LSIS_21.59x29.21cm.pdf
1
7/4/61 BE
6:03 AM
WORKS HERE.
SHELL TURBO OILS – FOR ENHANCED PROTECTION, EXTENDED OIL LIFE, AND EXCELLENT SYSTEM EFFICIENCY.
www.shell.com/lubricants
Samwa_21.59x29.21cm.pdf
1
3/28/17
11:02 AM
SMART Machinery, SMART Factory, SMART Manufacturer • FIRST INTERNATIONAL MACHINERY EXHIBITION: is being held at the start of the annual industrial purchasing period • ADVANCED TECHNOLOGY: 1,200 Brands from 45 Countries • NATIONAL PAVILIONS: China, Japan, Korea, Singapore and Taiwan • SPECIAL ZONES: Smart Manufacturing showcase, Additive Manufacturing Technology, Robot Welding Competition • OVER 50 SEMINARS: AI, Future Automotive, Medical Device, Aerospace, and Japanese Seminar • Co-located SUBCON Thailand: Most Important Industrial Subcontractor for Procurement of Industrial parts and Business Matching Event
EXCLUSIVE ! Exhibitors have exclusive access to participate in the business matching program that has over 500 part-makers from Thailand, Japan, Korea, Taiwan and more in SUBCON Thailand!
: +66 2036 0500 : intermach@intermachshow.com : www.intermachshow.com Organised by:
Co-Located with
Co-organised SUBCON Thailand by:
Officially Supported by:
Event Partner:
In Conjunction with:
Gold Sponsor:
Mennekes_21.59x29.21cm_Cre.pdf
1
3/30/17
3:05 PM
y ` yy
k wz ë §j Ñ
}k wz | j g } }~Å ¢|¡ d ¡w }
më dgÎ x wxÍ d Í z § d § eÎ j ¢ Î dÍ g y } |z § |¢k
{ x xe z u i b u
¡ ×~ | | ©m y| i Ï ¢ ©l Ó | ªlg l |¢ ~Ï l ~ í~ | ªlmy gÏ gÐ gÏ yÐ ~i fÐ ~Ð | l¡|i£~£ i ¡i í ~¥ ¤~} f m
| j j | ~ x jgÑd |Í j | } z ¡~ x Ñ Í| } Î z j¨ d }} k w Ñ
v uvË ~Æ } v i xo z ~zÓ x vË E-mail: O@>CIJH@?D< BH<DG >JH
CONTENT Edit.pdf
1
11/27/62 BE
4:41 PM
CONTENTS
Electricity & Industry Magazine ฉบับนี้เปนฉบับสงทายป 2562 แลว ตลอดระยะเวลา 1 ปที่ผานมา มีเหตุการณเกิดขึ้นมากมาย มีการเปลีย่ นแปลงหลายอยางเกิดขึน้ โดยเฉพาะเทคโนโลยีทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลงอยางรวดเร็ว และไดสง ผลกระทบถึงชีวติ ประจําวันของคนเรา อยางหลีกเลีย่ งไมได รวมถึงพฤติกรรมบางอยางก็ตอ งเปลีย่ นไปดวยเชนกัน พวกเราทุกคนจึงจําเปนตองปรับตัวใหทนั เพือ่ ใหอยูก บั เทคโนโลยี อยางมีความสุข เนื้อหาในฉบับนี้มีเรื่องนาสนใจมากมายเชนเดิม ยานยนตไฟฟา (EV) เปนยานยนตแหงอนาคตที่มีการใชงานจริงแลวในปจจุบัน แต ยานยนตไฟฟา (EV) นี้มีการทํางานรวมกับระบบไฟฟาอยางไร สามารถติดตามไดในคอลัมน Article เรื่อง ยานยนตไฟฟา (EV) และระบบ ไฟฟาทํางานดวยกันอยางไร เขียนโดย Jairo Quiros-Tortos, Luis (Nando) Ochoa, and Timothy Butler - IEEE Power & Energy Society นอกจากนีย้ งั มีบทความเรือ่ ง ประเทศไทยพัฒนาความปลอดภัยของระบบรางในสถานีรถไฟ 48 แหง ดวยเทคโนโลยีของทาเลส (Thales) โดย ทาเลส บทความเรือ่ ง อนาคตกระบวนการผลิตจําเปนตองใชหนุ ยนตมากขึน้ โดย ยูนเิ วอรซลั โรบอทส และบทความเรือ่ ง การกาวสู แนวคิดวิทยาการหุนยนตเพื่อการทํางานรวมกับมนุษย โดย เจมส เทยเลอร ผูจัดการทั่วไปของออนโรบอท เอเชียแปซิฟก นอกจากนั้นกองบรรณาธิการยินดีนําเสนอ Scoop ดีๆ ที่นาสนใจหลายเรื่อง อาทิ บริษัทที่ไดรับรางวัล Thailand Energy Awards ประจําป 2562 หรือบทความเรือ่ ง ปฏิบตั กิ ารนวัตกรรมเพือ่ สังคม 2019... เพือ่ แกไขปญหาสังคมอยางยัง่ ยืน รวมทัง้ Scoop เรือ่ ง โรงงาน ประกอบแบตเตอรี่แรงดันสูงสําหรับรถยนตปลั๊กอินไฮบริด ของ BMW ซึ่งกําลังอยูในความสนใจของประชาชนทั่วไป คอลัมน IT Technology นําเสนอบทความเรื่อง ผลสํารวจของ “ดัชนีองคกรอัจฉริยะ” (Intelligent Enterprise Index) โดย ซีบรา เทคโนโลยีส ที่เผยผลสํารวจที่จัดทําขึ้นเปนครั้งที่ 3 พบวา 61% ขององคกรทั่วโลกกําลังปรับตัวเขาสู “องคกรอัจฉริยะ” เมื่อเทียบกับปกอน เพียง 49% เทานั้น ใน IT Article เปนเรือ่ งของ แดสสอลท ซิสเต็มส (Dassault Systemes) ไดจดั ทําอีบกุ หัวขอ “Forging the Digital Twin in Discrete Manufacturing” (การสราง Digital Twin ในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวน) ภายใตความรวมมือกับ แอลเอ็นเอส รีเสิรช (LNS Research) โดยอีบุกฉบับนี้จะรวบรวมองคความรูเกี่ยวกับการนําเทคโนโลยี “Digital Twin” มาใชสรางผลิตภัณฑตนแบบ ออกแบบและวางแผน กระบวนการผลิต รวมถึงระบบตางๆ ในแบบเวอรชวล 3 มิติ แกอุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวนชวยโคลนนิ่งตนแบบโครงการเปนดิจิทัลฟอรแมท ใชเพื่อทดลองและทดสอบในสภาวะแบบจําลองกอนที่จะเขาสูกระบวนการผลิตจริง สุดทายนีข้ อใหทกุ ทานร่าํ ลาปเกาและสวัสดีปใ หมอยางเตรียมพรอม เพือ่ รับกับทุกสถานการณทจี่ ะเกิดขึน้ ในปหนาทีค่ าดวาคงหนักหนา สาหัสอยูไมนอย พบกันใหมฉบับหนา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
November-December 2019
P.18_Editor Talk.indd 18
11/26/62 BE 10:56 AM
ชวงปลายเดือนตุลาคมที่ผานมา ทางกองบรรณาธิการ Green Network และนิตยสารไฟฟาและอุตสาหกรรม ไดรบั เชิญจาก Hong Kong Trade Development Council (HKTDC) ไปร ว มงาน ECO Expo Asia 2019 ซึ่งจัดขึ้นเปนครั้งที่ 14 ณ Asia World Expo, Hong Kong เปนสถานที่จัดงานนิทรรศการที่อยูใกลกับสนามบิน ระยะเวลาในการ เดิ น ทางด ว ยรถยนต ใ ช เ วลาเพี ย ง 5-10 นาที เป น งานที่ HKTDC จัดรวมกับ Messe Frankfurt (HK) และมีบริษทั องคกร รวมจัดงานแสดง กวา 300 ราย จาก 17 ประเทศทั่วโลก Mr.Benjamin Chau, HKTDC Acting Executive Director กลาววา ECO Expo Asia ปนี้ไดนําเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอมตัวลาสุด จากทั่ ว โลกมาจั ด แสดง ซึ่ ง จะสร า งโอกาสให กั บ ธุ ร กิ จ ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม (Green Business) และเป น การสร า งสั ง คมเศรษฐกิ จ คารบอนต่ําที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (Low-carbon Economy and Green Lifestyles) การจัดงานปนมี้ งุ เนน Theme “Less Carbon, Less Waste, Green Innovation” เรามีเปาหมายที่จะใหภาคอุตสาหกรรมไดนําเทคโนโลยี ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมไปใชงาน และเปนกาวสําคัญสูการพัฒนา ที่ยั่งยืนตอไป (Sustainable Development) ภายในงานมีทงั้ หมด 10 โซน ในการจัดแสดงเทคโนโลยีทเี่ ปนมิตร ตอสิง่ แวดลอม ประกอบดวย Eco-friendly Products, Air Quality, Water Treatment and Quality Management, the Greater Bay Area Zone, Eco Excellence and Green Building and Energy Efficiency, Green Transportation, Waste Management and Recycling, Testing, Analysis, Certification และ Startup Zone โดยทุกโซนได้รับความ ร ว มมื อ จากภาคธุ ร กิ จ ท อ งถิ่ น และจากนานาชาติ ม าร ว มจั ด แสดง และใหความรูหลากหลายอยางกวางขวาง ในสวนของโซน Green Transportation ได นํ า นโยบายล า สุ ด ของ Hong Kong Special Administrative Region (HKSAR) ดวยงบประมาณ HK$ 2 Billion สนับสนุนโครงการนํารองในการติดตั้งจุดชารจรถไฟฟา (EV Charging Points) ในที่จอดรถอาคารพักอาศัย (Residential Buildings) คาดวา จะสนับสนุนไดประมาณ 60,000 จุดที่จอดรถ
กลุม Greater Bay Area จัดสัมมนาไดนาสนใจ ภายใตหัวขอ “Cleaner Production in Greater Bay Area” ผูบ รรยายประกอบดวย Mr.Raymond Fong, General Manager, Environmental Management Division, Hong Kong Productivity Council, Mr.Ou Yuezhou, Chairman, Guangdong Association of Enviromental Protection industry, Mr.David Lo, Senior Consultant in Environmental Consultancy Services, Hong Kong Productivity Council และ Mr.Rakesh Vazirani, Head of Sustainability Services, TUV Rheinland Group Production in Textile Industry: DETOX” ซึ่ ง การบรรยายทั้ ง หมดได ก ล า วถึ ง ป ญ หาดั้ ง เดิ ม ในช ว ง การพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมในพื้นที่ Greater Bay Area (อาวกวางตุงและฮองกง รวมทั้งมาเกา) เปนพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ ในระยะการพั ฒ นาเริ่ ม แรกมี ป ญ หาสิ่ ง แวดล อ ม ได มี ก ารระดม ผูเชี่ยวชาญจากหลายฝายเขาไปแกไข อาทิ Hong Kong Productivity Council, TUV Rheinland Group ชวยปรับปรุงกระบวนการผลิต ลดมลภาวะ ตลอดจนเพิ่ ม เติ ม การตรวจจั บ มลภาวะในขั้ น ตอน สุดทาย อุตสาหกรรมที่มีการปรับปรุงไปไดมาก อาทิ อุตสาหกรรมสี อุตสาหกรรมเฟอรนเิ จอร อุตสาหกรรมโลหะ อุตสาหกรรมสิง่ ทอ และ อุตสาหกรรมรองเทา ดวยนโยบายและการดําเนินการแกไขอยางจริงจัง การปรับปรุงสิง่ แวดลอมในเขตพืน้ ที่ Greater Bay Area ไดพฒ ั นาดีขนึ้ อยางชัดเจน
About HKTDC
The Hong Kong Trade Development Council (HKTDC) is a statutory body established in 1966 to promote, assist and develop Hong Kong’s trade. With 50 offices globally, including 13 in Mainland China, the HKTDC promotes Hong Kong as a two-way global investment and business hub. The HKTDC organizes international exhibitions, conferences and business missions to create business opportunities for companies, particularly small and medium-sized enterprises (SMEs), in the mainland and international markets. For more information, please visit: www.hktdc.com/aboutus.
November-December 2019
P.20_ECO EXPO.indd 20
12/3/62 BE 3:32 PM
สายสัญญาณ มาตรฐานอเมริกา
ครบเครื่อง เรื่องสายสัญญาณ
www.interlink.co.th Tel 02 666 1111 (100 lines)
IEEE PES - Thailand
มอบทุนสนับสนุนมหาวิทยาลัย 10 แหง
ที่เขารวมโครงการ Student Membership Supporting Program 2019
พิธีมอบเงินทุนสนับสนุนแก 10 มหาวิทยาลัย
สมพงษ ปรีเปรม ผูวาการ การไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) ประธานกรรมการบริ ห าร IEEE PES –Thailand
สถาบันวิชาชีพวิศวกรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสแหงประเทศไทย (IEEE PES – Thailand) มอบเงินทุนสนับสนุนแก 10 มหาวิทยาลัย ที่เขารวมโครงการ Student Membership Supporting Program 2019 เพื่ อ สนั บ สนุ น นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาในระดั บ ปริ ญ ญาตรี ปริ ญ ญาโท และปริ ญ ญาเอก สาขาวิศวกรรมไฟฟากําลัง สมพงษ ปรีเปรม ผูว า การ การไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) ประธานกรรมการบริหาร IEEE PES Thailand กลาววา โครงการ Student Membership Supporting Program จัดขึ้นเพื่อเปดโอกาสให นิสิตนักศึกษาในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ในสาขาวิศวกรรมไฟฟากําลัง ไดพัฒนา ตนเอง นําความรูและประสบการณที่ไดจากการรวมกิจกรรม IEEE PES ไปใชสรางองคความรู เผยแพร ความรูท ไี่ ดผา นผลงานวิจยั ใหมๆ และพัฒนาโครงการตางๆ ทางดานวิศวกรรมไฟฟา รวมทัง้ สรางวิศวกร ดานไฟฟารุนใหมๆ เพื่อเปนประโยชนไปพัฒนาประเทศ ซึ่งจะเปนประโยชนตอสวนรวมตอไป ที่สําคัญ นิสิตนักศึกษาที่เขารวมโครงการดังกลาวจะไดรับสิทธิประโยชนหลายอยางจาก IEEE PES เชน ขอมูล ขาวสารทางดานวิชาการ รวมถึงไดเขารวมกิจกรรมงานสัมมนาวิชาการระดับนานาชาติทั้งในประเทศ และตางประเทศอีกดวย โดยโครงการ Student Membership Supporting Program ไดดาํ เนินการตอเนือ่ งเปนปท่ี 3 และมี 10 มหาวิทยาลัยเขารวม ซึง่ ทาง IEEE PES – Thailand ไดจดั พิธมี อบเงินทุนสนับสนุนแก 10 มหาวิทยาลัย ประกอบดวย 1. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 3. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 4. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 6. มหาวิทยาลัยเชียงใหม 7. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 8. สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย 9. มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และ 10. มหาวิทยาลัยนเรศวร
ถายภาพรวมกัน
November-December 2019
P.22-23_IEEE PES.indd 22
11/27/62 BE 5:18 PM
IEEE PES
Dinner Talk 2019 เทคโนโลยีพลิกโฉมอุตสาหกรรมไฟฟาไทยในอนาคต : พรอมปรับ...เพื่อรองรับความไมแนนอน
วันที่ 21 พฤศจิกายน 2562 นายสนธิรัตน สนธิจิรวงศ รัฐมนตรี วาการกระทรวงพลังงาน เปนประธานเปดงาน IEEE PES Dinner Talk 2019 ภายใตหัวขอ “เทคโนโลยีพลิกโฉมอุตสาหกรรมไฟฟาไทย ในอนาคต: พรอมปรับ...เพื่อรองรับความไมแนนอน (Disruptive Technology in Thailand’s Future Electricity Industry : Expect Uncertainty | Prepare to Adapt)” และปาฐกถาพิเศษหัวขอ “นโยบายและทิศทางพลังงานไทย” จัดโดย IEEE Power & Energy Society - Thailand ร ว มกั บ สมาคมสถาบั น วิ ศ วกรไฟฟ า และ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส แ ห ง ประเทศไทย (IEEE Thailand Section) โดยมี นายสมพงษ ปรีเปรม ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค ในฐานะ Chairman, IEEE Power & Energy Socity – Thailand กลาวรายงาน ณ หองวิภาวดี บอลรูม โรงแรมเซ็นทาราแกรนด แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพราว กรุงเทพฯ การเสวนาในหัวขอ “เทคโนโลยีพลิกโฉมอุตสาหกรรมไฟฟาไทย ในอนาคต : พรอมปรับ...เพื่อรองรับความไมแนนอน (Disruptive Technology in Thailand’s Future Electricity Industry : Expect Uncertainty I Prepare to Adapt)” นั้นมีผูรวมเสวนาประกอบดวย นายวัฒนพงษ คุโรวาท ผูอ าํ นวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน นายวิบูลย ฤกษศิระทัย ผูวาการการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย นายกีรพัฒน เจียมเศรษฐ ผูว า การการไฟฟานครหลวง นายชาญศิลป ตรีนุชกร ประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) และ นายสมพงษ ปรีเปรม ผูวาการการไฟฟา สวนภูมิภาค การเสวนาครั้งนี้ทุกทานไดใหขอมูลเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทัง้ ทางดานนโยบายและทิศทางการพัฒนาดานพลังงานและอุตสาหกรรม ไฟฟาไทย โดยมีผูเขารวมงานมากกวา 700 คน
November-December 2019
P.22-23_IEEE PES.indd 23
11/27/62 BE 5:18 PM
เมืองอัจฉริยะและศูนยขอมูล (Smart City & Data Center)
สมาคมวิศวกรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสแหงประเทศไทย (IEEE Thailand Section), IEEE Power & Energy Society Thailand Chapter จัดสัมมนาเชิงวิชาการ “เมืองอัจฉริยะและศูนย ขอมูล : แนวคิด การออกแบบ และกรณีศึกษา” ณ โรงแรมอโนมา แกรนด กรุ ง เทพฯ เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต และการบริ ห ารจั ด การองค ก รหรื อ เมื อ งให มี ประสิทธิภาพตามนโยบาย Thailand 4.0 และเปนการสรางความรูความเขาใจในระบบ สมารทซิตี (Smart City) หรือเมืองอัจฉริยะ และศูนยขอมูล (Data Center) โดยงานสัมมนาครัง้ นี้ ไดรบั เกียรติจาก คุณพรเทพ ธัญญพงศชยั อดีตผูว า การ การไฟฟานครหลวง อดีตประธานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน และทีป่ รึกษา IEEE PES - Thailand Chapter กลาวเปดงานสัมมนา และ ผศ. ดร.นพพร ลีปรีชานนท หัวหนากลุมวิจัยโครงสรางพื้นฐานเพื่อการสาธารณูปโภคดานไฟฟา พลังงาน และ เมืองอัจฉริยะ ภาควิชาไฟฟาและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร และกรรมการบริหาร IEEE Power & Energy Society - Thailand Chapter เปนผูดําเนินงานสัมมนา โดยไดรับเกียรติการบรรยายจากวิทยากรจากภาครัฐ สถาบัน อุดมศึกษา และหนวยงานเอกชนที่เกี่ยวของ
>> ดร.ภาสกร ประถมบุตร รองผูอํานวยการสํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล บรรยายหัวขอ “นโยบายภาครัฐในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Thailand Smart City)”
>> คุณเกชา ธีระโกเมน กรรมการสถาบันอาคารเขียวไทย บรรยายหัวขอ “Smart Green Building and Energy Conservation”
November-December 2019
P.24_IEEE PES.indd 24
11/26/62 BE 11:15 AM
IEEE Power & Energy Society Series:
Renewable Energy
ขอเชิญเขารวมงานสัมมนาเชิงว�ชาการ
โรงไฟฟาชุมชน เพ�่อเศรษฐกิจฐานราก:
นโยบาย ขอกำหนด การออกแบบ ติดตั้ง ควบคุมและบำรุงรักษา Community Power Plants for Local Economy:
Policy, Regulation, Design, Installation, Operation and Maintenance
วันที่ 13 - 15 มกราคม 2563 ณ หอง Arnoma โรงแรมอโนมา แกรนด กรุงเทพฯ
นโยบาย และการสงเสริมโรงไฟฟาชุมชน ภายใตนโยบายพลังงานเพื่อเศรษฐกิจฐานราก สถานการณปจจ�บันและพื้นที่ที่มีศักยภาพดำเนินการกอสรางโรงไฟฟาชุมชน หลักเกณฑในการรับซื้อพลังงานไฟฟาจากโรงไฟฟาชุมชน พลังงานชุมชน พลังงานทางเลือก และการบริหารจัดการอยางยั่งยืน แนวทางการพิจารณารับเชื่อมตอระบบโครงขายไฟฟาและขั้นตอนการรับซื้อจนถึงวันจายไฟฟาเขาระบบเชิงพาณิชยของการไฟฟา ความรูพื้นฐาน เทคโนโลยี ปญหา อุปสรรค ขอแนะนำ สำหรับการผลิตไฟฟาจากพลังงานชีวภาพ ชีวมวล และพลังงานแสงอาทิตย การออกแบบ ติดตั้ง ควบคุมและบำรุงรักษา โรงไฟฟาชุมชน ไฮบริดชีวภาพ ชีวมวล และพลังงานแสงอาทิตย ยุทธศาสตรการพัฒนาโครงการโรงไฟฟาชุมชน รองรับแผนการผลิตไฟฟา การพัฒนาโครงการและศึกษาความเปนไปไดของโรงไฟฟาชุมชน กรณีศึกษา โรงไฟฟาชุมชนแมแจม โดยผูเชี่ยวชาญจาก พพ., สกพ., สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย, กฟผ., กฟภ., กฟน., ผูออกแบบและผูผลิตอุปกรณ, บริษัทผูประกอบการ และสถาบันอุดมศึกษา
www.greennetworkseminar.com/powerplant
สมาคมอตุสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย
ระบบสั่งการ โรงไฟฟาอัจฉริยะ
ดวยความตองการอยากใหคนไทยมีไฟฟาใชในราคาที่เหมาะสม ควบคูไปกับการรักษาเสถียรภาพในระบบไฟฟาไมใหเกิดไฟตกหรือดับ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ในฐานะหนวยงานที่มีความ รั บ ผิ ด ชอบดู แ ลความมั่ น คงระบบไฟฟ า ของประเทศจึ ง ได คิ ด ค น นวัตกรรมทีส่ ามารถบริหารจัดการปจจัยสําคัญของประเทศทัง้ 2 ประการ ไปพรอมกัน ‘ระบบสั่งการโรงไฟฟาอัจฉริยะ’ เปนนวัตกรรมที่คิดคนโดย ผูปฏิบัติงาน กฟผ. โดยการนํา เทคโนโลยี AI (Artificial Intelligence) มาใชในการรักษาความมั่นคงของระบบไฟฟาเพื่อใหสามารถสั่งการ เดินเครื่องโรงไฟฟาที่มีตนทุนผลิตไฟฟาต่ํา ซึ่งระบบสั่งการโรงไฟฟา อัจฉริยะมีตนทุนในการจัดทําเพียงชุดละ 30,000 บาท แตกลับชวยชาติ และชวยคนไทยประหยัดคาไฟฟาไดมากถึง 2,600 ลานบาท หรือลดลง ครัวเรือนละ 0.03 สตางค/หนวย นับตั้งแตเริ่มใชงานมา “เพื่อใหสามารถเดินเครื่องโรงไฟฟาที่มีตนทุนในการผลิตราคาต่ํา ไดเต็มที่ เชน ในชวงฤดูฝน โรงไฟฟาพลังน้าํ ใน สปป.ลาว มีนา้ํ ทีส่ ามารถ ใชผลิตไฟฟาเปนปริมาณมาก ซึ่งทรัพยากรน้ํามีราคาตนทุนในการผลิต ถูกกวากาซธรรมชาติหรือถานหิน จึงตองการใหโรงไฟฟาเดินเครื่องได อยางเต็มที่ เพื่อทําใหภาพรวมดานตนทุนการผลิตไฟฟาของประเทศ ต่าํ ลง” สิรกิ ลั ยา พัชนี วิศวกรจาก กฟผ. พูดถึงแรงบันดาลใจในการคิดคน นวัตกรรมนี้
สิริกัลยา พัชนี
อยางไรก็ตามแมวา จะสามารถผลิตไฟฟาไดมาก แตในทาง เทคนิคแลวไมสามารถสงไฟฟาไดเกินกวาขีดความสามารถ ของสายสง เพราะระบบสงไฟฟาก็เปรียบเสมือนกับทอน้าํ ทีห่ าก ปริมาณน้ําที่สงมากเกินกวาความจุของทอก็อาจจะเกิด ‘ทอ แตก’ ได เชนเดียวกับสายสงไฟฟาที่สามารถรับไฟฟาไดจํากัด ซึ่งหากมีการผลิตและสงไฟฟามากเกินกวาที่ประสิทธิภาพของ สายสงไฟฟาจะรับได จะทําใหเกิดการขัดของของสายสงไฟฟา แรงสูงและสงผลตอเสถียรภาพของระบบไฟฟา และนําไปสู การเกิดไฟฟาดับในบริเวณกวางได
November-December 2019
P.26-27_EGAT.indd 26
11/26/62 BE 11:17 AM
การไฟฟาฝายผลติแหงประเทศไทย
หรืออธิบายใหเขาใจแบบงายๆ คือ สมมติวามีสายสง 2 เสน โดยแตละเสนสามารถรองรับปริมาณไฟฟาไดเสนละ 200 เมกะวัตต รวมเปน 400 เมกะวัตต หากเกิดเหตุการณที่สายสงเสนหนึ่งขัดของ ไมสามารถสงไฟฟาได ระบบนีจ้ ะสัง่ การอัตโนมัตใิ หตดั ปริมาณไฟฟา จากแหลงผลิตไมใหสงไฟฟาจํานวน 400 เมกะวัตต เขาสายสง ที่เหลือเพียงเสนเดียว ทั้งนี้เพื่อลดความเสี่ยงที่จะทําใหเกิดไฟฟา ดับได ระบบสั่งการโรงไฟฟาอัจฉริยะนี้จึงมีหนาที่เขามาบริหาร จัดการและตัดสินใจแทนมนุษยในเวลาเสีย้ ววินาที เพือ่ ไมใหเกิด เหตุการณไฟฟาดับ และสรางเสถียรภาพในระบบไฟฟา หลักการทํางานของระบบสั่งการโรงไฟฟาอัจฉริยะเปนการ ผสานกันระหวางซอฟตแวรกับฮารดแวร โดยที่ซอฟตแวรจะเปน ระบบที่สามารถประมวลผลสภาพระบบไฟฟาที่เกิดขึ้นแบบ Real time และสามารถตัดสินใจควบคุมระบบแทนมนุษยไดอยางรวดเร็ว ในเวลาเพียง 30 มิลลิวินาที ในขณะที่ฮารดแวรเปนกลองควบคุม ที่ติดตั้งอยูที่สถานีไฟฟา (Substation) ทําหนาที่สั่งการควบคุม ระบบไฟฟาใหเหมาะสมกับการใชไฟฟาในสถานการณนั้นๆ เพื่อ ความมั่นคงของระบบและการรักษาเสถียรภาพ
“การสั่งการของระบบสามารถทําไดเร็วกวาโอเปอรเรเตอรที่ เปนมนุษยและรวดเร็วกวาการกะพริบตาของคนเสียอีก” วิศวกรจาก กฟผ. กลาวถึงความอัจฉริยะของระบบนี้ นวัตกรรม ‘ระบบสัง่ การโรงไฟฟาอัจฉริยะ’ เปนไอเดียของ ผูป ฏิบตั งิ าน กฟผ. ทีช่ ว ยรักษาเสถียรภาพของระบบพรอมเดินเครือ่ ง โรงไฟฟาที่มีตนทุนต่ําไดเต็มที่ ดวยความเชี่ยวชาญ ประสบการณ และความคิดสรางสรรคในการคิดคนนวัตกรรมใหมๆ เพือ่ ใหคนไทย มีไฟฟาใชอยางมีประสิทธิภาพและมีราคาที่เหมาะสม รวมทั้งสราง ผลประโยชนใหแกประเทศ นวัตกรรม ‘ระบบสัง่ การโรงไฟฟาอัจฉริยะ’ จึงไดรับรางวัลอันทรงเกียรติที่เปนเครื่องการันตีความสุดยอดของ นวัตกรรมชิน้ นี้ โดยไดรบั ถวยรางวัลพระราชทาน สมเด็จพระกนิษฐา ธิราชเจากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่ง เปนรางวัลสูงสุด (Platinum Award) ภายในงาน “มหกรรมงานวิจัย แหงชาติ 2562 (Thailand Research Expo 2019)” เมือ่ เดือนเมษายน ที่ผานมา นับเปนความภาคภูมิใจที่ยิ่งใหญของชาว กฟผ. ที่ทําเพื่อ ประเทศไทย (บทความจาก http://www.egat.co.th/index.php?option=com_content& view=article&id=3113:20190822-art01&catid =49&Itemid=251)
November-December 2019
P.26-27_EGAT.indd 27
11/26/62 BE 11:17 AM
สมาคมอตุสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย
โครงการชางไฟฟามืออาชีพของการไฟฟานครหลวง
เริ่มดำเนินโครงการตั้งแตเดือนตุลาคม 2559 ปจจุบันดำเนินการฝกอบรมเปนรุนที่ 4
การไฟฟานครหลวง (กฟน.) ไดตระหนักถึงความสําคัญของ ประชาชนผูประกอบอาชีพชางไฟฟา ซึ่งเปนวิชาชีพที่มีความจําเปน ตองมีทักษะความรู ความสามารถเกี่ยวกับระบบไฟฟาอยางแทจริง เพือ่ ปองกันอันตรายและความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ ในระหวางปฏิบตั งิ าน อีกทัง้ เพือ่ สรางเครือขายชวยดูแลระบบไฟฟาในชุมชนไดอยางทันทวงที จึงไดรวมกับกรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน จัดการอบรม ทดสอบและสั ม ภาษณ เพื่ อ ประเมิ น ขอหนั ง สื อ รั บ รองความรู ความสามารถขึ้น ภายใตโครงการเสริมสรางความเขมแข็งแกชุมชน “กิจกรรมชางไฟฟามืออาชีพ” ซึ่ง กฟน. ใหการสนับสนุนทั้งในสวน ของวิทยากรและเครื่องมืออุปกรณไฟฟาที่ใชในการอบรมทั้งหมด โดยมุงหวังใหผูที่เขารับการอบรมผานการทดสอบและไดรับหนังสือ รับรองมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางสายไฟฟาภายใน อาคาร ระดับ 1 ถูกตองตาม พ.ร.บ. สงเสริมการพัฒนาฝมือแรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557 ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 26 ตุลาคม 2559 สามารถนําไปใชประกอบอาชีพงานดานชางไฟฟาอยางถูกตองตาม กฎหมาย *ชางสายไฟฟาภายในอาคาร ระดับ 1 หมายถึง ชางซึง่ ประกอบ อาชีพในงานติดตั้งระบบไฟฟาและอุปกรณไฟฟาภายในอาคาร แกไข ขอบกพรองและการตรวจสอบระบบไฟฟาภายในอาคาร
ลักษณะงาน
1. งานใช อุ ป กรณ ป อ งกั น กระแสเกิ น เช น อุ ป กรณ ตั ด วงจร อัตโนมัติ (Circuit Breaker) และฟวส เปนตน 2. งานเดินสายไฟฟาดวยเข็มขัดรัดสาย 3. งานเดินสายไฟฟาดวยทอรอยสายไฟฟา 4. งานติดตั้งวงจรไฟฟาดวยบริภัณฑไฟฟา 5. งานตอตัวนําแบบตางๆ 6. งานตรวจสอบการทํางานของวงจรไฟฟา
วัตถุประสงคโครงการ
1. เพือ่ ปองกันอันตรายและความเสีย่ งของชางไฟฟาในระหวาง ปฏิบัติงาน 2. เพือ่ เสริมสรางอาชีพใหแกประชาชน ตาม พ.ร.บ. สงเสริมการ พัฒนาฝมอื แรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557 ใหสามารถนําไปใชประกอบ อาชีพงานดานชางไฟฟาอยางถูกตองตามกฎหมาย 3. เพื่อสรางเครือขายในการปองกันความเสี่ยงและอันตราย จากการใชไฟฟาในชุมชน
November-December 2019
P.28-29_���������������.indd 28
11/26/62 BE 11:18 AM
การไฟฟานครหลวง กลุมเปาหมาย
1. ผู ส นใจจากชุ ม ชนในพื้ น ที่ จํ า หน า ยไฟฟ า ของ กฟน. (กรุงเทพฯ นนทบุรี สมุทรปราการ) 2. เจาหนาที่อาสาสมัครปองกันภัยฝายพลเรือน (อปพร.) 3. บุ ค ลากร และ/หรื อ เจ า หน า ที่ ข องสถานศึ ก ษาในพื้ น ที่ จําหนายไฟฟาของ กฟน.
คุณสมบัติผูเขารวมโครงการ
1. มีสัญชาติไทย 2. มี วุ ฒิ ก ารศึ ก ษาระดั บ ปวช./ปวส. ด า นไฟฟ า หรื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส หรื อ มี ป ระสบการณ ทํ า งานด า นไฟฟ า หรื อ อิเล็กทรอนิกส ไมนอ ยกวา 3 ป ตองมีใบรับรองประสบการณในการ ทํางาน 3. เปนผูมีอายุไมเกิน 60 ป 4. อาศัย และ/หรือทํางานอยูในพื้นที่จําหนายของ กฟน. (กรุงเทพฯ นนทบุรี และสมุทรปราการ)
ขั้นตอนการเขารวมโครงการ
1. ผูสนใจเขารวมโครงการฯ อานรายละเอียดทั้งหมดและ ดาวน โ หลดใบสมั ค รได ที่ https://www.mea.or.th/content/ detail/3160/4740 2. กฟน. พิ จ ารณาเอกสารหลั ก ฐานเพื่ อ คั ด เลื อ กผู ที่ มี คุณสมบัติครบถวนเขารวมโครงการชางไฟฟามืออาชีพ 3. ผูผานการคัดเลือกสามารถตรวจสอบรายชื่อไดที่ http:// www.mea.or.th/content/detail/3160/4927 ซึ่งผูผานการคัดเลือก ตองเขารับการอบรม การทดสอบ และการประเมิน (สัมภาษณ) ตามขั้นตอน ดังนี้
วันที่ 1 อบรมภาคทฤษฎี วันที่ 2 อบรมภาคปฏิบัติ วันที่ 3 สอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ วันที่ 4 สอบสัมภาษณ วันที่ 5 พิธีมอบวุฒิบัตร หนังสือรับรองฯ และบัตรประจําตัว ผูผานการประเมินมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟา ภายในอาคาร ระดับ 1 ***สงวนสิทธิ์สําหรับผูที่สามารถเขารวมกิจกรรมไดตลอดทั้ง โครงการ***
สิ่งที่ผูผานการอบรมจะไดรับ
1. วุฒิบัตร ใบผานการทดสอบ บัตรประจําตัว และหนังสือ รับรองความรูค วามสามารถตามมาตรฐานฝมอื แรงงานแหงชาติ สาขา ชางไฟฟาภายในอาคาร ระดับ 1 ออกโดยกรมพัฒนาฝมือแรงงาน แหงชาติ 2. สิทธิเขารวม App : MEA E-Fix ของการไฟฟานครหลวง (ระบบ online ของ กฟน. สําหรับลูกคาที่ตองการชางไฟฟาภายใน อาคาร) 3. เขารวมเครือขายชางไฟฟามืออาชีพของ กฟน. (เขารวม กิจกรรมของ กฟน. รวมดูแลชุมชนที่ทานพักอาศัยฯ) ***โครงการนี้ ฟรี ไมมีคาใชจาย*** สอบถามขอมูลเพิม่ เติม : งานกิจกรรมเพือ่ สังคม ฝายกิจการ สังคมและสิ่งแวดลอม การไฟฟานครหลวง (กฟน.) โทรศัพท 0-2256-3593 หรือ 0-2256-3000 ตอ 459 เวลา 08.00-15.00 น. ในวันจันทร-วันศุกร ยกเวนวันหยุดนักขัตฤกษ
เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2562 ดร.จีรัง วังจันทร ผูอํานวยการ ฝายธุรกิจบริการและคุณภาพไฟฟา การไฟฟานครหลวง หรือ MEA เปนประธานมอบประกาศนียบัตรการอบรมหลักสูตร Management Capacity Building in Thailand ใหแกคณะผูบริหารจากการไฟฟา ภาคเหนือแหงประเทศเวียดนาม (Northern Power Corporation: EVNNPC) จํานวน 26 คน ณ อาคารวัฒนวิภาส การไฟฟานครหลวง สํานักงานใหญ คลองเตย
November-December 2019
P.28-29_���������������.indd 29
11/26/62 BE 11:18 AM
สมาคมอตุสาหกรรมไฟฟาแหงประเทศไทย
PEA กับภารกิจสนับสนุนความมั่นคงทางพลังงาน โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
เพราะเศรษฐกิจเปนรากฐานสําคัญในการพัฒนาประเทศ นํามาสู ความเปนอยูท ดี่ ขี นึ้ ของประชาชน ซึง่ โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก หรือ ‘Eastern Economic Corridor (EEC)’ ถือเปน การลงทุนขนาดใหญที่จะสรางความยั่งยืนใหเศรษฐกิจไทยสามารถ กาวขามกับดักประเทศที่มีรายไดปานกลางไปสูประเทศที่มีรายไดสูง การไฟฟาสวนภูมิภาค (PEA) ในฐานะผูใหบริการพลังงานไฟฟา ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศตลอดมา ไดมีสวนสนับสนุนความ มั่นคงและนาเชื่อถือทางพลังงานไฟฟาใน EEC เชนกัน
EEC ยกระดับเศรษฐกิจ เพื่อคุณภาพชีวิตในทุกดาน
โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor) หรือ EEC เปนโครงการยกระดับพืน้ ทีช่ ายฝง ทะเล ตะวันออกของไทยครอบคลุมพื้นที่ 3 จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง เปนการตอยอดความสําเร็จจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ดานตะวันออกหรือ Eastern Seaboard เพื่อสนับสนุนการยกระดับ ขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศและสงเสริมการขยายตัว ทางเศรษฐกิจ เพิ่มการจางงาน ยกระดับคุณภาพชีวิตและรายไดของ ประชาชน รวมทั้งดึงดูดการลงทุนไปจนถึงการยกระดับรายไดของ ประเทศหลังจากที่ไทยไมไดลงทุนขนาดใหญมานานกวา 30 ป
ตอยอด 5 อุตสาหกรรมเดิม เติม 5 อุตสาหกรรมใหม
สําหรับแผนการลงทุนของรัฐบาลตามกรอบการลงทุนรวมของ ภาครัฐและเอกชน ในระยะเวลา 5 ป (2560-2564) ดวยเม็ดเงินลงทุน กวา 1.5 ลานลานบาท เปนการลงทุนดานการขนสงและการคมนาคม อยางครอบคลุม ทัง้ ทางถนน ทางราง ทางอากาศ และทางน้าํ เพือ่ เพิม่ ศักยภาพรองรับการลงทุน การพัฒนากิจกรรมทางเศรษฐกิจ และการ อํานวยความสะดวกตางๆ ในพื้นที่ เชน การสรางรถไฟความเร็วสูง เชื่อม 3 สนามบิน (ดอนเมือง สุวรรณภูมิ และอูตะเภา) พัฒนาทาเรือ แหลมฉบัง พัฒนาทาเรือมาบตาพุด สรางมอเตอรเวย 3 เสนทาง เปนตน ตลอดจนพัฒนาทรัพยากรมนุษยและการจัดระบบการสะสม เทคโนโลยีเพื่ออนาคตที่ยั่งยืนของประเทศไทย พรอมทั้งมีเปาหมาย สนับสนุน 10 อุตสาหกรรมที่สอดคลองกับนโยบายไทยแลนด 4.0 ซึ่ง จะเปนกลไกลขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต ดังตอไปนี้
5 อุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพ (First-curve)
1. อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม (Next-Generation Automotive) 2. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ (Smart Electronics) 3. อุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยว เชิงสุขภาพ (Affluent, Medical and Wellness Tourism)\ 4. อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ (Agriculture and Biotechnology) 5. การแปรรูปอาหาร อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร (Food for the Future)
5 อุตสาหกรรมใหมในอนาคต (New S-curve)
1. หุนยนตเพื่ออุตสาหกรรม (Robotics) 2. อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส (Aviation and Logistics) 3. อุตสาหกรรมดิจิทัล (Digital) 4. อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ (Biofuels and Biochemicals) 5. อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร (Medical Hub)
‘ไฟฟา’ สาธารณูปโภคสำคัญในการขับเคลือ่ น EEC
PEA ไดตระหนักและใหความสําคัญกับโครงการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก จึงมุงเนนการพัฒนาระบบไฟฟาใหมี ประสิทธิภาพ มั่นคง เชื่อถือได อีกทั้งไดพัฒนาระบบงานบริการใหมี ความทันสมัย สามารถรองรับการขยายความตองการใชไฟฟาทัง้ ในภาค ธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม ภาคการขนสง และชุมชนเมืองใหม โดยมีการ เตรียมแผนรองรับใน 4 มิติ มิติที่ 1 : รองรับแผนปฏิบัติการดานธุรกิจอุตสาหกรรมเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการจายไฟฟาใหเพียงพอ มั่นคง เชื่อถือได ลดปญหา ไฟฟาขัดของและเพิม่ ขีดความสามารถในการแกไขปญหาไฟฟาขัดของ ไดรวดเร็วมากขึ้น มิติที่ 2 : รองรับแผนปฏิบัติการดานโครงสรางพื้นฐานการ กอสรางสถานีไฟฟา สายสงไฟฟา พัฒนาระบบไฟฟา รองรับรถไฟ ความเร็วสูง ทาเรือแหลมฉบังและทาเรือมาบตาพุด มิติที่ 3 : รองรับแผนพัฒนาเขตนวัตกรรมดานเทคโนโลยีและ ดิจิทัล โดยการกอสรางสถานีไฟฟา สายสงไฟฟา พัฒนาระบบไฟฟา เพื่อรองรับการใชไฟฟาในเขต EECd และ EECi
November-December 2019
P.30-31_PEA.indd 30
11/26/62 BE 11:24 AM
การไฟฟาสวนภูมิภาค
มิตทิ ี่ 4 : รองรับแผนปฏิบตั กิ ารยกระดับมาตรฐานการใหบริการ ทีท่ นั สมัย สะดวก รวดเร็ว โดยพัฒนาสํานักงานทุกแหงผานการรับรอง มาตรฐานการใหบริการของศูนยราชการสะดวก (GECC) พรอมนํา ระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชงานบริการผาน Mobile Application เชน PEA Smart Plus เปนตน
โครงการของ PEA ที่กำลังดำเนินการในพื้นที่ ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก
แผนการรองรับ EEC ใน 4 มิติของ PEA ประกอบไปดวย 11 โครงการสําคัญ ทั้งที่แลวเสร็จและกําลังดําเนินการ ภายใตวงเงิน งบประมาณ 19,318 ลานบาท เพือ่ รองรับความตองการพลังงานไฟฟา ที่เพิ่มขึ้นจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่จะมีการพัฒนาเติบโตในอนาคต อยางเพียงพอ ทัง้ ยังจะเปนการเสริมสรางความมัน่ ใจใหแกผปู ระกอบการ ภาคธุรกิจอุตสาหกรรมในพื้นที่ ดังนี้ 1. โครงการพัฒนาระบบสงและจําหนาย ระยะที่ 1 2. โครงการพั ฒ นาระบบสายส ง และสถานี ไ ฟฟ า ระยะที่ 9 สวนที่ 3 3. โครงการพัฒนาระบบไฟฟาในเมืองใหญ ระยะที่ 1 4. โครงการพัฒนาโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) ในพืน้ ที่ เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี 5. โครงการพัฒนาระบบสงและจําหนาย ระยะที่ 2 6. โครงการเพิ่มความเชื่อถือไดของระบบไฟฟา 7. โครงการนํารองสถานีอัดประจุยานยนตไฟฟาและระบบ การบริหารจัดการโครงขายเครื่องอัดประจุ 8. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพศูนยสั่งการจายไฟ 9. โครงการขยายเขตระบบไฟฟาใหครัวเรือนที่หางไกล 10. โครงการขยายเขตไฟฟาใหบานเรือนราษฎรรายใหม 11. โครงการขยายไฟฟาใหพนื้ ทีท่ าํ กินทางการเกษตร ระยะที่ 2 ทั้งนี้โครงการทั้งหมดไมไดเกิดขึ้นในเฉพาะพื้นที่ EEC เทานั้น หากแตเปนแผนการดําเนินงานของ PEA ที่ตองการใหทุกพื้นที่ 74 จั ง หวั ด ของประเทศไทยมี ไ ฟฟ า อย า งทั่ ว ถึ ง และเพี ย งพอต อ ความ ตองการ
ประโยชนที่เกิดจากการพัฒนา ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก
ในแผนงานพั ฒ นาระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคตะวั น ออก (2560-2564) ซึง่ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติคาดวาจะทําใหเกิดประโยชนหลายดาน เชน ● ยกระดับขีดความสามารถการแขงขันของประเทศ การเติบโต ของผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ (GDP) ขยายตัวอยางนอยรอยละ 5 ตอป
จํานวนนักทองเที่ยวในพื้นที่เพิ่มขึ้น 10 ลานคนตอป ● ลดตนทุนโลจิสติกส 400,000 ลานบาทตอป ● ฐานภาษีของรัฐบาลใหมขึ้น ● ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ไดรับบริการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และบริการสาธารณสุขที่เพียงพอทั่วถึง นอกจากนี้ คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ไดประเมินความตองการบุคลากรในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ป 2562-2566 รวมกวา 475,668 อัตรา โดยแบงออกดังนี้ ● การทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ 4% จํานวน 16,920 อัตรา ● ดิจิทัล 24% จํานวน 116,222 อัตรา ● การแพทยครบวงจร 2% จํานวน 11,412 อัตรา ● ยานยนตแหงอนาคต 11% จํานวน 53,738 อัตรา ● โลจิสติกส 23% จํานวน 109,910 อัตรา ● หุนยนต 8% จํานวน 37,526 อัตรา ● อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ 12% จํานวน 58,228 อัตรา ● การพาณิชยนาวี 3% จํานวน 14,630 อัตรา ● การขนสงระบบราง 5% จํานวน 24,246 อัตรา ● การบินและอากาศยาน 7% จํานวน 36,836 อัตรา จากความพยายามผลักดันโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออกใน 3 จังหวัด ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง จนเกิด การลงทุนจากภาครัฐและเอกชนทั้งในและนอกประเทศอยางตอเรื่อง ทําใหเชื่อไดวาเปาหมายสูการเปนพื้นฐานที่เศรษฐกิจชั้นนําของเอเชีย ที่ มี โ ครงสร า งพื้ น ฐานเชื่ อ มโยงทั้ ง ในและต า งประเทศ การเป น ศูนยกลางธุรกิจการบินและโลจิสติกสของอาเซียน เปนศูนยกลางการ ขนส ง ทางน้ํ า ตลอดจนเป น เมื อ งน า อยู ที่ มี ค วามพร อ มของระบบ สาธารณูปโภคและบริการสังคมคงอยูไมไกลเกินเอื้อมอยางแนนอน ●
November-December 2019
P.30-31_PEA.indd 31
11/26/62 BE 11:24 AM
บรษิทั ผลติไฟฟา จำกดั (มหาชน)
เอ็กโก กรุป ประกาศเดินเครื่อง “โรงไฟฟาพลังน้ำไซยะบุรี” อยางเปนทางการ จั ก ษ ก ริ ช พิ บู ล ย ไ พโรจน กรรมการผู จั ด การใหญ บริ ษั ท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) หรือเอ็กโก กรุป เปดเผยวา โรงไฟฟา ไซยะบุ รี ของบริ ษั ท ไซยะบุ รี พาวเวอร จํ า กั ด ซึ่ ง เอ็ ก โกถื อ หุ น รอยละ 12.5 ไดเริ่มเดินเครื่องเชิงพาณิชยและจายไฟฟาเขาระบบของ ประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) แลว เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2562 โดยจะเริ่มรับรูรายไดในไตรมาส 4 ของป 2562 เปนตนไป ตลอดจนชวยเสริมสรางความมัน่ คงใหกบั ระบบ ไฟฟาของประเทศไทย และ สปป.ลาว อีกดวย โรงไฟฟาไซยะบุรี ตัง้ อยูบ นแมนา้ํ โขง ในแขวงไซยะบุรี สปป.ลาว เปนโรงไฟฟาพลังงานน้ําแบบฝายทดน้ํา (Run-of-River) มีขนาดกําลัง การผลิตติดตัง้ 1,285 เมกะวัตต และมีสญ ั ญาซือ้ ขายไฟฟากับการไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย จํานวน 1,220 เมกะวัตต และรัฐวิสาหกิจ ไฟฟาลาว จํานวน 60 เมกะวัตต เปนระยะเวลา 29 ป
จากการเดินเครื่องเชิงพาณิชยของโรงไฟฟาไซยะบุรี สงผลให ปจจุบันเอ็กโก กรุป มีโรงไฟฟาทั้งในและตางประเทศที่เดินเครื่อง เชิงพาณิชยแลว จํานวน 28 แหง คิดเปนกําลังการผลิตตามสัญญา ซื้อขายและตามสัดสวนการถือหุน 5,475 เมกะวัตต ใน 6 ประเทศ ไดแก ไทย สปป.ลาว ฟลปิ ปนส อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย และเกาหลีใต มีโครงการที่อยูระหวางกอสราง จํานวน 2 โครงการ คิดเปนกําลัง การผลิตตามสัญญาซื้อขายและตามสัดสวนการถือหุนประมาณ 171 เมกะวัตต โดยโรงไฟฟาและโครงการตางๆ ผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิง หลากหลายประเภท ทั้งกาซธรรมชาติ แอลเอ็นจี ถานหิน ชีวมวล พลังงานน้ํา พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานความรอน ใตพิภพ และเซลลเชื้อเพลิง
เอ็กโก กรุป รวมขับเคลื่อนการพัฒนาอยางยั่งยืนในสังคมไทย
กับสมาชิก TBCSD กวา 40 องคกร ในงาน TBCSD New Chapter
เอ็กโก กรุป รวมประกาศความมุงมั่นเปนองคกรที่มีความ รับผิดชอบตอสังคม มุงสูการพัฒนาที่ยั่งยืน ในงานแถลงขาวเปดตัว องคกรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน (Thailand Business Council for Sustainable Development : TBCSD) ภายใตแนวคิด TBCSD New Chapter ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อรวมผลักดันธุรกิจและประเทศไทย ไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยมี ดนุชา สิมะเสถียร รองกรรมการ ผูจ ดั การใหญสายงานพัฒนาธุรกิจในประเทศ และ ธงชัย โชติขจรเกียรติ ผู ช ว ยกรรมการผู จั ด การใหญ - บริ ห ารองค ก ร พร อ มด ว ยตั ว แทน พนักงานฝายสื่อสารองคกรและฝายแผนงาน เขารวมงาน เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2562 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด เซ็นทรัล พลาซา ลาดพราว กรุงเทพฯ
TBCSD กอตั้งเมื่อป 2536 โดยกลุมธุรกิจชั้นนําในประเทศไทย และมีสถาบันสิ่งแวดลอมไทย (TEI) เปนสํานักเลขานุการ มีเปาหมาย เพือ่ การเสริมสรางจิตสํานึกรวมของคนไทย ทัง้ ทีเ่ ปนหนวยงาน องคกร และประชาชนในการรักษาสิ่งแวดลอมและสรางแบบแผนการผลิต และบริโภคที่ยั่งยืน ดวยแบบอยางของ “ธุรกิจสีเขียว” หรือ “ธุรกิจที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม” ใหเกิดขึ้นอยางแพรหลายในประเทศไทย ตามแนวคิดของ “การพัฒนาที่ยั่งยืน”
ปจจุบัน TBCSD มีสมาชิกกวา 40 องคกร ซึ่งครอบคลุมกลุม อุตสาหกรรมหลักของประเทศไทย โดยเอ็กโก กรุป เขารวมเปนสมาชิก ตัง้ แตป 2558 ดวยเล็งเห็นวาเปาหมายดังกลาวสอดคลองกับวิสยั ทัศน และพันธกิจหลักของบริษัทฯ
November-December 2019
11/26/62 BE 11:25 AM
บรษิทั ราช กรปุ จำกดั (มหาชน)
“ปาชุมชนบานป” จังหวัดพะเยา
ควาสุดยอดปาชุมชนของประเทศ
ถวยรางวัลพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โครงการ คนรักษปา ปารักชุมชน ประจำป 2562 กรมปาไม รวมกับบริษัท ราช กรุป จํากัด (มหาชน) ประกาศ ผลการประกวดปาชุมชนระดับประเทศ ประจําป 2562 ในโครงการ คนรักษปา ปารักชุมชน โดยมี วราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีวาการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ไดใหเกียรติเปนประธาน ในพิธีมอบรางวัล การประกวดปาชุมชนระดับประเทศ เปนกิจกรรมในโครงการ คนรักษปา ปารักชุมชน ทีไ่ ดเริม่ ดําเนินการมาตัง้ แตป 2551 เปนประจํา ทุกป ภายใตความรวมมือของบริษัท ราช กรุป จํากัด (มหาชน) และ กรมปาไม และนับเปนโครงการตนแบบความรวมมือภาครัฐและเอกชน ที่มุงสงเสริมการสรางจิตสํานึกดวยแนวคิดการปลูกปาในใจคน และ ขับเคลือ่ นงานดานการอนุรกั ษทรัพยากรปาไมในรูปแบบของปาชุมชน โดยประชาชนในชุ ม ชนเป น ผู ดู แ ลรั ก ษาและบริ ห ารจั ด การป า ไม ในทองถิ่นตนเองดวยกระบวนการมีสวนรวม บาน-วัด-โรงเรียน และ ใชประโยชนจากปาดวยวิถีแบบพอเพียงเพื่อลดรายจาย เพิ่มรายได ของชุมชน
ปาชุมชนชนะเลิศ ถวยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และไดรับเงิน รางวัล 200,000 บาท คือ ปาชุมชนบานป อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา ที่มีกระบวนการบริหารจัดการปาอยางมีสวนรวมของทุกภาคสวน ในชุมชนอยางโดดเดน ตามหลัก บาน วัด โรงเรียน (บ-ว-ร) เมื่อ ดูแลปาจนอุดมสมบูรณดวยพรรณไมและสัตวปา จึงเกิด “กองทุน สวัสดิการผึง้ ” ทีน่ าํ รายไดมาสูช มุ ชนประมาณ 125,000-250,000 บาท จัดสรรเปนทุนการศึกษา ทุนอาหารกลางวันใหแกเยาวชน และทุน สนับสนุนการสอนใหแกครู ดานเยาวชนถายทอดความสําคัญของปา ผานการทําหนังสัน้ เผยแพรใหสาธารณชนรับรูอ กี ทอดหนึง่ อีกทัง้ ยังนํา ไปทํานุบํารุงพุทธศาสนาและเปนทุนการศึกษาสําหรับพระภิกษุสงฆ นอกจากนีย้ งั นํามาสนับสนุนพัฒนาปาชุมชนดานตาง ๆ ดวยตระหนัก ดีวาการบริหารจัดการโดยเนนหลักความยั่งยืน ใชสอยแตพอเหมาะ อนุรักษอยางตอเนื่อง จะนํามาซึ่งความมั่นคงของคนในปาชุมชนและ ความยั่งยืนของปาไม
ราช กรุป ซื้อกิจการโรงไฟฟา โคเจนเนอเรชั่น มูลคา 1,998.40 ลานบาท
ดําเนินการบริหารจัดการโรงไฟฟาแหงนี้อยางเปนทางการไดในเดือน ตุลาคม ศกนี้ กิจจา ศรีพฑ ั ฒางกุระ กรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั ราช กรุป จํากัด (มหาชน) เปดเผยวา การเขาซื้อกิจการในโครงการโรงไฟฟา นวนครโคเจนเนอเรชั่น เปนความสําเร็จในการขยายการเติบโตตาม แผนยุทธศาสตรของบริษัทฯ ซึ่งการลงทุนครั้งนี้จะชวยเสริมสราง ความแข็งแกรงและความมั่นคงกระแสเงินสดและรายไดของบริษัทฯ ยิ่ ง ขึ้ น เพราะเป น โครงการที่ เ ดิ น เครื่ อ งจํ า หนายกระแสไฟฟ า แล ว และยังมีสัญญาซื้อขายไฟฟากับ กฟผ. ที่มีระยะเวลาคงเหลือเกือบ 20 ป ความสําเร็จในการซื้อกิจการโรงไฟฟานวนครครั้งนี้ สงผลให กํ า ลั ง ผลิ ต ที่ เ ดิ น เครื่ อ งเชิ ง พาณิ ช ย ต ามสั ด ส ว นการลงทุ น เพิ่ ม ขึ้ น เปน 7,047.54 เมกะวัตต โดยกําลังผลิตไฟฟาสวนที่เหลือจากการ จําหนายตามสัญญาซื้อขายไฟฟากับ กฟผ. และไอน้ําที่ผลิตไดจะถูก ขายใหกับลูกคาอุตสาหกรรมตางๆ ที่มีความตองการใชไฟฟาและ ไอน้ํากําลังเติบโต เปนการชวยเสริมใหระบบพลังงานในเขตสงเสริม อุตสาหกรรมนวนครมีความมั่นคงและมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น กิจจา กลาวปดทาย
รับรูรายไดไตรมาส 3 ทันที
บริษัท ราช กรุป จํากัด (มหาชน) ประกาศความสําเร็จการ เข า ซื้ อ กิ จ การโรงไฟฟ า เอสพี พี ระบบโคเจนเนอเรชั่ น ของบริ ษั ท นวนครการไฟฟา จํากัด มูลคาโครงการรวม 5,726.68 ลานบาท โครงการดังกลาวมีกาํ ลังผลิตติดตัง้ 110 เมกะวัตต และกําลังผลิตไอน้าํ 10 ตันตอชั่วโมง ใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงหลัก ตั้งอยูบริเวณ ทิศใตของเขตสงเสริมอุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดปทุมธานี โดยได เดินเครื่องผลิตไฟฟาจําหนายแกการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ภายใตสัญญาซื้อขายไฟฟา 25 ป ตั้งแตวันที่ 31 ตุลาคม 2556 ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ไดเขาซือ้ หุน สามัญและหุน บุรมิ สิทธิ รวม 99.97% ของบริษัท นวนครการไฟฟา จํากัด (“NNE”) เปนเงินจํานวน 1,998.40 ลานบาท สงผลใหราช กรุป เขาเปนผูถือหุนใหญและไดรับสิทธิในการ บริหารจัดการโรงไฟฟาเอสพีพีดังกลาว และคาดวาราช กรุป จะเขาไป
November-December 2019
P.32-33_Ratch.indd 33
11/26/62 BE 11:25 AM
Article
> Jairo Quiros-Tortos, Luis (Nando) Ochoa, Timothy Butler
ยานยนตไฟฟา (EV) และระบบไฟฟา
ทำงานดวยกันอยางไร บทเรยีนจากหนง่ึในโครงการ ยานยนตไฟฟาที่ใหญที่สุดในโลก
Lessons Learned from One of the Largest Electric Vehicle Trials in the World
*บทความแปล ไดรับอนุญาตจาก IEEE Power & Energy Society หามจําหนาย ดัดแปลง หรือนําเนื้อหาสวนใดสวนหนึ่งไปใชโดยไมไดรับอนุญาต ยานยนตไฟฟา (Electric Vehicle หรือ EV) รูปแบบตางๆ ไดเกิด เพิ่มขึ้นอยางมากมาย ไมวาจะเปนแบบ PHEV (Plug-in Hybrid Electric Vehicle) หรือแมกระทั่ง BEV (Battery Electric Vehicles) ซึ่งอาจจะเต็ม ทั่วทองถนนในอนาคตอันใกล จากการสํารวจของ EV Outlook 2017 พบวาปจจุบนั มี EV มากกวา 2 ลานคันทัว่ โลก โดยที่ EV มีสว นสรางสรรค ใหการใชพลังงานไฟฟาเพือ่ การคมนาคมเกิดประโยชนทางดานสิง่ แวดลอม ดานสุขภาพทีด่ ี และสภาพเศรษฐกิจทีด่ ี ซึง่ พลังงานไฟฟาทีใ่ ชจะตองผลิต มาจากโรงงานไฟฟาประเภทคารบอนต่าํ อยางไรก็ตาม ถาตองการใหการ เปลี่ยนแปลงครั้งนี้เกิดขึ้นอยางสมบูรณ เราตองบูรณาการระบบไฟฟา ใหสอดคลองกับปริมาณ EV ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพือ่ ทําความเขาใจกับความทาทาย และโอกาสการเพิม่ ปริมาณ EV โดยเฉพาะอยางยิ่งประเภทรถยนตสวนบุคคลขนาดเล็ก ผูประกอบการ ระบบ เครือขายไฟฟา (DNO) และผูมีสวนไดเสียตางๆ ไดรวมกันจัดทํา โครงการ EV ซึ่งถือเปนหนึ่งในผูที่จัดทําโครงการที่ใหญที่สุดในโลก คือ My Electric Avenue (MEA) (www.myelectricavenue.info) ในสหราชอาณาจักร (UK) นําโดยบริษัท EA Technology โดยเริ่มจัดทําโครงการ ตั้งแตมกราคม 2556 ถึงธันวาคม 2558 ซึ่งไดรับเงินสนับสนุนในการ จัดทําโครงการจากกองทุนเครือขายคารบอนต่ํา พรอมพันธมิตรจาก โรงงานอุตสาหกรรม DNO และสถาบันการศึกษา EV ในโครงการ MEA ประกอบดวยรถยนต Nissan LEAF จํานวน มากกวา 200 คัน ใน UK เพื่อศึกษาพฤติกรรมการขับขี่และการชารจของ ประชาชนทีม่ คี วามหลากหลาย ทัง้ ทางภูมศิ าสตร ทางเศรษฐกิจ และสังคม ในโครงการนีไ้ ดทาํ การศึกษาวิจยั ผลกระทบทางเทคนิคของ EV ตอ ระบบไฟฟาแรงต่ําของยุโรป และทดสอบการควบคุมการชารจหรือจุด ชารจของ EV เพื่อเพิ่มความสามารถของจุดจายไฟ บทความนี้นําเสนอรายละเอียดของโครงการ MEA รวมไปถึง โครงสรางพื้นฐานที่อางมาจากการวิเคราะหขอมูล และการศึกษาระบบ
In the comIng years, hundreds of thousands of new electric vehicles (eVs), from plug-in hybrids to fully electric, will hit the roads around the world, adding to the current eV fleet of more than 2 million, according to the global EV outlook 2017. The electrification of transportation can bring environmental, health and economic benefits when coupled with a low-carbon electricity generation portfolio; however, ensuring that this transition goes smoothly requires addressing several grid-integration challenges. To understand the challenges and opportunities that come with the widespread adoption of EVs, particularly passenger light-duty vehicles, many distribution network operators (DNOs) and stakeholders in various countries have carried out EV trials. One of the largest EV trials in the world was My Electric Avenue (MEA) (www.myelectricavenue. info) in the United Kingdom. Led by EA Technology, the trial ran from January 2013 to december 2015 and was subsidized by the Low Carbon Networks Fund along with partners from industry, DNOs, and academia. The MEA project deployed more than 200 Nissan LEAFs to customers in the United Kingdom to study the driving and charging habits of a geographically and socioeconomically diverse population. This industrial project also investigated the technical effects of EVs on European-style low-voltage networks and trialed the direct control of EV charging points to increase hosting capacity. In this article, we provide details about the MEA trials, including the main infrastructure adopted. Based on the data analysis and network studies carried out, we present key findings in terms of
November-December 2019
P.34-40_Article_Edit.indd 34
11/26/62 BE 11:26 AM
1) the charging habits of EV users, 2) the impact of EVs on lowvoltage networks, and 3) the effectiveness of the proposed strategy to increase hosting capacity. Using what was learned from this large-scale project, we then show the additional results that aid in understanding the extent to which EVs could provide services to the electric grid. Finally, we summarize the key lessons learned from MEA.
The My Electric Avenue Project
ซึ่งจะไดนําเสนอผลการทดลองที่สําคัญดังนี้ 1) พฤติกรรมการชารจของผูใชงาน EV 2) ผลกระทบของ EV ตอระบบไฟฟาแรงต่ํา 3) ผลของกลยุทธเพื่อเพิ่มความสามารถของจุดจายไฟ สิ่ ง ที่ เรี ย นรู จ ากโครงการขนาดใหญ นี้ สามารถแสดงผลลั พ ธ ที่ ทําใหเขาใจไดวา EV มีผลอยางไรตอระบบไฟฟา และทายสุดจะนําเสนอ ประเด็นหลักที่ไดจากโครงการ MEA นี้
โครงการ My Electric Avenue (MEA) EV ในโครงการ MEA ประกอบดวยรถยนต Nissan LEAF มากกวา 200 คัน ซึ่งในแตละคันใชงานแบตเตอรี่ขนาด 24 kWh ที่ใชทดสอบ ใน UK (รูปที่ 1) ซึ่งถือเปนหนึ่งของโครงการที่ใหญที่สุด สามารถทราบถึง ผลของ EV ตอการใชระบบไฟฟาภายในบานเรือน (ชารจแบบชาประมาณ 3.6 kW) วัตถุประสงคหลักของโครงการคือเปนการทดลองหาแนวทาง ปรับปรุงแกไข ที่เรียกวา Esprit (Easily Distributed Personal Rapid Transit) เพือ่ ลดผลกระทบตอระบบไฟฟาแรงต่าํ ของยุโรป (European style low voltage network) (ตัวอยางเชน จุดจายไฟแรงต่ําหลายฟดเดอร ทีต่ อ กับหมอแปลงไฟฟาเดียวกันเพือ่ จายไฟฟาใหกบั ลูกคาหลายรอยราย) เพื่อที่จะบรรลุเปาหมายของโครงการ โครงการนี้ไดวิเคราะหขอมูลตางๆ ของ EV เพื่อศึกษาแบบจําลอง ผลกระทบตอระบบไฟฟา และศึกษาดาน การจัดการระบบไฟฟา โดย MEA เปนโครงการแรกที่มุงเนนไปที่การ จัดการเครือขายระบบไฟฟาทองถิ่นเมื่อมี EV จํานวนมากที่ชารจในพื้นที่ และเวลาเดียวกัน โครงการ MEA มีเปาหมายหลากหลาย เชน เปาหมายในเชิง พาณิชย เชิงสังคม และเชิงเทคนิค (รายละเอียดพบไดจากรายงาน For Further Reading ของ EA Technology) วัตถุประสงคทางเทคนิคที่สําคัญ ประกอบดวย
The MEA project deployed more than 200 nissan LEAFs with a battery size of 24 kWh across the United Kingdom (Figure 1), making it one of the largest (if not the largest) EV trials in the world to date that examines the challenges and benefits arising from the use of this technology at home (slow-charging mode at approximately 3.6 kW). The project’s main objective was to trial a solution (known as Esprit) to mitigate the impacts that EVs may pose on European-style low-voltage networks (i.e., multiple low-voltage feeders connected to the same distribution transformer supplying dozens or hundreds of customers). To achieve this, the project performed EV data analysis, modeling, impacts, and management studies. MEA was the first project to focus on how to best manage the local electricity network when a large number of EVs charge on the same street at the same time. The MEA project had several commercial, social, and technical aims (see the EA Technology project close-down report in the “For Further Reading” section for full details). The key technical objectives were to ● learn customer driving and charging habits ● develop and test the equipment to ascertain its ease of installation ● evaluate the range of networks that will experience technical problems (voltages lower than statutory limits and overloads) through the creation of EV clusters ● investigate the types of networks in which the Esprit technology can operate successfully. To accomplish these objectives, MEA carried out two trials: one technical and one social. The technical trial (illustrated by the red pins in Figure 1) created ten clusters with a total of 101 EVs (7–13 EVs per low-voltage network) to study the performance of the EV management solution. For this trial, the project primarily used existing infrastructure, as it only needed to install sensors at the head of the feeders, a controllable charging point, and a programmable logic controller (PLC) at the substation to host the EV management solution (Figure 2). The social trial (shown by the blue pins in Figure 1), on the other hand, involved 118 participants with the purpose of studying the charging behavior of EV users (such as range anxiety and typical charging patterns). In this trial, the EV users did not have a “smart” charging point because they were not managed at all. The project studied the technical aspects associated with the adoption of EVs and also the social, environmental, and economic implications, resulting in a comprehensive understanding that DNOs and regulators will find useful. Table 1 details the key aspects of the project. The corresponding reports, findings, and key data are publicly available on the project’s website.
November-December 2019
P.34-40_Article_Edit.indd 35
11/26/62 BE 11:26 AM
● ●
ติดตั้ง
เรียนรูพฤติกรรมการขับขี่และการชารจของผูทดสอบ พัฒนาและทดสอบอุปกรณ เพือ่ ใหมนั่ ใจตอความสะดวกในการ
ประเมินผลของระบบทีจ่ ะเกิดปญหาทางเทคนิค (ทัง้ แรงดันไฟฟา ตกและแรงดันไฟฟาเกิน) ดวยการสราง EV cluster พิจารณาประเภทของระบบที่เทคโนโลยี Esprit สามารถทํางาน ได เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคเหลานี้ MEA ไดทําการทดลองโครงการ ใน 2 ดาน ไดแก ดานเทคนิคและดานสังคม 1) การทดลองทางดานเทคนิค (ภาพประกอบแสดงดวยหมุดสีแดงในรูปที่ 1) สรางกลุมทดสอบจํานวน 10 กลุม จาก EV จํานวน 101 คัน (กลุมละ 7-13 คัน ตอระบบจายไฟ แรงต่ํา 1 จุด) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการจัดการ EV สําหรับการ ทดลองนี้จะใชโครงสรางระบบไฟฟาพื้นฐานเดิมเปนหลัก เนื่องจากตอง ติดตั้ง Sensor ที่เฉพาะตนทางของ Feeder (สายปอน) เทานั้น และใช การควบคุมจุดชารจ และ Programable Logic Controller (PLC) ที่สถานี ไฟฟายอย เพือ่ เปนศูนยกลางการจัดการการชารจ (รูปที่ 2) 2) การทดลอง ทางดานสังคม (ภาพประกอบแสดงดวยหมุดสีนา้ํ เงินในรูปที่ 1) มีผเู ขารวม จํานวน 118 ราย โดยวัตถุประสงคคือเพื่อศึกษาพฤติกรรมการชารจ ของผูคนที่ใชงาน EV (เชน ผูคนจะชารจในเวลาใด และรูปแบบการชารจ (กราฟการชารจ)) ในการทดลองนีไ้ มมรี ะบบ Smart Charging (การจัดการ ชารจอัจฉริยะ) เนื่องจากไมตองการควบคุมการชารจ ●
●
รูปที่ 2 สถาปตยกรรมทีใ่ ชในโครงการเพือ่ บริหารจัดการปญหาจาก EV Figure 2 The infrastructure used for deploying the EV management solution.
Understanding How People Charge Their EVs
Understanding when and for how long EV users will charge their vehicles is one of the most critical aspects to realistically studying EV interactions with the grid; however, EV data are scarce, which highlights the need for more trials that make key data publicly available. The MEA project recorded more than 85,000 nonmanaged charging events. Every time an EV user charged a vehicle, the onboard monitoring system recorded the start charging time and the initial/final state of charge (SOC). The project used the information from the 219 EVs involved in the project to understand the drivers’ charging habits. Although the knowledge gained from the MEA project may be specific to EV drivers in the United Kingdom (and similar countries), the methodology used is generic and can be adopted by any country or region. One interesting finding from the MEA project is that the variance in the charging behavior across seasons is limited, i.e., there is no seasonality. This allows for grouping all charging events and corresponding metrics into two categories: weekdays and weekends. Another interesting finding is the highly erratic charging pattern shown by EV users during roughly the first seven days of use. This was considered to be a familiarization phase, and the final database excluded the events during the first week (i.e., <1% of the total charging events). The following sections discuss, via histograms, the project’s key findings in terms of charging habits, including the number of charging events per day, start charging time, initial/final SOC, and percentage of EVs charging on the same day.
Charging More Than Once Per Day?
Whether on a weekday or during the weekend, approximately 30% of EV users charged their vehicles more than once per day, as shown in Figure 3, which also shows, however, that the majority of EV users (70%) charged their vehicle only once per day. This finding is unique because most EV studies do not explore multiple charging events. Finally, because of the low occurrence of three or more charging events (<8%), they were considered part of the second chargingcharging event. However, the study methodology can be used to consider as many charging events as necessary.
รูปที่ 1 ต่ําแหนงของ EV ภายใตโครงการ MEA (ดานเทคนิค : สีแดง และดานสังคม : สีน้ําเงิน) Figure 1 The distribution of EVs during the MEA project (technical: red; social: blue). November-December 2019
P.34-40_Article_Edit.indd 36
11/26/62 BE 11:26 AM
โครงการนีศ้ กึ ษาผลกระทบทางดานเทคนิคจาก EV ซึง่ สงผลทางดาน สังคม สิ่งแวดลอม และเศรษฐกิจ อันเปนความรูที่ดียิ่งตอ DNO และ Regulator โดยตารางที่ 1 แสดงถึงรายละเอียดทีส่ าํ คัญตางๆ ของโครงการนี้ ประกอบดวย ผลรายงาน ผลการคนพบตางๆ ซึง่ ขอมูลสําคัญตางๆ แสดง อยูในเว็บไซตแบบสาธารณะของโครงการ ซึ่งทุกคนสามารถเขาถึงได
ความรูความเขาใจการชารจ EV การทําความเขาใจวาผูค นทีใ่ ชงาน EV ใชเวลาในการชารจของพวกเขา อยางไร เปนจุดทีส่ าํ คัญสําหรับการทําการทดลองหรือวิจยั เพือ่ เรียนรูค วาม สัมพันธระหวาง EV และระบบไฟฟา อยางไรก็ตามขอมูลที่ไดมานั้นยังไม เพียงพอ ยังคงจําเปนตองศึกษาวิจัยหาขอมูลเพิ่มเติมอีก ในโครงการนี้ได บันทึกการชารจ EV มากกวา 85,000 รายการ ซึง่ การชารจนัน้ เปนการชารจ แบบไมมกี ารจัดการ โดยในทุกๆ ครัง้ ทีผ่ ใู ชงาน EV ชารจ EV แบบ On Board จะมีการบันทึกขอมูลเวลาการชารจ โดยบันทึกขอมูลสถานะของการชารจ (State of Charge (SOC)) แสดงปริมาณของแบตเตอรี่ตั้งแตเริ่มตนชารจ จนชารจเต็ม โครงการนี้ประกอบดวย EV ทั้งสิ้น 219 คัน เพื่อใชในการ ทดลองหรือการวิจยั และทําความเขาใจถึงพฤติกรรมการชารจของผูใ ชงาน แมวาโครงการนี้จะเปนการทําวิจัยในประเทศอังกฤษเพียงประเทศเดียว แตก็ยังสามารถนําไปใชกับประเทศหรือภูมิภาคอื่นๆ ไดเชนกัน ผลจากโครงการ MEA พบวาฤดูกาลไมมีผลกับการชารจ EV และ สามารถแบงตัวชี้วัดออกเปน 2 ประเภท คือ การชารจในวันธรรมดา และ การชารจในวันหยุด โครงการจะไมเก็บสถิติในชวงอาทิตยแรกของการ เริ่มตนวิจัย เพราะมีความผิดปกติของชุดขอมูลที่จัดเก็บได เนื่องจาก ผูใชงานอาจยังไมคุนเคยกับการใชงาน EV และขอมูลก็มีอยูนอยมาก กลาวคือ ไมถงึ 1% โครงการนีจ้ ะแสดงกราฟตางๆ ทีเ่ กีย่ วของกับงานวิจยั การคนพบที่สําคัญของพฤติกรรมการชารจ การชารจตอวัน เวลาเริ่มตน ในการชารจ SOC ตอนเริ่มตนและสิ้นสุดการชารจ และสัดสวนของผูชารจ ทั้งหมดที่อยูในโครงการตอวัน ผูใชชารจ EV มากกวา 1 ครั้งตอวันหรือไม ไมวาจะเปนวันธรรมดาหรือวันหยุด จะมีผูใชประมาณ 30% ชารจ มากกวา 1 ครั้งตอวัน หรือประมาณ 70% ที่ชารจเพียง 1 ครั้งตอวัน ดัง แสดงในรูปที่ 3 การวิจัยที่ผานๆ มา ไมเคยมีการเก็บสถิติแบบนี้มากอน การชารจ 3 ครั้ง หรือมากกวา 3 ครั้งตอวัน ในการทดลองนี้ขึ้นไปจะถือให เปนการชารจแบบ 2 ครั้งตอวัน เพราะมีสวนนอยมาก กลาวคือมีนอยกวา 8% เทานั้น การชารจชวงเชาหรือชารจตอนกลางคืน จากการทดลองชี้วาการชารจครั้งแรกจะเกิดในชวงเวลาใดก็ได แต หากมีการชารจครั้งที่ 2 จะมีแนวโนมที่จะเปนการชารจหลังเที่ยงวัน ในรูป ที่ 4 (ปรับคาใหเปน % หรือ Normalized) แสดงการเริ่มชารจสําหรับ วันธรรมดา ซึง่ สามารถแบงออกเปน 3 ชวงเวลา กลาวคือ 06.00-10.00 น. เปนจุดสูงสุดของชวงเชา (สีน้ําเงิน), 15.00-21.00 น. เปนจุดสูงสุดของ ชวงเย็น (สีเทา)
ตารางที่ 1 ขอมลูโครงการ MEA คาใชจายทั้งหมด : 13 ลานดอลลารสหรฐัฯ ระยะเวลาโครงการ : 3 ป เวบ็ไซตโครงการ : www.myelectricavenue.info ขนาดของโครงการ : ■ จำนวน EV 219 คน ั (101 คนั ใชวจิยัทางเทคนคิ, 118 คนั ใชวจิยัทางสงัคม) ■ ระบบไฟฟาแรงต่ำที่ใชใ นการทดลอง 10 แหง (9 แหง เปนลกูคาประเภททีอ่ ยอูาศยั, 1 แหง เปนลกูคาประเภท เชงิพาณชิย) ✔ โครงสรางพื้นฐาน : ■ เครื่องมอ ื วดั • โครงขายไฟฟา : Phases V และ I (ความละเอยีดการ วดัทกุๆ 10 นาท)ี • EV : เวลาเริม่ ตน/สิน้ สดุการชารจ, SOC เริม่ ตน/สิน้ สดุ, เวลาเริ่มตน/สิ้นสดุของการใชงาน EV, ระยะทางทีไ่ ด ■ การสื่อสาร • ระหวางจดุชารจและสถานยีอย ใช PLC ✔ พน ั ธมติรโครงการ : ■ ผจ ู ดัทำ : EA Technology ■ DNOs : • Scottish and Southern Energy Network (Lead DNO) • Northern Powergrid (Participating DNO) ■ ผจ ู ดัจำหนาย EV : Nissan ■ สถานศก ึ ษา : • The University of Manchester, United Kingdom (Technical Analysis) De • Montfort University, Leicester, United Kingdom (Socioeconomic Analysis) ■ อื่นๆ : Fleetdrive Electric, Zero Carbon Futures, and Ricardo ✔ สาขาทีใ่ ชศกึษา : วศิวกรรม สงัคมศาสตร สิ่งแวดลอม และ เศรษฐศาสตร อตัราแลกเปลี่ยน 1 GBP = 1.431 USD ✔ ✔ ✔ ✔
Table 1 The MEA project fact sheet.
November-December 2019
P.34-40_Article_Edit.indd 37
11/26/62 BE 11:26 AM
รูปที่ 3 กราฟแทงแสดงจํานวนการชารจ EV ตอวัน Figure 3 A normalized histogram of the number of EV connections per day.
Charging Early or at Night?
รูปที่ 4 กราฟแทงแสดงเวลาการเริ่มชารจของ EV แตละคัน (a) กรณีการชารจครั้งแรก (b) กรณีมีการชารจครั้งที่ 2 Figure 4 Normalized histograms of the start-charging time per EV connection (weekday). The (a) first and (b) second charging events. และชวงนอกเหนือจากที่กลาวมา (สีฟา) ในการชารจครั้งแรกของ วัน (รูปที่ 4 a) จะเริ่มพบบอยสุดที่เวลาประมาณ 08.00 น. (กอนทํางาน) และ 18.00 น. (หลังเลิกงาน) ในการชารจครั้งที่ 2 (รูปที่ 4 b) พบวาจะ เกิดในชวง 18.00 น. บอยสุด จากการเก็บสถิติพบวา EV จํานวนหนึ่ง จะถู ก ชาร จ ที่ บ า นก อ นและหลั ง เวลาทํ า งาน ซึ่ ง จะสอดคล อ งกั บ การ ทดลองทางสังคม กลาวคือในชวงวันหยุดการชารจครั้งแรกจะเกิดขึ้น ในชวง 09.00-18.00 น. และการชารจครั้งที่ 2 จะเกิดหลังจาก 18.00 น. ในการทดลองครั้งนี้ไมพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญของการชารจ ระหวางวันธรรมดาและวันหยุด การแปลความหมายรูปกราฟในรูปที่ 4 สามารถแสดงตัวอยางได ดังนี้ ในกรณีที่เวลา 18.00 น. ของรูปที่ 4 a ซึ่งมีคาประมาณ 2.6% มี ความหมายคือมีคา โอกาส 2.6% ทีจ่ ะมีการชารจครัง้ แรกทีเ่ วลา 18.00 น. ในขณะที่ในกรณีที่เวลา 18.00 น. ของรูปที่ 4 b ซึ่งมีคาประมาณ 2.75% มีความหมายคือมีคาโอกาสประมาณ 2.75% ที่จะมีการชารจครั้งที่ 2 ที่เวลา 18.00 น. เปนตน
It was found that the first charge might occur any time during the day, but the second charge was more likely to occur after midday. Figure 4 presents the start-charging time for weekdays separated into three periods of the day (morning peak from 6 to 10 a.m., evening peak from 3 to 9 p.m., and the restof the day). The most common first charge time started at approximately 8 a.m. (before work) or at 6 p.m. (after work); if a second charge happened, this typically started after 6 p.m. This demonstrates that a few EVs were charged at home before and after working hours, a finding that aligns with what was reported in the social trials. During weekends, the first charge most likely started between 9 a.m. and 6 p.m., and the second charge occurred later in the evening. In the MEA project, we found no significant differences in the start-charging times among weekdays (Monday–Friday) or between saturday and sunday. Charging events occurring on holidays were treated as weekdays or weekends, depending on the day of the week the holiday occurred.
Always Expecting a Full Battery?
EV drivers are likely to plug their vehicle into the grid when their battery SOC is relatively low, and they will probably leave it plugged in until the battery is full. The MEA project found that the initial and final SOCs depend on the number of charging events and the start-charging time. For instance, an EV charged overnight is likely to reach full charge. If it is used during the morning for a short trip, then for the next charge, this EV will have a relatively high initial SOC. To characterize the initial
November-December 2019
P.34-40_Article_Edit.indd 38
11/26/62 BE 11:26 AM
ความคาดหวังวาแบตเตอรี่ที่ชารจจะเต็มหรือไม ผูใชงาน EV มีแนวโนมที่จะชารจ EV ของพวกเขาเมื่อแบตเตอรี่ คอนขางต่าํ และเสียบปลัก๊ ไวจนกวามันจะเต็ม โครงการ MEA พบวา SOC ขึ้นอยูกับครั้งที่ของการชารจ (ชารจครั้งที่ 1 หรือชารจครั้งที่ 2) และเวลา เริ่มตนของการชารจ ดวยเหตุนี้ EV ที่ถูกชารจขามคืนมีแนวโนมที่จะชารจ เต็ม หาก EV ถูกใชในระยะทางสัน้ ในวันตอไป ซึง่ การชารจครัง้ ที่ 2 จะยังคง มี SOC เริ่มตนคอนขางสูง เพื่อกําหนดคา SOC เริ่มตนและคาสุดทาย จําเปนที่จะตองพิจารณาทั้งครั้งที่ของการชารจและเวลาเริ่มตนการชารจ โดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับชวงเวลาทั้ง 3 ชวงของวัน (ชวงเชา ชวงเย็น และชวงที่เหลือ) ในโครงการ MEA มีการพิจารณาเวลาออกเปน 3 ชวง กลาวคือ 2 ชวง มีการใชงานสูงสุดชวงเชาและบาย/เย็น (รูปที่ 4) และอีก 1 ชวง สําหรับสวนทีเ่ หลือของวัน เพือ่ แสดงผลกระทบของเวลาตอการชารจ โดยไมพจิ ารณาความสัมพันธระหวางเวลาในการเริม่ ตนการชารจกับ SOC และจะเรียกวาตลอดทั้งวัน (Whole Day) สําหรับใชในรูปที่ 5 หมายเหตุ คา SOC ที่บันทึกโดยรถยนตนิสสันลีฟ กําหนดเปนคา 0 ถึง 12 หนวย ซึ่ง 1 หนวยมีคาเทากับ 2 kWh หรือ 8.33% ของแบตเตอรี่ 24 kWh ดังนั้น 12 หนวยจะมีคาเทากับ 24 kWh หรือเต็ม 100% ในรูปที่ 5 แสดงคาครัง้ ทีข่ องการชารจตอคาเริม่ ตนของ SOC ในชวง วันธรรมดา ทั้ง 3 ชวงเวลาและตลอดทั้งวัน ตัวอยางการแปลความหมาย คือโอกาสของ EV ที่ถูกชารจที่ SOC เริ่มตนต่ํากวา 2 หนวยมีคาต่ํากวา 15% (ผลรวมของกราฟ 0, 1 และ 2 หนวย) สิ่งนี้ชี้ใหเห็นวาผูใช EV สวนใหญตองการที่จะรักษาแบตเตอรี่เหนือระดับที่คอนขางต่ํานี้ (16.6%) นอกจากนี้ EV ทีถ่ กู ชารจเมือ่ SOC เริม่ ตน มีคา อยูร ะหวาง 3 และ 9 หนวย มีโอกาสมากกวา 65% (ผลรวมของกราฟ 3, 4 จนถึง 9 หนวย) ก็หมายความ วา ผูใช EV สวนใหญชารจยานพาหนะของพวกเขาเมื่อ SOC มีคาอยู ระหวาง 25% ถึง 75% ซึ่งการคนพบนี้สอดคลองกับผลการทดลองทาง สังคม การชารจครัง้ แรกในชวงวันธรรมดาระหวาง 15.00-21.00 น. มีโอกาส มากทีส่ ดุ (ประมาณ 78% : ผลรวมของกราฟ 3, 4 จนถึง 9 หนวย) อยางไร ก็ตาม หากการชารจครัง้ แรกเกิดขึน้ ในชวงวันหยุดระหวาง 12.00-18.00 น. มีโอกาสมาก (ประมาณ 71%) ที่ EV จะมีสถานะประจุ (SOC) อยูระหวาง 3 ถึง 9 หนวย พฤติกรรมนี้บงชี้วา EV มีแนวโนมที่จะถูกชารจไมนาน หลังจากที่คนขับกลับบานจากที่ทํางาน (วันธรรมดา) หรือกิจกรรมยามวาง (วันหยุด) โครงการ MEA ยังพบวาไมวาจะวันใด ความนาจะเปนของการ ชารจครั้งแรกที่มีคาเริ่มตนมากกวา 9 หนวย จะสูงกวาในชวงเชา (รูปที่ 5) สิ่งนี้แสดงใหเห็นวามีการชารจจาก EV ขามคืน แลวใชรถเวลาสั้นๆ ใน ตอนเชา จากนั้นกลับมาชารจอีกครั้ง ในแงของคา SOC คาสุดทาย รูปที่ 6 แสดงใหเห็นวา มีโอกาสกวา 65% ที่ SOC จะถึง 12 หนวย (ชารจเต็ม) สําหรับการชารจครัง้ แรก (ในชวง เชาวันหยุดจะอยูที่ประมาณ 52%) และมีโอกาสกวา 70% ที่ SOC จะถึง 11 หนวย (ประมาณ 63% ในตอนเชาของสัปดาห) ในทางกลับกัน การชารจ ครั้งที่ 2 สวนใหญเกิดขึ้นในเวลากลางคืน และมีโอกาสนอยกวา 1 ใน 3 ที่จะชารจเต็ม เนื่องจากการใช EV ในตอนกลางคืนจะสงผลใหมีการชารจ ใหมในชวงเชา ในชวงวันธรรมดามีโอกาสสูงสุดประมาณ 75% ที่จะมีการ ชารจเต็มที่ระหวาง 15.00-21.00 น. ในวันหยุดมีโอกาสประมาณ 80% ในระหวาง 18.00 น. และ 07.00 น. โดยสรุปแลวโอกาสที่จะเสร็จสิ้น การชารจ EV ที่ 8 หรือนอยกวานั้นมีคาต่ํากวา 20% ซึ่งชี้ใหเห็นวาผูใช ตองการที่จะจบการชารจดวยคา SOC คาสุดทายที่สูงที่สุด
and final SOCs, it is critical to consider not only the number of charging events but also the start-charging time, particularly for the three main periods of the day (morning peak, evening peak, and the rest of the day). In the project, three periods were considered: two for the charging peaks during the morning and afternoon/evening (Figure 4) and one for the rest of the day. To highlight the effects of time dependency, the normalized histograms when ignoring the relationship between the startcharging time and the SOC are also given. this is referred to as the whole day. Note that the SOC recorded by the Nissan LEAFs range from zero to 12 units, i.e., one unit equals 2 kWh (8.33% of the 24-kWh battery). Figure 5 shows the normalized histograms per charging event of the initial SOC during weekdays for three selected periods during the day as well as for the whole day. Regardless of the time, the likelihood of an EV being charged when its initial SOC is two units or fewer is lower than 15%. This suggests that most EV users prefer to maintain the battery SOC above this relatively low level (16.6%). Additionally, the probability of an EV being charged when its initial SOC is between three and nine units is more than 65%. This implies that most EV users charge their vehicle when the SOC is between 25% and 75%, a finding aligned with the results of social surveys. From a time perspective, a first charging event during weekdays between 3 and 9 p.m. is most likely (approximately 78%) to start with an initial SOC between three and nine units; however, if this first charge occurs on weekends between 12 and 6 p.m., it is very likely (approximately 71%) that the EV will have an SOC ranging from three to nine units. This behavior indicates that EVs are likely to be charged shortly after the drivers return home from work (weekdays) or leisure activities (weekends). The MEA project also found that, regardless of the type of day, the probability of a first charge with an initial SOC more than nine is higher during the morning (Figure 5). This suggests that some EVs are charged overnight, used briefly in the morning, and then charged again (counting as the first event in that day). In terms of the final SOC, Figure 6 highlights that the probability of reaching 12 units (full charge) in a first charging event is more than 65% (on weekend mornings, it is approximately 52%), and the likelihood of reaching 11 units or more is higher than 70% (approximately 63% on weekend mornings). On the other hand, second charging events, which occurred mostly at night and represented fewer than one-third of all events, are less likely to reach full charge because using these EVs at night results in some requiring a new charging event early in the morning. during weekdays, the highest probability (approximately 75%) of reaching a full charge occurred between 3 and 9 p.m. On weekends, this happened mostly (approximately 80%) between 6 p.m. and 7 a.m. Overall, the probability of finishing an EV charging event with eight units or fewer is lower than 20%, suggesting that users prefer to end charging events with a high final SOC. November-December 2019
P.34-40_Article_Edit.indd 39
11/26/62 BE 11:26 AM
รูปที่ 7 กราฟแทงแสดงโอกาสในการชารจในวันเดียวกัน ตามเปอรเซ็นตปริมาณการใช EV Figure 7 The normalized histogram for different percentages of EVs (same-day charging).
รูปที่ 5 กราฟแทงแสดง SOC เริ่มตนของ EV แตละคัน (a) กรณีการชารจครั้งแรก (b) กรณีมีการชารจครั้งที่ 2 Figure 5 Normalized histograms of the initial SOC per charging event considering time dependency (weekday). The (a) first and (b) second charging events.
Charging on the Same Day as Your Neighbor?
EV users have different charging needs; some are likely to charge their EVs every day, but others might not. this is shown in Figure 7, which provides the probabilities of charging on the same day for different percentages of EVs on weekdays and weekends. Regardless of the type of day, the probability of all EVs being charged at least once on the same day is approximately 7%, i.e., twice per month. In addition, the probability of the majority of EVs (half or more) charging at least once on the same weekday is more than 75%, i.e., more than threequarters of a month. Interestingly, for approximately 6% of the days (nearly twice per month), no EVs were charged at all. *สำหรับการอานเพิ่มเติม
International Energy Agency. (2017, June). Global EV outlook 2017: Two million and counting. IEA. Paris, France. [Online]. Available: https://www. iea.org/publications/freepublications/publication/GlobalEVOutlook2017. pdf EA Technology. (2016, Mar.). My Electric Avenue—Project closedown report. EA Tech. Chester, U.K. [Online].Available: http://myelectricavenue.info/ sites/default/files/documents/Close%20down%20report.pdf J. Quiros-Tortos, A. Navarro-Espinosa, L. F. Ochoa, and T. Butler, “Statistical representation of EV charging: Real data analysis and applications,” in Proc. PSCC, 2018, pp. 1-6. J. Quiros-Tortos, L. F. Ochoa, S. W. Alnaser, and T.Butler, “Control of EV charging points for thermal andvoltage management of LV networks,” IEEE Trans. Power Syst., vol. 31, no. 4, pp. 3028-3039, 2016.
รูปที่ 6 กราฟแทงแสดง SOC สิ้นสุดของ EV แตละคัน (a) กรณีการชารจครั้งแรก (b) กรณีมีการชารจครั้งที่ 2 Figure 6 Normalized histograms of the final SOC per charging event considering time dependency (weekday). The (a) first and (b) second charging events.
ชารจในวันเดียวกันกับเพื่อนบานของคุณไดหรือไม ผูใช EV มีความตองการการชารจที่แตกตางกัน บางคนมีแนวโนม ทีจ่ ะชารจ EV ของพวกเขาทุกวัน แตบางคนอาจไมไดชารจทุกวัน ตามรูป ที่ 7 ซึ่งแสดงโอกาสในการชารจในวันเดียวกัน ตามเปอรเซ็นตปริมาณ การใช EV (Penetration Level) ที่มีความแตกตางกันในวันธรรมดาและ วันหยุด โอกาสของ EV ทัง้ หมดทีถ่ กู ชารจอยางนอย 1 ครัง้ ในวันเดียวกัน นั้นมีคาประมาณ 7% ของเดือน หรือ 2 วันตอเดือน นอกจากนี้โอกาส ของ EV สวนใหญ (ครึ่งหนึ่งหรือมากกวา) ที่ชารจอยางนอย 1 ครั้ง ในวันธรรมดา คือมากกวา 75% ของเดือน หรือมากกวา 3 ใน 4 ของเดือน อีกประเด็นที่นาสนใจคือไมมีการชารจ EV เลย ประมาณ 6% ของเดือน (เกือบ 2 วันตอเดือน)
ประวัติผูเขียน
Jairo Quiros-Tortos is with the University of Costa Rica, San Jose. Luis (Nando) Ochoa is with the University of Melbourne, Australia, and the University of Manchester, United Kingdom. Timothy Butler is with EA Technology, Chester, and United Kingdom.
ผูแปลและเรียบเรียง
ดร.จักรเพชร มัทราช ผูอํานวยการกองวางแผนงานระบบไฟฟา อัจฉริยะ ฝายวางแผนระบบไฟฟา การไฟฟาสวนภูมิภาค
อานตอฉบับหนา – การสรางแบบจําลองความตองการ (Demand) ในการชารจ (EV) (next- Modeling EV Charging Demand)
November-December 2019
P.34-40_Article_Edit.indd 40
11/26/62 BE 11:26 AM
IT Technology Interview > กองบรรณาธิการ
นับจากกาวแรก ในนามหางหุนสวนจํากัด สามมิตร มอเตอร ดําเนินกิจการโรงงานผูผลิต แหนบรถยนต แ ห ง แรกในประเทศไทย ในป พ.ศ. 2502 จากนั้นเติบโตและขยายธุรกิจเปน บริษัท สามมิตรโอโตพารท จํากัด จนถึงปจจุบัน เป น ระยะเวลากว า 60 ป ซึ่ ง เป น ผู ผ ลิ ต และ จําหนายแหนบรถทุกประเภทกวา 2,000 รุน และ รวมไปถึงการผลิตและจําหนายอุปกรณการเกษตร ภายใตเครื่องหมายการคา SMA และกระทิงคู
สามมิตรโอโตพารท ผูผลิตแหนบรถยนต รายแรกของประเทศไทย
บริษัท สามมิตรโอโตพารท จํากัด เปนผูผลิตแหนบรถยนตรายแรกของประเทศไทย ไดรับการยอมรับในตลาดเปนอยางดีมาตลอดในระยะ 60 ป โดยในปจจุบันมีการขยายการ ผลิตและจําหนายสินคาใน 3 กลุมหลักคือ ผลิตและจําหนายแหนบรถยนตทุกประเภท ผลิต และจําหนายอุปกรณการเกษตร แหนบของบริษัท สามมิตรโอโตพารท จํากัด เปนแหนบ ที่ไดรับการรับรองคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 และมาตรฐานอุตสาหกรรมหรือ มอก. จากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรม คุณภาพเปนทีย่ อมรับ จากผู ป ระกอบการทั้ ง ในประเทศและต า งประเทศด ว ยเทคโนโลยี ก ารผลิ ต ที่ ทั น สมั ย ตามมาตรฐานอุตสาหกรรมรถยนต อันประกอบดวยการตัด การขึ้นรูปรอน-เย็น และ กระบวนการเขาเตาเผา การขึน้ รูปโคง การชุบแข็งและอบคลาย เพือ่ ทําใหแหนบมีความเหนียว ไมแข็งเปราะ พรอมดวยกระบวนการชุบสีรองพื้น เพื่อที่จะไดใหแหนบที่ดีมีคุณภาพสูตลาด นอกจากนี้ บ ริ ษั ท สามมิ ต รโอโตพาร ท ยั ง ได นํ า องค ค วามรู ม าพั ฒ นาต อ ยอดผลิ ต สิ น ค า เพื่อการเกษตร โดยมุงผลิตสินคาที่มีคุณภาพ เหมาะกับทุกภูมิภาคของประเทศ บนราคา ที่เหมาะสม เหมาะกับกลุมเกษตรกรผูเปนกระดูกสันหลังของชาติ ไดนําไปใชงาน ใหคุมคาเกิดประโยชนสูงสุด มณีรัตน โพธิ์ศิริสุข กรรมการผูจัดการ บริษัท สามมิตรโอโตพารท จํากัด หรือ SMA กลาววา “กลุมสินคาเกษตรมีดวยกัน 3 ประเภทคือ จานไถ ใบมีด เกษตร ใบดันดิน จานไถสามมิตรผลิตจากเหล็กกลาคารบอนชนิดพิเศษ นํามา ผานกระบวนการชุบแข็ง ซึ่งเปนกรรมวิธีเดียวกับการผลิตแหนบรถยนต ควบคุม
มณีรัตน โพธิ์ศิริสุข
กรรมการผูจัดการ บริษัท สามมิตรโอโตพารท จำกัด
November-December 2019
P.41-43_Interview.indd 41
11/26/62 BE 11:30 AM
❞
บริษัทมุงเนนผลิตสินคาที่มีความเหมาะสม คุณภาพคงทน คุมคากับความตองการ ของลูกคา พัฒนาเทคโนโลยีในดานการผลิต ควบคุมคุณภาพในการผลิตทุกขั้นตอน รวมถึงบริการหลังการขาย เพื่อใหลูกคา มั่นใจไดวาจะไดใชสินคาที่เต็มเปยมไปดวย คุณภาพอยางแนนอน
❞
ดวยระบบอัตโนมัติ พิถีพิถันทุกขั้นตอนในกระบวนการผลิต ทําใหได จานไถที่มีความแข็งแกรง โดยการทดสอบจากแรงกระแทก ดวยน้ําหนัก 100 กิโลกรัม ที่ความสูง 1 เมตร 50 เซนติเมตร และมีการตรวจสอบ ในด า นต า งๆ ตามข อ กํ า หนดของสํ า นั ก งานมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ อุตสาหกรรม จึงทําใหจานไถสามมิตรเปนจานไถหลายแรกในประเทศไทย ที่ไดรับตรา มอก. ซึ่งเปนสิ่งยืนยันคุณภาพของสินคาที่ผลิตออกมา เพิ่มความมั่นใจใหกับกลุมลูกคา ใบมีดสามมิตรเปนใบมีดโรตารี่ที่ไดรับ การออกแบบสามารถลดแรงตัดเฉือน เพื่อลดกําลังของเครื่องยนตที่ ใชงาน ซึ่งชวยใหประหยัดพลังงาน” บริ ษั ท สามมิ ต รโอโตพาร ท ได ใช วั ต ถุ ดิ บ และกระบวนการ เดียวกันกับการผลิตแหนบรถยนต ทําใหไดใบมีดที่มีความแข็งแกรง ทนตอการสึกกรอน มีอายุการใชงานมากกวาใบมีดทั่วไป เหมาะกับดิน ทุ ก ประเภท และทุ ก สภาพการใช ง าน ใบดั น ดิ น สามมิ ต ร ผลิ ต จาก เหล็กกลาคารบอน ชนิดเดียวกับที่ใชผลิตแหนบรถยนต ผานการปม
ขึ้นรูปรอน ดวยอุณหภูมิที่เหมาะสม โดยเครื่องมือการผลิตที่ ทันสมัย ทําใหใบดันดินของสามมิตรมีความแข็งแกรงทนทาน ใชงานไดทุกสภาพทุกพื้นที่ประเทศ ดานการผลิตและจําหนายแหนบรถยนต สามมิตรถือเปน ผูนําตลาดมาอยางยาวนาน โดยผลิตและจัดจําหนายแหนบรถ ทุกประเภท ทั้งรถปกอัพ รถบรรทุก รถเทรลเลอร และรถหัวลาก มากกวา 2,000 รุน มีสวนแบงทางการตลาดอยูที่ 45% ของ ตลาดรวมซึ่ ง มี มู ล ค า ประมาณ 800 ล า นบาทต อ ป ป จ จุ บั น ความตองการตลาดชิ้นสวนทดแทนหรืออะไหลทดแทน มีการ ขยายตัวอยางตอเนื่องตามการเพิ่มขึ้นของจํานวนรถ และจะ ยังคงสามารถเติบโตตอไปไดอีกในอนาคต เนื่องจากปริมาณ การใช ร ถเพื่ อ การขนส ง ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ตลอดจนการเพิ่ ม จํ า นวน ของธุรกิจรถขนสงสินคาทางบก และธุรกิจรับสงสินคาที่มีการ ขยายตัวอยางมาก จากการเติบโตของอีคอมเมิรซ (e-Commerce) สงผลใหอะไหลทดแทน โดยเฉพาะแหนบรถยนตประเภทเสริม เพื่ อ เพิ่ ม น้ํ า หนั ก บรรทุ ก ของสามมิ ต รโอโตพาร ท มี แ นวโน ม การเติบโตอยางตอเนื่อง
November-December 2019
P.41-43_Interview.indd 42
11/26/62 BE 11:30 AM
ทังนี้ บริษัท สามมิตรโอโตพารท มีแผนกจัดสงสินคาที่มี คุ ณ ภาพ ได รับ การฝ ก อบรมเป น อย า งดี พร อ มด ว ยเทคโนโลยี ที่ทันสมัย เพื่อการจัดสงสินคาที่สมบูรณครบถวน และตรงตาม กําหนดเวลา ทางบริษัทมีความมุงมั่นที่จะพัฒนากระบวนการผลิต ด า นต า งๆ โดยมี ก ารตรวจวิ เ คราะห คุ ณ ภาพของผลิ ต ภั ณ ฑ ใ น ทุกๆ ขั้นตอน ตั้งแตวัตถุดิบ ชิ้นสวนประกอบ ชิ้นสวนระหวาง กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑที่สําเร็จรูปแลว เพื่อนําขอมูลตางๆ ที่ไดมาปรับปรุงพัฒนาคุณภาพของสินคา พรอมกันนี้ทางบริษัทยังสงเสริมพัฒนาความรูความสามารถ ของบุคลากรใหมคี วามพรอมการทํางาน เพือ่ มีสว นรวมพัฒนาสินคา และบริการ ตรงตามความตองการของลูกคาอีกดวย ปจจุบัน สามมิตรโอโตพารท มีสัดสวนรายไดจากตลาด ในประเทศ 85% และอีก 15% มาจากการสงออกไปยังตางประเทศ โดยได ว างแผนกลยุ ท ธ เ พื่ อ การขยายตลาดให เ ติ บ โตมากขึ้ น ในทุกกลุมผลิตภัณฑ ไดแก ขยายตลาดสินคาแหนบและอุปกรณ การเกษตรไปยังกลุม ประเทศ CLMV หรือกัมพูชา ลาว เมียนมา และ เวียดนาม การเพิ่มสัดสวนรายไดจากกลุมผลิตภัณฑซื้อมา-ขายไป ให ม ากขึ้ น โดยเพิ่ ม จํ า นวนผลิ ต ภั ณ ฑ และการสร า งการเติ บ โต ในชองทางการจัดจําหนายเดิม ทําการสงเสริมการขายรวมกับสินคา หลักของบริษทั และตัง้ เปามีรายไดเพิม่ ขึน้ จากสินคากลุม นีเ้ ปน 20% ของรายไดในประเทศ ซึ่งคาดวาจากกลยุทธและแผนการตลาด ดังกลาวจะสงผลใหบริษัทมีรายไดเติบโตเพิ่มขึ้น 10% ภายในปนี้ และเติบโตเพิม่ ขึน้ 20% ภายใน 3 ป จากรายไดตา งประเทศและจาก กลุมผลิตภัณฑซื้อมา-ขายไปเปนหลัก
มณีรัตน กลาวเพิ่มเติมวา การที่บริษัทไดรับการตอบรับ เปนอยางดีจากตลาดในประเทศและขยายไปสูต ลาดตางประเทศนัน้ มีองคประกอบหลักๆ ที่ทําใหบริษัทประสบความสําเร็จก็คือ “องคประกอบแรกก็คอื เราผลิตสินคาทีม่ คี ณ ุ ภาพ บริษทั มุง เนน ผลิตสินคาทีม่ คี วามเหมาะสม คุณภาพคงทน คุม คากับความตองการ ของลูกคา องคประกอบตอมาคือการบริหารจัดการ มุงเนนให ตอบโจทยความตองการของลูกคา พัฒนาเทคโนโลยีในดานการผลิต
ควบคุมคุณภาพในการผลิตทุกขั้นตอน รวมถึงบริการหลังการขาย เพื่อใหลูกคามั่นใจไดวาจะไดใชสินคาที่เต็มเปยมไปดวยคุณภาพ อยางแนนอน องคประกอบสุดทายที่สําคัญนั้นก็คือทัศนคติของ บุคลากรในบริษัท โดยเรามุงเนนใหความรูความเขาใจพรอมกับ พัฒนาองคความรูใหกับบุคลากรในดานตางๆ นําไปสูการปรับปรุง วิธีการทํางานอยางตอเนื่อง สงเสริมการทํางานเปนทีมและรับฟง ความคิดเห็นที่จะนํามาซึ่งประโยชนในการทํางานใหมๆ และการ ปรับใชกับองคกร ผลที่ไดรับก็คือเราจะสามารถพัฒนาสินคาและ องคความรูตางๆ ทําใหเกิดประโยชนสูงสุดตอลูกคา” สุดทาย ถึงแมวาโลกธุรกิจจะมีการแขงขันและขยายตัวเติบโต ไปในทิศทางใดทิศทางหนึง่ บริษทั สามมิตรโอโตพารท จํากัด พรอม ที่จะกาวไปดวยพลังแหงจิตนาการสูการพัฒนาการเปนนวัตกรรม ตางๆ มากมาย ดวยความใสใจสูความบริการอยางเขาใจ และดวย ความมุงมั่นสูเปาหมายคือความสําเร็จที่พรอมเปนพลังขับเคลื่อน โลกดวยพลังแหงสามมิตรโอโตพารท จากประสบการณกวา 60 ป ดานชิ้นสวนยานยนต และอุตสาหกรรมเหล็ก ทําใหทุกผลิตภัณฑ ของสามมิตรโอโตพารทมีคณ ุ ภาพเปนทีย่ อมรับทัง้ ในและตางประเทศ นอกจากนี้ยังมุงมั่นสรางสรรคนวัตกรรมใหมๆ ใหกับทุกผลิตภัณฑ และบริการ เพื่อตอบสนองความตองการของผูประกอบการและ เกษตรกร
November-December 2019
P.41-43_Interview.indd 43
11/26/62 BE 11:30 AM
Article > ทาเลส
ประเทศไทยพัฒนาความปลอดภัย
ของระบบรางในสถานีรถไฟ 48 แหง ดวยเทคโนโลยีของทาเลส (Thales)
ทาเลส (Thales) ไดจับมือกับบริษัท ริเวอร เอนจิเนียริ่ง (River Engineering) เพื่อดําเนินการออกแบบ สงมอบ และติดตั้งระบบควบคุมรถไฟของยุโรป (ETCS) ระบบป อ งกั น ความปลอดภั ย อั ต โนมั ติ ข องรถไฟ ระดับ 1 บนเสนทางรถไฟ 4 ชวงสําหรับสถานีรถไฟ 48 แหงรอบๆ กรุงเทพฯ จากการเซ็นสัญญากับการรถไฟแหงประเทศไทย (รฟท.) ทาเลสและริเวอร เอนจิเนียริ่ง ซึ่งเปนบริษัทพันธมิตรในกลุมบริษัทของทาเลสไดรับสัญญาบริการ สนับสนุนการฟนฟูอุตสาหกรรมรถไฟของประเทศไทยดวยการออกแบบ จัดหา ในฐานะที่เปนผูประกอบการสําคัญรายหนึ่งใน และติดตั้ง ETCS ระดับ 1 ในเครือขายรถไฟ 4 ชวง ของ รฟท. (สายเหนือ อุตสาหกรรมการคมนาคมของประเทศไทย ทาเลส สายตะวันออกเฉียงเหนือ สายตะวันออก และสายใต) ซึ่งคาดวาโครงการนี้จะใช นําเสนอเทคโนโลยี ETCS เปนครัง้ แรกเมือ่ ป พ.ศ. 2560 เวลาดําเนินการ 2 ป และจะชวยสนับสนุน รฟท. ในการปรับปรุงเครือขายรถไฟ สําหรับทางรถไฟสายตะวันออกของประเทศไทย ตาม ใหทันสมัยดวยการใช ETCS ซึ่งเปนระบบมาตรฐานในการปองกันและควบคุม มาดวยรถไฟชานเมืองสายสีแดงของกรุงเทพมหานคร ความปลอดภัยอัตโนมัติของรถไฟ (ATP) และเปนผูใหบริการระบบบัตรโดยสารสําหรับรถไฟฟา โครงการระบบอาณัตสิ ญ ั ญาณจะครอบคลุมสถานีรถไฟ 48 แหง จากลพบุรี สายสีน้ําเงินสวนตอขยาย ทางทิศเหนือลงใตไปถึงนครปฐม และถึงมาบกะเบาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ การรถไฟแห ง ประเทศไทย (รฟท.) กํ า ลั ง การติ ด ตั้ ง ระบบ ETCS ระดั บ 1 ช ว งระยะทางยาวที่ สุ ด จะเป น การติ ด ตั้ ง ที่ เดินหนาในการปรับปรุงเครือขายรถไฟของประเทศ ครอบคลุมสถานีรถไฟ 21 แหง จากสถานีหัวหมากจนถึงสถานีแหลมฉบัง ซึ่ง ใหทนั สมัย โดยมีแผนการลงทุนเพือ่ พัฒนารถไฟในรัศมี จะชวยใหผูโดยสารสามารถเดินทางไปยังชายแดนไทยฝงตะวันออกไดอยาง 500 กิโลเมตร รอบๆ กรุงเทพมหานครใหเปนระบบ มีประสิทธิภาพและปลอดภัย ไฟฟา เฟสแรกของการปรับปรุงใหทันสมัยนี้คือการ ในชวงไมกี่ปที่ผานมานี้ ทาเลสไดแสดงใหเห็นถึงศักยภาพของเทคโนโลยี เปลี่ยนระบบอาณัติสัญญาณเปนระบบควบคุมรถไฟ ของทาเลสในอุตสาหกรรมการคมนาคม เชน ระบบเก็บคาโดยสารอัตโนมัติ ของยุโรป (ETCS) ระดับ 1 ซึ่งเปนระบบมาตรฐานของ และบริการซอมบํารุงรถไฟฟาสายสีน้ําเงินสวนตอขยายของกรุงเทพมหานคร ยุโรปเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความเชื่อถือไดใหกับ และนี่เปนเพียงเฟสแรกที่เพิ่งเริ่มตนอยางเปนทางการในเดือนกรกฎาคมของปนี้ เครือขายรถไฟไทย ทาเลสไดนําเทคโนโลยี ETCS เขามาในประเทศไทยเมื่อป พ.ศ. 2560 เพื่อใชกับ
November-December 2019
P.44-45_Tales.indd 44
11/26/62 BE 11:31 AM
Thales โครงการรถไฟรางคู (104 กิโลเมตร จาก ฉะเชิงเทราถึงคลองสิบเกาและแกงคอย) ตอมา ในป พ.ศ. 2561 ชื่ อ เสี ย งของเทคโนโลยี ETCS ของทาเลสได รั บ การยื น ยั น อี ก ครั้ ง ด ว ยการได รั บ สั ญ ญา ให ดํ า เนิ น การติ ด ตั้ ง เทคโนโลยี ดั ง กล า วกั บ รถไฟสายสี แ ดงของ กรุงเทพมหานครในระยะทาง 41 กิโลเมตร ซึ่งคาดวาจะใหบริการ กับผูโดยสารมากกวา 130,000 คนตอวัน การทําสัญญาฉบับลาสุด กับการรถไฟแหงประเทศไทย เปนการยืนยันถึงความเปนผูนําของ บริษัทในดานระบบอาณัติสัญญาณในประเทศไทย ระบบ ETCS ระดับ 1 จะชวยยกระดับความปลอดภัยใหการ ขนสงระบบรางในประเทศไทยสูมาตรฐานความปลอดภัยสูงสุด เดิมทีเทคโนโลยีนี้พัฒนาขึ้นมาเพื่อสงเสริมระบบการใชงานรวมกัน กั บ เครื อ ข า ยรถไฟของยุ โรป ต อ มาระบบนี้ ไ ด ถู ก นํ า ไปใช อ ย า ง แพรหลายในการรถไฟตางๆ ทั่วโลก ETCS จะคํานวณความเร็ว สูงสุดที่ปลอดภัยสําหรับรถไฟแตละคันอยางตอเนื่อง โดยมีระบบ อาณัตสิ ญ ั ญาณเตือนในหองพนักงานขับรถไฟและระบบออนบอรด ที่จะทําการบังคับรถไฟหากความเร็วเกินกวาอัตราที่ปลอดภัย การ ปรับใชเทคโนโลยี ETCS ระดับ 1 นั้นสามารถนําไปปรับใชกับระบบ อาณัตสิ ญ ั ญาณทีม่ อี ยูเ ดิมในประเทศไดอยางงายดายและจะรบกวน การดําเนินการเพียงเล็กนอยเทานั้น และกลาวกันวาจะสามารถ เพิ่มประสิทธิภาพของเครือขายที่มีอยูไดถึง 40% มาสสิโม มารินซี ผูอ าํ นวยการประจําประเทศไทยของทาเลส กลาววา “ในสวนของระบบอาณัติสัญญาณเสนทางหลัก ระบบ เทคโนโลยีของทาเลสใชใน 38 ประเทศ ครอบคลุมพืน้ ทีก่ วา 17,000 กิโลเมตร อีกทั้งยังสนับสนุนวิสัยทัศนคมนาคมรวมเปนหนึ่งของ ประเทศไทย โดยมีวตั ถุประสงครว มกันซึง่ ก็คอื การเชือ่ มตอเครือขาย ในประเทศและชวยใหผูเดินทางสามารถเดินทางไดอยางสะดวก ในฐานะผูบุกเบิกเทคโนโลยี ETCS ในประเทศไทย โครงการนี้ ช ว ยให เ รามี ส ว นร ว มมากขึ้ น ในอุ ต สาหกรรมคมนาคม และทํ า ให เราเป น พั น ธมิ ต รแนวหน า ของการรถไฟ แหงประเทศไทยในดานระบบเครือขายรถไฟ
สายหลักและระบบอาณัติสัญญาณ เรามีความยินดีอยางยิ่งที่จะได รวมงานกับริเวอร เอนจิเนียริ่งพันธมิตรของเราในการปรับปรุง เครือขายรถไฟไทยใหทันสมัยเพื่ออนาคต” ทาเลส คื อ ผู นํ า ด า นเทคโนโลยี ร ะดั บ โลกที่ ส ร า งโลกแห ง อนาคตในวันนี้ กลุมบริษัทของเราใหบริการโซลูชัน บริการ และ ผลิตภัณฑตางๆ ใหแกลูกคาในกลุมอุตสาหกรรมดานอากาศยาน และอวกาศ การขนสง ตัวตนดิจิทัลและการรักษาความปลอดภัย และความมั่นคง ดวยพนักงาน 80,000 คน ใน 68 ประเทศ ทาเลส มียอดขายถึง 19 พันลานยูโร ในป ค.ศ. 2018 (ตามการประเมิน รวมกับเจมัลโต (Gamalto) ทาเลสเนนการลงทุนในดานนวัตกรรมดิจิทัล การเชื่อมตอ ขอมูลขนาดใหญ ปญญาประดิษฐ และการรักษาความปลอดภัย ไซเบอร ซึ่งลวนเปนเทคโนโลยีที่ชวยสนับสนุนบริษัท องคกร และ รัฐบาลในการตัดสินใจในสถานการณสําคัญ ส ว นทาเลสในประเทศไทยได เ ข า มาดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ใน ประเทศไทยเปนเวลากวา 50 ปแลว ทาเลสในประเทศไทยไดรับ การยอมรั บ ทั้ ง จากฝ า ยพลเรื อ น และฝ า ยความมั่ น คง ทาเลส ได ร ว มงานกั บ พั น ธมิ ต รสํ า คั ญ ในประเทศไทยในด า นการบิ น และอวกาศ ความมั่นคง การขนสง การจัดการจราจรทางอากาศ ตัวตนดิจิทัลและการรักษาความปลอดภัย และอวกาศ ทังนี้ บริษัท มีพนักงานในกรุงเทพฯ ราว 50 คน และไดรบั สถานะเปนบริษทั ทีไ่ ด รับการสงเสริมจากสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) ทั้งนี้เนื่องจากภาครัฐเล็งเห็นถึงความมุงมั่นของกลุมบริษัทในการ ลงทุนในประเทศและการพัฒนาฝมือและความเชี่ยวชาญใหกับ แรงงานในทองถิ่น
November-December 2019
P.44-45_Tales.indd 45
11/26/62 BE 11:31 AM
Article
> ยูนิเวอรซัล โรบอทส
ยูนิเวอรซัล โรบอทส ผูนําดานเทคโนโลยีและ การผลิตหุนยนตที่มีความนาเชื่อถือระดับโลก สนับสนุนและใหความชวยเหลือ บริษัท Vinacomin Motor Industry Joint Stock Company (VMIC) ประเทศเวียดนาม บริษทั ในเครือของกลุม Vinacomin กลุมยักษใหญดานการขุดเจาะ ถานหิน ซึ่งมั่นใจวาในอนาคต จะใช หุ น ยนต Cobot ร ว มใน กระบวนการผลิตอยางแนนอน ถือวาบริษัท VMIC เปนหนึ่งใน บริษทั รายแรกทีน่ าํ Cobot มาใช ในกระบวนการผลิต และทําให มีกาํ ลังการผลิตเพิม่ ขึน้ ถึง 2-3 เทา อี ก ทั้ ง ยั ง เพิ่ ม คุ ณ ภาพในผลผลิ ต อีกดวย ทําใหมียอดสั่งซื้อเพิ่มขึ้นถึง 50-60%
อนาคตกระบวนการผลิต
จำเปนตองใช
หุนยนต
มร.ดารเรล อดัมส
มากขึ้น
มร.ดาร เรล อดั ม ส ผู อํ า นวยการภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต แ ละ โอเชียเนีย กลาววา “การใหบริการ Cobot แกธุรกิจในประเทศไทยและ เอเชียตะวันออกเฉียงใต ในการปรับเปลี่ยนรูปแบบกระบวนการผลิต ซึ่งทําใหเกิดประโยชนมหาศาล และที่สําคัญสามารถแขงขันในตลาดได เปนอยางดี บริษทั VIMC ถือเปนตัวอยางทีด่ แี ละเห็นชัด ทีใ่ ชระบบอัตโนมัติ ควบคูไปกับระบบเกา ซึ่งผลที่ไดทําใหเกิดผลผลิตที่ดีและมีกําลังในการผลิต สูงขึน้ อีกดวย ซึง่ ยูนเิ วอรซลั โรบอทส ในฐานะเปนผูน าํ ดานเทคโนโลยี Cobot ได เข า มาในประเทศไทยและได เร ง การปรั บ เปลี่ ย นการผลิ ต สู ก ารผลิ ต อั น ชาญฉลาดมากขึ้น โดยมีบริษัทจํานวนมากที่กําลังเติบโตไปอยางยั่งยืนไปกับเรา อยางไรก็ตาม ธุรกิจเหลานี้ตางก็ไดประสบการณจากการใช Cobot ในการผลิต และทําใหมีผลผลิตที่ดีขึ้น เปนการยืนยันไดดีวาการใช Cobot นั้นเปนที่ยอมรับ ในวงกวางมากขึ้น เพราะบริษัทตางๆ ไดตระหนักถึงศักยภาพอันมหาศาลของ ระบบอัตโนมัตนิ จี้ ริงๆ ทัง้ นีร้ ะบบ Cobot ไดนาํ ไปใชในธุรกิจตางๆ อาทิ อุตสาหกรรมยานยนต อุตสาหกรรมสิ่งทอ เวชภัณฑ รองเทา และ อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร เปนตน”
November-December 2019
P.46-47_Universal Robot.indd 46
11/26/62 BE 11:32 AM
อัตราการเติบโตของการใชงานหุนยนต ในประเทศไทย
การใชงานหุนยนตในประเทศไทยกําลังเติบโตอยางตอเนื่อง จากข อ มู ล ของสหพั น ธ หุ น ยนต น านาชาติ หรื อ International Federation of Robotics รายงานวา ประเทศไทยมีการใชงาน หุนยนตจัดเปนอันดับที่ 7 ในเอเชีย และอันดับที่ 11 ของโลก โดย เมื่อปที่ผานมา ประเทศไทยไดลงทะเบียนหุนยนตจํานวน 32,300 ตัว ซึ่งเพิ่มขึ้น 7% จากจํานวน 30,110 ตัว เมื่อป พ.ศ. 2560 โดย อุ ต สาหกรรมที่ มี ก ารใช ง านหุ น ยนต ม ากที่ สุ ด คื อ อุ ต สาหกรรม ยานยนต คิดเปน 35% ของการใชงานหุนยนตทั้งหมด รองลงมา เปนอุตสาหกรรมยาง และอุตสาหกรรมพลาสติก คิดเปน 19%1 ทั้งนี้ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตการใชงานหุนยนต กําลังเติบโตอยางรวดเร็ว ประกอบดวย ไทย สิงคโปร เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ซึ่งไดรับการจัดอันดับใหเปน 30 ตลาด ใหญทสี่ ดุ ของการใชงานหุน ยนตทงั้ หมด 87,100 ตัว โดยอุตสาหกรรม ไฟฟ า และอุ ต สาหกรรมยานยนต ยั ง คงใช ง านหุ น ยนต ม ากที่ สุ ด ในภูมิภาค2
มร.พาม ชวน พี ประธานเจาหนาที่บริหาร VMIC กลาววา “ตั้งแตเริ่มใชหุนยนต Cobot ผลผลิตของเราเพิ่มสูงขึ้น 2-3 เทา และคุณภาพของผลิตก็มีความดีคงที่ ทําใหมีจํานวนยอดการสั่งซื้อ เพิม่ ขึน้ ถึง 50-60% และแนนอนทําใหรายไดของพนักงานเพิม่ สูงขึน้ เชนกัน สวนของผลตอบแทนการลงทุนในประเทศเวียดนามในการ ลงทุนหุนยนตดังกลาวจะอยูที่ระหวาง 6-8 ป แตเราคาดวาจะทําได ภายใน 1-2 ปเทานั้น โดยการทํางานรวมกับ Cobot UR10 นั้น จะใช พ นั ก งานจํ า นวนน อ ยในไลน ก ารผลิ ต ทํ า ให เราสามารถ มอบหมายงานทีม่ รี ะดับสูงกวาได เพิม่ ความพึงพอใจใหกบั พนักงาน และลดความเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุในการทํางานอีกดวย” ทั้งนี้ VMIC ไดตั้งเปาที่จะเพิ่มจํานวน Cobot เปน 3-5 ตัว ในอีกไมกี่ปขางหนา เพื่อปฏิบัติการในกระบวนการผลิตของโรงงาน ตางๆ ของบริษัท
การใชงาน Cobot UR10 ที่บริษัท VMIC
VMIC ไดประสานงานกับบริษัท Vnstar Automation JSC (Vnstar) ซึง่ เปนพันธมิตรของ Servo Dynamics Engineering (Servo) ซึ่งเปนบริษัทจัดจําหนายยูนิเวอรซัล โรบอทส ในประเทศเวียดนาม เพื่อดําเนินการนําระบบหุนยนตอัตโนมัติมาใชในกระบวนการผลิต อนึ่ง ยูนิเวอรซัล โรบอทส กอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2548 เพื่อ พัฒนาเทคโนโลยีหุนยนตใหเขาถึงได โดยการพัฒนาใหมีขนาดเล็ก และใชงานงาย ราคาสมเหตุสมผล มีความยืดหยุน และปลอดภัย ในการทํางาน โดยไดพฒ ั นาหุน ยนต Cobot ครัง้ แรกเมือ่ ป พ.ศ. 2553 ทําใหบริษทั ประสบความสําเร็จ มี Cobot ทีใ่ ชงานงาย ซึง่ บริษทั เปน บริษัทในเครือ Teradyne Inc ที่มีสํานักงานใหญอยูที่เมืองโอเดนซ ประเทศเดนมารก และมีสาขาในประเทศสหรัฐอเมริกา เยอรมนี สเปน อิตาลี สาธารณรัฐเช็ก โปแลนด ฮังการี โรมาเนีย รัสเซีย ตุรกี จีน อินเดีย สิงคโปร ญี่ปุน เกาหลีใต ไตหวัน และเม็กซิโก เมื่อป พ.ศ. 2561 ยูนิเวอรซัล โรบอทส มีรายได 234 ลานเหรียญสหรัฐฯ 1 IFR 2
World Robotics Report 2019 IFR World Robotics Report 2019 November-December 2019
P.46-47_Universal Robot.indd 47
11/26/62 BE 11:32 AM
Article
> เจมส เทยเลอร ผูจัดการทั่วไปของออนโรบอท เอเชียแปซิฟก
การกาวสูแนวคิด
วิทยาการหุนยนต
เพื่อการทำงานรวมกับมนุษย
เครื่องมือในหุนยนตที่ชาญฉลาดและอเนกประสงคมากขึ้น หรือที่เรียกวาระบบแขนกล (End-of-arm tooling - EOAT) ซึง่ มีทง้ั เซ็นเซอร ตัวจับยึด และตัวเปลีย่ นตําแหนงทีร่ วดเร็ว ชวยให หุน ยนตสามารถทํางานซ้าํ ๆ ปรับเปลีย่ นเพือ่ รองรับการทํางานทีห่ ลากหลาย มีความแมนยํา และ ทํางานไดอยางชาญฉลาดขึ้นกวาในอดีต ซึ่งงานนั้นอาจเคยซับซอนเกินกวาจะตั้งคาใหหุนยนต ทํางานแบบอัตโนมัติได หากสิง่ สําคัญยิง่ กวาก็คอื เครือ่ งมืออันล้าํ สมัยเหลานีเ้ อือ้ ใหเกิดการ ทํางานรวมกัน โดยทัง้ มนุษยและหุน ยนตสามารถทํางานเคียงขางกัน ไดอยางปลอดภัย เนื่องจากคุณสมบัติที่เปนมิตรกับผูใชงาน การตั้งโปรแกรมที่งายดาย และฟเจอรความปลอดภัยของ หุน ยนตทตี่ ดิ ตัง้ มาในระบบแขนกล (EOAT-fitted Robots)
สิงคโปรและเอเชียตะวันออกเฉียงใต
สิงคโปรและประเทศสวนใหญในเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีความกระตือรือรนเรื่องเทคโนโลยีหุนยนตมาก โดยรายงานฉบับลาสุด ระบุวา สิงคโปรคือหนึ่งในผูนําระดับโลกดานการใชงานหุนยนต โดยมีการติดตั้งเทคโนโลยีหุนยนต 658 หนวยตอพนักงาน 10,000 คน ซึ่งเปนอัตราสูงสุดอันดับสอง เมื่อพิจารณาจากการจัดอันดับอัตราการใชงานหุนยนตซึ่งประเมินจากทั่วโลก ประเทศในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตติดถึง 6 อันดับ จาก 7 อันดับแรก การใชงานหุนยนตที่เพิ่มสูงขึ้นในตลาดเกิดใหมไดชวยกระตุนความตองการดานการจัดสรรฟเจอรเครื่องมือทํางาน สมัยใหม แนวโนมนี้ยังชวยเพิ่มการใชงานระบบแขนกล EOAT ไดอยางมีนัยสําคัญ โดยขอมูลของ QYResearch ระบุวา ตลาดระบบแขนกลในหุนยนตทั่วโลก ซึ่งมีมูลคาถึง 1,580 ลานดอลลาร ในป ค.ศ. 2018 คาดการณวาจะพุงขึ้นไปถึง 2,740 ลานดอลลาร ภายในสิ้นป ค.ศ. 2025
การใหความสำคัญกับระบบแขนกลกอนตัวหุนยนต
ดวยความล้าํ หนาทางเทคโนโลยี ระบบแขนกล EOAT จึงมีความซับซอนและความสามารถในการทํางาน ที่มากกวา ทําใหประเด็นเรื่องวิธีการใชงานหุนยนตและควรติดตั้งอุปกรณชนิดใดและใชงานรูปแบบใดจะดี ที่สุด กลายเปนองคประกอบสําคัญมากกวาเทคโนโลยีหุนยนตเพียงอยางเดียว โดยในชวง 5 ปที่ผานมา หุนยนตไดถูกนําไปใชงานในหลากหลายสาขามากกวาในอดีตกอนหนานั้น เนื่องจากในปจจุบันระบบ แขนกลเหลานี้สามารถทํางานไดดีกวาและใชงานในสภาวะแวดลอมเฉพาะแบบไดมากกวา November-December 2019
P.48-49_Article On Robot.indd 48
11/26/62 BE 11:32 AM
นอกจากจะสามารถรับมือกับความหลากหลายทัง้ ในแงขนาด น้าํ หนัก และรูปรางของผลิตภัณฑ ระบบแขนกล EOAT ยังสามารถ จัดสรรขั้นตอนการทํางานมากมายไดในครั้งเดียว และเนื่องจาก ระบบแขนกล EOAT ช ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของหุ น ยนต แ ละ แนวโนมนี้กําลังแพรหลายไปทั่วอุตสาหกรรมการผลิต ในไมชาเรา จะไดเห็นหุนยนตกลายเปนสินคาโภคภัณฑ โดยชนิดของหุนยนต จะไมสําคัญเทากับระบบแขนกล EOAT ที่ติดตั้งสําหรับงานนั้นๆ และเนื่องจากมีผูเลนจํานวนมากขึ้นที่กระโจนเขาสูตลาดนี้ และนําเสนอโซลูชันที่ล้ําหนาในราคาที่ถูกลง บรรดาผูผลิตจึงตอง ใสใจวา “ยิ่งเครื่องมือเยอะขึ้น ก็ยิ่งทํางานไดมากขึ้น” มากกวา “ยิ่งมีหุนยนตเยอะขึ้น ก็ยิ่งทํางานไดมากขึ้น” ระบบแขนกล EOAT กํ า ลั ง ขยายขอบเขตการใช ง านใน อุตสาหกรรม โดยสามารถติดตั้งในหุนยนตหรือโคบอต (Collaborative Robot - หุนยนตที่ทํางานรวมกับมนุษย) เพื่อทําให หุนเหลานั้นฉลาดขึ้น มีปฏิกิริยาตอบสนองดีขึ้น และทํางานได อยางอิสระมากขึน้ ซึง่ จะชวยใหผผู ลิตสามารถบรรลุเปาหมายดาน การผลิตไดกวางขึน้ นับตัง้ แตเพิม่ ความยืดหยุน และการตอบสนอง ที่ดีขึ้น สูการเปลี่ยนแปลงตลาดและการเติมเต็มความตองการ ของลูกคา ไปจนถึงการเรงความเร็วของการสรางสรรคนวัตกรรม ในภาพรวม ดังนั้น ผูผลิตจึงจําเปนตองใสใจรูปแบบของการใช เครื่องมือที่เหมาะสมที่สุดสําหรับการทํางานเฉพาะแบบ กอนการ จัดสรรกําลังหุนยนต
การเพิ่มผลตอบแทนจากการลงทุน
ความสามารถของหุนยนตในการรับมือกับงานอุตสาหกรรมได เพิ่มมากขึ้น เกิดจากการใชระบบแขนกล EOAT ที่ทําใหผูผลิตสามารถ เก็บเกี่ยวผลตอบแทนจากการลงทุนไดรวดเร็วขึ้น สิ่งเหลานี้เกิดขึ้น เนื่องจากมันถูกนํามาจัดสรรไดอยางยืดหยุนและงายดาย ซึ่งทําให ผูผลิตสามารถปรับเปลี่ยนการทํางานไดหลากหลาย โดยจําเปนตอง ตั้งคาโปรแกรมเพิ่มเติมหรือสับเปลี่ยนเครื่องมือแคเพียงเล็กนอย เทานั้น เครือ่ งมือในหุน ยนตยงั ชวยเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต เนือ่ งจาก มันสามารถทํางานไดอยางแมนยําและเชื่อถือไดมากกวา คุณสมบัติ ที่ปลอดภัย ทํางานรวมกับมนุษยได และชาญฉลาดของระบบแขนกล EOAT ยังชวยลดตนทุนของระบบอัตโนมัติ เนื่องจากคนงานสามารถ ทํางานรวมกับมันไดโดยไมตองมีการติดตั้งรั้วกั้นเพื่อความปลอดภัย การตั้งคาโปรแกรมที่ซับซอน หรือตนทุนการติดตั้งเพิ่มเติมใดๆ
อนาคตคือการทำงานรวมกันของมนุษยและหุน ยนต
เมื่อรุงอรุณแหงการใชเครื่องมืออันชาญฉลาดและปรับเปลี่ยน รูปแบบไดมาถึง หุนยนตในวันนี้จึงสามารถทํางานไดอยางดีเยี่ยม รวดเร็ว แข็งแรง ปลอดภัย และแมนยํามากขึ้น ทําใหบรรลุผลสําเร็จ ในงานหลากหลายรูปแบบ และชวยใหผผู ลิตสามารถสรางผลตอบแทน จากการลงทุนไดสูงสุด
วิวัฒนาการของระบบแขนกล EOAT
มีเครื่องมือมากมายที่ชวยใหผูผลิตสามารถบรรลุเปาหมายดานการผลิตของตนได ยกตัวอยาง เชน เครื่องมือจับยึดรุน RG2 และ RG6 ของ OnRobot ซึ่งสามารถจับยึดผลิตภัณฑไดหลากหลาย ขนาด รูปราง และวัสดุ จึงสามารถนําไปใชในการทํางานตางๆ ได ทั้งการยื่น หยิบ และวาง เครื่องจักร ไปจนถึงการบรรจุหีบหอและการจัดวางสินคาบนแทนวาง และการประกอบชิ้นสวน เขาดวยกัน เครื่องมือจับยึดเหลานี้ยังสามารถติดตั้งไดงายและมอบประสิทธิภาพการผลิต ที่ยืดหยุน โดยมีชวงเวลาการหยุดชะงักของการผลิตที่ต่ํากวา ทั้งยังคุมคาและสามารถ รับมือกับขั้นตอนการทํางานที่แตกตางกันอยางมากได โดยเมื่อติดตั้งเครื่องมือจับยึด แบบคู เซ็นเซอรตรวจวัดแรง และปญญาประดิษฐ หุนยนตก็จะสามารถทํางานที่ ซับซอนได ซึ่งแตกตางจากเมื่อกอนที่ทําไดเพียงงานระดับพื้นฐานเทานั้น นวัตกรรมในวงการแขนกล EOAT กําลังพัฒนาไปอยางรวดเร็ว ยกตัวอยาง เชน นักวิทยาศาสตรของมหาวิทยาลัย Nanyang Technological University (NTU) ในสิงคโปรกาํ ลังคนหาวิธกี ารผสานปญญาประดิษฐเขากับเครือ่ งมือ จับยึดและเซ็นเซอร เพื่อใหการโยกยายวัตถุรวดเร็วขึ้นและทํางานได แบบอัตโนมัติมากขึ้น ในขณะที่ตลาดนี้จําเปนตองมีการศึกษาเรื่องประโยชนของระบบ แขนกล EOAT ที่ยั่งยืน หากก็มีตลาด 2-3 ประเทศที่กําลังตระหนักถึง ประโยชนของเทคโนโลยีนี้อยางรวดเร็ว โดยในการสํารวจโดย McKinsey ระบุ วาผูนําธุรกิจกวา 90% ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เห็นดวยวาเทคโนโลยีและ นวัตกรรมใหมจะนําไปสูประสิทธิภาพการทํางานที่ดีขึ้นในภาพรวม November-December 2019
P.48-49_Article On Robot.indd 49
11/26/62 BE 11:32 AM
Special Scoop > กองบรรณาธิการ
รางวัล
Thailand
Energy Awards ประจำป 2562 ฉลองครบรอบ
2 ทศวรรษ
กระทรวงพลังงาน จัดงานมอบรางวัล Thailand Energy Awards ประจําป 2562 ฉลองครบรอบ 2 ทศวรรษ ซึ่งตลอด 20 ปที่ผานมาชวยลดการใชพลังงานมูลคากวา 9,300 ลานบาท โดยมีรองนายกรัฐมนตรีเปนประธาน พรอมแนะภาคเอกชน ตองปรับตัวรับทิศทางธุรกิจในอนาคตของโลก ที่ตองสรางกําไรควบคูการ ทําประโยชนเพื่อสังคมและประเทศ จึงจะเติบโตไดอยางยั่งยืน สมคิด จาตุศรีพิทักษ รองนายกรัฐมนตรี กลาวในงานที่ใหเกียรติ เปนประธานมอบรางวัล Thailand Energy Awards ประจําป 2562 วา รางวัล Thailand Energy Awards เปนรางวัลที่สะทอนใหเห็นถึงศักยภาพของ ทุกภาคสวน ในการมุงไปสูทิศทางการเปลี่ยนแปลงดานการใชพลังงาน ของประเทศในอนาคต ซึ่งรัฐบาลใหความสําคัญที่จะสงเสริมใหเกิดการ ตอยอดดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อใหเกิดความมั่นคงในระบบ พลังงาน และเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ซึง่ ตอไปภาคเอกชนจะตองปรับเปลีย่ น ตามทิศทางโลก คือนอกจากจะเนนการสรางรายได ผลกําไรแลว จะตอง ดําเนินธุรกิจควบคูกับการทําประโยชนใหสังคม ประเทศชาติ และโลก จึงจะเปนบริษัทที่เติบโตอยางยั่งยืน ทัง้ นี้ กระทรวงพลังงานไดสง เสริมใหทกุ ภาคสวนทัง้ ภาครัฐและเอกชน มีสว นรวมในการอนุรกั ษพลังงาน และการพัฒนาพลังงานทดแทน ผานการ ประกวด Thailand Energy Awards อยางตอเนื่องตลอด 20 ปที่ผานมา จนถึงปจจุบนั มีจาํ นวนผลงานสงเขาประกวดรวมทัง้ สิน้ 3,465 ผลงาน ไดรบั การคัดเลือกรับรางวัลในสาขาตางๆ จํานวน 951 รางวัล คิดเปนสัดสวน ลดการใชพลังงานมูลคากวา 9,300 ลานบาท สามารถลดการปลอยกาซ คารบอนไดออกไซดไดกวา 1.9 ลานตัน
November-December 2019
P.50-53_Scoop.indd 50
11/26/62 BE 1:55 PM
ด า น สนธิ รั ต น สนธิ จิ ร วงศ รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวง พลังงาน กลาววา ที่ผานมาตัวแทนประเทศไทยควารางวัล ASEAN Energy Awards มาไดรวม 211 รางวัล ซึ่งเปนจํานวนสูงสุด และเปน ทีห่ นึง่ ในอาเซียนอยางตอเนือ่ งในชวง 10 ปทผี่ า นมา จนเปนทีย่ อมรับ ของประเทศสมาชิกอาเซียนในการดําเนินนโยบายและเปาหมาย การพัฒนาพลังงานทดแทนและการอนุรักษพลังงานที่มีประสิทธิภาพ ในดานการลดการใชพลังงาน สามารถนําเทคโนโลยีมาผสมผสาน จนเกิดนวัตกรรมใหมที่นําไปสูการสรางความมั่นคงดานพลังงานที่ เห็นผลอยางแทจริง
ในการนี้ ยงยุทธ จันทรโรทัย อธิบดีกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ไดกลาวถึงการจัดงานครั้งนี้วา พพ. ไดจัดพิธีมอบรางวัลเนื่องในโอกาสครบรอบ 20 ป Thailand Energy Awards อยางยิ่งใหญ ประกอบดวย การแสดงนิทรรศการ นวัตกรรมดานพลังงานจากผูประกอบการและผูไดรับรางวัล Thailand Energy Awards การบรรยายจากวิทยากรผูเชี่ยวชาญดานพลังงาน ทั้งจากไทยและตางประเทศ พิธีมอบรางวัลอันทรงเกียรติ
โดยในป 2562 มีผไู ดรบั รางวัล Thailand Energy Awards ประจํา ป 2562 ทั้งสิ้น 66 รางวัล จาก 5 สาขา ประกอบดวย ดานพลังงาน ทดแทน จํานวน 20 รางวัล ดานอนุรักษพลังงาน จํานวน 25 รางวัล ดานบุคลากร จํานวน 10 รางวัล ดานพลังงานสรางสรรค จํานวน 2 รางวัล ดานผูสงเสริมการอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน จํานวน 9 รางวัล จากผูส ง ผลงานทัง้ สิน้ 322 ผลงาน เพิม่ ขึน้ จากปกอ น ที่สงเขาประกวดจํานวน 268 ผลงาน พรอมกันนี้ทาง พพ. ไดคัดเลือกผูชนะการประกวด รางวัล Thailand Energy Awards 2509 เปนผูแทนประเทศไทยเขารวม แขงขัน ASEAN Energy Awards 2019 จํานวน 28 ผลงาน และ สามารถควารางวัลมาได 23 รางวัล โดยมีผลงานที่ไดรับ รางวัลชนะเลิศ ดังนี้
November-December 2019
P.50-53_Scoop.indd 51
11/26/62 BE 1:55 PM
>> ASEAN Renewable Energy Project Awards โครงการที่เชื่อมโยงกับระบบสายสงไฟฟา (On-Grid) On-Grid (National Grid) Category ไดรับรางวัลชนะเลิศ ไดแก โรงไฟฟามหาชัย กรีน เพาเวอร : บริษัท ทีพีซี โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) จังหวัดสมุทรสาคร โครงการทีไ่ มเชือ่ มโยงกับระบบสายสงไฟฟา (Off-Grid) Off-Grid (Thermal) Category ไดรับรางวัลชนะเลิศ ไดแก โครงการนําไบโอกาซจากระบบบําบัดน้ําเสียมาผลิตไอน้ํา : บริษัท ฟูดแอนดเบฟเวอรเรจ จํากัด จังหวัดสระบุรี โครงการพลังความรอนรวม (Cogeneration) Cogeneration Category ไดรบั รางวัลชนะเลิศ ไดแก โรงไฟฟา ความรอนรวมในโรงงานน้าํ ตาล : บริษทั น้าํ ตาลและออยตะวันออก จํากัด (มหาชน) จังหวัดสระแกว โครงการเชื้อเพลิงชีวภาพ (Biofuel) Biofuel Category ไดรับรางวัลชนะเลิศ ไดแก โรงงานผลิต เอทานอลจากมันสําปะหลัง : บริษัท บางจากไบโอเอทานอล (ฉะเชิงเทรา) จํากัด จังหวัดฉะเชิงเทรา ●
●
●
>> ASEAN Best Practices Awards for Energy Efficient Buildings Awards ประเภทอาคารสรางสรรคเพื่อการอนุรักษพลังงาน New and Existing Building Category ไดรับรางวัลชนะเลิศ ไดแก ศูนยการคาเซ็นทรัลพลาซา ระยอง : บริษัท ซีพีเอ็น จํากัด จังหวัดระยอง Tropical Building ไดรบั รางวัลชนะเลิศ ไดแก ปกาสัย รีสอรต : บริษทั ตงซัน จํากัด จังหวัดกระบี่ ●
>> ASEAN Best Practice for Green Building Awards ประเภทอาคารเขียว Green Building-Small and Medium ไดรับรางวัลชนะเลิศ ไดแก อาคาร SCG Health Center : บริษัท ปูนซิเมนตไทย จํากัด จังหวัด กรุงเทพมหานคร ●
●
>> ASEAN Best Practices Awards for Energy Management in Buildings and Industries ประเภทอาคารควบคุม Large Building Category ไดรบั รางวัลชนะเลิศ ไดแก โรงแรม เจาพระยาปารค : บริษัท ปารคโฮเต็ลแอนดรีสอรท จํากัด จังหวัด กรุงเทพมหานคร ประเภทโรงงานควบคุม Small and Medium Industry Category ไดรบั รางวัลชนะเลิศ ไดแก บริษทั ซีพี ออลล จํากัด (มหาชน) ศูนยกระจายสินคาควบคุม อุณหภูมิ CDC บางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี Special Submission Industry Category ได รั บ รางวั ล ชนะเลิศ ไดแก บริษัท ขาว ซี.พี. จํากัด (โรงงานขาวนครหลวง) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ●
●
>> ดานพลังงานสรางสรรค รางวัลดีเดน ผลงานระบบรีไซเคิลพลังงานจากกระบวนการทดสอบเพาเวอร ซัพพลาย บริษัท เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) แนวคิด : กระบวนการผลิตเพาเวอรซพั พลายนัน้ ตองมีการทดสอบ การจายไฟฟาของเพาเวอรซัพพลาย หรือที่เรียกวากระบวนการเบิรนอิน (Burn in) โดยตองใชตัวตานทานไฟฟาขนาดใหญจําลองเปนภาระการ ใชงานจริง ในกระบวนการทดสอบนี้พลังงานไฟฟาจะสูญเสียไปในรูปของ พลังงานความรอน ทําใหอุณหภูมิบริเวณตัวตานทานไฟฟาสูงถึง 155 °C ซึ่งเปนภาระใหแกระบบปรับอากาศ ณ บริเวณพื้นที่ทํางาน ดังนั้นบริษัท เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) จึงมีแนวคิดในการ นําพลังงานที่สูญเสียไปนี้กลับมาใหม ผลงานเดน : บริษัท เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ไดพัฒนาเทคโนโลยีอินเวอรเตอรที่เปนผลิตภัณฑบริษัทฯ เอง เพื่อใชเปนโหลดอิเล็กทรอนิกสแทนการใชตัวตานทานขนาดใหญ ซึ่ง สามารถนํ า พลั ง งานที่ สู ญ เสี ย โดยเปล า ประโยชน ก ลั บ มาใช ใ หม อ ย า ง มีประสิทธิภาพอีกครั้ง ทําใหสามารถประหยัดพลังงานไดมากกวา 80% นอกจากนี้ยังสามารถลดอุณหภูมิภายในหองทดสอบ สงผลใหลดการใช พลังงานจากระบบปรับอากาศไดอีกดวย ผลที่ไดรับและการขยายผล : ผลที่ไดรับจากการใชเทคโนโลยี อินเวอรเตอรเปนโหลดอิเล็กทรอนิกสแทนการใชตวั ตานทานขนาดใหญพบวา
November-December 2019
P.50-53_Scoop.indd 52
11/26/62 BE 1:55 PM
อุปกรณ
กอนดําเนินโครงการ
หลังดําเนินโครงการ
ผลประหยัด
ระยะเวลาคืนทุน
พลังงานไฟฟาจากการใชเทคโนโลยี อินเวอรเตอรแทนการใชตัว ตานทาน
7,385,490 kWh/y
1,156,680 kWh/y
6,228,810 kWh/y
2.75 ป
เครื่องทําความเย็น
2,994,240 Btu/hr
470,010 Btu/hr
2,524,230 Btu/hr
2.75 ป
บริษัท เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ได เผยแพรองคความรูแ ละผลทีไ่ ดจากการดําเนินการไปขยายผลยังบริษทั ในกลุม ทัง้ หมด 7 โรงงาน เชน โรงงาน Automotive Plant, CDBU Plant, IMBU Plant, CNBU Plant, DCBU Plant, IPSBU Plant, ICTBG Plant รวมทั้งบริษัทเดลตาในสาขาตางประเทศอีก 4 ประเทศดวยกัน เชน โรงงานเดลตา อีเลคโทรนิคส ที่ประเทศจีน อินเดีย สโลวาเกีย และ ไตหวัน เปนตน ซึ่งหลายบริษัทไดนําไปประยุกตใชและไดผลการ ประหยัดพลังงานเปนที่นาพอใจ >> ดานพลังงานสรางสรรค รางวัลดีเดน ผลงานนวัตกรรมเพิม่ ประสิทธิภาพการใชพลังงานตูแ ชสนิ คา รานสะดวกซื้อดวยคอมเพรสเซอรแบบปรับความเร็วรอบชนิด มอเตอรไฟฟากระแสตรงไรแปรงถาน บริษัท สยามคอมเพรสเซอร อุตสาหกรรม จํากัด แนวคิด : จากการขยายตัวของสังคมเมือง ทําใหรานสะดวกซื้อ มีจํานวนเพิ่มมากขึ้น การเพิ่มจํานวนของรานสะดวกซื้อนี้เอง ทําให ความตองการใชตูแชแข็งเพื่อการถนอมอาหารและเครื่องดื่มมีจํานวน เพิ่มมากขึ้นไปดวยอยางตอเนื่อง ดังนั้น บริษัท สยามคอมเพรสเซอร อุตสาหกรรม จํากัด จึงมีแนวคิดในการเพิ่มประสิทธิภาพใชพลังงาน ตูแชสินคารานสะดวกซื้อดวยคอมเพรสเซอรแบบปรับความเร็วรอบ เพื่อลดการใชพลังงานที่เกิดขึ้น ผลงานเดน : บริษัท สยามคอมเพรสเซอร อุตสาหกรรม จํากัด ไดพัฒนาระบบตูแชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดการใชพลังงาน ดังนี้ 1. เปลีย่ นคอมเพรสเซอรชดุ คอนเดนเซอรจากชนิดความเร็วรอบ คงที่ (Fixed Speed) เปนชนิดที่สามารถปรับเปลี่ยนความเร็วรอบ
(Varied Speed) ไดโดยใชคอมเพรสเซอรแบบปรับความเร็วรอบชนิด มอเตอรไฟฟากระแสตรงไรแปรงถาน (Brushless Direct Current (BLDC) Inverter Compressor) การปรับเปลี่ยนดังกลาวทําใหลดการ บํารุงรักษาและสามารถควบคุมไดเทีย่ งตรงเมือ่ เปรียบเทียบกับมอเตอร กระแสสลับแบบใชแปรงถาน สงผลใหระบบสามารถผลิตปริมาณ ความเย็นที่ชุดอีแวปเปอรเรเตอรตองการ สงผลใหลดการสูญเสีย พลั ง งานอั น เนื่ อ งมาจากการผลิ ต ความเย็ น เกิ น ความต อ งการ นอกจากนั้นยังสามารถลดการใชพลังงานไดถึง 20% 2. พัฒนาระบบควบคุมการทํางานคอมเพรสเซอรชดุ คอนเดนเซอร โดยมีการควบคุมการผลิตความเย็นของชุดอีแวปเปอรเรเตอรดวย เซ็นเซอรควบคุมความเย็นทีจ่ ดุ ตางๆ ทําใหระบบไมตอ งผลิตความเย็น เกินความตองการ จึงสามารถลดการใชพลังงานไดถึง 10% เมื่อ เที ย บกั บ ระบบที่ ไ ม มี ก ารสื่ อ สารกั น ระหว า งชุ ด คอนเดนเซอร แ ละ ชุดอีแวปเปอรเรเตอร 3. พัฒนาระบบการละลายน้าํ แข็งของชุดอีแวปเปอรเรเตอรแบบ ประสิทธิภาพสูงที่สามารถทําความเย็นไปพรอมกัน สงผลใหตูแช ใชพลังงานในการปรับอุณหภูมิใหต่ําลงในระดับที่ตองการ นอยกวา การละลายน้ําแข็งดวยวิธีเดิม ผลทีไ่ ดรบั และการขยายผล : จากการพัฒนาระบบตูแ ช สงผล ใหสามารถประหยัดพลังงานได ดังนี้ โดยตั้งแตป 2015 ไดมีการติดตั้งระบบตูแชอัจฉริยะเพื่อใชงาน ทั้งภายในและภายนอกประเทศไทยแลวมากกวา 20,000 เครื่อง และ มีแนวโนมเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ งในอนาคต เพือ่ ทําใหเกิดการใชพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพในระบบทําความเย็นของรานสะดวกซื้อ
November-December 2019
P.50-53_Scoop.indd 53
11/26/62 BE 1:55 PM
Special Scoop > กองบรรณาธิการ
เมือ่ เร็วๆ นี้ ดิ อีโคโนมิสต อีเวนส ไดจดั งานประชุม “ปฏิบตั กิ าร นวัตกรรมเพื่อสังคม 2562 (Social Innovation in Action 2019)” โดยเชิญผูนําจากทั่วภูมิภาคเขารวมงาน การประชุมครั้งนี้มีเปาหมาย เพื่อหารือแบบเจาะลึกและหาแนวทางในการแกไขปญหาสังคม และ อนาคตของนวัตกรรมเพื่อสังคมในเอเชีย
ปฏิบัติการ
ดําเนินรอยตามพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั รัชกาล ที่ 9 ในการยึดแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งคนทุกชั้นของพีระมิด จะไดมีโอกาสในการสรางสรรคนวัตกรรม และเขาถึงนวัตกรรม อนึ่ง สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ เปนสํานักงานที่เปนผูนํา ในดานนวัตกรรมเพื่อสังคม โดยเริ่มตั้งแตการใหคํานิยาม และการ ทํางานเพือ่ พัฒนาระบบนิเวศทางดานนวัตกรรมเพือ่ สังคม และทํางาน รวมกับกลุมคนที่ทําธุรกิจเพื่อสังคม ประเด็ น ที่ 2 คื อ เราจะพั ฒ นาระบบนิ เวศ เหลานั้นอยางไร และเปนที่มาขององคกรเพื่อสังคม (Social Enterprise) โดยเมื่อไมกี่เดือนที่ผานมา ทาง สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ ไดจัดตั้งกลุม Social Enterprise ซึ่งเปนกลุมองคกรที่พัฒนานวัตกรรม เพื่อสังคม พุงเปาไปที่การสรางนวัตกรรม เพื่อเปน เครือ่ งมือ รวมถึงเปนนวัตกรเพือ่ สังคม เพือ่ แกปญ หา สังคมในดานตางๆ แตในขณะเดียวกัน องคกรเหลานี้มีการดําเนินการเหมือน องค ก รอื่ น ทั่ ว ไป คื อ มี ร ายได จ าก นวัตกรรมเหลานัน้ สามารถพึง่ พาตัวเอง ได ถ า หากว า เราต อ งการทํ า งานเพื่ อ สังคม ก็ควรจะมีระบบนิเวศนวัตกรรม ที่มุงเนนในการทําเพื่อสังคม ดร.พันธอาจ ชัยรัตน รัฐบาลเปนภาคสวนทีส่ าํ คัญมาก ทีส่ ดุ และนีเ่ ปนสิง่ ทาทาย จะทําอยางไร ใหภาครัฐเปนผูจัดซื้อระบบนวัตกรรมเหลานี้ จะทําอยางไรใหเกิดการ ลงทุนดานองคกรเพื่อสังคม และการทําเกษตรแบบยั่งยืน การสราง ความเจริญใหกับหมูบาน และการบริการการเงินยอย ความท า ทายอั น ดั บ ที่ 3 คื อ การจั ด การกั บ ป ญ หาภั ย พิ บั ติ เชน ปญหาฝุนละอองที่มีคาเกินมาตรฐาน PM 2.5 ปญหาการจัดการ น้าํ ทวม เราจะจัดการอยางไรกับการแกปญ หาภัยพิบตั ใิ หมปี ระสิทธิภาพ จะทํ า อย า งไรกั บ ป ญ หาเหล า นี้ ควรจะมี ก ลุ ม ที่ พั ฒ นานวั ต กรรม เฉพาะดาน
นวัตกรรมเพื่อสังคม 2019 เพื่อแกไข
ปญหาสังคม
อยางยั่งยืน
การประชุมสุดยอดผูนําในครั้งนี้มีการหารือวา เอเชียสามารถ เป น ผู นํ า ในการใช เ ทคโนโลยี แ ละข อ มู ล มาแก ป ญ หาความท า ทาย ทางสั ง คมที่ มี ม าอย า งยาวนานได ห รื อ ไม โดยมี ไซมอน ค็ อ กซ บรรณาธิการดานตลาดเกิดใหมของ ดิ อีโคโนมิสต (The Economist) และ ชาลส รอส บรรณาธิการบริหาร ผูนําทางความคิดดานเอเชีย ของ ดิ อีโคโนมิสต อินเทลลิเจนซ ยูนิต เปนผูดําเนินรายการ การประชุมในครัง้ นีเ้ ริม่ ตนดวยการอภิปรายถึงวิธกี ารสรางระบบ นิเวศนวัตกรรมเพื่อสังคม โดย ดร.พันธุอาจ ชัยรัตน ผูอํานวยการ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) กลาววา “รัฐบาล ไทยกําลังมองหาวิธีการในการสรางนวัตกรรมเพื่อสังคมอยางเรงดวน เพราะในขณะนีม้ นี กั ลงทุนเพือ่ สังคมในประเทศไทยมีความกระตือรือรน ในการลงทุนโครงการเกี่ยวกับนวัตกรรมเพื่อสังคมมากขึ้น” ดร.พันธอาจ กลาวเพิ่มเติมวา การปฏิบัติการนวัตกรรมเพื่อ สังคมนั้น ขึ้นอยูกับวาเราจะใหคํานิยามและคําจํากัดความระบบนิเวศ นวัตกรรมเพื่อสังคมอยางไร ตัวอยางเชน ประเทศไทย ซึ่งมีวิธีการ นวัตกรรมเพื่อสังคมที่แตกตางออกไปจากประเทศอื่นๆ เพราะได
November-December 2019
P.54-55_Special Scoop.indd 54
11/26/62 BE 11:54 AM
(จากซายไปขวา) ชาลส รอส บรรณาธิการบริหาร ผูนําทางความคิดดานเอเชีย ของ ดิ อีโคโนมิสต อินเทลลิเจนซ ยูนิต (ผูดําเนินรายการ) ดร.พันธุอาจ ชัยรัตน ผูอํานวยการสํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) อลิสัน เอสเคอเซน รองประธานฝายเอเชียแปซิฟก ศูนยมาสเตอรการดเพื่อการเติบโตอยางทั่วถึง ดีภัค มิสชรา ผูจัดการโครงการ เวิลดแบงก เจมส ซูคัมนูธ ผูอํานวยการฝายการลงทุนแบบคํานึงผลกระทบเชิงบวก บริษัทอินเวสติงอินวีเมน
ความทาทายอีกประการหนึ่ง คือ การขาดแคลนนักลงทุนเพื่อ องคกรดานสังคม (Corporate Venture Capital) ในไทยรวมถึงทั่วโลก ซึ่งเปนหนึ่งในองคประกอบของระบบนิเวศเพื่อสังคม ดีภัค มิสชรา ผูจัดการโครงการ เวิลด แบงก กลาววา เมือ่ หลายปทผี่ า นมา ไดมีการใชเทคโนโลยีภาพถายดาวเทียม โดยดูวา บานหลังไหนมีแสงสะทอนจากบน หลังคา (บานคนจนจะเปนบานสังกะสี) หรือหลังไหนไมมแี สงสะทอนในเคนยา ซึง่ จะทําใหเห็นความแตกตางระหวางบาน ดีภัค มิสชรา คนจนกับบานคนรวยไดอยางชัดเจน และ ทํ า ให เราส ง ความช ว ยเหลื อ โดยตรง โดยมอบเงิ น ให บ า นคนจน เหลานั้น นอกจากมีการใชเทคโนโลยีแลว การดําเนินการตางๆ จําเปนตอง อาศัยองคกรมูลนิธิในการเขาไปชวยเหลือ ถาองคกรมูลนิธิเขมแข็ง สังคมก็จะเขมแข็งไปดวย ดังนั้นแลว การปฏิบัติการนวัตกรรมเพื่อ สังคม จําเปนตองอาศัยเทคโนโลยี องคกรมูลนิธิที่เขมแข็ง และคน สวน อลิสัน เอสเคอเซน รองประธานฝายเอเชียแปซิฟก ศูนยมาสเตอรการดเพื่อการเติบโตอยางทั่วถึง ไดแบงปนประสบการณ เกีย่ วกับความทาทายดานนวัตกรรมเพือ่ สังคม โดยไดกลาววา “การสราง เศรษฐกิจดิจทิ ลั จําเปนตองทํางานรวมกับทุกๆ คน ในทุกๆ ที่ แตความ ไมเทาเทียมกันทางสังคมเปนความทาทายหนึ่งที่ตองเผชิญ” อลิสัน กลาวเพิ่มเติมวา “กอนที่ เราจะพูดถึงในเรื่องของการนําขอมูล หรือเทคโนโลยีไปใชประโยชน อยากให กลับมามองถึงความเปนจริงวา ตอนนี้ สังคมยังไมเทาเทียมกันในหลายดาน เชน ความไมเทาเทียมกันดานรายได ซึ่งจากปจจัยพื้นฐานนี้เองที่ทําใหทาง อลิสัน เอสเคอเซน มาสเตอรการดทําในเรื่องของการให คนสวนใหญสามารถเขาถึงแหลงเงิน ไดงายขึ้น” นอกจากนี้แลว มาสเตอรการดไดกอตั้งมูลนิธิมาสเตอรการด เพื่อชวยเหลือคนในแอฟริกาโดยเฉพาะ ใหพวกเขามีโอกาสมีงานทํา มีอาชีพ โดยเฉพาะกลุมคนรุนใหม ซึ่งเราเชื่อมั่นในศักยภาพของคน เหลานี้
ดาน ปแอร เลอกรองด ประธานเจาหนาที่ บริหารฝายเทคโนโลยี บริษัทไพรซวอเตอรเฮาสคูเปอรส กล า วว า 9 ใน 10 ของความท า ทายในการทํ า ดิ จิ ทั ล ทรานสฟอรเมชั่นส และความรับผิดชอบทางสังคม คือ ผูนํา นอกจากนี้แลว ลาเล เคซีบี ผูกอตั้งและประธานเจาหนาที่ บริหาร ฮิวแมนแอทเวิรก กลาววา “องคกรขนาดใหญเปนผู ขับเคลือ่ น ดังนัน้ แลว ไมวา องคกรเหลานัน้ จะตองการหรือไมตอ งการ องคกรเหลานั้นไมมีทางหลีกเลี่ยงในกิจกรรมดานสังคม” อนุจ ชารมา ประธานเจาหนาที่บริหาร พิรามาล วอเตอร ไดกลาววา ปญหาการขาดแคลนน้ําเปนปญหาสําคัญอยางหนึ่งของ คนในอินเดีย บางคนตองเดินทางหลายกิโลเมตรเพื่อเขาถึงแหลงน้ํา การลักลอบใชนา้ํ เปนตน ทางมูลนิธจิ งึ ไดคดิ คนเทคโนโลยีเพือ่ บรรเทา ปญหาในเรื่องนี้ โดยนําเทคโนโลยี สมารทการด และอินเทอรเน็ต ออฟติงส เขามาชวยลดปญหา โดยการใหสมารทการดกับประชาชน เพื่อกดใชน้ําจากแท็งกน้ําที่ตั้งบริการไว และการติดตั้ง IoT จะชวยให สวนกลางสามารถใหสิทธิ์การใชน้ํา รวมถึงตรวจดูการใชน้ําไดแบบ เรียลไทม นอกจากนั้นยังมีการอภิปรายในหัวขอ นวัตกรรมทางสังคม จะชวยลดผลกระทบจากเทคโนโลยีที่สรางความพลิกผันอยางไร เพื่อ ประสานความแตกตางระหวางกลุมที่ใชและไมใชดิจิทัลในหมูแรงงาน โจนาธาน หวอง ผูอํานวยการฝายเทคโนโลยีและนวัตกรรม คณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหง เอเชียและแปซิฟก แหงสหประชาชาติ ได ก ล า วว า องค ป ระกอบสํ า คั ญ ใน การสรางเศรษฐกิจใหเติบโตได ตอง ประกอบดวย เทคโนโลยี นักนวัตกร และผู ป ระกอบการ แต อ ย า งไรก็ ดี ปจจุบนั เราจะตองคํานึงถึงการสรางการ โจนาธาน หวอง เติ บ โตอย า งยั่ ง ยื น คิ ด ถึ ง สภาวะ แวดลอม สําหรับอนาคตขางหนา การพัฒนานวัตกรรมเพื่อสังคม จําเปนตองอาศัยความรวมมือจากภาครัฐเปนปจจัยสําคัญ ในการวางนโยบายดานสังคม การสรางนวัตกรรมเพือ่ สังคม หมูม าก และการมีผสู นับสนุนเงินทุนเพือ่ สรางนวัตกรรม ออกมา November-December 2019
P.54-55_Special Scoop.indd 55
11/26/62 BE 11:54 AM
Special Scoop > กองบรรณาธิการ
โรงงานประกอบ
แบตเตอรี่แรงดันสูง
สำหรับรถยนตปลั๊กอินไฮบริด
ของ BMW
บีเอ็มดับเบิลยู กรุป ประเทศไทย เปดตัวโรงงาน ประกอบแบตเตอรีแ่ รงดันสูงในประเทศอยางเปนทางการ ดวยความ รวมมือกับแดร็คเซิลไมเออร กรุป ซึ่งผูนําดานการผลิตชิ้นสวนยานยนต ระดับโลก และเปนพันธมิตรกับบีเอ็มดับเบิลยู กรุป มาตั้งแตป พ.ศ. 2509 โดย โรงงานครอบคลุมในสวนของการประกอบโมดูลแบตเตอรีแ่ ละการประกอบตัวแบตเตอรี่ และไดเริ่มตนสายการประกอบตั้งแตเดือนกรกฎาคมที่ผานมา ซึ่งโรงงานของแดร็คเซิลไมเออร กรุป ตั้งอยูในนิคมอุตสาหกรรมดับบลิวเอชเอ ชลบุรี 2 และนับเปนโรงงานประกอบแบตเตอรี่ แรงดันสูงสําหรับบีเอ็มดับเบิลยู กรุปแหงเดียวในภูมิภาคอาเซียน
มร.อูเว ควาส กรรมการผูจ ดั การ บีเอ็มดับเบิลยู กรุป แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย กล า วว า “หนึ่ ง ในวิ สั ย ทั ศ น ห ลั ก ของบี เ อ็ ม ดั บ เบิ ล ยู กรุ ป คื อ การขั บ เคลื่ อ นสั ง คมไปสู อ นาคตแห ง ยนตรกรรมพลั ง งานไฟฟ า ซึ่ ง บีเอ็มดับเบิลยู กรุป แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย มุง มัน่ ทีจ่ ะบรรลุเปาหมาย นี้เชนกันดวยการเดินหนาสูอีกกาวแหงความสําเร็จครั้งใหญดานกลยุทธ ยานยนตไฟฟา การเริ่มประกอบแบตเตอรี่แรงดันสูงในประเทศจะเปน สวนสําคัญที่ทําใหเราสามารถตอบโจทยความตองการในตลาดรถยนต พลังงานไฟฟาที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในประเทศไทย นอกจากนี้ ยังถือ เปนการเสริมความแข็งแกรงใหแกโรงงานบีเอ็มดับเบิลยูในจังหวัดระยอง ซึ่งเปนศูนยกลางการประกอบรถยนตในภูมิภาคนี้ใหมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น”
มร.แกรฮารด แอรเนสแบรเกอร
มร.อูเว ควาส
ดาน มร.แกรฮารด แอรเนสแบรเกอร ผูอํานวยการโรงงาน แดร็คเซิลไมเออร กรุป ประเทศไทย กลาววา “เรารูสึกเปนเกียรติ อยางยิ่งที่ไดรับความไววางใจใหประกอบแบตเตอรี่แรงดันสูงสําหรับ บีเอ็มดับเบิลยู ประเทศไทย ในฐานะผูผลิตชิ้นสวนยานยนตซึ่งไดรับ การยอมรับจากพันธมิตรนานาชาติทั้งในภูมิภาคและในระดับสากล เรามี ป ระสบการณ แ ละความเชี่ ย วชาญในการมอบโซลู ชั น ที่ ล้ํ า สมั ย ใหกบั ผูผ ลิตยานยนตระดับพรีเมียม ไมวา จะเปนดานระบบไฟฟา ระบบ อิเล็กทรอนิกส การออกแบบภายในรถยนต และระบบแบตเตอรี่ ดวย ความสัมพันธอันยาวนานกับบีเอ็มดับเบิลยู กรุป มากวา 53 ป เราจึง ยินดีมากที่ไดตอยอดการเปนพันธมิตรทางธุรกิจกับบีเอ็มดับเบิลยู กรุป แมนูแฟคเจอริ่ง ประเทศไทย”
November-December 2019
P.56-57_Special Scoop.indd 56
11/26/62 BE 11:55 AM
ทั้งนี้ ผูเชี่ยวชาญจากบีเอ็มดับเบิลยู กรุป มิวนิค ไดรวมวางรากฐาน กระบวนการประกอบแบตเตอรีท่ โี่ รงงานแหงใหมของแดร็คเซิลไมเออร กรุป เพือ่ ใหมนั่ ใจวากระบวนการประกอบในประเทศไทยสอดคลองกับมาตรฐาน คุณภาพระดับโลกของบีเอ็มดับเบิลยู กรุป และเพื่อวางรากฐานสําหรับ การพัฒนาอยางตอเนื่องในอนาคต ทั้งนี้ แบตเตอรี่แรงดันสูงเปนอีกหนึ่งองคประกอบที่สําคัญของ รถยนตทขี่ บั เคลือ่ นดวยพลังงานไฟฟา ไมวา จะเปนยานยนตประเภทไฮบริด หรือรถยนตที่ใชพลังงานไฟฟาโดยสมบูรณ ทั้งยังเปนชิ้นสวนที่มีความ ซับซอนและตองใชทักษะเฉพาะดานในการผลิต นับตั้งแตเดือนกันยายน พ.ศ. 2561 บุคลากรจากแดร็คเซิลไมเออร กรุป ไดเขารวมโปรแกรมอบรม และพัฒนาบุคลากรเพื่อการประกอบแบตเตอรี่แรงดันสูง ณ โรงงานบีเอ็ม ดับเบิลยู กรุป ในเมืองดิงกอลฟง และโรงงานนํารองการผลิตระบบการ ขับเคลื่อนดวยพลังงานไฟฟา ซึ่งมีความพรอมแลวสําหรับการประกอบ แบตเตอรี่ที่ตองใชทักษะความเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีการผลิตที่ล้ําสมัย เพื่อการประกอบแบตเตอรี่อันเปนเทคโนโลยีลาสุด (เจนเนอเรชันที่ 4) เชน การเชื่อมดวยเลเซอร การเตรียมพื้นผิววัสดุดวยพลาสมา วิทยาการ
หุ น ยนต กระบวนการยึ ด ติ ด การตรวจสอบคุ ณ ภาพชิ้ น ส ว น อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส อั ต โนมั ติ (AOI) การตรวจสอบการทํ า งานของ ระบบไฟฟา และการตรวจสอบคุณภาพเมื่อสิ้นสุดสายการผลิต นอกจากนี้ โปรแกรมการอบรมดังกลาวยังครอบคลุมทักษะในการ ทํางานกับกระบวนการผลิตอัตโนมัติ ซึ่งเปนกระบวนการที่สําคัญ ในการประกอบโมดูลแบตเตอรี่ รวมถึงการตรวจสอบคุณภาพ โดยรวม การออกแบบกระบวนการและเทคโนโลยี ก ารผลิ ต การปรับปรุงแกไขคุณภาพ และการวิเคราะหกระบวนการผลิต เมื่ อ เสร็ จ สิ้ น การเรี ย นรู แ ละเสริ ม สร า งความเชี่ ย วชาญ ดานการประกอบแบตเตอรี่แลว บุคลากรที่ผานการอบรมขางตน จะไดทํางานกับชิ้นสวนอยางเซลลแบตเตอรี่ที่นําเขาจากผูผลิต ในภูมิภาคเอเชีย พรอมดวยชิ้นสวนแบตเตอรี่นําเขาอีกมากมาย ทั้งโครงอะลูมิเนียม ระบบวงจรอิเล็กทรอนิกสและสายไฟ เพื่อ ประกอบแบตเตอรี่แรงดันสูงที่ไดมาตรฐานระดับโลกของบีเอ็ม ดับเบิลยู กรุป และเปนไปตามขอกําหนดดานการใชชิ้นสวนจาก ผู ผ ลิ ต ในประเทศของประเทศไทย เมื่ อ เสร็ จ สิ้ น กระบวนการ ประกอบแลว แบตเตอรี่แรงดันสูงดังกลาวจะถูกสงไปยังโรงงาน บีเอ็มดับเบิลยูที่ระยอง เพื่อนําไปติดตั้งในรถยนตปลั๊กอินไฮบริด ในตระกูลบีเอ็มดับเบิลยู ซีรี่ส 5 ซึ่งไดเริ่มตนเฟสแรกไปแลวตั้งแต เดือนกรกฎาคมที่ผานมา ตั้งแตป พ.ศ. 2560 เปนตนมา โรงงานบีเอ็มดับเบิลยู กรุป แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย ณ นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ระยอง ไดประกอบรถยนตปลั๊กอินไฮบริดมาแลว 4 รุนดวยกันคือ บีเอ็ม ดับเบิลยู 330e บีเอ็มดับเบิลยู 530e บีเอ็มดับเบิลยู X5 xDrive40e และบีเอ็มดับเบิลยู 740Le
ทั้งนี้ บีเอ็มดับเบิลยู กรุป ประเทศไทย ไดรับอนุมัติการ สงเสริมการลงทุนจากสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (บีโอไอ) สําหรับการลงทุนประกอบรถยนตปลั๊กอินไฮบริดมูลคา 700 ลานบาท ซึ่งบริษัทฯ ไดจัดสรรงบประมาณสวนหนึ่งมารวม ลงทุนกับแดร็คเซิลไมเออร กรุป ประเทศไทย เพื่อพัฒนาโรงงาน ประกอบแบตเตอรี่แรงดันสูงที่มีมูลคาการลงทุน 500 ลานบาท ความสําเร็จครั้งนี้จะยกระดับอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศ และแสดงถึงความรวมมืออันดีระหวางภาครัฐและภาคเอกชนทีจ่ ะ ขับเคลื่อนประเทศไทยไปสูอนาคตแหงยนตรกรรมไฟฟาที่ยั่งยืน ตอไป
November-December 2019
P.56-57_Special Scoop.indd 57
11/26/62 BE 11:55 AM
Special Area > บริษัท เอวีรา จํากัด
November-December 2019
P.58-61_Avera.indd 58
11/26/62 BE 5:13 PM
November-December 2019
P.58-61_Avera.indd 59
11/26/62 BE 5:14 PM
November-December 2019
P.58-61_Avera.indd 60
11/26/62 BE 5:14 PM
November-December 2019
P.58-61_Avera.indd 61
11/26/62 BE 5:14 PM
Special Area
> บริษัท ออมรอน อีเลคทรอนิคส จํากัด
ทางรอด
ของธุรกิจ เทคโนโลยี
กับ
แรงกดดันทางธุรกิจเกิดในทุกป ไมวา จะเปนยอดขาย ลดลง การตัดราคาของคูแขง การผลิตที่ลนเกินกวา การบริโภค ความไมแนนอนของราคาและการเขาถึง วัตถุดบิ สิง่ ตางๆ เหลานีล้ ว นเปนสิง่ ทีย่ ากจะควบคุม หรืออาจจะควบคุมไมไดเลย บริ ษั ท หรื อ กิ จ การที่ ส ามารถดํ า รงอยู อยางมีผลกําไร ตองมีความแข็งแกรงภายใน เปนสิ่งที่สรางขึ้นไดยาก และตองรักษา อยางเหนียวแนน ความแข็งแกรงภายใน https://pixabay.com/photos/internet-cyber-network-finger-3589685/ ไมวาจะเปน 1) มีโมเดลทางธุรกิจที่สามารถดูดซับโอกาสทางธุรกิจไดดี 2) มีความไดเปรียบ เชน เศรษฐศาสตร ภูมิศาสตรที่ตั้ง และมีภาพลักษณที่เลียนแบบไดยาก 3) มีความสามารถในการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงไดดีและรวดเร็ว 4) มีทีมงานที่อุทิศตัวตอองคกรและความมีน้ําหนึ่งใจเดียวกัน หากทานไมมีสิ่งเหลานี้ก็ควรทบทวนแลววา ความแข็งแกรงที่สามารถพัฒนาขึ้นคืออะไร ปจจุบันมีปรากฏการณ Disruption โดยเฉพาะเทคโนโลยีดิสรัปชัน ซึ่งมันไมใชแคเทคโนโลยีใหม แตมันสงผลตอวิธีคิดและพฤติกรรม การยายหรือปรับเปลี่ยนชองการขาย (Sale Channel) และตําแหนง การขาย (Point of Sale) สงผลอยางมากในเชิงธุรกิจ การรวมตัวของผูซื้อ ไมวาจะเปนผูใชงาน ไมวาจะ ใชสวนตัวหรือใชทางธุรกิจ ผูกผนวกรวมกับการจับกลุมเขากับวีธีคิดและความตองการแบบเดียวกัน การรวมตัวของผูขาย ผูผลิต กลับยังไมเห็นมากนัก อาจเนื่องจากพื้นฐานของการแขงขันเปนปจจัย ตอตาน แตในทัศนะของผูเขียน สิ่งเหลานี้กําลังจะเกิดขึ้น เราสามารถคาดการณอนาคตไดจาก เทคโนโลยีและแนวโนมการใชงาน เชน การผานยุค Internet มาแลวตอยอดมาเปน Social community disruption อื่นๆ เชน Block chain และ VR-AR รวมกับ Human like Robot กําลังกาวเขามาอยางแนนอน
November-December 2019
P.62-63_Special Area Omron.indd 62
12/3/62 BE 10:19 AM
https://pixabay.com/photos/technologydeveloper-continents-3435575/
https://pixabay.com/photos/internetcyber-network-finger-3563638/ https://pixabay.com/photos/internet-cyber-network-finger-3589685/
ในธุรกิจที่เราดํารงอยูคงตองพรอมรับกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ เครื่องจักร ที่ผลิตสินคาไดแตกตางกัน (Variety Products, Small Lot Size) มุงเนนการลดตนทุน และเพิม่ ประสิทธิภาพ การตอบสนองตอผูบ ริโภคทีม่ คี วามเปนปจเจกมากขึน้ (Individualism) ระบบการผลิตที่เชื่อมโยงกับระบบการบริหารการผลิต (Manufacturing Execution System) และระบบการจัดการทรัพยากร (Enterprise Resource Planning) จะสามารถตอบรับและยืนยัน ขอมูลการผลิตหลังจากลูกคาทําการยืนยันความตองการแบบทันที หรือการรับมือกับขอผิดพลาด จากการผลิต หรือการปรับปรุงคุณภาพดวยระบบบันทึกขอมูลการผลิตอยางมีโครงสราง (Cyber Physical System) เพื่อสนับสนุนฐานการใชงานอยางการสอบยอน (Traceability) หรือการวัดผล ในระบบ IoT เชน การดูประสิทธิภาพรวม (Overall Equipment Efficiency ) ทั้งหมดนี้จะเปนกลไกสําคัญ ที่จะตัดสินการดํารงอยูในอนาคต การลดตนทุนดวยการใชหนุ ยนต การลดของเสีย แนนอนวามีความสําคัญและสวนลดโดยตรงตอตนทุน การผลิต แตการมีแคนไี้ มสามารถตอบโจทยการอยูร อดในอนาคต การตอบสนองตอความตองการและรับมือกับ การเปลี่ยนแปลงตางหากที่จะทําใหธุรกิจของทานดํารงอยูในอีก 10 ปหรือ 50 ปขางหนา
November-December 2019
P.62-63_Special Area Omron.indd 63
12/3/62 BE 10:19 AM
Special Area
> บริษัท แม็กซิไมซ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จํากัด
Capacitor
Rating ขอมูลสำคัญที่ไมควรมองขาม
Power Capacitor คืออุปกรณปรับปรุงเพาเวอรแฟคเตอร ในระบบไฟฟากําลัง ซึ่งมีหนวยเปน µ F แตเพื่อใหเขาใจงายขึ้น และเพือ่ ใหสอดคลองกับกําลังไฟฟาทีต่ อ งการปรับปรุงคาเพาเวอร แฟคเตอรในระบบ จึงนิยมใชหนวยกันเปน kVAR ซึ่งโดยปกติแลว Nameplate ของคาปาซิเตอรแตละตัวจะมีขนาดเปน µ F และ kVAR กํากับอยูแลว เพื่อใหผูใชงานสามารถเขาใจไดมากขึ้น แตในคาปาซิเตอร บางรุน บางยี่หอ มีพิกัดระบุอยูมากมาย ผูใชงานบางคนอาจเกิดความ สับสนและไมเขาใจรายละเอียดตางๆ ที่อยูที่ Nameplate จึงขออธิบาย รายละเอียดตางๆ บน Nameplate พรอมกับสูตรคํานวณ เพื่อให สามารถเขาใจไดงายขึ้น
ตัวอยาง Nameplate
November-December 2019
P.64-65_Maximize.indd 64
11/26/62 BE 11:57 AM
รายละเอียดตางๆ บน Nameplate มีดังนี้ Model/Part Number แสดงถึงขนาดพิกดั แรงดันใชงานสูงสุด และคากําลังไฟฟา ที่พิกัดแรงดันใชงานสูงสุด จากตัวอยางเปน Multicond Basic UHPC-30.0-525-3P แสดงถึงคาปาซิเตอรที่มีกําลังไฟฟา 30 kVAR และใชงานไดแรงดันสูงสุดที่ 525 โวลต ชนิด 3 เฟส ที่ความถี่ 50 Hz ขนาดค า คาปาซิ แ ตนซ ข องคาปาซิ เ ตอร ตั ว นั้ น จากตั ว อย า ง มี ค า คาปาซิแตนซ CN = 3 x 115.5 µ F ขนาด kVAR ของคาปาซิเตอร QN ที่ความถี่ 50 Hz, QN ที่ความถี่ 60 Hz วิธีคํานวณคา QN โดยใชสูตร QN = Un2 x 2 x π x fn x CN จาก Nameplate ตัวอยาง 525V 2 x 2 x π x 50 x (3 x 115.5 µ F) = 30 kVAR ซึ่งก็จะตรงกับ Nameplate จาก Nameplate ตัวอยาง QN = 400V 2 x 2 x π x 50 x (3 x 115.5 µ F) = 17.4 kVAR ซึ่งก็จะตรงกับ Nameplate จาก Nameplate ตัวอยาง QN = 480V 2 x 2 x π x 60 x (3 x 115.5 µ F) = 30.1 kVAR ซึ่งก็ จะตรงกับ Nameplate จะเห็นวาคา QN นัน้ คํานวณจากคาคาปาซิแตนซคา เดียวกัน เพราะคาปาซิเตอรจะมีคา คาปาซิแตนซ เพียงคาเดียว ดังนั้นเมื่อนําคาปาซิเตอรตัวนี้ไปใชงานที่แรงดันไฟฟาอื่น คา QN ก็จะเปลี่ยนไปตามแรงดัน ไฟฟาที่เราใชงาน เรายังสามารถคํานวณคากําลังไฟฟา (QN) ไดจากสูตร QNew = QN ไดอีกดวย ตัวอยางเชน ตองการหาคากําลังไฟฟาที่แรงดันไฟฟา 400V ที่มาจากคาปาซิเตอร 525V จะเทากับ QNew = 30 = = 17.4 kVAR Ui = 3/- kV หมายถึง ไดทดสอบดวยแรงดันไฟฟาขนาด 3,000 โวลต ที่ขั้วของคาปาซิเตอรแตละเฟส Temp Category -25/D หมายถึง ความสามารถในการทนอุณหภูมิใชงานไดที่อุณหภูมิ -25 oC จนถึง 55 oC ∆ หมายถึง สัญลักษณการตอภายในชนิด DELTA SH หมายถึง ฟลมภายในสามารถซอมแซมตัวเองได (Seal Healing) Dry/Non PCB/Non-SF6 หมายถึง ภายในคาปาซิเตอรบรรจุสารทีเ่ ปนฉนวนชนิดแหง และปลอดภัยตอสิง่ แวดลอม Pressure Sensitive Disconnector หมายถึง ตัดการทํางานดวยแรงดันลมภายในตัวคาปาซิเตอร IEC 60831 -1 (’96) + 2 (’95) หมายถึง มาตรฐานของคาปาซิเตอรทดสอบตามมาตรฐาน IEC 60831-1 (ป 1996) และ IEC 60831-2 (ป 1995) 2.5 kg หมายถึง น้ําหนักของคาปาซิเตอรตัวนี้คือ 2.5 กิโลกรัม CE คือไดมาตรฐานในกลุมประเทศยุโรป Made in Germany หมายถึง ระบุประเทศที่ผลิตจากประเทศเยอรมนี จาก Nameplate คาปาซิเตอรตัวอยางนี้ จะเห็นไดวาคาปาซิเตอรตัวนี้สามารถใชงานสูงสุดไดถึง 525 โวลต โดย จะมีคากําลังไฟฟา QN อยูที่ 30 kVAR แตเมื่อนํามาใชในระบบไฟฟาของเราที่ 400/415 โวลต คากําลังไฟฟาของ คาปาซิเตอรตัวนี้จะลดลงเหลือเพียง 17.4/18.7 kVAR นั่นหมายความวาคาปาซิเตอรตัวนี้จะมีอายุการใชงานที่ ยาวนานขึ้น และมีเสถียรภาพเพิ่มขึ้น แมติดตั้งในโรงงานหรือสถานที่ที่มีฮารโมนิกสสูง แตอาจจะตองใชคาปาซิเตอร จํานวนเพิ่มขึ้น เพื่อใหไดคากําลังไฟฟา QNที่ตองการ ●
●
●
● ● ● ● ● ● ●
● ● ●
รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถติดตอไดที่ บริษัท แม็กซิไมซ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จํากัด โทร. 0-2194-8738-9 แฟกซ 0-2003-2215 E-mail : info@mit-thailand.com www.mit-thailand.com November-December 2019
P.64-65_Maximize.indd 65
11/26/62 BE 11:57 AM
Special Area > TLT-Turbo GmbH
TLT-Turbo
On-site Test Lab Advances
Product Quality
Global ventilation fans and systems manufacturer, TLT-Turbo GmbH, has spent the past five years investing in and equipping its on-site test lab. The test lab now provides streamlined processes for research, advancing product quality and expanded capabilities for material testing. With a focus on particle impact wear testing, the test lab is driving innovation forward at TLT-Turbo as the results help improve product reliability, quality and performance in their final operating environment. Patrick Baumgärtner a Research and Development Engineer – and expert in wear and corrosion protection – at TLT-Turbo, has played an instrumental role in building up the test lab – located at the TLT-Turbo Development Centre in Zweibruecken, Germany – to its current capabilities. Together with Sabine Groh, Industrial Fans Product Manager at TLT-Turbo, they have been spearheading the current research. Currently, the core field of research at the test lab is the testing of new wear-resistant materials and coatings for fan components. Baumgärtner says that the testing takes place in the lab’s solid particle impact wear test bench. There, various types of dust or abrasive particles are blasted onto the test material, varying the angle and speed of the blasting to observe the resulting wear. “We also carry out caking tests in which we select, for example, anti-adhesive layers for our fans, in order to find suitable solutions for customer applications. A further main focus is the analysis of process residues that can have an abrasive or corrosive effect. Here the composition, size distributions, pH value and conductivity in the eluate are determined,” Baumgärtner explains. TLT-Turbo’s approach is to continuously test materials, coatings and components in order to produce fan components that are designed for performance excellence in any operating environment – no matter how abrasive. This testing is applied to current and new products in development but also to samples that are brought in from client sites in order to establish the wear patterns caused by their specific environment. In this way, TLT-Turbo is able to provide each client with a customized solution that will last longer and require less maintenance.
The test lab now offers facilities for metallography, a stereomicroscope, a pycnometer for determining the density of materials and coatings, and an automated solid particle impact wear test bench. “The capabilities of the test lab open a lot of doors for advanced research that will make a positive contribution to the engineering community at large as well,” says Baumgärtner. “Under my supervision, studies and thesis research takes place in the laboratory in cooperation with local colleges and universities. For me, this is the basis for successfully researching and developing new solutions in our field.” According to Groh, the test lab has almost endless possibilities for the improvement of product delivery to clients. “Our customers are often operating TLT-Turbo fans in abrasive and/or corrosive environments. To develop suitable solutions that match the wear resistance against particle impact we use our automated solid particle impact test bench. Compressed air accelerates a defined mass flow of abrasive particles to velocities up to 300 m/s and propels them onto a piece of sample material. This leads to material loss and wear that we can examine. It is even possible to use original dust from a customer’s plant to evaluate the most suitable solution for them. By varying the impact angle we can observe system characteristic wear curves. With this knowledge we can provide customized solutions for many processes.”
November-December 2019
P.66-67_Special Area TLT.indd 66
11/26/62 BE 11:57 AM
These customized solutions can be best illustrated in the selection of coatings. This, says Groh, has an immensely positive impact for TLT-Turbo clients. “If we were to propose a new coating for a customer, the wear rate of the coating would be determined first. That is the main scientific-based decision criteria for wear resistant coatings. If the coating has a superior wear rate compared to other coatings or at least a wear rate that is on par with other coatings and another beneficial quality such as anti-stick effect, corrosive resistance or a cost advantage it will be implemented into TLT´s coating portfolio.” Groh says that they have also conducted tests that have led to the development of completely new proprietary coatings. “During the manufacturing process, coatings were tested to see the influence of welding heat on coating qualities – such as the development of cracks – to ascertain how to avoid damage caused by heat or weld splashes. We conducted research and testing on combining welded coatings and thin layer coating into a Hybrid Coating which can dramatically increase the operational lifespan of TLT-Turbo fans at their clients’ plants.” This is one of numerous examples of how TLT-Turbo’s testing capability can positively impact ventilation systems across all applications. “Due to the broad database of wear tests on various materials and coatings, we are able to offer tailor-made wear protection solutions for various processes of our customers,” Baumgärtner acknowledges. Groh agrees, adding that the wide variety of chemical compositions and coating conditions such as acceleration of coating powder and heat development make it extremely difficult to objectively find the best coating by carrying out testing at a customer plant. “The process of reaching just initial findings in these conditions is very time consuming. In addition to this, there is a broad variety of conditions to contend with at different customer plants that hinder an accurate comparison of different coatings at different plants. If you test different coatings on one machine you might get a rough estimation what coating is superior, however different wear rates of coating cause imbalances in the impeller and vibrations at the fan.” She elaborates by explaining that finding a precise comparative measurement on different coatings is impossible without being able to analyse how the wear rate changes at different angles. “At the test lab we can control the conditions to find precisely what we are looking for in a shorter timeframe. Additionally we are able to replicate the fan’s operating environment. We can run tests using dust collected from the client site while simulating particle speeds that match the client’s environment to precisely simulate wear rates.” In the laboratory environment, the TLT-Turbo team is also able to determine additional coating properties as they have the capability to run additional experiments, e.g. corrosive resistance, anti-stick effect, robustness, heat resistance, suitable application methods, and combination possibilities like hybrid coatings.
The test lab has afforded TLT-Turbo engineers a deeper understanding of the mechanisms behind wear and the effects of specialized solutions. This has led to new approaches in product advancement and development that are grounded in providing solutions that meet market requirements. “The analysis of residues from plants has a great influence on product development as we are making more informed decisions when choosing materials for corrosive and abrasive environments,” says Baumgärtner. This has also had an impact on TLT-Turbo’s aftermarket service offering. The test lab, has allowed for new customer services can be generated, such as the performance of specific tests for customers. “The development of new solutions for specific customer problems is now much faster and more accurate. Also the suitability of low cost approaches or solutions that allow for wear induced damages to be repaired on-site integrate effortlessly into TLT-Turbo’s existing solutions,” Groh concludes. The test lab enables TLT to continuously improve their solution portfolio for different customer problems with a focus on wear. The combination of understanding the client’s exact requirements and challenges and having a tool that allows engineers to find the best solutions from a scientific basis are a key factor for success in the market and play an important role for TLT-Turbo’s on-going product development and quality client delivery.
About TLT-Turbo
TLT-Turbo GmbH builds radial and axial flow fans for virtually any application. First-rate engineering, tradition and progress in air handling technology and a worldwide support network have been the cornerstones of their excellent global renown as a fan and systems manufacturer for more than 140 years. TLT-Turbo GmbH fans and the associated system components are deployed successfully all over the globe. To date over 10,000 fans have already been installed. Their subsidiaries, branches and agencies span the globe including TLT-Turbo offices in Germany, China, Austria, Russia, South Korea, USA, Chile, Hungary, Australia, India and South Africa.
November-December 2019
P.66-67_Special Area TLT.indd 67
11/26/62 BE 11:57 AM
Movement
ทรู ดิจิทัล พารค เปดตัวอยางยิ่งใหญ พรอมจัดงานสัมมนาเทคโนโลยี T.O.P.2019 ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ รองนายกรัฐมนตรี ใหเกียรติ เปนประธานเปด ทรู ดิจิทัล พารค พรอมกลาวปาฐกถาพิเศษ ในงานสั ม มนาเทคโนโลยี ค รั้ ง ใหญ แ ห ง ป T.O.P.2019 Togetherness of Possibilities ซึ่งมี พุทธิพงษ ปุณณกันต รัฐมนตรีวาการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เปนผู กลาวเปดงานและปาฐกถาพิเศษในชวงเชา โดย ศุภชัย เจียรวนนท ประธานคณะผูบ ริหารเครือเจริญ โภคภัณฑ และประธานกรรมการ บมจ.ทรู คอรปอเรชั่น พรอม คณะผูบริหารใหการตอนรับ ทรู ดิจิทัล พารค เปนศูนยกลางนวัตกรรมดิจิทัลแหงแรก ในประเทศไทยที่ใหญที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เปนการ รวมมือของเหลาพันธมิตรรวมเติมเต็มระบบนิเวศสมบูรณแบบ ครบวงจรสําหรับสตารทอัพ รวมกันจัดงาน T.O.P.2019 และ ยังไดรับการตอบรับจากสตารทอัพ องคกรชั้นนําทั้งในประเทศ และต า งประเทศ ตลอดจนสื่ อ มวลชนและประชาชนทั่ ว ไป ที่สนใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมอยางลนหลาม ■
ซีดีจี จับมือ เทคโนโลยีพระจอมเกลาฯ จัดทําโครงการ Code Their Dreams บริษัท ซีดีจี ผูใหบริการดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ แบบครบวงจร แกองคกรภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน ภายใต โครงการ “Code Their Dreams” จั บ มื อ คณะครุ ศ าสตร อุ ต สาหกรรม ภาควิ ช าคอมพิ ว เตอร ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ จัดทําโครงการ Public Training เปนหลักสูตรการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อการ ศึกษา เพื่อรับตลาดแรงงานในอนาคต เนนทักษะโคดดิ้ง ทักษะ ที่ 3 แหงโลกอนาคต 1 ใน 10 ทักษะซึ่งเปนที่ตองการสูงสุด ระดั บ ประเทศและระดั บ โลก มุ ง ถ า ยทอดการเรี ย นการสอน ดานโคดดิ้ง เพื่อการอยูรอดและความสําเร็จในโลกแหงดิจิทัล ใหกับนักเรียน นักศึกษา และครูอาจารย โครงการดั ง กล า วมุ ง เน น ไปที่ ก ารพั ฒ นาการเรี ย นรู ด า น ภาษาคอมพิวเตอรและเตรียมความพรอมเชิงดิจิทัล เพื่อนําไปใช ในการเรียนการสอน และปูความพรอมแกนกั ศึกษาสามารถนําไป ใชในการทํางานจริง เปนการยกระดับการศึกษาไทยพรอมรับ สมรภูมิดิจิทัล ประเดิมโครงการ Code Their Dreams: Public Training ผาน 4 กิจกรรม โดยไดเริ่มจากการเรียนการสอน ตั้งเปา สรางบุคลากรดานโคดดิ้งเพิ่มกวา 1,000 คน ภายในป 2020 ■ November-December 2019
P.83-86_Movement.indd 83
11/26/62 BE 12:01 PM
Movement
ดิจิทัลไทยแลนดบิ๊กแบง 2019 โชวเทคโนโลยีสุดลํา งานดิ จิ ทั ล ไทยแลนด บิ๊ ก แบง 2019 มหกรรมแสดง เทคโนโลยีดิจิทัลระดับนานาชาติสุดยิ่งใหญ จัดโดย สํานักงาน สงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ ดีปา ผูคนใหความสนใจและ เดินทางเขารวมกิจกรรมกันอยางตอเนื่อง ทั้งสถาบันการศึกษา หนวยงานภาครัฐ-เอกชน ในประเทศและตางประเทศ เติมเต็ม แนวคิ ด ประสบการณ ดิ จิ ทั ล โดย ดร.กอบศั ก ดิ์ ภู ต ระกู ล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝายการเมือง รวมแสดงปาฐกถา พิเศษ พบการบรรยายโดย Mr.Mike Walsh นักพูดเกี่ยวกับ เทคโนโลยีในอนาคต รวมถึงการเปดกิจกรรมการเรียนรูผาน แพลตฟอรมโคดดิง้ กับเกมหมูปา ซึง่ ไดรบั เกียรติจาก ณรงคศกั ดิ์ โอสถธนากร ผูวาราชการจังหวัดลําปาง กลาวเปดกิจกรรม บรรยากาศการจั ด งาน Digital Thailand Big Bang 2019:ASEAN Connectivity มีผสู นใจเขารวมงานเปนจํานวนมาก เกิดมูลคาการลงทุนในงานคิดเปนมูลคารวมกวา 514 ลานบาท มีมูลคาการเจรจาทางธุรกิจรวมกวา 621 ลานบาท โดยมีผูรวม เจรจาทางการคาในโซน Secutech และ Messe Frankfurt จํานวน 176 ราย เฉลี่ยรายละ 1.24 ลานบาท และการเจรจา ของสตารทอัพ จํานวน 18 ราย รายละ 420,000 บาท ■
ถิรไทย เซ็นรับงานจาก กฟน. ผลิตหมอแปลงจําหนาย เพิ่มศักยภาพธุรกิจ หมอแปลงไฟฟาฝมือคนไทย บริษัท ถิรไทย จํากัด (มหาชน) หรือ TRT ผูนําตลาด หมอแปลงไฟฟาของประเทศ เพิม่ ศักยภาพธุรกิจหมอแปลงไฟฟา ฝมือคนไทย เซ็นรับงานจากการไฟฟานครหลวง หรือ กฟน. ผลิต หมอแปลงจําหนาย ชนิดซีเอสพี (Completely Self Protected Type) มูลคารวมกวา 448 ลานบาท เพือ่ ติดตัง้ ณ อาคารศูนยจา ย หมอแปลงฝายอุปกรณงานจําหนายของ กฟน. ในสถานียอ ยไฟฟา ตางๆ อีกทั้ง สัมพันธ วงษปาน กรรมการผูจัดการ บริษัท ถิรไทย จํากัด (มหาชน) ไดรวมมือกับ 2 บริษัทยักษใหญขามชาติจาก เกาหลี บริษัท ฮโยซอง คอรปอเรชั่น จํากัด เปนผูเชี่ยวชาญ ทางดาน Energy Storage และ GIS (Gas-Insulated Substation) และบริ ษั ท ไฮดี้ เอ็ น เนอร จี เทคโนโลยี จํ า กั ด บริ ษั ท ผู ผ ลิ ต เซลลลิเธียมไอออนฟอสเฟต ยักษใหญจากประเทศจีน ในการ ทําธุรกิจที่ไมเกี่ยวของกับหมอแปลงไฟฟา ทั้งนี้บริษัทฯ ยังคง เดินหนาประมูลงานทัง้ ภาครัฐ และเอกชนอยางตอเนือ่ ง ในวงเงิน กวา 8,742 ลานบาท คาดวาจะไดรับงาน 20-25% ■ November-December 2019
P.83-86_Movement.indd 84
11/26/62 BE 12:01 PM
สมาคมสงเสริมการรับชวงการผลิตไทย จับมือ เมสเซ ดุสเซลดอรฟ จัดงาน Wire and Tube ป 2019 เกี ย รติ ศั ก ดิ์ จิ ร ะขจรวงศ ประธานสมาคมส ง เสริ ม การรั บ ช ว งการผลิ ต ไทย ร ว มมื อ กั บ มร.เกอร น อท ริ ง ลิ่ ง กรรมการผูจ ดั การ บริษทั เมสเซ ดุสเซลดอรฟ เอเชีย รวมกัน จั ด งาน “ไวเออร แอนด ทู ป เซ า ท อี ส ท เ อเชี ย 2019” ซึ่ ง เป น มหกรรมรวบรวมสุ ด ยอดเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม การผลิ ต ลวดและท อ ที่ จ ะช ว ยผลั ก ดั น โครงการยกระดั บ อุตสาหกรรมเหล็ก ลวด ทอ อยางครบวงจร และงานในครั้งนี้ จะเปนสวนหนึง่ ของแพลตฟอรมการจัดงานเทรดแฟรครัง้ ยิง่ ใหญ ใหผปู ระกอบการไทยไดเขาถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรมระดับสูง จากทั่วโลก งานนี้จะเปนการพัฒนาแรงงานฝมือที่มีทักษะเฉพาะใน แตละอุตสาหกรรม ไดนําเทคโนโลยีการผลิตขั้นสูงจากตางชาติ เพื่อใหเกิดการเรียนรูและปรับใชกับธุรกิจอยางเหมาะสม สราง มูลคาเพิ่มสินคาและบริการ นําไปสูการเขาแขงขันในตลาด อุตสาหกรรมแหงอนาคตทีม่ มี ลู คามหาศาล ถือเปนความทาทาย ของภาครั ฐ ที่ ต อ งผลั ก ดั น ผู ป ระกอบการไทยให มี ศั ก ยภาพ การผลิตที่พรอมแขงขันในตลาดสากล ■
ทีพี-ลิงค เปดตัวเทคโนโลยีใหม Wi-Fi 6 พรอม Router Ax series บริษัท ทีพี-ลิงค เอ็นเตอรไพรส ประเทศไทย จํากัด ผูจัด จําหนายอุปกรณเครือขายระดับโลก จัดงาน TP-Link Next-Gen Wi-Fi Family, Wi-Fi 6 is here เปดตัวเทคโนโลยีใหม Wi-Fi6 พรอมชมสินคา Router Ax series ชวนสัมผัสประสบการณเทคโนโลยีใหม ทีจ่ ะชวยใหการ ทองโลกอินเทอรเน็ตลื่นไหลไมมีสะดุด โดยไดรับเกียรติจาก Mr.Dave Chen Managing Director กลาวเปดตัวเทคโนโลยี Wi-Fi “TP-Link NextGen Wi-Fi Family, Wi-Fi 6 is here” พรอมดวย ปยะวัฒน เข็มเพชร ดีเจ-พิธีกรชื่อดัง รวมพูดคุยเกี่ยวกับเทคโนโลยี Wi-Fi 6 และ ทรงศักดิ์ สังขเวทัย ผูจ ดั การฝายขาย บริษทั ทีพ-ี ลิงค เอ็นเตอรไพรส (ประเทศไทย) จํากัด กลาวถึงคุณสมบัติแตละรุนของ Archer AX series เมื่อวันที่ 27 กันยายน ณ ชั้น 7 โรงแรม Mode Sathorn นอกจากนี้ ทีพี-ลิงค ยังไดมีการเปดตัวเราเตอร AX11000 ซึ่ง ถือไดวาเปนเราเตอรเกมมิ่งที่ทรงพลัง มาพรอมกับฟเจอร Wi-Fi 6 ทั้ง OFDMA , MU-MIMO และ Tri-band ที่สามารถเปดโลกอินเทอรเน็ต โดยกระจายความเร็วไดมากสุดที่ 4804 Mbps และ 1148 Mbps ใหความเร็วรวม Wi-Fi ถึง 11,000 Mbps ตัวเสาใหสัญญาณถึง 3 ชอง บนความถี่ 2.4 GHz ที่ความเร็ว 1148 Mbps และบนคลื่นความถี่ 5 GHz ที่ความเร็ว 4804 Mbps ถึง 2 ชอง ■ November-December 2019
P.83-86_Movement.indd 85
11/26/62 BE 12:01 PM
Movement
อินเตอรลิ้งคฯ ลงนามสัญญากอสราง สายสงเคเบิลใตดิน กฟภ. มูลคา 375 ลบ. สมบัติ อนันตรัมพร ประธานกรรมการและกรรมการ ผูจัดการใหญ กลุมบริษัท อินเตอรลิ้งค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) พรอมดวย บริษัท ศรีชลธร จํากัด ในนาม “กลุม Consortium ศรีชลธร และ อินเตอรลง้ิ คเพาเวอร” รวมลงนาม สัญญาจางเหมา กับ อนุโลม อุตมะพันธุ รองผูวาการไฟฟา สวนภูมิภาค (กฟภ.) ในโครงการกอสรางสายสงเคเบิลใตดิน ระบบ 115 เควี บริเวณหนาสถานีไฟฟาเชียงใหม 2 จํานวน 4 วงจร และงานกอสรางปรับปรุงระบบจําหนายไฟฟา 22 เควี ชวงลอดใตแมนา้ํ ปง บริเวณสะพานปาตัน จังหวัดเชียงใหม ตาม โครงการพัฒนาระบบสงและจําหนายระยะที่ 1 และโครงการ เพิ่ ม ความเชื่ อ ถื อ ได ข องระบบไฟฟ า ระยะที่ 3 มู ล ค า งาน 375,100,000 บาท โดยมี ประสิทธิ์ชัย วีระยุทธวิไล กรรมการ ผูจ ดั การ บริษทั อินเตอรลงิ้ ค พาวเวอรแอนดเอนจิเนียริง่ จํากัด รวมเปนสักขีพยาน ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด ■
แชรทางลัด ชัดทางรวย ดวย “สายสัญญาณ LINK” เพื่อเปนการขอบคุณลูกคาและกระชับความสัมพันธ อันดี บริษัท อินเตอรลิ้งค คอมมิวนิเคชั่น จํากัด (มหาชน) ไดจัดงาน แชรทางลัด ชัดทางรวย ดวย “สายสัญญาณ LINK” ภายในงานชวงเชามีการอัปเดตความรูเ รือ่ งเทคโนโลยี สายสัญญาณใหมลาสุดใหแกลูกคาหนาราน และพิเศษดวย ดิ น เนอร ย ามค่ํ า คื น ในบรรยากาศสนุ ก สนาน รั บ วั น ใหม ด ว ยกิ จ กรรมตั ก บาตรทางเรื อ พร อ มล อ งเรื อ ไหว พ ระ ชมทัศนียภาพริมแมน้ําแมกลอง และตบทายดวยกิจกรรม ช็อปปงแบบเต็มอิ่มที่ตลาดน้ําอัมพวา เรียกไดวาพิเศษสุด สํ า หรั บ ลู ก ค า อิ น เตอร ลิ้ ง ค ฯ โดยงานนี้ ไ ด รั บ เกี ย รติ จ าก สมบั ติ อนั น ตรั ม พร ประธานกรรมการและกรรมการ ผู จั ด การใหญ ณ โรงแรมชู ชั ย บุ รี ศรี อั ม พวา จั ง หวั ด สมุทรสงคราม ■ November-December 2019
P.83-86_Movement.indd 86
11/26/62 BE 12:01 PM
P.87-89_Member.indd 87
11/26/62 BE 1:00 PM
P.87-89_Member.indd 88
11/26/62 BE 1:00 PM
P.87-89_Member.indd 89
11/26/62 BE 1:00 PM
November-December 2019
P.90_Index.indd 90
11/26/62 BE 10:20 AM