Engineering Today No.157 ( Issue Jan-Feb 2017)

Page 1








EDITOR TALK กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

ปฏิรปู ประเทศไทยรับยุทธศาสตร์ Thailand 4.0 ในป 2559 ทีผ่ า นมา เราอาจไดยนิ ภาครัฐมีการพูดถึง Thailand 4.0 ในปนภี้ าพของ Thailand 4.0 เริม่ ชัดเจนและมีการพูดกันอยางหนาหูขนึ้ โดยเฉพาะหนวยงานภาครัฐทีจ่ ะตองดําเนินนโยบายใหสอดคลอง กับยุทธศาสตร Thailand 4.0 รวมทั้งภาคเอกชนที่จะตองขับเคลื่อนธุรกิจใหสอดคลองกับนโยบายของ ภาครัฐและใหทันยุคสมัยที่เปลี่ยนไป เนื่องจากประเทศไทยติดอยูในกับดักทางเศรษฐกิจระดับรายได ปานกลาง (Middle-income Trap) มาเปนเวลานาน เพราะไมมกี ารปรับการผลิต และนํานวัตกรรม รวมทัง้ แบรนดเขามาใชในตัวสินคา ดังนั้น รัฐบาลจึงพยายามเนนวาประเทศไทยกําลังอยูในโหมดของการปฏิรูป ตามนโยบายในดานตางๆ เพื่อปรับเปลี่ยนใหประเทศไทยกาวทันตามยุคสมัย คือ Thailand 4.0 นิยามของคําวา Thailand 4.0 ในมุมมองของ ดร.สุวิทย เมษินทรีย รัฐมนตรีประจําสํานักนายก รัฐมนตรี หมายถึง การพัฒนาใหเกิดนวัตกรรมใหมๆ ในสินคา ผานการขับเคลือ่ นดวยผลิตภาพนวัตกรรม ขับเคลื่อนดวยสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม นั่นคือ ผลิตสินคาออกมาใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและ ใหผคู นเขามามีสว นรวมในการรวมทําการผลิตสินคาสีเขียวทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอมใหมากยิง่ ขึน้ เพือ่ ทําให เกิดคุณลักษณของสินคาที่เปลี่ยนไป ดูโดดเดนและแตกตางจากคูแขง และใชหลักการเนนที่สินคาใหเปน ทีร่ จู กั โดยทีจ่ ะตองทํางานรวมกับคนอืน่ เพือ่ ใหสนิ คาเปนทีร่ จู กั มากยิง่ ขึน้ สรางใหเกิด Business Model ทําใหมีสินคาที่ดีพรอมๆ กับการบริการที่ดีใหลูกคาประทับใจและพึงพอใจในที่สุด สําหรับวารสาร Engineering Today ฉบับที่ 157 นี้ ขอเกาะติดการเตรียมความพรอมของหนวยงาน ตางๆ สู Thailand 4.0 เริ่มจากรายงานพิเศษ “ถึงเวลาวิศวกรปรับปรุงการทํางานใหม พรอมขับเคลื่อน ประเทศสู Thailand 4.0”, “ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมสงเสริมอุตสาหกรรม สงเสริมผูประกอบการ 4 กลุมเปาหมาย ภายใตยุทธศาสตร Thailand 4.0”, “วิศวกรรมสิ่งแวดลอมทวีความสําคัญในการ พัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรมยุค Thailand 4.0”, “รมต.สุวิทย แนะนักวิจัยมุงวิจัยรวมกับภาครัฐและ อุตสาหกรรม ตอบโจทยสู Thailand 4.0”, “กพร. นําเทคโนโลยีโดรนตรวจสอบเหมืองแรตามนโยบาย Thailand 4.0 ตั้งเปาป’60 ใหเหมืองทั่วประเทศจัดสงรายงานจากโดรนทุกป” และคอลัมนอื่นๆ ที่ เปนอาหารสมองชั้นดี ติดตามไดในฉบับครับ

เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด วารสาร “Engineering Today” เปนวารสารรายสองเดือน ของบริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด บทความที่ตีพิมพในวารสาร “Engineering Today” ขอสงวนสิทธิใ์ นการนําไปใชคดั ลอก ดัดแปลง นําไปรวมตีพมิ พเผยแพรเพือ่ ประโยชนในวงการวิศวกรรม ขอความ ที่ตีพิมพในบทความและโฆษณาในวารสาร “Engineering Today” เปนความคิดเห็นสวนตัวของผูเขียนหรือผูลงโฆษณาเอง ซึ่งทาง วารสารฯ ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไปถาบทความใดผูอานเห็น วาไดมีการลอกเลียนหรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิง หรือ ทํ า ให เ ข า ใจผิ ด ว า เป น ผลงานของตน กรุ ณ าแจ ง ให ท าง กองบรรณาธิการทราบ จักเปนพระคุณยิ่ง รายละเอียดตางๆ ที่ปรากฏในวารสารฯ ไดผานการตรวจ ทานอยางถีถ่ ว นเพือ่ ความถูกตองสมบูรณทสี่ ดุ เทาทีส่ ามารถกระทํา ได ทางวารสารฯ ไมไดมีการรับประกันความเสียหายอันอาจเกิด ขึ้นจากการนําขอมูลในวารสารฯ ไปใชแตอยางใด ผูนําเนื้อหาที่ตีพิมพในวารสารฉบับนี้ไปเผยแพรไมวาบาง สวนหรือทั้งหมด จะตองอางอิงชื่อวารสารและบริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด ดวยทุกครั้งในทุกหนาที่มีเนื้อหาดังกลาว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝายโฆษณา e-Mail : sale@engineeringtoday.net ฝายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

ฯพณฯ พลอากาศเอกกําธน สินธวานนท

คณะที่ปรึกษา

ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ตอตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน พันธุบรรยงก, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน เหมวชิรวรากร

บรรณาธิการอํานวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการผูพ  มิ พผโู ฆษณา สุเมธ บุญสัมพันธกจิ บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.สุรพล ดํารงกิตติกุล, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรียพร วงศศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย เรืองติก พิสูจนอักษร พรทิพย โซวสุวรรณ ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ ผูจัดการฝายโฆษณา เขมจิรา บุญพระรักษา ฝายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตษ, กัลยา ทรัพยภิรมย, เลขานุการฝายผลิต ชุติมันต บัวผัน ฝายสมาชิก อังลนา สงวนสิน โรงพิมพ บจก. ฐานการพิมพ แยกสี บจก. คลาสิคสแกน จัดจําหนาย บจก. ธนบรรณปนเกลา Engineering Today



CONTENTS Engineering Today

January-February 2017 VOL. 1 No. 157

COLUMNS 8

บทบรรณาธิการ

31

ปฏิรูปประเทศไทย รับยุทธศาสตร Thailand 4.0

• กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

17 Hilight

สกว. รวมกับมูลนิธิโครงการหลวงตามรอยศาสตรพระราชา พัฒนาสตรอวเบอรรีพันธุพระราชทาน 80

• กองบรรณาธิการ

35 ถึงเวลาวิศวกรไทยปรับการทํางานใหม พรอมขับเคลื่อน ประเทศสูยุค Thailand 4.0

• กองบรรณาธิการ

38 Auto Today

มจธ. จับมือ 4 บริษัทชั้นนํา จัดตั้งโครงการ Charge & Share พรอมเปดสถานี Electric Car Sharing แหงแรกในไทย

• กองบรรณาธิการ

17 22 Logistics

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๙ กับวงการโลจิสติกสไทย

38

• รศ. ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ

41 Industry 4.0

22 26 Environment

วิศวกรรมสิ่งแวดลอมทวีความสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมยุค Thailand 4.0

• กองบรรณาธิการ

27 Interview

ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมสงเสริมอุตสาหกรรม สงเสริมผูป ระกอบการ 4 กลุมเปาหมาย ภายใตยุทธศาสตร Thailand 4.0

เดลตาฯ รวมกับจุฬาฯ จัดงาน “วิถีเทคโนโลยีออโตเมชั่น IA...สูยุคอุตสาหกรรม 4.0” • กองบรรณาธิการ

44 Factory Today

“สมารทฟารมสุกร” VPF Pork Valley นวัตกรรมเพื่อ อุตสาหกรรมเกษตร ตอบโจทยประเทศไทย 4.0 • กองบรรณาธิการ

48 Technology

กพร. นําเทคโนโลยีโดรนตรวจสอบเหมืองแรตามนโยบาย Thailand 4.0 ตั้งเปาป’60 ใหเหมืองทั่วประเทศจัดสงรายงานจากโดรนทุกป

• กองบรรณาธิการ

• กองบรรณาธิการ

Report 31 สวทช. เดินหนานําองคความรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

หนุนไทยสู “เศรษฐกิจชีวภาพ” สรางความเขมแข็งใหเศรษฐกิจไทย

• กองบรรณาธิการ

48



CONTENTS Engineering Today

January-February 2017 VOL. 1 No. 157

COLUMNS 53 แมพิมพขนาดเล็กและชิ้นสวนจิ๋ว (Micromould and Micropart) • ชาญวุฒิ ศรีผึ้ง

Energy Today 55 จีอีพัฒนาโรงไฟฟาถานหินรุนใหม เทคโนโลยีลํ้าสมัย ประสิทธิภาพสูง

86 Research & Development

รมต.สุวิทย แนะนักวิจัยมุงวิจัยรวมกับภาครัฐและอุตสาหกรรม ตอบโจทยสู Thailand 4.0

• กองบรรณาธิการ

CONSTRUCTION THAILAND

เกือบ 50% ตอบสนองความตองการใชไฟเพิม่ 2 เทาตัว ใน 20 ปขา งหนา

• กองบรรณาธิการ

58 เอคเซนเชอรชี้อนาคตธุรกิจไฟแขงขันยาก หากไมเรงปรับตัว เขาสู Smart Grid

69 Construction

• กองบรรณาธิการ

• กองบรรณาธิการ

IT Update 60 NI ฉลองครบรอบ 40 ป จัดงาน NIDays 2016 อัพเดทแพลตฟอรมใหมๆ สู Smart Industry รองรับ Thailand 4.0

69

• กองบรรณาธิการ

62 SBAC ควารางวัลชนะเลิศ “Cabling Contest 2016” มีสิทธิ์ชิงชัยเวที World Skills 2017 ที่สหรัฐอาหรับเอมิเรตส • กองบรรณาธิการ

64 Security

เทรนด ไมโคร เผยป 2560 IoT จะถูกโจมตีมากขึ้น พรอมเปดตัว 2 โซลูชันปองกันภัยคุกคามใหม • กองบรรณาธิการ

66 บทความพิเศษ

การอยูรอดในสถานการณตางๆ ทําใหธุรกิจ ไมหยุดชะงักไดหรือไม

• เวยน ฮารเปอร

78 Management Tools Today

Property 73 เกษร พร็อพเพอรตี้ เปดตัว “GAYSORN VILLAGE” ชูอาณาจักรธุรกิจ และไลฟสไตลในรูปแบบวิลเลจใจกลางกรุงครั้งแรกในไทย

• กองบรรณาธิการ

75 กลุม ซีคอนโฮม เปดเกมรุกตลาดดิจทิ ลั ออนไลน หวังขยายฐานกลุม ลูกคา คนรุนใหมมากขึ้น

• ทัศนีย เรืองติก

77 Equipment

“วัตคินสัน” เดินหนารุกตลาดเครื่องจักรกลหนักป 2560 ตอบรับนโยบายโครงสรางพื้นฐานของรัฐ มั่นใจยอดขายทะลุ 300 ลาน

• กองบรรณาธิการ

ศาสตรพระราชา กับการพัฒนาที่ยั่งยืน

• พรชัย องควงศสกุล

83 Green Industry

ยิบอินซอยทุมงบ 200 ลานบาท เปดโรงงานแหงใหมที่ จ.อยุธยา ชูยุทธศาสตรการบริหารสู Green Industry • กองบรรณาธิการ

68 88, 89, 90 93 95

ปฏิทินอบรมสัมมนา Focus Activities Buyer’s Guide

กองบรรณาธิการยินดีรับบทความดานวิศวกรรมและอุตสาหกรรมทุกสาขา สนใจสงตนฉบับ พรอมภาพประกอบ หรืออีเมลมาที่ editor@engineeringtoday.net หากบทความใดไดรับพิจารณาตีพิมพจะมีคาตอบแทนใหตามความเหมาะสม



Spotlight

สมเด็จพระเทพฯ เสด็จพระราชดําเนินทรงเปิด

“หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ” หอดูดาวเฝาระวังวัตถุใกลโลกแหงแรกของไทย

หอดดาวเฝ หอดู ดาวเฝาระวังวัตถใกล ถุใกลโลกแหงแรกของไทย ตั้งสถานีรายงานดอยอินทนนท จ.เชียงใหม

เสด็จพระราชดําเนินทรงเปด “หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ”

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ พระราชดําเนินทรงเปด “หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ” ซึ่งไดรับ พระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพฯ พระราชทานนาม โดย จัดสรางขึ้นภายใตความรวมมือของ 3 หนวยงาน ไดแก สถาบัน วิจยั ดาราศาสตรแหงชาติ (องคการมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี กองทัพอากาศ และกระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจ และสังคม (เดิมกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) เพื่อเฝาระวังวัตถุใกลโลกและวัตถุอวกาศ หวังลดความเสี่ยงจาก ภัยพิบัติ รวมถึงผลกระทบจากอวกาศที่มีตอโลกและมุงเผยแพร ขอ มู ล ข าวสารความรู ที่ถู กต อ งสูประชาชน ณ สถานีรายงาน ดอยอินทนนท จังหวัดเชียงใหม “หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ” ตั้งอยูบริเวณสถานีรายงาน ดอยอินทนนท อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม ติดตั้งกลอง โทรทรรศนชนิดสะทอนแสง ขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.7 เมตร สรางขึน้ ภายใต “โครงการเฝาระวังวัตถุใกลโลกและวัตถุอวกาศ” ซึ่งดําเนินการรวมกันระหวางสถาบันวิจัยดาราศาสตรแหงชาติ (องคการมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สนับสนุน กลองโทรทรรศนระบบติดตามวัตถุใกลโลกและวัตถุอวกาศ กองทัพ อากาศสนับสนุนสถานที่กอสรางหอดูดาวฯ ในพื้นที่ของกองทัพ อากาศดอยอินทนนท และกระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม สนับสนุนระบบเครือขายอินเทอรเน็ตและกิจกรรมพัฒนาบุคลากร นอกจากนีย้ งั ดําเนินโครงการดังกลาวรวมกับ Minor Planet Centers ซึง่ เปนหนวยงานภายใตสหพันธดาราศาสตรสากล (IAU)

14

และไดรับการสนับสนุนจากองคการบริหารการบินและ อวกาศแหงชาติสหรัฐอเมริกา (NASA) และศูนยเฝา ระวังภัยอวกาศประเทศญี่ปุน (Japan Spaceguard Assocasiaiton) มีวัตถุประสงคหลักในการเฝาติดตาม และศึ ก ษาวงโคจรของวั ต ถุ ใ กล โ ลกและวั ต ถุ อวกาศ เก็บรวบรวมและสรางฐานขอมูล เพื่อนําไปศึกษาวิจัย และตอยอดองคความรู เปนศูนยขอมูลการเตือนภัย รวมทั้งสรางความตระหนัก ความรูและความเขาใจ ที่ถูกตองเกี่ยวกับภัยคุกคามจากวัตถุใกลโลกและวัตถุ อวกาศใหกับสาธารณชน ปจจุบันมีการสนใจศึกษาและเฝาติดตามวัตถุใกลโลกและ วัตถุอวกาศเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งการหาตําแหนงที่ แนนอนของวัตถุเหลานี้ ซึ่งวัตถุใกลโลกและวัตถุอวกาศสวนใหญ มีความไมเสถียรของวงโคจรสูง เนือ่ งจากหลายปจจัย ทําใหการหา ตําแหนงทีแ่ นนอนเปนไปไดยาก ความแมนยําของตําแหนงแตละ วัตถุตองอาศัยผลการสังเกตการณจากหลายๆ ตําแหนงบนโลก และจําเปนตองใชกลองโทรทรรศนจํานวนมากที่กระจายอยูใน พื้นที่ตางๆ ทั่วโลกเฝาติดตามอยางตอเนื่องเปนเวลานาน ทําให เกิ ด ความร ว มมื อ เป น เครื อ ข า ยขององค ก รดาราศาสตร แ ละ อวกาศทั่วโลก เพื่อรวมแบงปนขอมูลและผลการสังเกตการณ รวมกัน การเขารวมเครือขายเหลานี้นอกจากเปนการศึกษาและ หาวิธปี อ งกันอันตรายจากวัตถุใกลโลกและวัตถุอวกาศแลว ยังเปน โอกาสทีจ่ ะพัฒนาวงการดาราศาสตรในประเทศสูร ะดับนานาชาติ อีกดวย ประเทศไทยจึงเขารวมเปนเครือขายติดตาม รวมแลกเปลีย่ น ขอมูลสังเกตการณวตั ถุใกลโลกและวัตถุอวกาศ รวมทัง้ สนับสนุน กิจกรรมดานดาราศาสตรตา งๆ ทีเ่ กีย่ วของ โดยใชกลองโทรทรรศน สะทอนแสงขนาดเสนผานศูนยกลาง 2.4 เมตร ที่หอดูดาวเฉลิม พระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา บริเวณสถานีทวนสัญญาณ ทีโ อที อุทยานแหงชาติด อยอินทนนท และกล องโทรทรรศน สะทอนแสงขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.7 เมตร ที่หอดูดาวเฉลิม พระเกียรติ บริเวณสถานีรายงานดอยอินทนนท กองทัพอากาศ เพื่อศึกษาและเก็บขอมูลดังกลาว



Spotlight

เอปสันผนึ ก กํา ลั ง 500 TukTuks

จัด Startup Day เสริ ม สตาร ท อัพไทยให แ ข็ง แกรง บริษทั เอปสัน (ประเทศไทย) จํากัด โดย ยรรยง มุนมี งคลทร ผูจ ดั การทัว่ ไป จับมือ กองทุน 500 TukTuks จัดกิจกรรมภายใต แคมเปญ #TrustInYou ในรูปแบบงานสัมมนา “Startup Day” ระดมทีมสตารทอัพชั้นนํา อาทิ ณัฐวุฒิ พึงเจริญพงศ ประธาน เจาหนาที่บริหาร บริษัท อุคบี จํากัด (Ookbee) แอพพลิเคชั่น และเว็บไซตหนังสืออิเล็กทรอนิกสรายใหญสุดของเมืองไทย และ ผูบ ริหารกองทุน 500 TukTuks หนึง่ ใน Epson Expert Endorsers ตัวแทนความมุงมั่น (Commitment) ซึ่งนํามาสูความสําเร็จใน วงการสตารทอัพรายแรกๆ ของเมืองไทย รวมดวย เรืองโรจน พูนผล ผูบริหารกองทุน 500 TukTuks และเหลาสตารทอัพ แถวหนาของเมืองไทย อยางเชน Finnomena, Washbox24, DeepPocket, Skootar, Fastwork.co มารวมแชรประสบการณ โดยมีผูสนใจรวมงานกวา 1,000 คน ณ โรงละครเคแบงกสยาม พิฆเนศ ชั้น 7 สยามสแควรวัน

ยรรยง มุนีมงคลทร

เรืองโรจน พูนผล (ขวา)

ณัฐวุฒิ พึงเจริญพงศ

อีริคสันจัดแสดงนวัตกรรม 5G ครั้งแรกในไทย ฉลองครบรอบปที่ 111 ของอีริคสันในไทย อีริคสัน ผูบุกเบิกเทคโนโลยีโทรศัพทมือถือระบบ 1G, 2G และ 3G ในประเทศไทย และใหบริการระบบ 4G ฉลองการ ดําเนินงานครบรอบปที่ 111 ของอีริคสันในประเทศไทย จัดแสดง นวัตกรรมดวยเครือขาย 5G ครัง้ แรกในประเทศไทย โดยใชระบบ ทดสอบ 5G ของอีริคสันและแกนซีพียูแบบ 5G ซึ่งถือเปนกาว สําคัญในการนําประเทศไทยใหกา วสูว สิ ยั ทัศน “ดิจทิ ลั ไทยแลนด” อยางแทจริง โดยการสาธิตระบบ 5G จะมุงเนนที่ความสามารถ ในดานตางๆ จากการใชเทคโนโลยีรปู แบบใหม ซึง่ เพิม่ ประสิทธิภาพ การทํางานไดถึงระดับสูงสุดผานสัญญาณที่มีความเร็วถึง 5.7 กิกะบิตตอวินาที โดยมีความหนวงเพียง 0.3 มิลลิวินาทีเทานั้น ตลอดระยะเวลาของการจัดงาน อีริคสันจะสาธิตความ กาวลํ้าทางเทคโนโลยีใหมลาสุด ทั้งในดานวิวัฒนาการเครือขาย วิ ท ยุ (Radio Network Evolution) เครื อ ข า ยคลาวด ใ นงาน อุตสาหกรรม (Industrialized Cloud) อุตสาหกรรมที่เชื่อมโยง ถึงกัน (Connected Industries) และโซลูชนั เพือ่ ธุรกิจระบบดิจทิ ลั (Digital Business Solutions) ณ โรงแรมอินเตอรคอนติเนนตัล

สวนหนึ่งของนวัตกรรมเครือขาย 5G ซึ่งอีริคสันจัดขึ้นเปนครั้งแรกในไทย

16

นาดีน อัลเลน ประธานบริษัท อีริคสัน (ประเทศไทย) จํากัด

ฐากร ตัณฑสิทธิ์ เลขาธิการ กสทช.

CHARLOTTA SCHLYTER (ที่ 3 จากขวา) อุปทูตสวีเดน

ถายภาพเปนที่ระลึกรวมกัน


Hilight

• กองบรรณาธิการ

แปลงปลูกจริงของเกษตรกรบนพื้นที่เขาคอ จังหวัดเพชรบูรณ

สกว. ร่วมกับ มูลนิธิโครงการหลวง ตามรอยศาสตรพระราชา พัฒนา

สตรอว์เบอร์รีพันธุ์พระราชทาน 80

ตอบโจทย์ผู้บริโภค

ป จ จุ บั น นี้ ที่ ช าวไทยภู เ ขามี ที่ อ ยู  เ ป น หลักแหลง มีอาชีพที่มั่นคง และยั่งยืน เลี้ยง ครอบครัวไดเปนอยางดี ก็ดวย “ศาสตรพระราชา” ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมพิ ลอดุลยเดช ทีท่ รงวางแนวทางการพัฒนา โครงการตางๆ กวา 4,400 โครงการ ดวย ความลุมลึก รอบดาน มองการณไกล และเนน ความยั่งยืน บนพื้นฐานของการเขาใจ เขาถึง และพัฒนา เพื่อมุงยกระดับคุณภาพชีวิตของ คนไทยในพื้ น ที่ ทุ ร กั น ดารให อ ยู  ดี กิ น ดี แ ละ ขจัดปญหาความยากจนอยางยั่งยืน สตรอววเ บอรรีพันธธุพระราชทาน 8800 พนธ สตรอ พั​ันธุทีท่ดี ีที่สดของไทย ุดของไทย

17

Engineering Today January- February 2017


โครงการหลวงส่งเสริมชาวเขาในพื้นที่เขาค้อ ปลูก “สตรอว์เบอร์รีพันธุ์พระราชทาน” ทดแทนฝิ่น

ผศ. ดร.พีระศักดิ์ ฉายประสาท ผูอํานวยการสถานีวิจัยเพื่อความเปนเลิศ ทางวิชาการดานเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยนเรศวร

เดิมทีชาวไทยภูเขามีการทําไรเลือ่ นลอย มีการปลูกฝน และการตัดไมทําลายปา ซึ่งทําใหเกิดปญหาตางๆ ตามมา มากมาย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช จึงทรงมีพระราชประสงคที่จะชวยเหลือชาวเขาใหมีพื้นที่ ทํากินเปนหลักแหลง สงเสริมการปลูกพืชทดแทนฝน พรอมทัง้ ถายทอดวิ ชาความรู ด านการเกษตรแผนใหม เพื่อเพิ่ม ผลผลิตทางการเกษตร ปรับปรุงฐานะความเปนอยูของ ชาวเขาใหดีขึ้น ตลอดจนปองกันการบุกรุกทําลายปาไม ตนนํา้ ลําธาร ซึง่ เปนทีม่ าของโครงการหลวง ในป พ.ศ. 2512 ซึ่งเปนโครงการสวนพระองคที่ทรงริเริม่ ขึน้ เพือ่ สงเสริมการ ปลูกพืชพันธุเมืองหนาวชนิดตางๆ ทดแทนการปลูกฝน “สตรอวเบอรรี” ผลไมเมืองหนาว ซึ่งเปนที่นิยมของ ผูบ ริโภคในปจจุบนั ก็เปนหนึง่ ในผลไมนาํ เขาจากตางประเทศ ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรง พระราชทานพันธุใหชาวเขาปลูกในพื้นที่เขาคอ จังหวัด เพชรบูรณ ตั้งแตป 2512 สรางรายไดใหชาวเขาเปนกอบ เปนกําจนถึงปจจุบัน

แปลงสาธิต ณ ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรที่สูง เพชรบูรณ (เขาคอ)

ผศ. ดร.พีระศักดิ์ ฉายประสาท ผูอํานวยการ สถานีวจิ ยั เพือ่ ความเปนเลิศทางวิชาการดานเทคโนโลยี หลั ง การเก็ บ เกี่ยว คณะเกษตรศาสตร ทรัพ ยากร ธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร กลาววา สตรอวเบอรรี ถือเปนผลไมชนิดแรกๆ ตามแนว พระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา แปลงทดลองปลูกสตรอวเบอรรีแบบกางมุง มหาวิทยาลัยนเรศวร ภูมิพลอดุลยเดชที่ทรงนําเขามาจากตางประเทศ เพื่อ ขยายพันธุ ปลูกทดลอง และสงเสริมใหเกษตรกรในที่สูงปลูกทดแทนฝนและการทําไรเลื่อนลอยของชาวเขาเผาตางๆ ในพื้นที่จังหวัด เพชรบูรณและพื้นที่จังหวัดใกลเคียง เชน เชียงใหม เชียงราย ซึ่งมีสภาพภูมิอากาศหนาว อุณหภูมิตํ่าประมาณ 12-15 0c เนื่องจากเปน ผลไมที่ไดรับพระราชทานพันธุมาจากในหลวง รัชกาลที่ 9 เพื่อการวิจัยปรับปรุงพันธุ และเสาะหาพันธุที่เหมาะสมตอสภาพพื้นที่และ ภูมิอากาศของประเทศไทย ดังนั้นจึงตั้งชื่อนําหนาพันธุวา “พันธุพระราชทาน” แลวจึงตามดวยหมายเลขพันธุ หรือหมายเลขแปลง เชน สตรอวเบอรรีพันธุพระราชทาน 80, 50, 70, 72 รวมทั้งสายพันธุ 329 จากประเทศอิสราเอล และอาคิฮิเมะจากประเทศญี่ปุน เปนตน

Engineering Today January- February 2017

18


จากสตรอว์เบอร์รีพันธุ์พระราชทาน 16 สู่พันธุ์พระราชทาน 50 ที่เป็นพันธุ์ของคนไทย ในชวงเริ่มแรกของโครงการ พระบาทสมเด็จพระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงพระราชทานพั น ธุ  สตรอวเบอรรที ชี่ อื่ วา 16 ซึง่ เปนสตรอวเบอรรนี าํ เขามาจาก ต า งประเทศ มาใหเ จ า หน า ที่ มูล นิ ธิโครงการหลวงและ เกษตรกรทดลองปลูก ซึ่ง ได ผลบา งและพบปญหาบาง ดวยเหตุนี้ คณะทํางานในโครงการพัฒนานักวิจัยและ งานวิ จั ย เพื่ อ อุ ต สาหกรรม (พวอ.) สํ า นั ก งานกองทุ น สนับสนุนการวิจัย (สกว.) และ มูลนิธิโครงการหลวง จึงได ทําการวิจัยและปรับปรุงพันธุสตรอวเบอรรีอยางตอเนื่อง มากวา 20 ป จนสามารถคิดคน ผสมพันธุสตรอวเบอรรี ของไทยขึ้นมาเอง โดยไมตองไปนําเขาจากตางประเทศ อีกตอไป เชน พันธุพระราชทาน 50 ซึ่งเปนพันธุที่ตรงกับ วโรกาสทรงครองราชยครบ 50 ป เปนตน ล า สุ ด โครงการพั ฒ นานั ก วิ จั ย และงานวิ จั ย เพื่ อ อุตสาหกรรม (พวอ.) สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และมูลนิธิโครงการหลวง ไดนําคณะเจาหนาที่และ สื่อมวลชนลงพื้นที่ติดตามความกาวหนาของโครงการวิจัย การพัฒนาปรับปรุงพันธุสตรอวเบอรรีพระราชทาน 80 ที่สามารถผลิตแอนโทไซยานิน (Anthocyanins) ซึ่งมีฤทธิ์ ตานอนุมูลอิสระ (Antioxidant) ชวยชะลอความเสื่อมของ เซลล พรอมทั้งขยายพันธุดวยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เพื่อคัดเลือกสายพันธุที่มีความเหมาะสมในการปลูกกอน นํ า สายพั น ธุ  ที่ ไ ด ไ ปแจกจ า ยให กั บ เกษตรกรของมู ล นิ ธิ โครงการหลวงและเกษตรกรทั่วไป ซึ่งอยูในพื้นที่เขาคอ จังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดอื่นๆ ที่มีสภาพภูมิอากาศที่ เหมาะสม เพื่อสรางรายไดใหแกครอบครัวตอไป เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสตรอว์เบอร์รี เพิ่มปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระ ดร.ณรงค ชั ย พิ พั ฒ น ธ นวงศ ผู  อํ า นวยการฝ า ย การตลาด มูลนิธิโครงการหลวง กลาววา ในการพัฒนา สายพันธุสตรอวเบอรรี โดยทั่วไปจะใชระยะเวลาประมาณ 5 ป จึงจะพัฒนาได 1 สายพันธุ ปจจุบันมีพันธุที่กําลัง สงเสริมคือ พันธุพระราชทาน 60 และพันธุพระราชทาน 80 ซึ่ ง มี ข  อแตกต า งกัน ที่ พัน ธุ พ ระราชทาน 60 จะให ผลผลิตตอไรที่สูงกวา แตในเรื่องคุณภาพของผลผลิตนั้น พันธุพระราชทาน 80 จะใหสีแดงสดถึงแดงจัดและรสชาติ ที่ดีกวา ซึ่งทั้ง 2 พันธุถือเปนสายพันธุทางเลือกที่ดี และ

ดร.ณรงคชัย พิพัฒนธนวงศ ผูอํานวยการฝายการตลาด มูลนิธิโครงการหลวง

คาดวาจะใชเปนแมพันธุในการพัฒนาสายพันธุเพื่อนําไปผสมขาม สายพันธุอื่นตอไปในอนาคต สําหรับสตรอวเบอรรีพันธุพระราชทาน 80 ซึ่งเปนพันธุลูกผสม จากสตรอวเบอรรีญี่ปุนที่นํามาขยายพันธุบนดอยปุย จังหวัดเชียงใหม ไดมีการวิจัยพัฒนาสายพันธุใหดีขึ้นตามลําดับ และนําไปใหเกษตรกร ทดลองปลูกแลว 2-3 ป ซึ่งไดผลผลิตเปนที่นาพึงพอใจมาก ปจจุบัน สตรอวเบอรรีพันธุพระราชทาน 80 ถือเปนสตรอวเบอรรีพันธุที่ดีที่สุด ของไทย ดวยลักษณะเดนตรงที่ผลใหญแนน สี รูปรางของผลสวยงาม และมีรสหวาน อยางไรก็ตาม ตนพันธุส าํ หรับการปลูกสตรอวเบอรรขี องเกษตรกร ในป จ จุ บั น ยั ง เสี่ ย งต อ การติ ด เชื้ อ โรคและการเข า ทํ า ลายของแมลง ที่สําคัญยังมีปริมาณแอนโทไซยานิน หรือสารตานอนุมูลอิสระนอย เก็บรักษาอยูไ ดไมนาน อีกทัง้ ภายหลังจากการเก็บเกีย่ วผลจะบอบชํา้ งาย ทางคณะผูวิจัยจึงไดนําปญหาที่เกษตรกรและคณะผูวิจัยพบเจอมา คิดวิธีขยายพันธุใหมดวย วิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เพื่อใหไดสายพันธุ ที่สมบูรณแข็งแรง ลดการติดเชื้อและการเขาทําลายของแมลง พรอมทั้ง พัฒนาพันธุใหมีคุณคาทางโภชนาการที่สูงขึ้น และหาวิธีที่จะยืดอายุ ผลผลิตสดใหสามารถเก็บรักษาไดยาวนานขึ้น “จากการพัฒนาวิจัยรวมของคณะนักวิจัยจากโครงการพัฒนา นักวิจัยและงานวิจัยเพื่ออุตสาหกรรม (พวอ.) ภายใตสํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) พบวา สตรอวเบอรรีพันธุพระราชทาน 80 นี้ มีแอนโทไซยานิน (Anthocyanins) ตํา่ กวาสตรอวเบอรรพี นั ธุอ นื่ ๆ ทีป่ ลูก ในเมืองไทย โดยมีประมาณ 2 มิลลิกรัมตอสตรอวเบอรรีสด 100 กรัม สวนพันธุอาคิฮิเมะจากญี่ปุนที่มีปลูกในบางพื้นที่นั้น ปริมาณแอนโท ไซยานินสูงสุดประมาณ 45 มิลลิกรัมตอสตรอวเบอรรสี ด 100 กรัม ดังนัน้ เปาหมายของคณะทํางานวิจยั จากนีต้ อ ไป คือการพัฒนาพันธุส ตรอวเบอรรี ใหมีปริมาณแอนโทไซยานินมากกวาพันธุอื่นๆ ที่ปลูกในไทย และเปน สายพันธุท เี่ หมาะสมกับประเทศไทย ใหผลผลิตทีม่ คี ณ ุ คาทางโภชนาการ

199

Engine Eng Engineering in ering Today JanuaryJanua nuaary- Feb February ebru ruary 2017 17


ทดลองวิจัยจับคูสายพันธุสตรอวเบอรรีในหองทดลอง มหาวิทยาลัยนเรศวร

ที่สูงขึ้น พรอมทั้งเรงผลผลิตใหออกนอกฤดูกาลเพื่อใหเกษตรกร จําหนายผลสตรอวเบอรรีไดในราคาที่สูงขึ้น และหาวิธีการทําให ผลสตรอวเบอรรสี ดทีอ่ อกสูต ลาดมีอายุทยี่ าวนานขึน้ ” ดร.ณรงคชยั กลาว พันธุ์ลูกผสมใดตอบโจทย์งานวิจัยที่สุด ต้องรอผลผลิตออกจริงเมษายน 2560

รอยตรียุทธนา บํารุงคีรี เกษตรกรชาวมง

ทั้งนี้ คณะทํางานวิจัยไดทําการวิจัย โดยจับคูผสมพันธุ สตรอวเบอรรพี นั ธุพ ระราชทาน 80, 50, 70, 72 รวมทัง้ สายพันธุ 329 แลว พบวา เมื่อใชสตรอวเบอรรีพันธุ 329 เปนตนพอ และ ใชสตรอวเบอรรีพันธุพระราชทาน 80 เปนตนแม จะไดลูกผสม ที่มีการเจริญเติบโตดีที่สุด คือมีทรงพุมสูงและกวางที่สุด แต อยางไรก็ตาม งานของคณะวิจัยยังไมไดขอสรุปวาลูกผสมคูใดที่ จะใหผลผลิตทีม่ ลี กั ษณะสวยงาม รสชาติดแี ละมีแอนโทไซยานินสูง ซึ่งจะตองรอชวงเดือนเมษายน 2560 ใหสตรอวเบอรรีลูกผสม ออกผลจึงจะสามารถนําไปวิเคราะหได

Eng Engineering ng Tod TToday To ayy Ja JJanuarynuary- February 20 2017 1 17

200

สําหรับการรับซือ้ สตรอวเบอรรที เี่ ปนผลสด จะมีตลาดรับซือ้ ขนาดใหญทั้งภายในและภายนอกประเทศในสัดสวนเทาๆ กัน โดยตลาดในประเทศจะนิยมซื้อตนฤดูกาล ในชวงเดือนธันวาคม เปนตนไป เพื่อนําไปจําหนายแก ผูบ ริโ ภคในพื้นที่ตางๆ ของ ประเทศไทย ซึ่งนิยมรับประทานแบบสดเก็บจากแปลงเกษตรกร ประมาณ 1-3 วัน สวนตลาดตางประเทศที่สําคัญคือ ประเทศ ญีป่ นุ ซึง่ จะรับซือ้ สตรอวเบอรรแี ชแข็งในชวงปลายฤดูกาลเพือ่ นํา ไปแปรรูปแบบแหง เปนตน


ชาวม้งซาบซึ้ง ในพระมหากรุณาธิคุณ รัชกาลที่ 9 รอยตรียุทธนา บํารุงคีรี เกษตรกรชาวมง อายุ 56 ป กลาววา สตรอวเบอรรพี นั ธุพ ระราชทาน ทีเ่ กษตรกรสวนใหญนยิ มปลูก คือ พันธุพ ระราชทาน 80 ซึ่งชาวเขา 4 เผา ไดแก มง ลีซอ เยา และถิ่น ในพืน้ ทีเ่ ขาคอ จังหวัดเพชรบูรณ ตางนําพันธุม าปลูก ในพื้นที่ของตนเอง คนละประมาณ 2 ไร ไดผลผลิต ที่ดีมาก ผูบริโภคและตลาดตางชื่นชอบในรสชาติ ความหวาน และอรอย โดยกลุมลูกคาระดับสูงจะ เหมาซือ้ เมือ่ ผลผลิตออกในชวงตนฤดูกาล ประมาณ ช ว งเดื อ นธั นวาคม ในราคาที่ สู ง มาก ประมาณ 400-500 บาทตอกิโลกรัม สําหรับรอยตรียทุ ธนาเองก็ปลูกสตรอวเบอรรี จํานวน 2 ไรเชนกัน โดยปลูกในพื้นที่แปลงที่เคย ปลูกขาวโพดมากอน เมือ่ เปรียบเทียบรายไดจากการ ปลู ก สตรอวเบอรรีกับขาวโพดแลวพบวาการปลูก สตรอวเบอรรจี ะไดเงินทีค่ มุ คากวามาก อีกทัง้ การดูแล ก็คอ นขางงาย ไมยงุ ยาก และไมตอ งหาตลาดรับซือ้ เหมือนทําไรขา วโพด โดยเฉพาะยิง่ ในชวงเดือนธันวาคม ถึงเดือนมกราคม ผลผลิตสตรอวเบอรรที อี่ อกสูต ลาด แทบจะไมต  อ งนํ าส ง ขายในเมือ ง เนื่อ งจากจะมี ผูบ ริโภค รวมทัง้ พอคาคนกลางเขามารับซือ้ ถึงแปลง สตรอวเบอรรีเลยทีเดียว “สวนตัวซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช อยางหาที่สุดมิไดที่ทรงชวยเหลือชาวเขาทุกเผามา โดยตลอด ไมวาจะหาอาชีพใหชาวเขาไดทํา สง เจาหนาที่เขามาแนะนําใหปลูกพืชแทนการปลูกฝน ทําไรเลือ่ นลอยถางปาไปเรือ่ ย และอยากจะขอบคุณ เจาหนาที่โครงการของมูลนิธิโครงการหลวงและ เจ า หน า ที่ ทุ ก คนที่ เ ข า มาช ว ยเหลื อ ทุ ก อย า ง” รอยตรียุทธนา กลาว ในอนาคตตองการใหทางคณะวิจัยและเจา หนาทีท่ ศี่ กึ ษาเรือ่ งสตรอวเบอรรชี ว ยวิจยั พืชผลชนิด อื่นๆ ซึ่งเปนพืชผลทางเศรษฐกิจเพิ่มเติม เพื่อให เกษตรกรสามารถปลูกพืชผลชนิดอื่นๆ ไดทั้งป

การปลูกสตรอว์เบอร์รีในประเทศไทย การปลูกสตรอวเบอรรใี นไทยจะนิยมใชวธิ ปี ลูกตนไหลสตรอวเบอรรี ซึง่ ไหลสตรอวเบอรรกี ค็ อื สวนของลําตนเหนือดินทีท่ อดนอนไปตามพืน้ และแตกหนอใหมพรอมกับรากเพือ่ เจริญเติบโตเปนตนสตรอวเบอรรใี หม การปลูกตนไหลสามารถปลูกไดทั้งในพื้นที่ราบและบนพื้นที่สูง สําหรับ การปลูกบนพื้นราบ จะปลูกภายหลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตทั้งหมดแลว ในชวงปลายเดือนมีนาคมถึงตนเดือนเมษายน โดยใชตน ไหลทีม่ ที งั้ หมด ปลูกลงในถุงพลาสติกเล็กที่บรรจุดินขนาด 3x5 เซนติเมตร และปลอย ใหเจริญเติบโตในแปลงจนกระทั่งเดือนมิถุนายน จึงนําขึ้นไปปลูกบน ที่สูงประมาณ 1,200-1,400 เมตร เพื่อผลิตตนไหลตอไป ซึ่งจะตรงกับ ชวงฤดูฝน ราวเดือนมิถุนายน-ตุลาคม หลังจากที่ปลอยใหตนไหลที่อยู ในถุงพลาสติกเจริญเติบโต และไดรบั ความหนาวเย็นบนทีส่ งู จนเพียงพอแลว จะนําลงไปปลูกในแปลงพื้นที่ราบอีกครั้งประมาณตนเดือนตุลาคม เพราะถาหากปลูกชาเกินไปจะทําใหผลผลิตออกชาตามไปดวย ในการคลุมแปลงนัน้ จะใชฟางขาว ใบตอง อยางใดอยางหนึง่ หรือ รวมกันก็ได คลุมระหวางแถวในแปลงยกรอง โดยจะทําการคลุมกอนหรือ หลังจากปลูกได 1-2 สัปดาห แลวแตพื้นที่ ดอกแรกจะบานไดในราว ตนเดือนพฤศจิกายน และสามารถเก็บเกี่ยวไดตั้งแตเดือนธันวาคมถึง เดือนมีนาคม ในพื้นที่ปลูกของจังหวัดเชียงใหมและจังหวัดเพชรบูรณ สวนจังหวัดเชียงราย ซึ่งมีสภาพอากาศที่เย็นกวา จะเก็บเกี่ยวตอไปได อีกจนถึงเดือนเมษายน สวน การปลูกสตรอวเบอรรีบนที่สูง จะเริ่มในชวงปลายของการ เก็บเกี่ยว คือประมาณปลายเดือนพฤษภาคม ตนสตรอวเบอรรีจะมีการ สรางไหลและตนไหลออกมา ตนไหลเหลานี้จะถูกขุดขึ้นมาปลูกลงใน ถุงพลาสติกเหมือนในพื้นที่ราบราวกลางเดือนสิงหาคม และปลอยให เจริญอยูใ นแปลง จนกระทัง่ ปลายเดือนกันยายน เพือ่ ใหแนใจวาตนไหล เหลานี้ไดรับความหนาวเย็นเพียงพอตอการเกิดตาดอก เพื่อเปนตนที่ แข็งแรงใชสําหรับปลูกในคราวตอไป ชวงเวลาปลูกที่เหมาะสมเพื่อใหไดรับผลผลิตสูงที่สุดคือ กอน ปลายเดือนกันยายนเปนอยางชา เริ่มเก็บเกี่ยวผลผลิตไดระหวางตน เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนพฤษภาคม อยางไรก็ตาม ในระหวางกลาง เดือนธันวาคมถึงกลางเดือนมกราคม ดวยสภาพอากาศในเวลากลางคืน ที่หนาวเย็น อุณหภูมิตํ่ากวา 10 องศาเซลเซียส เปนเวลาหลายๆ ชั่วโมง สงผลใหตน สตรอวเบอรรีอาจจะหยุดการเจริญเติบโตเล็กนอยและไมให ผลผลิต

21

Engineering Engine Eng in ering Today JanuaryJanua nuaary- Feb February ebru ruary 2017 17


Logistics

• รศ. ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ กับวงการโลจิสติกส์ไทย “น้อมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้” ดวยเกลาดวยกระหมอม ขาพระพุทธเจา หลักสูตรโลจิสติกสและซัพพลายเชน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

เพือ่ รวมแสดงความจงรักภักดีและสํานึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ ถวายเปนพระราชกุศลแดพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุ ล ยเดช หลั กสู ตรโลจิ ส ติ กสและซั พ พลายเชน จุ ฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ซึ่งไดเปดดําเนินการหลักสูตรฯ เปนระยะเวลา 15 ปแลว ไดจดั งานครบรอบ 15 ป และจัดใหมกี ารเสวนาภายใต หัวขอ “พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๙ กับวงการ โลจิสติกสไทย” รวมถึงธรรมะในการบริหารงานโลจิสติกส โดย ผูอ าํ นวยการหลักสูตรและวิทยากรรับเชิญ ในวันที่ 26 พฤศจิกายน 2559 หลักสูตรฯ จึงเล็งเห็นความสําคัญของการนําเสนอโครงการ พระราชดําริที่เกี่ยวของกับวงการโลจิสติกส ในวัน เวลา ดังกลาว บทความในสวนนี้จะมุงเสนอเรื่องพระราชกรณียกิจ เนน ในดานการพัฒนาผังเมืองและโลจิสติกสไทย ซึ่งเปนอีกดานหนึ่ง ของศาสตรและศิลปของการพัฒนาประเทศของไทย ที่พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงมีพระมหากรุณาธิคณ ุ

Engineering Today January- February 2017

22

ต อ พสกนิ ก รของพระองค จึ ง จะขออ า งอิ ง พระราชกรณี ย กิ จ ในบางสวนของพระองค เพื่อใหเกิดความรูแกสาธารณชนในการ พัฒนาประเทศตอไปดังนี้

1

โครงการด้านวิศวกรรมโลจิสติกส์ (Engineering Logistics Projects)

โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชดํ า ริ ด  า นคมนาคม การสื่อสารและเทคโนโลยีจะเกี่ยวกับการปรับปรุงถนนหนทาง ทั้งในชนบทที่อยูหางไกลความเจริญ เพื่อใชสัญจรไปมาและนํา สินคาออกมาจําหนายภายนอกไดโดยสะดวก ซึง่ โครงการอันเนือ่ ง มาจากพระราชดําริดานคมนาคมโครงการแรกคือ โครงการสราง ถนนเขาสูห มูบ า นหวยมงคล ตําบลหินเหล็กไฟ (ปจจุบนั คือตําบล ทั บ ใต ) จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ จนกระทั่ ง โครงการสะพาน


พระราม 8 ที่ไดพระราชทานแนวพระราชดําริเพื่อ แก ไ ขป ญ หาการสั ญ จรของประชาชนในกรุ ง เทพ มหานครใหไดรับความสะดวกยังผลสูภาพรวมของ ประเทศทั้งดานสังคมและเศรษฐกิจ ดังพระราชดํารัส พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2537 ความวา “สําหรับการจราจร เครือ่ งมือนัน้ สําคัญทีส่ ดุ คื อ ถนนก็ ต  อ งมี ถ นนที่ เ หมาะสมที่ เ ครื่ อ งควบคุ ม การจราจรไมใชเรื่องของรัฐศาสตร หรือของตํารวจ หรือของศาล เปนเรื่องของวิศวกรรมก็จะตองใหดีขึ้น คือหมายความวาทําใหถนนดีขนึ้ ใหสอดคลอง ซึง่ เปน การบานที่หนักสุด เพราะวากรุงเทพฯ ไดสรางมา เปนเวลา 200 ปแลว ไมไดมีแผนผังเมืองที่จริงๆ จังๆ ก็มีการผังเมืองของทางการ แตวาก็ไมไดประโยชน มากนัก เพราะวาคนไทย ตามชื่อคนไทย คืออิสระ บังคับกันไมได จะสรางอะไรก็สราง อยากจะสราง เดี๋ยวนี้ก็สราง ก็ไปขวางกับคนอื่น คือ ขวางทางอื่น อันนี้ก็เลยแกไมได...” 1.1 โครงการสะพานพระราม 8 โครงการสะพานพระราม 8 หนึ่งในโครงการ จตุรทิศ ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช ไดพระราชทานพระราชดําริใหกรุงเทพ มหานครพิจารณากอสรางสะพานขามแมนาํ้ เจาพระยา เพิ่มขึ้นอีก 1 แหง เมื่อป 2538 ณ บริเวณโรงงาน สุ ร าบางยี่ ขั น บรรจบกับปลายถนนวิ สุ ทธิกษั ตริ ย ใกลธนาคารแหงประเทศไทย และทรงพระกรุณา โปรดเกลาโปรดกระหมอม พระราชทานชือ่ วา “โครงการ สะพานพระราม 8” เพื่อระลึกถึงพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 ดวยทรง ตระหนักถึงความคับคั่งของการจราจรบนสะพาน สมเด็จพระปนเกลาที่จะมีปริมาณเพิ่มขึ้นในอนาคต อีกทั้งเปนการแกปญหาจราจรในกรุงเทพมหานคร ระหวางพื้นที่ฝงพระนครกับฝงธนบุรีที่ยังขาดการ เชือ่ มตอทีเ่ พียงพอ ทําใหเกิดการคับคัง่ ของการจราจร บริเวณพืน้ ทีด่ า นตะวันออก โดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร ชัน้ ใน บริเวณถนนราชดําเนินกลาง ซึง่ ตอกับฝง ธนบุรี โดยผ า นสะพานสมเด็ จ พระป  น เกล า และถนน จรั ญ สนิ ท วงศ ซึ่ ง เป น ถนนสายหลั ก เส น หนึ่ ง ของ ฝ ง ธนบุรี ที่ มี ป ริมาณการจราจรคั บคั่ง ใหส ามารถ คลี่คลายลงได

โครงการประตูระบายนํ้าคลองลัดโพธิ์

1.2 โครงการประตูระบายนํ้าคลองลัดโพธิ์ ประตูระบายนํา้ คลองลัดโพธิ์ อันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ ตําบลทรงคะนอง อําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ในชวงที่เกิดนํ้าเหนือไหลหลาก และนํ้าทะเลหนุนสูงของทุกป รวมถึงเหตุการณนํ้าทะเลหนุนสูงและนํ้าเหนือ ไหลหลากในชวงเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน ของป พ.ศ. 2553 ดวย ที่ประตู ระบายนํา้ คลองลัดโพธิ์ อันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ ไดทาํ หนาทีเ่ ปนเครือ่ งมือ ในการบริหารจัดการแมนํ้าเจาพระยาตอนลาง ชวยลดผลกระทบจากภาวะ นํ้าลนตลิ่งไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยสามารถระบายนํ้าออกสูอาวไทยได เฉลี่ยวันละประมาณ 40 ลานลูกบาศกเมตร และผลการดําเนินการระบายนํ้า ตั้งแตตนเดือนสิงหาคมจนถึงวันที่ 15 พฤศจิกายน 2553 สามารถระบายนํ้า ไดรวมประมาณ 2,470 ลานลูกบาศกเมตร นับวาเปนปริมาณนํ้าที่มากพอ สมควรที่ไดระบายลงสูอ าวไทย นอกจากนี้ประตู ระบายนํ้าคลองลัดโพธิ์ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ยังมีศักยภาพในดานการผลิตไฟฟาดวยพลังนํ้า ซึง่ กรมชลประทานไดรว มกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ทําการศึกษาและวิจยั โดยการประดิษฐกังหันไฟฟาพลังนํ้าไหลตนแบบขึ้นมา 2 แบบ คือ แบบหมุน ตามแนวแกน (Axial Flow) และแบบหมุนขวางการไหล (Cross Flow) โดยใช ใบพัดตนแบบทีว่ เิ คราะหและผลิตขึน้ แบบหมุนตามแนวแกน มีเสนผานศูนยกลาง 2 เมตร และใบพัด แบบหมุนขวางการไหล มี เสน ผ านศู นยกลาง 1 เมตร ยาว 2.50 เมตร ที่ความเร็วนํ้าออกแบบ 2 เมตรตอวินาที ทําใหไดกาํ ลังไฟฟา สูงสุด 5 กิโลวัตต โดยไดดําเนินการประกอบและติดตั้งกังหันทั้ง 2 แบบ กั บ โครงเหล็ ก ที่ ป รั บ ขึ้ น ลงได บ ริ เ วณท า ยประตู ร ะบายนํ้ า คลองลั ด โพธิ์ เพื่อทําการทดลองผลิตกระแสไฟฟา ผลปรากฏวาไดกําลังไฟฟาสูงสุดถึง 5.74 กิโลวัตต สูงกวาที่ไดวิเคราะห และคํานวณออกแบบไว ตัวอาคารประตูระบายนํ้าเปนคอนกรีตเสริมเหล็ก มีชองประตูระบายนํ้าที่ติดตั้งบานระบายนํ้า 4 ชอง กวางชองละ 14 เมตร โดยฤดูแลงจะปดบานระบายนํ้าตลอดฤดู สวนฤดูนํ้าหลากปดบานประตู เมื่อนํ้าทะเลกําลังขึ้น และเปดบานประตูในชวงที่นํ้าทะเลกําลังลง เริ่มกอสราง เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2545 เสร็จสิ้นเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2549 งบประมาณ 509 ลานบาท ซึ่งนอกจากเปนประตูระบายนํ้าแลว พระบาท

23

Engineering Today January- February 2017


2 สะพานวงแหวนอุตสาหกรรม

สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชไดพระราชทานพระราชดําริให พิ จ ารณาใช พ ลั ง งานนํ้ า ที่ ร ะบายผ า นคลองลั ด โพธิ์ ใ ห เ ป น พลั ง งานไฟฟ า โดยออกแบบเปนกังหันพลังนํา้ อาศัยพลังงานจลนจากความเร็วของกระแสนํา้ ติดตั้งบริเวณประตูระบายนํ้าเพื่อผลิตกระแสไฟฟาพลังนํ้า ซึ่งไดกําลังไฟฟา สูงสุดที่ 5.74 กิโลวัตตตอวัน จนทุกวันนี้ 1.3 สะพานวงแหวนอุตสาหกรรม (Mega Bridge) นับเปนโครงการในพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิ พลอดุ ล ยเดช ที่มุ ง คลี่ค ลายปญหาจราจรในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล โดยเฉพาะการอํานวยความสะดวกดานการจราจรและเปนเสนทาง โลจิสติกสทางบก เชือ่ มโยงยานอุตสาหกรรมของพืน้ ทีเ่ ขตราษฎรบรู ณะ ยานนาวา จังหวัดกรุงเทพมหานคร และอําเภอสําโรงใต จังหวัดสมุทรปราการ ผาน โครงขายของถนนวงแหวนอุตสาหกรรมที่สามารถเชื่อมโยงระบบโครงขาย อยางครอบคลุม ในแนวถนนวงแหวนอุตสาหกรรมนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดําเนินทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 และกอสรางสําเร็จในชวงปมหามงคลที่พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 60 ป ในป พ.ศ. 2549 นอกจากประโยชนหลักในการสัญจรแลว สะพานภูมิพล 1 และสะพานภู มิพล 2 ยั ง มี ค วามงดงามในแงโครงสร างทางวิศวกรรมและ สถาปตยกรรมที่โดดเดน นับวาเปนอีกหนึ่งสะพานขามแมนํ้าเจาพระยา ที่งดงามที่สุด โดยคณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2539 เห็นชอบให กรมทางหลวงชนบทเปนผูด าํ เนินโครงการ โดยมีพระราชประสงคใหสรางถนน วงแหวนอุตสาหกรรมสําหรับรองรับรถบรรทุกที่วิ่งอยูในเสนทางเชื่อมโรงงาน อุตสาหกรรมในจังหวัดสมุทรปราการ กับทาเรือคลองเตย ไดอยางสะดวก รวดเร็วขึน้ อีกทัง้ เพือ่ มิใหรถบรรทุกเหลานีว้ งิ่ เขาไปยังตัวเมืองหรือทิศทางอืน่ ๆ ทําใหปญ  หาจราจรบรรเทาลงได สําหรับประโยชนของโครงการอันเนือ่ งมาจาก พระราชดํารินี้ เพื่อรองรับการขนถายและลําเลียงสินคาจากทาเรือคลองเตย ไปยั ง โรงงานอุ ต สาหกรรมต า งๆ ทางตอนใต ข องกรุ ง เทพมหานครและ สมุ ท รปราการแลว ยัง ชว ยเสริ มโครงข ายถนนของกรุงเทพมหานครและ สมุทรปราการที่เปนโครงขายสําคัญในการขนถายสินคาในพื้นที่โครงการไปยัง สวนตางๆ ของประเทศไดอีกดวย เชน ดานทิศใตออกสูถนนพระราม 2 หรือ ทางทิศตะวันตกไปสูถ นนสุขมุ วิทหรือถนนบางนา-ตราด ไดอยางสะดวกรวดเร็ว ขึ้นอีกดวย

Engineering Today January- February 2017

24

โครงการด้านผังเมืองโลจิสติกส์ (Urban Logistics Projects)

2.1 โครงการแก้ ม ลิ ง คลองมหาชั ย -คลอง สนามชัย โครงการแกมลิง คลองมหาชัย-คลองสนามชัย เปนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ที่มีวัตถุ ประสงคในการชวยระบายนํา้ ทวมขังจากพืน้ ทีต่ อนบน โดยเฉพาะอยางยิง่ ทางฝง ตะวันตกของแมนาํ้ เจาพระยา ดานฝงธนบุรีในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพือ่ ระบายนํา้ ออกสูท ะเลโดยเร็วทีส่ ดุ โดยการกอสราง ประตูระบายนํ้า (ปตร.) ปดกั้นคลองสายตางๆ พรอม สถานีสูบนํ้าตามความจําเปน โดย “แกมลิง” จะทํา หนาทีร่ วบรวม รับ และดึงนํา้ ทวมขังจากพืน้ ทีต่ อนบน ลงมาเก็บไวในคลองมหาชัย-คลองสนามชัย และคลอง ตางๆ ในพืน้ ที่ แลวสูบทิง้ ลงทะเล ผานทางปากคลอง มหาชัย คลองพระราม และคลองขุนราชพินิจใจ ใน ชวงทีร่ ะดับนํา้ ทะเลหนุนสูง รวมทัง้ การเปดระบายออก สูอ า วไทยตามจังหวะการขึน้ -ลงของนํา้ ทะเล โดยอาศัย แรงโนมถวงของโลก เชนเดียวกับโครงการทางฝง ตะวันออกของแมนํ้าเจาพระยา ซึ่งดําเนินการไดผล มาแลว เมื่อคราวนํ้าทวมใหญป พ.ศ. 2538 เมื่อ ดําเนินการกอสรางเขื่อนระบายนํ้าในแมนํ้าทาจีน ตอนลาง ในเขตจังหวัดสมุทรสาครเสร็จเรียบรอยแลว ทําใหมีแหลงนํ้าจืดในฤดูแลงเพียงพอสําหรับนํามา ใชไลนํ้าเสียได ปจจุบันนํ้าในคลองภาษีเจริญและ คลองมหาชัย รวมทั้งทางนํ้าที่ตอเนื่องในเขตกรุงเทพ มหานคร สวนใหญจะมีนํ้าเสียเปนปริมาณมาก โดย เฉพาะอยางยิ่งในชวงฤดูแลง สถานีสูบนํ้าที่มีอยูใน โครงการแก ม ลิ ง “คลองมหาชั ย -คลองสนามชั ย ” สามารถชวยสูบนํ้าเสียออกทิ้งลงทะเลในชวงเวลาที่ เหมาะสม แลวผันนํ้าจืดจากแมนํ้าทาจีนเขาไปลาง คลองตางๆ เหลานั้นไดเปนอยางดี 2.2 โครงการห้วยองคต จังหวัดกาญจนบุรี สํ าหรั บ การสงเสริม อาชี พนั้น หากเปนโดย ทางออมแลว โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สวนใหญ เมื่อไดดําเนินการบรรลุวัตถุประสงคของ โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดําริแลวจะทําใหเกิด การสงเสริมอาชีพแกราษฎรในพื้นที่ใกลเคียง โดย เฉพาะศูนยศึกษาการพัฒนาพื้นที่เมืองทั้งหลายนั้น จุดมุง หมายทีส่ าํ คัญของการจัดตัง้ ขึน้ มา เพือ่ ทีจ่ ะใหมี การศึกษา คนควา ทดลอง วิจยั เพือ่ แสวงหาแนวทาง


เขื่อนปาสักชลสิทธิ์

และวิธีการพัฒนาดานตางๆ ที่เหมาะสมกับสภาพแวดลอมและ การประกอบอาชีพของราษฎรที่อาศัยอยูในภูมิภาคนั้นๆ เพื่อให ราษฎรสามารถนําไปปฏิบัติไดอยางจริงจัง โครงการหวยองคต อันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดกาญจนบุรี เปนแนวทางใน การพัฒนาพื้ น ที่ โครงการให เ หมาะสมกับสภาพพื้นที่ โดยให ราษฎรไดอยูอาศัย และทํากินรวมกันตามหลักการฟนฟูและสราง สมดุลในระบบนิเวศ ดวยการปลูกพืชผสมผสานและปลูกผัก กางมุง ลดการใชสารเคมี การเลี้ยงไก และการประกอบอาชีพ หัตถกรรมเพื่อใหราษฎรดํารงชีพไดอยางยั่งยืน 2.3 โครงการการจัดสรรและปฏิรูปที่ดิน การพัฒนาที่ดินวางเปลาแลวจัดสรรใหแกเกษตรกรที่ไรที่ ทํ า กิ น ได ป ระกอบอาชี พ ในรู ป ของหมู  บ  า นสหกรณ โดยให สิทธิท์ าํ กิน แตไมใหกรรมสิทธิใ์ นการถือครอง พรอมกับจัดบริการ พื้นฐานใหตามความเหมาะสม นอกจากนี้ยังมีการจัดพื้นที่ทํากิน ใหราษฎรชาวไทยภูเขาใหสามารถดํารงชีพอยูไดเปนหลักแหลง โดยไมตอ งทําลายปาอีกตอไป ในการจัดพืน้ ทีห่ ลายแหงดังกลาวนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชทรงมีหลักการวา ตองวางแผนการจัดใหดีเสียตัง้ แตตน โดยใชแผนที่และภาพถาย ทางอากาศชวยในการจัดสรรพื้นที่ทํากิน จัดสรรตามแนวพื้นที่ รับนํา้ จากโครงการชลประทานเปนหลัก ปญหาการขาดแคลนทีด่ นิ ทํากินของเกษตรกรเปนปญหาสําคัญยิง่ ในปจจุบนั ดวยพระอัจฉริยะ ในการแกปญ  หาจึงไดพระราชทานแนวพระราชดําริเกีย่ วกับการทํา การเกษตร “ทฤษฎีใหม” ดังพระราชดํารัสตอนหนึง่ วา “...ทฤษฎีใหม... เปนวิธีการอยางหนึ่งที่จะทําใหประชาชนมีกินแบบตามอัตภาพ คืออาจไมรวยมาก แตก็พอกินไมอดอยาก...” เปนการพัฒนาพื้นที่ ทํากินทีม่ ขี นาดเล็กดวยการจัดสรรทีด่ นิ ใหเหมาะสมกับการทําการ เกษตรแบบผสมผสานอย างไดผล ทฤษฎีใหมเปนการบริหาร จัดการที่ดินและแหลงนํ้าเพื่อพัฒนาการเกษตรใหเกิดประโยชน สูงสุดและสามารถเลี้ยงตนเองได

มหาภูมิพลอดุลยเดช เพื่อปองกันปญหานํ้าทวม เริ่มดําเนินการ กอสรางในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2537 โดยกรมชลประทาน เปน ผูรับผิดชอบ เขื่อนปาสักชลสิทธิ์ที่ตอนแรกวางแผนใหจุได 1,350 ลานลูกบาศกเมตร แตไดทําการปรับปรุงแกไขจนเหลือ 750 ลานลูกบาศกเมตร ซึง่ ทรงมีพระราชดํารัสวา “...แมเขือ่ นปาสัก เขื่อนเดียว ก็พอสําหรับการบริโภคแนนอนไมแหง...” เขื่อนปาสัก ชลสิทธิ์สรางขึ้นเพื่อใหมีนํ้าไวใชในการเกษตรในฤดูแลง และ เปนการปองกันบรรเทานํ้าทวมบริเวณลุมนํ้าปาสักและลุมนํ้า เจาพระยาตอนลางในฤดูนํ้าหลาก และบรรเทาปญหานํ้าเนาเสีย ในกรุงเทพมหานครและเมืองใหญในภาคกลาง อีกทั้งเปนแหลง เพาะพันธุปลาและสถานที่ทองเที่ยวที่สําคัญอีกแหงหนึ่งดวย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จพระราช ดําเนินพรอมดวยสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ทรงทําพิธี เปดเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ในวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 2.5 โครงการเขื่อนคลองท่าด่าน จังหวัดนครนายก โครงการเขือ่ นคลองทาดาน จังหวัดนครนายก เปนโครงการ สรางอางเก็บนํ้า 2 แหง แหงหนึ่งที่แมนํ้าปาสัก อีกแหงหนึ่งที่ แมนํ้านครนายก สองแหงรวมกันจะเก็บกักนํ้าเหมาะสมพอเพียง สําหรับการบริโภค การใชในเขตกรุงเทพมหานคร และเขตใกลเคียง พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงมี พระราชดําริวา “ที่ราบลุมของประเทศไทยนี้... โครงการนี้เปน โครงการที่อยูในวิสัยที่จะทําได แมจะตองเสียคาใชจายไมใชนอย แตถาดําเนินการไปเดี๋ยวนี้ อีก 5-6 ปขางหนาเราสบาย และถา ไมทาํ อีก 5-6 ปขา งหนา ราคาคากอสราง คาดําเนินการก็จะสูงขึน้ 2 เทา 3 เทา ลงทายก็จะประวิงตอไป และเมื่อประวิงตอไป ก็จะ ไมไดทํา เราก็จะตองอดนํ้าแน จะกลายเปนทะเลทราย แลวก็จะ อพยพไปที่ไหนก็ไมได...” โครงการเขื่อนคลองทาดานอันเนื่อง มาจากพระราชดําริแหงนี้ เปนการชวยเหลือและบรรเทาปญหา ความเดือดรอนจากอุทกภัยในพื้นที่ลุมนํ้านครนายก ซึ่งเกิดขึ้น เปนประจํา รวมทั้งเพื่อชวยเหลือราษฎรใหมีนํ้าใชในการเกษตร การอุปโภคบริโภคโดยไมขาดแคลน ที่สําคัญคือ เพื่อแกไขปญหา ดินเปรี้ยวที่เปนอุปสรรคสําคัญในการเพาะปลูกอีกดวย ทั้งหมดนี้เปนเพียงบางสวนของโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดําริดานวิศวกรรม ผังเมืองและโลจิสติกสไทย ที่ทรง ประทานแกพสกนิกรปวงชนชาวไทย จึงขอนอมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได ดวยเกลาดวยกระหมอม (หมายเหตุขอมูลอางอิง : สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ www.rdpb.go.th : หนังสือพิมพฐานเศรษฐกิจ, ตุลาคม พ.ศ. 2559)

2.4 โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ เขื่อนปาสักชลสิทธิ์เปนเขื่อนดินกักเก็บนํ้าที่ยาวที่สุดใน ประเทศไทย ตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร

25

Engineering Today January- February 2017


Environment • กองบรรณาธิการ

วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมทวีความสําคัญ ในการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

ยุค Thailand 4.0

โลกของเราทุกวันนี้ ประชากรเพิ่มขึ้น การผลิตเพิ่มขึ้น การบริโภคเพิม่ ขึน้ และปริมาณของเสียยิง่ เพิม่ ขึน้ ตลอดระยะเวลา ที่เศรษฐกิจอุตสาหกรรมของโลกพัฒนาไป วิชาชีพหนึ่งที่มีสวน สําคัญในการออกแบบ ควบคุมวางแผน วางระบบ คิดคนนวัตกรรม และวิธกี ารตางๆ ทีจ่ ะจัดการกับกระบวนการผลิตของมนุษยไมให ปล อ ยของเสี ย ออกมาสร างมลพิษ คือ ศาสตรของวิศวกรรม สิง่ แวดลอม ศาสตรแหงการพิทกั ษโลกนี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) ตระหนักถึงความสําคัญ จึงจัดตั้ง ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม ตั้งแตป พ.ศ. 2535 เปนตนมา ผศ. ดร.ธิดารัตน บุญศรี อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรม สิง่ แวดลอม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) กลาววา หากยอนกลับไปในชวงป พ.ศ. 2535 ซึง่ เปนปทภี่ าควิชา วิศวกรรมสิ่งแวดลอม มจธ. กอตั้งขึ้น เปนชวงเวลาเดียวกับที่ ประเทศไทยมี ก ระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดลอ ม พรอมกับเกิดกรม กองตางๆ อาทิ กรมควบคุมมลพิษ กรมสงเสริม คุณภาพสิ่งแวดลอม กรมโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งลวนแตตองใช ศาสตรของวิศวกรรมสิ่งแวดลอม ทําใหบทบาทหนาที่ของวิศวกร สิ่งแวดลอมมีความชัดเจน ประกอบกับในชวงนั้นประเทศไทย ประกาศตัวเปนประเทศอุตสาหกรรมใหม วิศวกรรมสิ่งแวดลอม ยิ่งมีบทบาทเพิ่มขึ้น เมื่อการผลิตสินคาปรับจากหัตถกรรมเปน อุตสาหกรรม มีการปลอยมลพิษ และปริมาณขยะเพิม่ ขึน้ วิศวกรรม สิ่งแวดลอมจึงเขามามีบทบาทสําคัญในการจัดการหมุนเวียนเศษ วัสดุกอนที่จะถูกทิ้งเปนขยะ บําบัดของเสียและนํ้าเสียเพื่อนํา กลั บ คื น สู  ธ รรมชาติ ถื อ เป น การร ว มกั น พั ฒ นาเศรษฐกิ จ เชิงอุตสาหกรรมไปพรอมๆ กับการรักษาสิ่งแวดลอม อีกประเด็นหนึง่ คือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดใหความสําคัญกับทรัพยากรสิ่งแวดลอม เพราะถือเปนตนทุน ในการผลิตของประเทศ ประเทศใดไมมีทรัพยากรธรรมชาติที่

Engineering Today January- February 2017

26

อุดมสมบูรณ ประเทศนั้นจะขาดแคลนตนทุนในการผลิต ทําให วิศวกรสิ่งแวดลอมมีบทบาทในกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมของประเทศ รวมถึงยุทธศาสตรชาติ 20 ป ภายใตประเทศไทย 4.0 หรือเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนดวยนวัตกรรมไปสูประเทศที่มั่งคั่ง มั่นคง และยั่งยืน อยางเปนรูปธรรม มีกลไกการขับเคลื่อนที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ผศ. ดร.ธิดารัตน คาดการณวา ในอนาคตประเทศไทยอาจ ตองมีศาลสิ่งแวดลอม เชนเดียวกับประเทศสหรัฐอเมริกา ศาล สิง่ แวดลอมทําหนาทีใ่ นการฟองรองเกีย่ วกับการทําลายสิง่ แวดลอม โดยเฉพาะความขัดแยงเรื่องสิ่งแวดลอมในประเทศ ซึ่งมีมากขึ้น เรื่อยๆ ไมวาจะเปนกรณีพิพาทระหวางบุคคล ชุมชน กับโรงงาน อุตสาหกรรม ที่เกี่ยวของกับปญหามลพิษ หรือแมแตทําใหเกิด การสูญพันธุ หรือการตายของสัตว การลักลอบและการทําลาย ทรัพยากรธรรมชาติ “สิ่งเหลานี้ทําใหผูที่เรียนจบดานวิศวกรรมสิ่งแวดลอมเปน ทีต่ อ งการของประเทศมากขึน้ และไมเพียงแตประเทศไทยเทานัน้ ที่ตองการวิศวกรสิ่งแวดลอม ในประเทศออสเตรเลีย วิศวกร สิ่งแวดลอมเปนที่ตองการอันดับที่สองรองจากวิศวกรโยธา เมื่อ วิชาชีพวิศวกรสิ่งแวดลอมอยูในสภาวะขาดแคลนจะกระทบตอ วิชาชีพวิศวกรสาขาตางๆ” ผศ. ดร.ธิดารัตน กลาว ดังนั้น มจธ. โดยภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอมจึงรวมกับ มหาวิทยาลัยวูลลองกอง (University of Wollongong, UOW) ประเทศออสเตรเลีย เปดหลักสูตรวิศวกรรมสิง่ แวดลอมนานาชาติ รวมสองสถาบัน หรือ BE (2+2) โดยนักศึกษาจะตองเรียนที่ มจธ. 2 ป และเรียนที่ UOW ประเทศออสเตรเลีย 2 ป เมื่อเรียน จบจะไดรับปริญญาบัตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตทั้งจาก มจธ. และจาก UOW รวมถึงสามารถขอใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุม (กว.) จากสภาวิศวกรทัง้ ของไทยและประเทศออสเตรเลียได สําหรับผูที่สนใจเปนวิศวกรสิ่งแวดลอม ผศ. ดร.ธิดารัตน แนะนําวา นอกจากจะตองมีพื้นฐานทักษะการคํานวณ มีตรรกะ การวิเคราะห มีทักษะในการจดจําและสรางสรรคแลว จะตองมี “ใจรัก” ดวย เพราะวิศวกรสิ่งแวดลอมเปนสาขาที่ตองคลุกคลีกับ ของเสียและมลพิษตางๆ ทั้งสิ่งปฏิกูล ขยะ มลพิษ นํ้าเสีย ฝุน ควัน ตองเสียสละตัวเองเพื่อเปลี่ยนของเสียใหเปนของดี หรือดึง ของดีออกจากของเสียใหได ทําใหมีสภาพแวดลอมที่ปลอดภัย สะอาด ทําใหผูคนมีคุณภาพชีวิตที่ดี “ดังนัน้ วิศวกรสิง่ แวดลอมตองทําในสิง่ ทีร่ กั ษาไวซงึ่ ธรรมชาติ สิ่งแวดลอมที่ดี ความอุดมสมบูรณของทรัพยากร ซึ่งเปนตนทุน สําคัญของการพัฒนาประเทศ และเปน “การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน” เพราะ สิ่งนี้คือโจทยของประเทศ ทั่วโลกจะตองปฏิบัติตามที่องคการ สหประชาชาติประกาศ คือ “ทุกสังคมมีการบริโภคอยางยั่งยืน และนําไปสูการอยูรอดของโลก” ผศ. ดร.ธิดารัตน กลาวสรุป


Interview

• กองบรรณาธิการ

ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมสงเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.)

ร า ก บ อ ก ะ ร ป  ู ผ ม ิ ร ส่งเส น า ้ ล 0 3 8 ” 0 . 4 “ทุ่มงบ d n a l i a h T ร ต ส า ศ ธ ท ุ ย  ต ใ ย า 4 กลุ่มเป้าหมาย ภ

สําหรับแนวทางการสงเสริมของ กสอ. ตอ ผูป ระกอบการ 4 กลุม เปาหมาย ในป 2560 ภายใตกรอบ ยุทธศาสตร Thailand 4.0 ประกอบดวย กลุม Startup กลุม S-Curve และ Super Cluster กลุม SMEs และ กลุม OTOP และอุตสาหกรรมสรางสรรคเชิงวัฒนธรรม ผานโครงการกวา 30 โครงการ โดยตัง้ เปางบประมาณ ที่ 830 ลานบาท

กกรมส รมสงเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) ถือเปนหนวยงานภายใต ของกระทรวงอตสาหกรรมที กํกาํ กับของกระทรวงอุ ตสาหกรรมที่มีการดําเนินงานมากวา 74 ป โดยมีภารกิจหลักคือ สงเสริมและพัฒนาผูป ระกอบการและธุรกิจ SMEs ใหมีความเขมแข็งและเติบโตไดตามศักยภาพ สนับสนุน ผู  ใ ห บ ริ ก ารธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรมให มี ขี ด ความสามารถในการ ประกอบการ โดยเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจดิจิทัล สรางและพัฒนา ระบบการสงเสริมอุตสาหกรรมเพื่อเปนตนแบบการบริการ และ บูรณาการการสงเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมรวมกับหนวยงาน เครือขายที่เกี่ยวของ ภายใตการขับเคลื่อนของ ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมสงเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) นอกเหนือจากภารกิจหลักในการดําเนินงานตามกระบวนการ ดังกลาวขางตน กสอ. ยังมีหนาที่ในการกระตุนและสรางความ ตระหนักให SMEs สามารถปรับตัวไดสอดคลองกับสถานการณ ตางๆ ทางเศรษฐกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทั้งการเพิ่ม ผลิตภาพในการผลิต การสงเสริมและสนับสนุนการนํานวัตกรรม และเทคโนโลยีม าประยุกตใช ในเชิงสร างสรรค การยกระดับ มาตรฐานการบริหารจัดการ รวมทั้งการนําระบบ IT เขามาใชใน การดําเนินธุรกิจ

27

Engineering Today January- February 2017


ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมสงเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กลาววา กสอ. ใหความสําคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมในทุกมิติ จึงไดดําเนิน โครงการอยางหลากหลาย เพื่อเพิ่มศักยภาพและพัฒนาประสิทธิภาพ ของธุรกิจ รวมทัง้ พัฒนาผูป ระกอบการและบุคลากรในสถานประกอบการ ใหมีความรูความสามารถเทาทันตอบริบทตางๆ โดยในป 2560 มี โครงการมากกวา 30 โครงการ ครอบคลุมผูประกอบการตามเปาหมาย 4 กลุม นอกจากนี้ยังสงเสริมในเรื่องของการบริการใหคําปรึกษาจาก ที่ปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญและมีคุณภาพ ซึ่งจะชวยในเรื่องของการ วิเคราะห การตัดสินใจการทําธุรกิจ รวมทัง้ การสรางและเชือ่ มโยงเครือขาย เพื่อใหวิสาหกิจ SMEs เติบโตไดในลักษณะแบบเปนทีม ซึ่งภารกิจการ สงเสริมและสนับสนุนดังกลาวนี้จะเปนฟนเฟองและปจจัยที่ชวยให สามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไปไดตามทิศทางที่คาดหวัง ปี 2560 กสอ. ทุ่มงบ 830 ล้านบาท หนุนผู้ประกอบการ 4 กลุ่ม ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thailand 4.0 สําหรับแนวทางการสงเสริมของ กสอ. ตอผูประกอบการ 4 กลุม เปาหมาย ในป 2560 ภายใตกรอบยุทธศาสตร Thailand 4.0 ประกอบ ดวย กลุม Startup กลุม S-Curve และ Super Cluster กลุม SMEs และ กลุม OTOP และอุตสาหกรรมสรางสรรคเชิงวัฒนธรรม ผานโครงการ กวา 30 โครงการ โดยตั้งเปางบประมาณที่ 830 ลานบาท • กลุม Startup เปนการสรางแรงผลักดันเพื่อใหผูประกอบการ กลาทีจ่ ะเริม่ ตนธุรกิจ โดยเริม่ จากโครงการเสริมสรางผูป ระกอบการใหม (NEC) โครงการสรางธุรกิจใหม (NBC) และโครงการสรางและพัฒนา ผูประกอบการใหมเชิงสรางสรรคและนวัตกรรม มีกิจกรรมไฮไลต ไดแก กิจกรรม Plan to Biz ที่เปดโอกาสใหผูมีความพรอมในการจัดตั้งธุรกิจ ไดแสดงวิสยั ทัศนและนําเสนอแนวคิดหรือผลงานการสรางผลิตภัณฑใหม จากความคิดสรางสรรคและเทคโนโลยีตอแหลงเงินทุน เพื่อสนับสนุน ใหไดรับเงินทุนในรูปแบบเงินใหเปลาสูการจัดตั้งธุรกิจอยางมืออาชีพ กิจกรรมเถาแกนอยเทคโนโลยี ที่ใหบริการการจัดสภาพแวดลอมและ โครงสรางพื้นฐานที่เอื้อตอการประกอบธุรกิจดิจิทัล-เทคโนโลยี อาทิ จัดพื้นที่สํานักงานและเครื่องอํานวยความสะดวก การจัดฝกอบรม ขั้นพื้นฐานในการประกอบธุรกิจ การใหคําปรึกษาดานเทคนิค กฎหมาย การตลาด การบริ ห ารจั ด การองค ก รและบุ ค ลากร และอื่ น ๆ โดย ในป 2560 ไดตั้งเปาพัฒนาใหเกิดผูประกอบการในกลุมดังกลาวนี้ ไมตํ่ากวา 4,000 ราย ภายใตงบประมาณกวา 80 ลานบาท • กลุม S-Curve และ Super Cluster กสอ. จะเริ่มตนดวยการ มอบงบประมาณกวา 70 ลานบาท เพื่อเฟนหานักออกแบบผลิตภัณฑ ทางวิศวกรรมจากการเชือ่ มโยงกับสถาบันเครือขายภายใตสงั กัด รวมทัง้ ดึงดูดนักวิจัยที่มีประสบการณมารวมพัฒนาเพื่อใหเกิดผลิตภัณฑและ บริการใหมๆ ตามดวยการจัดกิจกรรมพิเศษเพือ่ การรวมกลุม อุตสาหกรรม เปาหมายและซูเปอรคลัสเตอร เพือ่ ใหเกิดการรวมมือในการพัฒนาธุรกิจ รวมทั้งนําพาผูประกอบการไปทดสอบตลาดทั้งในและตางประเทศ พรอมทัง้ เตรียมงบประมาณอีกกวา 120 ลานบาท เพือ่ ใหผปู ระกอบการ

Engineering Today January- February 2017

28


ประเทศไทยยังมีโอกาสที่จะพัฒนาเทคโนโลยีวิศวกรรม ใหเจริญเติบโตตอไป เนื่องจากยังมีงานวิจัยที่ถูกพัฒนาโดย นักวิจัยของประเทศไทยเปนอยางมาก หากแตขาดการสงตอ จากภาควิจัยไปสูภาคการผลิตและอุตสาหกรรม ที่จําเปน ตองมีเทคโนโลยีวิศวกรรมมาตอเติม ซึ่งลวนทําใหสามารถ ผลิตสินคาไดอยางมีคุณภาพ มีความเที่ยงตรง ในราคาที่ ไมแพง ใหเขาถึงมือผูบริโภคได

ด า นชิ้ น ส ว นอากาศยาน การแพทย ยานยนต ดิ จิ ทั ล อิเล็กทรอนิกส และปโตรเคมี นําไปพัฒนาบุคลากรและ สถานประกอบการ อีกทั้ง ยังมุงใชงบประมาณในสวนนี้ นํามาสรางและพัฒนาหุนยนตและเครื่องจักร ซึ่งจะชวยให กระบวนการทางอุตสาหกรรมของผูประกอบการในกลุมนี้ เกิดประสิทธิภาพและความเขมแข็งมากขึ้น โดยเบื้องตน ไดจดั สรรงบประมาณกวา 210 ลานบาท และวางเปาหมาย ใหเ กิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ ใ นการพั ฒนาประสิทธิภาพไมตํ่ากวา 430 กิจการ และผูประกอบการ/บุคลากรไดรับการพัฒนา 1,755 คน • กลุม SMEs เปนการสงเสริมผูป ระกอบการรายเดิม ทีม่ อี ยูก วา 2.7 ลานรายในแตละสาขาดวยการมุง ใหคาํ ปรึกษา และพัฒนานวัตกรรมเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในกระบวน การผลิตและตอยอดถึงการสงออกในระดับตางประเทศได โดยมีบริการรองรับผูประกอบการในกลุมนี้ฟรีจํานวน 14 โครงการ เริ่มตนดวยโครงการไฮไลตที่ประสบความสําเร็จ ในป 2559 ไดแก โครงการเอสเอ็มอีสปริงอัพ เพื่อพัฒนา ผูประกอบการที่มีศักยภาพแบบกาวกระโดดในป 2560 อีกประมาณ 345 ราย กิจกรรมการพัฒนาผูประกอบการ แฟชั่ น และไลฟ ส ไตล เพื่ อ ให เ กิ ด การสร า งกิ จ การและ ผลิตภัณฑกวา 50 ลานบาท ผาน โครงการ Thai Touch Project โครงการ Fashion Next 2017 และ โครงการ TIFA เปนตน นอกจากนี้ ยั ง มีง บประมาณอีกกว า 80 ลา นบาท เพื่ อ ให ผู  ป ระกอบการที่ มี ค วามประสงค จ ะพั ฒ นา ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑดวยการออกแบบ การสราง ตราสินคาและการปรับปรุงบรรจุภัณฑ โดยยังตอยอดการ นําสินคาที่พัฒนาแลวเขาสูระบบ E-commerce พรอมนํา ไปทดสอบตลาดทั้งในและตางประเทศอีกดวย ในเบื้องตน กสอ. ไดจดั สรรงบประมาณในกลุม SMEs กวา 390 ลานบาท ผานโครงการและการบริการตางๆ อีกจํานวนมาก ซึง่ เชือ่ วา จะสามารถตอบสนองความต อ งการได อ ย า งเพี ย งพอ เกิดการพัฒนาไดอยางทั่วถึง • กลุ  ม OTOP และอุ ตสาหกรรมสร า งสรรค เ ชิง วัฒนธรรม สําหรับกลุม นี้ กสอ. มุง จัดกิจกรรมการยกระดับ ผูประกอบการใน 5 ภูมิภาค เพื่อสรางความคึกคัก เขมแข็ง และความนาดึงดูดใจใหแกเศรษฐกิจในระดับชุมชน ดังนี้ คือ การใหบริการดานเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการสงเสริม อาชีพอุตสาหกรรมในครอบครัวและหัตถกรรมไทยในวงเงิน ตัง้ แตหลักหมืน่ ถึง 2,000,000 บาท ตามดวยงบประมาณ อีกกว า 30 ล า นบาท ที่ มอบให วิส าหกิ จชุมชนไดนําไป สรางสรรคผลิตภัณฑและบรรจุภณ ั ฑเพือ่ สงออกสินคาโอทอป ไปยังตางประเทศ การสนับสนุนเงินทุนกวา 90 ลานบาท

เพือ่ พัฒนาทักษะการผลิตในหลักสูตรวิชาชีพทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว ใหแกวิสาหกิจชุมชนและทายาทวิสาหกิจชุมชน และการพัฒนาธุรกิจ อุตสาหกรรมโดยใชทนุ ทางวัฒนธรรมและภูมปิ ญ  ญา รวมทัง้ การสงเสริม ราษฎรในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ พรอมกันนีไ้ ดเดินหนาโครงการอุตสาหกรรมสรางสรรคเชิงวัฒนธรรม (CIV) ภายใตงบประมาณกวา 40 ลานบาท เพือ่ จัดตัง้ หมูบ า นอุตสาหกรรม สรางสรรคใหกระจายครบทุกจังหวัดภายใน 5 ป จัดกิจกรรมทดสอบ ตลาดภายในงาน OTOP City และ OTOP Midyear 2017 และบริการ OTOP Networking เพือ่ จับคูธ รุ กิจและเปดตลาดใหมๆ ใหกบั วิสาหกิจ ชุมชนไดสงสินคาไปยังศูนยการคาชั้นนําและประเทศที่ใหความนิยมใน สินคาโอทอปของไทย จัดตั้ง Engineering Designers สร้างนักออกแบบ ทางวิศวกรรม ช่วย SMEs ลดต้นทุน-เพิ่มกําไร ดร.พสุ กลาววา ประเทศไทยยังมีโอกาสที่จะพัฒนาเทคโนโลยี วิศวกรรมใหเจริญเติบโตตอไป เนื่องจากยังมีงานวิจัยที่ถูกพัฒนาโดย นั กวิ จั ย ของประเทศไทยเป น อย า งมาก หากแต ข าดการส ง ต อจาก ภาควิจัยไปสูภาคการผลิตและอุตสาหกรรม ที่จําเปนตองมีเทคโนโลยี วิศวกรรมมาตอเติมเทคโนโลยีการผลิตตางๆ เชน การกัด เจาะ กลึง ไส เชื่อม การปม ขึ้นรูป แมพิมพ เครื่องจักร หุนยนต เลเซอร ระบบ ควบคุมไฟฟา คอมพิวเตอร เปนตน ซึง่ ลวนทําใหสามารถผลิตสินคาได อยางมีคณ ุ ภาพ มีความเทีย่ งตรง ในราคาทีไ่ มแพง ใหเขาถึงมือผูบ ริโภคได หากประเทศไทยสามารถรักษาศักยภาพการผลิ ต โดยใชเทคโนโลยี วิศวกรรมชัน้ สูง จําเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตองมีการยกระดับผลิตภาพการผลิต โดยการปรับปรุงกระบวนการผลิตและนําเอาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมา ประยุกตใชในการเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต ผานการถายทอดเทคโนโลยี การพัฒนาบุคลากรในภาคอุตสาหกรรม ตลอดจนการสงเสริมการใช เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาตอยอดไปสูผลิตภัณฑใหมๆ ดวยเหตุนี้ กรมสงเสริมอุตสาหกรรมจึงตระหนักถึงความสําคัญ ในการพัฒนานักออกแบบทางวิศวกรรม เพือ่ ใหมศี กั ยภาพในการยกระดับ ประสิทธิภาพการผลิต และการพัฒนาเครื่องจักรและการใชเทคโนโลยี ที่ทันสมัย นําไปสูการพัฒนาผลิตภัณฑใหมๆ จึงไดดําเนิน “โครงการ สรางนักออกแบบวิศวกรรม” (Engineering Designers) เพื่อสราง

299

Engineering Today January- February 2017


กสอ. ตระหนักถึงความสําคัญในการพัฒนานักออกแบบ ทางวิศวกรรม เพื่อใหมีศักยภาพในการยกระดับประสิทธิภาพ การผลิต จึงไดดาํ เนิน “โครงการสรางนักออกแบบวิศวกรรม” เพื่อสรางนักออกแบบทางวิศวกรรม ที่มีทักษะฝมือที่จําเปน ในการออกแบบทางวิศวกรรมสูงขึน้ ซึง่ จะชวยเหลือ SMEs ทีม่ ี ปญหาดานการออกแบบวิศวกรรมในการลดตนทุน ลดการ สูญเสีย และเพิ่มผลกําไรใหกับวิสาหกิจ

และพัฒนาผลิตภัณฑ เพื่อเรงสรางนักออกแบบมืออาชีพ ระดับสากลและนักออกแบบระดับภูมิภาคที่เชื่อมโยงการ พัฒนาผลิตภัณฑในระดับวิสาหกิจชุมชน และสนับสนุน แหลงเงินทุนเพื่อการพัฒนาการออกแบบและการพัฒนา ผลิตภัณฑใหกับทุกภาคสวน รวมไปถึงใหบริการ SMEs โดยเชื่อมโยงหนวยบริการและภาคเอกชนใหกับ SMEs ใน ดานการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ เบื้องตนคาดวา นาจะเปดใหบริการไดทันภายในป 2560 นี้ ขณะนีค้ ณะทํางานจากหนวยงานพันธมิตร 35 หนวย งาน ที่ปรึกษา 5 หนวยงาน และหนวยงานสนับสนุนอีก 9 หนวยงาน ทั้งจากภาครัฐและเอกชน มีความพรอมที่จะให บริการ ซึง่ จะมีการเปดตัวการเปดใหบริการอยางเต็มรูปแบบ อีกครั้ง

ศูนย์บริการธุรกิจอุตสาหกรรม (BSC) พร้อมให้บริการทั้งหมด 14 ศูนย์ทั่วประเทศ

นักออกแบบทางวิศวกรรมที่มีทักษะฝมือที่จําเปนในการออกแบบทาง วิศวกรรมสูงขึ้น ซึ่งจะสามารถชวยเหลือ SMEs ที่มีปญหาดานการ ออกแบบวิศวกรรมในการลดตนทุน ลดการสูญเสีย และเพิ่ม ผลกําไร ใหกับวิสาหกิจ รวมทั้งการสนับสนุนใหเกิดการพัฒนาเครื่องจักรหรือ เทคโนโลยีเพื่อเปนการสรางอุตสาหกรรมสนับสนุนที่เขมแข็ง ขยายฐาน การผลิตออกสูตางประเทศ โดยมีอุตสาหกรรมสาขาเปาหมาย ไดแก อุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนต ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เครื่องมือและ อุปกรณการแพทย เกษตรแปรรูป อาหารแปรรูป พลาสติกและบรรจุภณ ั ฑ เครื่องจักรกล หุนยนต และระบบอัตโนมัติ แมพิมพ ทั้งนี้ จะเปนการ ชวยเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมและชวยพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศไทยใหเจริญเติบโตอยางยั่งยืนตอไป จัดตั้งศูนย์ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ยกระดับและสร้างมูลค่าผลิตภัณฑ์ ในสวนของ ศูนยออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ (Thailand Industrial Design Center) มุงเนนการจัดทําฐานขอมูลและเชื่อมโยง ขอมูลจากแหลงตางๆ และกําหนดนโยบายและทิศทางในการพัฒนา ดานการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ และสรางกลไกและมาตรการ สนับสนุนในเชิงนโยบาย รวมไปถึงบริหารจัดการศูนยและทําขอตกลง ความรวมมือระหวางภาคเอกชน ภาคการศึกษา และภาครัฐ และครอบคลุมไปถึงการกระตุนและสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการออกแบบ

Engineering Today January- February 2017

30

กสอ. ไดจัดตั้ง ศูนยบริการธุรกิจอุตสาหกรรม หรือ BSC เพื่อใหบริการขอมูลสารสนเทศ และบริการแนะนํา เบื้องตน โดยมุงเนนเรื่องขอมูลทางอุตสาหกรรม โอกาส การลงทุน โอกาสทางธุรกิจ และการเพิ่มความสามารถใน การแขงขันใหกบั ผูป ระกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม วิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) วิสาหกิจชุมชน ผูต อ งการ เริม่ ตนธุรกิจ และบุคคลทัว่ ไปทีส่ นใจขอรับบริการ โดยศูนย บริการ BSC ไดจดั เตรียมเจาหนาทีแ่ ละทีป่ รึกษาทีม่ คี วามรู ความเชีย่ วชาญเฉพาะดานเพือ่ ใหบริการ โดยมีบริการตางๆ ดังนี้ คือ 1. บริการปรึกษาแนะนําเบื้องตน 2. การวางแผน ธุรกิจ 3. การเริม่ ตนธุรกิจ (Business Start-up) 4. การเพิม่ ศักยภาพธุรกิจอุตสาหกรรม (Business Improvement) 5. หองสมุดอุตสาหกรรม (Business Library) 6. โตะญี่ปุน (Japan Desk) ดร.พสุ กลาวทิ้งทายวา การที่จะทําใหการดําเนิน ธุรกิจประสบผลสําเร็จไดนนั้ จะตองดําเนินงานตามเปาหมาย ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม ซึ่งมีนโยบายหลักคือ สนับสนุนการใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในกิจการ เพื่อเพิ่ม ประสิ ทธิภาพในการบริห ารจัด การธุร กิ จ ได เป นอย า งดี รวมทั้ ง ส ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให เ กิ ด นวั ต กรรมใน สินคาและบริการ เพื่อใหเกิดโอกาสทางการตลาดใหมๆ โดยเฉพาะอยางยิง่ การนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต ใช กั บ การบริ ห ารจั ด การในธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรม ซึ่ ง เป น มาตรฐานของรัฐบาลที่จะผลักดันใหอัตราการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจของไทย และยกระดับขีดความสามารถในการ แขงขันของประเทศ ใหเปนไปตามเปาหมายทีไ่ ดวางไว และ สอดคลองกับยุทธศาสตร Thailand 4.0


Report

• กองบรรณาธิการ

สวทช. เดินหนานําองคความรู

ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หนุนไทยสู่ “เศรษฐกิจชีวภาพ” สร้างความเข้มแข็งให้เศรษฐกิจไทย

ดร.สมคิด จาตุศรีพทิ กั ษ รองนายกรัฐมนตรี ประธานในพิธถี า ยภาพรวมกับหนวยงานทัง้ สิน้ 23 หนวยงาน ขับเคลือ่ นการลงทุนดานเศรษฐกิจชีวภาพของไทย

คณะทํางานดานการพัฒนาคลัสเตอรภาคอุตสาหกรรมแหงอนาคต (New S-Curve) ซึง่ มี อุตตม สาวนายน รัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรม หัวหนาทีมภาครัฐ และประเสริฐ บุญสัมพันธ ประธานกรรมการ บริษัท พีทีทีโกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) หัวหนาทีมภาคเอกชน จัดพิธี ลงนามบันทึกความเขาใจระหวางหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบัน การศึกษาและวิจัย รวมทั้งสิ้น 23 หนวยงาน หวังเปนจุดเริ่มตนในการ ขับเคลือ่ นการลงทุนดานเศรษฐกิจชีวภาพของไทย

ภายในงานไดรับเกียรติจาก ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหนาทีมคณะ กรรมการสานพลังประชารัฐ เปนประธานในพิธลี งนาม โดยมี พลเอกอนันตพร กาญจนรัตน รัฐมนตรีวา การ กระทรวงพลังงาน ดร.อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรี วาการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และ อิสระ วองกุศลกิจ หัวหนาทีมภาคเอกชนสานพลัง

จุดแข็งของประเทศไทยดานความ หลากหลายทางชีวภาพและความสมบูรณ ของระบบนิเวศ ทําใหไทยมีศกั ยภาพในการ เปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศอยางยั่งยืน เชนเดียวกับประเทศฟนแลนด แคนาดา ที่ตางเห็นโอกาสและกําหนดใหเปนหนึ่งใน เปาหมายหลักของการพัฒนาเศรษฐกิจ ชีวภาพของประเทศ

โฉมหนาสินคา Biotechnology

31

Engineering Today January- February 2017


ประชารัฐ พรอมดวยหนวยงานวิจัย ไดแก ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล ผูอํานวยการ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) รวมลงนาม เพื่อผนึกกําลังขับเคลื่อนการลงทุนดานเศรษฐกิจชีวภาพของไทย ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ รองนายกรัฐมนตรี กลาววา ประเทศไทยเปน ประเทศเกษตรกรรมและเปนจุดแข็ง แตที่ผานมายังไมไดศักยภาพเทาที่ควร ดังนั้น ฝากไว 3 ประการ คือ 1. Aim High คือ เพิม่ มูลคาสินคาเกษตร ใหยกระดับจากเกษตร ธรรมดาใหเปนเกษตรอุตสาหกรรมใหได 2. ตอง ทําใหดีกวา Biopolis ไมมีอะไรที่เราทําไมได แต เ ราไม ไ ด ทํ า จึ ง อยากใหรั ฐมนตรีว า การ กระทรวงอุตสาหกรรมตั้งเปาทําอยางจริงจัง 3. การทําทั้งหมดนี้เพื่อภาคเกษตร ซึ่งมีการ จางงานมากที่สุดในประเทศ “ดังนั้น กระทรวงอุตสาหกรรมในฐานะ หั ว หน า ที ม สานพลั ง ประชารั ฐ จากภาครั ฐ ควรคิดตอวาจะทําอยางไรทีจ่ ะทําใหภาคเอกชน รัฐ การศึกษา การวิจยั ทํางานรวมกัน เดินหนา โครงการไดอยางราบรื่นและเกิดผลลัพธที่ดี ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล ผูอํานวยการ สวทช. แมวันนี้จะเริ่มโดยภาคเอกชน แตในอนาคต ภาครัฐตองทําใหภาคประชาชนเขามามีสว นรวม เพือ่ ใหเกิดการเติบโตอยางมีสว นรวม (Inclusive Growth) เพิม่ ขึน้ โดยขอใหทกุ ภาคสวนลงมือ ทําใหเกิดผลเปนรูปธรรมโดยเร็ว” ดร.สมคิด กลาว

Engineering Today January- February 2017

32

ดร.อรรชกา สีบุญเรือง รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (วท.)

ประเทศไทยมีศักยภาพและโอกาส ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศด ว ยเศรษฐกิ จ ชี ว ภาพ โดยใช จุ ด แข็ ง ที่ มี อ ยู  ได แ ก ความพร อ มของ วัตถุดบิ ทางการเกษตร ความหลากหลาย ทางชี ว ภาพ และความสามารถด า น วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทพี่ รอมตอยอด สู  ก ารนํ า ไปใช ป ระโยชน ซึ่ ง ต อ งอาศั ย ความรวมมือในลักษณะประชารัฐ โดยเฉพาะ แรงขับเคลือ่ นจากภาคเอกชน


ดร.อรรชกา สีบญ ุ เรือง รัฐมนตรีวา การกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี (วท.) กลาวถึงการขับเคลื่อน Bioeconomy ที่ ยัง่ ยืนดวยการใชองคความรูด า นวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และ นวัตกรรม วาหลักการของเศรษฐกิจชีวภาพมุง เนนการสรางสมดุล ระหวางการเติบโตทางเศรษฐกิจกับความยัง่ ยืน เศรษฐกิจชีวภาพ จึ ง เป น รู ป แบบการพั ฒนาที่ ส อดคล อ งตามกระบวนทั ศ น ข อง เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ SDGs “เศรษฐกิจชีวภาพ” จึงเปนทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจแหงอนาคตของทัว่ โลก รวมถึง ประเทศไทย ที่นําไปสูการเพิ่มมูลคาใหกับวัตถุดิบชีวภาพและ ทรัพยากรชีวภาพทีม่ อี ยูม ากของแตละประเทศ ดวยการนําความรู ความกาวหนาของเทคโนโลยีชีวภาพและนวัตกรรมมาพัฒนา ตอยอดอุตสาหกรรมการผลิตและบริการในดานตางๆ เชน การ เกษตรและอาหาร พลังงาน สุขภาพการแพทย รวมถึงการวิจัย พั ฒนาผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละกระบวนการผลิ ต ใหม ๆ ที่ เ ป น มิ ต รกั บ สิ่งแวดลอม ดร.อรรชกา กลาววา ประเทศไทยมีโอกาสพัฒนาเศรษฐกิจ ชีวภาพไดมากเชนเดียวกับประเทศอื่นๆ ที่ชูนโยบายดานนี้ เชน สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป จีน และมาเลเซีย เนื่องจากมีความ พรอมดานผลผลิตทางการเกษตร และความหลากหลายทาง ชีวภาพ ซึง่ เปนฐานสําคัญของเศรษฐกิจชีวภาพไทย ซึง่ หนวยงาน ภายใตกระทรวงวิทยาศาสตรฯ อยางสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) มีการนําวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม มาพัฒนาตอยอดสูการทําการเกษตรสมัยใหม เชน การพัฒนาพันธุพืชใหมีลักษณะดีเดนตามความตองการของ อุตสาหกรรมตอเนื่อง ไดแก พันธุออยตานทานโรคแมลงที่ให ผลผลิตนํ้าตาลสูง หรือพันธุมันสําปะหลังที่ใหผลผลิตแปงสูง ตลอดจนการพัฒนาใชประโยชนจากจุลินทรียและเอนไซมจาก

จุ ลิ น ทรี ย  เ พื่ อ เพิ่ ม มู ล ค า วั ต ถุ ดิ บ และของเหลือทิ้งทางการเกษตร ใหเปนสารชีวภาพมูลคาสูง ซึง่ เปน ประโยชนตอ อุตสาหกรรมพลังงาน ชีวภาพและเคมีชีวภาพ “จุ ด แข็ ง ของประเทศไทย ดานความหลากหลายทางชีวภาพและ ความสมบูรณของระบบนิเวศ ทําให ไทยมีศักยภาพในการเปนแหลง ท อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศอย า งยั่ ง ยื น เช น เดี ย วกั บ ประเทศฟ น แลนด แคนาดา ที่ ต  า งเห็ น โอกาสและ กําหนดใหเปนหนึง่ ในเปาหมายหลัก ของการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ ของประเทศ ดังนั้นประเทศไทยมีศักยภาพและโอกาสในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศดวยเศรษฐกิจชีวภาพ โดยใชจดุ แข็งทีม่ อี ยู ไดแก ความพรอมของวัตถุดบิ ทางการเกษตร ความหลากหลายทางชีวภาพ และความสามารถดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีที่พรอมตอยอดสูการนําไปใชประโยชน ทั้งนี้การ เติบโตของเศรษฐกิจชีวภาพอยางยัง่ ยืนนัน้ ตองประกอบดวยฐาน ความรู วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมตลอดหวงโซ ซึ่ง ตองอาศัยความรวมมือในลักษณะประชารัฐ โดยเฉพาะแรงขับเคลือ่ น จากภาคเอกชน” รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรฯ กลาว ดร.อรรชกา กลาวเพิ่มเติมวา กระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี พรอมใหการสนับสนุนในทุกๆ ดาน ทั้งในสวนของ การรวมวิจัยพัฒนา และการใหเขาถึงโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญ เชน ทีอ่ ทุ ยานวิทยาศาสตรประเทศไทย สวทช. ซึง่ มีเมืองนวัตกรรม อาหาร (Food Innopolis) มีศนู ยนวัตกรรมอาหารและอาหารสัตว (Food Feed Innovation Center) ที่เปน One Stop Service สงเสริมให SMEs ใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อสรางความ สามารถในการแขงขัน ศูนยชีววัสดุแหงประเทศไทยที่ใหบริการ จุ ลิ น ทรี ย  ที่ ไ ด ม าตรฐานสากล มี จุ ลิ น ทรี ย  ที่ พ ร อ มให บ ริ ก าร มากกวา 70,000 สายพันธุ ที่มีสวนสําคัญกับการผลิตอาหาร นอกจากนัน้ แลว กระทรวงวิทยาศาสตรฯ ไดพฒ ั นาระบบ การให บริ การเทคนิ คด านวิ ทยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี แบบ เบ็ดเสร็จ (MOST One Stop Service) ทีเ่ ชือ่ มโยงและบูรณาการ เครื่องมือและปจจัยเอื้อตางๆ ที่มีอยูภายในกระทรวงฯ เพื่อ สงเสริมการพัฒนาคุณภาพสินคาของผูป ระกอบการใหสามารถ แขงขันไดในตลาดสากล

33

Engineering Today January- February 2017



Report

• กองบรรณาธิการ

ถึงเวลาวิศวกรไทย

ปรับการทํางานใหม พรอมขับเคลื่อน

ประเทศสู่ยุค Thailand 4.0

สภาวิศวกร โดย คณะอนุกรรมการสวัสดิการและสมาชิกสัมพันธ จัดเสวนาเรือ่ ง “การปรับตัวของวิศวกรในยุค Thailand 4.0” โดยแนะให วิศวกรทุกคนหมั่นศึกษาองคความรูดานอินเทอรเน็ต และเทคโนโลยี สารสนเทศ เขามาประยุกตใชในการเก็บงานในฐานขอมูลใหเปนระบบ สรางระบบที่ปลอดภัย สามารถควบคุมฐานขอมูลได และมีความเสถียร เพื่อวิศวกรไทยสามารถนําองคความรูไปประยุกตใชในแขนงตางๆ เพื่อ เตรียมความพรอมในการขับเคลื่อนประเทศไทยในยุค Thailand 4.0 แนวทางการทํางานของสภาวิศวกร ยุค Thailand 4.0

ดร.กมล ตรรกบุตร นายกสภาวิศวกร

ดร.จีระศักดิ์ แสงพุม กรรมการสภาวิศวกร และประธานอนุกรรมการสวัสดิการและสมาชิกสัมพันธ

ดร.กมล ตรรกบุตร นายกสภาวิศวกร กลาววา สภาวิศวกรมองวา การประกอบอาชีพวิศวกรในยุค Thailand 4.0 นั้น วิศวกรทุกคนจะตอง ปรับตัว พรอมหมัน่ ศึกษาองคความรูต ามแผนกทีเ่ ปนประโยชนในวิชาชีพ ที่ตนเองได เลื อก อีกทั้งควรหาวิชาความรูเพิ่ ม เติม ในแขนงอื่นๆ มา ประกอบการทํางานเพิม่ เติม เพือ่ ประโยชนในวิชาชีพวิศวกร และทําหนาที่ ตอไปไดอยางสมบูรณ เชื่อวาตอจากนี้วิศวกรตองนําเทคโนโลยีเขามา ชวยในการพัฒนางานที่ทําและงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของตอไปมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอยางยิง่ งานทีต่ อ งเกีย่ วของกับการทํางานตามนโยบายภาครัฐ ทีจ่ ะตองใชขอ มูลพืน้ ฐานของภาครัฐรวมกับหนวยงานอืน่ ๆ ซึง่ ตรงนีว้ ศิ วกร ที่เกี่ยวของจําเปนตองสรางใหมีบุคลากรที่พรอมทํางานรวมกับภาครัฐ เพือ่ แลกเปลีย่ นองคความรูร ะหวางกัน แลวนํามาถายทอดสูว ศิ วกรแขนง อื่นๆ ใหรับทราบขอมูลการทํางานรวมกับภาครัฐ และเชื่อมั่นวาวิศวกร ทุกคนพรอมที่จะทํางานเพื่อประเทศในยุค Thailand 4.0 ใหมีความ มั่นคงยั่งยืนยิ่งขึ้นไป ดร.จีระศักดิ์ แสงพุม กรรมการสภาวิศวกร และประธานอนุกรรมการ สวัสดิการและสมาชิกสัมพันธ กลาววา สภาวิศวกรไดตระหนักถึงการ มีสว นรวมในการทํางานพัฒนาเรือ่ งทีเ่ กีย่ วของในดานเทคโนโลยี เศรษฐกิจ

355

Engineering Today January- February 2017


เสวนามุมมองจากวิศวกรในการปรับตัวของวิศวกรเขาสู Thailand 4.0

และสังคม เพื่อเขาสูยุค Thailand 4.0 อยางเต็มที่ รวมถึง หากวิศวกรแขนงใดมีขอ เสนอแนะทีเ่ ปนประโยชนในการทํางาน ทางสภาวิศวกรก็พรอมทีจ่ ะนํามาเสนอใหสมาชิกรับทราบ เพือ่ ใหเกิดความเขาใจ ใหการทํางานเดินหนาขับเคลือ่ นประเทศไทย 4.0 ในอนาคตสอดคลองกับนโยบายภาครัฐตอไป ถึงเวลาวิศวกรไทยขับเคลื่อนประเทศไทย สู่ยุค Thailand 4.0 ดร.ประเสริฐ ตปนียางกูร อุปนายกสภาวิศวกรคนที่ 2 กลาววา จากนี้ดีเอ็นเอของเถาแกจะตองฝงอยูในตัวของ ทุกทาน ในการเขาไปคาขาย ไมวา จะในรูปแบบไหน จะเปน เถาแกนอยหรือเถาแกใหญก็ตาม โดยวิศวกรจะตองเขาใจ รูค ดิ ในอุตสาหกรรมสีเขียวในการผลิตผลิตภัณฑตา งๆ ออกสู ตลาด โดยใชเทคโนโลยีทางวิศวกรรมการผลิตในแตละธุรกิจ อัน ที่ จริ ง แล ว Industry 4.0 เปน จุดเล็กๆ ที่ฝง ตัว อยูใน Thailand 4.0 เพือ่ ใหวศิ วกรทุกคนทราบวาเราจะขับเคลือ่ น แนวทางนี้ใหประเทศไทยไปสูประเทศที่มั่นคง มั่งคั่งและ ยั่งยืนไดอยางไร โดยการศึกษาและประยุกตรูปแบบการ ขับเคลื่อนของประเทศที่พัฒนาแลว ไมวาจะเปนประเทศ สหรัฐอเมริกา แคนาดา สวีเดน ญี่ปุน และเดนมารก เขาสู อุตสาหกรรม 4.0 ไปกอน โดยจะตองมองนโยบายแตละ ประเทศใหออกแลวหยิบยกนโยบายสวนที่สามารถนํามา ปรับใชไดมาใชในเรื่องเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอมของ ประเทศไทยใหเชื่อมโยงเขาดวยกัน

Engineering Today January- February 2017

ดร.ประเสริฐ ตปนียางกูร อุปนายกสภาวิศวกรคนที่ 2

ไมใชแคหลุดพนเพียงแควศิ วกรเทานัน้ แตเราจะตองทําให ประเทศไทยหลุดพนทั้งหมดในประเทศ ทั้งชาวไร ชาวนา ที่เขา ตองกระเสือกกระสนพึง่ ฟาพึง่ ฝนในการทํางาน เราตองคิดหา กระบวนการในการทําอยางไรใหการเพิม่ ผลผลิตของคนเหลานัน้ สูงขึ้นไดบาง จากที่เคยปลูกขาวไดกี่ถังตอไร อยางนอยๆ ใหได มากกว า เดิ ม สิ่ ง เหล า นี้ คื อ วิ ท ยาการเทคโนโลยี ท างด า น วิศวกรรมทางการเกษตร และวิศวกรรมเครื่องมือเครื่องจักร ทางการเกษตร “วิศวกรไทยทุกคนตองชวยกัน จะทําหนาทีใ่ หวศิ วกรสาขาใดสาขา หนึง่ ทํางานเพียงลําพังไมได เพราะทุกคนชํานาญและเกงเรียนเฉพาะดาน ไมเหมือนกัน ที่สําคัญตองนําความรูของแตละคนมาผนวกใชรวมกัน ทํางานตามแผนการขับเคลือ่ น 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ทีร่ ฐั บาลวางไว รวมกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 25602564) และแผน Thailand 4.0 เพื่อใหภาคอุตสาหกรรมและภาคสวน ตางๆ รวมกันขับเคลื่อนทํางานใหประเทศไทยของเราเติบโต มั่นคง แข็งแรง และยั่งยืน” ดร.ประเสริฐ กลาว พรอมกันนีว้ ศิ วกรควรนํานวัตกรรมใหมๆ เขามารวมขับเคลือ่ นดวย โดยเนนการสรางความแตกตางและความโดดเดนในธุรกิจ เพือ่ ทีจ่ ะชวย กันหาวิธที าํ งานวาควรจะตองมีแนวการปฏิบตั งิ านทํางานอยางไร เพือ่ ให ประเทศไทยหลุดพนจากประเทศที่มีรายไดปานกลาง เปนประเทศ ที่มั่งคั่งขึ้น “ไมใชแคหลุดพนเพียงแควิศวกรเทานั้น แตเราจะตองทําให ประเทศไทยหลุดพนทั้งหมดในประเทศ ทั้งชาวไร ชาวนา ที่เขาตอง กระเสือกกระสนพึ่งฟาพึ่งฝนในการทํางาน เราตองคิดหากระบวนการ ในการทําอยางไรใหการเพิ่มผลผลิตของคนเหลานั้นสูงขึ้นไดบาง จากที่ เคยปลูกขาวไดกี่ถังตอไร อยางนอยๆ ใหไดมากกวาเดิม หรือปลูกออย ใหมากขึน้ ไดหรือไม สิง่ เหลานีค้ อื วิทยาการเทคโนโลยีทางดานวิศวกรรม ทางการเกษตร และวิศวกรรมเครื่องมื อเครื่ องจักรทางการเกษตร” ดร.ประเสริฐ กลาว หมั่นศึกษาความรู้ด้านไอที จัดเก็บระบบฐานข้อมูลอย่างปลอดภัย ในยุค Thailand 4.0 วิศวกรทุกคนจะตองหมั่นศึกษาองคความรู ดานอินเทอรเน็ต องคความรูเทคโนโลยีสารสนเทศ เขามาประยุกตใช ทัง้ การเก็บงานในฐานขอมูลใหเปนระบบ ใหทกุ หนวยงานสามารถเขาไป ดูขอ มูลได แลกเปลีย่ นขอมูลระหวางกัน ไมใหงานหลนหายอยางในอดีต ทีจ่ ดหรือเขียนรางไวในกระดาษอีก เขาใจวาคงตองมีการศึกษากันหลายๆ ครัง้ เพราะเรือ่ งอินเทอรเน็ตนัน้ มีหลายสวนประกอบทีต่ อ งเขาใจ ก็ตอ งให วิศวกรที่เรียนมาทางดานนี้แนะนํา หรือเปน ผูดูแลระบบนี้ เพื่อสราง ระบบทีป่ ลอดภัยทีส่ ามารถควบคุมฐานขอมูลได มีความเสถียรมากกวา

36


“สวนตัวเชือ่ มัน่ วาวิศวกรจะคิดออกแบบอะไรขึน้ มาสักอยาง เขาจะตองคิดถึงการเพิม่ พูนประสิทธิภาพของสิง่ นัน้ ๆ ขึน้ มาใหได เพื่อใหเกิดประสิทธิผล ไมไปคิดถึงตนทุนที่ไมดี คิดเรื่องกําไร แต จะมองเรื่องสรางเศรษฐกิจใหเขมแข็งมีวิธีไหนบาง โดยนอมนํา ปรัชญาเศรษฐกิจของในหลวงรัชกาลที่ 9 มาใช ซึ่งพระองคทาน ทรงใชภาษางายๆ วา “เมือ่ พรองตองรูจ กั เติม เมือ่ พอตองรูจ กั หยุด เมื่อเกินตองรูจักปน” แนวคิดนี้ไมเจาะจงใชแคในวิศวกรเทานั้น แตยงั สามารถชวยเหลือคนอืน่ รอบขางเราไดอกี ดวย” ดร.ประเสริฐ กลาว

ชีวิตและสังคมของชุมชนโดยรอบ การบริหารจัดการพื้นที่อยางมี สวนรวม การพัฒนาและรักษาระบบบริหารระดับสากล และ ข อ มู ล ข า วสารและการรายงาน ประกอบการขั บ เคลื่ อ นให ประเทศไทยเปนเมืองที่ปลอดสารพิษดวย ซึ่งเปนความทาทายที่ วิ ศวกรไทยในยุ ค Thailand 4.0 ทุ กคนจะตองตระหนักและ รวมกันทํางาน เพื่อรวมขับเคลื่อนประเทศไทยของเรา

ทุกภาคส่วนต้องช่วยกันขับเคลื่อนเมืองไทย สู่เมืองที่ปลอดมลพิษ

เนรมิต สรางเอีย่ ม กรรมการบริหาร บริษทั ออลไทยแท็กซี่ จํากัด กลาววา สวนตัวมองการเขาสู Thailand 4.0 วาเปนเรื่อง ของการใชขอมูลอยางชาญฉลาดในการทํางาน โดยนําขอมูลมา เปนประโยชนในการวางแผนการทําธุรกิจใหมๆ ดวยการวาง กลยุทธนําเอาขอมูลเกาที่บันทึกเก็บเอาไว นํามาวิเคราะหเพื่อ ปรับปรุงแนวทางการทํางานหรือแนวทางการทําธุรกิจใหดีขึ้น ซึ่ง ทุกภาคสวนสามารถนําไปประยุกตใชได สวนการนําเครื่องมือ ทางอิเล็กทรอนิกส ทางอินเทอรเน็ตเขามาชวยนั้นเปนเรื่องที่ดี ทีค่ วรจะนํามาใช ซึง่ จะนํามาใชสาํ หรับเก็บขอมูลไวเปนสวนๆ ให เปนระบบ เพื่อใหงายตอการเปดหาขอมูล หรือสงแชรตอขอมูล ระหวางกัน จะสะดวกและประหยัดเวลามากยิ่งขึ้น “ที่สําคัญอยากแนะนําวิศวกร ไมควรมีอีโกในการทํางาน ไมควรคิดวาเราเกง อยากใหปรับทัศนคติใหม ใหคิดเสียวาเรามา รวมกันทํางานเพือ่ ประเทศชาติจะดีกวา ไมวา จะยุคไหนในอนาคต อันใกลนี้ จะ 5.0 หรือ 6.0 ถาเรารวมมือกัน เราจะนําพาประเทศไทย ไดอยางแนนอน” เนรมิต กลาว ไผท ผดุงถิน่ กรรมการผูจ ดั การ บริษทั บิลค เอเชีย จํากัด กลาววา สังคมไทยตองมีการปรับตัว ตองมีการเรียนรู ปรับวิธคี ดิ และรวมกันทํางานเพือ่ สวนรวม อยางโครงการ Startup ของภาครัฐ ซึ่งเปนเรื่องที่ดีที่จะสงเสริมภาคธุรกิจใหมๆ เขาสูระบบเศรษฐกิจ ขับเคลือ่ นประเทศไทย แนวคิดหลายๆ อยางของ Startup รายใหม นาสนใจ สามารถนําไปตอยอดได อีกทั้งเปนแรงกระตุนให ผูป ระกอบการรายเกาหันมาผลิตสินคาดวยแนวคิดใหมๆ หลายอยาง ดวยกัน และที่สําคัญ จากนี้ตอไป สิ่งที่เราผลิตขึ้นมาตองเปน Green Product เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม แลวสินคาของทุกทาน จะจําหนายไดทั้งในประเทศและตางประเทศ ดร.ยศพงษ ลออนวล นายกสมาคมยานยนตไฟฟาไทย กลาววา ยานยนตไฟฟาเปนสิ่งที่คิดคนกันมานานในตางประเทศ กวา 20 ปแลว แตสําหรับประเทศไทยอาจจะเปนเรื่องที่ใหม แตหากประเทศไทยเราสามารถผลิตนํามาใชไดเองก็จะชวยลด การกอมลพิษ ลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดได แตคงตอง มีการศึกษาตอไปวาจะทําอยางไรใหพลังงานไฟฟาที่ชารจเขา แบตเตอรี่หรือที่เก็บพลังงานไฟฟาไวใชในยานยนตไฟฟามีระยะ เวลาทีย่ าวนานขึน้ อีก ซึง่ ตรงนีก้ ต็ อ งอาศัยความรวมมือของวิศวกร ที่ชํานาญและนักวิชาการตางๆ เขามารวมทํางานในโอกาสตอไป

การที่จะทําใหประเทศไทยเปนเมืองที่ปลอดสารพิษนั้น ถือวาเปนโจทยที่ทาทาย ไมใชแควิศวกรเทานั้นที่ตองรวมแก ปญหานี้ แตทกุ ภาคสวนตองชวยกัน แนนอนวาภาคอุตสาหกรรม ตกเปน ผูรายในเรื่องการกอมลพิษไปโดยปริยาย เพราะไมวาจะ เปนเรือ่ งนํา้ เสีย กลิน่ ควัน ทีภ่ าคอุตสาหกรรมตางๆ ปลอยออกมา สูชุมชน สูสิ่งแวดลอมตางๆ ลวนกอมลพิษทั้งสิ้น หรือแมแต กากของเสียทางอุตสาหกรรม ซึง่ ตรงนีว้ ศิ วกรทีก่ าํ กับดูแลโรงงาน อุตสาหกรรม ภาคสวนการผลิตในอุตสาหกรรมตางๆ ตองเรงหา ทางแกปญหามลพิษตางๆ นี้ใหได อาจจะมีวิธีการจัดการบําบัด นํา้ เสียแลวนํากลับมาใชใหม ลดการผลิตทีก่ อ ใหเกิดมลพิษทางกลิน่ หาที่กักเก็บใหมีคุณภาพมากกวาที่เปนอยู ซึ่งสามารถทําได หาที่ เก็บกากอุตสาหกรรมที่ไมกอใหเกิดผลกระทบกับชาวบานและ ชุมชนในพื้นที่นั้นๆ เปนตน เพราะหากไมเรงหาวิธีการจัดการ ในตอนนี้ เราจะมีปญหาในเรื่องการกีดกันทางการคาในเรื่องการ ผลิตสินคาที่กอใหเกิดมลพิษ ไมเปน Green Product ได นอกจากนี้ควรทําใหประเทศไทยเปนสังคมที่มีคารบอนตํ่า ตองมี 5 มิติ 20 ดาน ประกอบดวย มิตดิ า นกายภาพ เชน ตองมี การวางผั ง ที่ ตั้ ง และจัดพื้ น ที่ การออกแบบอาคารและบริเวณ โดยรอบ เศรษฐกิจอุตสาหกรรม และเศรษฐกิจทองถิน่ ตอมาเปน มิตทิ างดานเศรษฐกิจ และ มิตทิ างดานสิง่ แวดลอม ทีต่ อ งทําควบคู กันไป เชน การตลาด การขนสง การจัดการคุณภาพนํา้ การจัดการ คุณภาพอากาศ การจัดการกากของเสียและวัสดุเหลือใช และการ จัดการพลังงาน มิตทิ างสังคม เชน การจัดการเสียง กระบวนการผลิต ประสิทธิภาพเชิงนิเวศ การจัดการดานความปลอดภัยและสุขภาพ และการเฝาระวังคุณภาพสิง่ แวดลอม มิตสิ ดุ ทายเปน มิตทิ างดาน บริหารจัดการ เชน คุณภาพชีวติ และสังคมของพนักงาน คุณภาพ

ที่สําคัญอยากแนะนําวิศวกรไมควรมีอีโกในการ ทํางาน ไมควรคิดวาเราเกง อยากใหปรับทัศนคติใหม ให คิดเสียวาเรามารวมกันทํางานเพื่อประเทศชาติจะดีกวา ไมวา จะยุคไหนในอนาคตอันใกลนี้ จะ 5.0 หรือ 6.0 ถาเรา รวมมือกัน เราจะนําพาประเทศไทยไดอยางแนนอน

หลากมุมมองจากวิศวกร ในการปรับตัวสู่ Thailand 4.0

37

Engineering Today January- February 2017


Auto Today • กองบรรณาธิการ

มจธ. จับมือ 4 บริษัทชั้นนํา

จัดตั้งโครงการ Charge & Share พรอมเปดสถานี Electric Car Sharing แหงแรกในไทย

มจธ. เปดสถานี Electric Car Sharing แหงแรกในไทย

จากป ญ หาพลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ มทํ า ให ป  จ จุ บั น ยานยนต ไฟฟ า เริ่ ม เป น ที่ นิ ย มในหลายประเทศทั่ ว โลก เนื่ อ งจากมลพิ ษ ตํ่ า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) ไดพยายามสงเสริม และผลักดันใหเกิด Smart Mobility หรือการเดินทางที่ยั่งยืนภายใน

Engineering Today January- February 2017

38

มหาวิทยาลัยอยางตอเนื่อง ไมวาจะสงเสริมใหนักศึกษาใช จักรยาน หรือเดินทางเปนหมูคณะดวยระบบขนสงภายใน มหาวิทยาลัย เพือ่ ลดปริมาณการปลอยมลพิษออกสูส ภาวะ แวดลอม ลาสุด มจธ. รวมมือกับ 4 บริษทั ชัน้ นํา จัดตัง้ โครงการ “Electric Vehicle Charging and Car Sharing Zones” หรือเรียกสั้นๆ วา Charge & Share เพื่อศึกษาความเปน ไปไดของการใชยานยนตไฟฟา การเดินทางแบบ Car Sharing และการใชยานยนตไฟฟาในรูปแบบ Car Sharing สําหรับ ประเทศไทยในอนาคต


ผศ. ดร.ยศพงษ ลออนวล ประธานคลัสเตอรวิจัย ยานยนต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) กลาววา Charge & Share เปนโครงการภายใตศูนย Lo-Ve หรือ Center of Low Carbon Vehicle ภายใตคลัสเตอร วิจยั ยานยนตของ มจธ. ซึง่ เปนโครงการนํารองทีม่ รี ะยะเวลา 2 ป มี วั ตถุ ป ระสงคเ พื่ อ ศึ กษาความเปน ไปไดใ นการใช ยานยนตไฟฟาและระบบ Car Sharing หรือการใชยานพาหนะ รวมกันในประเทศไทย นอกจากนั้นก็เพื่อเปนการสงเสริม การใชยานยนตไฟฟาในรัว้ มจธ. ใหเปนรูปธรรม และเปลีย่ น รู ป แบบการเดิ น ทางมาเป น Car Sharing เพื่ อ ศึ ก ษา พฤติกรรมของคนไทยในการใชงานระบบดังกลาวดวย ผศ. ดร.ยศพงษ ลออนวล ประธานคลัสั เตอรว ิจัยยานยนต มจธ.

ด า น ดร.วศิ น เกี ย รติ โ กมล หั ว หน า โครงการ Electric Vehicle Charging and Car Sharing Zones กลาววา มจธ. ไดรับความรวมมือจากภาคเอกชนหลายแหง ทั้งนี้ ไดมีการลงนามความรวมมือระหวาง มจธ. และ บริษัท บีเอ็มดับเบิลยู (ประเทศไทย) จํากัด ขึ้น โดย บริษัท บีเอ็ม ดับเบิลยู (ประเทศไทย) จํากัด ยินดีนํารถยนตไฟฟารุน i3 ที่ยังไมมีจําหนายในไทยอยางเปนทางการมาทดลองใชใน โครงการดังกลาวดวย นอกจากนั้นยังมี บริษัท ชไนเดอร อีเล็คทริค (ไทยแลนด) จํากัด ที่มอบและติดตั้งเครื่องอัด ประจุไฟฟา เพราะยานยนตไฟฟาเปนเรื่องใหมสําหรับ ประเทศไทย บริษัทจึงยินดีที่จะวิจัยรวมดวย รวมทั้งติดตั้ง ดร.วศิ ดร วศิน เกียรติโกมล ในฐานะหัวหนา ระบบเก็บเงินของจุดประจุไฟฟารวมกับ บริษัท โซลาร ไอที โครงการ Electric Vehicle Charging and Car Sharing Zones คอนซัลแตนท จํากัด ที่รวมเก็บขอมูลการใชงาน รวมถึง ขอมูลการใชพลังงานไฟฟา ซึง่ จะเสนอเปนแนวทางในการเก็บคาประจุไฟฟาตอไป นอกจากนัน้ ยังไดรบั ความรวมมือจาก บริษทั ฮอปคาร จํากัด ในการชวยบริหารจัดการระบบ Car Sharing ในการจองและคืนรถอีกดวย ในโครงการ Charge & Share นั้น มจธ. ไดเปดสถานีประจุไฟฟาสําหรับยานยนตไฟฟาขึ้น โดยมีรถยนตใหบริการ 2 คัน ในรูปแบบ Car Sharing แบงเปนรถยนตไฟฟาแบบแบตเตอรี่ (Battery Electric Vehicle หรือ BEV) หรือรถยนตไฟฟาปลั๊กอินไฮบริด (Plug-in Hybrid Vehicle หรือ PHEV) สําหรับการทดลอง จํานวนอยางนอย 1 คัน จาก บริษัท บีเอ็มดับเบิลยู (ประเทศไทย) จํากัด ทีเ่ ปดโอกาสใหบคุ ลากรของมหาวิทยาลัยสามารถนําไปใชในงานราชการ พรอมกับขอความรวมมือในการเก็บขอมูลพฤติกรรมการขับขี่ และ อีกคันเปนรถยนตเครื่องยนตจากบริษัท ฮอปคาร จํากัด ใหสามารถใหบริการเชายืมเปนรายชั่วโมงกับบุคลากร นักศึกษา และบุคคล ภายนอก โดยเปดลงทะเบียนใชบริการผาน www.haupcar.com ไดโดยมีคาบริการ “จุดประสงคของโครงการ Charge & Share เพื่อศึกษาลักษณะการใชงาน รวมถึงขอจํากัดตางๆ ของการใชรถยนตไฟฟา ควบคูกับการศึกษาพฤติกรรมของคนไทยในการใชบริการระบบ Car Sharing และ EV Car Sharing เพื่อเปนสวนหนึ่งของการวิเคราะห ถึงความเปนไปไดของประเทศไทยที่จะมีการใชงานยานยนตไฟฟาและระบบ EV Car Sharing ไปพรอมกันสําหรับในอนาคตอันใกล” ดร.วศิน กลาว

39

Engineering Today January- February 2017


มจธ. จุดประกาย EV Car Sharing

สงเสริมการใชยานยนตไฟฟาในไทย ดร.วศิน กลาววา สําหรับ Car Sharing นัน้ เปนแนวคิดทีจ่ ะ สงเสริมใหคนรุนใหมตระหนักวาไมจําเปนตองมีรถสวนตัวทุกคน ก็ได เปนจุดเริ่มตนของการลดปญหาการจราจร ปญหาการใช พลังงาน และปญหาการปลอยมลพิษ ซึ่งใชไดผลและเปนที่นิยม ทั่วโลก โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกาและยุโรป แตถาเปน EV Car Sharing นั้นยังมีนอยมาก หรือเรียกวาไมมีเลยก็ได มจธ. จึงเริ่ม ศึกษาและทดลองเพื่อกาวเปนผูนําที่จะใหคําตอบในดานนี้ “ผลลัพธจากความรวมมือในโครงการ Charge & Share ในระยะเวลา 2 ปตอจากนี้จะเปนคําตอบถึงแนวโนมวาเปนไปได หรือไม หากจะมี Car Sharing และ EV Car Sharing เกิดขึ้นใน สังคมประเทศไทย และเปนบทเรียนที่จะบอกวามีปญหา อุปสรรค และวิธีการแกไขอยางไรบาง สําหรับ มจธ. เองในฐานะผูวิจัยและ ผูปฏิบัติ รวมถึงบริษัทเอกชนตางๆ ที่เกี่ยวของกับระบบเหลานี้ และเปนโครงการนํารองใหแกสังคมโดยรวมในอนาคต ซึ่งเปน

BMW นํารถยนตไฟฟารุน i3 ที่ยังไมมีจําหนายในไทย มาทดลองใชในโครงการ

เรื่องที่สอดคลองกับนโยบายลําดับตนๆ ของประเทศในเรื่องการ สงเสริมการใชยานยนตไฟฟา” ดร.วศิน กลาวทิ้งทาย

Canon EOS 5D Mark IV

ควารางวัลสุดยอดกลอง DSLR ระดับบนยอดนิยม จากผลโหวต YOUR CHOICE Camera Awards 2016 “Canon EOS 5D Mark IV” ควารางวัล สุดยอดกลอง DSLR ระดับบนยอดนิยม (Popular High-End DSLR Camera) จากผลโหวต YOUR CHOICE Camera Awards 2016 ที่ไดรวบรวม ผลโหวตจากเว็บไซตกลองและบล็อกเกอรชื่อดัง ในประเทศไทย โดยในปนกี้ ลอง DSLR ของแคนนอน ไดรับการคัดเลือกใหเขารอบชิงทั้งหมด 3 รุน และ Canon EOS 5D Mark IV ไดรับความนิยมสูงสุด อั น ดั บ ที่ 1 ด ว ยคะแนน 23.7% จากผลโหวต ทั้งหมด สวนกลอง DSLR รุน Canon EOS 1D X Mark II และ Canon EOS 80D ไดรบั การโหวต เปนอันดับที่ 4 (11.5%) และอันดับที่ 5 (10.6%) ตามลําดับ เว็บไซตกลองชื่อดังอยาง TechXCite.com เผยผลการสํารวจป 2016 ทีผ่ า นมาวา กลอง DSLR

Engineering Today January- February 2017

ตระกู ล EOS ของแคนนอนมียอดจําหนายและไดรับ ความนิยมสู งสุดเปน อันดับที่ 1 ในประเทศไทย โดยเหตุผลที่ผูโหวตเทคะแนนให Canon มากที่สุด คือ ผลิตภัณฑมีคุณภาพสูง ราคาเหมาะสม ประสิทธิภาพในการใชงานที่คุมคา สงผลใหกลอง DSLR ของแคนนอนสามารถมัดใจสาวกกลองไดอยางตอเนื่อง เสมอมา

40


Industry 4.0 • กองบรรณาธิการ

เดลต้าฯ รวมกับ จุฬาฯ จัดงาน

“วิถีเทคโนโลยีออโตเมชั่น IA...สูยุคอุตสาหกรรม 4.0” พัฒนาวิศวกรของไทยให้ก้าวทันการปฏิรูปอุตสาหกรรม บริษทั เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) หนึ่ ง ในผู  นํ า อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส แ ละนวั ต กรรมไอซี ที ข องโลก โดย ยงยุทธ ภักตรดวงจันทร ผูอ าํ นวยการฝายบริหารและทรัพยากร บุคคล และ เกษมสันต เครือธร ผูจัดการภาคพื้นอาวุโสฝาย อินดัสเทรียลออโตเมชัน่ รวมกับ คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย โดย รศ. ดร.พิสทุ ธิ์ เพียรมนกุล รองคณบดี จัดงาน 4.0”เพื “วิถเี ทคโนโลยีออโตเมชัน่ IA...สูย คุ อุตสาหกรรม 4.0” เพือ่ พัฒนา บุคลากรนักศึกษาคนรุน ใหม โดยเฉพาะวิศวกรของไทยใหกา วทัน การปฏิรูปอุตสาหกรรม และเพื่อตอบสนองการพัฒนาประเทศ สูยุคอุตสาหกรรม 4.0 ที่ขับเคลื่อนดวยนวัตกรรมและองคความรู โดยมีคนเปนหัวใจสําคัญ พรอมตอกยํ้าการสรางคุณคาแบรนด ดวยความรับผิดชอบตอสังคม โลกของอุตสาหกรรมกําลังกาวสูการปฏิวัติครั้งใหมเปน ครั้งที่ 4 ที่เรียกวา อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) โดยไดผาน การปฏิ วัติ อุ ตสาหกรรมในอดีตมา 3 ครั้ง เริ่มจากการปฏิวัติ อุตสาหกรรมครั้งที่ 1 (Industrial Revolution 1.0) คือ ยุคของ การใชพลังงานจากไอนํา้ (Hydro Power) การปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม ครั้งที่ 2 (Industrial Revolution 2.0) เปลี่ยนจากการใชเครื่อง จักรไอนํ้า มาใชพลังงานไฟฟา การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 3 (Industrial Revolution 3.0) เปนยุคของการใชอิเล็กทรอนิกส และเทคโนโลยีไอทีในการผลิต มีการใชเครื่องจักรอัตโนมัติหรือ

หุนยนตในการผลิต การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 (Industrial Revolution 4.0) คือ การนําเทคโนโลยีดิจิทัลและอินเทอรเน็ต มาใชในกระบวนการผลิตสินคา ที่สําคัญอยางหนึ่งก็คือ สามารถเชื่อมความตองการของ ผู  บ ริ โ ภคแต ล ะรายเข า กั บ กระบวนการผลิ ต สิ น ค า ได โ ดยตรง นอกจากตัวเครื่องจักรที่เปนอัจฉริยะแลว โรงงานในยุค 4.0 ก็จะ มีความเปนอัจฉริยะมากขึ้นดวย โดยที่โรงงานอัจฉริยะ (Smart Factory) จะสามารถออกแบบกําหนดความตองการ รวมทั้ง สภาพแวดลอมของการผลิต สามารถสื่อสารกับหนวยอื่นๆ ได อยางอิสระแบบไรสาย สามารถผลิตสินคาตามคําสั่งโดยคํานึงถึง ปจจัยตางๆ เชน เวลา ตนทุนการผลิต คาขนสง การรักษาความ ปลอดภัย ความนาเชื่อถือ เปนระบบการผลิตที่ใชทรัพยากรอยาง คุมคาที่สุด ยงยุทธ ภักตรดวงจันทร ผูอํานวยการฝายบริหารและ ทรัพยากรบุคคล บริษัท เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) กล าวว า เดลต าฯ เปนองคกรที่กาวลํ้าดาน นวัตกรรมอิเล็กทรอนิกสและไอซีทีของโลก นอกจากสรางสรรค ผลิตภัณฑ บริการที่มีคุณภาพสูง วางแผนระบบโซลูชันแกธุรกิจ อุตสาหกรรมตางๆ แลว บริษัทฯ ยังมีความรับผิดชอบตอสังคม มุง สงเสริมการถายทอดองคความรูส เู ยาวชนและพัฒนาศักยภาพ ของบุคลากรไทย ในสถาบันการศึกษาหลายแหง เชน จุฬาลงกรณ

4 41

Engineering Today January- February 2017


ยงยุทธ ภักตรดวงจันทร ผูอํานวยการฝายบริหารและทรัพยากรบุคคล เดลตาฯ

เกษมสันต เครือธร ผูจัดการภาคพื้นอาวุโส ฝายอินดัสเทรียลออโตเมชั่น เดลตาฯ

มหาวิท ยาลั ย สถาบั น เทคโนโลยีพ ระจอมเกลา เจ าคุณทหาร ลาดกระบัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ซึ่งสอดคลอง กับวิสัยทัศนของรัฐบาล ในการพัฒนาอุตสาหกรรม 4.0 โดยบริษทั ฯ รวมมือกับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาทั้ง 3 แหง จัดอบรมสัมมนาแกอาจารย และนักศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อรับ-สงขอมูล และควบคุมโดยผานโปรโตคอลตางๆ เพื่อควบคุม บันทึกและ แสดงผลกับเครื่องจักรโดยระบบเทคโนโลยีออโตเมชั่น หรือ IA (Industrial Automation) เพือ่ สรางสรรคผลิตภัณฑทม่ี คี ณ ุ ลักษณะ เฉพาะหรือตรงตามความตองการของผูบริโภคและตลาด แตยัง รักษาและเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตทีส่ งู ในระดับเดียวกับการผลิต แบบคราวละมากๆ อาทิ การผลิ ต รถยนต เครื่ อ งใช ใ นชี วิ ต ประจําวัน เปนตน ดังนั้น เทคโนโลยีออโตเมชัน่ จึงกลายเปนสิ่งที่ มีบทบาทสําคัญในการขับเคลื่อนการผลิตของภาคอุตสาหกรรม อยางมากในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ดาน เกษมสันต เครือธร ผูจัดการภาคพื้นอาวุโสฝาย อินดัสเทรียลออโตเมชัน่ บริษทั เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) กลาววา กระบวนการผลิตทีส่ าํ คัญในโลกอนาคต สําหรับอุตสาหกรรม 4.0 คือ เทคโนโลยีออโตเมชัน่ หรือ Industrial Automation ประกอบดวย เครื่องจักรกลอัตโนมัติ (Automation Machine) โรงงานอัตโนมัติ (Factory Automation) และกระบวน การผลิตอัตโนมัติ (Process Automation) ซึ่งในการผลิตจะ ประกอบดวยเครือ่ งจักร สิง่ สําคัญทีจ่ ะชวยทําใหเครือ่ งจักรสามารถ ทํ า งานได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพนั้ น คื อ ตั ว ควบคุ ม การทํ า งาน ที่เรียกวา PLC (Programmable Logic Controller) ซึ่งควบคุม

Engineering Today January- February 2017

42 4

โรงงานระดับขนาดเล็กถึงระดับกลาง ที่ I/O ไมเกิน 4,000 Input/ Output นัน้ เปนหนวยประมวลผลทีส่ ามารถโปรแกรมได เพือ่ ชวย จัดการควบคุม สั่งงาน รับคาเซ็นเซอรตางๆ และกําหนดการ ทํางานของระบบควบคุมอัตโนมัติ ทีอ่ อกแบบมาสําหรับใชควบคุม งานทางดานอุตสาหกรรม หลังจากนั้นเชื่อมตอผานเน็ตเวิรก ผานไฟเบอรออพติก ลิงคขึ้นมาที่หองควบคุม (Control Room) แลวใชซอฟตแวรเปน ตัวแสดงผลที่เรียกวา SCADA (Supervisory Control And Data Acquisition) เป น ระบบตรวจสอบและวิ เ คราะห ข  อ มู ล แบบ Real-time ใชในการตรวจสอบสถานะ ตลอดจนควบคุมการทํางาน ของระบบควบคุมในอุตสาหกรรม และงานวิศวกรรมตางๆ เชน งานด า นโทรคมนาคมสื่ อ สาร การประปา การบํ า บั ด นํ้ า เสี ย อุตสาหกรรมการกลัน่ นํา้ มันและกาซ อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรม ประกอบรถยนต เปนตน “ทั้งหมดนี้คือตัวชุดที่ใชในกระบวนการทํางานออโตเมชั่น บางโรงงานแบงเปนโรงงานที่ 1 โรงงานที่ 2 โรงงานที่ 3 เราก็ สามารถดึงขอมูลจากโรงงาน 1 ถึง 3 ใหเชื่อมกัน ผานเน็ตเวิรก และลิงคข้นึ มายังหองควบคุม และแสดงผลผานมอนิเตอร ทําให เราสามารถควบคุมบริหารจัดการไดงายยิ่งขึ้น และสิ่งที่ขาดไมได ในระบบออโตเมชั่นคือ สวนของหุนยนตที่จะนํามาใชในภาค อุตสาหกรรมมากขึ้น หุนยนตจะชวยใหการทํางานสั้นลงและ ไลนการผลิตมีประสิทธิภาพมากขึ้น” เกษมสันต กลาว ทัง้ นี้ บุคลากรและผูป ระกอบการอุตสาหกรรมในปจจุบนั ควรเตรียมพรอมและใชประโยชนจากดิจิทัลและเทคโนโลยี ออโตเมชั่นใหเกิดประโยชนสูงสุด เพื่อกาวสูยุคไทยแลนด 4.0 ขับเคลือ่ นดวยนวัตกรรมและความคิดสรางสรรคอยางมัน่ ใจ



Factory Today • กองบรรณาธิการ

“VPF Pork Valley”

ขึ้นแท่นสมาร์ทฟาร์มสุกร

ชูนวตก วัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรมเกษตร

ตอบโจทย์ประเทศไทย 4.0

วรพงศ์ จีรประภาพงศ์

ผู้จัดการทั่วไปสายงานผลิตภัณฑ์ อาหารในเครือวีพีเอฟ

กรมสงเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม เรงผลักดันอุตสาหกรรมเกษตร หนึง่ ในสาขาอุตสาหกรรมเปาหมาย จากยุทธศาสตรประเทศไทย 4.0 ดวยการประยุกตใชเทคโนโลยี และนวัตกรรมตางๆ โดยเนนการพัฒนาตัง้ แตระดับตนนํา้ กลางนํา้ และปลายนํ้ า พร อ มผลั ก ดั น โครงการส ง เสริ ม และพั ฒนาใน อุตสาหกรรมดังกลาว ภายใตงบประมาณกวา 80 ลานบาท อาทิ โครงการพั ฒนาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป โครงการพัฒนา อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป เปนตน นอกจากนีย้ งั มีโครงการทีเ่ รง สงเสริมในระดับภูมิภาค ไดแก โครงการ Thailand Food Valley โดยพบว า ภาคเหนื อ ของประเทศไทยเป น พื้ น ที่ ที่ มี ศั ก ยภาพ สามารถเปนไดทงั้ แหลงผลิตและแหลงแปรรูป ซึง่ สามารถผลักดัน สูการแขงขันไดในเวทีการคาระดับสากลอยา งยั่ง ยืนไดตอไป ในอนาคต

Engineering Today January- February 2017

44

อาหารแปรรูปจากฟาร์ม


ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเกษตรด้วยนวัตกรรม ตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0

ชี้อุตฯ เกษตรเป็นหนึ่งในอุตฯ เป้าหมาย เติบโตสอดคล้องกับ GDP ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมสงเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กลาววา อุตสาหกรรมการเกษตรถือเปนรากฐานทางเศรษฐกิจ ของประเทศไทยที่มีมาอยางยาวนานและตอเนื่อง และถือเปน หนึ่งในอุตสาหกรรมเปาหมายในประเภทอุตสาหกรรมเดิม ที่มี บทบาทและทิศทางการเติบโตทีส่ อดคลองกับคาผลิตภัณฑมวลรวม ของประเทศ (GDP) ในระดับสูง โดยสามารถนําไปเชื่อมโยง การผลิตระหวางภาคเกษตรและภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ ทั้งที่เปน อุตสาหกรรมหลักและอุตสาหกรรมสนับสนุนไดอยางหลากหลาย ตอยอดสูการเปนผลิตภัณฑและสินคาใหมๆ เพื่อสรางมูลคาให เกิดขึ้น พรอมทั้งเปนสวนสําคัญตอการผลิตปจจัย 4 โดยเฉพาะ ในอุตสาหกรรมอาหารและอาหารแปรรูปที่นํามาซึ่งรายไดหลัก สามารถนําไปสูการจางงาน ตลอดจนเพิ่มรายไดประชาชาติที่ สูงขึ้น ซึ่งในอนาคตอุตสาหกรรมประเภทนี้จะยิ่งทวีความสําคัญ ในดานบทบาทและการเปนพื้นฐานที่จําเปนที่จะตองเรงพัฒนา เพื่อการเติบโตทางเศรษฐกิจใหเกิดขึ้นตอไป “การผลิตในภาคเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรของไทย ถือวามีความกาวหนามากกวาในอดีตและประเทศเพื่อนบาน เป น อย า งมาก แต ก็ยั ง มีอุ ปสรรคที่ สํ า คัญคือ การประยุกตใช เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่มีในปจจุบัน รวมทั้งตนทุนการผลิต ของประเทศเพื่อนบานที่ตํ่ากวาทั้งในดานวัตถุดิบและแรงงาน ซึ่งเมื่อพิจารณาทิศทางในการพัฒนาเกษตรและอุตสาหกรรม เกษตรแลว จํ า เป น จะตอ งพัฒนาตั้ง แต ต น นํ้ า กลางนํ้า และ ปลายนํ้า รวมทั้งการพัฒนาในเรื่องเทคโนโลยีและนวัตกรรม ซึ่ง เปนสิ่งสําคัญที่จะทําใหการดําเนินงานดานอุตสาหกรรมเกิด ความเขมแข็ง อีกทั้งยังเปนอาวุธที่จะชวยยกระดับความสามารถ ทางการแขงขันของไทยใหกาวเดินในตลาดโลกได ไมวาจะเปน การนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกตใชในการจัดการขอมูลเพื่อ การคาดการณและการวางแผน การใชความรูจากกระบวนการ ทางชีวภาพและวิทยาศาสตรตางๆ มาใชปรับปรุงใหผลิตผลเกิด ประสิทธิภาพ มีสภาพที่สมบูรณจนถึงมือผูบริโภค รวมถึงการให ความสําคัญกับการอยูรวมกับทรัพยากรธรรมชาติ หรือกระบวน การเกษตรอยางยั่งยืน ซึ่งกลยุทธและกลวิธีที่จะใชในการดําเนิน งานเหลานี้จะชวยสงผลใหธรุ กิจการเกษตรของประเทศเติบโตได อยางมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” ดร.พสุ กลาว

การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการเกษตรดวยนวัตกรรมและ เทคโนโลยีนั้น เปนการตอบโจทยหนึ่งในอุตสาหกรรมเปาหมาย ของยุทธศาสตรประเทศไทย 4.0 ที่จะชวยใหกลุมธุรกิจดังกลาวนี้ สามารถพัฒนาไปอยางมีประสิทธิภาพและเปนเสมือนการตอยอด ความไดเปรียบใหเกิดขึน้ อีกทัง้ ยังชวยใหเกิดการสรางตลาดใหมๆ หรือขยายผลจากนวัตกรรมทางธุรกิจใหสามารถมีศกั ยภาพในการ แขงขันเชิงพาณิชย และยังเปนเสมือนการตอยอดใหเกิดการพัฒนา ในอุตสาหกรรมอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ ไดแก อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป และอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป อีกทั้งยังสอดคลองกับความ มุง มัน่ จากภาครัฐ ทีจ่ ะผลักดันใหประเทศไทยยังคงครองความเปน ผูผลิตสินคาเกษตรรายใหญ และเปนประเทศศูนยกลางผูผลิต อาหารปอนแกผูบริโภคในระดับนานาชาติไดตอไป ในป 2560 กสอ. ไดจัดเตรียมโครงการเพื่อการพัฒนาและ รองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมอืน่ ๆ ที่ เกี่ยวของกวา 10 โครงการ ภายใตงบประมาณกวา 80 ลานบาท เพื่อพัฒนาและยกระดับ SMEs จํานวน 280 กิจการ/890 คน และเกิดการเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑ 120 ผลิตภัณฑ อาทิ โครงการ พัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป โครงการพัฒนาอุตสาหกรรม อาหารแปรรูป โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล เปนตน นอกจากนีย้ งั มีโครงการทีส่ ง เสริมในระดับภูมภิ าค ไดแก โครงการ Thailand Food Valley ที่เรงผลักดัน ผลลัพธใหเกิดศูนยกลาง เกษตรและการผลิตอาหารในแตละพืน้ ที่ โดยพบวาภาคเหนือของ ประเทศไทยจัดเปนพื้นที่ที่มีศักยภาพในการผลิตภูมิภาคหนึ่ง ดวยจุดแข็งจากความหลากหลายและคุณภาพของสินคา สามารถ เป น ได ทั้ ง แหล ง ผลิ ต และแหล ง แปรรู ป รวมทั้ ง มี ส ถาบั น และ โครงการเพื่อการวิจัยเทคโนโลยีที่จะสามารถแปรองคความรูและ กระบวนการตางๆ โดยมี ก ารจั ด ตั้ ง ศู น ย ป ระสานงานระดั บ ปฏิ บั ติ ก าร (Command Center) ณ ศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1 เพื่อ ขับเคลื่อน Northern Thailand Food Valley ในพื้นที่ภาคเหนือ รวมทัง้ มีการบูรณาการกับสภาอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม และ สถาบันการศึกษาในพื้นที่ รวมกันดําเนินการใหเกิดการพัฒนาได อยางเปนรูปธรรม ซึง่ ในอนาคตหากมีการพัฒนาดวยกระบวนการ เหลานี้มากขึ้น ก็จะยิ่งนํามาซึ่งการสรางมูลคาเพิ่มทางธุรกิจ และ เปนจุดแข็งที่สามารถผลักดันสูเวทีการคาในระดับสากลไดตอไป

45

Engineering Today January- February 2017


โรงงานผลิตอาหาร-เนื้อสุกรแปรรูป

เครือวีพีเอฟชูนวัตกรรมต่อยอดอุตสาหกรรม สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน วรพงศ จีรประภาพงศ ผูจัดการทั่วไปสายงานผลิตภัณฑ อาหารในเครือวีพีเอฟ กลาววา ปจจุบันอุตสาหกรรมเกษตร มีการแขงขันกันมากขึ้นทั้งจากในและตางประเทศ ในอนาคต ดูแลวนาเปนหวงอยางยิง่ เนือ่ งจากประเทศเพือ่ นบานทัง้ เมียนมา เวียดนาม และกัมพูชา มีการขยายตัวจากการทําเกษตรมาเปน อุตสาหกรรมเกษตรมากขึน้ สิง่ ทีน่ า เปนหวงมากทีส่ ดุ คือ ประเทศ เหลานี้มีการพัฒนาแบบกาวกระโดด สามารถเรียนรูและพัฒนา การทําอุตสาหกรรมของตนเองไดอยางรวดเร็ว ดังนั้น บริษัทฯ จึงตองมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการดําเนินงานและวิธีการ และ ปรับตัวตามยุคสมัยในสภาวะที่มีการแขงขันกันสูง ไมวาจะเปน การปรับปรุงพันธุสัตวเพื่อใหไดผลผลิตที่ดีขึ้น การเพิ่มมูลคาให กับสินคา การปรับปรุงอุตสาหกรรมดวยนวัตกรรม อาทิ การใช ระบบใหอาหารอัตโนมัติ ทีส่ ามารถคํานวณระยะเวลาและคํานวณ ระบบการดูดซึมอาหารไดอยางแมนยํา พรอมทั้งประสิทธิภาพ การลดใชแรงงานคน ตลอดจนเพิม่ ผลผลิตและคุณภาพใหกบั สินคา

Engineering Today January- February 2017

46

นอกจากนี้ ยังมีการใชนวัตกรรมไบโอฟลเตอรทเี่ ปนเสมือน ตัวบังชองลมเพื่อกําจัดและลดกลิ่นไมพึงประสงค ระบบการจัด การโรงเรื อ น ระบบก า ซชี ว ภาพและไฟฟ า ระบบข อ มู ล และ สารสนเทศ บริษัทฯ ยังเพิ่มมูลคาใหกับสินคาดวยการพัฒนา ควบคูไ ปกับอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป พรอมทัง้ การขยายชองทาง การคาดวยการสรางศูนยการคาปลีก และรานอาหารแบบครบ วงจร ซึง่ ในอนาคตจะสามารถพัฒนาไปสูอ ตุ สาหกรรมขนาดใหญ และการเปนอุตสาหกรรมดานการบริการ โดยการปรับตัวใน หลายๆ ดานดังกลาวนี้จะชวยใหธุรกิจเติบโตไดอยางมั่นคงและ ยั่งยืน ปจจุบันยังมุงเนนนโยบายในเรื่อง Green Supply Chain ซึ่งประกอบดวย Green Feed, Green Farm, Green Power, Green Pork, Green Food และ Green Society ซึ่งเปนการ ผลักดันตนเองใหเปนฟารมสีเขียว โดยคํานึงถึงดานความปลอดภัย และการอยูรวมกันกับทรัพยากรธรรมชาติ มีการจัดการพลังงาน และความรับผิดชอบตอสังคม ดานการพัฒนาตลอดหวงโซเหลานี้ จะชวยใหการดําเนินอุตสาหกรรมสามารถอยูรวมกับสังคมได อยางยั่งยืน


เครื่องผสม-จายอาหารอัตโนมัติ

เครื่องผลิตกระแสไฟฟา จากมูลสุกร

เครือวีพีเอฟยึดถือหลักการเกษตรยั่งยืน ตามแนวพระราชดําริ รัชกาลที่ 9 วรพงศ กลาววา บริษัทฯ ยังไดนอมนําแนวพระราชดําริ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 มาปรับใชในการทําเกษตรและอุตสาหกรรม โดยยึดถือหลักการ เกษตรยัง่ ยืน ทัง้ การประยุกตใช การแบงพืน้ ทีเ่ พือ่ ใหเกิดประโยชน สูงสุดของฟารม ดวยการใหบุคลากรหรือพนักงานสามารถใช พื้นที่ภายในเพื่อการเพาะปลูก นํามาซึ่งการสรางรายไดที่เพิ่มขึ้น โดยรายไดเหลานี้เกิดจากการคาขายระหวางชุมชน รวมทั้งการ คาขายใหกับโรงอาหารภายใน พรอมกันนี้ยังนํามูลสุกรที่เหลือใช

มาสรางพลังงานทดแทน ดวยการพัฒนาสูไบโอแกส ปุยอินทรีย รวมทัง้ การผลิตกระแสไฟฟาจากแกสมีเทนทีส่ ามารถใชงานไดจริง อีกทั้งยังลดคาใชจายและการใชพลังงานไดกวา 12 ชั่วโมง “ยิ่งไปกวานั้น บริษัทฯ ยังมีการใชประโยชนจากหญาแฝก และผักตบชวา ซึง่ ถือเปนพืชมหัศจรรย เพือ่ การบําบัดนํา้ เสียและ ปองกันหนาดินไมใหพงั ทลาย โดยการใชประโยชนดงั ทีก่ ลาวมานี้ จะชวยใหระบบเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมดําเนินตอเนื่อง ไปไดนานที่สุด โดยไมสงผลกระทบดานลบตอระบบนิเวศวิทยา และไมเกิดปญหาทั้งดานสุขภาพ สังคม และเศรษฐกิจ” วรพงศ กลาวทิ้งทาย

4 47

Engineering Today January- February 2017


Technology • กองบรรณาธิการ

กพร. นําเทคโนโลยีโดรนตรวจสอบเหมืองแร่ ตามนโยบาย Thailand 4.0 ตั้งเปาป’60 ใหเหมืองทั่วประเทศ จัดสงรายงานจากโดรนทุกป

กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) กระทรวง อุตสาหกรรม จัดกิจกรรมลงพื้นที่สาธิตตัวอย่างการใช้อากาศยาน ไร้คนขับ (โดรน) ปฏิบตั งิ านตรวจสอบและกํากับดูแลเหมืองแร่ทเี่ หมือง หินปูน บริษัท ศิลาสานนท์ จํากัด จังหวัดสระบุรี มั่นใจเป็นเครื่องมือ สนับสนุนการตรวจสอบและกํากับดูแลการประกอบกิจการเหมืองแร่ ในด้านต่างๆ เป็นอย่างดี พร้อมตั้งเป้าปี 2560 ให้สถานประกอบการ เหมืองแร่ทวั่ ประเทศกว่า 580 ราย จัดทํารายงานการประกอบกิจการ เหมื อ งแร่ ใ นรู ป แบบข้ อ มู ล และภาพถ่ า ยที่ ไ ด้ จ ากการทํ า งานของ อากาศยานไร้คนขับส่งให้กับ กพร. เป็นประจําทุกปี

กพร. ใช้โดรนตรวจสอบเหมืองแร่ตามนโยบาย Thailand 4.0 เบื้องต้นครอบคลุมพื้นที่ 10,000 ไร่

สุระ เพชรพิรุณ ผูอํานวยการสํานักวิศวกรรม และฟนฟูพื้นที่ กพร.

Enggin Engineering ine nneeri er ng er ng Tod Today day ay Ja JJanuaryJanua anua uaary ry- Feb FFebruary ebbrua ruary ry 20 ry 2017 017 1

สุระ เพชรพิรุณ ผูอํานวยการสํานักวิศวกรรมและฟนฟูพื้นที่ กรม อุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) กลาววา การใชอากาศยาน ไรคนขับในการตรวจสอบและกํากับดูแลการประกอบการเหมืองแร นับเปน กระบวนการทํางานตามแนวทางนโยบายประเทศไทย 4.0 ของรัฐบาล เนือ่ งจาก เปนการนํานวัตกรรมเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาสนับสนุนและเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการตรวจสอบกํากับดูแลกิจการการทําเหมืองแร เพื่อลดขอจํากัดดาน งบประมาณและบุคลากรในการปฏิบัติหนาที่ตรวจสอบการประกอบการ

48 48


กพร. นํารองใชโดรนจัดทํารายงานขอมูลและภาพถายที่เหมืองหินปูน ศิลาสานนท จ.สระบุรี

เหมืองแร ลดปญหาการเขาถึงพื้นที่ และลดความเสี่ยงในการ เกิดอุบตั เิ หตุในการทํางานสํารวจรังวัดในพืน้ ทีอ่ นั ตราย เชน บริเวณ หนาผาสูงชัน และในบอเหมืองที่มีการทํางานของเครื่องจักร ขนาดใหญ ตลอดจนการควบคุมการทําเหมืองใหถูกตองตาม เงือ่ นไขทีก่ าํ หนดไวในใบอนุญาต การชําระคาภาคหลวงใหถกู ตอง ครบถวน และการลักลอบทําเหมืองโดยผิดกฎหมาย ขณะเดียวกัน การใชอากาศยานไรคนขับ โดยขอมูลที่ไดจะมีความเปนปจจุบัน เพือ่ ชวยในการตัดสินใจและแกปญ  หาบางสถานการณไดอยางทัน ทวงที โดยเฉพาะอยางยิ่ง การสํารวจขอมูลและติดตามความ กาวหนาของการประกอบการเหมืองแร การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ เหมืองแร หรือการตรวจสอบการทําเหมืองแรผดิ กฎหมาย เปนตน

โดยในระยะแรก กพร. ไดดาํ เนินการตรวจสอบการประกอบ การเหมื อ งหิ น ปู น ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด สระบุ รี เหมื อ งแร แ คลไซต ในพื้นที่จังหวัดลพบุรี เหมืองแรยิปซัมในพื้นที่จังหวัดพิจิตรและ นครสวรรค เหมืองแรทองคําที่จังหวัดพิจิตรและเพชรบูรณ รวม ทั้งสิ้นประมาณ 50 แปลง คิดเปนพื้นที่ประมาณ 10,000 ไร ซึ่งเชื่อมั่นวาอากาศยานไรคนขับจะเปนเครื่องมือที่ชวยในการ ควบคุมผูป ระกอบการดําเนินกิจการการทําเหมืองแรใหเปนไปตาม กฎหมายและขอบังคับตาง ๆ ตามขอกําหนดแนบทายประทานบัตร เพือ่ ความปลอดภัย ไมกระทบตอสังคมและสิง่ แวดลอม ทัง้ กอเกิด ประโยชนตอเศรษฐกิจของประเทศสูงสุด

เลือกใช้โดรนทั้ง 2 ประเภทตรวจงานเหมืองแร่ ตามขนาดพื้นที่-สภาพภูมิประเทศที่สํารวจ การใชอากาศยานไรคนขับในการตรวจงานเหมืองแรแบงออกเปน 2 ประเภท คือ อากาศยานไรคนขับแบบปกตรึง (Fixed Wing) และ อากาศยานไรคนขับแบบปกหมุน (Multi-rotor UAV) ซึ่งทั้ง 2 ประเภทมีขอแตกตางของคุณลักษณะในการปฏิบัติงาน กลาวคือ อากาศยานไรคนขับแบบปกตรึงจะสามารถปฏิบัติงานไดยาวนานกวา ซึ่งเปน ผลใหสามารถปฏิบัติงานไดครอบคลุมพื้นที่มากกวาใน แตละรอบการบิน ในขณะที่แบบปกหมุนมีความคลองตัวในการปฏิบัติงานในพื้นที่ที่เปนแนวดิ่งไดมากกวา ดังนั้น การใชงานอากาศยาน ไรคนขับแตละประเภทตองคํานึงถึงขนาดพื้นที่และสภาพภูมิประเทศที่ตองการสํารวจ

รูปที่ 2 อากาศยานไรคนขับชนิดปกหมุน

รูปที่ 1 อากาศยานไรคนขับชนิดปกตรึง

49

Engineering Today January- February 2017


สาธิตการใชโดรนตรวจงานเหมืองแร

ทีมวิศวกรรมเหมืองแร กพร.

ข้อมูลที่ได้จากโดรนรวดเร็ว-แม่นยํา ตอบโจทย์การกํากับดูแลเหมืองแร่ทุกด้าน สุระ กลาวตอวา สําหรับขอมูลที่ไดจากภาพถายทางอากาศยานไรคนขับนั้นจะมี ความรวดเร็ว และมีความแมนยําใกลเคียงกับการใชทรัพยากรคน หรืออาจแตกตางเล็กนอย ประมาณ 1-2 เปอรเซ็นตเทานั้น ซึ่งเปนประโยชนในการนํามาใชเปนขอมูลประกอบการ กํากับดูแลการประกอบการเหมืองแรในดานตางๆ ไดแก • การกํากับดูแลการประกอบการเหมืองแรใหถูกตองตามหลักวิศวกรรมและ มีความปลอดภัยในการทํางาน โดยเฉพาะการเปดหนาเหมืองและการผลิตแร จะตองมี

Engineering Today January- February 2017

50

ความปลอดภัย โดยความลาดชันของเหมือง จะตองไมเกินตามทีไ่ ดออกแบบไวและเปน ไปตามเงื่อนไขที่กําหนดไวในใบอนุญาต ซึ่ ง จะเป น การป อ งกั น อั น ตรายขณะ ปฏิบัติงาน และปองกันปญหาการถลม ของหนาเหมื อง รวมทั้งขอมูลที่ได จาก อากาศยานไรคนขับจะมีความชัดเจนและ สามารถนํามาคํานวณความลาดชันรวม ของหนาเหมืองได • การตรวจสอบป อ งกั น การทํ า เหมืองออกนอกเขตประทานบัตร หรือ ทําเหมืองลํ้าเขาไปในเขตหามทําเหมือง (Buffer Zone) ซึง่ อาจกอใหเกิดผลกระทบ ตอสาธารณะหรือสิง่ แวดลอม ทัง้ นี้ การใช อากาศยานไรคนขับทําใหเห็นเขตพื้นที่ การประกอบกิจการไดอยางชัดเจน • การตรวจสอบกิจกรรมตางๆ ที่ เกีย่ วของกับการทําเหมืองวาเปนไปตาม เงือ่ นไขหรือไม เชน พืน้ ทีเ่ ก็บกองแร พืน้ ที่ เก็บกองเปลือกดิน เศษหินที่เกิดจากการ ทําเหมือง บอดักตะกอน เปนตน • การกํ า กั บ ดู แ ลและติ ด ตาม ตรวจสอบการดําเนินการดานสิง่ แวดลอม โดยเฉพาะการฟ  น ฟู พื้ น ที่ เ หมื อ งตาม เงื่อนไขแนบทายประทานบัตร ซึ่งระบุวา กิจการเหมืองแรทกุ ประเภทจะตองดําเนิน การฟนฟูพื้นที่ที่ผานการทําเหมือง ทั้ง ระหวางและหลังการทําเหมือง จนกวา พืน้ ทีจ่ ะกลับคืนสูส ภาพทีส่ ามารถนําไปใช ประโยชน ไ ด หรื อ อยู  ใ นสภาพที่ เ ป น ที่ ยอมรั บ ของชุ ม ชนและสั ง คม การใช อากาศยานไรคนขับในการถายภาพจะเห็น ความชัดเจนถึงความคืบหนาในการพื้นฟู พื้นที่ • การประเมินความถูกตองในการ ชําระคาภาคหลวงแร ขอมูลที่ไดจากการ ทํางานของอากาศยานไรคนขับ เปนขอมูล ที่ เ ป น จริ ง และถู ก ต อ งแม น ยํ า จะช ว ย ตรวจสอบและประเมินความถูกตองของ การชําระคาหลวงแรของผูประกอบการ ไดเปนอยางดี


ตั้งเป้าปี’60 เหมืองทั่วประเทศ จัดส่งรายงานด้วยข้อมูลจากโดรนทุกปี สุระ กลาวตอวา สําหรับการนําอากาศยานไรคนขับมาใช สนับสนุนการตรวจสอบและกํากับดูแลเหมืองแร นอกจากจะเปน การเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานแลว ยังชวยใหสามารถ ติดตามการประกอบกิจการเหมืองแรไดอยางตอเนือ่ ง รวมทัง้ ชวย ลดตนทุนการปฏิบตั งิ านในหลายดาน เชน คาใชจา ยและบุคลากร ที่ ป ฏิ บั ติ ง าน ที่ สําคัญคื อ ลดระยะเวลาในการทํางานลงมาก อยางนอยประมาณ 5 เทา เมื่อเปรียบเทียบกับการทํางานโดยใช กลองสํารวจรังวัดพื้นที่หนาเหมืองตามปกติในปจจุบัน

“ในป 2560 กพร. ไดตั้งเปากําหนดมาตรการใหสถาน ประกอบการเหมืองแรทั่วประเทศกวา 580 ราย จัดทํารายงาน การประกอบกิจการเหมืองแรในรูปแบบขอมูลและภาพถายที่ได จากการทํางานของอากาศยานไรคนขับสงใหกบั กพร. เปนประจํา ทุกป เพื่อตรวจสอบความถูกตองและติดตามสถานการณการ ประกอบกิจการของแตละเหมืองใหเปนไปตามขอกําหนดแนบทาย ประทานบัตร รวมทั้งใชเปนขอมูลในการประเมินสถานการณ การประกอบการเหมืองแร ทัง้ ในแงของขอมูลการผลิต การจําหนาย การขนสงแร และปริมาณสํารองแรคงเหลือในแตละประทานบัตร เพื่อประโยชนในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศตอไป” สุระ กลาวทิ้งทาย

ภาพถายทางอากาศจากโดรน

5 51

Engineering Today January- February 2017


การปฏิบัติงานสํารวจรังวัด ด้วยอากาศยานไร้คนขับ (โดรน) อากาศยานไรคนขับจะมีการติดตั้งกลองถายภาพ เพื่อขึ้นไปเก็บขอมูลที่เปนภาพถายจากมุมสูง โดยจะทํา การบินดวยความสูงประมาณ 50-300 เมตร และจะสามารถ ทําการบินโดยอัตโนมัตจิ ากการกําหนดและวางแผนการบิน เพื่อที่จะคํานวณพื้นที่ที่ตองการจะสรางแผนที่ โดยการบิน จะเปนการบินกวาดเพือ่ ใหเกิดการเหลือ่ มของภาพระหวาง แนวบิ น ซึ่ง การทํ างานสํา รวจดว ยอากาศยานไรคนขับ จะประกอบดวย • การรังวัดภาคสนาม ขั้นตอนหลักในการรังวัด ภาคสนามด ว ยอากาศยานไร ค นขั บ จะประกอบด ว ย

ตัวอยางแนวบินถายภาพเพื่องานสํารวจรังวัดดวย UAV

1) ศึกษาภูมปิ ระเทศทีต่ อ งการรังวัด 2) การวางแผนการบิน 3) ลงพื้ น ที่ เ พื่ อ ทํ า การวางเป า ในการกํ า หนดจุ ด พิ กั ด ภาคพื้นดิน (Ground Control Point-GCP) 4) ตรวจสอบ และกําหนดพื้นที่ขึ้นบินและลงจอด และ 5) การบินเพื่อ ถายภาพตามแนวบินที่กําหนด • การประมวลผลข อ มู ล ภาพถ า ยทางอากาศ เทคโนโลยีการรังวัดดวยอากาศยานไรคนขับเปนเทคโนโลยี ที่ ป ระยุ กต ม าจากการสํ า รวจด ว ยภาพถ า ยทางอากาศ โดยหลักการแลว หากมีภาพถาย 2 ภาพที่มีการเหลื่อมกัน ของพื้นที่ (ภาพถาย Stereo) ความสูงของจุดรวมตางๆ บนภาพถายจะสามารถคํานวณไดจากระยะการเปลีย่ นแปลง ตําแหนง (Parallax)

การคํานวณความสูงของวัตถุบนภาพถายดวยวิธีการ วัดระยะ Parallax ของจุดรวมภาพถาย Stereo

ตัวอยางขอมูลภูมิประเทศที่ไดจากการสํารวจดวย UAV

Engineering Today January- February 2017

5 52


Technology • *ชาญวุฒิ ศรีผึ้ง

แม่พิมพ์ขนาดเล็กและชิ้นส่วนจิ๋ว (Micromould and Micropart)

โครงการนี้เปนการประยุกตใชแสงซินโครตรอนในระบบ หลายปที่ผานมา อุปกรณอิเล็กทรอนิกสและกลไกตางๆ ลําเลียงแสงที่ 6a Deep X-ray Lithography ของสถาบันวิจัย ไดเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวัน ตัวอยางเชน คอมพิวเตอร แสงซินโครตรอน (องคการมหาชน) เพื่อการสร างโครงสราง แบบพกพา มือถือ กลองดิจิทัล และนาฬกา เปนตน ซึ่งอุปกรณ แมพมิ พโลหะดวยเทคนิคการสรางโครงสรางจุลภาค (X-ray LIGA) เหลานี้ตองมีกลไกพิเศษในการขับเคลื่อนการทํางานภายในและ การสรางชิ้นงานแบงออกเปน 4 สวนดวยกัน สวนแรกเปนการ ตองมีขนาดเล็ก เพือ่ จะประหยัดพืน้ ทีแ่ ละสามารถติดตัง้ ในอุปกรณ สราง Mould Insert ซึ่งทาง BL6a ออกแบบและสรางแมพิมพ นั้นได อุปกรณที่เล็กลงทําใหพกพาสะดวก งายตอการเก็บรักษา โลหะนิกเกิล โดยใหแมพิมพโลหะดานฝง Cavity นั้นมี 4 Cavity และที่สําคัญ ราคาก็ถูกลงดวย แตละ Cavity จะเปนหลุมรูปเฟองทีม่ เี สนผานศูนยกลางภายนอก ปจจุบันมีเทคโนโลยีที่หลากหลายเพื่อนํามาสรางอุปกรณ ขนาดประมาณ 1.6 มิลลิเมตร มีแทงแกนที่อยูตรงกลาง Cavity อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส แ ละกลไกขนาดเล็ ก ยกตั ว อย า งเช น MEMS ขนาด 500 ไมครอน ฟนเฟองขนาด 200 ไมครอน และมีเฟอง (Microelectromechanical System), Microsystem Engineering ความหนาประมาณ 500 ไมโครเมตร (ดังรูปที่ 1) สวนที่ 2 เปน และ Micromachining แตละเทคโนโลยีมีคุณสมบัติและลักษณะ การสรางสวน Mould Base สวนที่ 3 เปนการสราง Runner งานทีเ่ หมาะกับงานในแตละดาน โดยสวนใหญนาํ มาสรางอุปกรณ Gate และ Air Vent บน Mould Insert (ดังรูปที่ 1) สวนที่ 4 Sensor Actuator และ Mechanical Part ซึ่งเทคโนโลยีเหลานี้ เปนการประกอบสวนของ Mould Base กับ Mould Insert เขา ใชวิธี Batch Processing ดังนั้นแผนซิลิกอนจึงมีบทบาทสําคัญ ดวยกัน (ดังรูปที่ 2) และทดสอบการฉีดพลาสติก (ดังรูปที่ 3) แตในปจจุบันนั้นแผนซิลิกอนยังมีราคาสูง ทําใหตนทุนการผลิต ทั้งนี้สวนที่ 2 ถึงสวนที่ 4 ดําเนินการโดยสถาบันไทย-เยอรมัน สูงตาม จึงตองมีการหาทางนําเทคโนโลยีอื่นมาใชแทนวิธี Batch (ชลบุร)ี ดังนัน้ ทุกสวนทีก่ ลาวมาขางตนนี้ ชิน้ งานสุดทายทีไ่ ดเปน Processing การขึ้นรูปเฟองพลาสติก (Microgear) ระดับไมครอน (ดังรูปที่ 4) การทํา Mass Production เปนกระบวนการหนึ่งที่ลด เทคนิคการฉีดขึ้นรูปพลาสติกโดยใช Micromould นี้ ตน ทุ น การผลิ ต คือ การสรางอุปกรณ และกลไกในแตละครั้ง สามารถนําไปใชในการผลิตชิ้นสวนขนาดเล็ก เชน อุปกรณ สามารถสรางไดหลายรอยตัวและสามารถทําซํ้าๆ กันได ซึ่ง ทางกล และอุปกรณการแพทย เปนตน จํานวนชิ้นสวนที่ผลิต ประโยชนตรงจุดนี้จึงไดมีการนําเทคโนโลยีการฉีดขึ้นรูปดวย สามารถผลิตไดเปนจํานวนหลักแสนชิ้น ทานผูอานที่สนใจ พลาสติกมาใช เพื่อนํามาสรางอุปกรณและกลไกขนาดเล็ก สามารถติดตอสอบถามโดยตรงไดที่ สถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน การฉีดขึน้ รูปพลาสติกทีเ่ ปนอุปกรณและกลไกขนาดเล็กนัน้ (องคการมหาชน) ไดมกี ารพัฒนากันมาอยางตอเนือ่ ง ในปจจุบนั มีการนําเทคโนโลยี การฉีดขึ้นรูปพลาสติกไปสราง Microgear, Microconnector, Microelectronic Housing และอุปกรณ การแพทย เปนตน ซึ่งตลาดการสราง อุปกรณเหลานีใ้ นประเทศไทยนัน้ ยังไม แพรหลายมากนัก ดังนัน้ ทางสถาบันวิจยั Mould Insert แสงซินโครตรอน (องคการมหาชน) และสถาบันไทย-เยอรมัน ไดรว มมือทํา Cavity โครงการพัฒนาเทคโนโลยีการขึ้นรูป Runner and Gate พลาสติ ก ของอุ ป กรณ ก ลไกขนาด เล็กขึน้ เพือ่ ขยายตลาดอุปกรณเหลานี้ ในประเทศไทย รูปที่ 1 ภาพ Mould Insert, Cavities, Runner และ Gate บน Mould Base *สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน

53

Engineering Today January- February 2017


Mould Insert Mould Insert (Cavity)

Mould Base (Core) รูปที่ 2 ภาพ Mould Base ทั้งฝง Cavity และ Core

Microgear

รูปที่ 3 ภาพ Microgear ที่ฉีดจากเครื่องฉีดพลาสติก

รูปที่ 4 ภาพขนาดชิ้นสวน Micro Microgear ogeear ar ที่ฉีดดวยพลาสติกชนิด ABS (Acrylonitrile-Butadiene-Styrene e) (Acrylonitrile-Butadiene-Styrene)

Engineering Today January- February 2017

54


Energy Today • กองบรรณาธิการ

จีอีพัฒนาโรงไฟฟ้าถ่านหินรุ่นใหม่

เทคโนโลยีลํ้าสมัย ประสิทธิภาพสูงเกือบ 50% ตอบสนองความต้องการใช้ไฟเพิ่ม 2 เท่าตัว ใน 20 ปีข้างหน้า โรงไฟฟาทันจุง บิน เอนเนอรจี ประเทศมาเลเซีย ขนาด 1,000 เมกะวัตต ใชเทคโนโลยีใหมของจีอีในการผลิตไฟฟา

หนึ่งในรากฐานสําคัญของการเติบโตทางเศรษฐกิจไทยในอนาคต คือ การใชพลังงานไดอยางผสมผสานจากแหลงเชื้อเพลิง ที่หลากหลาย ประเด็นดังกลาวไดอยูในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย (พ.ศ. 2555–2573) ซึ่งกระทรวงพลังงานเปน ผูจัดทําเพื่อใชเปนรายงานสรุปความตองการพลังงานของประเทศไทยในชวง 15-20 ปขางหนา รายงานดังกลาวประเมินวาความตองการใชไฟฟาในประเทศไทยจะเพิ่มถึงสองเทาตัว จาก 37,612 เมกะวัตต ในป พ.ศ. 2557 เปน 70,335 เมกะวัตต ในป พ.ศ. 2579 เนื่องจากประเทศตองขยายโครงขายการคมนาคมขนสง ตลอดจนสงเสริมโอกาสการคาและ ธุรกิจอยางเต็มที่รวมกับประเทศเพื่อนบานในภูมิภาคอาเซียนในอนาคตอันใกล โดยการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ได รวมจัดทํารายงานฉบับนี้ >> ปรับสมดุลแหล่งเชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า ตอบสนองความต้องการด้านพลังงาน กระทรวงพลังงานและ กฟผ. เชื่อวาการปรับสมดุลใหเกิดการผสมผสานแหลงเชื้อเพลิงเพื่อผลิตพลังงานเปนวิธีที่เชื่อถือไดและ ยั่งยืนที่สุดในการผลิตกระแสไฟฟา เพื่อตอบสนองความตองการใชไฟฟา 70,335 เมกะวัตต เชน ลดการพึ่งพากาซธรรมชาติ โดยเพิ่ม การใชพลังงานทดแทนอื่นๆ รวมทั้งไฟฟาที่ผลิตจากพลังนํ้าและถานหิน ปรับสมดุลแหลงเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟา ขอมูลจากแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย กระทรวงพลังงาน แหลงเชื้อเพลิง การนําเขาไฟฟาจากพลังนํ้า ถานหิน (รวมลิกไนต) พลังงานทดแทน กาซธรรมชาติ

% พ.ศ. 2557 7 20 8 64

% พ.ศ. 2569 10-15 20-25 10-20 45-50

55

% พ.ศ. 2579 15-20 20-25 15-20 30-40

Engineering Today January- February 2017


จีอพี ฒ ั นาเทคโนโลยีถา นหินเพือ่ รับมือ กับความทาทายใหมๆ โดยโรงไฟฟาถานหิน รุนใหมไดเริ่มใชเทคโนโลยีอัลตราซูเปอร คริตคิ ลั ของจีอแี ลว สามารถเพิม่ ประสิทธิภาพ ของโรงไฟฟาไดสงู ถึงรอยละ 47.5 ซึง่ เหนือ กวาอัตราเฉลีย่ ของโลกทีอ่ ยูแ คราวรอยละ 33 เทานัน้ ทีส่ าํ คัญ เทคโนโลยีนยี้ งั ชวยลด การปลอยกาซคารบอนไดออกไซดลงอยาง มีนยั สําคัญ เพราะคาประสิทธิภาพทีเ่ พิม่ ขึน้ รอยละ 1 หมายถึงอัตราการปลอยกาซ คารบอนไดออกไซดที่ลดลงถึงรอยละ 2

Digital Power Plant

กฟผ. มีแผนจะลงทุน 668,300 ลานบาท ระหวางป พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2563 ในการสรา งโรงไฟฟา พลัง งานถานหิน และปรับ ปรุ ง โครงข า ยไฟฟ า เพื่ อ รองรั บ กระแสไฟฟ า จากโรงไฟฟ า ในป จ จุ บั น และ อนาคตที่จะครอบคลุมถึงโรงไฟฟาที่ใชพลังงานทางเลือกใหมๆ โกวิ ท ย คันธาภั ส ระ ประธานและหัวหน า เจาหนาที่บริห าร จีอี ประเทศไทย และ สปป.ลาว กลาววา จีอีพรอมที่จะสนับสนุนโครงการ กอสรางโรงไฟฟาที่ใชพลังงานใหมๆ ที่กําลังจะเกิดขึ้น “ดวยประวัติการทําธุรกิจที่ยาวนานในประเทศไทย ตลอดจนการ ผลิตอุปกรณที่ลํ้าหนาดานเทคโนโลยี และการวิจัยดานพลังงานอันลํ้าสมัย เราสามารถนํ า ประสบการณ แ ละความเชี่ ย วชาญของเรามาสนั บ สนุ น แนวคิดริเริ่มดานพลังงานใหมๆ อาทิ แผนพลังงานทดแทนหรือพลังงาน ถานหิน” โกวิทย กลาว เมื่อพิจารณาถึงปจจัยดานราคาและการจัดหาแลว ถานหินถือเปน แหลงเชื้อเพลิงที่เชื่อถือไดสําหรับหลายประเทศ รวมถึงประเทศไทยที่มี ความจําเปนอยางยิ่งยวดที่จะตองเพิ่มกําลังผลิตไฟฟาในอนาคตอันใกล “กระแสไฟฟ า จากพลั ง งานถ า นหิ น มี บ ทบาทสํ า คั ญ ในการผลิ ต กระแสไฟฟาทัว่ โลก ปจจุบนั รอยละ 40 ของกระแสไฟฟาในโลกมีตน กําเนิด จากเชือ้ เพลิงถานหิน ในอนาคต เราเชือ่ วาสัดสวนกระแสไฟฟาจากถานหิน จะลดลงเพียงเล็กนอย เหลือราวรอยละ 30” โกวิทย กลาวเสริม อยางไรก็ตาม การตอบสนองความตองการใชพลังงานในอนาคตนั้น มีความจําเปนที่ตองมีเทคโนโลยีท่ีทรงประสิทธิภาพในการลดการปลอย มลภาวะดวย

Engineering Today January- February 2017

56

>> จีอีชูโรงไฟฟ้ าถ่านหิน รุ ่น ใหม่ ใช้เ ทคโนโลยี ลํ้าสมัย เพิ่มประสิทธิภาพโรงไฟฟ้าเกือบ 50% จีอีพัฒนาเทคโนโลยีถานหินเพื่อรับมือกับความ ทาทายใหมๆ และตอบสนองความตองการใชพลังงาน สะอาดอยางชาญฉลาดมากขึ้น โดยโรงไฟฟาถานหิน รุนใหมไดเริ่มใชเทคโนโลยีอัลตราซูเปอรคริติคัลของ จีอีแลว ดวยเทคโนโลยีลํ้าสมัยดังกลาว สามารถเพิ่ม ประสิทธิภาพของโรงไฟฟาไดสูงถึงรอยละ 47.5 ซึ่ง เหนือกวาอัตราเฉลี่ยของโลกที่อยูแคราวรอยละ 33 เท า นั้ น ที่ สํ า คั ญ เทคโนโลยี นี้ ยั ง ช ว ยลดการปล อ ย กาซคารบอนไดออกไซดลงอยางมีนัยสําคัญ เพราะคา ประสิ ทธิภาพที่เพิ่ม ขึ้นรอยละ 1 หมายถึงอั ตราการ ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดที่ลดลงถึงรอยละ 2 “ถึ ง แม เ ราจะเป น เจ า ของเทคโนโลยี ที่ มี ประสิทธิภาพสูงสุดในปจจุบัน แตเราก็ยังคงเดินหนา พัฒนาเทคโนโลยีของเราอยางตอเนื่อง โดยตั้งเปาวา จะเพิ่มอัตราประสิทธิภาพใหสูงขึ้นอีก 1.5 จุด” โกวิทย กลาว จี อี ไ ด เ ป ด ตั ว เทคโนโลยี อั ล ตราซู เ ปอร ค ริ ติ คั ล สูตลาดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเมื่อครั้งที่ โรงไฟฟาทันจุง บิน เอนเนอรจี ในประเทศมาเลเซีย ของบริษัท มาลาคอฟฟ คอรปอเรชั่น เปดดําเนินการ


เมื่อเดือนมีนาคม 2559 โดยโรงไฟฟาขนาด 1,000 เมกะวัตตนี้ ใช เ ทคโนโลยี อั ล ตราซู เ ปอร ค ริ ติ คั ล ในการผลิ ต กระแสไฟฟ า ผลิตไอนํ้าที่อุณหภูมิ 600 องศาเซลเซียส พรอมแรงดันที่อัตรา 4,000 ปอนดตอตารางนิ้ว เพื่อหมุนกังหันผลิตกระแสไฟฟา >> ระบบควบคุมคุณภาพอากาศกําจัด NOx และ SO2 ได้ฉมัง คุณสมบัตสิ าํ คัญอีกประการหนึง่ คือ ระบบควบคุมคุณภาพ อากาศที่สามารถกําจัดกาซไนโตรเจนออกไซด กาซซัลเฟอรไดออกไซดและฝุนละอองจากโรงไฟฟาที่ใชถานหิน โดยเทคโนโลยี ของจีอีสามารถกําจัดกาซไนโตรเจนออกไซดไดถึงรอยละ 95 และกาซซัลเฟอรไดออกไซดถึงรอยละ 99 ซึ่งไมกอใหเกิดสาร อื่นๆ ตามมา หรือไมตองใชตัวทําปฏิกิริยาอื่นๆ โรงไฟฟาทันจุง บิน เอนเนอรจแี หงนี้ ไดตดิ ตัง้ ระบบควบคุม คุณภาพอากาศ อาทิ หองเผาไหมถานหินแบบลดกาซไนโตรเจน ออกไซด ระบบกรองฝุนดวยผากรองเพื่อลดกาซไนตรัสออกไซด ซั ล เฟอร ไ ดออกไซด แ ละฝุ  น ละอองอื่ น ๆ รวมทั้ ง ระบบกํ า จั ด ซัลเฟอรไดออกไซดดวยนํ้าทะเล ทําใหสามารถลดการปลอย กาซเสียลงไดเปนอยางมาก ระบบกําจัดซัลเฟอรไดออกไซดดว ยนํา้ ทะเล จะใชนาํ้ ทะเล ในการลดอุณหภูมิของอุปกรณตางๆ ในโรงไฟฟาและจะดูดซับ กาซซัลเฟอรไดออกไซดออกจากระบบการผลิตไฟฟา นํา้ ทีใ่ ชแลว จากตัวโรงไฟฟาจะไดรบั การบําบัดดวยการเพิม่ คาออกซิเจนกอน

จะมีการปลอยนํ้าออกไปยังชองแคบมะละกา >> พั ฒ นาระบบดิ จิ ทั ล เชื่ อ มโยงโรงไฟฟ้ า และคลาวด์ ช่วยวิเคราะห์ข้อมูลโรงไฟฟ้า จีอีไดพัฒนาระบบดิจิทัลที่เชื่อมโยงโรงไฟฟาและคลาวด เพื่อใหส ามารถวิ เคราะหข อมูลของโรงไฟฟ า ปรับ ระบบการ ทํางานของโรงไฟฟาใหเหมาะสมที่สุด รวมทั้งเพิ่มความไววางใจ ไดในการเดินเครื่อง ซอฟตแวรที่ชื่อวา Predix ของจีอี ทําให โรงไฟฟาระบบดิจิทัลมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 1.5 และ ลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดไดถึงรอยละ 3 ตลอดอายุ ของโรงไฟฟา โกวิทย กลาววา ยังมีโอกาสอีกมหาศาลที่โรงไฟฟาที่กําลัง จะสรางใหมและโรงไฟฟาที่เปดดําเนินการไปแลวจะสามารถลด ทั้งตนทุนและการปลอยมลพิษลงไดอีก “ถาโรงไฟฟาพลังงานถานหินที่มีอยูในปจจุบันทั้งหมด สามารถเพิ่มประสิทธิภาพใหสูงถึงรอยละ 40 ได ปริมาณการ ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจะลดลงไดมากทีเดียว วิศวกรของ จี อีจึ งมุ  งมั่ นพัฒนาอยางไมห ยุด ยั้ ง เทคโนโลยีอัลตราซูเปอร คริ ติ คั ล ของจี อี ส ามารถเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของโรงไฟฟ า ได ถึ ง รอยละ 47 นับเปนสถิติโลกใหมของการลดการใชเชื้อเพลิงและ การปล อ ยก า ซคาร บ อนไดออกไซด และถ า หากขยั บ อั ต รา ประสิทธิภาพไดถึงรอยละ 50 เราจะไดเห็นการพลิกโฉมวงการ อยางแนนอน” โกวิทย กลาว

Digital Power Plant

57

Engineering Today January- February 2017


Energy Today • กองบรรณาธิการ

เอคเซนเชอร์ชี้อนาคตธุรกิจไฟฟ้า แขงขันยาก หากไมเรงปรับตัว เข้าสู่ Smart Grid เอคเซนเชอรชรี้ อ ยละ 45 ของผูบ ริหารในแวดวงอุตสาหกรรม พลังงานทีท่ าํ การสํารวจมาทัว่ โลก (รวมถึงในประเทศไทย) ยอมรับ วารูปแบบการจําหนายไฟฟาที่ใชกันแบบเดิมนั้น ไมตอบโจทย ผูบริโภคในปจจุบัน ที่สําคัญรายงานวิจัยของเอคเซนเชอรเรื่อง “โครงขายไฟฟาทีข่ บั เคลือ่ นดวยดิจทิ ลั ” (Digitally Enabled Grid) ทีจ่ ดั ทําเปนครัง้ ที่ 3 ยังระบุวา หากธุรกิจไฟฟายังไมปรับรูปแบบ ธุรกิจใหเขากับยุคใหม ที่คํานึงถึงเทคโนโลยีดิจิทัล การกํากับ ดู แ ลด า นพลั ง งาน (Regulatory) และรู ป แบบทางธุ ร กิ จ (Business Model) อาจตองพบกับแรงกดดันทีเ่ พิม่ ขึน้ ในเรือ่ ง ของความนาเชื่อถือในดานการจัดหาพลังงานและราคา จากการขยายตัวอยางรวดเร็วของโครงขายไฟฟาเปนความ ทาทายที่สําคัญของธุรกิจพลังงาน เอคเซนเชอร บริษัทที่ปรึกษา ดานยุทธศาสตร ใหคาํ ปรึกษาทางธุรกิจ ดิจทิ ลั การบริหารเทคโนโลยี และการปฏิ บั ติ ก ารชั้ น นํ า ของโลก ได สั ม ภาษณ ผู  บ ริ ห ารใน อุตสาหกรรม 85 คน ใน 18 ประเทศ พบวา มากกวาครึ่ง (56%) ของผู  บ ริ ห ารเหล า นี้ คาดหมายว า ภายในป พ.ศ. 2563 ความผิดพรองของโครงขายไฟฟา (Grid Faults) อาจเพิ่มขึ้นได เนื่ อ งจากมี โ ครงข า ยที่ ก ระจายไปใช พ ลั ง งานหมุ น เวี ย น เช น พลังงานแสงอาทิตยในที่พักอาศัย เปนตน นอกจากนี้ สภาพ เศรษฐกิจที่พัฒนามากขึ้น อาจทําใหแหลงกักเก็บพลังงานไฟฟา (Electricity Storage) กลายเป น อี ก หนึ่ ง ป จ จั ย หลั ก ที่ ทํ า ให อุตสาหกรรมเปลีย่ นแปลง ทัง้ นี้ รอยละ 32 ของผูบ ริหาร ก็คาดวา นี่จะเปนสาเหตุหนึ่งของความผิดพรองในโครงขายไฟฟา ซึ่งเปน สัดสวนที่เพิ่มขึ้นจากรอยละ 14 ในป พ.ศ. 2556 เพื่อใหไดขอมูลที่ครอบคลุม เอคเซนเชอรไดพัฒนาแบบ จํ า ลองทางเศรษฐศาสตร เ พื่ อ ประเมิ น ผลกระทบที่ เ ป น ไปได จากการที่โครงขายไฟฟาตางมีแหลงกักเก็บพลังงานไวใชมากขึ้น ซึ่งแสดงผลวา ราคาของแหลงกักเก็บพลังงานที่ถูกลง จะสงผลดี ทางเศรษฐกิจตอการนําพลังงานแสงอาทิตยมาใชในที่พักอาศัย ดังเชนในประเทศเยอรมนี ที่ราคาการขายไฟฟาจากพลังงาน หมุนเวียนกลับเขามาในระบบโครงขายนั้น มีราคาตํ่ากวาราคา ขายปลีก สําหรับที่อื่น เชนในรัฐแคลิฟอรเนีย มีการเก็บคาไฟใน อัตราพิเศษในชวงที่มีความตองการใชไฟฟาสูง

Engineering Today January- February 2017

58

ภากร สุริยาภิวัฒน ผูจัดการอาวุโส กลุมธุรกิจพลังงาน และทรัพยากร เอคเซนเชอร ประเทศไทย กลาววา ในขณะที่ ผูบ ริโภคลงทุนจัดหาแหลงกักเก็บพลังงานมาใชในทีพ่ กั อาศัยของตน ซึ่งทําใหสามารถใชพลังงานไฟฟาที่สะสมไว แทนที่จะซื้อจาก โครงขายในชวงทีร่ าคาและความตองการใชไฟฟาสูง ธุรกิจจําหนาย ไฟฟาจะประสบกับภาวะที่อุปสงคและการใชไฟฟาจากโครงขาย นอยลง สงผลตอปริมาณการใชทรัพยากรของโครงขายและรายได ของธุรกิจเหลานั้น “เราเห็นวาธุรกิจไฟฟากําลังเรียนรูจ ากประสบการณในธุรกิจ เซลลแสงอาทิตย ที่มีอัตราการเติบโตอยางรวดเร็ว นิยมนําเขามา ใชในที่พักอาศัย แตยังขาดแนวทางจัดการการใชพลังงานจาก หลายแหลงใหผสมผสานกันอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งยังขาด การพั ฒนาบริการเสริ ม เช น การติด ตั้ง การบํารุงรักษา และ การจายโหลดที่เหมาะสม เปนตน ซึ่งเปดชองวางใหคูแขงใหม เขามาในอุตสาหกรรม ผูป ระกอบการธุรกิจไฟฟาตางตระหนักวา เซลลแสงอาทิตยและแหลงกักเก็บพลังงานไดเขามาสรางความ สัน่ คลอนทางธุรกิจ หากพวกเขาไมรบี จัดการคุมเกมกอน” ภากร กลาว ขณะทีต่ ลาดแหลงกักเก็บพลังงานจะกลายเปนสนามแขงขัน ที่เขมขนในเวลาอันรวดเร็ว แตผูบริหารธุรกิจไฟฟาก็ไมไดยึดติด อยูก บั สนามเดียว ในอีก 5 ปขา งหนา 66% ของผูบ ริหารคาดการณ วาการแขงขันจะทวีความรุนแรงขึ้น เพิ่มขึ้นจากที่คาดการณในป พ.ศ. 2556 ที่สัด สวน 48% นอกจากนี้ ผู บ ริหารกวา 77% กําลังวางแผนลงทุนหรือไดลงทุนไปแลวในโซลูชันเกี่ยวกับแหลง กักเก็บพลังงาน เพื่อรองรับตลาดชวง 10 ปขางหนา


ซาย : 45% ของผูบ ริหารกิจการไฟฟาทีท่ าํ แบบสํารวจ ระบุวา ระบบการจําหนายไฟฟา แบบดั้งเดิมไมตอบโจทยวัตถุประสงคแลว ขวา : 77% ของผูบริหารกิจการไฟฟาที่ทําแบบสํารวจ ไดลงทุนไปแลวหรือมีแผนจะ ลงทุนในโซลูชันแหลงกักเก็บพลังงานใน 10 ปขางหนา

“แหลงกักเก็บพลังงานนั้นอาจกระตุนใหเกิดการผลิตไฟฟาขนาดเล็ก เพิ่ ม ขึ้ น โดยใช พ ลั ง งานหมุ น เวี ย น ขณะเดี ย วกั น ก็ มี ศั ก ยภาพช ว ยพั ฒนา ประสิทธิภาพของโครงขายไฟฟาไดดวย หากมีการใชแหลงกักเก็บพลังงาน ทั่วทั้งโครงขาย จะสามารถลดขอบกพรองอันเกิดจากการนําสงไฟฟาจาก พลังงานหมุนเวียนออกไปยังโครงขาย นอกจากนัน้ แบบจําลองทําใหเราพบวา เครือขายแหลงกักเก็บพลังงานขนาดเล็กนั้น สงผลตอการลดกําลังกระแสไฟ สงออกจากระบบพลังงานแสงอาทิตยตามที่พักอาศัย ไปยังโครงขายไดถึง 50 เปอรเซ็นต” ภากร กลาว สวนการลงทุนในโซลูชันเพื่อการกักเก็บพลังงานเปดโอกาสในการสราง รายไดใหมๆ ใหแกกิจการไฟฟา โดย 47% ของผูบริหารที่ทําแบบสํารวจ คาดวารายไดมแี นวโนมเพิม่ ขึน้ เล็กนอยหรือเพิม่ ไดมาก จากการลงทุนทีเ่ กิดขึน้ ในชวงนี้จนถึงป พ.ศ. 2573 ซึ่งตามความเปนจริงแลว ในอีก 5 ปนับจากนี้ 49% ของผูบริหารก็คาดวาจะสามารถใหบริการเกี่ยวกับแหลงกักเก็บระดับ โครงขายได และ 30% เห็นวามีแนวโนมจะใหบริการเกี่ยวกับแหลงกักเก็บ พลังงานสําหรับที่พักอาศัย เชน บริการดานการบํารุงรักษาตางๆ เปนตน

59 59

“การที่ จ ะเก็ บ เกี่ ยวผลประโยชน จ ากการใช แหลงกักเก็บพลังงานใหไดอยางเต็มที่นั้น กิจการ ไฟฟาจะตองปรับเปลี่ยนบทบาทในการจัดจําหนาย เนือ่ งจากมีการใชโครงขายแบบเดิมมากวา 30 ปแลว อยางไรก็ตาม กิจการสวนใหญก็ยังอยูในชวงเริ่มตน โดยมีเพียง 15 เปอรเซ็นตของผูบ ริหารกิจการนีท้ วั่ โลก และ 29 เปอรเซ็นตในยุโรป ทีย่ อมรับวาไดเริม่ ดําเนิน การปรับเปลี่ยนองคกรแลว” ภากร กลาว ปจจุบนั มาตรการการกํากับดูแลถือเปนอุปสรรค สําคัญ ดังนัน้ จึงตองทํางานรวมมือกับผูอ อกนโยบาย อยางใกลชิด เพื่อใหธุรกิจสามารถเปลี่ยนผานและ รองรับอุตสาหกรรมยุคใหมได ตัวอยางเชน ผูบริหาร เชื่ อว ากฎเกณฑ 3 เรื่ องสํ าคั ญที่จํ าเปนตองมีการ เปลี่ยนแปลงนั้น ไดแก รูปแบบการจัดเก็บภาษีและ ตั้งราคา 84% บทบาทที่มากขึ้นของกิจการจําหนาย ไฟฟาในการอนุญาตและใหสิทธิ์การเชื่อมตอเพื่อใช ทรัพยากร 66% และสิทธิพเิ ศษสําหรับการนํานวัตกรรม ทางเทคโนโลยีเขามาใชในโครงขาย 64% เพือ่ พัฒนา โครงขายดวยระบบดิจิทัล “เราคาดวาจะมีการเปลี่ยนแปลงโครงสราง ตลาดในระดับพืน้ ฐาน ซึง่ รวมถึงการใชกลไกของตลาด ที่แขงขันใหมากขึ้น อยางไรก็ตาม ธุรกิจพลังงานและ จํ า หน า ยไฟฟ า ก็ จํ า เป น ต อ งพั ฒนาสมรรถนะให กว า งไกลยิ่ ง ขึ้ น ร ว มมื อ กั บ หน ว ยงานกํ า กั บ เพื่ อ สรางสรรคนวัตกรรม และลงทุนในโซลูชนั ตางๆ อยางมี ยุทธศาสตร อันจะชวยสนับสนุนโครงขายไฟฟาที่ ขับเคลือ่ นดวยดิจทิ ลั และมีแหลงพลังงานกระจายตัว ออกไป สรางทางเลือกและคุณคาใหมๆ ใหแกลกู คา อยางตอเนื่อง” ภากร กลาว ในสวนของประเทศไทย ทั้ง Regulator และ ธุรกิจไฟฟาไดมีการปรับรูปแบบธุรกิจแลว โดยการ ไฟฟาสวนภูมิภาค (PEA) ไดพัฒนาโครงขายดิจิทัล ที่เมืองพัทยา ดวยเงินลงทุนราว 1,000 ลานบาท ครอบคลุม 1.2 แสนครัวเรือน คาดวาจะเริม่ ดําเนินการ ในป 2560

Eng Eng Engineering ngineeeriing ng TTod Today dayy Ja Januaryanuaaryy- FFe Feb February eb ebrua e rua uaaryy 20 2017 017


I•Tกองบรรณาธิ Update การ NI ฉลองครบรอบ 40 ปี จัดงาน NIDays 2016

อัพเดทแพลตฟอร์มใหม่ๆ สู่ Smart Industry รองรับ Thailand 4.0 บริษัท เนชั่นแนล อินสทรูเมนทส หรือ NI ผูใหบริการ โซลูชันที่ชวยใหวิศวกรและนักวิทยาศาสตรแกปญหาที่ทาทาย ทางวิศวกรรม ดวยโซลูชนั เทคโนโลยีทมี่ ปี ระสิทธิภาพและยืดหยุน จัดงาน NIDays 2016 ในประเทศไทย โดยในป 2016 นีถ้ อื เปน ปสําคัญที่ NI ครบรอบ 40 ปในการกอตั้งสํานักงานใหญที่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีคูคา วิศวกร อาจารย และนักศึกษา เขารวมงานกวา 300 คน การจัดงาน NIDays 2016 ในครั้งนี้ เพื่อใหผูเขารวมงาน มีโอกาสไดทดลอง ซอฟตแวรออกแบบ LabVIEW 2016 รุน ลาสุด ซึ่งมีสายชองใหมที่ชวยลดความซับซอนในการสื่อสารระหวาง รหัสในสวนขนานกันหลายสายใหเปนเสนสายเดียว ทําใหการอาน รหัสดีขึ้นและชวยลดระยะเวลาในการพัฒนา อีกทั้ง LabVIEW 2016 ยั ง ช ว ยเพิ่ ม ความคล อ งตั ว ของการวั ด อั ต โนมั ติ ด  ว ย Instrument Driver Network สามารถรองรับอุปกรณใหม 500 เครือ่ ง นอกเหนือไปจากอุปกรณเดิม 10,000 เครือ่ งทีร่ องรับไวแลว ทําใหผูเขาชมงานไดอัพเดทเทคโนโลยีใหม และผลิตภัณฑใหมๆ เปนการสรางเครือขายระหวางคูคาและวิศวกรใหมาแลกเปลี่ยน ความรูและประสบการณรวมกัน มีการนําเสนอตัวอยางความ สํ า เร็ จ ของลูกค า และนํา เสนอโครงการตางๆ ที่น  าสนใจของ นักศึกษาอีกดวย ซอฟต แ วรอ อกแบบ LabVIEW 2016 เหมาะสํ าหรั บ อุตสาหกรรมนํา้ มันและแกส อุตสาหกรรมผลิตสารกึง่ ตัวนํา พลังงาน อากาศยานและรถยนต คมนาคม โทรคมนาคม เทคโนโลยีการ สื่อสารยุค 5G โดยมีสถาบันการศึกษาและวิจัย รวมทั้งองคกร วิจัยนานาชาติขนาดใหญกวา 20 แหง ใชซอฟตแวรตัวนี้ พรอมกันนี้ไดแนะนํา แพลตฟอรมเทคโนโลยีการเขาถึง กอนเวลากําหนด (Time Sensitive Networking : TSN) ซึ่ง NI ไดรว มมือกับซิสโกคดิ คนขึน้ เพือ่ เปนตัวเสริมฮารดแวรและซอฟตแวร ที่จะทําใหการทดสอบผลิตภัณฑชาญฉลาดและมีความยืดหยุน มากขึ้น ซึ่งชวยใหลูกคาสามารถสรางระบบแบบกระจัดกระจาย ไว ทํ า หน า ที่ Synchronized I/O, Code Execution และ Deterministic Communication สําหรับ Loop การควบคุมและ การวัดแบบกระจาย โดยใช Ethernet มาตรฐานทั้งหมด เหมาะ สําหรับอุตสาหกรรมนํา้ มันและแกสอุตสาหกรรมผลิตสารกึง่ ตัวนํา พลังงาน อากาศยานและรถยนต คมนาคม โทรคมนาคม เทคโนโลยี การสื่อ สารยุค 5G โดยมีส ถาบั น การศึ กษาและวิ จัย รวมทั้ง องคกรวิจัยนานาชาติขนาดใหญกวา 20 แหง ที่ใชซอฟตแวรตัวนี้

Engineering Today January- February 2017

60

มร.มารค ฟลิปส ผูจัดการฝายการตลาดอาวุโส NI

เจริญ เพชรมุนี ผูจัดการบริหารฝายขายในทองถิ่น ประเทศไทย NI

มร.เรียวตะ อิเคดะ ผูอ าํ นวยการฝายการตลาด ภูมภิ าคเอเชียแปซิฟก NI


TSN ไดนาํ กลไกมาสูก ารสรางระบบตามเวลาจริงหลายระบบ สอดคลองตรงกันและกระจัดกระจายไปทั่ว Ethernet มาตรฐาน ซึ่งระบบเหลานี้ใชโครงสรางพื้นฐานเดียวกันเพื่อที่จะใหมีการ ควบคุมตามเวลาจริงและสื่อขอมูล IT มาตรฐานทั้งหมด สงเสริม ใหการควบคุมการวัดการกําหนดคา UI และโครงสรางพื้นฐาน แลกเปลี่ยนไฟลบรรจบกัน ซึ่งคาดวาจะเปลี่ยนการออกแบบและ การบํารุงรักษาระบบตั้งแตรากฐาน โดยการนําเสนอ Network Convergence, Secure Control Traffic ประสิทธิภาพสูง มร.มารค ฟลิปส ผูจัดการฝายการตลาดอาวุโส บริษัท เนชัน่ แนล อินสทรูเมนทส กลาวถึงตัวอยางของเทคโนโลยีสอื่ สาร ยุค 5G วา ในสวนของ Connected Car จะมีการใช App ผาน Mobile Phone ระหวางผูโดยสารและคนขับ เชน Uber หรือใช Monitor Wind Farm ในอุตสาหกรรมพลังงาน เจริ ญ เพชรมุ นี ผู  จั ด การบริ ห ารฝ า ยขายในท อ งถิ่ น ประเทศไทย บริษทั เนชัน่ แนล อินสทรูเมนทส กลาววา LabVIEW เปนทีน่ ยิ มใชในอุตสาหกรรมหลายดานเพือ่ เพิม่ กําลังการผลิต ทําให เกิดประสิทธิภาพและคุณภาพสินคาทีส่ งู ขึน้ โดย LabVIEW 2016 สามารถใชงานรวมกับเทคโนโลยีฮารดแวร NI ลาสุด สําหรับ การออกแบบและทดสอบ RF, ระบบควบคุมตรวจสอบแบบฝงตัว และการศึ ก ษาดานวิ ศ วกรรม ซึ่ง รวมถึง เครื่ อ งรั บส งสัญญาณ เวกเตอรที่ 2 NI PXIe-6570 Digital Pattern Instrument, NI PXIe-4135 low-current Source Measure Unit (SMU), Time-Sensitive Networking-enabled CompactRIO Controllers และ NI Educational Laboratory Virtual Instrumentation Suite (NI ELVIS) RIO Control Module เพือ่ พัฒนาระบบทดสอบอันชาญฉลาดยิง่ ขึน้ ในอุตสาหกรรม เซมิคอนดักเตอร NI จึงไดคิดคนผลิตภัณฑใหม NI PXIe-6570 Digital Pattern Instrument และ NI Digital Pattern Editor ซึง่ จะนําเสนอ Digital Test Paradigm ทีก่ อ ตัง้ ขึน้ ในอุตสาหกรรม เซมิ ค อนดั ก เตอร ให แ ก แ พลตฟอร ม PXI แบบเป ด ที่ ใ ช ใ น Semiconductor Test System (STS) และปรั บปรุงโดยใช Pattern Editor และ Debugger ทีม่ ปี ระสิทธิภาพและใชงานงาย โดยทีผ่ ใู ชสามารถใชประโยชน Cutting-edge PXI Instrumentation เพื่อลดคาใชจายในการทดสอบและเพิ่มปริมาณสําหรับ RF และ Analog-centric ICs NI PXIe-6570 Digital Pattern Instrument ใหความ สามารถการทดสอบที่จําเปนสําหรับ ICs ที่พบกันทั่วไปในหวงโซ อุปทานอุปกรณไรสายและอุปกรณ Internet of Things ในราคา ที่ประหยัด โดยซอฟตแวร Digital Pattern Editor บูรณาการ สภาพแวดลอมแกไขสําหรับ Device Pin Maps, Specications

และ Patterns เพื่อพัฒนาแผนการทดสอบใหเร็​็วขึ้น เครื่องมือ สรางภายในตัว เชน Multisite และ Multi-instrument Pattern Bursting สําหรับขยายการพัฒนาใหเปนการผลิตตอเนื่อง และ เครื่องมืออยางเชน Shmoo Plots และ Interactive Pin View สําหรับแกปญ  หาและเพิม่ ประสิทธิภาพการทดสอบใหมปี ระสิทธิภาพ มากขึ้น เจริญ กลาววา ระบบทดสอบ HIL จําเปนตองมีการปรับตัว ไดถึงระดับหนึ่งที่พอสมควร เพื่อที่จะตอบรับกับความตองการ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงบ อ ย และการทดสอบที่ จ ะต อ งครอบคลุ ม ได กวางขวางขึ้น NI จึงไดพัฒนาผลิตภัณฑใหม HIL Simulators เพื่อระบบทดสอบที่ทําการปรับตัวไดมากขึ้น ชวยลดความเสี่ยง ในการพั ฒ นาและการทดสอบโดยไม ต  อ งเสี ย ความยื ด หยุ  น โดยการสร า งทั บ บนแพลตฟอร ม เดิ ม ที่ มี อ ยู  แ ล ว เมื่ อ มี HIL Simulators ของ NI แล ว วิ ศ วกรทดสอบก็ ส ามารถเลื อ ก Turnkey Test System ตามแพลตฟอรมมาตรฐานอุตสาหกรรม แทนการเลือกระหวางระบบการทดสอบดัดแปลงยากหรือสราง ระบบใหมเองตั้งแตตน ดังนั้น ผูใชจึงสามารถเลือกปรับระบบ รวมถึงเทคโนโลยี เชน ขอมูลกลอง การวัด RF และการสราง เปาหมายเรดาร Passive Entry/Passive Start ระบบตรวจดู ความดันในยางลอ และ FPGAs สําหรับการทํางานแบบขั้นสูง เพื่อใหทําการทดสอบไดครอบคลุมมากที่สุด มร.เรียวตะ อิเคดะ ผูอํานวยการฝายการตลาด ภูมิภาค เอเชียแปซิฟก บริษัท เนชั่นแนล อินสทรูเมนทส กลาววา ใน ป 2558 NI มีรายไดรวมทั้งสิ้น 1.23 พันลานเหรียญสหรั ฐฯ มีลกู คา 35,000 บริษทั โดยทีภ่ มู ภิ าคเอเชียแปซิฟก ธุรกิจของ NI เติบโตเร็วที่สุด เชน จีน สิงคโปร คาดวาในปนี้รายไดจะเติบโต เพิ่มขึ้นราว 15% นอกจากนี้ NI ยังติดอันดับบริษัทที่นาทํางาน จาก The Great Places to work Institute องคกรที่ไดรับการ ยอมรับจากประเทศสหรัฐอเมริกา

61

Engineering Today January- February 2017


I•Tกองบรรณาธิ Update การ

SBAC คว้ารางวัลชนะเลิศ

“Cabling Contest 2016”

มีสิทธิ์ชิงชัยเวที World Skills 2017

ที่สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

กันตพิชญ ริยะสุ จาก SBAC วิทยาเขตสะพานใหม ควารางวัลชนะเลิศ

รางวัลชนะเลิศ รับถวยรางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พรอมเงินรางวัลมูลคา 100,000 บาท

บริษทั อินเตอรลงิ้ ค คอมมิวนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) รวมกับ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงศึกษาธิการ และ กระทรวงแรงงาน จัดการแขงขัน “สุดยอดฝมอื สายสัญญาณ ปที่ 4 (Cabling Contest 2016)” ขึน้ เพือ่ เปดโอกาสใหนกั ศึกษา วรพันธุ สุวณ ั ณุสส รองผูว า ราชการจังหวัดนครนายก ประธานในพิธเี ปด ทัง้ ในระดับปริญญาตรี และระดับอาชีวศึกษา ไดเรียนรูเ ทคโนโลยี สายสัญญาณที่ดีที่สุดในยุคปจจุบัน ผานกิจกรรมการอบรมและ แขงขัน ซึ่งจะชวยพัฒนาศักยภาพและทักษะนักเรียน นักศึกษา เพื่อเปนประโยชนตอการประกอบวิชาชีพในอนาคต โดยไดจัดรอบชิงชนะเลิศขึ้น เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2559 ณ โรงแรมชลพฤกษ รีสอรท จ.นครนายก ณัฐวุฒิ ปน ทองคํา ผูจ ดั การฝายการตลาดและสือ่ สารองคกร บริษทั อินเตอรลงิ้ ค คอมมิวนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) ในฐานะหัวหนาโครงการ Cabling Contest กลาววา ในป 2016 นีม้ ตี วั แทนแตละภูมภิ าคจากทัว่ ประเทศ 55 คน ประกอบดวย ตัวแทนจาก ภาคกลางและกรุงเทพมหานคร 15 คน และภูมิภาคตางๆ ไดแก ภาคเหนือ ภาคใต ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภูมภิ าคละ 10 คน ไดเก็บตัวและเขาคอรส อบรมความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีสายสัญญาณ เพื่อเตรียมความพรอมกอนการแขงขัน อันเขมขน โดยการแขงขันแบงเปนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ซึ่งภาคปฏิบัติเปนการ แขงขันเขาหัวตอกับสายสัญญาณแลน (LAN) สายกลองวงจรปด (COAXIAL) และสวน ที่เพิ่มเติมคือ สายไฟเบอรออพติก (FIBER OPTIC) ซึ่งเปนเทคโนโลยีใหมนอกเหนือ ณัฐวุฒิ ปนทองคํา ผูจัดการฝายการตลาด จากในหองเรียนที่นองๆ จะไดมีโอกาสเรียนรูและลงมือปฏิบัติจริง โดยผูเขาแขงขัน และสื่อสารองคกร บมจ. อินเตอรลิ้งค จะตองเขาหัวสายสัญญาณใหถูกตองและเร็วที่สุด หัวหนาโครงการ Cabling Contest

Engineering Today January- February 2017

62


ผูไดรับรางวัลถายภาพรวมกัน โฉมหนาผูไดรับรางวัล Cabling Contest 2016

ในพิธีมอบรางวัลการแขงขัน “สุดยอดฝมือสายสัญญาณ ปที่ 4 (Cabling Contest 2016)” ไดรับเกียรติจาก วรพันธุ สุวัณณุสส รองผูวาราชการจังหวัดนครนายก เปนประธานใน พิธีเปด พรอมมอบรางวัลใหแกผูชนะเลิศ รวมดวยผูแทนจาก กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงแรงงาน ผูไดรับ รางวัลชนะเลิศ จะไดรับถวยรางวัลพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พรอมเงิน รางวัลมูลคา 100,000 บาท ไดแก กันตพิชญ ริยะสุ วิทยาลัย เทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ หรือ SBAC วิทยาเขตสะพานใหม รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ไดรบั ถวยเกียรติยศจากนายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ จันทรโอชา พรอมเงินรางวัล 50,000 บาท ไดแก เจษฎา เดชหวังกลาง วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ วิทยาเขตสะพานใหม รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ไดรับถวย เกียรติยศจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ สังคม พรอมเงินรางวัล 30,000 บาท ไดแก ธนชัย มีสมบัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ วิทยาเขตสะพานใหม ในสวนของรางวัลชมเชย 3 รางวัล ไดรบั เงินรางวัล รางวัลละ 10,000 บาท ไดแก ศรศักดิ์ ไกรกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลสุวรรณภูมิ วิทยาเขตสุพรรณบุรี ธนัชพงศ ตันติพนมศักดิ์ มหาวิทยาลัยนอรทกรุงเทพ และธนพล วงศเขือ่ นแกว มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ วิทยาเขตนนทบุรี ที่สําคัญ นักศึกษาที่ไดรับการคัดเลือกจากโครงการฯ จะมีโอกาสเปนตัวแทนของประเทศไทยเขารวมการแขงขัน ระดับโลก World Skills ณ เมืองอาบูดาบี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส ในป 2017 ซึง่ สนับสนุนโดย บริษทั อินเตอรลงิ้ ค คอมมิวนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) และกรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน อีกดวย บรรยากาศการแขงขันเขาหัวตอกับสายสัญญาณแลน สายกลองวงจรปด และสายไฟเบอรออพติก

63

Engineering Today January- February 2017


Security

• กองบรรณาธิการ

เทรนด์ ไมโคร เผยปี 2560 IoT จะถูกโจมตีมากขึ้น

พร้อมเปิดตัว 2 โซลูชันป้องกันภัยคุกคามใหม่ มั่นใจยอดขายโตขึ้น 25%

ปยธิดา ตันตระกูล ผูจัดการประจําประเทศไทย บริษัท เทรนด ไมโคร (ประเทศไทย) จํากัด

อาชญากรไซเบอรแฮกเขา บัญชีอีเมลของพนักงาน

บัญชีที่โดนแฮกถูก นํามาใชสงเมลเรียกเก็บ เงินจากลูกคา

การชําระเงินถูกโอน เขาสูบัญชีของอาชญากร ไซเบอร

อาชญากรไซเบอร ไดรับเงิน

ลักษณะของ Bussiness Email Compromise อาชญากรไซเบอร เจาะเขาระบบ ขององคกร

อาชญากรไซเบอรเพิ่ม, ปรับแตง, หรือลบขอมูล หรือเปลี่ยนแปลงขอมูล ธุรกรรม

องคกรดําเนินการทําธุรกรรม ที่ถูกปรับแตงขอมูล หรือ ทําธุรกรรมที่ไมถูกตอง

อาชญากรไดรับสินคา หรือเงินเปนตน

ลักษณะของ Bussiness Process Compromise เปรียบเทียบการโจมตีแบบ BEC กับ BPC

Engineering Today January- February 2017

64

เทรนด ไมโคร อินคอรปอเรทเต็ด ผูนําดานโซลูชัน การรักษาความปลอดภัยไซเบอรร ะดั บโลก เปดเผย รายงานคาดการณ ประจําปเกี่ยวกับสถานการณการ รักษาความปลอดภัย ในชือ่ “The Next Tier-8 Security Predictions for 2017” ซึง่ คาดการณวา ป 2560 จะเกิด การโจมตีเพิ่มขึ้นเปนวงกวางและเจาะลึกมากขึ้น โดย นักโจมตีที่มุงรายจะใชกลยุทธที่แตกตางหลากหลาย เพื่อใชประโยชนจากเทคโนโลยีที่กําลังเปลี่ยนแปลง ปยธิดา ตันตระกูล ผูจัดการประจําประเทศไทย บริษัท เทรนด ไมโคร (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา ในป 2560 อุตสาหกรรมดานการรักษาความปลอดภัย ไซเบอรจะกาวสูยุคใหมหลังจากที่ภัยคุกคามของป 2559 ไดเปดทางใหอาชญากรไซเบอรใชรปู แบบตรวจสอบชองโหว เพือ่ การโจมตีและใชชอ งทางการโจมตีทหี่ ลากหลายมากขึน้ ดวยวิธีการโจมตีใหมๆ จะคุกคามองคกรตางๆ มากขึ้น โดยเฉพาะกลยุทธการใชแรนซัมแวร หรือมัลแวรเรียกคาไถ ที่เพิ่มขึ้น ซึ่งสงผลกระทบตออุปกรณตางๆ มากขึ้น โดย ในป 2559 ที่ผานมา แรนซัมแวรเติบโตสูง แตคาดวา ในป 2560 นี้ การเติบโตจะลดนอยลง เหลือประมาณ 25 เปอรเซ็นต ในป 2559 มีการพบชองโหวบนแพลตฟอรมของ “แอปเปล” เพิม่ จํานวนขึน้ อยางมาก รายงานราว 50 รายการ พรอมดวยบัก๊ 135 รายการ ในโปรแกรมของอะโดบี และอีก 76 รายการทีส่ ง ผลกระทบตอแพลตฟอรมของไมโครซอฟท การโจมตีชองโหวซอฟตแวรที่เพิ่มขึ้นอยางมากนี้จะยังคง มีตอ ไปในป 2560 ในขณะทีไ่ มโครซอฟทพยายามปรับปรุง มาตรการปองกันและระบบปฏิบัติการของแอปเปลจะ ไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ปยธิดา กลาววา ในป 2560 Internet of Things (IoT) และ Industry Internet of Things (IIoT) จะตกเปน เปาหมายการโจมตีมากขึน้ เนือ่ งจากมีอปุ กรณทใี่ ชงานผาน ระบบอินเทอรเน็ตมากขึ้น เชน โดรน โดยการโจมตีเหลานี้ จะใชประโยชนจากการยอมรับอุปกรณที่ถูกเชื่อมตอที่ เพิ่มขึ้น โดยการคนหาชองโหว และระบบที่ไมมีความ ปลอดภัย เพื่อทําลายกระบวนการทางธุรกิจเหมือนกับ ที่เราเห็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากมัลแวร Mirai การเพิ่มขึ้นของ


อุ ป กรณพ กพา ระบบควบคุมจอภาพในการผลิต และ สภาพแวดลอมทางอุตสาหกรรม จะทําใหมกี ารพบจํานวน ชองโหวสาํ คัญๆ ในระบบเหลานี้ ซึง่ เปนภัยคุกคามองคกร เนื่องจากยังไมมีวิธีปองกันได 100 เปอรเซ็นต เจาของ ผลิตภัณฑจะตองออก Firmware Upgrade เทรนด ไมโคร ถึงจะใหบริการได คงศักดิ์ กอตระกูล ผูจัดการอาวุโสดานเทคนิค บริษัท เทรนด ไมโคร (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา รายงานยังไดคาดการณวาการหลอกใหโอนเงินผานอีเมล (Business E-mail Compromise : BEC) และปญหา ขอมูลรั่วไหล (Business Process Compromise : BPC) จะยังคงเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง เพราะเปนวิธกี ารหลอกลวง ที่งาย และมีคาใชจายนอยมาก ทั้งนี้ การโจมตีแบบหลอก ใหโอนเงินผานอีเมลอาจสรางรายไดใหอาชญากรไซเบอร ไดถึง 140,000 เหรียญสหรัฐฯ โดยลอพนักงานที่รูเทา ไมถึงการณโอนเงินไปยังบัญชีของอาชญากร หรืออีกหนึ่ง วิธคี อื การเจาะเขาไปในระบบธุรกรรมทางการเงินโดยตรง ในขณะที่ระบบทํางานอยู แมวา วิธีนี้จะทําไดคอนขางยาก แตหากทําสําเร็จก็สามารถทําเงินกอนใหญได ซึ่งบางครั้ง อาจสูงถึง 81 ลานเหรียญสหรัฐฯ “เราพบวาอาชญากรไซเบอรพัฒนาตามเทคโนโลยี ทีเ่ ปลีย่ นไป ในขณะทีแ่ มวา จะมีแรนซัมแวรรนุ ใหมๆ เพิม่ ขึน้ เปนจํานวนมากในป 2559 แตการเติบโตนั้นก็ไมยั่งยืน อีกตอไป ดังนัน้ นักโจมตีจะมองหาหนทางใหมๆ ในการใช มัลแวรทมี่ อี ยู ในขณะเดียวกันการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ใน Internet of Things (IoT) จะเปดชองทางใหมๆ ใหมี การโจมตี เ พิ่ ม ขึ้ น และการเปลี่ ย นแปลงในส ว นของ ซอฟตแวรจะผลักดันใหอาชญากรคนหาจุดออนในรูปแบบ ที่ตางออกไป” คงศักดิ์ กลาว ปยธิดา กลาวถึงภาพรวมธุรกิจของบริษัท เทรนด ไมโคร (ประเทศไทย) ในป 2559 วา มีการเติบโต 20 เปอรเซ็นต ซึง่ เติบโตสูงสุดเปนอันดับที่ 2 รองจากประเทศ สิงคโปร โดยกลุมที่เติบโต ไดแก กลุมสื่อสารโทรคมนาคม กลุมอุตสาหกรรม กลุมธุรกิจนํ้ามันและพลังงาน และ กลุม ธุรกิจคาปลีก สวนผลิตภัณฑแบงเปน ผลิตภัณฑดา น User Protection เติบโต 14 เปอรเซ็นต ผลิตภัณฑดาน Network Defense เชน Malware Protection ซึ่งเปน ผลิตภัณฑเดน เติบโตสูงถึง 60 เปอรเซ็นต และ ผลิตภัณฑ Hybrid Cloud Security เติบโต 6 เปอรเซ็นต

คงศักดิ์ กอตระกูล ผูจัดการอาวุโสดานเทคนิค บริษัท เทรนด ไมโคร (ประเทศไทย) จํากัด

ในป 2560 นี้ เทรนด ไมโครจะเนนทําตลาดไปยังกลุมลูกคาที่ เปนธุรกิจการเงินการธนาคาร ภาคอุตสาหกรรมตางๆ ธุรกิจคาปลีก และสถาบันการศึกษาตางๆ พรอมทั้งตั้งเปายอดขายปนี้คาดวาจะ เติบโตสูงขึ้น 25 เปอรเซ็นต แบงเปนภาครัฐเติบโต 20 เปอรเซ็นต เนื่องจากมีการลงทุนดานความปลอดภัยมากขึ้น โดยเทรนด ไมโคร จะเพิ่มทีมชวยทําการตลาดในสวนนี้มากขึ้น ธุรกิจขนาดกลางเติบโต 25 เปอรเซ็นต โดยเทรนด ไมโครวางแผนรุกตลาดองคกรขนาดกลาง และเล็ก พรอมเพิ่มทีมการตลาด 2 คน เพื่อรับมือกับการหลอกใหโอนเงินผานอีเมล (BEC) และปญหา ขอมูลรั่วไหล (BPC) ที่มีแนวโนมจะเปนภัยคุกคามที่ทวีความรุนแรง มากขึ้นในป 2560 เทรนด ไมโคร (ประเทศไทย) ไดเปดตัว 2 โซลูชัน ดานการปองกันภัยคุกคามใหม XGen Endpoint Security และ Tipping Point IPS ทีจ่ ะชวยใหองคกรตางๆ สามารถปองกันและแกไข ปญหาที่เกิดขึ้นจากภัยคุกคามดังกลาวได

65

Engineering Today January- February 2017


บทความพิเศษ

• *เวยน ฮารเปอร

การอยูร่ อดในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ทําใหธุรกิจไมหยุดชะงักไดหรือไม อุปกรณมือถือที่ใชงานในระดับองคกรไดเติบโต อยางยาวไกล ดวยการพัฒนาดานเทคโนโลยีอยางตอเนือ่ ง ทีช่ ว ยใหวศิ วกรสามารถออกแบบโซลูชนั ทีเ่ พิม่ ประสิทธิภาพ คุณสมบัตติ า งๆ เชน การจัดการเอกสาร การจัดการสินคา คงคลัง และการสื่อสารดวยอุปกรณที่พนักงานสามารถ พกพาไดอยางงายดาย อุปกรณเหลานีอ้ าจจัดประเภทอยูใ นผลิตภัณฑระดับ ผูบริโภคและองคกร โดยอุปกรณเคลื่อนที่ขององคกรจะมี ความสามารถที่หาไมไดในกลุมผูบริโภค คุณสมบัติเหลานี้ จึงถูกออกแบบมาเพือ่ ปรับปรุงการรักษาความปลอดภัยและ ประสิทธิภาพในการทํางาน แตยังสามารถรวบรวมฟงกชัน ที่ สํ า คั ญ เช น ความสํ าคัญในการพิมพ ใ บเสร็จและแท็ก อีกทั้งออกแบบมาเพื่อใหสามารถใชงานไดภายใตสภาวะ การทํางานทีย่ งุ ยากดวยการปองกันจากการตกหลน อุณหภูมิ ที่สูงหรือตํ่าสุด ฝุน และนํ้า อยางไรก็ตาม บริษัททั้งหลายไดออกแบบอุปกรณ ใหแกพนักงาน ซึง่ หมายถึงผูบ ริโภคนัน่ เอง เพือ่ อํานวยความ สะดวก เชน แล็ปท็อปสําหรับผูบ ริโภค แทนทีจ่ ะเปนแล็ปท็อป ระดับองคกร เนื่องจากอาจมีคาใชจายลวงหนาที่ตํ่ากวา ในขณะทีว่ ธิ กี ารนีอ้ าจเปนไปไดสาํ หรับสภาพแวดลอม แบบสํานักงาน ซึ่งอาจไดผลตรงขามกับความตองการของ หนวยงานภายในองคกร เชน ฝายโลจิสติกส การผลิต และ การดูแลสุขภาพ ซึ่งจะตองใชอุปกรณที่สรางขึ้นโดยเฉพาะ เพือ่ วัตถุประสงคในการใชงานสําหรับงานขนาดใหญ แทนที่ จะพิจารณาคาใชจายลวงหนาเพียงเทานี้ ผูนําทางธุรกิจ ควรทําการวัดการจัดซือ้ จัดหาเพือ่ ใชในการลดตนทุนโดยรวม (TCO) อุปกรณทไี่ มไดใชงานอยางหนักมีอตั ราความลมเหลว ประจําปที่ 10-23% ดวยเวลาในการสนับสนุน 100 นาที โดยเฉลี่ยสําหรับความลมเหลวแตละครั้ง โดยเปรียบเทียบ กับอัตราความลมเหลวประจําปที่ 4-7% สําหรับอุปกรณที่ ใชงานอยางหนักดวยเวลาในการสนับสนุน 80 นาที สําหรับ ความลมเหลว ยกตัวอยางเชน ชุดอุปกรณที่ไมไดใชงาน อย า งหนักจํ า นวน 1,000 ชิ้ น อาจเกิดความสูญเสียใน ประสิทธิภาพการทํางานถึง 41,400 นาทีตอป1

เหตุผลทีธี่ รุ กิจิ ต้อ้ งวัดั ผลการจัดั ซือ้ื จัดั หาเพือื่ ลดต้น้ ทุนโโดยรวม แทนที่ค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม การจัดซือ้ จัดหาเพือ่ ใชในการลดตนทุนโดยรวม (TCO) ไดพจิ ารณา คาใชจา ยลวงหนา รวมถึงคาใชจา ยอืน่ ๆ ผานอายุการใชงานของอุปกรณ ในความเปนจริงแลว รายงานของ VDC Research Group ไดประเมิน ไววาคาใชจายลวงหนาอาจมีเพียง 10% ของการจัดซื้อจัดหาเพื่อใชใน การลดตนทุนโดยรวม (TCO) เทานั้น2 การศึกษาของ VDC อีกชั้นหนึ่งแสดงใหเห็นวาการใชอุปกรณ ในสภาพแวดลอมสายงานทางธุรกิจที่ไมไดออกแบบมาเพื่อดําเนินการ อาจสงผลใหเกิดอัตราความลมเหลวของฮารดแวรมากกวา 50% และการ จัดซือ้ จัดหาเพือ่ ใชในการลดตนทุนโดยรวม (TCO) ของอุปกรณทใี่ ชงาน อยางหนักลดลงกวาอุปกรณที่ไมไดใชงานอยางหนักอยางเห็นไดชัด3 ในที่นี้คือมุมมองบางประการของอุปกรณเคลื่อนที่ในองคกรที่ใหผล คุมคาสําหรับธุรกิจในระยะยาว ทดสอบการร่วงหล่น ปจจุบันธุรกิจอาจเผชิญกับรายไดลดลงในระยะยาว โดยเฉพาะ ในสภาพแวดลอมทางอุตสาหกรรม เมื่ออุปกรณตางๆ ไมสามารถใช งานได ยอมสงผลกระทบในทางลบตอผูดําเนินการ รวมถึงการเพิ่มขึ้น ของคาใชจาย ดังจะเห็นไดจากรายงานซึ่งแสดงใหเห็นวาการจัดซื้อ จัดหาเพือ่ ใชในการลดตนทุนโดยรวม (TCO) สําหรับอุปกรณของผูบ ริโภค ในสภาพแวดลอมทางสายงานสูงกวาอุปกรณขององคกรอยางมาก เนื่องจากอัตราความลมเหลวที่เพิ่มขึ้น4 ซีบราไดทําการทดสอบความสามารถในการปกปองการรวงหลน ของผลิตภัณฑทที่ นเหนือขอกําหนดมาตรฐานเบือ้ งตน โดยทําการทดสอบ การรวงหลนบนพืน้ ผิวลักษณะตางๆ ทีท่ าํ การปลอยอุปกรณใหรว งหลน จํานวนหลายครั้งมากกวาที่กําหนด โดยมาตรฐานทางอุตสาหกรรม บนทุกๆ พืน้ ผิวของอุปกรณ นอกจากนีย้ งั เปนผูใ หบริการโซลูชนั รายแรก ที่ ไ ด เ ป ด ตั ว คุ ณ สมบั ติ ท างการยศาสตร ที่ ท นทานสู ง สํ า หรั บ ตลาด ดวยการจัดอันดับสูงสุดของอุตสาหกรรมสําหรับการทดสอบผลกระทบ และความทนทาน ขอกําหนดของการรวงหลนสูงสุดและอัตรา IP สูงสุด

*ผูอํานวยการอาวุโสฝายเทคนิค ซีบรา เทคโนโลยีส https://www.zebra.com/content/dam/zebra_new_ia/en-us/support-and-downloads/printers/Mobile%20Printers/zq-500-mobile-printers/ docmuments-pdfs/rugged-torture-test.pdf 2 http://blogs.zebra.com/how-to-calculate-the-total-cost-of-ownership-of-your-mobile-device#_ftnref1 1

Engineering Today January- February 2017

66


ป้องกันั นํ​ํ้าและฝุ ฝ่​่น นํ้ า และส ว นประกอบทางไฟฟ า จะไม ผ สมผสานอย า ง งายดาย ในขณะที่ฝุนจะสามารถทําใหการทํางานขัดของและ กอใหเกิดความเสียหายที่รายแรง หากฝุนไดเขาไปในการทํางาน ภายในของฮารดแวร มีความแตกตางที่เห็นไดชัดระหวางคําวา Waterproof และ Water-resistant ซึ่งคําหลังมักจะไมเพียงพอ สําหรับสภาพแวดลอมขององคกร เชน การถูกสัมผัสดวยนํา้ ทีพ่ น หรือฉีดออกมา หรือจุม ลงในนํา้ เปนระยะเวลานาน ผลิตภัณฑของ ซีบราจํานวนมาก เชน อุปกรณมือถือ TC75 ไดมีการปกปองฝุน และที่ไดรับการรับรองโดย IP67 ในขณะที่อุปกรณอื่นๆ อาทิ เครื่องพรินเตอรมือถือรุน ZQ500 สามารถกําหนดคุณสมบัติ การปองกัน IP65 ได ในขณะที่ฝุนสามารถรบกวนการทํางานและอาจทําความ เสียหายรายแรงถาเขาไปติดในการทํางานภายในของฮารดแวร อีกทั้งอุปกรณยังมีความสามารถในการกันนํ้าที่แตกตางกัน ใน องคกรอาจมีการฉีดพนดวยการฉีดนํ้าหรือไดจุมอยูในนํ้าไดเปน เวลานาน ผลิตภัณฑ Zebra หลายประเภท เชน TC75 อุปกรณ มือถือทีจ่ ดั ใหบริการทีไ่ ดรบั การรับรองตามมาตรฐาน IP67 ปองกัน ฝุนและนํ้า ในขณะที่บางสวนอุปกรณอื่นๆ เชน ZQ 500 Series เครือ่ งพิมพมอื ถือสามารถระบุไดถงึ คุณลักษณะการปองกัน IP65 ต้านทานอุณหภูมิ อุปกรณระดับองคกรไดออกแบบมาใหทาํ งานไดอยางตอเนือ่ ง แมแตในบริเวณที่คนทั่วไปตองการการปกปองแบบหลายชั้น ความสามารถในการใชหนาจอสัมผัสดวยมือที่ใสถุงมือและการ ตานทานอุณหภูมิที่ตํ่า คือคุณสมบัติทั้งสองที่อุปกรณเคลื่อนที่

ระดับองคกรสามารถมอบใหได อุปกรณที่ใชไดรวมกับเครื่อง แชแข็ง เชน คอมพิวเตอรจอสัมผัสแบบเคลื่อนที่ TC8000 และ คอมพิวเตอรทตี่ ดิ ตัง้ ไวในรถยนต VC80 สามารถใหการดําเนินงาน นาเชื่อถือไดไมวาจะมีการสับเปลี่ยนอุณหภูมิที่สูงก็ตาม การติดตามและการจัดการระยะไกล อุปกรณระดับองคกรบางอยางจะอนุญาตบริษัทใหติดตาม และจัดการชุดอุปกรณทางไกลได ซึ่งทําใหแนใจถึงการนําเสนอ สินทรัพยที่สําคัญไดอยางเต็มขีดความสามารถ นอกจากนี้ ระบบ การจัดการทางไกลยังอนุญาตใหการอัพเดทเฟรม แวรและซอฟตแวร เพื่อใหเปนขอบังคับและใชงานทางไกลได รวมถึงการเพิ่มการ รักษาความปลอดภัยผานเครือขายของอุปกรณ บริษัททั้งหลาย สามารถอนุญาตและทํารายการแบล็คลิสตแอพเพื่อตรวจสอบให แนใจวาพนักงานไมไดใชอุปกรณขององคกรบนแอพที่เกี่ยวของ ระบบการจัดการบนคลาวด เชน Operational Visibility Service ของซีบราจะชวยใหผูจัดการไอทีสามารถวิเคราะหประสิทธิภาพ การทํางานของชุดอุปกรณเพื่อคาดการณประเด็นที่อาจเกิดขึ้นได กอนที่จะเกิดปญหาขึ้นจริงๆ ผูที่ทําการตัดสินใจจําเปนตองครุนคิดในระยะยาวเมื่อ พูดถึงคาใชจายในการลงทุนสําหรับฮารดแวร ในขณะที่อุปกรณ ของผูบริโภคอาจมีคาใชจายลวงหนาที่ลดลง อุปกรณเคลื่อนที่ ขององค ก รที่ อ อกแบบมาล ว งหน า สํ า หรั บ การใช ง านเฉพาะ ทีร่ วบรวมฟงกชนั ทีส่ าํ คัญจํานวนมากไวในผลิตภัณฑทสี่ ะดวกสบาย ที่ ส ามารถพกไปไหนมาไหนได อ ย า งง า ยดายและทนทานกั บ สภาพแวดลอมที่รุนแรงและการใชงานที่สมบุกสมบันจากคลัง สินคา ตั้งแตการจัดการที่งายดายโดยแผนกไอทีสนับสนุนไปจน ถึงการนําเสนออัตราความลมเหลวที่ลดลงจากความยากลําบาก ทีเ่ พิม่ ขึน้ และเพือ่ ใหสามารถควบคุมดําเนินการในสภาพแวดลอม ที่หลากหลาย อุปกรณมือถือขององคกรจะมอบคุณคาทางธุรกิจ ทีด่ ยี งิ่ ขึน้ และการจัดซือ้ จัดหาเพือ่ ใชในการลดตนทุนโดยรวม (TCO) ไดอยางงายดาย

http://www.vdcresearch.com/_Documents/tracks/t7v1brief-2667.pdf http://www.vdcresearch.com/_Documents/tracks/t7v1brief-2667.pdf

3 4

67

Engineering Today January- February 2017


ปฏิท ิน สั ม มนา สัมมนา 18-19 ก.พ. 60 18 ก.พ. 60 24-26 ก.พ. 60 1-3 มี.ค. 60 18-19 มี.ค. 60

9 ก.พ. 60 11 ก.พ. 60

16-17 ก.พ. 60 16-17 ก.พ. 60 8-10 มี.ค. 60 13-14 มี.ค. 60 20-21 มี.ค. 60

21 ก.พ. 60 24 ก.พ. 60 8-9 มี.ค. 60 15 มี.ค. 60 15-16 มี.ค. 60

โครงการอบรมและฝกปฏิบตั กิ าร การออกแบบ Model 3 มิติ ดวย Google Sketch up ขั้นพื้นฐาน รุนที่ 12 การอบรมเรือ่ ง พืน้ ฐานการออกแบบระบบโฟมดับเพลิง Low-Expansion Foam สําหรับคลังน้ํามัน และ โรงงานอุตสาหกรรม รุนที่ 1 การอบรมเรื่อง มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับ ประเทศไทย พ.ศ. 2556 (มาตรฐานฉบับใหม) รุนที่ 1/2560 โครงการอบรมพื้นฐานความรูดานวิศวกรรมโยธา เพื่อเตรียมความพรอมสําหรับการขอใบอนุญาตภาคี พิเศษจากสภาวิศวกร รุนที่ 23 การอบรมและฝกปฏิบัติการ หลักสูตรการตรวจสอบ เครื่องดับเพลิงแบบยกหิ้วเพื่อความปลอดภัย รุนที่ 1 วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ โทรศัพท 0-2319-2410 โทรสาร 0-2319-2710 http://www.eit.or.th สัมมนารับฟงความคิดเห็น “คุณสมบัติของวิศวกร วิชาชีพอาเซียนและวิศวกรเอเปค” โครงการสัมมนาเผยแพรความรูเรื่อง “ภัยแผนดินไหว” สภาวิศวกร โทรศัพท 0-2935-6868 โทรสาร 0-2935-6695, 0-2935-6697 E-mail : admin@coe.or.th www.coe.or.th การตรวจติดตามระบบคุณภาพภายในหองปฏิบัติการ การประเมินคาความไมแนนอนของการวัด รุน 2 การสอบเทียบดิจิทัลมัลติมิเตอร หลักการใชงานและบํารุงรักษาเครื่องมือ วัดละเอียดดานมิติ ระบบคุณภาพหองปฏิบัติการตาม ISO/IEC 17025:2005(E) รุน 2 สวนฝกอบรม ฝายนโยบายและยุทธศาสตร สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ (มว.) โทรศัพท 0-2577-5100 ตอ 4206 หรือ 4228 โทรสาร 0-2577-2823 E-mail : training@nimt.or.th, www.nimt.or.th

16 มี.ค. 60 17 มี.ค. 60 20 มี.ค. 60 28 มี.ค. 60

การประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสของอาหาร (Sensory Evaluation) (รุนที่ 1/2560) 20 ก.พ. 60 ระเบียบการแสดงขอมูลฉลากอาหารของสหภาพยุโรป (EU Food Information Regulation) 21 ก.พ. 60 การตรวจสอบความถูกตองของวิธีทดสอบ อาหารทางเคมี 27 ก.พ.-3 มี.ค. 60 การจัดการสุขลักษณะและการจัดระบบ HACCP ในอุตสาหกรรมอาหาร (Rev.4-2003) (รุน ที่ 1/2560) การจัดการเครื่องมือวัด การอานใบรับรองผล 28 ก.พ. 60 และการประเมินผลการสอบเทียบ แผนกบริการฝกอบรม สถาบันอาหาร โทรศัพท 0-2886-8088 ตอ 2205 โทรสาร 0-2886-8104 E-mail : training@n.or.th http://www.n.or.th

16 ก.พ. 60 20 ก.พ. 60 23 มี.ค. 60 29-30 มี.ค. 60

68

ISO 22301 Auditor/Lead Auditor Introduction to ISO/IEC 17065 (Product Certication Body) Introduction to ISO 29990 (Training/Learning Service Provider) Introduction to AA 1000 Stakeholder Engagement Standard (SES) 2015 ISO 50001:2011 Introduction and Internal Auditor Introduction to ISO/IEC 17020 (Inspection Body) สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ โทรศัพท 0-2617-1727 ตอ 308 E-mail : training@masci.or.th http://www.masci.or.th

15-17 ก.พ. 60

14 ก.พ. 60

Kaizen Suggestion for Work Improvement Advance Strategic Planning - ASP Model Total Quality Management Big Data Analytic for Dening Strategic Insights Professional Project Management สวนบริการฝกอบรมสัมมนา สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ โทรศัพท 0-2619-5500 ตอ 451-455 โทรสาร 0-2619-8098 E-mail : training@ftpi.or.th www.ftpi.or.th

Engineering Today January- February 2017

22 ก.พ. 60 2 มี.ค. 60

การจัดการเครื่องมือในระบบ ISO/IEC 17025 สําหรับหองปฏิบัติการ (1/2560) ความรูพื้นฐานระบบ GMP (Codex) การประมาณคาความไมแนนอนของการวัด (หลักสูตรคํานวณใชเครื่องคิดเลข) (1/2560) การทวนสอบ (Verify) และยืนยันความใชได (Validate) ระบบ HACCP การตรวจติดตามคุณภาพภายในหองปฏิบัติการ ตามขอกําหนดมาตรฐาน ISO/IEC 17025:2005 สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แหงประเทศไทย (วว.) โทรศัพท 0-2577-9083, 0-2577-9082 โทรสาร 0-2577-9083, 0-2577-9084 www.tistr.or.th




Construction • กองบรรณาธิการ

นิทรรศการจัดแสดง 22 ผลงานที่ไดรับรางวัลบานจัดสรรอนุรักษพลังงานดีเดน

กระทรวงพลังงานมอบรางวัล “บ้านจัดสรรอนุรักษ์พลังงานดีเด่น” พร้อมเปิดตัว “บ้านต้นแบบดีดี (DEDE) รักษ์พลังงาน” กระตุนคนไทยใสใจบานประหยัดพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ไดจัดใหมีการมอบโลรางวัลเกียรติยศใหกับผูไดรับ รางวัล จํานวน 22 รางวัล จากการประกวดบานจัดสรร อนุรักษพลังงานดีเดน ป 2559 โดยมีรัฐมนตรีวาการ กระทรวงพลังงาน พลเอกอนันตพร กาญจนรัตน เปน ประธาน ณ หองวายุภักษ 6 อาคารศูนยประชุม โรงแรม เซ็นทรา ศูนยราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร แจงวัฒนะ การจัดประกวดบานจัดสรรอนุรักษพลังงานดีเดน ในครัง้ นี้ เพือ่ เปนการสงเสริมและสนับสนุนใหผปู ระกอบการ บานจัดสรรและธุรกิจรับสรางบาน ใหความสําคัญกับการ ออกแบบบ า นประหยั ด พลั ง งาน และเพื่ อ ให ค วามรู  แ ก ประชาชนในการเลือกซื้อบาน ตลอดจนการเลือกใชวัสดุ และอุปกรณทปี่ ระหยัดพลังงานในบานอยูอ าศัย โดยในงาน มีผูประกอบการที่เปนเจาของโครงการบานจัดสรร ธุรกิจ รับสรางบาน และสมาคม องคกร ที่เกี่ยวของเขารวมงาน เปนจํานวนมาก พลเอกอนั น ตพร กาญจนรั ต น รั ฐ มนตรี ว  า การ กระทรวงพลังงาน กลาววา ที่ผานมา พพ. ใหความสําคัญ เกีย่ วกับแนวคิดเรือ่ งบานประหยัดพลังงาน และการสงเสริม ความรูค วามเขาใจสูป ระชาชนอยางตอเนือ่ ง ทัง้ นีผ้ ปู ระกอบการ ดานที่อยูอาศัย ทั้งที่เปน ผูประกอบการบานจัดสรร และ บริษัทรับสรางบาน เปน ผูมีสวนสําคัญในการสนับสนุน กิจกรรมและภารกิจในเรื่องการอนุรักษพลังงานในบาน อยู  อ าศั ย ในการมุ  ง มั่ น พั ฒ นาบ า นประหยั ด พลั ง งานสู  ประชาชนผูบริโภค และหวังวาจะไดรวมกันสงเสริมและให

พลเอกอนันตพร กาญจนรัตน รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน (คนกลาง)

ผูชวยศาสตราจารย รุงโรจน วงศมหาศิริ หัวหนาทีมศึกษาและออกแบบบานตนแบบดีดี (DEDE) รักษพลังงาน

71

Engineerin Engineering ring Today January- Feb February ebru brruary 2017


ความรูแกประชาชนวาการสรางบานประหยัดพลังงานไมไดยาก หรือมีราคาแพงอยางทีห่ ลายคนเขาใจ การออกแบบทีด่ ี การเลือกใช วัสดุอปุ กรณทเี่ หมาะสมตัง้ แตการกอสรางนัน้ จะชวยใหผอู ยูอ าศัย มีความอยูสบายและลดคาใชจายดานพลังงานไปพรอมกันดวย ดาน ประพนธ วงษทา เรือ อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานและ อนุรักษพลังงาน (พพ.) กลาววา บานที่ไดรับรางวัลสามารถ ประหยัดพลังงานไดเฉลี่ยรอยละ 30 เมื่อเปรียบเทียบกับบาน ทั่วไปที่ไมไดคํานึงถึงการอนุรักษพลังงาน อยางไรก็ตาม บาน อนุ รักษ พ ลัง งานอาจมี ต น ทุ น สู ง ขึ้น เฉลี่ย รอ ยละ 10-15 แต สามารถคืน ทุ น ไดใ นระยะเวลาเพีย ง 4-5 ป จากค าไฟฟาที่ ลดลง นอกจากการมอบรางวัล บา นจัดสรรอนุรั กษพลังงาน ดีเดนแลว พรอมกันนี้ พพ. ไดมีการเปดตัวแบบบานประหยัด พลั ง งาน จํา นวน 12 แบบ กับการแจกแบบบ า นดีดี (DEDE) รักษพลังงาน ที่มีการออกแบบสวยงาม ทันสมัย และประหยัด พลังงาน โดยทีมอาจารยผเู ชีย่ วชาญจากคณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ประพนธ กลาวถึงบานตนแบบประหยัดพลังงานภายใต ชื่อ “บานดีดี (DEDE) รักษพลังงาน” วา ปจจุบันประเทศไทย มีจํานวนครัวเรือนประมาณ 20 ลานครัวเรือน มีการใชพลังงาน คิดเปนสัดสวนรอยละ 15 ของการใชพลังงานทัง้ หมดของประเทศ โดยกระทรวงพลังงานมีเปาหมายลดการใชพลังงานภาคบานพัก อาศัยในป พ.ศ. 2579 ลดลง 13,633 GWh ตามแผนอนุรักษ พลังงาน พ.ศ. 2558-2579 ดังนั้น เพื่อใหบรรลุแผนนโยบาย การอนุรักษพลังงาน 20 ป การกําหนดเกณฑมาตรฐานการใช

Engineering Today ay January- Fe February 2017

72

พลังงานสําหรับบานอยูอาศัยและการสรางตนแบบบานประหยัด พลั ง งาน นั บ เป น เครื่ อ งมื อ ที่ สํ า คั ญ ในการส ง เสริ ม เรื่ อ งบ า น ประหยัดพลังงานตอไปในอนาคต ดาน ผูชวยศาสตราจารย รุงโรจน วงศมหาศิริ สาขาวิชา สถาปตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า เจ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง หัวหนาทีมศึกษาและออกแบบบานตนแบบดีดี (DEDE) รักษ พลังงาน กลาววา ทางโครงการไดนําผลจากการศึกษาและการ สํารวจอาคารทีอ่ ยูอ าศัยจํานวน 1,800 หลังทัว่ ประเทศมากําหนด เกณฑมาตรฐานการใชพลังงานสําหรับบานอยูอ าศัย และออกแบบ บานตนแบบดีดี (DEDE) รักษพลังงาน โดยคํานึงถึงความยืดหยุน และเหมาะสมกับเทคนิคการกอสรางโดยชางกอสรางพืน้ ฐาน และ การเลือกใชวัสดุที่มีความแพรหลาย สามารถจัดหาไดงายในทุก พื้นที่ของประเทศ นอกจากปจจัยเรื่องความสวยงามแลว ยังตอง เหมาะสมกับสภาพภูมอิ ากาศของประเทศไทยอีกดวย ไมวา จะถูก สรางที่ไหน บานนั้นตองอยูสบายและประหยัดพลังงานในเวลา เดียวกัน ทั้งในระดับครัวเรือนและชวยประหยัดพลังงานในระดับ ประเทศ โดยคาดวา ดวยแนวคิดและวิธีการออกแบบจะทําให บานตนแบบดีดี (DEDE) รักษพลังงาน สามารถประหยัดคาไฟ ไดถึง 20-50% “แบบบานดีดี (DEDE) รักษพลังงาน ทั้ง 12 แบบ มีที่มา จาก 4 แนวคิด ไดแก 1. การลดปริมาณรังสีจากแสงอาทิตย เขาสูตัวบาน 2. การแบงโซนพื้นที่ใชพลังงานและชวงเวลาการใช พลังงานที่แตกตางกันออกจากกัน 3. การเลือกใชวัสดุกอสราง และอุปกรณไฟฟาแสงสวางประสิทธิภาพสูง โดยเฉพาะอยางยิ่ง มีฉลากประหยัดพลังงานรับรอง 4. การสรางทางเลือกในการ ติดตั้งแผงพลังงานทดแทนบนหลังคาที่ไดรับการออกแบบใหมี มุมเอียง 20 องศา เปนมุมที่สามารถติดตั้งแผงโซลารเซลลได ทุกทิศทางภูมปิ ระเทศ ทําใหโซลารเซลลสามารถผลิตพลังงานได มีประสิทธิภาพสูงไมวา จะหันหนาบานไปทิศทางใด” อาทิตย กลาว นอกจากนี้ภายในงานยังจัดใหมีการแสดง 20 แมไมสําคัญ ในการเลือกซื้อบานประหยัดพลังงาน นิทรรศการ 22 ผลงาน ทีไ่ ดรบั รางวัลบานจัดสรรอนุรกั ษพลังงานดีเดน การเสวนาในหัวขอ “บานอนุรักษพลังงาน” รวมถึงบานตนแบบดีดี (DEDE) รักษ พลังงาน 12 แบบ ถือเปนทางเลือกใหมใหกบั ประชาชนทีส่ ามารถ เลือกซื้อบานจากโครงการบานจัดสรร หรือเลือกผูประกอบการ รับสรางบานที่ไดรับรางวัล สนใจดาวนโหลดแบบบานตนแบบดีดี (DEDE) รักษ พลัง งาน ไดที่ เ ว็บไซตของกรมพัฒนาพลัง งาน ทดแทนและอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน กระทรวงพลั ง งาน www.dede.go.th


Property

• กองบรรณาธิการ

Gaysorn Tower Lobby

เกษร พร็อพเพอร์ตี้ เปิดตัว “GAYSORN VILLAGE”

ชูอาณาจักรธุรกิจ และไลฟสไตลในรูปแบบวิลเลจใจกลางกรุงครั้งแรกในไทย เกษร พร็อพเพอรตี้ เปดแผนพัฒนาธุรกิจครัง้ สําคัญ รุกสรางอาณาจักร อสังหาริมทรัพยบนพืน้ ทีก่ วา 180,000 ตารางเมตร ใจกลางยานราชประสงค ใหกลายเปน “LIFESTYLE URBAN VILLAGE - ไลฟสไตล เออรเบิน วิลเลจ” แหงแรกและแหงเดียวของประเทศไทย หวังผลักดันใหพนื้ ทีแ่ หงนีก้ ลายเปน แลนดมารกดานธุรกิจ การคา และการทองเทีย่ วทีม่ ศี กั ยภาพเทียบเทายานดัง ระดับโลก โดยทุมงบกวา 3,470 ลานบาท พัฒนาโครงการ “GAYSORN VILLAGE - เกษรวิลเลจ” เฟสแรกทางฝง เหนือ ในรูปแบบของอาณาจักรธุรกิจ และไลฟสไตลรูปแบบใหมที่มีเอกลักษณไมเหมือนใคร ภายใตคอนเซ็ปต “TIME WELL SPENT” พรอมเสริมแกรงดวยทางเดินลอยฟา “ราชประสงค วอลก” ที่สามารถเชื่อมตอเขากับ 18 อาคาร ภายในยานฯ และเสนทาง ยุทธศาสตร “เกษร วอลก” ที่สามารถเชื่อมตอไลฟสไตลจากทิศเหนือฝง ประตูนํ้า ผานศูนยการคาเกษร ลงสูทิศใตฝงศูนยการคาอัมรินทร พลาซา ไดภายในเวลาเพียง 3-5 นาที ชาญ ศรีวิกรม ประธานกลุมเกษร พร็อพเพอรตี้ กลาววา กลุมเกษร พร็อพเพอรตี้ เล็งเห็นความสําคัญของการพัฒนาเมืองและสังคมใหเติบโตอยาง ยั่งยืน (Social cultivation & Sustainability development) ดวยการสราง สถานทีท่ มี่ อบประสบการณใหกบั ทุกคน ทีส่ ามารถใชชวี ติ ทุกดานอยางมีคณ ุ คา และเติบโตขึน้ ไปเรือ่ ยๆ จึงเกิดเปนแนวคิดในการพัฒนาและลงทุนในโครงการ “GAYSORN VILLAGE - เกษรวิลเลจ” ไลฟสไตล เออรเบิน วิลเลจใจกลาง กรุงครั้งแรกของเมืองไทย ที่เปนตนแบบการพัฒนาไลฟสไตลและคอมมิวนิตี้ ที่สมบูรณแบบแหงอนาคต ภายใตคอนเซ็ปต “TIME WELL SPENT” คุณคา อยูที่การใชเวลา ทั้งการทํางาน การใชชีวิต ศิลปะ วัฒนธรรม และการจับจาย ใชสอยอยางนารื่นรมย (Delightful) และยั่ง ยืน (Sustainable) ทั้งยังเปน สถานทีซ่ งึ่ เปดกวางใหผคู นทัง้ ภายในและภายนอกชุมชนเขามารวมมีปฏิสมั พันธ

73

ชาญ ศรีวิกรม ประธานกลุ ประธานกลม เกษร พร็อพเพอรตี้

ในการแสดงออกอยางอิสระและสรางสรรค โดยใชงบ ประมาณ 3,470 ลานบาทในเฟสแรกสรางอาณาจักร แหงใหมอันเปยมดวยสไตลที่เปรียบเสมือนชุมชนของ ผูท มี่ แี พสชัน่ (Passion) และความชืน่ ชอบในงานศิลป (Artisans) “เกษร โคคูน” (Gaysorn Cocoon) ทีเ่ ชือ่ มตอ ศูนยการคาเกษร และอาคารเกษรทาวเวอรใหเปน หนึง่ เดียว โดยไดแรงบันดาลใจจาก “รังไหม” (Cocoon) ซึ่งเปนสัญลักษณการเกิดขึ้นของสิ่งใหม

Engineering Today January- February 2017


ผูบริหารเกษร พร็อพเพอรตี้ ถายภาพรวมกัน ในงานเปดตัว “GAYSORN VILLAGE”

Gaysorn Cocoon เชื่อมศูนยการคาเกษร และอาคารใหเปนหนึ่งเดียว

โลโกใหมของเกษร สอดคลองกับเครือ่ งหมาย Innity สื่อถึงคุณคาอันยาวนาน และไมสิ้นสุดของการใช เวลาที่เกษร

สําหรับโครงการ “GAYSORN VILLAGE เกษรวิลเลจ” ไดทําการขยายพื้นที่รีเทลมากขึ้น จากเดิมถึง 3 เทา จาก 17,000 ตารางเมตร เปน 47,000 ตารางเมตร ภายใตคอนเซ็ปต การออกแบบสถาปตยกรรมทีส่ วยงามไรกาลเวลา (Timeless Design) โดยนําแนวคิดชางหมูมา ประยุกตในการตกแตงใหกลมกลืนไปกับสีสัน ของศิลปวัฒนธรรม และประสบการณไลฟสไตล ที่ ห ลากหลายของย า นราชประสงค ภายใต คอนเซ็ปต “Work-Live-Play-Grow” โดยแบงออก เปน 4 กลยุทธหลัก ไดแก

Engineering Today January- February 2017

Gaysorn Urban Resort เนรมิตสวนลอยฟากลางแจงขนาดใหญ

1. พืน้ ทีร่ เี ทล มอบประสบการณชอ็ ปปง ปรากฏการณใหมของหุน สวนคาปลีก การใหบริการไลฟสไตล และรานอาหารหลากหลายคอนเซ็ปตในเฟสแรกทางทิศเหนือ รวม 17,000 ตารางเมตร โดยเชือ่ มตอพืน้ ทีศ่ นู ยการคาเกษรเขาสูอ าคารเกษรทาวเวอร อยางไรรอยตอ หรือ Seamless Experience โดยจะดําเนินการเสร็จสิ้นเดือน มิถุนายน 2560 และจะดําเนินการตอในเฟสที่ 2 ทางดานทิศใต ตามแผนปรับปรุง และพัฒนาศูนยการคาอัมรินทร พลาซา ในป 2562 - 2563 2. พื้นที่อาคารและสํานักงาน ดําเนินการสรางสรรคและพัฒนาควบคูกัน ระหวางอาคารเกษรทาวเวอร สูง 30 ชั้น พื้นที่ 20,000 ตารางเมตร และอาคาร อัมรินทรทาวเวอร สูง 23 ชั้น พื้นที่ 18,000 ตารางเมตร และสํานักงานใหเชาใน อาคารศูนยการคาเกษร 4 ชั้น พื้นที่ 5,400 ตารางเมตร ใหกลายเปนศูนยรวมของ ธุรกิจที่พรอมดึงดูดนักลงทุน รวมถึงกลุมคนที่มีความสามารถและมีวิสัยทัศนอัน กวางไกล ใหเขามาใชชีวิตการทํางานแบบสมดุลและมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยเกษร ทาวเวอรจะเปดใหผูเชาเขาพื้นที่ไดในเดือนมิถุนายน 2560 และอัมรินทรทาวเวอร จะปรับปรุงแลวเสร็จในป พ.ศ. 2561 3. การสรางสรรคใหมีพื้นที่อํานวยความสะดวก อาทิ Gaysorn Urban Resort บนชั้น 19-20 ของอาคารเกษรทาวเวอร พื้นที่ 3,000 ตารางเมตร ดวย คอนเซ็ปตสวนลอยฟากลางแจงขนาดใหญ “Outdoor Greenery Sky Garden” เพือ่ ใหคนทํางานหรือนักธุรกิจสามารถพักผอนหยอนใจ และสรางสรรคการทํางานใหมๆ ไดอยางอิสระ หรือ Gaysorn Crystal Box หองจัดประชุมและสัมมนาลอยฟา บริเวณชัน้ 19 ทีใ่ ชกระจกเปนวัสดุหลักทัง้ หมด สามารถมองเห็นทิวทัศนของกรุงเทพ มหานครได 270 องศา พรอมรองรับการจัดประชุม สัมมนา งานแถลงขาว และ งานเลี้ยงรูปแบบตางๆ ไดหลากหลายรูปแบบถึง 200 ที่นั่ง พรอมเชื่อมตอกับพื้นที่ บริเวณ “Outdoor Greenery Sky Garden” รองรับงานที่ตองการความหลากหลาย ของบรรยากาศทั้ง Indoor และ Outdoor ซึ่งเปนหนึ่งในองคประกอบการบริการ สวนรวมทีส่ ามารถสัมผัสไดถงึ คุณคาการใชเวลาใน GAYSORN VILLAGE โดยพืน้ ที่ ทั้ง 2 โซนจะเปดใชบริการในเดือนกันยายน 2560 “GAYSORN VILLAGE - เกษรวิลเลจ” นับเปนอาณาจักรทางธุรกิจและ ไลฟสไตลแหงแรกและหนึ่งเดียวในเมืองไทย ที่คํานึงถึงการเชื่อมตอของสังคมและ ชุมชน โดยลงทุนดานการเชื่อมตอระหวางอาคารดวยทางเดินลอยฟา “ราชประสงค วอลก” ที่เชื่อมตรงเขาสู 18 อาคารชั้นนําภายในยานฯ พรอมมาตรการรักษาความ ปลอดภัยและระบบ CCTV System ทั้งพื้นที่ภายนอกและภายในอาคาร ตลอด 24 ชัว่ โมง ซึง่ คาดวาจะเสร็จสิน้ ในเดือนมีนาคม 2560 และลาสุดเกษรไดเปดเสนทาง ยุทธศาสตร “เกษร วอลก” ซึ่งเปนเสนทางลัดที่เชื่อมตอภายในวิลเลจจากทิศเหนือ คือประตูนาํ้ ผานเกษรลงสูท ศิ ใต คือศูนยการคาอัมรินทร พลาซา ดวยการเดินภายใน เวลาเพียง 5 นาที ซึ่งคาดวาจะเริ่มเปดประสบการณในเดือนกันยายน 2560 ทั้งนี้ คาดวา การพัฒนาโครงการ “GAYSORN VILLAGE - เกษรวิลเลจ” ในเฟสแรกทางทิศเหนือ จะเสร็จสิ้นภายในเดือนมิถุนายน 2560 และจะมีพิธี เปดอยางเปนทางการในไตรมาสที่ 3 ของปนี้

74


Property

• ทัศนีย เรืองติก

กลุ่มซีคอนโฮม เปดเกมรุกตลาดดิจิทัลออนไลน

หวังขยายฐานกลุ่มลูกค้าคนรุ่นใหม่มากขึ้น

ศุภิชชา ชั​ัยพิ​ิพัฒน กรรมการผูจัดการ บริษัท ซีคอน โฮม จํากัด

จักรพล จันทวิมล กรรมการบริหารกลุมบริษัทซีคอน

บริษัท ซีคอน โฮม จํากัด ผูบุกเบิกวงการธุรกิจกอสรางบาน ของไทย กอตั้งขึ้นในป พ.ศ. 2504 ในนามบริษัท เซาทอีสทเอเชีย กอสราง จํากัด กอนเปลีย่ นชือ่ เปน บริษทั ซีคอน จํากัด ในป พ.ศ. 2518 จากความสําเร็จของระบบกอสรางแบบกึ่งสําเร็จรูปที่เรียกกันทั่วไปวา “ระบบซีคอน” มาสูบริษัท ซีคอน โฮม จํากัด ในป พ.ศ. 2554 ดวย การเพิ่มความชัดเจนในการทําธุรกิจสรางบานแกลูกคารายเดิมและ จูง ใจลูกคารายใหมเ พิ่มเติม โดยเนน ประสิทธิภ าพสูง กวาวิธี การ กอสรางแบบทั่วๆ ไป สําหรับในป 2560 นี้ ซีคอนโฮมไดรุกตลาด รับสรางบานดวยการนําระบบโซเชียลมีเดียเขามาเสริมกลยุทธความ แกรงเพื่อเจาะตลาดกลุมลูกคารุนใหมมากยิ่งขึ้น ศุภิชชา ชัยพิพัฒน กรรมการผูจัดการ บริษัท ซีคอน โฮม จํากัด กลาววา บริษัท ซีคอน โฮม จํากัด ไดศึกษาคนควาเทคนิคการกอสราง และนํามาพัฒนาใหเปนระบบการกอสรางทีเ่ หมาะสมมาตลอด โดยเฉพาะ พื้นที่ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่มีฐานลูกคาของบริษัทอยูถึง 90 เปอรเซ็นต สวนในตางจังหวัดมีฐานลูกคาอยูกวา 10 เปอรเซ็นต โดย เนนยํ้าใหมีประสิทธิภาพสูงกวาวิธีการกอสรางแบบธรรมดาทั่วๆ ไป ทั้งนี้คุณสมบัติหลักของระบบซีคอน คือ ระบบโครงสรางที่ผลิตมาจาก โรงงาน ทําใหลดระยะเวลาในการทํางานหนางาน ชวยใหการกอสราง รวดเร็วขึ้น ประหยัดคาใชจาย มั่นคงแข็งแรง พรอมทั้งสามารถกอสราง ไดทุกฤดูกาล โดยไมมีอุปสรรคเรื่องดินฟาอากาศ ทุกกระบวนการผาน การตรวจสอบคุณภาพทั้งในสวนของการออกแบบบาน การตรวจสอบ ชิ้นสวนโครงสรางบานที่ผานกระบวนการผลิตในโรงงาน การตรวจสอบ คุณภาพระหวางการกอสราง และการตรวจสอบกอนการสงมอบบาน เพื่อสรางความมั่นใจใหกับผูอยูอาศัยในทุกขั้นตอน “สิ่ งสําคั ญที่ ซีคอนโฮมไมเคยหยุด คือ การใหความสํ าคั ญกับ งานวิจัยและพัฒนาอยางตอเนื่อง โดยคํานึงถึงสภาพภูมิประเทศและ อากาศที่สอดคลองกับประเทศไทยใหมากที่สุด เพื่อลูกคาของเราทุกๆ พื้นที่” ศุภิชชา กลาว

75

Engineering Today January- February 2017


ผูบริหารถายภาพรวมกัน

สําหรับภาพรวมเศรษฐกิจของประเทศไทย ในป 2560 เชือ่ วาจะมีแนวโนมขยายตัวไดดมี ากยิง่ ขึน้ โดยมีปจ จัยสถานการณ การสงออกสงสัญญาณฟนตัวตั้งแตชวงไตรมาสสุดทายของป 2559 ทีผ่ า นมา ขณะทีภ่ าคการทองเทีย่ วก็เปนอีกหนึง่ ภาคธุรกิจ ทีอ่ ตั ราการเติบโตไปในทิศทางทีด่ ี มีนกั ทองเทีย่ วเขามาจํานวนมาก ทําใหไดอานิสงสตรงนี้ ทําใหผูประกอบการรับสรางบานไดรับ การว า จ า งให ส รา งบ า น สร างที่พั กอาศัย รองรับเพิ่ม ขึ้น ทั้งนี้ คาดวาป 2560 นี้ จะเปนอีกปที่ธุรกิจรับสรางบานทั้งหมดจะมี อัตราการเติบโตที่ประมาณ 10 เปอรเซ็นต คิดเปนมูลคาราว 12,000 ลานบาท โดยมีปจจัยจากผูประกอบการ ประชาชนมี ความมัน่ ใจในการลงทุนของภาครัฐ โดยเฉพาะการลงทุนในระบบ โครงสรางพืน้ ฐาน การคมนาคมขนสง โดยเฉพาะจากการทีม่ กี าร สรางรถไฟฟาทีท่ ยอยแลวเสร็จในหลายเสนทาง ทัง้ ในเมืองหลวง และในพื้นที่จังหวัดสําคัญของประเทศไทย ศุภชิ ชา กลาวถึงผลการดําเนินงานในป 2559 ทีผ่ า นมาวา บริษัทฯ สามารถทํายอดขายรวมทั้งกลุมอยูที่ 1,200 ลานบาท เติ บ โต 6 เปอร เซ็น ต แบ ง เปนยอดขายจาก Seacon Home จํานวน 55 หลัง มูลคา 500 ลานบาท จาก Compact Home และ Budget Home รวม 210 หลัง มูลคา 700 ลานบาท และ มียอดรับรูรายไดจากการโอนที่ประมาณ 750 ลานบาท ปจจุบันลูกคาของกลุมซีคอนโฮม แบงเปนในกรุงเทพฯ 90 เปอรเซ็นต และตางจังหวัดอีก 10 เปอรเซ็นต ซึ่งสวนใหญ เปนลูกคาที่ไววางใจกลุมซีคอนโฮมในการรับสรางบานดวยดี ตลอดมา ในสวนของการดําเนินงานของซีคอนในป 2560 นั้น ยังมุง หวังรักษาฐานลูกคาเดิมและหาลูกคารายใหม โดยเฉพาะกลุม ลูกคาคนรุน ใหมใหมากยิง่ ขึน้ อยางเชน กลุม คนวัยทํางานทีต่ อ งการ มีบา นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ราคาเริม่ ตนที่ 2-5 ลานบาทตนๆ ใหมากขึ้น ดวยการเสริมแผนการพัฒนาชองทางโซเชียลมีเดีย ของบริษัทฯ ใหแข็งแกรงมากยิ่งขึ้น รองรับพฤติกรรมลูกคาที่ ตองการดูบาน เลือกชมบาน เลือกชมแบบบานตางๆ ผานทาง โซเชียลมีเดีย ที่มีจํานวนมากยิ่งขึ้น สําหรับเปาหมายในป 2560 นี้ ตั้งเปายอดขายไวที่ 1,300 ลานบาท เติบโตเพิ่มขึ้น 10 เปอรเซ็นต จากป 2559 แบงเปน

Engineering Today January- February 2017

76

ยอดขายจาก Seacon Home 58 หลัง มูลคา 520 ลานบาท จาก Compact Home 150 หลัง มูลคา 600 ลานบาท และ Budget Home 90 หลัง มูลคา 180 ลานบาท และตั้งเปามี ยอดรับรูรายไดจากการโอนมากกวา 800 ลานบาท ทั้งนี้ได คาดการณวาในป 2560 นี้ นอกจากยอดขายปกติที่มีเขามาแลว คาดวาจะมียอดขายบานทางออนไลน 10-20 เปอรเซ็นตอีกดวย ทางดานงานบริการ ซีคอนโฮมใหบริการตั้งแตจุดเริ่มตน ที่ลูกคาวาดฝนตั้งใจอยากจะปลูกบาน โดยจะรวมพิจารณาเลือก แบบบานที่เหมาะสมกับความตองการของคุณและครอบครัว เมื่อสรุปแบบบานเปนที่เรียบรอยแลว ทีมงานจะชวยดําเนินเรื่อง ติดตอทางราชการในสวนที่เกี่ยวของ และสงทีมสํารวจที่ดินเพื่อ เลือกทางเขาออกที่สะดวกที่สุด ทั้งนี้ในระหวางการกอสรางจะมี ระบบตรวจสอบการกอสรางทุกขัน้ ตอน พรอมเพิม่ ความอุน ใจดวย การรับประกันโครงสรางถึง 10 ป และทายสุด จะมีหนวยซอม บํารุงทีพ่ รอมใหบริการและแกไขทุกปญหาเรือ่ งบานใหตลอดเวลา เพื่อสรางความมั่นใจใหกับผูบริโภค จักรพล จัน ทวิ มล กรรมการบริห ารกลุมบริษั ทซีคอน กลาววา ซีคอน ไดตดิ ตามสถานการณแผนของภาครัฐมาโดยตลอด แลวนํามาปรับกลยุทธ สําหรับวางแผนในการดําเนินธุร กิจใน ป 2560 อยางรอบคอบ โดยเบื้องตนมีแผนเพิ่มฐานลูกคากลุม คนรุนใหมที่อยูในวัยทํางานเริ่มมีเงินเก็บเพื่อสรางบานเปนของ ตนเอง ผานชองทางตลาดดิจิทัลที่มีการรับชมคอนเทนตวิดีโอ ผานโซเชียลมีเดียเพิม่ ขึน้ ไมวา จะเปน Facebook, Line, Youtube และชองทางอื่นๆ เปนตน ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดสรางแพลตฟอรม การสร า งการรั บ รู  ผ  า นมาร เ ก็ ต ติ้ ง ออนไลน ใ หม ภายใต ชื่ อ “Seacon Home First Class Experience” ที่สะทอนใหเห็น 3 มิติที่เหนือกวา ประกอบดวย First Class Consultant, First Class Construction และ First Class Management สําหรับงบการทําตลาดในป 2560 บริษทั ฯ วางงบประมาณ ทัง้ ปที่ 50 ลานบาท แบงเปน 75 เปอรเซ็นต ทําการตลาดแบบปกติ อีก 25 เปอรเซ็นต แบงไปทําตลาดในโซเชียลมีเดีย เพื่อนําเสนอ ขอมูลตางๆ ของบริษัทฯ ไมวาจะเปนราคาบาน โปรโมชั่นตางๆ ทีจ่ ะใหลกู คารับทราบและเขาถึงแบบบานใหคณ ุ เลือกชมมากมาย โดยแบงประเภทบ านตามงบประมาณและรูปแบบบาน เชน แบบบาน Seacon Home ราคาประมาณ 4,000,000 บาทขึน้ ไป แบบบาน Compact Home ราคาประมาณ 2,000,000 บาท ขึ้นไป แบบบาน Budget Home ราคาตั้งแต 1,000,000 บาท ขึ้นไป หรือเลือกแบบบานที่ตองการใหซีคอนโฮมสรางใหตาม รูปแบบ เชน บานตามนิยม บานเติมสุข บานเติมรัก บานเติมฝน บานแทนคุณ และบานพอดีราคาแลวแตตกลงกัน เพื่อใหลูกคา เห็นภาพไดชัดเจนทุกมุมมองกอนตัดสินใจ เพราะการสรางบาน ไมเหมือนกับการซื้อสินคาทั่วไป แตเปนการลงทุนที่อยูคูกับการ เติบโตของครอบครัวไปตลอดชีวิต


Equipment

• กองบรรณาธิการ

โชวรูมรถเกลี่ยดิน “เคส คอนสตรัคชั่น” ที่จังหวัดระยอง

อติพงศ พงศหวาน ที่ปรึกษาอาวุโส บริษัท วัตคินสัน คอนสตรัคชั่น อิควิปเมนท จํากัด

“วัตคินสัน” เดินหน้ารุก

ตลาดเครื่องจักรกลหนักป 2560

ตอบรับนโยบายโครงสร้างพื้นฐานของรัฐ มั่นใจยอดขายทะลุ 300 ล้าน บริษทั วัตคินสัน คอนสตรัคชัน่ อิควิปเมนท จํากัด ตัวแทน จําหนายอยางเปนทางการเครือ่ งจักรกลหนักเพือ่ งานกอสรางและ เหมืองแร แบรนด “เคส คอนสตรัคชั่น” (CASE Construction) ซึ่งประกอบดวย รถขุด (Hydraulic Excavators), รถตักลอยาง (Wheel Loaders), รถหนาตักหลังขุด (Backhoe Loaders), รถบดสั่นสะเทือน (Vibratory Compactors) และรถเกลี่ยดิน (Motor Graders) เดินหนาแผนรุกตลาดเครือ่ งจักรกลหนัก พรอม ขยายเพิม่ ศูนยบริการใหครอบคลุมทัว่ ประเทศ และสรางประสบการณ พาลูกคาเยีย่ มชมโรงงานสายการผลิตเครือ่ งจักรกลหนัก หวังสราง ความเชือ่ มัน่ ตอบรับนโยบายกระตุน เศรษฐกิจดานโครงสรางพืน้ ฐาน ซึง่ เปนปจจัยสําคัญทีท่ าํ ใหตลาดเครือ่ งจักรกลหนักเติบโตตอเนือ่ ง อติพงศ พงศหวาน ที่ปรึกษาอาวุโส บริษัท วัตคินสัน คอนสตรัคชั่น อิควิปเมนท จํากัด กลาววา ตลาดเครื่องจักรกล หนักในประเทศมีการเติบโตขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งนี้คาดการณวา จะมีความตองการเครื่องจักรกลหนักเพื่อการกอสรางเพิ่มขึ้นอีก รอยละ 10-15 ตอป ปจจัยสําคัญมาจากการที่รัฐบาลมีนโยบาย ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของประเทศ ดวยโครงการพัฒนาระบบคมนาคม และโครงสรางพืน้ ฐาน ทัง้ โครงการระยะสัน้ ทีม่ มี ากกวา 20 โครงการ มูลคารวมมากกวา 1.5 ลานลานบาท และโครงการระยะยาว เชน แผนแมบทโครงการทางหลวงพิเศษระหวางเมือง (Thailand’s Intercity Motorway Development Master Plan) ระยะเวลา 20 ป (ระหวางป พ.ศ. 2560-2579) ระยะทางกอสรางกวา 6,612 กิโลเมตร ดวยงบลงทุนกวา 2 ลานลานบาท โครงการนี้ นอกจากจะทําใหประเทศไทยเปนศูนยกลางคมนาคมขนสงของ ภูมภิ าคแลว ยังเปนการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ในหลากหลายมิติอีกดวย ดาน กมลวัฒน วีรศุภกาญจน ประธานฝายปฏิบัติการ บริษัท วัตคินสัน คอนสตรัคชั่น อิควิปเมนท จํากัด กลาววา

กมลวัฒน วีรศุภกาญจน ประธานฝายปฏิบัติการ บริษัท วัตคินสัน คอนสตรัคชั่น อิควิปเมนท จํากัด

วัตคินสัน เล็งเห็นความสําคัญและพรอมปรับรูปแบบการบริการ ใหสอดคลองกับภาวะตลาดที่เติบโตขึ้นอยางตอเนื่อง โดยได ดําเนินการพัฒนาศูนยบริการในจังหวัดระยอง ซึง่ เปนสํานักงานใหญ ใหเปนศูนยบริการกลางแบบครบวงจร ทั้งในสวนของการบริหาร จัดการ ศูนยฝกอบรม โชวรูม คลังเครื่องจักรและอะไหล และ พื้นที่ทดสอบสมรรถนะของเครื่องจักร ลําดับถัดมาคือ การขยาย พื้นที่ศูนยบ ริการภาคอีสาน ในจังหวัด อุด รธานี ศูนยบริการ ภาคกลาง ในกรุงเทพฯ และการเพิ่มศูนยบริการภาคเหนือ ใน จังหวัดเชียงราย ในสวนเครือ่ งจักรกลหนักทีจ่ ะเนนทําตลาดเพิม่ ในป 2560 คือ “รถเกลี่ยดิน” (Motor Graders) ที่มีโรงงานผลิตตั้งอยูที่ ประเทศบราซิล ซึ่งเปนฐานการผลิตรถเกลี่ยดินขนาดใหญที่มี ประวัติยาวนาน และมีการนําเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพที่สุด ในโลกมาใช การันตีดวยเหรียญทองจาก WCM (World Class Manufacturing) “เราเชื่อมั่นในกระบวนการผลิตที่ทรงประสิทธิภาพ และ สมรรถนะเครื่องยนตอันทรงพลังไมแพแบรนดใดในตลาด เราจึง มั่นใจที่จะกาวเขามาเปนหนึ่งในผูใหบริการรถเกลี่ยดิน “เคส คอนสตรัคชั่น” โดยทุกปเราไดมีกิจกรรมพาลูกคาไปเยี่ยมชม โรงงาน ซึ่งเปนฐานการผลิตเครื่องจักรกลหนักที่ทันสมัยของ “เคส คอนสตรัคชั่น” ในปที่ผานมาพาไปเยี่ยมชมโรงงานผลิต รถเกลี่ยดิน ที่ประเทศบราซิล และเร็วๆ นี้จะพาลูกคาไปเยี่ยมชม โรงงานผลิตรถตักลอยาง และรถหนาตักหลังขุด ทีป่ ระเทศอิตาลี ซึ่ง “เคส คอนสตรัคชั่น” เปนผูผลิตรายแรกของโลกอีกดวย ทั้งนี้ มั่ นใจวายอดขายในป นี้จะทะลุ 300 ล านบาทอยางแนนอน” กมลวัฒน กลาว

777

Eng Engineering nggiine inne neeri eeri ering ng Tod Today ayy Ja Janua Januarynuary nua ryy- Fe Feb February eebbrua ruary ry 20 2017 17



Project Management • ดร.พรชัย องควงศสกุล

ศาสตร์พระราชา กับการพัฒนาที่ยั่งยืน ใต้ร่มพระบารมี ๗๐ ปี แห่งทศพิธราชธรรม เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New Management Tools)

พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มหิ ต ลาธิ เ บศรรามาธิ บ ดี จั ก รี น ฤบดิ น ทร สยามิ น ทราธิ ร าช บรมนาถบพิตร เสด็จสวรรคต สิริพระชนมพรรษาปที่ ๘๙ ทรง ครองราชสมบัตคิ รบ ๗๐ ป ตลอดระยะเวลาการครองราชย พระองค ไดทรงเสด็จพระราชดําเนินเยี่ยมเยียนทั่วทุกภาคทุกจังหวัดของ ประเทศ ครอบคลุมระยะทางกวาหลายหมื่นกิโลเมตร เปนระยะ เวลาหลายตอหลายป เพื่อพบประชาชน เพื่อรับฟงปญหาของ พวกเขาและแนวทางแกไข พระองคทรงใหประชาชนเปนศูนยกลาง ในการพัฒนาประเทศ ธ ทรงงานเพื่อประโยชนสุขแหงชาวสยาม โดยแทจริง พระองคทรงแสดงใหประจักษแกอาณาประชาราษฎรทั้ง ชาวไทยและชาวตางชาติ ถึงพระราชประสงคทที่ รงตองการบรรเทา ทุกขพสกนิกรทัว่ เขตแควน ทรงบากบัน่ เสด็จพระราชดําเนินไปใน ทุกพื้นที่ พระราชหฤทัยที่ทรงมุงมั่นบรรเทาทุกขพสกนิกร ตาม พระราชสั ต ยาธิ ษ ฐานเมื่ อ ครั้ ง เสด็ จ ขึ้ น เถลิ ง ถวั ล ยราชสมบั ติ นั้นคือ “เราจะปกครองแผนดินโดยธรรม เพื่อประโยชนสุขแหง มหาชนชาวสยาม” และพระราชนิ พ นธบัน ทึกประจําวัน “ถา ประชาชนไมทงิ้ ขาพเจาแลว ขาพเจาจะทิง้ ประชาชนอยางไรได” ในวันทีต่ อ งเสด็จพระราชดําเนินออกจากประเทศไทยไปศึกษาตอ ณ ประเทศสวิตเซอรแลนด “การปกครองแผนดินโดยธรรม” หนึ่งในพระจริยาวัตร งดงามสําคัญแหงองคกษัตริยท พี่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงดํารงพระองคดว ยอยางเพรียกพรอมในคําวา “ธรรม” บนแนวแหงธรรมะของพระราชาที่องคสมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจาตรัสสอนแกเจาผูครองนคร อันควรพึ่งยึดถือเปน ขอปฏิบตั ิ ๑๐ ประการ เรียกวา “ทศพิธราชธรรม” พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 9 ผูทรงคุณประเสริฐของปวงชนชาวไทย ได ท รงถื อ เป น หลั ก ปฏิ บั ติ ใ นการปกครองพระราชอาณาจั ก ร ให พ สกนิ ก รของพระองค อ ยู  เ ย็ น เป น สุ ข เป น ที่ ป ระจั ก ษ ต า ประจั กษ ใ จแก ช นชาวโลกเสมอมา เป นจริย ศาสตรพระราชา ที่ปวงประชาโนมนํามาปฏิบัติ ตามรอยที่พอสอน ดังนี้

.

ทานํ ทาน คือ การให้

“…สังคมใดก็ตาม ถามีความเอื้อเฟอเกื้อกูลกัน ดวยความมุงดี มุงเจริญตอกัน สังคมนั้นยอมเต็มไปดวยไมตรีจิต มิตรภาพ มีความรมเย็นเปนสุข นาอยู…” พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๙ เพื่ออัญเชิญลงพิมพในนิตยสารที่ระลึกครบรอบ ๓๖ ป ของสโมสรไลออนสกรุงเทพฯ ๓๑ มีนาคม ๒๕๓๘ “…คุณธรรม ขอหนึ่งที่ยังมีอยูอยางบริบูรณในจิตใจของคนไทย ก็คือ การให การใหนี้ไมวาจะใหสิ่งใด แกผูใดโดยสถานใด ก็ตาม เปนสิ่งที่พึงประสงคอยางยิ่ง เพราะเปนเครื่อง ประสานไมตรีอยางสําคัญ ระหวางบุคคลกับบุคคล และใหสังคมมีความมั่นคงเปนปกแผนดวยสามัคคีธรรม…” พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๙ เนื่องในโอกาสวันขึ้นปใหม ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๙

ทาน คือ การใหทรัพยสินสิ่งของและธรรมเพื่อชวยเหลือ ประชาชน รวมทัง้ การบําเพ็ญสาธารณประโยชนตา งๆ เปนการให เพื่อสงเคราะหอนุเคราะหตามหลักสังคหวัตถุ ๔ เปนสําคัญ วิธีการใหทานแบงออกเปน ๒ อยางคือ (๑) อามิสทาน การใหสิ่งของ และ (๒) ธรรมทาน (การใหธรรมเปนทาน) หรือวิทยาทาน (การใหความรูเปนทาน) พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๙ ไดทรงบําเพ็ญทาน เพื่อพสกนิกรของพระองคมาโดยตลอด ทั้งที่เปนอามิสทานและ ธรรมทาน คือการใหสงิ่ ของและการใหคาํ แนะนํา พระราชกรณียกิจ ในการบํ า เพ็ ญ ทานของพระองค ส อดคล อ งกั บ ราชสั ง คหวั ต ถุ ขอที่ ๑ คือ สัสสเมธะ หมายถึง ความฉลาดในการบํารุงพืชพันธุ ธัญญาหาร สงเสริมการเกษตร

79

Engineering Today January- February 2017


โครงการพัฒนาชนบทโครงการแรกเกิดขึน้ ในป ๒๔๙๕ โดย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๙ พระราชทานรถบุลโดเซอร ให ห น ว ยตํ า รวจตระเวนชายแดนไปสร า งถนนเข า ไปยั ง บ า น หวยมงคล ตําบลหินเหล็กไฟ อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ เพื่อใหประชาชนสามารถใชเดินทางและนําผลผลิตจากไรนา ออกไปขายที่ตลาดไดสะดวกขึ้น พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๙ ทรงสงเสริม การเกษตรด ว ยโครงการฝนหลวงที่ ค นไทยทุ ก วั น นี้ รู  จั ก กั น ดี โครงการนีถ้ อื กําเนิดขึน้ มาจากแนวพระราชดําริทไี่ ดจากการเสด็จ เยี่ยมราษฎรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๘ ดัง พระราชบันทึกตอนหนึ่งวา “ขณะนั้นข า พเจา ไดแหงนดูทองฟ า และพบว ามีเ มฆ จํานวนมาก แตเมฆเหลานั้นพัดผานพื้นที่แหงแลงไป วิธีแกไข อยูที่วาจะทําอยางไร ที่จะทําใหเมฆเหลานั้นตกลงมาเปนฝน ในทองถิน่ นัน้ ความคิดนัน้ เปนจุดเริม่ ตนของโครงการทําฝนเทียม ซึ่งประสบความสําเร็จในอีก ๒-๓ป ตอมาในภายหลัง” ปจจุบนั มีโครงการพระราชดําริทเี่ กิดจากพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๙ ที่มีตอพสกนิกร ของพระองคกวา ๔,๐๐๐ โครงการ โครงการเหลานี้คือตัวอยาง ของการบําเพ็ญทศพิธราชธรรมขอที่ ๑ คือ ทานในสวนที่เปน อามิสทาน คือการใหสิ่งของ นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๙ ยังได ทรงบําเพ็ญวิทยาทานและธรรมทานอยางตอเนือ่ ง ตัวอยางสําคัญ แหงการบําเพ็ญวิทยาทานที่ทั่วโลกยกยองคือ ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงและกังหันนํ้าชัยพัฒนา โดยเฉพาะกังหันนํ้าชัยพัฒนา เปนสิ่งประดิษฐเพื่อบําบัดนํ้าเสียดวยวิธีเติมอากาศ ซึ่งเกิดจาก พระปรีชาสามารถและพระราชดําริของพระองค กั ง หั น นํ้ า ชั ย พั ฒ นาได รั บ สิ ท ธิ บั ต รในพระปรมาภิ ไ ธย พระบาทสมเด็ จพระเจ า อยู  หัว รัช กาลที่ ๙ จากกรมทรัพยสิ น ทางปญญา เมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ ๒๕๓๖ นับแตนั้นมา วันที่ ๒ กุมภาพันธของทุกป จึงเปนวันนักประดิษฐแหงประเทศไทย สมาพันธนกั ประดิษฐนานาชาติกาํ หนดใหวนั ที่ ๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๑ เป นวั น นั ก ประดิ ษ ฐ โ ลกขึ้ น เป น ครั้ ง แรก เพื่ อ เทิ ด พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๙ เนือ่ งในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ในการบําเพ็ญธรรมทานตอพสกนิกรนั้น พระบาทสมเด็จ พระเจ า อยู  หั ว รั ช กาลที่ ๙ ทรงสอดแทรกธรรมไวใ นพระบรม ราโชวาทและพระราชดํารัสอยูเสมอ ยิ่งไปกวานั้น พระองคยังได ทรงพระราชนิพนธหนังสือธรรมโดยตรง นั่นคือพระราชนิพนธ เรื่องพระมหาชนก พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราช ดํารัสเกี่ยวกับพระราชนิพนธเรื่องนี้ไววา “หนังสือเรือ่ งนีเ้ ปนทีร่ กั ของขาพเจาเอง เปนสิง่ ทีเ่ ห็นวามี ความสําคัญและโดยที่เปนผูที่ทําขึ้นมา ถาไมมีตัวเราเอง มีแต ชาดกแลวก็มีแตชาดกภาษาไทยที่แปลมาจากภาษาบาลี มีแต ชาดกอาจจะเป น ภาษาอั ง กฤษที่ เ ขาแปลมาจากภาษาบาลี ใครไปอานก็ไมรูเรื่องและไมมีความหมายอะไรมากนัก”

Engineering Today January- February 2017

80

การที่ทรงบําเพ็ญทานทั้งที่เปนอามิสทานและธรรมทาน ดังกลาวมานี้จัดเปนทศพิธราชธรรมขอที่ ๑ คือทานซึ่งเปนปรหิต ปฏิบัติเพื่อประโยชนสุขของมหาชนชาวไทย

. สีลํ

ศีล ความประพฤติเรียบร้อยดีงาม

“…การทําความดีนั้น โดยมากเปนการเดินทวนกระแส ความพอใจและความตองการของมนุษย จึงทําไดยากและ เห็นผลชา แตก็จําเปนตองทํา เพราะหาไม ความชั่ว ซึ่งทําไดงายจะเขามาแทนที่ แลวจะพอกพูนขึ้น อยางรวดเร็วโดยไมทันรูสึกตัว…” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๙ ในพิธีพระราชทานกระบี่และปริญญาบัตรแกวาที่รอยตํารวจตรีฯ โรงเรียนนายรอยตํารวจฯ ๑๐ มีนาคม ๒๕๒๙ “…ความสุขความเจริญอันแทจริงนั้น หมายถึง ความสุขความเจริญที่บุคคลแสวงหามาไดดวยความเปนธรรม ทั้งในเจตนาและการกระทํา ไมใชไดมาดวยความบังเอิญ หรือดวยการแกงแยงเบียดบังมาจากผูอื่น…” พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๙ ในพระราชพิธีกาญจนาภิเษกทรงครองราชยครบ ๕๐ ป ๒๕๓๙

ศี ล คื อ การสํ า รวมระวั ง รั ก ษาพฤติ ก รรมทางกายและ ทางวาจาใหถูกตองเรียบรอยดีงาม ทั้งที่เปนอัตตหิตสมบัติ คือ ความดีงามสวนตัว และปรหิตปฏิบตั ิ คือความดีงามเพือ่ สวนรวม การรั ก ษาศี ล ที่ เ ป น ทศพิ ธ ราชธรรมนั้ น ต อ งเป น ปรหิ ต ปฏิบตั ดิ ว ย คือ ผูป กครองตองมีภาพแหงความซือ่ สัตยสจุ ริต สามารถ ทําตนเปนแบบอยางและเปนทีเ่ คารพนับถือของคนทัว่ ไป ไมทจุ ริต คอรรัปชัน พูดงายๆ ก็คือ ผูปกครองตองมีชื่อเสียงเกียรติคุณอัน ดีงามโดยไมมีประวัติดางพรอย ผูปกครองตองมีสีลสามัญตา คือ ความมีศีลเสมอกันกับ สมาชิกในสังคม หมายความวาตองรักษาระเบียบกติกาและ ปฏิบัติตามกฎหมายของบานเมืองเชนเดียวกับประชาชนทั่วไป โดยไมมีขอยกเวน ผูปกครองตองไมทําตัวใหอยูเหนือกฎหมาย เพราะถือตัววามีอํานาจเบ็ดเสร็จ พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว รั ช กาลที่ ๙ ป จ จุ บั น ทรงเปนพระมหากษัตริยใ นระบอบประชาธิปไตยทีท่ รงปฏิบตั ติ าม กฎหมายของบานเมืองเชนเดียวกับ ประชาชนทั่วไป คุณฟน บุณยปรัตยุธ อดีตนายอําเภอปทุมวัน นายทะเบียนในวันพระราช พิธีราชาภิเษกสมรส เลาวา “พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๙ และ ม.ร.ว.สิรกิ ติ ิ์ ทรงจดทะเบียนสมรสเฉกเชนคูสมรสทั่วไป สมุดทะเบียนสมรส ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๙ ไดประดิษฐขึ้น เปนพิเศษ ปกสมุดหุมดวยหนังแกะออนสีเหลืองเขม กลางปก เปนหนังสีนาํ้ ตาล มีอกั ษรตัวทองบอกวาเปนสมุดทะเบียนสมรส


ขอความในสมุดทะเบียนทุกอยางคงเปนเหมือนสมุดทะเบียน สมรสทัว่ ไป เกีย่ วกับการจดทะเบียนนี้ พระองคทา นทรงทําตาม ระเบียบทุกอยาง ไปยืน่ คํารองขอจดทะเบียนสมรสนอกสถานที่ ปดอากรแสตมป ๑๐ สตางค เสียคาธรรมเนียม ๑๐ บาท ตาม ระเบียบถูกตอง” พระพุทธเจาตรัสวากลิ่นแหงศีลของคนดีนั้นหอมกวากลิ่น หอมของดอกไมใดๆ ดังพุทธพจนในธรรมบทที่วา “กลิ่นดอกไม ทวนลมไมได กลิ่นจันทน กฤษณา กระลําพักก็ทวนลมไมได ส วนกลิ่ น ของคนดีหอมทวนลมได คนดีฟุ งขจรไปทั่ว ทุกทิ ศ บรรดากลิ่นหอมทั้งหลายเชนกลิ่นของไมจันทน กฤษณา อุบล และมะลิ กลิ่นแหงศีลยอดเยี่ยมที่สุด” กลิ่นแหงศีลของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๙ ฟุงขจรไปทั่วทุกทิศานุทิศ เมื่อถึงวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวามหาราช พสกนิกรทัว่ ไปตางพรอมใจกันรักษาศีลปฏิบตั ธิ รรม ตามรอยพระยุ ค ลบาท หลายคนพากั น อุ ป สมบทถวายเป น พระราชกุศล ไปทั่วทุกทิศานุทิศทั้งภายในและภายนอกพระราช อาณาจักรไทย ก็เพราะพระองคทรงปฏิบตั ทิ ศพิธราชธรรมขอที่ ๒ คือศีลนั่นเอง

.

ปริจฺจาคํ บริจาค เสียสละความสุขสบาย ส่วนตัวเพื่อประโยชน์สุขส่วนรวม

“…คนเราถาพอใจในความตองการ ก็มีความโลภนอย เมื่อมีความโลภนอยก็เบียดเบียนคนอื่นนอย ถาทุกประเทศ มีความคิดวาทําอะไรตองพอเพียง หมายความวาพอประมาณ ไมสุดโตง ไมโลภอยางมาก คนเราก็อยูเปนสุข…” พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๙ พระราชทานแกคณะบุคคลที่เขาเฝาฯ ณ ศาลาดุสิดาลัย ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑ “...ผูที่จะสามารถทํางานใหชาตินั้น จําเปนจะตองมีใจตั้งมั่น ในงาน มีความอดทนเสียสละ ซื่อสัตยสุจริต และที่สําคัญกวา อยางอื่น จะตองมีความคิดความเขาใจที่กระจาง แนนอน และเที่ยงตรง ตามเหตุผลความเปนจริง...” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๙ ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ๒๔ มกราคม ๒๕๒๒ “…สังคมใดก็ตาม ถามีความเอื้อเฟอเกื้อกูลกัน ดวยความมุงดีมุงเจริญตอกัน สังคมนั้นยอมเต็มไปดวย ไมตรีจิต มิตรภาพ มีความรมเย็นเปนสุข นาอยู…” พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๙ เพื่ออัญเชิญลงพิมพในนิตยสารที่ระลึกครบรอบ ๓๖ ป ของสโมสรไลออนสกรุงเทพฯ ๓๑ มีนาคม ๒๕๓๘

ทศพิธราชธรรมขอนีเ้ ปนเรือ่ งของกิเลสจาคะ คือ สละกิเลส เชน สละความเห็นแกตวั หรือความสุขสบายสวนตัวเพือ่ ทําประโยชน สุขใหแกประชาชน การปฏิบัติธรรมขอนี้มุงปรหิตปฏิบัติ คือยึด ประโยชนสุขของคนอื่นเปนที่ตั้ง ดังพุทธพจนในธรรมบทที่วา “ถาเห็นวา จะไดสขุ อันยิง่ ใหญดว ยการสละสุขเล็กๆ นอยๆ นักปราชญก็ควรสละสุขเล็กนอยเพื่อเห็นแกสุขอันยิ่งใหญ” เนื่องจากทศพิธราชธรรมขอบริจาคนี้เปนเรื่องกิเลสจาคะ หมายถึงการสละกิเลสจึงตางจากทศพิธราชธรรมขอทาน ซึ่งเปน เรือ่ งของอามิสจาคะ หมายถึงการสละสิง่ ของ ทานพุทธทาสภิกขุ กลาวถึงความแตกตางระหวางทานและบริจาคไววา ทานเปนการ สละทีต่ อ งมีผรู บั เชน เราตักบาตรก็ตอ งมีพระรับบาตร แตบริจาค คือการสละกิเลส เชน สละความเห็นแกตัวไมตองมีผูรับ พระบาทสมเด็ จพระเจาอยูหั วรั ชกาลที่ ๙ ทรงบําเพ็ญ ทศพิธราชธรรมขอบริจาคดวยการสละความสุขสบายสวนพระองค เพื่อประโยชนสุขของมหาชนชาวสยาม ใครนั่ ง รถผ า นพระตํ า หนั ก จิ ต รลดารโหฐานคงจะเห็ น กังหันลมตั้งอยูอยางนั้นมานานแลว นั่นเปนเครื่องหมายของ โครงการพระราชดําริ และผูที่เคยเขาไปที่โรงเรียนสวนจิตรลดา บางครั้งเจอชาวบานถือเคียวถืองอบนั่งเคี้ยวหมากอยูริมคันนา ในวังสวนจิตรลดา เจาหนาทีภ่ ายในเลาวาบางทานถามวาชาวนา เหลานีเ้ ปนเจาหนาทีท่ ปี่ ลอมเปนชาวนาหรือเปลา ก็ไดรบั คําตอบวา นี่แหละชาวนาจริงๆ ในหลวงทรงใหมาดํานาเกี่ยวขาวที่แปลงนา ทดลองในวัง พันธุขาวที่เก็บเกี่ยวไดจากที่นี่ก็เอาไปหวานในพิธี แรกนาขวัญที่สนามหลวง เนือ่ งจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๙ ทรงสละ ความสุขสบายสวนพระองคดว ยการบําเพ็ญทศพิธราชธรรมขอบริจาค พระราชหฤทัยของพระองคจงึ เปย มลนดวยพระมหากรุณาธิคณ ุ ตอ พสกนิกร พระองคทรงงานหนักเพื่อราษฎรโดยไมมีวันหยุด ใน หนังสือเรือ่ งพระธรรมิกราชของชาวไทย จัดพิมพโดยกรมศิลปากร เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๐ มีขอความตอนหนึ่งวา “ดวยเหตุผลนี้เองที่ทําใหพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๙ เสด็จฯ ทรงรับฟงความทุกขราษฎรจากปากคําของ ราษฎรยังบานของราษฎรเองและทรงงานเพื่อราษฎรโดยไมมี วันหยุดมาแลวเปนเวลา ๖๐ ป ครั้งหนึ่งสํานักราชเลขาธิการ ไดเคยบันทึกไววา ในแตละปเสด็จฯ ออกปฏิบตั พิ ระราชกรณียกิจ ราว ๕๐๐-๖๐๐ ครัง้ รวมเปนระยะทางประมาณ ๒๕,๐๐๐-๓๐,๐๐๐ กิโลเมตร” และตลอดระยะเวลาการครองราชย พระองคไดทรง เสด็ จ พระราชดํ า เนิ น เยี่ ย มเยี ย นทั่ ว ทุ ก ภาคทุ ก จั ง หวั ด ของ ประเทศ ครอบคลุมระยะทางกวาหลายหมื่นกิโลเมตรเปนระยะ เวลาหลายตอหลายป เพื่อพบประชาชน เพื่อรับฟงปญหาของ พวกเขาและแนวทางแกไข พระองคทรงใหประชาชนเปนศูนยกลาง ในการพัฒนาประเทศ ทรงริเริ่มโครงการตางๆ สําหรับคนที่ขาด แคลนทีส่ ดุ แสวงหาคําตอบของปญหาทีป่ ระชาชนสวนใหญประสบ ไมวาจะเปนเรื่องปญหาภัยแลง การตัดไมทําลายปา โภชนาการ และโรคภัยไขเจ็บ ความใสพระราชหฤทัยอยางตอเนื่องไดกลาย เปนการพัฒนาที่ยั่งยืน

81

Engineering Today January- February 2017


เหล า นี้ คื อ ตั ว อย า งของพระราชกรณี ย กิ จ ของพระบาท สมเด็ จ พระเจา อยูหั ว รัช กาลที่ ๙ ที่แสดงออกถึง การบําเพ็ญ ทศพิธราชธรรมขอบริจาค คือเสียสละความสุขสบายสวนตัว เพื่อประโยชนสุขสวนรวม

.

อาชฺชวํ อาชชวะ ความซื่อตรง

“…มีคุณธรรมขอหนึ่งที่สําคัญ ซึ่งทานตองปฏิบัติอยางเครงครัด อยูเสมอ คือ ความสัตยสุจริต ประเทศบานเมืองจะวัฒนาถาวร อยูได ก็ยอมอาศัยความสัตยสุจริตเปนพืน้ ฐาน ทานทั้งหลาย จะออกไปรับราชการก็ดี หรือประกอบกิจการงานสวนตัวก็ดี ขอใหมั่นอยูในคุณธรรมทั้ง ๓ ประการ คือ สุจริตตอบานเมือง สุจริตตอประชาชน และสุจริตตอหนาที่…” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั รัชกาลที่ ๙ พิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ๑๒ มิถุนายน ๒๕๙๗ “…จิตใจและความประพฤติที่สะอาดและมีระเบียบ เปนรากฐานสําคัญของชีวิตจิตใจทั้งความประพฤติ ดังนั้น ใชจะเกิดมีขึ้นเองได หากแตจําเปนตองฝกหัดอบรมและ สนับสนุนสงเสริมกันอยางจริงจังสมํ่าเสมอ นับตั้งแต บุคคลเกิด ดังที่มนุษยไมวาชาติใดภาษาใด ไดเฝาพยายาม กระทําสืบตอกันมาทุกยุคทุกสมัย ทั้งเพื่อใหสามารถรักษาตัว และมีความสุขความสําเร็จในการครองชีวิต ทั้งใหสามารถอยู รวมกับผูอื่นไดดวยความผาสุกสงบ…” พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๙ พระราชทานเพื่อเชิญไปอานในพิธีเปดการสัมมนาของ สภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทย เรื่อง การพัฒนาสังคมในดานศีลธรรมและจิตใจ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๑๖ “… ถาทํางานดวยความตั้งใจทีจ่ ะใหเกิดผลอันยิ่งใหญ คือความเปนปกแผนของประเทศชาติ ดวยความสุจริต และดวยความรูความสามารถดวยจริงใจ ไมนึกถึงเงินทอง หรือนึกถึงผลประโยชนใดๆ ก็เปนการทําหนาที่ โดยตรงและไดทําหนาที่โดยเต็มที่…” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๙ พระราชทานแกศึกษาธิการจังหวัดทั่วประเทศ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๑๑

อาชชวะ ความซื่อตรงคือความซื่อสัตยสุจริต พระพุทธเจา ตรัสวา ถาผูน าํ มีความซือ่ สัตยสจุ ริตก็จะพาใหผตู ามมีความซือ่ สัตย สุจริตไปดวย ดังพระบาลีวา “คุนฺนฺเจ ตรมานานํ” เปนตน แปล ความวา “เมื่อฝูงโควายขามนํ้า ถาโคจาฝูงไปตรง โคหมดทั้งฝูง นั้นก็ไปตรงตามกัน เพราะมีผูนําที่ไปตรง ฉันใด ในหมูมนุษยก็

Engine Engineering ineer Today Januaryuary- Feb February 2017 17

822

ฉั น นั้ น บุ ค คลผู  ไ ด รั บ สมมติ ใ ห เ ป น ใหญ หากบุ ค คลผู  นั้ น ประพฤติชอบธรรม หมูป ระชาชนนอกนัน้ ก็จะพลอยดําเนินตาม ทั้งแวนแควนก็จะอยูเปนสุข หากผูปกครองตั้งอยูในธรรม” พระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว รั ช กาลที่ ๙ ทรงปฏิ บั ติ ทศพิธราชธรรมขออาชชวะ เพราะทรงมีความซื่อสัตยสุจริตดวย พระองคและทรงสอนให คนอื่ นซื่ อสั ต ยสุ จริต ดวย ดังกระแส พระราชดํารัสเกี่ยวกับการพัฒนาชนบท เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๒ ที่วา “การพัฒนาชนบทเปนงานสําคัญ เปนงานยาก เปนงาน ที่จะตองทําใหไดดวยความสามารถ ดวยความเฉลียวฉลาด คือ ตองเฉลียวและฉลาด ตองทําดวยความบริสุทธิ์ใจ มิใชมุงที่จะ หากินดวยวิธีการใดๆ ใครอยากจะหากินขอใหลาออกตําแหนง ไปทําการคาดีกวา เพราะถาทําผิดพลาดไปแลว บานเมืองจะ ลมจม และเมื่อบานเมืองเราลมจมแลวเราอยูไมได ก็เทากับ เสียหมดทุกอยาง” ตลอดระยะเวลา ๗๐ ป ที่ทรงครองสิริราชสมบัติ พระบาท สมเด็จพระเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๙ ทรงแสดงความสุจริตตอประชาชน และสุจริตตอหนาที่ใหปรากฏเปนที่ประจักษ ดังมีการบันทึกถึง เหตุการณขณะเสด็จฯ กลับประเทศสวิตเซอรแลนด ในวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๔๘๙ ตอไปนี้ ตลอดทางที่รถพระที่นั่งแลน ผานฝูงชนที่มาสงเสด็จอยาง ลนหลาม ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ไดทอดพระเนตรเห็นประชาชนที่ แสดงความจงรักภักดี บางแหงใกลจนทอดพระเนตรเห็นดวงหนา และแววตาชัด ที่บงบอกถึงความเสียขวัญอยางใหญหลวง ทั้งเต็ม ไปดวยความรักและหวงใย อันเปนภาพทีท่ าํ ใหอยากรับสัง่ กับเขา ทุกคน ถึงความหวังดีที่ทรงเขาพระราชหฤทัย และขอบใจเขา เชนกัน ขวัญของคนเปนสิง่ สําคัญ ถาขาดกําลังใจ ถาขวัญเสียมีแต ความหวาดระแวง ประเทศจะมีแตความออนแอและแตกสลาย ทามกลางเสียงโหรองถวายพระพร ก็มีเสียงหนึ่งที่ตะโกน แทรกมาเขาพระกรรณวา “ในหลวงอยาทิ้งประชาชน” ในขณะนั้นทรงนึกตอบในพระราชหฤทัยวา “ถาประชาชน ไมทงิ้ ขาพเจา แลวขาพเจาจะทิง้ ประชาชนไดอยางไร” พระบาท สมเด็จพระเจาอยูห วั รัชกาลที่ ๙ ยังทรงปฏิบตั หิ นาทีข่ องพระองค ด ว ยความซื่ อ สั ต ย สุ จริ ต เพราะพระองค ท รงดํ า รงมั่ น อยู  ใ น ทศพิธราชธรรมขอทีว่ า ดวยอาชชวะ คือความซือ่ ตรงนัน่ เอง ตลอด รัชกาลสมัยของพระองค “ทศพิธราชธรรม” ซึง่ มี ๑๐ ประการ ตามพระพุทธภาษิต คือ ๑. ทานํ การให ๒. สีลํ การสังวรระวังกายและวาจาใหเรียบรอย ดีไมมีโทษ ๓. ปริจฺจาคํ การเสียสละ ๔. อาชฺชวํ ความซื่อตรง ๕. มทฺทวํ ความสุภาพออนโยน ๖. ตป ความเพียรเพงเผากิเลส ๗. อกฺโกธํ ความไมโกรธ ๘. อวิหึสฺจ การไมเบียดเบียนผูอื่น ตลอดทั้ ง สั ต ว ใ ห ไ ด ทุ ก ข ย าก ๙. ขนฺ ติ ฺ จ ความอดทน ๑๐. อวิโรธนํ คําสอนของพอ ศาสตรของพระราชา จะขอนําเสนอ ในตอนตอไป ดวยสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณอยางหาที่สุดมิได ขาพระพุทธเจา ดร.พรชัย องควงศสกุล


Green Industry • กองบรรณาธิการ

ยิบอินซอยทุ่มงบ 200 ล้านบาท เปิดโรงงานแห่งใหม่ที่ จ.อยุธยา ชูยุทธศาสตรการบริหาร สู่ Green Industry

เครื่องจักรสําหรับผลิตปุย

ยุยพธั พธัช ยิบอินซอย รองกรรมการผ รองกรรมการผูจ ัดการใหญ ยิบอินซอยและแยคส

แมปุยสําหรับใชทําสูตรปุย

กลุมบริษัทยิบอินซอย ดําเนินธุรกิจในประเทศไทยมากวา 90 ป ในหลากหลายธุรกิจ ทั้งธุรกิจเหมืองแรดีบุก ธุรกิจคอมพิวเตอร ธุรกิจ เฟอรนิเจอร ธุรกิจปุยและเคมีการเกษตร โดยเริ่มตนทําธุรกิจตั้งแต ป 2469 ณ อําเภอทุงสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ตอมาไดเปลี่ยนเปน “บริษัท ยิบอินซอย จํากัด” ในป 2473 ทั้งนี้ยิบอินซอยเปน ผูบุกเบิก การคาปุย เคมีเปนรายแรกของประเทศไทย โดยนําเขาปุย เคมีคณ ุ ภาพสูง จากตางประเทศเขามาจําหนายใหกับเกษตรกร ภายใตแบรนด “ใบไม” ในป 2510 บริ ษั ท ยิ บ อิ น ซอย จํ า กั ด ได ร  ว มทุ น กั บ บริ ษั ท วิลเลีย่ มแยคส จํากัด ประเทศมาเลเซีย โดยรวมทุนกอตัง้ บริษทั ยิบอินซอย และแย ค ส จํ า กั ด เพื่ อ รวมธุ ร กิ จ ปุ  ย เคมี เ กษตร และวั ส ดุ ก  อ สร า ง และเครือ่ งเหล็กของทัง้ สองบริษทั ไวดว ยกัน เพือ่ การขยายเครือขายทาง ธุ ร กิ จ และเพิ่ ม ประสิ ทธิ ภาพใหแก ทีมงาน จากนั้น ในป พ.ศ. 2515

83 83

บริษัท ยิบอินซอย จํากัด ไดเขามาดูแลและควบคุมกิจการ ทั้งหมดของบริ ษัท ยิบ อินซอยและแย คส จํ ากัด ทํ าให บริษัทฯ เปนบริษัทในเครือของบริษัท ยิบอินซอย จํากัด แตเพียงผูเดียว ลาสุด บริษัท ยิบอินซอยและแยคส ไดขยายโรงงาน บนพืน้ ทีใ่ หม 30 ไร ในอําเภอนครหลวง จังหวัดอยุธยา ดวย งบการกอสรางโรงงาน 200 ลานบาท เพื่อขยายธุรกิจปุย ใหเปนทางเลือกแกเกษตรกรมากยิ่งขึ้น ยุพธัช ยิบอินซอย รองกรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั ยิบอินซอยและแยคส จํากัด กลาววา สําหรับธุรกิจโรงงาน ทําปุยในเครือบริษัท ยิบอินซอย ปจจุบันไดดําเนินสูรุนที่ 3 โดยเริ่ม เปด ดําเนินการในป 2535 บนพื้นที่ 6 ไร เปน โรงงานแหงแรกที่ผลิตทั้งปุยและเคมีการเกษตร ตั้งอยูที่ นิคมอุตสาหกรรมบางปู จังหวัดสมุทรปราการ โดยนําปุย และสูตรเคมีเกษตรจากตางประเทศมาทําการประยุกต สูตรคิดคนใหมใหไดสูตรที่เหมาะสมสําหรับเกษตรกรไทย ทั้งนี้ ในป 2556 ธุรกิจปุยดีขึ้นตามลําดับ จึงตองหา พืน้ ทีใ่ หมเพือ่ ขยายการผลิตปอนตลาด และไดพนื้ ทีท่ เี่ หมาะสม บริเวณอําเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา บนพืน้ ที่

Enng Engineering nginneering To Today odayy Ja Januarynuaary- Fe February bruuaryy 201 2 2017 17


พนักงานกําลังบรรจุเมล็ดปุยลงกระสอบ

ประมาณ 30 ไร โดยใชงบประมาณทัง้ สิน้ 200 ลานบาท สําหรับ สร า งโรงงาน และสั่ ง ซื้อ เครื่อ งจักร รวมทั้ง ค า ซอ มบํารุง ค า ใชจายตางๆ ที่จําเปนในการดําเนินงาน เปนตน ในระยะเริ่มตน ใชพื้นที่จริงสรางประมาณ 10 ไร อีก 20 ไร บริษัทฯ จะทําแปลง ทดลองทางการเกษตร ปลูกขาว ปลูกกลวย ปลูกพืชผักทางการ เกษตร โดยใชปุยที่เราผลิตได เพื่อพิสูจนใหเกษตรกรเห็นวาปุย ของเรามีคุณสมบัติที่ดีเพียงใด “เราคิดโปรเจกตขึ้นวาถาเราจะทําสินคาปุยและเคมีภัณฑ ขึน้ มานัน้ จะตองมีจดุ ขายและกลุม ลูกคาทีช่ ดั เจน ไมไปแยงตลาด ขายปุยกับใคร เนื่องจากโรงงานของเราใชวัตถุดิบที่มีคุณภาพมา จากประเทศยุโรป อีกทัง้ มีการจัดหาเครือ่ งจักรทีท่ นั สมัยจากยุโรป ไมวา จะเปนจากเยอรมนี เขามาผสมผสานกับเครือ่ งจักรของคนไทย ทีเ่ ราดัดแปลงเขามาใชในโรงงานของเรา ทําใหสามารถผลิตสินคา ปุ  ย ออกมาเปน เกรดพรีเ มี ย มที่มี คุ ณภาพกวา ปุย รายอื่นๆ ที่ จําหนายในทองตลาด” ยุพธัช กลาว

Engineering Today January- February 2017

84

ยิบอินซอยไดผลิตปุย คุณภาพทัง้ หมด 2 แบรนด แบรนดแรก “ใบไม” สําหรับกลุม ลูกคาพรีเมียม ผลิต 30 เปอรเซ็นตในโรงงาน จําหนายผานดีลเลอรในพืน้ ทีจ่ งั หวัดตางๆ ทัว่ ประเทศ ประมาณ 20-30 ราย คิดเปนสวนแบงทางการตลาดอยูท ี่ 10-15 เปอรเซ็นต ของตลาดปุยพรีเมียมทั้งหมด สวนแบรนด “หัวคนปา” จะเนน เกษตรกรกลุม ทัว่ ไปทีเ่ ปนกลุม พืชไร ขาว ผักผลไม ยางและปาลม นํ้ามัน มีสัดสวนการผลิต 70 เปอรเซ็นต ตลาดใหการตอบรับดี อยู แลว มี ดี ลเลอร ประมาณ 100-200 ราย ขณะนี้ มีสวนแบง การตลาดประมาณ 5-10 เปอรเซ็นตของตลาดปุยทั้งหมด โรงงานผลิตปุยของกลุมบริษัทยิบอินซอยทั้งสองแหงมี การสรางโรงงานที่มุงสู Green Industry โดยมียุทธศาสตรการ ดําเนินการ 3 M ประกอบดวย Modern คือ ความทันสมัยที่เรา ใชเทคโนโลยีการผลิตแบบ 1 ตอ 1 ควบคุมการทํางานดวยระบบ คอมพิวเตอร ชวยใหการผลิตปุย ไดเร็วขึน้ โดยไมจาํ เปนตองลงทุน การผลิตที่เกินความตองการใชจริง Marketing Management


เนนการบริหารจัดการ เพือ่ วางแผนการ ผลิตใหมีสตอกสินคาในคลังสินคาให นอยทีส่ ดุ จากนัน้ ตองมีการบริหารสินคา ทีผ่ ลิตสูม อื ดีลเลอร สงตรงถึงลูกคาดวย ความสะดวกและรวดเร็ว ไมวาจะเปน ทางรถบรรทุก ทางเรือ ตามระยะทางที่ ลูกคาตองการ และยุทธศาสตรสุดทาย Move On คือ การกาวไปขางหนารวมกับ ชุมชนอยางยัง่ ยืน เนือ่ งจากโรงงานผลิต ปุยไปตั้งที่ใดจะตองทําความเขาใจกับ ชาวบาน พรอมเปดโรงงานใหเขามาเห็น การผลิตเลยวาโรงงานของเราผลิตดวย กระบวนการป ด ที่ ไ ม มี ทั้ ง กลิ่ น เสี ย ง ตัวอยางสูตรปุยที่บริษัทฯ คิดคนได และนํา้ เสียรบกวนชาวบานโดยรอบ อีกทัง้ โรงงานยินดีใหคําแนะนําเรื่องการใชปุย เคมี ไมใชเฉพาะของบริษทั เทานัน้ เพราะ เราคิ ด ว า ชาวบ า นในพื้ น ที่ ที่ เ ราไปตั้ ง โรงงานนัน้ เปนเสมือนเพือ่ นทีต่ อ งพึง่ พา และคอยแนะนําสิ่งที่ดีตอกัน นอกเหนื อจากการใช พ ลั ง งาน ไฟฟาปกติ ยิบอินซอยมีการเก็บแสงสวาง จากแผงโซลารเซลลที่ติดตั้งบนหลังคา ของโรงงาน เพื่อกักเก็บพลังงานใชใน การเดินเครื่องผลิตปุย สวนการบําบัด นํา้ เสีย ไดบาํ บัดกลิน่ ทีไ่ มเปนพิษสูช มุ ชน โดยรอบ และผานการตรวจสอบจาก ทางราชการอยางสมํ่าเสมอ “เราอยากสรางโรงงานแบบใหม คลังสินคาสําหรับเก็บปุย ในวงการปุ  ย ด ว ยการเป น มิ ต รกั บ สิ่งแวดลอม โดยคํานึงถึงความรูสึกของ ในส ว นกํ า ลั ง การผลิ ต ของยิ บ อิ น ซอย โรงงานจั ง หวั ด ลูกคา คนทั่วไปที่เขามาดูธุรกิจปุยเปนหลัก ซึ่งที่เขามาชมตางพูด สมุทรปราการจะผลิตในสวนเคมีภัณฑ ผลิตภัณฑสารปองกัน เปนเสียงเดียวกันวาโรงงานนี้ไดรับผลกระทบจากกลิ่น ฝุน และ กําจัดศัตรูพชื ชนิดนํา้ ประมาณปละ 1.8 ลานตันตอลิตรตอป ผลิต ปญหาเรื่องมลพิษทางอากาศนอยมาก” ยุพธัช กลาว สารปองกันกําจัดศัตรูพืชชนิดผงประมาณ 1.0 ลานตันตอลิตร กลุมบริษัทยิบอินซอยมีพนักงานนักวิเคราะหสูตรคิดคน ตอป และผลิตปุยประมาณ 20,000 ตันตอป และปรั บ ปรุ ง สู ต ร เมื่ อ ได นํ า เข า แม ปุ  ย จากประเทศเยอรมนี สวนโรงงานที่อยุธยา ซึ่งเพิ่งเปดเดินเครื่องผลิตเฉพาะปุย แคนาดา ญี่ปุน ฝรั่งเศส อิสราเอลและรัสเซีย ตามที่ตองการแลว เพียงอยางเดียวในเดือนสิงหาคม 2559 ที่ผานมา ตั้งยอดการ จะนํามาผลิตปุยตามสูตรนั้นๆ ประมาณ 10 สูตร เฉพาะที่เปน ผลตไวท ผล 1100,000 00,0000 ตน ตนตอ ดปปรรบข ามมกาล ผลิลตตไว ตไววทที่ 10 ตันต นตอ ตอป อปป ททงนจ ทั้งน งนจ นี้จะะมยอดปรบขนตามกาลง ะมีมยยอ ยอดปรั บขน ขึ้นต นตามกํ าลง ลัง แบรนด แบ บรรน ด “ห “หวคนปา” น ปาา” สสวนใหญปุ นใให ญ ปุ  ยยทที่ มมย มี​ี ย อดขายดี อ ดขขา ยดดี จ ะเป ะเ ะเปนสู เป น สูสตตตรร แบรนด “หัหววค ว คนป า ” สสว ว นใหญ การสัสงซอของลู กา ่งซื้อของลูกคา คา โดยไมมการผลตเพอเกบสตอกไว โดยไม โ ไ มมี​ีการผลิ ผ ิตเพื เ ื่อเก็​็บสสตอกไว ไ  เพราะปุปย 22-4-22 22 2 4-22 4 22 ซงเปนสู ซึ่งเปนสูสตรทรบรอง รที​ี่รับรอง ใสกอนทขาวจะออกรวง ใส ใ กอนที่ขีขาวจะออกรวง เพอใหได ใ ไ ด เพื่อื ให ทีม่ ีคุคุณภาพจะตองผลิ งผลลิตแแลลวจํ​ําหน หนนายยทนที ยทัทันทที​ี ขาวทีที่มีผลผลิติ ที่มี ากกวาปกติ ป ิ และสู และสสตู ร 15-15-15 15-15 -115-15 5-15 เปปนตน

85 85

Enng Engineering nginneering To Today odayy Ja Januarynuaary- Fe February bruuaryy 201 2 2017 17


Research & Development • กองบรรณาธิการ

รมต. สุวิทย์แนะนักวิจัยลงจากหอคอยงาช้าง มุ่งวิจัยร่วมกับภาครัฐและอุตสาหกรรม ตอบโจทย์สู่ Thailand 4.0 รั ฐ มนตรี สุ วิ ท ย์ ก ระตุ ้ น นั ก วิ จั ย ลงจาก หอคอยงาช้างและทํางานร่วมกับอุตสาหกรรม และภาครัฐ ร่วมขับเคลื่อน Thailand 4.0 ตอบโจทย์ความต้องการเพื่อการทํามาหากิน อยู่ดีกินดี และประเทศมีรายได้มากขึ้น ขณะที่ มหาวิ ท ยาลั ย จะต้ อ งสร้ า งคนเก่ ง ระดั บ โลก โดยร่วมมือกับชุมชนในพื้นที่ มุ่งหวังให้นักวิจัยขับเคลื่อนประเทศไทย สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ด้วยโมเดล Thailand 4.0 ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ดร.สุวิทย เมษินทรีย รัฐมนตรีประจําสํานัก นายกรั ฐ มนตรี บรรยายเรื่ อ ง “โมเดลขับ เคลื่อน ประเทศไทยสูความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” ใน การประชุมวิชาการ นักวิจัยรุนใหม พบ เมธีวิจัย อาวุโส สกว. ซึ่งจัดโดย ฝายวิชาการ สํานักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และ สํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ณ โรงแรมเดอะ รีเจนท ชะอําบีช รีสอรท จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งสรุป สาระสําคัญของการบรรยายไดวา มุงหวังใหนักวิจัย ทุ ก คนมี ส  ว นร ว มในการปฏิ บั ติ เ พื่ อ ขั บ เคลื่ อ น ประเทศไทยสูค วามมัน่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน ดวยโมเดล Thailand 4.0 ซึ่ ง เป น โมเดลที่ จ ะพาประเทศให หลุดพนจากกับดักประเทศรายไดปานกลาง กับดัก ความเหลือ่ มลํา้ และกับดักความไมสมดุล พรอมกับ เปลี่ยนผานประเทศไทยสูประเทศในโลกที่หนึ่งใน บริบทของพลวัตการเปลีย่ นแปลงของโลกอยางเปน รูปธรรม ตามแนวทางแผนยุทธศาสตรชาติ 20 ปที่ วางไว ดวยการสรางความเขมแข็งจากภายในควบคู กับการเชือ่ มโยงกับประชาคมโลก ตามแนวคิดปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง “เราตองเขาใจภาพใหญของโลกทีเ่ ปลีย่ นแปลง จากหนอนดักแดไปสูผีเสื้อ ซึ่งสวนใหญมาจากฝมือ ของนักวิจัยทั้งโลก และเราก็ไดรับผลกระทบนั้น เราต อ งเป ด โลกให กว า ง อย า ติ ด กั บ ดั ก การเป น ศาสตราจารย แตตองไปสูการเปลี่ยนแปลงเพื่อให

Engineering Today January- February 2017

ดร.สุวิทย เมษินทรีย รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี

ประเด็นยุทธศาสตรและนโยบายระดับบัญชาการ 10 ประการ

ตอบโจทยประเทศไดในอนาคต โดยมีหัวใจสําคัญคือ ขับเคลื่อนประเทศไปสู “เศรษฐกิจทีข่ บั เคลือ่ นดวยนวัตกรรม” เปนระบบเศรษฐกิจทีเ่ นนการสรางมูลคา ขับเคลือ่ นดวยนวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสรางสรรค นอกจากนีย้ งั ตอง เปนสังคมทีไ่ มทอดทิง้ ใครไวขา งหลัง มีความหวังเปนสังคมแหงความสมานฉันท และพอเพียง ดังนั้นจึงตองรวมกันสรางคนไทย 4.0 ใหคนไทยไดรับโอกาส ทางการศึกษาที่มีคุณภาพ เรียนแลวนําไปใชทํามาหากินและอยูในโลกใบนี้ได ไมใชเพียงรูแลวผลิตเองได แตตองแลกเปลี่ยนความรูกับคนอื่นดวย รวมถึง การมีสวัสดิการทางสังคมที่เหมาะสมตลอดชวงชีวิต” “ทุกวันนีค้ นไทยจํานวนมากเห็นแกตวั เอาแตได ถามองความเปนปจเจก ของแตละบุคคลจะมี 2 นัย คือ อยากมีตวั ตน แตกอ็ ยากอยูร ว มกันกับคนอืน่ ดวย เราตองใชความรูเปนพลังเปลี่ยนแปลงในทางบวก ใชประโยชนจากความรู

86


ของตนเองใหเกิดศักยภาพ รวมแลกเปลีย่ นความรูแ ละประสบการณ กับผูอื่นใหมากขึ้น นอกจากนี้ยังตองทําใหคนไทยอยูในตลาดโลก ใหได เปนคนไทยทีม่ คี วามภูมใิ จในตัวเอง แตกอ็ ยูใ นเวทีสากลได เราจึ ง ต อ งเริ่ ม ด ว ยการสร า งคน แล ว จึ ง ไปสู  ก ารทํ า มาหากิ น ทําอยางไรจึงจะเปนเกษตรกรสมัยใหมและเปนผูป ระกอบการดวย คนรุนใหมที่จะเปนสตารทอัพจึงตองแปลงความคิดเปนมูลคา ทางธุรกิจได สรางคน วิสาหกิจ โดยใชเทคโนโลยีและองคความรู” ดร.สุวิทย กลาว ขับเคลื่อนงานวิจัยสู่จุดหมายของประเทศ ด้วยเป้าหมายสําคัญ 4 ทิศทาง การทําวิจัยเพื่อขับเคลื่อนไปสูจุดหมายของประเทศตอง ปรับเปลี่ยนใน 4 ทิศทาง ทุกวันนีป้ ระเทศไทยยังติดอยูใ นบางกับดัก โจทยของรัฐบาล คือเราตองเดินหนาไปดวยกัน จึงตองมีการกระจายตัวของโอกาส รายได และอํานาจ จากกรุงเทพฯ ไปสูจังหวัดตางๆ เกิดกลุม จังหวัดและจังหวัดที่มีการกระจายความเจริญทั่วประเทศ ทําให เศรษฐกิจขยายตัว สามารถทํางานในถิ่นฐานบานเกิดไดโดยไม จําเปนตองเขามาทํางานในกรุงเทพฯ หรือเมืองใหญ ทั้งนี้ การทํา วิจัยเพื่อขับเคลื่อนไปสูจุดหมายของประเทศตองปรับเปลี่ยนใน 4 ทิศทาง คือ การสรางความเขมแข็งของเศรษฐกิจภายใน การ ผลิตสินคาเชิงนวัตกรรม การเนนทุนมนุษยและเทคโนโลยี และ การกระจายของความมั่งคั่งและโอกาส ดวยการพัฒนาที่สมดุล ตามหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียง มีรากแกวของตนเองและฉลาดพอ ที่จะรูวาอยูในระบบนิเวศที่สมดุลใน 4 มิติ ทั้งความมั่งคั่งทาง เศรษฐกิจ ความอยูดีมีสุขของผูคนในสังคม ศักยภาพและคุณคา ของมนุษย และการรักษสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนโจทยสําคัญและยาก จึงตองกลับมาคิดทบทวน นอกจากนี้การทําวิจัยจะตองมีตัวชี้วัด เราตองยกระดับคุณคามนุษยดว ยการพัฒนาคนไทยใหเปน มนุษยที่สมบูรณในศตวรรษที่ 21 ควบคูกับการเปนคนไทย 4.0 ในโลกทีห่ นึง่ ซึง่ เปนโจทยระดับนโยบาย โดยมี 5 วาระขับเคลือ่ น ประเทศไทย 4.0 ไดแก 1) การเตรียมคนไทย 4.0 สูโลกที่หนึ่ง 2) สรางวิสาหกิจที่ขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม 3) พัฒนาเกษตร อุตสาหกรรม และภาคบริการเปาหมาย 4) เสริมความเขมแข็ง เศรษฐกิ จ ภายในผ าน 18 กลุมจัง หวั ด และ 76 จั งหวัด และ 5) บูรณาการอาเซียนเชือ่ มไทยสูป ระชาคมโลก โดยสรางเมล็ดพันธุ ชุดใหมจากการปกชําสูรากแกว มีลําตนที่แข็งแรงสูการแผกิ่งกาน สาขา และเปนสวนหนึ่งของระบบนิเวศโลก ทุกภาคสวนจึงตอง ขับเคลื่อนดวยเทคโนโลยีที่ยืนอยูบนขาของตัวเองโดยการพัฒนา ของนักวิจัยในแตละสาขา

“ปนี้เปนปของการขับเคลื่อนในประเทศใหญๆ 3 เรื่อง คือ การปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตรและนโยบายรัฐบาล และความ สามัคคีปรองดอง เพื่อถอดรหัสประเทศไทย 4.0 เราจึงตองมี คณะกรรมการบริ ห ารราชการแผ น ดิ น ตามกรอบการปฏิ รู ป ประเทศยุทธศาสตรชาติและการสรางความสามัคคีปรองดอง เพื่อเปนคณะทํางานขับเคลื่อน ที่จะตองซอม เสริม สราง มีมิติ ของการวิจัยในสวนที่รักษาสถานภาพปจจุบันไปสูอนาคต และมี ตัวชี้วัดที่ชัดเจน ตัวอยางที่สําคัญ เชน การพัฒนาสมุนไพรไทย เปนยาระดับโลก ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออกเพื่อสรางแมเหล็ก ตั ว ใหม ที่ ดึ ง ดู ด การลงทุ น สร า งเมื อ งใหม แ ละสนามบิ น ใหม อุตสาหกรรมไฮเทค การวิจยั จากนีไ้ ปจึงตองมองทัง้ ระยะสัน้ และ ระยะยาว ในเชิงยุทธศาสตร เหมือนเหรียญที่ตองมีสองดาน คือ มีความมุงมั่น และรูจักปรับเปลี่ยนตามสภาพ” ดร.สุวิทย กลาว ยํ้านักวิจัยจะไม่อยู่บนหอคอยงาช้าง ต้องทํางานร่วมกับภาครัฐและภาคอุตสาหกรรม สําหรับประเด็นยุทธศาสตรและนโยบายระดับบัญชาการ 10 ประการ ไดแก เตรียมคนไทยสูศตวรรษที่ 21 สรางวิสาหกิจ ที่ขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม พัฒนาเกษตร อุตสาหกรรมและภาค บริการเปาหมาย เสริมความเขมแข็งผาน 18 กลุมจังหวัด และ 76 จังหวัด เชื่อมประเทศไทยสูประชาคมโลก กลไกการบริหาร จัดการ โครงสรางพื้นฐานทางกายภาพ โครงสรางพื้นฐานเชิง เครือขาย โครงสรางพื้นฐานทางปญญา และโครงสรางพื้นฐาน ทางสังคม ซึ่งทั้งหมดนี้ลวนทําเปนโจทยวิจัยได เราจะขับเคลื่อน ประเทศไทยไปขางหนาไดจําเปนตองมีโรดแมป ใชทั้งองคความรู ทีม่ อี ยูเ ดิมและการวิจยั เพือ่ สรางองคความรูใ นอนาคตใหสามารถ ตอบโจทย Thailand 4.0 และเตรียมคนไทยสูศตวรรษที่ 21 โดย การปฏิรปู การศึกษาเพือ่ เตรียมคนไทย สรางโปรแกรมพัฒนาทักษะ อาชีพ มาตรการสนับสนุนยุทธศาสตร Rell และ Reform 1.0-2.0 “ทุกเรือ่ งจะเปลีย่ นแปลงหรือไมอยูท นี่ กั วิจยั ตอไปนีน้ กั วิจยั จะไมอยูบนหอคอยงาชาง แตตองทํางานรวมกับรัฐบาลและภาค อุตสาหกรรม การวิจัยตองตอบโจทยการทํามาหากินและรายได ของประเทศ เนนการวิจั ยและพัฒนาไปสู เชิงพาณิชยมากขึ้น ขณะที่มหาวิทยาลัยตองมีความคมเพื่อตอบโจทยการเปนคนเกง ระดับโลก ทีส่ าํ คัญคือ แตละมหาวิทยาลัยตองบูรณาการจับมือกัน และไมผูกขาดการวิจัยในมหาวิทยาลัยเพียงอยางเดียว แตตองมี สวนรวมกับชุมชนในพื้นที่ กระจายอํานาจการวิจัยสูการสราง ศูนยรวมดานเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชวี ภาพ ดังนัน้ นักวิจยั ทุกคนจึงเปนแมทพั สําคัญในการขับเคลือ่ นประเทศไทยไปขางหนา ในทุกมิติ” ดร.สุวิทย กลาวสรุป

87

Engineering Today January- February 2017


Focus

รมว. วิทย์ฯ เยี่ยม สวทช.

ชูนโยบายเน้นงานวิจัยตอบโจทย์รัฐบาล สร้างอุตสาหกรรมไทยให้เข้มแข็ง รับ Thailand 4.0

ดร.อรรชกา สีบญ ุ เรือง รัฐมนตรีวา การกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี (วท.) และคณะ เข า เยี่ยมชมและรับฟง การ ดําเนินงานของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แหงชาติ (สวทช.) พรอมใหนโยบายเนนงานวิจยั ตอบโจทยรฐั บาล สนับสนุนนําการวิจัยและพัฒนาขับเคลื่อน Thailand 4.0 สราง ขีดความสามารถของอุตสาหกรรมไทยใหมีความเขมแข็งและ แขงขันไดในเวทีระดับโลก โดยมี ดร.ณรงค ศิรเิ ลิศวรกุล ผูอ าํ นวยการ สวทช. และคณะผูบ ริหาร ใหการตอนรับ ณ อุทยานวิทยาศาสตร ประเทศไทย จ.ปทุมธานี ดร.อรรชกา สีบญ ุ เรือง รัฐมนตรีวา การกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี กลาววา นโยบายกระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีตงั้ เปาหมายทีจ่ ะนําความตองการของภาคอุตสาหกรรม เปนตัวตั้ง ซึ่งหนวยงานในสังกัดกระทรวงฯ ควรที่จะตอยอดนํา งานวิจัยและพัฒนาไปใชเพื่อพัฒนาและสงเสริม ผูประกอบการ อีกทั้งใหตอบโจทยผูประกอบการเปนหลัก สิ่งที่ตองดําเนินการ โดยเรงดวนคือ การปฏิรูปการวิจัยและพัฒนาโดยการบูรณาการ ดานวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม ซึ่งกระทรวงฯ จะเปนเจาภาพ เรือ่ งนี้ นอกจากนัน้ แลวยังมีนโยบายสนับสนุนให สวทช. มีสว นชวย ส ง เสริ ม ให มี ก ารเรี ย นการสอนด า นวิ ท ยาศาสตร ใ นโรงเรี ย น โดยบู ร ณาการร ว มกับกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อ ให เยาวชนมี ความสนใจวิทยาศาสตรเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งยังเปนรากฐานในการ พัฒนาบุคลากรดานวิทยาศาสตรตั้งแตระดับพื้นฐาน เพื่อความ ยั่งยืนและการเติบโตของประเทศ ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล ผูอํานวยการสํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กลาววา สวทช. สนับสนุนและสงเสริมการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรมของประเทศ สําหรับตัวอยางความสําเร็จของการนําผลงานวิจยั ไปใชและทํางาน ร ว มกั น ในภาคเอกชน คื อ บริษั ท เอส พี เอ็ม ไซเอ็นซ จํ ากัด เริ่มตนทําธุรกิจอาหารสัตว ดวยทุนจดทะเบียน 20 ลานบาท หลังจากนัน้ ก็รว มวิจยั และพัฒนาโดยใชความรูจ ากศูนยพนั ธุกรรม

Engineering Today January- February 2017

88

และเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ (ไบโอเทค) สวทช. เขาไปพัฒนา โดยใชจุลินทรียในการตอยอดอาหารสัตว และพัฒนาปุยอินทรีย ตางๆ เกิด การตอยอดลงทุนเปด บริ ษัทใหมด  านโปรไบโอติก โดยปจจุบันการดําเนินธุรกิจไดรับผลสําเร็จเปนอยางมาก และ เปนอุตสาหกรรมที่ไดนําเทคโนโลยีขั้นสูงทางดานชีววิทยามา พัฒนาดานอาหารสัตว นอกจากนี้ยังมีการทํางานรวมกับธนาคารกรุงไทย ตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย เพือ่ สนับสนุนสตารทอัพและเอสเอ็มอี โดยตั้งกองทุนจํานวน 1,126 ลานบาท สวนของการบริหาร จัดการนัน้ จะมีกลไกในการดําเนินงานรวมกันตอไป อีกทัง้ สวทช. ยังไดทํางานรวมกับกระทรวงสาธารณสุข การวิจัยเครื่องชวยฟง จากที่ซื้อจากตางประเทศราคา 13,000 บาท เมื่อนํางานวิจัยไป ใชในการผลิต ราคาลดลงเหลือ 6,000 บาท ซึ่งเครื่องนี้ไดนําขึ้น บัญชีนวัตกรรมเพื่อใหภาครัฐ เชน สปสช. ซื้อและนํามาใชเพื่อให เกิดประโยชนสูงสุดตอผูพิการทางการไดยนิ ตอไป ดร.ณรงค กลาววา ดานการเกษตร สวทช. พัฒนาพันธุขาว ธัญสิรนิ หรือทีเ่ รียกวา “กข.6 ตานทานโรคไหม” ดวยการปรับปรุง พันธุใ หลาํ ตนแข็งแรง คุณภาพดีกวาขาว กข.6 พันธุป กติ หุงแลว หอมนุม เมือ่ ป 2557-2558 มีเกษตรกรมากกวา 1,700 ครัวเรือน นําไปปลูกในพืน้ ทีก่ วา 6,000 ไร และมีผลผลิตมากกวา 45,000 ตันแลว สรางรายไดใหชุมชนปละ 1,000 ลานบาท นอกจากนี้ ยังมีพันธุขาวหอมชลสิทธิ์ พันธุทนนํ้าทวมฉับพลัน ทนนํ้าทวม แบบมิดตนขาวไดนาน 2-3 สัปดาห ใหผลผลิต 800 กิโลกรัม ตอไร ในป 2557-2558 เกษตรกรกวา 500 ครัวเรือน นําไป ปลูกในพื้นที่ 4,000 ไร ไดผลผลิตกวา 29,000 ตัน สรางรายได มากกวา 700 ลานบาท เปนตน ในสวนของสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ซึ่งเปนหนวยงานภายใต สวทช. นั้น จะมีการรวบรวม องค ค วามรู  ที่ มี ใ นหน ว ยงานวิ จั ย มหาวิ ท ยาลั ย ไปพั ฒนาภาค การเกษตร ทีผ่ า นมาไดนาํ เทคโนโลยีสารชีวภัณฑ เชน ราบิวเวอเรีย ไปใชทดแทนสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืช เทคโนโลยีการแปรรูป การปรับปรุงดิน รวมทั้งเครื่องจักรกลการเกษตร อีกทั้งมีการ ทํางานรวมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงมหาดไทย ในการนําเทคโนโลยีไปใชใหเกิดประโยชนดวยกลไกของธนาคาร เพือ่ การเกษตรและสหกรณ (ธกส.) เพือ่ นําเทคโนโลยีเหลานีไ้ ปใช ประโยชนตอชุมชนชนบทไดอยางสูงสุด ในโอกาสนี้ รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรฯ ได เยีย่ มชมนิทรรศการผลงานวิจยั และพัฒนาของ สวทช. ศูนยทดสอบ ผลิตภัณฑไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส (PTEC) โรงเรือนทดลอง มาตรฐานความปลอดภัยทางชีวภาพ โดรน สําหรับการฉีดพนยา และปุยในพื้นที่เกษตร เพื่อทดแทนแรงงานคนและประหยัดเวลา หุนยนตเกษตร (FarmBot) ทางเลือกของเกษตรกรรุนใหมในยุค ที่แรงงานขาดแคลน ซึ่งชวยประหยัดเวลา คาใชจาย ไมเกี่ยงเรื่อง เวลาทํางาน ทํางานไดทุกพื้นที่ ทุกเวลา ทั้งระบบอัตโนมัติและ แบบควบคุม, Netpie, สถาบันเทคโนโลยีคนพิการและผูสูงอายุ


Focus

PTG ส่ง อินโนเทค กรีน เอ็นเนอยี จับมือ ซัปโปโร โฮลดิ้ง ใช้เทคโนโลยีผลิตเอทานอล จากกากมันสําปะหลัง เพิ่มมูลคาของเหลือใชใหสูงขึ้น

พี​ีทีจี เอ็​็นเนอยี​ี สง ““อิ​ินโโนเทค กรี​ีน เอ็​็นเนอยี​ี” บริ​ิษัท รวมทุนลงนามกับ ซัปโปโร โฮลดิ้ง เพื่อใชเทคโนโลยีการผลิต เอทานอลจากกากมั น สํ า ปะหลั ง เดิ น หน า ผลิ ต เอทานอล ปอนตลาด พิทักษ รัชกิจประการ ประธานเจาหนาที่บริหาร และ กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จํากัด (มหาชน) หรือ PTG กลาววา บริษทั อินโนเทค กรีน เอ็นเนอยี จํากัด ซึง่ เปน บริษทั รวมทุนระหวางพีทจี ี เพือ่ ประกอบกิจการผลิตและจําหนาย เอทานอล นํ้ามันเชื้อเพลิงชีวภาพจากกากมันสําปะหลัง หรือแปง หรือผลิตภัณฑอนื่ ทีเ่ กีย่ วกับแปง โดยมีมลู คาลงทุน 1,500 ลานบาท ไดเขาลงนามขอตกลงการใชเทคโนโลยีการผลิตเอทานอลจาก กากมันสําปะหลังกับบริษัท ซัปโปโร โฮลดิ้ง จํากัด โดยเทคโนโลยี ดังกลาวเปนการยอยแปงที่เหลือในกากมันสําปะหลังใหสามารถ นํามาผลิตเปนนํา้ ตาล และเขาสูก ระบวนการหมักใหเปนเอทานอล ซึ่งเปนการเพิ่มมูลคาของเหลือใชใหสูงขึ้น “เรามีความยินดีทเี่ ปนสวนหนึง่ ในการนํานวัตกรรมดังกลาว มาใชในการผลิตเอทานอล และขอขอบคุณสํานักงานนวัตกรรม แหงชาติ (องคการมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (NIA) องคการพัฒนาพลังงานใหม และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประเทศญี่ปุน (NEDO) บริษัท เอี่ยมบูรพา จํากัด บริษัท ซัปโปโร โฮลดิ้ง จํากัด รวมถึงทุกหนวยงานที่เกี่ยวของ ที่รวมกันวิจัยและ พัฒนาเทคโนโลยีนี้ เพราะเทคโนโลยีนี้จะเปนสวนสําคัญในการ ยกระดับมาตรฐานการผลิตเอทานอลของประเทศไทย สามารถ นําสิง่ ทีเ่ หลือใชแลวมาทําใหเกิดประโยชนมากยิง่ ขึน้ และคนไทยจะได ใชพลังงานสะอาดที่มีประสิทธิภาพ ในราคาที่ถูกลง เพื่อการใช พลังงานทดแทนอยางยั่งยืนตอไป” พิทักษ กลาว

ดาน สมศักดิ์ หวังศุภกิจโกศล ประธาน กรรมการ บริษัท เอี่ยมบูรพา จํากัด ผูผลิตแปง มันสําปะหลัง (Cassava Starch) มีกาํ ลังการผลิต รวมกับบริษัทในเครือญาติทั้งหมด คิดเปน 30% ของกําลังการผลิตแปงมันของประเทศไทย กลาว ขอบคุณสํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (NIA) ที่ได นําโครงการนี้มาทําการวิจัยและพัฒนาในพื้นที่ ของบริษทั ดวยความรวมมือจากหลายๆ หนวยงาน ทัง้ องคการ NEDO ซัปโปโร และอิวาตะ เคมิคอล ตลอดจนหน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ ง และหวั ง เป น อยางยิ่งวาโครงการนี้จะเกิดประโยชนสูงสุดแก กลุมอุตสาหกรรมมันสําปะหลัง ในดานการเพิ่มศักยภาพการ จัดการวัสดุเหลือใชในโรงงานอุตสาหกรรมใหมีมูลคาเพิ่มมากขึ้น และยังจะสงผลถึงกลุมเกษตรกร ทําใหมีความมั่นคงดานการ เกษตรกรรม และเศรษฐกิจของประเทศ เกิดการสรางงาน สราง อาชีพแกเกษตรกรตอไป ดร.จูนจิ วาตาริ Managing Director, Group Research and Development Division บริษัท ซัปโปโร โฮลดิ้ง จํากัด กลาววา การมีพลังงานใชอยางพอเพียงนั้นถือเปนเรื่องที่สําคัญ สําหรับเศรษฐกิจไทยที่มีการเติบโตอยางมากในชวงที่ผานมา พวกเราในฐานะผูครํ่าหวอดในวงการแปรรูปผลิตภัณฑอาหาร ของประเทศญีป่ นุ มีความยินดีเปนอยางยิง่ ทีไ่ ดมโี อกาสนําความรู เทคโนโลยีและภูมิปญญาที่เราสั่งสมมาเปนเวลานาน มาใชชวย สนับสนุนการหมักกากมันสําปะหลังเพือ่ ผลิตเปนไบโอเอทานอล เพื่อชวยใหประเทศไทยสามารถผลิตพลังงานที่เพียงพอสําหรับ การเติบโตทางเศรษฐกิจไดอยางยั่งยืน มร.มูนฮิ โิ กะ ซึชยิ ะ Executive Director องคการพลังงาน ใหมและเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม ประเทศญีป่ นุ กลาววา พันธกิจ หลั ก อั น หนึ่ ง ของ NEDO คื อ การแก ไ ขป ญ หาพลั ง งานและ สิ่งแวดลอมใหกับประเทศตางๆ ทั่วโลก โครงการในครั้งนี้ถือเปน อีกหนึ่งความสําเร็จในการนําเทคโนโลยีของบริษัท Sapporo Breweries และบริษทั Iwata Chemical มาใชชว ยใหการหมักกาก มันสําปะหลังเพือ่ ผลิตเปนไบโอเอทานอลไดอยางมีประสิทธิภาพ และดวยวิธีการผลิตพลังงานเชนนี้ ทําใหเราสามารถใชประโยชน จากกากมันสําปะหลัง ซึ่งเปนของเสียทางชีวภาพไดอยางเต็มที่ ในขณะเดียวกันก็ยงั ชวยลดการใชถา นหิน ซึง่ ใชในการผลิตพลังงาน ไดอีกดวย จึงถือเปนอีกหนึ่งโมเดลที่ดีเยี่ยมสําหรับการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศไทยไดอยางยั่งยืน

89

Engineering Today January- February 2017



¤ i o f

k b w ¥hl ¦ z h |Ã b v Ï ¡x h e z zÌ z e { x i b e |bv { x

2)9 +2): < #+8D(

Corporaeter b Mem +9 D#ć: 1čF-

'+ = +8 9 2ĉ 3!9 2?5 E-8 ĉ:

vË k b

k b Ë |Ã 1,260.- { x k b Ë | 2,520.- { x ï w |Ã b v Ï¡x eË ò |Ã e 1,100.- { x |Ã e 2,200.- { x ï w |Ã b v Ï¡x eË ò

¢pÏ ªl

g p £z y|| { e jz Íj p £z ex m z d j z

x xÏ

OK x

ó D8@C D<D9<I K<:?EFCF>PD<;@8 :F K? NNN K<:?EFCF>PD<;@8 :F K?


INDEX January ADVERTISING - February 2017

Engineering Today

ïøĉÞĆÏ

Ä“ÏøýĆóÏŤ

Ä“Ïøÿćø

ĂŞÄžÄ‡Ä’Ä€ĂŽĹ ĂœÄ€ĂŽĹĄÄ‡

Website/E-mail

Asean Sustainable Energy Week

0-2642-6911

-

98

www.asew-expo.com

Intermach

0-2642-6911

-

6

www.intermachshow.com

Orion Investigations Co., Ltd.

0-2714-3801-3

0-2714-3804

5

www.orioninv.co.th

Seta

-

-

97

www.seta.asia.com

5IBJMBOE &OFSHZ &GĹłDJFODZ 8FFL

-

-

70

XXX UIBJMBOEFOFSHZFGĹłDJFODZXFFL DPN

Thailand Industrial Fair

0-2967-9999

0-2937-3311

43

www.thailandindustrialfair.com

VEGA Instruments Co.,Ltd.

0-2694-2400

0-2694-2404

3

www.vega.com

Ă–Ä?úíøĂĉÎđêĂøŤÄ‘ĂŽĂ&#x;ĆęÎĒÎú ĂŻĂ?Ă–

0-2282-5775-8

0-2281-0009

15

www.kulthorn.com

Ä‘Ă?øĉâÄ‘ĂśÄŒÄ‚ĂœÄ’ĂśĂ&#x;Ă&#x;ÄŠĂŽÄ‘ĂŽÄ‚øÄŠÄ™ ĂŻĂ?Ă–

0-2280-8431-5

0-2280-8033-5

11

www.crm.co.th, E-mail:info@crm.co.th

Ä‘ï፠ÙĂøŤðÄ‚Ä‘øĂ&#x;ĆęÎ ĂŻĂ?Ă–

0-2926-0111

0-2926-0123-4

ðÖĀÎťćĔÎ

đßĂøŤÏĆÿ ĂŻĂ?Ă–

0-2876-2727

0-2476-1711

7

-

-

Ă°Ă–Ä€ĂşÄ†Ăœ

ĂĉÎđêĂøŤúÄ‰ĂœĂ™Ť ÙĂÜÜĉßÎĉđÙĂ&#x;ĆęÎ ĂŻĂśĂ?

0-2693-1222

0-2693-1399

9

www.interlink.co.th E-mail:info@interlink.co.th

Ä‚ÄŠĂłÄŠÄ‘Ä‚Ä˜Üà ÄŠ ĂŻĂ?Ă–

0-2322-4330-3

0-2720-5155

4

www.epmc.co.th

Ä‘Ä‚Ăż Ä‘Ä‚ ßĊ đÜÙÙćÎĉÙÙĂúđà ĂøŤßĉÿ Ä’Ä‚ÎÊŤ à ĆóóúćáÿŤ Ä€Ă?Ă–

0-2702-8801, 0-2702-0581-8

0-2395-1002

34

E-mail:savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com

Ä•Ä‚Ä’Ă Ă™ ÜćøŤÄ‘Ă–Ä˜ĂŞĂŞÄ‰ÄšĂœ ĂŻĂ?Ă–

0-2735-0581

0-2377-5937

90

XXX êĎťÿć×ć DPN XXX Ä•Ă´Ä‚øćÜ DPN

ÿÍćïĆÎßĉĂ?ĆáÄ’ĂżĂœĂ Ä‰ĂŽÄ“Ă™øêøÄ‚ĂŽ Ä‚ĂœĂ™ŤĂ–ćøÜĀćĂ&#x;ĂŽ

Engineering Today January- February 2017

92

www.bay-corporation.com E-mail:sales@bay-corporation.com www.virtus.co.th E-mail:welcome@virtus.co.th www.slri.or.th


Activities >> PEA ENCOM จับมือ กรอ. และฟ้าชัยวิศวกรรม จัดสัมมนาเรื่อง “อุตสาหกรรมไทย ก้าวไกลด้วยพลังงานสะอาด พล.อ.พงษศิริ เศวตเศรนี (กลาง) อดีตผูอํานวยการศูนยการอุตสาหกรรม ปองกันประเทศและพลังงานทหาร สํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เปนประธาน ในพิธีเปดงานสัมมนาเชิงวิชาการเรื่อง “อุตสาหกรรมไทย กาวไกลดวยพลังงาน สะอาด (Moving Thai Industry Beyond Others by Clean Energy)” ซึ่ง บริษัท พีอีเอ เอ็นคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด หรือ PEA ENCOM ซึ่งเปนบริษัท ในเครือของการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) รวมกับ กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม จัดขึ้น โดยมี พัลลภ ภิญโญวิวัฒน (ที่ 3 จากขวา) รักษาการ กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท พีอีเอ เอ็นคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด และ โชติทิวัตถ จิรภัทรพุฒิธนา (ที่ 3 จากซาย) กรรมการผูจัดการบริหาร บริษัท ฟาชัย วิศวกรรม จํากัด พันธมิตรทางธุรกิจ รวมใหการตอนรับ ณ หองแซฟไฟร อิมแพคฟอรัม่ เมืองทองธานี

>> แซง-โกแบ็ง ประเทศไทย คว้ารางวัลบริษัทผู้ว่าจ้าง ยอดเยี่ยมแห่งประเทศไทย ประจําปี 2017 บุษยา เนศรกําพล ผูจัดการฝายทรัพยากรบุคคล กลุมบริษัทแซง-โกแบ็ง ประเทศไทย พรอมดวย จินหัว โกห ผูเ ชีย่ วชาญอาวุโสฝายทรัพยากรบุคคล กลุม บริษทั แซง-โกแบ็ง ประเทศเกาหลี แอนโทนี ชอง รองประธานบริหารฝายทรัพยากร บุคคล กลุม บริษทั แซง-โกแบ็ง เอเชียแปซิฟก และผูบ ริหารจากกลุม บริษทั แซง-โกแบ็ง ประเทศตางๆ รวมถายรูปเปนที่ระลึก ในโอกาสที่ แซง-โกแบ็ง ประเทศไทย ควา รางวัล บริษัทผูวาจางยอดเยี่ยมแหงประเทศไทย ประจําป 2017 ในงานประกาศ ผลรางวัล “Top Employers Asia Pacific 2017” จัดขึ้นโดยสถาบัน Top Employers Institute ณ ประเทศสิงคโปร

>> “ออลล์ อินสไปร์” ดัน ไรส์ พระราม 9 เปิดตลาด เอเชียตะวันออก ตอกยํ้าอสังหาฯ หน้าใหม่มาแรง ธนากร ธนวริทธิ์ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั ออลล อินสไปร ดีเวลลอป เมนท จํากัด (มหาชน) นําโครงการ ไรส พระราม 9 The Metro Co-Living Space มูลคากวา 1,300 ลานบาท ไปจัดโรดโชวทไี่ ตหวัน-ฮองกง ดวยทําเลการเจริญเติบโตสูง อยางถนนพระราม 9 รวมถึงรูปแบบอาคารโดดเดน และแนวคิดคอนเซ็ปตทแี่ ตกตาง สงผลใหโครงการเปนทีส่ นใจและไดรบั การตอบรับเปนอยางดี โดยกลุม ลูกคาใหความ สนใจ สงผลใหกระแสตอบรับดีมากในครั้งนี้ สวนใหญมองวาตลาดการลงทุน อสังหาริมทรัพยในไทยไดผลตอบแทนจากคาเชา 5-7% ซึง่ มากกวาการลงทุนประเภท อืน่ ในป 2560 บริษทั ฯ ยังมีแผนเปดตลาดกลุม ลูกคาโซนเอเชียอยางตอเนือ่ ง

>> มจธ. จับมือโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ร่วมกันพัฒนาเทคโนโลยี Big Data & Smart Healthcare รศ. ดร.ศักรินทร ภูมิรัตน อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี (มจธ.) และ ศ. นพ.นิธิ มหานนท เลขาธิการราชวิทยาลัยจุฬาภรณ พรอมดวย คณะแพทย อาจารย นักวิจัย จาก มจธ. และโรงพยาบาลจุฬาภรณ ถายภาพรวมกัน ภายหลังการประชุมเพือ่ หารือความรวมมือเทคโนโลยี Big Data & Smart Healthcare พรอมทั้งเยี่ยมชม Big Data Experience Center หรือ BX ณ อาคารเคเอกซ (KX) มจธ. เพือ่ ตกผลึกการวิจยั รวมกันในหลากหลายมิตทิ เี่ กีย่ วของกับ Smart Healthcare เพื่อนําไปสูการพัฒนาองคความรูและนวัตกรรมในรูปแบบตางๆ ใหเกิดขึ้นในวงการ แพทยประเทศไทยที่จะเปนประโยชนกับสาธารณชนอยางแทจริงตอไปในอนาคต

>> เอ็นทีที คอมมิวนิเคชัน่ ส์ รับมอบมาตรฐาน ISO/IEC 27001 : 2013 ด้านระบบจัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ มร.มานาบุ คาฮาระ ประธานบริษทั เอ็นทีที คอมมิวนิเคชัน่ ส (ประเทศไทย) ในฐานะผูนําการใหบริการศูนยขอมูล (Data Center) ไดรับมอบมาตรฐาน ISO/IEC 27001 : 2013 ดานระบบจัดการความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ ในการให บริการที่สุดของความสมบูรณแบบแหงนวัตกรรม “ศูนยขอมูล” Bangkok 2 Data Center ภายใตชอื่ “NexcenterTM จาก สุเมธ หุตนิ ทรวงศ ผูจ ดั การฝายการพาณิชย บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟเคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด ณ สํานักงานใหญ บริษัท บูโร เวอริทัส เซอทิฟเคชั่น (ประเทศไทย) ถ.เพชรบุรีตัดใหม เมื่อเร็วๆ นี้

93

Engineering Today January- February 2017


>> อาเซียนรวมพลังแลกเปลี่ยนมาตรการแก้ปัญหาการจัดการนํ้า สู่ความมั่นคงด้านนํ้า พลังงาน และอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย กรมชลประทาน กรมทรัพยากรนํ้า กรมทรัพยากร นํา้ บาดาล สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) สมาคมนักอุทกวิทยาไทย และ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) รวมกัน จัดงานประชุมระดับนานาชาติเรื่อง “การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการ จัดการนํ้า สูความมั่นคงดานนํ้า พลังงาน และอาหาร” (THA 2017 International Conference on Water Management and Climate Change Towards Asia’s Water-Energy-Food Nexus) เพื่อสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตอการจัดการทรัพยากรนํ้า และแนวทางการแก ปญหาแบบบูรณาการทีพ่ จิ ารณาถึงความเชือ่ มโยงระหวางความมัน่ คงดานนํา้ พลังงาน อาหาร ณ โรงแรมสวิสโฮเต็ล เลอ คอง คอรด กรุงเทพฯ

>> บีไอจี คว้ารางวัล Thailand Energy Award 2016 ด้านอนุรักษ์พลังงาน ประเภทขนส่ง ชัยวัฒน นิยมการ ทีป่ รึกษาอาวุโส บริษทั บางกอกอินดัสเทรียลแกส จํากัด หรือ บีไอจี รับมอบรางวัลดีเดน Thailand Energy Award 2016 ดานอนุรักษ พลังงาน ประเภทขนสง ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน จาก พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ นับเปนผูนํานวัตกรรมกาซอุตสาหกรรมรายแรกและ รายเดียวในประเทศไทยที่ไดรับรางวัลนี้

>> โฮบาร์ท โชว์นวัตกรรมช่วยลดปัญหาขยะอาหารแบบยั่งยืน ในงานประชุมวิชาการเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 28 วิวัฒน วงศพิวัฒน (ที่ 2 จากซาย) ผูจัดการทั่วไป โฮบารท (HOBART) ประเทศไทยและอินโดไชนา (CLMV) ใหการตอนรับ ดร.ประเสริฐ ตปนียางกูร (ที่ 3 จากขวา) นายก สวสท. อุปนายกสภาวิศวกรและคณะกรรมการสิ่งแวดลอม แหงชาติ พรอมผูทรงคุณวุฒิดานเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม ในโอกาสเขาเยี่ยมชม นวัตกรรมระบบการจัดการปญหาขยะอาหารดวยเครื่องบด-อบขยะอาหาร โซแมท (SOMAT Dehydrator) นวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดลอม ที่สามารถลดปญหา ขยะอาหารแบบยั่งยืนดวยกระบวนการขจัด ณ จุดกําเนิด โดยการแปรสภาพจาก ขยะอาหารเปนผงธุลี (ดิน) ในชั่วขามคืน ที่ใชแพรหลายในสหรัฐอเมริกา ภายใน งาน ประชุมวิชาการเทคโนโลยีสิ่งแวดลอมประจําป ครั้งที่ 28 ณ หองมิ่งเมือง ชั้น 4 โรงแรมเดอะทวิน ทาวเวอร ปทุมวัน

>> 50 ปี ดาว ประเทศไทย ติดตั้งเครื่องกรองนํ้าดื่ม ใน 50 โรงเรียนทุรกันดาร ถวายเป็นพระราชกุศลแด่รัชกาลที่ 9 กลุมบริษัท ดาว ประเทศไทย โดย จิรศักดิ์ สิงหมณีชัย (ที่ 5 จากซาย) กรรมการผูจัดการ เปน ผูแทนบริษัท ดาว เคมิคอล มอบเงินจํานวน 122,000 ดอลลารสหรัฐฯ หรือประมาณ 4,300,000 บาท ใหกบั พลโทนายแพทย อํานาจ บาลี (ที่ 6 จากซาย) ผูอํานวยการสํานักงานบรรเทาทุกขและประชานามัยพิทักษ สภากาชาดไทย เพือ่ ดําเนินโครงการ “นํา้ ดืม่ สะอาด ดาว เพือ่ โรงเรียนในถิน่ ทุรกันดาร” รวมกันทําความดีตามรอยเบื้องพระยุคลบาท ถวายเปนพระราชกุศลแดพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในโอกาสที่กลุมบริษัท ดาว ประเทศไทย ครบรอบ 50 ป โดยบริษัทฯ จะดําเนินการติดตั้งเครื่องกรองนํ้าดื่มใหแกโรงเรียน ในถิ่นทุรกันดาร 50 แหงทั่วประเทศ ในระหวางป 2560-2561

>> ฟูจิ ซีร็อกซ์ เอเชียแปซิฟิก รับรางวัล Best Green Company of the Year ประจําปี 2016 เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ เอเชียแปซิฟก ไดรับรางวัล Best Green Company of the Year ประจําป 2016 จาก The Asia Corporate Excellence & Sustainability Awards หรือ ACES Awards ซึง่ จัดลําดับสุดยอดผูน าํ และองคกร ในเอเชียที่มีความรับผิดชอบตอสังคม โดยรางวัลที่ฟูจิ ซีร็อกซฯ ไดรับแสดงใหเห็นถึง ความมุง มัน่ ทีจ่ ะลดผลกระทบตอสิง่ แวดลอมในทุกขัน้ ตอนของวงจรผลิตภัณฑและทุก กระบวนการ โดยการปลูกฝงคานิยมใหกบั บุคลากรทุกระดับใหตระหนักถึงการดําเนินงาน ดานอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และพยายามที่จะเปนแบบอยางใหกับ ลูกคา คูค า และผูถ อื หุน ใหดาํ เนินธุรกิจดวยกิจกรรมทีก่ อ ใหเกิดการพัฒนาอยางยัง่ ยืน

Engineering Today January- February 2017

94


BUYER’S B BU UYER’S G GUIDE UID DE DE SANY ANY เปดตวรถขุ เปิดตั ดตัวรถขดไฮดรอลิ รถขุดไฮดรอลก ไฮดรอลิก ร่รุน่ SY 135C ประหยั ประหยดนามน ดนํ้ามัน ลดการใช้ ลดการใชพลงงาน พลังงงาน บริษทั ซานี่ ไทยยนต ยน จํากักด เปดตัว รถขุ ถขุดไฮดรอลิ ไฮดรอลก ฮดรอลิลิก รุน SY 135C 13 ประหยั ประห ดั นํา้ มัมนน ลดการ ลดกา ใชชพลงงาน พลังงาน ดดวยเครองยนต วยเครื่องยนต ISUZU รรุน 4BG1-TABGA ประสิทธิภาพการใชนํ้ามันเชื้อเพลิ 4BG1 TABGA ได ไดประสทธภาพการใชนามนเชอ เพลง สูงสุด เลือกโหมดการทํ หมดการทํางา งานไดถงึ 4 ระ ระดับ Heavy Duty (H) (H), Standard Duty (S), (S Light Duty (L) และเพิม่ ระบบบ Brake Duty Mode (B) เมือ่ ใชคกู บั อปกรณ อุปกรณขดเจาะ ดุ เจาะ สวนความดังเสียงเครือ่ งยนต ลดลง ผานมาตรฐานการควบคุมมลพิษ และไดรับการรับรองมาตรฐานการควบคุมมลพิษจาก EPA Tier 2 และ EU Tier 2 อีกทัง้ อุปกรณแขนขุด บูม และอารม ออกแบบใหเพิม่ ประสิทธิภาพ เสริมความแข็งแรงสําหรับงานหนัก เพิ่มกําลังการขุดใหมากขึ้น ระยะขุดลึกสุด 5.5 เมตร รองรับ การทํางานหนักไดเปนอยางดี ระบบการเคลื่อนตัว ควบคุมดวยระบบไฮดรอลิกจากนวัตกรรมที่ทันสมัย ที่สําคัญมีหองควบคุมกวาง ที่นั่งสบาย ลดแรงกระแทกจากการ ทํางาน ทัศนวิสัยกวางดวยกระจกบานใหญมองเห็นไดรอบทิศทาง มีระบบแจงเตือนเมื่อเกิดความผิดปกติภายในหองเครื่องยนต และสัญญาณเตือน เมื่อถึงรอบการบํารุงรักษาเครื่องยนต สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดท่ี บริษัท ซานี่ ไทยยนต จํากัด โทรศัพท 02-996-6100 หรือ E-mail : sales@sanythaiyont.com

ปูนฉาบอิฐมวลเบา แบรนด์ “ลูกดิ่ง” บริษัท ควิกโคท โปรดักส จํากัด ผูผลิตและจําหนายปูนฉาบอิฐมวลเบาตราลูกดิ่ง แนะนํา ปูนฉาบอิฐมวลเบา แบรนด “ลูกดิ่ง” ที่แตกตางจากปูนฉาบทั่วๆ ไป คือ เปนปูนผสมเบสเม็ดทรายที่มี ความละเอียด ทําใหผิวฉาบเรียบเนียนกวาปูนเบสหินของยี่หออื่นๆ มีแรงยึดเกาะผสานกันดี ลดการ แตกราวดวยการเสริมเสนใย SPECIAL POLYESTER นําเขาจากตางประเทศ ชวยประสานโครงสราง เนื้อปูนฉาบ เพิ่มแรงยึดเกาะและรับแรงไดมากกวา ลดปญหาแตกราวไดดียิ่งขึ้น มีสารกันความรอนชนิด พิเศษ นํา้ หนักเบา ฟูตวั เพือ่ ใหไดคณ ุ ภาพงานฉาบทีด่ ขี นึ้ และใชงานงายกวาปูนฉาบทัว่ ไป เพิม่ สารอุม นํา้ ปองกันการสูญเสียนํ้า ทําใหเหนียวลื่นฉาบงาย และลดปญหาการหลุดลอนแตกราวของปูนเนื่องจากการ สะสมความรอนจากแสงแดดไดดีกวา

ฮันนี่เวลล์ เปิดตัวเครื่องมือตรวจวัดก๊าซ 4 ประเภท แบบพกพารุ่นใหม่ ใช้งานต่อเนื่องยาว 2 ปีเต็ม ฮันนี่เวลล เปดตัว “บีดับเบิลยู คลิป 4 (BW Clip 4)” เครื่องมือตรวจวัดกาซ 4 ประเภท แบบ พกพารุน ใหม ซึง่ เมือ่ เปดใชงานแลวสามารถทํางานตอเนือ่ งยาวนาน 2 ปเต็ม โดยไมตอ งเปลีย่ นเซ็นเซอร หรือชารจแบตเตอรี่ ทั้งยังชวยยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติตามความปลอดภัย เหมาะสําหรับใชงาน ในอุตสาหกรรมนํา้ มันและกาซ นํา้ เสีย อุตสาหกรรมหนัก พืน้ ทีอ่ บั อากาศ และงานดานอืน่ ๆ อุปกรณนี้ ไมจําเปนตองมีการซอมแซม และไมจําเปนตองสํารองเซ็นเซอรและชิ้นสวนอะไหลเพิ่มเติม จึงชวยลด ตนทุนดานการบํารุงรักษาลงอยางมาก เนื่องจาก บีดับเบิลยู คลิป 4 สามารถทํางานไดตลอดเวลา จึงมีสวนชวยเรื่องการปฏิบัติตาม กฎระเบียบดานความปลอดภัยในการทํางาน เพราะชวยใหมั่นใจไดวา พนักงานที่ใชอุปกรณดังกลาว จะไดดรับการปกปองดวยการใชเทคโนโลยีการวัดคากาซดวยรังสีอินฟราเรด ซึ่งกอนหนานี้มีเฉพาะใน เครื งตรวจวัวัดกาซแบบติ ดตัง้ กับที เค ่อองตร แบ ตดตั บที่ขี องฮันนี นนี่เวลล ลล ออนาไลติ าไล กส บีดับบเบิ เบิลยู คลิป 4 ใชชพพลังั งานแบตเตอรี งานแ ตเต ่ นอยกวาเซ็นเซอรชนิ​ิดคาทาไลติ ไ ิก บี​ีด (Pellistor) ซึ่ึงเปปนเทคโนโลยี โ โ ีแบบดั้ังเดิ​ิมที่ีใชในการตรวจวั นการ นการตรวจ ัด กาซไวไฟในอุปกรณพกพาถึ​ึง 1,000 เทา สนใจข นใจขอมูลเพิ​ิ่มเติ​ิม สามารถไปที ไป ี่ http://www.honeywellanalytics.com/en/products/BW-C http://www.honeywellanalytics.com/en/products/BW-Clip4

95

Engineering Today January- February 2017


BUYER’S GUIDE Razer เผยโฉมแล็ ผยโฉมแล็ปท็อปดีไซน์เหนือชั้นด้วยระบบ 3 หหน้าจอ แบบพกพาเครื พาเครื่องแรกของโลก งแรกของโ Razer azer ผูนําดานอุปกรณเชื่อมตอและซอฟตแวรสําหรับเกมเม เกมเมอร เปดตัว Project Pro ect Valerie แล็ปท็อปแบบพกพาเครือ่ งแรกของโลกทีม่ าพรอมกับหนาจอบิวทอนิ ถึง 3 จอ แตละจอมีขนาด 17.3 นิ้ว โดยหนาจอ IGZO มีความละเอียดระดับ 4k ดวย เทคโนโลยี NVIDIA G-SYNC™ ที่สามารถสรางอัตราเร็วของเฟรมภาพ (Framerates) ทีลื่ล่นื ไหล ไหลทีที่สี ดุ และมอบมมมองการเล และมอบมุมมองการเลนเกมรอบ เกมรอบทิทิศิ ทาง 18 180 องศาดวยระบบ NVIDIA Surround View มีความแมนยําดานสีสันถึง 100 เปอรเซ็นต และหนาจอที่มีขนาดกวางที่สุดที่เคยมีมา Project Valerie ใชกลไกการทํางานแบบอัตโนมัติ ซึ่งออกแบบโดย Razer แตละหนาจอจะมีกลไกสไลดออกดานขางจากหนาจอหลักและปรับระดับใหเหมาะสม ทําใหผูใชสามารถใชงานไดอยางงายดาย ระบบการรองรับหนาจอหลายจอ สรางพื้นที่การทํางานและเลนเกมที่สะดวกและงายในการดูแลรักษา ตัวบอดี้ผลิตดวยโครงอะลูมิเนียม CNC แบบยูนิบอดี้ที่หนาเพียง 1.5 นิ้ว และมีนํ้าหนักนอยกวา 5.4 กิโลกรัม AC อะแดปเตอรมีขนาด กะทัดรัดกวาเมื่อเทียบกับระบบที่มีพลังและประสิทธิภาพใกลเคียงกัน ชวยใหการพกพาและการใชงาน Project Valerie มีความสมบูรณยิ่งขึ้น และ มีระบบระบายความรอนที่ยอดเยี่ยม นอกจากนี้ยังใชเทคโนโลยี NVIDIA GeForce GTX 1080 ทําให Project Valerie เปนหนึ่งในอุปกรณที่ เพียบพรอมในการเติมเต็มประสบการณ VR เสมือนจริงแกผูที่ชื่นชอบและนักพัฒนา เครื่องทํานํ้าอุ่นสตีเบล เอลทรอน เทคโนโลยีสุดลํ้า มาพร้อมนวัตกรรมจอ LCD ทัชสกรีน สตีเบล เอลทรอน ผูนําดานเครื่องทํานํ้าอุนนํ้ารอนจากเยอรมนี เตรียมเปดตัว เครื่องทํานํ้าอุน รุนใหมลาสุดในซีรี่ส WL ที่มาพรอมจอ LCD ทัชสกรีนที่ผสานเทคโนโลยีขั้นสูง ตอกยํ้าความเปนผูนํา ของวิศวกรรมเยอรมนีในดานเทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่ครอบคลุมครบทั้งดานความปลอดภัย คุณภาพ และไดมาตรฐาน อีกทั้งยังมีฟงกชันความปลอดภัยสําหรับเด็ก และวงจรเบรกเกอรตัดไฟฟา เพื่อเสริม ความปลอดภัยอีกหนึ่งขั้น โดย ซีรสี  WL นับเปนเครือ่ งทํานํา้ อุน ของสตีเบล เอลทรอนรุน แรก ทีป่ ฏิวตั วิ งการโดยนําจอทัชสกรีน มาใช เพื่อใหชวงเวลาอาบนํ้าเปนสวนตัว ประหยัด และงายดายแคปลายนิ้วสัม ผัส ทั้งนี้ นวัตกรรม จอทัชสกรีนบนเครื่องทํานํ้าอุนดังกลาว ทางสตีเบล เอลทรอน ไดริเริ่มแนวคิดนี้มาตั้งแตป 2556 และใช เวลากวา 3 ปในการวางคอนเซ็ปต คิดคน พัฒนาผลิตภัณฑ รวมไปถึงทดสอบเพื่อใหม่ันใจในคุณภาพ จนสามารถการันตีถึงความพึงพอใจสูงสุดในทุกครั้งของการอาบนํ้า นอกจากนี้ยังมีเทคโนโลยีสุดลํ้าที่สามารถจดจําอุณหภูมิในการอาบนํ้าทุกครั้ง และฟงกชัน SPA ที่สามารถเปลี่ยนการอาบนํ้าแบบธรรมดา ใหเสริมความผอนคลายดุจดั่งอยูในสปา มาพรอมกําลังไฟฟา 3,500 วัตต สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลิตภัณฑจากสตีเบล เอลทรอน บริษัทผูผลิตเครื่องทํานํ้าอุน นํ้ารอน เครื่องกรองนํ้า ฮีตปมและ เครื่องเปามือชั้นนําจากประเทศเยอรมนี ไดที่ http://www.stiebeleltronasia.com ชุดคีย์บอร์ดไร้สายพร้อมขาตั้ง “เค 375 เอส มัลติ-ดีไวซ์” Logitech® เปดตัว K375s Multi-Device Wireless Keyboard and Stand Combo ชุดคียบอรดคอมพิวเตอรขนาดมาตรฐานพรอมขาตั้งอเนกประสงคทําจากวัสดุยางสําหรับ สมารทโฟนหรือแท็บเล็ต เพียงสัมผัสปุม คียบ อรด ก็สามารถเริม่ ตนการพิมพงานคอมพิวเตอร และเสร็จสิ้นการสงขอความผานอีเมลจากเครื่องแท็บเล็ต หรือเขียนขอความบนโทรศัพทดวยปุมเพียงปุมเดียว แข็งแรงทนทาน โดยคียบอรดมีอายุ การใชงานแบตเตอรี่ยาวนานถึง 2 ป การเขารหัสเพื่อเชื่อมตอการทํางานแบบไรสายระหวางคียบอรดและคอมพิวเตอรในระยะที่ไกลถึง 33 ฟุต พรอมอีกสองทางเลือกในการเชื่อมตอแบบไรสายดวย “โลจิเทค ยู​ูนิฟายดอิ้ง ตัวรับสงสัญญ ญญาณขนาดเล็กซึ่งรองรับการเชื่อมตอกับยูเอสบีและ เทคโนโลยี ทคโนโลยีบลูทูธ (Logitech Unifying™ USB receiver and Bluetooth® Smart technology) เพื่อมอบทางเลือกในการแสวงหาหนทางที กในการแสวงหาหนทา ่ดีที่สุด ในการทํ นการทํางานที่หลากหลายโดยใชคียบอรดเพียงตัวเดี เดยว ในสวนของขาตั วนของขาตั้งอเนกประสงคแยกตางหาก ซึ่งมีฐานทําจากวัสดุยางออนนุมและชองเสียบอุปกรณที่ออกแบบอยางพิถีพิถัน เพื่อให ใ สามารถ ยึดดตัตัวอุปกรณโมบายไวในมุมที่เหมาะสมสําหรับการอานและพิมพ สนใจข ใจขอมูลเพิ่มเติม เยี่ยมชมไดที่ www.Logitech.com หรือติดตอไดที่เฟสบุค LogitechThaiFan LogitechThaiF

Engineering Today January- February 2017

96






Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.