Electricity & Industry Magazine Issue May - June 2019

Page 1


LSIS_21.59x29.21cm.pdf

1

7/4/61 BE

6:03 AM


WORKS HERE.

A range of gas-engine oils that has been developed to deliver optimum value to equipment operators through enhanced wear protection, long oil life and high system efficiency. www.shell.com/lubricants


AW_8.5x11.5in-c4-Ad Young Makers.pdf

1

6/11/2562 BE

11:49


bignew-c4 new25-6-62.pdf

1

6/25/2562 BE

11:20



Samwa_21.59x29.21cm.pdf

1

3/28/17

11:02 AM


3-5 SEPTEMBER 2019 | MITEC | KUALA LUMPUR | MALAYSIA

REGISTER AND JOIN US FOR ASIA’S ONLY END-TO-END POWER & ENERGY EVENT POWER GENERATION

DIGITAL TRANSFORMATION

TRANSMISSION & DISTRIBUTION

PARTICIPATE IN THE REGION’S FOREMOST BUSINESS PLATFORM FOR POWER PROFESSIONALS

REGISTER ONLINE FOR YOUR

The co-location of POWERGEN Asia, Asian Utility Week, DISTRIBUTECH Asia, SolarVision and Energy Capital Leaders provides you with one show covering the whole value chain of power from generation to transmission and distribution to its digital transformation.

FREE VISITOR PASS

The combination of these leading energy shows will bring an unprecedented authority, with insights shared by the world’s most forwardthinking experts and innovators. Here you will discover the future of Asia’s Power & Energy industry.

11,000+ Attendees

350+

Leading Exhibitors

Cutting

Edge Content

350+

International Speakers

VISIT WWW.POWERGENASIA.COM OR WWW.ASIAN-UTILITY-WEEK.COM Щ SEE CONFERENCE HIGHLIGHTS Щ VIEW THE LATEST EXHIBITOR LIST Щ REGISTER FOR FULL ACCESS

Organised by:


Mennekes_21.59x29.21cm_Cre.pdf

1

3/30/17

3:05 PM




y ` yy

k wz ë §j Ñ

}k wz | j g } }~Å ¢|¡ d ¡w }

më dgÎ x wxÍ d Í z § d § eÎ j ¢ Î dÍ g y } |z § |¢k

{ x xe z u i b u

¡ ×~ | | ©m y| i Ï ¢ ©l Ó | ªlg l |¢ ~Ï l ~ í~ | ªlmy gÏ gÐ gÏ yÐ ~i fÐ ~Ð | l¡|i£~£ i ¡i í ~¥ ¤~} f m

| j j | ~ x jgÑd |Í j | } z ¡~ x Ñ Í| } Î z j¨ d }} k w Ñ

v uvË ~Æ } v i xo z ~zÓ x vË E-mail: O@>CIJH@?D< BH<DG >JH



CONTENTS MAY-JUNE

ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (สกพอ.) 23 สกพอ.-กรมโยธาฯ รับฟังความคิดเห็นแผนผัง

พื้นที่ EEC

IEEE POWER & ENERGY SOCIETY 24 สัมมนาเชิงวิชาการ เรื่อง

“การป้องกันระบบไฟฟ้า : ทฤษฎี และกรณีศึกษา”

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย 26 28 32 34 37 38

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย

39 หลักสูตรการให้ความรู้เรื่องแสงสว่าง ครั้งที่ 2

ปี 2562

COVER STORY 40 ใกล้กว่าที่คุณคิด

LS Cast Resin Transformer LSIS Co., Ltd.

SPECIAL SCOOP 44 งานแสดงนวัตกรรมจากฝีมือนักศึกษา สจล.

กองบรรณาธิการ 48 “พลายเอจีวี” รถฟอร์คลิฟต์อัตโนมัติของไทย กองบรรณาธิการ 60 “สถาปนิก’62” จุดประกายแนวคิด Green พร้อมสนับสนุนนวัตกรรมการออกแบบ ลดปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน กองบรรณาธิการ SCOOP 50 20 ปี สภาวิศวกรไทยในยุคดิสรัปชั่น

... ปฏิวัติวงการด้านวิศวกรไทยให้แข่งขัน สู่ระดับเวทีโลก กองบรรณาธิการ 52 ภาครัฐจับมือเร่งสร้างบุคลากร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ กองบรรณาธิการ May-June 2019

2019

55 แชฟฟ์เลอร์ เปิดโรงงานใหม่ที่เวียดนาม

กองบรรณาธิการ 58 ความร่วมมือติดตั้งเครื่องชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า ส�ำหรับที่อยู่อาศัย กองบรรณาธิการ INTERVIEW 63 ชูชาติ ศรีวรรณวิทย์ ... น�้ำมันเตาสูตรพิเศษ

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุน กองบรรณาธิการ

SPECIAL INTERVIEW 66 After 100 days as managing director of

KEMPER GmbH, Frederic Lanz describes his vision of the future of metalworking. กองบรรณาธิการ

SPECIAL AREA 68 เทคโนโลยีขั้วต่อสายไฟฟ้าแบบปิด

บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด

บริษัท ออมรอน อีเล็คทรอนิคส์ จ�ำกัด

(Low Voltage Circuit Breaker) บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

70 OEE ภายใต้ระบบ IoT เปิดทุกจุดความเป็นไปได้ 72 เซอร์กิตเบรกเกอร์แรงดันต�่า

IT ARTICLE 75 RMI ปลุกกระแสการใช้ซอฟต์แวร์ไทย

และปัญหาลิขสิทธิ์ บริษัท อาร์เอ็มไอ โกลบัล เวนเจอร์ส จ�ำกัด

IT TECHNOLOGY 78 RISE เปิดตัวโปรแกรม AI Accelerator

เป็นครั้งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Regional Corporate Innovation Accelerator

81 PRODUCT 83 PR NEWS 86 SEMINAR 88 MOVEMENT 91 IT NEWS 93 INDUSTRY NEWS



EDITOR TALK

MAY-JUNE

2019

ระหว่างวันที่ 3-6 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 เป็นช่วงเวลามหามงคลที่ส�ำคัญของคนไทยทุกคน เพราะเป็นช่วงพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 ซึ่งเป็นพระราชพิธีที่งดงามยิ่งใหญ่ สมพระเกียรติ น�ำมาซึ่งความภาคภูมิใจยิ่งของปวงชนชาวไทย Electricity & Industry Magazine ฉบับนี้เป็นฉบับที่ 3 แล้ว ถึงแม้จะเข้าสู่ช่วงไตรมาส 2 ของปีที่เหตุการณ์ทางการเมืองที่ยังไม่นิ่ง ท�ำให้ การลงทุนยังคงชะลอตัว เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศยังไม่กระเตือ้ งนัก แต่กม็ แี นวโน้มทีด่ ี คาดว่าไตรมาส 3 หรือ 4 การเติบโตทางเศรษฐกิจจะเป็น ไปตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ ส่วนเนื้อหาภายในเล่มนั้นก็ยังคงเข้มข้นเหมือนเดิม ในฉบับนี้ สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย (TESIA) ได้จัดการประชุมใหญ่ สามัญประจ�ำปี 2562 ณ อาคารวัฒนวิภาส การไฟฟ้านครหลวง ส�ำนักงานใหญ่ คลองเตย น�ำโดย ปิยพจน์ รุธิรโก นายกสมาคม โดยมีสมาชิก สมาคมเข้าร่วมอย่างพร้อมเพรียง การประชุมใหญ่สามัญนี้ จะช่วยให้เกิดการส่งเสริมเทคโนโลยีทางด้านอุตสาหกรรมไฟฟ้าของประเทศไทย รวมถึง การแลกเปลีย่ นความรู้ ประสบการณ์ งานวิจยั เทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมทุกสาขา พร้อมทัง้ สร้างความสัมพันธ์อนั ดี และส่งเสริมความสามัคคีระหว่าง สมาชิก ส่วนการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยก็ได้เปิด “ศูนย์มาตรวิทยาและสอบเทียบเครื่องมือวัด กฟผ.” (Metrology and Calibration Center) มีหน้าทีใ่ ห้บริการงานมาตรวิทยาและสอบเทียบเครือ่ งมือวัดแก่หน่วยงานภายในและภายนอก กฟผ. ด้วยเจ้าหน้าทีผ่ เู้ ชีย่ วชาญและเครือ่ งมือ ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานระดับสากล จากการที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา การสื่อสารผ่านระบบอินเทอร์เน็ตได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจ�ำวันไปแล้ว ทาง การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคจึงได้นำ� รูปแบบของการสือ่ สารแบบหลอมรวม (Unified Communication : UC) มาใช้ในการพัฒนาปรับปรุงระบบโทรศัพท์ โทรสารภายในของ PEA ให้ทันสมัย อ�ำนวยความสะดวกให้พนักงานสามารถติดต่อประสานงานได้ง่าย รวดเร็ว ประหยัดค่าใช้จ่าย เมื่อการสื่อสาร ภายในสะดวกรวดเร็วก็ทำ� ให้การบริการลูกค้าท�ำได้รวดเร็วตามไปด้วย ในส่วน Special Scoop ยินดีนำ� เสนอผลงานนวัตกรรมจากฝีมือของนักศึกษา สจล. และผลงานการวิจัยของ Starup รุ่นใหม่ที่สามารถศึกษา วิจัยจนได้ “พลายเอจีวี” รถฟอร์คลิฟต์อัตโนมัติของไทย นอกจากนีย้ งั มี Scoop ในเรือ่ ง “20 ปี สภาวิศวกรไทยในยุคดิสรัปชัน่ ...ปฏิวตั วิ งการด้านวิศวกรไทยให้แข่งขันสูร่ ะดับเวทีโลก” และเรือ่ ง “ภาครัฐจับมือเร่งสร้างบุคลากร เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ” เป็นความร่วมมือของ ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) จับมือกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) เพือ่ ประกาศเจตนารมณ์ในการสร้างความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมอย่างเป็นระบบด้วยก�ำลังคนแบบ Tailor-Made เน้นการสร้างบุคลากรระดับกลางในอุตสาหกรรม (Middle Manager) ที่มีความสามารถตรงกับต�ำแหน่งที่อุตสาหกรรมต้องการนั้นเอง ส่วนคอลัมน์อื่นๆ ก็ล้วนเป็นเนื้อหาสาระที่เป็นประโยชน์ ... พบกันใหม่ฉบับหน้า กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

ที่ปรึกษา : รศ.ฉดับ ปัทมสูต / รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ์ / ไกรสีห์ กรรณสูต พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ์ / ประเจิด สุขแก้ว ผศ.พิชิต ล�ำยอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องค์วงศ์สกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ : ดร.สุรพล ด�ำรงกิตติกุล ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นิภา กลิ่นโกสุม เลขากองบรรณาธิการ : ปัฐฐมณฑ์ อุ่ยพัฒน์ / ธิดาวดี บุญสุยา พิสูจน์อักษร : อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรมรูปเล่ม / ศิลปกรรมโฆษณา : ชุติภา จริตพันธ์ / ศศิธร มไหสวริยะ ผู้จัดการฝ่ายการตลาด : เขมจิรา ปลาทิพย์ ฝ่ายโฆษณา : ศิริภรณ์ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภิรมณ์ / วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายโฆษณา : ชุติมันต์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก : ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์ May-June 2019

บทความที่ปรากฏใน ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine เป็นความคิดเห็น ส่ ว นตั ว ของผู ้ เขี ย น ไม่ มี ส ่ ว นผู ก พั น กั บ บริ ษั ท เทคโนโลยี มี เ ดี ย จ� ำ กั ด แต่ อ ย่ า งใด หากบทความใดที่ผู้อ่านเห็นว่ามีการลอกเลียนหรือแอบอ้าง กรุณาแจ้งที่กองบรรณาธิการ ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine บทความต่ า งๆ ที่ ป รากฏในหนั ง สื อ ได้ ผ ่ า นการตรวจทานอย่ า งถี่ ถ ้ ว นเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความถูกต้องและสมบูรณ์ท่ีสุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแก้ไขต่อไป เจ้าของ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 http:// www.technologymedia.co.th เพลท-แยกสี : บริษัท อิมเมจิ้น กราฟิค จ�ำกัด พิมพ์ท่ี : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด รุ่งเรืองการพิมพ์




สายสัญญาณ มาตรฐานอเมริกา

ครบเครื่อง เรื่องสายสัญญาณ

www.interlink.co.th Tel 02 666 1111 (100 lines)


Smart City Solutions Week 2019 28 - 31 October 2019 @ BITEC, Bangkok Thailand

Harnessing the smart cities opportunity in ASEAN

ASEAN Connectivity

City + loT - A sustainable and livable future

Security + AI

% OC[G_@VgC_7VC

a9E 02 664 6488 7 O 402, 406

www.thailandlightingfair.com

www.thailandbuildingfair.com www.secutechthailand.com

- Empowers sustainable city development




สํานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (สกพอ.) สกพอ.-กรมโยธาฯ รับฟังความคิดเห็น แผนผังพื้นที่ EEC

พจณี อรรถโรจน์ภิญโญ รองเลขาธิการ สายงานนโยบายและแผน ส�ำนักงานคณะกรรมการ นโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) หรือ อีอซี ี เข้าร่วมประชุมเพือ่ รับฟังความคิดเห็นต่อ (ร่าง) แผนผังการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ฉบับปรับปรุง) พร้อมน�ำเสนอนโยบายและความ ก้าวหน้าการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ร่วมกับ อนวัช สุวรรณเดช รองอธิบดีกรมโยธาธิการ และผังเมือง โดยมีการเปิดรับฟังความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะจากผูเ้ ข้าร่วมประชุมฯ ผูแ้ ทนจากชุมชน ต่างๆ ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดระยอง เพือ่ น�ำมาประกอบการ จัดท�ำผังเมืองพื้นที่อีอีซีในภาพรวม ที่ให้ประชาชน ได้รบั ประโยชน์สงู สุดต่อไป ณ ห้องสร้อยเพชร โรงแรม โกลเด้น ซิตี้ จังหวัดระยอง

สกพอ. ลงพื้นที่ จ.ชลบุรี รับฟังความเห็นแผนผังใช้ประโยชน์ที่ดิน EEC

พจณี อรรถโรจน์ภิญโญ รองเลขาธิการสายงานนโยบายและแผน ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) หรือ อีอีซี เข้าร่วมประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นต่อ (ร่าง) แผนผังการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ฉบับปรับปรุง) พร้อม น�ำเสนอนโยบายและความก้าวหน้าการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก โดยได้รบั เกียรติจาก เรือโทศตวรรษ อนันตกูล รองผูว้ า่ ราชการ จังหวัดชลบุรี เป็นประธานการจัดประชุมฯ ทั้งนี้ได้เปิดรับฟังความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมประชุมฯ ผู้แทนจากชุมชนต่างๆ ในพื้นที่จังหวัดชลบุรีกว่า 340 คน เพื่อน�ำมาประกอบการจัดท�ำผังเมืองพื้นที่อีอีซีในภาพรวม ที่ให้ประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุดต่อไป ณ ห้องแสนสุข 3 โรงแรมบางแสนเฮอริเทจ จังหวัดชลบุรี May-June 2019


สัมมนาเชิงวิชาการ เรื่อง

“การป้องกันระบบไฟฟ้า : ทฤษฎี และกรณีศึกษา”

IEEE Thailand Section และ IEEE Power and Energy Society– Thailand จัดสัมมนาเชิงวิชาการ เรื่อง “การป้องกันระบบไฟฟ้า : ทฤษฎี และ กรณีศกึ ษา” (Power System Protection : Theory and Case Studies) ระหว่าง วั น ที่ 10-12 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2562 เวลา 08.30-16.30 น. ณ ห้อง Arnoma โรงแรมอโนมา แกรนด์ กรุงเทพฯ โดยได้ รั บ เกี ย รติ จ าก พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย อดีตผู้ว่าการการไฟฟ้า นครหลวง อดีตประธานคณะกรรมการ ก�ำกับกิจการพลังงาน และทีป่ รึกษา IEEE Power & Energy Society–Thailand Chaper เป็นประธานเปิดงานสัมมนา ซึง่ งานสัมมนา ครั้งนี้ มีการจัดท�ำ Workshop เกี่ยวกับ Protective Relay Coordination โดยมี ผู้เข้าร่วมสัมมนาเกือบ 100 ท่าน

May-June 2019



สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย (TESIA) จัดสัมมนาเชิงวิชาการ เรื่อง

“โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา สำ�หรับภาคประชาชนประเภทบ้านที่อยู่อาศัย”

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย (TESIA) จัดสัมมนาเชิงวิชาการ เรื่อง “โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน แสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา ส�ำหรับภาคประชาชนประเภท บ้านทีอ่ ยูอ่ าศัย” เมือ่ วันที่ 16 พฤษภาคม 2562 เวลา 8.00-16.30 น. ณ ห้องธาราเทพ ฮอลล์ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค ในการนีไ้ ด้รบั เกียรติ จาก ปิยพจน์ รุธริ โก นายกสมาคม เป็นประธานกล่าวเปิดการสัมมนา และ ดร.วิโรจน์ บัวคลี่ รองประธานคณะอนุกรรมการวิชาการ เป็นผูก้ ล่าวรายงาน ส�ำหรับวิทยากรผูบ้ รรยาย คือ ศิรวิ รรณ วรเดช และ วุฒชิ ยั สราญรมย์ จากการไฟฟ้านครหลวง ศุภกร แสงศรีธร และ จุมพล ไชยบิน จากการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค การสัมมนาครัง้ นีม้ ผี ทู้ สี่ นใจ ติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ีติดตั้งบนหลังคา บ้านทีอ่ ยูอ่ าศัย เพือ่ จ�ำหน่ายไฟฟ้าส่วนทีเ่ หลือใช้ ผูจ้ ำ� หน่ายอุปกรณ์

May-June 2019

ผู้ให้บริการ ออกแบบ และติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน แสงอาทิตย์ รวมถึงบุคลากรจากหน่วยงานรัฐ เอกชน และบุคคลทัว่ ไป เข้าร่วมฟังบรรยายและซักถามรวม 98 คน วัตถุประสงค์ในการจัดงาน สัมมนาครัง้ นีเ้ พือ่ สือ่ สารและท�ำความเข้าใจเกีย่ วกับระเบียบ ขัน้ ตอน รวมถึงข้อก�ำหนดต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการขอจ�ำหน่ายไฟฟ้าทีเ่ หลือใช้ จากการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคาของ ประชาชนภาคทีอ่ ยูอ่ าศัย เพือ่ ให้ประชาชนรวมถึงผูใ้ ห้บริการออกแบบ และติดตั้ง มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตามระเบียบและ ข้อก�ำหนดได้อย่างถูกต้อง ซึง่ จะเป็นประโยชน์อย่างยิง่ ต่อการปฏิบตั กิ าร ร่วมกันระหว่างผูผ้ ลิตไฟฟ้าและการไฟฟ้า ให้เกิดความปลอดภัยต่อ ผูป้ ฏิบตั งิ านระบบไฟฟ้าและเสถียรภาพของระบบโครงข่ายไฟฟ้า


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

TESIA จัดประชุมใหญ่ 5 องค์กรไฟฟ้าชั้นนำ�ของประเทศ กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ ผู้ว่าการการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) พร้อมด้วย วิลาศ เฉลยสัตย์ ผู้ช่วยผู้ว่าการการไฟฟ้านครหลวง และคณะผู้บริหาร ให้การต้อนรับ ปิยพจน์ รุธิรโก นายกสมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย (TESIA) ซึ่งประกอบด้วย 5 องค์กร ได้แก่ การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย บริษทั ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ผลิตไฟฟ้า ราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) พร้อมจัดการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2562 ณ อาคารวัฒนวิภาส การไฟฟ้านครหลวง ส�ำนักงานใหญ่ คลองเตย

วิลาศ ในฐานะอุปนายก TESIA กล่าวว่า กฟน. ในฐานะองค์กรทีข่ บั เคลือ่ นด้านพลังงานเพือ่ ชีวติ เมืองมหานครนัน้ ได้เล็งเห็นถึงความ ส�ำคัญของความร่วมมือระหว่างองค์กรไฟฟ้าชั้นน�ำ โดยในครั้งนี้ได้ใช้สำ� นักงานใหญ่แห่งใหม่ของ กฟน. ซึ่งมีความพร้อมในด้านสถานที่และ ระบบปฏิบัติการของอาคารที่ทันสมัย ทั้งนี้ การประชุมใหญ่สามัญสมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทยนี้ จะช่วยให้เกิดการส่งเสริม เทคโนโลยีทางด้านอุตสาหกรรมไฟฟ้าของประเทศไทย รวมถึงการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ งานวิจัย เทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรม ทุกสาขา พร้อมทั้งสร้างความสัมพันธ์อันดี และส่งเสริมความสามัคคีระหว่างสมาชิก นอกจากนี้ ความร่วมมือดังกล่าวยังมีบทบาทในด้าน การประกอบกิจกรรมที่เป็นสาธารณประโยชน์ ตลอดจนช่วยในการพัฒนาวิชาชีพของสมาชิกวิศวกรทุกสาขา เพื่อให้เกิดสาธารณประโยชน์ แก่สังคมอันจะท�ำให้เกิดแก่ชื่อเสียงของสังคม May-June 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

กฟผ. บุกธุรกิจ

“มาตรวิทยา” ร่วมสร้างสังคมแห่งความเที่ยงตรง

...กฟผ. บุกธุรกิจ “มาตรวิทยา” ร่วมสร้างสังคมแห่ง ความเทีย่ งตรง มุง่ ประสิทธิภาพ สร้างประสิทธิผลงานสอบเทียบ เครือ่ งมือวัด ด้วยเครือ่ งมือทีท่ นั สมัย คุณภาพมาตรฐานระดับ สากล จากทีมงานมืออาชีพ มากด้วยประสบการณ์...

อาคารรูปร่างแปลกตาทีต่ ง้ั ตระหง่านอยูใ่ นพืน้ ทีข่ องการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ส�ำนักงานไทรน้อย อ�ำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี เป็นที่ตั้งของ “ศูนย์มาตรวิทยาและสอบเทียบ เครื่องมือวัด กฟผ.” (Metrology and Calibration Center) ภายใต้ การดูแลของกองมาตรวิทยาและสอบเทียบเครื่องมือวัด ฝ่ายบ�ำรุง รักษาไฟฟ้า (อบฟ.) สังกัดผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การธุรกิจบ�ำรุงรักษา (ชธธ.) สายงาน รองผูว้ า่ การธุรกิจเกีย่ วเนือ่ ง (รวธ.) มีหน้าทีใ่ ห้บริการงานมาตรวิทยา และสอบเทียบเครือ่ งมือวัดให้กบั หน่วยงานภายในและภายนอก กฟผ. ด้วยเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญและเครื่องมือที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน ระดับสากล โดยเปิดให้บริการวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 8.00-16.00 น. (ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์) ช่องทางการติดต่อ โทร. 0-2436-6227 May-June 2019

E-mail: mcc@egat.co.th Line@: @ubi1874g และ Facebook: Egat Calibration Lab

”มาตรวิทยา” มีความสำ�คัญอย่างไร

“มาตรวิทยา” คือ หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยความ ถูกต้องของผลการวัด พูดง่ายๆ คือ ไม้เมตรความยาว 1 เมตรนั้น


การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

จะเท่ากับ 1 เมตรเสมอ ไม่ว่าจะน�ำไปเทียบที่ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกา จีน หรือประเทศใด ก็ยาวเท่ากับ 1 เมตร หรือน�ำ้ หนัก 1 กิโลกรัม ก็จะชัง่ ได้ 1 กิโลกรัมเท่ากันทัว่ โลก เรียกว่า กระบวนการ “Metrological Traceability” ซึ่งไม่ใช่มีเฉพาะความยาวหรือน�ำ้ หนัก เท่านัน้ แต่มเี รือ่ งของอุณหภูมิ เคมี ชีวภาพ รวมไปถึงห้องปฏิบตั กิ าร หรือ Lab ด้วย การด�ำเนินธุรกิจผลิตไฟฟ้าก็เช่นกัน อุปกรณ์เครื่องมือวัด ทุกชิ้นภายในโรงไฟฟ้า จะต้องได้รับการสอบเทียบว่ามีค่าที่ถูกต้อง ตรงตามมาตรฐานที่กำ� หนด เพื่อความปลอดภัยในการท�ำงานของ เครือ่ งจักร บุคลากร และเพือ่ คุณภาพทีด่ ขี องไฟฟ้าแต่ละหน่วย เพราะ เครือ่ งมือหรืออุปกรณ์ชน้ิ เล็กๆ เพียงชิน้ เดียว หากมีคา่ คลาดเคลือ่ น ไปจากค่ามาตรฐาน ก็สามารถส่งผลกระทบไปถึงผู้ใช้ไฟฟ้าใน ภาคครัวเรือนได้เลยทีเดียว ยกตัวอย่างเช่น ระบบตรวจจับ ความถี่ (Frequency) ในการผลิตไฟฟ้าที่ 50 Hz หรือ 50 Hertz Frequency ถ้าเครื่องมือวัดความถี่ไม่มีความแม่นย�ำ ประชาชนผู้ใช้ไฟฟ้าภาค ครัวเรือนจะได้กระแสไฟที่ไม่มีประสิทธิภาพ ส่งผลท�ำให้เครื่องใช้ ไฟฟ้าเสียหายได้ ดังนั้น การตรวจสอบเครื่องมือวัดต่างๆ จะต้องมี กระบวนการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีความถูกต้อง แม่นย�ำ และเชือ่ ถือได้ ซึ่ง กฟผ. ให้ความส�ำคัญต่อความปลอดภัยและมาตรฐานในการ ด�ำเนินงานอย่างสูงสุด มีหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบงานด้านการสอบเทียบ เครือ่ งมือวัดโดยเฉพาะ มีบคุ ลากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญและประสบการณ์ ด้านมาตรวิทยามาเกือบ 20 ปี และปัจจุบันมีการพัฒนาศักยภาพ ครอบคลุมในทุกๆ ด้าน จนสามารถเปิดให้บริการงานมาตรวิทยา ในเชิงธุรกิจให้แก่หน่วยงานภายนอกได้อย่างครบวงจร

กว่าจะมาเป็นศูนย์มาตรวิทยาฯ กฟผ.

ที่ผ่านมา ภารกิจหลักของศูนย์มาตรวิทยาและสอบเทียบ เครือ่ งมือวัด กฟผ. คือ การสอบเทียบเครือ่ งมือวัดต่างๆ ให้กบั หน่วยงาน ภายใน กฟผ. เป็นหลัก รวมทัง้ ได้รว่ มพัฒนาและส่งเสริมความรูด้ า้ น มาตรวิทยาให้แก่เครือข่ายห้องปฏิบตั กิ ารของ กฟผ. ซึง่ มีอยูท่ วั่ ประเทศ ทัง้ ด้านปฏิบตั กิ ารทดสอบและการสอบเทียบ เพือ่ สนับสนุนให้เครือข่าย ห้องปฏิบตั กิ ารของ กฟผ. แต่ละแห่งได้รบั การรับรองระบบคุณภาพ ห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานสากล ศูนย์มาตรวิทยาและสอบเทียบเครือ่ งมือวัด กฟผ. ได้ออกแบบ ตัวอาคารและห้องปฏิบัติการสอบเทียบให้สอดคล้องกับมาตรฐาน ของห้องสอบเทียบในระดับสากล มีขนาดพืน้ ทีก่ ว้างขวาง โครงสร้าง อาคารแข็งแรงได้มาตรฐาน พร้อมให้บริการด้วยความเป็นมืออาชีพ อย่างครบวงจร ด้วยบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านมาตรวิทยา มาเกือบ 20 ปี มีความเป็นกลาง ถูกต้อง แม่นย�ำ และน่าเชื่อถือ ท�ำหน้าทีใ่ ห้บริการงานสอบเทียบเครือ่ งมือวัด พร้อมส่งเสริมการสร้าง มาตรฐานให้แก่องค์กรและสังคมผ่านกระบวนการวัด ถือเป็นการสร้าง ภาพลักษณ์ทด่ี ขี ององค์กรและสร้างสังคมแห่งความเทีย่ งตรงทางด้าน มาตรวิทยาสู่สังคมภายนอก May-June 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย (Vibration Laboratory) 5.มวล (Mass Laboratory) 6.มิติ (Dimension Laboratory) 7.แรงบิด (Torque Humidity Laboratory) 8.ความดันและ สาขาสุญญากาศ (Pressure Laboratory) โดยให้บริการสอบเทียบในรูปแบบ On Site

ความเชี่ยวชาญของบุคลากร

ความพร้อมในการให้บริการเชิงธุรกิจ

ปัจจุบนั ห้องปฏิบตั กิ ารสอบเทียบภายในศูนย์มาตรวิทยาฯ กฟผ. มีความพร้อมในการให้บริการเชิงธุรกิจ และมีการพัฒนา คุณภาพเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันเชิงธุรกิจ จาก จุดเริ่มต้นเพื่อท�ำการสอบเทียบเครื่องมือวัดให้แก่หน่วยงาน ภายใน กฟผ. แต่ดว้ ยความเชีย่ วชาญและประสบการณ์ทมี่ มี า เกือบ 20 ปี ท�ำให้มหี น่วยงานภายนอกติดต่อเข้ามาขอใช้บริการ เพราะเชื่อมั่นและไว้วางใจในศักยภาพและคุณภาพการให้ บริการทีม่ มี าตรฐาน ปัจจุบนั ศูนย์มาตรวิทยาฯ กฟผ. ได้เปิดให้ บริการแก่หน่วยงานภายนอก ทัง้ ภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน โดยมีการประชาสัมพันธ์ผา่ นช่องทางต่างๆ ทัง้ ทางสือ่ ออนไลน์ (Social Media) และการเจาะตลาดกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย เพือ่ ให้เป็นทีร่ จู้ กั มากยิง่ ขึน้ นอกจากนี้ ยังมีการวิเคราะห์ตลาด เพื่ อ ใช้ เ ป็ น แนวทางในการพั ฒ นางานบริ ก ารให้ ส ามารถ ตอบสนองได้ตรงตามความต้องการของลูกค้า

การให้บริการและการดำ�เนินงานของ ศูนย์มาตรวิทยาและสอบเทียบเครื่องมือวัด กฟผ.

ศูนย์มาตรวิทยาและสอบเทียบเครื่องมือวัด กฟผ. ให้บริการครอบคลุมทั้งสิ้น 8 สาขาการวัด ได้แก่ 1.ไฟฟ้า (Electrical Laboratory) 2.อุณหภูมิ (Temperature Laboratory) 3.ความชืน้ สัมพัทธ์ (Humidity Laboratory) 4.การสัน่ สะเทือน May-June 2019

บุ ค ลากรของศู น ย์ ม าตรวิ ท ยาและ สอบเทียบเครื่องมือวัด กฟผ. มีความเป็น มืออาชีพและเชีย่ วชาญในแต่ละสาขาการวัด โดยเฉพาะ เจ้ า หน้ า ที่ ท่ี ส ามารถเข้ า มา ปฏิบัติงานเป็นเจ้าหน้าที่สอบเทียบได้น้ัน จะต้ อ งผ่ า นการอบรมและทดสอบความ สามารถ จนได้รบั การรับรองการขึน้ ทะเบียน บุคคลต่อหน่วยรับรองระบบคุณภาพ ถึงจะ สามารถให้บริการงานสอบเทียบเครื่องมือให้แก่ลูกค้าได้ จึงมั่นใจได้ว่า ลูกค้าจะได้รับการบริการที่ดีที่สุดจากมืออาชีพแน่นอน ซึ่งบุคลากรที่มาก ด้วยประสบการณ์และความเชีย่ วชาญด้านการสอบเทียบมาเกือบ 20 ปีนี้ ถือเป็นจุดเด่นของศูนย์มาตรวิทยาฯ กฟผ. ที่ลูกค้าให้ความเชื่อมั่นและ ไว้วางใจในคุณภาพของงานที่ได้รับบริการ

ขั้นตอนและกระบวนการในการเข้าใช้บริการ

ก่อนเดินทางเข้ามาใช้บริการ ลูกค้าสามารถสอบถามข้อมูลเบือ้ งต้นได้ ผ่านทางแอปพลิเคชัน Line ที่ @ubi1874g หรือโทร. 0-2436-6227 เพื่อไม่ให้เป็นการเสียเวลาในกรณีท่ีมีเหตุขัดข้องไม่สามารถให้บริการได้ โดยมีขั้นตอนการขอรับบริการ ดังนี้ 1. เมื่อลูกค้าติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อสอบถามข้อมูล และสามารถน�า เครือ่ งมือมาส่งที่ กฟผ. ส�ำนักงานไทรน้อย อ�ำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี อาคาร ท.0018 2. กรอกข้ อ มู ล รายละเอี ย ดลงในแบบฟอร์ ม รั บ งานสอบเที ย บ ประกอบด้วยข้อมูลลูกค้า (ชือ่ -ทีอ่ ยู่ ส�ำหรับออกใบรายงานผล/เบอร์โทรศัพท์/ ข้อมูลเครื่องมือ/ยี่ห้อรุ่น/หมายเลขเครื่องมือ และย่านการสอบเทียบ) 3. ลูกค้าตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ตรวจสอบรายละเอียด ในแบบฟอร์มรับงานสอบเทียบพร้อมลงนามยืนยัน เจ้าหน้าทีจ่ ะประสานงาน และแจ้งนัดวันรับเครื่องมือให้กับลูกค้า 4. หลังจากสอบเทียบเสร็จแล้ว เจ้าหน้าที่จะประสานงานแจ้งยอด ค่าใช้จ่ายทั้งหมดให้แก่ลูกค้าผ่านทางอีเมล (E-mail) หรือทางโทรศัพท์ ตามข้อมูลที่ลูกค้าแจ้งไว้ 5. เมือ่ ถึงก�ำหนดวันรับเครือ่ งมือ กรณีทเ่ี ป็นลูกค้าภายนอก สามารถ จ่ายเงินผ่านเคาน์เตอร์ธนาคาร และน�ำหลักฐานการโอนเงินมาแสดงเพือ่ รับเครื่องมือกลับ 6. ลูกค้าประเมินความพึงพอใจผ่าน QR Code เพื่อน�ำข้อมูลมา ปรับปรุงการให้บริการต่อไป


การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

และโครงการทีก่ ำ� ลังพัฒนา ได้แก่ โครงการสอบเทียบ Dynamic Pressure Sensor ซึง่ ในประเทศไทยยังไม่มหี น่วยงาน ใดให้บริการ และโครงการวิจยั เครือ่ งสอบเทียบ Shock Pulse Vibration ให้บริการและรองรับงานวิเคราะห์มอเตอร์ เป็นต้น

จุดแข็งในการให้บริการ

คิดค้นนวัตกรรมและเครื่องมือ ที่ทน ั สมัย เพิ่มประสิทธิภาพ การให้บริการ

เครื่ อ งมื อ ของศู น ย์ ม าตรวิ ท ยาและ สอบเทียบเครื่องมือวัด กฟผ. มีการคิดค้น ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาให้ ทั น สมั ย อยู ่ เ สมอ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการให้บริการสอบเทียบ ให้มคี ณ ุ ภาพดีขน้ึ อย่างต่อเนือ่ ง โดยมีโครงการ Automatic Dial ต่างๆ ทัง้ ทีก่ ำ� ลังด�ำเนินการ และทีด่ ำ� เนินการ Gauge Calibrator แล้วเสร็จ สามารถน�ำมาใช้ในการให้บริการ สอบเทียบ อาทิเช่น 1. เครือ่ งมือสอบเทียบ Dial Indicator แบบอัตโนมัติ เป็นเครือ่ งมือ ทีท่ ำ� หน้าทีช่ ว่ ยสอบเทียบเครือ่ งมือวัดได้อย่างรวดเร็ว และมีความถูกต้อง แม่นย�ำสูง โดยเครือ่ งมือนีส้ ามารถคว้ารางวัลเหรียญเงิน iENA 2018 จาก งาน International Trade Fair ณ ประเทศเยอรมนี 2. เครือ่ งมือสอบเทียบ Torque Multiplier เป็นเครือ่ งมือทีเ่ จ้าหน้าที่ กฟผ. คิดค้นและพัฒนาขึน้ ส�ำเร็จ และน�ำมาใช้ให้บริการสอบเทียบแก่ลกู ค้า ซึ่งในประเทศไทยมีที่ศูนย์มาตรวิทยาฯ กฟผ. ที่สามารถสอบเทียบได้ เป็นอันดับต้นๆ แห่งเดียวเท่านั้น ซึ่งตอนนี้ก็ก�ำลังพัฒนาให้เป็นระบบ Semi-Automatic ซึ่งจะท�ำให้สอบเทียบเร็วขึ้นและแม่นย�ำขึ้น

จุดแข็งและความโดดเด่นของศูนย์มาตรวิทยาและ สอบเทียบเครือ่ งมือวัด กฟผ. คือ การให้บริการงานสอบเทียบ เครือ่ งมือวัดด้าน Vibration เนือ่ งจากในประเทศไทยมีหน่วยงาน เพี ย งไม่ กี่ แ ห่ ง ที่ ส ามารถให้ บ ริ ก ารในด้ า นนี้ จึ ง มี ลู ก ค้ า ภาคเอกชนเข้ามารับบริการสอบเทียบด้าน Vibration ที่ ศูนย์มาตรวิทยาฯ กฟผ. จ�ำนวนมาก ซึง่ ปัจจัยส�ำคัญอีกประการ ทีส่ ง่ ผลให้การให้บริการมีมาตรฐานคือ การลงทุนในเครือ่ งมือ ทีม่ คี วามถูกต้องและความแม่นย�ำสูง มีคณ ุ ภาพตามมาตรฐาน สากล เครื่องมือที่ดีมีมาตรฐานจะสามารถถ่ายค่าสอบเทียบ ไปยังเครือ่ งมือลูกค้าได้อย่างแม่นย�ำ ซึง่ แน่นอนว่า เครือ่ งมือ ต่างๆ ในแต่ละห้องปฏิบัติการ กฟผ. ล้วนมีมาตรฐานและ มีความแม่นย�ำสูง ลูกค้าจึงมัน่ ใจได้วา่ ค่าความถูกต้องทีว่ ดั ได้ จากห้องปฏิบัติการของ กฟผ. มีความถูกต้องและแม่นย�ำสูง นอกจากนี้ ยังมีการควบคุมสภาวะแวดล้อม อุณหภูมิ และความชืน้ ให้เป็นไปตามมาตรฐานอย่างเคร่งครัด โดยภายใน ศูนย์มาตรวิทยาฯ กฟผ. จะมีเครือ่ งตรวจวัดสภาวะแวดล้อมอยู่ ตลอด 24 ชั่วโมง หากมีการตรวจพบว่าเกินเกณฑ์มาตรฐาน จะส่งสัญญาณแจ้งเตือน (Alarm) เพือ่ ให้เจ้าหน้าทีท่ ำ� การแก้ไข ในทันที “กฟผ. มีความพร้อมในการให้บริการธุรกิจงานสอบเทียบ เครื่องมือวัดให้แก่ลูกค้าอย่างเต็มที่ ทั้งด้านบุคลากรที่มี ความเชี่ยวชาญ มากด้วยประสบการณ์ เครื่องมือที่ทันสมัย ห้องปฏิบตั กิ ารทีม่ มี าตรฐาน การันตีความถูกต้องและแม่นย�า เทียบเท่าระดับสากล รวมทัง้ การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี ด้านการสอบเทียบให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีขึ้น อย่างต่อเนือ่ ง หากต้องการใช้บริการงานสอบเทียบเครือ่ งมือวัด เชื่อมั่นในศูนย์มาตรวิทยาและสอบเทียบเครื่องมือวัด กฟผ. ผู้ให้บริการในธุรกิจมาตรวิทยาระดับชั้นน�ำ” http://www.egat.co.th/index.php?option=com _content&view=article&id=3007:20190508art01&catid=49:public-articles-egat&Itemid=251 May-June 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

กฟน. ร่วมงาน Networking Reception เตรียมพร้อมจัดงาน

iEVTech 2019 & ASEAN EV Summit 2019

เมือ่ วันนี้ 5 มิถนุ ายน 2562 ทีผ่ า่ นมา ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูต้ รวจราชการ กระทรวงพลังงาน เป็นประธานเปิดงาน Networking Reception ของงานประชุม เชิงวิชาการและนิทรรศการเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้านานาชาติ “International Electric Vehicle Technology Conference & Exhibition (iEVTech 2019) และ ASEAN EV Summit 2019” ทีจ่ ดั ขึน้ ในระหว่างวันที่ 5-8 มิถนุ ายน 2562 ณ Hall 101-104 ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้สนับสนุนและผู้ร่วมงาน โดยมี วิลาศ เฉลยสัตย์ ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การการไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) ร่วมเป็นเกียรติภายในงาน ในฐานะผูแ้ ทน กฟน. หนึง่ ในหน่วยงานทีร่ ว่ มสนับสนุนการจัดงานฯ พร้อมจัดแสดง นวัตกรรมยานยนต์ไฟฟ้า และเทคโนโลยีเครือ่ งอัดประจุไฟฟ้าส�ำหรับยานยนต์ ไฟฟ้าภายในงานดังกล่าวฯ ณ Grand Hall 203 ศูนย์นทิ รรศการและการประชุม ไบเทค บางนา กรุงเทพฯ

May-June 2019

กฟน. ร่วมสนับสนุนและ โชว์นวัตกรรม EV ในงาน

iEVTech 2019

พร้อมรุกตลาดติดตั้ง เครื่องชาร์จยานยนต์ไฟฟ้า ราคาพิเศษ การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) เดินหน้ารุกตลาด ยานยนต์ไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง จับมือทั้งภาครัฐ และเอกชน สนับสนุนและโชว์นวัตกรรมยานยนต์ ไฟฟ้า (EV) พร้อมน�ำเสนอบริการออกแบบและ ติดตั้งเครื่องชาร์จไฟยานยนต์ไฟฟ้าภายในที่อยู่ อาศัย ด้วยค่าบริการพิเศษเริม่ ต้นเพียง 11,000 บาท โดยทีมงานผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพ ในงานประชุม เชิงวิชาการและนิทรรศการเทคโนโลยียานยนต์ ไฟฟ้านานาชาติ “International Electric Vehicle Technology Conference & Exhibition (iEVTech 2019) และ ASEAN EV Summit 2019” ระหว่าง วันที่ 5-8 มิถนุ ายน 2562 ณ นิทรรศการยานยนต์ ไฟฟ้าของ กฟน. บูธ C11 Hall 104 ศูนย์นทิ รรศการ และการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ วิลาศ เฉลยสัตย์ ผู้ช่วยผู้ว่าการ กฟน. เปิดเผยว่า กฟน. ในฐานะหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงมหาดไทย ที่มีความมุ่งมั่นในการ ขับเคลือ่ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ ยกระดับ คุณภาพงานบริการเพื่อวิถีชีวิตเมืองมหานคร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเป็นผู้น�ำด้านการใช้งาน ยานยนต์ไฟฟ้า โดย กฟน. มีการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า ในกิจการ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2555 พร้อมมีการน�ำร่อง ให้บริการสถานีอัดประจุไฟฟ้าส�ำหรับยานยนต์ ไฟฟ้ารวม 12 สถานี ทั่วเขตจ�ำหน่ายของ กฟน. ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ ตลอดจนมีการวิจยั และพัฒนาเครือ่ งอัดประจุไฟฟ้า ส�ำหรับยานยนต์ไฟฟ้า และเตรียมพร้อมระบบ ไฟฟ้าให้พร้อมรองรับต่อความต้องการใช้งาน พลั ง ไฟฟ้ า ส� ำ หรั บ ยานยนต์ ไ ฟฟ้ า ในอนาคต ให้เป็นไปอย่างมัน่ คง ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ


การไฟฟ้านครหลวง

ที่ผ่านมา กฟน. ได้ร่วมสนับสนุนและให้ความร่วมมือกับหน่วยงาน ต่างๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ในการลงนามบันทึกความเข้าใจ กับผูป้ ระกอบการอย่างต่อเนือ่ งหลายราย ส�ำหรับครัง้ นี้ กฟน. รูส้ กึ มีความยินดีเป็นอย่างยิง่ ทีไ่ ด้มสี ว่ นร่วมสนับสนุนการจัดงานประชุม เชิงวิชาการและนิทรรศการเทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้านานาชาติ “International Electric Vehicle Technology Conference & Exhibition (iEVTech 2019) และ ASEAN EV Summit 2019” จึงพร้อมร่วม จัดแสดงนวัตกรรมยานยนต์ไฟฟ้า และเทคโนโลยีเครือ่ งอัดประจุไฟฟ้า ส�ำหรับยานยนต์ไฟฟ้า โดยเฉพาะอย่างยิง่ กฟน. ได้นำ� เสนอ MEA EV Application ซึง่ เป็นแอปพลิเคชันทีใ่ ช้งานได้บนสมาร์ทโฟนทัง้ ระบบ IOS และ Android (ดาวน์โหลดฟรี https://goo.gl/F6C5bV) โดยเป็น

แอปพลิเคชันที่ทันสมัย สะดวกสบาย เตรียมพร้อมส�ำหรับรถยนต์ พลังงานไฟฟ้า ส�ำหรับการค้นหาสถานีอดั ประจุไฟฟ้าทัง้ ของ กฟน. และของหน่วยงานอื่นๆ ตลอดจนการจองหัวชาร์จยานยนต์ไฟฟ้า แบบเรียลไทม์ มีระบบน�ำทางไปยังสถานีชาร์จพร้อมควบคุมการชาร์จ ยานยนต์ไฟฟ้าผ่านระบบรีโมทด้วยแอปพลิเคชันได้ทนั ที มีการแจ้ง ข้อมูลประวัตกิ ารชาร์จ การค�ำนวณอัตราการประหยัดพลังงาน รวมถึง ฟังก์ชนั อืน่ ๆ ทีจ่ ะจัดท�ำเพิม่ เติมเพือ่ อ�ำนวยความสะดวกในอนาคต ภายในงานมีวศิ วกรไฟฟ้าผูเ้ ชีย่ วชาญจาก กฟน. ร่วมบรรยายพิเศษ ในหัวข้อ “Electric Vehicle Charging Equipment Installation” อีกด้วย นอกจากนี้ ภายในงานดังกล่าวฯ กฟน. ยังพร้อมเปิดให้บริการ ออกแบบและติดตัง้ เครือ่ งชาร์จไฟยานยนต์ไฟฟ้าภายในทีอ่ ยูอ่ าศัย โดยทีมงานผูเ้ ชีย่ วชาญและอุปกรณ์เป็นไปตามมาตรฐาน กฟน. โดย มีอัตราค่าบริการเริ่มต้นเพียง 11,000 บาท ส�ำหรับการตรวจสอบ และติดตัง้ เครือ่ งวัดหน่วยไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าทีจ่ ำ� เป็นส�ำหรับการ อัดประจุไฟฟ้า และจัดเตรียมระบบไฟฟ้าให้มีความเหมาะสม และ เพียงพอต่อการอัดประจุไฟฟ้าส�ำหรับยานยนต์ไฟฟ้าให้เป็นไปอย่าง มั่นคง ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ May-June 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

ระบบสื่อสารแบบหลอมรวม

UNIFIED COMMUNICATION : UC ต้องยอมรับว่าเทคโนโลยีทพี่ ฒ ั นาอยูต่ ลอดเวลาท�ำให้ ชีวิตเราสะดวกสบายมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสื่อสาร ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ทีก่ ลายมาเป็นส่วนหนึง่ ในชีวติ ประจ�ำวัน ของเราไปแล้ว ทัง้ โทรศัพท์มอื ถือสมาร์ตโฟน การส่งข้อความ ผ่านอีเมล รวมถึงการประชุมผ่าน Voice Conference และ Video Conference และจะดีแค่ไหน หากแอปพลิชันและเครื่องมือ ต่างๆ ทีเ่ คยท�ำงานแยกส่วนถูกน�ำมารวมเข้าไว้ดว้ ยกันในระบบ เดียว ในรูปแบบของการสื่อสารแบบหลอมรวม (Unified Communication : UC) ฝ่ายสื่อสารและโทรคมนาคม ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบ โครงสร้างพืน้ ฐาน ดูแล บ�ำรุงรักษา และปรับปรุงเพิม่ ประสิทธิภาพ โครงข่ายสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ ได้ตระหนักถึงแนวโน้ม เทคโนโลยี และได้ศึกษาเพื่อน�ำระบบสื่อสารแบบหลอมรวม มาใช้ในการพัฒนาปรับปรุงระบบโทรศัพท์ โทรสาร ภายในของ PEA ให้ทนั สมัย อ�ำนวยความสะดวกให้พนักงานสามารถติดต่อ ประสานงานได้งา่ ย รวดเร็ว ประหยัดค่าใช้จา่ ย มีความปลอดภัย จากภัยคุกคามของข้อมูล ระบบสื่อสารแบบหลอมรวมเป็นส่วนหนึ่งของแผน ดิจิทัล พัฒนาสมรรถนะของโครงสร้างพื้นฐานด้าน ICT ของ องค์กรให้มีความเป็นเลิศ (ICT Infrastructure Excellence) มุง่ สูก่ ารเป็นองค์กรดิจทิ ลั (Digital Utility) ภายในปี พ.ศ. 2565 May-June 2019


การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

ระบบสื่อสารแบบหลอมรวม เป็นการหลอมรวมการติดต่อ สือ่ สารประเภทต่างๆ ไว้ดว้ ยกัน เช่น เชือ่ มโยงระบบโทรศัพท์ภายใน องค์กรผ่านแอปพลิเคชัน (Telephone Service), Fax Service, Voice Message, Instant Messaging, Mobility Service, Chat, Email, Calendar, PC Application, Desktop Conference, Video Conference, Mobile Conference ใช้งานบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตภายในของ PEA และภายนอกหน่วยงาน ผู้ใช้สามารถติดต่อสื่อสารได้จากทุกแห่ง ทั่วโลก โดยไม่จำ� กัดอุปกรณ์และเวลา ระบบสื่อสารแบบหลอมรวมที่ PEA ออกแบบและจัดหา ประกอบด้วยเครื่องแม่ข่ายหลัก (Primary Site) และเครื่องแม่ข่าย ส�ำรอง (Secondary Site) ทั้ง 2 ระบบสามารถท�ำงานทดแทนกันได้ เพือ่ ป้องกันการล้มเหลวของระบบและการให้บริการ ในกรณีทร่ี ะบบ หลักเกิดขัดข้องหรือท�ำงานผิดพลาด ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของ ข้อมูล จ�ำกัดการเข้าถึงระบบได้เฉพาะกลุ่มและไม่ต้องการใช้งาน ร่วมกับผูอ้ น่ื โดยทีมงาน IT จะเป็นผูด้ แู ลและมอนิเตอร์ระบบทัง้ หมด ด้วยตัวเอง ใช้แพลตฟอร์มและมาตรฐานโปรโตคอลแบบเปิด (Open Standard) เพือ่ ให้สามารถบูรณาการ (Integrated) และท�ำงานร่วมกัน (Interoperability) ระหว่างอุปกรณ์ต่างผลิตภัณฑ์ ทั้งในด้านระบบ ปฏิบตั กิ าร การประมวลสัญญาณ การส่งสัญญาณ และระบบเครือข่าย ระบบถูกออกแบบให้เชื่อมต่อฐานข้อมูลพนักงาน เพื่อแสดงข้อมูล การค้นหาผู้ใช้งาน หมายเลขโทรศัพท์ หน่วยงานต้นสังกัด ท�ำงาน ร่วมกับระบบสวัสดิการพนักงาน ส่งข้อความด้านการเงินและสวัสดิการ ต่างๆ ของพนักงานผ่านทาง Mobile และ PC Application การส่งสลิป เงินเดือน เชือ่ มต่อกับ PEA Call Center ใช้งานได้กบั Web Browser และ Mobile Application พนักงาน PEA ทุกคนจะได้รับ User Name และ Password ส�ำหรับการใช้งาน UC Applications โดยสามารถดาวน์โหลด แอปพลิเคชันลงบนเครือ่ งโทรศัพท์มอื ถือ ทัง้ ระบบปฏิบตั กิ าร Android และ iOS หรือเครือ่ งคอมพิวเตอร์ประจ�ำส�ำนักงาน เพือ่ รับ-ส่งข้อมูล

พูดคุยทั้งแบบข้อความ เสียง และวิดีโอผ่าน Uc Applications การค้นหารายชื่อ หมายเลขโทรศัพท์ ต�ำแหน่ง สังกัดของพนักงาน การใช้ UC Applications โทรติดต่อเข้าเครือข่ายโทรศัพท์ภายในองค์กร การเข้าร่วมประชุมแบบ Video Conference รวมถึงรับแจ้งเตือนข้อมูล สวัสดิการ ข้อมูลประชาสัมพันธ์ สลิปเงินเดือน ข้อความแจ้งเตือน ต่างๆ โดยผ่าน UC Applications ได้จากทุกแห่งทัว่ โลกทีม่ สี ญ ั ญาณ อินเทอร์เน็ตเข้าถึง ทั้งนี้ PEA ได้ก�ำหนดยุทธศาสตร์ให้มุ่งสู่การเป็นองค์กร ดิจิทัล (Digital Utility) ภายในปี พ.ศ. 2565 ซึ่งการปรับเปลี่ยน PEA สู่ Digital Utility ถือเป็นการปรับเปลี่ยนครั้งใหญ่ ระบบสื่อสารแบบ หลอมรวมจะเป็นแพลตฟอร์มส�ำคัญในการอ�ำนวยความสะดวก ทัง้ ในด้านเครือข่ายระบบไฟฟ้า การบริการลูกค้า กระบวนการภายใน องค์กร การพัฒนาทรัพยากรบุคคล การเข้าถึงพนักงานทุกระดับ เพิม่ ความคล่องตัว รวดเร็ว เพิม่ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั งิ านของ พนักงาน มีความมัน่ คงปลอดภัย ได้มาตรฐาน พัฒนาศักยภาพของ บุคลากร สร้างวัฒนธรรม เสริมสร้างบุคลากรแห่งอนาคต เพิม่ ความ เชื่อมั่นในการท�ำงานยุคดิจิทัล รองรับการเปลี่ยนแปลงเป็นองค์กร ที่ทันสมัย และเติบโตอย่างยั่งยืนของ PEA

May-June 2019


กระบวนการภายในองค์กร การพัฒนาทรัพยากรบุคคล การเข้าถึงพนักงานทุกระดับ เพิม ่ ความคล่องตัว รวดเร็ว เพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน มี ความมั่นคงปลอดภัย ได้มาตรฐาน พัฒนาศักยภาพ ของบุคลากร สร้าาแห่ งวังฒ นธรรม เสริมสร้างบุคลากร สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้ ประเทศไทย แห่งอนาคต เพิ่มความเชื่อมั่นในการทำางานยุคดิจิทัล รองรับการเปลี่ยนแปลงเป็นองค์กรที่ทันสมัย และเติบโต อย่างยั่งยืนของ PEA Mobile Conference

Telephone Service

VDO Conference

Fax Service

ยกระดับก�รติดต่อสือ ่ ส�ร ส�ม�รถสร้�งทิศท�งก�รทำ� องค์ประกอบของอุปกรณ์แล จ�กกัน และง่�ยต่อก�รใช้ง�

เพิม ่ คว�มสะดวกในก�รติด ระหว่�งหน่วยง�นและพนักง ติดต่อได้จ�กทุกทีท ่ ก ุ เวล� (A Anytime Any Device) ผ่�น บนอุปกรณ์ Smart Devices

เพิม ่ ช่องท�งสือ ่ ส�รกับลูก Platform Desktop Conference

Voice Message

Instant message

Pc Application

Calendar

E-mail

Chat

Mobile Service (Announce,NEWS, Employee benefits)

เพิม ่ ช่องท�งก�รประช�สัม ข่�วส�รจ�กองค์กรสูพ ่ นักง ประช�สัมพันธ์ ข้อมูลสวัสดิก

ลดก�รใช้กระด�ษ ลดขัน ้ ต

ข้อดีของระบบสื่อสารแบบหลอมรวม ปรับปรุงและเพิ่มศักยภาพระบบสื่อสารของ PEA ให้มีความทันสมัย ด้วยการผนวกรวม แอปพลิเคชันด้านเสียง วิดีโอ ข้อมูล และระบบเคลื่อนที่เข้าด้วยกันเป็นระบบเดียว 

ยกระดับการติดต่อสือ่ สารให้สมบูรณ์ สามารถสร้างทิศทางการทำ�งานและจัดองค์ประกอบของ อุปกรณ์และสื่อให้เป็นอิสระจากกัน และง่ายต่อการใช้งาน 

เพิม ่ ความสะดวกในการติดต่อสือ่ สารระหว่างหน่วยงานและพนักงาน และสามารถติดต่อได้จาก ทุกที่ทุกเวลา (Anywhere, Anytime Any Device) ผ่านแอปพลิเคชันบนอุปกรณ์ Smart Devices ส่วนตัว 

เพิ่มช่องทางสื่อสารกับลูกค้าผ่าน UC Platform

เพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารจากองค์กรสู่พนักงาน ทั้งด้านประชาสัมพันธ์ ข้อมูลสวัสดิการ 

ลดการใช้กระดาษ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน

May-June 2019


บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน)

เอ็กโก กรุ๊ป เผยกำ�ไรจากการ ดำ�เนินงานไตรมาส 1/2562 กว่า 2,900 ล้านบาท

ลุยพัฒนาพื้นที่โรงไฟฟ้าระยอง เป็นนิคมอุตสาหกรรม EEC บริษทั ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป๊ ประกาศก�ำไรจากการด�ำเนินงานไตรมาส 1 ปี 2562 จ�ำนวน 2,915 ล้านบาท พร้อมเดินหน้าพัฒนาพื้นที่โรงไฟฟ้าระยอง เป็นนิคมอุตสาหกรรม EEC จักษ์กริช พิบลู ย์ไพโรจน์ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เอ็กโก กรุ๊ป เปิดเผยผลการด�ำเนินงานในช่วงไตรมาส 1 ปี 2562 ว่า “บริษัทฯ มีกําไรก่อนผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน ภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี และการรับรูร้ ายได้แบบสัญญาเช่า จํานวน 2,915 ล้านบาท ลดลงเมือ่ เทียบกับไตรมาส 1 ปี 2561 จํานวน 13,223 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม หากไม่รวมกําไรจากการขาย เงินลงทุน จํานวน 14,162 ล้านบาท บริษัทฯ มีกําไรจากการ ดําเนินงานปกติกอ่ นผลกระทบจากอัตราแลกเปลีย่ น ภาษีเงินได้ รอการตัดบัญชี และการรับรู้รายได้แบบสัญญาเช่าเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน จํานวน 939 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 47 โดยธุรกิจผลิตไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ จํานวน 1,028 ล้านบาท”

โรงไฟฟ้าขนอม ในกลุ่มเอ็กโก คว้า

ส�ำหรับโครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง 3 โครงการ ได้แก่ โรงไฟฟ้า “ไซยะบุร”ี และ “น�ำ้ เทิน 1” ใน สปป.ลาว และโรงไฟฟ้า “ซานบัวนาเวนทูรา” ในประเทศฟิลปิ ปินส์ มีความก้าวหน้าตามแผนงาน โดยคาดว่าจะก่อสร้าง แล้วเสร็จและทยอยเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ตามก�ำหนดในช่วงปลายปี พ.ศ. 2562 และปี พ.ศ. 2565 ตามล�ำดับ “ด้านความคืบหน้าในการลงทุนในปัจจุบัน เอ็กโก กรุ๊ปอยู่ระหว่าง การจัดท�ำแผนการด�ำเนินงานและการประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อม (EIA) เพือ่ พัฒนาพืน้ ทีโ่ รงไฟฟ้าระยอง จ.ระยอง เป็นนิคมอุตสาหกรรม EEC ใน ลักษณะ Smart Industrial Estate เพือ่ รองรับการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก นอกจากนี้ ยังมุ่งแสวงหาโอกาสการลงทุนในธุรกิจใหม่ที่ เกีย่ วเนือ่ งกับธุรกิจหลัก ได้แก่ ธุรกิจ LNG ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ” จักษ์กริช กล่าวเสริม

รางวัลการบริหารสู่ความเป็นเลิศ (TQC) ปี 2561

บริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จ�ำกัด ในกลุ่มเอ็กโก โดย สืบศักดิ์ ชูฤทธิ์ กรรมการผู้จัดการ รับรางวัล การบริหาร สูค่ วามเป็นเลิศ (Thailand Quality Class : TQC) ประจ�ำปี 2561 จาก ดร.พสุ โลหารชุน ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ใน พิธมี อบรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ครัง้ ที่ 17 ในฐานะองค์กรไทย ชัน้ น�ำทีม่ คี วามเป็นเลิศในการบริหารจัดการองค์กรตามเกณฑ์ รางวัลคุณภาพแห่งชาติท้ัง 7 หมวด ได้แก่ การน�ำองค์กร การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้นลูกค้า การวัด วิเคราะห์ จัดการความรู้ การมุง่ เน้นบุคลากร การมุง่ เน้นการปฏิบตั แิ ละ ผลลัพธ์ เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ ให้ทัดเทียมระดับมาตรฐานสากล พิธีมอบรางวัลดังกล่าว จัดขึ้นโดยสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ สถาบันเครือข่ายของ กระทรวงอุตสาหกรรม ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรม แห่งประเทศไทย

May-June 2019


บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

ราชบุรีโฮลดิ้ง เปลี่ยนชื่อเป็น “บริษท ั ราช กรุ๊ป จำ�กัด (มหาชน)” มุ่งสู่บริษท ั ชั้นนำ�ด้านพลังงานและระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานในภูมิภาคเอเซียแปซิฟิก

บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) ประกาศเปลีย่ น ชือ่ บริษทั เป็น “บริษทั ราช กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน)” (ชือ่ ภาษาอังกฤษ RATCH Group Public Company Limited) ตามมติทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เมื่อวันที่ 12 เมษายน ที่ผ่านมา เพื่อให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ทีม่ งุ่ มัน่ สูก่ ารเป็นบริษทั ชัน้ น�ำด้านพลังงานและระบบสาธารณูปโภค พื้นฐานที่มุ่งเน้นการสร้างมูลค่าในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยมีผล ตั้งแต่วันที่ 17 เมษายน 2562 เป็นต้นไป ทั้งนี้ “RATCH” ยังคงใช้ เป็นชื่อหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยดังเดิม กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ราช กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า การเปลีย่ นชือ่ ใหม่เป็นการแสดง ให้เห็นความชัดเจนในเป้าหมายการเติบโตของบริษัทฯ ที่ต้องการ ขยายฐานธุรกิจสูร่ ะบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน และธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง กับพลังงานและไฟฟ้า นอกเหนือจากธุรกิจผลิตไฟฟ้าซึง่ เป็นธุรกิจหลัก ทั้งนี้ บริษัทฯ มีเป้าหมายสร้างมูลค่ากิจการให้เติบโตถึง 200,000 ล้านบาท ใน พ.ศ. 2566 โดยการลงทุนในโครงการระบบสาธารณูปโภค พื้นฐานภายในประเทศและต่างประเทศจะขับเคลื่อนเป้าหมายนี้ อย่างมีนัยส�ำคัญ “บริษัทฯ คาดหมายว่า การลงทุนในระบบสาธารณูปโภค พื้นฐานจะเติบโตขึ้น และมีสัดส่วนประมาณ 25% ของการลงทุน รวมทัง้ หมดในปี พ.ศ. 2566 ด้วยชือ่ ใหม่ “ราช กรุป๊ ” ทีจ่ ดจ�ำง่ายขึน้ จะช่วยให้การวางต�ำแหน่งของบริษทั ฯ ในธุรกิจอืน่ นอกธุรกิจผลิตไฟฟ้า มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น การเปลี่ยนชื่อใหม่ครั้งนี้เป็นการรีแบรนด์ ครั้งแรกของบริษัทฯ นับตั้งแต่ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2543 โดยมุ่งหวัง จะยกระดับความเป็นสากลขององค์กร เพื่อตอบสนองเป้าหมาย การขยายธุรกิจในต่างประเทศมากขึน้ และก้าวสูก่ ารเป็นบริษทั ชัน้ นํา May-June 2019

ในภูมภิ าคแปซิฟกิ ทีส่ ามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ ควบคูก่ บั การ ดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม จรรโลงประโยชน์แก่สงั คมและประเทศชาติดว้ ย” กิจจา กล่าว ชือ่ “ราช กรุป๊ ” ได้ยดึ ค�ำว่า “ราช หรือ RATCH” ซึง่ เป็นชือ่ ทีผ่ มู้ สี ว่ นได้เสียรูจ้ กั และจดจ�ำมาใช้เป็นชือ่ ใหม่ และยังมีความหมาย ที่ดี สื่อถึงความยิ่งใหญ่ ความเจริญรุ่งเรือง และการผสานพลังของ กลุ่มบริษัทฯ ส�ำหรับตราสัญลักษณ์ สื่อถึงพลังของการเคลื่อนไหว ของ “ราช กรุ๊ป” ที่จะเติบโตเป็นผู้น�ำในธุรกิจผลิตไฟฟ้า ระบบ สาธารณูปโภคพืน้ ฐาน และธุรกิจเกีย่ วเนือ่ งอืน่ ๆ ด้วยความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างสรรค์คุณภาพชีวิตที่ดี และเพิ่ม ความสุขให้กับทุกคนในอนาคต

(เดิมชื่อ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2543 มีทุนจดทะเบียนจ�ำนวน ทัง้ สิน้ 14,500 ล้านบาท มีการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่สัดส่วน 45% บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจใน ลักษณะของบริษัทโฮลดิ้ง โดยลงทุนถือหุ้นผ่านบริษัทย่อย และบริษัทร่วมทุน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ การลงทุน มุง่ เน้นธุรกิจผลิตไฟฟ้าเป็นหลัก ต่อมาได้ขยายการลงทุนสู่ ระบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน และธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับไฟฟ้า และพลังงาน ปัจจุบัน บริษัทฯ มีการลงทุนโครงการต่างๆ ใน 5 ประเทศ ประกอบด้วย ไทย สปป.ลาว ออสเตรเลีย จีน และอินโดนีเซีย ประเทศไทยถือเป็นฐานประกอบธุรกิจหลัก







Special Scoop > กองบรรณาธิการ

KMITL Engineering Project Day 2019 งานแสดงนวัตกรรมจากฝีมือนักศึกษา สจล.

สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหาร ลาดกระบัง (สจล.) โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้จัด โครงการผลงานด้านวิศวกรรม ประจ�ำปี 2562 หรือ “KMITL Engineering Project Day 2019” งานแสดงผลงาน วิจัยและนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์จากฝีมือนักศึกษาด้าน วิศวกรรมศาสตร์ ใน 20 สาขาวิชา กว่า 400 ผลงาน พร้อม ไฮไลต์สุดยอดผลงานด้านนวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม และ นวัตกรรมอัจฉริยะสายสุขภาพ อาทิ การลดการไหลของน�า้ ในดินเพื่อการปรับปรุงดินอย่างยั่งยืน เครื่องตรวจระดับ น�ำ้ ตาลในเลือดแบบไม่สมั ผัสร่างกาย ตะเกียบรับประทาน ได้ ระบบการจัดการวันเก็บเกี่ยวทุเรียนบนสมาร์ทโฟน ขาเทียมควบคุมด้วยคลืน่ ไฟฟ้ากล้ามเนือ้ เป็นต้น ทัง้ นี้ สจล. มีแนวคิดในการบ่มเพาะบัณฑิตให้สร้างสรรค์นวัตกรรมใน โลกดิจทิ ลั ด้วยส�ำนึกความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม กระตุน้ การเรียนรูใ้ นรูปแบบแอคทีฟ เลิรน์ นิง่ ของนักศึกษา เพือ่ สร้างวิศวกรทีม่ คี วามรูค้ วบคูท่ กั ษะการปฏิบตั งิ านจริง น�ำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจทั้งภาคอุตสาหกรรมหลักและ อุตสาหกรรมดิจิทัล สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีที่รวดเร็ว ทั้ ง นี้ สจล. ได้ จั ด งานแสดงผลงานในโครงการ ผลงานด้านวิศวกรรม ประจ�ำปี 2562 ณ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) รศ. ดร.คมสัน มาลีสี คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง หรือ สจล. กล่าวว่า สจล. ได้จดั งานแสดงโครงการด้านวิศวกรรม ประจ�ำปี 2562 หรือ KMITL Engineering Project Day 2019 ที่ได้รวบรวมงานวิจัยและนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์จากฝีมือ นักศึกษากว่า 400 ชิน้ ใน 20 สาขาวิชาด้านวิศวกรรมศาสตร์ ของ สจล. เพือ่ การกระตุน้ บรรยากาศการเรียนรูใ้ นรูปแบบ แอคทีฟ เลิรน์ นิง่ (Active Learning) ทีม่ เี ป้าหมายให้ผเู้ รียน น�ำความรู้ที่ได้ในห้องเรียนสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม งานวิจัย และสิ่งประดิษฐ์ สร้างวิศวกรที่มีทั้งความรู้ความ สามารถและทักษะในการปฏิบัติงานจริง เรียนรู้การแก้ไข ปัญหา และการท�ำงานเป็นทีมของนักศึกษา นอกจากนี้ จะมีการเรียนรู้ในรูปแบบสหวิทยาการ (Interdisciplinary) ระหว่างสาขาของคณะวิศวกรรมศาสตร์ เพื่อจุดประกาย แนวคิดในการสร้างนวัตกรรมให้กับนักศึกษาต่อไป May-June 2019

ส�ำหรับสุดยอดผลงานที่จัดแสดงในงานเสนอโครงการด้านวิศวกรรม ประจ�ำปี 2562 (KMITL Engineering Project Day 2019) มีหลากหลายกลุ่ม อาทิ กลุ่มนวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมและนวัตกรรมหุ่นยนต์อัจฉริยะสาย สุขภาพ ได้แก่ การลดการไหลของน�ำ้ ในดินเพือ่ การปรับปรุงดินอย่างยัง่ ยืน ด้วยการน�ำแบคทีเรียเดกซ์ทราน ซึง่ เป็นแบคทีเรียธรรมชาติมาใช้เพือ่ ลดอัตรา การไหลของน�ำ้ ในดินทดแทนวิธเี ดิมทีส่ ง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม เครือ่ งตรวจ ระดับน�ำ้ ตาลในเลือดแบบไม่สมั ผัสร่างกาย ผ่านการวัดระดับน�ำ้ ตาลในเลือด โดยอาศัยหลักการน�ำไฟฟ้าของน�้ำตาลในเลือดด้วยทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า ตะเกียบรับประทานได้ จากแป้งข้าวโพดและแป้งถั่วเหลือง เพื่อทดแทน ตะเกียบไม้ไผ่ชนิดใช้แล้วทิง้ ซึง่ ช่วยลดปัญหาการก�ำจัดขยะทีม่ มี ากในปัจจุบนั ระบบการจัดการวันเก็บเกี่ยวทุเรียนบนสมาร์ทโฟน โดยใช้เทคโนโลยี รหัสประจ�ำต้นจดบันทึกข้อมูลวันดอกบาน เพื่อค�ำนวณวันเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึง่ เกษตรกรสามารถใช้งานได้งา่ ยผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ ต้นแบบขาเทียม ควบคุมด้วยคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ การออกแบบขาเทียมที่ควบคุมการ เคลื่อนไหวด้วยคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ (EMG) เพื่อแปลงสัญญาณและจ�ำลอง รูปแบบลักษณะคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ ให้ขาเทียมเคลื่อนไหวได้ตามความ ต้องการของผู้ใช้งาน ฯลฯ รศ. ดร.คมสัน กล่าว


การศึกษาผลของแบคทีเรียเดกซ์ทรานต่อการลดการไหลของน�้ำในดินเพื่อการปรับปรุงดินอย่างยั่งยืน (Investigating Bacterial Dextran Effects on Soil Permeability Reduction for More Sustainable Ground Improvement) ชือ่ นวัตกรรม : การศึกษาผลของแบคทีเรียเดกซ์ทรานต่อการลด การไหลของน�้ำในดินเพื่อการปรับปรุงดินอย่างยั่งยืน ผู้พัฒนา : นางสาวกชกร วัฒนมีแก้ว นางสาววรรณิศา ต๊ะปัญญา และ นางสาวสุดารัตน์ สุริยา อาจารย์ทปี่ รึกษา : ดร.วิรฬุ ห์ ค�ำชุม และ ดร.ตรีสคุ นธ์ ตรีบพุ ชาติสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง แนวคิดและที่มาการพัฒนานวัตกรรม วิธีการปรับปรุงดินส่วนใหญ่จะเป็นการอัดฉีดน�้ำปูนถูกน�า มาใช้เพือ่ ลดอัตราการไหลของน�ำ้ ในดิน อย่างไรก็ตาม วิธกี ารเหล่านี้ ท�ำให้เกิดความร้อนและเพิ่มพฤติกรรมแบบเปราะในดิน ซึ่งน�ำไปสู่ การเกิดรอยแตกและเพิ่มอัตราการไหลของน�้ำในดิน นอกจากนี้ วิธีการเหล่านี้มีค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างและบ�ำรุงรักษามาก และ ยังส่งผลต่อการเพิม่ ขึน้ ของคาร์บอนฟุตพริน้ ท์ของสิง่ แวดล้อม และ เพิ่มมลพิษในดินและน�้ำใต้ดิน โครงงานนี้จึงมุ่งการพัฒนาวัสดุ ธรรมชาติทมี่ ตี น้ ทุนต�ำ่ เพือ่ ทดแทนวัสดุคาร์บอนสูง โดยศึกษาผลของ เดกซ์ทรานเป็นวัสดุธรรมชาติทดแทนเพื่อลดการไหลของน�้ำในดิน ผ่านการใช้แบคทีเรีย Leuconostoc Mesenteroides เพือ่ ปรับปรุงดิน

วิธีการ แบคทีเรียสามารถช่วยลดการซึมผ่านของน�ำ้ ในดินได้ เนือ่ งจาก เมือ่ แบคทีเรียได้รบั อาหารทีม่ สี ว่ นผสมหลักเป็นซูโครส แบคทีเรียจะ สามารถผลิตเดกซ์ทรานทีม่ ลี กั ษณะเป็นเจลออกมา เมือ่ น�ำแบคทีเรีย ไปใส่ในดิน แบคทีเรียจึงผลิตเดกซ์ทราน ซึง่ สามารถเคลือ่ นตัวเข้าไป ตามช่องว่างในดิน ท�ำให้ช่องว่างในดินลดลง และช่วยให้ค่าการ ซึมผ่านของน�้ำในดินลดลงได้ จากการศึกษาพบว่า แบคทีเรียที่ใส่ในตัวอย่างดินทั้งหมด 6 ตัวอย่าง ในช่วง 17 วันแรกมีการให้อาหารเลี้ยงเชื้อ แต่ไม่มีการ ให้อาหารเลีย้ งเชือ้ ในช่วง 14 วันต่อมา การเปลีย่ นแปลงอัตราการไหล ของน�ำ้ ในดินถูกวัดโดยการทดสอบอัตราการไหลแบบระดับน�ำ้ คงที่ ผลการวิจยั ชีใ้ ห้เห็นว่าแบคทีเรียเดกซ์ทรานสามารถลดอัตราการไหล ของน�ำ้ ในดินได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ประมาณ 97% เทียบกับกรณี ที่ไม่มีแบคทีเรีย) อัตราการไหลของน�้ำในดินที่ลดลงยังคงอยู่แม้ว่า จะไม่มีการให้อาหารเลี้ยงเชื้อ โดยวิธีการใช้แบคทีเรียเดกซ์ทราน อันเป็นวัสดุธรรมชาติในการช่วยลดการซึมผ่านของน�ำ้ ในดิน ต้นทุนต�ำ่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และยังสามารถซ่อมแซมตัวเองได้

เครื่องตรวจระดับน�้ำตาลในเลือด (แบบไม่รุกล�้ำร่างกาย) (Blood Glucose Monitoring (Non-Invasive)) ชื่อนวัตกรรม : เครื่องตรวจระดับน�ำ้ ตาลในเลือด (แบบไม่รุกล�้ำร่างกาย) ผู้พัฒนา : นายรัฐนนท์ สุวรรณธีรางกูร และ นายวชิรวิทย์ จันทร์สว่าง อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ. ดร.ยุทธนา คิดใจเดียว คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง แนวคิดและที่มาการพัฒนานวัตกรรม เนือ่ งจากปัจจุบนั เครือ่ งมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ ของไทยส่วนใหญ่นำ� เข้ามาจากต่างประเทศในราคาทีส่ งู และ เครือ่ งวัดระดับน�ำ้ ตาลในเลือดชนิดเจาะเลือดต้องใช้แผ่นตรวจ

น�้ำตาลที่มีราคาสูงราว 25-40 บาทต่อชิ้น ซึ่งจากปริมาณของผู้ป่วยโรค เบาหวานที่จ�ำเป็นต้องตรวจวัดระดับน�้ำตาลในเลือดเป็นประจ�ำของไทย May-June 2019


จะพบว่ามีปริมาณกว่า 1,000,000 คน ซึ่งเป็นต้นทุนที่สูง ในการตรวจรักษาด้วยวิธกี ารตรวจวัดระดับน�ำ้ ตาลแบบเจาะเลือด นอกจากนี้ การตรวจวัดระดับน�้ำตาลแบบเจาะเลือดยังมี ความเสีย่ งจากการติดเชือ้ สูง จึงท�ำให้ผจู้ ดั ท�ำโครงงานได้พฒ ั นา เครือ่ งตรวจวัดระดับน�ำ้ ตาลในเลือด (แบบไม่รกุ ล�ำ้ ร่างกาย) นีข้ น้ึ โดยอาศัยหลักการของอิมพีแดนซ์ เพื่อใช้วัดระดับน�ำ้ ตาลใน เลือด ซึง่ สามารถบอกได้วา่ มีความเสีย่ งเป็นโรคเบาหวานหรือไม่ และเพื่อให้เกิดความสะดวกในการวัดค่าน�้ำตาลในเลือด โดยที่ไม่จ�ำเป็นต้องเจาะเลือด การวัดระดับน�้ำตาลในเลือด โดยการวัดอิมพีแดนซ์ของเลือดในร่างกายจะอาศัยหลักการ ความสามารถในการน�ำไฟฟ้าของน�ำ้ ตาลในเลือดมาเป็นตัวแปร ในการหาระดับน�้ำตาลในเลือด โดยยิ่งระดับน�้ำตาลในเลือด ยิ่งต�่ำ ค่าอิมพีแดนซ์ (ค่าความต้านทาน) จะยิ่งสูง ในขณะที่ ระดับน�ำ้ ตาลในเลือดสูง ค่าอิมพีแดนซ์จะยิ่งต�า่

รูปแบบการใช้งาน หลักการท�ำงานของตัวเครือ่ งวัดระดับน�ำ้ ตาลในเลือด (แบบไม่รกุ ล�า้ ร่างกาย) จะท�ำงานโดยการปล่อยสัญญาณทางไฟฟ้าที่อยู่ในรูปคลื่น ความถี่ ซึง่ จะอยูใ่ นช่วง 10 kHz-100 kHz ไปยังเซนเซอร์เเละรับค่าสัญญาณ กลับเข้ามา หลังจากนัน้ ระบบจะประมวลผลจากค่าอิมพีเเดนซ์ (ค่าความต้านทาน) ในหลอดเลือดเเละท�ำนายผลระดับน�้ำตาลในเลือดโดยใช้ระบบโครงข่าย ประสาทเทียมในการท�ำนาย ดังภาพ โดยเครื่องวัดระดับน�้ำตาลในเลือด (แบบไม่รุกล�ำ้ ร่างกาย) จะช่วย ลดความเสีย่ งจากการติดเชือ้ และการบาดเจ็บอันเกิดจากการตรวจวัดระดับ น�้ำตาลในเลือดแบบเจาะเลือด ลดการสิ้นเปลืองแผ่นตรวจน�้ำตาลจาก เครือ่ งตรวจน�ำ้ ตาลแบบเจาะเลือด ซึง่ มีราคาต่อหน่วยค่อนข้างแพง สามารถ แสดงผลระดับน�้ำตาลในเลือดได้จากสมาร์ทโฟนได้อย่างง่ายดายและ ใช้เวลาไม่นาน

การออกแบบและพัฒนาต้นแบบขาเทียมควบคุมด้วยคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ (Design and Development of the EMG Controlled Above Knee Prosthesis Prototype for Amputees) ชื่อนวัตกรรม : การออกแบบและพัฒนาต้นแบบขาเทียมควบคุมด้วยคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ ผู้พัฒนา : นางสาวมนัสมน ตีรเลิศพานิช และ นางสาวสุพพัตรา โพธิ์มูล อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ. ดร.มนัสชนก จงประสิทธิ์พร และ ผศ. ดร.อุดม จันทร์จรัสสุข คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง แนวคิดและที่มาการพัฒนานวัตกรรม งานวิจยั นีเ้ ป็นการพัฒนาขาเทียมต้นแบบประเภทเหนือเข่า (Above Knee Prosthesis) ให้มรี ะบบ ควบคุมการเคลือ่ นไหวทีใ่ ช้สญ ั ญาณจากคลืน่ ไฟฟ้ากล้ามเนือ้ (EMG) เนือ่ งจากในประเทศไทยยังต้องน�ำเข้า จากต่างประเทศ ซึ่งมีราคาสูง รวมถึงเทคโนโลยีท่ีใช้ควบคุมการท�ำงานของขาเทียมมักควบคุมโดยใช้ การเคลื่อนไหวของร่างกายเท่านั้น ท�ำให้คนพิการมีความยากล�ำบากในการเดิน จึงได้มีการออกแบบ ระบบควบคุมการเคลื่อนไหวโดยค�ำนึงถึงราคาต้นทุนเป็นส�ำคัญ ด้วยการน�ำสัญญาณคลื่นไฟฟ้าจาก กล้ามเนื้อขาท่อนบนทั้ง 4 มัด ได้แก่ Biceps Femoris, Semitendinosus, Vastus Medialis และ Vastus Lateralis ซึง่ วัดได้จากตัววัดสัญญาณ (Surface Electrode) มาเข้าวงจรทางไฟฟ้าเพือ่ แปลงสัญญาณและ จ�ำลองรูปแบบลักษณะคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อจากการสร้างโมเดลส่วนการเรียนรู้ของเครื่อง (Machine Learning) โดยใช้โปรแกรม Matlab และส่งไปยังระบบควบคุมขาเทียมเพือ่ ประมวลผลด้วยโปรแกรม Arduino ให้ขาเทียมเคลื่อนไหวได้ตามความต้องการของผู้ใช้งาน รูปแบบการใช้งาน เป็นตัวต้นแบบขาเทียมที่สามารถรับคลื่นไฟฟ้าจากกล้ามเนื้อ เพื่อน�ำมาควบคุมการเคลื่อนไหว โดยจะรับสัญญาณจากการใช้ขั้วไฟฟ้าที่ใช้ส�ำหรับตรวจรับคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อโดยจะแปะไว้ที่ผิวหนัง (Surface Electrode) ติดไว้ทก่ี ล้ามเนือ้ ขาท่อนบนทัง้ 4 มัด คือ Biceps Femoris, Semitendinosus, Vastus Medialis และ Vastus Lateralis และส่งค่าไปยัง Microcontroller Arduino Nano เพื่อรับค่าและน�ำไป ประมวลผลด้วยโมเดลทางคณิตศาสตร์ (Machine Learning) เพือ่ ท�ำการท�ำนายลักษณะการเคลือ่ นไหว ทีก่ ำ� ลังจะเกิดขึน้ ละส่งผลทีไ่ ด้ไปยังระบบควบคุม PID เพือ่ ส่งให้ขาเทียมเคลือ่ นไหวไปตามการท�ำนาย โดยที่ขาเทียมจะมี Linear Actuator Motor ติดไว้ เพื่อควบคุมการยืดและหดของมุมเข่า

May-June 2019


นวัตกรรมตะเกียบชีวภาพรับประทานได้ (Production of Edible Bio-Chopstick) ชื่อนวัตกรรม : นวัตกรรมตะเกียบชีวภาพรับประทานได้ ผู้พัฒนา : นายปวัชร เพ็งสุขแสง นายรชานนท์ แซ่ตั้ง และ นางสาวสกุลรญา สินถิรมั่น อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ. ดร.เจษฎา ชัยโฉม และ ผศ. ดร.ธีรินทร์ ฉายศิริโชติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง แนวคิดและที่มาการพัฒนานวัตกรรม เนือ่ งจากปัจจุบนั การให้ความส�ำคัญต่อสิง่ แวดล้อมและสุขภาพมีผลอย่างยิง่ ต่อผูบ้ ริโภค ตะเกียบไม้ไผ่ ใช้ครัง้ เดียวทิง้ ถูกใช้อย่างมากเพือ่ ตอบสนองความต้องการในเรือ่ งของความสะอาดและสุขอนามัยต่อผูบ้ ริโภค แต่ตะเกียบไม้ไผ่ใช้ครั้งเดียวนั้นได้สร้างผลกระทบในเรื่องของปัญหาขยะอย่างมาก รวมทั้งการท�ำลายป่าไม้ ที่ต้องท�ำการตัดไม้ไผ่เพื่อน�ำมาผลิตเป็นตะเกียบ จึงท�ำให้โครงงานนี้ได้ท�ำการคิดค้นหาทางเลือกที่จะช่วยลด ปริมาณขยะและสามารถตอบสนองความต้องการตะเกียบที่สะอาด ถูกสุขอนามัยต่อผู้บริโภค รูปแบบการใช้งาน ใช้งานแทนตะเกียบไม้ไผ่ โดยสามารถใช้งานได้ในสภาวะปกติ (เช่น การรับประทานก๋วยเตีย๋ ว) ได้ 10 นาที เป็นอย่างต�ำ่ (ขึน้ อยูก่ บั ผูใ้ ช้งาน) และในสภาวะสูงสุด (ตะเกียบถูกแช่หรือจุม่ ในน�ำ้ ร้อนตลอดเวลาทีอ่ ณ ุ หภูมิ 75oC) ได้ 3 นาที นอกจากนี้ ยังช่วยลดปริมาณขยะจากตะเกียบไม้ไผ่ใช้ครั้งเดียวทิ้ง โดยสามารถย่อยสลายได้ตาม ธรรมชาติด้วยจุลินทรีย์ในธรรมชาติ หรือด้วยการทานตะเกียบพร้อมกับอาหาร ขนาดตะเกียบชีวภาพความยาว 20 เซนติเมตร ด้านปลายใหญ่มคี วามกว้าง 0.9 เซนติเมตร ด้านปลายเล็กมีความกว้าง 0.7 เซนติเมตร และความหนา 0.6 เซนติเมตร วัตถุดิบหลักของตะเกียบประกอบด้วย แป้งถั่วเหลืองและแป้งข้าวโพด ผลิตด้วยกระบวนการอัดขึ้นรูปด้วย ความร้อนและความดันที่อุณหภูมิ 160oC และความดัน 1 บาร์ ใช้เวลาในการขึ้นรูป 10 นาที โดยมีต้นก�ำลังเป็นชุดอุปกรณ์ลมอัด นิวเมติก ต้นทุนการผลิต (เฉพาะวัตถุดิบ) ต่อหนึ่งคู่ประมาณ 1 บาท หรือข้างละ 50 สตางค์

ระบบการจัดการวันเก็บเกี่ยวทุเรียนบนสมาร์ทโฟน ด้วยเทคโนโลยี RFID (Harvesting Management System on Smart Phone Using RFID for Durian) ชื่อนวัตกรรม : ระบบการจัดการวันเก็บเกี่ยวทุเรียนบนสมาร์ทโฟน ด้วยเทคโนโลยี RFID ผูพ ้ ฒ ั นา : นายจักรกฤษณ์ ใจธรรม นายพิชติ ปานพรม และ นายศิรวิทย์ นิคม อาจารย์ที่ปรึกษา : ดร.จีรายุทธ หงษ์เวียงจันทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง แนวคิดและที่มาการพัฒนานวัตกรรม เนือ่ งจากปัจจุบนั เกษตรกรสวนทุเรียนใช้การจดบันทึกหรือความจ�า ในการจัดการข้อมูลวันดอกบานหรือข้อมูลอื่นๆ ของสวนทุเรียน ซึ่งอาจ มีความคลาดเคลือ่ นและตกหล่นในการบันทึกข้อมูล คณะผูจ้ ดั ท�ำได้เล็งเห็น

และต้องการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้จดั ท�ำระบบการจัดการ วันเก็บเกี่ยวทุเรียนบนสมาร์ทโฟนด้วยเทคโนโลยี RFID โดย ใช้แท็ก RFID เป็นอุปกรณ์ในการระบุตัวตนของต้นทุเรียน และใช้แอปพลิเคชันเป็นเครื่องมือหลักในการจัดการข้อมูล เพือ่ พัฒนาระบบฐานข้อมูลส�ำหรับบริหารจัดการการเก็บเกีย่ ว ทุเรียน และออกแบบและพัฒนาระบบระบุตวั ตนของต้นทุเรียน ด้วย RFID และการจัดเก็บและแสดงผลข้อมูลบนสมาร์ทโฟน รูปแบบการใช้งาน การท� ำ งานของระบบเริ่ ม ต้ น ที่ ก ารเชื่ อ มต่ อ บลู ทู ธ ระหว่ า งชุ ด อุ ป กรณ์ ส แกนกั บ แอปพลิ เ คชั น จากนั้ น น� า ชุดอุปกรณ์สแกนไปสแกนแท็กทีต่ ดิ อยูก่ บั ต้นทุเรียน ระบบจะ แสดงรหัส RFID และท�ำการบันทึกข้อมูลรหัสต้น วันดอกบาน ปีการผลิต วันเก็บเกี่ยว รุ่นของดอกและจ�ำนวนลูก ลงใน แอปพลิเคชัน โดยข้อมูลจะถูกบันทึกลงใน Firebase ข้อมูลที่ บันทึกสามารถเรียกดูได้จากการสแกนแท็ก กรอกวันดอกบาน หรือกรอกรหัสต้น ดังภาพ ในการก� ำ หนดฐานข้ อ มู ล เพื่ อ การบริ ห ารจั ด การ การเก็บเกี่ยวทุเรียน จะระบุข้อมูลรหัสต้น (รหัส RFID) ปีการ ผลิต รุ่นของดอก/ผล วันดอกบาน วันเก็บเกี่ยว (ค�ำนวณจาก วันดอกบาน) และจ�ำนวนลูก ผ่านแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน ด้วยโปรแกรม MIT App Inventor 2 พร้อมเชื่อมโยงข้อมูล เข้ากับฐานข้อมูลบน Firebase May-June 2019


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

“พลายเอจีวี (Ply AGV)” รถฟอร์คลิฟต์อต ั โนมัติของไทย

หากถามว่า เอจีวี (AGV) คืออะไร...เอจีวี หรือ Automated Guided Vehicle คือรถขนส่งอัตโนมัติแบบไร้คนขับ ที่มีการผลิตใช้ มานานตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1953 โดยการท�ำงานของเอจีวนี น้ั จะใช้เทคโนโลยี การน�ำทางหลายแบบ อาทิเช่น การแล่นตามราง แล่นตามสาย การเดินตามแถบแม่เหล็ก ปัจจุบนั มีการพัฒนา AGV ทีม่ คี วามก้าวหน้า มากขึ้นเพื่อเพิ่มความสามารถของรถอัตโนมัติ เช่น การน�ำทาง ด้วยระบบเลเซอร์ และการพัฒนาซอฟต์แวร์น�ำทาง เพื่อให้รถเอจีวี สามารถท�ำงานได้โดยไม่ต้องวางโครงสร้างรางหรือแถบแม่เหล็ก ท�ำงานเก็บของขึ้นชั้นสูงได้ บริษัท เจ็นเซิฟ จ�ำกัด ได้พัฒนารถฟอร์คลิฟต์ธรรมดาๆ ทีม่ คี นขับปกติให้กลายเป็น “รถพลายเอจีว”ี ซึง่ เป็นเอจีวสี มัยใหม่ ดัดแปลงให้เป็นรถฟอร์คลิฟต์ท่ีน�ำทางด้วยระบบเลเซอร์ ท�ำงาน ได้อย่างมีอิสระในการก�ำหนดเส้นทางโดยไม่ต้องติดแถบแม่เหล็ก และมีความชาญฉลาดในการใช้ซอฟต์แวร์ในการจัดการคิวงาน ของรถให้เลือกเส้นทางที่สั้นที่สุดอีกด้วย วรีมน ปุรผาติ กรรมการ บริษัท เจ็นเซิฟ จ�ำกัด กล่าว “บริษัทก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2560 เป็นสตาร์ทอัปสายเทคโนโลยี (Tech Starup) สัญชาติไทยที่ได้ รวมตัววิศวกรหุน่ ยนต์ทเี่ ชีย่ วชาญ ของไทย กลุ่มผู้ก่อตั้งได้ร่วมกัน สร้าง Mobile Robots เพื่อช่วย แก้ปัญหาและเพิ่มคุณค่าให้แก่ วรีมน ปุรผาติ ลูกค้า บริษทั ได้ออกแบบ พัฒนา ระบบหุน่ ยนต์อตั โนมัตใิ นหลายภารกิจ ทัง้ ในงานขนส่งในคลังสินค้า และไลน์การผลิต และในงานส�ำรวจทางน�ำ้ ทีส่ ามารถท�ำงานได้อย่าง แม่นย�ำ มีประสิทธิภาพกว่า ประหยัดเวลา ปลอดภัย ลดปัญหา การขาดแคลนแรงงาน ลดปัญหาการท�ำงานของคนทีเ่ สีย่ งอันตราย เช่น ในสิ่งแวดล้อมมลภาวะสูงและในพื้นที่อันตราย”

May-June 2019

ปี พ.ศ. 2560 เจ็นเซิฟ ได้รับทุนจากโครงการกิจกรรมการ พัฒนาต้นแบบอุตสาหกรรมเชิงพาณิชย์ จากสถาบันไทย-เยอรมัน ในโครงการพัฒนาต้นแบบรถขนส่งอัตโนมัติ Pallet Mover 2562 ต่อมาได้รบั ทุนจากโครงการกิจกรรมการพัฒนาต้นแบบอุตสาหกรรม เชิงพาณิชย์ และได้รับทุนจากโครงการกิจกรรมการพัฒนาต้นแบบ อุตสาหกรรมเชิงพาณิชย์ จากสถาบันไทย-เยอรมัน ในโครงการพัฒนา ต้นแบบรถขนส่งอัตโนมัติ Pallet Mover 2562 และยังได้รับทุนวิจัย พัฒนากับส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว) ในโครงการพัฒนา รถฟอร์คลิฟต์อตั โนมัตเิ พือ่ การขนส่งสินค้าในคลัง พ.ศ. 2560-2561 และท�ำงานวิจยั พัฒนาร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (Fibo) ในปี พ.ศ. 2562 เจ็นเซิฟ ได้รบั การรับรองมาตรฐานการเป็นผูป้ ระกอบการระบบหุน่ ยนต์และ ระบบอัตโนมัติจาก CORE (Center of Robotics Excellence) และ Thai-German Institute 2019


ฟอร์คลิฟต์ (Counter Balance)

พาเลตมูฟเวอร์ (Pallet Mover)

“เจ็นเซิฟได้พฒ ั นารถฟอร์คลิฟต์อตั โนมัตเิ พือ่ การขนส่งสินค้า ในคลัง (Autonomous Forklift) หรือรถเอจีวฟี อร์คลิฟต์ (AGV Forklift) ที่น�ำทางด้วยระบบเลเซอร์ ซึ่งรถฟอร์คลิฟต์แบบนี้เป็นที่ต้องการ อย่างมากในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ทีม่ ปี ญ ั หาเรือ่ งการขาดแคลนแรงงาน และมีความต้องการเพิ่มประสิทธิภาพการขนย้ายสินค้าในคลัง และในไลน์การผลิต ลดปัญหาความผิดพลาด รวมทัง้ มีความต้องการ การเชือ่ มต่อข้อมูลการท�ำงาน การขนส่งและสถานะแบบทันที (Real Time) ซึ่งรถฟอร์คลิฟต์อัตโนมัติสามารถตอบโจทย์เหล่านี้ได้ และ ในท้องตลาดมีจ�ำหน่ายเฉพาะรถอัตโนมัติชนิดนี้ที่ต้องน�ำเข้าและ มีราคาสูง “พลาย เอจีว”ี (Ply AGV) เป็นผลิตภัณฑ์นำ� ร่องทีส่ ร้างสรรค์ และพัฒนาโดยทีมงานคนไทย เหมาะแก่การเคลือ่ นย้ายสินค้าแบบ อัตโนมัตใิ นคลังสินค้าและโรงงาน ทีไ่ ม่เพียงแต่ขนย้ายสินค้าได้อย่าง มีประสิทธิภาพเท่านัน้ แต่ยงั ท�ำหน้าทีเ่ ชือ่ มต่อข้อมูลการส่งกับระบบ คลังและการผลิต รับ-ส่ง เก็บข้อมูลการท�ำงานและสถานะสินค้าไป ในเวลาเดียวกันแบบเรียลไทม์ (Real Time) นัน่ หมายความว่า สินค้า ได้ถกู น�ำออกไปจ�ำนวนเท่าไร วันเวลาใด ท�ำให้ทราบสถานะของสินค้า คงคลังนั้นๆ ได้ในเวลาที่รวดเร็ว” ระบบ AGV หุน่ ยนต์ขนส่งอัจฉริยะ ได้เข้ามามีบทบาทต่อภาค อุตสาหกรรมเป็นอย่างมาก เนือ่ งจากธุรกิจในปัจจุบนั เคลือ่ นตัวด้วย ความฉับไวมากกว่าเดิม มีการซือ้ ขายแบบออนไลน์ เชือ่ มต่อข้อมูล แบบทันท่วงที การผลิตและส่งสินค้าจึงต้องการความเร็ว มีปริมาณ สูงขึ้น และมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม การท�ำงานในสายการผลิต และการขนส่งสินค้าในคลังต้องการความรวดเร็ว ทันเวลา แม่นย�ำ ถูกต้อง ต่อเนือ่ ง เพือ่ รองรับความต้องการของธุรกิจในยุค 4.0 สต็อก สินค้านั้นต้องมีการจัดเก็บเป็นอย่างดี มีความถูกต้อง ไม่เสียหาย ปัญหาที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งในระบบคลังสินค้าของผู้ประกอบการคือ การขาดแคลนแรงงานหรือบุคลากรในการขับฟอร์คลิฟต์ ทีต่ อ้ งอาศัย ทักษะและความเชี่ยวชาญ ตลอดจนใบอนุญาตการขับที่ถูกต้อง ตามกฎหมาย ความเสียหายของสินค้าทีเ่ กิดจากพนักงานทีไ่ ม่ชำ� นาญ ระหว่างการเคลือ่ นย้ายและขนส่ง จนน�ำไปสูค่ วามล่าช้าและเสียหาย ต่อธุรกิจในที่สุด รถฟอร์คลิฟต์อตั โนมัตขิ องไทย “พลาย เอจีว”ี ของ เจ็นเซิฟ จึงเป็นผลิตภัณฑ์ทต่ี อบโจทย์ในการเริม่ ใช้หนุ่ ยนต์ระบบอัตโนมัตใิ ห้แก่ ภาคอุตสาหกรรมของไทย ด้วยระบบ Smart Warehouse Automation เพื่อตัดปัญหาการขาดแคลนแรงงานคนขับรถ ลดความล่าช้าและ

พาเลตสแตคเกอร์ (Pallet Stacker)

ข้อผิดพลาด ตลอดจนความเสียหายช�ำรุดทีอ่ าจเกิดแก่สนิ ค้า ตลอดจน การเพิ่มประสิทธิภาพความรวดเร็วต่อการเคลื่อนย้าย ขนส่งจาก จุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่งได้อย่างแม่นย�ำ ปลอดภัยทั้งต่อคนและสินค้า ได้เป็นอย่างดี วรีมน กล่าวเพิ่มเติมว่า เวลานี้รถ “พลาย เอจีวี” (Ply AGV) พร้อมจ�ำหน่ายแล้ว AGV เป็นหุ่นยนต์รถฟอร์คลิฟต์ขนส่งสินค้า ในคลังทีน่ ำ� ทางด้วยระบบเลเซอร์ ช่วยในการจัดเก็บและขนส่งสินค้า ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง ท�ำการขนย้ายสินค้าได้ตลอด 24 ชั่วโมง ได้อย่างถูกต้อง สม�ำ่ เสมอ อีกทั้งยังสามารถเชื่อมต่อกับข้อมูลการ ขนส่งสินค้าในระบบคอมพิวเตอร์ได้ทนั ที หรือทีเ่ รียกว่าระบบ Smart Warehouse ที่จะท�ำให้ทราบได้ตลอดเวลาว่าสินค้าต่างๆ มีจ�ำนวน เหลืออยู่ในปริมาณเท่าใด อยู่ที่ใด สถานะการท�ำงานเป็นอย่างไร “พลาย เอจีว”ี มีหลากหลายแบบให้เลือกตามความต้องการ ของลูกค้าและผู้ใช้บริการ ไม่ว่าจะเป็น AGV Counter Balance รถฟอร์คลิฟต์สำ� หรับการขนสินค้าน�ำ้ หนักมาก AGV Pallet Mover รถฟอร์คลิฟต์ส�ำหรับการเคลื่อนย้ายสินค้าในระดับพื้น และ AGV Pallet Stacker รถฟอร์คลิฟต์ที่สามารถยกของขึ้นชั้นได้ ที่นำ� ทาง ด้วยระบบเลเซอร์ทไี่ ร้แถบแม่เหล็ก ท�ำงานได้เช่นเดียวกับรถฟอร์คลิฟต์ ที่มีคนขับ มีอิสระในการปรับเปลี่ยนเส้นทางได้โดยไม่ต้องสร้าง โครงสร้างใหม่ ท�ำงานได้อย่างปลอดภัย ด้วยการติดเซ็นเซอร์เพือ่ ความ ปลอดภัยทีใ่ ห้รถหยุดเมือ่ เจอคนหรือสิง่ กีดขวาง ตามมาตรฐานสากล ข้อดีทสี่ ำ� คัญอีกประการหนึง่ คือ ผูเ้ ลือกใช้ พลาย เอจีวี จะมัน่ ใจ ได้ในการบริการติดตั้งและบ�ำรุงรักษา โดยวิศวกรผู้ผลิต ผู้ออกแบบ ผูม้ คี วามเชีย่ วชาญในประเทศไทย ทีจ่ ะให้บริการหลังการขายได้อย่าง ทันท่วงที และออกแบบระบบได้ตรงความต้องการของลูกค้าอย่าง ใกล้ชิด นอกจากนี้ เจ็นเซิฟ ยังได้ออกแบบและผลิตเรือส�ำรวจไร้คนขับ (USV) ที่ท�ำการส�ำรวจได้รวดเร็ว แม่นย�ำ และประหยัดกว่าเรือที่ใช้ คนขับ และเหมาะอย่างยิ่งส�ำหรับการใช้ในงานส�ำรวจในพื้นที่ท่ีใช้ คนเข้าถึงได้ยาก อาทิ การส�ำรวจโครงสร้างท่อก๊าซในทะเล แหล่งน�า้ ขนาดใหญ่ หรือแหล่งน�ำ้ ทีต่ อ้ งเสีย่ งต่ออันตราย การท�ำแผนทีท่ างน�ำ้ การหาปริมาตรน�ำ้ ในเขื่อน หรือแหล่งน�ำ้ เพื่อการบริหารจัดการน�้ำ และการประปา การส�ำรวจสภาพพืน้ ทีใ่ ต้นำ�้ การตรวจสอบคุณภาพ น�้ำของพื้นที่ต่างๆ May-June 2019


Scoop

> กองบรรณาธิการ

20 ปี สภาวิศวกรไทยในยุคดิสรัปชั่น ... ปฏิวัติวงการด้านวิศวกรไทยให้แข่งขันสู่ระดับเวทีโลก

ปัจจุบนั บริบทเศรษฐกิจและสังคมโลกมีการเปลีย่ นแปลงไปอย่างมาก อันเนือ่ งมาจากการปฏิวตั เิ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ได้สง่ ผลกระทบต่อการท�ำงานกับ ทุกวงการสาขาอาชีพ ท�ำให้องค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ต้องปรับเปลี่ยนไป ตามกระแสยุคสมัย เช่นเดียวกับสภาวิศวกร หน่วยงานด้านวิศวกรถือโอกาส การด�ำเนินงานเข้าสูป่ ที ่ี 20 ในปี พ.ศ. 2562 เปลีย่ นแปลงเพือ่ ให้ทนั ต่อยุคดิจทิ ลั ที่เข้ามามีอิทธิพลต่อการให้บริการต่างๆ แก่ประชาชนและสังคม สภาวิศวกร จัดตัง้ ขึน้ ตามพระราชบัญญัตวิ ศิ วกร พ.ศ. 2542 เมือ่ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2542 ด�ำเนินการด้านการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมเพื่อ ก่อให้เกิดประโยชน์ตอ่ สังคมและประเทศมาจนถึงปัจจุบนั ซึง่ มีวาระครบรอบ 20 ปี ในปีนี้ จึงเห็นควรให้มกี ารปฏิรปู การด�ำเนินงานของสภาวิศวกร เพือ่ ให้ทนั ท่วงที ต่อการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ของโลกยุคเทคโนโลยีที่กลายเป็นสิ่งจ�ำเป็น ในยุคสมัยนี้ จึงได้กำ� หนดจัดเสวนา เรือ่ ง “20 ปี สภาวิศวกรไทยในยุคดิสรัปชัน่ ” โดยมีผู้เข้าร่วมสัมมนาทั้งจากภาครัฐและเอกชน อาทิ สภาวิศวกร วิศวกร ทัว่ ประเทศ คณบดีมหาวิทยาลัยทัว่ ประเทศ ภาคอุตสาหกรรมต่างๆ รวมทัง้ นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป เข้าร่วมรับฟังแนวทางจ�ำนวนมาก การจัดเสวนา 20 ปี สภาวิศวกรไทยในยุคดิสรัปชัน่ มีวตั ถุประสงค์ เพื่อแสดงจุดยืนของแต่ละองค์กรในการก�ำหนดทิศทางการปฏิรูปวงการ วิศวกรไทยเพื่อยกระดับสู่ภาคอุตสาหกรรมในอนาคต และเพื่อให้ทุกฝ่าย ตระหนักถึงความรวดเร็วและการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีทม่ี คี วามจ�ำเป็น และให้ทันต่อเหตุการณ์ส�ำหรับวางแผนการด�ำเนินธุรกิจ รวมถึงเพื่อให้เกิด แนวทางการวางแผนงานการติดตามและการใช้เทคโนโลยีขอ้ มูลข่าวสารอย่าง กว้างขวางในโลกปัจจุบัน โดยต้องการให้สภาวิศวกรเข้าไปมีส่วนรับผิดชอบ ต่อสังคมและประเทศชาติในทุกมิติที่เกี่ยวกับงานด้านวิศวกรรม เพื่อให้เกิด ประโยชน์สามารถน�ำไปเป็นหลักสูตรการเรียนการสอนแก่มหาวิทยาลัย ให้ผลิตบัณฑิตทีเ่ ก่งทัง้ วิชาการและมีความเป็นมืออาชีพทางด้านวิศวกรไทย

ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์

May-June 2019

ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภาวิศวกร กล่าวเปิดปาฐกถา เรื่อง “การเรียนรู้ในโลกยุค ดิสรัปชั่น” โดยกล่าวว่า “สิ่งที่ต้องเดินหน้าและวางแนวทางต่อไปคือ จะผลักดันให้สภาวิศวกรเป็นองค์กร ทีเ่ ชือ่ มความรูท้ างด้านวิชาการไปยังมหาวิทยาลัย รวมถึงภาคเอกชนในอุตสาหกรรมต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับวิศวกร และจะด�ำเนินการให้วชิ าชีพวิศวกรไทยสามารถเกิดการแข่งขันสูร่ ะดับเวทีโลกให้ได้ ดังนัน้ ทิศทางของวิศวกร จะไม่เพียงแค่มที กั ษะความรูท้ างวิชาการด้านวิศวกรเท่านัน้ แต่จะต้องมีความคิดสร้างสรรค์ สามารถประกอบ วิชาชีพทีช่ ว่ ยยกระดับประเทศในยุคโลกดิสรัปชัน่ ได้ เพราะปัจจุบนั ทุกคนทุกเพศทุกวัยใช้อปุ กรณ์ดจิ ทิ ลั และ อยูใ่ นโลกออนไลน์กนั หมด ซึง่ วิศวกรทุกสาขาจะต้องมีความรูแ้ ละความเข้าใจในการใช้เครือ่ งมือดิจทิ ลั ให้เกิด ประโยชน์ต่อวิชาชีพด้วย ขณะนี้สภาวิศวกรได้เร่งผลักดันแผนปฏิรูปตั้งแต่ทักษะความรู้หลักสูตรก่อนเข้า มหาวิทยาลัย และจะส่งเสริมประชาสัมพันธ์วชิ าชีพด้านวิศวกรร่วมกับมหาวิทยาลัยเข้าไปในหลักสูตรการเรียน การสอน เช่น ทักษะด้านวิศวกร ด้านสังคม ด้านการบริหาร ซึง่ จะท�ำให้ครอบคลุมทุกๆ ด้าน เพือ่ บัณทิตทีจ่ บ ออกมาแล้วจะมีประสิทธิภาพสามารถแข่งขันยกระดับสูก้ บั วิศวกรอืน่ ๆ ทัว่ โลกได้อย่างมีคณ ุ ภาพ ไม่แพ้วศิ วกร ใดในโลก ดังนัน้ อาชีพวิศวกรจึงถือเป็นอาชีพส�ำคัญทีเ่ ปลีย่ นโลกได้ เปลีย่ นประเทศไทยได้ในแง่ของการช่วย ท�ำให้เศรษฐกิจของประเทศดีขึ้น ประชาชนจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและทันเท่าโลกแห่งเทคโนโลยี”


ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ.อุดม คชินทร

ดร.สุทธิพงษ์ สุวรรณสุข

ศ. ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล

ดร.ธเนศ วีระศิริ

ทางด้าน ศ. คลินกิ เกียรติคณ ุ นพ.อุดม คชินทร อดีตรัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ กล่าวปาฐกถา เรือ่ ง “การเรียนรูใ้ นโลกยุคดิสรัปชัน่ ” ว่า “โลกอนาคตในยุคดิจทิ ลั ข้อมูลการสือ่ สารทุกอย่างจะรวมอยูใ่ นเทคโนโลยี ดิจิทัลหรือโทรศัพท์มือถือทั้งหมด และจะเข้ามาทดแทนคอมพิวเตอร์เดสท็อปและไอแพด แม้แต่ตลาดแรงงาน ก�ำลังจะหายไปด้วยเทคโนโลยี ดังนัน้ สิง่ ทีอ่ ยากเสนอไปยังมหาวิทยาลัยในฐานะทีเ่ ป็นสถาบันการศึกษาจะต้อง เดินควบคูไ่ ปกับสภาวิศวกรและร่วมมือกันทุกฝ่าย เพราะมหาวิทยาลัยเป็นสถาบันการศึกษาทีเ่ ป็นต้นน�ำ้ จะต้อง ผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพด้านวิศวกร ส�ำหรับในส่วนของสภาวิศวกรนั้นก็เป็นองค์กรทางวิชาชีพที่เป็นปลายน�้ำ จึงต้องปรับตัวปรับเปลี่ยนให้ทันต่อยุคดิสรัปชั่นให้ได้โดยเร็วที่สุด และการประกอบวิชาชีพของสภาวิศวกร ต้องมองไปยังผูบ้ ริโภคหรือประชาชนผูไ้ ด้รบั ประโยชน์ และต้องส่งเสริมสนับสนุนให้วศิ วกรไทยมีคณ ุ ภาพ มีความ เชีย่ วชาญ และเป็นมืออาชีพทีจ่ ะช่วยยกระดับประเทศในทุกๆ ด้าน เพราะวิศวกรถือว่าเป็นวิชาชีพหนึง่ ทีท่ ำ� ให้ ประเทศเกิดการแข่งขันสามารถยกระดับเศรษฐกิจของประเทศได้” ขณะที่ ดร.สุทธิพงษ์ สุวรรณสุข ผูท้ รงคุณวุฒิ และกรรมการสถาบันเสริมสร้างขีดความสามารถมนุษย์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กล่าวว่า “ดิสรัปชัน่ ก�ำลังจะเป็นโอกาสของประเทศเล็กๆ อย่างประเทศไทย ของเรา ดังนั้น สภาวิศวกรจะต้องปรับเปลี่ยนโลกใหม่โดยน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาสนับสนุนการท�ำงานของ วิศวกรและเอ็นจิเนีย เพราะขณะนี้ทุกวงการทั้งภาครัฐและเอกชนได้น�ำเทคโนโลยีแอปพลิเคชันต่างๆ เข้ามา ส่งเสริมการท�ำงานที่เป็นไปอย่างมีคุณภาพ รวดเร็ว สามารถตอบโจทย์ได้ในทุกแง่มุมของการด�ำเนินธุรกิจ ซึ่ง วิชาชีพวิศวกรก็เป็นอีกหนึง่ วิชาชีพทีม่ สี ว่ นส�ำคัญในการท�ำให้ประเทศเจริญก้าวหน้า ส�ำหรับมหาวิทยาลัยต่างๆ นัน้ ต้องขับเคลือ่ นเปลีย่ นแปลงเดินหน้าไปให้ทนั เทคโนโลยีเช่นเดียวกัน โดยคณะทีเ่ กีย่ วกับวิศวกรรมจะต้องหัน กลับมาทบทวนหลักสูตรการเรียนการสอนใหม่ เพือ่ ผลิตบัณฑิตเป็นวิศวกรทีม่ ปี ระสิทธิภาพทันต่อโลกดิสรัปชัน่ และนี่คือน่าจะเป็นจุดเปลี่ยนทางด้านวิศวกรไทย” ศ. ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า “ในอดีต ภาคอุตสาหกรรมมีความต้องการตลาดแรงงานค่อนข้างสูงและไม่เพียงพอ แต่ปัจจุบันโลกเปลี่ยนแปลงไปด้วย เทคโนโลยีดิจิทัลแล้ว ดังนั้น การเรียนการสอนจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงและต้องก�ำหนดวิชาหลักสูตรกันใหม่ และในฐานะมหาวิทยาลัย สิ่งส�ำคัญที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อยากจะขับเคลื่อนก็คือ ผลิตบัณฑิตด้านวิศวกรไทยให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันได้ โดยมหาวิทยาลัยก�ำลังมีการปรับและ ก�ำหนดวิชาหลักสูตรด้านวิศวกรรมและอุตสาหกรรมวงการไฟฟ้าใหม่ให้มคี วามทันสมัยกับเทคโนโลยีมากขึน้ และ ในขณะเดียวกันจะปรับในส่วนการเรียนของนักศึกษาที่ไม่ใช่แค่มาเรียนทางทฤษฎีในห้องเรียนเพียงอย่างเดียว แต่สามารถใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ในทางปฏิบตั งิ านจริง โดยมหาวิทยาลัยจะร่วมขับเคลือ่ นไปพร้อมกับภาคอุตสาหกรรม ภาคการบริการในด้านวิชาชีพวิศวกร เป็นการเพิม่ ทักษะวิชาชีพวิศวกรให้สามารถรองรับภาคอุตสาหกรรมต่างๆ และจะตอบโจทย์ประเทศไทยในอนาคต แม้เทคโนโลยีจะเข้ามาทดแทนแรงงาน แต่มหาวิทยาลัยจะท�ำให้บณ ั ทิต วิศวกรสามารถรู้ทันเทคโนโลยีและใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ” ปิดท้ายการเสวนาของ ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ กล่าวว่า “ยุคดิสรัปชัน่ นี้ บุคลากรด้านวิศวกรจะต้องเรียนรูป้ รับตัวตลอดเวลา ในส่วนของสภาวิศวกรก็ตอ้ งส่งเสริม สนับสนุนให้นำ� เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เข้ามาประยุกต์ใช้เกีย่ วกับงานด้านวิศวกร นอกจากนี้ สภาวิศวกรจะต้องเดินหน้า ไปพร้อมๆ กับมหาวิทยาลัยเพือ่ การแลกเปลีย่ นทฤษฎีความรูร้ ะหว่างกัน ซึง่ จะเป็นอีกแนวทางในการส่งเสริมทักษะ ทั้งให้แก่วิศวกรและนิสิตนักศึกษาที่เรียนคณะวิศวกรรม แต่สิ่งส�ำคัญที่ไม่เพียงแค่การส่งเสริมเรื่องของคุณภาพ วิชาชีพวิศวกรเท่านัน้ แต่องค์กรจะต้องเติมเต็มเรือ่ งของจริยธรรมเข้าไปในวิชาชีพวิศวกรด้วย เพือ่ ร่วมกันแก้ปญ ั หา และพัฒนาประเทศไปในทิศทางเดียวกันได้”

ทั้งนี้ ศ. ดร.สุชัชวีร์ ได้ประเมินตัวเลขจ�ำนวนของนักศึกษาที่เข้าเรียนทางด้านคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทยมีประมาณ 5% จาก ทุกสาขาวิชา ซึ่งถือว่ามีปริมาณที่น้อยมากส�ำหรับบัณฑิตที่จบออกมา จึงท�ำให้บุคลากรด้านวิศวกรมีไม่ถึง 1% หรือคิดเฉลี่ยเป็นตัวเลขผู้ประกอบ วิชาชีพด้านวิศวกรไทยมีจำ� นวนเพียง 100 คน เรียกได้วา่ อยูใ่ นภาวะวิกฤติ ทัง้ ทีป่ ระเทศไทยก�ำลังยกระดับเข้าสูย่ คุ อุตสาหกรรม ขีดความสามารถ และรายได้สูงขึ้นตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ซึ่งแน่นอนบทบาทหน้าที่ของสภาวิศวกรจึงต้องเร่งผลักดันให้สร้างวิศวกรไทยที่มีคุณภาพ ขณะที่ มหาวิทยาลัยก็ตอ้ งส่งเสริมและสนับสนุนท�ำให้นกั ศึกษามีความสนใจอยากเรียนคณะวิศวกรรมเพือ่ ไปเป็นผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านวิศวกรในอนาคต เพื่อให้ผลิตบัณฑิตและมีปริมาณมากเพียงพอต่อการพัฒนาประเทศ อย่างไรก็ดี ในส่วนของคณะกรรมการสภาวิศวกรขณะนีม้ กี ารปรับเปลีย่ นยกระดับอีกขัน้ ของวิชาชีพวิศวกร โดยได้รเิ ริม่ วางนโยบายก�ำหนด แนวทางการด�ำเนินงานเพือ่ สร้างการมีสว่ นร่วมให้เกิดการปฏิรปู วงการวิศวกรรมไทย เพือ่ การเปลีย่ นแปลงการท�ำงานและพัฒนาประเทศให้มคี วาม ชัดเจนและทันต่อสถานการณ์ดจิ ทิ ลั ซึง่ การเสวนาในครัง้ นีจ้ ะเกิดจากแรงผลักดันของคนรุน่ ใหม่ทไี่ ด้มสี ว่ นร่วมกันก�ำหนดทิศทางด้านวิศวกรให้เกิด การเปลี่ยนแปลงรองรับยุคดิสรัปชั่นได้ในอนาคต May-June 2019


Scoop

> กองบรรณาธิการ

ภาครัฐจับมือเร่งสร้างบุคลากร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ จากปัญหาการขาดแคลนบุคลากรของภาคอุตสาหกรรม ทางหน่วยงานภาครัฐและสถานศึกษาจึงเกิดแนวคิดร่วมพัฒนา บุคลากรระดับกลางในอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ โดยเน้นเร่งสร้าง นวัตกรรมร่วมกับสถานประกอบการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ ด้วยแนวคิดดังกล่าว ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) จึงจับมือ กับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือ “โครงการวิทยาศาสตร์เพือ่ อุตสาหกรรม (Science for Industry : Sci-FI)” ประกาศเจตนารมณ์ในการสร้างความสามารถ ในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมอย่างเป็นระบบด้วยก�ำลังคน แบบ Tailor-Made โดยระยะแรกเน้นการสร้างบุคลากรระดับกลาง ในอุตสาหกรรม (Middle Manager) ทีม่ คี วามสามารถตรงกับต�ำแหน่ง ทีอ่ ตุ สาหกรรมต้องการ อาทิ อุตสาหกรรมการผลิตทีต่ อ้ งการความ สามารถด้าน Process Improvement และการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่ต้องการความสามารถด้าน Product Design ส่วนในระยะยาว เน้นการพัฒนาก�ำลังคนให้สามารถเติบโตได้ด้วยจากความรู้ความ สามารถแบบสหสาขาวิชา (Multidisciplinary) ทั้งเชิงเทคนิคและ เชิงการบริหารจัดการ ในการด� ำ เนิ น การนั้ น จะน� ำ ร่ อ งโดยคณะวิ ท ยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับโปรแกรมสนับสนุนการพัฒนา May-June 2019

เทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย (ITAP) ของ สวทช. โดยมี สวทน. ร่วมสนับสนุนผลักดันให้เกิดการท�ำงานร่วมกัน ทัง้ ด้านก�ำลังคนและ การพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม แก่ภาคอุตสาหกรรม โครงการ Sci-FI นีจ้ ะเป็นรากฐานของการสร้าง นวัตกรรมในอุตสาหกรรมให้เกิดขึ้นควบคู่กับการผลิตบัณฑิตที่มี ความสามารถในสถานศึกษาเพื่อการสร้างขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ โครงการ Sci-FI จะรับผูจ้ บการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขา วิทยาศาสตร์ เพื่อท�ำงานในสถานประกอบการเป็นระยะเวลา 2 ปี ในต�ำแหน่งผูช้ ว่ ยวิศวกร ผูช้ ว่ ยหัวหน้างาน หรือผูช้ ว่ ยหัวหน้าแผนก กับสถานประกอบการที่มีความต้องการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ปรับปรุง กระบวนการผลิต หรือออกแบบ ทดลอง ทดสอบ หรือวิจยั นวัตกรรม ใหม่ ในขณะเดียวกัน นิสติ Sci-FI ก็จะเข้าศึกษาในระดับปริญญาโท หลักสูตรวิทยาศาสตร์เพือ่ อุตสาหกรรม (Science for Industry : Sci-FI) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ควบคู่ไปกับการท�ำงาน ทั้งนี้ ระหว่างโครงการระยะเวลา 2 ปี คณาจารย์หลักสูตร Sci-FI สามารถให้คำ� ปรึกษา ร่วมด�ำเนินการ หรือร่วมพัฒนา ปรับปรุง ทดสอบ และร่วมวิจัยในหัวข้อที่สถานประกอบการสนใจได้ ซึ่งจะ ถือเป็นส่วนของวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท ด้วยแนวทางดังกล่าว โครงการ Sci-FI จึงต่างจากการฝึกงาน ทั่วไป โดยปกติแล้วการฝึกงานระยะสั้นจะไม่สามารถท�ำให้นิสิต ปฏิบัติงานได้เช่นพนักงานทั่วไป และความสนใจของนิสิตในการ


ฝึกงานจะมีนอ้ ย เนือ่ งจากเมือ่ หมดระยะเวลาการฝึกงานแล้ว ก็ตอ้ งกลับไปเรียนต่อทีม่ หาวิทยาลัย แต่ Sci-FI ก�ำหนดให้นสิ ติ ปฏิบตั งิ านให้สถานประกอบการเป็นระยะเวลา 2 ปี ท�ำให้นสิ ติ Sci-FI ปฏิบัติงานให้แก่สถานประกอบการได้อย่างคุ้มค่ากับ ทรัพยากรทีส่ ถานประกอบการลงทุน โดยสถานประกอบการ ทีเ่ ข้าร่วมโครงการจะต้องจ่ายค่าตอบแทนนิสติ เป็นค่าเบีย้ เลีย้ ง ด้วย นับว่ารูปแบบของโครงการ Sci-FI เป็นการพลิกโฉม แนวคิ ด การท� ำ งานร่ ว มกั น ระหว่ า งมหาวิ ท ยาลั ย กั บ สถานประกอบการอย่างแท้จริง โดยสถานประกอบการจะได้ บุคลากร (นิสิต) ที่มีทักษะตรงกับงานมาปฏิบัติงานเต็มเวลา รวมถึงร่วมแก้ปัญหาหรือพัฒนาด้านต่างๆ ร่วมกับบุคลากร ในสถานประกอบการเอง โดยผูเ้ ชีย่ วชาญทางเทคโนโลยีหรือ อาจารย์ทป่ี รึกษาให้คำ� แนะน�ำตลอดระยะเวลาเข้าร่วมโครงการ ซึ่ ง โครงการรู ป แบบดั ง กล่ า วจะสร้ า งผลกระทบทางบวก ให้กบั ภาคอุตสาหกรรมและมหาวิทยาลัยมากกว่าการน�ำเพียง โจทย์วิจัยจากสถานประกอบการมาท�ำวิจัยในมหาวิทยาลัย เท่านั้น และยังสามารถเปลี่ยนความคิดของผู้ศึกษาจบใน ระดับปริญญาตรี จาก “เรียนจบตรีแต่ไม่รจู้ ะท�ำอะไร” มาเป็น “เรียนต่อโทและท�ำงานในอุตสาหกรรม” ได้อีกด้วย

ศ. ดร.บั ณ ฑิ ต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า โครงการ Sci-FI นี้ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ พัฒนา ระบบการศึกษาวิจยั ขัน้ สูง ที่ตอบรับความต้องการ ด้านก�ำลังคนในอุตสาหกรรม ยุทธศาสตร์ของประเทศ ผ่ า นการสร้ า งฐานราก นวัตกรรมทีเ่ ข้มแข็ง มีการ ท� ำ งานร่ ว มกั น ระหว่ า ง สถาบันการศึกษา องค์การ ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และนโยบายของรัฐ และ ศ. ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ ภาคอุตสาหกรรม รวมถึง การสร้างองค์ความรู้ใหม่เชิงอุตสาหกรรมที่มีพ้ืนฐานการต่อยอด จากการวิจยั ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ทีเ่ ป็นหนึง่ ในโครงการต้นแบบ (Prototype) นวัตกรรมการเรียนรูท้ มี่ งุ่ สูเ่ ป้าหมาย การเป็นมหาวิทยาลัยนวัตกรรมชั้นน�ำที่มุ่งสร้างสรรค์ความรู้และ ผลผลิตจากการศึกษาวิจยั รวมถึงการพัฒนาบัณฑิตทีเ่ ป็นนวัตกรรม อุตสาหกรรม ซึง่ เป็นก้าวแรกของการมุง่ สูร่ ะบบการศึกษา Thailand 5.0 และเป็นต้นแบบทีส่ ามารถขยายผลแก่สถาบันการศึกษาผ่านเครือข่าย ความร่วมมือ “จุฬาฯ จะพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการและหลักสูตร ในระดับบัณฑิตศึกษาปริญญาโทอุตสาหกรรมเพื่อรองรับการจัด การเรียนการสอนที่เป็นความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยและ สถานประกอบการ ในระยะแรกมุ่งเน้นการแก้ปัญหาของภาค อุตสาหกรรมผ่านการท�ำวิจยั ของนิสติ ทีป่ ฏิบตั งิ านในสถานประกอบการ และระยะยาวมุ ่ ง เน้ น การสร้ า งองค์ ค วามรู ้ ใ หม่ ด ้ า นนวั ต กรรม อุตสาหกรรมเพือ่ สร้างเสริมสังคมไทยสูเ่ ป้าหมายการพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน (Sustainable Development Goals, SDGs) พร้อมทั้งจะสนับสนุน และอ�ำนวยความสะดวกให้อาจารย์/บุคลากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญได้ เข้าร่วมโครงการ โดยใช้กลไกการเป็นอาจารย์ทป่ี รึกษาวิทยานิพนธ์ ของนิสติ ระดับบัณฑิตศึกษาปริญญาโทในการพัฒนางานนวัตกรรม อุตสาหกรรม ร่วมกับสถานประกอบการ ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตและ/หรือการพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑ์ อันน�ำไปสูเ่ ครือข่าย ความร่ ว มมื อ งานวิ จั ย ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ทั้ ง เชิ ง กว้ า งและเชิ ง ลึ ก ระหว่ า ง ภาคการศึกษาและภาคอุตสาหกรรม” ศ. ดร.บัณฑิต กล่าว

May-June 2019


และการพัฒนาก�ำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมอย่างเป็นระบบที่เข้ากันได้อย่างพอดี ทั้งในด้าน ทัศนคติการท�ำงาน และระบบที่ท�ำให้เกิดการพัฒนาทักษะ ไปพร้อมกัน จะสามารถลดปัญหาเหล่านีไ้ ด้ในระดับประเทศ” ดร.กิติพงค์ กล่าวเพิ่มเติม

ดร.กิตพ ิ งค์ พร้อมวงค์ เลขาธิการ สวทน. กล่าวว่า วิทยาศาสตร์ เป็นวิชาพื้นฐานที่จ�ำเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาขีดความสามารถทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในยุคอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นยุคก้าวกระโดด ที่ต้องการก�ำลังคนที่มีความรู้หลากหลายด้านและสามารถผสมผสานกัน เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันและรองรับกับเทคโนโลยีใหม่ให้กับ สถานประกอบการ แต่ตอ้ งยอมรับว่าระบบการศึกษาในปัจจุบนั ไม่สามารถ ผลิ ต ก� ำ ลั ง คนที่ มี ทั ก ษะตรง ตามความต้ อ งการได้ ใ นทั น ที ภายหลังทีส่ ำ� เร็จการศึกษา ท�ำให้ สถานประกอบการประสบปัญหา การขาดแคลนก�ำลังคนทีม่ คี วามรู้ ความสามารถและทักษะเฉพาะด้าน โดยเฉพาะบุคลากรระดับกลาง (Middle Manager/Engineer) ในสถานประกอบการ ที่ต้องการ ผู้ที่มีความรู้ทั้งด้านกระบวนการ ผลิตอุตสาหกรรม (Production Process) และการบริหารจัดการ เ ท ค โ น โ ล ยี ( Te c h n o l o g y Management) ท�ำให้ยากต่อการ สร้ า งนวั ต กรรมผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละ ดร.กิติพงค์ พร้อมวงค์ กระบวนการ (Product-Process of Innovation) “จากการเปลีย่ นแปลงด้านสังคมและวัฒนธรรม ท�ำให้พบว่าคนรุน่ ใหม่ มีแนวคิดและทัศนคติในการท�ำงานแตกต่างจากเดิม มองหาโอกาสและ ความท้าทายมากขึน้ ท�ำให้การท�ำงานแบบดัง้ เดิมในระบบทีเ่ ป็นการแยกส่วน มองไม่เห็นความเชื่อมโยงทั้งกระบวนการและใช้เวลานานในการเรียนรู้ ด้วยตนเอง ไม่เป็นที่สนใจของคนรุ่นใหม่ เกิดปัญหาการเปลี่ยนงานใน ระยะเวลา 1-2 ปีแรกสูง ท�ำให้ผปู้ ระกอบการมีตน้ ทุนในการพัฒนาก�ำลังคน สูงขึน้ ดังนัน้ หากสามารถพัฒนารูปแบบความเชือ่ มโยงระหว่างอุตสาหกรรม May-June 2019

ส่วน ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อ�ำนวยการ สวทช. กล่าวว่า ความร่วมมือในครัง้ นีถ้ อื เป็นการขยายการด�ำเนินงาน ร่วมกับภาคการศึกษาหลักของประเทศ ในโครงการวิทยาศาสตร์ เพือ่ อุตสาหกรรม (Science for Industry : Sci-FI) ซึ่ง ได้บรู ณาการความร่วมมือ กับ สวทน. และจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เพือ่ พัฒนา แพลตฟอร์ ม และระบบ การท�ำงานร่วมกันระหว่าง ภาครั ฐ ภาคการศึ ก ษา และภาคอุ ต สาหกรรม ที่มุ่งเน้นการสร้างความ สามารถในการแข่ ง ขั น ของภาคอุ ต สาหกรรม อย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในอุตสาหกรรม ระดับกลาง โดย สวทช. ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล จะใช้ ก ลไกของ ITAP (หน่วยงานภายใต้ สวทช. ที่ช่วยให้ SME สามารถท�ำนวัตกรรมได้ รวมทั้งยกระดับ เทคโนโลยีการผลิต โดยมีภารกิจในการเชื่อมโยงระหว่าง ผู้ให้บริการเทคโนโลยี (Technology Service Providers) กับ ผู้ใช้เทคโนโลยี (Technology Users) ในรูปแบบของการจัดหา ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคเข้าไปให้ค�ำปรึกษาและแก้ไขปัญหา ถึงในโรงงาน เพื่อให้ความช่วยเหลือด้านการวิจัยและพัฒนา ทั้งนี้ การด�ำเนินโครงการประกอบด้วย ขั้นตอนการคัดเลือก ผู้ประกอบการ ขั้นตอนการวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้น และการ พัฒนาเทคโนโลยีเชิงลึกรายบริษัท ให้กับผู้ประกอบการที่ เข้าร่วมโครงการ รวมถึงการประเมินผลโครงการ เพือ่ ให้มน่ั ใจว่า ผู ้ ป ระกอบการจะได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากภาครั ฐ อย่ า งมี ประสิทธิภาพ ทั้งนี้ สถานประกอบการ และนิสิตนักศึกษาที่ก�ำลัง จะจบการศึกษาในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่สนใจ เข้าร่วมโครงการสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ท่ี ศูนย์บริหารโครงการ Sci-FI คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย รศ. ดร.ประเสริฐ เรียบร้อยเจริญ


Scoop

> กองบรรณาธิการ

แชฟฟ์เลอร์

เปิดโรงงานใหม่ที่เวียดนาม แชฟฟ์เลอร์ เชื่อมั่นอุตสาหกรรมในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ยังเติบโตต่อเนื่อง พร้อมเปิดโรงงานสีเขียวแห่งใหม่ที่เมืองเบียนฮัว จังหวัดดองไน ประเทศเวียดนาม ทุ่มงบลงทุนมากกว่า 1,600 ล้าน บาท (45 ล้านยูโร) เพือ่ สร้างโรงงานการผลิตทีท่ นั สมัย ซึง่ การลงทุน ครัง้ นี้ กลุม่ แชฟฟ์เลอร์ได้สร้างงานมากกว่า 300 ต�ำแหน่งในจังหวัด ดองไน ภายในงานได้รบั เกียรติจาก ฯพณฯ ดิน ควอค ไท ประธาน คณะกรรมการ จังหวัดดองไน จอร์จ เอฟดับบลิว แชฟฟ์เลอร์ ผูถ้ อื หุน้ และประธานกลุม่ แชฟฟ์เลอร์ และ ฯพณฯ แอนเดรียส ซีเกล กงสุล เยอรมัน ประจ�ำประเทศเวียดนาม ให้เกียรติเข้าร่วมพิธเี ปิดอย่างเป็น ทางการ จอร์จ เอฟดับบลิว แชฟฟ์เลอร์ ผูถ้ อื หุน้ และประธานกลุม่ แชฟฟ์เลอร์ กล่าวว่า “เวียดนามเป็นประเทศแรกในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ทกี่ ลุม่ แชฟฟ์เลอร์เข้ามาลงทุนเพือ่ สร้างก�ำลังการผลิตชิน้ ส่วน ส�ำหรับอุตสาหกรรมในระดับภูมิภาค โดยเราเชื่อมั่นว่าที่นี่เป็นหนึ่ง ในทีต่ งั้ ยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจทีส่ ำ� คัญของภูมภิ าคเอเชีย มีความ หลากหลาย มัน่ คง และเติบโตอย่างรวดเร็ว ด้วยประชากรทีม่ คี วาม สามารถ มีการศึกษาที่ดี และมีความมุ่งมั่นตั้งใจ”

เชือ่ มัน ่ ในศักยภาพของเวียดนามในฐานะศูนย์กลาง การผลิตที่มีประสิทธิภาพ

มาร์ติน ชรีเบอร์ ประธานแผนกอุตสาหกรรมของบริษัท แชฟฟ์เลอร์ เอเชียแปซิฟกิ กล่าวในระหว่างพิธเี ปิดว่า “การขยาย ก�ำลังการผลิตชิน้ ส่วนส�ำหรับอุตสาหกรรมในครัง้ นี้ แสดงให้เห็นถึง ความเชือ่ มัน่ ของเราทีม่ ตี อ่ เวียดนามในฐานะทีเ่ ป็นศูนย์กลางการ ผลิตทีด่ เี ยีย่ มในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ และพร้อมให้บริการลูกค้า ในระดับภูมภิ าคและระดับโลก ด้วยผลิตภัณฑ์ตลับลูกปืน และระบบ

ที่ดีที่สุด” คลาส มูลเลอร์ ประธานเจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยผลิต บริษทั แชฟฟ์เลอร์ ประจ�ำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก กล่าวเสริมว่า “เราถือว่าโรงงาน ในเวียดนามเป็นหนึ่งในโรงงานที่มีประสิทธิภาพและทันสมัยที่สุด ในเครือข่ายทั่วโลกของเรา” โรงงานใหม่น้ีต้ังอยู่ท่ีเขตนิคมอุตสาหกรรมอมตะในเมือง เบียนฮัว ประมาณ 50 กิโลเมตร จากเมืองโฮจิมินห์ซิตี้ โดยมีสาย การผลิตตลับลูกปืนอุตสาหกรรม และส่วนประกอบส�ำหรับการใช้งาน ทีห่ ลากหลาย บริษทั แชฟฟ์เลอร์ลงทุนครัง้ แรกในเวียดนามเมือ่ 10 ปี ทีผ่ า่ นมา โดยเริม่ จากการผลิตตลับลูกปืนเม็ดเรียว (TRB) ตลับลูกปืน กลม พร้อมเสือ้ เหล็กหล่อ (RIBB) และตลับลูกปืนคอพวงมาลัย (SCB) ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้วยการลงทุนใหม่ ครั้งนี้ บริษัทแชฟฟ์เลอร์จะเพิ่มก�ำลังการผลิตของ ผลิตภัณฑ์ท่ีมีอยู่ และเพิ่มสายผลิตภัณฑ์ใหม่ ส�ำหรับ RIBB ขยายเช่นเดียวกับผลิตภัณฑ์หลัก ของกลุ่มแชฟฟ์เลอร์-ตลับลูกปืนเม็ดเข็ม (NRB) May-June 2019


ผลิตในเอเชียแปซิฟิก-สำ�หรับลูกค้าทั่วโลก

เฮลมุท โบวด์ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั แชฟฟ์เลอร์ ประจ�ำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก กล่าวว่า “โรงงานแห่งใหม่ได้รับ การพัฒนาบนแนวคิดแบบ Modular Concept ด้วยพืน้ ทีอ่ าคารรวม 25,000 ตารางเมตร ในเฟสที่ 1 และบริษทั ฯ ยังคงเติบโตในด้านความ สามารถด้านวิศวกรรมและการผลิต โดยมีเป้าหมายเพื่อส่งมอบ ผลิตภัณฑ์และบริการที่มีคุณภาพสูงสุดให้กับลูกค้าในภูมิภาคและ ทั่วโลก การลงทุนของแชฟฟ์เลอร์ครั้งนี้นับเป็นการลงทุนครั้งที่ 2 เพือ่ ขยายก�ำลังการผลิตในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ โดยเมือ่ ปี พ.ศ. 2559 แชฟฟ์เลอร์ได้เปิดโรงงานแห่งใหม่ทแ่ี รกส�ำหรับผลิตภัณฑ์ยานยนต์ ในประเทศไทยมาก่อน และในวันนีเ้ รามีความภาคภูมใิ จทีจ่ ะเฉลิมฉลอง การเปิดโรงงานที่ทันสมัยแห่งใหม่น้ีส�ำหรับผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ในเวียดนาม และได้รบั การสนับสนุนจากรัฐบาลเวียดนามลูกค้า คูค่ า้ และพันธมิตรเป็นอย่างดี ท�ำให้เรามั่นใจว่าแชฟฟ์เลอร์ได้ก้าวไป อีกขั้นหนึ่งของธุรกิจอุตสาหกรรมในระยะยาว และอย่างยั่งยืนใน ภูมิภาคนี้” สิ น ค้ า ที่ ผ ลิ ต ในเวี ย ดนามจะกระจายให้ กั บ ลู ก ค้ า ในภาค อุตสาหกรรมต่างๆ รวมทัง้ การเกษตร การก่อสร้างและเหมืองแร่ ระบบ ส่งก�ำลังไฟฟ้า การแปรรูปอาหาร อุตสาหกรรมสิง่ ทอ กระดาษ เหล็ก ซีเมนต์ และธุรกิจรถจักรยานยนต์

Schaeffler : New Plant in Vietnam May-June 2019

อุตสาหกรรม 4.0 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ กระบวนการผลิต

โรงงานใหม่นจ้ี ะติดตัง้ เครือ่ งจักรผลิตทีท่ นั สมัยและเทคโนโลยี ที่สอดคล้องกับความมุ่งมั่นของแชฟฟ์เลอร์ในการรักษามาตรฐาน คุณภาพทีเ่ หมือนกันทัว่ โลก และทีน่ ย่ี งั เป็นโรงงานแห่งแรกในภูมภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทใ่ี ช้โซลูชนั อินดัสตรี 4.0 ล่าสุดทีพ่ ฒ ั นาโดย แชฟฟ์เลอร์ อีกทัง้ ยังติดตัง้ อุปกรณ์ตรวจสอบสภาพของแชฟฟ์เลอร์ SmartCheckTM ถึง 70 ต�ำแหน่งที่ส�ำคัญภายในโรงงาน ซึงฮุน ปาร์ค กรรมการผู้จัดการ และผู้จัดการโรงงาน แชฟฟ์เลอร์ ประเทศเวียดนาม กล่าวว่า “การพัฒนาภาคการผลิต เป็นสิ่งที่รัฐบาลเวียดนามให้ความส�ำคัญเป็นล�ำดับต้นๆ ด้วยการ เข้าถึงแรงงานทีม่ ที กั ษะสูงและความมุง่ มัน่ ในการส่งมอบผลิตภัณฑ์ ที่มีคุณภาพดีที่สุดแก่ลูกค้าของเรา แชฟฟ์เลอร์ ประเทศเวียดนาม ได้พสิ จู น์แล้วว่าเป็นฐานการผลิตทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และในปี พ.ศ. 2561 เราประสบความส�ำเร็จครั้งส�ำคัญในการส่งมอบผลิตภัณฑ์อย่าง ต่อเนื่อง อีกทั้งการขยายก�ำลังการผลิตของแชฟฟ์เลอร์ครั้งนี้ ท�ำให้ เรามัน่ ใจในการบรรลุมาตรฐานคุณภาพและความพึงพอใจของลูกค้า ทีส่ งู ขึน้ ในขณะเดียวกันก็มสี ว่ นช่วยให้ภาคอุตสาหกรรมในเวียดนาม และภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกนั้นเติบโตเพิ่มมากขึ้น” กลุ่มแชฟฟ์เลอร์เป็นผู้จ�ำหน่ายสินค้าด้านยานยนต์และ อุตสาหกรรมระดับโลก ด้วยการน�ำเสนอส่วนประกอบและระบบ ที่มีความแม่นย�ำสูงในเครื่องยนต์ ระบบส่งก�ำลัง และตัวถัง รวมถึง โซลูชนั ตลับลูกปืนแบบเม็ดกลมและแบบธรรมดาส�ำหรับการใช้งาน ในอุ ต สาหกรรมจ� ำ นวนมาก กลุ ่ ม แชฟฟ์ เ ลอร์ ไ ด้ ส ร้ า งแนวคิ ด “การขับเคลือ่ นเพือ่ อนาคต” เทคโนโลยีของเราสร้างยอดขายได้ประมาณ 14.2 พันล้านยูโร ในปี พ.ศ. 2561 โดยมีพนักงานประมาณ 92,500 คน แชฟฟ์เลอร์เป็นหนึ่งในบริษัทครอบครัวที่ใหญ่ที่สุดในโลก และ มีสำ� นักงานสาขากว่า 170 แห่งในกว่า 50 ประเทศทั่วโลก ทั้งที่เป็น โรงงาน ศูนย์วจิ ยั และพัฒนา และส�ำนักงานขาย ด้วยการลงทะเบียน สิทธิบัตรมากกว่า 2,400 รายการ ในปี พ.ศ. 2561 แชฟฟ์เลอร์เป็น บริษทั ทีม่ นี วัตกรรมมากทีส่ ดุ เป็นอันดับ 2 ของเยอรมนี ตาม DPMA (ส�ำนักงานสิทธิบัตรและเครื่องหมายการค้าเยอรมัน)

Schaeffler celebrated the inauguration of a new Greenfield plant at Bien Hoa City in Dong Nai province of Vietnam. The company has invested more than 45 million euros in building the modern manufacturing facility. With this investment, Schaeffler will create more than 300 additional jobs in the Dong Nai province. H.E. Dinh Quoc Thai, Chairman, Dong Nai Province People’s Committee joined Georg F.W. Schaeffler, shareholder and chairman of Schaeffler Group and H.E. Andreas Siegel, German Consul General to celebrate the official opening in presence of government officials, customers, partners and other dignitaries.


Mr.Schaeffler stated in his inaugural speech, “Vietnam was the very first location in South East Asia where Schaeffler invested to build local manufacturing capacity. There are many reasons for our continued commitment to Vietnam. It’s strategic location in Asia, a well-diversified, stable and fast-growing economy with talented, well-educated, ambitious population are just few among them.”

Confidence in Vietnam’s potential as an efficient production hub

Mr.Martin Schreiber, President Industrial at Schaeffler Asia Pacific said during the ceremony, “The expansion of local manufacturing capacity demonstrates our confidence in Vietnam as an ideal production hub in the Asia Pacific region to serve regional and global customers with best-in-class bearing products and systems.” Mr.Klaus Mueller, Chief Operating Officer at Schaeffler Asia Pacific added, “We consider this plant in Vietnam as one of the best performance and modern production facilities in our global network.” The new facility, located at the Amata Industrial Zone in Bien Hoa City, about 50 kilometers from Ho Chi Minh City, will produce industrial bearings and components for a wide range of applications. Schaeffler first made an investment in Vietnam over 10 years ago when the company started local production of Tapered Roller Bearings (TRB), Radial Insert Ball Bearings (RIBB) and Steering Column Bearings (SCB) in Southeast Asia. With the new investment Schaeffler will increase production capacity of the existing product ranges and add new product lines for extended range of RIBB as well as the flagship product of Schaeffler Group – Needle Roller Bearings (NRB).

Made in Asia Pacific–for global customers

The new plant has been developed on a modular concept with a total building area of 25,000 sqm in Phase 1. “We continue to grow our engineering competency and production footprint with the aim to deliver highest value from our products and solutions to customers in the region and around the world. This is the second major investment by Schaeffler to expand local manufacturing capacity in Asia Pacific. In 2016, we opened a new plant for automotive products in Thailand and today we are proud to celebrate the opening of this state-ofthe-art facility for industrial products in Vietnam.” Mr.Helmut Bode, CEO Schaeffler Asia Pacific said “We greatly appreciate the support

of the Vietnamese government, our customers, suppliers and partners as Schaeffler takes another decisive step towards long-term, sustainable growth of our industrial business in the region.” he added. Products manufactured in Vietnam will be supplied to customers across a wide range of industry sectors including agriculture, construction and mining, power transmission, food processing, textile, paper, steel, cement and two-wheelers (motorcycles).

Industry 4.0 to optimize manufacturing process

The new plant is equipped with advanced production machinery and technologies in line with Schaeffler’s commitment to maintain consistent quality standards worldwide. It is the first plant in Southeast Asia to apply the latest Industry 4.0 solutions developed by Schaeffler. There are 70 Schaeffler condition monitoring devices – SmartCheckTM – installed at key positions inside the plant. Mr.Seunghun Park, Managing Director and Plant Manager Schaeffler Vietnam said “Development of manufacturing sector is a key priority of the Government of Vietnam. With access to highly skilled workforce and their commitment to deliver best-in-class quality products for our customers, Schaeffler Vietnam has proven to be an efficient production base for the company. In 2018, we achieved the milestone of continuously delivering products without a single quality complain from customers for over two years. Expansion of our production capacity gives us the confidence to achieve even higher standards of quality performance and customer satisfaction while contributing to the growth of the industrial sector in Vietnam.” he added. The Schaeffler Group is a globally active automotive and industrial supplier. By delivering highprecision components and systems in engine, transmission, and chassis applications, as well as rolling and plain bearing solutions for a large number of industrial applications, the Schaeffler Group is already shaping “Mobility for tomorrow” to a significant degree. The technology company generated sales of approximately 14.2 billion Euros in 2018. With around 92,500 employees, Schaeffler is one of the world’s largest family companies and, with approximately 170 locations in over 50 countries, has a worldwide network of manufacturing locations, research and development facilities, and sales companies. With more than 2,400 patent registrations in 2018, Schaeffler is Germany’s second most innovative company according to the DPMA (German Patent and Trademark Office). May-June 2019


Scoop

> กองบรรณาธิการ

เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท นิสสัน ประเทศไทย ได้ประกาศแต่งตั้ง บริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ในฐานะผูใ้ ห้บริการหลักเครือ่ งชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าอย่างเป็นทางการ ซึ่งเป็นความร่วมมือครั้งส�ำคัญระหว่างผู้ผลิตรถยนต์ไฟฟ้าและ ผูใ้ ห้บริการด้านโซลูชนั พลังงานสะอาดระดับโลก เพือ่ สนับสนุนแผนงาน พัฒนาการใช้พลังงานไฟฟ้าของไทย นิสสัน เป็นผูผ้ ลิตรถยนต์ระดับโลกทีจ่ ำ� หน่ายรถยนต์มากกว่า 60 รุน่ ภายใต้แบรนด์นสิ สัน อินฟินติ ี้ และดัทสัน วันที่ 1 เมษายน 2560 บริษทั ฯ เริม่ ด�ำเนินการแผนกลยุทธ์ระยะกลาง Nissan M.O.V.E. to 2022 ซึง่ เป็นแผนธุรกิจ 6 ปี ภายใต้กลยุทธ์ดงั กล่าว นิสสันมุง่ ตอกย�า้ ความเป็นผู้น�ำในนวัตกรรมรถยนต์ไฟฟ้า ผ่านรถยนต์นิสสัน ลีฟ ซึ่งเป็นรถยนต์ไฟฟ้าที่ได้รับการตอบรับที่ดี ปัจจุบัน เรโนลต์ นิสสัน และมิตซูบิชิ มอเตอร์ส เป็นพันธมิตรธุรกิจยานยนต์ที่ใหญ่ที่สุด และมียอดขายรวมกันมากกว่า 10.76 ล้านคัน ในปี พ.ศ. 2561 ส่วน บริษทั นิสสัน มอเตอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เข้ามาด�ำเนินธุรกิจตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2495 ปัจจุบนั มีบริษทั ในเครือ 5 แห่ง และฐานการผลิตรถยนต์ รวม 2 แห่ง มีผลิตภัณฑ์รถยนต์ตอบสนองลูกค้าทุกเซกเมนต์รวม 10 รุ่น ไม่ว่าจะเป็นรถยนต์อีโค คาร์ รถยนต์อเนกประสงค์ รถยนต์ พรีเมี่ยมซีดาน และรถกระบะ ส่วน บริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ถือเป็นหนึ่งในผู้ผลิตชั้นน�ำด้านโซลูชันพลังงานสะอาดและระบบ

May-June 2019

ความร่วมมือติดตั้ง

เครื่องชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า สำ�หรับที่อยู่อาศัย

จัดการความร้อน เดลต้าฯ ยังเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ในระดับภูมิภาค หลากหลายกลุม่ ผลิตภัณฑ์ ทัง้ ระบบอัตโนมัตสิ ำ� หรับงานอุตสาหกรรม ระบบแสดงผลครบวงจร และระบบเครือข่าย โดยพันธกิจของบริษทั ฯ นั้ น มุ ่ ง มั่ น สร้ า งสรรค์ น วั ต กรรมการใช้ พ ลั ง งานสะอาดและเพิ่ ม ประสิทธิภาพการใช้พลังงานเพื่ออนาคตที่ดีกว่า สะท้อนให้เห็นถึง ความมุ่งมั่นของบริษัทฯ ในการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน บริษัทมี โรงงานผลิตในอินเดีย สโลวาเกีย และประเทศไทย ศูนย์วจิ ยั พัฒนา และออกแบบในไทย อินเดีย เยอรมนี และอีกในหลายประเทศ ในส่วนความร่วมมือระหว่าง บริษทั นิสสัน ประเทศไทย และ บริษทั เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด มีวตั ถุประสงค์ เพื่ อ สนั บ สนุ น เป้ า หมายการพั ฒ นาการใช้ พ ลั ง งานไฟฟ้ า ของ ประเทศไทยทีต่ อ้ งการให้เกิดการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าจ�ำนวน 1.2 ล้านคัน บนท้องถนนภายในปี พ.ศ. 2579 และเพือ่ ส่งมอบเครือ่ งชาร์จยานยนต์ ไฟฟ้าที่ได้รับมาตรฐานสากลพร้อมการบริการที่ได้มาตรฐานจาก เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ และได้รับการรับรองโดยนิสสันให้แก่เจ้าของ รถยนต์นิสสัน ลีฟ (Nissan LEAF) ในประเทศไทย


ราเมช นาราสิมัน ประธาน นิสสัน ประเทศไทย กล่าวว่า “หลังจากนิสสันได้ลงนามข้อตกลงกับทางการไฟฟ้านครหลวง ไปแล้ว ซึ่งการลงนามนั้นวัตถุประสงค์ก็เพื่อสร้างความเชื่อมั่นใน การติดตัง้ ระบบชาร์จพลังงานไฟฟ้าตามครัวเรือน เพือ่ ให้สอดคล้อง กับโครงสร้างพืน้ ฐานและ ติดตัง้ ได้อย่างถูกต้อง และ ครัง้ นีเ้ ป็นอีกครัง้ ทีน่ สิ สัน ได้ ล งนามร่ ว มกั บ ทาง เดลต้า เพือ่ เป็นพันธมิตร และผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารเครื่ อ ง ชาร์ จ รถยนต์ พ ลั ง งาน ไฟฟ้าอย่างเป็นทางการ และบริ ก ารชาร์ จ ไฟฟ้ า แบบเร็วส�ำหรับนิสสัน ลีฟ ใหม่” ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ ดังกล่าวเกิดขึ้น มีผลงานการศึกษาของฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน (Frost & Sullivan) สนับสนุน เนื่องจากการศึกษาดังกล่าวพบว่า ส�ำหรับผูบ้ ริโภคชาวไทยแล้วนัน้ การมีทางเลือกการชาร์จทีส่ ะดวก และยืดหยุ่นเป็น 1 ใน 3 ปัจจัยส�ำคัญที่กระตุ้นให้เกิดการซื้อ รถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย ความร่วมมือนี้จึงช่วยให้ผู้บริโภค สามารถเข้าถึงโซลูชันสถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าได้อย่างสะดวก ง่ายดาย อีกทั้งยังได้รับบริการด้านการจัดการสถานที่ติดตั้งจาก เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) เช่นเดียวกับผู้ขับขี่รถยนต์ ไฟฟ้าทั้งในสหรัฐอเมริกา ยุโรป เอเชีย และออสเตรเลีย รวมทั้ง ข้อตกลงครั้งนี้จะช่วยบุกเบิกการคมนาคมสีเขียวในประเทศไทย โดยตรง ด้วยการมอบทางเลือกใหม่ๆ ที่ช่วยให้ผู้บริโภคเปิดรับ การใช้งานยานยนต์ไฟฟ้าได้ง่ายขึ้น ส�ำหรับการชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าทีบ่ า้ นและทีส่ ำ� นักงาน จะเป็น การติดตั้งเครื่องชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าแบบธรรมดากระแสสลับของ เดลต้า ขนาด 7.36 กิโลวัตต์ ส่วนสถานีบริการชาร์จไฟสาธารณะเป็น เครือ่ งชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าแบบเร็วกระแสตรงของเดลต้า อีเลคโทรนิคส์ ขนาด 50 กิโลวัตต์ นอกจากนี้ นิสสันยังได้ตดิ ตัง้ เครือ่ งชาร์จรถยนต์ ไฟฟ้าทั้งแบบเร็วกระแสตรงและแบบธรรมดากระแสสลับที่โชว์รูม ตัวแทนจ�ำหน่ายทัง้ หมด 32 แห่งทัว่ ประเทศ โดยเดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จะเป็นผู้ให้บริการส�ำรวจพื้นที่ ติดตั้ง และบริการ หลังการขาย “การร่วมมือกันครั้งนี้ครอบคลุมไปถึงการจัดฝึกอบรมผู้ให้ บริการในประเทศโดยใช้คมู่ อื การให้ความช่วยเหลือบนท้องถนนของ นิสสัน ลีฟ ใหม่ เพือ่ ให้ลกู ค้านิสสัน ลีฟ มัน่ ใจว่ารถยนต์ของพวกเขา จะได้รับการดูแลเป็นอย่างดี นอกจากนั้น ข้อตกลงนี้จะช่วยพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานของประเทศไทยโดยการให้ทางเลือกการชาร์จ ส�ำหรับลูกค้า และตอกย�ำ้ ความมุง่ มัน่ ของเราเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าเจ้าของ

ลีฟ ใหม่ ในประเทศไทยสามารถเข้าถึงสถานีชาร์จทีม่ ปี ระสิทธิภาพ พลังงานสูงได้ทุกที่ ไม่ว่าจะเป็นที่บ้าน ที่ท�ำงาน หรือบนเส้นทาง ระหว่างเดินทาง และนี่เป็นเพียงจุดเริ่มต้นและอนาคตของการ ขับเคลื่อนและการใช้พลังงานไฟฟ้า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่าตื่นเต้นมาก” ราเมช กล่าวเพิ่มเติม ด้าน เซีย เชน เยน ประธานบริหาร บริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) กล่าวว่า เดลต้าในฐานะผูใ้ ห้บริการ หลักเครือ่ งชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า (EMO) พร้อมให้บริการเครือ่ งชาร์จ แบบธรรมดากระแสสลับแก่เจ้าของรถยนต์นสิ สัน ลีฟ ทีด่ ลี เลอร์ ของนิสสันทั่วประเทศ โดยทีมวิศวกรผู้เชี่ยวชาญของเดลต้า พร้อมให้บริการส�ำรวจพืน้ ที่ ติดตัง้ และให้บริการหลังการขายแก่ ลูกค้าถึงทีบ่ า้ น นอกจากเครือ่ งชาร์จแบบธรรมดากระแสสลับแล้ว เดลต้ายังมีเครือ่ งชาร์จแบบเร็วกระแสพร้อมให้บริการทีส่ ถานีชาร์จ อีกด้วย “ขณะนีท้ มี วิศวกร ของเดลต้ า ก� ำ ลั ง ทยอย ติดตัง้ เครือ่ งชาร์จส�ำหรับ ยานยนต์ไฟฟ้าทั้งแบบ ธรรมดาและแบบเร็ ว ตามดีลเลอร์ของนิสสัน ทัว่ ประเทศ ซึง่ การติดตัง้ นี้ จะช่วยสนับสนุนให้การ ใช้งานยานยนต์ไฟฟ้าใน ประเทศไทยแพร่หลาย ขึน้ ” เซีย เชน เยน กล่าว เสริม ในฐานะผู้ผลิตโซลูชันด้านพลังงาน เดลต้าน�ำศักยภาพหลัก ด้านการแปลงพลังงานและจัดการพลังงานสะอาดมาใช้เพือ่ พัฒนา และติดตัง้ โซลูชนั สถานีชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าระดับโลกให้แก่ผใู้ ช้งาน ยานยนต์ไฟฟ้าทั่วโลก รวมถึงในประเทศไทย ซึ่งธุรกิจของเดลต้า สอดคล้องกับกระแสหลักของโลก (Mega-Trends) โดยขยายธุรกิจ โซลูชันด้านพาวเวอร์อิเล็กทรอนิกส์ (EV Powertrain) ซึ่งรวมถึง เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า (On-Board Chargers) ส�ำหรับผู้ผลิต ยานยนต์ไฟฟ้าชัน้ น�ำของโลกมากมายทัง้ ในสหรัฐอเมริกาและยุโรป เทคโนโลยีการชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าของเดลต้า ได้ร่วมเป็น ส่วนหนึง่ ของนโยบายเปลีย่ นผ่านสูก่ ารคมนาคมสีเขียวของประเทศ นอร์เวย์ ซึ่งเป็นประเทศแรกๆ ของโลกที่ริเริ่มแนวคิดด้านนี้ ในปี ทีผ่ า่ นมาก็ได้เปิดตัวสถานีชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าแห่งแรกของมุมไบด้วย ทัง้ นี้ เดลต้าถือเป็นหนึง่ ในบริษทั ทีส่ นับสนุนโครงการยานยนต์ สมัยใหม่ หรือ Next-Generation Mobility ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของนโยบาย ไทยแลนด์ 4.0 โดยท�ำงานอย่างใกล้ชดิ กับหน่วยงานด้านไฟฟ้าและ ยานยนต์เพือ่ พัฒนาโซลูชนั การชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย

May-June 2019


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

“สถาปนิก’62” จุดประกายแนวคิด Green พร้อมสนับสนุน

นวัตกรรมการออกแบบ ลดปัญหาสิ่งแวดล้อม

อย่างยั่งยืน

ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มเป็ น ปั ญ หาที่ ส ่ ง ผลกระทบ ทั้งเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพชีวิต โดยปัญหาหลัก ทีเ่ กิดขึน้ อย่างเห็นได้ชดั คือ ภาวะโลกร้อนและขยะทีเ่ ป็น มลภาวะต่อโลก สิง่ เหล่านีส้ ง่ ผลต่อภาพรวมในการใช้ชวี ติ ประจ�ำวันเป็นอย่างยิง่ จะเห็นได้วา่ ในปัจจุบนั มนุษย์เริม่ ใส่ใจเรือ่ งปัญหาสิง่ แวดล้อมกันมากขึน้ แนวคิด “Green” จึงเกิดขึ้นเพื่อกระตุ้นให้มนุษย์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในการใช้ชีวิต หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนทั่วโลก พร้ อ มใจกั น รณรงค์ ส ่ ง เสริ ม ให้ เ ห็ น ความส� ำ คั ญ ของ การดูแลสิ่งแวดล้อม รวมถึง สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ และบริษทั เอ็น.ซี.ซี. เอ็กซิบชิ นั่ ออกาไนเซอร์ จ�ำกัด มุ่งมั่นสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อม มาโดยตลอด ล่าสุดได้จดั งาน “สถาปนิก’62” ภายใต้แนวคิด “กรีน อยู่ ดี : Living Green” ทีช่ าเลนเจอร์ 1-3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี เพือ่ สะท้อนให้เห็นถึงปณิธานในความตัง้ ใจ แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม และร่วมสนับสนุนให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงผ่านการออกแบบสถาปัตยกรรมและวัสดุ ก่อสร้างต่างๆ May-June 2019

การจัดงาน สถาปนิก’62 ทีผ่ า่ นมาเป็นเหมือน จุดเล็กๆ ทีก่ ระตุน้ ให้หลายหน่วยงานและบุคคลทัว่ ไป เห็นถึงความส�ำคัญในการดูแลสิ่งแวดล้อม ทั้งยังมี ความเข้าใจและเข้าถึงแนวคิด กรีน อยู่ ดี : Living Green ได้อย่างชัดเจนมาก ยิ่งขึ้น ซึ่งผู้เข้าชมงานจะได้สัมผัสกับประสบการณ์สีเขียว (Green Experience) ต่างๆ มากมาย ทั้งในด้านการออกแบบการจัดงานและโซนนิทรรศการต่างๆ โดยในงานนีม้ พี าวิลเลีย่ นทีด่ ไี ซน์จากท่อกระดาษ ซึง่ สามารถถอดประกอบติดตัง้ และน�ำไปใช้ใหม่ได้ สิ้นเปลืองทรัพยากรน้อย กระดาษที่น�ำมาใช้มาจากการใช้ ไม้ท่ีปลูกทดแทนและรีไซเคิลได้ รวมถึงการจัดการในด้านต่างๆ ภายในงาน เพือ่ แสดงให้เห็นถึงการส่งเสริมและลดปัญหาสิง่ แวดล้อม ไม่วา่ จะเป็นการเตรียม รถตูบ้ ริการรับ-ส่งผูท้ จ่ี ะมาร่วมชมงาน เพือ่ รณรงค์ให้ลดการใช้รถส่วนตัวให้นอ้ ยลง เพื่อลดการใช้พลังงานและลดปัญหามลภาวะ และลดการสร้างขยะได้มากขึ้น โดยใช้การสแกน QR Code เข้างาน และสามารถดูข้อมูลต่างๆ ของงานอย่าง ครบถ้วนได้จากแอปพลิเคชัน ASA โดยไม่ตอ้ งใช้กระดาษมากมายอย่างทีผ่ า่ นมา ส�ำหรับการลงทะเบียนเข้างานในปีน้ีมีการใช้ระบบดิจิทัลเป็นตัวช่วย เพื่อลด ความสิ้นเปลืองในการใช้กระดาษ แม้ในด้านอาหารก็ยังนึกถึงสิ่งแวดล้อม


โดยการไม่ใช้ภาชนะจากพลาสติกหรือโฟม ภาชนะทีใ่ ช้ตอ้ งสามารถ น�ำกลับมาใช้ได้ใหม่หรือเป็นวัสดุทส่ี ามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ และลดการใช้อาหารแช่แข็ง เพือ่ ลดการเกิดคาร์บอนไดออกไซด์จาก การประกอบอาหารและการขนส่ง การลดขยะพลาสติก ซึง่ ในงานนี้ ก็มกี ารเตรียมจุดรับน�ำ้ ดืม่ สะอาดเอาไว้ ผูเ้ ข้าชมงานสามารถน�ำแก้วน�า้ ส่วนตัวมาเติมน�ำ้ ดืม่ ในงานได้เอง เพือ่ ลดการเกิดขยะพลาสติกและ ลดการใช้พลังงานในการก�ำจัดขยะ การปรับอุณหภูมเิ ครือ่ งปรับอากาศ ไม่ให้ตำ่� เกินไป เพือ่ ลดก�ำลังการผลิตไฟฟ้า เป็นต้น สิง่ เล็กน้อยเหล่านี้ สามารถบรรเทาปัญหาสิ่งแวดล้อมที่โลกก�ำลังเผชิญอยู่ได้อย่างมี ประสิทธิภาพในระยะยาว ทางด้านผู้ร่วมจัดงานแสดงสินค้าก็ได้ให้ความส�ำคัญกับ แนวคิดนี้ด้วยเช่นกัน โดยมีการน�ำนวัตกรรมและเทคโนโลยีต่างๆ ที่ช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อมมาน�ำเสนอ รวมถึงการออกแบบบูธให้ สอดคล้องกับแนวคิดการจัดงาน เช่น การใช้วสั ดุหรือวิธกี ารออกแบบ ให้สามารถน�ำชิน้ ส่วนหรือองค์ประกอบของบูธไปใช้ในงานต่อไปได้ การออกแบบบูธเพือ่ ให้ใช้ไฟฟ้าน้อย วิธกี ารก่อสร้างให้เกิดฝุน่ น้อย เป็นต้น ซึ่งการออกแบบบูธครั้งนี้ก็ได้มีการมอบรางวัลให้กับบูธ ทีจ่ ดั ท�ำอย่างสร้างสรรค์ถงึ 3 ประเภท คือ รางวัลการออกแบบบูธที่ สอดคล้องกับแนวคิดการจัดงานปี 2562 กรีน อยู่ ดี : Living Green รางวัล Living Booth ทีม่ ฟี งั ก์ชนั การใช้งานทีด่ ี สวยงาม ปลอดภัย และ รางวัล Green Booth ทีเ่ ลือกใช้วสั ดุตา่ งๆ รวมถึงการขนส่ง การก�ำจัด ขยะที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม May-June 2019


นอกจากนี้ ยังมีไฮไลต์ตา่ งๆ ภายในงานอีกมากมายทีแ่ สดงถึง การปลูกจิตส�ำนึกด้านสิง่ แวดล้อมอย่างชัดเจน เช่น Green Building Showcases นิทรรศการแสดงแนวคิดการออกแบบอาคารสีเขียว จากนักออกแบบไทยและต่างประเทศ ซึง่ คัดสรรจากสมาชิก Arcasia 21 ประเทศ Go Zero Waste โดยส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ที่นำ� เสนอแนวทางการส�ำรวจพฤติกรรม การบริโภคเพือ่ การเรียนรูว้ ธิ กี ำ� จัดขยะ โดยเน้นไปทีล่ ดการสร้างขยะ แยกขยะอย่างถูกต้อง เพือ่ ลดก๊าซเรือนกระจกทีม่ ตี น้ เหตุมาจากขยะ และลดปัญหาขยะในมหาสมุทรและแหล่งน�้ำต่างๆ Innovative Green Product นวัตกรรมวัสดุกอ่ สร้างทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ASA International Design Competition 2019 นิทรรศการประกวดงาน ออกแบบระดับนานาชาติ ในหัวข้อ Uncanny Sustainability เพือ่ ค้นหา ไอเดียการออกแบบทีย่ งั่ ยืน สร้างแรงบันดาลใจและน�ำไปต่อยอดได้ และหมอบ้านอาสา ทีม่ าช่วยให้คำ� ปรึกษาด้านการออกแบบและการ May-June 2019

สร้างบ้าน เพือ่ ประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมโดยเฉพาะ เป็นต้น การจัดงานครั้งนี้มุ่งหวังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ในการดูแลสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งกระตุ้นให้บุคคลทั่วไปได้เข้าใจว่า สิง่ แวดล้อมที่ดเี กิดขึ้นได้จากจุดเล็กๆ ใกล้ตวั ทัง้ ยังเป็นจุดเริม่ ต้นที่ แสดงให้ผจู้ ดั งานอืน่ ๆ ได้เห็นถึงความส�ำคัญของการประหยัดพลังงาน การก�ำจัดขยะ รวมถึงการจัดการอื่นๆ ที่ช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อม และสิ่งที่ส�ำคัญที่สุดคืออยากให้คนไทยได้มีความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึน อย่างยั่งยืน สำ�หรับ งานสถาปนิก’63 ในปีหน้า จะจัดขึ้นระหว่าง

วันที่ 28 เมษายน-3 พฤษภาคม 2563 ในคอนเซ็ปต์ใหม่ “Heritage”


Interview > กองบรรณาธิการ

ชูชาติ ศรีวรรณวิทย์ ... น�้ำมันเตาสูตรพิเศษ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และลดต้นทุน

เมื่อเอ่ยถึงปัญหามลพิษด้านสิ่งแวดล้อม ไม่สามารถ ปฏิเสธได้ว่าภาคอุตสาหกรรมก็มีส่วนที่ท�ำให้เกิดปัญหานี้ ทีผ่ า่ นมาทัง้ ผูผ้ ลิตสินค้าอุตสาหกรรมและผูป้ ระกอบการต่างหา วิ ธี ก ารเพื่ อ ลดปั ญ หาด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ กิ ด จากการผลิ ต ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม ซึง่ วิธหี นึง่ ก็คอื การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ ที่ช่วยลดมลพิษ และยังช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายได้อีกด้วย เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด หนึ่งในผู้ประกอบการด้านน�้ำมันเชื้อเพลิงรายใหญ่ของไทย ได้ประกาศน�ำเข้าผลิตภัณฑ์น�้ำมันเตา Shell Fuel Oil Extra ซึ่งเป็นน�้ำมันเตาสูตรพิเศษที่เชลล์ได้พัฒนาขึ้น ในการนี้ ชูชาติ ศรีวรรณวิทย์ กรรมการบริหาร ธุรกิจน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง อุ ต สาหกรรม ได้ ใ ห้ ข ้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ คุ ณ สมบั ติ ข องน�้ ำ มั น เชือ้ เพลิงอุตสาหกรรมทีส่ ามารถตอบโจทย์ความต้องการของ ผู้ประกอบการได้เป็นอย่างดี May-June 2019

63


เชลล์ เริ่มเข้ามาท�ำธุรกิจในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2435 โดยน�ำเข้าน�้ำมันก๊าดมาให้บริการ จากนั้นก็เริ่มขยายกิจการตามล�ำดับ กลยุทธ์ของเชลล์คอื ตอกย�ำ้ สถานะผูน้ ำ� เข้าในอุตสาหกรรมน�ำ้ มันและก๊าซ ในขณะเดียวกันก็ตอบสนองความต้องการพลังงานของโลกด้วยความ รับผิดชอบ ความปลอดภัย รวมถึงความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคม ภายใต้ค�ำขวัญคือ “Together Anything Impossible” คุณค่าหลักที่ พนักงานทุกคนต้องยึดถือ ได้แก่ ความซือ่ สัตย์ คุณธรรม และการให้เกียรติ ผู้อื่น หลักการด�ำเนินธุรกิจของเชลล์ จริยธรรมในการด�ำเนินธุรกิจ และ จรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจช่วยให้ทุกคนที่เชลล์ปฏิบัติตนสอดคล้อง กับคุณค่าเหล่านีแ้ ละปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ หมด ชูชาติ ศรีวรรณวิทย์ เข้าร่วมงานกับเชลล์แห่งประเทศไทยเมื่อ 26 ปีกอ่ น สัง่ สมประสบการณ์ดา้ นอุตสาหกรรมน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงและน�ำ้ มัน หล่อลื่น มีโอกาสไปท�ำงานในหลายประเทศทั้งฮ่องกง มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ ก่อนกลับมารับต�ำแหน่งกรรมการบริหาร ธุรกิจน�้ำมันเชื้อเพลิง อุตสาหกรรม เชลล์แห่งประเทศไทยคนล่าสุด เชลล์แห่งประเทศไทย ได้ทำ� ตลาดน�ำ้ มันเตามานาน โดยน�ำ้ มันเตา เพือ่ อุตสาหกรรมจะมี 2 ประเภทคือ น�ำ้ มันเตาชนิดธรรมดา หรือน�ำ้ มันเตา เกรด C และน�้ำมันเตาเกรด A หรือ Shell Fuel Oil Extra ซึ่งเป็นน�้ำมันเตา เกรดพิเศษทีม่ คี ณ ุ สมบัตพิ เิ ศษ เหมาะส�ำหรับสภาวะปัจจุบนั ทีผ่ ปู้ ระกอบการ ใช้ความใส่ใจในเรือ่ งการรักษาสิง่ แวดล้อม ควบคูก่ บั การลดต้นทุนการผลิต ซึง่ ผูท้ อี่ ยูใ่ นแวดวงอุตสาหกรรมทราบดีวา่ เป็นการยากทีน่ ำ�้ มันเตา จะเผาไหม้ได้อย่างสมบูรณ์ ดังนั้น คราบตะกอนและคราบสกปรกต่างๆ สามารถน�ำไปสูก่ ารสูญเสียสมรรถนะในการถ่ายเทความร้อนในระยะยาว ประสิทธิภาพของอุปกรณ์หม้อไอน�ำ้ ก็จะลดลงเรือ่ ยๆ จ�ำเป็นต้องมีการบ�ำรุง รักษา แต่การบ�ำรุงรักษาแต่ละครั้งนั้นก็ต้องเสียค่าใช้จ่ายไม่น้อย “บริษัทได้พัฒนาผลิตภัณฑ์น�้ำมันเตา Shell Fuel Oil Extra ซึ่งเป็น น�้ำมันเตาเกรดพรีเมียม โดยมี 2 ประเภท คือน�้ำมันเกรด A (Fuel Oil A Extra) และเกรด C (Fuel Oil C Extra) เพือ่ ตอบสนองความต้องการส�ำหรับ กลุม่ ลูกค้าภาคโรงงานอุตสาหกรรมเป็นหลัก และต่อมาได้ขยายไปยังกลุม่ อุตสาหกรรมด้านก่อสร้างด้วย ซึ่งความพิเศษของน�้ำมันเตาดังกล่าวนี้ หากเปรียบเทียบน�ำ้ มันประเภทอืน่ ๆ นัน้ จะมีคณ ุ สมบัตเิ พือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ การใช้นำ�้ มันเชือ้ เพลิงได้ถงึ 3% รวมทัง้ ลดการปล่อยเขม่าและควันด�ำได้ถงึ 70% และสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ�ำรุงของหม้อน�้ำที่ใช้ใน การต้มน�ำ้ ในอุตสาหกรรมหรือในโรงงาน เพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงานของ เครือ่ งจักรให้ดยี งิ่ ขึน้ จึงท�ำให้สามารถช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพและลดต้นทุน โดยรวมให้กบั ภาคอุตสาหกรรม ภาคการผลิต และภาคการก่อสร้างได้เป็น อย่างดี” ผลิตภัณฑ์น�้ำมันเตา Shell Fuel Oil Extra ช่วยเพิ่มความมั่นใจและ ประสิทธิภาพการท�ำงานของระบบเชื้อเพลิงและระบบหัวเผาได้ ตั้งแต่ การจัดเก็บไปจนถึงการเผาไหม้และการปล่อยไอเสีย หากเทียบกับน�ำ้ มันเตา เกรดทั่วไป อย่างไรก็ตาม ผลการประหยัดอาจจะแตกต่างกัน เนื่องจาก ประเภทและสภาวะของการใช้งานอุปกรณ์/หม้อไอน�้ำ ตลอดจนการ เดินเครือ่ งและการบ�ำรุงรักษาของอุปกรณ์เหล่านัน้ ในบางกรณีอาจจะพบว่า ประสิทธิภาพของเชื้อเพลิงดีขึ้น หรือเขม่าและควันด�ำลดลงเพียงอย่างใด 64

May-June 2019

อย่างหนึ่ง ทั้งนี้ เป้าหมายในการจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์น�้ำมันเตา Fuel Oil Extra ของบริษัท เชลล์ฯ ถือได้ว่าเป็นพันธมิตรด้าน พลังงานที่พัฒนาน�้ำมันเชื้อเพลิงครองอันดับ 1 ของประเทศ ในขณะนี้ นับจากยอดจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ นอกจากนั้นยังมี ให้บริการอีกกว่า 70 ประเทศทั่วโลก ซึ่งในแต่ละประเทศก็มี การเติบโตและมีจดุ แข็งส�ำหรับแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ น�้ำมันเตาเชื้อเพลิงมาอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี ในอนาคตการขยายฐานจ�ำหน่ายน�ำ้ มันเตา Fuel Oil Extra จะเพิม่ จ�ำนวนมากขึน้ เนือ่ งจากการขับเคลือ่ น นโยบายของเชลล์ฯ มีการศึกษาวิจยั และได้วางกลยุทธ์ 3 ด้าน คือ ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคหรือลูกค้า รวมถึง ต้องให้ตอบโจทย์เศรษฐกิจของประเทศได้ และต้องช่วยลด ค่าใช้จ่ายได้ ท�ำให้เกิดผลก�ำไรเพิ่มขึ้นในเชิงของธุรกิจ แต่ สิ่งส�ำคัญในภาพรวมนั้นจะท�ำให้ประเทศเกิดการแข่งขันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถอยู่ร่วมกันในสังคมได้ “ส�ำหรับแผนกลยุทธ์ที่จะขยายตัวในแง่ของธุรกิจนั้น เราจะชูนวัตกรรมเทคโนโลยีของน�้ำมันเตาเกรดพรีเมี่ยมให้ เป็นที่ 1 ต่อไปให้ได้ ขณะเดียวกัน ยอมรับว่าปัจจุบนั เรือ่ งของ กฎระเบียบด้านการรักษาสิ่งแวดล้อมมีความเข้มงวดมากขึ้น กว่าเดิม แต่ดว้ ยคุณภาพของผลิตภัณฑ์ของเชลล์ เราจึงมัน่ ใจ ว่าไม่มีปัญหาด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์แน่นอน” ชูชาติ กล่าวเพิม่ เติมว่า ทีผ่ า่ นมา เชลล์ได้ให้ความส�ำคัญ กับการท�ำงานร่วมกับลูกค้าอย่างใกล้ชิด นอกจากผลิตภัณฑ์ ที่ได้คุณภาพแล้ว การบริการให้การดูแลอย่างใกล้ชิดก็เป็น อีกเหตุผลหนึ่งที่ท�ำให้ลูกค้ายังคงไว้ใจใช้ผลิตภัณฑ์ของเชลล์ มาอย่างต่อเนื่อง เชลล์จึงสามารถอยู่ในตลาดมาได้อย่าง ยาวนาน


“เราไม่ได้แค่พฒ ั นาผลิตภัณฑ์เพียงอย่างเดียว แต่เรายังต้องปรับกลยุทธ์ โดยให้ความส�ำคัญทางด้านการบริการอื่นๆ ตามความต้องการของลูกค้าเพิ่ม ขึน้ อีกทัง้ ผมมัน่ ใจในทีมงานบุคลากรของบริษทั ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญและมีหวั ใจ ทีบ่ ริการ สามารถให้คำ� แนะน�ำกลุม่ ลูกค้าด้วยประสบการณ์ดา้ นน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง มากกว่า 100 ปี นอกจากนัน้ เรายังมีบคุ ลากรทีเ่ ป็นนักวิทยาศาสตร์มากกว่า 170 คน ทั่วโลก เพื่อทดสอบวิจัยผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและไม่ก่อให้เกดผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อม ขณะเดียวกันก็สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่าง ครบถ้วน ทั้งการรักษาสิ่งแวดล้อมและการลดต้นทุนการผลิต” ชูชาติ กล่าว เรียกได้วา่ นอกจากแนวคิดในการพัฒนาน�ำ้ มันเตาเชือ้ เพลิงทีไ่ ม่ใช่เพียงแค่ จ�ำหน่ายหรือขายผลิตภัณฑ์ไปทั่วโลกเท่านั้น แต่นโยบายของบริษัทเป็นการ ตอบสนองมาตรการของภาครัฐทีก่ ำ� ลังมุง่ เดินหน้าส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน และมาตรการร่วมรักษาสิง่ แวดล้อมทีด่ ี ดังนัน้ น�ำ้ มันเตา Fuel Oil Extra จึงช่วย พัฒนาสังคมให้นา่ อยูม่ ากขึน้ เพราะช่วยลดโลกร้อน ซึง่ ท�ำให้โลกมีสภาพแวดล้อม หรือมลภาวะที่ดีมากขึ้นนั่นเอง

บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด ได้จัดงาน “Shell FuelOil Extra พันธมิตร โซลูชนั ด้านพลังงานส�ำหรับวันนีแ้ ละวันข้างหน้า” เพือ่ ตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภค กลุ่มอุตสาหกรรม ควบคู่ไปกับการสนับสนุนนโยบายภาครัฐ โดยเชิญผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องเข้าร่วมฟังสัมมนาดังกล่าวจ�ำนวนมาก โดยมีผู้บริหารและผู้เชี่ยวชาญ จากเชลล์เข้าร่วมให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณสมบัติของน�้ำมันเชื้อเพลิงตัวใหม่นี้ พร้อมทั้งมี การบรรยายโดย ประเสิร์ฐสุข เพฑูรย์สิทธิชัย ผู้อ�ำนวยการองค์การบริหารจัดการ ก๊าซเรือนกระจก และตัวแทนจากสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยด้วย

May-June 2019

65


Special Interview > กองบรรณาธิการ

After 100 days as managing director of

KEMPER GmbH, Frederic Lanz

describes his vision of the future of metalworking. He knows both sides: welding technology and occupational safety at the same time. At the beginning of 2019 Frederic Lanz changed to KEMPER. After 100 days as managing director, he reflects on what he has achieved so far. In an interview, the 37-year-old describes how he envisages the production of the future in metalworking.

Q : Mr.Lanz, you have made a name for yourself as an

innovator in the industry and have broken new ground in welding technology in the management of KEMPPI Oy. What does your new job at KEMPER feel like now, apart from efficient welding seams? A : Just the same as always, but different at the same time: It feels very much the same to me. In principle, I talk to the same contact persons on the customer side. But I have a different perspective on the welding issue as a whole. My focus is now clearly on the health of our employees. Occupational safety is a very big and exciting topic. I feel like I’m on a mission. As a pioneer in welding fume extraction, this attitude is a daily reality at KEMPER.

Q : The self-image of KEMPER is one side, the perception

of your customers is the other. How do you perceive the attitude towards occupational safety during welding? A : Occupational safety is constantly increasing in relevance. Employers see the productivity of healthy welders as an argument for investing in effective extraction technology. Specialist welding dealers, who usually define themselves by the brand of the welding technology manufacturer, are discovering the topic for themselves – also due to growing sales figures and the attractiveness of the OH&S equipment. The fact that KEMPER has doubled its turnover in the past eight years speaks for itself. May-June 2019

Q : Where is this change coming from? Is it a revolution

from below by the welders, is it the employers themselves, is it legal requirements that are causing greater demand? A : Awareness of the need for occupational safety is growing on all sides. Clean air is much more an issue in companies than it used to be. Rumours, such as that milk helps against welding fumes, date back a very long time. Virtually everyone in the industry knows nowadays that welding fumes are harmful. Today, welders are much more informed via social media or blogs such as safe-welding.com. No one wants to inhale welding fumes voluntarily.

Q : And the employers? A : We are also seeing a change in awareness among the

employers. Better air makes people less ill. In the long term, the health of our employees will be maintained. In the short term, occupational safety ensures a high level of employee satisfaction. And, at the end of the day, standardisation is also becoming ever more stringent. This is not only the case here in Germany. Recently, for example, the occupational safety requirements in Great Britain have been tightened. France also has strict guidelines on how to carry out extraction “properly”. Sounds like everyone actually agrees. The fact that there are still areas on the world map where occupational health and


safety is not really implemented – to put a positive spin on it – is, however, contrary to your findings. That is certainly correct. I have increasingly spoken from a European perspective. There are still enormous gaps worldwide – and we are trying to take care of that. We have just strategically repositioned ourselves at KEMPER. We want to increase sales a further 50 percent by 2025. We aim to achieve this goal in particular through targeted internationalisation. We have recorded growth rates in the entire occupational safety market for years and this confirms our course.

Q : That is the quantitative side, let’s move on to qualitative

development: Where do you see the greatest challenges for sustainable occupational health and safety? A : Extraction technology is still perceived as peripheral. In the future, however, occupational health and safety will have to be perceived much more as a main component of welding. Just as welders no longer want to go without their welding helmets, welding fume extraction should also be part of their daily work. We need to give occupational safety a certain amount of coolness.

Q : Meaning what? A : Let’s make welding cool, clever and clean. ‘Cool’ indicates

Q : What do you mean? A : Do you remember the time when skiers would never

Q : You have explained cool, clean is clear in any case.

have worn a helmet? Today, it is quite simply the cool-designed ski accessory that nobody wants to go without on the slopes. Such examples where health plays a role can often be found in other areas as well. We are already working on this in the field of metalworking today. Switching on the extraction system should be as self-evident as putting on the seat belt in the car.

Q : What does this look like in concrete terms with

extraction technology? A : At KEMPER, we focus on an attractive industrial design coupled with superior functionality and connectivity. Extraction systems are not just heavy square boxes. Our devices are fun and want to be used.

A : Does a chic design take the serious issue of employee

health into account? Q : Not alone, of course, but at least in part – because welders have taste and are into a cool product image. We see it in discussions about welding helmets and welding seams. But, of course, the issue of occupational health and safety has a much larger dimension: The former head of the International Institute of Welding once said that welding is a 3D technology where 3D stands for dirty, dull and dangerous. I’ve been preaching for years that we should make welding a 3C business!

that the extraction technology achieves such an image with welders that they absolutely want to use it. ‘Clever’ means that the equipment and systems operate completely automatically, reducing the effort on the welder and increasing efficiency. ‘Clean’ stands for welders working in a clean production environment and staying healthy. Clever refers to the digitisation of the extraction technology. How do you envisage the production of the future? A : When it comes to occupational safety, sample production considers not just the individual welder but also the total air for all employees. We combine spot extraction units with room ventilation systems – we use spot extraction units optimally and in the interests of the customer. In the future, it will no longer be possible to comply with legal limits in any other way. This sounds quite analogous on its own, but digitalisation has even more effects: The production of the future is a combination of purposeful connectivity – where machines communicate with each other when the welding torch of the extraction system says when and how much extraction has to be applied. Predictive maintenance becomes smart maintenance. A system no longer only indicates when its own filter is saturated. Networked production thinks ahead and also has other systems in view in order to optimise service calls and guarantee the maximum service life of the system for the customer.

Q : Isn’t that still a dream of the future? A : No, we are already there. At KEMPER, we are currently

thinking digitally about all our products. The right infrastructure is now in place. Now it is up to the companies to fully exploit the potential. We are not resting on our laurels, but consistently developing extraction technology to meet their needs. May-June 2019


Special Area

> บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด

เทคโนโลยีข้วั ต่อ สายไฟฟ้าแบบปิด

ด้วยปัจจุบันมีผู้ผลิตขั้วต่อสายไฟฟ้าหรือที่เรียกกันว่า Terminal Blocks หลายรายคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ในแบบฉบับของ ตัวเองในรูปแบบต่างๆ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ONKA หนึ่งในผู้น�ำด้าน Terminal Blocks จากประเทศตุรกี ได้ พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ แก้ ไขปั ญ หาต่ า งๆ ที่ เ กิ ด จากการใช้ Terminal Blocks เพือ่ ให้ผใู้ ช้งานสามารถใช้งานได้สะดวก รวดเร็ว และ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น หากท่านเป็นผูใ้ ช้งาน Terminal Blocks คงเคยพบปัญหาต่างๆ เหล่านี้มาแล้ว เช่น 1) เมือ่ น�ำ Terminal Blocks หลายตัวมาเรียงใช้งานเป็นแถวยาวๆ แล้วพบว่า ชุดสกรูจะเลือ่ นหลุดออกมาจาก Terminal Blocks จ�ำเป็นต้องติดตัง้ Middle Plate ทุกๆ ช่วง เพือ่ ป้องกันชุดสกรู เลื่อนหลุด 2) ต้องสั่งอุปกรณ์เสริมเพิ่มเติมยุ่งยากและเพิ่มจ�ำนวนสต็อก เช่น Middle Plate, End Plate 3) เมือ่ จ�ำเป็นต้องต่อพ่วง Terminal Blocks หลายตัวเข้าด้วยกัน ต้องใช้ชุดต่อพ่วงแบบขันสกรู ซึ่งใช้เวลาในการติดตั้งนาน 4) เมื่อต้องใช้สาย Power และสาย Control พ่วงกันในช่อง Terminal เดียวกัน สายเล็กมักจะยึดได้ไม่แน่น หลวม และหลุด ออกบ่อยครั้ง ปัญหาเหล่านัน้ จะหมดไป ด้วย เทคโนโลยีขวั้ ต่อสายไฟฟ้า แบบปิด จาก ONKA จะช่วยแก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้นได้ ทัง้ Terminal แบบสกรูและแบบสปริง (Push-In) 1) มีฝาปิดในตัว ท�ำให้ไม่จำ� เป็นต้องใช้ฝาปิดแบบ Middle Plate เพิ่มเติม 2) ไม่ตอ้ งห่วงกับการลืมสัง่ และเก็บสต็อกอุปกรณ์เสริมไม่วา่ จะ เป็น Middle Plate, End Plate

ชนิดสกรู May-June 2019

ชนิดสปริง (Push-In)

3) สะดวกและรวดเร็วกว่า ด้วย Jumper แบบเสียบ และสามารถตัดได้ตาม ความยาวที่ต้องการ ใช้กับชนิดสกรู

ใช้กับชนิดสปริง (Push-In)

ตัดแบ่งได้ตามต้องการ

4) เติมเต็มด้วยอุปกรณ์เสริมส�ำหรับแยกสาย Power และสาย Control

ONKA มี Terminal Blocks ส�ำหรับตอบสนองความต้องการ ลูกค้าทุกรูปแบบการใช้งานดังนี้

Screwed Terminal Block (ชนิดขันสกรู)


Test Terminal (Blade)Block างกลุ หรับสํสายไฟขนาด บสําสายไฟขนาด ตร.มม. หรั 2.5 Terminal   Test (Blade) สําสําหรั 2) Group stopper าTest หรับTerminal เป็Block นFuse ตัBlock วแบ่ งระหว่ ่ หรับ/สายไฟขนาด วปิ ด2.5 ตั2.5วสุตร.มม. ด2.5 ท้ตร.มม. าตร.มม. ย ของแต่ละวงจรการทํางาน และสามารถติดตัง� สํTerminal Block (Blade) าม บตัสายไฟขนาด Test Terminal Block (Blade) สําหรับสายไฟขนาด 2.5 ตร.มม. นอกจากนั นยั � มีองปุ มีกรณ์ อลปุ ะกลุ กรณ์ มากมายเช่ น Label เพื อ � บอกสถานะแต่ ม่ เสริสริ/มวงจรได้ นอกจากนั นยั � ง เ สริ มเมากมายเช่ นอกจากนั นยั � งมีอปุ นยั มมากมายเช่ นน น นอกจากนั � กรณ์ งมีอเสริ ปุ กรณ์ มมากมายเช่ Stopper หรังนมีบตัอเป็วปุ ปิกรณ์ นดตัสุวดเสริ ปิท้ดามสุยของราง ดท้ ายของราง เพืนอ� อุป้ปอกรณ์ งกันตอุกลง ปกรณ์ตกลง นอกจากนั � เป็ มากมายเช่ 1) 1)Stopper สําหรัสํบานยั อ� ป้องกั ระใช้ วตัวบTerminal มีเพืขเพืนอ�นาดเล็ ั� นเปล่าและยัง 3) Marker เป็1)นแบบอิ Stopper สําหรัตบ่อเป็สํตัานหรั ปิเป็ดสุนดตัท้วปิายของราง ป้องกั กรณ์ 1) สStopper ดสุดท้ซึาง� ยของราง เพืนอ� อุกป้ปอและขนาดใหญ่ งกันอุตปกลง กรณ์ตกลง ให้ เลือกใช้ มีทงแบบแผ่ 1)stopper Stopper ววปิแบ่ ดสุางดงกลุ ท้ ายของราง ปสุกรณ์ Group ระหว่ ดท้ าตลยกลง ของแต่ละวงจรการทํ างาน และสามารถติ ดตัง� 2) 2)Group stopper สําหรัสํบสําเป็าหรัหรั นบตับวเป็แบ่นนตังตัระหว่ ม่ /าตังกลุ วปิ ดม่ เพืตั/วอ� ตัสุป้วดอปิท้งกัดานตัยอุวของแต่ ะวงจรการทํ างาน และสามารถติ ดตัง� / 2) Group stopper สํ า หรั บ เป็ น ตั ว แบ่ ง ระหว่ า งกลุ ม ่ ตั ว ปิ ด ตั ว สุ ด ท้ า ย ของแต่ ล ะวงจรการทํ า งาน และสามารถติ ด ตั ง � 2) Group stopper / สํ า หรั บ เป็ น ตั ว แบ่ ง ระหว่ า งกลุ ม ่ ตั ว ปิ ด ตั ว สุ ด ท้ า ย ของแต่ ล ะวงจรการทํ า งาน และสามารถติ ด ตั ง � สามารถสัง� พิมพ์ตLabel ามตั วเพือั�อก2)บอกสถานะแต่ ต� ้ อstopper งการได้ จาวงจรได้ าก�รงงาน Group หรั บม่ เป็/วงจรได้ นตัวแบ่งระหว่างกลุม่ /ตัวปิ ดตัวสุดท้ าย ของแต่ละวงจรการทํางาน และสามารถติดตัง� ละกลุลม่ สํ/ะกลุ Label เพื�รที �อบอกสถานะแต่ Label เพื �Label อบอกสถานะแต่ ล ะกลุ ม ่ / วงจรได้ เพื�อLabel บอกสถานะแต่ ละกลุม่ /ลวงจรได้ เพืมม �อบอกสถานะแต่ ะกลุซึ,ม่ ง� 1 /มีวงจรได้ เป็ น แบบอิ ส ระใช้ ต อ ่ ตั ว และขนาดใหญ่ ห้ เลือกกใช้ชุใบ มีเทCR+3 งแบบแผ่ ั � ตกใช้ าและยั 3) 3)าMarker Terminal x , x15 x5.5 4) ราง DIN ขนาดต่ งๆ เช่ น �� �.� 35 มม 5ขนาดเล็ มม ทักและขนาดใหญ่ � และขนาดใหญ่ ดใใเป็เหล็ หรืนนทเปล่ องแบบแผ่ วาไนซ์ เป็ น แบบอิ ส ระใช้ ต อ ่ ตั ว ขกและขนาดใหญ่ นาดเล็ กงชนิ ลืงแบบแผ่ ั � แบบกั เปล่ าและยั Marker Terminal ลากหลายชนิ ด ตามประเภทการใช้ ง านต่ า งๆ 3) Marker อ่ มีตัทมีวทงแบบแผ่ ง่ มีนงขล กง และง เป็ น แบบอิ ส ระใช้ ต อ ่ ตั ว ซึ ง � มี ขนาดเล็ ห้ เนลืแบบอิ อกใช้ ั � อกใช้ เปล่ าและยั งาานาดเล็ Terminal 3)มีหMarker นแบบอิเป็สนระใช้ ต่อสระใช้ ตัว Terminal ซึซึง� มีง� มีขกนาดเล็ ให้ เใสลืห้ห้มีระใช้ อเทลืกใช้ ั �มีTerminal นนซึเปล่ และยั 3) Marker แบบอิ ต อ ่ ตั ว ซึ ง � มี ข นาดเล็ ก และขนาดใหญ่ อ งแบบแผ่ ั � เปล่ และยั ง Terminal 3) เป็ Marker สามารถสั ง� พิมพ์Block ก�รที ้�รที องการได้งการได้ จ2.5 าก�รงงาน • Feed Through Terminal ส�วำอัหรั บวสายไฟขนาด จนถึ ง ขนาดใหญ่ให้เลือกใช้ มีทั้งแบบแผ่นเปล่าและยังสามารถสั่ง สามารถสั พิตพิมามตั อักต� งการได้ าก�รงงาน สามารถสั ง� พิมพ์ตง� ามตั �รที าก�รงงาน สามารถสั ง�สามารถสั มพ์วพ์ตอัตกามตั ามตั �รทีวต� อัต� ้ กอ้ อจ�รที งการได้ จจาก�รงงาน ง� พิมวพ์ต� อั้ตอกามตั ต� ้ องการได้ จาก�รงงาน 120 ตร.มม. พิ� มพ์ดตเหล็ ามตักวชุอับกษรที ่ต้อหรื งการได้ จากโรงงาน 4) ราง DIN ขนาดต่างๆ เช่น ��x�.� มม, 35x15 มม, 15x5.5 มม ทังชนิ CR+3 แบบกั ลวาไนซ์ 4)4)DIN ราง DIN ขนาดต่ างๆ นนา�� �.� มม 35มม มม, 1,มม 5, x5.5 � งชนิ ดดCR+3 เหล็ ชุบCR+3 บออCR+3 CR+3 อแบบกั ลวาไนซ์ x2.5 x15 15งชนิ 4) ราง ขนาดต่ งๆxxเช่ น �� �.� � ดชุบเหล็ หรือลอหรื แบบกั วาไนซ์ DIN ,,มม x15 ราง งๆ เช่�.� �� มม 35 มม 51x5.5 มมดมม ทัมมงชนิ � ทัขนาดต่ ก ชุเช่กกบนชุหรื หรื แบบกั วาไนซ์ ขนาดต่ าขนาดต่ งๆ เช่DIN xบเช่ มม ,�.� 35 x15 ,x15 1, ง535x5.5 มม ทั4) ราง � x5.5 เหล็ กทังชนิ แบบกั วาไนซ์ 4) ราง • Double Level Feed Through ส�นาำ�� หรั สายไฟขนาด จนถึ DIN าเหล็ งๆ 35x7.5 มม., 35x15ลมม., 15x5.5 มม . Terminal blocks ONKA จาก ได้ ผ า ่ นการทดสอบตาม 4 ตร.มม. ทั้งชนิดเหล็ก ชุบ CR+3 หรือแบบกัลวาไนซ์ ONKA ได้4ผจนถึ Terminal blocks ่านการทดสอบตาม • Ground Terminal Blockเพราะ�ะนั ส�ำหรับจาก สายไฟขนาด ตร.มม. มาตร�านสากลมากมาย นจึ � งONKA มัผจาก น� ่านการทดสอบตาม ได้ ถงผผึง35่า่านการทดสอบตาม ONKA Terminal blocks ได้ ผ่านการทดสอบตาม Terminal blocks จาก ได้ นการทดสอบตาม ONKA Terminal blocks จาก ได้ Terminal blocks ONKA จาก ได้ • Fuse Terminal Block ส�ำหรับสายไฟขนาด 6 ตร.มม. มาตร�านสากลมากมาย เพราะ�ะนั นจึ � ง มั น � ได้ ถึง นจึ เพราะ�ะนั � งมัน� ได้ ถึง • CT และคุ Testing Terminal Blockมาตร�านสากลมากมาย ส�ำตหรัภัเพราะ�ะนั บณ สายไฟขนาด 10 ตร.มม. เสถียรภาพ ณ ภาพของผลิ ฑ์ มาตร�านสากลมากมาย เพราะ�ะนั นจึ � มาตร�านสากลมากมาย เพราะ�ะนั นจึ � ง มาตร�านสากลมากมาย นจึ � ง มั น � ได้ ถ ึงมัมัน� น� ได้ได้ถถึง ึง เสถียรภาพ และคุณภาพของผลิตภัณฑ์

เสถียส�รภาพ และคุณภาพของผลิ ตภัณฑ์ • Test Terminal Block (Blade) ำหรั สายไฟขนาด ตร.มม. เสถียยและคุ รภาพ และคุ ภาพของผลิ ฑ์ฑ์ เสถียรภาพ ณและคุ ภาพของผลิ ตภัณฑ์ ตตภั6ภัณณ เสถี รภาพ ณณบภาพของผลิ • Stud Terminal Block ส�ำหรับสายไฟขนาด 25 จนถึง 240 ตร.มม.

Spring Terminal Block (ชนิดสปริง หรือ Push-In)

มีหลากหลายชนิดตามประเภทการใช้งานต่างๆ • Feed Through Terminal Block ส�ำหรับสายไฟขนาด 2.5 จนถึง 35 ตร.มม. • Feed Through Terminal Block 1 In 2 Out ส�ำหรับสายไฟขนาด 2.5 ตร.มม. • Feed Through Terminal Block 2 In 2 Out ส�ำหรับสายไฟขนาด 2.5 ตร.มม. • Double Level Feed Through Terminal Block ส�ำหรับสายไฟขนาด 2.5 จนถึง 4 ตร.มม. • Trible Level Feed Through Terminal Block ส�ำหรับสายไฟขนาด 2.5 จนถึง 4 ตร.มม. • Ground Terminal Block ส�ำหรับสายไฟขนาด 4 จนถึง 10 ตร.มม. • Fuse Terminal Block ส�ำหรับสายไฟขนาด 2.5 ตร.มม. • Test Terminal Block (Blade) ส�ำหรับสายไฟขนาด 2.5 ตร.มม. นอกจากนั้นยังมีอุปกรณ์เสริมมากมาย เช่น 1) Stopper ส�ำหรับเป็นตัวปิดสุดท้ายของราง เพือ่ ป้องกันอุปกรณ์ หลุดจากราง 2) Group Stopper ส�ำหรับเป็นตัวแบ่งระหว่างกลุ่ม/ตัวปิดตัว สุดท้าย ของแต่ละวงจรการท�ำงาน และสามารถติดตัง้ Label เพื่อบอกสถานะแต่ละกลุ่ม/วงจรได้

Terminal Blocks จาก ONKA ได้ผา่ นการทดสอบตามมาตรฐาน สากลมากมาย เพราะฉะนัน้ จึงมัน่ ได้ถงึ เสถียรภาพและคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์ นอกจาก Terminal ทีก่ ล่าวมาข้างต้น ONKA เองยังมีผลิตภัณฑ์ อื่นที่เกี่ยวข้องกับการต่อสายอีกจ�ำนวนมาก เช่น

1. Porcelain Terminal เป็นเทอร์มินอลส�ำหรับใช้ กับงานที่ต้องรับความร้อนสูง เช่น ใช้ส�ำหรับ Heater ในตู้อบ เป็นต้น

2. Mini Terminal Blocks เป็นเทอร์มินอลขนาดเล็ก ชนิดสปริง เหมาะส�ำหรับใช้ใน ตู้คอนโทรลขนาดเล็ก

3. Distribution Terminal Blocks เป็นเทอร์มินอลใช้ส�ำหรับ กระจายสายจากสายขนาดใหญ่ มาเป็นขนาดเล็กหลายเส้น

4. Cable Gland ท�ำจาก Polyamide ระดับ การป้องกันน�ำ้ และฝุน่ IP68 มีทงั้ สีขาว สีเทา และสีด�ำ ให้เลือก ใช้งาน

May-June 2019


Special Area

> บริษัท ออมรอน อีเล็คทรอนิคส์ จ�ำกัด

OEE ภายใต้ระบบ IoT เปิดทุกจุดความเป็นไปได้

Efficiency หรือ ประสิทธิภาพ ถูกจ�ำกัดใจความง่ายๆ คือ

สัดส่วนปริมาณผลลัพธ์เมือ่ เทียบกับวัตถุดบิ หรือทรัพยากรทีใ่ ช้ เช่น หากเครือ่ งจักรหนึง่ ผลิตสินค้าได้ 90 ชิน้ ในขณะทีต่ อ้ งป้อนวัตถุดบิ เพื่อผลิตถึง 100 หน่วย ประสิทธิภาพที่ปรากฏคือ 90% ทั้งนี้ 10% ที่ตกหล่นไป อาจมาจากของเสีย (Defects) เสีย 5 หน่วย อาจเป็น การสูญเสียในกระบวนการเสีย 5 หน่วย เป็นต้น นั่นคือความเข้าใจ อย่างง่าย หากในโรงงานไม่ได้มีเครื่องจักรเพียงเครื่องเดียว หรือ มีกระบวนการผลิตที่มีเครื่องจักรหลายชนิดท�ำงานต่อๆ กัน หรือ มีหลายผลิตภัณฑ์ในสายการผลิต การค�ำนวณประสิทธิภาพจะถูก ก�ำหนดอย่างไร ประสิทธิภาพโดยรวมนีถ้ กู เรียกว่า OEE (Overall Equipment Effectiveness) ซึ่งยังคงใช้วิธีการหาจากการน�ำวัตถุดิบ (รวมทั้ง ทรัพยากรอื่นๆ เช่น แรงงาน พลังงานไฟฟ้า ความร้อน เวลา) และ ผลผลิตทีไ่ ด้ (อาจเป็นสินค้าทีส่ ามารถจ�ำหน่ายได้ เน้นว่าไม่รวมสินค้ำ ที่มีต�ำหนิ ด้อยคุณภาพ) เข้ามาเปรียบเทียบกัน แน่นอนว่าหากเรำ สามารถค�ำนวณค่า OEE ได้อย่างแม่นย�ำ เราสามารถประเมินถึง ประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรอย่างแม่นย�ำเช่นกัน May-June 2019

IoT ตอบโจทย์อย่างไรในเรื่องนี้

หากจินตนาการว่าเราสามารถล่วงรูค้ า่ OEE ของการผลิตทัง้ โรงงานของเราที่มีค่าเท่ากับ 67% ซึ่งโรงงานของเราประกอบด้วย การผลิต 3 กระบวนการผลิตสินค้า 5 ชนิด มีคนงาน 3 กะ แล้วค�ำถาม ย้อนกลับมาก็คอื หากต้องการพัฒนาประสิทธิภาพแล้วองค์ประกอบ ไหนที่ควรได้รับการปรับปรุงบ้างและปรับปรุงอย่างไร ในความเป็นจริง OEE ของการผลิตโดยรวมไม่ได้คำ� นวณแบบ ตรงไปตรงมา เป็นคณิตศาสตร์ทซ่ี บั ซ้อนด้วยการค�ำนวณร่วมกันของ ข้อมูลหลากหลายประเภท เช่น วัตถุดบิ เวลา คนงาน สินค้าระหว่าง การผลิตมีตำ� หนิ ทัง้ ส่วนเวลาการท�ำงานของเครือ่ งจักรและการหยุด การท�ำงาน ต้นทุนการบ�ำรุงรักษา ซึง่ การค�ำนวณข้อมูลจ�ำนวนมาก ขนาดนี้เป็นไปไม่ได้ในยุคก่อนหน้านี้ ภายใต้ความสามารถของ IoT การเชือ่ มโยงของข้อมูลในระบบ Big Data เปิดความเป็นไปได้ในการเชื่อมโยงข้อมูลต่างชนิดอย่าง กว้างขวาง เราสามารถน�ำข้อมูลทุกส่วนในระบบมาค�ำนวณ เพื่อ มองเห็นในสิ่งที่ไม่เคยมีมำ


OEE กับแนวทางการพัฒนา ประสิทธิภาพ

OEE เป็ น ตั ว ชี้ วั ด ที่ มี ค วามหมายมาก ส�ำหรับการปรับปรุงการผลิต OEE ของโรงงานทีม่ ี เทคโนโลยีและประสิทธิภาพสูง ค่า OEE จะอยู่ ในช่วง 60-70% หากโรงงานทีม่ เี ครือ่ งจักรล้าสมัย มีปัญหาการหยุดการท�ำงานบ่อย สินค้ามีต�ำหนิ มาก โรงงานนั้นอาจมี OEE ต�่ำถึง 20-30% เลย ที่เดียว ความเป็นอุดมคติ (100%) นั้นเป็นไปได้ ยากมาก

ในปัจจุบันที่มีการแข่งขันรุนแรงการด�ำเนินกิจการที่มีผลก�ำไรเป็น ความท้าทาย หากการด�ำเนินการของกิจการอุตสาหกรรมมีกำ� ไรอยู่ 10% การขายสินค้าให้ได้กำ� ไรเพิม่ ขึน้ เป็น 12% นัน้ ท�ำได้ยากมาก แต่ถา้ เรามอง ย้อนกลับมาเรือ่ งการลดต้นทุน และประสิทธิภาพการผลิต การปรับปรุง OEE จาก 50% เป็น 60% มักมีความเป็นไปได้มากกว่า และอาจท�ำให้บริษทั เพิม่ ผลก�ำไรได้เป็นกอบเป็นก�ำ โดยมุ่งเน้นที่การลดในส่วนที่สูญหรือปรับปรุง จุดที่มีประสิทธิภาพต�่ำ การพัฒนา OEE นัน้ จึงต้องพิจารณาถึงประสิทธิภาพในหน่วยย่อย ทีป่ ระกอบเป็นหน่วยใหญ่ เช่น ในระดับเครือ่ งจักรในระดับขัน้ ตอนการผลิต ต่างๆ จ�ำแนกข้อมูลและวิเคราะห์ปญ ั หาเพือ่ ชีช้ ดั ถึงจุดทีม่ กี ารสูญเสียหรือ มีประสิทธิภาพต�ำ่ โดยการใช้ Indicator ทีส่ ามารถเจาะลึกลงถึงประสิทธิภาพ ในหน่วยย่อย ท�ำให้การพัฒนาประสิทธิภาพเป็นไปได้ และเข้าใจปัญหาอัน น�ำไปสูก่ ารปรับปรุงอย่างถูกจุดและแม่นย�ำ เช่น การสูญเสียประสิทธิภาพ โดยรวมมาจากเครือ่ งจักรบางตัวทีห่ ยุดท�ำงานบ่อยๆ เหตุทเี่ ครือ่ งจักรหยุด บ่อย เกิดจากเซนเซอร์บางตัวเสียเนือ่ งจากอยูใ่ กล้ความร้อน การระบุปญ ั หำ จนถึงต้นตอท�ำให้การแก้ไขเซนเซอร์ให้สามารถท�ำงานภายใต้ความร้อนจะ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมได้ทันที เป็นต้น

IoT สถาปัตยกรรมสำ�หรับ OEE

การพัฒนา IoT ในแนวทางทีถ่ กู ต้องท�ำให้การเข้าถึงข้อมูลการผลิต เป็นไปได้ในทุกระดับ ข้อมูลจ�ำนวนมากต้องถูกจัดเก็บเพื่อการน�ำมาคิด วิเคราะห์ได้ในฐานเดียวกัน (Big Data) สถาปัตยกรรมที่อ�ำนวยสิ่งเหล่านี้ ต้องเชื่อถือได้ เปิดกว้าง แต่มีความปลอดภัยในการเข้าถึงอย่างสูง ข้อมูล ที่น�ำมารวบรวมอาจรวมถึงข้อมูลเชิงคุณภาพ เช่น ภาพถ่ายจากกล้อง อุตสาหกรรม พร้อมค่าวัดคุณภาพต่างๆ เชือ่ มโยงกับกระบวนการผลิตใน รูปแบบ 4 M (Man Machine Method Material)

บทสรุป

หนึง่ ใน Indicator ทีส่ ำ� คัญในกระบวนการผลิตคือ OEE ซึง่ บนพืน้ ฐาน ของ IoT ท�ำให้นักอุตสาหกรรมสามารถเข้าถึง OEE ในองค์ประกอบย่อย อย่างเข้าใจ สามารถพัฒนาประสิทธิภาพอย่างมีเป้าหมาย การเชื่อมโยง ข้อมูลทีม่ คี วามหลากหลายและเปิดกว้างในรูปแบบ Big Data มีการจัดการ ข้อมูลและให้ความปลอดภัยดีเยี่ยม ท�ำให้ OEE มีความหมายมากกว่ำ ที่เคยมี และเป็นทางช่วยเพิ่มผลก�ำไร อยู่รอดในภาวะการแข่งขันสูง

เยี่ยมชมเว็บไซต์เกี่ยวกับ SYSMAC Studio ได้ที่ http://www.omron-ap.co.th/solutions/ sysmacstyle/index.html

หรืออุปกรณ์เกี่ยวกับระบบ IoT ที่เว็บไซต์ http://www.omron-ap.co.th/products/category/ automation-systems/networks/index.html May-June 2019


Special Area

> บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

เซอร์กิตเบรกเกอร์แรงดันต�่ำ (Low Voltage Circuit Breakers)

เป็นบริภัณฑ์ไฟฟ้าส�ำหรับเปิดปิดวงจรไฟฟ้าแรงดันต�่ำในภาวะปกติ และจะเปิดวงจรโดยอัตโนมัติเมื่อเกิดภาวะผิดปกติ  การใช้ก�ำลังเกิน (Overload)  การลัดวงจร (Short Circuit)

มาตรฐานของ CB ที่ส�ำคัญคือ

IEC 60947-2 “Low Voltage Swichgear and Controlgear, Part 2 Circuit Breaker” ส�ำหรับใช้ในงานอุตสาหกรรม ซึ่งสามารถปรับค่า Ic (คือ ความสามารถในการตัดกระแสไฟฟ้าลัดวงจรของอุปกรณ์ป้องกันได้อย่าง ปลอดภัย โดยไม่ทำ� ให้อุปกรณ์ป้องกันนั้นเสียหายหรือไหม้ลุกลาม) ได้ ชนิดของเซอร์กิตเบรกเกอร์แรงดันต�ำ่ (น้อยกว่า 1,000 Volt)  IEC 60898 “Circuit Breakers for Overcurrent Protection for Household and Similar Installations” ส�ำหรับที่ใช้งานกับบ้านที่อยู่อาศัย ใช้งานง่ายไม่ต้องมีการปรับตั้งค่าใดๆ มีพิกัดขนาดไม่เกิน 125AT ส่วนใหญ่เป็น CB ขนาดเล็ก ที่เรียกว่า Miniature Circuit Breaker (MCB) 

Technical Data

ประเภทของ CB

CB แบ่งตามลักษณะภายนอกและการใช้งาน Characteristics Curves ได้เป็น 3 ชนิด คือ 1. Miniature Circuit Breaker (MCB) 2. Molded Case Circuit Breaker (MCCB)

Magnetic Tripping

Thermal Tripping

As per

IEC/EN 60898-1

No Tripping

Tripping

Time

Hold

Trip

Time

Current

Current

Limits

Current

Current

Limits

I1

I2

t

I4

I5

t

≥1 h

3 x In

1.13 x In

≥0.1 s

B Curve <1 h

1.45 x In

5 x In

≥1 h

1.13 x In

<0.1 s

5 x In

≥0.1 s

C Curve

Miniature Circuit Breaker (MCB)

<1 h

1.45 x In

1.13 x In

เป็น CB ขนาดเล็ก ใช้ตดิ ตัง้ ในแผงจ่ายไฟ (Panelboard) และแผงจ่ายไฟของที่อยู่อาศัย (Consumer Unit)  เพื่อป้องกันวงจรย่อยของระบบไฟฟ้าของบ้าน ส�ำนักงาน  MCB สามารถท�ำตามมาตรฐาน IEC 60898  IEC 60898 Domestic, Unskilled People Tripping Characteristics

10 x In

≥1 h

<0.1 s

10 x In

≥0.1 s

D Curve

<1 h

1.45 x In

l3 = 2.55xln

20 x In

<0.1 s

1 s < t < 60 s for ln (In ≤ 32 A) 1 s < t < 120 s for ln (In > 32 A)

Based on the tripping characteristics, MCBs are available in 'B', 'C' and 'D' curve to suit different types of applications.

1,000.00

100.00

Time (sec.)

Tripping Characteristic Curve: for protection of electrical circuits with equipment ประเภท B > 3 In ถึง 5 In - 'B'thatใช้ สำ� หรั วงจรไฟฟ้ ทีไ่ ม่ม(lighting กี ระแสไฟกระโชก does notบcause surge า current and distribution circuits). Short circuit release is set to (3-5) In (Inrush Current) หรือเสิร์จสวิตชิง (Switching Surge) Curve: for บ protection of electrical circuits withกequipment ประเภท C > 5 In ถึง 10 In - 'C' ใช้ สำ� หรั วงจรไฟฟ้ าทัว่ ไปที อ่ าจมี ระแส that causes surge current (inductive loads and motor circuits). ไฟกระโชก (Inrush Current) เช่นShort ไฟแสงสว่ างฟลูisอsetอเรสเซนต์ circuit release to (5-10) In มอเตอร์เล็กๆ เครื่องปรับอากาศ เป็นต้น - 'D' Curve: for protection of electrical circuits which causes high inrushสcurrent, typically 12-15 the thermal rated current ประเภท D > 10 In ถึง 50 In ใช้ ำ� หรับวงจรไฟฟ้ าทีtimes ม่ กี ระแสไฟกระโชก (transformers, X-ray machines etc.) Short circuit release is set (Inrush Current) สูง เช่น เครื่อtoงเชื ่อม Inเครื่องเอกซเรย์ เป็นต้น (10-20)

10.00

1.00

B

0.10

C

D

0.01 1

May-June 2019

2

3

5

10

20

1.13 1.45

Multiples of Rated Current (x In)

30

100


Technical Data Characteristics Curves Magnetic Tripping

Thermal Tripping As per

IEC/EN 60898-1

No Tripping

Tripping

Time

Hold

Trip

Time

Current

Current

Limits

Current

Current

Limits

I1

I2

t

I4

I5

t

≥1 h

3 x In

1.13 x In

≥0.1 s

B Curve <1 h

1.45 x In

5 x In

≥1 h

1.13 x In

<0.1 s

5 x In

≥0.1 s

C Curve <1 h

1.45 x In

10 x In

≥1 h

1.13 x In

<0.1 s

10 x In

≥0.1 s

D Curve <1 h

1.45 x In

20 x In

<0.1 s

1 s < t < 60 s for ln (In ≤ 32 A) 1 s < t < 120 s for ln (In > 32 A)

l3 = 2.55xln

Tripping Characteristics Molded Case Circuit Breaker Based on the tripping characteristics, MCBs are available in 'B', (MCCB) 'C' and 'D' curve to suit different types of applications.

MCCB ขนาดมาตรฐาน (Standard CB)  ขนาดตั้งแต่ 125 AF ถึง 1600 AF  มี IC ให้เลือกใช้อยู่หลายระดับ  เป็น MCCB ที่มี IC ไม่สูงนัก เช่น 16 kA, 25 kA และ 35 kA  เหมาะส�ำหรับงานระบบไฟฟ้าขนาดเล็ก ขนาดปานกลาง

18

MCCB แบบ IC สูง (High Interrupting Capacity Circuit Breaker)  IC สูDevices งกว่า Standard CB HG มี Modular

1,000.00

100.00

Time (sec.)

เป็น CB ทีบ่ ริภณ ั ฑ์ตรวจจับและบริภณ ั ฑ์ตดั ต่ออยู่ - 'B' Curve: protection electrical circuits with ภายในวั สดุฉfor นวน ซึ่งท�ำด้วofยสารประเภทพลาสติ กแข็งequipment that does not cause surge current (lighting and distribution  มีตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ ใช้ส�ำหรับป้องกัน circuits). Short circuit release is set to (3-5) In ระบบไฟฟ้า ตั้งแต่วงจรย่อยสายป้อนถึงสายประธาน - 'C'และบริ ภัณforฑ์protection ไฟฟ้าด้วย of electrical circuits with equipment Curve: that causes current (inductive loads and motor MCCBsurge มี IC หลายขนาดให้ เลือกตามระบบไฟฟ้ ำ circuits). Short circuit release is set to (5-10) In  MCCB ขนาดมาตรฐาน (Standard CB)  MCCB แบบ IC สูง (High Interrupting Capacity Circuit - 'D' Curve: for protection of electrical circuits which causes high inrush Breaker) current, typically 12-15 times the thermal rated current  MCCB แบบจ�X-ray ำกัดกระแสลั ดวงจร Limiting (transformers, machines etc.)(Current Short circuit release is set (10-20) In toCircuit Breaker : CLCB)

10.00

1.00

B

0.10

C

D

0.01 1

2

3

5

10

20

30

1.13 1.45

Multiples of Rated Current (x In)

มีขนาดของ IC หลายระดับ ได้แก่ 25 kA, 35 kA, 50 kA, 65 kA และ 100 kA  MCCB แบบนี้ใช้ในที่ซึ่งมีกระแสลัดวงจรสูงเกินกว่าที่จะใช้ CB แบบ มาตรฐานได้ 

May-June 2019

100


MCCB แบบจ�ำกัดกระแสลัดวงจร (Current Limiting Circuit Breaker : CLCB)  เป็น CB ที่มี IC สูงมาก คือ 100 kA ถึง 200 kA ที่ 400/415 V  สามารถตัดกระแสลัดวงจรได้เร็วมาก คือภายในเวลา 5 ms  สามารถใช้ CB ขนาดเล็กที่มี IC ต�่ำในวงจรไฟฟ้า ซึ่งมีกระแสลัดวงจร สูงกว่า IC ของ CB ได้ โดยมี CLCB คุมอยู่ต้นทาง (Upstream)  Cascade Protection หรือ Back Up Protection

Air Circuit Breaker (ACB) เป็น CB ขนาดใหญ่ มีพิกัดกระแสต่อเนื่องสูง คืออาจมีตั้งแต่ 630 A ถึง 6300 A  เป็นแบบเปิดโล่ง (Open Frame) กล่าวคือ มีบริภัณฑ์และกลไกอยู่เป็น จ�ำนวนมาก และติดตั้งอย่างเปิดโล่งเห็นได้ชัดเจน  มีพิกัด Icw, Utilization Category B  ใช้ส�ำหรับป้องกันสายประธานและสายป้อนของระบบไฟฟ้า 

จุดเด่น  Ics = 100% Icu  Pollution Degree : สามารถน�ำไฟฟ้า แม้มลภาวะระดับ 3  Rated Insulation Voltage (Ui) : 1,000 V  Rated Impulse Withstand Voltage (Uimp) : 8 kV  Rated Operational Voltage (Ue) : Up to 690 V, Rated Current : 3A Up to 1,600 A  Rated Breaking Capacity : Up to 150 kA  Tripping Device : Adjustable Thermal and Electronic  ได้ รั บ การออบแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ Breaker ยอดเยี่ ย มจาก IF AWARD ในปี 2016 ทัง้ VCB, ACB, MCCB จนถึง ปัจจุบนั ยังไม่มผี ลิตภัณฑ์ทเี่ ป็น Breaker รายใดได้รบั รางวัลนี้  การติดตั้งมีหลากหลายรูปแบบ อาทิ Fixed, Plug-In หรือ Withdrawable  มีขนาดกะทัดรัด ประหยัดเนื้อที่ติดตั้ง  อุปกรณ์เสริมมีหลากหลาย ติดตั้งได้ง่าย  มีประสิทธิภาพสูง ผลิตด้วยวัสดุที่มีคุณภาพ  สามารถติดตั้งได้ทั้งแบบยึดสกรูและแบบติดบนราง  การเข้าสายมีให้เลือกทั้งแบบสกรูและบัสบาร์  มีแผ่นกั้นระหว่างเฟสมาให้ทุกรุ่น  สามารถป้อนไฟได้สองทิศทาง (Reverse Feeder)  มีช่องส�ำหรับเสียบในการทดสอบการลัดวงจร Standard : IEC 60947-2, NEMA AB-1, KS C 8321 Approval & Certificate : CE, KEMA, KERI KS, GOST-R, CCC, TSE KR, LR, ABS, BV, NK, GL

เป็นอุปกรณ์ที่สามารถทนต่อกรดและการกัดกร่อนได้ดี เพราะว่า เซอร์กิตเบรกเกอร์ของ Hyundai ได้ผลิตตามมาตรฐานเดียวกันทั้งบนบก และในทะเล อีกทัง้ อุปกรณ์ทใี่ ช้ในทะเลจะต้องมีคา่ กระแสลัดวงจรสูง (Icu) เพราะว่ามีพื้นที่จ�ำกัดในการเดินสายไปยังจุดต่างๆ ซึ่งท�ำให้ต้องมี การเผื่อค่ากระแสลัดวงจร (Icu) ไว้สูงเช่นกัน ท�ำให้ลูกค้าสามารถไว้วางใจ ได้วา่ จะได้รบั ค่ากระแสลัดวงจร (Icu) ทีส่ งู ในราคาทีค่ มุ้ ค่า และสามารถน�า ไปใช้ในงาน Industrial, Office & Residence, Building ได้อย่างมั่นใจ เพราะผ่านการใช้กับงานอุตสาหกรรมที่หนักมาแล้วทั้งสิ้น อาทิ แท่นขุดเจาะน�ำ้ มันกลางทะเล (Off Shore) อุตสาหกรรมอูต่ อ่ เรือ (Ship Yards) โรงไฟฟ้า (Power Plants) โครงสร้างพืน้ ฐานคมนาคม (Infrastructure) พลังงาน ทางเลือก (Solar Plant) May-June 2019

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 22/26 ถนนสุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2002-4395-97 แฟกซ์ 0-2002-4398 E-mail : ejlee@tdpowertech.com, lalida@tdpowertech.com


IT Article

> บริษัท อาร์เอ็มไอ โกลบัล เวนเจอร์ส จ�ำกัด

RMI ปลุกกระแส

การใช้ซอฟต์แวร์ไทย และปัญหาลิขสิทธิ์

ปัญหาลิขสิทธิ์การใช้ซอฟต์แวร์ทุกวันนี้ คือเรื่องซอฟต์แวร์ ที่ถูกต้องตามลิขสิทธิ์เป็นปัญหาใหญ่สำ� หรับทุกองค์กร โดยเฉพาะ เรื่องของงบประมาณและความปลอดภัยของข้อมูล ถ้าใช้ของถูก ลิขสิทธิ์ก็ต้องใช้งบประมาณสูง ถ้าใช้ของเถื่อนก็เสี่ยงต่อไวรัสและ การขโมยข้อมูล ปัจจุบันอัตราการใช้ซอฟต์แวร์โดยไม่มีลิขสิทธิ์ใน ประเทศไทยยังสูงติดอันดับ 3 ในกลุม่ ประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจากเวียดนามที่อยู่ในระดับ 74% และอินโดนีเซีย 83% ขณะที่ สิงคโปร์ มาเลเซีย และฟิลปิ ปินส์ ยังมีอตั ราการใช้ซอฟต์แวร์โดยไม่มี ลิขสิทธิ์ต�่ำกว่าประเทศไทยในอัตรา 27%, 51%, 64% ตามล�ำดับ บริษัท อาร์เอ็มไอ โกลบัล เวนเจอร์ส จ�ำกัด ปลุกกระแส การใช้ซอฟต์แวร์ไทยและปัญหาลิขสิทธิ์ เรียกร้องให้ทุกองค์กรทั้ง ภาครัฐและเอกชนหันมาใช้ซอฟต์แวร์ท่ีมีไลเซนส์ เผยซอฟต์แวร์ ส�ำนักงาน ThaiWPS สามารถตอบโจทย์ให้กบั คนไทยได้อย่างง่ายดาย ณัฐกิตติ์ บุญยวิสฐิ โภคิน รองประธานฝ่ายขายและบริหาร บริษัท อาร์เอ็มไอ โกลบัล เวนเจอร์ส จ�ำกัด กล่าวว่า จากความ ร่วมมือกับบริษัท Kingsoft Corp จากประเทศจีน ซึ่งมีระบบดาต้า เซ็นเตอร์ คลาวน์ (Data Center Cloud) ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศจีน และยังเป็นผู้น�ำทางเทคโนโลยีในด้านอุปกรณ์ IoT และสมาร์ทโฟน (Smart Phone) ภายใต้แบรนด์ Xaiomi ได้จับมือร่วมกับบริษัท RMI Global Ventures ร่วมกันพัฒนาซอฟต์แวร์สำ� นักงานที่ชื่อว่า “ThaiWPS” ขึ้น ณัฐกิตติ์ กล่าวเพิม่ เติมว่า ในปัจจุบนั ประเทศไทยก�ำลังพัฒนา ไปสูย่ คุ ระบบเศรษฐกิจดิจทิ ลั เช่นเดียวกับประเทศอืน่ ๆ ท�ำให้มคี วาม ต้องการใช้งานเทคโนโลยี โดยเฉพาะซอฟต์แวร์มากยิง่ ขึน้ องค์กรต่างๆ จึงจ�ำเป็นต้องมีการบริหารจัดการการใช้งานซอฟต์แวร์เช่นเดียวกับ สินทรัพย์ประเภทอืน่ ๆ ขององค์กร โดยเฉพาะในเรือ่ งของการบริหาร จัดการสินทรัพย์ซอฟต์แวร์ พบว่าองค์กรธุรกิจทุกขนาดตั้งแต่ธุรกิจ

ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ไปจนถึงขนาดเล็กหรือ SME กลุ่มธุรกิจ อุปโภคบริโภค รวมไปถึงบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ยังมี อยู่จ�ำนวนมาก ยังมีการใช้ซอฟต์แวร์ท่ีไม่มีลิขสิทธิ์ โดยทุกวันนี้ มีซอฟต์แวร์ส�ำนักงาน หรือที่เราเรียกกันว่า Office Software อยู่ มากมายหลายยี่ห้อ มีทั้ง Freeware หรือ Open Source และก็มีทั้ง ทีเ่ ป็นแบบเสียเงินซือ้ เป็นไลเซนส์ ซึง่ มีหลากหลายเจ้า สถานการณ์ใน เวลานี้ คือของฟรีแต่ไม่ดี ของดีมรี าคาแพงมาก ตลาดก�ำลังต้องการ ทางเลือกทีเ่ ป็นของดีราคาพอเหมาะ แต่ในเมือ่ ของดีมรี าคาแพงมาก ท�ำให้ผใู้ ช้บริการหรือลูกค้ารายไม่ใหญ่ เช่น กลุม่ SME ต่างๆ ไม่มกี ำ� ลัง พอที่จะซื้อ ก็เลยเริ่มมีการใช้ซอฟต์แวร์ที่ผิดลิขสิทธิ์ และก็ใช้กันมา เรือ่ ยๆ จนกลายเป็นวัฒนธรรม หรือบางคนไม่รดู้ ว้ ยซ�ำ้ ว่าซอฟต์แวร์ ส�ำนักงานพวกนีต้ อ้ งเสียเงินซือ้ เพราะฉะนัน้ ทาง ThaiWPS จึงได้นา� ซอฟต์แวร์สำ� นักงานมาช่วยตอบโจทย์ในส่วนนี้

May-June 2019


ณัฐกิตติ์ กล่าวอีกว่า ซอฟต์แวร์ ThaiWPS มีราคาที่ สมเหตุสมผลกับการใช้งาน เพราะเป็นซอฟต์แวร์ทร่ี ว่ มพัฒนา โดยคนไทย ท�ำให้เราเข้าใจผูใ้ ช้งานไทยอย่างถ่องแท้ สามารถ ปรับแต่งได้ ยกตัวอย่างเช่น เรามี Template ให้กับหน่วยงาน ราชการให้ท�ำงานได้ง่ายขึ้นในราคาที่ประหยัด จุดเด่นและ ลักษณะเด่นของซอฟต์แวร์ ThaiWPS มีหลักส�ำคัญ 3 ประการ คือ 1. ไม่ตอ้ งเรียนรูใ้ หม่ เนือ่ งจากเราท�ำส่วนต่อประสานงาน กับผูใ้ ช้ (User Interface) หรือหน้าตาให้เข้ากับความคุน้ ชินของ ผู้ใช้งาน ติดตั้งแล้วใช้งานได้เลย 2. มีขนาดเล็กกว่าและเร็วกว่า ด้วยความที่ซอฟต์แวร์ เรามีขนาดทีเ่ ล็ก ไม่กนิ สเปคเครือ่ ง ท�ำให้เราท�ำงานได้เร็วกว่า 3. มีฟังก์ชันการใช้งานพิเศษที่ได้จากการวิจัยและ พัฒนา ช่วยให้ผู้ใช้ทำ� งานได้ง่ายและเร็วขึ้น ด้าน กนกชนา เพ็ชรรัตน์ รองประธานฝ่ายการตลาด และกลยุทธ์ บริษัท อาร์เอ็มไอ โกลบัล เวนเจอร์ส จ�ำกัด กล่าวว่า ปัจจุบนั เรามีการขับเคลือ่ นด้านการตลาด โดยการเสนอ ให้ลกู ค้าได้ทดลองใช้ฟรี 60 วัน นอกเหนือไปจากนัน้ เราสามารถ พัฒนาเพิม่ เติมให้ได้ ในกรณีทล่ี กู ค้าต้องการน�ำไปประยุกต์ใช้ กับซอฟต์แวร์อนื่ ๆ เช่น ERP/Document Management เป็นต้น โดยซอฟต์แวร์สำ� นักงาน ThaiWPS เราได้ทำ� การก�ำหนดขึน้ เอง และน�ำมาแก้ไขพัฒนาให้ดีขึ้น (Customized/Modified) จาก การใช้งานจริงของคนไทย จะเห็นได้ว่าซอฟต์แวร์ส�ำนักงาน ในเวอร์ชนั เดิมๆ ทีใ่ ช้ในต่างประเทศ กับในเวอร์ชนั ThaiWPS จะแตกต่างกัน โดยเราศึกษาพฤติกรรมการใช้งานก่อน โดย ได้รับความร่วมมือจากภาครัฐในการแนะน�ำมาตรฐานต่างๆ เช่น การใช้ฟอนต์ไทยสารบัญ ฟอร์มการใช้งานต่างๆ ที่ทาง ราชการใช้ เรามีให้หมด และหากองค์กรนัน้ ทัง้ องค์กรมีความ ต้องการพืน้ ฐานทีแ่ ตกต่าง เราก็ทำ� การพัฒนาปรับให้เป็นพิเศษ เช่น ถ้าบันทึกภายในมีตราราชการต่างๆ เราก็ทำ� เตรียมไว้ให้ เฉพาะหน่วยราชการนัน้ ๆ โดยเน้นย�ำ้ ค�ำว่า “ซอฟต์แวร์สำ� นักงาน เพื่อคนไทย” ซึ่งมีฟังก์ชันหลายอย่างที่ซอฟต์แวร์ส�ำนักงาน แบรนด์อื่นไม่มี เช่น การจัดหน้ากระดาษ แปะแต่งรูปต่างๆ ระบุสขี อง Eye Dropper ได้อตั โนมัติ โดยเอาเมาส์ไปจ่อไว้ทส่ี ี และยังมีอนื่ ๆ อีกมากมาย เราใส่ใจความต้องการของคนไทย โดยเฉพาะ กนกชนา กล่าวทิง้ ท้ายว่า การใช้ซอฟต์แวร์ไม่มลี ขิ สิทธิ์ มีผลเสียต่อเศรษฐกิจโดยรวม เพราะจะมีเรือ่ งของภาษีตามมา รัฐจะสูญเสียรายได้เก็บภาษีจากซอฟต์แวร์ท่ีถูกต้อง อีกทั้ง กรณีทเ่ี กิดภัยไซเบอร์ขนึ้ สามารถประเมินว่าจะต้องมีคา่ ใช้จา่ ย ในการแก้ไขคอมพิวเตอร์ท่ีติดมัลแวร์ถึงเครื่องละ 10,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งองค์กรต่างๆ ทั่วโลกต้องเสียค่าใช้จ่าย May-June 2019

Product Support

เกือบ 359,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อปี เพื่อแก้ไขปัญหามัลแวร์ ทีม่ าพร้อมกับการใช้งานซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธิ์ การบริหารจัดการ การใช้ซอฟต์แวร์อย่างถูกต้องเหมาะสม คือตัวช่วยลดต้นทุนการท�า ธุรกิจ ท�ำให้องค์กรสามารถประหยัดงบประมาณด้านซอฟต์แวร์ ประเภทเดียวกันนี้ในแต่ละปีได้มากถึง 30% หากมีวิธีการบริหาร จัดการซอฟต์แวร์และการเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่ดี


RMI Awakens

the Use of Thai Software and Copyright Issues Software license issues today is that copyright is a big problem for every organization, especially when it comes to budget and data security. Using licensed software will cost a loT, but using pirated one is vulnerable to viruses and hackers. At present, the number of unlicensed software in Thailand is still ranked third among the Southeast Asian countries, after Vietnam with 74% and Indonesia with 83%, while the unlicensed software usage for Singapore, Malaysia, and the Philippines is 27%, 51%, 64% respectively. RMI awakens the use of Thai software and copyright issues, calling for all organizations, both public and private to use licensed software and revealing ThaiWPS office software can easily answer to Thai’s need. Mr.Nuttakit Boonyawisitpokin, Vice President of Sales and Management, RMI Global Ventures Co., Ltd. said that Thailand is taking a step forward into a digital economy era along with other countries so the need for technology, especially software, is increasing, and organizations need to manage their software assets as well as other types of assets. However, many businesses, from large to small businesses, SME, or even listed companies in the stock market, still use software with no license. Today, there are several of what we call “Office Software” which have both freeware or Open Source, and paid ones. What happens now is that the freeware is not good enough, and the good ones are too expensive. The market is looking for an alternative at a reasonable price. When good software is too expensive, middle to small size organization or SMEs cannot afford them, so they tend to use pirate software instead of a license one. And they have been using them continuously until now that some people do not even realize that this office software needs to be paid for. Therefore, ThaiWPS has brought the office software to help solve this problem. Mr.Nuttakit said that ThaiWPS software has a reasonable price because it is developed by Thai, enabling us to fully understand Thai users and is able to be customized. For example, we have a template for government agencies, so they can work more easily at saving price. The highlights and features of the ThaiWPS software are 3 important principles:

1. The user interface looks familiar so users can install and use immediately. 2. The software is smaller and faster and does not consume too many resources. 3. Special usage functions are available due to research and development, enabling users to work easier and faster. Ms.Kanokchana Petcharat, Vice President of Marketing and Strategy, RMI Global Ventures Co., Ltd. said that at present, we are offering customers a free 60-day trial. In addition, if customers want to apply to other software such as ERP/ Document Management, the software can be customized. ThaiWPS office software is developed by Thai and can be customized or modified based on the usage of Thai users to serve their needs. The difference can be seen when comparing the software in an international version with ThaiWPS version since we study user behavior first by receiving cooperation from the government in introducing various standards such as using Thai fonts and various template that is used in government organizations. We provide all that is needed and if the organization has different needs, special adjustments such as official seals are available. We want to emphasize the words “Office software for Thai people”, which offers many unique functions such as; Indent arrangement and paste various images, Automatically specify the color of the Eye Dropper when pointing Mouse to the color., There are many other things because we care about the needs of Thai people particularly. Ms.Kanokchana concluded that using unlicensed software has a negative effect on the overall economy because there will be a consequence of tax. The state will lose tax revenue from the licensed software. And the damage from a cyber threat such as malware infection can cost up to 10,000 US dollars per device, which organizations around the world have to spend almost 359 billion US dollars per year to fix the malware problem that comes with using pirated software. Proper management of software usage and good software choice is the key to help reduce the cost of doing business, enabling the organization to save up to 30% of the budget each year. May-June 2019


IT Technology

> Regional Corporate Innovation Accelerator

RISE เปิดตัวโปรแกรม Accelerator

เป็นครั้งแรกใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Regional Corporate Innovation Accelerator : RISE สถาบัน เร่งสปีดนวัตกรรมองค์กรระดับภูมภิ าคทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เปิดตัวโปรแกรม AI Accelerator เป็นครัง้ แรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งเป็นโปรแกรมเร่งสปีดการน�ำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence (AI) มาใช้ในองค์กร มุง่ เน้นให้เกิดผลลัพธ์ทางธุรกิจทีจ่ บั ต้องได้ และสามารถตอบโจทย์ขององค์กรชัน้ น�ำในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ RISE.AI เป็นโปรแกรมเร่งสปีดนวัตกรรมในด้าน AI ส�ำหรับองค์กร โดย RISE ท�ำงานร่วมกับเครือข่ายพาร์ทเนอร์ที่ครอบคลุมทั้งในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และทั่วโลก โดยใช้ความเชี่ยวชาญของ RISE ใน การน�ำ AI มาใช้เพือ่ พัฒนานวัตกรรมองค์กร เพือ่ มุง่ เน้นให้เกิดผลลัพธ์ทเ่ี ป็น รูปธรรมและน�ำไปใช้ได้จริง ด้วยการเชื่อมต่อแนวคิดเชิงนวัตกรรมเข้ากับ แนวทางปฏิบัติที่ประยุกต์ใช้ได้ในการเร่งสปีดการพัฒนาเทคโนโลยี AI โปรแกรม RISE.AI นี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมสตาร์ทอัปที่มี นวั ต กรรม AI ที่ ดี ที่ สุ ด จากทั่ ว โลก และผู ้ เชี่ ย วชาญด้ า นเทคโนโลยี ปัญญาประดิษฐ์มาร่วมกันพัฒนาโครงการน�ำร่องต่างๆ กับบริษัทชั้นน�า ในภาคธุรกิจต่างๆ เช่น การเงิน&การธนาคาร ประกันภัย พลังงาน และ เทคโนโลยีสะอาด เป็นต้น องค์กรชัน้ น�ำในประเทศไทยทีเ่ ข้าร่วมโปรแกรมนี้ ได้แก่ บริษัท ปตท. ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) (ปตท.สผ) May-June 2019

บริษัท เอไอ แอนด์ โรโบติกส์ เวนเจอร์ส จ�ำกัด ธนาคาร กรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) และส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจ ดิจิทัล (depa) โดยโปรแกรมนี้จะจัดขึ้นในช่วงเดือนเมษายนกันยายน พ.ศ. 2562 ณัฐภัทร ธเนศวรกุล Head of Ventures ของ RISE กล่าวว่า เทคโนโลยีปญ ั ญาประดิษฐ์จะเป็นตัวขับเคลือ่ นหลัก ที่ช่วยกระตุ้นการเติบโตของจีดีพีโดยรวมของประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งการจัดตั้งวัฒนธรรม ที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูลใน องค์กรธุรกิจ จะช่วยให้ องค์กรระดับภูมิภาค ต่างๆ สามารถปรับ กลยุทธ์ทางธุรกิจ ให้เหมาะสมและ ยกระดับผลิตภัณฑ์ และบริ ก ารต่ า งๆ เพื่อน�ำไปสู่การเติบโต ณัฐภัทร ธเนศวรกุล ทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน ขณะนีอ้ ตุ สาหกรรมของ AI ก�ำลังเติบโตและมีผลกระทบ อย่างมากต่อทั้งธุรกิจและสังคม ซึ่งการเพิ่มขึ้นของการใช้ ปัญญาประดิษฐ์กอ่ ให้เกิดการปรับเปลีย่ นและพัฒนามากมาย ในอุตสาหกรรมต่างๆ ท�ำให้องค์กรเปลีย่ นแนวทางการด�ำเนิน ธุรกิจ ปฏิรปู วิธกี าร เปลีย่ นแปลงสภาพแวดล้อม เพือ่ ให้องค์กร สามารถท�ำธุรกิจของตนเอง และแข่งขันในเศรษฐกิจโลกได้ ดังนั้น ธุรกิจต่างๆ จึงจ�ำเป็นต้องน�ำเทคโนโลยีใหม่มาใช้ใน การรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว และสร้างโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ เพื่อช่วยเสริมสร้างความ สามารถในการแข่งขันและเพิ่มรายได้ให้สูงขึ้น


อีกทัง้ จากข้อมูลวิจยั ของ McKinsey ได้ระบุวา่ การปรับใช้ AI จะส่งผลท�ำให้กำ� ไรของธุรกิจต่างๆ ในทุกภาคธุรกิจเพิม่ ขึน้ อย่างมาก ในปี พ.ศ. 2578 โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการศึกษา การให้บริการ ทีพ่ กั &อาหาร และการก่อสร้าง ซึง่ คาดว่าจะเพิม่ สูงขึน้ มากกว่า 70% นอกจากนี้ มีการคาดว่าการใช้ AI ในธุรกิจค้าส่งและค้าปลีก การเกษตร ป่าไม้ การประมงและการดูแลสุขภาพจะท�ำให้ผลก�ำไรเพิม่ ขึน้ มากกว่า 50% รวมทัง้ เมือ่ พิจารณาถึงความได้เปรียบจากการน�ำ AI มาใช้ใน ตลาดก่อนคู่แข่งขัน ในขณะนี้ธุรกิจต่างๆ มีความกระตือรือร้นที่จะ พัฒนาขีดความสามารถด้าน AI ของตนเองเพือ่ สร้างความได้เปรียบ ในการแข่งขันดังกล่าว “อย่างไรก็ตาม การน�ำ AI มาใช้นั้นจะต้องใช้เวลานานและ มีค่าใช้จ่ายสูง บริษัทส่วนใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก�ำลัง เผชิญหน้ากับปัญหาทรัพยากรไม่เพียงพอในการพัฒนาเทคโนโลยี AI ภายในองค์กร และยังไม่สามารถเข้าถึงนักพัฒนา AI ทั่วโลกได้ อีกด้วย สภาพแวดล้อมเหล่านี้ คือเหตุผลว่าท�ำไมโปรแกรม RISE.AI จึงถูกออกแบบให้เชือ่ มโยงกับองค์กรต่างๆ และนักพัฒนา AI ทัว่ โลก ทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมาะสมเข้าไว้ดว้ ยกัน เพือ่ ร่วมกันท�ำงานทีม่ ศี กั ยภาพ และรักษาความสามารถในการแข่งขันในเศรษฐกิจโลกทีก่ ำ� ลังมีการ เปลี่ยนแปลง” ณัฐภัทร กล่าว ด้าน ธนา สราญเวทย์พนั ธุ์ ผูจ้ ดั การอาวุโสสายงานบริหาร เทคโนโลยีและองค์ความรู้ ปตท.สผ กล่าวว่า “ปตท.สผ ได้ ว างแผนในการน� า เทคโนโลยี AI มาใช้ใน หลายส่ ว นที่ ส� ำ คั ญ ของ องค์กร เพื่อยกระดับการ ด�ำเนินธุรกิจขององค์กร ทางเรา รู้สึกตื่นเต้นที่จะเข้ามาเป็นหนึ่ง ธนา สราญเวทย์พันธุ์

RISE, the largest regional corporate innovation accelerator in Southeast Asia

ในพันธมิตรที่มีส่วนร่วมอย่างเป็นทางการของโปรแกรม RISE.AI ทีจ่ ะช่วยให้ ปตท.สผ ค้นหาสตาร์ทอัปทีด่ ที ส่ี ดุ จากทัว่ โลกมาผลักดัน นวัตกรรมองค์กรด้าน AI” RISE.AI เป็นโปรแกรมเร่งสปีด AI ที่ช่วยให้องค์กรต่างๆ สามารถเข้าถึงแหล่งคอมมูนติ ้ี AI ทัว่ โลก โดยโปรแกรมนีจ้ ะคัดเลือก สตาร์ทอัปจากความสามารถในการแก้ไขปัญหาในโจทย์ทไ่ี ด้รบั จาก แต่ละองค์กร ทัง้ นี้ สตาร์ทอัปด้าน AI ทัง้ หมดทีไ่ ด้รบั คัดเลือกให้เข้า ร่วมโปรแกรม จะมีโอกาสเข้าร่วมแคมป์เพือ่ ร่วมกันพัฒนาโครงการ น�ำร่องต่างๆ เป็นเวลา 9 สัปดาห์ กับพันธมิตรองค์กรชั้นน�ำต่างๆ ของ RISE และรับการให้คำ� ปรึกษาส่วนตัวจากผูเ้ ชีย่ วชาญด้าน AI จาก New York University Tandon Future Labs เพื่อท�ำให้มั่นใจได้ว่า ในโครงการที่สร้างขึ้นภายในกรอบเวลาของโปรแกรมมีศักยภาพ ระดับสากล นอกจากนัน้ ด้วยโปรแกรมการประเมินเชิงกลยุทธ์และการให้ ค�ำปรึกษาจากพันธมิตรผู้เชี่ยวชาญของ RISE.AI จะท�ำให้ RISE.AI เป็นแพลตฟอร์มทีม่ แี นวโน้มในการพัฒนา AI ขององค์กรในภูมภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้สำ� เร็จ ซึง่ โปรแกรมดังกล่าวได้เปิดตัวอย่าง เป็นทางการแล้วในเดือนเมษายน พ.ศ. 2562 โดยมีแผนทีจ่ ะจัดงาน โรดโชว์ในเมืองใหญ่ 10 แห่งทัว่ เอเชีย ได้แก่ กรุงเทพฯ สิงคโปร์ โตเกียว โฮจิมินห์ ปักกิ่ง หางโจว เซินเจิ้น ฮ่องกง โซล และไทเป RISE เป็นสถาบันเร่งสปีดนวัตกรรมองค์กรระดับภูมิภาค ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยบริษทั มีสว่ นร่วม ในการส่ ง เสริ ม สภาพแวดล้ อ มนวั ต กรรมให้ กั บ องค์ ก รธุ ร กิ จ ใน ประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างศูนย์กลางระดับโลกส�ำหรับนวัตกรรมองค์กรในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้

RISE.AI is the most comprehensive corporate AI innovation program in Southeast Asia, using RISE’s global network and expertise to create an outcome-driven innovative platform that bridges the gap between innovative concepts and applicable practices in accelerating the development of AI technology. The program aims to gather best-in-class AI startups who specialize in artificial intelligence technology with initial market traction to jointly develop pilot projects with leading corporates in various sectors such as Finance & Banking, Insurance, Energy and Clean Technology, etc. The leading corporates in Thailand who joined the program include PTT Exploration and Production Public Company Limited (PTTEP), AI & Robotics Ventures Co., Ltd. (ARV), Bank of AYUDHYA Public Co., Ltd. (Krungsri) and the Digital Economy Promotion Agency (DEPA). The program will take place in Bangkok during April-September 2019. May-June 2019


According to Nattapat Thanesvorakul, Head of Ventures at RISE, artificial intelligence technology will be a major driver that boosts overall GDP growth of Thailand and Southeast Asia region. An establishment of a data-driven culture in a business organization will enable regional corporates to optimize key business decisions and enhance core products and services leading to sustainable economic growth. He added, “AI’s industry is now growing and creating profound effects on both business and society. The rise of artificial intelligence creates substantial improvement across industries, transforming the way companies do their business and changing the competitive landscape in the global economy. Therefore, businesses are necessary to adopt new technology in order to cope with rapid technological changes and creates new business opportunities that strengthen competitiveness and maximize revenue.” According to the reserach by McKinsey, the adoption of AI will result in substantial increase in profitability of businesses in all sectors by 2035, particularly in Education, Accommodation & Food Service and Construction, which is expected to rise more than 70%. Additionally, the utilization of AI in wholesales and Retails, Agriculture, Forestry, Fishing and Healthcare sectors are expected to raise profitability for more than 50%. Considering the advantage of first-mover in AI adoption, businesses are now keen to develop their AI capabilities to capture such a competitive advantage. “However, the adoption of AI is time-consuming and costly. Most corporates in SEA region are facing insufficient resources in developing AI technology within the organization, and also have no access to global AI developers. This is why RISE.AI is designed to link corporates and qualified global AI developers in creating potential synergies that will allow them to survive and remain competitive in the changing global economy.” said Nattapat.

May-June 2019

According to Thana Slatvetpan, VP of PTTEP Technology and Knowledge Management, “As PTTEP is planning to leverage AI technology in many key areas of the organization in order to enhance PTTEP business operations, we are excited to be one of the official engaging partners of RISE.AI, which will enable PTTEP to explore best-in-class AI startups around the world.” RISE.AI is the Corporate AI Accelerator program that allows corporates to access to a pool of global AI community partners. The program selects startups based on the ability to address corporates’ problem statements. All AI startups, selected to participate the program, will have an opportunity to join the camp to co-develop nine-week pilot projects with our leading corporate partners and receive personalized mentorship from our AI experts (New York University Future Lab), to ensure deliverables within the timeframe of the program. With strategic assessment and mentorship program from RISE.AI expert partners, this makes RISE.AI the promising platform in Corporate AI development in SEA. The program will be officially launched in April 2019, with the plan to organize roadshow in 10 major cities across Asia, which include Bangkok, Singapore, Tokyo, Ho Chi Minh City, Beijing, Hangzhou, Shenzhen, Hong Kong, Seoul, and Taipei. RISE is the largest regional corporate innovation accelerator in Southeast Asia. The company engages in promoting corporate innovation environment to business organization in Thailand and Southeast Asia with an aim to establish Southeast Asia as the global hub for corporate innovation. See our latest innovation ecosystem building activities at

www.riseaccel.com


Wurth Elektronik offers PLCC-RGB-LEDs For Sophisticated Lighting Solutions Würth Elektronik presents the WL-SFTW and WL-SFTD series of new RGB LEDs that are ideal for accent and decorative lighting, optical displays as well as industrial applications. Thanks to their PLCC contacting design, the two series of individually controllable LEDs are ideally suited for SMT assembly and reflow soldering. The WL-SFTW series offers three different standard packaging designs: 3528 with four pins as well as 3528 and 5050 with six pins. The WL-SFTD series in 3535 package can be of particular interest to lighting designers as it is characterized by its IPX6 protection class. RGB LEDs can be used to create any color by additive color mixing. This makes these compact components interesting for a variety of decorative applications. With the WL-SFTW series LEDs, Würth Elektronik offers compact components with high light intensity. The 5050 package in particular is ideal for applications in areas with bright ambient light. The IPX6 protection class of the WL-SFTD series stands for outdoor applications and insensitivity to water. The encapsulation resin of the RGB LEDs with diffuse lens also contains UV inhibitors to minimize the effects of long-term exposure to direct sunlight. This supports stable light yield throughout the service life of the LED. A wide beam angle and high intensities make these LEDs ideal for outdoor and indoor full color displays.

RTB Technology Co., Ltd. continues to redefine quality music listening to next level, underlining Thailand’s leader in advanced headphones innovation, introducing the latest true wireless headphones “Beoplay E8 2.0” from the Denmark originated legendary brand Bang & Olufsen (B&O) to pound the headphones market. The Beoplay E8 2.0 features a premium Truly Wireless headphones flagship further developed from the success of the smash Beoplay E8 to optimize efficiency superior to the forerunner, catering to the emerging group of hi-end music lovers with music and design taste. The highlight of Beoplay E8 2.0 is the wireless charging case newly designed for luxury and durability, made from finest materials including aluminum and authentic leather, convenient to carry for charging during the day. To charge, simply place the case on wireless charger or plug in USB-C. The Beoplay E8 2.0 offers more efficient delivery of crisp and clear music sound in every range than early models. The 5.7 mm Dynamic driver embraces sound frequency from 20 to 20,000 Hz. The excellent connectivity provides quick connection for longer distance. The body comes with compact size and light weight. Control May-June 2019


functions with Touch Control for more agility. Intuitively touch to command on demand including music playback, phone reception and volume adjustment. The Transparency Mode allows users to hear surrounding noise without removing earbuds for safety when listening to music during traveling or outdoor exercising. The headphones extend playtime up to 4 hours combining 3 full charges from the charger, totaling 16 hours of use indicated by LED for available battery level of the charger case. Besides sleek and luxury design as the brand signature, B&O incorporates fashion trend from around the world to meet lifestyle of new generation. Lately B&O showcased products in the fashion show to launch the collection “Code of Confidence” of Khun Vvon Sugunnasil, the owner of VVON SUGUNNASIL brand, the acclaimed tailor-made suit designer paying attention to every detail from fabric textures, buttons,

colors to cuttings and becoming the suit brand popular among people from various industries and celebrities.

Transcend Releases Space-saving M.2 SSDs 430S and 830S for Ultra-compact Computing Devices

430S

830S Transcend Information Inc., a leading manufacturer of storage and multimedia products, today announced the release of its M.2 SSD 430S and 830S solid state drives (SSD). Featuring ultra compact dimensions and the next generation SATA III 6Gb/s interface and DDR3 DRAM cache, Transcend’s M.2 SSD 430S and 830S are best suited to address the strict size limitations and high performance needs of today’s advanced portable May-June 2019

devices. By using only high-quality NAND flash chips and enhanced firmware algorithms, Transcend’s M.2 SSD 430S and 830S delivers peerless reliability. M.2 SSD 430S : Transcend M.2 SSD 430S comes with space-saving 42 mm M.2 form factor for ultra-thin computing devices. By utilizing the next-generation SATA III 6Gb/s interface, Transcend’s 430S is capable of delivering sequential read/write performance of up to 560MB/s and 500MB/s respectively. Featuring ultra compact dimensions and adopting DDR3 DRAM cache, the 430S is well-suited to address the high-performance needs and strict size limitations of small form factor devices. M.2 SSD 830S : The M.2 SSD 830S’s space-saving 80 mm M.2 form factor is designed to meet future market demands of ultra-thin computing devices, such as Ultrabook, tablet computers and laptops. It features the latest SATA III 6Gb/s specification, DDR3 DRAM cache, and is comprised of high-quality 3D NAND Flash chips. With exceptional transfer speeds of up to 560MB/s read and 520MB/s write and high capacities of up to 1TB, the M.2 SSD 830S easily handles everyday computing tasks as well as demanding multimedia applications. Transcend’s M.2 SSD 430S and 830S SSDs come packed with exclusive technologies for performance and protection, including SLC caching to greatly enhance write performance and product longevity; a RAID engine to increase stability and protect data; and low-density parity check (LDPC) code to automatically correct errors; Error Correction Code (ECC) that helps detect and correct potential transfer errors; and Device Sleep mode to reduce power consumption and shorten the response time upon wake-up from Sleep or Hibernate, and the S.M.A.R.T. function to efficiently monitor SSD health conditions.


ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ร่วมทูลเกล้าฯ

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดนิทรรศการและทอดพระเนตรผลงาน ทางวิชาการ ในงาน มจพ. เทคโนนิทรรศน้อมเกล้า “60 ปี แห่งการสร้างสรรค์ ประดิษฐกรรม สู่นวัตกรรม” พระราชทานพระวโรกาสแก่ มร.มาร์ค เพลิทิเยร์ ประธาน ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรายงานความร่วมมือของชไนเดอร์ อิเล็คทริค ด้านการ สนับสนุนการศึกษากับสถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ พร้อมด้วยอุปกรณ์ส�ำหรับชุดฝึกอบรมการติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร เพื่ อ ใช้ ใ นการเรี ย นการสอนของสถาบั น เทคโนโลยี จิ ต รลดา ในความอุ ป ถั ม ภ์ ข องมู ล นิ ธิ สยามบรมราชกุมารี จ�ำนวน 20 ชุด โดยมี มร.ฌัก ลาปูฌ เอกอัครราชทูตฝรัง่ เศสประจ�ำประเทศไทย ร่วมรับเสด็จฯ

กฟผ. ผนึกกำ�ลังกระทรวงอุตสาหกรรม สนับสนุน InnoSpace (Thailand)

TRT ส่งลูก “TRT E&S” คว้างานประมูล กฟภ. รถขุดเจาะ 41 คัน มูลค่า 320 ล้านบาท

พัฒนา แสงศรีโรจน์ รองผูว้ า่ การยุทธศาสตร์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เป็นผูแ้ ทน กฟผ. ร่วมลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) ในการส่งเสริมและพัฒนา นวัตกรรม ผู้ประกอบการ และวิสาหกิจเริ่มต้น หรือ InnoSpace (Thailand) ซึ่งกระทรวง อุตสาหกรรมจัดขึ้น กับภาคีเครือข่ายองค์กรภาครัฐ เอกชน สถาบันการเงิน และสถาบัน การศึกษา 30 หน่วยงาน เพือ่ ผลักดันการพัฒนาผูป้ ระกอบการด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี ของประเทศ เสริมความแข็งแกร่งและเพิม่ ขีดความสามารถของวิสาหกิจเริม่ ต้น (Startup) และพัฒนาระบบนิเวศ โดย กฟผ. พร้อมให้ความร่วมมือทัง้ ด้านการบ่มเพาะ ด้านองค์ความรู้ และด้านการลงทุนอย่างครบวงจร เพื่อขับเคลื่อนการเจริญเติบโตด้านนวัตกรรมและ เศรษฐกิจของประเทศอย่างยัง่ ยืน ณ ห้องวาสนาบอลรูม โรงแรมโกลเด้น ทิวลิป ซอฟเฟอริน กรุงเทพมหานคร

สัมพันธ์ วงษ์ปาน กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ถิรไทย อี แอนด์ เอส จ�ำกัด บริษัทในเครือบริษัท ถิรไทย จ�ำกัด (มหาชน) หรือ TRT ผู้นำ� ตลาด หม้อแปลงไฟฟ้าและอุตสาหกรรมด้านเกี่ยวกับพลังงานรายใหญ่ของ ประเทศ ส่งบริษทั ในเครือ “TRT E&S” รับงานประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (E-Bidding) ของการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ในสัญญาซือ้ ขาย “รถขุดเจาะ (4x4)” จ�ำนวน 41 คัน มูลค่าโครงการ 320 ล้านบาท ซึ่งผลิตภัณฑ์รถขุดเจาะ ทีท่ างบริษทั ฯ ได้เข้าร่วมประมูลจะเป็นรถบรรทุก 6 ล้อ ขับเคลือ่ นแบบ 4x4 ยีห่ อ้ SCANIA รุน่ P360B4x4HZ จากบริษทั ผูผ้ ลิต SCANIA CV AB ประเทศ สวีเดน และชุดปัน้ จัน่ ขุดเจาะไฮดรอลิก ยีห่ อ้ Terex รุน่ CMDR 4047 บริษทั ผู้ผลิต Terex Utilities จากประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ได้รับการยอมรับจาก วงการทั่วโลก

กฟผ. งานแสดงโชว์นวัตกรรมสิง่ ประดิษฐ์ดา้ นพลังงาน

วิบลู ย์ ฤกษ์ศริ ะทัย ผูว้ า่ การการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เป็นประธานในพิธีเปิดงาน EGAT INNOVATION SHOCASE 2019 ภายใต้ แนวคิด “EGAT Digital Transformation” พร้อมรับการเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยี ด้านอุตสาหกรรมไฟฟ้าในยุคดิจทิ ลั ด้วยการสร้างสรรค์ผลงานวิจยั สิง่ ประดิษฐ์ และนวัตกรรมที่มีคุณภาพเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพระบบไฟฟ้าให้มีความ มั่นคงและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กฟผ. ได้จัดแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์และ นวัตกรรมพลังงาน ด้านระบบผลิตไฟฟ้า ระบบส่งไฟฟ้าและสิ่งแวดล้อม รวมจ�ำนวนกว่า 36 ชิน้ งาน พร้อมจัดการบรรยายพิเศษในหัวข้อเกีย่ วกับการ พัฒนานวัตกรรมรับยุคดิจทิ ลั จากวิทยากรผูท้ รงคุณวุฒริ บั เชิญ ณ หอประชุม เกษม จาติกวณิช ส�ำนักงานใหญ่ กฟผ. อ.บางกรวย จ.นนทบุรี

May-June 2019


TBSP พาน้องศึกษาธรรมชาติทางทะเลไปกับ Shred 2 Share ปี 11

บริษทั ไทยบริตชิ ซีเคียวริต้ี พริน้ ติง้ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ TBSP ผูด้ ำ� เนิน ธุรกิจการผลิตสิง่ พิมพ์ปลอดการปลอมแปลง ซึง่ ได้แก่ เช็คธนาคาร แบบฟอร์มทางธุรกิจ และบัตรพลาสติก ร่วมกับองค์กรพันธมิตร 65 องค์กร ในโครงการ Shred 2 Share ข้อมูลปลอดภัย ร่วมใส่ใจสังคมและสิง่ แวดล้อม พาน้องๆ นักเรียนจากโรงเรียนต�ำรวจ ตระเวนชายแดนในเขตพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สังกัดกองก�ำกับการต�ำรวจ ตระเวนชายแดนที่ 23 ค่ายศรีสกุลวงศ์ อ.เมือง จ.สกลนคร เข้าร่วมกิจกรรมค่ายศึกษา ธรรมชาติทางทะเลไปกับ Shred 2 Share ปี 11 ณ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาเกาะ และทะเลไทย อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี

ชินาทรัพย์ ร่วมแชร์มุมมองบนเวที Digital Transformation Forum 2019

ทีซีซีเทค รับรางวัล M&O (Data Center Award) จากสถาบัน Uptime

ดร.สุพิทัศน์ ส่งศิริ General Manager บริษัท ชินาทรัพย์ จ�ำกัด (Shinasub) ซึ่งเป็นบริษัทหนึ่งในกลุ่ม TCC Technology Group ผู้ให้บริการ โครงสร้างพืน้ ฐานด้านไอทีแบบครบวงจร ได้รบั เชิญร่วมอภิปรายบนเวทีสมั มนา Digital Transformation Forum 2019 ทีจ่ ดั โดยสมาคมการจัดการธุรกิจแห่ง ประเทศไทย (TMA) ร่วมกับส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั (DEPA) เพือ่ แชร์ ประสบการณ์และองค์ความรูด้ า้ น Digital Transformation Journey for Smart Living กับผูอ้ ภิปรายท่านอืน่ ๆ จากองค์กรชัน้ น�ำทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ ทัง้ นี้ ประเด็นหลักๆ ทีเ่ หล่าผูอ้ ภิปรายต่างชีใ้ ห้ผรู้ ว่ มสัมมนาตระหนักถึงความ ส�ำคัญ คือการพิจารณาความพร้อมภายในองค์กร การกระตุ้นให้เกิดความ ร่วมมือในภาพใหญ่มิใช่เพียงภาระของทีมใดทีมหนึ่ง

บริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จ�ำกัด (ทีซีซีเทค) โดย วรดิษฐ์ วิญญรัตน์ (ขวา) กรรมการบริหารและรักษาการกรรมการผู้จัดการ ได้รับเชิญให้เข้าร่วมงาน Uptime Institute Network APAC Conference พร้อมขึ้นรับรางวัลด้านการบริหารจัดการ ศูนย์ดาต้าเซ็นเตอร์ หรือ Management and Operations (M&O) จาก Philip Hu (ซ้าย), Managing Director-North Asia, Uptime Institute โดยรางวัล M&O (Data Center Award) ดังกล่าวถือเป็นการยอมรับในความสามารถด้านการบริหารจัดการดาต้า เซ็นเตอร์ได้เทียบเท่ามาตรฐานสากล นอกจากนี้ ทีซซี เี ทคยังได้มโี อกาสทีด่ ใี นการร่วม แลกเปลี่ยนมุมมองความรู้และเชื่อมสัมพันธ์อันดีกับเหล่าสมาชิกผู้บริหารระดับสูง รวมถึงแขกรับเชิญทั่วเอเชีย-แปซิฟิก ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย

TSI บันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับ AMATA มุ่งหวังสร้าง ความเข้มแข็งให้กับอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย

บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และสมาคมอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์ไทย หรือ ATSI ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ การศึกษา มองหา แนวโน้มความเป็นไปได้ในธุรกิจใหม่ๆ โดยเปิดเผยข้อมูลโครงการ AMATA Smart City หรือกิจกรรมอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ไม่วา่ จะเป็นการน�ำประสบการณ์ ความเชีย่ วชาญ และ เครือข่ายในการพัฒนากลยุทธ์ทจ่ี ะช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านศักยภาพ บทบาท ริเริ่ม เพื่อการบรรลุจุดมุ่งหมายของทั้ง 2 ฝ่าย มุ่งหวังต่อยอดตลาดในเมียนมา ลาว และเวียดนาม และสร้างความแข้มแข็งให้อุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ไทย อมตะ พัฒนา Smart City ด้วยวิสัยทัศน์ในการจัดเตรียมระบบโครงสร้างพื้นฐานคุณภาพสูงแบบ ครบวงจร ส�ำหรับโรงงานและบริษัทที่ท�ำวิจัยและพัฒนาที่เข้ามาลงทุน

May-June 2019


สแกนเนีย พร้อมรองรับน�้ำมัน B20 และพลังงานที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม

สถิตย์ ริยะตานนท์ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริการหลังการขาย บริษัท สแกนเนีย สยาม จ�ำกัด ประกาศความพร้อมของระบบเครื่องยนต์เพื่อรองรับน�้ำมัน B20 หนุน นโยบายภาครัฐและการเติบโตในธุรกิจโลจิสติกส์ของไทยอย่างต่อเนือ่ งและให้บริการ พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จากการที่รัฐบาลมีนโยบายให้หันมาใช้น้�ำมัน ไบโอดีเซล B20 นั้น ท�ำให้ผู้ประกอบการขนส่งหลายแห่งสนใจเปลี่ยนมาใช้เชื้อเพลิง ทางเลือก โดยปกตินำ้� มัน B20 จะมีอตั ราสิน้ เปลืองน�ำ้ มันสูงกว่าน�ำ้ มันดีเซลเล็กน้อย สแกนเนียได้คดิ พัฒนาโปรแกรมระบบในการฉีดน�ำ้ มันทีห่ วั ฉีดส�ำหรับบรถบรรทุกและ รถโดยสาร เพือ่ ช่วยให้ประหยัดพลังงาน และใช้งานได้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ จากเดิม สามารถติดต่อได้ที่ศูนย์บริการสแกนเนีย

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ตั้ง ธนพงษ์ อิทธิสกุลชัย ขึ้นแท่น ประธานประจำ�ประเทศไทยคนใหม่

เอ็มเฟค เปิดตัว เอ็กซ์ อะคาเดมี (Ex Academy) ชูแนวคิด “Beyond The Transformation”

ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผูน้ ำ� ด้านดิจทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชันในการจัดการ พลังงานและระบบออโตเมชัน ประกาศแต่งตั้ง ธนพงษ์ อิทธิสกุลชัย ด�ำรง ต�ำแหน่งประธานชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประจ�ำประเทศไทยและลาวคนใหม่ ธนพงษ์ ดูแลรับผิดชอบในการบริหารเชิงกลยุทธ์และผลักดันการเติบโตของ ธุรกิจชไนเดอร์ อิเล็คทริค ในประเทศไทยและลาว และสร้างความต่อเนือ่ งใน ความเป็นผูน้ ำ� ด้านการจัดการพลังงานและระบบออโตเมชัน ธนพงษ์ คร�ำ่ หวอด อยู่ในวงการไอทีมากว่า 28 ปี มีประสบการณ์ความเป็นผู้นำ� ทั้งด้านการขาย การตลาด และบริการ จากการท�ำงานร่วมกับบริษทั ยักษ์ดา้ นไอทีระดับโลก

ศิริวัฒน์ วงศ์จารุกร ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษทั เอ็ม เอฟ อี ซี จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็มเฟค (MFEC) เปิดตัว เอ็กซ์ อะคาเดมี ด้วยแนวคิด “บียอน เดอะ ทรานส์ฟอร์เมชัน” (Beyond The Transformation) หรือ “เพราะโลกมันกลับหัว เราต้องกลับตัวให้มากกว่า” เพือ่ รวบรวมกูรผู เู้ ชีย่ วชาญวงการ ไอทีและธุรกิจด้านต่างๆ ร่วมถ่ายทอดเทคโนโลยี องค์ความรู้ และความคิดสร้างสรรค์ ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของกระแส “ดิสรัปชัน” กลุ่มเป้าหมายของเอ็กซ์ อะคามี มี 3 กลุ่ม คือ บุคคลทั่วไป ที่ต้องการพัฒนาทักษะก้าวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง นักศึกษา ที่มีความต้องการพร้อมที่จะพัฒนาทักษะในโลกดิจิทัล และภาคธุรกิจ ที่ต้องการน�ำเทคโนโลยีไปต่อยอดให้กับองค์กร โดยกิจกรรมที่เกิดขึ้นประกอบด้วย การจัดหลักสูตรระยะสัน้ หลักสูตรส�ำหรับผูบ้ ริหาร หรือฟอรัม การจัดเวิรค์ ช้อป และ ทอล์คโชว์ เป็นต้น

ไซเซล ประกาศเปิดตัวผู้จัดการประจำ�ประเทศไทยคนแรก

บริษัท ไซเซล (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ประกาศแต่งตั้ง อภิชาติ เจิมประไพ ด�ำรงต�ำแหน่งผู้จัดการประจ�ำประเทศไทย (Country Manager) คนแรก โดย อภิชาติ จะรับผิดชอบดูแลในการพัฒนาธุรกิจและกลยุทธ์ด้านช่องทางการขายของไซเซล ให้เข้าสู่ตลาดระดับองค์กรอย่างเต็มตัวในประเทศไทย หลังจากที่ไซเซลประสบ ความส�ำเร็จอย่างสูงในการเข้าสู่ตลาดองค์กรในภาคพื้นยุโรป โดยใช้กลยุทธ์โซลูชัน ที่ตอบโจทย์องค์กรระดับเอ็นเตอร์ไพรซ์ รวมถึงการปรับกลยุทธ์ของสินค้าในกลุ่ม Consumer และ Home Use ให้เข้าถึงตลาดได้ทุกระดับ

May-June 2019


การอบรมหลักสูตร

มาตรฐานดาตาเซนเตอร์ สำ�หรับประเทศไทย รุ่นที่ 4 ระหว่างวันที่ 18-21 มิถุนายน พ.ศ. 2562

ณ ห้องประชุม อาคาร วสท. จัดโดย สถาบันวิศวพัฒน์ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)

หลักสูตรความเข้าใจในมาตรฐานของดาตาเซนเตอร์ของ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) และ ข้อก�ำหนดในกฎหมายและข้อบังคับของไทย เป็นคุณสมบัตพิ นื้ ฐาน ของการสอบรับรองมาตรฐานดาตาเซนเตอร์ของ วสท. การอบรมนี้ จัดขึน้ เพือ่ ช่วยในการเตรียมสอบรับรองมาตรฐานและเป็นการปูพนื้ ฐาน ความเข้าใจในระบบต่างๆ ภายในดาตาเซนเตอร์ โดยให้คำ� นึงถึงปัจจัย น�ำเข้าต่างๆ ขององค์กร และองค์ประกอบต่างๆ ภายในดาตาเซนเตอร์ เพื่อประกอบในการออกแบบเพื่อให้เป็นไปตามข้อก�ำหนดและ ข้อบังคับตามกฎหมายไทย ซึง่ มาตรฐานต่างประเทศอาจไม่ควบคุม และหรือไม่ได้บัญญัติไว้

การอบรมครัง้ นีจ้ ะให้ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับดาตาเซนเตอร์ ตั้งแต่พ้ืนฐานจนถึงการประยุกต์ใช้งานด้านดาตาเซนเตอร์ได้อย่าง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งลดความสูญเสียและเกิด เสถียรภาพทีเ่ ชือ่ ถือได้ให้กบั หน่วยงานต่างๆ ทีใ่ ช้ระบบคอมพิวเตอร์ และระบบ ICT เช่น อาคารส�ำนักงาน โรงงาน โรงพยาบาล โรงแรม ธนาคาร บริษทั ด้านการเงินการลงทุน บริษทั ประกันภัยและประกัน ชีวิต เป็นต้น อีกทั้งการอบรมครั้งนี้ยังเป็นโอกาสที่ผู้เข้ารับการอบรมได้ แลกเปลีย่ นความรูด้ า้ นดาตาเซนเตอร์กบั ผูเ้ ชีย่ วชาญจากหน่วยงาน ต่างๆ อีกด้วย

วัตถุประสงค์

การอบรมนี้เหมาะสำ�หรับ

การน�ำระบบคอมพิวเตอร์รวมทัง้ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT) มาใช้งานชนิดต่างๆ และการที่มีผู้ใช้งานเป็น จ�ำนวนมาก ท�ำให้ระบบดังกล่าวมีความยุ่งยากและซับซ้อนขึ้น จึงมีการจัดท�ำเป็นระบบดาตาเซนเตอร์ แต่ก็ยังมีความบกพร่อง และไม่เหมาะสมจนท�ำให้เกิดปัญหามากยิ่งขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อ การใช้งานโดยตรง นอกจากนั้น ระบบคอมพิวเตอร์และระบบ ICT ยังต้องการ ระบบสนับสนุนเพื่อให้สภาพการใช้งานเหมาะสมทั้งในรูปแบบ ท�ำงานตามล�ำพังและรูปแบบท�ำงานเป็นเครือข่าย ซึ่งหากจัดท�า ระบบสนับสนุนอย่างไม่เหมาะสม จะส่งปัญหาถึงการท�ำงาน การเก็บ ข้อมูล การผลิต การควบคุม ความปลอดภัย การสือ่ สาร การประหยัด พลังงาน ตลอดจนประสิทธิภาพในการใช้งานและบ�ำรุงรักษา

May-June 2019

เจ้าของโครงการ ผูจ้ ดั การโครงการ ผูอ้ อกแบบ ผูต้ ดิ ตัง้ ผูบ้ ริหาร ดาตาเซนเตอร์ ผู้ดูแลงานระบบและเจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้องกับดาตา เซนเตอร์ วิศวกร สถาปนิก ช่างเทคนิค ผูค้ วบคุมงาน ผูต้ รวจสอบงาน ผู้จัดหา ผู้ดูแลอาคาร ผู้ประกอบการ ผู้ผลิต ผู้จัดจ�ำหน่าย อาจารย์ นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป

วิทยากร

คุณประสิทธิ์ เหมวราพรชัย  ผศ.ถาวร อมตกิตติ์  คุณเตชทัต บูรณะอัศวกุล  ผศ. ดร.ส�ำเริง ฮินท่าไม้  คุณสุรชัย อินทชื่น  คุณเมธี อนิวรรตน์  ผศ. ดร.มนตรี วิบูลยรัตน์ 

คุณเอกชัย ประสงค์  คุณเมฆ สามัคคี  ผศ.ชายชาญ โพธิสาร  ผศ. ดร.สุรินทร์ กิตติธรกุล  คุณประสิทธิ์ พัวภัทรกุล  คุณประสบชัย จลาสุภ  คุณพิจักษ์ เพิ่มประเสริฐ 


ก�ำหนดการ วันอังคารที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2562 08.00-09.00 น. 09.00-10.30 น 10.30-10.45 น. 10.45-12.00 น. 12.00-13.00 น. 13.00-14.15 น. 14.15-14.30 น. 14.30-16.00 น. 16.00-17.00 น.

ลงทะเบียน มาตรฐานดาตาเซนเตอร์ทอ่ี า้ งอิงในปัจจุบนั และมาตรฐาน วสท. คุณประสิทธิ์ เหมวราพรชัย พักรับประทานอาหารว่าง พิจารณาท�ำเลที่ตั้งและการจัดพื้นที่ คุณเอกชัย ประสงค์ รับประทานอาหารกลางวัน ความพร้อมใช้งานได้และการจัดประเภท ดาตาเซนเตอร์ (MTBF, MTTR, MTPD) ผศ.ถาวร อมตกิตติ์ พักรับประทานอาหารว่าง พื้นฐาน Topology N, N+1, 2N, 2(N+1) คุณไพศาล ไตรชวโรจน์ ทดสอบความรู้

วันพุธที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562 08.00-09.00 น. 09.00-10.30 น. 10.30-10.45 น. 10.45-12.00 น. 12.00-13.00 น. 13.00-14.15 น. 14.15-14.30 น. 14.30-16.00 น. 16.00-17.00 น.

ลงทะเบียน งานสถาปัตยกรรมและโยธา คุณเอกชัย ประสงค์ พักรับประทานอาหารว่าง ระบบไฟฟ้าส�ำหรับดาตาเซนเตอร์ 1 คุณประสิทธิ์ เหมวราพรชัย คุณเตชทัต บูรณะอัศวกุล รับประทานอาหารกลางวัน ระบบไฟฟ้าส�ำหรับดาตาเซนเตอร์ 2 ผศ.ชายชาญ โพธิสาร คุณพัฒน์พงศ์ เพชร์แก้วณา พักรับประทานอาหารว่าง การต่อลงดินและป้องกันฟ้าผ่า ส�ำหรับดาตาเซนเตอร์ ผศ. ดร.ส�ำเริง ฮินท่าไม้ ทดสอบความรู้

วันพฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2562 08.00-09.00 น. 09.00-10.30 น. 10.30-10.45 น. 10.45-12.00 น. 12.00-13.00 น. 13.00-14.15 น. 14.15-14.30 น. 14.30-16.00 น. 16.00-17.00 น.

ลงทะเบียน ระบบสายสัญญาณส�ำหรับดาตาเซนเตอร์ 1 ผศ. ดร.สุรินทร์ กิตติธรกุล พักรับประทานอาหารว่าง ระบบสายสัญญาณส�ำหรับดาตาเซนเตอร์ 2 คุณสุรชัย อินทชื่น คุณปราการ กาญจนวตี รับประทานอาหารกลางวัน ระบบปรับสภาพอากาศส�ำหรับดาตาเซนเตอร์ คุณประสิทธิ์ พัวภัทรกุล พักรับประทานอาหารว่าง การป้องกันอัคคีภัยส�ำหรับดาตาเซนเตอร์ คุณเมธี อนิวรรตน์ ทดสอบความรู้

วันศุกร์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2562 08.00-09.00 น. 09.00-10.30 น. 10.30-10.45 น. 10.45-12.00 น. 12.00-13.00 น. 13.00-14.15 น. 14.15-14.30 น. 14.30-16.00 น. 16.00-17.00 น.

ลงทะเบียน ระบบความมั่นคงและสนับสนุนต่างๆ เช่น แจ้งเตือนน�ำ้ รั่ว ควบคุมการเข้าออก คุณประสบชัย จลาสุภ พักรับประทานอาหารว่าง การบริหารด�ำเนินการ (DCIM) การตรวจสอบ และบ�ำรุงรักษาดาตาเซนเตอร์ ผศ. ดร.มนตรี วิบูลยรัตน์ รับประทานอาหารกลางวัน การรับรองเกีย่ วกับมาตรฐานดาตาเซนเตอร์ (ตัวดาตาเซนเตอร์เอง) วสท. คุณพิจักษ์ เพิ่มประเสริฐ พักรับประทานอาหารว่าง กรณีศึกษาและการวิเคราะห์ปัญหาต่างๆ คุณประสิทธิ์ เหมวราพรชัย และคณะกรรมการ ทดสอบความรู้

เจ้าหน้าที่ผู้ดูแล : รุ่งลาวรรณ์ สท้านภพ (ฝ่ายสถาบันวิศวพัฒน์) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร. 0-2184-4600-9 ต่อ 510 E-Mail : runglawan@eit.or.th May-June 2019


Movement

งานแถลงข่าว สุดยอดฝีมือสายสัญญาณ ปี 7

เปิ ด ฉากไปแล้ ว อย่ า งเป็ น ทางการ บมจ. อินเตอร์ลง้ิ ค์ คอมมิวนิเคชัน่ ผูน้ ำ� เข้าและ จัดจ�ำหน่ายสายสัญญาณทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในอาเซียน ภายใต้ แ บรนด์ LINK ร่ ว มมื อ กั บ ภาครั ฐ จั ด แถลงข่าวส�ำหรับโครงการแข่งขัน “สุดยอดฝีมอื สายสัญญาณ ปี 7 (Cabling Contest 2019)” โดยงานนี้ได้รับเกียรติจาก พ.ต.ต.หญิง รมยง สุรกิจบรรหาร รองปลัดกระทรวงแรงงาน และ พลวธน์ วิทรู กลชิต รองเลขาธิการคณะกรรมการ ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป็นประธาน กล่าวเปิดงาน พร้อมด้วย สมบัติ อนันตรัมพร ประธานกรรมการ และกรรมผูจ้ ดั การใหญ่ สมชาย ทรัพย์เย็น นายกสมาคมเคเบิ้ลลิ่งไทย ร่วมแสดงความยินดี โครงการดังกล่าวเป็นการยกระดับการพัฒนาทักษะของนักศึกษา ทั้งในระดับปริญญาตรีและระดับอาชีวศึกษาทั่วประเทศได้เรียนรู้ เทคโนโลยีสายสัญญาณทีด่ ที สี่ ดุ ในยุคปัจจุบนั ผ่านกิจกรรมการอบรมและแข่งขัน โดยคัดเลือกตัวแทนจากทุกภาค เพือ่ เข้าไปแข่งขันรอบสุดท้าย ชิงถ้วยรางวัลพระราชทาน พร้อมเงินรางวัลมูลค่ากว่า 400,000 บาท และมีโอกาสเป็นตัวแทนของประเทศไทยในเวทีทักษะฝีมือแรงงาน ระดับโลก World Skills ASEAN ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค รัชดำ

GRAND OPENING LINK SWITCH PRODUCT

บริษทั อินเตอร์ลง้ิ ค์ คอมมิวนิเคชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ผูน้ ำ� เข้ำ และจัดจ�ำหน่ายสายสัญญาณทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในอาเซียน ภายใต้แบรนด์ LINK ได้จัดงาน GRAND OPENING SWITCH PRODUCT โดยน�ำเอาผลิตภัณฑ์คุณภาพจากสหรัฐอเมริกาใหม่ล่าสุดอย่าง LINK PoE SWITCH เข้ามาจ�ำหน่ายเพื่อตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น โดยได้รับเกียรติจาก สมบัติ อนันตรัมพร ประธานกรรมการ และกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่ม บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) เป็นประธาน กล่าวเปิดงาน มี วริษา อนันตรัมพร ผูจ้ ดั การทัว่ ไป บริษทั อินเตอร์ลงิ้ ค์ฯ ให้การต้อนรับ นอกจากนี้ ภายในงานยังมีบูธแสดง LINK SWITCH Technology & Application ใหม่อย่างครบวงจร ณ โรงแรมสวิสโซเทล เลอ คองคอร์ด รัชดำ การวางระบบเครือข่ายในองค์กรเป็นเรือ่ งหนึง่ ทีส่ ำ� คัญไม่นอ้ ย เพราะระบบเครือข่ายถือเป็นหัวใจหลักของธุรกิจในโลกปัจจุบนั ซึง่ ในระบบเครือข่ายจะมีอปุ กรณ์ Switch ทีเ่ ป็นอุปกรณ์ทส่ี ำ� คัญทีจ่ ะช่วยเชือ่ มต่อ ระบบทุกอย่างเข้าด้วยกัน ดังนั้น บริษัท อินเตอร์ลิงก์ฯ จึงเปิดตัวผลิตภัณฑ์ใหม่อย่าง LINK SWITCH PRODUCT ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์กลุ่ม Networking Solution โดยประกอบไปด้วยกลุม่ ผลิตภัณฑ์หลัก ได้แก่ กลุม่ SWITCH, PoE SWITCH, TRANSCEIVER, MEDIA CONVERTER, ROUTERS & ACCESS POINT ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์คุณภาพจากสหรัฐอเมริกา โดยได้การรับรองตามมาตรฐานทั้ง POE (IEEE 802.3 af) และ POE+ (IEEE802.3 at) เพื่อตอบสนองความต้องการทุกกลุ่มลูกค้า ทั้งชนิดติดตั้งภายในอาคารและชนิดติดตั้งภายนอกอาคาร May-June 2019


แมงโก้ คอนซัลแตนท์ พัฒนา Software ERP ตอบโจทย์วงการอสังหาริมทรัพย์

บริษทั แมงโก้ คอนซัลแตนท์ จ�ำกัด ผูพ้ ฒ ั นา Software ERP “Mango Anywhere Software” เพือ่ ธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประกาศรุกธุรกิจไอที-อสังหาริมทรัพย์ ครั้งส�ำคัญ พร้อมจัดสัมมนา “Gorsang 4 Change for The Future” ภายใต้คอนเซ็ปต์ในยุคทีเ่ ทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาท ส�ำคัญในการบริหารงาน “ธุรกิจของคุณ พร้อมหรือยังส�ำหรับ การเปลี่ยนแปลง?” โดยสาระส�ำคัญของการจัดงานในครั้งนี้ เพือ่ ให้ผปู้ ระกอบการได้เตรียมพร้อมในการวางแผนงานรองรับ ต่อการเปลีย่ นแปลงในอนาคต รวมถึงบริษทั ฯ พร้อมจะน�ำเสนอ เครื่องมือที่ช่วยอ�ำนวยความสะดวกในการบริหารงานอย่างมี ประสิทธิภาพ โดยผลิตภัณฑ์เด่นๆ ของบริษัทฯ ประกอบด้วย ดังนี้ 1.ผลิตภัณฑ์ Software ERP เพื่อการซัพพอร์ตธุรกิจรับเหมำ ก่อสร้าง และ 2.ผลิตภัณฑ์ Software ERP for Real Estate โดย ทัง้ 2 ผลิตภัณฑ์นนั้ มีความสัมพันธ์กนั เพราะผูใ้ ช้บริการท�ำธุรกิจ ทั้ง 2 ประเภท ดังนั้นผลิตภัณฑ์ของบริษัทจึงตอบโจทย์ผใู้ ช้งาน ได้มากที่สุด

สจล. ร่วมกับ มจธ. พีทีที แอลเอ็นจี ศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างศูนย์ข้อมูล จากพลังงานความเย็นจากการเปลี่ยน สถานะก๊าซธรรมชาติเหลว LNG

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) ร่วมกับบริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จ�ำกัด (บริษทั PTTLNG) และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำ ธนบุรี (มจธ.) เปิดแผนการศึกษาความเป็นไปได้ในการลด ต้นทุนด้านพลังงานไฟฟ้าส�ำหรับระบบท�ำความเย็น ของ ศูนย์ข้อมูลจากพลังงานความเย็นในกระบวนการเปลี่ยน สถานะก๊าซธรรมชาติเหลว ลดต้นทุนบริหารจัดการศูนย์ขอ้ มูล มากกว่า 50% ด้วยเทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลส่งเสริมให้ลงทุนอุตสาหกรรม ดิจิทัล ในระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ทั้งนี้ สจล. มจธ. และบริษัท PTTLNG ได้ร่วมจัดพิธีลงนาม ความร่วมมือดังกล่าวขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ ณ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ

May-June 2019


Movement

เอบีม คอนซัลติ้ง แนะธุรกิจเร่งท�า ดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชัน เตรียมพร้อม แข่งขันในยุค Experience Economy

อิชิโระ ฮาระ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอบีม คอนซัลติ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัทที่ปรึกษาระดับโลก ผู้ให้บริการที่มีความเชี่ยวชาญด้านการปรับเปลี่ยนองค์กร ธุรกิจในรูปแบบดิจิทัลทรานสฟอร์เมชัน ในเครือบริษัท เอบีม คอนซัลติง้ จ�ำกัด ประเทศญีป่ นุ่ แนะองค์กรธุรกิจควร เร่งท�ำ Digital Transformation เพือ่ ก้าวสูก่ ารเป็น Intelligent Enterprise ในยุคดิจิทัลที่เทคโนโลยีเป็นตัวแปรส�ำคัญใน ความส�ำเร็จทางธุรกิจ องค์กรทางธุรกิจควรน�ำทรัพยากรข้อมูล มาใช้ให้เกิดประโยชน์ และน�ำเทคโนโลยีมาเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการท�ำงาน เพื่อลดความเสี่ยงและข้อผิดพลาดในการ ด�ำเนินงานทางธุรกิจให้น้อยลง ทั้งยังเพิ่มศักยภาพในการ แข่งขันและน�ำพาองค์กรให้บรรลุเป้าหมายแห่งการเป็น องค์กรชัน้ น�ำ ซึง่ ทางบริษทั เอบีม คอนซัลติง้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้น�ำเสนอนวัตกรรมที่จะช่วยให้แต่ละองค์กรก้าวสู่ การเป็น Intelligent Enterprise ได้อย่างสมบูรณ์

สสว. หนุน ผปก. กลุ่มสินค้าและ บริการผู้สูงวัย จับมือภาคเอกชน จัดงาน CARE EXPO Thailand 2019

สุวรรณชัย โลหะวัฒนกุล ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) กล่าวว่า เป็นประธานแถลงข่าวการจัดงาน CARE EXPO Thailand 2019 โดยกล่าวว่า สสว. เล็งเห็นความส�ำคัญตลาดผู้สูงวัย จับมือ บิสิเนส อีเว้นท์ เซอร์วสิ เซส (ไทยแลนด์) อสมท. เจโทร และ ภาคธุรกิจด้านอุตสาหกรรมการผลิตสินค้าและ บริการผูส้ งู อายุในทุกกลุม่ ธุรกิจ จัดงาน CARE EXPO Thailand 2019 : International Trade Exhibition for Quality Senior Lifestyle ชูแนวคิด “งานแฟร์ เพือ่ คนทีค่ ณ ุ แคร์” รวบรวมนวัตกรรมและเทคโนโลยี อุตสาหกรรมการผลิตสินค้าและบริการผู้สูงอายุ เข้าร่วมงาน เพือ่ สนับสนุนนโยบายการเป็นศูนย์กลาง สุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ระหว่างวันที่ 29 สิงหาคม-1 กันยายน 2562 ณ ไบเทค

May-June 2019


w

เอ็กซพีเรียนขับเคลื่อนบริการทางการเงินที่ทั่วถึง (Financial Inclusion) ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Experian Drives Financial Inclusion in Southeast Asia เอ็กซพีเรียน ผูน้ ำ� ด้านบริการข้อมูลส�ำหรับธุรกิจระดับโลก ประกาศตัวเลข ความส�ำเร็จในการขับเคลือ่ นข้อเสนอสินเชือ่ มากกว่า 4,800 ล้านข้อเสนอนับตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2553 ให้กับกลุ่มประชากรที่ไม่มีบัญชีธนาคารและผู้ที่ไม่สามารถเข้าถึง บริการของสถาบันการเงินในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในขณะที่ทั่วโลก เอ็กซพีเรียนใช้ฐานข้อมูลของลูกค้าผูใ้ ช้บริการของธุรกิจผูใ้ ห้บริการโทรคมนาคม มาท�ำให้เกิดการเสนอบริการทางการเงินด้วยเทคโนโลยีเฉพาะของบริษทั ถึง 8.1 พันล้านข้อเสนอ ซึง่ เป็นการวิเคราะห์ขอ้ มูลทัง้ เรือ่ งของการใช้งานและพฤติกรรม ของผู้ใช้มาสร้างให้เกิดข้อมูลการเงินส่วนบุคคลโดยที่ไม่มีข้อมูลด้านการเงินกับ ธนาคารใดๆ มาก่อน ทัง้ หมดช่วยเร่งการเติบโตให้กบั อุตสาหกรรมการเงินทัง้ ใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และภูมิภาคอื่นๆ ทั่วโลก ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ เ ป็ น ภู มิ ภ าคที่ มี ก ารเติ บ โตสู ง และ มีประชากรมากกว่า 600 ล้านคน โดยเกือบ 3 ใน 4 (73%) (1) ไม่มี บัญชีธนาคาร ข้อเสนอสินเชื่อ มากกว่า 4,800 พันล้านรายการ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เกิดขึน้ จากโซลูชัน Dynamic Airtime Advance (DAA) ของเอ็กซพีเรียน ซึง่ น�ำเสนอบริการเติมเงินล่วงหน้ำ ให้ กั บ ทางลู ก ค้ า ที่ ใช้ บ ริ ก ารใน รูปแบบของการใช้บริการมือถือ แบบเติมเงิน โซลูชนั นีเ้ ป็นโซลูชนั ทีน่ ำ� เสนอเป็นพิเศษโดยเฉพาะอย่างยิง่ กับกลุม่ ลูกค้ำ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึง่ ผูใ้ ช้บริการโทรศัพท์มอื ถือส่วนใหญ่ใช้บริการในรูปแบบ ของแผนช�ำระเงินล่วงหน้า หรือพรีเพด ตัวอย่างเช่น อินโดนีเซีย ซึ่งเป็นตลาด โทรศัพท์มอื ถือทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีจำ� นวนลูกค้าแบบพรีเพด ถึง 98.3% (2) ของลูกค้าทัง้ หมด หรือตลาดทีโ่ ดดเด่นอืน่ ๆ ทีม่ ผี ใู้ ช้บริการระบบ พรีเพดจ�ำนวนมากอย่างประเทศไทยทีม่ ี 80% (3) ในสถานการณ์เช่นนีโ้ ซลูชนั DAA ของเอ็กซพีเรียน จะเป็นโซลูชันที่ช่วยน�ำเสนอประสบการณ์ทางด้านบริการ ทางการเงินครัง้ แรกทีส่ ำ� คัญส�ำหรับผูบ้ ริโภค และเป็นการปูทางบริการทางการเงิน อืน่ ๆ ส�ำหรับผูบ้ ริโภคต่อไปในอนาคต ซึง่ ช่วยปลดล็อกข้อจ�ำกัดต่างๆ ด้วยระบบ การวิเคราะห์ที่แข็งแกร่งของเอ็กซพีเรียน มิสเตอร์เดฟ ดิมาน กรรมการผูจ้ ดั การ เอ็กซพีเรียน ภูมภิ าคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้และตลาดเกิดใหม่ กล่าวว่า “โซลูชนั DAA เป็นตัวอย่างแนวทางทีเ่ อ็กซพีเรียน ใช้ประโยชน์จากข้อมูลทางเลือกเป็นจุดเริม่ ต้นในการสร้างอัตลักษณ์ทางการเงิน ให้กับกลุ่มประชากรที่ไม่มีบัญชีธนาคารและไม่ได้รับการดูแลทางด้านบริการ ทางการเงินทัว่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงความพยายามอืน่ ๆ ของเราในการ ลงทุนและท�ำงานร่วมกับสถาบันการเงินรายส�ำคัญในภูมภิ าค เช่น ซากาจ้า (CekAja) และริงกิตพลัส (RinggitPlus) เรายังคงมุง่ มัน่ ในการเสริมก�ำลังผูบ้ ริโภคในภูมภิ าคนี้ ด้วยการเข้าถึงผลิตภัณฑ์ทางการเงินได้มากขึ้น” ระบบของ DAA ช่วยขยายความสามารถในการมองหามูลค่าสูงสุด ที่เหมาะสมให้กับลูกค้าแต่ละราย ด้วยการมองหากลุ่มลูกค้าระบบมือถือแบบ พรีเพดทีม่ คี วามเสีย่ งต�ำ่ เมือ่ ยอดเงินในระบบของลูกค้าอยูใ่ นระดับต�ำ่ ซึง่ ข้อมูลที่ จะน�ำมาใช้ในการพิจารณาให้เกิดความเหมาะสมกับข้อมูลความเสีย่ งด้านบริการ ทางการเงิน ได้แก่ พฤติกรรมในการเติมเงินเข้าระบบ รูปแบบการโทร และการใช้งาน ข้อมูล รวมถึงความเร็วในการตอบสนอง หลังจากนั้นจะสร้างข้อมูลให้กับลูกค้ำ โดยการตรวจสอบการใช้งานและรูปแบบพฤติกรรมขึน้ มาเป็นเอกลักษณ์ทางการ เงินที่แข็งแกร่งขึ้นส�ำหรับลูกค้าแต่ละรายที่ผ่านตามเกณฑ์

Experian, the world leader in information services, today announced that it has powered over 4.8 billion credit offers since 2010 to the unbanked and underserved communities in Southeast Asia. Globally, that number has hit 8.1 billion. Through its proprietary technology, Experian leverages on telco subscribers’ usage and behavioural data to create financial identities for individuals without formal credit profiles, accelerating financial inclusion in Southeast Asia and the rest of the world. Southeast Asia is a high growth region and home to over 600 million people, with almost three-quarters of them (73%) (1) not having a bank account. The over 4.8 billion credit offers in Southeast Asia were generated through Experian’s Dynamic Airtime Advance (DAA) solution, which offers airtime advances to consumers on prepaid mobile plans. This solution is especially relevant to Southeast Asia where the majority of mobile phone subscribers are on prepaid plans. For example, Indonesia, Southeast Asia’s largest mobile phone market, has 98.3% (2) of its subscribers on prepaid plans. Other notable markets with high concentrations of prepaid subscribers include Thailand with 80% (3) In such situations, Experian’s DAA becomes a key first credit experience for a consumer. This paves the way for potentially a wider and complete set of financial services for the consumer, unlocked by Experian’s strong analytics. Dev Dhiman, Managing Director, Southeast Asia & Emerging Markets, Experian said, “The DAA solution is an example of how Experian is leveraging on alternative data as a starting point to build financial identities for the unbanked and underserved communities across Southeast Asia. Together with our other efforts around investing in and working with key financial marketplaces in the region such as CekAja and RinggitPlus, we remain committed to the region and aim to continue empowering consumers with enhanced access to financial products.” DAA offers are extended to eligible high-value, low-risk prepaid mobile phone subscribers when their mobile phone account balances are running low. The offer for every eligible subscriber is determined by their credit risk profile, top-up behaviour, airtime and data usage and response rates. Over time, the service builds up a profile for eligible subscribers by monitoring their usage and behavioural patterns which can help create stronger financial identities for eligible subscribers. 1 World Bank 2016 2 Frost & Sullivan - 2017 Indonesia Mobile Services Market Tracker 3 Veedvil 2017 May-June 2019


w

“เอบีม คอนซัลติ้ง” รับโอนธุรกิจจาก “อิเมอร์ริทิส” ไทย-อินโดนีเซีย Emeritis Transferred Business Operations in Thai and Indonesia to ABeam Consulting กลุ่มบริษัท เอบีม คอนซัลติ้ง ประกาศการรับโอนธุรกิจ จากบริษัท อิเมอร์ริทิส (ประเทศไทย) จ�ำกัด และบริษัท อิเมอร์ริทิส อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศอินโดนีเซีย จ�ำกัด ผู้น�ำบริษัทที่ปรึกษำ อันดับหนึง่ ด้านระบบ HCM ของไทย ยกระดับเป็นบริษทั ทีป่ รึกษาระบบ HCM และ ERP แบบครบวงจรในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อิชิโร ฮาระ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอบีม คอนซัลติ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษทั ทีป่ รึกษาระดับ โลก ผู้ให้บริการที่มีความเชี่ยวชาญด้าน การปรับเปลี่ยนองค์กรธุรกิจในรูปแบบ ดิจิทัลทรานสฟอร์เมชัน ในเครือบริษัท เอบีม คอนซัลติ้ง จ�ำกัด ประเทศญี่ปุ่น เปิดเผยว่า บริษทั เอบีม คอนซัลติง้ จ�ำกัด บริษทั เอบีม คอนซัลติง้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และบริษทั เอบีม คอนซัลติง้ (อินโดนีเซีย) จ� ำ กั ด ได้ รั บ โอนการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ จาก บริษัท อิเมอร์ริทิส (ประเทศไทย) จ�ำกัด และบริษัท อิเมอร์ริทิส อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศอินโดนีเซีย จ�ำกัด นับตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2562 โดยการโอนย้ายการด�ำเนินกิจการในครั้งนี้ ส่งผลให้ธรุ กิจทีป่ รึกษาของบริษทั ต่อยอดการให้บริการทีป่ รึกษาด้าน การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (HCM) ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทัง้ นี้ อิเมอร์รทิ สิ ก่อตัง้ ในประเทศไทยเมือ่ ปี พ.ศ. 2546 เป็น บริษทั ทีป่ รึกษาทีม่ คี วามเชีย่ วชาญเฉพาะด้านระบบ HCM ในภูมภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีสำ� นักงานประจ�ำในประเทศไทยและ อินโดนีเซีย เพือ่ ให้บริการลูกค้ากลุม่ ธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการเงิน อุตสาหกรรมการผลิต และกลุ่ม อุตสาหกรรมสื่อสาร ด้วยการบริการให้ค�ำปรึกษาด้านระบบ HCM ด้วยเทคโนโลยีชน้ั น�ำของ SAP® SuccessFactors® และ SAP® HCM® “ประเทศไทยก�ำลังก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัล ส่งผลให้องค์กรต่างๆ ต้องพัฒนาและเพิม่ ขีดความสามารถในการบริหารข้อมูลทีเ่ กีย่ วกับ ทรัพยากรมนุษย์ในด้านต่างๆ ให้อยูใ่ นรูปแบบดิจทิ ลั และเข้ากันกับ กระบวนการจัดการทรัพยากรมนุษย์อย่างชาญฉลาด ยิ่งไปกว่านั้น การบูรณาการร่วมไปกับระบบ ERP (Enterprise Resource Planning) จะช่วยตอบโจทย์ฝา่ ยต่างๆ ของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยการโอนการด�ำเนินธุรกิจจากอิเมอร์รทิ สิ ในประเทศไทย ผูเ้ ชีย่ วชาญ ในฐานะที่เป็นบริษัทที่ปรึกษาอันดับหนึ่งด้านระบบ HCM ของไทย ส่งผลให้เอบีม คอนซัลติง้ (ประเทศไทย) พร้อมให้บริการโซลูชนั ของ SAP ได้อย่างครอบคลุมมากยิง่ ขึน้ นับเป็นประโยชน์กบั ลูกค้าธุรกิจ โดยตรงที่จะได้รับการบริการที่ปรึกษาแบบครบวงจรและสนับสนุน องค์กรก้าวสู่ยุคดิจิทัลอย่างอย่างมั่นคงและยั่งยืน” ฮาระ กล่าว

May-June 2019

ABeam Consulting Ltd., ABeam Consulting (Thailand) Ltd., and PT. ABeam Consulting Indonesia on May 1, 2019 accepted a transfer of business operations from Emeritis (Thailand) Ltd. and PT. Emeritis International Indonesia to expand Human Capital Management (HCM) consulting service business operations of ABeam Consulting in the Southeast Asian region. Mr.Ichiro Hara, Managing Director of ABeam Consulting (Thailand) Ltd., a subsidiary of ABeam Consulting Ltd., a global consulting company headquartered in Japan with expertise in digital transformation, disclosed that ABeam Consulting Ltd., ABeam Consulting (Thailand) Ltd., and PT. ABeam Consulting Indonesia have accepted the transfer of business operations from Emeritis (Thailand) and PT. Emeritis International Indonesia since May 1, 2019 onward. This will expand the ABeam Consulting service area to include Human Capital Management (HCM) in Southeast Asia. Emeritis, established in Thailand in 2003, is a consulting firm with exceptional capabilities in the field of HCM solutions. In the Southeast Asian region, Emeritis has offices in Thailand and Indonesia, providing clients in a wide range of industries including Finance, Manufacturing and Telecommunications with HCM consulting services, using leading digital technologies including SAP® SuccessFactors® and SAP® HCM® advanced talent management tools. “Thailand is shifting to a digital age that requires organizations to digitalize talent information and integrate all HR processes efficiently. It also requires close integration with ERP. The transfer of Emeritis business operations in Thailand, ABeam Consulting (Thailand) expands consulting services in HCM in addition to existing consulting services. The expertise of Emeritis as the No.1 consulting firm in HCM solutions in Thailand, and that of ABeam Consulting (Thailand) results in a leading position as HCM and ERP integration solution providers. Clients can now optimize the know-how and expertise of both resources for best business practices.” concluded Mr.Hara. * ABeam and its logo are registered trademark of ABeam Consulting, Ltd., in Japan and other countries. * All company and product names appearing in the news release are registered names, trademarks or registered trademarks of the respective holders.


Industry News

อีสท์ วอเตอร์ เตรียมความพร้อมรับมือภัยแล้ง สร้างความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมมีปริมาณน�้ำเพียงพอ อีสท์ วอเตอร์ เดินหน้าสร้างความมัน่ ใจมีนำ้� เพียงพอต่อความ ต้องการใช้ในภาคอุตสาหกรรม เตรียมมาตรการต่างๆ เพื่อรองรับ การบริหารจัดการน�ำ้ ให้เกิดประโยชน์สงู สุด พร้อมเสนอให้บริการน�า้ ครบวงจรเพื่อตอบโจทย์โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก หรือ EEC จิรายุทธ รุง่ ศรีทอง กรรมการ ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ บริษทั จัดการและ พัฒนาทรัพยากรน�ำ้ ภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) หรืออีสท์ วอเตอร์ เปิดเผยว่า จากการคาดการณ์ของ ศูนย์พยากรณ์ต่างๆ คาดว่าในปี พ.ศ. 2562 ประเทศไทยจะได้รับ ผลกระทบจากปรากฎการณ์เอลนีโญ ก�ำลังอ่อนต่อเนือ่ งตัง้ แต่เดือนมกราคม ไปจนถึงเดือนสิงหาคม 2562 ส่งผล ให้ ป ระเทศไทยมี อุ ณ หภู มิ สู ง กว่ า ค่าเฉลีย่ ในช่วงดังกล่าว และมีปริมาณฝนต�ำ่ กว่าค่าเฉลีย่ ร้อยละ 10-30 จากนั้นอุณหภูมิและปริมาณฝนจะกลับเข้าสู่ค่าเฉลี่ยต่อไป ทางอีสท์ วอเตอร์ ได้เตรียมมาตรการต่างๆ ได้แก่ การปรับปรุง ประสิทธิภาพของระบบสูบน�ำ้ ในทุกพืน้ ที่ การเพิม่ ประสิทธิภาพการ สูบผันน�ำ้ ข้ามพืน้ ที่ และการเตรียมน�ำ้ ดิบจากบ่อดินเอกชนเพิม่ เติม เพือ่ ให้ผใู้ ช้นำ้� ทุกภาคส่วนมีนำ้� ใช้อย่างพอเพียง โดยปัจจุบนั จากการ บริหารจัดการน�ำ้ อย่างเป็นระบบและบูรณาการแบบอีสท์ วอเตอร์ โมเดล ทีไ่ ด้พฒ ั นาระบบท่อส่งน�ำ้ ดิบด้วย Water Grid เชือ่ มโยงแหล่งน�า้ ส�ำคัญในภาคตะวันออกกว่า 491.8 กิโลเมตร ท�ำให้ภาคตะวันออก มีน�้ำใช้อย่างเพียงพอกับความต้องการของทุกภาคส่วน นอกจากนี้ อีสท์ วอเตอร์ ยังได้จัดประชุมวอเตอร์วอร์รูม (Water War Room) หรือศูนย์ปฏิบัติการน�้ำภาคตะวันออก เพื่อ รายงานสถานการณ์นำ้� ภาคตะวันออกในพืน้ ทีจ่ งั หวัดระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา เพือ่ ติดตามสถานการณ์นำ้� อย่างใกล้ชดิ และจัดท�า แผนป้องกันปัญหาภัยแล้ง โดยมีแผนการส�ำรองน�ำ้ กรณีเกิดภัยแล้ง อันได้แก่ การสูบผันน�ำ้ จากอ่างเก็บน�ำ้ ประแสร์-คลองใหญ่ การสูบผันน�า้ จากอ่างเก็บน�ำ้ ประแสร์-หนองปลาไหล การจัดหาแหล่งน�ำ้ ดิบส�ำรอง จากบ่อดินเอกชน เป็นต้น โดยมีการประสานงานกับกรมชลประทาน อย่างใกล้ชิด เพื่อให้การบริหารจัดการน�้ำเกิดประโยชน์สูงสุด ทั้ง การจัดการปริมาณน�ำ้ ให้เพียงพอ และการจัดการต้นทุนให้เกิดความ

คุ้มค่าสูงสุด ในส่วนของนโยบายเพื่อรองรับการพัฒนาโครงการพัฒนา ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ EEC ในบริเวณ 3 จังหวัด พื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ได้แก่ จังหวัดระยอง ชลบุรี และ ฉะเชิงเทรา ซึง่ จะส่งผลให้ความต้องการใช้นำ้� ดิบและน�ำ้ ประปาของ บริษัทในระยะยาวมีแนวโน้มเติบโตมากขึ้น จากการส�ำรวจความ ต้องการของผู้ประกอบการรายใหม่และรายเดิมที่มีแผนการขยาย ก�ำลังการผลิต พบว่าความต้องการบริการน�ำ้ ครบวงจร อันได้แก่ น�ำ้ ดิบ น�้ำอุตสาหกรรม การบ�ำบัดน�้ำเสีย และการ Recycle มีแนวโน้ม การเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง อีสท์ วอเตอร์ จึงมุง่ เน้นการขยายธุรกิจน�า้ ครบวงจร ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าและนโยบาย ของรัฐบาลในโครงการ EEC ซึ่งปัจจุบันได้รับความสนใจจากลูกค้า หลายราย นอกเหนือจากนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิต้ี โรงไฟฟ้า Gulf ปลวกแดง ซึง่ ได้ลงนามในสัญญาซือ้ ขายน�ำ้ อุตสาหกรรมแล้ว ยังมีนคิ ม อุตสาหกรรมทีอ่ ยูร่ ะหว่างการพัฒนาอืน่ ๆ รวมทัง้ ลูกค้าทีอ่ ยูน่ อกพืน้ ที่ EEC ซึ่งบริษัทอยู่ระหว่างน�ำเสนอการให้บริการน�้ำครบวงจร

จากการวิเคราะห์อุตสาหกรรมน�้า ครบวงจรพบว่ า มี ก ารแข่ ง ขั น สู ง ซึ่งทางอีสท์ วอเตอร์ ได้ใช้กลยุทธ์ การตลาดเชิงรุก กลยุทธ์การวิจัย และพัฒนา และกลยุทธ์การพัฒนาประสิทธิภาพและความเชีย่ วชาญ ของบุคลากรน�ำ้ ครบวงจร เพื่อสร้างการรับรู้ผลิตภัณฑ์นำ�้ ครบวงจร แก่กลุม่ ลูกค้าเป้าหมาย โดยมีมาตรฐานและเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์ ทีช่ ดั เจนเป็นทีย่ อมรับ ตลอดจนราคาทีส่ ามารถแข่งขันได้ในตลาดน�า้ ครบวงจรได้เป็นอย่างดี May-June 2019


Industry News

PTG ไตรมาส 2 ปริมาณการจ�ำหน่ายน�้ำมันโตต่อเนื่อง

พีทีจี เอ็นเนอยี ส่งซิกไตรมาส 2/62 ปริมาณการจ�ำหน่าย น�้ำมันโตต่อเนื่อง แย้มค่าการตลาดกลับสู่ภาวะที่เหมาะสม ตั้งเป้า ขยายการจ�ำหน่ายน�ำ้ มันดีเซลหมุนเร็ว B20 ในสถานีบริการน�้ำมัน หนุนปริมาณการจ�ำหน่ายน�ำ้ มัน-รายได้พุ่ง 16-20% พิทกั ษ์ รัชกิจประการ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) หรือ PTG เปิดเผยว่า บริษัทคาดว่าปริมาณการจ�ำหน่ายน�ำ้ มันในช่วงไตรมาส 2/62 จะเติบโตต่อเนื่องจากในช่วงไตรมาส 1/62 หลังจากในช่วง ไตรมาส 2/62 เป็นช่วงมีการใช้นำ�้ มันเพิม่ ขึน้ ประกอบกับค่าการตลาด ยังมีแนวโน้มที่จะอยู่ในระดับที่เหมาะสมอีกด้วย ดังนัน้ บริษทั จึงคาดว่าปริมาณการจ�ำหน่ายน�ำ้ มันและรายได้ จะเติบโต 16-20% และคาดว่าก�ำไรก่อนหักดอกเบีย้ ภาษี และค่าเสือ่ ม (EBITDA) จะเติบโต 40-50% จากปี พ.ศ. 2561 เนือ่ งจากการเพิม่ ขึน้ ของยอดขายของสถานีบริการเดิม และค่าการตลาดทีย่ งั อยูใ่ นแนวโน้ม ที่เหมาะสม อีกทั้งบริษัทยังวางแผนการขยายสถานีบริการใหม่เพิ่มขึ้น เป็น 2,000 สาขา จากปี พ.ศ. 2561 ทีม่ สี ถานีบริการอยูท่ ่ี 1,883 สาขา

May-June 2019

และบริษทั ได้มกี ารปรับรูปแบบสถานีบริการในรูปโฉมใหม่ให้มากขึน้ ทัง้ ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล เพือ่ เพิม่ การรับรูแ้ บรนด์สำ� หรับลูกค้า ให้มากขึน้ รวมทัง้ ยังจะเน้นการขยายสาขาในท�ำเลทีส่ ามารถรองรับ การให้บริการ Non-Oil อื่นๆ ขณะเดียวกันการขยายการให้บริการน�ำ้ มันดีเซลหมุนเร็ว B20 ในสถานีบริการน�้ำมัน ส�ำหรับรถบรรทุกขนาดใหญ่ และรถขนส่ง เชิงพาณิชย์ ที่สถานีบริการน�้ำมันพีที ก็มีการเติบโตอย่างรวดเร็ว โดย ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2562 บริษัทมีการจ�ำหน่ายน�้ำมันดีเซล หมุนเร็ว B20 ในสถานีบริการน�ำ้ มันอยู่ที่ 1 สาขา แต่ ณ สิ้นเดือน มิถุนายน 2562 บริษัทคาดว่าจะมีการจ�ำหน่ายน�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว B20 ในสถานีบริการน�ำ้ มันมากกว่า 200 สาขา ทั้งนี้ การขยายสาขาการจ�ำหน่ายน�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว B20 ในสถานีบริการน�ำ้ มัน ยังจะเป็นทางเลือกให้ลูกค้าสามารถเลือกใช้ น�ำ้ มันทีม่ รี าคาถูกลง และเป็นการตอบสนองนโยบายของทางภาครัฐ ทีต่ อ้ งการสนับสนุนการใช้ B20 เพือ่ ใช้เป็นกลไกในการส่งเสริมการใช้ น�ำ้ มันดีเซลทีม่ สี ว่ นผสมของไบโอดีเซลให้มากขึน้ ซึง่ จะช่วยลดต้นทุน ค่าบริการขนส่ง และค่าโดยสารสาธารณะ ประกอบกับยังเป็นการ ช่วยเหลือและสนับสนุนเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน�ำ้ มันอีกด้วย นอกจากนี้ บริษัทยังคงตั้งเป้างบลงทุนรวมอยู่ที่ 3,500 ล้าน บาท เพื่อใช้ในการลงทุนในธุรกิจน�้ำมันและธุรกิจที่เกี่ยวข้องอยู่ที่ 2,500 ล้านบาท ธุรกิจ Non-Oil อยู่ที่ 500 ล้านบาท และธุรกิจใหม่ อยู่ที่ 500 ล้านบาท เพื่อสนับสนุนการเติบโตในอนาคต “ในช่วงไตรมาส 2/62 บริษัทยังมองว่ายอดการจ�ำหน่าย น�ำ้ มันจะเติบโตดีกว่าช่วงไตรมาสทีผ่ า่ นมา เพราะว่าเข้าสูช่ ว่ งฤดูกาล ใช้นำ�้ มันที่มากขึ้น และการจ�ำหน่าย B20 ในสถานีบริการน�้ำมันก็มี การเติบโตสูงขึ้น ท�ำให้เราวางแผนจะขยายเป็นมากกว่า 200 สาขา ทั่วประเทศ เพื่อรองรับความต้องการใช้ B20 ที่เพิ่มมากขึ้นตาม ความต้องการของลูกค้า” พิทักษ์ กล่าว


ELECTRICITY & INDUSTRY magazine ปี 2562

ข้าพเจ้า ชื่อ ............................................................................................. สกุล .......................................................................................................... ตำ�แหน่ง .................................................................................... บริษัท/ห้าง/ร้าน ...................................................................................... ที่อยู่ (ที่ท�ำ งาน) ......................................................................... แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด .................................................... รหัสไปรษณีย์ .......................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... ที่อยู่ (ที่บ้าน) ............................................................................. แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ ........................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... รหัสสมาชิก ...............................................................................

ประสงค์จะบอกรับนิตยสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” 1 ปี 6 ฉบับ 480 บาท 2 ปี 12 ฉบับ 960 บาท สมาชิกต่ออายุ 2 ปี 12 ฉบับ 800 บาท ตั้งแต่ฉบับที่ ............. เดือน .................................... ปี ..................... โดยส่งนิตยสารไปที่ ที่ท�ำ งาน ที่บ้าน พร้อมกันนี้ได้ส่งค่าสมาชิกเป็นจำ�นวนเงิน ................................. บาท (ตัวอักษร ..........................................................................................) เช็คธนาคาร ................................................................................. สาขา ................................................................................................. เช็คคร่อมสั่งจ่าย “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด”

ธนาณัติ สั่งจ่ายในนาม “คุณวาสนา แซ่อึ้ง” ที่ท�ำ การไปรษณีย์โทรเลขบางกอกน้อย โอนเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด” ชื่อธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี กรุงเทพ สะพานพระปิ่นเกล้า 162-0-74737-6 กสิกรไทย บางยี่ขัน 047-2-56333-5 ทหารไทย จรัญสนิทวงศ์ 020-2-27244-9 ไทยพาณิชย์ จรัญสนิทวงศ์ ซ.48 121-2-04080-0 หมายเหตุ กรุณาส่งแฟกซ์ หรือสำ�เนาใบเข้าบัญชี (Pay-in Slip) มาให้ บริษัทฯ พร้อมเขียนชื่อ-นามสกุล และรหัสสมาชิก (ถ้ามี) กำ�กับมาด้วย

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธย� แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. +66 (0)26 444 555, +66 (0)23 545 333 ต่อ 301 โทรสาร +66 (0)26 446 649, +66 (0)23 545 322


หากผู้อ่านท่านใดสนใจรายละเอียดต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสาร »‚·Õè 26 ©ºÑº·Õè 3 ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÁԶعÒ¹ 2562

3 áÅÐ IEEE Power & Energy Society - Thailand

ELECTRICITY & INDUSTRY MAGAZINE KMITL Engineering Project Day 2019 งานแสดงนวัตกรรม จากฝ มอื นักศึกษา สจล. RMI ปลุกกระแสการใช ซอฟต แวร ไทยและป ญหาลิขสิทธิ์

ปีที่ 26 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม-มิถุนายน 2562

เทคโนโลยีขว้ั ต อสายไฟฟ าแบบป ด “สถาปนิก’62” จ�ดประกาย แนวคิด Green พร อม สนับสนุนนวัตกรรมการออกแบบ ลดป ญหาสิง� แวดล อมอย างยัง่ ยืน

»‚·Õè 26 ©ºÑº·Õè 3 ¾ÄÉÀÒ¤Á - ÁԶعÒ¹ 2562

“พลายเอจ�ว”� รถฟอร คลิฟต อ ตั โนมัตขิ องไทย สำหรับอุตสาหกรรม 4.0 กฟผ. บุกธุรกิจ “มาตรว�ทยา” ร วมสร างสังคมแห งความเทีย่ งตรง ระบบสื่อสารแบบหลอมรวม (UNIFIED COMMUNICATION : UC)

กรุณากรอกข้อมูลดังกล่าวให้ครบถ้วนเพือ่ การติดต่อจัดส่งข้อมูลกลับไปยังท่านต่อไป ชื่อ .............................................................................................. สกุล .............................................................................................................. ที่อยู่ ........................................................................................... แขวง/ตำ�บล ................................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................. จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ ............................... โทร ............................................................................................. แฟกซ์ ...........................................................................................................

ประเภทของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง อุตสาหกรรมเคมี/ปิโตรเคมี

ตำ�แหน่งงานที่ท่านรับผิดชอบ

กรรมการผู้จัดการ/เจ้าของกิจการ ผจก.โรงงาน ผจก.ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ผจก.วิศวกรรม ผจก.ฝ่ายซ่อมบำ�รุง วิศวกรฝ่ายผลิต วิศวกรทดสอบ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมงานเชื่อม อุตสาหกรรมโลหการ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

ประเภทของกิจการ

ผู้ผลิต

ผู้แทนจำ�หน่าย

ผู้ผลิต/ผู้แทนจำ�หน่าย

หน่วยงานราชการ


ใบอนุญาตเลขที่ ปน. (ต)/1339 ปณจ.บางกอกน้อย ถ้าฝากส่งในประเทศไม่ต้องผนึกตราไปรษณียากร

บริการธุรกิจตอบรับ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 619/5 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงอรุณอัมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700

ประโยชน์ทท่ี า่ นจะได้รบั จากนิตยสาร เนื้อหา .................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ โฆษณา/รายละเอียดผลิตภัณฑ์ .............................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................

ความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ คอลัมน์ตา่ งๆ ทีป่ รากฏในนิตยสาร ชื่อคอลัมน์ สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย IEEE Power & Energy Society Thailand Chapter สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย Article Special Scoop Special Area IT Technology Product PR News Seminar Movement Industry News IT News

มีประโยชน์มาก

มีประโยชน์

พอใช้

ควรปรับปรุง


ดัชนีสินค้าประจำ�เดือนพฤษภาคม - มิถุนายน พ.ศ. 2562 บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ABB CO., LTD.

0-2665-1000

0-2324-0502

LSIS

083-149-9994

-

MAXIMIZE INTEGRATED TECHNOLOGY CO., LTD.

0-2525-0299

0-2525-0298

Industrial Relays

6

MENNEKES Elektrotechnik GmbH & Co. KG

0-2741-5266

0-2741-5267

ผู้ผลิตปลั๊กอุตสาหกรรม

9

-

-

Exhibition

8

0-3884-7571-3

0-3884-7575

จ�ำหน่าย ติดตั้งคาปาซิเตอร์

7

0-2664-6488

-

งานแสดงสินค้า

20

-

-

งานแสดงสินค้า

22

เชลล์แห่งประเทศไทย บจก.

0-2262-6000

0-2657-9888

น�้ำมันหล่อลื่น

3

เชฟรอน (ประเทศไทย) บจก.

-

-

พลังงาน

4

POWER GEN ASIA SAMWHA (THAILAND) CO., LTD. THAILAND LIGHTING FAIR WIRE & TUBE SOUTHEAST ASIA

ประเภทสินค้า

หน้า

อุปกรณ์ไฟฟ้า

ปกหลังนอก

ผู้น�ำด้านระบบสั่งจ่ายและ ระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าครบวงจร

ปกหน้า, ปกหน้าใน

ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) บจก.

0-2002-4395-97 0-2002-4398

อุปกรณ์ไฟฟ้า

21

เพาเวอร์ เรด บจก.

0-2300-5671-3

0-2300-5937

อุปกรณ์ไฟฟ้า

11

ลีฟเพาเวอร์ บจก.

0-2300-5671-3

0-2300-5937

อุปกรณ์ไฟฟ้า

13

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727-8

0-2476-1711

Couplings

18

แวลูเอชั่น เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2183-9748

092-592-9888 Solar

10

ออมรอน อิเลคทรอนิคส์ บจก.

0-2942-6700

0-2937-0501

อุปกรณ์ไฟฟ้าและระบบควบคุม อัตโนมัติ

17

อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ.

0-2693-1222

0-2693-1399

สาย Lan

19

เอส เอ วี เมคคานิคคอล เซอร์วิสส์ แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.

0-2702-0581-8

0-2377-5937

ติดตั้ง EOCR อิเล็กทรอนิกส์ โอเวอร์โหลดรีเลย์ ป้องกันมอเตอร์ไหม้

12

0-2434-0099

0-2434-3251

อุปกรณ์ไฟฟ้า

15

เอส.พี.วาย แอนด์ เคเบิ้ล บจก.

May-June 2019


HOUSE AD TECHNO-C4.pdf

1

8/1/2560 BE

19:33

ITELTE¬;V7DLTE ÇìòïëÞé¬ÊÞäÞ÷æëâ <EþK9S _9'a;aGDW CW_6WD +lT$S6 >[> GV7LYO g LV*g @VC@ 9'Wg EO<'GZC$GZC _= TMCTD IþJI$EEC OZ7LTM$EEC `GRLVg*`I6G OC 9Wg9S;LCSD a6D$ER+TDL[ $GZ C_= TMCTDOD T*$I T*%IT*`GR7E*$GZ C ET*ISG'Z5BT@ ÑžÆɾËÁ ÂËÂÏÄÖ ¾Ô¾ÏÁÐ >[ L *_LEþC6 T;$TEO;ZES$K @GS**T;+T$$EC @S4;T@GS**T;96`9;`GRO;ZES$K @GS**T; ¥@«@«¦ $ER9EI*@GS**T; `GR ASIAN GREEN TJ AWARDS

Engineering Today öāòùāòòāñ ċãĆüè ċíĆē ü ÓöāðÐś ā öúèś ā ĎèöÖÐāòöă ÷ öÐòòðČôÿ üćäùāúÐòòð ċèśèùāòÿÓöāðòĈĎś èãśāèċæÓčèčôñĄ Ðāòëôăä Ðāòöă×Āñ ČôÿíĀáèā ÐāòüèćòĀÐøŞ íôĀÖÖāè ČôÿïāöÿÐāòäôāãæĄēðĄëôÐòÿæéäŚü öÖÐāòöă÷öÐòòðČôÿüćäùāúÐòòðÑüÖêòÿċæ÷ E-Book XXX FOHJOFFSJOHUPEBZ OFU CPPLTIFMG JOEFY IUNM

Electricity & Industry èăäñùāòòāñ ċãĆüè æĄēüñĈŚÓĈŚöÖÐāòüćäùāúÐòòðďîîŖā ċÓòĆēüÖÐô üć ä ùāúÐòòðďîîŖ ā Čôÿüă ċ ôĒ Ð æòüèă Ð ùŞ ñāèñèäŞČôÿÙăèĔ ùŚöè üćäùāúÐòòðêőčäòċÓðĄ òöðæĀĔÖùāòÿÓöāðòĈśãśāèÐāòëôăä Ðāòäôāã ðāÐöŚā êŒ ċíĆüē êòÿčñÙèŞäüŚ èĀÐüćäùāúÐòòð öă÷öÐò ÙŚāÖċæÓèăÓ èĀÐċòĄñè èĀÐ÷ąÐøā Čôÿ éćÓÓôæĀēöďêæĄēùèĎ× E-Book XXX UFDIOPMPHZNFEJB DP UI CPPLTIFMG

C

M

Y

CM

MY

CY

Thai Packaging Newsletter öāòùāò òāñ ċãĆ ü è čãñèčñéāñÑüÖùðāÓðÐāò éòò×ćïĀâàŞďæñ ×ĀãæĘāÑąĔèċíĆēüċëñČíòŚÑśüðĈô ÑŚāöùāòċÐĄēñöÐĀééòò×ćïĀâàŞĎúðŚ ċæÓčèčôñĄ ãś ā èÐāòíă ð íŞ Ðāòëôă ä ČôÿÐāòüüÐČéé üĀ è ċêŢ è êòÿčñÙèŞ äŚ ü öÖÐāòüć ä ùāúÐòòð éòò×ćïĀâàŞďæñ E-Book XXX UIBJQBDL PS UI

GREEN NETWORK èăäñùāòòāñ ċãĆüè ùĘāúòĀéÓèòĀÐøŞčôÐ ċíĆēüÓöāðòŚöððĆüãśāè ÐāòüèćòĀÐøŞíôĀÖÖāèČôÿùăēÖČöãôśüð æĄēæćÐ ïāÓùŚöèùāðāòåðĄùŚöèòŚöðĎèÐāòÙŚöñôã čôÐòś ü è èĘ ā ċùèüÓöāðċÓôĆē ü èďúöČôÿ ùāòÿÓöāðòĈś äŚ ā Öđ ċÐĄē ñ öÐĀ é ÐāòêòÿúñĀ ã íôĀÖÖāèČôÿüèćòĀÐøŞùăēÖČöãôśüð E-Book XXX HSFFOOFUXPSLUIBJMBOE DPN NBHB[JOF QIQ

CMY

ċúðĆüÖČòŚ öāòùāòòāñ ċãĆüè ïāñĎäśèčñéāñ ÑüÖÓâÿÐòòðÐāòùïāÐāòċúðĆ ü ÖČòŚ ď æñ ċíĆē ü èĘ ā ċùèüÑś ü ðĈ ô ÑŚ ā öùāò ÓöāðÓĆ é úèś ā üĀ è ċêŢ è êòÿčñÙèŞ Č ÐŚ Ð ôćŚ ð çć ò Ðă × ċúðĆ ü ÖČòŚ æĄē ÑąĔ è êòÿæāèéĀ ä òČôÿðĄ ùă æ çă éĀ ä òĎèÐāò êòÿÐüéÐă × ÐāòċúðĆ ü ÖČòŚ ÐāòùŚ Ö üüÐČôÿ èĘāċÑśāČòŚ ČúŚÖêòÿċæ÷ďæñ

K

üăèæāċèĄñ öāòùāòòāñ ċãĆüè čãñèčñéāñ ùðāÓðèăùăäċÐŚāöă÷öþ ×ćûāþ ċíĆēüċÙĆēüðčñÖ ÓöāðùĀðíĀèçŞòÿúöŚāÖèăùăäċÐŚāæćÐòćŚè čãñ ċèĆüĔ úā×ÿèĘāċùèüÓöāðċÓôĆüē èďúöÑüÖÐôćðŚ Ùāööă÷öÐòòð÷āùäòŞČúŚÖ×ćûāþ ùðāÓðþ ùåāéĀèČôÿÓâā×āòñŞ ČèöčèśðæāÖöă÷öÐòòð äôüã×èċëñČíòŚÑüś ðĈôÑŚāöùāòČÐŚúèŚöñÖāè ÙĀĔèèĘā æĀĔÖïāÓòĀßČôÿċüÐÙèæĄēċÐĄēñöÑśüÖÐĀé öÖÐāòöă÷öÐòòð ëôÖāèÑüÖèăùăäċÐŚāČôÿ Óâā×āòñŞ čãñùŚÖäòÖåąÖèăùăäċÐŚā ČôÿëĈśæĄē ċÐĄēñöÑśüÖüñŚāÖæĀēöåąÖČôÿùðēĘāċùðü

<Eþ$TE+S6LSCC;T

éòăøĀæ ċæÓčèčôñĄ ðĄċãĄñ ×ĘāÐĀã ðĄ ìŕ ā ñíĀ á èāçć ò Ðă × ČôÿďüæĄ æĄē ò üÖòĀ é Ðāò ×ĀãùĀððèāÓòéöÖ×ò ðĄòÿééßāèÑśüðĈôæĄē æĀèùðĀñ ċÑśāåąÖÐôćðŚ ċêŖāúðāñďãśüñŚāÖÙĀãċ×è äôüã×èðĄċÓòĆēüÖðĆüÐāòêòÿÙāùĀðíĀèçŞ æĄēÐöśāÖÑöāÖ ċÑśāåąÖÐôćŚðċêŖāúðāñ Čôÿ ċÙăÜČÑÐùĘāÓĀÜĎèöÖÐāòďãś×òăÖ

<Eþ$TE2T;% OC[G

<Eþ$TEOYg;e

×āÐÐāòæĄē é òă øĀ æ ðĄ Ð āò×Ā ã æĘ ā ďãċòĒ Ó æüòĄē Ðāò×Ā ã ùĀ ð ðèāČôÿ èăæòò÷Ðāò æĘāĎúśéòăøĀæðĄÑśüðĈôÑüÖ ëĈċś ÙĄñē öÙāÜùāÑāäŚāÖđ Ďèêòÿċæ÷ďæñ ÐöŚā òāñ ׹ÖùāðāòåĎúś éòă Ð āòãś ā è %JSFDU .BJMJOH Čôÿ 5FMFNBSLFUJOH 4FSWJDF

<EþKS9 _9'a;aGDW CW_6WD +lT$S6

<Eþ$TE Internet

éòăøĀæ ċæÓčèčôñĄ ðĄċãĄñ ×ĘāÐĀã ðĄìŕāñ íĀáèāçćòÐă× ÚąÖē ÙĘāèāÜãśāèÑśüðĈôÑŚāöùāòČôÿ *OUFSOFU ĎúśéòăÐāòÐāò×ãæÿċéĄñèÙĆēü %PNBJO òĀéüüÐČéé 8FC 1BHF ċÑĄñè 1SPHSBN éè 8FC æĘā 8FC %JSFDUPSZ æĘā 0O -JOF $BUBMPH öāÖČëèÐāòäôāã ČôÿĎúś ÓĘ ā êòą Ð øāãś ā è *OUFSOFU ÑāñäòÖéè *OUFSOFU

www.technologymedia.co.th

±´®¬°ª± @ Tc9_@GL 8;;JEÿODZ:DT 9Z *@ Tc9 ET-_9Iÿ $EZ*_9@Q ®­±­­ a9E« ­ª¯°²± ²°°°© ­ª¯³±±ª±²²² 7 O °­® Êß« ­µª¶´´¶ª´®±® ªêÞæé· êÞïèâñæëäÜêÞä½ñâàåëìéìäöêâáæÞ«àì«ñå MEāO èåâêçæïÞ¯­¶±½äêÞæé«àìê



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.