Electricity & Industry Magazine Issue March - April 2021

Page 1







Samwa_21.59x29.21cm.pdf

1

3/28/17

11:02 AM






CONTENTS MARCH-APRIL

2021

16 IEEE POWER & ENERGY SOCIETY THAILAND (IEEE PES-THAILAND)

22 24 26 28 30

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

COVER STORY 33 เราท�ำนายอนาคตไม่ได้ แต่เราเตรียมพร้อมรับมือได้

สเตฟาน นูสส์

ARTICLE 36 ซอฟต์แวร์ผนวกการบริการ สูตรส�ำเร็จพิชิต

ความท้าทายของเอดจ์ได้ในหมัดเดียว เควิน บราวน์ 46 5 เทรนด์ที่จะมาในปี 2564 แฟรงค์ เฟลด์มันน์

SCOOP 38 5 ภาคีเครือข่ายรวมพลังเพื่อลมหายใจแห่งอนาคต

ร่วมสร้างอากาศบริสุทธิ์ กองบรรณาธิการ 42 แผงโซลาร์เซลล์แบบสองหน้า (Bifacial) ลองกิ โซลาร์ กองบรรณาธิการ 52 นวัตกรรมซิลิโคนน�ำความร้อน Gap Filler เพื่อแบตเตอรี่รถ EV กองบรรณาธิการ

54 3เอ็ม พร้อมก้าวสู่การปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์

กองบรรณาธิการ

SPECIAL SCOOP 44 SCG ร่วมมือสภาวิศวกร ยกระดับมาตรฐาน

วิศวกรไทย ก้าวไปสู่สากล กองบรรณาธิการ 50 ผลกระทบจาก PM2.5 คนไทยพร้อมเปิดรับแนวคิด รถยนต์ไฟฟ้า (xEV) ร่วมแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน กองบรรณาธิการ SPECIAL AREA 56 DC Switch Disconnector

บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด

58 EV Fast Charger and Battery Energy Storage

System ITL Engineering & Solution Co., Ltd. 62 Hitachi ABB Power Grids’ Digital Enterprise Solutions Join Hitachi’s Lumada Portfolio of Digital Solutions and Services Hitachi ABB Power Grids 64 Scanning Atoms with the tip of a needle Spectrum Instrumentation IT ARTICLE 66 เช็กความพร้อมไอทีก่อน PDPA บังคับใช้

วรเทพ ว่องธนาการ ผู้จัดการฝ่ายสนับสนุนด้านโซลูชัน บริษัท ยิบอินซอย จ�ำกัด

68 PR NEWS 70 INDUSTRY NEWS 73 PRODUCT March-April 2021



EDITOR TALK

MARCH-APRIL

2021

ปี พ.ศ. 2564 เป็นปีที่ IEEE Thailand Section ก่อตัง้ มาครบ 40 ปี และ IEEE Power & Energy Society–Thailand ก่อตั้งครบ 22 ปี กองบรรณาธิการขอแสดงความยินดีกับ IEEE Thailand Section และ IEEE Power & Energy Society– Thailand Chapter (IEEE PES Thailand Chapter) มา ณ โอกาสนี้ IEEE มีจุดมุ่งหมายในการก่อตั้งก็เพื่อเป็นแหล่งพบปะ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่องวิชาการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมไฟฟ้า พลังงาน อิเล็กทรอนิกส์ สื่อสาร และ คอมพิวเตอร์ เป็นสถาบันวิชาชีพที่มีสมาชิกใน 175 ประเทศทั่วโลก นับเป็นสถาบันวิชาชีพที่มีสมาชิกมากที่สุดในโลก สมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็คโทรนิคส์แห่งประเทศไทย (IEEE Thailand Section) ก่อตั้งขึ้นโดย พลอากาศเอกก�ำธน สินธวานนท์ องคมนตรีในรัชกาลที่ 9 และเป็นนายกสมาคมฯ คนแรก ปัจจุบันมี กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ ผู้ว่าการการไฟฟ้านครหลวง เป็นนายกสมาคม IEEE Thailand Section และ สมพงษ์ ปรีเปรม ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ด�ำรงต�ำแหน่งประธาน IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter (IEEE PES Thailand Chapter) ซึ่งเป็นหน่วยย่อย ของ IEEE นับตั้งแต่ก่อตั้งจนถึงปัจจุบัน ทั้ง IEEE Thailand Section และ IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter (IEEE PES Thailand Chapter) ได้ด�ำเนินกิจกรรมที่สร้างประโยชน์ให้แก่อุตสาหกรรมไฟฟ้าของประเทศอย่างมากมายเป็นที่ ประจักษ์โดยทั่วไป และองค์กรแห่งนี้จะยังคงด�ำเนินกิจกรรมที่เป็นประโยชน์เช่นนี้ต่อไปเรื่อยๆ อย่างแน่นอน ปัจจุบนั ด้วยวิกฤตโควิด-19 ท�ำให้ปญ ั หาฝุน่ ควันเหมือนถูกละเลยหรือไม่ได้ถกู กล่าวถึงนัก ท�ำให้หลายๆ คนหลงลืมหรือ คิดว่าปีนี้ประเทศเราไม่ประสบกับปัญหาฝุ่นควันเหมือนปีก่อนๆ แต่ที่จริงแล้วปัญหานี้ยังเป็นปัญหาหนักของประเทศเช่นเดิม และนับวันจะยิ่งรุนแรงมากขึ้น เมือ่ เร็วๆ นี้ 5 ภาคีเครือข่าย ประกอบด้วย กระทรวงพลังงาน ร่วมกับ กรมควบคุมมลพิษ ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยี อวกาศและภูมสิ ารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ได้ประกาศเจตนารมณ์รว่ มมือกันแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกๆ ฝ่ายเพือ่ จะท�ำให้อากาศ กลับมาสะอาดได้อกี ครัง้ หรือ “Breathe our Future ร่วมพลังเพือ่ ลมหายใจแห่งอนาคต” ซึง่ คุณภาพอากาศเกิดขึน้ ได้ดว้ ยการ ร่วมมือของทุกคนนัน่ เอง ส่วนทีม่ าของโครงการและแนวทางการด�ำเนินงานจะเป็นอย่างไรนัน้ ติดตามอ่านเนือ้ หาด้านในได้เลย นอกจากเนื้อหาที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังมีเนื้อหาที่น่าสนใจอีกมากมายที่จะเป็นประโยชน์แก่ทุกๆ ท่านอย่างแน่นอน พบกันใหม่ฉบับหน้า กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

ที่ปรึกษา : รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ์ / ไกรสีห์ กรรณสูต / พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ์ / ประเจิด สุขแก้ว / ผศ.พิชิต ล�ำยอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องค์วงศ์สกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร / ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม / รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ : ดร.สุรพล ด�ำรงกิตติกุล ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นิภา กลิ่นโกสุม กองบรรณาธิการ : ทัศนีย์ เรืองติก / ณัฐชยา แก่นจันทร์ พิสูจน์อักษร : อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรมรูปเล่ม / ศิลปกรรมโฆษณา : ชุติภา จริตพันธ์ / ศศิธร มไหสวริยะ ฝ่ายโฆษณา : ศิริภรณ์ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภิรมย์ / วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายโฆษณา : ชุติมณฑน์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก : ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์

บทความที่ปรากฏใน ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของ ผู้เขียน ไม่มีส่วนผูกพันกับ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด แต่อย่างใด หากบทความใดที่ผู้อ่านเห็นว่า มีการลอกเลียนหรือแอบอ้าง กรุณาแจ้งที่กองบรรณาธิการ ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine บทความต่างๆ ที่ปรากฏในหนังสือได้ผ่านการตรวจทานอย่างถี่ถ้วนเพื่อให้เกิดความถูกต้องและ สมบูรณ์ที่สุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแก้ไขต่อไป เจ้าของ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 http:// www.technologymedia.co.th เพลท-แยกสี : บริษัท อิมเมจิ้น กราฟิค จ�ำกัด พิมพ์ที่ : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด รุ่งเรืองการพิมพ์



งานสัมมนา Digital Energy Transformation

สมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็คโทรนิคส์แห่งประเทศไทย (IEEE Thailand Section) ร่วมกับ IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter ได้จดั งานสัมมนาเชิงวิชาการ IEEE Power & Energy Series เรือ่ ง “การเปลีย่ นรูปแบบการจัดการด้าน ดิจทิ ลั ของอุตสาหกรรมพลังงาน” ในวันที่ 8-10 มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 08.30-16.30 น. ณ โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพฯ เพือ่ น�ำไปสู่ การพัฒนาเศรษฐกิจและความมั่นคงทางพลังงานของประเทศอย่างยั่งยืน โดยการสนับสนุนวิชาการจากผู้เชี่ยวชาญทั้งในประเทศ และต่างประเทศ หน่วยงานการไฟฟ้าฯ มหาวิทยาลัย สถาบันอุดมศึกษา Solution Providers และ Start Up ด้านไฟฟ้าและพลังงาน ซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์ในงานด้านนี้โดยตรง

สมชาย หอมกลิน่ แก้ว รองผูว้ า่ การวิชาการและพัสดุ การไฟฟ้านครหลวง และ Vice Chairman-Technical & Social Activities, IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter ดร.ปิยพรรณ หันนาคินทร์ Chairman, WiP-IEEE PES Thailand และคณะกรรมการ IEEE PES Thailand ร่วมถ่ายภาพ

Session Chair โดย รศ. ดร.สมพร สิรสิ ำ� ราญนุกลุ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและ คอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ และกรรมการบริหาร IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter

ดร.ประดิษฐพงษ์ สุขสิริถาวรกุล Director and Vice President-Utility and Channel Management, ABB Power Grids (Thailand) Limited บรรยายเรือ่ ง การประยุกต์ใช้ Machine Learning กับการวิเคราะห์กริดไฟฟ้า และ กรณีศึกษา

จิรายุส ทรัพย์ศรีโสภำ ผู้ก่อตั้งและ Group CEO บริษทั บิทคับ แคปปิตอล กรุป๊ โฮลดิง้ ส์ จ�ำกัด บรรยายเรื่อง Blockchain คืออะไร? เทคโนโลยี Blockchain ในภาคพลังงานสกุลเงิน ดิจิทัลกับอุตสาหกรรมพลังงาน (Payment: Currency-Bitcoin การท�ำธุรกรรมทางการเงิน ด้วยสกุลเงินดิจิทัล)


ดร.อสมา กุลวานิชไชยนันท์ CEO & Founder, Coraline Co., Ltd. บรรยาย เรื่อง Big Data Analytics in Energy Sector และกรณี ศึ ก ษา การใช้ วิ ท ยาการวิ เ คราะห์ ข้อมูลมหัตในภาคพลังงาน

Ms.Hiromi Nakashima Business Director - ICT Solution Business Group, Hitachi Asia (Thailand) Co., Ltd.

เมฆินทร์ วรศาสตร์ นักเทคโนโลยีดิจิทัลอาวุโส ศูนย์นวัตกรรม ดิจทิ ลั ส�ำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจทิ ลั (องค์การ มหาชน)

กิติพงษ์ ธาราศิริสกุล Chief Technology Officer, Huawei Technologies (Thailand) Co., Ltd.

ชนม์วรรธน์ งามเลิศประเสริฐ ผูจ้ ดั การอาวุโส ACIS Professional Center Co., Ltd.

นพรัตน์ หมื่นไพ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)

วิวัฒน์วงศ์ วิจิตรวาทการ CEO บริษัท สกาย วีไอวี จ�ำกัด

สุทธิพงศ์ กนกากร Chief Executive Officer, Blockfint Co., Ltd.

ดร.วโรทัย ค�ำแผ่นชัย CEO and Co-Founder, Alto Tech Co., Ltd.

ดร.วิโรจน์ บัวคลี่ ผู้ช่วยผู้ว่าการดิจิทัล การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค

ผศ. ดร.ธนาวินท์ รักธรรมานนท์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์

ผศ. ดร.พิศาล แก้วประภำ และ ผศ. ดร.ปรัชญา เปรมปราณีรัชต์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ครบรอบ 40 ปี IEEE Thailand Section และ ครบรอบ 22 ปี IEEE Power & Energy Society– Thailand

ปั จ จุ บั น การเปลี่ ย นแปลงทางดิ จิ ทั ล (Digital Transformation) เข้ามามีบทบาทส�ำคัญในการขับเคลือ่ น ธุรกิจและพัฒนาศักยภาพขององค์กรและภาคธุรกิจต่างๆ รวมถึงอุตสาหกรรมพลังงานและธุรกิจไฟฟ้าด้วยเช่นกัน การเปลีย่ นแปลงทางดิจทิ ลั ช่วยให้เราสามารถดึงทรัพยากร ทีม่ อี ยูม่ าใช้ให้เกิดประโยชน์และความคุม้ ค่าสูงทีส่ ดุ อีกด้วย ซึ่งกระแสอนาคตที่ก�ำลังเป็นที่จับตามองในช่วงนี้คงหนี ไม่พ้น AI, Machine Learning, IoT, Blockchain, Cloud, Big Data และ Cyber Security ฯลฯ เทคโนโลยีเหล่านี้ เป็นส่วนส�ำคัญอย่างยิง่ ในการขับเคลือ่ นโลก องค์กร ธุรกิจ ซึง่ ปัจจุบนั เทคโนโลยีเหล่านีม้ ผี ลต่อธุรกิจในอุตสาหกรรม พลังงานและธุรกิจไฟฟ้าเป็นอย่างมากเช่นกัน

สมาคมสถาบั น วิ ศ วกรไฟฟ้ า และอิ เล็ ค โทรนิคส์ แห่งประเทศไทย (Institute of Electrical and Electronics Engineers หรือ IEEE) ก่อตัง้ ขึน้ ครัง้ แรกทีป่ ระเทศสหรัฐอเมริกา โดยการรวมตัวของ 2 สถาบัน คือ AIEE และ IRE ซึ่งด�ำเนิน กิจกรรมวิจยั และพัฒนาศาสตร์ดา้ นการโทรคมนาคม ระบบแสง ไฟฟ้าก�ำลัง และอืน่ ๆ มาตัง้ แต่ ค.ศ. 1884 นับเป็นระยะเวลา ยาวนานกว่า 137 ปี IEEE มีจุดมุ่งหมายในการก่อตั้ง คือ เพื่อเป็นแหล่ง พบปะแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ในเรื่ อ งของวิ ช าการและ เรื่องของเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมไฟฟ้า พลังงาน อิเล็กทรอนิกส์ สือ่ สาร และคอมพิวเตอร์ เป็นสถาบันวิชาชีพ ที่มีสมาชิกมากกว่า 423,000 คน ใน 160 ประเทศทั่วโลก จึงนับเป็นสถาบันวิชาชีพที่มีสมาชิกมากที่สุดในโลก

กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ ผู้ว่าการการไฟฟ้านครหลวง นายกสมาคม IEEE Thailand Section สมาคมสถาบั น วิ ศ วกรไฟฟ้ า และอิ เ ล็ ค โทรนิ ค ส์ แ ห่ ง ประเทศไทย (IEEE Thailand Section) ก่อตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1980 โดย พลอากาศเอกก�ำธน สินธวานนท์ องคมนตรีในรัชกาลที่ 9 เป็นนายกสมาคมฯ คนแรกของประเทศไทย ปัจจุบันมี กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ ผูว้ า่ การการไฟฟ้านครหลวง เป็นนายกสมาคมฯ และ สมพงษ์ ปรีเปรม ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ด�ำรงต�ำแหน่ง เป็นประธาน IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter (IEEE PES Thailand Chapter) ซึ่งเป็นหน่วยย่อยของ IEEE


ดังนั้น ค.ศ. 2021 IEEE Thailand Section ก่อตั้งมาครบ 40 ปี และเป็นการครบรอบ 22 ปี ของ IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา IEEE Thailand Section ได้ด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ มากมายที่สร้าง ประโยชน์ให้แก่อุตสาหกรรมไฟฟ้าของประเทศ กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ ผูว้ า่ การการไฟฟ้านครหลวง และ นายกสมาคม IEEE Thailand Section กล่าวว่า สมาคมฯ ก่อตัง้ ขึน้ โดยความร่วมมือของวิศวกรจากการไฟฟ้าและภาคการศึกษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ในเรื่ อ งของเทคโนโลยี ที่ จ ะเข้ า มาใช้ ใ นกิ จ การ หรือในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิคส์ IEEE Thailand Section เป็นสมาคมฯ ทีไ่ ม่แสวงหาผลก�ำไร แต่เป็นการสนับสนุน องค์ความรูท้ างด้านวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หรือส่วนต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับเรือ่ งของพลังงาน การสือ่ สาร รวมทัง้ คอมพิวเตอร์ทจี่ ะ เป็นการให้ความรูอ้ ย่างครบถ้วนและเป็นความรูจ้ ากผูเ้ ชีย่ วชาญ เฉพาะทางโดยตรง IEEE Thailand Section และ IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของ การให้การศึกษาแก่บุคลากรที่อยู่ในอุตสาหกรรมไฟฟ้าที่ต้อง ก้าวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีต่างๆ จึงจัดการ สัมมนาเชิงวิชาการในหัวข้อต่างๆ อาทิ เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับ ไฟฟ้า พลังงาน อิเล็กทรอนิกส์ สื่อสาร และคอมพิวเตอร์ ใน ค.ศ. 2019 ที่ผ่านมา สมาคมฯ ได้มีการจัดงานระดับ นานาชาติ คือ งาน Generation Transmission and Distribution Grand International Conference and Exposition Asia 2019 หรือ IEEE PES GTD Asia 2019 ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง IEEE Thailand Section และ IEEE Power & Energy Society– Thailand ภายในงานมีผเู้ ชีย่ วชาญและผูท้ เี่ กีย่ วข้องกับอุตสาหกรรม ไฟฟ้าต่างๆ มาร่วมประชุมเสวนากันเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยน องค์ความรู้เป็นจ�ำนวนมาก ถือเป็นงานใหญ่ของอุตสาหกรรม ไฟฟ้าเลยทีเดียว นอกจากนั้น ในวันที่ 8-10 มีนาคม 2021 สมาคมฯ ได้ จัดงานสัมมนาเชิงวิชาการในหัวข้อ ‘การเปลี่ยนรูปแบบการ จัดการด้านดิจทิ ลั ของอุตสาหกรรมพลังงาน’ ณ ห้องกมลทิพย์ โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพฯ ซึ่งเป็นครั้งแรกในไทยกับ The Digital Energy Transformation เพือ่ สร้างความรูค้ วามเข้าใจ พืน้ ฐานกับปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) การเรียนรู้ ของเครื่อง (Machine Learning) อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things: IoT) รวมถึงเรือ่ งของบล็อกเชน (Blockchain) คลาวด์ (Cloud) และข้อมูลมหัต (Big Data) และเรื่องของความ มั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ (Cyber Security) เพื่อสร้างความ ตระหนั ก รู ้ ถึ ง ความส� ำ คั ญ เพื่ อ น� ำ มาประยุ ก ต์ ใช้ เ พื่ อ พั ฒ นา ให้เกิดความก้าวหน้าในธุรกิจพลังงานและไฟฟ้า รวมถึงการน�า เทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ด้านการจัดการธุรกิจและทรัพยากร ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ

งานสัมมนานีจ้ ะเป็นประโยชน์อย่างยิง่ ต่อการพัฒนาองค์กร และอุตสาหกรรมไฟฟ้าพลังงาน เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและ ความมัน่ คงทางพลังงานของประเทศอย่างยัง่ ยืน โดยการสนับสนุน วิ ช าการจากผู ้ เชี่ ย วชาญจากทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ สถาบันอุดมศึกษา Solution Providers และ Start Up ด้านไฟฟ้า และพลังงาน ซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์ในงานด้านนี้โดยตรง กีรพัฒน์ กล่าวเพิ่มเติมว่า “IEEE Thailand Section มีสมาชิกวิศวกรในสมาคมฯ เป็นจ�ำนวนมาก และเรายังให้ความ ส�ำคัญในเรือ่ งของความเท่าเทียม โดยผูห้ ญิงจะมีบทบาทมากขึน้ ทัง้ ในอุตสาหกรรมไฟฟ้าหรือในสมาคมฯ เองก็ตาม และยังมีการ มอบรางวัลวิศวกรหญิงแห่งปี รวมถึงมีกจิ กรรมอืน่ ๆ ทีจ่ ะเป็นการ สนับสนุนผู้หญิงให้มีบทบาทเพิ่มมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ภารกิจ หลักๆ ของทางสมาคมฯ จะเป็นช่องทางให้วิศวกร นักวิชาการ หรือนักศึกษาสามารถทีจ่ ะเข้าถึงเรือ่ งของเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้าถึง งานวิจยั ในระดับโลก โดยด�ำเนินกิจกรรมผ่านการจัดงานสัมมนา ต่างๆ ส�ำหรับประชาชนก็จะได้รับความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี ใหม่ๆ ที่เกี่ยวกับพลังงาน ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ที่มีการแปล เอกสารเป็นภาษาไทย และเป็นบทความที่สามารถเข้าใจได้ใน เบือ้ งต้น ส่วนนักศึกษาหรือบุคคลทีอ่ ยูใ่ นวงการเกีย่ วกับวิศวกรรม ก็ขอเชิญชวนให้เข้าสมัครเป็นสมาชิกเพื่อที่จะได้เข้าถึงแหล่ง ข้อมูลอย่างครบถ้วน” ดังนั้น การที่จะน�ำเทคโนโลยีเหล่านี้มาประยุกต์ให้เกิด ประสิทธิภาพและความคุม้ ค่าสูงทีส่ ดุ ผูใ้ ช้จำ� เป็นต้องมีความรูแ้ ละ ความเข้าใจทีถ่ กู ต้องเกีย่ วกับภาพรวมของ Digital Transformation และหลั ก การเบื้ อ งต้ น และการน� ำ ไปประยุ ก ต์ ใช้ รวมไปถึ ง เทคโนโลยีและความก้าวหน้าที่มีอยู่ในปัจจุบัน เพื่อน�ำมาใช้ใน การพัฒนาองค์กรและขับเคลือ่ นอุตสาหกรรมพลังงานและธุรกิจ ไฟฟ้าให้มีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรที่มี อยูจ่ ำ� กัดอย่างคุม้ ค่า เพราะฉะนัน้ การเข้าร่วมรับฟังการบรรยาย ที่ทาง IEEE Thailand Section จัดขึ้น จะเป็นการเปิดโอกาสให้ ปรึกษาแลกเปลีย่ นประสบการณ์ระหว่างผูเ้ ข้าอบรมทุกคน และ รับทราบแนวทางในการประยุกต์และปรับน�ำเอาองค์ความรูท้ ไี่ ด้ รับไปปรับใช้ในธุรกิจและหน่วยงานของตน เพือ่ ให้เกิดการพัฒนา ของธุรกิจพลังงานและไฟฟ้าต่อไป


IEEE Power & Energy Society– Thailand Chapter ครบรอบ 22 ปี

IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter หรือ IEEE PES Thailand ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) โดยมี รศ. ดร.ส�ำรวย สังข์สะอาด เป็น Chairman, IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter คนแรกของประเทศไทย และปัจจุบันมี สมพงษ์ ปรีเปรม ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ด�ำรงต�ำแหน่ง Chairman, IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter และ เป็นที่ปรึกษาของ IEEE Thailand Section IEEE PES Thailand เป็น Chapter ของสมาคมสถาบันวิศวกร ไฟฟ้าและอิเล็คโทรนิคส์แห่งประเทศไทย (IEEE Thailand Section) ซึ่งเป็นองค์กรที่ไม่แสวงหาผลก�ำไร จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ความรู้ทางด้าน วิ ช าการวิ ศ วกรรมไฟฟ้ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ก่ บุ ค ลากรทั่ ว โลก ทีท่ ำ� งานเกีย่ วกับทางด้านไฟฟ้าและพลังงาน ไม่วา่ จะเป็นผลิตไฟฟ้า ส่งและจ�ำหน่ายไฟฟ้า รวมทั้งอาจารย์มหาวิทยาลัย นิสิต นักศึกษา จะได้รบั ความรูแ้ ละเทคโนโลยีใหม่ๆ จากสมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟ้า และอิเล็คโทรนิคส์แห่งประเทศไทย ซึ่งในปัจจุบันมีสมาชิกมากกว่า 423,000 คน ใน 160 ประเทศทั่วโลก

สมพงษ์ ปรีเปรม ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ประธาน IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter

พลังงานแม้ว่าจะผ่านไปยุคไหนสมัยไหนก็ยังเป็น หัวข้อส�ำคัญอยูเ่ สมอ เนือ่ งจากพลังงานถือว่าเป็นจุดก�ำเนิด ของอะไรอีกหลายอย่าง ไม่วา่ จะเป็นเศรษฐกิจ สังคม วิถชี วี ติ ซึ่งประเด็นส�ำคัญเกี่ยวกับพลังงานตอนนี้ไม่ได้ถามกัน แล้วว่า เราจะเอาพลังงานมาจากไหน กลับเป็นค�ำถามทีว่ า่ เราจะเอาพลังงานสะอาดมาจากไหน ใช้อย่างไร เพื่อให้ เกิดความยั่งยืนและเพื่ออากาศที่บริสุทธิ์ของประชาชน ทุกคน

สมพงษ์ ปรีเปรม ผูว้ า่ การการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ด�ำรงต�ำแหน่ง เป็น Chairman, IEEE PES Thailand กล่าวว่า ปี พ.ศ. 2558 ทีผ่ า่ นมา ทางสมาคมฯ ได้มีการจัดงานสัมมนาระดับนานาชาติ คืองาน IEEE PES Innovative Smart Grid Technologies Asian Conference หรือ ISGT Asia 2015 และในปี พ.ศ. 2562 สมาคมฯ ได้มีการจัดงาน สัมมนาและแสดงนิทรรศการระดับนานาชาติ คืองาน Generation Transmission and Distribution Grand International Conference and Exposition หรือ IEEE PES GTD Asia 2019 ซึ่งเป็นความ ร่วมมือระหว่าง IEEE Thailand Section และ IEEE PES Thailand ภายในงานมีผบู้ ริหาร วิศวกรจากหน่วยงานภาครัฐ ผูก้ ำ� หนดนโยบาย ทางด้านไฟฟ้าและพลังงาน ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน และผู้เกี่ยวข้องกับ อุตสาหกรรมไฟฟ้าต่างๆ รวมถึงผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านไฟฟ้าและ พลังงานมาร่วมประชุมเสวนาเพือ่ แลกเปลีย่ นองค์ความรู้ ประสบการณ์ ดังนั้นถือเป็นงานใหญ่ของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและพลังงานของ ประเทศเลยทีเดียว


นอกจากนั้นยังมีกิจกรรมที่จัดขึ้นเป็นประจ�ำของทุกปี คือ IEEE PES Dinner Talk ซึ่งจะมีการเชิญรัฐมนตรีว่าการกระทรวง พลังงานมาแสดงปาฐกถาพิเศษเรือ่ ง “นโยบายและทิศทางพลังงาน” และผู้บริหาร ผู้ก�ำหนดนโยบายทางด้านไฟฟ้าและพลังงานมาร่วม อภิปรายในงานดังกล่าว รวมถึงการจัดงาน IEEE PES Power & Energy Series Seminar Program ทีไ่ ด้รว่ มมือกับทางมหาวิทยาลัย และสถาบันการศึกษาเพือ่ เป็นการส่งเสริมให้องค์ความรูก้ บั นักศึกษา และผู้ที่สนใจ อาทิเช่น The Digital Energy Transformation, Smart Grids, Smart City, EV Charging Infrastructure, Renewable Energy, Energy Storage, Substation Design, Underground Cable System, Asset Management เป็นต้น ทั้งนี้ ทางสมาคมฯ ยังได้มีการคัดเลือกบทความจาก World Class Magazine ทั้ง IEEE Power & Energy และ Electrification น�ำมาแปลเป็นเวอร์ชนั ภาษาไทย โดยได้รบั อนุญาตจาก IEEE PES Head Quarter เพื่อเผยแพร่ให้กับสมาชิกและผู้ที่สนใจตามช่องทาง Social Media ของสมาคมฯ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย บทความที่ได้รับ การแปลและเผยแพร่ไปแล้ว ได้แก่ 1. ประสบการณ์และบทเรียนการใช้ EV ในประเทศอังกฤษ 2. ประสบการณ์การใช้ Microgrid ในประเทศสวีเดน 3. การปรับแต่งระบบแบตเตอรีก่ ำ� ลังส�ำหรับการใช้งานในทะเล และนอกชายฝั่ง 4. การปูทางส�ำหรับแอปพลิเคชันระบบจัดการระบบจ�ำหน่าย ไฟฟ้าขั้นสูง 5. ระบบถนนไฟฟ้ า ที่ ใช้ ก ารอั ด ประจุ แ บบไร้ ส ายส� ำ หรั บ การอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง 6. เครือ่ งบินไฟฟ้า เส้นทางของการเดินทางบนอากาศทีไ่ ม่ปล่อย มลพิษ 7. เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจนส�ำหรับเรือขับเคลื่อนด้วยระบบ ไฟฟ้า สมพงษ์ กล่าวเพิ่มเติมว่า “ผู้ที่มีความสนใจเกี่ยวกับเนื้อหา ระบบไฟฟ้าต่างๆ สามารถเข้ามาศึกษาหาความรู้ได้เลย ทาง IEEE PES Thailand เรามีความใส่ใจในเนื้อหาที่ต้องการสื่อให้บุคลากร ทีท่ ำ� งานเกีย่ วกับทางด้านไฟฟ้าและพลังงานได้รบั เนือ้ หาอย่างครบถ้วน รวมไปถึงอาจารย์ นิสติ นักศึกษาทีม่ คี วามสนใจในสายงานนีเ้ พือ่ ได้รบั เนือ้ หาอย่างถูกต้อง สุดท้ายในภาคประชาชนทีม่ คี วามสนใจอยากจะ ศึกษาข้อมูลในขั้นพื้นฐานก็สามารถเข้ามาศึกษาหาความรู้ได้เลย” ในปี พ.ศ. 2564 จะเป็นการครบรอบ 22 ปี ของ IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter ซึง่ จะตรงกับวันที่ 22 เมษายน ของทุกปี และในวันดังกล่าวทางสมาคมฯ จะมีการจัดงาน IEEE PES Day 2021 ในหัวข้อเรื่อง “Clean Energy Revolution การปฏิวัติ พลังงานสะอาด” ซึ่งเป็นบทบาทส�ำคัญในการเปลี่ยนแปลงโลก เนื่องจากสภาวะโลกร้อนอันเกิดจากการใช้พลังงานเชื้อเพลิงแบบ ดั้งเดิมอย่างพลังงานฟอสซิล หรือที่คนทั่วไปรู้จักและคุ้นเคยเป็น อย่างดี คือ พลังงานน�ำ้ มัน พลังงานถ่านหิน และพลังงานก๊าซธรรมชาติ ซึ่งการเลือกใช้พลังงานแบบดั้งเดิมเหล่านี้ ทั้งในภาคอุตสาหกรรม และภาคครัวเรือน เป็นสาเหตุของการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ออกสู่ชั้นบรรยากาศโลก

สมพงษ์ กล่าวว่า “สิ่งนี้จะเป็นการน�ำไปสู่การเผชิญหน้ากับ ปัญหาด้านสภาวะการเปลีย่ นแปลงของสภาพอากาศและสิง่ แวดล้อม ไม่วา่ จะเป็นการเพิม่ อุณหภูมโิ ลกอย่างรวดเร็ว การเกิดไฟป่าทีล่ กุ ลาม อย่างต่อเนือ่ ง รวมถึงฤดูหนาวในบางประเทศทีม่ รี ะยะเวลายาวนาน กว่าปกติ ดังนั้นตัวอย่างของเหตุการณ์ที่เริ่มใกล้ตัวมนุษย์มากขึ้นนี้ สามารถดูได้จากรัฐเท็กซัสช่วงทีผ่ า่ นมา ท�ำให้เราเริม่ มองหาทางออก ที่จะน�ำไปสู่การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน ด้วยแนวคิดเกี่ยวกับการ เปลีย่ นผ่านพลังงาน (Energy Transition) จากแหล่งพลังงานแบบดัง้ เดิม มาเป็นการใช้พลังงานรูปแบบใหม่จากแหล่งพลังงานทีแ่ ตกต่างออกไป เช่น พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ หรือจะเป็นพลังงานไฟฟ้า” งาน IEEE PES Day ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 22 เมษายน 2564 ณ การไฟฟ้านครหลวง ส�ำนักงานใหญ่ ภายในงานมีกจิ กรรมมากมาย และได้เชิญวิทยากรที่มีชื่อเสียงและบทบาทในการส่งเสริมด้าน พลังงานสะอาดมาร่วมแบ่งปันประสบการณ์ให้กับวิศวกร นิสิต นักศึกษา และผู้ที่สนใจทั่วไปอีกด้วย อีกทั้งทาง IEEE PES Thailand ยังมีนโยบายส่งเสริมผู้หญิง ให้เข้ามามีบทบาทในวงการไฟฟ้าและพลังงาน ทางสมาคมฯ ได้จดั ตัง้ คณะท�ำงาน Women in Power (WiP, IEEE PES Thailand Chapter) โดยมี ดร.ปิยพรรณ หันนาคินทร์ เป็นประธานคณะกรรมการท�ำงาน ซึ่งจัดกิจกรรมต่างๆ อาทิ การจัดสัมมนาเรื่อง Road to Success and the Next Decade of Women in Power เป็นการน�ำเสนอ แนวคิดในการท�ำงาน พร้อมแลกเปลี่ยนมุมมองกับผู้หญิงที่ประสบ ความส�ำเร็จในวงการพลังงานของประเทศไทย เพือ่ การท�ำงานร่วมกัน อย่างเต็มประสิทธิภาพ ส�ำหรับกิจกรรมอื่นๆ IEEE PES Thailand ได้จัดเตรียม แผนงานเพือ่ ยืน่ Proposal ขอเป็นเจ้าภาพการจัดงานสัมมนาระดับ นานาชาติ คืองาน IEEE International Smart Cities Conference 2023 ทีพ่ ทั ยา และงาน Generation Transmission and Distribution Grand International Conference and Exposition 2025 ทีก่ รุงเทพมหานคร นอกจากนี้ ทางสมาคมฯ ยังส่งเสริมการจัดสัมมนาเชิงวิชาการ IEEE Power & Energy Series ซึง่ จะเน้นในเรือ่ งของการน�ำ AI และ Machine Learning มาใช้ในภาคพลังงานทดแทน การประยุกต์ใช้ ในการวิเคราะห์กริดไฟฟ้า การน�ำ IoT มาใช้ในการจัดการพลังงาน รวมถึงการประยุกต์ใช้ Blockchain กับโรงไฟฟ้าเสมือน และเรือ่ งของ การน�ำ Big Data และ Data Analytics มาใช้ในการจัดการทรัพยากร ในอุตสาหกรรมพลังงาน อีกเรือ่ งทีส่ ำ� คัญ คือเรือ่ งของการสร้างความ ปลอดภัยทาง Cyber เพือ่ ให้เกิดความมัน่ คง มีเสถียรภาพ และความ ปลอดภัยของระบบกริดไฟฟ้า การจะน�ำเทคโนโลยีเหล่านีม้ าประยุกต์ใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ และความคุ้มค่าสูงที่สุด ผู้ใช้จ�ำเป็นต้องมีความรู้และความเข้าใจที่ ถูกต้องเกี่ยวกับภาพรวมของ Digital Transformation และหลักการ เบือ้ งต้นในการน�ำไปประยุกต์ใช้ รวมไปถึงเรือ่ งเทคโนโลยีและความ ก้าวหน้าทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั เพือ่ น�ำมาใช้ในการพัฒนาองค์กรให้เกิดการ ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมพลังงานและธุรกิจไฟฟ้าให้มีประสิทธิภาพ สูงสุด เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจ�ำกัดให้คุ้มค่า


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

กฟผ. ผนึกกำ�ลัง 5 หน่วยงาน วิจัย ‘โรงไฟฟ้าเสมือน’ เสริมความมั่นคงพลังงานหมุนเวียนของไทย เมื่อเร็วๆ นี้ บุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร ผู้ว่าการการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เป็นประธานและสักขีพยาน ในพิธลี งนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ด้านงานวิจยั การ พัฒนาระบบสัญญาและสาธิตการซือ้ ขายไฟฟ้าในรูปแบบโรงไฟฟ้า เสมือนในประเทศไทย เพือ่ สร้างเสถียรภาพให้แก่โรงไฟฟ้าพลังงาน หมุนเวียน เพือ่ ความมัน่ คงของระบบไฟฟ้าของประเทศ สอดรับกับ การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนทีเ่ พิม่ มากขึน้ และเพือ่ พัฒนา ธุรกิจพลังงานรูปแบบใหม่ของประเทศ โดยมี พลศรี สุวศิ ษิ ฏ์อาษา รองผู้ว่าการผลิตไฟฟ้า กฟผ. รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) เฉลิม ปุณณะนิธิ EIS Director บริษัท เอสซีจี ซิเมนต์ จ�ำกัด มาลี ธนาเพิ่มพูลผล กรรมการผู้จัดการ บริษัท สยามอุตสาหกรรมวัสดุทนไฟ จ�ำกัด กฤษฎา มนเทียรวิเชียรฉาย รองประธานกรรมการบริหาร บริษัท มิตรผลไบโอ-เพาเวอร์ จ�ำกัด และบริษัท มิตรผลไบโอ-เพาเวอร์ (ภูหลวง) จ�ำกัด และ เฉิน กั๋วตง ประธานกรรมการฝ่ายธุรกิจ เอนเตอร์ไพรส์ บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

ร่วมลงนาม ณ ห้องแถลงข่าว อาคาร 50 ปี กฟผ. ส�ำนักงานใหญ่ กฟผ. อ�ำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี บุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร ผู้ว่าการ กฟผ. กล่าวว่า กฟผ. ได้ศึกษาการบริหารจัดการหน่วยผลิตไฟฟ้าในรูปแบบ ‘โรงไฟฟ้า เสมือน (Virtual Power Plant หรือ VPP)’ เพือ่ ลดข้อจ�ำกัดของการ ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนที่ขาดเสถียรภาพ โดยเทคโนโลยี ‘โรงไฟฟ้าเสมือน’ เปรียบเสมือนศูนย์ควบคุมที่ท�ำหน้าที่รวบรวม ข้อมูลของโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนประเภทต่างๆ เข้าไว้ดว้ ยกัน และพิจารณาสั่งการเดินเครื่องโรงไฟฟ้าในแต่ละประเภทให้ผลิต ไฟฟ้าได้อย่างเหมาะสม เพือ่ ให้ปริมาณไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้จากโรงไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียนในระบบเกิดเสถียรภาพเสมือนเป็นโรงไฟฟ้าหลัก ที่ ส ามารถเสริ ม ความมั่ น คงให้ แ ก่ ร ะบบไฟฟ้ า ของประเทศได้ นอกจากนี้ยังเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ผลิตไฟฟ้ารายย่อยสามารถ เข้าแข่งขันในธุรกิจผลิตไฟฟ้าได้ทัดเทียมกับผู้ผลิตไฟฟ้ารายใหญ่ น�ำเอาความได้เปรียบของคุณลักษณะเฉพาะของโรงไฟฟ้ามาเติมเต็ม ระบบการผลิตไฟฟ้าของประเทศ ส่งผลให้ผู้ใช้ไฟฟ้าในประเทศ ได้ใช้ไฟฟ้าที่มีต้นทุนที่เหมาะสม รวมถึงสอดรับกับนโยบายภาครัฐ ในการสนับสนุนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนให้มีสัดส่วน เพิม่ มากขึน้ เพือ่ ลดผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม โดยมีระยะเวลาวิจยั ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563-พ.ศ. 2567 แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ออกแบบโมเดลโรงไฟฟ้าเสมือนและคัดเลือกโรงไฟฟ้าที่จะเข้าร่วม โครงการน�ำร่อง ระยะที่ 2 พัฒนาระบบสัญญาซื้อขายไฟฟ้าและ ทดสอบระบบการสัง่ การโรงไฟฟ้า และระยะที่ 3 ทดลองระบบการ ควบคุมหน่วยการผลิตและการซือ้ ขายไฟฟ้าในพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย โดยใช้ โรงไฟฟ้าของ กฟผ. เป็นโรงไฟฟ้าหลัก คาดว่าภายในปี พ.ศ. 2573 จะมีรูปแบบธุรกิจโรงไฟฟ้าเสมือนที่มีก�ำลังการผลิตรวมมากกว่า 400 MW เกิดขึ้น เพื่อสร้างความมั่นคงด้านพลังงานไฟฟ้าให้กับ ประเทศไทยต่อไป


การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โครงการใหม่ โดยพิจารณาเกณฑ์การให้คะแนนจาก 1. การบริหาร จั ด การอาคาร 2. ผั ง บริ เวณภู มิ ทั ศ น์ 3. การประหยั ด น�้ ำ 4. พลังงานและบรรยากาศ 5. วัสดุและทรัพยากรในการก่อสร้าง 6. คุณภาพของสภาพแวดล้อมภายในอาคาร 7. การป้องกัน ผลกระทบสิง่ แวดล้อม และ 8. นวัตกรรม โดยเริม่ ประเมินตัง้ แต่ ขัน้ ตอนการวางแผนการก่อสร้างอาคาร ทัง้ นี้ การบริหารจัดการ ค่าการใช้พลังงานสุทธิส�ำหรับอาคารส�ำนักงานต้องไม่เกินค่า ที่ก�ำหนด 171 กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อตารางเมตรต่อปี (Building Energy Code : BEC) ตามแผนอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี ของ กระทรวงพลังงาน

อาคารศูนย์การเรียนรู้ กฟผ. สำ�นักงานกลาง ได้มาตรฐาน

TREES ระดับ PLATINUM

สะท้อนความมุ่งมั่นการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพ ควบคู่การดูแลสิ่งแวดล้อม อาคารศูนย์การเรียนรู้ กฟผ. ส�ำนักงานกลาง ผ่านการ ส�ำหรับอาคารศูนย์การเรียนรู้ กฟผ. ส�ำนักงานกลาง ประเมินอาคารตามมาตรฐาน TREES โดยสถาบันอาคารเขียวไทย ได้ตรวจวัดค่าการใช้พลังงานสุทธิจริง สามารถวัดได้เพียง 126 ในช่วงคะแนนสูงสุด ระดับ PLATINUM เป็นแหล่งเรียนรูต้ น้ แบบ กิโลวัตต์ชวั่ โมงต่อตารางเมตรต่อปีเท่านัน้ นับได้วา่ ศูนย์การเรียนรู้ กฟผ. ส�ำนักงานกลาง เป็นอาคารแห่งแรกของ กฟผ. ที่ได้รับ อาคารประหยัดพลังงาน มุ่งส่งต่อองค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์ การรับรองมาตรฐาน TREES ในระดับ PLATINUM พลังงานและสิ่งแวดล้อมสู่สังคมอย่างยั่งยืน วิรัช อุดมพงศ์ลักขณา ผู้อำ� นวยการ สะท้อนความมุ่งมั่นในการใช้พลังงานอย่างมี ฝ่ า ยออกแบบและบริ ห ารงานก่ อ สร้ า ง ประสิทธิภาพ ควบคูก่ บั การดูแลสิง่ แวดล้อมอย่าง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ยั่งยืน เปิดเผยว่า ศูนย์การเรียนรู้ กฟผ. ส�ำนักงานกลาง นอกจากนั้ น ศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ กฟผ. ส�ำนักงานกลาง ยังได้รับการออกแบบให้เป็น ได้รับการออกแบบอย่างพิถีพิถัน สร้างและ ด�ำเนินการโดยค�ำนึงถึงการใช้ทรัพยากร พลังงาน แหล่งเรียนรู้ต้นแบบอาคารประหยัดพลังงาน โดยน�ำเสนอองค์ความรูผ้ า่ นสือ่ นิทรรศการ พร้อม และสภาพแวดล้ อ มอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เปิดให้เยี่ยมชมอาคารและการบริหารการใช้ ลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ลดการก่อมลภาวะ ลดการใช้พลังงาน ลดการใช้นำ�้ และสร้างพืน้ ที่ พลังงานและทรัพยากรภายในพื้นที่ เพื่อให้ผู้ที่ วิรัช อุดมพงศ์ลักขณา ทีม่ คี ณ ุ ค่า เพิม่ คุณภาพชีวติ และประสิทธิภาพ สนใจสามารถมาเรียนรู้และน�ำไปต่อยอดหรือ ในการท�ำงานของผู้ใช้อาคาร โดยผ่านการ น�ำไปใช้ในชีวติ ประจ�ำวันได้ โดยเปิดให้ประชาชน ตรวจประเมินอาคารตามมาตรฐานเกณฑ์การประเมินความยั่งยืน ทั่ ว ไปเข้ า เยี่ ย มชมนิ ท รรศการและอาคารศู น ย์ ก ารเรี ย นรู ้ กฟผ. ส�ำนักงานกลาง ได้ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย โดยเปิดให้บริการ ทางพลังงานและสิ่งแวดล้อมไทย (Thai’s Rating of Energy and วันอังคาร-วันอาทิตย์ เวลา 09.00-16.00 น. (หยุดวันจันทร์และ Environmental Sustainability : TREES) ซึ่งเป็นมาตรฐานอาคาร วันหยุดนักขัตฤกษ์) อนุรกั ษ์พลังงานของประเทศไทยจากสถาบันอาคารเขียวไทย ในช่วง คะแนนสูงสุด ระดับ PLATINUM ส�ำหรับอาคารก่อสร้างและปรับปรุง สามารถติ ด ต่ อ หรื อ สอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ Facebook : ศูนย์การเรียนรู้ กฟผ. ส�ำนักงานกลาง หรือโทร. 0 2436 8952


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

ถ้าคุณก�ำลังสงสัยว่า... ตู้เย็นของคุณกินไฟเดือนละเท่าไหร่? เสียบชาร์จมือถือเสียค่าไฟกี่บาท? ซักผ้า อบผ้า รีดผ้า ต้องจ่ายเดือนละกี่บาท? ทีวีจอแก้วเครื่องเก่ากินไฟขนาดไหน? หลอดไฟรอบรัว้ บ้านหลายดวงเดือนหนึง่ กินไฟเท่าไหร่กนั แน่ๆ? เปลีย่ นหลอดไฟแบบตะเกียบมาเป็นหลอด LED จะกินไฟลดลง ขนาดไหน? ซือ้ กาต้มน�ำ้ ร้อนหรือจะใช้แบบต้มด้วยเตาแก๊สเหมือนเดิมดี? คุณก�ำลังเล็งที่จะซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใหม่อยู่หรือเปล่า?

Evo Energy (App ค�ำนวณค่าไฟฟ้าบนมือถือฟรี)

ลองโหลด Evo Energy แอปฯ ฟรีๆ ติดไว้ในมือถือคุณดูสิ แล้วใช้ ค�ำนวณและประเมินการกินไฟฟ้าและค่าใช้ไฟฟ้าของเหล่านั้นดูครับ วันนี้เรามี App ส�ำหรับค�ำนวณค่าไฟฟ้าบนมือถือฟรี ที่สามารถ ใช้งานง่ายๆ มาน�ำเสนอครับ เผือ่ ว่าจะเป็นตัวช่วยในการค�ำนวณค่าไฟฟ้ำ แต่ละรอบบิลได้ อย่าลืมนะครับ ประหยัดพลังงานคือใช้อย่างรู้คุณค่า มีประสิทธิภาพ เหมาะสม ไม่ฟมุ่ เฟือย หรือเปิดทิง้ ไว้โดยไม่จำ� เป็น เราไม่ได้ ห้ามไม่ให้ใช้นะครับ แอปฯ ดีๆ โดนใจคนรักษ์พลังงานอย่างเราๆ นัน่ ก็คอื Evo Energy แอปฯ นี้ใช้งานง่ายๆ ทั้งยังมีประโยชน์มากๆ ด้วย โดยสามารถช่วยเรำ ค�ำนวณอัตราการกินไฟและคิดค่าไฟฟ้าส�ำหรับเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชิ้น ทีค่ ณ ุ ใช้อยูใ่ นบ้าน แม้กระทัง่ เก็บรวบรวมไว้ในรายการแล้วค�ำนวณรวมกัน ก็ยังได้ ง่ายและรวดเร็วสุดๆ ไม่ต้องเข้าสูตร เพราะทุกสูตรการค�ำนวณ ยกมาอยูใ่ นโปรแกรมแล้ว ช่วยให้คณ ุ ประเมินค่าใช้ไฟฟ้าในแต่ละเดือนของ เครือ่ งใช้ทกี่ ำ� ลังใช้อยู่ หรือแม้แต่เครือ่ งใช้ไฟฟ้าชิน้ ใหม่ทคี่ ณ ุ ก�ำลังสนใจอยู่ ช่วยคุณประหยัดค่าไฟฟ้าจากการค�ำนวณประมาณการใช้ไฟฟ้าในเบือ้ งต้น รวมถึงลดค่าใช้จ่ายในระยะยาวได้อีกด้วย ออกแบบมาให้เรียบง่าย ไม่ซบั ซ้อน แถมยังรวดเร็วในการค�ำนวณ ผลลัพธ์เป็นจ�ำนวนค่าไฟเป็นยูนิต (kW) และค่าใช้จ่ายไฟฟ้าเป็นบาท ของแต่ละชิ้น และรวมทุกๆ ชิ้นในรายการที่คุณบันทึกเอาไว้

คุณสมบัติหลัก

• รองรับหน่วยก�ำลังและกระแสไฟฟ้า (วัตต์ (W) / กิโลวัตต์ (kW) / มิลิแอมป์ (mA) / แอมป์ (A)) • สามารถตัง้ ค่าโวลต์ได้ตามแต่ละประเทศทีค่ ณ ุ ใช้อยู่ (ตัง้ แต่ 100-240 Volt) • รองรับการบันทึกรายการเครื่องไฟฟ้าแต่ละชิ้นเก็บไว้ได้ • สามารถตั้งค่าสกุลเงินได้ • การกรอกค่าต่างๆ ง่ายมาก ตรงไปตรงมา รวดเร็ว • สามารถค�ำนวณตามชั่วโมงที่ใช้งานต่อวัน ให้คุณกรอกได้ ละเอียดถึงระดับชั่วโมง:นาที • สามารถค�ำนวณโดยระบุเป็นหน่วยกระแสเป็นแอมป์ (A) หรือมิลแิ อมป์ (mA) ได้ดว้ ย (เครือ่ งใช้ไฟฟ้าบางชิน้ ไม่บอก เป็นก�ำลังวัตต์) • ค�ำนวณผลแบบทันทีทนั ใดเมือ่ ระบุคา่ ต่างๆ ทีต่ อ้ งใช้ในการ ค�ำนวณครบแล้ว • แสดงผลการค�ำนวณ สรุปแบบรายชั่วโมง/วัน/เดือน/ปี • แชร์ ห น้ า จอผลการค� ำ นวณให้ เ พื่ อ นๆ คุ ณ ผ่ า นทาง โซเชียลเน็ตเวิร์ก เมสเสจ อีเมล หรือบันทึกภาพเก็บไว้ได้ ง่ายๆ


การไฟฟ้านครหลวง

MEA เดินหน้าส่งมอบเสาไฟ จากทุกโครงการสายไฟฟ้าใต้ดิน สร้างแนวป้องกันคลื่นชายฝั่งป้อมพระจุลฯ ฟื้นฟูธรรมชาติทางทะเลอย่างยั่งยืน

จุมภฎ หิมะเจริญ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายสื่อสารองค์กร การไฟฟ้ำ นครหลวง หรือ MEA เปิดเผยความคืบหน้าการปักเสาไฟฟ้าในทะเล เพื่อเป็นแนวป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลว่า ตามที่ MEA ได้ร่วมมือ กับฐานทัพเรือกรุงเทพ กองทัพเรือ ในโครงการปรับปรุงและพัฒนาแหล่ง เรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนและการท�ำแนวป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง MEA’s Model อย่างต่อเนือ่ ง ณ ป้อมพระจุลจอมเกล้า ฐานทัพเรือกรุงเทพ จ.สมุทรปราการ ด้วยการน�ำเสาไฟฟ้าทีร่ อื้ ถอนจากโครงการเปลีย่ นระบบ สายไฟฟ้าอากาศเป็นสายไฟฟ้าใต้ดนิ ในโครงการต่างๆ ทีไ่ ม่ใช้แล้ว รวมถึง เสาไฟฟ้าทีช่ ำ� รุดและยางรถยนต์เก่าน�ำมาท�ำเป็นแนวป้องกันการกัดเซาะ ชายฝั่ง ดักตะกอน เป็นระยะทางกว่า 1,700 เมตร พร้อมทั้งด�ำเนินการ ปักเสาฯ เพิม่ อีก 2 จุด ฝัง่ เหนือ-ฝัง่ ใต้ จุดละ 250 เมตร รวมระยะทางกว่า 2,200 เมตร เพือ่ ปิดหัว-ท้ายของแนวปักเสาฯ เดิมนัน้ ล่าสุดได้ดำ� เนินการ ปักเสาฯ ฝั่งเหนือเสร็จเรียบร้อยแล้ว และขณะนี้อยู่ระหว่างการปักเสาฯ ฝั่งใต้ โดยมีก�ำหนดแล้วเสร็จภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 MEA ยังคงเดินหน้าด�ำเนินโครงการเปลีย่ นระบบสายไฟฟ้าอากาศ เป็นสายไฟฟ้าใต้ดินอย่างต่อเนื่องในพื้นที่รับผิดชอบ และพร้อมส่งมอบ เสาไฟฟ้าในทุกโครงการเพือ่ น�ำมาใช้กนั คลืน่ กัดเซาะบริเวณชายฝัง่ ทะเลให้ ครอบคลุมชายฝัง่ ทะเลกรุงเทพฯ เขตบางขุนเทียน เป็นระยะทางประมาณ 4.7 กิโลเมตรต่อไป นอกจากนี้ MEA ยังได้สนับสนุนงบประมาณจ�ำนวน 1,000,000 บาท เพือ่ ด�ำเนินการปักเสาใช้เป็นแนวป้องกันคลืน่ ทะเล รวมถึง สนับสนุนงบประมาณปลูกป่าชายเลนและบ�ำรุงรักษาป่าชายเลนเพื่อ ป้องกันการกัดเซาะชายฝัง่ ให้แก่ปอ้ มพระจุลจอมเกล้า ฐานทัพเรือกรุงเทพ ตลอดระยะเวลากว่า 16 ปี (จากการลงนามความร่วมมือระหว่าง MEA และ ฐานทัพเรือกรุงเทพ 4 ครัง้ ในช่วงปี พ.ศ. 2547-พ.ศ. 2551, พ.ศ. 2552พ.ศ. 2554, พ.ศ. 2555-พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2561-พ.ศ. 2565) จ�ำนวนเงิน

6,800,000 บาท รวมจ�ำนวนเงินสนับสนุนทั้งสิ้น 7,800,000 บาท อีกทั้งยังด�ำเนินการปรับปรุงอาคารนิทรรศการเปิดโลก ป่าชายเลนและภูมทิ ศั น์โดยรอบให้มสี ภาพสวยงาม เพือ่ พัฒนำ ให้เป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วและเป็นแหล่งความรูส้ ำ� หรับผูท้ สี่ นใจ ทั่วไป ส�ำหรับคุณสมบัตเิ ด่นของเสาไฟฟ้านัน้ เนือ่ งจากเสามี ลักษณะเป็นแท่งคอนกรีตทีม่ คี วามแข็งแรง อายุการใช้งานนาน ประมาณ 30 ปี ซึ่งมีอายุการใช้งานยาวนานกว่าเสาไม้ทั่วไป กว่า 30 เท่า อีกทัง้ ยังมีความยืดหยุน่ จากโครงสร้างลวดเหล็ก ภายในเสาไฟฟ้า ท�ำให้สามารถรับแรงดัดได้มากถึง 4.5 ตันเมตร หรือหักโค้งได้ประมาณ 7-8 เซนติเมตร ท�ำให้มีความแข็งแรง ทนทาน สามารถรองรับความรุนแรงของคลืน่ ทะเลทีม่ ากระทบ ได้มากขึน้ และจากความร่วมมือระหว่าง MEA และจุฬาลงกรณ์ มหาวิท ยาลัย (สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม สถาบันวิจัย ทรัพยากรทางน�ำ้ คณะวิศวกรรมศาสตร์และคณะวิทยาศาสตร์) ได้ท�ำการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมแล้ว พบว่าแนวป้องกัน การกัดเซาะชายฝัง่ ด้วยเสาไฟฟ้าสวมด้วยยางรถยนต์ ช่วยลด ความแรงของกระแสน�ำ้ ท�ำให้มปี ริมาณการสะสมของตะกอน หลังเขื่อนเพิ่มมากขึ้น ต้นกล้าและลูกไม้ประเภทไม้โกงกาง รวมถึงพรรณไม้น�้ำต่างๆ ที่อยู่หลังแนวป้องกันมีปริมาณ หนาแน่นขึ้น รวมถึงมีการกลับมาของสัตว์น�้ำนานาพันธุ์และ นกนานาชนิดมีแนวโน้มการอยู่รอดเพิ่มขึ้น ส่วนยางรถยนต์ ที่สวมอยู่กับเสาไฟฟ้า จากผลการศึกษาไม่พบการสลายตัว ที่เป็นพิษต่อสภาพแวดล้อม หรือส่งผลกระทบทางลบต่อ การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตและป่าชายเลนแต่อย่างใด ซึ่ง ผลส�ำเร็จจากการน�ำเสาไฟฟ้าที่รื้อถอนและไม่ใช้งานแล้วจาก โครงการเปลี่ยนระบบสายไฟฟ้าอากาศเป็นสายไฟฟ้าใต้ดิน ในโครงการต่างๆ มาปักเพือ่ ป้องกันและแก้ปญ ั หาคลืน่ กัดเซาะ ชายฝัง่ ทะเลบางขุนเทียน ตามแนวทาง MEA’s Model นัน้ ท�ำให้ MEA เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจสาธารณูปโภคหน่วยงานเดียว ของประเทศไทยที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล Asia Responsible Entrepreneurship Awards 2018 ในสาขา Green Leadership ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลปิ ปินส์ เมือ่ วันที่ 1 มิถนุ ายน 2561 ทีผ่ า่ นมา ซึง่ แสดงถึงการด�ำเนินการเพือ่ ความยัง่ ยืนของ MEA ได้เป็นอย่างดี


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

PEA บันทึกความร่วมมือ โครงการจัดการพลังงาน ในองค์กรด้วยระบบดิจิทล ั กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร

สมพงษ์ ปรีเปรม ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค รศ. ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล อธิการบดี มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร ร่วมลงนามบันทึกความ ร่วมมือโครงการจัดการพลังงานในองค์กรด้วยระบบดิจิทัล (Digital Platform) ณ ห้องปฐมบริบท ชัน้ 1 ตึก 3 มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร การไฟฟ้าส่ว นภูมิ ภาค (PEA) และมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (มศว) เห็นถึงความส�ำคัญของ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ จึงบูรณาการร่วมกันเรือ่ ง

การประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทดแทน โดย PEA น�ำเทคโนโลยี การประหยัดพลังงานด้วยระบบดิจทิ ลั หรือ Digital Platform ทีเ่ หมาะสม มาปรับใช้ ทั้งในด้านการบริหารจัดการและการพัฒนาเทคโนโลยี ระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Rooftop, Solar Floating) ด้านการซือ้ ขายพลังงาน การลดค่าใช้จา่ ยด้านพลังงาน ของระบบแสงสว่างและระบบความเย็น การให้ความรู้และสนับสนุน การใช้ยานยนต์ไฟฟ้า รวมไปถึงสถานีอัดประจุไฟฟ้า พลังงาน เพื่อ ตอบสนองความต้องการด้านพลังงานในภาพรวมของประเทศ รวมทัง้ เป็นการช่วยลดสภาวะโลกร้อนอีกด้วย

PEA คว้ารางวัลแคมเปญแห่งปีจากเวทีระดับโลก MMA SMARTIES 2020 จากแคมเปญ #ห่วงเธอหน้าฝนChallenge

ภาณุมาศ ลิม้ สุวรรณ รองผูว้ า่ การการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค รับรางวัลแคมเปญแห่งปีจากเวที “MMA SMARTIES 2020” โดยมี สิรินิธิ์ วิรยศิริ Head of Business Marketing จาก TikTok แพลตฟอร์มการตลาดดิจทิ ลั แห่งปี 2020 เป็นผูม้ อบรางวัล ณ ชัน้ 1 อาคาร LED ส�ำนักงานใหญ่ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (PEA) คว้ารางวัลสุดสร้างสรรค์ จากฝีมอื คนไทย ในแคมเปญชือ่ “#ห่วงเธอหน้าฝนChallenge หรือ #SAFEINTHERAIN” ผ่านบน TikTok แพลตฟอร์ม ด้วยยอดวิว 133.8 ล้านวิว ในระดับภูมภิ าคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ จากเวที “MMA SMARTIES 2020” ในกลุม่ ประเภท ผลงาน Social Impact : Not for Profit ส�ำหรับแคมเปญ “#ห่วงเธอหน้าฝนChallenge หรือ #SAFEINTHERAIN” เป็นหนึ่งในโครงการ “เซฟไทย” ของ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยมีเป้าหมายคือการสร้างการรับรู้ สื่ อ สารให้ ค นไทยใช้ ไ ฟฟ้ า อย่ า งปลอดภั ย ในช่ ว งฤดู ฝ น ที่ มั ก จะพบการเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ จ ากการใช้ ไ ฟฟ้ า มากขึ้ น ในทุกๆ ปี เพือ่ ต้องการให้ทกุ คนใส่ใจ เพิม่ ความระมัดระวัง การใช้ไฟฟ้า ภายใต้โครงการรณรงค์การใช้ไฟฟ้าอย่าง ปลอดภัยและประหยัด หรือ SAVE THAI (เซฟไทย)


การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

รู้หรือไม่ 1 ชั่วโมง

เครื่องใช้ไฟฟ้ากินไฟเท่าไหร่??

• เครื่องปั๊มน�้า 150-200 วัตต์ ชั่วโมงละ 60-80 สตางค์ • ตู้เย็น (7-10 คิว) 70-175 วัตต์ ชั่วโมงละ 28-58 สตางค์ • เครื่องท�ำน�้ำอุ่น 3,000-5,000 วัตต์ ชั่วโมงละ 12-20 บาท • เครื่องฟอกอากาศ 2-25 วัตต์ ชั่วโมงละ 0.8-10 สตางค์ • เครื่องปรับอากาศ 1,200-3,300 วัตต์ ชั่วโมงละ 5-13 บาท • หลอดไฟ LED T8 16 วัตต์ ชั่วโมงละ 6.4 สตางค์

• Notebook 40-65 วัตต์ ชั่วโมงละ 16-26 สตางค์ • ทีวี 80-180 วัตต์ ชั่วโมงละ 32-72 สตางค์ • ชาร์จมือถือ 6 วัตต์ ชั่วโมงละ 2.4 สตางค์ • เตารีด 750-2,000 วัตต์ ชั่วโมงละ 3-8 บาท • เครื่องซักผ้า 3,000 วัตต์ ชั่วโมงละ 12 บาท


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

เอ็กโก กรุ๊ป

ปักธงสหรัฐอเมริกาเข้าซื้อหุ้น “ลินเดน โคเจน” โรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชัน กำ�ลังการผลิต 972 เมกะวัตต์

บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุ๊ป ประกาศความส�ำเร็จในการเข้าลงทุนในโรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชัน “ลินเดน โคเจน” ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ขนาดก�ำลัง การผลิต 972 เมกะวัตต์ ตั้งอยู่ที่เมืองลินเดน รัฐนิวเจอร์ซีย์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งบริหารและถือโดยบริษัท ลินเดน ทอปโก้ แอลแอลซี (Linden Topco LLC) เทพรัตน์ เทพพิทกั ษ์ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เอ็กโก กรุ๊ป กล่าวว่า “บริษัท เอ็กโก ลินเดน ทู แอลแอลซี (EGCO Linden II, LLC) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่เอ็กโกถือหุ้นทั้งหมด ได้ลงนามสัญญาซือ้ ขายหุน้ กับบริษทั เออีไอเอฟ ลินเดน เอสพีวี แอลแอลซี (AEIF Linden SPV, LLC) และบริษัท ไฮสตาร์ แคปปิตอล จีพี โฟร์ แอลพี (Highstar Capital GP IV, L.P.) เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2564 เพื่อลงทุนในสัดส่วนร้อยละ 28 ในบริษทั ลินเดน ทอปโก้ แอลแอลซี (Linden Topco LLC) โดย คาดว่าการซือ้ ขายหุน้ จะแล้วเสร็จในไตรมาสที่ 2 ปี พ.ศ. 2564 หลังจากด�ำเนินการตามเงือ่ นไขต่างๆ ในการปิดรายการซือ้ ขาย แล้วเสร็จ”

โรงไฟฟ้า “ลินเดน โคเจน” ขายไฟฟ้าและให้บริการ เสริมความมัน่ คงในระบบไฟฟ้าแก่ระบบและโครงข่ายไฟฟ้าใน รัฐนิวยอร์ก (NY-ISO Zone J) และตลาดซือ้ ขายไฟฟ้าพีเจเอ็ม พีเอส นอร์ธ (PJM PS North) ในรัฐนิวเจอร์ซีย์ ซึ่งเป็นตลาด ไฟฟ้า 2 แห่งที่มีความต้องการไฟฟ้าและก�ำลังไฟฟ้าส�ำรอง สูงทีส่ ดุ ในประเทศสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ โรงไฟฟ้า “ลินเดน โคเจน” ยังมีสัญญาขายไอน�้ำและไฟฟ้าระยะยาวกับผู้รับซื้อ รายใหญ่ที่มีความน่าเชื่อถืออยู่ในอันดับที่น่าลงทุน เทพรัตน์ กล่าวเพิม่ เติมว่า “การซือ้ หุน้ โรงไฟฟ้าลินเดน โคเจน นับเป็นการเข้าลงทุนครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา ของเอ็กโก กรุ๊ป ซึ่งเป็นตลาดพลังงานขนาดใหญ่ที่มีก�ำลัง การผลิตไฟฟ้ารวมทัง้ ประเทศมากกว่า 1,100 กิกะวัตต์ มีโอกาส ในการลงทุนในธุรกิจพลังงานหมุนเวียนอีกมาก รวมทัง้ ยังส่งเสริม การผลิตไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติด้วย ดังนั้นการลงทุนครั้งนี้ นับเป็นก้าวส�ำคัญของเอ็กโก กรุ๊ป ในการเปิดเข้าสู่ตลาด สหรัฐอเมริกา และสร้างฐานการลงทุนเพื่อต่อยอดสู่โอกาส การลงทุนใหม่ในสหรัฐอเมริกาต่อไปในอนาคต”


บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน)

EGCO Group Acquires Interest in Linden Cogaen, A 972MW Gas Fired Cogeneration Facility in the USA

Electricity Generating Public Company Limited or EGCO Group announced today its first successful investment in a 972MW natural gas fired cogeneration facility (“Linden Cogen”) situated in Linden, New Jersey, USA owned by Linden Topco LLC (“Linden Topco”). Mr.Thepparat Theppitak, EGCO Group’s President, said, “EGCO Linden II, LLC, a wholly owned subsidiary of EGCO, entered into a purchase and sale agreement with AEIF Linden SPV, LLC and Highstar Capital GP IV, L.P. on January 29, 2021 to acquire a 28% ownership interest in Linden Topco. The Transaction is expected to close in the second quarter of this year following successful completion of all closing conditions.” The Linden cogeneration facility sells the energy, capacity and ancillary services into the New York System Operator (NY-ISO Zone J) and the PJM PS North power market in New Jersey; two of the most congested and capacity constrained power markets in the United States. The facility also enjoys long-term process steam and electricity sales contracts with large investment grade industrial off-takers. EGCO Group’s President added that “This acquisition marked the first investment by EGCO in the US, a large market with over 1,100GW of installed capacity and vast opportunities in renewable and supporting gas-fired power facilities. The investment will allow EGCO to enter the US market, and position it for new investment opportunities in the US.”

เอ็กโก กรุ๊ป ผนึก กนอ. ตั้ง

“นิคมอุตสาหกรรม เอ็กโกระยอง” ชูจุดเด่น Smart & Green Industrial Estate รับอีอีซี

บริษทั ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป๊ โดย เทพรัตน์ เทพพิทกั ษ์ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ลงนาม ในสัญญาร่วมด�ำเนินงานโครงการนิคมอุตสาหกรรมเอ็กโก ระยอง กับการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดย อัฐพล จิรวัฒน์จรรยา รองผูว้ า่ การสายงานยุทธศาสตร์และการพัฒนา การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยมี สมจิณณ์ พิลึก ผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นประธานในพิธีลงนาม เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2564 ณ กนอ. ส�ำนักงานใหญ่ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุ๊ป จับมือการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ลงนามสัญญา ร่ ว มด� ำ เนิ น งานโครงการนิ ค มอุ ต สาหกรรมเอ็ ก โกระยอง ชูจดุ เด่นเป็นนิคมอุตสาหกรรมอัจฉริยะสีเขียว (Smart & Green Industrial Estate) รองรับการลงทุนของอุตสาหกรรมเป้าหมาย S-Curve และ New S-Curve ทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมการลงทุนใน โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (อีอซี )ี


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

ราช กรุ๊ป

ประกาศกำ�ไร 6,287 ล้านบาท ในปี 2563

กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ

บริษทั ราช กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) แถลงผลการ ด�ำเนินงาน พ.ศ. 2563 มีกำ� ไรสุทธิ 6,286.68 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 5.4% จากปี พ.ศ. 2562 คิดเป็นก�ำไรต่อหุน้ 4.34 บาท และเตรียมขออนุมัติที่ประชุมผู้ถือหุ้นจ่ายเงิน ปันผล 2.40 บาทต่อหุน้ รวมเป็นเงิน 3,480 ล้านบาท ส�ำหรับผลการด�ำเนินงาน พ.ศ. 2563 ใน พ.ศ. 2564 บริ ษั ท ฯ ได้ จั ด สรรงบประมาณ 15,000 ล้ านบาท เพือ่ ลงทุนโครงการเดิมและโครงการใหม่ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ตั้งเป้าหมายขยายการลงทุนในธุรกิจผลิตไฟฟ้าเพิ่ม 700 เมกะวัตต์ จากปัจจุบนั ทีล่ งทุนแล้ว 8,174 เมกะวัตต์ ส่วนระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานและธุรกิจเกี่ยวเนื่อง พลังงาน จะสานต่อโครงการที่ได้เริ่มศึกษาและเจรจา ร่วมทุนในปีที่ผ่านมาต่อเนื่อง ได้แก่ การร่วมทุนใน บริษัทนวัตกรรมกับกลุ่ม กฟผ. โครงการ District 9 : เขตอุตสาหกรรมดิจิทัลและชุมชนอัจฉริยะ โครงการ จัดหาเชือ้ เพลิงแอลเอ็นจี โครงการผลิตเชือ้ เพลิงชีวมวล อัดแท่ง เป็นต้น

กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ผลประกอบการ พ.ศ. 2563 ได้รบั แรงหนุนจากผลการด�ำเนินงาน ของโรงไฟฟ้าหงสาและกลุม่ โรงไฟฟ้า SPP ทีด่ ขี นึ้ จากปีทแี่ ล้ว รวมทัง้ มีการรับรูร้ ายได้ จากโรงไฟฟ้าพลังความร้อน Thang Long เวียดนาม ซึง่ บริษทั ฯ ลงทุนผ่านกองทุน ABIEF เมื่อปีที่ผ่านมาด้วย ส�ำหรับรายได้รวมปี พ.ศ. 2563 (ไม่รวมค่าเชื้อเพลิง) มีจำ� นวน 16,155.92 ล้านบาท ซึง่ ประมาณ 94.8% เป็นรายได้จากธุรกิจผลิตไฟฟ้า ซึง่ เป็นธุรกิจหลัก แบ่งเป็นรายได้จากโรงไฟฟ้า IPP ประมาณ 68.9% โรงไฟฟ้า SPP ประมาณ 15.7% และโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนประมาณ 10.2% ขณะที่ภาพรวม รายได้ส่วนแบ่งก�ำไรของกิจการร่วมทุนในปี พ.ศ. 2563 เพิ่มขึ้น 15.9% เป็นเงิน จ�ำนวน 4,600 ล้านบาท ส�ำหรับ พ.ศ. 2564 บริษทั ฯ ตัง้ เป้าลงทุนเพิม่ ก�ำลังการผลิต อีก 700 เมกะวัตต์ โดยจะเป็นโรงไฟฟ้าเชือ้ เพลิงหลัก 455 เมกะวัตต์ และโรงไฟฟ้า พลังงานทดแทน 245 เมกะวัตต์ พร้อมทัง้ ได้จดั สรรเงินลงทุนส�ำหรับโครงการใหม่ไว้ 7,000 ล้านบาท หากสามารถด�ำเนินการตามเป้าหมายจะท�ำให้กำ� ลังผลิตตามสัดส่วน การถือหุ้นของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นเป็น 8,874 เมกะวัตต์ “บริษทั ฯ ก�ำหนดกลยุทธ์การลงทุนเพือ่ บรรลุเป้าหมาย 700 เมกะวัตต์ โดย จะลงทุนในโรงไฟฟ้าที่เดินเครื่องเชิงพาณิชย์แล้ว 350 เมกะวัตต์ เพื่อเสริมกระแส เงินสดและรายได้ของบริษทั ฯ ให้มนั่ คงมากขึน้ อีกทัง้ ขยายโอกาสการลงทุนในตลาด ใหม่ๆ โดยเฉพาะไต้หวัน เกาหลีใต้ และญีป่ นุ่ ซึง่ เป็นตลาดทีธ่ รุ กิจพลังงานทดแทน เติบโต ที่บริษัทฯ สามารถแสวงหาการลงทุนเพื่อสนับสนุนเป้าหมายก�ำลังผลิต พลังงานทดแทน 2,500 เมกะวัตต์ ใน พ.ศ. 2568 รวมทัง้ ธุรกิจเชือ้ เพลิงชีวมวลได้ นอกจากนี้ ก็จะจับมือกับพันธมิตรรายเดิมขยายการลงทุนโครงการใหม่ๆ ร่วมกัน ด้วย ส�ำหรับธุรกิจระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานและธุรกิจเกี่ยวเนื่องด้านพลังงาน ก็จะขับเคลื่อนโครงการที่อยู่ระหว่างการศึกษาให้ไปสู่การร่วมทุนและด�ำเนินการ เชิงพาณิชย์อย่างเป็นรูปธรรม ได้แก่ การร่วมทุนนวัตกรรมด้านไฟฟ้ากับกลุม่ กฟผ. ซึ่งคาดว่าจะสามารถลงนามจัดตั้งบริษัทร่วมทุนได้ในปีนี้ โครงการจัดตั้งโรงงาน ผลิตชีวมวลอัดแท่งในประเทศและ สปป.ลาว และโครงการจัดหาเชือ้ พลิงแอลเอ็นจี โครงการดังกล่าวนี้บริษัทฯ ได้จัดเตรียมวางแผนการจัดหาเงินไว้พร้อมแล้ว และ มั่นใจว่าเป้าหมายที่วางไว้จะสามารถด�ำเนินการได้ส�ำเร็จ” กิจจา กล่าว ใน พ.ศ. 2564 บริษทั ฯ จะเริม่ รับรูร้ ายได้จากโครงการโรงไฟฟ้าทีเ่ ดินเครือ่ ง เชิงพาณิชย์ในปีนี้อีก 4 โครงการ รวมก�ำลังผลิตตามการถือหุ้น 537.04 เมกะวัตต์ ได้แก่ โรงไฟฟ้าพลังงานลมยานดิน ก�ำลังผลิตตามสัดส่วนถือหุน้ 149.94 เมกะวัตต์ (ถือหุ้น 70%) โรงไฟฟ้าพลังงานลมคอลเล็กเตอร์ 226.8 เมกะวัตต์ (ถือหุ้น 100%) โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมเรียว อินโดนีเซีย 145.15 เมกะวัตต์ (ถือหุน้ 49%) และ โรงไฟฟ้าพลังงานลม Thanh Phong เวียดนาม 15.15 เมกะวัตต์ (ถือหุ้น 51%) ส่วนโรงไฟฟ้าที่เดินเชิงพาณิชย์แล้ว ก�ำลังผลิตตามสัดส่วนการถือหุ้นรวม 6,700 เมกะวัตต์ จะมุ่งเน้นบริหารประสิทธิภาพของโรงไฟฟ้า การใช้เชื้อเพลิง ต้นทุน การผลิต และควบคุมการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้ดีที่สุด เมือ่ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2564 ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 1/2564 มีมติจา่ ยเงินปันผลส�ำหรับผลการด�ำเนินงานปี พ.ศ. 2563 หุน้ ละ 2.4 บาท รวมเป็น เงินจ�ำนวน 3,480 ล้านบาท โดยจะน�ำเสนอทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณาในการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2564 ในวันที่ 5 เมษายน 2564 ก�ำหนดจ่ายเงินปันผลใน วันที่ 23 เมษายน 2564 ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้จา่ ยเงินปันผลระหว่างกาลส�ำหรับผลการ ด�ำเนินงานงวด 6 เดือนแรกของ พ.ศ. 2563 (งวดเดือนมกราคม-มิถุนายน 2563) จ�ำนวน 1,667.50 ล้านบาท 1.15 บาท/หุ้น เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2563


บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

ราช กรุ๊ป ปิดดีลประมูลซื้อหุ้น BAFS มูลค่า 2.7 พันล้านบาท เตรียมต่อยอดธุรกิจบริการเชื้อเพลิงการบิน และสร้างหุ้นส่วนระยะยาว บริษทั ราช กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) รายงานการปิดดีล ซือ้ หุน้ บริษทั บริการเชือ้ เพลิงการบินกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) (BAFS) จากบริษัท การบินไทย จ�ำกัด (มหาชน) จ�ำนวน 98,983,125 หุ ้ น คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว นร้ อ ยละ 15.53 มู ล ค่ า 2,712,137,625 บาท ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2563 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้เข้าร่วมประมูลซื้อหุ้น BAFS จาก บมจ. การบินไทย ด้วยวิธีการประมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์และเป็น ผูช้ นะการประมูล บริษทั ฯ จึงได้เข้าท�ำสัญญาซือ้ ขายหุน้ BAFS กับ บมจ. การบินไทย เมือ่ วันที่ 29 ธันวาคม 2563 ต่อมาทาง บมจ. การบินไทย ได้ส่งหนังสือแจ้งการแล้วเสร็จของเงื่อนไข บังคับก่อน และบริษทั ฯ ได้ดำ� เนินการช�ำระค่าหุน้ ให้กบั บมจ. การบินไทย ครบถ้วนในวันที่ 19 มกราคม 2564 โดย บมจ. การบินไทย ได้ดำ� เนินการโอนหุน้ BAFS ดังกล่าวให้กบั บริษทั ฯ แล้วเสร็จในวันเดียวกัน กิ จ จา ศรี พั ฑ ฒางกุ ร ะ กรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ บริษทั ราช กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า บริษทั ฯ ตัง้ ใจ ที่จะลงทุนใน BAFS ระยะยาว และมุ่งหวังที่จะพัฒนาความ ร่วมมือเป็นหุน้ ส่วนธุรกิจ ตอบสนองเป้าหมายการเติบโตของ ทัง้ 2 ฝ่ายในอนาคต ทัง้ นี้ บริษทั ฯ มีแผนทีจ่ ะขยายการลงทุน ในระบบสาธารณู ป โภคพื้ น ฐานและธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ พลังงาน รวมทัง้ แสวงหาพันธมิตรทีแ่ ข็งแกร่ง ซึง่ การลงทุนใน BAFS ตอบสนองต่อแผนยุทธศาสตร์ดังกล่าวของบริษัทฯ อีกทั้งยังช่วยเสริมสร้างรายได้ของบริษัทฯ ให้มั่นคงยิ่งขึ้น โดยบริษัทฯ จะรับรู้รายได้เงินปันผลจากการลงทุนครั้งนี้ “บริษัทฯ ได้ใช้เงินทุนภายในของบริษัทฯ ในการลงทุน ประมูลซื้อหุ้นครั้งนี้ และราคาที่เสนอซื้อมีความเหมาะสม กับศักยภาพการเติบโตของ BAFS ในอนาคต บริษัทฯ และ ที่ปรึกษาทางการเงินได้ด�ำเนินการศึกษาข้อมูลภาพรวมของ ธุรกิจการบินและบริการเชือ้ เพลิงอากาศยาน ผลการด�ำเนินธุรกิจ แผนธุรกิจ และเป้าหมายของ BAFS ซึง่ มีทศิ ทางสอดคล้องกับ บริษทั ฯ และสามารถเกือ้ หนุนซึง่ กันได้ ไม่วา่ จะเป็นการลงทุน ในโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน เทคโนโลยีดิจิทัล และธุรกิจที่ เกีย่ วเนือ่ งกับเชือ้ เพลิงและพลังงาน บริษทั ฯ ในฐานะผูถ้ อื หุน้ รายใหม่ของ BAFS พร้อมให้การสนับสนุนอย่างเต็มทีแ่ ละมัน่ ใจ ว่า BAFS จะสามารถพลิกฟืน้ กลับมาเติบโตได้อย่างแข็งแกร่ง และยั่งยืนอย่างแน่นอน” กิจจา กล่าวปิดท้าย

RATCH Group Closed THB2.7 Billion Auction for BAFS’ Shares Readiness for Aviation Fuel Service and Long-Term Partnership RATCH Group Public Company Limited today announced that its purchase of 98,983,125 shares (equivalent to 15.53%) of Bangkok Aviation Fuel Service Public Company Limited (BAFS) from Thai Airways International Public Company Limited was completed at values of 2,712,137,625 baht. On December 19, 2020, the company participated in the e-auction of BAFS’s shares and determined to win the e-auction. The BAFS’s share purchase agreement with Thai Airways International Plc. was made later on December 29, 2020. After receiving the completion notice of Condition Precedent from Thai Airways International Plc, the company made the full purchase price and Thai Airways International Plc. transferred BAFS’ shares to the Company completely on January 19, 2021. Mr.Kijja Sripatthangkura, Chief Executive Officer of RATCH Group Public Company Limited disclosed that the company commits long-term investment in BAFS and wishes to develop collaborative partnership in order to accomplish future growth target of both parties. RATCH Group plans to expand investment in infrastructure and energy-related businesses as well as seek strong alliances. While the investment in BAFS corresponds with the company’s strategic plan, also this transaction will strengthen its business with stable revenues obtained from dividend income gained from the investment. “The transaction was funded by internal capital of the company. The bidding offer was fair for growth potential of BAFS. The company working closely with a financial advisor cautiously studied prospect of aviation business, aviation fuel service, and BAFS’s operating performance and business plan and goals. Obviously, BAFS’s business direction is consistent with RATCH Group, the synergy of both parties in either renewable-energy power plants, digital technology, or businesses related to fuels and energy will be advantage. RATCH Group stands, as a new shareholder, ready to provide full support to BAFS and is strongly confident that BAFS is able to achieve a robust and sustainable growth at the soonest.” Mr.Kijja said.



Cover Story

> สเตฟาน นูสส์ ประธานกลุ่มคลัสเตอร์ ดูแลประเทศไทย ลาว และเมียนมา ชไนเดอร์ อิเล็คทริค

เราทำ�นาย อนาคตไม่ได้

แต่เราเตรียมพร้อม รับมือได้

หากคุณเสิรช์ กูเกิลหา “อุตสาหกรรมทีไ่ ม่เคยมีมาก่อน เมือ่ 30 ปีทแี่ ล้ว” คุณจะพบว่ามีเยอะมาก ในความเป็นจริง เป็นเรือ่ งยากมากทีจ่ ะจินตนาการถึงการเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเกิดขึน้ ภายในระยะเวลาอันสั้น ในช่วง 30 ปีที่ผ่านมาก่อนที่จะมี อินเทอร์เน็ต เราไม่มที ง้ั ดิจทิ ลั แบงก์กงิ้ ไม่มอี คี อมเมิรซ์ และ ไม่มีอินเทอร์เน็ต ออฟ ธิงส์ (IoT) แต่ภายใน 2-3 ทศวรรษ หลังเหตุการณ์สำ� คัญทีพ่ ลิกโฉมประวัตศิ าสตร์โลก เรามีระบบ ไอทีที่บูมมากที่เข้ามาขับเคลื่อนการปฏิวัติพลังงานสีเขียว ด้วยซอฟต์แวร์ และมียานยนต์ไร้คนขับทีข่ บั เคลือ่ นด้วยข้อมูล เหล่านี้เป็นแค่บางตัวอย่าง อย่างไรก็ตาม ผลกระทบที่มีต่อ ผูค้ นนัน้ มีมากและเป็นไปในเชิงลึก ครึง่ หนึง่ ของประชากรโลก ในปัจจุบนั อยูบ่ นโซเชียลมีเดีย และเราอาจจะนึกภาพไม่ออก เลยว่าชีวิตที่อยู่โดยไม่มีแอปฯ ที่ให้บริการเพลงและวิดีโอ สตรีมมิ่งจะเป็นอย่างไร


ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงดูจะเป็นสิ่งเดียวที่แน่นอนและเกิดขึ้นอย่าง รวดเร็ว นับตั้งแต่เริ่มมีการแพร่ระบาดของโควิด-19 แต่การเปลี่ยนแปลง จะท�ำให้อุตสาหกรรมไปอยู่ ณ จุดไหน–อยู่ที่ผลผลิตทั่วโลกและการพัฒนา เศรษฐกิจในรูปแบบเดิมๆ หรือไม่? หากเรามองเจาะไปเรือ่ งการผลิต ซึง่ เป็น หนึ่งในภาคส่วนที่ถูกมองว่าเป็นภาคที่ ‘ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง’ มากที่สุด แม้วา่ จะมี AI และแมชชีนเลิรน์ นิง่ เข้ามาก็ตาม กระบวนการด้านการผลิตก็ยงั ยากที่จะเปลี่ยนแปลงตลอดระยะเวลา 50 ปีที่ผ่านมา ยิ่งไปกว่านั้น ผู้ผลิต ก็ยังคงต้องพึ่งพาซัพพลายเชนทั่วโลก และกระบวนการประกอบสินค้าที่มี ความซับซ้อน ซึง่ ท�ำให้เกิดความเสีย่ งในเรือ่ งข้อจ�ำกัดในช่วงทีเ่ กิดการระบาด พร้อมกับทัศนคติของผู้บริโภคก็เปลี่ยนไปด้วยเช่นกัน

ระบบออโตเมชันที่ใช้งานได้ครอบคลุม ทุกรูปแบบ (Universal Automation) คืออนาคต

หากยังจ�ำสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างฟอร์แมทวิดีโอ แบบ VHS และ VCR ได้ มีเพียง DVD และเทคโนโลยี สตรีมมิง่ ทีเ่ หนือชัน้ เท่านัน้ ทีจ่ ะครองความเป็นหนึง่ เนือ่ งจาก ผูม้ าก่อนใช้ทงั้ เวลาและพลังงานไปกับการปกป้องสิง่ ทีเ่ ป็น ความล�้ำค่าสืบทอดมาจากในอดีตมากกว่าการสร้างสรรค์ นวัตกรรมใหม่หรือไม่? ด้วยเหตุผลเดียวกันนีเ้ อง โลกในวันนี้ จึงถูกขับเคลื่อนด้วยขุมพลังของดาต้าเซ็นเตอร์สีเขียว

เมื่อโลกเปลี่ยน ผู้ผลิตเปลี่ยนตามหรือไม่?

โลกไม่มีทางกลับมาเป็นเหมือนเดิมได้อีกต่อไป ปัจจุบันผู้บริโภค ต้องการเห็นผลิตภัณฑ์ของตัวเองถูกผลิตขึ้นมาอย่างยั่งยืน ด้วยขุมพลังของ พลังงานสะอาดและแหล่งพลังงานในพื้นที่ คนเหล่านี้ต้องการเห็นเม็ดเงินที่ ตัวเองสนับสนุนไปอยูท่ กี่ ารลงทุนในระดับภูมภิ าคในเรือ่ งของทักษะ นวัตกรรม และการสร้างงาน และจุดนี้เป็นสิ่งที่กระบวนการในระบบดิจิทัล และระบบ ออโตเมชันที่ก้าวหน้าในอุตสาหกรรมเข้ามามีบทบาทอย่างแท้จริง มันเป็น ช่วงเวลาส�ำหรับภาคการผลิตทีจ่ ะตามรอยอุตสาหกรรมทีป่ ระสบความส�ำเร็จ ในการปฏิรูปตัวเองสู่ความเป็นสีเขียวอย่างแท้จริงและมีความเป็นมนุษย์ อยูใ่ นกระบวนการ รวมถึงเป็นหนึง่ ในภาคส่วนของเศรษฐกิจทีด่ ำ� เนินการได้มี ประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ วงจรด้านนวัตกรรมต่างๆ ทีส่ นั้ ลงอย่างมากพร้อมกับความ ต้องการทีม่ าเป็นช่วงเวลา ต้องอาศัยกลยุทธ์ใหม่เพือ่ ช่วยให้บรรลุเป้าหมายใน ระดับของผลผลิต ความคล่องตัว และผลก�ำไรจากผูท้ มี่ บี ทบาทในอุตสาหกรรม ปัจจุบัน

เราต่างยอมรับข้อจ�ำกัดบางอย่างของระบบออโตเมชันของอุตสาหกรรม ทั้งข้อจ�ำกัดเรื่องไม่มีการแยกการท�ำงานเป็นโมดูล รวมถึงอุปสรรคที่จ�ำกัด ความสามารถในการปรับเปลีย่ นและปิดกัน้ นวัตกรรม ทัง้ ทีอ่ ตุ สาหกรรมน่าจะ รับมือกับการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงได้ เนื่องจากการเติบโตของผลผลิต ด�ำเนินไปได้ทลี ะนิดเป็นตัวเลขเปอร์เซ็นต์หลักเดียว สนับสนุนด้วยการเติบโต ทีแ่ ข็งแกร่งของเศรษฐกิจ ในวันนีค้ นทีไ่ ม่สามารถเข้าถึงโรงงานอัจฉริยะ ระบบ มอนิเตอร์การด�ำเนินงานจากระยะไกล และการวิเคราะห์การผลิตทีข่ บั เคลือ่ น ด้วยข้อมูล ควรขวนขวายเพือ่ ตามเรือ่ งเหล่านีใ้ ห้ทนั ทีม่ ากกว่านัน้ ก็คอื ผูผ้ ลิต หลายๆ รายไม่สามารถใช้เทคโนโลยีดา้ นการผลิตทีด่ ที สี่ ดุ มาตอบโจทย์ความ ต้องการได้อย่างรวดเร็ว ต้องทนทุกข์จากสถานการณ์ปัจจุบันที่ผู้จ�ำหน่าย ปิดกั้นนวัตกรรมล�้ำหน้าด้านอุตสาหกรรมที่มีอยู่แล้ว

ในขณะที่ ก ารคิ ด ค้ น นวั ต กรรมยุ ค แรกๆ เช่ น คอมพิวเตอร์เมนเฟรม ถือเป็นสิ่งล้าสมัยไปแล้วส�ำหรับ ปัจจุบัน ความจริงก็คือการเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องที่ไม่ สามารถหลีกเลี่ยงได้ ในแง่ของอุตสาหกรรม เราควรจะ ตอบรับอนาคตและยอมรับความเป็นไปได้ตา่ งๆ ทีม่ าจาก มาตรฐานระบบออโตเมชันของอุตสาหกรรมที่ให้ความ เหนือชัน้ ในการใช้งานได้อย่างกว้างขวาง มีสถาปัตยกรรม ระบบเปิดที่เป็นมาตรฐาน และมีระบบนิเวศในการสร้าง และใช้งานแอปพลิเคชันได้ง่าย ซึ่งจะช่วยปรับปรุงการ ด�ำเนินงานเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงที่จ�ำเป็นต่อการ ด�ำเนินธุรกิจได้อย่างรวดเร็วให้เท่าทันต่อโลกดิจิทัล สิ่งนี้ เรียกว่า Universal Automation หรือระบบออโตเมชันทีเ่ ป็น สากลรองรับการใช้งานได้ทวั่ ไป และได้มาตรฐาน IEC 61499 ซึง่ มีอยูแ่ ล้วในปัจจุบนั ทัง้ นี้ เมือ่ แยก Universal Automation


นวัตกรรมคือหัวใจหลักสู่ความยืดหยุ่น และคล่องตัว

เมือ่ เรามองไปยังอนาคต เราไม่สามารถท�ำนายได้วา่ จะเกิดอะไรขึน้ ต่อไปในอนาคต แต่เราสามารถเตรียมพร้อม รับมือกับความท้าทายครั้งใหญ่ที่สุดที่ท�ำให้เราตื่นขึ้นมา กลางดึกด้วยความกังวลใจ ตัง้ แต่โควิด-19 สูภ่ าวะเศรษฐกิจ ถดถอย ตลอดจนการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ การคิดค้นนวัตกรรมและน�ำโซลูชนั ทีด่ ที สี่ ดุ มาใช้ได้ในแบบ ทีต่ อ้ งการ จะช่วยให้เราสามารถก้าวต่อไปได้อย่างเข้มแข็ง ยิ่งขึ้น การปฏิวัติในลักษณะเดียวกันที่ส่งผลมากถึงภาค ไอทีสามารถเกิดขึ้นได้อีก แต่ครั้งนี้เกิดกับภาคการผลิต อย่างไรก็ตาม ก่อนทีจ่ ะเกิดการปฏิวตั ดิ งั กล่าว อุตสาหกรรม ต้ อ งลื ม วิ ธี คิ ด แบบเก่ า ระบบงานแบบเดิ ม ๆ และ การด�ำเนินการแบบไซโลทีไ่ ม่เคยเพียงพอ พร้อมกับตอบรับ การมาของแนวทางการด� ำ เนิ น งานที่ มี ซ อฟต์ แวร์ เ ป็ น ศูนย์กลาง ซึ่งรองรับการใช้งานได้หลากหลาย (Universal Software) อีกทัง้ ขับเคลือ่ นการท�ำงานด้วยข้อมูล จะช่วยให้ รองรับอนาคตได้แบบ 100 เปอร์เซ็นต์เต็ม เรารูด้ วี า่ เราต้องตอบโจทย์ความท้าทายในภาคการ ผลิตกันอย่างเร่งด่วน ทัง้ ด้านผลผลิต ความน่าเชือ่ ถือ และ ความยั่งยืน อย่างไรก็ตาม เราจะไม่มีทางรู้เลยว่าระบบ ออโตเมชันทีใ่ ช้งานได้ครอบคลุมทุกรูปแบบในอุตสาหกรรม จะเปลี่ยนแปลงโลกได้มากขนาดไหน ก่อนที่เราจะน�ำมัน มาใช้อย่างเต็มที่ด้วยความเต็มใจ

ออกจากวงจรการท�ำงานของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ทัง้ นวัตกรรมและ การอัปเกรดสามารถพัฒนาไปในเชิงการแข่งขันได้ ด้วยความสามารถ พิเศษด้านวิศวกรรมและการลงทุนที่เทน�้ำหนักไปในทิศทางเดียวกัน แนวทางทีม่ มี าตรฐานทีแ่ ก้ปญ ั หาใหญ่ทสี่ ดุ ของอุตสาหกรรมได้ นับเป็น แนวทางเดียวทีจ่ ะท�ำให้อตุ สาหกรรมของเรามีความคล่องตัวขึน้ ยัง่ ยืน ขึ้น และรองรับอนาคตได้ดี การเปลี่ยนแปลงจากรากฐานต้องใช้ทั้งเวลาและทรัพยากร อีกทั้งยากที่จะเกิดขึ้นได้ภายในชั่วข้ามคืน อย่างไรก็ตาม เรามีหน้าที่ รับผิดชอบในการพึง่ พาเทคโนโลยีเหล่านีท้ มี่ อบโอกาสทีด่ ที สี่ ดุ ส�ำหรับ อนาคต ซึ่งการที่เราทุ่มเทพลังงานและทรัพยากรในวันนี้ จะเป็น ตัวก�ำหนดอนาคตของเราในวันหน้า และหากเราเรียนรูบ้ างสิง่ จากอดีต ก็จะพบว่าเทคโนโลยีล้�ำหน้าที่ให้ประโยชน์หลากหลายและอ�ำนวย ความสะดวกได้มากที่สุด จะช่วยให้เราเอาชนะได้ในที่สุด


Article

> เควิน บราวน์ รองประธานอาวุโส EcoStruxure Solutions และประธานเจ้าหน้าที่ฝา่ ยการตลาด Secure Power ชไนเดอร์ อิเล็คทริค (Schneider Electric)

ซอฟต์แวร์ ผนวกการบริการ สูตรสำ�เร็จพิชิตความท้าทาย ของเอดจ์ได้ในหมัดเดียว เมื่อเร็วๆ นี้ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ได้เปิดตัว API ใหม่ ส�ำหรับ EcoStruxureTM IT พร้อมบริการใหม่ Monitoring & Dispatch Services เพือ่ ช่วยให้อตุ สาหกรรม ต่างๆ ก้าวข้ามความท้าทายด้านเอดจ์ คอมพิวติ้งได้ รวดเดียว คล้ายๆ กับการต่อย 2 จังหวะในหมัดเดียว ซึ่ ง จะเปรี ย บเที ย บไปแล้ ว ก็ ค ล้ า ยกั บ การกี ฬ าใน หลากหลายประเภท แต่ไม่ว่าจะเป็นการท�ำแต้มใน การแข่งขันกีฬาอะไรก็ตาม สิง่ ทีม่ เี หมือนกันก็คอื กีฬำ ก็จะดึงผูค้ นเข้ามาอยูใ่ นกลุม่ เดียวกัน พูดภาษาเดียวกัน มีนักข่าวสายกีฬาชื่อดังเคยพูดถึงความตื่นเต้น ในการได้รบั ชัยชนะ ความเจ็บปวดในเวลาทีพ่ า่ ยแพ้ และ ดราม่าต่างๆ ในการแข่งขันกีฬา ที่มีทั้งคู่แข่ง ทีมเวิร์ค แต่ทงั้ หลายทัง้ ปวงคือความปรารถนาทีจ่ ะชนะ และนัน่ ท�ำให้ภาษาของกีฬามีความคล้ายคลึงอย่างมากกับ โลกของธุรกิจ เพราะมันอธิบายถึงวิสัยทัศน์ของเรำ ในเรื่องซอฟต์แวร์และการบริการเหล่านี้ได้ดี ซึ่งผมจะ ขอเปรียบเทียบกับกีฬา 3 ประเภทเพื่อให้เห็นภาพ ความคิดได้อย่างชัดเจน

การวิ่งมาราธอน ไม่ใช่การวิ่งเร็ว

ท่านที่เคยวิ่งจะมีประสบการณ์ร่วมเดียวกัน และทราบว่าการวิ่ง ระยะไกลนัน้ ยากเพียงใด แต่จะไม่ได้รสู้ กึ ถึงความส�ำเร็จเหมือนการวิง่ ข้าม หลักไมล์ทเี่ ป็นตัวบอกระยะ ไม่วา่ คุณจะวิง่ หรือเดินก็ตาม เช่นเดียวกับการ ทีเ่ รามุง่ เน้นพัฒนาซอฟต์แวร์เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า และ เราเพิ่งผ่านหลักไมล์ส�ำคัญนั้นมาเรียบร้อยแล้ว ด้วยความพร้อมใช้งานของ API ท�ำให้ EcoStruxure IT Expert สามารถรวมกับระบบต่างๆ ได้ง่ายดาย ช่วยให้สามารถเปิดกว้างสู่ระบบ นิเวศได้มากขึน้ ซึง่ ผมเชือ่ ว่าอุตสาหกรรมจ�ำเป็นต้องน�ำมาใช้งาน เราต้อง เพิ่มศักยภาพให้คู่ค้าของเราในการผสานรวมขุมพลังและแพลตฟอร์ม การมอนิเตอร์ระบบโครงสร้างพืน้ ฐานหลักทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เข้ากับระบบ การบริหารจัดการทีเ่ ลือกใช้ตามความถนัด สิง่ นีเ้ ป็นการมอบโอกาสให้คคู่ ำ้ ในการสร้างแหล่งรายได้ใหม่และสร้างความยืดหยุ่นมากขึ้น อีกทั้งเป็น ทางเลือกส�ำหรับผู้ใช้งานปลายทาง และนวัตกรรมของเรายังไม่สิ้นสุดแค่นี้ เรายังคงต้องออกวิ่งอย่าง เต็มก�ำลัง เพือ่ ช่วยอุตสาหกรรมแก้ปญ ั หาและอุปสรรคท้าทายทีเ่ ราเห็นว่ำ ก�ำลังจะเกิดขึ้น อีกทั้งยังมีหลักไมล์ที่ต้องข้ามไปต่อ แต่เราก็ภูมิใจอย่าง มากแล้วกับหลักไมล์ความส�ำเร็จครั้งนี้


เหมือนเป็นพี่เลี้ยงที่คอยช่วยเหลืออยู่ในมุม

ค�ำกล่าวนี้เกิดจากวงการชกมวย ซึ่งมีระบบพี่เลี้ยงที่คอย ให้การสนับสนุนนักมวยอยู่ที่มุมเวที ทุกคนที่อยู่ในแวดวงธุรกิจ หรือในการด�ำเนินชีวิตก็ตาม ล้วนเห็นความส�ำคัญของการ สนับสนุนที่มั่นคง แน่วแน่ ในเวลาที่ต้องเผชิญกับความท้าทาย ซึ่งบริการ Monitoring & Dispatch Services ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค ก็ไม่ตา่ งอะไรกับการมีใครสักคนคอยให้การสนับสนุน ช่วยเหลืออยู่ที่มุมเวทีในเวลาที่ต้องขึ้นชก บริการ Monitoring & Dispatch Services เป็นบริการใหม่ ของชไนเดอร์ ที่จะช่วยมอนิเตอร์สินทรัพย์ให้คุณ และให้การ สนับสนุนการใช้สินทรัพย์เหล่านั้น ณ ไซต์งานได้แบบอัตโนมัติ ตามต้องการ อีกนัยหนึง่ ก็เหมือนกับการชกมวย ทีเ่ ราจะคอยดูแล คุณอยูใ่ นมุมเวที ช่วยดูแลระบบโครงสร้างพืน้ ฐานให้ เพือ่ ทีค่ ณ ุ จะได้มุ่งเน้นที่การคว้าชัยชนะในการต่อสู้ทางธุรกิจได้ และเมื่อมีเหตุจ�ำเป็น ลูกค้าสามารถแชทเพื่อปรึกษากับ วิศวกรผู้เชี่ยวชาญที่ Connected Services Hub ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค เกี่ยวกับเหตุการณ์ต่างๆ โดยทีมผู้เชี่ยวชาญจะคอย ช่วยตรวจสอบและแก้ไขปัญหาระยะไกลตลอดเวลา 24/7 รวมถึง ติดตามเหตุการณ์ ออกรายงานทุกเดือน พร้อมแจ้งเตือนแบบ เรียลไทม์ ทัง้ หมดนีร้ วมอยูภ่ ายใต้คา่ บริการรายเดือน นัน่ หมายถึง บริการ Monitoring & Dispatch Services ช่วยให้พาร์ทเนอร์ ของเราไม่ตอ้ งท�ำงานเพียงล�ำพัง เพราะทีมชไนเดอร์ทงั้ หมดจะอยู่ ในมุมคอยช่วยเหลือ

แนวทางที่ให้ความยั่งยืน เนื่องจากความท้าทายด้านพลังงาน ครัง้ ใหม่สดุ จะมาจากเอดจ์ ซึง่ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค คาดการณ์วำ่ ในปี ค.ศ. 2040 นัน้ 80% ของพลังงานทีใ่ ช้ในดาต้าเซ็นเตอร์ทงั้ หมด จะมาจากเอดจ์ดาต้าเซ็นเตอร์ เทียบเท่ากับการใช้พลังงานถึง 275 ล้านครัวเรือน แต่ยงั มีความย้อนแย้งอยู่ เพราะโดยปกติแล้ว เมือ่ ความยืดหยุน่ สูงขึน้ อาจหมายถึงประสิทธิภาพทีต่ ำ�่ ลง ซึง่ ใน การแก้ไขประเด็นความขัดแย้งดังกล่าว เราจึงทบทวนการออกแบบ และการปรับใช้งานส่วนเอดจ์ ด้วยการมุ่งเน้นกลยุทธ์ 3 ส่วน ด้วยกัน การบริหารจัดการ : เครื่องมือซอฟต์แวร์ส�ำหรับการ บริหารจัดการดาต้าเซ็นเตอร์ขนาดใหญ่ในพื้นที่ได้จากระยะไกล ด้วยการใช้อัลกอลิทึมส�ำหรับการคาดการณ์ความล้มเหลว และ จะเปิดได้เมื่อมีการเปิดใช้ API สาธารณะ การสนับสนุน : พัฒนาบริการที่ออกแบบเพื่อขยาย การใช้งานร่วมกับเอดจ์ และรองรับการบริหารจัดการได้จาก ระยะไกล ในลักษณะทีเ่ ป็นทางเลือก เช่น บริการ Monitoring & Dispatch Services ใหม่ของเรำ มาตรฐาน : สร้ า งโซลู ชั น แบบที่ ส ามารถท� ำ ซ�้ ำ ได้ (Repeatable) ซึง่ ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีลา่ สุด เพือ่ ให้แน่ใจว่ำ โซลูชันนั้นมีประสิทธิภาพจริงๆ ผมหวังว่าโซลูชนั และการบริการทีช่ ไนเดอร์ อิเล็คทริค ได้ เปิดตัวไปเมือ่ เร็วๆ นี้ จะเป็นการแสดงให้เห็นว่าเรายังคงมุง่ เน้น ให้ความส�ำคัญอยู่ที่ลูกบอลที่เปรียบได้กับความยั่งยืน

จับตาดูลูกบอลไว้ให้ดี

คุณห้ามแพ้

การเปรียบเทียบประการที่ 3 นี้ ก็จะเหมือนกับกีฬาทุก ประเภททีค่ ณ ุ รูจ้ กั เพราะไม่วา่ จะเป็นกีฬาประเภทไหน เมือ่ คุณ แข่งขัน สิง่ ส�ำคัญก็คอื ห้ามวอกแวก และต้องจดจ่ออยูท่ เี่ ป้าหมาย หากคุณต้องการเป็นทีมทีช่ นะ คุณต้องฝึกฝน ใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยู่ อย่างเต็มประสิทธิภาพ และมุง่ มัน่ ไปตลอดจนกว่าจะจบฤดูกาล เป้าหมายของชไนเดอร์ อิเล็คทริค คือการขับเคลือ่ นเพือ่ สร้างความยืดหยุ่นให้กับดาต้าเซ็นเตอร์ และช่วยสร้างเอดจ์ใน

เมื่อพูดถึงธุรกิจ ผมได้เรียนรู้ในการสร้างความคุ้นเคย กับสิ่งใหม่ๆ การท�ำให้ลูกบอลหมุนไปได้เรื่อยๆ รวมถึงบทบาท ของการเป็นผู้เล่นในต�ำแหน่งกองกลาง และการเป็นหนึ่งในทีม กีฬาไม่ต่างอะไรกับธุรกิจ หากเราเล่นเป็นทีม ช่วยสนับสนุน ซึ่งกันและกัน ร่วมมือกัน และตอบรับโอกาสในการรับมือกับ ความท้าทายครั้งใหญ่ เพื่อน�ำไปสู่ชัยชนะร่วมกัน คุณอาจเป็นส่วนหนึ่งของทีมผู้ชนะ

https://pixabay.com/photos/businessman-team-meeting-work-2969641/


Scoop

> กองบรรณาธิการ

ภาคีเครือข่าย

รวมพลังเพื่อลมหายใจ แห่งอนาคต ร่วมสร้าง อากาศบริสุทธิ์

ในช่วงหลายปีทผี่ า่ นมานี้ ต้องยอมรับว่าการพูดถึงประเด็นทางด้าน สิง่ แวดล้อมได้รบั ความสนใจเป็นอย่างมากและมีความต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะ อย่างยิง่ ประเทศไทย ในประเด็นเรือ่ งของมลพิษทางอากาศได้มกี ารหยิบยก ขึน้ มาพูดถึงอย่างต่อเนือ่ ง เรียกว่าเป็นสาระเร่งด่วน การทีจ่ ะหาทางจัดการ แก้ไขปัญหาเรื่องนี้กันอย่างจริงจังก่อนที่จะสายเกินไปกว่านี้ เพราะว่า คุณภาพอากาศนัน้ คือคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องประชาชน คือโอกาสทีจ่ ะท�ำให้ ผู้คนสามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ ได้อย่างเต็มที่ และมีความยั่งยืน มากยิ่งขึ้น กระทรวงพลังงาน ร่วมกับ กรมควบคุมมลพิษ ส�ำนักงานพัฒนา เทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ร่วมกันประกาศเจตนารมณ์รวมพลังเพื่อลมหายใจแห่งอนาคต ในการจัดการพลังงาน คุณภาพอากาศ และสิง่ แวดล้อม พร้อมชวนคนไทย ร่วมกันสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีและอากาศบริสุทธิ์

การร่วมมือครัง้ ส�ำคัญนี้ เกิดจากความประสงค์ที่ ต้องการจะแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ และสิง่ จ�ำเป็น ที่จะต้องบูรณาการคือ องค์ความรู้จากทุกภาคส่วน และอาศัยความร่วมมือจากทุกๆ ฝ่าย จึงจะท�ำให้อากาศ กลั บ มาสะอาดได้ อี ก ครั้ ง ซึ่ ง เป็ น ที่ ม าของค� ำ ว่ า ‘Breathe our Future รวมพลังเพือ่ ลมหายใจแห่งอนาคต’ เพราะฉะนั้นคุณภาพอากาศเกิดขึ้นได้ด้วยการร่วมมือ ของทุกคน สุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน กล่าวปาฐกถา พิเศษในหัวข้อ “พลังงานและอากาศ โอกาสชีวิต ที่ยั่งยืน” โดยกล่าวว่า กระทรวงพลังงานเห็นความ ส�ำคัญของสิง่ แวดล้อมมาตลอด มีความพยายามทีจ่ ะใช้ มาตรการส�ำคัญหลายอย่างเพือ่ รักษาสิง่ แวดล้อม อาทิ การใช้ NGV ในภาคการขนส่ง ในเรือ่ งของน�ำ้ มันก็จะมี การพัฒนาให้มคี ณ ุ ภาพและให้มฝี นุ่ ละอองน้อย รวมทัง้ ให้มีมาตรฐานที่สูงขึ้นด้วยมาตรการต่างๆ อาจจะ ส่งผลกระทบกับการด�ำเนินชีวิตของประชาชนบ้าง แต่มาตรการเหล่านีท้ ำ� ให้ฝนุ่ เจือจางมากขึน้ ซึง่ การแก้ไข ปัญหานั้นอาจจะยาก แต่ถ้าทุกคนร่วมมือกันท�ำอย่าง จริงจังและท�ำให้มีประสิทธิภาพ จึงเชื่อมั่นได้ว่าส�ำเร็จ และส่งผลประโยชน์แก่คนไทยทุกคน “ทุกครั้งที่ได้มีโอกาสมาที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย ก็มกั จะได้รบั ฟังสิง่ ดีๆ หรือเห็นโครงการ ต่างๆ ทีพ่ ร้อมจะช่วยสนับสนุนความเป็นอยูข่ องพีน่ อ้ ง ประชาชนชาวไทยให้ดียิ่งขึ้น ครั้งนี้ก็เช่นกัน ที่มีการ ร่วมมือร่วมพลังใจกันทั้ง 5 ภาคีเครือข่ายพร้อมที่จะ ช่วยกันพัฒนาคุณภาพอากาศของประเทศไทยให้มี ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ซึง่ ผมคิดว่าเรือ่ งนีเ้ ป็นเรือ่ งทีด่ ี และเป็นหน้าที่ที่ส�ำคัญ และที่น่ายินดีก็คือเป็นหน้าที่ ของหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นรัฐวิสาหกิจ รัฐบาล รวมถึงหน่วยงานการศึกษา ได้เล็งเห็นถึงสิ่งที่ก�ำลังจะ เกิดขึน้ ในอนาคต ทีม่ คี วามเป็นห่วงเป็นใยภาคประชาชน ซึ่งจะเห็นได้จากหัวข้อที่น�ำมาพูดคุยกันก็เป็นเรื่องของ การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ ตลอดจนปัญหาเรือ่ งฝุน่ ละออง มลพิษต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ PM2.5 เป็นปรากฏการณ์ทเี่ กิดขึน้ อย่างต่อเนื่องที่เกิดขึ้นทุกๆ ปี เมื่อเป็นเรื่องที่เกิดขึ้น ทุกๆ ปี จึงเป็นหน้าที่ที่ทุกคนต้องช่วยกันเพื่อท�ำให้ สิง่ เหล่านีห้ ายไป พวกเรามีหน้าทีช่ ว่ ยกันท�ำสิง่ ทีเ่ รียกว่า ความงดงามในอดีตที่สังคมไทยเรามีจะต้องกลับมา เหมือนเดิม ในวันนีก้ ถ็ อื ว่าเป็นความร่วมมือทีไ่ ม่ใช่ของ หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง แต่เป็นหน่วยงานของรัฐ และหน่วยงานการศึกษาร่วมมือกัน ซึง่ เป็นการประกาศ เจตนารมณ์ที่แสดงถึงความเอาจริงเอาจัง เนื่องจาก เรือ่ งพวกนีไ้ ม่ได้กระทบแค่ในชีวติ ประจ�ำวัน แต่สดุ ท้าย ถ้าเราปล่อยและเราละเลยหรือลืมไปกับหน้าที่เหล่านี้ สิ่ ง เหล่ า นี้ ก็ จ ะกลายเป็ น ผลกระทบต่ อ เศรษฐกิ จ ผลกระทบต่อการท่องเทีย่ ว หรือเรือ่ งอืน่ ๆ อีกมากมาย”


https://pixabay.com/photos/bangkok-thailand-city-cityscape-1990263/

ทัง้ นี้ ประเทศไทยเป็นอันดับที่ 28 ของโลกในเรือ่ ง ค่าเฉลีย่ ฝุน่ ละออง PM2.5 เมือ่ พ.ศ. 2562 เป็นอันดับที่ 4 ของสมาคมประชาชาติ แ ห่ ง เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ซึ่งตรงนี้ก็เป็นตัวส่งสัญญาณที่ท�ำให้ทุกคนต้องให้ความ ส�ำคัญและตระหนักถึงผลกระทบที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น สุพฒ ั นพงษ์ กล่าวเพิม่ เติมว่า นีจ่ งึ เป็นสิง่ ทีร่ ฐั บาล ควรให้ความส�ำคัญและสนับสนุนเป็นอย่างยิ่ง ในการที่ ทั้ง 5 ภาคีเครือข่ายร่วมกันลุกขึ้นมาประกาศเจตนารมณ์ ท�ำเรื่องนี้กันอย่างจริงจัง ซึ่งในส่วนนี้จะต้องแก้ไขให้ได้ และเราจะต้องมีมาตรการท�ำให้สอดคล้อง ทั้งนี้ รัฐบาล ยังได้มีมติในการแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละอองเป็น วาระแห่งชาติ เป็นแนวทางทีจ่ ะใช้ปฏิบตั กิ ารเชิงรุกในพืน้ ที่ โดยให้กระทรวงทรัพยากรร่วมด�ำเนินการกับหน่วยงาน ในการน� ำ นวั ต กรรมและเทคโนโลยี เข้ า มาประกอบ เพื่อที่จะท�ำให้ฝุ่นละอองที่เป็นวาระแห่งชาติในอนาคต เกิดปริมาณฝุ่นลดลงไปได้ เป็นสิ่งที่พวกเราสามารถใช้ เครือ่ งมือเหล่านีไ้ ด้ ไม่ใช่เพียง 5 หน่วยงานทีม่ าประกาศ เจตนารมณ์ แต่เป็นหน้าที่ของพวกเราคนไทยทุกๆ คน เมื่อมีเครื่องมือและวิธีการ มีการให้ความรู้ในทุกรูปแบบ เพื่อเป็นการสร้างการป้องกันไม่ให้เกิดมลพิษต่างๆ และ ยังเป็นการสร้างสิ่งดีๆ ให้กับสิ่งแวดล้อมเพื่อลมหายใจ ที่บริสุทธิ์ของทุกคน บุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร ผู้ว่าการ กฟผ. กล่าวว่า ถึงเวลาแล้วทีท่ กุ คนจะต้องลุกขึน้ มาช่วยกันท�ำให้คณ ุ ภาพ ของอากาศที่พวกเราทุกคนใช้หายใจกันอยู่ดีขึ้น อากาศ ทีด่ จี ะต้องได้รบั การจัดการอย่างไร ต่อนีไ้ ปพวกเราทุกคน จะอยูน่ งิ่ ต่อไปไม่ได้อกี แล้ว กฟผ. เป็นส่วนหนึง่ ทีจ่ ะอาศัย ความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทีจ่ ะร่วมมือกันจุดประกาย ให้สังคมไทยตื่นตัวและหันมาให้ความส�ำคัญกับค�ำว่า Air TIMEs “อากาศกับไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กนั อยู่ ซึง่ เป็นสิง่ ที่ พวกเราขาดไม่ได้ และทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าอากาศและ ไฟฟ้าเป็นสิ่งที่เราต้องมี และอยู่กับทั้ง 2 อย่างได้โดยที่ ไม่ รู ้ สึ ก ว่ า ขาดไปหรื อ หายไป ตื่ น นอนมาก็ มี ไ ฟฟ้ า ใช้ ก่อนนอนก็มไี ฟฟ้าใช้ ระหว่างนอนก็มไี ฟฟ้าใช้ เพราะฉะนัน้ อากาศและไฟฟ้ามีความเชือ่ มโยงกัน ซึง่ เป็นปัจจัยส�ำคัญ ในการด�ำรงชีวติ ของพวกเรา ในช่วงทีผ่ า่ นมาทางหน่วยงาน กฟผ. เราผลิตไฟฟ้า ฉะนั้นการผลิตไฟฟ้าของเราในช่วง ทีผ่ า่ นๆ มา หลีกเลีย่ งไม่ได้ทจี่ ะต้องมีการท�ำร้ายคุณภาพ อากาศ แต่เราก็มีการดูแลอย่างดี อีกทั้งยังมีการมุ่งมั่น แก้ไขภัยของอากาศและสิง่ แวดล้อม จะเห็นได้วา่ ทาง กฟผ. ได้มีการท�ำฉลากประหยัดไฟฟ้าเบอร์ 5 ซึ่งถือเป็นสิ่งที่ ย้อนแย้งกับธุรกิจของเรา เราท�ำฉลากนี้ขึ้นมาเพื่อให้ ประชาชนเลือกใช้อปุ กรณ์ไฟฟ้าทีใ่ ช้แล้วประหยัดพลังงาน ก็คือการใช้พลังงานน้อยลง ซึ่งมีการใช้ถึง 400,000,000 ฉลาก และสามารถท�ำให้เกิดการลดการใช้ก๊าซคาร์บอน ไดออกไซด์ เทียบเท่ากับการปลูกต้นไม้ถึง 113,000,000 ต้ น นอกจากนั้ น เรายั ง ท� ำ โครงการห้ อ งเรี ย นสี เขี ย ว มีการร่วมมือกับเครือข่ายโรงเรียนทั้งหมด 470 กว่าแห่ง

ทั่วประเทศไทย สิ่งที่ทาง กฟผ. ท�ำคือการให้ความรู้แก่ เด็กนักเรียน ซึ่งเราเชื่อว่าเด็กๆ นั้นคืออนาคตของชาติ ถ้าเด็กๆ ได้เรียนรูว้ า่ การใช้พลังงาน ทีด่ นี นั้ ต้องท�ำอย่างไร เมือ่ เขาเติบโตมา เขาก็ จ ะมี วิ นั ย และยั ง มี ค วามรู ้ ในการทีจ่ ะเลือกใช้เครือ่ งใช้ไฟฟ้าที่ มีความประหยัด มีประสิทธิภาพสูง ซึ่งเป็นสิ่งที่เรามุ่งมั่นและท�ำอย่าง ต่อเนื่อง” จากอดีตถึงปัจจุบัน กฟผ. มุ่งมั่นสร้างพลังแห่งความสุข ทั้ง การดูแลความมั่นคงด้านพลังงาน สุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ ไฟฟ้าของประเทศทีถ่ อื เป็นฟันเฟือง ส�ำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ของประเทศ การดูแลชุมชนให้อยูด่ ี มีสขุ รวมถึงการดูแลคุณภาพอากาศ และสิ่ ง แวดล้ อ มผ่ า นเทคโนโลยี การผลิ ต ไฟฟ้ า ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิง่ แวดล้อม และส่งเสริมให้มกี ารใช้ ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ ผ่าน โครงการฉลากประหยั ด ไฟฟ้ า เบอร์ 5 และโครงการห้องเรียนสีเขียว รวมทัง้ ดูแลสิง่ แวดล้อมผ่านโครงการ บุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร ปลูกป่า รักษา และลดการเผาป่า โดยจะต่อยอดการด�ำเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่ายให้เป็น รูปธรรมมากขึน้ ภายใต้แนวคิด EGAT Air TIME ประกอบ ด้วย • T (Tree) การเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวเพือ่ เพิม่ การดูดซับ อากาศเสีย สร้างอากาศบริสุทธิ์ ผ่านโครงการปลูกป่า สร้างฝาย รวมไปถึงการด�ำเนินงานจิตอาสาป้องกันไฟป่า ลดการเผาป่า • I (Innovation) การพัฒนาต่อยอดนวัตกรรม การจัดการคุณภาพอากาศ ส่งเสริมเทคโนโลยีดา้ นการผลิต และใช้พลังงานสะอาด อาทิ ยานยนต์ไฟฟ้า โครงการโซลาร์ ลอยน�้า • M (Monitoring) ระบบตรวจวัดและแสดงผล คุณภาพอากาศด้วยแอปพลิเคชันรูปแบบต่างๆ เพื่อให้ คนรูแ้ ละตระหนักน�ำไปสูก่ ารปรับพฤติกรรม ด้วยการติดตัง้ จุดตรวจวัดคุณภาพอากาศในพืน้ ทีช่ มุ ชนรอบ กฟผ. และ เครือข่ายห้องเรียนสีเขียว • E (Education & Engagement) การส่งเสริม องค์ความรู้ สร้างทัศนคติในการจัดการพลังงาน คุณภาพ อากาศ และสิ่งแวดล้อมผ่านโครงการห้องเรียนสีเขียว ศูนย์เรียนรู้ กฟผ. รวมทัง้ จัดกิจกรรมเพือ่ สร้างการมีสว่ นร่วม กับทุกภาคส่วน โดยใน พ.ศ. 2564 กฟผ. มีแผนการติดตัง้ จุดตรวจวัด ฝุ่นละอองจ�ำนวน 200 จุด ในพื้นที่ชุมชนรอบโรงไฟฟ้า เขต เขื่อนของ กฟผ. เครือข่ายห้องเรียนสีเขียว และ สถานศึกษาในสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


https://pixabay.com/photos/forest-fire-trees-burning-forest-432870/

พร้อมทัง้ จัดกิจกรรมชาเลนจ์ “EGATลดละรอดปลอดฝุน่ ” ชวนคนไทยแชร์ ไ อเดี ย ลดฝุ ่ น พร้ อ มติ ด แฮชแท็ ก #EGATลดละรอดปลอดฝุ่น #รวมพลังเพื่อลมหายใจ แห่งอนาคต #EGATforALL ตั้งแต่ 12-30 มีนาคม 2564 ผ่านช่องทาง Facebook และ Instagram พร้อมส่งค�ำท้า ไปยังเพื่อนอีก 5 คน เพื่อรวมพลังคนไทยร่วมรณรงค์ สร้างอากาศบริสุทธิ์ด้วยกัน คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จดั ตัง้ คณะท� ำ งานที่ เ ชี่ ย วชาญด้ า น สิ่ ง แวดล้ อ ม พั ฒ นานวั ต กรรม เทคโนโลยี เ ซนเซอร์ ต รวจวั ด ปริมาณ PM2.5 ใช้ชอื่ ว่า โครงการ SENSOR for All โดยด�ำเนินการ มาตัง้ แต่ พ.ศ. 2561 มีวตั ถุประสงค์ หลักๆ เพื่อตรวจวัดสภาพอากาศ และจัดเก็บข้อมูลของฝุ่นละออง ศ. ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล ในระยะแรกผลการด�ำเนินงานเป็น ที่น่าพอใจ ต่อมาจึงขยายโครงการ มากขึน้ เพือ่ ขยายการจัดเก็บข้อมูล สภาพอากาศให้ขยายวงกว้างยิง่ ขึน้ ตลอดจนการพัฒนาแอปพลิเคชัน และเว็ บ ไซต์ ที่ ค อยให้ ค� ำ แนะน� ำ สร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ให้แก่คนไทย เพือ่ ให้ผสู้ นใจสามารถ เข้าถึงได้ง่ายแบบไร้ขีดจ�ำกัด ศ. ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล คณบดี คณะวิศวฯ จุฬาฯ กล่าวว่า ศ. ดร.ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ น� า องค์ ค วามรู ้ ด ้ า นนวั ต กรรมมาใช้ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด แก่ สั ง คม เพื่อความยั่งยืน โดยจะร่วมศึกษา ออกแบบ และพัฒนาแบบจ�ำลอง การวิเคราะห์และการคาดการณ์ ปริ ม าณฝุ ่ น ละอองขนาดเล็ ก หรื อ ที่ เรี ย กว่ า PM2.5 รวมถึ ง ประยุกต์ใช้ขอ้ มูลและการคาดการณ์ ฝุน่ PM2.5 ร่วมกับข้อมูลดาวเทียม เทคโนโลยี ภู มิ ส ารสนเทศ และ อรรถพล เจริญชันษา เทคโนโลยี Machine Learning ตลอดจนเชื่อมโยงข้อมูลปริมาณฝุ่นละอองและคุณภาพ อากาศเข้าสูร่ ะบบฐานข้อมูลเปิด (Open Data) การแสดงผล ผ่านเว็บไซต์และแอปพลิเคชัน เพื่อรายงานผลคุณภาพ อากาศและการแจ้งเตือนอัตโนมัตกิ รณีเข้าพืน้ ทีท่ คี่ ณ ุ ภาพ อากาศเกินค่ามาตรฐาน การร่วมมือของทุกภาคส่วนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องมีการน�ำนวัตกรรมมาใช้ เพือ่ สร้างผลกระทบเชิงบวก ต่อสิ่งแวดล้อมและคุณภาพอากาศ นั้นคือภาคีเครือข่าย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตัง้ ใจสร้างสรรค์และคิดค้นนวัตกรรม

เพื่อพัฒนาและจัดการกับคุณภาพอากาศในพื้นที่ต่างๆ ทั่ ว ประเทศไทย รวมถึ ง พั ฒ นาระบบแสดงผลเพื่ อ มุ ่ ง การสร้างการรับรู้ให้กับสังคมในวงการ อันจะน�ำไปสู่ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อรับมือกับสถานการณ์ของ อนาคต โดยการน�ำนวัตกรรมใหม่ๆ มาใช้เพือ่ การจัดการ สิ่งแวดล้อมและคุณภาพอากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพ “ที่ผ่านมานิสิตนักศึกษาจะท�ำกิจกรรมต่างๆ เพื่อ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานของประเทศ ไม่วา่ จะเป็นสะพาน ฝายกัน้ น�ำ้ ระบบประปา ระบบการบ�ำบัดน�ำ้ เสีย ทัง้ หลาย กิจกรรมเหล่านี้มีจุดประสงค์เดียว คือ อยากเห็นสังคม อยากเห็นชุมชนมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ ซึง่ มหาวิทยาลัยก็มี จุดมุ่งหมายเดียวกันคือ อยากเห็นสังคมมีคุณภาพชีวิต ทีด่ ขี นึ้ และมีความยัง่ ยืน ซึง่ มหาวิทยาลัยอยากจะปลูกฝัง ความยั่งยืน โดยมีการใช้เทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาช่วย ผสมผสานในการท�ำงานต่างๆ ให้เกิดประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น” ทั้งนี้ ภายในงานยังมีการจัดการเสวนาในหัวข้อ การร่วมมือของภาคีเครือข่ายบนจุดมุง่ หมาย และไปทาง เดียวกันคือ เจตนารมณ์ที่มุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพอากาศ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนด้วย ผู้เสวนาประกอบด้วย ศ. ดร.ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล ประธานคณะกรรมการ จัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติ อรรถพล เจริญชันษา อธิบดี กรมควบคุมมลพิษ ศ. ดร.พิสทุ ธิ์ เพียรมนกุล รองคณบดี คณะวิศวฯ จุฬาฯ และหัวหน้าโครงการ SENSOR for All ศ. ดร.ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล ประธานคณะกรรมการ จัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติ ด�ำเนินการสร้างการเติบโตบน คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กล่าวว่า อากาศ และพลังงานเป็นสิ่งที่แยกออกจากกันไม่ได้ มุมมองเรื่อง สถานการณ์เรื่องฝุ่นพบว่าใน 5 ปีหลัง สภาพฝุ่นนั้นไม่ใช่ มาเฉพาะฤดูหนาว แต่สภาพฝุ่นที่เจอกันอยู่ในทุกวันนี้ เรียกว่า เป็นการสูดอากาศพิษโดยทีไ่ ม่ได้ตงั้ ใจ เพราะฉะนัน้ ถ้าตราบใดที่ก�ำลังหายใจ ต้องตระหนักถึงการที่จะต้อง ช่วยกันท�ำให้อากาศที่สูดดมสะอาด ช่วง 5 ปีหลังจะเห็น ได้วา่ ค่าฝุน่ สูงถึง 200 PM ดังนัน้ เราทุกคนต้องตระหนักถึง การใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อไม่ให้เกิดฝุ่น และพิษในอากาศ ด้าน อรรถพล เจริญชันษา อธิบดีกรมควบคุม มลพิษ กล่าวว่า ในปัจจุบันรัฐบาลให้ความส�ำคัญเรื่อง ของฝุ่นเป็นอย่างมาก และก�ำหนดให้เป็นวาระแห่งชาติ ซึ่งเป็นมาตั้งแต่ พ.ศ. 2562 ปัจจุบันได้น�ำวาระแห่งชาติ ใน พ.ศ. 2562 นั้นมาปรับและก�ำหนดมาตรการที่ชัดเจน มากยิ่งขึ้น โดยรัฐบาลได้ตั้งศูนย์แก้ไขปัญหามลพิษทาง อากาศเพื่ อ เป็ น การบู ร ณาการให้ แ ก่ พี่ น ้ อ งประชาชน จะเห็นได้ว่ามีฝุ่นเกิดจาก 2 ส่วนด้วยกัน คือ ส่วนที่อยู่ ในเมืองและส่วนที่อยู่นอกเมือง หลักๆ ก็คือปัญหาเรื่อง การจราจร การเผาในที่โล่ง เนื่องจากในภาคเกษตรกรรม ที่จะต้องมีการเผาอยู่ ในส่วนนี้ รัฐบาลได้มกี ารก�ำหนดมาตรการระยะสัน้ ระยะกลาง ระยะยาว ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการก�ำหนด


มาตรฐานการใช้นำ�้ มัน การใช้รถยนต์ ทีจ่ ะต้องปล่อย PM2.5 ให้นอ้ ยลง รัฐบาลได้มกี ารก�ำหนดทีช่ ดั เจนแล้วในระยะยาว ส่วนในระยะสั้น ได้พยายามที่จะลดแหล่งก�ำเนิดมลพิษ ทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นภาคจราจรเรื่องของการตรวจ ควันด�ำ ภาคอุตสาหกรรมเรือ่ งของการควบคุม หรือแม้แต่ เรื่องของการเผาในที่โล่งของเกษตรกร ซึ่งใน พ.ศ. 2564 คาดว่าสามารถลดการเผาในทีโ่ ล่งในส่วนของไร่ออ้ ยได้ถงึ 70-80% แต่ยงั เหลือในส่วนของพืน้ ทีท่ เี่ ป็นนาข้าวกับพืน้ ที่ ที่เป็นไร่ข้าวโพด เพราะฉะนั้นถือว่าเป็นทิศทางที่ดีเมื่อ วัดค่าเปรียบเทียบในเวลาเดียวกันของปี พ.ศ. 2563 พบว่า ค่าเฉลีย่ ต�ำ่ ลง แต่ไม่ใช่สงิ่ ทีน่ า่ ภูมใิ จ ยังคงมีปญ ั หาทีจ่ ะต้อง ท้าทายในการเผาในทีโ่ ล่ง ซึง่ จะต้องได้รบั ความร่วมมือจาก พี่น้องประชาชน ดังนั้นปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาที่ส�ำคัญและ ส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินชีวิตของประชาชนในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ปัญหาคุณภาพอากาศและฝุน่ PM2.5 ซึ่งพบแนวโน้มการเพิ่มสูงขึ้นในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ส� ำ หรั บ การลงนามบั น ทึ ก ความร่ ว มมื อ ในวั น นี้ จะเป็นการบูรณาการในด้านการพัฒนาระบบฐานข้อมูล เพื่อสร้างแบบจ�ำลองทางคณิตศาสตร์ในการคาดการณ์ มลพิษทางอากาศ และสร้างเครื่องมือส�ำหรับให้บริการ ข้อมูลในการติดตามสถานการณ์มลพิษทางอากาศ เพื่อ แจ้งเตือนให้ประชาชนได้รับทราบสถานการณ์ปัญหา มลพิษทางอากาศ ซึ่งกรมควบคุมมลพิษมีความยินดียิ่ง ทีไ่ ด้รว่ มลงนามความร่วมมือในวันนี้ และพร้อมสนับสนุน ข้อมูลคุณภาพอากาศจากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ ของกรมควบคุมมลพิษ และการด�ำเนินงานในมิติต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาฝุ่น PM2.5 ให้พี่น้องประชาชน ส่วน ศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล รองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า การคาดการณ์ในอนาคตมีอยู่ 3 ประเด็น ประกอบด้วย 1. ข้อมูลทั่วไป ใน 1 นาที มนุษย์ต้องการอากาศบริสุทธิ์ 7-14 ลิตร ไม่วา่ จะสภาพการณ์ใดๆ ก็แล้วแต่ ถ้าคุณภาพ อากาศแย่ลงแต่ก็ยังคงต้องการ 7-14 ลิตรต่อ 1 นาที อยู่เหมือนเดิม จึงสอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน ประมาณ 90% ของประชากรโลกอยู่ในพื้นที่ที่คุณภาพ อากาศไม่ดี นั่นหมายความว่า หากในอนาคตไม่มีการ ร่วมมือกัน จาก 90% ก็จะเป็นการขยายเพิ่มมากขึ้น 2. ในแต่ละปีนั้นไม่ว่าจะเป็นเรื่องการร้องเรียน เรื่องของอากาศ เรื่องของกลิ่น เรื่องของเสียง เป็นเรื่อง ทีอ่ ยูใ่ นหมวดเดียวกันคือ อากาศและเสียง นัน่ คือ Top 3 ของเรื่องร้องเรียน ดังนั้นการท�ำงานร่วมกันในครั้งนี้ที่มี การแสดงเจตนารมณ์เพื่อลมหายใจแห่งอนาคตที่จะเป็น อย่างแท้จริง 3. หากสถานการณ์รุนแรงมากขึ้น ฝุ่นขนาดเล็ก ไม่ได้อันตรายแค่ตัวฝุ่นเอง แต่ในอนาคตจะมีการติดเชื้อ ไปกับสิง่ อืน่ ๆ เนือ่ งจากฝุน่ มีขนาดเล็กสามารถทีจ่ ะเกาะติด กับสารพิษ เชือ้ โรค หรือสิง่ ต่างๆ ได้ ซึง่ จะส่งผลต่อสุขภาพ ร่างกายด้วย นอกจากนี้ ในอนาคตฝุ่นและอากาศจะไป

เชื่อมโยงกับเชื้อไวรัส ด้วย Climate Change ที่มีสภาพ อากาศที่เปลี่ยน สิ่งที่ตามมาที่จะเกิดโรคอุบัติใหม่หรือ โรคอุบัติซ�้ำ โรคอุบัติในอดีตเรามีการจัดการไปแล้ว แต่ อาจจะมีการกลับมาใหม่หรือเกิดโรคใหม่ที่เราไม่เคยรู้จัก มาก่อน แต่ทกุ สิง่ สามารถบริหารจัดการหรือคิดควบคูก่ นั ได้ ถ้าเราจัดการเรือ่ งลมหายใจ เรือ่ งอากาศ เรือ่ งฝุน่ มีความ เป็นได้สูงมากที่จะลดเรื่องของโรคภัยไข้เจ็บลงไปได้ ส�ำหรับ ดร.ปกรณ์ อาภาพันธุ์ ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ (องค์การมหาชน) กล่าวว่า ความต้องการของหน่วยงาน GISTDA นั้ น ประการแรกคื อ การน�ำสิ่งที่ไกลตัวมาให้ประชาชน ได้เข้าใจและใช้ประโยชน์ได้อย่าง แท้จริง ประการที่ 2 เราต้องการน�า ข้อมูลทีเ่ ราได้รบั ไปเผยแพร่สสู่ งั คม ให้ทั่วประเทศ ทุกพื้นภาคสังคม ทีผ่ า่ นมา GISTDA ได้รว่ มมือ กับกรมควบคุมมลพิษมาเป็นระยะ เวลานาน เป็นการน�ำข้อมูลที่เรามี อยู่ในทุกมิติ โดยมิติแรกคือเรื่อง ศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล ของพื้นที่ 2. คือมิติเรื่องของเวลา เนือ่ งจากภาพดาวเทียมมีการโคจร เป็นระยะเวลา 3. มิตเิ รือ่ งของสังคม ซึ่ ง ได้ มี ก ารร่ ว มมื อ กั บ ทางกรม ควบคุมมลพิษในการติดตามเรื่อง ของหมอกควันไฟป่า และในช่วง ที่ผ่านมาเราจะมุ่งเน้นในเรื่องของ PM2.5 มากขึ้น GISTDA ให้ ค วามส� ำ คั ญ กับการพัฒนาแบบจ�ำลองในการ พยากรณ์คุณภาพอากาศ และการ ดร.ปกรณ์ อาภาพันธุ์ ด�ำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับ PM2.5 ตามภารกิจซึ่งมุ่งเน้นให้เกิดคุณค่าแก่สังคม โดยการใช้ ข้อมูลภาพจากดาวเทียม และการร่วมมือกันในครั้งนี้ ถือเป็นความท้าทายทีท่ กุ หน่วยงานจะร่วมกันลดจุดอ่อน เพิ่มจุดแข็ง สร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชนในการรับรู้ สถานการณ์ การเฝ้าระวัง เตรียมตัว และพร้อมรับมือกับ สถานการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ ทัง้ นี้ GISTDA จะร่วมมือกับพันธมิตรเครือข่ายทีร่ บั ผิดชอบ เพือ่ ยกระดับ คุณภาพชีวิตและสุขภาพของประชาชนให้ดียิ่งขึ้นด้วย นวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่เหมาะสมและสามารถเข้าถึง ได้โดยง่าย ดังนัน้ จะเห็นได้วา่ มลพิษทางอากาศนัน้ เกิดขึน้ ได้ รอบตัวเรา แม้วา่ มลพิษทางอากาศส่วนใหญ่เกิดจากโรงงาน อุตสาหกรรม โรงผลิตไฟฟ้า หรือจากยานพาหนะก็ตาม แต่สามารถมีส่วนช่วยลดมลพิษดังกล่าวได้ โดยเริ่มจาก การปรับปรุงตกแต่งบ้าน ปรับเปลี่ยนนิสัยในการบริโภค หรือเปลี่ยนวิธีเดินทางใหม่ สิ่งต่างๆ เหล่านี้มีส่วนท�ำให้ มลพิษทางอากาศลดน้อยลงได้


Scoop

> กองบรรณาธิการ

แผงโซลาร์เซลล์แบบสองหน้า (Bifacial) ลองกิ โซลาร์ ลองกิ โซลาร์ ผู้ผลิตโซลาร์เซลล์แสงอาทิตย์และโมดูลโมโนคริสตัลไลน์ประสิทธิภาพสูงชั้นน�ำของโลก เผยรายงานวิวัฒนาการ ทางเทคนิคเบือ้ งหลังความส�ำเร็จการส่งมอบโมดูลสองหน้า 10GW ซึง่ ประกอบไปด้วยรายละเอียดข้อมูลประวัตกิ ารพัฒนาและเหตุการณ์ ส�ำคัญของลองกิโมดูลสองหน้า* แผงโซลาร์เซลล์แบบสองหน้า (Bifacial) สามารถดักจับพลังงานแสงอาทิตย์ได้จากทัง้ สองด้านของแผง ช่วยเพิม่ การผลิตพลังงาน ทั้งหมด และมีข้อดีมากกว่าแผงโซลาร์เซลล์แบบเดิม โดยลองกิ โซลาร์ ได้ท�ำการวิจัยส�ำคัญเกี่ยวกับกลไกการได้รับพลังงานสองหน้า ซึง่ ระบุวา่ นอกเหนือจากการรับแสงทีส่ ะท้อนจากพืน้ ดินแล้ว ยังสามารถรับแสงทีก่ ระจัดกระจายได้อกี ด้วย โดยรายงานฉบับนีม้ สี ว่ นช่วย เป็นอย่างมากในการพัฒนาและสร้างความนิยมด้านเทคโนโลยีเช่นกัน

LONGi Bifacial Module working process

LONGi Whitepaper The Technical Evolution Behind 10GW Shipment Milestone of LONGi Bifacial Modules

WHITEPAPER

Module Teste


ปัจจุบัน ลองกิ โซลาร์ เป็นหนึ่งในไม่กี่บริษัทที่ให้บริการ โมดูลสองหน้าในอุตสาหกรรมโซลาร์เซลล์ และเป็น 1 ใน 2 บริษทั ที่ได้รับรางวัล High Achiever โดยพิจารณาจากประสิทธิภาพที่ ยอดเยีย่ มของโมดูล 18 ตัว ทีบ่ ง่ ชีค้ วามน่าเชือ่ ถือของประสิทธิภาพ และคุณภาพ มูลค่าของโมดูลสองหน้าได้รับการยอมรับอย่าง กว้างขวางภายใต้การส่งเสริมการขายชัน้ น�ำของลองกิ นอกจากนี้ โมดูลสองหน้ายังกลายเป็นผลิตภัณฑ์พลังงานแสงอาทิตย์หลัก ส�ำหรับโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่มีส่วนแบ่งการตลาดที่ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ มร.เดนนิส ชี รองประธานกรรมการอาวุโส ลองกิ โซลาร์ ประเทศไทย กล่าวว่า “การพัฒนาโมดูลสองหน้าของลองกินั้น มุ่งเน้นไปที่คุณค่าเพื่อลูกค้ามาโดยตลอด ซึ่งพิจารณาจากความ สมดุลของต้นทุน ผลผลิตพลังงาน และความน่าเชื่อถือของ ผลิตภัณฑ์ด้วย” ลองกิ (LONGi) ผูน้ ำ� อุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์ ด้ ว ยนวั ต กรรมผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท่ี ห ลากหลายและอั ต ราส่ ว นต้ น ทุ น พลังงานที่คุ้มค่า ผ่านการน�ำเสนอเทคโนโลยีโซลาร์เซลล์แบบ โมโนคริสตัลไลน์ บริษัทฯ ได้ส่งมอบชิปและโมดูลโซลาร์เซลล์ ประสิทธิภาพสูงไปทัว่ โลก สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้มากกว่า 30 กิกะวัตต์ในแต่ละปี โดยครอบคลุมสัดส่วนราว 1 ใน 4 ของ อุปสงค์ในตลาดโลก ท�ำให้ลองกิได้รับการยกย่องเป็นบริษัทด้าน เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ที่มีมูลค่าสูงสุดในโลกด้วยมูลค่า ตลาดสูงสุด ลองกิยดึ มัน่ ในคุณค่าหลัก 2 ประการ ได้แก่ นวัตกรรม และการพัฒนาที่ยั่งยืน

รางวัล “High Achievers” จาก RETC

ศู น ย์ ท ดสอบพลั ง งานทดแทนของสหรั ฐ อเมริ ก า (The US Renewable Energy Testing Center : RETC) ได้เปิดตัว “รายงานดัชนีโมดูลโฟโตโวลเทอิก (PVMI)” ประจ�ำปี 2563 ผลปรากฏว่าลองกิสามารถคว้ารางวัล “High Achievers” ได้ อีกครัง้ หลังจากทีไ่ ด้รบั รางวัลนีม้ าแล้วในปี พ.ศ. 2562 อันเป็นผล มาจากประสิทธิภาพการท�ำงานอันโดดเด่นหลังจากการประเมิน โมดูลเซลล์แสงอาทิตย์อย่างครอบคลุมทั่วโลกโดย RETC

โมดูลของลองกิทำ� ผลงานได้อย่างดีเยีย่ มจากการประเมิน ตัวบ่งชี้ 3 ประการ ได้แก่ ความน่าเชื่อถือ ประสิทธิภาพ และ คุณภาพ ส่งผลให้เป็น 1 ใน 3 บริษัทที่ได้รับรางวัลดังกล่าว นอกจากนี้ ลองกิยังเป็นผู้ผลิตโมดูลเพียงรายเดียวที่ท�ำผลงาน ยอดเยี่ยมในการทดสอบทั้ง 8 ครั้ง ซึ่งตอกย�ำ้ ความน่าเชื่อถือใน ระดับสูงและประสิทธิภาพอันเหนือชัน้ ของโมดูลโมโนคริสตัลไลน์ ของบริษัท PVMI น�ำเสนอภาพรวมของการทดสอบซึ่งจัดท�ำโดย RETC ด้านความน่าเชือ่ ถือ ประสิทธิภาพ และคุณภาพของโมดูล ตามด้วยการสุม่ ตัวอย่างข้อมูลการทดสอบ เพือ่ ยกย่องผูท้ ำ� ผลงาน ได้ดีและแสดงถึงความส�ำเร็จในการผลิตโมดูล ในฐานะบริษทั ผูน้ ำ� ด้านเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ชนั้ น�า ระดับโลก ลองกิให้ความส�ำคัญกับความน่าเชือ่ ถือของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่การออกแบบไปจนถึงการผลิต เพื่อส่งมอบโมดูลที่มีความ น่าเชื่อถือและสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่โมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ การออกแบบโมดูลของบริษทั เริม่ ตัง้ แต่การท�ำแบบจ�ำลอง ตามทฤษฎีโดยใช้โมเดลเชิงไฟฟ้า เชิงกล และออปติคอล ขณะที่ ก�ำลัง ประสิทธิภาพ การผลิตพลังงาน และความน่าเชื่อถือ ของโมดูลจะได้รับการพิจารณาก่อนที่จะสรุปผลการออกแบบ ส�ำหรับส่วนประกอบของโมดูลนัน้ บริษทั มีการพิจารณาด้วยความ ระมัดระวังอย่างสูง เพือ่ รับประกันความน่าเชือ่ ถือของผลิตภัณฑ์ ในระยะยาว นอกจากนี้ บริษทั ยังใช้เทคโนโลยีโดปด้วยแกลเลียม (Ga Doping) เพื่อควบคุมการเสื่อมสภาพ เพราะแสง (LID) ของ โมดูล Mono PERC รวมถึงใช้กระบวนการล้างผิวโลหะด้วยไฮโดรเจน เพื่อบรรเทาการเสื่อมสภาพจากอุณหภูมิและแสง (LeTID) ในขณะเดียวกัน เพื่อรับประกันความน่าเชื่อถือของโมดูล ลองกิได้วางเงื่อนไขการทดสอบสูงกว่ามาตรฐานทั่วไป โดยใช้วิธี การทดสอบหลากหลายรูปแบบ ซึง่ อิงข้อมูลของสถาบันวิจยั ชัน้ น�า และผู้เชี่ยวชาญภายนอกองค์กร ส�ำหรับในส่วนของกระบวนการ ผลิตนัน้ บริษทั ใช้เครือ่ งจักรอัตโนมัติ ซึง่ ไม่เพียงเพิม่ ประสิทธิภาพ การผลิตเท่านั้น แต่ยังช่วยรับประกันความเสถียรในการผลิต และระบบควบคุมคุณภาพอันครอบคลุมก็ช่วยรับประกันความ ยอดเยี่ยมของผลิตภัณฑ์ด้วย

* ติดตามรายงานของลองกิ โซลาร์ ฉบับเต็มได้ที่ https://en.longi-solar.com/uploads/attach/whitepaper.pdf


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

SCG ร่วมมือ สภาวิศวกร ยกระดับมาตรฐาน วิศวกรไทย ก้าวไปสู่สากล https://pixabay.com/photos/hard-hat-safety-hat-construction-4274430/

https://pixabay.com/photos/engineer-engineering-4941330/

ในแต่ละปีประเทศไทยผลิตวิศวกรจบใหม่ปีละ 35,000 คน แต่มกี ารขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมเพียง 7,000 คนต่อปี เท่านัน้ ส่งผลให้เกิดปัญหาจ�ำนวนแรงงานทางด้านวิศวกร ความสามารถ ของวิศวกรในการตรวจรับงาน ธุรกิจ Cement and Construction Solution ในเอสซี จี จึ ง ลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ กั บ “สภาวิศวกร” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับมาตรฐานวิศวกรไทย ให้มคี วามรู้ ความสามารถ อีกทัง้ ยังร่วมมือกันพัฒนาขีดความสามารถ ของวิศวกรไทยให้มีความพร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ในยุค New Normal พร้อมส่งเสริมคุณภาพการปฏิบตั งิ านของผูป้ ระกอบ วิชาชีพวิศวกรรม รองรับการเติบโตทางด้าน Construction Solution ชนะ ภูมี Vice President ธุรกิจ Cement and Construction Solution กล่าวว่า “CPAC และสภาวิศวกร มีขอ้ ตกลงในการร่วมมือกันเพือ่ ยกระดับมาตรฐานวิศวกรไทย ให้มีขีดความสามารถเทียบเท่าในระดับโลก ซึ่งในส่วนนี้เป็น นโยบายหลักของเอสซีจมี าโดยตลอด เราจะเข้าไปร่วมพัฒนา บุคลากร พร้อมปรับไปสู่ Construction Solution และใช้ CPAC BIM ซึง่ เป็นเทคโนโลยีทจี่ ะช่วยยกระดับอุตสาหกรรมทางด้าน ก่อสร้างของประเทศไทยให้เทียบเท่ากับสากล โดยจะเริ่ม จากภายในองค์กรของเราก่อน เนือ่ งจาก CPAC มีวศิ วกรหลัก กว่า 500 คน ที่ให้บริการและเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมนี้อยู่ จึงเป็นสิง่ ส�ำคัญมากทีจ่ ะพัฒนาบุคลากรตรงจุดนี้ พร้อมยังจะ เป็นตัวกลางในการเชือ่ มโยงการพัฒนาความสามารถวิชาชีพ วิศวกรในกลุ่มผู้ประกอบการ Ecosystem ของเรา ทั้งกลุ่ม

ผู้รับเหมาขนาดกลางและเล็ก โดยจะเข้าไปร่วมมือกันให้ความรู้ ส่งเสริม และยกระดับวิชาชีพวิศวกรของกลุ่มผู้ประกอบการเหล่านี้ให้ได้รับรอง อย่างถูกต้องต่อไป” ด้าน ชูโชค ศิวะคุณากร Managing Director, CPAC กล่าวว่า แกนหลักของงานก่อสร้างคือเรือ่ งคน หนึง่ ในนัน้ ก็คอื วิศวกร ทัง้ นี้ การพัฒนา วิศวกรประกอบด้วย การน�ำ Digitization จากคนเก่งระดับโลกมาใช้ รวมถึง การน�ำแพลตฟอร์มการท�ำงานต่างๆ ทีม่ คี วามสะดวกรวดเร็วและคล่องตัว ขึน้ ถัดมาเป็นเรือ่ งของ Construction Technology เราต้องดึงเอาสิง่ ต่างๆ มาปรั บ ใช้ เ พื่ อ ยกระดั บ มาตรฐานวิ ช าชี พ และเป็ น ประโยชน์ ต ่ อ ทั้ ง


ชนะ ภูมี

ชูโชค ศิวะคุณากร

อุตสาหกรรมของประเทศ โดยมีโจทย์ว่าจะท�ำอย่างไรให้ของที่มี ในตลาดสามารถน�ำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งเราได้สร้าง แพลตฟอร์มขึน้ มาตัวหนึง่ เรียกว่า All Rent เป็นตัวเชือ่ มเครือ่ งจักร เครื่องมือหนักในตลาดให้กับคนที่ต้องการใช้ และสามารถน�ำไปใช้ ประโยชน์ในการก่อสร้างได้ทุกขณะ เพื่อช่วยลดค่าใช้จ่ายในการ บริหารจัดการก่อสร้าง ลดเวลาและลดแรงงานคน นอกจากนี้ ยังเป็นเรื่องของการสร้างโมดูล ซึ่งเป็นเรื่องของ Innovation ที่เน้น เป็น Solution โดยปัจจุบันนี้เราได้พัฒนาโมดูลมาทั้งหมดกว่า 250 โมดูลแล้ว และจะขยายเป็น 500 โมดูลในอนาคต สิง่ เหล่านีเ้ กิดจาก Innovation ของคนที่เข้ามามีส่วนร่วมทั้ง Ecosystem และคนที่ เกี่ยวข้อง เราพร้อมจะเชื่อมทั้งหมดเข้าด้วยกัน เป้ า หมายส� ำ คั ญ ในการยกระดั บ วิ ศ วกรไทยในครั้ ง นี้ คื อ การท�ำอย่างไรให้วศิ วกรระดับภาคีวศิ วกรสามารถเลือ่ นขัน้ เป็นระดับ สามัญวิศวกร และน�ำไปสู่ระดับวุฒิวิศวกรในอนาคต โดยเรื่องแรก ที่ให้ความส�ำคัญคือ การมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุม ซึง่ ทางเอสซีจจี ะผลักดันให้บคุ ลากรมีใบอนุญาตฯ ในระดับ สามัญวิศวกรและวุฒิวิศวกรได้ตามเป้าหมายภายในปี พ.ศ. 2564 นอกจากนี้ ผูท้ จี่ บการศึกษาในระดับอาชีวะยังสามารถสอบเลือ่ นระดับ เป็นวิศวกรแบบภาคีวศิ วกรพิเศษ โดยจะช่วยยกระดับ เพิม่ ขีดความ สามารถของวิชาชีพวิศวกรไทยให้รองรับการขยายตัวของงานก่อสร้าง และรูปแบบที่เป็น Construction Solution มากขึ้น “ปัจจุบันเอสซีจีมีวิศวกรระดับภาคีวิศวกรกว่า 300 คน สามัญวิศวกร 50 คน โดยตัง้ ใจว่าจะส่งเสริมให้ได้ระดับสามัญวิศวกร เป็นอย่างต�ำ่ เพราะเราได้วางแผนจะก้าวไปในภูมภิ าคอาเซียนทัง้ หมด นอกจากนีย้ งั มีบคุ ลากรในระดับช่าง ปวช. ปวส. ทีเ่ ราต้องการส่งเสริม ให้เป็นวิศวกรแบบภาคีวิศวกรพิเศษ ซึ่งในต่างประเทศ อย่างเช่น เยอรมนีหรือญี่ปุ่นก็ได้ใช้ระบบนี้มานานแล้ว โดยทางเอสซีจีก็มี ระบบนี้ในการพัฒนาช่างที่เป็นบุคลากรของเราขึ้นมาเป็นวิศวกร และตอนนีเ้ รามีศนู ย์ CPAC Solution Center กระจายอยูท่ วั่ ประเทศ 23 แห่ง ซึง่ จะท�ำงานร่วมกับช่างหรือผูป้ ระกอบการท้องถิน่ ท�ำให้เขา

ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์

มีขดี ความสามารถทีส่ งู ขึน้ มีทกั ษะการก่อสร้าง ตลอดจนการน�ำเอา เทคโนโลยีใหม่ๆ มาปรับใช้ในการท�ำงาน” ชนะ กล่าวเสริม ในส่วนของสภาวิศวกร เป็นหน่วยงานที่เป็นตัวแทนของ วิศวกรไทย ปัจจุบนั มีสมาชิกร่วม 300,000 คน วัตถุประสงค์สำ� คัญ ของสภาวิศวกรคือ การสนับสนุนงานวิชาการและงานวิจยั ซึง่ ปัจจุบนั มีการแข่งขันด้านเทคโนโลยีกนั อย่างรุนแรง แต่ไม่วา่ จะเป็นทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม หรือแม้แต่ปัญหาสิ่งแวดล้อม ก็จำ� เป็นต้องแก้ไข โดยเทคโนโลยี ด้วยเหตุนี้การพัฒนาอาชีพวิศวกรจึงมีผลกับทุกคน หากวิศวกรไทยเข้มแข็งก็สามารถพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยีได้ และ สามารถสร้างผลิตภัณฑ์ทมี่ มี ลู ค่าเพิม่ มีรายได้กลับมาพัฒนาประเทศ สังคม และยังสามารถแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมต่างๆ มากมาย ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภาวิศวกร กล่าวว่า “ความร่วมมือกับทางบริษทั ผลิตภัณฑ์และวัตถุกอ่ สร้าง จ�ำกัด ทีเ่ ป็น บริษัทชั้นน�ำทางด้านเทคโนโลยีในการก่อสร้างของประเทศไทย ซึง่ วัสดุกอ่ สร้างในปัจจุบนั ผูใ้ ช้งานคาดหวังให้มคี วามทนทาน ใช้งาน ได้ดี และมีความสวยงาม จึงต้องใช้เทคโนโลยีนวัตกรรม ถือเป็น จุดก�ำเนิดทีม่ จี ดุ ประสงค์รว่ มกันระหว่าง 2 องค์กรใหญ่ ซึง่ เอสซีจเี อง ก็เป็นหน่วยงานทีใ่ ห้ความส�ำคัญในด้านนวัตกรรม ตรงนีจ้ ะสามารถ ถ่ายโอนความรู้ และยังร่วมมือกันส่งสัญญาณไปถึงคณะวิศวกรรมศาสตร์ ทัว่ ประเทศ ว่าวันนีเ้ จ้าของผลิตภัณฑ์เขาก�ำลังมองการตลาดอย่างไร วันนี้สภาวิศวกรมีนโยบายส�ำคัญในการสร้างวิชาชีพนี้ให้ไปไกล แค่ไหน เราจะร่วมมือกันเพือ่ ยกระดับวิศวกรทีก่ ำ� ลังจะจบออกไปจาก มหาวิทยาลัยด้วย” การแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานที่มีฝีมือคือ การชดเชย ด้วยนวัตกรรมของวัสดุ การร่วมมือของสภาวิศวกรและบริษัท ผลิตภัณฑ์และวัตถุกอ่ สร้าง จ�ำกัด จึงมีผลต่อการสร้างวิศวกรรุน่ ใหม่ เป็นอย่างมาก โดยสภาวิศวกรจะมีบทบาทส�ำคัญคือ การดึงเอาภาค เอกชน ภาคอุตสาหกรรม เข้ามาให้ข้อมูลความรู้และความร่วมมือ เพื่อโน้มน้าวให้มหาวิทยาลัยผลิตบัณฑิตได้สอดคล้องกับความ ต้องการของภาคอุตสาหกรรมและความเปลี่ยนแปลงของโลก


Article

> แฟรงค์ เฟลด์มันน์ รองประธาน APAC Office of Technology เร้ดแฮทเอเชีย-แปซิฟิก

5 เทรนด์

การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ไม่วา่ จะเป็นนโยบายท�ำงานจากทีบ่ า้ น ไปจนถึงความต้องการของลูกค้าทีเ่ พิม่ ขึน้ ทัง้ ด้านการบริการ และต้องการประสบการณ์ทดี่ ขี นึ้ ท�ำให้องค์กรต่างๆ จ�ำเป็นทีจ่ ะต้องปรับตัวให้เร็วขึน้ เพือ่ รับมือกับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ โควิด-19 เร้ดแฮทคาดว่าแนวโน้มทางเทคโนโลยีจะยังคงมีการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง เพราะการพึง่ พาเทคโนโลยีทวีความส�ำคัญมากขึน้ ในสภาพสังคมและเศรษฐกิจ ในปัจจุบนั องค์กรในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ (APAC) ทีต่ อ้ งการอยูใ่ ห้รอดจากสถานการณ์เช่นนีค้ วรทบทวนกลยุทธ์ดา้ นดิจทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชัน โดยอ้างอิงจากแนวโน้มที่เร้ดแฮทคาดว่าจะเกิดขึ้นในปีนี้

5G, IoT และ Edge Computing คือ 3 เทคโนโลยี แห่งการเชื่อมต่อที่ชาญฉลาด

ภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ จะพัฒนาเส้นทาง 5G ของตนอย่างต่อเนือ่ ง ในขณะทีบ่ ริการ 5G เชิงพาณิชย์ได้เปิดให้บริการแล้วใน 9 ประเทศ รวมถึง เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และจีน และยังมีอีก 12 ประเทศที่ได้ประกาศแผนการ ท�ำนองเดียวกันนีอ้ ย่างเป็นทางการ ความพร้อมในการใช้งาน 5G ทีเ่ พิม่ ขึน้ จะช่วยขับเคลือ่ นอินเทอร์เน็ตออฟธิงค์ (IoT) และเอดจ์ คอมพิวติง้ (Edge Computing) ที่ให้ค่าความหน่วงต�่ำเป็นพิเศษ เครือข่ายแบนด์วิธที่สูง และรองรับการเข้าถึงอุปกรณ์ปลายทางของผู้ใช้จ�ำนวนมากได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เช่น 5G, IoT และ Edge Computing สามารถน�ำไปใช้เพือ่ การบริหารจัดการยานพาหนะในอุตสาหกรรมขนส่งได้อย่างชาญฉลาด อุ ป กรณ์ ป ระมวลผลแบบ Edge จะใช้ ต รวจสอบระบบยานพาหนะ ที่ส�ำคัญๆ ได้ และสามารถใช้เครือข่าย 5G เพื่อส่งการแจ้งเตือนและ ติดตามเส้นทางในการขนส่งสินค้า การวางแผนเส้นทางต่างๆ รวมถึง อ�ำนวยความสะดวกในการสื่อสารระหว่างยานพาหนะและอุปกรณ์ที่ใช้ IoT ที่อาจส่งผลกระทบหรือได้รับผลกระทบจากยานพาหนะนั้นๆ เร้ดแฮทคาดการณ์ว่าใน พ.ศ. 2564 องค์กรและเมืองต่างๆ ใน ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกจะมีการใช้ 5G, IoT และ Edge Computing เพื่อ ให้สามารถเชื่อมต่อและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานต่างๆ ที่เกิดขึ้นจาก 3 เทคโนโลยีนี้ รวมถึงการวิเคราะห์ขอ้ มูลทีไ่ ด้จากเซนเซอร์เพือ่ คาดการณ์ การบ�ำรุงรักษาและการควบคุมคุณภาพ การใช้เทคโนโลยีโลกเสมือน (Augmented Reality : AR) ในการควบคุมการท�ำงานจากระยะไกล และ ‘ประสบการณ์เชื่อมต่อ’ เฉพาะบุคคล เพื่อการมีส่วนร่วมของลูกค้าและ ซัพพลายเออร์

Cloud Vector Created by Vectorjuice - www.freepik.com

ความปลอดภัยเป็นสิ่งส�ำคัญอันดับแรก ส�ำหรับไฮบริดคลาวด์

ลูกค้าและพนักงานต่างคาดหวังให้มแี อปพลิเคชันทาง ธุรกิจและบริการที่มีความพร้อมสูง และมีความปลอดภัยให้ ใช้งานได้ตามทีต่ อ้ งการเหมือนๆ กัน เพือ่ ให้ตอบโจทย์ดงั กล่าว เร้ดแฮทแนะน�ำให้องค์กรต่างๆ ใช้ระบบไฮบริดคลาวด์เพื่อ ให้การท�ำงานบนทุกสภาพแวดล้อม (เช่น แบบ On-Premises, ไพรเวทหรือพับลิคคลาวด์) เป็นไปอย่างง่ายดายและรวดเร็ว มากยิ่งขึ้น จากรายงาน 2021 Global Tech Outlook1 ของ เร้ดแฮทพบว่า ภายใน 12 เดือนข้างหน้า 77% ขององค์กร ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกที่ตอบแบบส�ำรวจ มีแผนที่จะใช้ แพลตฟอร์มคลาวด์มากกว่าหนึง่ ประเภท ไม่วา่ จะเป็นไพรเวท และพับลิคคลาวด์ โดยเพิ่มขึ้นจาก 53% จากการส�ำรวจของ ปี พ.ศ. 2563 จากผลการส�ำรวจเหตุผลหลัก 3 ประการทีท่ ำ� ให้ องค์กรต่างๆ ใช้งานแอปพลิเคชันของตนผ่านไฮบริดคลาวด์ ได้แก่ เพื่อปรับปรุงความปลอดภัยของข้อมูล เพื่อเพิ่มความ


ที่จะมาในปี 2564 ยืดหยุ่นด้านไอที และเพื่อจัดการรับมือกับปัญหาข้อมูลส่วนบุคคล ความก้าวหน้าของการใช้ไฮบริดคลาวด์ขององค์กรต่างๆ ท�ำให้เรื่องความปลอดภัยจะยังคงเป็นประเด็นส�ำคัญที่องค์กรให้ ความสนใจ เกือบครึง่ หนึง่ ขององค์กรทีท่ ำ� การส�ำรวจทัว่ โลกระบุวา่ การรักษาความปลอดภัยบนคลาวด์เป็นสิ่งที่องค์กรให้ความส�ำคัญ สู ง สุ ด ในการลงทุ น ในปี นี้ ความท้ า ทายเรื่ อ งความปลอดภั ย มี องค์ประกอบทีแ่ ตกต่างกันไป เช่น อุปกรณ์ปลายทางของผูใ้ ช้เน็ตเวิรก์ และความปลอดภัยของข้อมูล วิธีหนึ่งที่จะเอาชนะความท้าทาย เหล่านี้ได้คือ การใช้กรอบการท�ำงานด้านการรักษาความปลอดภัย อัตโนมัติแบบเปิด ที่รวมแนวปฏิบัติในการรักษาความปลอดภัย ต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน โดยใช้ชุดเวิร์กโฟลว์อัตโนมัติ การด�ำเนินการ ดังกล่าวจะท�ำให้องค์กรสามารถมองเห็นการท�ำงานทัง้ หมดได้ดขี นึ้ ผ่านฟังก์ชนั รักษาความปลอดภัยทัง้ หมด ช่วยให้ระบุภยั คุกคามหรือ การโจมตีทางไซเบอร์ได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น

ระบบอัตโนมัติจะทวีความส�ำคัญมากยิ่งขึ้น

ในขณะที่ ลู ก ค้ า มี ค วามต้ อ งการเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งรวดเร็ ว สถาปัตยกรรมด้านไอทีเองก็มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และ สร้างด้วยเทคโนโลยีที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น อีกทั้งองค์กรต่างๆ ยังคง จ�ำเป็นต้องสนับสนุนการท�ำงานจากที่บ้านในช่วงการแพร่ระบาด ของโควิด-19 เพือ่ ให้สามารถรับมือกับความต้องการเหล่านี้ องค์กร ในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ จึงหันมาใช้ระบบอัตโนมัตมิ ากขึน้ เพือ่ ลด ความซับซ้อน เพือ่ เพิม่ ผลผลิต และเพือ่ ลดต้นทุนในการด�ำเนินงาน อย่างไรก็ตาม เพือ่ ให้ได้รบั ประโยชน์จากระบบอัตโนมัตไิ ด้อย่างเต็มที่ จะต้องมีกลยุทธ์การใช้ระบบอัตโนมัติในภาพรวมทั่วทั้งองค์กร แทนที่จะมีการปรับใช้ระบบอัตโนมัติในการท�ำงานแบบแยกส่วน

คลาวด์เนทีฟจะผลักดันให้มีการใช้คอนเทนเนอร์

แอปพลิเคชันแบบคลาวด์เนทีฟสามารถตอบสนองต่อการ เปลี่ยนแปลง การน�ำไปปรับใช้ และการพัฒนาได้อย่างรวดเร็ว ด้วยคุณสมบัติและฟังก์ชันการท�ำงานแบบใหม่ๆ ที่เพิ่มขึ้นอย่าง สม�ำ่ เสมอ รวดเร็ว และเชือ่ ถือได้ โดยมีความเสีย่ งน้อยลง เนือ่ งจาก องค์กรจ�ำนวนมากขึน้ มีการใช้ไฮบริดคลาวด์เพือ่ เพิม่ ความสามารถ ในการปรับขยาย และความพร้อมใช้งานของแอปพลิเคชัน ท�ำให้ บรรดาองค์กรทีใ่ ช้การพัฒนาแบบคลาวด์เนทีฟอยูใ่ นสถานะทีด่ กี ว่า ในการสร้างและใช้งานแอปพลิเคชันที่สามารถตอบสนองได้ดี และ ปรับขนาดได้บนคลาวด์ทุกระบบ อีกทั้งยังสามารถท�ำงานต่อไปได้ แม้จะเกิดความเสียหายบางส่วน คอนเทนเนอร์เป็นเทคโนโลยีหลักทีจ่ ะปลดปล่อยคุณประโยชน์ ต่างๆ ของการพัฒนาระบบคลาวด์เนทีฟ คอนเทนเนอร์ช่วยจัด รวบรวมและแยกแอปพลิเคชันด้วยสภาพแวดล้อมทีเ่ ป็นแบบรันไทม์ ทั้ ง หมด ท� ำให้ ง ่ า ยต่ อ การโยกย้ ายแอปพลิ เ คชันไปมาระหว่าง สภาพแวดล้อมแบบต่างๆ โดยยังคงการท�ำงานได้อย่างเต็มรูปแบบ นั ก พั ฒ นาสามารถใช้ ค อนเทนเนอร์ ใ นการเปิ ด ใช้ แ ละอั ป เดต แอปพลิเคชันได้ง่ายขึ้นในรูปแบบของการบริการที่เป็นอิสระต่อกัน เช่น ไมโครเซอร์วสิ แทนทีจ่ ะต้องรอการอัปเดต ครั้งใหญ่เพียงครั้งเดียว การตระหนักว่า คอนเทนเนอร์ช่วยเร่งการสร้างสรรค์ นวัตกรรมได้ ท�ำให้ 45% ของผูต้ อบ แบบสอบถามในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ คาดหวั ง จะน� ำ ปริ ม าณงานกว่ า ครึ่ ง ของตนมาเก็ บ ไว้ ใ นคอนเทนเนอร์ ใ นอี ก 12 เดือนข้างหน้า

Technology Vector Created by Macrovector - www.freepik.com

มี อ งค์ ก รมากขึ้ น ที่ หั น มาใช้ ร ะบบอั ต โนมั ติ ร ่ ว มกั บ ปัญญาประดิษฐ์และแมชชีนเลิร์นนิ่ง เพื่อสร้างข้อมูลเชิงลึกแบบ อัตโนมัตเิ พิม่ เติมขึน้ อีก เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพของกระบวนการทาง ธุรกิจ ธนาคารในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกบางแห่งใช้ระบบหุ่นยนต์ อัตโนมัตทิ ที่ ำ� งานแทนมนุษย์ (Robotic Process Automation : RPA) เพื่ อ อนุ มั ติ ก ารสมั ค รบั ต รเครดิ ต การช� ำ ระเงิ น อั ต โนมั ติ และ การตรวจสอบการอ้างสิทธิ์ เนือ่ งจาก RPA สามารถเรียนรูเ้ พิม่ และ ลอกเลียนแบบการตัดสินใจและพฤติกรรมของมนุษย์ เพื่อส�ำเนา พฤติกรรมของผู้ใช้งานที่ปฏิบัติตามกฎที่ตั้งไว้ ช่วยลดเวลาในการ ท�ำงานเหล่านั้นได้เป็นอย่างมาก


Beyond the now: วัฒนธรรมการท�ำงานแบบเปิด เป็นสิ่งจ�ำเป็นที่จะช่วยส่งเสริม การปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีให้ทันสมัย

ผลการศึกษาในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ที่ ส นั บ สนุ น โดยเร้ ด แฮท ส� ำ รวจพบว่ า 80% ของผู้น�ำธุรกิจในเอเชีย-แปซิฟิก จัดล�ำดับ ให้การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมในการท�ำงานและ การปรั บ เปลี่ ย นเทคโนโลยี ใ ห้ มี ค วามทั น สมั ย มากขึ้ น มี ความส� ำ คั ญ เท่ าเที ย มกั น ในการท� า ดิจทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชัน คุณลักษณะทางวัฒนธรรม ที่ ส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ การเปลี่ ย นแปลงนั้ น รวมถึ ง ความสามารถในการปรับใช้ การมีส่วนร่วมของ บุคลากรในองค์กร ความโปร่งใส และการท�ำงาน ร่วมกัน ซึ่งทั้งหมดนี้เป็นหลักการท�ำงานแบบ โอเพ่ น ซอร์ ส องค์ ก รที่ ส นั บ สนุ น แนวคิ ด ริ เริ่ ม เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมในการท�ำงาน อันเป็น ความพยายามในการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน และสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชันของตนให้ทนั สมัย มาโดยตลอด จะสามารถพั ฒ นาและส่ ง มอบ แอปพลิเคชันใหม่ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าได้อย่างฉับไว และควบคุม ค่าใช้จ่ายในการบ�ำรุงรักษาได้เป็นอย่างดี ธุรกิจในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ ตระหนักดีวา่ ดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชันเกิดจากการปรับเปลี่ยน กระบวนการทางความคิด เราจึงคาดการณ์ว่า องค์กรต่างๆ จะเปิดรับหลักการ กระบวนการ และ วัฒนธรรมแบบเปิดมากขึน้ และเมือ่ มีการยอมรับ แล้ว องค์กรต่างๆ จะสามารถรักษาความร่วมมือ ร่วมใจ และส่งเสริมให้พนักงานใช้ความคิดและ ตัวตนที่ดีที่สุดของตนมาใช้ในการท�ำงาน ซึ่งจะ ช่วยเร่งการสร้างสรรค์นวัตกรรม และรับมือกับ ความต้องการของลูกค้าและธุรกิจทีเ่ ปลีย่ นแปลง ได้อย่างคล่องตัว เหตุการณ์ส�ำคัญระดับโลกใน พ.ศ. 2563 ท�ำให้องค์กรต่างๆ ตัง้ เป้าสนใจเรือ่ งความอยูร่ อด ในระยะสั้นเพื่อส่งเสริมความต่อเนื่องทางธุรกิจ ในขณะที่ธุรกิจต่างๆ ยังคงมีการพัฒนาอย่าง ต่อเนือ่ ง องค์กรในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ จะต้อง เตรียมความพร้อมส�ำหรับอนาคตด้วยการน�ำโซลูชนั เทคโนโลยีที่ยืดหยุ่น คล่องตัว และปรับขยายได้ มาใช้กบั ธุรกิจของตน องค์กรต่างๆ ทีต่ อ้ งพัฒนา หรืออัปเดตแผนในการท�ำดิจทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชัน ใน พ.ศ. 2564 นี้ ควรจะพิจารณาถึงเทรนด์ตา่ งๆ เช่น 5G และ Edge Computing ไฮบริดคลาวด์ และระบบอัตโนมัติ ที่สามารถช่วยองค์กรได้

> Frank Feldmann, Vice President, APAC Office of Technology, Red Hat Asia-Pacific

Background Vectoar Created by Starline - www.freepik.com

From shifting to work from home policies to customers’ increasing demand for better services and experience, organizations are finding that they need to transform faster to address the impact of the COVID-19 pandemic. We expect technology trends to only continue to evolve as reliance on technology becomes more critical in our current social and economic landscape. To ride out the wave rather than sink in it, forward-thinking organizations in Asia-Pacific (APAC) should rethink their digital transformation strategies based on these trends we expect to see in the coming year.

5G, IoT, Edge Computing: The Trio for Intelligent Connectivity

APAC will continue progressing on its 5G journey. While commercial 5G services are already available in nine markets in the region–including South Korea, Japan, and China–another 12 have officially announced similar plans. The increased availability of 5G will help drive the adoption of Internet of Things (IoT) and edge computing to deliver ultra-low latency, high bandwidth network, and effectively support large-scale distribution of endpoints. For example, 5G, IoT and edge computing can be applied to smart fleet management, wherein edge devices can monitor critical vehicle systems and access the 5G network to send alerts, track the flow of goods, plan routes, and facilitate communications between a vehicle and any IoT-enabled entity that may affect or be affected by the vehicle. We foresee more APAC organizations and cities adopting 5G, IoT, and edge computing in 2021 to become more connected and efficient. Emerging use cases for the three technologies include analyzing sensor data for predictive maintenance and quality control, augmented reality systems for remote operations, and personalized ‘connected experiences’ for customer and supplier engagement.

Security is a Growing Priority for Hybrid Cloud

Customers and employees alike now expect business applications and services to be highly available, on-demand and secure. To achieve that, we recommend organizations to embrace hybrid cloud in order to run workloads across any environment (i.e., on-premises, private or public


Thrive in 2021with these five trends cloud) more easily and quickly. Red Hat’s 2021 Global Tech Outlook1 found that 77% of APAC organizations surveyed plan to use more than one cloud platform–be it private and public clouds-in the next 12 months, up from 53% in 2020. According to the survey results, the top three reasons for organizations to run their applications across hybrid cloud include improving data security, gaining IT agility, and addressing data privacy concerns. Security will remain a focus area as organizations progress in their hybrid cloud journey–nearly half of the organizations we surveyed globally cited cloud security as their top funding priority next year. The challenge when it comes to security is that it is made up of different elements such as endpoint, network and data security. One way of overcoming this is by adopting an open security automation framework that unifies the different security practices using a set of automated workflows. By doing so, organizations can gain greater visibility across the entire security function, enabling them to identify threats or remediate cyber attacks faster.

Cloud-Native Will Drive Container Adoption

Cloud-native applications can respond quickly to change, adapting and evolving with new features and functionalities released incrementally more quickly, reliably and frequently with less risk. As more organizations adopt hybrid cloud to increase the scalability and availability of apps, those that also embrace cloud-native development are in a better position to build and run responsive, scalable, and fault-tolerant apps on any cloud. Containers are a key technology for unlocking the benefits of cloud-native development. Containers enable applications to be packaged and isolated with their entire runtime environment, making it easier to move them between environments while retaining full functionality. With containers, developers can more easily release and update apps as a collection of loosely coupled services, like microservices, instead of having to wait for one large release. Recognizing that containers can help accelerate innovation, 45% of APAC respondents from the 2021 Global Tech Outlook expect more than half of their workloads to be containerized in the next 12 months.

Automation is on the Rise

Customers are demanding more at a faster pace, while IT architectures are ever-changing and built on increasingly complicated technology stacks. Organizations also need to support a work-from-home productivity model during the COVID-19 pandemic. To address these requirements, APAC organizations are increasingly turning to automation to reduce complexity,

improve productivity, and lower operating cost. However, they must have an enterprise-wide automation strategy instead of deploying automation in silos in order to fully benefit from the technology. More organizations are increasingly using automation in conjunction with artificial intelligence and machine learning to create an additional layer of automated insight to optimize business processes. Some APAC banks are already using robotic process automation (RPA) to approve credit card applications, automate payments, and validate claims. Because RPA can augment and mimic human judgment and behavior to replicate rules-based human action, it reduces the time taken for those tasks.

Open Culture Needs to Complement Technology Modernization

According to a November 2019 study sponsored by Red Hat, 80% of APAC business leaders surveyed rank cultural change and technology modernization of equal importance for digital transformation. Cultural characteristics key for transformation include adaptability, inclusivity, transparency, and collaboration–all of which are open source principles. Organizations that have supported their cultural change initiatives with efforts to modernize their infrastructure and application architecture have been able to quickly develop and deliver new applications, respond rapidly to customer demands, and control maintenance costs. With APAC businesses recognizing that digital transformation is driven by a change in mindset, we foresee more organizations embracing open principles, processes, and culture next year. By doing so, organizations can nurture collaboration and empower employees to bring their best ideas and selves to work, which can help accelerate innovation and address changing customer and business requirements in an agile manner. All in all, global events in 2020 have caused organizations to focus on near-term survival goals to support business continuity. As the business landscape continues to evolve, APAC organizations must prepare for the future by adopting flexible, agile and scalable technology solutions. Considering trends such as 5G and edge computing, hybrid cloud and automation can help organizations as they develop or update their digital transformation plans in 2021. 1

2021 Global Tech Outlook, A Red Hat Report, 1 December 2020, https://www.redhat.com/en/global-tech-outlook-report/2021


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

ดัชนีคุณภาพอากาศของกรุงเทพมหานครติดอันดับ 1 ใน 10 เมืองของโลกที่มีค่า ฝุ่นละอองเกินมาตรฐานความปลอดภัยมาโดยตลอด สะท้อนถึงปัญหาจากวิกฤติการณ์ ฝุน่ ละออง PM2.5 ซึง่ ยังคงมีแนวโน้มทีจ่ ะขยายวงกว้างและระยะเวลาทีย่ าวนานขึน้ โดยกว่า 35% ของปัญหาฝุน่ ละออง PM2.5 เกิดจากควันของท่อไอเสียรถทีม่ เี ครือ่ งยนต์สนั ดาปภายใน1 จากรถยนต์ทั้งหมดในกรุงเทพมหานครที่มีจ�ำนวนกว่า 10.9 ล้านคัน2 หนึ่งในวิธีการแก้ปัญหา PM2.5 ที่ประสบความส�ำเร็จในหลายเมืองใหญ่ทั่วโลก คือ การออกนโยบายของภาครัฐและการให้การสนับสนุนการหันมาใช้รถยนต์ไฟฟ้า (xEV) อาทิ รัฐบาลจีนทีม่ กี ารออกนโยบายทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว เช่น การตรวจสอบการปล่อยไอเสีย หรือการดึงดูดคนให้มาใช้ EV มากขึ้น ด้วยการลดภาษีหรือให้สิทธิพิเศษแก่คนที่ใช้รถไฟฟ้า เป็นต้น ส่งผลให้จนี เดินหน้าพัฒนานวัตกรรมการขับเคลือ่ นใหม่ๆ ทีส่ ามารถช่วยลดปัญหา PM2.5 ได้ส�ำเร็จอย่างยั่งยืน

เมือ่ เร็วๆ นี้ ศูนย์สำ� รวจความคิดเห็น “นิดา้ โพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ร่วมมือกับเกรท วอลล์ มอเตอร์ ค่ายรถจากประเทศจีนทีน่ า่ จับตามองในช่วงนี้ ได้สำ� รวจความคิดเห็นและพฤติกรรมการใช้ รถยนต์ของผู้บริโภคชาวไทยทั่วประเทศ ซึ่งกิจกรรมนี้เป็นส่วนหนึ่งของแคมเปญ Get to Know Thai Consumers ซึ่ ง ผลการส� ำ รวจระบุ ว ่ า ผู ้ บ ริ โ ภคชาวไทย ให้ความสนใจเกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้า (xEV) สูงถึง 77.68% โดยให้เหตุผลว่าเป็นการ ช่ ว ยประหยั ด พลั ง งานและเป็ น มิ ต ร ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม 28.97% มี เ ทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ทันสมัย 26.88% และอีก 16.96% มองว่าจะช่วยประหยัดค่าบ�ำรุง รักษาในระยะยาว จากผลส�ำรวจพบว่า ยังมีปัจจัยที่ ท�ำให้คนไทยเปลี่ยนใจมาใช้รถยนต์ไฟฟ้า (xEV) แทนรถยนต์ทใี่ ช้นำ�้ มัน คือ เรือ่ งของ ความเป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม 22.02% แสดงถึ ง ความกั ง วลและความตระหนั ก ถึงปัญหา PM2.5 ซึ่งมีที่มาจากควันของ ท่ อ ไอเสี ย รถเครื่ อ งยนต์ สั น ดาปภายใน ในขณะที่ 19.05% มองว่ารถยนต์ไฟฟ้า มีราคาที่เป็นมิตรมากกว่าและมาพร้อม เทคโนโลยีที่ดีกว่า และอีก 13.29% คิดว่า รถยนต์ไฟฟ้ามีสมรรถนะที่สูงกว่ารถยนต์ ทั่วไป นอกจากนี้ ผลการส� ำ รวจยั ง ระบุ ประเด็นส�ำคัญอื่นๆ อาทิ 57.74% จะน�า รถยนต์ ไ ฟฟ้ า มาใช้ ท ดแทนทุ ก กิ จ กรรม ที่เคยใช้งานรถยนต์พลังงานน�้ำมัน โดย รูปแบบรถยนต์ไฟฟ้า (xEV) ทีค่ นไทยสนใจ หรือต้องการซื้อ ได้แก่ รถยนต์ไฟฟ้าแบบ แบตเตอรี่ (Battery Electric Vehicle : BEV) 38.69% รถยนต์ไฟฟ้าแบบผสม (Hybrid Electric Vehicle : HEV) 30.95% และ รถยนต์ไฟฟ้าแบบผสมเสียบปลั๊ก (Plug-In Hybrid Electric Vehicle : PHEV) 30.36% โดยระยะทางในการเดินทางที่คาดหวังต่อ การชาร์จ 1 ครั้ง คือ 400-500 กิโลเมตร ขึ้ น ไป ซึ่ ง เชี ย งใหม่ ขึ้ น แท่ น จั ง หวั ด ที่ ค น อยากขับรถยนต์ไฟฟ้าแบบแบตเตอรี่ (BEV) ไปเที่ยวมากที่สุด


ส�ำหรับเกรท วอลล์ มอเตอร์ ในฐานะ “บริษัทที่ให้บริการการ ขับเคลือ่ นด้วยเทคโนโลยีระดับโลก” (Global Mobility Technology Company) ยังคงมุ่งมั่นและตอกย�้า จุ ด ยื น ที่ ชั ด เ จ น ต า ม ก ล ยุ ท ธ ์ Consumer-Centric ในการรับฟัง ทุกความเห็นของผูบ้ ริโภคมาวางแผน พั ฒ นา และส่ ง มอบผลิ ต ภั ณ ฑ์ เทคโนโลยี และการให้ บ ริ ก าร อันล�ำ้ สมัยเข้าสูต่ ลาดไทย รวมไปถึง การร่วมพัฒนารถยนต์ไฟฟ้า (xEV) พร้ อ มผลั ก ดั น เทคโนโลยี แ ละ นวั ต กรรมเพื่ อ สร้ า ง Ecosystem ของรถยนต์ไฟฟ้าให้เกิดขึ้น ควบคู่ ไปกับการยกระดับคุณภาพการบริการ ส่ ง มอบประสบการณ์ ใ หม่ ใ ห้ กั บ ผู้บริโภคชาวไทย เพื่อเป็นส่วนหนึ่ง ในการส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรม ยานยนต์สมัยใหม่ของไทยให้ก้าว ไปสู่การเป็นศูนย์กลางของอาเซียน ในอนาคต

ณรงค์ สีตลายน กรรมการผู้จัดการ เกรท วอลล์ มอเตอร์ ประเทศไทย กล่าวว่า “แคมเปญ Get to Know Thai Consumers ช่วยตอกย�้ำกลยุทธ์ Consumer-Centric ของเกรท วอลล์ มอเตอร์ ที่เน้นให้ลูกค้าเป็นศูนย์กลางในการวางแนวทางและวิธีการท�ำการตลาดและ การให้บริการเพื่อให้ตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคในแต่ละภูมิภาคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งวิธีการนี้ถือเป็นกลยุทธ์ส�ำคัญที่ท�ำให้เกรท วอลล์ มอเตอร์ ประสบความส�ำเร็จในหลากหลาย ประเทศ และตลอดระยะเวลากว่า 6 เดือนที่ผา่ นมา เกรท วอลล์ มอเตอร์ ยังคงเดินหน้าพูดคุย สอบถามความคิดเห็นและเก็บข้อมูลจากผู้บริโภคชาวไทยอย่างใกล้ชิด ทั้งในแง่ปัญหาที่พบและ สิง่ ทีผ่ บู้ ริโภคต้องการ ไม่วา่ จะเป็นด้านการซือ้ รถ การขับขี่ การขาย รวมไปถึงการบริการหลังการขาย ซึง่ ทุกเสียง ทุกความเห็น และทุกข้อเสนอแนะทีไ่ ด้รบั มานัน้ เกรท วอลล์ มอเตอร์ จะน�ำไปใช้ในการ สร้างสรรค์และออกแบบผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยี และรูปแบบการให้บริการที่ตรงตามความต้องการ และสามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ เพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กับผู้บริโภคชาวไทย”

1

นรากร นันทไตรภพ (2562) ดั ช นี คุ ณ ภาพอากาศใน พื้นที่กรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล : กรณีฝนุ่ ละออง ขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ส�ำนักงานวิชาการ ส� ำ นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร สภาผู้แทนราษฎร อ้างอิง http://www.parliament. go.th/library

2

จ� ำ นวนรถที่ จ ดทะเบี ย น สะสม วันที่ 30 พฤศจิกายน 2563 กลุ่มสถิติการขนส่ง กองแผนงาน กรมขนส่ ง ทางบก อ้ า งอิ ง https:// web.dlt.go.th/statistics/


Scoop

> กองบรรณาธิการ

นวัตกรรมซิลิโคนนำ�ความร้อน

Gap Filler

เพื่อแบตเตอรี่รถ EV กลุม่ บริษทั ดาว ประเทศไทย (Dow) เปิดตัวนวัตกรรมซิลโิ คน เพื่อการประกอบแบตเตอรี่รถยนต์พลังงานไฟฟ้า หรือ Electric Vehicle (EV) ครัง้ แรกในประเทศไทย โดยน�ำเสนอซิลโิ คนน�ำความร้อน ประสิทธิภาพสูง DOWSILTM TC-5515 LT เทคโนโลยีลา่ สุดทีไ่ ด้รบั ความนิยมจากต่างประเทศ ช่วยยกระดับประสิทธิภาพและยืดอายุ การใช้งานของแบตเตอรี่ EV อีกทั้งช่วยลดต้นทุนการผลิตจากการ แก้ไขชิน้ งาน ช่วยทลายข้อจ�ำกัดของอุตสาหกรรมยานยนต์พลังงาน ไฟฟ้า พร้อมวางจ�ำหน่ายเพือ่ ผูป้ ระกอบการในประเทศไทยแล้ววันนี้ เพื่อเป็นการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็น สาเหตุของภาวะโลกร้อนจากการเผาไหม้ของเชือ้ เพลิง และตอบโจทย์ ผู้ประกอบการแบตเตอรี่ยานยนต์ในประเทศไทยให้ตอบสนองต่อ ตลาดรถยนต์ขบั เคลือ่ นด้วยพลังงานไฟฟ้า (EV) ทีเ่ ติบโตอย่างรวดเร็ว ทั่วโลก Dow ได้พัฒนา DOWSILTM TC-5515 LT ซึ่งเป็นซิลิโคน น�ำความร้อนประสิทธิภาพสูงชนิด Low Density Thermal Conductive Gap Filler เพื่อใช้ในการประกอบชุดแบตเตอรี่ EV สามารถใช้งาน กับระบบการผลิตอัตโนมัติได้ มีประสิทธิภาพสูงในการระบาย ความร้อนของชุดแบตเตอรี่ มีนำ�้ หนักเบา ทนการเปลีย่ นแปลงของ อุณหภูมิอย่างเฉียบพลันได้ตั้งแต่ -40°C ถึง 125°C ทนความร้อน และความชืน้ สูง ไม่ลามไฟตามมาตรฐาน UL 94V0 มีความยืดหยุน่ และช่วยลดแรงกดในการประกอบชิ้นงาน อีกทั้งช่วยลดต้นทุนใน การแก้ไขชิ้นงาน โดยออกแบบให้สามารถถอดออกเพื่อแก้ไขได้ โดยไม่ทิ้งคราบ “การระบายความร้อนที่มีประสิทธิภาพมีความส�ำคัญต่อ ความปลอดภัยและอายุการใช้งานของแบตเตอรี่ EV เป็นอย่างยิ่ง เช่น ระบบระบายความร้อนด้วยของเหลวเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพ มากทีส่ ดุ วิธหี นึง่ ในการน�ำความร้อนออกจากแบตเตอรี่ EV โซลูชนั

ซิลิโคนน�ำความร้อนของ Dow สามารถน�ำความร้อนไปสู่ระบบ ระบายความร้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงก่อให้เกิดประโยชน์ อย่างมากต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม EV โดยเฉพาะนวัตกรรมใหม่ DOWSILTM TC-5515 LT ที่ได้รับความไว้วางใจในอุตสาหกรรม EV ชัน้ น�ำ และเราพร้อมแล้วทีจ่ ะส่งมอบนวัตกรรมล่าสุดนีใ้ ห้กบั ผูผ้ ลิต แบตเตอรี่รถ EV ในประเทศไทย” ดร.ธนินท์โชติ เลิศพงศ์กิจจา ผูจ้ ดั การฝ่ายการตลาดโซลูชนั ส�ำหรับผูบ้ ริโภค กลุม่ บริษทั ดาว ประเทศไทย กล่าว

Dow (ดาว) เป็นบริษัทชั้นน�ำระดับโลก ซึ่งพัฒนาและผลิต วัสดุชนิดต่างๆ ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยมีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะเป็นบริษทั แมททีเรียลส์ ไซแอนซ์ (Materials Science) อันดับหนึง่ ของโลกในด้านนวัตกรรมและความยัง่ ยืน ด้วยการท�ำงานทีม่ ลี กู ค้า เป็นศูนย์กลาง และให้การยอมรับบุคลากรที่มีความหลากหลาย Dow มีเป้าหมายที่จะสร้างอนาคตที่ยั่งยืนให้กับโลกด้วยความ เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์ของเรา และการร่วมมือกับพันธมิตร ต่างๆ ทัว่ โลก กลุม่ ผลิตภัณฑ์และโซลูชนั ส์ทางวิทยาศาสตร์ของ Dow ได้แก่ พลาสติกชนิดต่างๆ เคมีภณ ั ฑ์เพือ่ อุตสาหกรรม สารเคลือบผิว และซิลิโคน ซึ่งเน้นสร้างความแตกต่างเพื่อตอบโจทย์ในตลาดที่มี การเติบโตสูง เช่น บรรจุภณ ั ฑ์ การก่อสร้าง ยานยนต์และการขนส่ง และการผลิตสินค้าอุปโภคบริโภค ปัจจุบนั Dow มีฐานการผลิต 106 แห่ง ใน 31 ประเทศ และมีพนักงานประมาณ 35,700 คน โดยมี ยอดขายในปี พ.ศ. 2563 ประมาณ 39,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ


Dow

introduces first innovative thermal conductive gap filler in Thailand for assembly and output of EV batteries

Dow Thailand Group, a leading global materials science company, has launched the first silicone innovation for electric vehicle (EV) battery assembly in Thailand by offering high performance thermal conductive silicone DOWSILTM TC-5515 LT. The product is among the latest technologies popular in the industry abroad. It helps break limitations in the electric vehicle industry by enhancing performance and extending the life of EV batteries, while reducing production costs from modifying workpieces. This innovative product in now ready for sale to entrepreneurs in Thailand. Dow developed DOWSILTM TC-5515 LT, a highperformance and low-density thermal conductive gap filler for EV battery packs, to reduce the amount of carbon dioxide – a cause of global warming from fuel combustion. With the new product, Thailand automotive battery manufacturers are prepared to meet critical needs presented by the worldwide EV market. The product performs reliably and is applicable to automatic production for EV battery assembly. The product features include, though are not limited to: • Thermal conductive for heat dissipation • Low density for light weight requirement • Resistance to thermal shock (-40°C to 125°C) aging • Resistance to high temperature and humidity aging • UL 94V0 flammability standard • Providing stress relief during the assembly process It is also reworkable and leaves no strains when removed; therefore, it can reduce the cost of modifying workpieces. Dr.Taninchote Lertpongkijja, Dow Thailand Consumer Solutions Marketing Manager, said “Efficient thermal management is critical for EV battery safety and lifespan.

Direct thermal conduction, such as a liquid cooling system, is one of the most effective ways to carry heat away from the EV battery. Dow’s comprehensive and efficient silicone solutions not only help manufacturers troubleshoot challenges, but also bring great benefits to the development of EV and mobility industries.” Dr.Lertpongkijja adds, “Especially among new products, DOWSILTM TC-5515 LT Low Density Thermal Gap Filler is trusted among leading EV producers. Now, we are delivering this latest innovation to Thailand’s local EV battery manufacturers.”

Dow (NYSE: DOW) combines global breadth, asset integration and scale, focused innovation and leading business positions to achieve profitable growth. The Company’s ambition is to become the most innovative, customer centric, inclusive and sustainable materials science company, with a purpose to deliver a sustainable future for the world through our materials science expertise and collaboration with our partners. Dow’s portfolio of plastics, industrial intermediates, coatings and silicones businesses delivers a broad range of differentiated science-based products and solutions for its customers in high-growth market segments, such as packaging, infrastructure, mobility and consumer care. Dow operates 106 manufacturing sites in 31 countries and employs approximately 35,700 people. Dow delivered sales of approximately $39 billion in 2020. References to Dow or the Company mean Dow Inc. and its subsidiaries. For more information, please visit www.dow.com or follow @DowNewsroom on Twitter. March-April 2021


Scoop

> กองบรรณาธิการ

3เอ็ ม พร้อมก้าวสู่

การปล่อยคาร์บอน สุทธิเป็นศูนย์ ลดการใช้น�้ำ พร้อมปรับปรุงคุณภาพน�้า

3เอ็ม บริษัทด้านนวัตกรรมวิทยาศาสตร์ ระดับโลก ประกาศเจตนารมณ์ในการลงทุนกว่า 1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ราว 3 หมื่นล้านบาท) ในระยะเวลา 20 ปีขา้ งหน้า เพือ่ เร่งบรรลุเป้าหมาย ใหม่ด้านสิ่งแวดล้อม ด้วยการปล่อยก๊าซคาร์บอน สุทธิเป็นศูนย์ (Carbon Neutrality) ภายใน พ.ศ. 2593 ลดการใช้น�้ำในโรงงานผลิตลง 25% และ ปล่อยน�้ำที่มีคุณภาพกลับคืนสู่ธรรมชาติภายหลัง จากใช้ในกระบวนการผลิตแล้ว ไมค์ โรมัน ซีอีโอและประธานเจ้าหน้าที่ บริหารของบริษัท 3เอ็ม กล่าวว่า “ที่ 3เอ็ม เรา เติ บ โตไปพร้ อ มกั บ การเป็ น ผู ้ น� ำ ด้ า นการรั ก ษา สิง่ แวดล้อม ความเสมอภาคทางสังคม ความยุตธิ รรม และหลักธรรมาภิบาล เราก�ำลังลงมือปฏิบตั อิ ย่างเป็น รูปธรรมเพือ่ ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอน ลดการใช้นำ�้ ตลอดจนปรับปรุงคุณภาพน�ำ้ โดยการลงทุนครั้งนี้ จะช่วยให้เรามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการ รักษาสิง่ แวดล้อมและขับเคลือ่ นสูก่ ารเติบโตทีย่ งั่ ยืน ในอนาคต การประกาศการลงทุนในวันนีแ้ สดงให้เห็น อีกครั้งว่า 3เอ็ม ได้น�ำวิทยาศาสตร์มาใช้ในการ ยกระดับคุณภาพชีวิตและท�ำให้โลกของเราน่าอยู่ ยิ่งขึ้น ด้วยการมีอากาศที่สะอาดขึ้น คุณภาพน�ำ้ ที่ ดีขึ้น และการลดของเสีย” การลงทุ น ระยะยาวของบริ ษั ท ฯ จะช่ ว ย ขับเคลื่อนโครงการลดของเสียและควบคุมมลพิษ ลดการใช้น�้ำ ตลอดจนจัดหาและน�ำเทคโนโลยีที่ดี ทีส่ ดุ มาใช้ในการด�ำเนินการ การลงทุนดังกล่าวยังจะ ช่วยให้ 3เอ็ม เร่งปรับปรุงและพัฒนากระบวนการ ผลิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายด้าน สิ่งแวดล้อม

ก้าวสู่องค์กรที่ปล่อยก๊าซคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ ภายใน พ.ศ. 2593 ด้วยการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์และความเชี่ยวชาญทางเทคโนโลยี 3เอ็ม คาดหวังว่าจะลดปริมาณก๊าซคาร์บอนลงถึง 50% ภายใน พ.ศ. 2573 และจะลดให้ได้ 80% ภายใน พ.ศ. 25831 ก่อนเข้าสู่การเป็นองค์กรที่ปล่อย ก๊าซคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ 100% ใน พ.ศ. 2593 นอกจากนี้ 3เอ็ม จะร่วมมือ กับลูกค้า รัฐบาล และคูค่ า้ ทัว่ โลกเพือ่ ลดปริมาณก๊าซคาร์บอน ผ่านการคิดค้น และสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และโซลูชันที่เป็นนวัตกรรมใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปีนี้เป็นต้นไป 3เอ็ม จะขยายขอบเขตการตรวจสอบโรงงานผลิต ทีไ่ ด้ทำ� มาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ให้มนั่ ใจว่าการปฏิบตั งิ านจะสามารถลดการปล่อย มลพิษที่เกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการผลิตได้ ส�ำหรับประเทศไทยนั้น 3เอ็ม ได้ ติ ด ตั้ ง แผงโซลาร์ เซลล์ ที่ อ าคารโรงงาน ซึ่ ง ตั้ ง อยู ่ ใ นนิ ค มอุ ต สาหกรรม ลาดกระบัง โดยสามารถน�ำพลังงานหมุนเวียนจากแสงอาทิตย์มาใช้ได้ถงึ 14% และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มากกว่า 670 เมตริกตันต่อปี ยิ่งไปกว่านั้น โรงงานผลิต 2 แห่งในประเทศไทยของ 3เอ็ม ได้แก่ โรงงานลาดหลุมแก้วและโรงงานลาดกระบัง ได้ประสบความส�ำเร็จในการบริหาร จัดการของเสียจากกระบวนการผลิตได้ตามเป้าหมาย การลดการฝังกลบขยะ เป็นศูนย์ (Zero Landfill) ด้วยการรีไซเคิลของเสียอุตสาหกรรมและการน�ำไป เป็นเชือ้ เพลิงในการผลิตซีเมนต์ ผ่านกรรมวิธกี ารเผาร่วมในเตาเผาปูนซีเมนต์ (Co-Processing in Cement Kilns) “เราน�ำนวัตกรรมของเรามารองรับความท้าทายด้านภาวะภูมอิ ากาศทีโ่ ลก ก�ำลังเผชิญอยู่ เพือ่ มุง่ ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนและลดการใช้นำ�้ ให้ได้มากขึน้ นับตั้งแต่ พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา เราได้ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงอย่าง มาก ควบคูไ่ ปกับการเจริญเติบโตอย่างต่อเนือ่ งของบริษทั โดยส�ำนักงานใหญ่ ของเราได้เปลี่ยนมาใช้พลังงานไฟฟ้าหมุนเวียนโดยสมบูรณ์ นอกจากนี้ เราก�ำลังก้าวไปสู่เป้าหมายในการลดปริมาณของเสียทั่วโลก โดยมุ่งบริหาร จัดการของเสียตั้งแต่แหล่งที่มา นั่นคือการงดใช้พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง และมุ่งด�ำเนินการให้ฐานการผลิตของเราทั่วโลกลดการฝังกลบขยะเป็นศูนย์” ไมค์ กล่าว


มุ่งลดการใช้น�้ำและปรับปรุงคุณภาพน�้า ก่อนคืนสู่ธรรมชาติ 3เอ็ม มุ่งมั่นที่จะลดปริมาณการใช้น�้ำในฐานการผลิตต่างๆ ทั่วโลกตลอดทศวรรษข้างหน้า โดยใช้แนวทางเดียวกันกับการลด ปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอน นั่นคือการลงมือด�ำเนินการทันที เพือ่ ลดการใช้นำ�้ ลงในทุกๆ เดือน และในระยะยาว โดยมุง่ ลดปริมาณ การใช้นำ�้ ลง 10% ภายใน พ.ศ. 2565 ลดลง 20% ภายใน พ.ศ. 2568 และลดลง 25% ภายในปี พ.ศ. 25731 นอกจากนั้ น ได้ ว างแผนติ ด ตั้ ง เทคโนโลยี ก ารบ� ำ บั ด น�้ า ที่ทันสมัยที่สุดภายในสิ้นปี พ.ศ. 2566 และจะด�ำเนินการใช้อย่าง เต็มระบบใน พ.ศ. 2567 ในทุกๆ ฐานการผลิตของบริษทั ทีม่ กี ารใช้ ปริมาณน�ำ้ สูงสุด การบ�ำบัดน�ำ้ นี้จะช่วยให้บริษัทสามารถน�ำน�ำ้ ที่มี คุณภาพคืนสู่ธรรมชาติภายหลังจากการใช้ในกระบวนการผลิตแล้ว บริ ษั ท จะใช้ ค วามเชี่ ย วชาญและเทคโนโลยี ขั้ น สู ง ในการก� ำ จั ด สิ่งเจือปนออกจากน�้ำที่ใช้ดังกล่าว และมุ่งมั่นที่จะลดการใช้น�้า โดยรวมต่อปีถงึ 2.5 พันล้านแกลลอน (ประมาณ 9.5 พันล้านลิตร) โดยพันธกิจใหม่นตี้ อ่ ยอดมาจากเป้าหมาย พ.ศ. 2568 เดิมของบริษทั ในการเข้าไปมีสว่ นร่วมสนับสนุนแก่ชมุ ชนทีเ่ ผชิญปัญหาขาดแคลน น�้ำในพื้นที่ที่ 3เอ็ม เข้าไปตั้งฐานการผลิต ด้วยแนวทางการบริหาร จัดการน�้ำของชุมชนโดยรวม “เราก�ำลังด�ำเนินการตรวจสอบโรงงานผลิตของเราแบบเชิงรุก โดยด�ำเนินการทีละโรงงาน เพือ่ ลงทุนและปรับปรุงให้ไปได้ไกลยิง่ กว่า เป้าหมายที่ตั้งเอาไว้ และขณะเดียวกันก็ปรับปรุงการด�ำเนินงาน ของบริษทั ไปพร้อมกันด้วย เราน�ำเทคโนโลยี 3เอ็ม ไปใช้ในวงกว้าง เพือ่ ช่วยให้เราสามารถลดการใช้นำ�้ บ�ำบัด และน�ำน�ำ้ กลับมาใช้ใหม่ ในกระบวนการผลิตของเราได้มากขึน้ เราก�ำลังน�ำเสนอประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญของเราแก่ชุมชน เพื่อให้เราสามารถช่วยเหลือ ผู้อื่นให้มีน�้ำที่มีคุณภาพดีขึ้น” ไมค์ กล่าวเพิ่มเติม จัดหานวัตกรรมแก่ผู้บริโภคชาวไทย 2 ปีท่ีแล้ว 3เอ็ม ได้ประกาศว่า นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 การพัฒนาผลิตภันฑ์เพื่อการจ�ำหน่ายในเชิงพาณิชย์จ�ำเป็นจะต้อง บรรลุขอ้ ตกลงด้านความยัง่ ยืน (Sustainability Value Commitment) ที่แสดงให้เห็นว่าผลิตภันฑ์สร้างสรรค์ผลกระทบเชิงบวกอย่างไร ยกตัวอย่างเช่น การน�ำกลับมาใช้ซ�้ำ การน�ำกลับมาใช้ใหม่ การลด ของเสีย การประหยัดพลังงาน การประหยัดน�ำ้ การจัดหาอย่างมี ความรับผิดชอบ การใช้วัสดุหมุนเวียนที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่ต้นจนสิ้นสุดวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์แต่ละชิ้น ในประเทศไทย 3เอ็ม ได้นำ� เสนอผลิตภัณฑ์ทผี่ า่ นการรับรอง ฉลากเขียว เช่น น�ำ้ ยาล้างจาน 3เอ็ม ซึ่งพิสูจน์แล้วว่าเป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ฟลิ ม์ กรองแสงอาคารของ 3เอ็ม กว่า 20 รุน่ ยังได้รบั การรับรองฉลากประหยัดพลังงานหมายเลข 5 จากกระทรวงพลังงาน อันเป็นการการันตีประสิทธิภาพในการ ป้องกันความร้อนและลดการใช้พลังงานของเครื่องปรับอากาศ มุ่งมั่นที่จะเป็นผู้นำ�ด้านความยั่งยืน และการรักษา สิ่งแวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล (ESG) 3เอ็ม ได้ด�ำเนินการอย่างต่อเนื่องมาตลอดหลายทศวรรษ เพื่อเป็นผู้น�ำด้านความยั่งยืนและการรักษาสิ่งแวดล้อม รวมถึง

การจัดท�ำโครงการป้องกันมลพิษ Pollution Prevention Pays ที่ช่วยป้องกันการปล่อยมลพิษกว่า 2 ล้านตัน และ พ.ศ. 2558 บริษัทได้ตั้งเป้าหมายความยั่งยืนครั้งยิ่งใหญ่สำ� หรับปี พ.ศ. 2568 ที่ มุ ่ ง เน้ น การใช้ วิ ท ยาศาสตร์ ข อง 3เอ็ ม ในการขั บ เคลื่ อ นการ เปลี่ยนแปลงสู่อนาคตที่ยั่งยืนให้เร็วยิ่งขึ้น ผลิตภัณฑ์ของ 3เอ็ม ช่วยผลักดันผลกระทบเชิงบวกด้าน สิ่ ง แวดล้ อ มทั่ ว โลกจากสมรรถภาพและเทคโนโลยี ร ะดั บ โลก ที่หลากหลายของเรา เช่น • สารกึ่งตัวน�ำและอิเล็กทรอนิกส์ ผลิตภัณฑ์ของ 3เอ็ม ช่ ว ยให้ ก ารผลิ ต สารกึ่ ง ตั ว น� ำ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น ปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพและอายุ ก ารใช้ ง านของอุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เมื่อเราก�ำลังก้าวเข้าสู่โลกที่ไร้กระดาษ • การรีไซเคิลและวัสดุจากพืช 3เอ็ม ช่วยขยายเครือข่าย ห่วงโซ่อุปทาน และส่งเสริมความต้องการวัสดุรีไซเคิล โดยการ สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุรีไซเคิลที่ผ่านการใช้งานโดยผู้บริโภค มาแล้ว และเป็นผู้น�ำนวัตกรรมวัตถุดิบจากพืชในผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เช่น เทป ScotchTM กระดาษโน้ต Post-itTM และแผ่นใยขัด Scotch-BriteTM • ยานยนต์ไฟฟ้า วัสดุตา่ งๆ ของ 3เอ็ม ส�ำหรับการประกอบ และมีน�้ำหนักเบา เช่น วัสดุไมโครสเฟียร์ 3เอ็ม Glass Bubbles ได้เข้ามาช่วยส่งเสริมเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้าและแบตเตอรีร่ นุ่ ใหม่ ช่วยลดน�้ำหนักของยานยนต์ ช่วยประหยัดเชื้อเพลิงโดยรวม และ ช่วยให้แบตเตอรี่วิ่งได้ไกลยิ่งขึ้น • อาคารประหยัดพลังงาน โซลูชันฟิล์มกรองแสง 3เอ็ม ช่วยป้องกันความร้อนจากภายนอกและกักเก็บความเย็นภายใน ท�ำให้อาคารประหยัดพลังงานมากขึน้ และลดการใช้พลังงานในการ ท�ำความเย็นหรือความร้อนให้เหมาะสมกับผูพ้ กั อาศัยและผูท้ ำ� งาน ในอาคาร • พลังงานหมุนเวียน เทคโนโลยีฟิล์ม เทป และกาว ของ 3เอ็ม ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพให้แผงโซลาร์เซลล์ สามารถจับแสงอาทิตย์ ได้มากขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพ และช่วยปกป้องใบกังหันลมจาก สภาพแวดล้ อ มที่ เ ปลี่ ย นแปลงหรื อ สภาพอากาศที่ แ ปรปรวน ช่วยเสริมสร้างการท�ำงานที่เสถียร ยืดอายุการใช้งาน และเพิ่ม ประสิทธิภาพการท�ำงาน • การปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคาร ผลิตภัณฑ์ กรองอากาศในห้อง FiltreteTM และโซลูชันการท�ำความร้อนและ ความเย็น ช่วยดักจับอนุภาคในอากาศ ทัง้ ฝุน่ ละอองส�ำลี ขนสัตว์ และแบคทีเรีย ลดมลพิษทางอากาศภายในอาคาร ท�ำให้บ้านและ ที่ท�ำงานปลอดภัยยิ่งขึ้น 1

จะใช้ปี พ.ศ. 2562 เป็นค่าพื้นฐานในการวัดผลส�ำหรับพันธกิจใหม่เหล่านี้


Special Area

> บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด

DC Switch Disconnector

ด้ ว ยภาวะเศรษฐกิ จ ที่ เกิ ด การชะลอตั ว การลด ต้นทุนจึงเป็นสิง่ จ�ำเป็น การลดค่าไฟฟ้าเป็นหนึง่ ในการลด ต้นทุนทีน่ ยิ มน�ำมาใช้ และการติดตัง้ ระบบ Solar Cell เพือ่ ช่วยแบ่งเบาค่าไฟฟ้าในช่วงเวลากลางวัน

Benedict ผู้ผลิตสวิตช์ตัด-ต่อไฟฟ้าคุณภาพสูงจาก ประเทศออสเตรีย ได้พฒ ั นาสวิตช์ตดั -ต่อไฟฟ้าส�ำหรับไฟฟ้า กระแสตรง (DC Switch Disconnector) เพื่อใช้งานกับ Solar Cell เพือ่ ให้งา่ ยต่อการบ�ำรุงรักษา ตรวจสอบ แผง Solar Cell

รูปแบบการติดตั้งชนิดต่างๆ 1. การติดตั้งแบบปกติ

รุ่น “E” ชนิดติดหน้าตู้

รุ่น “Z” ชนิดติดหน้าตู้

รุ่น “VRZ” ชนิดติดราง DIN และมีก้านบิดหน้าตู้

รุ่น “SMA” ชนิดติดราง DIN

LS–DC Switch Disconnector

สวิตช์ตดั -ต่อไฟฟ้าส�ำหรับไฟฟ้ากระแสตรง มีหลากหลาย ชนิดให้เลือกใช้ตามการติดตั้ง

Features

• มีแบบ 2, 4, 6 และ 8 Pole ให้เลือกใช้ • มีพิกัดกระแสสูงสุด 85A ที่ DC-PV1 • รองรับแรงดันสูงสุด 1,500VDC ที่ DC-PV1 • หน้าคอนแทคท�ำจากวัสดุที่ไม่มีการเกิด Oxidation


2. การติดตั้งชนิดที่สามารถล็อกกุญแจได้

รุ่น “EH4” ชนิดติดหน้าตู้

รุ่น “ZH1” ชนิดติดหน้าตู้

รุ่น “VRH4” ชนิดติดราง DIN และมีก้านบิดหน้าตู้

รุ่น “SMAH1” ชนิดติดราง DIN

รุ่น “PFLH4” ชนิดกล่อง Enclosure

ตัวอย่างการต่อแบบต่างๆ

ปัจจัยการเลือกขนาดของ DC Switch Disconnector ทีต่ อ้ งพิจารณานอกจากค่ากระแสทีใ่ ช้งาน ยังมีปจั จัยอืน่ ประกอบด้วย เช่น ขนาด ของสายไฟ อุณหภูมิโดยรอบ (Ambient Temperature) ตัวอย่างกราฟแสดงความสัมพันธ์การรองรับกระแสที่สัมพันธ์กับขนาดสายไฟ แรงดันไฟฟ้า เมื่ออุณหภูมิโดยรอบเปลี่ยนไป

บริษท ั แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จำ�กัด โทร. 0-2194-8738-9 แฟกซ์ 0-2003-2215 E-mail : info@mit-thailand.com เว็บไซต์ : www.mit-thailand.com


Special Area

> Ralph Chutikul, ITL Engineering & Solution Co., Ltd.

EV Fast Charger and Battery Energy Storage System EV Fast Charger กับระบบกักเก็บพลังงาน

ปัจจุบนั กระแสรถยนต์ในเมืองไทยหันมาทางรถยนต์ไฟฟ้ามากขึน้ เรือ่ ยๆ ส่งผลให้สถานีชาร์จด่วน (EV Fast Charger) กลายเป็นหัวใจหลัก และปัจจัยส�ำคัญ ส�ำหรับการรองรับการเติบโตนี้ อีกปัจจัยหนึ่งคือ ระยะเวลาในการชาร์จในแต่ละครั้ง นวัตกรรมการชาร์จในปัจจุบันสามารถชาร์จด่วนได้ภายในระยะเวลา น้อยกว่าครึง่ ชัว่ โมง (>80% in 30 min) เพือ่ ทีจ่ ะสามารถเดินทางระยะไกลต่อได้ ด้วยรถยนต์ไฟฟ้า EV

What is EV Fast Charger and its Limitations? ข้อจำ�กัดของระบบการชาร์จด่วน คืออะไร?

ขนาดของสถานีชาร์จ EV Fast Charger จะอยูท่ ี่ 25 kW ถึง 250 kW ขึน้ อยูก่ บั เครือ่ งชาร์จ และรถยนต์ ไ ฟฟ้ า ที่ ร องรั บ ในแต่ ล ะรุ ่ น ทั้ ง นี้ การที่จะมี EV Fast Charger ใหม่ขึ้นมา ส่งผล ให้มีความต้องการใช้ไฟฟ้ามากขึ้นตามไปด้วย ดังนัน้ การติดตัง้ EV Fast Charger เพิม่ อาจจะมี ข้อจ�ำกัดในหลายด้าน เช่น • ระบบส่ ง และจ่ า ยไฟฟ้ า ของสถานที่ ติดตั้งอาจจะมีข้อจ�ำกัดเรื่องต้องขอเพิ่มขนาด หรือต้องลงทุนติดตั้งหม้อแปลงเพิ่ม • หากมีการเติบโตมากๆ ระบบไฟฟ้า แบบเดิม หรือก�ำลังผลิตทีม่ อี ยู่ อาจจะไม่สามารถ รองรับการใช้งานของ EV Fast Charger ได้ทัน ต่อการเติบโตที่เพิ่มขึ้น


• หากต้องมีการติดตัง้ สถานีไฟฟ้าใหม่ หรือต้องขยายระบบ ไฟฟ้าเพื่อรองรับ EV Fast Charger โดยทั่วไปแล้วนอกเหนือจาก ที่จะต้องลงทุนเพิ่ม ยังมีขั้นตอนของการออกแบบ ก่อสร้าง และ ติดตั้ง ที่อาจจะกินเวลายาวถึง 6 เดือนเลยทีเดียว (ซึ่งบางพื้นที่ อาจจะรอไม่ได้) บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (GPSC) แกนน�ำนวัตกรรมธุรกิจไฟฟ้าในเครือ ปตท. ด�ำเนินการลงทุนพัฒนา และผลิตแบตเตอรี่ลิเทียมไอออนชั้นน�ำของไทย ร่วมกับสถาบัน นวัตกรรม ปตท. (Innovation Institute PTT) พัฒนา Solution เพื่อ ตอบสนองการเติบโตของสถานีชาร์จด่วน EV Fast Charger ในไทย ให้เกิดขึ้นได้จริง ระบบการกักเก็บพลังงานโดยแบตเตอรี่ (Battery Energy Storage System) พัฒนาโดย GPSC โดยใช้แบตเตอรี่ลิเทียมฟอสเฟต (Lithium Iron Phosphate : LTP) คุณภาพสูง ใช้งานร่วมกับ ระบบการจัดการพลังงาน (Energy Management System : EMS) ที่พัฒนาโดยสถาบันนวัตกรรม ปตท. (Innovation Institute PTT) จุดประสงค์เพื่อจัดการและรองรับ EV Fast Charger

BESS + EV Fast Charger

ระบบการกักเก็บพลังงาน และ EV Fast Charger

Solution นีม้ ชี อื่ ว่า G-Box ระบบกักเก็บพลังงานโดยแบตเตอรี่ (BESS) ที่ท�ำงานร่วมกับ PTT EV Station ของ PTT OR เป็น โครงการน�ำร่อง ตัง้ อยูท่ สี่ ถานีบริการน�ำ้ มัน ปตท. สาขาหนองแขม กรุงเทพฯ โดย GPSC พัฒนาระบบกักเก็บพลังงาน BESS ขึน้ มาเอง

แบบ In-House Design and Engineering ระบบขนาด 100 kW/ 150 kWh สามารถจ่ายไฟให้กับ EV Fast Charger ขนาด 72 kW (ชาร์จพลังงานได้ 80% ภายในระยะเวลาน้อยกว่า 30 นาที) Solution นี้สามารถช่วย Bypass การใช้ไฟฟ้าของสถานี บริการน�ำ้ มัน ปตท. สาขาหนองแขม ให้ระบบกักเก็บพลังงาน BESS สามารถจ่ายไฟให้กบั EV Fast Charger ได้โดยตรง ท�ำให้ทสี่ ถานีนี้ ไม่จำ� เป็นต้องขยายหรือเพิม่ ระบบไฟฟ้าขึน้ มาใหม่ อีกทัง้ ระบบกักเก็บ พลังงาน BESS ที่ท�ำงานร่วมกับระบบจัดการพลังงาน Energy Management System ยังสามารถช่วยให้การใช้ไฟฟ้าของทัง้ สถานี เข้าใกล้ค�ำว่า Net-Zero Energy Consumption ด้วย Feature


• Energy Peak Shifting (ในช่วงที่มีความต้องการใช้ไฟสูงจาก EV Fast Charger) • Energy Arbitrage to Save Electrical Bill (บริหารการใช้ไฟ ในช่วง On-Peak ที่มีค่าไฟแพง และ Off-Peak ที่มีค่าไฟถูกกว่า) • ด้วยระบบกักเก็บพลังงาน BESS ที่สถานีสามารถติดตั้งและ ใช้งานพลังงานสะอาดอย่าง Solar Rooftop ได้ง่าย และมีประสิทธิภาพ มากขึ้น สรุปคือ ในทศวรรษนี้ เทรนด์ตลาดยานยนต์ไฟฟ้า EV และ Electrification Trend นับว่ามีความน่าสนใจและมีโอกาสเติบโตสูงในไทย และเพือ่ ให้ตลาดนีเ้ กิดขึน้ ได้จริง เราจึงต้องการการสนับสนุนจากทางภาครัฐ และนวัตกรรมจากภาคเอกชน ในที่นี้ คือ GPSC และ PTT Group ITL Engineering and Solution เป็นผู้ให้บริการวิศวกรรมและ Solution ของระบบกักเก็บพลังงาน BESS ชั้นน�ำในไทย เราช่วยองค์กร อย่าง GPSC ในการพัฒนาโครงการและส่งเสริมนวัตกรรมใหม่ๆ ให้เกิด ในไทย และช่วยให้เราได้เข้าใกล้กบั Carbon Naturalization และ Net Zero Emission เข้าไปอีกขั้น


https://bit.ly/ITL-BESS

บริษท ั ไอทีแอล เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ โซลูช่น ั จำ�กัด

22/28-29 ถนนสุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 10250 โทร. 0-2002-4395–97 E-mail : ralph.c@itl-engineering.com


Special Area > Hitachi ABB Power Grids

Hitachi ABB Power Grids’ Digital Enterprise Solutions Join Hitachi’s Lumada Portfolio of Digital Solutions and Services Introducing Lumada Asset Performance Management, Enterprise Asset Management and Field Service Management Hitachi ABB Power Grids and Hitachi Vantara announced the integration of Hitachi ABB Power Grids’ Digital Enterprise (DE) flagship solutions within the Lumada portfolio of advanced digital solutions and services for turning data into insights. The two Hitachi business entities have agreed to rebrand the DE components as Lumada Asset Performance Management (APM), Lumada Enterprise Asset Management (EAM) and Lumada Field Service Management (FSM), adding to the growing portfolio of DataOps and Industrial IoT solutions. The DE portfolio of solutions and its predecessors enable customers spanning multiple global industries to operate, analyze and optimize over $4 trillion of assets every day. With the incorporation of the DE portfolio into Lumada, this experience is further complemented by a leading technology engine to deliver access to information, systems, people and analytics across asset-intensive organizations. With Digital Enterprise’s incorporation into Lumada, Hitachi ABB Power Grids’ energy domain experience will be augmented by Hitachi’s Lumada Industrial IoT platform. Hitachi was recently named a Leader in the 2020 Gartner Magic Quadrant for Industrial IoT Platforms based on Gartner Inc.’s

evaluation of the company and its Lumada IoT software. “Our software solutions and Lumada are highly complementary.” said Massimo Danieli, managing director, grid automation business unit, Hitachi ABB Power Grids. Massimo added, “Combining best-in-class Lumada IoT capabilities and the domain expertise built into Digital Enterprise applications provides both new and existing customers unparalleled flexibility and faster time to value, while preserving the value of their past software investments. The journey we began with our customers as part of the Digital Enterprise evolution story has become broader and more compelling, as we join the Lumada ecosystem.” “Lumada Enterprise Asset Management and Field Service Management allow us to seamlessly expand our Ellipse EAM, enabling us to share information across all parts of our organization, tearing down silos and giving us the opportunity to formulate a longer-term, holistic strategy that reflects our specific business outcomes.” said Brian Green, general manager, asset management, from the Australian Rail Track Corporation (ARTC). Brian continued, “In addition, implementing these solutions allows us to optimize the quality of the data we collect and ensure safe, compliant and efficient business operations.”


“Bringing these solutions that each encapsulate deep domain expertise into the greater Lumada ecosystem gives customers an extremely powerful combination of tools to modernize their business.” said Chris Scheefer, senior vice president, Industry Practice, Hitachi Vantara. “The holistic view of assets and information provided by Lumada allows leadership to analyze and react in real-time, enabling efficient, effective operations and a foundation to create a more sustainable future.” DE and Lumada also share core foundational features: a modern microservices design, vendor-agnostic interoperability, and a flexible deployment model, including cloud, on-premises and hybrid. With the combination of Hitachi ABB Power Grids’ Digital Enterprise application portfolio and Hitachi’s Lumada solutions offered by Hitachi Vantara, customers will be able to benefit from additional data services including data integration, data cataloging, edge intelligence, data management, analytics and more. The new integrated Lumada portfolio will offer advantages to customers in the following key areas: Digital Transformation & Data Modernization – improving access to and insights from data

1. 2. 3.

Connected Asset Performance – helping to predict and prevent asset failures Intelligent Operations Management – improving oversight and maintenance of assets

4.

Health, Safety & Environment – enabling safer environments for workers and the public

Hitachi ABB Power Grids is an established leader in the enterprise software space with solutions and a strong customer base that pre-date Digital Enterprise. The modernization pathway to Digital Enterprise planned for the classic offerings, such as Ellipse EAM, Asset Suite, Service Suite, eSOMS, and others, continues with Lumada. Investment in and customer support for those products will remain intact throughout the process.

About Hitachi ABB Power Grids Ltd.

Hitachi ABB Power Grids is a global technology leader with a combined heritage of almost 250 years, employing around 36,000 people in 90 countries. Headquartered in Switzerland, the business serves utility, industry and infrastructure customers across the value chain, and emerging areas like sustainable mobility, smart cities, energy storage and data centers. With a proven track record, global footprint and unparalleled installed base, Hitachi ABB Power Grids balances social, environmental and economic values. It is committed to powering good for a sustainable energy future, with pioneering and digital technologies, as the partner of choice for enabling a stronger, smarter and greener grid. https://www.hitachiabb-powergrids.com


Special Area > Spectrum Instrumentation

Scanning Atoms with the tip of a needle

The Improved Cantilever of Dr.Ruppert

Digitizer from Spectrum helps researchers to improve the Atomic Force Microscope The Atomic Force Microscope (AFM) is an important tool in materials science and used for mechanical scanning of surfaces. The forces acting between the atoms of the surface and the tip of a nanoscopic needle are measured and calculated giving resolutions in the order of fractions of a nanometer. Now, the University of Newcastle in Australia is improving and simplifying these complex machines, so that a wider use in laboratories worldwide will be possible. In this sophisticated research, an 8-channel Spectrum digitizer NETBOX provides the high precision needed to push the evolution of AFMs. The Atomic Force Microscope (AFM), invented in 1985, became a vital tool used by laboratories around the world that are involved in surface chemistry. Its outstanding resolution means that this instrument can reveal more detail than conventional lightbased microscopes by a factor of more than 1000 times. And, unlike other advanced systems such as electron microscopes, it can image samples in situ. This, along with the ability to perform topographical imaging and force measurements, makes AFMs well suited

for the study of soft biological materials, polymers, nanostructures and various other materials. At the University of Newcastle, Dr.Michael Ruppert and his team are improving the key elements of AFM systems. The aim is to simplify the operation as well as to enhance the overall performance of these microscopes. The Precision Mechatronics Lab at the University’s School of Electrical Engineering and Computing brings together expertise in nanotechnology, mechatronics, microelectromechanical systems (MEMS) and low-noise electronic design to create unique solutions that can reduce an AFM’s system complexity and cost. An AFM typically creates a topographical image by scanning a cantilever/tip across a sample surface. A laser beam and positionsensitive photodiode detector is then used to determine small changes in cantilever deflection. Signals from the detector need to be acquired and analyzed in order to determine any topological height changes on the sample’s surface to create a three-dimensional topography.

About Spectrum Instrumentation

Spectrum Instrumentation, founded in 1989, uses modular design to create a wide range of digitizers and generator products as PC-cards (PCIe and PXIe) and stand-alone Ethernet units (LXI). In 30 years, Spectrum has gained customers all around the world, including maany A-brand industry-leaders and practically all prestigious universities. The company is headquartered near Hamburg, Germany, and known for its outstanding support that comes directly from the design engineers.


Dr.Michael Ruppert aliagning a custom active cantilever in a modified atomic force microscope.

Schematic setup of a traditional multifrequency atomic force microscopy experiment. A cantilever vibrates at multiple resonance frequencies simultaneously while it is being scanned over a sample by a nanopositioner. At the core of the instrument is a microcantilever which interacts with the sample and provides the “physical link” to measuring nanomechanical properties. While cantilever microfabrication technology has continuously advanced over the years, the overall design has remained largely unchanged; a passive rectangular cantilever has been adopted as the industry wide standard. Consequently, conventional cantilever instrumentation requires external piezo-acoustic excitation as well as an external optical deflection sensor. Both of these components are not optimal for trends in multifrequency AFM technology which can extend the imaging information beyond the topography to a range of nano-mechanical properties including sample stiffness, elasticity and adhesiveness. In contrast, active cantilevers with integrated actuation and sensing on the chip level provide several distinct advantages over conventional cantilever including the absence of structural modes of the mounting system, the possibility of downscaling, single-chip AFM implementations, parallelization to cantilever arrays as well as the absence of optical interference. Dr.Ruppert and his co-workers have recently published a number of papers that propose novel, integrated cantilever designs to improve AFM performance, simplify operation and drastically reduce the footprint and equipment costs. The papers discuss topics that include innovative cantilever designs to optimize deflection sensitivity, achieve arbitrary placement of resonance frequencies and allow integrated robust multimode Q control. In collaboration with the University of Texas at Dallas, Dr.Ruppert also co-developed the first silicon-on-insulator, single-chip, MEMS AFM that features integrated in-plane electrostatic actuators and electrothermal sensors, as well as an AlN piezoelectric layer for out-of-plane actuation and integrated deflection sensing. The approach has the potential to significantly reduce the cost and complexity of the AFM and expand its utility beyond current applications.

To undertake this type of research, it is important to have high precision measuring equipment that allows the acquisition and analysis of the sensor signals from these integrated microcantilevers. By determining the amplitude noise spectral density, important parameters of the cantilever system can be obtained including the thermal noise at resonance, the cantilever tracking bandwidth, and the electronic noise floor of the instrumentation. For this purpose, the research group uses a model DN2.593-08 digitizer NETBOX from Spectrum Instrumentation. The unit has eight fully synchronized digitizer channels each capable of sampling signals at rates up to 40 MS/s with 16-bit resolution. For control and data transfer, the digitizer NETBOX connects to a host computer via a simple Gbit Ethernet cable. Researcher Dr.Michael Ruppert says: “Having a measuring tool like the digitizer NETBOX is essential for the work we are doing here at the Precision Mechatronics Lab. The unit allows us to make simultaneous highresolution, low-noise measurements of multiple integrated sensor regions in order to correctly characterize our system’s performance.”

The DN2.593-08 digitizerNETBOX allows 40 MS/s sampling with 16-bit on eight channels simultaneously. More information about Spectrum can be found at www.spectrum-instrumentation. com


IT Article

> วรเทพ ว่องธนาการ ผู้จัดการฝ่ายสนับสนุนด้านโซลูชัน บริษัท ยิบอินซอย จ�ำกัด

เช็กความพร้อมไอที ก่อน PDPA บังคับใช้

https://pixabay.com/photos/code-html-internet-computer-web-1689066/

เชื่อว่าหลายองค์กรในขณะนี้ ต่ า งมี ค วามเข้ า ใจถึ ง ความส� ำ คั ญ ของการบังคับใช้กฎหมาย PDPA ซึ่ ง หั ว ใจส� ำ คั ญ อยู ่ ท่ี การจั ด การ ข้อมูลส่วนบุคคล ซึง่ จะเป็นการเสริม ความมั่ น คงปลอดภั ย และความ มั่นใจให้กับลูกค้าหรือผู้ใช้งาน เพื่อ เป็นการส่งท้ายก่อนกฎหมาย PDPA จะมีผลบังคับใช้อย่างเป็นทางการ ในกลางปีนี้ จึงอยากเชิญชวนองค์กร มาเช็กความพร้อมของระบบไอที ไม่ ใ ห้ ต กหล่ น เครื่ อ งมื อ ส� ำ คั ญ ที่ ต ้ อ งมี เพื่ อ ให้ ก ารด� ำ เนิ น การ ตามกฎหมายมีประสิทธิภาพและ ปลอดภัยสูง นั่นคือ

เครื่องมือค้นหาและจัดประเภทข้อมูล (Data Discovery and Classification)

เพราะแต่ ล ะองค์ ก รต่ า งมี ก ารจั ด เก็ บ และเรี ย กใช้ และปรั บ ปรุ ง ข้ อ มู ล มากมาย กระจัดกระจายอยูใ่ นระบบ ทัง้ ในองค์กร นอกองค์กร บนคลาวด์ หรือแม้ในปลายทาง หรือ เอนด์พอยต์ อย่างโทรศัพท์มอื ถือ หรือ BYOD ต่างๆ ดังนัน้ การค้นหาและจัดประเภทข้อมูล จึงเป็นก้าวเริ่มต้นที่สำ� คัญในการวางระบบความปลอดภัยให้ข้อมูล เพราะเราคงไม่สามารถ คุม้ ครองข้อมูลส่วนบุคคลหรือข้อมูลใดๆ ได้เลยหากไม่รวู้ า่ ข้อมูลนัน้ อยูท่ ไี่ หน ข้อมูลใดส�ำคัญ หรือไม่สำ� คัญ และควรก�ำหนดแนวทางคุม้ ครองอย่างไร การมีเครือ่ งมือไอทีทดี่ ใี นการจัดท�า คลังข้อมูลส่วนบุคคล นับเป็นการสร้างกระบวนการบริหารเชิงรุกไม่ให้มีการน�ำข้อมูลไปใช้ ผิดวัตถุประสงค์หรือผิดกฎหมาย ไม่วา่ จะเป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพในการค้นหา ระบุตำ� แหน่ง ที่จัดเก็บ และคัดแยกประเภทของข้อมูลส่วนบุคคลในระบบ การก�ำหนดสิทธิในการเข้าถึง ผ่านการก�ำกับดูแลได้จากจุดเดียว สามารถติดตามกิจกรรมที่เกิดขึ้นกับการเรียกหรือใช้งาน ข้อมูลเหล่านัน้ ได้ทงั้ การตรวจสอบย้อนหลัง หรือป้องปรามโดยการแจ้งเตือนทันทีทเี่ กิดการ ละเมิดนโยบายหรือข้อตกลง รวมถึงป้องกันการเข้าถึงข้อมูลด้วยการเข้ารหัส หรือเพิ่มการ วิเคราะห์ตรวจประเมินช่องโหว่ตามมาตรฐานความปลอดภัยสากลต่างๆ เช่น DoD STIG, CIS, CVE ซึง่ ในตลาดขณะนีก้ ม็ โี ซลูชนั ให้เลือกใช้ได้อย่างครอบคลุม อาทิ IBM Security Guardium


https://pixabay.com/photos/matrix-binary-security-code-2503236/

ดังนัน้ การบริหารจัดการกับปริมาณข้อมูลส่วนบุคคลทีม่ ปี ริมาณมาก และเพิม่ ขึน้ ตลอดเวลา การมีเครือ่ งมือช่วยบริหารจัดการข้อมูลส่วนบุคคล ให้เป็นไปตามกฎระเบียบข้อบังคับอย่างมีประสิทธิภาพ จะสามารถเพิ่ม ความน่าเชื่อถือให้กับองค์กร และลดความเสี่ยงของความเสียหายที่อาจ เกิดขึ้นได้เป็นอย่างดี

เครื่องมือป้องกันการรั่วไหลของข้อมูล (Breach Management)

แนวทางป้องกันข้อมูลไม่ให้เกิดการรั่วไหลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควรด�ำเนินการควบคู่กันทั้ง 2 ด้าน ได้แก่ การติดตั้งเครื่องมือหรือ แพลตฟอร์มในการจัดการกับระบบจัดเก็บข้อมูล เพือ่ รองรับปริมาณข้อมูล ที่ก�ำลังเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วให้สามารถขยายการใช้งานได้ไม่จ�ำกัด และ สามารถท�ำการส�ำรองและกู้คืนข้อมูล พร้อมกับการตรวจจับภัยคุกคาม ตัวป่วนอย่างแรนซั่มแวร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ที่ส�ำคัญคือ ควรเป็น แพลตฟอร์มทีร่ องรับการท�ำงานร่วมกับโซลูชนั จัดเก็บข้อมูลและฐานข้อมูล หลากหลาย รวมถึงคลาวด์ต่างๆ เพื่อการลงทุนที่คุ้มค่าและใช้งานกันไป ยาวๆ ดังเช่น แพลตฟอร์ม HPE Cohesity

เครื่องมือการร่วมตรวจจับและตอบสนองต่อภัยคุกคาม ทางไซเบอร์ (Cross-Layer Detection and Response)

การมีระบบร่วมตรวจจับภัยคุกคามหลายช่องทางที่อยู่บนระบบ คอมพิวเตอร์ ไม่ว่าภัยคุกคามที่แฝงตัวมากับอีเมล ระบบเครือข่าย และ อุปกรณ์ปลายทาง เช่น เซิร์ฟเวอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ คลาวด์ IoT จะ ท�ำให้องค์กรมีมมุ มองในเรือ่ งทิศทางการโจมตีของภัยคุกคามทีห่ ลากหลาย เราสามารถตรวจจับได้อย่างแม่นย�ำและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ตัวอย่าง

เครือ่ งมือเหล่านี้ ได้แก่ Trend Micro Vision One (Extended Detection & Response) ที่มีความสามารถตรวจจับได้หลาย ช่องทาง และมีความสามารถในการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ ของภัยคุกคามได้อย่างดีเยี่ยม นอกจากนีย้ งั มีโซลูชนั ในการจัดการกับอุปกรณ์ปลายทาง (Endpoint) โดยเฉพาะ BYOD (Bring Your Own Device) ที่ มี แ นวโน้ ม การใช้ ง านที่ เ พิ่ ม ขึ้ น หลายเท่ า ตั ว ในทุ ก ๆ ปี ให้มีความครบครันในแบบยูนิฟายด์ เอนด์พอยต์ (Unified Endpoint Management) โดยท�ำหน้าที่ตรวจจับหรือปิดกั้น การใช้แอปพลิเคชัน หรือบริการที่สุ่มเสี่ยงให้เกิดภัยคุกคาม ตามมา การควบคุมการใช้งานให้เป็นไปตามระเบียบทีอ่ งค์กร ก� ำ หนด การปกป้ อ งข้ อ มู ล ภายในเครื่ อ งไม่ ใ ห้ ถู ก โจมตี ขณะใช้งาน หรือกรณีอุปกรณ์เกิดสูญหายก็สามารถบล็อก การเข้าถึงข้อมูลได้แม้มรี หัสผ่าน ตัวอย่างเช่น โซลูชนั VMware Carbon Black เป็นต้น

เครื่องมือในการจัดการกับฐานข้อมูล คำ�ยินยอม (Consent Management)

ข้ อ มู ล อี ก ประเภทหนึ่ ง ที่ จ ะเติ บ โตมากขึ้ น หลั ง การ บังคับใช้กฎหมาย PDPA คือ ฐานข้อมูลค�ำยินยอมที่องค์กร ธุรกิจกับลูกค้าจะต้องกระท�ำต่อกันเพื่อให้เกิดผลคุ้มครอง ข้อมูลส่วนบุคคล องค์กรจึงต้องมีเครื่องมือที่มาช่วยจัดท�า ระบบฐานข้อมูลค�ำยินยอม (Consent) เพื่อก�ำหนดสิทธิของ เจ้าของข้อมูลในการเข้าถึง ทบทวนหรือแก้ไขข้อมูลของตัวเอง มีระบบให้บริการจัดท�ำ ติดตาม ตรวจสอบ หรือเก็บรวบรวม ค�ำยินยอมต่างๆ ที่เกิดขึ้นตามกระบวนการท�ำงาน หรือ การด�ำเนินธุรกิจขององค์กรอย่างเป็นทางการ รวมทัง้ การขอ ความยินยอมในการจัดเก็บไฟล์คุกกี้ หรือข้อมูลของผู้ใช้งาน (Cookie Consent) กรณีเข้าชมเว็บไซต์ ซึ่งตามกฎหมาย PDPA ถือว่าเป็นข้อมูลส่วนบุคคลประเภทหนึง่ ทีต่ อ้ งมีการขอ ค�ำยินยอมก่อนใช้ โดยเจ้าของข้อมูลสามารถขอแก้ไข ยกเลิก หรือถอนค�ำยินยอมเมือ่ ไรก็ได้ ซึง่ ถ้าองค์กรไม่ปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้อง ก็จะมีบทลงโทษทางกฎหมายเช่นเดียวกัน ดังนั้นองค์กรใดที่มีความพร้อมในการเดินหน้าระบบ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตรงตามการประกาศใช้ PDPA จึงนับเป็นอีกหนึง่ การันตีถงึ ความเชือ่ มัน่ และภาพลักษณ์ทาง ธุรกิจทีย่ ดึ โยงถึงประโยชน์และความมัน่ คงปลอดภัยของลูกค้า เป็นส�ำคัญ


รัฐบาลหนุน “ข้อมูลเปิด เพื่อชีวิต” จัดงาน วันข้อมูลเปิดนานาชาติ ประจ�ำปี 2564

GPSC ต้อนรับ รมว.พลังงาน เยี่ยมโรงงานต้นแบบ G-Cell Battery

พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ให้เกียรติปาฐกถาและมอบ นโยบายผ่านวีดทิ ศั น์ ในงาน “วันข้อมูลเปิดนานาชาติ พ.ศ. 2564 (International Open Data Day 2021)” จัดโดยส�ำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจทิ ลั (องค์การมหาชน) สพร. หรือ DGA โดยกล่าวเน้นย�ำ้ ให้ทกุ ภาคส่วนเล็งเห็นถึงความส�ำคัญการเปิดเผย ข้อมูลผ่านศูนย์กลางข้อมูลเปิดภาครัฐ ‘เว็บไซต์ data.go.th’ เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือของภาครัฐ และสร้างการมีสว่ นร่วมกับภาคประชาชน โดยมีจดุ มุง่ หมายใน การพัฒนาคุณภาพชีวติ (Open Data of Life Saving) พร้อมทัง้ อ�ำนวยความสะดวก ให้คนไทยสามารถเข้าถึงข้อมูลภาครัฐได้ทกุ ทีท่ กุ เวลา ซึง่ เป็นเรือ่ งส�ำคัญอย่างมาก ในการมุ่งสู่เป้าหมายการขับเคลื่อนประเทศด้วยข้อมูลเปิดขนาดใหญ่ที่ทุกคน สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ต่อยอดไอเดีย

ดร.ไพรินทร์ ชูโชติถาวร ประธานกรรมการ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GPSC แกนน�ำนวัตกรรมธุรกิจไฟฟ้ากลุ่ม ปตท. ให้การต้อนรับ สุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพลังงาน และ อรรถพล ฤกษ์พบิ ลู ย์ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) พร้อมคณะเข้าเยี่ยมชมโรงงานผลิต หน่วยกักเก็บพลังงาน (Energy Storage Unit) ของ GPSC หรือโรงงานต้นแบบ G-Cell Battery ภายในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด อ.เมือง จ.ระยอง พร้อมชมการสาธิต การผลิต Semi-Solid Battery Cell โดยใช้เทคโนโลยีการผลิตจาก 24M Technologies Inc. เพื่อสะท้อนความส�ำเร็จของ GPSC ในการเป็นผู้น�ำด้านนวัตกรรมแบตเตอรี่ ของประเทศไทย ปัจจุบนั โรงงานอยูใ่ นช่วงทดสอบระบบและพร้อมผลิตเชิงพาณิชย์ ในไตรมาส 2 ปี พ.ศ. 2564

Dow และ Solvay มอบน�ำ้ ยาฆ่าเชือ้ เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ต้านโควิด-19 ระลอกใหม่

กฟผ.-ทรู จับมือทดสอบ 5G ที่ กฟผ. แม่เมาะ ยกระดับอุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้า

กลุม่ บริษทั ดาว ประเทศไทย (Dow) ร่วมกับกลุม่ บริษทั โซลเวย์ (Solvay) สนับสนุนน�้ำยาฆ่าเชื้อไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ผลิตภัณฑ์ของบริษัท เอ็มทีพี เอชพี เจวี จ�ำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ร่วมทุนระหว่าง Dow และ Solvay กว่า 100,000 ลิตร เพือ่ ใช้ฉดี พ่นฆ่าเชือ้ ในพืน้ ทีค่ วบคุมการแพร่ระบาดของโควิด-19 ระลอกใหม่อย่าง เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ซึง่ กลุม่ บริษทั ดาว และโซลเวย์ มีความห่วงใยในสถานการณ์ โควิด-19 ระลอกใหม่ โดยได้มอบน�้ำยาฆ่าเชื้อไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์จ�ำนวน 30,000 ลิตร ให้กบั กรุงเทพมหานคร โดยมี พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ผูว้ า่ ราชการ กรุงเทพมหานคร เป็นผูร้ บั มอบ และกว่าจ�ำนวน 70,000 ลิตร ให้กบั จ.ระยอง โดยมี ชาญนะ เอีย่ มแสง ผูว้ า่ ราชการจังหวัดระยอง เป็นผูร้ บั มอบ เพือ่ น�ำไปกระจายต่อ ให้หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องใช้ฉดี พ่นฆ่าเชือ้ ในพืน้ ทีค่ วบคุมการแพร่ระบาดของโควิด-19

ปิยพงศ์ วรกี ผู้อ�ำนวยการฝ่ายจัดการและพัฒนาระบบสารสนเทศ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และ พิรุณ ไพรีพ่ายฤทธิ์ หัวหน้า คณะท�ำงานและกรรมการยุทธศาสตร์ 5G บมจ. ทรู คอร์ปอเรชั่น ร่วมลงนาม บันทึกข้อตกลงความร่วมมือโครงการวิจัยและพัฒนาระบบสื่อสารและบริการ 5G ส�ำหรับอุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้า โดยมี บุญญนิตย์ วงศ์รกั มิตร ผูว้ า่ การ กฟผ. และ พิชติ ธันโยดม หัวหน้าคณะผูบ้ ริหารด้านธุรกิจองค์กร บมจ. ทรู คอร์ปอเรชัน่ ร่วมเป็นสักขีพยาน มุ่งยกระดับอุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้า พัฒนาโรงไฟฟ้าของ กฟผ. สู่การเป็นโรงไฟฟ้าดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพสูง โดยน�ำร่องศึกษาและพัฒนา การน�ำโครงข่ายและอุปกรณ์ทรี่ องรับระบบ 5G ที่ กฟผ. แม่เมาะ จ.ล�ำปาง เพือ่ เสริม ประสิทธิภาพการท�ำงานในการผลิตไฟฟ้า เพิม่ ความปลอดภัยและใส่ใจสิง่ แวดล้อม ณ อาคาร 50 ปี กฟผ. ส�ำนักงานใหญ่ กฟผ. อ.บางกรวย จ.นนทบุรี


สวทช. จัด Boot Camp “NSTDA Deep Tech Acceleration”

แอดไวซ์ ร่วมรณรงค์สร้างจิตส�ำนึกส่งเสริมความรับผิดชอบ และปลูกฝังการแยกขยะ

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) ส�ำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยเมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis : FI) ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี (TMC) และเขตนวัตกรรมระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) จัดกิจกรรม Boot Camp ครั้งที่ 1 ภายใต้ โครงการ “NSTDA Deep Tech Acceleration : แพลตฟอร์มเร่งรัดการเติบโต ธุรกิจทีใ่ ช้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงลึก” จากการสนับสนุนของหน่วยบริหาร และจัดการทุนด้านการเพิม่ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (PMU C) เพือ่ เร่งรัดพัฒนาให้ผู้เป็นเจ้าของเทคโนโลยีและผู้ประกอบการวิสาหกิจฐานนวัตกรรม ต่อยอดผลงานวิจัยออกสู่เชิงพาณิชย์ ผลักดันให้เทคโนโลยีเชิงลึกที่ได้รับการวิจัย พัฒนาอย่างเข้มข้นเกิดการน�ำไปใช้จริง มีโมเดลธุรกิจที่ชัดเจน สามารถขับเคลื่อน และเติบโตได้อย่างยั่งยืน

จักรกฤช วัชระศักดิศ์ ลิ ป์ รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารสายงานผลิตภัณฑ์ การขายและการตลาด บริษทั แอดไวซ์ ไอที อินฟินทิ จ�ำกัด ผูน้ ำ� ศูนย์รวมอุปกรณ์ ไอทีครบวงจร ที่มีสาขาครอบคลุมกว่า 350 สาขาทั่วประเทศไทยและสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ได้จดั ท�ำโครงการรณรงค์เพือ่ สร้างจิตส�ำนึกและปลูกฝัง พฤติกรรมการแยกขยะให้แก่คนรุ่นใหม่ มุ่งหวังให้เกิดความร่วมมือในการจัดการ ขยะแต่ละประเภทให้ถกู วิธี เพือ่ ทีข่ ยะเหล่านัน้ จะกลับไปสร้างประโยชน์ได้อกี ครัง้ หนึง่ โดยทางแอดไวซ์จดั เตรียมชุดถังขยะในการแยกขยะเปียก ขยะแห้ง ขยะรีไซเคิล และ ขยะอันตราย เพือ่ ส่งมอบให้แก่โรงเรียนใน 70 จังหวัดทัว่ ประเทศ โดยเริม่ โครงการ ตัง้ แต่เดือนมกราคม และขณะนีไ้ ด้มอบให้ครบตามเป้าหมายโครงการฯ เรียบร้อย แล้ว

บ้านปู เน็กซ์ จับมือ UMT ร่วมขับเคลื่อนสมาร์ทซิตี้

GPSC สนับสนุนตูเ้ ก็บวัคซีนโควิด-19 มอบให้สถานพยาบาล

สมฤดี ชัยมงคล ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั บ้านปู เน็กซ์ จ�ำกัด ร่วมเดินหน้าผลักดันการใช้ ‘สมาร์ทโมบิลติ ’้ี (Smart Mobility) เดินหน้าเพิม่ จ�ำนวนรถตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้า ‘มูฟมี’ (MuvMi) เป็น 100 คัน ให้บริการ ครอบคลุม 6 ย่านฮิตทั่วกรุงเทพฯ ย�้ำจุดเด่นบริการรถโดยสารแบบออนดีมานด์ (On-Demand) เรียกเมื่อไหร่ก็ได้ตามต้องการ ไม่ต้องรอรอบเวลา ใช้บริการง่าย ผ่านแอปพลิเคชัน MuvMi อีกทั้งสามารถแชร์ทางกับบุคคลอื่นที่ไปทางเดียวกัน เดินทางสะดวก เชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนในกรุงเทพฯ ไม่สร้างมลภาวะ ราคา สบายกระเป๋า เหมาะกับคนทุกเพศทุกวัย เริ่มต้นเพียง 10 บาท สร้างความมั่นใจ เดินทางปลอดภัย ด้วยมาตรการป้องกันโควิด-19 นับเป็นอีกหนึง่ ‘โซลูชนั ฉลาดใช้’ (Smart Energy Utilization) จากบ้านปู เน็กซ์ ทีต่ อบเทรนด์การเดินทางยุคใหม่ของ คนเมือง รองรับความต้องการใช้งานที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง พร้อม เตรียมขยายจุดรับบริการอีกกว่า 2,000 จุด ภายในสิ้นปีนี้

จารุวัฒน์ สิงห์สมดี ผู้จัดการฝ่ายอาวุโสบริหารการเปลี่ยนแปลงและ ความยัง่ ยืนองค์กร บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GPSC แกนน�ำนวัตกรรมธุรกิจไฟฟ้ากลุ่ม ปตท. มอบตู้แช่จัดเก็บวัคซีนโควิด-19 จ�ำนวน 4 เครื่อง ให้กับสถานพยาบาลรัฐ เพื่อน�ำไปเก็บรักษาวัคซีนให้ได้ประสิทธิภาพ ในพิธีมอบตู้เก็บวัคซีนและอุปกรณ์ Monitoring 77 จังหวัด “FTI ช่วยชาติสู้ COVID-19” มอบตู้เก็บวัคซีนและอุปกรณ์ Monitoring ให้แก่สถานพยาบาลรัฐ 77 จังหวัดทั่วประเทศ โดยมี อนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานในการรับมอบ ที่ห้องชัยนาทนเรนทร ชั้น 2 ตึกส�ำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข


Industry News

GPSC เดินหน้า New S-Curve พร้อมเปิดโรงงานผลิตหน่วยกักเก็บพลังงาน บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GPSC แจ้งผลประกอบการปี 63 กวาดก�ำไรโตต่อเนื่อง 7,508 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 85% ฝ่าวิกฤติโควิด-19 ชีป้ จั จัยหนุน จากการรับรู้ผลประกอบการเต็มปีเป็นปีแรกของ GLOW หลัง ควบรวมกิจการ พร้อมประกาศจ่ายปันผลในอัตราหุ้นละ 1.50 บาท ส�ำหรับผลประกอบการปี พ.ศ. 2563 XD วันที่ 3 มีนาคม 2564 เริม่ ปี 64 เดินหน้าขยายธุรกิจนวัตกรรมพลังงานของกลุม่ ปตท. รุกขับเคลือ่ นธุรกิจ New S-Curve พร้อมเปิดโรงงานผลิต หน่วยกักเก็บพลังงาน (Energy Storage Unit) ภายในไตรมาส 2 ปี 64 วรวั ฒ น์ พิ ท ยศิ ริ ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GPSC แกนน�ำนวัตกรรมธุรกิจไฟฟ้า กลุม่ ปตท. เปิดเผยว่า ก�ำไรสุทธิสว่ นของบริษทั ใหญ่ ส�ำหรับปี พ.ศ. 2563 มีจ�ำนวน 7,508 ล้านบาท ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2562 จ�ำนวน 3,447 ล้านบาท หรือร้อยละ 85 โดยมีสาเหตุหลัก เนื่องมาจากการรับรู้ผลประกอบการจาก GLOW เต็มปี พ.ศ. 2563 ประกอบกับต้นทุนค่าก๊าซธรรมชาติและถ่านหินทีป่ รับตัว ลดลงตามสภาวะตลาด ท�ำให้ผลประกอบการของบริษัทฯ โดยเฉพาะโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก (SPP) มี Margin จากการขายไฟฟ้า เพิ่มมากขึ้น อีกทั้งต้นทุนทางการเงินของบริษัทฯ ลดลงจาก การปรับโครงสร้างเงินทุน โดยได้ด�ำเนินการเพิ่มทุนแล้วเสร็จ ในเดือนตุลาคม 2562 และปรับโครงสร้างเงินกู้ยืมจากการ เข้าซื้อ GLOW แล้วเสร็จในเดือน มี น าคม 2563 นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังมีรายได้อนื่ เพิม่ ขึน้

วรวัฒน์ พิทยศิริ

จากเงินปันผลรับ ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมและ กิจการร่วมค้า รวมถึงการรับรูม้ ลู ค่า Synergy จากการควบรวม GLOW จ�ำนวน 701 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่มาจากการบริหาร จัดการโรงไฟฟ้าและโครงข่ายร่วมกัน พร้อมกันนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติ อนุมัติให้เสนอจ่ายเงินปันผลประจ�ำปี 2563 ในอัตราหุ้นละ 1.50 บาท หรือคิดเป็นสัดส่วนร้อยละประมาณ 56 ของก�ำไรสุทธิ ของงบการเงินรวม แบ่งเป็นการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานครึ่งแรกของปี พ.ศ. 2563 ในอัตรา หุน้ ละ 0.50 บาท ซึง่ บริษทั ฯ ได้จา่ ยไปแล้วเมือ่ วันที่ 14 กันยายน 2563 จึงยังคงเหลือส่วนเงินปันผลส�ำหรับผลการด�ำเนินงาน ครึง่ หลังของปี พ.ศ. 2563 ทีจ่ ะต้องจ่ายในอัตราหุน้ ละ 1.00 บาท โดยบริษทั ฯ ก�ำหนดรายชือ่ ผูถ้ อื หุน้ ทีม่ สี ทิ ธิรบั เงินปันผล (Record Date) ในวันที่ 4 มีนาคม 2564 (หรือ XD วันที่ 3 มีนาคม 2564) และก�ำหนดวันจ่ายเงินปันผลในวันที่ 21 เมษายน 2563 ส�ำหรับกลยุทธ์ทางธุรกิจในปี พ.ศ. 2564 บริษทั ฯ มุง่ เน้น ขยายการลงทุนทางด้านนวัตกรรมพลังงาน โดยเฉพาะในกลุม่ ธุรกิจ New S-Curve ในฐานะแกนน�ำนวัตกรรมธุรกิจไฟฟ้าของ กลุม่ ปตท. เพือ่ ให้สามารถรองรับการเปลีย่ นแปลงธุรกิจพลังงาน ไฟฟ้าในอนาคต สะท้อนจากความส�ำเร็จในการผลิตแบตเตอรี่ G-Cell ด้วยเทคโนโลยี Semi-Solid จากบริษทั 24M Technologies เป็นเซลล์แรกของประเทศไทยเมือ่ ปลายปี พ.ศ. 2563 ทีผ่ า่ นมา โดยคาดว่าโรงงานผลิตหน่วยกักเก็บพลังงานขนาดก�ำลังการ ผลิต 30 เมกะวัตต์ต่อชั่วโมง จะพร้อมด�ำเนินการผลิตภายใน ไตรมาส 2 ของปี พ.ศ. 2564 นี้


สแกนเนีย สยาม พัฒนาเร่งฟื้นตลาดรถบรรทุก รถบัส ปี 2021

สตีน่า เฟเกอร์แมน

สแกนเนีย สยาม ผูผ้ ลิตรถบรรทุกและรถบัสส�ำหรับงานหนัก ระดับพรีเมียม วางเป้าหมายปี พ.ศ. 2564 เป็นปีแห่งการฟืน้ ตัวและ พัฒนาศักยภาพ ช่วยผูป้ ระกอบการในประเทศไทยต่อสูส้ ถานการณ์ การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ได้อย่างเข้มแข็งยิ่งขึ้น สตีนา่ เฟเกอร์แมน กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั สแกนเนีย สยาม จ�ำกัด กล่าวว่า สแกนเนียยังคงวางแผนลงทุนในการเพิ่ม ศักยภาพทั้งในส่วนของผลิตภัณฑ์และงานบริการอย่างต่อเนื่อง ส�ำหรับประเทศไทยในปี พ.ศ. 2564 จะเป็นปีแห่งการพัฒนาเพือ่ ช่วย ให้ลูกค้าฟื้นตัวได้เร็วที่สุดจากสถานการณ์ยากล�ำบากหลังจากการ ระบาดของโควิด-19 อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา สแกนเนียมีส่วนแบ่งการตลาดประเภทรถบรรทุกในประเทศไทย ประมาณร้อยละ 2.5 และส่วนแบ่งตลาดรถบัสโดยสารในประเทศไทย ถึงประมาณร้อยละ 20 ซึ่งตัวเลขทั้ง 2 ตลาดเป็นส่วนแบ่งตลาด ที่เพิ่มขึ้นท่ามกลางสถานการณ์วิกฤต โดยมียอดขายรถบรรทุก สแกนเนียที่จดทะเบียนกับกรมขนส่งทางบก 297 คัน และรถบัส 96 คัน ท�ำให้เห็นว่าสแกนเนียได้ทำ� ตลาดให้เข้าถึงกลุม่ ลูกค้ามากขึน้ โดยสแกนเนียเน้นตอบโจทย์การขนส่งทุกรูปแบบให้กบั ลูกค้ารถบรรทุก และยังรักษาความเป็นพันธมิตรธุรกิจเคียงข้างลูกค้ารถโดยสาร เพือ่ ทีจ่ ะรักษายอดขายและได้ขยายส่วนแบ่งการตลาด และเป็นแบรนด์ อันดับ 1 ของยอดขายในประเทศไทยต่อไปอย่างต่อเนื่อง สตีน่า กล่าวเพิ่มเติมว่า “ส�ำหรับงานด้านบริการ สแกนเนีย พร้อมกับการเปิดศูนย์บริการแห่งใหม่ที่จังหวัดสระบุรี ที่จะเปิด ให้บริการในไตรมาสที่ 2 ของปีนี้ ซึ่งศูนย์บริการแห่งนี้เป็นพื้นที่ ยุทธศาสตร์ที่มีลูกค้านิยมใช้บริการเป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งห่างจาก กรุงเทพฯ ประมาณ 100 กิโลเมตรเท่านั้น ด้วยสระบุรีเป็นเหมือน ประตู สู ่ ภาคอี ส าน และธุ ร กิ จ ขนส่ ง ของลู ก ค้าเรามากมายผ่าน

เส้นทางนี้ ดังนั้นเราจึงตัดสินใจที่จะลงทุนเพิ่ม โดยสแกนเนียเป็น ผูบ้ ริหารจัดการด้วยตัวเราเอง (Captive Dealer) เพือ่ มอบบริการทีด่ ขี นึ้ ให้กบั กลุม่ ลูกค้าทีใ่ ช้บริการอยูใ่ นปัจจุบนั และเรายังมองศูนย์ฯ สระบุรี ใหม่นใี้ ห้สามารถรองรับการเติบโตในอนาคตได้อกี ด้วย นอกจากนัน้ สแกนเนียยังมองการขยายให้สอดคล้องกับแนวทางของรัฐบาล กับโครงสร้างพื้นฐานมอเตอร์เวย์ บางปะอิน-นครราชสีมา” ในปี พ.ศ. 2564 สแกนเนีย สยาม ยังคงท�ำงานร่วมกับลูกค้า ในการร่วมเปลีย่ นแปลงสูร่ ะบบการขนส่งทีย่ งั่ ยืน (Driving the Shift Towards a Sustainable Transport System) เช่น การฝึกสอน นักขับรถบรรทุกและรถบัส เพือ่ ลดการใช้เชือ้ เพลิงและลดการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และมุง่ มัน่ สร้างความปลอดภัยบนท้องถนน รวมถึงพยายามผลักดันเรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อม โดยสแกนเนีย มีความรูแ้ ละความพร้อมเกีย่ วกับระบบการขนส่งทีย่ งั่ ยืนหลากหลาย รูปแบบ บนพืน้ ฐานหลัก 3 ประการ ได้แก่ 1. การใช้เชือ้ เพลิงอย่าง มีประสิทธิภาพ 2. ระบบขนส่งอัจฉริยะและปลอดภัย 3. รถพลังงาน ทางเลือกและพลังงานไฟฟ้า


Industry News

ถิรไทย โชว์รายได้ปี 63 สวนกระแสกวาดรายได้ 2,356.34 ล้านบาท ถิรไทย หรือ TRT ประกาศผลประกอบการปี พ.ศ. 2563 สวนกระแสโควิด-19 มีรายได้จากการขาย 2,356.34 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 469.09 ล้านบาท หรือประมาณ 24.86% โดยมี ก�ำไรสุทธิสำ� หรับผูถ้ อื หุน้ ใหญ่จำ� นวน 11.91 ล้านบาท สืบเนือ่ งมาจาก การส่งมอบหม้อแปลงไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น และบริษัทในเครือมีรายได้ เพิม่ ขึน้ แถมคณะกรรมการบริษทั ฯ เตรียมน�ำเสนอทีป่ ระชุมสามัญ ผูถ้ อื หุน้ พิจารณาอนุมตั กิ ารจ่ายเงินปันผลในอัตราหุน้ ละ 0.02 บาท ก�ำหนดจ่ายเงินปันผลให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 25 พฤษภาคม 2564 นี้อีกด้วย สัมพันธ์ วงษ์ปาน กรรมการผู้จัดการ ของกลุ่มบริษัท ถิรไทย จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ตามทีบ่ ริษทั ถิรไทย จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยได้น�ำส่งงบการเงินประจ�ำปี 2563 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 ซึง่ ได้รบั การสอบทานจากผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต มีกำ� ไรสุทธิสำ� หรับผูถ้ อื หุน้ ใหญ่จำ� นวน 11.91 ล้านบาท ลดลง 63.45 ล้านบาท เมือ่ เทียบกับงวดบัญชีเดียวกันของปีกอ่ นซึง่ มีผลก�ำไรสุทธิ ส�ำหรับผูถ้ อื หุน้ ใหญ่จำ� นวน 75.36 ล้านบาท ซึง่ เปลีย่ นแปลงมากกว่า ร้อยละ 20 โดยบริษัทฯ ขอเรียนชี้แจงดังนี้ บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายได้จากการขาย 2,356.34 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ น 469.09 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 24.86 เนื่องจากบริษัทฯ มีการส่งมอบหม้อแปลงไฟฟ้าเพิ่มขึ้นและบริษัท ในเครือมีรายได้เพิม่ ขึน้ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ มีรายได้จากการบริการ 124.23 ล้านบาท ลดลงจากปีกอ่ น 364.26 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 74.57 เนื่องจากรายได้บริการหม้อแปลงของบริษัทฯ ลดลง นอกจากนี้ บริษัทฯ มีรายได้ตามสัญญาก่อสร้างจาก การด�ำเนินการของบริษทั ย่อย 58.29 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จาก

ปีกอ่ น 18.06 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 44.90 เนือ่ งจากบริษทั ย่อย มีงานสัญญาก่อสร้างเพิม่ ขึน้ และบริษทั ฯ มี 4 ก�ำไรขัน้ ต้นจากการ ขายร้อยละ 16.79 ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ซึง่ มีอตั ราก�ำไร ขัน้ ต้นเท่ากับร้อยละ 24.22 เนือ่ งจากในปี พ.ศ. 2563 มีการส่งมอบ สินค้าที่มีอัตราก�ำไรขั้นต้นเฉลี่ยต�่ำกว่าปี พ.ศ. 2562 ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั ฯ ยังมีการเตรียมน�ำเสนอทีป่ ระชุม สามัญผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติการจ่ายปันผลในอัตราหุ้นละ 0.02 บาท รวมเป็นเงินจ่ายปันผลทัง้ สิน้ 6,160,165.44 บาท โดยก�ำหนด รายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิในการรับเงินปันผล (Record Date) ในวันที่ 12 พฤษภาคม 2564 และก�ำหนดจ่ายเงินปันผลให้แล้วเสร็จภายใน วันที่ 25 พฤษภาคม 2564 อีกด้วย สัมพันธ์ กล่าวว่า เมื่อต้นปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้มี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ด้วย ได้รว่ มมือเชิงกลยุทธ์กบั Siemens Energy น�ำระบบ Transformer Online Monitoring จากประเทศเยอรมนีและออสเตรีย ที่เน้นการตรวจสอบ หม้ อ แปลงไฟฟ้ า แบบออนไลน์ ที่ เข้ า กั บ Smart Grids ได้อย่างสมบูรณ์แบบ โดยหม้อแปลงไฟฟ้า ทัง้ หมดของถิรไทย ตัง้ แต่ 20 MVA-1,000 MVA จะสามารถเลือกการติดตัง้ SIEMENS ENERGY Online Monitoring ซึง่ จะท�ำให้กลายเป็น Smart Transformer ทันที โดยอาศัยความเชี่ยวชาญ ของ Siemens Energy ในฐานะผูใ้ ห้บริการชัน้ น�า ด้านอุปกรณ์ Transformer Online Monitoring และความช�ำนาญของกลุ่มบริษัท ถิรไทย จ�ำกัด สัมพันธ์ วงษ์ปาน (มหาชน) ในฐานะผูผ้ ลิตหม้อแปลงไฟฟ้าชัน้ น�ำของ ประเทศไทยอีกด้วย


APC Back UPS (NEW BX Series) เครื่องสำ�รองไฟเทพสำ�หรับเกมมิ่งเกียร์ APC by Schneider Electric เปิดตัว Back UPS รุน่ ใหม่ BX Series ปรับโฉมใหม่ ทัง้ รูปลักษณ์ หน้าตา และสเปก ไอเทมส�ำรองไฟ และป้องกันไฟตก ไฟกระชาก ส�ำหรับคอเกม ไม่ ค วรพลาด ทั้ ง การออกแบบที่ ก ะทั ด รั ด แต่ให้ความรู้สึกหรูหรา ฉีกกฎเกณฑ์อุปกรณ์ ส�ำรองไฟทั่วไปด้วย Flash Lighting ให้ความ รู ้ สึ ก ถึ ง ความเป็ น เครื่ อ งส� ำ รองไฟส� ำ หรั บ เกมมิ่งเกียร์ได้อย่างกลมกลืน มาพร้อมสเปก การส�ำรองไฟขนาดใหญ่ รองรับวัตต์สูงสุดถึง 1,200 วัตต์ ทั้งหมด 5 ขนาด ตั้งแต่ 750VA จนถึง 2,200VA เรียกได้วา่ รองรับคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่หลักหมื่นไปจะถึงหลักแสน นอกจากนี้ BX Series ยังให้ Input Voltage ที่กว้างขึ้น รองรับกระแสไฟทีไ่ ม่ปกติได้ดกี ว่า ช่วยถนอม คอมพิวเตอร์ จอมอนิเตอร์ ทีม่ ไี มโครชิปไวต่อ กระแสไฟทีไ่ ม่เสถียรในคอมพิวเตอร์รนุ่ ใหม่ๆ ให้ใช้งานได้ยาวนานยิ่งขึ้น ช่วยลดการซ่อม

บ�ำรุง เนื่องจากแบตเตอรี่ไม่ต้องท�ำงานบ่อย BX Series เป็นเครือ่ งส�ำรองไฟรุน่ ใหม่ ที่ ใ ห้ ข นาดวั ต ต์ ม ากกว่ า เดิ ม และมี ข นาด หลากหลายตอบโจทย์การใช้งานอุปกรณ์ทกุ ชนิด ซึ่งเปิดตัวใหม่ 5 รุ่น ดังต่อไปนี้ BX750MI จ่ายไฟได้ 410 วัตต์ BX950MI จ่ายไฟได้ 520 วัตต์ BX1200MI จ่ายไฟได้ 650 วัตต์ BX1600MI จ่ายไฟได้ 900 วัตต์ และรุน่ พีใ่ หญ่ BX2200MI จ่ายไฟได้ 1,200 วัตต์ BX Series ยังโดดเด่นด้วยซอฟต์แวร์ อัจฉริยะ ให้ผใู้ ช้งานสะดวกและดูแลง่าย เพิม่ ความปลอดภัยให้คอมพิวเตอร์ และช่วย ปกป้องข้อมูลที่ท�ำค้างไว้อย่างปลอดภัย ขณะไฟดับ ด้วยซอฟต์แวร์ PowerChuteTM Personal Edition โดยการสัง่ ให้คอมพิวเตอร์ เข้าสู่โหมดไฮเบอร์เนตโดยอัตโนมัติเมื่อไฟ กลับมาเป็นปกติ สามารถท�ำงานต่อได้ทนั ที

Rockwell Automation

Expands Space-Saving NEMA-Rated Contactor Options Rockwell Automation has released new sizes in its line of energy – and space-saving Allen-Bradley Bulletin 300 NEMA contactors. The contactors, now available in NEMA sizes 00 to 8, feature universal electronic coils that reduce inrush apparent power (VA) by up to 68% and sealed VA by over 75% compared to standard, non-electronic coils. The electronic coils also save engineering time by covering 20 to 500 V AC/DC coil voltages with only four coil options, greatly simplifying selection. These contactors allow coil input terminals to be moved from the line to load side of the contactors without disassembly. This can make wiring and access easier when building starter assemblies. They also offer a direct PLC interface option for contactors above NEMA size 3, as well as a full line of accessories and reversing contactors. Exclusive NEMA-rated safety contactors are available

for applications requiring a safety solution, mechanically linked or mirror contact performance. Rockwell Automation offers two types of NEMA-rated contactors. Bulletin 500 contactors use a traditional field-serviceable design that offers installers plenty of room for maneuvering wiring into place. Bulletin 300 contactors have an optional wide-range, energy-saving coil. The footprints of Bulletin 300 products are also up to 25% smaller than traditional NEMA contactors. All Allen-Bradley contactors are tested in combination with relevant motor overload relays and circuit breakers to provide two – or three-component motor starters. Using the online Global Short-Circuit Current Rating tool, users can obtain documentation certifying the compliance of specific product combinations to IEC and UL standards.


ใบสมัครสมาชิก

ELECTRICITY & INDUSTRY MAGAZINE ชื่อ-นามสกุล ........................................................................................................................................................................................................................... บริษัท/ห้าง/ร้าน ..................................................................................................................................................................................................................... ที่อยู่ ........................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ โทรศัพท์ ............................................................................................................. แฟกซ์ ........................................................................................................ รหัสสมาชิก ............................................................................................................................................................................................................................. ประสงค์จะบอกรับนิตยสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” สมาชิกใหม่  1 ปี 6 ฉบับ 480 บาท  2 ปี 12 ฉบับ 960 บาท สมาชิกต่ออายุ  1 ปี 6 ฉบับ 450 บาท  2 ปี 12 ฉบับ 900 บาท ตั้งแต่ฉบับที่ ............. เดือน ......................................... ปี .................. โดยส่งนิตยสารไปที่  ที่ท�ำ งาน  ที่บ้าน พร้อมกันนี้ได้ส่งค่าสมาชิกเป็นจำ�นวนเงิน ................................... บาท (ตัวอักษร ............................................................................................)  เช็คธนาคาร ................................................................................... สาขา ................................................................................................... เช็คคร่อมสั่งจ่าย “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด”

ธนาณัติ สั่งจ่ายในนาม “คุณวาสนา แซ่อึ้ง” ที่ทำ�การไปรษณีย์โทรเลขบางกอกน้อย โอนเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด” ชื่อธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี  กสิกรไทย บางยี่ขัน 047-2-56333-5  ไทยพาณิชย์ จรัญสนิทวงศ์ ซ.48 21-2-04080-0  กรุงไทย ถนนศรีอยุธยา 013-0-09071-9 หมายเหตุ : กรุณาส่งแฟกซ์ หรือสำ�เนาใบเข้าบัญชี (Pay-in Slip) มาให้ บริษัทฯ พร้อมเขียนชื่อ-นามสกุล และรหัสสมาชิก (ถ้ามี) กำ�กับมาด้วย กรุณากรอกข้อมูลดังกล่าวให้ครบถ้วนเพื่อการติดต่อจัดส่งข้อมูล กลับไปยังท่านต่อไป

ดัชนีสินค้าประจ�ำเดือนมีนาคม-เมษายน พ.ศ. 2564 บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ABB POWER GRIDS (THAILAND) LTD. 0-2665-1000 0-2324-0502 ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK 0-2036-0564 MAXIMIZE INTEGRATED 0-2194-8738-9 0-2003-2215 TECHNOLOGY CO., LTD. RENT (THAILAND) CO., LTD. 0-2136-7104 SAMWHA (THAILAND) CO., LTD. 038-559-002 038-559-003 086-359-2041 THAILAND INDUSTRIAL FAIR ชไนเดอร์ อิเล็คทริค (ไทยแลนด์) บจก. 0-2617-5555 ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) บจก. ปตท. น�้ำมันและการค้าปลีก บมจ. เพาเวอร์ เรด บจก. ลีฟเพาเวอร์ บจก. เวอร์ทัส บจก. สถาปนิก เอส เอ วี เมคคานิคคอล เซอร์วิสส์ แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.

March-April 2021

ประเภทสินค้า อุปกรณ์ไฟฟ้า งานแสดงสินค้า อุปกรณ์ไฟฟ้า

ปกหลังนอก 8 15

เครื่องมือซ่อมในการดึงสายไฟ จ�ำหน่าย ติดตั้งคาปาซิเตอร์

ปกหลังใน 7

งานแสดงสินค้า อุปกรณ์อัตโนมัติ ดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชัน 0-2002-4395-97 0-2002-4398 อุปกรณ์ไฟฟ้า 0-2239-7847 0-2322-0810-6 0-2130-6371 0-2876-2727-8 0-2702-0581-8

0-2239-7898 0-2322-0430 0-2130-6372 0-2476-1711 0-2377-5937

หน้า

น�ำ้ มันหล่อลื่นอุตสาหกรรม อุปกรณ์ไฟฟ้า สินค้าผลิตภัณฑ์นวัตกรรม Couplings งานแสดงสินค้า ติดตั้ง EOCR อิเล็กทรอนิกส์ โอเวอร์โหลดรีเลย์ ป้องกันมอเตอร์ไหม้

6 ปกหน้า, 9 5 3 11 13 4 10 32



ENHANCING POWER QUALITY For a stronger electrical network. Power quality is key to improving grid availability and reliability. It enables the optimization of operating costs and secures grid code compliance. Power quality supports the integration of renewables into the grid and enhances energy efficiency, leading to lower carbon emissions and minimizing environmental impact. Hitachi ABB Power Grids is a technology leader with a wide range of products, systems and services that improve power quality including capacitors and filters, power electronics-based compensators and software solutions, across the power value chain for low, medium and high-voltage applications, helping to shape a stronger, smarter and greener grid. www.hitachiabb-powergrids.com The Customer Connect Center Tel: +66 2 105 5760 I E-mail: power-grids@hitachi-powergrids.com ABB is a registered trademark of ABB Asea Brown Boveri Ltd. Manufactured by/for a Hitachi Power Grids company.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.