Electricity & Industry Magazine Issue Mar - Apr 2019

Page 1


LSIS_21.59x29.21cm.pdf

1

7/4/61 BE

6:03 AM


WORKS HERE.

A range of gas-engine oils that has been developed to deliver optimum value to equipment operators through enhanced wear protection, long oil life and high system efficiency. www.shell.com/lubricants





Samwa_21.59x29.21cm.pdf

1

3/28/17

11:02 AM








CONTENTS MARCH-APRIL

2019

ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบาย เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.)

21 โครงการก่อสร้างเมืองนวัตกรรม EECi ดันไทย

เป็นแหล่งนวัตกรรมชั้นน�ำของภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ โครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) 23 เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi)

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย 31 34 37 40 41

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

IEEE POWER & ENERGY SOCIETY – THAILAND (IEEE PES - THAILAND) 44 ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา

และลอยน�า้

IEEE PES GENERATION TRANSMISSION AND DISTRIBUTION (GTD) 45 IEEE PES GTD ASIA 2019 นิทรรศการนานาชาติ

ด้านไฟฟ้าและพลังงานแสงอาทิตย์

SPECIAL SCOOP 50 LG พร้อมเปิดไลน์ผลิตเต็มรูปแบบ เสริมแกร่ง

ศูนย์กลางส่งออกอาเซียน กองบรรณาธิการ 58 CES 2019...THE GLOBAL STAGE FOR INNOVATION กองบรรณาธิการ 55

ARTICLE 52 เทคโนโลยีแม่เหล็กขั้นสูง

ดร.ประไพวรรณ สันวงศ์

55 5G สามารถแก้ปัญหาความแออัดของข้อมูลที่พบ

ในเครือข่าย 4G ในปัจจุบันได้อย่างไร? Opensignal 66 2019 ปีทองของเอดจ์ ดาต้าเซ็นเตอร์ ปัญญาประดิษฐ์ และความสมดุลระหว่างงาน และชีวิตส่วนตัว ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย

SPECIAL AREA 68 Visualization Meter for Industrial Processes

บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด

บริษัท ออมรอน อีเล็คทรอนิคส์ จ�ำกัด

บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

70 ลักษณะจ�ำเป็นเมื่อท�ำ IoT ส�ำหรับอุตสาหกรรม 72 ตู้คอนซูมเมอร์ยูนิตคืออะไร?

IT ARTICLE 75 เอสน็อคเผยไทยติดโผอันดับ 4 กลุม่ ประเทศ APAC

ถูกใช้เป็นฐานโจมตี DDoS เอสน็อค 78 จับกระแสไอทีปี 2562 กับการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ สุภัค ลายเลิศ 80 PRODUCT 82 PR NEWS 85 SEMINAR 87 EXHIBITION 89 MOVEMENT 92 IT NEWS 93 INDUSTRY NEWS

March-April 2019

37



EDITOR TALK

MARCH-APRIL

2019

Electricity & Industry Magazine ฉบับนีย้ งั คงมีเรือ่ งราวทีห่ ลากหลายเช่นเดิม เมือ่ เร็วๆ นีไ้ ด้มพี ธิ เี ปิดหน้าดินของ โครงการก่อสร้าง เมืองนวัตกรรม EECi ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อผลักดันไทยให้เป็นแหล่งนวัตกรรมชั้นน�ำของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โครงการนี้ก�ำลัง ก้าวหน้าไปได้ดว้ ยดี เวลานีห้ ลายประเทศเริม่ น�ำ้ โซลาร์เซลล์มาติดตัง้ บนพืน้ ผิวน�ำ้ เพือ่ ลดการใช้พนื้ ทีช่ มุ ชนและพืน้ ทีป่ า่ ทางการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) ก็ได้นำ� ร่องโครงการโซลาร์เซลล์ลอยน�ำ้ แห่งแรกบนเขือ่ นสิรนิ ธร ผสานพลังน�ำ้ และแสงอาทิตย์ผลิตไฟฟ้าแบบ ไฮบริดใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก ซึง่ โครงการโซลาร์เซลล์ลอยน�ำ้ แบบไฮบริด เป็นการผสมผสานระหว่างพลังน�ำ้ (Hydro Energy) จากเขือ่ นของ กฟผ. ที่มีการผลิตไฟฟ้าจ�ำกัดเฉพาะบางฤดูกาล ร่วมกับพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Energy) ซึ่งเมื่อปริมาณน�ำ้ ในเขื่อนมากพอ เขื่อนจะผลิตไฟฟ้า รองรับความต้องการสูงสุดของระบบได้ แต่เมือ่ ปริมาณน�ำ้ มีจำ� กัด โซลาร์เซลล์จะช่วยผลิตไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ในช่วงกลางวัน และน�ำพลังน�า้ มาเสริมในช่วงความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงในเวลากลางคืนนั่นเอง ส่วนงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 ซึ่งเป็นนิทรรศการนานาชาติด้านไฟฟ้าและพลังงาน ก็เพิ่งเสร็จสิ้นไป เป็นงานประชุมวิชาการ และนิทรรศการที่ประสบผลส�ำเร็จอย่างน่าพอใจ ติดตามบรรยากาศของงานได้ภายในเล่มนี้ คอลัมน์ Special Scoop จะพาไปเยี่ยมโรงงาน LG ที่เปิดไลน์ผลิตเครื่องปรับอากาศให้เยี่ยมชม พร้อมข้อมูลที่น่าสนใจมากมาย นอกจากนั้น ยังพาไปเยี่ยมชมงาน CES 2019... THE GLOBAL STAGE FOR INNOVATION ซึ่งเป็นงานแสดงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีท่ีเรียกได้ว่ายิ่งใหญ่ท่ีสุดแห่งหนึ่งเลยทีเดียว ไปดูกันว่าปีนี้มีผลิตภัณฑ์อะไรที่น่าสนใจบ้าง ส่วน Article จะเป็นบทความเรื่อง เทคโนโลยีแม่เหล็กขั้นสูง เรียบเรียงโดย ดร.ประไพวรรณ สันวงศ์ จากสถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน และเรือ่ ง 5G สามารถแก้ปญ ั หาความแออัดของข้อมูลทีพ ่ บในเครือข่าย 4G ในปัจจุบนั ได้อย่างไร? จากบริษัท Opensignal รวมทั้งบทความเรื่อง 2019 ปีทองของเอดจ์ ดาต้าเซ็นเตอร์ ปัญญาประดิษฐ์ และความสมดุลระหว่างงานและ ชีวิตส่วนตัว จากบริษัท ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย เพื่อก้าวให้ทันเทคโนโลยีไอที ฉบับนี้จึงขอน�ำเสนอ IT Article 2 เรื่อง เป็นบทความของเอสน็อค ที่ได้เปิดเผยว่าประเทศไทยติดโผ อันดับ 4 กลุ่มประเทศ APAC ถูกใช้เป็นฐานโจมตี DDoS โดยพบว่าใน พ.ศ. 2561 เป็นปีที่พบขนาดการโจมตีด้วยดีดอสที่มีแบนด์วิดท์สูง ถึง 14 กิกะบิตต่อวินาที และส่งผลท�ำให้ระบบล่มได้ยาวนานถึง 4 ชั่วโมง โดยส่วนใหญ่จะเป็นการโจมตีผ่านระบบของผู้ให้บริการการสื่อสาร อินเทอร์เน็ต คลาวด์ หรือไอเอสพี ส่วนบทความเรื่อง จับกระแสไอทีปี 2562 กับการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจ จากบริษัท ยิบอินซอย จ�ำกัด นัน้ กล่าวถึง “คลาวด์ คอมพิวติง้ บิก๊ ดาต้าและการวิเคราะห์ขอ้ มูล ไอโอที ปัญญาประดิษฐ์ บล็อกเชน และความปลอดภัยทางไซเบอร์” ที่จะมีบทบาทส�ำคัญอย่างน้อยอีก 3-5 ปี ข้างหน้า พบกันใหม่ฉบับหน้า กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

ที่ปรึกษา : รศ.ฉดับ ปัทมสูต / รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ์ / ไกรสีห์ กรรณสูต พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ์ / ประเจิด สุขแก้ว ผศ.พิชิต ล�ำยอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องค์วงศ์สกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ : ดร.สุรพล ด�ำรงกิตติกุล ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นิภา กลิ่นโกสุม เลขากองบรรณาธิการ : ปัฐฐมณฑ์ อุ่ยพัฒน์ / ธิดาวดี บุญสุยา / เปมิกา สมพงษ์ พิสูจน์อักษร : อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรมรูปเล่ม / ศิลปกรรมโฆษณา : ชุติภา จริตพันธ์ / ศศิธร มไหสวริยะ ผู้จัดการฝ่ายการตลาด : เขมจิรา ปลาทิพย์ ฝ่ายโฆษณา : ศิริภรณ์ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภิรมณ์ / วีระวรรณ พุทธโอวาท / รุ่งทิพย์ อ�ำไพจิตต์ เลขานุการฝ่ายโฆษณา : ชุติมันต์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก : ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์ March-April 2019

บทความที่ปรากฏใน ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine เป็นความคิดเห็น ส่ ว นตั ว ของผู ้ เขี ย น ไม่ มี ส ่ ว นผู ก พั น กั บ บริ ษั ท เทคโนโลยี มี เ ดี ย จ� ำ กั ด แต่ อ ย่ า งใด หากบทความใดที่ผู้อ่านเห็นว่ามีการลอกเลียนหรือแอบอ้าง กรุณาแจ้งที่กองบรรณาธิการ ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine บทความต่ า งๆ ที่ ป รากฏในหนั ง สื อ ได้ ผ ่ า นการตรวจทานอย่ า งถี่ ถ ้ ว นเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความถูกต้องและสมบูรณ์ท่ีสุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแก้ไขต่อไป เจ้าของ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 http:// www.technologymedia.co.th เพลท-แยกสี : บริษัท อิมเมจิ้น กราฟิค จ�ำกัด พิมพ์ท่ี : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด รุ่งเรืองการพิมพ์


Mennekes_21.59x29.21cm_Cre.pdf

1

3/30/17

3:05 PM




y ` yy

k wz ë §j Ñ

}k wz | j g } }~Å ¢|¡ d ¡w }

më dgÎ x wxÍ d Í z § d § eÎ j ¢ Î dÍ g y } |z § |¢k

{ x xe z u i b u

¡ ×~ | | ©m y| i Ï ¢ ©l Ó | ªlg l |¢ ~Ï l ~ í~ | ªlmy gÏ gÐ gÏ yÐ ~i fÐ ~Ð | l¡|i£~£ i ¡i í ~¥ ¤~} f m

| j j | ~ x jgÑd |Í j | } z ¡~ x Ñ Í| } Î z j¨ d }} k w Ñ

v uvË ~Æ } v i xo z ~zÓ x vË E-mail: O@>CIJH@?D< BH<DG >JH


สํานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (สกพอ.) > โครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC)

ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายใต้การก�ำกับของกระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี แถลงความคืบหน้าโครงการจัดตัง้ เขตนวัตกรรม ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor of Innovation : EECi) จัดพิธีเปิดหน้าดินก่อสร้าง ณ วังจันทร์วลั เลย์ จังหวัดระยอง ก่อนเริม่ ด�ำเนินการก่อสร้าง อย่างเป็นทางการเดือนมีนาคมนี้ เป็นก้าวส�ำคัญในการผลักดัน ประเทศไทยขึน้ แท่น “ศูนย์กลางนวัตกรรมชัน้ น�ำ” แห่งใหม่ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทีม่ รี ะบบนิเวศนวัตกรรมสมบูรณ์ ยกระดับงานวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมระดับประเทศ ควบคู่ไปกับการยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนอย่างยั่งยืน

โครงการก่อสร้าง เมืองนวัตกรรม EECi ดันไทยเป็นแหล่งนวัตกรรมชั้นนำ� ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

พิธีเปิดหน้าดินก่อสร้างเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออกครัง้ นี้ ได้รบั เกียรติจาก พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน พร้อมด้วยคณะท�ำงานจากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง อาทิ กระทรวง พลังงาน กระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมงาน ณ พื้นที่วังจันทร์วัลเลย์ จังหวัดระยอง ซึ่งมีก�ำหนดเริ่มต้นการ ก่อสร้างกลุม่ อาคารเมืองนวัตกรรมภาคตะวันออก ระยะที่ 1 ในเดือนมีนาคม 2562 นี้ ดร.ณรงค์ ศิรเิ ลิศวรกุล ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงาน พั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ (สวทช.) กล่าวว่า สวทช. ในฐานะผูไ้ ด้รบั มอบหมาย จากกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้เป็น เจ้าภาพหลักในการพัฒนา EECi ร่วมกับหน่วยงาน พันธมิตรในทุกภาคส่วน ให้เป็นศูนย์กลางการท�า วิจัยและพัฒนา เพื่อต่อยอดไปสู่การใช้งานจริง เชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณประโยชน์ ซึ่งเป็น หนึ่งในฟันเฟืองส�ำคัญในการขับเคลื่อน ประเทศไทยด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวั ต กรรม (วทน.) ตามนโยบาย ดร.ณรงค์ ไทยแลนด์ 4.0 โดย EECi มีอุตสาหกรรม ศิริเลิศวรกุล เป้าหมาย 6 ด้าน ได้แก่ 1. เกษตรสมัยใหม่และ March-April 2019 019


เทคโนโลยีชีวภาพ 2. เชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ 3. แบตเตอรี่ ประสิทธิภาพสูงและขนส่งสมัยใหม่ 4. ระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และ อิเล็กทรอนิกส์อจั ฉริยะ 5. เทคโนโลยีการบินและอวกาศ และ 6. เครือ่ งมือ ทางการแพทย์ ซึ่งจะร้อยเรียงร่วมกันพัฒนาระบบเศรษฐกิจฐานชีวภาพ (Bioeconomy) ของไทยให้มีความเข้มแข็งยั่งยืนต่อไป

“EECi จึงนับเป็นฟันเฟืองส�ำคัญที่จะท�ำให้ประเทศไทยขับเคลื่อน ไปข้างหน้าด้วยนวัตกรรมได้อย่างแท้จริง และพิธีการเปิดหน้าดินวันนี้ถือ เป็นก้าวแรกที่ส�ำคัญ โดยภายในระยะเวลา 3-5 ปีจากนี้ พื้นที่กว่า 3,455 ไร่นี้ของวังจันทร์วัลเลย์จะได้รับการพัฒนาให้เป็นเมืองแห่งนวัตกรรม ที่มี ระบบนิเวศนวัตกรรมสมบูรณ์ มีสภาวะแวดล้อมเอือ้ อ�ำนวยต่อการพัฒนำ นวัตกรรมใหม่ๆ โดยตั้งเป้าที่จะให้พ้ืนที่แห่งนี้เป็นแหล่งรวมนวัตกรรม ชั้นน�ำของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในอนาคต ประกอบไปด้วย สถาบันการศึกษา ศูนย์วิจัย ห้องทดลอง โรงงานต้นแบบ โรงงานสาธิต และศูนย์วิเคราะห์ทดสอบชั้นน�ำ พร้อมสิทธิประโยชน์ส�ำหรับเอกชนที่ เข้ามาด�ำเนินการวิจยั และสรรค์สร้างนวัตกรรม รวมถึงยังมีโครงสร้างพืน้ ฐาน และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกอื่นอีกมากมาย เช่น ที่พักอาศัย โรงพยาบาล โรงแรม และ Community Market รวมไปถึงมีการผ่อนปรนกฎหมายเพื่อ เอื้อต่อการทดสอบนวัตกรรมใหม่ เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาทาง ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ก้าวไปข้างหน้าได้อย่างเต็ม ศักยภาพ” ดร.ณรงค์ กล่าว การก่อสร้างในเฟสแรกในช่วงระยะเวลา 2 ปีต่อไปนี้ จะเป็นการ ก่อสร้างในส่วนของอาคารหลัก มูลค่าการลงทุนกว่า 1,100 ล้านบาท โดย เป็นที่ตั้งของส�ำนักงานใหญ่ EECi โรงงานต้นแบบ และโรงเรือนอัจฉริยะ ของ BIOPOLIS (เมืองนวัตกรรมชีวภาพ) รวมถึงโครงสร้างพื้นฐานรองรับ March-April 2019

ARIPOLIS (เมืองนวัตกรรมระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และ อิเล็กทรอนิกส์อจั ฉริยะ) SPACE INNOPOLIS (เมืองนวัตกรรม ด้านการบินและอวกาศ) ระยะเริม่ ต้น มีกำ� หนดแล้วเสร็จในต้น พ.ศ. 2564 นอกจากนี้ ยังจะมีการลงทุนในส่วนของโรงงาน ต้นแบบ ไบโอรีไฟเนอรี มูลค่ากว่า 3,400 ล้านบาท ต่อเนือ่ งใน พ.ศ. 2563-2565 เพือ่ สนับสนุนการสร้างมูลค่าเพิม่ จากผลผลิต ทางการเกษตรและทรัพยากรชีวภาพของไทยต่อไป ดร.ณรงค์ เสริมว่า ขณะนีม้ ภี าคเอกชนแสดงความสนใจ เข้ามาลงทุนในพื้นที่ EECi อาทิ อุตสาหกรรมฐานชีวภาพ อุตสาหกรรมเกษตรก้าวหน้า อุตสาหกรรมหุน่ ยนต์ อุตสาหกรรม เทคโนโลยีกักเก็บพลังงาน อุตสาหกรรมอากาศยานไร้คนขับ โดยสิทธิประโยชน์ท่ีนักลงทุนจะได้รับประกอบด้วย สิทธิ การเช่าทีด่ นิ ระยะยาวส�ำหรับจัดตัง้ ศูนย์วจิ ยั และการเช่าพืน้ ที่ ในอาคารเพื่อการวิจัยและนวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐานที่ สามารถใช้สอยร่วมกัน อาทิ เครือ่ งมือวิทยาศาสตร์ เครือ่ งมือ วิเคราะห์ทดสอบ โรงงานผลิตชิน้ งานต้นแบบ โคเวิรค์ กิง้ สเปซ สนามทดลองและทดสอบ การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สูงสุด 13 ปี อัตราภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา 17% คงทีส่ ำ� หรับ ผูเ้ ชีย่ วชาญระดับสูง การอ�ำนวยความสะดวกในเรือ่ งวีซา่ ท�ำงาน ส�ำหรับผูเ้ ชีย่ วชาญต่างชาติ การเข้าถึงพืน้ ทีผ่ อ่ นปรนกฎระเบียบ เพื่อการทดสอบนวัตกรรม (Regulatory Sandbox) และการ เข้าถึงนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย และผู้เชี่ยวชาญของรัฐต่างๆ ทั้งนี้ การลงทุนในพื้นที่ EECi วางสัดส่วนการลงทุน แบบ ~30:70 คือ มาจากภาครัฐไม่นอ้ ยกว่า 33,170 ล้านบาท และเหนี่ยวน�ำการลงทุนจากภาคอุตสาหกรรมให้เกิดขึ้นกว่า 110,000 ล้านบาท ภายในเวลา 20 ปีข้างหน้า ซึ่งคาดการณ์ ว่าจะสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจจากการลงทุนดังกล่าวได้กว่า 271,000 ล้านบาท


เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (EECi) จากมติคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบหลักการโครงการพัฒนา ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor Development) เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2559 ให้เป็นเขตเศรษฐกิจ ชั้นน�ำของอาเซียน เพื่อส่งเสริม 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายให้เป็น กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต (New Engine of Growth) โดยด�ำเนินการใน 3 จังหวัดภาคตะวันออก ได้แก่ ชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา นั้น กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเห็นว่า การส่งเสริมให้ เกิดการวิจัยและพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมในพื้นที่ ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก จะเป็นกลไกส�ำคัญประการหนึ่งที่จะ ส่งเสริมให้ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออกของไทยเป็นศูนย์กลาง การค้า การลงทุน และก�ำลังคนของประเทศและภูมภิ าค เนือ่ งจากการ พัฒนากลุม่ อุตสาหกรรมเป้าหมายนัน้ จ�ำเป็นต้องอาศัยองค์ความรู้ ความเชี่ ย วชาญทางด้ า นเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมขั้ น สู ง เพื่ อ ปรับเปลีย่ นภาคอุตสาหกรรมไปสูป่ ระเทศไทย 4.0 และเพือ่ เชือ่ มโยง ระบบการค้าและการขนส่งสมัยใหม่ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม จึงเสนอแนวทางการยกระดับและพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (EECi) เพื่อสร้างพื้นที่นวัตกรรมใหม่ ในเขตระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก ที่มีระบบนิเวศนวัตกรรม ที่เหมาะสม ช่วยส่งเสริมให้เกิดการท�ำวิจัยพัฒนาและนวัตกรรม ร่วมกันระหว่างภาครัฐ เอกชน มหาวิทยาลัย รวมถึงชุมชนในพื้นที่ เพื่อช่วยยกระดับและพัฒนาอุตสาหกรรมเดิม รวมถึงสร้างให้เกิด อุตสาหกรรมใหม่ ทั้งในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกและ

ในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ทัว่ ประเทศ อันจะน�ำไปสูก่ ารเป็นประเทศแห่งนวัตกรรม ควบคู ่ กั บ การยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนในพื้ น ที่ ด ้ ว ย เทคโนโลยีและนวัตกรรม ตลอดจนน�ำไปสูก่ ารพัฒนาทีย่ ง่ั ยืนต่อไป ในอนาคต

วัตถุประสงค์หลักของ EECi ได้แก่ (1) การวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยมุง่ เน้น การวิจยั เพือ่ ต่อยอดไปสูก่ ารใช้งานจริง (Translational Research) (2) ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับภาคอุตสาหกรรม เพื่อพัฒนา 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ ด้วยการยกระดับอุตสาหกรรม เดิมและสร้างอุตสาหกรรมใหม่ สร้างความเข้มแข็งให้อตุ สาหกรรรม ในพื้ น ที่ ค วบคู ่ ไ ปกั บ การสร้ า งอุ ต สาหกรรมใหม่ ท่ี ใช้ เ ทคโนโลยี ขั้นสูง ตลอดจนส่งเสริมให้เกิดวิสาหกิจเริ่มต้น (Startup) ทางด้าน เทคโนโลยีและนวัตกรรมส�ำหรับเป็นพื้นฐานรองรับการเติบโตของ อุตสาหกรรมใหม่ ทัง้ อุตสาหกรรมในระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก และอุตสาหกรรมอื่นๆ ทั่วประเทศ (3) เชือ่ มโยงเครือข่ายการวิจยั และพัฒนาทัง้ ในประเทศและ ต่างประเทศ เพื่อสร้างสังคมนวัตกรรมของประเทศ รองรับความ ต้องการใช้เทคโนโลยีขนั้ สูง ในลักษณะบูรณาการการท�ำงานร่วมกัน ระหว่างหน่วยงานภาคเอกชน สถาบันการศึกษา/สถาบันวิจัย และ หน่วยงานภาครัฐ ในลักษณะการท�ำงานร่วมแบบ Triple Helix และ ขยายผลต่อยอดไปสูก่ ารมีสว่ นร่วมของประชาชนในชุมชน ในลักษณะ การท�ำงานร่วมแบบ Quadruple Helix March-April 2019


เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก หรือเรียกว่า EECi จะประกอบไปด้วยระบบนิเวศนวัตกรรมที่สมบูรณ์ เป็นพื้นที่ เศรษฐกิจใหม่ที่มีความเข้มข้นของงานวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ห้องปฏิบัติการวิจัยทั้งภาครัฐและเอกชน ห้องทดลองภาคสนาม (Living Lab) ศูนย์วเิ คราะห์ทดสอบชัน้ น�ำ โรงงานต้นแบบและโรงงาน สาธิต ควบคูก่ บั การยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชนในพืน้ ทีด่ ว้ ย เทคโนโลยีและนวัตกรรม ดังมีองค์ประกอบของระบบนิเวศนวัตกรรม และแนวทางการด�ำเนินงานหลัก ดังนี้  เป็นแหล่งวิจัยและนวัตกรรมที่เข้มข้น (R & I Focus) เพื่อ น�ำผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่ได้ไปตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรม ทัง้ ในพืน้ ที่ EEC และทัว่ ประเทศ โดยเป็นการท�ำงานร่วมกันทัง้ ภาค เอกชน สถาบันการศึกษา/สถาบันวิจัย และภาครัฐ  ศูนย์รวมห้องปฏิบต ั กิ ารวิจยั ของรัฐและเอกชน (Concentration of Public & Private Laboratory) เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการท�ำงาน ร่วมกัน เกิดการแลกเปลีย่ นองค์ความรู้ ตลอดจนอุปกรณ์และเครือ่ งมือ ต่างๆ  สนามทดสอบและการพัฒนาสูก ่ ารผลิตระดับอุตสาหกรรม (Scale-Up, Testbeds & Living Lab, Green House, Field Demo) มุ่งเน้นขยายศูนย์ปฏิบัติการ ศูนย์วิเคราะห์ทดสอบ รวมถึงโรงงาน ต้นแบบและโรงงานสาธิตในพืน้ ที่ เพือ่ ให้สามารถรองรับการเติบโต ของภาคอุตสาหกรรมได้  ยกระดับอุตสาหกรรมเดิม (Existing Industry Upgrade) โดยการถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมขัน้ สูงไปสูภ่ าคอุตสาหกรรม ที่มีอยู่ในพื้นที่ EEC และพื้นที่อื่นๆ ทั่วประเทศ เพื่อยกระดับ กระบวนการผลิตให้สามารถพัฒนาไปสูอ่ ตุ สาหกรรม 0 ซึง่ จะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิต รวมทั้งลดระยะเวลาและแรงงานลง  พัฒนาให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ (New Industry Development) ที่เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมขั้นสูง ตลอดจน ส่งเสริมธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) ทางด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมในพืน้ ทีร่ ะเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกและพืน้ ทีอ่ นื่ ทั่วประเทศ ตลอดจนพัฒนาก�ำลังคนของอุตสาหกรรมและสร้าง ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพือ่ รองรับอุตสาหกรรม ใหม่ในอนาคต  ก� ำ หนดให้ เ ป็ น เขตผ่ อ นปรนกฎหมายและกฎระเบี ย บ ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม (Sandboxes for Regulatory Adjustment) เพื่อให้เป็นสนามทดสอบ ผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์ แพลตฟอร์ม และแอปพลิเคชันอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง  สนับสนุนวิสาหกิจเริม ่ ต้นและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม (Startups & SMEs Support) ด้วยการบ่มเพาะผู้ประกอบการ เทคโนโลยีใหม่ การเร่งสร้างผู้ประกอบการเทคโนโลยี รวมถึงการ สนับสนุนระบบนิเวศที่เอื้อต่อการเติบโตของธุรกิจใหม่ โดยเฉพาะ การจัดตัง้ ชุมชนนวัตกรรมทีส่ ะดวก และเป็นศูนย์รวมของเครือข่าย การลงทุนของนักลงทุน (Venture Capital & Angel Funding) ด้าน เทคโนโลยีและนวัตกรรรมทั้งในประเทศและต่างประเทศ March-April 2019

สร้างชุมชนขนาดใหญ่ของนวัตกรรม (Large Community of Innovators) ด้วยการเชื่อมโยงเครือข่ายนวัตกรรม นักคิดค้น เทคโนโลยี นักลงทุนด้านนวัตกรรม ตลอดจนสนับสนุนให้เกิดความ ร่วมมือในการถ่ายทอดเทคโนโลยีและพัฒนานวัตกรรมระหว่าง เครือข่ายนวัตกรรมภายในประเทศกับเครือข่ายต่างประเทศ พร้อม ส่งเสริมให้เกิดการลงทุนและพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม จากบริษัทและสถาบันวิจัยระดับโลกในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาค ตะวันออก  พัฒนาโครงสร้างพืน ้ ฐานด้านคุณภาพของประเทศ (Advance National Quality Infrastructure) เพื่อการตรวจสอบและประเมิน ตามหลักการทางวิทยาศาสตร์ในการรับรองคุณภาพของสินค้าและ บริการ และคุ้มครองผู้บริโภคให้ปลอดภัย  ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของคนในชุ ม ชน (Solution for Community) โดยการน�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรมไปช่วยสนับสนุนใน การท�ำงานและการด�ำเนินชีวติ รวมทัง้ ช่วยในการรักษาสภาพแวดล้อม และบริหารจัดการทรัพยากรของชุมชน  แก้ปญ ั หาและให้คำ� ปรึกษาแก่ภาคอุตสาหกรรม (Solution for Industry) โดยการน�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้าไปช่วยแก้ปญ ั หา ให้กับภาคอุตสาหกรรม ช่วยยกระดับอุตสาหกรรมด้วยนวัตกรรม ช่วยยกระดับกระบวนการผลิตให้สามารถพัฒนาไปสูอ่ ตุ สาหกรรม 4.0 ซึง่ จะเพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิต รวมทัง้ ลดระยะเวลาและแรงงาน EEC ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ โดยมี EECi เป็นเขตนวัตกรรม ขับเคลือ่ นให้พนื้ ที่ EEC เป็นพืน้ ทีต่ น้ แบบในการน�ำนวัตกรรมเข้าไป ผลักให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง และปรับฐาน อุตสาหกรรมเดิมในพืน้ ทีใ่ ห้เป็นอุตสาหกรรมทีม่ ฐี านนวัตกรรมและ อยูร่ ว่ มกับชุมชนได้อย่างยัง่ ยืน โดยมุง่ เน้น 6 อุตสาหกรรมเป้าหมาย ได้แก่ 1. เกษตรสมัยใหม่และเทคโนโลยีชีวภาพ 2. เชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ 3. แบตเตอรี่ประสิทธิภาพสูงและขนส่งสมัยใหม่ 4. ระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ 5. เทคโนโลยีการบินและอวกาศ 6. เครื่องมือทางการแพทย์ 

EECi มีพน้ื ทีใ่ นการพัฒนานวัตกรรมตัง้ อยูท่ ว่ี งั จันทร์ วัลเลย์ จังหวัดระยอง โดยมีวิสเทค มหาวิทยาลัยวิจัยอยู่ในพื้นที่ EECi ประกอบด้วย กลุ่มนวัตกรรมขนาดใหญ่ 3 กลุ่ม ได้แก่ ไบโอโพลิส อริโพลิส และสเปซ อินโนโพลิส เพือ่ ท�ำงานร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัย หน่วยงานรัฐ เอกชน ชุมชนในพืน้ ทีแ่ ละหน่วยงานพัฒนาเทคโนโลยี ทัง้ ในและต่างประเทศ ร่วมพัฒนา EEC ผ่านการร่วมสร้างเทคโนโลยี และรังสรรค์นวัตกรรม ท่ามกลางสภาพแวดล้อมของระบบนิเวศ นวัตกรรมที่เอื้อให้คนในพื้นที่ได้เกิดการร่วมพัฒนาเทคโนโลยี มีโครงสร้างพื้นฐานที่พร้อมส�ำหรับการท�ำงานและการใช้ชีวิตอย่าง ลงตัว รองรับการท�ำวิจยั และพัฒนาต่อยอดไปสูก่ ารใช้งานจริง โดยมี


เครือ่ งมือทีพ่ ร้อมในการขยายขนาด เช่น โรงงานต้นแบบ โรงงานสาธิต พื้นที่ทดลองผลิต สนามทดลอง ศูนย์กลางการวิเคราะห์ทดสอบ และการมาตรฐาน และศูนย์เชีย่ วชาญเฉพาะทาง เอกชน ภาครัฐและ มหาวิทยาลัย ทัง้ จากในและต่างประเทศ สามารถร่วมใช้บริการอาคาร และโครงสร้างพื้นฐานด้านวิจัย หรือเช่าพื้นที่ระยะยาวเพื่อจัดตั้ง ศูนย์วจิ ยั และนวัตกรรมของบริษทั ได้ โดยมีสทิ ธิประโยชน์ BOI สูงสุด และมีการผ่อนปรนกฎระเบียบ ส�ำหรับนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่ EECi เป็นหัวใจของการสร้างนวัตกรรมใน EEC มีสภาพแวดล้อมและ กลไกทีท่ ำ� ให้เกิดการแลกเปลีย่ นความรู้ ผสานเทคโนโลยีเพือ่ เปลีย่ นผ่าน ไปสู่กระบวนการผลิตและบริการขั้นสูงส�ำหรับประเทศไทย 4.0

ARIPOLIS เมืองนวัตกรรมระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์อจั ฉริยะ ในอดี ต ประเทศไทยมี ก ารละเลยการพั ฒ นาเทคโนโลยี ทางด้านระบบอัตโนมัติ หุน่ ยนต์ และระบบอิเล็กทรอนิกส์อจั ฉริยะ มาโดยตลอด เนือ่ งจากเป็นเทคโนโลยีขน้ั สูงทีต่ อ้ งใช้องค์ความรูม้ าก ขาดผู้เชี่ยวชาญและไม่ได้สร้างตลาดแรงงานขนาดใหญ่ให้เป็น แหล่งงานของประชากรในประเทศ แต่เมือ่ ประเทศไทยปรับเปลีย่ น ทิศทางของประเทศให้เข้าสู่ระดับของการพัฒนาเศรษฐกิจสูงขึ้นใน ระดับประเทศพัฒนาแล้ว (Developed Country) ในขณะทีป่ ระชากร ในระดั บ การใช้ แรงงานของไทยมี แ นวโน้ ม ลดลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง การเร่งพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านระบบอัตโนมัติ หุน่ ยนต์ และระบบ อิเล็กทรอนิกส์อจั ฉริยะ จึงมีความส�ำคัญอย่างยิง่ ยวดต่อการพัฒนา ประเทศไทยไปสู่ “ประเทศไทย 4.0” ถ้าไม่เร่งพัฒนาเทคโนโลยีเหล่านี้ ซึ่งจะเป็นเทคโนโลยีฐานที่ส�ำคัญในการน�ำไปใช้ในกระบวนการ ผลิตในอุตสาหกรรมอืน่ ๆ อย่างเร่งด่วนแล้ว จะเป็นไปไม่ได้เลยทีจ่ ะ ผลักดันประเทศไทยให้เข้าสู่ “ประเทศไทย 4.0” ได้สำ� เร็จ

เพื่อสนับสนุนการผลักดันประเทศไทยไปสู่ยุค 4.0 ได้สำ� เร็จ อย่างเป็นรูปธรรม ARIPOLIS ภายใต้โครงการ EECi จึงได้กำ� หนด แผนการด�ำเนินการในการผลักดันสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรม เป้าหมายทั้ง 6 กลุ่มอุตสาหกรรม ผ่านการเตรียมความพร้อม โครงสร้างพืน้ ฐานทางด้านเทคโนโลยี ทางด้านระบบอัตโนมัติ หุน่ ยนต์ และระบบอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ดังต่อไปนี้ ในระยะแรก จะเน้นการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุน กลุม่ อุตสาหกรรมเกษตรสมัยใหม่ กลุม่ อุตสาหกรรมพลังงานชีวภาพ และเคมีชีวภาพ และเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม 4.0 เช่น “AI for Precision Agriculture” การออกแบบอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะและ เซนเชอร์เพื่อการเกษตร โรงเรือนอัจฉริยะและแพลนท์แฟคทอรี Drones/UAVs ในภาคเกษตร การออกแบบอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ Smart Manufacturing Technology (Industrial IoT Sensors, Advanced Industrial Robotics/Smart Machine, Factory 4.0 Testbed/Sandbox/Living Lab, Learning Factory for Workforce Reskilling, Augmented/Virtual Reality for Industry) ในระยะถัดไป จะเน้นการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุน กลุ่มอุตสาหกรรมการผลิตแบตเตอรี่ประสิทธิภาพสูงและการขนส่ง สมัยใหม่ และกลุ่มอุตสาหกรรมการบินและอวกาศ เช่น Energy Storage/Smart Energy Living Lab การทดสอบแบตเตอรีข่ นาดใหญ่ ระบบบริหารจัดการแบตเตอรี่ เทคโนโลยีการผลิตและประกอบ แบตเตอรี่ การควบคุมยานยนต์และการน�ำทาง วิศวกรรมยานยนต์ไฟฟ้า อัตโนมัติ การทดสอบยานยนต์อัตโนมัติภายใต้สภาวะเสมือนจริง AI for Autonomous Vehicle มาตรฐานและกระบวนการทดสอบ AI for Aerospace & Aviation

March-April 2019


ในระยะที่สาม จะเน้นการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนกลุ่ม อุตสาหกรรมเครือ่ งมือแพทย์ เช่น การบูรณาการเทคโนโลยีเครือ่ งมือแพทย์ การพัฒนาต้นแบบเครือ่ งมือแพทย์ การทดสอบเครือ่ งมือแพทย์ ศูนย์บริการ เชื่อมโยง อย. ISO/CE Certifying Coordination

BIOPOLIS เมืองนวัตกรรมชีวภาพ มุง่ พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม รวมถึงการจัดเตรียมโครงสร้าง พื้นฐานเพื่อการขยายผลงานวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์ (Translational Research) รองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศทัง้ ในกลุม่ ต่อยอดอุตสาหกรรมเดิมและอุตสาหกรรมแห่งอนาคต โดยในระยะแรก มีสาขาเทคโนโลยีเป้าหมาย (Strategic Technology Area) ประกอบด้วย (1) นวัตกรรมเกษตร (Innovative Agriculture) (2) การผลิตสารทีใ่ ห้ประโยชน์ เชิงหน้าที่ (Functional Ingredient) (3) เทคโนโลยีเคมีและชีวกระบวนการ (Chemical & Bioprocess Technology) เพื่อรองรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ของอุตสาหกรรมชีวภาพ

สภาวะแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นไป ซึง่ เป็นเงือ่ นไขความส�ำเร็จทีส่ ำ� คัญ ของการร่นระยะเวลาของการปรับปรุงพันธุใ์ ห้ได้ลกั ษณะดีเด่น เร็วขึน้ ให้ทนั กับความต้องการของตลาดและเกษตรกร รวมทัง้ การพัฒนาเทคโนโลยีเกษตรแม่นย�ำ ระบบ Plant Factory เน้นการประยุกต์เพือ่ พัฒนาต้นแบบและการสาธิตเทคโนโลยี การผลิตพืชมูลค่าสูงในระบบโรงเรือนแบบปิด โดยศูนย์ฯ แห่งนี้ ท�ำหน้าที่ปรับแต่งเทคโนโลยีให้เหมาะสมกับชนิดพืชที่ปลูก ของประเทศไทยและมีต้นทุนที่เกษตรกรเข้าถึงได้ ต้นแบบ สาธิ ต ระบบเพาะเลี้ ย งสั ต ว์ น้� ำ แบบปิ ด ที่ มี ก ารควบคุ ม สภาวะแวดล้อมภายในระบบเลีย้ งให้เหมาะสมกับการเติบโต ของสั ต ว์ น�้ ำ แต่ ล ะชนิ ด ในสภาพความหนาแน่ น สู ง และ มีการหมุนเวียนน�้ำให้สามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ รวมถึงใช้ใน การทดสอบอาหาร วัคซีน และผลงานวิจยั ด้านสัตว์นำ้� ในระบบ เพาะเลีย้ งระดับก่อนเชิงพาณิชย์ การจัดตัง้ ศูนย์เพือ่ พัฒนา อุปกรณ์ทางการเกษตรอัจฉริยะ เช่น เซนเซอร์ควบคุมการ ให้นำ�้ การให้ปุ๋ย อุปกรณ์ตรวจเช็คสภาพแปลงอย่างแม่นย�า เพื่ อ เป้ า หมายเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการใช้ ท รั พ ยากรและ ลดต้นทุนการผลิต นอกจากนี้ โครงสร้างพื้นฐานเหล่านี้ ยังท�ำหน้าที่เป็นแหล่งในการบ่มเพาะสตาร์ตอัปทางด้าน เทคโนโลยีการเกษตรสมัยใหม่เพื่อการสร้างและกระจาย เทคโนโลยีสมัยใหม่ไปสูเ่ กษตรกรในวงกว้างและเป็นฐานผลักดัน ให้ประเทศก้าวสู่การเป็นผู้ส่งออกนวัตกรรมทางด้านการ เกษตรสมัยใหม่

กลุ่มเทคโนโลยีที่มุ่งเน้นใน BIOPOLIS Innovative Agriculture ทิศทางการเกษตรของประเทศไทยจะต้องมุ่งสู่การเกษตรแบบที่ เน้นการเพิ่มมูลค่าและความยั่งยืน ด้วยการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม ตอบโจทย์ทั้งการเพิ่มผลผลิตให้เพียงพอกับความต้องการที่เพิ่มขึ้น สร้าง ดุลยภาพระหว่างการเพิ่มปริมาณผลผลิตกับการใช้ทรัพยากรอย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และ มีความสามารถในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ โดยการปรับเปลี่ยนจากการท�ำเกษตรแบบดั้งเดิม (Traditional Farming) สูก่ ารเกษตรสมัยใหม่ (Modern Farming) ด้วยการพัฒนาและใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรมเข้มข้นมากขึ้น ตั้งแต่การปรับปรุงพันธุ์ การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์ การแปรรูป จนถึงการตลาด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และยกระดับรายได้เกษตรกรให้สูงขึ้น การพัฒนานวัตกรรมเกษตรสนับสนุนการท�ำเกษตรสมัยใหม่ (Modern Farming) โดยจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานส�ำคัญ ได้แก่ ระบบ High Throughput Phenotyping Screening ในระดับโรงเรือนและ ระดับภาคสนาม เป็นระบบตรวจสอบการท�ำงานของพืชที่ตอบสนองต่อ March-April 2019

Phenomics Greenhouse เพื่อเก็บข้อมูล การตอบสนองต่อสภาวะแวดล้อมของพืชส�ำคัญ

Plant Factory ผลิตพืชภายใต้สภาวะควบคุม


ตัวอย่างโครงสร้างพืน ้ ฐานของศูนย์นวัตกรรมการเกษตร ภายใต้ศนู ย์ฯ จะมีการด�ำเนินงานทีส่ อดคล้องกับ 5 ยุทธศาสตร์ และแผนการด�ำเนินงานย่อย ดังนี้ 1) ตัวอย่างโครงสร้างพื้นฐาน ส�ำคัญของศูนย์ฯ ที่จะช่วยสนับสนุนการท�ำเกษตรสมัยใหม่ ได้แก่ ระบบ Plant Factory ส�ำหรับการผลิตพืชสมุนไพร/พืชมูลค่าสูง ทีม่ รี ะบบการเตรียมต้นพันธุ์ การปลูก การเก็บเกีย่ วทีค่ รบวงจรและ ได้มาตรฐาน อีกทั้งยังมีบริการหลักของศูนย์ฯ ที่ให้บริการแก่เกษตรกร สถาบันวิจัย/มหาวิทยาลัยทั้งไทยและต่างชาติ รวมถึงกลุ่มบริษัท/ Startups ที่เน้นเทคโนโลยีการเกษตรใหม่ๆ ได้แก่ (1) การให้บริการ วิจัยและทดลองผลิตในระดับขยายขนาด (2) พื้นที่/ระบบสาธิต ส�ำหรับเครือข่ายวิจยั หรือชุมชนวิจยั (ผลิต เก็บเกีย่ ว และตลาด) และ (3) ให้บริการให้คำ� ปรึกษา/ฝึกอบรมครบวงจรและแลกเปลีย่ นความรู้ ทางเทคนิค โดยศูนย์ฯ จะท�ำหน้าทีเ่ ป็นตัวกลางในการก�ำหนดโจทย์ วิจัยร่วมกัน เพื่อให้งานวิจัยในระยะต่อไปตอบสนองความต้องการ ของผู้ใช้ประโยชน์ได้ทันทีเมื่อแล้วเสร็จ โดยมีผู้ใช้ประโยชน์ร่วมอยู่ ในเครือข่ายวิจัยตั้งแต่เริ่มต้น

กลุ่มเป้าหมาย บริการและกลไกในการท�ำงาน ของศูนย์นวัตกรรมการเกษตร ทั้งนี้ กลไกการท�ำงานของศูนย์ฯ นวัตกรรมแห่งนี้ ให้ความ ส�ำคัญกับการเชือ่ มโยงการท�ำงานอย่างใกล้ชดิ ระหว่างผูพ้ ฒ ั นาและ ผู้ใช้เทคโนโลยี การท�ำงานในลักษณะเครือข่ายวิจัยทั้งกับสถาบัน การศึกษา สถาบันวิจยั ทัง้ ในและต่างประเทศ รวมถึงเน้นการท�ำงาน อย่างใกล้ชดิ กับ ARIPOLIS โดยเฉพาะในส่วนของการพัฒนาอุปกรณ์ ทางการเกษตรอัจฉริยะ (Agri-Electronics) ดังแสดงให้เห็นถึง ความเชือ่ มโยงการท�ำงานร่วมกันระหว่างศูนย์ฯ ทีต่ ง้ั อยูใ่ น EECi และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง Functional Ingredient ทิศทางการพัฒนามุ่งสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิต ทางการเกษตร รวมถึงความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเปลีย่ นจาก การผลิตและจ�ำหน่ายในรูปของสินค้าแปรรูปขัน้ ต้นไปสูก่ ารจ�ำหน่าย เป็นสารประกอบเชิงหน้าที่ (Functional Ingredient) เพื่อเป็น วัตถุดบิ ตัง้ ต้นของอุตสาหกรรมอาหาร อาหารสัตว์ เครือ่ งส�ำอาง และ

ชีวเภสัชภัณฑ์ ทัง้ นีก้ ารปรับเปลีย่ นดังกล่าวต้องอาศัยฐานทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและการลงทุนทางเทคโนโลยีทเ่ี ข้มข้นขึน้ เป้ า หมายเพื่ อ พั ฒ นานวั ต กรรมสนั บ สนุ น การผลิ ต สารประกอบเชิงหน้าที่ ด้วยกระบวนการผลิตทีไ่ ด้มาตรฐานและ มีข้อมูลวิทยาศาสตร์รองรับผลิตภัณฑ์ โดยให้ความส�ำคัญกับ การจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานส�ำคัญ ได้แก่ ระบบการผลิตระดับ ขยายขนาดส�ำหรับพืชและจุลินทรีย์ท่ีได้มาตรฐาน GMP (Good Manufacturing Practice) จัดให้มีห้องปฏิบัติการทดสอบคุณสมบัติ ของสารประกอบส�ำหรับการน�ำไปใช้ประโยชน์ต่อที่หลากหลาย ทัง้ ในด้านอาหารเสริมสุขภาพ เครือ่ งส�ำอาง เภสัชภัณฑ์ ทีไ่ ด้มาตรฐาน สากล รวมถึงมีการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ ให้มขี อ้ มูลวิทยาศาสตร์ รองรับคุณสมบัติพิเศษของสารประกอบเชิงหน้าที่แต่ละชนิด

ตัวอย่างโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งนี้ กลไกการท�ำงานของศูนย์ฯ นวัตกรรมแห่งนี้ ให้ความ ส�ำคัญกับการเชื่อมโยงการท�ำงานอย่างใกล้ชิดในลักษณะ Public Private and Partnership (PPP) กับภาคเอกชนทั้งผู้ประกอบการ รายใหญ่และ SMEs การท�ำงานเชือ่ มโยงกับเครือข่ายวิจยั ทัง้ ในและ ต่างประเทศ รวมถึง Food Innopolis

SPACE INNOPOLIS SPACE INNOPOLIS มุ่งพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม แบบครบวงจร รวมถึงการใช้ประโยชน์ต่อเนื่องจากเทคโนโลยีด้าน การบินและอวกาศ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยี อุตสาหกรรมการบินและอวกาศ มีความส�ำคัญอย่างมากต่อการพัฒนา วิจัยอุตสาหกรรมอนาคต (New S-Curve) เนื่องจากประเทศไทย เป็นฐานการผลิตด้านอุตสาหกรรมเทคโนโลยีปานกลาง แต่ขาดการ พัฒนาวิจัยอุตสาหกรรมด้านอุตสาหกรรมการบินและอวกาศที่ใช้ เทคโนโลยีสูงกว่า และใช้เงินลงทุนค่อนข้างมาก

March-April 2019


การจั ด ตั้ ง SPACE INNOPOLIS เป็ น การต่ อ ยอดจากการใช้ เทคโนโลยีอวกาศของประเทศไทยที่มีการพัฒนาแล้ว ประกอบไปด้วย 2 ส่วนหลัก คือ 1. การวิจัยที่เห็นผลได้ในระยะสั้น (Quickwin) เป็นการต่อยอด จากเทคโนโลยีที่พัฒนาเกือบจะสมบูรณ์แล้ว ได้แก่ การวิจัยการใช้ข้อมูล ต�ำแหน่งจากดาวเทียมระบุตำ� แหน่ง GNSS มาใช้ประกอบการท�ำการเกษตร ความแม่นย�ำสูง และงานก่อสร้างความแม่นย�ำสูง และการวิจัยใช้งาน แบบ Dual-Use กับทางทหาร การพัฒนาระบบจัดการการจราจรทางอากาศ การสร้ า งแผนที่ เ ส้ น ทางความละเอี ย ดสู ง ส� ำ หรั บ การขนส่ ง สมั ย ใหม่ รวมถึงการเฝ้าติดตาม ตรวจสอบวัตถุอวกาศ ดังนัน้ การวิจยั แบบ Quickwin จะเป็นการพัฒนาที่สามารถท�ำได้ทันทีโดยไม่ต้องรอโครงสร้างพื้นฐาน EECi ให้เสร็จทั้งระบบและสามารถเห็นผลเป็นรูปธรรมได้ใน 2-5 ปี 2. การวิจัยแนวหน้า (Frontier) เพื่อเป็นผู้น�ำเทคโนโลยีเฉพาะ ทางการบินและอวกาศ ทีท่ ำ� ให้ประเทศไทยมีเทคโนโลยีการบินและอวกาศ ขัน้ ก้าวหน้า โดยทีไ่ ม่เคยมีในประเทศไทยมาก่อน แต่เป็นสิง่ จ�ำเป็นต่อการ พัฒนาของโลกในอนาคต โดยมุง่ เน้นการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีสำ� หรับ อุตสาหกรรมอวกาศสมัยใหม่ ได้แก่ แพลตฟอร์มอากาศยานไร้คนขับ เพดานบินสูงเพือ่ ใช้ทดแทนดาวเทียม และการวิจยั และพัฒนาระบบน�ำส่ง รองรับการส่งดาวเทียมน�้ำหนักเบาเข้าสู่วงโคจร โดยทั้ง 2 ส่วนจะตั้งอยู่ภายในพื้นที่ EECi รองรับการถ่ายทอด แบ่งปันเทคโนโลยีและทีมพัฒนา ร่วมกับหน่วยวิจัยอื่นในพื้นที่ รวมไปถึง การท�ำงานร่วมกับหน่วยงานเอกชนที่เชี่ยวชาญเทคโนโลยีเฉพาะด้าน ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้ท�ำการหารือเพื่อหาแนวทางการพัฒนาโดยสังเขป กับตัวแทนของหน่วยงานเอกชนและหน่วยงานของรัฐ ในระดับประเทศ และนานาชาติ นอกจากโครงสร้างพื้นฐานด้านการวิจัยของ SPACE INNOPOLIS ในพืน้ ที่ EECi แล้ว ยังมีความร่วมมือกับ ARIPOLIS เพือ่ ทีจ่ ะเป็นตัวกลาง เชื่อมโยงอุตสาหกรรมการบินและอวกาศแบบองค์รวม เทคโนโลยีเพื่อ อุตสาหกรรมการบินและอวกาศ

เทคโนโลยีเพื่อการอุตสาหกรรมการบินและอวกาศ

March-April 2019

จะเห็นได้ว่าในห่วงโซ่คุณค่าของอุตสาหกรรมการบิน และอวกาศต้องการองค์ประกอบหลายส่วนที่จ�ำเป็นต้อง เชื่อมโยงกับองค์ประกอบอื่นๆ เข้าด้วยกัน โดยจะเกิดเป็น องค์ความรู้เทคโนโลยีการบินและอวกาศทั้งระบบขึ้นที่ EECi และสามารถต่อยอดเชือ่ มโยงเข้ากับอุตสาหกรรมอืน่ ๆ ได้ดว้ ย โดยสามารถเชือ่ มโยงกับโครงสร้างพืน้ ฐานอืน่ ๆ ทีไ่ ด้วางแผน ในการร่วมมือส่งเสริมนวัตกรรมอุตสาหกรรมการบินและ อวกาศ เช่น  โครงสร้างพื้นฐานศูนย์ทดสอบ ประกอบดาวเทียม และการทดสอบอากาศยานมาตรฐานนานาชาติ ของส�ำนักงาน พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ (สทอภ.) ตัง้ อยูท่ ่ี อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี  โครงการนิคมอากาศยาน (Aerotropolis) บริเวณ ท่าอากาศยานอูต่ ะเภา จังหวัดระยอง เพือ่ รองรับการซ่อมบ�ำรุง อากาศยานและผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน  โครงการสร้างศูนย์การเรียนด้านธุรกิจการบินของ สถาบันการบินพลเรือน กทม. และเพื่อพัฒนาบุคลากรด้าน การบิน รวมทั้งตลาดนักบินให้แก่ประเทศ  โครงการสร้างศูนย์การเรียนด้านการบินและอวกาศ ในมหาวิทยาลัยชั้นน�ำของประเทศ การพัฒนาเทคโนโลยีสำ� หรับอุตสาหกรรมการบินและ อวกาศของ SPACE INNOPOLIS และโครงสร้างพื้นฐาน ตามที่ได้กล่าวมา จะช่วยให้สามารถพัฒนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรมการบินและอวกาศแบบครบวงจร ตัง้ แต่การวิจยั ขัน้ ต้น การทดสอบโมเดลจ�ำลอง การใช้งานสภาพแวดล้อมเสมือน ไปจนถึงการผลิตเพื่อใช้งานเชิงอุตสาหกรรม โดยสามารถ มีการพัฒนาได้อย่างต่อเนื่องในทุกภาคส่วน ช่วยเสริมสร้าง ขีดความสามารถในการแข่งขัน และผลักดันให้เป็นหนึ่งใน ประเทศแนวหน้าด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมการบินและ อวกาศ

FOOD INNOPOLIS มุง่ น�ำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมมาผนวก กั บ การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมอาหาร เพื่ อ ยกระดั บ อาหาร ของไทยให้ มี คุ ณ ภาพมาตรฐานสากลด้ า นการตรวจสอบ ย้อนกลับและเป็นที่ยอมรับของประเทศคู่ค้า เพื่อเพิ่มมูลค่า ในระบบนวัตกรรมอาหารอย่างครบวงจร และเพิ่มขีดความ สามารถในการปรับตัวของอุตสาหกรรมให้เป็นดิจทิ ลั (Digital Transformation) Food Innopolis มีแผนจัดตัง้ ห้องปฏิบตั กิ ารในสภาวะ จริง (Living Lab) บนพื้นฐานการประยุกต์ใช้ IoT เพื่อสร้าง สภาพแวดล้อมให้เอือ้ ต่อการน�ำเทคโนโลยี IoT มาแก้ไขปัญหา และส่งเสริมการพัฒนากระบวนการต่างๆ ในห่วงโซ่อุปทาน อาหาร (Food Value Chain) อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจน


การสาธิตการพัฒนาฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และแอปพลิเคชัน IoT และการสร้างระบบ Smart Manufacturing เพื่อให้ประกอบการ ไปต่อยอดงานธุรกิจหรืออุตสาหกรรมอาหารได้ ทั้งนี้ การพัฒนา เทคโนโลยี IoT เพื่อการทวนสอบกลับในอุตสาหกรรมอาหาร 4.0 มีการพัฒนาเทคโนโลยีเป้าหมายส�ำคัญ 2 ส่วน คือ (1) สนามทดลอง (Test Bed) และ (2) ศูนย์ปฏิบตั กิ ารสัง่ การและศูนย์ขอ้ มูล (Intelligent Operating Command (IOC) and Data Centre) ทั้งนี้แผนใน ระยะแรกจะพัฒนาเทคโนโลยี IoT เพื่อการทวนสอบกลับในผลไม้ โคนม และกุ้ง/ปลา 1. สนามทดลอง (Test Bed) สนามทดลองและสาธิตการใช้งาน IoT ในห่วงโซ่อุปทาน อาหาร ถือเป็นสิง่ โครงสร้างพืน้ ฐานส�ำคัญทีช่ ว่ ยให้มสี ถานทีท่ ดสอบ และทดลองใช้ IoT อย่างเป็นระบบและครบวงจร ตลอดทั้งห่วงโซ่ อุปทานอาหาร ตัง้ แต่วตั ถุดบิ ไปจนถึงจุดการจัดวางเพือ่ ซือ้ -ขาย เพือ่ ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลในแต่ละขัน้ ตอนแบบ Real-Time การสือ่ สาร แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างระบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง แม่นย�ำและ รวดเร็ว รวมถึงเพือ่ ประเมินปัญหา ตลอดจนความน่าเชือ่ ถือของระบบ ส�ำหรับสนามทดลองนี้ ครอบคลุมทั้ง 6 ขั้นตอนในห่วงโซ่อุปทาน อาหาร ได้แก่ การพัฒนาการเกษตรแม่นย�ำ (Precision Farming) การพัฒนาการเก็บเกี่ยวและบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ (Smart Harvest and Packaging) การพัฒนาโรงงานต้นแบบอัตโนมัตทิ รี่ วบรวมและ ส่งข้อมูล (Automatic Pilot Plant) การพัฒนาระบบขนส่งอัจฉริยะ (Smart Logistic) การพัฒนาต้นแบบคลังสินค้าและร้านขายปลีก อัจฉริยะ (Smart Warehouse and Retail) และการพัฒนาการรวม ระบบและการทดสอบการใช้ ง าน (System Integration and Demonstration) 1.1 การพัฒนาการเกษตรแม่นย�ำ (Precision Farming) ส�ำหรับการเพาะเลี้ยงกุ้ง/ปลา และโคนม การท�ำเกษตรความ แม่นย�ำสูง คือรูปแบบการเกษตรที่น�ำเทคโนโลยี IoT เซนเซอร์ (IoT Sensor) ที่มีความแม่นย�ำสูงเข้ามาติดตั้งบนแปลงทดลอง เพื่อ ตรวจวัด ควบคุม และเก็บข้อมูลทีเ่ ป็นปัจจัยต่อการเจริญเติบโต เช่น อุณหภูมิ แสงแดด แรงลม ปริมาณนํ้าฝน สารอาหาร ความชื้นใน อากาศ พร้อมน�ำข้อมูลที่ได้มาพัฒนาต่อยอดเป็นองค์ความรู้ใหม่ ในการวางแผนให้พร้อมรับมือ และแก้ไขปัญหาทีจ่ ะเกิดขึน้ ได้อย่าง ตรงจุดและทันท่วงที ท�ำให้สามารถค�ำนวณวันเก็บเกี่ยวผลผลิต อัตราผลตอบแทนโดยประมาณ และเฝ้าระวังความเสีย่ งในการเกิด โรค อีกทั้งเกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด การใช้เทคโนโลยีการเกษตรแม่นย�ำและ IoT Sensor ในการ เลี้ยงกุ้งหรือปลาจะช่วยให้เกิดการพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อคาดการณ์ คุณภาพของน�้ำในบ่อเลี้ยงและสิ่งแวดล้อมที่เป็นอันตรายต่อกุ้ง หรือปลา เกษตรกรจึงสามารถจัดการแก้ไขได้ทันท่วงที ส่วนการใช้ เทคโนโลยีการเกษตรแม่นย�ำและ IoT Sensor กับฟาร์มโคนมจะ สามารถติดตามและเก็บข้อมูล Real-Time พฤติกรรมสัตว์แต่ละตัว

และสรุปปริมาณการบริโภคของสัตว์ ท�ำให้บริหารจัดการระบบ การให้อาหารและหญ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ รวมถึงสามารถ ค�ำนวณประสิทธิภาพของสัตว์แต่ละตัวในการเปลีย่ นอาหารเป็นเนือ้ และนมได้อีกด้วย 1.2 การพัฒนาการเก็บเกี่ยวและบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ (Smart Harvest and Packaging) ส�ำหรับการเพาะเลีย้ งกุง้ /ปลา และโคนม การใช้เทคโนโลยีการเก็บเกีย่ วทีม่ ปี ระสิทธิภาพ สามารถ ลดการใช้แรงงานคน ช่วยเก็บรักษาให้ผลผลิตยังคงสดและใหม่ ส่วนบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ ผู้ผลิตสามารถบันทึกข้อมูลส�ำคัญต่างๆ เกี่ยวกับสินค้าลงไปช่วยในการเสริมสร้างภาพลักษณ์ของสินค้า ไม่ว่าจะเป็นรายละเอียดของวัตถุดิบ ข้อมูลอายุการใช้งาน และ การเก็บรักษา สารประกอบทีอ่ าจก่อให้เกิดภูมแิ พ้ วันหมดอายุ หรือ ข้อมูลอัปเดตอื่นๆ ที่ส�ำคัญ รวมถึงยังสามารถติดตามตรวจสอบ สินค้าระหว่างการขนส่งไปจนถึงมือผูบ้ ริโภค นอกจากนี้ บรรจุภณ ั ฑ์ และฉลากอัจฉริยะกลายเป็นเครือ่ งมือป้องกันการปลอมแปลงสินค้า ปัญหาการปนเปือ้ นสินค้า การขโมยสินค้า ทัง้ ยังเป็นตัวช่วยยืดอายุ สินค้าให้กับธุรกิจอาหารและบรรจุภัณฑ์ 1.3 การพั ฒ นาด้ า นหุ ่ น ยนต์ เ พื่ อ การเก็ บ เกี่ ย วและ บรรจุภณ ั ฑ์อจั ฉริยะส�ำหรับผลไม้ (Fruit Harvesting Robot and Smart Packaging) หุ่นยนต์เริ่มมีบทบาทส�ำคัญมากขึ้นส�ำหรับ การทดแทนแรงงาน ซึ่งสามารถช่วยในการควบคุมงบประมาณได้ เป็นอย่างดี เพิ่มความแม่นย�ำของการท�ำงาน การเก็บเกี่ยวผลไม้ โดยใช้หุ่นยนต์จะสามารถแยกผลไม้สุกและดิบ จากนั้นจึงคัดแยก ผลไม้ตามคุณภาพและระดับความสุกบรรจุลงในบรรจุภณ ั ฑ์อจั ฉริยะ ดังนัน้ การพัฒนาด้านหุน่ ยนต์เพือ่ การเก็บเกีย่ วผลไม้จงึ ช่วยท�ำงาน ทดแทนแรงงานมนุษย์ และส่งผ่านข้อมูลส�ำหรับตรวจสอบได้อย่างดี ทีเดียว 1.4 การพัฒนาโรงงานต้นแบบอัตโนมัติ (Automatic Pilot Plant) รวบรวมและส่งข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องกับการผลิตของการเลีย้ ง กุง้ /ปลา โคนม และผลไม้ การควบคุมคุณภาพแบบระบบอัตโนมัติ เพื่อประมวลข้อมูลที่ได้ การสร้างระบบที่มีเซนเซอร์ตรวจจับอย่าง ใกล้ชดิ และละเอียดในทุกขัน้ ตอนการผลิตอาหาร ถือเป็นสิง่ จ�ำเป็น เพื่อเชื่อมต่อระหว่างเครื่องจักรต่างๆ และบริหารจัดการการผลิต แบบ Real-Time มีระบบเฝ้าติดตามสถานะของอุปกรณ์ต่างๆ จาก ระยะไกลในโรงงาน เพือ่ ลดค่าใช้จา่ ยในการซ่อมบ�ำรุงและปฏิบตั กิ าร ช่วยให้การผลิตมีความแม่นย�ำ ลดการสูญเสีย และการบริหาร การผลิตมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น น�ำไปสู่การใช้ข้อมูลการผลิตมา พัฒนาสินค้าใหม่ หรือสร้างสินค้าทีม่ มี ลู ค่าสูงขึน้ ทัง้ นีโ้ รงงานต้นแบบ อัตโนมัติมีการเชื่อมโยงกับข้อมูลกับเครือข่ายอุทยานวิทยาศาสตร์ ในแต่ละภูมิภาค เพื่อให้เกิดบูรณาการเครื่องมือและเข้าถึงข้อมูล ในส่วนภูมิภาคนี้ผ่านช่องทาง EECi 1.5 การพัฒนาระบบโลจิสติกส์อจั ฉริยะ (Smart Logistic) ส�ำหรับการขนส่งกุ้ง/ปลาที่มีชีวิต การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ อัจฉริยะ สามารถท�ำให้วางแผนปฏิบตั แิ ละควบคุมการไหลและการ March-April 2019


จัดเก็บของสินค้าบริการและข้อมูลที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ มีความรวดเร็วในการขนส่งอย่างถูกต้อง แม่นย�ำ สามารถแลกเปลีย่ น ข้อมูลกันตลอดเวลา การติดตามวัตถุดิบได้ Real-Time ส่งผลให้ บริหารจัดการคลังสินค้า ลดระดับสินค้าคงคลัง เพิ่มอัตราการใช้ ประโยชน์จากปริมาตรในคลังสินค้า ลดค่าแรงงานในการบริหาร โลจิสติกส์ ช่วยเพิม่ ความพึงพอใจในการให้บริการแก่ลกู ค้า เป็นการ เพิ่มความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการ นอกจากนี้ ระบบโลจิสติกส์อัจฉริยะได้เชื่อมโยงการท�ำงาน ร่วมกันระหว่างศูนย์ฯ ที่ต้ังอยู่ใน EECi กับเทคโนโลยีการสื่อสาร ระหว่างยานยนต์กับสิ่งอื่น (Connected Vehicle Technology) การสื่อสารสิ่งของจากในรถบรรทุกเข้าสู่อินเทอร์เน็ต เพื่อพัฒนา การประยุกต์ใช้เทคโนโลยียานยนต์ยุคหน้าที่ไร้คนขับเข้ากับระบบ โลจิสติกส์อัจฉริยะนี้ 1.6 การพั ฒ นาต้ น แบบคลั ง สิ น ค้ า และร้ า นขายปลี ก อัจฉริยะ (Smart Warehouse and Retail) คลังสินค้าอัจฉริยะ ช่วยให้สามารถควบคุมการเคลื่อนย้ายจัดเก็บสินค้าภายในคลัง สินค้ามีประสิทธิภาพสูงทีส่ ดุ โดยจัดเก็บสินค้าคงคลังให้นอ้ ยลง และ ให้มีอัตราการหมุนเวียนสินค้าสูง ช่วยลดความสลับซับซ้อนยุ่งยาก และมีโอกาสที่จะผิดพลาดได้สูงจากการบริหารจัดการคลังสินค้า แบบเดิมๆ ช่วยเพิ่มความเชื่อถือด้านความปลอดภัยในบุคลากร และสินทรัพย์ น�ำมาซึง่ ความตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า ได้รวดเร็วและถูกต้องแม่นย�ำมากขึ้น ร้านขายปลีกอัจฉริยะเป็นร้านค้าปลีกทีช่ ว่ ยทดลองขายสินค้า ที่ได้ โดยมีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการบริหารจัดการ Stock สินค้า การช�ำระเงิน สามารถตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภค โดยท�ำการปรับเปลีย่ นวิธกี ารขายในรูปแบบใหม่ ท�ำให้เลือกซือ้ ของ ได้สะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น โดยไม่ต้องต่อคิว ไม่ต้องจ่ายเงิน กับพนักงาน การใช้เทคโนโลยีร้านค้าอัจฉริยะเข้ามาช่วยสามารถ สร้างความพึงพอใจในการบริการได้มากยิ่งขึ้น ลูกค้าสามารถ ตรวจสอบย้อนกลับไปยังกระบวนการผลิตสินค้าทุกชนิดได้ เช่น การติดตั้งเซนเซอร์ตู้เย็นที่สามารถเปิดประตูอัตโนมัติเมื่อลูกค้า ยืนอยู่หน้าตู้ และปิดประตูอัตโนมัติเมื่อหยิบสินค้าเสร็จ ในส่วน การจัดการสินค้าบนชั้นและคลังสินค้าท�ำได้แบบ Real-Time ท�ำให้ มีสนิ ค้าและการให้บริการทีค่ รบถ้วนสม�ำ่ เสมอ สามารถประเมินและ ตัดสินใจบริหารจัดการสต็อกสินค้าให้สอดคล้องกับฤดูและเทศกาล รวมถึงประเมินยอดขายแต่ละผลิตภัณฑ์ได้ง่ายมากขึ้น อีกทั้งยังมี การเก็บข้อมูลพฤติกรรมของลูกค้าเพือ่ น�ำไปเป็นข้อมูลในการพัฒนา สินค้าต่อไป 1.7 การพัฒนาการรวมระบบและการทดสอบการใช้งาน (System Integration and Demonstration) System Integration เป็นส่วนส�ำคัญในการเลือกอุปกรณ์หลัก ออกแบบ ติดตัง้ ระบบเขียน โปรแกรมและจัดขัน้ ตอนการท�ำงานของระบบอัตโนมัตแิ ละหุน่ ยนต์ เพื่อให้ระบบใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพแท้จริง รวมถึงมีการทดสอบ การใช้งาน แก้ไขการใช้งานได้ March-April 2019

2. ศูนย์ควบคุมสั่งการและศูนย์ข้อมูล (Intelligent Operating Command (IOC) and Data Center) ศูนย์ควบคุมสัง่ การ ท�ำหน้าทีก่ ารประมวลผลวิเคราะห์ขอ้ มูล ขนาดใหญ่ (Big Data) กลัน่ กรองและคัดเลือกข้อมูลทีม่ คี วามส�ำคัญ ที่เก็บรักษาไว้ในศูนย์ข้อมูล เพื่อช่วยในการบริหารจัดการ Testbed โดยให้ IoT ประมวลผลข้อมูลในบริบทของตน การท�ำงานของ ศู น ย์ ค วบคุ ม สั่ ง การจ� ำ เป็ น ต้ อ งอาศั ย การท� ำ งานของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมการท�ำงาน (Middleware) ระหว่าง Application และ Network อีกทั้งช่วยส่งข้อมูลที่ต้องการ Privacy Protection และสร้างความเสถียรภาพให้ระบบ พร้อมรองรับข้อมูลตลอดเวลา นอกจากนี้ การท�ำงานของศูนย์ควบคุมสัง่ การยังอาศัยปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ทีพ่ ฒ ั นาจากเทคนิคการประมวลผลแบบ Machine Learning หรือ Deep Learning เพื่อการเรียนรู้สร้างระบบ การท�ำงานแบบอัตโนมัติ การเชื่อมต่อสื่อสารและท�ำงานร่วมกัน ระหว่างเครื่องจักร ข้อมูล และมนุษย์ ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ ที่รวดเร็วและมีความถูกต้องแม่นย�ำสูง ช่วยวิเคราะห์เทรนด์การ ซือ้ ขาย พฤติกรรมผูบ้ ริโภค และอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องอีกมากมาย สามารถ ปรับปรุงกระบวนการผลิตได้อย่างทันที ศูนย์ขอ้ มูลเป็นฐานข้อมูลทีส่ นับสนุนการบริหารจัดเก็บข้อมูล ทั้งหลายที่ได้จากเทคโนโลยี ที่ช่วยให้สรรพสิ่งรับรู้ข้อมูลในบริบทที่ เกี่ยวข้อง เช่น เซนเซอร์ และข้อมูลจากเทคโนโลยีที่ช่วยให้สรรพสิ่ง มีความสามารถในการสื่อสาร ทั้งนี้ ข้อมูลที่ได้อาจจะอยู่ในรูปแบบ ของภาพที่ได้จากดาวเทียม เมื่อต้องเผชิญหน้ากับข้อมูลจ�ำนวน มหาศาล และมีรปู แบบทีห่ ลากหลายทีไ่ ด้มาจาก Testbed ศูนย์ขอ้ มูล จึงต้องการพืน้ ทีก่ ารจัดเก็บข้อมูล (Data Storage) ทีม่ ากพอ มีความ ปลอดภัยสูง (Block Chain) ระบบ Private Cloud ซึ่งช่วยบริหาร จัดการข้อมูลได้ง่ายและมีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงการคัดกรอง ข้อมูลทีม่ คี ณ ุ ค่าหรือมีประโยชน์กบั การท�ำงานต้องอาศัยคอมพิวเตอร์ สมรรถนะสูง High Performance Computing (HPC) ส�ำหรับ ปัญญาประดิษฐ์ เข้ามาช่วยท�ำการประมวลผลสมการทางคณิตศาสตร์ ทีม่ คี วามซับซ้อน เพือ่ ให้ได้โมเดลส�ำหรับการบริหารจัดการหรือการ วิเคราะห์ข้อมูลที่รวดเร็ว แม่นย�ำขึ้น

สิทธิประโยชน์ที่จะได้รบ ั  สิทธิการเช่าทีด ่ นิ ระยะยาวส�ำหรับจัดตัง้ ศูนย์วจิ ยั และการเช่าพืน้ ที่ ในอาคารเพื่อการวิจัยและพัฒนา  โครงสร้างพืน ้ ฐานทีส่ ามารถใช้สอยร่วมกัน อาทิ อุปกรณ์/เครือ่ งมือ วิ เ คราะห์ ท ดสอบ โรงผลิ ต ชิ้ น งานต้ น แบบ โคเวิ ร ์ ค กิ้ ง สเปซ สนามทดลองและทดสอบ  ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสูงสุด 13 ปี  อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 17% คงที่ ส�ำหรับผู้เชี่ยวชาญ  ยกเว้นอากรน�ำเข้าวัตถุดิบส�ำหรับการท�ำวิจัยและพัฒนา  วีซ่าท�ำงานส�ำหรับผู้เชี่ยวชาญต่างชาติ  พืน ้ ทีผ่ อ่ นปรนกฎระเบียบในการท�ำนวัตกรรม (Regulatory Sandbox) และเป็นแหล่งรวมนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย และผู้เชี่ยวชาญ


การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

กฟผ. นำ�ร่องโครงการ

โซลาร์เซลล์ลอยน�้า โลกของเราเดินมาสู่ยุคของการรักษ์โลก “พลังงาน หมุนเวียน” จึงเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ปัญหาโลกร้อน แต่ หลายๆ คนอาจไม่รวู้ า่ พลังงานหมุนเวียนไม่เสถียรในการผลิต ไฟฟ้า จึงยังท�ำให้ไม่สามารถน�ำมาทดแทนการผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานหลัก เช่น ก๊าซธรรมชาติ หรือถ่านหินได้ในปัจจุบัน ท�ำให้ต้องน�ำพลังงานหมุนเวียนมาใช้ร่วมกับพลังงานหลัก ในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้ระบบไฟฟ้ามีความมั่นคง เพียงพอ กับความต้องการของประชาชน โดยระหว่างนั้น หน่วยงาน ผูร้ บั ผิดชอบด้านพลังงานไฟฟ้าก็ตอ้ งพัฒนาพลังงานหมุนเวียน ให้มีเสถียรภาพควบคู่กันไปด้วย หลายประเทศเริม่ น�ำโซลาร์เซลล์มาติดตัง้ บนพืน้ ผิวน�ำ้ เพื่อลดการใช้พื้นที่ชุมชนและพื้นที่ป่า เช่นเดียวกับการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ทีไ่ ด้รเิ ริม่ โครงการโรงไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับโรงไฟฟ้าพลังน�้ำเขื่อน กฟผ. หรือเรียกสัน้ ๆ ว่า โครงการโซลาร์เซลล์ลอยน�ำ้ แบบไฮบริด (Hydro-Floating Solar Hybrid) โดยน�ำร่องที่เขื่อนสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี เป็นแห่งแรก มีขนาดก�ำลังผลิต 45 เมกะวัตต์ ซึ่ ง เป็ น โครงการตามแผนพั ฒ นาก� ำ ลั ง ไฟฟ้ า ของประเทศ พ.ศ. 2561-2580 (PDP2018) ถือเป็นโครงการโซลาร์เซลล์ ลอยน�้ำแบบไฮบริดที่ใหญ่ที่สุดในโลกอีกด้วย โครงการโซลาร์เซลล์ลอยน�้ำแบบไฮบริด เป็นการ ผสมผสานระหว่างพลังน�ำ้ (Hydro Energy) จากเขือ่ นของ กฟผ. ที่มีการผลิตไฟฟ้าจ�ำกัดเฉพาะบางฤดูกาล ร่วมกับพลังงาน แสงอาทิตย์ (Solar Energy) ซึง่ เมือ่ ปริมาณน�ำ้ ในเขือ่ นมากพอ เขื่อนจะผลิตไฟฟ้ารองรับความต้องการสูงสุดของระบบได้ แต่เมื่อปริมาณน�้ำมีจ�ำกัด โซลาร์เซลล์จะช่วยผลิตไฟฟ้าจาก แสงอาทิตย์ในช่วงกลางวัน และน�ำพลังน�ำ้ มาเสริมในช่วงความ ต้องการใช้ไฟฟ้าสูงในเวลากลางคืน หรือสามารถเดินเครื่อง

แห่งแรกบนเขื่อนสิรินธร

ผสานพลังน�้ำและแสงอาทิตย์ ผลิตไฟฟ้าแบบไฮบริดใหญ่ที่สุดในโลก ผลิตไฟฟ้าอย่างต่อเนื่องเพื่อเสริมความต้องการของระบบไฟฟ้า ระบบนี้ นอกจากจะช่วยเสริมความมั่นคงของระบบไฟฟ้า ยังช่วยให้การบริหาร จัดการน�้ำเกิดประสิทธิภาพสูงสุดได้ โครงการดังกล่าวมีจดุ เด่นคือ 1) ราคาต�า่ เนือ่ งจากใช้โครงการระบบ ไฟฟ้าเดิมของ กฟผ. เช่น ระบบส่งไฟฟ้า และเป็นการใช้พน้ื ทีใ่ ห้เกิดประโยชน์ สูงสุด 2) เสริมความมัน่ คงระบบไฟฟ้า ลดความไม่แน่นอนของพลังงาน หมุนเวียนด้วยระบบ Integrated Renewable Firm Power System อีกทั้ง ในอนาคตยังสามารถน�ำระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage) มาใช้ ร่วมกันเพือ่ ให้ระบบมีความเสถียรมากขึน้ อีกทัง้ ยังได้นำ� ระบบการจัดการ พลังงาน (Energy Management System : EMS) มาควบคุมการส่งจ่าย พลังงานไฟฟ้าอีกด้วย และ 3) ไม่มีผลกระทบต่อสังคม ชุมชน และ สิง่ แวดล้อม โดยติดตัง้ ทุน่ ลอยน�ำ้ ชนิด HDPE (High Density Polyethylene) เป็นวัสดุแบบเดียวกับท่อประปา ไม่เป็นอันตรายกับสิง่ แวดล้อมและสัตว์นำ�้ ทัง้ ยังติดตัง้ บริเวณพืน้ น�ำ้ ของเขือ่ น กฟผ. จึงไม่กระทบกับพืน้ ทีก่ ารเกษตร และเส้นทางเดินเรือของชุมชน ส�ำหรับโครงการน�ำร่องโซลาร์เซลล์ลอยน�้ำแบบไฮบริดแห่งแรก ทีเ่ ขือ่ นสิรนิ ธร จังหวัดอุบลราชธานี มีแผนจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์ ในเดือนธันวาคม 2563 อีกทัง้ กฟผ. ยังเตรียมด�ำเนินโครงการโซลาร์เซลล์ ลอยน�ำ้ แบบไฮบริดบริเวณเขือ่ นอืน่ ๆ ของ กฟผ. อีกหลายแห่งอย่างต่อเนือ่ ง จะเห็นได้ว่า กฟผ. ยังคงมุ่งมั่นพัฒนาพลังงานหมุนเวียน โดยปรับปรุง เทคโนโลยีเพือ่ แก้ไขข้อจ�ำกัด พร้อมสร้างเสถียรภาพให้พลังงานหมุนเวียน สามารถผลิตไฟฟ้าได้ทัดเทียมกับพลังงานหลัก ให้คนไทยมีไฟฟ้าใช้ ได้อย่างมั่นคง เพียงพอตลอดไป March-April 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

กฟผ. ร่วมกับนักวิจย ั ไทย

คิดค้นโซลาร์เซลล์กึ่งใส นำ�นวัตกรรมพลังงานำ

ยกระดับเกษตรกรไทย นักวิจัยไทยโชว์ผลงาน “นวัตกรรมปันแสงแบ่งข้าว เพื่อชุมชน” คิดค้นโซลาร์เซลล์กึ่งใสมาใช้ในการปลูกพืช น�ำนวัตกรรมพลังงานมาใช้ประโยชน์ในพืน้ ทีเ่ กษตรได้ผล 2 ต่อ พืชเติบโตตามปกติ ทัง้ ยังน�ำพลังงานทีไ่ ด้มาใช้ประโยชน์อน่ื ๆ ช่วยให้เกษตรกรลดรายจ่าย มีชีวิตที่ดีขึ้น ดร.ศิริ จิระพงษ์พนั ธ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน เป็นประธานในพิธเี ปิดนิทรรศการ “นวัตกรรมปันแสงแบ่งข้าว เพื่อชุมชน” จัดแสดงโครงการวิจัยการน�ำโซลาร์เซลล์ก่ึงใส มาใช้ร่วมกับการท�ำเกษตรกรรมการปลูกพืช โดยมี วิบูลย์ ฤกษ์ศิระทัย ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ผศ. ดร.สุ ร เชษฐ เดชฟุ ้ ง หั ว หน้ า โครงการฯ คณะผูบ้ ริหารและพนักงาน กฟผ. เข้าร่วมงาน ณ สวนน�ำ้ พระทัย โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี ดร.ศิริ จิระพงษ์พนั ธ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า กระทรวงพลังงานมุง่ เน้นการพัฒนานวัตกรรมพลังงาน เพื่อความยั่งยืนและเป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อม ซึง่ ให้ความส�ำคัญ กั บ การมี ส ่ ว นร่ ว มพั ฒ นาทุ ก ภาคส่วน ทุกระดับ และทุกอาชีพ ตามนโยบาย Thailand 4.0 เพือ่ มุง่ สูค่ วามมัน่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน โดยพัฒนานวัตกรรมและงาน วิจยั เพือ่ ยกระดับความเป็นอยู่ ทีด่ ขี องประชาชนในประเทศให้ ดร.ศิริ จิระพงษ์พันธ์ ดีขน้ึ โดยเฉพาะเกษตรกรซึง่ เป็น March-April 2019

ประชาชนกลุ่มใหญ่ของประเทศ โดยบูรณาการใช้ความก้าวหน้าด้าน เทคโนโลยีและความรูข้ องนักวิจยั ไทยจัดท�ำโครงการ “นวัตกรรมปันแสง แบ่งข้าวเพือ่ ชุมชน” วิจยั การใช้โซลาร์เซลล์กง่ึ ใสร่วมกับการท�ำเกษตรกรรม การปลูกพืช เป็นโครงการน�ำร่องที่จะช่วยยกระดับเกษตรกรรมไทย ด้วยการน�ำนวัตกรรมพลังงานมาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการด้าน เกษตรกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการใช้งานพืน้ ทีเ่ กษตรกรรมของ ชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งประโยชน์จะตกอยู่กับเกษตรกรโดยตรง เกษตรกรสามารถปลูกพืชได้ผลดีดังเดิม และสามารถน�ำพลังงานไฟฟ้า ที่ได้จากแสงอาทิตย์มาใช้ในครัวเรือนและระบบสูบน�้ำ ซึ่งจะช่วยให้ลด ค่าใช้จ่ายลงได้ และผลการวิจัยในครั้งนี้ยังเป็นฝีมือคนไทยที่น่าภาคภูมิใจ อย่างยิ่ง ด้าน วิบูลย์ ฤกษ์ศิระทัย ผู้ว่าการ กฟผ. กล่าวว่า กฟผ. เห็นถึงความส�ำคัญของ งานวิจัยและนวัตกรรมที่สร้างประโยชน์ให้ กับสังคม ซึ่ง “นวัตกรรมปันแสงแบ่งข้าว เพือ่ ชุมชน” เป็นโครงการวิจยั การใช้โซลาร์เซลล์ กึง่ ใสร่วมกับการท�ำเกษตรกรรมการปลูกข้าว พันธุ์ไรซ์เบอรี่ ซึ่งเป็นพันธุ์ข้าวเศรษฐกิจที่มี คุณค่าทางอาหารและได้รับความนิยมสูง โดยด�ำเนินโครงการร่วมกับมหาวิทยาลัย วิบูลย์ ฤกษ์ศิระทัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร มหาวิทยาลัย ราชภั ฏ กาญจนบุ รี มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ จันทรเกษม และกรมพัฒนาทีด่ นิ บนพืน้ ทีบ่ ริเวณสวนน�ำ้ พระทัย โรงไฟฟ้า พระนครเหนือ เพื่อสร้างความเชื่อมโยงในการผลิตไฟฟ้าที่เป็นมิตรต่อ ภาคการเกษตร โดยน�้ ำ ที่ ใช้ ใ นการปลู ก ข้ า วน� ำ มาจากบ่ อ พั ก น�้ ำ ของโรงไฟฟ้ า พระนครเหนือ ชุดที่ 2 ทีผ่ า่ นการปรับสภาพน�ำ้ และผ่านการตรวจสอบจาก ห้องทดลองที่รับรองมาตรฐานแล้วว่าสามารถใช้ปลูกพืชทางการเกษตร


การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

และสามารถรับประทานได้อย่างปลอดภัย นอกจากนี้ พลังงานไฟฟ้า ที่ได้จากโซลาร์เซลล์ในโครงการวิจัยดังกล่าว ได้ถูกส่งไปใช้ท่ีห้อง ควบคุมไฟฟ้าและเครือ่ งสูบน�ำ้ ของโครงการวิจยั รวมถึงใช้ในอาคาร Co-Working Space ของโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ มาตัง้ แต่เริม่ โครงการ ในเดือนพฤศจิกายน 2561 จนถึงปัจจุบนั สามารถลดการใช้พลังงาน ได้ถงึ 18,000 หน่วย และลดค่าใช้จา่ ยได้กว่า 72,000 บาท จึงพิสจู น์ ได้วา่ โครงการวิจยั สามารถบูรณาการด้านพลังงานไฟฟ้าและสามารถ ปลูกพืชทางการเกษตรให้เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมและชุมชนได้อย่าง ยั่งยืน ส�ำหรับการน�ำโซลาร์เซลล์กึ่งใสมาใช้ร่วมกับการปลูกข้าว จะท�ำให้เกษตรกรสามารถน�ำพลังงานที่ผลิตได้ในพื้นที่นาข้าวมา ใช้ประโยชน์ในกิจกรรมทางการเกษตรอื่นๆ หรือใช้ในบ้านเรือน

อีกทัง้ กฟผ. ยังมีแนวทางพัฒนาต่อยอด โดยจะน�ำข้อมูลจากงานวิจยั ไปประยุกต์ใช้ในการปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอืน่ ๆ ทีม่ มี ลู ค่าสูง ส�ำหรับ ชุมชน เกษตรกรรม และโรงเรียน รวมถึงเป็นต้นแบบการพัฒนาไปสู่ ระบบฟาร์มอัจฉริยะ (Smart Farm) ในอนาคต ผศ. ดร.สุ ร เชษฐ เดชฟุ ้ ง หัวหน้าโครงการวิจยั กล่าวเพิม่ เติมว่า โครงการวิจัยการน�ำโซลาร์เซลล์ก่ึงใส มาใช้ กั บ เกษตรกรรมการปลู ก ข้ า ว ได้มกี ารออกแบบแผงโซลาร์เซลล์กงึ่ ใส ให้มีลักษณะเป็นตารางหมากรุกสลับ กับช่องใส โดยใช้โซลาร์เซลล์กึ่งใส ที่ ท� ำ จ า ก ซิ ลิ ค อ น ช นิ ด ผ ลึ ก ร ว ม (Polycrystalline Silicon Solar Cell) ผศ. ดร.สุรเชษฐ เดชฟุ้ง จ�ำนวน 227 แผง ให้พลังงานไฟฟ้า 155 วั ต ต์ ต ่ อ แผง ก� ำ ลั ง ผลิ ต ติ ด ตั้ ง 35.19 กิโลวัตต์ วางแผงโซลาร์เซลล์ท�ำมุม 17 องศา หันรับแสงทาง ทิศใต้ ความสูงประมาณ 4 เมตร โดยอาศัยหลักการปรับอัตราส่วน พืน้ ทีท่ บึ แสงต่อพืน้ ทีโ่ ปร่งแสงในแผ่นโซลาร์เซลล์ตามความต้องการ ความเข้มแสงทีแ่ ตกต่างกันของพืช พร้อมติดตัง้ ระบบติดตามข้อมูล ด้วยเซนเซอร์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตแบบ Real Time ได้แก่ ตัววัด ค่าความเข้มแสง อุณหภูมิ ความชื้นอากาศ ความเร็วลม ระดับน�ำ้ ความแข็งแรงของโครงสร้าง และ Power Flow จากการวิจัยพบว่า ข้าวพันธุ์ Rice Berry ใช้เวลาปลูกจนถึงเก็บเกีย่ วประมาณ 130-150 วัน ด้วยวิธีการปลูกข้าวแบบออแกนิกทั้งหมด ได้แก่ การใช้กากชา ในการก�ำจัดหอยเชอรี่ ฉีดพ่นสารสะเดาเพื่อป้องกันแมลงและ เพลีย้ กระโดดสีนำ้� ตาล ฉีดพ่นฮอร์โมนไข่เพือ่ บ�ำรุงต้นข้าวให้สมบูรณ์ แข็งแรง ใช้ปยุ๋ หมักในการบ�ำรุงดิน ไล่นกโดยใช้ระบบคลืน่ เสียง ไล่หนู ด้วยวิธคี วบคุมระดับน�ำ้ ให้อยูใ่ นปริมาณทีพ่ อเหมาะเพือ่ ป้องกันหนู จึงท�ำให้การเจริญเติบโตของต้นข้าวและสีข้าวในโครงการวิจัย ไม่ แ ตกต่ า งจากวิ ธี ก ารปลู ก ปกติ สามารถรั บ ประทานได้ อ ย่ า ง ปลอดภัย March-April 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

ผู้ว่าการ กฟน. ร่วมเสวนาพิเศษกับผู้นำ�ไฟฟ้าเอเชียแปซิฟิก ภายในงาน IEEE PES GTD ASIA 2019

กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ ผู้ว่าการการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) ขึ้นเวที ระดับนานาชาติ เสวนาพิเศษในหัวข้อ “Big Shift in Power and Energy in Asia” ร่วมกับผูบ้ ริหารจากหน่วยงานด้านพลังงานชัน้ น�ำในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ ได้แก่ วิบูลย์ ฤกษ์ศิระทัย ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) Dr.Stuart Johnston, General Manager Network Transformation จาก Energy Networks Australia (ENA) ประเทศออสเตรเลีย และ Mr.Wong Kim Yin, CEO จาก SP Group (SP) ประเทศสิงคโปร์ ภายในงาน IEEE PES GTD Grand International Conference and Exposition ASIA 2019 ณ ศูนย์นิทรรศการ และการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ

โดยผูว้ า่ การ กฟน. ได้มกี ารน�ำเสนอและแลกเปลีย่ น แนวความคิดเกีย่ วกับนวัตกรรมทางด้านระบบจ�ำหน่าย พลังไฟฟ้าของ กฟน. ทีม่ ง่ ุ ตอบสนองต่อวิถชี วี ติ เมืองมหานคร ได้แก่ การสร้าง Smart City โดยการน�ำร่องระบบ Smart Micro Grid และการน�ำนวัตกรรมที่ทันสมัยมากมาย ระดับคุณภาพงานบริการ เช่น Block Chain, Sensor and Detection, IoT หรือ Big Data เป็นต้น ตลอดจนการ ปรับตัวขององค์กรให้สอดรับกับกระแส Disruptive Technology

พร้อมกันนี้ ผูว้ า่ การ กฟน. ยังร่วมเป็นเกียรติเยีย่ มชม นิทรรศการต่างๆ ของ กฟน. ภายในงาน และให้การต้อนรับ วิบูลย์ ฤกษ์ศิระทัย ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) สมพงษ์ ปรีเปรม ผูว้ า่ การการไฟฟ้า ส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) และผูบ้ ริหารจากหน่วยงานทางด้าน พลังงานอื่นๆ ทั้งในและต่างประเทศอีกด้วย March-April 2019


การไฟฟ้านครหลวง

ตอบโจทย์ชีวิตผ่านแอปฯ

MEA

Smart

ในโลกทีท่ กุ คนต่างมีสมาร์ทโฟนและมีแอปพลิเคชัน ที่ ช ่ ว ยอ�ำ นวยความสะดวกสบายในการใช้ ชี วิ ต การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) ไม่ยอมตกเทรนด์ ด้วย การคิดค้นนวัตกรรมเพือ่ ตอบโจทย์ชวี ติ ผู้ใช้ ไฟฟ้าในโลก ดิจิทัลผ่านแอปพลิเคชันที่มีชื่อว่า MEA Smart Life MEA Smart Life เป็นแอปพลิเคชันทีค่ นทันสมัยควรมีไว้ในสมาร์ทโฟน เพราะเป็นแอปพลิเคชันเดียวทีร่ วบรวมข้อมูลน่ารูเ้ กีย่ วกับไฟฟ้าของ กฟน. ไว้ อย่างครบครัน ตอบรับไลฟ์สไตล์ของคนยุคใหม่กับ 6 หัวข้อการท�ำงานหลัก ทีค่ ดั สรรมาแล้วว่าตรงกับความต้องการของผูใ้ ช้มากทีส่ ดุ อีกทัง้ ยังช่วยอ�ำนวย ความสะดวกแม้ไม่ได้อยู่บ้านก็ตาม ประกอบด้วย

แจ้งค่าไฟฟ้าในแต่ละเดือน

เพี ย งลงทะเบี ย นด้ ว ยชื่ อ ที่อยู่ หมายเลขบัตรประชาชน และ หมายเลขโทรศัพท์ จากนั้นบันทึก หมายเลขบัญชีแสดงสัญญาและรหัสเครือ่ งวัดไฟฟ้า ผูใ้ ช้กส็ ามารถตรวจสอบข้อมูลค่าไฟฟ้าในแต่ละเดือน วันทีต่ อ้ งช�ำระตามก�ำหนด และเพิม่ ความสะดวกสบาย ด้วยการแสดงบาร์โค้ดผ่านโทรศัพท์มอื ถือโดยไม่ตอ้ ง พกใบแจ้งค่าบริการไปช�ำระเงิน

March-April 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

บอกสถานที่รบ ั ชำ�ระค่าไฟฟ้า

สามารถรู้สถานที่รับช�ำระค่าไฟฟ้า ทั้งร้านสะดวกซื้อ ธนาคาร หรือสถาบัน การเงินในละแวกใกล้เคียงได้ พร้อมแสดง ระยะห่างจากต�ำแหน่งปัจจุบันที่ผู้ใช้อยู่และแสดงแผนที่ ได้ทันที

ช่องทางการแจ้งเหตุต่างๆ ด้วยภาพ

ช่องทางการแจ้งเหตุการณ์ไฟฟ้า ขัดข้อง เรือ่ งร้องเรียนต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับ บริการไฟฟ้าของ กฟน. โดยสามารถถ่ายภาพพร้อมแสดง พิกัดต�ำแหน่งที่ต้ัง และส่งตรงมายัง กฟน. เพื่อน�ำไปสู่ การแก้ไขได้อย่างทันท่วงที

บอกจุดชำ�ระค่าไฟฟ้าที่ใกล้ ที่สุด

แผนที่ แ ละเส้ น ทางการเดิ น ทาง ปรากฏแสดงสภาพต�ำแหน่งปัจจุบันของ ผู้ใช้ และจุดรับช�ำระค่าไฟฟ้าในรัศมีใกล้ท่ีสุด ช่วยผู้ใช้ ประหยัดเวลาตามหาสถานที่ชำ� ระค่าไฟฟ้า

แสดงสภาพเสมือนจริง Augmented Reality/AR

อีกหนึ่งระบบใหม่ท่ีใช้ส�ำหรับบอก ต� ำ แหน่ ง และระยะทางไปถึ ง จุ ด ช� ำ ระ ค่าไฟฟ้าแบบเสมือนจริง เพียงผูใ้ ช้ยกกล้องมือถือส่องไปยัง ทิศทางต่างๆ ก็จะมีโลโก้ของจุดรับช�ำระเงินปรากฏขึ้น ช่วยสร้างความสะดวกสบายยิ่งขึ้นเมื่อใช้ร่วมกับแผนที่

แจ้งประกาศดับไฟ

ข่าวสารและการแจ้งเตือนประกาศ ดับไฟฟ้าของ กฟน. เพือ่ ท�ำการบ�ำรุงรักษา ระบบ แสดงประกาศตามวั น ที่ มี ก าร ดับไฟฟ้า พร้อมแผนที่บริเวณนั้นๆ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถ วางแผนล่วงหน้าหากเกิดการดับไฟฟ้าได้

March-April 2019

ดาวน์โหลด MEA Smart Life ได้แล้ววันนี้ แอปพลิเคชัน ดาวน์โหลดฟรีไม่มคี า่ ใช้จา่ ย ส�ำหรับระบบ iOS ดาวน์โหลดผ่าน App Store ระบบ Android ดาวน์โหลดผ่าน Play Store เพียงพิมพ์คำ� ว่า MEA Smart Life เท่านี้ชีวิตในยุคไอทีก็ไม่มีตกเทรนด์


การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

Integrated Network Management System (INMS)

ระบบจัดการ โครงข่ายสื่อสาร แบบบูรณาการ

เพื่องานสื่อสารที่ม่น ั คงขององค์กร ยุคทีเ่ ทคโนโลยีมบี ทบาทกับการด�ำรงชีวติ มีการสร้างสรรค์นวัตกรรม ใหม่ๆ เข้ามาช่วยเหลือในการท�ำงานอย่างหลากหลาย PEA ก็เป็นอีกองค์กร หนึง่ ทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับเรือ่ งนี้ และได้นำ� มาปรับใช้ในส่วนงานต่างๆ รวมถึง งานด้านโครงข่ายสื่อสารโทรคมนาคม การด� ำ เนิ น งานด้ า นสาธารณู ป โภคระดั บ ประเทศของ PEA มีความจ�ำเป็นต้องเชื่อมโยงหลายกลุ่มงาน กองบริหารเครือข่ายสื่อสาร ฝ่ายสือ่ สารโทรคมนาคม ซึง่ มีหน้าทีบ่ ริหารจัดการ ดูแล บ�ำรุงรักษา ตรวจซ่อม โครงข่ายเคเบิลใยแก้วน�ำแสง จึงได้พัฒนาระบบจัดการโครงข่ายสื่อสาร แบบบูรณาการ (Integrated Network Management System : INMS) ขึ้น เพือ่ ช่วยเหลือในการท�ำงาน การแก้ปญ ั หาได้แม่นย�ำ เมือ่ เกิดข้อผิดพลาด ขณะเดียวกันก็เป็นการเตรียมความพร้อมรับมือเทคโนโลยีใหม่ๆ ด้าน โครงข่ายการสื่อสารคมนาคมในอนาคต

เพื่อประสิทธิภาพและประสิทธิผล ความพิเศษของระบบนี้ คือถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ของการบริหารจัดการโครงข่ายระบบสือ่ สารและอุปกรณ์การสือ่ สารต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น โทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต วิทยุ โทรทัศน์ โดยท�ำงานในลักษณะ ของการรวมศูนย์การบริหารจัดการ และการสัง่ การจากศูนย์ควบคุมบริหาร จัดการระบบโครงข่ายสื่อสาร (Network Operation Center : NOC) ซึง่ เปรียบเสมือนศูนย์บญ ั ชาการทีม่ กี ารเฝ้าระวังตลอด 24 ชัว่ โมง คอยรับ แจ้งเหตุเสียและฉุกเฉินจากเจ้าหน้าที่หน้างาน แก้ไขปัญหา ประสานงาน และส่งต่อการแก้ไขปัญหาไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เข้าไปแก้ไขได้ ทันท่วงที พร้อมติดตามการแก้ไขปัญหา หรือข้อมูลสถานะด้วยระบบ การท�ำงานทีเ่ ป็นมาตรฐาน รวมถึงรวบรวมวิเคราะห์ขอ้ มูลด้านสถิตริ ะบบ โครงข่ายสื่อสาร March-April 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

มีอะไรในระบบ INMS ภายในระบบ INMS ประกอบไปด้วยระบบย่อยทีทำ ่ �หน้าที่แตกต่างกัน ทว่าทำ�งานร่วมกันอย่างสอดคล้อง ประกอบไปด้วย

ระบบบริหารจัดการแก้ไขข้อผิดพลาดของโครงข่าย (Fault Management System : FMS) เป็นศูนย์กลางในการรวบรวม Alarm และ Fault จากอุปกรณ์ และระบบย่อยต่างๆ ในโครงข่ายสื่อสาร โครงสร้างพื้นฐานด้าน IT ภายในของ PEA  เฝ้าระวัง วิเคราะห์ข้อมูล กลไกภายในระบบ ช่วยให้เจ้าหน้าที่ ทราบเหตุผิดพลาดได้อย่างแม่นย�า  ส่งข้อมูลไปยังระบบ Trouble Ticket System เพื่อเปิดใบงาน (Ticket)  กรณีปญ ั หาโครงข่ายมีความซับซ้อน เจ้าหน้าทีจ่ ะวิเคราะห์สาเหตุ ที่แท้จริงโดยอาศัยเครื่องมือต่างๆ ระบบแสดงสถานะภาพรวม โครงข่ายสือ่ สาร (Dashboard)  ท�ำให้ผด ู้ แู ลเห็นภาพรวมของโครงข่าย สื่อสาร จากการน�ำข้อมูลจากระบบ ต่างๆ เช่น FMS, PMS และ TIMS มาเชือ่ มโยงและแสดงผลบนหน้าจอ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์พกพา  สามารถติดตามสถานะของโครงข่าย และสถานะการตรวจซ่อมบ�ำรุงรักษา ได้อย่างสะดวกและมีประสิทธิภาพ

March-April 2019

ระบบบริหารจัดการประเมินผลประสิทธิภาพ ของโครงข่าย (Performance Management System : PMS)  รวบรวมข้อมูลด้านประสิทธิภาพของโครงข่ายสือ ่ สารเพือ่ วิเคราะห์และเปรียบเทียบกับค่าประสิทธิภาพมาตรฐาน เช่น ประสิทธิภาพในการรับส่งข้อมูล ก่อนจะแจ้งเตือน ไปยังผู้ดูแลระบบ

ระบบจัดการการแจ้งปัญหาและบริหารงานบริการสือ่ สาร (Trouble Ticket System & Telecommunication Services Management System : TTS & TSMS)  ดูแลเหตุช�ำรุด ตั้งแต่การรับแจ้ง บันทึก ส่งต่อการแก้ไขปัญหา จนกระทั่งปิดเหตุและการแจ้งกลับ  จัดท�ำรายงานเพือ ่ น�ำไปใช้ในการวิเคราะห์และวางแผนการรับมือ ในอนาคต ตลอดจนการขอบริการใหม่ การเปลี่ยนแปลงบริการ การควบคุมจัดการการปรับเปลี่ยน Configuration ของโครงข่าย ทั้งจากลูกค้าและผู้ใช้บริการ ตลอดจนการซ่อมเปลี่ยนจากการ บ�ำรุงรักษา  ผู้เกี่ยวข้องในระบบนี้สามารถแจ้งสถานะงาน ติดตามงาน และ ประเมินผลได้ในคราวเดียวกัน


การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

ระบบเฝ้าระวังโครงข่ายเคเบิลใยแก้วนำ�แสงระยะไกล (Remote Fiber Management System : RFMS)  เฝ้าระวังโครงข่ายเคเบิลใยแก้วน�ำแสงทีม ่ รี ะยะทางมากกว่า 32,700 กิโลเมตร ตลอด 24 ชั่วโมง  หากเกิดสายขาด การช�ำรุด ระบบ RFMS จะท�ำงานร่วมกับ ระบบ GIS for OFM แสดงต�ำแหน่งที่เกิดเหตุได้อย่าง รวดเร็ว แม่นย�า  ช่วยลดเวลาในการหาต�ำแหน่งช�ำรุดทีเ่ กิดขึน ้ ของเจ้าหน้าที่

ระบบภูมสิ ารสนเทศสำ�หรับบริหารจัดการ โครงข่ายสายเคเบิลใยแก้วนำ�แสง (Geographic Information System for Optical Fiber Management : GIS for OFM)  รวบรวมข้อมูลรายละเอียดทีจ ่ ำ� เป็น เช่น ประเภท ขนาดของสายเคเบิล เส้นทางการเชื่อมต่อ ต�ำแหน่ง จุดเชือ่ มต่อท่อร้อยสาย บ่อพัก รูปแบบ การติดตั้งในสถานี  ช่วยวางแผนออกแบบโครงข่าย  วิเคราะห์ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น ท�ำให้สามารถ คาดการณ์ ป้องกันและจัดการกับข้อผิดพลาด ได้รวดเร็วยิ่งขึ้น

ระบบบริหารจัดการทรัพย์สิน โครงข่ายสื่อสาร (Telecom Inventory Management System : TIMS)  เป็ น ศู น ย์ ก ลางในการจั ด เก็ บ และบริ ห ารจั ด การข้ อ มู ล ทรั พ ยากรของ อุปกรณ์โครงข่ายสื่อสาร  ท�ำให้ทราบถึงสถานะล่าสุดของอุปกรณ์ ปริมาณการใช้งาน เป็นต้น

ห้องศูนย์ควบคุมระบบโครงข่าย สื่อสาร (Network Operation Center : NOC)  ศู น ย์ ก ลางควบคุ ม และบริ ห ารจั ด การ ระบบโครงข่ายสื่อสาร  เฝ้าระวังเหตุเสียและฉุกเฉินจากระบบ Fault Management  รั บ แจ้ ง เหตุ เ สี ย และเหตุ ฉุ ก เฉิ น จาก เจ้าหน้าที่หน้างาน  แก้ไขปัญหา ประสานงาน และส่งต่อการ แก้ไขปัญหาไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  รวบรวมและวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล สถิ ติ ด ้ า น ระบบโครงข่ายสื่อสาร

ระบบตรวจสอบสถานะ สภาพแวดล้อมห้องสื่อสาร (Environment and Facility Management System : EFMS)  จั บ ตาสภาพแวดล้ อ มในห้ อ ง สื่อสาร  เมือ ่ พบความผิดพลาด จะส่งข้อมูล กลับมายังห้องศูนย์ NOC ท�ำให้ สามารถแจ้งเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ ได้อย่างรวดเร็ว

จะเห็นว่าระบบจัดการโครงข่ายสือ่ สารแบบบูรณาการนี้ นอกจากช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงานของระบบการสือ่ สารโทรคมนาคม ของ PEA แล้ว ยังช่วยลดภาระแก่เจ้าหน้าที่ในการดูแลและสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว แม่นย�ำ เป็นระบบมากขึ้น ซึ่งส่งผล ต่อความเชื่อมั่นของลูกค้าผู้ใช้ไฟฟ้าในระยะยาว March-April 2019


บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน)

เอ็กโก กรุ๊ป ปิดดีลซื้อหุ้น

โรงไฟฟ้าพาจู อีเอส ในเกาหลีใต้ อย่างเป็นทางการ

จักษ์กริช พิบูลย์ไพโรจน์ กรรมการผู้จัดการ ใหญ่ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือเอ็กโก กรุ๊ป เปิดเผยว่า เอ็กโก กรุ๊ป ประสบความส�ำเร็จ ในการซื้อหุ้น ในสัดส่วนร้อยละ 49 ในบริษัท พาจู เอ็นเนอร์ย่ี เซอร์วสิ จ�ำกัด (พาจู อีเอส) ซึง่ เป็นเจ้าของ และด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ โรงไฟฟ้ า พลั ง ความร้ อ นร่ ว ม พาจู อีเอส ในเกาหลีใต้ ขนาดก�ำลังการผลิต 1,823 เมกะวัตต์ โดยการซื้อขายหุ้นดังกล่าวได้เสร็จสิ้น สมบูรณ์แล้ว เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2562 โรงไฟฟ้าพาจู อีเอส ตัง้ อยูท่ เี่ มืองพาจู จังหวัด คย็องกี ประเทศเกาหลีใต้ เริม่ เดินเครือ่ งเชิงพาณิชย์ ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 โดยใช้แอลเอ็นจี น�ำเข้าเป็นเชือ้ เพลิงและจ�ำหน่ายไฟฟ้าให้แก่ Korea Electric Power Corporation ซึ่งเป็นผู้รับซื้อไฟฟ้า รายเดียวในเกาหลีใต้ โดยซื้อขายผ่านตลาดกลาง ซื้อขายไฟฟ้าของประเทศเกาหลีใต้ (Korea Power Exchange)

เอ็กโก กรุ๊ป เปิด บจก. อีแอนด์อี เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ เซอร์วิส ให้บริการเดินเครื่องและบำ�รุงรักษาโครงการโรงไฟฟ้าน�้ำเทิน 1 สปป.ลาว บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป๊ โดย จักษ์กริช พิบลู ย์ไพโรจน์ กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ร่วมท�ำพิธีเปิด บริษัท อีแอนด์อี เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ เซอร์วิส จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัท ร่วมทุนระหว่างบริษัท เอ็กโก เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ เซอร์วสิ จ�ำกัด (ESCO) ในกลุม่ เอ็กโก กับ EDL-GEN Operation and Maintenance Service Sole Company Limited (EDL-GEN O&M) เพือ่ ให้บริการ เดินเครือ่ งและบ�ำรุงรักษาโครงการโรงไฟฟ้าน�ำ้ เทิน 1 ใน สปป.ลาว ซึง่ อยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง และมีกำ� หนด เดินเครือ่ งเชิงพาณิชย์ใน พ.ศ. 2565 รวมทัง้ ให้บริการ งานด้านอืน่ ๆ แก่โรงไฟฟ้าและโรงงานอุตสาหกรรม อื่นๆ ใน สปป.ลาว ภายในงานได้รบั เกียรติจาก เรือเอกชัชวรรณ สาครสินธุ์ อุปทูตรักษาการ สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ เวียงจันทน์ ป.อ.ดาววง พอนแก้ว หัวหน้าห้อง March-April 2019

การกระทรวง กระทรวงพลังงานและบ่อแร่ สปป.ลาว และ รัตนา ประทุมวัน ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ บริษทั ผลิตไฟฟ้าลาว จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมพิธเี ปิดอย่างเป็นทางการ ณ โรงแรมลาวพลาซ่า เวียงจันทน์ สปป.ลาว


บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)

“เยาวชนจิตอาสา สร้างป่า รักษ์นำ�้ ” ค่าย

กิจกรรมดีๆ จากราชบุรีโฮลดิ้ง กิจกรรมค่ายเยาวชนกล้ายิ้ม ภาคเหนือ โครงการคนรักษ์ป่า ป่ารักชุมชน ประจ�ำปี 2562 มุ่งปลูกฝังจิตสาธารณะให้แก่เยาวชน ด้ ว ยการน้ อ มน� า พระราชด� ำ ริ ใ นสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว มหาวชิ ร าลงกรณ บดิ น ทรเทพยวรางกู ร โครงการจิ ต อาสา “เราท�ำความดี ด้วยหัวใจ” มาเป็นแก่นของกิจกรรม ภายใต้หวั ข้อ “เยาวชนจิตอาสา สร้างป่า รักษ์นำ�้ ” โดยจะจุดประกายเยาวชน ให้ตระหนักถึงการอุทิศตนเพื่อส่วนรวม สร้างสรรค์คุณค่าให้ชุมชน และสังคม ตลอดจนสร้างความภาคภูมิใจให้เกิดขึ้นกับตนเอง บุญทิวา ด่านศมสถิต ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่บริหาร องค์กร บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า “เราทราบกันดีวา่ โครงการจิตอาสา “เราท�ำความดี ด้วยหัวใจ” พระราชด�ำริ ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ได้แผ่ขยายและสร้างจิตอาสาบ�ำเพ็ญประโยชน์ไปทุกพืน้ ทีใ่ นประเทศ ในส่วนบริษัทฯ เองก็เชื่อมั่นในแนวคิดของ “จิตอาสา” มาโดยตลอด ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงน้อมน�ำพระราชด�ำริ ของพระองค์มาสานต่อกับกิจกรรมค่ายเยาวชน กล้ายิม้ ด้วยเชือ่ ว่าการท�ำจิตอาสานัน้ เริม่ ต้น ได้จากทุกคน ไม่จำ� กัดเพศหรือวัย” กิ จ กรรมค่ า ยเยาวชนกล้ า ยิ้ ม ภาคเหนือ ประจ�ำปี 2562 ครัง้ ที่ 1 ได้นา� นักเรียนใน 6 จังหวัดภาคเหนือ จ�ำนวน 55 คน มาท�ำกิจกรรมร่วมกัน เยาวชน จะได้เรียนรู้ถึงหลักการและแนวคิดของ บุญทิวา

ด่านศมสถิต

จิตอาสาจากวิทยากรที่อุทิศตนเป็นจิตอาสามาอย่างยาวนาน และ จะได้ลงมือปฏิบตั โิ ดยการสร้างฝาย 6 แห่ง และปลูกต้นไม้ 1,000 ต้น โดยจัดขึ้นที่ป่าชุมชนบ้านภูเขาแก้ว ต.เชียงเคี่ยน อ.เทิง จ.เชียงราย เป็นป่าชุมชนทีไ่ ด้รบั รางวัลป่าชุมชนชนะเลิศดีเด่นด้าน “การจัดการ ความหลากหลายทางชีวภาพ สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” ในการ ประกวดป่าชุมชนดีเด่นระดับประเทศ โครงการคนรักษ์ปา่ ป่ารักชุมชน ประจ�ำปี 2561 ป่าชุมชนแห่งนี้มีความอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งพื้นที่ต้นน�้า หลายสาย อีกทั้งยังมีภูมิหลังเรื่องความสามัคคี ร่วมแรงร่วมใจกัน และเสียสละตนของคนในชุมชนช่วยกันฟื้นฟูผืนป่าอันเสื่อมโทรม จากการสัมปทานไม้ในอดีต ปัจจุบันป่าแห่งนี้กลายเป็นต้นแบบ การศึกษาธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพภาคเหนือ ของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 1 ใน 4 แห่งของประเทศไทยอีกด้วย ไชยนันทน์ (น้องยิว) แก้วโน นักเรียนชั้น ม.3 โรงเรียน วังหวายวิทยาคม จ.ตาก และ พิชามญชุ์ (น้องพรินซ์) บัวดี นักเรียน ชัน้ ม.2 โรงเรียนเทศบาลเมืองแม่ฮอ่ งสอน จ.แม่ฮอ่ งสอน มีความเห็น สอดคล้องกันว่า การเข้าร่วมโครงการนีท้ ำ� ให้เห็นว่า ป่าไม้มปี ระโยชน์ มาก ท�ำให้ชุมชนมีแหล่งอาหาร ชุมชนมีความสามัคคี ถึงแม้ใน ชุมชนตนเองจะไม่มีป่าชุมชนเช่นนี้ แต่หากมีโอกาสก็ยินดีเข้าร่วม กิจกรรมจิตอาสาในโครงการอื่น นอกจากนั้นยังได้รับความรู้จาก วิทยากรที่มาบอกเล่าถึงการท�ำงานจิตอาสาที่เป็นแรงบันดาลใจ ที่จะท�ำงานจิตอาสาต่อไปอีกด้วย March-April 2019




ระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ บนหลังคาและลอยน้ำ

IEEE Thailand Section และ IEEE PES-Thailand จัดสัมมนาเชิงวิชาการเรื่อง “ระบบผลิ ต ไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ บนหลังคา (Solar Rooftop) และลอยน�้ำ (Floating) : ข้อก�ำหนด การออกแบบ ติดตัง้ ควบคุมและบ�ำรุงรักษา” เมื่อวันที่ 21-23 มีนาคม 2562 ณ ไบเทค บางนา นั้น ซึ่งจัด เป็น Site Event ของ IEEE PES GTD Grand International Conference and Exposition ASIA 2019 (IEEE PES GTD Asia 2019) การสัมมนาครั้งนี้ ได้รับเกียรติจาก พระครู วิ ม ลปั ญ ญาคุ ณ เจ้ า อาวาสวั ด ป่ า ศรีแสงธรรม จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ได้ก่อตั้ง โรงเรียนศรีแสงธรรม โรงเรียนต้นแบบการใช้ พลังงานแสงอาทิตย์ ถือเป็นประโยชน์อย่างยิง่ ต่อการพัฒนาพลังงานทดแทนเพือ่ น�ำไปสูก่ าร พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอย่างยั่งยืน March-April 2019


IEEE PES GTD

IEEE PES GTD ASIA 2019

นิทรรศการนานาชาติด้านไฟฟ้าและพลังงานแสงอาทิตย์

เมื่อเร็วๆ นี้ IEEE Power & Energy Society ส�ำนักงานใหญ่ ประเทศสหรัฐอเมริกำ และสถาบันวิชาชีพวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ แห่งประเทศไทย จัดงานระดับโลกในประเทศไทย เป็นครั้งแรก และเป็นครั้งแรกในภูมิภาคเอเชีย ได้เปิดงานสัมมนาวิชาการและนิทรรศการระดับ นานาชาติ ที่ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนำ

โดยมี พล.อ.อ.ชลิต พุกผาสุข องคมนตรี เป็นประธานเปิดนิทรรศการอย่างเป็น ทางการ พร้อมด้วย ดร.ศิริ จิระพงษ์พนั ธ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน ในหัวข้อ “ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา (Solar Rooftop) และลอยน�ำ้ (Floating) : ข้อก�ำหนด การออกแบบ ติดตั้ง ควบคุมและบ�ำรุงรักษา” ทั้งนี้ การจัด งานแห่งอนาคตด้านไฟฟ้าและพลังงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 มีวตั ถุประสงค์ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจพื้นฐานการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคำ และลอยน�้ำ ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการพัฒนาพลังงานทดแทน เพื่อน�ำไปสู่การ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอย่างยั่งยืน

March-April 2019


ในส่วนของการจัดงาน ได้เชิญวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญระดับโลกจากหลายประเทศมาร่วมบรรยายหัวข้อที่เกี่ยวข้อง ครอบคลุมเนือ้ หาด้านระบบผลิตไฟฟ้า ระบบส่งและจ�ำหน่ายไฟฟ้า รวมถึงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน และอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง กับระบบดิจทิ ลั เช่น เมืองอัจฉริยะและศูนย์ขอ้ มูล ตลอดจนบรรยายเกีย่ วข้องกับแนวโน้มพลังงานทดแทนทางเลือกในอนาคต และพลังงาน แสงอาทิตย์

March-April 2019


นอกจากนี้ ภายในงานจัดแสดงนิทรรศการกว่า 400 คูหา โดยผู้ประกอบการจาก ทั่วทุกมุมโลกเข้าร่วมแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน ทุกรูปแบบ ซึง่ มีผเู้ ข้าร่วมการประชุมและเยีย่ มชมนิทรรศการภายในงานกว่า 10,000 คน เพื่อให้ผู้เข้าชมงานได้รับประโยชน์ เป็นทางเลือกให้กับพลังงานแห่งอนาคต รวมทั้ง ยานยนต์ไฟฟ้า หุน่ ยนต์เพือ่ อุตสาหกรรม โซลูชนั ครบวงจรด้านไฟฟ้าและพลังงาน ตลอดจน การจัดการโรงไฟฟ้าอย่างยัง่ ยืนด้วยเทคโนโลยีลำ้� สมัย จึงถือเป็นส่วนส�ำคัญในการกระตุน้ เศรษฐกิจ และการพัฒนาด้านการวิจัยและนวัตกรรมเทคโนโลยีด้านไฟฟ้าและพลังงาน ของประเทศให้กา้ วสู่ระดับสากลอย่างเป็นรูปธรรม

March-April 2019


March-April 2019



Special Scoop > กองบรรณาธิการ

ไลน์การผลิตเครื่องปรับอากาศภายในบ้านแอลจี

LG พร้อมเปิดไลน์ผลิตเต็มรูปแบบ เสริมแกร่งศูนย์กลางส่งออกอาเซียน

ผลิตภัณฑ์ LG เป็นผลิตภัณฑ์ที่คนไทยคุ้นเคยเป็นอย่างดี โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ประเภทเครื่องปรับอากาศที่ได้รับความนิยม ในหมู่คนไทยไม่น้อย ซึ่งแอลจีได้เข้ามาตั้งโรงงานในประเทศไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2543 โดยโรงงานแอลจี อีเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย) ตัง้ อยูท่ น่ี คิ มอุตสาหกรรมอีสเทิรน์ ซีบอร์ด จังหวัดระยอง ได้เริม่ ต้น ผลิตเครื่องปรับอากาศภายในบ้านเมื่อ พ.ศ. 2543 และเริ่มผลิต เครื่องปรับอากาศภายในบ้านที่มีนวัตกรรมดูอัล อินเวอร์เตอร์ ใน พ.ศ. 2560 ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา โรงงานได้ให้ความส�ำคัญกับการ ด�ำเนินงานด้านการจัดการสิง่ แวดล้อมและพลังงาน รวมถึงเป้าหมาย อุบตั เิ หตุเป็นศูนย์ (Zero Accident) เป็นหลัก ปัจจุบนั แอลจีมพี นักงาน ที่ปฏิบัติงานภายในโรงงานทั้งหมดมากกว่า 1,300 คน และได้ผลิต เครื่องปรับอากาศภายในบ้านพร้อมอินเวอร์เตอร์มาแล้วมากกว่า 10 ล้านเครื่อง เพื่อจ�ำหน่ายในประเทศไทยและส่งออกไปยังกว่า 50 ประเทศ ทัว่ เอเชีย ออสเตรเลีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา รวมถึง สหรัฐอเมริกา อีกทัง้ ยังเป็นศูนย์กลางด้านการผลิตเครือ่ งปรับอากาศ ภายในบ้านแห่งอาเซียนด้วย March-April 2019

วราพงษ์ อูปแก้ว ผู้อ�ำนวยการโรงงาน บริษัท แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า “ด้วยศักยภาพของ พนักงานคนไทย ผสานกับนวัตกรรมเทคโนโลยีทแ่ี อลจีพฒ ั นาตลอด เวลาอย่างไม่หยุดยัง้ และระบบการบริหารจัดการของโรงงานทีเ่ ทียบ มาตรฐานของโรงงานแอลจีระดับโลก ท�ำให้โรงงานแห่งนีเ้ ป็นหนึง่ ใน ศูนย์กลางการผลิตทีส่ ำ� คัญของภูมภิ าคอาเซียน และเป็นฐานการผลิต เครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นที่ ส� ำ คั ญ เพื่ อ การจ� ำ หน่ า ยทั้ ง ใน ประเทศไทยและส่งออกไปยังทัว่ เอเชีย ออสเตรเลีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา รวมถึงสหรัฐอเมริกา” ด้าน นิพนธ์ วงษ์แสงอรุณศรี ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาด บริษัท แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า “นับตั้งแต่แอลจีเปิดไลน์การผลิตเครื่องปรับอากาศภายในบ้านใน ประเทศไทย โรงงานของเราทีร่ ะยองได้กลายเป็นหนึง่ ในฐานการผลิต ที่ส�ำคัญของแอลจี โดยเราได้เพิ่มศักยภาพในการผลิตเพื่อส่งออก จาก 1 ล้านเครือ่ งใน พ.ศ. 2561 เป็น 1.3 ล้านเครือ่ งใน พ.ศ. 2562 อีกทั้งยังผลิตเครื่องปรับอากาศภายในบ้านพร้อมนวัตกรรมดูอัล อินเวอร์เตอร์ ด้วยความมุง่ มัน่ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนือ่ ง


จึงท�ำให้ผลิตภัณฑ์ของแอลจีมีความน่าเชื่อถือในเรื่องคุณภาพ โดดเด่นในเรื่องดีไซน์ และยังเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีเปี่ยมด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยีอนั ชาญฉลาด ช่วยยกระดับประสบการณ์การใช้ชวี ติ ของ ผู้บริโภคให้ดียิ่งขึ้นได้อย่างแท้จริง” “ตลาดเครือ่ งปรับอากาศภายในบ้านระบบอินเวอร์เตอร์ในไทย ยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง เพราะผู้บริโภคตระหนักถึงความคุ้มค่า ทางด้านต้นทุนในระยะยาว จากคุณสมบัตดิ า้ นการประหยัดพลังงาน ที่โดดเด่นของเทคโนโลยีอินเวอร์เตอร์ ซึ่งแอลจีก็เป็นแบรนด์แรก ทีไ่ ด้นำ� เครือ่ งปรับอากาศภายในบ้านพร้อมนวัตกรรมอินเวอร์เตอร์ เข้ามาในตลาด และเพือ่ ตอบรับความต้องการทีเ่ พิม่ ขึน้ ในปีนี้ แอลจี จึงได้เปิดตัวเครือ่ งปรับอากาศภายในบ้านหลากหลายรุน่ ยิง่ ขึน้ พร้อม นวัตกรรมที่ตอบโจทย์ครบทุกกลุ่มเป้าหมาย ตอกย�ำ้ วิสัยทัศน์ด้าน เทคโนโลยีเครื่องปรับอากาศภายในบ้านระบบอินเวอร์เตอร์ของ แอลจี” เครือ่ งปรับอากาศภายในบ้านพร้อมดูอลั อินเวอร์เตอร์ เป็น ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั ความนิยมมาก เพราะตอบโจทย์ความต้องการของ ตลาดด้วยการประหยัดพลังงานที่เหนือกว่า และประสิทธิภาพการ ท�ำงานสูงสุด นอกจากนั้นยังมีนวัตกรรมที่เรียกว่า แอลจี ดูอัล คูล ที่มาพร้อมเครื่องฟอกอากาศ ท�ำให้อากาศสะอาดยิ่งขึ้น สามารถ กรองอากาศจากสารมลพิษที่มองไม่เห็นซึ่งมีขนาดเล็กถึง PM 1.0 ได้เป็นอย่างดี เหมาะส�ำหรับประเทศไทยและประเทศในอาเซียน ทีป่ ระสบปัญหาฝุน่ ควันขนาดเล็ก ซึง่ เป็นปัญหาทีน่ บั วันจะทวีความ รุนแรงมากขึ้น “ด้วยคุณสมบัตขิ องผลิตภัณฑ์ จึงมัน่ ใจว่าจะได้รบั การตอบรับ มากขึน้ คาดว่าจะสามารถแบ่งส่วนแบ่งตลาดได้ประมาณ 16%” นิพนธ์ กล่าวเพิ่มเติม ในส่วนผลิตภัณฑ์ทจี่ ะออกสูต่ ลาดใน พ.ศ. 2562 นัน้ นิพนธ์ กล่าวว่า จะมีขนาดตั้งแต่ 9,000-30,000 บีทียู ซึ่งมีระบบดูอัล อินเวอร์เตอร์ ทีป่ ระหยัดพลังงานได้มากขึน้ ถึง 70% และให้ความเย็น เร็วขึ้นถึง 40% พร้อมเชื่อมต่อผ่านแอปพลิเคชัน SmartThinQTM ฟีเจอร์อนั เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของแอลจีทชี่ ว่ ยควบคุมการท�ำงาน นอกเหนือจากการเปิด-ปิด ได้ทกุ ทีท่ กุ เวลาแม้จะอยูน่ อกบ้าน พร้อม ช่วยวิเคราะห์ปญ ั หาในการใช้งานเบือ้ งต้น ประหยัดเวลาซ่อมมากขึน้ ผ่านโปรแกรม Smart Diagnosis

“ที่ส�ำคัญ ยังมาพร้อมเครื่องฟอกอากาศที่มีประสิทธิภาพ สามารถฟอกอากาศจากมลพิษที่มองไม่เห็นด้วยอนุภาคที่เล็กถึง PM 1.0 ช่วยสร้างอากาศบริสุทธิ์ เสริมสร้างสุขภาพที่ดีให้กับคน ในบ้านได้” นอกจากนัน้ คอนเดนเซอร์แบบ Gold Fin ทีเ่ คลือบวัสดุชนั้ ดี ช่วยป้องกันการสึกกร่อนและสนิม และการท�ำงานทีเ่ งียบเป็นพิเศษ ด้วยเสียงรบกวนที่เบาเพียง 18 เดซิเบล ส่วนรุ่นที่มี Plasmaster Ionizer+ จะช่วยก�ำจัดเชือ้ โรคทีอ่ าจปะปนอยูใ่ นอากาศได้ถงึ 99.9% นอกจากนี้ยังมีรุ่น HT แบบทูอินวัน ซึ่งได้รับการออกแบบเฉพาะ ส�ำหรับพื้นที่ซึ่งมีสภาพภูมิอากาศเย็น สามารถท�ำงานได้ทั้งการให้ ความเย็นและการให้ความร้อน บริษัท แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ถือเป็น หนึ่งในผู้น�ำด้านการผลิตและจัดจ�ำหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้า และกลุ่ม ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านภายใต้แบรนด์ แอลจี บริษัทมี วิสัยทัศน์ที่จะก้าวขึ้นสู่ความเป็นแบรนด์ชั้นน�ำของเมืองไทยที่จะ เติมเต็มชีวิตของผู้บริโภคชาวไทยด้วยนวัตกรรมระดับโลก โดยใน ประเทศไทยนั้น ประกอบไปด้วย 3 หน่วยธุรกิจส�ำคัญ ได้แก่ ธุรกิจ ผลิตภัณฑ์โฮมเอ็นเตอร์เทนเมนต์ ธุรกิจเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน ธุรกิจเครื่องปรับอากาศและโซลูชันด้านพลังงาน แอลจีเป็นผู้น�า ด้านการผลิตทีวีจอแบน อุปกรณ์ภาพและเสียง เครื่องปรับอากาศ เครือ่ งซักผ้า และตูเ้ ย็นทีม่ คี ณ ุ ภาพระดับโลก นอกจากผลิตภัณฑ์ทม่ี ี ความโดดเด่นทั้งด้านดีไซน์ เทคโนโลยีและคุณภาพที่วางใจได้แล้ว แอลจียงั มุง่ มัน่ ในการสร้างแบรนด์ผา่ นกิจกรรมต่างๆ สอดคล้องกับ สโลแกน “Life’s Good”

เครื่องปรับอากาศ ภายในบ้าน

แอลจีซีรีส์ใหม่ ประจำ�ปี 2562

March-April 2019


Article

> ดร.ประไพวรรณ สันวงศ์ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)

เทคโนโลยี

แม่เหล็กขั้นสูง เทคโนโลยีแม่เหล็กได้ถูกน�ำมาประยุกต์ใช้ใน ด้านต่างๆ อย่างหลากหลายตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ทั้งในด้านพลังงาน การขนส่ง การตรวจวินิจฉัยและ การรักษาทางการแพทย์ การผลิตอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ และเป็นเครือ่ งมือส�ำหรับงานวิจยั ทางด้านวิทยาศาสตร์ การพัฒนาและความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทางด้าน แม่เหล็กที่มีมาอย่างต่อเนื่องได้ท�ำให้คุณลักษณะของ แม่เหล็กตอบโจทย์ความต้องการใช้งานได้ดียิ่งขึ้น เช่น การพัฒนาแม่เหล็กถาวรชนิดนีโอไดเมียมท�ำให้สามารถ สร้างสนามแม่เหล็กความเข้มสูงได้จากแม่เหล็กที่มี ขนาดเล็กลง การพัฒนาแม่เหล็กตัวน�ำยิ่งยวดท�ำให้ สามารถสร้างสนามแม่เหล็กทีม่ คี วามเข้มหลายเทสลาได้ เป็นต้น

สถาบันวิจย ั แสงซินโครตรอนกับการวิจย ั และพัฒนาทางด้านแม่เหล็ก

สถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) ได้พฒ ั นาห้องปฏิบตั กิ าร แม่เหล็กขึน้ เพือ่ สนับสนุนการด�ำเนินงานวิจยั ทางด้านแม่เหล็กส�ำหรับเครือ่ งเร่ง อนุภาค และเตรียมความพร้อมส�ำหรับการพัฒนาเครือ่ งก�ำเนิดแสงซินโครตรอน ในอนาคต แม่เหล็กส�ำหรับเครื่องเร่งอนุภาคมีลักษณะพิเศษ คือ ขนาดและ ทิศทางของสนามแม่เหล็กจะต้องมีความถูกต้องและแม่นย�ำสูงกว่าแม่เหล็กที่ ใช้งานในด้านอืน่ ๆ (ค่าความเคลือ่ นของสนามแม่เหล็กไม่เกิน 0.1%) เพือ่ ให้การ เคลือ่ นทีข่ องอนุภาคพลังงานสูงเป็นไปตามทีอ่ อกแบบไว้ ด้วยเหตุนอี้ งค์ความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบและผลิตแม่เหล็กที่พัฒนาขึ้นภายในสถาบันฯ จึงนับว่ามีความพิเศษกว่าเทคโนโลยีทางด้านแม่เหล็กภายในประเทศทีม่ อี ยู่ และ เป็นเทคโนโลยีขั้นสูงที่สามารถขยายขอบเขตและยกระดับงานวิจัยและพัฒนำ ทางด้านแม่เหล็กภายในประเทศได้

ผลการค�ำนวณสนามแม่เหล็กของแม่เหล็ก 6 ขั้ว ใน 2 มิติ แกนแม่เหล็ก 6 ขั้วที่ผลิตด้วยเครื่องตัดด้วยเส้นลวดน�ำกระแสไฟฟ้า และการวัดสนามแม่เหล็กด้วยอุปกรณ์วัดสนามแม่เหล็กแบบฮอลล์ March-April 2019


ความพิเศษของเทคโนโลยีแม่เหล็กขัน้ สูงนี้ เริม่ ตัง้ แต่ กระบวนการออกแบบและการสร้างแบบจ�ำลองเพือ่ ค�ำนวณ สนามแม่เหล็กด้วยโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ ซึง่ มีการใช้งาน กั น อย่ า งแพร่ ห ลายในการออกแบบแม่ เ หล็ ก ส� ำ หรั บ เครื่องเร่งอนุภาค เช่น POISSON และ Radia หลังจากนั้น จึงเป็นการออกแบบทางวิศวกรรมและการด�ำเนินการผลิต โดยทั่ ว ไปคุ ณ ลั ก ษณะของสนามแม่ เ หล็ ก จะถู ก ก� ำ หนด โดยรูปร่างของแกนแม่เหล็กที่ผลิตจากเหล็กกล้าคาร์บอน ต�ำ่ ดังนัน้ ความละเอียดและแม่นย�ำในการผลิตแกนแม่เหล็ก จึงมีความส�ำคัญมาก ทางสถาบันฯ ได้พัฒนาเทคนิคและ กระบวนการผลิตแกนแม่เหล็กที่มีผิวโค้ง (อธิบายได้ด้วย สมการทางคณิตศาสตร์) ด้วยความแม่นย�ำในระดับไมครอน โดยการใช้เครือ่ งตัดด้วยเส้นลวดน�ำกระแสไฟฟ้าและเครือ่ งกัด โลหะควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ หลังจากนัน้ จึงเข้าสูข่ นั้ ตอน การประกอบชิน้ ส่วนต่างๆ ของแม่เหล็กโดยอาศัยเครือ่ งวัด พิกัด 3 มิติในการตรวจสอบความถูกต้องของต�ำแหน่งและ การจัดวาง รวมทัง้ ขัน้ ตอนการทดสอบและวัดสนามแม่เหล็ก ด้วยอุปกรณ์วดั สนามแม่เหล็กความไวสูงทีไ่ ด้มาตรฐานและ สามารถวัดสนามแม่เหล็กความเข้มสูงได้

Dipole

ประโยชน์ของเทคโนโลยีแม่เหล็กขั้นสูงต่ออุตสาหกรรม การผลิตและการพัฒนาประเทศ

งานวิจัยและพัฒนาทางด้านแม่เหล็กที่ทางสถาบันฯ ได้ด�ำเนินงาน มานั้น ครอบคลุมตั้งแต่การออกแบบแม่เหล็กตามวัตถุประสงค์การใช้งาน ไปจนถึงการผลิต ประกอบ ติดตั้ง ทดสอบ และการใช้งานแม่เหล็ก ซึ่ง กระบวนการเหล่านีส้ ามารถน�ำไปปรับใช้กบั แม่เหล็กชนิดอืน่ ๆ ได้ ทัง้ ทีเ่ ป็น แม่เหล็กถาวร แม่เหล็กไฟฟ้า และแม่เหล็กตัวน�ำยิ่งยวด โดยทางสถาบันฯ มีศักยภาพและมีความพร้อมที่จะร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมในการให้ ค�ำปรึกษา ฝึกอบรม และถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อน�ำไปสู่การผลิตแม่เหล็ก ที่หลากหลายและการใช้ประโยชน์ในวงกว้าง ซึ่งจะช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับ อุตสาหกรรมแม่เหล็กที่มีอยู่เดิมภายในประเทศ ลดการพึ่งพาเทคโนโลยี ขัน้ สูงจากต่างประเทศ และช่วยเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของภาค อุตสาหกรรมไทยในระดับสากล เทคโนโลยีแม่เหล็กขั้นสูงนี้ สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในด้านอื่นๆ นอกเหนือจากเครือ่ งก�ำเนิดแสงซินโครตรอน ได้แก่ เครือ่ งเร่งอนุภาคส�ำหรับ การรักษาด้วยอนุภาคบ�ำบัด การฉายรังสีอาหารและผลิตผลทางการเกษตร และการปรับปรุงสมบัตขิ องวัสดุดว้ ยไอออน รวมทัง้ เป็นเครือ่ งมือในงานวิจยั ทางด้านฟิสิกส์พลังงานสูง และฟิสิกส์อะตอม โมเลกุล และทัศนศาสตร์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนมีส่วนช่วยในการพัฒนาประเทศ ทั้งทางด้านคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ และการพัฒนาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

Quadrupole

Sextupole

โครงสร้างของแม่เหล็กที่ส�ำคัญส�ำหรับเครื่องเร่งอนุภาค ได้แก่ แม่เหล็ก 2 ขั้ว (Dipole) ท�ำหน้าที่เลี้ยวเบนล�ำอิเล็กตรอนให้เคลื่อนที่ เป็นวงกลม แม่เหล็ก 4 ขั้ว (Quadrupole) ท�ำหน้าที่โฟกัสหรือบีบล�ำอิเล็กตรอนให้เล็กลง และแม่เหล็ก 6 ขั้ว (Sextupole) ท�ำหน้าที่แก้ไข ผลที่เกิดขึ้นจากการที่พลังงานของอิเล็กตรอนมีความคลาดเคลื่อนไปจากค่าที่ออกแบบ ช่วยให้อิเล็กตรอนที่มีพลังงานต่างกันถูกโฟกัสที่ จุดเดียวกัน แม่เหล็กเหล่านี้ถูกสร้างขึ้นจากการพันขดลวดทองแดงรอบแกนแม่เหล็กที่มีการผลิตให้มีรูปร่างเฉพาะส�ำหรับแม่เหล็กแต่ละ ประเภท เรียกว่า แม่เหล็กไฟฟ้า สนามแม่เหล็กถูกสร้างขึ้นโดยการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับขดลวด ซึ่งเป็นไปตามกฎของแอมแปร์ การปรับ ค่าความเข้มสนามแม่เหล็กสามารถท�ำได้โดยการปรับค่ากระแสไฟฟ้าที่จ่ายให้แก่ขดลวด March-April 2019



Article > Opensignal

สามารถแก้ปัญหาความแออัดของข้อมูล ที่พบในเครือข่าย 4G ในปัจจุบันได้อย่างไร? World 4G speeds vary tremendously across the day showing the impact of congestion on daytime speeds

Opensignal บริษัทวิเคราะห์เครือข่ายโทรศัพท์มือถือที่มี พืน้ ทีป่ ฏิบตั กิ ารอยูท่ ว่ั โลก ได้เผยแพร่รายงาน : 5G สามารถแก้ปญ ั หา ความแออัดของข้อมูลที่พบในเครือข่าย 4G ในปัจจุบันได้อย่างไร? โดยรายงานฉบับนี้ได้เปิดเผยข้อมูลที่น่าสนใจหลายประการ เช่น

เครือข่าย 4G ในปัจจุบนั เผชิญกับปัญหาความเร็วผันผวน อย่างมากตลอดทั้งวัน ผู้ใช้สามารถพบความเร็วในการดาวน์โหลด ของ 4G ณ ชั่วโมงหนึ่งรวดเร็วกว่าความเร็วในการดาวน์โหลดใน ชั่วโมงถัดๆ ไปได้ต่างกันถึง 30 Mbps แล้วแต่ประเทศของผู้ใช้งาน ความไม่สม�่ำเสมอเหล่านี้เป็นผลมาจากปัญหาความแออัดของ ข้อมูล ในเวลามีการใช้งานมากสุดระหว่างวัน เครือข่ายจะเต็มไปด้วย จ�ำนวนการเชือ่ มต่อ ซึง่ แต่ละการเชือ่ มต่อต้องแข่งขันกันเพือ่ จ�ำนวน ข้อมูลที่ต้องการ เป็นผลให้ความเร็วลดลง ซึ่งบ่อยครั้งที่ลดลงอย่าง มีนัยส�ำคัญและต�่ำกว่าความเร็วเฉลี่ยของเครือข่าย เครือข่าย 5G จะช่วยรีดจ�ำนวนการเชือ่ มต่อประจ�ำชัว่ โมงเหล่านี้ โดยมอบรากฐาน ทีม่ คี วามแข็งแกร่งเพือ่ ช่วยบรรเทาความแออัดของข้อมูลในช่วงทีม่ ี การใช้งานมาก  ความเร็วทีผ ่ นั ผวนจะยิง่ เป็นปัญหามากขึน้ เมือ่ อุตสาหกรรม โทรศัพท์มอื ถือเติบโต บริการและแอปฯ ต่างๆ ในยุคถัดไปจ�ำเป็นต้อง ใช้มากกว่าความรวดเร็ว นั้นคือความเร็วที่เสถียร มิเช่นนั้น บริการ และแอปฯ ต่างๆ จะไม่สามารถท�ำงานได้อย่างเพียงพอเมือ่ ผูบ้ ริโภค จ�ำเป็นต้องใช้งาน แม้ส่วนใหญ่จะเล็งเห็นถึงความเร็วที่เพิ่มขึ้นใน เครือข่าย 5G ประโยชน์อนั เป็นผลมาจากความเสถียรนัน้ กลับมีความ ส�ำคัญมากกว่า 

March-April 2019


Users experience a wide range of download speeds at different hours

เนื่องจากแม้ว่าบางประเทศจะมี ความเร็วที่เสถียรมากกว่าประเทศอื่น แต่ ทุ ก ประเทศต้ อ งเผชิ ญ กั บ ความผั น ผวน ในช่ ว งที่ มี ก ารใช้ ง านมากด้ ว ยกั น ทั้ ง สิ้ น ประเทศทีม่ คี วามเสถียรมากทีส่ ดุ 77 อันดับ ของเรานัน้ มีความหลากหลายมาก ซึง่ รวมถึง ประเทศมหาอ�ำนาจทาง 4G ในเอเชียและ ยุโรป แม้วา่ ประเทศทีม่ ตี ลาด 4G ทีพ่ ฒ ั นา แล้วจะมีแนวโน้มว่ามีเสถียรภาพมากกว่า แต่เครือข่าย 4G ทีท่ รงพลังนัน้ ไม่ได้หมายถึง การเชื่อมต่อที่มีเสถียรภาพมากกว่าเสมอ ไป  โดยเฉพาะในเมือง ปัญหาดังกล่าว ยิ่งมีความเด่นชัดมากขึ้น เราพบปัญหา ความแออัดของข้อมูลรายชั่วโมงในเมือง ใหญ่ๆ ทัว่ โลกมากกว่าในประเทศทีม่ อี นั ดับ รองลงมา ในปารีส เราพบความเร็วเฉลีย่ 4G ในการดาวน์โหลดตั้งแต่ 21.5-51.4 Mbps ตลอดวัน 

March-April 2019

Difference in 4G download speed Experienced between the fastest and the slowest hour of the day

Countries’ ranking by 4G download speed experienced at fastest hour

Time of day when 4G download speeds experienced are slowest


Cities will benefit even more from new 5G capacity because users experience an even wider range of 4G speeds

เวลาทีม่ กี ารใช้งานมากหรือเวลาทีค่ วามเร็วต�ำ่ สุด แตกต่าง กันไปตามแต่ละประเทศ ในประเทศส่วนใหญ่ เวลาที่มีการบริโภค มากทีส่ ดุ คือช่วงกลางคืน ระหว่าง 20.00-23.00 น. แต่กม็ บี างประเทศ ที่แปลกออกไป ในประเทศเนเธอร์แลนด์และสหราชอาณาจักร ประชาชนส่วนใหญ่ใช้งานเครือข่ายโทรศัพท์มือถือในช่วงเย็น ใน ขณะที่ประชาชนชาวญี่ปุ่นใช้งานสูงสุดเวลาเที่ยงตรง  ในรายงานนี้ เอเชียแปซิฟิกเป็นภูมิภาคที่แสดงถึงความ แตกต่างในประสบการณ์ดาวน์โหลดมากทีส่ ดุ โดยประเทศส่วนใหญ่ อยูท่ ด่ี า้ นบนหรือท้ายตารางวัดผลความเสถียรของความเร็ว ผูใ้ ช้งาน พบความเร็วเฉลี่ยสูงกว่า 40 Mbps ในเกาหลีใต้ (47.1 Mbps) และ สิงคโปร์ (45.4 Mbps) ในขณะที่บางประเทศยังไม่ถึง 2 หลักด้วยซ�ำ้ (6.5 Mbps) ในอินเดีย (8.2 Mbps) ในไทย (8.6 Mbps) อินโดนีเซีย (8.6 Mbps) ในกัมพูชา และ (9.4 Mbps) ในฟิลิปปินส์  ภูมิภาคดังกล่าวเป็นที่ตั้งของประเทศที่มีความแออัดของ ข้อมูลมากที่สุดตลอดวันอย่างไต้หวัน (19.5 Mbps) และกัมพูชา (19.4 Mbps) อย่างไรก็ตาม ผู้ใช้ในประเทศไต้หวันพบกับความเร็ว ในการดาวน์โหลดของเครือข่าย 4G มากกว่ากัมพูชาถึงเกือบ 20 Mbps ซึ่งเป็นประเทศที่ความเร็วในการใช้งานช่วงคนน้อยพุ่งสูงถึง 6 เท่า เมื่อเทียบกับช่วงที่มีการใช้งานมาก  ประเทศ 6 จาก 10 ที่ผู้ใช้งานเผชิญกับความเร็วต�่ำสุด ในช่วงที่มีการใช้งานมากตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยอันดับ สุดท้ายตกเป็นของแอลจีเรีย ในช่วงทีม่ กี ารใช้งานเครือข่ายมากทีส่ ดุ ผู้ใช้ในมาเลเซียเผชิญกับความเร็วเพียง 9 Mbps เท่านั้น ซึ่งสูงกว่า ฟิลปิ ปินส์ (6.9 Mbps) ไทย (6 Mbps) อินโดนีเซีย (5.7 Mbps) กัมพูชา (3.7 Mbps) และอินเดีย (3.7 Mbps) ในขณะที่ไต้หวันท�ำลายสถิติ เป็นประเทศที่ความเร็วตกมากที่สุดในช่วงที่มีการใช้งานมาก โดย ความเร็วต�ำ่ สุดต�่ำกว่าค่าเฉลี่ยถึง 9.3 Mbps 

ในช่วงทีม่ กี ารใช้งานน้อยทีส่ ดุ ในประเทศเกาหลีใต้ สิงคโปร์ และออสเตรเลีย เครือข่าย 4G ในประเทศเหล่านี้สามารถมอบ ความเร็วในการดาวน์โหลดได้สงู กว่า 50 Mbps แต่ในขณะทีส่ งิ คโปร์ และเกาหลีใต้สามารถมอบความเร็วที่เสถียรได้สูงกว่า 40 Mbps ตลอดเวลา ผูใ้ ช้ในประเทศออสเตรเลียกลับเผชิญกับความเร็ว 31.5 Mbps ในช่วงทีม่ กี ารใช้งานสูง และแม้วา่ ประเทศทัง้ สามมีเครือข่าย ที่ทรงพลังอย่างเห็นได้ชัด สิงคโปร์และเกาหลีใต้ดูจะถือไพ่เหนือ ออสเตรเลียในด้านความเสถียร  และแม้วา ่ ความเร็วเฉลีย่ ในไทย (8.2 Mbps) จะสูงกว่าอินเดีย (6.5 Mbps) และผู้ใช้ในไทยเผชิญกับความเร็วสูงกว่าถึง 2.2 Mbps ในช่วงทีม่ กี ารใช้งานสูง แต่ในช่วงทีม่ กี ารใช้งานน้อยอินเดียกลับพลิก มาเป็นต่อโดยมีความเร็วในการดาวน์โหลดสูงกว่าไทยถึง 2.8 Mbps เครือข่ายในอินเดียพิสจู น์แล้วว่าสามารถรองรับความเร็วทีม่ ากกว่า แต่เฉพาะในช่วงที่มีผู้ใช้งานน้อยเท่านั้น 

เป็นบริษทั วิเคราะห์เครือข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นทีท่ ม่ี พ ี น้ื ทีป่ ฏิบตั กิ ารอยูท่ ว่ั โลก ในฐานะที่ Opensignal คือมาตรฐานการวัดประสบการณ์ การใช้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือของโลก Opensignal วิเคราะห์ประสบการณ์ของผู้บริโภคตามความเป็นจริงอย่างมีอิสระ ผ่านการวิเคราะห์ผู้ประกอบการเป็นรายประเทศ รายภูมิภาค และในระดับโลก และรายงานผลที่ได้ ในระดับและความถี่สูงสุดของ ภาคอุตสาหกรรมการสื่อสารไร้สายนี้ ข้อมูลเชิงลึกของเราได้ถูกน�ำไปใช้โดยผู้ ให้บริการโทรศัพท์มือถือ หน่วยงานก�ำกับดูแลในภาค อุตสาหกรรมโทรคมนาคม และนักวิเคราะห์อย่างกว้างขวาง

March-April 2019


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

CES 2019...

THE GLOBAL STAGE FOR INNOVATION https://cdn.ces.tech/ces/media/news-images/photo-gallery/show-day-2/newfrontier_session_2.jpg?ext=.jpg

เมื่อเดือนมกราคมที่ผ่านมา ได้มีการจัดงาน CES 2019 ณ เมืองลาสเวกัส สหรัฐอเมริกา งาน CES เป็นงานทีไ่ ด้รบั การยอมรับ จากทัว่ โลกว่าเป็นงานทีส่ ามารถบ่งบอกเทรนด์ของเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้น ดังนั้น จึงมีบริษัทต่างๆ จากทั่วโลกน�ำเทคโนโลยีของ ตนเองมาน�ำเสนอมากมาย จึงเป็นแรงดึงดูดให้ผสู้ นใจเทคโนโลยีจาก ทั่วโลกเดินทางมาเข้าชมงานนี้ เทรนด์ของเทคโนโลยีใน ค.ศ. 2019 นัน้ จะเป็นเรือ่ งของ AI, 5G, Entertainment, Sports, Automotive, Resilience และ Smart Cities นอกจากนั้น ยังมีปาฐกถาจากบุคคลที่มีบทบาทส�ำคัญด้าน

https://cdn.ces.tech/ces/media/news-images/photo-gallery/ show-day-2/amd_dr_lisa_su.jpg?ext=.jpg

March-April 2019

เทคโนโลยีของโลกจาก AMD และ AT&T ผูบ้ ริหารระดับสูงจาก Twitter, National Football League, Walmart และ Intel พร้อมกันนีก้ ม็ บี ริษทั ต่างๆ พร้อมใจกันมาเปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ในงานนี้ จึงกล่าวได้ว่า CES เป็นศูนย์กลางระดับโลกส�ำหรับนวัตกรรมทีจ่ ะก้าวเข้าสูย่ คุ ใหม่ ดร.ลิซา่ ซู President and CEO of AMD ได้รว่ มกล่าวปาฐกถา พิเศษภายในงาน โดยทาง AMD ได้เปิดตัวโปรเซสเซอร์ Radeon VII โดยจะเริ่มวางจ�ำหน่ายในเดือนกุมภาพันธ์ เป็นโปรเซสเซอร์ 7nm ตัวแรกทีส่ ร้างขึน้ เพือ่ การเล่นเกม สร้างความมัน่ ใจให้แก่เกมเมอร์วา่ จะเล่นเกมได้อย่างไหลลืน่ มีแอปพลิเคชันเพือ่ การพัฒนาและเรียนรู้ เพิม่ เติม โดย Radeon VII และผลิตภัณฑ์ AMD อืน่ ๆ จะใช้โดยนักกีฬา Esport ทีม Fnatic และ STEM ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมในนิวยอร์ก “It’s our job to bring power computing to the largest ecosystem we can.” ดร.ซู กล่าวกับผู้เข้าร่วมประชุม วันต่อมาเป็นการเสวนาในหัวข้อ “New Frontiers in Mobile” เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมมองเห็นอนาคตของ 5G โดยมี Michael Kassan ประธานและซีอโี อของ MediaLink เริม่ ต้นปาฐกถาพิเศษ โดยการประกาศให้ผู้ชมเห็นว่า “งาน CES 2019 นั้น เป็นจุดเริ่มต้น ในการประกาศเจตนารมณ์และการเดินหน้าสู่ 5G” บนเวทีวันนี้ นอกจาก Kassan แล้ว ยังมี John Donovan ซึ่งเป็น CEO ของ AT&T Communications ด้วย ทัง้ สองได้พดู คุยกันถึงความพยายาม ของ AT&T ในการท�ำให้ 5G เป็นจริง โดย Donovan บอกกับ ผู้เข้าร่วมถึงความส�ำคัญของ 5G ว่า “เครือข่ายนี้ไม่เพียงแต่เร็วขึ้น และมีประสิทธิภาพมากขึ้นเท่านั้น แต่ท�ำให้เราได้เห็นถึงการเติบโต


https://cdn.ces.tech/ces/media/news-images/photo-gallery/ show-day-2/newfrontier_session_3.jpg?ext=.jpg

https://cdn.ces.tech/ces/media/news-images/photo-gallery/ show-day-2/waymo_keynote.jpg?ext=.jpg

ของการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ซึ่งเป็นการติดต่อแบบเรียลไทม์” นอกจากนัน้ ยังได้มกี ารพูดคุยถึงการที่ AT&T จะท�ำให้ Rush Hospital ในชิคาโก เป็นโรงพยาบาลที่เปิดใช้งาน 5G แห่งแรก หลังจากนัน้ Philip Thomas, Chairman of Cannes Lions ได้สอบถามผู้เข้าร่วมเสวนาว่า 5G จะส่งผลกระทบต่อชีวิตของ ประชาชนอย่างไร โดยมีผบู้ ริหารจาก Adobe, Deloitte Digital, Magic Leap, National Geographic and The Stagwell Group ได้ร่วม ออกความเห็นโดยผูบ้ ริหารทัง้ หมดเห็นพ้องไปในทิศทางเดียวกันว่า 5G จะส่งผลกระทบในหลายๆ ด้าน เช่น รถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วย ตนเอง และ VR นอกจากนั้น การตลาดก็จะเปลี่ยนไปเช่นกัน ส่วนการเสวนาในหัวข้อ “The New Mobility Revolution” โดย Chris Urmson, Co-Founder and CEO of Aurora เขากล่าวว่า “เรามาที่นี่เพื่อหยุดยั้งการเสียชีวิตบนถนนของอเมริกาและทั่วโลก สิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบันไม่ใช่สิ่งที่จะยอมรับได้ และเราควรท�ำอะไร บางอย่างเกี่ยวกับเรื่องนี้” Aurora พร้อมด้วยพันธมิตร เช่น Audi, Intel และ National Safety Council เป็นสมาชิกของ PAVE ที่เพิ่ง เปิดตัวใหม่ มีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่สาธารณชนในเรื่อง ยานพาหนะที่ขับเคลื่อนด้วยตนเอง ซึ่งจากมุมมองของ Amnon Shashua, President and CEO, MobilEye กล่าวว่า “สหรัฐอเมริกา เหมาะสมกับการใช้รถยนต์ทข่ี บั เคลือ่ นด้วยตนเอง แต่กย็ งั มีขอ้ ขัดข้อง บางประการ แต่ในอิสราเอลนั้นรัฐบาลให้การสนับสนุนเต็มที่” John Krafcik ซีอโี อของ Waymo ได้กล่าวเสริมถึงประโยชน์ ของเทคโนโลยียานพาหนะที่ขับเคลื่อนด้วยตนเอง เพื่อโน้มน้าวให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านความปลอดภัยและสังคม ที่ยานพาหนะ ที่ขับเคลื่อนด้วยตนเองจะช่วยได้หากเมื่อน�ำไปปฏิบัติจริง รถยนต์ ที่ขับขี่ด้วยตนเองมีโอกาสที่จะก�ำจัดอุบัติเหตุทางรถยนต์ได้ถึง 94% จากความผิดพลาดของมนุษย์ท�ำให้ถนนปลอดภัยมากขึ้น “เทคโนโลยีน้ีมีโอกาสที่จะสร้างความแตกต่างอย่างแท้จริงและ นัน่ เป็นเหตุผลว่าท�ำไมเราถึงพร้อมทีจ่ ะผลักดันให้มนั เกิดขึน้ ได้จริง” Krafcik กล่าว

Krafcik กล่าวเพิ่มเติมว่า รถที่ขับเคลื่อนด้วยตนเองของ Waymo สามารถพาผู้ขับขี่กลับบ้านได้อย่างปลอดภัย ไม่ว่าสภาพ อากาศ สภาพถนนหรือการจราจรจะเป็นอย่างไร ในขณะที่รถยนต์ ทีข่ บั ขีด่ ว้ ยตนเองได้รบั ความนิยมมากขึน้ ดังนัน้ Waymo ได้วางแผน ที่จะพัฒนาเทคโนโลยีของพวกเขาต่อไป โดยจะแนะน�ำรถยนต์น้ี แก่ผู้ที่อยู่อาศัยในเมืองเป้าหมายให้มากขึ้น ส่วนการเสวนาในหัวข้อ “Connected Car with 5G” ซึ่ง ด�ำเนินรายการโดย Julian Mitchell จาก Forbes ได้เชิญผูบ้ ริหารจาก BlackBerry Certicom, Renault-Nissan-Mitsubishi, TomTom and Flex โดยร่วมอภิปรายว่า 5G จะเปลี่ยนรถยนต์ในอนาคตให้เป็น ศูนย์ขอ้ มูลส่วนตัวของผูข้ บั ขีไ่ ด้อย่างไร Smart Cities จะท�ำให้วถิ ชี วี ติ เปลี่ยนไปอย่างไร ส่งผลต่ออุตสาหกรรมอย่างไร การติดต่อสื่อสาร และความเป็นส่วนตัวจะได้รับผลกระทบอย่างไร ส่วนหัวข้อ “Applied AI” จัดขึน้ ที่ Eureka Park มีผรู้ ว่ มอภิปราย จาก Bruno Morency, Techstars; Karen Holst, LinkedIn Learning Instructor; Gregory Pal, Automat; และ Allan Benchetrit, Algolux เป็นหัวข้อที่เจาะลึกลงไปในเรื่องของ AI ที่มีเทคโนโลยีที่ซับซ้อน บริษัทต่างๆ มักจะอ้างว่าได้นำ� AI เข้ามาใช้ ทั้งที่แท้จริงแล้วไม่ได้ น�ำมาใช้จริง “If everyone claims they are an AI company, then no one truly is an AI company.” Gregory Pal, CBO, Automat กล่าวย�า้ ได้มกี ารกล่าวถึงผลกระทบของ 5D ในหัวข้อ “What IoT and 5G Bring to Retail” ซึง่ เป็นการพูดคุยร่วมกันของ Michelle Grant, International Head of Retailing at Euromonitor, and Dr.Charis Christopoulos, GlobalLogic SVP, CTO, and EMEA ทั้งสองได้ กล่าวถึงผลกระทบของ IoT และบ้านอัจฉริยะที่มีต่อการค้าปลีก รวมทั้งวิธีการซื้อเครื่องใช้ในบ้านในชีวิตประจ�ำวันโดยมีเทคโนโลยี มารองรับ เป็นผลกระทบที่ผู้ค้าปลีกจะต้องเตรียมพร้อมรับมือ “Understanding the Asian Retail Market” เป็นหัวข้อ ที่ร่วมอภิปรายโดย Moderator Deborah Weinswig, CEO and Cofounder of Coresight Research และผู้ร่วมเสวนาพิเศษจาก March-April 2019


Tencent and JD.com. “WeChat ได้เปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภค” Cecilia Tian, Vice General Manager, Smart Retail Strategic Partnership Department, Tencent กล่าว WeChat เป็นที่นิยม อย่างแพร่หลายในวัฒนธรรมการชอปของคนจีน และได้สร้างโอกาส ทีไ่ ร้ขอบเขตส�ำหรับผูค้ า้ ปลีก ผูบ้ ริโภคชาวจีนใช้ WeChat เฉลีย่ วันละ 100 นาทีตอ่ วัน และเกือบทัง้ หมดใช้บริการรหัส QVC เพือ่ ซือ้ สินค้า ซึ่งจะท�ำให้ความสัมพันธ์กับผู้ค้าปลีกดีข้ึน Chen Zhang, CTO, JD.com กล่าวถึงความท้าทายใหม่ของผู้ค้าปลีกที่ต้องเผชิญ

The annual CES Innovation Awards program celebrates outstanding product design and engineering in brand-new consumer technology products. The Innovation Awards program recognizes two levels of honorees among 28 award categories :  Honoree : A product or technology that scores above the threshold set for a specific category.  Best of Innovation : Given to only the highestrated product or technology in each category — or to multiple, in the event of a tie. BEST OF INNOVATIONS : PORTABLE MEDIA PLAYERS AND ACCESSORIES

https://cdn.ces.tech/ces/media/news-images/photo-gallery /show-day-2/nbatwitter_session.jpg?ext=.jpg

นอกเหนือจากการเสวนาที่กล่าวมาแล้ว ยังมีการเสวนาใน หัวข้ออื่นๆ อีกมากมาย อาทิ หัวข้อ “#NBATwitter” ซึ่งปัจจุบัน Twitter ได้เข้าไปมีบทบาทในอุตสาหกรรมกีฬามากขึ้น ท�ำให้แฟน กีฬาได้รับทราบข่าวสารของทีมที่เชียร์และนักกีฬาที่ช่ืนชอบได้ง่าย และรวดเร็วขึน้ ส่วนหัวข้อ “Immersive Media” ด�ำเนินรายการโดย Michael Davies, Senior Vice President, Fox Sports มีการพูดคุย ถึ ง ความส� ำ คั ญ ของเทคโนโลยี ท่ี ป ฏิ วั ติ ก ารรั บ ชมของแฟนกี ฬ า ซึ่ง VR และ 5G ท�ำให้แฟนที่ไม่สามารถเข้าไปชมกีฬา มีโอกาสได้ รับรู้ถึงบรรยากาศการแข่งขันที่เสมือนได้นั่งอยู่ในสนามจริงๆ เรือ่ งของการรักษาความปลอดภัยไซเบอร์กเ็ ป็นอีกหัวข้อหนึง่ ที่มีการกล่าวถึงในงานนี้ มีการเสวนาในหัวข้อ “Cyber Network Security” โดยผู้บริหารระดับสูง the Center for Strategic and International Studies, AIG, nDimensional ด�ำเนินรายการโดย Sime Jurac, Bloomberg’s Commercial Director สรุปได้วา่ ผูอ้ อกแบบ จะต้องค�ำนึงถึงความปลอดภัยของผูใ้ ช้งาน อุปกรณ์จะต้องปลอดภัย เพื่อให้ผู้ใช้งานได้รับความปลอดภัยและเพลิดเพลิน ไม่ต้องพะวง เรื่องการถูกคุกคาม จะจัดขึน้ ระหว่างวันที่ 7-10 มกราคม 2020 ลาสเวกัส สหรัฐอเมริกา ผูท้ สี่ นใจสามารถติดตาม ข้อมูลเพิม่ เติมที่ https://www.ces.tech/media.aspx March-April 2019

AQUIO Bluetooth Waterproof Speaker Bottle

iHome

AQUIO is a fashion inspired hydration bottle for stylish & active music loving individuals. A double wall insulated, BPA free, stainless steel bottle and removable waterproof Bluetooth speaker combine for a product that hydrates body & mind. AQUIO speaker bottle is the ultimate convenience.


BEST OF INNOVATIONS : TECH FOR A BETTER WORLD

Atmospheric Water Generator

BEST OF INNOVATIONS : SUSTAINABILITY AND ECO-DESIGN

BEST OF INNOVATIONS : VEHICLE INTELLIGENCE AND SELF-DRIVING TECHNOLOGY

CoCoon

InnovizOne Auto-Grade LiDAR and Computer Vision Software

BeeLife

Watergen

GENNY is a water from air generator with constant access to safe, high quality drinking water, eliminating dependence on tap water, environmental waste and cost of plastic bottles. It is a plug and drink solution requiring only electricity to operate with easy integration into homes and offices.

CoCoon is a 2.0 beehive with active thermal system and IOT features. The system is a way to ficht against climate change and an embedded treatment for the most dangerous bees killer, the varroa destructor. This is a self powered product, with complete remote control and monitoring via GSM/LoRa. BEST OF INNOVATIONS : COMPUTER ACCESSORIES

Harry Potter Kano Coding Kit

Innoviz Technologies

Our groundbreaking InnovizOne auto-grade LiDAR and Computer Vision software enables the mass commercialization of autonomous vehicles by providing high-performance, low-cost 3D vision and the software to turn that vision into actionable driving insights. https://innoviz.tech/innovizone/ BEST OF INNOVATIONS : DIGITAL IMAGING & PHOTOGRAPHY

Insta360 Pro 2

BEST OF INNOVATIONS : IN-VEHICLE AUDIO-VIDEO

BTFreqTM with Alexa

Scosche Industries, Inc.

Add multiple technologies to a vehicle with a charger that offers Amazon Alexa voice-activated assistance. It also Bluetooth enables the vehicle for handsfree calling and music streaming through the stereo system, and charges two devices at once.

Kano

The Harry Potter Kano Coding Kit is the first-ever Harry Potter STEM product. The build-it-yourself wireless wand shows fans of all ages how to code and create, as you flick and swish through 70+ challenges inspired by the Wizarding World to make serpents slither, feathers float and more.

Insta360

All-in-One Camera for 8K 3D VR capture-FarSight 360-degree Live Monitoring Technology-FlowState Stabilization Technology. https://www.insta360.com/ product/insta360-pro2/ March-April 2019


BEST OF INNOVATIONS : SMART HOME

KitchenAidī Cook Processor Connect

BEST OF INNOVATIONS : COMPUTER HARDWARE AND COMPONENTS

BEST OF INNOVATIONS : WIRELESS DEVICES, ACCESSORIES AND SERVICES

Lenovo Yoga Book C930

LG V40 ThinQ

Lenovo

KitchenAid

The KitchenAid® Cook Processor Connect gives passionate cooks every tool needed to make delicious homemade meals with ease by allowing them to connect to endless meal inspiration and step-by-step recipe guidance. https://www.kitchenaid.com.au/ products/cook-processor-0 BEST OF INNOVATIONS : SMART HOME

KOHLER Sensate Kitchen Faucet with KOHLER Konnect

KOHLER Sensate Kitchen Faucet with KOHLER Konnect

The Sensate kitchen faucet with KOHLER Konnect allows you to turn the water on/off or dispense to a measured volume through voice-commands, KOHLER Konnect App or touchless motion-based interactions. Consumers can fill an eightounce cup of water or a large pot with hands-free voice control. https://www.us.kohler.com/us/ smarthome/content/sensate.htm March-April 2019

The Yoga Book C930 is the world’s first dual display laptop with E Ink which turns into a dynamic, customizable keyboard at the touch of a button. Combined with Windows 10 and Intel Core processor performance in a thin and light form factor with great battery life. BEST OF INNOVATIONS : HOME AUDIO-VIDEO COMPONENTS AND ACCESSORIES

LG Sound Bar (SL9YG)

LG Electronics

The latest model in LG’s flagship V series, the LG V40 ThinQ, empowers users to channel their inner creator with the best multiple performance cameras and largest OLED display. With a triple-rear camera and dual-front camera, the V40 ThinQ is the first premium smartphone with five cameras. BEST OF INNOVATIONS : HEADPHONES

Mobius Elite : Smart Modular True Wireless Earbuds

LG Electronics Inc.

The SL9YG provides the ultimate sound experience with cutting-edge Meridian audio technology, Dolby Atmos/ DTS-X 4.1.2 channel sound, AI ThinQ and Google Assistant capabilities. https://www.lg.com/us/home-audio/ lg-SL9YG-sound-bar#award

MIGU Co., Ltd. & IFLYTEK Co., Ltd.

Mobius is the first smart set of true wireless earbuds with a modular design. A microphone-array module and a speaker module can be plugged into the core charging case, transforming the device into a portable smart speaker, realtime translator, recorder, and transcriber.


BEST OF INNOVATIONS : WEARABLE TECHNOLOGIES

My Skin Track pH Wearable Sensor

BEST OF INNOVATIONS : GAMING

NVIDIA GeForce RTX 20-Series GPUs

NVIDIA

L’OREAL (La Roche-Posay) and Epicore Biosystems

The scientific and medical communities have long known the link between skin pH and common skin concerns, yet there has never been a consumer-friendly way to measure it. My Skin Track pH is the first-ever wearable sensor and companion app to measure personal skin pH levels and create customized product regimens to better care for skin. Using microfluidics technology, the sensor captures trace amounts of sweat to provide an accurate skin pH reading within 15 minutes. https://www.prnewswire.com/ news-releases/loreal-unveils-prototypeof-first-ever-wearable-microfluidicsensor-to-measure-skin-ph-levels300773342.html

NVIDIA GeForce RTX GPUs deliver the ultimate PC gaming experience. Powered by the new NVIDIA Turing architecture and the revolutionary RTX platform, GeForce RTX 2080 Ti, 2080 and 2070 GPUs bring together real-time ray tracing, artificial intelligence, and programmable shading. BEST OF INNOVATIONS : SOFTWARE AND MOBILE APPS

Oticon KAIZNTM World’s 1st Personal AI Asst. in Hearing Care

Oticon, Inc.

KAIZN , World’s 1 Personal AI Assistant in Hearing Care, constantly learns about users’ behaviors, hearing needs & sound preferences, prompting users to indicate needs in different sound environments & situations. It can over time automatically optimize sound settings where/when needed. TM

st

BEST OF INNOVATIONS : WEARABLE TECHNOLOGIES

Owlet Band Wearable Technology

Owlet Baby Care

Expectant mothers can wake up to a health report of their unborn child and be notified if heartbeat or movement are within normal preset ranges with the new Owlet Band. Specialized ultra-thin fabric sensors placed on the mother’s abdomen track her baby’s wellness from inside the womb. https://owletcare.com/pages/band BEST OF INNOVATIONS : VIRTUAL AND AUGMENTED REALITY

PLOTT - LetsPlott Extended Reality Platform

Plott

Design in AR with real world dimensions, images, videos, and links using our Extended Reality platform. Then bring your plans to life in the real world using hardware to direct you with turn-by-turn directions, eliminating the need to do any math. https://www.letsplott.com/cubit March-April 2019


BEST OF INNOVATIONS : HIGH PERFORMANCE HOME AUDIO-VIDEO

Qoobi ONE

Qoobi B. V.

Qoobi ONE is a wireless tube preamplifier that allows you to play digital music files from any source (smartphone, tablet, etc.) via Bluetooth, using the best analogue technologies based on vacuum tubes that make sound Incredibly bright and emotional. https://qoobi.co.uk/ BEST OF INNOVATIONS : EMBEDDED TECHNOLOGIES

Snips

BEST OF INNOVATIONS : HEADPHONES

Sony WH-1000XM3 Headphones

BEST OF INNOVATIONS : DIGITAL IMAGING & PHOTOGRAPHY

The Leica BLK3D : Real-Time, In-Picture 3D Measurement

Sony

The newly acclaimed Sony 1000X member, the WH-1000XM3 offers industry leading comfort, noise cancellation and sound quality. Built with consumers in mind, the WH-1000XM3 headphones offer upgraded noise cancelling performance to enhance the listening and user experience. BEST OF INNOVATIONS : HOME APPLIANCES

Tetra Countertop Dishwasher

Leica Geosystems AG, Part of Hexagon AB

The Leica BLK3D is a handheld reality capture device that produces easily shareable 2D images embedded with accurate 3D spatial data. Its on-board software features powerful edge detection that enables a point, click, and tap-tomeasure user experience that is unique to the BLK3D. https://lasers.leica-geosystems.com/ blk3d-overview BEST OF INNOVATIONS : VIDEO DISPLAYS

The Window by Samsung

Snips

Snips is an end-to-end embedded voice AI for connected devices that runs locally & offline, offering OEMs productiongrade natural language and simple voice commands solutions without sacrificing brand identity, performance or user data. No other company can cover this entire spectrum.

March-April 2019

Heatworks

Goodbye dirty dishes. Tetra is an internet-connected compact dishwasher that quickly cleans tableware, wine glasses, baby bottles, etc. in minutes using a gallon of water. With its own water reservoir, no plumbing is required. Place and use it anywhere that has a standard electrical outlet. https://myheatworks.com/ pages/tetra-specs

Samsung Electronics America Inc.

The Window by Samsung is a next-generation modular MicroLED display that redefines television. With unrivaled picture quality and awe-inspiring design, it transforms content, surfaces and living spaces.


BEST OF INNOVATIONS : CYBERSECURITY AND PERSONAL PRIVACY

TrustBox

Scalys BV

The Scalys TrustBox is the highgrade secure router & IoT gateway for safe and trusted communication with the connected world. It secures the communication and connectivity of connected devices at home and on the go with military-grade of security. https://scalys.com/press/ BEST OF INNOVATIONS : SMART ENERGY

Universal Wireless Charger for Laptops

Energysquare

Energysquare developed a universal wireless charger for laptops, based on its “Power by Contact” patented conductive charging technology. Fast, powerful, with no electromagnetic waves, the purpose is to keep laptops always charged avoiding the inconveniences of conventional wired charging. https://energysquare.co/press-page/

BEST OF INNOVATIONS : ACCESSIBILITY

BEST OF INNOVATIONS : SMART CITIES

WHILL Autonomous Drive

ZOMEKit for Apartment Buildings

WHILL, Inc.

WHILL’s ecosystem of their fully Autonomous Drive technology, Mobility as a Service (MaaS) business, and Personal Electric Vehicles (EV) enable people with mobility impairments to experience movement in a new way and to explore their world with greater independence, in style and safety. BEST OF INNOVATIONS : FITNESS, SPORTS AND BIOTECH

World's First Battery Free Hearing Aid

ZOME Energy Networks, Inc.

ZOMEKIT converts apartment complexes into energy grid-aware, smart buildings providing energy savings and revenue generation. The ZOME gateway with integrated blockchain support, transforms thermostats and appliances into transactive energy devices. https://zomepower.com/zomekit BEST OF INNOVATIONS : ROBOTICS AND DRONES

Zumi RoboCar

Robolink Widex A/S

Widex Energy CellTM is the world’s smallest commercial fuel cell. Fitted into a discreet hearing aid, the technology helps users re-energize hearing aids in 20 seconds – ready for 24 hours’ run time. Users get easier handling and don’t have to worry about power outlets or batteries.

Zümi is a friendly & approachable robot that makes the exciting world of artificial intelligence and self-driving cars accessible to everyone. https://www.robolink.com/ ภาพและเนือ้ หาจาก https://www.ces.tech/ Events-Programs/InnovationAwards/Honorees.aspx March-April 2019


Article

> ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย

ในทุกๆ ปี บริษทั ต่างๆ จะได้มาวิเคราะห์เทรนด์ของเทคโนโลยี ในปีนั้นๆ ใน ค.ศ. 2019 นี้ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ก็ได้ มีการวิเคราะห์เทรนด์ของ ค.ศ. 2019 ซึ่งมีความน่าสนใจไม่น้อย โรมาริก เอินส์ท รองประธานธุรกิจไอทีส�ำหรับองค์กร ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย เผยว่าใน ค.ศ. 2019 เป็นปีทธ่ี รุ กิจ ไอทีเติบโตอย่างก้าวกระโดด ซึ่งจะมีอยู่ 3 เทรนด์หลักที่มีแนวโน้ม ในการเกิดขึน้ ทัว่ โลก โดยเอดจ์ คอมพิวติง้ จะเข้ามาช่วยด�ำเนินธุรกิจ ในทุกวัน ในตอนนี้ เอดจ์ คอมพิวติง้ เข้าสูช่ ว่ งของการสร้างผลิตผล และกลายเป็น “จริง” ทั้งนี้ ผู้ใช้ในองค์กรและผู้บริโภคจะเริ่มสัมผัส เอดจ์ ดาต้าเซ็นเตอร์ ได้จากบริการที่นำ� เสนอในรูปแบบต่างๆ ซึ่ง Global Market Insights คาดการณ์ว่า ตลาดเอดจ์ ดาต้าเซ็นเตอร์ จะทะลุ 13,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ภายใน ค.ศ. 2024 โดยมีการลงทุน ระบบโครงสร้างเอดจ์ ดาต้าเซ็นเตอร์ แล้วในเกือบทุกภาคส่วน เช่น ธุรกิจค้าปลีก การเงิน ธุรกิจเกี่ยวกับสุขภาพและความงาม ฯลฯ ซึ่ง เป็นภาคธุรกิจทีต่ อ้ งอาศัยการประมวลผลมากขึน้ รวมถึงการเชือ่ มต่อ เครือข่าย และการจัดเก็บข้อมูลในจุดที่อยู่ใกล้กับผู้ใช้ปลายทาง

และผู้ขายเองก็เสี่ยงที่จะเสียลูกค้าให้กับคู่แข่งได้ ความต้ อ งการด้ า นการบริ ก ารต่ า งๆ ที่ ต ้ อ งอาศั ย เอดจ์ ดาต้าเซ็นเตอร์ มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว เช่น โมบาย มันนี่ แอปฯ ที่ให้ประสิทธิภาพการใช้งานได้ ณ สถานที่นั้นๆ ลูกค้าก็ได้รับ ประสบการณ์โดยรวมที่ดีข้ึน หรือการท�ำวิดีโอสตรีมมิ่ง การใช้ ประโยชน์ของ Smart Mirror AR ที่เลือกเปลี่ยนแบบชุดได้จาก หน้าจอ ยานยนต์แบบไร้คนขับ เทคโนโลยีเหล่านี้ล้วนต้องอาศัย เอดจ์ คอมพิวติง้ ประสิทธิภาพสูง ซึง่ แน่นอนว่าการป้องกันอุบตั เิ หตุ และความปลอดภัยถือเป็นสิง่ ส�ำคัญสูงสุดส�ำหรับยานยนต์ไร้คนขับ ดังนั้นการส่งข้อมูลส�ำคัญแบบเรียลไทม์จากรถยนต์ไปยังเอดจ์ ไปยังดาต้าเซ็นเตอร์ในภูมิภาค ไปที่คลาวด์ และส่งกลับมาอีกครั้ง ที่รถยนต์เพื่อตอบสนองต่อค�ำสั่งการ จะช่วยผลักดันให้เกิดความ ต้องการใช้ระบบโครงสร้างเอดจ์อย่างมหาศาล ซึ่งสามารถแคช (Cache) ข้อมูลขนาดใหญ่พกั ไว้ในระบบ พร้อมทัง้ น�ำมาประมวลผล และวิเคราะห์ได้อย่างรวดเร็ว

เอดจ์ ดาต้าเซ็นเตอร์ ช่วยแก้ปัญหาความล่าช้า ในการประมวลผล

ปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI เป็นที่พูดถึงกันเป็นอันดับต้นๆ ในวงการเทคโนโลยีมาตัง้ แต่ ค.ศ. 2018 และการสนทนาเรือ่ งนีย้ งั คง ขยายวงกว้างออกไปใน ค.ศ. 2019 นัน่ เป็นเพราะว่าในแวดวงธุรกิจ หรือกระทัง่ ทีบ่ า้ นก็ตาม ทัง้ เวิรก์ โหลดและแอปฯ ทีต่ อ้ งใช้ขอ้ มูลอย่าง จริงจัง ซึ่งให้ศักยภาพการท�ำงานผ่านเครือข่ายเอดจ์ใหม่ ล้วนต้อง อาศัย AI เช่นกัน โดย AI จะถูกน�ำมาใช้ในการวิเคราะห์และแปลข้อมูล จากแอปฯ ต่างๆ เพือ่ ช่วยให้ผคู้ น (และในบางกรณียงั รวมถึงจักรกล อืน่ ๆ) สามารถตัดสินใจและตอบรับกับสถานการณ์ได้แบบเรียลไทม์ นอกจากนี้ ค.ศ. 2019 ยังเป็นปีแห่งการเฟ้นหาผูม้ คี วามสามารถ พิเศษเพื่อสร้างแอปพลิเคชันใหม่ๆ มาตอบโจทย์ความต้องการ ใช้งานจริง ซึ่งจะต้องอาศัยการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีและ

ปัจจัยที่ผลักดันให้เกิดความต้องการเอดจ์ คอมพิวติ้ง คือ ผูบ้ ริโภคไม่อดทนกับเรือ่ งความล่าช้า หรือ Latency ดังนัน้ การเข้าถึง ข้อมูลและความสามารถในการวิเคราะห์ได้อย่างรวดเร็วและต่อเนือ่ ง จึงเป็นสิ่งส�ำคัญ การตัดสินใจส�ำคัญหลายอย่างในธุรกิจ และการ ตัดสินใจของผู้บริโภคล้วนขึ้นอยู่กับความคล่องตัวในการเรียกใช้ ข้อมูลได้ทันใจในแบบเรียลไทม์ ถ้าเรามองที่เศรษฐกิจอี-คอมเมิร์ซ หากโมบายเว็บไซต์ไม่สามารถโหลดเสร็จภายใน 3 วินาที ก็จะท�ำให้ ผู้ท่ีเข้ามาเยี่ยมชมไม่สนใจไซต์น้ันไปเลย และหากการท�ำธุรกรรม ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ภายในเสี้ยววินาที เงินก็จะไม่มีการเปลี่ยนมือ March-April 2019

ปัญญาประดิษฐ์มีอยู่ทุกที่


ความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขา AI จะช่วยเรื่องการบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งเรื่อง ค่าใช้จา่ ย ประสิทธิภาพการท�ำงานและระยะเวลาในการตอบสนอง การใช้งาน หรือ Response Times ซึ่งจะแยกจากงานหนักในส่วน โมเดลการฝึกฝนของ AI ทีเ่ ป็นสเกลใหญ่ ซึง่ ต้องท�ำผ่านดาต้าเซ็นเตอร์ ที่มีศูนย์กลางอยู่บนคลาวด์ ส�ำหรับเอดจ์ ดาต้าเซ็นเตอร์ ที่มีการ มอนิเตอร์อยูต่ ลอด จะเกาะติดกิจกรรมทีม่ คี วามผิดปกติ โดยอาศัย การเรียนรู้ของ AI ว่าระบบไหนมีพฤติกรรมการท�ำงานอย่างไร โดยในทางกลับกันก็จะช่วยขับเคลื่อนในเรื่องของการวิเคราะห์ เชิงคาดการณ์และการบ�ำรุงรักษาระบบงานในเชิงรุกตามเงื่อนไข การท�ำงาน การเรียนรูใ้ นระดับของจักรกลจะช่วยให้บริหารจัดการได้ อย่างเรียบง่าย ช่วยลดเวลาและลดการใช้ทรัพยากรส�ำหรับกิจกรรม ที่เพิ่มคุณค่าทั้งเรื่องงานและเรื่องส่วนตัว

สร้างสมดุลให้กบ ั งานและการใช้ชีวิต

AI และเอดจ์ คอมพิวติ้ง จะเอื้อประโยชน์อย่างมหาศาล นับตัง้ แต่ ค.ศ. 2019 เป็นต้นไป โดยจะมอบการวิเคราะห์ได้มากขึน้ และมอบความสามารถในการ “มองเห็นสิ่งที่จะเกิดขึ้น” ศักยภาพ เหล่านี้จะช่วยจัดสมดุลให้กับชีวิตเราได้ทั้งเรื่องความเป็นอยู่และ สภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น แต่การสร้างสมดุลที่ถูกต้อง ต้องอาศัยทัศนคติท่ีให้ความ ส�ำคัญเรือ่ งของคนมาเป็นอันดับแรก ปัญหาใหญ่ทางสังคม เช่น สมดุล ในการใช้ชีวิตกับการท�ำงาน ไม่เคยแก้ได้ง่ายๆ แม้ว่าเทคโนโลยี IT จะให้ประโยชน์ก็ตาม แต่หลักสถิติก็ช้ีให้เห็นถึงความเชื่อมโยง ที่น�ำไปสู่ความเครียดมากขึ้น มีเวลาอยู่กับครอบครัวน้อยลง และ ส่งผลกระทบในทางลบทั้งเรื่องงานและสัมพันธภาพอันเป็นสาเหตุ มาจากการที่ต้องเกาะติดกับการสื่อสารตลอดเวลา ในโลกทีซ่ บั ซ้อนมากขึน้ ทุกวัน...ค.ศ. 2019 เป็นปีทตี่ อ้ งพิจารณา ล�ำดับขั้นความส�ำคัญของสิ่งต่างๆ ที่ช่วยสร้างความเป็นอยู่ที่ดี ทั้งเรื่องของประสิทธิภาพและศักยภาพได้อย่างทัดเทียม ตัวอย่าง ของบริษทั ทีป่ ระสบความส�ำเร็จ มีการจ�ำกัดการใช้อเี มลนอกสถานที่ ท�ำงาน ให้ความส�ำคัญกับวันของครอบครัว สอนเรือ่ งของสติและการ ดูแลสุขภาพทีด่ ี ซึง่ เรือ่ งเหล่านีก้ ลายเป็นเรือ่ งธรรมดาสามัญมากขึน้ เพราะเครือ่ งมือในการบริหารจัดการซอฟต์แวร์กำ� ลังช่วยให้มอื อาชีพ ด้านไอทีสร้างสมดุลของการใช้ชีวิตและการท�ำงานได้ดีขึ้น โดยช่วย ให้จัดล�ำดับความส�ำคัญของข้อมูลที่จ�ำเป็นต่อธุรกิจได้ ในส่วนของชไนเดอร์นั้น ใน ค.ศ. 2019 ชไนเดอร์ อิเล็คทริค จะน�ำเทคโนโลยีด้านเอดจ์ คอมพิวติ้ง จัดแสดงในอีเว้นท์ใหญ่ ในประเทศไทยตลอดทั้งปี เพื่อสร้างการรับรู้และความเข้าใจด้าน เทคโนโลยีดงั กล่าวมากขึน้ เพือ่ ประโยชน์ในการแข่งขันของภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรม ซึ่งในวันที่ 6 มีนาคมนี้ จะร่วมกับ CISCO เพื่อ เผยศักยภาพของเอดจ์ในการต่อยอดธุรกิจ ในงาน Cisco Connect 2019 ณ เซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ และงาน IEEE PES GTD ASIA ซึ่งเป็นงานใหญ่ระดับโลก ด้านพลังงานทดแทน ระบบ การผลิต ระบบจัดจ�ำหน่าย ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 21-23 มีนาคม 2562 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมแห่งชาติไบเทคบางนา บูธ U9 และงานอื่นๆ อีกหลายงานตลอดปี ค.ศ. 2019 นี้

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผู้น�ำด้านดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชันในการจัดการพลังงานและระบบออโตเมชัน ตั้งแต่ บ้าน อาคาร ดาต้าเซ็นเตอร์ ระบบโครงสร้างพื้นฐาน และอุตสาหกรรมต่างๆ ด้วยการยืนหยัดอยู่ในเวทีระดับโลกในกว่า 100 ประเทศ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เป็น ผู้น�ำที่โดดเด่นในด้านการจัดการพลังงาน ทั้งแรงดันไฟฟ้าขนาดกลาง-ต�่ำ และระบบส�ำรองไฟฟ้า รวมถึงระบบออโตเมชันต่างๆ เราน�ำเสนอโซลูชันแบบบูรณาการที่มีประสิทธิภาพ ด้วยการผสานการท�ำงานร่วมกันทั้งในส่วนของพลังงาน ระบบออโตเมชัน และ ซอฟต์แวร์ เรามีระบบนิเวศทั่วโลก ซึ่งเป็นการประสานความร่วมมือกับคู่คา้ รายใหญ่ที่สุด รวมถึงชุมชนนักพัฒนาและผู้วางระบบบน แพลตฟอร์มเปิด เพื่อมอบประสิทธิภาพด้านการด�ำเนินงานและการควบคุมในแบบเรียลไทม์ เราเชื่อว่า ด้วยผู้คนที่ยอดเยี่ยมเหล่านี้ และพันธมิตรของเรา จะช่วยให้ชไนเดอร์ อิเล็คทริคเป็นบริษัทที่เยี่ยมยอด พร้อมกับค�ำมั่นสัญญาของเราที่มุ่งมั่นในเรื่องการสร้าง นวัตกรรม ความหลากหลาย และความยั่งยืน ช่วยให้ทุกคนมั่นใจได้ว่า “Life is On” ในทุกที่ส�ำหรับทุกคนและทุกช่วงเวลำ March-April 2019


Special Area

> บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด

Visualization Meter for Industrial Processes

เทคโนโลยีการแสดงผลในปัจจุบนั ได้พฒ ั นำ ไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นหากเราต้องการ การแสดงผลแบบกราฟิก เราไม่จ�ำเป็นต้องแสดง หน้าจอ HMI เพียงอย่างเดียวอีกต่อไป เพราะวันนี้ LUMEL ได้พฒ ั นา Digital Meter ทีส่ ามารถแสดงผล แบบ Visualization ได้ LUMEL ผูผ้ ลิตอุปกรณ์ในระบบออโตเมชัน และเครือ่ งมือวัดทางไฟฟ้า ได้พฒ ั นาอุปกรณ์ Digital Meter ที่สามารถแสดงผลในแบบ Visualization ได้ในรูปแบบของ Bar Graph ในชื่อรุ่น N21

N21 เป็น Digital Meter ทีว่ ดั ค่าพารามิเตอร์

ทางไฟฟ้าในแบบ Universal Input เช่น แรงดัน ไฟฟ้า ±10 V, กระแสไฟฟ้า±20 mA, PT100, เทอร์โมคัปเปิล Type K ฯลฯ ได้โดยการตัง้ ค่าด้วย โปรแกรม E-Con (โปรแกรมฟรี) ผ่านสาย Mini USB ซึ่งสามารถติดตั้งได้ทั้งแนวตั้งและแนวนอน March-April 2019

นอกจากนี้ยังมีฟังก์ชันเด่นๆ อีกมากมาย เช่น  มี Alarm Output ชนิดรีเลย์  หน้าจอเป็น OLED Display ขนาด 128 x 32 Pixels  แปลงค่าที่วัดได้เป็นสัญญาณ Output เพื่อท�ำกราฟชนิดเชิงเส้นได้  มีแหล่งจ่ายไฟ 24 V a.c./d.c. หรือ 230 V a.c./d.c  สามารถตั้งหน่วยของค่าที่วัดได้ตามต้องการ  Bar Graph ปรับตั้งสเกลได้อัตโนมัติ  ขนาด 96*48*64 มม.  ระดับป้องกันน�้ำฝุ่น IP65


รูปตัวอย่ างหน้ าจอการแสดงผล

Alarm Indicator

Measuring Value

User-Defined Unit

USB Cable Connection Indicator

Bar Graph Indicator of Alarm Thresholds Alarm Indicator ติดแบบแนวนอน

USB Cable Connection Indicator

ติดแบบแนวต��� Measuring Value

Bar Graph Zero Marker User-Defined Unit

ตัวอย่างหน้าจอการแสดงผล

รูปตัวอย่ างการต่ อใช้ งาน

Ultrasonic Level Meter ULT20

Alarm

PC/Configuration with Free eCon Software Temperature Transducer P18 ตัวอย่างการต่อใช้งาน รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดต่อได้ที่

รายล�เอียดเ�ิม� เ�ิม�ามาร��ิด��อได�ท�ี ท ั แม็ มซ์ อินดทิเทคโนโลยี เกรทเท็ด เทคโนโลยี บริษทั แม็กบริ ซิไษมซ์ อินกทิซิเไกรทเท็ จํากัด จำ�กัด โทร. 0-2194-8738-9 แฟกซ์ : 0-2003-2215 E-mail : info@mit-thailand.com โทร 02-194-8738-9 เว็บไซต์ : www.mit-thailand.com แฟกซ์ 02-003-2215 Email : info@mit-thailand.com March-April 2019 www.mit-thailand.com


Special Area

> บริษัท ออมรอน อีเล็คทรอนิคส์ จ�ำกัด

ลักษณะจำ�เป็น เมื่อทำ� IoT สำ�หรับอุตสาหกรรม ก�ำลังเป็นกระแสทีผ่ ปู้ ระกอบการหลายแห่งวางแผนส�ำหรับการใช้งาน IoT ในโรงงานของตน โดยแต่ละแห่งอาจมองถึงประโยชน์ทไี่ ด้รบั แตกต่าง กัน เช่น ความสามารถตอบสนองต่อค�ำสั่งผลิต การประเมินอัตราการ ผลิตเทียบกับอัตราสูงสุด การลดต้นทุนและจ�ำกัดข้อผิดพลาด ไม่ว่าจะตั้ง วัตถุประสงค์ทางไหน ภาระต่างๆ ตกอยูก่ บั องค์กรภายในทีร่ บั ผิดชอบต่อ เทคโนโลยีการผลิต ไม่ว่าจะเป็นแผนกวิศวกรรม ฝ่ายผลิต ฝ่ายไอที หรือ แม้แต่แผนกบ�ำรุงรักษา มาวางระบบร่วมกันเพื่อให้ได้ถึงเป้าหมาย

ระบบ IoT หรือ Internet of Things ที่ต้องการจึงต้อง ถูกวางสถาปัตยกรรมให้สอดคล้องกับเป้าวัตถุประสงค์นั้น ด้วย เราจะพูดถึงลักษณะร่วมที่ IoT จ�ำเป็นต้องมีเพื่อให้ได้ เป้าหมาย

การเชื่อมโยงข้อมูลแนวดิ่ง

ข้อมูลแนวดิ่ง คืออะไร หมายถึงอะไร ในกระบวนการ ผลิต หากมองจากสิง่ ทีต่ อ้ งการในการท�ำ IoT เช่น ถ้าต้องการ ประเมิ น อั ต ราการผลิ ต เกี่ ย วกั บ ความสามารถสู ง สุ ด ของ โรงงาน (OEE) ข้อมูล (Information) นี้ถือเป็นข้อมูลเป้าหมาย เพื่อประเมินข้อมูลนี้ เราต้องทราบข้อมูล OEE ในระดับไลน์ การผลิต OEE ในระดับเครื่องจักร ต้องทราบอัตราการผลิต ต้องมีขอ้ มูลการนับสินค้า การตรวจจับการใช้วตั ถุดบิ การนับ ของเสีย การตรวจเช็คผูป้ ฏิบตั งิ าน ความเร็วของสายพานล�ำเลียง อุณหภูมิที่ใช้ ลงไปถึงข้อมูลย่อยจากเซนเซอร์ตา่ งๆ IoT ที่มี ประสิทธิภาพจะใช้ขอ้ มูลทีม่ กี ารแชร์ ตัง้ แต่ระดับล่างขึน้ มาถึง ระดับบนอย่างมีระบบและต�ำแหน่งความเกีย่ วข้องในแง่ขอ้ มูล อย่างชัดเจน เครือข่ายจะต้องเชือ่ มโยงข้อมูลอย่างถูกต้องและ ตรงเวลา คุณสมบัตเิ ชือ่ มโยงข้อมูลในแนวดังนีจ้ ะเป็นพืน้ ฐาน ส�ำหรับการบรรลุเป้าหมาย ท�ำให้ส่ิงที่ได้มามีความถูกต้อง ตรวจสอบและเจาะลึก และสะท้อนกับแนวทางแก้ปญ ั หาหรือ พัฒนาในอนาคต

ระบบที่ครอบคลุมข้อมูลหลากหลาย ประเภท

ลักษณะที่มีความแตกต่างกันมาก ตั้งแต่ข้อมูลเชิง ปริมาณ เช่น การนับสินค้า ความเร็วของสายพาน ค่าอุณหภูมิ ในเครื่องอบ อัตราการผลิต จ�ำนวนของเสีย มีความแตกต่าง จากข้อมูลทีเ่ ป็นลอจิกหรือออนออฟ เช่น เซนเซอร์ การตรวจจับ สินค้า และมีความแตกต่างจากข้อมูลเชิงวิเคราะห์ เช่น การวิเคราะห์ข้อเสียของอุปกรณ์ประเภท Quality Inspection ที่มาเป็นชุดข้อมูล ในการใช้งานอุปกรณ์กล้องอุตสาหกรรม (Vision Sensor) เทคโนโลยีท่ีมีประโยชน์มากคือการส่งภาพถ่ายประกอบกับ ข้อมูลเชิงวิเคราะห์ผา่ นทางเครือข่าย ในกรณีนข้ี อ้ มูลทีส่ ง่ ผ่าน จะอยู่ในรูปแบบข้อมูลภาพเพื่อจัดเก็บ เช่น ภาพสินค้าก่อน บรรจุกล่อง ภาพถ่ายชิ้นส่วนส�ำคัญเพื่อจัดเก็บในฐานข้อมูล March-April 2019

ระบบที่สามารถรองรับและเชื่อมโยงข้อมูลที่มีความแตกต่าง และหลากหลายกลายเป็นโครงสร้างที่ต้องมีในระบบ IoT


การรองรับอุปกรณ์ที่หลากหลาย และอนาคต

หลายโรงงานมีการน�ำหุ่นยนต์อุตสาหกรรมมาใช้งาน ในฐานะที่หุ่นยนต์เป็นส่วนหนึ่งของการผลิต โดยเฉพาะใน กระบวนการประกอบชิ้นงาน พ่นสีชิ้นงาน การเคลื่อนย้าย ต�ำแหน่งและการบรรจุหีบห่อ การเชื่อมโยงระบบ IoT เข้ากับ หุ่นยนต์ จึงมีความจ�ำเป็นและทวีความส�ำคัญตามจ�ำนวน หุ่นยนต์ที่มีการใช้งานมากขึ้น เรายังพบความต้องการเชื่อมโยงนี้กับระบบอื่นๆ อีก เช่น ระบบความปลอดภัย (Machine safety) ทีว่ ดั ความเข้มข้น ขึ้นตามข้อบังคับและจริยธรรม ระบบ Safety ที่สามารถหยุด ชะลอการผลิตก็จะมีความเชื่อมโยงกับข้อมูลผลิตภาพของ การผลิตนั้นๆ ได้

ภาพโรงงานอุตสาหกรรม

การจัดการงานอย่างมีประสิทธิภาพ

จะเห็นว่าเราก�ำลังมองหาระบบทีม่ คี วามเชือ่ มโยงทีห่ ลากหลาย หากพิจารณาซอฟต์แวร์ทร่ี องรับการเชือ่ มโยงของอุปกรณ์ทแ่ี ตกต่าง กัน เราคงต้องมีซอฟต์แวร์จำ� นวนมาก และการเชือ่ มโยงทีม่ คี วามยุง่ ยาก เราจึงต้องการระบบจัดการทีม่ คี วามครอบคลุมและยืดหยุน่ พอทีจ่ ะ ดูแลการบริหารข้อมูลทั้งหมด ซอฟต์แวร์ที่สามารถเชื่อมโยงกับการส่งผ่านข้อมูลกับระบบจัดการที่ใช้อยู่ เช่น ระบบ MES หรือ ERP

โดยสรุ ป หากท่ า นเป็ น ผู ้ ห นึ่ ง ที่ ก� ำ ลั ง มองหำ สถาปัตยกรรม IoT ที่ใช้งานได้อย่างคุ้มค่าและตอบสนองต่อ เป้าหมายองค์กร รวมกับการรองรับอนาคต มีความจ�ำเป็น ต้องมองหาระบบที่มีความสามารถเชื่อมโยงข้อมูลจากล่าง ขึน้ บนตามแนวดิง่ สามารถรองรับข้อมูลทีห่ ลากหลายภายใต้ โครงสร้างเดียวกัน เชื่อมโยงอุปกรณ์ได้อย่างกว้างขวาง และ มีระบบจัดการได้อย่างดีเยี่ยม

เยี่ยมชมเว็บไซต์เกี่ยวกับ SYSMAC Studio ได้ที่ http://www.omron-ap.co.th/solutions/ sysmacstyle/index.html

หรืออุปกรณ์เกี่ยวกับระบบ IoT ที่เว็บไซต์ http://www.omron-ap.co.th/products/category/ automation-systems/networks/index.html March-April 2019


Special Area

> บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

ตู้คอนซูมเมอร์ยูนิต (Consumer Unit) เป็นชุดกล่องเหล็ก หรือกล่องพลาสติกส�ำหรับใส่ฟิวส์หรือเบรกเกอร์ ส่วนใหญ่จะเรียง กันอยู่ในแถวเดียว นิยมใช้เป็นแผงไฟฟ้าส�ำเร็จรูปตามบ้านหรือ ส�ำนักงานทีใ่ ช้ไฟฟ้าระบบ 1 เฟส 220 โวลต์ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. แบบปลั๊กอิน (Plug-In Type) 2. แบบเดินราง (Din-Rail Type) Consumer Unit ทั้ง 2 ชนิด จะประกอบไปด้วยเซอร์กิต เบรกเกอร์เมน (Main Circuit Breaker) หรือเรียกสัน้ ๆ ว่า เมนเบรกเกอร์ (2 ขั้ว) และเซอร์กิตเบรกเกอร์วงจรย่อย (Branch Circuit Breaker) หรือเรียกว่าเบรกเกอร์ยอ่ ย (1 ขัว้ ) ทีเ่ สียบต่ออยูก่ บั บัสบาร์ (Bus Bar) มีขั้วต่อสายนิวทรัลและขั้วต่อสายกราวด์ ขนาดที่นิยมใช้ทั่วไปจะมี

จ�ำนวนเบรกเกอร์ย่อยหรือวงจรย่อยตั้งแต่ 4-18 วงจร การเลือก Consumer Unit มาใช้งานนั้นให้พิจารณาจาก จ�ำนวนวงจรย่อยทีต่ อ้ งการและควรเผือ่ ไว้ 1-2 วงจรส�ำหรับโหลดใน อนาคต การซือ้ Consumer Unit ส่วนใหญ่จะได้รบั เพียงกล่องเหล็ก เท่านัน้ ต้องซือ้ เมนและเบรกเกอร์ยอ่ ยแยกต่างหาก เนือ่ งจากความ ต้องการใช้เมนและเบรกเกอร์ย่อยของผู้ใช้แต่ละรายไม่เหมือนกัน โดยขนาดของเมนเบรกเกอร์สามารถเลือกได้ตามต้องการเบรกเกอร์ MCB แบบ 2 Pole ทีจ่ ะน�ำมาใช้เป็นเมนเบรกเกอร์ ในกรณีของระบบ ไฟฟ้าภายในบ้านพักอาศัยทั่วไปมาตรฐานได้ก�ำหนดค่า IC ของ เมนเบรกเกอร์ตอ้ งไม่ตำ่� กว่า 10 kA ซึง่ ค่าดังกล่าวคือค่าพิกดั การทน กระแสลัดวงจรสูงสุดของตัวเบรกเกอร์

ตู้คอนซูมเมอร์ยูนิต คืออะไร?

March-April 2019


การติ ด ตั้ ง เบรกเกอร์ ล งในตู ้ Consumer ต้องเปิดฝาครอบออกก่อนแล้ว จึงต่อเมนเบรกเกอร์ลงในช่องด้านซ้ายมือสุด ซึ่งสายมีไฟ (สาย Line) จะต่ออยู่ด้านขวา ของเบรกเกอร์ ส่วนสายนิวทรัลจะต่อด้าน ซ้ายมือของเบรกเกอร์ หากต่อผิดจะท�ำให้ มีไฟฟ้าค้างในวงจร เพราะเบรกเกอร์จะตัด สายนิวทรัลแทน ซึ่งมีอันตรายมาก อาจ สังเกตจุดต่อสายง่ายๆ คือจะมีตัวอักษร L และ N ก�ำกับไว้ Consumer Unit (คอนซูมเมอร์ยูนิต หรือตู้คอนซูมเมอร์) คือตู้ควบคุมระบบ ไฟฟ้าแบบ Single Phase 220V สามารถ จ่ายออกได้ตั้งแต่ 6, 10, 14, 18 วงจร Features แล้วแต่ยหี่ ้อของผูผ้ ลิต บางวงจรทีต่ ้องการ ป้ อ งกั น ไฟฟ้ า ดู ด เพิ่ ม เติ ม ก็ ส ามารถใส่

HGD

ELCB (Earth Leakage Circuit Breaker) มาใส่เฉพาะวงจรนั้นๆ เช่น เครื่องท�ำน�ำ้ อุ่น ตู้เย็น ส่วนวงจรไฟฟ้าส�ำหรับแสงสว่างอาจไม่จำ� เป็นต้องใช้เบรกเกอร์สำ� หรับกันไฟฟ้าดูด ก็อาจจะ ใส่ MCB ที่กันไฟฟ้าลัดวงจรและกระแสเกินก็พอ ในตู้คอนซูมเมอร์นี้วงจรย่อยแต่ละวงจร จะเป็นอิสระต่อกัน เช่น ถ้าตู้เย็นมีไฟฟ้ารั่ว เวลาคนไปสัมผัสที่ตู้เย็น ELCB ก็จะตัดวงจรนั้น ส่วนวงจรอื่นๆ ยังใช้งานได้ปกติ

Miniature Circuit Breakers

Miniature Circuit Breaker

เซอร์กิตเบรกเกอร์ (MCBs)

Electric distribution needs are continuously evolving in residential, commercial and industrial sectors.

Improved operational safety, continuity of service, greater convenience and operating cost have assumed a tremendous significance. Miniature circuit breakers have been designed to continuously adapt to these changing needs.

HGD Deluxe Type

HGD63N HGD63N

6

HG Modular Devices

HGD63N HGD63N

เซอร์กิตเบรกเกอร์เป็นอุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าที่ท�ำหน้าที่ในการ ป้องกันการใช้ไฟฟ้าเกินพิกัด (Overload) และกระแสลัดวงจร (Short Circuit) กล่าวคือเมื่อใดก็ตามที่มีการใช้กระแสไฟฟ้าสูงเกินกว่าที่สายไฟฟ้าจะทนได้ จนเกิดความร้อนสะสมขึน้ อาจท�ำความเสียหายต่อสายไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า รวมถึงเมือ่ เกิดกระแสไฟฟ้าลัดวงจร เซอร์กติ เบรกเกอร์จะท�ำการตัดกระแสไฟฟ้า ออกจากระบบโดยอัตโนมัติ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายที่อาจน�ำไปสู่ การเกิดอัคคีภัยในที่สุด ดังนั้น การเลือกใช้เซอร์กิตเบรกเกอร์ต้องค�ำนึงถึงค่า ความสามารถในการตัดกระแสไฟฟ้าลัดวงจรต้องสูงกว่าค่ากระแสไฟฟ้าลัดวงจร ของระบบไฟฟ้าที่ต�ำแหน่งติดตั้งและค่ากระแสพิกัดจะต้องน้อยกว่าค่ากระแส ไฟฟ้าที่สายไฟจะทนได้  เซอร์กิตเบรกเกอร์ของ HYUNDAI สามารถตัดวงจรได้ภายใน 4 มิลลิวินาที (0.004 วินาที)  เซอร์กิตเบรกเกอร์ของ HYUNDAI มีคุณสมบัติตรงตามมาตรฐาน  การติดตั้งทางไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทย ส�ำหรับที่ใช้งานกับบ้านที่อยู่อาศัย และมาตรฐานทัว่ ไปตามมาตรฐาน IEC 60898 และส�ำหรับใช้งานในโรงงาน อุตสาหกรรมมาตรฐาน IEC 60947-2 เหมาะส�ำหรับติดตั้งในตู้ Consumer Unit หรือการติดตั้งในตู้ Panel Board 3 เฟส  เซอร์กิตเบรกเกอร์ของ HYUNDAI สามารถใช้อุปกรณ์เสริม เช่น Auxiliary Contact, Signal Contact, Shunt Trip และ Under Voltage ได้ เป็นต้น March-April 2019


Miniature Circuit Breaker : MCB

เป็น CB ขนาดเล็ก ใช้ติดตั้งในแผงจ่ายไฟ (Panelboard) และแผงจ่ายไฟของที่อยู่อาศัย (Consumer Unit)  เพือ ่ ป้องกันวงจรย่อยของระบบไฟฟ้าของบ้าน ส�ำนักงานหรืออุตสาหกรรม  MCB สามารถท�ำตามมาตรฐาน IEC 60898, IEC 60947-2  IEC 60898 Domestic, Unskilled People  IEC 60947-2 Commercial, Industrial Installations 

ำไมต้องเลือDevices กใช้ตู้คอนซูมเมอร์ยูนิต “Hyundai Brand” HGท�Modular HGD / HRC / HSD / HEC / HIC

ตู้คอนซูมเมอร์ยูนิตระบบ Bolt On  Busbar Link เป็นทองแดงชุบดีบก ุ สามารถทน กระแสสูงสุด 160A  ตูท ้ ำ� จากเหล็กไร้สนิมชุบด้วยไฟฟ้าและพ่นด้วย สีฝุ่น (Epoxy Powder Pain Coating)  แท่ง N, G ท�ำจากทองเหลือง  MCB ได้มาตรฐานทั้งยุโรปและอเมริกา Standard : IEC 60898, IEC 60947-2 Approval : KEMA, TSE CE : Community European : TÜV Rheinlend, GOST-R 

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

March-April 2019

DEKRA (KEMA)  GOST-R  TSE  BV  CE  IRAM 

บริษท ั ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จำ�กัด

22/26 ถนนสุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2002-4395-97 แฟกซ์ 0-2002-4398 E-mail: ejlee@tdpowertech.com, lalida@tdpowertech.com


IT Article > เอสน็อค

เอสน็อคเผย ไทยติดโผอันดับ 4 กลุ่มประเทศ APAC ถูกใช้เป็นฐานโจมตี

DDoS

เอสน็อค ผูใ้ ห้บริการ Web Application Firewall และป้องกัน DDoS ผ่านคลาวด์รายแรกในไทย เผย พ.ศ. 2561 ไทยตกเป็นฐาน โจมตีดดี อสอันดับที่ 4 ในกลุม่ ประเทศเอเชียแปซิฟกิ (APAC) เดินหน้า จับมือพันธมิตรธุรกิจ เน็กซัสการ์ด ผู้ให้บริการระบบป้องกัน DDoS ผ่านคลาวด์รายใหญ่ของโลก พัฒนาบริการเว็บแอปพลิเคชันไฟร์วอลล์ (WAF) พร้อมรับมือการโจมตีของดีดอส (DDoS) ด้วยแบนด์วิดท์ กว่า 3 เทอราบิต หนุนเสริมด้วยศูนย์บริการโซลูชนั คัดกรองและแก้ไข ปัญหา (Global Scrubbing Center) รวม 16 แห่งทัว่ โลก หวังตอบโจทย์ องค์กรออนไลน์ ดาต้าเซ็นเตอร์ ผูใ้ ห้บริการแอปพลิเคชันบนมือถือ ผูใ้ ห้บริการอินเทอร์เน็ต ผูใ้ ห้บริการดาต้าเซ็นเตอร์ ธุรกิจอี-คอมเมิรซ์ และเกมออนไลน์ มั่นใจ พ.ศ. 2562 บริษัทยังโตต่อเนื่อง 100% จากรายงานภัยคุกคามความปลอดภัยด้วยดีดอส (Distributed Denial of Services : DDoS) โดยเน็กซัสการ์ด ได้เปิดเผยผลส�ำรวจ ล่าสุดในไตรมาสที่ 4 ของ พ.ศ. 2561 ระบุวา่ ประเทศไทยติดอันดับที่ 4 ในกลุ่มประเทศเอเชียแปซิฟิก ซึ่งถูกใช้เป็นฐานโจมตีด้วยดีดอสถึง 3.63% โดยประเทศจีนเป็นฐานโจมตีอันดับ 1 ที่ 61.16% ตามมา ด้วยเวียดนาม 9.52% และอินเดีย 7.33% รั้งอันดับที่ 2 และ 3 ตามล�ำดับ โดยตัวเลขการโจมตีต่อหนึ่งไอพี พรีฟิกซ์ (IP Prefix) ใน ปีที่ผ่านมาสูงถึง 176 กิกะบิตต่อวินาที (Gbps) และท�ำให้ระบบล่ม ได้นานถึง 18 วัน 21 ชั่วโมง 59 นาที วิศรุต มานูญพล รองกรรมการผู้จัดการ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัท ซีเคียว เน็ตเวิรค์ โอเปอเรชัน่ เซ็นเตอร์ จ�ำกัด หรือ เอสน็อค เปิดเผยเพิ่มเติมถึงผลกระทบของ ดีดอสในประเทศไทยว่า พ.ศ. 2561 เป็นปี ที่ พ บขนาดการโจมตี ด ้ ว ยดี ด อสที่ มี แบนด์วิดท์สูงถึง 14 กิกะบิตต่อวินาที และส่งผลท�ำให้ระบบล่มได้ยาวนานถึง 4 ชัว่ โมง โดยส่วนใหญ่จะเป็นการโจมตี ผ่านระบบของผูใ้ ห้บริการการสือ่ สาร วิศรุต มานูญพล อินเทอร์เน็ต คลาวด์ หรือไอเอสพี

เพื่อให้เกิดผลกระทบทางอ้อมต่อเนื่องไปถึงระบบของลูกค้าที่มา เช่าใช้บริการเพือ่ ประกอบธุรกรรมการค้า หรือให้บริการแอปพลิเคชัน ในรูปแบบออนไลน์ต่างๆ ส่งผลให้ระบบล่ม ไม่สามารถเข้าถึงหรือ ติดต่อเว็บไซต์ทต่ี อ้ งการได้ เกิดการตอบกลับทีล่ า่ ช้าหรือไม่สามารถ ให้บริการลูกค้าเป้าหมายได้ตามทีร่ อ้ งขอ ท�ำให้พลาดโอกาสในการ ท�ำธุรกิจ เสียหายต่อชื่อเสียงของแบรนด์และบริษัท หรือกระทั่ง สูญเสียลูกค้าให้กับคู่แข่งไปในที่สุด “เราพบว่า 70% ของบริษัทในประเทศไทยติดตั้งการใช้งาน แบนด์วิดท์อยู่ที่ราวๆ 100 เมกะบิต หรือ 1 กิกะบิต เป็นส่วนใหญ่ มีเพียง 10% เท่านั้น ที่สามารถลงทุนในระดับ 10 กิกะบิต ได้ ทั้งนี้ เพราะค่ า ใช้ จ ่ า ยในการติ ด ตั้ ง แบนด์ วิ ด ท์ ข นาดใหญ่ มี ร าคาสู ง ประกอบกับการใช้งานไอโอทีท่ีเติบโอย่างรวดเร็ว ได้กลายเป็น ช่องโหว่ส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดการโจมตีด้วยแบนด์วิดท์ที่ใหญ่กว่า จากอุปกรณ์ทุกรูปแบบ และทุกทิศทาง” ด้วยเหตุนี้ เอสน็อคจึงได้ร่วมกับพันธมิตรทางธุรกิจ เน็กซัส การ์ด ในการพัฒนาระบบบริการเว็บแอปพลิเคชันไฟร์วอลล์ และ ระบบป้องกันการโจมตีของดีดอสในรูปแบบ Security as a Service เป็นรายแรกในประเทศไทย เพือ่ ปลดล็อกปัญหาเรือ่ งของงบประมาณ โดยสามารถช่วยลูกค้าในการประหยัดงบลงทุนได้กว่า 6 เท่า แต่ยงั คง ได้รบั บริการทีค่ รอบคลุมความต้องการได้ครบถ้วนตลอด 24 x 7 วัน ได้แก่ การจัด บริการเว็บแอปพลิเคชันไฟร์วอลล์ (Web Application Firewall : WAF) ร่วมกับระบบป้องกันการโจมตีแอปพลิเคชัน โดยเฉพาะ การให้บริการแบบโอพี (Original Protection) ที่เน้น ป้องกันการโจมตีของดีดอสแบบ Volumetric ในลักษณะการรุมถล่ม เน็ตเวิร์กด้วยทราฟฟิกปลอมพร้อมกันในปริมาณมากๆ ร่วมด้วย การท�ำโหลด บาลานซิ่ง (Load Balancing) ในการกระจายปริมาณ งานของเซิร์ฟเวอร์ต่างๆ เพื่อป้องกันการหยุดชะงักของระบบจาก ปัญหาความหนาแน่นในแบนด์วดิ ท์ และ บริการป้องกันการโจมตี ดีเอ็นเอส (DNS) ซึ่งมุ่งป้องกันที่ตัวโดเมนเนมของเว็บไซต์ต่างๆ เป็นหลักให้มคี วามปลอดภัย สามารถเข้าถึงและใช้งานได้เมือ่ ร้องขอ March-April 2019


นอกจากนี้ ยังเสริมด้วยการจัดตัง้ ศูนย์บริการตรวจจับ คัดกรอง และป้องกันการโจมตีระบบโดยดีดอส (Global Scrubbing Center) ในประเทศไทย ด้วยแบนด์วิดท์ขนาด 700 กิกะบิต ซึ่งเมื่อรวมกับ ศูนย์บริการของเน็กซัสการ์ดอีก 15 แห่งทั่วโลก จะท�ำให้ลูกค้าของ บริษัทมีแบนด์วิดท์ไว้รองรับการโจมตีของดีดอสราว 3 เทอราบิต การพัฒนาทีมงานสนับสนุนทีส่ ามารถรองรับการท�ำงานได้ทงั้ เว็บไซต์ ภาษาไทยและเทศ ซึง่ พร้อมให้คำ� ปรึกษาลูกค้าแบบเรียลไทม์ รวมถึง สามารถตั้งวอร์รูมแบบเวอร์ชวลที่พร้อมแก้ปัญหาให้ลูกค้าได้ทันที ทีเ่ กิดวิกฤติฉกุ เฉิน ตลอดจนการท�ำงานร่วมกับเน็กซัสการ์ดในการจัด กิจกรรมสัมมนาความรูเ้ รือ่ งภัยของดีดอส การท�ำแผนการจัดอบรม และเวิร์คช็อปเกี่ยวกับดีดอสให้กลุ่มเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลระบบความ ปลอดภัยด้านไอทีขององค์กรและผู้สนใจทั่วไป เพื่อให้ตระหนักถึง ภัยเงียบของดีดอสทีส่ ามารถบ่อนท�ำลายศักยภาพการด�ำเนินธุรกิจ ผ่านช่องทางออนไลน์แบบไม่ทันตั้งตัว “ที่ ผ ่ า นมา เราได้ ท� ำ งานร่ ว มกั บ ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารการสื่ อ สาร อินเทอร์เน็ตและคลาวด์ หรือไอเอสพี อาทิ กสท. อินเทอร์เน็ต ประเทศไทย ในฐานะผู้ดูแลระบบบริการโครงสร้างพื้นฐานของ ไอเอสพีให้ปลอดจากการโจมตีด้วยดีดอส แต่ในปีนี้เราจะยกระดับ การท�ำงานกับไอเอสพีไปสู่การเป็นพันธมิตรทางธุรกิจในฐานะ ตัวแทนขาย (Reseller) บริการความปลอดภัยของบริษัท โดยจะมี การร่วมลงทุนติดตัง้ ระบบไว้ทศี่ นู ย์บริการของไอเอสพี เพือ่ เป็นการ เพิ่มทางเลือกให้กับลูกค้าในการใช้บริการตามความสะดวกและ ด้วยค่าใช้จา่ ยทีจ่ บั ต้องได้ โดยลูกค้าสามารถเลือกขอใช้บริการแบบ ต่อตรงถึงคลาวด์ของเน็กซัสการ์ดและเอสน็อค หรือจะใช้งานผ่าน คลาวด์ของไอเอสพีในประเทศ โดยยังคงมีศนู ย์ของเน็กซัสการ์ดจาก ทั่วโลกเป็นแบ็คอัพ ซึ่งจะท�ำให้ระบบบริการโดยไอเอสพีในระดับ

Snoc

Reveals Thailand Ranks No.4 Among Top Sources of DDoS Attacks in APAC

March-April 2019

ท้องถิ่นมีความเสถียร มีประสิทธิภาพสูงในการรับมือดีดอสที่มี แบนด์วิดท์ใหญ่ๆ ได้มากขึ้น” วิศรุต กล่าวปิดท้ายว่า ปัจจุบนั บริษทั ได้ให้บริการระบบความ ปลอดภัยดังกล่าวกับลูกค้าในกลุม่ ธนาคารชัน้ น�ำ 5 ใน 10 แห่ง บริษทั เกมออนไลน์ยักษ์ใหญ่ 2 ใน 3 ราย และเว็บออนไลน์ไทยมากกว่า 150 แห่ง อย่างไรก็ตาม บริษัทได้วางเป้าหมายในการขยายฐาน ลูกค้าเพิม่ ขึน้ ในกลุม่ สถาบันผูใ้ ห้บริการด้านการเงิน ดาต้าเซ็นเตอร์ ผู้ท�ำธุรกิจด้านอีคอมเมิร์ซ เกมออนไลน์ ผู้ให้บริการแอปพลิเคชัน บนมือถือ เอพีไอต่างๆ โดยตั้งเป้าการเติบโตด้านรายได้ในปีนี้ที่ 40 ล้านบาท คิดเป็นอัตราเติบโตที่สูงจากปีที่แล้ว 100%

เกี่ยวกับเอสน็อค เอสน็อค เป็นผู้ ให้บริการ Web Application Firewall และป้องกัน DDoS ผ่านคลาวด์รายแรกในไทย บริษัทฯ มีความพยายามในการน�ำเอาเทคโนโลยีมาเพื่อต่อสู้และ ป้องกันการโจมตีทางไซเบอร์ซงึ่ ถูกพัฒนาอยูต่ ลอดเวลา เพื่อให้ธุรกิจด�ำเนินไปด้วยความราบรื่น มั่นคงปลอดภัย และมีความเชื่อมั่นจากลูกค้าที่มาใช้บริการ บริษทั ฯ มีผเู้ ชีย่ วชาญและห้องปฏิบตั กิ าร (Security Operation Center) ตั้งอยู่ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อ ตรวจสอบและวิเคราะห์การโจมตีรปู แบบใหม่ๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ตลอดเวลา ซึ่งจะคอยช่วยเหลือ ให้ค�ำปรึกษา และคอย ป้องกันการโจมตี (Incident Response) ตลอด 24 ชัว่ โมง 7 วัน

Snoc, the first provider of Web Application Firewall and DDoS protection services in Thailand, announced that Thailand ranked No.4 among the top originators of DDoS attacks in Asia-Pacific (APAC) in 2018. The company has therefore partnered with Nexusguard, the world’s leading provider of cloud-based DDoS protection services, to offer Web Application Firewall (WAF) that can fight against around 3 Tbps DDoS attacks. Supported by 16 global scrubbing centers worldwide, this service offering is mainly targeted at online enterprises, data centers, mobile application solution providers, Internet service providers, data center service providers, e-commerce and online game businesses. Snoc expects to achieve 100% business growth in 2019. According to Nexusguard’s 2018 Q4 DDoS threat report, Thailand ranked No.4 among the top sources of DDoS attacks in APAC, originating 3.63% of DDoS attacks. China is the top originator, responsible for 61.16% of DDoS attack, followed by Vietnam (9.52%) and India (7.33%) as No.2


and No.3 respectively. DDoS attacks per IP prefix reached 176 gigabits per second (Gbps) last year and caused 18 days, 21 hours, and 59 minutes of system downtime. Mr.Visrut Manunpon, Chief Technical Officer, Secure Network Operation Center Co., Ltd. (Snoc) talked about the impacts of DDoS in Thailand, revealing that DDoS attacks reported in 2018 consumed bandwidth of up to 14 Gbps and caused system downtime of 4 hours. Mostly, DDoS attacks went through communications service providers, Internet service providers or cloud service providers to indirectly affect businesses that do transactions or deliver online applications on their multi-tenant platforms. As a result, these companies’ websites become unavailable and they cannot either respond to any requests or serve their customers, and therefore they lose business opportunities and their brand reputation is destroyed. Finally, they even lose customers to their competitors. “We found that 70% of companies in Thailand use an average bandwidth of 100 megabits or 1 gigabit, and only 10% can afford a huge investment for 10 gigabit bandwidth deployment. With the proliferation of Internet of Things (IoT), it is possible to perform DDoS attacks with larger bandwidth by using various kinds of devices at any locations.” Therefore, Snoc has teamed up with Nexusguard to offer Web Application Firewall and DDoS protection in the form of Security as a Service for the first time in Thailand in order to help customers ease their budget burdens and save capital expenses by over six times. Customers will benefit from end-to-end, 24 x 7 services, including Web Application Firewall (WAF) that protect applications from attacks, Original Protection that prevents volumetric DDoS attacks, along with load balancing that helps avoid server downtime, and DNS protection that helps ensure website security and availability. Moreover, these security services are supported by a global scrubbing center in Thailand with 700 Gbps bandwidth, coupled with 15 Nexusguard’s centers worldwide, enabling customers to have around 3 Tbps bandwidth in total to fight against DDoS attacks. Snoc team can support Thai-language and foreign-language websites, provide real-time consulting, establish a virtual war room for solving crisis. In addition, Snoc and Nexusguard will organize seminars to educate customers and general public about DDoS, and deliver training and workshops for IT security professionals to help enhance their skills in defending their online business against DDoS threats.

“We have previously collaborated with communications, Internet and cloud service providers or ISPs such as CAT and INET to help them protect their infrastructure from DDoS attacks. This year, we will upgrade our collaboration with ISPs by appointing them as resellers for our security services. We will deploy our systems at ISPs’ service centers to provide more choices to customers, allowing them select service options more conveniently and cost-effectively. Customers may opt to use security services directly from Nexusguard or Snoc clouds or through ISP clouds in Thailand with support from Nexusguard centers worldwide. This enables local ISPs to deliver reliable services and efficiently handle high-bandwidth DDoS attacks.” Mr.Visrut added. Mr.Visrut concluded that Snoc currently provide those security services to five of the 10 largest financial institutions, two-third leading online game companies, and over 150 websites in Thailand. Snoc plans to expand its customer base in major sectors including financial service companies, data centers, e-commerce, online game providers, mobile application providers, and ASPs, expecting its revenue to increase by 40 million Baht or with over 100% growth from last year.

Snoc is the first cloud-based web application firewall and distributed denial of service (DDoS) security solution provider in Thailand. We do try to provide the best technology to fight and prevent malicious cyber attacks that are always developed to let your business run smoothly and securely as well as to receive faith from customers using your services. The company also has experts and Security Operation Center both locally and aboard to monitor and analyze new types of cyber attacks that happen at all times. We are ready for 24 x 7 assistance, consultation and resident response as well.

March-April 2019


IT Article

> สุภัค ลายเลิศ กรรมการอ�ำนวยการ และประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ บริษัท ยิบอินซอย จ�ำกัด

ทุกๆ สิ้นปี บริษัทที่ปรึกษาและวิจัยชั้นน�า ของโลก ทั้งไอดีซี การ์ทเนอร์ ฟอร์เรสเตอร์ หรือ แมคคินซีแอนด์คอมปานี เป็นต้น ต่างออกรายงาน คาดการณ์แนวโน้มด้านไอที เพื่อเป็นไอเดียใน การเพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงาน หรือสร้างโอกาส ใหม่ๆ ให้กับธุรกิจ โดยปีน้ีต่างก็เห็นตรงกันว่า “คลาวด์ คอมพิวติง้ บิก๊ ดาต้าและการวิเคราะห์ ข้อมูล ไอโอที ปัญญาประดิษฐ์ บล็อกเชน และ ความปลอดภัยทางไซเบอร์” จะยังคงมีบทบาท ส�ำคัญอย่างน้อยอีก 3-5 ปีขา้ งหน้า โดยองค์กรใด ทีส่ ามารถผสมผสานเทคโนโลยีเหล่านีแ้ ละจัดวาง การใช้งานได้ถกู ทีถ่ กู ทาง เท่ากับเป็นการปูรากฐาน ทางธุรกิจให้แข็งแกร่ง และสร้างความได้เปรียบ ส�ำหรับยุค “เศรษฐกิจดิจทิ ลั ” ซึง่ ขับเคลือ่ นด้วย “ฐานข้อมูล นวัตกรรม และปัญญาประดิษฐ์” บนระบบงานที่เน้นความเป็น “อัตโนมัติ หรือ ออโตเมชัน” แบบครบจบทุกกระบวนการ ที่ ผ ่ า นมา การเริ่ ม ต้ น ใช้ ง าน “คลาวด์ คอมพิวติ้ง” ไม่ว่าจะเป็นคลาวด์ส่วนตัว คลาวด์ สาธารณะ ไฮบริด คลาวด์ จะมองถึงความคุ้มทุน ที่เกิดจากการแชร์ใช้ทรัพยากรไอทีร่วมกันทั้ง ออนไลน์และออฟไลน์ แต่จากนี้ไปคลาวด์จะมี บทบาทสนับสนุนการท�ำงานเพื่อสร้างผลลัพธ์ ทางธุรกิจมากขึ้น และในปีน้ี “มัลติคลาวด์” จะถูกพูดถึงเป็นพิเศษ ด้วยแนวทางที่เปิดกว้าง ให้กับองค์กรในการใช้งานคลาวด์จากผู้ให้บริการ หลายๆ รายควบคู่กันไป เพื่อให้เหมาะกับความ ต้องการเฉพาะด้าน ส่วนตัวช่วยใหม่ๆ ที่จะมา เติ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของคลาวด์ ได้ แ ก่ “เอดจ์ คอมพิวติ้ง (Edge Computing)” ที่จะมาช่วย ลดโหลดการท�ำงานบนคลาวด์ โดยให้อุปกรณ์ ปลายทางสามารถจัดการตัวเองได้ เสริมด้วย “แอปพลิเคชันในแบบไมโครเซอร์วิส (Micro Services)” ซึ่งเป็นการพัฒนาแอปพลิเคชันที่ แยกออกเป็ น ส่ ว นย่ อ ยๆ ตามฟั ง ก์ ชั น ใช้ ง าน เพื่อให้ง่ายต่อการปรับปรุงแก้ไขผ่านคลาวด์ได้ ด้วยเวลาที่รวดเร็ว และทันกับการด�ำเนินธุรกิจที่ เปลี่ยนแปลงไป ขณะเดียวกัน ในยุคทีผ่ คู้ นหันมานิยมแสดง ความรู้สึกนึกคิดและพฤติกรรมผ่านแฮชแท็กซ์ อิโมจิ สติกเกอร์ไลน์ หรือยูทูป การหลั่งไหลของ ข้อมูลผ่านอุปกรณ์ไอโอทีหรือการประกอบธุรกรรม ออนไลน์ ท�ำให้ “บิ๊ก ดาต้า” เติบโตขึ้นเรื่อยๆ ในระดับที่เราไม่คุยเป็น “เทราไบต์” กันแล้ว March-April 2019


แต่เป็นการโตในระดับ “เซตตาไบต์ (Zettabyte)” ด้วยข้อมูลแบบ มีโครงสร้างและไม่มโี ครงสร้าง และหน้าตาทีห่ ลากหลายซึง่ ไม่ใช่แค่ ตัวอักษรอีกต่อไป เครื่องมือวิเคราะห์ บิ๊ก ดาต้า จึงก�ำลังถูกพัฒนา ให้ทำ� งานได้ฉลาดขึน้ ในการ “กลัน่ กรองและวิเคราะห์ขอ้ มูลทีใ่ ช่” และส่งต่อสู่กระบวนการสนับสนุนการตัดสินใจทางธุรกิจ หรือ บิซเิ นส อินเทลลิเจนส์ เพือ่ เพิม่ มุมมองใหม่จากข้อมูลทีห่ ลากหลาย ให้กบั ผูบ้ ริหาร รวมถึงต่อยอดสูก่ ารสร้างนวัตกรรม เช่น เออาร์/วีอาร์ แมชชีนเลิรน์ นิง่ หรือปัญญาประดิษฐ์ ทีส่ ามารถยกระดับประสิทธิภาพ การท�ำงาน หรือเพิม่ โอกาสทางการพัฒนาสินค้าหรือบริการทีโ่ ดนใจ และเข้าถึงตัวตนของ “ลูกค้าหรือผูบ้ ริโภค” ในระดับทีร่ วู้ า่ ชอบอะไร ซื้อเมื่อไหร่ และอนาคตอยากซื้ออะไร จนเกิดเป็นความภักดีต่อ แบรนด์ยิ่งกว่าเดิม และแล้ว “ไอโอที” ก็ให้เราได้มากกว่าการเป็นแค่โปรโตคอล หนึง่ ทีม่ ไี ว้เชือ่ มต่ออุปกรณ์เท่านัน้ แต่คอื “แพลตฟอร์มทีส่ ามารถ สร้างและขยายพื้นที่แสดงผลและส่งต่อข้อมูลที่หลากหลาย แบบไม่จำ� กัดโครงสร้าง” ซึง่ องค์กรเอาไปประยุกต์ใช้ได้หลายทาง อาทิ ใช้เป็นเครื่องมือส่งต่อ “นวัตกรรมข้อมูลในรูปแบบความจริง เสมือน (เออาร์/วีอาร์) “เพือ่ สือ่ สารหรือปลุกกระแสความนิยมในสินค้า และบริการ หรือชูภาพลักษณ์ท่ีแข็งแกร่งของแบรนด์ผ่านอุปกรณ์ BYOD ตรงถึงมือลูกค้า การต่อยอดไอโอทีให้อยูใ่ นรูปของ “เซ็นเซอร์ และอุปกรณ์อจั ฉริยะ” ทีช่ ว่ ยองค์กรในการตรวจติดตาม หรือควบคุม กระบวนการผลิตในงานอุตสาหกรรม คุณภาพของสินค้าหรือบริการ การใช้งานไอโอทีในการผลักดันการเติบโตของตลาดการค้าบนโลก ออนไลน์ที่ท�ำให้เราสามารถขยายพื้นที่การขาย เพิ่มเติมฐานลูกค้า หรือพบช่องทางการสร้างรายได้ใหม่ๆ ให้กับธุรกิจ การจับมือระหว่างไมโครซอฟท์และฟิตบิทในการพัฒนา แอปพลิเคชันบนวินโดว์ 10 ที่ผสมผสานข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ ชีวภาพและเทคโนโลยี เพือ่ สร้างโปรแกรมค�ำนวณการออกก�ำลังกาย ที่เหมาะสมเฉพาะบุคคลได้ทันทีผ่านสมาร์ทโฟน อเมซอนช็อปปิ้ง พัฒนาโปรแกรมวิเคราะห์เครื่องแต่งกายจากข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับ สไตล์และแฟชัน่ เพือ่ เป็นผูช้ ว่ ยด้านแฟชัน่ แบบเวอร์ชว่ ลให้กบั นักช็อป ทัง้ หลาย คือ ตัวอย่างการเติมเต็มประสบการณ์ทดี่ ใี ห้กบั ลูกค้าผ่าน “ปัญญาประดิษฐ์ หรือเอไอ” ซึ่งนอกจากจะสามารถ “สร้างการ รับรู้ โต้ตอบ หรือปฏิบตั กิ ารได้ทนั ทีทร่ี อ้ งขอ” ยังเป็นการยกระดับ ความเป็นนวัตกรรมของแบรนด์ในสายตาลูกค้า นอกจากนี้ ข้อมูล หรือพฤติกรรมการโต้ตอบของลูกค้ากับเอไอ ยังน�ำไปใช้ในการ วิเคราะห์ปรับปรุงเพื่อเพิ่มรายได้และสร้างโอกาสการขาย โดยเน้น การน�ำเสนอในจุดที่ลูกค้าสนใจ หรือจากมุมที่ดีที่สุดของสินค้าและ บริการ จนสามารถเปลี่ยนการตัดสินใจจาก “เดี๋ยวค่อยซื้อ” เป็น “อยากซื้อเดี๋ยวนี้” ขีดความสามารถของ “บล็อกเชน” ที่ขยายผลจากโลกของ ฟินเทคสูโ่ ลกของการจัดการธุรกิจ เป้าหมาย คือ “สร้างความน่าเชือ่ ถือ โปร่งใส และตรวจสอบได้” ด้วยหลักการ “การจัดเก็บฐานข้อมูล แบบกระจาย (Distributed Database) ที่ต่อตรงถึงกันทั้งหมด

ภายในเครื อ ข่ า ย” โดยไม่ ต ้ อ งมี ตั ว กลางประมวลผลเหมื อ น ฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ การปรับปรุงทุกฐานข้อมูลในเครือข่ายให้ ทันสมัยจึงท�ำได้พร้อมกันทันที ซึง่ ลดทัง้ เวลาและขัน้ ตอนการท�ำงาน การสร้างความโปร่งใสน่าเชือ่ ถือจากการทีท่ กุ ฐานข้อมูลในเครือข่าย สามารถตรวจสอบย้อนกลับไป-มาซึ่งกันและกันถึงความถูกต้อง ที่มาที่ไป และการเคลื่อนไหวของข้อมูล หรือธุรกรรมต่างๆ ได้ ขณะเดียวกัน การขโมย ปลอมแปลง หรือท�ำลายระบบจะต้องเจาะ ถึงทุกฐานข้อมูลในเครือข่ายพร้อมๆ กันและในเวลาเดียวกันจึงจะ ส�ำเร็จ ซึ่งนั่นท�ำให้บล็อกเชนได้รับการยอมรับว่า มีความปลอดภัย สูง ตัวอย่างของบล็อกเชนทีใ่ ช้ในเชิงธุรกิจ เช่น ไอบีเอ็ม ซึง่ ได้พฒ ั นา แพลตฟอร์มบนบล็อกเชนที่ชื่อว่า “ฟู้ดทรัสต์ (Food Trust)” ใน การติดตามตรวจสอบซัพพลายเชนที่อยู่ในกระบวนการจัดหาและ ส่งมอบผลิตผลทางอาหารถึงมือผู้บริโภค โดยตัวผู้บริโภคเองก็ สามารถตรวจสอบย้อนกลับเพื่อยืนยันแหล่งที่มา คุณภาพ และ ความสดใหม่ของสินค้าได้ ประสิทธิภาพของ “ระบบความปลอดภัยทางไซเบอร์” ที่ต้องตอบโจทย์ให้ตรงจุดในเรื่อง “ป้องกันความเสี่ยงและสร้าง ความไว้วางใจ (Risk & Trust)” ในอดีตเราเคยมีเกตเวย์ ไฟร์วอลล์ เป็นปราการป้องกันระบบไอทีขององค์กร แต่ยังไม่พอส�ำหรับการ ปกป้องทรัพย์สนิ สารสนเทศโดยเฉพาะ “ข้อมูล” ทีอ่ ยูบ่ นโลกออนไลน์ และคลาวด์ ไอดีซี ได้เสนอแนะแนวคิด “ซีโร่ ทรัสต์ ซีเคียวริต้ี (Zero Trust Security)” บนหลักการทีว่ า่ “อย่าไว้ใจกันง่ายๆ” โดย ปัญญาประดิษฐ์ บล็อกเชน จะเป็นเทคโนโลยีทเ่ี ข้ามาเป็นส่วนส�ำคัญ ในการสร้างความปลอดภัยของข้อมูลบนคลาวด์หรือออนไลน์ใน การตรวจจับผู้บกุ รุกจากภายนอก และป้องกันการรั่วไหลโดยคนใน ซึ่งกูเกิลได้น�ำแนวคิดนี้ไปพัฒนาระบบความปลอดภัยของข้อมูล ภายใต้โครงการ “บียอนคอร์ป (Beyond Corp)” แล้ว นอกจากนี้ แพลตฟอร์มความปลอดภัยที่พัฒนาบน “เอพีไอแบบเปิด (Open APIs)” ก็เป็นอีกเครือ่ งมือหนึง่ ทีเ่ ข้ามาอุดช่องโหว่ดา้ นความปลอดภัย โดยองค์กรสามารถพัฒนาเพิม่ เติม หรือแก้ไขเปลีย่ นแปลงเพือ่ รับมือ กับภัยคุกคามต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว ทัง้ หมดนีเ้ ป็นปัจจัยทีจ่ ะช่วยเติมพลังให้กบั องค์กร เพือ่ พร้อม สูศ้ กึ การแข่งขันในโลกยุคดิจทิ ลั โลกซึง่ ความได้เปรียบด้านเทคโนโลยี และข้อมูล คือ หนึ่งในตัวชี้วัดความส�ำเร็จทางธุรกิจ

March-April 2019


microSDXC 350V

การ์ดหน่วยความจำ�สำ�หรับการใช้งานหนักอย่างต่อเนื่อง

The New High Endurance microSDXC 350V for Intensive Monitoring Applications

ทรานส์เซนด์ อินฟอร์เมชัน, อิงค์ (Transcend®) เปิดตัว การ์ดหน่วยความจ�ำ รุ่น microSDXC 350V ซึ่งเป็นหน่วยความจ�า ที่เหมาะส�ำหรับการใช้งานต่อเนื่องและตลอดเวลา เช่น ในกล้องติด รถยนต์ กล้องรักษาความปลอดภัย และตลาดระบบรักษาความปลอดภัย การ์ดหน่วยความจ�ำส�ำหรับงานหนักรุน่ microSDXC 350V ถูกออกแบบ มาให้รองรับการท�ำงานที่มีการบันทึกข้อมูลอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา และมีความน่าเชือ่ ถือสูง การ์ดหน่วยความจ�ำ microSDXC 350V ได้รบั การทดสอบภายใต้เงือ่ นไขการท�ำงานทีเ่ ข้มงวด ไม่วา่ จะเป็นการทดสอบ เรือ่ งการกันน�ำ้ ทนทานต่อการใช้งานในอุณหภูมสิ งู ป้องกันไฟฟ้าสถิต ป้องกันรังสีเอกซ์ และป้องกันการสั่นสะเทือน กล้ อ งติ ด รถยนต์ แ ละกล้ อ งรั ก ษาความปลอดภั ย ต้ อ งการ ประสิ ท ธิ ภ าพการบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ที่ มี เ สถี ย รภาพอย่ า งต่ อ เนื่ อ งเป็ น เวลานาน สิ่งนี้ท�ำให้ม่ันใจได้ถึงช่วงเวลาส�ำคัญ การ์ดหน่วยความจ�ำ microSDXC 350V ของทรานส์เซนด์ มีค่า Terabytes Written (TBW) สูงสุดถึง 170 TB แสดงถึงจ�ำนวนข้อมูลทัง้ หมดทีค่ ณ ุ สามารถบันทึกลง ในการ์ดได้ตลอดอายุการใช้งาน การ์ดหน่วยความจ�ำ microSDXC 350V ของทรานส์เซนด์ มอบประสิทธิภาพที่เชื่อถือได้ ท�ำให้เหมาะกับการใช้งานที่เน้นการ บันทึกข้อมูลอย่างต่อเนือ่ ง และมัน่ ใจได้วา่ หลักฐานจะถูกบันทึกอย่าง ชัดเจนด้วยความละเอียด Full HD โดยที่เฟรมเรตไม่ตก ส�ำหรับการ์ด หน่วยความจ�ำทรานส์เซนด์ microSDXC 350V มีความจุให้เลือก 2 ขนาด 64GB และ 128GB พร้อมการรับประกันจากทรานส์เซนด์ เป็นเวลา 2 ปีเต็ม รองรับการบันทึกภาพนิ่งหลายพันภาพและวิดีโอ Full HD หลายชัว่ โมง การ์ดหน่วยความจ�ำ microSD ของทรานส์เซนด์ ได้รบั การทดสอบเพือ่ ให้ทนทานต่อสภาวะทีร่ นุ แรง การ์ดเหล่านีส้ ามารถ ท�ำงานได้ที่อุณหภูมิสูง รวมทั้งกันน�้ำ กันกระแทก กันการสั่นสะเทือน กันไฟฟ้าสถิต และป้องกันรังสีเอกซ์ March-April 2019

Transcend Information, Inc. (Transcend®), announces its High Endurance microSDXC 350V memory cards that stand the test of time. Aimed at the dashcam, security camera, and surveillance system markets, Transcend’s High Endurance microSDXC 350V memory cards are designed to meet the demands of write-intensive applications. To ensure the utmost level of reliability, the High Endurance microSDXC 350V memory cards undergo extensive testing under harsh conditions to be verified waterproof, temperature resistant, static proof, X-ray proof, and shock resistant. Dashboard cameras and security cameras require stable recording performance over long periods of time; it is this that ensures critical moments are captured. Transcend’s High Endurance microSDXC 350V memory cards offer great Terabytes Written (TBW) values of up to 170 TB, indicating the total amount of data you can write into the card over its lifetime. Transcend’s microSDXC 350V memory cards offer reliable performance, making them well-suited to write-intensive applications, and ensuring evidence is clearly recorded in Full HD without dropped frames. Transcend’s microSDXC 350V memory cards come in up to 128GB capacity, plenty of space for thousands of snapshots and hours of Full HD videos to be recorded, meaning you can stop worrying about running out of storage space. To deliver the best performance and stability, Transcend’s microSD memory cards are tested to withstand extreme conditions. They are temperature resistant, waterproof, shock proof, X-ray proof, and static proof.


เครื่องสำ�รองไฟเอพีซี เอพีซี จากชไนเดอร์ อิเล็คทริค จับมือ JIB รุกตลาดเกม เปิดตัว เครื่องส�ำรองไฟ (UPS) ส�ำหรับเกมเมอร์ APC Back-UPS Pro 1500 รุ่น BR1500GI (1500VA 865Watt) เครื่องแรกที่ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ชาว เกมเมอร์ได้อย่างลงตัว ด้วยความสามารถพิเศษ “แบตเตอรี่ต่อขยาย” เพิ่ม ระยะเวลาไฟฟ้าส�ำรองให้ใช้งานได้ยาวนานขึ้น เพียงต่อขยายแบตเตอรี่ ภายนอก รุ่น BR24BPG ได้ระยะเวลาส�ำรองไฟนานขึ้นอีก 30 นาที และ ยังช่วยป้องกันอารมณ์สะดุดจากไฟตก ไฟกระชาก ระบบไฟไม่เสถียร เพือ่ ให้ ความมันส์ได้อย่างต่อเนื่อง ด้วย “ตัวปรับแรงดันไฟฟ้า” “Auto Voltage Regulator with Stabilizer” มาพร้อมโหมดกรีนเทคโนโลยี ช่วยประหยัด พลังงานโดยสั่งชัตดาวน์เครื่องหลักเพียงเครื่องเดียว ก็สามารถปิดเครื่องใน เครือข่ายได้ทั้งหมด

Secure Media Exchange (SMX) Honeywell (NYSE: HON) today announced the latest release of Secure Media Exchange (SMX), a cybersecurity solution to protect industrial operators against new and emerging Universal Serial Bus (USB) threats. SMX now includes patent pending capabilities to protect against a broad range of malicious USB device attacks, which disrupt operations through misuse of legitimate USB functions or unauthorized device actions. These advanced protections complement additional SMX enhancements to malware detection, utilizing machine learning and artificial intelligence (AI) to improve detection by up to 40 percent above traditional anti-virus solutions according to a Honeywell study. Together, these updates to the SMX platform deliver comprehensive, enterprise-wide USB protection, visibility and control to meet the demanding physical requirements of industrial environments. USB devices include flash drives and charging cables, as well as many other USB-attached devices. They represent a primary attack vector into industrial control system (ICS) environments, and existing security controls typically focus on the detection of malware on these USBs. While important, research shows an emerging trend toward new categories of USB threats that manipulate the capabilities of the device standard to circumvent traditional security controls and directly attack ICS. Categorically, these malicious USB device attacks represent 75 percent of today’s known USB attack types, a clear indication of the shift toward new attack methodologies. Because these attacks can weaponize common USB peripherals — like keyboards, speakers — effective protection requires sophisticated device validation and authorization.

The latest SMX technology release includes a host of additional features including :  New Centralized Management : provides unmatched visibility of USB devices entering industrial control environments and centralized threat management across all SMX sites, for timesaving security management and simple-to-view insights unique to the customer’s environment.  New ICS Shield Integration : provides additional visibility into USB activity on protected end nodes, closing the loop between centralized management services and distributed protections inside the ICS, without violating industry best practices of zone segmentation.  Expanded SMX Offering : provides multiple form factors to meet specific industrial needs, including portable SMX ST models for busy operational staff, and fully ruggedized models that meet industrial use cases including hazardous environments, military standard conditions and gloves-on worker situations. For more information visit Secure Media Exchange. March-April 2019


ปตท. เยี่ยมชมโรงงาน กลุ่มบริษัทโชคน�ำชัย วิทวัส สวัสดิ์-ชูโต ประธานเจ้าหน้าที่เทคโนโลยีและวิศวกรรม และ วรวัฒน์ พิทยศิริ ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ รักษาการรองกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ นวัตกรรมและดิจติ อล บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) พร้อมด้วยคณะ เข้าเยีย่ มชม โรงงานของบริษัท สกุลฎ์ซี อินโนเวชั่น จ�ำกัด ในกลุ่มบริษัทโชคน�ำชัย เพื่อหา แนวทางร่วมมือการต่อยอดธุรกิจในการผลิตรถโดยสารอะลูมิเนียม และเรือ อะลูมเิ นียมรุน่ ใหม่ดว้ ยฝีมอื คนไทย โดยมี วีระพล ไชยธีรตั ต์ กรรมการบริหาร พร้อมด้วยผู้บริหาร บริษัท สกุลฎ์ซี อินโนเวชั่น จ�ำกัด ให้การต้อนรับ

รัฐมนตรีคมนาคม เยี่ยมชมโรงงาน สกุลฎ์ซี อินโนเวชั่น

ไพรินทร์ ชูโชติถาวร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม พร้อมด้วย มานิตย์ สุธาพร ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวง คมนาคม พร้อมคณะ เข้าเยี่ยมชมโครงการยานยนต์สมัยใหม่ และชม การออกแบบต้นแบบรถโดยสารขนาดเล็กตัวถังอะลูมเิ นียม ชมไลน์ผลิต เรืออะลูมเิ นียม และเครือ่ งจักรสนับสนุน พร้อมชมโรงงานการออกแบบ และผลิตแม่พิมพ์ชั้นสูงเพื่อการส่งออก ของบริษัท สกุลฎ์ซี อินโนเวชั่น จ�ำกัด โดยมี น�ำชัย สกุลฎ์โชคน�ำชัย ประธานกลุ่มบริษัทโชคน�ำชัย พร้อมผู้บริหาร บริษัท สกุลฎ์ซี อินโนเวชั่น จ�ำกัด ให้การต้อนรับ

ถิรไทย ร่วมลงนาม กฟผ. ผลิตหม้อแปลง เสริมความมั่นคงระบบไฟฟ้าของประเทศ

วิบูลย์ ฤกษ์ศิระทัย ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พร้อมด้วย สัมพันธ์ วงษ์ปาน กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ถิรไทย จ�ำกัด (มหาชน) หรือ TRT ผูผ้ ลิต จ�ำหน่าย และซ่อมบ�ำรุง หม้อแปลงไฟฟ้า ร่วมพิธลี งนามจัดซือ้ หม้อแปลงไฟฟ้าก�ำลังขนาด 333.33 MVA 500 kV จ�ำนวน 6 ยูนิต ในโครงการ ปรับปรุงระบบส่งไฟฟ้าบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือตอนล่าง ภาคกลาง และกรุงเทพมหานคร เพื่อเสริมความมั่นคงระบบไฟฟ้า และรองรับ โครงการโรงไฟฟ้าในประเทศเพื่อนบ้าน ตามแผนการพัฒนาพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือก ณ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

เดลต้า ร่วมงานครบรอบ 20 ปี สถาบันไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ ผู้บริหาร บริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมงานครบรอบ 20 ปี สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมถ่ายภาพร่วมกับ ดร.สมชาย หาญหิรัญ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ณ สถาบัน ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ นิคมอุตสาหกรรมบางปู สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2541 ภายใต้ กระทรวงอุตสาหกรรม โดยมีจุดมุ่งหมายในการน�ำเสนอบริการที่เป็นเลิศ เพื่อสร้างความมั่นใจและรับรองมาตรฐานระดับสากลและความสามารถใน การแข่งขันของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทยในตลาดโลก

March-April 2019


HQ ประกาศเปิดตัวอย่างเป็นทางการ โนเอล โค้ก ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ เอชคิว ประจ�ำประเทศไทย พร้อมด้วย สุกญ ั ญา สังข์ศรีศกั ดิ์ หัวหน้าทีมผูจ้ ดั การชุมชน และ อรจิรา วรรณะศิรพ ิ งษ์ หัวหน้าผู้จัดการฝ่ายขาย ประจ�ำประเทศไทย ร่วมประกาศเปิดตัวส�ำนักงาน ออฟฟิศพร้อมใช้แห่งใหม่ ภายใต้ช่ือแบรนด์ “HQ (เอชคิว)” สาขาแรกใน ประเทศไทย ในเครือ IWG ผู้น�ำธุรกิจให้บริการเช่าพื้นที่ส�ำนักงานระดับโลก ณ อาคารเอสพีอี ทาวเวอร์ ถนนพหลโยธิน ที่พร้อมน�ำเสนอทุกความต้องการ ของคนท�ำงานยุคใหม่แบบไร้ออฟฟิศ บนพืน้ ทีท่ ำ� งานทีใ่ ห้ความยืดหยุน่ ตลอดจน สนับสนุนและช่วยผลักดันให้ธุรกิจนั้นเติบโตไปพร้อมกัน

กฟผ. ลงนามสัญญาซื้อขายน�ำ้ มันปาล์มดิบ

ดร.ศิริ จิระพงษ์พันธ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน (รมว.พน.) เป็นประธานในพิธีลงนามสัญญาซื้อขายน�้ำมันปาล์มดิบ ระหว่างการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กับผูจ้ ำ� หน่ายน�ำ้ มัน ปาล์มดิบ จ�ำนวน 22 ราย ในปริมาณรวม 83,000 ตัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ของการด�ำเนินการตามมาตรการปรับสมดุลน�้ำมันปาล์มในประเทศ ของรัฐบาล เพือ่ ช่วยเหลือเกษตรกรแก้ไขปัญหาราคาปาล์มน�ำ้ มันตกต�ำ่ โดยมีตัวแทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมลงนามอย่างพร้อมเพรียง ณ ห้องออดิทอเรียม ชั้น 3 อาคาร ท.103 ส�ำนักงานใหญ่ กฟผ. อ.บางกรวย

สแกนเนีย ประกาศความสำ�เร็จต่อเนื่อง เผยทิศทาง ธุรกิจในปี 2019

สเตฟาน ดอร์สกี กรรมการผู้จัดการ บริษัท สแกนเนีย สยาม จ�ำกัด ร่วมกับ ภูรวิ ทั น์ รักอินทร์ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายปฏิบตั กิ ารภูมภิ าค บริษทั สแกนเนีย สยาม จ�ำกัด และ ทัศนันท์ ปิยะอักษรศักดิ์ ผูจ้ ดั การฝ่ายสือ่ สารและการตลาด บริษัท สแกนเนีย สยาม จ�ำกัด ร่วมให้สัมภาษณ์พิเศษเกี่ยวกับความส�ำเร็จ ในการด�ำเนินธุรกิจใน ค.ศ. 2018 พร้อมเผยแผนการเติบโตทางธุรกิจใน ค.ศ. 2019 และการเปิดตัวโรงงานและรถบรรทุกสแกนเนียรุ่นใหม่ ณ สแกนเนีย สยาม บางนา ตราด กม.19

ทีซีซีเทค ลงนาม MOU ม.รังสิต สร้าง Knowledge Innovation วรดิษฐ์ วิญญรัตน์ กรรมการบริหารและรักษาการกรรมการผู้จัดการ บริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จ�ำกัด (ทีซีซีเทค) เป็นตัวแทนร่วมลงนามบันทึก ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) โครงการ The Tech Melody “ให้บทเพลงพูดแทน เทคโนโลยี” กับมหาวิทยาลัยรังสิต โดย ผศ. ดร.นเรฏฐ์ พันธราธร รองอธิการบดี ฝ่ายวิชาการ พร้อมด้วยทีป่ รึกษาโครงการฯ ร่วมพิธลี งนาม ประกอบด้วย วลีพร สายะสิต ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายสือ่ สารองค์กร บริษทั ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จ�ำกัด (ทีซซี เี ทค) ผศ. ดร.เด่น อยูป่ ระเสริฐ คณบดีวทิ ยาลัยดนตรี และ วีรภัทร์ อึง้ อัมพร รองคณบดี ฝ่ายบริหารและวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมพิธีลงนาม

March-April 2019


ซีเมนส์ เปิดศูนย์บริการพลังงานไฟฟ้า ดร.อาร์มนิ บรัค ประธานกรรมการและหัวหน้าฝ่ายบริหารของบริษทั ซีเมนส์ จ�ำกัด ประจ�ำสิงคโปร์และภูมิภาคอาเซียน ร่วมกับ มาร์คุส ลอเรนซินี่ ประธานกรรมการและหัวหน้าฝ่ายบริหารของบริษัท ซีเมนส์ จ�ำกัด ประจ�า ประเทศไทย ได้เปิดศูนย์บริการพลังงานไฟฟ้า (Power Generation Services) แห่งใหม่อย่างเป็นทางการที่จังหวัดระยอง เพื่อเพิ่มศักยภาพในการสนับสนุน และส่งเสริมการเติบโตและความยั่งยืนของภาคพลังงานไทย โดยศูนย์บริการ พลังงานไฟฟ้าแห่งใหม่ของซีเมนส์ที่จังหวัดระยอง มุ่งให้บริการภาคพลังงาน ไทยด้วยความรวดเร็ว ตอบโจทย์ และมีประสิทธิภาพ

อินแกรม ไมโคร ได้รับแต่งตั้งเป็นตัวแทนจ�ำหน่าย ซิทริกซ์ในไทย

อินแกรม ไมโคร ได้รับแต่งตั้งเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายซิทริกซ์ ในประเทศไทย เพือ่ น�ำผลิตภัณฑ์ของซิทริกซ์จำ� หน่ายผ่านเครือข่ายทีม่ ี อยู่ทั่วประเทศ โดยมี ซีวาย ลีออง กรรมการผู้จัดการ บริษัท อินแกรม ไมโคร (ประเทศไทย) จ�ำกัด และ ปันกาจ์ นารายัน รองประธานฝ่าย พาร์ทเนอร์ ประจ�ำภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และญี่ปุ่น บริษัท ซิทริกซ์ โซลูชัน เข้าร่วม โดยผลิตภัณฑ์ของซิทริกซ์ที่จะน�ำเสนอ ประกอบด้วย ซิทริกซ์ เวอร์ชวล แอปป์ และเดสก์ทอป (Citrix Virtual App and Desktop) เป็นโซลูชนั วิดไี อ (VDI) ชัน้ น�ำในอุตสาหกรรมทีส่ ามารถเพิม่ ประสิทธิภาพ การท�ำงานในสถานทีต่ า่ งๆ ด้วยอุปกรณ์เชือ่ มต่อใดๆ ในขณะเดียวกัน ก็มั่นใจได้ว่าแอปพลิเคชันจะท�ำงานได้อย่างราบรื่น

PEN-TEC จับมือพันธมิตรระดับโลกจัดงาน Tech Spartan 2019 : Pioneering Your Enterprise with AI

ศูนย์รวมองค์ความรูด้ า้ นเทคโนโลยี (Tech Knowledge Sharing Platform) ซึ่งขับเคลื่อนโดยบริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จ�ำกัด (ทีซีซีเทค) ผู้น�ำการให้ บริการด้านโครงสร้างพื้นฐานไอทีครบวงจร (Leading Integrated Technology Infrastructure Provider) น�ำโดย วรดิษฐ์ วิญญรัตน์ กรรมการบริหารและ รักษาการกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จ�ำกัด ผนึกก�ำลังพันธมิตร ระดับโลก ได้แก่ บริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท เอส เอ พี (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ไอดีซี ไฟแนนเชียล อินไซต์ (IDC Financial Insights) รวมถึงพันธมิตรด้านมีเดีย อาทิ หอการค้าอเมริกันในประเทศไทย ซีอาเซียน สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย และส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ จัดเวทีสัมมนา Tech Spartan 2019 : Pioneering Your Enterprise with AI ณ Auditorium, C Asean ชัน้ 10 อาคาร CW Tower

TRIS ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2013 ดร.ไวฑูรย์ โภคาชัยพัฒน์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ทริส คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด พร้อมทีมผู้บริหาร รับประกาศนียบัตรรับรองมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2013 จาก บุคลากร ใจดี ผู้อ�ำนวยการฝ่ายขาย บริษัท บีเอสไอ กรุ๊ป (ประเทศไทย) จ�ำกัด ซึ่งเป็นองค์กรให้การรับรองมาตรฐานสากลระดับโลก ซึง่ การได้รบั การรับรองดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงมาตรฐานในระบบบริหารงาน ทีม่ คี ณ ุ ภาพ ระบบบริหารความมัน่ คงปลอดภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบ บริหารจัดการด้านการให้บริการระบบสารสนเทศ และระบบการบริหารความ ต่อเนือ่ งทางธุรกิจ โดยพิธมี อบประกาศนียบัตรจัดขึน้ ณ บริษทั ทริส คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด อาคารสีลมคอมเพล็กซ์ ชั้น 18

March-April 2019


การอบรมเชิงวิชาชีพเรื่อง

การใช้เทคโนโลยีภาพถ่ายความร้อนอินฟราเรด อย่างมืออาชีพ : ระดับ 1 รุ่นที่ 23 : วันที่ 8-11 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 (วันพุธ-วันเสาร์) รุ่นที่ 24 : วันที่ 2-5 ตุลาคม พ.ศ. 2562 (วันพุธ-วันเสาร์) ห้องประชุม 2 ชั้น 4 อาคาร วสท. จัดโดย คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)

*โปรดน�ำกล้องถ่ายภาพความร้อนไปด้วยทุกวัน (BYOD : Bring Your Own Device) แจกฟรี หนังสือ การใช้เทคโนโลยีภาพถ่ายความร้อนอินฟราเรดอย่างมืออาชีพ ราคาเล่มละ 400 บาท หมายเหตุ : รับจ�ำนวนจ�ำกัด 24 ท่านแรกที่ชำ� ระเงินเท่านั้น เนื่องจากมีภาคปฏิบัติ หากเกินจะต้องรอเข้ารุ่นต่อไป

หลักการและเหตุผล

เทคโนโลยีภาพถ่ายความร้อนอินฟราเรด (Thermography) เป็นการทดสอบแบบไม่ทำ� ลาย (Nondestructive Testing : NDT) วิธหี นึง่ ทีน่ ยิ มใช้กนั อย่างแพร่หลายในงานด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม และภาคอุตสาหกรรมต่างๆ ในประเทศไทยได้มีการใช้เทคโนโลยีนี้ ในกิจการทีเ่ กีย่ วกับงานวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเพิม่ มากขึน้ อย่าง ต่อเนื่อง ส่วนใหญ่จะเป็นงาน Predictive/Preventive Maintenance ของระบบต่างๆ เช่น งานตรวจสอบระบบไฟฟ้า งานอนุรกั ษ์พลังงาน งานตรวจสอบอาคาร อาคารเขียว งานเทคนิคในกระบวนการผลิต และงานตรวจสอบวิเคราะห์ที่มีเรื่องของอุณหภูมิเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่ในปัจจุบันบุคลากรที่ใช้งานและเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีดังกล่าว ส่วนใหญ่ยงั ขาดความรูแ้ ละหลักการใช้งานทีถ่ กู ต้อง เนือ่ งจากไม่ได้รบั การฝึกอบรมการใช้งานอย่างถูกต้องและเป็นมาตรฐานที่ยอมรับ ทั่วไป ดังนัน้ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) จึงร่วมกับบริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด จัดท�ำหลักสูตร ฝึกอบรมนี้ขึ้นเพื่อให้วิศวกร สถาปนิก แพทย์ นักวิทยาศาสตร์ ช่างเทคนิค และผู้สนใจทั่วไป เข้ารับการฝึกอบรมเพื่อให้สามารถใช้ เทคโนโลยีภาพถ่ายความร้อนอินฟราเรดได้อย่างถูกต้องระดับ มืออาชีพ โดยวิทยากรผูเ้ ชีย่ วชาญชาวไทย โดยไม่จำ� เป็นต้องเดินทาง ไปเข้ารับการฝึกอบรมด้วยภาษาอังกฤษในต่างประเทศ ซึง่ จะต้องมี ค่าใช้จ่ายโดยรวมค่อนข้างสูง ผูเ้ ข้ารับฝึกอบรมในหลักสูตรของ วสท. จะได้เรียนรูท้ ฤษฎีของ คลื่นอินฟราเรด หลักการถ่ายภาพความร้อนเพื่อให้บันทึกข้อมูลได้ อย่างถูกต้อง การวิเคราะห์ภาพถ่ายความร้อน การประยุกต์ใช้กบั งาน แต่ละชนิด/ประเภท โดยผู้ที่เข้าอบรมครบตามระยะเวลาที่กำ� หนด จะต้องผ่านการทดสอบประเมินผลตามเกณฑ์ทก่ี ำ� หนด จึงจะได้รบั ประกาศนียบัตรการฝึกอบรมของหลักสูตรนี้

หลักสูตรนี้มุ่งเน้นทางเทคนิคและความเป็นกลางโดยไม่ โน้มเอียงต่อผลิตภัณฑ์ใด ดังนั้นจึงขอแนะน�ำให้ผู้เข้าอบรมที่มี กล้องถ่ายภาพความร้อนหรือมีใช้ในหน่วยงานให้นำ� กล้องถ่ายภาพ ความร้อนเข้าไปใช้ในระหว่างการฝึกอบรมได้ โดยไม่จ�ำกัดรุ่นและ ผลิตภัณฑ์

วิทยากร

รศ. ดร.ทวีพล ซือ่ สัตย์ ผูเ้ ชีย่ วชาญด้าน Infrared Thermography

สาขาวิชาวิศวกรรมการวัดและควบคุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง  รศ. ดร.นวภัทรา หนูนาค ผูเ้ ชีย ่ วชาญด้าน Thermal Engineering สาขาวิชาวิศวกรรมอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง  ดร.ยุทธพงศ์ ทัพผดุง ผูจ ้ ดั การหน่วยธุรกิจวิศวกรรมและฝึกอบรม บริษทั พีอเี อ เอ็นคอม อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด วิศวกร ระดับ 11 ประจ�ำผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค  ดร.ธีระวัฒน์ หนูนาค Level II Thermographer IR and PQ Product Manager บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด  ศุภชัย บัวเจริญ Senior Risk Consultant บริษัท ซมโปะ ประกันภัย (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน)

ผู้ที่ควรเข้ารับการอบรม

วิศวกร ช่างเทคนิค ทีด่ แู ลบ�ำรุงรักษาระบบไฟฟ้า ระบบเครือ่ งกล ทุกประเภท  วิศวกร นักวิทยาศาสตร์ ช่างเทคนิค ที่งานเกี่ยวกับพลังงาน  วิศวกร สถาปนิก ผูร ้ บั เหมาก่อสร้าง ผูท้ ำ� งานเกีย่ วกับอาคารเขียว และอาคารทั่วไป  พนักงาน บริษัทวิศวกรที่ปรึกษา  เจ้าหน้าที่บริษัทประกันวินาศภัยทุกระดับ 

March-April 2019


วันพุธที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 วันพุธที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2562 08.30-08.50 น. ลงทะเบียน 08.50-09.00 น. กล่าวเปิดการอบรม 09.00-10.30 น. การวัดอุณหภูมิ  นิยามและค�ำส�ำคัญ  หลักการของเครื่องมือวัดอุณหภูมิ  การประยุกต์ใช้งานของเครื่องมือวัดชนิดต่างๆ  หลักการของเครื่องมือวัดอุณหภูมิชนิดอินฟราเรด 10.45-12.00 น. พื้นฐานฟิสิกส์ทางความร้อน  สสารและสถานะ  นิยามและหลักการของพลังงาน  อุณหภูมิและพลังงานความร้อน  กฎของเทอร์โมไดนามิกส์ โดย รศ. ดร.ทวีพล ซื่อสัตย์ 12.00-13.00 น. พัก รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.30 น. ความร้อนและทฤษฎีการถ่ายเทความร้อน  นิยามความร้อนและการถ่ายเทความร้อน  หลักการน�ำความร้อน  กฎของฟูเรียร์ (Fourier’s Law)  การประยุกต์ใช้หลักการน�ำความร้อนในภาพความร้อน  ทดสอบการวัดตามหลักการน�ำความร้อน ด้วยกล้องถ่ายภาพความร้อน 14-45-16.00 น. การพาความร้อน  หลักการพาความร้อน  Newton’s Law of Cooling  การประยุกต์ใช้หลักการพาความร้อนในภาพความร้อน  ทดสอบการวัดตามหลักการพาความร้อน ด้วยกล้องส่องภาพความร้อน โดย รศ. ดร.นวภัทรา หนูนาค 16.00-16.30 น. Review & Quiz

 การปรับค่าเพื่อการใช้งานที่ถูกต้อง โฟกัส (Spatial Focus และ Thermal Focus) Level, Span, Brightness, Contrast Dynamic Range 14.45-16.00 น. ทดลองปรับภาพด้วยกล้องถ่ายภาพความร้อน โดย ดร.ธีระวัฒน์ หนูนาค 16.00-16.30 น. Review & Quiz และมอบงานการบ้าน

วันพฤหัสบดีที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 วันพฤหัสบดีที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2562 08.30-09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-10.30 น. การแผ่รังสีความร้อน  ทฤษฎีพื้นฐานและหลักการการแผ่รังสีความร้อน  สเปกตรัมของคลืน ่ แม่เหล็กไฟฟ้าและคุณสมบัตขิ อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า  กฎของ Plank กฎของ Wien และรูปแบบ Stephan Boltzman  วัตถุด�ำ (Black Body) วัตถุจริง (Real Body) 10.45-12.00 น. การแผ่รังสีความร้อน  คุณสมบัติการแผ่ (Emissivity)  การสะท้อน (Reflectivity)  การส่งผ่านรังสี (Transmittivity)  การเคลือ ่ นทีผ่ า่ นของรังสีอนิ ฟราเรดในชัน้ บรรยากาศ  ทดสอบผลกระทบของคุ ณ สมบั ติ ก ารแผ่ แ ละการ สะท้อนด้วยกล้องถ่ายภาพความร้อน โดย รศ. ดร.นวภัทรา หนูนาค 12.00-13.00 น. พัก รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.30 น. เครื่องมือวัดอินฟราเรดและกล้องถ่ายภาพความร้อน  หลักการท�ำงานของเครื่องมือวัดอินฟราเรดและ กล้องถ่ายภาพความร้อน  โครงสร้างของเครื่องมือวัดอินฟราเรดและ กล้องถ่ายภาพความร้อน

วันเสาร์ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 วันเสาร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2562 08.30-09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-10.00 น. การประยุกต์ใช้กล้องถ่ายภาพความร้อนอินฟราเรด ในงานประกันภัยทรัพย์สิน โดย ศุภชัย บัวเจริญ 10.15-10.45 น. การเลือกใช้กล้องถ่ายภาพความร้อนทีเ่ หมาะสมกับงาน 10.45-12.00 น. การประยุกต์ใช้กล้องถ่ายภาพความร้อนชนิดอินฟราเรด  การตรวจสอบระบบไฟฟ้า  การตรวจสอบระบบทางกล  ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานในอุตสาหกรรมต่างๆ และในทางการแพทย์ 12.00-13.00 น. พัก รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-16.00 น. การวิเคราะห์และการจัดท�ำรายงานภาพถ่ายความร้อน อินฟราเรด โดย ดร.ยุทธพงศ์ ทัพผดุง 16.00-16.30 น. สอบวัดผล ปิดการอบรมฯ

March-April 2019

วันศุกร์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 วันศุกร์ที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2562 08.30-09.00 น. ลงทะเบียน 09.00-10.30 น. ทบทวนทฤษฎีการถ่ายเทความร้อน ทดลองผลกระทบ ของผิวและสีด้วยกล้องถ่ายภาพความร้อนจากแบบ จ�ำลอง โดย รศ. ดร.ทวีพล ซื่อสัตย์ 10.45-12.00 น. ภาพถ่ายความร้อนและการแปลความหมาย  ปัจจัยทีม ่ ผี ลต่อความผิดพลาดในการวัดค่าอุณหภูมิ  ผลกระทบจากคุณสมบัติของวัสดุ Emissivity และ Reflectivity 12.00-13.00 น. พัก รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.30 น. ผลกระทบจากระยะทางการวัด  Field of View (FOV)  Instantaneous Field of View (IFOV)  Instantaneous Measurement Field of View (IMFOV)  Distance to Spot Ratio (D:S)  การทดสอบผลกระทบของการปรับระยะต่อความ ถูกต้องของการวัดอุณหภูมิ 14.45-16.00 น. ผลกระทบของการเลือกขนาดเลนส์ต่อความถูกต้อง ของการวัดอุณหภูมิ การทดสอบหาค่า Emissivity ของ วัสดุต่างๆ อย่างง่าย โดย ดร.ธีระวัฒน์ หนูนาค 16.00-16.30 น. Review & Quiz

หมายเหตุ : พัก รับประทานอาหารว่าง เวลา 10.30-10.45 น. และ 14.30-14.45 น. (โดยประมาณ)


Exhibition

Techsauce Global Summit 2019 เปิด 12 เวทีเสวนา พร้อมวิทยากรระดับโลก

เทคซอส มีเดีย (Techsauce Media) และ ฮับบ้า ไทยแลนด์ (Hubba Thailand) ร่วมกับพันธมิตรและองค์กรชั้นน�ำ แถลงข่าว เผยความพร้อมงาน Techsauce Global Summit 2019 สุดยอด งานประชุมด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมชั้นน�ำแห่งเอเชีย กลับมำ อย่างยิ่งใหญ่ อัดแน่นด้วยเนื้อหาเทคโนโลยีที่ครอบคลุมทุกมิติบน 12 เวที โดยวิทยากรด้านเทคโนโลยีและสตาร์ทอัพชั้นน�ำระดับโลก ร่วม 400 ชีวิต พร้อมปรับโฉมจากงานประชุมองค์ความรู้ด้าน เทคโนโลยีและนวัตกรรม ไปสู่เทศกาลวัฒนธรรมที่ครบสมบูรณ์ทั้ง ความรูแ้ ละความบันเทิงในหนึง่ เดียว ตัง้ เป้าผูร้ ว่ มงานกว่า 20,000 คน ในวันที่ 19-20 มิถุนายน 2562 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์

อรนุช เลิศสุวรรณกิจ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและผูร้ ว่ ม ก่อตัง้ บริษทั เทคซอส มีเดีย จ�ำกัด เปิดเผยว่า “Techsauce Global Summit เป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ใหม่ด้าน เทคโนโลยีในอุตสาหกรรมต่างๆ ที่ช่วยส่งเสริมและยกระดับระบบ นิเวศด้านเทคโนโลยีของประเทศไทยและภูมภิ าคโดยรอบ ซึง่ ส�ำหรับ ใน ค.ศ. 2019 นี้ ได้หยิบยกประเด็น Celebrating World Changing Technologies มาเป็นหัวข้อหลัก เพื่อแสดงถึง มุมมองจากการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของ โลกที่มีผลมาจากเทคโนโลยี ซึ่งส่งผล ต่อทั้งคนทั่วไปจนถึงองค์กรขนาดใหญ่ นอกจากนั้น ยังมีการปรับโฉมงานให้ แตกต่างจากทุกปีที่ผ่านมา”

อรนุช เลิศสุวรรณกิจ March-April ch-April 2019


วิทยากรชั้นนำ�ระดับแนวหน้าในวงการ

Techsauce Global Summit 2019

หลากหลายกับ 12 เวทีเสวนา โดยได้รบั เกียรติจาก วิทยากรชัน้ แนวหน้าในแวดวงอุตสาหกรรมต่างๆ ที่ใช้เทคโนโลยีในการขับเคลื่อนจากทั่วโลกมาก ที่สุดกว่า 400 คน อาทิ ออเดรย์ ถัง รัฐมนตรี กระทรวงดิจิตอลจากประเทศไต้หวัน 1 ใน 20 บุคคลผูท้ รงอิทธิพลทีส่ ดุ ในโลกด้านรัฐบาลดิจติ อล ไรอัน ลี ผู้ร่วมก่อตั้ง SmartStudy บริษัทที่อยู่ เบื้องหลังแบรนด์ Pinkfong เจ้าของผลงานเพลง คุ้นหูขวัญใจเด็กๆ “Baby Shark” ที่ท�ำให้เกิด ปรากฏการณ์ไวรัลไปทัว่ โลก และ มาร์ตนิ ฟอร์ด นักเขียนมือทอง เจ้าของผลงานหนังสือขายดี “Rise of the Robots” ทีไ่ ด้รบั รางวัลการันตีคณ ุ ภาพ จาก New York Times, Financial Times, Forbes และ McKinsey การจัดงาน Techsauce Global Summit 2019 ปีนี้ มีไฮไลต์ส�ำคัญคือเวทีกิจกรรมที่แบ่ง เป็น 12 กลุม่ 12 เรือ่ งราว ให้ผสู้ นใจเลือกเข้าร่วม ได้อย่างอิสระตามความสนใจ ได้แก่ FinTech, FabTech, HealthTech, AI/DATA, Blockchain, Startup, VC, DeepTech/Energy/CleanTech, Smart City/AutoTech/LivingTech, Entertainment/ Music/E-Sport/AR-VR, Social Impact และ Women in Tech

March-April 2019

งานนี้ยังได้รับเกียรติจากวิทยากรผู้มากประสบการณ์กว่า 400 คน จาก แวดวงต่างๆ มาร่วมแบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ ในเวทีตา่ งๆ ประกอบด้วย ซีอโี อ นักลงทุน และวิทยากรด้านเทคโนโลยีจากทั่วโลก เช่น ออเดรย์ ถัง รัฐมนตรีกระทรวงดิจิตอล จาก ประเทศไต้หวัน สตรีข้ามเพศคนแรกที่ได้ด�ำรงต�ำแหน่ง เจ้าหน้าที่ระดับสูงในคณะรัฐมนตรีของไต้หวัน ซึ่งได้รับ การจัดอันดับให้เป็น 1 ใน 20 บุคคลผู้ทรงอิทธิพลที่สุด ในโลกด้านรัฐบาลดิจิตอล (Digital Government) และยัง ได้รบั การจัดอันดับให้เป็น 1 ในสุดยอดนักคิดจาก 100 คน ทั่วโลก โดยการจัดอับดับของนิตยสาร Foreign Policy ประจ�ำปี 2019 ไรอัน ลี ผูร้ ว่ มก่อตัง้ และผูอ้ ำ� นวยการสายการเงิน ของ SmartStudy บริษัทบันเทิงระดับโลกที่อยู่เบื้องหลัง แบรนด์ Pinkfong เจ้าของผลงานเพลงคุ้นหูขวัญใจของ เด็กๆ ทัว่ โลกอย่าง “Baby Shark” ทีท่ ำ� ให้เกิดปรากฏการณ์ ไวรัลไปทั่วโลก โดยปัจจุบันแอปพลิเคชัน Pinkfong มียอด ดาวน์โหลดเป็นอันดับหนึ่งในกลุ่มเนื้อหาด้านการศึกษำ ใน 112 ประเทศ และยังมียอดดาวน์โหลดทัว่ โลกกว่า 200 ล้านครั้ง ทินแฮง ลุย ผูก้ อ่ ตัง้ และ CEO ของ Open Motors (Formerly OSVehicle) สตาร์ตอัปที่พัฒนาแพลตฟอร์ม ฮาร์ดแวร์แบบเปิด (Open Hardware Platform) ส�ำหรับ รถยนต์ไฟฟ้า รถยนต์ไร้คนขับที่มีชื่อว่า “EDIT” และระบบ นิเวศน์ (Ecosystem) ส�ำหรับผู้ประกอบการสตาร์ตอัป นักออกแบบ วิศวกร นักสร้างสรรค์ (Makers) ผู้ผลิตและ นักลงทุน สื่อให้ค�ำนิยาม Open Motors ว่าเปรียบเสมือน รถยนต์อเิ กีย “IKEA Car” Arduino ส�ำหรับรถยนต์ “Arduino for Vehicles” และแอนดรอยด์ ส�ำหรับรถยนต์ไฟฟ้ำ มาร์ติน ฟอร์ด นักเขียนมือทอง เจ้าของผลงาน หนังสือขายดี “Rise of the Robots” ที่ได้รับรางวัลการันตี คุณภาพมาอย่างมากมาย จากทัง้ New York Times, Financial Times, Forbes และ McKinsey ทั้งยังได้รับการแปลเป็น ภาษาไทย ในชื่อ “หุ่นยนต์ผงาด : เทคโนโลยีและภัยแห่ง อนาคตที่ไร้งาน” ลินดา ลิอูคัส โปรแกรมเมอร์สาวชาวฟินแลนด์ ผู้ระดมทุนผ่าน Kickstarter เพื่อท�ำหนังสือ “Hello Ruby” หนังสือภาพวาดที่พูดถึงการเขียนโปรแกรม ที่แม้แต่เด็ก 4 ขวบก็สามารถท�ำได้ หนังสือของเธอท�ำให้คอมพิวเตอร์ และการโค้ดดิ้งเป็นเรื่องสนุกและกลายเป็นประสบการณ์ ทีม่ หัศจรรย์ของเด็กๆ ได้ ท�ำให้ “Hello Ruby” เป็นหนังสือ ขายดีด้านเทคโนโลยีส�ำหรับเยาวชน และหนังสือเล่มนี้ ยังสามารถกระตุน้ ให้เด็กได้เรียนรูก้ ารเขียนโปรแกรมตัง้ แต่ อายุยงั น้อยตามแนวทางความต้องการของรัฐบาลฟินแลนด์


Movement

HYUNDAI ELECTRIC เข้าร่วมงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 HYUNDAI ELECTRIC ร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับการจัดแสดง นิทรรศการในงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 ที่ไบเทค บางนา เมื่อวันที่ 21-23 มีนาคม 2019 เป็นการจัดแสดงนิทรรศการ ด้านไฟฟ้าและพลังงานระดับโลกที่จัดต่อเนื่องมามากกว่า 40 ปี โดยงานนี้จัดขึ้นภายใต้แนวคิด Big Shift in Power & Energy HYUNDAI ELECTRIC มีการจัดแสดงบูธบนพื้นที่กว่า 72 ตารางเมตร เป็นการให้ความรูด้ า้ นพลังงานไฟฟ้า พลังงานทดแทน ระบบผลิต และระบบส่ง ได้แก่ Asset Management Solution (GIS Transformers, Power Transformers, Gas – Insulated Switchgear) Energy Solution (VR Tour), ESS (Energy Storage System) และ Industrial Solution LV & MV Circuit Breakers

ซึง่ ผูเ้ ข้าชมงานมีทง้ั หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ได้ให้ความสนใจบูธแสดงนิทรรศการและ นวัตกรรม HYUNDAI ELECTRIC เป็นจ�ำนวนมาก ภายในงานมีการ เล่นเกมส์ถ่ายรูปบูธ พร้อมติดแฮชแท็ก #HYUNDAI_ELECTRIC #HYUNDAI_GIS #HYUNDAI_TRANSFORMER #IEEE_GTD เพื่อรับของรางวัลมากมาย และได้รับความรู้ใหม่ๆ เกี่ยวกับด้าน วิศวกรรมพลังงาน วิศวกรรมไฟฟ้า โดยผูเ้ ชีย่ วชาญจากต่างประเทศ คอยให้คำ� แนะน�ำ บริษทั ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ขอขอบคุณลูกค้าทุกท่านที่ให้ความสนใจเข้าเยี่ยมชมบูธนวัตกรรม HYUNDAI ELECTRIC

เชลล์สนับสนุนนโยบาย พลังงานที่ยั่งยืน เริ่มจ�ำหน่ายน�้ำมันเชลล์ ดีเซล บี20 ณ สถานีบริการน�ำ้ มันเชลล์

ดร.ศิริ จิระพงษ์พันธ์ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพลังงาน ชุตมิ า บุณยประภัศร รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ปนันท์ ประจวบเหมาะ รองประธานกรรมการ และกรรมการบริ ห าร ฝ่ายการเงิน บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด และ อรอุทยั ณ เชียงใหม่ กรรมการบริหาร ธุรกิจ การตลาดค้าปลีก บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด ร่วมเป็นประธานเปิดจ�ำหน่ายน�ำ้ มันเชลล์ ดีเซล บี20 ณ สถานีบริการน�้ำมันเชลล์ภูมิรพี อ�ำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตอกย�า้ กลยุทธ์ ‘พลังงานสะอาด เพิม่ ประสิทธิภาพ’ พร้อม สนับสนุนนโยบายพลังงานทีย่ งั่ ยืนและการใช้นำ�้ มัน บี20 ของภาครัฐ March-April 2019


Movement

รมช.กระทรวงคมนาคม เยี่ยมชมโรงงาน สกุลฎ์ซี อินโนเวชั่น โครงการยานยนต์ สมัยใหม่ ฝีมือคนไทย

ไพรินทร์ ชูโชติถาวร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง คมนาคม พร้อมด้วย มานิตย์ สุธาพร ผูช้ ว่ ยเลขานุการรัฐมนตรี ว่ า การกระทรวงคมนาคม เยี่ ย มชมการด� ำ เนิ น งานของ บริษัท สกุลฎ์ซี อินโนเวชั่น จ�ำกัด และกลุ่มบริษัทโชคน�ำชัย ในวันที่ 20 มีนาคม 2562 โดยมี น�ำชัย สกุลฎ์โชคน�ำชัย ประธานกลุ่มบริษัทโชคน�ำชัย พร้อม วีระพล ไชยธีรัตต์ กรรมการบริหาร และ วีรพลน์ เตชะผาสุขสันติ ประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั สกุลฎ์ซี อินโนเวชัน่ จ�ำกัด ให้การต้อนรับ ณ บริษัท สกุลฎ์ซี อินโนเวชั่น จ�ำกัด จังหวัดสุพรรณบุรี บริษัท สกุลฎ์ซี อินโนเวชั่น จ�ำกัด ได้วิจัยและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็นนวัตกรรม โดยใช้วสั ดุและเทคโนโลยีสมัยใหม่ และน� ำ ไปต่ อ ยอดในเชิ ง พาณิ ช ย์ ผลิ ต เป็ น ยานพาหนะ สมัยใหม่ (Modern Vehicle) โดยบริษัทฯ ใช้วัสดุอะลูมิเนียม เป็นส่วนประกอบหลักหรือโครงสร้างของผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็น วัสดุสมัยใหม่ น�ำ้ หนักเบา มีอายุการใช้งานนานกว่า 30 ปี และ ไม่เป็นสนิม

กสทช. เดินหน้ารณรงค์มอบความรู้ ภายใต้แนวคิด “ปลอดภัยใช้ดี เลือก แบตเตอรี่มีมาตรฐาน”

อกิ จ ด่ า นชั ย วิ จิ ต ร รองเลขาธิ ก าร คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (รองเลขาธิการ กสทช.) เป็นประธานในพิธเี ปิดโครงการรณรงค์ให้ ความรูแ้ ก่ประชาชนเรือ่ งมาตรฐานของแบตเตอรี่ ในโทรศัพท์เคลื่อนที่ ภายใต้แนวคิด “ปลอดภัย ใช้ดี เลือกแบตเตอรีม่ มี าตรฐาน” หวังสร้างความ ตระหนักและลดการสูญเสีย พร้อมผนึกความ ร่วมมือกับศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์ทางไฟฟ้า สวทช. กับอุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ สถาบันไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ โดยเมือ่ วันที่ 18 มีนาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ส�ำนักงาน กสทช. จะจัดกิจกรรมรณรงค์เพือ่ ให้ความรูเ้ รือ่ งแบตเตอรีแ่ ก่ประชาชนทัว่ ไป ครั้งต่อไป ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซา นครราชสีมา วันที่ 27 มีนาคม 2562 March-April 2019


Smart Security for Smart Solution

บริษทั อินเตอร์ลงิ้ ค์ คอมมิวนิเคชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ผูน้ ำ� เข้า และจัดจ�ำหน่ายสายสัญญาณที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียน และ “ผู้นำ� เข้า และค้าส่ง อุปกรณ์เน็ตเวิร์ค (Networking)” ภายใต้แบรนด์ LINK ได้จดั งาน Smart Security for Smart Solution แสดงความล�ำ้ หน้า ของเทคโนโลยีระบบรักษาความปลอดภัย และระบบคอนโทรล อัตโนมัติ ภายในงานยังมีการจัดแสดงโซลูชัน Security อย่างเต็ม รูปแบบ พร้อมการเสาวนาให้ความรู้โดยผู้เชี่ยวชาญจากสมาคม กล้องวงจรปิดอัจฉริยะไทย และบูธแสดงสินค้าระดับโลกอย่าง Honeywell ทีน่ ำ� นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ชนั้ น�ำมาจัดแสดงอย่างครบครัน

เพื่อตอบสนองเทคโนโลยีแห่งโลกยุคอนาคต โดยมีผู้ให้ความ สนใจเข้าร่วมงานจ�ำนวนมาก จัดขึ้นเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562 ณ ศูนย์การค้า CDC CENTER เลียบทางด่วนรามอินทรา

INTERLINK Roadshow @ Chiangmai

INTERLINK เอาใจขาช็อปในพืน้ ทีภ่ าคเหนือ จัดงาน INTERLINK Roadshow @ Chiangmai ทีข่ นขบวนสินค้ามากกว่า 1,000 รายการ มาลดราคา กระหน�่ำ 70% พร้อมบูธแสดงสินค้าใหม่ล่าสุดของ ปี ค.ศ. 2019 และกิจกรรมแจกของรางวัลภายในงาน อีกมากมาย งานนี้ได้รับเกียรติจาก ภาณุวัฒน์ มาลารัตน์ ผู้จัดการสาขาภาคเหนือ เป็นประธาน กล่าวเปิดงาน มีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมงานจ�ำนวน มาก จัดขึน้ เมือ่ วันที่ 9 มีนาคม 2562 ณ ศูนย์ประชุม นานาชาติคุ้มค�ำ จังหวัดเชียงใหม่ March-April 2019


อินแกรม ไมโคร ได้รับแต่งตั้งเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายซิทริกซ์ในไทย Ingram Micro Named as Citrix Distributor in Thailand

อินแกรม ไมโคร ได้รับแต่งตั้งเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายซิทริกซ์ใน ประเทศไทย เพื่อน�ำผลิตภัณฑ์ของซิทริกซ์จ�ำหน่ายผ่านเครือข่ายที่มีอยู่ ทั่วประเทศ ซีวาย ลีออง กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั อินแกรม ไมโคร (ประเทศไทย) จ�ำกัด เปิดเผยว่า “อินแกรม ไมโคร มีความภูมิใจเช่นกันที่ได้เป็นตัวแทน จ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ซทิ ริกซ์ ซึง่ ถือได้วา่ เป็นผลิตภัณฑ์ทมี่ นี วัตกรรมอันโดดเด่น ในตลาดวิดไี อและเน็ตเวิรก์ กิง้ ทางอินแกรม ไมโคร มีความพร้อมอย่างมาก ในการขยายตลาดซิทริกซ์ ด้วยการจัดอบรมและสัมมนาเพื่อให้ความรู้และ การบริการที่ดีสู่ลูกค้า รวมถึงการขยายช่องทางจัดจ�ำหน่ายให้ทางซิทริกซ์ ด้วยลูกค้าทีม่ อี ยูป่ จั จุบนั และเป็นการเสริมผลิตภัณฑ์ทที่ างอินแกรม ไมโคร มีการท�ำบิซิเนส โซลูชัน ให้กับลูกค้ามากยิ่งขึ้นด้วย” “อินแกรม ไมโคร มีช่องทางการจัดจ�ำหน่ายผ่านคู่ค้าที่กระจายอยู่ ทั่วประเทศไทย มากกว่า 3,000 ราย พร้อมทีมงานวิศวกรและทีมบริการ หลังการขาย ท�ำให้เราสามารถน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ในรูปแบบโซลูชันที่ ประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ การให้คำ� ปรึกษา และการบริการหลังการ ขาย ในขณะเดียวกัน ประสบการณ์ทเ่ี รามีทำ� ให้เราสามารถน�ำเสนอโซลูชนั ที่เหมาะกับแต่ละอุตสาหกรรมได้ด้วย” ปันกาจ์ นารายัน รองประธานฝ่าย พาร์ทเนอร์ ประจ�ำภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ และ ญีป่ นุ่ บริษทั ซิทริกซ์ กล่าวว่า “อินแกรม ไมโคร จะน�ำความเชีย่ วชาญด้านเทคนิคและการตลาด ทีค่ รอบคลุมทัว่ ประเทศไทย ซึง่ มีประโยชน์และ สร้างความแข็งแกร่งให้กับเครือข่ายพันธมิตร ของเรา อินแกรม ไมโคร จะช่วยให้เราเข้าสูต่ ลาด ใหม่ๆ ท�ำให้พันธมิตรของเราได้โอกาสใหม่ๆ ปันกาจ์ นารายัน สุดท้ายท�ำให้เทคโนโลยีของซิทริกซ์รองรับลูกค้า ที่มีความต้องการทางธุรกิจมากขึ้น” โซลูชนั ของซิทริกซ์ทจ่ี ะน�ำเสนอ ประกอบด้วย ซิทริกซ์ เวอร์ชวล แอพพ์ และเดสก์ทอป (Citrix Virtual App and Desktop) เป็นโซลูชันวิดีไอ (VDI) ชัน้ น�ำในอุตสาหกรรมทีส่ ามารถเพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงานในสถานทีต่ า่ งๆ ด้วยอุปกรณ์เชื่อมต่อใดๆ ในขณะเดียวกันก็ม่ันใจได้ว่าแอปพลิเคชันจะ ท�ำงานได้อย่างราบรืน่ ส�ำหรับซิทริกซ์ แอปพลิเคชัน เดลิเวอรี่ คอนโทรเลอร์ (Citrix Application Delivery Controller) เป็นแพลตฟอร์มเครือข่ายที่จะ ปรับปรุงและปรับรูปแบบใดๆ เพือ่ ตอบสนองความต้องการทางธุรกิจแบบ ไดนามิก

March-April 2019

Ingram Micro Inc. has been appointed as the Citrix distributor in Thailand to deliver Citrix products through the network of Ingram Micro nationwide. Mr.Chee Yan Leong, Managing Director, Ingram Micro (Thailand) Ltd., said, “Ingram Micro is also very proud to be appointed as a distributor for Citrix products which are well-known for its winning innovation in the VDI and networking segments. We are well-prepared for Citrix’s market expansion with our expertise in training and seminars as well as good services for the customers. We also aim to expand the distribution channels for Citrix products to the existing customers along with providing more business solutions to our customers.” “Ingram Micro has distribution channels through more than 3,000 business partners nationwide, along with engineering and after-sales service team, which enable us to provide solution products such as hardware, software, as well as to offer consultancy and after-sales services. At the same time, our keen experience in the field also enables us to offer various solutions to different sectors.” Mr.Pankaj Narayan, Regional VP, Partner, APJ, Citrix, said, “Ingram Micro brings a wealth of technical expertise and impressive market coverage, across Thailand that will benefit and strengthen our partner network. Ingram Micro will help us reach into new markets, enabling our partners to better capitalise on new opportunities; ultimately enabling Citrix technology to support more customers with their business needs.” Citrix Virtual App and Desktop is an industryleading VDI solution that can enhance the efficiency of the performance in any locations with any connecting devices, while also ensuring that applications run smoothly. Citrix Application Delivery Controller is a networking platform that will improve and adjust any formats to meet dynamic business requirements.


Industry News

เอ็นทีที คอม โชว์มาตรฐาน ISO 50001 ยกระดับการจัดการระบบพลังงาน ใน Bangkok 2 Data Center บริษัท เอ็นทีที คอมมิวนิเคชั่นส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (เอ็นทีที คอม) ซึ่งเป็นบริษัทในเครือของเอ็นทีที คอมมิวนิเคชั่นส์ คอร์ปอเรชัน่ ผูด้ ำ� เนินธุรกิจให้บริการด้านไอซีทโี ซลูชนั และการสือ่ สาร ระหว่างประเทศในเครือของเอ็นทีทีกรุ๊ป (TYO: 9432) ตอกย�้ำ มาตรฐานการให้บริการศูนย์ขอ้ มูล Thailand Bangkok 2 Data Center ภายใต้แบรนด์ NexcenterTM โดยยกระดับการจัดการระบบพลังงาน ด้วยมาตรฐานสากล Energy Management System หรือ ISO 50001 ลดการใช้ไฟฟ้า ประหยัดค่าใช้จา่ ยด้านพลังงานให้กบั ลูกค้าได้อย่าง มีประสิทธิภาพ และมีค่าชี้วัดที่ชัดเจน สุ ท ธิ พั ฒ น์ ลื อ ประเสริ ฐ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารเทคโนโลยี บริษัท ดิจิทอล พอร์ท เอเชีย จ�ำกัด ในกลุม่ บริษทั เอ็นทีที คอมมิวนิเคชัน่ ส์ คอร์ปอร์เรชัน่ กล่าวว่า เอ็นทีที คอม เล็งเห็นถึงความส�ำคัญในเรื่องของ การประหยัดพลังงาน และด้วยการ ให้บริการในธุรกิจดาต้าเซ็นเตอร์ ต้นทุนหลักกว่า 40% เกิดจากการใช้ สุทธิพัฒน์ ลือประเสริฐ ไฟฟ้า และมีแนวโน้มว่าจะมีการใช้ พลังงานมากขึ้น เราจึงต้องการมาตรฐานเพื่อแสดงถึงการควบคุม การใช้พลังงานใน Thailand Bangkok 2 Data Center ภายใต้แบรนด์ NexcenterTM มาตรฐานระบบการจัดการพลังงาน Energy Management System หรือ ISO 50001 เป็นมาตรฐานด้านการจัดการพลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ ช่วยควบคุมและลดค่าใช้จา่ ย ด้านพลังงาน รองรับกับวิกฤตด้านพลังงาน และลดการส่งผลกระทบ

ต่อภาวะโลกร้อน อีกทั้งยังเป็นการช่วยลดต้นทุนด้านพลังงาน และไฟฟ้าให้กับลูกค้าที่ใช้บริการดาต้าเซ็นเตอร์ของเราได้อย่างมี ประสิทธิภาพสูงสุด ส�ำหรับ ISO 50001 เป็นมาตรฐานการควบคุมและการ ประเมินผลการใช้พลังงานในภาพรวม และระดับการใช้พลังงานใน แต่ละส่วน โดยจะดูระบบมาตรฐานการตรวจวัดและการตรวจสอบ รวมถึงมาตรการในการปรับปรุงประสิทธิภาพการท�ำงานเพือ่ ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด และมีการใช้พลังงานน้อยที่สุด โดยในธุรกิจดาต้ำ เซ็นเตอร์จะมีดัชนีช้ีวัดที่เป็นมาตรฐานเดียวกันที่เรียกว่า POWER USAGE EFFECTIVENESS หรือ PUE ซึ่งเป็นค่าการวัดสัดส่วน การใช้พลังงานโดยรวมเมื่อเทียบกับการใช้พลังงานทางด้านไอที โดยค่าเฉลีย่ ในกลุม่ ประเทศโซนหนาวจะอยูท่ ่ี 1.6 PUE และในกลุม่ ประเทศโซนร้อนจะอยู่ที่ 2.0 PUE

BBGI พร้อมสนับสนุนภาครัฐรณรงค์ใช้ไบโอดีเซล–เอทานอล ลดฝุ่นละอองในอากาศ พงษ์ชยั ชัยจิรวิวฒ ั น์ กรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษัท บีบีจีไอ จ�ำกัด (มหาชน) (BBGI) ซึ่งประกอบธุรกิจโดยการ ถือหุ้นในบริษัทอื่น (Holding Company) ที่ด�ำเนินธุรกิจผลิตภัณฑ์ เชือ้ เพลิงชีวภาพ รวมถึงธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายเอทานอล ไบโอดีเซล และผลิตภัณฑ์พลอยได้ รวมทั้งประกอบธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับ

ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าว เปิดเผยว่า จากสถานการณ์ปญ ั หาเรือ่ งฝุน่ ละออง ในอากาศที่สูงเกินค่ามาตรฐานในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล โดยส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงในรถยนต์ที่ใช้ เชือ้ เพลิงจากฟอสซิล ส่งผลให้ปริมาณฝุน่ ละอองในอากาศทวีความ รุนแรงมากขึ้น ดังนั้น เพื่อเป็นการบรรเทาปัญหาดังกล่าว ภาครัฐ March-April 2019


Industry News

ควรรณรงค์ให้ใช้เชื้อเพลิงชีวภาพ ทดแทนการใช้น�้ำมัน การใช้ เชื้ อ เพลิ ง ชี ว ภาพทั้ ง ไบโอดีเซลและเอทานอล เป็นทาง เลือกหนึง่ ทีส่ ามารถช่วยลดปริมาณ ก๊าซพิษและฝุ่นละอองในอากาศ โดยการเพิ่ ม สั ด ส่ ว นการผสม ไบโอดีเซลในน�ำ้ มันดีเซล จากร้อยละ 7 (B7) เป็นร้อยละ 10 (B10) หรือ พงษ์ชัย ชัยจิรวิวัฒน์ ร้อยละ 20 (B20) จะมีส่วนช่วยลด ปริมาณฝุ่นละอองในอากาศและ รักษาสิ่งแวดล้อมมากขึ้น เนื่องจากเขม่าของไบโอดีเซลมีขนาด เล็กกว่าเขม่าของน�ำ้ มันดีเซลทัว่ ไป ในขณะทีก่ ารใช้แก๊สโซฮอล์ E20 หรือ E85 จะช่วยลดปริมาณฝุน่ ละอองและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้

ดีกว่าการใช้แก๊สโซฮอล์ 91 หรือ 95 เนื่องจากการผสมเอทานอล ในน�้ำมันเบนซินจะช่วยเพิ่มค่าออกเทนและเป็นเชื้อเพลิงที่ช่วยให้ การเผาไหม้สมบูรณ์กว่าน�้ำมันเบนซินปกติ อย่างไรก็ตาม ปัจจุบัน พบว่ารถยนต์ยังมีอัตราการใช้ E20 น้อยกว่าที่ควรจะเป็นค่อนข้าง มาก ล่าสุด กลุ่มบริษัทฯ ได้ลงนามในสัญญาสนับสนุนโครงการ ขยายก�ำลังการผลิตเอทานอลและเงินทุนหมุนเวียนรวม 1,125 ล้านบาท กับธนาคารกรุงไทย จ�ำกัด (มหาชน) เพื่อน�ำมาขยายก�ำลังการผลิต เอทานอลเพิ่มอีก 300,000 ลิตรต่อวัน ท�ำให้กลุ่มบริษัทฯ จะมี ก�ำลังการผลิตเอทานอลทัง้ หมดคิดเป็น 1,200,000 ลิตรต่อวัน เพือ่ ร่วมสนับสนุนนโยบายภาครัฐตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและ พลังงานทางเลือก ในการรณรงค์ให้ประชาชนใช้น�้ำมันเชื้อเพลิง ชีวภาพทีม่ กี ารเผาไหม้สมบูรณ์กว่า ซึง่ สามารถลดปัญหาฝุน่ ละออง ในอากาศได้อีกทางหนึ่งด้วย

GE ลงนามต่อสัญญาเพื่อดูแลและบ�ำรุงรักษาเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าของ GC ด้วยเทคโนโลยีล�้ำสมัย ดร.คงกระพัน อินทรแจ้ง ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ กลุ่มธุรกิจปิโตรเคมีขั้นต้น บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) (GC) ร่วมลงนามต่อสัญญาดูแลและบ�ำรุงรักษาเครือ่ งก�ำเนิด ไฟฟ้าด้วยเทคโนโลยีล�้ำสมัย กับบริษัทจีอี (GE) โดยมี Mr.Darren Garwood, Region General Manager-Asia Pacific, GE Power ร่วมลงนาม ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ ลาดพร้าว GC ถือเป็นลูกค้ารายแรก ในประเทศไทยที่ติดตั้งซอฟต์แวร์ ด้านการบริหารจัดการประสิทธิภาพ เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าแบบกังหันก๊าซ (GE’s Predix* Asset Performance Management) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งใน การน�ำเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ด้านพลังงาน ที่ทันสมัย (Total Plant and Digital Solutions) ของ GE มาปรับใช้ โดย Mr.Darren Garwood สัญญาจะครอบคลุมการให้บริการ การดูแลและบ�ำรุงรักษาเครือ่ งก�ำเนิด ไฟฟ้าแบบกังหันก๊าซ รุน่ GE Frame 6B และรุน่ GE Frame 5 ทีต่ ดิ ตัง้ อยู่ในพื้นที่โรงโอเลฟินส์ หน่วยที่ 1 ของ GC ในนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด จังหวัดระยอง March-April 2019

คาดว่าเทคโนโลยี GE’s Predix* Asset Performance Management ของ GE จะช่วยให้ GC สามารถลดค่าใช้จ่ายด้าน การปฏิ บั ติ ก ารและยั ง ท� ำ ให้ เ ครื่ อ งก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า แบบกั ง หั น ก๊ า ซ มีประสิทธิภาพในการผลิตทีส่ งู ขึน้ ซึง่ เป็นผลจากการขยายเวลาการ ตรวจสอบระบบ จากเดิมทีด่ ำ� เนินการทุก 3 ปี ปรับเป็นการด�ำเนินการ ทุก 4 ปี อีกทั้งยังเพิ่มความเชื่อถือได้ของระบบผลิตไฟฟ้าและเพิ่ม ประสิทธิภาพให้กับโรงไฟฟ้าของ GC ที่จังหวัดระยอง นอกจากนี้ การติดตั้งซอฟต์แวร์ดังกล่าว ถือเป็นเครื่องมือวิเคราะห์ชั้นสูง ช่วยให้สามารถเปลีย่ นให้เป็นข้อมูลทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ การปฏิบตั งิ าน เชิงลึก


ELECTRICITY & INDUSTRY magazine ปี 2562

ข้าพเจ้า ชื่อ ............................................................................................. สกุล .......................................................................................................... ตำ�แหน่ง .................................................................................... บริษัท/ห้าง/ร้าน ...................................................................................... ที่อยู่ (ที่ท�ำ งาน) ......................................................................... แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด .................................................... รหัสไปรษณีย์ .......................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... ที่อยู่ (ที่บ้าน) ............................................................................. แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ ........................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... รหัสสมาชิก ...............................................................................

ประสงค์จะบอกรับนิตยสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” 1 ปี 6 ฉบับ 480 บาท 2 ปี 12 ฉบับ 960 บาท สมาชิกต่ออายุ 2 ปี 12 ฉบับ 800 บาท ตั้งแต่ฉบับที่ ............. เดือน .................................... ปี ..................... โดยส่งนิตยสารไปที่ ที่ทำ�งาน ที่บ้าน พร้อมกันนี้ได้ส่งค่าสมาชิกเป็นจำ�นวนเงิน ................................. บาท (ตัวอักษร ..........................................................................................) เช็คธนาคาร ................................................................................. สาขา ................................................................................................. เช็คคร่อมสั่งจ่าย “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด”

ธนาณัติ สั่งจ่ายในนาม “คุณวาสนา แซ่อึ้ง” ที่ทำ�การไปรษณีย์โทรเลขบางกอกน้อย โอนเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด” ชื่อธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี กรุงเทพ สะพานพระปิ่นเกล้า 162-0-74737-6 กสิกรไทย บางยี่ขัน 047-2-56333-5 ทหารไทย จรัญสนิทวงศ์ 020-2-27244-9 ไทยพาณิชย์ จรัญสนิทวงศ์ ซ.48 121-2-04080-0 หมายเหตุ กรุณาส่งแฟกซ์ หรือสำ�เนาใบเข้าบัญชี (Pay-in Slip) มาให้ บริษัทฯ พร้อมเขียนชื่อ-นามสกุล และรหัสสมาชิก (ถ้ามี) กำ�กับมาด้วย

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธย� แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. +66 (0)26 444 555, +66 (0)23 545 333 ต่อ 301 โทรสาร +66 (0)26 446 649, +66 (0)23 545 322


หากผู้อ่านท่านใดสนใจรายละเอียดต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสาร ELECTRICITY & INDUSTRY MAGAZINE

ปีที่ 26 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2562 กรุณากรอกข้อมูลดังกล่าวให้ครบถ้วนเพือ่ การติดต่อจัดส่งข้อมูลกลับไปยังท่านต่อไป ชื่อ .............................................................................................. สกุล .............................................................................................................. ที่อยู่ ........................................................................................... แขวง/ตำ�บล ................................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................. จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ ............................... โทร ............................................................................................. แฟกซ์ ...........................................................................................................

ประเภทของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง อุตสาหกรรมเคมี/ปิโตรเคมี

ตำ�แหน่งงานที่ท่านรับผิดชอบ

กรรมการผู้จัดการ/เจ้าของกิจการ ผจก.โรงงาน ผจก.ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ผจก.วิศวกรรม ผจก.ฝ่ายซ่อมบำ�รุง วิศวกรฝ่ายผลิต วิศวกรทดสอบ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมงานเชื่อม อุตสาหกรรมโลหการ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

ประเภทของกิจการ

ผู้ผลิต

ผู้แทนจำ�หน่าย

ผู้ผลิต/ผู้แทนจำ�หน่าย

หน่วยงานราชการ


ใบอนุญาตเลขที่ ปน. (ต)/1339 ปณจ.บางกอกน้อย ถ้าฝากส่งในประเทศไม่ต้องผนึกตราไปรษณียากร

บริการธุรกิจตอบรับ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 619/5 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงอรุณอัมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700

ประโยชน์ทท่ี า่ นจะได้รบั จากนิตยสาร เนื้อหา .................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ โฆษณา/รายละเอียดผลิตภัณฑ์ .............................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................

ความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ คอลัมน์ตา่ งๆ ทีป่ รากฏในนิตยสาร ชื่อคอลัมน์ สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย IEEE Power & Energy Society Thailand Chapter สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย Article Special Scoop Special Area IT Technology Product PR News Seminar Movement Industry News IT News

มีประโยชน์มาก

มีประโยชน์

พอใช้

ควรปรับปรุง


ดัชนีสินค้าประจำ�เดือนมีนาคม - เมษายน พ.ศ. 2562 บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

0-2665-1000

0-2324-0502

อุปกรณ์ไฟฟ้า

ปกหลังนอก

ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK

-

-

งานแสดงสินค้า

12

BMAM EXPO

-

-

งานแสดงสินค้า

6

LED EXPO

0-2833-5121

-

งานแสดงสินค้า

18

LSIS

083-149-9994

-

ผู้น�ำด้านระบบสั่งจ่ายและ ระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าครบวงจร

INTERMACH

0-2036-0500

-

งานแสดงสินค้า

54

MAXIMIZE INTEGRATED TECHNOLOGY CO., LTD.

0-2525-0299

0-2525-0298

Industrial Relays

8

MENNEKES Elektrotechnik GmbH & CO. KG

0-2741-5266

0-2741-5267

ผู้ผลิตปลั๊กอุตสาหกรรม

17

SAMWHA (THAILAND) CO., LTD.

0-3884-7571-3

0-3884-7575

จ�ำหน่าย ติดตั้งคาปาซิเตอร์

7

WIRE & TUBE SOUTHEAST ASIA

-

-

งานแสดงสินค้า

10

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

0-2590-9590

0-2590-9598

ให้บริการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า

5

เชลล์แห่งประเทศไทย บจก.

0-2262-6000

0-2657-9888

น�้ำมันหล่อลื่น

3

ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) บจก.

0-2002-4395-97 0-2002-4398

อุปกรณ์ไฟฟ้า

19

เพาเวอร์ เรด บจก.

0-2300-5671-3

0-2300-5937

อุปกรณ์ไฟฟ้า

9

ลีฟเพาเวอร์ บจก.

0-2300-5671-3

0-2300-5937

อุปกรณ์ไฟฟ้า

11

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727-8

0-2476-1711

Couplings

-

-

ออมรอน อิเลคทรอนิคส์ บจก.

0-2942-6700

อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ. เอส เอ วี เมคคานิคคอล เซอร์วิสส์ แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.

ABB CO., LTD.

สถาปนิก

เอส.พี.วาย แอนด์ เคเบิ้ล บจก.

March-April 2019

ประเภทสินค้า

หน้า

ปกหน้าใน

ปกหลังใน

งานแสดงสินค้า

49

0-2937-0501

อุปกรณ์ไฟฟ้าและระบบควบคุม อัตโนมัติ

4

0-2693-1222

0-2693-1399

สาย LAN

13

0-2702-0581-8

0-2377-5937

ติดตั้ง EOCR อิเล็กทรอนิกส์ โอเวอร์โหลดรีเลย์ ป้องกันมอเตอร์ไหม้

20

0-2434-0099

0-2434-3251

อุปกรณ์ไฟฟ้า

15




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.