Electricity & Industry Magazine Issue January - February 2020

Page 1



WORKS HERE.

SHELL TURBO OILS – FOR ENHANCED PROTECTION, EXTENDED OIL LIFE, AND EXCELLENT SYSTEM EFFICIENCY.

www.shell.com/lubricants



Mennekes_21.59x29.21cm_Cre.pdf

1

3/30/17

3:05 PM



Samwa_21.59x29.21cm.pdf

1

3/28/17

11:02 AM







สายสัญญาณ มาตรฐานอเมริกา

ครบเครื่อง เรื่องสายสัญญาณ

www.interlink.co.th Tel 02 666 1111 (100 lines)


CONTENTS JANUARY-FEBRUARY

18

ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบาย เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.)

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

2020

19 IEEE POWER & ENERGY SOCIETY THAILAND (IEEE PES-THAILAND) 22 24 26 28 29

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

ARTICLE 31 ยานยนต์ไฟฟ้า (EV) และระบบไฟฟ้า ท�ำงานด้วยกัน

อย่างไร Jairo Quiros-Tortos, Luis (Nando) Ochoa, and Timothy Butler - IEEE Power & Energy Society 35 การคาดการณ์ 7 แนวโน้มด้านซัพพลายเชน : มองไปข้างหน้ากับวิสัยทัศน์ของปี 2563 ฟาบิโอ ทิวิติ รองประธานบริษัท อินฟอร์ อาเชียน 39 10 ข่าววิทยาศาสตร์แห่งปี 2562 ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 42 การน�ำเทคโนโลยีหุ่นยนต์มาใช้เพื่อกระตุ้น ความก้าวหน้าในอุตสาหกรรมระบบอัตโนมัติ ของประเทศไทย ดาร์เรลล์ อดัมส์ หัวหน้าส่วนงาน ยูนิเวอร์ซัล โรบอตส์ ประจ�ำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และโอเชียเนีย COVER STORY 44 Energy Meter GIMAC-B Metasol Meta Solution

LSIS Bangkok

INTERVIEW 48 “Shaping SUEZ 2030”

เพื่อโอกาสและความท้าทายในทศวรรษหน้า กองบรรณาธิการ

SCOOP 52 “ทีมชาติแผ่นดินไหว” ส�ำรวจรอยเลื่อนและท�ำแผนที่

เสี่ยงภัยรายจังหวัด กองบรรณาธิการ

January-February 2020

54 กระทรวงพลังงาน เดินหน้าขับเคลือ ่ นโรงไฟฟ้าชุมชน

เต็มก�ำลัง กองบรรณาธิการ

SPECIAL SCOOP 56 “พระราม 4 โมเดล” บิก๊ ดาต้ากับการแก้ปญ ั หาจราจร

ในกรุงเทพฯ กองบรรณาธิการ

SPECIAL AREA 60 KEMPERbeats takes welding fume extraction

to a new level KEMPER GmbH 62 จาก Preventive สู่ Predictive Maintenance บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส์ จ�ำกัด 64 ที่สุดแห่งเทคโนโลยีของสวิตช์นาฬิกา บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด 66 ENERGY STORAGE SYSTEM บริษัท ไอทีแอล เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ โซลูชั่น จ�ำกัด IT ARTICLE 70 เทคโนโลยีกับงานด้านทรัพยากรมนุษย์

Alight Solutions

72 PRODUCT 74 PR NEWS 77 MOVEMENT 80 SEMINAR 82 INDUSTRY NEWS


ENDORSED BY:

CO-HOSTS:

1 2 – 1 4 F E B R U A RY 2 0 2 0 | B I T E C , B A N G K O K , T H A I L A N D

D O B U S I N E S S W I T H A S I A’ S L E A D I N G G A S , L N G , O I L & E N E RGY CO M PA N I E S PTT Light Blue C100

PTT Dark Blue C100 M100 BL40

PTT Red M100 Y100

FUTURE ENERGY ASIA 2020 IS THE REGION’S MEETING POINT FOR: POLICY MAKERS TO MEET TO DISCUSS FUTURE ENERGY SCENARIOS ENERGY COMPANIES TO DEVELOP NEW PARTNERSHIPS & BE PART OF THE FUTURE ENERGY MIX TECHNOLOGY PROVIDERS TO SHOWCASE INNOVATIVE PRODUCTS, SERVICES & SOLUTIONS

WHY EXHIBIT? MEET WITH KEY INDUSTRY BUYERS

EXHIBITING COMPANIES

BUILD NEW BUSINESS RELATIONSHIPS

Stand out from competitors, showcase products and services whilst strengthening your company profile and brand across the exhibition floor, attracting 8,000+ attending trade professionals GENERATE NEW SALES LEAD

Demonstrate your business strengths, innovations and expertise thereby positioning your brand as a key industry affiliate

Gain direct access to the primary stakeholders involved in detailing the regions upcoming project plans, budget allocations, timelines, technical challenges and the opportunities for your business to win contracts

NETWORK WITH 7000+ ATTENDEES FROM ACROSS THE WORLD North America

Europe

Middle East

Asia

5% 2%

TRADE ATTENDEES

7,000+ REPRESENTING COUNTRIES

GAIN ENTRY INTO NEW MARKETS

Meet face to face in an exclusive ‘buyer meets seller’ mix of your target audience of NOCs, IOCs, EPCs and OEMs to generate new sales leads for your business

250+

5%

87%

1% ORGANISED BY

Australia

BOOK YOUR STAND TODAY EMAIL: FEA.SALES@DMGEVENTS.COM

ALTERNATIVELY, PLEASE CONTACT US AT +66 2 5590603-4 (EXPOSIS)

50+ SPEAKERS

300+ CONFERENCE DELEGATES

1,000+


EDITOR TALK

JANUARY-FEBRUARY

2020

สวัสดีปีใหม่ 2563 กองบรรณาธิการ Electricity & Industry Magazine ขอสวัสดีปีใหม่ทุกๆ ท่านมา ณ โอกาสนี้...ปี 2562 ที่ผ่านมาเป็นอีกปีหนึ่งที่ทั่วโลก ต่างประสบปัญหาหนักหนากันพอสมควร ปัญหาไฟป่าทีป่ ระเทศออสเตรเลียทีเ่ กิดกระจายเกือบจะทัว่ ทัง้ ทวีป สร้างผลกระทบต่อทัง้ สิง่ มีชวี ติ มนุษย์ สัตว์ป่า และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ รวมทั้งสภาพแวดล้อมที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง จากนี้ก็ต้องใช้เวลาเพื่อการฟื้นฟูทั้งสภาพจิตใจและสภาพแวดล้อม ขอส่งก�ำลังใจไปถึงชาวออสเตรเลียและผูท้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบทุกท่านมา ณ โอกาสนีด้ ว้ ย นอกจากนัน้ ความขัดแย้งของสหรัฐอเมริกากับประเทศในแถบ ตะวันออกกลางก็สง่ ผลต่อเศรษฐกิจไปทัว่ โลก ความขัดแย้งด้านการค้าระหว่างเกาหลีใต้กบั ญีป่ นุ่ ก็ถกู จับตามองจากทัว่ โลกเช่นกัน เพราะทัง้ 2 ประเทศ ถือว่าเป็นประเทศที่มีบทบาทต่อระบบเศรษฐกิจโลกไม่น้อย ก็ต้องติดตามกันต่อไป Electricity & Industry Magazine ฉบับนีก้ ย็ งั คงเนือ้ หาเรือ่ งราวทีน่ า่ สนใจไว้มากมายเช่นเดิม บทความเรือ่ ง ยานยนต์ไฟฟ้า (EV) และระบบ ไฟฟ้าท�ำงานด้วยกันอย่างไร โดย Jairo Quiros-Tortos, Luis (Nando) Ochoa, and Timothy Butler - IEEE Power & Energy Society เป็นตอน ต่อเนื่องจากฉบับที่แล้ว เป็นบทความที่จะให้ความกระจ่างเกี่ยวกับยานยนต์ไฟฟ้าที่ก�ำลังอยู่ในความสนใจจากทั่วโลก ส่วนบทความเรื่อง การคาดการณ์ 7 แนวโน้มด้านซัพพลายเชน : มองไปข้างหน้ากับวิสัยทัศน์ของปี 2563 จาก ฟาบิโอ ทิวิติ รองประธานบริษัท อินฟอร์ อาเชียน นั้นก็เพื่อเป็นแนวทางในการปรับตัวขององค์กรเพื่อเข้าสู่ปี 2563 อย่างแข็งแกร่งต่อไป เป็นประจ�ำทุกปีที่ สวทช. ร่วมกับ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จะได้ประกาศการส�ำรวจความคิดเห็นออนไลน์ของบุคลากร ประกอบด้วย นักวิจยั อาจารย์ และผูเ้ กีย่ วข้องอืน่ ๆ เกีย่ วกับการค้นพบครัง้ ส�ำคัญทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมระดับโลก ทีเ่ กิดขึน้ ในปี พ.ศ. 2562 ซึง่ ได้รวบรวมมาทัง้ หมด 10 ข่าว ซึง่ ล้วนน่าสนใจเป็นอย่างยิง่ อาทิ การเผยแพร่ภาพถ่ายแรกสุดของหลุมด�ำ ข่าวการรักษาเอดส์ ให้หายขาดได้ ข่าวความคืบหน้าสู่ Quantum Supremacy ข่าวเกีย่ วกับโลกทีก่ ำ� ลังร้อนจนละลาย รวมทัง้ ข่าวการส�ำรวจวัตถุทไี่ กลทีส่ ดุ ทีเ่ คย ท�ำได้ ผู้สนใจสามารถหาอ่านได้ในฉบับนี้ ส่วนบทความเรือ่ ง การน�ำเทคโนโลยีหนุ่ ยนต์มาใช้เพือ่ กระตุน้ ความก้าวหน้าในอุตสาหกรรมระบบอัตโนมัตขิ องประเทศไทย เรียบเรียง โดย ดาร์เรลล์ อดัมส์ หัวหน้าส่วนงานยูนิเวอร์ซัล โรบอตส์ ประจ�ำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และโอเชียเนีย กล่าวถึงการใช้เทคโนโลยีหุ่นยนต์ เพื่อยกระดับประสิทธิภาพของภาคอุตสาหกรรม โดยนวัตกรรมสมัยใหม่ก่อให้เกิดการพัฒนาหุ่นยนต์ให้สามารถท�ำงานร่วมกับมนุษย์ในโรงงาน อุตสาหกรรมได้อย่างง่ายดายและใช้เงินลงทุนน้อยกว่าหุ่นยนต์ขนาดใหญ่ คอลัมน์ Cover Story เป็นการแนะน�ำ Metasol Energy Measuring Meter รุ่น GIMAC-B ซึ่งเป็นมิเตอร์ที่สามารถวัดค่าการใช้พลังงาน ในระบบไฟฟ้าทัง้ 1 เฟส และ 3 เฟส ตามอาคารทีอ่ ยูอ่ าศัย อาคารส�ำนักงาน และโรงงานอุตสาหกรรม ของบริษทั LSIS Bangkok ส่วน Interview จะแนะน�ำให้รจู้ กั กับบริษทั SUEZ ซึง่ ได้ประกาศแผนยุทธศาสตร์ “Shaping SUEZ 2030” เพือ่ โอกาสและความท้าทายในทศวรรษหน้า สามารถ ติดตามได้ในฉบับเช่นกัน กองบรรณาธิการหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าทุกท่านจะได้รบั ความรูแ้ ละประโยชน์จากเนือ้ หาบทความต่างๆ ทีท่ างกองบรรณาธิการได้คดั สรรมา และ หวังว่าจะได้รับการสนับสนุนที่ดีเช่นเดิม พบกันใหม่ฉบับหน้า กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

ที่ปรึกษา : รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ์ / ไกรสีห์ กรรณสูต / พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ์ / ประเจิด สุขแก้ว / ผศ.พิชิต ล�ำยอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องค์วงศ์สกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร / ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม / รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ : ดร.สุรพล ด�ำรงกิตติกุล ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นิภา กลิ่นโกสุม กองบรรณาธิการ : ธิดาวดี บุญสุยา / นริศรา อ่อนเรียน / ณัฐชยา แก่นจันทร์ พิสูจน์อักษร : อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรมรูปเล่ม / ศิลปกรรมโฆษณา : ชุติภา จริตพันธ์ / ศศิธร มไหสวริยะ ฝ่ายโฆษณา : ศิริภรณ์ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภิรมณ์ / วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายโฆษณา : ชุติมันต์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก : ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์

January-February 2020

บทความที่ปรากฏใน ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine เป็นความคิดเห็น ส่ ว นตั ว ของผู ้ เขี ย น ไม่ มี ส ่ ว นผู ก พั น กั บ บริ ษั ท เทคโนโลยี มี เ ดี ย จ� ำ กั ด แต่ อ ย่ า งใด หากบทความใดที่ผู้อ่านเห็นว่ามีการลอกเลียนหรือแอบอ้าง กรุณาแจ้งที่กองบรรณาธิการ ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine บทความต่ า งๆ ที่ ป รากฏในหนั ง สื อ ได้ ผ ่ า นการตรวจทานอย่ า งถี่ ถ ้ ว นเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแก้ไขต่อไป เจ้าของ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 http:// www.technologymedia.co.th เพลท-แยกสี : บริษัท อิมเมจิ้น กราฟิค จ�ำกัด พิมพ์ที่ : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด รุ่งเรืองการพิมพ์


T&D Power Tech_1-2563.pdf 1 20/1/2563 16:44:21


สํานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (สกพอ.) เอกชนผู้ยื่นข้อเสนอที่ผ่านการประเมินข้อเสนอซองที่ 2 เข้าร่วมการเปิดเอกสารข้อเสนอซองที่ 3 (ข้อเสนอด้านราคา)

โครงการพัฒนาสนามบินอู่ตะเภา และเมืองการบินตะวันออก เป็นไปด้วยความเรียบร้อย EEC เปิดประวัติศาสตร์ลงทุน โครงสร้างพื้นฐานของประเทศ

เดินหน้าเซ็นสัญญารถไฟ ความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธีลงนามสัญญาร่วมลงทุนโครงการรถไฟ ความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน (ดอนเมือง - สุวรรณภูมิ อู่ตะเภา) ระหว่างการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) โดย วรวุฒิ มาลา รองผูว้ า่ การกลุม่ ธุรกิจการบริหารทรัพย์สนิ รักษาการในต�ำแหน่งผูว้ า่ การการรถไฟแห่งประเทศไทย และบริษทั รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกเชือ่ มสามสนามบิน จ�ำกัด (กลุม่ กิจการร่วมค้า บริษทั เจริญโภคภัณฑ์โฮลดิง้ จ�ำกัด และพันธมิตร) โดย ศุภชัย เจียรวนนท์ ประธานคณะผูบ้ ริหาร เครือเจริญโภคภัณฑ์ และพิธีลงนามบันทึกความเข้าใจ เพื่อสนับสนุนโครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน ร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (สกพอ.) โดย คณิศ แสงสุพรรณ เลขาธิการ สกพอ. ณ ตึกสันติไมตรี ท�ำเนียบรัฐบาล เมื่อเร็วๆ นี้ การลงนามสัญญาฯ ครั้งนี้ จะเป็นก้าวส�ำคัญของ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทย ภายใต้การ ก�ำกับดูแลอย่างรัดกุมของคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก และนับเป็นครั้งแรกของรัฐบาลที่ได้ ผลักดันโครงการรถไฟความเร็วสูงในรูปแบบร่วมทุนระหว่าง ภาครัฐและเอกชน (PPP) ทีม่ มี ลู ค่าสูงถึง 224,544 ล้านบาท โดยทีป่ ระเทศไทยจะได้ประโยชน์สงู สุดจากข้อตกลงสัญญา สัมปทานร่วมลงทุน 50 ปี อีกทั้งทรัพย์สินทั้งหมดจะเป็น กรรมสิทธิ์ของรัฐเมื่อสิ้นสุดสัญญา

พลเรือเอก ลือชัย รุดดิษฐ์ ผู้บัญชาการทหารเรือและ ประธานคณะกรรมการคัดเลือกเอกชนร่วมลงทุน โครงการพัฒนา สนามบินอูต่ ะเภาและเมืองการบินภาคตะวันออก แถลงความคืบหน้า การด�ำเนินการพิจารณาข้อเสนอซองที่ 2 (ข้อเสนด้านเทคนิค) ในการประชุมคณะกรรมการคัดเลือก ครั้งที่ 15/2562 ในวันนี้ว่า คณะกรรมการคัดเลือกนอกจากจะต้องมีความรอบคอบ โปร่งใส ตรวจสอบได้ และให้ความยุติธรรมแก่ผู้ยื่นข้อเสนอทุกรายแล้ว ในการด� ำ เนิ น การที่ ผ ่ า นมา คณะกรรมการคั ด เลื อ กเคารพต่ อ ค�ำพิพากษาของศาลปกครองกลางและด�ำเนินการตามเอกสาร การคัดเลือกเอกชนโดยเคร่งครัด ตลอดจนการค�ำนึงถึงการด�ำเนินการ ของเอกชนผูย้ นื่ ข้อเสนอทีไ่ ด้ใช้สทิ ธิทางกระบวนการยุตธิ รรมในขัน้ อุทธรณ์ อย่างไรก็ตาม การด�ำเนินโครงการฯ มีการก�ำหนดระยะเวลา แผนงานที่คณะกรรมการคัดเลือกได้ตระหนักถึงความส�ำคัญและ ความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องให้การด�ำเนินการเป็นไปตามแผนงานโครงการฯ เนือ่ งจากอาจส่งผลกระทบต่อการใช้ประโยชน์ การให้บริการสาธารณะ และการขับเคลื่อนโอกาสการพัฒนาด้านเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การสร้างความแข็งแกร่งในการแข่งขันและความ เชื่อมั่นในการลงทุนของภาคธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม และโครงการ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นในการประชุมครั้งนี้ได้มีการประชุมพิจารณาผลสรุป การประเมินเอกสารข้อเสนอซองที่ 2 (ข้อเสนอด้านเทคนิค) ซึ่งมี ความก้าวหน้าเป็นล�ำดับ พร้อมทัง้ พิจารณาแนวทางการด�ำเนินการ ตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับกรณีการอุทธรณ์และค�ำขอ คุ้มครองชั่วคราวจากศาลปกครองสูงสุดของเอกชนผู้ฟ้องคดี ทั้งนี้ คาดว่าการด�ำเนินการยังเป็นไปตามก�ำหนดระยะเวลาโครงการฯ

งาน PwC Thailand Symposium 2019

นฤตม์ เทอดสถีรศักดิ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน (บีโอไอ) ได้รบั เชิญให้บรรยายเรือ่ งนโยบายส่งเสริมการลงทุน และสิทธิประโยชน์ลา่ สุด ในงาน “PwC Thailand Symposium 2019” ซึง่ เป็นงานสัมมนาประจ�ำปีของส�ำนักงานไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คเู ปอร์ส ประเทศไทย ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ เมื่อเร็วๆ นี้ January-February 2020


โรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานราก สมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์แห่งประเทศไทย (IEEE Thailand Section) และ IEEE Power & Energy Society – Thailand Section ร่วมกับ สถาบันวิจยั และพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้จดั สัมมนา เชิงวิชาการเรือ่ ง “โรงไฟฟ้าชุมชนเพือ่ เศรษฐกิจฐานราก : นโยบาย ข้อก�ำหนด การออกแบบ ติดตัง้ ควบคุมและบ�ำรุงรักษา” เมื่อวันที่ 13-15 มกราคม 2563 ณ โรงแรมอโนมา แกรนด์ กรุงเทพฯ การสัมมนาครั้งนี้ได้รับเกียรติจากคุณพรเทพ ธัญญพงศ์ชัย ที่ปรึกษา IEEE Power & Energy Society – Thailand Section มาเป็นประธานกล่าวเปิดงาน การสัมมนาครัง้ นีจ้ ะเป็นประโยชน์อย่างยิง่ ต่อการพัฒนาพลังงานทดแทน เพือ่ น�ำไปสูก่ าร พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยอย่างยั่งยืน

January-February 2020




สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

กฟผ. คว้า 3 รางวัล จากเวที

SOE Award 2019 สะท้อนความมุ่งมั่น ในการขับเคลื่อนองค์กร สู่ความเป็นเลิศ

นายกรัฐมนตรี มอบ 3 รางวัล ให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) มุง่ ด�ำเนินกิจการสมความเป็นรัฐวิสาหกิจดีเด่น ประจ�ำปี 2562 (SOE Award 2019) ได้แก่ รางวัลการบริหารจัดการ องค์กรดีเด่น ประเภทเกียรติยศ ซึ่งได้รับ 2 ปีซ้อน รางวัลความคิด สร้างสรรค์และนวัตกรรมดีเด่น ด้านนวัตกรรม และรางวัลการพัฒนา สูร่ ฐั วิสาหกิจดิจทิ ลั ประเภทเชิดชูเกียรติ สะท้อนความมุง่ มัน่ ในการ รักษามาตรฐานการด�ำเนินงาน และพัฒนาองค์การด้วยนวัตกรรม รับยุคดิจิทัล ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการนโยบายรั ฐ วิ ส าหกิ จ (สคร.) กระทรวงการคลัง จัดงานมอบรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่น ประจ�ำปี 2562 (SOE Award 2019) ภายใต้แนวคิด “พลังรัฐวิสาหกิจไทย สูม่ ติ ใิ หม่ ด้วยดิจทิ ลั : HONOR THROUGH DIGITAL TRANSFORMATION” โดยมี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ในพิธีมอบรางวัล โดยในปีนี้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้รับ 3 รางวัล ได้แก่ รางวัลการบริหารจัดการองค์กรดีเด่น ประเภทเกียรติยศ ซึ่งเป็นรางวัลที่มอบให้รัฐวิสาหกิจที่สามารถ รักษามาตรฐานการด�ำเนินงานได้ดเี ด่นอย่างต่อเนือ่ ง โดย กฟผ. ได้ January-February 2020

รับรางวัลประเภทเกียรติยศติดต่อกันเป็นปีที่ 2 และถือว่าได้รบั รางวัล การบริหารจัดการองค์กรดีเด่นติดต่อกันเป็นปีที่ 4 รางวัลความคิด สร้างสรรค์และนวัตกรรมดีเด่น ด้านนวัตกรรม จากผลงาน “ระบบ รวบรวมจัดเก็บข้อมูลหม้อแปลงไฟฟ้าแบบออนไลน์และมอนิเตอร์รงิ่ ” และรางวัลการพัฒนาสู่รัฐวิสาหกิจดิจิทัล ประเภทเชิดชูเกียรติ ซึ่ง เป็นรางวัลใหม่ส�ำหรับปีนี้ที่มอบให้แก่รัฐวิสาหกิจที่มีความโดดเด่น ด้านงานดิจิทัลเพื่อใช้ในการพัฒนาองค์กรในด้านต่างๆ อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยมี สุธน บุญประสงค์ กรรมการ กฟผ. วิบูลย์ ฤกษ์ศริ ะทัย ผูว้ า่ การ กฟผ. และ พัฒนา แสงศรีโรจน์ รองผูว้ า่ การ ยุทธศาสตร์ กฟผ. ขึ้นรับรางวัล ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และ บางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ สคร. ได้มีการจัดงาน SOE Award อย่างต่อเนื่อง เพือ่ เป็นการสร้างขวัญและก�ำลังใจในการปฏิบตั งิ านของรัฐวิสาหกิจ รวมทั้งส่งเสริมให้รัฐวิสาหกิจมีความมุ่งมั่นในการด�ำเนินงานเพื่อ พัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพและน�ำองค์กรสู่ความเป็นเลิศ


การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

การใช้ บ ริ ก ารวิ น มอเตอร์ ไซค์ เ ป็ น ที่ นิ ย ม อย่างมากในยุคปัจจุบัน ด้วยสภาพการจราจร ในเขตเมืองที่ค่อนข้างหนาแน่น และแน่นอนว่า ยิ่ ง นิ ย มใช้ ขั บ ขี่ ห รื อ ใช้ บ ริ ก ารมากขึ้ น เท่ า ไหร่ ยิง่ ท�ำให้เกิดมลพิษและฝุน่ ละอองจิว๋ หรือ PM 2.5 ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ นั้ น เกิ ด จากการสั น ดาปของ เครือ่ งยนต์ที่ใช้เชือ้ เพลิงฟอสซิล ทีส่ ง่ ผลกระทบ ต่อสุขภาพของเราด้วย

กฟผ. เป็นหนึ่งในหน่วยงานที่มีความพยายามจะช่วยลด ผลกระทบจากฝุ่น PM 2.5 ให้กับประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บริเวณพื้นที่โดยรอบส�ำนักงานใหญ่ ซึ่งนอกจาก กฟผ. จะมีการ ติดตั้งระบบพ่นละอองไอน�้ำบนอาคารสูงแล้ว กฟผ. ยังมีแนวคิด สนับสนุนให้เกิด “วินมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า กฟผ.” เพือ่ หวังน�ำร่องให้ เกิดการใช้รถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าเบอร์ 5 แทนการใช้รถมอเตอร์ไซค์ ทีใ่ ช้นำ�้ มัน เพือ่ ส่งเสริมการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าตามแนวคิดของรัฐบาล และเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยลด PM 2.5 ส�ำหรับรถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าเบอร์ 5 นั้น จะใช้เวลาชาร์จ ประจุไฟฟ้า 3-6 ชั่วโมงต่อครั้ง โดยสามารถวิ่งได้ประมาณ 80 กิโลเมตร ท�ำความเร็วได้ 50-80 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ซึง่ เป็นความเร็ว ที่ไม่สูงมากนัก ท�ำให้มีความปลอดภัยกับทั้งผู้ขับขี่และผู้โดยสาร ไม่สร้างมลภาวะทางอากาศและเสียง ซึ่งเป็นผลดีต่อประชาชน ผู้ใช้รถใช้ถนนและประชาชนในพื้นที่ใกล้เคียง กฟผ. ได้หารือกับกรมการขนส่ง ทางบก เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจ หน่วยงาน ราชการที่ เ กี่ ย วข้ อ งในพื้ น ที่ เพื่อพิจารณาว่าหากจะน�า รถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าเบอร์ 5 มาใช้เป็นรถขนส่งสาธารณะ จะต้ อ งมี ก ารด� ำ เนิ น การ ในด้านใดบ้าง เพื่อจะได้ ด�ำเนินการได้อย่างถูกต้อง

ตามกฎระเบี ย บและกฎหมาย อี ก ทั้ ง ยั ง ได้ ห ารื อ กั บ ผู ้ แ ทนของ วินมอเตอร์ไซค์โดยรอบพืน้ ที่ กฟผ. ซึง่ ล้วนแล้วแต่ให้การสนับสนุน เป็นอย่างดี และเห็นด้วยที่จะเดินหน้าโครงการดังกล่าว เนื่องจาก เห็นว่าเป็นโครงการที่มีประโยชน์ ส่งผลดีต่อประชาชนและสังคม ส�ำหรับแนวทางเริ่มจากการกระจายรถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า เบอร์ 5 ไปตามวินมอเตอร์ไซค์ประมาณ 7 แห่ง โดยรอบพืน้ ที่ กฟผ. แห่งละประมาณ 2-3 คัน โดย กฟผ. จะช่วยด�ำเนินการในเรื่อง การประสานงานกับเจ้าหน้าที่กรมการขนส่งทางบก เพื่อจดแจ้ง รถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าเบอร์ 5 เป็นรถสาธารณะ ซึง่ ผูข้ บั ขีส่ ามารถน�า รถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าเบอร์ 5 ไปชาร์จไฟได้ฟรีทศี่ นู ย์การเรียนรู้ กฟผ. ส�ำนักงานกลาง โดยรถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าเบอร์ 5 ทุกคันจะมีการ ติดตัง้ ระบบ GPS เพือ่ เพิม่ ความปลอดภัยและสร้างความมัน่ ใจให้กบั ผูโ้ ดยสาร และ กฟผ. จะจัดท�ำแอปพลิเคชันส�ำหรับเรียกรถมอเตอร์ไซค์ ไฟฟ้าโดยเฉพาะ เพื่ออ�ำนวยความสะดวกให้กดเรียกไปรับได้ถึงที่ ทั้งนี้ ในระยะแรกยังเป็นการด�ำเนินการเพื่อเก็บข้อมูลใน การวิจัย มีระยะเวลา 1 ปี เพื่อน�ำข้อมูลที่ได้นั้นมาศึกษาในด้าน ต่างๆ ได้แก่ การประเมินเทคโนโลยีและสมรรถนะที่เหมาะสมของ รถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าเบอร์ 5 และสถานีอัดประจุไฟฟ้าส�ำหรับ ให้บริการรถรับจ้างสาธารณะ พฤติกรรมการใช้งาน ผลกระทบด้าน พลังงาน สิ่งแวดล้อม รวมถึงแนวทางการบริหารจัดการและความ เป็นไปได้ในการส่งเสริมให้รถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้าเบอร์ 5 เป็นรถรับจ้าง สาธารณะต่อไปด้วย

January-February 2020


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

MEA จับมือ CU และ EA ร่วมลงนามบันทึก

ความเข้าใจขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยอัจฉริยะ นำ�ร่องระบบซื้อขายไฟแบบ Peer-to-Peer และ

Smart Building

3 CEO ชัน้ น�ำด้านพลังงานและการศึกษา น�ำโดย การไฟฟ้า นครหลวง หรือ MEA พร้อมด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ CU และ บริษัท พลังงานบริสุทธิ์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ EA ร่วม ลงนาม “บันทึกความเข้าใจโครงการพืน้ ทีท่ ดสอบมหาวิทยาลัย อั จ ฉริ ย ะด้ า นพลั ง งานของจุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย : ระบบซื้อขายไฟฟ้าแบบ Peer-to-Peer และอาคารอัจฉริยะ ระหว่างการไฟฟ้านครหลวง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ บริษัท พลังงานบริสุทธิ์ จ�ำกัด (มหาชน)” เพื่อขับเคลื่อนวิถีชีวิต เมืองมหานครอัจฉริยะ เดินหน้าพัฒนาเทคโนโลยีด้านพลังงาน หมุ น เวี ย น ระบบกั ก เก็ บ พลั ง งานและรถยนต์ ไ ฟฟ้ า ครั้ ง แรกใน ประเทศไทย ทีจ่ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ ห้องรับรอง หอประชุม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ กี ร พั ฒ น์ เจี ย มเศรษฐ์ ผู ้ ว ่ า การการไฟฟ้ า นครหลวง หรือ MEA กล่าวว่า MEA ในฐานะ รัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่จ�ำหน่ายพลังงานไฟฟ้าใน พืน้ ทีก่ รุงเทพมหานคร นนทบุรี และ สมุทรปราการ มีความมุ่งมั่นในการ เดินหน้ามหานครอัจฉริยะ (Smart City) เพื่อยกระดับวิถีชีวิตเมือง มหานคร โดย MEA มีความยินดีเป็นอย่างยิง่ ในการร่วมลงนามบันทึก ความเข้าใจในครั้งนี้ ทั้ง 3 ฝ่ายจะร่วมกันศึกษาและพัฒนาระบบ ซื้อขายไฟฟ้าแบบ Peer-to-Peer และอาคารอัจฉริยะ ในพื้นที่ การศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึง่ ถือเป็นพืน้ ทีส่ ำ� คัญ ตัง้ อยู่ ใจกลางเมือง และมีความต้องการใช้ไฟฟ้าในระดับสูง มีศักยภาพ ในการติ ด ตั้ ง ระบบผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ที่ ติ ด ตั้ ง บนหลังคา (Solar Rooftop) ประมาณ 20 เมกะวัตต์ โดย MEA มี หน้าที่ในการออกแบบติดตั้ง Solar Rooftop และพัฒนาโครงสร้าง พื้ น ฐานของระบบจ� ำ หน่ า ยไฟฟ้ า ในจุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ให้สามารถรองรับการทดลองซื้อขายไฟฟ้าแบบ Peer-to-Peer รวมทั้ ง ดู แ ลและควบคุ ม ผลกระทบที่ เ กิ ด จากการซื้ อ ขายไฟฟ้ ำ ให้อยูใ่ นวงจ�ำกัด ไม่กระทบต่อโครงข่ายของระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าใน ภาพรวม โดยบันทึกความเข้าใจฉบับนี้มีระยะเวลา 3 ปี ซึ่งจะช่วย ให้ กฟน. มีขอ้ มูลทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การปรับปรุงกฎระเบียบต่างๆ เพือ่ รองรับความต้องการใช้ไฟฟ้าทีห่ ลากหลาย เพิม่ ความมัน่ คงและ ความมีเสถียรภาพให้แก่ระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าได้อย่างต่อเนือ่ ง อีกทัง้ เป็นการเพิ่มโอกาสให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการผลิตและ January-February 2020

ใช้พลังงานทดแทนมากขึ้น ส่งผลดีต่อประเทศในการลดค่าใช้จ่าย การลงทุนก่อสร้างหรือเลื่อนระยะเวลาที่จะต้องก่อสร้างโรงไฟฟ้ำ ใหม่ๆ ลงได้ ศ. ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจฬ ุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีวสิ ยั ทัศน์ในการพัฒนาพืน้ ทีภ่ ายใน มหาวิทยาลัยให้เป็นเมืองอัจฉริยะ ต้ น แบบย่ า นแห่ ง นวั ต กรรมที่ สร้างสรรค์คณ ุ ค่าแก่ชมุ ชนและสังคม ผสานคุณภาพชีวิตและธุรกิจ มุ่งหวังให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการ ด�ำรงชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืน ซึ่งแนวคิดในการพัฒนา Chula Smart Campus นั้น ประกอบด้วยวิสัยทัศน์ “SMART 5” คือ (1) SMART ENERGY (2) SMART ENVIRONMENT (3) SMART MOBILITY (4) SMART SECURITY และ (5) SMART COMMUNITY โดย ความร่วมมือครั้งนี้ จะเน้นที่การพัฒนาเสาหลักทางด้าน SMART ENERGY ซึง่ เป็นการพัฒนาระบบการบริหารจัดการพลังงานอัจฉริยะ ที่ประกอบด้วยการซื้อขายไฟฟ้าแบบ Peer-to-Peer และอาคาร อัจฉริยะ พร้อมทั้งจะท�ำการทดลองการซื้อขายไฟฟ้าที่ผลิตได้ใน ระบบผ่านแพลตฟอร์มการซื้อขายแบบ P2P เพื่อศึกษาผลกระทบ ต่ อ ระบบไฟฟ้ า ในประเด็ น ต่ า งๆ ทั้ ง การวิ เ คราะห์ ก ลไกตลาด (Market Mechanisms) การออกแบบสัญญาอัจฉริยะ (Smart Contracts) ส�ำหรับการซื้อขายไฟฟ้า และการออกแบบอัตรำ ค่าผ่านทาง (Wheeling Charge) ที่เหมาะสมกับการซื้อขายไฟฟ้ำ แบบ P2P โดยคาดหวังว่าผลการศึกษาดังกล่าวจะช่วยให้สามารถ น�ำไปใช้ประโยชน์ด้านการพัฒนาประเทศในมิติทางด้านพลังงาน และเพื่อให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นตัวอย่างหนึ่งของต้นแบบ เมืองอัจฉริยะทางด้านพลังงานต่อไป สมโภชน์ อาหุนัย ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท พลังงาน บริสุทธิ์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ EA กล่าวว่า บริษัทพร้อมแล้วที่จะน�ำ Trading Platform ที่บริษัทได้พัฒนำ ขึน้ โดยร่วมกับทีมงานของ Blockfint มาใช้ทดสอบซื้อขายพลังงานไฟฟ้ำ


การไฟฟ้านครหลวง

ผ่านระบบออนไลน์ ณ สถานที่จริงเป็นครั้งแรก พื้นที่ที่ทดสอบใน โครงการนีจ้ ะพัฒนาเป็นอาคารอัจฉริยะของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งมีความเหมาะสมและความพร้อมสูง ส�ำหรับระบบการซื้อขาย พลังงานไฟฟ้านี้ใช้ชื่อว่า Gideon (กิเดียน) เป็นแพลตฟอร์มซื้อขาย พลังงานที่ลูกค้าสามารถซื้อพลังงานจากผู้ผลิตได้โดยตรง มี AI ช่วยในการท�ำนายและเทรดได้แบบอัตโนมัติ และใช้เทคโนโลยี Block Chain เข้ามาจัดการ จึงมัน่ ใจได้วา่ มีความปลอดภัยสูง ซึง่ ใน ระยะถัดไปบริษัทมีแผนจะท�ำการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์บนหลังคา (Solar Rooftop) ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) สถานีอัดประจุไฟฟ้าส�ำหรับรถยนต์ไฟฟ้า และ มิเตอร์ไฟฟ้า เพือ่ สร้างระบบนิเวศน์ให้เป็นต้นแบบของมหาวิทยาลัย อัจฉริยะด้านพลังงานตามเจตนารมณ์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผลส�ำเร็จจากโครงการนีจ้ ะน�ำไปสูก่ ารมีระบบการผลิต จ�ำหน่าย และ ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การลงนามบันทึกความเข้าใจในครั้งนี้ ถือเป็นจุดเริ่มต้น ที่ส�ำคัญในการพัฒนาโครงสร้างระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าของประเทศ ให้รองรับกับเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง การเติบโตของการผลิตพลังงานทดแทนในประเทศ โดยที่ผ่าน ทั้ง 3 หน่วยงาน ได้มีการประสานความร่วมมือในการขับเคลื่อน มหานครอัจฉริยะมาอย่างต่อเนือ่ ง โดย MEA ได้รว่ มกับ EA ในการ

ขยายสถานีชาร์จยานยนต์ไฟฟ้ามากกว่า 100 สถานีทวั่ เขตจ�ำหน่าย ของ MEA ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนการใช้งานรถยนต์ ไฟฟ้าให้เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพในประเทศไทย ในขณะที่ MEA ได้มีการลงนามความร่วมมือกับ CU ในการพัฒนาระบบ จ่ายไฟฟ้าและนวัตกรรมรองรับโครงการเมืองจุฬาฯ อัจฉริยะ (CHULA Smart City) โดยบูรณาการร่วมกัน เพื่อปรับปรุงและพัฒนาระบบ ไฟฟ้าเทคโนโลยีนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องมาใช้ในพื้นที่การศึกษาและ พื้นที่เชิงพาณิชย์ รวม 1,153 ไร่ ล้อมรอบด้วยถนนพระราม 4 ถนนพระราม 1 - ถนนบรรทัดทอง - ถนนอังรีดนู งั ต์ แสดงให้เห็นถึง ความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจของทัง้ 3 หน่วยงานในการเดินหน้าสร้างมหานคร อัจฉริยะ โดยน�ำร่องที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใจกลางกรุงเทพฯ และพร้อมขยายต่อไปในพื้นที่อื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ยั่งยืน

งานมอบรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่น (SOE Award 2019) ประจำ�ปี 2562

พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรั ฐ มนตรี เป็ น ประธานในงาน มอบรางวั ล รั ฐ วิ ส าหกิ จ ดี เ ด่ น (SOE Award 2019) ประจ�ำปี 2562 จัดขึ้น โดย ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบาย รั ฐ วิ ส าหกิ จ (สคร.) ส� ำ หรั บ การจั ด งานในปี นี้ จั ด ขึ้ น ภายใต้ แ นวคิ ด “พลังรัฐวิสาหกิจไทย สู่มิติใหม่ด้วย ดิจทิ ลั : HONOR THROUGH DIGITAL TRANSFORMATION” โดยมี กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ ผูว้ า่ การการไฟฟ้านครหลวง หรือ MEA พร้อมด้วยคณะผู้บริหารและ พนักงาน เป็นผู้แทนหน่วยงานรับรางวัล

รัฐวิสาหกิจดีเด่นประจ�ำปี 2562 ซึ่งในปีน้ี MEA ได้รับ 3 รางวัล ได้แก่ รางวัล การบริหารจัดการองค์กรดีเด่น รางวัลความร่วมมือเพื่อการพัฒนาดีเด่น ด้านการ ยกระดับการบริหารจัดการองค์กร โดย MEA เป็นองค์กรพี่เลี้ยง “องค์การตลาด” และรางวัลชมเชย รางวัลการด�ำเนินงานเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมดีเด่น จากการ ด�ำเนินโครงการ Smart Metro Poles for Thailand’s Coast Protection : กฟน. ป้องกัน ชายฝั่งทะเลไทย ณ ห้องบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ January-February 2020


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

PEA รับ 5 รางวัล

รัฐวิสาหกิจดีเด่น ประจำ�ปี 2562

พลเอก ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธีพร้อม มอบรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่น ประจ�ำปี 2562 โดยมีคณะกรรมการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ผู้ว่าการและผู้บริหารการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค รับรางวัล ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และ บางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) จัดพิธีมอบรางวัล รัฐวิสาหกิจดีเด่น (SOE Award) เป็นประจ�ำทุกปี เพือ่ เป็นก�ำลังใจให้รฐั วิสาหกิจ ทุกแห่งที่มีส่วนในการพัฒนาประเทศ โดยในปี พ.ศ. 2562 จัดงานภายใต้ แนวคิด “พลังรัฐวิสาหกิจไทย สู่มิติใหม่ด้วยดิจิทัล” มีการพิจารณารางวัล แต่ละประเภทสะท้อนผลการด�ำเนินงานของรัฐวิสาหกิจทีโ่ ดดเด่นในแต่ละด้าน ส่งเสริมให้รัฐวิสาหกิจมีความมุ่งมั่นในการด�ำเนินงานเพื่อพัฒนาองค์กรให้มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น PEA ได้รับรางวัลประเภทต่างๆ ดังนี้ 1. รางวัลรัฐวิสาหกิจยอดเยีย่ ม ประจ�ำปี 2562 ซึง่ หมายถึงการได้รบั ทัง้ รางวัล คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจดีเด่นและรางวัลการบริหารจัดการดีเด่น (2 ปี ซ้อน) : นายชยพล ธิติศักดิ์ ประธานกรรมการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค รับรางวัล 2. รางวัลการด�ำเนินงานเพื่อสังคมและสิ่งแวดล้อมดีเด่น (3 ปี ซ้อน) : นายสมพงษ์ ปรีเปรม ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค รับรางวัล 3. รางวัลเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใสดีเด่น (3 ปี ซ้อน) : นายปกรณ์ นุตบุญเลิศ รองผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค รับรางวัล 4. รางวัลการพัฒนาสูร่ ฐั วิสาหกิจดิจทิ ลั ประจ�ำปี 2562 ประเภทเชิดชูเกียรติ : นายธนาเศรษฐ์ พงษ์ทรงเสถียร รองผูว้ า่ การการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค รับรางวัล 5. รางวัลความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมดีเด่น ประเภทชมเชย (2 ปี ซ้อน) : นายสมพงษ์ ปรีเปรม ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค รับรางวัล January-February 2020

CBS 2

เครื่องมือสำ�คัญ ในการบริหารจัดการ ข้อมูลของ PEA

เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ประกอบกับยุค Disruptive Technology อาจทำ�ให้ธุรกิจเก่าๆ ได้รับผลกระทบ PEA จึ ง ต้ อ งเปลี่ ย นรู ป แบบการทำ�งานด้ ว ยการ ขับเคลือ่ นองค์กรสู่ Digital Utility ทีม่ กี ารนำ� เทคโนโลยีเข้ามาเพิ่มประสิทธิภาพการทำ�งาน รวมถึงมีระบบการบริหารจัดการฐานข้อมูล แบบเรียลไทม์และถูกต้องแม่นยำ� ซึ่งจะเป็นอีก หนึง่ เครือ่ งมือสำ�คัญทีต ่ อบโจทย์ยค ุ ดิจทิ ลั แบบ PEA


การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

มีหน้าตาเหมือนเดิมเกือบ 90% จึงท�ำงานในรูปแบบเดิมได้ ไม่มปี ญ ั หา นอกจากเป็นฐานข้อมูลส�ำคัญท�ำหน้าที่เชื่อมโยงข้อมูลหลัก ของระบบใน PEA ทั้งหมด CBS 2 แล้วยังเป็นทรัพย์สินของ PEA คือไม่ใช่ระบบเช่าอีกต่อไป ท�ำให้อัปเกรดเพื่อรองรับการใช้งาน ที่เปลี่ยนแปลงในอนาคตได้

‘Train the Trainer’ เตรียมความพร้อมพัฒนาคน

รู้จก ั CBS 2 เครื่องมือบริหารจัดการฐานข้อมูล ในยุคดิจิทล ั

ด้วยจ�ำนวนลูกค้ากว่า 20 ล้านราย ระบบฐานข้อมูลจึงเป็น เรื่องส�ำคัญมากของ PEA ที่ต้องการจัดการบริหารอย่างเป็นระบบ ซึง่ CBS หรือระบบคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์สำ� เร็จรูปส�ำหรับธุรกิจหลัก ทีค่ น PEA รูจ้ กั ในชือ่ “SAP” จะเป็นเครือ่ งมือช่วยในการบริหารจัดการ ข้อมูลจ�ำนวนมหาศาล และมีความไดนามิกได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงระบบการบริหารไฟฟ้าขัดข้อง (Outage Management System) เพื่อแก้ปัญหาไฟดับ ไฟฟ้าขัดข้องด้วย ก่อนหน้า CBS 2 ทาง PEA เริ่มใช้ระบบ CBS 1 หรือ รซธ. ระยะที่ 1 มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2554 เป็นการใช้ซอฟต์แวร์ SAP เวอร์ชนั 4.7 ปัจจุบนั ก�ำลังจะหยุดให้บริการเนือ่ งจากไม่ตอบโจทย์การท�ำงาน รูปแบบใหม่ๆ ได้เพียงพอ ท�ำให้ต้องอัปเกรด SAP เป็นเวอร์ชัน ECC 6.0 on HANA เพื่อให้การท�ำงานไม่สะดุดและต่อเนื่องมาก ยิง่ ขึน้ เรียกการอัปเกรดนีว้ า่ ‘Technical Upgrade’ แม้จะเปลีย่ นจาก CBS 1 มาเป็น CBS 2 แต่ยังคงเป็นผลิตภัณฑ์เดียวกัน คือ SAP

อี ก สิ่ ง ส� ำ คั ญ เมื่ อ มี ก ารน� ำ ระบบใหม่ เข้ า มาใช้ ง านคื อ ต้องพัฒนาบุคลากรเพื่อเตรียมพร้อมรองรับ ซึ่ง PEA เรียกว่า The Trainer ทีจ่ ะเป็นตัวแทนของ PEA เข้าอบรมจากบริษทั ผูร้ บั จ้าง จัดท�ำระบบเพื่อน�ำไปฝึก ถ่ายทอด และอบรมให้กับทุกหน่วยงาน ของ PEA ไม่วา่ จะเป็นไฟฟ้าเขต ไฟฟ้าหน้างาน ในสังกัดการไฟฟ้า สาขาย่อย เพือ่ ให้เกิดการใช้งาน CBS 2 อย่างคุม้ ค่า มีประสิทธิภาพ ตาม Digital Utility ของ PEA ผู้เป็น The Trainer มาจากการคัดเลือกของทีม Change ที่รับผิดชอบในการบริหารและการเปลี่ยนแปลง เพื่อเป็นตัวแทน ขยายผลแก่พนักงานของ PEA ในพื้นที่ภูมิภาคทั้ง 74 จังหวัด โดย The Trainer จะต้องเป็นผู้รู้จริง ท�ำจริง เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของ ระบบต่างๆ และถ่ายทอดสูพ่ นักงานคนอืน่ ๆ ได้ดี โดยจะเริม่ อบรม ตั้งแต่ต้นเดือนตุลาคม 2562 เป็นต้นไป

เพื่อเตรียมความพร้อมสู่การไฟฟ้าดิจิทัล

Digital Utility จึงจัดให้มีโครงการ CBS 1 (รซธ. ระยะที่ 1) สู่ CBS 2 (รซธ. ระยะที่ 2) ดังนี้ 2554 : เริม่ ใช้ CBS 1 (รซธ. ระยะที่ 1) ซอฟต์แวร์ SAP เวอร์ชนั 4.7 2562 : เปลี่ยนสู่ CBS 2 (รซธ. ระยะที่ 2) มีการจัดท�ำ Technical Upgrade SAP จากเวอร์ชัน 4.7 เป็น ECC 6.0 on HANA (พฤษภาคม 2562) 2563 : น� ำ ระบบบริหารไฟฟ้าขัด ข้อ ง (Outage Management System : OMS) ระบบงานรับช�ำระเงิน พิมพ์หนังสือแจ้ง ค่าไฟฟ้า และใบเสร็จรับเงิน (Bill Printing and Payment Management : BPM) ออกใช้งาน January-February 2020


บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน)

เอ็กโก กรุ๊ป เปิดฉากธุรกิจใหม่ ประกาศลงทุนใน

“โครงการขยายระบบขนส่งน�ำ้ มันทางท่อ ไปยังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”

เอ็กโก กรุ๊ป เปิดฉากธุรกิจใหม่ที่เกี่ยวเนื่องกับพลังงานใน ประเทศ โดยเข้าลงทุนสัดส่วนร้อยละ 44.6 ในบริษทั ไทย ไปป์ไลน์ เน็ตเวิรค์ จ�ำกัด เพือ่ ด�ำเนินโครงการขยายระบบขนส่งน�ำ้ มันทางท่อ ไปยังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มุง่ ขยายโอกาสการลงทุนไปสูธ่ รุ กิจ ท่อขนส่งน�้ำมัน ซึ่งให้ผลตอบแทนที่ดีในระยะยาว จักษ์กริช พิบูลย์ไพโรจน์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ เอ็กโก กรุ๊ป กล่าวว่า “เอ็กโกได้เข้าซื้อหุ้นสามัญในบริษัท ไทย ไปป์ไลน์ เน็ตเวิร์ค จ�ำกัด (TPN) ซึ่งด�ำเนินธุรกิจให้บริการขนส่งน�้ำมันโดย ระบบขนส่งทางท่อไปยังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และให้บริการ คลังน�้ำมันจากบริษัท บิ๊กแก๊ส เทคโนโลยี จ�ำกัด (BIGGAS) จ�ำนวน 7,739,998 หุ้น มูลค่าหุ้นที่ตราไว้หุ้นละ 100 บาท คิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 43 ของทุนจดทะเบียน และได้จองซือ้ หุน้ เพิม่ ทุนใน TPN อีก จ�ำนวน 3,185,000 หุน้ มูลค่าหุน้ ทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 100 บาท รวมเป็น จ�ำนวนทั้งหมด 10,924,998 หุ้น คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 44.6 ของ ทุนจดทะเบียนทัง้ หมดหลังการเพิม่ ทุน โดยมีมลู ค่าการลงทุนประมาณ 3,000 ล้านบาท ทั้งนี้ เอ็กโกได้ลงนามในสัญญาซื้อขายและจองซื้อหุ้นเมื่อ วันที่ 4 กันยายน 2562 และลงนามในสัญญาผู้ถือหุ้นในวันที่ 25 กันยายน 2562 การลงทุนครั้งนี้นับเป็นอีกก้าวหนึ่งของเอ็กโกในการขยาย การลงทุนในธุรกิจใหม่ทเี่ กีย่ วเนือ่ งกับพลังงาน ซึง่ โครงการดังกล่าว January-February 2020

ถือเป็นโครงการขนาดใหญ่ทมี่ คี วามส�ำคัญ ต่อ เศรษฐกิจ ของประเทศและได้รับ การ สนับสนุนจากภาครัฐ เพื่อรองรับ ความ ต้องการใช้นำ�้ มันทีเ่ พิม่ ขึน้ ของภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ซึ่งฐานลูกค้าส่วนใหญ่มาจาก กลุม่ บริษทั น�ำ้ มัน นอกจากนี้ ความร่วมมือ ทางธุรกิจกับ BIGGAS ยังเป็นการประสาน จุ ด แข็ ง กั บ พั น ธมิ ต รที่ มี ค วามรู ้ ค วาม เชี่ยวชาญในธุรกิจพลังงาน ในด้านการให้ บริการและการขนส่งน�้ำมันเชื้อเพลิงและ ก๊าซธรรมชาติ ซึง่ จะช่วยเพิม่ ความสามารถ ในการแข่งขันและสร้างโอกาสในการพัฒนา โครงการอื่นๆ ในอนาคต” ทัง้ นี้ TPN จะด�ำเนินโครงการขยายระบบขนส่งน�ำ้ มันทางท่อ ไปยังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยระบบท่อขนส่งจะเชื่อมต่อ คลังน�้ำมันของบริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จ�ำกัด (Thappline) ในจังหวัดสระบุรี ไปยังคลังน�้ำมันขนาด 142 ล้านลิตร ของ TPN ในจังหวัดขอนแก่น ผ่านท่อขนส่งใต้ดินเส้นใหม่ มีระยะทางรวม 342.8 กิโลเมตร ซึ่งมีก�ำลังการขนส่งต่อปีอยู่ที่ 5,443 ล้านลิตร และสามารถขยายเพิม่ เป็น 7,338 ล้านลิตร ในอนาคต โดยปัจจุบนั โครงการฯ อยู่ระหว่างการก่อสร้างและคาดว่าจะเริ่มด�ำเนินการใน ไตรมาสที่ 4 ปี พ.ศ. 2564


บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

ราช กรุ๊ป รับโล่ประกาศเกียรติคุณ

โครงการลดก๊าซเรือนกระจก

กิ จ จา ศรี พั ฑ ฒางกุ ร ะ กรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ บริษทั ราช กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) รับมอบโล่ประกาศเกียรติคณ ุ จาก ธเนศพล ธนบุณยวัฒน์ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ในงาน “ร้อยดวงใจ ร่วมใจลดโลกร้อน” ประจ�ำปี 2562 จัดโดย องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) (อบก.) เพื่ อ เชิ ด ชู อ งค์ ก รที่ ต ระหนั ก ถึ ง การรั บ มื อ การเปลี่ ย นแปลง สภาพภูมิอากาศและมุ่งมั่นส่งเสริมการบริหารจัดการและลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจกภายในองค์กร ทัง้ ในกระบวนการผลิต และนอกกระบวนการผลิตอย่างจริงจัง กลุ่มบริษัทฯ ได้ประยุกต์ใช้กลไกลดก๊าซเรือนกระจก

ของ อบก. เพือ่ บริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกของโรงไฟฟ้าราชบุรี โรงไฟฟ้า ไตรเอนเนอจี้ และส�ำนักงาน รวมทั้งส่งเสริมชุมชนภายนอกด้วย ในปี พ.ศ. 2562 กลุม่ บริษทั ฯ ได้รบั การรับรองจาก อบก. 3 ประเภทโครงการ ได้แก่ 1.) โครงการลดก๊าซเรือนกระจกภาคสมัครใจตามมาตรฐานไทย (Thailand Voluntary Emission Reduction Program : T-VER) จากโครงการผลิต พลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์บนผิวน�ำ้ โดยบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรี จ�ำกัด 2.) โครงการสนับสนุนกิจกรรมลดก๊าซเรือนกระจก (Low Emission Support Scheme : LESS) จาก 6 โครงการ ได้แก่ โครงการพลังงานชุมชน จังหวัด เชียงใหม่ โครงการพลังงานชุมชน จังหวัดล�ำพูน โครงการพลังงานชุมชน จังหวัดน่าน โครงการส่งเสริมพลังงานแสงอาทิตย์ชุมชนหย่อมบ้านหัวฮะ จังหวัดแม่ฮ่องสอน โครงการเปลี่ยนหลอดไฟฟ้าเป็นหลอดไฟประหยัด พลังงาน LED ณ อุทยานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั จังหวัดเพชรบุรี โครงการเปลีย่ นหลอดไฟฟ้า ณ อาคารส�ำนักงานใหญ่ RATCH จังหวัดนนทบุรี เป็นหลอดไฟประหยัดพลังงาน LED 3.) การจัดท�า คาร์บอนฟุตพริน้ ท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization : CFO) ของ โรงไฟฟ้าราชบุรีและโรงไฟฟ้าไตรเอนเนอจี้

ราช กรุ๊ป แจ้ง โรงไฟฟ้าเซเปียน-เซน�้ำน้อย เดินเครื่องผลิตไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า โครงการ โรงไฟฟ้าพลังน�้ำเซเปียน-เซน�้ำน้อย ก�ำลังผลิตติดตั้ง 410 เมกะวัตต์ ใน สปป.ลาว ซึง่ บริษทั ฯ ถือหุน้ สัดส่วน 25% ได้เดินเครือ่ งผลิตกระแส ไฟฟ้าเชิงพาณิชย์แล้วในวันที่ 6 ธันวาคม 2562 โรงไฟฟ้าแห่งนีจ้ ะผลิต กระแสไฟฟ้าจ�ำหน่ายปีละประมาณ 1,804 กิกะวัตต์ชวั่ โมง หรือล้านหน่วย โดยมีการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และการไฟฟ้าลาว (Electricite Du Laos : EDL) เป็นผู้รับซื้อไฟฟ้า กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า โรงไฟฟ้าเซเปียน-เซน�้ำน้อย มีก�ำลังผลิตตามสัญญาซื้อขายไฟฟ้ารวม 396 เมกะวัตต์ โดย 354 เมกะวัตต์ หรือ 1,575 ล้านหน่วย ผลิตเพือ่ จ�ำหน่ายให้กบั กฟผ. เป็น ระยะเวลา 27 ปี และก�ำลังผลิตอีก 42 เมกะวัตต์ หรือ 229 ล้านหน่วย ผลิตจ�ำหน่ายให้กบั การไฟฟ้าลาว โครงการนีพ้ ฒ ั นาภายใต้กรอบความ ร่วมมือการพัฒนาพลังงานไฟฟ้าระหว่างรัฐบาลไทยกับ สปป.ลาว โดยมีบริษทั ไฟฟ้าเซเปียน-เซน�ำ้ น้อย จ�ำกัด เป็นผูด้ ำ� เนินงานโครงการ ซึ่งเป็นการร่วมทุนระหว่างผู้ลงทุนเกาหลีใต้ ไทย และ สปป.ลาว “นับจากเหตุการณ์สะเทือนใจเมื่อปีที่แล้ว ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ได้ทุ่มเทความพยายามแก้ไขและฟื้นฟูผลกระทบทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างเต็มที่ ในขณะที่การก่อสร้างโรงไฟฟ้า

ซึ่งได้ควบคุมความปลอดภัยอย่างเข้มงวด ให้เดินหน้าแล้วเสร็จ นอกจากนี้ เพือ่ ลดผลกระทบแก่ผมู้ สี ว่ นได้เสียส่วนหนึง่ การฟืน้ ฟูและ เยียวยาชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ก็ทำ� คู่ขนานกันไปจนคืบหน้า เป็นรูปธรรม และยังมีเป้าหมายด�ำเนินการแผนฟืน้ ฟูระยะยาวให้สำ� เร็จ ในปี พ.ศ. 2564 จากนั้นก็จะสานต่อการพัฒนาชุมชนและคุณภาพ สิง่ แวดล้อมให้ยงั่ ยืนต่อไป บริษทั ฯ ยังพร้อมสนับสนุนนโยบายแบตเตอรี่ แห่งเอเชียของ สปป.ลาว อย่างต่อเนือ่ ง และเชือ่ มัน่ ว่า โรงไฟฟ้าเซเปียนเซน�ำ้ น้อย จะช่วยขับเคลือ่ นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและพัฒนา คุณภาพชีวติ ของประชาชนทัง้ 2 ประเทศได้ในระยะยาว” กิจจา กล่าว โรงไฟฟ้าพลังน�้ำเซเปียน-เซน�้ำน้อย ตั้งอยู่ในแขวงจ�ำปาสัก และแขวงอั ต ตะปื อ สปป.ลาว พั ฒ นาและด� ำ เนิ น งานโดยบริ ษั ท ไฟฟ้าเซเปียน-เซน�้ำน้อย จ�ำกัด ประกอบด้วยผู้ถือหุ้น 4 ราย ได้แก่ SK Engineering & Construction Company Limited (26%), Korea Western Power Company Limited (25%), รัฐวิสาหกิจลาว (24%) และ RATCH (25%) ไฟฟ้าที่ผลิตจ�ำหน่ายให้ กฟผ. จะส่งผ่านสายส่ง ไฟฟ้าแรงสูงขนาด 500 กิโลโวลต์ จากสถานีไฟฟ้าปากเซ สปป.ลาว โดยระยะแรกจ่ายไฟฟ้าด้วยระบบ 230 กิโลโวลต์ มายังสถานีไฟฟ้า แรงสูงอุบลราชธานี 3 เพื่อมาเสริมระบบไฟฟ้าในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ January-February 2020



Article

> Jairo Quiros-Tortos, Luis (Nando) Ochoa, Timothy Butler

ยานยนต์ไฟฟ้า (EV) และระบบไฟฟ้า ทำ�งานด้วยกันอย่างไร

How Electric Vehicles and the Grid Work Together *บทความแปลได้รับอนุญาตจาก IEEE Power & Energy Society ห้ามจ�ำหน่าย ดัดแปลง หรือน�ำเนื้อหาส่วนใดส่วนหนึ่งไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต (ต่อจากฉบับที่แล้ว)

การสร้างแบบจำ�ลองความต้องการ (Demand) ในการชาร์จ EV

โครงการ MEA ได้พฒ ั นาวิธกี ารทีร่ วมการแสดงภาพแบบปรับ เปอร์เซ็นต์กบั ความต้องการชาร์จปกติ ซึง่ มีคา่ ประมาณ 3.6 kW และ Power Factor (PF) ซึ่งมีค่า 0.98 Inductive เพื่อสร้าง EV Profile ประจ�ำวัน ตามวิธกี ารเลือกแบบสุม่ วิธกี ารก�ำหนดพารามิเตอร์หลัก ของ EV ประกอบด้วย จ�ำนวนการเชือ่ มต่อต่อวัน เวลาเริม่ ชาร์จของ แต่ละจุดเชื่อมต่อ และค่าเริ่มต้นและค่าสิ้นสุดของ SOC ของแต่ละ จุดเชือ่ มต่อ รูปที่ 8 แสดงตัวอย่างของ EV Profile ส�ำหรับวันท�ำงาน จ�ำนวน 3 รายการ (EV Load 1, 2 และ 3) และแสดง Profile เฉลี่ย ของ EV จ�ำนวน 1,000 คัน ท�ำให้เห็นความแตกต่างระยะเวลาใน การเริม่ ชาร์จ (ขึน้ อยูก่ บั ค่าเริม่ ต้นและค่าสุดท้าย SOC) และ EV ทีม่ ี การชาร์จวันละ 2 ครัง้ (EV Load 1) EV Profile ได้รบั การตรวจสอบ ความถูกต้องโดยเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย Demand ของพูลที่สร้างขึ้น (“Model” ในรู ป ที่ 8) กั บ ค่ า เฉลี่ ย พฤติ ก รรมในการชาร์ จ EV ที่ตรวจวัด (“Monitored” ในรูปที่ 8) ในระหว่างที่ทดลองโครงการ ซึ่งเห็นได้ชัดว่า Model ในรูปที่ 8 สอดคล้องกับค่า Monitored โดย ค่าความต้องการไฟฟ้าเฉลี่ย (Peak Demand) สูงสุดจาก Model มีค่า 1.09 kW เกิดขึ้นในเวลาใกล้เคียงกันกับ Monitored ซึ่งมีค่า 1.08 kW (ระหว่าง 20.00 น. กับ 21.00 น.) ซึง่ การใช้พลังงานไฟฟ้า เฉลีย่ ของ Model มีคา่ 12.33 kWh น้อยกว่าค่าจาก Monitored ทีม่ ี ค่า 12.63 kWh หรือน้อยกว่าประมาณ 3% และหากไม่พจิ ารณาผล ของค่าเริม่ ต้นและสิน้ สุด SOC สามารถสร้างโปรไฟล์ของ EV จ�ำนวน 1,000 คัน โดยใช้กราฟจากในรูปที่ 5 และ 6 ทีส่ ามารถแสดงค่า Peak เฉลีย่ ของ EV ได้ในรูปที่ 8 ซึง่ ค่า Peak เฉลีย่ ในตอนเย็นจะใกล้เคียง

Modeling EV Charging Demand

The MEA project developed a methodology that combines the normalized histograms presented here as well as the typical EV demand (approximately 3.6 kW) and its power factor (0.98 inductive) to produce daily time-series EV profiles. Following a random selection approach, the methodology defines the key parameters of an EV profile: the number of connections a day, the start-charging time of each connection, and the initial and final SOC of each connection [see Quiróstortós et al. (2018) in the “For Further Reading” section]. Figure 8 shows examples of three individual EV profiles for weekdays as well as the average profile of 1,000 EVs. It highlights different start-charging times, charging durations (based on the initial and final SOCs), and an EV with two daily charges (EV Load 1). The EV profiles are validated comparing the average demand of the created pool (“Model” in Figure 8) with the average EV charging behavior monitored during the MEA trial. Clearly, the average charging behavior of the created profiles matches that of the monitored EVs. The average peak demand using the profiles (1.09 kW) occurred at nearly the same time (between 8 and 9 p.m.) as the average peak demand monitored during the trial (1.08 kW). Moreover, it was found that the average energy consumption using the created EV profiles (12.33 kWh) differed by less than 3% from the average energy consumption shown by the EVs monitored in the trial (12.63 kWh). January-February 2020


รูปที่ 8 แสดงความต้องการก�ำลังงานไฟฟ้าของ EV และ ค่าเฉลี่ยส�ำหรับวันท�ำงานของ EV จ�ำนวน 1,000 คัน Figure 8 EV profiles and average (1,000 EVs) demand (weekday).

To highlight the effects of ignoring the dependency of the initial and final SOCs on the start-charging time, a set of 1,000 EV profiles was also created using the whole-day normalized histogram shown in Figures 5 and 6. The average EV demand shown in Figure 8 demonstrates that, although the evening peak is similar to the whole-day approach, the morning peak is 0.5 kW as compared to 0.8 kW (EVs connected in the morning are likely to charge for shorter periods than those connected overnight). Finally, it was found that because the dependency of the initial and final SOCs on the start-charging time is being ignored, EV charging modeled with this whole-day alternative can (mistakenly) show approximately 13% more energy consumption (14.24 kWh) compared to the monitored charging behavior.

EVs and the Grid

รูปที่ 9 แสดงความต้องการก�ำลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยของบ้าน 1,000 หลัง ของ EV และของบ้านรวมกับ EV Figure 9 The average demand of 1,000 households, EVs, and households plus EVs (weekday). กับกราฟ Whole Day ในรูปที่ 8 ในขณะที่ Peak ช่วงเช้ามีคา่ 0.5 kW เมื่อเทียบกับกราฟ Whole Day ที่มีค่า 0.8 kW (EV ที่เชื่อมต่อใน ตอนเช้ามีแนวโน้มที่จะชาร์จในช่วงเวลาสั้นกว่าที่เชื่อมต่อข้ามคืน) และพบว่าเมื่อไม่พิจารณาผลของค่าเริ่มต้นและสิ้นสุด SOC ของ การเริ่มต้นชาร์จ พบว่าค่าพลังงานไฟฟ้าตลอดทั้งวันของ Model จะสูงกว่าประมาณ 13% (14.24 kWh) เมื่อเทียบกับค่าของเส้น Monitored

EV และระบบไฟฟ้า (กริด)

โดยทัว่ ไปแล้วสามารถสันนิษฐานได้วา่ คนจะชาร์จ EV ทีบ่ า้ น ทันทีหลังจากกลับจากการท�ำงาน หมายความว่าความต้องการชาร์จ จะเกิดขึ้นพร้อมกันกับการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ หลายอย่าง เช่น แสงสว่าง อย่างไรก็ตาม การชาร์จจะขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและ พฤติกรรมของแต่ละประเทศอีกด้วย ซึ่งจากโครงการ MEA พบว่า สมมติฐานนี้เป็นจริง ดังแสดงได้ในรูปที่ 9 กล่าวคือ ค่า Peak จาก January-February 2020

It is generally assumed that some people charge their EVs at home shortly after returning from work. This means that the corresponding EV demand could be coincident with that from the use of multiple appliances, such as lights. Although this will depend on weather and behavioral aspects (which vary from one country to another), in the MEA project this assumption holds true. As shown in Figure 9, the maximum average charging demand from 1,000 EVs (using the previous model) coincided with that of nonelectrically heated households. (The 1,000 households are assumed to have an EV.) From the perspective of DNOs, this coincident demand can translate to technical problems on their networks because it can significantly exceed the values used for the original distribution network design. For instance, if a residential low-voltage network has been designed considering an average peak demand (also known in the United Kingdom as after-diversity maximum demand) of 1-1.5 kW per house, then adding an average of 1 kW per house resulting from the widespread adoption of EVs will likely lead to voltages below the statutory limits and/or to asset thermal overloads. It is, therefore, in the interest of DNOs to evaluate how these networks will be affected by different numbers of EVs. Impacts on Low-Voltage Networks The MEA network studies first investigated the hosting capacity of three-phase low-voltage networks [modeled in openDSS (distribution system simulator)] considering EV penetration levels (i.e., the number of houses that are all single-phase connected with a single EV) from 0% to 100% in increments of 10%. The assessment, which was different from many other impact studies, followed a stochastic approach to


รูปที่ 10 ตัวอย่างข้อมูลของ (a) ระบบไฟฟ้าแรงต�ำ่ ในการใช้งานจริง (b) ผลกระทบทางด้านความร้อน Figure 10 An example of a (a) real low-voltage network and (b) its corresponding thermal impacts. EV จ�ำนวน 1,000 คัน (โดยใช้ Model ก่อนหน้า) ใกล้เคียงกับครัวเรือน ที่ไม่ใช้ความร้อนจากไฟฟ้า (1,000 ครัวเรือน จะถือว่ามี EV) จาก มุมมองของ DNO ค่า Peak Demand นีจ้ ะสามารถแปลความหมาย ได้วา่ เกิดปัญหากับระบบไฟฟ้าแล้วหรือไม่ ซึง่ พบว่าอาจเกินค่าทีใ่ ช้ ส�ำหรับการออกแบบระบบไฟฟ้าแบบเดิม ตัวอย่างเช่น ถ้าผูใ้ ช้ไฟฟ้า ประเภททีอ่ ยูอ่ าศัยรายย่อยแรงดันต�ำ่ ออกแบบจากการใช้คา่ Peak Demand ที่ค่า 1-1.5 kW ต่อหลัง จากนั้นเพิ่มเฉลี่ย 1 kW ต่อหลัง เมื่อมีการใช้งาน EV อย่างกว้างขวาง ดังนั้นจึงมีแนวโน้มที่จะเกิด ปัญหาแรงดันไฟฟ้าตก ต�ำ่ กว่าขีดจ�ำกัดหรือเกิดปัญหาด้านความร้อน จากโหลดเกิน (Thermal Overload) ดังนัน้ เรือ่ งทีน่ า่ สนใจของ DNO คือจะมีการประเมินว่าระบบไฟฟ้าจะได้รับผลกระทบจากจ�ำนวน EV ที่แตกต่างกันอย่างไร ผลกระทบต่อระบบไฟฟ้าแรงตํ่า MEA ได้ท�ำการศึกษาความสามารถของระบบไฟฟ้าแรงต�่ำ 3 เฟส ต่อการเพิ่มปริมาณของ EV (โดยจ�ำลองใน OpenDSS : Distribution System Simulator) เมือ่ พิจารณาปริมาณของ EV จาก 0% ถึง 100% โดยแต่ละบ้านจะเชื่อมต่อ EV ชนิด 1 เฟสกับระบบ แรงต�่ำ และจะแสดงความสัมพันธ์ของต�่ำแหน่งและความต้องการ ใช้งาน EV โดยรูปที่ 10 (a) แสดงให้เห็นถึงโครงสร้าง (เช่น ความยาว ความหนาแน่นของวงจร และอืน่ ๆ) ของระบบแรงต�ำ่ ของยุโรป เพือ่ น�ำเสนอผลกระทบทีส่ ำ� คัญของ EV ทีอ่ าจเกิดขึน้ และความสามารถ ในการจ่ายโหลด ในขณะที่รูปที่ 10 (b) แสดงค่า Utilization Factor (UF) เฉลี่ย (โดยพิจารณาจากความสามารถในการจ่ายโหลด) และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของหม้อแปลงและสายป้อน (Feeder) ทั้ง 6 เมื่อไม่พิจารณาปัญหาค่าแรงดันไฟฟ้าตก (ต�ำ่ กว่า 0.94 p.u.) รูปนี้

consider the uncertainties associated with the demand of households as well as the location and demand of EVs. Figure 10 (a) shows the topology (i.e., length, density of the circuits, and so on) of a real European low-voltage network as an example to discuss the potential EV impacts and the resulting hosting capacity. Figure 10 (b) presents the corresponding average utilization factor (considering the asset’s nominal capacity) and one standard deviation of the transformer and the six feeders. Voltages below the statutory limit (0.94 per unit) were negligible in this low-voltage network. This figure highlights that the transformer is the bottleneck on this example low-voltage network; its capacity is likely to be exceeded above 40% EV penetration. Overloads of the underground cables occur only for high EV penetrations (90% or more). The figure also shows that the capacity of the transformer can be exceeded by roughly 50% for high penetrations. Consequently, it is possible to conclude that the hosting capacity of this example low-voltage network is 40% and the bottleneck in the first instance is created by the transformer. The EV impact study was extended to nine low-voltage networks as part of the MEA project for a total of 31 low-voltage feeders. Figure 11 shows that more than 20% of the transformers (two of nine) can have thermal problems for a 40% penetration. For the same number of EVs, only one feeder (~3%) may experience thermal overloads. This means that the hosting capacity of similar low-voltage networks might also be constrained, in the first instance, by the transformer. As the January-February 2020


ใช้แสดงให้เห็นว่าหม้อแปลงไฟฟ้าเป็นคอขวดหรือปัญหาหลัก ต่อการเพิม่ ของปริมาณ EV กล่าวคือเมือ่ ปริมาณ EV ถึง 40% แล้ว Thermal Limit จะเกือบเกิน 100% ในขณะที่พิกัดของสายเคเบิล ใต้ดนิ จะเกิดปัญหาขึน้ เฉพาะเมือ่ มีคา่ EV Penetration สูงกว่า 90% นอกจากนี้ รูปที่ 10 (b) ยังแสดงให้เห็นว่า UF ของหม้อแปลงจะสูง เกินประมาณ 50% เมือ่ ปริมาณ EV มีปริมาณสูงหรือ 100% ดังนัน้ จึงสามารถที่จะสรุปว่าระบบแรงตํ่าสามารถรองรับ EV ได้ 40% และคอขวดคือหม้อแปลงไฟฟ้า

รูปที่ 11 ผลกระทบของ EV กับระบบแรงต�่ำจากโครงการ MEA Figure 11 The impact results on the nine low-voltage networks (nine transformers and 31 feeders) involved in the MEA project. โครงการ MEA ได้ศึกษาผลกระทบของ EV กับระบบแรงต�่า จ�ำนวนหม้อแปลง 9 เครือ่ ง รวม 31 Feeder รูปที่ 11 แสดงให้เห็นว่า มากกว่า 20% ของหม้อแปลง (2 ใน 9) มีปัญหาเรื่องความร้อน เมือ่ EV มีคา่ กว่า 40% ส�ำหรับจ�ำนวน EV ทีเ่ ท่ากันมีเพียง 1 Feeder (~3%) เท่านั้นที่อาจมีปัญหาความร้อนสูงเกิน หมายความว่า ความสามารถในการจ่ายโหลดของระบบแรงต�ำ่ ทีค่ ล้ายกันถูกจ�ำกัด ด้วยหม้อแปลงไฟฟ้าเป็นหลัก ในขณะทีห่ าก EV เพิม่ ขึน้ สูงกว่า 70% หม้อแปลง 4 ใน 9 จะจ่ายโหลดเกิน (Overload) และมากกว่า 15% ของ Feeders จะเกิดปัญหาเรือ่ งความร้อน และเมือ่ ปริมาณ EV เป็น 90% และ 100% (บ้านทุกหลังมี EV) พบว่ามีเพียง 2 Feeder ที่มี ความยาวกว่าที่อื่น ที่มีปัญหาเรื่องแรงดันไฟฟ้าตก หมายความว่า ระบบไฟฟ้ า แรงต�่ำอาจมี ป ั ญ หาด้ า นแรงดั น ไฟฟ้ าเมื่อ มี EV มี ปริมาณสูงมาก

penetration of EVs increases above 70%, four of the nine transformers will operate beyond their nominal capacity, and more than 15% of the feeders will require intervention because of thermal issues. The latter can increase to 20% for 100% EV penetration (all houses with an EV). For 90 and 100% EV penetration levels, only two (long) feeders with voltages lower than the statutory limits were found. This means that some low-voltage networks may be constrained by voltages when very high EV penetrations occur. สำ�หรับการอ่านเพิ่มเติม (For Further Reading) International Energy Agency. (2017, June). Global EV outlook 2017: Two million and counting. IEA. Paris, France. [Online]. Available: https://www. iea.org/publications/freepublications/publication/ GlobalEVOutlook2017.pdf EA Technology. (2016, Mar.). My Electric Avenue—Project closedown report. EA Tech. Chester, U.K. [Online]. Available: http://myelectricavenue.info/ sites/default/files/documents/close%20down%20 report.pdf J. Quirós-Tortós, A. Navarro-Espinosa, L. F. Ochoa, and T.Butler, “Statistical representation of EV charging: Real data analysis and applications.” in Proc. PSCC, 2018, pp. 1-6. J. Quirós-Tortós, L. F. Ochoa, S. W. Alnaser, and T. Butler, “Control of EV charging points for thermal and voltage management of LV networks.” IEEE Trans. Power Syst., vol. 31, no. 4, pp. 30283039, 2016. ประวัติผู้เขียน (Biographies) Jairo Quirós-Tortós is with the University of Costa Rica, San Jose. Luis (Nando) Ochoa is with the University of Melbourne, Australia, and the University of Manchester, United Kingdom. Timothy Butler is with EA Technology, Chester, United Kingdom. ผู้แปลและเรียบเรียง ดร.จักรเพชร มัทราช ผู้อ�ำนวยการกองวางแผนงาน ระบบไฟฟ้าอัจฉริยะ ฝ่ายวางแผนระบบไฟฟ้า การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค

January-February 2020


https://pixabay.com/illustrations/ digitization-transformation-4689530/

การคาดการณ์

Article

> ฟาบิโอ ทิวิติ รองประธานบริษัท อินฟอร์ อาเชียน > Fabio Tiviti Vice President, ASEAN, Infor

แนวโน้ม 1. ด้านซัพพลายเชน :

ความยั่งยืนเป็นสิ่งจำ�เป็น

มองไปข้างหน้ากับวิสย ั ทัศน์ของปี 2563

7 Supply Chain

Predictions : Looking Ahead with 2020 Vision

ปี พ.ศ. 2563 จะมาถึงพร้อมความมุง่ มัน่ ขององค์กรต่างๆ ท่ามกลาง นวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นด้วยความรวดเร็วอย่างที่ ไม่มีใครเคยสัมผัสมาก่อน เราก�ำลังประสบกับการปฏิวัติสู่ระบบดิจิทัล ทีเ่ ปลีย่ นแปลงวิถชี วี ติ ความเป็นอยู่ การท�ำงาน และการมีปฏิสมั พันธ์ของ ผูค้ น พลังของข้อมูลเหมือนดอกไม้ทเี่ พิง่ จะเริม่ บานจากการทีเ่ ราใช้ขอ้ มูล เพื่อประกอบการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ และเราก�ำลังได้เห็นผลลัพธ์ที่มี คุณค่าโดดเด่นจากการใช้งานปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในขณะเดียวกัน การเคลือ่ นไหวในการปกป้องโลกและการด�ำเนินงานอย่างมีความรับผิดชอบ ยังคงเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญ นอกจากนี้ กระบวนการลดการพึ่งพา ซึ่งกันและกัน และการรวมตัวกันของกลุ่มต่างๆ ทั่วโลกยังเป็นเหมือน คลื่นใต้น�้ำที่ท�ำให้แนวทางและวิธีการปฏิสัมพันธ์กันของประเทศต่างๆ และองค์กรต่างๆ เปลี่ยนไป แนวโน้มและประเด็นหลักบางประการที่เราน่าจะได้เห็นเป็นรูป เป็นร่างในปี พ.ศ. 2563 The year 2020 approaches with promise amidst a backdrop of innovation and transformation occurring at a speed never witnessed before. We’re experiencing a digital revolution that is changing the way we live, work and interact with one another. The power of information is just beginning to blossom as more of our decisions are based on data and use cases for artificial intelligence are delivering significant value. Meanwhile, global movements to protect the planet and operate responsibly continue to grow in importance. And an undercurrent of de-globalization continues to change the way countries and companies interact with each other. Here’s a look at some of the emerging trends and themes you can expect take shape in 2020.

ความยั่งยืนก�ำลังจะเป็นสิ่งที่อุตสาหกรรมหลากหลาย จ�ำเป็นต้องมี ไม่เพียงแต่เฉพาะผูค้ า้ ปลีกและบริษทั จ�ำหน่าย/ ผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคเท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงธุรกิจในทุกวงการ อีกด้วย ไม่เว้นแม้แต่ในเรือ่ งของการสรรหาบุคลากรทีม่ คี วาม สามารถ กล่าวได้วา่ ความรับผิดชอบด้านสิง่ แวดล้อมจะกลาย เป็นประเด็นหลักในการหาเสียงเพื่อแข่งขันเลือกตั้งทั่วโลก ในปี พ.ศ. 2563 ตัวอย่างหนึง่ จะเห็นได้จากโครงการส�ำคัญทีเ่ กิดขึน้ ใน วันที่ 1 มกราคม 2563 คือ การทีอ่ งค์การทางทะเลระหว่าง ประเทศ (International Maritime Organization : IMO) จะเริ่มมาตรการ IMO 2020 ที่บังคับให้เรือทุกล�ำลดการ ปล่อยก�ำมะถันหรือก๊าซซัลเฟอร์ในการเดินเรือ จากปัจจุบนั ที่ 3.5% ให้เหลือเพียง 0.5% เพือ่ ลดมลพิษทางอากาศให้กบั โลก มาตรการนีจ้ ะส่งผลกระทบทีช่ ดั เจนต่ออุตสาหกรรมการขนส่ง ไม่ว่าจะเป็นการลงทุนในระบบดักจับเขม่าควันและเชื้อเพลิง ซัลเฟอร์ตำ�่ ทีแ่ สนแพงและท�ำให้ผลก�ำไรลดลง โดยทีผ่ ใู้ ห้บริการ และผูข้ นส่งตัง้ รับปรับตัวกันไม่ทนั การแล่นเรือด้วยความเร็วต�า่ ท�ำให้ระยะเวลาในการเดินทางนานขึ้น และเป็นตัวบังคับให้ ระบบนิเวศทั้งระบบต้องจัดโครงสร้างใหม่เพื่อให้เป็นไปตาม แผนการผลิตและการส่งมอบสินค้าให้ถึงมือลูกค้า ภายใต้ กฎข้อบังคับของมาตรการใหม่ที่กำ� ลังจะเกิดขึ้น

1.

Sustainability Required

Sustainability is becoming a requirement in many industries. For not only retailers and consumer goods companies, but businesses of all stripes, sustainability is increasingly expected by customers, shareholders and the masses. It is even becoming increasingly important in talent recruitment. Environmental responsibility will be a core issue in the 2020 U.S. presidential race and elections around the globe. One major initiative, the IMO 2020 low-sulfur mandate, kicks in on January 1st. IMO has the potential to hit the shipping industry with eye-opening impact. Demand for costly scrubbers and low-sulfur fuel will eat into margins and catch many carriers and shippers offguard. Slow steaming will add days to already lengthy trips, forcing entire ecosystems to re-structure how they plan and execute on the production and delivery of goods while meeting requirements. https://pixabay.com/photos/berge-stahlport-rotterdam-ship-906624/

January-February 2020


3.

ซัพพลายเชนให้บริการอยู่ในพื้นที่

https://pixabay.com/illustrations/stackedcontainers-logistic-2646480/

2.

ขจัดการขนส่งทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดรายได้

ด้วยเป้าของธุรกิจทีเ่ น้นการเติบโตอย่างยัง่ ยืน และมีประสิทธิภาพ เมือ่ ใดทีม่ กี ารขนส่งตูค้ อนเทนเนอร์ เปล่า ก็จะกลายเป็นประเด็นร้อนต่อทุกภาคส่วน ที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมการขนส่งสินค้า ในแง่ การขนส่งนั้น ความสูญเปล่าหมายถึงการสิ้นเปลือง เชื้อเพลิงมากขึ้น ปล่อยคาร์บอนออกสู่บรรยากาศ มากขึน้ และผูข้ บั ขีย่ านพาหนะใช้เวลานานหลายชัว่ โมง ไปโดยเปล่าประโยชน์ การขนส่งทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดรายได้ กลายเป็ น ตั ว ถ่ ว งการขยายตั ว ของเศรษฐกิ จ และ อุตสาหกรรม เพราะธุรกิจต่างๆ ต้องจ่ายเงินมากขึน้ ในการขนส่งสินค้า บริษทั ขนส่งจะค�ำนึงถึงการ ขนส่งทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดรายได้สว่ นนีด้ ว้ ย และจะค�ำนวณ ค่าใช้จ่ายเพิ่มลงไปในค่าบริการ นั่นหมายถึงทุกฝ่าย ทีเ่ กีย่ วข้อง ไม่วา่ จะเป็นบริษทั ขนส่งไปจนถึงผูบ้ ริโภค ปลายทาง รวมถึงผู้ที่อยู่ในห่วงโซ่ไม่ว่าจะด้านใด ล้วนต้องจ่ายค่าใช้จ่ายให้กับการขนส่งที่ไม่ก่อให้เกิด รายได้นั้นในท้ายที่สุด

2.

Eliminating Empty Miles

With a growing focus on sustainability and efficiency, empty containers will be an increasingly hot button across athe shipping industry. In freight, waste means that more fuel is consumed, more carbon is emitted, and drivers spend more hours sitting idle. Empty miles, non-revenue miles or deadhead miles are a drag on the industry and economy, as businesses pay more to move goods. Carriers account for their own expectations for empty miles when deciding how much they charge for any particular load, so everyone from shippers down to end consumers – and, of course, the environment – ultimately pay the cost of empty miles. January-February 2020

ในปี พ.ศ. 2562 เราได้เห็นการย้ายฐานงานด้านซัพพลายเชนใน บางพืน้ ที่ เช่น ในประเทศจีน ด้วยสาเหตุจากปัญหาด้านภาษีและความขัดแย้ง ทางการค้า ในปี พ.ศ. 2563 จะเกิดสิง่ ส�ำคัญคือการเปลีย่ นไปเป็นเศรษฐกิจ ที่ยั่งยืนด้วยตนเอง โดยที่ซัพพลายเชนต้องพึ่งพาทรัพยากรภายในประเทศ และคู่ค้าที่มี ซึ่งเรื่องนี้จะเกิดในสหรัฐอเมริกา จีน และในประเทศที่มีระบบ เศรษฐกิจที่พัฒนาแล้วอื่นๆ เป็นส่วนใหญ่ ภาคการผลิตจะอยู่ในลักษณะ “ผลิตในประเทศและส่งมอบในประเทศ” มากขึ้น ผู้บริโภคก็มีแนวโน้มที่จะ ใช้แบรนด์ภายในประเทศมากขึ้นเช่นกัน ในประเทศจีน ผู้บริโภคหันไปใช้ แบรนด์เสื้อผ้า อุปกรณ์ไฮเทค โทรศัพท์ และรถยนต์ของจีนมากขึ้นเรื่อยๆ แทนทีจ่ ะเป็นแบรนด์จากตะวันตก ส�ำหรับสหรัฐอเมริกา บริษทั ต่างๆ ก�ำลัง รับมือกับความตึงเครียดทีจ่ ะเกิดขึน้ ในระยะยาวกับจีน โดยต้องปรับเปลีย่ น เครือข่ายซัพพลายจากจีนไปเป็นประเทศอืน่ ๆ และสร้างเครือข่ายใหม่ๆ ที่ อยู่ใกล้กับสหรัฐฯ มากขึ้น

4.

ความเฉลียวฉลาดและสติปัญญาของมนุษย์ เป็นต้นแบบให้กบ ั AI

จิตใจมนุษย์กับ AI จะเชื่อมโยงถึงกันมากขึ้น นักวิจัยได้มีการศึกษา เชิงลึกเกี่ยวกับจิตใจมนุษย์รวมไปถึงทารก เพื่อความเข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับ การเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาได้ตั้งแต่อายุยังน้อย เป้าหมายคือเพื่อยกระดับ รูปแบบของปัญญาประดิษฐ์ (AI) และการเรียนรู้ของเครื่องจักร (ML) ให้ ท�ำงานได้ราบรืน่ อยากรูอ้ ยากเห็น หยัง่ รูแ้ ละเข้าใจได้มากขึน้ โปรแกรม ML ในปัจจุบันต้องอาศัยการป้อนข้อมูลภาพหลายพันภาพเพื่อสอนให้เครื่อง เหล่านั้นจดจ�ำว่าวัตถุหรือสิ่งมีชีวิตธรรมดาๆ เช่น แมวมีรูปร่างหน้าตาเป็น อย่างไร ถึงกระนัน้ ก็ตาม ข้อผิดพลาดก็ยงั คงเกิดขึน้ ได้หาก ML ได้รบั ภาพที่ ไม่ชดั เจนพอ ในทางกลับกัน ทารกจะเรียนรูผ้ า่ นประสบการณ์ทหี่ ลากหลาย ว่าแมวมีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร ซึ่งอาจจะเกิดจากการได้เห็นภาพหรือ รูปวาดในหนังสือ นอกจากนี้ เด็กยังเรียนรูผ้ า่ นการทดลองและความอยากรู้ อยากเห็นของตัวเองอีกด้วย ดังนัน้ เพือ่ ให้ ML สามารถลอกเลียนประสบการณ์ แบบนีไ้ ด้ จึงมีการพัฒนาการให้รางวัลกับ ML บางระบบทีส่ ามารถเลียนแบบ ความช่ า งสงสั ย ในลั ก ษณะนี้ ไ ด้ โ ดยจะต้ อ งมี ค วามถู ก ต้ อ งแม่ น ย� ำด้ ว ย การวิจยั ในเรือ่ งของการเชือ่ มโยงสมองมนุษย์ไปสู่ AI จะเพิม่ และเริม่ แสดงผล ทีช่ ดั เจนมากขึน้ อย่างแน่นอนหากมีการพัฒนาต่อด้วยการเสริมคุณลักษณะ ของมนุษย์เข้าไปในเครื่องจักร การที่ซัพพลายเชนก�ำลังจะใช้ระบบอัตโนมัติมากขึ้น แพลตฟอร์ม ML และ AI จะเรียนรูด้ ว้ ยการเฝ้าดูพฤติกรรมของมนุษย์ และสัญญาณต่างๆ จากข้อมูลทีไ่ ด้จากทุกฝ่าย ทุกภูมภิ าค และจากทุกระบบซัพพลายเชน เพือ่ จะได้ เข้าใจความซับซ้อนและความหลากหลายของการค้าโลก กระบวนการการท�ำงาน บางอย่างอาจย้ายไปอยูใ่ นสถานะทีถ่ อยห่างออกไป ในขณะทีก่ ระบวนการ ที่ซับซ้อนอื่นๆ ที่ต้องการการท�ำงานร่วมกันหลายฝ่ายและหลายเครือข่าย นั้น ML และ AI จะต้องการการเรียนรู้จากมนุษย์เป็นอย่างมาก


3.

Supply Chains Retreat Inward

In 2019, we saw supply chains shift out of regions such as China due to tariffs and trade conflict. In 2020 an emphasis will shift towards self-sustaining economies with supply chains relying on domestic resources and trading partners where possible. This will occur primarily in the US, China and other developed economies. Production will increasingly lean towards “produce locally, deliver locally.” On the consumer side, there’s a growing trend towards domestic brands. In China, consumers are increasingly turning to Chinese brands for clothing, high-tech gadgets and phones, and cars – and increasingly shunning Western names. In the US, companies are preparing for long term tensions with China by diversifying their supply networks beyond China and building up new networks elsewhere, in many cases closer to home.

4.

Human Intelligence Molds Artificial Intelligence

Greater linking between the human mind and artificial intelligence is emerging. Researchers have advanced studies of the human mind, including infants, to better understand how learning develops at an early age. The goal is to enhance artificial intelligence and machine learning models to be less linear and ridged, and more curious and perceptive. Current machine learning engines require feeding thousands of labeled images to teach machines to recognize what simple objects or animals such as a cat looks like. Yet errors are still prone when images of blurred shapes resembling that object are presented. An infant, on the other hand, learns through a handful of experiences what a cat looks like, and these might be actual photos or drawings in books. Infants also learn through experimentation and curiosity. In order to imitate this experience, some ML programs are being developed to be rewarded for curiosity versus accuracy. This research, linking human brains to AI, will increase and begin to show specific results in further enhancing human attributes in machines. As supply chains progress towards autonomous processes, machine learning and AI platforms will continue to learn by observing humans and data signals that span across parties, regions and supply chains, to understand the complexities and nuances of global trade. Some workflows will move to lights-out status, while many other complex scenarios involving multi-party collaboration and network-wide orchestration will require greater learning from their human counter-parts. https://pixabay.com/photos/hand-type-keyboard-money-finance-2722107/

5.

บรรทัดฐานทางอุตสาหกรรม เกิดการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่

แบรนด์สินค้าสุดหรู หลุยส์ วิตตอง ประกาศ แผนการเปิดโรงงานขนาด 100,000 ตารางฟุต ใน รัฐเท็กซัสเมื่อเดือนตุลาคมที่ผ่านมา การประกาศนี้ เป็นตัวอย่างล่าสุดของการเปลี่ยนแปลงแนวปฏิบัติ ที่ดีที่สุดของอุตสาหกรรมการผลิตสินค้าคุณภาพสูง การผลิตกระเป๋าคุณภาพสูงนั้นขยายตัวขึ้นเรื่อยๆ ในปัจจุบันมีโรงงานผลิต 8 ใน 24 แห่งที่เปิดท�ำการ นอกประเทศฝรั่งเศส ในเดื อ นพฤศจิ ก ายน กลุ ่ ม บริ ษั ท เมิ ร ์ ส ์ ก ทีด่ ำ� เนินการเกีย่ วกับโลจิสติกส์และพลังงาน ประกาศ การดึงเงินลงทุนจากการเดินเรือทะเลไปใช้กับบริการ ทางบกแทน ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของการริเริม่ เพือ่ ผลักดัน การเติบโตของบริษทั แซ้น สเกา ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร กล่าวว่า “เราจ�ำเป็นต้องเติบโตด้วยการเข้า ซือ้ ทีด่ นิ เพือ่ ท�ำคลังสินค้า และให้บริการด้านศุลกากร เราลงทุนไปแล้วประมาณ 1 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ในซัพพลายเชนด้านที่ดิน และจะลงทุนเพิ่มอีกหลาย ร้อยล้านเหรียญในปีหน้า” เป็นที่คาดว่า ในปี พ.ศ. 2563 จะมีการปฏิบัติ ที่เป็นมาตรฐานมากขึ้น เนื่องจากธุรกิจต่างๆ พากัน แสวงหาวิธีการใหม่ๆ เพื่อคิดค้นและให้บริการลูกค้า ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางการค้าที่ตึงเครียด

5.

Upheaval of Industry Norms

In October, luxury brand Louis Vuitton announced plans to open a 100,000 square foot factory in Texas, the latest example of a shift away from industry best practices of consolidated production of high-end goods. Production of its high-end handbags are increasingly spread out, with 8 of its 24 manufacturing sites now residing outside of France. In November, Maersk announced a pullback on ocean vessel investments, stating an intention to focus on land services as part of a broader initiative to drive growth. “We need to grow in acquisitions on land warehouses and customs house clearing services.” Chief Executive Søren Skou said. “We have invested around $1 billion already on the land side supply chain and we are looking to put in hundreds of millions more over the next year.” In 2020, expect more upheaval of standard practices as businesses seek new ways to innovate and serve customers within the confines of a tense trade environment. January-February 2020


การเมืองและการค้าที่พวั พันกัน มากขึ้น

6.

7.

6.

Politics and Commerce Become Increasingly Intertwined

7.

การเปลี่ยนแปลงนโยบายการค้าต่างๆ ในปี พ.ศ. 2562 ถูกมองว่าเป็นเรือ่ งกวนใจ แต่สำ� หรับปี พ.ศ. 2563 นโยบายประเภทนีจ้ ะกลายเป็นส่วนหนึง่ ของความเป็นจริง ใหม่ๆ ทีเ่ ราต้องเผชิญ ความผันผวนทางการเมืองและความ สัมพันธ์ระหว่างประเทศคาดว่าจะทวีความรุนแรงมากขึน้ อัตราภาษีและกฎระเบียบทางการค้าจะกลายเป็นเรือ่ งหลัก ในการก�ำหนดการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ทางธุรกิจ และทุกคน ตั้งแต่หัวหน้าที่ดูแลด้านซัพพลายเชน ตลอดไปจนถึง ผู ้ จั ด การโลจิ ส ติ ก ส์ จ ะต้ อ งติ ด ตามความเปลี่ ย นแปลง ทางการค้าที่เกิดขึ้นตลอดเวลาเพื่อจะได้ไม่พลาดในการ ท�ำธุรกิจ ความไม่แน่นอนจะยังคงเกิดขึ้นเป็นเรื่องปกติ เพราะความเป็นชาตินิยมและความขัดแย้งทางการค้า จะยังคงก่อให้เกิดความไม่ลงรอยอีกมากมาย และในปี พ.ศ. 2563 เราจะได้เห็นการรายงานข่าวการเมืองทีเ่ มือ่ ก่อน แยกจากข่าวทางธุรกิจ วันนี้ข่าวทั้งสองแบบในหลายๆ ประเด็นจะไม่แยกจากกันอีกต่อไป

In 2019 shifting trade policies were perceived as a distraction. In 2020, they’ll be addressed as simply part of the new reality we live in. Expect geopolitical volatility and relations between countries to become increasingly abrasive. Tariffs and trade regulations will become mainstays in business strategy discussions and everyone from chief supply chain officer to logistics manager will be keeping tabs on trade developments as a matter of doing business. Uncertainty will remain the norm for the foreseeable future with nationalism and trade conflict acting as the source of much of the friction. Whereas news coverage of politics and business were once separate areas, in 2020 the two will be inseparable in many ways.

ก้าวต่อไป

กำ�แพงเบอร์ลินดิจิทล ั

คริสตาลินา จอร์จวิ า่ ผูอ้ ำ� นวยการกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ได้กล่าวไว้วา่ “แม้จะมีการเติบโตทางการค้าเพิม่ ขึน้ ในปี พ.ศ. 2563 แต่ความไม่ลงรอยกันในปัจจุบนั อาจท�ำให้เกิดความเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะส่งผล ไปอีกนาน ไม่วา่ จะเป็นซัพพลายเชนทีอ่ ยูใ่ นภาวะวิกฤต ภาคการค้าทีต่ า่ งคน ต่างท�ำ และ ‘ก�ำแพงเบอร์ลินดิจิทัล’ ที่บีบคั้นให้ประเทศต่างๆ ต้องเลือกใช้ ระบบทางเทคโนโลยี” ‘ก�ำแพงเบอร์ลนิ ดิจทิ ลั ’ เป็นการเปรียบเทียบให้เห็นถึง อุปสรรคต่างๆ ที่เพิ่งเกิดขึ้นและผลกระทบจากเทคโนโลยีที่มีต่อการค้า ทั้งนี้ การหดตัวของงานด้านซัพพลายเชน และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีดา้ นต่างๆ ที่ได้ฝังแน่นอยู่ในวงการการค้า ท�ำให้ความเคลื่อนไหวบางประการที่เกิดขึ้น ในปัจจุบนั อาจส่งผลระยะยาวกับระบบซัพพลายเชน บวกกับการตัง้ ก�ำแพงกีดกัน โดยฝ่ายต่างๆ และพื้นที่ตามภูมิภาคต่างๆ ทัง้ นีค้ วามคล่องตัวและความยืดหยุน่ ทีม่ อี ยูท่ วั่ โลก และการเน้นความส�ำคัญ กับการขยายตัวของโลกาภิวตั น์ทมี่ มี าเป็นเวลาหลายปี จะเกิดการเปลีย่ นแปลง ณ จุดนี้ ความสามารถในการปรับตัวและความยืดหยุ่นยังคงเป็นสิ่งส�ำคัญ แต่ ความสามารถในการให้บริการและให้การสนับสนุนซัพพลายเออร์ทอี่ ยูน่ อกเขต ของฮับทีใ่ ห้บริการปกติได้อย่างรวดเร็ว จะกลายเป็นสิง่ จ�ำเป็นขึน้ มาทันทีเมือ่ เกิด การติดขัดด้านดิจทิ ลั นอกจากนี้ การจัดการกับความเสีย่ งต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว เช่น วัตถุดบิ และปัจจัยการผลิตทีอ่ าจขาดแคลนหรือมีราคาแพงขึน้ มาแบบทันที ทันใด ก็เป็นสิ่งจ�ำเป็นที่มีผลต่อการแข่งขัน Kristalina Georgieva, new director of the IMF, called out in her inaugural speech that, “Even if growth picks up in 2020, the current rifts could lead to changes that last a generation – broken supply chains, siloed trade sectors, a ‘digital Berlin wall’ that forces countries to choose between technology systems.” The Digital Berlin Wall metaphor emphasizes emerging barriers and the impact technology is having on trade. As supply chains retreat inward and technology enhancements are further ingrained in trade, some of the moves being made today could have long term ramifications on supply chains, with parties or regions becoming walled off. Global agility and flexibility, points of focus for years as globalization expanded, takes a turn here. Resilience and flexibility remain important, but suddenly the ability to rapidly on-board and support suppliers outside of traditional sourcing hubs becomes essential as new digital barriers arise. Raw materials and essential input may suddenly become unavailable or costly. The need to act swiftly in the face of such risks will be essential to competing.

เมือ่ เข้าสูป่ ี พ.ศ. 2563 สิง่ ทีส่ ำ� คัญมากอย่างไม่เคยเป็นมาก่อนส�ำหรับ ธุรกิจต่างๆ คือการต้องเชื่อมโยงกับพันธมิตรในต่างประเทศอย่างทั่วถึง การท�ำงานร่วมกัน การรับรูส้ ถานะและได้รบั ข้อมูลทีเ่ ชือ่ มโยงกันระหว่างฝ่าย ต่างๆ ถือเป็นปัจจัยส�ำคัญต่อการเจริญเติบโตในอนาคตที่เต็มไปด้วยความ ไม่แน่นอนและอัดแน่นไปด้วยความกดดันนานัปการ บริษทั ทีเ่ ตรียมการเชือ่ ม ประสานซัพพลายเชนของตนให้เป็นเครือข่ายเดียวกัน จะมีความคล่องตัวและ ความเร็วในการด�ำเนินงาน สามารถรับรูแ้ ละตอบสนองเชิงรุกต่อความต้องการ ของลูกค้า สิง่ นีจ้ ะเป็นข้อได้เปรียบในการแข่งขันทีส่ ำ� คัญในปี พ.ศ. 2563 และ ทีย่ งิ่ ไปกว่านัน้ คือจะส่งผลให้บริษทั ก้าวขึน้ มาโดดเด่นเป็นผูน้ ำ� ในอุตสาหกรรม ของตน January-February 2020

The Digital Berlin Wall

Next Steps

Moving into 2020, it’s more important than ever for businesses to be thoroughly connected to their overseas partners. Collaboration, visibility and free-flowing data between parties are essential ingredients for thriving in a future that is increasingly uncertain and pressure-packed. Those companies that orchestrate their supply chain as a single cohesive network will have the agility and executional speed to proactively sense and respond to meet their customers’ needs. This will be a significant competitive advantage in 2020 and beyond, separating industry leaders from the laggards.


Article

> ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

10 ข่าว

วิทยาศาสตร์ แห่งปี 2562 ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ส�ำรวจความคิดเห็นออนไลน์ของบุคลากร ประกอบด้วยนักวิจยั อาจารย์ และผูเ้ กีย่ วข้อง อื่นๆ เกี่ยวกับการค้นพบครั้งส�ำคัญทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมระดับโลก ที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2562 โดยมีผู้ตอบ แบบส�ำรวจในแวดวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทงั้ หมดรวม 269 คน โดยสรุปผลการส�ำรวจข่าววิทยาศาสตร์แห่งปี 2562 10 อันดับแรก เรียงตามล�ำดับดังนี้คือ

1

ภาพถ่ายแรกสุดของหลุมดำ�

2

รักษาเอดส์ให้หายขาดได้

เดือนเมษายน 2562 ผูอ้ ำ� นวยการ EHT (Event Horizon Telescope) ประกาศผลส�ำเร็จของคณะนักวิจยั ใน 7 ประเทศและชุดเปเปอร์หลายฉบับ ที่ตีพิมพ์ใน The Astrophysical Journal Letters รวมทั้งภาพถ่ายหลุมด�ำ มวลมหาศาลเป็นพิเศษ (เท่ากับ 6.5 พันล้านเท่าของดวงอาทิตย์ของเรา) ทีอ่ ยูใ่ กล้กบั กาแล็กซี M87 โดยมันอยูห่ า่ งจากโลก 5.5 ล้านปีแสง การทีจ่ ะ จับภาพวัตถุที่อยู่ไกลขนาดนั้นและมองไม่เห็น เพราะไม่มีแสงในตัวเอง ต้องใช้กล้องโทรทรรศน์ขนาดใหญ่เท่ากับโลก แต่ EHT แก้ปัญหาโดยใช้ ชุดกล้องนับสิบตัวทีก่ ระจายอยูท่ วั่ โลก และใช้เวลาราว 2 ปีในการถ่ายภาพ วิเคราะห์ และประมวลผล เพื่อสร้างภาพถ่ายหลุมด�ำนี้ขึ้นมำ

ขณะนีม้ คี นติดเชือ้ HIV อยูเ่ กือบ 37 ล้านคน และมีคนเสียชีวติ นับล้าน ในแต่ละปี ปีนี้มีการทดลองน�ำ Retroviral Nanoparticle มาใช้ ซึ่งประสบ ความส�ำเร็จป้องกันการเพิ่มจ�ำนวนไวรัสได้ 99% ในสัตว์ทดลอง และยังมี การทดลองใช้ CRISPER ในการตัดดีเอ็นเอไวรัส ซึ่งประสบความส�ำเร็จ มากกว่า 30% ในหนูทดลอง ส�ำหรับในคน ปีนมี้ ผี ปู้ ว่ ยรายที่ 2 ทีร่ กั ษาหายขาด จากโรคนีไ้ ด้ (รายแรกเมือ่ 12 ปีทแี่ ล้ว) โดยรักษาด้วยการปลูกถ่ายไขกระดูก

January-February 2020


3

4

January-February 2020

คืบหน้าสู่ Quantum Supremacy

บริษทั Google ประกาศในเดือนตุลาคม 2562 ว่า ประสบความส�ำเร็จ ในการสร้างคอมพิวเตอร์ควอนตัม (Quantum Computer) โดยตัวประมวลผล ควอนตัมแบบ 53 Qubit ที่สร้างขึ้นสามารถแก้โจทย์ปัญหาที่เครื่องซูเปอร์ คอมพิวเตอร์แบบเดิมใช้เวลา 10,000 ปีในการแก้ในเวลาเพียง 200 วินาที Hartmut Niven ผู้อ�ำนวยการ Quantum Artificial Intelligence Lab ของ กูเกิลประเมินว่า การเติบโตของความสามารถในการค�ำนวณจะไม่เป็นแบบ ยกก�ำลัง (Exponential) เลขตัวเดียว ดังกฎของมัวร์เคยท�ำนายไว้อีกต่อไป แต่จะเติบโตแบบยกก�ำลังเลขสองตัวในไม่ช้ำ

โลกกำ�ลังร้อนจนละลาย

ปีนมี้ รี ายงานการละลายของน�ำ้ แข็งบนโลกมากมาย ครอบคลุมตัง้ แต่ กรีนแลนด์ถงึ แอนตาร์กติกา ไปจนจรดสุดยอดเขาหิมาลัย โดยเป็นการละลาย แบบมีความเร่ง หากยังคงความเร่งอย่างทีเ่ ป็นอยู่ ธารน�ำ้ แข็ง (Glacier) จะ ละลายจนแตกออกไปจนหมดทั่วโลกก่อนสิ้นศตวรรษนี้ ทีมวิจัยเดนมาร์ก ตีพมิ พ์ใน Science Advances ประเมินว่าเฉพาะกรีนแลนด์ทเี่ ดียว หากน�ำ้ แข็ง ละลายหมดก็จะท�ำให้ระดับน�้ำทะเลสูงขึ้นถึง 13 นิ้ว

5

กัญชารักษาทุกโรค?

6

ผ่าทางตันสร้างสมองจิ๋ว

ปี พ.ศ. 2562 เป็นปีทผี่ ลิตภัณฑ์ทมี่ สี าร CBD (Cannabidiol) ในกัญชำ ออกสูท่ อ้ งตลาดเยอะมาก มีความหลากหลายสูง ตัง้ แต่นำ�้ ดืม่ กัญชา กาแฟ กัญชา ไปจนถึงเครือ่ งส�ำอาง และแม้แต่ยารักษาโรคในสุนขั หลายทศวรรษ ที่ผ่านมา ผลิตภัณฑ์กัญชาจะมี THC เป็นตัวหลัก แม้ว่าพืชใกล้เคียงกัน (กัญชง) จะไม่มตี วั นีก้ ต็ าม แต่ยาเพียงชนิดเดียวทีม่ สี ารจากกัญชาและได้รบั การอนุมัติโดย อย. สหรัฐฯ ก็คือ Epidiolex ที่ใช้รักษาโรคลมชัก แต่ปีนี้มี เปเปอร์อธิบายสรรพคุณอีกหลายด้าน ตัง้ แต่การใช้เป็นยาฆ่าเชือ้ ลดความ กังวล และลดผลกระทบจากอาการ PTSD และยังมีความเชื่อว่ารักษาโรค อื่นๆ ได้อีกมากมายที่ยังไม่ผา่ นการพิสูจน์

นักวิทยาศาสตร์สร้างสมองขนาดเท่ายางลบดินสอได้มาหลายปีแล้ว เรียกว่า Brain Organoids แต่ปญ ั หาทีพ่ บคือ เซลล์ตรงกลางก้อนสมองจิว๋ นี้ จะตายเพราะไม่มีเส้นเลือดน�ำอาหารและออกซิเจนไปหล่อเลี้ยง ปีนี้มี นักวิทยาศาสตร์ทเี่ อาชนะปัญหานีไ้ ด้ กลุม่ แรกใส่เมมเบรนคัน่ สมองส่วนในไว้ ส่วนอีกทีมหนึง่ อาศัยการปรับสูตรอาหารเลีย้ ง โปรตีน และเลีย้ งสมองไว้บน ขัว้ ไฟฟ้า 9 เดือนให้หลังสามารถตรวจพบคลืน่ ไฟฟ้าทีซ่ บั ซ้อนปริมาณมาก และโปรแกรมคอมพิวเตอร์แยกแยะข้อมูลที่ได้ออกจากคลื่นสมองทารก ไม่ได้เลย สมองแบบนี้มีประโยชน์ในการใช้ศึกษาโรคและหาวิธีการรักษำ


7

สำ�รวจวัตถุที่ไกลที่สุดที่เคยทำ�ได้

8

ทดสอบดัดแปลงยีนด้วย CRISPR ในระดับคลินิก

9

สิ่งมีชีวิตนับล้านเสี่ยงสูญพันธุ์

ยานอวกาศ New Horizons ทีเ่ คยส�ำรวจดาวพลูโตในปี พ.ศ. 2558 เคลือ่ นผ่านวัตถุทไี่ กลทีส่ ดุ เท่าทีม่ นุษย์เคยส�ำรวจด้วยยานอวกาศในวันปีใหม่ พ.ศ. 2562 ดาวเคราะห์น้อยดังกล่าวมีชื่อว่า Ultima Thule หรือชื่อแบบ ทางการคือ 2014 MU69 ที่เป็นก้อนหินอวกาศรูปทรงคล้ายตุ๊กตาหิมะ ซึ่งอยู่หา่ งจากโลกราว 4,000 ล้านไมล์ โดยอยู่ในแถบอุกกาบาตหนาแน่น ทีเ่ รียกว่า Kuiper Belt สัญญาณภาพดีเลย์ถงึ 6 ชัว่ โมงจากระยะทางทีไ่ กล ขนาดนั้น

หลังถกเถียงกันเรื่องจริยธรรมมาหลายปี ในที่สุดปีนี้ก็เริ่มมีการ ทดลองดัดแปลงแก้ไขดีเอ็นเอผิดปกติในผู้ป่วยในระดับคลินิกด้วยเทคนิค คริสเพอร์-แคส 9 (CRISPR-Cas 9) เทคนิคนีเ้ ลือกตัดดีเอ็นเอตรงต�ำแหน่ง จ�ำเพาะและไม่ทงิ้ ดีเอ็นเอส่วนเกินเหลือไว้ในกระบวนการ ช่วงเดือนเมษายน 2562 มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนียประกาศเริม่ ใช้เทคนิคนีใ้ นการรักษาโรคมะเร็ง ในผู้ป่วย 2 คน โดยนักวิจัยน�ำเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกันออกมาแก้ไขก่อน ใส่กลับเข้าร่างกายผู้ป่วย ขณะที่ UCSF ทดสอบกับผู้ป่วยโรคซิกเคิลเซลล์

รายงานจากสหประชาชาติที่ออกมาในเดือนพฤษภาคม 2562 ระบุวา่ ถือเป็นสถิตใิ หม่สำ� หรับประวัตศิ าสตร์มนุษยชาติทมี่ สี ปีชสี ์ “มากกว่ำ ล้านสปีชสี ”์ ทีเ่ สีย่ งต่อการสูญพันธุพ์ ร้อมๆ กัน รายงานของ IPBES ทีอ่ าศัย การประเมินจากแหล่งข้อมูลราว 15,000 ฐานข้อมูล ทีค่ รอบคลุมผลกระทบ การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมในช่วงมากกว่า 50 ปีที่ผ่านมา ท�ำให้พบว่ามี 25% ของพืชและสัตว์ทงั้ โลกทีอ่ อ่ นไหวและเสีย่ งต่อการสูญพันธุ์ ในจ�ำนวนนี้ รวมทั้งสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเลมากกว่า 1/3 และสัตว์เลื้อยคลาน มากกว่า 40% แม้แต่สตั ว์เลีย้ งลูกด้วยนมทีเ่ ลีย้ งไว้ใช้งานหรือใช้เป็นอาหาร ก็อาจสูญพันธุ์ได้มากกว่า 9%

“เด็กคริสเพอร์” ครบ 1 ขวบ

มีเด็กหญิงฝาแฝด 2 คนที่เกิดในเดือนพฤศจิกายน 2561 โดยได้รับ การแก้ไขยีน (Gene Editing) ตัง้ แต่เป็นตัวอ่อนด้วยเทคนิคคริสเพอร์ (CRISPR) ซึง่ ผลงานของนักวิจยั ชาวจีน He Jiankui ทีไ่ ด้รบั การวิพากษ์วจิ ารณ์อย่างมาก ว่าเป็นการวิจัยที่ผิดจริยธรรม ปัจจุบันสถาบันสุขภาพแห่งชาติ (NIH) ของ สหรัฐฯ ยังยินยอมแค่เปลีย่ นแปลงยีนในเซลล์รา่ งกาย (Somatic Cell) ทีจ่ ะ “ไม่ถา่ ยทอด” ไปยังรุ่นถัดไปเท่านั้น มีกลุ่มนักวิจัยด้านนี้ที่เข้าชื่อเรียกร้อง ให้ห้ามแก้ไขยีนในเซลล์สืบพันธุ์และตัวอ่อนออกไปก่อนไม่น้อยกว่า 5 ปี เพือ่ รอดูผลการทดลองให้มากขึน้ อีก กระนัน้ เทคนิคดังกล่าวมีศกั ยภาพใช้ รักษาโรคพันธุกรรมที่ไม่เคยมีทางรักษาได้เกือบ 6,000 โรคแล้ว และเริ่มมี การศึกษาวิธีประยุกต์ใช้ป้องกันการติดเชื้อ HIV อีกด้วย January-February 2020


Article

> ดาร์เรลล์ อดัมส์ หัวหน้าส่วนงาน ยูนิเวอร์ซัล โรบอตส์ ประจ�ำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และโอเชียเนีย

การนำ�เทคโนโลยีหุ่นยนต์มาใช้

เพื่อกระตุ้นความก้าวหน้า ในอุตสาหกรรมระบบอัตโนมัติ ของประเทศไทย

แม้รถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยตัวเองและยานยนต์พลังไฟฟ้า เทสลาของอีลอน มัสก์ จะกลายเป็นพาดหัวข่าวไปทัว่ แต่การใช้งาน ระบบอัตโนมัติในโรงงานอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้นกลับมีคนพูดถึง น้อยมาก บางครั้งอาจเป็นเพราะเทคโนโลยีหุ่นยนต์ได้สั่นสะเทือน วงการอุตสาหกรรมมาแล้วตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1961 เมือ่ เจเนรัลมอเตอร์1 เป็นผู้น�ำเทคโนโลยีนี้มาใช้เป็นครั้งแรก ประเทศไทยซึ่งได้ชื่อว่าเป็นดีทรอยต์แห่งเอเชีย (Detroit of Asia) ถือเป็นผู้ประกอบการรายใหญ่ในอุตสาหกรรมการผลิต รถยนต์ ในฐานะผู้ผลิตยานยนต์รายใหญ่อันดับที่ 12 ของโลกและ เป็นรายใหญ่ที่สุดของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้2 การรักษาสถานะ ผู้ผลิตที่แข็งแกร่งของประเทศถือเป็นสิ่งที่ก�ำลังทวีความท้าทาย ยิ่งขึ้น ในภาวะที่ต้นทุนการผลิตพุ่งสูง การแข่งขันตึงเครียด และ เทคโนโลยีที่ก�ำลังก้าวล�้ำไปไกล อุตสาหกรรมที่มีการจ้างพนักงาน กว่า 850,000 คนนี3้ จึงต้องได้รับการสนับสนุน ซึ่งหากปราศจาก การแปรรูปอุตสาหกรรมไปสูร่ ะบบอัตโนมัติ ก็ยอ่ มไม่มที างเป็นไปได้ อย่างแน่นอน

ผู้ผลิตรถยนต์ชั้นน�ำของโลก อาทิ ฟอร์ด เมอร์เซเดสเบนซ์ นิสสัน และอีกมากมาย ส� ำ หรั บ การเสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ แ ก่ อุ ต สาหกรรม รั ฐ บาลไทยได้ ก� ำ หนดให้ อุ ต สาหกรรมการผลิ ต รถยนต์ รุ ่ น ใหม่ เป็นหนึ่งในกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพกลุ่มแรก (First S-Curve) ในนโยบายไทยแลนด์ 4.0 เพื่อเน้นย�้ำความส�ำคัญของยานยนต์ พลังงานไฟฟ้าและการผลิตชิ้นส่วนหลักภายในประเทศ รวมถึง การใช้เทคโนโลยีอตุ สาหกรรมการผลิตขัน้ สูง อาทิ เทคโนโลยีหนุ่ ยนต์ เพื่อยกระดับประสิทธิภาพของภาคอุตสาหกรรม5

การสร้างอุตสาหกรรมยานยนต์รุ่นใหม่

อุ ต สาหกรรมการผลิ ต รถยนต์ ถื อ เป็ น รากฐานส� ำ คั ญ ใน การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย โดยคิดเป็นอัตราส่วน 10% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ4 ตลอดระยะเวลามากกว่า ครึ่งศตวรรษที่ผ่านมาได้มีการน�ำเสนอสิ่งจูงใจมากมายเพื่อดึงดูด นักลงทุนต่างชาติ ท�ำให้ในปัจจุบันประเทศไทยกลายเป็นศูนย์รวม January-February 2020

Seven UR 3 cobots were installed at PT JVC Electronics Indonesia, car audio visual and navigation products manufacturer, to manage three tasks including pick and place, soldering and screwing.


An employee at PT JVC Electronics Indonesia programs a UR 3 cobot

เทคโนโลยีใหม่ล่าสุดที่เปลี่ยนแปลงรูปแบบ อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์

การผลักดันเทคโนโลยีการผลิตขัน้ สูงของรัฐบาล ช่วยขับเคลือ่ น การอุบัติของโรงงานระบบอัจฉริยะหลายแห่งซึ่งใช้ระบบอัตโนมัติ และเทคโนโลยีหนุ่ ยนต์ โดยอุตสาหกรรมระบบอัตโนมัตถิ อื เป็นหนึง่ ในผูบ้ ริโภครายใหญ่ของภาคธุรกิจหุน่ ยนต์ โดยประเมินว่ามีหนุ่ ยนต์ 1,046 ตัวต่อคนงาน 10,000 คน ในปี ค.ศ. 20186 แต่เดิมหุน่ ยนต์จำ� นวนมากทีใ่ ช้ในโรงงานระบบอัตโนมัตมิ กั มี ขนาดใหญ่เทอะทะ จ�ำเป็นต้องใช้เงินทุนสูงทั้งในด้านอุปกรณ์และ การฝึกอบรมพนักงาน รวมถึงการวางผังส่วนการผลิตใหม่ในการ แยกหุ่นยนต์ออกจากโซนพนักงาน เพื่อเหตุผลด้านความปลอดภัย นวัตกรรมสมัยใหม่ก่อให้เกิดการพัฒนาหุ่นยนต์ให้สามารถ ท�ำงานร่วมกับมนุษย์ในโรงงานอุตสาหกรรมได้อย่างง่ายดาย และ ใช้เงินลงทุนน้อยกว่าหุน่ ยนต์ขนาดใหญ่เทอะทะสมัยก่อน หุน่ ยนต์ เพื่อการท�ำงานร่วมกับมนุษย์ (โคบอต) สามารถแสดงให้โรงงาน การผลิตเห็นถึงอนาคต ซึง่ หุน่ ยนต์สามารถท�ำงานเคียงข้างพนักงาน ที่ มี ทั ก ษะเพื่ อ ร่ ว มกั น สร้ า งสรรค์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ คุ ณ ภาพสู ง ได้ อ ย่ า ง สมบูรณ์แบบ ด้วยฟีเจอร์การท�ำงานด้านความปลอดภัยที่ติดตั้งมา พร้อมสรรพ ท�ำให้โคบอตสามารถน�ำไปใช้งานในสภาพแวดล้อม ที่อันตรายที่ต้องการความแม่นย�ำและคุณภาพชิ้นงานสูง ท�ำให้ พนักงานสามารถใช้เวลากับงานทีม่ มี ลู ค่าสูงกว่าได้ และยังช่วยเพิม่ สวัสดิภาพในสถานที่ปฏิบัติงานในเวลาเดียวกัน บริษัท พีที เจวีซี อิเล็กทรอนิกส์ อินโดนีเซีย (PT JVC Electronics Indonesia) ผู้ผลิตอุปกรณ์ภาพและเสียงและอุปกรณ์ น�ำทาง ใช้โคบอตเพื่อผ่อนแรงพนักงานจากงานที่มีความเสี่ยงสูง อาทิ งานบัดกรีและงานตัดแยกชิน้ ส่วนแผงวงจร ซึง่ ปล่อยไอพิษและ

ละอองอนุภาค ความแม่นย�ำและประสิทธิภาพของโคบอตยังช่วย เพิม่ ก�ำลังการผลิตและคุณภาพของชิน้ งานโดยรวม พร้อมลดค่าใช้จา่ ย ได้ปีละกว่า 80,000 ดอลลาร์ คุณลักษณะทีใ่ ช้งานง่าย ขนาดกะทัดรัด และมีความยืดหยุน่ ในการท�ำงานสูง ท�ำให้โคบอตสามารถผสานเข้ากับกระบวนการ ผลิตรถยนต์ได้อย่างสะดวกรวดเร็วโดยไม่ต้องปรับปรุงโรงงาน ในภาพรวมแต่อย่างใด โคบอตยังสามารถช่วยงานได้หลายขัน้ ตอน นับตั้งแต่การเชื่อมและการลงสี ไปจนถึงการขัดผิวและการหยิบจับ ชิ้นงาน โรงงานผลิตของบริษทั รถยนต์ยกั ษ์ใหญ่อย่าง นิสสัน มอเตอร์ (Nissan Motor) ในโยโกฮาม่า ได้ใช้โคบอตของยูนเิ วอร์ซลั โรบอตส์ เพื่อลดอัตราการใช้เวลาเกินรอบการผลิตและสอนแรงงานสูงอายุ ของบริษัทให้มีทักษะใหม่ที่มีความส�ำคัญ บริษทั รถยนต์ในประเทศไทยก็กำ� ลังด�ำเนินรอยตามแนวทางนี้ โดย มิตซูบิชิ อิเล็กทริค คอร์ปอเรชัน ผู้ผลิตรถยนต์สัญชาติญี่ปุ่น ได้ส่งสัญญาณว่าบริษัทจะลงทุนอย่างมหาศาลกับโรงงานระบบ อัตโนมัติในประเทศไทย7 นอกจากนี้ เราจะได้เห็นทั้งเทคโนโลยี ปัญญาประดิษฐ์ การเรียนรู้ของเครื่องยนต์ และบล็อกเชนในภาค ธุรกิจระบบอัตโนมัติ รวมถึงอุตสาหกรรมเป้าหมายที่มีศักยภาพสูง อื่นๆ

การทำ�งานเพื่อมุ่งสู่อุตสาหกรรม 4.0

การน� ำ เทคโนโลยี ขั้ น สู ง และหุ ่ น ยนต์ โ ดยเฉพาะโคบอต มาใช้งานในประเทศไทย ถือเป็นสิ่งส�ำคัญอย่างยิ่งยวดในการสร้าง หลักประกันว่า อุตสาหกรรมของประเทศจะสามารถรับมือกับ กระแสของโลกและขับเคลื่อนประเทศไปสู่ฐานะผู้ผลิตรายใหญ่ อันดับ 8 ของโลกได้ภายใน ค.ศ. 2020 ดังการคาดการณ์ของ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนประเทศไทย8 แหล่งอ้างอิง 1 https://www.robotics.org/joseph-engelberger/unimate.cfm 2 https://money.cnn.com/2018/07/10/news/world/thailand auto-industry/index.html 3 https://www.bangkokpost.com/business/1606570/automotive industry-at-a-turning-point 4 https://www.bangkokpost.com/business/1606570/automotive industry-at-a-turning-point 5 http://www.oie.go.th/sites/default/files/attachments/ Public%20relation%20news_en/oie_prnews6866.pdf 6 IFR World Robotics Report 2019 7 https://www.bangkokpost.com/business/1774424/mitsubishi electric-says-thailand-key-to-e-factory-strategy 8 https://money.cnn.com/2018/07/10/news/world/ thailand-auto-industry/index.html January-February 2020


Cover Story > LSIS Bangkok

Energy Meter GIMAC-B

Metasol Energy Measuring Meter รุ่น GIMAC-B เป็นมิเตอร์ที่สามารถวัดค่าการใช้พลังงานในระบบไฟฟ้าทั้ง 1 เฟส และ 3 เฟส ตามอาคารที่อาศัยอยู่ อาคารส�ำนักงาน และโรงงานอุตสาหกรรม GIMAC-B สามารถส่งข้อมูลไปยังหน้าจอแสดงผล ผ่านการสื่อสารแบบ High-Speed Ethernet ซึ่งจะท�ำให้ผู้ใช้งานสะดวกในการตรวจสอบการใช้พลังงานและการบันทึกข้อมูล แล้วน�ำข้อมูลที่ได้มาด�ำเนินการวิเคราะห์ทางสถิติอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป January-February 2020


Energy Meter GIMAC-B GIMAC-B Energy Meter Energy Meter GIMAC-B

Metasol Energy Measuring Meter รุ่น GIMAC-B เป็นมิเตอร์ที่สามารถวัดค่าการใช้พลังงานในระบบไฟฟ้าทั้ง 1 เฟส และ 3 เฟส ตามอาคารที่อาศัยอยู่ อาคารส�ำนักงาน และโรงงานอุตสาหกรรม GIMAC-B สามารถส่งข้อมูลไปยังหน้าจอแสดงผลผ่านการสื่อสารแบบ High-Speed Ethernet ซึ่งจะท�ำให้ผู้ใช้งานสะดวกในการตรวจสอบการใช้พลังงานและการบันทึกข้อมูล แล้วน�ำข้อมูลที่ได้มาด�ำเนินการ วิเคราะห์ทางสถิติอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป  แบบระบบบริหารจัดการพลังงานในโรงงาน (FEMS) และแบบระบบบริหารจัดการพลังงานในอาคาร (BEMS)

การจัดตั้งแผนประหยัดพลังงาน FACTORY

FACTORY FACTORY

FACTORY

FACTORY FACTORY

FEMS AGENT

FEMSAGENT AGENT FEMS

การตรวจวัดและวิเคราะห์ข้อมูล

การควบคุมการท�ำงาน ของอาคาร

FEMS AGENT

FEMS FEMSAGENT AGENT

Building Office, Commercial, Rasidential, School, Hospital 

ตรวจวัดค่าพลังงาน เก็บข้อมูล / วิเคราะห์

Industrial Facilities Petrochemical, Electronics, Glass, Steel, Semiconductor, Chemicat, Pharmaceutical, Cement, Paint 

January-February 2020


ส่วนประกอบของ GIMAC-B จะมีอยู่ 2 ส่วน คือ - ส่วนหลัก (GIMAC-B Main) มี 1 รุ่น - ส่วนต่อขยาย (GIMAC-B Branch) มีจำ� นวน 8 รุ่น ส�ำหรับ การต่อแบบบัสบาร์ และมีจำ� นวน 9 รุ่น ส�ำหรับการเชื่อมต่อ แบบโมดูล 1. แรงดันไฟฟ้า 1 เฟส - แบบบัสบาร์ : ระดับกระแสใช้งาน 30A, 100A, 125A และ 250A - แบบโมดูล : ระดับกระแสใช้งาน 30A, 100A, 125A และ 250A 2. แรงดันไฟฟ้า 3 เฟส - แบบบัสบาร์ : ระดับกระแสใช้งาน 30A, 100A, 125A และ 250A - แบบโมดูล : ระดับกระแสใช้งาน 5A, 30A, 100A, 125A และ 250A 3. ฟังก์ชันการวัดค่ากระแสรั่วไหล (ฟังก์ชันเสริม) - รุน่ ของอุปกรณ์สว่ นหลักการสือ่ สาร (Main Module) : Standard Ethernet, MODBUS RS-485 - สามารถเชื่อมต่อส่วนต่อขยายได้ถึง 50 ตัวต่อหนึ่งโมดูล การสื่อสาร 

ความแม่นย�ำของการตรวจวัด - ค่าความคลาดเคลื่อนของการวัดแรงดันและกระแสเพียง 0.2% - ผลิตภัณฑ์ที่ครอบคลุมกับความต้องการของลูกค้า 

Public Facilities Gas, Water and Sewerage, Airport, Railway, Harbor 

January-February 2020

สามารถเพิ่มฟังก์ชันเสริมที่หลากหลาย - ข้อมูลทางสถิติ การค�ำนวณตัวประกอบการใช้ไฟฟ้า (Load Factor) การตรวจวัดค่าอุณหภูมิ ข้อมูลจาก Digital Input (D/I) เป็นต้น - เก็บข้อมูลจากฟังก์ชนั ต่างๆ และค่าสถิตกิ ารใช้งานของโหลดใน แบบของรูปคลืน่ (Waveform) และส่งข้อมูลไปยังโมดูลหลัก Digital Output (D/O) - แสดงข้อมูลผ่าน LCD ทัชสกรีน 8 นิ้ว - วัดค่ากระแสรั่วไหลโดยใช้ ZCT ของตัวเบรกเกอร์ผ่านโมดูล ส่วนต่อขยาย (Option) 

การเชื่อมต่อแบบ Busbar หรือ Module - ขึ้นอยู่กับการต่อสายของ MCCB สามารถเลือกได้ว่าเป็นแบบ Busbar หรือ Module 

วัดค่าทางไฟฟ้าได้หลากหลาย - ค่ากระแส (A) ค่าแรงดัน (V) ค่าความไม่สมดุลในแต่ละเฟส ค่าตัวประกอบทางไฟฟ้า (PE) ความถี่ (Hz) - ก�ำลังไฟฟ้า ค่าพลังงานของโหลด THD, TDD, K-FACTOR, ฮาร์โมนิก - ค่าอื่นๆ ที่ประโยชน์ต่อการวิเคราะห์คุณภาพของระบบไฟฟ้า เช่น Sag, Swell และ Interruption 


Feature GIMAC-B โมดูลส่วนหลัก

จอ TFT LCD ทัชสกรีน 8 นิ้ว  มีหน้าจอขนาดใหญ่ 8 นิ้ว ท�ำให้สะดวกต่อการใช้งานและ อ่านข้อมูลต่างๆ  ดูกราฟข้อมูลผ่านแอปพลิเคชันบนหน้าจอแสดงผล (PQ Waveform, Trend, Vector)  สามารถเลือกภาษาอังกฤษ หรือภาษาเกาหลี วัดค่าทางไฟฟ้าได้หลากหลาย/ฟังก์ชันการตรวจวัด คุณภาพก�ำลังไฟฟ้า (Power Quality)  ตรวจวัดแรงดัน (V) กระแส (A) ก�ำลังไฟฟ้า (kW) ความถี่ (Hz) ค่าประกอบก�ำลังไฟฟ้า (PF)  แสดงค่า Vector Screen ท�ำให้ง่ายต่อการอ่านค่าที่หน้างาน  มีฟังก์ชันแสดงค่า THD, Sag, Swell  เหมาะกับการจัดการคุณภาพของระบบไฟฟ้าระดับสูงอย่างมี ประสิทธิภาพ มิเตอร์ที่เหมาะสมในระบบไฟฟ้า  ต่อโดยตรงเข้า CT (5A) ท�ำให้ง่ายต่อการใช้งาน  สามารถใช้กับระดับแรงดันไฟฟ้าได้หลายช่วง  D/I (Digital Input) และ D/O (Digital Output) เชื่อมต่อไป Switchgear System  ใช้งานได้สูงสุดถึง 50 วงจรไฟฟ้า  ฟังก์ชันวัดค่าอุณหภูมิผ่านโมดูลเสริม ระบบการสื่อสารครอบคลุม  การสื่อสารแบบ RS-485 และ Ethernet  ง่ายต่อการติดตัง ้ และใช้งานผ่านระบบตัง้ ค่าทีอ่ ยูข่ องมิเตอร์อตั โนมัติ

GIMAC-B โมดูลส่วนต่อขยาย

มีการออกแบบที่ง่ายต่อผู้ใช้งาน  แสดงข้อมูล LCD 4 Segment ผ่านหน้าจอแสดงผล  ง่ายต่อการติดตัง ้ และเข้าสายไฟด้วยการออกแบบทีด่ ขี องผลิตภัณฑ์ ฟังก์ชันเสริมที่หลากหลายของโมดูลเสริม  แสดงสถานะของเซอร์กต ิ เบรกเกอร์ผา่ น LED และรวมถึงทีโ่ มดูลหลัก  แสดงค่ากระแสรัว ่ ไหล (Leakage Current) ZCT เมือ่ มีการเชือ่ มต่อ กับ ZCT กับ MCCB January-February 2020


Interview > กองบรรณาธิการ

https://www.suez.com/en/our-offering/success-stories/our-references ในแต่ ล ะปี ป ระเทศไทยสร้ า งขยะ พลาสติกมากกว่า 2 ล้านตัน ซึง่ ในจ�ำนวนนี้ มีเพียง 1 ใน 4 เท่านั้นที่ถูกรีไซเคิลเพื่อ น�ำกลับมาใช้ใหม่ ที่เหลือก็กลายเป็นขยะ ที่ ส ะสมกลายเป็ น มลพิ ษ ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ในระยะหลังประชาชนและรัฐบาลได้ต่ืนตัว ด้านการรีไซเคิลขยะมากขึ้น โดยรัฐบาลได้ ตัง้ เป้าหมายว่าในปี ค.ศ. 2030 จะต้องรีไซเคิล พลาสติกให้ได้ 100%

January-February 2020

บริษทั สุเอซ (Suez) ด�ำเนินธุรกิจในการจัดการปัญหาเรือ่ งน�ำ้ และขยะให้แก่ อุตสาหกรรมต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการทรัพยากรและเสริมสร้าง ประสิทธิภาพด้านสิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจให้สอดคล้องกับข้อก�ำหนดมาตรฐาน การแก้ไขปัญหาด้วยระบบดิจทิ ลั และเทคโนโลยีทที่ นั สมัย ท�ำให้สเุ อซสามารถจัดการ กับขยะเพือ่ น�ำกลับมาใช้ใหม่จำ� นวน 1 ล้านตันต่อปี สามารถผลิตวัตถุดบิ ทดแทน เป็นจ�ำนวน 4.4 ล้านตันต่อปี และผลิตพลังงานหมุนเวียนในท้องถิ่นเป็นจ�ำนวน 7.7 ล้านกิโลวัตต์-ชัว่ โมง อีกทัง้ ยังช่วยรักษาแหล่งน�ำ้ จัดส่งเซอร์วสิ การบ�ำบัดน�ำ้ เสีย ให้แก่ผู้คน รวมทั้งการน�ำน�้ำเสียกลับมาใช้ใหม่อีกด้วย สุเอซ ได้ขยายการบริการมาที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เมื่อ 60 ปีก่อน นับโครงการทีด่ ำ� เนินการมามากกว่า 70 โครงการน�ำ้ และขยะทีร่ ว่ มมือกับพันธมิตร ในท้องถิน่ ก่อสร้างโรงบ�ำบัดน�ำ้ เสียมากกว่า 460 แห่งทัว่ เอเชีย มีประชาชนได้รบั ประโยชน์จากการจัดการน�ำ้ และขยะจ�ำนวนมาก Interview ฉบับนีไ้ ด้รว่ มพูดคุยกับ อองตัวร์ ก๊อร์จ ประธานบริหารด้านธุรกิจ อุตสาหกรรมรีไซเคิลและรีคฟ ั เวอร์รี่ บริษทั สุเอซ เอเชีย ปัจจุบนั ด�ำรงต�ำแหน่ง อยู่ที่ฮ่องกง ดูแลพนักงานกว่า 2,000 คน ในการจัดการบ่อฝังกลบ สถานีขนถ่าย โรงงานเผาขยะ และธุรกิจท�ำความสะอาดสาธารณะในภูมิภาคเอเชีย อองตัวร์ มีประสบการณ์ยาวนานกว่า 20 ปีในการเป็นผู้น�ำเชิงกลยุทธ์และการด�ำเนินงาน ภายใต้สถานการณ์ที่มีความผันผวนเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ก่อนที่จะมารับต�ำแหน่งที่ฮ่องกง อองตัวร์ ด�ำรงต�ำแหน่งประธานบริหาร ของบริษัท สุเอซ ด้านอุตสาหกรรมขยะอันตรายในยุโรป บริหารจัดการธุรกิจทั้ง 11 หน่วยงาน และจัดการกิจการร่วมการค้าส�ำหรับโรงงานอุตสาหกรรมทัง้ 40 แห่ง ในหลายๆ ประเทศ อาทิ ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี และสหราชอาณาจักร “ด้วยแผนยุทธศาสตร์ ‘Shaping SUEZ 2030’ สุเอซมุ่งหวังที่จะรักษา ความเป็นผูน้ ำ� ระดับโลกด้านการบริการและการบริหารจัดการสิง่ แวดล้อม ท�ำให้ เราเป็นทางเลือกทีด่ ที สี่ ดุ ส�ำหรับลูกค้า พนักงาน และผูถ้ อื หุน้ ทีท่ ำ� งานร่วมกัน เพื่อฟื้นฟูและรักษาสิ่งแวดล้อม อาทิ น�้ำ อากาศ และดิน โดยบริษัทใช้ ประโยชน์จากจุดแข็งหลักของกลุม่ ซึง่ ได้แก่ นวัตกรรม การเลือกใช้เทคโนโลยี และองค์ความรู้ที่ดีที่สุด มีทีมที่มีความเชี่ยวชาญสูงและชื่อเสียงที่ได้รับการ


ยอมรับ เพื่อการขับเคลื่อนและเติบโตในการท�ำงาน อีกทั้งการมี ส่วนร่วมของทุกคนในการรักษาสิ่งแวดล้อม” สุเอซ ได้ประกาศแผนยุทธศาสตร์ในปี ค.ศ. 2030 เพือ่ โอกาส และความท้าทายในทศวรรษหน้า โดยแผนดังกล่าวช่วยเพิม่ การสร้าง มูลค่าให้แก่ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทัง้ หมดในระยะเวลา 4 ปี พร้อมผลลัพธ์ ที่เป็นสาระส�ำคัญในปี พ.ศ. 2564 ซึ่งแผนดังกล่าวจะท�ำให้สุเอซ เป็นผู้น�ำระดับโลกด้านบริหารด้านสิ่งแวดล้อม เลยทีเดียว จากการเติ บ โตของธุ ร กิ จ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ท� ำ ให้ ลู ก ค้ า ของสุ เ อซได้ รั บ ผลกระทบโดยตรง รวมทัง้ การทีม่ ธี รุ กิจเกิดใหม่เกิดขึน้ มากมาย ท�ำให้ การแข่งขันสูงขึน้ ตามไปด้วย ประชาชนเริม่ มีความ วิตกกังวลเกี่ยวกับวิกฤตของสภาพอากาศทีส่ ่งผล กระทบต่อชีวิตประจ�ำวันมากขึ้น ซึ่งสุเอซเองก็ ตระหนักและเร่งเปลี่ยนแปลงแก้ไขครั้งใหญ่ โดย สุเอซและพันธมิตรมุง่ ไปทีน่ วัตกรรมและเทคโนโลยี ทีท่ นั สมัย และเป็นทีย่ อมรับเพือ่ มาช่วยขับเคลือ่ น และสร้างการเติบโตในการท�ำงาน และมีส่วนร่วมในการปรับปรุง สิ่งแวดล้อม โดยมีพื้นฐานคือความรักษ์โลกนั่นเอง แผนยุทธศาสตร์ในปี ค.ศ. 2030 ของสุเอซที่จะช่วยเร่งเพิ่ม มูลค่าให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีดังนี้  การคัดเลือกเพื่อการเติบโตตามธรรมชาติ : การลงทุนและ การหมุนเวียนธุรกิจโดยจะใช้ประมาณ 15-20% ของเงินทุนทีใ่ ช้ใน ธุรกิจ  ความเรี ย บง่ า ยขององค์ ก ร : ทางบริ ษั ท จะใช้ เ งิ น ประมาณ 1 พันล้านเหรียญยูโร ภายในปี พ.ศ. 2566 เพือ่ ช่วยปรับปรุงผลก�ำไร จากการด�ำเนินงาน รวมไปถึงการลงทุนด้านนวัตกรรมและดิจทิ ลั  การมีส่วนร่วมกับลูกค้าและบุคลากรในองค์กร : การร่วมมือ ร่วมใจให้เกิดค่านิยมเพื่อการเปลี่ยนแปลงและฟื้นฟู ซึง่ แผนยุทธศาสตร์นจี้ ะเริม่ บังคับใช้ในช่วงกลางปี พ.ศ. 2563 และภายใน 4 ปีข้างหน้าถึงปี พ.ศ. 2566 เพื่อให้เกิดค่านิยมและ วัฒนธรรมใหม่ภายในองค์กรอย่างมั่นคง ยั่งยืนด้วยเงินทุนที่ต�่ำ เพื่อเพิ่มมูลค่าทางธุรกิจและปรับปรุงผลตอบแทนจากการลงทุน อย่างน้อย 2 จุด รวมไปถึงการช่วยเพิม่ ศักยภาพในการเพิม่ เงินปันผล ในอัตราการจ่ายปกติการเปลีย่ นแปลงจะเห็นได้ชดั ในปี พ.ศ. 2564 โดยเป้าหมายทางการเงินของกลุ่มบริษัทสุเอซในช่วงเวลาดังกล่าว จะสะท้อนให้เห็นถึงความตั้งใจของสุเอซที่จะมุ่งเน้นการท�ำก�ำไร อย่างยั่งยืน โดยแผนยุทธศาสตร์สุเอซ 2030 จะด�ำเนินการในส่วน ธุรกิจ 3 กลุ่ม ประกอบด้วย  น�า ้ (40% ในปี ค.ศ. 2018) จัดตัง้ กลุม่ สุเอซในทุกเขตเทศบาลเพือ่ การบริหารจัดการน�้า  การรีไซเคิลและการฟื้นฟู (40% ในปี ค.ศ. 2018) ร่วมมือกับ เขตเทศบาล จัดตั้งกลุ่มเพื่อบริหารจัดการขยะที่เป็นอันตราย ในกลุ่มอุตสาหกรรมและการพาณิชย์

https://www.suez.com/en/who-we-are/ a-worldwide-leader/our-mission

ด้านเทคโนโลยีเพือ่ สิง่ แวดล้อม (20% ในปี ค.ศ. 2018) ร่วมกับ WTS ก�ำจัดขยะอันตรายเพื่ออุตสาหกรรมและเขตเทศบาล ตัวหลักที่เป็นการขับเคลื่อนหลักของแผนการ ได้แก่  ตัวแทน : ผู้ที่ถูกคัดเลือกเพื่อการเติบโต โดยบริษัทมุ่งมั่นที่จะใช้ ประโยชน์จากนวัตกรรมที่เป็นเลิศในยุโรปเพื่อให้เกิดโอกาสที่ดี ที่สุด และให้ความส�ำคัญกับทุกภาคส่วน ได้แก่ - กลุ่มตลาดต่างประเทศ : บริษัทเลือกประเทศที่เป็นกลุ่ม เป้าหมาย โดยจะปรับใช้ข้อเสนอแบบเต็มมูลค่า และขยายไปสู่ การบริการที่เป็นนวัตกรรม นอกจากนี้ยังวางแผนที่จะเข้าสู่ตลาด ทีเ่ ลือกด้วยความต้องการโครงสร้างพืน้ ฐานด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ ติบโต อย่างรวดเร็ว โดยตั้งเป้า 60% ของรายได้ของกลุ่ม - กลุ่มลูกค้าอุตสาหกรรม : บริษัทเร่ง 5 ปัจจัยหลักของ การเติบโตในตลาดสูง และให้ความส�ำคัญกับกิจกรรมทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ สูงสุด โดยใช้ประโยชน์จากโซลูชันที่โดดเด่นในการท�ำงานร่วมกับ ลูกค้าอุตสาหกรรม โดยจะออกแบบโซลูชนั แบบครบวงจรทีท่ ำ� ขึน้ เอง เพือ่ ช่วยให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดอย่างยัง่ ยืน โดยตัง้ เป้าสูงถึง 50% ของรายได้ของกลุ่ม - เทคโนโลยีและโซลูชนั ทีข่ บั เคลือ่ นด้วยข้อมูล : บริษทั มีการใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยีและนวัตกรรมทีเ่ ป็นกรรมสิทธิใ์ นการพัฒนา และน�ำเสนอโซลูชนั ขัน้ สูงระดับโลก นอกจากนีย้ งั จะสร้างธุรกิจใหม่ ที่มีศักยภาพสูง เช่น การจัดการคุณภาพอากาศ และการเกษตร อัจฉริยะ กับการตั้งเป้ารายได้ไม่ตำ�่ กว่า 30% ของรายได้ทั้งหมด  ความเรียบง่าย : การส่งเสริมความเรียบง่ายในการท�ำงานของ สุเอซ จะปรับปรุงประสิทธิภาพการด�ำเนินงานในส่วนของการเพิม่ นวัตกรรม และแปลงเป็นดิจิทัลเพื่อกระตุ้นการเจริญเติบโต ในอนาคต 

January-February 2020


โรงไฟฟ้าจากขยะอุตสาหกรรม และโรงงานรีไซเคิลพลาสติก

- แสดงให้เห็นว่าเป็นองค์กรทีม่ คี วาม คล่องตัวและมีประสิทธิภาพ ด้วยจ�ำนวน ธุรกิจทีล่ ดลง และกระบวนการตัดสินใจเพือ่ การบริการแก่ลูกค้าที่มีประสิทธิภาพสูงสุด - เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและสร้ า ง มาตรฐานในขัน้ ตอนของอุตสาหกรรม และเร่งเปลีย่ นแปลงมาตรฐาน ในการจัดซือ้ จัดจ้าง และทรัพยากรจากภายนอกด้วยการใช้ตน้ ทุนที่ สมเหตุสมผล - เป้าหมายของมาตรการนีค้ อื การส่งมอบเงินออม 1 พันล้าน ยูโรต่อปี ภายในปี พ.ศ. 2566 ของก�ำไรทัง้ หมดของสุเอซประมาณ 35-45% ซึ่งการออมเงินเริ่มเห็นผลชัดเจนแล้วในปี พ.ศ. 2564  ความร่ ว มมื อ จากลู ก ค้ า และพนั ก งาน : การยอมรั บ การ เปลี่ยนแปลงเพื่อชัยชนะของสุเอซ - ส่งเสริมการมีส่วนร่วมใน 4 ค่านิยมใหม่ : ความรักใน สิ่งแวดล้อม ลูกค้ามาก่อน การให้เกียรติ และจิตวิญญาณของทีม - ยกระดับความสามารถและทักษะความเป็นผูน้ ำ� ทัว่ ทัง้ องค์กร - ส่งเสริมศูนย์ความเป็นเลิศในตลาดแห่งใหม่ด้วยความ สามารถที่โดดเด่น - เพิ่มความเร็วในการประมวลผลและเพิ่มประสิทธิภาพ ความรับผิดชอบที่มากขึ้น - แรงจู ง ใจของที ม ผู ้ บ ริ ห ารจะถู ก ปรั บ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ วัตถุประสงค์ทางการเงิน January-February 2020

โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานจากขยะอุตสาหกรรม บริษัท ชลบุรี คลีน เอ็นเนอร์ยี่ จ�ำกัด (CCE) ตั้งอยู่ที่นิคมอุตสาหกรรม เหมราช ชลบุรี เป็นการร่วมทุนระหว่าง 3 บริษัท ชั้นน�ำ ที่ผสมผสานความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน พลังงาน โดยน�ำเสนอพลังงานทางเลือกทีเ่ ป็นมิตร ต่อสิง่ แวดล้อม ได้แก่ บริษทั ดับบลิวเอชเอ ยูทลิ ติ สี้ ์ แอนด์ พาวเวอร์ จ�ำกัด (มหาชน) (WHAUP) เป็น ผู้ให้บริการด้านการบริหารจัดการแบบครบวงจร ครอบคลุ ม เป็ น ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารด้ า นการผลิ ต และ จัดจ�ำหน่ายน�้ำอุตสาหกรรม การบริหารจัดการ น�้ ำ เสี ย ตลอดจนผลิ ต และจั ด จ� ำ หน่ า ยไฟฟ้ า ก๊าซธรรมชาติ และพลังงานหมุนเวียน และบริษทั โกลว์ พลังงาน จ�ำกัด (มหาชน) เป็นบริษทั ในเครือ ของบริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GPSC เป็นผู้ผลิตและจัดจ�ำหน่ายพลังงานรายใหญ่ในประเทศไทย และบริษทั สุเอซ กรุป๊ เป็นผูน้ ำ� ระดับโลกด้านการจัดการทรัพยากร ด้วยระบบอัจฉริยะเพื่อความยั่งยืน โรงงานแห่งนี้ถือเป็นโรงไฟฟ้า พลังงานจากขยะอุตสาหกรรมแห่งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ด�ำเนินการได้ตามมาตรฐานการควบคุมมลพิษของยุโรป โรงไฟฟ้าแห่งนี้มีมูลค่าโครงการโดยรวมประมาณ 59 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐฯ ได้รบั การออกแบบให้มกี ำ� ลังการผลิตไฟฟ้าสูงสุดที่ 8.93 MW โดยจะมีปริมาณพลังงานไฟฟ้าจ�ำหน่ายตามสัญญาอยูท่ ี่ 6.90 MW และรองรับการจัดการขยะได้ประมาณ 100,000 ตัน โดยก่ อ สร้ า งแล้ ว เสร็ จ สมบู ร ณ์ และมี พิ ธี เ ปิ ด เมื่ อ ปลายเดื อ น พฤศจิกายน 2562 ที่ผ่านมา “สุเอซยินดีทไี่ ด้นำ� เสนอนวัตกรรม ความช�ำนาญพิเศษ และ ความเชี่ยวชาญในการบริหารจัดการของเราเพื่อตอบสนองความ ต้องการของรัฐบาลในการเพิ่มอัตราส่วนพลังงานทดแทน เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายความยั่งยืนทางเศรษฐกิจและระบบเศรษกิจแบบ หมุนเวียนตามยุทธศาสตร์ไทยแลนด์ 4.0 ซึ่งโรงไฟฟ้าของ CCE เป็นโครงการ WtE แห่งแรกของสุเอซในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้


โรงงานรีไซเคิลพลาสติกพอลิเมอร์ในอ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ และคาดหวังว่าโรงงานแห่งนีจ้ ะเป็นมาตรฐานให้แก่วงการจัดการขยะอุตสาหกรรม ในประเทศไทย” ผู้บริหารสุเอซกล่าว ในแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2558-2579 ได้ให้ความ ส�ำคัญของการผลิตพลังงานจากขยะ โดยโรงไฟฟ้าแห่งนีจ้ ะจัดการขยะอุตสาหกรรม ที่ไม่เป็นอันตรายด้วยวิธีการที่ทั้งปลอดภัยและยั่งยืนต่อสิ่งแวดล้อม โดยใช้ เทคโนโลยี WtE อันล�ำ้ สมัยทีเ่ ปลีย่ นขยะให้กลายเป็นพลังงานสีเขียว ขณะเดียวกัน ก็ลดการปล่อยก๊าซ CO2 และปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการฝังกลบได้อีกด้วย ทั้งนี้ CCE ได้ลงนามในข้อตกลงการจัดหาขยะอุตสาหกรรมกับบริษัท เวสท์ แมเนจเม้นท์ สยาม จ�ำกัด (WMS) บริษัทยักษ์ใหญ่ด้านการจัดเก็บ บ�ำบัด และก�ำจัดขยะของเสียในไทย เพือ่ ด�ำเนินการจัดหาขยะอุตสาหกรรม 100,000 ตัน ต่อปี จากนิคมอุตสาหกรรมต่างๆ ในจังหวัดชลบุรีและใกล้เคียง โดยโรงไฟฟ้า จะน�ำขยะอุตสาหกรรมเข้าสู่ห้องเผาไหม้เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า โดยใช้เทคโนโลยี ที่มีประสิทธิภาพสูงและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม นอกจากโรงไฟฟ้าพลังงานจากขยะอุตสาหกรรมแล้ว สุเอซได้สร้างโรงงาน รีไซเคิลพลาสติกขึ้นที่อำ� เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ “ในประเทศไทยมีขยะพลาสติกกว่า 2 ล้านตันต่อปี ถูกรีไซเคิลเพียง 1 ใน 4 เท่านั้น ในฐานะผู้น�ำด้านการรีไซเคิลพลาสติกในยุโรปและเพื่อให้เป็นไปตาม เป้าหมายของรัฐบาลไทยในปี ค.ศ. 2030 คือการมุง่ เน้นการรีไซเคิลพลาสติก 100% ดังนัน้ สุเอซจึงมุง่ มัน่ ทีจ่ ะใช้ความเชีย่ วชาญด้านเทคโนโลยีอย่างเต็มที่ เพือ่ สนับสนุน ประเทศให้บรรลุวตั ถุประสงค์ในการลดขยะพลาสติกและยังเป็นการอนุรกั ษ์มหาสมุทร โดยโรงงานแห่งนี้จะปฏิบัติตามมาตรฐานการปล่อยก๊าซของสหภาพยุโรป และ สนับสนุนแผนการของประเทศไทยในการช่วยลดปัญหาขยะพลาสติกในทั่วโลก” อองตัวร์ กล่าว โรงงานรีไซเคิลพลาสติกจะเปลี่ยนขยะพลาสติกเป็นพอลิเมอร์หมุนเวียน (Circular Polymer) โดยโรงงานพอลิเมอร์หมุนเวียนแห่งนี้เป็นโรงงานรีไซเคิล พลาสติกแห่งแรกในเอเชียของสุเอซ และจะเป็นต้นแบบให้แก่โรงงานอื่นๆ โดย ก�ำหนดการด�ำเนินงานทีส่ อดคล้องกับมาตรฐานสิง่ แวดล้อมอย่างเคร่งครัด โรงงานนี้ จะช่วยส่งเสริมให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายการรีไซเคิลพลาสติกเต็มรูปแบบ 100% ในปี พ.ศ. 2573 ด้าน เฌอโรม เลอ บอรก์เนีย กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั สุเอซ เซอร์วสิ เซส (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า “กลุ่มสุเอซประสบความส�ำเร็จในการจัดการขยะ อย่างยั่งยืนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือ โรงงานรีไซเคิลพลาสติกพอลิเมอร์ ในอ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ซึง่ จะเปิดด�ำเนินการในกลางปี พ.ศ. 2563

ในฐานะโครงการรีไซเคิลพลาสติกอย่างครบวงจร ในทวีปเอเชียเป็นแห่งแรกของสุเอซ จะแปลง ขยะจ� ำ พวกพลาสติ ก ฟิ ล ์ ม ในท้ อ งถิ่ น ราว 30,000 ตัน ให้เป็นเม็ดพลาสติกเพื่อน�ำกลับ มาใช้ใหม่” ภายในโรงงานจะมี ก ารติ ด ตั้ ง ระบบ บ� ำ บั ด น�้ ำ เสี ย ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและทั น สมั ย ที่ช่วยลดการใช้น�้ำ และไม่ส่งผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อมในบริเวณโดยรอบ พลังงานบางส่วน ที่ น� ำ มาใช้ ใ นโรงงานจะมาจากพลั ง งาน แสงอาทิตย์ทตี่ ดิ ตัง้ บนหลังคาเพือ่ ลดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมด้วย ตลาดรี ไซเคิ ล พลาสติ ก นั บ เป็ น ตลาด ส�ำคัญของสุเอซ ในแต่ละปี สุเอซ กรุ๊ปได้ เปลี่ยนขยะพลาสติกประมาณ 400,000 ตัน ในโรงงานทีม่ คี วามเชีย่ วชาญทัง้ 9 แห่งในยุโรป และผลิตพอลิเมอร์หมุนเวียนถึง 150,000 ตัน สุ เ อซยั ง ร่ ว มเป็ น สมาชิ ก ผู ้ ก ่ อ ตั้ ง เครื อ ข่ า ย พันธมิตรการก�ำจัดขยะพลาสติกหรือ Alliance to End Plastic Wast ซึง่ เป็นโครงการระดับโลก ทีร่ เิ ริม่ เมือ่ เดือนมกราคม 2562 เพือ่ ก�ำจัดขยะ พลาสติกให้หมดไปจากสิง่ แวดล้อม โดยเฉพาะ พลาสติกในท้องทะเล

January-February 2020


Scoop

> กองบรรณาธิการ

“ทีมชาติแผ่นดินไหว”

สำ�รวจรอยเลื่อนและทำ�แผนที่เสี่ยงภัย รายจังหวัด

นักวิจัยสานพลังกรมทรัพยากรธรณี พร้อมรับมือแผ่นดินไหว ทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว ตัง้ “ทีมชาติ” ระดมพลสหสาขาวิชา เตรียมลุย โครงการน�ำร่องส�ำรวจความเสีย่ งในพืน้ ทีร่ อยเลือ่ น และจัดท�ำแผนทีเ่ สีย่ งภัย แผ่นดินไหวตามสภาพดินรายจังหวัด ด้านการรับมือสึนามิทภี่ เู ก็ตยังไม่พร้อม ป้ายแสดงเส้นทางหนีภัยและอาคารหลบภัยช�ำรุด ไร้แผนที่อพยพในป้าย แนะน�ำสถานที่ท่องเที่ยว ศ. ดร.เป็นหนึ่ง วานิชชัย หัวหน้าชุด โครงการลดภัยพิบตั แิ ผ่นดินไหวในประเทศไทย ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้ ก ล่ า วถึ ง ผลการประชุ ม หารื อ ความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการด้ า นแผ่ น ดิ น ไหว ณ ห้อ งประชุม กรมทรั พ ยากรธรณี ซึ่ ง จั ด ขึ้ น เพื่ อ แลกเปลี่ ย น ความคิ ด เห็ น ในการเตรี ย มความพร้ อ มรั บ มื อ ภัยพิบัติทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยเฉพาะ การปรับปรุงมาตรฐานการออกแบบอาคารต้านทานการสั่นสะเทือนของ แผ่นดินไหวและกฎหมายควบคุมอาคารว่า ตนได้เสนอให้จัดท�ำโครงการ น�ำร่องการส�ำรวจความเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวในพื้นที่ที่มีรอยเลื่อนมีพลัง พาดผ่าน รวมถึงความเสี่ยงของอาคารบ้านเรือนต่างๆ เพื่อวางแผน เสริมก�ำลังในพืน้ ทีร่ ศั มี 10 กิโลเมตรตามแนวรอยเลือ่ น รวมถึงจัดท�ำแผนที่ เสีย่ งภัยแผ่นดินไหวของประเทศไทยตามสภาพดินรายจังหวัด ซึง่ ปัจจุบนั ไทยมีเพียงแผนทีเ่ สีย่ งภัยแผ่นดินไหวระดับประเทศ ยังไม่เหมาะสมต่อการ ออกแบบสิง่ ก่อสร้างหรือการวางผังชุมชนในระดับเมือง เนือ่ งจากมีความ ละเอียดไม่เพียงพอ เช่น ในจังหวัดเชียงใหม่และกรุงเทพมหานครมีสภาพ เป็นดินอ่อน การออกแบบสิ่งก่อสร้างจึงต้องแตกต่างจากพื้นที่อื่น หรือ พื้นที่ที่มีโอกาสเป็นดินทรายเหลวจะต้องเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ อย่างไร พื้นที่เชิงเขาลาดชันที่อาจเกิดดินถล่มจากแผ่นดินไหวได้ January-February 2020

แผนที่แสดงความเค้นสะสมของแผ่นเปลือกโลก ในบริเวณประเทศไทยและบริเวณใกล้เคียง

ขณะที่ ดร.วีระชาติ วิเวกวิน นั ก ธรณี วิ ท ยาช� ำ นาญการ กรม ทรัพยากรธรณี กล่าวว่า ผลจาก การรวบรวมข้อมูลโดยกรมโยธาธิการ และผังเมือง สถาบันพัฒนาองค์กร ชุมชน (องค์การมหาชน) กรมป้องกัน และบรรเทาสาธารณภั ย และ กรมทรัพยากรธรณี เพือ่ ใช้ในการจัดท�า แผนแม่บทป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจากแผ่นดินไหว และอาคารถล่มพบว่า ข้อมูลอาคาร ประเภทอาคาร ทีจ่ ำ� เป็น ส�ำหรับจัดท�ำแผนยังไม่มคี วามชัดเจน ขณะทีก่ ารจ�ำแนกพืน้ ที่ เสีย่ งภัยแผ่นดินไหวรายจังหวัดยังไม่ละเอียดเพียงพอต่อการ วางผังเมือง ข้อมูลรอยเลื่อนมีพลังที่ใช้ก�ำหนดพื้นที่เสี่ยงภัย ยังไม่ครบถ้วนทุกรอยเลื่อนย่อย และขาดการขับเคลื่อนจาก อนุกรรมการแผ่นดินไหว ในอนาคตอาจจะเพิ่มผู้ทรงคุณวุฒิ หรือเชิญธุรกิจท่องเทีย่ ว บริษทั ประกันภัย สภาอุตสาหกรรม เข้าร่วมประชุมในวาระที่เกี่ยวข้องตามสมควร


แผนที่สึนามิ

ป้ายแสดงเส้นทางหนีภัยสึนามิ

“ปัจจุบันงบประมาณในการท�ำวิจัยของกรมทรัพยากรธรณี ไม่เพียงพอ จึงต้องท�ำวิจยั ร่วมกับนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยต่างๆ โดยระดมสหสาขาวิชาการ เช่น ธรณีฟิสิกส์ วิศวกรรมแผ่นดินไหว ธรณีวทิ ยา ฯลฯ เพือ่ เป็น ‘ทีมชาติแผ่นดินไหว’ ท�ำงานร่วมกันแบบ บูรณาการ ทั้งนี้ งานวิจัยด้านแผ่นดินไหวไม่ได้เน้นนวัตกรรมมาก แต่เป็นความรู้พื้นฐานที่จำ� เป็น และน�ำไปใช้ประโยชน์ในการจัดท�า กฎหมาย รวมถึงการเฝ้าระวังรับมือภัยพิบัติ” ผศ. ดร.ภาสกร ปนานนท์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หัวหน้าโครงการ “การศึกษาสภาวะความเค้นของธรณีภาคบริเวณ ประเทศไทยและการตรวจสอบรูปทรงของรอยเลื่อนมีพลังแม่ทา จังหวัดเชียงใหม่ จากแผ่นดินไหวขนาดเล็กมาก เพือ่ การลดผลกระทบ จากแผ่นดินไหวของประเทศไทย” กล่าวเสริมว่า บริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ของไทย มีความเค้นสะสมที่ค่อนข้างสูง พอที่ จ ะกระตุ ้ น ให้ เ กิ ด แผ่ น ดิ น ไหวได้ ขณะที่ บ ริ เวณเมื อ งใหญ่ หลายเมืองมีความเป็นไปได้สูงมากที่จะมีรอยเลื่อนวางตัวซ่อนอยู่ ใต้เมือง และอาจท�ำให้เกิดแผ่นดินไหวได้ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดความ เสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนสูงมาก จึงจ�ำเป็นต้อง ศึกษารอยเลื่อนมีพลังและรอยเลื่อนที่ซ่อนตัวอยู่อย่างเร่งด่วน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนรับมือแผ่นดินไหวของไทยต่อไป ในอนาคต

ด้านการเตรียมพร้อมรับมือภัยสึนามิ ผศ. ดร.ธีรพันธ์ อรธรรมรัตน์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล น�ำเสนอ ผลการส�ำรวจพื้นที่ประสบภัยสึนามิล่าสุดที่จังหวัดภูเก็ตว่า ภาพที่ สะท้อนให้เห็นปัญหาได้ชัดเจนที่สุด คือ ป้ายแสดงเส้นทางหนีภัย และอาคารหลบภัยสึนามิอยูใ่ นสภาพเสียหายช�ำรุด มีขนาดเล็ก และ ไม่เพียงพอต่อจ�ำนวนนักท่องเที่ยว รวมถึงป้ายแนะน�ำสถานที่ ท่องเทีย่ วก็ไม่มกี ารแสดงแผนทีก่ ารอพยพไปในพืน้ ทีป่ ลอดภัย ทัง้ ที่ จังหวัดภูเก็ตมีรายได้ดา้ นการท่องเทีย่ วเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศ แต่ยังพบเห็นสภาพความไม่พร้อม อาจเป็นเพราะหน่วยงานที่ รับผิดชอบในการจัดการภัยพิบัติขาดความรู้ในการจัดการ ขาดการ สนับสนุนที่เพียงพอจากทั้งภาครัฐและเอกชน ขาดการมีส่วนร่วม กับชุมชนในการจัดการปัญหา และไม่มเี จ้าภาพในการจัดการปัญหา อย่างเป็นระบบ ดร.ปานนท์ ลาชโรจน์ จากมหาวิทยาลัยมหิดล และหัวหน้า โครงการประเมินความเสีย่ งภัยสึนามิในประเทศไทยและการจ�ำลอง การอพยพหนีภัยของผู้คนเพื่อศึกษาหามาตรการลดความเสี่ยง ที่มีประสิทธิภาพ เผยผลการรวบรวมข้อมูลแผ่นดินไหวที่ท�ำให้เกิด สึนามิจากแหล่งข้อมูลของ National Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA) พบว่ากว่า 500 ปีทผี่ า่ นมาได้เกิดเหตุการณ์ ขึ้นเป็นจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะบริเวณมหาสมุทรอินเดีย ส่วนใหญ่ เกิดตามแนวมุดตัวซุนดาบริเวณสุมาตรา เช่นเดียวกับสึนามิที่ไทย อย่างไรก็ดี บริเวณทางตอนเหนือของแนวมุดตัวซุนดาตัง้ แต่หมูเ่ กาะ อันดามันจนถึงบริเวณอาระกันเลียบชายฝั่งของเมียนมามีการ เคลื่อนตัวประมาณ 20 มิลลิเมตรต่อปี เป็นบริเวณที่นักวิจัยก�ำลัง ให้ความสนใจศึกษาโอกาสทีจ่ ะเกิดสึนามิในอนาคต ทัง้ นี้ ไทยมีทนุ่ ตรวจจับคลืน่ สึนามิกอ่ นเข้าถึงชายฝัง่ อันดามันไม่นอ้ ยกว่า 1 ชัว่ โมง และสามารถเชื่อมต่อกับระบบเตือนภัยต่างๆ โครงการวิจัยนี้จึง เน้นไปทีก่ ารศึกษาการอพยพหนีภยั ของผูค้ นในพืน้ ที่ ซึง่ เชือ่ ว่าเป็น มาตรการที่เหมาะสมที่สุดของไทย เพราะไม่ต้องลงทุนสูง การรับรู้ ถึงปัญหาและจุดอ่อนของมาตรการลดความเสี่ยงที่มีอยู่ในปัจจุบัน จะท�ำให้สามารถแก้ไขและปรับปรุงมาตรการการอพยพอย่างถูกวิธี

แผนที่สถานที่ท่องเที่ยวไม่มีป้ายแสดงเขตปลอดภัยสึนามิ และเส้นทางหนีภัย

January-February 2020


Scoop

> กองบรรณาธิการ

สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน เดินหน้าสร้างความรูค้ วามเข้าใจการจัดตัง้ โรงไฟฟ้ า ชุ ม ชนเพื่ อ เศรษฐกิ จ ฐานราก หลังผ่านมติจากที่ประชุม กพช. ลงพื้นที่ ภาคอี ส านทั้ ง ที่ จั ง หวั ด ขอนแก่ น และ จังหวัดอุบลราชธานี เป้าหมายเพือ่ ผลักดัน วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนริ เริ่ ม ตั้ ง โรงไฟฟ้ า ชุ ม ชน เป็นรูปธรรม มุ่งสู่เป้าหมาย 700 MW ทั่วประเทศภายในปี พ.ศ. 2563 นี้ สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพลังงาน พร้อมด้วย คณะผูบ้ ริหารกระทรวงพลังงาน ได้ลงพืน้ ที่ จั ง หวั ด ขอนแก่ น เพื่ อ พบปะและสร้ า ง ความรู้ความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ เกี่ ย วกั บ การจั ด ตั้ ง โรงไฟฟ้ า ชุ ม ชนเพื่ อ เศรษฐกิจฐานราก ซึง่ ได้รบั ความสนใจจาก ประชาชนจ�ำนวนมาก ทัง้ จากพืน้ ทีจ่ งั หวัด ขอนแก่ น อุ บ ลราชธานี มหาสารคาม ศรีสะเกษ นครราชสีมา และสุรินทร์ ส�ำ หรับโครงการโรงไฟฟ้ า ชุ มชน ได้ ผ ่ า นความเห็ น ชอบจากที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) แล้วเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2562 ทีผ่ า่ นมา ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้ประชาชนโดยเฉพาะ กลุม่ วิสาหกิจชุมชนได้รบั ทราบหลักเกณฑ์ รูปแบบการซื้อ ขายไฟฟ้ า ของโรงไฟฟ้ า ชุมชน ซึง่ วิสาหกิจชุมชนสามารถยืน่ ขอรับ การส่งเสริมจัดตั้งได้หากมีองค์ประกอบ เป็นไปตามเงื่อนไขของโครงการ โดยจะมี คณะกรรมการบริหารการรับซือ้ ไฟฟ้าจาก โครงการโรงไฟฟ้ า ชุ ม ชนเพื่ อ เศรษฐกิ จ ฐานราก ซึ่งมีปลัดกระทรวงพลังงานเป็น ประธานเป็นผู้พิจารณาอนุมัติโครงการ และบริหารจัดการ ตลอดจนก�ำกับดูแลให้ โครงการโรงไฟฟ้าชุมชนเป็นไปด้วยความ เรียบร้อย January-February 2020

กระทรวงพลังงาน เดินหน้าขับเคลื่อน โรงไฟฟ้าชุมชนเต็มกำ�ลัง โครงการโรงไฟฟ้าชุมชนฯ จะเปิดรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในรูปแบบ Feed-in Tariff (FiT) ส�ำหรับผูผ้ ลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (VSPP) ปริมาณไม่เกิน 10 เมกะวัตต์ (MW) เป็นโรงไฟฟ้าประเภท Non Firm ที่สามารถใช้ระบบกักเก็บพลังงานร่วมด้วยได้ จะเปิดรับซือ้ ในปี พ.ศ. 2563 ปริมาณ 700 MW และก�ำหนดจ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์สำ� หรับ กรณีโรงไฟฟ้าแบบ Quick Win คือโรงไฟฟ้าที่ก่อสร้างแล้วเสร็จหรือใกล้แล้วเสร็จ ไฟฟ้า จะเข้าระบบภายในปี พ.ศ. 2563 ส่วนโครงการทั่วไปเข้าระบบปี พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป ส่วนรูปแบบการร่วมทุน จะมีกลุม่ ผูเ้ สนอโครงการ ซึง่ อาจเป็นภาคเอกชนเข้าร่วมกับ องค์กรภาครัฐก็ได้ จะถือในสัดส่วน 60-90% และอีกกลุ่มเป็นวิสาหกิจชุมชน (สมาชิก ไม่นอ้ ยกว่า 200 ครัวเรือน) ถือในสัดส่วน 10-40% (เป็นหุน้ บุรมิ สิทธิไม่นอ้ ยกว่า 10% และ เปิดโอกาสให้ซื้อหุ้นเพิ่มได้อีกรวมแล้วไม่เกิน 40%) โดยส่วนแบ่งรายได้จะให้กองทุน หมูบ่ า้ นทีอ่ ยูใ่ น “พืน้ ทีพ ่ ฒ ั นาหรือฟืน้ ฟูทอ้ งถิน่ ” ของโรงไฟฟ้านัน้ ๆ โดยหากเป็นโรงไฟฟ้า เชื้อเพลิงชีวมวล ก๊าซชีวภาพ (น�้ำเสีย/ของเสีย) และก๊าซชีวภาพ (พืชพลังงาน) ส่วนแบ่ง ไม่ตำ�่ กว่า 25 สตางค์ตอ่ หน่วย และกรณีเป็นโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ไฮบริด ส่วนแบ่ง ไม่ตำ�่ กว่า 50 สตางค์ตอ่ หน่วย ส่วนราคารับซือ้ ก็อยูใ่ นอัตราเฉลีย่ ประมาณ 3-5 บาทต่อหน่วย ตามแต่ละประเภทเชื้อเพลิง กระทรวงพลังงานตัง้ เป้าหมายสนับสนุนให้เกิดโรงไฟฟ้าชุมชนเป็นรูปธรรมโดยเร็ว โดยคาดว่าในปี พ.ศ. 2563 นีจ้ ะสามารถรับซือ้ ไฟฟ้าทีผ่ ลิตจากโรงไฟฟ้าชุมชนทัว่ ประเทศ ได้ราว 700 เมกะวัตต์ ซึง่ จะมีสว่ นให้ชมุ ชนมีรายได้จากการเป็นเจ้าของโรงไฟฟ้าฯ ลดภาระ ค่าใช้จ่าย มีรายได้จากการจ�ำหน่ายวัสดุทางการเกษตรเป็นเชื้อเพลิง เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ และสร้างความเข้มแข็งในชุมชน ลดการย้ายถิน่ ฐานของแรงงาน เกิดการจับจ่าย ใช้สอยในพืน้ ที่ ก่อให้เกิดการหมุนเวียนของเศรษฐกิจในชุมชน สามารถน�ำไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้ ไปสร้างมูลค่าเพิม่ ในการประกอบอาชีพของชุมชน ตัวอย่างเช่น ห้องเย็น เครือ่ งจักรแปรรูป การเกษตร เป็นต้น นอกจากนี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานและคณะยังได้รับฟังรายงานจาก ศูนย์สง่ เสริมเมล็ดพันธุข์ า้ วชุมชนบ้านโนนรัง ต�ำบลสาวะถี อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ซึง่ เป็นศูนย์ผลิตเมล็ดพันธุข์ า้ วให้กรมการค้าข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีการแปรรูป ผลิตภัณฑ์จากข้าวฮางงอก ซึง่ วิสาหกิจชุมชนแห่งนีม้ แี ผนจะจัดตัง้ โรงไฟฟ้าชุมชนขึน้ ด้วย ส่วนจังหวัดอุบลราชธานีนนั้ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงานได้ลงพืน้ ทีเ่ พือ่ ตรวจ ติดตามความพร้อมของการด�ำเนินการให้เกิดโรงไฟฟ้าชุมชนในพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรม และเยี่ยมชมโรงไฟฟ้าของกลุ่มบริษัทอุบลไบโอเอทานอล ที่พร้อมปรับปรุงระบบรองรับ พืชพลังงานหญ้าเนเปียร์เป็นเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟ้า ตามกรอบนโยบายเร่งด่วน Quick Win


สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์

โดยช่วงต้นเดือนมกราคม 2563 สนธิ รั ต น์ สนธิ จิ ร วงศ์ พร้ อ มด้ ว ย คณะผู้บริหารกระทรวงพลังงานลงพื้นที่ จังหวัดอุบลราชธานี ได้ตรวจติดตามความ ก้าวหน้าของการด�ำเนินการเพือ่ ขับเคลือ่ น ผลักดันนโยบายโรงไฟฟ้าชุมชนเพือ่ เศรษฐกิจ ฐานรากในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนล่าง ครอบคลุมจังหวัดยโสธร ศรีสะเกษ อ�ำนาจเจริญ และอุบลราชธานี ซึง่ การลงพืน้ ทีจ่ งั หวัดอุบลราชธานี ในครั้งนี้มีภารกิจส�ำคัญคือ การประชุม หารื อ ร่ ว มกั บ 4 จั ง หวั ด ในพื้ น ที่ ภ าค ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ตอนล่ า ง ได้ แ ก่ จังหวัดยโสธร ศรีสะเกษ อ�ำนาจเจริญ และ อุบลราชธานี และติดตามการด�ำเนินงาน ของกระทรวงพลังงานตามนโยบายที่ได้ มอบหมายไว้ อาทิ โครงการโรงไฟฟ้าชุมชน เพือ่ เศรษฐกิจฐานราก สถานีพลังงานชุมชน การของบประมาณกองทุนเพื่อส่งเสริม การอนุรักษ์พลังงานเพื่อการแก้ปัญหา ภัยแล้ง เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ให้มคี วามเข้มแข็ง รวมถึงการติดตามพืน้ ที่ ที่ต้องการความมั่นคงด้านไฟฟ้า เป็นต้น ซึ่ ง ภาพรวมขณะนี้ อ ยู ่ ร ะหว่ า งการเร่ ง ขับเคลื่อนให้เกิดผลส�ำเร็จที่เป็นรูปธรรม ตามนโยบายที่ได้มอบหมายไว้

โดยในส่วนของโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนนัน้ ได้ผา่ นความเห็นชอบเกีย่ วกับเงือ่ นไข หลักเกณฑ์การจัดตั้งโรงไฟฟ้าชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานรากจากที่ประชุมคณะกรรมการ นโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) เมือ่ วันที่ 16 ธันวาคม 2562 ทีผ่ า่ นมา ในปี พ.ศ. 2563 นี้ จะเปิดรับซื้อไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนของผู้ผลิตรายเล็กมาก (VSPP) ใน รูปแบบ FiT จ�ำนวนรวม 700 เมกะวัตต์ (MW) โดยให้ความส�ำคัญกับโรงไฟฟ้า Quick Win ที่ก่อสร้างแล้วเสร็จหรือใกล้จะแล้วเสร็จเข้าร่วมโครงการก่อน ซึ่งโครงการจะสามารถ จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบภายในปี พ.ศ. 2563 นี้ ส�ำหรับในการร่วมทุนได้วางหลักเกณฑ์ไว้โดยให้ความส�ำคัญไปที่ประโยชน์ต่อ ชุมชนเป็นหลัก โดยผู้เสนอโครงการที่อาจเป็นภาคเอกชนหรืออาจร่วมกับองค์กรของรัฐ จะถือหุน้ ในโครงการได้ 60%-90% ส่วนกลุม่ วิสาหกิจชุมชน 10%-40% โดยกลุม่ วิสาหกิจ ชุมชนต้องมีสมาชิกไม่น้อยกว่า 200 ครัวเรือน และยังมีการแบ่งส่วนแบ่งรายได้ตาม หลักเกณฑ์ รวมทัง้ ต้องมีแผนจัดหาเชือ้ เพลิง รับซือ้ เชือ้ เพลิงราคาประกันกับวิสาหกิจชุมชน แบบคอนแทร็ก ฟาร์มมิ่ง (Contract Farming) ด้วย “เป้าหมายหลักของโครงการโรงไฟฟ้าชุมชนคือ การแก้ปญ ั หาเศรษฐกิจฐานรากเพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชนด้วยนโยบายพลังงาน ซึง่ การขับเคลือ่ นโรงไฟฟ้าชุมชน จะท�ำให้เกิดเม็ดเงินลงทุนในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจกว่า 7 หมืน่ ล้านบาท ก่อเกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ และสร้างรายได้ให้ชมุ ชนได้อย่างยัง่ ยืน นอกจากนี้ ชุมชนรอบโรงไฟฟ้ายังจะ ได้รับส่วนลดค่าไฟฟ้าอีกด้วย” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานกล่าว

นอกจากนั้น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงานและคณะได้เข้าเยี่ยมชมโครงการ ด้านพลังงานทดแทนของบริษทั อุบลไบโอเอทานอล จ�ำกัด (มหาชน) ซึง่ มีการผลิตเอทานอล ผลิตก๊าซชีวภาพ และโรงไฟฟ้าขนาด 5.6 MW เพื่อดูการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท อุบลไบโอเอทานอล เนื่องจากเป็นหนึ่งในโรงไฟฟ้าที่แสดงความสนใจเข้าร่วมโครงการ ตามกรอบเวลาของนโยบายโรงไฟฟ้าชุมชนเร่งด่วน Quick Win โรงงานมีระบบผลิตไบโอก๊าซที่ผลิตจากการย่อยกากมันส�ำปะหลังที่ได้รับจาก โรงแป้งมันฯ สามารถปรับปรุงระบบรองรับหญ้าเนเปียร์ได้ภายใน 6 เดือน โดยมี กากมันส�ำปะหลังซึ่งเป็นผลพลอยได้จากการผลิตเอทานอลน�ำมาใช้เป็นวัตถุดิบเสริม ประสิทธิภาพในการผลิตก๊าซชีวภาพ และมีโรงไฟฟ้าขนาด 5.6 MW ทีม่ สี ายส่งขนาด 115 kV และ 22 kV พร้อมรับการจ�ำหน่ายไฟฟ้า ทัง้ นี้ กลุม่ บริษทั ฯ ยังมีสมาชิกกลุม่ เครือข่ายเกษตรกรทีม่ พี นื้ ทีเ่ กษตรกรรมอยูบ่ ริเวณ รอบโรงงาน มีความต้องการและมีความพร้อมในการเข้าร่วมถือหุน้ กับโรงไฟฟ้า โดยกลุม่ บริษทั ฯ มีการประกันราคาและรับซือ้ ผลผลิตมันส�ำปะหลังทีแ่ น่นอนกับเกษตรกรทีเ่ ข้าร่วม โครงการ มีระบบท่อส่งและกระจายน�ำ้ ให้ชมุ ชน สามารถลดต้นทุนและเพิม่ ผลผลิตในการ ปลูกหญ้าเนเปียร์ และมีโครงการสนับสนุนกากมันส�ำปะหลังเพือ่ เป็นสารปรับปรุงบ�ำรุงดิน รวมทัง้ กลุม่ บริษทั ฯ มีทดี่ นิ ปลูกหญ้าเนเปียร์มากกว่า 2,000 ไร่ มีประสบการณ์ในการปลูก และจัดการแปลงหญ้าเนเปียร์มากว่า 5 ปี มีผลผลิตสูงเฉลีย่ ประมาณ 10 ตันต่อไร่ สามารถ เป็นแปลงต้นแบบสาธิตให้กลุ่มเกษตรกรได้มาศึกษาเรียนรู้ได้ January-February 2020


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

“พระราม 4 โมเดล”

บิ๊กดาต้ากับการแก้ปัญหาจราจร ในกรุงเทพฯ Rama 4 Model : Utilizing Big Data Analytics to Solve Traffic Congestion in Bangkok

ปัญหาการจราจรติดขัดนับเป็นหนึง่ ในประเด็นทางสังคมทีม่ ี ความซับซ้อนและส่งผลกระทบต่อคนกรุงเทพฯ มาอย่างยาวนาน อันเป็นผลมาจากหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นระบบการวางผังเมือง การขยายตัวทางเศรษฐกิจและชุมชนเมือง การหลัง่ ไหลของแรงงาน จากต่างจังหวัด ปริมาณรถยนต์ทเี่ พิม่ ขึน้ รวมทัง้ ระบบขนส่งสาธารณะ ทีไ่ ม่เพียงพอต่อความต้องการ จนท�ำให้กรุงเทพฯ กลายเป็นเมืองที่ รถติดมากทีส่ ดุ ในภูมภิ าคเอเชีย โดยการจัดอันดับของ INRIX Global Traffic Scorecard1 ทั้งนี้ จากข้อมูลของศูนย์วิจัยกสิกร2 ระบุว่า คนกรุงเทพฯ ต้องใช้เวลาในการเดินทางยาวนานขึน้ 35 นาทีตอ่ ครัง้ ซึง่ หากน�ำมา ค�ำนวณเป็นค่าเสียโอกาสทางด้านเวลาทีต่ อ้ งติดอยูบ่ นถนน แทนที่ จะน�ำเวลานัน้ ไปสร้างรายได้หรือกิจกรรมทางเศรษฐกิจเพิม่ ขึน้ คิดเป็น เม็ดเงินมูลค่าประมาณ 11,000 ล้านบาทต่อปี หรือเฉลี่ยประมาณ 60 ล้านบาทต่อวัน ทั้งยังส่งผลต่อการบริโภคเชื้อเพลิงพลังงานที่ เพิ่มขึ้นคิดเป็นเม็ดเงินประมาณ 6,000 ล้านบาทต่อปี ไม่เพียงแต่ ในด้านเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ปัญหาการจราจรยังส่งผลต่ออารมณ์ และสุขภาพจิต รวมไปถึงปัญหาทางด้านสิง่ แวดล้อม ทัง้ ฝุน่ ละออง และมลพิษทางอากาศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกายของ คนกรุงเทพฯ ด้วย หนึง่ ในโครงการล่าสุดทีเ่ พิง่ เปิดตัวเมือ่ เร็วๆ นี้ เพือ่ แก้ปญ ั หา การจราจรในเขตกรุงเทพฯ คือ โครงการ “พระราม 4 โมเดล” ซึ่ง เกิดจากความร่วมมือของหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน January-February 2020

It is no secret that traffic congestion has been a long-time affliction for Bangkokians. Long-standing issues that have yet to find the right solutions continue to plague the city. Existing infrastructure continued to struggle to cope with increasing urbanisation, coupled with increasing private vehicle ownership. It remained a massive challenge for current public transportation networks to meet the ever-changing commuting needs of all travellers in the city. While the emergence of on-demand ride-hailing has played a part in getting people from point-to-point more seamlessly and conveniently, people, particularly those living in underserved areas, still prefer to rely on private vehicle ownership to travel to their urban destinations. As a result, Bangkok is now the most congested city in Asia ranked by INRIX Global Traffic Scoreboard.1 Traffic congestion impacts Bangkok’s economic performance significantly. At the same time, it also adds undue stress to the environment, health and well-being of people in the city. Kasikorn Research Center2 studies show that people in Bangkok take an extra 35 minutes travelling on the road, spending time in traffic jams when they could be using their time more productively. Calculating time wasted on roads as an opportunity cost, it would cost around 11 billion baht per year


และสถาบั น การศึ ก ษา อั น ประกอบด้ ว ย กระทรวงคมนาคม กรุงเทพมหานคร กองบัญชาการต�ำรวจนครบาล จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย แกร็บ ประเทศไทย และมูลนิธิโตโยต้า โมบิลิตี โดยมุ่งใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่และข้อมูลขั้นสูง (Advanced Data) จากฐานข้อมูลของหน่วยงานภาคีมาศึกษาวิเคราะห์และคาดการณ์ รูปแบบการจราจรตลอดทั้งเส้นทาง เพื่อน�ำเสนอแนวทางในการ ปรับปรุงการจัดการจราจรของถนนพระราม 4 รศ. ดร.สรวิศ นฤปิติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ในฐานะผูจ้ ดั การโครงการ “พระราม 4 โมเดล” กล่าวว่า “โครงการนีถ้ อื เป็นส่วนหนึง่ ของกิจกรรมหลักภายใต้บนั ทึกความร่วมมือ ด้านวิชาการเพื่อแก้ไขปัญหาการจราจรในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ซึง่ หน่วยงานภาคีได้รว่ มลงนามไปเมือ่ เดือนตุลาคม 2561 ทีผ่ า่ นมา โดยริเริม่ ขึน้ เพือ่ มุง่ ศึกษาและทดลองน�ำเอาบิก๊ ดาต้า จากฐานข้อมูลเชิงลึก เทคโนโลยีอันทันสมัยและองค์ความรู้จาก หน่วยงานต่างๆ ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษา มาใช้ ในการวิเคราะห์ วางแผนและบูรณาการต่อยอดเพื่อแก้ปัญหาด้าน การจราจรและคมนาคมขนส่ง ทัง้ นี้ เฟสแรกจะเริม่ จากถนนพระราม 4 และมีแผนทีจ่ ะขยายผลไปยังถนนสุขมุ วิท ถนนเจริญกรุง และบริเวณ ถนนโดยรอบอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ตามล�ำดับ”

มร.ปราส กาเนช กรรมการ มูลนิธิโตโยต้า โมบิลีตี รศ. ดร.สรวิศ นฤปิติ ผู้จัดการโครงการ “พระราม 4 โมเดล” และ มร.เอริค เซลเบิร์ก ผู้อำ� นวยการฝ่ายวิศวกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัท แกร็บ โฮลดิ้งส์ Prasanna Ganesh, Program Director for Toyota Mobility Foundation, Assoc. Prof. Sorawit Narupiti, Project Manager of Rama 4 Model, and Erik Selberg, Head of Engineering, Data Technology for Grab Holdings Inc. ส�ำหรับการผนึกความร่วมมือภายใต้โครงการ “พระราม 4 โมเดล” จะเริ่มน�ำร่องด�ำเนินการบนถนนพระราม 4 เนื่องจาก เป็นหนึง่ ในถนนทีม่ กี ารจราจรหนาแน่นทีส่ ดุ ในกรุงเทพฯ ครอบคลุม พื้นที่ชุมชนขนาดใหญ่ซึ่งส่งผลกระทบต่อประชาชนในวงกว้าง เชื่อมต่อกับถนนเส้นหลักหลายสาย ไม่ว่าจะเป็นถนนสีลมและ

or 60 million baht per day. Additionally, it increases the cost of fuel consumption by up to 6 billion baht per year. With a lofty ambition to find effective solutions to relieve traffic woes in Bangkok, the “Rama 4 Model” project is born from a collaboration between the public, private and academic sectors, including the Ministry of Transport, Bangkok Metropolitan Administration, Metropolitan Police Bureau, Grab Thailand, Toyota Mobility Foundation and Chulalongkorn University. The project aims to use advanced data-driven solutions sourced from all parties involved to better analyze and predict traffic patterns along Rama 4 road, understand the root causes of the traffic congestion problem, and ultimately propose recommendations that could ease the existing traffic congestion issue. Assoc. Prof. Sorawit Narupiti, Department of Civil Engineering, Chulalongkorn University, and “Rama 4 Model” project manager, commented “This project is part of the Memorandum of Understanding signed by key parties in October 2018 with the aim of solving traffic issues in Bangkok and its surrounding precincts. Under this project, we will combine expertise and knowledge from the government, private and academic sectors to find a workable solution to traffic and public transportation challenges along Rama 4 road. This will include studying and utilising big data contributed by all parties, and applying innovative technology and knowledge to get to the root of the problem. The first phase of cooperation will start on Rama 4 road and we plan to extend to Sukhumvit Road, Charoenkrung Road, and the areas around Victory Monument, eventually.” Rama 4 road is one of the most congested roads in Bangkok due to its importance as a critical transportation node connecting different communities, and its proximity to major thoroughfares, including Silom and Sathorn Roads in the central business district. The road also connects a growing residential population, and community malls like Samyan Mitrtown, One Bangkok, as well as academic institutions. The Rama 4 project will cover 12 kilometers of Rama 4 Road, from Hua Lamphong railway station to Phra Khanong district. The study will take approximately 18 months to complete, starting from November 2019 to April 2021, with an investment of 50 million baht by Toyota Mobility Foundation. The Rama 4 Model project will build upon the success of the earlier “Sathorn Model”, a project undertaken from 2014 to 2017. The Sathorn Model developed systematic solutions to the traffic issues on Sathorn Road through a variety of counter-measures such as Traffic Signal Control Optimization, January-February 2020


ถนนสาทร ซึง่ เป็นย่านธุรกิจการค้า โดยมี โครงการส�ำคัญอย่างสามย่านมิตรทาวน์ และวัน แบงค็อก รวมถึงสถานศึกษา และ แหล่งที่พักอาศัยซึ่งมีแนวโน้มที่จะเติบโต อย่างต่อเนื่องในอนาคต โดยโครงการนี้ จะท�ำการศึกษาข้อมูลต่างๆ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับ การจราจรตลอดถนนพระราม 4 ซึ่งมี ความยาวประมาณ 12 กิโลเมตร โดยเริม่ จากสถานีรถไฟหัวล�ำโพงและไปสิ้นสุดที่ พระโขนง มีระยะเวลาด�ำเนินการทั้งสิ้น ตัวอย่างสภาพการจราจรบนถนนพระราม 4 18 เดือน นับตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายน 2562 Daily Traffic Conditions on Rama 4 Road จนถึงเดือนเมษายน 2564 ด้วยงบประมาณ 50 ล้านบาท ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิโตโยต้า โมบิลิตี Reversible Lane, Smart Shuttle Bus, Flexible Working Time, and Park and Ride. A clear roadmap was developed and ทั้งนี้ โครงการ “พระราม 4 โมเดล” ได้ขยายผลมาจาก submitted to the Thai government for consideration to scale ความส�ำเร็จของโครงการ “สาทรโมเดล” ซึง่ ด�ำเนินการในระหว่าง across the city. ปี พ.ศ. 2557-2560 โดยได้น�ำมาตรการต่างๆ มาใช้เพื่อแก้ปัญหา The Rama 4 model will bring together huge troves of การจราจรบนถนนสาทร อาทิ การควบคุมสัญญาณไฟจราจร (Traffic data from a variety of databases from both public and private Signal Control Optimization) การจัดช่องจราจรพิเศษ (Reversible sectors to deliver the most comprehensive insights into Lane) การใช้ระบบรถรับส่งอัจฉริยะ (Smart Shuttle Bus) มาตรการ Bangkok’s traffic problems. These include anonymised GPS เหลือ่ มเวลาท�ำงาน (Flexible Working Time) มาตรการจอดแล้วจร ride data from Grab and the Ministry of Transport; CCTV (Park and Ride) เป็นต้น โดยหน่วยงานภาคีได้สง่ มอบแผนงานเพือ่ footage from the Bangkok Metropolitan Administration, and ขยายผลไปยังส่วนต่างๆ ให้กบั หน่วยงานภาครัฐเป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว road accident data from Metropolitan Police Bureau, which แก่นส�ำคัญของโครงการ “พระราม 4 โมเดล” คือความ will be jointly analysed to provide the entire traffic situation พยายามในการน�ำข้อมูลจ�ำนวนมหาศาลและมีความหลากหลาย along Rama 4 road. จากฐานข้อมูลของหน่วยงานภาคีทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน Chulalongkorn University will work closely with each มาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสูด ไม่ว่าจะเป็นข้อมูล GPS ของรถ partner to collect and analyze the big data using advanced ที่ให้บริการการเดินทางผ่านแอปพลิเคชันของแกร็บ รวมถึงขนส่ง technologies, including Artificial Intelligence and Machine สาธารณะประเภทอืน่ ๆ จากกระทรวงคมนาคม ภาพจากกล้อง CCTV Learning, as well as specialized knowledge from mobility, และข้อมูลสภาพการจราจรจากกรุงเทพมหานคร รวมทั้งสถิติด้าน technology and data science experts. All these collective efforts อุบตั ภิ ยั จากกองบัญชาการต�ำรวจนครบาล เป็นต้น โดยจุฬาลงกรณ์ are made to profoundly understand and visualize current มหาวิ ท ยาลั ย จะท� ำ งานร่ ว มกั บ หน่ ว ยงานต่ า งๆ เพื่ อ เก็ บ และ traffic conditions, perceive key trends and patterns in order to วิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่อย่างระบบ AI predict future traffic issues, and eventually gain in-depth insights และ Machine Learning ผนวกกับการน�ำองค์ความรูจ้ ากผูเ้ ชีย่ วชาญ for the design of traffic management systems, transportation networks and urban planning solutions. ทางด้านเทคโนโลยีและการสัญจรมาบูรณาการ ท�ำให้ทราบถึง เงื่อนไขและข้อจ�ำกัดของปัญหาด้านการ จราจรในปัจจุบัน สามารถคาดการณ์ถึง แนวโน้ ม และรู ป แบบของการจราจร ในอนาคต ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการ ออกแบบและวางแผนระบบการจัดการ จราจร การพั ฒ นาโครงข่ า ยการขนส่ ง รวมไปถึ ง การปรั บ ปรุ ง การวางผั ง เมื อ ง ให้มีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น ตัวอย่างข้อมูลสภาพการจราจรบนถนนพระราม 4 และพื้นที่ใกล้เคียง Rama 4 Road and Surrounding Areas Traffic Data Collection January-February 2020


ธรินทร์ ธนียวัน กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ แกร็บ ประเทศไทย กล่าวว่า “โครงการนีส้ ะท้อนถึงความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการศึกษาในการแก้ไขปัญหาในภาคคมนาคมขนส่งอย่าง เป็นรูปธรรม ซึง่ ส่งผลกระทบต่อทัง้ เศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อม โดยแกร็บในฐานะผู้ให้บริการการเดินทางแบบออนดีมานด์ผ่าน แอปพลิเคชันได้มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลจากระบบ GPS ซึ่งให้ รายละเอียดการเดินทางของผูใ้ ช้บริการ (โดยไม่ระบุตวั ตน) ทัง้ รถยนต์ และรถจักรยานยนต์ อาทิ ระยะทางและช่วงเวลาในการเดินทาง ความเร็วของการขับขี่ และจุดรับ-ส่งผู้โดยสาร ครอบคลุมทั้งข้อมูล แบบเรียลไทม์และข้อมูลย้อนหลัง โดยฐานข้อมูลเหล่านี้ถือเป็น หนึง่ ในตัวแปรส�ำคัญทีจ่ ะช่วยพัฒนาระบบการจัดการด้านคมนาคม พร้อมบรรเทาปัญหาของเมืองใหญ่ๆ ที่มีการจราจรหนาแน่นและ มีมลพิษทางอากาศอย่างกรุงเทพฯ ลงได้ นอกจากนี้ เรายังได้ส่ง ทีมวิศวกรเทคโนโลยี (Tech Engineer) และนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) จากส�ำนักงานใหญ่ในประเทศสิงคโปร์ มาร่วม แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ (Know-How) กับทีมงานของจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยและหน่วยงานภาคีด้วย” ความร่วมมือของแกร็บในโครงการ “พระราม 4 โมเดล” นับเป็นส่วนหนึ่งของพันธกิจเพื่อสังคมในระดับภูมิภาค “Grab for Good” (แกร็บเพื่อชีวิตที่ดีกว่า) ซึ่งแกร็บได้ประกาศเป็นโรดแมป ภายในระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2563-2568) เมื่อช่วงปลายเดือน กันยายนที่ผ่านมา โดยมีเป้าหมายในการขับเคลื่อนภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ไปข้างหน้า พร้อมส่งเสริมและยกระดับคุณภาพชีวติ ของคนในสังคม โดยอาศัยการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเพือ่ พัฒนา ทักษะและศักยภาพในการแข่งขัน เพิ่มโอกาสในการสร้างรายได้ รวมถึงแก้ไขปัญหาหรือขจัดข้อจ�ำกัดในด้านต่างๆ เพื่อให้ทุกคน ก้าวทันเศรษฐกิจในยุคดิจทิ ลั ซึง่ เป็นพืน้ ฐานของการสร้างความยัง่ ยืน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงสิ่งแวดล้อม 1 https://www.bltbangkok.com/CoverStory/กรุงเทพฯครองแชมป์

รถติดที่สุดในเอเชีย 2 https://kasikornresearch.com/th/analysis/k-econ/economy/ Pages/35675.aspx

Tarin Thaniyavarn, Country Head of Grab Thailand, added that “This project truly exhibits the strength of publicprivate-academic partnerships in solving big, meaningful challenges to elevate the quality of lives of all Thais. As we have been providing on-demand ride-hailing services in Thailand for more than six years, Grab is excited to proactively contribute our technology know-how and data science capabilities in this meaningful project that can contribute to a less-congested and less-polluted Bangkok. We have amassed a huge trove of anonymised GPS ride data that can be analysed to provide a more accurate picture of the traffic situation along Rama 4 road, and our data scientists and tech engineers are all ready to share our insights with Chulalongkorn University and other parties involved in this project.” Grab has announced its commitment to its ‘Grab for Good’ 2025 goals in September this year, aiming to deploy technology to solve pain points and elevate the quality of life for everyone in Thailand and Southeast Asia. Specifically, for Thailand, Grab has identified the Rama 4 model as part of its ambition to drive a more sustainable future for Thailand. Indeed, this is a very significant problem to solve for all in Thailand, as it not only impacts on the country’s economic competitiveness but also social welfare and environment. Everyone is anticipating for the eureka moment to crack this puzzle that has been affecting everyone’s lives in Thailand for the longest time. All eyes are on the Rama 4 model and putting hopes on technology as the solution to bring about good for the society! ธรินทร์ ธนียวัน กรรมการผู้จัดการใหญ่ แกร็บ ประเทศไทย Tarin Thaniyavarn, Country Head of Grab Thailand

Grab is the leading super app in Southeast Asia, providing everyday services that matter most to consumers. Today, the Grab app has been downloaded onto over 163 million mobile devices, giving users access to over 9 million drivers, merchants and agents. Grab has the region’s largest land transportation fleet and has completed over 3 billion rides since its founding in 2012. Grab offers the widest range of on-demand transport services in the region, in addition to food, package, grocery delivery services, mobile payments and financial services across 339 cities in eight countries.

January-February 2020


Special Area > KEMPER GmbH

KEMPERbeats

takes welding fume extraction to a new level New extraction hood with integrated Bluetooth speaker sets new standards Effective occupational health and safety thanks to increased capture rate Blechexpo innovations meet with broad visitor interest 

Switch on your smartphone, connect to the extraction hood via Bluetooth and hear your personal playlist while you work: KEMPERbeats ensures employee motivation and health protection at the same time during welding. KEMPER has developed an extraction hood that sets new standards in welding fume extraction for the individual design of your personal workplace. It not only makes it possible to listen to music, it also increases the degree of detection of hazardous substances during welding. In addition to other new developments, KEMPERbeats met with great visitor interest at the Blechexpo in Stuttgart. Extraction hoods are the most frequently used technology worldwide for extracting harmful fumes, particles and vapours directly at their point of origin during welding. KEMPER GmbH went one step further with its new extraction hood: “With our new development, we are thinking beyond pure extraction”, explained Björn Kemper, CEO of KEMPER GmbH. “KEMPERbeats creates a pleasant working atmosphere for welders, increases employee motivation and, ultimately, also productivity.” At the same time, the solution encourages the use of extraction technology. And companies send positive employer signals to their employees regarding the workplace design of the future. January-February 2020

KEMPERbeats is an additional feature of the new KEMPER extraction hood. Behind it lies a special handle with Bluetooth loudspeaker. This allows employees to network the hood with any end device during their work and listen to their music even while the extraction system is running. Thanks to the individual music selection, welders can design their workplace according to their personal preferences. The loudspeakers are designed in such a way that employees at surrounding workplaces are not disturbed.

Higher Capture Rate Thanks to New Dimensioning

KEMPERbeats offers a further advantage: To ensure that their music always


plays directly above the weld seam, welders must always reposition the extraction hood to the point where the welding fumes originate. The solution thus ensures optimum positioning and the capture rate increases, so that the hazardous substances can first be filtered. The dimensioning of the new extraction hood also results in a higher capture rate and easier handling for welders. The increase in the hose diameter to 180 millimetres increases the extraction performance by 30 percent and the capture rate by a further 20 percent compared to the previous KEMPER extraction hood. Due to its flange-shaped design, this hood already achieved capture rates up to 40 percent higher than conventional solutions. Welders now have to reposition the new extraction hood even less frequently. “20 years after developing our extraction hood – which is still unique today, we are setting new standards in welding fume extraction with our new development”, emphasises Kemper. The new extraction hood can be rotated 360 degrees and is easy to operate by hand, even with gloves on. Integrated above the extraction area rather than in the air flow, an energysaving LED strip provides welders with an optimum view of the workpiece. The new bayonet lock for connecting the extraction hose ensures an effective seal and quick fitting. The new function of extraction volume measurement in the hood directly at the point of origin safeguards companies now for future legal standards. The new development will be available from the end of the first quarter of 2020.

Pioneering New Developments

The response at Blechexpo was clear: In conjunction with KEMPERbeats, visitors saw the new KEMPER hood as a pioneering new development. At the same time, KEMPER presented other product solutions – especially in the field of spot extraction. In the case of the torch-integrated extraction system of the new VacuFil family, the automatic adjustment of the extraction capacity on the basis of various torch features attracted great attention. In the field of mobile extraction units, the new SmartFil with a 25 m2 storage filter provides effective occupational safety at favourable conditions. The new WallMaster offers an easy-to-retrofit, wall-mounted filter solution for existing exhaust air solutions.

About KEMPER GmbH

KEMPER GmbH is a manufacturer of extraction plants and filter systems for the metal processing sector. The medium-sized family-run business based in Vreden, Westphalia, is the technology leader with its highly efficient filter systems that filter even ultrafine dust particles from the air when welding fumes are generated. The product portfolio includes extraction tables for cutting processes and the entire accessory chain for industrial safety and air quality management for the metal processing, electrical and automotive sectors. KEMPER was founded in 1977 and has approximately 400 employees today. The management .. Kemper, Michael Schiller and consists of Bjorn Frederic Lanz. As well as headquarters in Vreden, Germany, the company also has a production site near Prague in the Czech Republic. It is represented worldwide by eight subsidiaries and numerous regular trading partners. January-February 2020


Special Area

> บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส์ จ�ำกัด

จาก Preventive สู่

Predictive Maintenance

เรื่องนี้ขอเน้นว่าไม่ได้เจาะจงที่แผนกซ่อมบ�ำรุงครับ เพราะนี่คือการปรับเปลี่ยนวิธีการท�ำงาน วิธีคิด ส�ำหรับการซ่อมบ�ำรุงโดยเน้น ค�ำว่า “บ�ำรุง” มากกว่าค�ำว่า “ซ่อม” เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ยในการซ่อมลง มันไม่ได้แค่งานซ่อมทีล่ ดลง แต่ชว่ ยให้การผลิตท�ำได้อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย หลีกเลี่ยงสถานการณ์เครื่องจักรบกพร่องกะทันหันที่ท�ำให้เครื่องจักรต้องหยุดไปด้วย สามารถปฏิบัติงานการผลิตได้เต็มตามก�ำหนดการ โดยไม่มกี ารหยุดกลางคัน อีกทัง้ ยังเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตเพราะอุปกรณ์ตา่ งๆ ทีใ่ ช้ในเครือ่ งจักรสามารถท�ำงานได้เต็มประสิทธิภาพจาก สุขภาพดีไม่ใด้ง่อนแง่นใกล้เสีย January-February 2020


ภายใต้ปรัชญาทีว่ า่ “ป้องกันดีกว่าแก้ไข” เปลีย่ นวิธกี ารมองงาน ซ่อมบ�ำรุงจากเดิม “เสียแล้วค่อยซ่อม” กลายเป็นการ “ตรวจเช็ค การท�ำงานของเครือ่ งจักรตามเวลา” (Period Maintenance) หรือ (Predictive Maintenance) การท�ำงานภายใต้วธิ นี จี้ ะเปลืองแรงงาน เสียเวลา และค่าใช้จ่ายมาก และยังกระทบกระเทือนเวลาการผลิต ที่ถูกแทนที่ด้วยตารางตรวจเช็คเข้มข้น ยิ่งตารางเวลาตรวจเช็คถี่ บ่อย ก็ยิ่งใช้ทรัพยากรและเวลามาก การท�ำงานส่วนใหญ่อาจท�า มากกว่าความจ�ำเป็น เปรียบเสมือนการไปพบแพทย์เพื่อตรวจ ร่างกายทุกสัปดาห์เพราะกลัวว่าจะเป็นโรคร้าย ซึ่งแน่นอนว่ามาก จนเกินไปและไม่มีใครท�ำกัน แต่ข้อเท็จจริงที่เจ็บปวดกว่านั้นคือ ต่อให้ตารางตรวจเช็คจะเข้มข้นขนาดไหน ก็ยังหลีกเลี่ยงการพัง เสียหายของเครื่องจักรกลางคันในระหว่างที่ทำ� การผลิตอยู่ดี เทคโนโลยีสื่อสารและ IoT สามารถตอบโจทย์เรื่องนี้อย่าง ไม่นา่ เชือ่ การสือ่ สารซึง่ ป็นคุณสมบัตแิ ละแกนหลักของ Predictive Maintenance มีความเป็นไปได้ในยุคนี้ ภายใต้คอนเซ็ปต์ที่ว่า

หากอุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบในเครื่องจักรสามารถร้องขอความ ช่วยเหลือหรือแจ้งเตือนถึงความผิดปกติแม้เพียงเล็กน้อย หรือ เป็นแค่ความเสื่อมถอย การร้องขอหรือแจ้งเตือนนี้ท�ำได้ทันทีผ่าน ระบบเครือข่ายเพือ่ แจ้งต่อผูป้ ฏิบตั งิ าน ปัญหาต่างๆ จะถูกรายงาน ตั้งแต่ความผิดปกติเพิ่งเริ่มเกิดขึ้น เช่นนั้นงานบ�ำรุงหรือปรับปรุง ก็สามารถก�ำหนดขึ้นเพื่อตอบสนองเฉพาะที่มีการแจ้งเตือนปัญหา และสามารถก�ำหนดช่วงท�ำงานล่วงหน้าโดยไม่เร่งร้อน (Condition Base Maintenance) เครื่องจักรหรือส่วนการผลิตที่มีความส�ำคัญ ไม่ว่าจะเป็นระบบมอเตอร์สายพาน พัดลมในกระบวนการ ระบบ ท�ำความร้อนความเย็น สามารถติดตัง้ อุปกรณ์ตรวจจับเงือ่ นไขและ ความผิดปกติตลอดเวลาและสือ่ สารบนระบบเครือข่าย เช่น IO Link, Ethernet/IP ข้อมูลเงือ่ นไขการท�ำงานและความผิดปกติถกู รายงาน ตลอดเวลาอย่างต่อเนือ่ ง หน้าจอทีแ่ สดงผลนีจ้ ะถูกรายงานต่อเนือ่ ง ผ่านระบบ IoT และแสดงอยู่ในห้องซ่อมบ�ำรุงหรือห้องผู้บริหาร

Alarm Bar and Output Function

หากแผนกซ่อมบ�ำรุงมีตารางการตรวจสอบและจดบันทึกสุขภาพ ของเครื่องจักรทุกวัน ทุกสัปดาห์ ต้องจดบันทึกเสียงและความร้อนของ มอเตอร์ ตรวจการท�ำงานของฮีตเตอร์ เช็คความตึงสายพาน และอื่นๆ อีกมากมาย ท่านอาจเป็นผู้ริเริ่มการใช้ระบบ Predictive Maintenance ภายใต้เทคโนโลยีของโลก Industry 4.0 เพือ่ พัฒนาประสิทธิภาพการบ�ำรุง รักษา ลดงานและต้นทุนได้อย่างมหาศาล

รายละเอียดเพิ่มเติมติดต่อ

บริษท ั ออมรอน อีเลคทรอนิคส์ จำ�กัด โทร. 0-2942-6700 เว็บไซท์ http://www.omron-ap.co.th January-February 2020


Special Area

> บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด

ที่สุด

ทีส� ุดแห่งเทคโนโลยีของสวิทช์นาฬิกา ภาค 2 ทีส� ุดแห่งเทคโนโลยีของสวิทช์นาฬิกา ภาค 2

แห่งเทคโนโลยีของ

สวิทช์นาฬ

ตัง� เวลาการทํางาน โปรแกรมไว้ ���งจะม ใช้ส�ำหรับตั้งเวลาการท�ตัำง� เวลาการทํ งาน เพืางาน ่อสัเพื่งงานให้ �ำงาน ที�เราได้ �อสั�งงานให้สสวิวิทตช์ช์ ทาํ ทงานตามเวลา Digital ���งแต่ละแบบ

สวิตช์นาฬิกา หรือที่เสวิรียทกกั นกิว่าาหรืTime ช์นาฬ อที�เรียกกัSwitches นว่า Time Switches ใช้สาํ หรับ

ตามเวลาที่เราได้โปรแกรมไว้ ซึ่ง��จะมี อกใช้ ้งแบบและแบบ โปรแกรมไว้ �งจะมีใให้ห้เลืเอลืกใช้ งานทังง� านทั แบบ Analog กัน Hugo Muller ผูผ้ ล Analog และแบบ DigitalDigitalซึ��่ง�งแต่ ะแบบก็ ความสามารถ แต่ลละแบบ ก็จะมีจคะมี วามสามารถในการตั ง� ค่าที�แตกต่าง รุน่ SC 28.21 pro4 เยอรมัน ในแบรนด MullerMuller ผูผ้ ลิตสวิทผูช์้ผนลิ าฬตกิ สวิ าคุณตภาพสู ง จากประเทศ ในการตั้งค่าที่แตกต่างกักันน Hugo Hugo ช์นาฬิ กา รุน่ SC 28.21 pro4 งานหลากหลายตอ เยอรมั น ในแบรนด์ สนิ ค้า Mullerสิได้ คุณภาพสูงจากประเทศเยอรมนี ในแบรนด์ นค้ออกแบบนาฬ า Mullerกิ าที�มกี ารใช้ 2 C/O งานหลากหลายตอบสนองสมั ย ปั จ จุ บ น ั เช่ น สามารถโปรแกรม 2 C/O ผ่านคอมพิวเตอร์ / ได้ออกแบบนาฬิกาที่มีการใช้งานหลากหลาย ตอบสนอง / Smartphone (Bluetooth) โดยมีคณ ุ ลั ก ษณะเด่ ผ่ า นคอมพิ ว เตอร์ สมั ย ปั จ จุ บั น เช่ น สามารถโปรแกรมผ่ า นคอมพิ ว เตอร์ ดังนนี � � Smartphone (Bluetooth)ดังนีโดยมี คุณลักษณะเด่นดังนี้  Built-In Bluetooth  แบตเตอรี่สำ � รองไฟได้ 10 ปี  นได้ (CR 2032) ส� ุดงแห่ งเทคโนโลยี ของสวิ ช์นกาฬิ กา ภาค  ่ยBuilt-in Bluetooth 2 2  Built-in Bluetooth แบตเตอรี่สามารถเปลี ทีส� ุดทีแห่ เทคโนโลยี ของสวิ ทช์นทาฬิ า ภาค  สามารถโปรแกรมได้ 100 โปรแกรม  แบตเตอรีส� าํ รองไฟได้ 10 ปี  แบตเตอรีส� าํ รองไฟได้ 10 ปี ิ สามารถตั ง ้ เวลาได้ ท ีลTime ะ 1 นาที  (CR 2032) แบตเตอรี ส � ามารถเปลี ย � นได้ Switches สวิ ท ช์ น าฬ ก า หรื อ ที เ � รี ย กกั น ว่ า ใช้บสาํ �ยหรั ิ สวิทช์นาฬกา หรือที�เรียกกันว่า TimeSwitches ใช้ส� สามารถเปลี าํ หรั แบตเตอรี นได้บ(CR 2032)  หน้ า จอเป็ น ชนิ ด LCD  สามารถโปรแกรมได้ 100 โปรแกรม สามารถโปรแกรมได้ โปรแกรม ตัง� เวลาการทํ าเพืงาน สั�น้�งนาที งานให้ ท าํ งานตามเวลา �เ100 ราได้ ตัง� เวลาการทํ สั�งเพื วิทช์สทวิาํ ทงานตามเวลา งานให้  างาน สามารถตั ง� �อ เวลาได้ ท�อลี ะห มี าสคอนแทคจ� ำช์นวน 1 C/O, ที2�เราได้ C/Oทีให้ เลือกใช้  สามารถตัง� เวลาได้ทล ี ะ � นาที  หน้าจอเป็ นชนิดใLCD คอนแทครองรั บกระแสได้ 16A / 250V AC โปรแกรมไว้ ห้ หน้ เลืงอาานทั กใช้ ง� านทั แบบ และแบบ Analog โปรแกรมไว้ ���งจะมี���งให้จะมี เลือกใช้ แบบง� Analog และแบบ  LCD หน้ า จอเป็ น ชนิ ด า นวน ให้ เ ลื อ กใช้  มีหน้าคอนแทคจํ 1 C/O , 2 C/O at Cos Ø = 1 แต่ ะแบบ ก็คบจวามสามารถในการตั ะมีความสามารถในการตั ง , 2 C/O ให้เลือกใช้ DigitalDigital ���งแต่��ล �งะแบบ ก็จะมี• สามารถต่ ง� =หค่LED �แงได้ค่ตกต่ งนวน 1าC/O หน้าลคอนแทครองรั กระแสได้ 16Aอ/ กั 250V AC atCos Øมี 1น้าาที คอนแทคจํ บหลอดไฟ สาูงทีสุ�แาดาตกต่  สามารถต่อกับหลอดไฟ LED ได้สงู สุด ���W / 230V หน้งาคอนแทครองรั บกระแสได้ 16A / 250V AC at Cos Ø = 1 /าฬ 230V Hugo Muller กัน Muller ทช์กิ นาคุ าคุณภาพสู จากประเทศ กัน Hugo ผูผ้ ลิ ตผูสวิผ้ ลิทตช์สวิ น600W าฬ ณกิ ภาพสู ง จากประเทศ  สามารถโปรแกรมการทํางานผ่านโทรศัพท์มอื ถือด้วย App “Save ’n carry” ได้ทงั� IOS และ Android  สามารถต่ บหลอดไฟ • สามารถโปรแกรมการท� ำงานผ่าอนโทรศั พท์มLED ือถืได้ อ สงู สุด ���W / 230V SC 28.21 รุน่ SCรุน่ 28.21 pro4 pro4 ิ ี กัาที สามารถใส่ ไขโปรแกรม น ในแบรนด์ นิ งกัด้ค้นวาการแก้ Muller ได้ อ อกแบบนาฬ ก � ม ก ี ารใช้ ิ เยอรมัเยอรมั น ในแบรนด์ ส นิ รค้หัาสสป้อMuller ได้ อ อกแบบนาฬ ก าที � ม ารใช้ ย App “Save ’ncarry” ได้ทงั้ IOS และ Android สามารถโปรแกรมการทํ างานผ่านโทรศัพท์มอื ถือด้วย App “S  ติดตัง� บนราง Din 35 มม. • สามารถใส่ งกั นนการแก้ ไขโปรแกรม งานหลากหลายตอบสนองสมั จุป้บนอนั สามารถโปรแกรม สามารถโปรแกรม งานหลากหลายตอบสนองสมั ยปั จจุยบปัรนั หัจสเช่ สามารถใส่ รหัสป้องกัน การแก้ไขโปรแกรม เช่ 2 C/O2 C/O  สามารถสั�งการทํางานแบบ Manual • ติON,ดOFF, ตั้งบนราง Din 35 มม. 35 มม. น PULSE, PERMANENT โดยมี เลือวกการทํ างานได้ / Smartphone ผ่านคอมพิ เตอร์ คบนราง ณ ุ ลักDinษณะเด่ (Bluetooth) / Smartphone โดยมี คติณ ุ ดตัลัง� กManual ษณะเด่ น ผ่านคอมพิ วเตอร์ (Bluetooth) • สามารถสั ง ่ การท� ำ งานแบบ  มีไฟเลีย� ง ��� VAC, 50Hz, 24 VDC, 12 VDC ให้เลือก สามารถสั�งการทํางานแบบ Manual • เลือกการท�ำงานได้ ON, OFF, PULSE, ดังนี � ดังนี �  เลือกการทํางานได้ ON, OFF, PULSE, PERMANENT PERMANENT  มีไฟเลีย� ง ��� VAC, 50Hz, 24 VDC, 12 VDC ให้เลือก • มีไฟเลี้ยง 230 VAC, 50Hz, 24 VDC, 12 VDC ให้เลือก

สวิตช์นาฬิกา

 Built-in Bluetooth  Built-in Bluetooth  แบตเตอรี ส� าํ รองไฟได้  แบตเตอรี 10 ปี 10 ปี ส� าํ รองไฟได้  แบตเตอรี (CR 2032) ส� ามารถเปลี นได้2032)  แบตเตอรี ส� ามารถเปลี �ยนได้�ย(CR       

 สามารถโปรแกรมได้ 100 โปรแกรม 100 โปรแกรม สามารถโปรแกรมได้  สามารถตั ง� เวลาได้ ะ � นาที สามารถตั ง� เวลาได้ ทลี ะ �ทลี นาที รุ่น SC 28.21 pro4  าจอเป็ หน้าจอเป็ ชนิด LCD หน้ นชนิดนLCD 2 C/O หน้าคอนแทคจํ เลือกใช้ มีหน้ามีคอนแทคจํ านวนา1นวน เลือให้ กใช้ C/O 1, 2C/O C/O, 2ให้C/O 2020  าJanuary-February หน้าคอนแทครองรั บกระแสได้ 250Vat AC หน้ คอนแทครองรั บกระแสได้ 16A / 16A 250V/ AC CosatØCos = 1Ø = 1 LED ได้LED / 230V สามารถต่ อกับหลอดไฟ สงู สุได้ดส���  สามารถต่ W / 230V อกับหลอดไฟ งู สุดW��� IOSทและ ’n carry” สามารถโปรแกรมการทํ างานผ่างานผ่ านโทรศั พท์มอื พถืท์อมด้อื วถืยอApp ได้ทงั� ได้  สามารถโปรแกรมการทํ App “Save ’n carry” านโทรศั ด้วย“Save งั� IOSAndroid และ Android


ตัวอย่างหน้า Application

รุ่น SC 28.11 pro4 1 C/O

รุ่น SC 28.21 pro4 2 C/O

รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดต่อได้ที่

บริษท ั แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จำ�กัด

โทร. 0-2194-8738-9 แฟกซ์ : 0-2003-2215 E-mail : info@mit-thailand.com เว็บไซต์ : www.mit-thailand.com Line ID : @mit-thailand January-February 2020


Special Area

> บริษัท ไอทีแอล เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ โซลูชั่น จ�ำกัด

ENERGY STORAGE SYSTEM By Ralph C ITL Engineering & Solution Co., Ltd.

ระบบกักเก็บพลังงานในไทย What is Energy Storage System? มากกว่า 100 ปีที่ผ่านมา พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตและ ถูกน�ำมาใช้ทั่วโลก ประกอบไปด้วย 3 เสาหลัก ซึ่งก็คือ ระบบ ผลิตไฟฟ้า (Generation) ระบบส่ง (Transmission) และกระจาย ไฟฟ้า (Distribution) ทุกหลังคาเรือนและอุตสาหกรรมบนโลก ถูกขับเคลื่อนโดย 3 เสาหลักนี้เรื่อยมำ จนกระทัง่ นวัตกรรมทีเ่ รียกว่าระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) ถูกเริม่ น�ำมาใช้อย่างเป็นรูปธรรม เนือ่ งมาจาก การทีม่ เี ทคโนโลยีกา้ วหน้ามากขึน้ และราคาของแบตเตอรีล่ เิ ธียม ไอออน (Lithium Ion Battery) ถูกลงมามาก นับว่าเป็นเสาหลัก ใหม่ที่ 4 ของพลังงานไฟฟ้าของโลกยุคนี้ก็ว่าได้

January-February 2020


ระบบกักเก็บพลังงานคืออะไร? ระบบการกักเก็บพลังงานคือ วิธกี ารและเทคโนโลยีทนี่ ำ� มาใช้ ในการกักเก็บพลังงานไฟฟ้า ความต้องการของระบบการกักเก็บ พลังงานเกิดขึ้นมาจากการขาดสมดุลของการผลิต (Supply) และ การใช้ไฟฟ้า (Demand) สาเหตุหลักเกิดมาจากแหล่งพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) ที่เพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วงเวลาไม่กี่ปีมานี้ อย่างเช่น พลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Energy) ที่สามารถผลิตได้ ในช่วงกลางวันทีม่ แี สงแดด แต่กลับกันในช่วงกลางคืนทีไ่ ม่สามารถ ผลิตไฟฟ้าจ่ายให้กับความต้องการช่วงกลางคืนได้ หรือแม้กระทั่ง พลังงานลม (Wind Energy) ทีอ่ าจจะผลิตไฟได้ดตี อนช่วงเช้ามืดทีม่ ี ลมพัด แต่ไม่มคี วามต้องการมากพอทีจ่ ะใช้ไฟในช่วงเวลานัน้ จึงท�ำให้ พลังงานไฟฟ้าทีผ่ ลิตมาเสียเปล่าไป หรือไม่สามารถใช้ได้อย่างเต็มที่

โดยปกติแล้วหากไม่มรี ะบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) ระบบจะจ่ายกระแสไฟฟ้าแบบเรียลไทม์ หมายความว่ำ มีความต้องการใช้ไฟฟ้าเท่าไหร่ ณ เวลานั้น ก็ต้องผลิตไฟฟ้าจ่าย ให้ได้เท่ากันเสมอ หากขาดสมดุล ส่วนที่ผลิตเกินและจ่ายเข้าไปยัง ระบบจะสูญเปล่ำ พลังงานทีส่ ญ ู เปล่าจากส่วนเกินของการผลิตไฟฟ้าจะสามารถ น�ำมากักเก็บในระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) และสามารถน�ำกลับมาจ่ายให้กับระบบในเวลาที่มีความต้องการใช้ ไฟฟ้าสูง เพื่อสร้างความยืดหยุ่นและเสถียรภาพให้กับระบบไฟฟ้า ทั้งนี้ ยังสามารถตอบสนองความต้องการของการใช้ไฟได้ทันที

ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) มีหลาย รูปแบบที่แตกต่างกันออกไปตามการผลิตและใช้ไฟฟ้าของแต่ละ พื้นที่ที่มีแหล่งพลังงานแตกต่างกัน แบบที่ใช้งานกันมากที่สุดคือ แบตเตอรี่ (ไฟฟ้า) ปั๊มน�้ำ/อ่างเก็บน�้ำ (พลังงานศักย์) Flywheel (พลังงานจลน์) และ Molten Salt (ความร้อน) ปัจจุบนั ความท้าทายทีส่ ำ� คัญส�ำหรับระบบการกักเก็บพลังงาน หลักๆ คือ ต้นทุนที่ยังคงสูงอยู่และโครงสร้างของระบบไฟฟ้ำ

Energy Storage Applications

นำ�ระบบกักเก็บพลังงานไปประยุกต์ใช้อย่างไร? ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) สามารถ น�ำไปประยุกต์ใช้ได้หลากหลายวิธี ขึน้ อยูก่ บั ความต้องการของระบบ ไฟฟ้านั้น โดยทั่วไปแล้วมีเบื้องต้น ดังนี้

1.

Energy Arbitrage เปลีย่ นหรือจัดการการใช้พลังงานไฟฟ้ำ

ในเวลาทีเ่ หมาะสม อย่างเช่น Peak Shaving, TOU (Time of Use) Energy Management หรือการลด Demand Charge จากระบบ โดยส่วนมากจะถูกน�ำไปใช้ในการลดค่าไฟและบริหารพลังงาน เช่น January-February 2020


ใช้ไฟน้อยลงในเวลา On-Peak และในทางกลับกัน ใช้ไฟให้มากขึ้น ในช่วงเวลา Off-Peak

2.

Renewable ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System)

สามารถช่วยให้พลังงานหมุนเวียนเสถียรมากขึ้น และยัง สามารถน�ำพลังงานทีผ่ ลิตเกินกลับมาใช้ในเวลาทีต่ อ้ งการ โดยปกติ แล้วมักใช้ร่วมกันกับพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Energy) และ พลังงานลม (Wind Energy)

3.

Frequency Regulation ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy

Storage System) สามารถช่วยปรับความถี่ของระบบไฟฟ้ำ ให้เสถียรมากขึน้ ป้องกันการเกิดไฟฟ้าดับ เหมาะกับระบบไฟฟ้าทีม่ ี เสถียรภาพต�่ำ เช่น พื้นที่ห่างไกล หรือบนเกาะ

4. 5.

Backup/Emergency ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage

System) สามารถน�ำมาใช้ส�ำหรับการส�ำรองไฟฟ้าฉุกเฉิน คล้ายกันกับระบบ UPS ในเวลาที่เกิดไฟดับ

Off Grid/Microgrid ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage

System) สามารถน�ำมาใช้แบบ Standalone หรือ Islanding และยังสามารถต่อเข้ากับแหล่งผลิตหลากหลายประเภทได้ด้วย January-February 2020

Energy Storage in Thailand ระบบกักเก็บพลังงานในประเทศไทย

ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) ไม่ใช่เรื่อง ใหม่ในไทย แต่หากจะนับระบบขนาดที่มีขนาดใหญ่ (Large Scale) พึง่ จะมีไม่นานมานี้ เพราะต้นทุนของระบบลดลงไปมากเมือ่ เทียบกับ หลายปีกอ่ น เราจึงเริม่ เห็นโครงการใหม่ๆ ถูกพัฒนาขึน้ จากทัง้ ส่วน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค และการไฟฟ้านครหลวง รวมไปถึงภาคเอกชนที่เริ่มมีการลงทุนและพัฒนาในระบบกักเก็บ พลังงาน (Energy Storage System) อย่างเช่น โครงการระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) ขนาดใหญ่ทพี่ งึ่ สร้างเสร็จ ตัง้ อยูท่ จี่ งั หวัดระยอง และมีขนาด กว่า 1.5 MWh (1,500 kWh) ด�ำเนินการใช้งาน หรือทีเ่ รียกว่า COD (Commercial Operation Date) ไปในช่วงปลายปี ค.ศ. 2019 ทีผ่ า่ นมา ทัง้ ยังมีการใช้แบตเตอรีล่ เิ ธียมไอออน (Lithium Ion Battery) และ เทคโนโลยีการจัดการพลังงาน Energy Management System ร่วมกับ ระบบกักเก็บพลังงาน ที่นับว่าเป็นโครงการระบบกักเก็บพลังงาน ขนาดใหญ่โครงการแรกๆ ของไทย พัฒนาโดยบริษทั มหาชนชัน้ น�ำ ทางด้านพลังงานร่วมกับ Hyundai Electric และ ITL Engineering


ท้ายที่สุดแล้วในปี ค.ศ. 2020 และอนาคตอันใกล้นี้ จะมีโครงการระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) เกิดขึ้นใหม่อีกหลายโครงการ และจะเติบโตอย่างรวดเร็ว ในไม่กปี่ ขี า้ งหน้าเช่นเดียวกับการคาดการณ์อตั ราการเติบโต ทั่วโลกส�ำหรับระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) โดยส่วนใหญ่แล้วเนือ่ งมาจากราคาของแบตเตอรี่ ลิเธียมไอออน (Lithium Ion Battery) ทีม่ แี นวโน้มว่าจะลดลง ไปอีกมาก อย่างไรก็ตาม อัตราการเติบโตของระบบกักเก็บ พลังงาน (Energy Storage System) ในประเทศไทยอาจ ขึ้นอยู่กับการสนับสนุนและส่งเสริมจากภาครัฐ และการ พัฒนานวัตกรรมทีส่ ามารถน�ำไปใช้กบั ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) ในอนาคต อย่างเช่น เทคโนโลยี Blockchain, AI, Machine Learning, Smart Grid และ สถานีชาร์จยานยนต์ไฟฟ้า EV Charger เพือ่ ก่อให้เกิดการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

Energy Storage Trends Electrification เป็นหนึ่ง MEGA Trend 2020 ซึ่งอาจจะแปลได้ว่ำ

การเปลี่ยนทุกอย่างให้เป็นไฟฟ้า ณ ปัจจุบันนี้ เราไม่สามารถปฏิเสธได้อีก ต่อไปว่า EV (Electrical Vehicle) หรือยานยนต์ไฟฟ้าจะมาทดแทน ICE Vehicle (Internal Combustion Engine) หรือยานพาหนะเครื่องยนต์สันดาปภายใน ในอนาคตอันใกล้นี้ นัน่ ก็หมายความว่า การบริโภคพลังงานส�ำหรับการขนส่งทัง้ หมดทัว่ โลก ทีเ่ ดิมทีจะใช้เชือ้ เพลิงน�ำ้ มันเป็นหลัก จะถูกเปลีย่ นเป็นพลังงานไฟฟ้าทัง้ หมด ในขณะเดียวกัน ความต้องการในการใช้พลังงานไฟฟ้าในอนาคตจะ สูงขึน้ อย่างมีนยั ส�ำคัญ และยังไปสอดคล้องกับ MEGA Trend อีกอันหนึง่ ทีม่ ี ความเกีย่ วเนือ่ งกับพลังงานไฟฟ้าโดยตรง นัน่ ก็คอื Green Energy/Renewable Energy พลังงานสะอาดหรือพลังงานทดแทน นัน้ ก็หมายความว่า พลังงานทดแทน เช่น แสงอาทิตย์ (Solar Energy) และพลังงานลม (Wind Energy) จะมีความต้องการมากขึ้นด้วยเช่นกัน สรุปก็คือ ด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ก้าวหน้ามากขึ้นเรื่อยๆ ระบบกั ก เก็ บ พลั ง งาน (Energy Storage System) จึงเป็นหนึ่งใน Mega Trend แห่งยุคปัจจุบนั อย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

บริษท ั ไอทีแอล เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ โซลูช่น ั จำ�กัด 22/28-29 ถนนสุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 10250 โทร. 0-2002-4395–97 E-mail : ralph.c@itl-engineering.com

January-February 2020


IT Article > Alight Solutions

แม้วา่ เทคโนโลยีจะมีบทบาทสำ�คัญกับงานด้านทรัพยากร บุคคล (HR) เพิ่มขึ้น แต่ผลการศึกษาล่าสุด The State of HR Transformation Study 2018-19 ของอะไลท์ โซลูชนั่ ส์ (Alight Solutions) ซึ่งทำ�การสำ�รวจองค์กรกว่า 670 แห่ง ในหลากหลายภาคธุรกิจในเอเชียแปซิฟิก มีพนักงานรวมกัน กว่า 6.1 ล้านคน และมีรายได้กว่า 7 ล้านล้านดอลลาร์ พบว่า บริ ษั ท ส่ ว นใหญ่ ใ นภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก ยั ง ไม่ พึ ง พอใจกั บ แพลตฟอร์มเทคโนโลยีด้าน HR ที่ใช้อยู่

ผู้ตอบแบบส�ำรวจมากกว่าครึ่ง (55%) ซึ่งเพิ่มขึ้น 10% จาก การส�ำรวจเดียวกันนีเ้ มือ่ ปี พ.ศ. 2561 ระบุวา่ แพลตฟอร์มด้าน HR ที่ใช้อยู่ยังไม่ตอบโจทย์ ผลส�ำรวจยังพบว่าเกือบ 60% ของบริษัท ที่ให้ข้อมูลก�ำลังวางแผนและประเมินการลงทุนในเทคโนโลยีใหม่ ในช่วง 12-24 เดือนข้างหน้ำ นอกจากนีย้ งั พบ ข้อมูลเชิงลึกทีส่ ำ� คัญอีก 5 ประการ จาก การส�ำรวจครั้งนี้ คือ 1. องค์กรทีไ่ ด้พฒั นาด้าน HR แล้ว มีความมัน่ ใจต่อความพร้อม ในอนาคตของตนเองมากกว่าองค์กรอืน่ ๆ เกือบ 5 เท่า และสามารถ ด�ำเนินงานด้าน HR ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า 2 เท่า นอกจากนัน้ องค์กรดังกล่าวยังมีอตั ราส่วนบุคลากรด้าน HR ต่อพนักงานประจ�ำ โดยเฉลีย่ 1:92 เปรียบเทียบกับองค์กรอืน่ ๆ ซึง่ มีอตั ราส่วนอยูท่ ี่ 1:52 2. องค์กร 3 ใน 4 แห่งมีแผนที่จะเพิ่มยอดใช้จา่ ยเพื่อการ พัฒนาขีดความสามารถด้าน HR 3. บริษทั ในเอเชียแปซิฟกิ กว่า 60% มีรปู แบบการให้บริการ ด้าน HR ที่ชัดเจนและเหมาะสม ซึ่งบ่งบอกว่าองค์กรนั้นๆ มีการ พัฒนาที่ดี January-February 2020


4. จะมีการน�ำระบบงานอัตโนมัติ (Automation) และ AI

มาใช้งานอย่างแพร่หลายมากขึ้นในช่วง 18-24 เดือนข้างหน้า โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ (80%) ก�ำลังท�ำการประเมิน กรณีการใช้งาน AI และระบบงานอัตโนมัติ รวมถึง ขอบเขตการลงทุนในอนาคต 5. ระบบวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล ขั้ น สู ง (Analytics) เป็นเครือ่ งมือส�ำคัญทีจ่ ะช่วย เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ผ ล ความสามารถ ประสิทธิภาพการท�ำงาน และการ ดึงดูดบุคลากร ผูต้ อบแบบสอบถาม 2 ใน 3 มีแผนที่จะปรับใช้ระบบ วิเคราะห์ขอ้ มูลบุคลากรทีแ่ ข็งแกร่ง มากขึน้ ในช่วง 12-24 เดือนข้างหน้ำ รายงานผลการศึกษานีย้ งั ระบุ แนวโน้มทีจ่ ะเกิดขึน้ ในองค์กรต่างๆ ในเอเชียแปซิฟกิ ภายในปี พ.ศ. 2563 ไว้ดังนี้  67% ขององค์ ก รจะมี โ ปรแกรม การฝึกอบรมราวครึง่ หนึง่ เป็นรูปแบบวิดโี อ โดยมีเนือ้ หำ สั้นๆ และเปิดให้เรียนรู้ในแบบออนดีมานด์ รวมถึงการเรียนรู้ เชิงคาดการณ์ตามบทบาทหน้าที่  61% ขององค์ ก รจะรั บ ทราบข้ อ คิ ด เห็ น ของพนั ก งาน ส่วนใหญ่ (80%) ได้แบบเรียลไทม์  องค์กรทีท ่ ำ� การส�ำรวจครึง่ หนึง่ ให้ขอ้ มูลว่าจะใช้ AI เพือ่ ขับเคลื่อนกระบวนการจัดการผลการปฏิบัติงานราวครึ่งหนึ่ง ของกระบวนการที่ใช้อยู่ในองค์กรนั้นๆ  63% ขององค์กรระบุวา ่ กระบวนการ HR ทัง้ หมด ของตนจะมุ่งเน้นการใช้งานผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่  เกือบครึ่งหนึ่งขององค์กรคาดว่าจะมีธุรกรรม ด้าน HR ส่วนใหญ่ (80%) เป็นแบบสัง่ งานด้วยเสียง และ บริษทั เกือบครึง่ หนึง่ (47%) คาดว่าจะด�ำเนินกระบวนการ ราวครึง่ หนึง่ บนเทคโนโลยีอปุ กรณ์สวมใส่ (Wearable)  องค์ ก รกว่ า ครึ่ ง หนึ่ ง คาดว่ า จะใช้ ร ะบบ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อรองรับการตัดสินใจส่วนใหญ่ เกี่ยวกับบุคลากร (80%) วิครานท์ คานนา หัวหน้าฝ่ายธุรกิจการ ทรานส์ฟอร์มงานด้าน HR ประจ�ำภูมิภาคเอเชีย ของอะไลท์ โซลูชนั่ ส์ ผูร้ ว่ มเขียนรายงานผลการศึกษำ ฉบับนี้ กล่าวว่า “ในยุคทีม่ กี ารใช้งานระบบคลาวด์อย่าง กว้างขวางและมีการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง องค์กรต่างๆ ในเอเชียแปซิฟิกจ�ำเป็นต้องยุติการพึ่งพา กลยุทธ์แพลตฟอร์ม HR ที่ ‘ดีที่สุด’ เพราะการผนวกรวม แพลตฟอร์มต่างๆ และบริการหลากหลายช่องทางเข้าด้วยกัน จะช่วยสร้างความแตกต่างที่ส�ำคัญที่สุดในการขับเคลื่อน HR

ในโลกดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า” บริษัทต่างๆ ในเอเชียแปซิฟิกตระหนักว่า ส่วนงาน HR ที่ ได้รับการเสริมศักยภาพด้วยเทคโนโลยีมีความส�ำคัญอย่างมาก ต่อการพัฒนาองค์กร และเกือบ 75% มีแผนทีจ่ ะเพิม่ งบประมาณเพือ่ ปรับปรุงขีดความสามารถด้าน HR โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับ ระบบวิเคราะห์ข้อมูล ความเชี่ยวชาญ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และการเพิ่ม ความคล่องตัวต่อการเปลี่ยนแปลง ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

January-February 2020


WiFi 6

Technology Helps Schools to Unleash Digital Potential

Zyxel today announces the release of the WiFi 6 (11ax) access point (AP) series, designed to ease network congestion in classrooms and high-density environments. Teachers and pupils now spend more time working online through smart whiteboards, laptops or tablets. But with 30-40 pupils in a class, schools struggle with network performance, including slow downloads, buffering videos, or inconsistent experience for digital interactive learning—even with an AP in every classroom. To combat this challenge, schools need a network solution that increases capacity and breaks down the technical barrier to helping pupils embrace modern, digital learning methods. Zyxel’s new WiFi 6 (11ax) AP series, led by the WAX650S, is able to support a large group of devices simultaneously and keeps interference out of the classroom. WiFi 6, or high efficiency wireless, is the latest iteration of wireless technology which offers faster speeds, greater capacity, and reduced latency. WiFi 6 : The key to the future of learning : Built with new OFDMA and spatial reuse (BSS coloring) technology, multiple users can connect to the next generation WAX650S access point at the same time, without straining the bandwidth. This results in streamlined connections and more efficient WiFi so more transmissions can be sent without any delay or contention. In a classroom, this is important as pupils may all have varying bandwidth requirements, from interactive learning programs to downloading multimedia lesson aids, but each needs to access the network at the same speed. Overcoming interference with smart antenna : Despite the many benefits of the new WiFi 6 standard, there are still further co-channel interference issues to overcome with APs, January-February 2020

as high volumes of WiFi devices connect through the same channel. This is particularly true in high density environments, such as classrooms. Zyxel has designed the WAX650S with smart antenna technology, which coupled with the use of spatial reuse technology, boosts network performance and overcomes network interference more powerfully than other WiFi 6 APs. As well as the smart antenna, the WAX650S AP includes 5Gb-ethernet support and WiFi 6 standard multi-gig speed for a faster wireless environment. Dedicated scanning radio allows for all-time monitoring of network issues without impacting WiFi quality, while optimized hardware design enables the AP to better tackle wireless interference challenges. The 11ax AP series also integrates with Zyxel’s NebulaFlex solution and comes bundled with a one-year pro-pack license. By integrating with Nebula, schools can reap the benefits of cloud networking and remotely manage their system without the need for a dedicated IT team. For schools without a fixed budget, they can try the licensefree Nebula basic pack. Alternatively, the Nebula Professional pack offers more advanced features, such as access to wireless health monitoring and reports that help schools diagnose WiFi health and solve issues quickly. Its lifetime subscription option eliminates rolling licensing costs, helping schools to keep their network up and running with flexible subscription options that best fit their budget. To learn more about Zyxel’s WiFi 6 access points please visit : https://www.zyxel.com/promotions/wifi6-promotion20190930-807915.shtml


APC Easy UPS BV Series พระเอกของระบบสำ�รองไฟฟ้าภายในบ้าน

บริษัท ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ขอแนะน�ำ APC Easy UPS BV Series เครื่องส�ำรองไฟมาตรฐานสากล ได้รับความ เชือ่ มัน่ จากผูใ้ ช้กว่า 30 ล้านคนทัว่ โลก เหมาะกับการใช้งานภายในบ้าน ทีเ่ ป็นมากกว่าการต่อเชือ่ มไปยังคอมพิวเตอร์ แต่ยงั สามารถส�ำรองไฟ ให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ภายในบ้านอีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็น กล้องวงจรปิด เราเตอร์ และอุปกรณ์เน็ตเวิรก์ ต่างๆ เพือ่ ให้การท�ำงาน เป็นไปอย่างราบรื่นไม่สะดุด ไม่เสี่ยงต่อไฟกระชาก และยังสามารถดู ข้อมูลส�ำคัญๆ ได้อีก ขณะบ้านคุณไฟดับ

ไฟโซลาร์

LED ริน (RIN)

APC Easy UPS BV Series มีดว้ ยกันหลายขนาดให้เลือกตาม การใช้งาน เริ่มต้นที่ 500VA BV500I-MS, 800VA BV800IMS และ 1000VA BV1000I-MS ส�ำรองไฟฟ้าเริม่ ต้นที่ 5-10 นาที (แล้วแต่โหลด ของอุปกรณ์) ได้รบั การออกแบบมาให้เล็ก กะทัดรัด บางเบา สูงเพียง 9 เซนติเมตร สามารถแขวนผนังได้ มี 4 ช่องจ่ายไฟที่รองรับอุปกรณ์ ไฟฟ้าทุกประเภททัว่ โลก Universal Socket พิเศษ มีระบบ Auto Start กลับมาเริ่มต้นท�ำงานเองได้อัตโนมัติเมื่อไฟหลักมาแม้จะจ่ายไฟ จนพลังงานหมดไปแล้ว เหมาะที่สุดส�ำหรับใช้งานคู่กับกล้องวงจรปิด นอกจากนี้ APC ยังออกแบบให้ตัวต่อขั้วแบตฯ อยู่ภายนอก ท�ำให้ สะดวกต่อการใช้งาน ปลอดภัย อีกทั้งยังป้องกันการเสื่อมสภาพเร็ว เนื่องจากแบตฯ ไม่ถูกเชื่อมต่อก่อนที่จะเริ่มต้นติดตั้งใช้งานนั่นเอง

บริษัท ไอเดีย คิวบ์ จํากัด ผู้น�ำในการพัฒนาและน�ำเข้าสินค้าไฟส่องสว่างแบรนด์ ริน (RIN) ขอแนะน�ำผลิตภัณฑ์ใหม่ ไฟโซลาร์ LED ริน (RIN) อุปกรณ์ไฟแอลอีดี ส่องสว่าง ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ สินค้าคุณภาพ ดีไซน์ทันสมัย ตัวช่วยเสริมความปลอดภัยแก่ บ้านเรือนยามค�่ำคืน ทนทาน ประหยัดคุ้มค่า ไม่ต้องเสียค่าไฟฟ้า ด้วยการใช้พลังงานจาก แสงอาทิตย์ รับประกันสินค้ายาวนานถึง 1 ปี ทั้งไฟแสงสว่าง แผงโซลาร์ และแบตเตอรี่ ชาร์จลิเธียม ติดตั้งง่ายดัวยตัวท่านเอง ช่วยประหยัดงบค่าแรงช่าง ตอบโจทย์คนรักบ้าน สาย DIY (Do It Yourself) อย่างแท้จริง มีให้เลือก 2 รุน่ เพือ่ ตอบโจทย์การใช้งานทีต่ รงใจ คือ ไฟหัวเสาโซลาร์ LED 5W ริน (Solar LED Headlight 5W RIN) ด้วยการออกแบบทีท่ นั สมัย อุปกรณ์การติดตั้งครบชุด เพียงยึดตัวไฟกับหัวเสาหน้ารั้วบ้าน มีระบบเซ็นเซอร์อัจฉริยะ สามารถเปิดเองอัตโนมัติในเวลากลางคืน มีให้เลือกทั้งแบบไฟสนามและแบบไฟผนัง และ ไฟสปอร์ตไลท์โซลาร์ LED 50W-150W ริน (Solar LED Spotlight 50W-150W RIN) ออกแบบมาให้รองรับประสิทธิภาพการใช้งานสูงเพื่อการใช้งานได้หลากหลายสถานที่ ด้วยอุปกรณ์การติดตั้งครบชุด สามารถแยกติดตั้งเฉพาะส่วนดวงไฟ LED ไว้ในต�ำแหน่ง ที่ต้องการส่องสว่าง และลากสายไฟแยกแผงโซลาร์เซลล์ เพื่อติดตั้งไว้ในต�ำแหน่งที่ได้รับ แสงอาทิตย์อย่างเต็มที่ ปรับระดับแสงตามต้องการได้ตงั้ แต่ 25-100% (เมือ่ ไฟได้รบั พลังงาน จากแสงอาทิตย์เพียงพอตลอดทัง้ วัน ไฟจะสว่าง 100%) มีรโี มตควบคุมการเปิด-ปิด สามารถ ตั้งระบบเปิดอัตโนมัติในเวลากลางคืนและปิดเองตอนเช้ำ สอบถามข้อมูลสินค้า โทร. 0-2945-8271-2

January-February 2020


สคร. จัดงานมอบรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่น ปี 2562 ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) จัดงานมอบ รางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่นประจ�ำปี 2562 ภายใต้แนวคิด “พลังรัฐวิสาหกิจไทย สู่มิติใหม่ด้วยดิจิทัล” โดยมี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ให้เกียรติเป็นประธานในงาน พร้อมทั้งมอบรางวัลและมอบนโยบายให้แก่ รัฐวิสาหกิจ เมือ่ วันจันทร์ที่ 23 ธันวาคม 2562 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และ บางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ โดยการจัดงานในปีนมี้ กี ารมอบรางวัล ทั้งสิ้น 10 ประเภทรางวัล เพื่อเป็นการสร้างขวัญและก�ำลังใจในการปฏิบัติงาน ของรัฐวิสาหกิจ รวมทั้งส่งเสริมให้รัฐวิสาหกิจมีความมุ่งมั่นในการด�ำเนินงาน เพื่อพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพและน�ำองค์กรสู่ความเป็นเลิศ

บีเอ็มดับเบิลยู เสริมแกร่งเครือข่ายการผลิต ระดับโลก ผนึกศักยภาพการส่งออกในทวีปเอเชีย

เดลต้า คว้ารางวัลจากงาน SET Sustainability Awards 2562

บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป แมนูแฟคเจอริ่ง ประเทศไทย น�ำโดย มร.อูเว่ ควาส กรรมการผูจ้ ดั การ และคณะผูบ้ ริหารส่งเสริมความส�ำเร็จ ของโรงงานบีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย จ.ระยอง ด้วยการส่งออกรถยนต์บีเอ็มดับเบิลยู X5 ใหม่ ไปยังประเทศจีน และ ส่งออกมอเตอร์ไซค์บีเอ็มดับเบิลยู R 1250 GS ไปยังประเทศอินเดีย พร้อมเดินหน้าเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ต่อไป และเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าทั้งภายในประเทศ และในทุกภูมภิ าคทัว่ โลก เป็นการขับเคลือ่ นความสามารถทางการผลิต ระหว่างโรงงานในเครือข่ายอย่างเต็มสูบ

บริษทั เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) รับรางวัล ยอดเยี่ยม Best Sustainability Excellence Award และรางวัลหุ้นยั่งยืน Thailand Sustainability Investment (THSI) 2562 จากตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ในงาน SET Sustainability Awards 2019 ปีนถี้ อื เป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน ที่เดลต้าได้ติดอันดับในรายชื่อ Thailand Sustainability Investment (THSI) ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยเดลต้าเป็น 1 ใน 98 บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ที่มีผลงานดีเด่นด้านสังคม สิ่งแวดล้อม และบริษัทภิบาล (ESG) จนท�ำให้ติดอันดับรายชื่อรางวัลหุ้นยั่งยืน Thailand Sustainability Investment (THSI) ประจ�ำปี 2562 ถือเป็นการขึ้นอันดับ 1 ใน 51 อันดับจากรายชื่อบริษัทจดทะเบียนที่ได้รับการรับรองจาก THSI เมื่อ ปี พ.ศ. 2558

เชลล์ ฉลองสาขาที่ 600 เปิดสถานีบริการน�ำ้ มันแฟล็กชิพ ณ หัวหิน ปนันท์ ประจวบเหมาะ รองประธานกรรมการ และ อรอุทยั ณ เชียงใหม่ กรรมการบริหาร ธุรกิจการตลาดค้าปลีก บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด ร่วมกับ สงกรานต์ อิสสระ รองประธานกรรมการ และ ดิฐวัฒน์ อิสสระ กรรมการ ผูจ้ ดั การ บริษทั ร่วมอิสสระ จ�ำกัด เปิดสถานีบริการน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงเชลล์ สาขำ ล่าสุดเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้า ณ หัวหิน วัน โครงการทิวทะเล เอสเตท

January-February 2020


ชไนเดอร์ อิเล็คทริค จับมือ ดีอีพี เอ็นจิเนียริ่ง ผลักดัน ภาคอุตสาหกรรมของไทย ธนพงษ์ อิทธิสกุลชัย ประธานชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย เดินหน้าผลักดันเน้น IoT หรืออินเทอร์เน็ตออฟธิงส์ ส�ำหรับภาคอุตสาหกรรม ล่าสุดจับมือกับ สุโรจน์ พนาสหธรรม ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ดีอีพี เอ็นจิเนียริง่ จ�ำกัด ซึง่ ได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายหลักอย่างเป็นทางการ จากชไนเดอร์ อิเล็คทริค ในการน�ำเสนอแพลตฟอร์ม EcoStruxure ซึ่งเป็น โซลูชันที่มอบทั้งความสามารถด้าน IoT ประสิทธิภาพ และความยั่งยืน โดย ครอบคลุ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ทั้ ง ฮาร์ ด แวร์ แ ละซอฟต์ แวร์ ใ ห้ กั บ ลู ก ค้ า ทั่ ว ประเทศ เพือ่ หนุนภาคอุตสาหกรรมและการผลิตของไทย สามารถทรานสฟอร์มสูด่ จิ ทิ ลั ได้อย่างเต็มรูปแบบ

เมโทรซิสเต็มส์ฯ ร่วมโครงการนิทรรศการงานด้าน วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

บริษทั เมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) น�ำโดย เสาวคนธ์ ศิรกิดากร รองกรรมการผูจ้ ดั การกลุม่ ทรัพยากรบุคคล และ ทีมงาน ร่วม “โครงการนิทรรศการงานด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์” พร้อมทั้งสานความร่วมมือด้านวิชาการ การพัฒนาทักษะด้านไอที และดิจทิ ลั โดย ผศ. ดร.อรรถวิทย์ สุดแสง หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ ให้การต้อนรับ ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ภายในงานมีการประชาสัมพันธ์ บริษัท เมโทรซิสเต็มส์ คอร์ปอเรชั่น ให้แก่นิสิตชั้นปีที่ 3 และ 4 ในระดับปริญญาบัณฑิตและ นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา ได้รู้จักองค์กรและสร้างความร่วมมือกับทาง ภาควิชาฯ มากยิ่งขึ้นในอนาคต นิทรรศการครั้งนี้ได้รับความสนใจจาก นิสิตเป็นจ�ำนวนมาก

LG ส่งนวัตกรรมระบบฟอกอากาศที่ครบวงจร

บริษทั แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด น�ำโดย เซิง เชิล ลี ประธานบริษทั น�ำเสนอนวัตกรรมระบบฟอกอากาศ พร้อมไลน์อพั ทีค่ รอบคลุม และมอบอากาศสะอาดบริสุทธิ์ในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย โดดเด่นด้วย ประสิทธิภาพในการฟอกอากาศให้บริสุทธิ์ พร้อมตรวจจับและก�ำจัดฝุ่นที่มี อนุภาคขนาดเล็กถึง 1.0 ไมครอน (PM 1.0) และการเชื่อมต่อแอปพลิเคชันบน โทรศัพท์มอื ถือเพือ่ การควบคุมการท�ำงานจากทุกทีท่ กุ เวลา พร้อมเปิดตัว แอลจี เพียวริแคร์ มินิ (LG PuriCareTM Mini) เครือ่ งฟอกอากาศขนาดพกพารุน่ แรก ของโลกทีม่ แี ผ่นกรองอากาศในตัว เพือ่ มอบอากาศบริสทุ ธิไ์ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ และรวดเร็วได้ทุกที่ทุกเวลำ

ไปรษณีย์ไทย จับมือ บ้านปูฯ เปิดตัวรถขนส่งไปรษณีย์ พลังงานไฟฟ้า บริษัท ไปรษณีย์ไทย จ�ำกัด ร่วมกับ บริษัท บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) ผนึกก�ำลังใน “โครงการบริหารจัดการยานยนต์ไฟฟ้าแบบครบวงจร เพื่อ ขนส่งสินค้า-พัสดุไปรษณีย์” น�ำยานยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยก�ำลังไฟฟ้า 100% ทดลองขนส่งสิง่ ของในพืน้ ทีก่ รุงเทพฯ และปริมณฑล ภายใต้แนวคิดสร้างระบบ ขนส่งอย่างยั่งยืน เป็นการศึกษาวิจัยและพัฒนาส่งเสริมการประหยัดพลังงาน ในการขนส่งไปรษณีย์ เพื่อพัฒนายานยนต์ไฟฟ้า มีการใช้จักรยานยนต์ไฟฟ้ำ ในการขนส่งจ�ำนวน 10,000 คันในระยะเวลา 1 ปี เพือ่ น�ำประเทศไทยสูก่ ารเป็น สมาร์ทซิตี้ และเป็นการลดการก่อมลพิษทางอากาศให้กับประเทศอีกด้วย

January-February 2020


สจล. ผนึกญี่ปุ่น จัดตั้ง สถานีเรดาร์ตรวจสภาพอวกาศ รศ. ดร.อนุวฒ ั น์ จางวนิชเลิศ รักษาการแทนรองอธิการบดีอาวุโสฝ่าย บริหารวิชาการ สจล. ผศ. ดร.วัฒนชัย พงษ์นาค รักษาการแทนรองอธิการบดี สจล. วิทยาเขตชุมพรเขตอุดมศักดิ์ และ ดร.คะซุมะสะ ทะอิระ ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ สถาบันวิจัยแม่เหล็กไฟฟ้าประยุกต์ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารแห่งชาติ (NICT) ประเทศญี่ปุ่น เตรียมติดตั้ง “สถานีเรดาร์ พระจอมเกล้าชุมพร” ในย่านความถีส่ งู มากของไทยครัง้ แรก ณ สจล. วิทยาเขต ชุมพรฯ สถานีตรวจจับพลาสมาบับเบิลและสภาพอวกาศที่ผิดปกติ เพื่อการ สนับสนุนระบบน�ำทาง GPS-GNSS ในอุตสาหกรรมการบิน เป็นการระบุตำ� แหน่ง ได้อย่างแม่นย�ำ ลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

ทีซีซีเทค คว้า ACE Certificate of Recognition

ซีอีโอยิบอินซอย รับรางวัล นักธุรกิจสตรีดีเด่น หอการค้าไทย ปี 2562

สภาหอการค้าอเมริกนั ในประเทศไทย (AMCHAM Thailand) จัดพิธีประกาศรางวัลองค์กรรับผิดชอบต่อสังคมดีเด่นของหอการค้ำ อเมริกันในประเทศไทยประจ�ำปี “AMCHAM CSR Excellence (ACE) Recognition Award 2019” โดยปีนี้ บริษทั ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จ�ำกัด (ทีซซี เี ทค) ร่วมส่ง OPEN-TEC (เทคโนโลยีแพลตฟอร์ม) ทีม่ วี ตั ถุประสงค์ ในการขับเคลือ่ นกิจกรรมหรือโครงการด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ กลุม่ บริษทั ทีซซี ี เทคโนโลยี เข้าประกวดเป็นปีแรกและได้รบั Certificate of Recognition ที่ยืนยันถึงความมุ่งมั่นในการสร้างสรรค์กิจกรรมดีๆ เพื่อสังคมอย่างต่อเนื่อง ฯลฯ ทั้งนี้ วลีพร สายะสิต ผู้อ�ำนวยการฝ่าย สือ่ สารองค์กร เป็นตัวแทนบริษทั ทีซซี เี ทคขึน้ รับใบประกาศนียบัตรจาก Michael Heath Chargé d’ Affaires of the U.S. Embassy และ Gregory Bastien AMCHAM President ณ โรงแรม แชงกรี-ลา กรุงเทพฯ

มรกต ยิบอินซอย กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร บริษัท ยิบอินซอย จ�ำกัด รับรางวัลเชิดชูเกียรติ “นักธุรกิจสตรีดีเด่น หอการค้าไทย ปี 2562” จาก กลินท์ สารสิน ประธานกรรมการหอการค้าไทย ภายในงานประชุมหอการค้าทั่วประเทศจังหวัดล�ำปาง โดยมี คุณหญิงณัฐิกา วัธนเวคิน อังอุบลกุล ประธานคณะกรรมการพัฒนาสังคมหอการค้าไทย ร่วมแสดงความยินดีและมอบของที่ระลึก ส�ำหรับรางวัลนักธุรกิจสตรีดเี ด่น หอการค้าไทย ปี 2562 นี้ ถือเป็นรางวัล แห่งความภาคภูมใิ จและเป็นเกียรติอย่างมากทีไ่ ด้รบั เนือ่ งจากเป็นการคัดเลือก มาจากสตรีเจ้าของธุรกิจ ระดับผู้บริหารองค์กรในประเทศไทย ที่ด�ำเนินธุรกิจ อย่างดี มีจรรยาบรรณ ประสบความส�ำเร็จดีงาม พร้อมด�ำเนินชีวติ อย่างเหมาะสม มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม อันสามารถเป็นตัวอย่างและสร้างแรงบันดาลใจให้แก่สตรี ในวงการธุรกิจและสังคมไทยต่อไป

สนพ. เปิดเวที “Han 2 The Battle” รวม Gen Y ประชันไอเดียประหยัดพลังงาน วัฒนพงษ์ คุโรวาท ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน ส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน พร้อมไอคอน Gen Y ร่วมแสดงพลังคนรุน่ ใหม่ แชร์ไอเดียประหยัดพลังงาน ‘นวัตกรรมใช้จริง ประหยัดจัง พฤติกรรมท�ำจริงประหยัดแน่’ พร้อมเชียร์อัพชวนใช้นวัตกรรม หาร 2 ลองเลย ผ่านกิจกรรม “Han 2 The Battle” ในโครงการรวมพลังหาร 2 ณ ลานโปรโมชัน ชั้น G สามย่านมิตรทาวน์

January-February 2020


Movement

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค มอบประโยชน์ สูส่ งั คมไทย ส่งจิตอาสาปรับปรุงระบบไฟ ให้โรงเรียนวัดดาวคนอง

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค (Schneider Electric) ประเทศไทย เดินหน้าเติมเต็มสิง่ ดีๆ ให้สงั คม ตอกย�า้ ความมุ่งมั่นให้คนไทยปลอดภัยจากไฟดูด โดยเฉพาะ ในโรงเรียนทีม่ เี ด็กเล็กๆ นับเป็นอีกหนึง่ ในโครงการเพือ่ “การให้” โดยไม่หวังผลตอบแทนของชไนเดอร์ อิเล็คทริค ที่ท�ำเป็นประจ�ำทุกปี ด้วยการสนับสนุนอุปกรณ์ไฟฟ้า พร้อมทีม “ช่างไฟชไนเดอร์” ทีเ่ ต็มเปีย่ มไปด้วยจิตอาสา เพือ่ ปรับปรุงระบบไฟฟ้าของโรงเรียนให้มคี วามปลอดภัย และรัดกุมมากยิ่งขึ้น ในปีนี้ได้ด�ำเนินการที่โรงเรียน วัดดาวคนอง เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร เมื่อเร็วๆ นี้ สร้างความยินดีให้แก่คณะครู อาจารย์ และนักเรียน เป็นอย่างยิ่ง ซึ่งเน้นย�้ำจุดยืนของชไนเดอร์ อิเล็คทริค ทีใ่ ห้ความส�ำคัญในความปลอดภัยด้านพลังงานกับทุกที่ ส�ำหรับทุกคนและทุกช่วงเวลา หรือ “Life is On”

Hyundai Electric ร่วมออกบูธ “นครพิงค์แฟร์ ครั้งที่ 4”

เมื่อวันที่ 12-14 ธันวาคม 2562 บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ตัวแทนจ�ำหน่ายเบรกเกอร์ ไฟฟ้า Hyundai Electric ประเทศไทย ได้ออกบูธส่งท้ายปี ร่วมกับ หจก.นครพิงค์ สวิทช์บอร์ด ตัวแทนจ�ำหน่ายเบรกเกอร์ ไฟฟ้า ยีห่ อ้ Hyundai ในเขตภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ ภายใต้ ชือ่ งาน “นครพิงค์แฟร์ ครัง้ ที่ 4” จุดประสงค์ของงานนีเ้ พือ่ ให้ ลูกค้าได้ซื้อสินค้าในราคาพิเศษ พร้อมทั้งเปิดตัวสินค้า รูปลักษณ์ใหม่ โดยภายในงาน Hyundai Electric ได้เปิดตัว สินค้าใหม่ Consumer Unit พร้อมลูกย่อย Miniature Circuit Breakers และยังจัดโปรโมชัน่ พิเศษ ซึง่ ทาง Hyundai Electric ได้จัดเตรียมพิเศษส�ำหรับงานนี้ และได้รับการตอบรับเป็น อย่างดีจากลูกค้า มีลูกค้าให้ความสนใจสอบถามข้อมูลและ เลือกซือ้ สินค้า อีกทัง้ ภายในงานลูกค้าได้รว่ มกิจกรรมลุน้ รับ ของรางวัลมากมาย จึงนับได้วา่ การออกบูธครัง้ นีถ้ อื เป็นการ เปิดตัวสินค้าใหม่ในกลุ่ม Consumer Unit ของ Hyundai Electric ได้เป็นอย่างดี

January-February 2020


Movement

จอห์นสัน คอนโทรลส์ แต่งตั้ง ทีมผู้บริหารใหม่ ในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ จอห์นสัน คอนโทรลส์ ผูน้ ำ� ระดับโลกในด้านเทคโนโลยีและ โซลูชันส์ส�ำหรับอาคาร เดินหน้าสร้างการเติบโตทางธุรกิจในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยการแต่งตัง้ ทีมผูบ้ ริหารระดับสูงเพือ่ เสริมสร้าง ความแข็งแกร่งของบริษัทฯ ในตลาดอาคารอัจฉริยะของภูมิภาคนี้ การแต่งตัง้ ทีมผูบ้ ริหารใหม่ของจอห์นสัน คอนโทรลส์ ในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ มีดังนี้ อัลวิน เอิง (Alvin Ng) รองประธานกรรมการ ฝ่ายดิจิทัล โซลูชนั ส์ (Digital Solutions) เอเชียแปซิฟกิ อัลวินจะประจ�ำการ อยู่ที่ประเทศสิงคโปร์ รับผิดชอบด้านการขับเคลื่อนกลยุทธ์เพื่อ การเติบโตด้านดิจิทัลของจอห์นสัน คอนโทรลส์ ในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟกิ ทีมงานฝ่ายดิจทิ ลั โซลูชนั ส์ในเอเชียแปซิฟกิ นี้ จะผสมผสาน ความเชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านอาคารของจอห์นสัน คอนโทรลส์ รวมถึงการวิจัยและพัฒนาอินเทอร์เน็ตออฟธิงส์ (ไอโอที) และ ปัญญาประดิษฐ์ เพื่อตอบสนองต่อการพลิกโฉมด้านดิจิทัลของ อุตสาหกรรมสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง เดวิด คีรูบี (David Kirubi) ผู้จัดการทั่วไป ฝ่ายพลิกโฉม ธุรกิจ (Transformation) เอเชียแปซิฟกิ ด้วยประสบการณ์การท�ำงาน

อันยาวนานและทักษะการปฏิบัติงานที่ยอดเยี่ยม เดวิด ซึ่งประจ�า อยู่ที่ประเทศสิงคโปร์ จะรับผิดชอบการเสริมสร้างความแข็งแกร่ง ในต�ำแหน่งผูน้ ำ� ของบริษทั ฯ ในตลาดเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ ก�ำกับดูแลการพลิกโฉมธุรกิจของบริษทั ฯ ทัว่ ทัง้ ภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ อดิศร์ พฤกษ์พฒ ั นรักษ์ (Adis Peukpattanaruks) ผูจ้ ดั การ ทัว่ ไป ประจ�ำประเทศไทย เวียดนาม เมียนมา ลาว และกัมพูชา โดยจะประจ�ำอยู่ที่กรุงเทพฯ อดิศร์มีความเชี่ยวชาญอย่างลึกซึ้ง ในด้านอุตสาหกรรมเทคโนโลยีอาคาร และจะดูแลรับผิดชอบในด้าน การด�ำเนินกลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดในประเทศที่มีการเติบโตอย่าง รวดเร็วในภูมิภาคนี้ แจ็ค เหยียว (Jack Yeo) ผู้จัดการทั่วไป ประจ�ำประเทศ ฟิลิปปินส์ ด้วยประสบการณ์อันกว้างขวางในการเป็นผู้น�ำทีมงาน ฝ่ายธุรกิจพาณิชย์ในสหรัฐอเมริกาและเอเชีย แจ็คมีความรู้เชิงลึก ในตลาดฟิลิปปินส์ และได้ท�ำงานในต�ำแหน่งผู้บริหารระดับสูง ในกลุม่ บริษทั ทีม่ ขี นาดใหญ่ทสี่ ดุ แห่งหนึง่ ในประเทศฟิลปิ ปินส์ และ จะมีบทบาทส�ำคัญต่อการเพิ่มส่วนแบ่งตลาดในประเทศฟิลิปปินส์ ซึง่ เป็นตลาดทีม่ อี ตั ราการเติบโตสูงส�ำหรับจอห์นสัน คอนโทรลส์

สตีน่า เฟเกอร์แมน กรรมการผู้จัดการคนใหม่ แห่งสแกนเนีย สยาม

บริษทั สแกนเนีย สยาม จ�ำกัด ได้ตอ้ นรับกรรมการผูจ้ ดั การคนใหม่ สตีนา่ เฟเกอร์แมน ซึง่ เป็นผูห้ ญิงทีไ่ ด้รบั การยกย่องอย่างสูงจากเลดาร์นา่ (ประเทศสวีเดน) ซึ่งเป็นสถาบันเสริมสร้างศักยภาพผู้น�ำ สตีน่าได้รับการ ยอมรับว่าเป็นหนึง่ ในผูน้ ำ� หญิงยอดเยีย่ มแห่งอนาคต 4 ปีซอ้ น ประสบการณ์ ของเธอเริ่มต้นที่แผนกขายและการตลาดที่ส�ำนักงานใหญ่ของสแกนเนีย เมือ่ 12 ปีทแี่ ล้ว 7 ปีทผี่ า่ นมา สตีนา่ บริหารแผนกขายทีส่ แกนเนีย ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ และประสบความส�ำเร็จในการท�ำให้สแกนเนียเป็นผู้น�า ตลาดเป็นครัง้ แรก และในเดือนสิงหาคม 2562 ก็เข้าด�ำรงต�ำแหน่งใหม่เป็น กรรมการผู้จัดการ บริษัท สแกนเนีย สยาม จ�ำกัด January-February 2020


ILINK คว้ารางวัลบริษัทจดทะเบียนด้าน ความยั่งยืนในงาน SET Awards 2019

ดร.ชลิดา อนันตรัมพร กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ILINK รับรางวัลเกียรติยศบริษัทจดทะเบียนด้าน ความยัง่ ยืน (Sustainability Excellence) ประเภทรางวัล Rising Star Sustainability Awards ในงานประกาศ ผลรางวัล SET AWARDS 2019 โดยตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย รางวัลนีม้ อบให้สำ� หรับบริษทั จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์ที่มีความโดดเด่นทั้งในด้านผลการ ด�ำเนินงานและคุณภาพตามแนวทางการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน เป็นที่ยอมรับในระดับสากล การที่ ILINK ได้รับรางวัลในครั้งนี้นับเป็นความ ส�ำเร็จก้าวที่ส�ำคัญของ ILINK สะท้อนให้เห็นถึงความ มุ่งมั่นที่จะ “เติบโต ต่อเนื่อง และยั่งยืน” ภายใต้หลัก บรรษัทภิบาล พร้อมก้าวสูก่ ารเป็นองค์กรต้นแบบต่อไป

LINK บริจาคสายไฟเบอร์ออฟติกปี 2

เมื่อเดือนธันวาคม 2562 ที่ผ่านมา บริษัท อินเตอร์ลงิ้ ค์ คอมมิวนิเคชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ผูน้ ำ� เข้า และจัดจ�ำหน่ายสายสัญญาณที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียน ภายใต้แบรนด์ LINK น�ำโดย ณัฐวุฒิ ปิ่นทองค�า ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาดและสื่อสารองค์กร พร้อม ด้วย จิรายุ พรรณบัวหลวง ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายโลจิสติกส์ ร่วมส่งมอบสายไฟเบอร์ออฟติก มูลค่ากว่า 300,000 บาท ให้กบั สถาบันการศึกษาชัน้ น�ำทัว่ ประเทศติดต่อกัน เป็นปีที่ 2 เพื่อเป็นสื่อการเรียนการสอนและเป็นการ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ผ่านระบบสายไฟเบอร์ ออฟติ ก ซึ่ ง เป็ น สายสั ญ ญาณที่ ดี ที่ สุ ด ในปั จ จุ บั น นอกจากความมุ่งมั่นในการท�ำธุรกิจแล้ว บริษัทฯ ยัง ตระหนักว่าเยาวชนเป็นทรัพยากรที่มีค่าเป็นอย่างยิ่ง ต่อการพัฒนาประเทศต่อไป

January-February 2020


การอบรมมาตรฐานเชิงปฏิบต ั ิการเรื่อง

“การออกแบบ ติดตั้ง และทดสอบระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้” ประจำ�ปี พ.ศ. 2563

ด้านการตรวจสอบภายหลังการติดตัง้ เสร็จ รวมทั้งการทดสอบระบบและอุปกรณ์ ตามมาตรฐาน วสท. และสภาวิศวกร รวมทัง้ การฝึกภาคปฏิบตั ใิ นการออกแบบ ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

วัตถุประสงค์

รุ่นที่ 1 : วันที่ 28-29 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 09.00-16.30 น. รุ่นที่ 2 : วันที่ 12-13 มิถุนายน 2563 เวลา 09.00-16.30 น. รุ่นที่ 3 : วันที่ 16-17 ตุลาคม 2563 เวลา 09.00-16.30 น.

1. เพื่อเผยแพร่มาตรฐาน วิธีการน�า ไปใช้ และถ่ายทอดประสบการณ์ที่ถูกต้องใน การท�ำงานเกี่ยวกับระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ 2. เพื่ อ พั ฒ นาทั ก ษะวิ ธี คิ ด กระบวนการ พิจารณา และความรู้ความเข้าใจของผู้ปฏิบัติงาน ในการออกแบบ ติดตั้ง และทดสอบระบบแจ้งเหตุ เพลิงไหม้ 3. เพือ่ พัฒนาวิชาชีพของวิศวกรให้มคี ณ ุ ภาพในระดับ วิศวกรอาเซียน

ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 6 อาคาร วสท. ซอยรามค�ำแหง 39 จัดโดย คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ฟรี! หนังสือมาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ วสท. (มาตรฐานฉบับปรับปรุงใหม่)

คุณสมบัติของผู้เข้าร่วมอบรม หลักการและเหตุผล

เพือ่ ให้วศิ วกรทีท่ ำ� งานเป็นผูอ้ อกแบบ ผูค้ วบคุมงาน ผูร้ บั เหมา ติดตัง้ และผูด้ แู ลระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ มีความเข้าใจเกีย่ วกับความรู้ พื้นฐานวิทยาการด้านอัคคีภัย เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างแท้จริง ในหลักการของการออกแบบ การติดตัง้ และการทดสอบ รวมไปถึง การเลือกอุปกรณ์ตรวจจับที่เหมาะสมกับแต่ละกิจกรรมการใช้ อาคาร ผู้เข้ารับการอบรมจะมีความรู้ ความเข้าใจถึงที่มาของการ ก�ำหนดระยะห่างที่ตั้งของอุปกรณ์ตรวจจับ อุปกรณ์แจ้งเหตุ และ อุปกรณ์ประกอบระบบ รวมทัง้ การเดินสายสัญญาณ เพือ่ ให้ระบบ แจ้งเหตุเพลิงไหม้ท�ำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และลดการเกิดการ ท�ำงานผิดพลาด (Fault Alarm) นอกจากนี้ จะเป็นการเสริมทักษะใน

1. วิศวกรไฟฟ้า และช่างไฟฟ้า 2. วิศวกรที่ท�ำงานเกี่ยวกับระบบป้องกันอัคคีภัย หรือ ความปลอดภัย 3. เจ้าหน้าที่ปลอดภัยในสถานประกอบการ 4. ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ/เจ้าพนักงานท้องถิ่น ที่เกี่ยวข้อง 5. บุคคลทั่วไป และนิสิต/นักศึกษา

คณะวิทยากร

รศ.ถาวร อมตกิตติ์ พิชญะ จันทรานุวัฒน์  สวง กิตติสิริพันธุ์  สุวัฒน์ บุญศักดิ์สกุล  

กำ�หนดการ รุ่นที่ 1 : วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563 / รุ่นที่ 2 : วันศุกร์ที่ 12 มิถุนายน 2563 / รุ่นที่ 3 : วันศุกร์ที่ 16 ตุลาคม 2563 09.00-12.15 น. ข้อก�ำหนดระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ตามมาตรฐาน วสท.  การจัดการและการแบ่งพื้นที่เพื่อป้องกัน อัคคีภัย  อุปกรณ์ตรวจจับและแจ้งเหตุเพลิงไหม้  แผงควบคุ ม และไฟฟ้ า ในระบบแจ้ ง เหตุ เพลิงไหม้  ระบบและการติดตั้ง  แหล่งจ่ายไฟและแบตเตอรี่  การตรวจสอบระบบ วิทยากร รศ.ถาวร อมตกิตติ์

January-February 2020

12.15-13.15 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.15-16.30 น. เทคนิคการออกแบบระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ เชิงปฏิบัติการ  การลุกลามของเพลิงไหม้และกรณีศึกษา  การค�ำนวณเวลาในการอพยพและ การตรวจจับเพลิงไหม้  กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง  พื้นฐานการออกแบบ ติดตั้ง และ การทดสอบ  การพิจารณาเลือกระบบและอุปกรณ์  การเตรียมแบบและรายการประกอบแบบ  การนับจ�ำนวนและประมาณราคา วิทยากร พิชญะ จันทรานุวัฒน์


รุ่นที่ 1 : วันเสาร์ที่ 29 กุมภาพันธ์ 2563 / รุ่นที่ 2 : วันเสาร์ที่ 13 มิถุนายน 2563 / รุ่นที่ 3 : วันเสาร์ที่ 17 ตุลาคม 2563 09.00-12.15 น. การติดตัง้ อุปกรณ์และส่วนประกอบของระบบ แจ้งเหตุเพลิงไหม้เชิงปฏิบัติการ  แผงควบคุ ม ระบบและอุ ป กรณ์ ป ระกอบ ในการควบคุม  การปรับตัง ้ และก�ำหนดขัน้ ตอนการท�ำงาน ของระบบที่แผงควบคุม  การเลื อ กใช้ แ ละการติ ด ตั้ ง สายสั ญ ญาณ และสายไฟฟ้า  การติดตัง ้ อุปกรณ์ตรวจจับ อุปกรณ์แจ้งเหตุ และวงจรสัญญาณ  การปรั บ ตั้ ง การท� ำ งานระบบด้ ว ย Input/ Output Matrix วิทยากร สวง กิตติสิริพันธุ์ 12.15-13.15 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.15-16.30 น. การตรวจสอบ การทดสอบ และการดูแล รักษาตามมาตรฐาน วสท. และประมวลหลัก ปฏิบัติฯ สภาวิศวกรเชิงปฏิบัติการ  การตรวจสอบและทดสอบระบบภายหลัง การติดตั้งเสร็จ  การทดสอบประจ�ำเดือนและประจ�ำปี  การดู แ ลรั ก ษาเพื่ อ ให้ ร ะบบพร้ อ มใช้ ง าน ตลอดเวลา  การเตรี ย มความพร้ อ มในการตรวจสอบ อาคาร  การทดสอบแผงควบคุมระบบและอุปกรณ์ ประกอบ  การดูแลรักษาอุปกรณ์ตรวจจับและอุปกรณ์ แจ้งเหตุ วิทยากร สุวัฒน์ บุญศักดิ์สกุล

ค่าลงทะเบียน รุ่นที่ 1/63 วันที่ 28-29 ก.พ. 63 รุ่นที่ 2/63 วันที่ 12-13 มิ.ย. 63 รุ่นที่ 3/63 วันที่ 16-17 ต.ค. 63 สมาชิก วสท./ข้าราชการ/ รัฐวิสาหกิจ/บุคคลทั่วไป

รุ่นที่ 1/63 จ่ายภายในวันที่ 18 ก.พ. 63 รุ่นที่ 2/63 จ่ายภายในวันที่ 3 มิ.ย. 63 รุ่นที่ 3/63 จ่ายภายในวันที่ 6 ต.ค. 63 6,000 บาท/คน

รุ่นที่ 1/63 จ่ายหลังวันที่ 18 ก.พ. 63 รุ่นที่ 2/63 จ่ายหลังวันที่ 3 มิ.ย. 63 รุ่นที่ 3/63 จ่ายหลังวันที่ 6 ต.ค. 63 6,500 บาท/คน

หมายเหตุ 1. ราคานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% แล้ว และ วสท. ได้รับการยกเว้นการหักภาษี ณ ที่จ่าย 3% 2. ราคานี้รวมค่าเอกสาร/อาหารกลางวัน/อาหารว่าง/วุฒิบัตร 3. ผู้เข้ารับการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาอบรมจะได้รับวุฒิบัตร 4. การโอนเงิน กรุณน�ำส่งหลักฐานการช�ำระเงิน โดยระบุชอื่ ผูเ้ ข้ารับการอบรมและทีอ่ ยูใ่ นการออกใบเสร็จรับเงินมาที่ Fax No. : 0-2184-4662 5. กรณีที่ท่านไม่สามารถเข้าร่วมการอบรมได้ โปรดท�ำหนังสือแจ้งยกเลิกการอบรมล่วงหน้าก่อนการอบรม โดยมีรายละเอียด การคืนเงินดังต่อไปนี้ 5.1 แจ้งยกเลิกก่อนวันจัดอบรม/สัมมนา 30 วัน คืนเงินเต็มจ�ำนวนของค่าลงทะเบียน 5.2 แจ้งยกเลิกก่อนวันจัดอบรม/สัมมนา 15 วัน คืนเงิน 80% ของค่าลงทะเบียน 5.3 แจ้งยกเลิกก่อนวันจัดอบรม/สัมมนา 7 วัน คืนเงิน 50% ของค่าลงทะเบียน 5.4 แจ้งยกเลิกน้อยกว่า 7 วันก่อนวันจัดอบรม/สัมมนา ไม่คืนค่าลงทะเบียน หมายเหตุ : เว้นแต่มีเหตุจ�ำเป็นซึ่งทางวิศวกรรมสถานฯ จะพิจารณาเป็นรายๆ ไป และให้ถือผลการพิจารณาเป็นที่สิ้นสุด 6. กรณี วสท. ยกเลิกการจัดอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงานทัง้ ในและต่างประเทศเนือ่ งจากสาเหตุใดก็ตาม วสท. จะคืนเงินให้ทา่ นเต็มจ�ำนวน

การชำ�ระเงิน

เช็ค โอนเงิน

สั่งจ่าย สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ บัญชีเงินฝาก ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์  ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขา สภากาชาดไทย เลขที่บัญชี 045-2-03026-1  ธนาคารกรุงเทพ สาขา สุรวงศ์ เลขที่บัญชี 147-4-32388-6  ธนาคารกรุงไทย สาขา จามจุรีสแควร์ เลขที่บัญชี 162-0-09914-4

หน่วยงานใดที่สนใจร่วมแสดงสินค้า/ผลิตภัณฑ์ กรุณาติดต่อ คุณนพมาศ ปิ่นสุวรรณ โทร. 0-2184-4600-9 ต่อ 521 January-February 2020


Industry News

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ให้การต้อนรับผู้บริหารจากต่างประเทศ บริษทั ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ได้ให้การต้อนรับ Mr.Eric Leger รองประธานอาวุโสฝ่ายการตลาดส่วนธุรกิจระหว่าง ประเทศ บริษัท Schneider Electric Mr.Eric เป็นผู้ท่ีมีความรู้ความ สามารถและประสบการณ์ ม ากมาย ด�ำรงต�ำแหน่งประธานประจ�ำประเทศ แอฟริกาใต้และเกาหลีใต้ รวมถึงไต้หวัน ด้ ว ย โดยได้ เข้ า ร่ ว มงานกั บ บริ ษั ท Schneider Electric มานานกว่า 24 ปี แล้ว มีประสบการณ์ดา้ นการบริหารงาน ในต� ำ แหน่ ง ผู ้ บ ริ ห ารหลายประเทศ Mr.Eric Leger อาทิ ศรีลงั กา จีน ฝรัง่ เศส และฟิลปิ ปินส์ ท� ำ ให้ มี ทั ก ษะความเป็ น ผู ้ น� ำ ด้ า นการบริ ห ารการปฏิ บั ติ ก ารให้ ด�ำเนินงานไปอย่างมีประสิทธิภาพ ดูแลการเปลีย่ นแปลงวัฒนธรรม องค์กร ตลอดจนการพัฒนาบุคลากร Mr.Eric กล่าวว่า “Schneider Electric คือบริษทั สัญชาติฝรัง่ เศส ที่ท�ำธุรกิจมายาวนานถึง 190 ปี มีสาขากระจายอยู่ตามภูมิภาค ต่างๆ ทั่วโลก มีการลงทุนด้าน R&D ในการสร้างนวัตกรรมถึง 5%

เน้นการสร้างเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง และกระแสโลก Schneider ให้ความส�ำคัญกับ Sustainability มีโซลูชันที่ ท�ำให้ธุรกิจสามารถเติบโตไปอย่างยั่งยืนด้วยระบบ Ecostruxure มีซอฟต์แวร์ที่มาช่วยมอนิเตอร์ระบบการท�ำงาน และขั้นตอนใน การท�ำงาน เพื่อจะน�ำเอา Data ที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อการป้องกัน เหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันของอุปกรณ์ในอนาคต เพื่อที่จะได้ป้องกัน ก่อนล่วงหน้า นอกจากนั้นเทคโนโลยีของ Schneider ยังช่วยธุรกิจ ให้ เ อาชนะความท้ า ทายด้ า นพลั ง งาน ท� ำ ให้ ก ารด� ำ เนิ น งาน มีประสิทธิภาพทีด่ ขี นึ้ Schneider ให้ความส�ำคัญด้านจริยธรรมและ ความรับผิดชอบในทุกความสัมพันธ์ ไม่วา่ กับลูกค้า ซัพพลายเออร์ คูค่ า้ พนักงาน และชุมชนทีป่ ฏิบตั งิ าน เป็นองค์กรทีด่ ขี องสังคมและ เป็นนายจ้างทีม่ คี วามรับผิดชอบ Schneider ได้พฒ ั นาโซลูชนั เพือ่ ให้ ประชาชนนับพันล้านคนเข้าถึงพลังงาน การท�ำงานของ Schneider กับลูกค้ามีวตั ถุประสงค์เดียวกันคือ Green Technology ประกอบด้วย ความยั่งยืน ต้องการลดต้นทุน ลดพลังงาน ซึ่งเป็นสิ่งที่ Schneider ให้ความส�ำคัญตลอดมา”

บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป ประเทศไทย ร่วมด้วยพันธมิตร ขยายเครือข่ายสถานีอัดประจุไฟฟ้าสาธารณะ พันธมิตรในโครงการ ChargeNow ประกอบด้วย บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป ประเทศไทย น�ำโดย กฤษฎา อุตตโมทย์ ผู้อำ� นวยการฝ่าย สือ่ สารกิจการองค์กร และบริษทั จีแอลที กรีน (ประเทศไทย) จ�ำกัด โดย ชยพล หลีระพันธ์ ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ร่วมมือกับ บริษัท ดิ เอราวัณ กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) โดย จงรัก จินตกวีวัฒน์ ผู ้ อ� ำ นวยการอาวุ โ ส ฝ่ า ยพั ฒ นาธุ ร กิ จ โรงแรม ติ ด ตั้ ง สถานี อัดประจุไฟฟ้าสาธารณะส�ำหรับรถยนต์ไฟฟ้าและรถยนต์ปลั๊กอิน ไฮบริด ณ โรงแรมเมอร์เคียว ไอบิส กรุงเทพ สุขุมวิท 24 สถานีอัดประจุไฟฟ้าสาธารณะส�ำหรับรถยนต์ไฟฟ้าและ รถยนต์ปลั๊กอินไฮบริด เพื่อขยายเครือข่ายการให้บริการสถานี อัดประจุไฟฟ้าสาธารณะส�ำหรับรถยนต์ไฟฟ้าและรถยนต์ปลั๊กอิน ไฮบริดไม่จ�ำกัด รุ่นเป็ นสถานีล่ าสุด ของโครงการ โดยโครงการ ChargeNow พร้อมเดินหน้าเพิม่ สถานีอดั ประจุไฟฟ้าอย่างต่อเนือ่ ง และส่งเสริมการใช้รถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทยร่วมกับพันธมิตร เพื่อช่วยสนับสนุนการลดมลภาวะอย่างยั่งยืน ความร่วมมือในครัง้ นีเ้ ป็นหนึง่ ในความมุง่ มัน่ ของบีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป ประเทศไทย ในการร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการเตรียมความ January-February 2020

พร้อมระบบ สาธารณู ป โภค ของประเทศไทย สู่ยุคยานยนต์ไฟฟ้าอย่างยั่งยืน พร้อมรองรับความต้องการของ รถยนต์ปลัก๊ อินไฮบริดและรถยนต์ไฟฟ้าในตลาดทีเ่ พิม่ มากขึน้ โดย ตั้งแต่ริเริ่มโครงการ ChargeNow เมื่อปี พ.ศ. 2560 ได้มีการสร้าง เครือข่ายสถานีอดั ประจุไฟฟ้าเพือ่ ให้บริการแก่สมาชิก ChargeNow ไม่วา่ จะเป็นเจ้าของรถยนต์แบรนด์ใดก็ตาม เพือ่ ประโยชน์สงู สุดของ ผู้ใช้รถยนต์ปลั๊กอินไฮบริดและรถยนต์ไฟฟ้าทุกคน สถานีอัดประจุไฟฟ้า ChargeNow ตั้งอยู่ในศูนย์การค้าและ โรงแรมชัน้ น�ำทัว่ กรุงเทพฯ และตามเมืองใหญ่ในจังหวัดต่างๆ เพือ่ ความสะดวกสบายและสามารถเดินทางเข้าถึงได้อย่างง่ายดาย โดยให้บริการหัวชาร์จ AC ทัง้ แบบ Type I (SAE J1772) และ Type II (IEC 62196) ปัจจุบันให้บริการทั้งหมด 123 หัวจ่าย ทั้งที่สถานี ChargeNow และทีผ่ จู้ ำ� หน่ายอย่างเป็นทางการของบีเอ็มดับเบิลยู ใน 58 แห่งทั่วประเทศไทย


BANPU NEXT ชูพอร์ตพลังงานสะอาด เสริมทัพด้วยเทคโนโลยี เพื่อก้าวสู่ทศวรรษใหม่ บริษัท บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) ผู้น�ำธุรกิจด้านพลังงาน แบบครบวงจรแห่งภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ เตรียมก้าวสูท่ ศวรรษที่ 4 ของการด�ำเนินธุรกิจ ประกาศจัดตั้งบริษัท บ้านปู เน็กซ์ จ�ำกัด (BANPU NEXT) มุ่งลงทุนและพัฒนาธุรกิจพลังงานสะอาดและ เทคโนโลยีพลังงาน เดินหน้าสร้างการเติบโตทางธุรกิจที่ตอบรับ กับเทรนด์พลังงานแห่งโลกอนาคต ซึ่งมุ่งเน้นความยั่งยืนตามหลัก ESG (Environment, Social and Governace) ที่สนับสนุนการผลิต และการใช้พลังงานสะอาด รวมถึงการน�ำนวัตกรรมและเทคโนโลยี มาใช้อย่างชาญฉลาด เสริมความแข็งแกร่งของกลยุทธ์ Greener & Smarter ผลักดันให้บ้านปูฯ เป็นผู้ให้บริการสมาร์ทโซลูชันด้าน พลังงานอย่างครบวงจร สมฤดี ชั ย มงคล ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า “การจะขับเคลื่อน ธุรกิจพลังงานให้เติบโตอย่างมัน่ คงและ ยัง่ ยืนนัน้ บริษทั ฯ ต้องปรับตัวให้เข้ากับ เทรนด์ด้านพลังงาน 3Ds ซึ่งประกอบ ด้วย Decarbonization (การใช้พลังงาน ทีล่ ดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์) สมฤดี ชัยมงคล Decentralization (การกระจายตั ว การผลิตและจ�ำหน่ายพลังงานแบบไม่รวมศูนย์) และ Digitalization (การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล) บริษัทฯ จึงเดินหน้าปรับกระบวนทัพทาง ธุรกิจ จัดโครงสร้างการด�ำเนินงานของบริษทั ย่อยต่างๆ ในกลุม่ ธุรกิจ

ผลิตพลังงาน และกลุ่มธุรกิจเทคโนโลยีพลังงานใหม่ โดยจัดตั้ง บริษทั บ้านปู เน็กซ์ จ�ำกัด ดูแลพอร์ตพลังงานสะอาด ซึง่ จะช่วยสร้าง ความแข็งแกร่งให้กบั ระบบนิเวศทางธุรกิจ การเปลีย่ นแปลงครัง้ ส�ำคัญ ในยุคดิสรัปชันเพือ่ ก้าวสูท่ ศวรรษที่ 4 ของบ้านปูฯ ในครัง้ นี้ จะท�ำให้ แต่ละกลุม่ ธุรกิจสามารถวางแผน สือ่ สาร และท�ำงานร่วมกันได้อย่าง ชาญฉลาดและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น” การเปลี่ยนแปลงอย่างมีสาระส�ำคัญในครั้งนี้ เป็นไปตาม แผนการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ และถือเป็นการตอกย�้ำกลยุทธ์ “Greener & Smarter” โดยจะมีการเพิ่มสัดส่วนของธุรกิจด้าน พลังงานสะอาดรวมกันมากกว่าร้อยละ 50 ของธุรกิจในกลุม่ บริษทั บ้านปูฯ ภายในปี พ.ศ. 2025 ประกอบด้วยธุรกิจการผลิตไฟฟ้า จากพลังงานหมุนเวียน โรงไฟฟ้าที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง เทคโนโลยีพลังงาน สมาร์ทซิตี้ และธุรกิจก๊าซธรรมชาติ เป็นต้น บริษทั บ้านปู เน็กซ์ จ�ำกัด จะเป็นบริษทั หลักของกลุม่ บริษทั บ้านปูฯ ในการบริหารและจัดการพอร์ตพลังงานสะอาด โดยมุ่ง ลงทุนและพัฒนาโครงการด้านธุรกิจพลังงานสะอาดและเทคโนโลยี พลังงาน นอกจากนี้ ได้มกี ารจัดกลุม่ การด�ำเนินงานของบริษทั ย่อย ต่างๆ ในกลุม่ บริษทั บ้านปูฯ ให้เอือ้ ต่อการบริหารงานและการท�ำงาน ใน 10 ประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ บริษัท บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท บ้านปู มินเนอรัล จ�ำกัด บริษัท บ้านปู เพาเวอร์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท บ้านปู นอร์ท อเมริกา คอเปอเรชั่น จ�ำกัด และบริษัท บ้านปู อินโนเวชั่น แอนด์ เวนเจอร์ จ�ำกัด

WD เปิดตัวห้องเย็นโรโบติกส์สาธารณะแห่งแรกที่ใหญ่ที่สุดในไทย บริษัท เจดับเบิ้ลยูดี อินโฟโลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ JWD เปิดตัว ห้องเย็นโรโบติกส์ แห่งใหม่ในย่านมหาชัย เพือ่ ให้บริการแบบสาธารณะเป็นรายแรกในไทย มีพื้นที่จัดเก็บสินค้า มากทีส่ ดุ ถึง 7,000 ตารางเมตร น�ำระบบจัดเก็บสินค้าแบบอัตโนมัติ (ASRS) ใช้ในการเคลือ่ นย้ายและจัดเรียงสินค้า ลดการใช้แรงงานได้ 50% และประหยัดพลังงานไฟฟ้า 30-50% เมื่อเทียบกับห้องเย็น แบบเดิม รวมถึงสามารถเพิ่มพื้นที่เก็บสินค้าแนวสูงได้ถึง 14 ชั้น รวม 15,000 พาเลต โชว์ผลตอบรับดีเกินคาดหลังเปิดบริการเดือน กรกฎาคม-ตุลาคมทีผ่ า่ นมา มีอตั ราใช้พนื้ ทีเ่ กิน 80% เล็งขยายการ ลงทุนห้องเย็นโรโบติกส์เพิม่ เติม ผูบ้ ริหารมัน่ ใจธุรกิจห้องเย็นไม่ได้รบั ผลกระทบจากกรณีถูกอเมริกาตัดสิทธิ GSP เนื่องจากมีสัดส่วน ลูกค้าที่ส่งออกอาหารไปอเมริกาน้อยมาก จิตชัย นิมิตรปัญญา รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เจดับเบิล้ ยูดี อินโฟโลจิสติกส์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ JWD ผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชนระดับอาเซียน เปิดเผยว่า บริษัทฯ

เปิดตัวห้องเย็นระบบโรโบติกส์แห่งใหม่ (อาคาร 8) ที่เปิดให้บริการ แบบสาธารณะแก่ลูกค้าทั่วไปเป็นแห่งแรกและมีพื้นที่มากที่สุดใน ประเทศไทย ตัง้ อยูใ่ นย่านมหาชัย จังหวัดสมุทรสาคร เพือ่ ตอบสนอง ความต้องการจัดเก็บสินค้าควบคุมอุณหภูมิของผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมอาหารที่ยังคงขยายตัวได้ดี จึงเห็นโอกาสขยาย การลงทุนห้องเย็นแห่งใหม่ โดย ณ สิ้นไตรมาส 3/62 ภาพรวม การด�ำเนินงานคลังสินค้าห้องเย็นของ JWD มีอัตราเช่าพื้นที่เฉลี่ย 73% ของพื้นที่รวม 70,327 ตารางเมตร “จุดเด่นของห้องเย็นแห่งใหม่คอื การติดตัง้ เทคโนโลยีระบบ อัตโนมัติ ASRS ตัง้ แต่การเคลือ่ นย้ายสินค้าทีร่ บั จัดเก็บเข้าสูห่ อ้ งเย็น การจัดเรียงสินค้าในแนวสูง และการขนย้ายออกจากห้องเย็น จึงสามารถลดการใช้แรงงานลงได้ 50% และประหยัดพลังงานไฟฟ้า ภายในอาคารได้ประมาณ 30-50% เมือ่ เทียบกับคลังสินค้าห้องเย็น แบบเดิ ม ที่ ใช้ ก ารจั ด เรี ย งด้ ว ยระบบแมนนวลและต้ อ งใช้ เ นื้ อ ที่ ค่อนข้างมาก” จิตชัย กล่าว January-February 2020


ELECTRICITY & INDUSTRY

magazine ปี 2563

ข้าพเจ้า ชื่อ ............................................................................................. สกุล .......................................................................................................... ตำ�แหน่ง .................................................................................... บริษัท/ห้าง/ร้าน ...................................................................................... ที่อยู่ (ที่ท�ำ งาน) ......................................................................... แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด .................................................... รหัสไปรษณีย์ .......................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... ที่อยู่ (ที่บ้าน) ............................................................................. แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ ........................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... รหัสสมาชิก ...............................................................................

ประสงค์จะบอกรับนิตยสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” 1 ปี 6 ฉบับ 480 บาท 2 ปี 12 ฉบับ 960 บาท สมาชิกต่ออายุ 2 ปี 12 ฉบับ 800 บาท ตั้งแต่ฉบับที่ ............. เดือน .................................... ปี ..................... โดยส่งนิตยสารไปที่ ที่บ้าน ที่ท�ำ งาน พร้อมกันนี้ได้ส่งค่าสมาชิกเป็นจำ�นวนเงิน ................................. บาท (ตัวอักษร ..........................................................................................) เช็คธนาคาร ................................................................................. สาขา ................................................................................................. เช็คคร่อมสั่งจ่าย “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด”

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธย� แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. +66 (0)26 444 555, +66 (0)23 545 333 ต่อ 301 โทรสาร +66 (0)26 446 649, +66 (0)23 545 322

ธนาณัติ สั่งจ่ายในนาม “คุณวาสนา แซ่อึ้ง” ที่ทำ�การไปรษณีย์โทรเลขบางกอกน้อย โอนเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด” ชื่อธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี กรุงเทพ สะพานพระปิ่นเกล้า 162-0-74737-6 กสิกรไทย บางยี่ขัน 047-2-56333-5 ทหารไทย จรัญสนิทวงศ์ 020-2-27244-9 ไทยพาณิชย์ จรัญสนิทวงศ์ ซ.48 121-2-04080-0 หมายเหตุ กรุณาส่งแฟกซ์ หรือสำ�เนาใบเข้าบัญชี (Pay-in Slip) มาให้ บริษัทฯ พร้อมเขียนชื่อ-นามสกุล และรหัสสมาชิก (ถ้ามี) กำ�กับมาด้วย


หากผู้อ่านท่านใดสนใจรายละเอียดต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสาร ELECTRICITY & INDUSTRY MAGAZINE

ปีที่ 27 ฉบับที่ 1 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2563 กรุณากรอกข้อมูลดังกล่าวให้ครบถ้วนเพือ่ การติดต่อจัดส่งข้อมูลกลับไปยังท่านต่อไป ชื่อ .............................................................................................. สกุล .............................................................................................................. ที่อยู่ ........................................................................................... แขวง/ตำ�บล ................................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................. จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ ............................... โทร ............................................................................................. แฟกซ์ ...........................................................................................................

ประเภทของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง อุตสาหกรรมเคมี/ปิโตรเคมี

ตำ�แหน่งงานที่ท่านรับผิดชอบ

กรรมการผู้จัดการ/เจ้าของกิจการ ผจก.โรงงาน ผจก.ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ผจก.วิศวกรรม ผจก.ฝ่ายซ่อมบำ�รุง วิศวกรฝ่ายผลิต วิศวกรทดสอบ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมงานเชื่อม อุตสาหกรรมโลหการ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

ประเภทของกิจการ

ผู้ผลิต

ผู้แทนจำ�หน่าย

ผู้ผลิต/ผู้แทนจำ�หน่าย

หน่วยงานราชการ


ดัชนีสินค้าประจำ�เดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ประเภทสินค้า

ABB CO., LTD.

0-2665-1000

ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK

0-2036-0500

-

งานแสดงสินค้า

12

0-2559-0603-4

-

งานแสดงสินค้า

15

INTERMACH

0-2036-0500

-

งานแสดงสินค้า

10

LSIS

083-149-9994

-

ผู้นำ� ด้านระบบสั่งจ่ายและระบบจ�ำหน่าย ไฟฟ้าครบวงจร

MAXIMIZE INTEGRATED TECHNOLOGY CO., LTD.

0-2194-8738-9

MENNEKES Elektrotechnik GmbH & Co. KG

0-2741-5266

RENT (THAILAND) CO., LTD.

0-2136-7104

FUTURE ENERGY ASIA

SAMWHA (THAILAND) CO., LTD.

ปกหลังนอก

ปกหน้า, ปกหน้าใน

0-2003-2215 อุปกรณ์ไฟฟ้า

6

0-2741-5267 ผู้ผลิตปลั๊กอุตสาหกรรม

5

-

เครื่องมือซ่อมในการดึงสายไฟ

ปกหลังใน

0-3884-7575 จ�ำหน่าย ติดตั้งคาปาซิเตอร์

7

0-2657-9888 น�ำ้ มันหล่อลื่น

3

ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) บจก.

0-2002-4395-97 0-2002-4398 อุปกรณ์ไฟฟ้า

17

เพาเวอร์ เรด บจก.

0-2300-5671-3

9

เชลล์แห่งประเทศไทย บจก.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล รัตนโกสินทร์

0-3884-7571-3

0-2324-0502 อุปกรณ์ไฟฟ้า

หน้า

0-2262-6000

0-2441-6059

0-2300-5937 อุปกรณ์ไฟฟ้า -

-

30

ลีฟเพาเวอร์ บจก.

0-2300-5671-3

0-2300-5937 อุปกรณ์ไฟฟ้า

11

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727-8

0-2476-1711 Couplings

8

ออมรอน อีเลคทรอนิคส์ บจก.

0-2942-6700

0-2937-0501 อุปกรณ์ไฟฟ้าและระบบควบคุมอัตโนมัติ

4

อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.

0-2693-1222

0-2693-1399 สาย LAN

13

เอส เอ วี เมคคานิคคอล เซอร์วิสส์ แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.

0-2702-0581-8

0-2377-5937 ติดตั้ง EOCR อิเล็กทรอนิคกส์ โอเวอร์โหลดรีเลย์ ป้องกันมอเตอร์ไหม้

30

January-February 2020




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.