ความส�ำเร็จมากขึ้น แล้วท�ำไมเอไอถึงเป็นสิ่งจ�ำเป็น ค�ำตอบก็คือ เทคโนโลยีนี้จะช่วยให้องค์กรสามารถก�ำหนดและส่งตัวช่างเทคนิค ที่เหมาะสมกับงานเพื่อตอบสนองความต้องการที่ผันผวนได้อย่าง ทันท่วงที ซึ่งถือเป็นงานที่ซับซ้อนเกินกว่าที่มนุษย์จะสามารถ ด�ำเนินการได้ หากไม่มรี ะบบการจัดล�ำดับงานทีค่ วบคุมด้วยเอไอ ก็จะท�ำให้ งานฉุกเฉิน (ซึง่ ควรได้รบั ความสนใจก่อนงานอืน่ ๆ ทีก่ ำ� หนดไว้ลว่ งหน้า ในตารางงาน) อาจถูกเลือ่ นออกไป ซึง่ ส่งผลให้ผจู้ ดั ตารางงานต้องพบ กับการตัดสินใจที่ยากล�ำบากเกี่ยวกับการจัดล�ำดับงานบนพื้นฐาน ของข้อตกลงระดับการให้บริการ (Service Level Agreement : SLA) และข้อก�ำหนดตามสัญญาอื่นๆ ทั้งยังไม่แน่ใจด้วยว่าช่างเทคนิค คนใดมีทกั ษะ เครือ่ งมือ และอุปกรณ์ทสี่ ามารถรับมือกับงานใดได้บา้ ง อีกทั้งสถานที่ที่อยู่ของช่างเทคนิคก็มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดังนั้นการก�ำหนดตัวผู้ที่อยู่ใกล้ที่สุดเพื่อไปให้บริการฉุกเฉินจึงเป็น เรื่องยาก หากให้ระบบอัลกอริทมึ อัจฉริยะท�ำการตัดสินใจเหล่านีแ้ ทน ธุรกิจบริการก็จะสามารถให้คำ� มัน่ กับลูกค้าได้อย่างแน่นอน สามารถ ใช้งานช่างเทคนิคได้อย่างเต็มประสิทธิภาพสูงสุด ทัง้ ยังช่วยเสริมสร้าง ความพึงพอใจให้กับลูกค้าที่ใช้บริการอีกด้วย
How customer service is being
digitally transformed
A recent study conducted by WBR indicates that the service industry is at an inflection point. Over the next 24 months, technology will drive digital transformation in many companies striving to improve and predict revenue streams while also improving operational efficiency. Shows that nearly three quarters of respondents provide service on equipment that is sensor-enabled. The ability to collect usage patterns and document asset performance can move the service business towards a predictive model, facilitating their ability to sell assets as a service and not just a capital equipment sale with aftermarket service delivery. Customers may in many cases want the predictability that comes from paying for a defined outcome. But for the services organization, profits will drive this trend. Data collected by IFS reveals that more advanced servitization can increase service profitability by almost 20 percent. But some investments in technology are needed to enable this transformation. What kind of technology? The WBR report also delves into the specifics of how technology can lead to more effective management of the workforce.
Big results from big data
Any sensor enabled device can generate huge amounts of data points. Big Data is a term used to describe the analysis of this data and its dissemination to other systems for action. The ability to gather, analyze, distill, and communicate this data can reap huge financial and operational rewards. When sensor-enabled equipment detects a failure, a diagnostic code can be generated. Knowledge systems can be incorporated into the process to determine the part or component failure involved, recommend a part replacement, perhaps even downloading to the field technician repair instructions, asset drawings, and part location on the equipment. I recently saw this in action at a WBR trade show. It was a standalone IoT reporting system, but a very effective real world implementation of digital transformation that empowers their technicians and service partners with useful repair information prior to a visit for repair. November-December 2018
organizations to do more with less and smooth the transition from a shrinking, aging workforce to a newer, younger but less experienced workforce.
Right technician, right job, right time
Cloud based
Done properly, the incorporation of AI techniques and machine learning can determine the operational health of an asset. The ability to predict failure or degradation of asset performance over time can prescribe a proactive maintenance, service call, part replacement or recalibration of a device. This allows the equipment provider or the authorized service agent, to sell performance contracts that can be managed to margin, with a high level of confidence. These sensors can also harvest usage of the asset, including asset throughput, procedures performed, or hours of operation. Once again, performance-based contracts can be generated that guarantee what the customer will receive from the asset. These usage contracts require continual update on asset usage and asset health as the asset performance directly correlates to anticipated revenue. Mobile technology will then push this information to the technician, or to a team that is assigned to a job. All of this data will be distilled so that it can be disseminated directly to the people that need it most. Service managers will monitor activity and service technicians can use this data to do their jobs better. The data may take different forms, from prescriptive analytics that suggest how a problem should be dealt with to visual representations of what is going on inside the equipment. The ability to use augmented reality for repair purposes is one example of how a technician may visually interact with dataâ&#x20AC;&#x201D; by viewing an overlay of parts or components as they look at the physical machine. Team collaboration may also give a subject matter expert in a central location visibility into what a technician in the field is seeing, and can use augmented reality to advise his associate remotely. This will enable a service November-December 2018
Finally, intelligent scheduling tools will put people in the right place at the right time. Once again, using artificial intelligence (AI) techniques, these scheduling systems will position technician in the right place to be more successful in service delivery. Why is AI necessary here? Because identifying and dispatching the right technician given fluctuating demand is too complex a problem for any human dispatcher. Lacking AI-driven scheduling, emergent jobs coming in that should take precedent over those already scheduled will probably be pushed further out. Dispatchers will struggle to make scheduling decisions based on SLAs and other contractual requirements, and will not be certain which technician has the skills, tools and materials to handle which job. The location of the technician is constantly changing, so identifying the closest one to an emergent service call is difficult. When intelligent algorithms make these decisions, the service business can make commitments to customers, utilize technicians in the best way possible and improve the customer experience.
About IFS IFSTM develops and delivers enterprise software for customers around the world who manufacture and distribute goods, maintain assets, and manage servicefocused operations. The industry expertise of our people and solutions, together with commitment to our customers, has made us a recognized leader and the most recommended supplier in our sector. Our team of 3,500 employees supports more than ten thousand customers worldwide from a network of local offices and through our growing ecosystem of partners.
Exhibition
ยูบีเอ็ม จับมือกระทรวงการค้าและอุตสาหกรรม ฟิลิปปินส์ และภาคเอกชน จัดงาน โพรแพ็ค ฟิลิปปินส์ 2019 ครั้งแรก วันที่ 24-26 มกราคม 2019
ยูบีเอ็ม รุกตลาดงานแสดงสินค้าอุตสาหกรรมอาเซียนต่อเนื่อง ล่าสุดจับมือ กระทรวงการค้าและอุตสาหกรรม ฟิลิปปินส์ และภาคเอกชน จัดงาน โพรแพ็ค ฟิลิปปินส์ 2019 ครั้งแรก คาดบริษัทชั้นน�ำด้านกระบวนการผลิตและบรรจุภัณฑ์ เข้าร่วมกว่า 180 บริษัท อุตสาหกรรมอาเซียนยังขยายตัว สงครามการค้าสหรัฐฯ-จีนส่งผลให้นกั ลงทุน หันมาใช้อาเซียนเป็นฐานการผลิต ด้านยูบีเอ็ม เอเชีย สบช่องรุกงานแสดงสินค้า อุตสาหกรรมอาเซียนเพิ่ม ล่าสุดจับมือกระทรวงการค้าและอุตสาหกรรม ฟิลิปปินส์ สมาคมและองค์กรธุรกิจภาคเอกชน จัดงานโพรแพ็ค ฟิลปิ ปินส์ 2019 งานแสดงสินค้า อุตสาหกรรมด้านการผลิตและบรรจุภณ ั ฑ์ ครัง้ แรก วันที่ 24-26 มกราคม 2019 โดยมี บริษทั ชัน้ น�ำด้านกระบวนการผลิตและบรรจุภณ ั ฑ์ระดับโลกขนนวัตกรรมและเทคโนโลยี ร่วมโชว์กว่า 180 บริษัท จัสติน พาว ผูจ้ ดั การทัว่ ไป บริษทั ยูบเี อ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวถึงขยายตลาดการจัดงานแสดง สินค้าอุตสาหกรรมในอาเซียนเพิ่มขึ้นว่า อาเซียนถือเป็น ฐานผลิตสินค้าส�ำคัญของโลก ด้วยความได้เปรียบของ หลายปัจจัยส�ำคัญต่อภาคการผลิต ทัง้ ความสมบูรณ์ของ ทรัพยากร จ�ำนวนประชากรมาก และค่าแรงไม่สูงเมื่อ เทียบกับความสามารถและประสิทธิภาพในการท�ำงาน มี โรงงานผลิ ต ที่ มี ค วามพร้ อ มและเชี่ ย วชาญด้ า นการ ผลิตสินค้า รวมถึงมาตรการส่งเสริมการลงทุนของแต่ละ ประเทศที่อ�ำนวยความสะดวกแก่นักลงทุน นอกจากนั้น อาเซียนยังมีการเติบโตทางเศรษฐกิจทีแ่ ข็งแกร่งเฉลีย่ อยูท่ ปี่ ระมาณ 5.3% แม้วา่ ขณะนี้ จะเกิดสงครามการค้าสหรัฐฯ-จีน ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อหลายประเทศ แต่ภมู ภิ าคอาเซียน กลับได้รับประโยชน์จากการที่นักลงทุนหันมาให้ความสนใจลงทุนมากขึ้น เนื่องจาก ทุกประเทศสมาชิกอาเซียนล้วนมีสายสัมพันธ์อันดีและใกล้ชิดกับทั้งสหรัฐฯและจีน ด้วยเหตุนี้ ยูบีเอ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) จึงมีความตั้งใจที่จะขยายตลาดกลุ่ม งานแสดงสินค้าอุตสาหกรรมในอาเซียนให้มากขึน้ โดยมีงานโพรแพ็คซึง่ เป็นงานแสดง สินค้าอุตสาหกรรมด้านการผลิตและบรรจุภัณฑ์ระดับนานาชาติเป็นหัวหอกส�ำคัญ ปัจจุบนั งานโพรแพ็คมีการจัดขึน้ ทัง้ หมด 6 ประเทศ ทัง้ เมียนมาร์ เวียดนาม อินโดนีเซีย จีน อินเดีย และโพรแพ็ค เอเชีย ทีจ่ ดั ขึน้ ในประเทศไทยถือเป็นงานใหญ่ทสี่ ดุ ของภูมภิ าค
โดยล่าสุดบริษัทฯ ได้มีการร่วมมือกับกระทรวง การค้าและอุตสาหกรรม ฟิลิปปินส์ (Department of Trade and Industry (DTI), Philippines) สมาคมและ องค์กรธุรกิจภาคเอกชน ฟิลิปปินส์ จัดงานโพรแพ็ค ฟิลิปปินส์ 2019 (ProPak Philippines 2019) ขึ้นเป็น ครัง้ แรก ในวันที่ 24-26 มกราคม 2019 ณ ศูนย์จดั แสดง งานเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ มะนิลา (World Trade Center Metro, Manila, Philippines) ซึ่งฟิลิปปินส์นับเป็นหนึ่งในประเทศที่น่าสนใจ ด้ า นการลงทุ น ของอาเซี ย น โดยธนาคารเพื่ อ การ พัฒนาแห่งเอเชีย (ADB) คาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2561 เศรษฐกิจฟิลปิ ปินส์จะขยายตัวประมาณ 6.8% โดยภาค อุตสาหกรรมมีอตั ราการเติบโตสูงสุดที่ 7.9% ตามด้วย ภาคบริการทีม่ กี ารเติบโต 7% ซึง่ ภาคอุตสาหกรรมของ ฟิลิปปินส์ที่ก�ำลังเติบโตมีความต้องการนวัตกรรมและ เทคโนโลยีเครื่องจักรใหม่เพื่อใช้ในกระบวนการผลิต และบรรจุภัณฑ์จ�ำนวนมาก โดยเฉพาะในกลุ่มอาหาร เครื่องดื่ม ยา และเวชภัณฑ์ โดยกลุม่ ผูป้ ระกอบการและนักธุรกิจจากฟิลปิ ปินส์ เป็นหนึ่งในกลุ่มผู้เข้าเยี่ยมชมงานกลุ่มใหญ่ของงาน โพรแพ็ค เอเชีย ทีจ่ ดั ขึน้ ทีป่ ระเทศไทย ซึง่ ในงานโพรแพ็ค เอเชีย 2018 ที่ผ่านมา มีผู้ประกอบการฟิลิปินส์เข้า เยีย่ มชมงานถึง 1,170 คน เป็นนักธุรกิจชัน้ น�ำทีเ่ ดินทาง มากับกระทรวงการค้าและอุตสาหกรรม ฟิลิปปินส์ ถึง 470 คน ท�ำให้คาดว่าการจัดโพรแพ็ค ฟิลิปปินส์ 2019 ในครั้งนี้จะมีบริษัทชั้นน�ำด้านกระบวนการผลิตและ บรรจุภัณฑ์ระดับโลกน�ำนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ ล่าสุดเข้าร่วมจัดแสดงในงานกว่า 180 บริษทั มีพาวิลเลีย่ น นานาชาติยนื ยันเข้าร่วมงานแล้วถึง 9 พาวิลเลีย่ น ได้แก่ จีน เดนมาร์ก เยอรมัน อิตาลี สิงคโปร์ ไต้หวัน ไทย และอังกฤษ และคาดว่าการจัดงานฯ จะสามารถดึงดูด ผู้เข้าร่วมงานได้มากกว่า 6,000 คนเลยทีเดียว November-December 2018
AirWatch networks extraction technologies
even where no IT network is available Detailed evidence of workshop air quality down into the nano range : AirWatch is setting new standards for the networking of air purification technology equipment in production workshops. KEMPER’s advanced air monitoring system can be integrated into environments where there is an inadequate digital infrastructure, without interfering with corporate networks. It analyzes the actual amount of ultrafine dust particles. By connecting to an internet-based cloud, different users can monitor the systems via fleet management. The AirWatch solution eliminates the need for any investment in additional infrastructure. This is also crucial for companies that want to avoid additional intrusions into their own networks, to prevent potential data risks.
Autonomous communication thanks to mobile technology
The self-sufficient functionality is made possible by integrated mobile radio technology. KEMPER is currently equipping all the relevant equipment and devices in its portfolio with it. The central control element is the internet-based cloud. It networks all the devices with each other.
AirWatch has a highly sensitive sensor to ensure that machine-tomachine communication operates efficiently. It can even detect ultrafine dust particles that are smaller than 0.3 microns. Extraction and ventilation systems are controlled as required on the basis of specified workplace thresholds.
Location-independent monitoring, mobile or on a PC
The air monitoring system also delivers continuous dust concentration values to the cloud management system to which it is linked. These can be monitored, regardless of location, via a web browser on a smartphone, tablet or PC. The multi-level management system allows customizable fleet management that can be accessed as required by companies, dealers, service providers and manufacturers. Further information at : www.kemper.eu
JetDrive 855 NVMe PCIe SSD Upgrade Kit
for Mac Computers
November-December 2018
Transcend’s JetDrive 855 combines a JetDrive 850 NVMe PCIe Gen3 x4 SSD with a sleek aluminum ThunderboltTM enclosure for Mac computers. The JetDrive 850 features read and write speeds of up to 1,600MB/s and 1,400MB/s, and is made of the latest 3D NAND flash The JetDrive 855 adopts a sleek aluminum Thunderbolt enclosure for a simple upgrade experience. Both models are the perfect upgrade for a MacBook Pro®, MacBook Air®, Mac mini®, or Mac Pro®. With 30 years of technical experience and expertise, Transcend has received many prestigious design awards. Over the past four years, Transcend’s JetDrive Lite expansion cards, DrivePro 50 dashcams, DrivePro 520 dashcams, and CM42 M.2 SSD Enclosure Kit were also honored with the Good Design Award. For more information, please visit www.transcend-info.com
โคนิก้า มินอลต้า เปิดตัวเทคโนโลยี
Gas Monitoring System
TC52/TC57 และ TC72/TC77 คอมพิวเตอร์
แบบพกพาหน้าจอทัชสกรีนรุ่นใหม่ ซีบรา เทคโนโลยีส์ คอร์ปอเรชั่น ประกาศเปิดตัวคอมพิวเตอร์แบบพกพา หน้าจอทัชสกรีนรุน่ ใหม่สำ� หรับธุรกิจในกลุม่ ค้าปลีก กลุม่ การผลิต และกลุม่ ขนส่งและ โลจิสติกส์ เพือ่ ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการบริการของพนักงานและสร้างความพึงพอใจ ต่อลูกค้า คอมพิวเตอร์พกพาระบบแอนดรอยด์รุ่นใหม่ล่าสุดอย่าง TC52/TC57 และ TC72/TC77 ได้รับรางวัลด้านการออกแบบว่าเหมาะกับการใช้งานในอุตสาหกรรม ตัวเครื่องมีการติดตั้งระบบ Mobility DNA หรือ M-DNA ที่ช่วยควบคุมประสิทธิภาพ ตรวจสอบระบบการท�ำงานของเครื่อง สามารถเชื่อมต่อได้ทั้งแอปพลิเคชันส�ำหรับ ผู้ใช้งานและแอปพลิเคชันส�ำหรับนักพัฒนา ซีบรา TC52/TC57 และ TC72/TC77 ถูกพัฒนามาจากผลิตภัณฑ์ระบบปฏิบตั กิ าร AndroidTM รุน่ ยอดนิยม ซึง่ จ�ำหน่ายได้มากกว่า 1 ล้านเครื่องภายในระยะเวลา 5 ปี อย่าง ซีบรา TC51/TC56, ซีบรา TC70x/TC75x และซีบรา TC70/TC75 ซึ่งเป็นระบบทัชสกรีน ซีบรา TC5x และ TC7x มาพร้อมระบบ M-DNA ซึ่งถูกเพิ่มฟังก์ชันการใช้งาน เข้าไปใหม่อีก 4 ฟังก์ชัน PowerPrecision Console ฟังก์ชันเพื่อช่วยผู้ควบคุมระบบ IT ให้ท�ำงาน ได้งา่ ยขึน้ จากการแจ้งเตือนทีอ่ า่ นได้งา่ ย และตัวบ่งชีอ้ ายุของแบตเตอรีแ่ บ่งแยกด้วย โทนสี ง่ายต่อการสังเกตเพื่อเปลี่ยนแบตเตอรี่ WorryFree Wi-Fi เทคโนโลยีท่ีช่วยเพิ่มความรวดเร็วในการเชื่อมต่อ และ ความเสถียรของสัญญาณ Wi-Fi ซึ่งแอปพลิเคชัน Wi-Fi Analyzer ในตัวเครื่อง ช่วย ในการวิเคราะห์และแก้ไขทุกปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการเชื่อมต่อแบบเรียลไทม์ แอปพลิเคชัน StageNow ที่พัฒนาโดยซีบรา ช่วยให้ผู้ดูแลด้าน IT ของ แต่ละบริษัทสามารถเข้าไปปรับเปลี่ยนรายละเอียดฟังก์ชันต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ การท�ำงานที่ดีขึ้นได้ด้วยตัวเอง โดยผ่าน Google® Mobile Services หรือ GMS LifeGuard for Android ซีบราพัฒนาระบบความปลอดภัยให้แน่นหนามาก ยิง่ ขึน้ เพือ่ สร้างความอุน่ ใจให้แก่ลกู ค้าด้วย Zebra OneCare® ซึง่ จะส่งรายงานเกีย่ วกับ ความปลอดภัยของระบบไปยังลูกค้า และได้เพิม่ แดชบอร์ดเพือ่ ให้งา่ ยต่อการควบคุม และแจ้งเตือนเมื่อมีการอัพเดท ส�ำหรับข้อมูลเพิ่มเติมสามารถเข้าชมได้ที่ www.zebra.com
บริษทั โคนิกา้ มินอลต้า บิสสิเนส โซลูชนั ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้นำ� เทคโนโลยีใหม่ลา่ สุด Gas Monitoring System ทีมวิจัยของโคนิก้า มินอลต้า ประเทศญี่ปุ่น ได้พัฒนา Gas Monitoring System ระบบตรวจจับการรั่วไหลของก๊าซ Gas Monitoring System จะช่วยตรวจตราและเตือนภัยเมื่อเกิดการ รัว่ ไหลของก๊าซ โดยจะท�ำการส่งภาพและข้อมูลของ จุดเกิดเหตุ อุณหภูมิ และความหนาแน่นของก๊าซ ไปยังศูนย์กลางการควบคุม ท�ำให้เจ้าหน้าทีส่ ามารถ รั บ มื อ กั บ สถานการณ์ ไ ด้ อ ย่ า งเหมาะสมและ ทันท่วงที Gas Monitoring System ของโคนิก้า มิ น อลต้ า ประกอบไปด้ ว ยเซ็ น เซอร์ แ บบ FIR (Far Infrared) ที่สามารถตรวจจับและส่งข้อมูลเพื่อ แสดงผลบนจอมอนิเตอร์แบบ Real Time แบ่งออก เป็น 2 ประเภท Fixed Typed Gas Monitoring มี ส่วนประกอบส�ำคัญคือ ตัวกล้อง และกล่องควบคุม กล้อง ติดตัง้ อย่างถาวรบนผนังก�ำแพงหรือสิง่ ก่อสร้าง ต่างๆ มีใบรับรองทนต่อแรงระเบิด สามารถตรวจจับ การรั่วไหลได้ตลอด 24 ชั่วโมงแบบอัตโนมัติ เพื่อ เฝ้าระวังพืน้ ทีห่ รือบริเวณทีส่ ำ� คัญ โดยแจ้งเตือนก่อน เกิดเหตุหรือเมื่อมีเหตุฉุกเฉิน ช่วยท�ำการวิเคราะห์ ข้อมูลแบบระยะยาว และปรับปรุงกระบวนการบ�ำรุง รักษาอุปกรณ์ นอกจากนี้ ยังสามารถท�ำงานร่วมกับ โปรแกรมด้านความปลอดภัยอื่นๆ ได้ Portable Type Gas Monitoring ประกอบ ด้วย ตัวกล้อง ขาตั้งกล้อง และ Industrial Tablet ใช้ เพื่อตรวจสอบการรั่วไหลในพื้นที่จริงแบบอัตโนมัติ และแสดงรายงานการซ่อมแซม สามารถท�ำการ บันทึกข้อมูลลงบน SD Card November-December 2018
Dell UltraSharp 32 4K USB-C และ 34 Curved USB-C จอมอนิเตอร์
เดลล์ก�ำลังตอบโจทย์ความต้องการของคนท�ำงานแห่งอนาคต ด้วยสายผลิตภัณฑ์จอมอนิเตอร์ Dell UltraSharp ใหม่ที่ให้นวัตกรรม ด้านเทคโนโลยีและการออกแบบที่ช่วยขับเคลื่อนผลลัพธ์ด้วยจอที่ให้ ประสิทธิภาพยอดเยีย่ มทีส่ ดุ จอมอนิเตอร์ใหม่ได้รบั การออกแบบเพือ่ ตอบโจทย์ผู้ใช้ในสายงานบริการด้านการเงินและการประกัน รวมถึง ห้องค้าหลักทรัพย์ ฝ่ายวิเคราะห์ด้านการเงิน และการบัญชี ฝ่ายผลิต สื่อในส่วน Post Production ฝ่ายเขียนโปรแกรม และงานวิศวกรรม จอมอนิเตอร์ Dell UltraSharp 32 4K USB-C และ 34 Curved USB-C มาพร้อมฟีเจอร์ส�ำคัญมากมาย Picture-by-Picture ช่วยให้ สร้างคอนเทนต์หลายประเภทพร้อมกันได้จากพีซีต่างกันถึง 2 เครื่อง ทัง้ บิวด์-อิน คียบ์ อร์ด วิดโี อ และเมาส์ (KVM) ช่วยให้ผใู้ ช้สลับการใช้งาน ไปมา และแก้ไขคอนเทนต์โดยใช้คีย์บอร์ดและเมาส์เพียงชุดเดียว สายผลิตภัณฑ์จอมอนิเตอร์ UltraSharp ใหม่ ยังช่วยอ�ำนวยความสะดวก ในการเชือ่ มต่อผ่าน USB-C ทีช่ าร์จไฟจากแลปท็อปทีเ่ ชือ่ มต่ออยู่ พร้อม
TicPods Free
หูฟังไร้สายอัจฉริยะ
บริษทั อินโนเวชัน่ อีทซี ี จ�ำกัด ประกาศเปิดตัว TicWatch และ TicPods Free ในประเทศไทย TicPods Free เพียบพร้อม ทัง้ คุณสมบัติ Feature ในการใช้งานทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงการใช้งาน หูฟังไร้สายแบบเดิมๆ ไปทั้งหมด สามารถใช้ได้ทั้งกับ Android และ iOS มาพร้อมกับดีไซน์ล�้ำสมัย และมีสีให้เลือกได้ตาม ความชอบถึง 3 สี คุณสมบัติของ TicPods Free ได้แก่ ใช้ได้กบ ั ทัง้ ระบบปฏิบตั กิ ารแอนดรอยด์ และไอโอเอส สามารถใช้งาน Siri และ Google Assistant ได้ ควบคุมด้วยการสัมผัสที่ก้านหูฟัง TicPods Free เอง โดยมีค�ำสั่งที่สามารถใช้งานได้ ได้แก่ รูดขึ้นลงบนตัวหูฟังเพื่อ ปรับเสียง ดับเบิลแท็บเพื่อรับหรือวางสายเมื่อมีสายโทรเข้า หรือดับเบิลแท็บเพือ่ ข้ามเพลงทีก่ ำ� ลังเล่นอยู่ แตะค้างเป็นเวลา November-December 2018
กับส่งผ่านข้อมูลและสัญญาณวิดโี อได้ในขณะเดียวกัน ทัง้ หมดนีท้ ำ� ได้ ด้วยการใช้สายเคเบิลเดียวเพื่อช่วยลดความแออัดของสายเคเบิล จอ UltraSharp ทั้งหมด ออกแบบมาโดยค�ำนึงถึงผลลัพธ์ของ งานเป็นหลัก จึงมาพร้อมฟีเจอร์มาตรฐานดังต่อไปนี้ ขาตั้งที่ปรับได้อย่างเต็มรูปแบบเพื่อความสะดวกของผู้ใช้ ทั้งปรับให้สูงขึ้น ปรับเอียง หมุนรอบด้าน และหมุนได้รอบแกน จอแบบ Flicker-Free ทีไ่ ม่มแ ี สงกะพริบ รวมถึง ComfortView ที่ช่วยลดการปล่อยแสงสีนำ�้ เงิน ช่วยให้สบายตา Easy Arrange ในซอฟต์แวร์ Display Manager ช่วยจัดการ แอปพลิเคชันต่างๆ เพื่อให้ประสิทธิภาพในการท�ำงานหลายงานได้ พร้อมๆ กัน (Multi-Tasking) มีโปรแกรม Premium Panel Exchange (เพื่อให้มั่นใจว่าจะ ไม่มจี ดุ สว่างของ Pixel หรือ Bright Pixel Defect ในหน้าจอ UltraSharp ตลอดเวลาที่อยู่ในช่วงการรับประกันจากเดลล์)
2 วินาที เพือ่ ปฏิเสธสายทีโ่ ทรเข้า หรือแตะค้างเพือ่ เรียกใช้งาน Voice Assistant ตรวจจับการใช้งานหูฟง ั อัตโนมัติ (In-Ear Detection) หูฟงั จะรูไ้ ด้เอง ว่าเมือ่ ไหร่ทอี่ ยูใ่ นหูคณ ุ และจะท�ำงานหรือเล่นเพลงทันทีเมือ่ ใส่ทงั้ 2 หู และ หยุดเล่นเมื่อคุณถอดออก ใช้งานได้ทั้ง 2 หูในระหว่างคุยโทรศัพท์และเล่นเพลง ไมค์ตัดเสียงรบกวนในการคุยโทรศัพท์ด้วยระบบลดเสียงรบกวน ขั้นสูง ท�ำให้คู่สนทนาได้ยินเสียงของคุณอย่างชัดเจน ได้ ยิ น เสี ย งชั ด เจนขึ้ น ด้ ว ยดี ไซน์ ที่ อ อกแบบมาเฉพาะด้ ว ยหลั ก การยศาสตร์ (Ergonomic) ทีท่ ำ� ให้หฟู งั บล็อกเสียงจากภายนอกทีจ่ ะลอดเข้ามา ให้คุณได้ยิน มาพร้อมซิลิโคนหุ้มหูฟัง 2 ขนาดให้เลือกได้ตามความต้องการ แบตเตอรีใ่ ช้งานได้นานขึน ้ โดยสามารถใช้งานได้นานสูงสุด 4 ชัว่ โมง ต่อการชาร์จ 1 ครัง้ ซึง่ การชาร์จแต่ละครัง้ จะใช้เวลาเพียง 40 นาทีเท่านัน้ และ เมือ่ ใช้งานกับเคสชาร์จทีส่ ามารถชาร์จได้อกี หลายครัง้ และพกพาสะดวก ท�ำให้ ใช้งานได้รวมนานถึง 18 ชั่วโมง กันน�้ำระดับ IPX5 ทนฝน และเหงื่อได้ การออกแบบระดับรางวัล จาก Free Boast Red Dot และ iF Product Design Awards มีให้เลือกถึง 3 สี คือ ขาว น�ำ ้ เงิน และแดง TicPods Free ได้รบั การพัฒนาโดย Mobvoi บริษทั ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ชั้นน�ำที่อยู่ภายใต้การสนับสนุนของ Google และ Volkswagen และ โดดเด่ น ในเรื่ อ งของการออกแบบ และการสร้ า งสรรค์ น วั ต กรรมเพื่ อ ประสิทธิภาพและการใช้งานผลิตภัณฑ์ ผูส้ นใจสามารถดูรายละเอียดเพิม่ ได้ที่ www.ticwatchthailand.com
ADB ต้อนรับผู้บริหารสำ�นักงานการค้าและเศรษฐกิจ ไต้หวัน หวัง วนาไพรสณฑ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท แอ็พพลาย ดีบี จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ADB ให้การต้อนรับคณะเจ้าหน้าที่จากส�ำนักงานการค้า และเศรษฐกิจไต้หวัน (Ministry of Economic Affairs) และคณะเจ้าหน้าที่จาก ส่วนงานปกครองเมืองไถจง (Taichung City Government) เนื่องในโอกาสเข้า เยี่ยมชมโรงงาน พร้อมแลกเปลี่ยนมุมมองการด�ำเนินธุรกิจ ณ ส�ำนักงานใหญ่ บมจ.แอ็พพลาย ดีบี
รมว. วท. เยี่ยมชมเทคโนโลยีการผลิตต้นแบบ สำ�หรับอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ
ดร.สุวทิ ย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พร้อมด้วย พล.อ.นาวิน ด�ำริกาญจน์ รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เข้าเยีย่ มชม โรงงานคนไทยของบริษทั สกุลฎ์ซี อินโนเวชัน่ จ�ำกัด และกลุม่ โชคน�ำชัย ทีม่ กี าร พัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรมใหม่ๆ เกิดขึน้ มากมาย เช่น รถโดยสารตัวถังอะลูมเิ นียม น�ำ้ หนักเบา เรืออะลูมเิ นียม ทีม่ รี ะบบช่วยลอยตัวหากน�ำ้ เข้า ซึง่ หลังจากนีจ้ ะยังมี โครงการพัฒนารถโดยสารตัวถังอะลูมิเนียมมาตรฐานอุตสาหกรรม เรือไฟฟ้า และรถโดยสารไฟฟ้า รวมถึงพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ โดยมี น�ำชัย สกุลฎ์โชคน�ำชัย ประธานกลุม่ บริษทั โชคน�ำชัย และ วีรพลน์ เตชะผาสุขสันติ กรรมการผู้จัดการ บริษัท สกุลฎ์ซี อินโนเวชั่น จ�ำกัด ให้การต้อนรับ ณ บริษัท สกุลฎ์ซี อินโนเวชั่น จ�ำกัด
CPT ฉลองครบรอบ 23 ปี
สมศักดิ์ หลิมประเสริฐ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร นพดล วิเชียรเกือ้ กรรมการผูจ้ ดั การ มนต์ชยั ธัญธเนส รองกรรมการผูจ้ ดั การ ฝ่ายขายและฝ่ายวิศวกรรม และ หฤทัย หลิมประเสริฐ รองกรรมการ ผู้จัดการฝ่ายบริหาร พร้อมด้วยคณะผู้บริหารบริษัท ซีพีที ไดร์ แอนด์ เพาเวอร์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ CPT ผูใ้ ห้บริการระบบไฟฟ้าก�ำลังส�ำหรับ ควบคุมการท�ำงานของเครื่องจักร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถเชิงการ แข่งขันแก่ภาคอุตสาหกรรม ครอบคลุมถึงการจ�ำหน่ายอุปกรณ์และระบบ ควบคุมไฟฟ้าที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม รวมถึงให้บริการติดตั้งและ ก่อสร้างสถานีไฟฟ้าย่อย (ซึง่ แตกต่างจากผูผ้ ลิตตูไ้ ฟฟ้ารายอืน่ ) ร่วมกัน จัดพิธที ำ� บุญในโอกาสครบรอบการด�ำเนินงานปีที่ 23 และก้าวสูป่ ที ี่ 24 ทีบ่ ริษทั ฯ มีแผนด�ำเนินงานรุกขยายธุรกิจทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ เพื่อผลักดันการเติบโตทางธุรกิจอย่างยั่งยืน
ดาว ร่วมกับ เอสซีจี เปิดตัว ถนนพลาสติกรีไซเคิล ระยะทดลอง ตามแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียน สุพจน์ เกตุโตประการ ผู้อำ� นวยการฝ่ายการขายและการตลาด กลุ่ม บริษัท ดาว ประเทศไทย ร่วมกับ ชลณัฐ ญาณารณพ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ธุรกิจเคมิคอลส์ เอสซีจี เปิดตัว ถนนพลาสติกรีไซเคิลระยะทดลองศึกษา (Recycled Plastic Road – Study Phase) ซึง่ น�ำพลาสติกใช้แล้วจากการคัดแยก ขยะภายในเอสซีจีและชุมชนในเขตมาบตาพุด จังหวัดระยอง มาสร้างถนน ยางมะตอยภายในนิคมอุตสาหกรรมอาร์ไอแอล ดาวมุง่ หวังทีจ่ ะเป็นแบบอย่าง ในการจัดการขยะพลาสติกจากภาคอุตสาหกรรมและภาคชุมชนได้อย่างยั่งยืน ตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน ด้วยการสร้างคุณค่าให้กับขยะพลาสติก
November-December 2018
กฟผ. คว้า 5 รางวัลชนะเลิศ Thailand Coal Awards 2018 ผู้บริหารการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เข้ารับรางวัล Thailand Coal Awards 2018 ประจ�ำปี 2561 ที่กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติจัดขึ้น เพือ่ มอบให้แก่องค์กรทีม่ คี วามเป็นเลิศในด้านต่างๆ ของกิจการถ่านหินของไทย โดย กฟผ. ได้รับรางวัลชนะเลิศทั้งสิ้น 5 รางวัล คือ รางวัลชนะเลิศด้านการ ท�ำเหมืองถ่านหินแบบเปิด รางวัลชนะเลิศด้านการใช้เทคโนโลยีถา่ นหินสะอาด ในการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ 500 เมกะวัตต์ขึ้นไป รางวัลชนะเลิศ ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม จ�ำนวน 2 รางวัล และรางวัล ชนะเลิศด้านนวัตกรรมถ่านหิน ณ โรงแรมรามาการ์เดนส์ กรุงเทพฯ
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ผนึกก�ำลังกลุ่มมิตรผล จัดพิธีลงนามการซื้อขายคาร์บอนเครดิต
กระทรวงอุตฯ จัดพิธีมอบรางวัลและ ใบประกาศเกียรติคุณแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ OPOAI
พลเอกเอกชัย จันทร์ศรี ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ�ำกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมแสดงความยินดีในพิธีลงนาม การซื้อขายคาร์บอนเครดิต ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 จัดโดยกลุ่มมิตรผล น�ำโดย อิสระ ว่องกุศลกิจ ประธานกรรมการ พร้อมด้วย กฤษฎา มนเทียรวิเชียรฉาย ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ร่วมกับองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) น�ำโดย ประเสริฐสุข จามรมาน ผูอ้ ำ� นวยการ จับมือ 8 องค์กรชัน้ น�ำร่วมชดเชย การปล่อยก๊าซเรือนกระจกผ่านโครงการ “ลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจ ตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER)” ณ โรงแรมเจดับบลิว แมริออท เพลินจิต
ดร.สมชาย หาญหิรัญ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ให้ เ กี ย รติ เ ป็ น ประธานในพิ ธี ม อบรางวั ล และใบประกาศเกี ย รติ คุ ณ แก่ สถานประกอบการทีเ่ ข้าร่วม “โครงการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน ของอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรในภูมิภาค OPOAI 4.0 ตามแนวทาง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561” ซึ่ง 10 ปี ทีผ่ า่ นมาโครงการฯ สามารถช่วย SMEs อุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร 1,625 ราย สามารถลดต้นทุน เพิ่มรายได้ คิดเป็นมูลค่ากว่า 5,088 ล้านบาท ถัวเฉลี่ย รายละ 3 ล้านบาท/ปี และภายในงานมีผู้ได้รับโล่รางวัล 3 ประเภท จ�ำนวน 36 รางวัล โดยมีผู้ประกอบการให้ความสนใจเข้าร่วมงานคับคั่ง ณ โรงแรม เดอะเบอร์เคลี่ย์ ประตูน�้ำ กรุงเทพฯ
สยามลวดเหล็กฯ รับรางวัลแรงงานสัมพันธ์ และสวัสดิการแรงงานต่อเนื่อง 10 ปีซ้อน มร.ชอง เป๊ก ฮุง กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั สยามลวดเหล็กอุตสาหกรรม จ�ำกัด น�ำคณะพนักงานเข้ารับรางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นด้านแรงงาน สัมพันธ์และสวัสดิการแรงงาน ประจ�ำปี 2561 จากกรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน กระทรวงแรงงาน ซึ่งในปีนี้บริษัทฯ ได้รับรางวัลต่อเนื่องเป็นปีที่ 10 ติดต่อกัน (ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2552-2561) ซึง่ แสดงถึงความมุง่ มัน่ ของบริษทั ฯ ในการ ให้ความส�ำคัญกับการบริหารจัดการ พัฒนาระบบแรงงานสัมพันธ์และสวัสดิการ แรงงานที่มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ตอกย�้ำความเป็นหนึ่งเดียว ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี
November-December 2018
อิตัลไทยวิศวกรรม จัดกิจกรรม “ITE Sport Day 2018” ณัษฐา ประโมจนีย์ รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท อิตัลไทยวิศวกรรม จ�ำกัด หรือ ITALTHAI Engineering (ITE) น�ำทีมผู้บริหารและพนักงานร่วม กิจกรรม “ITE Sport Day 2018” การแข่งขันกีฬาภายใน โดยปีนมี้ าในคอนเซ็ปต์ “4 สหายเกมส์” เพือ่ เชือ่ มความสัมพันธ์ภายในองค์กร พร้อมกิจกรรมสอดแทรก ค่านิยมหลัก “ITALTHAI Core Values” ที่เป็นพลังขับเคลื่อนการพัฒนาองค์กร ในด้านต่างๆ ให้ตรงตามเป้าหมายและก้าวสู่ความส�ำเร็จอันเป็นหนึ่งเดียว ณ สนามฟุตบอล Happy Football Club รัชดา 18
ปตท. ร่วมกับ เอสเอพี ลงนามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล สู่ ไทยแลนด์ 4.0
ชาญศิลป์ ตรีนุชกร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) เป็นประธานในพิธีลงนาม บันทึกข้อ ตกลงความร่ ว มมื อเพื่ อส่ งเสริ ม เศรษฐกิจดิจิทัล น�ำ ไปสู่ ไทยแลนด์ 4.0 ระหว่างบริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั เอสเอพี โดยมี วิทวัส สวัสดิ์-ชูโต ประธานเจ้าหน้าที่เทคโนโลยีและวิศวกรรม บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) และ สก็อต รัสเซลล์ ประธานบริษทั เอสเอพี ประจ�ำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกและญี่ปุ่น เป็นผู้ลงนาม เพื่อร่วมพัฒนา ยุทธศาสตร์ในการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบดิจิทัลที่จะสนับสนุน ขีดความสามารถในการน�ำนวัตกรรมและเทคโนโลยีมาขับเคลือ่ นธุรกิจ ใหม่ๆ ของกลุ่ม ปตท.
เดลต้า รับรางวัลจาก GM ด้านผู้ผลิตชิ้นส่วนคุณภาพ ยอดเยี่ยม ปี 2560
ทีมงานเดลต้า Automotive Plant Cross Functional Team (CFT) ได้รบั ประกาศนียบัตรว่าด้วย “การท�ำงานเป็นทีมทีย่ อดเยีย่ มในการผลักดันการ พัฒนาคุณภาพ ด้วยรายงานการลดปัญหา (PRR) ได้ 100% ในปี พ.ศ. 2559” จากบริษทั เจเนอรัล มอเตอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ธวัชพงษ์ ร่มเกล้า ผูจ้ ดั การ ฝ่ายคุณภาพชิน้ ส่วนยานยนต์ของเดลต้า ยังได้รบั ประกาศนียบัตรรับรองว่าเป็น “บุคคลส�ำคัญในการผลักดันการปรับปรุงระบบคุณภาพและตรวจสอบคุณภาพ” ในช่วงการเปิดตัวรถยนต์ อนึง่ บริษทั เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ได้รับรางวัล General Motors Supplier Quality Excellence Award ประจ�ำปี 2560 ในงานประชุมทางธุรกิจซัพพลายเออร์ของบริษัท เจนเนอรัล มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่งจัดขึ้นที่เซ็นทาราแกรนด์ มิราจ บีช รีสอร์ท พัทยา ประเทศไทย
ถิรไทย รับรางวัลคุณภาพดีเด่น สมคท. ประจำ�ปี 2561 สัมพันธ์ วงษ์ปาน ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการ บริษัท ถิรไทย จ�ำกัด (มหาชน) หรือ TRT ผู้น�ำตลาดหม้อแปลงไฟฟ้า และ อุตสาหกรรมด้านพลังงานรายใหญ่ของประเทศ เข้ารับรางวัลคุณภาพดีเด่น สมคท. ประจ�ำปี 2561 (SQAT Quality Award 2018) ในงานวันมาตรฐานโลก ประจ�ำปี 2561 ด้วยเป็นผู้มีความรู้ความสามารถและมีความเป็นเลิศในเรื่อง การจัดการคุณภาพ โดย รองศาสตราจารย์ พูลพร แสงบางปลา ศาสตราภิชาน ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายกกิตติมศักดิ์ เป็น ผู้มอบรางวัล ณ อาคารส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
November-December 2018
PDU 18 หน่วย การอบรมมาตรฐานเชิงปฏิบต ั ิการเรื่อง
การออกแบบ ติดตั้ง และทดสอบระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ประจำ�ปี พ.ศ. 2562
รุ่นที่ 1 : วันที่ 18-19 มกราคม 2562 เวลา 09.00-16.30 น. รุ่นที่ 2 : วันที่ 26-27 เมษายน 2562 เวลา 09.00-16.30 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 6 อาคาร วสท. ซอยรามค�ำแหง 39 จัดโดย คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า หลักการและเหตุผล
เพือ่ ให้วศิ วกรทีท่ ำ� งานเป็นผูอ้ อกแบบ ผูค้ วบคุมงาน ผูร้ บั เหมา ติดตัง้ และผูด้ แู ลระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ มีความเข้าใจเกีย่ วกับความรู้ พื้นฐานวิทยาการด้านอัคคีภัย เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างแท้จริง ในหลักการของการออกแบบ การติดตั้ง และการทดสอบ รวมไปถึง การเลือกอุปกรณ์ตรวจจับที่เหมาะสมกับแต่ละกิจกรรมการใช้อาคาร ผู้เข้ารับการอบรมจะมีความรู้ความเข้าใจถึงที่มาของการก�ำหนด ระยะห่างทีต่ งั้ ของอุปกรณ์ตรวจจับ อุปกรณ์แจ้งเหตุ และอุปกรณ์ประกอบ ระบบ รวมทั้งการเดินสายสัญญาณ เพื่อให้ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และลดการเกิดการท�ำงานผิดพลาด (Fault Alarm) นอกจากนีจ้ ะเป็นการเสริมทักษะในด้านการตรวจสอบภายหลัง การติดตั้งเสร็จ รวมทั้งการทดสอบระบบและอุปกรณ์ ตามมาตรฐาน วสท. และสภาวิศวกร รวมทัง้ การฝึกภาคปฏิบตั ใิ นการออกแบบระบบ แจ้งเหตุเพลิงไหม้
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเผยแพร่มาตรฐาน วิธีการน�ำไปใช้ และถ่ายทอดประสบการณ์ ที่ถูกต้องในการท�ำงานเกี่ยวกับระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ 2. เพือ่ พัฒนาทักษะวิธคี ดิ กระบวนการพิจารณา และความรูค้ วามเข้าใจ ของผูป้ ฏิบตั งิ านในการออกแบบ ติดตัง้ และทดสอบระบบแจ้งเหตุ เพลิงไหม้ 3. เพือ่ พัฒนาวิชาชีพของวิศวกรให้มคี ณ ุ ภาพในระดับวิศวกรอาเซียน
คุณสมบัติของผู้เข้าร่วมอบรม
1. วิศวกรไฟฟ้าและช่างไฟฟ้า 2. วิศวกรทีท่ ำ� งานเกีย่ วกับระบบป้องกันอัคคีภยั หรือความปลอดภัย 3. เจ้าหน้าที่ปลอดภัยในสถานประกอบการ 4. ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ/เจ้าพนักงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง 5. บุคคลทั่วไป และนิสิต/นักศึกษา
November-December 2018
คณะวิทยากร
ผศ.ถาวร อมตกิตติ์ สวง กิตติสิริพันธุ์
พิชญะ จันทรานุวัฒน์ สุวัฒน์ บุญศักดิ์สกุล
รุ่นที่ 1 : วันศุกร์ที่ 18 มกราคม 2562 รุ่นที่ 2 : วันศุกร์ที่ 26 เมษายน 2562 09.00 - 12.15 น. 12.15 - 13.15 น. 13.15 - 16.30 น.
ข้อก�ำหนดระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ตามมาตรฐาน วสท. การจัดการและการแบ่งพืน้ ทีเ่ พือ่ ป้องกัน อัคคีภัย อุปกรณ์ตรวจจับและแจ้งเหตุเพลิงไหม้ แผงควบคุมและไฟฟ้าในระบบแจ้งเหตุ เพลิงไหม้ ระบบและการติดตั้ง แหล่งจ่ายไฟและแบตเตอรี่ การตรวจสอบระบบ วิทยากร ผศ.ถาวร อมตกิตติ์ พักรับประทานอาหารกลางวัน เทคนิคการออกแบบระบบแจ้งเหตุ เพลิงไหม้เชิงปฏิบัติการ การลุกลามของเพลิงไหม้และกรณีศึกษา การค�ำนวณเวลาในการอพยพและ การตรวจจับเพลิงไหม้ กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การออกแบบและติดตั้งระบบแจ้งเหตุ เพลิงไหม้ พฤติกรรมมนุษย์ในเหตุเพลิงไหม้ วิทยากร พิชญะ จันทรานุวัฒน์
รุ่นที่ 1 : วันเสาร์ที่ 19 มกราคม 2562 รุ่นที่ 2 : วันศุกร์ที่ 27 เมษายน 2562 09.00 - 12.15 น. 12.15 - 13.15 น. 13.15 - 16.30 น.
การติดตั้งอุปกรณ์และส่วนประกอบของ ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้เชิงปฏิบัติการ แผงควบคุมระบบและอุปกรณ์ประกอบ ในการควบคุม การปรับตั้งและก�ำหนดขั้นตอน การท�ำงานของระบบที่แผงควบคุม การเลือกใช้และการติดตั้งสายสัญญาณ และสายไฟฟ้า การติดตั้งอุปกรณ์ตรวจจับ อุปกรณ์ แจ้งเหตุ และวงจรสัญญาณ การปรับตั้งการท�ำงานระบบด้วย Input/Output Matrix วิทยากร สวง กิตติสิริพันธุ์ พักรับประทานอาหารกลางวัน การตรวจสอบ การทดสอบ และการดูแล รักษาตามมาตรฐาน วสท. และประมวล หลักปฏิบัติฯ สภาวิศวกรเชิงปฏิบัติการ การตรวจสอบและทดสอบระบบภายหลัง การติดตั้งเสร็จ การทดสอบประจ�ำเดือนและประจ�ำปี การดูแลรักษา เพือ ่ ให้ระบบพร้อมใช้งาน ตลอดเวลา การเตรียมความพร้อมในการตรวจสอบ อาคาร การทดสอบแผงควบคุมระบบและ อุปกรณ์ประกอบ การดูแลรักษาอุปกรณ์ตรวจจับและ อุปกรณ์แจ้งเหตุ วิทยากร สุวัฒน์ บุญศักดิ์สกุล
จ�ำนวนที่รับ : 80 คน
*หมายเหตุ 1. ราคานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% แล้ว และ วสท. ได้รับการยกเว้น การหักภาษี ณ ที่จ่าย 3% 2. ราคานี้รวมค่าเอกสาร/อาหารกลางวัน/อาหารว่าง/วุฒิบัตร 3. ผู้เข้ารับการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาอบรมจะได้รับ วุฒิบัตร 4. การโอนเงิน กรุณาน�ำส่งหลักฐานการช�ำระเงิน โดยระบุชอื่ ผูเ้ ข้ารับ การอบรมและที่อยู่ในการออกใบเสร็จรับเงินมาที่ Fax No. : 0-2184-4662 5. กรณีที่ท่านไม่สามารถเข้าร่วมการอบรมได้ โปรดท�ำหนังสือแจ้ง ยกเลิกการอบรมล่วงหน้าก่อนการอบรม โดยมีรายละเอียดการ คืนเงินดังต่อไปนี้ 5.1 แจ้งยกเลิกก่อนวันจัดอบรม/สัมมนา 30 วัน คืนเงินเต็มจ�ำนวนของค่าลงทะเบียน 5.2 แจ้งยกเลิกก่อนวันจัดอบรม/สัมมนา 15 วัน คืนเงิน 80% ของค่าลงทะเบียน 5.3 แจ้งยกเลิกก่อนวันจัดอบรม/สัมมนา 7 วัน คืนเงิน 50% ของค่าลงทะเบียน 5.4 แจ้งยกเลิกน้อยกว่า 7 วันก่อนวันจัดอบรม/สัมมนา ไม่คืนค่าลงทะเบียน *หมายเหตุ : เว้นแต่มีเหตุจ�ำเป็นซึ่งทางวิศวกรรมสถานฯ จะ พิจารณาเป็นรายๆ ไป และให้ถือผลการพิจารณาเป็นที่สิ้นสุด 6. กรณี วสท. ยกเลิกการจัดอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงานทั้งในและ ต่างประเทศ เนือ่ งจากสาเหตุใดก็ตาม วสท. จะคืนเงินให้ทา่ นเต็มจ�ำนวน
สิทธิประโยชน์
1. นิติบุคคล มีสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้สูงสุดถึง 200% ของรายจ่าย ค่าลงทะเบียนเข้าอบรม (ทัง้ นีเ้ ป็นไปตามพระราชก�ำหนดออกตาม ความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร ฉบับที่ 437 พ.ศ. 2548) 2. ถือเป็นการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ตามพระราชบัญญัติส่งเสริม การพัฒนาฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2550 ซึง่ ก�ำหนดให้นายจ้างทีม่ ลี กู จ้าง ตัง้ แต่ 100 คนขึน้ ไป ต้องจัดอบรมให้แก่ลกู จ้างไม่ตำ�่ กว่าร้อยละ 50 ของลูกจ้างทั้งหมด 3. มีสทิ ธิร์ บั หน่วยพัฒนาความรู้ (PDU) ตามทีส่ ภาวิศวกรให้การรับรอง เพือ่ ประโยชน์ในการสอบเลือ่ นระดับเป็นสามัญวิศวกร และวิศวกร อาเซียน (AEC)
การชำ�ระเงิน ประเภทสมาชิก
ปกติ
ราคาเมื่อช�ำระ ก่อนวันที่ 11 ม.ค. 62
สมาชิก วสท.
4,000 บาท/คน
3,600 บาท/คน
ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ/ บุคคลทั่วไป
4,500 บาท/คน
4,000 บาท/คน
เช็ค สั่งจ่าย สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โอนเงิน บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ชือ่ บัญชี สมาคมวิศวกรรมสถาน แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาสภากาชาดไทย เลขที่บัญชี 045-2-03026-1 ธนาคารกรุงเทพ สาขาสุรวงศ์ เลขที่บัญชี 147-4-32388-6 ธนาคารกรุงไทย สาขาจามจุรีสแควร์ เลขที่บัญชี 162-0-09914-4
สนใจติดต่อรายละเอียดได้ที่ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ส�ำนักงานใหญ่) โทรศัพท์ 0-2184-4600-9 ต่อ 521, 525 โทรสาร 0-2184-4662 E-Mail : eit@eit.or.th เว็บไซต์ : www.eit.or.th November-December 2018
Movement
ความร่วมมือทางวิชาการสถาบันเทคโนโลยี จิตรลดำ
บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) เข้าร่วมประชุมหารือความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันเทคโนโลยี จิตรลดา น�ำโดย สมบัติ อนันตรัมพร ประธานกรรมการและกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ พร้อมด้วย ดร.ชลิดา อนันตรัมพร กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และประธานมูลนิธอิ นิ เตอร์ลงิ้ ค์ให้ใจ และ รศ. ดร.คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ อธิการบดี วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา เพื่อร่วมผลิต บุคลากรในสายวิชาชีพเทคโนโลยีโทรคมนาคม ให้สามารถตอบสนอง ต่อความต้องการของประเทศได้ ณ ห้องประชุมสภาวิทยาลัย เทคโนโลยีจิตรลดา
ก.วิทย์ฯ น�ำผลงานวิจัยร่วม ผู้ประกอบการไทยโชว์ท�ำเนียบรัฐบาล
ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (รมว.วท.) พร้อมด้วย พลเอกนาวิน ด�ำริกาญจน์ รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายการเมือง น�ำทีมคณะผู้บริหารส�ำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และ บริษทั สกุลฎ์ซี อินโนเวชัน่ จ�ำกัด ในกลุม่ บริษทั โชคน�ำชัย จั ด แสดงผลงานวิ จั ย พั ฒ นาและนวั ต กรรมที่ ร ่ ว มกั น ด�ำเนินงาน ตัวอย่างเช่น เรืออะลูมิเนียม รถโดยสาร อะลูมเิ นียมโครงสร้างน�ำ้ หนักเบา รถโดยสารไฟฟ้า และ เทคโนโลยีปอ้ งกันประเทศ ให้ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี เยีย่ มชมก่อนการประชุม คณะรัฐมนตรี เพื่อทราบศักยภาพและความพร้อมของ ภาคเอกชน และการร่วมมือกับหน่วยงานรัฐเพือ่ กระตุน้ และเสริมแกร่งความเข้มแข็งทางด้านการน�ำผลงานวิจยั และนวัตกรรมมาใช้ในการผลิตของผู้ประกอบการไทย รวมถึงการส่งเสริมให้คนไทย หน่วยงานไทย ได้เริ่มใช้ ผลิตภัณฑ์ของไทย November-December 2018
ชไนเดอร์ อิเล็คทริค รุกตลาดลุยจัดงาน โชว์นวัตกรรมที่สิงคโปร์
ชไนเดอร์ อิเล็คทริค จัดงาน Innovation Summit 2018 ทีป่ ระเทศสิงคโปร์ ซึง่ เป็นงานประชุมและจัดแสดง นวัตกรรมที่ใหญ่ที่สุดของชไนเดอร์ อิเล็คทริค ที่เคย จัดมาในภูมภิ าคเอเชียตะวันออก ซึง่ มีการโชว์เคสถึงการ พัฒนาล่าสุดของ EcoStruxureTM ที่เป็นสถาปัตยกรรม และแพลตฟอร์มระบบเปิด ให้ศกั ยภาพด้าน IoT รองรับ การใช้งานในลักษณะ Plug and Play สามารถท�ำงาน ร่วมกับระบบอื่นได้ไม่มีข้อจ�ำกัด งาน Innovation Summit 2018 ครั้งนี้ มีทั้งการ จัดแสดงนวัตกรรม เทคโนโลยีตา่ งๆ การจ�ำลองกระบวนการ ผลิต โดยรวมพลผู้เชี่ยวชาญจากชไนเดอร์ อิเล็คทริค ตลอดจนผู้น�ำทางความคิดในโลกอุตสาหกรรม เพื่อ ร่วมกันแชร์มมุ มองเชิงลึกและแนวคิดใหม่ๆ เพือ่ ช่วยให้ ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมประสบความส�ำเร็จในยุค ดิจิทัล โดยงานนี้มีตัวแทนจากภาคธุรกิจชาวไทย และ อุตสาหกรรมได้ให้ความสนใจมาร่วมงานเป็นจ�ำนวน มาก
กัทส์ เปิดตัว “Guts City Monitoring” ระบบอัจฉริยะรักษาความปลอดภัย
ชยวัฒน์ สถิติศาสตร์ ผู้อ�ำนวยการฝ่าย ปฏิบตั กิ าร บริษทั กัทส์ ซุปเปอร์โพลส์ จ�ำกัด เปิดตัว “Guts City Monitoring” ระบบรักษาความปลอดภัย ที่จะเป็นหลักประกันความปลอดภัยให้กับพลเมือง ทุกคน ด้วยระบบ Face Hunter เทคโนโลยีตรวจจับ ใบหน้าที่แม่นย�ำจากกล้อง CCTV อัจฉริยะจาก เทคโนโลยี AI ที่ดีที่สุด สามารถจดจ�ำใบหน้าผู้ร้าย รวมถึงผูก้ อ่ การร้ายข้ามชาติ หรือคนหายได้ในทันที รวมถึงระบบตรวจจับป้ายทะเบียนรถยนต์ทที่ ำ� งาน ร่วมกับ AI ในการวิเคราะห์พฤติกรรมที่ผิดวิสัย สอดส่องทุกความเคลื่อนไหว ทั้งบุคคล รถ หรือ ยานพาหนะทีผ่ ดิ สังเกต ร่วมกับฐานข้อมูลพลเมือง และอาชญากรรม ซึ่งสามารถรับมือทันทุกสภาวะ ฉุกเฉินตลอด 24 ชั่วโมง เตรียมประเดิมติดตั้งที่ Pattaya Walking Street แห่งแรกในประเทศไทย
November-December 2018
Movement
เมโทรซิสเต็มส์ฯ ร่วมกับ Dell EMC เปิดตัวโซลูชันใหม่ลา่ สุดด้าน “Data Protection”
จิระศักดิ์ ตรังคิณีนาถ ผู้ช่วยผู้อำ� นวยการ กลุม่ ธุรกิจดิจติ อลโซลูชนั (Digital Solutions Group : DSG) บริษัท เมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมกับ สถาพร ทัง่ ทอง Sales Director – Data Protection Solution Indochina บริษัท เดลล์ อีเอ็มซี (ประเทศไทย) แนะน�ำโซลูชนั ใหม่ลา่ สุด เพือ่ มุง่ สูก่ ารปกป้องข้อมูลอย่างสมบูรณ์แบบ “Integrated Data Protection Appliance DP4400” โดยมี สุตตพล กานตานันทะ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป และ ชัยวัฒน์ วชิรโรจน์ไพศาล ผูจ้ ดั การทัว่ ไป กลุม่ ธุรกิจดิจติ อล โซลูชัน ได้ร่วมเป็นวิทยากรบรรยายภาพรวมและ ความต้องการขององค์กรธุรกิจในการท�ำ “Data Protection” ให้กับกลุ่มลูกค้าจากหลากหลายธุรกิจ ณ เดอะ การ์เด้นส์ ออฟ ดินสอ พาเลซ สุขุมวิท เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2561
กระทรวงพลังงาน มั่นใจ “ฟิวเจอร์ เอนเนอร์ยี เอเชีย” ขับเคลื่อนอนาคตไทยสู่ “พลังงาน 4.0”
ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูต้ รวจราชการกระทรวงพลังงาน ร่วมประชุมคณะกรรมการ จัดงาน FEA 2018 หรืองานแสดงเทคโนโลยีและการประชุมด้านพลังงานเพือ่ อนาคตแห่ง เอเชีย หรือ Future Energy Asia Exhibition & Conference (FEA) 2018 จัดขึ้นโดย ได้รบั ความร่วมมือจากกระทรวงพลังงานของไทย เพือ่ เป็นเวทีพบปะและแลกเปลีย่ นของ ทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องในแวดวงพลังงานทัง้ Energy Value Chain จากทัว่ ทุกมุมโลก ซึง่ รวมถึง ผูน้ ำ� จากภาครัฐ บริษทั ทีด่ ำ� เนินธุรกิจด้านพลังงานครบวงจร ผูใ้ ห้บริการเทคโนโลยีสะอาด ผูป้ ระกอบการ และภาคส่วนอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องอีกมากมาย ซึง่ พร้อมจะรวมพลังเพือ่ ก�ำหนด กลยุทธ์ส�ำหรับภูมิภาคเอเชียและตอบสนองความต้องการด้านพลังงานในอนาคต
November-December 2018
ดาว ประเทศไทย เผยความส�ำเร็จ “ห้องเรียนเคมีดาว” ประจ�ำปี 2561
กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย ร่วมกับสมาคม เคมีแห่งประเทศไทยในพระอุปถัมภ์ของศาสตราจารย์ ดร.สมเด็ จ พระเจ้ า ลู ก เธอเจ้ า ฟ้ า จุ ฬ าภรณวลั ย ลั ก ษณ์ อัครราชกุมารี และองค์การพิพธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) ขยายผลการถ่ายทอดเทคนิคการปฏิบัติการเคมี แบบย่อส่วน (Small-Scale Chemistry Laboratory) ภายใต้ โครงการ “ห้องเรียนเคมีดาว” สูบ่ คุ ลากรครูจากทุกภูมภิ าค กว่า 400 คน ตอกย�้ำความมุ่งมั่นของดาว ประเทศไทย ในการสนับสนุนการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ให้แก่ครูระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาทั่วไป ในปี พ.ศ. 2561 โครงการ “ห้องเรียนเคมีดาว” ได้เดินทางร่วมกับขบวนคาราวานวิทยาศาสตร์ของ อพวช. เพือ่ จัดการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารเคมีแบบย่อส่วนเพิม่ เติมแก่ ครูใน 7 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร สงขลา ระยอง พิจติ ร อุบลราชธานี สระแก้ว และกระบี่ โดยมีครูเข้าร่วมอบรม ทั้งสิ้น 445 คน ซึ่งได้รับความรู้เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ ชุดอุปกรณ์ทดลองในเรื่องต่างๆ
อีสท์ วอเตอร์ (EASTW) ติด 1 ใน 79 บริษัทหุ้นยั่งยืน เป็นปีที่ 4
บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) หรืออีสท์ วอเตอร์ (EASTW) เผยผลประกาศรายชือ่ Thailand Sustainability Investment 2018 : THSI หรือหุน้ ทีย่ งั่ ยืน ประจ�ำปี 2561 จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยอีสท์ วอเตอร์ เป็น 1 ใน 79 บริษทั หุน้ ยัง่ ยืน และเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน ซึง่ อีสท์ วอเตอร์อยูใ่ นกลุม่ บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ทมี่ มี ลู ค่าหลักหลักทรัพย์ตามราคาตลาด ระหว่าง 10,000-30,000 ล้านบาท เน้นการด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน โดยค�ำนึงถึงสิง่ แวดล้อม สังคมและบรรษัทภิบาล (Environmental, Social and Governance : ESG) เพือ่ เป็นทางเลือกของนักลงทุนทีค่ ำ� นึงถึงการ พัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อสร้างผลตอบแทนอย่างต่อเนื่องในระยะยาว ส�ำหรับการจัดท�ำรายชื่อ Thailand Sustainability Investment : THSI หรือหุ้นยั่งยืน ด�ำเนินการโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 ในปี 2561 มีจ�ำนวน 79 บริษัท เพิ่มจ�ำนวนขึ้นจาก ปีทผี่ า่ นมา 14 บริษทั สะท้อนความตืน่ ตัวของบริษทั จดทะเบียน เพือ่ เป็น ทางเลือกแก่ผลู้ งทุนทีส่ นใจลงทุนตามแนวคิดการลงทุนอย่างยัง่ ยืนและ ต้องการลงทุนในหุ้นที่สามารถสร้างผลกระทบในเชิงบวกต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม November-December 2018
เอ็นทีที คอม ตอกย�้ำคุณภาพการปกป้องข้อมูลในดาต้า เซ็นเตอร์ โชว์รายงาน SOC แห่งเดียวในประเทศไทย NTT Com Granted SOC Report Type II Solely in Thailand บริษทั เอ็นทีที คอมมิวนิเคชัน่ ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึง่ เป็น บริษทั ในเครือของเอ็นทีที คอมมิวนิเคชัน่ ส์ คอร์ปอร์เรชัน่ (เอ็นทีที คอม) ผู้ด�ำเนินธุรกิจให้บริการด้านไอซีทีโซลูชันและการสื่อสารระหว่าง ประเทศในเครือของเอ็นทีทีกรุ๊ป (TYO: 9432) ตอกย�้ำความมั่นใจให้ ลูกค้าไปอีกขัน้ โดยได้รบั การรับรองรายงานระบบตรวจสอบการควบคุม การท�ำงานองค์กร หรือ SOC (Service Organization Control) ซึ่งเป็น รายงานการรับรองการให้บริการตามมาตรฐานสากล หรือ International Standard on Assurance Engagement 3402: ด้านการรายงาน ผลการรับรองเกีย่ วกับการควบคุมการให้บริการในองค์กร (Assurance Reports on Controls at a Service Organization: ISAE3402) ผลการรับรองรายงาน SOC จะแสดงให้ลูกค้าและผู้ตรวจสอบ ของลูกค้าเห็นถึงประสิทธิภาพการควบคุมภายใน ที่ส่งผลต่อการ ตรวจสอบข้อมูลงบการเงิน เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ ในเรือ่ งของนโยบาย การควบคุมภายในองค์กร รวมถึงขัน้ ตอนการท�ำงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ในการส่ ง มอบความปลอดภั ย ให้ กั บ ลู ก ค้ า ที่ เข้ า มาใช้ บ ริ ก ารใน “ศูนย์ข้อมูล” Bangkok 2 Data Center ซึ่งเอ็นทีที คอม นับเป็น ผู้ให้บริการศูนย์ข้อมูลเพียงแห่งแรกและแห่งเดียวในไทยที่สามารถ ผ่านการรับรองดังกล่าว เกรียงศักดิ์ จรูญศรีสวัสดิ์ รองประธานอาวุโส แผนกธุรกิจ ดาต้า เซ็นเตอร์ บริษัท เอ็นทีที คอมมิวนิเคชั่นส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า เรามีความภูมใิ จเป็นอย่างยิง่ ทีผ่ า่ นการรับรองรายงานระบบ ตรวจสอบการควบคุมองค์กรบริการ หรือ SOC จากองค์กรที่มีความ เชี่ยวชาญด้านการตรวจสอบในระดับโลก ทั้งด้านการเงินและความ ปลอดภัยในโลกไซเบอร์ รวมถึงข้อมูลทีเ่ ป็นความลับขององค์กร ท�ำให้ มั่นใจได้ว่าเราจะให้บริการที่มีคุณภาพสูง และข้อมูลลูกค้าจะได้รับ การคุ้มครองเป็นอย่างดี รวมถึงเป็นการสร้างความไว้วางใจระหว่าง ผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการในองค์กรของลูกค้าด้วย “SOC เป็นรายงานการตรวจสอบจากบุคคลที่สาม ซึ่งเป็น หน่วยงานอิสระ โดยเป็นการแสดงให้เห็นว่าเราได้ผ่านการควบคุม การปฏิบัติตามกฎระเบียบและวัตถุประสงค์ของรายงานดังกล่าว ซึง่ จะเป็นการยืนยันให้ลกู ค้าและผูท้ จี่ ะเข้ามาตรวจสอบลูกค้า ได้มนั่ ใจ ถึงการควบคุมการท�ำงานของเรา วัตถุประสงค์ของการจัดท�ำรายงาน SOC เพือ่ เป็นการแสดงให้เห็นถึงการปฏิบตั งิ าน และการควบคุมดูแล ข้อมูล ตามข้อก�ำหนดในระดับสากลของเอ็นทีที คอม” ส�ำหรับรายงาน SOC ได้รบั การออกแบบมาเพือ่ แสดงให้เห็นถึง การควบคุมการท�ำงานภายในองค์กรที่ให้บริการด้านดาต้า เซ็นเตอร์ ในด้านความปลอดภัยทางกายภาพ ระบบการบริหารจัดการความพร้อม ด้านการใช้งานไอที รวมทัง้ ข้อมูลทีเ่ ป็นความลับของลูกค้า โดยเฉพาะ หน่วยงานหรือองค์กรทีใ่ ห้บริการด้านการเงิน เช่น กลุม่ สถาบันการเงิน ธนาคาร และบริษทั ประกันภัย ฯลฯ สามารถมัน่ ใจได้ถงึ ความปลอดภัย ในการประมวลผลข้อมูลและการด�ำเนินงานด้านระบบไอทีของลูกค้า เมื่อเข้ามาใช้บริการดาต้า เซ็นเตอร์ กับเอ็นทีที November-December 2018
NTT Communications (Thailand) Co., Ltd. the ICT solutions and international communications business within the NTT Group (TYO: 9432), granted Service Organization Control (SOC) report in accordance with the International Standard on Assurance Engagement 3402: Assurance Reports on Controls at a Service Organization” (ISAE3402), to be shared with our customer and customer’s auditor for the auditing of their financial statement purpose, and assuring NTT Com’s internal controls’ policies and procedures operating effectiveness on delivering security environment to customer in its Bangkok 2 Data Center. Moreover, NTT Com is the first and sole data center in Thailand who achieved SOC audits. Mr.Kriengsak Charoonsrisawat, Senior Vice President, Data Center Business Department, NTT Communications (Thailand) Co., Ltd. said granting SOC report from PWC, the world’s trusted audit firm in finance, cyber security and corporate confidential information, ensures the company’s commitment in delivering high quality services and assuring customers data is protected, building trust between service providers and user organizations. Service Organization Control (SOC) Reports are independent third-party examination reports that demonstrate how NTT Com achieves key compliance controls and objectives. The purpose of these reports is to help customer and customer auditors understand NTT Com’s controls established to support operations and compliance. SOC report was designed to report on the controls of service organizations, to critical aspects of our data center, physical security, incident management, IT system availability, as well as customer confidential information. Organizations, especially banking and finance institutions, and insurance companies can ensure that processed information or IT operations will be secured with us.
Industry News
TPIPP เตรียม COD โรงไฟฟ้า TG8 พร้อมติดตั้งหม้อผลิตไอน�้า เสริมประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า บริษทั ทีพไี อ โพลีน เพาเวอร์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ TPIPP โชว์ก�ำไรสุทธิไตรมาส 3/61 เติบโต 69.42% จากช่วงเดียวกันของ ปีกอ่ น จากการรับรูร้ ายได้เต็มไตรมาสจากโรงไฟฟ้า TG6 และ TG4 ส่งผลดีต่อภาพรวมผลการด�ำเนินงาน 9 เดือนแรกของปีนี้ที่มี ก�ำไรสุทธิ 2,724.69 ล้านบาท คาดไตรมาสสุดท้ายยังเติบโตอย่าง ต่อเนื่อง เตรียม COD โรงไฟฟ้า TG8 เพิ่มเติม หนุนก�ำลังการผลิต ติดตัง้ รวมเพิม่ เป็น 440 MW พร้อมลงทุนติดตัง้ หม้อผลิตไอน�ำ้ (Boiler) ช่วยเพิ่มความมั่นคงในการผลิตไฟฟ้าได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ด้านผูบ้ ริหารระบุสนใจร่วมประมูลโครงการโรงก�ำจัดขยะผลิตไฟฟ้ำ ของ อบจ. และเทศบาล ที่จะค่อยๆ เปิดให้เอกชนเข้าร่วมประมูล ภัคพล เลี่ยวไพรัตน์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายบัญชี และการเงิน บริษัท ทีพีไอ โพลีน เพาเวอร์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ TPIPP ผูป้ ระกอบธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานเชือ้ เพลิงจากขยะ (RDF) และ โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนทิง้ ทีใ่ หญ่ ทีส่ ดุ ในไทยทีม่ งุ่ เน้นความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เปิดเผย ผลการด� ำ เนิ น งานไตรมาส 3/61 (ก.ค. - ก.ย. 2561) ว่า บริษทั ฯ มีรายได้ รวม 2,174.87 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 76.46% จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ที่มีรายได้รวม 1,232.50 ล้านบาท และมีก�ำไรสุทธิ 1,005.28 ล้านบาท ภัคพล เลี่ยวไพรัตน์ เพิม่ ขึน้ 69.42% จากช่วงเดียวกันของ
ปีก่อนที่มีก�ำไรสุทธิ 593.35 ล้านบาท ปั จ จั ย หลั ก ที่ ผ ลการด� ำ เนิ น งานเติ บ โตได้ ดี ม าจากการที่ บริษทั ฯ รับรูร้ ายได้จากการจ�ำหน่ายไฟฟ้าเต็มไตรมาสของโรงไฟฟ้ำ เชือ้ เพลิงจากขยะ 70 MW (TG6) และโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนทิง้ 30 MW (TG4) รวมก�ำลังการผลิตติดตั้ง 100 MW โดยจ�ำหน่าย ไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ (COD) ให้แก่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือ กฟผ. ตามสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้า PPA 90 MW โดยได้รบั Adder 3.50 บาทต่อกิโลวัตต์-ชัว่ โมง เป็นระยะเวลา 7 ปีนบั จากวันทีเ่ ริม่ ต้น ซือ้ ขายไฟฟ้า และเมือ่ วันที่ 18 สิงหาคมทีผ่ า่ นมา บริษทั ฯ เดินเครือ่ ง และเริม่ ต้นขายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์สำ� หรับโรงไฟฟ้าใหม่ ก�ำลังการผลิต ติดตั้ง 70 เมกะวัตต์ (ก�ำลังการผลิตที่ได้รับอนุญาต 40 เมกะวัตต์) โดยจ�ำหน่ายไฟฟ้าให้กบั บริษทั ทีพไี อ โพลีน จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ เป็น บริษัทแม่ ส่วนความคืบหน้าโรงไฟฟ้าเชือ้ เพลิงโรงไฟฟ้า 150 MW (TG8) ที่อยู่ระหว่างการขออนุญาตจากภาครัฐ คาดว่าจะ COD ได้ภายใน ไตรมาส 4 ของปีนี้ โดยจะจ�ำหน่ายไฟฟ้าให้แก่บริษทั แม่ (บมจ.ทีพไี อ โพลีน หรือ TPIPL) ส่งผลให้มีก�ำลังการผลิตติดตั้งรวมเพิ่มขึ้นเป็น 440 MW จากปัจจุบนั อยูท่ ่ี 290 MW นอกจากนี้ บริษทั ฯ มีแผนขยาย การลงทุนธุรกิจโรงไฟฟ้า โดยให้ความสนใจเข้าร่วมประมูลโครงการ โรงก�ำจัดขยะผลิตไฟฟ้าขององค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) และ เทศบาลต่างๆ ซึ่งคาดว่าจะเริ่มทยอยเปิดให้ภาคเอกชนเข้าร่วม ประมูลในช่วงปลายปีนี้ถึงต้นปีหน้ำ
IRPC ผนึก SkillLane ยกระดับช่องทางเรียนรู้สู่ดิจิทัลแพลตฟอร์ม บริษทั ไออาร์พซี ี จ�ำกัด (มหาชน) (IRPC) เซ็นสัญญาร่วมมือ กับ SkillLane Digital Training เพื่อยกระดับการเรียนรู้ผ่านดิจิทัล แพลตฟอร์มออนดีมานด์ โดยเปิดโอกาสให้บุคลากรทุกระดับของ ทั้งองค์กรได้พัฒนาทักษะและองค์ความรู้ด้วยตนเอง ครอบคลุม ทั้งเรื่องการท�ำงานและไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิตส่วนตัว เรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา ผ่านทั้งคอมพิวเตอร์ แท็ปเลต โทรศัพท์มือถือ ด้วยการน�ำ คอร์สอบรมจาก SkillLane ทั้ง Hard Skill, Soft Skill และ Leisure Skill มาใช้ตอบโจทย์ความต้องการพัฒนาคนยุคดิจทิ ลั สอดคล้องกับ November-December 2018
Industry News
นโยบายการพัฒนาบุคลากรของบริษทั ฯ ยุค 4.0 เพือ่ สร้างรากฐาน ส�ำคัญส�ำหรับการพาองค์กรเดินหน้าไปสู่การเป็นบริษัทปิโตรเคมี ชั้นน�ำของเอเชีย ภายในปี พ.ศ. 2563 สุกฤตย์ สุรบถโสภณ กรรมการผู้จัดการใหญ่ IRPC เผยว่า “ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจพลังงานเพื่อรับกระแสดิจิทัล ท�ำให้เราต้องเพิม่ เติมเทคโนโลยีให้เท่าทันโลก IRPC ต้องการยกระดับ การจัดการภายในด้วยเทคโนโลยีทที่ นั สมัย ด้วยโครงการ IRPC 4.0 คือการบูรณาการระบบดิจทิ ลั และนวัตกรรมทันสมัยต่างๆ มาร่วมใช้ ในขั้นตอนธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรของเรา โดยเรามุ่งมั่นพัฒนาบุคลากรอย่างเข้มข้น เริ่มตั้งแต่การฝึกอบรม ในหัวข้อส�ำคัญต่อการด�ำเนินงาน เช่น การสื่อสาร การแก้ปัญหา เฉพาะหน้า โดยแต่ละหลักสูตรสามารถเรียนได้ในรูปแบบ E-Learning” “จากข้อจ�ำกัดเดิมๆ คือเรือ่ งการบริหารจัดการเวลาให้พนักงาน เข้ารับการฝึกอบรมใน Classroom/External มีความยากมาก เหตุนี้ เราจึงปรับกลยุทธ์การฝึกอบรมพนักงานมาเป็นรูปแบบออนไลน์ ให้พนักงานมีโอกาสได้เรียนรูม้ ากขึน้ ในเวลาทีจ่ ำ� กัด ปีนเี้ ราวางแผน พัฒนาพนักงานตาม Training Roadmap ออกแบบให้เชื่อมโยงกับ เป้าหมายขององค์กร และอยูบ่ นพืน้ ฐานของ Competency-Based
Training เป็นหลัก โดยมีวัตถุประสงค์พัฒนาพนักงาน 3 ด้าน คือ Organization Knowledge, Technical & Functional Competency และด้าน Leadership Competency จึงได้รว่ มมือกับ SkillLane เสิรฟ์ คอร์สเรียนกว่า 400 คอร์สให้บคุ ลากรได้เรียนอย่างมีอสิ ระ และยังได้ ร่วมกันจัด Workshop ให้ทมี งานได้เรียนรูว้ ธิ กี ารถ่ายทอดความรูแ้ บบ DIY เพือ่ ถ่ายท�ำคอร์สเรียนแล้วน�ำมาไว้บนแพลตฟอร์ม SkillLane for Business เพือ่ เปิดโอกาสให้คนอืน่ ๆ ในองค์กรได้เรียนอย่างสะดวก อย่างทั่วถึงกัน” ฐิติพงศ์ พิสิฐวุฒินันท์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วม ก่อตั้งแพลตฟอร์มคอร์สเรียนออนไลน์ SkillLane เปิดเผยว่า “ความร่วมมือกับ IRPC วันนี้ ถือเป็นก้าวส�ำคัญของเทคสตาร์ตอัพ อย่าง SkillLane ด้วยภารกิจส�ำคัญสุดของเราคือการท�ำความรูใ้ ห้เป็น On-Demand และพร้อมเสิรฟ์ ให้กบั ทุกคนทีต่ อ้ งการได้เข้าถึงความรู้ ใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา แพลตฟอร์มการเรียนรู้แบบออนดีมานด์และ ทักษะความรูท้ ี่ SkillLane มี ล้วนเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาทรัพยากร บุคคลให้แก่องค์กรในระยะยาว สะท้อนให้เห็นเทรนด์การเรียนรู้ วันนีท้ หี่ ลายองค์กรก�ำลังเดินหน้าไปสูค่ วามเป็นดิจทิ ลั อย่างแท้จริง” ฐิติพงศ์ กล่าว
ซีเมนส์ เฮลทิเนียร์ส ชูเทคโนโลยีเอไอยกระดับอุตสาหกรรมเฮลธ์แคร์ ซีเมนส์ เฮลทิเนียร์ส ผู้ให้บริการเทคโนโลยีทางการแพทย์ ชัน้ น�ำของโลก เผยเทรนด์อตุ สาหกรรมการดูแลสุขภาพทัว่ โลกมุง่ น�ำ เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใช้รบั มือความท้าทายในการบริหารโรงพยาบาล และเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาคนไข้ ซึ่งซีเมนส์ เฮลทิเนียร์ส พร้อมตอบโจทย์ดังกล่าวด้วยเครื่องมือแพทย์ที่ทันสมัยและโซลูชัน การบริหารจัดการที่ครอบคลุมและใช้งานง่ายจากทุกที่ ดร.โทเบียส เซย์ฟาร์ท กรรมการผูจ้ ดั การและประธาน ซีเมนส์ เฮลทิเนียร์ส ประจ�ำภูมิภาคอาเซียน กล่าวว่า ซีเมนส์ เฮลทิเนียร์ส ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การพลิ ก โฉม อุตสาหกรรมการดูแลสุขภาพสู่ยุค ดิจิทัล โดยเฉพาะการน�ำเทคโนโลยี ปัญญาประดิษฐ์ หรือเอไอ (Artificial Intelligence) มาใช้ในการให้บริการแก่ คนไข้ บริษทั มีสทิ ธิบตั รด้านการเรียนรู้ ของเครื่องจักร (Machine Learning) มากกว่า 400 ฉบับ ด้าน Deep Learning อีก 75 ฉบับ และแอปพลิเคชันทีพ่ ฒ ั นำ ดร.โทเบียส เซย์ฟาร์ท บนพื้นฐานเทคโนโลยีเอไอมากกว่า November-December 2018
30 ฉบับ เพือ่ รองรับความต้องการของผูใ้ ห้บริการดูแลสุขภาพทัว่ โลก ที่ต้องการพัฒนาการดูแลรักษาให้มีความแม่นย�ำยิ่งขึ้น เน้นการ ป้องกันในระดับปัจเจกบุคคล และการวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้อง ปัจจุบนั ซีเมนส์ เฮลทิเนียร์ส มีเครือ่ งมือแพทย์ทจี่ ำ� ลองมาจาก ระบบการเรียนรู้และจดจ�ำของสมองมนุษย์ ซึ่งมีประโยชน์ในการ เรียนรูร้ ปู แบบการตรวจวิเคราะห์ขอ้ มูลทีเ่ หมาะสมและแม่นย�ำทีส่ ดุ และได้พัฒนาซอฟต์แวร์ซินโกเวีย (Syngo.via) ซึ่งท�ำงานร่วมกับ เทคโนโลยี Cinematic VRT เพือ่ ช่วยในการเลือกต�ำแหน่งและมุมมอง ของข้อมูลภาพจากเครื่องเอ็มอาร์ไอและซีทีสแกนส�ำหรับการน�ำ ข้อมูลภาพทีด่ ที สี่ ดุ ไปใช้ในการวินจิ ฉัยโรค โดยการสร้างภาพสี 3 มิติ ทีม่ คี วามคมชัดและมีแสงเงา เพือ่ ให้แพทย์สามารถมองเห็นอวัยวะ ทีต่ รวจได้อย่างรวดเร็วและชัดเจนทุกมุมมอง จึงส่งผลดีตอ่ การป้องกัน และวางแผนการรักษาโรค นอกจากนัน้ เครือ่ งมือแพทย์และระบบดิจทิ ลั อีโคซิสเต็มของ ซีเมนส์ เฮลทิเนียร์ส ยังรองรับการใช้งานผ่านซอฟต์แวร์ทางการแพทย์ ชัน้ น�ำอย่างหลากหลาย อาทิ Arterys, Explorer Surgical, Heartflow, Materialise, mediCAD Hectec, Mint Medical, Pie Medical Imaging, Stroll Health and SyntheticMR
Industry News
ทัง้ นี้ อุตสาหกรรมเทคโนโลยีทางการแพทย์ทวั่ โลกมีแนวโน้ม เติบโตอย่างต่อเนื่อง ดังจะเห็นได้จากการที่โรงพยาบาลต่างๆ ทั่วโลกหันมาตรวจด้วยเครื่องเอ็มอาร์ไอและซีทีสแกนเพิ่มขึ้นถึง ร้อยละ 30 ท�ำให้โรงพยาบาลจ�ำเป็นต้องบริหารการใช้งานเครือ่ งมือ ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ “การพลิกโฉมอุตสาหกรรมการดูแลสุขภาพไปสู่ยุคดิจิทัล ผนวกกับพลังของเทคโนโลยีเอไอช่วยให้โรงพยาบาลต่างๆ สามารถ เพิม่ ความพึงพอใจของผูม้ าใช้บริการ และรักษาความสามารถทางการ
แข่งขันเอาไว้ได้ แม้ต้องเผชิญกับปัญหาการขาดแคลนบุคลากรที่มี ทักษะท่ามกลางปริมาณงานตรวจวิเคราะห์ที่เพิ่มขึ้น” ดร.โทเบียส กล่าว ส�ำหรับประเทศไทย ซีเมนส์ เฮลทิเนียร์ส มีจดุ มุง่ หมายในการ ด�ำเนินงานที่ส�ำคัญ 4 ด้าน คือ เพิ่มความแม่นย�ำในการตรวจรักษา เปลี่ยนโฉมการดูแลรักษาคนไข้ให้รวดเร็วมีประสิทธิภาพมากขึ้น ปรับประสบการณ์การรับบริการของคนไข้ และขับเคลือ่ นอุตสาหกรรม การดูแลสุขภาพไปสู่ยุคดิจิทัล
บีไอจี โชว์คอมเพล็กซ์ก๊าซอุตสาหกรรมครบวงจร พร้อมลงทุนรับอีอีซี บีไอจี ผู้น�ำนวัตกรรมก๊าซอุตสาหกรรมของไทยกว่า 30 ปี พร้อมลุยขยายธุรกิจรับการเติบโตของอุตสาหกรรมในพื้นที่อีอีซี เปิดบ้านโชว์ประสิทธิภาพเทคโนโลยีและนวัตกรรมโรงแยกอากาศ แห่งที่ 3 (BIG 3) คอมเพล็กซ์กา๊ ซอุตสาหกรรมด้วยก�ำลังการผลิตกว่า 530,000 ตันต่อปี ในนิคมฯ เหมราชชลบุรี ปิยบุตร จารุเพ็ญ กรรมการ ผูจ้ ดั การ บริษทั บางกอกอินดัสเทรียล แก๊ส จ�ำกัด หรือบีไอจี ผูน้ ำ� นวัตกรรม ก๊ า ซอุ ต สาหกรรมครบวงจรของ ประเทศไทยมากว่า 30 ปี กล่าวว่า ได้นำ� คณะสือ่ มวลชนเยีย่ มชมโรงแยก อากาศแห่งที่ 3 หรือ Integrated Industrial Gas Complex ซึ่งเป็น คอมเพล็กซ์กา๊ ซอุตสาหกรรม ตัง้ อยู่ ปิยบุตร จารุเพ็ญ ในนิคมอุตสาหกรรมเหมราชชลบุรี จังหวัดชลบุรี เป็นโรงแยกอากาศที่ ด�ำเนินงานด้วยเทคโนโลยี และมาตรฐานความปลอดภัยสูงสุดระดับ โลกจากบริษทั แม่ - แอร์โปรดักส์ แอนด์ เคมิคลั ส์ อิงค์ (AP) ประเทศ สหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นบริษัทชั้นน�ำในกลุ่มฟอร์จูน 500 และได้รับ คัดเลือกในกลุม่ ดัชนีความยัง่ ยืนดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Indices : DJSI) ติดต่อกัน 9 ปี ทัง้ นีด้ ว้ ยความเป็นผูน้ ำ� นวัตกรรมก๊าซอุตสาหกรรมครบวงจร ของไทยมากว่า 30 ปี บริษัทฯ มีความพร้อมทั้งทางด้านเทคโนโลยี การผลิตและบริการที่ครบวงจร ส�ำหรับต่อยอดโอกาสในการลงทุน รองรั บ การเติ บ โตของภาคการผลิ ต และสถานประกอบการใน โครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และส่งเสริมการใช้ พลังงานทดแทนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สอดรับกับนโยบาย ไทยแลนด์ 4.0
ปั จ จุ บั น โรงแยกอากาศแห่ ง นี้ มี ข นาดก� ำ ลั ง การผลิ ต ก๊ า ซ อุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และมีส่วนส�ำคัญต่อการ ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศด้วยก�ำลังการผลิต กว่า 1,400 ตันต่อวัน หรือ 530,000 ตันต่อปี “ก๊าซอุตสาหกรรม ถือเป็นหัวใจหลักต่อภาคอุตสาหกรรมที่ จะพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อช่วยเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขัน และยังมีแนวโน้มการเติบโตตามการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะในโครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ซึ่ง โรงงานส่วนใหญ่จ�ำเป็นต้องใช้ก๊าซอุตสาหกรรมในการผลิตเพื่อ สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ทีส่ ามารถเพิม่ มูลค่า เป็นไปตามแนวทาง ของรัฐบาลทีม่ งุ่ ยกระดับสินค้าไทย ทัง้ ในด้านการสร้างความแตกต่าง และการสร้างคุณค่าให้กับผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม” ปิยบุตร กล่าว ปัจจุบนั บริษทั ฯ มีกำ� ลังการผลิตก๊าซอุตสาหกรรมรวมทัง้ สิน้ 1.5 ล้านตันต่อปี มีโรงแยกอากาศตัง้ อยูใ่ นโครงการเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (EEC) ใน 2 จังหวัด คือ จังหวัดชลบุรี และระยอง ส�ำหรับโรงแยกอากาศแห่งที่ 3 (BIG 3) เปิดด�ำเนินการในเชิงพาณิชย์ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2541 และมีการขยายก�ำลังการผลิตไนโตรเจนเพิม่ ขึน้ ในส่วนต่อขยายอีกจ�ำนวน 150,000 ตันต่อปี ในปี พ.ศ. 2558 ทีผ่ า่ นมา ท�ำให้เป็นโรงแยกอากาศทีม่ กี ำ� ลังการผลิตสูงทีส่ ดุ ในประเทศไทย November-December 2018
Industry News
CPT ปรับทัพผู้บริหาร ขับเคลื่อนธุรกิจ สานต่อความส�ำเร็จระยะยาว ซีพีที ไดร์ แอนด์ เพาเวอร์ หรือ CPT ผู้ให้บริการระบบ ไฟฟ้าก�ำลังส�ำหรับควบคุมการท�ำงานของเครื่องจักร เพื่อเพิ่มขีด ความสามารถเชิงการแข่งขันแก่ทุกภาคอุตสาหกรรม ครอบคลุมถึง การจ�ำหน่ายอุปกรณ์ตา่ งๆ มอเตอร์ขนาดใหญ่และระบบควบคุมไฟฟ้ำ ทีใ่ ช้ในโรงงานอุตสาหกรรม รวมถึงให้บริการติดตัง้ และก่อสร้างสถานี ไฟฟ้าย่อย (ซึ่งแตกต่างจากผู้ผลิตตู้ไฟฟ้ารายอื่น) ประกาศแต่งตั้ง 2 ผู้บริหารใหม่ นพดล วิเชียรเกื้อ ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการ และ มนต์ชยั ธัญธเนส ด�ำรงต�ำแหน่งรองกรรมการผูจ้ ดั การ (ฝ่ายขาย และวิศวกรรม) โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 31 สิงหาคม 2561 ที่ผ่านมำ สมศักดิ์ หลิมประเสริฐ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั ซีพที ี ไดร์ แอนด์ เพาเวอร์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ CPT ผู้ให้บริการระบบ ไฟฟ้าก�ำลังส�ำหรับควบคุมการท�ำงานของเครือ่ งจักร เพือ่ เพิม่ ขีดความ สามารถเชิงการแข่งขันแก่ภาคอุตสาหกรรม ครอบคลุมถึงการจ�ำหน่าย อุปกรณ์และระบบควบคุมไฟฟ้าที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม รวมถึง ให้บริการติดตั้งและก่อสร้างสถานีไฟฟ้าย่อย กล่าวว่า ส�ำหรับการ แต่งตัง้ ทัง้ 2 ท่านเข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งทีส่ ำ� คัญในครัง้ นี้ เป็นการปรับทัพ เพือ่ ช่วยสานต่อความส�ำเร็จของ CPT ในฐานะการเป็นผูน้ ำ� ผูใ้ ห้บริการ ระบบไฟฟ้าก�ำลังส�ำหรับควบคุมการท�ำงานของเครื่องจักรเพื่อเพิ่ม
ความสามารถเชิงการแข่งขันให้กับภาคอุตสาหกรรมของประเทศ เนือ่ งจากผูบ้ ริหารทัง้ 2 ท่านมีประสบการณ์การท�ำงานร่วมกับบริษทั ฯ มาอย่างยาวนานตัง้ แต่เริม่ ก่อตัง้ บริษทั ฯ และมีความเข้าใจในกลยุทธ์ การด�ำเนินธุรกิจ ทั้งด้านการตลาดและมีความเชี่ยวชาญทางด้าน วิศวกรรมในการผลักดันการเติบโตอย่างยั่นยืนให้แก่ CPT ได้ต่อไป นอกจากนี้ ผูบ้ ริหารทัง้ 2 ท่านยังมีความเข้าใจถึงความต้องการ ของลูกค้า และสามารถน�ำความรู้ ประสบการณ์ในการน�ำเสนอสินค้ำ และบริการ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี ในกลุ่มลูกค้าทุกอุตสาหกรรมที่ใช้ระบบไฟฟ้าก�ำลังส�ำหรับควบคุม การท�ำงานของเครื่องจักร และกลุ่มงานก่อสร้างสถานีไฟฟ้าย่อยที่มี การเติบโตสูง รวมถึงมีเป้าหมายการท�ำตลาดเพือ่ รักษาฐานลูกค้าเดิม ในกลุ่มลูกค้าโรงงานน�้ำตาล ที่ปัจจุบันอยู่ระหว่างการด�ำเนินการ ปรับปรุงเครื่องจักร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเปิดหีบผลผลิตอ้อย รอบใหม่ทจี่ ะเริม่ ในช่วงปลายปีนี้ และครอบคลุมไปถึงการขยายฐาน ลูกค้าไปสู่กลุ่มอุตสาหกรรมประเภทอื่นๆ เพิ่มเติมด้วย โดยเชื่อมั่น ว่าด้วยศักยภาพการด�ำเนินธุรกิจของ CPT จะสามารถน�ำเสนอสินค้ำ และบริการที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น
ABB, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang to Promote Robotics Education Adopting technological innovation into the educational process with a vision to transfer new knowledge into the industry ABB in Thailand and King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang (KMITL) have inked an agreement to foster closer cooperation and put in place a framework that facilitates research and development for industrial robots with the purpose of enhancing education for the next generation of engineers. The growing adoption of robots in all walks of manufacturing is creating increased demand for workers with skills in programing and operating robots, and many new career paths. The Memorandum of Understanding (MoU), was signed by Mr.Sirichote Singsa, Vice President of ABB in Thailand November-December 2018
and Associate Professor Dr.Komsan Maleesee, Dean, Faculty of Engineering, KMITL, to formalize the mutual interaction and strengthen the existing cooperation between the two entities, focusing on sharing of information and development of engineering education to build a skilled workforce. “I’m pleased to see this MoU in place to create synergy between KMITL and ABB; cooperation in educational resources development as well as transfer of knowledge and technology in development of the industrial robots in various industries. This is in line with the Thailand 4.0 policy that is targeting innovation as a means of development.” said Mr.Sirichote. “The collaboration with ABB is a significant milestone for KMITL, especially in the area of nurturing students with knowledge of industrial robotics to equip them with the necessary skills to be well-placed in Thailand’s changing and growing industrial landscape.” said from Associate Professor Dr.Komsan Maleesee.
ELECTRICITY & INDUSTRY magazine ปี 2561
ข้าพเจ้า ชื่อ ............................................................................................. สกุล ......................................................................................................... ตำ�แหน่ง .................................................................................... บริษัท/ห้าง/ร้าน ...................................................................................... ที่อยู่ (ที่ทำ�งาน) ......................................................................... แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด .................................................... รหัสไปรษณีย์ ......................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... ที่อยู่ (ที่บ้าน) ............................................................................. แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ .......................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... รหัสสมาชิก ...............................................................................
ประสงค์จะบอกรับนิตยสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” 1 ปี 6 ฉบับ 480 บาท 2 ปี 12 ฉบับ 960 บาท สมาชิกต่ออายุ 2 ปี 12 ฉบับ 800 บาท ตั้งแต่ฉบับที่ ............. เดือน .................................... ปี ..................... โดยส่งนิตยสารไปที่ ที่บ้าน ที่ทำ�งาน พร้อมกันนี้ได้ส่งค่าสมาชิกเป็นจำ�นวนเงิน ................................ บาท (ตัวอักษร .........................................................................................) เช็คธนาคาร ................................................................................ สาขา ................................................................................................. เช็คคร่อมสั่งจ่าย “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด”
ธนาณัติ สั่งจ่ายในนาม “คุณวาสนา แซ่อึ้ง” ที่ทำ�การไปรษณีย์โทรเลขบางกอกน้อย โอนเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด” ชื่อธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี กรุงเทพ สะพานพระปิ่นเกล้า 162-0-74737-6 กสิกรไทย บางยี่ขัน 047-2-56333-5 ทหารไทย จรัญสนิทวงศ์ 020-2-27244-9 ไทยพาณิชย์ จรัญสนิทวงศ์ ซ.48 121-2-04080-0 หมายเหตุ กรุณาส่งแฟกซ์ หรือสำ�เนาใบเข้าบัญชี (Pay-in Slip) มาให้ บริษัทฯ พร้อมเขียนชื่อ-นามสกุล และรหัสสมาชิก (ถ้ามี) กำ�กับมาด้วย
บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธย� แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. +66 (0)26 444 555, +66 (0)23 545 333 ต่อ 301 โทรสาร +66 (0)26 446 649, +66 (0)23 545 322
หากผู้อ่านท่านใดสนใจรายละเอียดต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสาร ปที่ 25 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561 |
6
ELECTRICITY & INDUSTRY MAGAZINE การพัฒนาปมสุญญากาศ แบบสปตเตอรไอออน
การพยากรณอากาศที่เแมนยำ
เหลาผูผลิตจะมุงสูอนาคตใหเร็วขึ้นไดอยางไร
ยุคของโรงงานอัจฉริยะ
ฮีมา… นำขอมูลเชิงลึกและองคความรู เรื่อง “เซฟเคียวริตี้” (Safecurity) สูภูมิภาคเอเชีย
การนำเอาอินเวอรเตอร Inverter) มาประยุกตใชงานกับมอเตอร (Motor)
ปรับโฉมคนทำงาน ดวยความสามารถ
GSS ultrafast CO2 sensor used to upgrade
การบริการลูกคาจะเปนอยางไร เมื่อเขาสูดิจิทัล ทรานสฟอรเมชั่น
ปที่ 25 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน - ธันวาคม 2561
ดานการเชื่อมตอ และระบบอัจฉริยะในยุคดิจิทัล Conference
19th-23rd March 2019
พลาดไมได!
ปีที่ 25 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2561
จากโซลูชันประมวลผลสมรรถนะสูง
(Sputter Ion Pump)
CO2 Meter's datalogger for quicker results
Exposition
21st-23rd March 2019
at Bangkok International Trade & Exhibition Centre (BITEC) Bangkok, Thailand
งานเดียวที่รวมทั้ง Power Generation, Transmission and Distribution และ Renewable Energy ไวดวยกัน
BIG SHIFT
IN POWER & ENERGY
จัดยิ�งใหญ ครั้งแรกในเอเชีย และครั้งแรก ในประเทศไทย
เตร�ยมพบกับงานประชุมว�ชาการและนิทรรศการระดับนานาชาติ
IEEE PES GTD Grand International Conference and Exposition Asia 2019
กรุณากรอกข้อมูลดังกล่าวให้ครบถ้วนเพือ่ การติดต่อจัดส่งข้อมูลกลับไปยังท่านต่อไป ชื่อ .............................................................................................. สกุล ............................................................................................................. ที่อยู่ ........................................................................................... แขวง/ตำ�บล ................................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................. จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ .............................. โทร ............................................................................................. แฟกซ์ ...........................................................................................................
ประเภทของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง อุตสาหกรรมเคมี/ปิโตรเคมี
ตำ�แหน่งงานที่ท่านรับผิดชอบ
กรรมการผู้จัดการ/เจ้าของกิจการ ผจก.โรงงาน ผจก.ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ผจก.วิศวกรรม ผจก.ฝ่ายซ่อมบำ�รุง วิศวกรฝ่ายผลิต วิศวกรทดสอบ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................
อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมงานเชื่อม อุตสาหกรรมโลหการ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................
ประเภทของกิจการ
ผู้ผลิต
ผู้แทนจำ�หน่าย
ผู้ผลิต/ผู้แทนจำ�หน่าย
หน่วยงานราชการ
ใบอนุญาตเลขที่ ปน. (ต)/1339 ปณจ.บางกอกน้อย ถ้าฝากส่งในประเทศไม่ต้องผนึกตราไปรษณียากร
บริการธุรกิจตอบรับ
บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 619/5 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงอรุณอัมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700
ประโยชน์ทท่ี า่ นจะได้รบั จากนิตยสาร เนื้อหา .................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ โฆษณา/รายละเอียดผลิตภัณฑ์ .............................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................
ความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ คอลัมน์ตา่ งๆ ทีป่ รากฏในนิตยสาร ชื่อคอลัมน์ สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย IEEE Power & Energy Society Thailand Chapter สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย Article Special Scoop Special Area IT Technology Product PR News Seminar Movement Industry News IT News
มีประโยชน์มาก
มีประโยชน์
พอใช้
ควรปรับปรุง
ดัชนีสินค้าประจำ�เดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม พ.ศ. 2561 บริษัท
โทรศัพท์
โทรสาร
0-2665-1000
0-2324-0502
อุปกรณ์ไฟฟ้า
BANGKOK CABLE CO., LTD.
0-2651-9221-9
0-2253-5973
เคเบิ้ล
LSIS
083-149-9994
-
ผู้น�ำด้านระบบสั่งจ่ายและระบบจ�ำหน่าย ไฟฟ้าครบวงจร
ปกหน้าใน
INTERMACH 2019
0-2036-0500
-
งานแสดงสินค้า
ปกหลังใน
MAXIMIZE INTEGRATED TECHNOLOGY CO., LTD.
0-2525-0299
0-2525-0298
Industrial Relays
4
MENNEKES Elektrotechnik GmbH & Co. KG
0-2741-5266
0-2741-5267
ผู้ผลิตปลั๊กอุตสาหกรรม
15
0-3884-7571-3
0-3884-7575
จ�ำหน่าย ติดตั้งคาปาซิเตอร์
7
THAILAND INDUSTRIAL FAIR 2019
0-2838-9999
0-2760-8880
งานแสดงสินค้า
8
เชลล์แห่งประเทศไทย บจก.
0-2262-6000
0-2657-9888
น�้ำมันหล่อลื่น
3
ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) บจก.
0-2002-4395-97
0-2002-4398
อุปกรณ์ไฟฟ้า
25
เพาเวอร์ เรด บจก.
0-2300-5671-3
0-2300-5937
อุปกรณ์ไฟฟ้า
11
มหาธน อีเลคทริค หจก.
0-2894-3447-9
0-2416-1659
อุปกรณ์ไฟฟ้า
16
ลีฟเพาเวอร์ บจก.
0-2300-5671-3
0-2300-5937
อุปกรณ์ไฟฟ้า
13
0-3368-4333
-
สวิตช์เกียร์
5
0-2876-2727-8
0-2476-1711
Couplings
22
ออมรอน อิเลคทรอนิคส์ บจก.
0-2942-6700
0-2937-0501
อุปกรณ์ไฟฟ้าและระบบควบคุมอัตโนมัติ
9
อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.
0-2693-1222
0-2693-1399
สาย LAN
23
เอวีร่า บจก.
0-2681-5050
0-2681-5995
อุปกรณ์ไฟฟ้า
21
0-2702-0581-8
0-2377-5937
ติดตั้ง EOCR อิเล็กทรอนิกส์ โอเวอร์โหลดรีเลย์ ป้องกันมอเตอร์ไหม้
14
0-2434-0099
0-2434-3251
อุปกรณ์ไฟฟ้า
19
0-2985-2081-9
0-2985-2091
หม้อแปลงไฟฟ้าและตัวเหนี่ยวน�ำไฟฟ้า ทุกชนิด
6
ABB CO., LTD.
SAMWHA (THAILAND) CO., LTD.
ลูซี่ อิเล็คทริค (ประเทศไทย) บจก. เวอร์ทัส บจก.
เอส เอ วี เมคคานิคคอล เซอร์วิสส์ แอนด์ ซัพพลายส์ หจก. เอส.พี.วาย แอนด์ เคเบิ้ล บจก. เอสเทล บจก.
November-December 2018
ประเภทสินค้า
หน้า ปกหลังนอก 17