Electricity & Industry Magazine Issue July - August 2019

Page 1


LSIS_21.59x29.21cm.pdf

1

7/4/61 BE

6:03 AM


WORKS HERE.

SHELL TURBO OILS – FOR ENHANCED PROTECTION, EXTENDED OIL LIFE, AND EXCELLENT SYSTEM EFFICIENCY.

www.shell.com/lubricants












y ` yy

k wz ë §j Ñ

}k wz | j g } }~Å ¢|¡ d ¡w }

më dgÎ x wxÍ d Í z § d § eÎ j ¢ Î dÍ g y } |z § |¢k

{ x xe z u i b u

¡ ×~ | | ©m y| i Ï ¢ ©l Ó | ªlg l |¢ ~Ï l ~ í~ | ªlmy gÏ gÐ gÏ yÐ ~i fÐ ~Ð | l¡|i£~£ i ¡i í ~¥ ¤~} f m

| j j | ~ x jgÑd |Í j | } z ¡~ x Ñ Í| } Î z j¨ d }} k w Ñ

v uvË ~Æ } v i xo z ~zÓ x vË E-mail: O@>CIJH@?D< BH<DG >JH


Mennekes_21.59x29.21cm_Cre.pdf

1

3/30/17

3:05 PM


CONTENTS JULY-AUGUST

ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (สกพอ.)

26 สวทช. อว. ลงนามความร่วมมือข้อตกลงคุณธรรม

โครงการจ้างก่อสร้างกลุ่มอาคารเมืองนวัตกรรม EECi เพื่อความคุ้มค่าและโปร่งใส 27 สกพอ. ร่วม Paris Air Show 2019 หารือความพร้อมอุตสาหกรรมอากาศยานของไทย IEEE POWER & ENEGER SOCIETYTHAILAND 28 IEEE PES Thailand จัดสัมมนา ความปลอดภัย

และข้อปฏิบัติ ส�ำหรับการบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์ ในสถานีไฟฟ้าแรงสูงฯ

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย 30 34 36 39 40

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย

42 หลักสูตรการให้ความรู้เรื่องแสงสว่าง ครั้งที่ 2

ปี 2562

SPECIAL SCOOP 44 สกสว. ชู 13 ผลงานเด่นมุง่ สู่ “งานวิจยั เพือ ่ อนาคต”

กองบรรณาธิการ 60 โครงการ “Big Brother พี่ช่วยน้อง” ยกระดับ SMEs ให้ก้าวสู่ 4.0 กองบรรณาธิการ

INTERVIEW 48 Digital Meter และ Active Filters ... ผลิตภัณฑ์

ที่ตอบโจทย์ผู้ประกอบการได้อย่างครบถ้วน กองบรรณาธิการ

44

July-August 2019

2019

ARTICLE 54 การบริหารองค์กรให้มีคุณภาพไฟฟ้าที่ดี

กรณีศึกษา : เครื่องก�ำเนิดแสงซินโครตรอน บอมเบย์ บุ่นวรรณา และ ณัฐวุฒิ ทีจันทึก สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)

SCOOP 56 อาเซียนร่วมหารือภาคเอกชนและอุตสาหกรรม

มุ่งยกระดับอาชีวศึกษาในภูมิภาค กองบรรณาธิการ 58 โคบอท...ทางเลือกแห่งอนาคตเพื่อก้าวสู่ ยุคไทยแลนด์ 4.0 กองบรรณาธิการ

COVER STORY 62 อุปกรณ์ปรับปรุงค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้า

ในกรณีที่โหลดเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และลดปริมาณฮาร์มอนิกส์ในระบบไฟฟ้า บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด

SPECIAL AREA 66 White Light Confocal เพิ่มประสิทธิภาพ

68

70

72

75

การตรวจวัดวัตถุ บริษัท ออมรอน อีเล็คทรอนิคส์ จ�ำกัด Slim Interface Relays บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด Galaxy VS ระบบส�ำรองไฟจากตระกูล Galaxy ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย MR - THE POWER BEHIND POWER. From On Load Tap Changer to Digitalization บริษัท Reinhausen (Thailand) จ�ำกัด ตู้คอนซูมเมอร์ยูนิตคืออะไร? บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

IT ARTICLE 78 ระบบจัดการเพื่อรักษาความปลอดภัยนักท่องเที่ยว

บริษัท เอ็กซ์เซ้นส์ อินฟอร์เมชั่น เซอร์วิส จ�ำกัด 81 เทรนด์อุตสาหกรรม…ปกป้องอนาคตของ บล็อกเชนในเอเชียแปซิฟิก แมททิว ควน 86 PR NEWS 89 MOVEMENT 93 INDUSTRY NEWS

58



EDITOR TALK

JULY-AUGUST

2019

Electricity & Industry Magazine ฉบับที่ 4 นี้ เป็นฉบับที่ทางกองบรรณาธิการเตรียมไปเผยแพร่ในงาน TEMCA FORUM & Exhibition 2019 หรืองานแสดงผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและเครือ่ งกล ประจ�ำปี 2562 จัดโดยสมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครือ่ งกลไทย ระหว่างวันที่ 23-24 สิงหาคม 2562 ณ ศูนย์การประชุมพีช โรงแรมรอยัลคลิฟ โฮเต็ล กรุ๊ป พัทยา เนื้อหาภายในฉบับนี้จะเป็นความรู้ที่น่าสนใจหลากหลาย เช่น ส่วนหนึ่งของผลงานวิจัยที่ได้รับรางวัลจากส�ำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.) อาทิ ผลงาน “หุน่ ยนต์ขดู ดอกยางเครือ่ งแรกของโลก” หรือผลงานการวิจยั “เปลีย่ น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นสารเคมีตงั้ ต้นมูลค่าสูง” รวมทัง้ งานวิจยั เรือ่ ง “แบตเตอรีไ่ ฟฟ้าใช้งานนาน ... เตรียมใช้ในรถตุก๊ ตุก๊ -หวังลด PM2.5” ก็น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง นอกจากนี้ยังมีเรื่องราวของ “โครงการ “Big Brother พี่ช่วยน้อง” ยกระดับ SMEs ให้ก้าวสู่ 4.0” ซึ่งกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมร่วมมือกับบริษัทเอกชนร่วมกันขับเคลื่อนเพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กที่มี ปัญหาด้านเครือ่ งจักร หรือการบริหารจัดการภายในโรงงาน ซึง่ ขณะนีด้ ำ� เนินการเข้าสูป่ ที ี่ 6 แล้ว และได้รบั การตอบรับทีด่ ยี งิ่ จากผูป้ ระกอบการ SMEs มี SMEs ได้มาเล่าถึงเหตุผลในการเข้าร่วมโครงการ และผลส�ำเร็จของการท�ำงานร่วมกัน คอลัมน์ Interview เป็นบทสัมภาษณ์ ปณิธาน กัจฉปานันท์ Marketing Director บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด ในเรื่องของ “Digital Meter และ Active Filters ... ผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์ผู้ประกอบการได้อย่างครบถ้วน” ส่วนคอลัมน์ Cover Story เป็นบทความเรื่อง “อุปกรณ์ ปรับปรุงค่าตัวประกอบก�ำลังไฟในกรณีที่โหลดเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และลดปริมาณฮาร์มอนิกส์ในระบบไฟฟ้า” ได้อธิบายถึง การใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด เพือ่ ประหยัดค่าใช้จา่ ยให้มากทีส่ ดุ ส่วนสถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) เป็นอีก หน่วยงานหนึ่งทีส่ ะสมองค์ความรู้ด้านพลังงานไฟฟ้าไว้มากมาย ฉบับนี้ บอมเบย์ บุ่นวรรณา และ ณัฐวุฒิ ทีจนั ทึก ได้เขียนเรื่อง การบริหาร องค์กรให้มีคุณภาพไฟฟ้าที่ดี กรณีศึกษา : เครื่องก�ำเนิดแสงซินโครตรอน นอกจากนั้นยังมีบทความเรื่อง อาเซียนร่วมหารือภาคเอกชนและอุตสาหกรรม มุ่งยกระดับอาชีวศึกษาในภูมิภาค ซึ่งเป็นความ ร่วมมือกันเพื่อพัฒนาฝีมือแรงงานในอาเซียนให้รองรับต่อการพัฒนาเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าขึ้น ส่วนบทความเรื่อง โคบอท...ทางเลือกแห่ง อนาคตเพือ่ ก้าวสูย่ คุ ไทยแลนด์ 4.0 การเลือกใช้โคบอทหรือหุน่ ยนต์ขนาดเล็กทีท่ ำ� งานร่วมกับพนักงานได้เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงาน ให้ดียิ่งขึ้น สามารถลดต้นทุนผู้ประกอบการ และยังลดปัญหาการขาดแคลนแรงงานได้อีกด้วย บริษทั ออมรอน อิเล็กทรอสิกส์ ก็มบี ทความทีน่ า่ สนใจ เป็นเรือ่ ง White Light Confocal เพิม่ ประสิทธิภาพการตรวจวัดวัตถุ บทความ เรื่อง Galaxy VS ระบบส�ำรองไฟจากตระกูล Galaxy ของบริษัท ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ก็น่าสนใจไม่น้อย หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเนื้อหาเหล่านี้จะเป็นประโยชน์กับทุกๆ ท่าน พบกันใหม่ฉบับหน้า กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

ที่ปรึกษา : รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ์ / ไกรสีห์ กรรณสูต / พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ์ / ประเจิด สุขแก้ว / ผศ.พิชิต ล�ำยอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องค์วงศ์สกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร / ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม / รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ : ดร.สุรพล ด�ำรงกิตติกุล ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นิภา กลิ่นโกสุม เลขากองบรรณาธิการ : ปัฐฐมณฑ์ อุ่ยพัฒน์ / ธิดาวดี บุญสุยา พิสูจน์อักษร : อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรมรูปเล่ม / ศิลปกรรมโฆษณา : ชุติภา จริตพันธ์ / ศศิธร มไหสวริยะ ผู้จัดการฝ่ายการตลาด : เขมจิรา ปลาทิพย์ ฝ่ายโฆษณา : ศิริภรณ์ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภิรมณ์ / วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายโฆษณา : ชุติมันต์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก : ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์

July-August 2019

บทความที่ปรากฏใน ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine เป็นความคิดเห็น ส่ ว นตั ว ของผู ้ เขี ย น ไม่ มี ส ่ ว นผู ก พั น กั บ บริ ษั ท เทคโนโลยี มี เ ดี ย จ� ำ กั ด แต่ อ ย่ า งใด หากบทความใดที่ผู้อ่านเห็นว่ามีการลอกเลียนหรือแอบอ้าง กรุณาแจ้งที่กองบรรณาธิการ ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine บทความต่ า งๆ ที่ ป รากฏในหนั ง สื อ ได้ ผ ่ า นการตรวจทานอย่ า งถี่ ถ ้ ว นเพื่ อ ให้ เ กิ ด ความถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแก้ไขต่อไป เจ้าของ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 http:// www.technologymedia.co.th เพลท-แยกสี : บริษัท อิมเมจิ้น กราฟิค จ�ำกัด พิมพ์ที่ : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด รุ่งเรืองการพิมพ์


Samwa_21.59x29.21cm.pdf

1

3/28/17

11:02 AM


3-5 SEPTEMBER 2019 | MITEC | KUALA LUMPUR | MALAYSIA

REGISTER AND JOIN US FOR ASIA’S ONLY END-TO-END POWER & ENERGY EVENT POWER GENERATION

DIGITAL TRANSFORMATION

TRANSMISSION & DISTRIBUTION

PARTICIPATE IN THE REGION’S FOREMOST BUSINESS PLATFORM FOR POWER PROFESSIONALS

REGISTER ONLINE FOR YOUR

The co-location of POWERGEN Asia, Asian Utility Week, DISTRIBUTECH Asia, SolarVision and Energy Capital Leaders provides you with one show covering the whole value chain of power from generation to transmission and distribution to its digital transformation.

FREE VISITOR PASS

The combination of these leading energy shows will bring an unprecedented authority, with insights shared by the world’s most forwardthinking experts and innovators. Here you will discover the future of Asia’s Power & Energy industry.

11,000+ Attendees

350+

Leading Exhibitors

Cutting

Edge Content

350+

International Speakers

VISIT WWW.POWERGENASIA.COM OR WWW.ASIAN-UTILITY-WEEK.COM Щ SEE CONFERENCE HIGHLIGHTS Щ VIEW THE LATEST EXHIBITOR LIST Щ REGISTER FOR FULL ACCESS

Organised by:



CEBIT_2019_AD_qrcode_TH_215x292mm_bleed3mm.pdf 1 6/12/2019 2:57:32 PM

ประเภท ผูจัดแสดงสินคา งานแสดงสินคาและเจรจาธุรกิจ ดานอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและดิจิทัล

Business Solutions

27-29 พฤศจิกายน 2562 อาคาร 7-8 อิมแพ็ค เมืองทองธานี Data & Cloud

C

M

Y

CM

MY

CY

ผูเยี่ยมชมงานกวา 6000 ราย ผูจัดแสดงสินคากวา 250 แบรนด ผูซื้อคนสำคัญกวา 120 ราย โปรแกรมจับคูเจรจาธุรกิจกวา 800 นัดหมาย

Startups

CMY

K

Smart Solution & IOT

จองพื้นที่ ตอนนี้

02-833-5126

Organizer

Show Hosts

Supporters

Cyber Security

Show Consultant

Strategic Partners

www.cebitasean.com


สายสัญญาณ มาตรฐานอเมริกา

ครบเครื่อง เรื่องสายสัญญาณ

www.interlink.co.th Tel 02 666 1111 (100 lines)


BooksFP-2019.pdf

1

7/2/2562 BE

4:34 PM

Leading Journals and well-known in the industry, Engineering and Renewable Energy for over 20 Years in Thailand Technology Media’s Journals Quality Awarded : Thailand Energy Awards, the awards promote energy conservation by the Department of Alternative Energy Development and Energy Conservation, Ministry of Energy and the Asian Green TJ Awards.

www.electricityandindustry.com www.greennetworkthailand.com www.engineeringtoday.net www.thaipack.or.th www.intania.com

Directory Year Book

www.electricityandindustry.com

www.greennetworkthailand.com

www.thaipack.or.th

www.intania.com

www.engineeringtoday.net

:

www.yellowgreenthailand.com

www.thaiconstructionpages.com

www.technologymedia.co.th

www.technologymedia.co.th www.yellowgreenthailand.com

Directory & Catalogue • Network Solution & Mobile App • Exhibition & Distribution

TECHNOLOGY MEDIA CO., LTD. 471/3-4 Phayathai Places, Sri-Ayutthaya Rd., Thung Phayathai, Ratchathewi, Bangkok 10400 Tel. +66 (0)23 545 333, (0)26 444 555 Fax. +66 (0)26 446 649, (0)23 545 322

บร�ษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำกัด

471/3-4 อาคาพญาไทเพลส ถนนศร�อยุธยา เขตราชเทว� กรุงเทพฯ 10400 โทร. +66 (0)23 545 333, (0)26 444 555 แฟกซ. +66 (0)26 446 649, (0)23 545 322



สํานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (สกพอ.)

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จัดพิธี ลงนามข้อตกลงคุณธรรม (Integrity Pact) โครงการจ้างก่อสร้างกลุม่ อาคาร เมืองนวัตกรรมภาคตะวันออก Phase 1A ต�ำบลป่ายุบใน อ�ำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง กับห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด ศรีสะเกษทวีผล ก่อสร้าง เพื่อความ คุ้มค่า โปร่งใส มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล

ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า สวทช. หน่วยงานวิจัยและพัฒนาด�ำเนินงานตามนโยบาย รั ฐ บาลในโครงการเขตนวั ต กรรมระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ภาคตะวันออก หรือ EECi จะมีการด�ำเนินโครงการจ้างก่อสร้าง กลุ่มอาคารเมืองนวัตกรรมภาคตะวันออก Phase 1A ที่ ต�ำบลป่ายุบใน อ�ำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง ซึง่ โครงการฯ นี้ ได้รับการพิจารณาจากคณะกรรมการความร่วมมือป้องกัน การทุจริต (คณะกรรมการ ค.ป.ท.) ให้เข้าร่วมโครงการข้อตกลง คุณธรรม ประจ�ำปี 2562 โดยได้มีการลงนามในข้อตกลง คุณธรรมร่วมกัน 3 ฝ่าย ระหว่าง สวทช. ผูร้ บั จ้าง (ห้างหุน้ ส่วน จ�ำกัด ศรีสะเกษทวีผล ก่อสร้าง) ในวันที่ 19 มิถุนายน 2562 หลังจากนี้ คณะผูส้ งั เกตการณ์ฯ จะเข้ามาร่วมสังเกตการณ์ใน กระบวนการจัดซือ้ จัดจ้างตลอดระยะเวลาของโครงการจนถึง สิ้นสุดสัญญาก่อสร้าง เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการคุ้มค่า โปร่งใส มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล สามารถตรวจสอบได้ ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

ข้อตกลงคุณธรรม สร้างเมืองนวัตกรรม EECi

ดร.ณรงค์ ศิรเิ ลิศวรกุล ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (ที่ 4 จากซ้าย) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดพิธีลงนามข้อตกลงคุณธรรม (Integrity Pact) โครงการ จ้างก่อสร้างกลุม่ อาคารเมืองนวัตกรรมภาคตะวันออก Phase 1A ต�ำบลป่ายุบใน อ�ำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง กับห้างหุน้ ส่วน จ�ำกัด ศรีสะเกษทวีผล ก่อสร้าง ตามนโยบายรัฐบาลในโครงการเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ EECi จะมีการด�ำเนินโครงการจ้างก่อสร้างกลุ่มอาคารเมืองนวัตกรรม เพื่อความคุ้มค่า โปร่งใส มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล

July-August 2019


สาํ นักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) ร่วมงาน Paris Air Show 2019 โดย ลัษมณ อรรถาพิช รองเลขาธิการสายงานการลงทุนและความร่วมมือระหว่างประเทศ สกพอ. เป็นตัวแทนเข้าร่วมเสวนาและหารือความพร้อมและศักยภาพ ด้านอุตสาหกรรมอากาศยานของประเทศไทย รวมถึงความพร้อม ในการรองรับการลงทุนจากต่างชาติ ระหว่างวันที่ 19-21 มิถนุ ายน 2562 ณ กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่งเศส โดยในวันที่ 19 มิถุนายน 2562 คณะ สกพอ. ได้เข้าร่วมงาน Maintenance Repair and Overhaul (MRO) in Asia-Pacific ซึง่ จัดโดย The French Aerospace Industries Association (GIFAS) มีผู้แทน จาก 5 ประเทศ เป็นผูร้ ว่ มเวที อาทิ สาธารณรัฐประชาชนจีน ฟิลปิ ปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ และประเทศไทย โดยการเสวนาสะท้อนถึงศักยภาพ ของเอเชียในการเป็นศูนย์กลาง MRO โดยเฉพาะประเทศไทย ซึ่งมี จุดแข็งด้านท�ำเลทีต่ งั้ ศักยภาพด้านอุตสาหกรรม ห่วงโซ่อปุ ทาน และ ทรั พ ยากรบุ ค คลที่ มี ศั ก ยภาพ ทั้ ง ยั ง มี แ นวโน้ ม การเติ บ โตสู ง ใน อุตสาหกรรมอากาศยานและธุรกิจ MRO โดยประเทศไทยได้รบั ความ สนใจจากผู้เข้าร่วมจ�ำนวนมาก ทั้งนี้ ในวันที่ 20 มิถุนายน ได้ร่วมกับสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงปารีส และ The French Aerospace Industries Association (GIFAS) จัดงานเสวนา “Future of Thailand’s Aerospace Industry” โดยได้รับความสนใจอย่างมากจากภาคเอกชน ผู้เข้าร่วมเสวนา ได้หารือถึงความพร้อมและศักยภาพด้านอุตสาหกรรมอากาศยานของ ประเทศไทย รวมถึงความพร้อมในการรองรับการลงทุนจากต่างชาติ ทั้งในด้านทรัพยากรมนุษย์ที่มีศักยภาพสูง ความได้เปรียบเชิงพื้นที่ และความเข้มแข็งในด้านอุตสาหกรรมของไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ EEC ทั้งนี้ ผู้เข้าร่วมงานเสวนาเห็นว่า ด้วยประเทศไทยอยู่ระหว่าง การเริม่ พัฒนาอุตสาหกรรมอากาศยาน จึงเป็นโอกาสอันดีทจี่ ะสามารถ ก�ำหนดแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อให้สามารถรองรับการพัฒนาและการลงทุนของอุตสาหกรรม อากาศยานในอนาคตให้เกิดการเติบโตอย่างก้าวกระโดดได้ อีกทัง้ ภาค เอกชนไทยทีม่ ศี กั ยภาพและความเชีย่ วชาญในอุตสาหกรรมยานยนต์ ยั ง มี ค วามพร้ อ มและความต้ อ งการที่ จ ะก้ า วเข้ า สู ่ อุ ต สาหกรรม อากาศยาน นอกจากนี้ งานเสวนายังเป็นโอกาสให้ภาคเอกชนไทยทีม่ า ร่วมงานได้พบปะกับภาคเอกชนฝรั่งเศสเพื่อหารือถึงโอกาสเกี่ยวกับ โอกาสในการท�ำธุรกิจร่วมกับในประเทศไทยด้วย ทั้งนี้ คณะ สกพอ. ได้หารือร่วมกับ MEDEF และภาคเอกชน ฝรั่ ง เศสเพื่ อ ติ ด ตามผลการเยื อ นของคณะ MEDEF ที่ ม าเยื อ น ประเทศไทยเมื่อเดือนมกราคม 2562 โดยภาคเอกชนฝรั่งเศสชื่นชม ความก้าวหน้าของโครงการ EEC และให้ความสนใจทีจ่ ะมาร่วมลงทุน ทัง้ ในโครงการโครงสร้างพืน้ ฐานและอุตสาหกรรมเป้าหมายของ EEC นอกจากนี้ คณะฯ ยังได้พบปะหารือกับบริษัทผู้ผลิตอากาศยานและ ชิ้นส่วนรายใหญ่หลายราย เช่น บริษัทจากฝรั่งเศสและญี่ปุ่น ในงาน Paris Air Show 2019 โดยมีหลายบริษัทให้ความสนใจในการลงทุน ในไทยและสนใจมาเยือนพื้นที่ EEC July-August 2019


IEEE PES Thailand จัดสัมมนา

ความปลอดภัยและข้อปฏิบัติ สำ�หรับการบำ�รุงรักษา

อุปกรณ์ในสถานีไฟฟ้าแรงสูงฯ

เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 IEEE Power and Energy Society จัดสัมมนา เชิงวิชาการเรื่อง “ความปลอดภัยและ ข้ อ ปฏิ บั ติ ส� ำ หรั บ การบ� ำ รุ ง รั ก ษา อุปกรณ์ในสถานีไฟฟ้าแรงสูงและระบบ ส่งจ่ายไฟฟ้า และมอเตอร์และเครือ่ งก�ำเนิด ไฟฟ้าในโรงจักรไฟฟ้า” ณ โรงแรมอโนมา แกรนด์ กรุงเทพฯ โดยได้รบั เกียรติจาก ณรงค์ ตันติฉายากร ผูเ้ ชีย่ วชาญ 13 ประจ�ำส�ำนัก รองผู ้ ว ่ า การปฏิ บั ติ ก ารและบ� ำ รุ ง รั ก ษา การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และคณะท�ำงาน IEEE Power & Energy Society-Thailand เป็นประธานกล่าวเปิดการสัมมนา และ วิทยากรผูเ้ ชีย่ วชาญจาก กฟผ. กฟน. กฟภ. และบริษทั เอกชน มีผสู้ นใจเข้าร่วมสัมมนา กว่า 100 ท่าน

July-August 2019

1 คณะกรรมการ IEEE PES Thailand และวิทยากรถ่ายภาพร่วมกัน 2 ณรงค์ ตันติฉายากร ผูเ้ ชีย่ วชาญ 13 ประจ�ำส�ำนักรองผูว้ า่ การปฏิบตั กิ ารและบ�ำรุงรักษา การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค และคณะท�ำงาน IEEE Power & Energy Society-Thailand เป็นประธานกล่าวเปิด การสัมมนา 3-8 วิทยากรผู้เชี่ยวชาญจากการไฟฟ้า และบริษัทเอกชน



สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

แม้ไม่ใช่กัปตันอเมริกา สไปเดอร์แมน หรือเดอะฮักส์ แต่มนุษย์ บางประเภทก็ไม่แตกต่างกับเหล่าซุปเปอร์ฮโี ร่ในการ์ตนู มาร์เวลเท่าไหร่นกั ด้วยภารกิจทีต่ อ้ งเสีย่ งอันตราย ท้าทายความกล้า เพือ่ สร้างความสุขให้กบั ผู้คน อย่าง “หนึ่ง-หนุ่ม” คู่แฝด Hotline คู่แรกของประเทศไทย กับภารกิจ บ�ำรุงรักษาสายส่งไฟฟ้าแรงสูงของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) มนุษย์ธรรมดาที่ต้องท�ำงานอยู่บนเสาไฟฟ้าแรงสูงความสูงเท่ากับ ตึก 20 ชั้น กับกระแสไฟฟ้าแรงดัน 500 กิโลโวลต์ (หรือเท่ากับ 500,000 โวลต์ มากกว่ากระแสไฟฟ้าในครัวเรือนประมาณ 2,000 เท่า) ไหลอยู่ใน สายไฟฟ้าแรงสูงไร้ฉนวนที่ถูกขึงทอดยาวอยู่กับเสาโครงเหล็ก ท�ำหน้าที่ ส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าไปทัว่ ประเทศไทย เปรียบเสมือน “เส้นเลือดใหญ่ใน ร่างกายของมนุษย์” หากขาดหรือช�ำรุดไปเพียงหนึง่ จุดย่อมท�ำให้เกิดความ เสียหายอย่างรุนแรง จะท�ำให้ไฟฟ้าตกหรือดับเป็นวงกว้าง อาจจะทัง้ จังหวัด หรือทัง้ ภาคเลยก็เป็นไปได้ จึงจ�ำเป็นต้องมีเจ้าหน้าทีค่ อยดูแลสายส่งไฟฟ้า ให้คงอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา เบื้องหลังแสงสว่างแห่งความสุขของคนไทยตลอด 24 ชั่วโมง หนึง่ ในนัน้ คือ เจ้าหน้าทีบ่ ำ� รุงรักษาสายส่งไฟฟ้าแรงสูง หรือเรียกว่าช่างสาย Hotline ท�ำหน้าทีบ่ ำ� รุงรักษาสายส่งไฟฟ้าแรงสูงของ กฟผ. ทัง้ การตรวจเสา และสายส่งประจ�ำปีตามวาระ การตรวจสภาพทั่วไปของสายส่งและ เขตเดินสาย การตรวจหาสาเหตุสายส่งขัดข้อง การซ่อมแซมเสาโครงเหล็ก การตรวจสอบสิง่ รุกล�ำ้ เขตเดินสายไฟฟ้า โดยเฉพาะภารกิจการบ�ำรุงรักษา สายส่งโดยวิธีไม่ดับไฟ (Live Line Maintenance) ที่ถือเป็นภารกิจบนที่สูง มีความเสี่ยง และน่าหวาดเสียว ในภารกิจที่มนุษย์ธรรมดาทั่วๆ ไป ไม่สามารถท�ำได้อย่างแน่นอน July-August 2019

หนึ่ง นรินทร์ ยมะสมิตร แฝดพี่ กล่าวว่า ผูป้ ฏิบตั งิ านบ�ำรุง รักษาสายส่งไฟฟ้าแรงสูงทุกคน จะต้องเป็นผู้ที่ผ่านการคัดเลือก และผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร การบ� ำ รุ ง รั ก ษาสายส่ ง ไฟฟ้ า แรงสูงจากโรงเรียนช่างสายของ กฟผ. รวมทัง้ ผ่านการทดสอบสมรรถภาพร่างกายก่อนปฏิบตั งิ าน ทุกครั้ง ช่างสาย Hotline ทุกคนจะต้องมีความพร้อม ทั้งด้าน ทักษะความรู้ ความเชี่ยวชาญ สภาพร่างกายที่แข็งแรง และ สภาพจิตใจที่มั่นคง หนุม่ นพรัตน์ ยมะสมิตร แฝดน้อง กล่าวว่า ระหว่าง การปฏิบตั งิ านบ�ำรุงรักษาสายส่งไฟฟ้าแรงสูง ช่างสาย Hotline ทุ ก คนจะต้ อ งสวมใส่ อุ ป กรณ์ ป้องกันการตกจากทีส่ งู เนือ่ งจาก ต้องขึ้นไปปฏิบัติงานบนเสาส่ง ไฟฟ้าแรงสูงทีส่ งู จากพืน้ ดินตัง้ แต่ 30-65 เมตร โดยรอบๆ ตัวจะ เต็ ม ไปด้ ว ยแรงดั น ไฟฟ้ า ตั้ ง แต่ ขนาด 115, 230 และ 500 กิโลโวลต์ ซึ่ ง ไม่ ส ามารถมองเห็ น ได้ ด ้ ว ย ตาเปล่า การท�ำงานจึงต้องระมัดระวังและปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอน ทีก่ ำ� หนดไว้อย่างเคร่งครัด โดยค�ำนึงถึงความปลอดภัยในการ ท�ำงานเป็นส�ำคัญ


การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

เรื่องราวในโลกใบนี้ บางครั้งเกิดขึ้นจากความบังเอิญอย่าง ไม่นา่ เชือ่ แต่หลายครัง้ ทีเ่ รือ่ งบังเอิญนัน้ มักเกิดจากความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจ ของมนุษย์ธรรมดาที่ฝันอยากจะได้สร้างประโยชน์สุขให้แก่ผู้อื่น แปลกแต่จริงที่วันนี้ กฟผ. มีคู่แฝดที่ไม่ได้เหมือนกันเฉพาะรูปร่าง หน้าตาเท่านั้น แต่เหมือนกันแม้กระทั่งอาชีพและภารกิจความ รับผิดชอบอย่างไม่น่าเชื่อ เพราะในไทยจะมีเพียงไม่กี่คนเท่านั้น ที่จะเป็นช่างสาย Hotline ได้

ทำ�ไมจึงเลือกมาเป็น Hotline

หนึง่ นรินทร์ “เดิมทีหลังจากเรียนจบในสาขาช่างไฟฟ้าแล้ว ได้ขา่ วการเปิดรับสมัครงานของ กฟผ. จึงสนใจและตัดสินใจสมัครงาน ที่ กฟผ. เนื่องจากเป็นหน่วยงานที่มีความมั่นคง และคิดว่าจะได้ ท�ำงานตรงกับสาขาที่เรียน โดยสามารถสอบผ่านทั้งข้อเขียนและ การสัมภาษณ์ รวมถึงผ่านการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย ได้แก่ การทดสอบเรื่องการขึ้นที่สูง (ปีนเสาไฟฟ้าแรงสูง) จึงได้มีโอกาสมา ท�ำงานในส่วนของงาน Hotline อย่างเต็มตัว เช่นเดียวกับน้องชาย ฝาแฝด รูส้ กึ ภาคภูมใิ จในอาชีพ Hotline เพราะเป็นงานทีท่ า้ ทายความ สามารถ และมีเพียงไม่กี่คนที่จะมีโอกาสท�ำงานแบบนี้ เพื่อสร้าง แสงสว่างและความสุขให้กับคนไทยทุกคน” หนุม่ นพรัตน์ “เหตุผลทีเ่ ลือกมาสมัครท�ำงานเป็นเจ้าหน้าที่ บ�ำรุงรักษาสายส่งไฟฟ้าแรงสูง หรือ Hotline ที่ กฟผ. นั้น เนื่องจาก เป็นงานทีต่ รงกับสาขาวิชาไฟฟ้าทีเ่ ราได้เรียนจบมา และงาน Hotline ถือเป็นงานที่เรียกว่าสุดยอดของไฟฟ้า เนื่องจากต้องท�ำงานกับ แรงดันไฟฟ้าสูงถึง 500,000 โวลต์ ซึ่งเป็นแรงดันไฟฟ้าสูงสุดของ ประเทศไทย เป็นงานที่ท้าทายความสามารถ ต้องเข้าไปสัมผัสกับ แรงดันไฟฟ้าแรงสูงและต้องปีนขึ้นไปท�ำงานบนเสาไฟฟ้าแรงสูง มากกว่า 60 เมตร และในประเทศไทยมีเจ้าหน้าที่ Hotline อยู่เพียง ไม่กคี่ นเท่านัน้ จึงตัดสินใจเลือกมาเป็นเจ้าหน้าที่ Hotline ของ กฟผ.”

แม้ว่าจะไม่มีพลังพิเศษอย่างซุปเปอร์ฮีโร่ แต่เจ้าหน้าที่ Hotline ของ กฟผ. ทุกคน มุง่ มัน่ ตัง้ ใจปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นทุกๆ วันอย่าง เต็มที่ เพือ่ ให้พนี่ อ้ งชาวไทยมีไฟฟ้าใช้อย่างมัน่ คง ไฟฟ้าไม่ตก ไม่ดบั ในทุกเทศกาล

ภารกิจสุดภาคภูมิใจในการเป็น Hotline

แฝดพี่ “ภารกิจทีร่ สู้ กึ ภาคภูมใิ จมากทีส่ ดุ คือภารกิจการเปลีย่ น ลูกถ้วยฉนวนไฟฟ้าโดยวิธีไม่ดับกระแสไฟฟ้า เป็นการบ�ำรุงรักษา สายส่งไฟฟ้าโดยไม่ท�ำให้ไฟฟ้าดับ เพื่อลดผลกระทบต่อประชาชน ผูใ้ ช้ไฟฟ้า ถือเป็นงานทีเ่ จ้าหน้าที่ Hotline ทุกคนต้องได้รบั การฝึกจาก โรงเรียนช่างสาย เพือ่ ให้เข้าใจหลักการและขัน้ ตอนการท�ำงานอย่าง ถูกต้องและปลอดภัย โดยในการท�ำงาน Hotline ทุกครัง้ จะต้องมีการ ประชุมชีแ้ จง ทบทวนขัน้ ตอนการท�ำงานขณะปฏิบตั งิ านต้องช่วยกัน ดูแลเรือ่ งความปลอดภัย ต้องท�ำงานด้วยความระมัดระวัง ต้องมีความ สามัคคีกนั ในทีม แม้วา่ สภาพอากาศอาจจะร้อน สภาพพืน้ ทีท่ ำ� งาน จะเป็นทุ่งนาหรือป่าเขา ท�ำให้การท�ำงานยากล�ำบากมากแค่ไหน ทุกคนก็มงุ่ มัน่ ตัง้ ใจปฏิบตั ภิ ารกิจให้ประสบความส�ำเร็จอย่างเต็มที”่ แฝดน้อง “ภารกิจที่รู้สึกภาคภูมิใจมากที่สุด คือครั้งที่ได้รับ มอบหมายให้ปฏิบัติภารกิจกู้เสาส่งไฟฟ้าแรงสูงล้ม เนื่องจากเกิด เหตุการณ์กอ่ วินาศกรรมเสาส่งไฟฟ้าแรงสูงในพืน้ ที่ 3 จังหวัดชายแดน ภาคใต้ ทีม Hotline ของ กฟผ. ทุกคนจะต้องเร่งด�ำเนินการกู้เสาส่ง ไฟฟ้าแรงสูง โดยต้องท�ำงานแข่งกับเวลา สภาพอากาศร้อน และ ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ เพื่อให้ระบบส่งจ่าย พลังงานไฟฟ้ากลับมาใช้งานได้รวดเร็วที่สุด” ยิง่ สูงยิง่ ต้องระมัดระวัง ยิง่ เสีย่ งยิง่ ต้องเตรียมความพร้อม ของร่ายกายและจิตใจให้แข็งแกร่ง เพือ่ ปฏิบตั ภิ ารกิจบ�ำรุงรักษา “เส้นเลือดใหญ่ของระบบไฟฟ้าไทย” ให้มีความมั่นคงและ ความพร้อมที่จะสร้างแสงสว่างและสร้างสรรค์ประโยชน์สุข ให้กับสังคมไทยอย่างยั่งยืน July-August 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

เบือ้ งหลังความมัน่ คงแข็งแรงของเขือ่ น กฟผ. เกิดจาก อีกหนึง่ ภารกิจทีท่ งั้ ลึก ทัง้ เสียว และทัง้ เสีย่ ง ของนักประดาน�ำ้ กฟผ. ไม่ใช่ทุกคนจะสามารถท�ำภารกิจนี้ได้ แต่ต้องเป็นผู้ที่ ได้รับการฝึกฝนจนเกิดความเชี่ยวชาญการด�ำน�้ำ และต้องมี ทักษะความรู้งานช่าง เพื่อปฏิบัติหน้าที่การซ่อมบ�ำรุงรักษา อุปกรณ์ใต้น�้ำ รวมไปถึงบ�ำรุงรักษาโครงสร้างความแข็งแรง ของเขื่อนและโรงไฟฟ้าพลังความร้อนทั่วประเทศของ กฟผ. ไม่เพียงเท่านัน้ ยังเป็นก�ำลังเสริมสนับสนุนในภารกิจช่วยเหลือ ครั้งส�ำคัญระดับประเทศ ภารกิจบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์และความมั่นคงแข็งแรง ของเขือ่ นใต้ผนื น�ำ้ ด้วยระดับความ “ลึก” กว่า 50 เมตร ลึกเกิน ขีดความสามารถของคนธรรมดาทั่วไปที่จะท�ำได้ ต้องได้รับ การฝึ ก อบรมเข้ ม ข้ น มี ค วามพร้ อ มทั้ ง ร่ า งกายและจิ ต ใจ ในภารกิจการบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์ใต้น�้ำ เช่น การเชื่อม ตัดต่อ อุปกรณ์ การขจัดสิง่ กีดขวางทางน�ำ้ ในหอหล่อเย็นของโรงไฟฟ้า พลังความร้อน ซึง่ มีพนื้ ทีแ่ คบและจ�ำกัด ภายใต้ความ “เสียว” ที่มืดมิดจนมองไม่เห็นอะไร แม้แต่เพื่อนร่วมงาน ประสาท สัมผัสจากมือและประสบการณ์จึงเป็นสิ่งที่สำ� คัญที่สุด ทั้งยัง “เสีย่ ง” กับขีดจ�ำกัดของเวลาการท�ำงาน ซึง่ จะมีผลต่อร่างกาย นักประดาน�ำ้ และต้องทนต่อความหนาวเย็นของอุณหภูมนิ ำ�้ นัน่ เป็นความท้าทายและเป็นบทบาทหน้าทีข่ องนักประดาน�ำ้ กฟผ. ที่ต้องพบเจอ July-August 2019

พ.จ.อ.อนุรกั ษ์ สุขมาก พยาบาลปริญญา ระดับ 6 และนักประดาน�ำ้ กฟผ. เขื่อนวชิราลงกรณ เล่าให้ฟังถึงบททดสอบของนักประดาน�้ำว่า กว่าจะได้รับคัดเลือกให้ท�ำหน้าที่เป็นนักประดาน�้ำ กฟผ. ไม่ใช่เรื่องง่าย ต้องผ่านการตรวจร่างกายอย่างเข้มงวด ผู้ที่มีร่างกายพร้อมเท่านั้นจึงจะ ได้รบั คัดเลือกให้เป็นนักประดาน�ำ้ กฟผ. และยังต้องฝึกอบรมทัง้ ภาคทฤษฎี และปฏิบัติเป็นเวลาทั้งสิ้น 1 เดือนเต็ม ลงด�ำน�้ำจริงทั้งน�้ำจืด น�้ำทะเล และต้องฝึกในช่วงเวลากลางวันและกลางคืน นับเป็นความท้าทายส�ำหรับ นักประดาน�ำ้ อย่างมาก ไม่เพียงเท่านัน้ หลังจากการฝึก 1 เดือนแรกผ่านไป ผู้ที่ได้รับหน้าที่เป็นนักประดาน�้ำ ยังต้องฝึกฝนหลักสูตรเพิ่มเติม ไม่ว่า จะเป็นหลักสูตรปฏิบตั งิ านใต้นำ�้ หลักสูตรการช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยทางน�ำ้ หลักสูตรการฝึกใช้อุปกรณ์เต็มรูปแบบ เป็นต้น เพื่อเพิ่มทักษะให้สามารถ รองรับภารกิจที่ยากและท้าทายขึ้นได้ ฉัตร์ภมู ิ ฟองจันทร์ ช่างระดับ 5 แผนกประดาน�ำ้ ฝ่ายบ�ำรุงรักษา เครือ่ งกล เล่าย้อนไปถึงประสบการณ์ครัง้ แรกในการด�ำน�ำ้ ให้ฟงั ว่า นับเป็น ความตืน่ เต้นและกังวลทีส่ ดุ ในชีวติ จากผูท้ ไี่ ม่เคยใช้อปุ กรณ์อะไรเลยในการ


การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

ด�ำน�้ำ ได้รับภารกิจแรกให้ดูดตะกอนโคลนและเคลียร์สิ่งกีดขวาง ทางน�ำ้ ในหอหล่อเย็นของโรงไฟฟ้าพลังความร้อน เผชิญกับอุปสรรค ที่ยาก ทั้งน�้ำขุ่น ทัศนวิสัยการมองก็มืดจนไม่เห็นอะไรเลย เสมือน ท�ำงานในตอนกลางคืน แต่สดุ ท้ายภารกิจก็ลลุ ว่ งไปได้ดว้ ยดี เพราะ ได้รับการช่วยเหลือจากรุ่นพี่ซึ่งเป็นคู่บัดดี้และคอยฝึกฝนทักษะให้ จนเวลานี้สามารถท�ำได้อย่างคล่องแคล่ว ภารกิจใต้น�้ำไม่ใช่การท�ำงานล�ำพังเพียงคนเดียวแล้วจะ ประสบความส�ำเร็จได้ ต้องท�ำงานเป็นทีมตัง้ แต่บนฝัง่ บนเรือสนับสนุน จนลึกไปถึงใต้นำ�้ นักประดาน�ำ้ ของ กฟผ. ยังต้องมีคบู่ ดั ดีเ้ พือ่ ช่วยเหลือ กันในการท�ำงาน รวมไปถึงเฝ้าระวังความปลอดภัยให้กันและกัน ยิง่ ไปกว่านัน้ การเป็นนักประดาน�ำ้ กฟผ. ยังได้รบั ความไว้วางใจจาก หน่วยงานภายนอกในการช่วยเหลือสนับสนุนการค้นหาต่างๆ เช่น การค้นหาสายเคเบิลใต้นำ�้ ร่วมกับการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคในเหตุการณ์ สายเคเบิลใต้นำ�้ ขาดทีเ่ กาะสมุย การร่วมเก็บกูเ้ สาไม้ของสะพานมอญ ล้มพังลงจากน�ำ้ ป่าไหลหลากที่ อ.สังขละบุรี จ.กาญจนบุรี และล่าสุด กั บ การได้ รั บ มอบหมายให้ ส นั บ สนุ น ภารกิ จ ระดั บ โลกที่ ต ้ อ งใช้ ความร่วมมือของหน่วยงานจ�ำนวนมาก คือ การช่วยเหลือทีมหมูปา่ อะคาเดมี่ ออกจากถ�้ำหลวงขุนน�้ำนางนอน จ.เชียงราย “จากการฝึกฝนและประสบการณ์การด�ำน�้ำทั่วทุกเขื่อนและ โรงไฟฟ้าของนักประดาน�้ำ กฟผ. ปฏิเสธไม่ได้ว่า เรามีบุคลากรที่มี ศักยภาพด้านนี้ เมือ่ ทุกคนได้รบั ทราบถึงเหตุการณ์ทมี หมูปา่ อะคาเดมี่ หายตัวไปในถ�ำ้ หลวงขุนน�ำ้ นางนอน ทีท่ ว่ มท้นไปด้วยมวลน�ำ้ มหาศาล และภารกิจช่วยเหลือครั้งนั้นต้องการบุคลากรที่มีความสามารถ

ในการด�ำน�้ำ ทุกคนมีความพร้อมเข้าช่วยเหลือในภารกิจนี้อย่าง เต็มก�ำลัง แม้จะเป็นเพียงส่วนเล็กๆ เพือ่ ช่วยล�ำเลียงขวดอากาศและ ถังออกซิเจนเข้าไปภายในถ�ำ้ ก็นบั ว่าเป็นความตืน้ ตันใจของพวกเรา ทีมนักประดาน�ำ้ กฟผ. ทีไ่ ด้เป็นส่วนหนึง่ ในภารกิจ อีกทัง้ ยังส่งผลท�ำให้ หน่วยงานภายนอกรูจ้ กั กฟผ. มากขึน้ ด้วย” ฉัตร์ภมู แิ ละพ.จ.อ.อนุรกั ษ์ เล่าด้วยรอยยิ้ม ยิง่ ไปกว่านัน้ หนึง่ ในนักประดาน�ำ้ อย่างพ.จ.อ.อนุรกั ษ์ ไม่ได้ เป็นเพียงนักประดาน�ำ้ เท่านั้น ยังรับหน้าที่เป็นพยาบาลเวชศาสตร์ ใต้นำ�้ ซึ่งเป็นผู้ที่คอยดูแลสุขภาพของนักประดาน�ำ้ ของ กฟผ. ด้วย นักประดาน�ำ้ ทุกคนจะได้รบั การตรวจสุขภาพเป็นประจ�ำทุก 6 เดือน และตรวจสุขภาพก่อน-หลังการปฏิบัติงานทุกครั้ง หากมีการด�ำลึก กว่า 20 เมตร พยาบาลเวชศาสตร์ใต้นำ�้ จะเป็นผูค้ อยเฝ้าระวัง ป้องกัน รักษาการเกิดโรคจากการด�ำน�ำ้ รวมไปถึงส่งต่อนักประดาน�ำ้ ทีเ่ จ็บป่วย เข้ารับการรักษา แม้วา่ การปฏิบตั งิ านใต้นำ�้ จะเป็นงานทีเ่ สียวและเสีย่ ง แต่นเี่ ป็น ส่วนหนึง่ เพือ่ บ�ำรุงรักษาอุปกรณ์ เขือ่ นและโรงไฟฟ้าพลังความร้อน รวมไปถึงสร้างความมัน่ คงแข็งแรงให้กบั เขือ่ นของ กฟผ. เพือ่ เตรียม ความพร้อมส�ำหรับความมั่นคงในระบบไฟฟ้าของประเทศไทย เหล่านักประดาน�้ำ กฟผ. จะขอมุ่งมั่นในการท�ำหน้าที่เบื้องหลัง การผลิตไฟฟ้า “สร้างสรรค์ สร้างแสง สร้างสุข” เพือ่ คนไทยทุกคน บทความจาก http://www.egat.co.th/

July-August 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

July-August 2019


การไฟฟ้านครหลวง

July-August 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

จัดระเบียบสายสื่อสาร

หนึ่งภารกิจเพื่อบริหารจัดการสินทรัพย์ของ PEA บนเสาไฟฟ้าหนึ่งต้นไม่ได้มีแค่สายไฟฟ้าแรงสูงและแรงต�่ำสำ�หรับจ่ายกระแสไฟฟ้าไปสู่บ้านเรือน อาคาร ร้านค้า สถานประกอบการต่างๆ เท่านั้น หากบนเสาต้นเดียวกันยังประกอบไปด้วยสายสื่อสาร หรือสื่อนำ�ส่งสัญญาณ โทรคมนาคมประเภทสายที่ขอเข้ามามีส่วนร่วมด้วย เพื่อความเป็นระเบียบ ไม่กระทบกับการให้บริการไฟฟ้า PEA จึงต้องมีการวางแผนบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ

การจัดระเบียบสายสื่อสาร เพื่ออนาคต

ในยุ ค ดิ จิ ทั ล ไทยแลนด์ ที่ มี ก ารน� า เทคโนโลยีตา่ งๆ เข้ามาใช้มากมาย โดยเฉพาะ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เช่น โทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต เรามักจะเห็นสายเหล่านี้ ระโยงระยางอยู่ตรงชั้นล่างสุดของเสาไฟฟ้า ของ PEA เกือบทุกหนแห่ง ดังนั้นเพื่อรองรับ การเติ บ โตของเทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารด้ า น โทรคมนาคมในปัจจุบันและอนาคต การใช้ ทรัพยากรของ PEA ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ตลอดจนเพิม่ มูลค่าและรายได้เสริม PEA จึงได้ ปรับปรุงหลักเกณฑ์การพาดสายหรือติดตั้ง อุ ป กรณ์ สื่ อ สารโทรคมนาคมบนเสาไฟฟ้ า ให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ โดยให้ความใส่ใจ ทุกขั้นตอน ตั้งแต่การวางแผนการจัดระเบียบ สายสื่อสารและงบประมาณ ประสานงาน ติ ด ตามและประเมิ น ผลการจั ด ระเบี ย บ สายสื่อสาร จัดท�ำหลักเกณฑ์และมาตรฐาน ด้านสื่อสารโทรคมนาคม ฝึกอบรมและชี้แจง ระเบียบหลักเกณฑ์ดา้ นการสือ่ สารโทรคมนาคม ให้หน่วยงานต่างๆ ภายใน PEA รับทราบ บริหาร จัดการข้อมูลทรัพยากรด้านสือ่ สารโทรคมนาคม รวมถึงประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ทั้ง ภายนอกและภายใน เช่น คณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เป็นต้น

July-August 2019


การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

ขั้นตอนการทำ�งานเพื่อนำ�เข้าข้อมูลในระบบ TAMS

8/7/2562

‘TAMS’ ระบบบริหารจัดการทรัพยากร ด้านสื่อสารโทรคมนาคมของ PEA

นอกจากการปรับปรุงหลักเกณฑ์ในการพาดสายของ PEA ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน รองรับการเติบโต ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารยุคใหม่ที่พัฒนา อย่างรวดเร็วแล้ว การอนุญาตให้พาดสายและอุปกรณ์สอื่ สาร บนเสาไฟฟ้ายังเป็นการใช้ทรัพยากรให้เกิดความคุ้มค่าและ เป็นช่องทางการหารายได้เสริมของ PEA ดังนั้นจึงต้องมี การเก็บบันทึกข้อมูลทีเ่ ป็นระบบ เพือ่ สะดวกในการเข้าถึงข้อมูล และน�ำไปสู่การบริหารจัดการด้านข้อมูลและทรัพยากรที่ดี มีความน่าเชื่อถือ และเป็นประโยชน์กับทุกฝ่าย ‘PEA Telecommunication Asset Management System : TAMS’ หรือระบบบริหารจัดการทรัพยากรด้านสือ่ สาร โทรคมนาคมของ PEA จึงเป็นเหมือนฐานข้อมูลเกี่ยวกับ การพาดสายสื่อสารของบริษัทผู้ให้บริการต่างๆ โดยแผนก ปฏิบัติการและบ�ำรุงรักษา แผนกก่อสร้างและปฏิบัติการใน พื้นที่ต่างๆ ของ PEA จะเป็นผู้เข้าไปด�ำเนินการเกี่ยวกับการ ส�ำรวจ ตรวจสอบ และน�ำเข้าข้อมูลสายสือ่ สาร/อุปกรณ์ในระบบ TAMS โดยมีกองบริการสารสนเทศและสื่อสาร แผนกบริหาร ศูนย์บริการสารสนเทศและสือ่ สาร เป็นผูพ้ ฒ ั นาระบบการบริหาร การจัดการสื่อสาร ดูแลความมั่นคงปลอดภัยของอุปกรณ์ Hardware และ Software ของระบบ TAMS ให้พร้อมใช้งาน ตลอดเวลา ปรับปรุงข้อมูลบนระบบ TAMS ให้เชื่อถือได้และ เป็นปัจจุบัน ติดตามการประสานงานในระบบที่เกี่ยวข้องกับ การให้บริการในระบบ TAMS ให้การสนับสนุนและแก้ไขปัญหา ของผูใ้ ช้ระบบ ไปจนถึงการประเมินผลการให้บริการ เพือ่ ใช้ใน การพัฒนาระบบ TAMS ต่อไป

ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการสำ�รวจและนำ�เข้ า ข้ อ มู ล สายสื ่ อ สารและติาด4/2562 ตั้ ง สายใจไฟฟ้ Pages 1 อุปกรณ์สื่อสาร

ในปัจจุบันการด�ำเนินการส�ำรวจสาย/อุปกรณ์และน�ำเข้าในระบบ TAMS มีด้วยกัน 2 แบบ คือ  PEA ส�ำรวจและน�ำเข้าข้อมูลเอง ซึง ่ หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบใน การส�ำรวจ ตรวจสอบ และน�ำเข้าข้อมูลเองคือ แผนกปฏิบตั กิ ารและบ�ำรุง รักษา แผนกก่อสร้างและปฏิบัติการของ PEA ในพื้นที่  PEA จ้างผู้รับจ้างส�ำรวจและน�ำเข้าข้อมูล ซึ่งผู้ควบคุมงาน จะมีหน้าทีใ่ นการตรวจสอบข้อมูลทีผ่ รู้ บั จ้างเป็นผูน้ ำ� เข้าข้อมูล ซึง่ ถ้าข้อมูล ที่ได้ไม่ถูกต้องครบถ้วน ผู้ควบคุมงานจะต้องแจ้งผู้ส�ำรวจให้กลับไปแก้ไข ข้อมูล ก่อนน�ำข้อมูลเข้าสู่ระบบ

ตรวจสอบข้อมูลจากระบบ TAMS

ข้อมูลของผูร้ บั ช่วงหรือเป็นผูร้ บั จ้างส�ำรวจข้อมูลสายสือ่ สาร/อุปกรณ์ จะไม่ถกู บันทึกลงในฐานข้อมูล จนกว่าจะผ่านการตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนจากผู้ดูแลข้อมูลที่เป็นผู้จ้าง

ด้ ว ยกระบวนการตรวจสอบความถู ก ต้ อ งครบถ้ ว นของข้ อ มู ล สายสือ่ สารและอุปกรณ์ ทัง้ ก่อนและหลังน�ำเข้าระบบ TAMS จะท�ำให้เกิด ฐานข้อมูลโครงข่ายสือ่ สารและจ�ำนวนอุปกรณ์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพ เพือ่ น�ำไป ใช้ในการพิจารณาการขออนุญาตพาดสายหรือติดตัง้ อุปกรณ์สอื่ สารต่อไป ขณะเดียวกัน การบริหารจัดการที่เป็นระบบยังสนับสนุนการใช้ทรัพยากร ของ PEA ให้เกิดความคุ้มค่าสูงสุดตามแนวทางของ Asset Management หรือการจัดการสินทรัพย์ของ PEA อีกด้วย July-August 2019


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

PEA และ นิสสัน ประเทศไทย เดินหน้าประกาศความพร้อม

รองรับการชาร์จพลังงานไฟฟ้าสำ�หรับยานยนต์ไฟฟ้าภาคครัวเรือนทั่วประเทศ

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA) และบริษัท นิสสัน มอเตอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด แถลงข่าวความร่วมมือการเตรียมความพร้อม รองรั บ การชาร์ จ พลั ง งานส� ำ หรั บ ยานยนต์ ไ ฟฟ้ า ภาคครั ว เรื อ น โดยมี สมพงษ์ ปรีเปรม ผูว้ า่ การการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค และ ราเมช นาราสิมนั ประธานบริษทั นิสสัน มอเตอร์ ประเทศไทย ร่วมแถลงข่าว มีผู้บริหารและพนักงาน PEA ร่วมพิธี ณ โถงชั้น 1 อาคาร LED ส�ำนักงานใหญ่ PEA การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค และบริษทั นิสสัน มอเตอร์ (ประเทศไทย) ร่วมมือสร้างความมัน่ ใจและความปลอดภัยในการเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับการติดตั้งเครื่องอัดประจุไฟฟ้าส�ำหรับยานยนต์ไฟฟ้า โดยเน้นถึงความมุง่ มัน่ ในการท�ำงานร่วมกัน เพือ่ ท�ำให้ผขู้ บั ขีร่ ถยนต์ พลังงานไฟฟ้าสามารถเข้าถึงเครือ่ งมือและคูม่ อื การใช้งานและบริการ ส�ำหรับระบบอัดประจุไฟฟ้า ในการฝึกอบรมทักษะทางเทคนิค การพัฒนาอุปกรณ์การ ชาร์จและระบบช�ำระค่าไฟฟ้า ทาง PEA น�ำเอาเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มา บูรณาการ เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุด สนับสนุนการติดตัง้ สถานีชาร์จ ให้ครอบคลุมทุกจังหวัดทัว่ ประเทศ จัดฝึกอบรมให้ความรู้ ให้คำ� ปรึกษา ด้านระบบไฟฟ้า เพื่อรองรับการใช้ EV ให้กับตัวแทนจ�ำหน่าย July-August 2019

ส่วนงานบริการลูกค้า ช่างประจ�ำศูนย์บริการมีการเตรียม ความพร้อมและสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้านิสสันในการติดตั้ง เครือ่ งชาร์จ ตรวจสอบระบบไฟฟ้า บริการจัดหา ติดตัง้ และบ�ำรุงรักษา เครื่องชาร์จในสถานที่ต่างๆ ของลูกค้า ข้อตกลงนี้ บริษัท พีอีเอ เอ็นคอม อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด บริษัทในเครือของ PEA จะเป็นผู้ด�ำเนินการส�ำรวจ ออกแบบ และ ติดตั้งเครื่องอัดประจุไฟฟ้าส�ำหรับ EV ในรูปแบบ Charging Point ส�ำหรับภาคประชาชน พร้อมดูแลมิเตอร์ไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า ประจ�ำบ้าน รวมถึงเต้ารับในพืน้ ทีบ่ ริการของ PEA อีกทัง้ ยังสนับสนุน ในการเตรียมความพร้อมของระบบพลังงาน เพื่อเดินหน้าส่งเสริม การใช้รถยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทยอย่างเต็มที่ ทั้งนี้ ในปี พ.ศ. 2563 PEA มีแผนด�ำเนินการขยายสถานี Charging Station ส�ำหรับยานยนต์ EV จ�ำนวน 62 แห่ง ในระยะ ทุกๆ 100 กิโลเมตร บนถนนทางหลวงสายหลักของประเทศ PEA และนิสสัน เชื่อมั่นว่าความร่วมมือกันระหว่างภาค พลังงานและภาคยานยนต์ในครั้งนี้จะช่วยสร้างความตระหนักและ กระตุ้นตลาดยานยนต์ไฟฟ้าให้เติบโตรวดเร็วยิ่งขึ้น


บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน)

โรงไฟฟ้าขนอม ในกลุ่มเอ็กโก คว้ารางวัล

การบริหารสู่ความเป็นเลิศ (TQC) ประจำ�ปี 2561 บริษัท ผลิตไฟฟ้าขนอม จ�ำกัด ในกลุ่มเอ็กโก โดย สืบศักดิ์ ชูฤทธิ์ กรรมการผู้จัดการ รับรางวัลการบริหารสู่ความเป็นเลิศ (Thailand Quality Class : TQC) ประจ�ำปี 2561 จาก ดร.พสุ โลหารชุน ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ในพิธีมอบรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 17 ในฐานะ องค์กรไทยชั้นน�ำที่มีความเป็นเลิศในการบริหารจัดการองค์กรตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ ทัง้ 7 หมวด ได้แก่ การน�ำองค์กร การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การมุง่ เน้นลูกค้า การวัดวิเคราะห์ จัดการ ความรู้ การมุง่ เน้นบุคลากร การมุง่ เน้น การปฏิบตั แิ ละผลลัพธ์ เพือ่ พัฒนาขีดความสามารถในการ แข่งขันทางธุรกิจให้ทัดเทียมระดับมาตรฐานสากล พิธีมอบรางวัลดังกล่าวจัดขึ้นโดยสถาบันเพิ่ม ผลผลิตแห่งชาติ สถาบันเครือข่ายของกระทรวงอุตสาหกรรม ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรม แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2562 รางวัลคุณภาพแห่งชาติ ถือเป็นรางวัลระดับโลก เนื่องจากมีพื้นฐานทางด้านเทคนิค และ กระบวนการตัดสินรางวัลเช่นเดียวกับรางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา หรือ The Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) ซึ่งเป็นต้นแบบรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ที่ประเทศต่างๆ กว่า 90 ประเทศทั่วโลกน�ำไปประยุกต์ใช้ ซึ่งเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาตินี้

สามารถน�ำไปปรับใช้เป็นบรรทัดฐาน ส�ำหรับการประเมินตนเองขององค์กร ได้ ไม่ว่าจะเป็นองค์กรภาครัฐหรือ ภาคเอกชน ส�ำหรับองค์กรทีน่ ำ� เกณฑ์ ไปใช้พฒ ั นาการบริหาร จัดการองค์กร และสมั ค รขอรั บ รางวั ล คุ ณ ภาพ แห่งชาติ จะได้รบั ข้อมูลป้อนกลับจาก ผูต้ รวจประเมินรางวัลคุณภาพแห่งชาติ เพือ่ น�ำมาใช้ปรับปรุงการด�ำเนินงาน ขององค์ ก รให้ มุ ่ ง สู ่ ค วามเป็ น เลิ ศ ต่อไป

ESCO ร่วมลงนาม NED

เดินหน้าให้บริการ O&M โรงไฟฟ้าลพบุรีโซลาร์ และวังเพลิงโซลาร์ต่อเนื่อง

บริษทั เอ็กโก เอ็นจิเนียริง่ แอนด์ เซอร์วสิ จ�ำกัด (ESCO) โดย สาธิต ถนอมกุล กรรมการผู้จัดการ ร่วมลงนามสัญญากับ บริษทั พัฒนาพลังงานธรรมชาติ จ�ำกัด โดย ณัฐเิ ดช จิตครองธรรม ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร เพือ่ ให้บริการงานเดินเครือ่ งและบ�ำรุงรักษา (O&M) โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ จ�ำนวน 2 แห่ง ได้แก่ โรงไฟฟ้า ลพบุรีโซลาร์ และโรงไฟฟ้าวังเพลิงโซลาร์ อ.โคกส�ำโรง จ.ลพบุรี ขนาดก�ำลังผลิตรวม 63 เมกะวัตต์ เป็นเวลา 2 ปี โดยมี จักษ์กริช พิบลู ย์ไพโรจน์ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ร่วมเป็นสักขีพยาน เมือ่ วันที่ 20 มีนาคม 2562 ณ อาคารเอ็กโก July-August 2019


บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

ราช กรุ๊ป ปรับกลยุทธ์การเติบโต ขยายฐานจากไฟฟ้าสู่ระบบ สาธารณูปโภคพื้นฐาน ตั้งเป้าสัดส่วนลงทุน 80:20

บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) แถลงปรับกลยุทธ์ธุรกิจ ขยายฐานการเติบโตจากธุรกิจผลิตไฟฟ้าไปยังระบบสาธารณูปโภค พืน้ ฐาน รองรับโอกาสการลงทุนภายในประเทศจากแผนยุทธศาสตร์ ชาติ แผนยุทธศาสตร์ดา้ นพลังงาน และแผนพัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้า ฉบับใหม่ ซึ่งมุ่งเน้นสร้างความมั่นคงด้านพลังงานและการพัฒนา ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน เพื่อเสริมความสามารถในการแข่งขัน ของภาคอุตสาหกรรมและประเทศ ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังคงก�ำหนดให้ ธุรกิจผลิตไฟฟ้าเป็นธุรกิจหลัก และคาดหมายการลงทุนระบบ สาธารณูปโภคพืน้ ฐานในปี พ.ศ. 2566 อยูท่ ปี่ ระมาณ 20% ของพอร์ต การลงทุนทั้งหมด กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ กรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ บริษทั ราช กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า นับจากปีนกี้ ารลงทุน ของบริษทั ฯ จะมุง่ ไปทีธ่ รุ กิจผลิต ไฟฟ้าและระบบสาธารณูปโภค พื้นฐานเป็นส�ำคัญ โดยโอกาส ท า ง ธุ ร กิ จ ที่ น ่ า ส น ใ จ ใ น กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ ประเทศไทยมี ม ากขึ้ น จาก แผนการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน เชื่อมไทยเชื่อมโลกของยุทธศาสตร์ชาติ แผนการพัฒนาพลังงาน อย่างยั่งยืนและส่งเสริมการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและระบบ การจัดการทีเ่ สริมความมัน่ คงของระบบพลังงาน รวมทัง้ แผนพัฒนา July-August 2019

ก�ำลังการผลิตไฟฟ้า พ.ศ. 2561-2580 บริษทั ฯ มัน่ ใจในศักยภาพและ มีความพร้อมที่จะลงทุนเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มกิจการของบริษัทให้ บรรลุเป้าหมายที่ 200,000 ล้านบาท ในปี พ.ศ. 2566 “ธุ ร กิ จ ผลิ ต ไฟฟ้ า ยั ง ถื อ เป็ น ธุ ร กิ จ หลั ก ที่ เ สริ ม สร้ า งความ แข็งแกร่งองค์กร โดยบริษทั ฯ ยังคงแสวงหาการลงทุนโครงการโรงไฟฟ้า ประเภทต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ได้แก่ สปป.ลาว ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย เวียดนาม จีน และฟิลปิ ปินส์ ตามแผนการ ลงทุนปี พ.ศ. 2562 คาดว่าจะมีการลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าขนาด ใหญ่และขนาดเล็กในไทย 2 โครงการ อีกทัง้ ยังมีอกี 6 โครงการทีอ่ ยู่ ระหว่างการศึกษารายละเอียดและเจรจาการร่วมทุนกับพันธมิตร ในต่างประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย สปป.ลาว และเวียดนาม นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังสนใจโครงการรถไฟฟ้า ถนนมอเตอร์เวย์ทกี่ ำ� ลัง จะเปิดประมูลในอนาคต รวมทัง้ ธุรกิจใหม่ๆ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับเทคโนโลยี Internet of Things และโทรคมนาคม ฉะนัน้ ภาพการด�ำเนินธุรกิจของ ราช กรุป๊ จะเป็นการลงทุนเพือ่ ช่วยยกระดับปัจจัยพืน้ ฐานทีส่ ง่ เสริม การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้กา้ วหน้า และสร้างเสริมคุณภาพ ชีวิตที่ดีของสังคมในวงกว้างมากขึ้น” กิจจา กล่าว ในปี พ.ศ. 2562 บริษัทฯ มีโรงไฟฟ้า 3 แห่งที่จะเดินเครื่อง เชิงพาณิชย์และรับรู้รายได้ ก�ำลังผลิตติดตั้งตามการถือหุ้นรวม 179.73 เมกะวัตต์ ประกอบด้วยโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ คอลลินส์วิลล์ ออสเตรเลีย โรงไฟฟ้าเบิกไพรโคเจนเนอเรชั่น และ โรงไฟฟ้าพลังงานน�ำ้ เซเปียน เซน�ำ้ น้อย ใน สปป.ลาว ส่วนโครงการ ทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้างอีก 4 โครงการ รวม 486.79 เมกะวัตต์



July-August 2019


หัวข้อการอบรม

หลักการและเหตุผล

แสงสว่างเป็นสิ่งจ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิตของมนุษย์มา ตัง้ แต่ยคุ โบราณ ปัจจุบนั มนุษย์ได้คดิ ค้นประดิษฐ์แหล่งก�ำเนิดแสง เพือ่ ใช้ทดแทนแสงธรรมชาติ มีเทคโนโลยีทกี่ า้ วล�ำ้ และมีการใช้งาน อย่างกว้างขวาง (จนบางครัง้ เกินความจ�ำเป็น) อย่างไรก็ตาม การใช้ แสงสว่างทีด่ ตี อ้ งท�ำให้เกิดการมองเห็นทีช่ ดั เจน สร้างบรรยากาศ ที่เหมาะสม และส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดี เพือ่ ให้มสี ภาพแวดล้อมการส่องสว่างทีด่ ี ผูอ้ อกแบบจ�ำเป็น ต้องมีความรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติของแสงและสามารถออกแบบ ให้มคี ณ ุ ภาพทีเ่ หมาะสมทัง้ ในเชิงปริมาณ (เช่น ระดับความสว่าง) และเชิงคุณภาพ (เช่น ความสวยงาม) ส่วนผูใ้ ช้งานต้องตระหนักถึง ความส�ำคัญ เพื่อใช้และติดตั้งอุปกรณ์ที่มีคุณภาพ รวมถึงมีการ บ�ำรุงรักษาที่เหมาะสม ดังนั้น สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย จึงได้ ร่ ว มกั บ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี (มหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โรฒ) TBC, วิ ศ วฯ จุ ฬ าฯ และ บริษัท ซิกนิฟาย คอมเมอร์เชียล (ประเทศไทย) จ�ำกัด (ชื่อเดิม บริษัท ฟิลิปส์ อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด) จึงได้ร่วมกัน จัดท�ำหลักสูตรการอบรม “Lighting Awareness” เพื่อให้ผู้เข้า อบรมได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของแสงสว่างและสร้างความรู้ ความเข้าใจในการใช้แสงสว่าง รวมทัง้ การออกแบบอย่างถูกต้อง เพื่อให้ได้ระบบการส่องสว่างที่มีคุณภาพ

วิทยากร

รศ.ไชยะ แช่มช้อย ผศ. ดร.จรรยาพร สไตเลอร์ และ คุณวีรพล เอาทารย์สกุล

9 ส.ค. 16 ส.ค. 6 ก.ย. 13 ก.ย. 18 ก.ย. 19 ก.ย. 20 ก.ย. 27 ก.ย. 4 ต.ค.

แสงและการส่องสว่าง (Lighting and Lighting) ความสัมพันธ์ของปริมาณทางแสงที่จ�ำเป็นต้องรู้ LED ข้อมูลแสงทางเทคนิคและการแปลความหมาย (Photometric Data and Interpretation) หลักการออกแบบการส่องสว่างภายในและภายนอก อาคาร (Lighting Design Principle for Indoor and Outdoor Applications) DIALux Evo การให้แสงสว่างในอาคาร DIALux Evo การให้แสงสว่างนอกอาคาร (Floodlight) DIALux Evo การให้แสงสว่างถนน หลักการออกแบบการส่องสว่างเชิงสถาปัตยกรรม (Architectural Lighting Design Principle) แสงสว่างเพื่อสุขภาวะ (Light for Well-Being)

อัตราค่าสมัคร

หมายเหตุ :  ราคานีร ้ วมภาษีมลู ค่าเพิม่ 7% และ TIEA ได้รบั การยกเว้นการหักภาษี ณ ที่จ่าย 3%  ราคานี้รวมค่าเอกสาร/อาหารกลางวัน/วุฒิบัตร  การโอนเงิน กรุณาน�ำส่งหลักฐานการโอนเงิน โดยระบุชอ ื่ ผูร้ บั การอบรม และที่อยู่ในการออกใบเสร็จรับเงินที่ Fax No. 0-2935-6569

สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย โทร. 0-2935-6905 E-mail : tiea_association@hotmail.com

July-August 2019


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

สกสว. ชู 13 ผลงานเด่นมุ่งสู่

“งานวิจัยเพื่ออนาคต” ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (สกสว.) หรือเดิมคือส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) จัดงานมอบโล่เกียรติยศผลงานวิจยั เด่น สกว. ประจ�ำปี 2561 เพือ่ เป็นการยกย่องเชิดชูเกียรติแก่นกั วิจยั และผลงานวิจยั ทีม่ คี ณ ุ ภาพ สร้างผลประโยชน์และก่อให้เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคมและ การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ทีผ่ า่ นมา สกว. มีบทบาทในการสนับสนุนทุนวิจยั ให้ครอบคลุม ทุกศาสตร์ มีการบริหารจัดการงานวิจัยอย่างเป็นระบบ มุ่งเน้นการ ผลักดันผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทุกมิติ รวมทั้งสนับสนุนการ พัฒนาศักยภาพนักวิจยั ให้มคี ณ ุ ภาพในระดับสากล ทุกภารกิจถือเป็น การสร้างรากฐานทีส่ �ำคัญให้แก่ระบบวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม ของไทย เมือ่ สกว. ได้เปลีย่ นบทบาทเป็น สกสว. ทีม่ ภี ารกิจหลักใน การจัดท�ำและก�ำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ตลอดจนจัดสรรงบประมาณให้แก่ หน่วยงานในระบบวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (ววน.) แต่การจัด พิธมี อบรางวัลผลงานวิจยั เด่น สกว. ประจ�ำปี 2561 ยังคงด�ำเนินอยู่ เพื่อให้ประชาคมวิจัยและสาธารณะเห็นต้นแบบการท�ำงานวิจัย ที่สามารถส่งมอบประโยชน์แก่สังคม รวมทั้งเป็นการยกย่องเชิดชู เกียรตินกั วิจยั สกว. ทีผ่ ลิตผลงานได้อย่างมีคณ ุ ภาพและเป็นส่วนช่วย ขับเคลื่อนสังคมไทยตลอดมา ส�ำหรับเกณฑ์ในการคัดเลือกผลงานวิจยั ปีนนี้ นั้ คือ ต้องเป็น ผลงานวิจยั ทีป่ ระสบผลสําเร็จ มีผใู้ ช้ประโยชน์ และปรากฏผลเป็นที่ ประจักษ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สามารถสร้างการเปลีย่ นแปลง ที่ส�ำคัญในวงการที่เกี่ยวข้อง หรือก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคม นําไปสู่การพัฒนาในวงกว้าง อีกทั้งต้องมีวิธีการวิจัยเป็นที่ยอมรับ ตามหลักวิชาการ โดยแบ่งกลุม่ พิจารณาตามลักษณะการนําผลงาน วิจัยไปใช้ประโยชน์ 5 ด้าน รวมทั้งสิ้น 13 ผลงาน ประกอบด้วย  ด้านนโยบาย จํานวน 1 ผลงาน ได้แก่ “อนาคตสิมิลัน บนความสมดุลของการท่องเทีย่ ว” โดย ผศ. ดร.ดรรชนี เอมพันธุ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  ด้านสาธารณะ จํานวน 1 รางวัล ได้แก่ “การบูรณะ โบราณสถานเพือ่ รากฐานการอนุรกั ษ์อย่างยัง่ ยืน” ซึง่ มี รศ. ดร.นคร ภู่วโรดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหัวหน้าชุดโครงการ  ด้านพาณิชย์ จํานวน 4 ผลงาน ได้แก่ “หุน ่ ยนต์สำ� หรับ การขูดหน้ายางรถยนต์อตั โนมัตใิ นกระบวนการผลิตยางหล่อดอก” โดย ผศ. ดร.ชนะ รักษ์ศิริ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ “การผลิต July-August 2019

เนือ้ ไก่กรดยูรคิ ต�ำ่ จากไก่ลกู ผสมพืน้ เมืองเพือ่ ส่งเสริมศักยภาพ การแข่งขันในตลาดอาหารสุขภาพในระดับอุตสาหกรรม” โดย ศ. ดร.มนต์ชยั ดวงจินดา มหาวิทยาลัยขอนแก่น “การพัฒนาตัวเร่ง ปฏิกิริยาส�ำหรับการเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็น สารเคมีมูลค่าเพิ่ม” โดย รศ. ดร.ธงไทย วิฑูรย์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ และ “เสื้อดมกลิ่นกายอัจฉริยะ” โดย ดร.ธารา สีสะอาด และ ผศ. ดร.ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ มหาวิทยาลัยมหิดล  ด้านชุมชนและพืน ้ ที่ จํานวน 4 ผลงาน ได้แก่ “การฟืน้ ฟู ดินปนเปือ้ นสารอันตรายด้วยอนุภาคนาโนเพือ่ การผลิตพืชอาหาร ปลอดภัย โดยชุมชนเพื่อชุมชน : กรณีน�ำร่องนาข้าวปนเปื้อน แคดเมียม อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก” โดย ผศ. ดร.ธนพล เพ็ญรัตน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร “บางชะนีโมเดล กระบวนการ ปรับตัวของชาวนาในพืน้ ทีท่ งุ่ รับน�ำ้ ” โดย เรณู กสิกลุ นักวิจยั เพือ่ ท้องถิน่ “งานวิจยั ไร้พรมแดน 45 ปีแห่งการพลัดพรากสูก่ ารฟืน้ ความสัมพันธ์ชุมชนท้องถิ่นชายแดนไทย-กัมพูชา” โดย รุ่งวิชิต ค�ำงาม นักวิจัยเพื่อท้องถิ่น และ “นวัตกรรมการป้องกันก�ำจัด โรคเหี่ยวในกล้วยในประเทศไทย” โดย ดร.ปฏิมาพร ปลอดภัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  ด้ า นวิ ช าการ จํ า นวน 3 ผลงาน ได้ แ ก่ “นโยบาย ต่างประเทศไทยต่อประเทศเพื่อนบ้านในยุคสงครามเย็น : 4 กรณีศกึ ษาเปรียบเทียบ” โดย สุรพงษ์ ชัยนาม อดีตเอกอัครราชทูต “งานวิจัยมุ่งเป้าในการศึกษาสมุนไพรไทยและใช้เทคโนโลยี ต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์แปรรูปเพื่อใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์” โดย ศ. ดร.ศุภยางค์ วรวุฒคิ ณ ุ ชัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ “นวัตกรรมอุปกรณ์กกั เก็บพลังงานไฟฟ้าเคมีจากวัสดุผสมของ กราฟีนแอโรเจล” โดย ผศ. ดร.มนตรี สว่างพฤกษ์ สถาบันวิทยสิรเิ มธี

หุ่นยนต์ขูดดอกยางเครื่องแรกของโลก

“ยางรถยนต์ ” หนึ่ ง ในชิ้ น ส่ ว นที่ ถู ก เปลี่ ย นบ่ อ ยที่ สุ ด ใน ยานพาหนะ ส่วนใหญ่ยาง 1 เส้นจะมีอายุการใช้งานเฉลีย่ อยูท่ รี่ าวๆ 3-4 ปี ขึ้นอยู่กับความสมบุกสมบันในการขับขี่ สาเหตุที่รถยนต์ควร จะเปลีย่ นยางเมือ่ ถึงอายุขยั เนือ่ งจากบนยางจะมีลวดลายทีอ่ อกแบบ มาเพื่อการทรงตัวให้รถเกาะถนนและรีดน�้ำให้ไหลผ่านล้อไปทาง ด้านหลัง โดยเรียกกันว่า “ดอกยาง” หากดอกยางสึกหรือลายบนยาง เริ่มเลือนลางจะส่งผลต่อการขับขี่โดยตรงและเสี่ยงต่อการเกิด อุบัติเหตุ


การเปลีย่ นยางแต่ละครัง้ มีคา่ ใช้จา่ ยค่อนข้างสูง แต่หลายคน อาจไม่รวู้ า่ ดอกยางเก่านัน้ สามารถน�ำไปเข้าเครือ่ งจักรเพือ่ “ขูดยาง” ให้มีลวดลายกลับขึ้นมาใหม่อีกครั้ง เรียกว่าการท�ำ “Retread” แต่ สาเหตุที่การขูดยางยังไม่เป็นที่นิยมเพราะเครื่องจักรมีราคาแพง และเครื่องจักร 1 เครื่อง สามารถใช้กับล้อได้เพียง 1 ขนาดเท่านั้น ท�ำให้ไม่คุ้มค่ากับการลงทุนของผู้ประกอบการ ผศ. ดร.ชนะ รักษ์ศริ ิ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ซึง่ ได้รบั ทุนสนับสนุนการวิจยั จากฝ่ายการวิจยั มุง่ เป้า ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) ได้วจิ ยั และผลิตหุน่ ยนต์ ไว้ใช้ในงาน “ยางหล่อดอก” มาช่วยแก้ปญ ั หาเดิมๆ ของเครือ่ งจักร ให้สามารถปรับใช้ได้กับยางทุกขนาดทุกประเภท โดยจะใช้หุ่นยนต์ ที่นิยมในงานอุตสาหกรรมอย่าง Articulated Arm Revolute Robot ในการพัฒนาตัวต้นแบบ ซึ่งหุ่นยนต์นี้จะสามารถเคลื่อนที่ได้ทั้ง 6 องศาอิสระ นับเป็นหุน่ ยนต์ขดู ยางตัวแรกของโลกทีจ่ ดสิทธิบตั รและ พัฒนาในประเทศไทย ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีหุ่นยนต์ที่ใช้ในการขูดยาง โดยตรงวางจ�ำหน่ายในตลาด ยางหล่อดอกช่วยให้ผใู้ ช้รถสามารถลดต้นทุนการเปลีย่ นยาง เส้นใหม่ได้รอ้ ยละ 30-50 และแม้จะเป็นยางเก่าทีน่ �ำมาขูดใหม่กไ็ ม่ได้ หมายความว่าจะท�ำให้ยางนั้นปลอดภัยน้อยลง เนื่องจากจะต้องมี การตรวจสอบว่าโครงยางยังใช้งานได้ดหี รือไม่ ก่อนทีจ่ ะขูดหน้ายาง เอาดอกยางเก่าออกแล้วน�ำไปเข้าเครื่องจักรเพื่อขูดลายใหม่ลงบน หน้ายางต่อไป ข้อดีทเี่ ห็นได้ชดั ของการใช้นวัตกรรมหุน่ ยนต์ คือ ช่วยลดต้นทุน ในการจ้างพนักงาน และลดเวลาสูญเสียในการขูดหน้ายาง เรียกว่า ลดกันครึ่งต่อครึ่ง ทั้งลดเวลา แรงงาน และเพิ่มรายได้อีกด้วย นอกจากนีย้ งั มีขอ้ ผิดพลาดน้อย ได้คณ ุ ภาพทีส่ ม�ำ่ เสมอ ไม่จ�ำเป็นต้อง มีคนคุมเครือ่ งตลอดเวลา เพราะหุน่ ยนต์ 1 เครือ่ งจะแทนคนงานได้ 3 คน คิดเป็นเงินคร่าวๆ ลดค่าใช้จ่ายได้ประมาณ 500,000 บาท/ปี ราคาหุ่นยนต์ที่พัฒนาขึ้นมีต้นทุน 2.5 ล้านบาท “ขณะนีห้ นุ่ ยนต์ขดู หน้ายางก�ำลังอยูใ่ นขัน้ พัฒนาและทดสอบ หุ่นยนต์ต้นแบบ โดยมีระบบคอยตรวจสอบความโค้งของยาง ต้องขูดลงไปในเนื้อยางลึกเท่าไหร่ ตรวจสอบหลังขูดว่ามีความโค้ง ที่พอเหมาะหรือไม่ ซึ่งที่กล่าวมาทั้งหมดนั้นหุ่นยนต์จะท�ำงานเป็น ระบบอัตโนมัติ ใช้คนคุมเพียงแค่คนเดียวเท่านัน้ จึงเป็นโอกาสทอง ของเอสเอ็มอีที่จะมาเน้นการหล่อดอกยางแบบพิเศษแทนการ หล่อดอกยางแบบเดิมเพื่อสร้างโอกาสและรายได้ที่เพิ่มมากขึ้น”

หัวหน้าโครงการวิจัย สกว. กล่าว

เปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นสารเคมีต้งั ต้น มูลค่าสูง

ใครจะไปเชื่อว่าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็นสาเหตุหลัก ของการเกิดภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จะสามารถน�ำมาสร้างมูลค่าเพิ่มได้ในเชิงพาณิชย์ ศ. ดร.สมปอง คล้ายหนองสรวง ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายวิชาการ ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.) กล่าวว่า ปัจจุบันโลกมีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ใน ชัน้ บรรยากาศเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 35 โดยมีสาเหตุจากโรงงานอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ทมี่ กี ารผลิตพลังงานจากนำ�้ มัน ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ หรือ สารชีวมวล ดังนั้นการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อย ออกสูบ่ รรยากาศ จึงเป็นแนวทางหนึง่ ทีช่ ว่ ยลดปัญหาภาวะโลกร้อนได้ โดยตัวอย่างของกระบวนการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่มีการพัฒนาในปัจจุบัน คือ กระบวนการดักจับและกักเก็บก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ แต่มีข้อเสียที่ต้นทุนสูงและมีความซับซ้อนใน การติดตัง้ ชุดดักจับและกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ นักวิจยั จึงมี แนวคิดในการเปลีย่ นก๊าซดังกล่าวให้เป็นสารเคมีทมี่ มี ลู ค่าเพิม่ แทน “ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สามารถน�ำมาสกัดเป็นวัตถุดิบ ตั้งต้นเคมีภัณฑ์อื่นๆ เช่น โพลีเอทิลีน โพลีโพรพิลีน สามารถน�ำไป ท�ำเป็นอุปกรณ์ทางการแพทย์ ชิน้ ส่วนรถยนต์ เสือ้ เกราะกันกระสุน วัตถุดิบตั้งต้นมีชื่อว่า “โอเลฟินส์” ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ของกลุ่มธุรกิจ ปตท. แต่ในปัจจุบนั ปริมาณน�ำ้ มันดิบมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนือ่ ง ส่งผลโดยตรงต่อเสถียรภาพด้านวัตถุดบิ และการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ของอุตสาหกรรมภายในประเทศ ปตท. จึงส่งเสริมการใช้แหล่ง ทรัพยากรธรรมชาติในประเทศเป็นแหล่งวัตถุดบิ ทดแทน และมองหา วิธีที่จะผลิตโอเลฟินส์โดยใช้ต้นทุนต�่ำแต่ได้ผลมาก” ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายวิชาการ กล่าว รศ. ดร.ธงไทย วิฑูรย์ นักวิจัยเจ้าของผลงานการพัฒนำ ตัวเร่งปฏิกริ ยิ าส�ำหรับการเปลีย่ นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กล่าวว่า คณะวิจัยได้ศึกษาและพัฒนากระบวนการดังกล่าวให้เป็นสารเคมี มูลค่าเพิม่ หลายชนิด ได้แก่ เมทานอล ไดเมทิลอีเทอร์ และโอเลฟินส์ ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจยั จาก สกว. ตัง้ แต่ พ.ศ. 2554 และด�ำเนินการ ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน โดยด�ำเนินการวิจัยร่วมกับนักวิจัยจาก สถาบันนวัตกรรม ปตท. และบริษทั ปตท. โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด July-August 2019


จากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างของ ตัวเร่งปฏิกริ ยิ าด้วยเทคนิคขัน้ สูงกับประสิทธิภาพในการเปลีย่ น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นโอเลฟินส์ ท�ำให้ทราบว่ามีโลหะ ออกไซด์กลุ่มหนึ่งสามารถลดความเร็วในการเกิดปฏิกิริยา การเติมไฮโดรเจนของคาร์บอนได้ โดยตัวเร่งปฏิกริ ยิ าทีน่ กั วิจยั พัฒนาได้ให้คา่ การแปลงผันของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สงู ถึง ร้อยละ 60 และมีร้อยละผลได้ของโอเลฟินส์สูงถึง 21 ซึ่งเป็น ค่าสูงทีส่ ดุ เท่าทีเ่ คยมีการวิจยั มาก่อนหน้า จึงได้จดอนุสทิ ธิบตั ร และเผยแพร่ผลงานบางส่วนในวารสารวิชาการนานาชาติ ขณะนี้ ค ณะวิ จั ย ก�ำลั ง ร่ ว มกั น พั ฒ นาสู ต รตั ว เร่ ง ปฏิ กิ ริ ย า เพือ่ ให้ได้รอ้ ยละผลได้ของโอเลฟินส์เพิม่ ขึน้ เป็น 30 เพือ่ ให้เกิด ความคุม้ ค่าทางเศรษฐศาสตร์มากขึน้ และน�ำไปสูก่ ารใช้งานจริง ในเชิงพาณิชย์ของกลุ่มธุรกิจ ปตท. ทัง้ นี้ สารโอเลฟินส์ถกู ผลิตรวมทัง้ สิน้ ปีละ 2.89 ล้านตัน ถ้าผลิตโอเลฟินส์ 1 ตัน โดยใช้กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นสาร ตัง้ ต้นจะมีตน้ ทุนการผลิตอยูท่ ี่ 573 ดอลลาร์สหรัฐฯ และมีราคา ขายที่ 900 ดอลลาร์สหรัฐฯ สร้างก�ำไร 337 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อตันโอเลฟินส์ เมือ่ พิจารณาด้านสิง่ แวดล้อม หาก ปตท. สร้าง โรงงานผลิตโอเลฟินส์ 100,000 ตันต่อปี จะสร้างก�ำไรทั้งสิ้น 33.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อปี หรือคิดเป็น 1,045 ล้านบาท ต่อปี ขนาด 100,000 ตันต่อปี และน�ำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กลับมาใช้ได้ 3.14 แสนตันต่อปี จึงช่วยชะลอการเกิดการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ “การน� ำ ก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ ที่ เ หลื อ ทิ้ ง จาก อุตสาหกรรมต่างๆ มาเปลี่ยนเป็นสารเคมีมูลค่าเพิ่มเป็น ทางเลือกหนึง่ ทีน่ า่ สนใจ เพราะนอกจากจะช่วยบรรเทาปัญหา โลกร้อนแล้ว ยังสามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจได้อีกด้วย และลดการน�ำเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศ งานวิจัยนี้ นอกจากเป็นการสร้างองค์ความรูแ้ ละเทคโนโลยีทเี่ ป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมให้กับกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมีในประเทศแล้ว ยังสามารถสร้างเสถียรภาพด้านวัตถุดบิ และเป็นจุดเริม่ ต้นของ การพัฒนาอย่างยั่งยืนของอุตสาหกรรมนี้และอุตสาหกรรม ที่เกี่ยวข้องภายในประเทศได้เป็นอย่างดี”

July-August 2019

แบตเตอรี่ไฟฟ้าใช้งานนาน ... เตรียมใช้ในรถตุ๊กตุ๊กหวังลด PM2.5

จากวิกฤตฝุ่น PM2.5 ของไทยเมื่อไม่นานมานี้ และคาดการณ์ว่า ในอนาคตโลกของเราจะขาดแคลนพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิลจากความ ต้องการใช้ที่เพิ่มขึ้นทุกวันของมนุษย์ ท�ำให้วงการวิทยาศาสตร์และ อุตสาหกรรมมุง่ ให้ความส�ำคัญกับพลังงานหมุนเวียนและพลังงานทางเลือก มากขึ้น แต่เนื่องจากยังประสบปัญหาในด้านความต่อเนื่องของการผลิต พลังงาน จึงจ�ำเป็นต้องมีอุปกรณ์กักเก็บพลังงานที่มีประสิทธิภาพสูงและ มีความจุเพียงพอที่จะใช้งานได้ในระยะยาวควบคู่กัน งานวิจัยนี้มุ่งพัฒนาแบตเตอรี่และตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมียิ่งยวด ให้ดกี ว่าทีใ่ ช้กนั อยูใ่ นปัจจุบนั โดยมี ผศ. ดร.มนตรี สว่างพฤกษ์ ส�ำนักวิชำ วิทยาการพลังงาน สถาบันวิทยสิรเิ มธี เป็นหัวหน้าโครงการวิจยั ภายใต้ การสนับสนุนจากฝ่ายวิชาการ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) และความร่วมมือจากหลายภาคส่วน โดยนักวิจัยได้สังเคราะห์วัสดุผสม ชนิดใหม่ของนาโนแมงกานีสออกไซด์ โครงข่ายโลหะ-สารอินทรีย์ และ กราฟีนแอโรเจลทีเ่ รียกว่า “วัสดุผสมของกราฟีนแอโรเจล” เป็นครัง้ แรก วัสดุนี้มีปริมาตรรูพรุนจ�ำเพาะสูงถึง 6.3 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อกรัม นับเป็นค่าที่สูงที่สุดในโลก โดยวัสดุที่ใช้ในตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมียิ่งยวด ที่มีจ�ำหน่ายแล้วมีปริมาตรรูพรุนจ�ำเพาะประมาณ 2 ลูกบาศก์เซนติเมตร ต่อกรัมเท่านั้น อีกทั้งสามารถสังเคราะห์นาโนแมงกานีสออกไซด์ขนาด อนุภาคเล็กมากประมาณ 1.8 นาโนเมตร นับว่ามีขนาดเล็กทีส่ ดุ ทีเ่ คยมีการ สังเคราะห์ได้ วัสดุผสมที่ได้มีคุณสมบัติโดดเด่นส�ำหรับใช้เป็นขั้วไฟฟ้าในตัวเก็บ ประจุไฟฟ้าเคมียงิ่ ยวด อีกทัง้ ยังมีสมบัตกิ ารน�ำไฟฟ้าสูงและเป็นเยือ่ เลือกผ่าน ในสารละลายมาตรฐานทีม่ ปี ระจุไฟฟ้าต่างกัน และให้คา่ การเก็บประจุสงู ทีส่ ดุ เมือ่ เทียบกับวัสดุตงั้ ต้นในงานวิจยั ก่อนหน้า สามารถเก็บประจุไฟฟ้า แบบการแลกเปลีย่ นอิเล็กตรอนผ่านปฏิกริ ยิ าไฟฟ้าเคมีบนพืน้ ผิวของวัสดุ


ได้ดมี าก นอกจากนีย้ งั มีหมูฟ่ งั ก์ชนั ของไนโตรเจนในโครงสร้างซึง่ ช่วยเพิม่ ค่าการน�ำไฟฟ้าและค่าการน�ำไอออนิก หมูฟ่ งั ก์ชนั ดังกล่าวยังสามารถเก็บ ประจุไฟฟ้าผ่านปฏิกิริยารีดอกซ์ได้อีกด้วย เมื่อรวมตัวกับโครงข่ายโลหะสารอินทรีย์ที่มีรูพรุนจึงสามารถท�ำหน้าที่ดูดซับอิเล็กโทรไลต์ได้อย่างดี ส่งผลให้ความเข้มข้นของอิเล็กโทรไลต์บนขัว้ ไฟฟ้าสูง ลดระยะทางการแพร่ ของอิเล็กโตรไลต์ขณะประจุและคายประจุไฟฟ้า จากการค้ น พบคุ ณ สมบั ติ แ ละศึ ก ษากลไกการเก็ บ ประจุ ไ ฟฟ้ า เคมีของวัสดุผสมดังกล่าว ท�ำให้สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้งานในตัวเก็บ ประจุไฟฟ้าเคมียิ่งยวด รวมถึงสร้างเทคโนโลยีกักเก็บพลังงานไฟฟ้าชนิด ต่างๆ เพื่อพัฒนาเป็นนวัตกรรมอุปกรณ์กักเก็บพลังงานไฟฟ้าเคมีจาก วัสดุผสมของกราฟีนแอโรเจล ซึง่ มีศกั ยภาพในการน�ำมาใช้ในระดับโรงงาน ต้นแบบของประเทศไทยที่สามารถใช้งานได้ในหลากหลายอุปกรณ์ เช่น ยานยนต์ไฟฟ้า เพือ่ ลดการน�ำเข้าจากต่างประเทศ เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม สร้างความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนให้แก่ประเทศไทยในระยะยาว นอกจากนัน้ คณะวิจยั ยังมุง่ เน้นศึกษาเชิงลึกเพือ่ เข้าใจกลไกการเก็บ พลังงานของวัสดุดว้ ยเทคนิคทางวิทยาศาสตร์ทหี่ ลากหลาย การสังเคราะห์ และศึกษาสมบัติของวัสดุที่มีขนาดระดับนาโนเมตร เช่น วัสดุโลหะและ โลหะออกไซด์ วัสดุคาร์บอน (กราฟีน ท่อนาโนคาร์บอน ถ่านกัมมันต์) โครงข่ายโลหะ-สารอินทรีย์ และมุ่งเน้นพัฒนากระบวนการผลิตตัวเก็บ ประจุไฟฟ้าเคมียงิ่ ยวดและแบตเตอรีช่ นิดต่างๆ ทีพ่ ร้อมใช้งานได้จริง เช่น อุปกรณ์กกั เก็บพลังงานไฟฟ้าแบบถ่านกระดุม จนถึงแบบกระเป๋า และแบบ ทรงกระบอก ปัจจุบันคณะวิจัยได้น�ำองค์ความรู้และนวัตกรรมจากงานวิจัย ไปต่อยอดร่วมกับส�ำนักนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน โดย จัดตั้งโรงงานต้นแบบอุปกรณ์กักเก็บพลังงานไฟฟ้าเคมีของประเทศไทย ด้วยงบประมาณรวมกว่า 186 ล้านบาท โดยใช้ชื่อ “วังจันทร์วัลเลย์” เพื่อ เป็นศูนย์วิจัยด้านอุปกรณ์กักเก็บพลังงานของประเทศ ทัดเทียมกับนานา

ประเทศที่เจริญแล้วในอนาคต น�ำไปสู่การน�ำยานยนต์ไฟฟ้า มาใช้ได้จริง โดยเปิดให้นักวิจัยทั้งภาครัฐและเอกชนสามารถ มาใช้บริการได้ รวมถึงยังร่วมมือกับบริษทั ในกลุม่ ปตท. อีกกว่า 15 โครงการ เช่น การพัฒนาวัสดุระดับนาโนเมตรสู่การสร้าง โรงงานที่ใช้วัสดุนาโนเป็นสารเติมแต่งสมบัติจ�ำเพาะให้แก่ พอลิเมอร์หลายชนิด ซึ่งสามารถยับยั้งแบคทีเรียเพื่อใช้ใน สุขภัณฑ์ภายในห้องน�้ำ นอกจากนี้ยังมีวัสดุคาร์บอนด�ำเกรด พิเศษ (Polimaxx) ที่มีสมบัติการน�ำไฟฟ้าสูงเหมาะส�ำหรับ แบตเตอรี่ชนิดลิเทียมไอออน ซึ่งน�ำไปใช้ในแบตเตอรี่ยี่ห้อ พานาโซนิคและอื่นๆ แม้งานวิจัยนี้จะพัฒนาไปไกลมากจากจุดเริ่มต้น แต่ ผศ. ดร.มนตรี กล่าวว่า “เราต้องเริม่ จากการท�ำวิจยั พืน้ ฐานใน ห้องปฏิบตั กิ าร และใช้เวลาอีกหลายปีจงึ จะได้รบั ความเชือ่ ถือ ว่าใช้งานได้จริง ต้องมีการทดสอบความปลอดภัยต่างๆ เพือ่ สร้างชือ่ เสียงให้คนทัว่ ไปยอมรับ เรือ่ งเหล่านีไ้ ม่มที างลัด คนไทยต้องมีความชาตินยิ มเริม่ ใช้ของไทย เราได้เลือกรถตุก๊ ตุก๊ มาใช้ในการต่อยอดงานวิจัยนี้เพราะเป็นอัตลักษณ์ของไทย แต่ก็เป็นยานพาหนะที่สร้างมลพิษทางอากาศ หากแปลงให้ เป็นรถตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้า หลังคามีโซลาร์เซลล์ ออกแบบให้ทนั สมัย มากขึน้ น่าจะเป็นเรือ่ งทีด่ ี และในอนาคตจะมีการจดสิทธิบตั ร คาดว่าไม่เกินปลายปีนจี้ ะได้เห็นออกมาจ�ำหน่ายในราคาขาย ไม่เกิน 50,000 บาท ส่วนเรือ่ งการพัฒนาโรงงานต้องดูจดุ คุม้ ทุน ในการสร้างโรงงาน ยกตัวอย่างโรงงานของพานาโซนิค หรือ BYD ของจีน ก็สร้างโรงงานขนาด 10 กิกะวัตต์ ใหญ่กว่าของเรา 10 ล้านเท่า ตอนนี้เราก็ถือเป็นโรงงานแรกในแถบอาเซียน เพียงแต่ต้องพัฒนาให้เท่ากับประเทศที่พัฒนาแล้ว” นับเป็นเรือ่ งดีทปี่ ระเทศไทยสามารถพัฒนาแบตเตอรี่ และตัวเก็บประจุไฟฟ้าเคมียิ่งยวดเองได้ และยังได้รับการ สนับสนุนที่ดีจากภาครัฐและเอกชน นอกจากจะช่วยลดเรื่อง มลพิษในอากาศได้แล้ว ในอนาคตเราอาจได้เห็นประเทศไทย เป็นก�ำลังหลักในการผลิตแบตเตอรี่และตัวเก็บประจุไฟฟ้า เคมียิ่งยวดส่งออกไปทั่วโลกก็เป็นได้

July-August 2019


Interview > กองบรรณาธิการ

Digital Meter Active Filters ... ผลิตภัณฑ์ที่ตอบโจทย์ ผู้ประกอบการ ได้อย่างครบถ้วน

‘เอวีร่า’ ผู้เชี่ยวชาญด้านไฟฟ้าก�ำลังมานานกว่า 20 ปี จึงเข้าใจถึงความ ต้องการของผูใ้ ช้งานอย่างแท้จริง และด้วยกลยุทธ์การให้บริการหลังการขายด้วย ทีมงานมืออาชีพตลอด 24 ชั่วโมง อีกทั้งความมุ่งมั่นในการเป็นผู้คัดสรรอุปกรณ์ ด้านไฟฟ้าก�ำลังทีม่ คี วามเหมาะสมทัง้ ด้านราคาและคุณภาพ เพือ่ ส่งให้ถงึ มือผูบ้ ริโภค ได้อย่างมัน่ ใจ และยังได้รบั การยอมรับจากกลุม่ ผูใ้ ช้งานอย่างแพร่หลาย นอกจากนี้ บริษทั ยังคงไม่หยุดนิง่ ทีจ่ ะพัฒนาและคัดสรรสินค้าคุณภาพทีด่ ที สี่ ดุ ให้แก่ผบู้ ริโภค พร้อมทั้งการบริการทั้งด้านการปรึกษา การดูแลรักษาอย่างครบวงจรในตลาด ประเทศไทยอย่างยั่งยืน คอลัมน์ Interview ฉบับนีไ้ ด้มโี อกาสเข้าพูดคุยกับ ปณิธาน กัจฉปานันท์ Marketing Director บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด ในหลากหลายเรื่อง ทั้งเรื่องของ ผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นทีร่ จู้ กั ของตลาด รวมทัง้ การท�ำตลาดในช่วงทีผ่ า่ นมา และแนวทางการท�ำตลาดในช่วงครึ่งปีหลังด้วย

เพิ่มผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า

ปณิธาน กล่าวว่า เอวีร่าเป็นบริษัทชั้นน�ำด้านอุปกรณ์เครื่องมือวัดระดับ แนวหน้าของประเทศไทย ทีผ่ า่ นมามีสนิ ค้าทีไ่ ด้รบั การตอบรับจากลูกค้ามากมาย เพราะบริษทั คัดสรรผลิตภัณฑ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพเหมาะกับการใช้งาน นอกจากนัน้ ก็ยงั มี การพัฒนาผลิตภัณฑ์อยู่เสมอ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานให้ผู้ใช้งานได้รับ ความสะดวก และสนองความต้องการได้ครอบคลุมมากขึ้น “เมื่อเร็วๆ นี้บริษัทได้เปิดตัว Digital Meter รุ่น CVM-A1500 แบรนด์ CIRCUTOR ผลิตจากประเทศสเปน ซึง่ เป็นเครือ่ งมือวัดวิเคราะห์การใช้พลังงาน ไฟฟ้าประเภท Power Quality Analyzer ที่พัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงาน เพือ่ ตอบโจทย์กบั ความต้องการของผูใ้ ช้งานมากยิง่ ขึน้ ด้วยฟังก์ชน่ั ทีห่ ลากหลาย แต่ราคาย่อมเยา ซึ่งคาดว่าจะได้รับการตอบรับจากลูกค้าเป็นอย่างดี” July-August 2019

ส�ำหรับจุดเด่น Digital Meter รุน่ CVM-A1500 นั้น นอกจากฟังก์ชั่นการใช้งานบางอย่างที่คล้ายกับ รุ่น CVMk2 แล้ว ยังเป็น Digital Meter Class A ตาม มาตรฐาน IEC 61000-4-30 หน้าจอสีแบบทัชสกรีน สามารถแสดงกราฟ ITIC (เช่น CBEMA และ SEMIF 47) บนหน้าจอแสดงผล ด้วยการคลิกเพียง 3 ครั้งบน อุปกรณ์เครื่องมือวัด ซึ่งท�ำให้ผู้ใช้ไฟเข้าใจกราฟ ITIC ของระบบไฟฟ้าได้มากยิ่งขึ้น ท�ำให้การใช้งานง่ายขึ้น คุณภาพการวัดวิเคราะห์มีประสิทธิภาพมากขึ้น และ ยังได้รับมาตรฐานจากสถาบันต่างๆ จากทั่วโลก อาทิ IEC (Internationnal Electrotechique Commission), Underwriters’ Laboratories Inc. และ VDE Testing and Certification Institute ซึ่งเป็นการยืนยันว่าเป็นสินค้า ที่มีคุณภาพอีกทางหนึ่ง ปณิธาน กล่าวต่อว่า สินค้าอีกตัวทีบ่ ริษทั จะน�า ออกสู่ตลาดคือ Active Filters ซึ่งเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้า ทีท่ ำ� หน้าทีล่ ดหรือก�ำจัดปริมาณของกระแสฮาร์มอนิกส์ ที่ ไ หลอยู ่ ภ ายในระบบไฟฟ้ า โดยโครงสร้ า งของ แอคทีฟฟิลเตอร์จะประกอบไปด้วยวงจรอินเวอร์เตอร์ ที่ถูกออกแบบมาให้ท�ำหน้าที่แทนวงจรแบบพาสซีฟ ซึง่ จะท�ำหน้าทีว่ ดั ค่ากระแสฮาร์มอนิกส์ในระบบไฟฟ้า เพื่อท�ำการวิเคราะห์และค�ำนวณสร้างปริมาณของ กระแสฮาร์มอนิกส์ขนึ้ มาให้อยูใ่ นทิศทางทีต่ รงกันข้าม เป็นมุม 180 องศาทางไฟฟ้ากับฮาร์มอนิกส์ทมี่ อี ยูภ่ ายใน


ระบบ จากนั้นจึงปล่อยกระแสฮาร์มอนิกส์ ที่ถูกสร้างขึ้นเข้าสู่ระบบ ท�ำให้ฮาร์มอนิกส์ ในระบบถูกหักล้างออกไปจนหมดเหลือ เพี ย งแต่ ก ระแสไฟฟ้ า ที่ ค วามถี่ มู ล ฐาน (Fundamental Frequency ที่ 50 Hz) ท�ำให้ กระแสไฟฟ้ า ในไลน์ ก ลายเป็ น กระแส ทีป่ ราศจากฮาร์มอนิกส์นนั่ เอง คุณสมบัตขิ อง แอคทีฟฟิลเตอร์ คือ จะไม่เกิดโอเวอร์โหลด ได้เหมือนพาสซีฟฟิลเตอร์ โดยที่แอคทีฟ ฟิลเตอร์จะสามารถเลือกหมวดการท�ำงาน ที่เหมาะสมได้เองโดยอัตโนมัติ และจะเริ่ม ท�ำการกรองฮาร์มอนิกส์ได้หมด โดย Active Filters ประกอบด้วย 2 รุ่น คือ AFQevo 30/60 (Wall Type) และ AFQevo 100/200 (Rack Type)

รุ่น AFQevo 100/200 เป็นตูแ้ ร็คทีม่ คี วามจุขนาด 200 แอม ซึ่งตอบโจทย์ส�ำหรับโครงการที่มีแผนจะ ขยายในอนาคต เช่น ปัจจุบันมีการใช้งาน 200 แอม แต่ในอนาคตยังมีพื้นที่เหลืออยู่ ซึ่ ง ยั ง ไม่ มี ก ารใช้ ไ ฟฟ้ า หากมี ก ารขยาย ก็ ส ามารถติ ด ตั้ ง เพิ่ ม เติ ม ได้ ต ามขนาดที่ ต้องการ โดยที่ไม่ต้องเพิ่มตู้ อีกทั้งยังช่วย ในเรื่องประหยัดพื้นที่ใช้สอยด้วย คุณสมบัติและฟังก์ชั่นการใช้งาน  ส�ำหรับแต่ละตู้ก�ำลังการผลิตกรองจาก 100 ถึง 200 A  เป็นตู้ขนาดมาตรฐาน ติดตั้งง่าย และ ลดขนาดชั้นวาง  ส�ำหรับการติดตั้งตัวกรองสามารถติดตั้ง ได้ 3 สาย (รุ่น 3W) หรือ 4 สาย (รุ่น 4W)  มี แรงดั น ไฟฟ้ า และความถี่ ห ลายช่ ว ง (50/60 Hz)  สามารถลดกระแสฮาร์มอนิกส์ได้ถึง 50 ฮาร์มอนิกส์ (2,500 Hz)  การเลือกความถี่ฮาร์มอนิกส์เพื่อให้ถึง ตัวกรองได้ประสิทธิผล

กลยุทธ์ทางการตลาด คือ ทำ�ให้ลูกค้าตระหนักถึง การเลือกใช้สินค้าคุณภาพสูง

รุ่น AFQevo 30/60 ตัวกรองแอคทีฟมัลติฟังก์ชั่น เป็น โซลูชนั่ ส�ำหรับการแก้ปญ ั หาคุณภาพไฟฟ้า ขนาดเล็ก โดยจะตอบโจทย์กับอาคารที่มี การปรับปรุง เพราะสามารถติดตั้งเพิ่มเติม ได้ และง่ายต่อการซ่อมบ�ำรุงอีกด้วย คุณสมบัติและฟังก์ชั่นการใช้งาน  เป็ น กรอบโลหะและมี ข นาดที่ ก ะทั ด รั ด ท�ำให้ง่ายต่อการติดตั้ง  ส�ำหรับการติดตั้งตัวกรองสามารถติดตั้ง ได้ 3 สาย (รุ่น 3W) หรือ 4 สาย (รุ่น 4W)  มี แรงดั น ไฟฟ้ า และความถี่ ห ลายช่ ว ง (50/60 Hz)  สามารถลดกระแสฮาร์มอนิกส์ได้ถึง 50 ฮาร์มอนิกส์ (2,500 Hz)  การเลือกความถี่ฮาร์มอนิกส์เพื่อให้ถึง ตัวกรองได้ประสิทธิผล

ส�ำหรับการท�ำการตลาดของเอวีร่า นัน้ ปณิธาน กล่าวว่า ทางบริษทั ฯ แบ่งการ ท�ำตลาดตามประเภทสินค้า โดยแบ่งออก เป็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือ Digital Meter ที่เป็นสินค้าหลัก เนื่องด้วยบริษัทฯ เป็น ผู ้ เชี่ ย วชาญในด้ า นการจั ด การพลั ง งาน ทั้งยังมีอุปกรณ์มิเตอร์และซอฟต์แวร์เป็น แบรนด์เดียวกัน ความน่าเชือ่ ถือของการอ่าน ค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ทางไฟฟ้าได้อย่างมี เสถียรภาพ ไม่คลาดเคลื่อน ติดตั้ง Set Up และซ่อมบ�ำรุงท�ำได้ง่ายไม่ยุ่งยาก และ ที่ ส� ำ คั ญ การบริ ก ารหลั ง การขายอย่ า ง ครบถ้วน ซึ่งในปัจจุบันผู้ใช้ต้องการโซลูชั่น มากขึ้ น ไม่ ใช่ แ ค่ ก ารออกแบบ Retail Management แต่ต้องมีการบริหารจัดการ ในตัวอาคาร และวิเคราะห์การใช้พลังงาน ในเชิงวิศวกรรมร่วมด้วย เรียกว่าต้องบริหาร จัดการให้ครบถ้วนทั้งระบบ July-August 2019


หัวใจหลักของเอวีร่า คือ การบริการ หลังการขาย

ส่วน Active Filters จะท�ำการตลาดแบบทีเ่ รียกว่า Door to Door หรือการเข้าไปอธิบายให้แก่ลูกค้าโดยตรง เนื่องจากตลาดเมืองไทยยัง ไม่เห็นประโยชน์ของ Active Filters รวมถึงผูอ้ อกแบบ เจ้าของกิจการ ด้วย เพราะมองว่าเป็นสินค้าสิน้ เปลือง ไม่จำ� เป็นต้องใช้สนิ ค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพ สูงก็ได้ “ที่ผ่านมา ผู้ออกแบบหรือเจ้าของกิจการมักมองข้ามการใช้ Filters ทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงๆ เพราะท�ำให้เพิม่ ต้นทุน แต่ในความเป็นจริงแล้ว ด้วยเทคโนโลยีของอุปกรณ์ไฟฟ้าได้มกี ารเปลีย่ นแปลงไปมากในปัจจุบนั การใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มากขึ้น ท�ำให้อุปกรณ์ไฟฟ้าเกิดปัญหา ในการส่งจ่ายไฟฟ้าได้งา่ ยขึน้ ท�ำให้คณ ุ ภาพไฟฟ้าลดลง ส่งผลให้ระบบ ไฟฟ้าเกิดปัญหา และหากสะสมมากขึน้ ๆ ก็ทำ� ให้ตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ยโดย ไม่จ�ำเป็นได้ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จ�ำเป็นต้องมีการพูดคุยเพื่อท�ำให้ผู้ออกแบบ หรือเจ้าของกิจการได้ตระหนักถึงผลดี และการรักษาคุณภาพไฟฟ้านัน้ มีความจ�ำเป็น จึงต้องท�ำการตลาดแบบตัวต่อตัวนั่นเอง” นอกจากนี้ บริษัทยังจัดกิจกรรมเพื่อกระตุ้นยอดขาย และการ สร้างแบรนด์ให้เป็นที่รู้จักในตลาดมากขึ้น ด้วยการจัดกิจกรรมโรดโชว์ กับองค์กรต่างๆ รวมทัง้ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐเพือ่ สร้างความรับรูต้ อ่ ผูใ้ ช้งานโดยตรง เช่น ผูอ้ อกแบบ ผูร้ บั เหมา ซึง่ จะเน้นในเรือ่ งของการให้ ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการใช้งานที่ถูกต้องเพื่อใช้ผลิตภัณฑ์ได้อย่าง เต็มประสิทธิภาพ “ในช่วงต้นปีจนถึงกลางปีการท�ำตลาดของเราก็ไปได้ดีในระดับ ที่พอใจ และคาดว่าในครึ่งปีหลังเราจะสามารถท�ำการตลาดได้มากขึ้น เพราะคาดว่าจะมีการลงทุนมากขึน้ และลูกค้าได้รจู้ กั สินค้าใหม่ของเรา รวมทั้งสินค้าเดิมที่เราท�ำตลาดมาได้ระยะหนึ่งแล้วก็มีแนวโน้มที่ดี จึงคาดว่าจะสามารถท�ำการตลาดได้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้” ปณิธาน กล่าวเพิ่มเติม July-August 2019

อาจกล่าวได้ว่า “การบริการหลังการขาย คือ หัวใจหลักของเอวีรา่ ” ปณิธาน กล่าว ด้วยผลิตภัณฑ์ของ เอวีรา่ ทีเ่ หมือนกับอีกหลายๆ ยีห่ อ้ ท�ำให้การแข่งขันทางการ ตลาดสูงมาก ถึงแม้เอวีร่าจะอยู่ในตลาดเมืองไทยมากว่า 20 ปี แต่ก็มีอีกหลากหลายยี่ห้อที่ท�ำการตลาดมาก่อน และเป็นที่รู้จักของลูกค้ามาก่อน ดังนั้นการจะท�ำให้ลูกค้า เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ของเอวีร่านั้น ต้องใช้กลยุทธ์ที่เข้าถึง ตัวลูกค้าให้มากทีส่ ดุ นอกจากการท�ำกิจกรรมทางการตลาด หรือการเข้าไปแนะน�ำผลิตภัณฑ์โดยตรงแล้ว การบริการ หลังการขายทีพ่ ร้อมให้บริการ 24 ชัว่ โมง และให้บริการอย่าง รวดเร็วนัน้ ก็เป็นอีกกลยุทธ์หนึง่ ทีเ่ อวีรา่ ได้ปฏิบตั มิ าตลอด และเป็นหัวใจหลักของเอวีร่าด้วย “เรามีทมี งานทีใ่ ห้บริการหลังการขายทีพ่ ร้อมท�ำงาน ตลอดเวลา และเป็นทีมงานที่มีประสบการณ์การท�ำงาน มานาน สามารถให้คำ� ปรึกษาและแนะน�ำได้อย่างละเอียด ครบถ้วน และครอบคลุม ซึ่งในบางกรณีบริษัทขนาดใหญ่ ไม่สามารถให้บริการเช่นนีไ้ ด้ หรืออาจจะต้องเสียค่าใช้จา่ ย เพิ่ม แต่บริษัทเรายินดีให้บริการด้วยความเต็มใจเพื่อให้ ลูกค้าได้ใช้ผลิตภัณฑ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ”

นอกจากนี้ บริ ษั ท ยั ง เป็ น ตั ว กลางในการรวม พาร์ทเนอร์ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะในแต่ละด้านเข้ามา ท�ำงานร่วมกันเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ ครบถ้วนตามความต้องการ และในอนาคตตั้งเป้าไว้ว่า จะต้องมีพาร์ทเนอร์มากขึน้ เพือ่ ให้การบริการทีค่ รบวงจร ภายใต้ค�ำว่า “ผู้เชี่ยวชาญ” หากท่านใดทีก่ ำ� ลังสนใจลงทุนธุรกิจ หรือขยายกิจการ รวมทั้ ง ผู ้ ใช้ ง านที่ ก� ำ ลั ง มองหาอุ ป กรณ์ ด ้ า นไฟฟ้ า ที่ มี คุณภาพเหมาะสม และการบริการที่ทันท่วงที เพื่อน�ำไป พัฒนาธุรกิจให้มกี ารด�ำเนินงานได้อย่างต่อเนือ่ ง... “เอวีรา่ ” จึงเป็นอีกค�ำตอบหนึ่งที่ท่านเลือก...



Smart City Solutions Week 2019 28 - 31 October 2019 @ BITEC, Bangkok Thailand

Harnessing the smart cities opportunity in ASEAN

ASEAN Connectivity

City + loT - A sustainable and livable future

Security + AI

% OC[G_@VgC_7VC

a9E 02 664 6488 7 O 402, 406

www.thailandlightingfair.com www.thailandbuildingfair.com www.secutechthailand.com

- Empowers sustainable city development



Article

> สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) บอมเบย์ บุ่นวรรณา

ความต้องการไฟฟ้า

สถาบั น วิ จั ย แสงซิ น โครตรอน (องค์การมหาชน) เดิมใช้ชอื่ ว่า ศูนย์ปฏิบตั กิ าร วิจยั เครือ่ งก�ำเนิดแสงซินโครตรอนแห่งชาติ และเปิดให้บริการแสงซินโครตรอนต่อผู้ใช้ เมือ่ เดือนพฤศจิกายน 2546 หลังจากทีท่ าง สถาบันฯ เริ่มให้บริการแสงซินโครตรอน ปั ญ หาที่ พ บตามมาคื อ ระบบไฟฟ้ า ไลน์ 22 kV ทีใ่ ช้งานอยูข่ าดเสถียรภาพ เกิดความ ผิ ด พร่ อ งปั ญ หาแรงดั น ตกและแรงดั น กระเพือ่ มบ่อยครัง้ ซึง่ ท�ำให้เกิดความเสียหาย กับอุปกรณ์ในระบบต่างๆ ขณะเดินเครื่อง ก�ำเนิดแสงซินโครตรอนฯ อีกทั้งยังส่งผล กระทบต่อผู้ใช้ไฟในไลน์เดียวกัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2546 สถาบันวิจัย แสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) จึงมี โครงการก่อสร้างสถานีไฟฟ้าย่อย 115/22 kV เพื่อเพิ่มเสถียรภาพและความมั่นคงทาง ระบบไฟฟ้าของสถาบันฯ และเนื่องจาก เครือ่ งก�ำเนิดแสงซินโครตรอนของสถาบันฯ เป็นเครื่องเก่าที่ได้รับบริจาคจากประเทศ ญี่ ปุ ่ น ดั ง นั้ น ขนาดแรงดั น ไฟฟ้ า ที่ ใช้ กั บ เครื่องก�ำเนิดแสงซินโครตรอนส่วนใหญ่ จะเป็นระบบและมาตรฐานที่ใช้ในประเทศ ญี่ปุ่น ซึ่งแตกต่างออกไปจากแรงดันไฟฟ้า ปกติของประเทศไทย โดยสถาบันฯ เองได้มี การติดตั้งหม้อแปลงแรงดันไฟฟ้าหลาย ขนาด เพือ่ ให้สอดคล้องและใช้ได้กบั อุปกรณ์ ต่างๆ ที่ได้รับบริจาคมา เช่น ระบบแหล่ง จ่ายก�ำลังของแม่เหล็กชนิดต่างๆ ระบบ สุญญากาศ ระบบควบคลื่นวิทยุความถี่สูง ระบบความเย็นยวดยิ่ง (ดังรายละเอียด แสดงไว้ใน ตารางที่ 1 และ รูปที่ 1)

ณัฐวุฒิ ทีจันทึก

ตารางที่ 1 แสดงพิกัดแรงดันหม้อแปลงไฟฟ้าของสถาบันฯ พิกัดแรงดัน หม้อแปลงไฟฟ้า

22 kV/105V 22 kV/210V

22 kV/380V

22 kV/400V 22 kV/420V 6.6 kV/405V 6.6 kV/420V

โหลดสำ�หรับหม้อแปลงไฟฟ้า

- ระบบล�ำเลียงแสง และสถานีทดลอง (Beamline) - แม่เหล็ก 2 ขั้วแบบพัลซ์ (BMP_M) - ระบบเครื่องเร่งอนุภาคทางตรง (LINAC) - ระบบน�ำส่งอนุภาคพลังงานต�่ำ (LBT) - ระบบน�ำส่งอนุภาคพลังงานสูง (HBT) - ระบบสาธารณูปโภค (Utility) - ระบบล�ำเลียงแสง และสถานีทดลอง (Beamline) - ระบบความเย็นยวดยิ่ง (Cryogenic) - แม่เหล็ก 2 ขั้ว (STH, STV), แม่เหล็ก 6 ขั้ว (SX_M) ของวงแหวน กักเก็บอิเล็กตรอน - ระบบคลื่นวิทยุความถี่สูงของวงแหวนกักเก็บอิเล็กตรอน (STR_RF) - แม่เหล็ก 2 ขั้ว (STR_BM) ของวงแหวนกักเก็บอิเล็กตรอน - แม่เหล็ก 4 ขั้ว (STR_QM) ของวงแหวนกักเก็บอิเล็กตรอน - ระบบคลื่นวิทยุความถี่สูง (STR_RF) ของวงแหวนกักเก็บอิเล็กตรอน - แม่เหล็ก 4 ขั้ว (SYN_QM) ของระบบเครื่องเร่งอนุภาคแบบวงกลม - ระบบคลื่นวิทยุความถี่สูง (SYN_RF) ของระบบเครื่องเร่งอนุภาค แบบวงกลม - แม่เหล็ก 2 ขั้วของระบบเครื่องเร่งอนุภาคแบบวงกลม (SYN_BM)

รูปที่ 1 : การออกแบบระบบไฟฟ้าภายในอาคารปฏิบัติการแสงสยาม (Siam Photon Laboratory : SPL) July-August 2019


คุณภาพไฟฟ้า

ด้วยสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) ได้ท�า การศึกษาวิเคราะห์คา่ ความเสถียรสัญญาณทางไฟฟ้าภายในอาคาร ปฏิบัติการแสงสยาม พบว่ามีความจ�ำเป็นต้องปรับปรุงเพื่อให้มี ประสิทธิภาพมากขึน้ จึงได้ดำ� เนินการจัดท�ำโครงการปรับปรุงระบบ กราวด์ของวงแหวนกักเก็บอิเล็กตรอน ระบบล�ำเลียงแสงและสถานี ทดลองเพือ่ ลดค่าความต้านของระบบกราวด์รวม (Low Impedance Grounding System) และจัดกลุ่มของระบบกราวด์ที่เหมาะสม (Grounding Classification) ซึง่ ประกอบไปด้วย ระบบกราวด์ของกลุม่ แหล่งจ่ายก�ำลังไฟฟ้า กลุม่ คลืน่ วิทยุ (Radio Frequency) กลุม่ ระบบ ควบคุม (Control System) และกลุม่ ของเครือ่ งมือวัดทีต่ อ้ งการความ ถูกต้องและแม่นย�ำสูง เพือ่ ช่วยลดปัญหาสัญญาณรบกวนทางไฟฟ้า (Electromagnetic Interference : EMI) ทีม่ ผี ลต่ออุปกรณ์และเครือ่ งมือ วิทยาศาสตร์ตา่ งๆ ภายในอาคารปฏิบตั กิ ารแสงสยาม ซึง่ ท�ำให้การวัด และประมวลผลมีความถูกต้องแม่นย�ำเพิ่มขึ้น และยังเพิ่มความ ปลอดภัยให้กับผู้ปฏิบัติงานอีกด้วย จากการส�ำรวจชั้นดิน และวัดค่าความต้านทานจ�ำเพาะของ ดินบริเวณรอบๆ อาคารปฏิบตั กิ ารแสงสยาม พบว่าชนิดของชัน้ ดิน จะเป็นดินทีม่ คี วามแน่นแข็งมากกึง่ หินและไม่พบความชืน้ ธรรมชาติ โดยมีค่าความต้านทานจ�ำเพาะของดินเฉลี่ยอยู่ที่ 5 โอห์ม-เมตร เมื่อพิจารณาจากข้อมูลดังกล่าวฯ แล้ว สถาบันฯ จึงเลือกวิธีการ ที่จะปรับปรุงระบบกราวด์ด้วยวิธีการปักกราวด์แบบลึก ด้วยการใช้ ท่อทองแดงเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 นิ้ว หนา 2 มิลลิเมตร ความยาว 20 เมตร เชือ่ มติดกับสายทองแดงเปลือยเบอร์ 95 ฝังลึกลงไปในดิน 20 เมตร จ�ำนวน 9 จุดรอบอาคารเชือ่ มต่อเข้าหากัน แล้วลากเข้ามา ในอาคารปฏิบัติการแสงสยามเชื่อมต่อกับบัสบาร์ โดยแยกบัสบาร์ เป็น 3 ระบบ ได้แก่ ระบบของแหล่งจ่ายก�ำลัง ระบบการวัดสัญญาณ และระบบกักเก็บอิเล็กตรอนเครื่องเร่งอนุภาคฯ

รูปที่ 2 : แสดงต�ำแหน่งการติดตั้งแท่งอิเล็กโทรด รอบนอกอาคารปฏิบัติการแสงสยาม จ�ำนวน 9 จุด

สรุปผลการดำ�เนินงาน

รูปที่ 3 : แสดงการออกแบบบัสบาร์ ขนาดกว้าง 2½ นิ้ว และหนา ¼ นิ้ว จ�ำนวน 3 ระบบ

รูปที่ 4 : แสดงการด�ำเนินการติดตั้งแท่งอิเล็กโทรด รอบนอกอาคารปฏิบัติการแสงสยาม จ�ำนวน 9 จุด

รูปที่ 5 : แสดงการด�ำเนินการติดตั้ง จัดกลุ่มระบบกราวด์ ของอุปกรณ์ และเชื่อมกับระบบบัสบาร์ที่ได้ถูกติดตั้งไว้ ภายในวงแหวนกักเก็บอิเล็กตรอน

ทดสอบโดยใช้เครื่องวัด Earth & Resistivity Tester รุ่น C.A 6462 ยี่ห้อ CHAUVIN ARNOX ด้วยวิธีการวัดค่าความต้านกราวด์ตาม มาตรฐานของ An American National Standard IEEE Guide for Measuring Earth Resistivity ผลที่ได้จากการวัดพบว่า ค่าวัดค่าความต้านกราวด์รวมของระบบอยู่ที่ 0.19 โอห์ม ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายที่สถาบันฯ ได้วางไว้ คือ สามารถจัดกลุม่ ของระบบกราวด์ และลดค่าความต้านทานของระบบกราวด์รวม (Low Impedance Grounding System) ให้ได้ที่ 0.2 โอห์ม July-August 2019


Scoop

> กองบรรณาธิการ

เมื่อเร็วๆ นี้ ตัวแทนจาก 10 ประเทศอาเซียน เข้าร่วม การประชุมเรื่องนโยบายด้านอาชีวศึกษาและการมีส่วนร่วม ของภาคเอกชนและอุตสาหกรรม ครั้งที่ 9 เพื่อหารือเกี่ยวกับ ข้อเสนอแนะของคณะท�ำงานตัวแทนภาคเอกชนและอุตสาหกรรม ในการปรับปรุงคุณภาพ ภาพลักษณ์และผลลัพธ์ของการฝึกอบรม และการศึกษาด้านเทคนิคและอาชีวศึกษา (TVET) ผลลัพธ์ที่ได้ จากการประชุมจะถูกน�ำไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาแผนแม่บท การศึกษา 5 ปีของส�ำนักเลขาธิการอาเซียน การฝึกอบรมและการศึกษาด้านเทคนิคและอาชีวศึกษา (TVET) เป็นปัจจัยส�ำคัญในการสร้างนโยบายของประเทศสมาชิก อาเซียน เพือ่ พัฒนาบุคลากรและแรงงานให้สอดคล้องกับความ ต้องการของเทคโนโลยี กระบวนการผลิตและการบริการแบบใหม่ ในอนาคต และเป็นเครือ่ งการันตีวา่ นักเรียน นักศึกษาทีจ่ บด้าน อาชีวศึกษาจะเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพและสามารถมีอาชีพ การงานทีด่ แี ละเหมาะสม โดยไม่จำ� เป็นต้องพึง่ พาหุน่ ยนต์หรือ ระบบดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ดร.อาลาดิน รีโล รองเลขาธิการด้านประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ส�ำนักเลขาธิการอาเซียน เน้นย�ำ้ ในการประชุมเรื่อง นโยบายด้านอาชีวศึกษาและการมีสว่ นร่วมของภาคเอกชนและ อุตสาหกรรม ครัง้ ที่ 9 ถึงความส�ำคัญทีจ่ ะผลักดันนวัตกรรมเพือ่ ส่งเสริมการฝึกอบรมและการศึกษาด้านเทคนิคและอาชีวศึกษา ให้สามารถสนองต่อความต้องการทางสังคมและเศรษฐกิจได้ July-August 2019

นอกจากนี้ ดร.อาลาดิน รีโล ยังกล่าวเพิม่ เติมว่า การเสริมสร้าง ความแข็งแกร่งให้กบั ภาคีความร่วมมือเป็นสิง่ จ�ำเป็นส�ำหรับทุกภาคส่วน และทุกประเทศ แต่สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดก็คือ ความร่วมมือระหว่างภาครัฐ และภาคเอกชนในการเรียนรูแ้ ละแลกเปลีย่ นองค์ความรูต้ า่ งๆ จากภาค เอกชน ภาคอุตสาหกรรม และสถาบันอาชีวศึกษาร่วมกัน เพื่อพัฒนา ระบบการฝึกอบรมและการศึกษาด้านเทคนิคและอาชีวศึกษาอย่างยัง่ ยืน ตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561 คณะท�ำงานภูมิภาคด้านความ ร่วมมือของภาคเอกชนและอุตสาหกรรม ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกจาก ภาครัฐ ภาคเอกชน สภาหอการค้าจาก 10 ประเทศอาเซียน และตัวแทน จากส�ำนักเลขาธิการอาเซียน ได้ร่วมหารือและระบุข้อเสนอแนะให้แก่ ผูก้ ำ� หนดนโยบายและผูป้ ระกอบการทีส่ นใจในการพัฒนาระบบอาชีวศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีในอนาคต ข้อเสนอแนะดังกล่าว ถูกน�ำมาสรุปในรูปแบบของรายงานหัวข้อ “ประเด็นในอนาคตเกี่ยวกับอาชีวศึกษาในภูมิภาคอาเซียน” โดยมี ทัง้ หมด 45 ข้อ และถูกแบ่งเป็น 9 หัวข้อใหญ่ โดยมุง่ เน้นในหลากหลาย ประเด็น เช่น การส่งเสริมคุณภาพและความสอดคล้องของกฎระเบียบ และนโยบายระบบอาชีวศึกษาและฝึกอบรม การเสริมสร้างความเป็น ผู้น�ำของภาคธุรกิจในระบบการฝึกอบรมและการศึกษาด้านเทคนิคและ อาชีวศึกษา การปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์ของระบบการฝึกอบรมและ การศึกษาด้านเทคนิคและอาชีวศึกษา และการผลักดันให้เกิดความร่วมมือ ระหว่างสถาบันอาชีวศึกษากับภาคเอกชน


นอกจากนี้ บางหัวข้อยังถูกจัด ให้อยู่ในหมวดประเด็น เร่งด่วน เช่น การจัดตั้งสภา ความร่ ว มมื อ ด้ า นการฝึ ก อบรมและการศึ ก ษาด้ า นเทคนิ ค และ อาชีวศึกษาระหว่างภาครัฐและเอกชนให้สามารถขับเคลื่อนวาระ ด้านการฝึกอบรมและการศึกษาด้านเทคนิคและอาชีวศึกษาของ ประเทศ การพัฒนาระบบข้อมูลเรื่องทักษะแรงงานออนไลน์ และ การจัดสรรงบประมาณประจ�ำปีส�ำหรับการอาชีวศึกษา คณะท� ำ งานภู มิ ภ าคด้ า นความร่ ว มมื อ ภาคเอกชนและ อุตสาหกรรมเรียกร้องให้ภาคเอกชนและอุตสาหกรรมจากประเทศ สมาชิกอาเซียนริเริ่มการท�ำรายงาน “ประเด็นในอนาคตเกี่ยวกับ อาชีวศึกษาในภูมภิ าคอาเซียน” ให้เป็นรูปธรรม นอกจากนีย้ งั เสนอ ให้รัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียนริเริ่มหรือต่อยอดการปรับ โครงสร้างระหว่างตัวแทนจากภาครัฐและเอกชนให้สามารถหารือ และหาข้อตกลงร่วมกัน เพื่อล�ำดับความส�ำคัญหัวข้อในระบบ อาชีวศึกษาของประเทศตนให้สอดคล้องกับรายงาน “ประเด็นใน อนาคตเกี่ยวกับอาชีวศึกษาในภูมิภาคอาเซียน” การอ้างอิงถึงข้อปฏิบัติของประเทศสมาชิกอาเซียนและ การวิจัยในปัจจุบัน ส่งผลให้การประชุมหารือเรื่องนโยบายด้าน อาชีวศึกษาและการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนและอุตสาหกรรม ครัง้ ที่ 9 ถูกจัดขึน้ เพือ่ เป็นเวทีหารือและทบทวนเกีย่ วกับข้อเสนอแนะ พร้อมระบุแนวทางและพันธมิตรที่มีแนวโน้มจะท�ำให้ข้อเสนอแนะ ต่างๆ เกิดขึ้นจริง ภายหลังจากการประชุมรายงาน “ประเด็นในอนาคตเกีย่ วกับ อาชีวศึกษาในภูมภิ าคอาเซียน” จะถูกน�ำเสนอให้แก่สำ� นักเลขาธิการ

อาเซียนเพื่อน�ำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาแผนแม่บทการศึกษา 5 ปี ของส�ำนักเลขาธิการอาเซียน ตัง้ แต่ พ.ศ. 2557 การประชุมหารือเรือ่ งนโยบายด้านอาชีวศึกษา ได้รับการสนับสนุนจากโครงการความร่วมมือระดับภูมิภาคเพื่อ ส่งเสริมคุณภาพของการอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นความต้องการของ ตลาดแรงงาน (RECOTVET) ของรัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ซึ่งโครงการฯ เป็นเสมือนเวทีสำ� คัญที่เปิดโอกาสให้ประเทศสมาชิก อาเซี ย นได้ มี โ อกาสแลกเปลี่ ย นหั ว ข้ อ ส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นาการ อาชีวศึกษาส�ำหรับผู้ก�ำหนดนโยบายในภูมิภาคอาเซียน การประชุมหารือเรื่องนโยบายด้านอาชีวศึกษาและการมี ส่วนร่วมของภาคเอกชนและอุตสาหกรรม ครั้งที่ 9 ถูกจัดขึ้นโดย ส�ำนักเลขาธิการอาเซียน สภาที่ปรึกษาเอกชนแห่งอาเซียน และ โครงการ RECOTVET การประชุมครัง้ นีไ้ ด้รบั ผลตอบรับเป็นอย่างดี จากผู้ก�ำหนดนโยบายอาวุโสจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชน อาทิ กระทรวงการศึ ก ษาและแรงงาน กระทรวงอุ ต สาหกรรม และ กระทรวงพาณิชย์ ภายหลังการเจรจาหารือด้านนโยบายระดับภูมภิ าค ครัง้ ที่ 9 ระหว่างวันที่ 25-26 มิถนุ ายน พ.ศ. 2562 หน่วยงานด้านการศึกษา เชิงเทคนิคและการพัฒนาทักษะ (TESDA) ของฟิลิปปินส์ ภายใต้ การสนับสนุนจากส�ำนักเลขาธิการอาเซียนและโครงการ RECOTVET จะมีการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารเรือ่ ง “วาระการฝึกอบรมและการศึกษา ด้านเทคนิคและอาชีวศึกษาในอาเซียน” เพื่อพิจารณาแนวทาง ความร่วมมือระดับภูมิภาคส�ำหรับพัฒนาระบบการฝึกอบรมและ การศึกษาด้านเทคนิคและอาชีวศึกษา ที่จะช่วยให้ประเทศสมาชิก อาเซียนสามารถรับมือกับความท้าทายด้านทักษะของแรงงาน ท่ามกลางสภาวะโลกที่กำ� ลังเปลี่ยนแปลง July-August 2019


Scoop

> กองบรรณาธิการ

การที่รัฐบาลได้ประกาศนโยบายไทยแลนด์ 4.0 หรือ การประกาศว่าจะสร้างชาติให้เป็นประเทศทีม่ รี ายได้ประชากร สูง ด้วยระบบเศรษฐกิจทีข่ บั เคลือ่ นด้วยเทคโนโลยี ด้วยนโยบาย ดังกล่าว เทคโนโลยีสำ� หรับอุตสาหกรรม 4.0 จึงถือเป็นกุญแจ ส�ำคัญในการแปรรูปภาคการผลิตของไทย โดยมีเป้าหมาย เพือ่ เพิม่ ก�ำลังการผลิตให้ได้มลู ค่า 5 พันล้านดอลลาร์ ภายใน ปี ค.ศ. 2028 จากข้ อ มู ล ของส� ำ นั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม การลงทุนแห่งประเทศไทย ระบุว่าเทคโนโลยีหุ่นยนต์และ ระบบอัตโนมัติคือกุญแจส�ำคัญสู่ความส�ำเร็จในการก้าวสู่ ยุคไทยแลนด์ 4.0 ซึ่งภายใต้แนวคิดนี้ รัฐบาลได้ก�ำหนดให้ อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ (S-curve Industries) 10 ประเภท เป็นตัวขับเคลือ่ นการเติบโตของประเทศ โดยแบ่งเป็น 2 กลุม่ ได้แก่ กลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ (S-curve) และกลุ่ม อุตสาหกรรมใหม่ที่มีศักยภาพ (New S-curve) โดยกลุ่ม อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ (S-curve) ได้แก่ อุตสาหกรรมที่ ด�ำเนินธุรกิจอยู่ในปัจจุบัน เช่น อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยี การเกษตรและเทคโนโลยีอาหาร ซึ่งสามารถพัฒนาต่อยอด ได้ด้วยการใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ส่วนกลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ที่มี ศักยภาพ (New S-curve) คืออุตสาหกรรมขัน้ สูงแนวใหม่ เช่น อุตสาหกรรมอวกาศและพลังงานชีวภาพ July-August 2019

ที่ผ่านมา การน�ำหุ่นยนต์มาใช้ในภาคอุตสาหกรรมของไทย ยังอยูใ่ นอัตราต�ำ่ คือประมาณ 15% ของภาคการผลิตทัง้ หมด ดังนัน้ ความต้องการหุน่ ยนต์เพือ่ เพิม่ ก�ำลังการผลิตและจัดการด้านการผลิต จึงยังมีอยู่มาก ดังนั้น บริษัท ยูนิเวอร์ซัล โรบอทส์ ซึ่งเป็นบริษัท ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านหุน่ ยนต์เพือ่ การท�ำงานร่วมกับมนุษย์สญ ั ชาติเดนมาร์ก จึงก�ำหนดให้ประเทศไทยเป็นตลาดหลักที่มีศักยภาพการเติบโตสูง ยูนิเวอร์ซัล โรบอทส์ ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 2005 โดยผู้บริหาร ฝ่ายเทคโนโลยีระดับสูงของบริษทั เอสบอน ออสเตอร์การ์ด ผูป้ รารถนา ให้เทคโนโลยีหนุ่ ยนต์เป็นสิง่ ทีท่ กุ คนเข้าถึงได้ เขาจึงพัฒนาหุน่ ยนต์ อุตสาหกรรมขนาดเล็ก เป็นมิตรต่อผูใ้ ช้งาน มีราคาสมเหตุสมผล และ มีความยืดหยุน่ ในการใช้งานทีม่ นุษย์สามารถใช้ในการท�ำงานได้อย่าง ปลอดภัยและใช้งานได้ตลอดกระบวนการผลิตในภาคอุตสาหกรรม รายการผลิตภัณฑ์ของเขายังรวมถึงมือหุ่นยนต์รุ่น UR3, UR5 และ UR10 ซึง่ ตัง้ ชือ่ ตามน�ำ้ หนักทีร่ องรับได้ในหน่วยกิโลกรัม หลังจากการ เปิดตัวหุน่ ยนต์ UR รุน่ แรกในปี ค.ศ. 2008 บริษทั ได้มกี ารเติบโตขึน้ อย่างชัดเจนในด้านหุน่ ยนต์ทเี่ ป็นมิตรกับผูใ้ ช้ และสามารถจ�ำหน่าย ผลิตภัณฑ์ในมากกว่า 50 ประเทศทัว่ โลก ซึง่ หุน่ ยนต์ UR มีระยะเวลา คืนทุนภายใน 12 เดือนเท่านั้น ซึ่งถือว่าเร็วที่สุดในอุตสาหกรรม ในปัจจุบัน ยูนิเวอร์ซัล โรบอทส์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบริษัท Teradyne Inc. ในสหรัฐอเมริกา มีส�ำนักงานใหญ่ท่ีเมืองโอเดนเซ ประเทศเดนมาร์ก และมีสำ� นักงานสาขาทัง้ ในสหรัฐอเมริกา เม็กซิโก เยอรมนี สเปน ฝรั่งเศส อิตาลี สาธารณรัฐเช็ก ตุรกี อินเดีย จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ไต้หวัน และสิงคโปร์ มร.ซาการิ กูอิกกะ ผู้จัดการทั่วไป ประจ�ำภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้และโอเชียเนีย ยูนิเวอร์ซัล โรบอทส์ กล่าวว่า ปัจจุบนั มีธรุ กิจทีใ่ ช้เทคโนโลยีสำ� หรับอุตสาหกรรมยุค 4.0 เพิม่ มากขึน้ ท�ำให้มีการใช้ระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ขัน้ ตอนการท�ำงานและก�ำลังการผลิต นับตัง้ แต่ ค.ศ. 2016-ค.ศ. 2018 ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนของไทยได้มกี ารมอบเงิน กระตุ้นการลงทุนแก่โครงการเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการท�ำงาน ไปแล้วกว่า 36 โครงการ รวมมูลค่า 5.22 พันล้านบาท เฉพาะในปี ที่ผ่านมา มีการอนุมัติโครงการลงทุนด้านเทคโนโลยีหุ่นยนต์และ ระบบอัตโนมัติกว่า 11 โครงการ มูลค่ากว่า 1.46 พันล้านบาท1 “แม้จะมีการสนับสนุนเช่นนี้ หากศักยภาพของเทคโนโลยี รูปแบบนี้กลับยังไม่ได้ถูกน�ำไปใช้งานอย่างแพร่หลายเท่าที่ควร โดยข้อมูลแสดงให้เห็นว่า มีเพียง 15% ของภาคการผลิตของไทยทีใ่ ช้ เทคโนโลยีหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติในขั้นตอนการผลิต2 เราจึง เล็งเห็นถึงศักยภาพอีกมากในการส่งเสริมการใช้งานเทคโนโลยีเหล่านี้ ในยามทีป่ ระเทศก�ำลังให้ความส�ำคัญกับการเสริมสร้างความเข้มแข็ง


ของภาคอุตสาหกรรม” มร.ซาการิ กูอิกกะ กล่าวเพิ่มเติม เทคโนโลยีโคบอท (หุน่ ยนต์ทที่ ำ� งานร่วมกับมนุษย์) ได้สร้าง ประโยชน์มากมายให้แก่บริษทั รถยนต์ยกั ษ์ใหญ่อย่าง นิสสัน มอเตอร์ (Nissan Motor Company) โดยนับตัง้ แต่เริม่ น�ำหุน่ โคบอท รุน่ UR10 มาใช้ในโรงงาน บริษัทก็สามารถปรับเปลี่ยนขั้นตอนการท�ำงานให้ เรียบง่าย ลดต้นทุนแรงงาน และสร้างชิน้ งานทีม่ คี ณ ุ ภาพสม�ำ่ เสมอ ได้มากขึน้ นอกจากนัน้ ยังช่วยผ่อนแรงคนงานสูงวัยของบริษทั นิสสัน จากการท�ำงานทีต่ อ้ งใช้แรงมากและงานทีท่ ำ� ซ�ำ้ ๆ พวกเขาสามารถ โยกย้ายไปท�ำงานอืน่ ๆ ทีม่ มี ลู ค่าและใช้ทกั ษะสูงขึน้ ส่วนบริษทั เจวีซี อิเล็กทรอนิกส์ อินโดนีเซีย หลังจากติดตั้งหุ่นโคบอท สามารถเพิ่ม ทัง้ ก�ำลังการผลิต คุณภาพของชิน้ งาน รวมถึงสวัสดิภาพของคนงาน พร้อมช่วยลดค่าใช้จ่ายได้ปีละมากกว่า 8 หมื่นดอลลาร์เลยทีเดียว ด้วยคุณสมบัติของโคบอทที่มีน�้ำหนักเบา ขนาดเล็ก และ มีความยืดหยุ่น ท�ำให้สามารถน�ำไปใช้งานได้แม้ในพื้นที่แคบและ ครอบคลุมอุตสาหกรรมได้หลากหลายรูปแบบ คนงานสามารถท�ำงาน ร่วมกับมันได้โดยไม่ตอ้ งมีการติดตัง้ รัว้ กัน้ เพือ่ ความปลอดภัย (ขึน้ อยู่ กับการประเมินความเสี่ยง) คุณประโยชน์มากมายที่ไม่จบสิ้นของ โคบอทยังสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันอย่างมากแก่อตุ สาหกรรม ในประเทศไทย ผ่านการเพิ่มก�ำลังการผลิต คุณภาพสินค้า และ สวัสดิภาพของคนงาน

เทคโนโลยีหุ่นยนต์ กุญแจสำ�คัญสู่การก้าวสู่ Thailand 4.0

ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยได้กลายเป็นศูนย์กลาง การผลิตที่แข็งแกร่ง ซึ่งโดดเด่นในภาคอุตสาหกรรมรถยนต์และ อิเล็กทรอนิกส์ที่เฟื่องฟู และทั้ง 2 ภาคอุตสาหกรรมนี้ยังเป็นตัว ขับเคลือ่ นการเติบโตของเทคโนโลยีหนุ่ ยนต์และระบบอัตโนมัตขิ องโลก ประเทศไทยยังเป็นผูผ้ ลิตรถยนต์รายใหญ่ของภูมภิ าคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ โดยมีโรงงานประกอบรถยนต์ 23 แห่ง และโรงงานประกอบ มอเตอร์ไซค์ 8 แห่ง3 ไทยยังเป็นผูส้ ง่ ออกฮาร์ดดิสก์บนั ทึกข้อมูลชัน้ น�ำ โดยคิดเป็น 82% ของผู้ส่งออกทั่วโลก4 การเปลี่ยนแปลงไปสู่เทคโนโลยีหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ จึงถือเป็นสิ่งส�ำคัญอย่างยิ่งยวด ในการรับประกันว่าอุตสาหกรรม เหล่านีแ้ ละอุตสาหกรรมอืน่ ๆ จะสามารถด�ำเนินต่อไปได้อย่างยัง่ ยืน และรักษาสถานะผู้นำ� ในระดับโลกได้ จากการศึกษาของซิสโก้และเอ.ที.คาร์นยี ์ พบว่า ภาคการผลิต ของไทยสามารถเพิ่มก�ำลังการผลิตได้มูลค่า 50 พันล้านดอลลาร์ ภายในปี ค.ศ. 2028 ผ่านการใช้เทคโนโลยีส�ำหรับอุตสาหกรรม ยุค 4.05

“ระบบอัตโนมัติกลายเป็นส่วนส�ำคัญในสมการการผลิตของ อุตสาหกรรมหลายประเภทในเมืองไทย และในการท�ำให้ระบบ อัตโนมัติเป็นสิ่งที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ตามค�ำมั่นสัญญา เราจึง ท�ำงานร่วมกับพันธมิตรอย่างใกล้ชดิ เพือ่ ท�ำการประเมิน ให้คำ� แนะน�ำ และน�ำเสนอการใช้งานโซลูชันเทคโนโลยีหุ่นยนต์ที่ออกแบบมาให้ สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าแต่ละราย ส�ำหรับการเพิ่ม ความสามารถของหุน่ ยนต์กม็ คี วามส�ำคัญไม่แพ้กนั ด้วยการท�ำงาน ของสถาบัน UR Academy ของเรา ทั้งนายจ้างและลูกจ้างสามารถ ใช้องค์ความรู้จากแบบจ�ำลองและเว็บบินาร์แบบไม่เสียค่าใช้จ่าย เพื่อฝึกฝนทักษะการตั้งโปรแกรมโคบอทหลักในการท�ำงานได้” มร.ซาการิ กูอิกกะ กล่าว

คุณประโยชน์ของโคบอทที่มก ั ถูกมองข้าม

หุ่นยนต์ที่ท�ำงานร่วมกับมนุษย์ หรือโคบอท เป็นหุ่นยนต์ ที่สามารถท�ำงานควบคู่ไปกับมนุษย์ ซึ่งจะขับเคลื่อนตลาดระบบ ออโต้เนชันในอนาคต ซึง่ ด้วยคุณสมบัตทิ กี่ อ่ ให้เกิดประโยชน์มากมาย ต่อกระบวนการท�ำงาน/การผลิตของมนุษย์ มีการประมาณการว่าต่อไปยอดขายโคบอททั่วโลกจะสูงถึง 12 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ มีการประเมินว่าการใช้หุ่นยนต์ท�ำงาน ร่วมกับมนุษย์จะเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตได้ถึง 85% โคบอทยังมี ฟังก์ชันความปลอดภัย 15 ฟังก์ชัน ประกอบด้วย 7 ฟังก์ชันถาวร ประกอบด้วยกลไกหยุดกรณีฉุกเฉิน และการป้องกัน 8 ฟังก์ชัน ปรับเปลี่ยนได้ คือ ต�ำแหน่งข้อต่อ และความเร็ว และต�ำแหน่งการ วางเครือ่ งมือ รวมถึงการก�ำหนดทิศทางความเร็ว แรงกระท�ำ แรงผลัก และก�ำลังของหุ่นยนต์ จากการเก็บสถิตใิ นบริษทั เอเทรีย ประเทศสวีเดน ผลปรากฏว่า บริษทั สามารถลดเวลาทีต่ อ้ งหยุดการผลิตเพือ่ สลับการบรรจุหบี ห่อ ผลิตภัณฑ์ 2 ชนิด จาก 6 ชัว่ โมงเหลือเพียง 20 นาที ลดข้อผิดพลาด ทีท่ ำ� ให้เกิดเศษวัสดุเหลือใช้ได้ถงึ 25% จึงสามารถใช้วสั ดุในกระบวนการ บรรจุหบี ห่ออาหารได้อย่างคุม้ ค่าสูงสุด ส่วนบริษทั ออโรแลบ ประเทศ อินเดีย ซึง่ เป็นผูผ้ ลิตเลนส์ ได้นำ� โคบอทมาใช้ในกระบวนการผลิตเพือ่ ท�ำงานกับวัสดุทลี่ ะเอียดอ่อน ท�ำให้ได้คณ ุ ภาพทีส่ ม�ำ่ เสมอ นอกจากนัน้ โคบอทยังช่วยลดเวลาการท�ำงานที่สูญเสียไปเพราะการบาดเจ็บ ของพนักงานอีกด้วย 1 https://www.prnewswire.com/news-releases/thailand-promotes

-ai-robotics-technology-to-spur-industry-4-0-readiness 300854969.html 2 https://www.boi.go.th/upload/content/TIR_Newsletter_ December_FINAL_11012019_5c3b4be3792bb.pdf 3 https://www.bangkokpost.com/business/news/1606570/ automotive-industry-at-a-turning-point 4 https://www.kasikornbank.com/international-business/en/ Thailand/IndustryBusiness/Pages/201902_Thailand_HDD_ outlook2019.aspx 5 https://www.startupthailand.org/en/industry-4-0-set-to-add 50bn-in-thailands-manufacturing/ July-August 2019


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

โครงการ

“Big Brother พี่ช่วยน้อง” ยกระดับ SMEs ให้ก้าวสู่ 4.0

ในประเทศไทยมีกลุม่ อุตสาหกรรมขนาดเล็กและขนาดกลาง (SMEs) เป็นจ�ำนวนมาก ซึง่ ผูป้ ระกอบการในกลุม่ นีม้ กั ประสบปัญหา การพัฒนาศักยภาพการผลิตทัง้ การขาดแคลนเงินทุนและเทคโนโลยี หน่วยงานภาครัฐเองก็เล็งเห็นถึงปัญหานี้จึงร่วมมือกับภาคเอกชน ทีม่ เี ทคโนโลยีและมีความพร้อมเพือ่ ร่วมพัฒนาศักยภาพผูป้ ระกอบการ ไทยให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดยุคปัจจุบัน กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กอส.) เริม่ บทบาทด้านการส่งเสริม อุตสาหกรรมมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2479 ซึ่งในตอนนั้นประเทศไทยต้อง ประสบกับภาวะขาดแคลนสินค้า เพือ่ บรรเทาวิกฤตดังกล่าว รัฐบาล จึ ง เข้ า มาส่ ง เสริ ม การผลิ ต สิ น ค้ า อุ ป โภคบริ โ ภคภายในประเทศ โดยมอบหมายให้กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมเป็นหน่วยงานหลัก ในการส่งเสริมอุตสาหกรรมไทยให้เติบโตขึ้นจวบจนถึงปัจจุบัน เมื่อโลกในปัจจุบันหมุนไปอย่างรวดเร็ว อันเป็นผลมาจาก เทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างก้าวกระโดด ซึ่งการเปลี่ยนผ่านครั้งส�ำคัญ จากอุตสาหกรรมทีข่ บั เคลือ่ นโดยแรงงานไปสูอ่ ตุ สาหกรรมทีข่ บั เคลือ่ น ด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม เป็นแรงกดดัน ให้ผู้ประกอบการทุกภาคส่วนต้องยกระดับขีดความสามารถในการ แข่งขัน และปรับจุดยืนครัง้ ใหญ่เพือ่ ให้ภาคอุตสาหกรรมของประเทศ สามารถเผชิญกับการเปลีย่ นผ่านครัง้ นีไ้ ด้อย่างเข้มแข็ง กรมส่งเสริม อุตสาหกรรมจึงได้ปรับโครงสร้างภายในองค์กรให้ทนั สมัย โดยพัฒนา ระบบงานด้านต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ เพื่อท�ำหน้าที่ “พี่เลี้ยง (Mentor)” ของผูป้ ระกอบการได้อย่างสมบูรณ์แบบ และสร้างประโยชน์ สูงสุดให้เกิดแก่ SMEs โครงการ Big Brother หรือ “พีช่ ว่ ยน้อง” คือมาตรการพิเศษ ของโครงการสานพลังประชารัฐ เพื่อช่วยขับเคลื่อน SMEs ไปสู่ ยุค 4.0 โดยโครงการได้ขอความร่วมมือจากองค์กรเอกชนขนาดใหญ่ เข้ามาช่วยเป็นพี่เลี้ยงเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ อาทิ ความรู้ด้าน การเงิน การตลาด การขาย กฎหมาย ตลอดจนเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อน�ำมาต่อยอดและสร้างมูลค่าเพิ่มด้านต่างๆ ให้กับธุรกิจ ซึ่งมัก เป็นปัญหาของผู้ประกอบการที่ขาดองค์ความรู้เหล่านี้ July-August 2019

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) ร่วมกับ บริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สานต่อโครงการ Big Brother หรือพี่ช่วยน้อง ปีที่ 6 เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการ แข่งขันทางธุรกิจและยกระดับศักยภาพการประกอบธุรกิจให้ก้าวสู่ ความเป็นผู้น�ำอุตสาหกรรมในยุคเศรษฐกิจ 4.0 ด้วยเทคโนโลยี อัตโนมัติ วัชรุน จุ้ยจ�ำลอง ผู้อ�ำนวยการกองพัฒนานวัตกรรมและ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กล่าวว่า โครงการที่ เราด� ำ เนิ น การใน ลั ก ษณะที่ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น การแข่ ง ขั น ทางธุ ร กิ จ และ ยกระดับศักยภาพการประกอบ ธุรกิจให้ก้าวสู่ความเป็นผู้น�า อุตสาหกรรมในยุคเศรษฐกิจ 4.0 ด้วยเทคโนโลยีอตั โนมัติ ซึง่ ทีผ่ า่ นมาทาง กสอ. มีเจ้าหน้าที่ วัชรุน จุ้ยจำ�ลอง คอยให้ ค� ำ ปรึ ก ษาแนะน� า ไม่วา่ จะเป็นประเภท SME หรือ ชาวเกษตรกร เนือ่ งด้วยความต้องการของกลุม่ SMEs มีคอ่ นข้างมาก ดังนั้นทาง กสอ. ร่วมมือกับหน่วยงานภาคเอกชนเพื่อตอบสนอง ความต้องการของกลุ่ม SMEs ได้อย่างครอบคลุม “โครงการพีช่ ว่ ยน้อง ได้ขอความร่วมมือกับบริษทั เดลต้า และ ยังมีทงั้ TPC, DENSO, TOYOTA เพือ่ ทีใ่ ห้มาถ่ายทอดความรูใ้ ห้กบั กรมอุตสาหกรรมและถ่ายทอดให้กับคนของกระทรวงด้วย และ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือการถ่ายทอดความรู้ เทคนิคต่างๆ ให้กบั SMEs ดังนัน้ Big Brother เราได้รบั ความอนุเคราะห์จากบริษทั ทีเ่ ชิญมาร่วมก็จะมี ความสามารถที่แตกต่างกัน นั้นเลยเป็นที่มาของค�ำว่า Big Brother พี่ช่วยน้อง” บริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ให้ความส�ำคัญกับโครงการ Big Brother จึงมีความตั้งใจจะพัฒนา SMEs ให้กบั ผูป้ ระกอบการทางอุตสาหกรรมทีย่ งั ต้องการองค์ความรู้


ทางเดลต้ามีความตัง้ ใจจะพัฒนา SMEs ตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 เรื่องแรกคือเรื่องของการให้ความรู้ วิธีการให้ความรู้จ�ำเป็นมาก ทีจ่ ะต้องมีอปุ กรณ์ ทางเดลต้าได้มกี ารสนับสนุนอุปกรณ์ Industrial Automation Demo Kit ส�ำหรับศูนย์ปฏิรปู อุตสาหกรรม 4.0 (ITC 4.0) ทั้งหมด 8 ชุด รวมถึงสนับสนุนบุคลากรเข้ามาให้ความรู้เพื่อให้ บุคลากรได้มีความรู้ก่อนที่จะไปให้คำ� แนะน�ำกับ SMEs เกษมสันต์ เครือธร ผูแ้ ทนจากบริษทั เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า “ทางบริษัทเดลต้าได้มี โอกาสจั ด อบรบให้ ค วามรู ้ ซึ่งได้ผลตอบรับดีมาก เรื่องที่ ให้ความส�ำคัญมากๆ อีกเรื่อง นั่ น ก็ คื อ การที่ ผู ้ ป ระกอบการ ไม่ ส ามารถวิ นิ จ ฉั ย ตั ว เองได้ ไม่ ส ามารถบอกได้ ว ่ า สาเหตุ ของปัญหาคืออะไร ทางบริษัท เดลต้ า จึ ง มี ก ารจั ด อบรมขึ้ น เกษมสันต์ เครือธร เพือ่ ทีจ่ ะได้ให้แนวทางการแก้ไข และความรู้เกี่ยวกับเครื่องจักร เป็นประเภทไหน รายการผลิตเป็นอย่างไร แล้วระบบควบคุม เครื่องจักรเป็นแบบไหน จะใช้เครื่องจักรตัวไหนถึงจะเหมาะสมกับ การผลิต” ทางเดลต้าเล็งเห็นถึงความส�ำคัญในการแก้ไขปัญหาเพื่อให้ ผู้ประกอบการนั้นได้รับประโยชน์สูงสุด และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการประกอบการทางด้านอุตสาหกรรมและความยัง่ ยืนในอนาคต ทรงศักดิ์ วัฒนพูน ผู้แทนสถานประกอบการที่เข้าร่วม โครงการ จากบริษทั เชียงใหม่บรูเฮ้าท์ จ�ำกัด ได้เข้าร่วมโครงการ Big Brother พีช่ ว่ ยน้องในครัง้ นี้ เชี ย งใหม่ บ รู เ ฮ้ า ท์ ป ระกอบ กิจการโรงงานผลิตเบียร์ขนาด เล็ก เมื่อปี พ.ศ. 2555 ได้หยุด ท� ำ การไประยะหนึ่ ง ต่ อ มา มี โ ครงการที่ จ ะเปิ ด การผลิ ต อี ก ครั้ ง แต่ มี ป ั ญ หาเกิ ด ขึ้ น เพราะเครือ่ งจักรมีอายุการใช้งาน ทรงศักดิ์ วัฒนพูน ที่ น านพอสมควรแล้ ว เมื่ อ จะต้องซ่อมบ�ำรุงและปรับปรุง เครื่องจักรเดิมก็ท�ำให้เกิดปัญหาทั้งการหาอะไหล่และการพัฒนา เทคโนโลยี ทรงศักดิ์ เล่าว่า “เราพยายามหาช่องทางว่าเราจะแก้ไขยังไง ก็ย้อนมาที่ผู้ผลิตเครื่องจักรแต่ก็ไม่ส�ำเร็จ นอกจากว่าจะต้องเขียน โปรแกรมใหม่ทงั้ หมด เพราะเครือ่ งจักรทัง้ หลายน�ำเข้าจากต่างประเทศ และถูกล็อกซอฟต์ไฟล์ไว้ ดังนัน้ ข้อมูลข้างในนัน้ ไม่สามารถดึงออก มาได้ ผมเดินทางไปบริษัทที่ผลิตเครื่องจักรตัวนี้ก็ไม่สามารถแก้ไข อะไรได้ จนกระทัง่ วันหนึง่ ผมได้ E-mail ทีป่ ระชาสัมพันธ์โครงการนี้ จาก กสอ. จึงได้สมัครเข้าไป พอหลังจากนัน้ ไม่นานก็มเี จ้าหน้าทีจ่ าก

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมติดต่อเข้ามา ทาง กสอ. แนะน�ำว่ามีโครงการ Big Brother และเริ่มให้ข้อมูลและช่วยเหลือแก้ไขปัญหา” ทางโรงงานบรู เ ฮ้ า ท์ ร ่ ว มกั บ ตั ว แทนจากบริ ษั ท เดลต้ า ได้ ร่วมกันแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ จนประสบความส�ำเร็จ ทรงศักดิ์ กล่าว เพิม่ เติมว่า “โรงงานผลิตเบียร์ของเราจะผลิตโดยไม่ใช้สารเคมี ดังนัน้ ระบบการควบคุมคุณภาพจะต้องเข้มงวดมาก หลังจากได้รับการ แนะน�ำและช่วยเหลือจากผูเ้ ชีย่ วชาญของเดลต้า เราจึงแก้ไขปัญหาได้ สามารถเดินเครื่องผลิตสินค้าได้ตามเป้าหมาย” เกษมสันต์ กล่าวเพิ่มเติมว่า “หลังจากได้รับการติดต่อว่า โรงงานบรูเฮ้าท์มีปัญหาอย่างไร ก็ได้เข้าเยี่ยมโรงงาน ได้เห็นระบบ การผลิตจริงๆ ตัง้ แต่เริม่ รับวัตถุดบิ จนถึงผลิตออกมาพร้อมจ�ำหน่าย เพื่อหาทางแก้ไข ก็พบว่าผู้ประกอบการมีปัญหาในส่วนของการใช้ ระบบ Manual ทัง้ หมดและระบบ Software เป็นระบบเก่า ซึง่ หน้าจอ ไม่สามารถมองเห็นข้อความหรือ Touch Screen ได้ เนื่องจากมี ระยะเวลาในการใช้งานนานแล้ว ดังนั้นจะต้องหาอะไหล่ที่น�ำมา ทดแทน มีการหา Hardware ตัวเก่าทีส่ ามารถน�ำมาใช้ได้ และท�ำการใส่ Software เพือ่ ลองทดสอบว่าจะ Upload มาจากอันเดิมได้ไหม เพือ่ ที่จะดูการ Process เป็นยังไง ในที่สุดเราก็สามารถแก้ไขได้สำ� เร็จ” อย่างไรก็ตาม การแก้ไขปัญหาในครัง้ นีจ้ ะไม่เกิดขึน้ หากไม่มี โครงการ Big Brother ที่ทางกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมร่วมมือกับ องค์กรเอกชนขนาดใหญ่เพื่อเข้ามาช่วยเป็นพี่เลี้ยงเพื่อถ่ายทอด องค์ความรู้และแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน และทาง กสอ. มีหลาย หน่วยงานที่จะช่วยในแต่ละด้าน ในส่วนของอุตสาหกรรมเองนั้น จะเน้นในเรื่องของเทคโนโลยีในการที่ธุรกิจจะสามารถ Transform เองได้มี 3 เรือ่ งส�ำคัญด้วยกัน คือ Produce Packaging และ Process วัชรุน กล่าวว่า “SMEs ประเทศไทยโดยส่วนใหญ่แล้วทีแ่ ข่งขัน ระดับโลกไม่ได้เพราะบางครั้งมองข้ามเรื่องของกระบวนการผลิต พูดเหมือนง่าย แต่พอท�ำจริงๆ นั้นยาก ยกตัวอย่าง SMEs ได้รับ ออเดอร์มาจากต่างประเทศ เมือ่ ได้รบั ออเดอร์มา ปัญหาก็คอื SMEs ใช้วิธีการคาดคะเนว่าก�ำลังการผลิตของตัวเองเท่านี้ ประสิทธิภาพ ของตัวเองในการผลิตเท่านี้ แต่ข้อมูลนั้นอยู่บนการคาดคะเน จะเห็นได้วา่ SMEs ในประเทศไทยนัน้ Process ในการผลิต Process ในการบริหารจัดการ Process ในเรื่องของการเชื่อมโยงการท�ำงาน ทัง้ หมดเข้าด้วยกัน ซึง่ ในปัจจุบนั เทคโนโลยีอตุ สาหกรรม ตัง้ แต่ 1.0, 2.0, 3.0, 4.0 SMEs นัน้ เมือ่ ให้เทียบดูแล้วอยูท่ ปี่ ระมาณ 2.0 บางที ยังอยู่ที่ 1.0 ด้วยซ�ำ้ นั่นเลยเป็นที่มาของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ว่าเราจะท�ำอย่างไรที่จะดึง SMEs กลุ่มนี้ขึ้นมายกระดับเพื่อที่จะไป ในระดับที่สูงกว่าเดิม” เรียกได้วา่ “โครงการ Big Brother หรือพีช่ ว่ ยน้อง” จัดท�า เพื่อพัฒนาระบบงานด้านต่างๆ เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถ ด�ำเนินกิจการได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างประโยชน์สงู สุดให้เกิดแก่ SMEs ด�ำเนินกิจการได้อย่างยัง่ ยืน เพือ่ ก้าวสูก่ ารเป็นผูน้ ำ� ทางด้าน อุตสาหกรรม หากผู้ประกอบการท่านใดพบเจอปัญหา สามารถ ติดต่อสอบถามข้อมูลกับทางกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เพือ่ รับ ค�ำแนะน�ำหรือการแก้ไขปัญหา July-August 2019


Cover Story > บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด

July-August 2019


Static V a

Static Var Generator

SVG SVG A solu t A solution for buildings i o n fo r buildin and industrial facilities with a n gs d i n penalties for both inductive d u s tr i a l f a c i l i ti and capacitive loads. p e n a l ti e s w i th e s fo r b ot h i n d a n u c t i ve d c a pac i t ďƒź Compensation i v e l o ad s continues ensuring . that you achieve the target cosĎ• nsation Compe n s u ri n g ues e c o n ti n a c h ieve th e u th a t y o s co ta rg e t

July-August 2019

r Gen er

ator


July-August 2019


การควบคุมแอคทีฟฟิลเตอร์แบบวงรอบเปิด (Open Loop / Load Side)

การควบคุมแอคทีฟฟิลเตอร์แบบวงรอบปิด (Close Loop / Main Side)

July-August 2019


Special Area

> บริษัท ออมรอน อีเล็คทรอนิคส์ จ�ำกัด

White Light Confocal เพิ่มประสิทธิภาพการตรวจวัดวัตถุ

ในภาคอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเซมิคอนดักเตอร์ และ อีกหลายอุตสาหกรรม ต้องปรับตัวเข้ากับการผลิตทีม่ คี วามหลากหลาย ในแง่ผลิตภัณฑ์และมีจ�ำนวนการผลิตหรือล็อตไซส์ลดลง จึงต้อง ปรับเปลี่ยนระบบการผลิตและระบบควบคุมเครื่องจักรในสายการ ผลิตให้เป็นรูปแบบที่เน้นเวลาและต้นทุนต�่ำในการเริ่มกระบวนการ ผลิต (Setup Cost) เราเรียกระบบการผลิตนีว้ า่ Flexible Production Line และเทคโนโลยีการควบคุมว่าเป็น Flexible Automation ในขณะทีก่ ารออกแบบผลิตภัณฑ์กม็ ขี นาดเล็กลง แบนบางลง และมีรูปร่างหลากหลาย มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น การพัฒนา เซนเซอร์ใหม่ๆ ก็มงุ่ เน้นความสามารถในการตรวจวัด ทีร่ องรับชิน้ งาน ขนาดเล็ก พื้นผิวมีความหลากหลาย และมีรูปทรงแตกต่างกันไป แต่ยงั คงให้ความละเอียดสูง และมีความเสถียรตลอดย่านการใช้งาน ซึ่งเลเซอร์เซนเซอร์แบบเดิมๆ อาจไม่ตอบโจทย์อีกต่อไป ในเครือ่ งจักรการผลิตแบบอัตโนมัติ สินค้าหรือชิน้ ส่วนจะถูก ป้อนเข้าอัตโนมัติด้วยเช่นกัน การตรวจสอบความเรียบร้อยของ ชิ้นงานเข้าจะมีความส�ำคัญมาก ปัญหามักเกิดหากชิ้นส่วนที่ป้อน

เข้าเครือ่ งมีการทับซ้อนกันมากกว่าหนึง่ ชิน้ หรือไม่มสี นิ ค้าอยูใ่ นช่อง ที่ควรมี จะท�ำให้การผลิตเกิดความผิดพลาดและสินค้าสุดท้าย กลายเป็นของเสีย ชิน้ ส่วนทีใ่ ช้ในปัจจุบนั ก็ตรวจสอบได้ยาก ไม่วา่ เป็น เพราะขนาดเล็ก มีความเงาหรือสะท้อนแสง ท�ำให้เซนเซอร์ทวั่ ไปไม่ สามารถใช้งานในการแยกแยะและการตรวจสอบปัญหาดังกล่าวได้ เพือ่ ตอบสนองความต้องการเหล่านี้ ผูผ้ ลิตได้พฒ ั นาเซนเซอร์ พิเศษด้วยการใช้เทคนิค White Light Confocal เพิม่ ประสิทธิภาพ การตรวจวัดวัตถุที่มีความแตกต่างกันในแง่พื้นผิว ไม่ว่าจะเป็น ผิวหยาบ ผิวสะท้อนแสง ผิวที่มีความลาดเอียง หรือแม้แต่การวัด พืน้ ผิวในซอกลึกแคบ หลักการคือการใช้แสงในย่านสีตา่ งๆ มากมาย รวมกันเป็นแสงสีขาวในการตรวจวัด แสงแต่ละสีจะตอบสนองต่อ ผิวสัมผัสต่างกัน การใช้แสงขาวเปล่งแสงย่านย่านและรวบรวม ผลการตอบสนองไว้ทั้งหมด วิเคราะห์ด้วยไมโครโพรเซสซิ่ง เพื่อให้ การวัดท�ำได้แม่นย�ำแม้ว่าพื้นผิววัสดุหรือรูปทรงจะมีความแตกต่าง กัน

การวัดชิ้นงานผิวแบบกระจก (ลาดเอียงหรือโค้ง)

เอกลักษณ์ของ White Light Confocal เซนเซอร์สามารถวัดค่าความสูง ไม่ว่า จะเป็นพื้นผิวมุม ลาดเอียง หรือพื้นผิวโค้ง เช่น เลนส์โทรศัพท์

Traditional Laser Displacement Sensor

Angle [o]

July-August 2019

White Light Confocal Displacement Sensor

Angle [o]

(ZW-S8010)


การวัดชิ้นงานผิวโปร่งแสง

ZW-8000 สามารถวัดความสูงของผิวชิ้นงานทั้งบนและล่าง เช่น สารเคลือบผิว แผ่นฟิลม์ เพือ่ วัดความหนาของวัสดุผวิ โปร่งแสงต่างๆ สามารถใช้เซนเซอร์เพือ่ ค�ำนวณ ความหนาบางด้วยความละเอียดสูง

Traditional Laser Displacement Sensor Received Light Waveform

White Light Confocal Displacement Sensor Received Light Waveform

Height [µm] The received light waveform peak is wide, and the top surface cannot be separated from the bottom surface.

Height [µm]

(ZW-S8010)

High resolution produces sharp received light waveforms. Thickness measurement is possible by separating the surfaces.

การวัดชิ้นงานขนาดเล็ก

ปัจจุบันชิ้นงานมีขนาดเล็กมากจนเซนเซอร์ธรรมดาไม่สามารถตรวจวัดได้อย่าง แม่นย�ำ ด้วยจุดแสงที่มีขนาดเล็กพิเศษ เซนเซอร์สามารถวัดความสูงของอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กได้อย่างแม่นย�ำ รวมถึงซอกชิน้ งานขนาดเล็กทีม่ คี วามจ�ำเป็นต้อง วัดค่าความสูงก็สามารถท�ำได้เช่นกัน

Traditional Laser Displacement Sensor

White Light Confocal Displacement Sensor

Large Spot Diameter

Small Spot Diameter

Laser Beam

ZW-8000

หากท่านสนใจอยากทราบรายละเอียดระบบวิช่น ั สามารถติดต่อสอบถามได้ที่พนักงานขายออมรอน หรือติดต่อ โทร. 0-2942-6700 หรือ เยี่ยมชมเว็บไซต์เกี่ยวกับ ZW-8000/7000/5000 Series ได้ที่ http://www.omron-ap.co.th/products/family/3500/ July-August 2019


Slim Interface Relays

ด้ วย นัน� ก�ค�อ Interface Slim Relays

Slim Interface Relays ใช้ สาํ หรับติดตังก่ � อน Input แล

Control) ได้ เข้ ามามีบทบาทใน

ท�กวันนี �ระบบควบค�มอัตโนมัติ �Automation Control) ได้ เข้ ามามีบทบาทใน ของ PLC เ���อป้องกัน I/O ของ PLC เสียหายเน�อ� งจากรับกระแสเก วงการอ�ตสาหกรรมเป� นอย่างมาก เ���ออํานวยความสะดวกในการควบค�มและ Special Area Input บต่อซึกัง� บใช้Auxiliary contact, เซนเซอร > บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด ตรวจสอบ รวมไปถึงมอนิเตอร์การทํางาน ซึงอ�ปกร�์ ที�เลีย� PLC งไม่ไสํด้าคหรั �อ PLC สําหรับควบค�มและประมวลการทํางาน แต่ก�ยงั ต้ อOutput งมีอป� กร�์PLC สาํ คัสํ�าอ�หรั�นบทีขั�ต้บองต่ ร่วม อ�น�เช่น Contactor, V อ�ปอกร�์

ความสะดวกในการควบค�มและ ปกร�์ที�เลีย� งไม่ได้ ค�อ PLC ซึง� ใช้ งต้ องมีอป� กร�์สาํ คั�อ��นที�ต้องต่อร่วม

Slim Interface

Relays

บทบาทใน บค�มและ PLC ซึง� ใช้ อ��นที�ต้องต่อร่วม

ติหลัดงตังก่ � อน Output

ด้ วย นัน� ก�ค�อ Interface Slim Relays Slim Interface Relays ใช้ สาํ หรับติดตังก่ � อน Input และหลัง Output

ของ PLC เ���อป้องกัน I/O ของ PLC เสียหายเน�อ� งจากรับกระแสเกิน

Relpol ผู้ผลิต Relays ชั �นนําจากประเทศโปแลนด์ ผู้ผล

 Input PLC สําหรับต่อกับ Auxiliary , ลิมิตInstallation เซนเซอร์ สวิทช์ ฯลฯ Relays, Time relay Industrial Relays, ชนิดเช่นcontact, ทุกวันนีร้ ะบบควบคุมอัตโนมัติ (Automation Control System) ได้เข้ามา  Output PLC สําหรับขับอ�ปกร�์ Contactor, อ�น�เช่น Relays ฯลฯ Interface Relays ของ Relp Interface เช่นกัValue น ซึง� Slim มีบทบาทในวงการอุตสาหกรรมเป็นอย่างมาก เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกใน ดังนี � การควบคุมและตรวจสอบ รวมไปถึงมอนิเตอร์การท�ำงาน ซึง่ อุปกรณ์ทเี่ ลีย่ ง ไม่ได้คอื PLC ซึง่ ใช้สำ� หรับควบคุมและประมวลผลการท�ำงาน แต่กย็ งั ต้องมี  ชนิด Electromagnetic relays หน้ าคอนแทค 1 C/O ส อุInput ปกรณ์ส�ำคัญอื่นที่ต้องต่อร่วมด้วOutput ย นั่นก็คือ Slim Interface Relays ผู้ผลิ6A/24VDC ต Relays หลากหลาย Relpol ผู้ผลิต Relays ชั �นนําจากประเทศโปแลนด์ 6A/250VAC, (RM699BV) Slim Interface Relays ใช้สำ� หรับติดตัง้ ก่อน Input และหลัง Output Triacrelays N/O สามารถรองรับโหลดได ชนิด Time หน้ าคอนแทค ของ PLC เพื่อป้องกัน I/O ของ PLC เสียหายเนื่องจากรับชนิกระแสเกิ น Relays, InstallationRelays, ดเช่น Industrial รวมไปถึ1ง Slim  Input PLC ส�ำหรับต่อกับ Auxiliary Contact, Sensor, Limit N/O สามารถรองรับโห  Relays ชนิด Transistor Interface Relays เช่นกัน ซึง� Slim Interface ของ Relpolหน้มีาหคอนแทค ลากหลาย1แบบ Switches ฯลฯ (RSR30) ดังนี � Value ฯลฯ  Output PLC ส�ำหรับขับอุปกรณ์อน ื่ ๆ เช่น Contactor,

และหลัง

น�ลิอ�มิตสวิงจากรั บกระแสเกิน ทช์ ฯลฯ

lue ฯลฯ

contact, เซนเซอร์, ลิมิตสวิทช์ ฯลฯ

�เช่ รวมไปถึน ง Contactor, Value ฯลฯ

l มีหลากหลาย แบบ

มารถรองรับโหลดได้

ชนิด Electromagnetic relays หน้ าคอนแทค 1 C/O สามารถรองรับโหลดได้ 6A/250VAC, 6A/24VDC (RM699BV)

Relpol ผู้ผลิชนิ ต Relays ชั้นน�ำจากประเทศโปแลนด์ ผู้ผลิต ด Triac หน้ าคอนแทค 1 N/O สามารถรองรับโหลดได้ 1A (RSR30)

Relays หลากหลาย Slim

Relays หลากหลายชนิด เช่น Industrial Relays, Installation Relays,

Socket Socket Socket นอก�ากนั นอก�ากนั นอก�ากนั นอก�ากนั น� น� หากแบ่ น�หากแบ่ น�หากแบ่ หากแบ่ งตามชนิ งตามชนิ งตามชนิ งตามชนิ ดของ ดของ ดTime ของ ดSocket ของ ได้ได้อรวมไปถึ ได้อกเป็ อได้ อกเป็ ออกเป็ อชนิ อกเป็ นงนด�นTransistor �ประเ�ทคื น�ประเ�ทคื �ประเ�ทคื ประเ�ทคื อหน้อ อาคอนแทค อ Relays Slim Interface Relays เช่1นN/O กัน สามารถรองรั ซึ่ง Slim บโหลดได้ 1A/2A

Interface Relays ของ(RSR30) Relpol มีหลากหลายแบบ ดังนี้

  ชนิ ชนิ (Screw (Screw (Screw Terminal) Terminal) Terminal) Terminal) ดชนิขัดชนิ นขัดสกรู นขัดสกรู นขัสกรู น(Screw สกรู เป็เป็นเป็ชนิ นเป็ชนิ นดชนิ นประหยั ดชนิ ประหยั ดประหยั ดประหยั ดดเหมาะสํ ดเหมาะสํ ดเหมาะสํ เหมาะสํ าหรั าหรั าบหรั าบใช้หรัใช้ บงใช้ บานทั งใช้ านทั งานทั งว� านทั ไป ว� ไป ว� ไป ว� ไป  ชนิด Electromagnetic Relays หน้าคอนแทค 1 C/O สามารถ

RM699BV

RM699BV

Terminal) รองรั บเหมาะกั โหลดได้ (RM699BV) (Spring Terminal) Terminal) Terminal) , เครื , เครื , �อเครื , ง�ั   ชนิ ชนิ ดชนิสปริ ดชนิ สปริ ดสปริ ดงสปริ ง(Spring ง(Spring ง(Spring เหมาะกั เหมาะกั เหมาะกั บการใช้ บการใช้ บการใช้ บ6A/250VAC, การใช้ งานที งานที งานที ง�มานที �ีกมารสั ีก�มารสั ีก�ม6A/24VDC ารสั ีกน� ารสั สะเทื น� สะเทื น� สะเทื น� สะเทื อนเช่ อนเช่ อนเช่ อนนเช่ นรถไฟ นรถไฟ นรถไฟ รถไฟ �อเครื ง�ั �อกง�ั �อรต่ กง�ั รต่ การต่ กงๆ ารต่ งๆ างๆ างๆ ชนิด Triac หน้าคอนแทค 1 N/O สามารถรองรับโหลดได้

A (RSR30)

นอก�ากนัน� หากแบ่งตามชนิดของ Socket ได้ ออกเป็ น � ประเ�ทคือ 1A (RSR30) ดได้ 1A/2A นอก�ากนัน� หากแบ่งตามชนิดของ Socket ได้ ออกเป็ น � ประเ�ทคือ ชนิว� ดไปTransistor หน้าคอนแทค 1 N/O สามารถรองรับโหลด  ชนิดขันสกรู (Screw Terminal) เป็ นชนิดประหยัด เหมาะสําหรับใช้ งานทั  ชนิดขันสกรู (Screw Terminal) เป็ นชนิดประหยัด เหมาะสําหรับใช้ งานทัว� ไป � สะเทือนเช่ ได้ 1A/2A, เครื (RSR30)  ชนิดสปริง (Spring Terminal) เหมาะกับการใช้ งานที�มีการสัน �อง�ั�อกง�ัรต่การต่งๆางๆ  ชนิดสปริง (Spring Terminal) เหมาะกับการใช้ งานที�มีการสัน � สะเทือนนเช่รถไฟ น รถไฟ, เครื

ะเทศโปแลนด์ ผู้ผลิต Relays หลากหลาย

elays, Time relays รวมไปถึง Slim

e RSR30 Relays ของ Relpol มีหลากหลาย แบบ ชนิชนิดชนิขัดชนิ นขัดกสรู นขัดกสรู นขักสรู น(Screw กสรู (Screw (Screw (Screw Terminal) Terminal) Terminal) Terminal)

ชนิดดขัขันนกสรู กสรู (Screw Terminal) Terminal) ชนิดขันชนิ กสรู (Screw(Screw Terminal)

ชนิดสปริ Terminal) ชนิดงสปริ(Spring ง (SpringTerminal)

RM699BV

คอนแทค 1 C/O สามารถรองรับโหลดได้

BV) วิธีการใส่สายไฟของชนิด Spring Terminal

วิธีการใส่สายไฟของชนิด Spring Terminal วิธีการใส่สายไฟของชนิด Spring Terminal Spring Terminal Terminal Terminal Terminal วิธวิีกธวิารใส่ ีกธวิารใส่ ีกธารใส่ ีกสารใส่ ายไฟของชนิ สายไฟของชนิ สายไฟของชนิ สายไฟของชนิ ดดSpring ดSpring ดSpring July-August 2019

สามารถรองรับโหลดได้

Oคุณลักษณะเด่นของ Slim Interface Relays1A/2A ของ Relpol ณลักษณะเด่ นของ Slim Interface Relays ของ Relpol

RSR30

นอกจากนัน้ หากแบ่งตามชนิดของ Socket ได้ออกเป็น 2 ประเภทคือ  ชนิดขันสกรู (Screw Terminal) เป็นชนิดประหยัด เหมาะส�ำหรับใช้งานทั่วไป  ชนิดสปริง (Spring Terminal) เหมาะกับการใช้งาน ชนิชนิดชนิ ่มดีกสปริ ่นง(Spring สะเทื อTerminal) นTerminal) เช่ น รถไฟ เครื่องจักรต่างๆ (Spring Terminal) Terminal) สปริ ดทีชนิ สปริ ดงารสั สปริ ง(Spring ง(Spring

ชนิดสปริง (Spring Terminal)

1A (RSR30)

RSR30


Slim Interface Relays มีหลากหลายแรงดันการใช้ งานให้ เล�อกใช้ Terminal วิธวิีกธารใส่ ายไฟของชนิ ด ดSpring Terminal ธีกสารใส่ สายไฟของชนิ ด Spring Spring Terminal ีกวิารใส่ สายไฟของชนิ

เ��อ� รองรับ�ุก Application เช่น

เป็ นรีเลย์�สี� ามารถใช้ แรงดัน 24V ได้ �งชนิ ั � ด AC แล  PIR6W-1P-230VAC/DC เป็ นรีเลย์�สี� ามารถใช้ แรงดัน 230V ได้ �งชนิ ั � ด AC แ Slim PIR6W-1PS-24VAC/DC-T เป็ นรีเลย์ชนิด Triac �ีส� ามารถใช้ แรงดัน 24V ได้ �งั � คุคุณณลัคุคุลักณ นนของ ของ Interface Relays Relpol ลัลัษณะเด่ กกษณะเด่ ของ Slim Interface Relays Relpol ของ ของของ Slim Interface Relays Relpol ณกษณะเด่ ษณะเด่ นนของ Slim Interface Relays ของ Relpol 

PIR6W-1P-24VAC/DC

PIR6W-1PS-230VAC/DC-C

PIR6WB-1PS-24VAC/DC-O

s35 มีหตร.มม. ลากหลายแรงดันการใช้ งานให้ เล�อกใช้

เป็ นรีเลย์ชนิด Transistor �ีส� ามารถใช้ แรงดัน 230 เป็ นรีเลย์ชนิด Power Transistor ชนิด Spring Te

เ��อ� รองรับ�ุก Application เช่น

แรงดัน 24V ได้ �งชนิ ั � ด AC และ DC

2.5 ตร.มม. ด4VAC/DC เป็ นรีเลย์�สี� ามารถใช้ แรงดัน 24V ได้ �งชนิ ั � ด AC และ DC Connection Diagram ด 2.5 ตร.มม. หลอด เป็ LEDนรีแสดงการท� ำงาน ใส่ Busbar เชืได้ ่อมต่ ด 20และ Relays คลิปล็อกป้องกันรีเลย์หลุด DC 30VAC/DC หลอด เลย์�างาน สี� างาน ามารถใช้ �งชนิ ั อ� ได้สดูงสุAC หลอด แสดงการทํ LEDแสดงการทํ หลอด แสดงการทํ างาน แรงดันใส่230V LED LED คลิปล็ปคลิ อปกป้ อกป้ งกันอรีนงกั ลย์ ล็อออการเปลี คลิ อาล็ยต่ กป้ งกั เรีลย์ ดลุดหลุด ใส่ เชื � อ มต่ อ สายได้ Busbar ใส่ เชื � อ มต่ อ สายได้ เชื � อ มต่ อ สายได้ Busbar Busbar (แทนการต่อด้วยสายไฟ) และง่ ่ยเน นรีหรี เเลุหลย์ ลย์ ขนาด 2.5 จนถึง � ตร.มม. erface Relays มีหลากหลายแรงดันการใช้เป็ งานให้ อกใช้ชเ��นิอ� ด รองรัTriac บ�ุก Application เช่น 24VAC/DC-T นรีเเล�ลย์ �ีส� ามารถใช้ 24V ได้ �งชนิ ั � ด AC และและง่ DC และง่ ายต่อาการเปลี อยต่ การเปลี ย� นรีเลย์ ลย์เลย์ และง่ อการเปลี ย� เนรี ายต่ ย� นรี Relays 20 Relays งน สุ20ดRelays สูงแสูสุงรงดั ดสุสูด20 าด 2.5 จนถึง � ตร.มม. 24V ได้ �งชนิ DC PIR6W-1P-24VAC/DC รีเลย์�สี� ามารถใช้ ั � ด ACนและ Slimเป็ นเป็ Interface ลากหลายแรงดั บทุก ได้ Application น และ DC 230V 230VAC/DC-C นนรีการใช้ เลย์Relays ชนิแเล�รงดั ดอมีกใช้หนTransistor �ีการใช้ ส� ามารถใช้ รงดัเพืน่อรองรั �งชนิ ั � ดเช่AC Slim Interface Relays มีหลากหลายแรงดั งานให้ เ��อ� รองรับ�ุก Application เช่งนานให้เลือแกใช้ ม. 230V AC DC PIR6W-1P-230VAC/DC เป็ น รี เ ลย์ � ส � ี ามารถใช้ แ รงดั น ได้ � งชนิ ั � ด และ PIR6W-1P-24VAC/DC เป็นรีเลย์ที่สามารถใช้แรงดัน 24V ได้ทั้งชนิด AC และ DC  PIR6W-1P-24VAC/DC DC นTriac รีเลย์ แรงดัน น24V ได้ �ได้งชนิ ั � �งชนิ และและ PIR6W-1PS-24VAC/DC-T เป็ นเป็ รีเลย์ ามารถใช้ ั � ด AC ด AC S-24VAC/DC-O Power Transistor นชรีนิเเป็ดลย์ ช�นิ�ีสี� ส� ดามารถใช้ ชนิ ด Spring PIR6W-1P-230VAC/DC เป็แนรงดั รีเลย์24V ที่สามารถใช้ แรงดั น DC 230V ได้ทั้งชนิดTerminal AC และ DC �ี�สามารถใช้ 

PIR6W-1P-230VAC/DC

เป็ นรีเลย์�สี� ามารถใช้ แรงดัน 230V ได้ �งชนิ ั � ด AC และ DC

AC และ DC เป็ นรีเลย์ชนิด Transistor �ีส� ามารถใช้ ได้ �งชนิ ั � ที่สดามารถใช้ PIR6W-1PS-24VAC/DC-T เป็นรีแเรงดั ลย์นชนิ230V ด Triac แรงดัน 24V ได้ทั้งชนิด AC และ DC เป็ นรีเลย์ชนิด Triac �ีส� ามารถใช้ แรงดัน 24V ได้ �งชนิ ั � ด AC และ DC 5PIR6WB-1PS-24VAC/DC-O ตร.มม. PIR6W-1PS-24VAC/DC-T Spring เป็ นรีเลย์ชนิด Power Transistor ชนิ �ี�สามารถใช้  PIR6W-1PS-230VAC/DC-C รีเลย์ ด Transistor ที่สามารถใช้แรงดัน 230V ได้ทั้งชนิด AC และ DC นนรี24V ได้ �งชนิ ั � เป็�ีดส� นดามารถใช้ และ ACชแนิTerminal DC  PIR6W-1PS-230VAC/DC-Cแรงดัเป็ เลย์ชนิด Transistor รงดั น 230V ได้ �งชนิ ั � ด AC และ DC  PIR6WB-1PS-24VAC/DC-O เป็นรีเลย์ชนิด Power Transistor ชนิด Spring Terminal ที่สามารถใช้แรงดัน 24V ได้ทั้งชนิด AC 2.5 ตร.มม. แรงดัน 24Vเป็ได้นรี�เลย์ งชนิ ั � ชนิดดAC และ Transistor DC  PIR6WB-1PS-24VAC/DC-O Power ชนิด Spring Terminal �ี�สามารถใช้ และ DC 2.5 ตร.มม.

PIR6W-1PS-230VAC/DC-C

แรงดัน 24V ได้ �งชนิ ั � ด AC และ DC gram ction Diagram าด 2.5 จนถึง � ตร.มม. Connection Diagram ลง ด 2.5 จนถึง � ตร.มม.Connection Diagram ของแต่ละวงจรการทํางาน และสามารถติดตัง�

ตัวอย่าง Diagram ภายในรุ่น PIR6W-1P-……AC/DC-…

ดใหญ่ให้ เลือกใช้ มีทงแบบแผ่ ั� นเปล่าและยัง

ตัวอย่าง Diagram ภายในรุ่น PIR6W-1P-……AC/DC-…

ตัวอย่าง Diagram ภายในรุ่น PIR6W-1P-……AC/DC-…

ชนิ ดเหล็ก ชุบ CR+3 หรือแบบกัลวาไนซ์ องแต่ละวงจรการทํางาน และสามารถติดตัง�

ตัวอย่าง Diagram ภายในรุ่น PIR6W-1P-......AC/DC-...

ตัวอย่าง Diagram ภายในรุ่น PIR6W-1PS-......AC/DC...

ใหญ่ให้ เลือกใช้ ตัมีทวงแบบแผ่ ั อย่ � าง Diagram นเปล่าและยัง ภายในรุ่น PIR6W-1P-……AC/DC-… ตัวอย่าง Diagram ภายในรุ่น PIR6W-1PS-……AC/DC… ตัวอย่าง Diagram ภายในรุ่น PIR6W-1PS-……AC/DC… ตัวอย่าง Diagram ภายในรุ่น PIR6W-1PS-……AC/DC…

นิดเหล็ก ชุบ CR+3 หรือแบบกัลวาไนซ์

นอกจากนี้ยังผ่านมาตรฐานสากลที ที่ยอมรับมากมาย นยอมรับมากมาย นอก�ากนี �ได้่เป็มนาตรฐานสากลเป็

นี �ได้ มาตรฐานสากลเป็ นยอมรับมากมาย นอก�ากนี �ได้ มาตรฐานสากลเป็ นยอมรับมากมาย

บริษท ั แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จำ�กัด โทร. 0-2194-8738-9 แฟกซ์ : 0-2003-2215 E-mail : info@mit-thailand.com เว็บไซต์ : www.mit-thailand.com

ตัวอย่าง Diagram ภายในรุ่น PIR6W-1PS-……AC/DC…

July-August 2019


Special Area

> ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย

Galaxy VS

ระบบสำ�รองไฟจากตระกูล Galaxy ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผูน้ ำ� ด้านดิจทิ ลั ทรานส์ฟอร์เมชัน ในการจัดการพลังงานและระบบออโตเมชัน เปิดตัวผลิตภัณฑ์ ใหม่ Galaxy VS ระบบส�ำรองไฟ (Uninterruptible Power Supply หรือ UPS) แบบ 3 เฟส 20-100 kW ให้ประสิทธิภาพ สูง ออกแบบการท�ำงานเป็นโมดูล ใช้งานง่าย ตอบโจทย์ความ ต้องการด้านพลังงานหลักทัง้ ระบบไอที ธุรกิจ และอุปกรณ์ ต่างๆ ในอุตสาหกรรม ด้วยขนาดกะทัดรัด และการออกแบบที่ให้ความ ยืดหยุ่นในการใช้งาน ท�ำให้ Galaxy VS สามารถตอบโจทย์ การใช้งานในพืน้ ทีจ่ ำ� กัด เช่น การท�ำเอดจ์คอมพิวติง้ (Edge Computing) และดาต้าเซ็นเตอร์ขนาดเล็กได้อย่างเหมาะเจาะ โดยให้ประสิทธิภาพสูงถึง 99% ด้วยแบตเตอรีแ่ บบลิเทียมไอออน จึงเพิม่ ประสิทธิภาพให้ใช้งานยาวนานกว่าแบตเตอรี่ แบบดัง้ เดิมถึง 2 เท่า อีกทัง้ ช่วยลดต้นทุนรวมในการเป็นเจ้าของ (Total Cost of Ownership หรือ TCO) ได้อย่างเหนือชั้นใน อุตสาหกรรม นอกจากนี้ นวัตกรรมและความแข็งแกร่งของ Galaxy VS ยังอยู่ที่ความเป็น EcoStruxure Ready ช่วยให้ผู้จัดการ ไซต์งาน หรือบุคลากรฝ่ายเทคนิค สามารถมอนิเตอร์สถานะ ของระบบ Galaxy VS จากระยะไกลได้ทุกที่ ทุกเวลา ด้วย แอปพลิเคชันจากสมาร์ทโฟน

July-August 2019

ประโยชน์ของ Galaxy VS ได้แก่

ประหยัดต้นทุน : ให้ประสิทธิภาพสูงถึง 99% เมือ่ ด�ำเนินการ ในโหมด ECOnversion และ 97% ในโหมด Double Conversion  ประหยัดพื้นที่ : การออกแบบที่กะทัดรัดแต่เต็มไปด้วย เทคโนโลยีที่อัดแน่น เหมาะอย่างยิ่งโดยเฉพาะส�ำหรับพื้นที่ที่จ�ำกัด เข้าถึงส่วนประกอบภายในทัง้ หมดได้จากด้านหน้า เพือ่ ความง่ายและ รวดเร็วในการเชื่อมต่อและให้บริการ  เก็บพลังงานได้ยาวนาน : เทคโนโลยีแบตเตอรีล ่ เิ ทียม-ไอออน ช่วยฟื้นฟูระยะเวลาในการส�ำรองไฟได้อย่างรวดเร็ว ปกป้องโหลด แม้ระหว่างเกิดไฟดับซ�้ำๆ และยังให้อายุการใช้งานที่ยาวนานกว่ำ โซลูชันแบตเตอรี่แบบดั้งเดิม  เพิม ่ ความพร้อมใช้งานและบ�ำรุงรักษาได้งา่ ย : ส่วนประกอบ ของระบบหลักสร้างขึ้นแบบโมดูล ด้วยการออกแบบในลักษณะ Fault-Tolerant ทีช่ ว่ ยให้ระบบสามารถท�ำงานต่อได้แม้มอี งค์ประกอบ ภายในบางอย่างเสียหาย มีการท�ำ Redundancy หรือการเตรียมระบบ ส�ำรองภายใน เวลาทีร่ ะดับของโหลดลดลงและให้เวลาเฉลีย่ ในการซ่อม เร็วขึ้น  EcoStruxure Ready : ช่วยให้บริหารจัดการได้งา ่ ย ให้ความ สามารถในการมองเห็นประสิทธิภาพและสถานะของการท�ำงานของ อุปกรณ์ได้ทั่วโลก ผ่านเซอร์วิส บูโร (Service Bureau) ที่ให้บริการได้ ตลอด 24 ชั่วโมง ในทุกวัน  Green Premium Certified : การออกแบบที่ให้สมรรถนะ ทางธุรกิจที่ยั่งยืน 


Galaxy VS สามารถให้พลังงานได้ตงั้ แต่ 20 kW ถึง 100 kW (400V) ด้วยแพลตฟอร์มระดับโลกเพียงแพลตฟอร์มเดียว และ พร้อมจ�ำหน่ายทัว่ โลกผ่านชไนเดอร์ อิเล็คทริค และพันธมิตรแล้ว ในตอนนี้

อีโคสตรัคเจอร์ (EcoStruxureTM)

EcoStruxure เป็นแพลตฟอร์มและสถาปัตยกรรมระบบ เปิดของชไนเดอร์ อิเล็คทริค ที่มีศักยภาพด้าน IoT มอบคุณค่ำ ที่เหนือชั้นยิ่งขึ้น ทั้งเรื่องของความปลอดภัย ความน่าเชื่อถือ ประสิทธิภาพ ความยั่งยืน และการเชื่อมต่อให้กับลูกค้าของเรา อีโคสตรัคเจอร์ ยังยกระดับความก้าวหน้าในเรือ่ งของ IoT โมบิลติ ี้ การตรวจจับ คลาวด์ การวิเคราะห์ และระบบรักษาความปลอดภัย บนไซเบอร์ (Cybersecurity) มาใช้ในการมอบนวัตกรรมในทุกระดับ (Innovation at Every Level) ซึง่ ครอบคลุมในเรือ่ งของการเชือ่ มต่อ ผลิตภัณฑ์ (Connected Products) ระบบควบคุมปลายทาง (Edge Control) ตลอดจนแอปพลิเคชัน รวมถึงการวิเคราะห์และการ บริการต่างๆ (Apps, Analytics, and Services) โดยอีโคสตรัคเจอร์ ได้มกี ารติดตัง้ ใช้งานมากกว่า 480,000 ไซต์งาน โดยมีผวู้ างระบบ และผู้พัฒนากว่า 20,000 รายที่ให้การสนับสนุนในการเชื่อมต่อ อุปกรณ์มากกว่า 1.6 ล้านรายการ ภายใต้การบริหารจัดการผ่าน บริการด้านดิจิทัลมากกว่า 40 บริการ

ส�ำหรับข้อมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับโซลูชนั การปกป้องพลังงาน ของ Galaxy VS และ Galaxy V ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค เยีย่ มชม ได้ที่ Galaxy VS Product Page.

July-August 2019


Special Area

> บริษัท Reinhausen (Thailand) จ�ำกัด

From On Load Tap Changer to Digitalization

มาโนช แสงสุวรรณ

July-August 2019

Maschinenfabrik Reinhausen GmbH ภายใต้ชอื่ ทางการค้า MR ทีร่ จู้ กั กันดีในฐานะเป็นผูน้ ำ� ทางด้าน OLTC High Speed Resister ถือก�ำเนิด จากบริษัทเล็กๆ แห่งหนึ่ง ตั้งอยู่ที่ Regensburg ซึ่งเป็นเมืองมรดกโลก Munich ประเทศเยอรมนี ทีค่ ดิ ค้นการปรับเปลีย่ นแรงดันทางไฟฟ้าเพือ่ รักษำ เสถียรภาพของแรงดันในระบบไม่ให้มกี ารตก ในขณะทีห่ ม้อแปลงก�ำลังจ่าย Load ตัง้ แต่เริม่ ต้นจนมาถึงปัจจุบนั เป็นระยะเวลากว่า 150 ปี โดยได้ทำ� การ พัฒนามาอย่างต่อเนือ่ ง จนเป็นผูน้ ำ� ทางด้าน OLTC (On Load Tap Changer) ที่ใช้ในระบบสายส่งกันอย่างแพร่หลาย จากระบบเดิมที่เรียกว่า OILTAP® ได้พัฒนามาเป็น VACUTAP® ในประเทศไทยได้ใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ กฟผ. กฟภ. และ กฟน. ตลอดจนโรงไฟฟ้าเอกชน และ สถานีไฟฟ้าแรงสูงทั่วไป มาโนช แสงสุวรรณ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายขาย บริษัท Reinhausen (Thailand) จ�ำกัด ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านหม้อแปลงไฟฟ้าก�ำลัง (Power Transformer) มากว่า 30 ปี ได้เข้ามาบริหารจัดการเพือ่ น�ำนวัตกรรมทีท่ นั สมัย และสนองตอบโจทย์การซ่อมบ�ำรุงจากเดิม Time Base Maintenance มาเป็น Condition Base Maintenance เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ�ำรุง ลดเวลาการดับไฟฟ้า ลดการช�ำรุดเสียหาย ตลอดจนสามารถเชือ่ มต่อเข้ำ กับระบบได้ เพือ่ ให้สอดคล้องกับ Digitalization ทีเ่ ป็นอัจฉริยะ ทัง้ ทางด้าน Transmission และ Automation จนครอบคลุมทั้งระบบ


MR มีพนักงานมากกว่า 3,500 คนทัว่ โลก มีผเู้ ชีย่ วชาญ ทีผ่ า่ นการซ่อมบ�ำรุง OLTC และซ่อมบ�ำรุงมากกว่า 6,000 งาน ทัว่ โลก เพือ่ สอดคล้องกับการพัฒนาทางด้านพลังงาน การพัฒนำ ประเทศและการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี MR ได้ตงั้ บริษทั Reinhausen (Thailand) จ�ำกัด ขึน้ เพือ่ เป็นการรองรับการพัฒนาตามแนวทาง 4.0 และเพื่อรักษำ เสถียรภาพของระบบไฟฟ้าทีม่ กี ารใช้อปุ กรณ์ของ MR เป็นส�ำคัญ บริษทั ฯ ได้ตงั้ ต้นเมือ่ ปี พ.ศ. 2556 มีผเู้ ชีย่ วชาญทีเ่ ป็นคนไทย และชาวเยอรมัน เพือ่ รองรับการให้บริการทีเ่ ป็นไปตามวาระ การซ่อมบ�ำรุง การแก้ไขปัญหาในกรณีเร่งด่วน ตลอดจนการ จัดเตรียม Spare Parts ที่มีมากกว่า 300 ชิ้น โดยน�ำเข้าจาก บริษทั Maschinenfabrik Reinhausen GmbH ส�ำนักงานใหญ่ ประเทศเยอรมนี เพื่อให้ลูกค้ามั่นใจได้ว่าทุกกระบวนการ การซ่อมบ�ำรุง การเปลี่ยน Spare Parts ตลอดจนการให้ ค�ำปรึกษาทางด้านการซ่อมบ�ำรุง การปรับเปลี่ยนเพื่อน�ำ เทคโนโลยีมาใช้แทน เป็นไปตามเงื่อนไขและสอดคล้องกับ หลักทางด้านวิศวกรรมทุกประการ ด้วยวิธกี ารและขบวนการทีท่ นั สมัยทางด้านเทคโนโลยี ของ MR โดยค�ำนึงถึงลูกค้าและให้ความส�ำคัญกับอุปกรณ์ เดิ ม ที่ มี ใช้ อ ยู ่ ใ นระบบ โดยน� ำ เสนอวิ ธี ก ารที่ ซ ่ อ มบ� ำ รุ ง ที่ ถูกต้องโดยช่างผู้ช�ำนาญงาน ตลอดจนน�ำเสนอกระบวนการ Retrofitting จากเดิมที่เป็นระบบ OILTAP® เปลี่ยนเป็นระบบ

VACUTAP® เพื่อยืดอายุการใช้งาน การลดเวลาดับไฟฟ้า ตลอดจนลด ค่าใช้จา่ ยในการซ่อมบ�ำรุงเป็นส�ำคัญ จากประสบการณ์มากกว่า 40 ปี ทางด้าน Electronic Voltage Regulation และมากกว่า 10 ปี ที่พัฒนาระบบ Monitoring จากการที่ เทคโนโลยีได้พัฒนา ปัจจุบัน MR ได้พัฒนาระบบเพื่อให้สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาดและเทคโนโลยีทเี่ รียกว่า Digitalization โดยได้พฒ ั นำ อุปกรณ์ Monitoring ของหม้อแปลงเพื่อใช้ในการเฝ้าระวังและตรวจสอบ หม้อแปลงเบือ้ งต้น เรียกว่า ETOS® (Embedded Transformer Operating System) ออกสูต่ ลาด เพือ่ ให้ผใู้ ช้งานสามารถได้ใช้เทคโนโลยีเป็นเครือ่ งมือ ในการบริหารจัดการตั้งแต่ระบบเล็กๆ ไปจนถึงระบบใหญ่ ครอบคลุมทั้ง ระบบ เพื่อให้ง่ายต่อการบริหารจัดการอุปกรณ์ทั้งหมดในภาพรวม และ สามารถลดความเสีย่ งทีอ่ ปุ กรณ์จะช�ำรุดเสียหายได้อกี เช่นเดียวกัน ระบบ Monitoring ที่ MR ได้พัฒนาแบ่งได้เป็น 3 ระดับ ดังรายละเอียดด้านล่าง

ดังที่ทราบดีว่า หากเป็นสถานีไฟฟ้าเดิมที่มีอยู่อาจจะยากในการ ทีจ่ ะพัฒนาสถานีไฟฟ้าให้เป็นระบบ Digital ด้วยข้อจ�ำกัดในระบบส�ำหรับ อุปกรณ์เดิมที่ใช้งานอยู่ MR ได้พัฒนาอุปกรณ์ระบบ Monitoring เพื่อให้ ผู้ใช้งานได้เลือกใช้ตามที่ต้องการ เราเรียกว่า Retrofitting โดยสามารถ Monitoring ได้เฉพาะส่วนหรือเต็มทั้งระบบก็ได้ โดยใช้ระบบ Module เฉพาะส่วนเพือ่ ให้สอื่ สารกับอุปกรณ์เดิมได้ โดยผ่าน Port Communication ตามมาตรฐาน  IEC61850 Ed. 1 and Ed 2. MMS and GOOSE  IEC60870-5-101, -103, -104  DNP3  Modbus TCP, RTU, ASCII

July-August 2019


Open for Everything. Our Module Blocks. Efficient Control and Monitoring of Transformers.

1. ETOS® TD/ED Drive Function 2. Transformer Monitoring 3. Cooling System Monitoring / Cooling System Control 4. OLTC Monitoring 5. Online DGA Monitoring 6. Voltage Regulation 7. Bushing Monitoring 8. Additional Functions / Visualization / Communication หากอุปกรณ์เดิมที่ไม่สามารถสื่อสารได้ ทาง MR ยินดีที่ที่จะน�ำเสนอ Solution ให้ผู้ใช้งานได้เลือกใช้ตามจุดประสงค์ที่ผู้ใช้งานต้องการ

Reinhausen (Thailand) Ltd.

88/73 Moo 12 Bangpla Sub-Distric, Bangplee Distric, Samutprakarn Thailand 10540 Mobile Phone : +66 98 1753 394 Phone : +66 2 130 6170 Fax : +66 2 130 6306 E-mail : service@th.reinhausen.com Homepage : www.reinhausen-thailand.com July-August 2019


Special Area

> บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

ตู้คอนซูมเมอร์ยูนิต คืออะไร?

ตู้คอนซูมเมอร์ยูนิต (Consumer Unit) เป็นชุดกล่องเหล็ก หรือกล่องพลาสติกส�ำหรับใส่ฟิวส์หรือเบรกเกอร์ ส่วนใหญ่จะเรียง กันอยู่ในแถวเดียว นิยมใช้เป็นแผงไฟฟ้าส�ำเร็จรูปตามบ้านหรือ ส�ำนักงานทีใ่ ช้ไฟฟ้าระบบ 1 เฟส 220 โวลต์ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. แบบปลั๊กอิน (Plug-In Type) 2. แบบเดินราง (Din-Rail Type) Consumer Unit ทั้ง 2 ชนิด จะประกอบไปด้วยเซอร์กิต เบรกเกอร์เมน (Main Circuit Breaker) หรือเรียกสัน้ ๆ ว่า เมนเบรกเกอร์ (2 ขั้ว) และเซอร์กิตเบรกเกอร์วงจรย่อย (Branch Circuit Breaker) หรือเรียกว่าเบรกเกอร์ยอ่ ย (1 ขัว้ ) ทีเ่ สียบต่ออยูก่ บั บัสบาร์ (Bus Bar) มีขั้วต่อสายนิวทรัลและขั้วต่อสายกราวด์ ขนาดที่นิยมใช้ทั่วไปจะมี จ�ำนวนเบรกเกอร์ย่อยหรือวงจรย่อยตั้งแต่ 4-18 วงจร การเลือก Consumer Unit มาใช้งานนั้นให้พิจารณาจาก จ�ำนวนวงจรย่อยทีต่ อ้ งการและควรเผือ่ ไว้ 1-2 วงจรส�ำหรับโหลดใน อนาคต การซือ้ Consumer Unit ส่วนใหญ่จะได้รบั เพียงกล่องเหล็ก เท่านัน้ ต้องซือ้ เมนและเบรกเกอร์ยอ่ ยแยกต่างหาก เนือ่ งจากความ ต้องการใช้เมนและเบรกเกอร์ย่อยของผู้ใช้แต่ละรายไม่เหมือนกัน โดยขนาดของเมนเบรกเกอร์สามารถเลือกได้ตามต้องการ เบรกเกอร์ MCB แบบ 2 Pole ทีจ่ ะน�ำมาใช้เป็นเมนเบรกเกอร์ ในกรณีของระบบ ไฟฟ้าภายในบ้านพักอาศัยทั่วไปมาตรฐานได้ก�ำหนดค่า IC ของ เมนเบรกเกอร์ตอ้ งไม่ตำ�่ กว่า 10 kA ซึง่ ค่าดังกล่าวคือค่าพิกดั การทน กระแสลัดวงจรสูงสุดของตัวเบรกเกอร์

การติดตัง้ เบรกเกอร์ลงในตู้ Consumer ต้องเปิดฝาครอบ ออกก่อนแล้วจึงต่อเมนเบรกเกอร์ลงในช่องด้านซ้ายมือสุด ซึ่ง สายมีไฟ (สาย Line) จะต่ออยูด่ า้ นขวาของเบรกเกอร์ ส่วนสายนิวทรัล จะต่อด้านซ้ายมือของเบรกเกอร์ หากต่อผิดจะท�ำให้มีไฟฟ้าค้าง ในวงจร เพราะเบรกเกอร์จะตัดสายนิวทรัลแทน ซึ่งมีอันตรายมาก อาจสังเกตจุดต่อสายง่ายๆ คือจะมีตัวอักษร L และ N ก�ำกับไว้ Consumer Unit (คอนซูมเมอร์ยนู ติ หรือตูค้ อนซูมเมอร์) คือ ตูค้ วบคุมระบบไฟฟ้าแบบ Single Phase 220V สามารถจ่ายออกได้ ตัง้ แต่ 6, 10, 14, 18 วงจร แล้วแต่ยหี่ อ้ ของผูผ้ ลิต บางวงจรทีต่ อ้ งการ ป้องกันไฟฟ้าดูดเพิม่ เติมก็สามารถน�ำ ELCB (Earth Leakage Circuit Breaker) มาใส่เฉพาะวงจรนัน้ ๆ เช่น เครือ่ งท�ำน�ำ้ อุน่ ตูเ้ ย็น ส่วนวงจร ไฟฟ้าส�ำหรับแสงสว่างอาจไม่จ�ำเป็นต้องใช้เบรกเกอร์ส�ำหรับกัน ไฟฟ้าดูด อาจจะใส่ MCB ที่กันไฟฟ้าลัดวงจรและกระแสเกินก็พอ ในตู้คอนซูมเมอร์นี้วงจรย่อยแต่ละวงจรจะเป็นอิสระต่อกัน เช่น ถ้าตู้เย็นมีไฟฟ้ารั่ว เวลาคนไปสัมผัสที่ตู้เย็น ELCB ก็จะตัดวงจรนั้น ส่วนวงจรอื่นๆ ยังใช้งานได้ปกติ July-August 2019


Features

HGD

Miniature Circuit Breakers

เซอร์กิตเบรกเกอร์ (MCBs)

Miniature Circuit Breaker

เซอร์กติ เบรกเกอร์เป็นอุปกรณ์ปอ้ งกันทางไฟฟ้าทีท่ ำ� หน้าทีใ่ นการป้องกันการใช้ไฟฟ้าเกินพิกดั (Overload) และกระแสลัดวงจร (Short Circuit) กล่าวคือเมื่อใดก็ตามที่มีการใช้กระแสไฟฟ้าสูงเกินกว่าที่สายไฟฟ้าจะทนได้ จนเกิดความร้อนสะสมขึ้น อาจจะท�ำความเสียหายต่อ nificance. Miniature circuit breakers have been designed to continuously adapt to these changing needs. สายไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า รวมถึงเมื่อเกิดกระแสไฟฟ้าลัดวงจร เซอร์กิตเบรกเกอร์จะท�ำการตัดกระแสไฟฟ้าออกจากระบบโดยอัตโนมัติ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายที่อาจน�ำไปสู่การเกิดอัคคีภัยในที่สุด ดังนั้น การเลือกใช้เซอร์กิตเบรกเกอร์ต้องค�ำนึงถึงค่าความสามารถ ในการตัดกระแสไฟฟ้าลัดวงจรต้องสูงกว่าค่ากระแสไฟฟ้าลัดวงจรของระบบไฟฟ้าทีต่ ำ� แหน่งติดตัง้ และค่าพิกดั กระแสของเซอร์กติ เบรกเกอร์ GD Deluxe Type (AT) จะต้องน้อยกว่าขนาดกระแสของสายไฟ

ectric distribution needs are continuously evolving in residential, commercial and industrial sectors.

proved operational safety, continuity of service, greater convenience and operating cost have assumed a tremendous

HGD63N

HGD63N

เซอร์กิตเบรกเกอร์ของ HYUNDAI สามารถตัดวงจรได้ ภายใน 4 มิลลิวินาที (0.004 วินาที)  เซอร์กิตเบรกเกอร์ของ HYUNDAI มีคุณสมบัติตรงตาม มาตรฐาน  การติดตัง ้ ทางไฟฟ้าส�ำหรับประเทศไทย ส�ำหรับทีใ่ ช้งานกับ บ้านทีอ่ ยูอ่ าศัย และมาตรฐานทัว่ ไปตามมาตรฐาน IEC 60898 และส� ำ หรั บ ใช้ ง านในโรงงานอุ ต สาหกรรมมาตรฐาน IEC 60947-2 เหมาะส�ำหรับติดตัง้ ในตู้ Consumer Unit หรือ การติดตั้งในตู้ Panel Board 3 เฟส  เซอร์กต ิ เบรกเกอร์ของ HYUNDAI สามารถใช้อปุ กรณ์เสริม เช่น Auxiliary Contact, Signal Contact, Shunt Trip และ Under Voltage ได้ เป็นต้น 

HGD63N

HGD63N

Modular Devices

Miniature Circuit Breaker : MCB

เป็น CB ขนาดเล็ก ใช้ติดตั้งในแผงจ่ายไฟ (Panelboard) และแผงจ่ายไฟของที่อยู่อาศัย (Consumer Unit)  เพือ ่ ป้องกันวงจรย่อยของระบบไฟฟ้าของบ้าน ส�ำนักงานหรืออุตสาหกรรม  MCB สามารถท�ำตามมาตรฐาน IEC 60898, IEC 60947-2  IEC 60898 Domestic, Unskilled People  IEC 60947-2 Commercial, Industrial Installations 

July-August 2019

HG Modular Devices


ท�ำไมต้องเลือกใช้ตู้คอนซูมเมอร์ยูนิต “Hyundai Brand”

ตู้คอนซูมเมอร์ยูนิตระบบ Bolt On  Busbar Link เป็นทองแดงชุบดีบก ุ สามารถทน กระแสสูงสุด 160A  ตูท ้ ำ� จากเหล็กไร้สนิมชุบด้วยไฟฟ้าและพ่นด้วย สีฝุ่น (Epoxy Powder Pain Coating)  แท่ง N, G ท�ำจากทองเหลือง  MCB ได้มาตรฐานทั้งยุโรปและอเมริกา Standard : IEC 60898, IEC 60947-2 Approval : KEMA, TSE CE : Community European : TÜV Rheinlend, GOST-R 

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

DEKRA (KEMA)  GOST-R  TSE  BV  CE  IRAM 

บริษท ั ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จำ�กัด

22/26 ถนนสุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2002-4395-97 แฟกซ์ 0-2002-4398 E-mail : ejlee@tdpowertech.com, lalida@tdpowertech.com July-August 2019


IT Article

> บริษัท เอ็กซ์เซ้นส์ อินฟอร์เมชั่น เซอร์วิส จ�ำกัด

ระบบจัดการเพื่อรักษาความปลอดภัยนักท่องเที่ยว ประเทศไทยถือเป็นจุดหมายปลายทางส�ำคัญของนักท่องเทีย่ ว ทัว่ โลก ส่งผลให้แต่ละปีประเทศไทยมีนกั ท่องเทีย่ วเข้ามาหลายล้านคน และในจ�ำนวนนี้ก็มีบางคนที่ต้องประสบอุบัติเหตุหรือมีปัญหา เกิดขึน้ ซึง่ ทีผ่ า่ นมาการด�ำเนินการต่างๆ ทัง้ การค้นหาและการให้การ ช่วยเหลืออาจจะยังล่าช้า เพราะต้องมีขนั้ ตอนมากมายเพือ่ ระบุตวั ตน ของนักท่องเที่ยวให้ถูกต้อง ด้วยปัญหาดังกล่าว หน่วยงานต่างๆ จึงได้หาวิธีที่สามารถตอบโจทย์ปัญหาดังกล่าว

บริษัท เอ็กซ์เซ้นส์ อินฟอร์เมชั่น เซอร์วิส จ�ำกัด ผู้พัฒนา ระบบติดตามยานพาหนะ ได้จับมือกับ บมจ.กสท โทรคมนาคม สมาคมสมองกลฝังตัวไทย และส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ พัฒนา July-August 2019

ระบบจัดการเพือ่ รักษาความปลอดภัยนักท่องเทีย่ ว โดยเริม่ ทดสอบ ระบบแล้วทีภ่ เู ก็ต เป็นการน�ำร่องในการเข้าช่วยเหลือเมือ่ นักท่องเทีย่ ว ประสบเหตุการณ์อันไม่พึงประสงค์ ทั้งทางบก ทางทะเล ถือเป็น การทดสอบในเฟสแรก และจะขยายสู่พื้นที่อื่นๆ ต่อไป ระบบจัดการเพือ่ รักษาความปลอดภัยนักท่องเทีย่ วนีพ้ ฒ ั นา โดยคนไทย สามารถตอบโจทย์ความปลอดภัยนักท่องเที่ยวตาม มาตรฐานความปลอดภัยทางการท่องเทีย่ วตามทีภ่ าครัฐบาลก�ำหนด จุดเด่นของระบบคือสามารถปรับเปลี่ยน ประยุกต์ใช้ได้ตามความ ต้องการ อีกทัง้ ยังสามารถใช้งานผ่านทางเว็บและทางมือถือโดยง่าย ฐิติมา สุวรรณรัฐ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอ็กซ์เซ้นส์ อินฟอร์เมชัน่ เซอร์วสิ จ�ำกัด กล่าวว่า จากประสบการณ์ในการพัฒนา และให้บริการระบบติดตามยานพาหนะ (Vehicle Tracking) มากว่า 15 ปี โดยได้รับการรับรองผลงาน ฮอลออฟเฟมของซอฟต์แวร์ปาร์ค (Software Park Thailand’s Hall of Fame 2009) และได้รบั รางวัลผลงาน ดีเด่นจาก Army Research Day 2014 ส�ำนักงานวิจัยและพัฒนาการทาง ทหารบก ท�ำให้เกิดความร่วมมือ ระหว่าง บริษัท เอ็กซ์เซ้นส์ฯ กสท. ฐิติมา สุวรรณรัฐ ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ สมาคม


สมองกลฝังตัวไทย และบริษทั น�ำเทีย่ วต่างๆ ภายใต้โครงการระบบ การจัดการและรักษาความปลอดภัยนักท่องเที่ยว (Tourism Safety Support and Management System) เพื่อทดสอบการติดตาม นักท่องเทีย่ ว ซึง่ เป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัยภายใต้กฎระเบียบ ของภาครัฐ โดยบริษัทเอ็กซ์เซ้นส์เป็นผู้พัฒนาระบบ และพร้อม เปิดตัวสู่ตลาดแล้ว “จากเหตุการณ์นกั ท่องเทีย่ วสูญหายเมือ่ ปีทผี่ า่ นมา ท�ำให้หลาย หน่วยงานตระหนักถึงมาตรฐานความปลอดภัยด้านการท่องเที่ยว มากขึ้น ซึ่งโครงการนี้จะเป็นเส้นทางหนึ่งที่ช่วยให้ประเทศไทยก้าว ไปสู่การท่องเที่ยวระดับสากล โดยระบบการรักษาความปลอดภัย นักท่องเที่ยวจะท�ำการแจ้งเตือนเมื่อเกิดอุบัติเหตุ กรณีประสบเหตุ อันไม่พงึ ประสงค์ เช่น นักท่องเทีย่ วตกน�ำ้ อุปกรณ์ทตี่ ดิ ตัว (Wristband) หรือเซนเซอร์ที่ติดไว้ในเสื้อชูชีพ จะส่งสัญญาณแจ้งเตือนไปยัง ศูนย์ควบคุมและสั่งการ (Control and Command Center) เพื่อให้ การช่วยเหลือในทันที” อนึ่ง บริษัท เอ็กซ์เซ้นส์ อินฟอร์เมชั่น เซอร์วิส จ�ำกัด เป็น ผู้วิจัยพัฒนา และให้บริการระบบบริหารจัดการขนส่งสินค้าด้วย GPS ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ก่อตั้งโดยทีมงานจากหลายแขนง ได้แก่ วิศวกรสื่อสาร การจัดการระบบขนส่ง ตลอดจนทีมพัฒนาไมโคร คอนโทรลเลอร์ และทีมพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยบริษทั มีประสบการณ์ และความเชี่ ย วชาญที่ ไ ด้ รั บ ความเชื่ อ ถื อ จากหน่ ว ยงานรั ฐ และ เอกชนจ�ำนวนมาก มีดาต้าเซ็นเตอร์ทไี่ ด้รบั มาตรฐานความปลอดภัย ระดับสากล พร้อมให้บริการแบบ One Stop Service และบริการ คอลล์เซ็นเตอร์ตลอด 24 ชัว่ โมง ท�ำให้ลกู ค้าได้รบั บริการทีเ่ ปีย่ มด้วย ประสิทธิภาพตลอดเวลา

โดยโครงการน�ำร่องนี้เริ่มทดสอบระบบดังกล่าวแล้วที่จังหวัดภูเก็ต เป็นจังหวัดแรก ซึ่ง CAT มีความพร้อมในการให้บริการสัญญาณ ลอร่าแวนครอบคลุมพืน้ ทีส่ ำ� คัญในจังหวัดท่องเทีย่ ว และจะให้บริการ ครบทั้ง 77 จังหวัดทั่วทั้งประเทศเพื่อให้ทุกฝ่ายมั่นใจ” ด้าน ขนิษฐา ประสารสุข ผูจ้ ดั การ สมาคมสมองกลฝังตัวไทย กล่าวว่า “สมาคมสมองกลฝังตัวไทย (Thai Embedded Systems Association : TESA หรือ ทีซ่า) มีบทบาทและหน้าที่ในการช่วยให้ สมาชิกเติบโตเข้มแข็งและแข่งขันได้ ทางทีซ่าจึงช่วยประสานและ ผนึกก�ำลังกับภาคส่วนต่างๆ ทีท่ างสมาคมฯ มีความร่วมมือทัง้ ภาค รัฐและเอกชน ซึง่ การประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้องนัน้ ท�ำได้ยากและมีขอ้ จ�ำกัด แต่หากใช้ชอ่ งทางของสมาคมในการไปช่วย ประสานและติดต่อให้ ก็จะช่วยลดข้อจ�ำกัดและหาทางออกได้ เช่น การทดลอง ทดสอบ และอืน่ ๆ อีกทัง้ ช่วยให้สมาชิกได้พบปะ พูดคุย และสานต่อความร่วมมือ จนสามารถสร้างผลิตภัณฑ์ การให้บริการ ตลอดจนโซลูชันต่างๆ (Products/Services/Solutions) ได้ตาม เป้าหมายและแผนที่วางไว้” ส่วน ปริวรรต วงษ์ส�ำราญ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายพัฒนำ ผูป้ ระกอบการนวัตกรรม ส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กล่าวว่า “ทางส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ หรือ สนช. (NIA) มีกลไกในการ ส่งเสริมและให้การสนับสนุนผูป้ ระกอบการให้เติบโตเข้มแข็งในรูปแบบ ต่างๆ มากมาย ตลอดจนความร่วมมือในโครงการเพื่อขยายผล สู่เชิงพาณิชย์ได้ ทั้งในรูปแบบเงินทุนสนับสนุน และช่วยในการ ประสานงานเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการของภาครัฐ เพื่อให้เกิดความคล่องตัวยิ่งขึ้น” ทั้งนี้ ระบบจัดการเพื่อรักษาความปลอดภัยนักท่องเที่ยว ดังกล่าวพัฒนาขึน้ โดยฝีมอื คนไทย มีจดุ เด่นด้านซอฟต์แวร์ทสี่ ามารถ ปรับเปลี่ยนและประยุกต์ใช้ได้กับการติดตามรูปแบบอื่นๆ เช่น ติดตามเรือน�ำเที่ยว ติดตามเรือขนส่งสินค้า ตลอดจนการติดตาม ยานพาหนะทางบก แตกต่างจากซอฟต์แวร์ของต่างประเทศที่ไม่ สามารถแก้ไขการใช้งานได้ นอกจากนี้ ยังมีจดุ เด่นด้านความสะดวก ในการใช้งาน เนือ่ งจากสามารถเรียกดูระบบในหลายส่วนผ่านหน้าจอ เดียว หรือที่เรียกว่า Single Monitor

ระบบติดตาม 3 ประสาน

พ.อ.สรรพชัย หุวะนันทน์ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) หรือ CAT กล่าวว่า “CAT ได้รว่ ม สนับสนุนโครงข่ายการกระจายสัญญาณบนเทคโนโลยี ลอร่าแวน (Long-Range Wide Area Network) ในการทดสอบระบบการจัดการ และรักษาความปลอดภัยนักท่องเที่ยว เพื่อทดสอบการท�ำงานของ เซ็นเซอร์บนเรือและเสื้อชูชีพของนักท่องเที่ยว ในกลุ่มจังหวัดพื้นที่ ทะเลอันดามัน ได้แก่ จังหวัดกระบี่ พังงา ระนอง ตรัง สตูล และภูเก็ต

1. การทดสอบระบบจัดการเพือ่ ความปลอดภัยนักท่องเทีย่ ว ภายใต้โครงการดังกล่าว ประกอบด้วย ระบบระบุตำ� แหน่งนักท่องเทีย่ ว โดยมีสายรัดข้อมือ หรือ Wristband และเสื้อชูชีพติดเซนเซอร์ เป็นอุปกรณ์ปลายทาง ท�ำหน้าทีส่ ง่ สัญญาณไปยังศูนย์ควบคุมและ สั่งการ เมื่อนักท่องเที่ยวต้องการความช่วยเหลือ 2. ระบบติดตามเรือท่องเที่ยว (Automatic Identification System) แสดงพิกัดต�ำแหน่งของเรือและเรือบริเวณรอบข้าง แสดง ความเร็วของเรือและระบบเข็มทิศน�ำทาง เพือ่ ตรวจสอบการเคลือ่ นที่ ประเมินความเสีย่ ง และกิจกรรมการปฏิบตั ติ ามมาตรการการควบคุม ของหน่วยงานภาครัฐ July-August 2019


3. ระบบติดตามรถรับ-ส่งนักท่องเทีย่ ว (GPS Vehicle Tracking System) ท�ำการแสดงภาพวิดโี อ และระบบติดตามยานพาหนะแบบ เรียลไทม์ แจ้งเตือนเมื่อเข้าเขตพื้นที่เสี่ยงอันตราย และแจ้งเตือน เมื่อขับขี่ด้วยความเร็วเกินก�ำหนด สามารถแจ้งเหตุด่วน เหตุร้าย ด้วยการแชร์จุดพิกัดภูมิศาสตร์ (GPS Location) ให้กับหน่วยงานที่ เกีย่ วข้อง เช่น โรงพยาบาล หน่วยกูภ้ ยั สามารถควบคุมและป้องกัน ปราบปรามปัญหาอาชญากรรม เพื่อรักษาความความปลอดภัย ในชีวติ และทรัพย์สนิ ให้แก่นกั ท่องเทีย่ ว อันจะน�ำไปสูก่ ารสร้างความ เชื่อมั่นให้กับนักท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี

ระบบศูนย์ควบคุมและสั่งการ

การท�ำงานของระบบจัดการเพื่อความปลอดภัยจะท�ำการ แจ้งเตือนข้อมูลต่างๆ ไปยังระบบศูนย์ควบคุมและสั่งการ (Control and Command Center) ท�ำให้รตู้ ำ� แหน่งและการแจ้งเตือนเหตุการณ์ พร้อมส่งเจ้าหน้าทีไ่ ปช่วยเหลือได้ทนั ท่วงที รูต้ ำ� แหน่งของนักท่องเทีย่ ว แต่ละราย ป้องกันการสูญหายหรือพลัดหลงกับทัวร์ รวมทัง้ มีระบบ จอภาพแสดงผลในห้องศูนย์ปฏิบัติการ อีกทั้งยังมีพยากรณ์อากาศ เพื่อตรวจตราการออกเรือท่องเที่ยวในแต่ละวัน มีศูนย์ประสานความช่วยเหลือ ณ จุดประชาสัมพันธ์ของ โรงพยาบาลทีส่ ำ� คัญ โดยมีเจ้าหน้าทีห่ น่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง และล่าม ภาษาต่างๆ เพื่อช่วยเหลือและประสานงานผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิต เมื่อมีข้อมูลนักท่องเที่ยวยังสามารถวิเคราะห์พฤติกรรม การท่องเที่ยว เพื่อน�ำไปเป็นแนวทางในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ให้สมบูรณ์เพื่อรองรับการท่องเที่ยวครั้งต่อไป

ซอฟต์แวร์ไทยมากด้วยประสบการณ์

ด้ ว ยความแข็ ง แกร่ ง ในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ระบบติ ด ตาม ยานพาหนะของบริษทั เอ็กซ์เซ้นส์ทมี่ ปี ระสบการณ์ยาวนาน มีลกู ค้า รายใหญ่หลายราย ตัวอย่างเช่น เอสซีจี ใช้ระบบติดตามรถขนส่ง สินค้าของบริษัทกว่า 5,000 คัน ครอบคลุมพื้นที่ทั้งในประเทศไทย กัมพูชา และลาว เป็นเครือ่ งยืนยันว่าบริษทั มีระบบทีด่ ี และเป็นผูน้ า� ในธุรกิจระบบติดตามรถขนส่งสินค้า โดยมีศูนย์ควบคุมและสั่งการ (Control and Command Center) ที่เป็นมาตรฐานสากล July-August 2019

ดังนั้น การรุกเข้าสู่ตลาดระบบจัดการเพื่อความปลอดภัย ส�ำหรับการท่องเทีย่ ว จึงเป็นการขยายธุรกิจเข้าไปยังอุตสาหกรรมใหม่ ของบริษัท โดยใช้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์เดิมเพื่อพัฒนา ซอฟต์แวร์ให้รองรับการใช้งานที่ยืดหยุ่นตามโจทย์ความต้องการ ดังทีก่ ล่าวข้างต้น นอกจากนี้ ระบบยังมีฟเี จอร์ฮอตสปอตให้บริการ อินเทอร์เน็ตแก่นักท่องเที่ยวภายในเรือแม้จะอยู่กลางทะเล ด้านการขยายตลาดในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวก็มีกลุ่ม เป้าหมายทีห่ ลากหลาย ได้แก่ ผูป้ ระกอบการท่าเรือ บริษทั น�ำเทีย่ ว ผู ้ ป ระกอบการการขนส่ ง นั ก ท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ทางบกและทางทะเล ตลอดจนหน่วยงานรัฐที่มีภารกิจเกี่ยวกับการท่องเที่ยว โดยโซลูชัน ของบริษทั สามารถรองรับได้หลายสัญญาณ เช่น ลอร่า วีเอชเอ็ม และ เครือข่ายของผู้ให้บริการมือถือ โซลูชันระบบการจัดการเพื่อความปลอดภัยนักท่องเที่ยว จะช่วยยกระดับการท่องเที่ยวทั้งระบบ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบาย ไทยแลนด์ 4.0 และยกระดับเศรษฐกิจไทยให้เติบโตแบบยั่งยืน

ภาคเอกชนพร้อมร่วมมืออย่างเต็มที่

สมมาตร วงสารศักดิ์ กรรมการ บริษทั ท่าเรือวิสษิ ฐ์พนั วา จ�ำกัด กล่าวว่า บริษทั เป็นผูป้ ระกอบการให้บริการท่าเทียบเรือทีจ่ งั หวัด ภูเก็ต ในแต่ละวันจะมีนกั ท่องเทีย่ วและเรือทีใ่ ห้บริการนักท่องเทีย่ ว เข้ามาใช้บริการท่าเรือแห่งนีจ้ ำ� นวนมาก และจากเหตุการณ์เมือ่ ปีทแี่ ล้ว ท� ำ ให้ ผู ้ ป ระกอบการเห็ น ว่ า โครงการนี้ มี ป ระโยชน์ ม าก ทั้ ง ต่ อ ผูป้ ระกอบการน�ำเทีย่ วและนักท่องเทีย่ วเอง ทางท่าเรือวิสษิ ฐ์พนั วา จึงยินดีเข้าร่วม และเป็นท่าเรือน�ำร่อง เพราะท่าเรือมีความพร้อมใน หลายๆ เรือ่ ง อาทิ ผูบ้ ริหารทีเ่ ห็นถึงความจ�ำเป็นของการติดตัง้ ระบบ เพื่อความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว ความปลอดภัยเรือน�ำเที่ยว ห้องควบคุมทีม่ รี ะบบการติดตามทีพ่ ร้อม เจ้าหน้าทีท่ สี่ ามารถท�ำงาน ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งกรมเจ้าท่า กระทรวงการ ท่องเที่ยว และชุมชน “ปัจจุบนั ภูเก็ตมีทา่ เรือทีม่ ศี กั ยภาพในการติดตัง้ ระบบติดตาม ประมาณ 10 แห่ง และทุกแห่งได้มกี ารประสานงานเพือ่ แจ้งให้ทราบ ถึงโครงการนี้ และได้รับการตอบรับดีมาก ถึงแม้จะต้องมีการลงทุน เพิ่มบ้าง แต่เจ้าของท่าเรือยินดีลงทุน เพราะนอกจากจะท�ำให้ นักท่องเที่ยวรู้สึกปลอดภัยขึ้นแล้ว ยังสร้างความเชื่อมั่นให้กับ นักท่องเทีย่ วได้อกี ทางหนึง่ ว่า ผูใ้ ห้บริการด้านการท่องเทีย่ วของไทย ให้ความส�ำคัญกับความปลอดภัยอย่างสูงสุด และท่าเรือวิสษิ ฐ์พนั วา ก็จะเป็นต้นแบบให้กับท่าเรืออื่นๆ มาศึกษาดูงาน และด�ำเนินการ ในรูปแบบเดียวกัน” สมมาตร กล่าวเพิ่มเติม ขณะนี้การด�ำเนินการต่างๆ มีความคืบหน้าอย่างน่าพอใจ คาดว่าหลังจากมีการประเมินความพร้อมแล้วจะมีทา่ เรืออืน่ ๆ เข้าร่วม ด�ำเนินการมากขึ้น และจะกระจายไปยังจังหวัดอื่นๆ ทั่วประเทศ ซึ่งหากด�ำเนินการแล้วเสร็จจะสร้างความเชื่อมั่นอย่างมหาศาล ให้แก่นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ


IT Article

> แมททิว ควน ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาดและโซลูชันความปลอดภัย ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และฮ่องกง ฟอร์ติเน็ต

เทรนด์อุตสาหกรรม...

ปกป้องอนาคตของบล็อกเชนในเอเชียแปซิฟิก

บล็อกเชน (Blockchain) เป็นเทคโนโลยีที่ในปัจจุบันมิได้ เป็นเพียงแค่สกุลเงินดิจทิ ลั (Cryptocurrencies) อีกต่อไป บล็อกเชน ได้รบั การยอมรับสูงมากขึน้ อย่างรวดเร็ว ขยายขอบเขตการประยุกต์ ใช้ในอุตสาหกรรมหลากหลายประเภทและภาคเศรษฐกิจมากมาย ทั้ ง นี้ ในรายงานของไอดี ซี ล ่าสุ ด ได้ คาดการณ์ถึง การใช้โซลูชัน บล็อกเชนระหว่างปี ค.ศ. 2017-ค.ศ. 2022 ว่าจะมีอัตราการเติบโต ทั่วโลกต่อปี (CAGR) สูงถึง 73.2% หมายถึงยอดการลงทุนใน เทคโนโลยีบล็อกเชนทัว่ โลกจะเพิม่ ขึน้ จาก 1.5 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี ค.ศ. 2018 เป็น 11.7 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี ค.ศ. 2022 ซึง่ ภายในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ (ไม่รวมประเทศญีป่ นุ่ ) บล็อกเชนจะ มีอัตราการเติบโต CAGR ใกล้เคียงกับส่วนอื่นๆ ของโลกที่ 72.6% อย่างไรก็ตาม คาดว่าญี่ปุ่นจะเป็นผู้น�ำการใช้เทคโนโลยีบล็อกเชน มากที่สุดในโลก โดยคาดการณ์การเติบโต CAGR อยู่ที่ 108.7% ภาคสถาบันการเงินได้รบั การจัดอันดับให้เป็นธุรกิจหลักทีจ่ ะใช้ เทคโนโลยีบล็อกเชนมากทีส่ ดุ และตามมาติดๆ คือภาคอุตสาหกรรม การขนส่ง/โลจิสติกส์ สิง่ ส�ำคัญทีค่ วรสังเกตคือ องค์กรทีใ่ ห้บริการทาง การเงินก�ำลังปรับใช้บล็อกเชนเพือ่ รองรับกระบวนการสกุลเงินหลัก มิใช่เพื่อการท�ำธุรกรรมของสกุลเงินดิจิทัล ซึ่งเป็นที่ถกเถียงกัน ในตอนแรก ส่งผลให้บล็อกเชนกลายเป็นเรือ่ งทีท่ กุ ฝ่ายให้ความสนใจ นอกจากนี้ การใช้บล็อกเชนทั่วโลกในธุรกิจการบริการเฉพาะกิจที่

ต้องการความเชีย่ วชาญ และในกระบวนการผลิตของภาคอุตสาหกรรม ก็เพิ่มสูงขึ้นเช่นกัน ทั้งนี้ ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกได้กลายเป็นแหล่งรวมนวัตกรรม แอปพลิเคชันส�ำหรับบล็อกเชน มีโครงการน�ำร่องทีใ่ ช้บล็อกเชนหรือ ก�ำลังด�ำเนินการอยูใ่ นทัง้ ภาครัฐ ธุรกิจสาธารณูปโภค ไฟฟ้า ห่วงโซ่ อุปทานของธุรกิจรักษาความปลอดภัย รวมถึงกรณีการใช้งานเพื่อ สิ่งแวดล้อมมากมาย การใช้บล็อกเชนที่เพิ่มสูงมากขึ้นในเอเชีย แปซิฟกิ นัน้ ยังบ่งชีว้ า่ ยังไม่มแี น้วโน้มว่าการใช้งานเหล่านีจ้ ะลดน้อยลง ในอนาคตอันใกล้นี้ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากอุตสาหกรรมในเอเชีย แปซิฟิกและในญี่ปุ่นมีการใช้บล็อกเชนมากยิ่งขึ้น จึงจ�ำเป็นต้องใช้ กระบวนการด้านความปลอดภัยเข้ามาป้องกันโครงการบล็อกเชน ใหม่ๆ ด้วยเช่นกัน

ปัจจัยเสี่ยงด้านความปลอดภัยของบล็อกเชน

เทคโนโลยี ใ หม่ ทุ ก ประเภทมี ค วามเสี่ ย ง และบล็ อ กเชน ก็เช่นกัน ยิ่งบล็อกเชนมีการเติบโตและมีความส�ำคัญทางเศรษฐกิจ บล็อกเชนจะกลายเป็นเป้าหมายในการถูกแทรกแซงทางไซเบอร์มาก ขึ้น ในขั้นต้นนี้เราต้องระมัดระวังช่องโหว่บล็อกเชนและเทคโนโลยี การกระจายข้อมูลบัญชี (Distributed Ledger Technology : DLT) ที่ใช้อยู่เป็นจ�ำนวนมากในด้านต่างๆ ดังนี้ July-August 2019


 ก า ร เ ข ้ า ยึ ด ค ร อ ง ความเป็นเอกฉันท์ (Consensus Hijack) ในเครื อ ข่ า ยที่ เ ป็ น แบบ กระจาย ไม่มตี วั กลาง และไม่มรี ะบบ การอนุ ญ าตการเข้ า ถึ ง ที่ แข็ ง แกร่ ง ใน เครือข่ายนี้ ผูไ้ ม่หวังดีอาจแทรกแซงสามารถ แก้ไขขั้นตอนการตรวจสอบได้  การโจมตีโดยปฏิเสธการให้บริการ (DDoS Attack) เนื่องจากลักษณะของบัญชีในบล็อกเชนนั้นกระจายกันออกไป จึงอาจมีความเสี่ยงต่อการโจมตีแบบ Denial of Service (DDoS) แม้ว่าการโจมตีเหล่านี้จะไม่ถึงกับปิดการเข้าถึงบล็อกเชนอย่าง สมบูรณ์ แต่ผู้ที่ไม่ประสงค์ดีอาจระดมส่งทรานสเซ็คชันธุรกรรม สแปมจ�ำนวนมากไปยังเครือข่ายที่อาจสร้างการปฏิเสธบริการและ เพิม่ เวลาในการประมวลผลได้ เนือ่ งจากโหนดนัน้ ต้องใช้เวลาตรวจสอบ ความถูกต้องของธุรกรรมปลอมนั้นมาก  ช่องโหว่ในไซด์เชน (Sidechain Vulnerabilities) ปัญหานี้ อาจมีผลต่อเกตเวย์ทใี่ ช้ในการถ่ายโอนเนือ้ หาและข้อความระหว่าง พาเรนต์ (Parent) และไซด์เชน (Sidechains) ที่ใช้วิธีรับรู้แบบ 2 ทาง ทัง้ นี้ หากธุรกรรมแรกนัน้ ถูกมองว่า “ไม่ถกู ต้อง” แล้ว จะมีผลกระทบ ต่อธุรกรรมพร็อกซีที่ตามมาด้วย  สมาร์ทคอนแทร็ค (Smart Contract) ปัญหาอาจเกิดที่ โปรแกรมการท�ำธุรกรรมแบบอัตโนมัตทิ ที่ ำ� งานบนบัญชีแบบกระจาย ขึน้ อยูก่ บั ประเภทของธุรกิจได้ เช่น การออกนโยบายด้านประกันได้ ด้วยตนเอง รวมถึงสัญญาซือ้ ขายทางการเงินล่วงหน้า สิง่ นีอ้ าจท�ำให้ เกิดข้อผิดพลาดในการเขียนโค้ดซึ่งมักเกี่ยวข้องกับภาษาการเขียน โปรแกรมพิเศษทีใ่ ช้ในการก�ำหนดสมาร์ทคอนแทร็คต่างๆ และได้พบ เหตุการณ์นมี้ าแล้วในสมาร์ทคอนแทร็ค Etherium Blockchain ทีเ่ ขียน ขึ้นโดยใช้ภาษา “Serpent” หรือ “Solidity”  ช่ อ งโหว่ ใ นบล็ อ กเชนส่ ว นตั ว (Private Blockchain Vulnerabilities) องค์กรบางแห่งได้ติดตั้งระบบบล็อกเชนส่วนตัว ที่สร้างเอาไว้ใช้เองแบบปิด โดยใช้โครงสร้างเครือข่ายที่มีอยู่บน บริการคลาวด์ที่ใช้อยู่ และวิธีก�ำหนดสิทธิ์การเข้าถึงของผู้ใช้ที่มีอยู่ แต่ผไู้ ม่ประสงค์ดกี ลับรูส้ กึ อยากคุกคามเข้ามามากขึน้ และเมือ่ เข้ามำ ได้แล้ว เขาจะมองหาสิ่งที่มีคา่ ดังนั้น องค์กรจึงควรพิจารณาสร้าง เกราะความปลอดภัยเพื่อปกป้องสิ่งที่มีคา่ ต่างๆ

การออกแบบระบบความปลอดภัยเฉพาะ

แม้จะมีการพูดถึงบล็อกเชนกันมากมาย ในมุมมองของ ผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยไซเบอร์แล้ว บล็อกเชนถือว่าเป็น สินทรัพย์ขององค์กรประเภทหนึ่งที่องค์กรต้องป้องกันการรบกวน จากผู้คุกคาม โชคดีที่โครงการบล็อกเชนเกือบทุกโครงการยังอยู่ใน วิวฒ ั นาการช่วงแรกอยู่ จึงท�ำให้นกั ออกแบบแอปพลิเคชันยังมีเวลำ July-August 2019

พัฒนาระบบด้านความปลอดภัยให้กับโครงการของตน ในช่วงเริ่มต้นนี้ การออกแบบโดยมี ก ระบวนการรั ก ษาความ ปลอดภัยเป็นวัตถุประสงค์หลักของโครงการบล็อกเชน จะช่วยท�ำให้สามารถวิเคราะห์โครงสร้างความต้องการด้าน ความปลอดภัยและล�ำดับความส�ำคัญการลงทุนได้ ซึ่งขั้นตอนใน กระบวนการนี้จะมีดังนี้  ระบุสิ่งที่มีค่าของท่าน ผู้ที่เกี่ยวข้องในบล็อกเชนคือใคร แรงจูงใจของผู้โจมตีคืออะไร?  ส�ำรวจพืน ้ ผิวการโจมตี จุดใดทีเ่ ป็นจุดอ่อนในการโจมตีและ เป็นจุดล้มเหลวของเครือข่าย  ป้องกันภัยคุกคามที่รู้จัก ก�ำหนดความต้องการต่อข้อมูล กรองภัยคุกคาม (Threat Intelligence) ระบุกระบวนการและเทคโนโลยี ที่ใช้ในการป้องกันภัยคุกคามที่รู้จัก  ระบุและตรวจจับภัยคุกคามที่ไม่รู้จัก ต้องสามารถเข้าถึง แหล่งข้อมูลกรองภัยคุกคาม และใช้ข้อมูลที่ค้นพบในการแจ้งและ ปรับนโยบายในการบล็อกและมาตรการในการป้องกันต่างๆ  จัดการกับช่องโหว่ จุดอ่อนของระบบและการละเมิดให้ รวดเร็ว เวลาเป็นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับการตอบสนองและการแก้ไขทุก ประเภท ผูโ้ จมตีเองมีเวลาในการส�ำรวจและใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ของท่านเช่นกัน ท่านเองอาจรูส้ กึ ละอายมากหากต้องอธิบายให้โลก รูว้ า่ ท�ำไมใช้เวลาหลายสัปดาห์/เดือน/ปี ส�ำหรับองค์กรในการค้นหำ และปิดกั้นช่องโหว่  ประเมิ น และปรั บ ปรุ ง ความปลอดภั ย อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง การป้องกันไม่เคยหยุดนิ่งเพราะผู้โจมตีไม่หยุดนิ่งเช่นกัน แม้วา่ เทคโนโลยีบล็อกเชนจะมีประโยชน์มากมาย แต่ก็ยังมี อีกมากทีต่ อ้ งท�ำจากมุมมองความปลอดภัยทางไซเบอร์ ผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านไอทีและความปลอดภัยทางไซเบอร์ยงั จะพบกับสิง่ ทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ มากขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนเพิ่มมากขึ้นเช่นกัน ดังนั้น ผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ควรรวมกระบวนการ ความปลอดภัยตัง้ แต่ในขัน้ ตอนการวางแผนและออกแบบบล็อกเชน ฟอร์ตเิ น็ตได้เข้ามามีบทบาทสร้างความปลอดภัยทางไซเบอร์ ในกระบวนการปฏิรูปดิจิทัล (Digital Transformation) ซึ่งบล็อกเชน เองก็เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ บล็อกเชนมีอนาคตที่ดีรออยู่ ข้างหน้าอย่างแน่นอน ด้วยความเชีย่ วชาญในเทคโนโลยีดา้ นความ ปลอดภัยไซเบอร์ ท�ำให้ฟอร์ติเน็ตได้ทราบแนวโน้มและยังสามารถ ตระหนักถึงปัจจัยเสี่ยงด้านความปลอดภัยในโลกไซเบอร์ที่มีใน เทคโนโลยีใหม่ๆ รวมถึงบล็อกเชนนีไ้ ด้ทนั การ (เอกสารรายงานเรือ่ ง Security Transformation Requires a Security Fabric จะท�ำให้ทา่ น ทราบถึงการจัดตัง้ ระบบความปลอดภัยไซเบอร์อย่างไรในยุคดิจทิ ลั ได้ดียิ่งขึ้น)


ตั ว อย่ า งโครงการบล็ อ กเชนในภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ิ ก สำ�คัญ 6 โครงการ ได้แก่

1. Energy-Blockchain Labs : ใช้บล็อกเชนในการติดตาม การปล่อยก๊าซคาร์บอน ซึง่ อาจเชือ่ มโยงกับการชดเชยการปล่อยก๊าซ และตลาดซื้อขายคาร์บอนในประเทศจีน 2. Blockchain Food Safety Alliance ในประเทศจีน : โดยจับมือกับ IBM และ Wal-Mart จับมือกันเพือ่ ติดตามการกระจาย และซัพพลายเชนของสินค้าบริโภค 3. เมือง Freemantle ประเทศออสเตรเลีย : ได้นำ� บล็อกเชน มาใช้ในการจัดการโครงสร้างพืน้ ฐานของการผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้ำ พลังงานแสงอาทิตย์และน�ำ้ ร้อนแบบอัจฉริยะ เพือ่ ตอบสนองความ ต้องการและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลำ

4. กลุม่ บริษทั อุตสาหกรรมน�ำ้ มันปาล์มทัว่ ภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ : ก�ำลังปรับใช้บล็อกเชนเพือ่ สนับสนุน “โครงการ ไม่ท�ำลายป่า ไม่ใช้ถา่ นหินพีท ไม่มีเอาเปรียบคนและสิ่งแวดล้อม” (No Deforestation, No Peat, No Exploitation : NDPE) และรองรับ ห่วงโซ่อุปทานส�ำหรับผลิตภัณฑ์น�้ำมันพืชที่ส�ำคัญนี้ 5. เมืองไทเป : ได้ใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนรวมกับไอโอที เพื่อสนับสนุนโครงการริเริ่มในด้านรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในหลาย รูปแบบ รวมถึงการท�ำบัตรประจ�ำตัวประชาชนอัจฉริยะ และการ์ด แสดงผลมลพิษ/แสดงสภาพอากาศในรูปแบบบัตรขนาดเล็ก 6. กระทรวงกิจการภายในและการสือ่ สารของญีป่ นุ่ : ก�ำลัง น�ำระบบบล็อกเชนเพือ่ ใช้ในการจัดซือ้ ของรัฐบาลและธุรกรรมอืน่ ๆ ให้เป็นไปโดยอัตโนมัติ

> Matthew Kuan, Director of Solutions Marketing, Southeast Asia and Hong Kong, Fortinet

INDUSTRY TRENDS : Securing the Future of Blockchain in Asia Pacific

Blockchain is not just about cryptocurrencies anymore. The blockchain adoption rate is growing extremely fast—expanding its footprint globally across multiple industries and economic sectors. A recent IDC report projects a 73.2% worldwide compound annual growth rate (CAGR) between 2017 and 2022 for spending on blockchain solutions. This translates to a global rise in blockchain spending from USD $1.5 billion in 2018 to $11.7 billion in 2022. Within Asia Pacific

(outside of Japan) blockchain growth will maintain pace with the rest of the world at 72.6% CAGR. Japan, however, is expected to lead the entire world in blockchain spending, forecasted at a 108.7% CAGR. The financial industry ranks as the main market for implementing blockchain technology, with the transportation /logistics industry following a close second. It’s important to note that financial services firms are deploying blockchain to support mainstream sovereign currency processes— not the controversial cryptocurrency transactions that initially thrust blockchain into the spotlight. Worldwide blockchain spending growth among professional services and process manufacturing businesses is also experiencing an increase. July-August 2019


The Asia Pacific region has become a hotbed of innovative blockchain applications. As the sidebar details, blockchain-based projects are piloting or already in production in government, electric utility, supply chain security, and environmental use cases. The drastic spike in blockchain spending predicted in Asia Pacific also indicates that there are no signs of these use cases dwindling in the foreseeable future. However, as more industries in Asia Pacific and Japan adopt blockchain, it’s crucial that security leaders implement processes to secure new blockchain projects.

Blockchain Security Risk Factors

Every new technology has its risks, and blockchain is no exception. Even the earliest blockchain deployments stimulated the creative juices of cybersecurity adversaries. As blockchains grow in economic importance, they will undoubtedly become more attractive targets for cybersecurity interference. To start, there are a number of blockchain and distributed ledger technology (DLT) vulnerabilities that we need to be aware —ones that will impact how we deploy and where we apply blockchain :  Consensus Hijack. In decentralized, permission-less networks, where consensus is formed through majority assent, taking control of a large enough portion of participating clients could allow an attacker to tamper with the validation process.  DDoS Attack. Due to the distributed nature of blockchain ledgers, they are potentially vulnerable to spam-based distributed denial of service (DDoS) attacks. Even when these attacks do not completely close off access to a blockchain, they can increase processing latencies, as the nodes will be busy checking the validity of the fraudulent transactions.  Sidechain Vulnerabilities. These can afflict the gateways used to transfer assets and messages between parent and sidechains through two-way pegging. Here, if an initial “locking” transaction is later considered invalid, then subsequent proxy transactions would also be affected.  Smart Contracts. These are automated transaction programs that run on distributed ledgers that typically feature business logic such as self-executing insurance policies and financial futures contracts. This makes them subject to coding errors, often related to the specialized programming languages used to formulate smart contracts. In particular, this phenomenon has been observed in Etherium blockchain smart contracts written using the “Serpent” or “Solidity” object-oriented languages. July-August 2019

Private Blockchain Vulnerabilities. Some enterprises have implemented private blockchains using existing network infrastructure, cloud-based services, and user access privilege. This configuration helps protect them from external interference. From the adversary’s point of view, discovering the existence of a private blockchain can intensify their motivation to break in. After all, their thinking goes, there must be something valuable there if they have a safe like that to protect it. 

Building in Security by Design

Despite the hype and exuberance currently animating the blockchain conversation, for the cybersecurity professional, blockchains are just another enterprise asset to protect from adversary interference. Fortunately, at the technology’s current stage of evolution, almost every blockchain project is a greenfield project. This offers application designers the opportunity to build security into the project at the beginning of its development cycle. Treating security as a primary design goal of a blockchain project makes it possible to conduct a structured analysis of security requirements and investment priorities. Phases in this process include :


Identify Your Crown Jewels. What’s at stake in the blockchain initiative? What would motivate an attacker?  Survey the Attack Surface. What are the potential points of attack and failure across all expanses of your network?  Protect Against Known Threats. Define threat intelligence requirements, and specify processes and technologies to ward off known threats.  Identify and Detect Unknown Threats. Access sources of pertinent threat intelligence, and use findings to inform and adjust blocking and preemptive measures.  Rapidly Address Vulnerabilities, Exploits, and Breaches. Time is of the essence for all kinds of response and remediation actions. Not only does time give an attacker expanded opportunity to explore and exploit your resources, but it can be very embarrassing to have to explain to the world why it took weeks/months/years for your organization to discover and shut down a damaging breach.  Continuously Reassess, Adjust, and Improve the Security Posture. The defense never rests because attackers don’t either. While many benefits exist from blockchain technology, much remains to be done from a cybersecurity point of view. As experience with blockchain technology increases, IT and cybersecurity professionals will undoubtedly encounter some additional unpleasant surprises along the way. That said, cybersecurity professionals would do well by extending proven fabric-based approaches to building security into blockchainbased initiatives in their early planning and design phases. Fortinet has been thinking a lot about the cybersecurity implications of digital transformation (DX), of which blockchain is a part. The Fortinet “Security Transformation Requires a Security Fabric” white paper is a good place to start to better understand 

how to implement cybersecurity in this new DX-driven world. There’s no doubt that blockchain has a great future ahead of it. Beyond the considerable merits of the technology itself, we have the advantage of entering the blockchain era with much greater awareness of cybersecurity risk factors facing any new technology megatrend. Forewarned is forearmed, as the old saying goes. Six Representative Asia-Pacific Blockchain Projects

1. Energy-Blockchain Labs is working on a carbon emissions tracking blockchain that could be linked to emissions offsets and carbon trading markets in China. 2. IBM and Wal-Mart are Collaborating with China’s Blockchain Food Safety Alliance to track foodstuff distribution and supply chains. 3. The City of Freemantle, Australia has adopted blockchain to manage a smart solar electricity and water heating generation and distribution infrastructure to respond to dynamic demand and environmental conditions. 4. A Consortium of Palm Oil Industry Companies Across Southeast Asia is deploying blockchain to support a sustainable “no-deforestation, no peat, no exploitation” (NDPE) production and supply chain for this important plant oil product. 5. The City of Taipei is combing blockchain and Internet of Things (IoT) technologies to support multiple e-government initiatives including a smart citizen ID card and a wallet-format pollution/weather status display card. 6. Japan’s Ministry of Internal Affairs and Communications is piloting a blockchain-based system to automate government purchasing and other transactions.

Fortinet (NASDAQ: FTNT) secures the largest enterprise, service provider, and government organizations around the world. Fortinet empowers its customers with intelligent, seamless protection across the expanding attack surface and the power to take on ever-increasing performance requirements of the borderless network—today and into the future. Only the Fortinet Security Fabric architecture can deliver security features without compromise to address the most critical security challenges, whether in networked, application, cloud or mobile environments. Fortinet ranks #1 in the most security appliances shipped worldwide and more than 385,000 customers trust Fortinet to protect their businesses. Learn more at https://www.fortinet.com, the Fortinet Blog, or FortiGuard Labs.

July-August 2019


เครือสหพัฒน์ จับมือพันธมิตรระดับโลกด้านพลังงาน พัฒนาสวนอุตสาหกรรมอัจฉริยะ บุณยสิทธิ์ โชควัฒนา ประธานเครือสหพัฒน์ และ ดร.อรรชกา สีบญ ุ เรือง กรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน คณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน และ GE Thailand ร่วมเป็นสักขีพยานในพิธลี งนามความร่วมมือด้านเทคโนโลยีพลังงาน เพือ่ พัฒนาสวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ ให้เป็นสวนอุตสาหกรรมอัจฉริยะทีม่ ี โครงข่ายไฟฟ้าขนาดเล็ก (Microgrid) ที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย ซึ่งจัดขึ้นภายในงาน สหกรุ๊ปแฟร์ ครั้งที่ 23 ณ ไบเทค บางนา

เฟดเอ็กซ์ จับมือศูนย์วจิ ยั สร้างเสริมความปลอดภัย จัดท�ำโครงการ #SpeakUp

เฟดเอ็กซ์ เอ็กซ์เพรส บริษทั ในเครือเฟดเอ็กซ์ คอร์ป ร่วมกับ ศูนย์วิจัยสร้างเสริมความปลอดภัยและป้องกันการบาดเจ็บในเด็ก ประเทศไทย Safe Kids Thailand และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรุงเทพฯ จัดงาน “สัปดาห์ความปลอดภัยทางถนนแห่งสหประชาชาติ ครัง้ ที่ 5 : ทุกคนคือผูน้ าํ ความปลอดภัยทางถนน” ภายในงาน เด็กนักเรียน จาก 30 โรงเรียนในเขตกรุงเทพฯ ได้รว่ มกันยืน่ ข้อเสนอและข้อเรียกร้อง ในการปรับปรุงแก้ไขปัญหาความปลอดภัยบนท้องถนน โดยเฉพาะบริเวณ สถานศึกษาและชุมชนต่างๆ ให้ภาคประชาสังคมเป็นส่วนส�ำคัญในการ สร้างความปลอดภัยบนท้องถนน

ซีบรา เทคโนโลยีส์ เปิดสำ�นักงานใหม่ รองรับการเติบโต ในประเทศไทย

ซีบรา เทคโนโลยีส์ คอร์ปอเรชัน่ (NASDAQ: ZBRA) ผูน้ ำ� ด้านนวัตกรรม ผ่านโซลูชนั ทีท่ นั สมัย ได้มกี ารเปิดตัวส�ำนักงานแห่งใหม่ ณ อาคารสาทรสแควร์ เมือ่ ในวันที่ 25 มิถนุ ายน 2562 การเปิดตัวในครัง้ นีเ้ พือ่ ขยายธุรกิจและผลักดัน การเติบโตในประเทศไทย ภายในส�ำนักงานแห่งใหม่ประกอบไปด้วยสิง่ อ�ำนวย ความสะดวกในการปฏิบัติงาน จะช่วยเพิ่มความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร และเข้าถึงกลุ่มพาร์ทเนอร์ ท�ำให้การพัฒนาผลิตภัณฑ์และโซลูชันท�ำได้ง่าย มีประสิทธิภาพ ตรงตามความต้องการของลูกค้ามากขึ้น ส่งผลให้องค์กรต่างๆ บรรลุเป้าหมาย

สแกนเนีย ส่งมอบรถรุ่นใหม่ ให้กับบริษัทเจนทะเล ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ จังหวัดจันทบุรี ภูรวิ ทั น์ รักอินทร์ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายปฏิบตั กิ ารภูมภิ าค บริษทั สแกนเนีย สยาม จ�ำกัด (ที่ 4 จากซ้าย) ส่งมอบรถบรรทุกสแกนเนียรุน่ ใหม่ P 410 A6x2NZ ให้บริษัท เจนทะเล จ�ำกัด จ�ำนวน 12 คัน ทั้งนี้ รถบรรทุกสแกนเนียรุ่นใหม่ ใช้เวลากว่า 10 ปีในการพัฒนาทดสอบสมรรถนะการใช้งานจริงมาแล้วในหลาย พื้นที่ทั่วโลกมากกว่า 12 ล้านกิโลเมตร มีมาตรฐานความปลอดภัยระดับโลก และมีอตั ราประหยัดน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงดียงิ่ ขึน้ โดยสแกนเนียมีเป้าหมายเพือ่ สร้าง ผลก�ำไรสูงสุดให้ธุรกิจลูกค้า พร้อมกับมุ่งสู่ระบบการขนส่งอย่างยั่งยืน

July-August 2019


สตีเบล เอลทรอน จัดโครงการ Stiebel Eltron Football Clinic สอนฟุตบอลสมัยใหม่แก่เยาวชน โรลันด์ เฮิน กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั สตีเบล เอลทรอน เอเชีย ร่วมด้วย สโมสรฟุตบอลไทย ฮอนด้า ลาดกระบัง จัดกิจกรรมเพื่อสังคม Stiebel Eltron Football Clinic ภายในงานมีเยาวชนจากในเขตพระนครศรีอยุธยาและใกล้เคียง เข้าร่วมกิจกรรมกว่า 200 คน น�ำทีมสอนโดย วรชัย สุรินทร์ศิริรัฐ โค้ชพร้อม เหล่านักฟุตบอลสโมสรฟุตบอลไทย ฮอนด้า ลาดกระบัง มาช่วยฝึกอบรมใน กิจกรรมครัง้ นี้ มีความตัง้ ใจเพือ่ ส่งเสริมทักษะพืน้ ฐานกีฬาฟุตบอล และสร้างเสริม นิสัยรักการออกก�ำลังกายให้แก่เยาวชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ถิรไทย อี แอนด์ เอส เซ็นสัญญา กฟภ. ลงนาม ซื้อขายรถขุดเจาะ 41 คัน

สัมพันธ์ วงษ์ปาน กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ถิรไทย อี แอนด์ เอส จ�ำกัด หรือ TRT พร้อมด้วย สมพงษ์ ปรีเปรม ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วน ภูมภิ าค หรือ กฟภ. ร่วมลงนามในสัญญาซือ้ ขายรถขุดเจาะ (4x4) จ�ำนวน 41 คัน วงเงิน 320 ล้านบาท เริม่ ทยอยส่งมอบรถขุดเจาะในปี พ.ศ. 2563 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2564 เพื่อน�ำไปใช้ในการพัฒนาระบบ และขยาย โครงข่ายไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคต่อไป ณ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค

บีโอไอ ดึงผู้ประกอบการไทยเจาะตลาดประเทศ เพื่อนบ้าน

บีโอไอ เปิดการอบรมหลักสูตร “สร้างนักลงทุนไทยในต่างประเทศ TOISC รุน่ ที่ 16 และรุน่ ที่ 17” โดยมี โชคดี แก้วแสง รองเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริม การลงทุน เป็นประธานเปิดการอบรม ซึ่งการอบรมนี้จัดขึ้นเพื่อเสริมศักยภาพ ให้ผปู้ ระกอบการไทยทีส่ นใจไปลงทุนต่างประเทศผ่านการอบรม และการเดินทาง ไปศึกษาพืน้ ทีจ่ ริงในประเทศเป้าหมาย ทัง้ ประเทศเพือ่ นบ้านและประเทศตลาด ใหม่ ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพฯ

สสว. จับมือ ซิสโก้ เร่งพัฒนาเอสเอ็มอีไทย เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน สุวรรณชัย โลหะวัฒนกุล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของผูป้ ระกอบการเอสเอ็มอี มีความส�ำคัญอย่างมากต่อระบบเศรษฐกิจไทย จึงร่วมมือกับ วัตสัน ถิรภัทรพงศ์ กรรมการผู้จัดการประจ�ำประเทศไทยของซิสโก้ เพื่อที่จะเพิ่มประสิทธิผลที่น�า ไปสู่การเพิ่มผลผลิตและโอกาสใหม่ๆ ในตลาดของเอสเอ็มอีไทย ซึ่งจะช่วย เพิม่ ผูป้ ระกอบการรายใหม่ในตลาดให้พฒ ั นาความได้เปรียบในการแข่งขันและ ขจัดอุปสรรคทางการตลาด

July-August 2019


สจล. ผนึก มจธ. พีทีที แอลเอ็นจี ร่วมศึกษาการจัดตั้ง ดาต้าเซ็นเตอร์

รองศาสตราจารย์สพ ุ จน์ ศรีนลิ รองอธิการบดีฝา่ ยบริหารทรัพยากร กายภาพและสิง่ แวดล้อม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) รองศาสตราจารย์ ดร.สุวทิ ย์ แซ่เตีย อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และ สมชาย ระมาศ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ วิศวกรรมและบ�ำรุงรักษา บริษัท พีทีที แอลเอ็นจี จ�ำกัด ร่วมลงนามในบันทึก ข้อตกลงเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการสร้างศูนย์ข้อมูล Data Center จาก การใช้พลังงานความเย็นของก๊าซธรรมชาติเหลว LNG เพือ่ สร้างการลงทุนด้าน ศูนย์ข้อมูลในภูมิภาคอาเซียน

อีสท์ วอเตอร์ สานต่อโครงการบ�ำรุงรักษาระบบ ประปาชุมชนภาคตะวันออก

ซีเมนส์ แนะวิธจี ดั การความท้าทายในการบริหารพลังงาน ด้วยนวัตกรรมใหม่สำ�หรับระบบจ่ายไฟ

อีสท์ วอเตอร์ ผนึกก�ำลังร่วมกับสถาบันการอาชีวศึกษาภาค ตะวันออก ฝึกอบรมควบคุมการผลิตและบ�ำรุงรักษาระบบประปาชุมชน มีเป้าหมายพัฒนาระบบประปาหมู่บ้านในภาคตะวันออก 3 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี ระยอง และตราด ให้ได้รับการพัฒนาและมีประสิทธิภาพ ในการผลิตน�้ำประปา สาเหตุเกิดจากบุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจ จึงได้จดั ท�ำโครงการซ่อมบ�ำรุงและฝึกอบรมการบริหารจัดการระบบประปา หมู่บ้านขึ้น เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้การบริหารจัดการระบบประปา หมูบ่ า้ นให้กบั อาจารย์และนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวะ เพือ่ น�ำไปเผยแพร่ เพิม่ สมรรถนะด้านการบ�ำรุงรักษาระบบประปาชุมชนอย่างถูกต้องและ สร้างความมั่นคงด้านน�้ำในภูมิภาคอย่างยั่งยืน

เมนส์ สมาร์ท อินฟราสตรัคเจอร์ (เอสไอ) เปิดตัวเซอร์กติ เบรกเกอร์ แบบต่างๆ ในกลุม่ 3VA และ 3VM เพือ่ รองรับการจัดการด้านการจ่ายพลังงาน ไฟฟ้าอย่างชาญฉลาด ไม่วา่ จะเป็นอาคารเพือ่ การพาณิชย์ อาคารอุตสาหกรรม โรงงาน งานโทรคมนาคม หรือดาต้าเซนเตอร์ ประกอบกับคุณสมบัติเด่นของ ผลิตภัณฑ์ในการจัดล�ำดับและขอบเขตของการป้องกัน (Excellent Selectivity) จึงท�ำให้มั่นใจถึงการรักษาเสถียรภาพความมั่นคง ความปลอดภัย และป้องกัน ความผิดพลาดในระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้าได้ นอกจากนี้ เซอร์กิต เบรกเกอร์ ดังกล่าวยังรองรับการใช้งานร่วมกับเทคโนโลยีดิจิทัล อีกทั้งยังช่วยให้ระบบ ไฟฟ้าสามารถวัดค่าและแสดงผลได้ เพื่อการวางแผนในการประหยัดพลังงาน ต่อไป

ITALTHAI ร่วมมือ HYUNDAI ELECTRIC ติดตั้ง อุปกรณ์ ไฟฟ้าแรงสูง 115 kV จ.พัทลุง (GIS) ให้ กฟผ. เมือ่ วันที่ 28 มิถนุ ายน 2562 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ก่อสร้างสถานีไฟฟ้าแรงสูง 115 kV จ.พัทลุง (GIS) AC WITHSTAND TEST โดย ITALTHAI GROUP ร่วมกับ HYUNDAI ELECTRIC & ENERGY SYSTEMS CO., LTD. ติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูง สร้างสถานีไฟฟ้าแรงสูง (High Voltage Substation) 115 kV PHATTHALUNG SUBSTATION (GIS) AC WITHSTAND TEST โดยท�ำการจ่ายไฟส�ำเร็จเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

July-August 2019


Movement

ม.เกษตร ศรีราชา คว้ารางวัล ชนะเลิศภาคตะวันออก “Cabling Contest 2019”

ผ่านพ้นไปแล้วส�ำหรับโครงการ “สุดยอด ฝีมือสายสัญญาณ ปี 7 (Cabling Contest)” รอบคัดเลือกภาคตะวันออก ทีบ่ ริษทั อินเตอร์ลงิ้ ค์ คอมมิวนิเคชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ผู้น�ำเข้าและ จัดจ�ำหน่ายสายสัญญาณทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในอาเซียน ภายใต้การสนับสนุนของผลิตภัณฑ์ยี่ห้อ LINK จากสหรัฐอเมริกา ร่วมมือกับกระทรวงดิจิทัล เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม กระทรวงศึกษาธิการ และ กระทรวงแรงงาน จัดขึน้ เป็นปีที่ 7 เพือ่ เปิดโอกาส ให้นักศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรีและระดับ อาชีวศึกษา ได้เรียนรูเ้ ทคโนโลยีสายสัญญาณทีด่ ี ที่สุดในยุคปัจจุบัน ผ่านกิจกรรมการอบรมและ แข่ ง ขั น ซึ่ ง จะช่ ว ยพั ฒ นาศั ก ยภาพนั ก เรี ย น นักศึกษา พร้อมต่อยอดทักษะและความรูใ้ นเวที ระดับโลก โดยงานนีไ้ ด้รบั เกียรติจาก เรือโทศตวรรษ อนันตกูล รองผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธาน กล่าวเปิดงาน พร้อมด้วย จิราภรณ์ ปุญญฤทธิ์ ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันพัฒนาฝีมอื แรงงาน จ.ชลบุรี ลักษิกา ฉิมพลี ตัวแทนกระทรวงศึกษาธิการ ณัฐวุฒิ ปิน่ ทองค�า ผูอ้ ำ� นวยการตลาดและสือ่ สาร องค์กร และ กอบเกือ้ อ�ำไพรัตน์ ผูจ้ ดั การสาขา ภาคตะวันออก ร่วมแสดงความยินดี เมื่อวันที่ 28 มิถนุ ายน 2562 ณ โรงแรมบางแสนเฮอริเทจ จ.ชลบุรี ส�ำหรับผลการแข่งขัน ผู้ชนะเลิศได้แก่ กิต ติภัฎ ค�ำลื่อ นักศึกษาจากมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ได้แก่ ญาณพัฒน์ พิษณุวัฒนศักดิ์ นั ก ศึ ก ษาจากมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา และรองชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ ธีรเดช รอดพ้น นักศึกษาจากวิทยาลัยเทคนิค ชลบุรี และผู้ที่ผ่านเข้ารอบคัดเลือกอีก 7 คน จากภาคตะวันออกจะเป็นตัวแทนเข้าไปแข่งขัน ในรอบชิงชนะเลิศต่อไป

July-August 2019


Movement

ผู้น�ำป่าชุมชนภาคใต้ สืบสานศาสตร์พระราชา “แกล้งดิน” แนวทางการอนุรักษ์ดินเพื่อป่าสมบูรณ์

บุญทิวา ด่านศมสถิต ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่บริหารองค์กร บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) เข้าร่วมสัมมนาเครือข่ายผู้น�ำป่าชุมชน ภาคใต้ ในโครงการคนรักษ์ป่า ป่ารักชุมชน ที่จัดขึ้นที่จังหวัดสงขลา โดยความร่วมมือของกรมป่าไม้และบริษทั ราช กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) พร้อม น้อมน�ำพระราชด�ำริ “สืบสาน รักษา และต่อยอด” ของพระบาทสมเด็จ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นแนวทางในการก�ำหนดสาระของกิจกรรมครั้งนี้ โดยการสืบสานและรักษาแนวทฤษฎีแกล้งดินในพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพือ่ ให้ผนู้ ำ� ป่าชุมชนจาก 8 จังหวัดภาคใต้ทเี่ ข้าร่วมกิจกรรมทัง้ 80 คน ได้นำ� ไปประยุกต์ใช้ ให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาป่าชุมชนให้ยั่งยืนต่อไป ส�ำหรับการสัมมนาเครือข่ายผู้นำ� ป่าชุมชนด�ำเนินการภายใต้โครงการคนรักษ์ป่า ป่ารักชุมชน มาตั้งปี พ.ศ. 2551 ครั้งนี้เป็นรุ่นที่ 22 นอกจากองค์ความรู้ในการอนุรักษ์ดินแล้ว ผู้น�ำป่าชุมชนยังจะได้รู้และเข้าใจสาระส�ำคัญของพระราชบัญญัติป่าชุมชน อีกทั้งยังจะได้เรียนรู้ เกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้าที่ศูนย์การเรียนรู้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โรงไฟฟ้าจะนะ ด้วย

Techsauce Global Summit 2019 ที่สุดของงานมหกรรมด้านไอทีและ สตาร์ตอัประดับโลก

อรนุช เลิศสุวรรณกิจ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ ผูร้ ว่ มก่อตัง้ บริษทั เทคซอส มีเดีย จ�ำกัด และฮับบ้า ไทยแลนด์ (Hubba Thailand) พร้อมด้วยพันธมิตรและองค์กรชั้นน�ำ ร่วมเปิดงาน Techsauce Global Summit 2019 โดยมีกูรู จากหลากหลายวงการและอาชีพตบเท้าร่วมงานอย่างคึกคัก ร่วมพบปะและรับฟังเนือ้ หาทีอ่ ดั แน่นบน 13 เวที ครอบคลุม ทุกอุตสาหกรรม โดยวิทยากรด้านเทคโนโลยีและสตาร์ตอัป ชัน้ น�ำระดับโลกร่วม 400 ชีวติ พร้อมปรับโฉมจากงานประชุม องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม ไปสู่ Techsauce Festival ทีค่ รบสมบูรณ์ทงั้ ความรูแ้ ละความบันเทิงในหนึง่ เดียว นอกจากความน่าสนใจบน 13 เวทีแล้ว ปีนี้ยังมีความ ร่วมมือกับพันธมิตรทั้งภายในและภายนอกประเทศ มีทั้ง สตาร์ตอัป และตัวแทนจากบริษัทชั้นน�ำใน Exhibition Zone และ Country Pavilion พื้นที่น�ำเสนอนวัตกรรมทางความคิด ด้านเทคโนโลยี รวมถึง Launching Stage ซึง่ เป็นการเปิดโอกาส ทางธุรกิจให้กับสตาร์ตอัปได้มาโชว์ผลิตภัณฑ์ใหม่ July-August 2019


LET เปิดตัวยิ่งใหญ่ ชูเทคโนโลยีด้านความ ปลอดภัยเหนือระดับ “Beyond Security”

ยุทธพร จิตตเกษม ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ล็อกซเล่ย์ อีโวลูชนั่ เทคโนโลยี จ�ำกัด หรือ LET ได้เปิดตัวในฐานะเซอร์วสิ โพรไวเดอร์ชนั้ น�ำทีส่ ามารถ บูรณาการเทคโนโลยีด้านความปลอดภัยเหนือระดับ ภายใต้ คอนเซ็ปต์ Beyond Security โชว์ 4 กลุม่ งานไฮเทค ใช้เทคโนโลยี ขั้นสูงผสานแพลตฟอร์มอัจฉริยะ เสริมศักยภาพงานรักษา ความปลอดภัย หวังน�ำไทยขึ้นแท่น เซฟ ซิตี้ อย่างแท้จริง ทัง้ นี้ บริษทั LET มีทนุ จดทะเบียน 50 ล้านบาท ถือหุน้ โดย บมจ. ล็อกซเล่ย์ 100% ซึง่ การจัดงานโชว์เทคโนโลยีภายใต้ ชือ่ “Live Beyond” ณ ศูนย์สรรพสินค้าเทอร์มนิ อล 21 ในครัง้ นี้ เพื่อโชว์ความเป็นผู้น�ำในการให้บริการเทคโนโลยีด้านความ ปลอดภัยแบบรวมศูนย์ ทั้งการออกแบบ บูรณาการระบบ สารสนเทศ (System Integration Service) ระบบเครือข่าย แอปพลิเคชัน รวมถึงงานบริการบ�ำรุงรักษาเทคโนโลยีดา้ นความ ปลอดภัย มุ่งสู่การเป็นเบอร์หนึ่งของเซอร์วิส โพรไวเดอร์ ทีใ่ ห้บริการดูแลรักษาความปลอดภัยแบบโทเทิล โซลูชนั (Total Solution) สอดรับกับประเทศไทยที่กำ� ลังก้าวเข้าสู่ยุค 4.0

เปิด 3 งานใหญ่ เพื่ออุตสาหกรรม อาคาร โรงงาน และแสงสว่าง

ดร.สราวุธ แก้วตาทิพย์ รองปลัดกระทรวง พลังงาน เป็นประธานเปิด 3 งานเทรดแฟร์ BMAM Expo Asia, K-Fire & Safety Expo Bangkok, และ LED Expo Thailand + Light ASEAN ที่น�า นวัตกรรมอนุรกั ษ์พลังงานด้านระบบแสงสว่าง ระบบ อัจฉริยะภายในอาคาร โรงงาน และระบบป้องการ อัคคีภัยมาจัดแสดง ตั้งแต่วันนี้ 27-29 มิถุนายน 2562 ณ อาคาร 6-8 อิมแพ็ค เมืองทองธานี โดยมี จิรตุ ถ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงาน ส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือทีเส็บ จิระศักดิ์ มัณฑางกูร ผูอ้ ำ� นวยการฝ่าย บริ ห ารด้ า นการใช้ ไ ฟฟ้ า และกิ จ การเพื่ อ สั ง คม ลอย จุน ฮาว ผูจ้ ดั การทัว่ ไป บจก. อิมแพ็ค เอ็กซิบชิ นั่ แมเนจเม้นท์ ซังวุค คิม แซมมวล ประธานบริหาร บจก. เอ็กซ์โค่ ร่วมงานฯ

July-August 2019


Movement

สกสว. จัดงานมอบรางวัลผลงาน วิจัยเด่น สกว. ประจ�ำปี 2561

ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) เดิมคือส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) จัดงานมอบโล่เกียรติยศผลงานวิจัยเด่น สกว. ประจ�ำปี 2561 ณ โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล ราชประสงค์ เพือ่ เป็นการยกย่องเชิดชูเกียรติแก่นกั วิจยั และผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ สร้างผลประโยชน์ และก่อให้เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคมและ การพัฒนาสิ่งแวดล้อม โดยมี ดร.กฤษณพงศ์ กี ร ติ ก ร ประธานกรรมการนโยบายกองทุ น สนับสนุนการวิจยั ปฏิบตั หิ น้าทีป่ ระธานกรรมการ ส่ ง เสริ ม วิ ท ยาศาสตร์ วิ จั ย และนวั ต กรรม เป็นประธานในพิธีและมอบรางวัล พร้อมด้วย ศ. นพ.สุทธิพันธ์ จิตพิมลมาศ ผู้อ�ำนวยการ สกสว. คณะผูบ้ ริหาร ผูท้ รงคุณวุฒิ และสือ่ มวลชน ร่วมเป็นเกียรติในครั้งนี้

กสอ. จับมือ เดลต้า สานต่อโครงการ “Big Brother พี่ช่วยน้อง” พร้อมติดปีก ให้ SMEs

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) ร่วมกับบริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) สานต่อ โครงการ Big Brother หรือพี่ช่วยน้อง ปีที่ 4 พร้อม เดินหน้าขับเคลือ่ นผูป้ ระกอบการไทยในการเพิม่ ขีดความ สามารถการแข่งขันทางธุรกิจ และยกระดับศักยภาพ การประกอบธุรกิจให้ก้าวสู่ความเป็นผู้น�ำอุตสาหกรรม ในยุคเศรษฐกิจ 4.0 ด้วยเทคโนโลยีอัตโนมัติ โครงการ Big Brother (พีช่ ว่ ยน้อง) เป็นโครงการ ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับบริษัทภาค เอกชนระดับแนวหน้าในการน�ำเอาองค์ความรู้เกี่ยวกับ การด�ำเนินธุรกิจ การบริหารจัดการ และเทคโนโลยียคุ ใหม่ และได้ท�ำพิธีเปิดโครงการปีที่ 4 ไปเมื่อเร็วๆ นี้ โดยมี นิสากร จึงเจริญธรรม รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์ อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม และ อนุสรณ์ มุทราอิส ประธานบริหาร บริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมในพิธี July-August 2019


Industry News

ILINK ชนะประมูลงาน HV Submarine Jointer และโครงการสื่อสารกองทัพไทย ส ม บั ติ อ นั น ต รั ม พ ร ประธานกรรมการ และกรรมการ ผู ้ จั ด ก า ร ใ ห ญ ่ ก ลุ ่ ม บ ริ ษั ท อินเตอร์ลงิ้ ค์ คอมมิวนิเคชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ILINK เปิดเผยว่า หลั ง จากที่ บ ริ ษั ท ฯ ได้ เ สนอเข้ า ร่วมประมูลในงานของการไฟฟ้า ส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) บริษทั ฯ ได้ชนะ การประมูลในโครงการจัดซือ้ Sub Sea Join ระบบสายเคเบิลใต้น�้ำ (Submarine Cable) 115 KV วงเงิน รวมกว่า 30 ล้านบาท ขณะเดียวกัน บริษัทฯ ยังชนะการประมูลโครงการติดตั้งระบบไฟเบอร์ออฟติก จากกรมการสื่อสารทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย มูลค่ากว่า 99 ล้านบาท โดยสามารถส่งมอบงานและติดตั้งแล้วเสร็จได้ภายใน ปี พ.ศ. 2562 สามารถทยอยรับรูร้ ายได้สงู กว่าเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้กว่า 5,485 ล้านบาท และคาดว่าภายหลังจากการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ แล้วเสร็จ ส่งผลให้การขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของประเทศไทยก้าวหน้า จะท�ำให้ธรุ กิจจัดจ�ำหน่ายสายสัญญาณซึง่ เป็นธุรกิจหลักของบริษทั ฯ เติบโตต่อไปด้วย

บริษทั อินเตอร์ลงิ้ ค์ คอมมิวนิเคชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบด้วย 3 ธุรกิจ ได้แก่ ธุรกิจจัดจ�ำหน่าย โดยเป็นผู้นำ� เข้าและจัดจ�ำหน่าย สัญญาณที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียนและเปิดด�ำเนินธุรกิจมานานกว่า 32 ปี มีสาขา 5 แห่ง ครอบคลุมทั่วประเทศและมีตัวแทนจ�ำหน่าย ผู้ค้าและร้านค้าอยู่ทั่วประเทศมากกว่า 15,000 ราย รวมทั้งลูกค้า ภาครัฐอีกมากกว่า 100 องค์กร อีกทั้งยังได้น�ำความเชี่ยวชาญ มาต่อยอดเป็นธุรกิจโทรคมนาคม โดยเป็นผู้ให้บริการการสื่อสาร ผ่านโครงข่ายสายไฟเบอร์ออฟติกทัว่ ไทย เน้นลูกค้าทีม่ กี ารเชือ่ มโยง สาขา ทัง้ ภาคธุรกิจ ภาคการเงิน และภาครัฐ โดยยังได้สร้างศูนย์ดาต้า เซ็นเตอร์ เพือ่ ให้บริการรับฝากข้อมูลของลูกค้ารายใหญ่อกี ด้วย และ อีกหนึ่งธุรกิจที่น�ำความเชี่ยวชาญของทีมวิศวกรรมมารับเหมางาน โครงการก็คือ ธุรกิจวิศวกรรม เป็นโครงการ Turn Key การก่อสร้าง ระบบโครงข่ายและระบบสายเคเบิลไฟฟ้าและสื่อสาร เช่น ระบบ สายไฟฟ้าใต้ทะเล โครงการสายส่งไฟฟ้า และสายเคเบิลใต้ดิน เป็นต้น ในปี พ.ศ. 2562 ได้ตั้งเป้าหมายรายได้ไว้ที่ 5,485 ล้านบาท โดยประมาณการสัดส่วนรายได้ดงั นี้ 1.ธุรกิจจัดจ�ำหน่ายสายสัญญาณ (Distribution) : (สัดส่วนรายได้ประมาณ 45%) 2.ธุรกิจโทรคมนาคม (Telecom) : (สัดส่วนรายได้ประมาณ 37%) และ 3.ธุรกิจวิศวกรรม และโครงการพิเศษ (Engineering) : (สัดส่วนรายได้ประมาณ 18%)

BTS จับมือกับ SHARP และ VGI ติดตั้งเครื่องกรองอากาศในรถไฟฟ้า เนื่องจากอากาศในประเทศไทยที่ผ่านๆ มาจนถึงปัจจุบัน มี ม ลพิ ษ อยู ่ ม ากในอากาศ ซึ่ ง ก่ อ ให้ เ กิ ดอั น ตรายต่อ ประชาชน โดยเฉพาะในบริเวณที่มีผู้คนมารวมกันมากๆ ท�ำให้เกิดปัญหาที่ ส่งผลเสียต่อสุขภาพของประชาชน ด้วยตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) (BTS) บริษัท ชาร์ป ไทย จ�ำกัด และบริษัท วีจีไอ โกลบอล มีเดีย จ�ำกัด (มหาชน) (VGI) ลงนามความร่ ว มมื อ ติ ด ตั้ ง เทคโนโลยี สุ ด ล�้ ำ สมั ย อย่ า ง Plasmacluster สูร่ ถไฟฟ้า BTS โดยเทคโนโลยีนจี้ ะช่วยให้ผโู้ ดยสาร ได้รับอากาศที่บริสุทธิ์ ปลอดภัยและมีผลดีต่อสุขภาพในระหว่าง การเดินทางมากยิ่งขึ้น สุรพงษ์ เลาหะอัญญา กรรมการผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ บริษทั BTS ได้กล่าว “ทาง BTS ยินดีร่วมมือกับพันธมิตรที่จะมอบสิ่งที่ดีที่สุด ให้กบั ผูโ้ ดยสาร จึงยินดีเป็นอย่างยิง่ ที่ Sharp ได้เสนอติดตัง้ เทคโนโลยี Plasmacluster บนรถไฟฟ้า BTS ต่อไปผู้โดยสารของเราก็จะได้รับ อากาศที่บริสุทธิ์เมื่อมาใช้บริการของรถไฟฟ้า”

โยชิฮิโระ ฮาชิโมโตะ กรรมการผู้บริหารส�ำนักงาน ประธาน กรรมการภาคพื้นเอเชีย บริษัทชาร์ป ส�ำนักงานใหญ่ กล่าวว่า “รู้สึก ยินดีเป็นอย่างมากที่เทคโนโลยีของเราจะมีส่วนช่วยให้คนไทยได้ July-August 2019


Industry News

สัมผัสประสบการณ์การเดินทางที่สะดวกสบายยิ่งขึ้น ควบคู่กับ การช่วยสร้างสังคมคุณภาพ” ทั้งนี้ โรเบิร์ต อู๋ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ชาร์ป ไทย และ มาเลเซีย กล่าวเพิม่ เติมว่า “พลาสมาคลัสเตอร์ของชาร์ปเป็นนวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ผ่านการทดสอบและพิสูจน์โดยสถาบันวิจัยต่างๆ

มากมายทั่วโลกว่ามีประสิทธิภาพในการต่อต้านสสารก่อภูมิแพ้ แบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส และก�ำจัดกลิ่น จึงเชื่อมั่นได้ว่าอากาศ บนรถไฟฟ้าที่ติดตั้งเครื่องนี้จะสะอาดบริสุทธิ์แน่นอน” การติดตัง้ Plasmacluster จะเริม่ ด�ำเนินการติดตัง้ ในรถไฟฟ้า 2 ขบวนให้แล้วเสร็จภายในเดือนกรกฎาคมนี้

“บ้านปูฯ” ดึงความเชี่ยวชาญจากธุรกิจโซลาร์ฟาร์มในจีนและญี่ปุ่น สู่การพัฒนาธุรกิจโซลาร์ โซลูชันในไทย

จากรายงาน Global Market Outlook for Solar Power ปี พ.ศ. 2561-พ.ศ. 2565 จัดท�ำโดย Solar Power Europe พบว่า ภาพรวมการเติบโตของพลังงานหมุนเวียนในช่วง ปี พ.ศ. 2550-พ.ศ. 2560 มีสัดส่วนการผลิตเพิ่มขึ้นมากกว่า 2 เท่า โดยในปี พ.ศ. 2560 สัดส่วนการผลิตของพลังงานหมุนเวียนคิดเป็น 12.1% ของพลังงานรวมทั้งหมด ซึ่งพลังงานแสงอาทิตย์เป็นกลุ่ม พลังงานทีม่ กี ารขยายตัวอย่างโดดเด่น และมีสดั ส่วนก�ำลังการผลิต ไฟฟ้าสุทธิมากที่สุด (แบ่งตามเทคโนโลยีพลังงาน) โดยมีกำ� ลังการ ผลิตสุทธิอยู่ที่ 98 กิกะวัตต์ จากจ�ำนวนของแหล่งพลังงานทุกชนิด 260 กิกะวัตต์ ประเทศจีนและประเทศญี่ปุ่นถือเป็นประเทศแรกๆ ในทวีป เอเชียทีม่ กี ารริเริม่ ท�ำธุรกิจโซลาร์ฟาร์ม “บ้านปูฯ” จึงได้นำ� ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญจากการท�ำธุรกิจโซลาร์ฟาร์มในต่างประเทศ มาพัฒนาต่อยอดสูธ่ รุ กิจโซลาร์ โซลูชนั ในประเทศไทยผ่าน “กลุม่ ธุรกิจ เทคโนโลยีพลังงานของบ้านปูฯ” เพือ่ เป็นทางเลือกพลังงานสะอาด ให้กบั ผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมต่างๆ ร่วมกันสนับสนุนให้สงั คม ไทยก้าวสู่การเป็นสมาร์ทซิตี้ ตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 กนกวรรณ จิตต์ชอบธรรม กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั บ้านปู อินฟิเนอร์จี จ�ำกัด หนึง่ ในบริษทั ลูกของบริษทั บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) ผู้น�ำธุรกิจพลังงานแบบครบวงจรแห่งเอเชีย-แปซิฟิก กล่าวว่า “พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานทดแทนอันดับต้นๆ ที่หลาย ประเทศทั่ ว โลกให้ ค วามสนใจ และตื่ น ตั ว ในการลงทุ น พั ฒ นา เทคโนโลยีใหม่ๆ อยูเ่ สมอ บ้านปูฯ เล็งเห็นถึงศักยภาพในการเติบโต July-August 2019

ของธุรกิจโซลาร์ฟาร์มในทวีปเอเชีย จึงได้ริเริ่มธุรกิจดังกล่าวใน ประเทศจีนและประเทศญีป่ นุ่ มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2557 โดยในประเทศ จีน บ้านปูฯ มีกำ� ลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์รวมกว่า 152 เมกะวัตต์ จากโซลาร์ฟาร์มจ�ำนวน 6 แห่ง และในประเทศ ญี่ปุ่น มีก�ำลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์รวม กว่า 233 เมกะวัตต์ จากโซลาร์ฟาร์มจ�ำนวน 13 แห่ง โดยมีก�ำลังการผลิตที่เปิดด�ำเนินการเชิงพาณิชย์แล้ว จ�ำนวน 37 เมกะวัตต์ ซึง่ การบริหารจัดการโซลาร์ฟาร์ม ในแต่ละแห่งนั้นต้องใช้ทีมงานที่มีความเชี่ยวชาญใน การออกแบบและวางแผนระบบฯ ให้เหมาะกับพื้นที่ นัน้ ๆ และทีส่ ำ� คัญคือ การใช้เทคโนโลยีตา่ งๆ เข้ามาช่วย ในการบริหารจัดการเพื่อให้การผลิตไฟฟ้าเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ” กนกวรรณ กล่าว “เพื่อเป็นการสะท้อนถึงวิสัยทัศน์ของบ้านปูฯ ที่มุ่งเน้นการ ขยายธุรกิจพลังงานทดแทนอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับกลยุทธ์ Greener & Smarter และพร้อมผลักดันธุรกิจการผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทิตย์ “บ้านปูฯ” จึงได้รเิ ริม่ ธุรกิจภายใต้ชอื่ “กลุม่ ธุรกิจ เทคโนโลยีพลังงานของบ้านปูฯ” ในปี พ.ศ. 2560 เพือ่ ให้บริการด้าน การวางระบบ ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ และสมาร์ทซิตี้ โซลูชันแบบครบวงจร” “จุดแข็งของทีมงานกลุม่ ธุรกิจเทคโนโลยีพลังงานของบ้านปูฯ คือการน�ำความเชีย่ วชาญในการบริหารจัดการธุรกิจพลังงานแสงอาทิตย์ บนพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางภูมิศาสตร์ รวมถึงน�ำเทคโนโลยี ต่างๆ จากการท�ำธุรกิจโซลาร์ฟาร์มในประเทศจีนและประเทศญีป่ นุ่ มาพัฒนาต่อยอดสู่ธุรกิจโซลาร์ โซลูชันในประเทศไทย เพื่อเป็น ทางเลือกให้กบั ผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมต่างๆ ผ่านการน�ำเสนอ นวัตกรรมพลังงานสะอาดในราคาที่เหมาะสม มีความเสถียร และ เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมในรูปแบบทีท่ นั สมัย สามารถตอบโจทย์ความ ต้องการการใช้พลังงานทดแทนที่แตกต่างกันของลูกค้าในแต่ละ อุตสาหกรรม จนปัจจุบนั ได้รบั ความไว้วางใจจากพันธมิตรทีห่ ลากหลาย ครอบคลุมทุกภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรม ทัง้ โรงเรียน โรงพยาบาล โรงงาน โรงแรม ห้างสรรพสินค้า ตลาด และสถานีบริการน�้ำมัน เป็นต้น” กนกวรรณ กล่าวเพิ่มเติม


ELECTRICITY & INDUSTRY magazine ปี 2562

ข้าพเจ้า ชื่อ ............................................................................................. สกุล .......................................................................................................... ตำ�แหน่ง .................................................................................... บริษัท/ห้าง/ร้าน ...................................................................................... ที่อยู่ (ที่ทำ�งาน) ......................................................................... แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด .................................................... รหัสไปรษณีย์ .......................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... ที่อยู่ (ที่บ้าน) ............................................................................. แขวง/ตำ�บล ............................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................ จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ ........................... โทร ............................................................................................ แฟกซ์ ....................................................................................................... รหัสสมาชิก ...............................................................................

ประสงค์จะบอกรับนิตยสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” 1 ปี 6 ฉบับ 480 บาท 2 ปี 12 ฉบับ 960 บาท สมาชิกต่ออายุ 2 ปี 12 ฉบับ 800 บาท ตั้งแต่ฉบับที่ ............. เดือน .................................... ปี ..................... โดยส่งนิตยสารไปที่ ที่บ้าน ที่ท�ำ งาน พร้อมกันนี้ได้ส่งค่าสมาชิกเป็นจำ�นวนเงิน ................................. บาท (ตัวอักษร ..........................................................................................) เช็คธนาคาร ................................................................................. สาขา ................................................................................................. เช็คคร่อมสั่งจ่าย “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด”

ธนาณัติ สั่งจ่ายในนาม “คุณวาสนา แซ่อึ้ง” ที่ทำ�การไปรษณีย์โทรเลขบางกอกน้อย โอนเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด” ชื่อธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี กรุงเทพ สะพานพระปิ่นเกล้า 162-0-74737-6 กสิกรไทย บางยี่ขัน 047-2-56333-5 ทหารไทย จรัญสนิทวงศ์ 020-2-27244-9 ไทยพาณิชย์ จรัญสนิทวงศ์ ซ.48 121-2-04080-0 หมายเหตุ กรุณาส่งแฟกซ์ หรือสำ�เนาใบเข้าบัญชี (Pay-in Slip) มาให้ บริษัทฯ พร้อมเขียนชื่อ-นามสกุล และรหัสสมาชิก (ถ้ามี) กำ�กับมาด้วย

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธย� แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. +66 (0)26 444 555, +66 (0)23 545 333 ต่อ 301 โทรสาร +66 (0)26 446 649, +66 (0)23 545 322


หากผู้อ่านท่านใดสนใจรายละเอียดต่างๆ ที่ปรากฏในนิตยสาร ELEC62-4CO.pdf

1

7/24/2562 BE

11:57 AM

ELECTRICITY & INDUSTRY MAGAZINE

ปีที่ 26 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม-สิงหาคม 2562 กรุณากรอกข้อมูลดังกล่าวให้ครบถ้วนเพือ่ การติดต่อจัดส่งข้อมูลกลับไปยังท่านต่อไป ชื่อ .............................................................................................. สกุล .............................................................................................................. ที่อยู่ ........................................................................................... แขวง/ตำ�บล ................................................................................................. เขต/อำ�เภอ ................................................................................. จังหวัด ................................................... รหัสไปรษณีย์ ............................... โทร ............................................................................................. แฟกซ์ ...........................................................................................................

ประเภทของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง อุตสาหกรรมเคมี/ปิโตรเคมี

ตำ�แหน่งงานที่ท่านรับผิดชอบ

กรรมการผู้จัดการ/เจ้าของกิจการ ผจก.โรงงาน ผจก.ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ผจก.วิศวกรรม ผจก.ฝ่ายซ่อมบำ�รุง วิศวกรฝ่ายผลิต วิศวกรทดสอบ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมงานเชื่อม อุตสาหกรรมโลหการ อื่นๆ โปรดระบุ ............................................

ประเภทของกิจการ

ผู้ผลิต

ผู้แทนจำ�หน่าย

ผู้ผลิต/ผู้แทนจำ�หน่าย

หน่วยงานราชการ


ใบอนุญาตเลขที่ ปน. (ต)/1339 ปณจ.บางกอกน้อย ถ้าฝากส่งในประเทศไม่ต้องผนึกตราไปรษณียากร

บริการธุรกิจตอบรับ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด 619/5 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงอรุณอัมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700

ประโยชน์ทท่ี า่ นจะได้รบั จากนิตยสาร เนื้อหา .................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ โฆษณา/รายละเอียดผลิตภัณฑ์ .............................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................

ความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ คอลัมน์ตา่ งๆ ทีป่ รากฏในนิตยสาร ชื่อคอลัมน์ สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย IEEE Power & Energy Society Thailand Chapter สมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย Article Special Scoop Special Area IT Technology Product PR News Seminar Movement Industry News IT News

มีประโยชน์มาก

มีประโยชน์

พอใช้

ควรปรับปรุง


ดัชนีสินค้าประจำ�เดือนกรกฎาคม - สิงหาคม พ.ศ. 2562 บริษัท ABB CO., LTD. ABLEREX ELECTRONICS (THAILAND) CO., LTD. CEBIT ASEAN THAILAND LSIS MAXIMIZE INTEGRATED TECHNOLOGY CO., LTD. MASSTEC LINK CO., LTD. MENNEKES Elektrotechnik GmbH & Co. KG PLANMARKETGOLD CO., LTD.

โทรศัพท์ 0-2665-1000 0-2049-8262 083-149-9994

โทรสาร

ประเภทสินค้า

0-2324-0502 อุปกรณ์ไฟฟ้า ผลิตและจ�ำหน่ายเครื่องส�ำรองไฟฟ้า -

EXHIBITION ผู้นำ� ด้านระบบสั่งจ่ายและระบบจ�ำหน่าย ไฟฟ้าครบวงจร 0-2194-8738-9 0-2003-2215 อุปกรณ์ไฟฟ้า 0-2942-1433 0-2741-5266

-

อุปกรณ์ไฟฟ้าและแสงสว่างครบวงจร 0-2741-5267 ผู้ผลิตปลั๊กอุตสาหกรรม

หน้า ปกหลังนอก ปกหลังใน 22 ปกหน้าใน 6 9 15

0-2314-1341-2 0-2314-1343 บริการตรวจวัด วิเคราะห์ และบริการ 7 ระบบ Monitoring POWER GEN ASIA EXHIBITION 20 จ�ำหน่ายรถเครน 10 PROMACH (THAILAND) CO., LTD. 081-592-4456 19 SAMWHA (THAILAND) CO., LTD. 0-3884-7571-3 0-3884-7575 จ�ำหน่าย ติดตั้งคาปาซิเตอร์ SETA EXHIBITION 53 THAILAND LIGHTING FAIR 0-2664-6488 EXHIBITION 52 TEMCA 0-2285-4287 EXHIBITION 12 WIRE & TUBE SOUTHEAST ASIA EXHIBITION 51 3 เชลล์แห่งประเทศไทย บจก. 0-2262-6000 0-2657-9888 น�ำ้ มันหล่อลืน่ ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค 0-2002-4395-97 0-2002-4398 อุปกรณ์ไฟฟ้า 25 (ไทยแลนด์) บจก. เพาเวอร์ เรด บจก. 0-2300-5671-3 0-2300-5937 อุปกรณ์ไฟฟ้า 11 ลีฟเพาเวอร์ บจก. 0-2300-5671-3 0-2300-5937 อุปกรณ์ไฟฟ้า 13 เวอร์ทัส บจก. 0-2876-2727-8 0-2476-1711 Couplings 8 ออมรอน อิเลคทรอนิคส์ บจก. 0-2942-6700 0-2937-0501 อุปกรณ์ไฟฟ้าและระบบควบคุมอัตโนมัติ 4 อินเตอร์ลิ้งค์ คอมมิวนิเคชั่น บมจ. 0-2693-1222 0-2693-1399 สาย LAN 23 เอส เอ วี เมคคานิคคอล เซอร์วิสส์ 0-2702-0581-8 0-2377-5937 ติดตั้ง EOCR อิเล็กทรอนิกส์ 14 แอนด์ ซัพพลายส์ หจก. โอเวอร์โหลดรีเลย์ ป้องกันมอเตอร์ไหม้ เอส.พี.วาย แอนด์ เคเบิ้ล บจก. 0-2434-0099 0-2434-3251 อุปกรณ์ไฟฟ้า 17 เอวีร่า บจก. 0-2074-4411 0-2074-4400 อุปกรณ์ไฟฟ้า ปกหน้า, 21

July-August 2019




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.