EDITOR TALK กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
4 ÊÀÒÇÔªÒªÕ¾ ÍÍ¡âç¤Ñ´¤ŒÒ¹ÁÒμÃÒ 48 Ëҧ ¾.Ã.º.¡ÒÃÍØ´ÁÈÖ¡ÉÒ... ËÇÑ่¹¡Ãзºμ‹Í»ÃЪҪ¹ àÈÃÉ°¡Ô¨áÅÐÊѧ¤Á เชื่อวาตอนนี้ขาวที่กําลังเปนประเด็นรอนในแวดวงวิชาชีพ คงหนีไมพน กรณี มาตรา 48 แหงรางพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. ... ที่บัญญัติให “สถาบันอุดมศึกษาสามารถใหบริการ ทางวิชาชีพ และใหคําปรึกษาทางวิชาชีพได” ซึ่งเปนการบัญญัติกฎหมายที่ขัดกับบทบัญญัติของ กฎหมายรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 กฎหมายวิชาชีพวิศวกร สถาปนิก ทนายความ และบัญชี และ กฎหมายการจัดซือ้ จัดจางและบริหารพัสดุภาครัฐ ทีบ่ งั คับใชอยูแ ลวในปจจุบนั สงผลกระทบตอการบังคับ ใชกฎหมายตอผูกระทําการฝาฝนกฎหมายดังกลาว ซึ่งจะนําไปสูขอพิพาทระหวางสภาวิชาชีพกับ สถาบันอุดมศึกษาตางๆ และสงกระทบตอมาตรฐานความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสนิ ของประชาชน ผูใชบริการ เนื่องจากสถาบันอุดมศึกษาสามารถประกอบวิชาชีพควบคุมไดอยางอิสระในทุกสาขา วิชาชีพอยางไมจํากัดขอบเขตและไรการกํากับดูแลจากสภาวิชาชีพที่เกี่ยวของ อีกทั้งงานดานวิชาชีพของผูประกอบวิชาชีพเกิดจากการนําเอาพื้นฐานทางวิชาการมาฝกฝน สะสมทักษะและประสบการณจนมีความสามารถและผานระบบการทดสอบจากสภาวิชาชีพเฉพาะ ดานในเรื่องนั้นๆ เชน บริษัทวิศวกรที่ปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญทางดานออกแบบสะพาน ก็มาจาก วิศวกรในวิชาชีพที่ไดฝกฝน เรียนรูการออกแบบสะพานมาเปนเวลานานจนมีความเชี่ยวชาญในเรื่อง สะพานดังกลาว แตสถาบันอุดมศึกษาไมไดผานกระบวนการฝกฝนสะสมทักษะและประสบการณ ดังกลาว อาจจะสงผลกระทบตอมาตรฐานความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสนิ ของประชาชนผูใ ชบริการได ลาสุด 4 สภาวิชาชีพ ประกอบดวย ดร.กมล ตรรกบุตร นายกสภาวิศวกร พลเรือเอกฐนิธ กิตติอําพน นายกสภาสถาปนิก ทัศไนย ไชยแขวง อุปนายกสภาทนายความ และ ประเสริฐ หวังรัตนปราณี อุปนายกสภาวิชาชีพบัญชี ไดออกโรงคัดคานบทบัญญัติของมาตรา 48 แหง “รางพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. ...” โดยขอใหตัดคําวา “วิชาชีพ” ที่ระบุในมาตรา 48 ออกทั้งหมด เพื่อปกปองสวัสดิภาพในชีวิต รางกายและทรัพยสินของประชาชน ตลอดจนเศรษฐกิจ และสั ง คมของประเทศ ทั้ ง นี้ ไ ด แ ต ห วั ง ว า ร า งพระราชบั ญ ญั ติ ดั ง กล า วที่ จ ะคลอดภายในเดื อ น พฤศจิกายนนี้ คงมีการตัดทอนเนื้อหาดังกลาวออกไป เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของ ประชาชน เศรษฐกิจและสังคม สําหรับ วารสาร Engineering Today ฉบับที่ 167 นี้ ยังคงนําเสนอขอมูลขาวสารทางดาน วิศวกรรมและอุตสาหกรรม ตอบรับยุคดิจิทัลเชนเคย ทั้งในรูปแบบของ Hard Copy และ E-Book บนเว็บไซต www.engineeringtoday.net รวมทั้ง Facebook : Engineering Today ติดตาม ไดทุกชองทางครับ
เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด วารสาร “Engineering Today” เปนวารสารรายสองเดือน ของบริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด บทความที่ตีพิมพในวารสาร “Engineering Today” ขอสงวนสิทธิใ์ นการนําไปใชคดั ลอก ดัดแปลง นําไปรวมตีพมิ พเผยแพรเพือ่ ประโยชนในวงการวิศวกรรม ขอความ ที่ตีพิมพในบทความและโฆษณาในวารสาร “Engineering Today” เปนความคิดเห็นสวนตัวของผูเขียนหรือผูลงโฆษณาเอง ซึ่งทาง วารสารฯ ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไปถาบทความใดผูอานเห็น วาไดมีการลอกเลียนหรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิง หรือ ทํ า ให เ ข า ใจผิ ด ว า เป น ผลงานของตน กรุ ณ าแจ ง ให ท าง กองบรรณาธิการทราบ จักเปนพระคุณยิ่ง รายละเอียดตางๆ ที่ปรากฏในวารสารฯ ไดผานการตรวจ ทานอยางถีถ่ ว นเพือ่ ความถูกตองสมบูรณทสี่ ดุ เทาทีส่ ามารถกระทํา ได ทางวารสารฯ ไมไดมีการรับประกันความเสียหายอันอาจเกิด ขึ้นจากการนําขอมูลในวารสารฯ ไปใชแตอยางใด ผูนําเนื้อหาที่ตีพิมพในวารสารฉบับนี้ไปเผยแพรไมวาบาง สวนหรือทั้งหมด จะตองอางอิงชื่อวารสารและบริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด ดวยทุกครั้งในทุกหนาที่มีเนื้อหาดังกลาว
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์
ฯพณฯ พลอากาศเอกกําธน สินธวานนท
คณะที่ปรึกษา
ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ตอตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน พันธุบรรยงก, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน เหมวชิรวรากร
บรรณาธิการอํานวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการผูพ มิ พผโู ฆษณา สุเมธ บุญสัมพันธกจิ บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรียพร วงศศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย เรืองติก พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ ผูจัดการฝายโฆษณา เขมจิรา ปลาทิพย ฝายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตษ, กัลยา ทรัพยภิรมย เลขานุการฝายผลิต ชุติมันต บัวผัน ฝายสมาชิก ศิรินทิพย โยธาพันธ โรงพิมพ หจก. รุงเรืองการพิมพ แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Engineering Today www.engineeringtoday.net
CONTENTS COLUMNS 8
บทบรรณาธิการ
4 สภาวิชาชีพ ออกโรงคัดคานมาตรา 48 ราง พ.ร.บ.การอุดมศึกษา... หวั่นกระทบตอประชาชน เศรษฐกิจและสังคม
• กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
14 Engineering 4.0
คุณเพียงฤทัย ศิวารัตน “ทุมเกินรอยกับทุกโอกาสที่ไดรับ” • กองบรรณาธิการ
25 หุนยนต BLISS สงเสริมการเรียนรูเด็กออทิสติกของ มจธ.
ควารางวัลขวัญใจมหาชน และรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 • กองบรรณาธิการ
26 Industry 4.0
กรอ. จับมือ กฟผ.ยกระดับ Smart Boiler สูโรงงาน-โรงไฟฟา ตั้งเปาประหยัดพลังงานปละกวาพันลานบาท
• กองบรรณาธิการ
28 Research & Development
เปด 4 มุมมอง โครงสรางกระทรวงอุดมศึกษา รับยุทธศาสตร Thailand 4.0
• กองบรรณาธิการ
31 Design
14
พลังสรางสรรคการออกแบบเปลี่ยนโลก
• สุรียพร วงศศรีตระกูล
18 Interview
เกนเนอยี เปดธุรกิจใหม ขายไอนํ้าใหกับอุตสาหกรรม ดวยเครื่องจักรผลิตไอนํ้าลํ้าสมัย
• กองบรรณาธิการ
31
DIGITAL ECONOMY AI
35 Cover Story
22 เทคโนโลยี เอไอ - ดิจิทัล ทวินส และไอโอที
ผลักดันภาคบริการสูการขับเคลื่อนขอมูลในป พ.ศ. 2561
• มารก บริวเวอร
A world rst for contactless liquid level measurement (1) • Jürgen Skowaisa
37 Logistics
สกว.สงมอบแผนงานจัดการขนสงรถเที่ยวเปลาใหทอท. สนับสนุนโลจิสติกสตามนโยบาย Thailand 4.0 - ลดมลพิษทางอากาศ • กองบรรณาธิการ
22
CONTENTS CONSTRUCTION THAILAND
COLUMNS 39 Environment
สผ. รวมกับ GIZ เปดตัวโครงการ การดําเนินงานดานนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพิ่มอีก 60 จังหวัด ครอบคลุม 77 จังหวัดทั่วประเทศ
• กองบรรณาธิการ
56 Construction
บทเรียนเครนถลม อุบัติภัยซํ้าซาก ถึงเวลาตรวจสอบ-บํารุงรักษาเครนกอสรางอยางเครงครัด • กองบรรณาธิการ
60 Material 4.0
43 Report
ดาวจับมือภาครัฐเปดโครงการ “ดาว เคมิคอล เพื่ออุตสาหกรรมยั่งยืน ระยะที่ 4” สงเสริมนวัตกรรม ขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียนยุค Industry 4.0”
LANXESS พัฒนาพลาสติกประสิทธิภาพสูง นํ้าหนักเบา ชวยใหโดรนบินไดนานขึ้น
• กองบรรณาธิการ
• กองบรรณาธิการ
46 Innovation
กฟภ. รวมกับ หัวเวย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) เปด PEA Innovation Center แหงแรกในไทย • กองบรรณาธิการ
60 61 Property
46 48 Technology
Open Innovation Labs เทคโนโลยีระบบเปดใชไดกับทุกแอพพลิเคชั่น - ทุกอุตสาหกรรม • เรดแฮท
50 บทความ
การพัฒนาเครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอนในประเทศไทย
• สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องคการมหาชน)
ออริจิ้น เปดตัวคอนโดฯ หรู “Park Origin Phayathai” แลนดมารคแหงใหมยานพญาไท
• กองบรรณาธิการ
63 Project Management
บทสรุปการดําเนินธุรกิจบนพื้นฐานความเจริญเติบโตทางธุรกิจ อยางยั่งยืน ตอนที่ ๑
• ดร.พรชัย องควงศสกุล
70, 72 77
Focus Gadget
Engineering 4.0 • กองบรรณาธิการ
คุณเพียงฤทัย ศิวารัตน
ผูจ ดั การประจําประเทศไทยและรองประธานฝ ายปฏิบตั กิ ารโรงงานโคราช
บริษัท ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จํากัด
“ทุ มเกินร อยกับทุกโอกาสที่ ได รับ”
ในบรรดาผูบ ริหารหญิงของไทย ทีม่ บี ทบาทสําคัญในองคกรชัน้ นําขามชาติ ชือ่ ของ คุณเพียงฤทัย ศิวารัตน ถือไดวา โดดเดน อยูใ นอันดับแถวหนาของไทย ดวยเปนผูบ ริหารหญิง คนแรกในบริษทั ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จํากัด ทีด่ าํ รง ตําแหนงรองประธานฝายปฏิบัติการโรงงานโคราช ซึ่งเปนฐาน การผลิตฮารดไดรฟของซีเกทที่มีขนาดใหญที่สุดในโลก โดยผลิต นาโนทรานสดิ ว เซอร (Nano Transducer) ประกอบชุ ด หั ว อาน-เขียน (Read/Write Pack) และประกอบฮารดไดรฟ (Hard Drive Assembly) ตลอดจนมีพนักงานประมาณ 14,000 คน นอกจากนีย้ งั ไดรบั ความไววางใจใหดาํ รงตําแหนงผูจ ดั การประจํา ประเทศไทย อีกหนึ่งตําแหนง ในป พ.ศ. 2560 แสดงใหเห็นถึง ความสามารถชนิดทีห่ าตัวจับไดยากของผูห ญิงคนนีไ้ ดเปนอยางดี ป ’60 รับปริญญาวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิศวกรรมการผลิต จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.) คุณเพียงฤทัย สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากภาค วิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลา นคริ น ทร (มอ.) และสํ า เร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาโท สาขา วิ ศ วกรรมอุ ต สาหการ จากมหาวิ ท ยาลั ย เท็ ก ซั ส อาร ลิ ง ตั น (University of Texas at Arlington) ประเทศสหรัฐอเมริกา ดวย ผลงานที่โดดเดนทางวิชาชีพและการบริหารจัดการ จนเปนที่ ยอมรับจากทั้งภายในและภายนอกประเทศ ทําใหไดรับปริญญา
Engineering Today September- October 2018
14
วิ ศ วกรรมศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต กิตติมศักดิ์ (วิศวกรรมการผลิต) จาก มหาวิ ทยาลัยเทคโนโลยีสุ รนารี (มทส.) เมื่อ วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2560 สรางความปลื้มปติใหกับ คุณเพียงฤทัย และครอบครัว ตลอดจนผูบริหาร เพื่อนรวมงาน และพนักงานซีเกทเปนอันมาก ณ จุดนี้ คุณเพียงฤทัย ขอขอบคุณ ซีเกทที่เปดโอกาสใหไดเขามายืนตรงจุดๆ นี้ จึงทําใหตนเองไดมี สวนรวมในการพัฒนาประเทศผานทางโครงการเพื่อสังคมตางๆ อันเปนนโยบายหลักของซีเกท ตลอดจนโครงการความรวมมือ ดานงานวิจยั กับสถาบันการศึกษาตางๆ เพือ่ พัฒนาศักยภาพของ บุคลากรภายในประเทศ จากความผิดพลาด กลับเป นโอกาสของชีวิต คุณเพียงฤทัย เลาวา เปนคนที่เรียนหนังสือเกงตั้งแตเด็ก คุณพอจึงหมายมั่นปนมือใหศึกษาตอคณะแพทยศาสตร เพื่อ ประกอบอาชีพแพทย แตเกิดจุดพลิกผันในชวงที่สอบเอนทรานซ เขามหาวิทยาลัยเนื่องจากทําคะแนนวิชาชีววิทยาไดไมคอยดี จึงเอนทรานซติดอันดับ 5 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร (มอ.) วิทยาเขตหาดใหญแทน ซึ่งขณะนั้นไมมี ความคิดที่จะเรียนดานวิศวกรรมศาสตรเลย อีกทั้งทางบาน โดย เฉพาะคุณพอเปนหวงวาเปนผูห ญิงไปเรียนไกลบานทีต่ า งจังหวัด สวนตัว คุณเพียงฤทัย มีความคุนเคยกับมหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร (มอ.) เปนอยางดี เนือ่ งจากพืน้ เพเดิมเกิดทีจ่ งั หวัดปตตานี
กอนที่ครอบครัวจะโยกยายมาตั้งรกรากที่กรุงเทพฯ จึงตัดสินใจ ลองลงเรียนในเทอมแรก ปรากฏวาทุกวิชาที่เรียนใชและชอบไป ทั้งหมดจึงตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (มอ.) โดย เลือกเรียนสาขาวิศวกรรมไฟฟาตามความประสงคของคุณพอ “เทอมแรกที่เรียนวิศวฯ มอ. คิดวาจะตองสอบเอนทรานซ ใหมแนนอน พอเขาไปเรียนใชเลย อะไรๆ ก็ใช ชอบไปหมด ปกติ ชอบเลขอยูแลว นับวาความผิดพลาดนํามาซึ่งโอกาสของชีวิต จึงกลับไปบอกที่บานวานาจะเรียนที่นี่เพราะชอบ และโชคดีที่ได พักในหอพักมีนกั ศึกษาจํานวนมากรวมทัง้ บรรดานักศึกษาแพทย ขณะนั้น ดิฉันมองวาถาเราไปเรียนแพทยอาจจะไมไหว ถึงแมวา การเรียนแพทยจะสนุกและไดมีโอกาสทําบุญทุกวัน จึงไดเรียน ปรึกษาคุณพอและคุณแมวาจะขอเรียนที่นี่ สุดทายคุณพอตกลง แตใหสัญญาวาจะไมเรียนสาขาโยธาและเหมืองแร เพราะเปน ผูหญิงจะไมสะดวกเวลาออกงานภาคสนาม และใหศึกษาตอจน จบปริญญาโท” ขอดีของการเรียนหนังสือที่ตางจังหวัดทําใหทุกคนรูจักกัน ทั้งหมด มีเพื่อนตางคณะทั้งคณะเภสัชฯ เกษตรฯ และบัญชี ตาง จากการเรียนที่กรุงเทพฯ ชวงเวลานั้นมีความสุขมากและเห็นวา เปนโอกาส จึงลงเรียนสาขาไฟฟาทัง้ 2 สาขา คือ ไฟฟากําลังและ สื่อสาร ทําใหไดใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม (ประเทศไทย) (หรือใบก.ว.) ถึง 2 ใบ โดยที่ในรุนมีผูหญิงเพียง 17 คนจากทั้งหมด 240 คน และมีนักศึกษาที่สามารถ จบการศึกษาภายในระยะเวลา 4 ป เพียง 80 คน เทานั้น เนื่องจากเรียนยากพอสมควร และแนนอนวา คุณเพียงฤทัย เปน 1 ใน 80 คนนัน้
การเป นวิศวกรสอนอะไรดิฉันมากมาย สอนให มีตรรกะที่ดี ตลอดจนเรียนรู ว าโลกนี้ ต องเรียนรู ตลอดเวลา ความรู ไม มีที่สิ้นสุด แต สุดท ายความรู ที่มีทําให เราเข าใจภาพใหญ คือ ตรรกะ การทํางานให ประสบความสําเร็จต องอาศัย ความร วมมือจากเพื่อนร วมงาน เนื่องจากซีเกท เป นองค กรใหญ จึงต องมีการทํางานเป นทีม ทํางานซีเกทเพื่อปรับตัวเข ากับวัฒนธรรมอเมริกัน ก อนเรียนต อปริญญาโท ในสมัยนัน้ จะมีบริษทั ใหญอยาง บริษทั ปูนซิเมนตไทย จํากัด (มหาชน) และเครื อ เจริ ญ โภคภั ณ ฑ มาเป ด รั บ สมั ค รงานถึ ง มหาวิทยาลัยฯ เพื่อวาจางงานผูที่สําเร็จการศึกษาในตางจังหวัด แตคุณเพียงฤทัยติดสัญญาใจกับคุณพอวาจะตองศึกษาตอใน ระดับปริญญาโท จึงเลือกสมัครงานในตําแหนงวิศวกร ที่บริษัท คณิตเอ็นจิเนียริ่ง จํากัด เพราะบริษัทฯตั้งอยูในเขตกรุงเทพฯ ซึ่ง ตนเองตองเตรียมความพรอมเพือ่ ไปศึกษาตอตางประเทศ ทีบ่ ริษทั แหงนี้ คุณเพียงฤทัย ไดมีโอกาสเรียนรูงานในหลาย ดาน อีกทัง้ ลักษณะงานก็นา สนใจ โดยไดรบั มอบ หมายทําหนาทีเ่ ปนทีป่ รึกษาประเมินสายไฟ ในโครงการตางๆ และยังทําหนาที่เปน วิศวกรฝายขายอุปกรณดว ย ซึง่ ถือ เปนประสบการณที่ดี โดยใช
15
Engineering Today September- October
2018
เวลาเรียนรูงานประมาณ 4 เดือน จึงไดยายมาทํางานในตําแหนง วิศวกรทีบ่ ริษทั ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จํากัด เมื่อป พ.ศ. 2530 กอนที่จะไปศึกษาตอระดับปริญญาโทที่สหรัฐอเมริกา ตามที่ตั้งใจไว “ตอนที่ทางซีเกทเรียกตัวใหไปรวมงาน เรามีความตั้งใจที่ จะไปเรียนตอปริญญาโทอยูแ ลว ถาเขาทํางานทีซ่ เี กทเพือ่ ปรับตัว เขากับวัฒนธรรมอเมริกันกอนไปเรียนตอปริญญาโทก็นาจะชวย ปูทางในการทํางานที่ดี การมาเริ่มตนทํางานในตําแหนงวิศวกร ทีน่ สี่ นุกมากเพราะบริษทั ซีเกทวาจางวิศวกรจํานวนมาก ขณะนัน้ มีการหมุนเวียนการทํางานภายในแผนกของวิศวกร (Engineer Rotation) โดยผลัดกันเดินทางไปเรียนรูที่สหรัฐอเมริกาคนละ 1 เดือน พอเขามาทํางานไดเพียง 4 เดือนก็ไดรับโอกาสในการ เดิ น ทางไปทํ า งานต า งประเทศ แต เ นื่ อ งจากดิ ฉั น รั บ ผิ ด ชอบ ผลิตภัณฑที่ตองดูแลตอเนื่อง จาก 1 เดือนจึงกลายเปน 6 เดือน ก็ วิ ต กกั ง วลกลั ว ว า จะไม ส ามารถไปเรี ย นต อ ปริ ญ ญาโทตาม กําหนดการทีว่ างไวได เพราะทีส่ หรัฐอเมริกาเปดการเรียน การสอน เปนเทอม กลับมาจึงบอกผูบริหารวาจะขอทํางานอีก 1 ป แลวขอ ลาออกไปเรียนตอปริญญาโท” ใช เวลาไม ถึง 2 ป จบปริญญาโทตามที่สัญญากับคุณพ อ คุณเพียงฤทัย เลือกศึกษาตอปริญญาโท สาขา วิศวกรรมอุตสาหการ ที่มหาวิทยาลัยเท็กซัส อารลิงตัน (University of Texas at Arlington) ประเทศสหรัฐ อเมริกา เนื่องจาก
Engineering Today September- October 2018
16
ทําคะแนนไดดมี าก คือ 100 คะแนนเต็ม จึงไดทนุ จากมหาวิทยาลัย ในชวงนั้นเองไดรับมอบหมายใหเปน ผูช วยสอน (Teaching Assistant) รับหนาที่หลายบทบาททั้งเปนนักศึกษาปริญญาโท สอนการบานนักศึกษาปริญญาตรี และไปสอนบางคาบเรียนหาก อาจารยตองไปสัมมนา รวมทั้งชวยตรวจขอสอบและคุมสอบ ซึ่ง ไดรบั ประสบการณที่ดีและหลากหลายมาก โดยใชเวลาประมาณ 1 ป 6 เดือน จึงจบการศึกษา และควาปริญญาโทสมดังตั้งใจที่ให สัญญาไวกับคุณพอ รับตําแหน งผู อํานวยการด วยวัยเพียง 33 ป ทุบสถิติอายุน อยที่สุดเท าที่ซีเกทมีมา จากนั้น คุณเพียงฤทัย ไดพกพาความรูและประสบการณ ตลอดจนภาษาอังกฤษมาตอยอดการทํางาน โดยกลับเขามา ทํางานที่บริษัท ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จํากัด อีกครั้ง ในตําแหนง Lead Engineer มีทีมดูแล 2-3 คน รับผิดชอบงาน ดานวิศวอุตสาหการที่มุงเนนดานไฟฟา อาทิ วางแผน Capacity ของโรงงาน ภาพรวมกระบวนการ และ Process Flow ตอมา ยายไปทําซิกซ ซิกมา (Six Sigma) ซึ่งนับเปนซิกซ ซิกมารุนแรก ของซีเกทและสนุกกับการทํางานที่ซีเกทมาอยางยาวนานจนถึง ปจจุบัน เปนเวลากวา 30 ป ดวยความที่เปนคนขยันทํางานมาก มุ งมั่ นในสิ่งที่ทํา มี ความชางสั งเกต ใฝ รู ในสิ่งตางๆ รอบดาน ทําใหมีผลงานที่โดดเดน อีกทั้งซีเกทก็ เปดโอกาสใหแสดงผลงานจึงไดรับการเลื่อน ตําแหนงหลายตอหลายครั้ ง โดยได รับ ตําแหนงผูอํานวยการดวยวัยเพียง 33 ป ซึ่ ง ขณะนั้ น ถื อ ได ว า มี
ยิ่งเติบโตเป นผู บริหารจะรู ว า Soft Skill มีความสําคัญมาก ความรู ทางด านเทคนิคนั้น หาได แต Soft Skill อาจจะเรียนรู จากสิ่ง ที่ผิดพลาดได และต องมีการปรับปรุงตลอดเวลา เนื่องจากบุคลากรที่จะมาดีลงานกับเรานั้น ไม เหมือนกัน คนนั้นต องพูดแบบนี้ คนนี้ต องพูด แบบนั้น ดังนั้น Soft Skill จึงมีความสําคัญ และเป นเรื่องที่ท าทายมาก
อายุนอยที่สุดของซีเกทเทาที่มีมา จากนั้นกาวสูตําแหนงสําคัญๆ ทางดานการบริหารหลายตําแหนงทั้งที่โรงงานเทพารักษ จังหวัด สมุทรปราการและโรงงานโคราช จังหวัดนครราชสีมา Soft Skill สําคัญ และท าทายต อผู บริหารมาก ผลจากความมุงมั่น ตั้งใจ และทุมเทกับงานและองคกร อันเปนทีร่ กั ทําใหในป พ.ศ. 2554 คุณเพียงฤทัย ไดรบั การแตงตัง้ ใหดาํ รงตําแหนงรองประธานฝายปฏิบตั กิ ารโรงงานโคราช ขึน้ แทน ผูบ ริหารหญิงคนแรกของซีเกททีไ่ ดรบั ความไววางใจใหรบั ผิดชอบ การดําเนินงานและการผลิตทัง้ หมดของโรงงานโคราช ซึง่ เปนฐาน การผลิตฮารดไดรฟของซีเกททีม่ ขี นาดใหญทสี่ ดุ ในโลก มีพนักงาน ภายใตการดูแลประมาณ 14,000 คน และในป พ.ศ. 2560 ยัง ไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงผูจัดการประจําประเทศไทย อีกดวย ทั้งนี้ตลอดระยะเวลาการทํางาน คุณเพียงฤทัย ไดนํา ตรรกะมาประยุกตใช ทําใหเขาใจภาพรวมการทํางานเปนอยางดี และใหความสําคัญกับ Soft Skill เมื่อกาวขึ้นมาเปนผูบริหาร “การเปนวิศวกรสอนอะไรดิฉันมากมาย สอนใหมีตรรกะ ที่ดี ตลอดจนเรียนรูวาโลกนี้ตองเรียนรูตลอดเวลา ความรูไมมี ที่สิ้นสุด แตสุดทายความรูที่มีทําใหเราเขาใจภาพใหญคือตรรกะ การทํางานใหประสบความสําเร็จตองอาศัยความรวมมือจาก เพือ่ นรวมงาน เนือ่ งจากซีเกทเปนองคกรใหญจงึ ตองมีการทํางาน เปนทีม เพราะงานของซีเกทไมไดทําสําเร็จดวยคนเดียว ตองทํา รวมกันหลายแผนก ยิ่งเติบโตเปน ผูบริหารจะรูวา Soft Skill มี ความสําคัญมาก ความรูทางดานเทคนิคนั้นหาได แต Soft Skill อาจจะเรียนรูจากสิ่งที่ผิดพลาดไดและตองมีการปรับปรุงตลอด
เวลา เนื่องจากบุคลากรที่จะมาดีลงานกับเรานั้นไมเหมือนกัน คนนั้นตองพูดแบบนี้ คนนี้ตองพูดแบบนั้น ดังนั้น Soft Skill จึง มีความสําคัญและเปนเรื่องที่ทาทายมาก” ครอบครัวและคู ชีวิตเป นเสมือนลมใต ป ก ที่ทําให ประสบความสําเร็จในวันนี้ กลาวไดวา พื้นฐานครอบครัวเปนสิ่งที่สําคัญ ในวัยเด็ก การมีครอบครัวที่อบอุน มีความเขาใจซึ่งกันและกัน ตลอดจน การใหอิสระในการเลือกประกอบอาชีพจากคุณพอและคุณแม ชวยหลอหลอม คุณเพียงฤทัย ใหมีบุคลิกภาพเชนทุกวันนี้ ในที่ ทํางาน คุณเพียงฤทัย ไดรับการสนับสนุนจากเพื่อนรวมงานเปน อยางดี นอกจากนี้ การที่สามีทํางานในสายงานดานวิศวกรรม เชนเดียวกัน ก็ทาํ ใหเธอมีทปี่ รึกษาในดานการทํางาน เปนทัง้ พีช่ าย และเพื่อนในเวลาเดียวกัน นับวา คุณเพียงฤทัย สามารถสราง ความสมดุลในการทํางานและชีวิตสวนตัวไดเปนอยางดี ถึงวันนี้คุณเพียงฤทัย มีความสุขและสนุกกับการทํางาน ทั้งในฐานะผูจัดการประจําประเทศไทยและรองประธานฝาย ปฏิบตั กิ ารโรงงานโคราช บริษทั ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จํากัด และพรอมจะทํางานใหดีที่สุดใหสมกับโอกาสสําคัญที่ ไดรับ
17
Engineering Today September- October
2018
Interview • กองบรรณาธิการ
ี จํากัด
เนอย น ก เ ท ั ร บริษ
กา
รผู จัด า ก ม ร ร ก
พงศ
ิริ ไพบูลย ส ณ ร ู มบ
ส
เกนเนอยี เป ดธุรกิจใหม
ขายไอนํ้าให กับอุตสาหกรรม ด วยเครื่องจักรผลิตไอนํ้าลํ้าสมัย ชูจุดเด นเป นมิตรต อสิ่งแวดล อม เหมาะสําหรับทุกอุตสาหกรรมที่ต องการใช ไอนํ้า ธุ ร กิ จ ขายไอนํ้ า ให กั บ อุ ต สาหกรรมเกิ ด ขึ้ น ในนิ ค ม อุตสาหกรรมเปนสวนใหญ ทําใหอุตสาหกรรมที่ไมไดอยูใน นิคมอุตสาหกรรมและตองใชไอนํ้าในกระบวนการผลิตตองมี เครือ่ งจักรผลิตไอนํา้ ของตนเอง ตองมีบคุ ลากรพิเศษคอยควบคุม การทํางาน เพราะมันเปนเครื่องจักรอันตรายที่ถูกควบคุมดวย กฎหมายหลายฉบับ บริษทั เกนเนอยี (GAINERGY CO., LTD.) จึงขอเสนอตัวรับงานผลิตไอนํา้ มาอยูใ นความรับผิดชอบของเรา เพื่อใหอุตสาหกรรมตางๆไดใชไอนํ้าที่มีปริมาณและคุณภาพ ตามทีต่ อ งการในราคายุตธิ รรม และมีเวลาไปพัฒนางานดานอืน่ ที่เปนธุรกิจหลักตอไป
เกนเนอยีนําเทคโนโลยีลํ้าสมัย สร างโรงงานผลิตและขายไอนํ้า ตอบโจทย อุตสาหกรรม สมบู ร ณ สิ ริ ไ พบู ล ย พ งศ กรรมการผู จั ด การ บริ ษั ท เกนเนอยี จํ า กั ด กล า ววา จากประสบการณดา นการใช และ จํ า หน า ยถ า นหิ น เมื่ อ ครั้ ง ทํ า งานที่ การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทยเปนเวลากวา 10 ป และ บริษัท ยูนิค ไมนิ่ง เซอร วิสเซส จํากัด ทําใหคุณสมบูรณเห็นชองทางในการตอยอดสราง โมเดลธุร กิจโรงงานผลิตและขายไอนํ้าดวยเทคโนโลยีลํ้าสมัย
Engineering Today September- October 2018
18
ไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและ ชุมชนรอบขางที่ตอบโจทยความตองการของอุตสาหกรรมใน ปจจุบัน จึงจัดตั้ง บริษัท เกนเนอยี จํากัด ขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2561 ด ว ยทุ น จดทะเบี ย น 86 ล า นบาท เพื่ อ เป น ทางเลื อ กใหม ใ ห อุตสาหกรรมที่จําเปนตองใชไอนํ้าในกระบวนการผลิตแตไม ประสงคจะมีเครื่องจักรผลิตไอนํ้าของตนเอง เฉกเชนเดียวกับ อุตสาหกรรมที่อยูในนิคมอุตสาหกรรมตางๆ “เรามองเห็นชองทางตรงนีก้ เ็ ลยตัดสินใจนําธุรกิจขายไอนํา้ เขามาเพื่อเปนทางเลือกใหอุตสาหกรรมที่ตองใชไอนํ้าไดใชไอนํ้า จากกระบวนการผลิตที่สะอาดทุกขั้นตอน ไมสงผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมที่เปนปญหากวนใจผูประกอบการอุตสาหกรรมมา โดยตลอด” สมบูรณ กลาว
เกนเนอยีลงทุนทั้งหมด ลูกค าเพียงวางมัดจําเท านั้น สําหรับโมเดลธุรกิจโรงงานผลิตและขายไอนํา้ ดวยเทคโนโลยี ที่ลํ้าสมัย ถือเปนรูปแบบธุรกิจใหมที่เกนเนอยีนําเสนอใหลูกคา ในภาคอุตสาหกรรม ซึง่ มีจดุ เดนตรงทีใ่ ชพนื้ ทีน่ อ ย เพียงแคลกู คา อนุญาตใหใชที่ดินขนาดพื้นที่ไมถึง 1 ไร ก็สามารถสรางโรงงาน
ผลิตไอนํ้าได ลูกคาจะไดใชไอนํ้าตามตองการแมจะไมอยูในนิคม อุตสาหกรรม ทั้งนี้เกนเนอยีจะมีทีมงานผูเชี่ยวชาญคํานวณการ ใชพลังงานและออกแบบการกอสรางอยางดี โดยใชระยะเวลา กอสรางและทดลองระบบตางๆ เพียง 6-8 เดือน “การลงทุนทัง้ หมดเปนหนาทีข่ องเกนเนอยี ลูกคาเพียงวาง มัดจําซื้อไอนํ้าเล็กนอยหลังลงนามในสัญญาซื้อขายไอนํ้า รวมทั้ง หนังสืออนุญาตใหใชทดี่ นิ ขนาดพืน้ ทีไ่ มถงึ 1 ไร เพือ่ ใชตงั้ โรงงาน ผลิตไอนํ้า ภายใตกรอบสัญญาการดําเนินการ 5 ป เกนเนอยีจะ ผลิ ต ไอนํ้ า ให กั บ ลู ก ค า ตามสั ญ ญาที่ ไ ด ล งนามกั น ไว กรณี ที่ เกนเนอยีไมสามารถผลิตไอนํ้าไดตามที่ตกลง ก็จะถูกปรับและ ถาเกนเนอยีทําผิดเงื่อนไขอันเปนเหตุใหยกเลิกสัญญาได ลูกคา ก็สามารถยกเลิกสัญญาและริบหลักประกันสัญญาที่เกนเนอยีให ไวในวันลงนามในสัญญาได” สมบูรณ กลาว
เลือกใช ถ านหินสะอาดเป นเชื้อเพลิง เพิ่มประสิทธิภาพการใช เชื้อเพลิง เชื้อเพลิงที่ใชในเครื่องจักรผลิตไอนํ้าที่ใชอยูในปจจุบันมี หลายชนิด เชน นํ้ามันเตา, เศษวัสดุที่เหลือจากไมและการเกษตร (ชีวมวล), แกสธรรมชาติ, ถานหิน แตที่นิยมใชกันอยูคือถานหิน เพราะมีราคาตอคาพลังงานถูกกวาเชื้อเพลิงชนิดอื่น ซื้อหางาย แมวาจะเปนถานหินนําเขาเพราะปริมาณสํารองของถานหินใน ประเทศรอบบานเรามีมหาศาลและพรอมสงออกมายังบานเรา
เครื่องจักรผลิตไอนํ้าของเกนเนอยีเลือกใชถานหินสะอาด มีผลกระทบตอสิง่ แวดลอมหลังการใชตาํ่ กวามาตรฐานทีก่ ฎหมาย ควบคุม มีความสามารถในการรีดพลังงานออกจากถานหินไดสูง มากกว า เครื่ อ งจั ก รผลิ ต ไอนํ้ า ที่ ส ว นใหญ ใ ช กั น อยู ใ นป จ จุ บั น ฉะนั้นจึงเปนสิ่งที่ยืนยันไดวาลูกคาที่ซื้อไอนํ้าจากเราจะไดราคา ไอนํ้าที่ยุติธรรมและมีสวนในการรักษาสิ่งแวดลอมไปพรอมกัน “ปจจุบนั เครือ่ งจักรผลิตไอนํา้ สวนใหญจะเปนแบบ Stoker Boiler ใชถา นหินกอนคัดขนาดพิเศษเปนเชือ้ เพลิง มีประสิทธิภาพ การใชเชื้อเพลิงดีระดับหนึ่งแตยังนอยกวาเครื่องจักรผลิตไอนํ้า ของเกนเนอยีทใี่ ชถา นหินบดละเอียด (Pulverized Coal) เมือ่ มอง ทั้งระบบของการใชงานของ Stoker Boiler ตั้งแตการรับถานหิน เขาโกดัง การเก็บรักษาในโกดัง รวมไปถึงการสงปอนถานหิน เขาไปใชงานที่เครื่องจักรผลิตไอนํ้า ยังมีปญหาการฟุงกระจาย การลุกติดไฟเองในโกดังและอืน่ ๆ ซึง่ ลวนเปนปญหาตอสิง่ แวดลอม และชุมชนโดยรอบ แตระบบการทํางานของเกนเนอยีเปนแบบ ระบบปดจึงหมดปญหาที่กลาวมาขางตน” สมบูรณ กลาว
เผยเครื่องจักรผลิตไอนํ้าของเกนเนอยี เพิ่ม-ลดการผลิตไอนํ้าได ตามความต องการ ของลูกค าในแต ละวัน จุดเดนของเครือ่ งจักรผลิตไอนํา้ ของเกนเนอยีสามารถปรับ การผลิตไอนํ้าใหมีปริมาณเพิ่มขึ้นหรือลดลงรวดเร็วเชนเดียวกับ
19
Engineering Today September- October
2018
เครือ่ งจักรผลิตไอนํา้ ทีใ่ ชนาํ้ มันเตาเปนเชือ้ เพลิงอุตสาหกรรม บางประเภท เชน อุตสาหกรรมผลิตอาหาร เปนตน ไมมี ความจําเปนตองใชไอนํ้าเต็มที่ตลอดเวลา และมี Energy Consumption Prole ขึน้ หรือลงหลายครัง้ ตอวัน ถาลูกคา มีเครือ่ งจักรผลิตไอนํา้ แบบนํา้ มันเตา ก็จะเหมาะกับการใช ไอนํ้าที่ขึ้นหรือลงบอยครั้ง แตตองมีคาใชจายในการผลิต ไอนํา้ สูงมากเพราะนํา้ มันเตาราคาแพงเมือ่ เทียบกับถานหิน ในปจจุบันอุตสาหกรรมแบบนี้จําเปนตองมีทั้งเครื่องจักร ผลิตไอนํ้าทั้งที่ใชนํ้ามันเตาและเครื่องจักรผลิตไอนํ้าแบบ Stoker ที่ใชถานหินแบบกอนเปนเชื้อเพลิง แตถาลูกคา ซื้อไอนํ้าจากเราปญหานี้ก็จะหมดไป “ขณะนีม้ ลี กู คาทีส่ นใจในความสามารถของการผลิต ไอนํ้าแบบปรับเปลี่ยนไดเร็วของเกนเนอยีและเริ่มติดตอ เขามาเพือ่ ขอพูดคุยรายละเอียดของธุรกิจขายไอนํา้ บางแลว” สมบูรณ กลาว
ธุรกิจขายไอนํ้า เหมาะกับลูกค ากลุ มใดบ าง ธุ ร กิ จ ขายไอนํ้ า ของเกนเนอยี เ หมาะกั บ ทุ ก กลุ ม อุตสาหกรรมที่มีความตองการใชไอนํ้าแตไมประสงคจะมี เครื่องผลิตไอนํ้าของตนเอง เพื่อลดทอนความยุงยากใน การดําเนินงานที่ไมใชงานหลักของอุตสาหกรรม สบายใจ เพราะมีหลักประกันเปนหนังสือคํ้าประกันของธนาคาร
Engineering Engineering Today TodaySeptember September - October - October 2018 2018
พาณิชยไทย ไมมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและชุมชนโดยรอบอันเนื่อง จากการผลิตไอนํ้า ทัง้ นีอ้ ตุ สาหกรรมทีเ่ ปนเปาหมายของเกนเนอยี ไดแก อุตสาหกรรม อาหาร อุ ต สาหกรรมผ า ฟอกย อ ม อุ ต สาหกรรมผลิ ต อาหารสั ต ว อุตสาหกรรมกระดาษ เปนตน เกนเนอยีสามารถเริม่ ผลิตไอนํา้ จายใหกบั ลู ก ค า ได ภ ายหลั ง ลงนามในสั ญ ญาซื้ อ ขายไอนํ้ า เรี ย บร อ ยประมาณ 6-8 เดือน สมบูรณ กลาวยํา้ วา ธุรกิจขายไอนํา้ ของเกนเนอยีจะเปรียบเสมือน เพื่อนสนิทของลูกคาที่คอยแบงเบาภาระในการผลิตไอนํ้า และยืนคูกับ อุตสาหกรรมของลูกคาตลอดไป
2020
Digital Economy @Engineerinng Today Vol. 5 No. 167
A C C)&9 A1E1 Â&#x161; 8 è 5) +è .Ä&#x153; B)4E1C1 9 )5 5 $6 'è 6'.=Ä&#x2DC; 6' 5 A );I1 Ä&#x2122;1%=) D Ä? "Â&#x153;,Â&#x153; Â&#x17E;¥¢ü /<Ä&#x2DC; & Ä&#x153; u |Â&#x2020;Â&#x2020; .Ä&#x2DC; A.'è% 6'A'ĂŠ& '=Ä&#x2122;A H 11 8. 8 1 % Â&#x153; +Ä&#x2122;6'6 +5) +5gD %/6 B)4'6 +5)'1 4A)8,15 5 Â&#x17E; '1Â&#x203A; 5 %;1 # Â&#x203A; & '4 5 Â&#x2021;¿³Ă&#x201E;Ă&#x2020; và ž¡Ă&#x201E; .=Ä&#x2DC;C'
6 Â&#x203A;C' E##Ä&#x201D;6 5J A Ä&#x201D;6 '4/&5 ")5
6 Ä?)4 +Ä&#x2DC;6"5 )Ä&#x2122;6 6 ")5 .'Ä&#x2122;6 .'' Ä&#x153; 6'11 B A )9I& C)
AI • *มารก บริวเวอร
เทคโนโลยี เอไอ - ดิจิทัล ทวินส และไอโอที ผลักดันภาคบริการสู การขับเคลื่อนข อมูลในป พ.ศ. 2561
“การเติบโตอยางรวดเร็วของเทคโนโลยีใหมๆ ที่มีความ สามารถดานการรวบรวมและการใชขอมูลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการใหบริการ จะเปนหัวใจสําคัญของการผลักดันอุตสาหกรรม การบริการในป พ.ศ. 2561 ขณะที่องคกรบริการซึ่งขับเคลื่อน ดวยปญญาประดิษฐ (เอไอ) รวมกับการปรับใชไอโอทีและดิจิทัล ทวินส เพื่อชวยใหลูกคาหรือผูใชผลิตภัณฑ สามารถบํารุงรักษา สินทรัพยของตนไดเองนั้น จะกลายเปนแนวโนมสําคัญที่มีผล กระทบตออุตสาหกรรมการบริการโดยตรง” มารก บริวเวอร ผูอํานวยการฝายอุตสาหกรรมระดับโลกสําหรับการบริหาร จัดการบริการ บริษัท ไอเอฟเอส กลาว
แนวโน มที่ 1 ในป ’63 บริษัทที่เน นการลงทุนในสินทรัพย เป นหลักซึ่งมีจํานวนมาก ถึง 25% จะนําไอโอที และดิจิทัล ทวินส เข ามาช วยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการให บริการ อินเทอรเน็ต ออฟ ธิงส (Internet of Things: IoT) และ เทคโนโลยี “ดิจทิ ลั ทวินส” (Digital Twins) หรือการสําเนาสิง่ ของ อาคาร หรือเครื่องจักรในรูปแบบดิจิทัล มีแนวโนมที่จะสงผล กระทบอยางมากตอภาคบริการ ไดแก ชวยลดคาใชจาย รวมทั้ง เพิ่มประสิทธิภาพดานการวิเคราะหขอมูลและยืดอายุการใชงาน ของผลิตภัณฑไดอยางสูงสุด ตัวอยางเชน กอนหนานี้เมื่อเกิด กรณีลิฟตเสีย ลูกคาจะตองโทรศัพทติดตอวิศวกรบริการโดยตรง วิธีนี้ไมคอยมีประสิทธิภาพมากเทาไรนัก เนื่องจากวิศวกรแตละ
คนอาจยังไมทราบถึงความผิดปกติทแี่ ทจริงของอุปกรณ ซึง่ สงผล ใหอัตราการแกไขปญหาไดสําเร็จในครั้งแรกอยูในระดับตํ่าและ สรางความผิดหวังใหกับลูกคาได แตเมื่อปรับใชเซ็นเซอร ไอโอที สินทรัพยหรือเครื่องจักร จะกลายเปนระบบ “อัจฉริยะ” ที่สามารถสงขอมูลกลับไปที่ศูนย บริการใหชวยทําการวินิจฉัยปญหาที่อาจเกิดขึ้นไดในแตละวัน แต ล ะสั ป ดาห หรื อ แต ล ะเดื อ นได ดั ง นั้ น จึ ง ไม น า แปลกใจที่ การบํารุงรักษาเชิงพยากรณ จะกลายเปนประโยชนอันยิ่งใหญ อันดับแรกจากที่บริษัทซึ่งเนนการลงทุนในสินทรัพยเปนหลัก และตองการเพิ่มประสิทธิภาพในการดานการบริการของตนจะ ไดรับ ทั้งนี้ รายงานการบํารุงรักษาเชิงพยากรณคาดการณอัตรา เติบโตเฉลีย่ สะสมตอป (CAGR) สําหรับการบํารุงรักษาเชิงพยากรณ ที่ระดับ 39% ในชวงป พ.ศ. 2559-2565 โดยที่การใชจายดาน เทคโนโลยีตอป จะมีจํานวนมากถึง 10,960 ลานเหรียญในป พ.ศ. 2565 ตอนนี้มาพูดถึงเรื่องดิจิทัล ทวินส ซึ่งเปนตัวแทนของวัตถุ ทางกายภาพในโลกดิจิทัลกันบาง กอนหนานี้ความรูของผูผลิต เกีย่ วกับผลิตภัณฑจะสิน้ สุดลงทันทีเมือ่ ผลิตภัณฑออกจากโรงงาน แลว แตดวยขอมูลปอนกลับจากไอโอที ในปจจุบันจะทําใหคุณ สามารถเริ่มตนเรียนรูการใชงาน พฤติกรรม และประสิทธิภาพ ของผลิตภัณฑในโลกแหงความเปนจริงได และยังกอใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงทางวิศวกรรมเพื่อปรับปรุงผลิตภัณฑใหดียิ่งขึ้นดวย นีค่ อื การเปลีย่ นแปลงทีส่ าํ คัญอยางมากซึง่ จะชวยให Loop
*ผูอํานวยการฝายอุตสาหกรรมระดับโลกสําหรับการบริหารจัดการบริการ บริษัท ไอเอฟเอส
Engineering Today September- October 2018
22
ของขอมูลปอนกลับมีความสมบูรณ และนําไปสูการออกแบบ ผลิตภัณฑอยางชาญฉลาดยิ่งขึ้น การบริการที่มีประสิทธิภาพ มากกวาเดิม และสรางสรรคผลิตภัณฑไหมีประสิทธิภาพมากขึ้น และคุณยังสามารถติดตามรูปแบบการใชงานของลูกคาเพื่อนําไป สูการแกไขหรือนําฟเจอรที่ไมไดรับความนิยมออกจากผลิตภัณฑ ได แนวทางดังกลาวไดถูกนํามาใชแลวในอุตสาหกรรมยานยนต ที่ซึ่งมีการเชื่อมโยงรถยนตเขากับระบบเครือขายเพื่อใหสามารถ สงขอมูลจํานวนมหาศาลกลับมาสําหรับนําไปใชในการวิเคราะห และใชโดยวิศวกรเพือ่ การพัฒนาทีด่ ยี งิ่ ขึน้ ทัง้ ยังสามารถแจงเตือน สิ่งผิดปกติที่เริ่มปรากฏใหเห็นในแตละตําแหนงไดอีกดวย ขาวดีกค็ อื สามารถใชขอ มูลเพือ่ ยอนรอยกลับไปยังผลิตภัณฑ ดั้งเดิมได จะเห็นไดวาผูผลิตเครื่องจักรสําหรับงานกอสรางอยาง Caterpillar ซึ่งมีอุปกรณเปนจํานวนมากที่มีอายุ 10-20 ป แต บริษทั ไดดาํ เนินการติดตัง้ เซ็นเซอรอจั ฉริยะเขากับอุปกรณของตน เพือ่ ตรวจวัดแรงดันลมยาง อุณหภูมิ ระดับนํา้ มันเครือ่ ง และอืน่ ๆ สิ่งนี้สรางประโยชนใหกับลูกคาและองคกรบริการไดเหมือนกัน นัน่ คือ ลดปญหาการหยุดทํางานของอุปกรณและเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการพัฒนาผลิตภัณฑและปรับปรุงประสิทธิภาพการใหบริการ ซึ่งแนวทางดังกลาวไดชวยให Caterpillar ประหยัดเงินไดนับลาน เหรียญแลวในตอนนี้
แนวโน มที่ 2 อเล็กซ า พร อมทํางานแล ว: บริการผู ช วยในการสนทนาด วยเสียง ขับเคลื่อนด วยเอไอ จะเพิ่มขึ้นสองเท าในป ’61 ผูชวยในการสนทนาดวยเสียงที่ไดรับการขับเคลื่อนจาก เทคโนโลยีปญญาประดิษฐหรือเอไอ กลายเปนแนวโนมสําคัญ อันดับที่ 2 ที่สามารถสรางโอกาสใหกับองคกรดานการบริการใน ป พ.ศ. 2561 ได การโทรศัพทติดตอมายังฝายบริการสนับสนุน เปนจํานวนมากดวยการถามคําถามทีไ่ มซบั ซอนมากนัก เชน เวลา ทําการของบริษทั หรือเวลาครบกําหนดทีว่ ศิ วกรจะเขามาตรวจเช็ก สามารถใช Bot ชวยตอบแทนได สิ่งนี้เปนแรงผลักดันใหบริษัท ตางๆ นําผูชวยในการสนทนาดวยเสียงที่ขับเคลื่อนดวยเอไอ มาเสริมความสามารถใหกบั ซอฟตแวรองคกร เชน ความสามารถ ในการวินิจฉัยดวยตนเองหรือเครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพดาน การจั ด ตารางเวลาเพื่ อ เสนอช ว งเวลานั ด หมายโดยอั ต โนมั ติ ซึ่งจะชวยใหธุรกิจสามารถดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ เพิ่มมากขึ้นและลดภาระการทํางานของพนักงานศูนยติดตอใหมี ความยืดหยุนมากยิ่งขึ้น
มาร ก บริวเวอร ผู อํานวยการฝ ายอุตสาหกรรมระดับโลก สําหรับการบริหารจัดการบริการ บริษัท ไอเอฟเอส
สําหรับบริษทั ทีน่ าํ เทคโนโลยีนเี้ ขามาใชแลว ไดแก อเมซอน (Amazon) ซึ่งเพิ่งเปดตัว อเล็กซา ฟอร บิซิเนส (Alexa for Business) เพือ่ นําอเล็กซา ไปใชในองคกรตางๆ ทัว่ โลกเราคาดวา สิ่งนี้จะเปนตัวกระตุนใหเกิดการปรับใชในบริการทางโทรศัพทใน อนาคตอันใกลนี้ แนวทางที่ขับเคลื่อนดวยเอไอไมเพียงมีความ สําคัญในดานคุณภาพของบริการเทานั้น แตยังครอบคลุมถึงการ เขามาแกปญหาการขาดแคลนทักษะในอุตสาหกรรมแหงนี้ดวย เมือ่ มองไปอนาคตเบือ้ งหนา อเล็กซา ไมเพียงแตใหบริการกับผูใ ช แตยงั สามารถบอกขัน้ ตอนการบํารุงรักษาทีละขัน้ ตอนผานทางเสียง ซึง่ จะมีประโยชนอยางมากกับวิศวกรบริการ เชน “อเล็กซา ขัน้ ตอน ตอไปหลังจากถอดชุดมอเตอรออกแลวคืออะไร บอกหนอยสิ” อยาประเมินความสามารถของเทคโนโลยีนตี้ าํ่ เกินไป เพราะ จากการสํารวจลาสุดเรื่อง IFS Digital Change Survey ซึ่ง เปนการสํารวจผูมี อํานาจในการตัด สิ นใจจํานวน 150 คนใน อุตสาหกรรมการบริการ พบวา “การสรรหา/การฝกอบรม/การ รักษาชางเทคนิคทีม่ ที กั ษะความสามารถ” เปนอุปสรรคสําคัญทีม่ ี ผลโดยตรงตอการเติบโตดานรายไดของการบริการ โดยองคกร มากกวา 1 ใน 4 (28%) ระบุวายังไมไดเตรียมการหรือมีการ เตรียมการนอยมากในการรับมือกับการขาดแคลนทักษะดังกลาว
แนวโน มที่ 3 ออกแบบโดยวิ ศ วกร ดํ าเนิ นการโดยคุ ณ : การบริการตั วเองจะ เติบโตขึ้น 50% ในป ’63 เราจะเริ่มเห็น เทคโนโลยีความเปนจริงเสริม หรือ เออาร (Augmented Reality: AR) มากขึ้นเรื่อยๆ โดยเทคโนโลยีนี้ จะเข า มาช ว ยให ลู ก ค า สามารถควบคุ ม การทํ า งานหรื อ การ
23
Engineering Today September- October
2018
ซอมบํารุงผลิตภัณฑของตนเองได เชน เครือ่ งชงกาแฟ เนสเพรสโซ (Nespresso) หรือเครื่องดูดฝุน ไดซัน (Dyson) ทั้ง 2 บริษัท ตางทุมเงินลงทุนเปนจํานวนมหาศาลในการชวยเหลือผูบริโภค (ผ า นการใช ส มารทโฟนและรหัส คิว อาร (QR) ในการเขาถึง คํ า แนะนํ า แบบที ล ะขั้ น ตอนเกี่ ย วกั บ การใช แ ละการซ อ มแซม ผลิตภัณฑที่ลูกคาซื้อไป และโมเดลแบบเดียวกันนี้สามารถนําไป ใช กั บ ระบบที่ มี ค วามซั บ ซ อ นมากขึ้ น ในสภาพแวดล อ มของ อุตสาหกรรม รวมถึงเครือ่ งยนต หมอนํา้ หรือแมแตสายการผลิต ทัง้ หมด โดยจะชวยใหสามารถสรางแผนโดยละเอียดและปรับแตง ไดตามความตองการของผูปฏิบัติงานไดโดยตรง และประโยชนที่ ชัดเจนอีกอยางของการใชเทคโนโลยีเออาร ก็คือไมจําเปนตองมี การแปลภาษา แนวทางของเออารนั้นมีขอดีหลายประการเชนเดียวกับ เอไอ, ดิจิทัล ทวินส และไอโอที ตามที่ระบุไวขางตน โดยจะชวย เพิม่ เวลาใหกบั กลุม วิศวกรบริการทีม่ จี าํ นวนจํากัดและยังสามารถ สรางประสบการณที่ดีใหกับลูกคาไดดวย ทั้งนี้มีแนวโนมสูงที่ ผูบริโภคเปนจํานวนมากมักจะทําการแกไขเบื้องตนดวยตนเอง กอนที่จะเสียเวลาหยุดทํางานครึ่งวันเพื่อรอใหวิศวกรเขามาซอม ซึ่งระบบของ Apple ถือเปนตัวอยางที่ดีในเรื่องนี้ จะเห็นไดวา มีการติดตั้งเออารไวในโทรศัพทมือถือที่ใช iOS และเทคโนโลยี ดังกลาวไดทําใหบริษัทสรางรายไดผานทางแพลตฟอรมที่ใชงาน งายและมีประสิทธิภาพไดอยางงายดาย ไมวา จะเปนการดาวนโหลด แอพพลิเคชั่นและเพลง ซึ่งตอไปการดาวนโหลดเออารก็จะไม ตางกัน
วิธีก าวสู ความสําเร็จได อย างแท จริง มีหลายแนวทางที่สามารถสรางประสบการณของลูกคา ใหดี ขึ้ น ได แต อ งค กรอาจไมจํ า เปน ตอ งจัดหนักตั้งแต เริ่ม ตน อยาเพิ่งกําหนดเทคโนโลยีเปนตัวนํา ใหเริ่มตนสรางกรณีศึกษา ทางธุรกิจที่คุมคาสําหรับการผลักดันใหเกิดแนวทางใหมๆ ขึ้น มากอน นั่นอาจหมายถึงวาจะตองเพิ่มอัตราการแกไขปญหาได
Engineering Today September- October 2018
24
เมื่อมองไปอนาคตเบื้องหน า อเล็กซ า ไม เพียงแต ให บริการกับผู ใช แต ยังสามารถบอกขั้นตอนการบํารุง รักษาทีละขั้นตอนผ านทางเสียงซึ่งจะมี ประโยชน อย างมากกับวิศวกรบริการ เช น อเล็กซ า ขั้นตอนต อไป หลังจากถอดชุดมอเตอร ออกแล ว คืออะไร บอกหน อยสิ สํ า เร็ จ ในครั้ ง แรกให ม ากขึ้ น นํ า เสนอสั ญ ญาที่ เ น น ผลลั พ ธ รูปแบบใหม หรือลดตนทุนโดยจัดสงวิศวกรไปยังไซตงานเฉพาะ เมื่อเกิดเหตุจําเปนเทานั้น เมื่อสรางกรณีศึกษาทางธุรกิจขึ้นมาแลว คุณอาจตองแยก สวนองคกรระหวางงานดานวิศวกรรม การออกแบบ และการ บริการ การใชเออาร หรือ เอไอ เปน ผูชวยจะประสบผลสําเร็จ มากเทาใดนั้นขึ้นอยูกับขอมูลดานวิศวกรรมที่คุณสามารถเติม เขาไปในระบบ และเมื่อปรับใชทั้งสองแนวทางไดสําเร็จ ก็จะได ขอมูลปอนกลับจากเซ็นเซอรผลิตภัณฑที่จะชวยใหทีมวิจัยและ พัฒนา สามารถนําไปออกแบบและสรางสรรคผลิตภัณฑทดี่ ยี งิ่ ขึน้ ในอนาคตออกมาได ในทายที่สุด จําเปนตองมีบุคลากร กระบวนการ ขอมูล และระบบทีเ่ หมาะสมเพือ่ ผลักดันใหเกิดการนําแนวโนมเกิดใหม เหลานี้มาปรับใชใหเกิดประโยชนอยางเต็มที่
AI • กองบรรณาธิการ
หุ นยนต BLISS
ส งเสริมการเรียนรู เด็กออทิสติกของ มจธ.
คว ารางวัลขวัญใจมหาชน และรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2
หุ นยนต BLISS รับ 2 รางวัลมาครองจากการประกวด i-MEDBOT Innovation Contest 2018
ผลงานการออกแบบและพัฒนาหุน ยนต BLISS ชวยสงเสริมการเรียนรูเด็กออทิสติก ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี (มจธ.) ไดรบั รางวัลขวัญใจมหาชนและ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 จากการประกวด i-MEDBOT Innovation Contest 2018 สําหรับผลงานหุนยนต BLISS ชวยสง เสริมการเรียนรูเด็กออทิสติก ออกแบบและ พัฒนาโดย ผศ.ดร.บุญเสริม แกวกําเหนิดพงษ มจธ. รวมกับนักศึกษา ประกอบดวย วิษณุ จูธารี นักศึกษาปริญญาเอก สถาบันวิทยาการ หุนยนตภาคสนาม, สุจิรัชย อัฏฐะวิบูลยกุล นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรวิศวกรรมชีวภาพ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร, ธี รเมธ รัศ มี เจริญชัย นักศึกษาปริญญาตรี สถาบันวิทยา การหุนยนตภาคสนาม และ ณัฏฐณิชา ศรสุวรรณรังสี นักศึกษาปริญญาตรี สถาบันวิทยา การหุนยนตภาคสนาม ซึ่งเปนแพลตฟอรม ทําหนาที่เปนสื่อกลางในระบบนิเวศสําหรับ สงเสริมพัฒนาการเด็กแบบองครวมระหวาง เด็ก ผูปกครอง และผูเชี่ยวชาญในดานตางๆ ที่เกี่ยวของ
ผศ. ดร.บุญเสริม แก วกําเหนิดพงษ กับหุ นยนต BLISS ส งเสริมการเรียนรู เด็กออทิสติก
โดย BLISS จะทําหนาที่เปนผูชวยใหกับผูปกครอง เพื่อดึงดูดความสนใจเด็ก ใหอยูกับการทํากิจกรรม ชวยแบงเบาภาระของผูปกครอง BLISS เปนเพื่อนในการ เรียนรูกับเด็ก เด็กจะไดสนุกกับการเลนเกมกับหุนยนต ระหวางทํากิจกรรมบําบัด ไดเรียนรูแ ละการทําตามกฎกติกาสังคมผานการเลนเกม BLISS สามารถทํากิจกรรม ซํา้ ๆ ได โดยไมเบือ่ หรืออารมณเสียกับเด็ก แตใชหลักการเสริมกําลังเชิงบวกดวยการ ชมเชย และใหกําลังใจแทน มี AI ชวยวิเคราะหเชิงอารมณของเด็กเพื่อใหหุนยนต เรียนรูที่จะปรับเปลี่ยนการกระตุนใหเหมาะสมกับเด็กแตละคนมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ BLISS ยังชวยเก็บขอมูลการทํากิจกรรม วิเคราะห แลวแสดงให ผูปกครองและผูเชี่ยวชาญในดานตางๆ ไดติดตามพัฒนาการตอไป ทุกคนในระบบ นิเวศจะไดอยู On the Same Page แลวชวยกันบําบัดเด็กออทิสติกไดมปี ระสิทธิภาพ มากขึ้น ทั้งที่บาน โรงพยาบาล และโรงเรียน สําหรับการประกวด i-MEDBOT Innovation Contest 2018 เปนการประกวด นวัตกรรมที่นําเทคโนโลยีหุนยนตและระบบอัตโนมัติมาประยุกตใชในดานการแพทย จัดโดย ศูนยความเปนเลิศดานชีววิทยาศาสตร (องคการมหาชน) หรือ TCELS
25
Engineering Today September- October
2018
Industry 4.0 • กองบรรณาธิการ
กรอ. จับมือ กฟผ. ยกระดับ Smart Boiler สูโ รงงาน-โรงไฟฟ า
ตั้งเป าประหยัดพลังงานป ละกว าพันล านบาท
มงคล พฤกษ วัฒนา อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.)
นิกูล ศิลาสุวรรณ รองผู ว าการผลิตไฟฟ า การไฟฟ าฝ ายผลิตแห งประเทศไทย (กฟผ.)
กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) รวมกับ การไฟฟาฝาย ผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ยกระดับหมอนํา้ สูห มอนํา้ สมองกล ดวยเทคโนโลยีและระบบดิจิทัล ตั้งเปานํารองยกระดับการ ใชงานหมอนํ้าที่มีอยูในโรงไฟฟากวา 337 เครื่อง และคาดวา จะสามารถชวยลดตนทุนการผลิต และประหยัดการใชพลังงาน ไดกวา 1,000 ลานบาทตอป มงคล พฤกษวฒ ั นา อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) และ นิกลู ศิลาสุวรรณ รองผูว า การผลิตไฟฟา การไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทย (กฟผ.) ไดรวมลงนามความเขาใจในความรวม มือการสงเสริมความปลอดภัย การอนุรักษพลังงาน การรักษา สิ่งแวดลอมสําหรับหมอนํ้า (Boiler) ณ หองประชุม 509 ชั้น 5 มงคล พฤกษวฒ ั นา อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) กลาววา กรมโรงงานอุตสาหกรรม รวมกับ การไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทย มีแนวคิดบูรณาการการทํางานดานหมอนํ้า
เพื่ อ ส ง เสริ ม ยกระดั บ การใช ง านหม อ นํ้ า ให มี ค วามปลอดภั ย เกิดประสิทธิภาพพลังงานและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ซึ่งเปน แนวทางสูห มอนํา้ สมองกล หรือ Smart Boiler ดวยการขับเคลือ่ น โดยเทคโนโลยีดิจิทัลและนวัตกรรม (Value Based) ผานการ บูรณาการความรวมมือของสองหนวยงาน ภายใตกรอบความรวมมือ 5 ดาน คือ ดานการสงเสริมสนับสนุนเชิงวิชาการ ดานการพัฒนา บุคลากรที่เกี่ยวของกับหมอนํ้า ดานการสงเสริมความปลอดภัย หมอนํ้า ดานการเพิ่มประสิทธิภาพ การอนุรักษพลังงาน และ การรักษาสิง่ แวดลอมของหมอนํา้ และดานวิจยั พัฒนาองคความรู และสรางสรรคนวัตกรรมดานหมอนํา้ เพือ่ กาวสูก ารใชงานหมอนํา้ สมองกล โดยมีเปาหมายยกระดับการใชงานหมอนํ้าที่มีอยูใน โรงไฟฟากวา 337 เครื่อง คาดวาจะชวยใหเกิดความปลอดภัย ลดความเสี่ยงแกพนักงาน ชวยลดตนทุนการผลิต สงผลใหเกิด การประหยัดพลังงานไดกวา 1,000 ลานบาทตอป
Engineering Today September- October 2018
26
การพัฒนา Smart Boiler รวมถึงการยกระดับ ความปลอดภัยและการบํารุงรักษา ถือเปนโครงการ สําคัญที่ กรอ.จัดทําขึ้นเพื่อสนับสนุนนโยบาย Thai land 4.0 และ Industry 4.0 โดยไดรบั การสนับสนุน งบประมาณจากกองทุ น ส ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ พลังงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานใน ภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะดานพลังงานความรอน เพื่อสงเสริมสนับสนุนผูประกอบกิจการโรงงานที่มี การใชหมอนํ้าใหมีประสิทธิภาพการใชพลังงาน และความปลอดภัยเพิม่ ขึน้ โดยมีกลุม เปาหมายเปน โรงงานขนาดกลางและขนาดเล็ ก อุต สาหกรรม อาหาร โรงไฟฟาขนาดเล็กที่ใชเชื้อเพลิงชีวมวล (VSPP) ปจจุบันตามฐานขอมูลของ กรอ. พบวามี การใชงานหมอนํ้าประมาณ 7,000 โรงงาน และ มีหมอนํา้ รวมประมาณ 15,000 เครื่อง ดาน นิ กูล ศิลาสุว รรณ รองผูว าการผลิต ไฟฟา การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) กลาววา การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยเปน หนวยงานที่มีองคความรูและฐานขอมูลเกี่ยวกับ การออกแบบ การใชงาน การบํารุงรักษา การประเมิน อายุหมอนํ้า และการพัฒนาหมอนํ้าสมองกล ดวย เทคโนโลยีและระบบดิจิทัล ตลอดจนยังมีบุคลากร ที่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณเฉพาะดาน หมอนํ้าจํานวนมาก “ความรวมมือกับ กรอ.ชวยใหเกิดการบูรณา การพัฒนางานวิชาการ พัฒนาบุคลากร สงเสริม ประสิทธิภาพการใชพลังงาน ความปลอดภัยและ รักษาสิ่งแวดลอมสําหรับภาคอุตสาหกรรมอยาง แทจริง และจะเปนสวนหนึ่งในการที่จะผลักดัน ใหกาวสู Thailand 4.0 ไดอยางสมบูรณ แ บบ” รองผูวาการผลิตไฟฟา กฟผ. กลาว
27 27
Eng Engineering nggine inneeri in e ng Tod To Today o ay September Septe tembe mbber- Oct mbe OOctober ober obe
2 18 20 2018
Research & Development • กองบรรณาธิการ
เป ด 4 มุมมอง โครงสร างกระทรวงอุดมศึกษา
พร อมนับถอยหลัง จัดตั้งกระทรวงอุดมศึกษา สู ยุทธศาสตร Thailand 4.0 หนึ่งในวาระที่เปนที่นาจับตาของประเทศไทยคือ วาระ การนับถอยหลังกับโอกาสในการตั้งกระทรวงอุดมศึกษาเพื่อเปน สวนหนึ่งของการเดินหนายุทธศาสตรชาติ 20 ป สู Thailand 4.0 แต สิ่ ง หนึ่ ง ที่ เ ป นประเด็ น สํ า คัญคือ การกํา หนดโครงสรางการ กําหนดบทบาท หนาที่ ที่ยังคงมีทิศทางที่ไมชัดเจน อาจมีความ ซํ้าซอน ดังนั้นการเกิดขึ้นของกระทรวงดังกลาวตองมาพรอม การพัฒนาที่ดีขึ้น ดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพ และสิ่งสําคัญ ทุกหนวยงานตองสามารถปรับตัวทันตอการเปลี่ยนแปลงของ โลกยุคใหม ซึง่ จะสามารถสูเ ปาหมายสูงสุดคือ การบรรลุเปาหมาย ชวยคนไทยหลุดพนกับดักรายไดปานกลาง และสามารถตอบโจทย ความตองการของอนาคตได
ยํ้าโครงสร างกลุ มงานกระทรวงอุดมฯ ต องชัดเจน เพี่อสร างความแตกต าง
รศ. ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล ที่ปรึกษาที่ประชุมอธิการบดีแหง ประเทศไทย (ทปอ.) และ สมาชิกสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ หงชาติ กลาววา ในอนาคตอั น ใกล ป ระเทศไทยอาจจะมี ก ระทรวงใหม ชื่ อว า “กระทรวงอุดมศึกษา วิจัย และนวัตกรรม” หรือ กระทรวงอุดม ศึกษา ซึ่งเกิดจากแนวคิดการพัฒนาดานการศึกษา วิทยาศาสตร เทคโนโลยีอยางบูรณาการเขาดวยกัน โดยมีการกําหนดใหมีการ ควบรวมหนวยงานทีม่ สี ว นเกีย่ วของกับการใหการศึกษา งานวิจยั และพัฒนา สรางนวัตกรรม สิ่งหนึ่งที่สําคัญนอกจากการผลักดัน ใหเกิดกระทรวงดังกลาวคือ การกําหนดทิศทาง และโครงสราง
Engineering Today September- October 2018
28
รศ. ดร.ชูศกั ดิ์ ลิม่ สกุล ทีป่ รึกษาทีป่ ระชุมอธิการบดีแห งประเทศไทย (ทปอ.)
ของกระทรวงใหม โดย ทปอ. เสนอใหพิจารณาโครงสรางของ กระทรวงดังกลาวควรกําหนดโครงสรางกระทรวงเปน 3 กลุม งาน ดังนี้ กลุม งานที่ 1 กลุม งานนโยบาย มีหนาทีก่ าํ กับดูแลนโยบาย สนับสนุนการทํางาน และการใหทุนสนับสนุนงานวิจัย กําหนด นโยบายวางรากฐานเพือ่ การพัฒนาประเทศในอนาคต (Foundation of The Future) กลุ มงานที่ 2 กลุ มงานด านวิจัยและนวัตกรรม มีบทบาท ในการวิจัยและการสรางนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาประเทศ ทั้ง ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม ซึ่งตองบูรณาการตาม กรอบที่กําหนดไวใน ราง พ.ร.บ.การวิจัยและนวัตกรรม ภายใต
การกํ า กั บ ดู แ ลของคณะกรรมการส ง เสริมการวิ จั ยและ นวัตกรรม มุง เนนปฏิรปู ระบบวิจยั เพือ่ เปนโครงสรางพืน้ ฐาน ทางปญญาพื้นฐานทางนวัตกรรมของประเทศ และระบบ ขอมูลเพื่อการพัฒนาของประเทศ กลุม งานที่ 3 กลุม งานด านการอุดมศึกษา ทําหนาที่ พัฒนากําลังคน สรางงานวิจัย บริการวิชาการ ทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม ที่กําหนดไวใน ราง พ.ร.บ.การอุดมศึกษา ภายใตการกํากับดูแลของคณะกรรมการการอุดมศึกษา มุงเนนการเพิ่มบทบาทหนาที่ในการพัฒนากําลังคนที่มี ศักยภาพสูงทั้งในวัยเรียนและวัยทํางาน ปรับกระบวนการ เรี ย นการสอนในมหาวิ ท ยาลั ย เพื่ อ พั ฒ นากํ า ลั ง คน สมรรถนะสูง อยางไรก็ตาม เมือ่ พิจารณาจากเงือ่ นไขเวลาของการ ประกอบรางกฎหมายที่เกี่ยวของกับกระทรวงใหม ซึ่งเปน หนาที่ของสภานิติบัญญัติแหงชาติ (สนช.) ที่กําลังจะหมด วาระในเดือนพฤศจิกายน 2561 ถานับจากวันนี้ จึงเหลือ เวลาอีกเพียง 3 เดือนเทานั้น
การพัฒนาคนให พร อมสู ศตวรรษที่ 21 ได จะต องใช องค ความรู ที่เรามีอยู ในขณะนี้นํามา ต อยอดให เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เน นการนํา ไปใช จริง เน นงานวิจัยนวัตกรรมชั้นสูง ให เกิดผลอย างเป นรูปธรรม สร างมูลค าเพิ่ม ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม ที่สําคัญคือ การ ประสานการทํางานกับหน วยงานที่เกี่ยวข อง อย างเป นระบบ จะช วยลดป ญหาความซํ้าซ อน ไม ให เกิดขึ้นได ซึ่งเป นโจทย สําคัญของประเทศ ที่ทําให เกิดการควบรวมครั้งใหญ นี้
ต องกําหนดบทบาทการทําวิจัยที่ ไม ซํ้าซ อน และบูรณาการให เกิดขึ้นจริง
รศ. นพ.สรนิต ศิลธรรม ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี กลาวถึงความคืบหนาในการผลักดันราง กฎหมายที่เกี่ยวของ 4 ฉบับ ไดแก ราง พ.ร.บ.ปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม, ราง พ.ร.บ.บริหารราชการกระทรวง, ราง พ.ร.บ.การอุดมศึกษา และราง พ.ร.บ.การวิจยั วา ขณะนี้ มีบางสวนไดผานที่ประชุมคณะรัฐมนตรีไปแลว ขณะที่ บางฉบับอยูใ นระหวางปรับปรุงแกไข ซึง่ สวนตัวมองวาการ ผลักดันกฎหมายทีเ่ กีย่ วของใหทนั ตามเปาหมาย โดยรัฐบาล จะตองเรงผลักดันกฎหมายทั้ง 4 ฉบับใหเสร็จสิ้นภายใน เดือนพฤศจิกายน 2561 สวนการทํางานเพื่อการวิจัยและ พั ฒนานวัตกรรมภายใต กระทรวงใหมว า จะต อ งคํานึง ถึงการนําไปใชไดจริงเปนหลัก ประชาชนและสังคมตองได ประโยชน ดังนั้น ผูที่เกี่ยวของกับการวิจัยและพัฒนา ตอง ปรับตัวทั้งระบบ สถาบันวิจัยตางๆ ที่มีอยู ตองบูรณาการ การทํางานรวมกัน ขณะเดียวกันการทํางานของอาจารย ในสถาบันอุดมศึกษา ก็ตองมีการปรับตัวอยางมากเชนกัน ทัง้ ในเรือ่ งของการพัฒนาระบบการเรียนการสอน การพัฒนา
รศ. นพ.สรนิต ศิลธรรม ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี
หลักสูตร ตองมีเปาหมายและมียุทธศาสตรที่ชัดเจนวาจะเดินหนาไป อยางไร เพื่อใหบรรลุเปาหมายของประเทศได “การพัฒนาคนใหพรอมสูศตวรรษที่ 21 ได จะตองใชองคความรู ที่เรามีอยูในขณะนี้นํามาตอยอดใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด เนนการนํา ไปใชจริง เนนงานวิจยั นวัตกรรมชัน้ สูง ใหเกิดผลอยางเปนรูปธรรม สราง มูลคาเพิ่มทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม ที่สําคัญคือ การประสานการ ทํางานกับหนวยงานที่เกี่ยวของอยางเปนระบบ จะชวยลดปญหาความ ซํ้าซอนไมใหเกิดขึ้นได ซึ่งเปนโจทยสําคัญของประเทศที่ทําใหเกิดการ ควบรวมครั้งใหญนี้” ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กลาว
29
Engineering Today September- October
2018
ศ. นพ.สุทธิพร จิตต มติ รภาพ ประธานผูท รงคุณวุฒทิ างด านการแพทย และสาธารณสุข สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แห งชาติ (วช.)
“สถาบันอุดมศึกษา จะตองเผชิญกับความทาทาย ในอนาคต และถูกกดดันใหปรับตัว ซึ่งทางออกของการ “Reproling” ในกลุม ของมหาวิทยาลัย สถาบันอุดมศึกษา คือจะตองทํางานเปนกลุมมหาวิทยาลัยมากขึ้น เรงพัฒนา คนในวัยทํางาน และผูสูงอายุดวย ไมวาจะเปนหลักสูตร ไมมีปริญญา หลักสูตรระยะสั้น เพื่อตอบโจทยการเรียนรู เพื่อการนําไปตอยอดในการทํางาน ควบคูกับหลักสูตร ปริ ญ ญาที่ มี อ ยู แ ล ว อาจารย จ ะต อ งมี บ ทบาทมากกว า การวิจัย ตองเนนนําไปตอยอดในภาคอุตสาหกรรม ภาค ประชาสังคมมากขึ้น เพื่อใหมีความเขมแข็ง และสามารถ อยูรอดไดในความเปลี่ยนแปลงที่รุนแรง” ประธานผูทรง คุณวุฒิทางดานการแพทยและสาธารณสุข วช. กลาว
อนาคตรายได หลักของมหาวิทยาลัยอยู ที่งานวิจัย
ดร.พรชัย มงคลวนิช อธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม
มหาวิทยาลัยต อง “Reprofiling”
ดาน ศ.นพ.สุทธิพร จิตตมติ รภาพ ประธานผูท รงคุณวุฒทิ างดาน การแพทยและสาธารณสุข สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ (วช.) กลาวเสริมวา การจัดตั้งกระทรวงใหม ตองยึดเปาหมายของการปฏิรูป เปนหลักคือ การผลักดัน Thailand 4.0 ใหเกิดขึ้น มุงเนนการสราง คนรุนใหมที่มีความหลากหลายตามความตองการของประเทศ ซึ่งการ ตั้งกระทรวงใหมเปนเพียงหลักการที่ตั้งไวเทานั้น แตหัวใจสําคัญคือ การทํางานจะตองบูรณาการกันใหเกิดผล และตองวางระบบใหชัดเจน บางหน ว ยงานอาจต อ งปรั บ บทบาท เช น อาจารย ใ นมหาวิ ท ยาลั ย จะตองมีงานสอนใหนอยลง แตมุงเนนการฝกฝนใหผูเรียนลงมือทํางาน จริงได
Engineering Today September- October 2018
30
ดร.พรชัย มงคลวนิช อธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม กลาววา เปนโอกาสและสถานการณที่เหมาะสมในการ ปรับเปลีย่ นระบบภายในของสถาบันอุดมศึกษา ทีต่ อ งปรับ จากการหารายไดจากการสอนนักศึกษา และการหารายได จากงานวิจัย ซึ่งการตั้งเปาหมายบทบาทในอนาคตของ มหาวิทยาลัยทีจ่ ะประสบความสําเร็จไดคอื จะตองมีบทบาท เพื่อสังคมมากขึ้น นํางานวิจัยไปเชื่อมโยงสูการใชงานจริง แตถาในระหวางทางนั้นประสบกับปญหาอุปสรรคอยางไร ก็ควรหันหนาเขาหากันเพือ่ หาทางออกรวมกัน เพือ่ ตอบสนอง ตอความเปลี่ยนแปลงได เพราะเรื่องนี้ไมใชปญหาของ หนวยงานใดหนวยงานหนึ่ง แตเปนภาระของคนทั้งโลก ซึ่งกระทรวงใหมจะไดรวมกันขับเคลื่อน เพราะถามองใน ภาพรวมทุกกลุมอุตสาหกรรมในโลกนี้มีการเปลี่ยนแปลง หมดเชนเดียวกัน “หากวันนีส้ ถาบันการศึกษาไมถูกผลักดันใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงอะไรเลย นั่นหมายถึง บทบาทของสถาบัน การศึกษานัน้ ยอมไมตอบสนองตอการเปลีย่ นแปลงของโลก” อธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม กลาว อยางไรก็ตาม การจัดตั้งกระทรวงใหมจะมีบทบาท สําคัญในการพลิกโฉมประเทศไทยไปสู Thailand 4.0 พัฒนา ประเทศไทยใหมีความกาวหนา ทันตอการเปลี่ยนแปลง ของโลกยุคใหม และสามารถดําเนินงานจนบรรลุเปาหมาย ของชาติคือ การพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรมนุษยใหมี ทั ก ษะขั้ น สู ง เป น ที่ ต อ งการของตลาดแรงงานทุ ก กลุ ม รวมถึงการชวยคนไทยหลุดพนกับดักรายไดปานกลาง และ สามารถตอบโจทยความตองการของอนาคตได
Design • สุรียพร วงศศรีตระกูล
พลังสร างสรรค การออกแบบเปลี่ยนโลก
ผลงาน LEX : Bionic Chair ของนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย
ไมอาจปฏิเสธไดวา การกาวเขามาของ Disruptive Technology สงผลใหเกิดนวัตกรรมและเทคโนโลยีขนั้ สูง (Deep Technology) ที่ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงของโลก และทําใหเกิดอาชีพใหมๆ ที่ ต อบโจทยยุ ค ดิจิ ทัล ไม วา จะเป น HealthTech, EdTech, Automotive, Digital Manufacturing, EnergyTech, FoodTech, BioTech, และ Agri Tech ดังนั้นภาคการศึกษาของไทย จึงตอง เรงปรับหลักสูตรใหม เพือ่ ผลิตบุคลากรพันธุด จิ ทิ ลั รองรับยุคดิจทิ ลั
Digital Fabrication ช วยให ราคาชิ้นงานถูกลง
รศ. ดร. รัชทิน จันทรเจริญ อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรม เครื่ อ งกล คณะวิศ วกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กลาววา Industry 4.0 คือ การมุง สู Digital Industrial Revolution ซึ่งเปน ผลิตภัณฑที่มีรายละเอียดปลีกยอยตามความตองการที่ เฉพาะเจาะจงของลูกคา ดังนัน้ การออกแบบดิจทิ ลั จะแลกเปลีย่ น ขอมูลเปน Global แตการผลิตจะเปน Local โดยใชวัตถุดิบที่มี ในประเทศนั้น โดยกระจายการผลิตเปน E-Centralizaton ไปยัง ผูผลิตรายยอยโดยตรง ทําใหราคาสินคาถูกลงทุกวัน
ปจจุบัน Industry 4.0 เกิดขึ้นแลว และมีมูลคาเติบโตขึ้น เรื่อยๆ โดยที่ CAD จะเปนเครื่องมือหนึ่งที่สําคัญ ซึ่งจะเปลี่ยน Work Flow ใหการผลิตงายขึ้น เดิมที CAD เปนเพียงแค Upstream ไมมี Downstream คือ ผลิตไมไดอยูในคอมพิวเตอร การมี 3D Printer ทําให Chain CAD สามารถผลิตได และพัฒนา เปน Digital Fabrication ที่ดูแลการผลิตทั้งหมด โดยสงไฟลเขา คอมพิวเตอร สามารถเลือกวัตถุดบิ ระบบจะคํานวณราคาออกมา ใหทราบตนทุนกอนสงผลิต ทําใหนับวันราคาชิ้นงานถูกลง CAD จึงนับเปนเครื่องมืออันทรงพลัง สามารถสรางผลิตภัณฑแบบ Cutting Edge ได
ชูผลงานนิสิตวิศวฯ จุฬาฯ ปรับตัวเข าสู Industry 4.0
รศ. ดร.รัชทิน ยังไดยกตัวอยางผลงาน LEX : Bionic Chair เกาอี้ที่สวมใสได สามารถกางเพื่อนั่งในที่ใดๆ ก็ไดดวยทานั่งที่ดี ตอสุขภาพ และเมือ่ ไมตอ งการใช ก็สามารถพับเก็บของนิสติ คณะ วิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3 คน ซึ่งเรียนตาง ชัน้ ปกนั มีการแชร Passion ใช Feature CAD Generative Design
31
Engineering Today September- October
2018
Controller หุนยนต พัฒนาโดยนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬา ลงกรณมหาวิทยาลัยเพียงคนเดียวที่ทํางาน Co-working Space รอบๆ มหาวิทยาลัย แลวสงไปผลิตที่ประเทศสิงคโปร จะเห็นไดวานิสิต จุฬาฯ เริ่มปรับตัวเขาสู Industry 4.0 สําหรับภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬา ลงกรณมหาวิทยาลัยก็เชนกัน มีหลักสูตรใหนิสิตป 2, 3 และ 4 เนนทํา Project มากขึน้ โดยใชระยะเวลาทีส่ นั้ ลง ชิน้ งานซับซอน มากยิ่งขึ้น ให Rework การทํา Project เพียงแคครั้งเดียว พรอม จัดหาเครื่องมือที่มีคุณภาพดีขึ้น มีการทํา Design-Build-Test และ CDIO Project เพื่อไปทดสอบกับผูใชงาน (User) จริง โดย มี CAD ซึง่ เปนเครือ่ งมือพืน้ ฐานทีม่ คี วามจําเปนสําหรับอุตสาหกรรม ขนาดเล็ก กลาง และใหญ อยูเบื้องหลังความสําเร็จ
วิศวฯ จุฬา คลอด 2 หลักสูตรใหม รองรับ Deep Tech
รศ. ดร.รัชทิน กลาววา คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัยไดเตรียมบัณฑิตสายพันธุใหมรองรับ Industry 4.0 โดยมีหลักสูตรใหมๆ คือ หลักสูตร Cyber System ซึ่งจะเปลี่ยน รูปแบบและวิธีการสอนโดยสิ้นเชิง คือ ไมมีการเรียนในชั้นเรียน เนนทํางานในภาคอุตสาหกรรม Project ทีท่ าํ คือ โจทยในอนาคต ใชเครือ่ งมือจริง นิสติ จบไปสามารถทํางานใน Deep Technology เทคโนโลยีขั้นสูงขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงโลกได เชน EdTech, HealthTech, BioTech เปนตน และหลักสูตร Robotics & AI Engineering ซึ่งเปดรับนิสิตระดับปริญญาตรีรุนแรกจํานวน 20 คนแลว และจะเริ่มรับสมัครนิสิตในปหนา เนนการทํา Project เปนหลัก เพื่อตอบโจทยเทรนดหุนยนตและปญญาประดิษฐที่จะ มาเปลี่ยนโลกในอนาคต
รศ. ดร.รัชทิน จันทร เจริญ อาจารย ประจําภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย
แดสสอล ท ซิสเต็มส เป ดตัว SOLIDWORKS 2019 สร างการมีส วนร วมทั้งงานออกแบบและงานวิศวกรรม
เชฟวี คก ผูจ ดั การฝ ายขายเขตเอเชียเหนือ และโซลูชนั่ งานออกแบบระดับมืออาชีพ ประจําภูมภิ าคเอเชียแปซิฟก ตอนใต บริษทั แดสสอล ท ซิสเต็มส จํากัด
ในการออกแบบ แลวเก็บขอมูลทุกอยางบน Cloud รวมทั้งใช 2D Drawing และ 3D Printer จํานวนมาก ในการทํางานจริง พบปญหา Tolerance คอนขางมาก ใชเวลาประมาณ 1 ป ผลงาน จึงสําเร็จ อีกหนึ่งผลงาน คือ LUMIO 3D เครื่องสแกน 4 มิติฝมือ คนไทย ซึ่งเปนการรวมตัวของ 3 สุดยอด Tech Startup คนไทย โดยพัฒนาเครื่องใหมีวงจรอิเล็กทรอนิกสที่ซับซอน รวมทั้งงาน ไฟฟาและงานเดินสายไฟฟา และผลงาน Zeroztek เปน Board
Engineering Today September- October 2018
32
หากจะนึกถึงซอฟตแวรออกแบบ 3 มิติที่จะชวยใหนัก ออกแบบและวิศวกรไดสรางสรรคผลิตภัณฑใหมๆ คงหนีไมพน ซอฟตแวร SOLIDWORKS โดยเมือ่ เร็วๆ นี้ แดสสอลท ซิสเต็มส (Dassault Systèmes) ไดเปดตัว SOLIDWORKS 2019 ชุด ผลิตภัณฑดานการออกแบบ 3 มิติและแอพพลิเคชั่นทางดาน วิศวกรรมใหมลาสุด ที่ชวยยกระดับประสิทธิภาพการทํางานและ ฟงกชันการใชงาน ชวยใหผูสรางสรรคนวัตกรรมหลายลานคน สามารถสงมอบผลิตภัณฑเขาสูกระบวนการการผลิตไดรวดเร็ว ยิ่งขึ้น สรางประสบการณรูปแบบตางๆ ตามประเภทของลูกคา ในยุคแหงการปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industry Renaissance)
SOLIDWORKS 2019 ขั บ เคลื่ อ นด ว ยแพลตฟอร ม 3DEXPERIENCE จากแดสสอลท ซิสเต็มส รองรับไดตั้งแต กระบวนการออกแบบไปจนถึงกระบวนการการผลิตครบวงจร โดยใชความสามารถทางดิจิทัลแกไขปญหาที่ยุงยากซับซอน และ ชวยใหการทํางานทางดานวิศวกรรมมีความละเอียดมากยิ่งขึ้น ความสามารถใหม ช ว ยอํ า นวยความสะดวกให ที ม นั ก พั ฒนา ผลิตภัณฑสามารถบริหารจัดการขอมูลปริมาณมหาศาลไดดยี งิ่ ขึน้ พรอมทั้งใชประโยชนในการออกแบบทางดานดิจิทัลไดอยาง สมบูรณแบบ SOLIDWORKS 2019 มาพรอมเทคโนโลยีใหม และกระบวนการที่ ช ว ยปรั บปรุ ง การทํา งานรว มกันใหเปนไป อยางราบรื่น สรางประสบการณที่เอื้อตอการมีสวนรวมทั้งงาน ดานออกแบบและงานดานวิศวกรรม
ออกแบบให มีความยืดหยุ นมากยิ่งขึ้น จําลองภาพเสมือนจริงผ านเทคโนโลยี VR, AR และ Web Viewers
เชฟวี คก ผูจัดการฝายขายเขตเอเชียเหนือ และโซลูชั่น งานออกแบบระดับมืออาชีพ ประจําภูมภิ าคเอเชียแปซิฟก ตอนใต
บริษัท แดสสอลท ซิสเต็มส จํากัด กลาววา ซอฟตแวร SOLIDWORKS 2019 ไดรับการพัฒนาใหสามารถผลิตผลิตภัณฑที่ ดีขึ้น และเร็วขึ้นกวาซอฟตแวร SOLIDWORKS 2018 ซึ่งหนึ่ง ในคุณสมบั ติใหม ข อง SOLIDWORKS 2019 คือ ทําใหการ ออกแบบมี ความยื ด หยุนมากยิ่ งขึ้น โดยสามารถรับ ขอมูลได อยางรวดเร็ว หรือเลือกปรับเปลี่ยนโครงสรางไดทุกเมื่อ ซึ่งเปน คุณสมบัตทิ เี่ กิดจากการพัฒนาความสามารถของ Large Design Review ยิ่งไปกวานั้น SOLIDWORKS 2019 ไดปรับปรุงการ ขยายภาพจําลองดวยฮารดแวรที่แสดงผลกราฟฟกระดับสูงใหมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และอํานวยความสะดวกใหทีมงานสามารถ สือ่ สารกันนอกกลุม นักออกแบบ ดวยการใชอปุ กรณสมั ผัสในการ สรางชิ้นงานและการประกอบชิ้นงาน (Parts and Assemblies) จั ด เก็บ ไวในโมเดล และสามารถแปลงข อมูลออกมาเปนไฟล PDF ได อีกหนึง่ คุณสมบัตสิ าํ คัญ SOLIDWORKS Extended Reality (XR) แอพพลิเคชัน่ ใหมลา สุดสําหรับการเผยแพรขอ มูลงาน CAD ที่สรางจาก SOLIDWORKS ซึ่งประกอบดวยเรื่องของแสง กลอง วัตถุ ดีคอล และการทําแอนิเมชั่นในโหมด Motion Study พรอม
33
Engineering Today September- October
2018
สัม ผัสประสบการณการจําลองภาพเสมือนจริงผานเทคโนโลยี VR (Virtual Reality), AR (Augmented Reality) และ Web Viewers
แดสสอล ท ซิสเต็มส จับมือ depa นําแพลตฟอร ม 3DEXPERIENCE หนุน Digital Thailand
เชฟวี คก กลาววา เมื่อเร็วๆ นี้ แดสสอลท ซิสเต็มส ได ลงนามในบันทึกความเขาใจ (MOU) กับสํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจ ดิจิทัล (depa) ซึ่งเปนหนวยงานในสังกัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม เพื่อติดตั้งแพลตฟอรม 3DEXPERIENCE ในโครงการสําคัญๆ ทีช่ ว ยผลักดันกลยุทธ Digital Thailand ภายใต วิสัยทัศน Thailand 4.0 ซึ่งครอบคลุม 2 ดานหลักๆ ไดแก การ ออกแบบระบบการศึกษาและการฝกอบรมวิชาชีพในประเทศไทย เพือ่ บมเพาะบุคลากรสําหรับอนาคต และการพัฒนา “เมืองอัจฉริยะ” หรือสมารทซิตี้ (Smart City) ในประเทศไทย ภายในงาน “Digital Thailand Big Bang 2018” ซึ่ ง สํ า นักงานสง เสริม เศรษฐกิจ ดิ จิ ทั ล จั ด ขึ้ น ระหวา งวั น ที่ 19-23 กั น ยายน พ.ศ. 2561 ณ ชาเลนเจอรฮอลล อิมแพ็ค เมืองทองธานี
รศ. ดร. ปองวิทย ศิริโพธิ์ อาจารย ประจําภาควิชาวิศวกรรมการบินและอวกาศ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
สตาร ทอัพไทยใช ซอฟต แวร SOLIDWORKS ออกแบบและผลิตเครื่องบินส วนตัว
เจตนากร เปงศิริ กรรมการผูจัด การ บริษัท เจฟอกซ แอรคราฟท จํากัด บริษัทสตารทอัพไทย ซึ่งออกแบบและผลิต เครื่องบินขนาดเล็ก กลาววา ตนเปน Aircraft System Engineer ไดออกแบบและผลิตเครือ่ งบินขนาด 2 ทีน่ งั่ โดยเครือ่ งบินลําแรก คือ รุน JFOX JX-200RG SHORT THUNDER ไดพัฒนาให เปน High Performance Aircraft ทีบ่ นิ ไดเร็วขึน้ จากนัน้ ไดพฒ ั นา เปนเครื่องยนตระบบไฟฟาเรียกวา รุน JFOX JX-200E-RG SHORT THUNDER ELECTRIC โดยที่การออกแบบภายในใช ซอฟตแวร SOLIDWORKS ทั้งหมด นอกจากเครื่องบินขนาด 2 ที่นั่งแลว บริษัทฯ ยังมีแผนผลิต เครื่องบินขนาด 4 ที่นั่ง เรียก SPICA สามารถปรับความดันใน หองนักบินได บินที่ระดับ 28,000 ฟุต ใช CAD และซอฟตแวร SOLIDWORKS ในการออกแบบ และไดรับการสนับสนุนจาก สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (NIA) ในการกัดขึ้นรูปชิ้นสวนดวย เครื่อง CNC Mechanic เจตนากร กลาวถึงความคืบหนาของเครือ่ งบินลําแรก ขนาด 2 ทีน่ งั่ วา ขณะนีอ้ ยูใ นระหวางการทําตนแบบ ซึง่ ใชเวลา 20 เดือน ถึงจะออกมาเปนรูปราง ทั้งนี้ ซอฟตแวร SOLIDWORKS มีสวน ชวยใหสามารถออกแบบและผลิตไดภายใน 5 ป เมื่อเครื่องบิน ตนแบบแลวเสร็จ จะทําการผลิตเครื่องบินขนาด 4 ที่นั่ง คาดวา นาจะใชเวลานอยลงกวาเดิม
Engineering Today September- October 2018
เจตนากร เป งศิริ กรรมการผู จัดการ บริษัท เจฟอกซ แอร คราฟท จํากัด
34
“จากการใชซอฟตแวร SOLIDWORKS Visualize 2018 ใชเวลาเรียนรูหนึ่งวันจากเดิมที่ใชเวลาเปนสัปดาห โดยมีฟงกชัน การใชงาน ชวยใหคุณภาพงานดีขึ้น” เจตนากร กลาว
Design Clinic ช วยผู ประกอบการ พัฒนาการออกแบบและสร างเครื่องบิน
รศ. ดร.ปองวิทย ศิรโิ พธิ์ อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรม การบินและอวกาศ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร กลาววา Design Clinic โดยภาควิชาวิศวกรรมการบิน และอวกาศ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เปน Solution Provider ที่จะใหคําปรึกษา และสรางนวัตกรรม ใหมเพื่อแกปญหาและพัฒนาอุตสาหกรรมการบินและอวกาศ นอกจากนั้นยังสงเสริมศักยภาพนิสิตใหเขาใจและสามารถแก ปญหาเชิงอุตสาหกรรม โดยในป พ.ศ. 2556 ทางเจฟอกซตองการผลิตเครื่องบิน ขนาดเล็ก ไดมอบหมายให Design Clinic ตรวจสอบคุณสมบัติ พลศาสตรทางอากาศของเครื่องบิน Control Surface เพื่อให เครื่องบิน Take off และ Landing ได ตรวจสอบ Performance Flight Mechanics ในการกอสรางเครื่องบิน รวมทั้งตรวจเช็ก ขนาดเครือ่ งยนต และนํา้ หนักเครือ่ งบิน ซึง่ เปนทีม่ าของการพัฒนา วัสดุใหมๆ เพื่อใหเครื่องบินมีขนาดเล็กลงขึ้นเรื่อยๆ
Cover Story • *Jürgen Skowaisa
A world first for contactless liquid level measurement (1) At every research and technical development centre in the pharmaceutical and bio technology sectors, there are small stirring vats and vessels with equally small process connections. Most of these applications have one thing in common, there is usually no room for mounting a level transmitter on the tanks because currently the sensor dimensions are just too large to t any available process connections. The new VEGAPULS 64 radar level transmitter changes this by offering some totally new opportunities for these industries. Radar measuring technology has established itself across many sectors. In contactless level measurement with radar, the instrument transmits microwave signals down to the product surface from above, which reects them back. Based on the time taken for the signals to be received back by the measuring instrument, a distance is determined and the product level or volume in the vessel calculated. The measurement is accurate and independent of process parameters such as temperature and pressure, as well as vapours or liquid density. In addition, contactless radar measuring
1.The smallest antenna of the VEGAPULS 64 is no bigger than a 1 Euro coin. Making this new radar level sensor ideal for installation in small tanks.
instruments can be installed and put into operation both quickly and easily. Because they can measure without any contact with the process, it provides a very important advantage for hygienic applications and tanks with agitators. On smaller apparatus and tanks in technical centres or pilot plants for example, users frequently encounter issues mainly due to the small dimensions or the nature of the vessel construction. These include the blocking distance of the sensors, the size and design of the antennas, as well as measurement uncertainty or limitations down at the bottom of the tank. Another major challenge is from the internal structures, such as heating coils, probes and agitators, which also take up more room in smaller tanks in proportion to their overall size. Up until now, using radar instruments for level measurement was extremely difficult or complex, because among other things, signicant interference from unwanted reections would regularly occur.
*VEGA Grieshaber KG, Product Management Radar
35
Engineering Today September- October
2018
However, a crucial factor for process development teams is to obtain the very highest accuracy measuring and monitoring information from these small tanks, because the resulting data from pilot processes often form the basic criteria for upscaling to larger plant designs. Measuring methods such as weighing or pressure measuring technology were previously used to determine the volume of liquid in a tank, but these are limited by the changing density during the process or by varying top pressures and temperatures. The most common method is usually a workaround, using ow measurement during lling and emptying, but this provides no monitoring or control during the actual process.
antenna size of approximately 80 mm, a beam angle of just 3° is achieved. In comparison, a former 26 GHz device with the same 80mm antenna, has a beam angle of around 3 times wider at 10°. Conversely this means: Due to the 3-times higher transmission frequency, the equivalent performance antenna can be smaller by the same factor, yet still achieve the same focussing performance of previous radars. This enables much smaller process connections with an antenna size of only ¾” or 2cm – smaller than a 1 Euro coin.
In small tanks you can now control the level reliably
The interference signals in the near range are considerably reduced by the new antenna versions and optimized signal processing. Although the blocking distance (i.e. the minimum distance allowed between the sensor and liquid surface) in radar measuring instruments is much smaller than in ultrasound measuring instruments for example – this is still too great for applications in small tanks of laboratories and research institutes. Now the new antenna system is integrated into the process connection, with no protrusion into the tank it is possible to measure reliably right up to the process connection. This allows full utilization of the tank volume and creates more exibility for the process. Despite the much shorter wavelength of the transmission signals of the VEGAPULS 64, the sensor is still not sensitive to deposits or formation of condensation. This is achieved by adaptation of the sensitivity in the near range of the sensor. A distance-dependent dynamic response reduces the inuences of interference directly before the antenna system, at the same time it also enables very high signal sensitivity over longer distances. This dynamic sensitivity allows a reliable lling level measurement, even during the usual cleaning cycles in the pharmaceutical industry for example.
VEGA has now launched the VEGAPULS 64, the rst radar level sensor on the market that operates with the high frequency 80 GHz (26 GHz was the norm in the past). This now makes it possible to install a level sensor into these small process connections. The focussing of a radar measuring instrument depends on two major factors: the transmission frequency and the active antenna dimensions. This means at a higher frequency, the same antenna size delivers much better focussing. To give an arithmetic example of this: The new VEGAPULS 64 radar operates with a transmission frequency of 80 GHz, with an 2. For applications in the pharmaceutical sector with high hygiene and cleaning demands, many different process connections such as clamp, R-screw connection to Neumo Biocontrol are available
Measurement to the top
(Follow Next Issue)
Engineering Today September- October 2018
36
Logistics • กองบรรณาธิการ
ศ. นพ.สุทธิพิ ันธ จิติ พิมิ ลมาศ (ขวา) ผู อํานวยการ สกว.
ส งมอบแผนงานจัดการขนส งรถเที่ยวเปล าให แก
วีระยุทธ ปลากัดทอง รองผู อํานวยการ ทอท.
สกว.ส งมอบแผนงานจัดการขนส งรถเที่ยวเปล าให ทอท. สนับสนุนโลจิสติกส ตามนโยบาย Thailand 4.0 - ลดมลพิษทางอากาศ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) สงมอบแผนงานแก บริษทั ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) หรือ ทอท. โดยจดลิขสิทธิ์ในชื่อ “ระบบ การจัดการขนสงรถเที่ยวเปลา” เดินหนาสนับสนุนระบบโลจิสติกสตาม นโยบาย Thailand 4.0 และลดมลพิษทางสิ่งแวดลอม หวังใชประโยชนใน 6 สนามบิ น เริ่มที่ท า อากาศยานสุวรรณภูมิ เปนแห ง แรก อนาคตเตรียม ขยายผลใชงานใหครอบคลุมทั้งทางบก ทางนํ้า และทางอากาศ ศ. นพ.สุทธิพนั ธ จิตพิมลมาศ ผูอ าํ นวยการสํานักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว.) ไดจัดพิธีสงมอบผลการวิจัยโครงการ “แผนงานระบบการ จัดการขนสงรถเที่ยวเปลา” ภายใตการสนับสนุนทุนวิจัยจากฝายการวิจัย มุงเปา ดานโลจิสติกส สกว. ใหกับ วีระยุทธ ปลากัดทอง รองผูอํานวยการ บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) หรือ ทอท. เพื่อใชประโยชนใน การจัดการโลจิสติกสในสนามบินใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ศ. นพ.สุทธิพันธ จิตพิมลมาศ ผูอํานวยการ สกว. กลาววา เปนที่ นายินดีที่คณะวิจัยไดพัฒนาระบบการบริหารจัดการขนสงรถเที่ยวเปลา และ จดลิขสิทธิ์ในชื่อ “ระบบการจัดการขนสงรถเที่ยวเปลา” รวมถึงพัฒนาเว็บไซต ซึ่งระบบดังกลาวสามารถจับคูความตองการรถบรรทุกเที่ยวเปลากับสินคา ที่รอขนสงไดอยางเหมาะสม เปนการเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการดาน โลจิสติกสไดอยางเปนรูปธรรม ซึง่ ทอท.ไดใหความสนใจรวมใหขอ มูล ขอคิดเห็น ข อ เสนอแนะ และอํา นวยความสะดวกใหค ณะวิจั ยเขาเก็บ ขอมูลในพื้ นที่ ตลอดจนผูมีสวนเกี่ยวของทุกภาคสวนไดใหความอนุเคราะหแกคณะวิจัยใน
37
การพั ฒนาระบบการจั ด การขนส ง รถเที่ ย วเปล า จนสามารถดํ า เนิ น งานทุ ก ด า นลุ ล ว งไปได ด ว ยดี มีผลงานที่เปนประโยชนสมกับที่ไดมุงหวังไว ผศ. ดร.จรรยา ชาญชัยชูจิต ผูอํ านวยการ แผนงานระบบการจัดการขนสงรถเที่ยวเปลา สกว. สังกัดมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ กลาววา ระบบการ ขนสงทางถนนเปนสวนหนึ่งของระบบโลจิสติกสที่มี บทบาทสําคัญสําหรับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ ประเทศไทย แตปญหาหลักของการขนสงทางถนน คือ มีต นทุนการดําเนินการและปล อยคามลพิษ ทางอากาศที่สูงเมื่อเทียบกับการขนสงรูปแบบอื่น ดังนั้นหากประเทศไทยตองการลดตนทุนโลจิสติกส และเพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขัน ประเทศไทย จําเปนทีจ่ ะตองลดตนทุนการขนสงทางถนนลงใหได ซึ่งวิธีหนึ่งที่สามารถลดตนทุนการขนสงทางถนน ลงได คือ การลดการขนสงเที่ยวเปลา นั่นหมายถึง การขนส ง ที่ ไ ม มี ก ารบรรทุ ก สิ น ค า กลั บจากการ ขนสงสินคา จากงานวิจัยของ ผศ. ดร. จรรยา และคณะ พบวาสัดสวนการขนสงรถเทีย่ วเปลาของประเทศไทย
Engineering Today September- October
2018
ผศ. ดร.จรรยา ชาญชัยชูจิต ผู อํานวยการแผนงานระบบการจัดการ ขนส งรถเที่ยวเปล า สกว. สังกัดมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ เจ าของผลงานวิจัย
อยูที่ 95% ในขณะที่ประเทศอื่นๆ เชน อังกฤษ เยอรมนี และสหรั ฐ อเมริ ก า ที่ มี ก ารบริ ห ารจั ด การที่ ดี จ ะอยู ที่ 20-30% ดังนั้นงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการลดการขนสง รถเที่ยวเปลาจึงมีความจําเปนเรงดวน เพื่อชวยในการ ลดต น ทุ น การขนส ง ทางถนนลงได คณะนั ก วิ จั ย จึ ง ได พั ฒนาระบบการบริ ห ารจั ด การขนส ง รถเที่ ย วเปล า ใน รูปแบบ Web-based Service (www.smartbackhaul.com) เพื่อทําหน าที่เปนระบบปฏิบัติการในลักษณะตัวกลาง (3PL-broker) ในการบริหารจัดการขนสงรถเที่ยวเปลา ระหวางบริษัทขนสงและตัวแทนผูนําเขาและสงออก ทัง้ นี้ ระบบจะทําการจัดเสนทางการขนสงทีเ่ หมาะสม ใหกบั การขนสงสินคา โดยใชทฤษฎีการจัดเสนทางรถขนสง (Vehicle Routing Problem: VRP) รวมกับการสราง อั ล กอริ ทึ ม และตั ว แบบทางคณิ ต ศาสตร เพื่ อ สร า ง รายการจับคูความตองการที่เหมาะสมและดีที่สุด สําหรับ รถบรรทุกเที่ยวเปลากับสินคาที่รอขนสงในรูปแบบการ รวมสินคา (Consolidated Truck) สําหรับรถบรรทุกขนสง ซึ่งผลลัพธจากงานวิจัยจะนําไปใชงานในเชิงพาณิชยใน พืน้ ทีเ่ ขตปลอดอากร (Free Zone) ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ เพื่อใชในการบริหารจัดการรถบรรทุกที่เขามาใชบริการ เพื่อนําเขาและสงออกสินคา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อลด ปริมาณของรถบรรทุกที่เขาออกภายในพื้นที่ ลดปญหา ความแออัดของพื้นที่ และลดตนทุนการขนสงที่ไมเกิด ประโยชนใหแกผูประกอบการ ทั้งยังเปนโครงการนํารอง ในการลดปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดจากภาคการ ขนสง และที่สําคัญเปนการเพิ่มตัวชี้วัดประสิทธิภาพของ โลจิ ส ติ ก ส (Logistics Performance Index: LPI) ใหแกประเทศตามตัวชี้วัดของแผนยุทธศาสตรการพัฒนา ระบบโลจิสติกสของประเทศไทย ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 25602564) จากการลดระยะเวลาในการดําเนินการนําเขา และสงออกสินคา
Engineering Today September- October 2018
วี ร ะยุทธ ปลากั ดทอง รองผู อํานวยการ ทอท. กล าวถึงการ วางแผนขยายผลการนําแพลตฟอรมการบริหารจัดการขนสงรถเทีย่ วเปลา วาจะนําไปใชในสนามบินอีก 5 แหงทั่วประเทศไทยที่อยูภายใตการ บริห ารงาน ประกอบด วย สนามบินนานาชาติด อนเมื อง สนามบิน นานาชาติเชียงใหม สนามบินนานาชาติหาดใหญ สนามบินนานาชาติ ภูเก็ต และสนามบินนานาชาติแมฟาหลวง จ.เชียงราย โดยในอนาคต แพลตฟอรมดังกลาวจะยังสามารถขยายผลไปใชในทาเรือกรุงเทพ ทาเรือแหลมฉบัง ทาเรือสงขลา และสถานีบรรจุและแยกสินคากลอง (ICD) ลาดกระบัง เพื่อเชื่อมโยงเครือขายการจัดการขนสงรถเที่ยวเปลา ใหครอบคลุมทุกรูปแบบการขนสง ทัง้ ทางอากาศ ทางถนน ทางราง และ ทางทะเล เพื่อเพิ่ม ขีด ความสามารถในการแข งขันในการลดตนทุน โลจิสติกส อีกทั้งเปนการลดปญหามลพิษทางสิ่งแวดลอมจากภาคการ ขนสงอีกดวย สํ า หรั บ แผนงานในอนาคต คณะนั กวิ จั ย จะพั ฒนาเทคโนโลยี แพลตฟอรมดานการบริหารจัดการขนสงรถเทีย่ วเปลาอยางเต็มรูปแบบ เพื่อให ส ามารถบูร ณาการกับ การบริห ารงานด านการขนส งได แ บบ ครบวงจร ประกอบดวย ระบบการควบคุมและตรวจติดตามการขนสง สินคา การจัดการระบบคิว และการบริหารระบบจราจรภายในพื้นที่ เขตปลอดอากร ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ระบบสารสนเทศสําหรับ การบริหารการขนสงสินคา เพื่อใหระบบสามารถบริหารการทําธุรกรรม และการดํ า เนิ น งานของการขนส ง ได อ ย า งเต็ ม รู ป แบบ รวมทั้ ง การ วิเคราะหวิทยาศาสตร ข อมูล (Data Science) ที่รวบรวมวิ ชาและ เทคโนโลยีการจัดการขอมูล เชน Big data, Machine Learning และ AI มาจัดการขอมูลเพือ่ ใหระบบเปนระบบอัจฉริยะทีส่ ามารถประมวลผล และพยากรณขอมูลไดอยางแมนยําและรวดเร็ว สามารถนําขอมูลมา วิเคราะหในเชิงลึก เพื่อใชเปนเครื่องมือชวยสนับสนุนในการตัดสินใจ ในการจัดการขนสงเที่ยวเปลาใหมีประสิทธิภาพ ตอบสนองนโยบาย ภาครัฐ Thailand 4.0 ดานโลจิสติกสและการขนสงโดยใชในการปฏิรูป องคกรดวยดิจิทัล (Digital Transformation) มาเปนเครื่องมือในการ บริหารจัดการ
แนวคิดการบริหารจัดการขนส งรถเที่ยวเปล า
38
Environment • กองบรรณาธิการ
สผ. ร วมกับ GIZ เป ดตัวโครงการการดําเนินงาน ด านนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เพิ่มอีก 60 จังหวัด ครอบคลุม 77 จังหวัดทั่วประเทศ
ดร.รวีวรรณ ภูริเดช เลขาธิการสํานักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล อม (สผ.)
สมชัย มาเสถียร รองปลัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล อม (ทส.)
สํ า นั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิง่ แวดลอม (ทส.) รวมกับ องคกรความรวมมือระหวางประเทศ ของเยอรมัน (GIZ) เปดตัว “โครงการการดําเนินงานดานนโยบาย การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ” เพือ่ สนับสนุนการขับเคลือ่ น นโยบายดานการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศเพิม่ อีก 60 จังหวัด เพื่อใหการดําเนินโครงการตอเนื่องครอบคลุมทั่วประเทศอยาง มีประสิทธิภาพ
ขยายพื้นที่การดําเนินงานอีก 60 จังหวัด ภายใต แผนงาน TGCP ระหว างป พ.ศ. 2561-2565 สมชัย มาเสถียร รองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม (สผ.) กลาววา ภายหลังจากโครงการการดําเนิน งานดานนโยบายการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศในพืน้ ทีน่ าํ รอง 17 จังหวัด 32 เทศบาล เมื่อป พ.ศ. 2557-2560 ที่ผานมา ประสบความสําเร็จดวยดี สงผลใหเกิดการบูรณาการแนวคิดดาน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเขาสูกระบวนการจัดทําแผน ระดับจังหวัดและทองถิ่น เพื่อใหการดําเนินโครงการการดําเนิน งานดานนโยบายการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศเกิดความตอเนือ่ ง
ทิม มาเลอร ผู อํานวยการองค กร ความร วมมือระหว างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ประจําประเทศไทยและมาเลเซีย
ครอบคลุมทั้ง 77 จังหวัด สผ.จึงไดรวมกับกระทรวงสิ่งแวดลอม คุม ครองธรรมชาติ, การกอสราง และความปลอดภัยทางปรมาณู แหง สหพัน ธสาธารณรัฐ เยอรมนี (The German Federal Ministry for the Environment, Nature Conversation, Building and Nuclear Safety: BMU) ผานองคกรความรวมมือ ระหวางประเทศของเยอรมัน (GIZ) ขยายพื้นที่การดําเนินงาน ใน 60 จั งหวัด ที่เหลือ ภายใตแผนงานความร วมมือดานการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ไทย-เยอรมัน (Thai-German Climate Programme: TGCP) ระหวางป พ.ศ. 2561-2565 โดยมุง หวังใหหนวยงานทีเ่ กีย่ วของทัง้ ในสวนกลางและสวนภูมภิ าค ทั่วประเทศ เกิดความรูความเขาใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมอิ ากาศและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในการบูรณาการ นโยบายดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเขาสูแผนพัฒนา ในพื้ น ที่ โดยคํ า นึ ง ถึ ง บริ บ ทของพื้ น ที่ รวมทั้ ง สร า งเครื อ ข า ย ระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการ ดําเนินงานรวมกัน ทําใหประเทศไทยมีความพรอมในการสราง ภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีการเติบโตที่ ปลอยคารบอนตํ่าตามแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
39
Engineering Today September- October
2018
บูรณาการความร วมมือกับหลายๆ ฝ ายในจังหวัด เพื่อสังคม ชุมชน ประชาชน และประเทศ ดร.รวีวรรณ ภูริเดช เลขาธิการสํานักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.) กลาววา สผ. ทําหนาที่เปนหนวยประสานงานกลางภายใตกรอบอนุสัญญา สหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และเปน หนวยงานหลักในการดําเนินงานทัง้ ในดานการลดกาซเรือนกระจก การปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สรางการรับรู และความเขาใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศใหแก บุค ลากรภาครั ฐ กระทรวงตา งๆ ที่เ กี่ยวขอ ง รว มกันทําหนาที่ กําหนดนโยบายและการวางแผนพัฒนา สรางเครือขายการดําเนิน งานในหนวยงานที่เกี่ยวของ จัดฝกอบรมสรางวิทยากรในการ บูรณาการนโยบายดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศไปสู การดําเนินงานในแตละพื้นที่ สรางขีดความสามารถด านการ บริหารจัดการการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศเพือ่ ใหประเทศไทย มีการเติบโตที่ปลอยคารบอนตํ่าตามแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน และตามวิสัยทัศนของแผนแมบทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ พ.ศ. 2558-2593 ตลอดจนมุงหวังใหหนวยงานที่ เกี่ยวของสามารถพัฒนาศักยภาพในการบูรณาการนโยบายดาน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเขาสูแผนพัฒนาระดับจังหวัด สรางการเตรียมความพรอมรับมือจากผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจาก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ “แผนงานตางๆ ของแตละพื้นที่จะไมเหมือนกัน บางพื้นที่ สนใจเรื่อ งของงานสาธารณสุ ข ก็ ต อ งมาดู ว า สาธารณสุข ใดที่ เกี่ยวกับโลกรอน เชน พวกเชื้อโรค โรคอุบัติใหม จะมีการเตรียม รับมืออยางไร หรือบางแหงทําเรื่องการจัดการเรื่องของนํ้า ของ เสียตางๆ บางพืน้ ทีอ่ าจมีเรือ่ งของภาคปาไม ภาคการเกษตร หรือ การตั้งถิ่นฐานของมนุษย การเกิดภัยธรรมชาติ อุทกภัย การวาง ผังเมือง ผังชุมชน เชน การทํางานที่จังหวัดเชียงราย แผนพัฒนา จั ง หวัด ของเขาก็จะเป น เรื่อ งของการท อ งเที่ยวเมืองหนาว ที่ เกีย่ วกับสิง่ แวดลอมคือ ถาวันหนึง่ อากาศไมหนาว จะมีนกั ทองเทีย่ ว มาเที่ยวไหม ถาเปนอยางนั้น ชาวเชียงรายจะทําอยางไร ก็ตอง เตรียมพรอมหาทางรับมือ และเปนเรื่องที่เราตองมาหาทางออก รวมกัน โดยความรวมมือกับหลายๆ ฝายในแตละจังหวัด บูรณา การทํางานใหเกิดผลที่ดีตอสังคม ชุมชน ประชาชน และประเทศ” เลขาธิการ สผ. กลาว
เผยโครงการฯ ได รับเงินสนับสนุนจาก IKI ดําเนินงาน 4 ป ผ าน 4 แนวทางหลัก ทิม มาเลอร ผูอํานวยการองคกรความรวมมือระหวาง ประเทศของเยอรมัน (GIZ) ประจําประเทศไทยและมาเลเซีย กลาววา โครงการการดําเนินงานดานนโยบายการเปลี่ยนแปลง
Engineering Today September- October 2018
40
สภาพภูมอิ ากาศ เปนสวนหนึง่ ของแผนงานความรวมมือดานการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ไทย-เยอรมัน (TGCP) โดยไดรับ งบประมาณสนั บ สนุ น จากแผนงานปกป อ งการเปลี่ ย นแปลง สภาพภูมิอากาศระดับสากล (IKI) ของ BMU ในการดําเนินงาน 4 ป ตั้ งแตป พ.ศ. 2561-2564 ผ าน 4 แนวทางหลัก คือ การพัฒนาศักยภาพหนวยงานและบุคลากร การบูรณาการ นโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การติดตามและ ประเมินผล และการพัฒนากลไกการขับเคลือ่ นดานงบประมาณ เพือ่ ยกระดับการดําเนินงานใหครอบคลุมทุกภูมภิ าคของประเทศ และใชบทเรียนจากระยะที่ 1 เขามาปรับใชเพือ่ ใหเกิดประสิทธิภาพ มากขึ้น
ชี้หากทุกจังหวัดมีแผน Climate Change กระตุ นให คนพื้นที่ใส ใจสิ่งแวดล อม ชุติมา จงภักดี ผูจัดการโครงการ องคกรความรวมมือ ระหวางประเทศของเยอรมัน (GIZ) กลาววา โครงการฯ มีระยะ เวลาดําเนินการ 4 ป ระหวางป พ.ศ. 2561-2564 ประกอบดวย แนวทางการดําเนินงานหลัก 4 ดาน ไดแก 1) การพัฒนาศักยภาพ หนวยงานและบุคลากร ที่เกี่ยวของกับการบูรณาการนโยบาย ดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเขาสูกระบวนการจัดทํา แผนพั ฒนาในพื้ น ที่ รวมถึ ง แผนจั ด การคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ ม ระดับภาค โดยมีเปาหมาย 4 กลุม คือ หนวยงานสวนกลางภายใต กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม หนวยงานสวนกลาง ที่เกี่ยวของภายใตกระทรวงมหาดไทย สํานักงานสิ่งแวดลอม ระดับภาค สถาบันการศึกษา และหนวยงานที่เกี่ยวของ 2) การ ขยายผลการดําเนินการการบูรณาการ นโยบายการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมิ อากาศในพื้นที่ อีก 60 จังหวัด ที่เหลื อใหครอบคลุม ทั่วประเทศ 3) การติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน ใน พื้นที่ 17 จังหวัด และ 32 เทศบาล จากการดําเนินโครงการ ที่ ผ า นมา และ 4) การสนั บ สนุ น กลไกการขั บ เคลื่ อ นด า น งบประมาณ ที่เอื้อตอการดําเนินโครงการดานการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ซึ่งโครงการนี้ไดรับงบประมาณ 690 ลานบาท ในการดําเนินงาน ทัง้ นีก้ ารทํางานตองบูรณาการรวมกันในหลายๆ ภาคสวน ทั้งกระทรวงมหาดไทย กระทรวงพลังงาน กระทรวง เกษตรและสหกรณ เปนตน “จากการดําเนินงานในระยะแรกพื้นที่ 17 จังหวัดเปนไป ไดดว ยดี มีการสรางความรวมมือระหวางภาครัฐ ประชาชน ชุมชน เอกชน และหนวยงานที่เกี่ยวของ นําแผนดานสิ่งแวดลอม หรือ การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศให เ ข า ไปอยู ใ นแผนพั ฒนา จังหวัดได จนกระทั่งนํามาสูการขยายพื้นที่ออกไปใหครบทั้ง 77 จังหวัดในประเทศ ซึ่งมีความมุงหวังวาทั่วประเทศจะตระหนักถึง เรื่องสิ่งแวดลอม และรับมือกับผลกระทบได ในขั้นตอไปของ โครงการฯ ก็จะติดตามผล 17 จังหวัดที่มีแผนการแลววานําไป
ปจจัยที่จะนําไปสูความสําเร็จในการทํางานดานสภาพ ภูมิอากาศ ภาครัฐควรมีโครงการที่เกี่ยวของลงไปใหความรู ให ชาวบานไดเขาใจทั้งการแยกขยะ การจัดการนํ้าเสีย การลอก คูคลอง การปลูกปา กิจกรรมขยะแลกไข เสริมสรางการทํางานให เห็นจากการปฏิบัติจริง ซึ่งจะไดผลตอบรับและความรวมมือจาก ชาวบานจากชุมชนหนึ่งไปยังชุมชนหนึ่ง เพื่อเชื่อมโยงทั้งประเทศ ไดไมยาก
ยํ้าไทยต องเร งดูแลคาร บอนตํ่า การกําจัดของเสียในชุมชนเป นพิเศษ เสวนาหัวข อ “การบูรณาการการขับเคลื่อนนโยบายด านการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศไปสู การดําเนินการในพื้นที่”
บูรณาการอยางไร เชือ่ วา ถาทุกจังหวัดมีแผนดานการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศแลว อยางนอยก็จะเปนสวนชวยใหทกุ คนตระหนัก ในดานสิ่งแวดลอม” ผูจัดการโครงการ GIZ กลาว
มุ งให คนในพื้นที่มีจิตสํานึกรับผิดชอบต อสังคม สร างเครือข ายที่เข มแข็ง-เชื่อมโยงการทํางานทุกภาคส วน วิมลรัตนลี กถาเสนีย นักวิชาการสิง่ แวดลอมชํานาญการ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กลาววา วัตถุประสงคของการ บูรณาการการขับเคลื่อนนโยบายดานการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศ คือตองการใหประชาชนในพืน้ ทีต่ า งๆ ของประเทศไทย มีจิตสํานึกรับผิดชอบตอสังคมดวยตนเอง ภายหลังจากที่ภาครัฐ ไดนําโครงการที่เกี่ยวของตางๆ ลงไปใหความรูพรอมทั้งสราง เครือขายที่เขมแข็งในแตละพื้นที่เชื่อมโยงการทํางานรวมกันทุก ภาคสวน สวนการทํางานภาครัฐควรกําหนดแผนการทํางานตาม ยุทธศาสตรแผน 20 ปของประเทศทั้งระยะสั้น ระยะกลาง และ การปฏิบัติงานในแตละพื้นที่ใหเกิดเปนรูปธรรม สรางเทคโนโลยี ที่ใหประชาชนเขาถึงขอมูลไดงาย โดยเฉพาะการใหความสําคัญ กับบุคลากรดานสิ่งแวดลอมที่จะลงพื้นที่ถายทอด แนะนําองค ความรูแกประชาชนในพื้นที่ควรไดรับการอบรมและมีความรู ที่แทจริง “ปจจุบันหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของไดมีการดําเนินงาน ดานนี้ อ ย า งแพร หลายมากขึ้น ตามนโยบาย แต อ ยู ในลักษณะ ตางคนตางทําจึงควรมาบูรณาการทํางานรวมกัน หนวยงานไหน มีการทํางานที่ซํ้าซอนกันก็ควรจัดระเบียบการทํางานใหรวมกัน ทํางานจะไดเกิดประโยชนสูงสุด นอกจากนี้การทํางานในระดับ นานาชาติ อยากใหมกี ารแบงปนขอมูลทีเ่ ปนประโยชนทมี่ งี านวิจยั รองรับแกประเทศในภาคีสมาชิกรวมกันทํางานที่กอใหเกิดการ รับรู สรางพฤติกรรมที่รับผิดชอบตอสภาพภูมิอากาศรวมกัน” นักวิชาการสิง่ แวดลอมชํานาญการ กรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม กลาว
ชุตญ ิ า สุขสวัสดิ์ นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ สํานักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กล า วว า ควรมี ก ารพั ฒนาระบบฐานข อ มู ล และกิ จ กรรมการ ดําเนินงานที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของ ประเทศไทยอยางบูรณาการ ซึ่งถือเปนเรื่องสําคัญอยางยิ่ง เนื่อง จากขอมูลยังกระจัดกระจายตามหนวยงานที่เกี่ยวของกวา 30 หนวยงาน และยังไมมีการจัดเก็บและเผยแพรอยางเปนระบบ ไมมี ระบบกลั่ นกรองขอมู ลที่ นาเชื่อถือ โดยเชื่ อมโยงระหวาง หนวยงานในการจัดเก็บขอมูลตางๆ ดานการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศที่สะดวกตอการใชงานในทุกระดับมากขึ้น ทําใหการ เขาถึงความรูและความกาวหนาดานการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศสามารถกระจายไปสูภาคสวนตางๆ ทุกระดับไดอยาง แทจริง มีการสงผลขอมูลประเมิน ผลการดําเนินงานของแตละ จังหวัดเขาสูสวนกลางและสงผลยอนกลับไปยังแตละจังหวัด พรอมคําแนะนําในหัวขอที่ไดรับการพัฒนาที่ดีขึ้น สํ า หรั บ หั ว ข อ ที่ ยั ง ต อ งให ค วามสํ า คั ญ เป น พิ เ ศษ เช น เรื่องคารบอนตํ่า การกําจัดของเสียในชุมชนตามงบประมาณ ที่ไดรับการจัดสรรจากภาครัฐ แตที่ผานมาหลายครั้งในการจัดทํา แผนและวิเคราะหแผนตองรื้อคนขอมูลที่เก็บไวในแตละสวนงาน ที่เกี่ยวของ เพื่อนํามาทําแผนการทํางานรวมกัน ทําใหเกิดความ ลาชาในการจัดทําแผนการดําเนินการที่จะตองมีความตอเนื่อง อีกทัง้ เสียงบประมาณในการดําเนินการซํา้ ซอน จึงควรตัง้ เจาภาพ โดยใหหนวยงานทีเ่ กีย่ วของหนวยงานใดหนวยงานหนึง่ เปนคนเก็บ ฐานขอมูลเรื่องที่สําคัญเชนนี้ไว หนวยงานใดที่ตองการใชก็เพียง แคแจงความจํานงขอใชแลวทางหนวยงานทีด่ แู ลก็จะใหเขาระบบ ใชงานได ซึ่งจะเปนการทํางานที่เชื่อมโยงบูรณาการทํางานให เกิดผลอยางแทจริง ปจจัยทีจ่ ะไปสูค วามสําเร็จในการทํางานดานสภาพภูมอิ ากาศ เชื่อวาผูบริหารองคกรตองมีความเขาใจในตัวองคกรนั้นๆ กอนที่ จะไปถายทอดไปพัฒนาในพื้นที่อื่นๆ อีกทั้งผูนําชุมชน ชาวบาน ตองมีความพรอมที่จะรวมทํางานกับภาครัฐ ในสวนของภาครัฐ ก็ตองจัดสรรงบประมาณใหเพียงพอในการดําเนินการดวย
41
Engineering Today September- October
2018
แนะหน วยงานบูรณาการการทํางานร วมกัน ลดป ญหาภาวะเรือนกระจก ดร.จั ก กนิ ต ต คณานุ รั ก ษ ผู อํ า นวยการสํ า นั ก พั ฒ นา ศักยภาพและเผยแพรองคความรู องคการบริหารจัดการกาซ เรือนกระจก (องคการมหาชน) (TGO) กลาววา การขับเคลื่อน นโยบายลงไปสูทองถิ่น เพื่อดูแลสภาพภูมิอากาศทั้งการทํางาน วิจัยรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศตางๆ ที่จะเขามา กระทบตอประเทศไทยในแตละภูมิภาคอยางละเอียดโดยเฉพาะ อยางยิ่งภาวะเรือนกระจก ซึ่งสงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศมาโดยตลอด เชน อุณหภูมิโลกรอนขึ้น หรือเย็นลง ฉับพลัน ดวยการบริหารจัดการนํ้าใหเกิดภาวะสมดุล ปองกัน โรคอุบัติใหมที่จะมาพรอมกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีผลกระทบตอชีวิตอยางหลีกเลี่ยงไมได ซึ่งทุกหนวยงานตอง บูรณาการทํางานรวมกันจึงจะเกิดผลที่ดีขึ้น หากใหหนวยงานใด หนวยงานหนึ่งดูแลอาจจะไดผลไมคุมหรือยังไมเกิดประโยชนใน งบประมาณที่ลงไป จึงควรมีการชวยเหลือแลกเปลี่ยนขอมูลการ ทํางานระหวางกันในแตละหนวยงานใหมากขึ้น สําหรับปจจัยทีจ่ ะไปสูค วามสําเร็จในการทํางานดานสภาพ ภูมิอากาศ จะตองมีแผนการจัดการที่ดีและมีคนที่เขาใจในการ ทํางานพรอมที่จะยืดหยุนและปรับแผนตามสภาพความเปนจริง ในภูมิอากาศของประเทศไทยที่ในแตละวันแตละชวงของวันมี การเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ใหมองเปนความจําเปนเรงดวน ที่ควรทํา ไมใชรอใหเกิดแลวคอยแกปญหาเพราะอาจจะลาชา และเกิดการสูญเสียชีวิต ทรัพยสิน ที่เรียกรองคืนกลับมาไมได
มหาดไทยสนับสนุนหน วยงานจัดทําแผนงาน ตามยุทธศาสตร ชาติ มุ งให แต ละพื้นที่มีตัวชี้วัดที่ดีขึ้น อลงกต มีแกว นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ กระทรวงมหาดไทย กลาววา บทบาทและหนาที่ของกระทรวง มหาดไทยจะมี ใ นส ว นการจั ด การนโยบาย ในการดู แ ลสภาพ ภูมิอากาศในแตละจังหวัด และพรอมสนับสนุนหนวยงานตางๆ ที่ เ กี่ ยวข อ งกั บสภาพภูมิ อ ากาศ มีการเก็บรวบรวมขอมูลจาก จังหวัดตางๆ ดานสิ่งแวดลอมแลวสงมาเก็บเปนฐานขอมูลไวที่ สวนกลาง เพื่อจัดทําแผนการทํางานตามยุทธศาสตรชาติในการ สรางการเจริญเติบโตทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ตามตัวชีว้ ดั ทีม่ อี ยู ใหแตละพื้นที่มีตัวชี้วัดที่ดีขึ้น พื้นที่จังหวัดใดมีตัวชี้วัดที่ตํ่ากวา เกณฑประเมิน ผลควรเขาไปดูแลไปตรวจสอบและเรงเขาไปดูแล อยางใกลชดิ เชน สภาพพืน้ ทีใ่ ดเกิดแผนดินไหวบอยๆ สภาพพืน้ ที่ ใดมีนํ้าทวมชะดินสไลด พื้นที่ใดนํ้าทวมซํ้าซาก พื้นที่ใดแหงแลง โดยสรางการตระหนักรูและสรางความรวมมือของคนในพื้นที่ให รวมมือกันดูแลสภาพภูมอิ ากาศทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอยูต ลอดเวลา และตอเนื่อง
Engineering Today September- October 2018
42
สําหรับปจจัยในการสรางความสําเร็จดานสภาพภูมอิ ากาศ มองวาโครงสรางการบริหารจัดการงานหลายๆ สวน หลายๆ คลัสเตอรยงั มีการทํางานซํา้ ซอนกัน จึงตองการใหรวมงานทีซ่ าํ้ ซอน แลวหาเจาภาพบริหารงาน เพื่อไมใหเกิดการทํางานที่ผิดพลาด เกิดการชะลองาน อีกทัง้ กระบวนการการจัดทําแผนมองภาพใหญๆ เปนหลัก ไมมีการลงลึกในพื้นที่หนางานจริง ดานงบประมาณ ที่จะนําไปพัฒนาแตละพื้นที่ควรจัดสรรใหเหมาะสม พื้นที่ใด เปราะบาง พื้นที่ใดตองสรางการรับรู ควรนํากิจกรรมไปลงพื้นที่ บอยๆ และอยางตอเนื่อง จึงจะไดรับผลลัพธที่ดี
ชี้เพชรบุรีมีอากาศที่แตกต างกันตามแต ละพื้นที่ เป ดให ราชการ ชุมชน ประชาชนในพื้นที่ทํางานร วมกัน นิพล ไชยสาลี ผูอํานวยการสวนสิ่งแวดลอม สํานักงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดเพชรบุรี กลาววา ในพืน้ ทีข่ องจังหวัดเพชรบุรไี ดดาํ เนินงานเรือ่ งรักษาสภาพภูมอิ ากาศ มาตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2558 เพื่อใหทุกสวนราชการ ชุมชน ประชาชนในพื้นที่มีสวนรวมกันทํางานคนละไมคนละมือ และ เปนกระบอกเสียงในการทํางาน เนื่องจากพื้นที่ในแตละอําเภอ แตละหมูบาน แตละชุมชนของจังหวัดเพชรบุรีมีสภาพภูมิอากาศ ทีแ่ ตกตางกัน ตามการประกอบอาชีพทีผ่ งั เมืองอนุญาตใหดาํ เนิน การจัดการสรางงานสรางอาชีพได โดยการทํางานของภาครัฐจะ ไมชูประเด็นสิ่งแวดลอมสภาพอากาศเปนหลัก แตจะสอดแทรก องคความรูสภาพแวดลอมที่เกี่ยวของเขาไปดวยเสมอ เพราะ ประชาชนสวนใหญจะใหความสําคัญกับปญหาปากทอง สภาพ ความเปนอยู สภาพเศรษฐกิ จมากกวา แมวาสภาพแวดลอม สภาพภูมิอากาศเปนเรื่องใกลตัว แตการถายทอด การขอความ รวมมือในการทํางานแตละครัง้ เปนเรือ่ งทีย่ าก เชน เรือ่ งการจัดการ ขยะของแตละครอบครัวแตละชุมชน การจัดหาพลังงานสะอาด จากชีวมวลในทองถิน่ จะตองมีกจิ กรรม ใหคาํ แนะนําใหประชาชน เปลี่ยนทัศนคติ และการจัดการระบบทางดานสิ่งแวดลอมของ แตละพื้นที่ดวยตนเอง ในรูปแบบของโครงการประกวดชุมชน ดานการจัดการสิง่ แวดลอม มีการมอบโลรางวัล และประกาศนียบัตร ตางๆ ซึ่งจะกระตุนใหเกิดความรวมมือกับ ทางภาครัฐตั้งแต โครงการเล็กๆ ไปสูโครงการใหญๆ ในอนาคต สําหรับปจจัยในการสรางความสําเร็จดานสภาพภูมอิ ากาศ คิดวาการจัดทําแผนแมบท กฎหมายที่ชัดเจน มีระบบฐานขอมูล (Data Base) ที่คนหาไดงายและสะดวก มีภาคีสมาชิกรวมกัน ทํางานใหเกิดประโยชนที่ดียิ่งขึ้นไป
Report • กองบรรณาธิการ พิธีเป ดโครงการ “ดาว เคมิคอล เพื่ออุตสาหกรรมยั่งยืน ระยะที่ 4”
ดาวจับมือภาครัฐเป ดโครงการ
“ดาว เคมิ ค อล เพื่ออุตสาหกรรมยั่งยืน ระยะที่ 4” ส งเสริมนวัตกรรม
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียน
ยุค Industry 4.0 กลุมบริษัท ดาว ประเทศไทย จับมือภาครัฐและองคกรอิสระ เปดโครงการ “ดาว เคมิคอล เพื่ออุตสาหกรรมยั่งยืน ระยะที่ 4” เพื่อ สนับสนุนใหทุกภาคสวนนําแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) และเทคโนโลยีมาประยุกตใชเปนแนวทางในการดําเนินธุรกิจ อยางมั่นคงและยั่งยืน ผลักดันการขับเคลื่อนประเทศสู Industry 4.0
>> แนวทางขับเคลื่อนอุตสาหกรรมไทยสู Industry 4.0 ดร.สมชาย หาญหิรญ ั รัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวงอุตสาหกรรม กลาววา อุตสาหกรรมสวนใหญของไทยยังอยูในระดับ 2.0 และ 3.0 ซึ่งเปนการใชคนในระบบ การที่จะขับเคลื่อนอุตสาหกรรมไทยใหไปสู Industry 4.0 นั้น จะตองมีการขับเคลื่อนที่มีองคความรู ใหความสําคัญ กับการสร า งระบบอั จฉริ ย ะที่ ร วมสว นตา งๆ เข า ดวยกัน ซึ่ งรวมถึง กระบวนการผลิต และครอบคลุมมากกวาการเนนแค IoT (Internet of Things) เนือ่ งจากเปนการผสานรวมระบบอัตโนมัตทิ ที่ นั สมัย การสงเสริม การผลิต และการพิจารณาทุกสิง่ บนพืน้ ฐานของความเปนจริงทัง้ ทุกภาค อุตสาหกรรมเพื่อตอบโจทยทุกมิติของทุกภาคเศรษฐกิจของไทย หากภาคสวนใดภาคสวนหนึ่งยังไมมีความพรอม ไมไดรับการ สนับสนุนและการสงเสริมความเขาใจในการเขาสู Thailand 4.0 การที่ จะรวมขับเคลื่อนประเทศไทยใหหลุดกับดักรายไดปานกลาง เพื่อให GDP ของประเทศเพิ่มขึ้น ก็จะหยุดชะงัก ทํา ใหแผนดํ าเนินงานของ ภาครัฐที่วางไวเกิดความลาชาได ทั้งนี้จะตองทําใหคนที่ยากจนหรือมี รายไดนอยอยูเรงสรางรายได เพื่อใหชองวางระหวางคนจนกับคนรวย ลดความหางลงใหได “การทําตรงนี้ไดจะตองอาศัยการกระจายรายได การกระจาย โครงการของภาครัฐ กระจายงบประมาณตางๆ ลงไปตามทรัพยากร
43
ดร.สมชาย หาญหิรัญ รัฐมนตรีช วยว าการกระทรวงอุตสาหกรรม
ของภูมิภาค ทรัพยากรคนที่ตองมีความเปนเลิศไปเปน พีเ่ ลีย้ งเขาไปชวยเหลือผูป ระกอบการ เกษตรกรตามภูมภิ าค ตางๆ ใหเกิดความเสมอภาค นํานวัตกรรมเทคโนโลยีที่ สามารถเพิ่มมูลคาของสินคา ความพรอมขององคกร และ เทคโนโลยีที่แตละองคกรมีอยูปรับแกใหถูกตองเฉพาะจุด หรืออาจตองใชการติดตามตรวจสอบไซตงานจากระยะไกล แทนที่ จ ะเสี ย เงิ น ไปกั บ การจั ด ส ง พนั ก งานไปดู แ ลเอง โดยตรง ซึ่งผูบริหารระดับสูงจําเปนตองตกผลึกรูปแบบ ของธุรกิจใหเสร็จสิ้นเสียกอน จากนั้นคอยไปมองวาจะนํา เทคโนโลยีดังกลาวมาชวยใหการดําเนินงานสะดวกขึ้นได อยางไร ตรงนีถ้ อื เปนความทาทายทีผ่ บู ริหารภาครัฐตองให ความสํ า คั ญ และสานต อ การทํ า งานอย า งต อ เนื่ อ ง ความสําเร็จจึงจะเกิดขึ้น” ดร.สมชาย กลาว
Engineering Today September- October
2018
กอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์
อธิบดีกรมส งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.)
ฉัตรชัย เลื่อนผลเจริญชัย
ประธานบริหาร กลุ มบริษัท ดาว ประเทศไทย
>> กสอ.จังหวัดพร อมถ ายทอดองค ความรู พัฒนาผลิตภัณฑ แก ผู ประกอบการและชุมชน
ทั้งนี้กระทรวงอุตสาหกรรมจะไมทิ้งผูประกอบการไวขางหลัง แตจะคอยๆ ประคับประคองใหความชวยเหลือทุกอุตสาหกรรมใหเกิดขึน้ ใหได ผานกรมสงเสริมอุตสาหกรรมจังหวัด ที่มีเครือขายอยูเขาไปจัด กิจ กรรมให เ ห็ นภาพจากของจริง เนื่อ งจากชาวบ า นไมเขาใจ ยังทํา อุ ต สาหกรรมแบบเดิ ม ที่ ข ายได แ ต ร าคาไม สู ง จึ ง ไม มี ผู ซื้ อ มากนั ก ทางกรมฯ จะสอนใหปรับวิธคี ดิ วิธสี รางผลิตภัณฑทตี่ ลาดตองการอยาง มีคุณภาพ ผลิตนอยๆ ไดราคาคุณภาพเปนเลิศ ลดตนทุนการผลิต “เมื่ อ กระทรวงอุตสาหกรรมจัดกิจกรรมลงไป หาเครือขายที่ เชือ่ มตอระหวางวิถชี วี ติ ชุมชนหนึง่ ไปสูช มุ ชนหนึง่ นําผูเ ชีย่ วชาญลงพืน้ ที่ แนะนําถายทอดองคความรูแกผูประกอบการและชุมชน ใหตอบโจทย ทุกสวนในประเทศและคํานึงถึงตลาดโลกทีป่ จ จุบนั ตระหนักถึงผลิตภัณฑ ที่รักษโลกมากขึ้นดวย เพราะเราไมไดคาขายเพียงในประเทศเทานั้น จะเห็นไดวา ทุกๆ กิจกรรมของกระทรวงอุตสาหกรรมและทุกๆ เครือ่ งมือ ทีน่ าํ มาใชนนั้ ไดสอดแทรกการมีสว นรวมในการรับผิดชอบตอสิง่ แวดลอม สรางจิตสํานึกที่ดีใหเกิดขึ้นจากรุนตอรุน เชื่อวาการสรางกระบวนการ ปรับสู Thailand 4.0 และ Industry 4.0 จะเกิดขึ้นไดไมยากนับจากนี้ หากเราชวยเหลือดูแลทุกอุตสาหกรรมอยางแทจริง” ดร.สมชาย กลาว
>> ชี้โครงการ “ดาว เคมิคอล เพื่ออุตสาหกรรมยั่งยืน” สอดคล องกับโครงการ “Big Brother” ของ กสอ.
กอบชัย สังสิทธิสวัสดิ์ อธิบดีกรมสงเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กลาววา “โครงการ ดาว เคมิคอล เพือ่ อุตสาหกรรมยัง่ ยืน” เปนตัวอยาง ของความรวมมืออยางตอเนื่องระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกร อิสระ ที่ชวยขับเคลื่อนและพัฒนาขีดความสามารถของผูประกอบการ รายยอยและอุตสาหกรรมไทยไดอยางรอบดาน ซึง่ สอดคลองกับโครงการ “Big Brother พี่ ช วยน อง” ของกรมส ง เสริมอุ ตสาหกรรม ซึ่งเปน โครงการที่เชิญชวนธุรกิจที่มีประสบการณและมาตรฐานการทํางานที่ดี มาเปนพี่เลี้ยงใหกับผูประกอบการ SME ผานกระบวนการแลกเปลี่ยน
Engineering Today September- October 2018
44
เรียนรู และเชื่อมโยงการดําเนินธุรกิจจากทั้งสองฝาย โดย ไดรับความรวมมือจากผูประกอบการอุตสาหกรรมบริษัท เอกชนรายใหญ ก ว า 350 ราย ร ว มทํ า งานขั บ เคลื่ อ น โครงการพี่ชวยนอง เพื่อมุงเนนเชื่อมตอผูประกอบการ รายยอย SME ที่มีอยูสูหวงโซการผลิตระดับประเทศและ ระดับ โลก ดวยแนวทางความรวมมื อ 4 ดาน 1) Big Brother for ITC นําระบบไอทีเขามาชวยดานกระบวนการ ปฏิรูป หรือ การ Transform ในการปรับเปลี่ยนผลิตภัณฑ กระบวนการผลิต เพิม่ ทักษะผูป ฏิบตั งิ าน 2) Big Brother for Marketing ชวยดานการตลาด ทั้งการชวยเหลือแบบ ออนไลนและออฟไลนในการสรางแบรนด และจับคูธุรกิจ รวมทัง้ การมีสถานทีส่ าํ หรับทดสอบตลาด เพือ่ พัฒนาสินคา ใหตรงกับความตองการของผูบริโภค 3) Big Brother for CIV หมูบานอุตสาหกรรมสรางสรรค ซึ่งเนนชวยเหลือกลุม วิสาหกิจชุมชน สินคา OTOP โดยนําอัตลักษณของสินคา และบริ การที่มี อยู ในชุ ม ชนนั้นๆ มาพัฒนา แนะนําการ ออกแบบบรรจุภัณฑ รวมทั้งการจัดตั้งศูนยกระจายสินคา เพื่อสงสินคาไปจําหนายไดทุกพื้นที่ โดยเนนการสรางงาน ใหกับคนในชุมชนและพัฒนาชุมชนใหดีขึ้นในทุกมิติ และ 4) Big Brother for Processed Agriculture ที่เนนดาน เกษตรแปรรูปโดยการสงเสริมการเพิ่มมูลคาใหแกสินคา เกษตรดวยกรรมวิธีตางๆ เพื่อชวยลดตนทุนในการดําเนิน ธุรกิจ การเพิ่มผลิตภาพการผลิต การจัดการของเสีย และ การบริ ห ารจั ด การสิ่ ง แวดล อ ม งานอาชี ว อนามั ย และ ความปลอดภัยใหดียิ่งขึ้น
>> เผย 7 ป โครงการฯ ป น บุคลากรสิง่ แวดล อม 5,844 ราย พร อมผลิตที่ปรึกษาด าน Lean เพื่อสิ่งแวดล อม
ฉัตรชัย เลื่อนผลเจริญชัย ประธานบริหาร กลุม บริษัท ดาว ประเทศไทย กลาววา ตลอดระยะเวลากวา 7 ป ของการดําเนินงาน โครงการ “ดาว เคมิคอล เพื่อ อุตสาหกรรมยัง่ ยืน” ไดสรางบุคลากรอุตสาหกรรมทีเ่ ขาใจ และตระหนักถึงสิ่งแวดลอม 5,844 ราย ผลิตที่ปรึกษา ดาน Lean เพื่อสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนเครื่องมือหนึ่งที่กลุม บริษัท ดาว ประเทศไทย รวมกับสถาบันสิ่งแวดลอมไทย พัฒนาดัดแปลงเพือ่ นําไปประยุกตใชใหเหมาะสมกับแตละ องคกร ชวยสรางโอกาสเพิ่มรายไดในทางธุรกิจแลวยังใช ทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด และเปนแนวทางที่กอให เกิดความยัง่ ยืนแกธรุ กิจมาโดยตลอด รวมทัง้ ชวยผูป ระกอบ การอุตสาหกรรมเพิม่ ศักยภาพการผลิตและพัฒนามาตรฐาน ดานสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยจนเปนองคกรแหง การเรียนรูแลวรวม 40 องคกร สงผลเชิงบวกใหกับชุมชน และสิ่งแวดลอม เชน ลดการปลอยกาซเรือนกระจกได
>> แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน เทรนด ธุรกิจที่ทั่วโลกกําลังมุ งไป
ดร.ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ (ที่ 2 จากขวา)
แบ งป นความรู บนเวทีเสวนา “Circular Economy Through Disruptive Innovation - นวัตกรรมสู เศรษฐกิจหมุนเวียน”
ปริมาณ 1.5 ลานกิโลกรัมคารบอนไดออกไซดเทียบเทาตอป หรือเทียบเทาการปลูกตนไม 150,000 ตน ชวยลดตนทุน การผลิตและตนทุนดานพลังงานไดถึง 144 ลานบาทตอป และชวยใหชุมชนโดยรอบ 40 แหง ทั้งสถานประกอบการ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมไปถึงจังหวัด ตางๆ ไดแก ราชบุรี อยุธยา สิงหบุรี สระบุรี นครราชสีมา ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง เพชรบุรี ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช และเชียงใหม มีความเปนอยูท ดี่ จี ากการมีสงิ่ แวดลอมทีด่ ขี นึ้ อีกกวา 922,000 คน
>> โครงการ “ดาว เคมิคอล เพื่ออุตสาหกรรมยั่งยืน ระยะที่ 4” พร อมช วยเหลือผู ประกอบการทุกขนาด ให ก าวสู Industry 4.0
สําหรับโครงการ “ดาว เคมิคอล เพื่ออุตสาหกรรม ยั่งยืน ระยะที่ 4” ยังคงมุงมั่นที่จะสานตอภารกิจ และจัด กิจกรรมในการชวยเหลือผูประกอบการทุกขนาด ทั้งขนาด เล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ ใหสรางสรรคความคิดใหมๆ โดยประยุกตแนวทางการพัฒนาธุรกิจเชื่อมโยงสูระบบการ ใช ร ะบบไอที ที่ เ หมาะสมสํ า หรั บ องค ก ร หรื อ System Integration: SI และเครื่องมือผูชวยดานนวัตกรรมและ เทคโนโลยี ส ารสนเทศในรู ป แบบของป ญ ญาประดิ ษ ฐ (Articial Intelligence: AI) ตลอดจนขยายผลฝกอบรม เพือ่ การพัฒนาบุคลากรดาน Lean เพือ่ สิง่ แวดลอมเชือ่ มโยง กับระบบไอทีในกลุม เปาหมายทุกระดับ ตัง้ แตนสิ ติ นักศึกษา บุคลากรในหนวยงานทั้งในภาคอุตสาหกรรมภาคเอกชน โดยเฉพาะผูประกอบการอุตสาหกรรมขนาดกลางและ ขนาดยอม SME ตางๆ และเพือ่ ใหสถาบันการศึกษา ภาครัฐ รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ ป รึ กษาอิส ระ และที่ปรึกษาฝ กหัดภายใต โครงการฯ สามารถนําไปประยุกตใชในภาคอุตสาหกรรม ใหเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรมใหกาวสู Industry 4.0 และ แนวทางของเศรษฐกิจหมุนเวียนตอไป
ภายในงานมีเวทีเสวนาหัวขอ “Circular Economy Through Disruptive Innovation - นวัตกรรมสูเ ศรษฐกิจหมุน เวีย น” โดย ดร.ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ ผูอ าํ นวยการศูนยวจิ ยั ยุทธศาสตรสงิ่ แวดลอม สํ า นั ก งานคณะกรรมการวิ จั ย แห ง ชาติ กล า วถึ ง แนวคิ ด เศรษฐกิ จ หมุนเวียน (Circular Economy) วาเปนการพัฒนาจากระบบการ รีไซเคิลแบบเดิม เปนเทรนดธุรกิจที่กําลังถูกจับตาดวยหลักการจัดการ ของเสียโดยการนําวัตถุดิบที่ผานการผลิตและบริโภคแลวเขาสูกระบวน การผลิตใหม หรือนํามาใชซํ้า เพราะโลกของเรานับวันจะใชทรัพยากร ธรรมชาติมากขึ้น อุณหภูมิโลกก็สูงขึ้น ขณะที่ขยะกําจัดเทาใดก็ไมมี วันหมด ปญหาเหลานีล้ ว นทําใหระบบเศรษฐกิจตองเผชิญกับความเสีย่ ง จากการขาดแคลนวัตถุดิบในการผลิต และปญหามลภาวะสิ่งแวดลอม ก็เพิ่มมากขึ้นดวย ซึ่งแนวคิดนี้ประเทศอุตสาหกรรมทั่วโลกโดยเฉพาะ ประเทศที่เปน ผูนําการเปลี่ยนแปลงไปสูเศรษฐกิจหมุนเวียน ไดแก เยอรมนี ญี่ปุน และจีน ไดนํามาประยุกตใชระยะหนึ่งแลวและกําลัง เปนที่สนใจในประเทศไทย สิ่งที่จะผลักดันโลกอุตสาหกรรม รวมถึงภาค SME ไปสูระบบ เศรษฐกิจหมุนเวียนคือ Disruptive Technology เทคโนโลยีที่เขามา พลิกโฉมกระบวนการทํางานในแบบเดิมๆ เชน เทคโนโลยีในการเพิ่ม คุณภาพ ประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต ลดตนทุนหรือราคา ทําให เทคโนโลยีเหลานี้มีเงื่อนไขที่เหมาะสมจนเปนที่นิยมของตลาดทั้งใน ระยะสั้นและระยะยาว “ในส ว นของภาคธุ ร กิ จ เชื่ อ ว า ในอนาคตแนวทางเศรษฐกิ จ หมุนเวียนนีจ้ ะเปนกุญแจสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจทีย่ งั่ ยืน ซึง่ จําเปน จะตองไดรับความรวมมือจากภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อ ใหทุกฝายพรอมรับมือกับเทคโนโลยีที่กําลังจะเปลี่ยนไป ภาครัฐตองมี ความพรอมโดยเฉพาะเรื่องงบประมาณ บุคลากร และหากจําเปนตอง จัดซื้อเทคโนโลยีจากตางประเทศเขามาใชงานหรือเปนการศึกษาแลว ควรลงทุนซื้ออยางเรงดวนเพราะเทคโนโลยีกาวหนาและพัฒนาไป อยางรวดเร็ว ดังนั้นการตัดสินใจของผูบริหารภาครัฐจะลาชาไมได เนื่องจากการจัดการขยะพลาสติกอยางยั่งยืน Disruptive Technology เหลานีจ้ ะชวยใหภาคอุตสาหกรรมสามารถเพิม่ ประโยชนใชสอยพลาสติก ใหเต็มศักยภาพ และผลักดันใหเกิดการรีไซเคิลที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะ นําไปสู Zero Waste System ที่แทจริง อีกทั้งไมจําเปนตองพึ่งพาวัสดุ ทางเลือกอยาง Biodegradable Plastic ซึ่งนํามารีไซเคิลไดยากกวา โดยเฉพาะในสภาพภูมิอากาศที่มีความชื้นสูงอยางประเทศไทย ทุ ก หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งจึ ง ต อ งร ว มกั น สนั บ สนุ น ให เ กิ ด การ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมของผู ผ ลิ ต และผู บ ริ โ ภคให ยอมรั บ ในผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ เกี่ยวของกับระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อเตรียมความพรอมใหไทย กาวสูระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนอยางมีประสิทธิภาพตอไป” ดร.ขวัญฤดี กลาว
45
Engineering Today September- October
2018
Innovation • กองบรรณาธิการ
เสริมสกุล คล ายแก ว ผู ว าการการไฟฟ าส วนภูมิภาค (กฟภ.)
พิธีเป ดศูนย PEA Innovation Center
กฟภ. ร วมกับ
มร. หู กัง หัวหน าฝ ายขายกลุ มธุรกิจเอ็นเตอร ไพรส ประจําภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต บริษัท หัวเว ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด
หัวเว ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) เป ด PEA Innovation Center แห งแรกในไทย
ผู บริหารเยี่ยมชมศูนย PEA Innovation Center
การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) รวมกับ บริษัท หัวเวย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ผูจัดหาโซลูชั่น ICT ชั้นนําระดับโลก รวมเปด ศูนยนวัตกรรม กฟภ. (PEA Innovation Center) เพือ่ เปนศูนยพฒ ั นา และวิจัยดานไฟฟา ซึ่งมีนวัตกรรมและเทคโนโลยีอันทันสมัยแหงแรก ในประเทศไทย ณ อาคาร LED ชัน้ 3 สํานักงานการไฟฟาสวนภูมภิ าค ถนนงามวงศวาน เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) กลาววา ศูนยนวัตกรรม กฟภ. (PEA Innovation Center) เปนการ รวมมือระหวาง การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) และ บริษัท หัวเวย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ถือเปนศูนยนวัตกรรมดานไฟฟาแหงแรก ในประเทศไทย ซึ่งจะตั้งอยูบนพื้นที่ 60-70 ตารางเมตร บริเวณชั้น 3 อาคาร LED ของ กฟภ. เพื่อเปนแพลตฟอรมสําหรับการวิจัย คิดคน
Engineering Today September- October 2018
46
และทดสอบนวั ต กรรมด า นพลั ง งานไฟฟ า โดยจะนํ า เทคโนโลยีดา น ICT ผนวกเขากับเทคโนโลยีดา นระบบไฟฟา รวมทั้งระบบที่เกี่ยวของกับ Smart Grid โดยมีฟงกชัน การใชงานที่หลากหลาย มีอุปกรณและเครื่องมือที่ทันสมัย ตามเทคโนโลยีใหมๆ ที่ส ามารถใชในการศึกษาเรียนรู และทดลองใชงาน รวมถึงมีพนื้ ทีส่ าํ หรับแลกเปลีย่ นความรู และแสดงความคิ ด เห็ น สถานที่ อ บรมและจุ ด ประกาย ความคิ ด ในการสร า งความมั่ น คงด า นระบบไฟฟ า ให มี ความมัน่ คงแหงแรกในประเทศไทย ซึง่ ใชเทคโนโลยีทที่ นั สมัย เชน เทคโนโลยีอินเทอรเน็ต ออฟ ธิงส (IoT) และคลาวด ดานพลังงานไฟฟา รวมถึงระบบอื่นๆ มาชวยปรับปรุ ง ประสิทธิภาพของโครงขาย และเพิม่ ศักยภาพระบบโครงขาย ใหมีความอัจฉริยะในอนาคต รวมทั้งสงเสริมและพัฒนา งานดานทรัพยากรบุคคล ตลอดจนเผยแพรเทคโนโลยีไฟฟา อัจฉริยะใหเปนที่แพรหลาย
ความรวมมือในครั้งนี้ยังมีวัตถุประสงคเพื่อทดสอบ และใชงานเทคโนโลยีเครือขาย “ALL IP” ที่เกี่ยวของกับ โครงการนวัตกรรมตางๆ เชน คลาวดคอมพิวติ้งสําหรับ พลังงานไฟฟา บิ๊กดาตา อุปกรณชารจพลังงานสําหรับ ยานยนต สมารทโฮมและการตอบสนองความตองการ ของผูใช สอดคลองตามนโยบายของ กฟภ. ในการพัฒนา คนดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อตอบสนองการกาว สู ยุ ค PEA 4.0 มุง สู การเป น “การไฟฟ า แห ง อนาคต” (The Electric Utility of the Future) และ กฟภ.พรอมเปด พื้ น ที่ PEA Innovation Center ใหแก นิ สิต นั กศึกษา อาจารย นักวิชาการ นักวิจัยจากสถาบันตางๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชน เขามาเรียนรูใชศูนยแหงนี้เพื่อใหเกิดประโยชน ตอภาพรวมในดานพลังงานไฟฟาของประเทศไทยดวย ภายในศูนยแหงนี้ หัวเวยไดใหการสนับสนุนทาง ด า นอุ ป กรณ สํ า หรั บ การพั ฒ นาและติ ด ตั้ ง เทคโนโลยี Single IoT Platform ที่เ กิดจากการผสานโครงขาย 2 โครงขาย คือ PLC-IoT และ eLTE-IoT เขาดวยกันเพื่อชวย เพิ่มศักยภาพและความนาเชื่อถือของระบบและบริการ ดานไฟฟาของ กฟภ. เชน ชวยในการเขาถึงและปรับสมดุล ระบบโครงข า ยไฟฟา (Power Grid) ได แบบเรีย ลไทม ปรั บ ปรุ ง การใช ไ ฟฟ า และการประหยั ด พลั ง งานไฟฟ า อยางเหมาะสมรวมไปถึงการใชมิเตอรวัดการใชไฟฟาแบบ อัจฉริยะ AMI (Advanced Metering Infrastructure) หรือที่เรียกวา “สมารทมิเตอร” ซึ่งจะคอยๆ เขามาแทนที่ มิเตอรรุนเกาในอนาคต ทัง้ นีส้ มารทมิเตอรดงั กลาวไมเพียงจะวัดอัตราการใช พลังงานไฟฟาไดเทานั้น แตยังสามารถระบุชวงเวลาการ ใชงานระหว างวันไดอีกดวย โดยใชชองทางการสื่อสาร แบบ 2 ทาง สามารถถายโอนขอมูลการใชไฟฟาและคาไฟ ระหวางผูใ ชไฟฟาและการไฟฟาได ทัง้ ยังเอือ้ ตอการดําเนิน โครงการรณรงคประหยัดพลังงาน ทายที่สุด เทคโนโลยี เหลานี้จะชวยให กฟภ. สามารถลดคาใชจายในดานตนทุน ไดมากถึง 25% นอกจากนีห้ วั เวยยังพรอมสนับสนุนบุคลากร ทีเ่ ชีย่ วชาญเขามาชวยวิจยั และพัฒนาภายในศูนยแหงนีด้ ว ย มร. หู กัง หัวหนาฝายขายกลุมธุรกิจเอ็นเตอรไพรส ประจําภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต บริษัท หัวเวย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา ศูนย PEA Innovation Center ที่ทางหัวเวยไดรวมกับ กฟภ.สรางขึ้น มาเพื่อเปนพื้นที่วิจัยการพัฒนาดานอุตสาหกรรมพลังงาน ไฟฟ า ของประเทศไทย และขยายออกสู ภู มิ ภ าคเอเชี ย
ตะวันออกเฉียงใต หัวเวยภาคภูมิใจเปนอยางยิ่งที่ไดรวมเปนพันธมิตร ในโครงการนี้ โดยหัวเวยจะมุงมั่นทุมเททํางานรวมกันเพื่อระดมแนวคิด และนวัตกรรมใหมๆ ดานเทคโนโลยีไฟฟาเพื่อสรางสรรคประโยชนสู คนไทยทุกคน สําหรับกลุม ธุรกิจเอ็นเตอรไพรส นับเปน 1 ใน 4 กลุม ธุรกิจหลัก ของหัวเวย ที่มุงเนนการจัดหาผลิตภัณฑ บริการและโซลูชั่นที่เหมาะกับ ความตองการเฉพาะอยางของลูกคาองคกร อุตสาหกรรม และภาครัฐ ที่ดําเนินธุรกิจดานสาธารณูปโภค การเงิน พลังงาน ไฟฟา ขนสง และ ภาคอืน่ ๆ ดวยการสรางแพลตฟอรมดิจทิ ลั นวัตกรรมแบบเปด โดยหัวเวย เอ็นเตอรไพรส ชวยใหธุร กิจ อุต สาหกรรม และหน วยงานภาครัฐ ประสบความสําเร็จดานการปรับเปลีย่ นไปสูร ะบบดิจทิ ลั บนแพลตฟอรม ที่เนนการบริการ ในสวนประเทศไทยนั้น กลุมธุรกิจเอ็นเตอรไพรสของ หั วเว ยไดดําเนินธุร กิ จ มาตั้ งแตป พ.ศ. 2554 เพื่อตอบสนองความ ตองการของลูกคาในภาครัฐ ตลอดจนบริษทั ขนาดใหญและอุตสาหกรรม ที่สนใจ จะสํารวจความเปนไปไดในการใชเทคโนโลยีและการบริหาร จัดการแบบดิจิทัล ภาคธุรกิจตางๆ เชน ธนาคาร พลังงาน การขนสง และภาคการผลิต ซึ่งกําลังมองหาหนทางใหมๆ ในการสรางการเติบโต โดยหัวเวย เอ็นเตอรไพรส ไดนําเสนอผลิตภัณฑ บริการ และโซลูชั่น เฉพาะดานที่ต รงกับ ความตองการ ปจ จุบั น หั วเวย เอ็นเตอรไพรส ยังคงใหบริการโครงสรางพืน้ ฐานหลายระดับทัว่ ประเทศ และมีผเู ชีย่ วชาญ ดานบริการใหการสนับสนุนตลอด 24 ชั่วโมงทุกวัน
ภายในศูนย PEA Innovation Center
47
Engineering Today September- October
2018
Technology ĵ ċòśãČýæ
Open Innovation Labs
A C C)&9'4 A ď D ę E ę 5 < B1"")8A 5I < 1< .6/ ''% ĉęġĈİěęĦõěɿĦ ďɷığɿûõĦėİĉĨĎIJĉıĎĎõʀĦěõėĤIJĈĈöġû İėʀĈıĢċ ĐĭʀčĽĦ ĈʀĦčIJġİĒɿčÿġėʃĞÿġēĉʃıěėʃėĤĈĥĎIJęõ İďʇčõĦėĉġõĖĽĹĦijğʀİğķčěɿĦ IJġİĒɿčÿġėʃĞ İďʇčİċøIJčIJęĖĩċĩĸİþīĸġĕIJĖûĐĭʀøčİöʀĦĈʀěĖõĥč İĒīĸġċĽĦûĦčėɿěĕõĥčijčõĦėďęĈęķġõ ĜĥõĖĔĦĒċĦûČĬėõĨüijğʀõĎĥ ċĬõěûõĦėċĥûĹ ijčďʅüüĬĎčĥ ıęĤġčĦøĉ ĴĕɿěĦɿ üĤİďʇčĎėĨõĦė ĈʀĦčõĦėİûĨč IJċėøĕčĦøĕ ĴďüčĊĪûĔĦøėĥĄ IJġİĒɿčÿġėʃĞĖĥûİďʇčĒęĥûöĥĎİøęīĸġč İĎīĹġûğęĥûİċėčĈʃĞĽĦøĥāċĦûİċøIJčIJęĖĩĉɿĦûĶ İþɿč øęĦěĈʃ ıęĤ øġčİċčİčġėʃ ĐęĞĽĦėěü -JOVY 'PVOEBUJPOƭT (MPCBM 4VSWFZ ėĤĎĬěɿĦ öġûėĤĎĎ øęĦěĈʃĞėʀĦûüĦõİċøIJčIJęĖĩIJġİĒɿčÿġėʃĞ
Engineering Today September- October 2018
48
IJġİĒɿčÿġėʃĞ øīġ ÿġēĉʃıěėʃċĩĸĞĦĕĦėĊčĽĦĴď ijþʀûĦč ĜĪõĝĦ ďėĥĎďėĬû ıęĤİĐĖıĒėɿĴĈʀġĖɿĦûİĞėĩ IJĈĖĴĕɿ İ Ğĩ Ė øɿ Ħ ijþʀ ü ɿ Ħ Ė İďʇ č ÿġēĉʃ ı ěėʃ ċĩĸ İ ďɶ Ĉ İĐĖ ÿġėʃĞIJøʀĈğėīġėğĥĞĉʀčýĎĥĎ ıęĤĞĦČĦėćĤĞĦĕĦėĊ čĽĦĴďĒĥĆčĦĉɿġĖġĈĴĈʀĉĦĕöʀġĉõęûĖĨčĖġĕİõĩĖĸ ěõĥĎ ĞĨċČĨ õɿġijğʀİõĨĈõĦėėɿěĕĕīġõĥčġĖɿĦûĴėʀöġĎİöĉ ıęĤ İďʇčığęɿûõĽĦİčĨĈöġûčěĥĉõėėĕċĦûİċøIJčIJęĖĩ İėʀĈıĢċİďʇčĎėĨĝĥċĈʀĦčIJġİĒɿčÿġėʃĞėĦĖıėõ öġûIJęõċĩĸĕĩėĦĖĴĈʀĊĪûėĤĈĥĎ ĒĥčęʀĦčİğėĩĖāĞğėĥĄ čĥĎİďʇčõĦė ƯİďęĩĖĸ čư ġĖɿĦûĕğĦĜĦęčĥĎıĉɿõġɿ ĉĥûĹ ĕĦ İĕīĸġďɷ ø Ĝ ıęĤijčďɷ čĩĹĕĩ ėĦĖĴĈʀıĉĤėĤĈĥĎ ĒĥčęʀĦčİğėĩĖāĞğėĥĄ 3FWFOVF #JMMJPO "OOVBM 3VO 3BUF JO ďʅüüĬĎĥčČĬėõĨüöġûİėʀĈıĢċ ĕĩ õęĬɿĕijğāɿ øīġ ęĩčĬõÿʃ -JOVY ıęĤıĒęĉ ēġėʃĕėĤĎĎøęĦěĈʃ ÿĪĸûijğʀĎėĨõĦėIJøėûĞėʀĦûĒīĹčĄĦč ıĎĎĴĢĎėĨĈøęĦěĈʃċıĩĸ ĞčüĤøęɿġûĉĥě ıĒęĉēġėʃĕ øĭİĎġėʃİčĉĨĞ ,VCFSOFUFT ĞĽĦğėĥĎøġčİċčİčġėʃ ÿĪĸ û ijþʀ û ĦčĞĽ Ħ ğėĥ Ď ġûøʃ õ ėċĩĸ ĕ ĦĒėʀ ġ ĕĎėĨ õ ĦėĈʀ Ħ č ĕĨĈİĈĨĹęıěėʃĞĽĦğėĥĎčĥõĒĥĆčĦ IJÿęĭþĥĸčĈʀĦčõĦė ĎėĨ ğ Ħėüĥ Ĉ õĦėıęĤėĤĎĎġĥ ĉ IJčĕĥ ĉĨ İĒīĸ ġ İĞėĨ ĕ ijğʀ ĐęĨĉĔĥćąʃöġûİėʀĈıĢċĒėʀġĕčĽĦĴďijþʀûĦčĴĈʀûɿĦĖ ıęĤċĥčċĩ čġõüĦõijğʀĎėĨõĦėİċøIJčIJęĖĩĈĦʀ čIJġİĒɿčÿġėʃĞ ıęʀě İėʀĈıĢċĖĥûĕĬɿûĕĥĸčĞčĥĎĞčĬčċĬõĔĦøĞɿěčċĥĸěIJęõ ijğʀijþʀďėĤIJĖþčʃüĦõIJġİĒɿčÿġėʃĞijğʀĕĦõċĩĸĞĬĈ IJĈĖĴĈʀ İďɶĈĉĥě İėʀĈıĢċ IJġİĒɿč ġĨčIJčİěþĥĸč ıęķĎ 3FE )BU 0QFO *OOPWBUJPO -BCT ığɿûijčİĕīġûĎġĞĉĥč ęġčĈġč ıęĤęɿ Ħ ĞĬ Ĉ ċĩĸ ď ėĤİċĜĞĨ û øIJďėʃ İĕīĸ ġ ďɷ ċĩĸĐɿĦčĕĦ
Red Hat Open Innovation Labs ijğʀĎėĨõĦėijčĄĦčĤ
čěĥĉõėėĕĎėĨõĦė čĽĦİĞčġěĥĆčČėėĕıĎĎİďɶĈöġûİėʀĈıĢċijğʀõĥĎ ęĭõøʀĦ 3FE )BU 0QFO 4PVSDF $VMUVSF IJĈĖijğʀĎėĨõĦė ėĭďıĎĎ øīġėĭďıĎĎċĩĸġĖĭɿijčĞĊĦčċĩĸĉĥĹûøīġ -BC ċĥĹû ığɿûċĩĸĴĈʀİďɶĈĴďıęʀě ıęĤüĤİďɶĈĉĦĕĕĦġĩõijčğęĦĖĔĭĕĨĔĦø ıęĤėĭďıĎĎċĩĸİėĩĖõěɿĦ ďɼġď ġĥĒ ıęķĎ 1PQ VQ -BCT ċĥĹûčĩĹ öġûĎėĨõĦėġĖĭɿijč ėĭďıĎĎ 1PQ VQ -BCT ÿĪĸûċĽĦõĦėġĖĭɿ ć ċĩĸċĽĦõĦėöġûęĭõøʀĦċĩĸijþʀ ĎėĨ õ Ħė IJĈĖęĭ õ øʀ Ħ İĒĩ Ė ûİĉėĩ Ė ĕĒīĹ č ċĩĸ ıęĤİüʀ Ħ ğčʀ Ħ ċĩĸ Ĵ ěʀ İ ċɿ Ħ čĥĹ č İėʀĈıĢċüĤĞɿûĐĭʀİþĩĸĖěþĦāİöʀĦĕĦþɿěĖďėĥĎİďęĩĸĖčõėĤĎěčõĦėijğʀ İďʇčěĥĆčČėėĕõĦėċĽĦûĦčıĎĎİďɶĈ ijčęĥõĝćĤİüʀĦğčʀĦċĩĸöġû ęĭõøʀĦ øč ĉɿġĐĭʀİþĩĸĖěþĦāöġûİėʀĈıĢċ øč 1BJS 1FSTPOOFM ijþʀİěęĦďėĤĕĦć ĞĥďĈĦğʃ IJĈĖıĎɿûİďʇčþɿěû 1SF XPSL ďėĤĕĦć ěĥč þɿěû 3FTJEFODZ ďėĤĕĦć ĞĥďĈĦğʃ ıęĤ þɿěû 1PTU SFTJEFODZ ďėĤĕĦć ĞĥďĈĦğʃ Open Innovation Labs ĊīġİďʇčďėĦõăõĦėćʃijčõĦė İďęĩĖĸ čıďęûĈʀĦčİċøIJčIJęĖĩ ıęĤõėĤĎěčõĦėĒĥĆčĦıġĒĒęĨİøþĥčĸ ĈʀěĖõĦėčĽĦċĬõđɺĦĖċĩİĸ õĩĖĸ ěöʀġûĕĦċĽĦûĦčėɿěĕõĥč ĕĩĞěɿ čėɿěĕijčõĦė ĒĥĆčĦİċøIJčIJęĖĩöġûġûøʃõė ĴĕɿěɿĦüĤİďʇč ĐĭʀĎėĨğĦėğėīġĒčĥõûĦč ėĤĈĥĎijĈ ĴĕɿěɿĦüĤĕĩøěĦĕĉʀġûõĦėċĩĸıĉõĉɿĦûõĥčġĖɿĦûĴė İďʇčõĦė İďęĩĖĸ ččěĥĉõėėĕijčõĦėċĽĦûĦč ijğʀčĦĽ øěĦĕĉʀġûõĦė øěĦĕċʀĦċĦĖ øěĦĕİþĩĸĖěþĦā ıęĤøěĦĕøĨĈėĨİėĨĸĕ ĕĦėěĕõĥčİĒīĸġĞėʀĦûIJÿęĭþĥĸč ĞĭɿøěĦĕĞĽĦİėķü ijğʀĞĦĕĦėĊĞėʀĦûĞėėøʃĐęĨĉĔĥćąʃ ĎėĨõĦėĞĭɿĉęĦĈĴĈʀ ġĖɿĦûėěĈİėķě ęĈøěĦĕİĞĩĸĖû ĴĈʀėĥĎĐęĉġĎıċčõĦėęûċĬčİĒĨĸĕöĪĹč ıęĤİėķěöĪĹč ċĥĹûĖĥûĞėʀĦûċĩĕċĩĸĒĪĸûĒĦĉčİġûĴĈʀĔĦĖijčġûøʃõė ĕĩõĦė İėĩĖčėĭİʀ ċøIJčIJęĖĩijğĕɿĶ ġĖɿĦûĉɿġİčīġĸ û ĞĦĕĦėĊċĈĞġĎıęĤĒĥĆčĦ ĴĈʀĉęġĈİěęĦġĖɿĦûøęɿġûĉĥěÿĪĸûİďʇčıčěċĦûõĦėċĽĦûĦčıĎĎijğĕɿ
ďʅ ü üĬ Ďĥ č ĕĩ Đĭ ʀ ij þʀ Ď ėĨ õ Ħėıęķ Ď ıęʀ ě ċĥĹ û üĦõĔĦøõĦėİûĨ č IJċėøĕčĦøĕ ġûøʃ õ ėČĬ ė õĨ ü ıęĤĔĦøėĥ Ą ĞĽ Ħ ğėĥ Ď ijčġĦİÿĩ Ė č ĔĦøėĥ Ą öġûďėĤİċĜĕĦİęİÿĩ Ė õĽ Ħ ęĥ û üĤijþʀ Ď ėĨ õ Ħė 3FTJEFODZ 1SPHSBNT İďʇčığɿûıėõ ijčöćĤċĩĸďėĤİċĜġĨčİĈĩĖ āĩĸďĬɺč ıęĤ ġġĞİĉėİęĩĖ ĕĩõĦėijþʀĎėĨõĦėijčõęĬĕɿ ġĬĉĞĦğõėėĕĎėĨõĦėċĦûõĦėİûĨč ĞĽĦğėĥĎĎėĨõĦėĈʀĦčIJġİĒɿčÿġėʃĞijčďėĤİċĜĴċĖ ċėĭĕĥččĩĸ ÿĪûĸ İďʇčĎėĨõĦėıĒęĉēġėʃĕõĦėþĽĦėĤİûĨčöġûıġĞİÿčĈʃ ĕĥččĩ ĸ ėġûėĥĎ ĐĭʀijþʀûĦčĕĦõõěɿĦ ęʀĦčøčĐɿĦčĎėĨõĦėþĽĦėĤİûĨčġĩ ěġęİęķĉ ıęĤ ĐɿĦčİøėīġöɿĦĖĉĥěıċč ėĦĖ ĴĈʀijþʀĎėĨõĦė 3FE )BU 0QFO 4IJGU $POUBJOFS 1MBUGPSN İĒīĸġĞėʀĦûıġĒĒęĨİøþĥĸč İĒīĸġ İďʇčIJĢĞĉʃ ıęĤďėĥĎöĖĦĖıġĒĒęĨİøþĥĸčĎčėĤĎĎĴĢĎėĨĈøęĦěĈʃ ıęĤĕĥęĉĨøęĦěĈʃijğʀĴĈʀİėķěöĪĹč ijþʀ 3FE )BU "OTJCMF "VUPNBUJPO ıęĤ 3FE )BU 4BUFMMJUF İĒīġĸ ijğʀĎėĨõĦėĈʀĦčõĦėĎėĨğĦėüĥĈõĦėċĩĕĸ ĩ ďėĤĞĨċČĨĔĦĒ ıęĤõĦėİĉėĩĖĕĞėʀĦûIJøėûĞėʀĦûĒīĹčĄĦčġĥĉIJčĕĥĉĨijğʀ ıõɿĞĔĦĒıěĈęʀġĕċĥĹûğĕĈġĖɿĦûøėġĎøęĬĕ İėʀĈıĢċijğʀøěĦĕĞĽĦøĥāõĥĎČĬėõĨüijčĔĭĕĔĨ ĦøġĦİÿĩĖčġĖɿĦûĕĦõ IJĈĖüĥĈĉĥûĹ IJÿčõĦėĎėĨğĦėûĦčijğĕɿİėĩĖõěɿĦ 3FE )BU "TJBO (&.T (SPXUI BOE &NFSHJOH .BSLFUT ďėĤõġĎĈʀěĖďėĤİċĜijč õęĬɿĕİġİþĩĖĉĤěĥčġġõİýĩĖûijĉʀ Ĵĉʀğěĥč Ģɿġûõû ıęĤijčďɷčĩĹĴĈʀİĒĨĸĕ ďėĤİċĜİõĦğęĩİöʀĦĕĦijčõęĬɿĕĈʀěĖ İğĉĬĐęċĩĸėěĕĔĭĕĨĔĦøijğĕɿİĒīĸġ ĎėĨğĦėûĦččĩĹ İčīĸġûüĦõİėʀĈıĢċĕġûİğķčěɿĦõęĬɿĕďėĤİċĜİğęɿĦčĩĹ İďʇčĉęĦĈĈĦěėĬɿûċĩĸĕĩøěĦĕĉʀġûõĦėıęĤİĉĨĎIJĉĉɿġİčīĸġû ıęĤİĕīĸġ ėěĕõęĬɿĕõĥčĎėĨğĦėıęʀěüĤĞĦĕĦėĊċĽĦøěĦĕİöʀĦijüĞĥûøĕ ČĬėõĨü ıęĤěĥĆčČėėĕċĦûøěĦĕøĨĈöġûďėĤİċĜijčõęĬɿĕčĩĹ ÿĪĸûĕĩøěĦĕ ĞġĈøęʀġûõĥč İĒīĸġijğʀĎėĨõĦė ijğʀøĽĦıčĤčĽĦĴĈʀİğĕĦĤĞĕĖĨĸûöĪĹč
49
Engineering Today September- October
2018
บทความ
• สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องคการมหาชน)
การพัฒนาเครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอนในประเทศไทย “แสงซินโครตรอน” ที่ผลิตขึ้นจากเครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอน ณ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน เกิดจากการเรงอนุภาคที่มี
ประจุลบหรืออิเล็กตรอนใหมีความเร็วสูงมากๆ ใกลเคียงกับความเร็วแสง จากนั้นจะบังคับใหอิเล็กตรอนเลี้ยวเบนกระทันหัน ขณะเกิด การเลีย้ วเบนอิเล็กตรอนจะปลดปลอยพลังงานออกมาในรูปแบบของคลืน่ แมเหล็กไฟฟาทีเ่ รียกวา “แสงซินโครตรอน” นัน้ เอง นักวิทยาศาสตร ไดนําแสงซินโครตรอนมาใชประโยชนเพื่อการวิเคราะหโครงสรางของสารในระดับที่ตามองไมเห็น นั่นคือโมเลกุลหรืออะตอม เพื่อนําไป สูการวิจัยแสง การพัฒนาผลิตภัณฑ กอเกิดองคความรูทางวิทยาศาสตรและนวัตกรรมทางวิทยาศาสตรตอไป
เครือ่ งกําเนิดแสงแห งเดียวในประเทศไทย และใหญ ทสี่ ดุ ในภูมภิ าคอาเซียน ปจจุบัน เครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอนมีอยูกวา 50 แหง กระจายอยูกวา 20 ประเทศทั่วโลก และเปนที่ทราบกันดีวาเครื่องกําเนิด แสงซินโครตรอนมักจะตั้งอยูในประเทศที่มีความเปน ผูนําทางเทคโนโลยีสูง และเห็นถึงความสําคัญของงานวิจัยและพัฒนาทางดาน วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อาทิ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ สาธารณรัฐเยอรมนี สาธารณรัฐประชาชนจีน ญี่ปุน เกาหลี เปนตน ในประเทศไทย เครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอน ตั้งอยูที่ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องคการมหาชน) จ.นครราชสีมา ภายใตการ กํากับดูแลของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยเปนเครือ่ งกําเนิดแสงซินโครตรอน รุน ที่ 2 ทีไ่ ดรบั เครือ่ งมาจากประเทศญีป่ นุ และ นํามาติดตั้งที่สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน เมื่อป พ.ศ. 2539 ซึ่งในตอนนั้นใชชื่อวา ศูนยปฏิบัติการวิจัยเครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอน แหงชาติ ตลอดระยะเวลากวา 10 ปทผี่ า นมา สถาบันวิจยั แสงซินโครตรอนไดพฒ ั นาจนสามารถติดตัง้ อุปกรณแทรกทัง้ Undulator, Multipole Wiggler, Superconducting Wavelength Shifter เพื่อขยายขีดความสามารถและศักยภาพของเครื่องใหสามารถผลิตแสงไดครอบคลุม Infrared ถึง Hard X-ray จนอาจกลาวไดวา เครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอนของไทยเปนรุน 2.5 แตดวยในปจจุบัน โลกวิทยาศาสตรมีความกาวหนาที่เพิ่มขึ้นแบบกาวกระโดด ทําใหเครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอนของไทยรองรับ งานวิจัยไดจํากัด งานวิจัยทางวิชาการและการพัฒนาดานอุตสาหกรรมที่สามารถสรางประโยชนใหแกประเทศถูกจํากัดดวยพลังงานของ แสงทีผ่ ลิตได โดยเฉพาะอยางยิง่ การศึกษาวิจยั วัสดุเชิงลึกทีต่ อ งศึกษาลึกลงไปถึงระดับการเรียงตัวของอะตอม แสงทีส่ ามารถนําไปศึกษา วิจัย ตองมีคุณภาพของแสงที่สูงมาก และขึ้นอยูกับขนาดของเครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอนดวย
Engineering Today September- October 2018
50
ขีดจํากัดของเครือ่ งกําเนิดแสงซินโครตรอนในป จจุบนั 1. แสงซินโครตรอนที่ผลิตไดมีพลังงานไมสูงมาก ทําใหไมสามารถวิเคราะหธาตุที่มีเลขอะตอมสูงไดอยางแมนยํา 2. แสงซินโครตรอนมีความเขมไมสูงมาก 3. ลําแสงซินโครตรอนมีขนาดใหญ ทําใหมีขอจํากัดในงานวิจัยที่ตองการความละเอียดเชิงตําแหนงสูง ดังนั้น เพื่อรองรับความตองการการใชเครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอนในอนาคต และยกระดับงานวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย เครื่องกําเนิดแสงที่สามารถรองรับความตองการเหลานี้ได คือ เครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอน รุนที่ 3 และเครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอน รุนที่ 4 โดยมีคาพลังงานที่เหมาะสมที่ 3 GeV ขนาดเสนรอบวงที่ไมตํ่ากวา 300 เมตร
เครือ่ งกําเนิดแสงซินโครตรอนเพือ่ อนาคต เครือ่ งกําเนิดแสงซินโครตรอนของไทยในปจจุบนั มีระดับพลังงาน 1.2 GeV จึงรองรับงานวิจยั ในระดับแนวหนาไดจาํ กัด โดยเฉพาะ อยางยิง่ งานวิจยั พัฒนาดานอุตสาหกรรมทีส่ ามารถสรางประโยชนใหแกประเทศและงานวิจยั ทางการแพทยชนั้ สูง โดยเครือ่ งกําเนิดแสงที่ สามารถรองรับความตองการเหลานีไ้ ด คือเครือ่ งกําเนิดแสงซินโครตรอน รุน ที่ 4 ขนาดพลังงาน 3 GeV ซึง่ ใหพลังงานแสงสูงขึน้ กวาเดิม 2.5 เทา และความเขมแสงสูงขึ้นกวาเดิมมากกวา 1,000,000 เทา
คุณสมบัตริ ะหว างเครือ่ งกําเนิดแสงซินโครตรอนรุน ป จจุบนั และเครือ่ งรุน 3 GeV ค าพารามิเตอร
รุ นป จจุบัน
ขนาดพลังงาน 3 GeV
รุ นที่ 4
ผลกระทบ
พลังงานอิเล็กตรอน [GeV] กระแสอิเล็กตรอน [mA] เสนรอบวง [m]
1.2 150 81.3
3.0 300 321.3
อิมิตแตนซ [nm.rad]
41
<1
พลังงานแสงและความเขมแสงเพิ่มขึ้น ความเขมแสงเพิ่มขึ้น จํานวนระบบลําเลียงแสงและสถานีทดลองเพิ่มขึ้น ลําอิเล็กตรอนขนาดเล็กลง ทําใหความเขมแสงสูงขึ้น สามารถโฟกัสลําแสงใหมีขนาดเล็กไดโดยไมสูญเสีย ความเขมแสง
4
> 20
Decay
Top-up
จํานวนชองเพื่อติดตั้ง อุปกรณแทรก Operation Mode
5 51
จํานวนสถานีทดลองเพิ่มขึ้น ความเขมแสงคงที่ ไมลดลงตามเวลา
Engineering Today September- October
2018
ประโยชน ของเครือ่ งกําเนิดแสงซินโครตรอนขนาด 3 GeV ต อประเทศไทย ที่จะสามารถเพิ่มมูลค าทางเศรษฐกิจได ไม ตํ่ากว า 6,000 ล านบาทต อป ด า นการแพทย เพื่อยกระดับความสามารถทาง
การแพทยและเภสัชกรรม โดยการวิจัยสารประกอบในพืชและ สมุนไพรทีม่ สี รรพคุณในการรักษาโรค รวมถึงการศึกษาโครงสราง ของโปรตีน ไวรัส และเอนไซม เพื่อหากลไกของการติดเชื้อ ซึ่งจะ เปนขอมูลสําคัญที่นําไปสูการออกแบบยารักษาโรคใหมๆ
อุตสาหกรรมพลังงาน ชวยในงานวิจัยที่เกี่ยวกับ
การผลิตและกักเก็บพลังงานสะอาดรูปแบบใหม เชน วิจยั เกีย่ วกับ เซลลพลังงาน (Fuel Cell) และเทคโนโลยีแบตเตอรี่
ด านสิ่งแวดล อม ชวยในการวิเคราะหการปนเปอน
ในสิ่งแวดลอมไดแมนยํามากยิ่งขึ้น อีกทั้งเพื่อหาความเชื่อมโยง ระหวางโรคพืชและโมเลกุลที่พืชดูดซึมเขาไปได นําไปสูการหา แนวทางป อ งกั น การเกิ ด โรคในพื ช และลดความสู ญ เสี ย ทาง เศรษฐกิจ
อาหารและการเกษตร ชวยเพิม่ มูลคาตัง้ แตการจัดการ
ผลผลิต กระบวนการทางวิศวกรรมดานการเกษตร การแปรรูป อาหาร การพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยของอาหารไปจนถึง ความปลอดภัยของบรรจุภั ณฑ เพื่อใหสอดคล องกับ แผนของ รัฐบาลในการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารและการเกษตร
อุ ต สาหกรรมวั ส ดุ ขั้ น สู ง
ช ว ยวิ เ คราะห ก าร เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติวัสดุภายใตสภาพแวดลอมที่แตกตางกัน ตอบสนองความตองการในการทําวิจัยและพัฒนาของนักวิจัย วัสดุกอสราง เชน คอนกรีตสูตรใหม โลหะ และวัสดุคอมโพสิท ชนิดใหม เปนตน
ด า นโบราณคดี การศึ ก ษาโบราณคดี ใ นเชิ ง นิ ติ
วิทยาศาสตรที่จะเปนการวิเคราะหโครงสรางในระดับอะตอม เชิงลึก ทั้งการหาที่มา ตลอดจนการถายภาพ 3 มิติ ดวยเทคนิค ทางแสงซินโครตรอน เพื่อไขปริศนาขอมูลโบราณที่ขาดหายไป และการผลิตของใหมเพื่อการบูรณะ
เครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอนจัดเปนโครงสรางพื้นฐานดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่สําคัญตอการพัฒนาประเทศ หากประเทศไทยมีเครือ่ งกําเนิดแสงซินโครตรอนในระดับพลังงานทีส่ งู ขึน้ จะสามารถตอบโจทยงานวิจยั ไดหลากหลายมากยิง่ ขึน้ ทั้งทางดานการแพทย การเกษตร อาหาร วัสดุศาสตร และอุตสาหกรรม ซึ่งลวนเปนการวางรากฐานการวิจัยและพัฒนาดาน วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) ที่จะชวยยกระดับคุณภาพการศึกษาองคความรู ตลอดจนคุณภาพชีวิตของ ประชาชน และที่สําคัญจะชวยเสริมสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจ การพัฒนาดาน วทน. จึงถือไดวาเปนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศในอีกมิติหนึ่งใหสามารถแขงขันกับนานา ประเทศไดเพื่อใหประเทศไทยกาวเขาสู Thailand 4.0 ไดอยางมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
Engineering Today September- October 2018
52
Construction • กองบรรณาธิการ
บทเรียนเครนถล ม อุบัติภัยซํ้าซาก ถึงเวลาตรวจสอบ-บํารุงรักษาเครน ก อสร างอย างเคร งครัด
หลังจากเครนลมทีไ่ ซตงานกอสรางคอนโดมิเนียม The Rise Rama 9 ยานพระราม 9 เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 คลอยหลังเพียง 2 สัปดาห ในเชาวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2561 เมื่อเวลา 09.00 น. เกิดเหตุเครนกอสรางอาคารที่พักอาศัยได หักโคนในซอยศาลาแดง 2 ถนนสีลม โดยเครนไดหกั โคนลงมาทับ รถยนต รานคา และเสาไฟฟาหักขวางกลางซอย ทําใหรถผานไมได ตองปดการจราจรชัว่ คราว ลักษณะเครนไดหกั ลงมาขวางกลางถนน โดยขาของเครนเกีย่ วสายไฟสือ่ สารและดึงเอาเสาไฟฟาหัก 7 ตน ตนไม 5 ตน นอกจากนี้ยังพบหลังคารานคาที่เปนอาคาร 2 ชั้น เสียหาย 1 หอง รถเกงฮอนดา สีขาวถูกเครนทับที่กระโปรงหนา 1 คั น ขาเครนยัง หักทับ รถเกงจอดริมถนนเสีย หายอี ก 2 คั น ที่หนาอาคารอีกแหง ในที่เกิดเหตุมีผูบาดเจ็บอีก 3-4 คน เปนผู ขับรถเกง รถจักรยานยนต และคนเดินเทา ไดรับการชวยเหลือ นําสงโรงพยาบาลใกลเคียง
• วสท.ลงพื้นที่สํารวจเครนหักโค นในซอยศาลาแดง 2 ชี้อาจเกิดจากฐานเครนไม แข็งแรง
ล า สุ ด วิ ศ วกรรมสถานแห ง ประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ (วสท.) นําทีมโดย รศ.สิรวิ ฒ ั น ไชยชนะ ทีป่ รึกษา วสท. พรอมดวยทีมวิศวกรอาสา นิสติ วนิชรานันท และ หฤษฏ ศรีนกุ ลู
Engineering Today September- October 2018
56
เครนล มที่ ไซต งานก อสร าง คอนโดมิเนียม The Rise Rama 9 ย านพระราม 9
เครนก อสร างอาคารที่พักอาศัย ได หักโค นในซอยศาลาแดง 2 ถนนสีลม
คณะอนุกรรมการวิศวกรรมยกหิ้วและปนจั่นไทย วสท.ไดลง พื้นที่สํารวจวิเคราะหอุบัติภัยจากเครนหักโคนทับเสาไฟฟา บาน และรถยนตเสียหาย ภายในซอยศาลาแดง 2 ถนนสีลม รศ.สิ ริ วั ฒ น ไชยชนะ ที่ ป รึ ก ษา วิ ศ วกรรมสถานแห ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) กลาววา สาเหตุเครน ถลมยานศาลาแดงอาจเกิดจากฐานเครนไมแข็งแรง โดยติดตั้ง ทาวเวอรเครนฝงลงในบอลิฟตไมไดมาตรฐาน ระหวางตัวฐานของ ทาวเวอรเครนกับตัวฐานรากบอลิฟตไมมั่นคงแข็งแรง ฐานรากมี ความลึกเพียง 1.3 เมตร ไมสอดคลองกับตัวเครนที่สูง 27 เมตร ประกอบกับการเชื่อมไมสามารถรับแรงที่เกิดขึ้นได ดังนั้นขณะที่ เครนกําลังยกตัวขึน้ จึงเกิดเหตุไมคาดคิดและอาจเปนสาเหตุของ เครนถลมในครัง้ นี้ ทัง้ นีต้ อ งตรวจสอบในรายละเอียดการขออนุญาต
ติดตัง้ และผูค วบคุมงานกอสรางมีใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพตามหลักวิศวกรรมหรือไม “ทาง วสท. ซึ่ ง มี บ ทบาทในการอบรมและ พัฒนาความรูแกบุคลากรดานวิศวกรรมและการ กอสราง เราจะเพิม่ เติมเนือ้ หาอบรมดานความมัน่ คง แข็งแรงของโครงสรางในการติดตั้งเครนดวย เชน การออกแบบฐานทาวเวอรเครน การออกแบบจุดตอ ตางๆ เปนตน” ที่ปรึกษา วสท. กลาว ในอนาคตประเทศไทยจะมีการปรับปรุงขอ กฎหมายปน จัน่ ฉบับใหม คือ การเพิม่ มาตรการของ การวางแผน (ทําแผนการยกกอนใชงานจริง) ตอง ลงนามรั บ รองการใช ง านโดยผู ค วบคุ ม เครน ซึ่ ง ปจจุบันจะใชในงานใหญๆ หรืองานมาตรฐานสูง เทานั้น คาดวากฎหมายใหมจะออกในชวงปลายป พ.ศ. 2561 ถึง ตนป พ.ศ. 2562 โดยจะบังคับใช ในงานทีม่ คี วามเสีย่ งคอนขางสูง หรือในการยกทีอ่ ยู ในภาวะวิกฤต เชน ยกของทีม่ นี าํ้ หนักมากๆ การยก ของที่ใกลเคียงกับพิกัดยก
รศ.สิริวัฒน ไชยชนะ ที่ปรึกษา วสท.
• เผยไทยใช เครนเก ามือสอง เกินกว า 50% ของตลาดการใช งานทั้งหมด
รศ.สิรวิ ฒ ั น กลาววา ปน จัน่ หรือ เครน นับเปน เครือ่ งจักรสําคัญทีใ่ ชในการยกสิง่ ของทีม่ นี าํ้ หนักมาก ซึ่งอาจแยกไดหลายชนิด เชน ปนจั่นหอสูง (Tower Crane), ปน จัน่ ชนิดเคลือ่ นที่ (Mobile Crane) รวมถึง รถเครน, ปนจั่นเหนือศีรษะ (Overhead Crane) ปนจั่น ขาสู ง (Gantry Crane) และรอกไฟฟ า (Electric Hoist) ตามโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ รวมถึงการใชงานสลิงและอุปกรณชว ยยกแบบตางๆ ตามกฎหมายไดมกี ารกําหนดใหมกี ารตรวจสอบและ ทดสอบสวนประกอบและอุปกรณของปนจั่นตาม
ระยะเวลาทีก่ าํ หนดไว แตไมเกินกวา 1 ป ในตางประเทศมีการพัฒนาเทคโนโลยี เครนกาวหนา แตในประเทศไทยมักใชเครนเกามือสองมือสาม ซึง่ มีเปนจํานวน มากเกินกวาครึ่งหนึ่งของตลาดการใชงานทั้งหมด “เครนบางตัวมีอายุ เกินกวา 30 ป อุ ปกรณ ดานความปลอดภัย เชน ลิมิตสวิตชตัดการทํางานของเครน สภาพของสลิงที่ใชงานมีสภาพชํารุด สภาพ โครงสรางทีอ่ าจไดรบั ผลกระทบจากความลาของโลหะ การบํารุงรักษาในขัน้ ตอน กอนการติดตั้งหรือขั้นตอนการติดตั้งที่ยังขาดการตรวจสอบตามคูมือที่ผูผลิต กําหนดไว ผูบังคับเครนและผูยึดเกาะวัสดุยังขาดความรูความเขาใจในการ ใชงาน รวมถึงผูวาจางยังขาดความสนใจเรื่องคุณภาพความพรอมของเครนที่ ใชงาน โดยจะพบเครนกระจายอยูทั่วไปทั้งในพื้นที่ทํางาน รวมถึงไซตกอสราง อาคารและสาธารณูปโภคตางๆ จึงนับวาอุบตั ภิ ยั จากเครน เปนอีกความเสีย่ งภัย สาธารณะที่อาจสงผลกระทบตอผูคนและชุมชนได” ที่ปรึกษา วสท. กลาว
• วสท. เตรียมพัฒนารายการตรวจสอบ-คู มือตรวจสอบป นจั่น ให เป นมาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศ
เมื่อเร็วๆ นี้ วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) โดย คณะอนุกรรมการวิศวกรรมยกหิ้วและปนจั่นไทย ไดจัดงาน เสวนาเรื่อง “เครนลม ! อุบัติภัยซํ้าซาก ใคร ? รับผิดชอบ” ณ อาคาร วสท. (รามคําแหง 39) โดยมีนกั วิชาการ วิศวกร ผูป ระกอบการ บุคลากรและผูส นใจ มารวมงานคับคั่ง ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ (วสท.) กลาววา ปจจุบนั ปรากฏขาวการเกิดอุบตั เิ หตุจากเครน หรือ ปนจั่น ในประเทศไทยอยูบอยครั้ง เฉพาะในป พ.ศ. 2560 ที่ผานมามีขาว ไมนอ ยกวา 10 ครัง้ สงผลใหประชาชนเสียชีวติ กวา 15 ราย สรางความสูญเสีย ทางเศรษฐกิจ ทรัพยสนิ สงผลตอทัง้ ภาพลักษณความนาเชือ่ ถือของอุตสาหกรรม กอสรางและประเทศ ทําใหระยะเวลาการกอสรางตองลาชาออกไป และเกิด คดีความตางๆ ดวย เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 เครนกอสรางถลมจาก ชั้นที่ 7 ของอาคารคอนโดมิเนียม ยานพระราม 9 มีผูเสียชีวิต 1 ราย ทั้งๆ ประเทศไทยมีกฎหมายที่เกี่ยวของมากมายหลายฉบับ มีผูประกอบการบริการ และเช าเครนกวา 200 ราย รวมทั้ งผูทํ างานที่เกี่ยวของจํานวนมากในการ กอสราง แตเหตุใดจึงยังมีอุบัติเหตุเครนอยางตอเนื่อง ดังนั้น วสท. โดยคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมเครื่องกล จึงไดจัดตั้ง อนุกรรมการวิศวกรรมยกหิ้วและปนจั่นไทยในป พ.ศ. 2555 เพื่อเขามามี บทบาทในการพัฒนา วิศวกรผูตรวจสอบปนจั่น/เครน รวมทั้งไดจัดฝกอบรม ใหความรูใ นดานการออกแบบ การตรวจสอบ การใชงาน การบํารุงรักษา สําหรับ ปนจั่น/เครนหลากหลายชนิด เนื่องจากการใชงานเครนกําลังมีบทบาทมากขึ้น ในการใชเคลือ่ นยายสิง่ ของทีม่ นี าํ้ หนักมาก เพือ่ ทดแทนแรงงานคนทีข่ าดแคลน เสริมสรางความรูความเข าใจและสามารถปฏิบัติงานและดูแลบํารุงรักษา ปนจั่น/เครน ใหสามารถใชงานไดอยางปลอดภัยทั้งในโรงงานอุตสาหกรรม และไซตงานกอสรางตางๆ “ในอนาคต วสท.มีแผนงานที่จะพัฒนามาตรฐานการติดตั้ง ตรวจสอบ และบํารุงรักษา ปนจั่น/เครนชนิดตางๆ เพื่อเปนแนวทางใหวิศวกรและผูที่ เกี่ยวของ นําไปใชในการปฏิบัติงานและเปนการยกระดับความปลอดภัยใน
57
Engineering Today September- October
2018
การใชงานปน จัน่ /เครนในประเทศไทย โดยจะมีการ หารือรวมกับหนวยราชการทีเ่ กีย่ วของเพือ่ รวมพัฒนา รายการตรวจสอบและคูมือการตรวจสอบปนจั่น เปนมาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศ”
20 ป อาจทําใหโลหะโครงสรางบางจุดเกิดความลาจากการใชงานมายาวนานได รวมทั้งการปฏิบัติงานในเวลาดังกลาว พบวาไมมีผูควบคุมการใชงานเครนที่มี ประสบการณเพียงพออยูควบคุมการทํางานของผูบังคับเครน
• วสท. แนะ 4 กฎเหล็กบังคับใช เครนอย างปลอดภัย
วุฒินันท ป ทมวิสุทธิ์ ประธานคณะอนุกรรมการ วิศวกรรมยกหิ้วและป นจั่นไทย วสท.
• เผยเครนไม ได มาตรฐาน-อายุงานกว า 20 ป ต นเหตุเครนคอนโดฯ พระราม 9 ล ม
ด า น วุ ฒิ นั นท ป ทมวิ สุ ทธิ์ ประธานคณะ อนุ ก รรมการวิ ศ วกรรมยกหิ้ ว และป น จั่ น ไทย วิ ศ วกรรมสถานแห ง ประเทศไทย ในพระบรม ราชูป ถั ม ภ (วสท.) กลา ววา อุ บัติเ หตุเ ครนลมที่ ถนนพระราม 9 ในโครงการกอสรางคอนโดมิเนียม เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 อาคารมีความสูง 8 ชั้น ซึ่งโครงการดังกลาวมีอาคารทั้งหมด 4 อาคาร โดยจุ ด เกิ ด เหตุ อ ยู ที่ บ ริ เ วณอาคารหมายเลข 2 ชั้นที่ 7 บริเวณที่นั่งคนขับเครนพบผูเสียชีวิตเปน คนขับเครนทีก่ าํ ลังทํางานอยูด า นบนอาคาร เบือ้ งตน คาดว า ขณะที่ เ ครนตั ว ดั ง กล า วกํ า ลั ง ยกของและ หมุนตัวเพื่อจะนําของไปวางในจุดที่ตองการ เครน เกิดเอนตัวและลมลง คนขับหนีไมทนั จึงถูกเครนทับ เสียชีวติ สาเหตุความเปนไปไดอาจเกิดจากการติดตัง้ ที่ไมไดมาตรฐาน และจากขอมูลเบื้องตน พบวาที่ รอยขาดของโครงสรางขาเครนมีรอยรอยสนิมอยาง ชั ด เจนเป น พื้ น ที่ เ กิ น กว า ครึ่ ง หนึ่ ง โดยพบว า มี รอยเนื้อเหล็กที่เพิ่งขาดนอยกวาครึ่งหนึ่งของพื้นที่ หนาตัดของขาเครนดานตรงขามฝงที่ลม คาดวาจะ เกิดรอยสนิมดังกลาวอาจมีรองรอยการแตกราว มากอนเกิดเหตุ แตเนื่องจากรอยแตกราวดังกลาว มีประกับเหล็กปดทับ สงผลใหวิศวกรผูตรวจสอบ หลังการติดตัง้ ไมสามารถมองเห็นหรือตรวจสอบได และพบวาเครนดังกลาวนาจะมีอายุการใชงานกวา
Engineering Today September- October 2018
สาเหตุหลักของอุบตั เิ หตุจากเครน มาจากหลายสาเหตุ เชน 1) โครงสราง ของปนจั่นมีการแตกหัก ในขณะปฏิบัติงาน 2) ขั้นตอนการติดตั้ง ปรับระดับ รื้อถอนปนจั่นไมเปนไปตามมาตรฐาน 3) ชุดอุปกรณดานความปลอดภัยชํารุด เช น ลิ มิ ต สวิ ต ช ตั ด การทํ า งานชํ า รุ ด 4) การยกวั ส ดุ เ กิ น พิ กั ด ที่ กํ า หนด 5) ผูปฏิบัติงาน เชน ผูควบคุมการติดตั้ง ผูบังคับเครน ผูตรวจสอบ ยังขาด ความรูความเขาใจในการทํางานที่ถูกตองและปลอดภัย ดังนั้นจึงควรมี มาตรการตางๆ เพื่อบังคับใชใหเกิดความปลอดภัยใน การทํางาน เช น 1) การใชงานเครน ตองมีการตรวจสอบตามคู มือผูผลิต อยางเครงครัด รวมถึงขั้นตอนกอนการติดตั้งและขั้นตอนการติดตั้งปรับระดับ รือ้ ถอนเครนหอสูง (Tower Crane) โดยเฉพาะอยางยิง่ ในกรณีทเี่ ครนเกามาก อาจตองมีการยกเครือ่ ง (Overhaul) หรือเปลีย่ นชิน้ สวนสําคัญตางๆ เชน สลัก โบลท นอต รวมทั้งมีการตรวจสอบ/ทดสอบเชิงลึกในจุดโครงสรางสําคัญ เชน การทดสอบแบบไมทาํ ลาย (NDT) โดยผูต รวจสอบทีม่ คี ณ ุ สมบัติ 2) ผูป ระกอบ การตองเลือกใชงานเครนที่มีสภาพดีและผานการตรวจสอบ/ทดสอบจาก วิศวกรทีม่ คี ณ ุ สมบัตแิ ละผานประสบการณดา นเครน 3) การใหมผี คู วบคุมการ ใชงานเครนที่มีประสบการณและองคความรูดานงานยกอยูควบคุมตลอดเวลา ที่มีการทํางานยก รวมถึงการจัดทําแผนการยกกอนการทํางาน และ 4) มีการ บังคับใชกฎหมายอยางเขมงวด โดยใหมีการจัดทําแผนงานการตรวจสอบกอน การติดตั้งและขั้นตอนการติดตั้งจากเจาของเครน โดยมีวิศวกรวิชาชีพเปน ผูรับรอง รวมทั้งวิศวกรผูควบคุมการติดตั้งจะตองมีคุณสมบัติ เชน ผานการ ฝกอบรมจากผูผลิต ผูจัดจําหนาย หรือองคกรวิชาชีพ กอนเขาปฏิบัติงาน
• สภาวิศวกรเผยบทเรียนเครนถล มซํ้าซาก ยํ้าต องตรวจสอบงานก อสร างเคร งครัด
ศ. ดร.อมร พิมานมาศ เลขาธิการสภาวิศวกร ไดกลาวถึงเหตุการณ เครนถลมขณะกําลังกอสรางคอนโดมิเนียม The Rise Rama 9 เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2561 สงผลใหมผี ูเสียชีวิตจํานวน 1 รายวา เหตุการณเครนถลม ขณะกําลังกอสรางนั้น เกิดขึ้นมาแลวหลายครั้ง ทั้งในการกอสรางสะพาน ทางวิ่งรถไฟฟายกระดับ และอาคารสูง เชน เครนถลมขณะกอสรางสะพาน ขามแมนํ้าเจาพระยาที่ จ.พระนครศรีอยุธยา เมื่อป พ.ศ. 2559 เครนกอสราง ถลมขณะกอสรางโครงสรางรถไฟฟาสายสีแดง บริเวณหนาวัดดอนเมืองเมื่อ ป พ.ศ. 2560 และเครนกอสรางโรงเรียนนานาชาติ บริเวณถนนพระราม 9 เมื่อป พ.ศ. 2559 ที่ผานมา เครนหรือปนจั่นคือเครื่องจักรขนาดใหญที่ใชในการยกและเคลื่อนยาย สิ่งของ เครนที่ใชในการกอสรางโดยทั่วไปแบงไดเปน 1. ทาวเวอรเครน (Tower Crane) ซึ่งหมายถึงเครนที่สรางเปนลักษณะหอสูงตั้งอยูกับที่มีรัศมีทําการ รอบตัวเครน และ 2. โมบายเครน (Mobile Crane) หมายถึงเครนตั้งอยูบน ลอรถที่เคลื่อนที่ได
58
สํ า หรั บ เครนก อ สร า งโครงการ The Rise Rama 9 จัดเปนประเภท Tower Crane มีความสูง ประมาณ 30 เมตร มีปลายแขนหรือบูมทําการใน ชวงความยาวประมาณ 40 เมตร สภาวิศวกรได รวมกับสมาคมผูต รวจสอบอาคารไดสง ผูช าํ นาญการ เขาเก็บขอมูลการพังถลมเปนเบือ้ งตนแลว เมือ่ วันที่ 30 สิงหาคมที่ผานมา โดยไดรับการประสานงาน จากสถานีตํารวจนครบาลวังทองหลาง ศ. ดร.อมร กลาววา สาเหตุการพังถลมของ เครนตัวนี้ ขณะนีย้ งั ระบุไมได ตองรอผลการรวบรวม และวิเคราะหขอมูลที่ไดรับจากภาคสนามเสียกอน จึงจะสามารถระบุได คาดวาจะใชเวลาประมาณ 2 เดือน
กับบุคคลที่ปฏิบัติงานอยู การวิเคราะหหาสาเหตุจึงตองทําอยางถี่ถวนและ ครอบคลุมปจจัยทุกดานอยางครบถวน และขณะนี้ยังไมสามารถระบุไดแนชัด วาเกิดจากสาเหตุใด” เลขาธิการสภาวิศวกร กลาว ศ. ดร. อมร กลาววา เครนคือเครื่องจักรกลอยางหนึ่ง การใชงานตอง ดูแลรักษา มีหลักการเชนเดียวกับการดูแลรักษารถยนตที่เราใชขับขี่ทุกวัน โดยการใชงานเครนใหปลอดภัยนัน้ จะตองทําการตรวจสอบและบํารุงรักษาเครน โดยแบงออกเปน การตรวจสอบประจําวันตามรายการตรวจสอบโดยพนักงาน ควบคุมเครน และการตรวจสอบเพื่อซอมบํารุงตามรอบเวลาเชนทุก 3 เดือน หรือตามระยะเวลาที่ผูผลิตกําหนด เชนเดียวกับการเอารถยนตเขาตรวจเช็ค ระยะนั่นเอง ที่สําคัญไมแพกันคือพนักงานควบคุมเครน ตองผานการอบรม และตองมีจิตสํานึกที่ไมประมาทและตองปฏิบัติตามขอหนดการใชงานอยาง เครงครัด
วสท. แนะวิธีลดป ญหาอุบัติเหตุจากเครน
ศ. ดร.อมร พิมานมาศ เลขาธิการสภาวิศวกร
• ชี้เครนถล มเกิดได หลายกรณี แนะตรวจสอบ-บํารุงรักษาเครน เพื่อความปลอดภัย
ที่ผานมาเครนกอสรางอาจถลมดวยสาเหตุ ได ห ลายประการ ไดแก 1) การยกนํ้ าหนัก หรือ สิ่งของเกินพิกัดนํ้าหนัก 2) การไมยึดเครนเขากับ โครงสร า งอาคารใหมั่น คง 3) ชิ้ น สวนตลอดจน รอยตอระหวางชิ้นสวนตางๆ ไมแข็งแรง หรือมีจุด ยึดไมพอ 4) อายุการใชงานเครนและการเสือ่ มสภาพ เชน การเกิดสนิมโดยเฉพาะอยางยิง่ ทีบ่ ริเวณฐานเครน 5) ฐานรากทีร่ องรับเครนไมแข็งแรงพอ และ 6) ความ ผิดพลาดของพนักงานที่ปฏิบัติงานในขั้นตอนการ ทํางาน “จะเห็นวา การถลมของเครนกอสรางอาจเกิด ไดหลายกรณี ทั้งปจจัยที่เกี่ยวกับความแข็งแรงใน การรับนํา้ หนักของตัวเครนเอง หรือปจจัยทีเ่ กีย่ วของ
1. ผูประกอบการควรพัฒนาบุคลากรคนขับเครนตองผานการ อบรมใหมีความรูเชี่ยวชาญ และการใชเครนอยางถูกตองและปลอดภัย เลือกใชงานเครนทีม่ สี ภาพดีและผานการตรวจสอบ/ทดสอบจากวิศวกร ที่มีประสบการณดานเครนชนิดนั้นๆ 2. มีการบังคับใชกฎหมายอยางเขมงวด โดยจัดทําแผนงานการ ตรวจสอบกอนการติดตั้ง และขั้นตอนการติดตั้งจากเจาของเครน โดย มีวิศวกรวิชาชีพเปนผูรับรอง รวมทั้งวิศวกรผูควบคุมการติดตั้งจะตอง มีคณ ุ สมบัติ เชน ผานการฝกอบรมจากผูผ ลิต ผูจ ดั จําหนาย หรือองคกร วิชาชีพ กอนเขาปฏิบัติงาน และสงเอกสารรับรองการติดตั้งใหสวนงาน ราชการที่มีหนาที่รับผิดชอบ 3. ปฏิบตั ติ ามระเบียบและกฎหมายอยางเครงครัด ทัง้ การทดสอบ การตรวจสอบ พนักงานขับ พนักงานติดตั้ง หัวหนาควบคุมการติดตั้ง วิศวกรควบคุมการติดตั้ง วิศวกรตรวจสอบ เพราะทุกคนเปนฟนเฟอง ที่สําคัญเพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการทํางาน 4. การใชงานเครน ตองมีการตรวจสอบตามคูมือผูผลิต อยาง เครงครัด รวมถึงขัน้ ตอนกอนการติดตัง้ และขัน้ ตอนการติดตัง้ ปรับระดับ เพิ่ม-ลดความสูง รื้อถอนเครนหอสูง ในกรณีที่เครนเกามาก อาจตองมี การ Overhaul หรือเปลี่ยนชิ้นสวนสําคัญตางๆ เชน สลัก โบลท นอต รวมทั้งมีการตรวจสอบ/ทดสอบเชิงลึกในจุดโครงสรางสําคัญ เชน การ ทดสอบแบบไมทําลาย (NDT) โดยผูตรวจสอบที่มีคุณสมบัติ 5. จัดใหมีผูควบคุมการใชงานเครน ที่มีประสบการณและองค ความรูดานงานยกอยูควบคุมตลอดเวลาที่มีการทํางานยก รวมถึงการ จัดทําแผนการยกกอนการทํางาน 6. พัฒนาวิศวกรผูตรวจ-ทดสอบเครน ใหมีความรูความเขาใจใน การทดสอบ อาจให วสท. เปนหนวยงานกลางรวมกับสวนราชการ เพื่อทดสอบความรูเฉพาะทาง พรอมทั้งขึ้นทะเบียนใหแกวิศวกรผูที่ ผานการทดสอบ
59
Engineering Today September- October
2018
Material 4.0 • กองบรรณาธิการ
LANXESS พัฒนาพลาสติกประสิทธิภาพสูง นํ้าหนักเบา ช วยให โดรนบินได นานขึ้น
อากาศยานไรคนขับทีร่ จู กั กันดีในชือ่ ของโดรน (Drones) มีการพัฒนาการอยางรวดเร็วใน 2-3 ปทผี่ า นมา ไมวา จะในฐานะ เปนของเลนสําหรับเด็กและผูใหญทั้งหลาย หรือที่คุณภาพสูง มากๆ ซึ่ ง ใช ใ นปฏิ บัติ ก ารกู ภัยและช วยการทํา งานในฟารม โดรนกําลังเปนสิ่งที่ทุกคนคุนเคยกันมากขึ้น จากการวิจัยทางการตลาดโดย Gartner ประมาณวามี โดรนถึง 3 ลานเครื่องถูกขายทั่วโลกในป พ.ศ. 2560 สูงขึ้นเกือบ 40% จากปกอนหนา Gartner ยังคาดการณอีกวาตลาดโดรนจะ กลายเปนตลาดหนึ่งที่มีการเติบโตสูงมากๆ ในฐานะอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสสําหรับผูบริโภคทั่วไปในอีกไมกี่ปขางหนานี้ PwC บริษัทที่ปรึกษาชั้นนําของโลกคาดวาตลาดที่จะมีการนําโดรนมา บริการใชงานมีมูลคาถึง 130 พันลานเหรียญสหรัฐ อยางเชน ตลาดกอสรางโครงสรางพื้นฐาน ตลาดการขนสง และตลาดการ รักษาความปลอดภัย เนื่องจากยังสามารถนําโดรนไปประยุกต ใชงานไดอีกมากมาย คาดวาความตองการใชโดรนจะสูงขึ้นมาก อยางตอเนือ่ ง เปดโอกาสใหมๆ ใหแกโรงงานผูผ ลิตวัสดุพลาสติก ประสิทธิภาพสูงอยางแลนเซสส (LANXESS) ความทาทายที่สําคัญมากที่โรงงานผูผลิตโดรนทั้งหลาย ตองเผชิญคือ ระยะเวลาการบินที่จํากัดมากๆ ไดมีการพัฒนา เพิม่ ความจุของแบตเตอรีแ่ ละการใชแหลงพลังใหมๆ ขณะเดียวกัน ก็พยายามลดการใชพลังงานลงและเพิ่มระยะเวลาการบินใหเพิ่ม ขึ้นดวยการลดนํ้าหนักของวัสดุที่นํามาสรางโดรน ดังเชนที่ทํากัน ในอุตสาหกรรมยานยนตอยางกวางขวาง โดยใชวัสดุพลาสติก ประสิทธิภาพสูงของแลนเซสส ในงาน Chinaplas 2018 ซึง่ จัดขึน้ เดือนเมษายนทีผ่ า นมา แลนเซสส โดยหนวยธุรกิจวัสดุประสิทธิภาพสูง (High Performance Materials (HPM) Business) ไดแสดงโซลูชั่นทางดานวัสดุชั้นสูง หลายผลิตภัณฑ ประกอบดวยใบพัดของโดรนที่สรางมาจากวัสดุ เสริม ใยแก ว ชนิ ด สั้ น (Short Glass Fibre-reinforced) ในชื่ อ ผลิตภัณฑวา Durethan (Polymide 6) มีคุณสมบัติทางวัสดุที่ คอนขางสมดุล สามารถฉีดขึ้นรูปตางๆ ไดโดยมีนํ้าหนักเบา แต แข็งแกรงและทนทาน มีความสามารถตานทานความเสื่อมที่เกิด
Engineering Today September- October 2018
60
จากแสง UV และเหมาะสําหรับใชงานนอกอาคาร มีผลทําให ใบพัดของโดรนที่ทําจากวัสดุพลาสติกของแลนเซสสตัวนี้มีความ สวยงาม นามอง และอายุการใชงานนานขึ้น นอกจากจะใช ใ นการสร า งป ก และใบพั ด ของโดรนแล ว พลาสติกประสิทธิภาพสูงตัวนี้ยังสามารถใชทําลําตัวและฐานลอ (Landing Gear) ชวยรับแรงกระแทกในขณะรอนลงของโดรนได อีกดวย ซึ่งจะชวยลดนํ้าหนักของโดรนโดยรวมลง สงผลใหบินได นานขึน้ รวมทัง้ ลดการสัน่ สะเทือนและเสียงดังนารําคาญ นอกจาก นัน้ ยังชวยลดแรงตานทาน ลดการทีว่ สั ดุทใี่ ชทาํ ตัวโดรนไปรบกวน คลื่นสัญญาณวิทยุ ทําใหกระบวนการผลิตงายขึ้นและเพิ่มความ คลองตัวใหแกการออกแบบโครงสรางของโดรน “ท า มกลางกระแสการพั ฒนาอุ ต สาหกรรมไฮเทคและ การเพิ่มความนิยมในอุปกรณที่ขับเคลื่อนดวยไฟฟา แลนเซสส มองเห็นโอกาสและศักยภาพทีส่ าํ คัญในการนําวัสดุของแลนเซสส ไปประยุกตใชงานอยางกวางขวางมากขึน้ เรามีวสั ดุหลายตัวทีถ่ กู พัฒนาจากฐานวัสดุ PA6, PA66 และ PBT เราไดพัฒนาโซลูชั่น ที่เปนนวัตกรรมขึ้นมาหลายตัวเพื่อตอบสนองความตองการใช วัสดุทมี่ คี ณ ุ ภาพสูงซึง่ เพิม่ ขึน้ อยูต ลอดเวลา” Dr.Axel Tuchlenski ผูนําหนวยงานพัฒนาผลิตภัณฑและการนําไปใชงานระดับโลก (Global Product and Application Development) หนวยธุรกิจ วัสดุประสิทธิภาพสูงของแลนเซสส กลาว พลาสติกประสิทธิภาพสูงของแลนเซสส ถูกนําไปใชอยาง กวางขวาง อยางเชนในอุปกรณเครือ่ งใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ในการออกแบบผลิตภัณฑทตี่ อ งการนํา้ หนักเบา ในเครือ่ งมือการ ชารจไฟฟา โซลูชั่นทางดานแบตเตอรี่ เซ็นเซอรสําหรับยานยนต ไรคนขับ โครงของมอเตอร (Motor Housing) และโครงสราง พื้นฐานสําหรับยานยนตที่ใชไฟฟา เชน สถานีชารจไฟฟา วัสดุ ทางดานวิศวกรรมภายใตแบรนด Durethan มีความสามารถทน ความเคนเชิงกล (Mechanical Stress) ในขอบเขตอุณหภูมิที่ คอนขางกวางและมีคณ ุ สมบัตทิ เี่ ปนประโยชนในดานความแข็งแรง (Strength) ความเหนียว (Toughness) ทนความรอน อายุการ ใชงานยาวนาน และทนทานการเสื่อมสภาพ
Property • กองบรรณาธิการ
ออริจิ้น เป ดตัว คอนโดฯ หรู “Park Origin Phayathai”
แลนด มาร คแห งใหม ย านพญาไท ที่เป นมากกว าที่อยู อาศัย
พีระพงศ จรูญเอก ประธานเจ าหน าที่บริหาร
บริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอร ตี้ จํากัด (มหาชน) หรือ ORI
บริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอรตี้ จํากัด (มหาชน) หรือ ORI บริษัทผูพัฒนาอสังหาริมทรัพยในแนวดิ่ง ภายใตแบรนด พารค ออริจิ้น (Park Origin) ไนทบริดจ (Knightsbridge) นอตติ้ง ฮิลล (Notting Hill) เคนซิงตัน (Kensington) และโครงการแนวราบ แบรนดบริทาเนีย (Britania) เปดตัวคอนโดมิเนียมลักซูรี่ติดถนน ใหญ “Park Origin Phayathai” ซึ่ง เป น อาคารสูง 35 ชั้น 1 อาคาร 500 ยูนิต มูลคาโครงการกวา 4,800 ลานบาท คาด กอสรางแลวเสร็จป พ.ศ. 2565 พี ร ะพงศ จรูญ เอก ประธานเจา หนา ที่บ ริห าร บริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอรตี้ จํากัด (มหาชน) หรือ ORI กลาววา ออริ จิ้ น ใหค วามสํ า คั ญ กั บ การทํ า ธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย ทั้ง ใน แนวราบและแนวดิ่งมาโดยตลอด โดยเฉพาะการเลือกทําเลที่ดิน ทั้งที่เปนยานใจกลางเมืองและชานเมืองเพื่อรองรับการใชชีวิต ของกลุมผูบริโภคที่ตองการความสะดวกสบาย มีสิ่งอํานวยความ สะดวก มีการคมนาคมที่ดี มีเทคโนโลยีทันสมัยเขามาผสมผสาน ในการใชชีวิต เพิ่มจํานวนพื้นที่สีเขียวในพื้นที่พักอาศัยในแตละ โครงการมากขึ้น โดยเฉพาะพื้นที่ใจกลางเมืองอยางยานพญาไท ออริจิ้นไดสราง Mega Project บนพื้นที่ 2 ไรเศษ เพื่อพัฒนา คอนโดมิเนียมลักซูรี่แบรนดนองใหมโครงการ “Park Origin Phayathai” ซึ่งออกแบบใหเปนอาคารรูปตัว L สูง 35 ชั้น 1 อาคาร 500 ยูนิต มีลิฟตโดยสารที่ใชในพื้นที่รวม 4 ตัว และ Service Lift 1 ตัว รูปแบบหองประกอบดวย แบบ 1-2 หองนอน เพดานสูง 3 เมตร ความกวางทางเดินอยูที่ประมาณ 0.9 เมตร ขนาดตั้งแต 24-55 ตารางเมตร ราคาเริ่มตนที่ 5.8 ลานบาท ตอหอง รวมมูลคาโครงการกวา 4,800 ลานบาท และโครงการ One Phayathai อาคาร Mixed Use ประกอบไปดวยอาคาร สํานักงาน รานคา และโรงแรม เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณและ ความคึกคักใหกับทําเลโครงการมากยิ่งขึ้น
กมลวรรณ วิปุลากร
ประธานเจ าหน าที่บริหาร บริษัท วัน ออริจิ้น จํากัด
61
Engineering Today September- October
2018
โครงการ Park Origin Phayathai นี้ ออริจิ้นไดนํา แนวคิด A Perfect Living Platform ที่ผสมผสานธรรมชาติ เทคโนโลยี และสั ง คม ซึ่ ง เป น หั ว ใจหลั ก ของการใช ชี วิ ต ที่ สมบูรณแบบในปจจุบันและในอนาคต เขามาไวในโครงการ อีกทัง้ สรางจุดแตกตางใหเปนแลนดมารคบริเวณพืน้ ทีพ่ ญาไท ดวยดีไซนที่แปลกใหมเปนเอกลักษณ สรางสวนแนวตั้ง หรือ Vertical Garden แหงแรกในกรุงเทพฯ โดยเนนพื้นที่สีเขียว กลางแจงขนาดใหญไลจากชั้น 1-35 รวม 1,800 ตารางเมตร และมีพื้นที่พักผอนในแตละชั้น ประกอบดวย ชั้น 1 ดีไซน แบบ The Garden Base Camp พื้นที่พักผ อนชั้นลาง, ชัน้ 12 ดีไซนแบบ The Cascade Pool สระวายนํา้ ทีอ่ อกแบบ มาในแนวคิดนํา้ ตก, ชัน้ 15 ดีไซนแบบ The Healing Terrace พื้ น ที่ พั ก ผ อ นที่ มี ก ารจั ด สวนดอกไม แ ละต น ไม ส มุ น ไพร, ชั้น 18 ดีไซนแบบ The Tree Cabin พื้นที่พักผอนที่มีการ ออกแบบมาในแนวคิดบานตนไมผสมผสานกับ Pavilion, ชั้น 21-30 ดีไซนแบบ The Flower Field สวนดอกไมที่มี การจัดมาในหลายรูปแบบ ไดแก Hammock, Court, Bench และ ชั้น 35 ดีไซนแบบ The Starry Sky Lounge ชั้น ดาดฟาที่จัดพื้นที่นั่งเลนชมวิวมุมสูง
Engineering Today September- October 2018
62
สําหรับการเดินทางสะดวกสบายเพราะใกลกบั รถไฟฟา Interchange ทั้ง BTS และ Airport Link พญาไท ในระยะเดินไดสะดวกประมาณ 300 เมตร ใกลกับยานอนุสาวรียชัยสมรภูมิ ที่มีการคมนาคม เดินทางไดทงั้ รถตู รถโดยสารประจําทาง และรถแท็กซี่ จํานวนมาก นอกจากนี้ยังมีสถานที่สําคัญใกลเคียง ตางๆ เชน Century The Movie Plaza, King Power Complex และ โรงแรม Pullman King Power โรงพยาบาลราชวิถี สํานักงานเขตราชเทวี อาคาร วรรณสรณ โรงแรมเดอะ สุโ กศล สวนสันติภาพ อาคารพญาไท พลาซา โรงเรียนสันติราษฎรวทิ ยาลัย โรงเรี ย นศรี อ ยุ ธ ยา C.P. Tower 3 โรงพยาบาล พญาไท 1 Heap Cafe & Restaurant โรงพยาบาล พระมงกุฎเกลา วิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา พระราชวังพญาไท โรงเรียนอํานวยศิลป วิทยาลัย พยาบาลกองทั พ บก และโรงพยาบาลรามาธิ บ ดี เปนตน ทั้งนี้จะเริ่มกอสรางในเดือนมกราคม 2562 และคาดวาจะกอสร างแล วเสร็ จ ประมาณป พ.ศ. 2565 ดาน กมลวรรณ วิปุลากร ประธานเจาหนาที่ บริหาร บริษัท วัน ออริจิ้น จํากัด บริษัทที่ดูแลธุรกิจ ที่ ส ร า งรายได ห มุ น เวี ย นในเครื อ บริ ษั ท ออริ จิ้ น พร็อพเพอรตี้ จํากัด (มหาชน) กลาววา เพื่อใหเกิด ประสบการณการพักอาศัยรูปแบบใหม ใหการทํางาน การพักอาศัย และสิ่งอํานวยความสะดวกเชื่อมกัน เปนการอยูอาศัยที่สมบู รณ บริษัทฯ จึงไดพั ฒนา โครงการ ONE Phayathai เปนโครงการมิกซยูส 1 อาคาร ประกอบด วย พื้ นที่คาปลีก สํานักงาน Co-working Space โรงแรม สรางสังคม ทีต่ อบโจทย ทุกมิติการใชชีวิตและไลฟสไตลที่สะทอนความเปน ตัวเอง นอกจากนี้จะใชแบรนดคราวน เรสซิเดนซ ในเครือวัน ออริจิ้น เขามาชวยดูแลบริการสวนกลาง ของทีอ่ ยูอ าศัยใหมบี ริการเทียบเทามาตรฐานโรงแรม ระดับสากล ทําใหพนื้ ทีส่ ว นกลางมีบริการทีพ่ รีเมียม เหนือระดับ ขณะนีอ้ ยูร ะหวางเจรจาสรางความรวมมือกับ เชนโรงแรมระดับสากล ในการดูแลพื้นที่สวนกลาง โดยจะก อสรางหลั ง จากโครงการ Park Origin Phayathai กอสรางไปแลว 6 เดือน เพื่อใหงาน กอสรางมีความคลองตัวและการบริหารการกอสราง แลวเสร็จตามแผนการดําเนินงาน
6 63
Engineering Today September- October
2018
Project Management • ดร.พรชัย องควงศสกุล dr.pornchai.ong@gmail.com
บทสรุปการดําเนินธุรกิจ บนพื้นฐานความเจริญเติบโต ทางธุรกิจอย างยั่งยืน ตอนที่ ๑ (Doing Business Base On Business Growth and Sustainability) Part I
การดําเนินธุรกิจทีม่ รี ากฐานจากกระบวนทัศนแบบตะวันตก ที่มีทัศนะวาหนาที่หลักของการดําเนินธุรกิจคือการแสวงหากําไร สูงสุด (Maximum Prot) ซึ่งไดอิทธิพลมาจากแนวความคิดหลัก ของนักเศรษฐศาสตรรางวัลโนเบล นามวา มิลตัน ฟรายดแมน (Milton Friedman) เจาของประโยคที่โดงดัง “ในโลกนี้ ไมมีอะไร ที่ไดมาฟรีๆ” (There’s No Such Thing as a Free Lunch.) เขาได กลาววา “หนาทีห่ นึง่ เดียวของบริษทั คือการใชทรัพยากรของบริษทั และประกอบกิจกรรมทีเ่ พิม่ ผลกําไร ตราบเทาทีอ่ ยูใ นกฎของการ แขงขัน” การวางแผนกลยุทธทางธุรกิจ (Strategic Business Plan) จึงมีการตั้งเปาที่ความเจริญเติบโตอยางตอเนื่องและการทําผล กําไรสูงสุดตอองคกร สงผลใหเกิดการเอาเปรียบสังคมกันมากขึน้ ดวยมุง หวังทีผ่ ลประโยชนและแสวงหาผลกําไรสูงสุดของนักธุรกิจ จํานวนมาก ทําใหสรางปญหาตางๆ มากมาย รวมทั้งการขาด จริยธรรมและคุณธรรมทางการบริหาร เมื่อเปาหมายของการลงทุนเนนที่การสรางกําไรและผล ตอบแทนทางการเงินเทานัน้ แตมแี นวทางการแกไขปญหาในการ ดําเนินธุรกิจ ดวยการนําองคประกอบอื่นที่ไมใชการเงินเขามา เปนสวนหนึ่งของการดําเนินการ การวิเคราะหการลงทุน โดยได นําหลักการ “บรรษัทภิบาล” (Corporate Governance) มาเปน หลักสําคัญประการหนึ่งของการลงทุน เพราะ “บรรษัทภิบาล”
Engineering Today September- October 2018
64
เปนการบริหารธุรกิจทีม่ คี วามโปรงใส ตรวจสอบได มีการบริหาร ความเสี่ยงที่ดี เปนการสรางความเชื่อมั่นแกผูถือหุนและผูลงทุน และขยายขอบเขตของการดําเนินธุร กิจสู การลงทุ นที่เรียกวา การลงทุนที่มีความรับผิดชอบ (Responsible Investment) และ องคกรธุรกิจเริ่มใสใจในการประกอบผานคุณความดีทางธุรกิจ โดยมีความรับผิดชอบตอสังคมของธุรกิจ” หรือเรียกกันยอๆ วา “CSR” (Corporate Social Responsibility) หรือการลงทุนอยาง ยั่งยืน (Sustainability Investment) การลงทุนตามแนวทางนี้ ทํ าให ทั้งในส วนของนักลงทุนและบริษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย ตางปรับทิศทางในการลงทุนและการบริหารธุรกิจมา สูแนวทางแหงความยั่งยืน
ความหมายหลักสําคัญของธรรมาภิบาล (Good Governance) คําวาธรรมาภิบาลหรือบรรษัทภิบาล เปนคําทีม่ คี วามหมาย และความตองการเดียวกัน แตตา งกันตรงทีห่ ากนําไปใชในภาครัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ เราจะใชคาํ วาธรรมาภิบาล (Good Governance) แตหากนําไปใชภาคธุรกิจเราจะเรียกวาบรรษัทภิบาล (Good Corporate Governance)
ความหมายของสมาคมผูต รวจสอบภายในแหงประเทศไทย คือ หลักในการบริหารจัดการธุรกิจทุกขนาดใหเติบโตอยางมั่นคง ดวยการสรางกลไกควบคุมการดําเนินงานขององคกร ใหเปนไป อยางโปรงใสและเกิดความเปนธรรมตอผูถือหุน คณะกรรมการ ผูบริหาร พนักงาน คูคา ลูกคา ตลอดจนรับผิดชอบตอชุมชนและ สิ่งแวดลอม ความหมายโดย คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย (ก.ล.ต.) สหรัฐอเมริกา อาเธอร ลีวิต ประธาน ก.ล.ต. สหรัฐอเมริกาใหความหมายบรรษัทภิบาล ดังนี้ ๑. ความบริบรู ณของความประพฤติ (Integrity of Character) ๒. ความบริบูรณของสารสนเทศ (Integrity of Information) ๓. ความบริ บู ร ณ ข องการปฏิ บั ติ ต ามกฎ (Integrity of Auditing and Compliance System) ๔. ความบริบูรณของพันธกิจ (Integrity of Mission) ความหมายโดย Business Roundtable ซึ่งเปนที่รวมของ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร (CEO) ของบริษทั ชัน้ นําในสหรัฐอเมริกา ไดใหคําจํากัดความของบรรษัทภิบาลไว ดังนี้ “บรรษัทภิบาล ไมใชเปาหมายที่เปนนามธรรม หากแตเปน สิ่งที่นําไปสูวัตถุประสงคขององคกร โดยการกําหนดโครงสราง ภายในองคกรที่ผูถือหุน กรรมการ และฝายบริหารสามารถมุงไป สูวัตถุประสงคขององคกรอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด” ความหมายโดย ธนาคารโลก Shleifer and Vishny ให คําจํากัดความบรรษัทภิบาลไวในรายงานตอธนาคารโลกป ค.ศ. ๑๙๙๗ วา “บรรษั ท ภิ บาล หมายถึง ความมั่น ใจวา กรรมการ (จาก ภายนอก) และฝายจัดการ (ลูกจาง) ไดกระทําอยางเต็มที่เพื่อ ผลประโยชนสงู สุดของผูล งทุนจากภายนอก (คือเจาหนีแ้ ละผูถ อื หุน )” แนวคิดการทําธุรกิจตามหลัก “บรรษัทภิบาล” ยังนับเปน ของใหมสําหรับสังคมไทย ซึ่งถาวากันงายๆ หลักบรรษัทภิบาล ก็เ ปรี ย บเหมื อ นจรรยาบรรณของคนทํา ธุร กิจ ที่ใ สใจกับ หลัก คุณธรรมในการบริหาร โปรงใสและตรวจสอบไดควบคูไ ปกับความ อยูรอดและเติบโตของกิจการ หลักสําคัญ ๗ ประการของธรรมาภิบาล (Good Governance) การปฏิบัติหนาที่โดยยึดหลักธรรมาภิบาลนั้น เปรียบเสมือนกับ การทําหนาที่ที่ไดรับมอบหมายกับบุคคลทุกคนที่ทานมีความ
เกี่ยวของดวย ไมวา จะเปนเพือ่ นรวมงาน ผูบ งั คับบัญชา ผูใ ตบงั คับ บัญชา ตลอดจนสังคมและสิ่งแวดลอม โดยอาศัยหลักสําคัญๆ ๗ ประการ คือ ๑. หลักการมีความรับผิดชอบตอผลการปฏิบัติหนาที่ หรือ Accountability ๒. หลักการมีความสํานึกในหนาทีด่ ว ยการทีต่ อ งมีขดี ความ สามารถที่แทจริง และประสิทธิภาพที่ดีพอ หรือ Responsibility ๓. หลักการยอมรับการปฏิบัติตอผูมีสวนไดสวนเสียอยาง เทาเทียมกัน หรือ Equitability Treatment ๔. หลักความโปรงใส หรือ Transparency กลาวคือ ตอง โปรงใสในการดําเนินงานทีส่ ามารถอธิบายได ตรวจสอบ ได และยังมีการสื่อสารเปดเผยขอมูลอยางโปรงใส ๕. หลักการสรางมูลคาเพิม่ ใหกบั กิจการในระยะยาว โดยไม ทําลายขีดความสามารถหรือมูลคาองคกรในระยะสั้น หรือ Creation of Long Term Value ๖. หลักการสงเสริมการปฏิบตั อิ นั เปนเลิศ และการมีจรรยา บรรณทีด่ ใี นการประกอบธุรกิจ หรือ Promotion of Best Practices รวมทัง้ การสรางวัฒนธรรม และจรรยาบรรณ ของพนักงานทุกคน หรือ Ethics และ Code of Conduct ใหทกุ คนมีคณ ุ ธรรมในการปฏิบตั งิ านทีเ่ พิม่ คุณคาใหกบั ตนเองและองคกร ๗. หลักความสํานึกทีต่ อ งรับผิดชอบตอสังคมและสิง่ แวดลอม หรือ Social Awareness หลั ก การบรรษั ท ภิ บ าล (GCG : Good Corporate Governance) ไดสรางประโยชนใหประกอบกิจการไดอยางเปน ผลสําเร็จ มีมูลคาเพิ่ม มีกําไรที่นํามาแบงปนใหกับผูถือหุนและ ผูมีสวนไดสวนเสียทุกกลุม ทําใหสามารถทําการลงทุนสรางผล ตอบแทนตอไปไดดี สรางความนาเชือ่ ถือใหกบั องคกรและประเทศ ชาติ สรางความเจริญเติบโตใหเปนความสุข ความเจริญรุง เรืองกับ ผูท เี่ กีย่ วของ การกํากับกิจการทีด่ ดี ว ยบรรษัทภิบาลเปนการสราง “ภูมคิ มุ กัน หรือเกราะปองกัน” ใหแกบริษทั ตอการทุจริตคอรรปั ชัน ที่อาจเกิดขึ้น การสรางภูมิคุมกันดังกลาวนั้นมีฐานบนหลักการ ของความรับผิดชอบตอหนาที่ของกรรมการ ในฐานะของตัวแทน ผูถือหุนทุกรายที่จะปฏิบัติหนาที่ในการตรวจสอบอยางจริงจัง
65
Engineering Today September- October
2018
และดําเนินการโดยความรอบคอบและระมัดระวัง หลักการของ ความโปรงใสที่จะชวยสงเสริมใหระบบการตรวจสอบภายใน องคกร มีประสิทธิภาพมากขึ้นเพื่อที่จะใหผูถือหุนมีความมั่นใจ วา การบริหารจัดการของบริษัทนั้นเปนไปในทิศทางที่กอใหเกิด ผลประโยชนสงู สุดแกบริษทั และชวยปองกันการทุจริตและฉอโกง ในบริษทั อีกดวย สุดทาย หลักการของความเทาเทียมกันจะรับรอง วาผูถ อื หุน ทุกรายไมวา ใหญหรือเล็กจะไดรบั การปฏิบตั ทิ เี่ ปนธรรม
ความหมายของคําว า CSR สู มาตรฐานองค กรต นแบบ ISO 26000 คํ า ว า CSR ที่ ย อ มาจากคํ า ว า Corporate Social Responsibility ซึง่ อาจแปลเปนภาษาไทยไดวา “ความรับผิดชอบ ตอสังคมของธุรกิจ” จากคําของ World Business Council for Sustainable Development ที่นิยาม CSR ไววา “เปนความมุง มัน่ หรือพันธสัญญาทีธ่ รุ กิจมีอยูอ ยางตอเนือ่ ง ในการที่จะประพฤติปฏิบัติอยางมีจริยธรรม และมีสวนรวมใน การพั ฒนาเศรษฐกิ จ ด ว ยการปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพชี วิ ต ของผู ใ ช แรงงานและครอบครัวของเขาเหลานัน้ ตลอดจนมีสว นรวมในการ พัฒนาชุมชนทองถิ่นและสังคมในวงกวาง” (“The continuing commitment by business to behave ethically and contribute to economic development while improving the quality of life of the workforce and their families as well as of the local community and society at large”) CSR หรือ บรรษัทบริบาล หมายถึง การดําเนินกิจกรรม ภายในและภายนอกองคกร ที่คํานึงถึงผลกระทบตอสังคมทั้งใน ระดับใกลและไกล ดวยการใชทรัพยากรที่มีอยูในองคกรหรือ ทรัพยากรจากภายนอกองคกรในอันทีจ่ ะทําใหอยูร ว มกันในสังคม ไดอยางเปนประโยชนสุข ซึ่งครอบคลุมตั้งแต การวางแผน การ ตัดสินใจ การสื่อสารประชาสัมพันธ การบริหารจัดการ และการ ดําเนินงานขององคกร สังคมใกล คือ ผูที่มีสวนเกี่ยวของใกลชิด กับองคกรโดยตรง ไดแก พนักงาน ผูมีสวนไดสวนเสีย ผูบริหาร ลูกคา คูคา ครอบครัวของพนักงาน ชุมชนที่องคกรตั้งอยู เปนตน และสังคมไกล คือ ผูท เี่ กีย่ วของกับองคกรโดยออม ไดแก คูแ ขงขัน ทางธุรกิจ ประชาชนทั่วไป ชุมชนที่อยูไกลจากองคกรนั้นๆ รวม ทั้งสิ่งแวดลอม เปนตน
Engineering Today September- October 2018
66
องคกรตนแบบ ISO 26000 หลัก ๗ ประการ CSR ในป พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรฐานระหวางประเทศอยาง ISO 26000 ที่วา ดวยความรับผิดชอบตอสังคม กําลังจะไดรับการประกาศใชอยาง เปนทางการ แมจะออกมาเปนลักษณะของแนวปฏิบัติ แตเชื่อวา มาตรฐานที่วาจะยิ่งปลุกกระแสความรับผิดชอบตอสังคมของ องคกร หรือ CSR ทีไ่ ดรบั การพูดถึงมากในวันนี้ ใหแรงขึน้ มากขึน้ และขยายวงกวางขวางขึ้ น แนวคิด เรื่อง CSR ของเรามาจาก ความเชื่อที่วาองคกรจะดีและยั่งยืนไดทุกภาคสวนตองดีดวย ซึ่ง แนวทางทั้ง ๗ ประการ ประกอบดวย ประการแรก ในกรอบผูบริโภค (Consumer Issues) ที่ ครอบคลุม เรื่องการเปดเผยขอมูล การพัฒนาผลิตภัณฑที่ตอบ สนองความตองการของลูกคา รวมถึงเรือ่ งจริยธรรมในการดําเนิน ธุรกิจ ประการที่ ๒ การกํากับดูแลกิจการที่ดี (Organization Governance) เรื่องนี้นอกจากธนาคารจะใหความสําคัญในการ สรางวัฒนธรรมบรรษัทภิบาลขึน้ ในธุรกิจโดยกําหนดอยูใ นพันธกิจ นโยบายและการบริหารจัดการ ประการที่ ๓ การปฏิบัติตอพนักงาน (Labor Practices) องคกรมีการกําหนดขอพึงปฏิบตั ติ า งๆ เพือ่ ใหพนักงานมีคณ ุ ภาพ ชีวิตที่ดี ประการที่ ๔ สิทธิมนุษยชน (Human Rights) ใหความ สําคัญในการจัดสิทธิขั้นพื้นฐานและปฏิบัติตามกฎหมายอยาง เครงครัด สนับสนุนสหภาพแรงงาน และมีการจัดตัง้ คณะกรรมการ กิจการสัมพันธเพื่อดูแล และแกไขปญหา หรือขอรองทุกขดาน สิทธิของพนักงานโดยเฉพาะ ประการที่ ๕ สิง่ แวดลอม (Environment) ชวยกันแกปญ หา สิง่ แวดลอมในพืน้ ทีส่ ถานประกอบการ พืน้ ทีใ่ กลเคียงและการชวย เหลือสิง่ แวดลอมใหกับชุมชนอื่นๆ อีกทั้งการพัฒนาสิ่งแวดลอม ใหกลับสูความเปนธรรมชาติ ประการที่ ๖ การปฏิบัติอยางเปนธรรม (Fair Operation Practices) ภายใตกรอบนี้เปนการดําเนินการเรื่องการสงเสริม เรื่องบรรษัทภิบาลและการทํางานอยางโปรงใสและเปนธรรม ประการสุดท าย การเขาไปมีสวนรวมในชุมชนและการ พัฒนาสังคม (Community Involvement /Social Development) เปนความชวยเหลือที่เนนการแกไขปญหาในชุมชนและสังคม อยางถาวรและตอเนื่อง
CSR สามารถเรียกไดวาเปนโครงการหรืออาจเรียกไดวา เปนพันธกิจ (Mission) ทีอ่ งคกรปวารณาตนใหคาํ มัน่ สัญญาทีจ่ ะ สรางสรรค ชวยเหลือสังคมในรูปแบบตางๆ เปนเครือ่ งมือทีท่ าํ ให องคกรหลีกพนจากคําวา “เห็นแกตัว” ไดเปนอยางดี CSR ยิ่งมี ผลกระทบ (Impact) มากเทาใด ยิง่ สรางเกียรติคณ ุ และภาพลักษณ อันดีงามใหกบั องคกรไดมากเทานัน้ เพราะการทํา CSR ก็เหมือน กับ Reputation Management เปนการจัดการสือ่ เสียงขององคกร (Keep Image) ใหดูดี มีความโอบออมเอื้ออารี เปนหนทางของ สร า งความมั่ ง คั่ ง ซึ่ ง ถื อ ว า ถู ก ต อ งเช น กั น หากองค ก รนั้ น มี “ความจริงใจ” และมี “จิตวิญญาณ” ที่รับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม และสังคม ตองรูจักที่จะคืนกลับโดยไมหวังผลตอบแทน ไมใช กอบโกยเอาแตไดเพียงฝายเดียว เมือ่ ไดจากสังคมแลวก็คดิ ทีจ่ ะคืน กลับสูสังคมและสิ่งแวดลอม ในปจจุบนั ความยัง่ ยืนของธุรกิจ หากองคกรธุรกิจสามารถ นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประยุกตใชกับแนวทางใน การทําธุรกิจในรูปของการทํา Corporate Social Responsibility (CSR) จะมีผลทําใหธุรกิจนั้นๆ เติบโตไดอยางมีเสถียรภาพและ ยั่งยืนโดยที่สังคมยอมรับ นอกจากนี้แนวคิด CSR ยังจะชวยให บริษทั ตางๆ ไดผลคุม คาจากการทําการตลาดในแงกจิ กรรม CSR เพื่อสังคมดวย กลาวคือ ชวยใหภาพลักษณของบริษัทนั้นๆ ดีขึ้น ชวยสงเสริมในการสรางแบรนด (Rebranding) ชวยสงเสริมการ ตลาด และที่สําคัญที่สุดคือความรับผิดชอบตอสังคมของธุรกิจ (CSR: Corporate Social Responsibility) เปนกิจกรรมทีอ่ งคกร ธุรกิจใสใจถึงประโยชนสุข (ประโยชนที่ทําแลวมีความสุข) ทั้งผูให และผูรับ GCG (Good Corporate Governance) และ CSR (Corporate Social Responsibility) เปนแนวทางการดําเนิน ธุรกิจเพื่อกาวสูเกณฑวัดความยั่งยืนทางธุรกิจเพื่อการตอบรับ การเปนสมาชิก DJSI ในหลักสําคัญ ๓ ประการที่ถูกกําหนดไว คือ ESG (Environment-Social-Government) ในการรับรอง เปน Member of Dow Jones Sustainability Indices in Collaboration with RobecoSAM ซึ่งทั้งหลักการดําเนินธุรกิจ ในแนวทางของ GCG และ CSR จึงเปนกระบวนการในแนวทาง กาวสูก ารเปนสมาชิก DJSI เพือ่ ตอบสนองความเปนธุรกิจทีย่ งั่ ยืน ในอนาคต
DJSI 2018 Review Results-September by RobecoSAM วันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2561 “ผูสื่อขาวประชาชาติธุรกิจ” รายงานวา S&P Dow Jones Indices และ RobecoSAM ได ประกาศรายชื่อบริษัทที่ไดรับคัดเลือกใหเปนสมาชิกดัชนีความ ยั่งยืนดาวโจนส (Dow Jones Sustainability Indices-DJSI) ประจําป พ.ศ. 2561 และกลุมดัชนี DJSI Emerging Markets มี จํานวน 20 บริษัท
บรรณานุกรม 1. ขาวประชาชาติธุรกิจ : 20 บจ.ไทย ติด DJSI ป 2561 “SCB, CPALL, CPN” มาแรงขึ้นชั้น World โดยเอกสารเผยแพรออนไลน ประชาชาติธุรกิจ 2. เอกสารเผยแพร On the Wireless Road ฉบั บ 1/2545 โดยสํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย เรื่องมาตรการ ก.ล.ต. ในการสงเสริมการกํากับดูแลกิจการที่ดี 3. รายงานของสถาบั น วิ จั ย เพื่ อ การพั ฒ นา ประเทศไทย (ทีดีอารไอ) ฉบับที่ 29 เรื่องการคอรรัปชัน ในภาคธุ ร กิ จ กั บ ธรรมาภิ บ าลในประเทศไทย โดย เดือนเดน นิคมบริรักษ และรจิตกนก จิตมั่นชัยธรรม บทความในคอลัมน ระดมสมอง โดย ศิรชิ ยั สาครรัตนกุล ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ปที่ 29 ฉบับที่ 3705 (2905) 4. บทความ “CSR ยิ่งใหยิ่งไดมากกวา ” โดย อรรถสิ ท ธิ์ เหมื อ นมาตย Positioning Magazine ตุลาคม 2547 5. บทความคอลัมน CSR IN Movement โดย ผศ.สุทธิศักดิ์ ไกรสรสุธาสินี อาจารยจากภาควิชาการ ตลาด คณะพาณิชยศาสตร การบัญชี มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร ประชาชาติธุร กิจ วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ปที่ 29 ฉบับที่ 3702 (2902)
67
Engineering Today September- October
2018
Advertorial • บริษัท ไอกัส จํากัด
นวัตกรรม
Ethernet Cables สําหรับมาตรฐานที่สูงกว า ความกาวหนาทางเทคโนโลยีของระบบอัตโนมัตใิ นโรงงานอุตสาหกรรม และความตองการเชือ่ มตอเครือขายทีเ่ พิม่ ขึน้ ไดผลักดัน ให Ethernet Protocol เปนรากฐานสําคัญของงานสายเคเบิลที่ทันสมัยในปจจุบัน พรอมทั้งการพัฒนามาตรฐานทางเทคนิคและ สายเคเบิล Ethernet อยางตอเนื่องควบคูกันไป เดิมสายเคเบิล Ethernet ใชสําหรับเชื่อมโยงขอมูลภายในขายงานบริเวณเฉพาะที่ เนื่องจาก Internet of Things (IoT) ไดผลักดัน ความตองการใชสายเคเบิลประเภทนี้ Ethernet Protocol จึงไดเขาสูร ะบบอัตโนมัตใิ นโรงงานอุตสาหกรรม และ Ethernet Ports สามารถ พบไดในระบบอัตโนมัติ ไมวาจะเปน Motor Drives และ PLCs ไปจนถึงกลองและหุนยนต สายเคเบิล Ethernet ที่สามารถรองรับงานอุตสาหกรรมทางกลและยังคงทํางานตามระบบไฟฟา และโซลูชั่นที่สําคัญในการ เลือกใชสาย Ethernet ที่ไดรวมความถี่สูงและแบนดวิธที่มีอายุการใชงานยาวนาน และเพื่อตอบสนองโซลูชั่นเหลานี้ เราจึง แนะนําสายเคเบิล chainex® Ethernet จาก igus® ซึ่งเปนไปตามมาตรฐานตางๆ ของพารามิเตอรทางไฟฟา เชน รายละเอียดการสงสาร หรือ พารามิเตอรเชิงกล เชน การเคลื่อนไหวของลิเนียรและการบิดเกลียว รัศมีโคงลดลง ชวงอุณหภูมิที่เหมาะสม ทนตอสารเคมีและนํ้ามัน
ประเภทของ chainflex® Ethernet และคุณสมบัติขั้นสูง
ผลิตภัณฑ Ethernet จาก igus® มีหลายประเภท ไมวาจะเปนสาย Raw Cable 35 สาย จาก 12 ประเภทชุด Readycable แบบประกอบสําเร็จรูปกวา 300 รูปแบบ สําหรับระบบอื่นๆ igus® มี สายเคเบิล Ethernet รุน CAT5, CAT5e, CAT6, CAT6a และ CAT7 เพื่อตอบสนองโซลูชั่นที่เหมาะ สําหรับการใชงานแตละประเภทซึ่งสายเคเบิล chainex® Ethernet รุน CAT5e และ CAT6 ถูกออกแบบ มาพรอมกับ UL 300 V Power over Ethernet หรือ PoE ซึ่งหมายความวาสายเคเบิล Ethernet 2 เสน สามารถเชื่อมตอกับอุปกรณเชื่อมตอสายไฟที่ควบคุมการสงพลังงานผานทางสายเครือขาย พรอมทั้งวัสดุ Jacket แบบไฮโดรไลซิสทีท่ นตอจุลนิ ทรีย, นํา้ มันและสารทําความเย็น ทนตอสารหนวงไฟ ปราศจากฮาโลเจน และรอยบากตางๆ chainex® cables รุน CAT5e และ CAT6 มีวางจําหนายในประเภทของ UL CMX พรอมทั้งมีการปองกันเพิ่มเติมดวย Machine Cabling อีกทั้งสายเคเบิล Ethernet ที่มีรัศมีเล็กที่สุด รุน CFBUS กับ UL และรุน CFBUS.LB. ไดผา นการทดสอบของ CC-Link IE Field Network เรียบรอยแลว สวน Outer Jacket ทํามาจาก PVC ปราศจากฮาโลเจน ทนนํ้ามันและนํ้ามันไบโอดีเซลเปนไฮโดรไลซิส และทนตอจุลินทรีย สายเคเบิล Ethernet CAT7 รับประกันความทนทานการใชงานแบบยืดหยุน หรือ การเคลือ่ นไหวใน e-chains®อยางตอเนือ่ ง รูปแบบการถักของสายเคเบิลชวยปองกันและเพิม่ ความคงทน ไดกวา 90% แมจะมีการดัดกวาลานรอบและที่สําคัญสาย CAT7 สามารถทนไฟได เชนเดียวกับ Outer Jacket ของสายเคเบิลที่ทําจาก TPE นอกจากนี้ยังไดการรับรองจาก UL/CSA, EAC และ CTP รวมถึง DESINA ดวย
Engineering Today September- October 2018
68
การออกแบบสายเคเบิล
การออกแบบที่เปนเอกลักษณของสายเคเบิล chainex® Ethernet ไดผสมผสานโครงสรางสายเคเบิลแบบยืดหยุนเขาดวยกัน กับฟงกชันทางไฟฟา รวมถึงโครงสรางสายที่ถูกออกแบบแบบ Star Quad โดยการใชตัวนําฉนวน 4 ตัวบิดเขาดวยกัน ซึ่งชวยใหการงอ ขณะเคลื่อนที่หลายลานรอบเกิดประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และเราไดพัฒนานวัตกรรมอื่นๆ สําหรับการออกแบบสายเคเบิล chainex® เชน ความยาวของ Pitch ที่เหมาะสมที่สุด Inner Jacket ที่มีความดันสูงและเทปชนิดพิเศษที่ชวยลดการหยุดทํางานอยางกะทันหัน
โครงสร างสาย chainflex® h i fl ® แบบ St Star-Quad Q d
การทดสอบและการใช งาน เพื่อรองรับการใช งานแบบต างๆ
igus® มี ส ายผลิ ตภั ณ ฑ Ethernet Cables ที่ใหญที่สุด ในโลกเพื่อตอบสนองการใชงานในอุ ต สาหกรรมตางๆ สายเคเบิล chainex® Ethernet สามารถรองรับการใชงานแบบ Linear, Vertical Hanging, Torsional หรือ Robotic ลักษณะการใชงานพิเศษ สําหรับการใชงานในระยะทางยาว หรือแรงดึงสูงสําหรับการใชงานระบบแขวน และโซลูชั่นการหมุนยังเปนมาตรฐานสําหรับ igus® สายเคเบิล chainex® Ethernet มักใชอยูในเครื่องบรรจุภัณฑ, Machine Tools, Stacker Cranes, Clean Rooms และอุตสาหกรรม อื่นๆ ไมวาสมรรถนะทางกลและทางไฟฟาที่ตองการจะเปนอยางไร ผูใชงานสามารถเชื่อมั่นในสายเคเบิลที่ไดผานการทดสอบแลว และ เลือกสายที่เหมาะสมที่สุดสําหรับลักษณะการทํางานของคุณ เพื่อสรางความมั่นใจวาการออกแบบและวัสดุพิเศษเหลานี้สามารถใชงาน ไดจริง igus® จึงทําการทดสอบความยืดหยุนของสายเคเบิลกวาหนึ่งพันลานรอบ ณ หองปฏิบัติการทดสอบขนาด 29,600 ตารางฟุต และตรวจสอบสายเคเบิลดวยระบบ AutΩMeS ที่ออกแบบมาเปนพิเศษจาก igus® ลําดับการทดสอบยังใชเพื่อติดตามคา Ethernet อยางตอเนื่องขณะที่สายเคเบิลกําลังเคลื่อนที่อยู ซึ่งชวยใหผูใชงานมั่นใจในการสงผานขอมูลที่ดีที่สุดของสายเคเบิล ดวยการทดสอบ อยางตอเนื่อง จะชวยใหการออกแบบเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และผูใชงานสามารถมั่นใจไดวาสายเคเบิล chainex® จะมีคุณสมบัติที่ ทนทานและอายุการใชงานที่ยาวนานขึ้น For More Information Visit Our www.igus.co.th or Call +66-02-207-0541
69
Engineering Today September- October
2018
Focus
น.ศ.ฟ โบ มจธ. คว า Winner Prize 1 ใน 7 ทีมดีทสี่ ดุ ในเวที Thailand Life Sciences Contest 2018
จากนวัตกรรม “Never Ever Falls”
นับวันจํานวนผูสูงอายุในสังคมไทยเพิ่มขึ้น อยางตอเนือ่ ง ในขณะทีค่ นวัยทํางานใชเวลาสวนมาก ทํางานนอกบาน ทําใหการดูแลผูส งู อายุในโรงพยาบาล เปนหนาที่ของแพทยและพยาบาล อีกทั้งอุปกรณ เหลานีม้ รี าคาแพง ระบบการเฝาระวังหรือแจงเตือน จึ ง ถู ก พั ฒ นามาเป น ลํ า ดั บ เช น การใช เ ซ็ น เซอร อินฟราเรด เซ็นเซอรวัดแรง เซ็นเซอรอัลตราซาวน สงขอมูลตางๆ ผานการเชือ่ มตอแบบไรสาย จากขอมูล พบวาสถิติการลมของผูปวยมากกวาครึ่งเกิดขึ้น ในห อ งนอน และมากกวา 80% เกิดขึ้น บริเ วณ รอบๆ เตียง โดยเฉพาะอยางยิ่งในการขึ้น-ลงเตียง การพลัดตกหกลมทําใหบาดเจ็บ และในกรณีผสู งู อายุ ลม ผิดทานําไปสูการบาดเจ็บที่รุนแรงและนําไปสู สมรรถภาพที่ถดถอยหรือเสียชีวิตได นวัตกรรม “Never Ever Falls” ระบบเฝา ระวั ง และป อ งกั น การตกเตี ย งสํ า หรั บ ผู ป ว ย ผูสูงอายุ และสามารถขยายไปสูกลุมเด็กเล็กได จึงไดรบั การพัฒนาขึน้ เพือ่ ตอบโจทยปญ หาดังกลาว โดย กิตติ ธํารงอภิชาตกุล ชวกร ศรีเงินยวง และ วั ช ระพงษ ปง เมือง นัก ศึก ษาระดับ ปริ ญ ญาโท เปนเจาของผลงาน ภายใตการดูแลของ ดร.ปราการ เกียรติ ยังคง จากสถาบันวิทยาการหุนยนตภาค สนาม (ฟโบ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี (มจธ.) ลาสุดผลงานดังกลาวไดผานเขารอบ 7 ที ม สุ ด ท า ยของ การประกวด Thailand Life Sciences Contest 2018 จั ดโดย ศูนย ค วาม เปนเลิศดานชีววิทยาศาสตร (TCELS) ไดรับการ สนับสนุน Seed Funding ทีมละ 200,000 บาท และไดรับสิทธิ์อบรมเชิงลึกเพื่อขยายตลาดไปยัง ตางประเทศจาก Mass Challenge
Engineering Today September- October 2018
ระบบเฝ าระวังและแจ งเตื อนนี้ ออกแบบใหเป นประโยชนต อลู กคา 2 กลุม หลัก คือผูป ว ยทีพ่ กั รักษาตัวทีโ่ รงพยาบาลหรือทีบ่ า น กรณีทโี่ รงพยาบาล เจาหนาที่ทางการแพทยใหความเห็นวา ระบบเฝาระวังและแจงเตือนนี้จะเปน ประโยชนมากหากนําไปใชกบั ผูป ว ยทีม่ อี าการทางจิตและ/หรือทางระบบประสาท เชน ผูปวยวิกลจริต และผูปวยอัลไซเมอร ซึ่งมีความจําเปนหรือมีโอกาสเกิด ปญหาที่รุนแรงไดหากเกิดเหตุการณตกเตียง ในขณะที่ผูใชงานระบบเฝาระวัง และแจงเตือนนี้จํานวนมากเปน ผูปวยติดบานติดเตียง โดยในป พ.ศ. 2559 องคการปกครองสวนทองถิ่นที่เขาร วมระบบดูผูสูงอายุภาวะพึ่งพิงจํานวน 1,786 แหง ตองดูแลผูสูงอายุติดบานติดเตียงจํานวน 81,114 คน (0.1% ของ จํานวนประชากร)
70
Focus
น.ศ. มจพ. พัฒนาโปรแกรม
ทดสอบไอซีด วยภาษามาตรฐาน STIL
ทดสอบประสิทธิภาพไอซี ได 100% - ลดเวลาการผลิตในโรงงาน
ผลงานวิจยั เรือ่ ง การพัฒนาโปรแกรมทดสอบ ไอซีดว ยภาษามาตรฐาน STIL ของ นุชจรินทร ใจดี และพงศธร หอมนาน นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยี วิ ศ วกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนื อ (มจพ.) โดยมี ผศ. ดร.พิ นั น ทา ฉั ต รวั ฒ นา เป นอาจารย ท่ีป รึ ก ษา ได รับ รางวัล รองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภทวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี จากการประกวดผลงานสหกิจศึกษา ดีเดน มจพ. ประจําป พ.ศ. 2561 การทดสอบไอซี ใ นรู ป แบบเดิ ม ที่ ใ ช เ ครื่ อ ง ทดสอบรุนเกาซึ่งเปนภาษา Assembly ทําใหการ ทดสอบไอซีมีประสิทธิภาพนอยและใชเวลานานใน การทดสอบ ทีมงานจึงไดพัฒนาโปรแกรมทดสอบ ไอซีดวยภาษามาตรฐาน STIL (Standard Test Interface Language) เพื่อใชในการทดสอบไอซีกับ เครื่องทดสอบไอซีรุนใหม Tester RSX 5000 ซึ่ง เปนเครือ่ งทดสอบไอซีทมี่ ปี ระสิทธิภาพสูงในโรงงาน อุ ต สาหกรรม เพื่ อ ทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพไอซี ไ ด 100% และสามารถลดเวลาในการทดสอบลงไปได ถึง 56% เพิ่มปริมาณการผลิตไดมากขึ้นในระยะ เวลาที่นอยที่สุด และยังชวยลดจํานวนอุปกรณใน การทดสอบไอซีลงไปไดมาก สําหรับงานวิจัยดังกลาว มีวัตถุประสงคเพื่อ เขี ย นโปรแกรมที่ ใ ช ใ นการทดสอบไอซี เ ช็ ก ความ ถูกตองได 100% ใหกับ บริษัท โรม อินทิเกรเต็ด ซิสเต็มส (ประเทศไทย) จํากัด เพื่อลดเวลาในการ ทํางานของโปรแกรมที่ใชสําหรับทดสอบไอซี ใหได มากที่สุด และลดอุปกรณเสริมของการทดสอบไอซี ลงจากเดิม โดยลักษณะเดนของภาษามาตรฐาน STIL อยูที่เปนภาษาเฉพาะที่ใชใน การทดสอบไอซีของบริษัท
Engineering Today September- October 2018
โรม อินทิเกรเต็ด ซิสเต็มส (ประเทศไทย) จํากัด มีคุณภาพในการตรวจสอบ ความถูกตองที่สูงและงายตอการใชงาน ในสวนของขั้นตอนการดําเนินงาน เริ่มจากทีมงานไดเขารับการอบรม เกี่ยวกับพื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส การใชเครื่อง Tester RSX5000 และ เครื่องมือตางๆ ที่จําเปนตอการทํางาน และเมื่อเขาใจกระบวนการตางๆ ก็ ลงมือเขียนโปรแกรมโดยการแปลงโปรแกรมจากเครื่อง Tester ICT1800 ที่ใช ภาษา Assembly ใหใชกับเครื่อง Tester RSX5000 ที่ใชภาษา STIL ผานทาง โปรแกรม RSX5000 IC Tester System หลังจากนัน้ ทําการตรวจสอบโปรแกรม ใหมีความถูกตองตาม Test Spec และ Circuit หลังจากที่ไดทําการเขียน โปรแกรมเสร็จเรียบรอยแลวก็ตรวจสอบวา โปรแกรมสามารถ Run กับงาน จริงได เมื่อเช็กโปรแกรมแลววามีความถูกตอง 100% ก็สามารถนําโปรแกรม ภาษา STIL ที่ไดเขียนโดยนํามาทดสอบไอซีในกระบวนการผลิตที่ Run งาน เปนหลายๆ ตัวได ทั้งนี้งานวิจัยดังกลาว สามารถนําโปรแกรมไปตอยอดในการทดสอบ ชิน้ สวนอิเล็กทรอนิกสในโรงงานอุตสาหกรรมไดเปนอยางดี ลดเวลาการทํางาน ในกระบวนการผลิต นับไดวาเปนประโยชนตอการทดสอบชิ้นงานในโรงงาน อุตสาหกรรมเปนอยางมาก
72
INDEXSeptember ADVERTISING - October 2018
Engineering Today
ïøÄ&#x2030;ĂžÄ&#x2020;ĂŹ EPSON
Ä&#x201C;ÏøýÄ&#x2020;óÏŤ
Ä&#x201C;ÏøÿÄ&#x2021;ø
ĂŞÄ&#x17E;Ä&#x2021;Ä&#x2019;Ä&#x20AC;ĂŽĹ Ă&#x153;Ä&#x20AC;ĂŽĹĄÄ&#x2021;
Website/E-mail
-
-
3
www.epson.co.th/manufacturingsolutions
IEEE Power & Energy
0-2354-5333 Ext.503
-
82
E-mail: seminar@greenetworkseminar.com/ smartcity
Igus Thailand Co., Ltd.
0-2207-0541
0-2652-7326
11
www.igus.co.th
Interlink Co., Ltd.
0-2666-1111
-
9
www.interlink.co.th
Metalex
0-2686-7299
-
6
www.metalex.co.th
VEGA Instruments Co., Ltd.
0-2700-9240
0-2700-9241
Ă°Ă&#x2013;Ä&#x20AC;ĂŽĹĄÄ&#x2021;
Ă&#x2013;Ä&#x2021;øÄ&#x2022;Ă´Ă´Ĺ&#x153;Ä&#x2021;ÿŠßÎþÄ&#x17D;ĂśÄ&#x2030;ĂľÄ&#x2021;Ă&#x2122;
0-2590-9590
0-2590-9598
5
Ä&#x2018;Ă&#x2013;ĂŽÄ&#x2018;ĂŽÄ&#x201A;áÄ&#x160; ĂŻĂ?Ă&#x2013;
0-2158-0778
0-2601-9665
Ă°Ă&#x2013;Ä&#x20AC;ĂşÄ&#x2020;Ă&#x153;ĂŽÄ&#x201A;Ă&#x2013;
Ă&#x2013;Ä?ĂşĂøÄ&#x201A;Ä&#x2030;ĂŽÄ&#x2018;ĂŞÄ&#x201A;øŤÄ&#x2018;ĂŽĂ&#x;Ä&#x2020;Ä&#x2122;ĂŽÄ&#x2019;ĂŽĂş ĂŻĂ?Ă&#x2013;
0-2282-5775-8
0-2281-0009
79
www.kulthorn.com
Ä&#x2018;Ă?øÄ&#x2030;âÄ&#x2018;ĂśÄ&#x152;Ä&#x201A;Ă&#x153;Ä&#x2019;ĂśĂ&#x;Ă&#x;Ä&#x160;ĂŽÄ&#x2018;ĂŽÄ&#x201A;øÄ&#x160;Ä&#x2122; ĂŻĂ?Ă&#x2013;
0-2280-8431-5
0-2280-8033-5
80
www.crm.co.th, E-mail: info@crm.co.th
Ä&#x2018;ï፠Ă&#x2122;Ä&#x201A;øŤðÄ&#x201A;Ä&#x2018;øĂ&#x;Ä&#x2020;Ä&#x2122;ĂŽ ĂŻĂ?Ă&#x2013;
0-2926-0111
0-2926-0123-4
Ă°Ă&#x2013;Ä&#x20AC;ĂŽĹĄÄ&#x2021;Ä&#x201D;ĂŽ
ðþó ĂŻĂ?Ă&#x2013;
0-2570-5580
-
79
ĂłÄ&#x2030;ýÎÄ?Ă&#x2013;Ä&#x2021;øĂ&#x;Ĺ Ä&#x2021;Ă&#x153; ĂŻĂ?Ă&#x2013;
0-2245-4451, 0-2245-0419
0-2246-3214
Ă°Ă&#x2013;Ä&#x20AC;ĂşÄ&#x2020;Ă&#x153;Ä&#x201D;ĂŽ
www.kanitengineering.com, www.pisanu.co.th
Ä&#x2018;ĂźÄ&#x201A;øŤÏÄ&#x2020;Ăż ĂŻĂ?Ă&#x2013;
0-2876-2727
0-2476-1711
13
www.virtus.co.th, E-mail: welcome@virtus.co.th
Ä&#x2019;ĂżĂ&#x153;Ă Ä&#x2030;ĂŽÄ&#x201C;Ă&#x2122;øêøÄ&#x201A;ĂŽ
www.vega.com E-mail: egs@pea.co.th E-mail: info@gainergy.co.th
www.bay-corporation.com, E-mail: sales@bay-corporation.com www.papop.com, www.biogasthai.com
53
Ä&#x201A;Ä&#x2021;ĂŹÄ&#x2030;êáŤÄ&#x2018;ßÎêÄ&#x2030;Ä&#x2018;ĂşÄ&#x2018;ĂŞÄ&#x201A;øŤ Ä&#x20AC;Ă?Ă&#x2013;
0-2509-3065
0-2943-1814
81
www.artith.com, E-mail: contact@artith.com
Ä&#x201A;Ä&#x160;ĂłÄ&#x160;Ä&#x2018;Ä&#x201A;Ä&#x2DC;Üà Ä&#x160; ĂŻĂ?Ă&#x2013;
0-2322-4330-3
0-2720-5155
4
www.epmc.co.th
Ä&#x2022;Ä&#x201A;Ä&#x2019;Ă Ă&#x2122; ĂśÄ&#x2021;øŤÄ&#x2018;Ă&#x2013;Ä&#x2DC;ĂŞĂŞÄ&#x2030;Ä&#x161;Ă&#x153; ĂŻĂ?Ă&#x2013;
0-2735-0581-8
0-2377-2130
71
IUUQ XXX ĂŞÄ&#x17D;ĹĄĂżÄ&#x2021;Ă&#x2014;Ä&#x2021; DPN IUUQ XXX Ä&#x2022;Ă´Ä&#x201A;øÄ&#x2021;Ăś DPN
Ä&#x2018;Ä&#x201A;Ăż Ä&#x2018;Ä&#x201A; ĂźÄ&#x160; Ä&#x2018;ĂśĂ&#x2122;Ă&#x2122;Ä&#x2021;ĂŽÄ&#x2030;Ă&#x2122;Ă&#x2122;Ä&#x201A;ĂşÄ&#x2018;Ă Ä&#x201A;øŤßÄ&#x2030;Ăż Ä&#x2019;Ä&#x201A;ÎÊŤ Ă Ä&#x2020;óóúÄ&#x2021;áÿŤ Ä&#x20AC;Ă?Ă&#x2013;
0-2702-8801, 0-2702-0581-8
0-2395-1002
7
E-mail: savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com
EEng Engineering nngin ine neeri neeri e inng er ng To Today oday July September - Aug August ugust ug - October 2018 2018
74 74
Preview • Reed Tradex
เมทั ล เล็ ก ซ 2018 21-24 พฤศจิกายน 2561 ไบเทค บางนา ศูนย กลางโซลูชั่นของ ชีทเมทัลแห งอาเซียน
อุ ต สาหกรรม 4.0 นํา มาซึ่ งความเปนไปได ใ หมๆ ในอุตสาหกรรม โลหการ เปนพลวัตขับเคลื่อนธุรกิจใหสรางผลกําไรมากขึ้น มีความยืดหยุน เพิ่มขึ้นในเรื่องของปริมาณการผลิต และเรงศักยภาพในการแขงขัน ปจจุบัน ผูประกอบการไทยเริ่มนําเทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรม 4.0 มาใช มากขึ้น เพราะอุตสาหกรรมในปจจุบัน เชน ยานยนต อากาศยาน อุปกรณ ทางการแพทยและอิเล็กทรอนิกส ลวนจําเปนตองใชการผลิตดวยเครื่องจักร ที่มีเทคโนโลยีระดับสูง (High Technology) งานเมทัลเล็กซ เวทีเสริมความแข็งแกรงใหธุรกิจในภูมิภาคอาเซียน พรอมจะชวยผูใหบริการเทคโนโลยีดานโลหการไดพลิกเกมธุรกิจ ผานการ พบปะกั บ นั กอุ ต สาหกรรมที่ ต อ งการเทคโนโลยี แ ละเครื่ อ งจั ก รชั้ น สู ง เพื่ อ
75
ติดอาวุธ เสริมศักยภาพในตลาดสากลดวยแนวคิด “The Metalworking Metropolis” โดย งานเมทัลเล็กซ 2018 เปนศูนยกลางโซลูชนั่ ดานชีทเมทัลอันดับหนึ่ง แหงอาเซียน ดวยชือ่ เสียงซึง่ เปนทีย่ อมรับระดับสากล ในฐานะเวที เ ทคโนโลยี ที่ ส ง เสริ ม ความสํ า เร็ จ แก อุตสาหกรรมโลหการอยางตอเนื่อง ขุนพลดานชีท เมทั ล จากทั่ ว ทั้ ง อาเซี ย นจะมารวมตั ว พบปะและ ขยายเครือขายพันธมิตรดานธุรกิจอีกครัง้ ทีเ่ มทัลเล็กซ ระหว างวันที่ 21-24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 นี้ มารวมคนพบขุมพลังจากแบรนดดานชีทเมทัล ซึ่ง ประกอบดวยเครื่องจักรอุปกรณ และซอฟต แวรที่ สนับสนุนอุตสาหกรรม 4.0 เพื่อเรงคุณภาพการผลิต ใหทะลุขีดจํากัด ชมการเปดตัวของเทคโนโลยีใหม ครัง้ แรกหลายรอยรายการ และการกาวขึน้ สูแ นวหนา ของผูผลิตในวงการชีทเมทัลที่ไมควรพลาด
Engineering Today September- October
2018
เป ดตัว Robot X @METALEX
การกาวลํ้านําหนาในยุค AI จะงายกวาที่เคย ภายในงานพบกับการเปดตัว “ROBOT X” ใหมลาสุดที่จับคูกับเมทัลเล็กซ 2018 นักอุตสาหกรรมโลหการจะสามารถสัมผัสกับหุนยนตครบทุกรูปแบบกวา 20 แบรนดดังจากทั่วโลก และโอกาสในการเขาถึงเทคโนโลยี ที่ขับเคลื่อน Thailand 4.0 เพื่อเรงขุมพลังทางธุรกิจและประสิทธิผลกับ ROBOT X ที่ฮอลล 106
Only @ METALEX
พลาดไมได กับการสาธิตเทคโนโลยีขนั้ สุดยอดแหงอาเซียนจากแบรนดดงั ทัว่ ทุกมุมโลกกวารอยรายการ สัมผัสการสาธิตความลํา้ สมัย ของเทคโนโลยี 4.0 ที่หาชมที่อื่นไมได และการเปดตัวของเครื่องจักรใหมมากมาย ที่งานเมทัลเล็กซเทานั้น
ไฮไลท สัมมนา ครบทุกมิติด านโลหการ
นอกจากนี้ ยังมีการเพิ่มองคความรูใหแวดวงนักอุตสาหกรรมโลหการไดพบกับผูเชี่ยวชาญตัวจริง ครบทุกมิติดานไดโลหการ ผานงานสัมมนาที่นาสนใจหลายหัวขอ
ชื่องานบรรยาย EV Tech Forum
เนื้อหา
“การเตรียมความพรอมของ Electric Vehicle อุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสวน Association of Thailand ยานยนตไฟฟาในประเทศไทย”
Metallurgy Forum “อะลูมิเนียม: ความรูพื้นฐาน และการใชงาน”
Family Business Forum
จัดร วมกับ
Forum เกี่ยวกับการทําให Family Business ประสบความสําเร็จ
Japanese สัมมนาเกี่ยวกับรูปแบบ Management Style การบริหารองคกรญี่ปุน
วันสัมมนา
ภาษา
พฤหัสบดี 22 พฤศจิกายน 2561
อังกฤษและไทย
Metallurgical ศุกร Department, 23 พฤศจิกายน 2561 Faculty of Engineering, Chulalongkorn University
อังกฤษ
Family Business Center, The University of the Thai Chamber of Commerce
ศุกร 23 พฤศจิกายน 2561
ไทย
Thai Nichi Institute of Technology
เสาร 24 พฤศจิกายน 2561
ไทย
Match ME : ภายในงาน มีบริการจับคู ทางธุรกิจ ด วยระบบ Online รับ 10 รายชื่อผู แสดงสินค าแนะนําที่ตรงกับความต องการทาง E-mail
ก อนวันงาน เพื่อช วยให สามารถเริ่มต นวางแผนชมงานได ง ายขึ้น โดยระบบจะวิเคราะห ตามข อมูลที่ให ไว ในขั้นตอนของการลงทะเบียน
สนใจลงทะเบียนล วงหน าได ที่ http://www.metalex.co.th/for_visitors/#register
Engineering Today September- October 2018
76
>> Gadget เอปสันเปิดตัวสินค้าใหม่ EcoTank M-Series เน้นประหยัด คุ้มค่า เพื่อธุรกิจทุกขนาด เอปสัน เปดตัวสินคาใหม M-Series ภายใตชื่อใหมรวม 3 รุน ไดแก EcoTank M1100, M1120 และ M2140 โดยไฮไลทในการเปดตัวครั้งนี้ ไดแก รุน M2140 พรินเตอรมลั ติฟง กชนั ขาวดําทีใ่ ชเทคโนโลยีหวั พิมพรนุ ใหม PrecisionCore ซึ่งขึ้นชื่อดานความแมนยําในการหยดนํ้าหมึก สามารถใหผล งานที่คมชัด สวยงาม ดวยความละเอียด 1,200x2,400 dpi ใหงานพิมพ ปริมาณมากดวยความเร็วการพิมพ 20 ipm (ภาพ/นาที) นอกจากนี้ M2140 ยังสามารถพิมพงาน 2 หนาอัตโนมัติ (Duplex) ชวยลดตนทุนคากระดาษใน ออฟฟศลงไดถึง 50% รับกับเทรนดการพิมพงานในออฟฟศวันนี้ ที่มุงลดการใชกระดาษ รวมทั้งยังมีโหมดการพิมพบารโคดที่ใหความคมชัด ไมตางจากการพิมพดวยเลเซอรพรินเตอร สวนสินคาใหมอีก 2 รุนของ EcoTank M-Series เปนพรินเตอรซิงเกิ้ลฟงกชันขาวดําที่มีความเร็วใน การพิมพ 15 ipm ไดแก รุน M1100 และ M1120 ที่เพิม่ คุณสมบัตกิ ารพิมพแบบไรสายผาน WiFi โดยชุดหมึกพิมพขาวดําของ EcoTank M-Series สามารถรองรับการพิมพได 6,000 แผน ภายใตการรับประกันตัวเครื่องและหัวพิมพนาน 4 ป หรือ 50,000 แผน สนใจคนหารายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ http://www.epson.co.th
955 eBrik II Magnetostrictive Linear Displacement Transducer 955 eBrik II Magnetostrictive Linear Displacement Transducer จาก AMETEK Factory Automation ใชเทคโนโลยี Magnetostrictive LDT ที่ทันสมัย ชวยใหการหลอขึ้นรูป ผลิตภัณฑพลาสติกดวยการฉีดเที่ยงตรง (Precision) ทํางานดวย Sliding Contact ที่ถือวาไมมีการสัมผัส ทําใหทํา การวัดไดถูกตองโดยไมมีการสึกหรอของชิ้นสวน Magnetostrictive เลย ความเที่ยงตรงของการวัดมีจนถึง 0.006% ของ Working Span (ขึ้นอยู กับรุนที่ใช) ซึ่งสามารถโปรแกรมได ทําใหใชงานไดยาวนาน และที่สําคัญคือ ชวยทําใหกระบวนการอัตโนมัติผลิตภัณฑและความสามารถในการ ทํากําไรมีความมั่นคงปลอดภัยยิ่งขึ้นดวย Housings ของ Sensors จะถูกเลือกใหเหมาะพอดีกับอุปกรณเครื่องจักรกลแตละตัว ดวยความยาวที่มีจนถึง 74 นิ้ว Electronics ที่มีอยู ภายในไดรบั การปองกันดวยหองบรรจุระดับ IP67 ซึง่ หมายถึงการผลิตจะไมมกี ารหยุดหรือขัดของดวยสาเหตุที่ Electronics ถูกฝุน หรืออนุภาคเล็กๆ จาก Process เขาไปจับเกาะ สนใจติดตอ บริษทั คณิตเอ็นจิเนียริง่ จํากัด โทร. 0-2642-8762-4, E-mail : sales1@kanitengineering.com www.kanitengineering.com
ปูนฉาบอิฐมวลเบา PREMIUM CP001P เหนียวลื่น ฉาบง่าย ไม่เปลืองแรง บริษัท ควิ ก โคท จํากั ด ผู เชี่ยวชาญทางดานผลิ ตภั ณ ฑ ก ารก อสร า ง เป ดตั ว ปู น ฉาบอิ ฐ มวลเบา PREMIUM CP001P สําหรับงานฉาบผนังอิฐมวลเบา โดยเฉพาะผิวปูนฉาบละเอียด เรียบเนียนฉาบเหนียว นุมมือ ฉาบงาย ไมเปลืองแรง แหงชา มีคุณสมบัติพิเศษเฉพาะตัว ลดปญหาแตกราวลายงาไดดีถึง 95% เพิ่มสารอุมนํ้า ปองกันการสูญเสียนํ้า เพิ่มการยึดเกาะประสานแนนดวยสารพิเศษ และเสนใยชนิดพิเศษ ลดปญหาการโกงตัวของปูน จากการสะสมความรอนจากแสงแดด สามารถกันความรอนไดมากกวาปูนฉาบ ทั่วไป 40% ลดปญหาการแตกราวดวยเสนใย Special Polyester และสวนผสมเกรดพรีเมียม สามารถฉาบได พืน้ ทีม่ ากกวาปูนฉาบทัว่ ไป มีคา ความยึดเกาะสูงมากกวามาตรฐาน สามารถฉาบไดพนื้ ที่ 28 ตร.ม. ทีค่ วามหนา 1 ซม. โดยปูน 1 ถุง บรรจุ 40 กิโลกรัม สนใจสอบถามข อมูลเพิ่มเติมไดที่บริษัท ควิก โคท โปรดักส จํากัด โทรศัพท : 0-2089-8888 Email: info@quickcoat.co.th
77
Engineering Today September- October
2018
Gadget >> RICOH เปิดตัวเครื่องพิมพ์อุตสาหกรรม พร้อมด้วยเครื่องพิมพ์ สีดิจิทัล 2 รุ่นล่าสุด รองรับงานพิมพ์ที่หลากหลาย ระดับมืออาชีพ RICOH เปดตัวเครือ่ งพิมพแบบหนากวาง Flatbed รุน ใหม RICOH Pro T7210 ที่ออกแบบมาเพื่อรุกตลาดงานพิมพวัสดุเพื่องานตกแตง (Decoration Work) ระดับ อุตสาหกรรมเปนรายแรกในไทย โดยผูใชสามารถพิมพบนวัสดุแบบใหมๆ ที่มี ความหนาแตกตางกันไดหลากหลายมากยิ่งขึ้น ไมวาจะเปนกระจก แผนกระเบื้อง วัสดุรองพื้นโตะ วัสดุปูผนังตางๆ ไดอยางงายดาย ในเวลาที่เร็วกวาเดิม อีกทั้งยังมี ความทนทาน เพิ่มโอกาสในการสร างรายได มากกวาเดิมด วยการตกแต งอย าง ไรขีดจํากัด เหมาะสําหรับธุรกิจมืออาชีพดานตกแตงและวัสดุกอสราง RICOH Pro T7210 สามารถรองรับวัสดุที่นํามาพิมพไดหนาถึง 4.3 นิ้ว และ พื้นที่พิมพกวางถึง 6.9x10.5 ฟุต ดวยพื้นที่พิมพที่กวางนี้ทําใหผูใชสามารถพิมพงาน บนแผนกวางมาตรฐานขนาด 4x8 ฟุต หรือขนาดแผนงานที่แตกตางกัน เชน สามารถ เครื่องพิมพ อุตสาหกรรม RICOH Pro T7210 พิมพบอรดขนาด 3x6 ฟุต จํานวน 3 แผนในเวลาเดียวกันได มีจดุ เดนทีค่ วามทนทาน พิมพ วัสดุเพื่องานตกแต ง และการใชงานที่งาย สามารถชวยยกระดับศักยภาพของผูใหบริการงานพิมพไดเปน อยางมาก ดวยความเร็วในการพิมพที่ 50 ตารางเมตรตอชั่วโมง หรือ 538.2 ตารางฟุตตอชั่วโมงสําหรับโหมดงานพิมพมาตรฐาน สําหรับเครือ่ งพิมพสดี จิ ทิ ลั ซีรสี ใ หมลา สุด RICOH Pro C7200x และ C7210x ตอยอดจากรุนปจจุบัน โดยเครื่อง RICOH Pro C7200x /C7210x เปนเครื่องพิมพแบบ 5 สี หรือ 5 ปอมพิมพ ที่ ถู ก ออกแบบและพั ฒนาเพื่ อ งานด า นกราฟฟ ค อาร ต โดยเฉพาะ เหมาะสําหรับธุรกิจงานพิมพแบบมืออาชีพทีต่ อ งพิมพงานจํานวนมาก โดยผูใชสามารถเลือกใชหมึกสีที่ 5 นี้เพิ่มเติม ไดแก สีขาว สีเคลียร สีชมพูสะทอนแสง สีเหลืองสะทอนแสง เพื่อเพิ่มความตื่นตาตื่นใจแก งานพิมพที่เนนสีสดใส สรางความแปลกใหมใหงานพิมพ และสีแดง ลองหน (Invisible Ink) สําหรับงานที่ตองการความปลอดภัยในระดับ เครื่องพิมพ สีดิจิทัลซีรีส ใหม ล าสุด RICOH Pro C7200x เบื้องตน ดวยการพิมพเพียงครั้งเดียว (Single Pass Printing)
ฟูจิ ซีร็อกซ์ เปิดตัวเครื่องมัลติฟังก์ชันขาว-ดําแบบหน้ากว้าง สําหรับอุตสาหกรรมก่อสร้าง-วิศวกรรม บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) จํากัด เปดตัวเครื่องมัลติฟงกชันขาว-ดํา ขนาด A0 จํานวน 5 โมเดลในตระกูล DocuWide 6057/3037 Series มาพรอมความเร็วในการพิมพ และความละเอียดที่เหนือกวา ทั้งยังมอบความเร็วในการพิมพที่สูงขึ้น 1.4 เทา เมื่อเทียบกับ รุนกอนหนา และเพิ่มความละเอียดในการพิมพจาก 600 จุดตอนิ้ว (dpi) เปน 1,200 dpi ซึ่งจะชวยปรับปรุงกระบวนการทํางานและการผลิตผลงานสําหรับอุตสาหกรรมตางๆ เชน สถาปตยกรรม วิศวกรรม และการกอสรางที่ตองการระบบการพิมพรวดเร็ว มีคุณภาพสูง และ รองรับการใชงานในหลายสถานที่ ผลิตภัณฑซีรีสใหมนี้ นับเปนเครื่องมัลติฟงกชั่น ขนาด A0 รุนแรกของฟูจิ ซีร็อกซที่ใช หมึกพิมพ EA-Eco LGK ซึ่งเปนหมึกพิมพสีดําที่ชวยประหยัดพลังงาน พรอมเคลือบผิวแบบดาน ชวยถนอมสายตาและมองเห็นไดอยางชัดเจน ประกอบดวยพอรต Ethernet สํารอง ซึง่ รองรับการใชงานรวมกันระหวาง 2 เครือขาย เชน เครือขายภายในบริษทั และเครือขายทีแ่ ยกตางหากสําหรับ ผูใชภายนอก รองรับการพิมพและสแกนเอกสารอยางปลอดภัยภายนอกองคกร
Engineering Today September- October 2018
78