Engineering Today No.163 (Issue Jan-Feb 2018)

Page 1








EDITOR TALK กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

4 องค์กรชั้นนําคว้ารางวัลการบริหารสู่ความเป็นเลิศ ประจําปี 2560 เมื่อเร็วๆ นี้ คณะกรรมการรางวัลคุณภาพแหงชาติ ไดประกาศรายชื่อองคกรที่ไดรับ รางวัลการ บริหารสูค วามเปนเลิศทีม่ คี วามโดดเดนดานการปฏิบตั กิ าร (Thailand Quality Class Plus : Operations) ในป 2560 ไดแก กลุมธุรกิจผลิตภัณฑโพลิเมอร บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และ สายออกบัตรธนาคาร ธนาคารแหงประเทศไทย สวน รางวัลการบริหารสูความเปนเลิศ (Thailand Quality Class : TQC) ในป 2560 เปนของ เขื่อนภูมิพล การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย และ ธนาคารออมสิน ขอแสดงความยินดีตอ 4 องคกรชั้นนําสําหรับรางวัลอันทรงเกียรติในครั้งนี้ดวยครับ สําหรับวารสาร Engineering Today ในปนี้ไดปรับโฉมใหมรับศักราชป 2561 ทั้งรูปเลมทันสมัย 4 สีและ 2 สี เพื่อตอบโจทยการบริโภคขอมูลขาวสารในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) พรอม เสิรฟสาระความรู อัพเดทความเคลื่อนไหวและเทรนดใหมๆ ในยุคดิจิทัลอยางรอบดาน รวมทั้งเจาะลึก แนวคิดของผูบริหารองคกรชั้นนําที่ประสบความสําเร็จในการทํางาน ซึ่งจะมารวมชูวิสัยทัศนขับเคลื่อน ั นพงษ องคกรสูย ทุ ธศาสตร Thailand 4.0 โดยฉบับนีไ้ ดเปดมุมมองของผูบ ริหารในองคกรชัน้ นําอยาง คุณสุพฒ พันธมเี ชาว ประธานเจาหนาทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และ ดร.วิทรู เจียมจิตตตรง นายกสมาคมวิศวกรทีป่ รึกษาแหงประเทศไทย (วปท.) ในคอลัมน Engineering 4.0 ตามดวย “EECi แฟร ชูเทคโนโลยี นวัตกรรม และคน รวมพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออกอยางยั่งยืน”, 3 นวัตกรรมผูเปลี่ยนเกมในอุตสาหกรรมการผลิตป 2561”, “ขอนแกน” ชูจดุ แข็งคนพืน้ ทีแ่ ละทุกภาคสวนรวมใจพัฒนา พรอมกาวสู Smart City อยางเปนรูปธรรม” และคอลัมนอื่นๆ ที่นาสนใจเชนเคยครับ อยาลืมเขาไปอาน วารสาร Engineering Today ในรูปแบบของ E-book ฉบับปจจุบันและฉบับ ยอนหลังไดฟรีที่ www.engineeringtoday.net ครับ

เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด วารสาร “Engineering Today” เปนวารสารรายสองเดือน ของบริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด บทความที่ตีพิมพในวารสาร “Engineering Today” ขอสงวนสิทธิใ์ นการนําไปใชคดั ลอก ดัดแปลง นําไปรวมตีพมิ พเผยแพรเพือ่ ประโยชนในวงการวิศวกรรม ขอความ ที่ตีพิมพในบทความและโฆษณาในวารสาร “Engineering Today” เปนความคิดเห็นสวนตัวของผูเขียนหรือผูลงโฆษณาเอง ซึ่งทาง วารสารฯ ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไปถาบทความใดผูอานเห็น วาไดมีการลอกเลียนหรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิง หรือ ทํ า ให เ ข า ใจผิ ด ว า เป น ผลงานของตน กรุ ณ าแจ ง ให ท าง กองบรรณาธิการทราบ จักเปนพระคุณยิ่ง รายละเอียดตางๆ ที่ปรากฏในวารสารฯ ไดผานการตรวจ ทานอยางถีถ่ ว นเพือ่ ความถูกตองสมบูรณทสี่ ดุ เทาทีส่ ามารถกระทํา ได ทางวารสารฯ ไมไดมีการรับประกันความเสียหายอันอาจเกิด ขึ้นจากการนําขอมูลในวารสารฯ ไปใชแตอยางใด ผูนําเนื้อหาที่ตีพิมพในวารสารฉบับนี้ไปเผยแพรไมวาบาง สวนหรือทั้งหมด จะตองอางอิงชื่อวารสารและบริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด ดวยทุกครั้งในทุกหนาที่มีเนือ้ หาดังกลาว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

ฯพณฯ พลอากาศเอกกําธน สินธวานนท

คณะที่ปรึกษา

ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ตอตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน พันธุบรรยงก, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน เหมวชิรวรากร

บรรณาธิการอํานวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการผูพ  มิ พผโู ฆษณา สุเมธ บุญสัมพันธกจิ บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรียพร วงศศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย เรืองติก พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ ผูจัดการฝายโฆษณา เขมจิรา ปลาทิพย ฝายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตษ, กัลยา ทรัพยภิรมย เลขานุการฝายผลิต ชุติมันต บัวผัน ฝายสมาชิก นันธิดา รักมาก โรงพิมพ บจก. ฐานการพิมพ แยกสี บจก. คลาสิคสแกน จัดจําหนาย บจก. ธนบรรณปนเกลา Engineering Today


..


CONTENTS COLUMNS 8

31 ECC

บทบรรณาธิการ 4 องคกรชั้นนําควารางวัลการบริหารสูความเปนเลิศ ประจําป 2560 • กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

EECi แฟรเปดฉากยิ่งใหญ ชูเทคโนโลยี นวัตกรรม และคน รวมพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกอยางยั่งยืน • กองบรรณาธิการ

Engineering 4.0 18 คุณสุพัฒนพงษ พันธมีเชาว ประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการ ผูจัดการใหญ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน)

31 18 22 ดร.วิทูร เจียมจิตตตรง นายกสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแหงประเทศไทย (วปท.)

34 Technology แมชชีนเลิรนนิ่งจะกลายเปนเทคโนโลยีที่สําคัญที่สุดในป 2561 นับตั้งแตโลกใบนี้มีอินเทอรเน็ต • คริส เชลลีอา

36 Industry 4.0 ไทยโพลิเอททีลีน เลือกโซลูชั่นชไนเดอร อิเล็คทริค ชวยบริหารจัดการ ผลิตแบบอัตโนมัติ รองรับการผลิตที่สูงขึ้น

DIGITAL ECONOMY

• กองบรรณาธิการ

26 Innovation 3 นวัตกรรมผูเปลี่ยนเกมในอุตสาหกรรมการผลิตป 2561 • แอนโทนี บอรน

29 Internet of Things แนวโนมพฤติกรรมผูบริโภคในป 2561 เมื่อเทคโนโลยีเปลี่ยนมนุษย

36

• อีริคสัน

39 SME

29

ซีพี ออลล จับมือภาครัฐมอบรางวัล “เซเวน อีเลฟเวน เอสเอ็มอีไทยยั่งยืน 2560” พรอมสนับสนุน SME เต็มสูบ • กองบรรณาธิการ



CONTENTS COLUMNS 63 Project Management

40 Smart City

“ขอนแกน” ชูจุดแข็งคนพื้นที่และทุกภาคสวนรวมใจพัฒนา พรอมกาวสู Smart City อยางเปนรูปธรรม

• กองบรรณาธิการ

บารมี ๑๐ สําหรับนักบริหาร (The 10 Most Effective Ways Leaders Solve Problems) Part II • ดร.พรชัย องควงศสกุล

75 Environment

FIRST SCIENTIFIC TESTS PROVE HDPE’S RECYCLING AT LEAST 10 TIMES • Editorial

40 44 In Trend

TCDC ชี้ 9 อุตสาหกรรมสรางสรรคดาวรุงในป 2561 พรอมแนะธุรกิจปรับตัวใหทันยุค

• กองบรรณาธิการ

46 IT Update

อรูบาพัฒนาเทคโนโลยี UEBA ในโซลูชั่นความปลอดภัยบนเครือขาย ชวยองคกรปองกันภัยคุกคามทุกรูปแบบ

• กองบรรณาธิการ

48 R&D

สกว.โชวนวัตกรรมนาฬกากาซเซนเซอรตรวจจับกาซพิษ ในราคาหลักรอย

• กองบรรณาธิการ

50 Energy Today

สกว.จับมือจุฬาฯ นํารองความรวมมือกับ 5 บริษัทยักษใหญ ดานเชื้อเพลิง พัฒนาตัวเรงปฏิกิริยา หวังลดคาใชจาย ปละ 100 ลานบาท

CONSTRUCTION THAILAND Construction

56 รฟท.ลงนามสัญญาจางกอสรางโครงการกอสรางรถไฟทางคูร ะยะเรงดวน 5 เสนทาง รวมระยะทาง 702 กิโลเมตร

• กองบรรณาธิการ

58 โครงการรถไฟฟาสายสีสม (Heavy Rail Transit System) ชวงศูนยวัฒนธรรมฯ-มีนบุรี พรอมใหบริการในป 2566

• กองบรรณาธิการ

60 Property

เนอวานา บียอนด เปดตัวบานเดี่ยว 2 ชั้นแบบใหมเปนครั้งแรก ยานพระราม 2 รองรับครอบครัวใหมระดับพรีเมียม-กลุมสรางบาน บนที่ดินตนเอง

• กองบรรณาธิการ

62 Tips

โสสุโกเผยเทรนดสีกระเบื้องตอนรับป 2018 เนรมิตบานเดิม ใหกลายเปนบานหลังใหม

• บริษัท โสสุโก แอนด กรุป (2008) จํากัด

• กองบรรณาธิการ

53 Marketing

กลุมทิสโกแจงผลประกอบการป 2560 กําไรสุทธิ 6,090 ลานบาท เดินหนานําเสนอบริการทางการเงิน ตอบโจทยลูกคาในทุกมิติ

• กองบรรณาธิการ

14,16 68 76 79

Spotlight Focus Activities Gadget



Spotlight

พิธีลงนามพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยุคใหม่

ดร.สมชาย หาญหิรญ ั รัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวง อุตสาหกรรม พรอมดวย อากิระ ทีรากาวา ผูชวยทูต การคาสถานทูตญี่ปุนประจําประเทศไทย ใหเกียรติรวม เปนสักขีพยานใน พิธีลงนามบันทึกขอตกลง (MOU) ระหว า ง กอบชั ย สั ง สิ ท ธิ ส วั ส ดิ์ อธิ บ ดี ก รมส ง เสริ ม อุตสาหกรรม กับ คัทซึฮิโกะ ซุกิโตะ กรรมการบริหาร ผูแทนบริษัทเดนโซ คอรปอเรชั่น ในการจัดตั้งโครงการ พัฒนาผูป ระกอบการ Lean Automation System Integrator หรือ LASI สูการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตยุคใหมใน ประเทศไทย รวมถึงติดตั้งอาคาร Showcase ระบบการ ผลิตยุคใหม และการนําหุน ยนตเขารวมสนับสนุนผูป ระกอบ การไทย ซึ่งมีผูบริหารระดับสูงเขารวมเปนจํานวนมาก ณ หองตนกลาแกลลอรี่ ศูนยปฏิรูปอุตสาหกรรม สูอนาคต (ITC) ซอยตรีมิตร กลวยนํ้าไท

ดร.สมชาย หาญหิรัญ รัฐมนตรีชวย วาการกระทรวงอุตสาหกรรม

กอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์ (ที่ 2 จากซาย) และคัทซึฮิโกะ ซุกิโตะ (ที่ 3 จากซาย)

กระทรวงวิทย์ฯ จับมือภาคเอกชน

สร้างต้นแบบโครงรถบัสไฟฟ้าชนิดโมโนคอค มุ่งใช้งานจริงในระบบขนส่งสาธารณะ

รศ.นพ. สรนิต ศิลธรรม (กลาง) ปลัด กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ถายภาพรวมกันเปนที่ระลึก

ปลัดกระทรวงวิทยฯ เยี่ยมชมความคืบหนาในการพัฒนารถบัสไฟฟาชนิดโมโนคอค

โฉมหนารถบัสไฟฟาชนิดโมโนคอค เหมาะขับขีใ่ นเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล

วางแบตเตอรี่ใหสูงขึ้นรองรับ สภาพถนนที่มีนํ้าทวมขัง

14

รศ. นพ. สรนิต ศิลธรรม ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี รวมกับ บริษัท ไทยยานยนตไฟฟา จํากัด และสมาคมเครื่องจักรกลไทย จัดงานแถลงขาว “ความ สําเร็จการพัฒนาสรางโครงรถบัสไฟฟาชนิดโมโนคอค เพื่อการผลิตภายในประเทศ” ภายใต “โครงการสราง เครื่องจักรตนแบบดวยกระบวนการวิศวกรรมเพื่อการ สรางสรรคคุณคา” โดยใชกระบวนการวิศวกรรมยอนรอย หรือ Reverse Engineering หรือการสรางเครื่องจักร ตนแบบขึ้นมาใหม โดยนําชิ้นงานของตางประเทศมาทํา การวิเคราะหฟงกชันการทํางานในแตละสวนแลวพัฒนา ตอยอดใหสอดคลองกับสภาพการใชงานจริงในประเทศไทย จนเกิดการสรางรถโดยสารไฟฟา (EV-City Bus) ขนาด ความยาว 10.5 เมตร ขึ้น ณ ลานอเนกประสงค บริษัท ไทยเซ็นทรัลเมคคานิคส จํากัด อ.พระประแดง จ. สมุทรปราการ โดยเฟสแรกจะพัฒนาโครงสรางรถบัสไฟฟาใหมี รูปทรงและคุณลักษณะที่เหมาะสมตอสภาพการจราจร ในประเทศไทย สวนในอนาคตเมือ่ ประกอบโครงสรางของ รถบัสไฟฟาชนิดโมโนคอคสมบูรณแบบแลว รถบัสไฟฟา ดังกลาวจะใชเวลาในการประจุไฟฟาเพียง 20 นาที วิ่งได ระยะทางประมาณ 50 กิโลเมตรตอการประจุไฟฟาเต็ม 1 ครั้ง ใหความเร็วสูงสุดที่ 80 กิโลเมตรตอชั่วโมง เหมาะ สําหรับการขับขี่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล



Spotlight

ประกาศผลรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ประจําปี 2560 ดร.สมชาย หาญหิรญ ั รัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวง อุ ต สาหกรรม เป น ประธานงานแถลงขา วผลรางวัล คุณภาพแหงชาติ ประจําป 2560 โดยมี ปยะบุตร ชลวิ จ ารณ ประธานคณะกรรมการรางวัลคุณ ภาพ แหงชาติ ดร.พานิช เหลาศิริรัตน ผูอํานวยการสถาบัน เพิม่ ผลผลิตแหงชาติ ในฐานะกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการรางวัลคุณภาพแหงชาติ รวมแถลงขาว พรอมประกาศรายชื่อองคกรที่ไดรับรางวัลการบริหาร สูความเปนเลิศที่มีความโดดเดนดานการปฏิบัติการ (Thailand Quality Class Plus : Operations หรือ TQC Plus: Operations) และรางวัลการบริหารสูค วาม เปนเลิศ (Thailand Quality Class : TQC) สํ า หรั บ ผลรางวั ล คุ ณ ภาพแห ง ชาติ ประจํ า ป 2560 องคกรที่ไดรับรางวัลการบริหารสูความเปนเลิศ ที่ มี ค วามโดดเด น ด า นการปฏิ บั ติ ก าร (TQC Plus: Operations) ไดแก กลุมธุรกิจผลิตภัณฑโพลิเมอร บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) และ สายออกบัตรธนาคาร ธนาคารแหงประเทศไทย สวน องคกรที่ไดรับรางวัลการบริหารสูความเปนเลิศ หรือ (TQC) ไดแก เขื่อนภูมิพล การไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย และ ธนาคารออมสิน ณ หองประชุม ทองคํา กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) กระทรวงอุตสาหกรรม

ดร.สมชาย หาญหิรัญ

ปยะบุตร ชลวิจารณ

ดร.พานิช เหลาศิริรัตน

สุชพี มีถม ผูอ าํ นวยการเขือ่ นภูมพิ ล กฟผ.

วิบูลย ชูชีพชื่นกมล ผูชวยกรรมการ ผูจัดการใหญ กลุมธุรกิจผลิตภัณฑ โพลิเมอร พีทีที โกลบอล เคมิคอล

ดร.วรพร ตั้งสงาศักดิ์ศรี ผูชวยผูวาการ สายออกบัตรธนาคาร ธนาคารแหงประเทศไทย

ชาติชาย พยุหนาวีชัย ผูอํานวยการธนาคารออมสิน

ถายภาพรวมกัน

รมว.กระทรวงวิทย์ฯ ลงพื้นที่สํารวจความพร้อมก่อนจัดตั้งย่านนวัตกรรมกรุงเทพฯ ชูกรุงเทพฯ เป็นเมือง เริ่มต้นของธุรกิจสตาร์ทอัพ

ดร.สุวิทย เมษินทรีย รัฐมนตรีวาการ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

เยี่ยมชมธุรกิจสตารทอัพ “เคเอ็กซ” (KX) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี

16

ดร.สุ วิ ท ย เมษิ น ทรี ย  รั ฐ มนตรี ว  า การกระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (วท.) พรอมผูบริหารสํานักงาน นวัตกรรมแหงชาติ (สนช.) นําคณะสื่อมวลชนลงพื้นที่สํารวจ ความพรอมในการสงเสริมธุร กิจสตารทอัพของกระทรวง วิทยาศาสตรฯ ซึง่ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) หรือสนช. ใหการสนับสนุนใน 3 จุดสําคัญ ประกอบดวย พืน้ ที่ ในการสรางกํ าลัง คนสู ธุร กิจสตารทอัพ “เคเอ็ กซ” (KX) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ศูนยบมเพาะ เพื่อเริ่มตนธุรกิจสตารทอัพ “ทรู อินคิวบ” (True Incube) และ พืน้ ทีส่ รางเครือขายสตารทอัพ “วีโคซิสเต็ม” (Wecosytem) เพื่อสงเสริมกรุงเทพฯ ใหเปนเมืองแหงการเริ่มตนของธุรกิจ สตารทอัพ อาทิ โยธี ปทุมวัน คลองสาน รัตนโกสินทร กลวยนํ้าไท ลาดกระบัง ปุณณวิถี และบางซื่อ พรอม ดึง 10 บริษัทดังปน 5 พันสตารทอัพโกอินเตอร



Engineering 4.0 • กองบรรณาธิการ

คุณสุพัฒนพงษ์ พันธ์มีเชาว์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผู้จัดการใหญ่

บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) บริ ษั ท พี ที ที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) หรือ PTTGC ผูน าํ ดานธุรกิจ เคมีภัณฑปโตรเคมีและการกลั่น ครบวงจร (Integrated Petrochemical and Refining) ที่ มี ข นาดใหญ ที่ สุ ด ใน ประเทศไทยและในภูมิภาคอาเซียน ทั้งขนาด กํ า ลั ง การผลิ ต และความหลากหลายของผลิ ต ภั ณ ฑ ครอบคลุมการผลิตและจําหนายผลิตภัณฑปโตรเคมีในสวน ตน นํ้า กลางนํ้า และปลายนํ้า ที่ค รบวงจรของกลุ มบริษั ท ปตท. จํากัด (มหาชน) หรือ ปตท. ดวยปณิธานการบริหารงาน จากผูบริหารรุนตอรุนที่สานตอความมุงมั่นเพื่อนํา PTTGC กาวไปสูก ารเปนองคกรตนแบบทีพ่ ฒ ั นาและเติบโตอยางยัง่ ยืน ดวยการสรางความเสมอภาคและความยั่ง ยืน รักษาความ สมดุลระหวางการเติบโตทางธุรกิจ คูคา ผูถือหุน ควบคูไปกับ การสรางความเปนอยูที่ดีขึ้นของคนในชุมชนและการดูแล สิ่ ง แวดล อ ม ป จจุบั น มี คุ ณ สุ พัฒนพงษ พั นธมี เชาว ซึ่ งมี ประสบการณทํางานดานอุตสาหกรรมปโตรเคมีกวา 25 ป ทําหนาทีป่ ระธานเจาหนาทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ ดั การใหญ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) หรือ PTTGC

Engineering Today January- February

2018

“ทุ่มเทและรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ให้องค์กร อยู่ร่วมกับทุกๆ ภาคส่วน”

PTTGC มีเป้าหมายพัฒนาองค์กร ให้เติบโตอย่างยั่งยืน

คุณสุพัฒนพงษ เลาวา PTTGC ดําเนินธุรกิจดานเคมีภัณฑ ปโตรเคมีของกลุม ปตท. มีเปาหมายในการพัฒนาองคกรใหเติบโต โดยนําหลักเกณฑดานความยั่งยืนมาปรับใชในการดําเนินธุรกิจของ บริษทั ฯ ตลอดจนการบริหารนวัตกรรมเชิงกลยุทธและการสรางสรรค นวัตกรรมเคมีเพื่อสุขภาพและความยั่งยืนในอนาคต ควบคูกับการ ดําเนินธุรกิจอยางมีจริยธรรม และมีความโปรงใสเพื่อใหธุรกิจเติบโต

18


อยางมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเรื่องพลังงานที่ประเทศไทยยังมี ความตองการทางดานพลังงานอีกเปนจํานวนมาก สวนใหญจะ เปนการนําเขาพลังงานจากตางประเทศเขามาใชมากกวาผลิต ซึ่งตองหาแหลงพลังงานทดแทนในประเทศใหเพียงพอตอการ ใชงาน ใหคนไทยทีบ่ ริโภคพลังงานมีความผาสุกเทาเทียมกันหรือ ใกลเคียงกันมากที่สุด “ตองยอมรับกอนวาประเทศไทยยังจะตองนําเขาพลังงาน อีกมากมายมหาศาล ไมคุ มทุน ทางเศรษฐกิจ หากเราคนไทย ไมชว ยกันประหยัดพลังงานและใชอยางคุม คาทีส่ ดุ สวนเรือ่ งราคา ของแตละประเภทพลังงานนั้นตองใชตามราคากลไกของตลาด กําหนด เราจะไปใชแบบ Renewable ก็ราคาแพงเกินไป จะไม คุมคา ไมสมดุล จะไปใชถานหินก็มีผลทางสิ่งแวดลอมเขามา เกี่ยวของอีก วิธีที่ดีที่สุดก็คือใชพลังงานใหคุมคากอน แลวดูวา พลังงานที่จําเปนที่จะตองใชจริงๆ จํานวนเทาไร ซึ่งจริงๆ แลว ตอนนี้ประเทศไทยเราใชพลังงานที่จําเปนสิ้นเปลืองมาก ไมตอง ทั้งประเทศหรอก ดูแคจังหวัดก็พอ เชน กรุงเทพฯ และนนทบุรี ทีม่ กี ารใชพลังงานเยอะมาก หางสรรพสินคาหางเดียวในกรุงเทพฯ ใชกันเยอะเทียบเทาจังหวัดหนึ่งในประเทศไทยในชนบท เพราะ ฉะนั้น เราควรเริ่มตนกันตั้งแตใชพลังงานอยางถูกตองกันดีกวา เพราะวาในอนาคตเรานําเขาอยางเดียวเปนสวนใหญ เพื่อตอบ โจทยการใชพลังงานของภาคสวนตางๆ ในประเทศ และพลังงาน ที่เ ป น มิต รกั บ สิ่ งแวดลอ ม ทุกวัน นี้ ทิศ ทางของเราก็ชั ด เจนอยู แลวในการจัดทําที่เปน Renewable” สัง่ สมประสบการณ์ดา้ นปิโตรเคมีมากว่า 25 ปี ก่อนขึ้นแท่นผู้บริหารสูงสุดของ PTTGC

สํ า หรั บ เส น ทางก อ นมารั บ ตํ า แหน ง ประธานเจ า หน า ที่ บริหารและกรรมการผูจ ดั การใหญ PTTGC ของ คุณสุพฒ ั นพงษ ภายหลังจากเรียนจบปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาวิศวกรรม เคมี เกียรตินิยมอันดับ 1 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในป 2524 และปริญญาโท อีก 2 ใบ ประกอบดวย ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร สาขาวิศวกรรมเคมี Rice University สหรัฐอเมริกา และปริญญาโท วิ ศ วกรรมศาสตร สาขาวิ ศ วกรรมป โ ตรเลี ย ม University of Houston สหรัฐอเมริกา คุณสุพัฒนพงษ มีประสบการณทํางาน ดานอุตสาหกรรมปโตรเคมีโดยตรงมากวา 25 ป โดยไดรับการ

ปรับเลื่อนตําแหนงตามสายงานดวยความรูความสามารถและ ประสบการณ มี ผลงานการทํางานตางๆ มากมาย เริ่มตั้งแต รวมงานกับบริษทั ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) หรื อ ปตท.สผ. ในตํ าแหนง กรรมการผูจั ด การทั่วไป ตั้งแตป 2532 จากนัน้ ในป 2538 เปนรองผูจ ดั การใหญ สายงานวางแผน และพัฒนาธุรกิจ ป 2542-2547 ไดเปนรองผูจัดการใหญอาวุโส และไดรบั การมอบหมายใหปฏิบตั งิ านสมทบที่ บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) ในตําแหนงผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การใหญ สายงานพัฒนา ธุร กิจองคกร ป 2547 กอนจะมารับ ตําแหนงรองกรรมการ ผูจัดการใหญ สายงานกลยุทธและพัฒนาองคกร บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) “กลยุทธในการทํางานในแตละตําแหนงในแตละบริษัท นัน้ งายๆ เลยกอนจะไปทํางานทีบ่ ริษทั ไหน องคกรไหน ไปทํางาน ในตําแหนงหนาที่ใด ตองรูกอนวา บริษัทนั้นๆ เขา มีวิสัยทัศน อยางไร มีเปาหมายทางธุรกิจอยางไรในระยะยาว เพราะผมไป เปนลูกจางเขา เมือ่ เขาไปเปนพนักงานตองศึกษาขอมูลบริษทั นัน้ ๆ ให เขาใจอยางถองแทเสี ยกอน ถั ด มาก็จะใหความสําคัญกับ ศักยภาพขององคกรโดยเฉพาะเรื่องคน ถาองคกรมีคนที่ดี พรอม อยูแลวไมยากที่เราจะผลักดันได สิ่งดีๆ ทรัพยากรที่จําเปนที่ดี ทีม่ อี ยูเ ราก็นาํ มาใชได แตสงิ่ ดีๆ ทีเ่ ราจะทําใหเกิดขึน้ มาได ถือเปน ความทาทายของผูบริหารระดับสูงในการจัดการบริหารคน” ยํา้ ผูบ้ ริหารสูงสุดจะต้องมีความรู้ และความสามารถในการบริหารงาน

จากนัน้ ในป 2552-2554 คุณสุพฒ ั นพงษ ไดเลือ่ นตําแหนง เปนรองกรรมการผูจัดการดานพัฒนาธุรกิจ บริษัท พีทีที อินเตอร เนชัน่ แนล จํากัด และผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การใหญ สายงานกลยุทธ องค ก ร บริ ษั ท ปตท. จํ า กั ด (มหาชน) ป 2554 รั บ ตํ า แหน ง รองกรรมการผูจัดการใหญ สายงานกลยุทธองคกร บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ป 2555 รับตําแหนงกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) กอนที่จะไดรับเลือกใหดํารงตําแหนงประธานเจา หนาทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ ดั การผูจ ดั การใหญ บริ ษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํ ากัด (มหาชน) ในป 2557 จนถึงปจจุบนั

19

Engineering Today January- February

2018


“การนั่ ง ในตํ า แหน ง ผู  บริ ห ารสู ง สุ ด ขององค ก ร ต อ งรู  ศักยภาพและความสามารถในการบริหาร งานในแตละดาน หากไมมคี วามรูห รือมีความรู ไมมากพอก็จะหาทีป่ รึกษาหาทีมงานมารวมทํางาน หรือแมกระทัง่ หาหนังสือมาอานอาจจะไมเกีย่ วของกับการ ทํางานแตอา นแลวมันเปนการเพิม่ พูนความรู อยางทีช่ อบอาน คือ “เรื่องเลาจากรางกาย” เขียนโดย นพ.ชัชพล เกียรติขจรธาดา เพื่อจะไดเขาใจรางกาย พฤติกรรมและธรรมชาติ ผานกระบวน การวิวัฒนาการ หนังสือเลมนี้จะนําทานเดินทางไปยังสวนตางๆ ของโลก ทั้งในอดีตและปจจุบัน โดยมีคําถาม “ทําไม?” ทําหนาที่ เปนเหมือนไกดนาํ ทาง ซึง่ เนือ้ หาในหนังสือเลมนีเ้ ขาสอนวามนุษย เกิดมาอยางไร คนแรก คือเขาจะถามวาทําไมอยางเดียว คือ เราเกิดมาระบบการทํางานของรางกายของเราเปนอยางไร โดย เฉพาะระบบประสาทอัตโนมัติในรางกาย ในการทํางานซึ่งเปน ระบบทางดานวิทยาศาสตร ซึง่ เปนเรือ่ งทีบ่ างทีเราก็ไมเคยรูม ากอน หรือการไปเรียนเพิม่ เติมตามหลักสูตรทีเ่ ขาเปดสอน ผมก็ไปเรียน มา เชน หลักสูตรของวิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร (วปอ.) ได ความรูเรื่องความมั่นคง ความสัมพันธระหวางประเทศ เพื่อเพิ่ม ศาสตร การเรีย นรู ดา นอื่น ๆ เอามาเสริมองค ความรู แสวงหา ความหลากหลายในทุกมิติ นํามาแกไขปญหาที่มี จะไดภาพที่ คมชัดมากขึ้น” Logic ด้านวิศวกรรมสร้างความคิดทีห่ ลากหลาย ได้คาํ ตอบในการจัดการทีด่ ี

สวนการนําหลัก Logic มาประยุกตใชในการทํางานตาม ที่ เ รีย นมาในคณะวิศ วกรรมศาสตร นั้น วิ ศ วกรรมเขาสอนให เรียนรู ใหรูจักคิด ที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อาจารยสอนใหคิด กอนทํา และถามถึงเหตุผลในการทําดวยวาเพราะเหตุใด “ผมไมรูวาวิศวกรรมศาสตรที่อื่นๆ เขาสอนอยางไร แต อาจารยที่จุฬาฯ สอนใหคิด สอนใหมีความหลากหลาย ซึ่งก็เปน สวนผสมที่ดี ซึ่งเหมือนกับที่ผมไปเรียนหลักสูตรอื่นๆ เพิ่มเติม เพื่อใหเกิดความหลากหลายทางดานองคความรูขึ้นมานั่นเอง วิศวกรรมศาสตร ที่จุฬาฯ สอนใหมีความหลากหลาย เขาไมได สอนเฉพาะวิชาชางเพียงอยางเดียว สอนใหไปศึกษาอารยธรรม สอนการตลาด โดยเฉพาะในชวง 2 ปแรก ก็จะทําใหกระบวนการ

Engineering Today January- February

2018

20

ทางความคิดมีความหลากหลาย ก็จะไดโจทยที่ฉลาด คําตอบที่ ดีก็จะมาจากโจทยที่ฉลาด เพราะฉะนั้นการที่ถามวาทําไม ก็จะ ไดคาํ ตอบทีม่ กี ารจัดการทีด่ เี อาไว ในการจัดการทีช่ ดั เจน และเรา ก็จะไดคําตอบที่ดีนั่นเอง และผมก็ไดนําองคความรูที่ไดถายทอด กับคนรอบขาง ก็นํามาบังคับใหทีมงานทําบาง นํามาใชกําหนด ในการทํางาน เพื่อเขาเองก็ตองรูในความหลากหลาย ซึ่งทุกคน ก็ ต  อ งสร า งวั ฒนธรรมองค ก รที่ มี ค วามหลากหลายให เ กิ ด ขึ้ น พรอมกับเปาหมายและวิสัยทัศนดวย ตรงนี้สําคัญ องคกรไหน ไมมีวัฒนธรรมองคกรนั้นจะเคลื่อนไหวไปไมได อีกอยางที่สําคัญในการถายทอดองคความรูตางๆ ที่ผม มีนั้น ผมคิดวาถาองคกรผมยังไมเปนองคกรที่ดีที่สุดกอนแลวผม คงจะไมสามารถนําองคความรูที่ผมมีไปถายทอดแกองคกรหรือ สถาบันอืน่ ๆ ได ในฐานะของผูบ ริหารระดับสูง เราตองสอนองคกร เรา ใหคนของเราเกงกอนที่จะไปสอนองคกรอื่นๆ เพราะฉะนั้น การถายทอดของผม ผมจะถายทอดแกองคกรที่ผมเขาไปทํา หนาที่ผูบริหารสูงสุดกอน ทําเพื่อใหเด็กรุนใหม ไมใชทําเพื่อให ผูประกอบการใดผูประกอบการหนึ่ง เราทําใหเด็กในองคกรของ เรามีความรูเพื่อที่จะกาวขึ้นมาเปน ผูบริหารชวยงานในองคกร ของเราใหดียิ่งขึ้นไป” ทุม่ เทและรับผิดชอบต่อหน้าทีท่ ไี่ ด้รบั มอบหมาย ให้องค์กรอยูร่ ว่ มกับทุกๆ ภาคส่วนได้

สําหรับปรัชญาในการดําเนินชีวิตและการงานใหประสบ ความสําเร็จในแบบฉบับของ คุณสุพัฒนพงษ นั้น เนนการทุมเท การมีความรับผิดชอบตอหนาที่ที่ไดรับมอบหมายอยางดีที่สุด “การบริหารงานอยาไปเนนกําไรสูงสุดเพียงอยางเดียว จะ ไมมั่นคงไมยั่งยืน กําไรที่ยั่งยืนตองควบคูกันไปกับกําไรที่ยั่งยืน ของบริษัท ผูที่เกี่ยวของ ไมวาจะเปนชุมชน สิ่งแวดลอม สังคมที่ เกี่ยวของดวย ซึ่งเปนเรื่องที่จําเปนที่ผูบริหารสูงสุดตองรับทราบ แตการที่จะวัดวาสิ่งนั้นเปนกําไรสูงสุดในชีวิตในการเปนผูบริหาร สูงสุดหรือไมนั้น สูงสุดไดดีหรือเปลานั้น แลวแตคนมอง แตผม มองวาการทุม เทการทํางานทีไ่ ดรบั มอบหมายใหองคกรอยูร ว มกับ ทุกๆ ภาคสวนได ในขณะที่ผมนั่งตําแหนงบริหารสูงสุดในองคกร นั้นๆ เปนกําไรอยางยั่งยืนแลว ถึงแมในอนาคตผมจะไมไดเปน ผูบริหารสูงสุดแลวก็ตาม”


คุณสุพัฒนพงษ พันธมีเชาว ประธานเจาหนาที่บริหารและ กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) หรือ PTTGC

ตัง้ งบ 70,000 ล้านบาท ขยายผลิตภัณฑ์และสารตัง้ ต้น รองรับ 5 อุตสาหกรรมใหม่ News-Curve

คุณสุพัฒนพงษ กลาวถึงการดําเนินธุรกิจของ PTTGC ภายใตนโยบาย Thailand 4.0 วาในฐานะที่บริษัทของเราเปน ผูน าํ ทางดานปโตรเคมีในภูมภิ าคอาเซียนทีใ่ หญทสี่ ดุ อยูแ ลว ตัง้ แต Thailand 1.0, 2.0 และ 3.0 ซึ่ ง นํ า มาปรั บ ใช โ ดยตลอด แต นโยบาย Thailand 4.0 ของภาครัฐมีสวนสนับสนุนภาคธุรกิจ อยูแลว เพียงแตจะตองมีการจัดการใหมีความทันสมัยมากขึ้น ซึง่ ทางรัฐบาลไดกาํ หนดใน 5 อุตสาหกรรมเดิม และ 5 อุตสาหกรรม ใหม News-Curve ซึ่งอุตสาหกรรมปโตรเคมีก็เปน 1 ใน 5 อุ ตสาหกรรมเดิ ม อี กทั้ง ขณะนี้ทางบริ ษัทฯ ก็มี ค วามสนใจใน 5 อุตสาหกรรมใหม News-Curve โดยเฉพาะดานอุตสาหกรรม พลาสติกชีวภาพ “เทคโนโลยีดิจิทัลตางๆ ที่จะนํามาใชใหสอดรับนโยบาย Thailand 4.0 นั้น ในอุตสาหกรรมเดิมที่บริษัทฯ มีอยูแลวและ พัฒนาใชงานมาโดยตลอด นอกจากนี้กําลังจะใชงบประมาณอีก 70,000 ลานบาทในการขยายผลิตภัณฑและสารตั้งตนตางๆ ทีจ่ ะไวรองรับ 5 อุตสาหกรรมใหม News-Curve ซึง่ 5 อุตสาหกรรม ใหม News-Curve ใชเทคโนโลยีชั้นสูง จึงตองมีนักลงทุนจาก ตางประเทศเขารวมในการขับเคลือ่ นดวย ตองดึงดูดเขา ทําใหเขา สนใจเขามาลงทุน เปนทิศทางที่เราจะเดิน ผลักดันในนโยบาย Thailand 4.0 ซึง่ เราเชือ่ วาเปนนโยบายทีจ่ าํ เปนสําหรับประเทศไทย ถาไมทําตรงนี้ตอนที่เรามีความสามารถอยู การแขงขันของเราก็ จะลดนอยถอยลงไป”

แนะวิศวกรรุน่ ใหม่หาประสบการณ์จากการทํางาน ก่อนคิดต่อยอดทําธุรกิจ

ทายสุด คุณสุพฒ ั นพงษ ไดฝากคําแนะนําดีๆ ไปยังนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตรที่กําลังศึกษาอยู หรือวิศวกรที่กําลังทํางาน อยูว า โลกสมัยนีเ้ ปลีย่ นไปมาก ความหลากหลายเปนเรือ่ งทีส่ าํ คัญ ดังนั้นจะตองศึกษาในวิชาชีพใหเกิดความชํานาญแลวคอยไป ศึกษาหาความรูเพิ่มเติมในสวนที่สนใจตอไป “ในความเห็นสวนตัว อยากใหนองๆ ทํางานวิศวกรตามที่ เรียนมากอน แลวนําไปตอยอดในการทํางานดานอื่นๆ ไดอีก มากมาย แลวจะไปเปน Entrepreneur หรือเจาของธุรกิจอื่นๆ ก็ ไมผิดแผกอะไร แตการกระโดดออกไปเปนเจาของธุรกิจเลยโดย ขาดประสบการณก็จะมีขอเสียคือไดโจทยที่ไมชัดเจน ก็จะไมได คําตอบที่ดีที่สุดออกมา เมื่อคําตอบที่ดีที่สุดไมออกมา เปนอะไร ที่เอาออกมาแลวก็ใชงานไมได ความคิดอะไรที่สมบูรณก็จะไม ออกมา มีเพียงนอยรายเทานั้นที่เปนอัจฉริยะ เมื่อจบออกมาก็จะ ไปเปน Entrepreneur ได ซึง่ อาจจะมีแตไมใชคนสวนใหญแนนอน”

21

Engineering Today January- February

2018


Engineering 4 4.0 .0 • กองบรรณาธิการ

ดร.วิทูร เจียมจิตต์ตรง นายกสมาคมวิศวกรที่ปรึกษา แห่งประเทศไทย (วปท.)

สมาคม วิ ศ วกรที่ ป รึ ก ษา แหงประเทศไทย (วปท.) หรื อ The Consulting Engineers Association of Thailand (CEAT) เปนองคกรที่เปน ตัวแทนของผูป ระกอบวิชาชีพวิศวกรทีป่ รึกษา สงเสริมและสนับสนุนการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม สงเสริมและสนับสนุนใหเกิดประโยชนทางวิชาชีพ รักษา สิทธิและผลประโยชนของสมาชิก สงเสริมและสนับสนุน การศึกษา งานวิจยั และเผยแพรงานวิชาชีพวิศวกรรม สงเสริม ความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก กํากับดูแลการดําเนิน งานของสมาชิกใหถูกตองตามจรรยาบรรณและมาตรฐานการ ประกอบวิช าชีพ ใหความร ว มมื อ คํ า ปรึกษา และขอมูลที่ เกี่ ย วกั บ การทํ า งานวิ ศ วกรรมแก รั ฐ และองค ก รสาธารณะ ทั้ ง ภายในและภายนอกประเทศ โดยป จ จุ บั น มี ดร.วิ ทู ร เจียมจิตตตรง ดํารงตําแหนงนายกสมาคมวิศวกรที่ปรึกษา แหงประเทศไทย ทําหนาที่ดูแลมวลหมูสมาชิกทั้ง 105 บริษัท

“มีความรู้และเข้าใจงานที่ทํา ไม่ว่าจะอยู่ในบทบาทใด”

มหาวิทยาลัยเมื่อป 2521 ก็ไดเขาทํางานที่การไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย (กฟผ.) ในสายงานฝายพัฒนาระบบส ง เปนวิศวกร ออกแบบระบบไฟฟาแรงสูง และในระหวางที่ทํางานอยูก็ไดลาไป ศึกษาตอในระดับปริญญาโทที่สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย สาขา วิทยาการพลังงาน รวมระยะเวลาในการทํางานที่ กฟผ.ประมาณ 10 ป ตั้งแตป 2522-2531 ตอมาในป 2531-2532 ก็ไดมาทํางาน ในบริษัทเครือปูนซิเมนตไทย ที่บริษัท กระเบื้องกระดาษไทย จํากัด ทําหนาที่เปนวิศวกรควบคุมการผลิต ในโรงงานผลิตกระเบื้องมุง หลังคา จากนั้นในชวงป 2532-2543 ไดเขาทํางานที่ บริษทั พรีไซซ อีเลคตริค แมนู แฟคเจอริ่ ง จํ ากัด ในส ว นการผลิ ต อุปกรณ ไฟฟา แรงสูง โดยเริ่มในตําแหนงผูจัดการโรงงาน จากนั้นไดรับการแตงตั้ง เปนกรรมการผูจัดการ และบริษัทในเครือ ระหวางที่ทํางานที่นี่ก็ได ศึกษาตอในระดับปริญญาโทอีกใบดานการบริหารธุรกิจ สาขาการ จัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เพื่อใหมีความรูความเขาใจใน ธุรกิจมากขึ้น และในป 2544 ก็เปลี่ยนมาทํางานในดานวิศวกรที่ ปรึกษา บริษัท โปร-เอ็ น เทคโนโลยี จํ ากัด ในตําแหนงผูอํ านวย

สั่งสมองค์ความรู้ในการทํางานวิศวกรรม หลายด้าน ได้รับความไว้วางใจ ดํารงตําแหน่งนายก วปท.

ดร.วิทูร เจียมจิตตตรง นายกสมาคมวิศวกรที่ปรึกษา แหงประเทศไทย (วปท.) เลาวา หลังจากเรียนจบจากคณะ วิศวกรรมศาสตร สาขาวิศวกรรมไฟฟากําลัง จากจุฬาลงกรณ

Engineering Today January- February

2018

22


การพั ฒนาธุ ร กิ จ จนกระทั่ ง ได รั บ การปรั บ ตํ า แหน ง ให เ ป น ผู  อํานวยการฝายปฏิบัติการของบริษัทฯ จนถึงปจจุบัน ในชวงนี้ ก็ไดมโี อกาสเรียนตอระดับปริญญาเอกที่ คณะรัฐประศาสนศาสตร ดุษฎีบัณฑิต การจัดการภาครัฐภาคเอกชน สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร “การเข า มาช ว ยทํ า งานที่ ส มาคมวิ ศ วกรที่ ป รึ ก ษาแห ง ประเทศไทยนัน้ ไดเขามาในชวงทีท่ าํ งาน บริษทั โปร-เอ็น เทคโนโลยี จํากัด โดยทําหนาที่ในตําแหนงอุปนายกดูแลดานตางประเทศ กอนที่จะไดรับเลือกจากสมาชิกใหดํารงตําแหนงนายกสมาคมฯ เมื่อป 2560 เพราะสมาชิกเห็นวาผมมีองคความรูในการทํางาน ดานวิศวกรรมหลายดาน เชน วิศวกรผูออกแบบ วิศวกรผูผลิต วิศวกรบริหารโครงการ และวิศวกรการพาณิชยการคาขาย และ ไดเขามาชวยงานสมาคมอยางยาวนานกวา 15 ปแลว” “หนาที่ของนายกสมาคมฯ นั้น ผมพยายามที่จะสานตอ งานของนายกสมาคมฯ คนกอนในการดูแลเรือ่ งงานออกแบบ กับ ควบคุมงานกอสราง สงเสริมและสนับสนุนการประกอบวิชาชีพ วิศวกรรม สงเสริมและสนับสนุนใหเกิดประโยชนทางวิชาชีพ รักษาสิทธิและผลประโยชนของสมาชิก สงเสริมและสนับสนุน การศึกษา งานวิจัย และเผยแพรงานวิชาชีพวิศวกรรม สงเสริม ความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก กํากับดูแลการดําเนินงาน ของสมาชิกใหถกู ตองตามจรรยาบรรณและมาตรฐานการประกอบ วิชาชีพ ใหความรวมมือ คําปรึกษา และขอมูลทีเ่ กีย่ วกับการทํางาน วิศวกรรมแกรัฐและองคกรสาธารณะ ทั้งภายในและภายนอก ประเทศของสมาชิก 105 บริษัทอยางดีที่สุด” ดร.วิทูร เชื่อมั่นวากระบวนการทํางานที่ดีโดยนํา Input ดีๆ ก็จะได Process Output ที่ดีออกมา โดยเฉพาะในยุคดิจิทัล มี ข  อ มู ล กระบวนการมากมายที่ จ ะทํ า ให ไ ด สิ่ ง ที่ ดี ๆ ออกมา นอกจากนีแ้ ลวการมีพนั ธมิตรทีด่ ี ผูเ ชีย่ วชาญทีด่ ี เขามารวมทํางาน แลกเปลีย่ นประสบการณในทุกๆ งาน ทัง้ ทีบ่ ริษทั ฯ และสมาคมฯ ให เ กิ ด ผลสํ า เร็ จ ตามวั ต ถุ ป ระสงค ข องแต ล ะโครงการก็ จ ะยิ่ ง เปนสิ่งที่ดีในการทํางาน หัวใจสําคัญของการทํางาน มีความรูแ้ ละความเข้าใจในงานทีท่ าํ

สําหรับกลยุทธในการทํางานที่ ดร.วิทรู ถือวาเปนหัวใจสําคัญ ของการทํางานเสมอมา นั่นคือการมีความรูและความเขาใจใน งานที่ทํา ไมวาจะอยูในบทบาทใดก็ตาม และจะตองหาความรู ใหกับสิ่งที่เราจะทํานั้นใหได เพื่อใหเขาใจในงานที่เราทํามาก ยิ่งขึ้น โดยเฉพาะตําแหนงที่เรารับผิดชอบ ซึ่งจะตองมีความรู ความเขาใจเปนหัวใจสําคัญที่ทําใหสามารถจะดําเนินการไปสู

เปาหมายนั้นได และตองหมั่นหาองคความรูใหมๆ มาเติมเต็ม องคความรูที่มีอยูตลอดเวลาดวย นอกจากนี้ ดร.วิทูร ยังได แลกเปลี่ยนองคความรูและถายทอดองคความรูที่มีแกผูรวมงาน อยูเสมอ “ถาเราไมมีความรูและความเขาใจงานที่ทําแลว เมื่อเกิด ปญหาติดขัดขึ้นเราจะหาทางแกปญหานั้นอยางไร ดังนั้น เรา ตองรูเสียกอนวาเรามีสิ่งนี้ รูสิ่งนี้ แลวจะมีความรูพอหรือไมพอใน การที่จะนํามาแกปญหาเรื่องนั้นๆ เราก็จะสามารถทําสิ่งนั้นให ถึงจุดที่เราตองการได สวนการถายทอดองคความรูที่ผมมีและ ศึกษามาแกคนรอบขางที่รวมทํางานดวยนั้น ผมมักจะทําใหดู เปนตัวอยาง มากกวาที่จะไปพูดแนะนําเพราะผมคิดวาคอนขาง ยากในการมองใหเกิดภาพการกระทํา นอกจากนี้แลว ผมจะหา องคความรูใหมเขามาอยูเสมอ เพราะผมคิดวาองคความรูตอง เรียนรูอยางตอเนื่องในทุกๆ เรื่อง ไมจําเปนตองเปนองคความรู จากตํารา หนังสือ แตอาจจะเปนจากการทํางานแลกเปลี่ยนกับ คนรอบขางเราก็ได” แนะปรับการทํางานให้ทนั ยุคดิจทิ ลั สอดคล้องกับนโยบาย Thailand 4.0

ดร.วิ ทู ร กล า วว า การพั ฒนาองค ก รให ส อดคล อ งกั บ Thailand 4.0 ตามนโยบายของรัฐบาลนั้นสะทอนความคิดวา ปจ จุบั นทุกสิ่งทุกอยางที่ทําในประเทศไทยนี้ มู ลคาเพิ่ มนอย เพราะวาเรายัง ยึด โยงวิถีชี วิต การทํางานแบบเดิม ๆ ปลูกขาว ปลูกแบบเดิม ควบคุมงานกอสรางก็ทาํ แบบเดิม แตเรายังไมมแี รง ผลักดันไปกระตุนใหเกิดการนําเทคโนโลยีมาใชใหเกิดมูลคาขึ้น อยางเชน งานชิ้นหนึ่งเราจะใชคนทํางานหลายคน ใชเวลามาก แตถาลดจํานวนคนลงและใชเวลาทําใหนอยกวานี้ ทั้งหมดนี้ถา ทําไดสําเร็จจะเปนการเพิ่มมูลคาตอความสําเร็จในงานที่ทํา เวลาที่ใชไป และคาใชจายที่ใชไป เปนตน การปรับใช Thailand 4.0 ในชีวิตนั้น โดยใชเทคโนโลยี ในการสื่อสาร เราไมตองอยูที่ทํางานทุกวันก็ได เพราะหากมี เทคโนโลยีเขามาใช เราจะทํางานที่ไหนก็ไดทุกที่ทุกเวลา เชน การมีโทรศัพทมือถือที่ทันสมัยเขามาใชทํางานในปจจุบันมีทั้ง ภาพ เสียง อินเทอรเน็ต เชื่อมโยงการทํางาน ซึ่ งมีวิ ธีที่ จะได ขอมูลที่เร็วขึ้น แต สิ่งที่สําคัญคือคนทั้ งหลาย จะตองเปลี่ยนความคิดตนเองเสียกอนวา วิธีการ ทํางานที่เคยปฏิบั ติอยูแบบเดิม นั้นไมทัน ยุคสมัยแลว สําหรับเทคโนโลยีทางดาน วิ ศ วกรรมในอนาคตนั้ น

23

Engineering Today January- February

2018


วิศวกรจะตองทําความเขาใจเรื่องการไหลเวียนของขอมูล เพื่อดึง เอาขอมูลมาปรับใชงานตามสายงานที่ทํา จะไดไมซํ้าซอน ซึ่ง ขอมูลเหลานั้นอาจจะอยูในคลาวด เพื่อรอการดึงมาใชอยางมี ประสิทธิภาพสูงสุด เชน โรงงานอุตสาหกรรม 4.0 วิศวกรรมที่ ควบคุมจะนําเทคโนโลยีใชงานแทนคนมากขึ้น หรือ การใชโดรน ทําการตรวจสอบภายนอกอาคารโดยทีไ่ มใชคน รถไมตอ งมีคนขับ เพราะเราใชดาวเทียม และเซ็นเซอรบังคับ เปนตน “การทํางานเดิมคือแบบอนาล็อก ไมทันสมัยแลว เราตอง ปรับใหทันยุคสมัยในยุคดิจิทัล โดยใชแนวคิดวา ขอมูลที่เปนแบบ ดิจิทัลมีอยูแลวแตเราไมเคยเก็บรวบรวมเทานั้นเองเพื่อนํามาใช ในทันทีที่ตองการ มองอีกมุมคือวาใช เราเก็บขอมูลเพื่อรอการใช กับการเก็บขอมูลมาไวเพือ่ ใชงานไดทนั ที แลวขอมูลทีเ่ รามีจะเพิม่ มูลคาขึน้ อยางทันทีทนั ใด ผมยกตัวอยางเชน ถาเราตองเก็บขอมูล อยางหนึ่งไวกอน 3 วันคอยมาวิเคราะห แลวทราบวาดีหรือไมดี แล ว ต อ งไปเก็ บ ข อ มู ล มาใหม ก็ เ ท า กั บ ว า เราจะเสี ย เวลาไป การทําใหเปน Thailand 4.0 จะตองใชเวลานอยที่สุด เรียกวา Output กับ Outcome ตองเปนเวลาเดียวกันหรือหางกันไมมากนัก” มีธงนําในการดําเนินชีวิตให้ถูกทิศถูกทาง

สําหรับปรัชญาในการดําเนินชีวิตของ ดร.วิทูร จะมองที่ ปลายทางของการดํ า เนิ น ชี วิ ต เสมอในทุ ก ๆ เรื่ อ งที่ ทํ า มี ก าร ดําเนินชีวิตที่เปนขั้นตอน รูวาอะไรควรทํากอนและหลัง และใน แตละขั้นตอนนั้นตองทําอยางไรบางเพื่อไปสูเปาหมายของชีวิต ในทุกๆ เรื่อง เรียกวามีธงนําในการดําเนินชีวิตใหถูกทิศถูกทาง “บางคนที่ไมมีจุดมุงหมายหรือปลายทางในการดําเนิน ชีวิตนั้น เราก็บอกไมมีธงนํา ก็เดินทางไปเรื่อยๆ ในแตละวัน อาจจะเดินถูกก็ได แตการมีธงนําในการดําเนินชีวิตเมื่อมีปญหา เราอาจจะเลี้ยวซายบาง เลี้ยวขวาบาง คือหาทางแกปญหาที่เกิด ในระหวางธงที่นําใหหมดไป แตเปาธงก็ยังสูจุดหมายเดิม ทีนี้ คําถามตอไปก็จะเกิดขึ้นวา แลวเรารูไดอยางไรวาจุดหมายปลาย ทางถูกหรือผิด ผมก็ตอบเสมอวายอนกลับไปดูในความเปนจริงวา เราตองมีความรู ความเขาใจที่จะบอกไดวาธงที่เราวางเอาไวน่ี ไมถูกตอง 100 เปอรเซ็นตอยูแลวในบางเรื่อง แตก็คงจะมีเกณฑ ในการตอบวาอยูในขายที่เชื่อถือ ยึดถือได ตอบได และเมื่อเดิน ตามไปสักพักหนึง่ อาจจะมีการขยับธงบางก็ได แตโดยทีม่ บี ทบาท หนาที่หลายอัน ผมก็ตองมีหลายธง และธงเหลานั้นตองสอด ประสานกันดวย ถาธงเหลานั้นไมสอดประสานกันชีวิตเราจะ เหมือนกับคนสับสนชุลมุนวุน วายตลอด ดังนัน้ ธงทีม่ จี ะตองนํามา จัดเรียงเชือ่ มโยงรอยเรียงกันใหได ไมเชนนัน้ ชีวติ เราจะลําบากมาก

Engineering Today January- February

2018

24

ดร.วิทูร เจียมจิตตตรง นายกสมาคมวิศวกรที่ปรึกษา แหงประเทศไทย (วปท.)

“โชคดีที่ผมเปนคนที่มีวินัยในการแบง เวลามาก เพราะฉะนั้น ผมอาจจะแบงเวลา โดย เอาวัตถุประสงคเปนหลัก แลวก็มาดูวา ในวันๆ หนึง่ ในเวลาๆ หนึ่ง เราจะคิดเรื่องอะไร ธงไหนคิดเรื่องอะไร เปนหลัก บางครั้งก็จะดูแลและควบคุมไดบางและไมไดบาง แตธงที่ทํ างานแตละงานนั้ นก็จะกลับมาที่ทิ ศทางที่ วางเสมอ แมภารกิจคอนขางมาก เชน ชวงวิกฤตเศรษฐกิจป 2540 เรารูว า ตอนนี้ขาดทุนแนถาลงทุน กระแสเงินสดไมมีแน ทําความเขาใจ แลวหาทางแกเสีย สวนใหญบางคนกลัว แลวไมมีวิธีแก กลัวจน เครียด ถาคุณเปนหนีพ้ นั ลาน ถาดอกเบีย้ เพิม่ ขึน้ ไปทุกวันจะเปน เทานี้ แตถา คุณไปเจรจาลดหนีไ้ ดกอ น ดอกเบีย้ ก็จะลดลงไปกอน ดังนั้นเราตองหาวิถีทางแกปญหาใหไดเสียกอน ดูแลใหถูกตอง ผมไมไดบอกวาไมเครียด แตอยางนอยผมก็มวี ธิ กี ารทําความเขาใจ กอนทีจ่ ะเพิม่ ความเครียดใหกบั ตัวเองในเรือ่ งนัน้ ๆ มากจนเกินไป อีกขอคือผมจะมีวิธี Break down เปนเรื่องๆ เปนชวงๆ ในการ ทํางาน นี่คือสิ่งที่สําคัญมาก คนสวนใหญจะมองปญ หาเปน กอนใหญทั้งหมด แตผมจะมองเปนกอนๆ เปนเรื่องๆ มองวา จะแกเรื่องไหนกอน เรื่องไหนหลัง หลายคนมองรวม ปญหาจะ สับสน ไมรูจะทําอยางไรดี จึงจมอยูกับปญหา หาทางออกไมได”


Digital Economy @Engineering Today Vol. 1 No. 163


Innovation • *แอนโทนี บอรน

นวัตกรรม

ผู้เปลี่ยนเกมใน

อุตสาหกรรมการผลิต ปี 2561

ไอเอฟเอสคาดการณ์ว่าในปี 2561 ไอโอที (IOT) จะถูกสร้างรวมไว้ในผลิตภัณฑ์ที่เริ่มตั้งแต่การออกแบบ บรรดาผู้ผลิตจะนําโมเดลธุรกิจที่มีบริการเป็นศูนย์กลาง เข้ามาปรับใช้เพิ่มมากขึ้น และการพิมพ์สามมิติ (3D) จะ ก้าวสู่จุดพลิกผันที่สามารถให้ผลประโยชน์ทางธุรกิจได้ใน วงกว้าง ในปลายป 2561ผูผ  ลิตมากกวา 50 เปอรเซ็นตจะนํา เทคโนโลยี ไอโอที ไปรวมไว ใ นผลิตภัณฑของตน เริ่มตั้งแตขั้นตอนการออกแบบ เมื่อพูดถึง “ไอโอที” สิ่งแรกที่คุณคิดถึงนาจะเปนเซ็นเซอร แบบใหมที่สามารถหาซื้อไดในราคาไมแพงซึ่งกําลังถูกนํามาใสไว ผลิตภัณฑ สําหรับผมแลว มุมมองดังกลาวจะเปลีย่ นไปในป 2561 เนื่องจาก ไอโอที กําลังกาวเขาสูการเปลี่ยนแปลงอยางเห็นไดชัด หากเราคิดวา ไอโอที เปนเหมือนระบบประสาทของผลิตภัณฑ ในป 2561 เราจะเห็นเสนประสาท (สัญญาณ) ตางๆ ที่โยงใย และเติบโตจนเกิดเปนสมองของผลิตภัณฑขึ้นมา สิ่งนี้ครอบคลุม ถึงการรับ การสง การขยายตัว และการเก็บรวบรวมขอมูลอยาง ตอเนือ่ งตลอดอายุการใชงานของผลิตภัณฑ สงผลใหเกิดบริการและ กระแสรายไดใหมๆ โดยอุตสาหกรรมการผลิตเปนหนึ่งในตลาด ทีไ่ ดรบั ผลกระทบจาก ไอโอที มากทีส่ ดุ ในปจจุบนั จากขอมูลของ

โกลบอล มารเก็ต อินไซด (Global Market Insights) พบวา ไอโอที ในตลาดการผลิต มีมูลคามากกวา 20 พันลานเหรียญ สหรัฐ ในป 2559 และจะขยายตัวเพิ่มขึ้นกวา 20 เปอรเซ็นต (CAGR โดยประมาณ) ตั้งแตป 2560 ถึง 2567 การลงทุน ไอโอที ในปจจุบันในสภาพแวดลอมของการผลิตจะกอใหเกิด 3 โครงการหลัก ดังนี้ • การผลิตอัจฉริยะเพื่อเพิ่ม ผลผลิต คุณภาพผลิตภัณฑ หรือการดําเนินงานและความปลอดภัยของพนักงาน รวมถึงการ ใชทรัพยากรที่ลดลง • ผลิตภัณฑที่เชื่อมตอกันจะสงผลตอประสิทธิภาพของ ผลิตภัณฑ รวมถึงการเก็บรวบรวมขอมูลโดยละเอียดเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑในภาคสนาม การวิเคราะหจากระยะไกล และการบํารุง รักษาจากระยะไกล • ซัพพลายเชนที่มีระบบเชื่อมตอระหวางกันจะเพิ่มความ สามารถในการมองเห็นภาพรวมทั้งระบบและการทํางานรวมกัน ในซัพพลายเชน การติดตามสินทรัพย หรือสินคาคงคลังเพื่อ สงเสริมใหการดําเนินงานดานซัพพลายเชนที่มีประสิทธิภาพเพิ่ม มากขึ้น เราจะเห็น ไอโอที ถูกนํามารวมไวเปนสวนหนึ่งในกระบวน การออกแบบของโครงการดาน ไอโอที ดังกลาว บริษทั ผูผ ลิตกําลัง ตระหนักวาการสรางเทคโนโลยี ไอโอที ใสไวในผลิตภัณฑและ

*ผูอํานวยการอุตสาหกรรมสวนกลาง ฝายการผลิตและเทคโนโลยีระดับสูง (ไฮเทค) บริษัท ไอเอฟเอส

Engineeeri Engineering er ng Today January- Feb Febru February ruary ru

2018

26 26


อุปกรณในขั้นตอนของการออกแบบนั้น ไมเพียงแตชวยใหคุณ สามารถตรวจสอบประสิ ท ธิ ภ าพการทํ า งานของอุ ป กรณ เ พื่ อ คาดการณเวลาทีต่ อ งดําเนินการซอมแซมไดเทานัน้ แตยงั สามารถ สรางขอไดเปรียบดานการแขงขันที่จะนําไปสูการเปลี่ยนเกมใน ตลาดดวย ภายในสิ้นป 2561 ผูผลิตมากกวา 50 เปอรเซ็นต จะนํา เทคโนโลยีไอโอที มาใสไวในผลิตภัณฑของตนตั้งแตเริ่มกระบวน การผลิต ซึ่งเปนการคิดไวแลวลวงหนาในขั้นตอนการออกแบบ และจะเริ่มทบทวนตัวเองวาบริการและรายไดในลักษณะใดบาง ที่จะไดรับจากผลิตภัณฑนี้ตลอดอายุการใชงาน ความกาวหนาของบริการภิวัตนจะเกิดขึ้นอยาง รวดเร็ว : ในป 2563 รายไดมากกวาครึง่ หนึง่ ของ บรรดาผูผ  ลิตสวนใหญจะมาจากบริการ เมื่ออุตสาหกรรมการผลิตเริ่มกลายเปนตลาดเปดเสรีที่ตัว สินคาเริ่มไมมีความแตกตางกันเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ จึงมีความ จําเปนอยางยิ่งที่จะตองสรางความแตกตางใหกับตัวเอง ซึ่งเปน กุญแจสําคัญในการอยูรอดและการสรางผลกําไรใหกับบริษัท ในตอนนีเ้ ราเริ่มเห็นแลววาบรรดาผูผ ลิตจํานวนมากกําลังเปลีย่ น ไปใชโมเดลธุร กิจที่เนนการใหบริการเปนหลัก หรือที่เรียกวา “บริการภิวัตน” (Servitization) บริการภิวตั นเปนแนวทางเพิม่ ขีดความสามารถใหกบั ผูผ ลิต เพื่อยกระดับขอเสนอโดยรวมนอกเหนือจากตัว ผลิตภัณฑแต เพียงอยางเดียว ตัวอยางหนึ่งที่เห็นไดชัดคือ แอปเปล ที่ไดนํา แนวทางนี้มาใชเมื่อไมกี่ปที่ผานมาหลังจากที่ ไอพอด สามารถชิง สวนแบงตลาดสูงสุดมาได จากนั้น แอปเปล จึงไดเปดตัวบริการ ไอทูนส เพื่อรักษาฐานลูกคาเดิม และสรางความแตกตางใหกับ ตัวเองในตลาด รวมถึงสรางรายไดใหเพิ่มมากขึ้นดวย คุณอาจ คิดวาสิ่งนี้ใชไมไดกับธุรกิจของคุณ แตโปรดทราบวาบริษัทตางๆ กําลังเก็บเกี่ยวผลประโยชนจากบริการภิวัตนในภาคสวนตางๆ เปนจํานวนมาก ตัวอยางเชน ฟลิปส ซึ่งใหบริการ “แสงสวางใน รู ป ของบริการ” สํ าหรั บสนามบิน สคิปโฮล (Schiphol) ที่อยู นอกกรุงอัมสเตอรดัม กลาวคือสนามบินสคิปโฮลจะตองจายเงิน คาแสงสวางทีใ่ ชไป ขณะที่ ฟลปิ ส ยังคงเปนมีกรรมสิทธิใ์ นระบบ และอุปกรณติดตั้งทั้งหมด ทั้งนี้ ฟลิปส และ คอฟลี่ (Cofely) ซึ่งเปนบริษัทคูคาจะรวมกันดูแลดานประสิทธิภาพการทํางาน และความมีเสถียรภาพของระบบ ครอบคลุมถึงการนําอุปกรณ กลับมาใชใหมและการรีไซเคิลเมื่อสิ้นสุดอายุการใชงาน การ ดําเนินการดังกลาวสงผลใหบริษทั ลดคาไฟลงไดถงึ 50 เปอรเซ็นต โดยไมตองซื้อโคมไฟสองสวางเพิ่ม!

ภายในสิ้ น ปี 2561 ผู ้ ผ ลิ ต มากกว่ า 50 เปอร์ เซ็ น ต์ จะนํ า เทคโนโลยี ไอโอที มาใส่ ไ ว้ ใน ผลิตภัณฑ์ของตนตั้ ง แต่ เ ริ่ ม กระบวนการผลิ ต ซึ่ ง เป็ น การคิ ด ไว้ แ ล้ ว ล่ ว งหน้ า ในขั้ น ตอนการ ออกแบบ และจะเริ่มทบทวนตัวเองว่าบริการและ รายได้ในลักษณะใดบ้างทีจ่ ะได้รบั จากผลิตภัณฑ์นี้ ตลอดอายุการใช้งาน ผมมองเห็นการพัฒนาในรูปแบบนีใ้ นกลุม ลูกคาของไอเอฟเอส ดวยเชนกัน อยางเชน ผูผลิตเฟอรนิเจอรระดับโลกที่ชื่อวา โนวี่ สไตล กรุป (Nowy Styl Group) ที่มองวาบริการภิวัตนเปนสวน สําคัญตอการเติบโตของบริษัท ในป 2560 บริษัทไดประกาศวา “การผลิตเกาอี้คงไมเพียงพออีกตอไปแลวสําหรับเรา” และไดเริ่ม ดําเนินการเปลี่ยนแปลงบริษัทจากผูผลิตเฉพาะอยาง กาวสูการ เป น บริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษาระดั บ โลกด า นการตกแต ง ภายในสํ า หรั บ สํานักงานตางๆ อีกตัวอยางหนึง่ คือ บริษทั ผูผ ลิตผลิตภัณฑทาํ ความสะอาด ซึง่ ไดเริม่ นําเสนอระบบการจัดสงและการใหบริการเพิม่ เติม บริษทั เขาใจดีวาการเลือกผลิตภัณฑทําความสะอาดที่เหมาะสมเปน เพียงสวนหนึ่งของวัตถุประสงคหลักของลูกคาเทานั้น นั่นคือการ รักษาสถานที่ทํางานใหถูกสุขลักษณะ การใชผลิตภัณฑอยางมี ประสิทธิภาพมากที่สุด การเลือกอุปกรณเสริมที่เหมาะสม การ สรางขั้นตอนที่ถูกตอง ทั้งหมดนี้ลวนมีความสําคัญตอการรักษา สถานที่ทํางานใหมีความสะอาดอยางตอเนื่อง ทัง้ สองบริษทั ตระหนักดีวา เทคโนโลยีจะชวยเรงใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงไดอยางรวดเร็ว ไมวาจะเปนการออกแบบเกาอี้ที่ สวยงามหรือผลิตภัณฑทําความสะอาดที่มีประสิทธิภาพ แตอยา ลืมวาผลิตภัณฑหรูหราในปจจุบันกําลังจะกลายเปนสิ่งของที่หา ซื้อไดทั่วไปในเวลาอันสั้น ซึ่งนั่นยอมสงผลใหราคาผลิตภัณฑ ลดลงอยางมาก แตดวยบริการภิวัตน บรรดาผูผลิตจะสามารถ รับมือกับสถานการณดังกลาวไดอยางดีเยี่ยม เพราะบริการจาก ผูเชี่ยวชาญที่มีประสบการณสั่งสมมาเปนเวลาหลายป จะทําให ลู กคายังคงตองจายเงินใหกับ บริ ษัทตลอดไป ไมว าแนวโนม เทคโนโลยีจะเปนเชนไรก็ตาม จากการสํารวจการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลของไอเอฟเอส ซึ่งดําเนินการโดยบริษัทวิจัยที่ชื่อวา ราคอนเตอร (Raconteur) พบวา 68 เปอร เซ็นตข องบริษั ทผูผลิ ต อางวา บริการภิวัตน “ไดรับ การจัด ตั้งมาเปนอยางดีและให ผลตอบแทนที่ดี” และ “อยูระหวางการดําเนินการและกําลังไดรับความสนใจและการ สนับสนุนอยางเหมาะสมจากผูบริหาร” แตก็มีเพียงสัดสวนเกือบ 1 ใน 3 ของบริษัทผูผลิตเทานั้นที่ไดรับผลตอบแทนจากบริการ

27 27

Engineeringg Tod Today a January- Februa February ary

2018


ภิวัตน “ผูผลิตที่ยังไมไดใชโมเดลที่มีบริการเปนศูนยกลางกําลัง สูญเสียรายไดและแนวทางใหมๆ ในการพัฒนาขอเสนอสําหรับ ผลิตภัณฑของตน ดังนั้นเพื่อกาวสูความสําเร็จในการตอบสนอง ความตองการของลูกคาและความตองการที่กําลังเพิ่มมากขึ้น บรรดาผูผลิตจะตองมองหาโมเดลธุรกิจใหมๆ เพื่อรนระยะเวลา ในการเปดตัว ผลิตภัณฑออกสูตลาด ครอบคลุมตั้งแตการนํา ความคิดจากการออกแบบไปผลิตเปนสินคาและนําออกขายใน ตลาดใหไดโดยเร็วที่สุด เทคโนโลยีใหมๆ เชน ไอโอที จะเขามาเติมเต็มความสมบูรณ ใหกบั บริการภิวตั น โดยเซ็นเซอรทสี่ ามารถตรวจจับไดวา ผลิตภัณฑ หรืออุปกรณตองเขารับบริการซอมบํารุงเมื่อใด จะชวยใหระบบ สามารถเรียกใชบริการซอมบํารุงโดยอัตโนมัติ ซึ่งสรางประโยชน และทําใหองคกรบริการของคุณมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น การ บํารุงรักษาเชิงพยากรณแบบอัตโนมัติในลักษณะนี้จะกลายเปน เรื่องที่เกิดขึ้นไดทั่วไปเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากสิ่งนี้เปนกาวตอไป หลังจากมีการนํา ไอโอที มาปรับประสิทธิภาพในการใหบริการ ในป 2562 ความตืน่ เตนเกีย่ วกับการพิมพสามมิติ (3D) จะหมดไป แตผลประโยชนที่ แ ทจริงจะเห็น อยางเดนชัด คําพยากรณลําดับที่สามของผมก็คือ การพิมพ 3D เชน เดียวกับ ไอโอที กําลังจะกาวสูระดับใหมที่มีอัตราการเติบโตเพิ่ม มากขึ้น นอกเหนือจากเรื่องของขนาดการพิมพที่ตองรอง “วาว” เมื่อไดเห็นในครั้งแรก ซึ่งครอบคลุมถึงการผลิตในระดับที่เล็กลง เชน เครือ่ งชวยฟงและเครือ่ งประดับ การพิมพ 3D ยังสามารถกาว ไปไดอีกไกลมาก และเราจะไดเห็นการเปลี่ยนแปลงนี้ในป 2561 เรากําลังเห็นพัฒนาการสองอยางทีก่ าํ ลังกาวไปในทิศทางนัน้ ประการแรกคือ ความสามารถในการปรับขยายของโซลูชั่นการ พิมพ 3D ที่ดียิ่งขึ้น ยุคใหมของบริษัทดานการพิมพ 3D กําลัง กาวเขาสูก ารผลิตทีแ่ ตเดิมมีผผู ลิตแมพมิ พฉดี ขึน้ รูปครองตลาดอยู มาเปนระบบอัตโนมัติที่เชื่อมโยงระหวางกันไดดีขึ้นและเร็วขึ้น สงผลใหลดขั้นตอนการทํางานทั้งกอนและหลังที่ตองใชเวลามาก ซึ่งเปนอุปสรรคสําคัญในการผลิต ทั้งนี้มีบริษัทแหงหนึ่ง นั่นคือ

Eng Engineering ngineering To TToday Tod ay JanuaryJanuary ryy- Februa February ary

2018

28 28

สตราตาซิ ส (Stratasys) ได ส ร า งเครื่ อ งพิ ม พ ใ หม ภ ายใต ชื่ อ ดีมอนสเตรเตอร (Demonstrator) ซึ่งเปนการรวมเครื่องพิมพ สามเครื่องไวในระบบสแตก (Stack) โดยที่เครื่องพิมพแตละ เครือ่ งสามารถสือ่ สารระหวางกันไดในแบบเรียลไทม เครือ่ งพิมพ ใหมนี้มีความสามารถในการปรับขยายไดสูง ซึ่งหมายความวา ผูผ ลิตสามารถเพิม่ กําลังการผลิตของการพิมพไดมากขึน้ โดยเริม่ ตั้งแต 1,500-2,000 ชิ้นตอวัน สงผลใหคุณสามารถประหยัด ตนทุนไดอยางมาก ซึ่งเปนตัวกระตุนสําคัญที่นําไปสูความสําเร็จ ของเทคโนโลยีการพิมพ 3D จะเห็นไดวาอุตสาหกรรมการบินไดเริ่มนําเทคโนโลยีการ พิมพ 3D เขามาใชงานแลวในปจจุบัน ซึ่งอุตสาหกรรมการผลิต สามารถเรียนรูจากอุตสาหกรรมดังกลาวได ตัวอยางหนึ่งของ ความสําเร็จคือเครื่องยนต GE turboprop ATP Engine ซึ่งใช การพิ ม พ 3D 35 เปอร เ ซ็ น ต ทํ า ให ล ดจํ า นวนชิ้ น ส ว นจาก จํานวน 855 ชิน้ เหลือเพียง 12 ชิน้ และยังมีสว นชวยใหเครือ่ งยนต มีนํ้าหนักเบา มีขนาดกะทัดรัด ลดการเผาผลาญเชื้อเพลิงลงได ถึง 15 เปอรเซ็นต เมือ่ เทียบกับขอเสนอของคูแ ขง ความสามารถใน การปรับขยายและการลดขัน้ ตอนการดําเนินงานทัง้ กอนและหลังที่ บริษัทดานงานพิมพ 3D ขนาดกลางที่มีนวัตกรรมขั้นสูงกําลังนํา ออกสูตลาดนั้น หมายความวาในป 2561 เราจะไดเห็นบริษัท ผูผลิตเขารวมกับภาคอุตสาหกรรมอากาศยานและยุทโธปกรณ การรบ (Aerospace and Defense : A&D) เพิ่มมากขึ้นและ กาวสูระดับที่สูงกวาที่เคยเปนมาดวยขีดความสามารถดานการ พิมพ 3D แบบใหม IoT being built into the product design, manufacturers adopting a more service-centric business model and 3D-printing reaching the tipping point of realizing business benets on a large scale. These are the three game-changing predictions that Antony Bourne, Global Industry Director of Industrial and High-tech Manufacturing at IFS, outlines for 2018. 1) By the end of 2018 over 50 percent of manufacturers will be building IoT technology into the design phase of their products 2) Servitization speeds ahead: by 2020 most manufacturers will earn over half of their revenue from services 3) By 2019 the hype around 3D printing will be over, and real benets blooming


Internet of Things • อีริคสัน

แนวโน้ ม พฤติกรรมผู้บริโภค ในปี 2561

เมื่อเทคโนโลยีเปลี่ยนมนุษย์ ผลสํ า รวจแนวโน ม ในอนาคตจากทั ศ นคติ ข อง ผูใชงานอีริคสัน หองปฏิบัติการวิจัยผูบริโภคนําเสนอ รายงานประจําปฉบับที่ 7 เกีย่ วกับ 10 แนวโนมพฤติกรรม ผูบ ริโภคในป 2561 และในอนาคต โดยรายงานชีใ้ หเห็น ถึงการปรับเปลี่ยนแนวคิดที่ผูบริโภคคาดหวังเกี่ยวกับ เทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่งจะเขามามีบทบาทมากขึ้นในชีวิต มนุษย การใชภาษากาย การแสดงออกทางสีหนา และ การออกเสียงสูงตํ่า จะชวยเสริมการควบคุมดวยเสียง และสัมผัสระหวางผูบริโภคกับอุปกรณเทคโนโลยี ทําให เกิดการปรับตัวไดงา ยขึน้ ในชวงเวลาทีค่ วามเปลีย่ นแปลง ของเทคโนโลยีเกิดขึ้นอยางมาก สําหรับแนวโนม 10 ประการที่จะเกิดขึ้นในป 2561 และในอนาคต ไดแก 1. ร่างกายของเราคือส่วนต่อประสาน ผูใชงาน ปจจุบันมากกวาครึ่งที่ใชอุปกรณสั่งงานดวยเสียงมีความ เชือ่ วาเราจะใชทา ทาง การแสดงออกทางสีหนา การออกเสียง สูงตํ่า และการสัม ผัส ในการทําปฏิสัมพันธกับอุปกรณ เทคโนโลยีตางๆ ราวกับเพื่อนมนุษย ผูใชงานจํานวน 2 ใน 3 สวนคิดวาแนวโนมเชนนีจ้ ะเกิดขึน้ ภายในอีก 3 ปขา งหนา

2. เสียงที่ได้ยิน 63 เปอร์เซ็นต์ของผู้บริโภค

อยากได้หูฟังที่ช่วยแปลภาษาแบบ Real-time และ

52 เปอรเซ็นตของผูบ ริโภคตองการทีจ่ ะใสหฟู ง เพือ่ ปองกัน เสียงรบกวนจากการกรนของคนในครอบครัว

3. เรียนรูต้ ลอดเวลา ผูบ ริโภค 30 เปอรเซ็นตกลาววา เทคโนโลยี ใหมทําใหพวกเขารูสึกลาหลัง แตในขณะเดียวกันเทคโนโลยีก็ยังทําให พวกเขาเปนผูเชี่ยวชาญไดอยางรวดเร็วเชนกัน ผูบริโภค 46 เปอรเซ็นต กล า วว า อิ น เทอร เ น็ ต ทํ า ให พ วกเขาได เ รี ย นรู  แ ละลื ม ทั ก ษะต า งๆ เร็วกวาที่เคยเปนมา 4. การออกอากาศทางสังคม โซเซียลมีเดียยังคงถูกเผยแพรดว ย ตัวกระจายภาพและเสียงแบบเดิม แตครึง่ หนึง่ ของจํานวนผูบ ริโภคกลาววา AI จะมีประโยชนในการตรวจสอบขอมูลทีถ่ กู โพสตลงบนโซเซียลเน็ตเวิรก 5. โฆษณาอัจฉริยะ การทําโฆษณาสินคาและผลิตภัณฑจะเปน ไปอยางชาญฉลาด ผูใ ชงานเทคโนโลยีเสมือนจริง (AR/VR) จํานวนกวา ครึ่งคิดวา การทําโฆษณาอัจฉริยะมีความเหมือนจริงมากจนแทบจะ สามารถใชทดแทนผลิตภัณฑจริงไดเลย 6. การสือ่ สารทีแ่ ปลกไป ผูบริโภคจํานวน 50 เปอรเซ็นตคดิ วา ไมสามารถบงบอกถึงความแตกตางระหวางมนุษยกับเครื่องจักรได ผูบ ริโภคจํานวน 40 เปอรเซ็นตยงั ถูกหลอกดวยสมารทโฟนทีม่ ปี ฏิกริ ยิ า โตตอบตออารมณของพวกเขาไดอีกดวย 7. สังคมแห่งการผ่อนคลาย 32 เปอรเซ็นตของนักเรียนและ คนทํางานคิดวา พวกเขาไมตองการมีชีวิตอยูเพื่อที่จะทํางานเทานั้น 40 เปอรเซ็นตกลาววา พวกเขาตองการหุนยนตที่จะสามารถทํางาน สรางรายไดใหแกพวกเขา และยังสามารถมีเวลาพักผอนอีกดวย 8. รูปถ่ายที่อยู่ในห้อง จินตนาการทําใหเราสามารถเดินเขาไป ดูรูปและหวนระลึกถึงอดีตได ผูบริโภคจํานวน 3 ใน 4 เชื่อวาภายในอีก 5 ปขางหนา พวกเขาจะไดใชเทคโนโลยีเสมือนจริง (Virtual Reality) เดินเขาไปดูรูปที่อยูในสมารทโฟนได 9. ถนนที่อยู่บนอากาศ การจราจรบนถนนทั่วไปในเมืองอาจ ติดขัด แตบนทองฟายังคงมีที่วาง ผูบริโภคจํานวน 39 เปอรเซ็นตคิดวา เมืองของพวกเขาตองการโครงขายถนนสําหรับโดรนและยานพาหนะ ทีบ่ นิ ได อยางไรก็ตาม พวกเขายังมีความกังวลวาโดรนจะหลนลงบนหัว ของพวกเขาสักวัน

29

Engineering Today January- February

2018


10. โลกแห่งอนาคต โลกแหงการเชือ่ มตอยอมตองการพลังงาน

มากกวา 80 เปอรเซ็นตของผูบริโภคเชื่อวา ภายในอีก 5 ปขางหนา เราจะมีแบตเตอรี่ที่สามารถใชงานไดอยางยาวนาน โดยไมตองกังวล เรื่องที่ชารจอีกตอไป ไมเคิล บิยอรน หัวหนางานฝายวิจยั หองปฏิบตั กิ ารวิจยั ผูบ ริโภค ของอีริคสัน กลาววา พวกเรากําลังเขาสูยุคแหงอนาคตที่อุปกรณตางๆ จะไมจาํ เปนตองมีปมุ เปดปดหรือสวิตชแตอยางใด แตจะถูกควบคุมดวย ระบบดิจิทัลผานสมารทโฟนแทน ในความเปนจริงแลว นี่อาจเปนการ เปลี่ยนแปลงที่จําเปนและยากสําหรับผูคนที่จะตองเรียนรูการใชงาน แบบใหมในทุกๆ อุปกรณที่ถูกเชื่อมตอเขากับ Internet of Things “ในวันนีค้ ณ ุ อาจรูส กึ วายุง ยากซับซอนในการใชงานอุปกรณตา งๆ แตในอนาคตอุปกรณเหลานี้จะเปนฝายเรียนรูเราเอง ในการที่จะ ทําใหเกิดขึ้นไดจริง อุปกรณจะตองสามารถถายทอดขอมูล ปฏิ สั ม พั น ธ ข องมนุษ ยที่มี ค วามซับซ อ นได เพื่อ ที่จะ ประมวลผลไปยังระบบ Cloud และใหการตอบสนอง อยางเปนธรรมชาติภายในเวลาอันรวดเร็ว ระดับ 1 ใน 1,000 ของ 1 วินาที และ ความตองการเหลานี้จะเพิ่มมากขึ้น ในยุคตอๆ ไป” ไมเคิล บิยอรน กลาว

These are the 10 trends for 2018 and beyond:

ทัง้ นีข้ อ มูลในรายงาน 10 แนวโนมผูบ ริโภคป 2561 มาจากหองปฏิบัติการวิจัยผูบริโภคของอีริคสัน ซึ่งทําการ วิจัยมามากกวา 22 ป และผลสํารวจออนไลนเกี่ยวกับ ผูใชอินเทอรเน็ตใน 10 เมืองทีมีอิทธิพลทั่วโลก เมื่อเดือน ตุลาคม 2560 การศึกษาในครั้งนี้อางอิงจากกลุมตัวอยาง ประชากรจํานวน 30 ลานราย ซึง่ เปนผูท มี่ กี ารปรับเปลีย่ น ไดเร็วกวาผูอื่น ทําใหกลุมตัวอยางมีความเขาใจในการทํา แบบสํารวจแนวโนมที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

5.

Intelligent Ads: Advertisements may

become too smart for their own good. More than half of augmented reality (AR)/virtual reality (VR) users think ads will become so realistic they will eventually replace the products themselves.

6. Uncanny Communication: 50 percent

think not being able to tell the difference between human and machine would spook them out. 40 percent would also be spooked by a smartphone that reacts to their mood.

7. Leisure Society: 32 percent of students

1. Your Body is the User Interface: More than half

and working people do not think they need a job to develop a meaningful life. 40 percent say they would like a robot that works and earns income for them, freeing up leisure time.

of current users of intelligent voice assistants believe that we will use body language, expression, intonation and touch to interact with tech devices as if they were fellow humans. Some 2 in 3 think this will happen within a mere 3 years.

able to walk into a photo and relive a memory. 3 out of 4 believe that in only 5 years they will use virtual reality to walk around in smartphone photos.

2. Augmented Hearing: 63 percent of consumers

would like earphones that translate languages in real time. 52 percent want to block out a family member’s snoring.

3. Eternal Newbies: 30 percent say new technology

makes it hard to keep their skills up to date. But it also makes us instant experts. 46 percent say the internet allows them to learn and forget skills faster than ever.

4. Social Broadcasting: Social media is being overrun

by traditional broadcasters. But half of consumers say AI would be useful to check facts posted on social networks.

Engineering Today January- February

2018

30

8. Your Photo is a Room: Imagine being

9. Streets in the Air: City streets may be

choked with traffic but the skies remain free. 39 percent think their city needs a road network for drones and ying vehicles. But almost as many worry that a drone would drop on their head.

10. The Charged Future: The connected

world will require mobile power. More than 80 percent believe that in only 5 years we will have long-lasting batteries that will put an end to charging concerns.


EEC • กองบรรณาธิการ

EECi แฟร์

เปิดฉากยิ่งใหญ่

ชูเทคโนโลยี นวัตกรรม และคน ร่วมพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออกอย่างยั่งยืน

พิธีเปดงาน “มหกรรมนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก” หรือ “EECi แฟร”

กระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี โดย สํานักงานพัฒนา เทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ หรือ จิสดา รวมกับ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และภาคเอกชน ในพืน้ ที่ จัดงาน “มหกรรมนวัตกรรมระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก” หรือ EECi แฟร ณ อุทยานรังสรรคนวัตกรรมอวกาศ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี มุงเปาใชเทคโนโลยี นวัตกรรม และ ทรัพยากรมนุษย เปนกลไกขับเคลื่อนเพื่อสรางการมี สวนรวมในการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออกตามนโยบายรัฐบาลอยางยัง่ ยืน พรอมสรางสมดุล ใหเกิดขึน้ ระหวางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดลอม รวมทั้งประสานความรวมมือจากหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมอยางเต็มกําลัง คาดวาตลอดระยะเวลาการ จัดงาน 5 วันจะสามารถดึงผูป ระกอบการทุกระดับ นักธุรกิจ นักลงทุน และประชาชนทั่วไปรวมงานไดไมตํ่ากวา 10,000 คน ดร.สุวิทย เมษินทรีย รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี กลาววา กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเล็งเห็นวาการ สงเสริมใหเกิดการวิจัยและพัฒนาทางดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมในพื้นที่ ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก จะเปนกลไกสําคัญประการหนึง่ ทีจ่ ะสงเสริมให ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกของไทยเปนศูนยกลางการคา การลงทุน และ กําลังคนของประเทศและภูมิภาค ใหสามารถตอบโจทยความตองการในการพัฒนา ทุกมิตขิ องประเทศไดอยางแทจริง ซึง่ การจัดงานในครัง้ นีส้ อดคลองกับนโยบายของรัฐบาล

31

โครงการทาเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด เฟส 3 คาดวาจะแลวเสร็จในป 2567

Engineering Today January- February

2018


ในสวนของการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ EEC ใหเปนเขตเศรษฐกิจชั้นนําของอาเซียน เพื่อสงเสริม 10 อุตสาหกรรม เปาหมายใหเปนกลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต โดยมุงเนนการ พัฒนาดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม ซึ่งมีความสําคัญ เปนอยางมากตอการนําพาประเทศกาวสู Thailand 4.0 “ในการพัฒนาพื้นที่ EEC ไมไดจํากัดเปาหมายแคการพัฒนา โครงสรางพื้นฐานทางกายภาพ ดานกฎหมาย กฎระเบียบ และสิทธิ ประโยชนใหแกภาคเอกชนเพือ่ ใหเกิดการลงทุนดานอุตสาหกรรมเทานัน้ หากแตมีเปาหมายที่สําคัญ คือ ประชาชนในพื้นที่จะตองมีวิถีชีวิตและ คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จากการยกระดับรายไดและมีความเปนเมืองที่นา อยูอาศัย” ดร.สุวิทย กลาว อยางไรก็ตาม ประเด็นสําคัญที่ทาทายในการพัฒนาพื้นที่ EEC คือการพัฒนาภาคการเกษตรและการยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชน ซึ่ ง ทั้ ง สองสว นนี้จะได รับผลกระทบจากการพัฒนา EEC มากที่สุ ด ทั้งในสวนของการใชทรัพยากรนํ้า ดิน และสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยน แปลงไป ซึง่ จะสงผลใหเกิดปญหาความเหลือ่ มลํา้ และความไมเปนธรรม จากการพัฒนา ดังนั้น รัฐบาลจึงจําเปนตองสรางการมีสวนรวมของ ภาคประชาชนในการพัฒนาพื้นที่ EEC ใหมากที่สุดตั้งแตเริ่มตนการ ดําเนินงาน ทั้งนี้ เพื่อหาจุดรวมที่สมดุลในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม รวมทั้งเปนการลดความขัดแยงที่อาจจะเกิดขึ้นจาก การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก ดร.สุวทิ ย กลาววา กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ตระหนัก อยูเสมอวา อุทยานรังสรรคนวัตกรรมอวกาศ หรือ SKP เปนพื้นที่ นวัตกรรมใหมในเขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกที่มีระบบ นิเวศนวัตกรรมที่เหมาะสมที่จะชวยสงเสริมใหเกิดการทําวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมรวมกันระหวางหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบัน การศึกษา รวมถึงชุมชนในพืน้ ที่ เพือ่ ชวยยกระดับและพัฒนาอุตสาหกรรม การบินและอวกาศของประเทศ รวมถึงสรางใหเกิดเปนอุตสาหกรรมใหม ซึ่งเปนการเพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขันของประเทศไทยและ อาเซียนใหเกิดขึ้นดวย ทั้งในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกและ ในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ทัว่ ประเทศ เปนการนําพาประเทศไปสูป ระตูแหงนวัตกรรม ควบคูก บั การยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชาชนในพืน้ ทีด่ ว ยเทคโนโลยี และนวัตกรรม ตลอดจนการพัฒนาที่ยั่งยืนตอไปในอนาคต อันเปน ปจจัยหลักสําคัญที่จะขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมไทยสูความมั่นคง มั่นคั่ง และยั่งยืน ดร.อานนท สนิทวงศ ณ อยุธยา ผูอํานวยการจิสดา กลาววา พื้นที่ EEC เปนโครงการขนาดใหญที่มีความสําคัญของรัฐบาลเพื่อเปน การปูพื้นฐานในการพัฒนาประเทศระยะยาว ทําใหหนวยงานตางๆ ใน พืน้ ทีม่ คี วามตืน่ ตัวไมวา จะเปนหนวยงานของรัฐ และเอกชน อุตสาหกรรม การทองเที่ยว หรือการกอสรางโครงสรางพื้นฐานตางๆ ทําใหจะมี โครงการเกิดขึ้นมากมาย

Engineering Today January- February

2018

3 32

การที่ EEC เป น โครงการขนาดใหญ ทํ า ให ภ าค ประชาชน ภาคอนุรักษสิ่งแวดลอมเกิดความวิตกกังวลวา จะสงผลกระทบตอสังคมในเชิงเศรษฐกิจฐานรากหรือไม โดยเฉพาะในเรือ่ งทรัพยากรปาไม ทะเล ชายฝง ทรัพยากร นํ้า และอื่นๆ ซึ่งการจะวิเคราะหเรื่องตางๆ เหลานี้ได จะไมใชกลไกเดิมๆ ไดอีกตอไป เนื่องจากกลไกในรูปแบบ เดิมนัน้ จะเนนทีก่ ารเชิญผูเ กีย่ วของมารวมประชุมเปนหลัก แตโครงการนี้จะมีผูเกี่ยวของมากมาย และอาจจะมีเปน หมื่นโครงการ ดังนั้น เราจึงตองมีระบบที่เปนกลไก ในการมาสังเคราะหขอ มูล เพือ่ ใหงา ยตอการวิเคราะห และหาผลกระทบในดานตางๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น ระบบที่วานี้ตองมี Intelligence เพราะฉะนั้น สิ่งที่จิ สดาจะทําในวันนี้ คือเราจะพั ฒนา ระบบที่มี Intelligence Policy Platform ซึง่ เปนระบบทีใ่ ชปญ  ญาของมนุษย หรือ ป ญญาประดิ ษฐ มาผสมผสานกัน เพื่อเสริมหรือทดแทนกลไกเดิมๆ ที่เราเคยใชกัน “ ดั ง นั้ น สิ่ ง ที่ จิ ส ด  า พยายามผลั ก ดั น ร ว มกั บ สํานักงานเพือ่ การพัฒนา

วีรพงศ ไชยเพิ่ม ผูวาการการนิคมอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย (กนอ.)


ėĤİĎĩĖû İĜėĝĄõĨü ĒĨ İ ĜĝĔĦø ĉ Ĥ ěĥ č ġ ġ õ ĞõėĜ øīġõĦė ċĽĦijğʀĒīĹčċĩĸ &&$ ĕĩ "DUJPOBCMF *OUFMMJHFODF 1PMJDZ 1MBUGPSN ğėī ġ "*1 1MBUGPSN ÿĪĸ û İďʇ č ĞĨĸ û øɿġčöʀĦûijğĕɿ üĪûĉʀġûĕĩ 5IBJMBOE ÿĪĸûüĤ ĉʀġûİĈĨčğčʀĦIJĈĖijþʀčěĥĉõėėĕöġûİėĦİġû İĒėĦĤ ýĤčĥĹč "*1 1MBUGPSN üĪûİďʇččěĥĉõėėĕİþĨûĒīĹčċĩĸ ijčėĤĖĤıėõĶ ġĦüüĤĕĩõĦėĒĪĸû ĒĦİċøIJčIJęĖĩö ġû ĉɿĦûďėĤİċĜĈʀěĖ ıĉɿüĤİďʇčõĦėİþīĸġĕIJĖûõĥčıęĤõĥč IJĈĖİýĒĦĤİċøIJčIJęĖĩijčİėīĸġû *OUFMMJHFODF ÿĪĸûĕĩõĦėijþʀõĥč ĕĦõijčİċøIJčIJęĖĩċĦûõĦėċğĦė ıĉɿİėĦĴĕɿĞĦĕĦėĊčĽĦĕĦijþʀĴĈʀ IJĈĖĉėû İėĦüĪûİġĦ *OUFMMJHFODF čĩĹ ĕĦijþʀijčõĦėĞĥûİøėĦĤğʃıęĤ ěĨİøėĦĤğʃöʀġĕĭęĉɿĦûĶ ÿĪĸûĔĦĖijč İĈīġččĩĹüĤĞĦĕĦėĊijþʀĴĈʀijč ėĤĈĥĎğčĪĸû İĒīĸġijğʀĐĭʀċĩĸİõĩĸĖěöʀġûĕĩøěĦĕİþīĸġĕĥĸčěɿĦčěĥĉõėėĕöġûİėĦ ĞĦĕĦėĊċĽĦĴĈʀüėĨû ıęĤďėĤĕĦć ďɷčĥĎüĦõčĩĹ üĤċĽĦijğʀĐĭʀċĩĸİõĩĸĖěöʀġû ċĥûĹ ğĕĈİõĨĈøěĦĕİöʀĦijüıęĤĖġĕėĥĎ IJĈĖĴĕɿĉġʀ ûĴďijþʀċĦûõĦĖĔĦĒıĎĎİĈĨĕĶư Ĉė ġĦččċʃ õęɿĦě

กนอ. เตรียมหาพื้นที่ 1.6 หมื่นไร่ สร้างนิคมฯ Smart Park

พร้อมพัฒนาท่าเรือมาบตาพุด เฟส 3 รับการลงทุน EEC ĈʀĦčõĦėčĨøĕġĬĉĞĦğõėėĕığɿûďėĤİċĜĴċĖ õčġ ĴĈʀİďɶĈıĐč õĦėĒĥĆčĦčĨøĕġĬĉĞĦğõėėĕĕĦĎĉĦĒĬĈ ÿĪûĸ İďʇčğčĪûĸ ijččĨøĕġĬĉĞĦğõėėĕ ċĩĸĕĩøěĦĕĞĽĦøĥāıęĤĜĥõĖĔĦĒĞĭûęĽĦĈĥĎĉʀčĶ öġûĒīĹčċĩĸėĤİĎĩĖûİĜėĝĄõĨü ĒĨİĜĝĔĦøĉĤěĥčġġõ ğėīġ &&$ IJĈĖİďʇčċĥĹûĄĦčõĦėĐęĨĉġĬĉĞĦğõėėĕ ďɶIJĉėİøĕĩöčĦĈijğāɿġĥčĈĥĎċĩĸ öġûİġİþĩĖ ıęĤġĥčĈĥĎ öġûİġİþĩĖ ĉĤěĥčġġõİýĩĖûijĉʀ ċĥĹûĖĥûĕĩøěĦĕĞĽĦøĥāĉɿġõĦėĒĥĆčĦijčĈʀĦččěĥĉõėėĕ İċøIJčIJęĖĩ ġĬĉĞĦğõėėĕċĩĸİþīĸġĕIJĖûõĥĎėĤĎĎĈĨüĨċĥę ĉɿġİčīĸġûĴďĊĪûõĦė İďʇčĜĭčĖʃõęĦûõĦėĒĥĆčĦİĜėĝĄõĨüöġûďėĤİċĜ ÿĪĸû õčġ ĒĎěɿĦ ijč ďɷ ıčěIJčʀĕõĦėęûċĬčijčĒīĹčċĩĸĈĥûõęɿĦě čĥõęûċĬčĖĥûøûijğʀøěĦĕ ĞčijüċĥĹûijčõĦėęûċĬčıęĤõĦėöĖĦĖČĬėõĨüijčėĤĈĥĎċĩĸčɿĦĒġijü IJĈĖİýĒĦĤ ijčõęĬĕɿ ġĬĉĞĦğõėėĕĖĦčĖčĉʃĴēēɻĦ ġĬĉĞĦğõėėĕõĦėĎĨčıęĤIJęüĨĞĉĨõĞʃ ėěĕċĥĹûġĬĉĞĦğõėėĕċĩĸijþʀčěĥĉõėėĕıęĤİċøIJčIJęĖĩöĥĹčĞĭû ěĩėĒûĜʃ ĴþĖİĒĨĕĸ Đĭěʀ Ħɿ õĦėõĦėčĨøĕġĬĉĞĦğõėėĕığɿûďėĤİċĜĴċĖ õčġ õęɿ Ħ ěěɿ Ħ ijčďɷ čĩĹ õčġ üĪ û ĴĈʀ İ ĉėĩ Ė ĕõĦėęûċĬ č ijč

33

ĒīčĹ ċĩčĸ øĨ ĕģ ĈĥûõęɿĦěĈʀěĖõĦėüĥĈĞėėûĎďėĤĕĦćõěɿĦ ęʀĦčĎĦċ İĒīġĸ ĒĥĆčĦ IJøėûõĦėijğāɿ ĴĈʀıõɿ IJøėûõĦėĒĥĆčĦ čĨøĕġĬĉĞĦğõėėĕ 4NBSU 1BSL ijčİöĉČĬėõĨüġĬĉĞĦğõėėĕ öġûčĨøĕġĬĉĞĦğõėėĕĕĦĎĉĦĒĬĈ ü ėĤĖġû ĎčĒīčĹ ċĩ ĸ Ĵėɿ ûĎďėĤĕĦćõĦėęûċĬč ęʀĦčĎĦċ İĒīĸġėġûėĥĎ ġĬĉĞĦğõėėĕijğĕɿığɿûġčĦøĉĉĦĕİďɻĦğĕĦĖöġûėĥĄĎĦę İþɿč ġĬĉĞĦğõėėĕĈĨüċĨ ęĥ ġĬĉĞĦğõėėĕğĬčɿ Ėčĉʃ ıęĤġĬĉĞĦğõėėĕ ċĩĕĸ õĩ ĦėijþʀĒęĥûûĦčĞĤġĦĈijčõėĤĎěčõĦėĐęĨĉıęĤİďʇčĕĨĉė ĉɿġĞĨĸûıěĈęʀġĕ ĞĽĦğėĥĎijčďʅüüĬĎĥčIJøėûõĦėģ ġĖĭɿijčöĥĹčĉġč õĦėĜĪõĝĦøěĦĕİďʇčĴďĴĈʀ 'FBTJCJMJUZ 4UVEZ ıęĤġġõıĎĎ IJøėûĞėʀĦûĒīčĹ ĄĦčİĎīġĹ ûĉʀč $PODFQUVBM %FTJHO ĒėʀġĕċĥûĹ õĦėüĥĈċĽĦėɿĦûėĦĖûĦčõĦėěĨİøėĦĤğʃĐęõėĤċĎĞĨĸûıěĈęʀġĕ öġûIJøėûõĦėģ &*" øĦĈěɿĦüĤĈĽĦİčĨčõĦėõɿġĞėʀĦûıęʀě İĞėķüĔĦĖijčďɷ Ğɿ ěčġĩ õğčĪĸûIJøėûõĦėøī ġ IJøėûõĦėĒĥĆčĦċɿĦİėīġ ġĬĉĞĦğõėėĕĕĦĎĉĦĒĬĈ ėĤĖĤċĩĸ ÿĪĸû õčġ ĴĈʀİĉėĩĖĕõĦė ĒĥĆčĦĒīĹčċĩĸėġûėĥ Ď ċɿĦİċĩĖĎİėīġĴěʀďėĤĕĦć Ĵėɿ İĒīĸġijğʀĞĦĕĦėĊėġûėĥĎøěĦĕĉʀġûõĦėõʁĦÿČėėĕþĦĉĨ -/( ċĩĸďėĤİċĜĴċĖüĽĦİďʇčĉʀġûĕĩõĦėčĽĦİöʀĦďėĤĕĦć ęʀĦčĉĥč ďɷijčġĩõĴĕɿĊĪû ďɷöʀĦûğčʀĦ ĒėʀġĕċĥĹûėġûėĥĎõĦė öĖĦĖĉĥěĈʀĦčõĦėöčĞɿûĞĨčøʀĦİğęěıęĤõʁĦÿČėėĕþĦĉĨċİĩĸ ďʇč ěĥĉĊĬĈĎĨ ĞĽĦøĥāöġûġĬĉĞĦğõėėĕďɶIJĉėİøĕĩıęĤġĬĉĞĦğõėėĕ ġīĸčĶ ċĩĸİõĩĸĖěöʀġûijčĒīĹčċĩĸčĨøĕģ ĕĦĎĉĦĒĬĈ ıęĤĎėĨİěć ijõęʀİøĩĖû İĎīĹġûĉʀčüĤijþʀİûĨčęûċĬčėěĕďėĤĕĦć ęʀĦčĎĦċ ıęĤĒėʀġĕċĩĸüĤİďɶĈijğʀİġõþčİöʀĦĕĦėɿěĕęûċĬč õĦėõɿġĞėʀĦûIJøėûĞėʀĦûĒīĹčĄĦčıęĤõĦėĒĥĆčĦċɿĦİċĩĖĎİėīġ ĴĈʀijčďɷ IJĈĖøĦĈěɿĦüĤıęʀěİĞėķüijčďɷ ıęĤİĕīġĸ ċɿĦİėīġģ İďɶĈĈĽĦİčĨčõĦėıęʀěüĤĞĦĕĦėĊėġûėĥĎõĦėöčĊɿĦĖ ĞĨčøʀĦĴĈʀİĒĨĕĸ ĕĦõġĩõďėĤĕĦć ęʀĦčĉĥčĉɿġďɷ ÿĪûĸ ĞĤċʀġč ijğʀİğķčĊĪûĜĥõĖĔĦĒõĦėijğʀĎėĨõĦėöġûċɿĦİėīġġĬĉĞĦğõėėĕ ĕĦĎĉĦĒĬĈċĩĕĸ øĩ ć Ĭ ĔĦĒıęĤİþīġĸ ĕIJĖûõĦėöčĞɿûċĥûĹ ijčďėĤİċĜ ıęĤĉɿĦûďėĤİċĜ Ưijčďɷ õčġ ĕĩĒīĹčċĩĸċĩĸĒėʀġĕėġûėĥĎõĦėęûċĬč ijčėĤİĎĩĖûİĜėĝĄõĨüĒĨİĜĝĔĦøĉĤěĥčġġõĴěʀıęʀěďėĤĕĦć Ĵėɿ ĒėʀġĕċĥĹûİĉėĩĖĕıĐčõĦėĞėėğĦĒīĹčċĩĸİĒĨĸĕİĉĨĕ ĞĽĦğėĥĎĞėʀĦûčĨøĕģ ijğĕɿġõĩ ďėĤĕĦć Ĵėɿ čġõüĦõčĩĹ ĖĥûĕĩıĐčċĩĸüĤĞėėğĦĒīĹčċĩĸİĒīĸġõĦėüĥĈĉĥĹûĞěčġĬĉĞĦğõėėĕ İöĉġĬĉĞĦğõėėĕ ıęĤġīĸčĶ ġĩõďėĤĕĦć Ĵėɿ ÿĪĸû ċĥĹûğĕĈčĩĹüĤþɿěĖėġûėĥĎøěĦĕĉʀġûõĦėöġûčĥõęûċĬčċĩĸüĤ İöʀĦĕĦęûċĬčijčėĤĈĥĎĉɿĦûĶ ijčĒīĹčċĩĸĈĥûõęɿĦěċĥĹûijčďɷčĩĹıęĤ ďɷġīĸčĴĈʀġĖɿĦûİğĕĦĤĞĕư ěĩėĒûĜʃ õęɿĦěċĨĹûċʀĦĖ

Engineering Today January- February

2018


Technology • *คริส เชลลีอา

แมชชีนเลิร์นนิ่ง

จะกลายเป็นเทคโนโลยีที่สําคัญ

ที่สุดในปี 2561 นับตั้งแต่โลกใบนี้ มีอินเทอร์เน็ต

คริส เชลลีอา

รองประธานอาวุโสและหัวหน้าสถาปนิก คอร์เทคโนโลยีและคลาวด์ ออราเคิล เอเชีย แปซิฟิก

นับตั้งแตอินเทอรเน็ตเกิดขึ้นมาบนโลกนี้ ยังไมมีเทคโนโลยีใดจะพลิกโฉม วงการไดเทา แตในป 2561 แมชชีนเลิรนนิ่งจะเปนตัวกําหนดความเปนไปของ เทคโนโลยี จะเขามาเปลี่ยนแปลงการใชชีวิตและการทํางานของเราไดมากกวา เทคโนโลยีใดๆ นับจากการเกิดขึ้นของอินเทอรเน็ต หากเราตองการจะเขาใจวาทําไมจึงเปนเชนนั้น กอนอื่นเราตองลืมคํากลาวที่ กระทบความรูสึกเราเชน “หุนยนตจะทําใหเราตกงาน” ไปเสียกอน เพราะนวัตกรรม และการใชเครือ่ งไมเครือ่ งมือตางๆ เพือ่ ทําใหชวี ติ งายขึน้ เปนเครือ่ งบงชีถ้ งึ การพัฒนา มาตลอดจากอดีตถึงปจจุบัน ผานการปฏิวัติตางๆ ทั้งในยุคเกษตรกรรมและยุค

อุตสาหกรรม วันนี้เราอยูในยุคของการปฏิวัติ ข อ มู ล แม ค วามก า วหน า ต า งๆ อาจทํ า ให บทบาทบางอยางของผูค นเปลีย่ นไป แตความ รุดหนาก็นาํ มาซึง่ การสรางงานกอใหเกิดรูปแบบ ทางธุรกิจและอุตสาหกรรมใหมๆ อยางตอเนือ่ ง แมชชีนเลิรน นิง่ จะชวยเพิม่ ศักยภาพของมนุษย และชวยใหเราดําเนินชีวติ ไดอยางมีประสิทธิภาพ มากขึ้น แมชชีนเลิรน นิง่ อยูร อบๆ ตัวเรา ทํางาน ผานซอฟตแวรในโทรศัพทของเรา ในรถ และ ในบาน รวมถึงซอฟตแวรที่เราใชทํางานอยู

*รองประธานอาวุโสและหัวหนาสถาปนิก, คอรเทคโนโลยีและคลาวด ออราเคิล เอเชีย แปซิฟก

Engineering Today January- February

2018

34


ทุกวัน ซึ่งชวยใหเราเขาถึงขอมูลเพื่อใชขอมูลในการตัดสินใจเรื่อง ตางๆ ไดถูกตองและรวดเร็วขึ้น จากผลสํารวจของการทเนอร ภายในป 2563 เทคโนโลยี ดาน AI จะไดรับการนํามาใชใน “ผลิตภัณฑดานซอฟตแวรใหมๆ เกื อ บทุก ชิ้น ” ซึ่ง ถือ เปน ชว งเวลาชี้ช ะตาของผูใ ห บ ริ การดาน ซอฟตแวร และเปนจุดเปลี่ยนสําคัญของธุรกิจตางๆ ที่เปนลูกคา ของผูใหบริการดานซอฟตแวรนั้นๆ การเปลีย่ นแปลงทีส่ าํ คัญตางๆ อาจถึงจุดพลิกผันดวยหุน ยนต และรถยนตไรคนขับ ซึ่งจะเปนการพัฒนาหลักที่สําคัญตอไปใน อีกหลายปขางหนา แตปจจุบันแมชชีนเลิรนนิ่งกําลังเปลี่ยนโลก รอบตัวเราอยางสิ้นเชิง การที่แมชชีนเลิรนนิ่งมีความสามารถใน การลดเวลาการทํางานและเพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสินใจได อยางมากนีอ้ าจดูนา สนใจนอยกวารถยนตไรคนขับ แตความสามารถ เหลานี้คือสิ่งที่จะทําใหแมชชีนเลิรนนิ่งเปนเทคโนโลยีที่กําหนด การเปลี่ยนแปลงแหงยุคเลยทีเดียว ธุรกิจใดก็ตามที่หยุดอยูกบั ที่จะไมสามารถแขงขันในตลาด ไดเลย องคกรตางๆ ที่ใชสมรรถนะของแมชชีนเลิรนนิ่งจะกาวไป ขางหนาอยางรวดเร็ว จากการที่สามารถตัดสินใจไดอยางถูกตอง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น การใชแมชชีนเลิรนนิ่งกําลังเพิ่มมากขึ้นควบคูกับการใช คลาวดคอมพิวติง้ การผสมผสานและการทํางานรวมกันของคลาวด แอพพลิเคชั่น แพลตฟอรมตางๆ และโครงสรางพื้นฐานไดอยาง ลงตั ว เป น สิ่ ง สํ า คั ญมากต อ การเติบโตและประสิ ท ธิ ภาพของ แมชชีนเลิรนนิ่ง เชน องคกรใชแมชชีนเลิรนนิ่งเพื่อรวบรวมขอมูล ใหมากที่สุด ทําใหระบบไซโลหมดไป และวางระบบขอมูลจาก ทั่วองคกร รวมถึงระบบเครือขายตางๆ ของตน การพยายามที่จะนําแมชชีนเลิรนนิ่งมาใชภายในองคกร เหมือนการพยายามที่จะปลูกพืชในที่มืด อัลกอริทึ่มตางๆ ที่จะใช ขับเคลื่อนแมชชีนเลิรนนิ่งจําเปนตองใชขอมูลมหาศาลจากแหลง ต า งๆ มากที่ สุ ด เท า ที่ จ ะเป น ไปได ยิ่ ง มี ข  อ มู ล มากเท า ไร แมชชีนเลิรนนิ่งก็จะทํางานไดชาญฉลาดมากขึ้นเทานั้น และจะ ชวยใหองคกรตัดสินใจไดอยางมีศักยภาพมากขึ้น การเติบโตและการใชงานคลาวดเทคโนโลยีอยางเต็มที่ เปนอีกเหตุผลหนึ่งที่จะทําใหป 2561 เปนปของแมชชีนเลิรนนิ่ง คลาวดเปนหนึง่ ในกลยุทธสาํ คัญดานไอทีของธุรกิจเกือบทุกแขนง เปนเทคโนโลยีทขี่ บั เคลือ่ นองคกรใหเปลีย่ นไปสูด จิ ทิ ลั และสามารถ ใชประโยชนจากขอมูลที่ตนมีอยู หากบิ๊กดาตาคือปจจัยที่ทําใหเรามั่นใจวาจะพบกับความ สําเร็จอยางงดงามจากการเปลี่ยนแปลงสูดิจิทัล และหากเปรียบ

คลาวดเปนฐานหลักในการสรางการเปลี่ยนแปลงสูดิจิทัลแลว แมชชีนเลิรนนิ่งก็คือเครื่องมือแรกที่พัฒนาและใชงานไดอยาง แทจริง เพื่อปลดล็อกความสําเร็จเหลานั้นไดอยางเหมาะสมกับ การใชงาน กลยุทธมีความสําคัญที่สุด กุญแจสําคัญที่จะใชประโยชน จากแมชชีนเลิรนนิ่งไดอยางเต็มประสิทธิภาพคือการมองหา แอพพลิเคชั่นที่จะกอใหเกิดมูลคาเชิงกลยุทธในระยะยาว ซึ่งเปน รากฐานที่จะเปลี่ยนฟงกชันหรือกระบวนการสําคัญตางๆ ภายใน ธุรกิจ มากกวาที่จะใหคุณภาพหรือคุณลักษณะที่นาประทับใจ เพียงชวงเวลาสั้นๆ เทานั้น การที่สามารถลดเวลาในการคาดการณทางธุรกิจไดอยาง ถูกตองแมนยํา มีผลตอประสิทธิภาพในการวางแผนงาน การ กําหนดงบประมาณและทรัพยากรของธุรกิจ แตทั้งหมดทั้งมวลนี้ รวมกัน จะใหผลตอบแทนทางการเงินที่สูงมากตอบริษัท คุณสมบัติที่ดีที่สุดของแมชชีนเลิรนนิ่งคือใชงานไดเกือบ จะไมมขี ดี จํากัด เมือ่ ใดก็ตามทีม่ ผี ลการประเมินจากการวิเคราะห และการทําความเขาใจขอมูลอยางรวดเร็วก็จะนํามาใชงานได หลากหลาย เมื่อใดก็ตามที่มีผลลัพธจากการระบุแนวโนมหรือ ความผิ ดปกติต างๆ ในชุด ขอมูลขนาดใหญ อาจมีผลตอการ เปลี่ยนแปลงอยางหนึ่งอยางใด ไมวาจะเปนการวิจัยทางคลินิก ไปจนถึงการปฏิบัติตามกฎระเบียบและการรักษาความปลอดภัย ลูกคาเกือบทุกรายเผชิญกับคําถามจํานวนมากที่ตกอยูใน สภาพทีไ่ มสามารถแยกหมวดหมูค าํ ถามออกมาไดหมด แตคาํ ถาม หลายประเภทสามารถคาดการณและตอบไดงายๆ ดวยการใช แชทบอตตางๆ ที่ขับเคลื่อนโดยแมชชีนเลิรนนิ่ง ชวยใหสามารถ ตอบสนองความต อ งการของลู ก ค า ได อ ย า งถู กต อ งเฉี ย บคม ชวยลดเวลาและลดความยุง ยากใหกบั ลูกคาและเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการทําธุรกิจ นอกจากนี้ยังชวยใหฝายใหบริการลูกคารับมือ กับคํารองเรียนที่เฉพาะเจาะจงและตองการความชวยเหลือจาก คนเทานั้น ตัวอยางที่ดูเหมือนจะจับตองไดมากที่สุดเกี่ยวกับแมชชีน เลิรน นิง่ คือการยกระดับวิธกี ารทํางานของคนใหมปี ระสิทธิภาพขึน้ แมชชีนเลิรนนิ่งไมไดมาแทนที่คนแตมันสามารถทําใหผูคนทําสิ่ง ตางๆ ไดดีขึ้น หากจะมีความผิดพลาดใดเกิดจากแมชชีนเลิรนนิ่ง ความ ผิดพลาดนัน้ ก็คอื การทีอ่ งคกรละเลยและไมสนใจนําแมชชีนเลิรน นิง่ มาใช ป 2561 จะเปนปที่ธุรกิจที่ยังไมไดใชแมชชีนเลิรนนิ่งตางมี พันธะที่จะเสาะหาและปลดล็อกอุปสรรคตางๆ เพื่อใชประโยชน จากแมชชีนเลิรนนิ่งสรางมูลคาเพิ่มใหกับธุรกิจตน

35

Engineering Today January- February

2018


Industry 4.0 • กองบรรณาธิการ

ไทยโพลิเอททีลีน

เลือกโซลูชั่นชไนเดอร์ อิเล็คทริค

ช่วยบริหารจัดการผลิตแบบอัตโนมัติ รองรับการผลิตที่สูงขึ้น

ฤกษ กาญจโนปถัมภ ผูจัดการสวนผลิต LDPE บริษัท ไทยโพลิเอททีลีน จํากัด

Engineering Today January- February

2018

36

บริษทั ไทยโพลิเอททีลนี จํากัด ผูผ ลิตเม็ดพลาสติก โพลีเอทิลีน ยักษใหญของประเทศ ในเครือซิเมนตไทย หรือ เอสซีจี วางใจใชโซลูชั่น จากชไนเดอร อิเล็ คทริค บริหารจัดการการผลิตใหงายขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพเรื่อง ความปลอดภัย รองรับลูกคาทีเ่ ติบโตขึน้ และเพือ่ เปาหมาย ทางธุรกิจในการสรางความยั่งยืนและมั่นคง ตอบโจทย ธุรกิจยุค 4.0 บริษัท ไทยโพลิเอททีลีน จํากัด เปนบริษัทในเครือ ของ SCG ที่ ผ ลิ ต เม็ ด พลาสติ ก โพลี เ อทิ ลี น ได รั บ การ รับรอง ISO 9001, ISO 14001, TIS/OHSAS 18001 กอตัง้ เมือ่ 1 พฤศจิกายน 2526 ตัง้ อยูใ นนิคมอุตสาหกรรม อารไอแอล มาบตาพุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง ปจจุบัน มีโรงงานผลิตเม็ดพลาสติกจํานวน 9 โรงงาน ดวยกระบวน การผลิ ต ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพที่สุด ปอนใหกับ ผูผลิตบรรจุภัณฑทั่วประเทศ และสงออกตางประเทศ เพื่อ รองรับการขยายตัวของตลาดอาหารและเครื่องดื่มที่ตองใช โพลีเอทิลีนเปนวัสดุสําคัญในการผลิตบรรจุภัณฑ ในการ ปองกันความชื้นจากภายนอก ชวยผนึกใหกลองแนนสนิท ชวยปองกันการรั่วซึมของของเหลว


ฤกษ กาญจโนปถัมภ ผูจัดการสวนผลิต LDPE บริษัท ไทยโพลิเอททีลีน จํากัด กลาววา เรามีเปาหมาย ในการเพิ่มอัตราการผลิตเม็ดพลาสติกใหสูงขึ้นจากปที่ ผานมา เพื่อใหเพียงพอกับอัตราการเติบโตของตลาด และ เพิม่ สัดสวนในการผลิตเม็ดพลาสติกทีเ่ ปน HVA หรือ High Value Added Product and Service ใหมากขึน้ โดยเลือก ใช เ ทคโนโลยี ก ารผลิ ตที่พิ เ ศษ รวมถึง การเปลี่ย นมาใช แพลตฟอรม EcoStruxure™ Plant ของชไนเดอร อิเล็คทริค เพื่อควบคุมกระบวนการผลิตของโรงงานแบบอัตโนมัติ “การเพิ่มยอดการผลิตเปนสิ่งที่ทาทายอยางมากใน กระบวนการอุตสาหกรรม เพราะระบบไดถกู กําหนดเอาไว หมดแลว ดังนั้นทาง ไทยโพลิเอททีลีน จึงขยายโรงงาน และนําเทคโนโลยี EcoStruxure™ Plant เขามาควบคุม กระบวนการผลิต ซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญของ โรงงานทีอ่ าจจะมีผลกระทบตอทัง้ การผลิตและการทํางาน ของพนักงานในการเปดรับระบบใหม แตผลลัพธคอื โซลูชนั่ ของ ชไนเดอร อิเล็คทริค กลับชวยใหการทํางานงายขึ้น พนักงาน เจาหนาที่ ที่ดูแลสามารถเรียนรูและเขาใจระบบ ไดดีกวาระบบเดิม ไมวาจะเปนเครื่องมือในการใชงาน กราฟกที่เขาใจงาย ควบคุม และติดตามงาย” ฤกษ กลาว โซลูชั่นที่ไทยโพลิเอททีลีนเลือกใช้ บริหารจัดการกระบวนการผลิต ไทยโพลิเอททีลีน ใช EcoStruxureTM Plant ในการ ควบคุมกระบวนการผลิตแบบอัตโนมัติทั้งกระบวนการ ดํ า เนิ น งาน ตอบโจทย ยุค IIoT ตั้ ง แต การปอ นวัตถุ ดิบ การควบคุมการผลิต การแกไขปญหา การแจงเตือน ในแบบ อัตโนมัติ ดวยรูปแบบทีใ่ ชงานงาย สามารถดูมอนิเตอรและ ควบคุมจากศูนยควบคุมกลางเพียงแหงเดียว พรอมสามารถ ติ ด ตามควบคุ ม ระบบต า งๆ ได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตลอดเวลา ชวยตรวจจับกระบวนการผลิตตางๆ ที่ผิดปกติ เชน แรงดัน และทราบขอมูลเชิงลึกทั้งหมดของกระบวน การผลิต ตั้งแตตนทางไปจนถึงปลายทาง รวมทั้งสถานะ ของทั้งกระบวนการ ทําใหผูใชงานสามารถประมวลผล เพื่อการจัดการอยางมีประสิทธิภาพและแมนยํา และ เมื่อเกิดปญหา โซลูชั่นของชไนเดอร อิเล็คทริค จะเขาไปแกปญหาไดโดยอัตโนมัติ รวมถึง ประหยัดเวลาในการทํารายงาน ใหกับผูบริหารระดับสูง

ไดในรูปแบบเชิงลึก โดยโซลูชั่นที่ไทยโพลิเอททีลีน เลือกจาก ชไนเดอร อิเล็คทริค มาใชในการควบคุมกระบวนการผลิต ประกอบดวย Foxboro DCS นวัตกรรมของ ชไนเดอร อิเล็คทริค ที่อยูในแวดวงกระบวนการ อัต โนมัติ ทางอุต สาหกรรมมานาน ชวยปองกันความผิด พลาดของ กระบวนการผลิต ใหความพรอมในการควบคุม และชวยยกระดับขีด ความสามารถของพนักงาน ตลอดจนการควบคุมการดําเนินงานใหมี ความตอเนื่อง ซึ่งเปนแพลตฟอรมที่มีประสิทธิภาพ ชวยยกระดับ และ ปกปองมูลคาการผลิต มาพรอมระบบรักษาความปลอดภัยบนไซเบอร ที่แข็งแกรง ปองกันภัยคุกคามและการแฮกจากผูไมหวังดี ผสานการ ควบคุมกระบวนการทางอุตสาหกรรมแบบครบวงจร ถูกออกแบบมา เพื่อความยืดหยุนในการใชงานสูงสุด สามารถเลือกรูปแบบการทํางาน ไดทั้งแบบสถาปตยกรรม แบบรวมศูนย และแบบกระจาย พรอมความ สามารถในการวินิจฉัยการจัดการซํ้าซอน และตรวจสอบขอ ผิดพลาดที่เกิดขึ้นได ชวยใหการดําเนินงานไดอยางตอเนื่อง พรอมรองรับแอพพลิเคชั่นอุตสาหกรรมทุกประเภท ทํางานผสานรวมกับระบบรักษาความปลอดภัย กับ Triconex ESD ไดอยางเปนอันหนึ่ง อันเดียวกัน ใหความสมบูรณใน การดําเนินงานเพื่อการ ผลิตที่ปลอดภัย

37

Engineering Today January- February

2018


และเชื่อถือได พรอมทั้งใหขอมูล เชิ ง ลึกด า นการปฏิ บัติง านที่ร วดเร็ว และแมนยํา สวน Triconex ESD เปนการปดระบบแบบฉุกเฉิน (Emergency Shutdown: ESD) และรองรับระบบไฟและ แกส (FGS) ระบบการจัดการการเผาไหม (BMS) โซลูชั่น ป อ งกั น แรงดั น สู ง จนถึ ง การควบคุ ม เครื่ อ งกลแบบ เทอรโบแมชชีนเนอรี่ (TMC) เชน การควบคุมคอมเพรสเซอร (Compressor) เปนตน นอกจากนี้ยังชวยใหกระบวนการ ผลิตสามารถดําเนินงานไปไดอยางตอเนือ่ ง เพราะสามารถ ตรวจพบขอผิดพลาดกอนที่จะเกิดขึ้น ยืดอายุการใชงาน ของสินทรัพย จากการหยุดชะงักของระบบ พรอมชวยลด ค า ใช จ  า ยด า นการลงทุ น และการดํ า เนิ น งาน โดยใช แพลตฟอรมเดียวแตสามารถรองรับงานไดหลายประเภท

Thailand 4.0 ใหไดครอบคลุมที่สุด ทั้งนี้การพัฒนาอุตสาหกรรม ไปในทิศทางของ Thailand 4.0 จําเปนตองใชเทคโนโลยีอันทันสมัย เขามาชวยเพือ่ ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ดังนัน้ การนําเทคโนโลยีตา งๆ เขามาชวยในการพัฒนากระบวนการผลิตของไทยโพลิเอททีลีนใหมี ประสิทธิภาพเพื่อตอบโจทยเศรษฐกิจของประเทศเปนที่สิ่งเราคิดไว อยูเสมอ “การที่ไทยโพลิเอททีลีน เลือกใชบริการและโซลูชั่นจากชไนเดอร อิเล็คทริค เนือ่ งจากชไนเดอรฯ เปนบริษทั ทีม่ ชี อื่ เสียงดานระบบควบคุม อัตโนมัติ และการจัดการพลังงานระดับแถวหนาของโลก ทําใหเรามัน่ ใจ ในระยะยาววา โซลูชั่นจาก ชไนเดอร อิเล็คทริค นี้จะชวยใหสามารถ ดําเนินการผลิตไดอยางราบรืน่ ลดความเสีย่ งจากการ Shut down ของ ระบบ และใชงานงาย ใหความพรอมในการควบคุม มีความยืดหยุนใน การใชงาน” ฤกษ กลาวทิ้งทาย

ไทยโพลิเอททีลีนพัฒนา กระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์นโยบาย Thailand 4.0 ฤกษ กลาวตอวา ไทยโพลิเอททีลีน ตั้งเปาหมาย โครงการต อ เนื่ อ งในการพั ฒนากระบวนการผลิ ต ให ไ ด ประสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น และเดิน หนาตอบโจทย น โยบาย

Engineering Today January- February

2018

38


SME • กองบรรณาธิการ

ซีพี ออลล์ จับมือภาครัฐมอบรางวัล “เซเว่น อีเลฟเว่น เอสเอ็มอีไทยยั่งยืน 2560” พร้อมสนับสนุน SME เต็มสูบ ซีพี ออลล ตอกยํ้านโยบาย SME ไทย จับมือสํานักงาน สงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) กรมสงเสริม อุตสาหกรรม (กสอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม และสมาคมการ คาปลีกและเอสเอ็มอีทนุ ไทย จัดโครงการรวมพลังสงเสริม SME “เซเวน อีเลฟเวน เอสเอ็มอีไทยยั่งยืน 2560” ปที่ 2 พรอม มอบรางวัลใหแก SME จําหนายสินคาผานชองทางรานเซเวน อีเลฟเวนและทเวนตี้โฟร ชอปปง ธานิ นทร บู รณมานิ ต กรรมการผู จัด การและประธาน เจาหนาที่บริหาร บริษัท ซีพี ออลล จํากัด (มหาชน) ผูกอตั้ง รานเซเวน อีเลฟเวน ในประเทศไทย กลาววา การดําเนินงานของ ซีพี ออลล ไดมุงสรางความแข็งแกรงใหกับกลุมวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดยอม หรือ SME มาอยางตอเนื่อง ปจจุบันเซเวนฯ ไดสงเสริมผูประกอบการรายยอยกวา 2,000 ราย ดวยการเปน ชองทางจําหนายสินคา SME ผานรานเซเวน อีเลฟเวน และ ทเวนตี้โฟร ชอปปง ทั้งสิ้นกวา 22,000 รายการ มีสินคา SME หลายประเภทที่ไดรับความนิยมจากผูบริโภค เชน ผลไมแปรรูป เครื่ อ งดื่ ม เบเกอรี่ ผลิ ต ภั ณ ฑ เ สริ ม ความงาม ผลิ ต ภั ณ ฑ ชุ ด เครือ่ งนอน โดยเฉพาะสินคาเกษตรแปรรูปก็ไดรบั ความนิยมจาก ประชาชนจํานวนมาก สําหรับในป 2561 นี้ บริษัทฯ ยังคงมุงมั่น ที่จะยกระดับคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑอยางตอเนื่อง ล า สุ ด ซี พี ออลล ได ร ว มกับ สํา นัก งานสงเสริมวิ สากิจ ขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) กรมสงเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม สมาคมการคาปลีกและเอสเอ็มอี ทุนไทย และบริษัท ทเวนตี้โฟร ชอปปง จัดโครงการรวมพลัง สงเสริม SME “เซเวน อีเลฟเวน เอสเอ็มอีไทยยั่งยืน 2560” ปที่ 2 เพื่อมอบรางวัลสงเสริมและยกยองเชิดชู SME ที่จําหนาย สินคาผานชองทางรานเซเวน อีเลฟเวนและทเวนตี้โฟร ชอปปง ดวยความมุงมั่นพัฒนาสินคาใหมีคุณภาพและมีการสรางสรรค ผลิตภัณฑอันโดดเดน โดยมีรางวัล 8 ประเภท คือ SME ยั่งยืน SME ดาวรุง SME สินคาเกษตร SME ผลิตภัณฑชุมชน SME ความคิดสรางสรรค SME ผลิตภัณฑสุขภาพ SME งานระบบ และ SME รีเทล อีควิปเมนต (Retail Equipment)

โดยมีรางวัลทั้งสิ้น 14 รางวัล ไดแก รางวัล SME ยั่งยืน ไดแก เครือ่ งดืม่ “พี เฟรช” จากบริษทั ซัมเมอรสปริง จํากัด รางวัล SME ดาวรุง ไดแก เครือ่ งดืม่ นํา้ เตาหู “โทฟุซงั ” จาก บริษทั โทฟุซงั จํากัด และ เครื่องสําอาง “นามิ เมคอัพ โปร บีบี เวท ทู พาวเดอร” จาก บริษทั เค แอนด บี คอสเมติก จํากัด รางวัล SME ผลิตภัณฑ ชุมชน ไดแก นํ้าพริก “ปาแวน” จากหางหุนสวนจํากัด สุรีรัตน และหมอนขิด จากนายกฤษณพงศ จันใด รางวัล SME สินคา เกษตร ไดแก ผลไมแปรรูป “บานมะขาม” จากบริษทั สวนผึง้ หวาน จํากัด รางวัล SME ความคิดสรางสรรค ไดแก ขนมหวานพุดดิ้ง ช็อกโกมอลต “เซเวน เฟรช” จากบริษัท เจ เอช แอนด สโนว กรุป จํากัด และ ผลิตภัณฑดแู ลผิวพรรณ “จุฬาเฮิรบ มอรินกา รีแพร เจล” จากบริษัท เจแอลซี กรุป จํากัด รางวัล SME ผลิตภัณฑเพื่อ สุขภาพ ไดแก ผลิตภัณฑดูแลรางกาย “เขาคอทะเลภู” บริษัท ผลิตภัณฑธรรมชาติทะเลภู จํากัด และ ผลิตภัณฑดอกเกลือทะเล ธรรมชาติ “Sea & Sun” จากบริษัท คอสท เพอรเฟค โปรเจคส จํากัด รางวัล SME งานระบบ ไดแก งานระบบกอสรางราน จาก หางหุน สวนจํากัด อาร.ซี.ดีไซน แอนดคอนสตรัคชัน่ และ งานระบบ ไฟฟา จากบริษัท คอมเรด เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด และ รางวัล SME Retail Equipment ไดแก ชั้นวางสินคา จากบริษัท รีเทล บิซิเนส โซลู ชั่น จํ ากัด และเครื่องผลิตนํ้ าแข็งจากบริ ษัท เจ.เอ.พี .เอส. เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด ยุพรัตน ศตวิรยิ ะ ผูอ าํ นวยการกองพัฒนาขีดความสามารถ ธุรกิจอุตสาหกรรม กรมสงเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กลาววา ในป 2561 นี้ กสอ.มีนโยบายพัฒนาผูประกอบการมากกวา 30 โครงการภายใตงบประมาณกวา 800 ลานบาท พรอมดวยศูนย ปฏิรูปอุตสาหกรรมแหงอนาคต (ITC) กองทุนพัฒนา SME ใน วงเงิน 20,000 ลานบาท นอกจากนี้ยังมีการบูรณาการพัฒนา รวมกับพันธมิตรในอีกหลายๆ ดาน ที่จะชวยใหเกิดประโยชน สูงสุดกับ SME โดยมั่นใจวาโครงการและกิจกรรมตางๆ เหลานี้ จะชวยให SME ไทยสามารถพัฒนาไปสูการเปน ผูผลิตสินคา เชิงนวัตกรรมและมีชองทางการจําหนายที่มากขึ้น

39

Engineering Today JanuaryJanuary- February February

2018 18 8


Smart City • กองบรรณาธิการ

“ขอนแก่น” ชูจุดแข็งคนพื้นที่และทุกภาคส่วนร่วมใจพัฒนา พร้อมก้าวสู่ Smart City อย่างเป็นรูปธรรม “ขอนแก่น” หนึง่ ในจังหวัดสําคัญทางภาคอีสานของไทยที่

สํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ DEPA กระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจสังคม ไดเล็งเห็นถึงศักยภาพกําหนดใหเปน Smart City อีกแหงของประเทศไทย ดวยความรวมมือรวมใจของกลุม คนในทองถิ่นในการวางแผนและพัฒนาเมืองใหเปน Smart City ทําใหเกิดบริษัท ขอนแกนพัฒนาเมือง (KKTT) จํากัด ซึ่งเปน การลงทุนในภาคประชาชนที่ยิ่งใหญในระดับภูมิภาคเปนครั้งแรก ในประเทศไทย ซึง่ ถือไดวา เปนจุดแข็งสําคัญของเมืองนี้ ทําใหการ พัฒนาไปสู Smart City มีความเปนรูปธรรมและสําเร็จไดโดยงาย ปจจุบันจังหวัดขอนแกนไดมีการรวมตัวกันทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนเพือ่ จัดทําแผนพัฒนา Smart City ระดับจังหวัด มีการ แบงหมวดการพัฒนา Khon Kaen Smart City ออกเปนทั้งหมด 6 ดาน ไดแก Smart Mobility, Smart Living, Smart Citizen, Smart Economy, Smart Environment และ Smart Govenance โดยเบือ้ งตนจังหวัดขอนแกนไดมกี ารพัฒนาดาน Smart Mobility ภายใต โครงการ Khon Kaen City Bus มี ก ารออกแบบ Application รวมกัน ตั้งแตการหยอดเหรียญ การทํางานของจอ แสดงผล จนได Application KK Transit ทีค่ าํ นึงถึงประโยชนของ ผูโดยสารเปนหลัก ผูโดยสารจะทราบเวลาที่รถจะเดินทางมาถึง สถานี ทําใหสามารถวางแผนการเดินทางไดถูกตอง โครงการ ดังกลาวดําเนินการมาแลว 2 ป โดยบริษัท Jump Up จํากัด ขณะนี้มี City Bus ใหบริการฟรีในมหาวิทยาลัยขอนแกน 21 คัน สวนในเมืองขอนแกนมีรถใหบริการ 10 คัน พรอมคิดคาบริการ ราคาประหยัด 15 บาทตลอดสาย

โครงการ Khon Kaen City Bus ใหบริการแลว 2 ป ปูทางสู Smart Mobility

Engineering Today January- February

2018

40

สมศักดิ์ จังตระกุล ผูวาราชการจังหวัดขอนแกน

ทุกภาคส่วนร่วมใจพัฒนา ขอนแก่นพร้อมก้าวสู่ Smart City อย่างเป็นรูปธรรม สมศักดิ์ จังตระกุล ผูวาราชการจังหวัดขอนแกน กลาววา จังหวัดขอนแกนมีโครงสรางการพัฒนาที่โดดเดนในลักษณะการ มีสวนรวมอยางแทจริงของจังหวัด ทองถิ่น เอกชน ประชาสังคม และไดรบั การสนับสนุนจากหลายกระทรวง ทําใหขอนแกนสามารถ ขับเคลื่อนจังหวัดไปสูรูปแบบ Smart City เพื่อมุงสู Global City ไดอยางเปนรูปธรรม โดยไดรับการอนุมัติแผนพัฒนา Smart City (Phase 1) จาก คสช. ใหจัดตั้งบริษัทของ 5 เทศบาลแหงแรกจาก กระทรวงมหาดไทย ซึ่งทําใหเกิดความคลองตัวในการทํางาน พัฒนาของจังหวัดและทองถิ่น ดําเนินการประชารัฐอยางเขมขน และมีนโยบายเปดกวางใหกับนักลงทุน นําเสนอเทคโนโลยีทุกๆ ดานที่คิดวาเหมาะสมกับบริบทของเมืองขอนแกน และลาสุดมี


หลายสถานทูตติดตอเขามาพูดคุยเกี่ยวกับการลงทุนในจังหวัด ขอนแกนเพื่อตอบโจทยใหเมืองมีความ Smart City ทั้ง 6 ดาน เชน สถานทูตฝรั่งเศสประจําประเทศไทย สถานทูตเดนมารก ประจําประเทศไทย สถานทูตอังกฤษประจําประเทศไทย สถานทูต ไทยประจําประเทศอิสราเอล และสถานทูตไตหวันประจําประเทศไทย เปนตน ซึ่งจังหวัดขอนแกนวางเปาหมายและพยายามใหเห็นถึง การพัฒนาเมืองใหเปนเมือง Smart City อยางแทจริง นอกจากนั้นเมืองขอนแกนยังมีระบบขนสงสาธารณะที่ดี และปลอดภัย เปนศูนยกลางดานการขนสงซึง่ อีกไมนานก็จะมีการ ขยายทาเรือบกมายังจังหวัดขอนแกน บริบทเหลานีส้ ามารถนํามา พัฒนาตอยอดใหเขากับ Smart City ของเมืองขอนแกนทัง้ 6 ดาน ไดอยางลงตัวดวยอาศัยความรวมมือทัง้ ภาครัฐบาล หนวยงานรัฐ และเอกชนในพื้นที่ รวมไปถึงภาคประชาชนในทุกๆ ชนชั้นที่จะ เขามาชวยกันพัฒนาและชวยใหระบบที่เราพัฒนาใหเปนเมือง แหงความสุขและปลอดภัยอยางมีมูลคาไดในอนาคต รู้จัก KKTT กองกําลังสําคัญ ในการพัฒนาขอนแก่นสู่เมืองอัจฉริยะ กังวาน เหลาวิโรจนกุล ผูร ว มกอตัง้ บริษทั ขอนแกนพัฒนา เมือง (KKTT) จํากัด กลาววา KKTT เปนหนวยงานเอกชนที่เขา มามีบทบาทชวยเหลือและสนับสนุน Smart City ของจังหวัด ขอนแกนเปนอยางมาก ซึ่ง KKTT มีทั้งกําลังคนและกําลังทรัพย ทีจ่ ะขับเคลือ่ นการพัฒนาเมืองใหเปนรูปธรรมไดอยางชัดเจนและ รวดเร็ ว จนเปน ตัว อยางใหกับจั ง หวั ดอื่ น ๆ เชน จั งหวัด ภูเก็ต จังหวัดเชียงใหม รวมไปถึงจังหวัดสระบุรี เพื่อเปนตัวอยางในการ รวมกลุมภาคเอกชนและภาครัฐในการวางแผนและพัฒนาเมือง ของตนใหเปน Smart City จากการผลักดันของกลุม KKTT ทําให เกิดการลงทุนในภาคประชาชนที่ยิ่งใหญในระดับภูมิภาคเปน ครั้งแรกในประเทศไทย มี KKTS เพื่อพัฒนารถไฟรางเบาไวให ประชาชนใชในระบบขนสงสาธารณะมี บริษัท Jump Up จํากัด เพื่อสรางเปนทีมพัฒนา Khon Kaen City Bus หรือ Smart Bus เพือ่ เชือ่ มโยงการพัฒนา Smart Mobility ของจังหวัดขอนแกน ใหมีการพัฒนารุดหนาขึ้นอยางตอเนื่อง มีการจัดทําระบบขนสง สาธารณะและใหบริหารระบบขนส ง ในจั ง หวั ด ขอนแก น และ เชื่อมตอในระดับภูมิภาค บริหารจัดการโครงการใหเกิดความ ตอเนื่องและกอใหเกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจในตัวเมืองและ รอบนอกไดในเชิงพาณิชย รวมทั้งการดูแลและกํากับดูแลการ บริการของคูสัญญาตางๆ การเดินรถ การซอมบํารุง การบริการ และงานพัฒนาเชิงพาณิชย เพือ่ ใหเกิดระบบขนสงสาธารณะอยาง เต็มรูปแบบ และสรางใหเกิดความยั่งยืนในระบบในพื้นที่ใหได อยางแทจริง

กังวาน เหลาวิโรจนกุล ผูรวมกอตั้ง บริษัท ขอนแกนพัฒนาเมือง (KKTT) จํากัด

Jump Up เดินหน้าพัฒนา Smart Mobility อย่างต่อเนื่อง สนับสนุนขอนแก่นให้เป็น Smart City เต็มรูปแบบ เจียมศักดิ์ ทองรุง CEO บริษัท Jump Up จํากัด กลาววา บริษัท Jump Up จํากัด เกิดจากการรวมตัวของผูประกอบการ ซอฟตแวรและนักลงทุนในทองถิ่น เพื่อพัฒนานวัตกรรมดาน ดิจิทัลหลายๆ ดาน ซึ่ง Jump Up มีความชํานาญในการพัฒนา Smart Mobility เพื่อสนับสนุนใหขอนแกนเปน Smart City อยาง เต็มรูปแบบ กอนหนาที่ Jump Up ไดมีการพัฒนา Smart Bus ใหกบั จังหวัดขอนแกนและขยายผลไปยังหัวเมืองหลัก เชน กรุงเทพ มหานคร เพือ่ ใหมรี ะบบขนสงมวลชนทีท่ นั สมัยทัดเทียมกับนานา ประเทศ แต Jump Up ยังไมหยุดการพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล เพียงเทานั้น ยังอยูในระหวางการพัฒนา Smart Parking ใหกับ เทศบาลนครขอนแกน เพือ่ ลดปญหาทีจ่ อดรถใหกบั สถานทีร่ าชการ ที่มีสภาพแออัด และยังไดมีการวางแผนพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล รวมกับสํานักงานเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ DEPA เพื่อพัฒนาไปสู Hospital Smart Parking ใหกับโรงพยาบาลศรีนครินทร และ โรงพยาบาลขอนแกน เพือ่ ลดการแออัดของทีจ่ อดรถโรงพยาบาล ที่มีอยูอยางจํากัดและไมเพียงพอ พรอมกับเชื่อมโยงใหเขากับ Smart Bus ที่ไดพัฒนาไปแลวเพื่อถายเทความแออัดของรถไว ภายนอกโรงพยาบาลแทนที่การนํารถเขามาจอดกระจุกตัวใน โรงพยาบาลเพียงอยางเดียว

เจียมศักดิ์ ทองรุง และกฤษดา อารัมภวิโรจน สอง CEO บริษัท Jump Up จํากัด

4 41

Engineering Today January- February

2018


นอกจากนี้ยังไดมีการวางแผนเชื่อมโยงไปถึง Smart Q ไป พรอมกับการไดที่จอดรถ ใหมีความเหมาะสมและสอดคลองกัน ในเรื่องของเวลา เพื่อลดเวลาการรอคอยที่ปจจุบันประชาชนตอง เฝารอคอยเพื่อเขารับรักษาเปนเวลานานมากจนทําใหประชาชน เกิดความตึงเครียดไปพรอมกับผูปวย “ปญหาเหลานีเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั สามารถเขามาชวยผอนปรน ใหจากหนักเปนเบาได ซึ่งอนาคตตอไปหากจังหวัดขอนแกนมี ระบบ Hospital Smart Parking และ Smart Q ใชจะสงผลให การใหบริการของโรงพยาบาลมีความคลองตัวมากขึ้นและสงผล ใหประชาชนมีความสุขในการใชบริการโรงพยาบาลไดมากยิ่งขึ้น ไมกระทบไปสูสุขภาพจิตทั้งผูปวยและญาติผูปวยไดตอไปใน อนาคต” เจียมศักดิ์ กลาว จังหวัดขอนแก่นจับมือ DEPA วาง Infrastructure รองรับ Big Data ด้าน Smart Health Care & Medical Hub นอกจากการพัฒนาดาน Smart Mobility แลว ขอนแกน ยังพัฒนาดาน Smart Living ซึ่งมุงเปาไปที่การพัฒนาเปน Smart Health Care & Medical Hub ที่โดดเดนและเปนรูปธรรมไม แพกัน โดยสํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ DEPA ได ประสานความรวมมือกับจังหวัดขอนแกน โรงพยาบาลขอนแกน โรงพยาบาลศรี น คริ น ทร และเทศบาลนครขอนแก น เพื่ อ นํ า เทคโนโลยีดิจิทัลไปตอยอดและสนับสนุนทางการแพทยและการ สาธารณสุขใหประชาชนสะดวกและมีสุขภาพดีและเขาถึงการ รักษาไดอยางทั่วถึง มีธรรม ณ ระนอง ผูช ว ยผูอ าํ นวยการสํานัก งานสงเสริมเศรษฐกิจ ดิ จิ ทั ล ห รื อ D E PA กลาววา จังหวัดขอนแกน และสํานักงานสงเสริม เศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล หรื อ DEPA เปนศูนยกลางใน การวางแนวทางดําเนิน งาน Medical Hub หรือ Road Map ดาน Health Care & Medical โดย เฉพาะ เนื่ อ งจากเป น ประเด็ น สํ า คั ญ ในการดู แลสุขภาพของประชาชนของประเทศ โดยวาง Infrastructure เพื่อรองรับ Big Data และเชื่อมโยงขอมูล

Engineering Today January- February

2018

4 42

ทางการแพทยในทุกมิติ ไปสู Data Analytic ใหเขากับการใช บริ การของประชาชนในทุกระดับ สะดวกทั้งแพทย สะดวกทั้ง ประชาชน เบื้องตนโรงพยาบาลขอนแกนไดเตรียมความพรอมที่จะ ปรับเปลีย่ นการใหบริการทางการแพทยฉกุ เฉินใหมคี วามทันสมัย ยิ่งขึ้ น โดยไดห ารือกับ DEPA และ Startup ที่จะเขามาช วย พัฒนา Smart Ambulance ให มีประสิทธิ ภาพมากขึ้ น และ เชือ่ มโยงไปสูก ารพัฒนาระบบไฟจราจรอัจฉริยะของจังหวัด ทําให แพทยจะสามารถชวยชีวติ ไดระหวางขนยายผูป ว ยบนรถพยาบาล สงผลใหลดอัตราการเสียชีวิตของผูชวยฉุกเฉินขณะเดินทางได ทัง้ นีท้ มี แพทยและ DEPA ยังไดวางแผนการพัฒนา Smart Health Care & Medical Hub ทั้งระบบ เริ่มตั้งแตการดูแลสุขภาพกอน ปวย ใหมสี ขุ ภาพทีด่ แี ละเจ็บปวยนอยลง วางแผนการพัฒนาระบบ บริหารจัดการระหวางเขาพบแพทยและระหวางปวย และระบบ บริหารจัดการชีวติ หลังปวย ซึง่ เปนภาพใหญทตี่ อ งวาง Road Map ทัง้ ระบบ เพือ่ ใหสามารถติดตอและเชือ่ มโยงกันไดอยางเปนระบบ โดยอาศัยความรวมมือกับทุกโรงพยาบาลในพื้นที่ไดเขามามีสวน รวมในการใชระบบ รวมไปถึงรานขายยา และประชาชนทั่วไป “ระบบดั งกลาวจะมี Startup เขามาชวยพัฒนาระบบ ดังกลาวใหสําเร็จเปนลูกโซรอยเรียงกัน โดยอาศัยมาตรการการ สงเสริมจาก DEPA และทีส่ าํ คัญจะตองมีการวาง Infrastructure เพื่อรองรับ Big Data กอนเปนอันดับแรก เพื่อสรางเปนเสนทาง ใหขอ มูลวิง่ และเชือ่ มโยงกันไดอยางคลองตัว เบือ้ งตนมีเปาหมาย ทีจ่ ะเริม่ ทํา Big Data ดาน Smart Health Care & Medical Hub กอนจึงไปเชื่อมโยงขอมูลกับ Smart City ในดานอื่นๆ ทั้ง 6 ดาน ใหครบวงจร ประกอบดวย Smart Mobility, Smart Living, Smart Citizen, Smart Economy, Smart Environment และ Smart Governance และเพือ่ เตรียมความพรอมใหมกี ารเชือ่ มโยงขอมูล อยางเปนระบบไดทั้งประเทศ เพื่อนําขอมูลไปใชประโยชนใน การวิเคราะหและสนับสนุนการตัดสินใจในการบริหารประเทศ ใหเกิดความมั่งคั่งและยั่งยืนในระดับสากลตอไป” นําร่องติดตั้งอุปกรณ์พัฒนาสู่ Smart Home อํานวยความสะดวกให้ผู้สูงอายุ-ผู้ป่วยติดเตียง รศ. นพ.ชลธี ป พงศ ส กุ ล รองคณบดี ฝ  า ยสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน กลาววา มหาวิทยาลัย ขอนแกนมีองคความรูด า นการแพทยทสี่ มบูรณ รวมทัง้ มีโครงการ Medical Hub บนพื้นที่ 24 ไร ใกลกับโรงพยาบาลศรีนครินทร โดยไดรับงบประมาณในการจัดซื้อเครื่องมือแพทยและมีความ รวมมือทางดานการแพทยครบวงจร ทั้งนี้จังหวัดขอนแกนไดนํา


เทคโนโลยี Internet of Things หรือ IoT มาใชกับสายรัดขอมือ เพือ่ ตรวจวัดความดัน ตรวจวัดชีพจร ซึง่ ผูท สี่ วมใสหากเกิดอาการ ความดันสูง-ตํ่า สายรัดขอมือจะสงสัญญาณไปที่โรงพยาบาล รถ ฉุกเฉินก็จะวิง่ ไปรับไดทนั เวลาเพือ่ รักษาพยาบาลตามขัน้ ตอนทาง การแพทยตอ ไปได หรือการคัดเลือกครัวเรือนในชุมชนเขตเทศบาล นครขอนแกนในการทดลองนํารองติดตัง้ อุปกรณ เพือ่ เปน Smart Home สําหรับอํานวยความสะดวกใหแกผูสูงอายุ ผูปวยติดเตียง และอุปกรณทจี่ ะติดตัง้ จะมีกลอง CCTV ทีส่ ามารถดูอาการหกลม เพื่อวางแผนในการดูแลรักษาผูปวย หรือการติดตั้ง Censor/IoT เพื่อควบคุมการทํางานของอุปกรณตางๆ ภายในบานเพื่ออํานวย ความสะดวกแกผปู ว ย จากการอาศัยเครือ่ งมือในการจัดเก็บวิธใี ช ชีวติ และวิธกี ารดูแลสุขภาพจะสามารถนําไปสูก ารวิเคราะหโรคภัย ไขเจ็บไดในอนาคตขางหนา ซึ่งขอมูลเหลานี้จะนํามาสูการแจง เตื อ นเพื่ อ ป อ งกั น เพื่ อ ไม ใ ห เ กิ ด โรคนั้ น ๆ ได ใ นอนาคตหาก ทํ า ได จ ริ ง โดยภาพรวมจะสามารถทํ า ให ป ระชาชนเจ็ บ ป ว ย นอยลง ลดคาใชจายในการรักษาโรคในรายบุคคลไดจริง และยัง สามารถลดคาใชจายในการรักษาพยาบาลไดในภาพรวมของ ประเทศไดอีกดวย

ผูช าํ นาญสวนใหญกระจุกตัวอยูใ นโรงพยาบาลใหญ รวมทัง้ ปญหา ขาดการสื่อสารที่ไมมีประสิทธิภาพในระหวางหาตัวผูปวยและ ขนยายผูปวยฉุกเฉิน จากปญหาดังกลาวระบบดิจิทัลจึงเปนอีกความหวังหนึ่ง ของทางการแพทย ทีจ่ ะเขามามีบทบาทในการชวยสนับสนุนและ แกไขปญหาขางตนใหคลีค่ ลายลงได ซึง่ ปจจุบนั ในแตละสถานการณ ทีเ่ กิดขึน้ ในชวงเวลาวิกฤตขณะทีแ่ พทยผชู าํ นาญการมีจาํ นวนนอย และกระจายตัวในโรงพยาบาลขนาดใหญ ซึ่งไมเพียงพอตอการ รักษา และเจาหนาที่พยาบาลที่ดูแลผูปวยบนรถพยาบาลตอง สือ่ สารกับแพทยผชู าํ นาญผานระบบวิทยุสอื่ สารโดยรับสารตอมา จากคนรับรถอีกทอดหนึง่ ทําใหไดรบั การสือ่ สารทีไ่ มชดั เจนแมนยํา เพราะสื่อสารไดแคเสียง แพทยไมสามารถเห็นสัญญาณชีพและ สภาพผูปวย การสั่งการรักษาจึงเปนไปดวยความลําบาก “เทคโนโลยีดิจิทัลในปจจุบันสามารถปดชองวาง จากการ ปรับปรุงเครื่องมือแพทยใหเชื่อมตอ Internet of Things หรือ IoT และสามารถสงสัญญาณชีพผูปวยผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต นําระบบการสื่อสารดวยภาพและเสียง Video Call เพื่อใหแพทย ไดเห็นสภาพผูปวยและสั่งการรักษาไดอยางแมนยํา และใช GPS Tracking เพื่อคาดการณเวลาที่รถพยาบาลจะมาถึง โดยระบบ โครงข า ยการสื่ อ สารทางการแพทย ผ  า นทางระบบ Internet (Telemedicine) สามารถเชื่อมตอทุกโรงพยาบาล เสมือนเปน โรงพยาบาลเดียวกัน สอดคลองกับนโยบายการแพทยฉุกเฉิน ไรรอยตอ” นพ.รัฐระวี กลาว

รศ. นพ.ชลธีป พงศสกุล รองคณบดีฝายสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

เทคโนโลยีดิจิทัลเชื่อมต่อทุกโรงพยาบาล เสมือนเป็นโรงพยาบาลเดียวกัน ดาน นพ.รัฐระวี พัฒนรัตนโมฬ นายแพทยชํานาญการ พิ เ ศษและรองผู  อํ า นวยการศู น ย อุ บั ติ เ หตุ แ ละวิ ก ฤตบํ า บั ด โรงพยาบาลขอนแกน ไดพาเยี่ยมชมศูนยสั่งการทางการแพทย ฉุกเฉิน โรงพยาบาลขอนแกน พรอมกลาวถึงแนวทางพัฒนา Smart Ambulance วา ปจจุบนั ปญหาทีป่ ระสบอยูค อื การทีผ่ ปู ว ย ไมสามารถเขาถึงการรักษาไดอยางทันทวงที เนื่องจากขณะเกิด เหตุฉุกเฉินมีทั้งปญหาประชาชนไมสามารถบอกสถานที่ทั้งของ ตนเองไดอยางชัดเชน ปญหาผูปวยอยูคนเดียวเปนลมหมดสติ ปญหาโรงพยาบาลมีจํานวนแพทยผูชํานาญการนอยและแพทย

นพ.รัฐระวี พัฒนรัตนโมฬ นายแพทยชํานาญการพิเศษ และรองผูอํานวยการศูนยอุบัติเหตุและวิกฤตบําบัด โรงพยาบาลขอนแกน

มีธรรม กลาวทิ้งทายวา ปจจุบัน ไดสนับสนุนผานกองทุน ตางๆ เชน กองทุนอินเตอรเนชั่นแนลไซเซชัน กองทุนสตารทอัพ ซึง่ เปนลักษณะการลงเงินทุนรวมกันในทุกมาตรการ สําหรับโครงการ Smart City ก็เชนเดียวกัน DEPA ไดสง เสริมผานมาตรการตางๆ เพื่อใหผูประกอบการดานดิจิทัลและผูประกอบการที่เปน ผูใชได มีตัวชวยในการตอยอดผลงานนวัตกรรมและการนําไปใช เพื่อให เมืองกาวสูเมืองอัจฉริยะตามนโยบาย Thailand 4.0 อยางแทจริง

4 43

Engineering Today January- February

2018


In Trend • กองบรรณาธิการ

ชี้

TCDC

9 อุตสาหกรรม

สรางสรรคดาวรุงในป 2561 พรอมแนะธุรกิจปรับตัวใหทันยุค ศูนยสรางสรรคงานออกแบบ (TCDC) เจาะลึก 9 อุตสาหกรรม สรางสรรคโลกยุคปจจุบนั ทีส่ ามารถสรางมูลคาไดมหาศาล และเปนที่ นิยมของกระแสโลก ไดแก ศิลปะและหัตถกรรม (Art & Craft) ความงาม และแฟชั่น (Beauty & Fashion) สุขภาพและความเปนอยู (Health & Wellbeing) การขนส ง และวิ วั ฒนาการของเทคโนโลยี ท  อ งอวกาศ (Transport & Space) อุตสาหกรรมคาปลีก (Retail) ทองเทีย่ ว (Travel) สถาปตยกรรมและการตกแตง (Architecture & Decoration) สื่อและ ความบันเทิง (Media & Entertainment) และอาหาร (Food) โดย ผูประกอบการในแตละอุตสาหกรรมดังกลาว ตางตองปรับตัวเพื่อให สามารถตอบโจทยความตองการของผูบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปตาม นวัตกรรม เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น และวิถีชีวิต ไลฟสไตลที่เปลี่ยนไป กิตติรัตน ปติพานิช รักษาการผูอํานวยการศูนยสรางสรรคงาน ออกแบบ (TCDC) กลาววา กระแสโลกทีเ่ ปลีย่ นผันในทุกปสง ผลกระทบ โดยตรงตอแนวโนมพฤติกรรมผูบริโภค อันนํามาซึ่งการเปลี่ยนแปลง ทางธุรกิจ ศูนยสรางสรรคงานออกแบบ ในฐานะศูนยกลางแหงการจุด ประกายความคิดสรางสรรคใหสังคมไทย จึงไดทําการรวบรวมขอมูล เทรนดใหญของโลก กระแสโลก ศึกษาวิจยั และสรุปสูก ารประยุกตใชจริง ทางธุรกิจและในชีวิตประจําวันเพื่อเผยแพรความรูที่เปนประโยชนแก สังคมไทย โดยในปน้ีไดทําการเจาะลึกถึง 9 อุตสาหกรรมสรางสรรค ของโลกยุคปจจุบัน ที่สามารถสรางมูลคาไดมหาศาล และเปนที่นิยม ของกระแสโลก ดังนี้ ศิลปะและหัตถกรรม (Art & Craft) สินคาหมวดหมูงานฝมือ และหัตถกรรมของประเทศไทย สรางมูลคาถึง 87,306 ลานบาท ในป 2557 เมือ่ นํามาผนวกกับทิศทางเศรษฐกิจสรางสรรคของประเทศไทย ในปจจุบันแลวนั้น อุตสาหกรรมศิลปะและหัตถกรรมจะเปนหนึ่งใน อุตสาหกรรมทีม่ คี วามโดดเดน โดยตองเนนการสรางมูลคาเพิม่ ผานการ ใชประโยชนจากจุดเดนของแตละภูมิภาค ประสานกระบวนการผลิต แบบใหม เ ข า กั บ ทั ก ษะฝ มื อ ดั้ ง เดิ ม อย า งเข า ใจ ซึ่ ง สิ น ค า ศิ ล ปะและ หัตถกรรมนีส้ ามารถตอบโจทยกระแสโลกทีห่ นั มาใหความนิยมกับสินคา ดีไอวาย (DIY : Do It Yourself) ไดอยางดีเยี่ยม ความงามและแฟชั่น (Beauty & Fashion) ประเทศไทยมี อุตสาหกรรมความงามขนาดใหญที่สุดในอาเซียน และเปนผูนํา ในการขับเคลื่อนทั้งภูมิภาค มีอัตราการเติบโตขึ้นอยางตอเนื่อง โดย

Engineering Today January- February

2018

44

กิตติรัตน์ ปิติพานิช

รักษาการผู้อํานวยการศูนย์สร้างสรรค์ งานออกแบบ (TCDC)

โตขึ้น 6.5 เปอรเซ็นต มีมูลคารวม 150,000 ลานบาท ในป 2558 ในขณะที่อุตสาหกรรมแฟชั่นของประเทศไทย สรางมูลคาถึง 18,000 ลานบาทในป 2559 และมีแนวโนม ทีจ่ ะเติบโตขึน้ อยางตอเนือ่ ง อยางไรก็ตาม ทัง้ อุตสาหกรรม ความงามและแฟชั่นตางมีการปรับเปลี่ยนตามกระแสโลก โดยอินเทอรเน็ตและขอมูลบนโลกไซเบอรเปนปจจัยหลัก ทีก่ ระทบกับทัง้ สองอุตสาหกรรม อาทิ ปรากฏการณวล็อกเกอร (Vlogger) รีวิวหรือสอนแตงหนา ที่มีอิทธิพลอยางมาก ตอการเลือกซื้อเครื่องสําอาง หรือแมแตแฟชั่นที่ใชคําพูด หรือแนวคิดของบุคคลทีม่ ชี อื่ เสียงในปจจุบนั มาเปนคอนเซ็ปต ในการออกแบบ เพื่อสะทอนถึงตัวตนของแบรนด สุขภาพและความเป็นอยู่ (Health & Wellbeing) ตลาดสินคาและธุรกิจบริการสุขภาพของประเทศไทย มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง สามารถสรางรายได ไมตาํ่ กวา 100,000 ลานบาท ประกอบกับความไดเปรียบ ของประเทศไทยในการเปน ผูนําดานการจัดการบริการ สุขภาพระดับโลก ทีม่ สี ถานพยาบาลทีไ่ ดรบั รองดานคุณภาพ และบริการโดยมาตรฐานสากลและรางวัลระดับโลกถึง 53 แหง เมื่อผนวกกับธุรกิจดานสปาและนวดในป 2558 ที่มีอัตราการขยายตัวจนสูงถึง 31,000 ลานบาท และมี ความต องการใช บริการและซื้อผลิตภัณฑ เพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่อง โดยอุตสาหกรรมดานสุขภาพและความเปนอยู จะตอบโจทยกระแสโลกที่มีผูคนทุกขทรมานจากความ เครียดและวิตกกังวลเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว การขนส่งและวิวัฒนาการของเทคโนโลยีท่อง อวกาศ (Transport & Space) ป 2559 ที่ผา นมา ถือเปนจุดเปลี่ยนดานเทคโนโลยีที่กระทบตอการขนสงเชิง พาณิชย ประกอบกับสถานการณการผลิตนํ้ามันดิบ ที่ไม สอดคลองกับ ความตองการที่เพิ่ม มากขึ้น ทําใหหลาย ประเทศใหความสนใจกับรถยนตพลังงานทางเลือก หรือ รถยนตพลังงานสะอาด ซึง่ สําหรับประเทศไทยในครึง่ ปแรก 2560 มีการสงออกชิ้นสวนยานยนตกวา 7,000 ลาน ดอลลาร ส หรั ฐ เติ บ โตขึ้ น จากครึ่ ง ป แ รก 2559 ถึ ง


12 เปอรเซ็นต อยางไรก็ตาม หนวยวิจยั อีไอซี (Economic Intelligence Center) คาดวาตองใชเวลาไมนอ ยกวา 10 ปทรี่ ถยนตไฟฟาจะสามารถ เริ่มทําตลาดในไทย ซึ่งสิ่งที่ไทยควรทําคือ การสรางระบบนิเวศและวาง โครงสรางพื้นฐานที่เอื้อตออุตสาหกรรมรถยนตไฟฟาใหพรอม ในขณะ เดียวกัน ตางประเทศกําลังใหความสนใจกับการขนสงอวกาศ และการ ขนสงสาธารณะความเร็วสูง อยาง ไฮเปอรลูป อุต สาหกรรมค้า ปลี ก (Retail) พฤติ กรรมและทั ศนคติข อง ผูบริโภคที่เปลี่ยนไปทําใหรานคาปลีกทั่วโลกปดตัวลงเปนจํานวน มาก สําหรับอุตสาหกรรมรานคาปลีกในไทยเองก็ตองปรับตัวครั้งใหญ เมือ่ ผูบ ริโภคหันมาซือ้ ผานอีคอมเมิรซ มากขึน้ จนทําใหมลู คาการซือ้ ขาย ออนไลนเติบโตขึ้นมากกวา 100 เปอรเซ็นต ในขณะที่ยอดซื้อสินคาจาก รานคาทีม่ หี นารานเติบโตเพียง 10 เปอรเซ็นต ทําใหมลู คาธุรกิจอีคอมเมิรซ ในประเทศไทยมีมลู คาถึงราวๆ 3 ลานบาท ฉะนัน้ แลวธุรกิจคาปลีกตอง เรงปรับตัว อาทิ เนนการสรางประสบการณรว มระหวางลูกคากับแบรนด หรือแมแตการประยุกตใชเทคโนโลยีตางๆ เขามาอํานวยความสะดวก ผูบริโภคมากยิ่งขึ้น ท่องเที่ยว (Travel) อุตสาหกรรมการทองเที่ยวในประเทศไทย ยังคงสรางรายไดเขาประเทศไดอยางตอเนื่อง โดยในป 2561 กระทรวงการทองเทีย่ วและกีฬาแหงประเทศไทยคาดการณวา จะมีรายได จากอุตสาหกรรมการทองเที่ยวถึง 3.1 ลานลานบาท เพิ่มขึ้นจาก 2.7 ลานลานบาทในป 2560 ที่ผานมา พรอมคาดการณวาอุตสาหกรรม การทองเที่ยวจะครองสัดสวนจีดีพีไทยถึง 14.3 เปอรเซ็นตในอีก 10 ป ขางหนา อยางไรก็ตาม กระแสที่มาแรงในวงการการทองเที่ยวคือ การ ทองเทีย่ วแบบสัง่ ตัด (Tailor-made Travel) ทีผ่ ปู ระกอบการในอุตสาหกรรม ตองใหความสนใจ และพรอมใหบริการเพื่อตอบโจทยความตองการ เฉพาะกลุมของนักทองเที่ยวใหไดมากที่สุด สถาปัตยกรรมและการตกแต่ง (Architecture & Decoration) กระแสโลกทางดานอุตสาหกรรมสถาปตยกรรมและการตกแตง ที่กําลังไดรับความสนใจ คือ เมืองสีเขียว (Green Urban) เพื่อการเปน เมืองแหงอนาคตและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม สรางคุณคาในระยะยาวที่ ยั่ ง ยืน และอี กหนึ่ ง กระแสสํ า คัญคือ การออกแบบแบบมัลติฟงก ชัน (Multifunction) เพื่อรองรับการใชงานอยางหลากหลายรูปแบบ และ ตอบโจทยผูใชในทุกเพศ ทุกวัย ทุกเชื้อชาติ วัฒนธรรม

45

สื่อและความบันเทิง (Media & Entertainment) ในยุคของโซเชียลมีเดียปจจุบนั อุตสาหกรรมสือ่ และ ความบันเทิงมีการเปลี่ยนแปลงอยางตลอดเวลา โดยในป 2560 มีผใู ชงานเฟซบุก ถึง 76 เปอรเซ็นตของผูใ ชสอื่ ทัง้ หมด รองลงมาคือ อินสตาแกรม 51 เปอรเซ็นต และทวิตเตอร 42 เปอรเซ็นต โดยผูบริโภคใหความสนใจกับไลฟทีวีและ เสพขอมูลบนหนาจอมากขึ้นจนทําใหบทบาทสื่อและการ โฆษณาที่เขาถึงกลุมเปาหมายเปลี่ยนแปลงไป เกิดสื่อรูป แบบใหมคือโฆษณาที่ถูกปรับเปลี่ยนกลยุทธทางการตลาด ตามสื่อดิจิทัลที่ครองโลกแหงภาพและวิดีโอ อาหาร (Food) จากเทรนดในชวงหลายปที่ผานมา เกี่ยวกับการเลือกทานอาหารเพื่อสุขภาพ ที่สราง มูลคากวา 1 ลานลานเหรียญสหรัฐ ในป 2560 จนมาถึง กระแส ฟารม ถึงโตะอาหาร (Farm to Table) อาหาร ออรแกนิก (Organic) และบรรจุภณ ั ฑรกั ษโลก (Sustainable Packaging) ทําใหธรุ กิจอาหารทีจ่ ะเกิดในป 2561 ตองเปน อาหารที่มีประโยชนตอรางกายและจิตใจควบคูกัน นอก จากนี้กระแสจากโลกโซเชียลมีเดียในรูปแบบ ฟูดเน็ตเวิรก (Food Network) หรือการแชรเมนูและประสบการณทํา อาหารบนโลกออนไลน ทําใหผบู ริโภคหันมาทําอาหารเพือ่ บริโภคเองมากขึ้นอยางตอเนื่อง “ทั้งหมดนี้เปนสวนหนึ่งของหนังสือบทสรุป “เจาะ เทรนดโลก 2018 IN/TO the future” (INdividual and TOgether with the New State of Mind) ที่ทางศูนย สรางสรรคงานออกแบบ (TCDC) ไดทําการศึกษาวิจัย และ สรุปเพื่อเผยแพรความรูที่เปนประโยชนแกสังคมไทย เพื่อ ใหสามารถเขาใจและรูเ ทาทันความตองการของตลาดโลก” กิตติรัตน กลาวทิ้งทาย

Engineering Today January- February

2018


It Update • กองบรรณาธิการ

Mr. Justin Chiah

ผู้อํานวยการอาวุโส และผู้จัดการทั่วไปประจําภาคพื้น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศไต้หวัน อรูบ้า บริษัทในเครือฮิวเลตต์ แพคการ์ด เอ็นเตอร์ไพรส์

อรูบ้าพัฒนาเทคโนโลยี UEBA ในโซลูชั่นความปลอดภัยบนเครือข่าย ช่วยองค์กรป้องกันภัยคุกคามทุกรูปแบบ

อรูบา บริษัทในเครือฮิวเลตต แพคการด เอ็นเตอรไพรส โดย Mr. Justin Chiah ผูอํานวยการอาวุโส และผูจัดการทั่วไป ประจําภาคพืน้ เอเชียตะวันออกเฉียงใตและประเทศไตหวัน และ ประคุณ เลาหกิตติกลุ ผูจ ดั การประจําประเทศไทย รวมแถลงขาว เปดตัว Aruba 360 Secure Fabric ชุดผลิตภัณฑซอฟตแวรที่ เปนเฟรมเวิรกใหองคกรตางๆ สามารถขับเคลื่อนการวิเคราะห ตรวจจับการโจมตีภัยออนไลนแบบ 360 องศาและตอบโตไดใน ทันควัน เพือ่ ชวยลดความเสีย่ งขององคกรจากการโจมตีทมี่ กี ารเปลีย่ น แปลงรูปแบบอยูตลอดเวลา ทั้งนี้อรูบาไดสรรคสรางนวัตกรรม ใน User and Entity Behavioral Analytics (UEBA) ดวยการ เพิ่ม ผลิตภัณฑในกลุม Aruba IntroSpect ทําใหองคกรตางๆ สามารถตรวจจับพฤติ กรรมผิดปกติใ นระบบเครือ ข ายโดยใช Machine-learning หากพบพฤติกรรมผิดปกติที่อาจทําใหเกิด ความเสี่ยง ระบบจะนํา User ดังกลาวออกจากระบบเครือขาย โดยอัตโนมัตแิ บบเรียลไทม อีกทัง้ ยังปองกันการรัว่ ไหลของขอมูล อีกดวย

Engineering Today January- February

2018

46

จากการวิจยั เกีย่ วกับภัยคุกคามภายในองคกร (Insider Threats) ของ Gartner พบวาองคกรตางๆ ไมคอ ยสนใจเกีย่ วกับความเสีย่ ง ภายในองคกรที่เกิดจากผูใชภายใน (Trusted Users) ของตน อย า งเพี ย งพอ ถึ ง แม ว  า มี ตั ว อย า งมากมายขององค ก รที่ เ คย ประสบภัยนีม้ าแลว ในขอเสนอสรุปในรายงานฉบับนีข้ อง Gartner ยั ง ได แ ทรกคํ า แนะนํ า ให อ งค ก รลู ก ค า ของตนตระหนั ก ถึ ง ภั ย คุกคามจากภายในที่เพิ่มขึ้นถึง 100% และ UEBA เปนหนึ่งใน เทคโนโลยีหลักที่ควรจะนํามาใชปองกันภัยนี้ ดวยเหตุนี้ Aruba 360 Secure Fabric จึงไดเพิ่มความ สามารถใหมใหแกระบบความปลอดภัย (Security) และทีมงาน IT ดวยวิธีการที่ครบวงจรในการตรวจจับอยางรวดเร็วและตอบโต การโจมตีทางไซเบอรอยางทันควัน จากขัน้ ตอน Pre-authorization จนถึง Post-authorization อยางครอบคลุม เพื่อชวยใหองคกร สามารถรับมือตอภัยคุกคามใหมๆ ได แมจะอยูบนโครงสราง พื้นฐานระบบเครือขายไอทีที่มีอุปกรณจากผูผลิตที่หลากหลาย และสามารถรองรับองคกรไดทุกขนาด


สําหรับโซลูชั่น Aruba 360 Secure Fabric ประกอบด้วย • Aruba IntroSpect UEBA Solution ผลิตภัณฑ

• Aruba Secure Core ปองกันการโจมตีที่จําเปนถูก

ในกลุ  ม Network-agnostic ตั ว ใหม ที่ ใ ช ใ นการตรวจสอบ (Monitoring) อยางตอเนื่องและเปนซอฟตแวรในการตรวจจับ การโจมตีทกี่ า วหนา ประกอบดวยผลิตภัณฑในระดับเริม่ ตนตัวใหม และใช Machine-learning ตรวจจับการเปลีย่ นแปลงในพฤติกรรม ของผูใ ช แ ละอุ ปกรณตา งๆ เพื่ อ บง ชี้ ถึง แนวโนมการโจมตี ซึ่ง แตกตางจากการปองกันความปลอดภัยในระบบดัง้ เดิมอยางสิน้ เชิง โดย Machine-learning Algorithms จะชวยระบุคะแนนความเสีย่ ง (Risk Score) ทีข่ นึ้ อยูก บั ระดับของการโจมตีและทําการแจงเตือน ทีมงานดูแลระบบความปลอดภัยไดทันทวงที • Aruba ClearPass เปนโซลูชั่นในการควบคุมการ เขาถึงระบบเครือขาย (NAC) และบริหารจัดการนโยบายความ ปลอดภัยที่ไดรับการยอมรับอยางสูง สามารถสรางโปรไฟลใหแก BYOD และ IoT ทั้งผูใชและอุปกรณ มีความสามารถทําการ โต ตอบการโจมตี โดยอัตโนมั ติ ป จจุ บัน ถู ก รวมเข า ไปอยู  ใ นกลุ  ม ผลิ ต ภั ณ ฑ Aruba IntroSpect ซอฟตแวร ClearPass สามารถนํ า มาใช ไ ด กั บ อุ ป กรณ ข องทุ ก ผูผลิตที่อยูในระบบเครือขาย

ฝงอยูในตัวอุปกรณของอรูบาทั้งหมดไดแก Wi-Fi Access Point, Wireless Controller และ Switches รวมทัง้ ในอุปกรณ Campus Core Switch และ Aggregation Switch รุน Aruba 8400 ที่ เพิ่งเปดตัวไปเมื่อเร็วๆ นี้ ประคุ ณ กล า วว า การที่ ป ระเทศไทยกํ า ลั ง ก า วสู  ยุ ค Thailand 4.0 ทําให IoT Devices มีจํานวนมากขึ้น ระบบความ ปลอดภัยจึงเปนเรือ่ งทีส่ าํ คัญ ดวยความยืดหยุน จากการออกแบบ มาใหเปนระบบเปด (Open Architecture) ทําใหโซลูชั่น Aruba 360 Secure Fabric สามารถเชื่อมตอกับระบบความปลอดภัย (Security) เดิมไดอยางราบรื่นและงายดาย โดยเริ่มจากโครงการ เล็กๆ และขยายใหครอบคลุมทั่วทั้งองคกรขนาดใหญ ไดในอนาคต

ประคุณ เลาหกิตติกุล

ผู้จัดการประจําประเทศไทย อรูบ้า บริษัทในเครือฮิวเลตต์ แพคการ์ด เอ็นเตอร์ไพรส์

47

Engineering Today January- February

2018


Research & Development • กองบรรณาธิการ

สกว.โชว์นวัตกรรม

นาฬิกาก๊าซเซนเซอร์ตรวจจับก๊าซพิษ

ในราคาหลักร้อย

ผศ. ดร.ชัชวาล วงศชูสุข เจาของรางวัลนักวิจัยรุนใหมสาขาฟสิกส จากผลงานนาโนกาซเซนเซอรเพื่อความปลอดภัยของชีวิตและสิ่งแวดลอม

โฉมหนานวัตกรรมนาฬกากาซเซนเซอรตรวจจับกาซพิษในราคาหลักรอย

Engineering Today January- February

2018

48

ผศ. ดร.ชั ช วาล วงศ ชู สุ ข ภาควิ ช าฟ สิ ก ส คณะ วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กลาวภายหลัง ไดรับ รางวัลนักวิจัยรุนใหมสาขาฟสิกส ในงานประชุม วิชาการ “นักวิจยั รุน ใหม พบ เมธีวจิ ยั อาวุโส สกว.” ครัง้ ที่ 17 ซึ่งจัดโดย ฝายวิชาการ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการ วิจัย (สกว.) จาก ผลงานนาโนกาซเซนเซอรเพื่อความ ปลอดภัยของชีวิตและสิ่ ง แวดลอม วาปจจุบั นจํานวน ประชากรโลกมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นทุกป สงผลใหเกิดการ ขยายตัวของตัวเมืองและอุตสาหกรรมตางๆ อยางรวดเร็ว ทรัพยากรธรรมชาติลดนอยลง เกิดการเปลีย่ นแปลงสภาวะ ภูมิอากาศ และสิ่งแวดลอม รวมทั้งเกิดมลพิษตางๆ ซึ่งมี รายงานจากองคการอนามัยโลกพบวามลพิษทางอากาศ ทั้งจากในอาคารและนอกอาคารทําใหประชาชนตายกอน กําหนดถึง 7 ลานคนตอป เพื่อเปนการแจงเตือนและปองกันภัยอันตรายที่จะ เกิดขึน้ กับรางกายของมนุษยและสิง่ มีชวี ติ ปจจุบนั เทคโนโลยี กาซเซนเซอรจึงถูกนํามาใชเพื่อตรวจจับกาซพิษ และ/หรือ สารประกอบอินทรียระเหยงาย อันตรายชนิดตางๆ โดย เทคโนโลยีที่นํามาใชหลักๆและเปนที่นยิ มมีอยู 2 ชนิด คือ แบบโลหะสารกึ่งตัวนํา และแบบไฟฟาเคมี อยางไรก็ตาม ทัง้ สองแบบนีย้ งั มีขอ จํากัดอยูห ลายประการเชน แบบโลหะ สารกึ่งตัวนํา จําเปนตองใชความรอนสูงในการทํางาน และ มีคาการเลือกตอบสนองตอกาซเฉพาะที่ตํ่า ขณะที่แบบ ไฟฟาเคมีมกี ารตอบสนองตอกาซจําเพาะสูง แตยงั มีปญ  หา เรื่องเสถียรภาพการใชงานและชวงจํากัดในการตรวจจับ


ปริมาณกาซ ทําใหนักวิจัยทั่วโลกยังคงคนหาวัสดุใหม และวิธีการผลิตเซนเซอรแบบตางๆ เพื่อทําให กาซเซนเซอรที่ผลิตขึ้นมีเสถียรภาพการใชงานสูงและพกพาได โครงการวิจัย “นาโนกาซเซนเซอรเพื่อความปลอดภัยของชีวิตและสิ่งแวดลอม” ภายใตการสนับสนุนของ สกว. ไดพัฒนากาซเซนเซอรชนิดตางๆ โดยใชเทคโนโลยีที่ หลากหลาย เช น อาร เ อฟแมกเนตรอนสปตเตอริงแบบมุ ม เอี ยงไอระเหยจาก ความรอน การเคลือบผิวระดับอะตอม รวมถึงวิธรี าคาถูกทีท่ กุ คนสามารถผลิต ไดจากที่บานหรือที่ทํางาน โดยใชเครื่องพิมพแบบอิงคเจ็ต วัสดุที่ใชเปน วัสดุตอบสนองตอกลิ่นจะเปนวัสดุนาโน เชน กราฟน ทังสเตนแทง นาโนลวดนาโนซิงคออกไซดแบบ Core Shell เปนตน และเมื่อ รวมเซนเซอร ช นิ ด ต า งๆ เป น อุ ป กรณ บ อ ยครั้ ง จะเรี ย กว า “จมูกอิเล็กทรอนิกส” ที่สามารถตรวจจับและแยกแยะกลิ่นกาซพิษ ไอระเหยชนิ ด ต า งๆ เช น แอมโมเนี ย คาร บ อนมอนออกไซด โอโซน ออกซิเจน และไนโตรเจนไดออกไซด เปนตน นอกจากนี้นักวิจัยยังไดนําเสนอองคความรูใหมในการผลิตกาซเซนเซอร แบบโค ง งอชนิ ด ใหม คื อ การนํ า เอาเทคโนโลยี จ อเปล ง แสง รวมกั บ วั ส ดุ โพลิเมอรนําไฟฟาที่สามารถตอบสนองตอกาซไดดี นํามาทําเปนอุปกรณ กาซเซนเซอรหากมีกาซหรือกลิ่นที่ตองการตรวจจับมาเกาะยังอุปกรณ จะทําใหเกิดการเปลีย่ นแปลงความเขมของแสง ซึง่ ในอนาคตจะพัฒนา นํ า ไปสู  การเปลี่ ย นสี ของแสงภายหลัง ตรวจจับกลิ่ นหรือก าซที่ ตองการ ผูใชจะสามารถพกติดตัวหรือสวมใสยังรางกาย และ หากมีกาซพิษอันตรายจะทําใหผูใชสามารถสังเกตสีของแสงที่ เปลี่ยนแปลงไดทันที ผลจากงานวิจัยสามารถนําไปใชเปนองคความรูที่สําคัญ ในการผลิตกาซเซนเซอรชนิดตางๆ ทีส่ ามารถใหคา การตอบสนอง ต อ ก า ซต า งๆ สู ง มี ค  า การเลื อ กตอบสนองสู ง ทํ า งานได ที่ อุณหภูมิหอง ราคาตนทุนตํ่า และยังมีคุณสมบัติการโคงงอได ซึง่ นําไปสูก า ซเซนเซอรชนิดใหมแบบสวมใสได เชน นาฬกาเซนเซอร ทีจ่ ะชวยแจงเตือนกับผูใ ชเมือ่ เจอกาซพิษไดในเวลาไมเกิน 10 วินาที ด ว ยต น ทุ น เซนเซอร ห ลั ก สิ บ บาทและต น ทุ น นาฬ ก าหลั ก ร อ ยบาท แตสามารถนําผลงานไปใชประโยชนในการตรวจจับกาซพิษอันตรายที่อาจ จะพบเจอในชีวิตประจําวัน เชน กาซคารบอนมอนออกไซดที่ไมมีสี ไมมีกลิ่น บอยครั้งสามารถหลุดรอดมายังหองโดยสารภายในรถ หากรางกายสูดดมกาซคารบอน มอนออกไซดที่ความเขมขน 6,400 ppm จะทําใหเสียชีวิตภายใน 20 นาที หรือกาซ ในกลุมไนโตรเจนออกไซดที่เกิดจากการเผาไหมเชื้อเพลิงในรถยนต ครัวเรือน เมื่อ รางกายไดรับเปนเวลานานจะทําใหเกิดผลกระทบตอระบบทางเดินหายใจ โดยตรงจนถึงเปนโรคปอดบวมนํ้าได หรือผูปฏิบัติงานยังพื้นที่เสี่ยงเชน บอบําบัดนํ้าเสีย โรงงานอุตสาหกรรมตางๆ จะชวยยับยั้งเหตุการณ อันตรายที่เกิดจากกาซพิษ เชน กาซแอมโมเนียตอผูปฏิบัติงานได

49

Engineering Today January- February

2018


Energy Today • กองบรรณาธิการ

สกว.จับมือจุฬาฯ นําร่องความร่วมมือ กับ 5 บริษัทยักษ์ใหญ่ด้านเชื้อเพลิง พัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยา หวังลดค่าใช้จ่าย ปีละ 100 ล้านบาท

สํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) รวมกับ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บริษทั เอสซีจี เคมิคอลส จํากัด บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) บริษัท ไออารพีซี จํากัด (มหาชน) บริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จํากัด (มหาชน) บริษัท ที พี เค เอ ทานอล จํากัด รวมลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือ “โครงการชี้ทิศทาง และสรางนวัตกรรมเทคโนโลยีฐานดานตัวเรงปฏิกริ ยิ าและวิศวกรรมปฏิกริ ยิ า เคมีสาํ หรับอุตสาหกรรมไบโอดีเซล อุตสาหกรรมเอทานอล และอุตสาหกรรม ที่ใชตัวเรงปฏิกิริยาเพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมอยางยั่งยืน (CAT-REAC Industrial Project)” ซึ่งมี ศ. ดร.ปยะสาร ประเสริฐธรรม อาจารยภาควิชา วิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปนหัวหนา โครงการวิจัยเพื่อสรางเทคโนโลยีฐานใหกับอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและ เคมีชวี ภาพทัง้ ไบโอดีเซลและอุตสาหกรรมทีใ่ ชตวั เรงปฏิกริ ยิ า หวังลดคาใชจา ย การนําเขาตัวเรงปฏิกิริยาจากตางประเทศปละไมนอยกวา 100 ลานบาท

ศ. นพ.สุทธิพันธ จิตพิมลมาศ ผูอํานวยการ สกว. และศ. ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ (ขวา) อธิการบดีจุฬาฯ

Engineering Today January- February

2018

50

ศ. นพ.สุทธิพันธ จิตพิมลมาศ ผูอํานวยการ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) กลาววา ในระยะแรกของโครงการชีท้ ศิ ทางและสรางนวัตกรรม เทคโนโลยีฐานดานตัวเรงปฏิกิริยาและวิศวกรรม ปฏิ กิ ริ ย าเคมี สํ า หรั บ อุ ต สาหกรรมไบโอดี เ ซล อุตสาหกรรมเอทานอล และอุตสาหกรรมทีใ่ ชตวั เรง ปฏิกิริยา เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมอยางยั่งยืน (CAT-REAC Industrial Project) สกว.จะสนับสนุน งบประมาณวิจัยปละ 15 ลานบาท เปนเวลา 3 ป และยังมีบริษัทเอกชนรวมทุนอีกปละ 7.3 ลานบาท รวมงบประมาณในเฟสแรกทั้งสิ้น 66.9 ลานบาท เพื่อสรางองคความรูสูการพัฒนาเทคโนโลยีดาน ตั ว เร ง ปฏิ กิ ริ ย าที่ เ หมาะสมกั บ ประเทศไทยและ อุตสาหกรรมตางๆ พรอมทั้งหาทิศทางที่เหมาะสม ในการแปรรูปไบโอดีเซลและเอทานอล โดยใชตวั เรง ปฏิกิริยาใหเปนผลิตภัณฑที่มีมูลคาเพิ่ม การพัฒนา ตัวเรงปฏิกิริยาชนิดใหมเพื่อลดการนําเขาจากตาง ประเทศ และรองรับการทดสอบตัวเรงปฏิกริ ยิ าใหกบั อุตสาหกรรม ซึ่งจะชวยอุตสาหกรรมที่มีการใชตัว เรงปฏิกิริยาในกระบวนการผลิตใหมีประสิทธิภาพ สูงขึ้น อีกทั้งลดปญหาที่สําคัญของไทยคือ การใช


ตัวเรงปฏิกริ ยิ าทีม่ อี ยูไ มเต็มประสิทธิภาพ และขาดการพั ฒ นา และการผลิ ต ตั ว เร ง ปฏิกริ ยิ าเพือ่ ใชเอง เพือ่ เปนการเตรียมความพรอม รองรับเทคโนโลยีใหมในอนาคตทีจ่ ะเกิดขึน้ (Disruptive Technology) ซึ่งจะสงผลกระทบตออุตสาหกรรมโดยเฉพาะ อุตสาหกรรมไบโอดีเซลและอุตสาหกรรมเอทานอล ซึ่งคาดวาจะ ลดคาใชจายของอุตสาหกรรมปละไมนอยกวา 100 ลานบาท นอกจากนี้ยังจะเกิดประโยชนตอการพัฒนาหนวยงานวิชาการ ใหมีความเปนเลิศดานการพัฒนาตัวเรงปฏิกิริยาเพื่อปอนใหกับภาค อุตสาหกรรม โดยมีความรวมมือกับภาคอุตสาหกรรมหรือสมาชิกตัง้ ตน โครงการจํานวน 5 บริษทั และจะเปดรับสมาชิกเขารวมโครงการเพิม่ เติม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม ใหสามารถเขาถึง ขอมูลและผลการวิจัยไดตอไปในอนาคต

ศ. ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ อธิการบดีจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย กลาววา การสรางเครือขายความรวมมือกับ มหาวิทยาลัยและหนวยงานตางๆ ทั้งในประเทศและตาง ประเทศ เพือ่ รวบรวมนักวิจยั ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญเฉพาะดาน ในการรวมกันพัฒนาองคความรูเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแขงขันใหกับประเทศไทย รวมทั้งใหการสนับสนุน ผูผลิตขนาดกลางและขนาดยอมใหสามารถเขาถึงการวิจัย ทางดานตัวเรงปฏิกิริยา ซึ่งปกติจะตองใชงบลงทุนสูงมาก โดยจะมีการเผยแพรความรูพ นื้ ฐานเกีย่ วกับตัวเรงปฏิกริ ยิ า และเครือ่ งปฏิกรณ การจัดการอบรมเกีย่ วกับตัวเรงปฏิกริ ยิ า และเครือ่ งปฏิกรณใหแกอตุ สาหกรรม ใหคาํ ปรึกษาเกีย่ วกับ การทํ า งานของตั ว เร ง ปฏิ กิ ริ ย าและเครื่ อ งปฏิ ก รณ กั บ อุ ต สาหกรรมขนาดกลางและย อ ม และทดสอบตั ว เร ง ปฏิกิริยาใหกับอุตสาหกรรม เปนตน

พิธีลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือ

ศ. ดร.ปยะสาร ประเสริฐธรรม อาจารยภาควิชาวิศวกรรม เคมี คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาฯ หัวหนาโครงการฯ

ศ. ดร.ปยะสาร ประเสริฐธรรม อาจารยภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะ วิศวกรรมศาสตร จุฬ าลงกรณมหาวิทยาลัย ในฐานะหัวหนาโครงการฯ กลาววา ปจจุบนั ประเทศไทยมีความตองการตัวเรงปฏิกริ ยิ าสําหรับอุตสาหกรรม ตางๆ เชน อุตสาหกรรมกลั่นนํ้ามัน และอุตสาหกรรมปโตรเคมี เพื่อเปลี่ยน วัตถุดบิ จากปโตรเลียมและกาซธรรมชาติ ใหเปนผลิตภัณฑทมี่ มี ลู คาเพิม่ ตางๆ มากมาย โดยมีสถิติการนําเขาตัวเรงปฏิกิริยาจากตางประเทศเปนมูลคาไมตํ่า กวาปละ 2 หมื่นลานบาท นอกจากนี้ ตัวเรงปฏิกิริยาเริ่มเขามามีบทบาท สําคัญตอการพัฒนาอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพในประเทศไทย เพื่อเปน พลังงานทางเลือกที่ยั่งยืน โดยเฉพาะอยางยิ่งในการผลิตไบโอดีเซล และ เอทานอล จากขอมูลกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน พบวาโรงงานผลิต ไบโอดีเซลในประเทศมีกําลังผลิตรวมประมาณ 132 ลานตันตอป และกําลัง ผลิตรวมของเอทานอล ประมาณ 1,200 ลานลิตรตอป รวมทั้งยังมีโรงงาน ผลิตไขจากนํ้ามันพืชเพื่อใชทําเนยเทียมจํานวน 9 โรงงาน

51

Engineering Today January- February

2018


สําหรับปญหาที่สําคัญโดยเฉพาะอยางยิ่งอุตสาหกรรมเชื้อเพลิง ชีวภาพ ซึ่งเปนอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็กในประเทศไทย คือ การขาดองคความรูทางดานตัวเรงปฏิกิริยาที่ใชในกระบวนการผลิต ขาดความสามารถในการพัฒนาและผลิตตัวเรงปฏิกิริยา เพื่อใชไดเอง ที่สําคัญยิ่งคือขาดการกําหนดทิศทางหรือแนวโนมในการพัฒนาตัวเรง ปฏิกิริยาที่กําลังใชงานอยู รวมทั้งทิศทางที่จะนําผลผลิตหรือผลิตภัณฑ พลอยไดไปใชผลิตสารเคมีอื่นๆ ที่มีมูลคาเพิ่มสูงขึ้น ดังนั้น จึงมีความ จําเปนอยางยิ่งที่ประเทศไทยจะตองมีฐานความรูดานตัวเรงปฏิกิริยา เพื่อ สนั บ สนุ น การผลิ ตของอุ ตสาหกรรมเหลา นี้ ซึ่งจะมีผลกระทบ โดยตรงตอความเปนอยูของเกษตรกร โดยเฉพาะอยางยิ่งเกษตรกร ผูปลูกปาลมนํ้ามัน และมันสําปะหลัง รศ.ดร.พงศพันธ แกวตาทิพย ผูอํานวยการฝายอุตสาหกรรม สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) กลาววา ผลที่คาดวาจะ ไดรบั จากโครงการฯ ในเฟสแรกนัน้ จะไดทงั้ การตอยอดการพัฒนาตัวเรง ปฏิกิริยาเพื่อสนับสนุนการผลิตของภาคอุตสาหกรรม สวนองคความรู ที่ไดจากความรวมมือของภาครัฐ นักวิจัยและเอกชนจะชวยใหเกิดการ พัฒนาบุคลากรวิจัยในภาคอุตสาหกรรมที่ประเทศไทยยังขาดแคลน สามารถนําชีวมวลในประเทศที่มีอยู เชน ออย มันสําปะหลัง ผลิตภัณฑ และผลิตภัณฑขางเคียงทางการเกษตรอื่นๆ ที่มีศักยภาพมาพัฒนาเปน วัตถุดิบชีวมวลชนิดใหม สําหรับเหตุผลสําคัญที่เลือก 5 บริษัทยักษใหญทางดานเชื้อเพลิง เขามารวมงานวิจัยในครั้งนี้ เนื่องจากทั้ง 5 บริษัทมีตนทุนในการทํา การผลิตมีความเขมแข็ง มีศักยภาพและมีทีมวิจัยที่พรอมเรียนรูเขารวม

ตัวอยางวัตถุที่จะนํามาใชในงานวิจัย

Engineering Today January- February

2018

52

รศ. ดร.พงศพันธ แกวตาทิพย ผูอํานวยการฝายอุตสาหกรรม สกว.

โครงการอยูแลว โดยระยะเวลาในการทํางาน ในเฟสแรกจะใชเวลา 3 ป นับตั้งแตป 2561-2563 สวนเฟสที่ 2 จะเริ่มตั้งแตป 2564-2566 ซึ่งงบประมาณ ในการดําเนินการในเฟสที่ 1 และเฟสที่ 2 จะใกลเคียงกัน แตในเฟสที่ 2 อาจจะมีการดึงผูป ระกอบการรายขนาดกลาง ทีม่ ศี กั ยภาพและมีความสนใจเขามารวมทําการวิจยั เพิม่ เติม เพราะ สกว.จั ด โครงการนี้ ขึ้ น เพื่ อ ให ผู  ป ระกอบการใน อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงไดเขาถึงและรวมกันทําการวิจัยเพื่อ ผลประโยชนตอสวนรวมตอประเทศชาติอยางเทาเทียมกัน และลดการนําเขาตัวเรงปฏิกิริยาจากตางประเทศที่นําเขา ทั้งจากประเทศสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรปและเบลเยียม ใหนอ ยลงในอนาคต


Marketing • กองบรรณาธิการ

กลุ่มทิสโก้แจงผลประกอบการ ปี 2560 กําไรสุทธิ 6,090 ล้านบาท

เดินหน้านําเสนอบริการทางการเงิน ตอบโจทย์ลูกค้าในทุกมิติ บริษทั ทิสโกไฟแนนเชียลกรุป จํากัด (มหาชน) หรือ TISCO เผยผลประกอบการประจําป 2560 มีกาํ ไรสุทธิ 6,090 ลานบาท เพิ่มขึ้นเพิ่มขึ้น 1,084 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น 21.7 เปอรเซ็นต เมื่อเทียบกับป 2559 ที่มีกําไรสุทธิ 5,006 ลานบาท จากปจจัย ของธุรกิจที่มีการเติบโตที่ดีขึ้นตามแผนการขยายธุรกิจและการ ขยายสาขาสํานักงานสินเชื่อสาขาของ “สมหวัง เงินสั่งได” และ ผลกําไรจากการรับโอนธุรกิจลูกคารายยอยจากธนาคารสแตนดารด ชาร เ ตอร ด (ไทย) และภาพเศรษฐกิจที่ฟ น ตั ว จากการลงทุน ภาครัฐที่เริ่มมีการใชงบประมาณการลงทุนที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น สํ า หรั บ ในป 2561 นี้ ทางกลุ มทิส โกพ ร อ มเดิน หนานําเสนอ บริการทางการเงินที่ตอบโจทยลูกคาในทุกมิติ ผานการนําเสนอ สินคาและบริการภายในกลุม (Cross-Selling) และขยายไปยัง ตลาดใหมๆ ทีม่ กี ารเติบโต รวมถึงการพัฒนาผลิตภัณฑและบริการ ที่มีคุณภาพแกลูกคาใหไดรับประโยชนสูงสุด ชาตรี จันทรงาม ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญอาวุโสสาย ควบคุมการเงินและบริหารความเสี่ยงกลุมทิสโก กลาวถึง ผล ประกอบการของกลุมทิสโกในป 2560 ที่ผานมาวา บริษัทฯ มี กําไรสุทธิจาํ นวน 6,090 ลานบาท เพิม่ ขึน้ 1,084 ลานบาท หรื อ เพิ่ มขึ้น 21.7 เปอรเซ็นต เมื่อเทียบกับป 2559 ที่มี ไ ทธิ 5,006 ลานบาท จาก กํา ไรสุ ปจจัยของธุรกิจของบริษัทเองที่ มมีการเติบโตที่ดีขึ้นและผลกําไร จ จากการรั บโอนธุรกิจลูกคารายยอย จา จากธนาคารสแตนดาร ดชารเตอรด (ไท และภาพเศรษฐกิ จ ของ (ไทย) ประ ประเทศที ่ฟนตัวอยางตอเนื่อง จาก การลงทุน ชาตรี จันทรงาม ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญอาวุโส สายควบคุมการเงินและบริหารความเสี่ยงกลุมทิสโก ภาครั ฐ ที่ เริ่มมีการใชงบประมาณการลงทุนที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น สรุปผล ประกอบการ ป 2560 โดยรายไดดอกเบี้ยสุทธิปรับตัวเพิ่มขึ้น 6.7 เปอรเซ็นต จากความสามารถในการรักษาอัตราดอกเบี้ย ของสินเชื่อรวม และการเพิ่มขึ้นของรายไดดอกเบี้ยที่ไดรับจาก ธุรกิจสินเชื่อรับโอนซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยอยูในระดับสูง ตอมาเปน รายไดที่มิใชดอกเบี้ยจากธุรกิจหลักเพิ่มขึ้น 18.3 เปอรเซ็นต จาก

ทุกธุรกิจหลัก รายไดคาธรรมเนียมจากธุรกิจธนาคารพาณิชย เติบโตจากการขยายตัวอยางแข็งแกรงของธุรกิจนายหนาประกันภัย และการเริ่มเปดใหบริการขายกองทุนและผลิตภัณฑประกันแบบ Open Architecture อยางเต็มรูปแบบ ในขณะทีร่ ายไดคา นายหนาจากการซือ้ ขายหลักทรัพย และ รายไดคาธรรมเนียมจากธุรกิจจัดการกองทุนยังคงขยายตัวอยาง ตอเนื่องตามภาวะตลาดทุนที่ปรับตัวดีขึ้นและสวนแบงตลาดที่ เพิ่มขึ้น ประกอบกับการรับรูรายไดจากธุรกิจวาณิชธนกิจ จาก การเปน ผูจัดการการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนาย หลักทรัพยตลอดชวงปทผี่ า นมา อีกทัง้ การตัง้ สํารองหนีส้ ญ ู ลดลง 20.9 เปอร เ ซ็ น ต ตามคุ ณ ภาพสิ น ทรั พ ย ที่ ป รั บ ตั ว ดี ขึ้ น อย า ง ตอเนื่อง ทั้งนี้ ในป 2560 กลุมทิสโกมีคาใชจายที่เกิดขึ้นจากการ รับโอนธุรกิจ แตยังคงสามารถควบคุมตนทุนการดําเนินงานได อยางมีประสิทธิภาพ ยังคงอัตราสวนคาใชจายตอรายไดรวมอยู ในระดับตํ่าที่ 41.9 เปอรเซ็นต สําหรับเงินใหสนิ เชือ่ รวมของกลุม ทิสโก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีจํานวน 251,396 ลานบาท เพิ่มขึ้น 11.8 เปอรเซ็นต จากป 2559 ที่มียอดเงินสินเชื่อรวมของกลุมทิสโกที่ 224,934 ล า นบาท จากการรั บ โอนธุ ร กิ จ ลู ก ค า รายย อ ยจากธนาคาร สแตนดารดชารเตอรด (ไทย) ซึ่งสินเชื่อรับโอนประกอบไปดวย สินเชื่อบาน สินเชื่อสวนบุคคล สินเชื่อบัตรเครดิต และสินเชื่อ ธุรกิจขนาดเล็ก จํานวนทั้งสิ้นประมาณ 33,000 ลานบาท อีกทั้ง สินเชื่ออเนกประสงคยังคงเติบโตอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะการ ขยายตัวอยางแข็งแกรงของสินเชื่อ “สมหวัง เงินสั่งได” ซึ่งเพิ่มขึ้น อีก 41.9 เปอรเซ็นต ในป 2560 ตามแผนการขยายธุรกิจและ การขยายสาขาสํานักอํานวยสินเชื่อ ในขณะเดียวกัน สินเชื่อธุรกิจยังคงสามารถขยายตัวไดดี ภายใตสภาวะเศรษฐกิจที่ฟนตัว สวนตัวเลขหนี้ที่ไมกอใหเกิด รายได (NPL) ปรั บ ตัวดีขึ้นจากการปรับ ตัวดีข้ึนของคุ ณภาพ สินเชื่อรวม โดยอัตราสวนหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดตอสินเชื่อรวม ลดลงมาอยู  ที่ 2.3 เปอร เ ซ็ น ต ประมาณ 5,829 ล า นบาท นอกจากนี้ การรับโอนธุรกิจลูกคารายยอยจากธนาคารสแตนดารด ชารเตอรด (ไทย) ยังรวมถึงธุรกิจเงินฝากลูกคารายยอยสงผล ใหเงิน ฝากรวมของกลุม ทิสโก ณ สิ้นป 2560 เติบ โต 16.9 เปอรเซ็นต

53

Engineering Today January- February

2018


ธนาคารทิสโกยงั คงรักษาระดับฐานะเงินกองทุนทีแ่ ข็งแกรง มาโดยตลอดทั้งป 2560 โดยมีประมาณการอัตราเงินกองทุน ตอสินทรัพย (BIS Ratio) เพิ่มขึ้นมาอยูที่ 20.7 เปอรเซ็นต จาก 19.6 เปอรเซ็นตเมื่อป 2559 สูงกวาอัตราเงิน กองทุนขั้นตํ่า 9.75 เปอรเซ็นต ที่กําหนดโดยธนาคารแหงประเทศไทย โดย มีอัตราเงินกองทุนชั้นที่ 1 และชั้นที่ 2 ตอสินทรัพยเสี่ยงอยูที่ 16.0 เปอรเซ็นต และ 4.7 เปอรเซ็นต ตามลําดับ สุทัศน เรืองมานะมงคล ประธานเจาหนาที่บริหารกลุม ทิสโก กลาววา สําหรับกลยุทธการดําเนินธุรกิจของกลุมทิสโก ในป 2561 ยังคงเดินหนาขยายการเติบโตในทุกกลุม ทัง้ กลุม ลูกคา รายยอย กกลุมลูกคาธนบดีธนกิจ และกลุม ลูกคาบรร บรรษัท ดวยการนําเสนอบริการทาง การเงินที่ตอบโจทยลูกคาในทุกมิติ ผาน กการนํ า เสนอสิ น ค า และบริ ก าร ภายในกลุม (Cross-Selling) ทั้ง ผลิตภัณฑเดิมและผลิตภัณฑใหม เพื่อใหลูกคาไดประโยชนสูงสุด สานตอการเปน ผูใหคําแนะนํา ทางการเงินที่ดี (Top Advisory Ho House) ดวยการนําเสนอผลิตภัณฑ กอ น และผลิ ต ภั ณ ฑ ชั้ น นํ า ที่ กองทุ เหมาะสมกับลูกคาดวย สุทัศน เรืองมานะมงคล ประธานเจาหนาที่บริหารกลุมทิสโก แพลตฟอร ม Open Architecture พรอมกับรักษามาตรฐานการเปนผูใ หบริการธุรกิจ หลักทรัพยชั้นนําดวยบุคลากรที่เชี่ยวชาญและมีบทวิเคราะหที่มี คุณ ภาพ และขยายสาขาสํ านักงานสิ น เชื่ อ สาขาของ “สมหวัง เงินสั่งได” จาก 200 สาขาในป 2559 ใหได 250 สาขาตาม แผนที่จะเพิ่มสาขาเพื่อรองรับเขาถึงกลุมลูกคาทั่วประเทศ สวนปจจัยเสี่ยงที่ตองเฝาระวังนอกจากปญหาเศรษฐกิจ ภายในประเทศที่อาจจะชะลอตัวไดในทุกชวงจากผลกระทบของ เศรษฐกิจโลกและการขยับปรับขึ้นหรือปรับลดลงของดอกเบี้ย ของธนาคารกลางสหรัฐที่จะสงผลกระทบตอภาวะเศรษฐกิจโลก อยางตอเนื่อง แนนอนวาจะสงผลกระทบตอประเทศไทยและ เศรษฐกิจในประเทศอยางหลีกเลี่ยงไมได ทางกลุมทิสโกจึงมี บุคลากรทางดานนี้ที่ทําการเฝาระวังและจับตาภาวะเศรษฐกิจ ทัง้ ภายในประเทศและภายนอกประเทศอยางตอเนือ่ งเพือ่ ทีจ่ ะปรับ กลยุทธการดําเนินงานใหทั้งกลุมทิสโกรอดพนภาวะตางๆ ได

Engineering Today January- February

2018

54

ศักดิช์ ยั พีชะพัฒน กรรมการผูจ ดั การใหญ ธนาคารทิสโก จํากัด (มหาชน) กลาววา ในป 2561 ธนาคารยังคงเดินหนา ขยายการเติบโตของสินเชื่ออยางตอเนื่อง โดยเฉพาะการเติบโต จากธุรกิจเชาซื้อที่คาดวาจะไดรัรบั อานิสงส ถยนตใหม จากการขยายตัวของยอดขายรถยนต โดยประเมินว าในป 2561 นี้ยอดขาย ยอดขาย 0,000 คั น รถยนตใหมจะเพิ่ม เปน 920,000 00 คัน จากปกอ นหนาทีร่ ะดับ 850,000 ฐกิจ สาเหตุหลักมาจากสภาพเศรษฐกิ ที่ดีขึ้น ขณะที่คูคาของธนาคาร ทัง้ Ford และ Mazda ยังมีการ ตั้ ง เป า การเติ บ โตที่ สู ง ขึ้ น ด วย สวนผูผลิตรถยนต ศักดิ์ชัย พีชะพัฒน กรรมการผูจัดการใหญ ธนาคารทิสโก จํากัด (มหาชน) คายตางๆ ก็มีการ ออกผลิตภัณฑใหมๆ สูตลาด พรอมกับรายการสงเสริมการขาย ที่จูงใจลูกคามากขึ้น และธนาคารทิสโกก็พรอมเตรียมผลิตภัณฑ ใหมๆ เชน Mazda Premium Insurance (MPI) คุม ครองรถดวย ประกันภัยชั้นหนึ่งนําเสนอรองรับลูกคาเชนเดียวกัน สําหรับสินเชื่อบาน ป 2561นี้ จะเนน Mortgage Saver ที่เปน ผลิตภัณฑใหม เหมาะสําหรับลูกคาที่ตองการบริหารเงิน ใหเกิดประโยชนสูงสุด และยังจะขยายความรวมมือกับพันธมิตร ทีเ่ ปนบริษทั พัฒนาอสังหาริมทรัพยในการเสนอสินเชือ่ บานใหแก ลูกคามากขึ้น รวมถึงขยายตลาดไปยังกลุมสินเชื่อบานมือสองที่ อยูในทําเลที่ดี ราคาเหมาะสม สวนการบริการซื้อขายผลิตภัณฑ กองทุ น-ประกันจากหลากหลายคายในจุด เดียว หรือ Open Architecture ไดเขามาชวยใหบริษทั ฯ สามารถนําเสนอผลิตภัณฑ และตอยอดการบริการใหแกลูกคาไดอยางครบวงจร ตามจุดยืน ของธนาคารในการเปน Top Advisory หรือผูใหคําแนะนําทาง การเงินที่ดีของลูกคาไมเคยเปลี่ยน และป 2561 นี้พรอมขึ้นอีก ระดับทีจ่ ะเดินหนาไดเต็มที่ ดวยจุดแข็งดานผลิตภัณฑทอี่ อกแบบ มาใหลูกคาไดรับประโยชน ความหลากหลายของผลิตภัณฑจาก การมีแพลตฟอรมแบบ Open Architecture ที่เปดกวาง ผาน ความรวมมือกับ 10 บริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน (บลจ.) ชั้นนําของเมืองไทย รวมทั้งบริษัทประกันชีวิตและบริษัทประกัน วินาศภัยอีกมากกวา 25 บริษัท เพื่อตอบโจทยความตองการของ ลูกคาอยางดีที่สุด สวนเปาการเติบโตสินของเชื่อป 2561 คาดวาจะเติบโต 0-5 เปอรเซ็นต จากป 2560 ที่เติบโตประมาณ 11 เปอรเซ็นต และตัง้ เปารักษาหนีส้ งสัยจะสูญและหนีท้ ไี่ มกอ ใหเกิดรายได (NPL) ในป 2561 นีอ้ ยูใ นระดับไมเกิน 2.3 เปอรเซ็นต ซึง่ หากทําไดตาม เปาจะทําใหบริษทั ฯ มีผลประกอบการปรับตัวดีขนึ้ จากป 2560


@Engineering Today Vol. 1 No. 163

a'E*$TE

$ OLE T*E8cA9T*'[ ERDR_E *6 I; ² _L ;9T*

EICERDR9T* ´­¯ $VaG_C7E 'T6`G I_LEf+7TC`>;=GTD= ¯²³² ġåĆèâĕĆĆùģĂĂŃĕčĕąčĘčňĄ ëŇĊèċĜüąŋĊĔõüûĆĆĄĒ ĄĘüýěĆĘ āĆňĐĄĢĎňýĆėâĕĆþĿ ğüĐĊĕüĕ ýĘąĐü÷ŋ ğþľ÷øĔĊýňĕüğ÷ĘħąĊ ëĔĨüĠýýĢĎĄŇğþŎüåĆĔĨèĠĆâ ąŇĕüāĆēĆĕĄ ġččěġâňğÿąğúĆü÷ŋčĘâĆēğýĚĨĐèøňĐüĆĔýþĿ ğüĆĄėøýňĕüğ÷ėĄĢĎňâĈĕąğþŎüýňĕüĎĈĔèĢĎĄŇ


Construction • กองบรรณาธิการ

การรถไฟ แห ง ประเทศไทย (รฟท.) จั ด พิ ธี ล งนาม สัญญาจางกอสรางโครงการ กอสรางรถไฟทางคูร ะยะเรงดวน 5 เสนทาง ระหวาง การรถไฟแหง ประเทศไทย โดยอานนท เหลืองบริบูรณ ผูต รวจราชการกระทรวงคมนาคม รักษาการใน ตําแหนงผูว า การรถไฟฯ รวมลงนามในสัญญากับบริษทั ผูร บั จาง ที่ผานการคัดเลือกดานราคาทั้ง 9 สัญญา โดยมี ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ รองนายกรัฐมนตรี เปนประธานในพิธีลงนาม พร อ มด ว ย ฯพณฯ อาคม เติ ม พิ ท ยาไพสิ ฐ รั ฐ มนตรี ว  า การ กระทรวงคมนาคม ฯพณฯ ไพรินทร ชูโชติถาวร รัฐมนตรีชวย ว า การกระทรวงคมนาคม และชาติ ช าย ทิ พ ย สุ น าวี ปลั ด กระทรวงคมนาคม รวมเปนสักขีพยานการลงนามในครั้งนี้ ณ หองราชดําเนิน โรงแรมรอยัลปริ๊นเซส กรุงเทพฯ อานนท กลาววา การลงนามในสัญญาจางกอสรางโครงการ กอสรางรถไฟทางคูระยะเรงดวน เฟสแรกนี้ เปนการลงนาม ในการกอสราง 5 เสนทาง จํานวน 9 สัญญา ประกอบดวย ชวง ลพบุรี-ปากนํ้าโพ ชวงมาบกะเบา-ชุมทางถนนจิระ ชวงนครปฐมหัวหิน ชวงหัวหิน-ประจวบคีรขี นั ธ และชวงประจวบคีรขี นั ธ-ชุมพร รวมระยะทาง 702 กิโลเมตร โดยมีรายละเอียดแตละสัญญา ดังนี้ >> 1. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงมาบกะเบาชุ ม ทางถนนจิร ะ ระยะทาง 136 กิ โลเมตร แบงออกเปน สัญญาที่ 1 ชวงมาบกะเบา-คลองขนานจิตร วงเงิน 7,560,000,000 บาท ระยะเวลากอสราง 48 เดือน และสัญญาที่ 3 งานอุโมงค รถไฟ วงเงิน 9,290,000,000 บาท ระยะเวลากอสราง 42 เดือน

Engineering Today January- February

2018

56

>> ดร.สม

>> ฯพณฯ

ตรี

นายกรัฐมน

ิทักษ รอง คิด จาตุศรีพ

ิทย

อาคม เติมพ

มนาคม

รกระทรวงค

นตรีวากา าไพสิฐ รัฐม

โดยมีบริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด (มหาชน) และ กิจการรวมคา ไอทีดี-อารที เปนผูรับจางสัญญางานกอสราง


>> 2. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงประจวบคีรขี นั ธ์ชุมพร ระยะทาง 168 กิโลเมตร แบงออกเปน สัญญาที่ 1 ชวงประจวบคีรีขันธ-บางสะพานนอย วงเงิน 6,465,000,000 บาท ระยะเวลากอสราง 33 เดือน และสัญญาที่ 2 ชวงบางสะพาน นอย-ชุมพร 5,992,000,000 บาท ระยะเวลากอสราง 36 เดือน โดยมีกิจการรวมคา เคเอส-ซี และ กิจการรวมคา เอสทีทีพี เปน ผูรับจางสัญญางานกอสราง >> 3. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงนครปฐมหัวหิน ระยะทาง 169 กิโลเมตร แบงออกเปน สัญญาที่ 1 ชวง นครปฐม-หนองปลาไหล วงเงิน 8,198,000,000 บาท ระยะ เวลากอสราง 36 เดือน และสัญญาที่ 2 ชวงหนองปลาไหลหัวหิน วงเงิน 7,520,000,000 บาท ระยะเวลากอสราง 36 เดือน โดยมีบริษัท เอ เอส แอสโซซิเอท เอ็นยิเนียริ่ง (1964) จํากัด และ บริษทั ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริง่ แอนด คอนสตรัคชัน่ จํากัด (มหาชน) เปนผูรับจางสัญญางานกอสราง

ไดอยางมีประสิทธิภาพ อีกทัง้ เปนการแกไขปญหาจุดตัดทางรถไฟ โดยใช แ นวทางการก อ สร า งสะพานรถยนต ข  า มทางรถไฟ (Overpass) หรือทางลอดใตทางรถไฟ (Underpass) ชวยเพิ่ม ความเร็วและความปลอดภัยในการเดินทางดวยรถไฟ สามารถ แกไขปญหาจราจรที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และที่สําคัญจะเปนการ ลดอุบัติเหตุบริเวณจุดตัดทางรถไฟไดอยางมีประสิทธิภาพ ภายหลังจากการลงนามแลว การรถไฟฯ จะใหผูรับจาง เริ่มดําเนินการกอสรางในชวงไตรมาส 1 ป 2561 ใหแลวเสร็จ ตามแผนภายในปลายป 2565

>> 4. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงลพบุรีปากนํ้าโพ ระยะทาง 145 กิโลเมตร แบงออกเปน สัญญาที่ 1 ชวงบานกลับ-โคกกระเทียม วงเงิน 10,050,000,000 บาท ระยะเวลากอสราง 48 เดือน และสัญญาที่ 2 ทาแค-ปากนํ้าโพ วงเงิน 8,649,000,000 บาท ระยะเวลากอสราง 36 เดือน โดยมี กิจการรวมคา ยูเอ็น-เอสเอช และ บริษัท ยูนิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด คอนสตรัคชั่น จํากัด (มหาชน) เปนผูรับจางสัญญางานกอสราง >> 5. โครงการก่อ สร้ า งรถไฟทางคู่ ช่วงหั วหิน ประจวบคีรขี นั ธ์ ระยะทาง 84 กิโลเมตร วงเงิน 5,807,000,000 บาท ระยะเวลากอสราง 30 เดือน โดยมีบริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด (มหาชน) เปนผูรับจางสัญญางานกอสราง อานนท กลาวเพิม่ เติมวา โครงการกอสรางรถไฟทางคู ทัง้ 9 สัญญา ในครัง้ นี้ มีมลู คาการกอสรางทัง้ สิน้ รวม 69,531,000,000 บาท ทั้งนี้หากการดําเนินการกอสรางรถไฟทางคู ระยะเรงดวน 7 เสนทางแลวเสร็จ การรถไฟฯ จะมีระยะทางเพิ่มขึ้นอีก 995 กิโลเมตร หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 24.6 ของเสนทางรถไฟทั้งประเทศ ซึ่งสามารถพลิกโฉมการขนสงทางรถไฟไดอยางชัดเจน เพราะจะ ทําใหมีความจุของทางรถไฟเพิ่ม สามารถรองรับขบวนรถเพิ่มขึ้น ไดไมนอยกวาสองเทาตัว มีความปลอดภัยในการขนสงผูโดยสาร และสินคาเพิม่ ขึน้ สามารถเพิม่ ความรวดเร็วและความตรงตอเวลา ในการเดินขบวนรถไฟไดอีกดวย ซึ่งการรถไฟฯ มีโครงการที่จะ พัฒนาทางคูอยางตอเนื่อง เพื่อเชื่อมโยงโครงขายการคมนาคม พื้นฐานอื่นๆ เนนการบริหารจัดการขนสงมวลชน สินคาและ บริการ ทั้งในพื้นที่ชนบท เมือง และระหวางประเทศเขาดวยกัน

57

Engineering Today January- February

2018


Construction • กองบรรณาธิการ

โครงการรถไฟฟ้ า สายสี ส ม ้ (Heavy Rail Transit System) ช่วงศูนย์วัฒนธรรมฯ-มีนบุรี พร้อมให้บริการในปี 2566

เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2559 การรถไฟฟาขนสงมวลชน แหงประเทศไทย (รฟม.) ไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ใหดําเนินงานกอสรางโครงการรถไฟฟาสายสีสม ชวงศูนย วัฒนธรรมแหงประเทศไทย-มีนบุรี ซึ่งเปนระบบขนสงมวลชน สายหลั ก ตามแผนแมบ ทระบบขนสงมวลชนทางรางในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยไดเริ่มดําเนินการกอสราง มาตั้งแตเดือนพฤษภาคม 2560 และคาดวาจะสามารถเปดให บริการไดในป 2566 โครงการรถไฟฟ า สายสี ส  ม ช ว งศู น ย วั ฒ นธรรมแห ง ประเทศไทย-มีนบุรี เปนระบบรถไฟฟาขนาดใหญ (Heavy Rail Transit System) ทีม่ คี วามจุสงู สามารถขนสงผูโ ดยสารไดมากกวา 50,000 คนตอชั่วโมงตอทิศทาง เชนเดียวกับรถไฟฟามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และรถไฟฟามหานคร สายฉลองรัชธรรม โครงการดังกลาว มีระยะทาง 22.57 กิโลเมตร โดยมีแนว เสนทางเริ่มตนจากสถานีศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย ซึ่งเปน สถานีเชือ่ มตอกับรถไฟฟามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (รถไฟฟา ใตดิน MRT) ผานถนนพระราม 9 ถนนรามคําแหง แยกลําสาลี ตัดผานถนนกาญจนาภิเษก และสิน้ สุดทีจ่ ดุ ตัดกับถนนสุวนิ ทวงศ

Engineering Today January- February

2018

58

บริเวณมีนบุรี ประกอบดวยสถานีใตดิน 10 สถานี และสถานี ยกระดับ 7 สถานี โครงการรถไฟฟาสายสีสม ชวงศูนยวัฒนธรรมฯ-มีนบุรี (สุวินทวงศ) จะมีระยะทางทั้งหมด 21.2 กิโลเมตร แบงเปนทาง วิ่งยกระดับ 9 กิโลเมตร และทางวิ่งใตดิน 12.2 กิโลเมตร มีสถานี ใหบริการจํานวน 14 สถานี ดังนี้ สถานีใต้ดิน 10 แห่ง ไดแก 1. สถานีศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย ตั้งอยูใกลถนน รัชดาภิเษก บริเวณดานหนาหางเอสพลานาด รัชดาฯ ซึ่งจะเปน สถานีที่เชื่อมตอกับโครงการรถไฟฟามหานครสายเฉลิมรัชมงคล (สถานีศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย) 2. สถานี รฟม. ตั้งอยูใตพื้นที่ของ รฟม. บริเวณประตู 1 ถนนพระราม 9 3. สถานีประดิษฐมนูธรรม ตัง้ อยูใ ตถนนพระราม 9 บริเวณ ใกลสี่แยกพระราม 9-ถนนประดิษฐมนูธรรม หนาปากซอยเขาวัด พระราม 9 กาญจนาภิเษก 4. สถานีรามคําแหง 12 ตั้งอยูใตถนนรามคําแหงดานหนา หางเดอะมอลล สาขารามคําแหง


โครงการรถไฟฟ้าสาย สีสม้ ช่วงศูนย์วฒ ั นธรรมฯมี น บุ รี เป็ น ระบบรถไฟฟ้ า ขนาดใหญ่ (Heavy Rail Transit System) ที่ มี ความจุ สู ง สามารถขนส่ ง ผู ้ โ ด ย ส า ร ไ ด ้ ม า ก ก ว ่ า 50,000 คนต่อชั่วโมงต่อ ทิศทาง เช่นเดียวกับรถไฟฟ้า มหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และรถไฟฟ้ามหานคร สาย ฉลองรัชธรรม 5. สถานีรามคําแหง ตั้งอยูใตถนนรามคําแหง บริเวณดาน หนามหาวิทยาลัยรามคําแหง 6. สถานีราชมังคลา ตั้งอยูใตถนนรามคําแหง บริเวณดาน หนาสนามกีฬาหัวหมาก (ราชมังคลากีฬาสถาน) 7. สถานีหัวหมาก ตั้งอยูใตถนนรามคําแหง บริเวณดาน หนาโรงพยาบาลรามคําแหง 8. สถานีลําสาลี ตั้งอยูใตถนนรามคําแหง บริเวณใตแยก ลําสาลี และจะเปนสถานีที่เชื่อมตอกับโครงการรถไฟฟาสาย สีเหลือง ชวงลาดพราว-สําโรง (สถานีลําสาลี) 9. สถานีศรีบูรพา ตั้งอยูใตถนนรามคําแหง บริเวณสาม แยกถนนรามคําแหงตัดถนนศรีบูรพา หรือดานหนาหางบิ๊กซี เอ็กซตรา สุขาภิบาล 3 10. สถานีคลองบานมา ตั้งอยูใตถนนรามคําแหงบริเวณ ระหว า งซอยรามคํ า แหง 92-94 และมี อ าคารจอดแล ว จร (Park&Ride) ฝงขาเขาติดกับสถานี เปนอาคาร 10 ชั้น จอด รถยนตไดประมาณ 1,200 คัน สถานียกระดับ 7 แห่ง ไดแก 1. สถานีสัมมากร ตั้งอยูบนถนนรามคําแหง บริเวณใกล หมูบานสัมมากร

2. สถานีนอมเกลา ตั้งอยูบนถนนรามคําแหง บริเวณดาน หนาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษานอมเกลา 3. สถานีราษฎรพัฒนา ตั้งอยูบนถนนรามคําแหง บริเวณ สามแยกรามคําแหง-ถนนราษฎรพัฒนา ดานหนาสํานักงานใหญ บริษัทมิสทิน 4. สถานีมีนพัฒนา ตั้งอยูบนถนนรามคําแหง บริเวณดาน หนาเขาวัดบางเพ็งใต ตรงขามนิคมอุตสาหกรรมบางชัน 5. สถานีเคหะรามคําแหง ตัง้ อยูบ นถนนรามคําแหง บริเวณ ดานหนาปากซอยรามคําแหง 184 ใกลเคหะรามคําแหง 6. สถานีมนี บุรี ตัง้ อยูร มิ ถนนรามคําแหง ดานทิศใตบริเวณ สะพานขามคลองสองตนนุน เปนสถานีเชื่อมตอกับโครงการ รถไฟฟาสายสีชมพู ชวงแคราย-มีนบุรี (สถานีมนี บุร)ี โดยมีอาคาร จอดแลวจร (Park&Ride) เปนอาคาร 10 ชั้น จอดรถยนตได ประมาณ 3,000 คัน 7. สถานีสุวินทวงศ ตั้งอยูริมถนนรามคําแหง ดานทิศใต บริเวณใกลทางแยกสุวินทวงศ

59 59

Engineering Today January- February

2018


Property • กองบรรณาธิการ

เนอวานา บียอนด์

เปิดตัวบ้านเดี่ยว 2 ชั้นแบบใหม่เป็นครั้งแรก ย่านพระราม 2 รองรับครอบครัวใหม่ระดับพรีเมียม-กลุ่มสร้างบ้านบนที่ดินตนเอง

แบบบาน Quest

เนอวานา ไดอิ เปิดตัวบ้านเดีย่ ว 2 ชัน้ รูปแบบใหม่ครัง้ แรก ประเดิม โครงการเนอวานา บียอนด์ พระราม 2 พร้อมแนะนํา 3 แบบบ้านใหม่ สไตล์โมเดิรน์ เน้นการใช้ Human-Centered Design ในการออกแบบ พร้อมตอบโจทย์การอยูอ่ าศัยของกลุม่ 3 GENS และรองรับกลุม่ ขยาย ครอบครัวใหม่ รวมทัง้ ยังรองรับกลุม่ ลูกค้าทีต่ อ้ งการสร้างบ้านบนทีด่ นิ ตนเอง ศรศักดิ์ สมวัฒนา ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั เนอวานา ไดอิ จํากัด (มหาชน) หรือ NVD กลาววา บานเดี่ยวภายใตแบรนด เนอวานา บียอนด มี รูปแบบที่โดดเดน พรอมฟงกชันการใชงานที่ตอบรับการอยูอาศัยไดตรงกับ ความตองการ ทุกโครงการตั้งอยูบนทําเลศักยภาพ ติดถนนใหญ ศรีนครินทร และพระราม 2 ทุกๆ โครงการของ เนอวานา บียอนด ออกแบบใหมคี วามโดดเดน ในแงรปู ลักษณและการใชงานเนนการออกแบบดวย Human-Centered Design คือ คํานึงถึงประสบการณของผูอยูอาศัยเปนสําคัญ ทําใหเราออกแบบฟงกชัน และพื้นที่ใชสอยตรงกับความตองการที่ตอบโจทยการอยูอาศัยของลูกคา อยางสูงสุด “จากการวิเคราะหความตองการของลูกคาในทําเลติดถนนใหญพระราม 2 พบวาเปนกลุมครอบครัวขยาย อยูดวยกัน 3 เจนเนอเรชั่น (3GENS) ตองการ หาบานหลังใหญในสภาพแวดลอมทีด่ ี เดินทางเขาเมืองสะดวก และไมไกลจาก ทําเลที่คุนเคย เราจึงพัฒนาโครงการนี้ เพื่อตอบโจทยความตองการของลูกคา กลุมนี้อยางชัดเจน ทําใหเราไดแบบบานที่เหมาะกับความตองการอยางแทจริง สําหรับโครงการนีเ้ ปนโครงการแรกทีเ่ รานําบานเดีย่ วดีไซนใหมมานําเสนอลูกคา เพื่อตอบรับกับความตองการที่หลากหลาย เพิ่มทางเลือกใหลูกคาเพิ่มขึ้น โดยดีไซนใหมนี้เปนบานเดี่ยว 2 ชั้น ซึ่งเปดตัวเปนครั้งแรกของบานเนอวานา บียอนด ที่ตางจากบานเนอวานา บียอนด รูปแบบแรก ที่จะเปนบานเดี่ยว 3 ชั้น เลนระดับ โดยบานเดีย่ ว 2 ชัน้ รูปแบบใหมมใี หเลือกทัง้ สิน้ 3 แบบ คือ แบบ Sane แบบ Reach และ แบบ Quest มีพื้นที่ใชสอยเริ่มที่ 232-365 ตารางเมตร บน

Engineering ring ri ng Tod Today ay JanuaryJanuary Ja nuary-- Feb Februar February ruaryy

2018 2018

60

ศรศักดิ์ สมวัฒนา ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท เนอวานา ไดอิ จํากัด (มหาชน)

ที่ดินขนาดใหญ 60-100 ตารางวา ถูกออกแบบ โดย เนน Space Management ที่ดี ยังคงจุดแข็ง เรื่องการออกแบบของบานเนอวานา ที่ยังมี Space โปรงโลง ไมวาจะเปน High Ceiling หรือ Double Volume Space หองนอนทุกหองถูกออกแบบให มีขนาดใหญ มีหองนํ้าในตัว เสมือนเปน Master Bedroom ทุกหอง เพือ่ ใหทุกคนไดอยูอาศัยอยาง สบาย อีกทั้งโครงการยังออกแบบใหมีหองนอน บริเวณชั้นลางในทุกแบบ เพื่อตอบรับผูสูงอายุของ กลุมลูกคา 3GENS ในราคาเริ่มตนเพียง 15-30 ลานบาท” ศรศักดิ์ กลาว สําหรับบาน 2 ชัน้ รูปแบบใหมนี้ ใชเทคโนโลยี การกอสรางระบบ Prestressed Concrete ซึ่งมี ความแข็งแรง ทนทาน มีคุณภาพ และไดมาตรฐาน เพราะผลิตจากทางโรงงานของเราโดยตรง แตยงั คง Concept ของบาน Nirvana ไมว าจะเปนเรื่อง


Design, Space Management ที่ดี รวมถึงเรื่อง การนําแสงและลมธรรมชาติ เขามาใชในบานใหมากที่สุด ซึ่งทําใหบาน โปรง โลง สบาย อากาศหมุนเวียน ไดดี การใชผนัง Prestressed Concrete ที่หนาถึง 15 เซนติเมตร พรอมใช กระจก Low E ทําใหบา นเย็น ปองกันความรอน และเสียงรบกวนจากภายนอก ไดดี การออกแบบภายในแบบ Double Volume Space ที่ทําใหบานภูมิฐาน โดดเดน และโปรงโลง ดานนันทชาติ กลีบพิพัฒน ประธานเจาหนาที่บริหารสายงานพัฒนา ธุรกิจ บริษทั เนอวานา ไดอิ จํากัด (มหาชน) กลาววา การเปดตัวบานในครัง้ นี้ ถือเปนการเปดตัวอีกหนึ่งธุรกิจของเราไปในตัว คือ การรับสรางบานบนที่ดิน ของลูกคา ซึ่งเรามีความพรอมที่จะรุกธุรกิจรับสรางบานอยางเต็มตัว โดยใช ความไดเปรียบในแงของ Design ที่ดีเปนหลัก และงานกอสรางที่มีมาตรฐาน และสงมอบบานไดตรงเวลา ทําใหลูกคาไดรับสินคาและบริการอยางพอใจ อีกทั้งเปนครั้งแรกในวงการรับสรางบานที่จะไดสัมผัสประสบการณใหม จะได เห็นบานจริง Space จริง วัสดุจริง กอนตัดสินใจสรางบานเพราะเรามีบาน ตัวอยางใหลูกคาไดดูกอนตัดสินใจครบทุกแบบ โครงการ เนอวานา บียอนด พระราม 2 พัฒนาในรูปแบบของบานเดี่ยว 2-3 ชั้น ขนาดที่ดินเริ่มตน 50.5-102 ตารางวา พื้นที่ใชสอยตั้งแต 232-550 ตารางเมตร จํานวน 120 ยูนิต แบงเปนบานเดี่ยว 3 ชั้น จํานวน 66 ยูนิต และ บานเดี่ยว 2 ชั้นรูปแบบใหม จํานวน 54 ยูนิต บนเนื้อที่โครงการทั้งหมด 41-2-88 ไร มูลคาโครงการประมาณ 2,000 ลานบาท ในราคาเริ่มตนที่

15 ลานบาท ไปจนถึง 50 ลานบาท ตั้งอยูบนทําเล ศักยภาพติดถนนใหญพระราม 2 เยือ้ งเซ็นทรัล ใกลจดุ ขึ้น-ลงทางดวน 2 ทาง ทั้งทางดวนเฉลิมมหานคร เชือ่ มตอสูใ จกลางเมืองไดอยางรวดเร็ว ทางดวนวงแหวน อุตสาหกรรม (บางพลี-พระราม 2) กาญจนาภิเษก ใกลกบั สิง่ อํานวยความสะดวกครบครัน อาทิ เซ็นทรัล พระราม 2 โลตัส บิ๊กซี โฮมโปร เปนตน ปจจุบันมี ยอดขายแลวประมาณ 30 เปอรเซ็นต มูลคากวา 300 ลานบาท นันทชาติ กลีบพิพัฒน ประธานเจาหนาที่บริหารสายงาน พัฒนาธุรกิจ บริษัท เนอวานา ไดอิ จํากัด (มหาชน)

แบบบาน Reach

6 61

Engineeri Eng Engineering ineering ng Tod Today ay Ja Janua Januarynuary ry-- FFebruary ebrua eb ruary ry

2 2018


Tips • บริษัท โสสุโก แอนด กรุป (2008) จํากัด

โสสุโก้เผยเทรนด์สีกระเบื้อง

ต้อนรับปี 2018

เนรมิตบ้านเดิมให้กลายเป็นบ้านหลังใหม่ ยางเขาสูปใหม หลายคนคงอยากเริ่มตนทําสิ่งใหม ยายงานใหม ยายที่อยูใหม หรือรีโนเวตบานหลังเดิมใหดูใหมไฉไลกวาเกา แตละบาน อาจมีแผนปรับปรุงบานแตกตางกัน ขึน้ อยูก บั งบประมาณและความพรอม ดานตางๆ ในขณะเดียวกันเทรนดการแตงบานในปจจุบันก็มีความ หลากหลายมากขึ้นเพื่อใหเขากับยุคสมัยและรสนิยมของแตละบุคคล โดยถายทอดออกมาในรูปแบบการใชโทนสี ลวดลาย รูปทรง ทีช่ ว ยสราง บรรยากาศที่แตกตางกันภายในบาน การปรับปรุงบานหลังเดิมใหเปนบานหลังใหมไมใชเรื่องยากอีก ตอไป ดวยวัสดุอุปกรณที่มีความทันสมัยและหาซื้อไดสะดวกมากขึ้น เชน กระเบือ้ งปูพนื้ และบุผนังซึง่ เปนตัวเลือกทีน่ า สนใจ ดวยสีสนั ลวดลาย ที่สดใส อีกทั้งทนตอสภาพอากาศและการใชงาน ดังนั้น บริษัท โสสุโก แอนด กรุป (2008) จํากัด ผูดําเนินการตลาดและการขายกระเบื้อง เซรามิกปูพื้นและบุผนังตราโสสุโก จึงนําเสนอผลิตภัณฑแตงบานใน

Engineering Today January- February

2018

62

เทรนดสีแพนโทนที่นาจับตามองประจําปมาฝากกัน ดวย กระเบื้องเซรามิกปูพื้นและบุผนังคอลเลกชั่นสีแพนโทน 2018 ตอนรับตนปอยาง “Ultra Violet” โทนสีมวง ที่มา พรอมลวดลายสดใสทันสมัย พรอมเนรมิตบานบรรยากาศ เดิมๆ ใหกลายเปนบานหลังใหมที่ชวนหลงใหล นอกจากสีแพนโทนประจําปอยางสีมวงที่กําลังมา แรงแลว โสสุโกยงั สงกระเบือ้ งในโทนสีทมี่ คี วามโดดเดนตาง สไตลมาตอนรับบานใหมในป 2018 เชน Harbor Mist ลวดลายดอกไมผสมผสานกับลายหินออนทีเ่ นนความมีมติ ิ เหมาะมากกับพื้นที่นอกบานที่ยังขาดสีสัน สวนใครที่ตอง การเติมความหวานในชวงตนป โสสุโกกม็ กี ระเบือ้ งสีหวาน อยาง Blooming Dahlia ที่มาพรอมลายดอกไมนําสมัย บวกกับสีสันที่ชวนมอง ใหความสบายตายามพักผอน



Project Management • ดร.พรชัย องควงศสกุล dr.pornchai.ong@gmail.com

บารมี ๑๐ สําหรับนักบริหาร

(The 10 Most Effective Ways Leaders Solve Problems) P Part art II

เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New Management Tools)

บารมี ก็คือธรรมะ หรือ คุณธรรมที่บําเพ็ญอยางยิ่งยวด เพื่อจะบรรลุจุดหมายที่สูงสง จะเห็นวาเปนเรื่องสูงทั้งนั้น การ ปฏิ บั ติ แ ละคุ ณ ธรรมที่ ป ฏิ บั ติ นั้ น ก็ บํ า เพ็ ญ อย า งยิ่ ง ยวด และ บําเพ็ญไปก็มีจุดหมายที่จะบรรลุถึงสิ่งทิ่ดีงามสูงสุด เชน เพื่อจะ เปนพระพุทธเจา ยกตัวอยางพระพุทธเจาของเรานี้ แตกอนก็เปน พระโพธิ สั ต ว ซึ่ ง ได บํ า เพ็ ญ ธรรมะต า งๆ ธรรมะที่ พ ระองค บําเพ็ญนั้น มีจุดหมายสูงยิ่งวาจะเปนพระพุทธเจา ก็เลยบําเพ็ญ อยางยิง่ ยวด เหนือกวาทีค่ นธรรมดาจะทําได จึงเรียกวาเปน “บารมี” แตถา นึกถึงพระพุทธเจาและมองไปตามพระประวัตขิ องพระองค ไดคิดวาบางครั้งพระองคทําความดีแลวตองประสบความทุกข ถู ก คนอื่ น ข ม เหงรั ง แกเดื อ ดร อ นมากมาย แต พ ระองค ก็ ไ ม ยอมทอถอยเลย ประวัติของพระพุทธเจาครั้งเปนพระโพธิสัตว เปนแบบนี้มาก แตพระองคก็ยืนหยัดในความดีนั้น จนประสบ ความสําเร็จจากการทําความดีของตนเอง แตตองอาศัยกาลเวลา ยาวนาน และมีความมั่นคง มีความอดทนเปนอยางยิ่ง เพราะ ฉะนั้น คุณธรรมที่บําเพ็ญในระดับบารมีจึงเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่ง เปนปาฐกถาธรรมเรื่อง “บารมี ยิ่งยวด หรือ ยิ่งใหญ” พระธรรม ปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) ที่กลาวถึงบารมีของพระโพธิสัตว ในทางพระพุทธศาสนามีปรากฏในหลักของการบําเพ็ญ บารมีของพระโพธิสัตวผูที่จะไดตรัสรูเปนพระพุทธเจาในสิบชาติ สุดทาย ซึ่งเปนที่มาของหลักธรรมในบารมี ๑๐ หรือ ทศบารมี คํา ว า บารมี ห มายถึ ง ปฏิ ปทาอั นยวดยิ่ง คุ ณ ธรรมที่ ประพฤติ ปฏิบัติอยางยิ่งยวดคือความดีที่บําเพ็ญอยางพิเศษ เพื่อบรรลุซึ่ง จุ ด หมายอั น สู ง เช น ความเป น พระพุ ท ธเจ า และความเป น

Engineering Today Ja Januaryanuaryy- Feb Februa February ruaary r

2018

64

มหาสาวก เปนตน ซึ่งมี ๑๐ ประการ ในตอนนี้ผูเขียนจึงขอนํา หลักพุทธธรรม ที่วาดวยการสรางบารมีใหกับผูบริหาร เพื่อการ ศึกษาใหรูซึ่งที่มาขอหลักธรรมในบารมี ๑๐ ประการ อันเปน คุณธรรมแหงความสําเร็จพรอมกับใหทราบที่มาของ ๑๐ บารมี ของพระโพธิสตั วในทศชาติสดุ ทายกอนทีจ่ ะตรัสรู ตอจากบททีแ่ ลว ดังนี้ ๕. ปัญจมชาติ-บําเพ็ญในพระชาติมโหสถ ปัญญาบารมี ที่มาแหงบําเพ็ญปญญาบารมี พระเจาวิเทหราชแหงกรุง มิถิลา ทรงฝนประหลาด มีผูทํานายวา ผูมีปญญาวิเศษมาเกิด และจะไดเขารวมในสํานักราชบัณฑิต พระราชาจึงสงราชบุรุษ ออกสืบหา เวลานั้นภริยาเศรษฐีในตําบลทางตะวันออกของกรุง มิถิลา คลอดบุตรชาย ในมือถือแทงยามาดวย ยานั้นเมื่อนํามา รักษาโรคปวดหัวเรื้อรังของบิดา ก็หายขาดฉับพลัน เศรษฐีจึงให ชื่อบุตรวา มโหสถ (ยาที่ยิ่งใหญ) มโหสถเปนเด็กที่มีปญญามาก ไดแกปญหาหลายคดี ลวงรู ถึ ง ราชบุ รุ ษ จากกรุ ง มิ ถิ ล า จึ ง ทู ล รายงานให พ ระราชาทราบ พระราชาอยากไดตัวมโหสถเขาสํานักราชบัณฑิต แตราชบัณฑิต สําคัญ ๔ คน ในสํานัก ทูลใหพระราชาทดสอบใหแนใจกอนวา เป น เด็ ก ผู  มี ป  ญ ญาวิ เ ศษจริ ง โดยส ง ปริ ศ นาต า งๆ ไปให แ ก ปรากฏวามโหสถแกไดทงั้ หมด ในทีส่ ดุ มโหสถก็ไดเขาวัง ในฐานะ พระราชบุตรบุญธรรมของพระราชา เมือ่ ไดเปนราชบัณฑิต มโหสถ ไดแกปญหาอีกหลายเรื่อง รวมทั้งปญหาของพระนางอุทุมพร


พระมเหสี ซึ่งชวยชีวิตของพระนางไวได นับวันราชบัณฑิตทั้ง ๔ เสียฐานะมากยิ่งขึ้น จึงคิดอุบายใสรายมโหสถ จนพระราชาคิดวา มโหสถทําผิดจริง ไมยอมใหมโหสถเขาชี้แจง มโหสถตองจากนาง อมรเทวีผภู ริยา หนีราชภัยไปเปนชางปน หมอในตําบลอันหางไกล เมื่อมโหสถไมอยู บัณฑิตทั้ง ๔ ก็เขามากอรอกอติกนาง อมรเทวี แตก็ถูกนางอมรเทวีจัดการดวยปญญา ประจานใหเปน ที่อับอายตอหนาพระราชา พรอมทั้งเปดเผยเรื่องอุบายใสราย มโหสถ แตพระราชาก็ไมไดเรียกมโหสถกลับ รอนถึงเทวดารักษา เศวตฉัตรตองออกมาตั้งปริศนากับพระราชา วาถาแกไมไดจะฆา พระราชาเสีย ราชบัณฑิต ๔ คนก็แกไมได พระราชาใหคนออก ตามหามโหสถจนพบ มโหสถแกปริศนาได และกลับเขารับราชการ บัณฑิตทั้ง ๔ ยังปองรายมโหสถ วางแผนใหพระราชาไมไววางใจ จนถึงกับมอบพระขรรคใหคอยฆามโหสถแตมโหสถก็รอดชีวิต มาได ทัง้ ยังเปดเผยความลับรายแรงของบัณฑิตทัง้ ๔ ใหพระราชา ทรงทราบ พระราชาสั่งใหเอาบัณฑิตทั้ง ๔ ไปประหารเสีย แต มโหสถทูลขอชีวิตไว ทีก่ รุงกัปปลรัฐ พระราชาจุลนีพรหมทัตสมคบคิดกับพราหมณ เกวัฏผูมากเลห จะครอบครองทั้งชมพูทวีปดวยการจัดงานเลี้ยง วางยาพิษพระราชาทั้งรอยเอ็ดเมือง บังเอิญนกแขกเตาสืบขาว ของมโหสถไดยินเขา นําเรื่องมาบอก มโหสถสงคนไปทําลาย งานเลี้ยงเพื่อชวยชีวิตพระราชาเหลานั้น พระเจาจุลนีฯ โกรธ พระราชาทั้งรอยเอ็ดก็โกรธเพราะไมทราบเบื้องหลัง แลวรวมกับ พระเจาจุลนีฯ ยกทัพมาลอมกรุงมิถิลา มโหสถใชสติปญญาแกไข ใหกรุงมิถิลารอดพนภัยสงครามมาได ตอมา เกวัฏพราหมณวางแผนฆาพระเจาวิเทหราชกับมโหสถ โดยเอาพระธิดาของพระเจาจุลนีฯ ขึน้ ลอ วาจะใหอภิเษกสมรสดวย แตตองมาทําพิธีที่กรุงกัปปลรัฐ พระเจาวิเทหราชหลงกลจะไป ตามคําเชิญ แตมโหสถขอลวงหนาไปจัดเตรียมสรางวังประทับ ใหกอน มโหสถสรางวังใหมไวริมแมนํ้านอกกรุงกัปปลรัฐ โดยมี อุโมงคไปโผลที่ลานวังพระเจาจุลนีฯ ทางหนึ่ง กับโผลออกริม แมนาํ้ อีกทางหนึง่ เมือ่ ถึงวันสําคัญ พระเจาจุลนีฯ รวมกับพระราชา ทั้ ง ร อ ยเอ็ ด กลั บ ยกทั พ มาล อ มวั ง ใหม ข องพระเจ า วิ เ ทหราช มโหสถฉวยจั ง หวะส ง คนผ า นอุ โ มงค ล อบเข า ไปในวั ง จั บ ตั ว พระราชินีกับพระธิดาของพระเจาจุลนีฯ เปนตัวประกัน แลวพา

พระเจาวิเทหราชกับตัวประกันลอบหนีออกแมนํ้า กลับไปกรุง มิถิลาได สวนพระเจาจุลนีฯ กับพระราชาทั้งรอยเอ็ด มโหสถก็ ลวงพาเขาอุโมงคแลวปดอุโมงคจับตัวไว มโหสถทําใหพระเจา จุลนีฯ เลิกคิดรายตอตนและยอมเปนพระสัสสุระของพระเจา วิเทหราชดวยดี Management Tip ปญญา [ปน-ยา] (มค. ปฺญา) น. ความรอบรู ความรูทั่ว ความฉลาดเกิดแตการเรียนรู ในเรื่อง ปญญา สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหา สังฆปริณายก ไดทรงเทศนใหเห็นถึง ความสําคัญของการพัฒนา ปญญาไว ม าก โดย เฉพาะ “วิ ธีการฝ กป ญญา” เชนเดียวกับ พระพุทธเจา ที่ทรงบําเพ็ ญปญญาบารมี จนรู แจงตรัสรูด วย พระองคเอง คนเราเมื่อมีปญญา มีความรูเพิ่มขึ้น ก็ชวยใหมีหูตา สวางขึ้น มีจิตใจสวางขึ้น ไมถูกหลอกลวงทางอายตนะไดงาย การฝกปญญาใหเพิ่มขึ้นทําได ๓ อยางคือ ๑. ฝกปญญาดวยหลัก การฟง การอาน การถาม การเขียน การจดบันทึก รวมทั้งการรูผานอายตนะทางอื่น ตา หู จมูก ลิ้น กาย โดยอาศัยอายตนะทั้ง ๕ ในการเสริมความรูใหมากขึ้น สมัย โบราณไมมีตัวหนังสือ จึงตองอาศัยหูในการฟงเปนสําคัญ จึงได ยกเอาการสดับฟงขึ้นมาเปนทางใหเกิดปญญา ปญญาที่เกิดจาก การฟง การอาน และจมูก ลิ้น กาย เหลานี้รวมเรียกวา สุตมย ปญญา คือ ปญญาที่เกิดจากการฟง ๒. ฝ ก ป ญ ญาด ว ยการคิ ด อาศั ย ความคิ ด ในการคิ ด ค น พิจารณา จับเหตุจับผลที่ถูกตอง ก็เปนทางใหเกิดปญญา เรียกวา จินตามยปญญา คือ ปญญาที่เกิดจากความคิดพิจารณา ๓. ฝกปญญาดวยการปฏิบั ติ เมื่อลงมือปฏิบัติ ก็จะได ความรูที่ถูกตองเพิ่มขึ้นอีกขั้นหนึ่ง แตการลงมือปฏิบัติจะตอง กําหนดหัวขอสําคัญไวกอน ๒ อยาง คือ ๑. การละ หมายถึงการ ละในสิง่ ทีค่ วรละ และสิง่ หามตางๆ เชน การละเสพสุรายาเสพติด ๒. ทําใหมีขึ้น เปนขึ้น เรียกวา ภาวนามยปญญา คือ ปญญาที่เกิด จากการปฏิบัติทําใหมีขึ้น เปนขึ้น ผูมีปญญาเลิศคือผูที่ฝกปฏิบัติในทางสายของปญญา คําวา “สุ.จิ.ปุ.ลิ.” ยอมาจาก คํา ๔ คํา ไดแก สุต (ฟง) จินตะ (คิด) ปุจฉา (ถาม) ลิขิต (เขียน) แปลเปนไทยก็คือ “ฟง คิด ถาม เขียน” เป น หั ว ใจนั ก ปราชญ สมเด็ จ พระพุ ท ธโฆษาจารย (ประยุ ท ธ

65

Engineering Tod TToday ay January- February

2018 18 8


ปยุตฺโต) พระนักปราชญแหงพระพุทธศาสนาที่ไดรับการยอมรับ จากทั่ วโลกจากวั ตรปฏิบั ติ และผลงานการเขีย นหนังสือ การ แสดงธรรม ตลอดรวมถึงการคนควาวิจัยทางพระพุทธศาสนา อันโดดเดน บนพื้นฐานและแบบอยางแหงปญญาบารมีในธรรม ในฐานะของผู้บริหาร ปญญาบารมี มีความสําคัญอยางยิ่ง ผูที่ประสบความสําเร็จในโลกปจจุบันไดแปรเปลี่ยนไปจากเดิม อยางเชน ๑. นาย Steve Paul Jobs ผูกอตั้ง Apple Inc. นัก นวัตกรรมแหงโลก ผูสรางสรรคผลงานดานไอทีเทคโนโลยีใน Social Network ผานเครื่องมือสื่อสารตระกูล Apple ๒. นาย Bill Gates กอตั้งไมโครซอฟท คอรปอเรชัน ของเขากับผูบุกเบิก ดานคอมพิวเตอรสวนบุคคลผานคําวาหนาตางอัจฉริยะในการ ใชงานในการเปดโลกไอทีดวย Windows ๓. นาย Mark Elliot Zuckerberg ผูก อ ตัง้ เว็บไซต facebook.com เว็บไซตทเี่ ราสามารถ อัพโหลดรูปจากมือถือ มาโชวหนาเว็บไดทนั ที เว็บไซตทเี่ ราสามารถ ติดตามความเคลื่อนไหวของเพื่อนๆ และ Idol ที่เราชอบไดใน แบบ Real-time และ ๔. นาย Jack Ma เจาสัวธุรกิจและผูใจบุญ ชาวจีน เขาเปน ผูกอตั้งและประธานบริหารของกลุมอาลีบาบา ซึ่งประสบความสําเร็จบนธุร กิจอินเทอรเน็ต บุคคลที่กลาวถึง ทัง้ หมดไมไดจบการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย แตมคี วามสามารถ ในภูมิปญญาและมีจินตนาการที่มองเห็นภาพแหงโอกาสในการ ดําเนินธุรกิจ มีวลีหนึ่งกลาววา “Imagine More Important Than Knowledge” ของ Albert Einstein หนึ่งในวาทะอมตะของ อัลเบิรต ไอนสไตน ที่กลาวถึงความจินตนาการสําคัญกวาความรู คําวาจินตนาการและความรู นั้นคือคําวาปญญา (Wisdom) ใน การดําเนินธุรกิจ ๖. ฉัฐมชาติ-บําเพ็ญในพระชาติภูริทัตต์ บําเพ็ญศีลบารมี ที่มาของบําเพ็ญศีลบารมี พระราชาแหงพาราณสี ระแวง วาพระราชบุตรจะคิดขบถ จึงสั่งใหออกจากเมือง พระราชบุตรไป บวชอยูใกลแมนํ้ายมุนา ไดนางนาคตนหนึ่งเปนภรรยา มีโอรส ชื่อ “สาครพรหมทัต” และธิดาชื่อ “สมุทรชา” ครั้นพระราชาสวรรคต บรรดาเสนาอํามาตยก็มาอัญเชิญพระราชบุตรขึ้นสืบราชสมบัติ

Engineering Today Ja Januaryanuaryy- Feb Februa February ruaary r

2018

66

วันหนึ่ง โอรสธิดาเกิดตกใจกลัวเตาตัวหนึ่ง พระบิดาจึงให คนจับไปทิ้งในแมนํ้า เตาถูกพวกนาคจับไว เตาออกอุบายวา เปนทูตของพระราชาพาราณสีจะยกพระธิดาใหเปนชายาของ ราชานาค ราชานาคใหทูตไปขอรับตัวพระธิดา พระราชาปฏิเสธ ราชานาคจึงโกรธวา พระราชาพาราณสีดูหมิ่น สั่งใหฝูงนาคขึ้น ไปเทีย่ วแสดงอิทธิฤทธิอ์ าํ นาจในเมืองมนุษย จนในทีส่ ดุ พระราชา ตองจําใจสงนางสมุทรชาให ตอมานางมีโอรส ๔ องค ชื่อ สุทัศนะ ทัตตะ สุโภคะ และ อริฏฐะ ทัตตะเปน ผูมีปญญา ไดชื่อวา ภูริทัตต คือ ทัตตผูเรือง ปญญา ชวยพระบิดาและแมเทวดา แกไขปญหาตางๆ อยูเ ปนนิตย ภูริทัตตเคยไปเห็นเทวโลก จึงตั้งใจวาจะรักษาศีลอุโบสถเพื่อจะ ไดไปเกิด ในเทวโลก แตราชานาคสั่งว า มิให ออกไปนอกเขต เมืองนาค เพราะอาจเปนอันตราย แตการรักษาศีลอยูใ นเมืองนาค ทําไดยาก ภูรทิ ตั ตจงึ ขึน้ ไปรักษาศีลอยูท จี่ อมปลวก ริมแมนาํ้ ยมุนา โดยตั้งจิตอธิษฐานวา แมผูใดจะตองการเลือดเนื้อของตน ก็จะ ยกให ขอเพียงศีลบริสุทธิ์ นายพรานชื่อ เนสาท มาพบภูริทัตตเขา ภูริทัตตเห็นวาอาจเปนอันตรายแกตน จึงบอกพรานวาจะพาไป อยูเ มืองนาคใหไดรบั ความสุขสบาย แตพรานเนสาทอยูเ มืองนาค ไดไมนานก็กลับเมืองมนุษยออกลาสัตวตอไปตามเดิม ครุฑตนหนึ่งออกไปจับนาคมากิน นาคเอาหางรั้งกิ่งไทรที่ ใหรมเงาแกศาลาพระฤๅษีหลุดติดมาดวย ครุฑรูสึกผิด จึงไปถาม พระฤๅษีวากรรมจะตกอยูกับใคร พระฤๅษีวา ไมมีใครเจตนาจะ ถอนตนไทร กรรมจึ งไมมี แกผู ใด ครุฑ โลงใจจึ งสอนมนต ชื่อ อาลัมพายน สําหรับใชจับนาคใหแกพระฤๅษี ตอมาพระฤๅษี สอนมนตนั้นใหแกพราหมณผูหนึ่ง วันหนึ่งขณะที่พราหมณเดิน สาธยายมนต นาคที่ขึ้นมาเลนนํ้าไดยินมนตก็ตกใจนึกวาครุฑมา รีบหนีลงนํา้ ลืมดวงแกวสารพัดนึกไวบนฝง พราหมณหยิบดวงแกว นั้นไป มาพบกับพรานเนสาทซึ่งจําดวงแกวไดวาเหมือนที่ภูริทัตต เคยใหดูก็ออกปากขอ พราหมณขอรูที่อยูของนาคเปนการแลก เปลีย่ น พรานเนสาทจึงพาไปบริเวณทีภ่ รู ทิ ตั ตรกั ษาศีลอยู ภูรทิ ตั ต ไมคิดตอบโต เพราะกลัวศีลจะขาด พราหมณก็รายมนตอาลัม พายนเขาไปจับภูริทัตตแลวนําไปออกแสดงหาเงิน จนมาถึงเมือง พาราณสี แลวมีโอกาสนํานาคแสดงฤทธิใ์ หพระราชาไดทอดพระเนตร


มารดาของภูริทัตตเห็นภูริทัตตหายไป จึงใหพี่นองออก ตามหา สุทัศนะ-พี่คนโต กับอัจจิมุข-นองสาวตางมารดา มาพบ ภูรทิ ตั ตขณะกําลังแสดงหนาพระทีน่ งั่ เกิดการทาทายแขงฤทธิก์ นั พราหมณแพ ภูริทัตตไดเปนอิสระ พรานเนสาทสํานึกผิด ปากก็พรํ่าวา “ขาไดทํารายมิตร คือ ภูริทัตต ขาพเจาปรารถนาจะลางบาป” สุโภคะที่กําลังเที่ยว ตามหาภูรทิ ตั ตอยู ไดยนิ เขาจึงโกรธจะฆา พรานกลาววา “เราเปน พราหมณ ทานไมควรฆาพราหมณเพราะพราหมณเปนผูบูชาไฟ เปนผูทรงเวทย” สุโภคะตัดสินใจไมถูก จึงพาพรานเนสาท ลงไป เมืองนาค เพื่อถามความเห็นจากพี่นอง มาพบอริฏฐะซึ่งเปน ผูเลื่อมใสพราหมณ อริฏฐะกลาวสรรเสริญพราหมณตางๆ นานา ภูริทัตตกลับมาไดยินเขา จึงกลาวหักลาง มิใหผูใดคลอยตามใน ทางที่ผิด แลวปลอยพรานไป จากนั้นเหลานาคก็พากันไปเยี่ยม ญาติทเี่ มืองมนุษย ฝานภูรทิ ตั ตขอรักษาศีลอยูก บั พระเจาตาสืบไป Management Tip ศีล [สีน] น. ขอบัญญัติทางพระพุทธ ศาสนาที่กําหนดการปฏิบัติกายและวาจา เชน ศีล ๕ ศีล ๘ การ รักษากายวาจาใหเรียบรอย เปนธรรมขอ ๑ ในทศพิธราชธรรม และในทศบารมี ศีลบารมีเปนการปฏิบัติในการรักษากาย วาจา ใหสะอาดและบริสุทธิ์ ซึ่งศีลบารมีนี้เปนบารมีประการที่ 2 ที่ พระโพธิสัตวจะตองบําเพ็ญเปนลําดับตอไป ทั้งนี้เปนเพราะการ บําเพ็ญศีลบารมีเปนการรักษาความเปนปกติของมนุษยเอาไว เพื่อจะไดใชอัตภาพของความเปนมนุษยนี้ สั่งสมบุญสรางบารมี ไดอยางเต็มที่เต็มกําลัง เปนบารมีในความมีศีลที่สมบูรณสูงสุด ในฐานะของผูบ ริหาร ศีลบารมี นับเปนขอแรกในความสําคัญ ทางพระพุทธศาสนา คําวา ศีล สมาธิ ปญญา เปนแนวทางปฏิบัติ เพือ่ ความยัง่ ยืน การรักษาศีลทางธุรกิจคือการสรางแนวทางปฏิบตั ิ อันดี มิใหผดิ ในจริยธรรมทางธุรกิจ ไมผดิ กฎหมาย เพือ่ การดําเนิน ธุรกิจอยางถูกตองตามขอกําหนดทางการคา และแสวงหาแนวทาง การปฏิบตั ทิ างการดําเนินธุรกิจทีด่ ี อยางเชนการนํา ISO Standard เขามากํากับการดําเนินธุรกิจในแงมาตรฐาน การนําหลักบรรษัท ภิบาล Corporate Good Governance เปนหลักเพื่อความ โปรงใสทางการบริหาร การบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) เพือ่ ปองกันความเสีย่ งทางธุรกิจ ทัง้ หมดทีก่ ลาวนีค้ อื การทําองคกร

ธุรกิจใหเหมือนภาชนะที่ใสสะอาด จะนําสิ่งใดมาใสสิ่งนั้นก็จะมี ความใสสะอาดและบริสุทธิ์ตามดวยเชนกัน การรักษาศีลทาง ธุรกิจจึงตองปฏิบัติอยางสมํ่าเสมอและเครงครัดใหสมบูรณสูงสุด คําวาบารมี (Charisma) นั้นในทางรากศัพทมาจากภาษา กรีก ที่แปลวา “พรสวรรค (Gift)” นักสังคมชาวเยอรมัน Max Weber (Weber,1947, p.358) ไดเสนอความหมายของภาวะ ผูนําแบบบารมีในหนังสือของเขาวา วา บารมีนั้นเปนพรสวรรค ที่อธิบายไดถึงความมีอิทธิพลที่ไมมีแนวทางชัดเจนและอยูเหนือ การควบคุ ม ของกฎหมาย แต ผู  ต ามนั้ น ยอมศิ โ รราบกั บ สิ่ ง ที่ พวกเขาถือวาเปนแรงบันดาลใจอันเกิดขึ้นจากพรสวรรคหรือ คุณภาพบุคคลทีอ่ ยูเ หนือธรรมชาติ ผูน าํ แบบบารมีเปนเอกลักษณ ของบุคคลผูซึ่งไดรับการยอมรับจากบุคลิกภาพ ความสามารถที่ สงผลตอการรับรูของผูตาม กอใหเกิดความจงรักภักดี การมี ความรูสึกรวมและความศรัทธาใหกับเหลาผูตาม ซึ่งเขาเหลานั้น ยึดถือเอาผูนํานั้นเปนแรงบันดาลใจ เปนวีรบุรุษ กอใหเกิดความ รูสึกที่ลึกซึ้งที่นํามาสูความผูกพัน มีแรงจูงใจและการปฏิบัติงาน หรือหนาที่อยางเต็มประสิทธิภาพ คําวาบารมีในทฤษฎีสากลกับคําวาบารมีในแงพระพุทธ ศาสนานั้น จะมี ความเหมือนหรือสอดคล องกันเชนไร ขอให ติดตามในบารมี ๑๐ สําหรับนักบริหาร (The 10 Most Effective Ways Leaders Solve Problems) กันในตอนสุดทายตอไป เอกสารอางอิง • พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม. พิมพครั้งที่ ๑๐. นครปฐม : วัดญาณเวศกวัน, ๒๕๔๕. • พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท. พิมพครั้งที่ ๑๐. นครปฐม : วัดญาณเวศกวัน, ๒๕๔๖. • สื่อออนไลน ธรรมไทย (ออนไลน) : แหลงที่มา http:// www.dhammathai.org/index.php ทศชาติบารมี 10 ทัศน(ออนไลน) : แหลงที่มา http:// www.goodlifeupdate.com

67 67

Engineering Tod TToday ay January- February

2018 18 8


Focus

กรอ. จับมือสนช. และมทร. ธัญบุรี เปิดตัว

“กังหันลมอัดอากาศสําหรับโรงงาน” นวัตกรรมฝีมอื คนไทย ลดค่าไฟปีละกว่า 9 หมืน่ บาท

กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) จับมือกับสํานักงานนวัตกรรม แหงชาติ (องคกรมหาชน) หรือ สนช. และศูนยวจิ ยั และบริการทางดาน พลังงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เปดตัว “กังหันลม อัดอากาศสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม” นวัตกรรมที่คิดคนและผลิต โดยคนไทย เพื่อลดการใชพลังงานไฟฟาในโรงงานอุตสาหกรรม โดย กังหันดังกลาวสามารถลดคาใชจายภายในโรงงานไดปละกวา 9 หมื่น บาท เตรียมเปดรับโรงงานอุตสาหกรรม เขารับการคัดเลือกเพื่อติดตั้ง กังหันลมอัดอากาศ โดยมีงบประมาณสนับสนุนสูงสุดที่ 500,000 บาท เมือ่ เร็วๆ นี้ กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) ยังไดเปดตัวโครงการ “การขยายผลนวัตกรรมพลังงานและสิง่ แวดลอม สําหรับอุตสาหกรรม สีเขียว กังหันลมอัดอากาศสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม” รวมกับสํานัก งานนวัตกรรมแหงชาติ (องคกรมหาชน) และศูนยวิจัยและบริการทาง ดานพลังงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ณ หองประชุม 509 อาคารกรมโรงงานอุตสาหกรรม มงคล พฤกษวัฒนา อธิ บ ดีก รมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) กลาววา กรมโรงงานอุตสาหกรรม ไดรว มกับสํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) หรือสนช. และศูนยวิจัยและบริการทางดานพลังงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ริเริม่ โครงการขยายผลนวัตกรรม ดานนวัตกรรมพลังงานและสิ่งแวดลอมสําหรับอุตสาหกรรมสีเขียวดวย การผลิ ต “กั ง หั นลมอั ด อากาศสํา หรั บ โรงงานอุ ตสาหกรรม” เพื่ อ สนับสนุนการใชพลังงานจากธรรมชาติ ในกระบวนการผลิตในโรงงาน เพือ่ ลดการใชพลังงานไฟฟาและเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม โดยการใชงาน ของกังหันลมดังกลาวมุงเนนการลดใชพลังงานในระบบอัดอากาศของ โรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งเปนระบบที่มีความสําคัญในอุตสาหกรรมการ ผลิตหลายประเภท ไมวาจะเปนอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมโลหะ อุตสาหกรรมอโลหะ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมเคมี โดยใชใน กระบวนการตางๆ อาทิ การใชลมขับกระบอกสูบเครื่องพิมพผา การพน สีรถยนต เปนตน

Engineering Today January- February

2018

6 68

“การใชพลังงานจากกังหันลมในระบบอัดอากาศ ถือเปนนวัตกรรมหนึง่ ทีจ่ ะชวยลดการใชพลังงานไฟฟาและ ชวยลดตนทุนในกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม โดยลดการใชพลังงานไฟฟาที่ตองปอนใหกับมอเตอรของ ระบบอัดอากาศประมาณ 52.8 กิโลวัตต/วัน (ที่ความเร็ว ลมเฉลี่ย 5.5 เมตร/วินาที/วัน) หรือคิดเปนจํานวนเงิน เท า กั บ 264 บาท/วั น และภายในหนึ่ ง ป ห ากคิ ด เป น จํานวนเงินจะอยูที่ประมาณ 96,000 บาท สามารถคืนทุน หลังไดรับการสนับสนุนไดในระยะเวลาไมเกิน 4 ป” มงคล กลาว ดาน ดร.พันธุอาจ ชัยรัตน ผูอํานวยการสํานักงาน นวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) กลาววา “กังหันลม อัดอากาศสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม” ขยายผลมาจาก นวัตกรรมกังหันลมความเร็วลมตํา่ และกังหันลมอัดอากาศ เพื่ อ กระบวนการบํ า บั ด นํ้ า เสี ย ซึ่ ง เป น นวั ต กรรมระดั บ ประเทศที่คิดคนและผลิตโดยคนไทย ไดรับการสนับสนุน ดานวิชาการจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สําหรับหลักการทํางานของผลิตภัณฑนั้น โดยปกติแลวใน โรงงานอุตสาหกรรมจะมีระบบอัดอากาศและถังเก็บเดิม อยูแลว ซึ่งกังหันลมอัดอากาศจะถูกนํามาใชในการผลิต อากาศควบคูไปกับระบบอัดอากาศเดิม โดยการตอระบบ อากาศอั ด ที่ ไ ด จ ากกั ง หั น ลมอั ด อากาศเข า ไปขนานกั บ ระบบเดิมและเติมอากาศทีม่ แี รงดันเขาสูร ะบบเรือ่ ยๆ ทําให ลดการใชพลังงานไฟฟาเพื่อมาขับมอเตอรของปมในการ เติมอากาศเขาสูร ะบบและถังเก็บลดการสูญเสียลมในระบบ และทําใหระบบอากาศมีเสถียรภาพในการทํางานมากขึ้น นอกจากนี้ กังหันลมอัดอากาศยังไดออกแบบสวนกังหันลม ใหสามารถสรางแรงบิดไดอยางเหมาะสมกับความเร็วลมตํา่ ในประเทศเพือ่ นํามาใชเปนตนกําลังในระบบอัดอากาศแทน การใชพลังงานไฟฟา ทั้งนี้โครงการกังหันลมอัดอากาศเพื่อใชในโรงงาน อุตสาหกรรมจะเปดรับโรงงานอุตสาหกรรมในเขตพืน้ ทีท่ มี่ ี ความเร็วลมเฉลี่ย 4-6 เมตร/วินาที หรือมีกระแสลมดีที่ ประสงคจะนํานวัตกรรมกังหันลมอัดอากาศมาพัฒนาระบบ อัดอากาศภายในโรงงานอุตสาหกรรม โดยสามารถยืน่ ความ จํานงมายังกรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) หรือสํานักงาน นวัตกรรมแหงชาติ (สนช.) ซึ่งโรงงานอุตสาหกรรมที่ไดรับ คัดเลือก จะใหการสนับสนุนสูงสุด 500,000 บาท หรือ ไมเกินรอยละ 75 ของมูลคางบประมาณการติดตั้ง และ เมื่อผู ประกอบการได รับ การอนุมั ติ จะไดรั บ การติ ดตั้ง นวัตกรรมดังกลาวภายในระยะเวลา 12 เดือน


Focus

อีสท์ วอเตอร์

เผยความคืบหน้าโครงการ บริหารจัดการแหล่งนํ้า

จับมือโครงการชลประทานระยอง เชือ่ มโยงข้อมูลนํา้ เป็นระบบรองรับ พื้นที่ EEC

อีสท วอเตอรรวมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ดําเนินโครงการบริหารจัดการแหลงนํ้า เรงหาแนวทาง การบริหารจัดการนํา้ ตนทุนใหมศี กั ยภาพการใชงานสูงสุด โดยเชื่ อ มโยงข อ มู ล แหล ง นํ้ า ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ระยอง ตลอดจนแนวทางการเพิ่ มประสิ ทธิภาพและปรับปรุง ระบบสงนํา้ ชลประทานรองรับพืน้ ที่ EEC คาดทุกภาคสวน ไดรับประโยชน บริษทั จัดการและพัฒนาทรัพยากรนํา้ ภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หรือ อีสท วอเตอร เตรียมกาวสูการเปน Smart Water 4.0 พรอมรับความตองการใชนํ้าในพื้นที่ ภาคตะวั น ออกเฉพาะในสว นการใชนํ้า เพื่อ การอุปโภค บริโภค และอุตสาหกรรม ทีค่ าดวาจะเพิม่ สูงขึน้ อีกมากกวา 200 ลาน ลบ.ม./ป ในอีก 10 ปขางหนา จากนโยบาย พัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) โดย จิรายุทธ รุงศรีทอง กรรมการผูอํานวยการใหญ อีสท วอเตอร กลาววา อีสท วอเตอร ไดรว มกับมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร จัดทําโครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการ แหลงนํ้าตนทุนเพื่อเพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการ ดวย การเชื่อมโยงขอมูลแหลงนํ้าทั้งหมดในภาคตะวันออกของ กรมชลประทานและอีสท วอเตอรอยางบูรณาการ เพื่อให ทราบสถานะของนํา้ ทีม่ อี ยู การขาดแคลนนํา้ ทีม่ หี รือคาดวา จะมี และนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาชวยวิเคราะหและ ประเมินสถานการณนํ้าในปจจัยตางๆ อาทิ ปจจัยดาน ความมั่นคงของปริมาณนํ้าตนทุนที่ผันแปรตามชวงเวลา และฤดูกาล ปจจัยดานคาพลังงาน รวมถึงปญหาการแยง นํ้าจากการใชนํ้าในกิจกรรมตางๆ เปนตน เพื่อหาแนวทาง เลื อ กในการวางแผนการผั น นํ้ า ได อ ย า งเหมาะสมตาม เงื่อนไขที่กําหนด สามารถลดพลังงานในการผันนํ้าและให บริการไดครอบคลุมมากยิ่งขึ้น

ผศ. ดร.ณัฐ มาแจง จากคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร ชีแ้ จงวา สําหรับการดําเนินงานในเฟสแรกเปนการพัฒนา แบบจําลองการบริหารแหลงนํ้าตนทุนและการสูบจายนํ้าหรือ EWMS ซึ่งดําเนินการแลวเสร็จเมื่อปที่ผานมาและเพื่อเพิ่มความนาเชื่อถือและ ถูกตองแมนยําของขอมูลจึงไดดําเนินการพัฒนาโครงขายระบบติดตาม สถานการณน้าํ และคาดการณ ในเฟสที่ 2 ตอเนื่อง โดยติดตั้งอุปกรณ ตรวจวัดตางๆ ที่มีความจําเปนเรงดวน อาทิ คาระดับนํ้า และกลอง CCTV เพิม่ เติมในตําแหนงตางๆ ทีม่ คี วามจําเปนและยังไมไดดาํ เนินการ ในปจจุบัน เพื่อใหสามารถติดตามสถานการณนํ้าจากแหลงนํ้าสําคัญใน พืน้ ทีภ่ าคตะวันออกไดอยางแมนยํา และทําการเชือ่ มโยงเขากับโครงขาย การตรวจวัดขอมูลระบบทอสงนํ้าของอีสท วอเตอร เพื่อสนับสนุนการ ประมวลผลของระบบ EWMS ใหทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ดานการศึกษาสภาพการใชนํ้าพบวา การใชนํ้าในพื้นที่ลุมนํ้า คลองใหญมีอัตราการใชนํ้าเฉลี่ยตอพื้นที่การเกษตรอยูในเกณฑที่คอน ขางสูง โดยมีปริมาณการใชนํ้ามากกวา 2,200 ลบ.ม.ตอไร ดังนั้น การ ดําเนินงานในเฟสที่ 2 นอกจากการติดตั้งอุปกรณตรวจวัดแลวยังศึกษา แนวทางการเพิม่ ประสิทธิภาพการใชนาํ้ เพือ่ การเกษตรในพืน้ ทีโ่ ครงการ ชลประทานบานคายจังหวัดระยอง (ฝายบานคาย) เปนพื้นที่นํารอง ควบคูไปดวย โดยรวมกับกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ และหนวยงานที่เกี่ยวของ สงเสริมการวางแผนการเพาะปลูกพืชให สามารถใชนาํ้ นอยลงและสามารถเพิม่ ผลผลิตใหสงู ขึน้ เนนการรวมกลุม ของเกษตรกรเพื่อการจําหนายผลผลิตรวมกัน จิรายุทธ กลาวทิ้งทายวา ปจจุบันความกาวหนาโครงการอยูที่ 39% เปนไปตามแผนงานโดยกําหนดแลวเสร็จภายในเดือนตุลาคม 2561 โดยลาสุดทีมงานโครงการบริหารจัดการแหลงนํ้าไดเขาพบผูอํานวยการ โครงการชลประทานระยอง เพือ่ รายงานผลการประเมินระบบชลประทาน ตลอดแนวคลองสงนํ้าและอาคารชลประทาน ประกอบดวยการสํารวจ สภาพของคลองสงนํ้าคันคลองตะกอนและวัชพืชขวางทางนํ้าและการ สํารวจอาคารชลประทานสะพานและทอลอดบริเวณถนนคันคลองทั้ง ฝงซายและฝงขวาของคลองสงนํ้าสายใหญของพื้นที่โครงการฯ ฝาย บานคาย

69

Engineering Today January- February

2018


Focus

สวทช. เดินหน้า “วิทย์ฯ สร้างคน” ติดตามผลงานวิจัยนักศึกษาทุน สวทช. โครงการ YSTP-TGIST และ NUI-RU สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) โดยฝายพัฒนาบัณฑิตและนักวิจัย จัดกิจกรรมพิเศษและการนําเสนอ ความกาวหนาผลงานวิจัยปริญญานิพนธโครงการสรางปญญาวิทย ผลิตนักเทคโน (Young Scientist and Technologist Program: YSTP) การนําเสนอความกาวหนางานวิจยั เพือ่ วิทยานิพนธโครงการทุนสถาบัน บัณฑิตวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไทย (Thailand Graduate Institute of Science and Technology: TGIST) และโครงการพัฒนาศักยภาพ บุคลากรเพื่อการวิจัยและพัฒนา สําหรับภาคอุตสาหกรรม (NSTDA University Industry Research Collaboration: NUI-RC) ทั้งในระดับ ปริญญาตรี โท และเอก ประจําป 2560 พรอมจัดกิจกรรมบรรยายพิเศษ แลกเปลี่ยนความรูและประสบการณจากรุนพี่ ในหัวขอ “ประสบการณ ชีวิต CEO กับจุดยืนและความกาวหนาดานหุนยนตทางการแพทย ของไทย” โดย ดร.ปวีณา อุทยั นวล Founder and CEO บริษทั เอ็มดีอาร โซลูชั่นส จํากัด รุนพี่ศิษยเกาโครงการทุน TGIST เพื่อสะทอนใหเห็น ปญหา อุปสรรค และความสําเร็จในการทํางานดานสายงานวิทยาศาสตร และเพื่อสรางแรงบันดาลใจใหกับนักศึกษาทุน สวทช.ทั้ง 3 โครงการ ไดนาํ ไปปรับใชและวางแผนการทํางานในอนาคต โดยมี ดร. ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล รองผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี แ ห ง ชาติ (สวทช.) เป น ประธานเป ด งาน พร อ มด ว ย ดร.ออมใจ ไทรเมฆ ผูชวยผูอํานวยการ สวทช. โดยมีนักศึกษาและ เจาหนาที่โครงการที่เกี่ยวของเขารวมงานจํานวนมาก ณ หองประชุม 405 ศูนยประชุมอุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย จ.ปทุมธานี ดร.ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล รองผูอํานวยการ สํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กลาววา สวทช.มีบทบาท สําคัญเพื่อขับเคลื่อนวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศ โดยทําการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ถายทอดเทคโนโลยีพรอมใชให

Engineering Today January- February

2018

700

กับภาคอุตสาหกรรมตางๆ และอีกบทบาทสําคัญคือ พัฒนา บุคลากรดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อเปนกําลัง สําคัญของการพัฒนาประเทศในอนาคต เพราะการพัฒนา ประเทศไทย โดยเฉพาะในยุค Thailand 4.0 มีปจ จัยสําคัญ 3 เรื่อง ไดแก เทคโนโลยี บุคลากร และการจัดการ ซึ่งการ สร า งบุ ค ลากรหรื อ การสร า งคนด า นวิ ท ยาศาสตร แ ละ เทคโนโลยี ข อง สวทช.นั้ น สวทช.ให ค วามสํ า คั ญ และ ดําเนินการมาอยางตอเนื่อง และสอดรับกับนโยบายของ กระทรวงวิทยาศาสตรฯ ในเรื่อง “วิทยฯ สรางคน” เพื่อ เตรียมคนสูศตวรรษที่ 21 ที่ตองการเนนบุคลากรที่เปน นักวิทยาศาสตร นักวิจัย และนวัตกรรม เพื่อใหมาเปน ผู คิ ด ค น นวั ต กรรมและพั ฒ นาประเทศด ว ยนวั ต กรรม สรางขีดความสามารถในการแขงขันกับตางประเทศได อยางเขมแข็งและยั่งยืน “ปจจุบันความตองการบุคลากรดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี เ ริ่ ม มี จํ า นวนเพิ่ ม มากขึ้ น อย า งชั ด เจน เห็นไดจากภาคเอกชนมีการปรับตัว ทั้งดานเทคโนโลยี ในกระบวนการผลิ ต และความต อ งการบุ ค ลากรด า น วิ ท ยาศาสตร เ พื่ อ พั ฒนาเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมเพื่ อ สรางจุดเดนในการแขงขันมากขึ้น ทั้งนี้ สวทช.มีความ คาดหวังวา นักศึกษาโครงการทุน สวทช.จะเปนกําลังสําคัญ ในการรวมเปนสวนหนึง่ ในบุคลากรดานวิจยั วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อพัฒนาประเทศในอนาคต ขณะเดียวกันก็ชว ยสรางแรงบันดาลใจใหกบั เยาวชนรุน นอง เดินตามแนวทางทีด่ ขี องนักศึกษาทุนทีป่ ระสบความสําเร็จ ทั้งดานการศึกษาและการทํางานในสายวิทยาศาสตรเพื่อ ประเทศชาติตอไป” รองผูอํานวยการ สวทช.กลาว ทั้ ง นี้ กิ จ กรรมดั ง กล า วมี นั ก ศึ ก ษาทุ น สวทช.ทั้ ง 3 โครงการ มารวมนําเสนอผลงานความกาวหนาผลงาน วิจยั ปริญญานิพนธ และวิทยานิพนธจาํ นวนมาก ซึง่ มีหวั ขอ วิจัยที่หลากหลาย อาทิ หัวขอวิจัยดานอุตสาหกรรมการ ผลิตและบริการ การแพทยและสาธารณสุข เทคโนโลยี ดานคอมพิวเตอร เทคโนโลยีการสือ่ สารและ IoT เทคโนโลยี ดานพันธุวศิ วกรรมศาสตรและชีวภาพ การพัฒนาจุลนิ ทรีย เพือ่ ควบคุมวัชพืช การเติบโตของรากขาวในสภาวะนํา้ ปกติ และสภาวะแลง การติดเชื้อไวรัสกอโรคในกุง เทคโนโลยี ปรับปรุงประสิทธิภาพของโลหะและวัสดุศาสตร พลังงาน สิ่งแวดลอม และนาโนเทคโนโลยีเพื่อการนําสงยา เปนตน



บริหารงานโดยทีมวิศวกรประสบการณมากกวา 20 ป



INDEXJanuary ADVERTISING - February 2018

Engineering Today ïøĉÞĆÏ

Ä“ÏøýĆóÏŤ

Ä“Ïøÿćø

ĂŞÄžÄ‡Ä’Ä€ĂŽĹ ĂœÄ€ĂŽĹĄÄ‡

Website/E-mail

ASEAN Sustainable Energy Week 2018

0-2642-6911

0-2642-6919-20

82

www.asew-expo.com, E-mail: asew-th@ubm.com

IEEE Power & Energy Series : Renewable Energy

0-2354-5333

0-2354-5322

71

www.greennetworkthailand.com/solar2

Intermach 2018

0-2642-6911

0-2642-6919-20

6-7

www.intermachshow.com, www.mta-asia.com

SETA (Sustainable Energy Technology Asia)

08-9897-7700

-

83

www.seta.asia

Thailand PCB Expo / Thailand LED Expo

0-2833-5348

-

15

www.pcbexpothailand.com

Ă–Ä?úíøĂĉÎđêĂøŤÄ‘ĂŽĂ&#x;ĆęÎĒÎú ĂŻĂ?Ă–

0-2282-5775-8

0-2281-0009

9

www.kulthorn.com

Ä‘Ă?øĉâÄ‘ĂśÄŒÄ‚ĂœÄ’ĂśĂ&#x;Ă&#x;ÄŠĂŽÄ‘ĂŽÄ‚øÄŠÄ™ ĂŻĂ?Ă–

0-2280-8431-5

0-2280-8033-5

5

www.crm.co.th, E-mail: info@crm.co.th

Ä‘ï፠ÙĂøŤðÄ‚Ä‘øĂ&#x;ĆęÎ ĂŻĂ?Ă–

0-2926-0111

0-2926-0123-4

ðÖĀÎťćĔÎ

www.bay-corporation.com, E-mail: sales@bay-corporation.com

ðþó ĂŻĂ?Ă–

0-2570-5580

-

11

www.papop.com, www.biogasthail.com

óĉýÎÄ?ÖćøĂ&#x;Ĺ Ä‡Ăœ ĂŻĂ?Ă–

0-2245-4451, 0-2245-0419

0-2246-3214

Ă°Ă–Ä€ĂşÄ†ĂœĂŽÄ‚Ă–

www.kanitengineering.com, www.pisanu.co.th

ÿáćÜÙĎēïêťć ĂŻĂ?Ă–

0-2909-1234

-

13

www.siamkubota.co.th

đßĂøŤÏĆÿ ĂŻĂ?Ă–

0-2876-2727

0-2476-1711

3

www.virtus.co.th, E-mail: welcome@virtus.co.th

ĂíĉóĆçÎŤ íÎßĆê ĂŻĂ?Ă–

0-2464-1660-2

0-2464-1663

11

-

ĂćÏĉêáŤÄ‘ßÎêĉđúđêĂøŤ Ä€Ă?Ă–

0-2509-3065

0-2943-1814

9

www.artith.com

Ä‚ÄŠĂłÄŠÄ‘Ä‚Ä˜Üà ÄŠ ĂŻĂ?Ă–

0-2322-4330-3

0-2720-5155

4

www.epmc.co.th

Ä‘Ä‚Ăż Ä‘Ä‚ ßĊ đÜÙÙćÎĉÙÙĂúđà ĂøŤßĉÿ Ä’Ä‚ÎÊŤ à ĆóóúćáÿŤ Ä€Ă?Ă–

02-7028801, 0-2702-0581-8

0-2395-1002

81

E-mail: savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com

Ä•Ä‚ĂŹÄŠÄ‘Ä‚Ä˜Ăś Ùćðćà ĉđêĂøŤ ĂŻĂ?Ă–

0-2336-1116

0-2336-1114

17

www.itm.co.th

Ä•Ä‚Ä’Ă Ă™ ÜćøŤÄ‘Ă–Ä˜ĂŞĂŞÄ‰ÄšĂœ ĂŻĂ?Ă–

0-2735-0581-8

0-2377-2130

72

IUUQ XXX êĎťÿć×ć DPN IUUQ XXX Ä•Ă´Ä‚øćÜ DPN

Engineering Today January- February

2018

74


Environment • Editorial

FIRST

SCIENTIFIC

TESTS PROVE HDPE’S RECYCLING AT LEAST 10 TIMES

ESE World has carried out the rst practical experiment to demonstrate that HDPE can be recycled at least 10 times and further processed under controlled conditions. The company has been the leader in the use of recycled plastics for the manufacture of containers for waste and recyclables for over 30 years. Its advanced procedures and processes in the cleaning, additives and processing of the material enables ESE to make products from recycled plastics with the same quality as virgin material. However, one question that has remained unanswered until now was how often HDPE can be processed, ground and reprocessed in injection moulding procedures without fundamentally changing the structure and characteristics of the material. ESE therefore established a controlled experimental model at its production facility that enabled virgin HDPE to be reused 10 times. After each step the material was analysed in cooperation with external research institutions using state-ofthe-art methods. The project was led by ESE’s

plastics specialist and scientist Jeanett Köhn, PhD. The test demonstrated for the rst time that the injection moulding process and shredding of the plastics have, in principle, no property-altering effects on the material over this entire period of reuse. With the service life of containers being around 10 to 20 years, this result means that the availa bility of material for sustainable production from the same recycled plastic is secured for at least 100 to 200 years. Udo Fröhlingsdorf, Director of Product Development & Marketing at ESE, is very pleased with the test results. “Decades of developments under production conditions have put us in the position to process and treat recycled material in such a way that the quality of the products is on a par with virgin material. The ndings of this series of experiments now allow us to engage in more targeted research and to develop further future-oriented methods.”

75

Engineering Today January- February

2018


Activities Focus >> ไปรษณีย์ไทย ยกระดับปฏิบัติการสู่ ไปรษณีย์ 4.0 สมร เทิดธรรมพิบูล (แถวหนาที่ 5 จากซาย) กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ไปรษณี ย  ไ ทย จํ า กั ด พร อ มคณะผู  บ ริ ห าร จั ด กิ จ กรรมสั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร (Workshop) เรือ่ ง “การเพิม่ ประสิทธิภาพการใหบริการของทีท่ าํ การไปรษณีย” พรอม มอบนโยบายและแนวทางการปฏิ บั ติ ง าน แก หั ว หน า ที่ ทํ า การไปรษณี ย  ใ นเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพือ่ ขับเคลือ่ นธุรกิจองคกรของ บริษทั ไปรษณียไ ทย จํากัด ประจําป 2561 เมื่อเร็วนี้ๆ ณ โรงแรมดุสิตธานี หัวหิน จังหวัดเพชรบุรี

>> สิงห์ เอสเตท รับรางวัล Best Equity-Linked Thailand ในงาน The Asset Triple A Country Awards 2017 เมธี วินิชบุตร (กลาง) ประธานเจาหนาที่บริหารการเงิน บริษัท สิงห เอส เตท จํากัด (มหาชน) เปนตัวแทนรับรางวัล “Best Equity-Linked Thailand” ใน งานประกาศรางวัล The Asset Triple A Country Awards 2017 ซึ่งจัดโดย The Asset นิตยสารธุรกิจการเงินชั้นนําของเอเชีย โดยสิงห เอสเตทควารางวัลจาก การออกและเสนอขายหุนกูแปลงสภาพเพื่อนําไปลงทุนในโครงการเมกะโปรเจกต แหลงทองเที่ยวระดับโลก ณ สาธารณรัฐมัลดีฟส และพัฒนาโครงการตางๆ ตาม แผนการดําเนินงานของบริษัทฯ โดยมี บมจ. ธนาคารกรุงไทย และ Credit Suisse เปนที่ปรึกษาทางการเงินและผูจัดการการจัดจําหนายหุนกูแปลงสภาพของบริษัทฯ ณ โรงแรมโฟร ซีซั่น ฮองกง

>> ABM ต้อนรับนักวิเคราะห์หลักทรัพย์เยี่ยมชมบริษัทฯ ปองธรรม แดนวังเดิม (ที่ 5 จากขวา) รองกรรมการผูจัดการ ลิขิต เลาบวร เศรษฐี (ที่ 4 จากขวา) ผูอํานวยการดานบริหารการเงินและสารสนเทศ และคณะ ผูบ ริหาร บริษทั เอเชีย ไบโอแมส จํากัด (มหาชน) หรือ ABM ผูป ระกอบธุรกิจจัดหา และจัดจําหนายผลิตภัณฑเชื้อเพลิงชีวมวล ใหกับผูที่มีความตองการใชเชื้อเพลิงชีว มวล พรอมดวย รัชนี ชาติบัญชาชัย (ที่ 2 จากขวา) ผูชวยกรรมการผูจัดการ บริษัท เซจแคปปตอล จํากัด ในฐานะที่ปรึกษาทางการเงิน และ พัชพร สรรคบุรานุรักษ (ที่ 1 จากขวา) กรรมการผูจัดการ ฝายวาณิชธนกิจ บริษัทหลักทรัพย เคจีไอ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ใหการตอนรับคณะนักวิเคราะหหลักทรัพยทใี่ หความ สนใจเขารับฟงขอมูลบริษทั ฯ พรอมเยีย่ มชมคลังสินคา ณ คลังสินคา เอเชีย ไบโอแมส สาขาบางนํ้าจืด เมื่อเร็วๆ นี้

>> CMMU เปิดวิจัย Momentum Marketing พบผู้บริโภค กลุ่ม “มีก่อนใช้ก่อน” ทรงอิทธิพลในโลกออนไลน์ สาขาการตลาด วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล หรือ CMMU เปด ผลวิจัย “Momentum Marketing” เจาะใจคนชอบแชร จุดกระแสการตลาด โดย ดร.บุญยิง่ คงอาชาภัทร (ที่ 3 จากซาย) หัวหนาสาขาการตลาดและการเงิน CMMU และทีมนักศึกษาปริญญาโท พบ “ผูบริโภคกลุมแรก” หรือ “กลุมมีกอนใชกอน” (Early Adopters) มีอิทธิพลตอการบอกตอสินคาทําใหเกิดกระแสความตองการ ในโลกออนไลน พร อ มจั ด เสวนาการวางกลยุ ท ธ เ จาะใจผู  บ ริ โ ภคกลุ  ม ดั ง กล า ว โดยไดรับเกียรติจาก พิมสิริ นาคสวัสดิ์ (ที่ 4 จากซาย) ดีไซเนอรเจาของแบรนด The Parrot และผูดูแลคาเฟ Stylenanda Pink Hotel Thailand อรรถพล ทะแพงพันธ (ที่ 5 จากซาย) Founder Page IPhoneMod.net สุนาถ ธนสารอักษร (ที่ 6 จากซาย) Co-founder Macthai.com และ Rabbit’s Tale รวมแลกเปลี่ยน ความรู ณ หองประชุม ชัน้ 2 อาคารมิววิทยาลัยการจัดการมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล ถนนวิภาวดีรังสิต เมื่อเร็วๆ นี้

>> PTG เปิดปั๊มสาขาสมุทรปราการ พร้อมศูนย์บริการรถยนต์ “AUTOBACS” คุณภาพอันดับ 1 จากญี่ปุ่น พิทกั ษ รัชกิจประการ (ที่ 4 จากซาย) ประธานเจาหนาทีบ่ ริหารและกรรมการ ผูจ ดั การใหญ รังสรรค พวงปราง (ที่ 3 จากซาย) ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั พีทจี ี เอ็นเนอยี จํากัด (มหาชน) หรือ PTG พรอมดวย เทรุยกู ิ มัสซึมรุ ะ (ที่ 4 จากขวา) ประธานเจาหนาทีบ่ ริหารอาวุโสหัวหนาธุรกิจ และ รัชตะ สุทธาพัฒนธานนท (ที่ 3 จากขวา) กรรมการผูจัดการ บริษัท สยามออโตแบคส จํากัด เปดตัวสถานีบริการ นํ้ามัน พีที สาขาสมุทรปราการ 4 พรอมศูนยบริการรถยนตคุณภาพอันดับ 1 จาก ประเทศญีป่ นุ “AUTOBACS” ในสถานีบริการสาขาแรก วางเปาขยาย “AUTOBACS” 240 สาขาภายใน 5 ป ณ สถานีบริการนํา้ มัน พีที สาขาสมุทรปราการ 4 เมือ่ เร็วๆ นี้

Engineering Today January- February

2018

76


>> แกรนด์ ยูนิตี้ เปิดตัว 4 โครงการคอนโดฯ ใหม่ รุกขยายกลุ่มเป้าหมายในเมือง พร้อมปรับแบรนดิ้งใหม่ บริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จํากัด หนึ่งในบริษัทชั้นนําผูประกอบ ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย คอนโดมิเนียม ในเครือบริษัท ยูนิเวนเจอร จํากัด (มหาชน) เดินหนาธุรกิจในป 2561 เปดตัว 4 โครงการคอนโดฯ ใหม รุกขยายกลุม เปาหมายในเมืองดวยทําเลใหมติดรถไฟฟา พรอมปรับแบรนดิ้งใหมใหชัดเจนเพื่อ ตอบรับไลฟสไตลคนรุนใหม ภายใตคอนเซ็ปต Simply Makes Sense. โดยใน ป 2561 นี้ ตั้งเปายอดขาย 10,000 ลานบาท โดยเปนการเติบโตประมาณ 160% จากยอดขายในป 2560 ที่ประมาณ 3,800 ลานบาท

>> จอห์นสัน แอนด์ จอห์นสัน (ไทย ได้รับรางวัล อย. ควอลิตี อวอร์ด ปี 2561 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 ธันยพร กริชติทายาวุธ (ซาย) ผูอํานวยการฝาย Quality and Compliance บริษทั จอหนสัน แอนด จอหนสัน (ไทย) จํากัด เปนตัวแทนรับมอบ รางวัลเกียรติยศ อย. ควอลิตี อวอรด ประจําป 2561 จากกระทรวงสาธารณสุข โดย ศาสตราจารย คลินิก เกียรติคุณ นายแพทย ปยะสกล สกลสัตยาทร (ขวา) รัฐมนตรีวาการ กระทรวงสาธารณสุข เปนผูมอบ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด คอนเวนชั่น หลักสี่

>> สจล. ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งชาติไทเป ไต้หวัน พัฒนาหลักสูตรระดับปริญญาโทและเอกสาขาหุ่นยนต์และ AI รศ. ดร.คมสัน มาลีสี คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ตอนรับ ศาสตราจารย ดร.ฉี ฮุง ลี รองคณบดี College of Mechanical & Electrical Engineering มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีแหงชาติไทเป (National Taipei University of Technology) ในโอกาส เดินทางเยือนประเทศไทย และผนึกความรวมมือวิจัยและพัฒนาหลักสูตรรวมกันใน สาขา Robotics and Artificial Intelligence ในระดับปริญญาโทและเอก โดยมี รศ. ดร.สมยศ เกียรติวนิชวิไล รองคณบดี และ รศ.ดร.อุมา สีบุญเรือง ผูชวยคณบดี รวมตอนรับ

>> ทรูมันนี่ วอลเล็ท จับมือ ofo สนับสนุนงานราชมงคลธัญบุรีเกมส์ ครั้งที่ 45 ทรูมันนี่ วอลเล็ท ผูใหบริการชําระเงินอิเล็กทรอนิกสชั้นนําของไทย นําโดย ธวัชชัย ฤกษสาํ ราญ (ขวา) รองผูอ าํ นวยการ กลุม ธุรกิจการชําระเงินออนไลน บริษทั ทรู มันนี่ จํากัด รวมกับ ofo ผูน าํ บริการจักรยานสาธารณะอัจฉริยะอันดับหนึง่ ของ โลก โดย นพพล ตูจ นิ ดา (ซาย) ผูจ ดั การทัว่ ไป โอโฟ ประเทศไทย สนับสนุนกิจกรรม ราชมงคลธัญบุรเี กมส-การแขงขันกีฬามหาวิทยาลัยแหงประเทศไทย ครัง้ ที่ 45 โดย ศาสตราจารยสจุ ริ ะ ขอจิตตเมตต รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี รับมอบจักรยาน ofo เพือ่ ใหบริการรองรับนักศึกษาและบุคลากร สําหรับอํานวย ความสะดวกในการสัญจรเดินทางภายในมหาวิทยาลัย ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี คลอง 6 ปทุมธานี

>> ออริจิ้น-ไอเอชจี-โนมูระ ร่วมเปิดหน้าดินโรงแรมสเตย์บริดจ์ สวีท แบงค็อก ทองหล่อ ปตพิ งษ ไตรนุรกั ษ (ที่ 4 จากขวา) ประธานเจาหนาทีฝ่ า ยพัฒนาธุรกิจ บมจ. ออริจิ้น พร็อพเพอรตี้ พรอมดวย จตุพร ผิวขาว (ที่ 2 จากซาย) กรรมการผูจัดการ บริษทั ออริจนิ้ วัน จํากัด เอเลน เอชดับบลิว จาง (ขวาสุด) ผูอ าํ นวยการกลุม โรงแรม และดีไซนใหมประจําภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตและเกาหลี เครือโรงแรม อินเตอรคอนติเนนตัล (ไอเอชจี) ไดเซ็น สึจิ (ที่ 3 จากซาย) ผูจัดการอาวุโส กลุม ธุรกิจใหเชาที่อยูอาศัย การจัดการโรงแรมและอสังหาริมทรัพยดานโลจิสติกส นําทีมวิศวกรและผูร บั เหมากอสราง รวม พิธเี ปดหนาดินกอสรางโรงแรมสเตยบริดจ สวีท แบงค็อก ทองหลอ โครงการโรงแรมภายใตแบรนดสเตยบริดจ สวีท แหงแรก ของเอเชียแปซิฟก ตั้งอยูในซอยสุขุมวิท 55 หางจากสถานีบีทีเอสทองหลอเพียง 10 นาที

77

Engineering Today January- February

2018


>> ปูนซีเมนต์นครหลวง เปิดตัว “โรงงานดิจทิ ัลอัจฉริยะ” เต็มรูปแบบ ก้าวสู่ยุค “อุตสาหกรรม 4.0” ศิวะ มหาสันทนะ (กลาง) กรรมการและประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) จัดงานเปดตัว “โรงงานดิจิทัลอัจฉริยะ” (Digital Connected Plant) โดยเริม่ ติดตัง้ ระบบโครงสรางพืน้ ฐานทีโ่ รงงาน 3 จังหวัด สระบุรี เพื่อสรางความเติบโตที่ยั่งยืน และบรรลุเปาหมายอุตสาหกรรม 4.0 โดยได รับความรวมมือจาก 4 พันธมิตร ไดแก ทวิพงศ อโนทัยสินทวี (ซายสุด) ผูจัดการ ประจําประเทศไทย บริษัท นูทานิคซ (ประเทศไทย) จํากัด วิคตอเรีย แวน แคมป (ที่ 2 จากซาย) Chief Technology Officer and President บริษทั SKF สํานักงาน ใหญประเทศสวีเดน โทชิโอะ ฮิโรเซะ (ที่ 3 จากซาย) Corporate Executive Officer, SVP, Head of Asia Region บริษัท ฟูจิตสึ ลิมิเต็ด จํากัด และ วัตสัน ถิรภัทรพงศ (ขวาสุด) กรรมการผูจัดการ บริษัท ซิสโก ซีสเต็มส ประเทศไทยและ ภูมิภาคอินโดจีน พรอมดวย บัณฑิตย เทวีทิวารักษ (ที่ 4 จากซาย) ผูวาราชการ จังหวัดสระบุรี สมใจ ประเสริฐจีรังกุล (ที่ 4 จากขวา) รองเลขาธิการคณะกรรมการ ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ใหเกียรติรวมงาน เมื่อเร็วๆ นี้ ณ โรงงาน ปูนซีเมนตนครหลวง จ.สระบุรี

>> “ด้วยรักและผูกพัน” รุง โรจน รังสิโยภาส (ที่ 3 จากซาย) กรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั ปูนซิเมนต ไทย จํากัด (มหาชน) หรือ SCG พรอมดวย อารีย ชวลิตชีวินกุล (ที่ 2 จากขวา) กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท เอสซีจี ซิเมนต-ผลิตภัณฑกอสราง จํากัด และคณะ ผูบ ริหารในเครือ รวมจัดงานเกษียณอายุ “ดวยรักและผูกพัน” ใหกบั กิตติชยั ไกรกอกิจ (ที่ 3 จากขวา) กรรมการผูจัดการ บริษัท โสสุโก แอนด กรุป (2008) จํากัด ใน โอกาสจะเกษียณการทํางานในปนี้ ทามกลางบรรยากาศที่อบอุน ดวยมิตรภาพจาก คณะผูบริหาร และตัวแทนจําหนายวงการวัสดุกอสราง ที่พรอมใจมากลาวอําลา ณ หองพิมานสยาม ชั้น 29 โรงแรมพลาซา แอทธินี กรุงเทพฯ เมื่อเร็วๆ นี้

>> “รู้ใจดอทคอม” ฉลอง 2 ปี แจก 12 ล้านบาท หลังจาก รูใจดอทคอม ประกันภัยรถยนตออนไลน ประกาศมอบความสุข ฉลองครบรอบ 2 ปที่ใหบริการแกผูขับขี่ชาวไทย ภายใตสโลแกน “เราพรอมอยูเคียง ขางคุณเสมอ” เมื่อปลายปที่ผานมา ดวยการยกขบวนของขวัญมูลคารวมกวา 12 ลานบาท มาเซอรไพรสลูกคา เปนระยะเวลา 6 เดือนเต็ม เริ่มตั้งแต 15 พ.ย. 2560-15 พ.ค. 2561 โดยไดแจกทองคําและ iPhone X แกผูโชคดีไปแลวกวา 11 ราย พรอมเผยโฉมหนาผูโชคดีอีกสองรายลาสุด ไดแก วรรณิศา พลัดบุญทอง ผูโชคดีสัปดาหที่ 4 ที่เดินทางมารับ iPhone X เครื่องแรกถึงออฟฟศรูใจ และ อีกหนึ่งผูโชคดีคือ ยุทธศักดิ์ ตรีสะอาด ผูโชคดีในสัปดาหที่ 5 ที่ไดรับทองคําหนัก 50 สตางค โดยมี พี่จิงโจ และ นิโคลัส ฟารเกต ประธานบริหารและผูกอตั้ง บริษัท รูใจ จํากัด เปนผูมอบรางวัล

>> ทีซีซีเทคร่วมพิธีปิดงาน “GIVE GREEN CBD: SYNERGY POWER 2017” เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จํากัด โดยวลีพร สายะสิต ผูอํานวย การฝายสื่อสารองคกร และญาดา ชื่นชุม ผูจัดการฝายการตลาด เปนตัวแทนเขา รวมพิธีปดโครงการ “GIVE GREEN CBD: SYNERGY POWER 2017” ซึ่งจัด ตอเนื่องเปนปที่ 5 ภายใตแนวคิด “พลังสีเขียว R PROJECT” เพื่อรณรงคใหเกิด การมีสว นรวมในการทําประโยชนใหสงั คม ภายในงานยังมีกจิ กรรมมอบเงินสนับสนุน การศึกษาใหกับโรงเรียนตางๆ รวมมูลคากวา 9 แสนบาท โดยตัวแทนจากบริษัท ทีซีซี แลนด แอสเสท เวิรด จํากัด กรุงเทพมหานคร และองคกรจากยานสาทรและ พื้นที่ใกลเคียงอีกดวย

>> ภูมิสยามฯ ร่วมสร้างโอกาสการศึกษา รัฐโรจน ภูริหิรัญพิพัฒ กรรมการผูจัดการบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จํากัด ผูน าํ ดานการผลิตพรอมบริการตอก เสาเข็มสปนไมโครไพล ทีไ่ ดมาตรฐาน มอก. และ ทีมงานเขารวมกิจกรรมเนื่องในวันเด็กแหงชาติ พรอมมอบทุนการศึกษาและรถ จักรยานใหแกเด็กและเยาวชน มูลคารวมกวา 50,000 บาท ถือเปนกิจกรรมตอบแทน สังคมและชุมชนที่ทําอยางตอเนื่อง เพื่อรวมสรางโอกาสทางการศึกษาและคุณภาพ ชีวติ ทีด่ ี ใหแกโรงเรียนวัดธัญญะผล โรงเรียนวัดทศทิศ และองคการบริหารสวนตําบล บึงทองหลาง อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี

Engineering Today January- February

2018

78


>> Gadget เครื่องปรับอากาศแอลจีซีรี่ส์ใหม่ปี 2561 ประหยัดพลังงาน ได้มากขึ้นถึง 70 เปอร์เซ็นต์ และเย็นเร็วขึ้นถึง 40 เปอร์เซ็นต์ บริษทั แอลจี อีเลคทรอนิคส (ประเทศไทย) จํากัด แนะนํา เครือ่ งปรับ อากาศแอลจีซีรี่สใหมในป 2561 ที่มาครบทั้ง รุน IL, IDC, IK, IQ และ IV โดดเดนดวยระบบดูอัล อินเวอรเตอร ที่ประหยัดพลังงานไดมากขึ้นถึง 70 เปอร เ ซ็ น ต และให ค วามเย็ น เร็ ว ขึ้ น ถึ ง 40 เปอร เ ซ็ น ต ยั ง มาพร อ ม SmartThinQTM (ยกเวนรุน IQ และ IV) ฟเจอรเฉพาะของแอลจีที่ชวยให ควบคุมการทํางาน นอกเหนือจากแคการเปด-ปด ไดทุกที่ ทุกเวลา แมจะอยู นอกบาน และยังสามารถชวยวิเคราะหปญหาในการใชงานเบื้องตน ประหยัด เวลาซอมไดเร็วขึ้น ผานโปรแกรม Smart Diagnosis และยังเปนแบรนดเดียว ที่มีระบบปองกันไฟกระชากสูงสุดถึง 450 โวลต พรอมรับประกันแผงคอยล รอน-เย็นนานถึง 3 ป รวมถึงรับประกันคอมเพรสเซอรยาวนานถึง 10 ป มีให เลือกตั้งแตขนาด 9,000-24,000 บีทียู สําหรับไฮไลตของเครื่องปรับอากาศแอลจีซีรี่สใหม คือ แอลจี ดูอัล ทีม่ าพรอมเครือ่ งฟอกอากาศ ชวยเพิม่ ประสิทธิภาพในการมอบอากาศสะอาด

ทีส่ งู ยิง่ ขึน้ สามารถฟอกอากาศจากสารมลพิษทีม่ องไมเห็น และ ยังไดรบั การออกแบบใหสามารถฟอกอากาศไดแบบรอบทิศทาง ชวยสรางอากาศบริสุทธิ์ เสริมสรางสุขภาพที่ดีใหกับคนในบาน สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมไดทตี่ วั แทนจําหนายของ แอลจีทั่วประเทศ และศูนยขอมูลแอลจี โทร. 0-2878-5757 หรือ www.lg.com/th

เซตอุปกรณ์ของ Igus ประกอบสําเร็จพร้อมใช้งาน ช่วยให้การเชื่อมต่อหุ่นยนต์รวดเร็วและง่ายขึ้น เวลาเปนปจจัยที่มีความสําคัญมากตอระบบอัตโนมัติในโรงงานอุตสาหกรรม ดังนั้น ผูเ ชีย่ วชาญดานการเคลือ่ นไหวพลาสติกของ Igus ไดตดิ ตัง้ เซตอุปกรณมาตรฐานสําหรับการ เชือ่ มหุน ยนต ซึง่ ประกอบดวยรางกระดูกงู Triflex R สามมิตจิ าก Igus พรอมดวย สายเคเบิล Chainflex และทอสําหรับการจัดหาพลังงาน ขอมูลและตัวกลาง โซลูชั่นเหลานี้สามารถ เชือ่ มตอกับหุน ยนตไดอยางรวดเร็วและงายขึน้ และชวยลดการหยุดผลิตอยางกะทันหัน ลูกคา สามารถเชื่อถือโซลูชั่น "All-In-One" จาก Igus ได สินคาสําเร็จรูปเซตใหมจาก Igus รับประกันการสงพลังงานไดอยางรวดเร็ว สําหรับการใชงานเพิ่มเติมในอุตสาหกรรมหุนยนต Igus ไดเสนอ คําแนะนําเฉพาะสําหรับลูกคาและเครือ่ งมือปรับแตงออนไลนทสี่ ะดวกตอการใชงาน ดวย "QuickRobot" (http://www.igus.sg/quickrobot-online) โซลูชนั่ ทีถ่ กู ตองจาก 2,000 ตัวเลือก สามารถเลือกและสัง่ ซือ้ ไดดว ยการคลิกเพียงไมกคี่ รัง้ โดยการระบุผผู ลิตหุน ยนตและซีรสี่  (Model Series) เมือ่ มี คําสัง่ ซือ้ Igus จึงไดจดั หาระบบการคืนตัวกลับทีเ่ หมาะสมเพือ่ ใหรางกระดูกงู (Energy Chains) ทีม่ แี รงดึงอยางตอเนือ่ งจนถึงจุดสิน้ สุดของแขนหุน ยนต บริษัท Igus เปนผูจัดจําหนายเพียงแหงเดียวในตลาดที่สามารถรับประกันสายเคเบิล Chainflex ไดนาน 36 เดือน เนื่องจากการทํางาน รวมกันอยางราบรื่นระหวางสายเคเบิลและรางกระดูกงู

ฟูจิ ซีรอ็ กซ์ เปิดตัว DocuWorks 9 เวอร์ชนั่ ล่าสุด ผู้ช่วยสําคัญในการจัดการไฟล์เอกสารดิจิทัล ฟูจิ ซีรอ็ กซ แนะนํา DocuWorks 9 ซอฟตแวรรนุ ใหม ลาสุด ซึ่งจะชวยจัดการไฟลเอกสารดิจิทัล เพื่อการใชงาน ผานคอมพิวเตอรและโทรศัพทมือถือ พรอมฟงกชันใหมที่ สามารถเชื่ อ มต อ กั บ คลาวด ช ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและ ความรวดเร็วใหกบั การทํางานทีไ่ มหยุดนิง่ ภายใตแนวความคิด “ทุกที่ ทุกเวลา สําหรับทุกคน” “Anywhere, Anytime, for Anyone” DocuWorks 9 เปนชองทางที่จะชวยอํานวยความ สะดวกในทุกขัน้ ตอนการดําเนินธุรกิจ โดยเฉพาะฟงกชนั ใหม อยาง “Task Space” ทีผ่ ใู ชสามารถเก็บไฟลทตี่ อ งการทัง้ หมด

ลงไปใน Working Folder บริการคลาวดของ ฟูจิ ซีร็อกซ ไดเพียงกดปุม “Sync” ก็สามารถเรียกดูหรือแกไขไฟลงานไดทุกที่ ทั้งจากคอมพิวเตอรหรือโทรศัพท มือถือเครือ่ งอืน่ ๆ ผานบริการคลาวด รวมทัง้ “Task Toolbar” เครือ่ งมือทีช่ ว ยให ผูใ ชมองเห็นภาพรวมและขัน้ ตอนของการทํางานไดอยางชัดเจนยิง่ ขึน้ โดยมีฟง กชนั “Pencil Case” ทีช่ ว ยใหผใู ชบนั ทึกเครือ่ งเขียนอิเล็กทรอนิกส เชน การประทับตรา กระดาษโนต และ ปากกามารกเกอร ได และสามารถเรียกใชงานไดงาย ชวยให การทํางานมีความคลองตัวมากยิ่งขึ้น

79

Engineering Today January- February

2018


Gadget >> HP ZBook x2 รุ่นแรกที่แยกจอได้ สมรรถภาพทรงพลัง ตอบโจทย์มืออาชีพได้อย่างสูงสุด เอชพี อิงค ประเทศไทย อวดโฉม HP ZBook x2 เครื่องพีซีเวิรคสเตชั่น รุน แรกของโลกที่แยกจอได 15 ใหนกั ออกแบบและผูผ ลิตเนือ้ หาดิจทิ ัลสรางสรรคผล งานอยางอิสระไดทุกที่ทุกเวลาที่เกิดแรงบันดาลใจ ชวยแปลงงานจินตนาการให กลายเปนจริงได ดวยหนวยประมวลผล Intel®Core™ processors แบบ quad-core2, หนวยความจําที่มากกวาถึงสองเทาของเครื่องพีซีที่แยกจอไดทั่วไป 3 และ การด แสดงผล NVIDIA® Quadro® Graphics ที่สามารถแสดงผลดวยคุณภาพสูงคมชัด กวาถึง 73 เปอรเซ็นต เมื่อเทียบกับ Surface Pro4 มีพัดลมคูระบายความรอนที่หมุนไดเงียบสนิท ออกแบบมาเพื่อกระจายความรอนออกจาก การดจอและหนวยประมวลผลอันทรงพลัง นอกจากนี้ เพือ่ ทีจ่ ะสามารถตอบสนองความตองการของเหลานักสรางสรรค และผูใ ชงาน Adobe เอชพี ไดออกแบบ HP Quick Keys ที่สามารถปรับแตงได และมีฟเจอร Application-aware เพื่อใหศิลปนสามารถประหยัดเวลาในการทํางานไดถึง 18 ชุดคําสั่ง และรองรับการใชงานไดใน 4 โหมดดวยกัน คือ โหมดแล็ปท็อป, ดีแทชด, ด็อค และแท็บเล็ต HP ZBook x2 นํ้าหนักเบาประมาณ 1.65 กก. และบางเพียง 14.6 มม. เมื่ออยูในโหมดแท็บเล็ต หนักประมาณ 2.16 กก.และบางเพียง 20.3 มม. ในโหมดแล็ปท็อป แสดงผลสวยงามบนจอขนาด 14 นิว้ , จอมัลติทชั คมชัดระดับ 4K ผลิตดวยวัสดุอะลูมนิ มั และแมกนีเซียมหลอ แบตเตอรี่ ใชไดยาวนานถึง 10 ชั่วโมง เพื่อประสิทธิผลสูงสุด และรองรับ Ultra-fast Charge ชารจเร็วขึ้น 50% ภายในเวลาเพียง 30 นาที

กล้องติดรถยนต์ 2 รุ่น DrivePro130 และ DrivePro110 ยกระดับความปลอดภัย แอลจี อีเลคทรอนิคส (ประเทศไทย) จํากัด ทรานสเซนด อินฟอรเมชั่น อิงค (Transcend Information Inc.) ผูนําผลิตภัณฑ การจัดเก็บขอมูลและมัลติมีเดีย สง กลองติดรถยนต DrivePro130 และ DrivePro110 ซึ่ง กลองไดรฟโปรทั้งสองรุนมาพรอมกับเซ็นเซอรภาพความไวสูงของโซนี่ ทําใหจับภาพความ ละเอียดสูงดวยการไลโทนสีไดดีแมในที่มีแสงนอย อีกทั้งยังมีเทคโนโลยี Wide Dynamic Range (WDR) ในตัวชวยใหบันทึกภาพไดคมชัดทั้งในพื้นที่สวางและพื้นที่แสงนอย กลอง สามารถบันทึกรายละเอียดไดดี มองเห็นปายทะเบียนชัดเจนทั้งในชวงกลางวันและกลางคืน โดยบันทึกวิดีโอที่ความละเอียด Full HD 1080p ที่ 30 เฟรมตอวินาที นอกจากฟงกชันเตือนเพื่อความปลอดภัยบนทองถนนแลว DrivePro 130 และ DrivePro 110 ยังมาพรอมกับฟงกชันที่มีประโยชนอีกมากมาย อาทิ ฟงกชันเตือนใหเปด ไฟหนาจะทํางานเมือ่ กลองไดรฟโปร ตรวจพบสภาวะแสงไมเพียงพอ และฟงกชนั จะเตือนให จอดพัก รวมทั้งเตือนผูขับรถใหหยุดพักเมื่อขับรถตอเนื่องเปนเวลานาน เพื่อปองกันความ เหนื่อยลาซึ่งอาจเปนสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ โดยสามารถตั้งระยะเวลาในการเตือนได ตามตองการ เชื่อมตอดวย Wi-Fi รองรับการใชงานบนอุปกรณ iOS และแอนดรอยด

ผานทางแอปพลิเคชัน DrivePro ซึ่งดาวนโหลด ไดฟรี วางจําหนายแลว พรอมรับประกันกลองทัง้ 2 รุนเปนเวลา 2 ปโดย Transcend

บียอน แม็กซ์ 2 สมาร์ทโฟนกล้องหลังคู่แท้ราคามิตรภาพ บริษัท พี.ที.อี. อินเตอรกรุป จํากัด ผูจัดจําหนายสมารทโฟนคุณภาพแบรนดคนไทย แนะนํา บียอน แม็กซ 2 (Beyond MAX2) สมารทโฟนกลองหลังคูแท เฮาสแบรนด รายแรกในประเทศไทย มาพรอมฟงกชนั การถายภาพแบบหนาชัดหลังเบลอ สามารถจับภาพ เฉพาะจุด คุณสมบัติหนาจอ IPS.QHD ขนาด 5 นิ้ว ความละเอียด 960x540 กลองหนา มีความละเอียด 5 MP กลองหลังคูแท (Dual Camera) 8.0/2.0 MP รองรับ 2 ซิม ขนาด RAM 1 GB/ROM 16 GB ระบบปฏิบตั กิ ารแอนดรอยด 6.0 QUAD-CORE ความจุแบตเตอรี่ 2,300 mAh ราคาเพียง 2,490 บาท รับประกันจอแตกเปลี่ยนฟรี 1 ป สนใจหาซื้อไดตามรานตัวแทนจําหนายทั่วประเทศ

Engineering Today January- February

2018

80






Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.