Electricity & Industry Magazine Issue July - August 2021

Page 1












JULY-AUGUST

IEEE POWER & ENERGY SOCIETY THAILAND (IEEE PES-THAILAND) 16 IEEE Thailand Section และ IEEE-PES

2021

SCOOP 44 เกรท วอลล์ มอเตอร์ เตรียมเปิดโรงงานอัจฉริยะ

มอบอุปกรณ์แทบเล็ตให้แก่โรงพยาบาล

ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบาย เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.)

แห่งแรกในภูมิภาคอาเซียน กองบรรณาธิการ 46 ความส�ำเร็จในการผลักดันเทคโนโลยี การท�ำความเย็นสีเขียวของ RAC NAMA กองบรรณาธิการ

ความคิดเห็นภาพรวมเศรษฐกิจไทยหลังโควิด-19

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

18 ระดมสมองนักวิชาการเศรษฐกิจ ร่วมแสดง

20 รถไฟความเร็วสูงเชือ ่ ม 3 สนามบิน เดินหน้าต่อเนือ่ ง 22 24 26 28 30

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

COVER STORY 32 การติดตัง้ อุปกรณ์ปรับปรุงค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้า

แบบอิเล็กทรอนิกส์ (Static Var Generator : SVG) บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด

ARTICLE 36 ไมโครกริด ช่วยให้ธุรกิจเพิ่มความยืดหยุ่น

ด้านการจัดการพลังงาน เจมส์ ฮอกกินส์, ชไนเดอร์ อิเล็คทริค 38 Powering Good for Sustainable Energy : ขับเคลื่อนสิ่งที่ดีเพื่ออนาคตด้านพลังงานที่ยั่งยืน บริษัท ฮิตาชิ เอบีบี เพาเวอร์ กริดส์ จ�ำกัด 40 ยูนิเวอร์ซัล โรบอท เผยหุ่นยนต์โคบอท พร้อมหนุนอุตสาหกรรมการผลิตไทย Universal Robots 42 บริษัททุกแห่งล้วนเป็นบริษัทซอฟต์แวร์ เพื่อตอบโจทย์ในยุคดิจิทัล Pual Coemier, Red Hat

SPECIAL SCOOP 48 Shell Recharge จุดชาร์จอีวีแห่งแรกในไทย

กองบรรณาธิการ

ที่ดีที่สุดในการท�ำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ กองบรรณาธิการ

50 Infobip เผย การก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัลเป็นทางเลือก

SPECIAL AREA 52 Multifunction DC Power Meter

บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด 54 รูจ้ กั กับมาตรฐานของตูค้ วบคุมระบบไฟฟ้าแรงดันต�า่ (IEC 61439-1-2) บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 58 ThinkEdge SE30 และ SE50 ใช้งานได้หลากหลาย และตอบโจทย์ความต้องการทั้งในปัจจุบันและ โลกอนาคต Lenovo 60 Sondrel launches the fourth IP platform– SFA 350A–that delivers faster time to market for ADAS ASICs SondrelTM IT ARTICLE 62 เทคโนโลยีช่วยน�ำการปฏิสัมพันธ์กันของคนกลับสู่

ธุรกิจ ในภาวะที่ต้องรักษาระยะห่างทางสังคม ทวิพงศ์ อโนทัยสินทวี, นูทานิคซ์ 64 สภาวการณ์ ‘เร่งรีบสู่ระบบคลาวด์’ ของเอเชีย-แปซิฟิกในยุคโควิด-19 วีระ อารีรัตนศักดิ์, บริษัท เน็ตแอพ 66 การโจมตีทางไซเบอร์พุ่งสูงขึ้นมากใน ค.ศ. 2021 บริษัท เอ็นทีที จ�ำกัด 68 PR NEWS 70 INDUSTRY NEWS 73 PRODUCT


CONNECT WITH ENERGY LEADERS DRIVING ASIA’S ENERGY TRANSITION Future Energy Asia 2021 will be held from 25-27 August 2021 at BITEC, Bangkok (Thailand) and for 2021, the exhibition and summit will focus on growth resurgence post COVID-19 combined with enabling the energy transition and transformation mission for the region. The exhibition and summit will be attended by Energy Ministers, Policy Makers, Energy Majors including NOCs and IOCS, Power Generation authorities, midstream gas and LNG players, EPCs and Project Consultants and renewable energy developers. The conference will advance innovation and collaboration with the participation of key energy stakeholders, project developers, policy makers and Ministers. Participate in Future Energy Asia 2021 and network with key decision makers from across the globe.

5,000+

SENIOR DECISION MAKER CONFERENCE DELEGATES

200+

100+

INDUSTRY LEADING SPEAKERS

GLOBAL & REGIONAL EXHIBITORS

100+

5

Endorsed by

25 - 27 AUGUST 2021 BITEC, BANGKOK, THAILAND

ASIA’S LEADING INTEGRATED ENERGY TRANSFORMATION EVENT www.FutureEnergyAsia.com

Meet asia’s energy leaders live and in-person within a safe and secure environment.

1,000+

VISITING ENERGY PROFESSIONALS

STRATEGIC & TECHNICAL CONFERENCE SESSIONS

EXHIBITION AND SUMMIT

EXHIBITING INTERNATIONAL COUNTRY PAVILIONS

Co-hosts

CONTACT US FOR MORE PARTICIPATION DETAILS. E: FEA.Sales@dmgevents.com T: +65 6856 5205

Organised by


EDITOR TALK

JULY-AUGUST

2021

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ท�ำให้ผู้คนเกิดความวิตกกังวลไปทั่วโลก มีการปิดเมือง ปิดประเทศ เพื่อป้องกัน การแพร่กระจายของโรค หลายธุรกิจได้รบั ผลกระทบทัง้ ทางตรงและทางอ้อม ทัง้ นีอ้ ยากให้ทกุ คนคอยติดตามข่าวสารเพือ่ อัปเดตการแพร่ระบาด ของไวรัส หมั่นล้างมือให้สะอาดอยู่เสมอ และสวมหน้ากากอนามัยทุกครั้งเมื่อออกไปข้างนอก ในปัจจุบันนี้ประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อเกือบนับ หมื่นราย จ�ำนวนผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นจนน่าตกใจ ขอให้คนไทยทุกคนด�ำเนินชีวิตด้วยความระมัดระวังและดูแลรักษาสุขภาพให้เป็นอย่างดี Electricity & Industry Magazine ฉบับนีย้ งั คงมีเนือ้ หาทีน่ า่ สนในมากมายเช่นเดิม บริษทั เอวีรา่ จ�ำกัด น�ำเสนอ การติดตัง้ อุปกรณ์ ปรับปรุงค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้าแบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือ Static Var Generator : SVG ซึง่ การติดตัง้ จะเป็นแนวทางส�ำคัญเป็นอย่างยิง่ ในการปรับปรุงค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้าส�ำหรับกลุ่มโหลดที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็วทันทีทันใด และในกรณีท่ีมีฮาร์มอนิกส์เกิดขึ้นใน ระบบไฟฟ้า ซึง่ วิธนี จ้ี ะเป็นวิธกี ารทีแ่ พร่หลายและปลอดภัยอย่างมากในระบบไฟฟ้าทีผ่ ใู้ ช้งานไม่ตอ้ งเสีย่ งกับปัญหาคาปาซิเตอร์เสียหายและ คาปาซิเตอร์ระเบิดอันเนื่องมาจากการเกิดฮาร์มอนิกส์เรโซแนนซ์ขึ้นในระบบไฟฟ้าอีกต่อไป จึงเป็นทางเลือกที่เหมาะสมในการใช้งานในยุค ปัจจุบัน คอลัมน์ Article ในฉบับนีล้ ว้ นน่าสนใจเป็นอย่างยิง่ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เขียนบทความเรือ่ ง ไมโครกริด ช่วยให้ธรุ กิจเพิม่ ความยืดหยุน่ ด้านการจัดการพลังงาน เพื่อมองหาโซลูชันที่ตอบโจทย์และแนวทางที่เหมาะสมในการด�ำเนินธุรกิจ และบทความจากบริษัท ฮิตาชิ เอบีบี เพาเวอร์ กริดส์ จ�ำกัด ได้กล่าวถึง Powering Good for Sustainable Energy : ขับเคลื่อนสิ่งที่ดีเพื่ออนาคตด้านพลังงานที่ยั่งยืน ส่วนบทความของยูนเิ วอร์ซลั โรบอท (ยูอาร์) ทีก่ ล่าวถึง หุน่ ยนต์โคบอทพร้อมหนุนอุตสาหกรรมการผลิตไทย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ บทความเรื่อง บริษัททุกแห่งล้วนเป็นบริษัทซอฟต์แวร์ เพื่อตอบโจทย์ในยุคดิจิทัล โดย Pual Coemier ก็น่าสนใจเช่นกัน IT Article ในฉบับนีม้ เี รือ่ งทีน่ า่ สนใจ คือ บทความจาก ทวิพงศ์ อโนทัยสินทวี ผูจ้ ดั การประจ�ำประเทศไทย นูทานิคซ์ เรือ่ ง เทคโนโลยี ช่วยน�ำการปฏิสัมพันธ์กันของคนกลับสู่ธุรกิจ ในภาวะที่ต้องรักษาระยะห่างทางสังคม แสดงให้เห็นว่ามนุษย์มีขีดความสามารถในการ สร้างสรรค์สง่ิ ใหม่ๆ เพือ่ ตอบโจทย์ในการท�ำธุรกิจ ส่วน วีระ อารีรตั นศักดิ์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เน็ตแอพ ประจ�ำประเทศไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ได้เขียนถึง สภาวการณ์ ‘เร่งรีบสูร่ ะบบคลาวด์’ ของเอเชีย-แปซิฟกิ ในยุคโควิด-19 ในการปรับเปลีย่ นเพือ่ ให้เข้ากันได้กบั โครงสร้างระบบคลาวด์ และบริษทั เอ็นทีที จ�ำกัด เขียนบทความเรือ่ ง การโจมตีทางไซเบอร์พงุ่ สูงขึน้ มากใน ค.ศ. 2021 ด้วยการเติบโตขึน้ อย่างรวดเร็วของตลาดสกุลเงินดิจทิ ลั ท�ำให้การโจมตีเกิดขึน้ ได้ทง้ั องค์กรและผูใ้ ช้งานส่วนบุคคล จ�ำเป็นต้องรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ ในทุกๆ อุตสาหกรรม พบกันใหม่ฉบับหน้า กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

ที่ปรึกษา : รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ์ / ไกรสีห์ กรรณสูต / พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ์ / ประเจิด สุขแก้ว / ผศ.พิชิต ล�ำยอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องค์วงศ์สกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร / ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม / รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ : ดร.สุรพล ด�ำรงกิตติกุล ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นิภา กลิ่นโกสุม กองบรรณาธิการ : ทัศนีย์ เรืองติก / ณัฐชยา แก่นจันทร์ พิสูจน์อักษร : อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรมรูปเล่ม / ศิลปกรรมโฆษณา : ชุติภา จริตพันธ์ / ศศิธร มไหสวริยะ ฝ่ายโฆษณา : ศิริภรณ์ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภิรมย์ / วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายโฆษณา : ชุติมณฑน์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก : กรรณิการ์ ศรีวรรณ์

บทความที่ปรากฏใน ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของ ผู้เขียน ไม่มีส่วนผูกพันกับ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด แต่อย่างใด หากบทความใดที่ผู้อ่านเห็นว่า มีการลอกเลียนหรือแอบอ้าง กรุณาแจ้งที่กองบรรณาธิการ ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine บทความต่างๆ ที่ปรากฏในหนังสือได้ผ่านการตรวจทานอย่างถี่ถ้วนเพื่อให้เกิดความถูกต้องและ สมบูรณ์ที่สุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแก้ไขต่อไป เจ้าของ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 http:// www.technologymedia.co.th เพลท-แยกสี : บริษัท อิมเมจิ้น กราฟิค จ�ำกัด พิมพ์ที่ : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด รุ่งเรืองการพิมพ์


THAILAND’S PREMIER POWER GENERATION & ELECTRIC EXHIBITION The 4th Edition of

OWERex ASIA 2021 

Co-Located With :

Asia 2021

24-26 NOVEMBER 2021 BITEC, BANGKOK, THAILAND www.asiapowerexpo.com POWEREX & ELECTRIC ASIA EXPO

BOOK YOUR SPACE Supported By :

Ministry of Energy

Conference By :

Ministry of Industry

Electricity Generating Authority of Thailand

JuzTalk (Thailand)

Brought To You By :

Fireworks Thailand Co., Ltd. Part of Fireworks Trade Media Group

CALL FOR MORE INFORMATION

Tel : (+66) 2 513 1418 Email : thai@asiafireworks.com


สมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็คโทรนิคส์แห่งประเทศไทย (IEEE Thailand Section) และ IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter มอบอุปกรณ์แทบเล็ตพร้อมแอปพลิเคชันส�ำหรับการสือ่ สารทางไกล (Kaitom Hospital) จ�ำนวน 6 ชุด เพือ่ ใช้ในการวิดโี อคอลระหว่างบุคลากรทาง การแพทย์ (แพทย์ พยาบาล) กับผูป้ ว่ ยในโรงพยาบาล เพือ่ ช่วยรักษาระยะห่าง ระหว่างบุคลากรทางการแพทย์กับผู้ป่วยในโรงพยาบาล เพื่อลดความเสี่ยง ในการแพร่เชื้อไวรัส COVID-19 และระบบดังกล่าวบุคลากรทางการแพทย์ สามารถทีจ่ ะสือ่ สารกับผูป้ ว่ ยโดยไม่ตอ้ งกดรับสาย เป็นการลดอัตราเสีย่ งการ ติดเชือ้ ลดการใช้ชดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ และช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในการ ท�ำงานของเจ้าหน้าที่ได้อีกด้วย ดร.ปิยพรรณ หันนาคินทร์ Vice Chairman และ Chair, Women in Power Subcommittee เป็นตัวแทนสมาคมสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและ อิเล็คโทรนิคส์แห่งประเทศไทย (IEEE Thailand Section) และ IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter มอบอุปกรณ์ดังกล่าวให้กับโรงพยาบาล รามาธิบดีจกั รีนฤบดินทร์ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ โดยมี สิทธาคม ผูส้ นั ติ รองผู้อ�ำนวยการสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ เป็นผู้รับมอบ พร้อมกันนีย้ งั มี ดร.ประดิษฐ์พงษ์ สุขสิรถิ าวรกุล Director and Vice President-Utility และ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล กรรมการ ร่วมส่งมอบอุปกรณ์ ดังกล่าว


ดร.ปิยพรรณ หันนาคินทร์ Vice Chairman และ Chair, Women in Power Subcommittee เป็นตัวแทนสมาคมสถาบัน วิศวกรไฟฟ้าและอิเล็คโทรนิคส์แห่งประเทศไทย (IEEE Thailand Section) และ IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter มอบอุปกรณ์ดังกล่าวให้กับศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อ.องครักษ์ จ.นครนายก โดยมี ผศ. พญ.นันทนา ชุมช่วย ผูอ้ ำ� นวยการโรงพยาบาล ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อ.องครักษ์ จ.นครนายก เป็นผู้รับมอบ

ดร.ปิยพรรณ หันนาคินทร์ Vice Chairman และ Chair, Women in Power Subcommittee เป็นตัวแทนสมาคมสถาบัน วิศวกรไฟฟ้าและอิเล็คโทรนิคส์แห่งประเทศไทย (IEEE Thailand Section) และ IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter มอบอุปกรณ์ดังกล่าวให้กับโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ โดยมี รศ. นพ.ดิลก ภัยโยทัย คณบดีคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นผู้รับมอบ พร้อมกันนี้ยังมี ศ. ดร.วีรกร อ่องสกุล Advisor, IEEE Power & Energy Society–Thailand รศ. ดร.นพพร ลีปรีชานนท์ กรรมการบริหาร IEEE Power & Energy Society–Thailand และ ดร.ประดิษฐ์พงษ์ สุขสิริถาวรกุล Director and Vice PresidentUtility สุดท้าย กิตติ วิสุทธิรัตนกุล กรรมการ ร่วมส่งมอบอุปกรณ์ดังกล่าว


สํานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (สกพอ.) ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) จัดงาน สัมมนาวิชาการในหัวข้อ ประมาณการเศรษฐกิจ ระยะสั้นและภาพเศรษฐกิจไทยใน 5 ปีข้างหน้า “EEC Macroeconomic Forum” ในรู ป แบบ ออนไลน์ (VDO Conference) โดยมี ดร.คณิศ แสงสุพรรณ เลขาธิการคณะกรรมการนโยบาย เขตพั ฒ นาพิ เ ศษภาคตะวั น ออก (อี อี ซี ) เป็ น ผู ้ ด� ำ เนิ น การ และได้ รั บ เกี ย รติ จ าก ดร.ดอน นาครทรรพ ผูอ้ ำ� นวยการอาวุโสฝ่ายเสถียรภาพ ระบบการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย ดร.พิสทิ ธิ์ พัวพันธ์ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจ มหภาค ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง พงศ์นคร โภชากรณ์ ผู ้ เชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า นเศรษฐกิ จ มหภาค ส�ำนักงานเศรษฐกิจการคลัง และ สุวทิ ย์ สรรพวิทยศิริ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัย นโยบายเศรษฐกิจการคลัง เป็นวิทยากรในการ บรรยาย ทัง้ นีย้ งั มีกลุม่ ผูบ้ ริหารระดับสูงจากภาครัฐ และเอกชน คณะสื่อมวลชน และผู้สนใจทั่วไป เข้าร่วมกว่า 600 คน สัมมนาวิชาการฯ ครัง้ นีถ้ อื เป็นครัง้ แรกใน ช่วงโควิด-19 ระลอกใหม่ ทีน่ กั วิชาการเศรษฐกิจ การเงิน การคลัง ร่วมหารือแนวทางเตรียมพร้อม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ 13 (พ.ศ. 2566-พ.ศ. 2570) เพื่อผลักดันเศรษฐกิจ กลับสู่ภาวะปกติก่อนโควิด-19 แก้ปัญหาความ เหลื่อมล�้ำให้เศรษฐกิจไทยก้าวไปข้างหน้าและ เติบโตอย่างยั่งยืน โดยการสั ม มนาวิ ช าการฯ ได้ น� ำ เสนอ ภาพเศรษฐกิจไทยจะเติบโตจากปัจจัยใดหลัง โควิด-19 การปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจที่ต้อง เร่งปรับตัวไปสู่อุตสาหกรรมและบริการที่สร้าง มูลค่าสูงขึ้น เพิ่มเทคโนโลยีการผลิตและส่งออก สินค้าให้เท่าทันโลก ความจ�ำเป็นของข้อตกลง ความร่วมมือร่วมกับประเทศอื่นๆ รวมทั้งการ กระจายความเท่าเทียม สร้างโอกาสทางรายได้ และการศึกษา การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อลดความเหลื่อมล�้ำอันจะน�ำไปสู่การพัฒนา เศรษฐกิจทีย่ งั่ ยืน ดังนัน้ การสอดประสานระหว่าง มาตรการการเงินการคลัง สภาพคล่องโดยรวม อยู่ในระดับสูง จึงเป็นกลไกที่เอื้อต่อการปรับ โครงสร้างเศรษฐกิจทีส่ ำ� คัญของประเทศในอนาคต ต่อไป

สรุปประเด็นสำ�คัญ สัมมนาประมาณการเศรษฐกิจ ระยะสั้นและภาพเศรษฐกิจไทยใน 5 ปีข้างหน้า

1.

ประมาณการเศรษฐกิจไทย พ.ศ. 2564-พ.ศ. 2565 และ การบริหารภายใต้สถานการณ์โควิด-19 การระบาดของ โควิด-19 ระลอกใหม่จะส่งผลต่อการฟื้นตัวเศรษฐกิจไทยที่ต้องใช้เวลา เพิ่มขึ้น โดยประมาณการเศรษฐกิจ พ.ศ. 2564 กรอบการขยายตัวของ เศรษฐกิจไทยอยูร่ ะหว่าง 1.0-2.0% และ พ.ศ. 2565 จะขยายตัวระหว่าง 1.1-4.7% ซึง่ การเร่งฉีดวัคซีนเพือ่ สร้างภูมคิ มุ้ กันหมูจ่ ะเป็นเงือ่ นไขส�ำคัญ ของการฟืน้ ตัว และมาตรการการคลังของภาครัฐมีความส�ำคัญช่วยบรรเทา เยียวยาได้ ให้ระดับหนี้สาธารณะยังอยู่ในเกณฑ์ รวมทั้งนโยบายด้าน การเงิน ซึง่ ได้ดำ� เนินการเต็มทีท่ ง้ั อัตราดอกเบีย้ ทีต่ ำ่� สุดเป็นประวัตกิ ารณ์ และมาตรการช่วยเหลือประชาชน เอสเอ็มอี ผ่านสถาบันการเงิน จะช่วย คลายความกังวล อัตราเงินเฟ้อที่สูงขึ้นในช่วงไตรมาส 2 ให้มีแนวโน้ม ลดต�่ำลง และช่วยลดการซ�้ำเติมปัญหาหนี้ครัวเรือนไทยจากโควิด-19


2.

มาตรการเยี ย วยา กระตุ ้ น เศรษฐกิ จ และ ประมาณการความยั่งยืนทางการคลังในระยะ ปานกลาง จากมาตรการบรรเทาและฟืน้ ฟูเศรษฐกิจจาก พรก. เงินกูฯ้ 1 ล้านล้านบาท รัฐบาลได้อนุมัติโครงการแล้ว 8.3 แสนล้านบาท คิดเป็น 83% ของวงเงิน และครอบคลุมด้านสาธารณสุข ด้านผลกระทบ ระยะสั้น และด้านการฟื้นฟูระยะยาว ทั้งนี้ในส่วนหนี้สาธารณะ ของไทย ณ สิน้ เดือนมีนาคม อยูท่ ร่ี ะดับ 54.3% ต่อ GDP ยังถือว่า อยูใ่ นเกณฑ์กรอบวินยั การเงินการคลังทีไ่ ม่เกิน 60% และอยูใ่ นวิสยั ที่ ป ระเทศไทยเคยเผชิ ญ จากวิ ก ฤตต้ ม ย� ำ กุ ้ ง เมื่ อ พ.ศ. 2540 ด้านการก่อหนี้ภาครัฐ ส่วนใหญ่เป็นการกู้เงินในรูปแบบเงินบาท ไม่ถือเป็นเรื่องผิดปกติ โดยการกู้เงินเพิ่ม 7 แสนล้านบาทนั้น อาจ ส่งผลต่อหนีส้ าธารณะขัน้ ต้น (Gross Debt) เกินกว่า 60% ต่อ GDP เล็กน้อย แต่จะไม่กระทบต่อความยัง่ ยืนของการคลังในระยะปานกลาง ทั้งนี้ประเทศไทยยังจ�ำเป็นต้องมีหนี้สาธารณะระดับไม่น้อยกว่า 30% ต่อ GDP เพื่อรักษาสภาพคล่องในตลาดพันธบัตร (Bond) ซึ่ง เป็นปัจจัยส�ำคัญอย่างยิง่ ต่อการพัฒนาประเทศ และสร้างเสถียรภาพ ด้านการเงิน ความเหลือ่ มล�ำ้ โจทย์สำ� คัญหลังโควิด-19 ภายหลัง สถานการณ์โควิด-19 ประเทศไทยจะมีโจทย์สำ� คัญ 3 ด้านที่ต้องเผชิญ ได้แก่ 1.) การเติบโตทีไ่ ม่สมดุลเชิงพืน้ ที่ จากความเหลือ่ มล�ำ้ ทีเ่ กิดขึน้ ก่อนโควิด-19 เมืองหลักที่เป็นเมืองเศรษฐกิจมีเพียง 15 จังหวัด คิดเป็น 70% ของ GDP ประเทศ เมืองรองยังคงเป็นจังหวัดทีย่ ากจน โดยโควิด-19 ท�ำให้เกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานกลับด้าน (Reverse Trend) ย้ายออกเพราะตกงาน และย้ายเข้าเมืองหลวงเพือ่ หางานท�า

3.

2.) ความยากจนเหลือ่ มล�ำ้ เรือ้ รัง โควิด-19 ท�ำให้คนจนเพิม่ ขึน้ ทั่วโลก 15 ล้านคน เป็นคนไทย 1.5 ล้านคน จากฐานคนจนเดิม 4.3 ล้านคน ส่งผลให้คนจนในไทยเพิม่ ขึน้ รวม 5.8 ล้านคน (เท่ากับ จ�ำนวนคนจน พ.ศ. 2559) 3.) การเข้าสูส่ งั คมผูส้ งู อายุเต็มรูปแบบ ปัจจุบนั ประเทศไทย มี 30 จังหวัดทีเ่ ข้าสูส่ งั คมผูส้ งู วัยแล้ว โดยสหประชาชาติประเมินว่า ในปีหน้า พ.ศ. 2565 ประเทศไทยจะเข้าสูส่ งั คมผูส้ งู อายุอย่างสมบูรณ์ (Aged Society) และใน พ.ศ. 2573 จะเข้าสูอ่ ย่างเต็มที่ (Super Aged Society) และในอีก 10 ปี ประชากรและวัยแรงงานของไทยจะลดลง ต่อเนือ่ ง ส่งผลต่อภาระการคลังและการขยายตัวของเศรษฐกิจทีจ่ ะ มีศักยภาพลดลง ประมาณการศักยภาพของประเทศในแผน 13 (5 ปีข้างหน้า) จากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ท�ำให้รายได้ของประเทศหายไปสูงถึง 2.2 ล้านล้านบาท และเกิด ปัญหาความเหลือ่ มล�ำ้ เป็นชนวนส�ำคัญเร่งเข้าสูส่ งั คมผูส้ งู อายุ โดย ประมาณการเศรษฐกิจไทยหลังโควิด-19 จะขยายตัวต�่ำกว่า 2% ต�ำ่ กว่าช่วงปกติกอ่ นโควิด-19 ทีป่ ระมาณการไว้เพียง 3-4% ซึง่ เป็น เกณฑ์ต่�ำเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ทั้งนี้การจัดท�ำแผนฯ 13 ในปี พ.ศ. 2565 ทีต่ อ้ งการให้เศรษฐกิจไทยขยายตัวจาก 2.5% เป็น 4.5% จ�ำเป็นต้องเกิดการลงทุนเพิ่มปีละ 6 แสนล้านบาท ซึ่งมีข้อจ�ำกัด แหล่งเงินในการสนับสนุนลงทุนในประเทศ และภาครัฐไม่สามารถ ก่อหนีเ้ พิม่ ได้อกี จึงจ�ำเป็นต้องพิจารณาแหล่งเงินอืน่ เช่น สภาพคล่อง ส่วนเกินที่มีในระบบ และการเร่งดึงเงินลงทุนจากภาคเอกชนและ ต่างประเทศ โดยเงินลงทุนในระยะยาวของประเทศต้องด�ำเนินการ อย่างมีระบบในพื้นที่เป้าหมายที่มีศักยภาพ และจัดล�ำดับความ ส�ำคัญที่ชัดเจน

4.


1.

เตรี ย มความพร้ อ มของรถไฟความเร็ ว สู ง ที่ จ ะเชื่ อ มต่ อ ทั้ ง 3 สนามบิน เดินหน้าเต็มก�ำลังพร้อมส่งมอบพืน้ ทีแ่ ล้ว 86% รวม 5,521 ไร่ พร้อมร่วมเอกชนรุกงานก่อสร้าง ยกระดับบริการแอร์พอร์ต ลิงก์ มั่นใจ เปิดบริการปี พ.ศ. 2568 ดันท่องเที่ยวโต จูงใจการลงทุน มีงานในพื้นที่ รายได้ดีมั่นคง ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) หรือ อีอีซี รายงานความก้าวหน้าการลงทุนโครงการรถไฟ ความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานที่สำ� คัญ (EEC Project List) ภายหลังได้ลงนามสัญญาร่วมลงทุน โครงการฯ เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2562 โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และบริษัท รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกเชื่อมสามสนามบิน จ�ำกัด (เอกชนคู่สัญญา) ได้ร่วมกันเดินหน้าโครงการอย่างต่อเนื่อง โดยมี ความคืบหน้าที่ส�ำคัญๆ ได้แก่

ส่งมอบพื้นที่ก่อสร้ า ง เป็นตามขั้นตอน กฎหมาย ทุกฝ่ายได้ประโยชน์ การรถไฟ แห่งประเทศไทยได้เตรียมการส่งมอบพื้นที่ในช่วงสนามบิน สุวรรณภูมิถึงสนามบินอู่ตะเภา ระยะทาง 170 กิโลเมตร ซึ่งเป็นพื้นที่ในการด�ำเนินโครงการประมาณ 5,521 ไร่ งานมี ความคืบหน้า 86% ให้กับเอกชนคู่สัญญาแล้ว นอกจากนี้ การรื้อย้ายสาธารณูปโภคเพื่อเปิดพื้นที่ก่อสร้าง การส่งมอบ พืน้ ทีเ่ วนคืน อยูใ่ นขัน้ ตอนการท�ำสัญญาของ รฟท. ทีเ่ ดินหน้า ด�ำเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายต่อเนื่องเช่นกัน และจะ พร้อมส่งมอบพื้นที่ได้ทั้งหมดภายในเดือนกันยายน 2564 นี้ เริ่มแล้วงานก่อสร้างถนน สะพาน บ้านพัก คนงาน โรงหล่อชิน้ ส่วน ยันพร้อมเปิดบริการ พ.ศ. 2568 งานก่อสร้างโครงการฯ จะเริ่มเห็นเป็นรูปธรรม โดยปัจจุบันบริษัทฯ เอกชนคู่สัญญา ได้ด�ำเนินการออกแบบ และเริม่ งานเตรียมการก่อสร้าง (Early Work) เช่น ก่อสร้างถนน และสะพานชั่วคราวส�ำหรับงานก่อสร้างโครงการ (Access Road and Temporary Bridge) ก่อสร้างส�ำนักงานสนาม (Site Office) บ้านพักคนงาน (Labour Camp) และก่อสร้างโรงหล่อ ชิน้ ส่วนโครงสร้างทางวิง่ (Concrete Yard) แล้ว โดยมีความพร้อม เริม่ งานก่อสร้างโครงการฯ ทันทีเมือ่ ได้รบั มอบพืน้ ทีโ่ ครงการฯ ช่วงสุวรรณภูมถิ งึ อูต่ ะเภา จาก รฟท. โดยจะใช้ระยะเวลาก่อสร้าง ประมาณ 4-5 ปี และจะเปิดให้บริการรถไฟความเร็วสูง ช่วงพญาไท สุวรรณภูมิถึงอู่ตะเภา ในปี พ.ศ. 2568 ตาม แผนเร่งรัด

2.


3.

ยกเครือ่ งแอร์พอร์ต ลิงก์ โฉมใหม่ คนใช้สะดวกขึน้ บริการ ทัว่ ถึงปลอดภัย การส่งมอบรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรลลิงก์ ขณะนี้ รฟท. พร้อมส่งมอบให้เอกชนคู่สัญญา ซึ่งยืนยันว่าผู้โดยสารจะไม่ได้รับ ผลกระทบใดๆ ระหว่างการถ่ายโอนกิจการในวันที่ 24 ตุลาคม 2564 นี้ โดยเฉพาะเรือ่ งบัตรโดยสาร ยังสามารถใช้บตั รโดยสารรายเดือนเดิมของ รฟท. ได้ต่อไปหลังการถ่ายโอน และเอกชนคู่สัญญาจะทยอยให้ผู้โดยสาร เปลี่ยนบัตรโดยสารใหม่ต่อไป ด้านความพร้อมของเอกชนคู่สัญญา ในช่วงก่อนการรับโอนสิทธิ์เพื่อ เข้าด�ำเนินโครงการแอร์พอร์ต เรลลิงก์ ได้ประกาศใช้งบประมาณสูงถึง 1.7 พัน ล้านบาท น�ำผูเ้ ชีย่ วชาญการเดินรถและให้บริการระบบรางทัง้ จากต่างประเทศ และในประเทศลงพื้นที่ตรวจสอบระบบอย่างละเอียด พร้อมทั้งส�ำรวจสภาพ ทางเทคนิคของสถานี ระบบรถไฟฟ้า เตรียมความพร้อมปรับปรุงสถานี พัฒนา ด้านบุคลากรเพือ่ ถ่ายทอดเทคโนโลยี รวมถึงการปรับปรุงเพือ่ ยกระดับคุณภาพ บริการ (Level of Service and Customer Satisfaction) ซึง่ ได้เสนอมายัง รฟท. มีข้อสรุปร่วมกัน ดังนี้

1. ปรับปรุงระบบไฟฟ้าที่จ�ำเป็น เช่น ระบบติดต่อสื่อสารทางวิทยุ ระบบอาณัติสัญญาณควบคุมการเดินรถไฟฟ้าเพื่อให้ขบวนรถมาตรงเวลา มากขึ้น รวมทั้งปรับปรุงระบบกล้องวงจรปิด รักษาความปลอดภัยผู้โดยสาร ระบบรางรถไฟฟ้า ระบบป้องกันอัคคีภัย และเพิ่มสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ภายในขบวนรถไฟฟ้า เป็นต้น 2. ปรับปรุงสถานีรถไฟ เช่น ป้ายสัญลักษณ์และบอกทาง ปรับปรุง ทางเดิน สิ่งอ�ำนวยความสะดวกสถานีและเพิ่มห้องน�้ำสาธารณะ เพิ่มพื้นที่ สีเขียวและปรับปรุงระบบการจราจร ที่จอดรถโดยรอบ เพิ่มระบบแสงสว่าง เพื่อความปลอดภัย เพิ่มพัดลมระบายอากาศ แผงกันสาดป้องกันแสงแดด และฝนภายในสถานี เพื่อสร้างความสะดวกสบายยิ่งขึ้น 3. ปรับเปลีย่ นตูข้ นสัมภาระจ�ำนวน 4 ตูใ้ ห้เป็นตูร้ องรับผูโ้ ดยสารแทน โดยจะสามารถรองรับผู้โดยสารได้เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 1,000 คนต่อชั่วโมง ลดการรอคอยขบวนรถไฟในชั่วโมงเร่งด่วนที่เป็นปัญหาส�ำคัญในปัจจุบัน ส�ำหรับโครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน เป็นโครงการ สัญญาร่วมทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (PPP) ทุกขัน้ ตอนด�ำเนินการโปร่งใส รัดกุม และประเทศได้ประโยชน์สูงสุด มีมูลค่าการลงทุนรวมกว่า 257,464 ล้านบาท (ภาครัฐ 157,872 ล้านบาท และเอกชน 99,592 ล้านบาท) เป็นการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานหลักในพื้นที่อีอีซี เพื่อดึงดูดการลงทุนต่อเนื่อง เมื่อ โครงการเสร็จสมบูรณ์สามารถเชือ่ มต่อกับการพัฒนาสนามบินอูต่ ะเภา คาดว่า จะสร้างรายได้ให้กับประชาชนในท้องถิ่น โดยมีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ ประมาณ 650,000 ล้านบาท รวมถึงการจ้างงานตลอดช่วงระยะเวลาการก่อสร้าง สูงถึง 16,000 อัตรา และการจ้างงานในธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องมากกว่า 100,000 อัตรา ใน 5 ปี และเมื่อสิ้นสุดสัญญาทรัพย์สินทั้งหมดจะตกเป็นของรัฐ


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ต้อนรับ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษ์พลังงาน โดยมี ฉัตรชัย มาวงศ์ ผู ้ อ� ำ นวยการฝ่ า ยพั ฒ นาโรงไฟฟ้ า พลั ง น�้ ำ และพลังงานหมุนเวียน พร้อมด้วย ชนินทร์ สาลีฉันท์ หัวหน้าโครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิ ต ย์ ทุ ่ น ลอยน�้ ำ ร่ ว มกั บ โรงไฟฟ้ ำ พลังน�ำ้ เขือ่ นสิรนิ ธร (หก-ทน.) ธานน จีนปาน วิศวกรระดับ 9 กองโรงไฟฟ้าเขือ่ นสิรนิ ธร และ ประธานคณะอนุกรรมการ Commissioning พร้อมด้วยผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานโครงการ หก-ทน. และบริษัท บีกริม เพาเวอร์ จ�ำกัด (มหาชน) คู่สัญญา ร่วมให้การต้อนรับคณะ เจ้ า หน้ า ที่ ก รมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและ อนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน น�ำโดย ใจเพชร แก้วโภคา วิศวกรช�ำนาญการ ในการตรวจสอบความคื บ หน้ า ระบบผลิ ต พลังงานไฟฟ้าของโครงการฯ เพือ่ ประกอบการ พิจารณาออกใบอนุญาตผลิตพลังงานควบคุม (พค.2)

ส�ำหรับโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทุ่นลอยน�้ำร่วมกับ โรงไฟฟ้าพลังน�้ำเขื่อนสิรินธร หรือ Hydro-Floating Solar Hybrid เป็น โครงการน�ำร่องแห่งแรกของ กฟผ. ที่ได้น�ำพลังงานหมุนเวียน 2 ประเภท จาก “พลังงานแสงอาทิตย์” และ “พลังน�้ำ” มาผลิตไฟฟ้าแบบผสมผสาน หรือเรียกว่า ระบบไฮบริด เพื่อลดข้อจ�ำกัดของการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน หมุนเวียนทีก่ ารผลิตไฟฟ้าจะขึน้ อยูก่ บั สภาพอากาศ โดยพัฒนาระบบควบคุม และบริหารจัดการพลังงาน (Energy Management System : EMS) เพือ่ บริหาร จัดการการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนทัง้ 2 ชนิดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท�ำให้สามารถผลิตไฟฟ้าได้ตอ่ เนือ่ งยาวนาน และเสริมความมัน่ คงทางพลังงาน ไฟฟ้าของประเทศ โครงการฯ มีขอบเขตพื้นที่ประมาณ 760 ไร่ คิดเป็นสัดส่วนพื้นที่ ผิวน�ำ้ ไม่ถงึ ร้อยละ 1 ของพืน้ ทีอ่ า่ งเก็บน�ำ้ ทัง้ หมด โดยติดตัง้ แผงโซลาร์เซลล์ บนทุ่นลอยน�้ำและอุปกรณ์ต่างๆ บนพื้นที่ผิวน�้ำประมาณ 450 ไร่ ซึ่งแผง โซลาร์เซลล์เป็นชนิดดับเบิลกลาส (Double Glass) สามารถทนต่อความชืน้ สูง ได้ดี ท�ำให้ไม่มสี งิ่ ปนเปือ้ นลงสูแ่ หล่งน�ำ้ นอกจากนี้ ได้ตดิ ตัง้ ทุน่ ลอยน�ำ้ ชนิด HDPE (High Density Polyethylene) ซึง่ เป็นวัสดุชนิดเดียวกับท่อส่งน�ำ้ ประปา จึงเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสัตว์น้�ำ โครงการแห่งนี้จะช่วยลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก (CO2) ซึง่ เป็นสาเหตุของภาวะโลกร้อนได้ประมาณ 47,000 ตัน/ปี หรือคิดเป็นพื้นที่ปา่ ประมาณ 37,600 ไร่ ทั้งนี้ ได้จัดให้มีการตรวจสถานประกอบกิจการแบบออนไลน์ โดยมี ผู้ปฏิบัติงานโครงการฯ ประจ�ำอยู่ ณ จุดตรวจต่างๆ ทั้ง 7 จุด ประกอบด้วย จุ ด การติ ด ตั้ ง แผงโซลาร์ เซลล์ ล อยน�้ ำ จุ ด อิ น เวอร์ เ ตอร์ จุ ด หม้ อ แปลง จุดการประกอบ Floating Pontoon จุดอุปกรณ์ในอาคารสวิตช์เกียร์ จุดระบบ สายส่ง 22 kV และจุดอุปกรณ์ในห้องควบคุมโรงไฟฟ้าพลังน�้ำเขื่อนสิรินธร เพื่อถ่ายทอดสดทางระบบ Zoom ผ่านโทรศัพท์มือถือเข้ามายังห้องประชุม แบบออนไลน์ เพือ่ ให้เป็นไปตามมาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาด ของโรคโควิด-19 ของภาครัฐและจังหวัดอุบลราชธานี โดยมิให้สง่ ผลกระทบ ต่อแผนการด�ำเนินงานของโครงการฯ


การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

พลังน�้ำแบบสูบกลับ

พลังงานทดแทนเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แบตเตอรี่พลังน�้ำเสริมความมั่นคง ระบบไฟฟ้าแห่งอนาคต

การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย เดินหน้าศึกษาความเหมาะสมพื้นที่ทั่วประเทศ ส�ำหรับพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ แบบสูบกลับ เพือ่ ผลิตไฟฟ้ารองรับความต้องการในรูปแบบแหล่ง พลังงานส�ำรอง ซึง่ เป็นระบบกักเก็บพลังงาน หรือ Energy Storage System (ESS) ที่ช่วยเติมเต็ม ให้กบั โครงข่ายระบบไฟฟ้าของประเทศให้มคี วาม มั่นคงมากยิ่งขึ้น โรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ แบบสูบกลับ เป็นระบบ กักเก็บพลังงานชนิดหนึ่งที่ถูกคิดค้นบนพื้นฐาน ความคิ ด ในการจั ด การกระแสไฟฟ้ า ส่ ว นเกิ น เพราะโดยปกติ ก ารใช้ ไ ฟฟ้ า ในช่ ว งกลางคื น ที่ ค่อนดึกไปแล้วนั้นจะมีการใช้ไฟฟ้าลดลง ท�ำให้มี ก�ำลังการผลิตไฟฟ้าเหลือในระบบ ดังนัน้ การท�ำงาน ของโรงไฟฟ้าพลังน�้ำแบบสูบกลับเป็นโรงไฟฟ้ำ ทีม่ อี า่ งเก็บน�ำ้ 2 ส่วน คือ อ่างเก็บน�ำ้ ส่วนบน และ อ่างเก็บน�ำ้ ส่วนล่าง น�ำ้ จะถูกปล่อยจากอ่างเก็บน�ำ้ ลงมาเพื่ อ หมุ น กั ง หั น และเครื่ อ งก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า โดยสามารถตอบสนองการผลิตไฟฟ้าได้ทนั ทีเมือ่ ต้องการผลิตไฟฟ้าเสริมเข้าระบบในกรณีเร่งด่วน ขณะทีโ่ รงไฟฟ้าทัว่ ไปต้องใช้เวลาเริม่ เดินเครือ่ งกว่า 2-4 ชัว่ โมง และในช่วงทีค่ วามต้องการใช้ไฟฟ้าต�ำ่ หรือน้อยลง จะใช้ไฟฟ้าทีเ่ หลือในระบบจ่ายให้กบั ปัม๊ น�ำ้ ขนาดใหญ่ทต่ี ดิ ตัง้ อยูใ่ นอ่างเก็บน�ำ้ ส่วนล่าง เพื่อสูบน�้ำจากอ่างเก็บน�้ำส่วนล่างนี้กลับขึ้นไป เก็บไว้ท่ีอ่ างเก็บน�้ำส่วนบนเพื่อใช้ในการผลิต ไฟฟ้าต่อไป

ปั จ จุ บั น การไฟฟ้ ำ ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย (กฟผ.) มีโรงไฟฟ้าพลังน�้ำ แบบสูบกลับ 3 แห่ง ได้แก่ 1) เ ขื่ อ น ศ รี น ค ริ น ท ร ์ เครือ่ งที่ 4-5 จังหวัดกาญจนบุรี ก� ำ ลั ง ผลิ ต เครื่ อ งละ 180 เมกะวัตต์ รวมแล้วมีก�ำลัง ผลิต 360 เมกะวัตต์ 2) เขือ่ น ภูมพิ ล เครือ่ งที่ 8 จังหวัดตาก ก�ำลังผลิต 171 เมกะวัตต์ และ 3) โรงไฟฟ้ า ล� ำ ตะคอง ชลภาวัฒนา เครื่องที่ 1-4 ก� ำ ลั ง ผลิ ต เครื่ อ งละ 250 เมกะวัตต์ รวมแล้วมีก�ำลัง ผลิต 1,000 เมกะวัตต์ ทั้งนี้ กฟผ. ได้ด�ำเนินการศึกษาความเหมาะสมของพื้นที่ท่ัวประเทศ ในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังน�้ำแบบสูบกลับ โดยมีโครงการส�ำรวจและศึกษำ โรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ แบบสูบกลับเป็นผูส้ ำ� รวจพืน้ ทีแ่ ละศึกษาความเหมาะสม ปัจจุบนั โครงการก�ำลังอยู่ระหว่างการศึกษาและจัดท�ำรายงานการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment : EIA) โครงการโรงไฟฟ้ำ พลังน�ำ้ จุฬาภรณ์แบบสูบกลับ จังหวัดชัยภูมิ เพือ่ เป็นทางเลือกในการผลิตไฟฟ้ำ และสร้างความมั่นคงทางพลังงานไฟฟ้าของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็น โครงการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังน�้ำแบบสูบกลับแห่งที่ 2 ในภาคอีสานต่อจาก โรงไฟฟ้าล�ำตะคองชลภาวัฒนา อ�ำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา โรงไฟฟ้ำ พลังน�้ำแบบสูบกลับถือเป็นระบบเก็บกักพลังงานที่มีต้นทุนต�่ำสุดในปัจจุบัน ส�ำหรับระบบไฟฟ้าขนาดใหญ่ (Grid System) เมือ่ เทียบกับวิธกี ารอืน่ ๆ นับเป็น การบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้าให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด สามารถตอบสนองต่อ ความต้องการไฟฟ้าช่วงที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วเพื่อรักษาเสถียรภาพของ ระบบไฟฟ้า อีกทัง้ พัฒนาเป็นแหล่งท่องเทีย่ วแห่งใหม่ แหล่งเรียนรูด้ า้ นพลังงาน ช่วยเพิ่มรายได้ของชุมชนอีกทางหนึ่ง


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

MEA จับมือพลังงานมหานคร และ Big-C ทำ�การติดตั้ง

EV Charging Station

การไฟฟ้านครหลวง จับมือ บริษทั พลังงานมหานคร จ�ำกัด และ บริษัท บิ๊กซีซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ติดตั้งสถานี อัดประจุไฟฟ้าส�ำหรับยานยนต์ไฟฟ้า (EV Charging Station) โดย เป็นความร่วมมือเพื่อพัฒนาระบบการให้บริการและขยายสถานี อัดประจุไฟฟ้าให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ ณ ห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี เอ็กซ์ตร้า สาขาลาดพร้าว 2 เขตจตุจักร กรุงเทพฯ จาตุ ร งค์ สุ ริ ย าศศิ น รองผูว้ า่ การการไฟฟ้านครหลวง หรือ MEA กล่าวว่า MEA ในฐานะ หน่วยงานที่ขับเคลื่อนพลังงาน เพือ่ วิถชี วี ติ เมืองมหานคร พร้อม ขั บ เคลื่ อ นตามแผนงานด้ า น พลั ง งานของรั ฐ บาลในการ ส่ ง เสริ ม การใช้ ย านยนต์ ไ ฟฟ้ า จาตุรงค์ สุริยาศศิน ของประเทศไทย และพลังงาน ทดแทนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้ด�ำเนินนโยบายในด้าน รถไฟฟ้า (EV) มาอย่างต่อเนือ่ ง และการติดตัง้ ในครัง้ นีท้ าง MEA ได้ ร่วมมือกับบริษัท พลังงานมหานคร จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ บริษทั พลังงานบริสทุ ธิ์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ EA ในการพัฒนาระบบ การให้บริการและขยายแผนการติดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้าส�ำหรับ ยานยนต์ไฟฟ้า (EV Charging Station) ในพื้นที่ของบริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) เพือ่ เตรียมความพร้อมส�ำหรับการ เติบโตของยานยนต์ไฟฟ้าในพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานคร ทัง้ นี้ MEA และ EA ได้ร่วมมือกันในการขยายจ�ำนวนสถานีอัดประจุไฟฟ้าจากการ ลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) เรือ่ ง “โครงการสถานีอดั ประจุไฟฟ้า ส�ำหรับยานยนต์ไฟฟ้า” ภายใต้ชอ่ื “EA Anywhere Powered by MEA”

ซึ่งถือเป็นส่วนส�ำคัญในการผลักดันการใช้งานรถยนต์ไฟฟ้าภายใน ประเทศตามนโยบายรัฐบาล ส�ำหรับการใช้งานสถานีอัดประจุไฟฟ้า ผู้ใช้งานสามารถ เริม่ ต้นการชาร์จโดยผ่านการสแกน QR Code ทีส่ ถานีฯ ผ่าน MEA EV Application ได้ทันที ส�ำหรับ MEA EV Application มีฟังก์ชันที่ โดดเด่นโดยสามารถตรวจสอบสถานีชาร์จ สั่งจองหัวชาร์จ พร้อม แสดงเส้นทางน�ำทางไปยังสถานีชาร์จด้วยระบบแผนที่ GIS ของ MEA และสั่งเริ่ม-หยุดการชาร์จ แสดงปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ชาร์จ ช�ำระค่าชาร์จ ดูประวัติการชาร์จ และแสดงผลการลดปริมาณการ ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โดยปัจจุบัน MEA EV Application รองรับการใช้งานกับสถานีอัดประจุไฟฟ้าของ MEA ที่มีอยู่ในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ ทั้ง 13 แห่ง โดย ไม่เสียค่าใช้จ่าย สถานีอัดประจุไฟฟ้าของ EA ทั่วประเทศ รวมถึง สถานีทั้งหมดที่ลงทะเบียนกับสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย (EVAT) เพื่ออ�ำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ยานยนต์ไฟฟ้ามากยิ่งขึ้น ผู้สนใจ สามารถดาวน์โหลด MEA EV Application ได้ฟรี โดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย ทัง้ ในระบบปฏิบตั กิ าร iOS และ Android ได้ที่ https://onelink.to/ meaev ทั้งนี้ ผู้ใช้ไฟฟ้าที่สนใจใช้บริการออกแบบและติดตั้งเครื่อง อัดประจุไฟฟ้าที่ได้มาตรฐานความปลอดภัยของ MEA สามารถ สอบถามรายละเอียดได้ที่ฝ่ายธุรกิจบริการและคุณภาพไฟฟ้า โทร. 0-2476-5666-7 เวลา 07.30-15.30 น. ในวันเวลาท�ำการ หรือ MEA Call Center 1130 รวมถึงแจ้งผ่านช่องทางโซเชียลมีเดียต่างๆ ได้แก่ Facebook : การไฟฟ้านครหลวง MEA Line : MEA Connect Twitter : @mea_news และศูนย์บริการข้อมูลผูใ้ ช้ไฟฟ้า การไฟฟ้า นครหลวง MEA Call Center 1130 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง


การไฟฟ้านครหลวง

การไฟฟ้านครหลวง แต่งตั้งผู้ว่าการคนใหม่ มติคณะรัฐมนตรี

วันที่ 1 มิถุนายน 2564 แต่งตั้ง

นายวิ ล าศ เฉลยสั ต ย์ ให้ด�ำรงต�ำแหน่ง ผู้ว่าการการไฟฟ้านครหลวง คนที่ 18

คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการแต่งตั้ง วิลาศ เฉลยสัตย์ ด�ำรงต�ำแหน่งผูว้ า่ การการไฟฟ้านครหลวง หรือ MEA คนที่ 18 ทัง้ นี้ ให้มผี ลตัง้ แต่วนั ทีล่ งนามในสัญญาจ้างเป็นต้นไป แต่ไม่กอ่ น วันที่ 22 สิงหาคม 2564 วิลาศ เฉลยสัตย์ เกิดเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2508 อายุ 55 ปี จบการศึกษาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินยิ มอันดับ 2) สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าก�ำลัง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล Master of Science in Electricity Industry Management and Technology, University of Strathclyde (UK)

การอบรม

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร (วปอ.) รุ่นที่ 62 วิทยาลัย ป้องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ • หลักสูตรการบริหารการรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม ภาครัฐร่วมเอกชน (บรอ.) รุ่นที่ 6 กองบัญชาการศึกษา ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ • หลักสูตร Senior Executive Program (SEP) รุ่นที่ 32 สถาบัน บัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตรพลังงานส�ำหรับผูบ้ ริหาร Executive Energy Program (EEP) รุ่นที่ 1 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

• หลักสูตรการบริหารเศรษฐกิจ-การคลังส�ำหรับผู้บริหารระดับ กลาง (ปศก.) รุ่นที่ 2 สถาบันพระปกเกล้า • หลักสูตร Leadership Development Program ประเทศญี่ปุ่น • หลักสูตร High Voltage Switchgear Technology ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ • หลักสูตร Financial Feasibility Analysis of Energy Project ประเทศสิงคโปร์

การศึกษาดูงาน

• การจัดการพลังงาน NI Week ประเทศสหรัฐอเมริกา • Development of Energy Management for Building ประเทศ อิสราเอล • ระบบส�ำรองไฟฟ้าฉุกเฉิน Diesel UPS ประเทศเยอรมนี • ระบบป้องกันเพลิงไหม้ทอ่ ร้อยสายไฟฟ้าใต้ดนิ Anti Fire Trough ประเทศญี่ปุ่น • เทคโนโลยีการผลิตหลอดไฟ LED ประเทศจีน ก่อนเข้ารับการแต่งตั้งเป็นผู้ว่าการ MEA ในครั้งนี้ วิลาศ เฉลยสัตย์ ได้ด�ำรงต�ำแหน่งรองผู้ว่าการบริการระบบจ�ำหน่าย ต�ำแหน่งรองผู้ว่าการกิจการองค์กรและสังคม ต�ำแหน่งผู้ช่วย ผู้ว่าการ (ธุรกิจและบริการ) และต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการฝ่ายธุรกิจ บริการและคุณภาพไฟฟ้า


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ผนึกก�ำลังกับบริษทั บางจาก คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) เปิดสถานีอัดประจุไฟฟ้า PEA VOLTA ให้บริการ 24 ชัว่ โมง ครอบคลุมทัว่ ประเทศไทย น�ำโดย สมพงษ์ ปรีเปรม ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และ ชัยวัฒน์ โควาวิสารัช ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั บางจาก คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมเปิดสถานีอัดประจุไฟฟ้า PEA VOLTA ณ PEA VOLTA BCP (ปั๊มบางจาก) ชะอ�ำปาร์ค จังหวัดเพชรบุรี ติดตัง้ จุดบริการชาร์จแบตเตอรีร่ ถไฟฟ้า (EV Charger Station) ให้ บ ริ ก ารในสถานี บ ริ ก ารน�้ ำ มั น บางจากมากที่ สุ ด ในไทย ซึ่งจะเปิดให้บริการบนเส้นทางสายหลัก 56 สาขา ต่อเนื่อง ทุกระยะ 100 กิโลเมตร รองรับการเดินทางทั้งขาเข้าและ ขาออกเมือง ให้ผใู้ ช้รถยนต์ไฟฟ้ามัน่ ใจกับบริการสถานีหวั จ่าย อัดประจุไฟฟ้าทีเ่ ข้าถึงได้งา่ ยทัง้ บนถนนหลักสูเ่ มืองใหญ่และ แหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญครอบคลุมทั่วประเทศไทย อี ก ทั้ ง PEA ยั ง เป็ น ผู ้ พั ฒ นาสถานี อั ด ประจุ ไ ฟฟ้ ำ ประกอบด้วยระบบและช่องทางการสื่อสารข้อมูลจากเครื่อง

อัดประจุไฟฟ้า และส่วนของระบบบริหารจัดการข้อมูลที่แสดงผลผ่าน Mobile Application และ Web Service การติดตั้ง EV Charger ในสถานี บริการน�ำ้ มันบางจากเป็นส่วนหนึง่ ของนโยบายผูน้ ำ� การเปลีย่ นผ่านพลังงาน ด้วยกลยุทธ์ Greenovative Experience สูผ่ บู้ ริโภคผ่านสถานีบริการน�ำ้ มัน บางจากที่จะเป็นจุดหมายปลายทาง Greenovative Destination ส�ำหรับ ทุกการเดินทาง ปัจจุบนั PEA VOLTA เปิดให้บริการจ�ำนวน 17 สถานีหลัก สามารถ เชื่อมโยงกับแอปพลิเคชันผ่านสมาร์ทโฟนและแทบเล็ต ซึ่งท�ำให้ผู้ใช้งาน ได้ค้นหาต�ำแหน่งสถานีและน�ำทางไปยังสถานี ตรวจสอบสถานะสถานี อัดประจุ พร้อมช�ำระค่าบริการอัดประจุไฟฟ้าผ่านระบบการเติมเงินได้อย่าง มั่นใจ ปลอดภัย และรวดเร็ว เพราะเป็น หัวจ่ายแบบชาร์จเร็ว โดย 1 สถานี มี 5 หัวจ่าย ซึ่งผู้ใช้งานสามารถใช้บริการได้ 24 ชั่วโมง ส� ำ หรั บ การใช้ ย านยนต์ ไ ฟฟ้ ำ ประเทศไทยในอนาคต จะมี ป ระชาชน หั น มาใช้ ม ากขึ้ น โดยเฉพาะรถยนต์ ส่วนบุคคล โดย PEA ด�ำเนินการขยายสถานี อัดประจุไฟฟ้าให้เพียงพอต่อความต้องการ ของประชาชน เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้ ผูบ้ ริโภคทีส่ นใจยานยนต์ไฟฟ้าให้ครอบคลุม ทั่วประเทศ 75 จังหวัด รวมทั้งสิ้น 263 สถานี ภายในปี พ.ศ. 2564


การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (PEA) มีความห่วงใยเรื่องความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เมื่ อ ถึ ง ฤดู ฝ นของทุ ก ปี มั ก มี ล ม กรรโชกแรง เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง และท�ำให้เกิดอุบตั ภิ ยั ทางไฟฟ้า หรือ เกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน ของประชาชน เพื่อความปลอดภัย มี ค� ำ แนะน� ำ วิ ธี ก ารใช้ ไ ฟฟ้ า อย่ า ง ถูกต้องและปลอดภัยในช่วงฤดูฝน ดังนี้ • เมือ่ เกิดฟ้าคะนอง ไม่ควรใช้อปุ กรณ์ไฟฟ้ำ ทุกชนิด และถ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าเปียกน�้ำ เมื่ อ จะน� ำ ไปใช้ ง านควรเช็ ด หรื อ ผึ่ ง ให้ แห้งก่อน เพื่อป้องกันมิให้กระแสไฟฟ้ำ ลัดวงจรภายในเครื่องใช้ไฟฟ้ำ • เมื่อร่างกายเปียกชื้น ห้ามแตะต้องส่วน ที่มีกระแสไฟฟ้าเพราะอาจเกิดกระแส ไฟฟ้ารัว่ เพราะความต้านทานของผิวหนัง ที่เปียกชื้นจะลดลงมาก ท�ำให้กระแส ไฟฟ้ า ไหลผ่ า นร่ า งกายได้ โ ดยสะดวก เกิดกระแสไฟฟ้าดูดอาจถึงแก่ชีวิตได้

• ควรติดตั้งสายดินป้องกันไฟฟ้ารั่ว และ หากจ�ำเป็นต้องใช้ไฟฟ้าในขณะทีร่ า่ งกาย เปียกชื้น เช่น การใช้เครื่องท�ำน�้ำอุ่น นอกจากติดตัง้ สายดินแล้ว ยังต้องติดตัง้ เครื่องตัดไฟฟ้ารั่วเพื่อเสริมการท�ำงาน ของสายดินให้ปลอดภัยยิ่งขึ้นด้วย • ตรวจสอบต้นไม้ที่อยู่ใกล้แนวสายไฟฟ้า หากมีกง่ิ ไม้อยูใ่ กล้เกินไปหรือคาดว่าเมือ่ มีลมพัดแรง อาจท�ำให้ก่ิงไม้เอนไปแตะ สายไฟฟ้ า หรื อ ต้ น ไม้ หั ก โค่ น ล้ ม ทั บ สายไฟฟ้า ให้แจ้ง PEA ในพืน้ ทีท่ ราบเพือ่ ด�ำเนินการแก้ไข

• ให้ความร่วมมือในการตัดต้นไม้หรือตัด กิ่งไม้ที่กีดขวางแนวเสาไฟฟ้า สายไฟฟ้ำ และจุดปักเสาไฟฟ้า ไม่ควรตัดต้นไม้เอง เพราะอาจถูกกระแสไฟฟ้าดูดได้ • หากพบกิ่ ง ไม้ ที่ หั ก โค่ น ทั บ หรื อ พาด สายไฟฟ้าแรงสูงอย่าเข้าใกล้ เพราะอาจมี กระแสไฟฟ้ารัว่ ควรรีบแจ้ง PEA ในพืน้ ที่ ทราบเพื่อด�ำเนินการแก้ไข

ทั้งนี้ หากพบเห็นระบบจ�ำหน่ายหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าช�ำรุด แจ้งให้เจ้าหน้าที่ PEA ใกล้บ้านเพื่อด�ำเนินการแก้ไขทันที หรือโทร. 1129 PEA Contact Center ศูนย์บริการข้อมูลผู้ใช้ไฟฟ้า ตลอด 24 ชั่วโมง หรือแจ้งผ่านแอปพลิเคชัน PEA Smart Plus


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

เอ็กโก กรุ๊ป จัดประชุม E-AGM ประจำ�ปี 2564

ผู้ถือหุ้นไฟเขียวอนุมต ั ิเงินปันผลงวดครึ่งปีหลัง 3.50 บาทต่อหุ้น เอ็กโก กรุ๊ป จัดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจ�ำปี 2564 ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Meeting) เพื่อให้ผู้ถือหุ้นรับทราบการ ด�ำเนินธุรกิจของบริษัทฯ มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนและติดตาม การบริหารจัดการของคณะกรรมการและฝ่ายบริหาร ภายใต้มาตรการ ที่สอดคล้องกับการป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ระลอก 3 โดยที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นดังกล่าวได้พิจารณาและมีมติในแต่ละ ระเบียบวาระต่างๆ ซึ่งสรุปประเด็นส�ำคัญได้ดังนี้ ผู้ถือหุ้นรับทราบ การจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลส�ำหรับผลการด�ำเนินงานครึ่งปีแรก ของปี พ.ศ. 2563 ในอัตราหุ้นละ 3 บาท และอนุมัติการจ่าย เงินปันผลจากผลการด�ำเนินงานครึง่ ปีหลังของปี พ.ศ. 2563 ในอัตรา

กุลิศ สมบัติศิริ

หุ้นละ 3.50 บาท เป็นจ�ำนวนเงินรวม 1,843 ล้านบาท โดยก�ำหนด จ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในอัตราหุน้ ละ 6.50 บาท คิดเป็นจ�ำนวน เงินทั้งสิ้น 3,422 ล้านบาท กุลิศ สมบัติศิริ ประธานคณะกรรมการ เอ็กโก กรุ๊ป กล่าวว่า เอ็กโก กรุ๊ป ได้จับมือกับ กฟผ. และราช กรุ๊ป จัดตั้งบริษัท ร่วมทุน EGAT Innovation Holding เพื่อลงทุนในธุรกิจใหม่ ซึ่งอยู่ ระหว่างการศึกษาพัฒนาต่อยอดผลงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ของกลุม่ กฟผ. ในเชิงพาณิชย์ และลงทุนในธุรกิจพลังงานเพือ่ อนาคต เช่น สมาร์ทกริด นวัตกรรมที่รองรับรถยนต์ไฟฟ้า (EV) เช่น ระบบ กักเก็บพลังงาน (Energy Storage Syste : ESS) และแบตเตอรี่ การพั ฒ นาสถานี ไ ฟฟ้ า และระบบส่ ง เพื่ อ รองรั บ การเข้ า มาของ พลังงานหมุนเวียน เป็นต้น ทัง้ นี้ การส่งเสริมรถยนต์ EV ถือเป็นนโยบายแห่งชาติ หลังจาก ภาครั ฐ จั ด ตั้ ง คณะกรรมการนโยบายยานยนต์ ไ ฟฟ้ า แห่ ง ชาติ (บอร์ดอีวี) โดยตั้งเป้าหมายภายในปี พ.ศ. 2578 รถเครื่องยนต์ สันดาปจะต้องเปลีย่ นเป็นรถ EV 100% ซึง่ จะส่งผลให้แบตเตอรีท่ เี่ ป็น ส่วนประกอบส�ำคัญในการขับเคลื่อนรถยนต์ EV มีความต้องการ มากขึ้น และปัจจุบันแบตเตอรี่ลิเทียมไอออนมีแนวโน้มราคาถูกลง และมีความต้องการใช้มากขึ้น ซึ่งจะเป็นโอกาสของเอ็กโก กรุ๊ป ดังนั้นบริษัทร่วมทุน EGAT Innovation Holding ก็จะศึกษาโอกาส ในเรื่องนี้ โดยปัจจุบันอยู่ระหว่างการแสวงหาพันธมิตรร่วมลงทุน รวมถึงเรือ่ งของสมาร์ทดกริดและสมาร์ทมิเตอร์ ซึง่ จะเห็นการลงทุน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป


บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน)

เอ็กโก กรุ๊ป เดินเครื่องเต็มสูบ เตรียมงบลงทุนกว่า 150,000 ล้านบาท ภายใน 5 ปี

https://pixabay.com/th/ photos/SolarsystemSolarenergy-2742304/

https://pixabay.com/th/photos/Energy-Solution-Sun-Eletrcity-5252874/

บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุ๊ป เดินหน้าลุยธุรกิจพลังงานครบวงจร มุง่ เสริมความแข็งแกร่งในธุรกิจ ไฟฟ้า พร้อมขยายพอร์ตโฟลิโอพลังงานหมุนเวียนและ Smart Energy Solution ตอบรับกับเทรนด์พลังงานโลก ต่อยอดสู่ธุรกิจ เชือ้ เพลิงและระบบสาธารณูปโภค โดยเตรียมงบลงทุนกว่า 150,000 ล้านบาท ภายใน 5 ปี ขับเคลื่อนธุรกิจด้วยกลยุทธ์ 4I เพื่อสร้างการ เติบโตอย่างยั่งยืน และสร้างคุณค่าระยะยาวให้แก่ผู้มีส่วนได้เสีย พร้อมรับมือกับทุกความเปลี่ยนแปลงด้วยระบบนิเวศทางธุรกิจ ที่แข็งแกร่ง เทพรัตน์ เทพพิทกั ษ์ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เอ็กโก กรุป๊ กล่าวว่า ในภาพรวมของปี พ.ศ. 2563 อุตสาหกรรมไฟฟ้าทัง้ ในและ ต่างประเทศเผชิญความท้าทายในหลายด้าน ทัง้ การแพร่ระบาดของ โควิด-19 และสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ในลักษณะเทคโนโลยีดสิ รัปชัน ท่ามกลางความท้าทายนี้ เอ็กโก กรุป๊ สามารถปรับตัวและด�ำเนินธุรกิจในสถานการณ์ New Normal ได้ อย่างรวดเร็ว โดยสามารถบริหารจัดการสินทรัพย์ท่ีมีอยู่อย่างมี ประสิทธิภาพ และขยายการลงทุนไปยังพืน้ ทีใ่ หม่และในธุรกิจพลังงาน ที่เกี่ยวเนื่องได้อย่างต่อเนื่อง เช่น การเริ่มเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ โรงไฟฟ้ากังดง ในเกาหลีใต้ การลงทุนใหม่ในสหรัฐอเมริกา รวมทั้ง ยังเป็นบริษัทไฟฟ้าไทยรายแรกที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นสมาชิก DJSI ในกลุม่ ดัชนีตลาดเกิดใหม่ ประเภทอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ไฟฟ้า ส�ำหรับทิศทางการด�ำเนินธุรกิจในอนาคต เอ็กโก กรุป๊ ได้ปรับ กลยุทธ์และทิศทางการด�ำเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับการเปลีย่ นผ่าน ด้านพลังงาน โดยมุง่ ขยายขอบเขตการด�ำเนินธุรกิจทัง้ ด้านการผลิต และให้บริการด้านพลังงานอย่างครบวงจร ได้แก่ ธุรกิจไฟฟ้า ซึ่ง เป็นธุรกิจหลัก รวมทั้งแสวงหาโอกาสการลงทุนในธุรกิจเชื้อเพลิง และระบบสาธารณูปโภค และธุรกิจ Smart Energy Solution โดย ด�ำเนินการภายใต้กลยุทธ์ 4I ได้แก่ Invest ลงทุนในสินทรัพย์ที่ เติบโตอย่างยั่งยืนและสร้างผลตอบแทนที่ดีในระยะยาว Improve ปรับปรุงและบริหารสินทรัพย์ท่ีมีอยู่ให้มีความเป็นเลิศ Innovate ขับเคลือ่ นธุรกิจด้วยนวัตกรรม เพือ่ สร้างการเติบโตอย่างยัง่ ยืน และ Increase เพิ่มความสามารถในการแข่งขันด้านการเงิน เอ็กโก กรุป๊ ยังคงแสวงหาโอกาสในการลงทุนใหม่ โดยเฉพาะ ในพลังงานหมุนเวียนและ Smart Energy Solution เพื่อให้สอดรับ กับทิศทางของการส่งเสริมพลังงานสะอาดและพลังงานหมุนเวียน ของโลก โดยมีแผนเข้าลงทุนในโครงการใหม่ในลักษณะการควบรวม

หรือเข้าซือ้ กิจการ (M&A) ในประเทศ เป้ า หมายที่ มี ฐ าน การลงทุนอยู่แล้ว เช่น เวี ย ดนาม ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ เกาหลี ใ ต้ ไต้ ห วั น และ สหรัฐอเมริกา เป็นต้น ในขณะเดียวกัน เอ็กโก กรุป๊ ยังต่อยอดการลงทุนไปยังธุรกิจ พลังงานทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง ได้แก่ ธุรกิจเชือ้ เพลิงและระบบสาธารณูปโภค และธุรกิจ Smart Energy Solution ในฐานะผูใ้ ห้บริการด้านนวัตกรรม พลังงานอย่างครบวงจร โดยมุง่ เน้นแสวงหาโอกาสการลงทุนร่วมกับ พันธมิตรทางธุรกิจทัง้ ตลาดในประเทศและต่างประเทศ โดยปัจจุบนั บริษทั มีโครงการทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้างและพัฒนา เช่น โครงการ ขยายระบบขนส่งน�้ำมันทางท่อไปยังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีก�ำหนดเปิดด�ำเนินการในไตรมาสที่ 4 ปี พ.ศ. 2564 โครงการ พัฒนานิคมอุตสาหกรรมเอ็กโกระยอง ลักษณะ Smart and Green Industrial Estate ซึ่งได้ลงนามสัญญาร่วมด�ำเนินงานกับการนิคม อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เมือ่ เดือนมกราคม 2564 โดยมีกำ� หนด เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการภายในปี พ.ศ. 2565 การยื่นขอ ใบอนุญาตประกอบกิจการจัดหาและค้าส่งก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG Shipper) ปริมาณ 200,000 ตันต่อปี เพื่อน�ำมาใช้ในโรงไฟฟ้าของ กลุ่มบริษัท ซึ่งอยู่ระหว่างรอผลการพิจารณาจากคณะกรรมการ ก�ำกับกิจการพลังงาน โครงการ Solar Solution Provider เพื่อให้ บริการด้านผลิตภัณฑ์และระบบโซลาร์เซลล์ระดับพรีเมียมอย่าง ครบวงจร โดยจะเน้นกลุ่มเป้าหมายลูกค้าอุตสาหกรรมและอาคาร พาณิชย์ และโครงการร่วมลงทุนระหว่างกลุ่ม กฟผ. ผ่านบริษัท EGAT Innovation Holding เพื่อท�ำธุรกิจที่เกี่ยวกับนวัตกรรมไฟฟ้า และธุรกิจ New S Curve เพราะฉะนัน้ ส�ำหรับปี พ.ศ. 2564 คาดการณ์วา่ การแพร่ระบาด ของโควิด-19 จะคลี่คลายไปในทางที่ดีข้ึน ซึ่งเป็นปัจจัยบวกต่อ การด�ำเนินธุรกิจของเอ็กโก กรุป๊ นอกจากนี้ คาดว่าบริษทั จะมีกำ� ไร จากการด�ำเนินงานเพิม่ ขึน้ กว่าปีทแี่ ล้ว เนือ่ งจากจะมีการรับรูร้ ายได้ จากการด�ำเนินงานของโรงไฟฟ้า “ลินเดน โคเจน” สหรัฐอเมริกา โครงการโรงไฟฟ้า “หยุนหลิน” ไต้หวัน ซึ่งจะเริ่มทยอยจ่ายไฟฟ้า เข้าระบบในไตรมาสที่ 2 ปี พ.ศ. 2564 และโครงการขยายระบบ ขนส่งน�ำ้ มันทางท่อไปยังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึง่ คาดว่าจะเริม่ ด�ำเนินการในไตรมาสที่ 4 ปี พ.ศ. 2564


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) เดินหน้า ข ย า ย ก� ำ ลั ง ก า ร ผ ลิ ต ไ ฟ ฟ ้ า จ า ก พ ลั ง ง า น ล ม ในต่างประเทศ เพื่อบรรลุเป้าหมาย 2,500 เมกะวัตต์ ในปี พ.ศ. 2568 ทีก่ ำ� หนดไว้ในแผนธุรกิจ ล่าสุดบริษทั ฯ ได้ประกาศลงทุนโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลมเน็กส์ซฟิ เบนเตร ก�ำลังผลิตติดตั้ง 80 เมกะวัตต์ ตั้งอยู่ห่างจาก นครโฮจิมนิ ห์ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ในสาธารณรัฐ สังคมนิยมเวียดนาม และเมือ่ เดือนมีนาคมและเมษายน ทีผ่ า่ นมา โรงไฟฟ้าพลังงานลมยานดิน ก�ำลังผลิต 214.2 เมกะวัตต์ และโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลมคอลเลกเตอร์ ก�ำลังการผลิต 226.8 เมกะวัตต์ ตั้งอยู่ในรัฐเวสต์เทิร์น ออสเตรเลีย และรัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย ได้เดินเครือ่ งจ�ำหน่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์อย่างเป็นทางการ จนถึงปัจจุบันก�ำลังผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ตามสัดส่วนลงทุนอยู่ที่ 1,100.32 เมกะวัตต์ (ไม่รวม ก�ำลังผลิตจากการลงทุนในหุ้น EDL-GEN) คิดเป็น ความก้าวหน้าร้อยละ 44 เมือ่ เทียบกับเป้าหมาย 2,500 เมกะวั ต ต์ ก� ำ ลั ง การผลิ ต รวมดั ง กล่ า วสามารถลด ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ประมาณ 2,072,553 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า กิจจา ศรีพฑ ั ฒางกุระ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ตามแผน พัฒนาก�ำลังผลิตไฟฟ้าของบริษัทฯ ได้ก�ำหนดสัดส่วน ก� ำ ลั ง ผลิ ต จากพลั ง งาน ทดแทนไว้รอ้ ยละ 25 จาก เป้ า หมายรวม 10,000 เมกะวัตต์ ปัจจุบนั บริษทั ฯ ไ ด ้ มี ก า ร ศึ ก ษ า ค ว า ม เหมาะสมโครงการ โรงไฟฟ้าพลังงานลมที่มี กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ ศักยภาพในต่างประเทศ ที่ มี เ ป้ า หมายและแผนส่ ง เสริ ม การพั ฒ นาพลั ง งาน ทดแทนอย่างจริงจังหลายแห่ง ล่าสุดบริษัทฯ ได้เข้า ลงนามสัญญาซื้อขายหุ้นเพื่อเข้าถือหุ้นร้อยละ 50 ใน Nexif Energy BT Pte. Ltd. มูลค่า 272.58 ล้านบาท บริษทั ดังกล่าวถือหุน้ ทัง้ หมดในบริษทั ย่อย Nexif Energy Ben Tre One Member Co., Ltd. ซึ่งเป็นผู้พัฒนา โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลมเน็กส์ซิฟ เบนเตร ก�ำลัง ผลิตติดตั้ง 80 เมกะวัตต์ ตั้งอยู่ห่างจากนครโฮจิมินห์ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ในเวียดนาม ขณะนี้อยู่ ระหว่ า งการพั ฒ นาโครงการและเจรจาสั ญ ญาหลั ก หากแล้วเสร็จจะเริม่ ด�ำเนินการก่อสร้างคาดว่าจะใช้เวลา ประมาณ 18 เดือน และสามารถเดินเครือ่ งเชิงพาณิชย์

https://pixabay.com/th/photos/พลังงานลม-ภูมิทัศน์-เมฆ-ท้องฟ้า-1357419/

ในเดือนธันวาคม 2565 โดยมีการไฟฟ้าเวียดนาม (Vietnam Electricity : EVN) เป็นผู้รับซื้อไฟฟ้าภายใต้สัญญาซื้อขายไฟฟ้าระยะยาว 20 ปี “โครงการพลังงานลมเน็กส์ซฟิ เบนเตร เป็นโครงการแห่งที่ 2 ในเวียดนาม ต่อจากโครงการพลังงานลมทานฟงในเวียดนาม (Ecowin) ทัง้ นี้ เวียดนามมีแผน พั ฒ นาพลั ง งานแห่ ง ชาติ ที่ ร องรั บ การเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ และการพั ฒ นา คุณภาพชีวติ สังคม โดยได้กำ� หนดเป้าหมายการพัฒนาแหล่งพลังงานจากพลังงาน หมุนเวียน โดยเฉพาะพลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย์ อีกทั้งยังมีนโยบาย ส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศด้วย ซึง่ บริษทั ฯ พิจารณาเห็นศักยภาพการลงทุน และเชื่อมั่นว่าเวียดนามจะเป็นฐานธุรกิจส�ำคัญของบริษัทฯ ในอนาคตด้วย ส�ำหรับเงินลงทุนในโครงการเน็กส์ซิฟ เบนเตร บริษัทฯ ใช้เงินที่ได้จากการออก หุ้นกู้เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม หรือหุ้นกู้สีเขียว ที่ด�ำเนินการแล้วเสร็จเมื่อ เดือนพฤศจิกายน 2563 บริษทั ฯ ตัง้ ใจทีจ่ ะพัฒนาก�ำลังผลิตจากพลังงานทดแทน ให้สำ� เร็จตามเป้าหมาย 2,500 เมกะวัตต์ ในปี พ.ศ. 2568 เพราะจะส่งผลต่อความ ส�ำเร็จของเป้าหมายการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกจากพลังงานทดแทนของ บริษัทฯ ที่ก�ำหนดไว้ร้อยละ 20 ของปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด ในปี พ.ศ. 2568” นับตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมา บริษัทฯ มีความก้าวหน้าในการพัฒนาโครงการ พลังงานลมเป็นล�ำดับ โดยโครงการในออสเตรเลียมีการเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ แล้ว 2 แห่ง ได้แก่ โครงการพลังงานลมคอลเลกเตอร์ (บริษัทฯ ถือหุ้นทั้งหมด) ก�ำลังการผลิต 226.8 เมกะวัตต์ และโรงไฟฟ้าพลังงานลมยานดิน ก�ำลังผลิต 214.2 เมกะวัตต์ (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 70) และโรงไฟฟ้าพลังงานลมทานฟง ในเวียดนาม ก�ำลังการผลิต 29.7 เมกะวัตต์ (บริษทั ฯ ถือหุน้ ร้อยละ 51) อยูร่ ะหว่าง การก่อสร้างและก�ำหนดเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ในปี พ.ศ. 2564


บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

ราช กรุ๊ป ประกาศ กำ�ไร 2,088 ล้านบาท ไตรมาส 1/2564 มั่นใจปีนี้บรรลุเป้าหมาย 700 MW พร้อมลงทุนธุรกิจใหม่ บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) แถลงผลการด�ำเนินงาน ไตรมาส 1 พ.ศ. 2564 มีกำ� ไรสุทธิ 2,087.86 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 53.4 จากงวดเดียวกันของปี พ.ศ. 2563 ทั้งนี้ ปัจจัยหลักมาจาก การรับรู้รายได้เพิ่มขึ้นของบริษัทย่อยในออสเตรเลีย ซึ่งโรงไฟฟ้า พลังงานลมขนาดใหญ่ 2 แห่ง ได้แก่ โครงการยานดินและโครงการ คอลเลกเตอร์ ได้เดินเครือ่ งผลิตไฟฟ้าจ�ำหน่าย อีกทัง้ ส่วนแบ่งก�ำไร จากโรงไฟฟ้า Thang Long เวียดนาม และโรงไฟฟ้าพลังงานน�ำ้ ใน สปป.ลาว ได้เพิ่มขึ้นด้วย ทั้งนี้ บริษัทฯ คาดหมายว่าปีนี้จะสามารถ เพิ่มก�ำลังการผลิตได้ไม่น้อยกว่า 700 เมกะวัตต์ ตามเป้าหมาย รวมทั้งขยายการลงทุนธุรกิจใหม่ที่มีศักยภาพด้วย กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า การด�ำเนินงานของบริษัทฯ ในปีนี้มุ่งเน้นการบริหารจัดการใน 3 ประเด็นหลักควบคู่กัน ทั้ง การบริหารความสามารถในการท�ำก�ำไรของสินทรัพย์ทไ่ี ด้ลงทุนแล้ว เดิ น หน้ า โครงการเป้ า หมายที่ มี อ ยู ่ ใ นมื อ เพื่ อ ร่ ว มทุ น ให้ ส� ำ เร็ จ และการบริหารวางแผนทางการเงินให้รัดกุม เพื่อควบคุมต้นทุน และรักษาฐานะทางการเงินให้มั่นคง สามารถรองรับแผนการขยาย การลงทุนของบริษัทฯ ได้ บริษัทฯ คาดว่าก�ำลังผลิตตามสัดส่วน การลงทุนปีนี้จะเพิ่มขึ้นถึง 8,874 เมกะวัตต์ โดยก�ำลังการผลิต เดินเครื่องเชิงพาณิชย์จะเพิ่มขึ้นเป็น 7,215 เมกะวัตต์ ซึ่งปีน้ีมี โรงไฟฟ้า 4 แห่ง ก�ำลังการผลิตตามสัดส่วนการถือหุ้นรวม 537.04 เมกะวัตต์ เริ่มเดินเครื่องผลิตไฟฟ้าจ�ำหน่าย ได้แก่ โรงไฟฟ้า พลังงานลมยานดิน ในออสเตรเลีย ก�ำลังการผลิต 214.2 เมกะวัตต์ (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 70) โรงไฟฟ้าพลังงานลมคอลเลกเตอร์ ในออสเตรเลีย ก�ำลังการผลิต 226.8 เมกะวัตต์ (บริษัทฯ ถือหุ้น ทั้งหมด) โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมเรียว ในอินโดนีเซีย ก�ำลังการ ผลิต 296.23 เมกะวัตต์ (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 49) และโรงไฟฟ้า พลังงานลม Ecowin ในเวียดนาม ก�ำลังการผลิต 29.7 เมกะวัตต์ (บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 51) บริษัทฯ คาดหวังว่าทั้ง 4 โครงการนี้จะ ช่วยเสริมหนุนรายได้ของบริษัทฯ ในปีนี้แข็งแกร่งยิ่งขึ้น “ในปีนี้บริษัทฯ ยังให้นำ�้ หนักการลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้า เป็นส�ำคัญ ขณะนีอ้ ยูร่ ะหว่างการเจรจาเพือ่ ลงทุนในโครงการประเภท เชื้อเพลิงหลักในต่างประเทศ ก�ำลังการผลิตรวมไม่น้อยกว่า 500 เมกะวัตต์ และโครงการประเภทพลังงานทดแทนในต่างประเทศ

อีกไม่น้อยกว่า 200 เมกะวัตต์ ส่วนการลงทุนในประเทศ บริษัทฯ ได้เข้าร่วมประมูลโครงการโรงไฟฟ้าชุมชน รวมก�ำลังการผลิต 18 เมกะวัตต์ นอกจากนี้ ยังแสวงหาการลงทุนในธุรกิจใหม่ๆ ที่มี ศักยภาพการเติบโตในอนาคต เพือ่ เสริมสร้างฐานธุรกิจของบริษทั ฯ ให้มน่ั คงยิง่ ขึน้ โดยบริษทั ฯ ได้จดั สรรเงินลงทุนส�ำหรับโครงการใหม่ ไว้ 7,000 ล้านบาท จากงบลงทุนรวมจ�ำนวน 15,000 ล้านบาท ในไตรมาสแรก บริษัทฯ ได้ใช้เงินลงทุนไปแล้วจ�ำนวน 3,257 ล้านบาท ในจ�ำนวนนีเ้ ป็นเงินลงทุนซือ้ หุน้ ร้อยละ 15.53 ของบริษทั บริการเชื้อเพลิงการบินกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) และโครงการ พลังงานลมเน็กส์ซีฟ เบนเตร ในเวียดนาม โครงการโรงไฟฟ้า เน็กส์ซิฟ เอ็นเนอร์จี เบนเตร เป็นโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม ใกล้ชายฝั่งทะเล มีก�ำลังการผลิตติดตั้งรวม 80 เมกะวัตต์ ตั้งอยู่ที่ คอมมูนถานไฮ เมืองถานฟู จังหวัดเบนเตร ห่างจากนครโฮจิมนิ ห์ไป ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ 160 กิโลเมตร ในสาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนาม กระแสไฟฟ้าที่ผลิตจากโครงการทั้งหมดจะจ�ำหน่าย ให้การไฟฟ้าเวียดนาม ภายใต้สัญญาซื้อขายไฟฟ้าระยะเวลา 20 ปี ส�ำหรับใบอนุญาตต่างๆ และสัญญาการเชื่อมต่อโครงข่ายสายส่ง ไฟฟ้า ได้ด�ำเนินการเรียบร้อยแล้ว และเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม ทีผ่ า่ นมา ได้เริม่ งานก่อสร้างและคาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 19 เดือน ก่ อ นที่ จ ะเดิ น เครื่ อ งเชิ ง พาณิ ช ย์ บริ ษั ท ฯ มั่ น ใจว่ า จะสามารถ ด�ำเนินการผลักดันเป้าหมายการลงทุนในปีนี้ได้สำ� เร็จ” ส�ำหรับผลการด�ำเนินงานไตรมาสแรก พ.ศ. 2564 บริษัทฯ มีรายได้รวมจ�ำนวน 8,701.32 ล้านบาท แบ่งเป็นรายได้จากธุรกิจ ผลิตไฟฟ้าจ�ำนวน 8,569.09 ล้านบาท โดยเป็นสัดส่วนรายได้ของ กลุ่มโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงหลักร้อยละ 85 และกลุ่มโรงไฟฟ้าพลังงาน ทดแทนร้อยละ 15 และรายได้จากระบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐาน และ อื่นๆ จ�ำนวน 132.23 ล้านบาท ฐานะการเงินของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2564 มีสนิ ทรัพย์ รวมจ�ำนวน 116,915.01 ล้านบาท หนี้สินรวมจ�ำนวน 51,951.36 ล้านบาท และส่วนของผู้ถือหุ้นจ�ำนวน 64,963.65 ล้านบาท ทั้งนี้ บริษทั ฯ ยังมีศกั ยภาพทางการเงินทีแ่ ข็งแกร่ง สะท้อนจากอัตราส่วน หนีส้ นิ สุทธิตอ่ ทุน 0.54 เท่า อัตราส่วนความสามารถในการช�ำระหนี้ (DSCR) 4 เท่า และอัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้นร้อยละ 9.39


Cover Story > บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด

การติดตั้งอุปกรณ์ปรับปรุง ค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้าแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Static Var Generator : SVG)

More More

› Alarm log queried via screen or communications.

Silent even at maximum power

ดังนั้นการออกแบบอุปกรณ์ท่ีใช้ส�ำหรับการปรับปรุง ค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้าในกรณีทใี่ นระบบไฟฟ้ามีฮาร์มอนิกส์ ภายในระบบไฟฟ้า หรือกลุม่ โหลดทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงการท�ำงาน อย่างรวดเร็ว และโหลดทีส่ ร้างฮาร์มอนิกส์ซงึ่ จะเป็นกลุม่ โหลดที่ ท�ำงานแบบไม่ตอ่ เนือ่ ง (Non-Linear Load) จะต้องติดตัง้ อุปกรณ์ ป้องกันขึ้นเป็นพิเศษส�ำหรับระบบไฟฟ้า คือ อุปกรณ์ปรับปรุง ค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้า และลดปริมาณฮาร์มอนิกส์ในระบบ ไฟฟ้า (Static Var Generator : SVG) อีกทั้งยังช่วยปรับปรุง ค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้าให้มีค่ามากกว่า 0.99 ตลอดเวลา ภายในระบบไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นอย่างดี

› The ventilation system is adjusted automatically according to the temperature detected by its sensors.

การออกแบบการปรับปรุงค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้า ในกรณีทใี่ นระบบมีฮาร์มอนิกส์จะต้องติดตัง้ อุปกรณ์ทม่ี คี วามไว ในการปรั บ ปรุ ง ค่ า ตั ว ประกอบก� ำ ลั ง ไฟฟ้ า ได้ ทั น ที ทั น ใด เพื่อตอบสนองตามการเปลี่ยนแปลงของโหลดได้อย่างรวดเร็ว ส�ำหรับระบบไฟฟ้า เช่น Static VAR Generator หรือ SVG เพือ่ ให้สามารถปรับปรุงค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้า (Power Factor Correction) ให้มีค่า 0.99 ตลอดเวลาในระบบไฟฟ้าอย่างมี ประสิทธิภาพ

Efficiency above 97%

› In the event of fault detection, SVGm will switch to safe mode to prevent damage to the device and record the alarm in its memory.

› Auto-diagnosis system guaranteeing a safe start-up.

› Automatic power regulation system based on the detected temperature, aimed at protecting the unit in maximum operating conditions.

Safety

The safety of your installation is paramount

โดยปกติเมื่อมีการขนานคาปาซิเตอร์แบงค์เข้าสู่ระบบไฟฟ้า เพือ่ ปรับปรุงตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้า (Power Factor Correction) ในขณะที่ มีฮาร์มอนิกส์อยู่ภายในระบบไฟฟ้า อาจจะท�ำให้เกิดปรากฏการณ์ ฮาร์มอนิกส์เรโซแนนซ์แบบขนานขึ้นในระบบไฟฟ้าระหว่างอิมพีแดนซ์ ของคาปาซิเตอร์กับอิมพีแดนซ์ของระบบได้ และจะเป็นผลที่ท�ำให้มี กระแสฮาร์มอนิกส์ไหลผ่านเข้ามาขยายตัวภายในคาปาซิเตอร์ จนเป็น สาเหตุทำ� ให้คาปาซิเตอร์ได้รบั แรงดันฮาร์มอนิกส์สงู สุด (Over Voltage ที่ Capacitor) ท�ำให้เกิดความเสียหายในลักษณะของ Dielectric Loss และ เกิด Partial Discharge กับฉนวนของคาปาซิเตอร์อนั เนือ่ งมาจากผลของ ความร้อน


Static Var Generator

Benefits

Benefits

TARGET

cosϕ=0,8

cosϕ=1

S=50 kVA Q=30 kVAr P=40 kW Circutor

S=40 kVA Q=0 kVAr P=40 kW

ลดต้นทุนค่าใช้จ่าย

Reduces power, always ได้อัตโนมัreactive ติตลอดเวลาการท� ำงาน ensuring that the cosϕ is • ลดความสูญเสียและค่าปรัcos บเพาเวอร์ แฟกเตอร์ achieved, both for inductive and (PF Charge) ในใบเสร็จของการไฟฟ้าฯ ในกรณี capacitive loads.

More compact

More silent

0 penalty • สามารถท�ำงานโดยการปรับปรุงค่าตัวประกอบ for ก� ำ ลัreactive ง ไฟฟ้ า (Powerpower Factor Correction)

ที่เกิดจากค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้า (Power Factor) ต�ำ่ และลดปัญหาฮาร์มอนิกส์เรโซแนนซ์ • เพิ่มประสิทธิภาพตามการจ่ายโหลด โดยการ ปรับปรุงค่าตัวประกอบก�ำลัง (PF) ที่ 0.99 ตลอดเวลา

Safety

เพิ่มประสิทธิภาพ

Instant Minimal • สามารถสร้างก�ำลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ (Reactive Power) เพื่อใช้ในการชดเชยให้กับ compensation โหลดทั้ง 3 เฟส ทั้งที่เป็นแบบน�ำหน้า (Leading) maintenance และโหลดแบบล้าหลัง (Lagging) › Automatic power regulation system based on the detected temperature, aimed at protecting the unit in maximum operating conditions. › Auto-diagnosis system guaranteeing a safe start-up.

› In the event oftime fault detection, no electromechanical Response below 20will ms, toได้safeในเวลาพร้ อมๆ กันSVGm ่ device ท�switch ำให้andสามารถปรับปรุงค่Itาhas ตัวประกอบก� ำลังไฟฟ้า (Power mode to prevent damage toเพื theอ record the alarm in its memory. components, so no spare offering highly efficient operation Factor) ได้อย่างรวดเร็ว และทันตามการเปลี่ยนแปลงของโหลดในระบบไฟฟ้ า › The ventilation system is adjusted automatically parts are required. thanks to the development of temperature detected by itsย และความน่าเชือ • according เพิม่ เสถีto ยtheรภาพ ความปลอดภั ่ ถือได้ ในการปรับปรุงค่าตัวประกอบ ก�ำลังไฟฟ้า (Power Factor) ภายในระบบไฟฟ้า › Alarm log queried via screen or communications. • บันทึก จดจ�ำค่า และประวัติการใช้ไฟฟ้า และความผิดปกติของระบบเพื่อน�ำมา วิเคราะห์ ปรับปรุง ระบบไฟฟ้าให้ประหยัด ปลอดภัย มีเสถียรภาพ และความ น่าเชื่อถือ

sensors. IGBT technology.

Parallel installation of up to 100 units

More versatile

More efficient

ลดโอกาสความเสียหาย

• สามารถปลดตัวเองออกจากระบบในกรณีท่ี อุปกรณ์มปี ญ ั หา โดยไม่กอ่ ให้เกิดผลกระทบต่อ ระบบไฟฟ้า • ไม่ต้องเสี่ยงกับปัญหาคาปาซิเตอร์เสียหาย และคาปาซิเตอร์ระเบิดอันเนือ่ งมาจากการเกิด ฮาร์มอนิกส์เรโซแนนซ์ • ไม่ขยายปริมาณกระแสฮาร์มอนิกส์ในขณะที่ ปรับปรุงค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้า (Power Factor) ได้ ไม่ก่อให้เกิดกระแสไฟฟ้ากระชาก (Inrush Current) และแรงดันไฟฟ้าเกินขณะ สวิตช์ชิ่ง (Transient Voltage) • ยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ประกอบภายใน สวิตช์บอร์ดไฟฟ้า

Silent even at maximum power

Efficiency above 97%

More efficient

More silent

More versatile

More compact

Parallel installation of up to 100 units

SVGm. Static var generator

ประโยชน์ที่ ได้รับ (Benefits)

More features in smaller space

Touchscreen Display and Configurations/SVG Controller

Circutor • V, A, kW, kVAR, kVA ทัง้ ด้านขาเข้าและด้านแหล่งจ่ายโหลด ทีอ่ ปุ กรณ์จา่ ยชดเชย ให้แก่ระบบไฟฟ้า • แสดงรูปคลื่นแรงดัน กระแสขาเข้า กระแสโหลด และกระแสที่อุปกรณ์ชดเชยให้กับ ระบบไฟฟ้า • แสดงสเปคตรัมฮาร์มอนิกส์ของกระแสไฟฟ้าได้ • บันทึกและแสดงประวัติเหตุการณ์ (History) ของการใช้งาน

6

SVGm. Static var generator

6

More features in smaller space

The safety of your installation is paramount


S

T i

คุณประโยชน์ทางเทคนิค

หน้าที่ของ SVG

More compact

silent

More features in smaller space

Circutor

• ใช้ชดเชยค่าตัวประกอบก�ำลัง (PF) และโหลดไม่สมดุล (Unbalance Load) • รักษาค่าตัวประกอบก�ำลัง (PF) ที่ 0.99 ตลอดเวลา • ลดกระแสไหลในเฟสและนิวทรอล เนื่องจาก Unbalance Load • ลดอุณหภูมิความร้อนภายในตู้ไฟฟ้าเมื่อเทียบกับคาปาซิเตอร์และดีจูนฟิลเตอร์ปกติ • ป้องกันปัญหาและผลของฮาร์มอนิกส์ในระบบไฟฟ้า • Modular Design ติดตั้งและบ�ำรุงรักษาง่าย • Wide Range 50-600 kVAR • อุณหภูมิใช้งาน -10 - 50 °C • ง่ายในการวิเคราะห์ปัญหา สามารถเก็บบันทึกเหตุการณ์ความผิดปกติในระบบไฟฟ้า

1. ปรั บ ปรุ ง ค่ า ตั ว ประกอบก� ำ ลั ง ไฟฟ้ า (Power Factor Correction) ให้มีค่า มากกว่า 0.99 ตลอดเวลา 2. บาลานซ์โหลดในระบบไฟฟ้า (Three Phase Unbalance) 3. ลดทอนปริ ม าณกระแสฮาร์ ม อนิ ก ส์ ในระบบไฟฟ้า (Harmonics Mitigation) ล�ำดับที่ 2-25

Parallel installation of up to 100 units

SVGm. Static var generator

ตัวอย่างจะแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมการท�ำงานของ SVG ที่สามารถตอบสนองต่อ โหลดที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้ง SVG ยังแยกการชดเชยก�ำลังไฟฟ้าให้กับโหลด ได้อย่างอิสระต่อกันในแต่ละเฟส ถ้าโหลดเป็นแบบน�ำหน้า (Leading Power Factor) SVG จะสร้างก�ำลังไฟฟ้าเป็นแบบล้าหลัง (Lagging Power Factor) และเมือ่ โหลดเป็นแบบล้าหลัง (Lagging Power Factor) SVG จะสร้างก�ำลังไฟฟ้าเป็นแบบน�ำหน้า (Leading Power Factor) โดยสรุปแล้ว SVG จะสร้างก�ำลังไฟฟ้าในทิศทางตรงกันข้ามกับก�ำลังไฟฟ้าที่ SVG สามารถ ตรวจวัดได้ จึงส่งผลท�ำให้ SVG สามารถควบคุมค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้าในระบบไฟฟ้า และ บาลานซ์โหลดได้ตามต้องการอีกด้วย 6

หลั ก การท� ำ งานของ SVG นั้ น จะอาศัยการท�ำงานแบบควบคุมเฟส (Phase Control) โดยมีการตรวจวัดค่าตัวประกอบ ก�ำลังไฟฟ้าในแต่ละล�ำดับเฟสเพื่อให้วงจร ควบคุมภายใน (SVG Controller) สามารถ สร้างก�ำลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ (Reactive Power) เพื่อใช้ในการชดเชยให้กับโหลดทั้ง 3 เฟส ทัง้ ทีเ่ ป็นแบบโหลดน�ำหน้า (Leading Power Factor) และโหลดแบบล้าหลัง (Lagging Power Factor) ได้ในเวลาพร้อมๆ กัน เพื่อท�ำให้สามารถปรับปรุงค่าตัวประกอบ ก�ำลังไฟฟ้าทัง้ 3 เฟสได้อย่างรวดเร็ว อีกทัง้ จะยังเป็นการบาลานซ์โหลดในแต่ละเฟสใน ระบบไฟฟ้าได้อีกด้วย

More versatile

efficient

หลักการท�ำงานของ SVG


More silent

Without SVG

More compact

More features in smaller space

6 Silent even at maximum power

การติดตั้ง SVG จะเป็นแนวทาง ที่มีความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่งส�ำหรับการ ปรับปรุงค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้าส�ำหรับ กลุม่ โหลดทีเ่ ปลีย่ นแปลงรวดเร็วทันทีทนั ใด และในกรณีทมี่ ฮี าร์มอนิกส์เกิดขึน้ ในระบบ ไฟฟ้า ซึ่งวิธีน้ีจะเป็นวิธีการที่แพร่หลาย และปลอดภัยอย่างมากในระบบไฟฟ้าที่ ผูใ้ ช้งานไม่ตอ้ งเสีย่ งกับปัญหาคาปาซิเตอร์ เสียหาย และคาปาซิเตอร์ระเบิดอันเนื่อง มาจากการเกิดฮาร์มอนิกส์เรโซแนนซ์ขึ้น ในระบบไฟฟ้าอีกต่อไป จึงเป็นทางเลือกที่ เหมาะสมในการใช้งานในยุคปัจจุบัน พฤติ ก รรมแสดงการท� ำ งานของ Static Var Generator (SVG) ในการขนาน เข้าไปในระบบไฟฟ้าเพือ่ ท�ำหน้าทีป่ รับปรุง ค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้า (Power Factor Correction) โดยการจ่ายก�ำลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ (Reactive Power) เข้าสู่ระบบไฟฟ้า

With SVG

บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด

รับปรึกษาและวางแผนบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้า ด้วยประสบการณ์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางและมีผลิตภัณฑ์ ให้เลือก หลากหลายไว้คอยอ�ำนวยความสะดวก Tel : 0-2074-4411 E-mail : info@avera.co.th, Facebook : บริษัท เอวีร่า จ�ำกัด, Website : www.avera.co.th

Parallel installation of up to 100 units

More versatile

ในการใช้งาน SVG ให้มีประสิทธิภาพในการ ท�ำงานปรับปรุงค่าตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้าได้อย่าง ทันทีทันใดตามการเปลี่ยนแปลงของโหลดที่รวดเร็ว นั้ น การติ ด ตั้ ง SVG สามารถติ ด ตั้ ง ใช้ ง านแทน ตูค้ าปาซิเตอร์แบงค์แบบธรรมดา ส�ำหรับกลุม่ โหลดทีม่ ี การเปลีย่ นแปลงการท�ำงานทีร่ วดเร็ว และมีฮาร์มอนิกส์ ในระบบไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพในการปรับปรุง ตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้า เพื่อลดปัญหาในเรื่องของ ค่าปรับตัวประกอบก�ำลังไฟฟ้า (PF Charge) จาก การไฟฟ้าฯ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ภายในโรงงานอุตสาหกรรม ทีม่ โี หลดเครือ่ งจักรทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงค่าตัวประกอบ ก�ำลังไฟฟ้าอย่างรวดเร็ว ที่ตู้คาปาซิเตอร์แบงค์ท่ีใช้ แมกเนติ ค คอนแทกเตอร์ ใ นการสวิ ต ช์ ช่ิ ง คาปาซิเตอร์แบงค์ จะไม่สามารถท�ำงาน ได้อย่างทันท่วงที ดังนั้นการใช้ SVG จึงเป็นทางเลือกที่เหมาะสมในการ ใช้งานในการปรับปรุงตัวประกอบ ก�ำลังไฟฟ้าให้เปลี่ยนแปลงได้ทันที ตามที่ต้องการ

More efficient Efficiency above 97%

› Alarm log queried via screen or communications.

› The ventilation system is adjusted automatically according to the temperature detected by its sensors.

› In the event of fault detection, SVGm will switch to safe mode to prevent damage to the device and record the alarm in its memory.

› Auto-diagnosis system guaranteeing a safe start-up.

การเลือกใช้อุปกรณ์ SVG


Article

> เจมส์ ฮอกกินส์ ผู้จัดการโครงการฝ่ายกลยุทธ์นานาชาติ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค (Schneider Electric)

เมือ่ ไม่กป่ี ที ผี่ า่ นมา ทัง้ ดาต้าเซ็นเตอร์ขนาดใหญ่ โรงพยาบาล ท่าเรือ และระบบสาธารณูปโภคส�ำคัญต่างๆ ทั่วทั้งสหรัฐอเมริกา ต่างเสริมความแข็งแกร่งด้วยไมโครกริด เพือ่ ช่วยเรือ่ งการไหลเวียน ของพลังงานไฟฟ้า แม้กระทั่งในช่วงเวลาที่กริดล่มก็ตาม ร้านขายของช�ำ ร้านขายยา และระบบสาธารณูปโภคอื่นๆ ที่มีความต้องการใช้พลังงานน้อยกว่าภาคธุรกิจอื่นๆ ไม่เคยอยู่ใน วงสนทนาเรื่องไมโครกริด จวบจนปัจจุบันการแพร่ระบาดของ โควิด-19 เปลีย่ นมุมมองของสังคมทีเ่ ราอยูโ่ ดยสิน้ เชิง ทัง้ เรือ่ งความ จ�ำเป็นด้านธุรกิจและการบริการ ผลก็คอื ผูท้ อ่ี ยูใ่ นอุตสาหกรรมหลัก ตอนนีก้ ำ� ลังหันมาทบทวนและประเมินใหม่วา่ ใครหรือธุรกิจใดบ้าง ที่ต้องการความยืดหยุ่นด้านพลังงาน โชคดีที่ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีไมโครกริด และความ สามารถในการเข้าถึงโมเดลธุรกิจต่างๆ ท�ำให้บริษัททุกขนาดธุรกิจ สามารถได้รับประโยชน์จากเครือข่ายไฟฟ้าที่สร้างไฟฟ้าได้เอง และในบทความนี้ ผมได้อธิบายถึงเหตุผลและการที่ไมโครกริดช่วย ให้คุณมั่นใจได้ว่า อาคารของคุณจะมีระบบพลังงานที่น่าเชื่อถือได้ โดยไม่ต้องกังวล

“ทำ�ไม” เราจึงสามารถคาดการณ์ถึง การเปลี่ยนแปลงได้

ใน ค.ศ. 2012 สภาพอากาศที่รุนแรงท�ำให้เกิด ไฟดับทั่วมอนต์โกเมอรีเคาท์ตี้ รัฐแมรีแลนด์ ท�ำให้ ผูอ้ ยูอ่ าศัยจ�ำนวนกว่า 250,000 คนไม่มไี ฟฟ้าใช้หลาย วัน ระหว่างช่วงฤดูใบไม้ร่วงใน ค.ศ. 2019 บริษัทผลิต ไฟฟ้ารายใหญ่ทสี่ ดุ ของสหรัฐอเมริกา Pacific Gas and Electric ตัดไฟในครัวเรือนผู้พักอาศัยกว่าล้านรายเพื่อ ป้องกันไฟป่าลาม และในตอนนีร้ ฐั เท็กซัสก็กำ� ลังเผชิญ กับปัญหาไฟดับที่เกี่ยวเนื่องจากสภาพอากาศในแบบ ที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ท�ำให้ไฟดับไปทั่วเนื่องจาก อุณหภูมิลดลงต�่ำเป็นประวัติการณ์ สภาพอากาศรุนแรงมากขึน้ ทุกที และระบบกริด ก็มอี ายุการใช้งานมากขึน้ ส�ำหรับธุรกิจส่วนใหญ่ ค�ำถาม ไม่ได้อยูท่ คี่ ำ� ว่า “หาก” เกิดการเปลีย่ นแปลงด้านพลังงาน ขึ้น แต่อยู่ที่ “เมื่อไหร่” และเรื่องนี้ก็ท�ำให้ไมโครกริด เข้ามามีบทบาทส�ำคัญ


ยืดหยุ่นด้านพลังงาน “อย่างไร”

ไมโครกริด คือ เครือข่ายไฟฟ้าทีก่ กั เก็บไฟได้ในตัวเอง ช่วยให้คณ ุ สร้างไฟฟ้าได้เอง ที่ไซต์ และใช้พลังงานได้ในเวลาที่ต้องการ ระบบไมโครกริดสามารถเชื่อมต่อกับกริดของ ระบบสาธารณูปโภคได้โดยตรง โดยการเก็บพลังงานส่วนเกินไว้ในระบบกักเก็บพลังงาน ในรูปแบตเตอรี่ หรือ “Island” เพื่อกระจายพลังงานภายในพื้นที่ หรือถ้ากริดที่ให้พลังขับเคลื่อนระบบสาธารณูปโภคเกิดล่มขึ้นมา ในกรณีนี้คุณ สามารถใช้ระบบควบคุมอัจฉริยะ (Intelligent Controls) จากในระบบงานคุณ ปรับเปลีย่ น แหล่งพลังงานจากกริดของระบบสาธารณูปโภคไปใช้ไมโครกริด ณ ไซต์งานได้โดยอัตโนมัติ ความยืดหยุ่นด้านพลังงานและความยั่งยืนเป็น 2 อรรถประโยชน์ท่ีได้จากระบบ ไมโครกริด แต่ถ้าหากคุณต้องการลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในแต่ละรอบบิล ไมโครกริด ช่วยได้เช่นกัน เพราะไมโครกริดจะช่วยให้คุณปรับเปลี่ยนแหล่งพลังงานในปัจจุบันได้ คุ้มค่าใช้จ่ายมากที่สุด ด้วยการใช้ระบบควบคุมอัจฉริยะตัวเดิม

https://pixabay.com/th/users/blickpixel-52945/

https://pixabay.com/th/users/timhill-5727184/

ความสำ�คัญลำ�ดับต่อไป คือ การเชื่อมโยงกับพันธมิตร

ก้าวข้ามความกังวลได้ตั้งแต่ “ตอนนี้”

คุณอาจจะสงสัย หากเทคโนโลยีนี้ดีมากขนาดนั้นจริง ท�ำไมทุกธุรกิจ ถึงไม่มรี ะบบไมโครกริดเป็นของตัวเอง? ค�ำตอบก็คอื คุณอาจต้องพิจารณาว่า เทคโนโลยีและโมเดลธุรกิจมีการพัฒนาไปแล้วมากน้อยแค่ไหน โดยอดีต ทีผ่ า่ นมา ค่าใช้จา่ ยทีร่ บั รูไ้ ด้ รวมถึงค่าซ่อมบ�ำรุงของระบบงาน อาจท�ำให้เป็น อุปสรรคในหลายธุรกิจ การปรับเปลีย่ นแหล่งพลังงาน การก�ำเนิดไฟฟ้า และ การกักเก็บพลังงานแยกไว้ ยังคงเป็นแนวคิดใหม่ส�ำหรับหลายธุรกิจที่ไม่ ต้องการใช้พลังงานสูง ในช่วงเวลา 2-3 ปีทผ่ี า่ นมา เทคโนโลยีไมโครกริดมีความก้าวหน้าอย่าง มีนัยส�ำคัญ ปัจจุบันหลายระบบมีขนาดเล็กลง และขยายขีดความสามารถ ได้มากกว่าที่ผ่านมา เช่นเดียวกัน โมเดลธุรกิจด้านพลังงานเชิงการบริการ หรือ Energy as a Service (EaaS) Business Model ก็ทำ� ให้สามารถเข้าถึง พลังงานได้ ไม่ใช่แต่เฉพาะองค์กรใหญ่ แต่ยังรวมไปถึงองค์กรในทุกขนาด และทุกอุตสาหกรรมเช่นกัน โซลูชัน EaaS เช่น AlphaStruxureTM น�ำเสนอโซลูชันไมโครกริดให้ องค์กรระดับคอร์ปอเรตทีม่ ขี นาดใหญ่ผา่ นข้อตกลงด้านการให้บริการพลังงาน ตามประสิทธิภาพการใช้งาน องค์กรธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กจะได้รับ ประโยชน์ในโมเดลเดียวกับพันธมิตรอย่าง GreenStruxure โซลูชนั EaaS ช่วยให้องค์กรธุรกิจไม่ตอ้ งมีคา่ ใช้จา่ ยล่วงหน้าและไม่ตอ้ ง รับผิดชอบเรื่องการซ่อมบ�ำรุง การบริการต่างๆ หรือการด�ำเนินการ ดังนั้น คุณจะได้รับประโยชน์จากความยืดหยุ่นด้านพลังงานและได้ความยั่งยืน มากขึ้นโดยไม่มีความเสี่ยงด้านการเงิน หรือต้องท�ำอะไรพิเศษเพิ่มเติม

ความท้าทายของความยืดหยุ่นด้าน พลังงานยังคงมีอยู่ต่อไป ส�ำหรับในฐานะ ผูจ้ ดั การอาคาร ควรระบุเป้าหมายด้านพลังงาน ให้ชัดเจนเป็นอันดับแรกเพื่อมองหาโซลูชัน ทีต่ อบโจทย์ ลองคิดว่าคุณต้องการผสานรวม พลั ง งานหมุ น เวี ย นเพื่ อ สร้ า งความยั่ ง ยื น หรือต้องการลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานเพื่อ ประหยัดค่าใช้จา่ ย หรือต้องการป้องกันปัญหา ไฟดับในระยะยาว หรือคุณต้องการตอบโจทย์ ทั้ง 3 เรื่อง และเมื่อคุณรู้ว่าคุณต้องการอะไร ก็สามารถติดต่อพันธมิตรทางธุรกิจที่เชื่อถือ ได้ เพื่อแนะน�ำแนวทางที่เหมาะสมต่อไป


Article

> บริษัท ฮิตาชิ เอบีบี เพาเวอร์ กริดส์ จ�ำกัด

เมื่ อ ไม่ น านมานี้ Hitachi ABB Power Grids ประกาศเป้าหมาย ความยัง่ ยืนปี 2030 เพือ่ เป็นกลยุทธ์ การขับเคลื่อนธุรกิจอย่างยั่งยืน ในอนาคต โดยอ้างอิงเป้าหมาย การพัฒนาทีย่ ง่ั ยืนของสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals หรื อ SDGs) ที่ มุ ่ ง เน้ น ไปที่ มิ ติ สิง่ แวดล้อม มิตสิ งั คม มิตสิ นั ติภาพ และมิ ติ หุ ้ น ส่ ว นการพั ฒ นา ซึ่ ง แต่ละเสาหลักของมิติความยั่งยืน มีเป้าหมายที่สอดคล้องกัน เพื่อ ขับเคลื่อนธุรกิจไปพร้อมกับการ สร้างมูลค่าทางสังคม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจ

Hitachi ABB Power Grids มีส่วนสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของ สหประชาชาติ (Sustainable Development Goals หรือ SDGs) ดังนี้ เป้าหมายที่ 3 (สุขภาพที่ดีและความเป็นอยู่ท่ีดี) เป้าหมายที่ 4 (การศึกษาที่มีคุณภาพ) เป้าหมายที่ 5 (ความเท่าเทียมทางเพศ) เป้าหมายที่ 6 (น�ำ้ สะอาดและสุขอนามัย) เป้าหมายที่ 7 (พลังงาน สะอาด) เป้าหมายที่ 12 (การบริโภคและการผลิตอย่างยั่งยืน) เป้าหมายที่ 16 (สันติภาพ ความยุติธรรม) และเป้าหมายที่ 17 (หุ้นส่วนความร่วมมือที่ยั่งยืน)

เป้าหมายความยั่งยืนปี 2030 ของบริษัท


มิติสิ่งแวดล้อม

ลดคาร์บอนในการด�ำเนินงานของ เราเอง ลดการปล่อย CO2 50% ตลอดห่วงโซ่คุณค่า การก�ำจัดของเสียลดลง 50% ลดการใช้นำ�้ จืด 25% ลดสารอันตรายและสารเคมี 25%

มิติสังคม

อันตรายเป็นศูนย์ คนมีชีวิตที่มีสุขภาพที่ดี มีวฒ ั นธรรมการเรียนรู้ และสนับสนุน โอกาสในการเรียนรู้ เพิ่มความหลากหลาย เสริมสร้าง ความเข้มแข็งให้แก่สตรี จาก 19% เป็น 25% ภายใน ค.ศ. 2025

ซึง่ ในฐานะพันธมิตรทางธุรกิจพลังงานทีย่ งั่ ยืน บริษทั ก�ำลัง บุกเบิกแพลตฟอร์มดิจิทัลที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ และเร่ง การเปลี่ยนแปลงไปสู่อนาคตเพื่อลดคาร์บอนในการด�ำเนินการ ตัวอย่างเช่น ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2564 Hitachi ABB Power Grids ได้เปิดตัว EconiQTM ซึ่งเป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์ บริการ และ โซลูชันที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ออกแบบมาเพื่อมุ่งเน้นด้าน ความยั่งยืน และได้รับการพิสูจน์แล้วว่ามีประสิทธิภาพในการ ช่วยสนับสนุนงานด้านสิ่งแวดล้อมสูงกว่าเมื่อเทียบกับโซลูชัน ปกติทั่วไป

เป้าหมายความยั่งยืนปี 2030 นั้นมีไว้ส�ำหรับพนักงาน ทุกคนเช่นกัน พนักงานประมาณ 36,000 คน ในกว่า 90 ประเทศ บริษัทได้ก�ำหนดเป้าประสงค์ท่ีจะช่วยให้พนักงานท�ำงานอย่าง ปลอดภัยและท�ำงานได้ดีที่สุด บริษัทมีนโยบาย Diversity 360 ซึ่งเป็นวิสัยทัศน์ท่ีส่งเสริมความหลากหลายและการไม่แบ่งแยก โดยได้กำ� หนดเป้าหมายเฉพาะเพือ่ เพิม่ ความหลากหลาย เสริมสร้าง ความเข้มแข็งให้แก่สตรี จาก 19% เป็น 25% ภายใน ค.ศ. 2025 และส่ ง เสริ ม วั ฒ นธรรมการเรี ย นรู ้ ต ลอดชี วิ ต เพื่ อ เชื่ อ มโยง บุคลากรของเราให้เข้ากับจุดประสงค์ในการขับเคลื่อนสิ่งที่ดี

มิติสันติภาพ ไม่มีเหตุการณ์ ทุจริตและ ติดสินบน

มิติหุ้นส่วนการพัฒนา

เสริมความเข้มแข็งให้แก่กลไก การด�ำเนินงานและฟื้นฟู สภาพหุ้นส่วนความร่วมมือ ระดับโลกส�ำหรับการพัฒนา ที่ยั่งยืน

ทัง้ นี้ เพือ่ อนาคตด้านพลังงานทีย่ งั่ ยืน Diversity 360 จะเน้นให้ พนักงานเป็นศูนย์กลาง นโยบายนีอ้ อกแบบมาเพือ่ รักษาความหลากหลาย ทางความคิดและเปิดรับพลังของการเชื่อมต่อ เพื่อส่งเสริมนวัตกรรม ส�ำหรับลูกค้า คู่ค้า และสังคมในวงกว้างของเรา ส�ำหรับมุมมองด้าน สันติภาพ ธุรกิจมีเป้าประสงค์ท่ีจะไม่ให้เกิดเหตุการณ์ทุจริตและ ติดสินบนทัง้ สิน้ ด้านการท�ำงานร่วมกัน มีความส�ำคัญเป็นอย่างยิง่ ต่อ การเปลีย่ นแปลงด้านพลังงาน การวางโซลูชนั ร่วมกันกับลูกค้าและคูค่ า้ ในการผลิตพลังงานสะอาด เพื่อโครงสร้างพื้นฐานของเครือข่าย และ การใช้พลังงานไฟฟ้าของทุกภาคส่วนมีความส�ำคัญต่อการลดคาร์บอน ทั้งสิ้น บริษัทเน้นการสร้างพันธมิตรที่จะช่วยเร่งการเปลี่ยนแปลงไปสู่ การด�ำเนินการทีล่ ดการใช้คาร์บอน เพือ่ รับมือกับความท้าทายของการ เปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ และถึงเวลาแล้วที่ทุกฝ่ายจะต้อง ร่วมมือกันแก้ปัญหาร่วมกับลูกค้าและคู่ค้าของเรา เราก�ำลังร่วมสร้าง และปรับใช้ระบบพลังงานที่ยืดหยุ่น ยั่งยืน มีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และมั่นคง จากนโยบายดังกล่าว เราได้ให้คำ� มัน่ สัญญาว่าจะมีสว่ นสนับสนุน อนาคตด้านพลังงานทีย่ งั่ ยืน และตอนนีเ้ ราทุกคนในบริษทั มุง่ มัน่ ตัง้ ใจ ด�ำเนินการตามนโยบายความยัง่ ยืนปี 2030 จากเป้าหมายทีเ่ ป็นรูปธรรม ในระยะสั้นและระยะกลางที่สามารถวัดผลได้จริง ดร.วรวุฒิ วรุตตมพรสุ กรรมการผูจ้ ดั การ ABB Power Grids (Thailand) Limited กล่าวว่า “เราภูมิใจที่ได้อยู่ในบริษัทชั้นน�ำด้าน เทคโนโลยีระดับโลกทีม่ ปี ระวัตยิ าวนานกว่า 250 ปี และเราก�ำลังท�ำงาน ร่วมกับทุกภาคส่วนหลักในสังคม ด้วยโซลูชนั และการน�ำเอาเทคโนโลยี ของบริษทั มาใช้ เพือ่ พัฒนาไปสูโ่ ลกทีล่ ดการใช้คาร์บอนลงให้เหลือน้อย ทีส่ ดุ เพือ่ อนาคตด้านพลังงานทีย่ ง่ั ยืน ผมเองรูส้ กึ ตืน่ เต้นกับศักยภาพ ทีเ่ รามีสว่ นสนับสนุนในการเร่งการเปลีย่ นผ่านไปสูอ่ นาคตด้านพลังงาน ที่ยั่งยืน ซึ่งทุกคนจะได้รับประโยชน์ผ่านเป้าหมายความยั่งยืนปี 2030 ที่เรามุ่งมั่นในการสร้างอนาคตพลังงานที่ยั่งยืนร่วมกัน”


Article

> Universal Robots

ยูนิเวอร์ซล ั โรบอท เผยหุ่นยนต์โคบอทพร้อมหนุน

อุตสาหกรรมการผลิตไทย

ตลาดหุ่นยนต์โคบอททั่วโลกมีมูลค่าถึง 7,972 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ใน พ.ศ. 2569 เอเชียแปซิ ฟ ิ ก โตแซงหน้ า ยุ โรปภายใน พ.ศ. 2564 เนื่ อ งจากอุ ต สาหกรรมการผลิ ต ขนาดใหญ่ ใช้ โคบอท1 ยูนิเวอร์ซัล โรบอท (ยูอาร์) ผู้น�ำตลาด เทคโนโลยีหุ่นยนต์โคบอทจากประเทศเดนมาร์ก แนะผูน้ ำ� อุตสาหกรรมการผลิตของไทยน�ำโคบอท ไปใช้เป็นโซลูชันที่มีประสิทธิภาพเพื่อแก้ปัญหา ด้านทักษะและการขาดแคลนแรงงาน รวมถึงการ เพิ่มผลผลิตให้มากขึ้น ในประเทศไทย ภาคการผลิตเป็นร้อยละ 33.4 ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมภายในประเทศ (GDP)2 นอกจากนี้ ประเทศไทยยังเน้นการปรับปรุง ธุรกิจในภาคการผลิต จากข้อมูลของไอเอชเอส มาร์เก็ต (IHS Market) ดัชนีผจู้ ดั การฝ่ายจัดซือ้ ใน ภาคการผลิต หรือพีเอ็มไอ (PMI) ของประเทศไทย ชี้ถึงการปรับปรุงประสิทธิภาพของภาคส่วนนี้ ในอุตสาหกรรมหลักด้านอิเล็กทรอนิกส์ เหล็ก และ ยานยนต์ รัฐบาลได้คาดการณ์ว่าภาคการผลิต จะกลับมาด�ำเนินการได้ในอีกไม่ก่ีเดือนข้างหน้า เป็นครั้งแรกในรอบ 5 ไตรมาส3

ตามรายงาน “ตลาดหุ่นยนต์โคบอท โดย Payload, Component, Application, Industry, and Geography-Global Forecast to 2026” โดย Markets and Markets พบว่า โคบอทถูกน�ำมาใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ มากขึน้ เนือ่ งจากข้อดี เช่น ประสิทธิภาพการท�ำงานทีเ่ พิม่ ขึน้ และการใช้ประโยชน์จาก พนักงานอย่างมีประสิทธิภาพ คาดว่าตลาดจะสูงถึง 7,972 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ภายใน พ.ศ. 2569 เติบโต 41.8% ซึ่งตลาดโคบอทในเอเชีย-แปซิฟิกคาดว่าจะ สูงกว่าในยุโรปใน พ.ศ. 2564 เนือ่ งจากอุตสาหกรรมการผลิตขนาดใหญ่โดยเฉพาะ อุตสาหกรรมยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ และโลหะ มีการใช้งานโคบอทมากขึ้น อุตสาหกรรมการผลิตของประเทศไทยจะได้รับประโยชน์สูงสุดจาก หุ่นยนต์ เพราะสามารถท�ำงานซ�้ำๆ ในพื้นที่จ�ำกัด สภาพแวดล้อมที่หุ่นยนต์มี ความสามารถทีด่ ี โคบอทสามารถท�ำงานได้ตลอดเวลา ผลิตงานทีส่ ม�ำ่ เสมอภายใต้ สภาวะการท�ำงานที่สมบุกสมบันโดยไม่ต้องหยุดพัก ปัจจุบันในประเทศไทยมี หุน่ ยนต์การผลิตในภาคอุตสาหกรรมเพียง 45 ตัว ส�ำหรับพนักงานทุกๆ 10,000 คน ซึ่งต�่ำกว่าค่าเฉลี่ยในภูมิภาค โดยสิงคโปร์และเกาหลีใต้มีหุ่นยนต์ 488 ตัว และ 631 ตัวต่อพนักงาน 10,000 คน ตามล�ำดับ4 ด้วยระยะเวลาคืนทุนโดยเฉลี่ยสั้นเพียง 12 เดือน เนื่องจากการผลิต คุณภาพ และความสม�ำ่ เสมอทีเ่ พิม่ ขึน้ ผูผ้ ลิตอาจเห็นผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) ก่อนสิ้นปีหรือต้น พ.ศ. 2565

ความปลอดภัยและความคล่องตัว

ตัวอย่างบริษทั Yokota Corporation ประเทศญีป่ นุ่ เป็นบริษทั ออกแบบ และผลิตตลับลูกปืน เป็นระบบอัตโนมัตสิ ำ� หรับโรงงาน หรือ Factory Automation (FA) เครือ่ งจักรส�ำหรับการประกอบการบรรจุและการตรวจสอบ ได้เลือกโคบอท ยูอาร์ไฟว์ (UR5) เพือ่ แก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงาน5 ซึง่ เดิมบริษทั พยายาม ดึงพนักงานพาร์ทไทม์และใช้คนงานจากแผนกอืน่ มาท�ำงาน แต่มาตรการเหล่านี้ ไม่ก่อให้เกิดผล หุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบดั้งเดิมถือเป็นวิธีแก้ปัญหาเช่นกัน แต่ในภายหลังพบว่าไม่สามารถท�ำได้ เนือ่ งจากต้องการพืน้ ทีเ่ พิม่ เติมและความ จ�ำเป็นในการป้องกันความปลอดภัย “การลดอุปสรรคของระบบอัตโนมัติเพื่อให้เข้าถึงผู้ผลิตที่ไม่เคยคิดว่า จะสามารถติดตั้งหุ่นยนต์ได้เนื่องจากต้นทุนและความซับซ้อน เราหวังว่าจะ ช่วยให้อุตสาหกรรมของประเทศไทยได้รับผลิตผลที่สูงขึ้นและใช้ประโยชน์จาก โรงงานของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ” แมคคิว กล่าวสรุป


Thailand’s Manufacturers

Stand to Realise Higher Productivity and Effective Utilisation with Collaborative

Robots

Collaborative Robots (Cobots) market to reach US$7,972 million globally by 2026; APAC region expected to surpass Europe by 2021 due to large scale of manufacturing industries deploying cobots1. Universal Robots (UR), Denmarkbased collaborative robots (cobots) technology market leader, has advised Thailand’s manufacturing industry leaders to implement cobots as an effective solution to address skills and labour shortage as well as achieve higher productivity. The manufacturing sector accounts for 33.4 percent of the gross domestic product (GDP) in Thailand2. Thailand has also highlighted improved business conditions in its manufacturing sector. According to IHS Market, the Thailand Manufacturing Purchasing Managers’ Index (PMI) indicates an improvement in the performance of the sector. With their main industries in electronics, steel, andautomotive, the government foresees its manufacturing sector to be back on track in the coming months for the first time in five quarters3.

According to “Collaborative Robot Market by Payload, Component, Application, Industry, and Geography–Global Forecast to 2026” report by Markets and Markets, cobots are increasingly being adopted by various industries due to advantages such as increased productivity and effective employee utilisation. The market is expected to reach US$7,972 million by 2026 at a CAGR of 41.8%.Cobots’ market in APAC is also expected to surpass that in Europe by 2021 due to large scale manufacturing industries especially automotive, electronics, and metals sectors which are increasingly deploying cobots. Thailand manufacturing industry stands to benefit most from robotics as its processes involve repetitive work in confined, structured spaces, environments that robots excel in. Cobots can work around the clock, produce consistent work under harsh working conditions without any rest. For every 10,000 employees, Thailand currently has only 45 industrial manufacturing robots, which is lower than the regional average with Singapore and South Korea notching a high 488 and 631 robots per 10,000 employees, respectively4. With an average payback period as short as twelve months due to increased productivity, quality, and consistency, manufacturers may foresee a return of investment (ROI) before year-end or early 2022.

Safety and Versatility

Yokota Corporation, a Japan-based company that designs and manufactures bearing races, Factory Automation (FA) equipment, machines for assembly, packing and inspections, selected UR5 cobots to address its labour shortages5. The company tried engaging part-time employees and redeploying workers from other departments. However, these measures proved unproductive. Traditional industrial robots were also considered as a solution but were later found not feasible due to additional space requirements and the need for safety guarding. “By lowering automation barrier within the reach of manufacturers who never thought that they could deploy robots due to cost and complexity, we hope to help Thailand’s industries realise higher productivity and maintain effective utilisation of their plants.” concludes McKew. 1

https://www.marketsandmarkets.com/PressReleases/collaborative-robot.asp https://www.nordeatrade.com/dk/explore-new-market/thailand/economical context 3 https://www.markiteconomics.com/Public/Home/PressRelease/ c84bb080304448b1911d26c6ccc52241 4 https://ifr.org/news/robot-density-rises-globally/ 5 https://www.universal-robots.com/case-stories/yokota-corporation/ 2


Article

> Pual Coemier, President and CEO Red Hat

Business Photo Created by Creativeart - www.freepik.com

กระแสการปรับเปลี่ยนสู่ดิจิทัล หรือดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชัน ได้เข้ามามีบทบาทส�ำคัญ แอปพลิเคชันกลายเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุด และทุกบริษัทกลายสภาพเป็นบริษัทซอฟต์แวร์ Walmart ค้าปลีก ยักษ์ใหญ่ และผูผ้ ลิตอุปกรณ์ เช่น John Deere ได้เปิดห้องปฏิบตั กิ าร นวัตกรรม (Innovation Labs) ซึ่งเน้นการพัฒนาแอปพลิเคชันที่ ส่วนใหญ่ใช้ซอฟต์แวร์โอเพ่นซอร์ส และหลังจากพัฒนาส�ำเร็จก็จะ ส่งความสามารถใหม่ๆ เหล่านั้นกลับเข้าสู่ชุมชนโอเพ่นซอร์ส ซึ่ง เป็นการผลักดันให้มกี ารใช้โอเพ่นซอร์สอย่างแพร่หลายในยุคดิจทิ ลั สถานการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2563 รวมถึงการแพร่ระบาด ของโควิด-19 ท�ำให้ทุกคนตระหนักว่าการสร้างแอปพลิเคชันเพียง อย่างเดียวไม่เพียงพออีกต่อไป เราจ�ำเป็นต้องมีการบริหารจัดการ การท�ำงานของแอปพลิเคชันดังกล่าวด้วยข้อเท็จจริง จากรายงาน สถานะของโอเพ่นซอร์สระดับองค์กรประจ�ำ พ.ศ. 2564 (2021 State of Enterprise Open Source Report) ของเร้ดแฮท ระบุว่า ดิจิทัล ทรานส์ฟอร์เมชันแบบก้าวกระโดดเป็น 1 ใน 3 ความส�ำคัญอันดับ แรกๆ ของการใช้โอเพ่นซอร์สระดับองค์กร ควบคูไ่ ปกับการปรับปรุง ระบบไอทีให้ทันสมัยและการพัฒนาแอปพลิเคชัน การที่คลาวด์คอมพิวติ้งและบริการแบบ Always-On เข้ามามีบทบาทโดดเด่น แสดงให้เห็นว่าองค์กรต่างหันมาใช้ไฮบริดคลาวด์ในการด�ำเนินงาน มากขึ้นเรื่อยๆ การที่องค์กรใช้บริการจากระบบพับลิคคลาวด์หลายระบบ ร่วมกันในโครงสร้างพื้นฐานดาต้าเซ็นเตอร์ที่มีอยู่ และเวิร์กโหลด ที่เก็บอยู่ภายในองค์กร ทั้งยังขยายการใช้งานไปยังจุดต้นทางที่ รับข้อมูล หรือเอดจ์ (Edge) คือการสร้างระบบไฮบริดคลาวด์หนึ่ง ขึ้นมานั่นเอง ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่าย เพราะต้องใช้ทักษะ เครื่องมือ และ กลยุทธ์ใหม่ๆ Chief Information Officer ทุกคน รวมถึงองค์กรต้นสังกัด ต้องเข้าใจว่าตนเองมีอ�ำนาจควบคุมทิศทางการใช้ระบบคลาวด์

ขององค์กร เมื่อรู้วิธีการสร้างระบบคลาวด์แล้ว ต่อไปจ�ำเป็นต้องรู้ วิธีการน�ำระบบคลาวด์ไปใช้ให้เหมาะกับขนาดและความจ�ำเป็น ที่ต้องการ

บริการคลาวด์และแอปพลิเคชันคือหัวใจสำ�คัญ

“ทางเลือก” คือส่วนประกอบส�ำคัญในการตัดสินใจเกีย่ วกับ ไอที CIO ไม่ได้ก�ำหนดแผนงานขึ้นมาอย่างลอยๆ หรือเพื่อแก้ไข ปั ญ หาเฉพาะหน้ า ผู ้ บ ริ ห ารฝ่ า ยไอที ต ้ อ งคาดการณ์ ใ ห้ ไ ด้ ว ่ า การตัดสินใจเรื่องหนึ่งๆ ที่อาจดูเหมือนตัดสินใจได้ง่ายในเวลานี้ จะก่อให้เกิดความยุ่งยาก ซับซ้อน บั่นทอนขีดความสามารถด้าน การแข่งขัน หรือจะละเมิดกฎระเบียบในอนาคตหรือไม่ การน�ำงานทัง้ หมดไปรันอยูบ่ นบริการคลาวด์ตา่ งๆ อาจดูเป็น เรื่องง่าย แต่การใช้คลาวด์ถือเป็นกลยุทธ์ขององค์กร และเป็นการ เดิมพันอนาคตที่มี CIO เพียงไม่กี่รายก�ำลังด�ำเนินการอยู่ เพื่อให้ ตัวเองสามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ในโลกทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง อย่างรวดเร็วได้อย่างดีที่สุด ส่วนการดูแลรักษาดาต้าเซ็นเตอร์ ขนาดใหญ่ท่ีนอกจากจะครอบคลุมพื้นที่หลายแห่งแล้ว ตอนนี้ยัง ครอบคลุมระบบคลาวด์หลายระบบอีกด้วยนั้น จ�ำเป็นต้องอาศัย บุคลากรฝ่ายไอทีที่มีความเชี่ยวชาญอย่างมาก และอาจก่อให้เกิด ภาระค่ า ใช้ จ ่ า ยที่ สู ง มากอี ก ด้ ว ย ดั ง นั้ น การใช้ ไ ฮบริ ด ที่ ท� ำ งาน สอดคล้องกันจึงเป็นแนวทางที่เหมาะสม เพราะจะช่วยสร้างสมดุล ทีล่ งตัวทัง้ ในแง่ของเทคโนโลยีและการประหยัดค่าใช้จา่ ย ด้วยเหตุนี้ ไอทีโซลูชันรุ่นต่อๆ ไปจะต้องใช้งานได้อย่างลื่นไหลและง่ายดาย บนระบบไฮบริดคลาวด์ โดยครอบคลุมการท�ำงานไปกลับตัง้ แต่บริการ คลาวด์ไปจนถึงแอปพลิเคชันในดาต้าเซ็นเตอร์ เวิร์กโหลดเหล่านี้ ควรจะสามารถรันได้ทุกที่ทุกเวลา และในทุกรูปแบบอย่างที่ CIO ต้องการ ไม่ว่าจะเป็นบริการแบบ Managed Service หรือระบบที่ ติดตั้งในองค์กรก็ตาม


ก้าวไกลเกินกว่าดาต้าเซ็นเตอร์... และระบบคลาวด์

ส�ำหรับ CIO ทีม่ หี น้าทีด่ แู ลรักษาดาต้าเซ็นเตอร์รนุ่ เก่า (ซึง่ เกือบทุกคนจะเป็นแบบนี)้ นิยามของค�ำว่าดาต้าเซ็นเตอร์ ก�ำลังขยายขอบเขตกว้างขวางมากขึ้นด้วยเช่นกัน แม้ว่าการ ขยายเวิร์กโหลดและสภาพแวดล้อมไปสู่ระบบพับลิคคลาวด์ จะไม่ใช่เรือ่ งแปลกอีกต่อไป แต่การประมวลผลและการวิเคราะห์ ข้อมูลที่ระบบส่วนกลางไม่อาจตอบสนองความต้องการของ แอปพลิเคชันรุ่นใหม่ที่ทันสมัยและผู้ใช้ในปัจจุบันได้อย่าง เพียงพอ การเติบโตของเอดจ์ คอมพิวติง้ (Edge Computing)

สภาพแวดล้อมคลาวด์ ดาต้าเซ็นเตอร์ และอุปกรณ์เอดจ์ มีลกั ษณะทีแ่ ตกต่างกันอย่างสิน้ เชิง และมีความต้องการในเรือ่ งของ การจัดการ การรักษาความปลอดภัย การเชือ่ มต่อเครือข่าย และอืน่ ๆ ทีแ่ ตกต่างกัน ผูใ้ ห้บริการระบบคลาวด์จะต้องมีโครงสร้างพืน้ ฐานกลาง ซึ่งเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ใช้ร่วมกัน เพื่อรองรับสภาพแวดล้อมที่ หลากหลาย รวมถึงการเชือ่ มต่อระบบคลาวด์ตา่ งๆ สภาพแวดล้อม แบบเวอร์ชวลและฮาร์ดแวร์สแต็ก ซึ่งโครงสร้างพื้นฐานร่วมที่ว่านี้ จะต้องเป็น Linux และ Linux Containers ในทุกกรณี Linux จะให้บริการการเชื่อมโยงระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ของไฮบริดคลาวด์แบบเปิด (Open Hybrid Cloud) รวมถึงเอดจ์ ให้กับผู้ให้บริการระบบคลาวด์ ความสามารถในการเคลื่อนย้าย เวิร์กโหลดจากเอดจ์ไปยังดาต้าเซ็นเตอร์ ไปยังระบบพับลิคคลาวด์ โดยไม่ตอ้ งเปลีย่ นแปลงแอปพลิเคชันอย่างสิน้ เชิงถือเป็นเรือ่ งส�ำคัญ มาก และจะเกิดขึน้ ได้กต็ อ่ เมือ่ มีการใช้มาตรฐานแบบเปิดของ Linux Kernel นอกจาก Linux จะรองรับไฮบริดคลาวด์แล้ว ยังเป็นรากฐาน ให้กับเอดจ์ที่อยู่วงนอกสุดของไอทีองค์กร

การพัฒนาเป็นมากกว่าการปรับเปลี่ยนเครื่องมือ ที่เป็นซอฟต์แวร์

อย่างไรก็ดี การท�ำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการระบบคลาวด์ ไม่ใช่ เพียงแค่การน�ำมาใช้และบูรณาการเทคโนโลยีใหม่ท่ีส�ำคัญเท่านั้น แต่จะต้องเข้าใจถึงสิ่งที่จ�ำเป็นต้องใช้นอกเหนือจากเทคโนโลยี ดังกล่าว เพือ่ ให้สามารถขยายการใช้งานระบบคลาวด์ให้ครอบคลุม ขอบเขตที่กว้างขวาง และจะต้องเสริมสร้างทักษะให้กับบุคลากร ภายในองค์กร เพื่อให้สามารถสร้าง จัดการ ดูแลรักษา และปกป้อง สภาพแวดล้อมที่ขยายใหญ่ขึ้นนี้ได้

ซึ่งมาพร้อมกับระบบโทรคมนาคม 5G รวมถึงเทคโนโลยี ปัญญาประดิษฐ์ (AI), Augmented Reality, Vehicles as Datacenters และเทคโนโลยีอน่ื ๆ ส่งผลให้ทรัพยากรประมวลผล ถูกติดตัง้ ไว้ทเี่ อดจ์ (Edge) ทีอ่ ยูด่ า้ นนอกสุดของเครือข่ายองค์กร 2 ปัจจัยหลัก ถ้าพูดถึงเรื่องเอดจ์ คอมพิวติ้ง 1. เอดจ์ คอมพิวติ้งจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีไฮบริดคลาวด์ 2. รากฐานของเอดจ์ คอมพิวติง้ จะต้องเป็นแบบเปิด มิฉะนัน้ จะประสบความล้มเหลว

การติดตั้งแพลตฟอร์มพื้นฐานเพื่อรองรับกลยุทธ์ไฮบริด คลาวด์แบบเปิดถือเป็นเรือ่ งจ�ำเป็น แต่กอ็ าจก่อให้เกิดความท้าทาย ตามมา เช่น เรื่องของการรักษาความปลอดภัย การปฏิบัติตาม กฎระเบียบ การเชื่อมต่อเครือข่าย และการบริหารจัดการ ระบบ คลาวด์หนึ่งๆ ไม่ใช่ระบบที่ติดตั้งอย่างตายตัว แต่จะต้องมีการ ปรับเปลีย่ นให้สอดรับกับความต้องการทางธุรกิจและความต้องการ ของตลาดที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดังนั้น CIO ที่จะประสบความ ส�ำเร็จในฐานะเป็นผู้ให้บริการระบบคลาวด์ จ�ำเป็นที่จะต้องเข้าใจ ว่าคุณต้องการการใช้งานที่เฉพาะเจาะจงอย่างไรบ้างทั้งในปัจจุบัน และอนาคต ในท้ า ยที่ สุ ด ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารระบบคลาวด์ จ� ำ เป็ น ต้ อ งอาศั ย บุคลากรภายในองค์กรทีม่ ที กั ษะทีเ่ หมาะสมในการรันระบบคลาวด์ อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะให้ค�ำจ�ำกัดความของสิ่งที่เลือกใช้ว่า อย่างไร แน่นอนว่าชุดทักษะด้านไอทีแบบเดิมยังคงเป็นที่ต้องการ แต่สง่ิ ส�ำคัญเท่าๆ กันก็คอื จะต้องพัฒนาทีมงานให้เรียนรูแ้ ละสร้าง ความช�ำนาญเกี่ยวกับแพลตฟอร์มเทคโนโลยีใหม่ๆ ควบคู่ไปกับ การสร้างคู่มือเกี่ยวกับเครื่องมือและแนวทางปฏิบัติภายในองค์กร ที่จะช่วยเสริมสร้างความส�ำเร็จในอนาคต ทั้งนี้ ผู้ให้บริการระบบ คลาวด์ที่จะสร้างความส�ำเร็จที่ยั่งยืนได้ ไม่ควรคิดแต่จะมอบหมาย งานทั้งหมดให้แก่บุคคลอื่น แต่จะต้องเรียนรู้การท�ำงานบางอย่าง ด้วยตนเอง ดังนั้นไฮบริดคลาวด์คือดาต้าเซ็นเตอร์ใหม่ท่ีประกอบด้วย เซิ ร ์ ฟ เวอร์ ที่ ติ ด ตั้ ง อยู ่ ใ นองค์ ก ร สภาพแวดล้ อ มแบบเวอร์ ช วล อุปกรณ์เอดจ์ และบริการคลาวด์หลายร้อยบริการ (หรืออาจจะ มากกว่านั้น) ส่วน CIO ทุกคนจะท�ำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการระบบ คลาวด์หน้าใหม่ท่ีคอยดูแลระบบคลาวด์ขนาดใหญ่ท่ีซับซ้อน โดย จ�ำเป็นต้องใช้แพลตฟอร์ม เครื่องมือ กระบวนการ และบุคลากรที่ เหมาะสมส�ำหรับการด�ำเนินงานบนระบบคลาวด์ที่ว่านี้


Scoop

> กองบรรณาธิการ

...อนาคตของอุตสาหกรรมยานยนต์นั้น จะเป็นไปในรูปแบบของระบบการขับเคลื่อนอัจฉริยะ และการเชื่อมต่อแบบไร้ขีดจำ�กัด...

ในปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีดิจิทัลท�ำให้เกิด การแข่งขันในทุกอุตสาหกรรม ส่งผลให้การประยุกต์ใช้งาน Smart Factory กลายเป็นสิ่งที่ทุกโรงงานขาดไม่ได้ Smart Factory คือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีตา่ งๆ ในโรงงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะ เทคโนโลยีอย่าง Robotic, IoT และ Artificial Intelligence (AI) เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานทั้งหมดให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น เกรท วอลล์ มอเตอร์ เตรียมเปิดโรงงานอัจฉริยะ (Smart Factory) แห่งแรกของภูมิภาคอาเซียนในประเทศไทยที่จังหวัด ระยอง ทีม่ าพร้อมด้วยเทคโนโลยีการผลิตอันล�ำ้ สมัยควบคูก่ บั ระบบ ความปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน ภายใต้แนวคิด “ฉลาด ปลอดภัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม” (Intelligence, Safety and Green) ซึ่ง องค์กรมุง่ หวังทีจ่ ะสร้างแบรนด์โดยมีปณิธานเพือ่ ส่งมอบเทคโนโลยี และนวัตกรรม ความคล่องตัว และความยั่งยืนสู่โลก โรงงานผลิตรถยนต์ที่จังหวัดระยอง ถือเป็นโรงงานผลิต รถยนต์แบบเต็มรูปแบบในต่างประเทศแห่งที่ 3 ของเกรท วอลล์ มอเตอร์ ซึง่ เกรท วอลล์ มอเตอร์ จะท�ำการขยายตลาดไปทัว่ ภูมภิ าค

อาเซียน โดยมีประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการผลิตและส่งออก ไปยังประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียนและออสเตรเลีย ภายใต้ การด�ำเนินงานตามกลยุทธ์โลกาภิวัตน์ (Globalization Strategy) เกรท วอลล์ มอเตอร์ เริ่มเข้ามาด�ำเนินธุรกิจในไทยตั้งแต่ ช่วงกลางปี พ.ศ. 2563 ในส่วนของการผลิตนัน้ เกรท วอลล์ มอเตอร์ ได้เข้ามาด�ำเนินการปรับปรุงและอัปเกรดระบบของโรงงานระยอง ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ด้วยการน�ำเครื่องจักรและ นวัตกรรมอันล�้ำสมัยเข้ามาติดตั้ง ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยีระบบ ส่งก�ำลัง (Powertrain Technologies) นวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบ การผลิตอัตโนมัติอย่าง AI (Artificial Intelligence) พร้อมเทคโนโลยี หุน่ ยนต์จากประเทศจีน รวมไปถึงการพัฒนาทักษะ ความเชีย่ วชาญ และความสามารถในการผลิตรูปแบบใหม่ๆ ให้กับบุคลากรไทย ให้สามารถด�ำเนินงานได้อย่างเต็มศักยภาพและมีประสิทธิภาพ เพื่อยกระดับและพัฒนาโรงงานระยองสู่การเป็น “Smart Factory” หรือ “โรงงานอัจฉริยะ” ตามมาตรฐานโรงงานของเกรท วอลล์ มอเตอร์ ทั่วโลกได้อย่างสมบูรณ์


ด้วยระยะเวลาเพียง 7 เดือน เกรท วอลล์ มอเตอร์ พร้อมแล้ว ที่จะเปิดโรงงานอัจฉริยะแบบเต็มรูปแบบแห่งแรกของภูมิภาค เอเซียนในประเทศไทย โดยจะมีพธิ เี ปิดอย่างเป็นทางการในเดือน มิถนุ ายน พ.ศ. 2564 ทีโ่ รงงานเกรท วอลล์ มอเตอร์ จังหวัดระยอง เพื่อประกาศความพร้อมการเดินสายการผลิตด้วยมาตรฐาน ระดับโลก ที่สามารถรองรับกระบวนการที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ชั้นสูงในการผลิตรถยนต์เพื่อพร้อมส่งมอบให้กับผู้บริโภคชาวไทย ซึ่งโรงงานของเกรท วอลล์ มอเตอร์ ที่จังหวัดระยองนี้ จะมีกำ� ลัง การผลิตแบบเต็มก�ำลังอยู่ที่ 80,000 คันต่อปี และจะเป็นฐาน การผลิตหลักส�ำหรับรถยนต์พวงมาลัยขวาของภูมิภาคนี้ โดยจะมี สัดส่วนของการผลิตและส่งออกอยู่ที่ 60:40 กล่าวคือ จะจ�ำหน่าย ภายในประเทศ 60% และจะเป็นการส่งออกไปยังประเทศที่เป็น รถยนต์พวงมาลัยขวา 40% เพราะฉะนั้นโรงงานผลิตรถยนต์ที่จังหวัดระยอง มีส่วนช่วย ในการขยายตลาดของเกรท วอลล์ มอเตอร์ ในประเทศไทยและ

นอกจากการตั้งฐานการผลิตในภูมิภาคส�ำคัญต่างๆ ทั่วโลก แล้ว เกรท วอลล์ มอเตอร์ ยังมีเครือข่ายศูนย์วิจัยและพัฒนากว่า 10 แห่ง ใน 7 ประเทศทั่วโลก เพื่อเฟ้นหาและพัฒนาเทคโนโลยี ด้านยานยนต์ใหม่ๆ เพื่อน�ำมาประยุกต์ใช้กับการผลิตรถยนต์ให้ ทันสมัย ปลอดภัย และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมตอบโจทย์ ความต้องการของผู้บริโภคได้ดีย่ิงขึ้น ในฐานะ “บริษัทที่ให้บริการ การขับเคลือ่ นด้วยเทคโนโลยีระดับโลก” (Global Mobility Technology Company) เกรท วอลล์ มอเตอร์ ยังคงเดินหน้าพัฒนาคุณภาพของ รถยนต์อย่างไม่หยุดยัง้ ทัง้ ด้านการสร้างโรงงานการผลิตทีไ่ ด้มาตรฐาน การพัฒนาฝีมือ ทักษะ และความเชี่ยวชาญของทีมงาน ตลอดจน การลงทุนด้านการวิจยั ต่างๆ และการเปิดโรงงานอัจฉริยะในจังหวัด ระยอง ประเทศไทยนี้ จะเป็นอีกหนึ่งก้าวส�ำคัญของเกรท วอลล์ มอเตอร์ ประเทศไทย ในการช่วยยกระดับเศรษฐกิจองค์รวม การเพิม่ อัตราการจ้างงานให้กบั คนไทย รวมไปถึงการน�ำอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยเฉพาะยานยนต์ไฟฟ้า (xEV) ของไทยให้ก้าวไกลสู่ระดับสากล

ภูมิภาคอาเซียน การลงทุนของเกรท วอลล์ มอเตอร์ จะช่วยเพิ่ม โอกาสการจ้างงานในท้องถิ่น และส่งเสริมการพัฒนาของห่วงโซ่ อุปทาน การวิจยั และพัฒนา การสนับสนุนอุตสาหกรรมเกีย่ วเนือ่ ง รวมถึงช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศมากขึ้น ปัจจุบัน เกรท วอลล์ มอเตอร์ มีโรงงานผลิตเต็มรูปแบบ รวมทัง้ สิน้ 12 แห่งทัว่ โลก รวมโรงงานทีจ่ งั หวัดระยองในประเทศไทย และมีโรงงานแบบ KD (Knock Down) อีก 5 แห่งนอกประเทศจีน โดยแต่ละโรงงานจะมีก�ำลังการผลิต เทคโนโลยี และความโดดเด่น ทีแ่ ตกต่างกัน เพือ่ รองรับการผลิตรถยนต์ในแต่ละประเภทและแต่ละ ภูมภิ าคทีต่ า่ งกัน อาทิ โรงงานอัจฉริยะในเมือง Chongqing ประเทศ จีน จะมีหุ่นยนต์อัจฉริยะปฏิบัติการเกี่ยวกับการเชื่อมและพ่นสี เน้นการผลิตรถกระบะ P Series และ HAVAL หรือโรงงานอัจฉริยะ ในเมือง Taizhou ที่มีการจัดตั้งสมาร์ทพาร์คเชื่อมโยงระบบข้อมูล อัจฉริยะ ทีม่ กี ารประสานงานอย่างครอบคลุมตัง้ แต่การวิจยั การผลิต การจัดหา การตลาด ทรัพยากรบุคคล การเงิน เข้าด้วยกัน และ ใช้เป็นการฐานการผลิตรถยนต์ ORA Good Cat เป็นหลัก เป็นต้น

เกรท วอลล์ มอเตอร์ มองแนวโน้มในอนาคตของอุตสาหกรรม ยานยนต์นั้น จะเป็นไปในรูปแบบของระบบการขับเคลื่อนอัจฉริยะ และการเชื่อมต่อแบบไร้ขีดจ�ำกัด เกรท วอลล์ มอเตอร์ มุ่งมั่นที่จะ พัฒนาการท�ำงานเพื่อให้เข้าใกล้เทคโนโลยีแห่งอนาคตของรถยนต์ ขับเคลื่อนอัตโนมัติและการเชื่อมต่อกับรถยนต์อย่างไร้ขีดจ�ำกัด พร้อมทั้งการใช้พลังงานทางเลือก มุ่งมั่นที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการ สร้างโลกทีส่ ะอาดและเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมยิง่ ขึน้ ด้วยการทุม่ เท ในการวิจยั พลังงานใหม่ อาทิ เซลล์เชือ้ เพลิงไฮโดรเจนและปลัก๊ อินไฮบริด ดังนัน้ การท�ำงาน Smart Factory ได้กลายเป็นสิง่ จ�ำเป็นใน ปัจจุบนั เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการแข่งขันและลดต้นทุนในการผลิต กระนั้นผู้ประกอบการต้องมีการวางระบบที่เหมาะสม รวมถึงการ เข้าใจหลักการท�ำงานเพื่อดึงประสิทธิภาพของ Smart Factory ได้ อย่างเต็มประสิทธิภาพ


Scoop

> กองบรรณาธิการ

โครงการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ พลั ง งานและการลดก๊ า ซเรื อ นกระจก ที่เหมาะสมของประเทศในอุตสาหกรรม เครื่องปรับอากาศและเครื่องท�ำความเย็น (RAC NAMA) ชูความส�ำเร็จการด�ำเนินงาน ในการผลั ก ดั น นวั ต กรรมและเทคโนโลยี การท� ำ ความเย็ น ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพการใช้ พลังงานสูงและเป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ ระหว่าง พ.ศ. 2559-พ.ศ. 2564 โดยโครงการ RAC NAMA ได้สนับสนุนให้ผู้ประกอบการ ภายในประเทศจ�ำนวน 10 ราย หันมาผลิต อุปกรณ์การท�ำความเย็นและเครือ่ งปรับอากาศ ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพการใช้พลังงานที่ สูงขึ้น จนถึงปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์กว่า 150,000 เครื่อง ออกสู่ตลาดภายในประเทศ รวมถึง ส่งออกไปยังตลาดต่างประเทศ คิดเป็นปริมาณ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ท้ังสิ้น 350,000 tCO2eq โดยคาดว่าในอีก 3 ปีขา้ งหน้า ผลิตภัณฑ์ตแู้ ช่ดงั กล่าวจะมีสว่ นแบ่งการตลาด ในประเทศกว่าร้อยละ 90

ความสำ�เร็จในการผลักดัน เทคโนโลยีการทำ�ความเย็นสีเขียว ของ

RAC NAMA

นอกจากนี้ โครงการฯ ยังได้พฒ ั นาหลักสูตรและจัดฝึกอบรมครูชา่ งจากส�ำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) และกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (กพร.) ตลอดจน หัวหน้าช่างจากบริษัทผู้ผลิตที่เข้าร่วมโครงการ จ�ำนวน 222 ราย ในเรื่องการใช้ สารท�ำความเย็นทีต่ ดิ ไฟได้อย่างปลอดภัย เพือ่ น�ำความรูท้ ไ่ี ด้รบั ไปถ่ายทอดในหน่วยงาน และบริษทั ต่อไป รวมทัง้ มีการจัดตัง้ ศูนย์ฝกึ อบรมจ�ำนวน 8 แห่งทัว่ ประเทศ และปรับปรุง ห้องทดสอบส�ำหรับเทคโนโลยีการใช้สารท�ำความเย็นธรรมชาติ เพื่อเตรียมความพร้อม ส�ำหรับมาตรฐานด้านความปลอดภัยของเครือ่ งปรับอากาศทีค่ รอบคลุมสารท�ำความเย็น ที่ติดไฟ และรองรับผลิตภัณฑ์เครื่องปรับอากาศที่ใช้สารท�ำความเย็นธรรมชาติท่ีก�ำลัง เข้าสู่ตลาดในอนาคต โดยความส�ำเร็จจากการด�ำเนินโครงการฯ ตลอดจนแผนยุทธศาสตร์เพื่อการ ต่อยอด ได้ถูกน�ำเสนอต่อผู้แทนจากส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม (สผ.) กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน (พพ.) การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) กพร. สอศ. สถาบัน ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (สฟอ.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย (ส.อ.ท.) และกรมความร่วมมือระหว่างประเทศ (TICA) ในการประชุม ออนไลน์ (Closing Webinar) เพือ่ เป็นการสนับสนุนประเทศไทยสูก่ ารเป็นสังคมคาร์บอนต�ำ่ โครงการ RAC NAMA ได้ด�ำเนินการส่งเสริมการลด การผลิต และการใช้สารท�ำความเย็นชนิดไฮโดรฟลูออโร คาร์บอน (HFCs) ในระบบเครื่องปรับอากาศและเครื่องท�ำความเย็น ด้วยมีค่าศักยภาพ ในการท�ำให้เกิดภาวะโลกร้อนสูง (Global Warming Potentials : GWP) และมุง่ มัน่ ผลักดัน การใช้สารท�ำความเย็นธรรมชาติ หรือ Green Cooling ซึง่ ไม่ทำ� ลายชัน้ บรรยากาศโอโซน ด้วยค่าศักยภาพการท�ำลายชั้นบรรยากาศโอโซน (Ozone Depleting Potential : ODP) เท่ากับศูนย์ และค่า GWP ที่ต�่ำมาก โดยร่วมมือกับ สผ. พพ. กฟผ. และองค์กรความ ร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ในฐานะผู้ร่วมหลักในการด�ำเนินโครงการ


ดร.รวีวรรณ ภูริเดช เลขาธิการ สผ. กล่าวว่า “ปัจจุบันสัดส่วนการใช้ไฟฟ้าของภาคระบบปรับอากาศ และการท�ำความเย็นอยูท่ ป่ี ระมาณร้อยละ 50 และยังเป็น ภาคส่วนทีม่ กี ารปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกในปริมาณสูง ดังนัน้ การปรับปรุงเทคโนโลยีจงึ เป็นส่วนส�ำคัญทีจ่ ะช่วย ลดภาวะโลกร้ อ น และผลั ก ดั น ให้ ป ระเทศไทยบรรลุ เป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ได้แสดง เจตจ�ำนงผ่านข้อเสนอการมีส่วนร่วมที่ประเทศก�ำหนด (NDC) จึงขอใช้โอกาสนี้ขอบคุณกองทุน NAMA Facility ดร.รวีวรรณ ภูริเดช ผ่านรัฐบาลแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีและสหราช อาณาจักร ที่ได้สนับสนุนเงินทุนส�ำหรับโครงการ RAC NAMA เพื่อการ ด�ำเนินความร่วมมือระหว่างประเทศนี้ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้ ร่วมกันด�ำเนินการปกป้องสภาพภูมอิ ากาศและสิง่ แวดล้อมด้วยกันต่อไป” ดร.ฟิลปิ ป์ พิชเกอะ ผูอ้ ำ� นวยการโครงการ RAC NAMA องค์กร ความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) กล่าวว่า “โครงการฯ มุ่งเน้นการด�ำเนินงานทั้งเชิงนโยบาย เชิงเทคนิค และเชิงการเงิน โดยพิจารณาทั้งในด้านอุปสงค์ อุปทาน และร่วมมืออย่างต่อเนื่องกับ ภาคส่วนอุตสาหกรรมเครื่องท�ำความเย็น ตลอดจนกลุ่มผู้ใช้ภาคธุรกิจ ตลอดระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา เราได้ด�ำเนินงานร่วมกับกระทรวงที่ เกีย่ วข้องและหน่วยงานต่างๆ ทีร่ บั ผิดชอบในการก�ำหนดมาตรฐานความ ปลอดภัยและกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ความสอดคล้องกับแนวทางการ ปฏิบตั ทิ ดี่ แี ละเป็นสากล การปรับปรุงฉลากประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การจัดตั้งระบบการวัดผล การรายงานผล และการทวนสอบ (MRV) เพือ่ ให้ประเทศไทยสามารถรายงานผลทีเ่ กีย่ วข้องตามกรอบอนุสญ ั ญา สหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) ได้ และสนับสนุนการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับผู้ผลิต ผลส�ำเร็จทั้งหมดนี้ โดยเฉพาะการเติบโตของภาคีทเ่ี ปลีย่ นมาใช้เทคโนโลยีการท�ำความเย็น สีเขียวในประเทศไทยนั้น ต้องอาศัยความพยายามในการด�ำเนินการ อย่างยิ่งยวด จึงขอใช้โอกาสอันดีนี้ในการขอบคุณภาคส่วนต่างๆ ที่ได้ ร่วมมือกันท�ำให้เทคโนโลยีการท�ำความเย็นสีเขียวเกิดขึ้นและโครงการ RAC NAMA ส�ำเร็จลุล่วง” สมใจ บุนนาค ผู้อ�ำนวยการฝ่ายสิ่งแวดล้อม โครงการ กฟผ. กล่าวว่า “กฟผ. รูส้ กึ ภูมใิ จทีไ่ ด้มสี ว่ นร่วม กั บ โครงการนี้ ในอนาคต กฟผ. จะน� ำ ความส� ำ เร็ จ ประสบการณ์ และองค์ความรูท้ ไี่ ด้จากการจัดการกองทุน RAC NAMA ไปใช้ในการบริหารจัดการกองทุนนวัตกรรม ส�ำหรับอุตสาหกรรมท�ำความเย็น (Cooling Innovation Fund : CIF) ทีจ่ ะอยูภ่ ายใต้การก�ำกับของ กฟผ. เพือ่ ส่งเสริม นวัตกรรมทีย่ ง่ั ยืนและการเปลีย่ นแปลงตลาดไปสูเ่ ทคโนโลยี การท�ำความเย็นที่มีประสิทธิภาพการใช้พลังงานสูงและ สมใจ บุนนาค เป็ น มิ ต รต่ อ สภาพภู มิ อ ากาศ ผ่ า นสารท� ำ ความเย็ น ธรรมชาติ โดยกองทุน CIF มีเงินทุนรวมประมาณ 180 ล้านบาท และ คาดว่าจะเริม่ ออกมาตรการสนับสนุนในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปีน้ี กฟผ. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับความร่วมมืออันดีกับทุกหน่วยงาน ณ ที่นี้ ต่อไป”

ภาคอุ ต สาหกรรมการท� ำ ความเย็ น มีสัดส่วนคิดเป็นประมาณร้อยละ 20 ของการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกของทั้งประเทศไทย โดยร้อยละ 88 ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทั้งหมดจากภาคส่วนนี้มาจากการใช้พลังงาน และอีกร้อยละ 12 มาจากการใช้สารท�ำความเย็น ทีม่ คี า่ ศักยภาพในการท�ำให้เกิดภาวะโลกร้อนสูง โครงการ RAC NAMA มีวัตถุประสงค์ในการ ริเริ่มการเปลี่ยนผ่านไปสู่การใช้ “เทคโนโลยี การท� ำ ความเย็ น สี เขี ย ว” และการก้ า วไปสู ่ การเป็นสังคมคาร์บอนต�่ำ โดยการผลิตและ การลงทุ น ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สภาพภู มิ อ ากาศ โครงการนี้ ไ ด้ รั บ การสนั บ สนุ น จากกองทุ น NAMA Facility ในนามของรัฐบาลแห่งสหพันธ์ สาธารณรั ฐ เยอรมนี แ ละสหราชอาณาจั ก ร ซึ่ ง ได้ เริ่ ม ต้ น ด� ำ เนิ น การในเดื อ นเมษายน พ.ศ. 2559 จนถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2564 โดยมี GIZ เป็นผูป้ ระสานงานหลัก ด�ำเนินการ ร่วมกับส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) กรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เพื่อบรรลุการเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรม การท�ำความเย็นของประเทศไทย องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศ ของเยอรมัน (GIZ) เป็นองค์กรของรัฐบาล แห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีที่ด�ำเนินงาน ด้านความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการ พัฒนาอย่างยัง่ ยืน GIZ ปฏิบตั งิ านในนามของ หน่วยงานภาครัฐและเอกชนทั้งในประเทศ เยอรมนี แ ละต่ า งประเทศ รวมทั้ ง รั ฐ บาล ของประเทศต่างๆ สหภาพยุโรป องค์การ สหประชาชาติ ธนาคารโลก และองค์กรที่ให้ ทุนอื่นๆ GIZ ด�ำเนินงานอยู่ในประเทศต่างๆ มากกว่า 120 ประเทศทั่วโลก และมีพนักงาน ประมาณ 22,000 คน


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

ปัจจุบันโลกก�ำลังก้าวสู่การเปลี่ยนผ่านด้านพลังงาน มีการ เปลี่ ย นผ่ า นจากการใช้ พ ลั ง งานฟอสซิ ล มาสู ่ พ ลั ง งานทางเลื อ ก ที่สะอาด และลดการปล่อยคาร์บอนมากขึ้น แม้ว่าประเทศไทย จะเป็นแหล่งผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพรายหลักของโลก แต่การพัฒนำ แหล่งพลังงานทางเลือกใหม่ๆ อย่างไฟฟ้า ก็นับว่ามีความส�ำคัญ เช่นกัน โดยประเทศไทยตั้งเป้าผลิตรถยนต์ไฟฟ้าให้ได้ 750,000 คันต่อปี ภายใน พ.ศ. 2573 นอกจากนี้ รัฐบาลไทยยังได้ประกาศ แผนแม่บทที่จะผลักดันให้ไทยกลายเป็นศูนย์กลางยานพาหนะ ไฟฟ้าในภูมภิ าคอาเซียนภายใน พ.ศ. 2568 และขยายความร่วมมือ กับพันธมิตรจากหลายภาคส่วนเพื่อเพิ่มจ�ำนวนสถานีชาร์จรถยนต์ ไฟฟ้าภายในประเทศ บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด ร่วมกับ บริษัท บีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เปิดตัวจุดชาร์จรถยนต์ ไฟฟ้า (EV) ภายใต้แบรนด์ Shell Recharge ซึง่ เป็นจุดชาร์จรถยนต์ ไฟฟ้ากระแสตรง ควิกชาร์จแห่งแรกส�ำหรับเชลล์ในประเทศไทย ทีส่ ถานีบริการน�ำ้ มันเชลล์บนถนนกาญจนาภิเษก ทัง้ นีเ้ ป็นการผนึก ความเชี่ยวชาญของเชลล์ ผู้น�ำในธุรกิจพลังงานและบีเอ็มดับเบิลยู ผู้ผลิตรถยนต์ชั้นน�ำของโลก สนับสนุนการพัฒนาระบบ E-Mobility ในไทย เพื่อตอบโจทย์ความยั่งยืนด้านพลังงานและรองรับความ ต้องการการใช้รถยนต์ไฟฟ้าทีเ่ พิม่ ขึน้ ภายในประเทศ จุดบริการใหม่น้ี จะช่วยให้ลกู ค้าของเชลล์สามารถชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าระหว่างเดินทาง ได้ที่สถานีบริการน�้ำมันแฟลกชิปของเชลล์ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว เรืองศักดิ์ ศรีธนวิบญ ุ ชัย รักษาการ กรรมการบริหาร ธุรกิจการตลาดค้าปลีก บริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด กล่ า วว่ า ความร่ ว มมื อ ในครั้ ง นี้ เชลล์ น�ำเสนอโซลูชันใหม่ส�ำหรับการเดินทาง ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม เรืองศักดิ์ เราน�ำประสบการณ์และความเชี่ยวชาญ ศรีธนวิบุญชัย จากการให้บริการสถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้ำ มาสร้างมาตรฐานใหม่ในการให้บริการจุดชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าใน ประเทศไทย ภายใต้แบรนด์ Shell Recharge ด้วยความร่วมมือกับ ผู้เชี่ยวชาญด้านรถยนต์ไฟฟ้าชั้นน�ำระดับโลกอย่างบีเอ็มดับเบิลยู และแบรนด์ BMW ChargeNow ช่วยเสริมความแข็งแกร่งให้เรำ ในฐานะผู้น�ำนวัตกรรมพลังงานในประเทศไทย Shell Recharge พร้อมที่จะเป็นผู้ให้บริการจุดชาร์จรถยนต์ไฟฟ้ารายหลักที่ได้รับ ความไว้วางใจภายในประเทศ ควบคูไ่ ปกับการส่งมอบน�ำ้ มันเชือ้ เพลิง คุณภาพสูงจากเชลล์ตอ่ ไป ทัง้ นีเ้ ชลล์มปี ระสบการณ์ความเชีย่ วชาญ ในธุรกิจบริการสถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าและพลังงานสะอาดอื่นๆ

ผ่านการขยายเครือข่ายการให้บริการสถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้ากว่า 60,000 สถานีทั่วทวีปยุโรป และได้น�ำความเชี่ยวชาญดังกล่าวมำ สนับสนุนความมุ่งมั่นของประเทศไทยในการเปลี่ยนผ่านพลังงาน อเล็กซานเดอร์ บารากา ประธาน บริษทั บีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด กล่ า วว่ า บี เ อ็ ม ดั บ เบิ ล ยู กรุ ๊ ป ประเทศไทย มีความยินดีเป็นอย่างยิง่ ทีไ่ ด้ ร่ ว มมื อ กั บ เชลล์ ใ นการเปิ ด ตั ว จุ ด ชาร์ จ รถยนต์ไฟฟ้าแห่งใหม่ มีความร่วมมือที่ดี อเล็กซานเดอร์ กั บ เชลล์ ม าอย่ า งต่ อ เนื่ อ งในระดั บ โลก บารากา และวั น นี้ เราพร้ อ มที่ จ ะก้ า วไปสู ่ ค วาม ยั่งยืนด้านพลังงาน ด้วยโซลูชันการเดินทางส�ำหรับอนาคตพร้อม กับเชลล์ ในฐานะผู้น�ำด้านนวัตกรรมยานยนต์ไฟฟ้าระดับโลก บีเอ็มดับเบิลยูให้ความส�ำคัญกับการขับเคลื่อนพลังงานสะอาด อย่างยัง่ ยืนในประเทศไทยตลอดมา โดยทางบีเอ็มดับเบิลยูนำ� เสนอ ยนตรกรรมพลั ง งานไฟฟ้ า ทั้ ง ในรู ป แบบรถยนต์ ป ลั๊ ก อิ น ไฮบริ ด และรถยนต์พลังงานไฟฟ้า 100% หลากหลายรุ่นให้แก่ผู้ขับขี่ใน ประเทศไทย และยังร่วมมือกับพันธมิตรในการขยายเครือข่ายสถานี อัดประจุไฟฟ้าสาธารณะ ChargeNow เพื่อส่งเสริมการใช้รถยนต์ ไฟฟ้าในประเทศไทยมาตั้งแต่ พ.ศ. 2560 ซึ่งเปิดกว้างให้แก่ผู้ใช้ ยานยนต์ไฟฟ้าทุกรุ่นทุกแบรนด์ ความร่วมมือกับเชลล์ในครั้งนี้ เป็ น การร่ ว มเตรี ย มความพร้ อ มด้ า นโครงสร้ า งพื้ น ฐานส� ำ หรั บ รถยนต์ไฟฟ้า โดยสถานีแห่งนีน้ บั เป็นจุดให้บริการชาร์จรถยนต์ไฟฟ้ำ กระแสตรงแบบควิกชาร์จ (DC Quick Charger) แห่งแรกของ BMW ChargeNow อีกด้วย เราจึงเชือ่ มัน่ ว่าโครงการความร่วมมือนีจ้ ะช่วย สร้างพืน้ ฐานทีแ่ ข็งแกร่งยิง่ ขึน้ ส�ำหรับประเทศไทย เพือ่ เดินหน้าสูย่ คุ ยานยนต์ไฟฟ้าอย่างยั่งยืน ทั้งนี้ ในปัจจุบันจุดชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า Shell Recharge in Partnership with BMW ChargeNow ให้บริการได้ทงั้ หมด 3 หัวจ่าย ทั้งในแบบ DC Quick Charge กระแสไฟตรง ที่เป็นหัวชาร์จ CHAdeMO และ CCS Type 2 จ�ำนวน 2 หัวจ่าย สามารถชาร์จ รถยนต์ไฟฟ้าได้ 0-80% ภายใน 30 นาที และในแบบ AC Normal Charge กระแสไฟสลับ 1 หัวจ่าย ที่สามารถชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าได้ ภายใน 3-4 ชั่วโมง โดยจุดชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าที่มีก�ำลังไฟฟ้าอยู่ที่ 50 กิโลวัตต์น้ี สามารถชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าได้ทุกแบรนด์ รวมถึง รถยนต์ ไ ฟฟ้ า แบบปลั๊ ก อิ น ไฮบริ ด และรถยนต์ ไ ฟฟ้ า แบตเตอรี่ ในระยะแนะน�ำบริการจุดชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าดังกล่าว เชลล์เปิด ให้บริการส�ำหรับลูกค้าโดยไม่มคี า่ ใช้จา่ ย ก่อนน�ำเสนออัตราค่าบริการ ที่เหมาะสมในระยะต่อไป


The Shell Company of Thailand Limited, in collaboration with BMW Group Thailand, invites all to experience the future of lower carbon energy solutions, by introducing “Shell Recharge.” a rapid electric vehicle (EV) charging facility for the first time in Thailand at the Shell station on Kanchanaphisek Road. The EV charger is the joint effort between two leading global companies– Shell, a leader in the energy business, and BMW, a leading auto manufacturer–to support Thailand’s E-Mobility system in response to the need for energy sustainability and the increasing domestic demand for electric cars. This new service allows drivers to charge their cars on the go at Shell’s flagship service station. Thailand is undergoing an energy transition. There is a major shift from fossil fuel to cleaner, low-carbon energy. While Thailand is already a major producer of biofuel, it is also important for the country to further develop alternative energy sources including electricity. By 2030, Thailand aims to produce at least 750,000 electric vehicles a year. Furthermore, the Thai government has announced a roadmap to make the country an EV hub within the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) by 2025 and is collaborating with various parties to increase the number of EV charging stations in the country. Shell develops its expertise in EV charging stations and other clean energy through the company’s expansion of more than 60,000 EV charging stations across Europe. Such expertise is extended to Thailand to respond to the country’s ambition toward energy transition.

Mr.Ruengsak Sritanawiboonchai, Acting Executive Director–Retail Business of The Shell Company of Thailand Limited, explained the partnership, “Shell introduces a new transportation solution that is friendly to society and the environment. We bring our global experience and expertise in EV charging stations to deliver a new standard in Thailand under the brand ‘Shell Recharge.’ Our partnership with a leading global expert in electric cars, such as BMW with ‘BMW ChargeNow.’ helps strengthen our leading position in energy innovation in Thailand. Shell Recharge is set to serve as the country’s main EV charging station service provider of choice, in addition to delivering Shell’s high-quality fuels.” Mr.Alexander Baraka, President of BMW Group Thailand, added, “BMW Group Thailand is very pleased to partner with Shell in launching these new EV chargers, as part of the long-standing BMW-Shell global partnership. Today, we are ready to join hands with Shell in delivering this solution to further realize energy sustainability for the future of transportation. As a global leader in electric mobility, we have made Thailand’s sustainable future of mobility priority to our mission. We are already offering a range of electrified vehicles in both plug-in hybrid and all-electric configurations to Thai motorists, as well as working with partners to expand the network of ChargeNow public charging stations for vehicles of any make and model since 2017. This cooperation with Shell marks the first BMW ChargeNow’s DC Quick Charger in the country and forges a solid foundation for electric mobility that allows us to further drive the adoption of electric mobility in Thailand. We look forward to developing a stronger infrastructure that sustainably paves the way to a greener future in Thailand.” Shell Recharge in partnership with BMW ChargeNow’ EV charging station has three connectors–covering two units of DC Quick Charge in CHAdeMO and CCS Type 2 sockets, which can provide 0 to 80% charge for an electric car within 30 minutes, and another one unit of AC Normal Charge, which can fully charge an electrified vehicle in about 3-4 hours. These 50 kW charging stations work with every electric car brand, including plug-in hybrids and battery electric cars. Initially, these chargers will be provided for free to Shell customers during the special introduction period, before developing a fee structure in the future.


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

ในยุคดิจทิ ลั ทีเ่ ทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทส�ำคัญในการด�ำเนิน ธุรกิจ การก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัลเป็นทางเลือกที่ดีท่ีสุดในการท�ำธุรกิจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และระบบคลาวด์ชว่ ยให้การเข้าถึงสามารถ ท�ำได้อย่างหลากหลายของเทคโนโลยี ซึ่งจะเป็นการสร้างสรรค์ นวัตกรรมได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น Infobip ผู้น�ำแพลตฟอร์มการสื่อสารระดับสากลบนระบบ คลาวด์ ทีช่ ว่ ยให้ธรุ กิจต่างๆ สามารถสร้างประสบการณ์ให้กบั ลูกค้า ได้ อ ย่ า งครอบคลุ ม ในทุ ก ขั้ น ตอนได้ อ อกรายงานภายใต้ หั ว ข้ อ ปีแห่งการเปลี่ยนแปลง : การบริหารความซับซ้อนที่เพิ่มขึ้นใน การบริการลูกค้า (A Year of Disruption : Managing Increasing Complexities in Customer Service) ที่ชี้ให้เห็นว่าถึงแม้วิถี การท�ำงานจากที่บ้านจะสิ้นสุดลงเมื่อสถานการณ์การแพร่ระบาด ของไวรัสโควิด-19 ดีขนึ้ ในอนาคต แต่แนวโน้มของการเปลีย่ นแปลง ไปสู่ยุคดิจิทัลนั้นจะยังคงเดินหน้าต่อไป ด้วยการท�ำงานระยะไกลทีเ่ พิม่ ขึน้ ท�ำให้ พ.ศ. 2563 เป็นปีที่ บริษัทหลายแห่งในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก หันมา ปรับตัวให้เข้ากับยุคดิจิทัลเพื่อการอยู่รอด ดังนั้นเมื่อมีการระบาด ของโควิด-19 ส่งผลให้พนักงานต้องเริ่มท�ำงานจากที่บ้าน จึงท�ำให้ การสร้างประสบการณ์ของลูกค้า (CX) ต้องถูกปรับเปลีย่ นให้เข้ากับ ระบบดิจิทัลเช่นกัน โดยรายงานดังกล่าวของ Infobip ได้ส�ำรวจมืออาชีพกว่า 2,760 คน ในหลากหลายตลาด ครอบคลุม 9 ประเทศในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก ได้แก่ ประเทศไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ไต้หวัน เกาหลีใต้ จีน เวียดนาม และฟิลิปปินส์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ถึงหลายบริษทั จะมีความตัง้ ใจทีจ่ ะสร้างความเปลีย่ นแปลงทีจ่ ำ� เป็น อย่างถาวรในอนาคต แต่กย็ งั คงมีความท้าทายต่างๆ ทีต่ อ้ งก้าวผ่าน อาทิ

ศุภพร ชัยวิสุทธิ์

• ค�ำถามที่เพิ่มขึ้นในช่วงเวลาแห่งความไม่แน่นอน 54% ของ ผูต้ อบแบบสอบถามระบุวา่ การสอบถามข้อมูลจากลูกค้าทีเ่ พิม่ ขึน้ นับเป็นหนึ่งในอุปสรรคที่ท้าทายที่สุดของการบริการลูกค้าใน ปีที่แล้ว • การเติมเต็มช่องว่างทางทักษะ บทส�ำรวจเผยว่า 60% ของผูต้ อบ แบบสอบถามระบุว่า การฝึกอบรมพนักงานถือเป็นข้อพิจารณา ทีส่ ำ� คัญอันดับต้นๆ ระหว่างการปรับเปลีย่ นการบริการลูกค้าเข้าสู่ ระบบดิจิทัล • พัฒนาการของช่องทางทีล่ กู ค้าเลือก 66% ของผูต้ อบแบบสอบถาม ระบุวา่ แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย เช่น Facebook และ Instagram เป็นช่องทางหลักในการสื่อสารกับลูกค้าในปัจจุบัน

ศุภพร ชัยวิสุทธิ์ ผู้จัดการ บริษัท อินโฟบิป (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า “ข้อมูลจากผลส�ำรวจเป็นตัวบ่งชีว้ า่ การดูแลลูกค้า (CSS) และการยกระดับประสบการณ์ของลูกค้า (CX) ก�ำลังพัฒนาข้ามผ่าน ช่องทางแบบดั้งเดิม ดังนั้นความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่มา พร้อมกับความต้องการของผู้บริโภคที่ยังคงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้บริษัทต่างๆ ต้องปรับตัวเพื่อเอาตัวรอด หรือยอมเสี่ยงต่อ การพ่ายแพ้ให้กับบริษัทหน้าใหม่และการขัดขวางจากตลาดภายนอก เวลานีจ้ งึ นับเป็นโอกาสทีด่ ใี นการเพิม่ กลยุทธ์เสริมสร้างการสือ่ สารและ เชื่อมโยงระหว่างหลายช่องทางแบบ Omnichannel เพื่อประกอบกับ แผนการปรับเปลี่ยนระบบเข้าสู่ยุคดิจิทัลอย่างสมบูรณ์แบบ และการ ตรวจสอบให้แน่ใจว่าพนักงานมีความพร้อมด้านทักษะดิจทิ ลั ทีเ่ หมาะสม จะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการขับเคลื่อนธุรกิจให้เจริญเติบโตต่อไป”


ช่องทางการดูแลลูกค้าที่เพิ่มขึ้น (60.53%) และการจัดการช่องทาง การดูแลลูกค้าใหม่ๆ (50.99%) นับเป็นความท้าทายหลักของประเทศ

การเตรียมกำ�ลังแรงงาน

Infobip มุง่ ผลักดันให้นายจ้างฝึกอบรมพนักงานด้านการสร้าง ประสบการณ์ของลูกค้า (CX) เพือ่ ปรับตัวเข้ากับการเปลีย่ นแปลงเข้าสู่ ยุคดิจทิ ลั และลงทุนในช่องทางการสือ่ สารทีเ่ หมาะสมกับตลาดของ ตนเอง ด้วยการค้นหาโซลูชนั ทีด่ ที สี่ ดุ เพือ่ ลดความซับซ้อนของขัน้ ตอน การสื่อสาร จากผลการส�ำรวจพบว่า ประเทศไทยสามารถปรับตัว เข้าสูก่ ารท�ำงานจากทีบ่ า้ นได้อย่างราบรืน่ (54%) และรับมือกับความ ต้องการของลูกค้าได้ดีขึ้น (50.67%) เป็นผลประโยชน์หลักของการ ท�ำงานระยะไกล ซึ่งล้วนแล้วแต่จะช่วยยกระดับประสบการณ์ของ ลูกค้า (CX) ให้ดียิ่งขึ้น

สร้างอนาคตให้เป็นอัตโนมัติ

ผู้ตอบแบบสอบถามกว่าครึ่งรายงานว่า การปรับตัวเข้าสู่ ยุคดิจทิ ลั ของการดูแลลูกค้า (CSS) นับเป็นการเปลีย่ นแปลงทีถ่ าวร ในอนาคต โดยพิจารณาจากผลประโยชน์ระยะยาวจากระบบ อัตโนมัตอิ จั ฉริยะ และการสร้างฮับผ่านหลายช่องทางทีเ่ ชือ่ มต่อกัน แบบ Omnichannel ทั้งนี้ เมื่อมีโจทย์ให้คะแนนความส�ำคัญจาก 1-10 ผู้ตอบแบบสอบถามให้คะแนนการปรับตัวเข้าสู่ยุคดิจิทัลของ การดูแลลูกค้า (CSS) โดยเฉลี่ยที่ 8 คะแนน ประเทศไทยบริหารการดูแลลูกค้าส่วนใหญ่ผ่านช่องทาง โซเชียลมีเดีย เช่น Facebook และ Instagram มากถึงประมาณ 78% ซึ่งนับว่าสูงเป็นอันดับ 2 ในภูมิภาครองจากเวียดนาม ผลลัพธ์น้ี แสดงให้เห็นถึงความชอบทีเ่ ปลีย่ นไปในการเลือกช่องทางการสือ่ สาร ของลู ก ค้ า ซึ่ ง ตอกย�้ ำ ถึ ง ความส� ำ คั ญ ที่ ม ากขึ้ น ส� ำ หรั บ แบรนด์ ในการจัดการและบริหารการสื่อสารผ่านหลากหลายช่องทางอย่าง ไร้รอยต่อ โดยเฉพาะในช่วงการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 อย่ า งไรก็ ต าม ผลส� ำ รวจแสดงให้ เ ห็ น ว่ า อุ ต สาหกรรม การสร้างประสบการณ์ของลูกค้า (CX) ในทุกตลาด ดูเหมือนว่า จะประสบปัญหาของการเติมเต็มช่องว่างทางด้านทักษะ โดยผูต้ อบ แบบสอบถามจากทุกตลาดรวมถึงประเทศไทยระบุวา่ การฝึกอบรม พนักงานถือเป็นข้อพิจารณาที่ส�ำคัญอันดับต้นๆ ระหว่างการ ปรับเปลี่ยนการบริการลูกค้าเข้าสู่ระบบดิจิทัล นอกจากนี้ ผู้ตอบแบบสอบถามในทุกตลาดระบุว่า ทีมดูแล ลู ก ค้ า ของพวกเขามี ค วามพร้ อ มที่ จ ะรั บ มื อ กั บ การท� ำ งานจาก ระยะไกล และเมื่อเจาะลึกลงไปในข้อมูลจากผลส�ำรวจจะพบว่า มีการเพิ่มขึ้นของช่องทางการสื่อสารกับลูกค้า การบริหารช่องทาง ใหม่ๆ และความไม่คนุ้ เคยกับช่องทางใหม่ๆ ซึง่ นับเป็นความท้าทาย บางส่วนทีม่ กั พบในแง่ของเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั โดยประเทศไทยระบุวา่

ดังนั้นการท�ำงานบนแพลตฟอร์มการสื่อสารระดับสากลบน ระบบคลาวด์ จะช่วยให้ธรุ กิจต่างๆ สามารถสร้างประสบการณ์ให้กบั ลูกค้าได้อย่างครอบคลุมในทุกขั้นตอน ด้วยการตอบโต้ที่ง่ายและ มีบริบทในทุกช่องทางทีล่ กู ค้าต้องการ ซึง่ เหมือนกับอินโฟบิปทีไ่ ด้มี การขยายส�ำนักงานในกว่า 65 แห่ง ใน 6 ทวีปทัว่ โลก เพือ่ น�ำเสนอ เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น พร้อมความสามารถในการเข้าถึงโทรศัพท์ มือถือกว่า 7,000 ล้านเครื่อง ใน 190 ประเทศ และเชื่อมต่อกับ เครือข่ายโทรคมนาคมกว่า 800 แห่ง โดยปัจจุบันบริษัทให้บริการ และเป็นพันธมิตรกับผู้ให้บริการชั้นน�ำด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร แอปฯ ส่งข้อความ ธนาคาร บริษัทเทคโนโลยี โซเชียลมีเดีย และผู้ให้บริการอื่นๆ


Special Area

> บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด

Degree of pollution 2 Rated impulse withstand voltage IEC60947-1 Electrical security IEC 61010-1 Inputs + Aux to case 3kV rms 50H Inputs + Aux to RS485 3kV rms 50H Inputs + Aux to relay 1k5V rms 50H

ENVIRONMENTAL

Multifunction DC Power Meter Working Temperature Storage Temperature Temperature Coefficient

0 to +60 deg -30 to +65 de 0.01% per de

ELECTROMAGNETIC COMPAT

Immunity to : electrostatic discharges: IEC 61000-4 radiated radio-Hz fields: IEC 61000-4 electrical fast transient/bursts: IEC 61000-4 impulse waves: IEC 61000-4 conducted disturbances: IEC 61000-4 voltage dips & short interruptions: IEC 6100 Emissions to: Conducted and radiated CISPR11-Cl

multitek

®

Multitek ผู้น�ำด้านอุปกรณ์เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า จาก

ประเทศอังกฤษ เช่น Power Meter, Transducer, Protection Relays ได้พัฒนาออกแบบ Multifunction Power Meter ที่สามารถใช้งาน ได้ง่ายกับระบบไฟฟ้ากระแสตรงที่มีใช้งานมากขึ้นในปัจจุบัน เช่น งานโซลาร์เซลล์ ในรุ่น M850-LDD M850-LDD เป็น Multifunction DC Power Meter ในระบบ ไฟฟ้ากระแสตรง โดยสามารถวัดค่าพารามิเตอร์ได้อย่างครบถ้วน และจุดเด่นอื่นๆ ดังนี้ • หน้าจอท�ำจาก LCD มองเห็นได้ชัดเจน • หน้าจอสามารถเปลี่ยนสีได้ 3 สี (น�้ำเงิน เขียว และขาว) • หน้าจอสามารถปรับความสว่างได้ • ผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน IEC 688 BSEN60688, BS4889 IEC 359, IEC 6101-1 2010, UL • ฯลฯ Input : Rate Un : 800 Vdc, 300 Vdc, 150 Vdc หรือ 60 Vdc Rate In : ผ่าน Shunt 50 mV, 60 mV หรือ 75 mV ต่อตรง 1A หรือ 5A

Multitek Power Ltd. Lancaster Way, Earls Colne Business Pa Tel. (01787) 223228 Fax. (01787) 223607 E-MAIL: Sales@multitek-ltd.com WEB SITE: www.multitek

M850-LDD สามารถวัดค่าทางไฟฟ้าต่างๆ ได้ดังนี้ • dc Voltage (V) • dc Current (I) • dc Power (kW) • dc Import Energy (kW.h) • dc Export Energy (kW.h) • dc Ampere Hours (A.h) • dc Amp Demand (Ad) • dc Max Amp Demand • dc Power Demand (kWd) • dc Max Power Demand Accuracy : Specified @ 23°C 10-100% Un, 10-100% In Volts and Amps 0.5% of Reading +/ 2 Digits Energy Class 1% to IEC 1036 All Other Parameters 1% of Reading +/ 2 Digits Options : • RS485 • Pulsed Output • Aux Supply 16-69 Vdc


0.01% 0.01% per per deg deg C C

rature erature Coefficient Coefficient

GENERAL SPECIFICATION

OPTIONS

RS458 Modbus

INPUT

MAGNETIC COMPATIBILITY Solid-state, low voltage relay. Rated Un วิธีการต่ Directly connected: อสาย (Connection Diagram) ในแบบต่ างๆ MAGNETIC COMPATIBILITY Rated: 100Vpk, 120mA Specify 800Vdc, 300Vdc, 150Vdc or 60Vdc Low voltage DC auxiliary CONNECTION Range 2-120% Un External Shunt Direct Connection DIAGRAMS ON DIAGRAMS CONNECTION DIAGRAMS scharges: IEC 61000-4-2-Level III 19-69V ON DIAGRAMS DC

scharges: Overload 120%IEC Un 61000-4-2-Level III HzRated fields: IEC III In mV dc, 1Adc61000-4-3-Level or 5A dc L+ NL + N -IEC 61000-4-3-Level III -Hz fields: L+ NL+ NL+ NN L + Range 2-120% In 61000-4-4-Level ransient/bursts: IEC III AUX U RS485 RLY AUX U + RS485 RLY AUX U + ransient/bursts: IIIAPPLIED S485 RLY AUX U RS485 RLY AUX UIEC + RS485 RLY Overload 120% In - 61000-4-4-Level AUX U STANDARDS + RS485 RLY :: Overload IEC 61000-4-5-Level III L1 L1 IEC 688 BSEN60688 61000-4-5-Level IIIGeneral 2 x InIEC for 1 second l L1 k OPTIONS l L1k OPTIONS l k BS4889 IEC 359 l k urbances: IEC 61000-4-6-Level III RS458Modbus Modbus urbances:-RS458 IEC 61000-4-6-Level III Safety IEC 6101-1 2010 short interruptions: IEC 61000-4-11 Solid-state, Solid-state,low lowvoltage voltagerelay. relay. short interruptions: IEC 61000-4-11 Rated: Rated:100Vpk, 100Vpk,120mA 120mA H

r 60Vdc or 60Vdc

LOAD LOAD

H H

H H

H

-

Shunt Shunt

Low Lowvoltage voltageDC DCauxiliary auxiliary ACCURACY d radiated CISPR11-Class A

DC 19-69V10-100% DC +19-69V Specified @ Un,(mV 10-100% In A dnalradiated CISPR11-Class +23°C External Shunt Input Option) Shunt)

ernalParameters Shunt) unlessExternal stated Shunt (mV Input Option)

+

+

-

LOAD LOAD

LOAD LOAD

Direct Connection (Internal Shunt) APPROVALS Direct Connection (Internal Shunt)

titek

® ® AUXILIARY

External S External S

File No 3377521

UL,

Volts and Amps 0.5% of reading +/ 2 digits APPLIED STANDARDS APPLIED STANDARDS Energy Class 1% to IEC 1036 General IEC BSEN60688 General IEC BSEN60688CASE All other parameters reading +/ 688 2688 digits Shunt ส�ำหรั1% บวัดofกระแส BS4889 BS4889IEC IEC359 359 Safety IEC Safety IEC6101-1 6101-12010 2010

+ +

DIMENSIONS All Dimensions in mm

Standard: 100-440Vac/100-420Vdc Optional: 19-69Vdc Lancaster Way, Earls Colne Business Park, Earls Colne, Colchester, Essex. CO6 2NS. England. NS. England.

Lancaster Way, Earls Colne Business Park, Earls Colne, Colchester, Essex. CO6 2NS. England. 2NS. England.

Fax. (01787) 223607 n In APPROVALS Fax. (01787) APPROVALS 223607

ultitek-ltd.com WEB SITE: www.multitek-ltd.com File FileNo No3377521 3377521 ultitek-ltd.com UL, WEB UL, SITE: www.multitek-ltd.com

INSULATION 2digits digits 36 III 36 Installation category igitsDegree of pollution digits CASE CASEDIMENSIONS DIMENSIONS 2 Rated impulse withstand voltage IEC60947-1-V imp:4kV All ininmm AllDimensions Dimensions mm Case Dimensions Electrical security IEC 61010-1 Inputs + Aux to case 3kV rms 50Hz for 1 min Inputs + Aux to RS485 3kV rms 50Hz for 1 min Inputs + Aux to relay 1k5V rms 50Hz for 1 min ENVIRONMENTAL

All Dimensions in mm

0 to +60 deg C -30 to +65 deg C 0.01% per deg C

Working Temperature Storage Temperature Temperature Coefficient -1-V imp:4kV 7-1-V imp:4kV 1 0-1 COMPATIBILITY 0Hz for 0HzELECTROMAGNETIC for11min min Immunity Hz for 0Hz for11min min to : บริษทั แม็กซิ ไมซ์ อินทิเIEC กรทเท็61000-4-2-Level ด เทคโนโลยี จ�ำกัดIII CONNECTION DIAGRAMS 0Hzelectrostatic for 50Hz for11min min discharges: โทร. 0-2194-8738-9 แฟกซ์ 0-2003-2215 E-mail : info@mit-thailand.com เว็บไซต์ : www.mit-thailand.com radiated radio-Hz fields: IEC 61000-4-3-Level III L+ NL+ NAUX U + g CCelectrical fast transient/bursts: IEC 61000-4-4-Level III eg RS485 RLY AUX U + impulse waves: IEC 61000-4-5-Level III deg degC C conducted disturbances: IEC 61000-4-6-Level III deg degCC voltage dips & short interruptions: IEC 61000-4-11 Emissions to: H

H

LOAD

LOAD

Shunt

RS485 RLY

-


Special Area

> บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

รู้จักกับมาตรฐานของ ตู้ควบคุมระบบไฟฟ้าแรงดันต�่า (IEC 61439-1-2) Standard of Low-Voltage Switchgear and Controlgear Assemblies (IEC 61439-1-2)

ตู้ควบคุมระบบไฟฟ้าแรงดันต�่า คือ ชุดประกอบส�ำเร็จควบคุมไฟฟ้า ที่ใช้กับระบบจ่ายไฟแรงดันต�่ำไม่เกิน 1,000 โวลต์ ในระบบ ไฟฟ้ากระแสสลับ หรือใช้กับระบบไฟฟ้ากระแสตรงไม่เกิน 1,500 โวลต์

IEC 61439-1

(Low-Voltage Switchgear and Controlgear Assemblies) General Rules

IEC 61439-2

(Low-Voltage Switchgear and Controlgear Assemblies) Power Switchgear and Controlgear Assemblies


Standard IEC 61439-1-2

ชนิดการทดสอบ

ในมาตรฐาน IEC 61439-1-2 มีชนิดการทดสอบที่สามารถเลือกพิสูจน์ ทดสอบได้ 3 แบบ คือ 1. Testing เป็นการยืนยันโดยท�ำการทดสอบตู้ เพื่อยืนยันการออกแบบให้เป็นไปตาม ข้อก�ำหนดและมาตรฐานจากที่ได้ออกแบบไว้ 2. Comparison with a Tested Reference Design เป็นการยืนยันโดยการเปรียบเทียบตู้ จากการติดตัง้ อุปกรณ์บางส่วนโดยอ้างอิง กับแบบตู้ที่ผา่ นการทดสอบมาแล้ว 3. Assessment เป็นการยืนยันจากการค�ำนวณและกฎของการออกแบบ ให้เป็นไปตาม ข้อก�ำหนดและมาตรฐาน

Routine การทดสอบประจ�า

เพือ่ ตรวจหาความผิดพร่องของวัสดุและฝีมอื การท�ำโดยทดสอบตูไ้ ฟฟ้าทีผ่ ลิตใหม่ทกุ ตูห้ ลังประกอบแล้วเสร็จ การพิสจู น์มี 12 หัวข้อ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ Construction การพิสูจน์สอบโครงสร้างตู้ 1. Strength of Materials and Part ความแข็งแรงของวัสดุ 1.1 Resistance to Corrosion ความทนต่อการกัดกร่อน 1.2 Thermal Stability เสถียรภาพทางความร้อน 1.3 Resistance of Insulating Material to Normal Heat วัสดุฉนวนมีความทนต่อความร้อนปกติ 1.4 Resistance to Abnormal Heat and Fire Due to Internal Electric Effects ความทนต่อความร้อนและไฟที่ผิดปกติ เนื่องมาจากผลกระทบทางไฟฟ้าภายในตู้ 1.5 Resistance to Ultra-Violet (UV) Radiation ความทนต่อรังสี อัลตราไวโอเลต 1.6 Lifting การยกย้าย/ขนย้าย (ต้องมีรูปแบบการยก) 1.7 Mechanical Impact การกระแทกทางกล 1.8 Marking เครื่องหมายสัญลักษณ์ (ป้ายแสดงการค้า) 2. Degree of Protection of Enclosures ระดับชั้นการป้องกัน ของสิ่งปิดหุ้ม 3. Clearances and Creepage Distance ระยะห่างในอากาศและ ระยะห่างตามผิวฉนวน 4. Protection Against Electric Shock and Integrity of Protection Circuit การป้องกันไฟฟ้าช็อตและความมั่นคงของ วงจรป้องกัน

4.1 Effective Continuity Between the Exposed Conductive Parts of the Assembly & the Protective Circuit ประสิทธิภาพ ที่มีความต่อเนื่องระหว่างส่วนที่น�ำไฟฟ้าแบบเปิดโล่งของ ตู้ไฟฟ้า และวงจรป้องกัน (Internal Fault) 4.2 Effectiveness of the Assembly for External Faults ความคงทนต่อการลัดวงจรของวงจรป้องกัน (External Fault) 5. Incorporation of Switching Devices and Components การรวมกันของอุปกรณ์สวิตช์และส่วนประกอบ 6. Internal Electrical Circuit and Connection วงจรไฟฟ้าภายใน และการเชื่อมต่อ 7. Terminal for External Conductors ขั้วต่อสายส�ำหรับตัวน�ำ ภายนอก Performance การพิสูจน์สอบสมรรถนะตู้ 8. Dielectric Properties คุณสมบัติไดอิเล็กทริก 8.1 Power-Frequency Withstand Voltage ความทนต่อแรงดัน ตามความถี่ก�ำลังไฟฟ้ำ 8.2 Impulse Withstand Voltage ความทนต่อแรงดันไฟฟ้าอิมพัลส์ 9. Temperature-Rise Limits ขีดจ�ำกัดของอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 10. Short-Circuit Withstand Strength ความทนการลัดวงจร 11. Electromagnetic Compatibility (EMC) ความเข้ากันได้ทาง สนามแม่เหล็กไฟฟ้ำ 12. Mechanical Operation การปฏิบัติงานทางกล


Type Test Low-Voltage Switchgear

Design • Light-weight & strong structure • High-current withdrawable functional unit • Standardized modular system Easy Maintenance • Direct withdrawable functional unit • Easy expansion installation Reliable & Safety • Design verified according to international standard by authorized organization • Applicable arc protection zone design • Accepted vibration test according to IEC 61892-3, IEC 60068-2-6

HiMCC consist of LV motor control center and switchgear which has proven to be suitable and reliable with economical feature and flexible design for the modern low voltage electrical distribution system up to 690V, 6300A, 220kA Peak. HiMCC is equipped with standard withdrawable modules which are simple-to-operate and the air circuit breakers can be installed in multi-tier form as customer’s request.

• Personals and equipment safety • Optimum engineering • Modular design saves and simplifies the layout • Intelligent digital control and protection system • Reliable, cost savings, safety and flexible design • Easy to operation and quick installation • Possible for extension or modification • Degree of protection up to IP54 • Type-tested according to IEC 60439-1/61439-1 • Internal arc fault protection in compliance with IEC 61641

LV Switchgear Operating Voltage Current Ratings Application

Up to 690V Up to 6300A, 100kA/1sec, 220kA Peak • Incoming Feeder • Outgoing Feeder • Bus Coupler

Equipment Compartment Busbar Compartment Cable Compartment


Qualification/Application Qualification/Application The various application The various both in application electrical both and mechanical in electrical and mechanical

LV Motor Control Center

design permits the design optimal permits selection the optimal of structural selection design, of structural design, interior arrangement, interior andarrangement, degree of protection, and degree according of protection, according

Operating Voltage

Up to 690V

to the operating and to the environmental operating and conditions. environmental conditions. Main Busbar Up to 6300A, 100kA/1sec, Equipment Compartment

220kA Peak Utilities Utilities Industrial Industrial Distribution Busbar Circuit tothe 1200A, 85kA/1sec, 176kA Peak Standard withdrawble modules areFeeder used as functional units ofUp equipment compartments of Power The LV switchgear The system LV switchgear offers thesystem user many offers alternative user many alternative plants, Distribution Power plants, Distribution Machinery, Automotive, Machinery, Automotive, Chemical Chemical motor control center, which contains circuit protecting device, relays, control. Description Description solutions for, safety solutions and for, notable safety advantages and notable that advantages that Application Outgoing Feeder The measuring device are in the equipment compartments of the motor control center. convention of installations convention cannot of installations provide. cannot provide.

The enclosures,The having enclosures, modularhaving structure modular and rigid structure and rigid

Primary contact

Qualification/Application

construction made construction of coated or made painted of coated steel sheets or painted with steel sheets withcircuit of main folded edges bolted folded together edges are bolted welltogether protected are against well protected against Shutter key MCCB

Commercial

Commercial

Marine

Marine

corrosion, vibration corrosion, and impacts. vibration Also and they impacts. can protect Also they can protect Shopping malls, Hospitals, Shopping malls,Container Hospitals,ships, Drilling Container rigs, ships, Drilling rigs, The The various various application application both both in in electrical electrical and and mechanical mechanical Secondary contact Buildings Buildings FPSOs FPSOs Position of main circuit persons and equipment persons safely and equipment from the arc safely accident. from the arc accident. design design permits permits the the optimal optimal selection selection of of structural structural design, design, indicator (option)

Operating handle

Illuminated indicator circuits

interior interior arrangement, arrangement, and and degree degree of of protection, protection, according according Auxiliary circuit to to the the operating operating and and environmental environmental conditions. conditions.

Roller

The The LV LV switchgear switchgear system system offers offers the the user user many many alternative alternative

Draw out locker

Utilities Utilities Power Power plants, plants, Distribution Distribution

solutions solutions for, for, safety safety and and notable notable advantages advantages that that convention of of installations installations cannot cannot provide. provide. Type Test and Type Routine Testconvention and TestRoutine Test

Design

Industrial Industrial Machinery, Machinery, Automotive, Automotive, Chemical Chemical

Design

The The enclosures, enclosures, having having modular structure structure and and rigid rigid The HiMCC have The passed HiMCC all the have tests passed required all the bymodular tests the IEC required byItthe wasIEC designed toItbe was arc designed proof, and to be to offer arc proof, maintenanceand to offer maintenance-

Safety

construction construction made made of of coated coated or or painted painted steel steel sheets sheets with with

When the MCCB is on, the positon handle is locked by a locking bar, so the unit cannot be withdrawn or inserted.

or IEEE standards.orAs IEEE described standards. in the As IEC, described the tests in are the were IEC, the tests freewere installation and freeoperation installation providing and operation perfect providing customerperfect customer folded folded edges edges bolted bolted together together are well well protected protected against against

Standard Type

Arc Protection Type (Optional)

When the MCCB is off, the positon handle is released by a locking bar, so the unit can be withdrawn or inserted.Commercial Commercial

corrosion, corrosion, vibration vibration and andwhich impacts. impacts.are Also Also they they can canwhich protect protect Shopping Shopping malls, malls, Hospitals, Hospitals, conducted on representative conducted on functional representative units functional units satisfaction. are satisfaction. persons persons and and equipment equipment safely safely from from the the arc arc accident. accident.

considered most sensitive considered to most the effect sensitive of thetotests. the effect of the tests. Withdrawal Procedure

Buildings Buildings

Marine Marine Container Container ships, ships, Drilling Drilling rigs, rigs, FPSOs FPSOs

To ensure the quality To ensure andthe conformity quality and of the conformity each of the each

Type Test and Routine Test are performed Design functional unit, systematic functionalroutine unit, systematic testing are routine performed testing The The HiMCC HiMCC have have passed passed all all the the tests tests required required by by the the IEC IEC

It It was was designed designed to to be be arc arc proof, proof, and and to to offer offer maintenancemaintenance-

or or IEEE IEEE standards. standards. As As described described in in the the IEC, IEC, the the tests tests were were

free free installation installation and and operation operation providing providing perfect perfect customer customer

during manufacturing during according manufacturing to IECaccording 60439-1/IEC to IEC 60439-1/IEC 61439-1, 2 or related 61439-1, standards. 2 orconducted related on standards. conducted on representative representative functional functional units units which which are are

satisfaction. satisfaction.

considered considered most most sensitive sensitive to to the the effect effect of of the the tests. tests. To To ensure ensure the the quality quality and and conformity conformity of of the the each each functional functional unit, unit, systematic systematic routine routine testing testing are are performed performed during during manufacturing manufacturing according according to to IEC IEC 60439-1/IEC 60439-1/IEC

Certification

61439-1, 61439-1, 22 or or related related standards. standards.

HYUNDAI ELECTRIC 15

IEC 61439-1 61439-1 Certificate Certificate IEC 61439-1 Certificate IECIEC 61439-1 Certificate

08 HiMCC

08 HiMCC

IEC 61641 61641 Test Test Test Report Report IECIEC 61641 Report IEC 61641 Test Report

08 08 HiMCC HiMCC

บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

22/28-29 ถนนสุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2002-4395-97 แฟกซ์ 0-2002-4398 E-mail : ejlee@tdpowertech.com, lalida@tdpowertech.com


Special Area > Lenovo

ThinkEdge SE30 และ SE50 ใช้งานได้หลากหลายและตอบโจทย์ความต้องการ ทั้งในปัจจุบันและโลกอนาคต

Lenovo เป็นหนึง่ ในบริษทั ทีม่ เี ป้าหมายทีช่ ดั เจนในการสร้างอุปกรณ์อจั ฉริยะ เพือ่ รองรับการเปลีย่ นถ่ายของ เทคโนโลยียุคใหม่ผ่านอุปกรณ์และโครงสร้างอินฟราสตรัคเจอร์ และเสริมประสิทธิภาพให้ผู้ใช้ผ่านโซลูชัน เซอร์วิส และซอฟต์แวร์ เพื่อสร้างสังคมดิจิทัลที่ครอบคลุม เท่าเทียม ยั่งยืน ให้แก่ทุกคนทั่วโลก

เลอโนโว เปิดตัวเครือ่ ง ThinkEdge SE30 และ SE50 ทีอ่ อกแบบมา เพือ่ เสริมประสิทธิภาพให้การเปลีย่ นผ่านสูก่ ารท�ำงานในยุคดิจทิ ลั ส�ำหรับ อุตสาหกรรมเฮลธ์แคร์ ค้าปลีก การผลิต และการใช้งานในเชิงข้อมูลของ หลากหลายอุตสาหกรรม

ThinkEdge SE50

Embedded Computer รุน่ ใหม่ลา่ สุด เปิดตัวทีง่ าน Embedded World 2021 DIGITAL ซึง่ จัดขึน้ แบบออนไลน์ โดยผลิตภัณฑ์ที่เปิดตัว ได้แก่ ThinkEdge SE30 และ ThinkEdge SE50 ที่ต่อยอดมาจาก Edge Computer รุ่นก่อนหน้า ผลิตภัณฑ์รนุ่ ใหม่ทง้ั 2 รุน่ ออกแบบมาเพือ่ ตอบโจทย์ การใช้งานของอุตสาหกรรมที่ต้องการคอมพิวเตอร์ขนาด เล็ก ทนทาน มีประสิทธิภาพในการประมวลผลข้อมูลสูง มีความปลอดภัย และปรับรูปแบบการใช้งานได้ตามต้องการ Edge Computing คือ อุปกรณ์พนื้ ฐานทีส่ ำ� คัญมาก ส� ำ หรั บ ธุ ร กิ จ ระดั บ เอ็ น เตอร์ ไ พรซ์ ใ นการเปลี่ ย นผ่ า นสู ่ ความเป็นดิจิทัล ผลิตภัณฑ์ ThinkEdge ที่เลอโนโวเปิดตัว ออกแบบมาเพือ่ ให้สามารถท�ำงานทัง้ ในแบบทีเ่ ป็น Network ในตัวเอง หรือจะใช้เป็น Embedded ในโซลูชนั เพือ่ ตอบโจทย์ การใช้งานของลูกค้าที่แตกต่างกันออกไป แต่ยังคงไว้ซึ่ง ประสิทธิภาพ ความปลอดภัย และความเหมาะสมต่อประเภท การใช้งาน

ThinkEdge SE30

โซลูชน ั จากเลอโนโวเพื่อการใช้งานของลูกค้าที่ตอบโจทย์

เลอโนโวน�ำเสนอตัวช่วยเพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่ความเป็นดิจิทัล โดยผลิตภัณฑ์ ThinkEdge นี้จะเป็นเหมือนตัวช่วยส�ำหรับ เอ็นเตอร์ไพรซ์ที่มองหาอุปกรณ์ที่ใช้งานได้หลากหลายและตอบโจทย์ความต้องการทั้งปัจจุบันและอนาคต ผลิตภัณฑ์นี้รองรับการใช้งานคู่กับซอฟต์แวร์ OEMs และระบบมากมาย เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ใช้งานจะสามารถใช้เครื่องได้อย่าง สมบูรณ์ทั้งระบบ โดย Certified Solutions Partners ที่รองรับการใช้งานกับเครื่อง ThinkEdge ได้แก่ Telit, IMS Evolve, Software AG และอื่นๆ


https://pixabay.com/th/photos/industry-web-2630319/

ThinkEdge SE30 มีขนาดเล็ก มาพร้อมหน่วยประมวลผล 11th Gen Intel® CoreTM i5 vPro® ส�ำหรับการใช้งานคอมพิวเตอร์ ในระดับอุตสาหกรรม ปรับปรุงการประมวลผลให้มีประสิทธิภาพ มากขึน้ ด้วย AI อีกทัง้ รองรับการใช้งานในอุณหภูมริ อ้ นหรือหนาวจัด เช่น ในไซต์งานการผลิต หรือห้องอุณหภูมิ โดยสามารถรองรับตัง้ แต่ -20 ถึง 60 องศาเซลเซียส นอกจากนี้ยังมีฟีเจอร์ที่ช่วยในเรื่องของ ความปลอดภัยและการจัดการเครื่อง นอกจากนี้ ThinkEdge SE30 ยังสามารถรองรับการท�ำงาน แบบ 4G ทั่วโลก และมีแผนว่าจะสามารถใช้งานกับเครือข่าย 5G ทีร่ องรับได้ในช่วงครึง่ ปีหลัง เพือ่ เสริมประสิทธิภาพให้การเชือ่ มต่อ แบบไร้สายท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สมบูรณ์ เพื่อให้เครื่อง สามารถใช้งานได้ท้ังแบบมีสายและไร้สาย สร้างความยืดหยุ่นให้ ธุรกิจ

ThinkEdge SE50 ออกแบบมาเพื่อการใช้งานในประเภท ทีต่ อ้ งใช้การวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลจ�ำนวนมาก โดยเครือ่ ง มาพร้อมหน่วยประมวลผลตัวเลือกระหว่าง Intel® CoreTM i5 หรือ i7 vPro® ส�ำหรับการใช้งานคอมพิวเตอร์ระดับอุตสาหกรรม และ มีหน่วยความจ�ำสูงสุดถึง 32GB ผู้ใช้สามารถใช้ ThinkEdge SE50 เพื่อรวมและวิเคราะห์ ข้อมูลที่มีได้ในแบบเรียลไทม์ผ่านอุปกรณ์ IoT โดยเครื่องจะ สามารถกรองและส่งข้อมูล IoT ผ่านระบบเครือข่าย WAN ไปสู่ คลาวด์ หรือ Data Center นอกจากนี้ ผู้ใช้งานยังสามารถเลือก ได้ว่าจะใช้งาน AI ในการวิเคราะห์ข้อมูลกับแพลตฟอร์มชั้นน�า หรือจะเลือกซอฟต์แวร์ทพี่ ฒ ั นาขึน้ ผ่าน Toolkit ของ OpenVINOTM

ฟีเจอร์และสเปค ThinkEdge SE30

• หน่วยประมวลผล 11th Generation Intel® Core i5 vPro® ส�ำหรับการใช้งานคอมพิวเตอร์ระดับอุตสาหกรรม • ความจ�ำสูงสุด 16GB ความจุ 1T • ไร้ใบพัดลม สามารถใช้งานได้ในสภาพแวดล้อมอุณหภูมิ ระหว่าง -20 ถึง 60 องศาเซลเซียส • โมดูล 4G และ 5G

ฟีเจอร์และสเปค ThinkEdge SE50

TM

• ตัวเลือกหน่วยประมวลผล Intel® CoreTM i5 หรือ i7 vPro® ส�ำหรับการใช้งานคอมพิวเตอร์ระดับอุตสาหกรรม • ความจ�ำ 32GB ความจุสูงสุด 2T • ไร้ใบพัดลม (Fan-Less) สามารถใช้งานได้ในสภาพแวดล้อม อุณหภูมิระหว่าง 0 ถึง 50 องศาเซลเซียส ผ่านมาตรฐาน IP50 Rating • ขนาดเล็กเพียง 2-Liter แต่มาพร้อมพอร์ตเชื่อมต่อ I/O ระดับอุตสาหกรรมครบครัน

เพราะฉะนัน้ ผลิตภัณฑ์ ThinkEdge สามารถน�ำไป Embedded ในโซลูชนั เพือ่ ปรับปรุงประสิทธิภาพของ OEM ผ่านเลอโนโว OEM Solutions ที่มีความปลอดภัย เชื่อถือได้ ทั้งเรื่องฮาร์ดแวร์และบริการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและแก้ปัญหาด้านระบบให้งาน อุตสาหกรรมสามารถด�ำเนินการได้อย่างเต็มศักยภาพ เลอโนโวในฐานะผู้น�ำเสนอประสบการณ์ดิจิทัลส�ำหรับการใช้งานที่มีประสิทธิภาพอย่างแท้จริง ภายใต้แนวคิด การยึดผู้ใช้เป็น ศูนย์กลางคือหัวใจส�ำคัญในการเปลีย่ นแปลง สิง่ ส�ำคัญคือผูป้ ระกอบการต้องมองข้ามระบบการท�ำงานแบบเดิมๆ เพือ่ สร้างประสบการณ์ การท�ำงานอย่างชาญฉลาดและตรงตามความต้องการของพนักงานได้ดีที่สุด


Special Area > SondrelTM

Semi-custom cuts design cost and time to market by up to 30% Bringing a new chip to the automotive market can be daunting due to the high safety standards required–ISO 26262. Sondrel has made this much easier for customers with the launch of its new, quad-channel, IP reference platform that has been architected with ISO26262 applications and the fast integration of customer IP in mind from the start. This simplifies and speeds up the creation of the required evidence bundle so the final product can swiftly achieve ISO26262. The innovative, semi-custom platform approach, which Sondrel calls Architecting the futureTM, can cut design cost and time to market by up to 30%. Full details can be found on the datasheet at www.sondrel.com/solutions/architecting-the-future The SFA 350A IP platform has been specifically designed for ADAS (Advanced Driver Assistance Systems) that are used to support driverless or automotive vehicle applications. It has four channels for sensors that can be either passive, such as optical via camera inputs, or active using LASER or RADAR. This is a very cost-effective solution compared to having a dedicated, one channel chip for each sensor. Uses can include collision avoidance, detection of crossing the central white line or gathering 3D information via a pair of cameras.

The SFA 350A is designed to be scalable due to its framework architecture design. This enables the processor units for the chip’s four channels to be selected according to the processing power required by the application without requiring any changes to the interconnects and I/O to the rest of the chip. This modular approach makes the platform very versatile and scalable. Even more powerful solutions can be created by ganging identical, SFA 300 quad-core chips together to form a cluster, which is less expensive than creating a similar solution on one multi-channel chip. Communication to the vehicle’s central unit is via dual redundant links based on standard protocol such as Ethernet or PCIe. The Sondrel team includes a large number of experienced engineers, who have worked on many ASICs addressing a wide range of different markets. “Integrating customer IP into an SoC is not trivial.” explained Ben Fletcher, Sondrel’s Director of Engineering. “However, our experience lets us understand what aspects of a platform design may be effectively carried out in advance to form the framework architecture of the SFA 350A, and what parts will need customising for each specific implementation to include the customer’s IP and keep these to a minimum. Added to this, our experience on Functional Safety designs also allows us to create architectures that will provide a smooth path for our customers’ products achieving ISO26262 and the semi-custom approach also ensures a faster time to market.”


To further reduce risk and time to market, Sondrel offers a full turnkey service that turns designs into fully tested, shipping silicon.

About SondrelTM

Founded in 2002, Sondrel is the trusted partner of choice for handling every stage of an IC’s creation. Its award-winning, define and design ASIC consulting capability is fully complemented by its turnkey services to transform designs into tested, volume-packaged silicon chips. This single point of contact for the entire supply chain process ensures low risk and faster times to market. Headquartered in the UK, Sondrel supports customers around the world via its offices in China, India, France, Morocco and North America. For more information, visit www.sondrel.com


IT Article

> ทวิพงศ์ อโนทัยสินทวี ผู้จัดการประจ�ำประเทศไทย นูทานิคซ์

พ.ศ. 2563 ผ่านมาแล้วก็ผ่านไป แต่ การห้ามการเดินทางยังคงอยู่ ท�ำให้การ ประชุมธุรกิจแบบออนไลน์ก็จะยังคงมีอยู่ ต่อไปเช่นกัน ข้อมูลล่าสุดจากผลส�ำรวจดัชนี การใช้คลาวด์ระดับองค์กรของนูทานิคซ์ (Nutanix Enterprise Cloud Index : ECI) พบว่า 68% ขององค์กรธุรกิจในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิกและญี่ปุ่น ตั้งใจจะด�ำเนิน ธุรกิจโดยใช้การประชุมผ่านวิดีโอมากขึ้น และจ�ำกัดการเดินทางให้เหลือเท่าที่จำ� เป็น

ทวิพงศ์ อโนทัยสินทวี

โลกใหม่ของการท�ำธุรกิจลักษณะนีไ้ ด้เปลีย่ นความเชือ่ ในการท�ำธุรกิจต่างๆ ที่ฝังแน่นมานาน ผู้นำ� ธุรกิจคุ้นเคยกับประสิทธิภาพของการประชุมแบบพบหน้า กันและกันมาหลายทศวรรษ เป็นนัยว่าการพบกันเป็นทางเดียวที่จะสร้างความ สัมพันธ์บนพืน้ ฐานของความเชือ่ ใจกันได้ เอเชียเป็นภูมภิ าคทีเ่ ชือ่ ในแนวทางนีม้ าก ที่สุด ซึ่งรวมถึงความเชื่อที่ว่า การเดินทางทางธุรกิจเป็นวิถีชีวิตปกติ การพบปะ พูดคุยกันเป็นเรื่องส�ำคัญที่จะดึงให้ลูกค้าเข้ามามีส่วนร่วม และเป็นการแสดงถึง การให้เกียรติตอ่ พันธมิตร รวมถึงการได้พบกันช่วยให้สามารถหาวิธจี ดั การกับความ แตกต่างเล็กๆ น้อยๆ ทางวัฒนธรรมและการท�ำธุรกิจได้ ทวิพงศ์ อโนทัยสินทวี ผู้จัดการประจ�ำประเทศไทย นูทานิคซ์ กล่าวว่า วัฒนธรรมในการด�ำเนินธุรกิจขององค์กรไทยก็เช่นกัน ความอ่อนน้อมถ่อมตน และการคิดว่าการได้พบหน้ากันจะท�ำให้การเจรจาต่างๆ ราบรื่น และในระหว่าง พบปะกันก็สามารถสังเกตปฏิกริ ยิ าตอบกลับต่างๆ ได้ทนั ที แต่โควิด-19 ได้เข้ามา เร่งการเปลี่ยนแปลงความเชื่อที่เคยมีมา ธุรกิจหันมาใช้เครื่องมือการประชุม ออนไลน์มากขึน้ อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ และต่างแสวงหาโซลูชนั ทีต่ อบโจทย์องค์กร ของตนมากทีส่ ดุ ตัวอย่างของภาครัฐ เช่น ส�ำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจทิ ลั (องค์การ มหาชน) (สพร.) ได้ให้บริการระบบประชุมทางไกลออนไลน์แบบ Web Conference ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่มีชื่อว่า GIN Conference (Government Information Network : GIN) ให้กับหน่วยงานภาครัฐ และได้มีการปรับปรุงระบบ เพื่อให้รองรับกับการใช้งานในภาวะเร่งด่วน และรองรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ อย่างต่อเนื่อง และจากภาวะวิกฤตท�ำให้ขยายการใช้งานได้กว้างขวางมากขึ้น

ปรับตัวสู่โลกใหม่

หากไม่มีการระบาดของโควิด-19 เราจะยังไม่รู้และไม่เข้าใจถึงพลังของ เทคโนโลยีอย่างแท้จริง หากไม่มเี ทคโนโลยี โควิด-19 จะต้อนเราเข้ามุมทีโ่ ดดเดีย่ ว ในช่วงเวลาที่ไม่สามารถเดินทางไปมาหาสู่กันได้ แต่เทคโนโลยีช่วยให้เรายังคง ติดต่อถึงกัน รักษา และสร้างความสัมพันธ์ใหม่ไว้ได้ บริษัทต่างๆ ที่น�ำเทคโนโลยีมาใช้เป็นเครื่องมืออย่างจริงจังเพื่อให้ธุรกิจ “ด�ำเนินต่อไป” เป็นบริษทั ทีม่ วี ธิ คี ดิ ทีเ่ ต็มไปด้วยการสร้างสรรค์สงิ่ ใหม่อย่างแท้จริง บริษัทหลักทรัพย์ เคทีบีเอสที จ�ำกัด (มหาชน) หรือ KTBST SEC เป็นบริษัทไทย ที่ให้ความส�ำคัญกับการน�ำเทคโนโลยีมาปรับเปลี่ยนกระบวนการท�ำงานทั้งหมด มีการวางแผนที่รัดกุมทั้งด้านบุคลากรและเทคโนโลยีที่จะเลือกใช้ บริษัทใช้เวลา ในการให้ความรู้ความเข้าใจและปรับวิธีคิดของพนักงาน และศึกษาโซลูชันอย่าง จริงจังก่อนลงมือปรับเปลี่ยน โดยเริ่มต้นจากโครงสร้างพื้นฐานทั้งหมดปรับเป็น แบบไฮเปอร์คอนเวิรจ์ ซึง่ การด�ำเนินการตามแผนเป็นไปอย่างราบรืน่ และต่อเนือ่ ง ได้ผลลัพธ์เร็วกว่าที่ตั้งเป้าหมายไว้ สร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้าด้วยบริการที่ สะดวกรวดเร็ว ไม่สะดุดแม้ในเวลาอัปเกรดระบบ หรือต้องขยายระบบเพือ่ รองรับ ธุรกรรมเร่งด่วนต่างๆ


ยอมรับการเปลี่ยนแปลง

บางประเทศได้ใช้ประโยชน์จากการเปลีย่ นแปลงต่างๆ นีอ้ ย่างเต็มที่ ข้อมูลจากผลส�ำรวจ ECI ของนูทานิคซ์ ท�ำให้เห็นว่าบริษัทหลายแห่ง ให้ความส�ำคัญกับการจัดสรรสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวกับการท�ำงานจากบ้าน อย่างมีนัยส�ำคัญ เห็นได้จาก 46% ขององค์กรทั่วโลก และ 62% ของ องค์กรในไทยทีต่ อบแบบส�ำรวจระบุวา่ พวกเขาได้ปรับเปลีย่ นโครงสร้าง พื้นฐานไอทีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและรองรับการท�ำงานจากระยะไกล การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วเกิดขึ้นได้ด้วยการใช้เทคโนโลยีต่างๆ เช่น ไฮบริดคลาวด์ ซึ่งช่วยให้องค์กรต่างๆ สามารถท�ำให้พนักงานที่ท�ำงาน จากระยะไกลสามารถเข้าถึงเวอร์ชวลแอปพลิเคชัน เวอร์ชวลเดสก์ทอ็ ป และข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย ปัจจุบนั ผูน้ ำ� ธุรกิจจ�ำเป็น ต้องใช้การเปลี่ยนผ่านทางเทคโนโลยีท่ีเหมือนหรือคล้ายคลึงกันนี้กับ สัมพันธภาพทางธุรกิจต่างๆ ภายนอกองค์กรด้วย เรือ่ งนีไ้ ด้เกิดขึน้ แล้วเมือ่ ไม่กเี่ ดือนทีผ่ า่ นมา เมือ่ ผูบ้ ริหารของบริษทั ที่แทบจะหาเวลาเข้าร่วมประชุมแบบพบหน้ากันไม่ได้เลย จู่ๆ ก็พร้อม ที่จะเข้าร่วมประชุมแบบออนไลน์ในวาระการประชุมที่ในอดีตผู้บริหาร เหล่านี้เคยบอกว่าต้องประชุมแบบพบหน้ากันเท่านั้น และเมื่อพวกเขา รู้แน่ในข้อเท็จจริงแล้วว่าไม่สามารถท�ำการประชุมแบบพบหน้ากันได้ อีกต่อไป ผู้บริหารเหล่านี้จึงยอมรับและใช้ประโยชน์ต่างๆ ที่ได้จากการ ประชุมแบบเวอร์ชวล ไม่วา่ จะเป็นการช่วยให้มเี วลามากขึน้ เพือ่ ท�ำธุรกิจ ที่เป็นชิ้นเป็นอัน มากกว่านั่งจมอยู่บนท้องถนนกับการจราจรที่ติดขัด หรือรถไฟฟ้าทีแ่ น่นขนัดในเวลาเช้าอันเร่งด่วนเพือ่ เดินทางไปร่วมประชุม และเป็นโอกาสที่จะเปลี่ยนการประชุมที่เกี่ยวกับ ‘งานเอกสาร’ ต่างๆ ไปเป็นการใช้อเี มลหรือการส่งข้อความแทน นอกจากนีย้ งั ช่วยให้สามารถ ท�ำธุรกิจกับคนทัว่ โลกได้จากบ้านทีม่ ที ง้ั ความปลอดภัยและสะดวกสบาย

ความขัดแย้งที่เห็นชัดเจน เมื่อการเว้นระยะห่าง ทำ�ให้เกิดความผูกพันมากขึ้น

การท�ำธุรกิจแบบเวอร์ชวลยังมีส่ิงดีงามที่ฉายออกมา นั่นคือ เทคโนโลยีชว่ ยให้เราทุกคนได้รบั เชิญให้เข้ามาในบ้านของเพือ่ นร่วมงาน อย่างไม่ตงั้ ใจ และได้เห็นเด็กๆ สัตว์เลีย้ งของคนทีเ่ ป็นพันธมิตรทางธุรกิจ กับเราเดินเข้าออกผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ สิง่ เหล่านีเ้ ป็นโอกาสในการ สร้างความสัมพันธ์ได้อย่างจริงใจ และบนพืน้ ฐานของประสบการณ์ตา่ งๆ ที่จะได้แบ่งปันกันได้มากกว่าสิ่งที่เราแสดงออกต่อกันในการพบปะทาง ธุรกิจอย่างเป็นทางการในระยะเวลาสั้นๆ

ทวิพงศ์ กล่าวว่า นอกจากนี้ การที่ทุกคนท�ำงานจาก ระยะไกล ท�ำให้เราต่างเผชิญกับการที่ต้องพยายามศึกษาและ ใช้งานการประชุมผ่านวิดโี อหรือการโทรศัพท์แบบกลุม่ ในขณะที่ ในอดีตห้องประชุมห้องหนึง่ ๆ มักเต็มไปด้วยผูเ้ ข้าประชุม และ มีสปีกเกอร์โฟนตั้งอยู่กลางโต๊ะ อาจมีวิดีโอฉายอยู่บนหน้าจอ ขนาดใหญ่แล้วเชื่อมต่อการประชุมในห้องนี้ไปยังพนักงาน 1 หรือ 2 คนที่ท�ำงานจากระยะไกล ปัจจุบันความท้าทายของ พนักงานที่ท�ำงานจากระยะไกลคือความท้าทายของทุกคน นัน่ คือการสร้างพืน้ ฐานทีใ่ ช้รว่ มกันทีเ่ อือ้ ให้สร้างการปฏิสมั พันธ์ ทางธุรกิจรูปแบบใหม่ได้ นอกจากนี้ เมื่อทุกคนอยู่ไกลกันและ มักสื่อสารกันแบบไม่ต้องโต้ตอบทันที จึงสามารถใช้เครื่องมือ ในการแปลภาษาต่างๆ ได้อย่างง่ายดาย ซึ่งช่วยให้เกิดการมี ส่วนร่วมในงานต่างๆ ไปได้ทั่วภูมิภาค ดังนัน้ การระบาดของโควิด-19 เป็นสิง่ ทีห่ ลีกเลีย่ งไม่ได้ และเราทุกคนมีประสบการณ์แล้วว่าการระบาดครัง้ นีไ้ ด้เปลีย่ น รูปแบบของสังคมทุกอณูไปแล้ว แต่น่ีก็ไม่ใช่เหตุผลที่ท�ำให้ ผู้บริหารต้องหยุดติดต่อกับพนักงาน ลูกค้า และพันธมิตร ในทางตรงกันข้าม การทีผ่ บู้ ริหารได้นงั่ ประจ�ำทีอ่ ยูแ่ ห่งเดียว และ มีตารางงานทีค่ าดการณ์ได้มากกว่า ช่วยให้เขาเหล่านัน้ สามารถ จัดการงานได้อย่างลงตัว ไม่วา่ จะเป็นการโทรศัพท์หาผูอ้ นื่ แบบ ตัวต่อตัวได้มากขึน้ ช่วยให้ได้พดู คุยกับทีมงานทีท่ ำ� งานภาคสนาม มากขึ้น และช่วยให้มีการประชุมออนไลน์กับพันธมิตรจ�ำนวน มากเกินกว่าทีจ่ ะท�ำได้หากต้องเดินทางไปประชุมแบบพบหน้ากัน ความสามารถในการมารวมตัวกันแม้จะมีระยะห่างและมีความ ท้าทายต่างๆ แสดงให้เห็นว่ามนุษย์มีขีดความสามารถในการ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ และพร้อมปรับตัว ซึ่งเป็นทรัพย์สินที่มีค่า ทีส่ ดุ อย่างหนึง่ ของมนุษย์เรา การทีเ่ ราทุกคนยอมรับความยืดหยุน่ ทีเ่ พิง่ ค้นพบนี้ และสร้างวิธกี ารทีด่ ขี น้ึ ในการท�ำธุรกิจในอนาคต อันใกล้เป็นเรื่องที่น่ายินดีเป็นอย่างยิ่ง


IT Article

> วีระ อารีรัตนศักดิ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เน็ตแอพ ประจ�ำประเทศไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย https://pixabay.com/th/photos/Cloud-Moniter-Computer-4165397/

สภาวการณ์

‘เร่งรีบสู่ระบบคลาวด์’ ของเอเชีย-แปซิฟิกในยุคโควิด-19 การระบาดของไวรัสโควิด-19 ในช่วงปีแรก ส่งผลให้หลาย บริษัททะยานสู่การใช้งานระบบคลาวด์เพื่อเป็นช่องทางที่จะท�ำให้ ธุรกิจสามารถด�ำเนินต่อไปได้อย่างราบรืน่ และมัน่ คง เพียงชัว่ ข้ามคืน เท่านั้น ทีมไอทีของบริษัทต่างๆ ได้ท�ำการเปลี่ยนรูปแบบการใช้ เทคโนโลยีเพื่อรองรับการท�ำงานทางไกล ผ่านการเปลี่ยนแปลงสู่ ระบบดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ทั้งในระบบการจัดซื้อ การขาย การบริการ และอื่นๆ ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจเลยว่าสถิติการใช้จ่าย ของการท�ำงานบนระบบคลาวน์สาธารณะของประเทศไทย คาดว่า จะเพิม่ ขึน้ 17.7% เป็น 18.3 พันล้านบาท ใน พ.ศ. 2563 และคาดว่า จะเพิ่มขึ้น 25.2% เป็น 22.9 พันล้านบาทในปีนี้

https://pixabay.com/th/photos/touch-screen-6091015

เนื่ อ งจากเศรษฐกิ จ ของประเทศในขณะนี้ ยั ง อยู ่ ใ นภาวะ เปราะบาง ดังนั้นธุรกิจต่างๆ จึงต้องด�ำเนินการทางการเงินอย่าง รอบคอบ และในขณะที่ระบบคลาวด์เป็นช่องทางที่มีประสิทธิภาพ ที่ช่วยให้บริษัทสามารถตอบสนองต่อปัญหาและการเปลี่ยนแปลง รูปแบบการท�ำงานได้อย่างทันท่วงที อย่างไรก็ตาม การน�ำระบบ คลาวด์มาใช้กอ็ าจท�ำให้บริษทั เผชิญปัญหาทีเ่ ราไม่รหู้ รือไม่สามารถ ควบคุมได้ในระยะยาว ตอนนี้ถึงเวลาแล้วที่บริษัทต่างๆ ควรลอง ทบทวนการตั ด สิ น ใจในอดี ต และพิ จ ารณาว่ า จะสามารถเพิ่ ม ประสิทธิภาพการน�ำระบบคลาวด์ไปใช้ในจุดใดได้บา้ ง ทีจ่ ะเป็นการ ไม่ลดทอนการพัฒนาการด�ำเนินงานของบริษทั ให้ดยี งิ่ ขึน้ ในอนาคต


วีระ อารีรตั นศักดิ์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เน็ตแอพ ประจ�ำประเทศไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย กล่าวว่า การใช้งานระบบคลาวด์ภายในบริษัทสามารถ เปรียบได้กบั รูปแบบการใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน ซึง่ จะมีตวั ให้บริการทีท่ ำ� งานเสมือนตัวจ่าย พลังงานออกไป บริษัทสามารถพึ่งพาผู้ให้บริการระบบคลาวด์ในการควบคุมดูแล ศูนย์ให้ข้อมูลจากภายนอก ในขณะเดียวกันบริษัทก็ได้ประโยชน์จากความสามารถ ภายในของระบบคลาวด์ อาทิ ความพร้อมในการใช้งานที่มีในระดับสูง ขนาดพื้นที่ ให้บริการที่ยืดหยุ่น และโครงสร้างของระบบที่ปลอดภัย ทั้งนี้ สามารถเปรียบได้กับ ความสะดวกในการเข้าถึงพลังงานไฟฟ้า โดยการท�ำงานของระบบคลาวด์นนั้ ถูกสร้าง ให้เหมาะสมกับการเข้าถึงทางไกลและด�ำเนินการตามรูปแบบการจ่ายที่ยืดหยุ่นตาม การบริโภค แต่หากเผลอปล่อยทิง้ ไว้อย่างสิน้ เปลืองโดยไม่ได้ใช้งาน ก็อาจส่งผลให้ตอ้ ง จ่ายบิลค่าไฟในราคาทีส่ งู เกินคาดคิดได้ ซึง่ การใช้งานระบบคลาวด์กเ็ ป็นแบบนีเ้ ช่นกัน หลังจากริเริม่ การเปลีย่ นการด�ำเนินทุกอย่างให้อยูใ่ นระบบคลาวด์ บริษทั อาจ ก�ำลังเผชิญปัญหาด้านการควบคุมดูแลและการจัดการการใช้งานคลาวด์จากผูใ้ ช้งาน ทีห่ ลากหลายและมีเป็นจ�ำนวนมาก ซึง่ ปัญหาดังกล่าวมีชอ่ื เรียกว่า การแผ่กง่ิ ก้านสาขา ของคลาวด์ (Cloud Sprawl) หรือการแพร่กระจายการใช้งานคลาวด์อย่างไม่สามารถ ควบคุมได้ ปัญหานี้ทำ� ให้สูญเสีย 30% ของพื้นที่คลาวด์ไปอย่างสิ้นเปลือง เพราะฉะนั้นเพื่อที่จะหลีกเลี่ยงการสิ้นเปลืองคลาวด์โดยเปล่าประโยชน์ อุปกรณ์ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพด้านการใช้จ่ายบนระบบคลาวด์ ที่จะช่วยให้เราเห็น ข้อมูลพื้นที่การใช้งานของโครงสร้างไอทีแบบไฮบริดได้อย่างละเอียดและทันท่วงที จึงมีความส�ำคัญเป็นอย่างมากต่อการควบคุมและจัดการสถานการณ์ทอ่ี าจเพิม่ ภาระ ค่าใช้จ่ายบนระบบคลาวด์จาก ‘ยก-และ-ย้าย’ เป็น ‘ยก-และ-ยอมเปลี่ยน’ ทัง้ นี้ หลายบริษทั ทีย่ กระดับการใช้งานระบบคลาวด์ ภายในองค์ ก รในระหว่ า งการปิ ด ประเทศ มั ก จะใช้ วิ ธี “ยก-และ-ย้าย (Lift-and-Shift)” หรือวิธีการที่ข้อมูลหรือ งานต่างๆ ของบริษัทจะถูกคัดลอกไปวางบนระบบคลาวด์ ทัง้ หมด ซึง่ วิธนี เ้ี ป็นวิธที เ่ี ร็วทีส่ ดุ ในการท�ำให้มน่ั ใจว่าบริการ ธุรกิจต่างๆ ของบริษัทยังสามารถเปิดใช้เข้าถึงได้ส�ำหรับ พนักงานที่ต้องย้ายที่ท�ำงานกะทันหัน หรือส�ำหรับผู้ใช้ ภายนอกก็ตาม ไม่นานมานี้ เน็ตแอพได้เข้าไปช่วยบริษัทการตลาด ทางอีเมลต่างชาติบริษัทหนึ่ง ในการยก-และ-ย้าย ข้อมูล นับล้านไฟล์ไปสู่ระบบคลาวด์ เพื่อให้บริษัทสามารถขยาย ขนาดธุรกิจได้อย่างรวดเร็ว อีกทัง้ เมือ่ เร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัย โมนาช ประเทศออสเตรเลีย ได้ใช้บริการของเน็ตแอพ ในการจัดการข้อมูลทีก่ ำ� ลังถูกย้ายไปบนแพลตฟอร์มคลาวด์ ของ Amazon Web Services (AWS) เพื่ออ�ำนวยความ สะดวกด้านการรวบรวมข้อมูลให้แก่เหล่านักเรียนและ ผูค้ น้ คว้าวิจยั ในขณะเดียวกันยังช่วยให้มหาวิทยาลัยโมนาช สามารถลดค่าใช้จ่ายเงินทุนและปรับขนาดพื้นที่ความจุ บนคลาวด์ให้มากขึ้นหรือน้อยลงได้ตามต้องการ

ตัวอย่างที่กล่าวมาข้างต้นนี้อาจกระตุ้นให้ธุรกิจต่างๆ ท�ำการ ยกย้ายข้อมูลไปบนระบบคลาวด์ได้อย่างไม่ยากเย็นนัก แต่ในความจริง แล้วมันไม่ได้ง่ายอย่างที่คิด จริงอยู่ที่ในทางเทคนิคแล้วเราสามารถ ท�ำงานหรือธุรกิจต่างๆ ได้บนคลาวด์ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าการ ท�ำงานและแอปพลิเคชันทีใ่ ช้ภายในองค์กรในสถานะและรูปแบบอย่าง ในปัจจุบนั จะได้รบั การปรับให้เหมาะสมกับการท�ำงานบนคลาวด์เสมอไป บริษัทต่างๆ อาจต้องเผชิญปัญหาเรื่องความเข้ากันได้ของเครื่องมือ เช่น รหัสเดิมบนแอปพลิเคชันถูกใช้งานบนซอฟต์แวร์ทลี่ า้ สมัยไปแล้ว เป็นต้น อีกทั้งค่าใช้จ่ายที่ไม่จ�ำเป็นอื่นๆ อาจเกิดจากการถ่ายโอน ข้อมูลผ่านสถานที่ต่างๆ ก็เป็นได้เช่นกัน ดั ง นั้ น บริ ษั ท ควรพิ จ ารณาว่ า แอปพลิ เ คชั น อะไรบ้ า งที่ ค วร ย้ายกลับเข้าไปใช้แค่ภายในองค์กร รวมถึงปรับเปลี่ยนตัวเองเพื่อให้ เข้ากันได้กับโครงสร้างระบบคลาวด์แบบใหม่ หรือวางแผนออกแบบ โครงสร้างและจัดท�ำใหม่ทงั้ หมด เพือ่ ให้สามารถใช้งานบนระบบคลาวด์ ได้ทุกสภาวะ และการเลือกพันธมิตรด้านเทคโนโลยีควรเลือกอย่าง เหมาะสม เพือ่ ให้ได้รบั การท�ำงานบนระบบคลาวด์และข้อมูลทีด่ ที ส่ี ดุ และยั ง คงไว้ ซึ่ ง คุ ณ ค่ า ที่ คู ่ ค วรนั้ น เป็ น กุ ญ แจส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ บริ ษั ท ที่ต้องการความยืดหยุ่น และพร้อมก้าวไปสู่ความส�ำเร็จที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต


IT Article

> บริษัท เอ็นทีที จ�ำกัด

https://pixabay.com/th/photos/security-internet-3484137/

ในปัจจุบนั อุตสาหกรรมทางด้านสุขภาพ (Healthcare) การผลิต (Manufacturing) และการเงิน (Financial) มีการโจมตีเพิ่มสูงขึ้น 200%, 300% และ 53% ตามล�ำดับ โดยภาคอุตสาหกรรมทั้ง 3 รวมกันมีสดั ส่วนถึง 62% ของการโจมตีทงั้ หมดใน ค.ศ. 2021 เพิม่ ขึน้ 11% จาก ค.ศ. 2020 ซึ่งในขณะนี้องค์กรต่างๆ มุ่งน�ำเสนอรูปแบบ งานระยะไกล รูปแบบเสมือนจริงผ่านการใช้งานพอร์ทลั แอปพลิเคชัน เฉพาะทาง และเว็บแอปพลิเคชัน โดยมีการโจมตีถงึ 67% ของการ โจมตีทงั้ หมด เพิม่ ขึน้ เป็น 2 เท่าในช่วง 2 ปีทผี่ า่ นมา นอกจากนีย้ งั มี ธุรกิจการดูแลสุขภาพที่ปรับเปลี่ยนมาสู่รูปแบบการดูแลระยะไกล ผ่านระบบเครือข่าย ท�ำให้การโจมตีมคี วามรุนแรงขึน้ โดย 97% ของ การโจมตีในกลุม่ อุตสาหกรรมนี้ เป็นการโจมตีผา่ นเว็บแอปพลิเคชัน หรือแอปพลิเคชันเฉพาะทาง บริษัท เอ็นทีที จ�ำกัด (NTT Ltd.) ผู้ให้บริการเทคโนโลยี ชั้นน�ำระดับโลก เปิดตัวรายงาน Global Threat Intelligence Report (GTIR) ค.ศ. 2021 เผยแฮกเกอร์ใช้ประโยชน์จากสถานการณ์ ไร้ เ สถี ย รภาพทั่ ว โลกในการโจมตี ร ะบบ โดยมุ ่ ง เป้ า หมายไปที่ อุตสาหกรรมส�ำคัญและช่องโหว่ท่ีเกิดขึ้นจากการท�ำงานระยะไกล ซึ่งมีการรายงาน GTIR ยังให้ข้อมูลเชิงลึกที่ได้รับจากผู้เชี่ยวชาญ ที่ปรึกษาด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ของเอ็นทีที โดยใช้เกณฑ์ คะแนนของโปรแกรมรักษาความปลอดภัยที่ใช้ในอุตสาหกรรมเป็น ตัวพิจารณา โดยคะแนนทีส่ งู แสดงให้เห็นถึงแผนการด�ำเนินการทีม่ ี ความเสถียรมากกว่า พบว่าอุตสาหกรรมด้านการดูแลสุขภาพและ การผลิตมีคะแนนค่อนข้างต�ำ่ เพียง 1.02 และ 1.21 ตามล�ำดับ ลดลง จากฐานคะแนนเดิมที่ 1.12 และ 1.32 ใน ค.ศ. 2019 ในขณะที่ อัตราการโจมตีกลับเพิ่มขึ้นมาก

อุตสาหกรรมการผลิตมีคะแนนลดลงตลอดระยะเวลา 3 ปี ที่ผ่านมา ส่วนใหญ่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมการ ท�ำงานและการเกิดขึ้นของรูปแบบในการโจมตีใหม่ๆ ในขณะที่ อุตสาหกรรมการเงินยังคงรักษาระดับคะแนนเกณฑ์มาตรฐานสูงสุด เป็นปีที่ 3 ติดต่อกัน โดยมีคะแนนอยู่ที่ 1.84 ลดลงจากปีที่ผ่านมา 0.02 คะแนน ซึ่งในปีที่ผ่านมา TNN คาดการณ์ว่าจะมีการโจมตีเป้าหมาย แบบฉวยโอกาสเพิ่มมากขึ้น และพบว่านั่นคือความจริง ในขณะที่ อุตสาหกรรมต่างๆ พยายามรักษาระดับการให้บริการตลอดช่วงเวลา แห่งการพลิกผัน แต่มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยทีล่ ดลงก็เป็น สัญญาณเตือน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่บริษัทต่างๆ ต้องการ ระบบรักษาความปลอดภัยอย่างมาก บริการมากมายเริม่ ปรับเข้าสู่ รูปแบบดิจิทัลและออนไลน์เพื่อรองรับชีวิตวิถีใหม่ หลายองค์กรจึง ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษในการรักษาความปลอดภัยและคงไว้ซ่ึง แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดเพื่อให้องค์กรรอดพ้นจากการโจมตี


พลิกโฉมมัลแวร์ : การโจมตีรูปแบบใหม่จาก Crypto Malware พุ่งสูงขึ้น ส่วน Trojans กลายเป็นเรื่องที่พบได้ท่วั ไป

ขณะที่มัลแวร์กลายเป็นเรื่องปกติสามัญทั้งในแง่คุณสมบัติและฟังก์ชันการท�ำงาน ตลอดปี ที่ผ่านมา มัลแวร์ก็มีการพัฒนาให้มีความสามารถมากขึ้นด้วยการเป็นมัลแวร์ที่สามารถท�ำงานได้ หลากหลาย (Multi-Finction Malware) การเกิดขึน้ ของนักขุดสกุลเงินดิจทิ ลั (Cryptominers) ได้เข้ามา มีบทบาทส�ำคัญทดแทนการโจมตีจาก Spyware ทีเ่ ป็นมัลแวร์ทพ่ี บบ่อยทีส่ ดุ ในโลก อย่างไรก็ตาม การใช้มัลแวร์โจมตีในกลุ่มอุตสาหกรรมเฉพาะยังคงมีการพัฒนาต่อไป เวิรม์ (Worms) เป็นการโจมตีทพ่ี บบ่อยทีส่ ดุ ในภาคอุตสาหกรรมการเงินและการผลิต ขณะที่ อุตสาหกรรมการดูแลสุขภาพได้รบั ผลกระทบจาก Trojans ทีม่ กี ารเข้าถึงจากระยะไกล (Remote Acess Trojans) อุตสาหกรรมเทคโนโลยีตกเป็นเป้าหมายของ Ransomware ภาคการศึกษาถูกโจมตีโดย Cryptominers จากกระแสนิยมในการขุดสกุลเงินดิจทิ ลั ในกลุม่ นักเรียนทีใ่ ช้ประโยชน์จากโครงสร้าง พื้นฐานที่ยังไม่มีการรักษาความปลอดภัย เพราะฉะนั้นเมื่อด้านหนึ่งเรามีผู้คุกคามที่ใช้ประโยชน์จากการเกิดภัยพิบัติท่ัวโลก และ อีกด้านหนึ่งจะมีอาชญากรไซเบอร์ท่ีก�ำลังใช้ประโยชน์จากการเติบโตของตลาดที่ไม่เคยมีมาก่อน ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งสองจึงเป็นเรื่องที่ยากต่อการคาดเดาและมีความเสี่ยงสูง

https://pixabay.com/th/photos/ Hackers-shadow-3342696/

บทสรุปประเด็นสำ�คัญจากรายงาน GTIR ค.ศ. 2021 • การโจมตีในภาคการผลิตเพิ่มขึ้น จาก 7% ในปีที่ผ่านมาเป็น 22% ขณะที่ ธุรกิจด้านการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้นจาก 7% เป็น 17% ส่วนภาคการเงินเพิม่ ขึน้ จาก 15% เป็น 23% • องค์ ก รในหลายอุ ต สาหกรรม มองเห็นถึงการโจมตีท่ีเกี่ยวข้องกับวัคซีน COVID-19 และห่วงโซ่อุปทานที่เกี่ยวข้อง • การฉวยโอกาสของการก่ อ อาชญากรรมทางไซเบอร์ เ กี่ ย วกั บ COVID-19 ทวีความรุนแรงขึ้น โดยกลุ่ม ต่างๆ เช่น Ozie Team, Agent Tesla และ TA505 และนักแสดงระดับประเทศอย่าง Vicious Panda, Mustang Panda และ Cozy Bear ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมาก ใน ค.ศ. 2020 • รูปแบบของมัลแวร์ท่ีเกิดขึ้นบ่อย ที่สุดใน ค.ศ. 2020 คือ Miners: 41%; Trojans: 26%; Worms: 10% และ Ransomware 6%

• Cryptominers มีบทบาทส�ำคัญ ในกิจกรรมต่างๆ โดยเฉพาะในทวีปยุโรป ตะวันออกกลาง และแอฟริกา (EMEA) รวมทัง้ ทวีปอเมริกา แต่ยงั ไม่คอ่ ยมีบทบาท มากนักในทวีปเอเชียแปซิฟิก (APAC) • OpenSSL เป็ น เทคโนโลยี ที่ มี เป้าหมายส�ำคัญในอเมริกา แต่กลับไม่ได้อยู่ ใน 10 รายชื่อแรกในกลุ่มประเทศเอเชียแปซิฟิก (APAC) • ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง หลังจากการตัดสินใจของ Schrems II ท�ำให้ การคุม้ ครองความเป็นส่วนตัวของ EU-US (EU-US Privacy Shield) เป็นโมฆะ และสร้าง ภาระผูกพันเพิม่ ขึน้ ให้กบั องค์กรทีถ่ า่ ยโอน ข้อมูลส่วนบุคคลจากสหภาพยุโรปไปยัง ประเทศที่ 3 • งานวิจยั ของเอ็นทีทแี สดงให้เห็นว่า 50% ขององค์กรทั่วโลกให้ความส�ำคัญกับ การรักษาความปลอดภัยบนระบบคลาวด์ และเป็นเป้าหมายส�ำคัญในการรักษาความ ปลอดภัยทางไซเบอร์ในช่วง 18 เดือน ข้างหน้า

ดั ง นั้ น การเปลี่ ย นแปลง รูปแบบการด�ำเนินงานหรือการน�า เทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ ก�ำลังเปิด โอกาสให้ ผู ้ ป ระสงค์ ร ้ า ยสามารถ เข้ามาโจมตีระบบ และด้วยการเติบโต ขึ้นอย่างรวดเร็วของตลาดสกุลเงิน ดิจิทัลที่เป็นกระแสนิยมในกลุ่มคน ที่ ยั ง ขาดประสบการณ์ ท� ำ ให้ ก าร โจมตีรูปแบบใหม่จึงเกิดขึ้นได้ และ ในขณะนี้ ก� ำ ลั ง เข้ า สู ่ ช ่ ว งของการ แพร่ระบาดของโควิด-19 ทั้งองค์กร และผู้ใช้งานส่วนบุคคลจ�ำเป็นต้อง จัดล� ำ ดับความส� ำคัญในการรักษา ความปลอดภัยทางไซเบอร์ในทุกๆ อุ ต สาหกรรม และรวมถึ ง ในกลุ ่ ม ห่วงโซ่อุปทานด้วย




Industry News

ปตท. ผนึก ฟ็อกซ์คอนน์ ดันไทยเป็นศูนย์กลางผลิตยานยนต์ไฟฟ้าชัน้ น�ำในอาเซียน

บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท หงไห่ พริซิชั่น อินดัสทรี จ�ำกัด (Hon Hai Precision Industry Co., Ltd.) หรือ ฟ็อกซ์คอนน์ กรุป๊ (Foxconn Technology Group) ร่วมพิธลี งนาม บันทึกข้อตกลงความร่วมมือโครงการลงทุนอุตสาหกรรมยานยนต์ ไฟฟ้าสมัยใหม่ เพือ่ รุกตลาดยานยนต์ไฟฟ้า รองรับการเปลีย่ นแปลง ทิศทางพลังงานในอนาคต โดยการเป็นพันธมิตรร่วมทุนกว่า 1 พัน ล้านเหรียญสหรัฐฯ ศึกษาการสร้างแพลตฟอร์มผลิตรถยนต์พลังงาน ไฟฟ้าครบวงจรในประเทศ กระตุ้นเศรษฐกิจและการลงทุน ขานรับ นโยบายภาครัฐในการส่งเสริมอุตสาหกรรมเทคโนโลยียานยนต์ ไฟฟ้าสมัยใหม่ โดยมี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานใน พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือโครงการ ในครั้งนี้ ซึ่งจัดขึ้นในรูปแบบเสมือนจริง (Virtual MOU Signing Ceremony) จัดขึ้น ณ กรุงเทพฯ ประเทศไทย และกรุงไทเป ไต้หวัน โดยมีผู้บริหารหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมเป็น สักขีพยาน เพื่อศึกษาโอกาสในการพัฒนาฐานการผลิตยานยนต์ พลังงานไฟฟ้าในประเทศไทย ซึ่งความร่วมมือนี้จะเป็นการผลักดัน ให้อุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทยเปลี่ยนผ่านสู่เทคโนโลยี ยานยนต์ไฟฟ้าสมัยใหม่ ส่งเสริมอุตสาหกรรมการผลิตและเศรษฐกิจ ของประเทศให้เติบโตและเพิม่ ขีดความสามารถการแข่งขันในระดับ สากลมากยิ่งขึ้น อรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) (ปตท.) กล่าวว่า รูปแบบการใช้พลังงานในอนาคต จะมุ่งไปด้าน Go Green และ Go Electric มากยิง่ ขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านการเดินทางของ ประชาชน ซึง่ ในช่วงของการเปลีย่ นผ่านพลังงานดังกล่าว เราเชือ่ ว่า เชือ้ เพลิงแบบดัง้ เดิมจะยังเป็นพลังงานทีส่ ำ� คัญ แต่ในขณะเดียวกัน เราก็จ�ำเป็นต้องเร่งพัฒนาและปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง

สู่ทิศทางพลังงานในอนาคตอย่างอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ ทีม่ บี ทบาทส�ำคัญในการผลักดันและสร้างการเติบโตให้กบั เศรษฐกิจ ของประเทศ ซึง่ ทีผ่ า่ นมา ปตท. ได้เริม่ รุกเข้าสู่ EV Value Chain โดย จับมือพันธมิตรทางธุรกิจในการพัฒนา EV Charging Platform, EV Station รวมถึงการลงทุนในธุรกิจแบตเตอรี่ส�ำหรับยานยนต์ไฟฟ้า ดังนัน้ ความร่วมมือกับ Foxconn ในครัง้ นี้ จะกระตุน้ ให้เกิดการลงทุน ในประเทศ เสริมสร้างทักษะและอาชีพให้กับประชาชน เพื่อเป็น รากฐานส�ำคัญสูอ่ ตุ สาหกรรมเป้าหมายในอนาคต และเป็นต้นแบบ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางด้านพลังงานให้กับประเทศได้ต่อไป ยัง ลวือ ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ฟ็อกซ์คอนน์ กรุ๊ป (Mr.Young Liu, Chairman and CEO of Foxconn) กล่ า วว่ า เป้ า หมายของความร่ ว มมื อ ในครั้ ง นี้ คื อ การเปิดโอกาสให้ลูกค้าหรือผู้ที่สนใจทั่วโลกได้เชื่อมต่อสังคมแห่ง การเดินทางด้วยเทคโนโลยีอัจฉริยะ ความเชี่ยวชาญของ Foxconn ในฐานะผู้นำ� ด้านนวัตกรรมของโลก ท�ำให้เราผนึกความร่วมมือกับ ภาครัฐและ ปตท. ในการถ่ายทอดวิสัยทัศน์ ประสบการณ์ และ ความช�ำนาญเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าที่พร้อม ส�ำหรับอนาคต ซึ่งที่ผ่านมา ปตท. ได้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการ ชาร์จพลังงานและแบตเตอรีส่ ำ� หรับรถยนต์ไฟฟ้า ซึง่ เป็นส่วนส�ำคัญ ที่ Foxconn จะสามารถแบ่งปันความเชี่ยวชาญและเทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องเพื่อช่วยสร้างระบบนิเวศที่แข็งแกร่งขึ้น มุ่งหวังที่จะเห็น ประเทศไทยก้าวสูก่ ารเป็นผูน้ ำ� ระดับโลกในการขับเคลือ่ นอุตสาหกรรม ยานยนต์ไฟฟ้าในอนาคต ดังนั้นความร่วมมือนี้เป็นการผสานความเชี่ยวชาญของ Foxconn ที่เป็นผู้น�ำการผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์รายใหญ่ที่สุด ของโลก และความสามารถด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี รวมถึง ความแข็งแกร่งด้านธุรกิจพลังงานของ ปตท. ทั้งเครือข่ายพันธมิตร กลุ่มบริษัทในเครือและผู้ร่วมทุนปัจจุบันในการพัฒนาแพลตฟอร์ม การผลิต และเสริมศักยภาพระบบนิเวศด้วยเทคโนโลยีท่ีล้�ำสมัย ตลอดห่วงโซ่คณ ุ ค่ายานยนต์ไฟฟ้า รวมทัง้ ส่งเสริมให้ผรู้ บั ผลิตสินค้า (Original Equipment Manufacturers : OEMs) ในประเทศไทย ที่มี ความสนใจสามารถเข้าถึงการบริการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต รถยนต์พลังงานไฟฟ้าได้อย่างรวดเร็วและใช้ตน้ ทุนต�ำ่ เพือ่ ร่วมสร้าง อนาคตแห่งการเดินทางด้วยยานยนต์ไฟฟ้าอย่างยั่งยืน


GPSC ผนึก CHPP รุกตลาดทุ่นโซลาร์ลอยน�ำ้ พัฒนาผลิตภัณฑ์ G Float บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี จ�ำกัด (มหาชน) (GPSC) ได้รว่ มกับพันธมิตรในการพัฒนานวัตกรรมพลังงานสะอาด G Float ที่ได้มีการเปิดตัวผลิตภัณฑ์ในรูปแบบ New Normal เป็น ครั้งแรกของไทย เป็นนวัตกรรมทุ่นโซลาร์ลอยน�้ำ (Floating Solar) ที่พร้อมด�ำเนินการในเชิงพาณิชย์เพื่อใช้ส�ำหรับระบบผลิตไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตัง้ บนทุน่ ลอยน�ำ้ (Floating PV System) ป้อนสู่กลุ่มลูกค้าโรงงานอุตสาหกรรมลูกค้าในนิคมอุตสาหกรรม รวมถึงหน่วยงานภาครัฐและเอกชนต่างๆ เพื่อติดตั้งโซลาร์ลอยน�า้ บนแหล่งน�ำ้ ขนาดใหญ่ รสยา เธียรวรรณ รองกรรมการ ผู ้ จั ด การใหญ่ พั ฒ นาธุ ร กิ จ บมจ. โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ย่ี (GPSC) และประธานกรรมการ บริษทั ผลิตไฟฟ้ำ และพลั ง งานร่ ว ม จ� ำ กั ด (CHPP) กล่าวว่า จากความร่วมมือในการพัฒนา รสยา เธียรวรรณ เทคโนโลยีร่วมกับบริษัทชั้นน�ำของโลก ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพือ่ ให้ตอบโจทย์ ความต้องการของกลุม่ ลูกค้าทีจ่ ะน�ำไปสูก่ ารบริหารจัดการพลังงาน ที่มีประสิทธิภาพ ด้วยมาตรฐานและความปลอดภัยที่เป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม ทัง้ นี้ GPSC ให้ความส�ำคัญกับการน�ำนวัตกรรมพลังงาน สู่การสร้างสรรค์อนาคตด้วยแนวคิด Smart Energy for Evolving Life ที่จะรองรับการเติบโตในอุตสาหกรรม New S-Curve อันเป็น กลยุทธ์หลักในการขับเคลือ่ นธุรกิจของบริษทั ฯ และกลุม่ ปตท. เพือ่

รองรับเทรนด์การเปลี่ยนแปลงพลังงานโลกที่หันมาให้ความใส่ใจ ในการใช้พลังงานทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ส่งผลให้ GPSC เดินหน้า ขยายการลงทุนในธุรกิจพลังงานสะอาดผ่านการด�ำเนินงานของ CHPP (ถือหุน้ 100% โดย GPSC) ทีจ่ ะเป็นหน่วยธุรกิจหลักทีส่ ำ� คัญ ในการน�ำนวัตกรรมพลังงานมาเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ไฟฟ้าภายใต้แพลตฟอร์มต่างๆ ที่สามารถเพิ่มศักยภาพการผลิต กระแสไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน เพราะฉะนั้นเทคโนโลยี G Float จะเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีช่วย ส่งเสริมให้โครงการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ชนิดติดตั้ง บนทุน่ ลอยน�ำ้ สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง มีอายุการใช้งานของวัสดุยาวนานถึง 25 ปี ทั้งยังเป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม สามารถน�ำกลับมารีไซเคิลได้ ช่วยลดปริมาณการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกและมีความปลอดภัยต่อระบบนิเวศใต้น�้า

ZTE ร่วมกับ AIS และ มทส. น�ำเทคโนโลยี 5G เสริมศักยภาพอุตสาหกรรมไทย ยกระดับสู่โรงงานอัจฉริยะ บริษทั แซดทีอี คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด ร่วมกับ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จ�ำกัด (มหาชน) (AIS) ซึง่ เป็นผูใ้ ห้บริการเครือข่าย ไร้สายและผูใ้ ห้บริการอินเทอร์เน็ตระดับชัน้ น�ำของไทย และมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสรุ นารี ร่วมกันน�ำเทคโนโลยี 5G ในสายการผลิต พลิกโฉม สู่โรงงานอัจฉริยะ เพื่อเสริมศักยภาพในการผลิตให้ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมด้วยอุปกรณ์ด้านเทคโนโลยี อาทิ 5G Cloud AGV, Inspection, 5G AR Remote Guidance, VR Monitoring และ Robotic Arm แขนกลอัจฉริยะ มั่นใจ ช่วยผลักดันอุตสาหกรรมการ ผลิตไทยให้กา้ วไปสูอ่ นาคตด้วยเทคโนโลยี 5G อย่างมีคณ ุ ภาพสูงสุด


Industry News

หลิง จือ้ รองประธานกรรมการ ฝ่ า ยการตลาด บริ ษั ท แซดที อี คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด กล่าวว่า ZTE ในฐานะของผูใ้ ห้บริการโซลูชนั เทคโนโลยี ระดั บ โลก โดยมี ก ลุ ่ ม ลู ก ค้ า หลั ก เป็ น องค์กรภาคอุตสาหกรรม และได้รว่ มมือ หลิง จื้อ กั บ พั น ธมิ ต รระดั บ ชั้ น น� ำ พั ฒ นา นวัตกรรมเทคโนโลยี 5G มาอย่างต่อเนือ่ ง ครอบคลุมอุตสากรรมหลักมากกว่า 15 อุตสาหกรรม ในการจับมือ กับ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) (AIS) และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เพื่อพัฒนาโซลูชัน 5G end-to-end ส�ำหรับอ�ำนวยความสะดวกในการประกอบธุรกิจแก่กลุ่มลูกค้า อุตสาหกรรมในประเทศไทย มัน่ ใจว่าจะช่วยเพิม่ ศักยภาพในการผลิต และยกระดับการท�ำงานให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ พร้อมทัง้ ผลักดัน ให้อตุ สาหกรรมการผลิตก้าวไปสูอ่ นาคตด้วยเทคโนโลยี 5G อย่างมี คุณภาพสูงสุด

เพราะฉะนั้นในความร่วมมือระหว่าง ZTE กับ AIS และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มุ่งน�ำเสนอนวัตกรรมที่จะพลิกโฉม โรงงานธรรมดาให้กลายเป็นโรงงานอัจฉริยะด้วยนวัตกรรมใหม่ โดยการเริ่มต้นที่จังหวัดนครราชสีมา เนื่องจากเป็นจุดเชื่อมต่อกับ ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) และระเบียงเศรษฐกิจ ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ (NEEC) จึ ง มั่ น ใจว่ า มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีสรุ นารี (มทส.) สามารถตอบสนองความต้องการของภาค อุตสาหกรรมได้เป็นอย่างดี โดยมีหลักสูตรเกีย่ วกับเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั หลักสูตรครอบคลุมเทคโนโลยี AI, Cloud, IoT, VR และ AR ยิ่งไป กว่านั้นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.) ยังมีการฝึกอบรม เกี่ยวกับขอบเขตของเทคโนโลยี 5G ให้กับธุรกิจต่างๆ โดยความ ร่วมมือระหว่าง ZTE และ AIS เชื่อว่าจะสนับสนุนให้การใช้งาน ร่วมกับเทคโนโลยีที่หลากหลายผ่านเครือข่ายเทคโนโลยี 5G ทั้งนี้ จะเสริมศักยภาพให้ผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรมทีต่ อ้ งการใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยี 5G ได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งช่วยลดต้นทุน และเพิ่มก�ำลังในการผลิตให้ดียิ่งขึ้น

SHARGE ตั้งเป้าขึ้นเบอร์หนึ่งผู้ให้บริการธุรกิจชาร์จรถ EV ครบวงจร SHARGE ผู้น�ำด้านการสร้าง EV Charging Ecosystem เพื่อตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิตอย่างยั่งยืน มีมุมมองว่าภายใน 5 ปี การใช้รถยนต์ไฟฟ้า (EV) จะเติบโตขึน้ อย่างก้าวกระโดด เพราะ จะเป็ น การลดการสร้ า งมลภาวะในประเทศไทย เนื่ อ งจากใน ประเทศไทยเองก็พบว่าปัจจัยทีก่ อ่ ให้เกิดปัญหาเรือนกระจกมาจาก ภาคการขนส่งถึง 27% ประเทศไทยจึงเป็นอีกหนึง่ ประเทศทีเ่ กิดการ ตื่นตัวในการสนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านการขนส่งจาก รถยนต์สันดาปภายในไปสู่รถ EV โดยเฉพาะรถยนต์ไฟฟ้าที่ใช้ พลังงานจากแบตเตอรีข่ บั เคลือ่ นเพียงอย่างเดียว (BEV) ทีจ่ ะเข้ามา ช่วยลดการปล่อยมลพิษจากรถยนต์โดยตรง ซึง่ รถ BEV จะกลายเป็น เป้าหมายหลักของการขับเคลื่อนโลกยุคใหม่ในอนาคต และปัจจัย ส�ำคัญที่จะสนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากรถยนต์สันดาป มาสู่รถ EV อย่างยั่งยืน นั่นคือการมี สาธารณูปโภคพื้นฐานรองรับเพียงพอ ต่อการใช้งาน เพื่อให้ผู้ใช้งานเข้าถึง หัวชาร์จได้อย่างทั่วถึง พี ร ะภั ท ร ศิ ริ จั น ทโรภาส กรรมการผู ้ จั ด การ บริ ษั ท ชาร์ จ พีระภัทร แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด กล่าวว่า SHARGE ศิริจันทโรภาส ได้ก่อตั้งธุรกิจเพื่อเข้ามาสนับสนุนการ

สร้างระบบนิเวศต่อการเติบโตของรถ EV ด้วยการเป็นผู้ให้บริการ ด้านการชาร์จรถ EV อย่างครบวงจร ทัง้ ในรูปแบบของการจ�ำหน่าย อุปกรณ์ชาร์จส�ำหรับติดตั้งตามที่อยู่อาศัยและแหล่งไลฟ์สไตล์ รวมถึงการพัฒนาสถานีชาร์จ (EV Charging Station) ให้ครอบคลุม ทั่วประเทศ โดยตั้งเป้าหมายแผนการด�ำเนินการภายใน 5 ปี (พ.ศ. 2563-พ.ศ. 2568) SHARGE จะสามารถสร้างยอดขายได้ 3,000 ล้านบาทจากการขายเครือ่ งชาร์จ 16,000 เครือ่ ง โดยเป้าหมาย รายได้ดงั กล่าวจะมาจากการขายอุปกรณ์ให้กบั โครงการทีพ่ กั อาศัย 30% และ 70% มาจากยอดขายไฟฟ้า จากหัวชาร์จที่กระจายอยู่ 250 แห่ง ให้บริการหัวชาร์จในแหล่งไลฟ์สไตล์ชั้นน�ำตลอดเส้นทาง กรุงเทพฯ หัวหิน พัทยา และเขาใหญ่ ซึง่ มัน่ ใจว่าจะส่งผลให้ SHARGE ขึน้ เป็นอันดับ 1 ในอุตสาหกรรม ครองส่วนแบ่งการตลาดผูใ้ ห้บริการ ด้านธุรกิจการชาร์จรถ EV ในทุกรูปแบบมากกว่า 30% อีกทั้งเป้าหมายการเติบโตยอดขายของ SHARGE นั้น เป็น ไปในทิศทางเดียวกับเป้าหมายของคณะกรรมการนโยบายยานยนต์ ไฟฟ้าแห่งชาติ นอกจากนี้ มองว่าการเตรียมการด้านโครงสร้าง พื้นฐาน (Ecosystem) เพื่อส่งเสริมการใช้รถ EV เป็นสิ่งส�ำคัญและ เร่งด่วนที่ภาครัฐและเอกชนจ�ำเป็นต้องร่วมมือกันเพื่อสนับสนุนให้ ประเทศไทยก้าวสู่การเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าของภูมิภาค ในอนาคตอันใกล้


Galaxy VL

ยูพีเอสระบบไฟ 3 เฟส ที่กะทัดรัดและมีประสิทธิภาพที่สุด ชไนเดอร์ อิเล็คทริค (Schneider Electric) ผู ้ น� ำ ดิ จิ ทั ล ทรานส์ ฟ อร์ เ มชั น ด้ า นการจั ด การ พลังงานและระบบออโตเมชัน เปิดตัว Galaxy VL ขนาด 200-500 kW (400V/480V) ยูพีเอสระบบ ไฟ 3 เฟส รุ่นล่าสุดในตระกูล Galaxy ที่มาใน รูปโฉมขนาดกะทัดรัด ประสิทธิภาพสูง โดยให้ ประสิทธิภาพในโหมด ECOnversionTM สูงถึง 99% ช่วยให้คนื ทุนได้ภายใน 2 ปี (ขึน้ อยูก่ บั รุน่ ) ส�ำหรับ ดาต้าเซ็นเตอร์ขนาดกลางและขนาดใหญ่ รวมถึง โรงงานอุตสาหกรรมหรืออาคารพาณิชย์ Galaxy VL จะช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย แพลตฟอร์มแบบแยกโมดูลและปรับขยายตาม ความต้องการใช้งานได้ ช่วยให้จา่ ยค่าใช้จา่ ยเท่าที่ จ�ำเป็นตามการเติบโต (Pay-as-You-Grow) ช่วย ลด CapEx หรือค่าใช้จา่ ยในการลงทุน ลดต้นทุน การด�ำเนินงาน ลดการใช้พลังงาน และลดต้นทุน การเป็นเจ้าของโดยรวม (TCO) นอกจากนี้ยัง สามารถปรับก�ำลังไฟเพิ่มได้ทันทีท่ีต้องการทีละ

50 กิโลวัตต์ จาก 200-500 กิโลวัตต์ โดยไม่ต้อง เพิ่มพื้นที่ อีกทั้งยังบรรลุเป้าหมายด้านความ ยั่งยืน เพิ่มประสิทธิภาพได้ถึง 99% ในโหมด ECOnversion ส�ำหรับการคืนทุนอย่างเต็มรูปแบบ ภายใน 2 ปี (ประหยัดค่าไฟฟ้าปีละ 26,280 ยูโร คิดเป็นเงินไทยเกือบล้านบาท) และเพิ่มความ น่าเชื่อถือผ่านอีโคสตรัคเจอร์ สามารถเชื่อมต่อ Galaxy VL ไปยัง EcoStruxure ซึง่ เป็นแพลตฟอร์ม และสถาปัตยกรรมในระบบเปิดของชไนเดอร์ อิเล็กทริค ทีใ่ ห้ความสามารถในการท�ำงานร่วมกัน และให้ศักยภาพด้าน IoT โดยผู้ให้บริการดาต้ำ เซ็นเตอร์สามารถได้รบั ประโยชน์จาก EcoStruxureTM IT ทั้งซอฟต์แวร์และบริการต่างๆ การน�ำเสนอ ของ EcoStruxure ในเรื่องเหล่านี้ ช่วยให้ลูกค้ำ สามารถมอนิ เ ตอร์ บริ ห ารจั ด การ และสร้ า ง แบบจ�ำลองโครงสร้างพื้นฐานด้านไอทีของตน อีกทั้งยังได้รับการสนับสนุนตลอดทุกที่ ทุกเวลำ

เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้าดิจิทล ั แบบ DIN-Rail

บริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เปิดตัว เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้าใหม่ติดตั้งแบบ DIN-Rail และสามารถ ใช้ร่วมกับอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ในประเทศไทย เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้ำ ประเภท DIN-Rail ใหม่น้ี ได้ออกมาทัง้ หมด 2 รุน่ ได้แก่ รุน่ DPM-DA510 ทีส่ ามารถท�ำงานร่วมกับอุปกรณ์และระบบต่างๆ ส�ำหรับงานพืน้ ฐาน เช่น การวัดค่าพารามิเตอร์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า Output และรุน่ DPM-DA530 ชนิดขั้นสูง ส�ำหรับการจัดการพลังงานพร้อมความสามารถในการบันทึก ข้อมูลเพิ่มเติม เช่น ค่าฮาร์มอนิกส์ ความเพี้ยน (THD) เวลาใช้งาน (TOU) และความต้องการของไฟฟ้า นอกจากนี้ยังมีฟังก์ชันเตือนและการแก้ไข สายไฟอัตโนมัติ ทั้ง 2 รุ่น DPM-DA510 และ DA530 นั้น สามารถติดตั้งได้ง่าย โดยติดตั้งเข้ากับราง DIN-Rail และมีจอ LCD ซึ่งท�ำให้เป็นโซลูชันที่ สมบูรณ์แบบส�ำหรับการผนึกรวมระบบต่างๆ ลูกค้าสามารถตรวจสอบ การใช้พลังงานของอุปกรณ์ได้อย่างง่ายดายด้วยมิเตอร์วดั ไฟฟ้าแบบใหม่นี้ ที่รวมเข้ากับอุปกรณ์อ่ืนๆ ได้อย่างไม่มีสะดุด เช่น อุปกรณ์ควบคุมการ ท�ำงานของเครื่องจักร หรือโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอลโทรลเลอร์ (PLC) และอุปกรณ์ท่ีใช้ในการติดต่อระหว่างผู้ใช้งานกับเครื่องจักร (HMI) และ Switcher ตัวแยกสัญญาณอุตสาหกรรม

ผู้จัดการฝ่ายปฏิบัติการในโรงงานผลิตและสิ่งอ�ำนวย ความสะดวกสามารถใช้เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้าดิจิทัลแบบ ติดตัง้ บน DIN-Rail รุน่ ล่าสุด เพือ่ รวบรวมข้อมูลการใช้พลังงาน เพื่อการวิเคราะห์ ประหยัดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพ การท�ำงาน ทีมงานระบบอัตโนมัติทางอุตสาหกรรมในพื้นที่ของ เดลต้าพร้อมให้ค�ำปรึกษา ติดตั้ง และสนับสนุนหลังการขาย ส�ำหรับลูกค้าในประเทศไทย สามารถติดต่อสอบถามได้ท่ี la.det@deltaww.com


ใบสมัครสมาชิก

ELECTRICITY & INDUSTRY MAGAZINE ชื่อ-นามสกุล ........................................................................................................................................................................................................................... บริษัท/ห้าง/ร้าน ..................................................................................................................................................................................................................... ที่อยู่ ........................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ โทรศัพท์ ............................................................................................................. แฟกซ์ ........................................................................................................ รหัสสมาชิก ............................................................................................................................................................................................................................. ประสงค์จะบอกรับนิตยสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” สมาชิกใหม่  1 ปี 6 ฉบับ 480 บาท  2 ปี 12 ฉบับ 960 บาท สมาชิกต่ออายุ  1 ปี 6 ฉบับ 450 บาท  2 ปี 12 ฉบับ 900 บาท ตั้งแต่ฉบับที่ ............. เดือน ......................................... ปี .................. โดยส่งนิตยสารไปที่  ที่ทำ�งาน  ที่บ้าน พร้อมกันนี้ได้ส่งค่าสมาชิกเป็นจำ�นวนเงิน ................................... บาท (ตัวอักษร ............................................................................................)  เช็คธนาคาร ................................................................................... สาขา ................................................................................................... เช็คคร่อมสั่งจ่าย “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด”

ธนาณัติ สั่งจ่ายในนาม “คุณวาสนา แซ่อึ้ง” ที่ทำ�การไปรษณีย์โทรเลขบางกอกน้อย โอนเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด” ชื่อธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี  กสิกรไทย บางยี่ขัน 047-2-56333-5  ไทยพาณิชย์ จรัญสนิทวงศ์ ซ.48 21-2-04080-0  กรุงไทย ถนนศรีอยุธยา 013-0-09071-9 หมายเหตุ : กรุณาส่งแฟกซ์ หรือสำ�เนาใบเข้าบัญชี (Pay-in Slip) มาให้ บริษัทฯ พร้อมเขียนชื่อ-นามสกุล และรหัสสมาชิก (ถ้ามี) กำ�กับมาด้วย กรุณากรอกข้อมูลดังกล่าวให้ครบถ้วนเพื่อการติดต่อจัดส่งข้อมูล กลับไปยังท่านต่อไป

ดัชนีสินค้าประจ�ำเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม พ.ศ. 2564 บริษัท ABB POWER GRIDS (THAILAND) LTD. FUTURE ENERGY ASIA

โทรศัพท์ 0-2665-1000

โทรสาร

ประเภทสินค้า

0-2324-0502 อุปกรณ์ไฟฟ้า

หน้า ปกหลังนอก

-

-

Exhibition

13

INTERMACH

0-2036-0564

-

Exhibition

10

LS ELECTRIC CO., LTD.

0-2053-9133

-

หม้อแปลงไฟฟ้า

MAXIMIZE INTEGRATED TECHNOLOGY CO., LTD.

0-2194-8738-9

0-2003-2215 อุปกรณ์ไฟฟ้า

POWEREX & ELECTRIC ASIA EXPO

0-2513-1418

UNIPOWER ENGINEERING CO., LTD.

0-2953-8020-3

ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) บจก.

0-2002-4395-97 0-2002-4398 อุปกรณ์ไฟฟ้า

ปตท. น�้ำมันและการค้าปลีก บมจ.

0-2239-7847

-

Exhibition

0-2953-8024 อุปกรณ์ไฟฟ้า บริการซ่อมติดตั้ง

ปกหน้าใน 6 15 ปกหลังใน 5

0-2239-7898 น�ำ้ มันหล่อลื่นอุตสาหกรรม

3

เพาเวอร์ เรด บจก.

0-2322-0810-6

0-2322-0430 อุปกรณ์ไฟฟ้า

9

ลีฟเพาเวอร์ บจก.

0-2130-6371

0-2130-6372 อุปกรณ์ไฟฟ้า

11

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727-8

0-2476-1711 Couplings

4

เอส เอ วี เมคคานิคคอล เซอร์วิสส์ แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.

0-2702-0581-8

0-2377-5937 ติดตั้ง EOCR อิเล็กทรอนิกส์ โอเวอร์โหลดรีเลย์ ป้องกัน มอเตอร์ไหม้

8

เอวีร่า บจก.

0-2074-4411

0-2074-4400 อุปกรณ์ไฟฟ้า

ปกหน้า, 7



COMMITTED TO SERVING YOU BEST We are at your side to secure a more reliable, flexible, and sustainable grid. Wherever you are. Anytime. Customer Connect Center Your Hitachi ABB Power Grids contact point for any questions. 24/7. 365 days a year. Scan the QR code to directly access the Customer Connect Center.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.