Engineering Today No.168 (Issue Nov-Dec 2018)

Page 1








EDITOR TALK กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

วิศวกรไทยสร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทย รับรางวัลเกียรติยศ ในงานประชุมนานาชาติสมาพันธ์สมาคมวิศวกรรมอาเซียน “CAFEO ครั้งที่ 36” ณ ประเทศสิงคโปร์ นับถอยหลังอีกไมนานก็จะขึ้นสูศักราชใหมแลว กอนอื่นขอแสดงความยินดีสําหรับวิศวกรไทย ที่มีผลงานโดดเดน สรางชื่อเสียงแกประเทศไทย ดวยการควารางวัลเกียรติยศ จากสมาพันธสมาคม วิศวกรรมแหงอาเซียน (AFEO) ในเวทีงานประชุมนานาชาติสมาพันธสมาคมวิศวกรรมอาเซียน “CAFEO ครัง้ ที่ 36” ภายใตแนวคิด “Engineering Rail Connectivity & Fostering Excellence in Engineering Education” ซึ่งจัดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ ณ รีสอรท เวิลด เซ็นโตซา คอนเวนชั่น เซ็นเตอร ประเทศสิงคโปร มาครองทัง้ หมด 10 ทาน โดยมีผไู ดรบั รางวัล AFEO Honorary Fellow Award 9 ทาน ไดแก ชัยวัฒน ทองคําคูณ, รศ. ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หลอทองคํา, สุเมธ สุรบถโสภณ, ผศ.พิสิษฐ แสง-ชูโต, สุกฤตย สุรบถโสภณ, รศ. ดร.วัชรินทร กาสลัก, สุวัฒน บุญศักดิ์สกุล, ชัยชาญ วรนิทัศน และ ดร.วินัย สารสุวรรณ สวนรางวัล ASEAN Outstanding Engineering Contribution Award เปนของ ศุภรัตน ศิริสุวรรณางกูร นับเปนขาวดีในวงการวิศวกรรมไทยสงทายปลายป สําหรับวารสาร Engineering Today ฉบับสงทายป พ.ศ. 2561 นี้ นําเสนอ Theme “อนาคต หุนยนตพลิกโฉมโลก” เริ่มจาก “ไทยไดเปนเจาภาพจัดการแขงขันวิชาการหุนยนตระดับนานาชาติ RoboCup 2021 เวทีสรางนวัตกรรมหุนยนตสัญชาติไทยสูระดับสากล”, “ฟโบ จับมือ เจมารทจันวาณิชย และ UBTECH รวมกันพัฒนา Robotics และ AI ปอนธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรม”, ตามดวยคอลัมน Smart City “นักวิชาการแนะใชนวัตกรรมบูรณาการกับเมืองอัจฉริยะ มุง สรางสมารท ซิตเี้ ต็มรูปแบบ”, บทสัมภาษณ “ดร.ชุตมิ า เอีย่ มโชติชวลิต ผูว า การ วว. คนที่ 15 มุง ให วว. เปนหุน สวน ความสําเร็จ ดวยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี”, มองเทรนดกอสรางใหม ใน “ทาทา สตีล ชู 8 โครงการ กอสรางไทยที่โดดเดน ดีไซนลํ้า รับปกุน”, “สิริ เวนเจอรส ประกาศ ‘SIRI VENTURES Private PropTech Sandbox’ ในปหนา ขึ้นแทน PropTech รายแรกในไทยตอยอดนวัตกรรมการพักอาศัย” และคอลัมนอื่นๆ ที่นาสนใจเชนเคย อย า ลื ม อั พ เดทข า วสารความก า วหน า ทางด า นวิ ศ วกรรมและอุ ต สาหกรรมได ที่ เ ว็ บ ไซต www.engineeringtoday.net และ Facebook : Engineering Today ที่พรอมเติมสาระความรูทุกวัน พบกันใหมปหนา สวัสดีปใหมครับ

เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด วารสาร “Engineering Today” เปนวารสารรายสองเดือน ของบริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด บทความที่ตีพิมพในวารสาร “Engineering Today” ขอสงวนสิทธิใ์ นการนําไปใชคดั ลอก ดัดแปลง นําไปรวมตีพมิ พเผยแพรเพือ่ ประโยชนในวงการวิศวกรรม ขอความ ที่ตีพิมพในบทความและโฆษณาในวารสาร “Engineering Today” เปนความคิดเห็นสวนตัวของผูเขียนหรือผูลงโฆษณาเอง ซึ่งทาง วารสารฯ ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไปถาบทความใดผูอานเห็น วาไดมีการลอกเลียนหรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิง หรือ ทํ า ให เ ข า ใจผิ ด ว า เป น ผลงานของตน กรุ ณ าแจ ง ให ท าง กองบรรณาธิการทราบ จักเปนพระคุณยิ่ง รายละเอียดตางๆ ที่ปรากฏในวารสารฯ ไดผานการตรวจ ทานอยางถีถ่ ว นเพือ่ ความถูกตองสมบูรณทสี่ ดุ เทาทีส่ ามารถกระทํา ได ทางวารสารฯ ไมไดมีการรับประกันความเสียหายอันอาจเกิด ขึ้นจากการนําขอมูลในวารสารฯ ไปใชแตอยางใด ผูนําเนื้อหาที่ตีพิมพในวารสารฉบับนี้ไปเผยแพรไมวาบาง สวนหรือทั้งหมด จะตองอางอิงชื่อวารสารและบริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด ดวยทุกครั้งในทุกหนาที่มีเนื้อหาดังกลาว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

ฯพณฯ พลอากาศเอกกําธน สินธวานนท

คณะที่ปรึกษา

ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ตอตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน พันธุบรรยงก, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน เหมวชิรวรากร

บรรณาธิการอํานวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการผูพ  มิ พผโู ฆษณา สุเมธ บุญสัมพันธกจิ บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรียพร วงศศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย เรืองติก พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ ผูจัดการฝายโฆษณา เขมจิรา ปลาทิพย ฝายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย, กัลยา ทรัพยภิรมย, วีระวรรณ พุทธโอวาท, รุงทิพย อําไพจิตต เลขานุการฝายผลิต ชุติมันต บัวผัน ฝายสมาชิก ศิรินทิพย โยธาพันธ โรงพิมพ หจก. รุงเรืองการพิมพ แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Engineering Today www.engineeringtoday.net



CONTENTS COLUMNS 8

บทบรรณาธิการ

วิศวกรไทยสรางชื่อเสียงใหประเทศไทย รับรางวัลเกียรติยศ ในงานประชุมนานาชาติสมาพันธสมาคมวิศวกรรมอาเซียน “CAFEO ครั้งที่ 36”

20

• กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

15 Energy Today

BGRIM ออกหุนกูกรีนบอนด 5 พันลานบาท ลงทุนโรงไฟฟาโซลารเซลล ภายใตการสนับสนุนของ ADB 100% รายแรกของไทย • กองบรรณาธิการ

Robotics

24 ฟโบ จับมือ เจมารท-จันวาณิชย และ UBTECH รวมกันพัฒนา Robotics และ AI ปอนธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรม

• กองบรรณาธิการ

16 Engineering 4.0

คุณปยบุตร จารุเพ็ญ กรรมการผูจัดการ บริษัท บางกอกอินดัสเทรียลแกส จํากัด หรือ บีไอจี

• กองบรรณาธิการ

24 27 กลุมทรู จับมือ ซาวิโอก เปดตัว Relay หุนยนตสงของอัตโนมัติ ครั้งแรกในไทย

• กองบรรณาธิการ

29 Innovation

16 20 AI

ไทยไดเปนเจาภาพจัดการแขงขันวิชาการหุนยนตระดับนานาชาติ RoboCup 2021 เวทีสรางนวัตกรรมหุนยนตสัญชาติไทยสูระดับสากล • กองบรรณาธิการ

สกว.หนุนนักวิจัยพัฒนาหุนจําลองยางพารา ตรวจสอบปริมาณรังสีรักษามะเร็ง ปรับตําแหนงไดตามที่ตองการ-ราคาถูกกวานําเขา 10 เทา

• กองบรรณาธิการ

31 บทความ

ระบบอัตโนมัติและเทคโนโลยีหุนยนตนําทางนโยบาย Thailand 4.0

• ซาการิ คูอิกกะ

35 Cover Story

A world first for contactless liquid level measurement (2) • Jürgen Skowaisa



CONTENTS DIGITAL ECONOMY 38 Smart City

นักวิชาการแนะใชนวัตกรรมบูรณาการกับเมืองอัจฉริยะ มุงสรางสมารทซิตี้เต็มรูปแบบ

• กองบรรณาธิการ

49 Logistics

โครงการวางแผนศูนยโลจิสติกสทางทะเลในอาวไทย (1) รศ. ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ, ผศ.ธนัช สุขวิมลเสรี

53 IT Update

ซิสโกคาดการณป ค.ศ. 2020 มีบริษทั ปรับเปลีย่ นสูร ะบบดิจทิ ลั 75%

• สุรียพร วงศศรีตระกูล

38 41 Interview

ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผูวาการ วว. คนที่ 15 “มุงให วว. เปนหุนสวนความสําเร็จ ดวยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี” • ทัศนีย เรืองติก

CONSTRUCTION THAILAND 56 Construction

ทาทา สตีล ชู 8 โครงการกอสรางไทยที่โดดเดน ดีไซนลํ้า รับปกุน

• กองบรรณาธิการ

Property

61 ภิรัชทาวเวอร แอท สาทร

เปดตัวออฟฟศแคมปสแหงแรกใจกลางกรุงเทพฯ โดดเดนดวยพื้นที่สีเขียว รับเทรนดออฟฟศอนาคต

• กองบรรณาธิการ

62 สิริ เวนเจอรส เผยแผนลงทุนปลายป

ประกาศ “SIRI VENTURES Private PropTech Sandbox” ในปหนา

• กองบรรณาธิการ

41 45 Research & Development

สกว. จับมือ มทร.ศรีวิชัย ชูผลสําเร็จโครงการงานวิจัยเพื่อการพัฒนา เชิงพื้นที่ (ABC) ยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนลุมนํ้าปะเหลียน จ.ตรัง

• กองบรรณาธิการ

64 Project Management

บทสรุปการดําเนินธุรกิจบนพื้นฐานความเจริญเติบโตทางธุรกิจ อยางยั่งยืน (ตอน 2)

• ดร.พรชัย องควงศสกุล

71, 72 76 77

Focus Activities Gadget


ซีเมนส โชว สุดยอดเทคโนโลยีหนุน

“อีอีซี” สู ไทยแลนด แดนนวัตกรรม 28 พฤศจิกายน 2561, กรุงเทพฯ, ซีเมนส ผูนําเทคโนโลยีระดับโลกที่มุงมั่น พัฒนาความเปนเลิศในดานวิศวกรรม นวัตกรรม ความนาเชือ่ ถือและความเปนสากล จัดงาน “EEC Journey : Connect - Create - Collaborate for Joint Success” โชววิสัยทัศนการใชดิจิทัลในการจัดการเทคโนโลยี นวัตกรรม และโครงสรางพื้นฐาน ขับเคลือ่ นความสําเร็จใหโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (อีอซี )ี เพื่อเปนภูมิภาคแหงนวัตกรรมของอาเซียน สาระสําคัญในการสนทนาคือความรวมมือและสรางเครือขายของผูมีสวน เกีย่ วของในอีอซี ี ตัง้ แตหนวยงานทีก่ าํ หนดและดูแลดานนโยบาย ธุรกิจ ภาคประชาสังคม และการนําเสนอแนวทางจากซีเมนสเพื่อชวยลูกคาใหประสบความสําเร็จในการ เปลีย่ นผานไปสูด จิ ทิ ลั อยางเปนรูปธรรม ซึง่ ตรงกับสิง่ ทีร่ ฐั มนตรีวา การกระทรวงดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน นําเสนอวาความรวมมือคือ เครื่องมือสูความสําเร็จในการขับเคลื่อนประเทศไทยและการสรรหาพันธมิตรทั้งใน ระดับการประชุมสุดยอดอาเซียนและการประชุมสุดยอดเอเปก นโยบาย Digital Thailand Agenda 2018 ครอบคลุม โครงสรางพื้นฐานดิจิทัล รัฐบาลดิจิทัล ไซเบอร ซิเคียวริตี้ การพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล และการสรางบุคลากรดานดิจิทัล ดวงใจ อัศวจินตจิตร เลขาธิการคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (บีโอไอ) กลาววา นโยบายสงเสริมการลงทุนของบีโอไอสอดคลองไปกับนโยบาย Thailand 4.0 โดยมาตรการใหมๆ ที่ออกมาจะรองรับสาขาที่ใหความสําคัญ ไดแก เทคโนโลยี และนวัตกรรมการพัฒนาคนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของเทคโนโลยี และการสงเสริมพื้นที่เปาหมายในการพัฒนา ซึ่งปจจุบันก็คือ อีอีซี เพราะเปนพื้นที่ สําคัญที่สุดของประเทศไทย มารคุส ลอเรนซินี่ ประธานและหัวหนาฝายบริหาร บริษัท ซีเมนส จํากัด กลาววา ประเทศไทยมีการเปลี่ยนผานอยางรวดเร็ว ไปสูนวัตกรรมและเทคโนโลยี ยุคใหม ภายใตนโยบาย Thailand 4.0 และซีเมนสพรอมสนับสนุนอยางจริงจังในการ ชวยยกระดับนวัตกรรม และจัดหาเทคโนโลยีทมี่ คี วามลํา้ หนาสําหรับการพัฒนายุคตอไป “เราเปนบริษัทชั้นนําดานเทคโนโลยีที่มุงเนนธุรกิจวิศวกรรมไฟฟา เทคโนโลยี ระบบอัตโนมัตแิ ละการจัดการดวยระบบดิจทิ ลั ดวยผลิตภัณฑและระบบทีค่ รอบคลุม หลากหลายของเรา สามารถชวยทําใหแผนพัฒนาอีอีซีของประเทศไทยประสบ ความสําเร็จในการเปนพื้นที่แหงนวัตกรรมไดเร็วยิ่งขึ้น ซีเมนสมีนวัตกรรมและ

เทคโนโลยีที่จะขับเคลื่อนสมารทซิตี้ใหกลายเปนมหานคร แหงอนาคตดิจิทัลได” ประธานและหัวหนาฝายบริหาร ของซีเมนส กลาว ทั้งนี้ ภายในงาน ซีเมนสไดนําเสนอเทคโนโลยีที่ โดดเดน ทีจ่ ะสามารถนํามาใชใหเกิดประโยชนสงู สุดตอการ พัฒนาใหประเทศกาวสูประเทศไทย 4.0 อาทิ • Smart Energy Management คือเทคโนโลยีที่ ชวยในการบริหารจัดการการใชพลังงานและควบคุมคาใช จาย นับเปนนวัตกรรมทีเ่ หมาะสมกับอีอีซี • Intelligent Traffic System โซลูชั่นระบบจราจร อัจฉริยะ แนะนํา Vehicle-to-X (V2X) เทคโนโลยีดาน การสื่อสารสําหรับระบบควบคุมและจัดการจราจรขั้นสูง (Advanced Traffic Management Systems – ATMS) เพือ่ จัดการและควบคุมการจราจรโดยการตรวจจับความหนา แนนการจราจร ชวยลดคาใชจา ยจากการสิน้ เปลืองพลังงาน และลดมลภาวะ • Intelligent Building Management System เทคโนโลยีอาคารอัจฉริยะของซีเมนส ทั้งชวยประหยัดคา ใชจายดานพลังงาน การดูแลรักษา และยังสามารถเก็บ รวบรวมขอมูลที่เกิดจากอุปกรณ IoT ตางๆ เพื่อนํามา วิเคราะห พัฒนา สรางมูลคาเพิ่มในการใหบริการเพื่อ สนองตอบความตองการของลูกคาหรือผูเชาพื้นที่ ซีเมนสยนื หยัดเคียงขางการพัฒนาของประเทศไทย มาตลอดระยะเวลากวา 100 ป และพร อมที่จะชวย ขับเคลือ่ นประเทศไทยสูค วามเปนผูน าํ แถวหนาในเอเชียตะวัน ออกเฉียงใตในการเปลีย่ นผานสูย คุ ดิจทิ ลั ซีเมนสมที มี งาน ทีม่ คี วามชํานาญดานวิศวกรรมและนวัตกรรมชัน้ เยีย่ มเพือ่ ชวยใหธุรกิจไทยประสบความสําเร็จในการขับเคลื่อนและ เปลี่ยนผานสูยุคดิจิทัลอยางสมบูรณ #Siemens4EEC


Spotlight • กองบรรณาธิการ

วสท.นําวิศวกรไทย

ร วมงานประชุมนานาชาติ

สมาพันธ สมาคมวิศวกรรมอาเซียน “CAFEO ครัง้ ที่ 36” เผยมีวิศวกรไทยรับรางวัลเกียรติยศในงาน 10 ท าน

14

วิ ศ วกรรมสถานแห ง ประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ (วสท.) นําโดย ดร.ธเนศ วีระศิริ นายก วสท. ศ. ดร.พานิช วุฒิพฤกษ ประธานฝายตางประเทศ และ ทีมบริหาร วสท. นําวิศวกรไทยเขารวมงานประชุมนานาชาติ สมาพันธสมาคมวิศวกรรมอาเซียน “CAFEO ครั้งที่ 36” ภายใตแนวคิด “Engineering Rail Connectivity & Fostering Excellence in Engineering Education” ซึง่ มีผเู ขาประชุมประกอบดวย 10 ประเทศสมาชิกในอาเซียน และรวมเปนสักขีพยานพิธีการมอบรางวัลเกียรติยศแก ดร.มหาธีร มูฮัมหมัด นายกรัฐมนตรี ประเทศมาเลเซีย ในพิธี “Conferment of the ASEAN Federation of Engineering Organisations (AFEO) Distinguished Honorary Patron Award” พรอมดวยประธานจากบรรดา องคกรในประเทศสมาชิก ณ รีสอรท เวิลด เซ็นโตซา คอนเวนชั่น เซ็นเตอร ประเทศสิงคโปร งานประชุมนานาชาติสมาพันธสมาคมวิศวกรรม อาเซียน “CAFEO ครั้งที่ 36” นี้ มีประเทศสิงคโปรเปน เจาภาพ โดยไดรับเกียรติจาก เตียว ชี เฮียน รองนายก รัฐมนตรี และรัฐมนตรีกระทรวงความมั่นคงแหงชาติ สิงคโปร เปนประธานในพิธีเปดงานโดยมี President จาก ประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศไดเขารวมในพิธีเปด ไดแก ประเทศไทย อินโดนิเซีย ฟลิปปนส มาเลเซีย สิงคโปร เวียดนาม กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา และบรูไน ในการ สงเสริมความแข็งแกรงทางวิศวกรรมเพือ่ รองรับการเติบโต ของภูมิภาคอาเซียน แลกเปลี่ยนองคความรูและความ กาวหนาดานวิศวกรรมเทคโนโลยีของแตละประเทศสมาชิก ในอาเซียน ทั้งยังเปดโอกาสใหวิศวกรไทยและอาเซียนได นําเสนอนวัตกรรมใหมๆ ในเวทีสากล พรอมกาวไปสู วิชาชีพวิศวกรรมในระดับอาเซียน นอกจากนี้ยังเปนการ เสริมศักยภาพของวิศวกรและนักธุรกิจผูประกอบการทั้ง ในกลุมอาเซียน และประเทศอื่นๆ อาทิ ญี่ปุน เกาหลีใต สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และจีน อีกดวย เปนที่นายินดีที่ในปนี้มีวิศวกรไทยที่มีผลงานเดน ซึ่งสรางชื่อเสียงแกประเทศไทย โดยไดรับรางวัลเกียรติยศ จากสมาพันธสมาคมวิศวกรรมแหงอาเซียน (AFEO) ทัง้ หมด 10 ทาน สําหรับ รางวัล AFEO Honorary Fellow Award ไดแก ชัยวัฒน ทองคําคูณ, รศ. ดร.อัญชลีพร วาริทสวัสดิ์ หลอทองคํา, สุเมธ สุรบถโสภณ, ผศ.พิสิษฐ แสง-ชูโต, สุกฤตย สุรบถโสภณ, รศ. ดร.วัชรินทร กาสลัก, สุวฒ ั น บุญศักดิส์ กุล, ชัยชาญ วรนิทศั น, ดร.วินยั สารสุวรรณ และ รางวั ล ASEAN Outstanding Engineering Contribution Award ไดแก ศุภรัตน ศิริสุวรรณางกูร นอกจากนีภ้ ายใต AFEO ยังมีการตัง้ สมาพันธวศิ วกร รุนใหม (Young Engineers ASEAN Federation of Engineering Organization-YEAFEO) เพื่อเปดโอกาส วิศวกรรุน ใหมในการรวมขับเคลือ่ นความกาวหนาของสังคม เศรษฐกิจและการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมในอาเซียน


Energy Today • กองบรรณาธิการ

BGRIM ออกหุ นกู กรีนบอนด 5 พันล านบาท

ลงทุนโรงไฟฟ าโซลาร เซลล

ภายใต การสนับสนุนของ ADB 100% รายแรกของไทย ปรียนาถ สุนทรวาทะ ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท บี.กริม เพาเวอร จํากัด (มหาชน) หรือ BGRIM ผูผลิตไฟฟาเอกชนใหญที่สุดใน ประเทศไทย รวมลงนามสัญญาในการออกหุนกู “กรีนบอนด” มูลคา 5,000 ลานบาท ซึ่งไดรับการสนับสนุนจาก ธนาคารพัฒนาเอเชีย (เอดีบี) เพื่อเพิ่ม สัดสวนการผลิตไฟฟาดวยพลังงานทดแทนขึน้ เปน 30% ภายในป พ.ศ. 2564 โดยมี ไมเคิล แบรโรว ผูอํานวยการใหญฝายปฏิบัติการภาคเอกชน ธนาคาร พัฒนาเอเชีย (เอดีบี) พรอมดวยคณะผูบริหารทั้งสองฝายรวมเปนสักขีพยาน ณ หอง Lecture โรงแรมแกรนด ไฮแอท เอราวัณ กรุงเทพฯ เมื่อเร็วๆ นี้ ปรียนาถ กลาววา บริษัท บี.กริม เพาเวอร จํากัด (มหาชน) หรือ BGRIM มีประสบการณอยางยาวนานในอุตสาหกรรมพลังงาน และถือไดวา เปนผูน าํ ในภาคเอกชนรายหนึง่ ของประเทศและในระดับภูมภิ าค ทัง้ ยังตระหนัก ถึงการมีสว นรวมตอประชาคมโลก ทีจ่ ะรวมสงเสริม ดูแลสภาพภูมอิ ากาศของ โลก จึงไดริเริ่มออกหุนกูกรีนบอนด มูลคา 5 พันลานบาท หรือ 155 ลาน เหรียญสหรัฐ ประกอบดวยหุน กูอ ายุ 5 ป อัตราดอกเบีย้ 3.6% นับเปนครัง้ แรก ของหุนกูกรีนบอนดที่ไดรับการรับรองโดย Climate Bonds Initiative ทีจ่ ะออกในประเทศไทย ซึง่ ไดรบั การสนับสนุนอยางเต็มทีจ่ ากธนาคารพัฒนา เอเชีย (เอดีบี) ซึ่งจะชวยสะทอนความเชื่อมั่น สงเสริมภาพลักษณ ตลอดจน สรางความมัน่ ใจไดวา หุน กูด งั กลาวมีการจัดทําแนวทางปฏิบตั ทิ ดี่ ที สี่ ดุ ในระดับ สากล สอดคลองกับมาตรฐานเกณฑการออกพันธบัตรอาเซียนกรีนบอนด (ASEAN Green Bond Standards) ทีจ่ ะใชเกณฑเดียวกัน ทัว่ ภูมภิ าคอาเซียน ของสมาคมตลาดทุนระหวางประเทศ (International Capital Market Association: ICMA) ซึ่งเกิดจากความสัมพันธอันยาวนานที่ไดทําขึ้นจากการ ทําธุรกรรมหลายอยางตอกันอยางใกลชิดและตอเนื่อง ระหวาง บี.กริม เพาเวอร และ เอดีบี ปจจุบัน บี.กริม เพาเวอร มีโรงไฟฟาเชิงพาณิชยทั้งหมด 33 แหง แบงเปนโรงไฟฟาพลังความรอนรวม 15 แหง โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย 15 แหง โรงไฟฟาพลังนํ้า 2 แหง และโรงไฟฟาพลังงานดีเซล 1 แหง ซึ่ง ตั้งอยูในประเทศไทยและตางประเทศ มีกําลังการผลิตไฟฟารวมกวา 2,045 เมกะวัตต และมีโครงการโรงไฟฟาทีอ่ ยูร ะหวางการกอสรางและพัฒนาอีกกวา 1,081 เมกะวัตต รวมเปนจํานวนกําลังการผลิตติดตัง้ ทีม่ สี ญ ั ญาซือ้ ขายไฟฟา ทั้งในประเทศและตางประเทศแลวขณะนี้ 3,126 เมกะวัตต การออกหุนกู กรีนบอนดครั้งนี้ เปนสวนหนึ่งของแผนการพัฒนาศักยภาพการผลิตไฟฟา ของบริษัทฯ ที่จะเพิ่มสัดสวนการใชพลังงานทดแทนหรือพลังงานสะอาดจาก 10% เปน 30% ใหสําเร็จภายในป พ.ศ. 2564 โดยเงินทุนที่ไดจากหุนกู กรีนบอนดนี้ จะใชสําหรับโครงการโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยที่ดําเนินการ แลวจํานวน 9 แหงที่มีกําลังการผลิต 67.7 เมกะวัตตและโรงไฟฟาพลังงาน แสงอาทิตย 7 แหงทีก่ าํ ลังกอสรางอยู ซึง่ โครงการโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ทั้งหมดในประเทศไทยมีกําลังการผลิตรวม 30.8 เมกะวัตต

15

>> ปรียนาถ สุนทรวาทะ ประธานเจ าหน าที่บริหาร BGRIM จับมือเป นพันธมิตรกับ ไมเคิล แบร โรว ผู อํานวยการใหญ ฝ ายปฏิบัติการภาคเอกชน ADB

>> ผู บริหารจากทั้งสองฝ ายร วมเป นสักขีพยาน

ดาน ไมเคิล แบรโรว ผูอํานวยการใหญฝายปฏิบัติการ ภาคเอกชน ธนาคารพัฒนาเอเชีย (เอดีบี) กลาววา การออก หุ  น กู  ค รั้ ง นี้ จ ะช ว ยส ง เสริ ม การพั ฒนาตลาดพั น ธบั ต รสี เ ขี ยว (กรีนบอนด) ในประเทศไทย ที่สําคัญเงินทุนที่ไดจะนํามาใช สําหรับโครงการพลังงานทดแทนในประเทศไทย ยังเปนสวนหนึง่ ในการชวยสรางวิถสี งั คมคารบอนตํา่ เพือ่ การเติบโตทางเศรษฐกิจ อยางยั่งยืน ซึ่งจะชวยใหประเทศไทยบรรลุเปาหมายในการ ลดการปลอยกาซเรือนกระจกที่ตั้งไว 20% ไดโดยไรขอจํากัด ของเงื่อนไข ภายในป พ.ศ. 2573 ทั้งนี้ บี.กริม นับเปนผูบุกเบิก ดานธุรกิจพลังงานทดแทนและการเติบโตของสังคมคารบอนตํา่ ในประเทศไทย ที่มีบทบาทมากขึ้นในภูมิภาคนี้ และเอดีบีรูสึก เปนเกียรติอยางยิง่ ทีไ่ ดเปนพันธมิตรระยะยาวในการดําเนินการ ดังกลาว สําหรับการลงทุนพันธบัตรสีเขียว (กรีนบอนด) กับ บี.กริม เพาเวอร ในครัง้ นี้ นับเปนครัง้ ที่ 2 ของเอดีบี โดยในป พ.ศ. 2559 เอดีบไี ดสนับสนุนโครงการพลังงานความรอนใตพภิ พ Tiwi และ Makban ในฟลปิ ปนส ซึง่ เปนโครงการเสนอขายพันธบัตรสีเขียว ครั้งแรกของประเทศ

Engineering Today November - December

2018


Engineering 4.0 Äľ Ă?ĂźĂ–ĂŠĂ˛Ă˛Ă˘Ä Ă§ÄƒĂ?Ä Ă˛

< Ä?& < ' 6'<A"Hg ''% 6' =Ä™ 5 6'

'8-5 6 1 18 5.A '9&)B Äš. N6 5 /';1 9E1 9

Ă˜ 8 '=Ä™ N6 D/Ä™ E Ä™ ) 9 9I.< 5 6 B)4A';I1 9I.N6 5gD 9+8 Ă™

Engineering Today November - December

2018

16


ĎėĨĝĥċ ĎĦûõġõġĨčĈĥĞİċėĩĖęıõʁĞ üĽĦõĥĈ ğėīġ ĎĩĴġüĩ ĐĭʀčĽĦčěĥĉõėėĕġĬĉĞĦğõėėĕõʁĦÿøėĎěûüėijčďėĤİċĜĴċĖ õɿġĉĥĹûöĪĹčijčďɷ Ē Ĝ IJĈĖõĦėėɿěĕċĬčėĤğěɿĦûĐĭʀĊīġğĬʀč þĦěĴċĖ čĽĦIJĈĖ ČčĦøĦėõėĬûİċĒ üĽĦõĥĈ ĕğĦþč ıęĤ ĎėĨĝĥċ "JS 1SPEVDUT BOE $IFNJDBMT *OD ĐĭʀčĽĦĈʀĦč õʁ Ħ ÿġĬ ĉĞĦğõėėĕıęĤİøĕĩĔĥ ć ąʃ ė ĤĈĥĎIJęõüĦõďėĤİċĜ ĞğėĥĄġİĕėĨõĦ IJĈĖijčďɷ Ē Ĝ čĩĹ ĎĩĴġüĩøėĎ ďɷ öġûõĦėõɿġĉĥûĹ ĎėĨĝċĥ ģ ĔĦĖijĉʀõĦėĎėĨğĦėûĦčöġû øĬćďɶĖĎĬĉė üĦėĬ İ Ēķ ā õėėĕõĦėĐĭ ʀ üĥ Ĉ õĦė ęĭ õ ğĕʀ ġ øčĞĽ Ħ øĥ āċĩĸ ė ɿ ě ĕ ûĦčõĥĎĎĩĴġüĩĕĦõõěɿĦ ďɷ ĒėʀġĕčĽĦøěĦĕėĭøʀ ěĦĕĞĦĕĦėĊ ċĩĸĕĩġĖĭɿčĽĦĒĦġûøʃõėĴďĞĭɿøěĦĕĖĥĸûĖīč

A);1 A'9& +8,+ ''%A %9 /+5 N6 6 9I 8 %3 %6 6"< øĬćďɶĖĎĬĉė üĦėĬİĒķā İęɿĦijğʀēʅûěɿĦ ĞĕĥĖĞġĎİöʀĦ ĕğĦěĨċĖĦęĥĖijčėĤĈĥĎďėĨāāĦĉėĩİĕīĸġďɷ Ē Ĝ ĴĈʀ ĉĥ Ĉ ĞĨ č ijüİęī ġ õİĒĩ Ė û ġĥ č Ĉĥ Ď İċɿ Ħ čĥĹ č IJĈĖİęī ġ õøćĤ ěĨĜěõėėĕĜĦĞĉėʃ üĬĠĦęûõėćʃĕğĦěĨċĖĦęĥĖ İďʇčġĥčĈĥĎ ıėõ ıęĤøćĤĞĊĦďʅĉĖõėėĕĜĦĞĉėʃ üĬĠĦģ İďʇčġĥčĈĥĎ ċĩĞĸ ġû ıęĤĞĦĕĦėĊĞġĎİöʀĦøćĤěĨĜěõėėĕĜĦĞĉėʃĴĈʀijčċĩĞĸ ĈĬ öćĤċĩĸ ĜĪ õ ĝĦijčþĥĹ č ďɷ ċĩĸ ĴĈʀ ĉĥ Ĉ ĞĨ č ijüİęī ġ õİėĩ Ė čĞĦöĦ ěĨ Ĝ ěõėėĕİøĕĩ Ĉʀ ě Ėİğķ čěɿ Ħ İěęĦčĥĹ č ĕĩ õ Ħėõɿ ġ Ğėʀ Ħ ûčĨ ø ĕ ġĬĉĞĦğõėėĕĕĦĎĉĦĒĬĈĉĦĕčIJĖĎĦĖöġûėĥĄĎĦęĒęİġõ þĦĉĨþĦĖ þĬćğĤěĥć ijčõĦėİďęĩĸĖčĞčĦĕėĎijğʀİďʇčĞčĦĕ õĦėøʀ Ħ ĕĩ õ ĦėIJúĝćĦıęĤďėĤþĦĞĥ ĕ Ēĥ č Čʃ İ Ēīĸ ġ þĥ õ þěč čĥõęûċĬčüĦõĉɿĦûþĦĉĨİöʀĦĕĦęûċĬčıęĤøʀĦöĦĖijčďėĤİċĜĴċĖ üĪûøĨĈěɿĦğĦõİęīġõİėĩĖčěĨĜěõėėĕİøĕĩõķüĤĴĈʀĕĩIJġõĦĞĴď ċĽĦûĦčċĩĸčĨøĕġĬĉĞĦğõėėĕĕĦĎĉĦĒĬĈ

.5I .% '4. 6' Ĝ 6' N6 6 A'9& Ę1 u t Ę1 N6 6 9I 9 E1 9D ĐÚ ã : ĝ < 5 ğęĥûüĦõİėĩĖčüĎďėĨāāĦĉėĩĔĦĖijčİěęĦ ďɷ øĬćďɶĖĎĬĉė İėĨĕĸ ĉʀčċĽĦûĦčıėõċĩĎĸ ėĨĝċĥ IJĖIJõõĦěĦ ďėĤİċĜĴċĖ üĽĦõĥĈ ijčĉĽĦığčɿû 4PGUXBSF &OHJOFFS ijþʀİěęĦĞĥûĸ ĞĕďėĤĞĎõĦėćʃ ďėĤĕĦćğčĪĸûďɷüĪûİõĨĈıčěøĨĈijčõĦėċĽĦČĬėõĨüĕĦõĖĨĸûöĪĹč üĪûĉĥĈĞĨčijüĴďĜĪõĝĦĉɿġĈʀĦčõĦėĎėĨğĦėČĬėõĨü . # " ċĩĸ ĕğĦěĨċĖĦęĥĖİÿĦċʃİċĨėʃčġĨęęĨčġĖĞʃ İĕīġûøĦėʃĎġčİĈę ďėĤİċĜĞğėĥĄġİĕėĨõĦ ďɷ Ē Ĝ ğęĥûüĦõİėĩĖč üĎõęĥĎĕĦİĕīġûĴċĖijčþɿěûďɷ Ē Ĝ İöʀĦĞĭďɿ ɷ Ē Ĝ ĴĈʀċĦĽ ûĦčijčĉĽĦığčɿûěĨĜěõėċĩĎĸ ėĨĝċĥ İþęęʃığɿûďėĤİċĜĴċĖ

üĽĦõĥĈ ċĽĦûĦčĴĈʀďėĤĕĦćďɷİĜĝĶ üĪûĖʀĦĖĕĦċĽĦûĦčċĩĸĎėĨĝĥċ ĎĦûõġõ ġĨ č Ĉĥ Ğ İċėĩ Ė ęıõʁ Ğ üĽ Ħ õĥ Ĉ ğėī ġ Ďĩ Ĵ ġüĩ ĉĥĹ û ıĉɿ ď ɷ Ē Ĝ üčĊĪ û ďʅüüĬĎĥč ƯġĦüİĒėĦĤİĒĨĸûİďʇčİĈķõüĎijğĕɿġĦĖĬĉġččĥĹčďėĤĕĦć ďɷ õķėĭʀĞĪõěɿĦġĖĦõĴĈʀġĤĴėijğĕɿĶ İöʀĦĕĦijčþĩěĨĉ ġĖĦõĴĈʀėĤĎĎ ġĖĦõĴĈʀ Ğěĥ ĞĈĨõĦė ġĖĦõĴĈʀ ġĤĴėċĩĸİĈķõüĎijğĕɿġĖĦõĴĈʀ ċĩĸİþęęʃ İöĦĕĩėĤĎĎ ĕĩIJøėûĞėʀĦûõėĤĎěčõĦėõĦėċĽĦûĦč ĕĩĞěĥĞĈĨõĦėċĩĸĈĩčĤ ıĉɿĐĕġĖĦõijþʀ øěĦĕėĭʀøěĦĕĞĦĕĦėĊċĩĸİėĩĖčĕĦċĥĹûĞġûĈʀĦč ċĥĹûĈʀĦčěĨĜěõėėĕİøĕĩıęĤ ĈʀĦčĎėĨğĦė ċĽĦďėĤIJĖþčʃġĤĴėĴĈʀĕĦõõěɿĦčĩĹ ıęĤĎĥûİġĨāİėĦĕĩİĒīĸġčċĩĸ ċĽĦûĦčġĖĭɿċĩĸĎĩ ĴġüĩĈʀ ě Ė ĉġčıėõĐĕõķ Ĵĕɿėĭʀğ ėġõěɿ ĦĎėĨĝĥċĎĩĴġüĩčĩĹċĽ Ħ ġĤĴėĎʀĦû ėĭıʀ ĉɿěĦɿ üĤĴĈʀċĦĽ ûĦčõĥĎđėĥûĸ ĴĈʀıęõİďęĩĖĸ čďėĤĞĎõĦėćʃċĦĽ ûĦč ĴĈʀijþʀĔĦĝĦ ĴĈʀĴďċĽĦûĦčċĩĸčĨøĕġĬĉĞĦğõėėĕĕĦĎĉĦĒĬĈġĖɿĦûċĩĸĉĥĹûijüĴěʀ İęĖĉĥĈĞĨčijüęĦġġõüĦõİþęęʃĕĦġĖĭɿċĩĸĎĩĴġüĩư

A ' 6 1A 8 ; ã )ę6 5 )= ę6'4 5 w "8.= Ĝ +6%.6%6' " 5 6 +5& ¡ Đ øĬćďɶĖĎĬĉė İďɶĈijüěɿĦ õĦėİėĨĸĕĉʀčċĽĦûĦčijčĉĽĦığčɿûİüʀĦğčʀĦċĩĸ ĒĥĆčĦČĬėõĨüċĩĎĸ Ĵĩ ġüĩččĥĹ ċĽĦijğʀĴĈʀėĎĥ ďėĤĞĎõĦėćʃĉĦɿ ûĶ ĕĦõĕĦĖĐɿĦčõĦė ċĽĦûĦčċĩĸğęĦõğęĦĖ ċĩĸĞĽĦøĥāõĦėĕĩğĥěğčʀĦûĦčİďʇčþĦěĉɿĦûþĦĉĨİöĦüĤ İďʇčIJøʀþĞġčûĦčĕĦõõěɿĦĞĥûĸ ijğʀċĦĽ ûĦčİğĕīġčġĖɿĦûğĥěğčʀĦċĩİĸ ďʇčøčĴċĖ ijčþɿěûċĩĸİöʀĦĕĦċĽĦûĦčċĩĸĎĩĴġüĩijğĕɿĶ ĕĩõėćĩęĭõøʀĦėĦĖğčĪĸûċĩĸİėĦĞɿûijĎ ıüʀûğčĩĹğėīġijĎ *OWPJDF ĉĽĸĦõěɿĦĖġĈüėĨû ęʀĦčĎĦċ ğĥěğčʀĦûĦčċĩĸİďʇč þĦěĉɿĦûþĦĉĨõijķ ğʀİėĦĴďİďʇčøčİüėüĦõĥĎċĦûęĭõøʀĦ ÿĪûĸ ęĭõøʀĦõķĞûɿ õėėĕõĦė Đĭüʀ Ĉĥ õĦėĕĦİęĖ ċĽĦijğʀĐĕėĭĞʀ õĪ ěɿĦċĽĦĴĕøěĦĕėĥĎĐĨĈþġĎöġûİėĦĕĦõöčĦĈčĩĹ ıĉɿĕġûijčċĦûõęĥĎõĥč İėĦõķõęĥĎĕĦčĥĸûøĨĈěɿĦõĦėċĩĸİûĨč ęʀĦčĎĦċ ġĖĭijɿ čĕīġİėĦčĩĊĹ ġī ěɿĦĴĈʀėĎĥ øěĦĕĴěʀěĦûijüüĦõğĥěğčʀĦġĖɿĦûĖĨûĸ ıęĤıčɿčġč ěɿĦĴĕɿĕęĩ õĭ øʀĦėĦĖijĈĖġĕijğʀİėĦıüʀûğčĩİĹ ĒĨĕĸ üĪûĉʀġûİüėüĦĉɿġėġûijğʀĞĦĕĦėĊ čĽĦİûĨčĞɿěččĩĹøīčõęĥĎĕĦijğʀĴĈʀ Ưĉġčċĩĸ ğĥ ě ğčʀ Ħ ijğʀ Đ ĕĴďİüėüĦıüʀ û ęĭ õ øʀ Ħ İėīĸ ġ ûİġõĞĦėěĦûĎĨ ę *OWPJDF ċĩĸİėĩĖõİõķĎĒęĦĈĴď ęʀĦčĎĦċ ĉġččĥĹčĐĕøĨĈİĒĩĖûěɿĦĊʀĦ İüėüĦĉɿġėġûĴĈʀĕĦijõęʀİøĩĖû ęʀĦčĎĦċõķĊīġěɿĦĈĩċĩĸĞĬĈıęʀě İĒėĦĤõĦė İüėüĦøėĥûĹ čĥčĹ ĐĕġĦĖĬ üĎijğĕɿĶ İęĖijčõĦėĴĈʀėĎĥ ĕġĎğĕĦĖûĦčijğʀĴď ċěûİûĨčøīčüĦõęĭõøʀĦ ÿĪĸûİďʇčõėėĕõĦėĐĭʀüĥĈõĦėĎėĨĝĥċċĩĸĕĩġĦĖĬ ďɷ ıęĤijčĞĥûøĕĴċĖİĕīĸġ ďɷċĩĸıęʀěõĦėİġĦİĈķõġĦĖĬ ĴďċěûİûĨč ęʀĦčĎĦċüĦõøčġĦĖĬ ĈĭıęʀěĴĕɿİğĕĦĤĞĕ ĊʀĦİėĦĴďĊĪûďĬɼĎİďɶĈýĦõ öĪĹčĕĦ ĒĩĸüɿĦĖİûĨčĕĦ ęʀĦčĎĦċ õķüĎ ęĭõøʀĦİöĦøûĴĕɿüɿĦĖøīčıčɿčġč ĐĕüĪûĉʀġûİėĩĖčėĭİʀ ċøčĨø ğĦěĨČ ĩ ğĦõęĖĬċČʃijčõĦėİüėüĦěɿĦĉʀġûċĽĦġĖɿĦûĴė ĎʀĦû ğĦõĕĩøěĦĕėĭĴʀ ĕɿĒġİėĦüĤĉʀġûĴďğĦġûøʃøěĦĕėĭİʀ ğęɿĦčĥčĹ ĕĦüĦõċĩĴĸ ğč ĴĈʀĎʀĦû ĒĖĦĖĦĕğĦİğĉĬĐęijğʀęĭõøʀĦİþīĸġijğʀĴĈʀěɿĦİöĦøěėüĤüɿĦĖİûĨč ęʀĦčĎĦċøīčıõɿĎĩĴġüĩĉĦĕĞĥāāĦċĩĸĴĈʀĉõęûċĽĦĴěʀĉĥĹûıĉɿıėõư

17

Engineering Today November - December

2018


ğęĥûüĦõčĥĹč øĬćďɶĖĎĬĉė õķĴĈʀĖʀĦĖĞĦĖûĦčĕĦijč đɺĦĖõĦėĉęĦĈ ċĽĦijğʀĴĈʀġġõĴďĒĎďĤęĭõøʀĦĕĦõöĪĹč İėĩĖčėĭʀ õĦėċĽĦûĦč İėĩĖčėĭʀęĭõøʀĦ ıęĤďėĥĎĉĥěĉĦĕĞĦĖûĦč ċĽĦûĦč ġĖĭɿijčđɺĦĖčĩĹďėĤĕĦć ďɷ ıęĤijčďɷ Ē Ĝ ĴĈʀėĥĎ õĦėİęīĸġčĉĽĦığčɿûijğʀİďʇč ĐĭʀġĽĦčěĖõĦėđɺĦĖČĬėõĨüĒĦćĨþĖʃ üčõėĤċĥĸûďɷ Ē Ĝ ĴĈʀİęīĸġčĉĽĦığčɿûİďʇčõėėĕõĦė ĐĭʀüĥĈõĦėĎėĨĝĥċüčĊĪûďʅüüĬĎĥč

N6/)5 6'%6 '5 D ę D 6' N6 6 /)6& ę6 C &A "64A';I1 øĬćďɶĖĎĬĉė õęɿĦěěɿĦ ijčõĦėċĽĦûĦčĴĈʀčĽĦğęĥõõĦė ĞĕĥĖİėĩĖčěĨĜěõėėĕĜĦĞĉėʃĕĦďėĥĎijþʀijčõĦėċĽĦûĦčğęĦõ ğęĦĖĈʀĦč İĒėĦĤõĦėİėĩĖčěĨĜěõėėĕĜĦĞĉėʃøīġğęĥõõĦė ijþʀİğĉĬıęĤĐę ċĥĹûčĩĹĒīĹčĄĦčöġûěĨĜěõėėĕøīġčĽĦĞĨĸûċĩĸøčġīĸč øĨĈøʀčĕĦıęʀě ĕĦĉɿġĖġĈijğʀİõĨĈďėĤIJĖþčʃĞɿěčijğāɿ IJĈĖ ĉɿġĖġĈüĦõěĨċĖĦĜĦĞĉėʃ İĒėĦĤěĨĜěõėėĕõĥĎěĨċĖĦĜĦĞĉėʃ ĉɿĦûõĥčġĖĭİɿ ęķõčʀġĖ ıĉɿĴĕɿĕijĩ øėĈʀġĖĴďõěɿĦijøė ěĨċĖĦĜĦĞĉėʃ üĤİďʇčøčøĨĈ İþɿč øĨĈĞĦėĉĥěčĩĹġġõĕĦ øĨĈěĨþĦõĦėİğęɿĦčĩĹ ġġõĕĦ ıĉɿěĨĜěõėėĕİġĦøěĦĕøĨĈĉėûčĥĹčĕĦĉɿġĖġĈijþʀijğʀ İõĨĈďėĤIJĖþčʃıęĤċĽĦijğʀĴĈʀĐę ƯİþɿčİĈĩĖěõĥč İėĦĞĦĕĦėĊčĽĦğęĥõõĦėĕĦďėĥĎijþʀijč İėīĸġûċėĥĒĖĦõėĕčĬĝĖʃ ğėīġĒĭĈûɿĦĖĶ øīġİėīĸġûøč ğęĦĖĶ ċɿĦččĪõěɿĦõĦėĎėĨğĦėċėĥĒĖĦõėĕčĬĝĖʃİďʇčİėīġĸ ûĞĦĕĥāĞĽĦčĪõ ıĉɿüėĨûĶ İėĦĉʀġûĜĪõĝĦıęĤčĽĦğęĥõõĦėĎėĨğĦėøčIJĈĖİýĒĦĤ İċėčĈʃijğĕɿĶ ĕĦijþʀ ĴĕɿijþɿıøɿijþʀĞĦĕĥāĞĽĦčĪõġĖɿĦûİĈĩĖě ĉġččĩĹĐĕijþʀİěęĦijčİėīĸġûøčijčĎėĨĝĥċİõĨč İďġėʃİÿķčĉʃ İĒėĦĤĐĕüĤijğʀ ø ěĦĕĞĽ Ħ øĥ ā İėīĸ ġ ûøčĕĦõ Ğɿ ě čġĩ õ İďġėʃİÿķčĉʃüĤİďʇčİėīĸġûČĬėõĨü İĒėĦĤğęĥûüĦõċĩĸİėĦċĽĦİėīĸġû øčġĖɿĦûüėĨûüĥûĕĦĞĥõ ďɷ İėĦİğķč ĐęęĥĒČʃİėīĸġûøěĦĕ ĞĦĕĦėĊijčõĦėıöɿûöĥčıęĤõĦėİĉĨĎIJĉöġûġûøʃõėĈĩĕĦõ ċĽĦijğʀİėĦĕġûİğķčěɿĦõĦėęûċĬčİėīĸġûøččĥĹčĴĈʀĐęęĥĒČʃĖĥĸûĖīč ġĖɿĦûıċʀüėĨû ĞɿěčĉĥěıęʀěİėĦõķþġĎİėīġĸ ûøčĈʀěĖ ĐĕøɿġčöʀĦû ċĩĸüĤþġĎġɿĦčğčĥûĞīġİėīĸġûøčĕĦõıęʀěčĽĦĕĦďėĥĎijþʀijğʀİõĨĈ ďėĤIJĖþčʃijčõĦėċĽĦûĦčĎėĨğĦėøčư

8 '=ę N6 D/ę E ę ) 9 9I.< 5 < G A';I1 .N6 5gD 9+8 ĞĽĦğėĥĎõęĖĬċČʃijčõĦėĎėĨğĦėûĦčijğʀďėĤĞĎøěĦĕ ĞĽĦİėķüčĥčĹ øĬćďɶĖĎĬĉė İęɿĦěɿĦüĤċĽĦğčʀĦċĩċĸ õĬ ġĖɿĦûijğʀĈċĩ Ğĩĸ ĈĬ ĈʀěĖøěĦĕĞĦĕĦėĊċĩĕĸ ċĩ ûĥĹ ğĕĈċĬĕɿ İċijğʀõĦėċĽĦûĦčÿĪûĸ ĈĩċĞĩĸ ĈĬ čĥĹčøīġ øĨĈ ėĭʀ ċĽĦ ijğʀĴĈʀĐęęĥĒČʃĈĩċĩĸĞĬĈ ÿĪĸûõķijþʀĴĈʀõĥĎċĬõĶ

Engineering Today November - December

2018

İėīĸġûċĩĸİėĦüĤċĽĦijğʀİõĨĈ IJĈĖIJēõĥĞĉėûüĬĈıöķûċĩĸĴĈʀİďėĩĖĎijčõĦėıöɿûöĥč ıęʀěõķċĦĽ ġĖɿĦûċĩěĸ ĦûıĐčİġĦĴěʀĉĦĕöĥčĹ ĉġč ĐęęĥĒČʃċĴĩĸ Ĉʀõüķ ĤġġõĕĦġĖɿĦû ċĩĸĉĥĹûijüĴěʀ ƯĐĕĉĥĹûijüċĬõěĥčěɿĦġĖĦõüĤċĽĦûĦčijğʀĈĩċĩĸĞĬĈ #FTU ĐĕĉʀġûøĨĈěɿĦ ĐĕüĤěĦûıĐčġĖɿĦûĴėijğʀĈċĩ Ğĩĸ ĈĬ üĤĉʀġûėĭġʀ ĤĴėijğʀĈċĩ Ğĩĸ ĈĬ ıęĤċĽĦġĤĴėõɿġč ġĤĴėğęĥûijğʀĈĩċĩĸĞĬĈ İĒīĸġđĦõĞĨĸûċĩĸĈĩċĩĸĞĬĈĞĽĦğėĥĎĎĩĴġüĩ ıĉɿİĕīĸġİėĦęûĕīġ ċĽĦûĦččĥĹč ĐĕøûċĽĦøčİĈĩĖěĴĕɿĴĈʀĉʀġûġĦĜĥĖøěĦĕėɿěĕĕīġöġûċĬõøč ijčĎėĨĝĥċģ ÿĪĸûõĦėėɿěĕċĽĦûĦčıĉɿęĤİėīĸġûijčďʅüüĬĎĥčĕĩøěĦĕċʀĦċĦĖĕĦõ İĒėĦĤøěĦĕğęĦõğęĦĖöġûøčċĽĦûĦčĕĦõöĪĹčİėīĸġĖĶ ĖĨĸûĉġččĩĹĎĩĴġüĩ ĴĈʀö ĖĦĖûĦčĴďĞĭɿďėĤİċĜİĒīĸ ġčĎʀĦčijčďėĤİċĜİĕĩ ĖčĕĦ İěĩĖĈčĦĕ ĕĦõöĪĹč ĊīġİďʇčİėīĸġûöġûøěĦĕċʀĦċĦĖijčõĦėċĽĦûĦčõĥĎøčċĩĸĉʀġûİėĩĖčėĭʀ ıęĤijþʀøěĦĕİöʀĦijüijčõĦėġĖĭɿėɿěĕõĥčijğʀĴĈʀijčøěĦĕğęĦõğęĦĖčĩĹư

C# 5. <' 8 A';I1 /)5 '4 8 8 5) '5 C& 6& ¹²º½²¿µ ã øĬćďɶĖĎĬĉė õęɿĦěĊĪûõĦėčĽĦčIJĖĎĦĖ 5IBJMBOE ĕĦďėĥĎijþʀijč ĎĩĴġüĩěɿĦ õɿġčċĩĸďėĤİċĜĴċĖüĤĕĩõĦėěĦûčIJĖĎĦĖ 5IBJMBOE čĥĹč ċĦûĎĩĴġüĩĴĈʀčĽĦėĤĎĎİċøIJčIJęĖĩċĩĸİõĩĸĖěöʀġûõĥĎ 5IBJMBOE ĕĦijþʀġĖĭɿ ıęʀě ĎĩĴġüĩĕĩõėĤĎěčõĦėĐęĨĉ õĦėöčĞɿû ĕĩõĦėijþʀĉĥěİÿķčİÿġėʃıęĤĉĥěěĥĈ ĕĩĕİĨ ĉġėʃĞûɿ øɿĦĉɿĦûĶ ĐɿĦčĞĥāāĦćĈĨüċĨ ęĥ ĕĦĖĥûğčʀĦüġøġčIJċėęċĬõġĖɿĦû İĒīĸġþɿěĖĉėěüěĥĈøěĎøĬĕøĬćĔĦĒ ġĽĦčěĖøěĦĕĞĤĈěõijčõĦėċĽĦûĦč Ư5IBJMBOE čĩĹüĤęʀġĴďõĥĎ *OEVTUSZ ÿĪĸûİčʀčĞġûİėīĸġû øīġ İčʀčİėīĸġûøĬćøɿĦõĥĎøěĦĕĞĤĈěõĞĎĦĖ ÿĪĸûøěĦĕĞĤĈěõĞĎĦĖċĩĸěɿĦčĩĹõķøīġ ėĤĎĎĈĨüċĨ ęĥ čĩİĹ ġû ĐĕõķİęĖčĽĦċĥûĹ Ğġûİėīġĸ ûĕĦ İġĦøĬćøɿĦĕĦĒĨüĦėćĦõɿġč İčīġĸ ûüĦõġĬĉĞĦğõėėĕİĕīġûĴċĖċĩĕĸ ĕĩ ĦĎĉĦĒĬĈıęĤġĩĞİċĨėčʃ ÿĩĎġėʃĈĉęġĈ ďɷċĩĸĐɿĦčĕĦ İėĦġĖĭɿĎčĒīĹčĄĦčöġû .BTT 1SPEVDUJPO İėĦġĦĜĥĖ ċėĥĒĖĦõėöġûİėĦ ġĦĜĥĖıėûûĦčċĩĸĊĭõ İėĦõķĐęĨĉĉĦĕĉɿĦûþĦĉĨċĩĸİöĦ ġġİĈġėʃĕĦIJĈĖĉęġĈ ıĉɿüĦõčĩĹĴď İėĦċĽĦõĦėĐęĨĉüĽĦčěčĕĦõĶ ijğʀĕĩ ĉʀčċĬčĊĭõĶ čĥĹč ċĽĦĴĕɿĴĈʀıęʀě ĴďĞĭʀİĕĩĖčĕĦ ĴďĞĭʀõĥĕĒĭþĦ ĴďĞĭʀęĦěĴĕɿĴĈʀ ıęʀě ĔĦøġĬĉĞĦğõėėĕİėĦĉʀġûĴďijčċĨĜċĦûċĩċĸ ĦĽ čʀġĖĴĈʀĕĦõ ĉĦĕċĨĜċĦû öġû Ĉė ĞĬěĨċĖʃ İĕĝĨčċėĩĖʃ ċɿĦčĴĈʀĒĭĈİġĦĴěʀ ġĬĉĞĦğõėėĕĴċĖėĥĎüʀĦû ċĽĦõĦėĐęĨĉ 0&. ėĥĎüʀĦûċĽĦĕĦõ ĴĈʀõĽĦĴėčĨĈİĈĩĖě İĒėĦĤĴďıöɿûõĥč ęĈėĦøĦ ıĉɿďüʅ üĬĎčĥ ġĬĉĞĦğõėėĕĴċĖõĽĦęĥûüĤĒęĨõĴďİďʇčċĽĦčʀġĖĴĈʀĕĦõ ÿĪĸûõĦėüĤċĽĦčʀġĖĴĈʀĕĦõčĥĹč ĉʀġûĴďõĥĎÿĥĒĒęĦĖİþčċĥĹûėĤĎĎ IJĈĖİčʀč øěĦĕıĉõĉɿĦûġĖɿĦûĕĩøĬćøɿĦ ċĥĹûÿĥĒĒęĦĖİþčüĪûĉʀġûİĞėĨĕõĥčıęĤõĥčijč İėīĸġûøěĦĕıĉõĉɿĦûġĖɿĦûĕĩøĬćøɿĦ ğėīġ 7BMVF ĞĽĦğėĥĎİėīĸġû 7BMVF čĥĹč ċĦûĎĩĴġüĩIJēõĥĞĴďijč İėīĸġû İėīĸġûıėõøīġ ċĽĦijğʀĞĨčøʀĦöġûİėĦĴďİĒĨĸĕ ďėĤĞĨċČĨĐę ğėīġ 1SPEVDUJWJUZ ijčėĤĎĎÿĥĒĒęĦĖİþčöġûġĬĉĞĦğõėėĕ ijğʀĕĦõöĪĹč İėīĸġûċĩĸ øīġċĽĦġĖɿĦûĴėijğʀġĬĉĞĦğõėėĕijþʀĒęĥûûĦččʀġĖęû ıęĤİėīĸġûĞĬĈċʀĦĖ øīġċĽĦġĖɿĦûĴėijğʀėĤĎĎÿĥĒĒęĦĖİþčöġûġĬĉĞĦğõėėĕ ijþʀċėĥĒĖĦõėČėėĕþĦĉĨġĖɿĦûøĬʀĕøɿĦıęĤĖĥĸûĖīčư

18


ę6+.=Ę1 Ĝ ' 9I&5I &; $6&D ęB + 8 ×A 8 D/gĘ E ę+& 5 Ø

º³»¾³À¶ ä 9J 4)ę1E 5 }À¶ÇÅÆÄË ä :I A ę .1 A';I1 ;1 A ę A';I1 < Ę6 5 +6%.4 + . 6& :I +6%.4 + . 6& 9I+Ę6 9J H ;1'4 8 8 5) 9JA1 % HA)& N6 5J .1 A';I1 %6 A16 < Ę6%6"8 6' 6 Ę1

õĦėďėĥĎġûøʃõėijğʀĴďĞĭɿõĦėİďʇčġûøʃõėċĩĸĖĥĸûĖīččĥĹč øĬćďɶĖĎĬĉė õęɿĦěěɿĦ ċĦûĎĩĴġüĩĴĈʀċĽĦĉĦĕğęĥõďėĥþāĦ öġûĎėĨĝĥċģ ċĩĸĕĬɿûĕĥĸčijčõĦėĞčĥĎĞčĬčijğʀĒĥčČõĨüıęĤČĬėõĨü öġûøĭɿøʀĦ ıęĤĐĭʀĕĩĞɿěčİõĩĸĖěöʀġûċĬõđɺĦĖĕĩõĦėİĉĨĎIJĉ ĴĕɿěɿĦ üĤİďʇčČĬėõĨüİėĦİġûğėīġČĬėõĨüċĩİĸ ėĦĴďėĥĎüʀĦûĎėĨğĦėĴĈʀġĖɿĦû ĉɿġİčīĸġûıęĤĖĥĸûĖīčĔĦĖijĉʀıčěøĨĈ ƯİĉĨĎijğāɿĴďĈʀěĖõĥčư IJĈĖİčʀčĐĭʀĕĩĞɿěčĴĈʀĞɿěčİĞĩĖ Ğɿěč ĴĈʀıõɿ ęĭõøʀĦ ĒčĥõûĦčijčġûøʃõė øčċĩĸİöĦİġĦİûĨčĕĦęûċĬčõĥĎĎĩĴġüĩ ğėīġĐĭʀĊīġğĬʀč ıęĤ ĞĨĸûıěĈęʀġĕĉɿĦûĶ Ğĥûøĕ þĬĕþč ijčĞɿ ě čöġûøěĦĕĖĥĸ û Ėī č čĥĹ č Ďĩ Ĵ ġüĩ Ĵ Ĉʀ ėĥ Ď ėĦûěĥ ę 5IBJMBOE &OFSHZ "XBSET üĦõõėĕĒĥĆčĦĒęĥûûĦč ċĈıċčıęĤġčĬėĥõĝʃĒęĥûûĦč õėĤċėěûĒęĥûûĦč IJĈĖİėĦ ĴĈʀėćėûøʃıęĤijğʀıčěċĦûĒčĥõûĦčċĬõøčijčõĦėĈĽĦİčĨčûĦč İĒīġĸ þɿěĖİğęīġÿĪûĸ õĥčıęĤõĥčijčõĦėĈĭıęİėīġĸ ûõĦėijþʀĒęĥûûĦč öġûĎėĨĝĥċģ ėěĕĊĪûİėīĸġûøěĦĕďęġĈĔĥĖ ĞĨĸûıěĈęʀġĕ ıęĤ ĞĬ ö ĔĦĒ čġõüĦõčĩĹ Ėĥ û ĕġĎėĦûěĥ ę ijğʀ õĥ Ď Ēčĥ õ ûĦčċĩĸ ĕĩ õĦėėĨ İ ėĨĸ ĕ IJøėûõĦėİõĩĸ Ė ěõĥ Ď õĦėďėĤğĖĥ Ĉ Ēęĥ û ûĦčğėī ġ ęĈĉʀčċĬčĈĩİĈɿčďėĤüĽĦİĈīġčċĬõĶ İĈīġčĈʀěĖ

9 E1 9 ' '1 ã ĐD Đ Ú¡ä 5 N6C ' 6' × ¹¶ ~º¿¸ ºÄ Äź½½ ²½ºÇ¶Ø ijčďɷ Ē Ĝ øėĎ ďɷ öġûõĦėõɿġĉĥĹûĎėĨĝĥċ ĎĩĴġüĩ øĬćďɶĖĎĬĉėıęĤĐĭʀĎėĨğĦėĕĩıčěøĨĈüĥĈċĽĦIJøėûõĦė Ư5IF ,JOH JT TUJMM BMJWFư öĪĹč IJĈĖüĥĈċĽĦIJøėûõĦėijğʀ ĞġĈøęʀġûõĥĎıčěĒėĤėĦþĈĽĦėĨöġûijčğęěûėĥþõĦęċĩ ĸ ıęĤ ĞġĈøęʀġûõĥĎĐęĨĉĔĥćąʃČĬėõĨüöġûĎĩĴġüĩ IJĈĖIJøėûõĦėċĩĸüĥĈ ċĽĦöĪĹččĥĹč İėĦüĤİčʀč ĈʀĦč øīġ İėīĸġûĞĬöĔĦĒ ċĩĸİėĦĴĈʀ ėɿěĕĕīġõĥĎIJėûĒĖĦĎĦęċĩĸİėĦ 4VQQMZ ġġõÿĨİüčİğęě õęĬɿĕĒęĥûûĦč ıęĤ İėīĸġûĞĨĸûıěĈęʀġĕ ċĥĹûčĩĹİėĦüĤİþĨā ĒčĥõûĦčĕĩĞɿěčėɿěĕijčõĦėďėĤõěĈIJøėûõĦėıęĤøĥĈİęīġõ ĐĭʀþčĤĕĦėɿěĕöĥĎİøęīĸġčIJøėûõĦėėɿěĕõĥĎċĦûĎėĨĝĥċģ ĉɿġĴď

8 A ğ '4 D ę 9+8 B Ę1% 5+ /)5 × ¹º¿¼ ¶ÄÅ º·¶ x²ÄÅØ ijčĞɿěčöġûďėĥþāĦijčõĦėĈĽĦİčĨčþĩěĨĉ øĬćďɶĖĎĬĉė üĤijþʀğęĥõ Ư5IJOL 8FTU -JGF &BTUư øīġ øĨĈİďʇčėĤĎĎ øĨĈİďʇčõęĖĬċČʃıĎĎþĦěĖĬIJėď ġİĕėĨõĦ ıĉɿijþʀþĩěĨĉıĎĎþĦě İġİþĩĖċĩĸĊɿġĕĉĥě ĕĩõĦėİġīĹġġĦċėĐĞĕĐĞĦčijčõĦėĈĽĦİčĨč þĩěĨĉıęĤċĽĦûĦč

ƯİěęĦĕĩďʅāğĦ ġĬďĞėėø ğėīġøěĦĕċʀĦċĦĖ ĐĕĕĥõüĤIJēõĥĞ IJĈĖ ĕĬɿûİčʀčİėīĸġûċĩĸĞĽĦøĥā ġĥčĈĥĎ ĒĖĦĖĦĕøĨĈİďʇčėĤĎĎIJĈĖĕġûċĩĸďʅāğĦ čĥĹčěɿĦĕĩěĨČĩõĦėıõʀĴöğėīġıčěċĦûġĖɿĦûĴė ĒĖĦĖĦĕĴďĈĭďʅāğĦċĩĸİõĨĈĈʀěĖ ĉčİġûğėīġĴďöġøĽĦıčĤčĽĦüĦõĐĭʀĕĩďėĤĞĎõĦėćʃ ĒĖĦĖĦĕĕġû øĨĈijč ıûɿĎěõİĒėĦĤċĬõďʅāğĦøīġIJġõĦĞijčõĦėċĽĦijğʀİõĨĈĞĨûĸ ijğĕɿĶ ĊʀĦĴĕɿĕďĩ ā ʅ ğĦ ĎėĨĝĥċøûĴĕɿĉʀġûĕĩİėĦ ĒĖĦĖĦĕIJēõĥĞijčĞĨĸûċĩĸøěĎøĬĕĴĈʀ ċĩĸĞĽĦøĥāøīġõĦė ğĦøěĦĕėĭijʀ čõĦėıõʀďā ʅ ğĦ IJĈĖĐĕĕĥõüĤijþʀõĦėġɿĦčğčĥûĞīġċĥûĹ ıčěČėėĕĤ ıčěČĬėõĨü ıęĤıčěĒėĤėĦþĈĽĦėĨöġûijčğęěûėĥþõĦęċĩĸ ÿĪĸûüĤþɿěĖijğʀĕĩ ċĦûġġõĴĈʀ ĐĕøĨĈěɿĦõĦėġɿĦčğčĥûĞīġİďʇčċĦûęĥĈċĩĸĈĩ İĒėĦĤĕĩøčİöĩĖč ıčěċĦû ğęĥõõĦė øěĦĕėĭʀĕĦijğʀİėĦġɿĦčıęʀě ġĖĭɿċĩĸİėĦěɿĦİėĦġɿĦčıęʀěüĤ İġĦĕĦijþʀğėīġİďęɿĦİċɿĦčĥĹčİġûư øĬćďɶĖĎĬĉė õęɿĦěċĨĹûċʀĦĖ

19

Engineering Today November - December

2018


AI • กองบรรณาธิการ

ไทยได เป นเจ าภาพจัดการแข งขันวิชาการหุ นยนต

ระดับนานาชาติ RoboCup 2021 เวทีสร างนวัตกรรมหุน ยนต สญ ั ชาติไทยสูร ะดับสากล

กระทรวงวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี พร อ มด ว ย มหาวิทยาลัยมหิดล บริษัท เอ็น.ซี.ซี. อินเตอรเนชั่นแนล อีเวนท จํากัด สํานักงานสงเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องคการ มหาชน) หรือ ทีเส็บ (TCEB) และกรุงเทพมหานคร ผนึกกําลัง ร ว มกั น เป น เจ า ภาพจั ด การแข ง ขั น วิ ช าการหุ  น ยนต ร ะดั บ นานาชาติ RoboCup 2021 Bangkok, Thailand โดยจะจัด ขึ้นในชวงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 และใชกรุงเทพมหานคร เป น สถานที่ จั ด งาน ต อ นรั บ คณะผู  เ ข า แข ง ขั น จากทั่ ว โลก ประมาณ 3,000-4,000 คน

ดร.สุวิทย เมษินทรีย รัฐมนตรีว าการกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี

ไทยเป นเจ าภาพจัดการแข งขัน RoboCup 2021 ต อนรับคณะผู เข าแข งขันจากทั่วโลก 3,000-4,000 คน ดร.สุวทิ ย เมษินทรีย รัฐมนตรีวา การกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี กลาววา การที่ประเทศไทยไดเปนเจาภาพและ ได สิ ท ธิ์ ก ารจั ด งานมหกรรมแข ง ขั น หุ  น ยนต ร ะดั บ นานาชาติ RoboCup 2021 Bangkok, Thailand ในครั้งนี้ถือเปนโอกาส อันดีทจี่ ะชวยกระตุน สรางนวัตกรรมหุน ยนตสญ ั ชาติไทย แสดงให เห็นถึงศักยภาพความพรอมของนักประดิษฐหุนยนตชาวไทย รวมทั้งสถาบันการศึกษาทุกแหงในการคิดคนวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีหุนยนต เพื่อสงหุนยนตเขารวมการแขงขันในครั้งนี้ ตลอดจนสรางบุคลากร สรางหุนยนตฝมือคนไทยและเครือขาย นักประดิษฐหุนยนตของไทยใหทัดเทียมระดับโลก

Engineering Today November - December

2018

20


ชี้หุ นยนต ไทยมีศักยภาพไม แพ ประเทศใดในโลก หากได รับการสนับสนุน-เงินทุนวิจัย ดร.เจนกฤษณ คณาธารณา รองผู  อํ า นวยการสํ า นั ก งานพั ฒ นา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กลาววา สวทช.ไดรวมกับ หนวยงานภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาหุน ยนตในรูปแบบตางๆ มากมายเพือ่ รวมขับเคลื่อนอุตสาหกรรมหุนยนต 1 ใน 5 อุตสาหกรรมอนาคต (New S-curve) ตามนโยบาย Thailand 4.0 และชวยลดการนําเขาหุนยนตจากตาง ประเทศที่มีราคาแพงเขามาใชงาน ซึ่งจริงๆ แลวหุนยนตจากฝมือคนไทยมี ศักยภาพไมนอยหนาประเทศใดในโลกหากไดรับการสงเสริมและสนับสนุนเงิน ทุนการพัฒนาวิจยั ใหการพัฒนาหุน ยนตสามารถตอบโจทยของการใชงานทัง้ ใน กระบวนการผลิตที่จะชวยลดตนทุนการจางงาน ลดการสูญเสียพลังงานจาก

ดร.เจนกฤษณ คณาธารณา รองผูอ าํ นวยการสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแห งชาติ (สวทช.)

21

เครื่องจักร รองรับสังคมผูสูงอายุในประเทศไทย ซึ่ ง ในอนาคตคาดว า หุ  น ยนต จ ะเข า มาทดแทน แรงงานมนุษยดูแลผูสูงอายุมากขึ้น เปนตน สํ า หรั บ การจั ด งานในครั้ ง นี้ สวทช.พร อ ม ที่จะสงบุคลากรและเจาหนาที่ทุกฝายเขารวมงาน เพื่อถายทอดองคความรู พรอมแลกเปลี่ยนองค ความรูนวัตกรรมใหมๆ ซึ่งจะมาชวยตอยอดให ภาคอุตสาหกรรมในไทยนําหุนยนตมาชวยทุนแรง มากขึ้น

งาน RoboCup 2021 Bangkok, Thailand มีผู ร วมงานกว า 3,000 คน กว า 45 ประเทศทั่วโลก ผศ. ดร.จักรกฤษณ ศุทธากรณ คณบดี คณะ วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะ ประธานจัดงาน RoboCup 2021 Bangkok, Thailand กลาววา RoboCup 2021 Bangkok, Thailand คื อ การแข ง ขั นวิ ช าการหุ  น ยนต ร ะดั บ นานาชาติ ซึ่งจัดขึ้นเพื่อสงเสริมการวิจัยและพัฒนา วงการหุนยนตระดับโลก RoboCup จัดครั้งแรก ในป ค.ศ. 1997 ซึ่งมีแนวคิด เริ่ม ตนวาภายในป ค.ศ. 2050 ทีมหุนยนตอัตโนมัติจะสามารถแขง ฟุตบอลชนะทีมแชมปโลก โดยใชกฎตามที่ FIFA กําหนดไวได และเพือ่ ใหบรรลุวตั ถุประสงคดงั กลาว จึ ง ได มีก ารแบ ง สายการพั ฒนาหุ น ยนต อ อกเป น หลาย League ดวยกัน จนเกิดกลุมเครือขายความ รวมมือในการถายทอดและแลกเปลี่ยนองคความรู ในวิชาการดานหุนยนต ระหวางสถาบันการศึกษา ทุกระดับชั้นรวมถึงหนวยงานวิจัยตางๆ ทั่วโลก สงผลใหการแขงขัน RoboCup ไดรับความสนใจ อยางแพรหลายและเกิดการพัฒนาอยางรวดเร็ว โดยทุกปจะมีการปรับโจทยใหมีความใกลเคียงกับ การใชงานจริงมากขึ้น ปจจุบนั มีผรู ว มกิจกรรมในแตละปกวา 3,000 คน จากกวา 45 ประเทศทั่วโลก ซึ่งมีแนวโนม เพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ งทุกป ทัง้ นีก้ ารจัดการแขงขันจะ แบ ง ออกเป น 2 กลุ  ม ได แ ก การแข ง ขั น หลั ก ประกอบดวยการแขงขันในกลุมอายุไมเกิน 19 ป หรือ RoboCup Junior League และการแขงขัน ในกลุมอายุ 19 ปขึ้นไป หรือ RoboCup Major League

Engineering Today November - December

2018


ผศ. ดร.จักรกฤษณ ศุทธากรณ (ที่ 2 จากซ าย) ศุภวรรณ ตีระรัตน (ที่ 2 จากขวา) และ ศักดิ์ชัย ภัทรปรีชากุล (ขวา)

ไทยเป นเจ าภาพจัดแข งขัน RoboCup 2021 ยกระดับภาพลักษณ หุ นยนต และระบบอัตโนมัติของไทย

ครั้งนี้จะสามารถนําไปตอยอด และใชพัฒนาสรางสรรคผลงาน ทีด่ ยี งิ่ ขึน้ ตอไปในอนาคต” ประธานจัดงาน RoboCup 2021 กลาว

การที่ RoboCup Federation ไดเลือกใหประเทศไทย เปนเจาภาพในการจัดการแขงขัน RoboCup 2021 Bangkok, Thailand แสดงใหเห็นถึงความพรอมของประเทศไทย เพราะ ประเทศไทยเคยมีประสบการณในการจัด RoboCup Asia-Paci fic 2017 เมื่อเดือนธันวาคม 2560 ซึ่งสามารถดึงผูเขารวมการ แขงขันไดมากกวา 1,500 คนจาก 14 ประเทศทั่วโลก อีกทั้ง หนวยงานภาครัฐยังใหการสนับสนุนอยางจริงจังในการอํานวย ความสะดวกในดานการจัดการตางๆ นอกจากนี้ ประเทศไทยยัง มีทีมแขงขันหุนยนตเขารวมรายการแขงขัน และไดรับรางวัลจาก ทาง RoboCup Federation อยางตอเนื่อง “การไดรับเกียรติใหเปนเจาภาพจัดการแขงขันรายการ RoboCup 2021 Bangkok, Thailand จะชวยยกระดับภาพ ลักษณของประเทศไทยในฐานะผูน าํ ดานอุตสาหกรรมหุน ยนตและ ระบบอัตโนมัตขิ องภูมภิ าคอาเซียน ในการแสดงศักยภาพดานการ วิจัยและพัฒนาหุนยนตของบุคลากรชาวไทย รวมถึงเครือขาย ระดับนานาชาติที่มีทั้งผูเชี่ยวชาญจากองคกรชั้นนําระดับโลกและ นักประดิษฐหุนยนตทั่วโลก เพื่อใหผูเขาแขงขันชาวไทยไดแลก เปลี่ยนความรูและประสบการณ ไดรับแรงบันดาลใจและเปดโลก ทัศนในการเรียนรูดานวิชาการหุนยนต ระบบอัตโนมัติ หุนยนต อุตสาหกรรม และหุนยนตบริการ ซึ่งสิ่งที่ไดรับจากการแขงขัน

Engineering Today November - December

2018

22

ชู RoboCup 2021 ยิ่งใหญ ระดับ Mega Event ตอบโจทย นโยบาย Thailand 4.0 ศุภวรรณ ตีระรัตน รองผูอํานวยการ สายกลยุทธและ พัฒนาธุรกิจ สํานักงานสงเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องคการมหาชน) หรือ ทีเส็บ (TCEB) กลาววา สําหรับงาน RoboCup 2021 Bangkok, Thailand ทีเส็บไดทํางานรวมกับ มหาวิทยาลัยมหิดล และ บริษัท เอ็น.ซี.ซี. อินเตอรเนชั่นแนล อีเวนท จํากัด ในการประมูลสิทธิ์งานนี้เพื่อนํามาจัดที่ไทย ทั้งยัง ชวยในดานบูรณาการความรวมมือจากหนวยงานภาครัฐสราง ความเชือ่ มัน่ ใหแกคณะกรรมการจัดงาน พรอมเชือ่ มโยงหนวยงาน ตางๆ เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับการจัดงานครั้งนี้ งาน RoboCup 2021 Bangkok, Thailand ไมเพียงแตเปนงาน Mega Event ที่ชวยพัฒนากลุมอุตสาหกรรมทางดานเครื่องมืออุปกรณ อัจฉริยะ หุนยนต และระบบเครื่องกล ที่ใชระบบอิเล็กทรอนิกส ควบคุม ซึ่งเปนหนึ่งในกลุมอุตสาหกรรมเปาหมายในเศรษฐกิจ แบบใหมภายใตนโยบาย Thailand 4.0 แตยังเปนงานที่จะนํา นักทองเทีย่ วทัว่ ไป และบุคลากรดานเทคโนโลยีหนุ ยนตและระบบ อัตโนมัตเิ ขามารวมงานในไทย และเปดโอกาสใหประเทศไดสราง ภาพลักษณการเปนผูนําดานอุตสาหกรรมหุนยนตอีกดวย


RoboCup 2021 เวทีให คนไทยแสดงศักยภาพด านหุ นยนต ศักดิ์ชัย ภัทรปรีชากุล กรรมการผูจัดการ บริษัท เอ็ น .ซี . ซี . อิ นเตอร เนชั่นแนล อีเว นท จํา กัด ในฐานะ ผูประมูลสิทธิ์และจัดงาน RoboCup 2021 Bangkok, Thailand กลาววา การแขงขันรายการนี้ถือเปนอีกหนึ่ง Mega Event ของประเทศไทยที่เกิดขึ้นไดจากการบูรณา การความรวมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันการ ศึกษาชัน้ นําของประเทศไทย ทัง้ กระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี กรมศุลกากร กรมการกงสุล กรุงเทพมหานคร ทีเส็บ มหาวิทยาลัยมหิดล และบริษัท เอ็น.ซี.ซี. อินเตอร เนชั่นแนล อีเวนท จํากัด ที่ตางนําความเชี่ยวชาญและ เครือขายภาคีมารวมกันผลักดันใหการแขงขัน RoboCup 2021 Bangkok, Thailand เกิดขึ้นไดในประเทศไทย โดยการจัดการแขงขันครั้งนี้มีองคประกอบที่เปน เอกลักษณ แตกตางจากการจัดงานนิทรรศการหรืองาน ประชุมอืน่ ๆ เนือ่ งจากตองมีการสรางสนามแขงขันหุน ยนต ที่ตองอาศัยความชํานาญและความแมนยําในรายละเอียด ตางๆ ทั้งยังตองใชบุคลากรที่มีความเขาใจในกฎกติกาการ แขงขัน เพื่อที่จะสรางเวทีระดับนานาชาติใหคนไทยได แสดงศักยภาพทางดานวิชาการหุน ยนต และสรางแบรนดิง้ ใหกับประเทศไทย ในฐานะผูนําของอุตสาหกรรมหุนยนต ของภูมิภาคอาเซียน คณะผูจัดงานจึงตองมีการวางแผน อย า งรั ด กุ ม ในการอํ า นวยความสะดวกและการรั ก ษา ความปลอดภัยทุกดานอยางดีที่สุด

23

Engineering Today November - December

2018


Robotics • กองบรรณาธิการ

ฟ โบ จับมือ เจมาร ทจันวาณิชย และ UBTECH ร วมกันพัฒนา Robotics และ AI ป อนธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรม

สถาบันวิทยาการหุนยนตภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี (ฟโบ) พรอมดวย บริษัท เจมารท จํากัด (มหาชน), บริษัท จันวาณิชย จํากัด และ UBTECH รวมลงนามในสัญญาความ รวมมือ (MOU) ในการพัฒนาหุน ยนต (Robotics) และ ปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence: AI) เพื่อนํามาใชในการพัฒนาธุรกิจภาคเอกชน และภาคอุตสาหกรรม ตามนโยบาย Thailand 4.0 ของภาครัฐ สราง ความสามารถทางการแขงขันดานเทคโนโลยี Robotics และ AI ของไทย ใหทัดเทียมกับนานาประเทศ

Integrator (SI) ผูทําหนาที่ออกแบบ ติดตั้งระบบอัตโนมัติ ซึ่งจะพัฒนาเปน ผูผลิตหุนยนตและเครื่องจักรอัตโนมัติใน อนาคต โดยปจจุบันประเทศไทยมี SI ประมาณ 200 ราย และเพิ่มจํานวน SI เปน 1,400 ราย ภายใน 5 ปเพื่อเขา มาเรี ย นรู  แ ละร ว มพั ฒ นาหุ  น ยนต แ ละระบบอั ต โนมั ติ ที่เหมาะสมสําหรับอุตสาหกรรมของประเทศไทย ซึ่งจะนํา มาทดแทนและทํางานรวมกับแรงงานในอนาคต เนื่องจาก ปจจุบันแรงงานของประเทศไทยเขาสูวัยผูสูงอายุมากขึ้น ทําใหประสิทธิภาพในการทํางานลดลง จําเปนที่จะตองมี หุนยนตและระบบอัตโนมัติเขามาชวยอํานวยความสะดวก ชวยในกระบวนการผลิต ชวยสรางความไดเปรียบทางดาน การแขงขันในภาคอุตสาหกรรมกับนานาประเทศ สํ า หรั บ สถาบั น วิ ท ยาการหุ  น ยนต ภ าคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (ฟโบ) ที่ได เขามามีบทบาทชวยเหลือภาครัฐมาโดยตลอด ไดแสดง เจตจํานงรวมกับภาคเอกชน โดย บริษัท เจมารท จํากัด (มหาชน), บริษทั จันวาณิชย จํากัด และ UBTECH รวมกัน ลงนามความรวมมือในการพัฒนาดาน Robotics และ AI นั้น ถือเปนสิ่งที่นายินดีอยางยิ่งที่จะเปนอีกแรงสนับสนุน

รัฐมุ งผลิต SI พร อมพัฒนาเป นผู ผลิตหุ นยนต ในอนาคต ให ได 1,400 ราย ภายใน 5 ป

ดร.สมชาย หาญหิรญ ั รัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวงอุตสาหกรรม กลาววา กระทรวงอุตสาหกรรมไดรบั มอบนโยบายจากคณะรัฐมนตรี ใน เรื่องการลงทุนดานหุนยนตและระบบอัตโนมัติใหเพิ่มมากขึ้นทั้งใน อุตสาหกรรมเดิมและอุตสาหกรรมใหม (S-Curve และ New S-Curve) กระทรวงอุตสาหกรรมจึงไดมอบหมายใหสถาบันไทย-เยอรมันจัดตัง้ ศูนย ความเปนเลิศดานเทคโนโลยีหุนยนตและระบบอัตโนมัติในประเทศไทย หรือ Center of Robotic Excellence (CoRE) เพือ่ พัฒนางานวิจยั สราง บุคลากรดานหุนยนตและระบบอัตโนมัติ โดยเฉพาะอยางยิ่ง System

Engineering Today November - December

2018

24

>> ดร.สมชาย หาญหิรัญ รัฐมนตรีช วยว าการกระทรวงอุตสาหกรรม


ให น โยบายการพั ฒนาหุ  น ยนต แ ละระบบอั ต โนมั ติ ข อง กระทรวงอุตสาหกรรมตอยอดพัฒนาหุนยนตและระบบ อั ต โนมั ติ ต  า งๆ ที่ เ หมาะสมสํ า หรั บ การใช ง านในภาค อุตสาหกรรม โดยเฉพาะ SME ที่คอนขางที่จะเขาถึงยาก และไม มี เ งิ น ลงทุ น นํ า หุ  น ยนต ร ะบบอั ต โนมั ติ เ ข า มา ผสมผสานในการทํางานตามเปาหมายที่วางเอาไว เพื่อ สรางสรรคนวัตกรรมในการที่จะกาวไปขางหนาโดยไมทิ้ง ใครไวขางหลังอยางยั่งยืน

>> ดร.ชิต เหล าวัฒนา ผู ก อตั้ง สถาบันวิทยาการหุ นยนต ภาคสนาม มจธ. หรือฟ โบ

ฟ โบ พร อมสนับสนุนด านเทคนิค ในการผลิตหุ นยนต และป ญญาประดิษฐ

ดร.ชิต เหลาวัฒนา ผูก อ ตัง้ สถาบันวิทยาการหุน ยนต ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (Institute of Field Robotics: FIBO) หรือฟโบ กลาววา การเติบโตของหุนยนต (Robotics) และปญญาประดิษฐ (AI) ที่ผานมานั้นมีความตองการหุนยนตเพิ่มขึ้น 10% ทุกๆ ป อยางในภูมิภาคเอเชียที่มี GDP 38% ของโลก มี ค วามต อ งการใช ง านหุ  น ยนต สู ง ถึ ง 40% สํ า หรั บ ประเทศไทยมีการสงออกเครือ่ งจักรอัตโนมัติ ระบบอัตโนมัติ หุนยนตคิดเปนมูลคาประมาณ 3-4 หมื่นลานบาทตอป ขณะทีก่ ารนําเขาเครือ่ งจักรอัตโนมัติ ระบบอัตโนมัติ หุน ยนต มากกวา 1 แสนลานบาทตอป “ตรงนี้เอง ฟโบจึงตระหนักและพยายามที่จะหา และพัฒนางานวิจัยที่เกี่ยวของ หาภาคเอกชนที่มีความรู มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเขามารวมกันเปนพี่เลี้ยง พัฒนาวิทยาการดานหุนยนต ระบบอัตโนมัติ ปญญา ประดิษฐ และเทคโนโลยีใหมที่เกี่ยวของอยางเปนรูปธรรม สั ญ ชาติ ไ ทยขึ้ น มาใช ง านสํ า หรั บ ภาคอุ ต สาหกรรมและ ภาคสวนอืน่ ๆ แมวา ในหลายภาคสวนไมมคี วามจําเปนตอง ใชหุนยนต ระบบอัตโนมัติ หรือปญญาประดิษฐ ก็ควรที่จะ มีองคความรูในการดําเนินการไวบาง เผื่อในอนาคตเมื่อ

โลกพัฒนาเทคโนโลยีไปไกลมากขึ้น มีการเชื่อมตอการทํางานแบบ ไรพรมแดนทางดานเทคโนโลยีกบั หนวยงานอืน่ ๆ จะไดเกิดความคลองตัว ทํางานไดดีขึ้น จึงเกิดการลงนามความรวมมือในครั้งนี้ โดยฟโบจะเปน ผูสนับสนุนทางดานการผลิตหุนยนตและปญญาประดิษฐ ทดสอบ ความเปนไปไดในเชิงพาณิชย ใหการทํางานทุกอยางเปนไปตามเปาหมาย ในทิศทางเดียวกันในการยกระดับเทคโนโลยีหนุ ยนต ระบบอัตโนมัตแิ ละ ปญญาประดิษฐของไทยใหทัดเทียมกับนานาประเทศ” ดร.ชิต กลาว

เจมาร ทเตรียมนําหุ นยนต ช วยงานหน าร าน หรือร านค าพันธมิตรในกลุ ม

อดิศักดิ์ สุขุมวิทยา ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท เจมารท จํากัด (มหาชน) ผูนําทางดานการคาปลีกที่ไดเริ่มนําเทคโนโลยีทั้งทาง ด า นฟ น เทค และเทคโนโลยี ใ หม ๆ มาใช ใ ห เ กิ ด เป น รู ป ธรรมใน เชิงเศรษฐกิจ กลาววา เจมารท ไดมกี ารปรับตัวโดยนําเทคโนโลยีทางดาน หุนยนตและปญญาประดิษฐมาใชโดยตลอดเพื่อไมใหตกเทรนดและ ใหธรุ กิจแขงขันได สรางความเชือ่ มัน่ ใหกลุม ผูบ ริโภคทีเ่ ปนลูกคาในความ สามารถในการผลิตของบริษทั ฯ และพันธมิตรทีเ่ ขารวมในการผลิตสินคา ทั้ง B2B และ B2C ซึ่งจะนําหุนยนตและปญญาประดิษฐของเจมารท ไปใชงาน เชน โรงพยาบาล โรงแรม โรงงาน ในบาน ในมหาวิทยาลัย เพื่อควบคุมหรือสั่งการหุนยนตที่มีลักษณะคลายกับการใชแรงงาน ของมนุษย สงผลใหเกิดประสิทธิภาพดานการผลิต ซึง่ จะชวยใหผบู ริโภค ไดรบั ประสบการณทดี่ ที างดานเทคโนโลยี ทีส่ าํ คัญจะชวยใหประเทศไทย กาวเขาไปถึงยุค Thailand 4.0 ตามนโยบายภาครัฐไดจริงๆ ซึ่งหาก ภาครัฐเขามาสนับสนุนอยางเปนรูปธรรมรวมกับภาคเอกชน เชื่อวา อนาคตหุนยนตและปญญาประดิษฐของไทยจะมีการพัฒนาในทิศทาง ที่ดีเติบโตอยูตลอดเวลา “การนําเอาเทคโนโลยีทางดาน Robotics และ AI เขามาพัฒนา ถือเปนหนึ่งในนโยบายของกลุมบริษัทเจมารท ทั้งนี้กลุมบริษัทฯ เชื่อวา เทคโนโลยีจะเปลี่ยนไปอยางรวดเร็ว และกําลังเขาสูโลกของ Robotics

ป จจุบันประเทศไทยมี System Integrator (SI) ผู ทําหน าที่ออกแบบ ติดตั้งระบบอัตโนมัติ ซึ่งจะ พัฒนาเป นผู ผลิตหุ นยนต และเครื่องจักรอัตโนมัติ ในอนาคต ประมาณ 200 ราย และเพิ่มจํานวน SI เป น 1,400 ราย ภายใน 5 ป เพื่อเข ามาเรียนรู และ ร วมพัฒนาหุ นยนต และระบบอัตโนมัติที่เหมาะสม สําหรับอุตสาหกรรมของไทย ซึ่งจะนํามาทดแทน และทํางานร วมกับแรงงานในอนาคต 25

Engineering Today November - December

2018


ฟ โบ จะเป นผู สนับสนุนทางด าน การผลิตหุ นยนต และป ญญา ประดิษฐ ทดสอบความเป นไปได ในเชิงพาณิชย ให การทํางาน ทุกอย างเป นไปตามเป าหมาย ในทิศทางเดียวกันในการยกระดับ เทคโนโลยีหุ นยนต ระบบอัตโนมัติ และป ญญาประดิษฐ ของไทย ให ทัดเทียมกับนานาประเทศ >> อดิศักดิ์ สุขุมวิทยา ประธานเจ าหน าที่บริหาร บริษัท เจมาร ท จํากัด (มหาชน)

>> ธนพล กองบุญมา ประธานเจ าหน าที่บริหาร บริษัท จันวาณิชย จํากัด

และ AI ตามแนวโนมอุตสาหกรรมทั่วโลกที่เริ่มเปลี่ยนทิศทาง ภายใต การขับเคลื่อนของการปรับระบบดําเนินงานใหสามารถประยุกตใช เทคโนโลยี Internet of Things : IoT สอดรับความตองการผูบริโภคและ ภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น” อดิศักดิ์ กลาว ในอนาคตอันใกลนี้ เจมารทจะนําเอา Robotics และ AI มาใช ภายในกลุม เชน การใชหุนยนตในหนารานของเจมารท หรือรานคา พันธมิตรในกลุม เปนตน

จันวาณิชย จับมือพันธมิตรศึกษา Robotics และ AI ก อนสร างหุ นยนต คล ายมนุษย รองรับภาษาไทย

ธนพล กองบุญมา ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท จันวาณิชย จํากัด ผูน าํ ในดานการผลิตเอกสารปองกันการปลอมแปลงขัน้ สูง เอกสาร ทางการเงิน และผลิตภัณฑตางๆ กลาววา ยินดีที่ไดรวมเปนพันธมิตร สําคัญของฟโบ และ UBTECH ในครั้งนี้ ซึ่งทางจันวาณิชย ไดใหความ สําคัญและศึกษาเรื่องเทคโนโลยีนี้มาสักระยะแลว การเขารวมเปน พันธมิตรในการศึกษาความเปนไปไดในเชิงธุรกิจ เพื่อพัฒนา Robotics และ AI ใหทํางานแทนระบบตางๆ และกาวตอไปคือการสรางหุนยนต เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมภายในประเทศ เชนเดียวกับบริษัทยักษใหญ ระดับโลกที่ใหความสําคัญในเรื่องนี้ และเชื่อวาภาคอุตสาหกรรมตางๆ ในประเทศไทย รวมถึงประชาชนจะเริ่มใหความสําคัญและตองปรับตัว เพื่อพรอมรับโลกแหงยุคดิจิทัลใหมนี้ในเร็ววัน “ภาคเอกชนมีการพัฒนาเรื่องหุนยนตและปญญาประดิษฐมา โดยตลอดเพื่อเพิ่มศักยภาพของภาคธุรกิจที่ดําเนินการในตลาดการคา เพราะหากไมมีการปรับตัวจะถูก Disrupt ในที่สุด สําหรับการพัฒนา หุนยนตและปญญาประดิษฐของจันวาณิชยนั้น จะพยายามคิดคนใหมี ความคลายมนุษยใหมากที่สุด และสรางใหมีความพรอมในการรองรับ ภาษาไทย เพื่อคนไทยสามารถนําไปใชงานได เพื่อสรางความภาคภูมิใจ

Engineering Today November - December

2018

26

ใหกับคนไทยในการกาวเขาสูยุค Thailand 4.0 รวมกัน” ธนพล กลาว

สร างรูปร างหุ นยนต ให ดูน ารักคล ายของเล น จัดการสมองที่เป น Big Data เรียนรู Machine Learning

ธนวัฒน เลิศวัฒนารักษ ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท เจ เวนเจอรส จํากัด กลาววา การที่เจ เวนเจอรส เขามารวมมือในครั้งนี้ เนื่องจากบริษัทฯ เห็นทิศทางและ อนาคตในการพัฒนาเทคโนโลยี ซอฟตแวรเพือ่ นํามาใชงาน ในหุนยนตและปญญาประดิษฐ โดยขณะนี้ในประเทศไทย ถือวาการพัฒนาการที่เปนไปในทิศทางที่ดี ตามมาตรฐาน เทคโนโลยีของไทยที่เรามี ทั้งนี้การคิดคนหุนยนตและ ปญญาประดิษฐสําหรับนําไปใช ในภาคสวนตางๆ นั้น จะตองแยกเปนสองสวน คือ สวนของรูปรางและสวนของ มันสมอง ในการที่ทํางานไดอยางไรและทํางานอยางไร ไดบาง สรางรูปรางหุนยนตใหดูนารักคลายของเลน มีการ จัดการในสวนสมองสวนควบคุมทีเ่ ปน Big Data ใหเรียนรู Machine Learning ตางๆ และหากจําเปนที่จะตองนํา เทคโนโลยีจากตางประเทศที่เกี่ยวของเขามารวมพัฒนา หุนยนตและปญญาประดิษฐก็ควรนําเขามาเพื่อชวยใหมี ความรูใหมๆ สวนอนาคตของหุนยนตและปญญาประดิษฐของ ไทยนั้น เชื่อวาเอกชนจะคิดคนและพัฒนาหุนยนต ปญญา ประดิษฐตางๆ รองรับการเปลี่ยนแปลงในการทํางานอยู ตลอดเวลาเพื่อใหธุรกิจที่มีอยูสามารถแขงขันไดในการ แขงขันที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น


Robotics • กองบรรณาธิการ

กลุ มทรู จับมือ ซาวิโอ ก เป ดตัว Relay หุน ยนต สง ของ

อัตโนมัตคิ รัง้ แรกในไทย เจาะกลุม คอนโดฯ-โรงแรม-โรงพยาบาล-โรงงานอุตสาหกรรม กลุมทรู จับมือ ซาวิโอก (Savioke) ผูพัฒนาหุนยนต อัตโนมัติชั้นนําระดับโลก เปดตัว “Relay” หุนยนตสงของ อัตโนมัตคิ รัง้ แรกในประเทศไทย เจาะตลาดลูกคาธุรกิจ กลุม ลูกคา คอนโดมิเนียม โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงาน หวังใหคนไทย ไดสัมผัสกับหุนยนตบริการที่เปนมิตรและทํางานรวมกับผูคน ไดอยางชาญฉลาด ชวยเพิ่มศักยภาพและความแมนยําในการ ทํางานอยางมีประสิทธิภาพ ทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย ผูอ าํ นวยการบริหาร กลุม ธุรกิจ ไอโอที บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) กลาววา กลุมทรูไดมีการคิดคนนวัตกรรมดานหุนยนตมาอยางตอเนื่อง ทัง้ ทีค่ ดิ คนดวยตนเองจากบุคลากรภายในบริษทั ฯ และรวมคิดคน กับพันธมิตรทางธุรกิจ เพื่อผลิตหุนยนตที่เหมาะสมกับลูกคาใน ทุก ๆ กลุมธุรกิจของทรูมาอยางตอเนื่อง สําหรับความรวมมือกับ ซาวิโอกในการพัฒนาหุนยนตอัตโนมัติชั้นนําระดับโลก เปดตัว “Relay” หุนยนตสงของอัตโนมัติครั้งแรกในประเทศไทยนั้น เนื่องจากทางซาวิโอกมีนวัตกรรมและเทคโนโลยีหุนยนต Relay Robot ที่ ห ลายๆ ประเทศในโลกต า งให ก ารยอมรั บ ในเรื่ อ ง เทคโนโลยี ที่ ลํ้ า สมั ย ความฉลาดหลั ก แหลม ความปลอดภั ย รวมถึ ง การออกแบบรู ป ลั ก ษณ ที่ เ หมาะสมและครอบคลุ ม ต อ การใชงานในพืน้ ทีต่ า งๆ และทีส่ าํ คัญคือใชงานไดจริง มีการใชงาน แลวมากกวา 100 ตัวทั่วโลก ทําการขนสงสําเร็จมาแลวกวา 350,000 ครั้ง อีกทั้งการรวมกันพัฒนาในครั้งนี้ยังนําเอาองค ความรูที่ไดมาพัฒนาตอยอดการคิดคนหุนยนต เสริมสรางความ ไดเปรียบในการแขงขันใหกับภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมของไทย ภายในกลุมทรูไดอีกทางหนึ่งดวย

จากซ ายไปขวา แมทธิว เฟสโต ว, ทรงธรรม เพียรพัฒนาวิทย และ ดร.ธีระพล ถนอมศักดิย์ ทุ ธ ร วมเป ดตัวหุน ยนต Relay หุน ยนต สง ของอัตโนมัตคิ รัง้ แรกในไทย

คาดให บริการลูกค าได ใน 3 ป ประมาณ 50 ตัว ทั้งซื้อขาดและบริการเช า

เบื้องตนกลุมทรูไดตั้งเปาหมายจากนี้ 3 ป จะพัฒนา หุนยนต Relay รวมกับทางซาวิโอก โดยจะใสโปรแกรม ซอฟตแวร IoT (Internet of Things) แลวแตแอพพลิเคชั่น ที่เลือกไดวาตองการความสามารถในการเชื่อมตอ หรือใช งานมากน อ ยเพี ย งใดที่ เ หมาะสมในตั ว หุ  น ยนต Relay สําหรับการทํางานในแตละธุรกิจของลูกคาคนไทย ไดแก กลุมลูกคาคอนโดมิเนียม ที่ตองการความปลอดภัยใน

27

Engineering Today November - December

2018


ปดภายในอาคาร เชน กลองและอุปกรณ เซ็นเซอรเพือ่ ตรวจจับสิง่ ตางๆ รอบตัว ทําใหสามารถเดินทางในพืน้ ทีแ่ คบ หลบหลีกผูค นและสิง่ กีดขวาง ตางๆ ไดอยางแมนยํา รวมถึงสามารถขึ้นลิฟตเพื่อไปสงของไดเองโดย อัตโนมัติอยางรวดเร็วและปลอดภัย” ดร.ธีระพล กลาว

การใชหุนยนตแทนคนในการสงของใหลูกบาน โรงแรม ใชหนุ ยนตเพือ่ ลดตนทุนในการสงของดวยพนักงานโรงแรม โรงพยาบาล ใชหุนยนตสงเวชภัณฑ เชื้อโรค เลือดที่เจาะ ทีค่ นอาจจะไมตอ งการถือ และโรงงาน ทีต่ อ งมีมาตรฐานใน การสงของไปยังสายพานการผลิตใหตรงเวลา โดยคาดวา จะสามารถนําเขามาใหบริการลูกคาไดใน 3 ป นับจากนี้ ประมาณ 50 ตัว โดยจําหนายตัวละ 1,000,000 บาท ซึง่ จะมีทงั้ บริการใหเชาเปนรายเดือนๆ ละ 30,000-40,000 บาท ภายใตสญ ั ญา 1 ปคาดวาลูกคากลุม นีจ้ ะใหความสนใจ สูงถึง 90%

กลุม ทรูพร อมสร างสรรค หน ุ ยนต อย างต อเนือ่ ง เดินหน าพัฒนาหุ นยนต ดูแลผู สูงอายุ

ดร.ธีระพล ถนอมศักดิ์ยุทธ หัวหนาคณะผูบริหาร ดานนวัตกรรมและความยั่งยืน บริษัท ทรู คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) กลาววา กลุม ทรูมบี คุ ลากรทีม่ คี วามพรอม ในการสรางสรรคนวัตกรรมและเทคโนโลยีดานหุนยนตมา อยางตอเนื่อง จะเห็นไดจากการพัฒนาหุนยนตบริการ “COFY” ซึ่งเปนหุนยนตสั่งอาหารและเสิรฟกาแฟที่ True Coffee รวมทั้งการคิดคนพัฒนาหุนยนตในรูปแบบตางๆ ที่ เ หมาะสํ า หรั บ ลู ก ค า ชาวไทยได สั ม ผั ส อย า งต อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะอยางยิ่งในยุคที่สังคมไทยเขาสูสังคมผูสูงอายุ กลุม ทรูไดใหความสําคัญในการพัฒนาหุน ยนตรองรับสังคม ผู  สู ง อายุ ด  ว ยเช น กั น โดยได คิ ด ค น และพั ฒนาร ว มกั บ พันธมิตรดานหุนยนตเพื่อสรางหุนยนตที่เขามาดูแลผูสูง อายุที่เหมาะสม ซึ่งในขณะนี้อยูระหวางการพัฒนาฟงกชัน พัฒนาเซ็นเซอรตางๆ คาดวาในป พ.ศ. 2562 จะไดเห็น หุนยนตดูแลผูสูงอายุจากทรู และหุนยนตประเภทอื่นๆ เพิ่มเติมในอนาคต “สําหรับความรวมมือกับซาวิโอกในการพัฒนาหุน ยนต Relay กลุม ทรูมองเปนโอกาสในการเรียนรูแ ละพัฒนา ศักยภาพของทีมนวัตกรของทรูในการตอยอดคิดคนยก ระดับสรางหุนยนตใหเปนที่ยอมรับ ใชงานไดจริง เพราะ Relay มีการซอฟตแวรเทคโนโลยีลํ้าสมัย ระบุการทํางาน สําหรับการสงของอัตโนมัติ ทีถ่ กู ออกแบบมาเพือ่ ชวยในการ ขนสงสิง่ ของหรือสินคา จากจุดหนึง่ ไปยังอีกจุดหนึง่ ในพืน้ ที่

Engineering Today November - December

2018

พัฒนาหุ นยนต Relay ให ทํางานร วมกับผู คน เสมือนเป นส วนหนึ่งในชีวิตประจําวัน

แมทธิว เฟสโตว ผูอํานวยการอาวุโสดานหุนสวนและการขาย บริษัท ซาวิโอก จํากัด กลาววา Relay Robot พัฒนาโดยซาวิโอก ประเทศสหรัฐอเมริกา มีขนาดกวาง 50 เซนติเมตร สูง 90 เซนติเมตร นํ้าหนัก 40 กิโลกรัม สามารถเคลื่อนที่ไดอยางรวดเร็ว ปลอดภัย และ เชื่อถือได เคลื่อนที่ในพื้นที่ปดภายในอาคาร (Indoor Environment) ได เองโดยอัตโนมัติ สามารถขึ้นลิฟตรวมกับคนได ที่สําคัญสามารถให บริการตลอด 24 ชั่วโมงไมมีวันหยุด สําหรับความแตกตางของ Relay กับหุนยนตทั่วไปนั้น ซาวิโอกไดพัฒนา Relay ใหทํางานรวมกับผูคน เสมือนเปนสวนหนึง่ ในชีวติ ประจําวัน โดยคํานึงถึงการทําใหผคู นทีใ่ ชงาน และอยูรอบๆ รูสึกเชื่อมั่น สะดวกสบาย งายตอการใชงาน ไมเปน อันตราย และเปนที่ยอมรับ ซึ่งทีมออกแบบ Relay ใหความสําคัญ ดังกลาว รวมถึงการออกแบบตามหลักจิตวิทยาที่ทําใหหุนยนตสามารถ แสดงออกถึงความรูสึกและอารมณตางๆ ของมนุษยไดอยางแนบเนียน

การทํางานของหุ นยนต Relay

การใชงาน Relay สามารถเรียนรูและใชงานไดอยางงายดาย หากตองการใหขนสงสิ่งของ เพียงใสสิ่งของในกลองที่ตัว Relay เลือก จุดหมายปลายทางทีต่ อ งการสง และกดปุม ยืนยันเพือ่ ทําการสง จากนัน้ Relay จะนํ า ส ง ผู  รั บ ตามที่ ร ะบุ โดยสามารถเดิ น ทางผ า นที่ แ คบ สิ่งกีดขวางตางๆ หรือแมแตการโดยสารลิฟต Relay ก็สามารถทําได โดยอัตโนมัติ เมื่อถึงจุดหมายที่เลือกไว Relay จะแจงเตือนไปยังผูรับ จากนั้นเพียงเปดฝาดานบนออกเพื่อรับสิ่งของ เมื่อสงของเสร็จ Relay จะเดินทางกลับไปยังจุดเริ่มตนเองโดยอัตโนมัติ การเคลื่อนที่ของ Relay ใชเทคโนโลยี Mapping เพื่อทําการ วางแผนเสนทาง และเดินทางไปยังจุดหมายไดอยางรวดเร็ว โดยมีระบบ เซ็นเซอรตางๆ ในการหลบหลีกผูคนและสิ่งกีดขวางตางๆ ระหวางทาง สวนการทํางานรวมกับลิฟต เทคโนโลยีของ Relay ถูกเชื่อมตอเขากับ ระบบควบคุมลิฟต ทําให Relay สามารถเรียกลิฟตเพื่อเดินทางไปยัง ชั้นตางๆ และรูถึงสถานะของลิฟตนั้นๆ ไดโดยตรงและระยะเวลาการ ใชงานตอเนื่อง Relay สามารถทํางานไดตอเนื่องสูงสุดถึง 4 ชั่วโมง โดยใชเวลาชารจเพียงครึง่ หนึง่ ของระยะเวลาทํางาน อยางไรก็ตาม Relay จะกลับเขาแทนชารจเพื่อชารจไฟทุกครั้งที่สงของเสร็จ ทําให Relay สามารถทํางานไดตลอด 24 ชั่วโมงไมมีวันหยุด ทั้งนี้การออกแบบและ ตกแตง Relay สามารถออกแบบและตกแตง Relay ใหสอดคลองกับ แบรนดของบริษัทหรือองคกรตางๆ ได รวมทั้งสามารถตั้งชื่อใหกับ Relay ไดอีกดวย

28


Innovation • กองบรรณาธิการ

หุ นจําลองและอุปกรณ

สํ า นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย (สกว.) สนับสนุนนักวิจัยมหาวิทยาลัยนเรศวรพัฒนาหุนจําลอง ยางพาราสําหรับตรวจสอบความถูกตองปริมาณรังสีจาก การรักษาโรคมะเร็ง ชี้ตนทุนถูกกวานําเขาถึง 10 เทา มาตรฐานเทียบเทาสากล แข็งแรงทนทาน สามารถปรับ ตําแหนงการวัดรังสีไดหลายตําแหนง ชวยลดการสูญเสีย ที่อาจเกิดจากความผิดพลาดของปริมาณรังสีที่ใชรักษา ผศ. ดร.นันทวัฒน อูดี คณบดีคณะสหเวชศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร กลาวถึง โครงการวิจัย “หุนจําลอง ยางพาราสําหรับตรวจสอบความถูกตองปริมาณรังสีจาก การรักษาโรคมะเร็งดวยเทคนิคการรักษาสามมิติ” ภายใต การสนับสนุนทุนวิจัยจากฝายการวิจัยมุงเปา สํานักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) วาในระยะแรก ตนและ คณะผูว จิ ยั ไดพฒ ั นาหุน จําลองดวยเครือ่ งพิมพสามมิตริ ะบบ ฉีดเสนพลาสติกทีภ่ ายในบรรจุยางพารา ซึง่ มีความหนาแนน ใกลเคียงเนื้อเยื่อมนุษยเพื่อนํามาใชเปนแมพิมพหุนจําลอง โดยออกแบบใหหุนจําลองมีรูปรางตามที่ตองการ เปนการ พั ฒนาหุ  น จํ า ลองทางรั ง สี รั ก ษาขนาดมาตรฐานสํ า หรั บ ตรวจสอบปริมาณรังสีกอ นการรักษาผูป ว ยจริงได โดยสราง หุน จําลองศีรษะและลําคอรูปทรงกระบอก สําหรับการรักษา ผูป ว ยมะเร็งศีรษะและลําคอเพือ่ ลดการสูญเสียทีอ่ าจเกิดขึน้ ไดจากการใหปริมาณรังสีที่ผิดพลาด

สกว.

หนุนนักวิจัย

พัฒนาหุ นจําลองยางพารา

ตรวจสอบปริมาณรังสีรักษามะเร็ง ปรับตําแหน งได ตามที่ต องการ-ราคาถูกกว านําเข า 10 เท า

ผศ. ดร.นันทวัฒน อู ดี คณบดีคณะสหเวชศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

29

Engineering Today November - December

2018


ตอมาในระยะที่ 2 คณะผูว จิ ยั พัฒนาหุน จําลองศีรษะ และลําคอขนาดมาตรฐานจากนํา้ ยางพาราธรรมชาติ ประกอบ ดวย เนื้อยางพาราสําหรับสรางแทนเนื้อเยื่อ โพรงอากาศ และแคลเซี ย มคาร บ อเนตผสมกั บ เรซิ น สํ า หรั บ สร า ง แทนกระดูก ภายในมีชองสําหรับใสอุปกรณวัดรังสีชนิด ไอออไนเซชัน ฟลม วัดรังสี และหัววัดรังสีเทอรโมลูมเิ นสเซนซ ทีส่ ามารถใชไดจริงและเปนแนวทางในการนําหุน จําลองไป ประยุกตใชในการตรวจสอบคาปริมาณรังสีในเทคนิคการ รักษาขั้นสูงตอไปเพื่อใหการรักษามีประสิทธิภาพสูงสุด หุนจําลองที่สรางขึ้นสามารถใชในการประเมินคา ปริมาณรังสีทผี่ ปู ว ยไดรบั จากการวางแผนการรักษาทัง้ แบบ สองมิติ สามมิติ เทคนิคปรับความเขมรังสี (IMRT) และ เทคนิคปรับความเขมรังสีเชิงปริมาตร (VMAT) ผานการ ทดสอบคุณสมบัตเิ ชิงกลตามมาตรฐานสากลทัง้ ความคงทน แข็งแรง ความเหนียว ความยืดหยุน ความหนาแนน อายุ การใชงานยาวนาน อีกทั้งยังผานการทดสอบเพื่อประเมิน คาปริมาณรังสีในหุนจําลองใชเครื่องเรงอนุภาคพลังงาน 6 ลานโวลต ดวยแผนการรักษาแบบสองมิติและสามมิติ จากเครื่องคอมพิวเตอรวางแผนการรักษา การวิเคราะห ความถูกตองของการวัดคาปริมาณรังสีในหุน จําลองทีส่ ราง ขึ้น ใชวิธีการเปรียบเทียบคาปริมาณรังสีที่แพทยกําหนด ระหวางการวัดคาปริมาณรังสีในหุนจําลองที่สรางขึ้นและ คอมพิวเตอรวางแผนการรักษา ทั้งนี้งานวิจัยดังกลาว ดร.ศรารัตน มหาศรานนท นักวิจัยรวมโครงการจากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ไดชวยพัฒนาสูตรหุนจําลองจาก นํ้ายางพาราธรรมชาติ ดวยองคประกอบสําคัญที่มีไฮโดร คาร บ อนเป น หลั ก และยั ง มี ก รดไขมั น คาร โ บไฮเดรต อนินทรียสารนอยกวา 1% จึงมีความใกลเคียงกับเนื้อเยื่อ ของมนุษย นอกจากนี้นักวิจัยยังใชสารเคมีเปนสายโซ เชือ่ มโยงโมเลกุลใหหนุ จําลองทีพ่ ฒ ั นาขึน้ มีความแข็งแรง ไมมี ฟองอากาศภายใน ทนตอแรงกดแรงดึง นําความรอนไดชา ทนตอการเสือ่ มสลายดวยความรอนจากรังสียวู แี ละแสงไฟ ในหอง โดยทําการทดสอบเชิงกลนานถึง 6 เดือนจนมั่นใจ ผศ. ดร.นันทวัฒน กลาววา งานวิจัยในระยะแรกใช เวลา 3 ป เพือ่ พัฒนาสูตรยางพาราใหมคี ณ ุ สมบัตใิ กลเคียง เนื้อเยื่อมนุษย โดยสรางหุนจําลองสําหรับตรวจสอบความ ถูกตองปริมาณรังสีจากการรักษามะเร็งเตานมและมะเร็ง ปากมดลูก ตอมาไดพัฒนาหุนจําลองศีรษะและลําคอที่มี โครงสรางอวัยวะภายในตางๆ ตามมาตรฐานของผูปวย โดยนํามาใชงานทดแทนการนําเขาหุนจําลองที่ทําจาก

Engineering Today November - December

2018

ใช หุ นทดสอบค าปริมาณรังสีกับเครื่องเร งอนุภาค (LINAC) หรือเครื่องฉายแสง

ดร.ศรารัตน มหาศรานนท นักวิจัยร วมโครงการจากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร

ตรวจสอบตําแหน งที่จะใช รังสีรักษา

30


พลาสติก ซึ่งมีตนทุนสูงกวางานของเราถึง 10 เทา แตไมสามารถ ปรับสูตรหรือดัดแปลงใหใชไดกับอวัยวะที่หลากหลาย รวมถึง ตําแหนงใสหัววัดรังสีได “ขณะที่ หุ น จํ า ลองที่ เ ราพัฒนาขึ้น มีค วามยืด หยุ  น ปรั บ ตําแหนงไดตามทีต่ อ งการ ประเมินความผิดพลาดไมเกิน 3% โดย หุนจําลองสําหรับตรวจสอบการรักษาโรคมะเร็งศีรษะและลําคอ ดวยเทคนิคการรักษาขั้นสูงแบบ IMRT จะชวยใหนักฟสิกส การแพทย นักรังสีเทคนิค และแพทย สามารถทราบคาปริมาณ รังสีทใี่ หผปู ว ยกอนการรักษาจริง เพือ่ ลดความผิดพลาดทีอ่ าจเกิด ขึ้นไดจากการจัดทาผูปวยเพื่อการรักษา การคํานวณปริมาณรังสี ดวยระบบคอมพิวเตอรวางแผนการรักษาหรือเครื่องเรงอนุภาค (LINAC) ได เพราะหุน จําลองมีความหนาแนนและความสมํา่ เสมอ ใกลเคียงกับเนือ้ เยือ่ มนุษย สามารถสรางภาพสามมิตเิ พือ่ วางแผน การรักษาไดเหมือนกับผูปวยจริง ซึ่งหากไมเปนไปตามแผนก็จะ ไดแกไขกอนการรักษาจริงตอไป” ผศ. ดร.นันทวัฒน กลาว ปจจุบนั หุน จําลองไดถกู นําไปใชทหี่ นวยรังสีรกั ษา โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร ตลอดจนโรงพยาบาลและศูนยมะเร็งตางๆ ก็สามารถนําไปใชไดอยางถูกตองแมนยํา โดยใชไดทั้งมะเร็ง เตานม มะเร็งปากมดลูก มะเร็งสมอง หรือมะเร็งสวนตางๆ ของศีรษะและลําคอ ในอนาคตจะพัฒนาตอใหสามารถตรวจผลการรักษามะเร็ง ปอด ลําตัวชวงบนและชวงลาง รวมทัง้ การประยุกตใชในการรักษา โรคอื่นๆ ดวย ทั้งนี้ อาจขยายผลนําไปใชในกลุมประเทศอาเซียน ที่เพิ่งเริ่มมีเครื่องฉายรังสีแตยังไมมีหุนจําลองตรวจสอบปริมาณ รังสี และการตอยอดขยายผลในเชิงพาณิชยตาม คําแนะนําของ พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี

เครื่องพิมพ สามมิติ

31

Engineering Today November - December

2018


บทความ • *ซาการิ คูอิกกะ

ระบบอัตโนมัติและเทคโนโลยีหุ นยนต นําทางนโยบาย Thailand 4.0 ประเทศไทยมีบทบาทสําคัญมากในหวงโซอปุ ทานระดับโลก นับตัง้ แตอตุ สาหกรรมเครือ่ งใชไฟฟาไปจนถึงอุตสาหกรรมรถยนต และอาหาร นับเปน ผูนําของโลกในดานการผลิตแผงวงจรรวม สารกึ่งตัวนํา (เซมิคอนดักเตอร) และฮารดไดรฟ1 และยังถือเปน ผูผลิตรถยนตรายใหญเปนอันดับที่ 12 ของโลก โดยเปนฐาน การผลิตของแบรนดผูผลิตรถยนตชั้นนําอยาง เมอรเซเดส-เบนซ บีเอ็มดับเบิลยู จีเอ็ม ฟอรด และโตโยตา2 ทั้งยังเปนผูนําในฐานะ ซัพพลายเออรดานอาหารระดับโลก3 ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศของไทยเติบโตขึ้น 4.8% ใน ไตรมาสแรกของป ค.ศ. 2018 ซึ่งถือวาดีที่สุดในชวง 5 ป และ ทําใหคาดการณไดวาอัตราการเติบโตตลอดทั้งปจะอยูที่ราว 5%

อยางไรก็ดี สถานะทางการแขงขันของประเทศกําลังถูกไลตาม โดยเหลาประเทศเพื่อนบาน เนื่องจากธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) คาดการณวา เวียดนาม กัมพูชา เมียนมา ฟลิปปนส และลาว จะมีอัตราการเติบโตราว 6.8-7.1% ในป ค.ศ. 20184 ธุรกิจตางๆ ในประเทศไทยจึงจําเปนตองนําระบบอัตโนมัติ และเทคโนโลยีหุนยนตมาใชในการทํางาน เพื่อรักษาอัตราการ เติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศและสถานะศูนยกลาง ผูผลิตระดับโลกของประเทศเอาไว เนื่องจากระบบอัตโนมัติ และเทคโนโลยีหุนยนตถูกกําหนดใหเปนเครื่องยนตขับเคลื่อน ความเติบ โตทางเศรษฐกิจของประเทศภายใต กรอบนโยบาย Thailand 4.05

*ผูอํานวยการประจําภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ยูนิเวอรซัล โรบอทส https://www1.nst.com.my/opinion/columnists/2018/01/324922/asean-faces-disruptive-trends https://money.cnn.com/2018/07/10/news/world/thailand-auto-industry/index.html 3 https://asia.nikkei.com/Editor-s-Picks/Tea-Leaves/The-selling-of-Thailand-4.0 4 https://asia.nikkei.com/Editor-s-Picks/Tea-Leaves/The-selling-of-Thailand-4.0 5 http://www.nationmultimedia.com/detail/Economy/30353735 1 2

Engineering Today November - December

2018

32


การทํางานด วยระะบบอัตโนมัติกับโคบอท

Automation and Robotics to Spearhead Thailand 4.0

สภาวการณทางธุรกิจที่มีความทาทายในทุกวันนี้ผลักดัน ใหองคกรตาง ๆ พยายามแสวงหาวิธีการเพื่อเพิ่มกําลังการผลิต และความสามารถในการแขงขันเพื่อรักษาความยั่งยืนทางธุรกิจ เอาไว ซึ่งในทายที่สุด ระบบอัตโนมัติและเทคโนโลยีหุนยนตก็ได กลายเปนตัวขับเคลื่อนหลักเพื่อนํามาซึ่งความเปนเลิศทางธุรกิจ ยุคที่หุนยนตอุตสาหกรรมมีขนาดใหญเทอะทะและมีราคา แพงคือโซลูชนั่ เดียวของการทํางานระบบอัตโนมัติ โดยเฉพาะภาค การผลิตนั้น ไดผานพนไปแลว เพราะโคบอทหรือหุนยนตเพื่อ การทํางานรวมกับมนุษย (Collaborative Robots: Cobots) ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อทํางานเคียงขางมนุษย ไดชวยลดอุปสรรค ในดานความซับซอนและตนทุนทีส่ งู ของระบบอัตโนมัตใิ หนอ ยลง ชวยใหธุรกิจตางๆ ในทุกขนาดสามารถนําไปประยุกตใชงานได มากยิ่งขึ้น ดวยคุณสมบัติของโคบอทที่มีนํ้าหนักเบา ขนาดเล็ก และมี ความยืดหยุน ทําใหสามารถนําไปใชงานไดแมในพื้นที่แคบและ ครอบคลุมอุตสาหกรรมไดหลากหลายรูปแบบ โคบอทยังมีตน ทุน รวมของการเปนเจาของ (Total Cost of Ownership: TCO) ที่มีความไดเปรียบทางการแขงขันเมื่อเปรียบเทียบกับหุนยนต อุตสาหกรรมแบบเดิม เนือ่ งจากใชตน ทุนนอยกวาในการตัง้ คาการ ทํ า งานของระบบ โดยค า ต น ทุ น รวมของการเป น เจ า ของจะ ครอบคลุมตนทุนทั้งทางตรงและทางออม ซึ่งมีทั้งการซอมบํารุง การเปลีย่ นแปลงผังระบบของโรงงาน การฝกอบรมพนักงาน และ แผงกั้นเพื่อความปลอดภัย (ซึ่งโดยทั่วไปถือเปนสิ่งจําเปนสําหรับ หุน ยนตอตุ สาหกรรมแบบเดิม) นอกจากนัน้ การตัง้ โปรแกรมการ ทํางานพื้นฐานของโคบอทยังชวยยนระยะเวลาการเรียนรู ทําให พนักงานที่มีทักษะตํ่าสามารถใชงานโคบอทไดอยางงายดาย โคบอทชวยใหเจาของธุรกิจเพิม่ กําลังการผลิต เพิม่ คุณภาพ ของชิ้นงาน และยกระดับคุณภาพชีวิตในการทํางานของคนงาน โดย นิสสัน ผูผ ลิตรถยนตสญ ั ชาติญปี่ นุ ไดเพิม่ ขัน้ ตอนการผลิตดวย การใชงานโคบอท สงผลใหคุณภาพและความเสถียรของชิ้นงาน สูงขึ้น รวมถึงชวยเพิ่มประสิทธิภาพทั้งดานเวลาและตนทุน

Today’s challenging business environment forces organisations to find means to enhance productivity and competitiveness in order to remain sustainable. To this end, automation and robotics have become key drivers of business excellence. Gone are the days when costly and bulky traditional industrial robots were the only solution to automation, especially for the manufacturing sector. Collaborative robots (cobots) – designed to work side-by-side with people – are lowering the barriers to automation in areas previously considered too complex or costly, helping businesses of all sizes to accelerate their adoption. Successful automation deployments will depend on a business owner’s ability to identify the opportune time to automate. A key reason to automate is cost. Most direct costs make it into the budget, yet it’s the indirect and opportunity costs where the benefits of automation truly lie. Automation also allows companies to capitalise on opportunity costs. With employees freed from time-intensive, low-skill tasks, organisations improve their resource allocation by matching the right people to the right roles. Automation enables businesses to scale and expand their service offerings without excessive headcount. Existing employees can easily take on additional customers and demand, pushing margins higher while improving consistency and speed of service. Ultimately, enhancing productivity. The introduction of Universal Robots’ cobots at PT JVC Electronics Indonesia, a car audio-visual and navigation device manufacturer, lessened the burden on workers to perform menial and repetitive tasks. The cobots also stabilised takt time - the cycle time of a specific process – while reducing the time per task by half.

การกําหนดโอกาสจากการใช งาน ระบบอัตโนมัติ

การใชงานระบบอัตโนมัติใหประสบความสําเร็จ จะขึ้น อยู  กั บ ความสามารถของเจ า ของธุ ร กิ จ ในการระบุ ถึ ง เวลาที่ เหมาะสมในการใชงานระบบอัตโนมัติ เพราะเหตุผลหลักใน การใชงานระบบอัตโนมัติคือตนทุน ตนทุนทางตรงสวนใหญตอง อาศัยงบประมาณ ถึงกระนัน้ ก็ยงั ตองมีตน ทุนทางออมและตนทุน ทางโอกาสที่ตองเสียไปเพื่อใหไดรับประโยชนจากระบบอัตโนมัติ อยางเต็มที่

33

Engineering Today November - December

2018


ตนทุนทางออม ซึ่งสวนใหญเปนสิ่งที่คาดเดาไมไดนั้น อาจรวมถึงการทํางานนอกเวลาจากการนําเสนอบริการทีล่ ม เหลว หรือลาชา การหยุดชะงักของเครือขาย ขอขัดของและการสูญเปลา ในการผลิต ซึ่งสิ่ งเหลานี้ทําใหบริษัทสู ญเสี ย ผลกํ าไร ดังนั้น การลดการรั่วไหลของรายไดดวยการจํากัดตนทุนทางออมจะ ชวยใหองคกรธุรกิจสามารถเพิ่มผลกําไรสุทธิได ระบบอัตโนมัตยิ งั ชวยใหบริษทั สามารถรวบรวมเงินทุนเพือ่ ใชในตนทุนดานโอกาสได เมื่อพนักงานเปนอิสระจากภาระงาน ที่เครงเครียดและงานที่ใชทักษะตํ่า องคกรจะสามารถปรับปรุง การโยกยายทรัพยากรของตนเอง ผานการจัดสรรบุคลากรใหอยู ในตําแหนงงานที่เหมาะสมได เนื่ อ งจากโคบอทถู ก ใช เ พื่ อ การทํ า งานที่ ทํ า ซํ้ า ๆ และ มีอันตราย ทําใหพนักงานมีเวลาวางในการเพิ่มพูนทักษะของ ตนเองเพื่อรับผิดชอบงานที่มีมูลคาสูงขึ้นได อาทิ การควบคุมหุน ยนตและระบบอัตโนมัติในการออกแบบและใชงานโซลูชั่นเพื่อ เพิ่มศักยภาพทางธุรกิจหรือกระบวนการผลิต ระบบอัตโนมัติชวยใหธุรกิจสามารถปรับขนาดและขยาย บริการของตนไดโดยไมตองมีจํานวนพนักงานมากเกินไป โดย

พนักงานที่มีอยูในปจจุบันสามารถใหบริการลูกคาและรองรับ ความตองการที่เพิ่มขึ้นไดอยางงายดาย จึงชวยเพิ่ม ผลกําไรให สู ง ขึ้ น ไปพร อ มกั บ การเพิ่ ม ความเที่ ย งตรงและความรวดเร็ ว ของบริการ ซึง่ ในทายทีส่ ดุ ก็คอื การชวยเพิม่ กําลังการผลิตนัน่ เอง การนําโคบอทของบริษัทยูนิเวอรซัล โรบอทส มาใชงาน ที่บริษัทเจวีซี อิเล็กทรอนิกส อินโดนีเซีย (JEIN) ซึ่งเปนผูผลิต อุ ป กรณ ภ าพและเสี ย ง รวมถึ ง ระบบนํ า ทางสํ า หรั บ รถยนต สามารถช ว ยลดภาระของคนงานซึ่ ง ต อ งทํ า งานสกปรกและ งานซํ้าๆ กันไดเปนอยางดี โคบอทยังชวยสรางความแนนอนของ เวลางาน รวมถึงรอบเวลางานในขั้นตอนการทํางานเฉพาะดาน พรอมชวยลดระยะเวลาตอชิ้นงานได 50% นอกจากนี้ โคบอทยังชวยใหบริษัท JEIN ซึ่งตองการเวลา ครบวงงานที่รวดเร็วและขอบกพรองของผลิตภัณฑที่นอยที่สุด ใหสามารถบรรลุเปาหมายการผลิตที่ 400,000 ชิ้นตอเดือนได อยางสมํ่าเสมอ การบูรณาการโคบอทเขากับระบบงานชวยลด ตนทุนการดําเนินงานไดราว 80,000 เหรียญสหรัฐ พรอมๆ กับ เพิ่มกําลังการผลิตและคุณภาพของชิ้นงาน

คณะครุศาสตร ฯ มจพ.ลํ้า

ระบบสแกนบารโคด (QR Code) ผลงานของรภัสสิทธิ์ เทพทอง และ ศศิธร คงสวัสดิ์ นักศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร ภาควิชาคอมพิวเตอรศกึ ษา คณะครุศาสตรอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (มจพ.) เปนนวัตกรรมอีกชิ้น ที่ถูกนํามาใชงานจริงได 2 ป เพื่อใหผูใชงานนักศึกษาสามารถ ตรวจสอบตารางสอบไดงายขึ้น สามารถคนหาตารางการสอบเปน รายบุคคล เลขหองสอบ และรายวิชาสอบ รวมถึงผูคุมสอบสามารถ ตรวจสอบตารางการคุมสอบของกรรมการคุมสอบได โดยมีอาจารย วิทวัส ทิพยสุวรรณ รองคณบดีฝายกิจการนักศึกษา คณะครุศาสตร อุตสาหกรรม เปนที่ปรึกษาโครงการ ระบบสแกนบารโคด ไดถูกพัฒนามาเปนเวลา 1 ป เพื่อรองรับ การใหบริการแกคณาอาจารย และนักศึกษาไดทดลองใชในการสอบ Midterm และการสอบ Final มา 2 ป ผานอุปกรณมือถือหรือไอแพดที่ จะรับขอสอบเพียงปลายนิ้วสัมผัสในวันเขาสอบและอาจารยที่คุมสอบ ในแตละครั้งได รวดเร็วและใชงานงายที่สุด สามารถใชงานไดเมื่อเปด APP แลวนํากลองจากโทรศัพทสองที่ QR Code กลายเปนจุดเปลี่ยน ของการสอบเพราะการเขาใชงานในระบบ QR Code งาย สะดวก สบาย ผาน Mobile Application โดยแตละหองจะมีโคดไมเหมือนกัน ชวยลด กระดาษ เขาถึงขอมูลไดงาย การประชาสัมพันธการสอบทั่วถึงอยาง มีประสิทธิภาพมากขึ้นในรูปแบบออนไลน รวมถึงอํานวยความสะดวก รวดเร็ ว ในการค น หาตารางสอบ ตรวจสอบรายชื่ อ และตารางสอบ ลวงหนาได โดยการเขาใชงานไดทุกที่ ทุกเวลา ตอบโจทยทุกไลฟสไตล (Lifestyle)

Engineering Today November - December

2018

34

ใช QR Code ตรวจการเข าสอบ ของนักศึกษาได แม นยํา 100%

ระบบสแกนบารโคด ถูกออกแบบใหงายตอ การใชงานและครอบคลุมการใชงาน 2 สวนคือ 1) สําหรับนักศึกษา สามารถตรวจสอบรายชือ่ หองสอบ เมื่อสแกนแลวก็จะสามารถตรวจสอบ รายวิชา และรายชือ่ หรือการสแกนเพือ่ คนหาตาราง สอบก็ เ พี ย งกรอกชื่ อ -นามสกุ ล หรื อ สแกนรหั ส นักศึกษา รวมถึงการสแกนเพื่อเขาดูขอปฏิบัติใน การเขาสอบสําหรับนักศึกษา 2) สําหรับผู คุมสอบ ตองสแกนทุกคนเพื่อ ลงชื่อเขาใชหองสอบ โดยกรอกรหัส ผาน ไดแก รหัสประจําตัวประชาชน เลขที่บรรจุ หมายเลข HIP หรือรหัสผานสวนตัว เมื่อเสร็จสิ้นการสอบก็สแกน เพื่อลงชื่อออกจากหองสอบเพื่อปดการสอบ


Cover Story • *Jürgen Skowaisa

A world first for contactless liquid level measurement (2) Exact measurement at the bottom of the tank Another special advantage of an 80 GHz radar sensor is shown in the measurement of liquids with a low dielectric factor at the bottom of the tank. To explain: In media with low dielectric properties, part of the signal penetrates the medium and is reflected by the tank bottom below. You therefore receive two signals: The actual liquid level and the tank bottom. If the dielectric factor of the medium is low, the signals off the tank bottom are greater, then the radar will go to zero prematurely (e.g. flat metal bottom). Due to the much shorter wavelength of the 80 GHz signals of the VEGAPULS 64, they reflect off the lower dielectric liquid level more strongly in the medium than with 26 GHz sensors. A measurement right down to the bottom of the tank is now more certain than with the previous sensors. These capabilities now enable a reliable level measurement over the whole tank volume, even in small tanks. This was not previously possible, neither with 26 GHz sensors nor with guided wave radar. With GWR a cable or rod is used as a guide

In the VEGAPULS 64 the radiation angle is only 3o. The sensor can even measure the level reliably in tanks with agitators or installations such as heating coils.

for the signal, a measurement down to the bottom is impossible by principle, as the rod or cable must always maintain a gap from the vessel bottom and, with low dielectric products, they cannot read down to the end (or even right to the top) of the rod. In larger tanks, this distance is usually negligible, but the smaller tanks get, the greater the percentage of the non-measurable part is. The VEGAPULS 64 therefore solves many measuring problems of small tanks.

*VEGA Grieshaber KG, Product Management Radar

35

Engineering Today November - December

2018


Proven components Although the VEGAPULS 64 is a new sensor generation for liquids, the user needs a proven device. How can this paradox be resolved? About one and a half years ago, VEGA very successfully launched a high-frequency level sensor for bulk solids onto the market. This instrument also operates within the same high frequency band and has since been installed in more than 100,000 applications world-wide. It functions extremely well even in silos and applications with many installations, which in turn create many interference signals. The most important electronics components and technologies of this instrument have been adopted in the new liquids radar, so that the user can trust in already established VEGA reliability. However, the difference is that VEGAPULS 64 operates with a wider bandwidth of 4 GHZ, to create an even clearer separation of individual echo signals in liquid level applications. Before the market launch of the VEGAPULS 64, two hundred prototype radar sensors have been already installed and tested world-wide. The results helped

to make optimisations to the software, which will be implemented prior to market launch to give the user even better performance. This also means a large database of application knowledge is also already available. The operation of the VEGAPULS 64 devices follow a familiar routine because they are integrated into the plics concept. The PLICSCOM module serves as usual for both the operation of the sensors and local display of the measured values. A PC or special software is not required. This display and operating module can be inserted into and removed from the sensor at any time without interrupting the power supply.

Later installation without re-validation Since such small process fitting sizes can be used, the new sensor is easy to install on the existing connections, consequently it’s quick and cost effective to install on existing vessels with little or no modification. This capability is of particular interest to the pharmaceutical and bio technology industries, because many plants and processes have to be tested and validated, any subsequent engineering alterations are only made possible by taking up considerable resources. Even the threaded versions can be adapted to clamp connections with appropriate adapters, making it an ideal solution for many applications. Process fittings where PTFE is the only wetted material, for use in an aseptic area, are available from the start. These will meet 3A and EHEDG requirements. The sensors also have approvals for use in hazardous areas. (9.446 Zeichen)

Due to the high transmission frequency of the VEGAPULS 64, smaller process connections with an antenna size of only ¾” are possible. This compact sensor design offers great advantages for level measurement in small vessels.

Engineering Today November - December

2018

36


Digital Economy @Engineering Today Vol. 6 No. 168

5 +è 6 6'B 4D Ä™ +5 ''% =' 6 6' 5 A%;1 15 'è&4 %<Ę .'Ä™6 .%6'Äœ 8 9JA H%'= B 8.C Ä™ 6 6' Äœ Ä? Âœ,Âœ žäžä %9 'è-5 '5 A )9I& .=Ę'4 8 è 5) £¥“ 9J$6 1< .6/ ''%D Ä™ Ę6& Ä™6 8 è 5) A"ôø% ĂŞJ A Ä&#x; ¢ää "5 )Ä™6 A/'ĂŠ&g./'5


Smart City • กองบรรณาธิการ

นักวิชาการแนะใช นวัตกรรมบูรณาการกับเมืองอัจฉริยะ

มุง สร างสมาร ทซิตเี้ ต็มรูปแบบ

นั

กวิชาการจากคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พรอมดวยผูเ ชีย่ วชาญจากอาคารเขียวรวมเสวนาแลกเปลีย่ นความรู การสรางเมืองอัจฉริยะในประเทศไทย ดวยการนํานวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่เหมาะสมเขามาใชในการสรางเมืองอัจฉริยะเพื่อตอบสนองความตองการ ของผู  ค นในแต ล ะพื้ น ที่ ที่ มี ป  ญ หาและความต อ งการที่ แ ตกต า งกั น ไป ตามความมุงมั่นของเมืองอัจฉริยะ เพื่อใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ภาครัฐนํานวัตกรรมมาต อยอดเมืองอัจฉริยะ ตามกรอบที่วางไว 6 ด าน ศ. ดร.สุ น ทร บุ ญ ญาธิ ก าร อาจารย ค ณะสถาป ต ยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กลาววา จากนโยบายภาครัฐทีต่ อ งการใหประเทศไทย นํานวัตกรรมมาปรับใชกับเมืองอัจฉริยะจะทําใหเมืองมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ในทุกๆ ดาน ทัง้ ทางดานเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดลอม ซึง่ จะเพิม่ ประสิทธิภาพ การใหบริการ การบริหารจัดการเมือง ลดคาใชจา ย โดยใชทรัพยากรทีม่ อี ยูอ ยาง รูคุณคาและตองการใหภาคประชาชนเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการ พัฒนาเมืองดวย ตามกรอบของรัฐบาลที่วางเอาไว 6 ดาน ประกอบดวย เศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart Economy), ระบบขนสงและการสื่อสารอัจฉริยะ (Smart Mobility), พลังงานและสิ่งแวดลอมอัจฉริยะ (Smart Energy &

Engineering Today November - December

2018

38

Environment), ระบบบริ ห ารภาครั ฐ อั จ ฉริ ย ะ (Smart Governance) พลเมืองอัจฉริยะ (Smart People) และการดํารงชีวติ อัจฉริยะ (Smart Living) ประกอบกับการปฏิรูปกฎหมายที่เกี่ยวของกับการ พัฒนาเมืองอัจฉริยะ ดวยการบูรณาการกฎหมาย กฎระเบียบ ที่มีอยูในปจจุบัน ควบคูกับการจัดกลุม กฎหมายที่ จํ า เป น ต อ งบั ญ ญั ติ ขึ้ น ใหม ปรั บ ปรุ ง กฎหมายที่ ส อดรั บ กั บ การบริ ห ารจั ด การเมื อ ง อัจฉริยะ หากกฎหมายที่เปนอุปสรรคไมเหมาะสม ก็ควรยกเลิกไป เพื่อกระตุนใหคนไทยตระหนักถึง ความสําคัญของเมืองอัจฉริยะ ขณะเดียวกันก็มี โอกาสไดรับประสบการณและการเรียนรูจากแหลง ความรูทั่วโลกมาปรับใชในประเทศไทย สรางเมือง ตนแบบ มีทีมวิจัย และพัฒนานวัตกรรมอยางครบ วงจร บูรณาการทํางานรวมกันเริ่มตั้งแตกระบวน การคิด ออกแบบ การสรางเมือง ดวยการจัดทําเมือง ต น แบบอย า งน อ ย 3 ขนาด คื อ ขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็ ก คิ ด ค น ใส นวั ต กรรม เทคโนโลยี และขอมูลที่จําเปนเชื่อมโยงผาน Big Data กับเมืองอัจฉริยะ นําไปสูการพัฒนาอุปกรณ IoT (Internet of Things) ใชในเมืองเพื่อเปนจุด เชื่อมโยงสงตอขอมูลใหผูบริหารเมืองจากภูมิภาค สูสวนกลาง

รัฐบาลเร งพัฒนา 7 จังหวัดสู Smart City เดินหน าขยายให ครอบคลุม 77 จังหวัด ภายใน 5 ป ศ. ดร.สุนทร กลาววา ขณะนี้รัฐบาลไดมี การเร ง พั ฒ นาเมื อ งอั จ ฉริ ย ะอย า งเต็ ม ตั ว โดย กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม หรือ ดีอี ไดมอบหมายใหสํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ ดีปา เปนหนวยงานทีช่ ว ยขับเคลือ่ นการพัฒนา เมืองอัจฉริยะและเมืองนาอยู ทําใหคนที่อาศัยมี ความสุข นํารองระยะแรกพัฒนา 7 จังหวัด ไดแก ภูเก็ต เชียงใหม ขอนแกน ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา และกรุงเทพฯ ซึ่งมีจะขยายใหครอบคลุมพื้นที่ 77


ในเมืองอัจฉริยะ เชน เชื่อมโยงขอมูลกลองโทรทัศนวงจรปด (CCTV) ของเทศบาล เพื่อใหตํารวจติดตามอาชญากร เชื่อมโยงขอมูลจาก IoT Sensors สิ่งแวดลอม เพื่อเฝาระวังภัยพิบัติ เชื่อมโยงขอมูลการใช Free Wi-Fi ของทั้งเมือง เพื่อนําขอมูลเหลานั้นมาวิเคราะหพฤติกรรม นักทองเทีย่ วทีเ่ ขามาใชบริการสถานทีท่ อ งเทีย่ ว โรงแรม ทีพ่ กั ทุกรูปแบบ ในขณะทีเ่ ขามาในประเทศไทย เพือ่ นําไปประกอบวางแผนระบบโลจิสติกส การคมนาคม การสรางจุดแลนดมารคในการทองเที่ยวแตละพื้นที่ โดย ขอมูลจะถูกรวบรวมมายังระบบคลาวดของเมือง เพื่อใหงายตอการ แลกเปลี่ยนบูรณาการ นําไปตอยอดวิเคราะห Big Data Analytics โดย สรางเปน API (Application Programming Interface) ในการดึงขอมูล และมีมาตรฐานของขอมูล สามารถเปดใหภาครัฐหรือเอกชนนําไป ตอยอดเปนบริการของเมือง ไมตองทุมงบประมาณที่ไมจําเปนในการ จัดการบริหารเมืองอีกตอไป

ศ. ดร.สุนทร บุญญาธิการ อาจารย ประจําคณะสถาป ตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

ทิศทางเมืองอัจฉริยะของไทยใน 10 ป ข างหน า เน นการจัดสมดุลของสิ่งแวดล อม-เพิ่มพื้นที่สีเขียว “สิ่งที่อยากใหมีในเมืองอัจฉริยะของไทยใน 10 ปขางหนานั้น อยากเห็นการจัดสมดุลของสิง่ แวดลอม การประหยัดพลังงาน การเลือก ใชพลังงานสะอาดเพือ่ ลดปญหาทางดานสิง่ แวดลอม ลดปญหามลภาวะ ทางอากาศ นํา้ เสีย ขยะ การระบายนํา้ ระบายอากาศ ชวยสงเสริมสภาพ แวดลอมที่ดี คุณภาพอากาศที่ดี เพิ่มพื้นที่สีเขียว ลดปรากฏการณภูมิ อากาศเปลี่ยนแปลง เชน รอนชื้นหรือเกิดอุทกภัยบอยๆ โดยหันมาใช วัสดุปรับอุณหภูมิดวยการนําไมมารวมสรางเมือง เพราะไมมีคุณสมบัติ ช ว ยกั ก เก็ บ อุ ณ หภู มิ ที่ เ หมาะสมที่ มี ค วามแตกต า งกั น 8oc ใช วั ส ดุ นวัตกรรมสมัยใหมที่ทนแดด ทนฝน มีการติดตั้งโซลารเซลลเพื่อเก็บ พลังงานจากแสงอาทิตยซึ่งเปนพลังงานธรรมชาติมาใชในตอนกลางคืน เพื่อลดพลังงานจากฟอสซิลในประเทศไดอีกทางหนึ่ง ที่สําคัญควรมี การปลูกตนไมเพิ่มพื้นที่สีเขียวในทุกๆ พื้นที่เมืองอัจฉริยะใหรมรื่น ชวยลดกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิดจากควันทอไอเสีย และโรงงาน อุตสาหกรรมได” ทั้งนี้มองวาประเทศไทยมีนักวิชาการ วิศวกร สถาปนิก และ นักวิทยาศาสตรที่มีความรูความสามารถในการใชองคความรูคํานวณ ปรากฏการณตา งๆ รวมกับรัฐบาลในการออกแบบเมืองอัจฉริยะตนแบบ ทั้ง 7 จังหวัดนํารองนี้ใหเกิดผลแลวตอยอดสูอีก 70 จังหวัดที่เหลือตาม ความมุงมั่นของเมืองอัจฉริยะที่แทจริง

ทั่วโลกตื่นตัวและให ความสําคัญกับกระแส Green ไทยวางเกณฑ ประเมิน 7 หมวดก าวสู เมืองอัจฉริยะ ดร.นรี ภิญญาวัฒน ผูเชี่ยวชาญดานการพัฒนาเมืองอยางยั่งยืน บริษัท Atelier 10 จํากัด กลาววา ปจจุบันทั่วโลกตื่นตัวและใหความ สําคัญกับกระแสความเปนสีเขียว (Green) เชน กรุงบารเซโลนา ประเทศ สเปน, กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมารก, กรุงเบอรลนิ ประเทศเยอรมนี, เกาะฮองกง ประเทศจีน, กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ, กรุงนิวยอรก

39

ดร.นรี ภิญญาวัฒน ผู เชี่ยวชาญด านการพัฒนาเมืองอย างยั่งยืน บริษัท Atelier 10 จํากัด

ประเทศสหรัฐอเมริกา, กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย, กรุงปารีส ประเทศฝรัง่ เศส, กรุงโตรอนโต ประเทศแคนาดา, กรุ ง โตเกี ยว ประเทศญี่ ปุ  น และประเทศสิ ง คโปร ซึ่ ง ทุกประเทศตางใหความสําคัญกับการมีสวนรวมในการ อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม แบงพื้นที่เดินทางภาย ในเมืองรวมกันทัง้ รถยนตสว นบุคคล จักรยาน คนเดินถนน รถราง ใหประชาชนใชทรัพยากรและพลังงานที่มีอยูอยาง จํากัดใหเกิดคุณคาสูงสุด กระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด สําหรับในประเทศไทยนั้นกําลังเรงศึกษาตนแบบ เมืองจากประเทศที่ประสบความสําเร็จแลวนํามาปรับใช กับเมืองในแตละจังหวัดและมีหนวยงานที่สามารถให คําแนะนํา ทดสอบและประเมิน ผลการสรางเมืองสราง อาคาร โดยผูเชี่ยวชาญ ที่จะเขาไปประเมินผลอาคารเขียว ในแตละพื้นที่อยางสถาบันอาคารเขียวไทย ไดวางเกณฑ ไว 7 หมวด ดังนี้ 1. พลังงานอัจฉริยะ (Smart Energy) ตัวชี้วัดพลังงานอัจฉริยะประกอบดวยคาพลังงานการใช ตอประชากร การผลิตพลังงานทดแทน การผลิตพลังงาน ณ จุดใชงานการสะสมพลังงาน ระบบทําความเย็นและ ความรอนรวมศูนย ระบบบริหารจัดการพลังงานอัจฉริยะ การลดการปลอยคารบอนไดออกไซด การสงเสริมการใช รถไฟฟา 2. การสัญจรอัจฉริยะ (Smart Mobility) ตัวชีว้ ดั ประกอบด ว ยการวางผั ง โครงสร า งพื้ น ฐานของระบบ พลังงาน ระบบการจายนํา้ ระบบการขนสง ระบบโดยสาร

Engineering Today November - December

2018


สาธารณะ การบริหารที่จอดรถ การสงเสริมการเดิน การใช จักรยาน การจัดเตรียมสถานพยาบาล ระบบฉุกเฉิน ระบบ ความปลอดภัย สถานศึกษา สถานที่ทองเที่ยว การบริหาร จั ด การขยะ และนํ้ า เสี ย 3. ชุ ม ชนอั จ ฉริ ย ะ (Smart Community) ตัวชี้วัดประกอบดวยการสงเสริมมาตรฐาน คุณภาพชีวติ ทีด่ ี ทัง้ ในดานความปลอดภัย สวัสดิภาพ สุขภาพ การศึ ก ษา การป อ งกั น ภั ย พิ บั ติ และการดู แ ลผู  สู ง อายุ ผูพิการ 4. สิง่ แวดลอมอัจฉริยะ (Smart Environment) ตั ว ชี้ วั ด ประกอบด ว ยการรั ก ษาสภาพแวดล อ ม ป า ไม พืชพันธุ ระบบนิเวศ การสงเสริมการเกษตร แหลงผลิต อาหารในเมือง สวนสาธารณะ พื้นที่สีเขียว การบริหาร จั ดการนํ้า มลภาวะทางนํ้า มลภาวะทางอากาศ และ ปรากฏการณเกาะความรอน 5. เศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart Economy) ตั ว ชี้ วั ด ประกอบด ว ยโมเดลทางธุ ร กิ จ นวัตกรรมรูปแบบการลงทุน การสรางความสามารถใน การแขงขัน การมีสวนรวม ความเปนหุนสวน การบริหาร รายได คาใชจายในการบริหารจัดการเมืองที่ยั่งยืน การ สงเสริมการเจริญเติบโตของเขต 6. อาคารอัจฉริยะ (Smart Building) ตัวชี้วัดประกอบดวยการผานเกณฑการประเมิน อาคารเขียวของสถาบันอาคารเขียวไทย การพัฒนาอาคาร ที่ ใ ช พ ลั ง งานสุ ท ธิ เ ป น ศู น ย และระบบอาคารและบ า น อัจฉริยะ และ 7. การปกครองอัจฉริยะ (Smart Governance) ตัวชี้วัดประกอบดวยหลักความเปนเมืองอัจฉริยะ ภาวะ ความเปนผูนํา ยุทธศาสตร โครงสรางองคกร กระบวนการ บริหารจัดการ และระบบการวัดผลสําเร็จ

นํามาตรฐาน LEED ระดับโลก ประเมินอาคารเขียวสู เมืองอัจฉริยะสมบูรณ แบบ ดร.นรี กลาววา นอกจากนี้ยังมีมาตรฐาน LEED (Leadership in Energy & Environmental Design) ซึ่งเปนมาตรฐานที่ไดรับความ นาเชือ่ ถือทีส่ ดุ สําหรับอาคารสีเขียวในระดับโลก มีการกําหนดมาตรฐาน การใหคะแนนตามแบบประเมินอาคารสีเขียว ซึ่งมีทั้งหมด 69 คะแนน ใน 4 ระดับ ไดแก ระดับ Certified 26-32 คะแนน ระดับ Silver 33-38 คะแนน ระดับ Gold 39-51 คะแนน และระดับ Platinum 52-69 คะแนน โดยผานเกณฑการใหคะแนนทั้ง 6 ขอ คือ 1. ที่ตั้งโครงการ (1 4 คะแนน) ที่ ตั้ ง โครงการจะต อ งไม รุ ก ลํ้ า พื้ น ที่ ท างธรรมชาติ การจัดการระบบระบายนํา้ ฝน การลดมลภาวะทางดานแสงสวางรบกวน สูส ภาพแวดลอมขางเคียงในเวลากลางคืน และการเลือกสถานทีต่ งั้ ทีก่ าร คมนาคมขนสงมวลชนสามารถเขาถึงได เพื่อประหยัดพลังงานจาก การใชนํ้ามันหรือรถยนตสวนตัว 2. มีการจัดการนํ้าที่มีประสิทธิภาพ (5 คะแนน) ออกแบบภูมิสถาปตยกรรมที่ไมสิ้นเปลืองนํ้าเพื่อการบํารุง รักษาตนไม รวมถึงการใชเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมในการบําบัดนํา้ เสียจาก โครงการ 3. การใชพลังงานและระบบอาคาร (17 คะแนน) นําพลังงาน ทดแทนมาใชใหเกิดประโยชน มีการออกแบบที่ชวยลดกาซเรือนกระจก 4. วัสดุกอสรางอาคาร (13 คะแนน) ตองใชวัสดุที่เปนมิตรและสงผล กระทบตอสิง่ แวดลอมนอยทีส่ ดุ และสามารถรีไซเคิลไดเมือ่ ไมใชงานแลว 5. สภาพแวดลอมภายในอาคาร (15 คะแนน) เนนที่การออกแบบ กอสราง และบริหารจัดการใหอาคารมีสภาวะแวดลอมภายในทีน่ า สบาย ปลอดสารพิษ รวมถึงการจัดการบริหารอาคารและการทําความสะอาด อยางเหมาะสมและสมํ่าเสมอ และ 6. นวัตกรรมและความสรางสรรค (5 คะแนน) เนนทีง่ านการออกแบบทีผ่ อู อกแบบอาคารสรางสรรคขนึ้ มา ใหเปนนวัตกรรม เพื่อชวยแกไขปญหาสิ่งแวดลอม ในประเทศไทยมีอาคารทีผ่ า นการประเมินแลว เชน สํานักงานใหญ ธนาคารกสิกรไทย ถ.พหลโยธิน ไดระดับ Gold, อาคาร Energy Complex ถ.วิภาวดีรังสิต ไดระดับ Platinum, อาคารสํานักงานใหญ แหงใหมของ RITTA ไดระดับ Gold และมีหลายโครงการที่สงเขามา แตยังไมผานเกณฑการประเมิน สวนใหญจะไมผานในเรื่องการจัดการ ดานพลังงาน การใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม ไมมีแผนการรีไซเคิลของเสีย จากโครงการกลับมาใชใหม เปนตน “ทั้ ง นี้ ห ากผู  ป ระกอบการ ภาครั ฐ ภาคเอกชนที่ ส ร า งอาคาร สรางสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ตามเกณฑการประเมินของสถาบัน อาคารเขียว LEED และสถาบันอื่นๆ ที่สากลยอมรับ ใหเกิดขึ้นอยาง ตอเนื่องไดแลวนั้น เชื่อวาทิศทางเมืองอัจฉริยะของประเทศไทยจะ เกิดขึ้นไดอยางสมบูรณแบบในอนาคตอันใกลนี้” ดร.นรี กลาว

ที่มา : สัมมนาเรื่อง “ทิศทางของเมืองอัจฉริยะในประเทศไทย” ภายในงานวิศวกรรมแห งชาติ 2561 จัดโดยวิศวกรรมสถานแห งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.)

Engineering Today November - December

2018

40


Interview • ทัศนีย เรืองติก

ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต

ผู ว าการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแห งประเทศไทย (วว.) คนที่ 15

“มุ งให วว. เป นหุ นส วนความ สําเร็จด วยวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี”

ถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) เปนรัฐวิสาหกิจประเภท ทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ เพือ่ ดําเนินการตามนโยบายพิเศษของรัฐบาล สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี (วท.) โดยมีภารกิจหลักในการทํางานรวมกับเครือขายพันธมิตรบนฐานของ ทรัพยากรชีวภาพ (Bio-based) สรางสังคมนวัตกรรมอยางยั่งยืนดวยการบูรณาการ พรอม ขับเคลื่อนนโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาล ดวยวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรรม (วทน.) ภายใต ก ารบริ หารงานของ ดร.ชุติ มา เอี่ยมโชติชวลิต ผูว าการสถาบัน วิจัย วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) คนที่ 15 ซึ่งเขารับตําแหนง เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

41

Engineering Today November - December

2018


>> เป ป นลูกหม อทํ​ํางานมากว า 30 ป รู จักบทบาท-ภารกิจ วว.เป นอย างดี ดร.ชุตมิ า เอีย่ มโชติชวลิต ผูว า การสถาบันวิจยั วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) กลาววา ไดทํางานที่ วว. มานานกวา 30 ป ตั้งแตเปนนักวิจัยดานวัสดุศาสตรทั่วไป งานพัฒนาองคกร งานบริหารความเสีย่ ง งานการเงินและการบัญชี และพัสดุ การรณรงค คานิยม จนกระทั่งดํารงตําแหนงรองผูวา การยุทธศาสตรและจัดการนวัตกรรม ดูแลดานยุทธศาสตรและ จัดการนวัตกรรมขององคกร ดูแลงานยุทธศาสตรวิสาหกิจ และ งานจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมขององคกร ทําใหรูจักและ คุนเคยกับองคกรนี้เปนอยางดี ตลอดระยะเวลาที่ทํางานนั้น ดร.ชุติมา ไดเห็นบทบาทและภารกิจของ วว.ในการทํางานพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สรางนวัตกรรมใหมๆ บนฐานของ ทรัพยากรชีวภาพ (Bio-based) มาอยางตอเนื่องเปนที่ยอมรับ ทั้งในประเทศและตางประเทศ รวมกับเครือขายพันธมิตรในการ ทํางานตามภารกิจของรัฐบาลและนโยบายของ วว.ที่มีในแตละ ยุคสมัยผานงานวิจัย บุคลากรที่มีอยูกวา 900 คนรวมกันทํางาน ชวยเหลือแบบคูขนานเพื่อใหเกิดการพัฒนาที่ไมหยุดยั้ง สราง ชุมชน สรางงาน สรางอาชีพ แกผูประกอบการ SME OTOP Startup หนาใหมๆ และประชาชนทั่วไป ใหมีรายไดเลี้ยงตนเอง และครอบครัว “อาจจะเรี ย กได ว  า วว.ช ว ยผู  ป ระกอบการตั้ ง แต ด  า น วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไปจนถึงกระบวนการหาตลาดหาชอง ทางในการจําหนายสินคาใหเกิดรายไดใหผูประกอบการที่เขามา เรียนรูกับ วว.มีความเปนอยูที่ดีขึ้น มีรายได มีโอกาสในสังคม เพิ่มขึ้น เพราะจริงๆ แลว ผูประกอบการ ประชาชนในชุมชน

Engineering Today November - December

2018

42

เขามีองคความรูที่เปนอัตลักษณของเขาอยูแลวเพียงแตยังขาด การชี้นํา ขาดงานวิจัยที่จะเขามาสงเสริม สรางมูลคาใหกับสินคา และผลิตภัณฑของแตละชุมชน”

>> ชูวิสัยทัศน ให วว. เป นหุ นส วนความสําเร็จของผู รับบริการ ในระหวาง 4 ปในการทํางานในตําแหนงผูวาการ วว. นั้น ดร.ชุตมิ า ตองการเห็นหนวยงานทีเ่ ปนศูนยเชีย่ วชาญทุกอยางของ วว. มีกิจกรรมที่มีผูประกอบการเขามาใชประโยชนมากขึ้นเพราะ ตองการให วว.เปนสวนหนึ่งของความสําเร็จของทุกคนที่เขามา ใชบริการ โดยมีงานวิจัยของ วว.ไปชวยสรางมูลคาเพิ่ม (Value Added) และมูลคาสรางสรรค (Value Creation) ตลอดทั้ง หวงโซการสรางผลิตภัณฑ ไมวาจะเปนตนนํ้า กลางนํ้า และ ปลายนํ้า และตองการใหสถานีวิจัยสิ่งแวดลอมสะแกราช อําเภอ วังนํ้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา เปนแหลงสรางนักวิทยาศาสตร ในเชิงการศึกษานิเวศที่เปนคนไทยมากยิ่งขึ้น เพราะปจจุบัน สวนใหญนักวิจัยที่นี่เปนชาวตางชาติ “ที่สําคัญอยากเห็นพนักงานทั้ง 900 คนมีความสุขในการ ทํางาน อยากใหพนักงานตื่นเชามาอยากมาทํางานรวมกับ วว. ไมใชตื่นมาแลวไมอยากมาทํางานก็ไมมีความสุข ซึ่งจะตองสราง ความสุขภายในองคกรใหเกิดขึน้ กอนทีจ่ ะไปสรางความสุขใหสว น อื่นๆ เมื่อมีปญหาก็จะมองหาแนวทางในการแกปญหาทุกๆ มิติ รอบดาน อยาไปคิดในมุมเราอยางเดียว เรื่องบางเรื่องมีหลายมิติ มีห ลายมุ ม เราต อ งฟง ว า ทํ า ไมเขาถึง ทํา แบบนี้ เขาคิด อะไร เป าหมายเรารู เรามีหลายช องทางที่จะไปถึงเป าหมายที่เรา วางไว”


>> เร งสานต องานวิจัยเดิม และงานวิจัยเชิงนโยบายภาครัฐ พร อมผลักดันงานวิจัยใหม ๆ ด วย ว&ท

ดร.ชุตมิ า กลาววา ภารกิจสําคัญของ วว. คือเรงสาน ตองานวิจัยเดิมที่มีอยูกวา 70% เปนสัดสวนของงานวิจัย พื้นฐานเชิงความรูและงานวิจัยเชิงนวัตกรรม ที่เหลืออีก 30% เปนงานวิจัยเชิงนโยบายภาครัฐ พรอมผลักดันงาน วิจัยใหมๆ โดยใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสรางความ สําเร็จใหกับผูประกอบการ SME OTOP และประชาชน ทั่วไป ถือเปนความทาทายอยางยิ่งในยุคดิจิทัลที่มีการ เปลีย่ นแปลงไปอยางรวดเร็ว แต วว.จะพยายามพัฒนาและ สรางสรรคงานวิจัยใหมๆ สรางนวัตกรรมและโซลูชั่นที่ สรางมูลคาในแตละโครงการตามมิติตางๆ ตามความ ต อ งการของตลาด ตามเทรนด เ ทคโนโลยีแห ง อนาคต เทรนด สุ ข ภาพ ซึ่ ง จะผลั ก ดั น ให เ กิ ด ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ เ ป น ที่ยอมรับใหได ที่ สํ า คั ญ จะต อ งทํ า งานร ว มกั บ บุ ค ลากรที่ มี ค วาม สําคัญยิ่งใน วว.ในหลากหลายความชํานาญตองเขาใจใน ปจเจกบุคคลในการทํางานของแตละสวนงาน สรางคน ความสําเร็จขององคกรวิจัยคือคน ถาคนสามารถทํางาน เปนทีมไดงานทุกอยางก็จะประสบความสําเร็จ เพราะคน คือจิ๊กซอว (Jigsaw) ในการทํางานในแตละดาน จําเปนที่ ผูบริหาร ผูนําตองดูแลคนเปนอยางดี “การทํางานที่ผานมาใน วว.ไดสรางเรื่ององคความรู เนนเรื่องคน เรื่องการทํางานเปนทีม มองวิธีการวิจัยโดย ดูจากการทํางานของตลาดเปนหลัก ไมทาํ งานวิจยั ไวบนหิง้ โดยไมเกิดประโยชนตอสวนรวม พยายามมองหาชองทาง ทําอยางไรใหคนของ วว.เกงขึ้น เพราะพนักงานใน วว. ทุกคนก็เหมือนญาติตอ งทําให วว.เปนบานหลังที่สองทีเ่ ขา จะอยูไดอยางมีความสุข พรอมทํางานชวยเหลือประเทศ ชาติ เชน ใหทุนไปศึกษาตอในตางประเทศแลวนํามา ถายทอดสูคนอื่นๆ ตอไป เปนตน และ วว. พรอมทํางาน ตามนโยบายรัฐบาลทุกๆ รัฐบาลที่เขามาและ Roadmap ภายใน วว. ใหเกิดมูลคา ใหประชาชนมีความสุข มีความ เปนอยูที่ดีขึ้น”

>> 4 แนวทางในการขับเคลื่อนทํางาน

สําหรับแนวทางในการขับเคลือ่ นทํางานมี 4 แนวทาง คือ ประการแรก มุง เนนงานวิจยั ทางดานทรัพยากรชีวภาพ (Bio-based) เป น ฐานในการขั บ เคลื่ อ นการทํ า งาน

เนือ่ งจาก วว. มีความไดเปรียบในดานนีเ้ พราะมีการวิจยั และเก็บตัวอยาง ความหลากหลายทางชีวภาพจํานวนมากไวที่สถานีวิจัยสิ่งแวดลอม สะแกราช อําเภอวังนํ้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งไดรับการยอมรับ จากยูเนสโก (UNESCO) ใหเปนพื้นที่สงวนชีวมณฑล แหงแรกของ ประเทศไทย ในป พ.ศ. 2519 และสถานีวิจัยลําตะคอง อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา เปนพื้นที่ทดลองทางการเกษตร ทําหนาที่เปน ศูนยขอมูลความรูดานเทคโนโลยีการเกษตร มีบทบาทสําคัญในการ สนับสนุนการวิจยั และพัฒนา และการถายทอดเทคโนโลยีในการเกษตร ของ วว. ประการทีส่ อง วว.จะทํางานประสานความรวมมือกับผูร บั งานวิจยั ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาชนทั่วไปเพื่อนําไปพัฒนาตอยอดเชิงพาณิชย และใหผูวิจัยทางเชิงพาณิชยที่มีความแข็งแกรง มีเงินทุนสนับสนุนเขา มารวมทํางานกับ วว.เพื่อรวมกันเปนพี่เลี้ยงใหกับผูประกอบการ SME OTOP และประชาชนทั่วไป สรางองคความรูใหมๆ สรางความสมดุล ใหเกิดความเขาถึงงานวิจัย เขาถึงเทคโนโลยี เครื่องจักรที่ทันสมัยและ การรับเทคโนโลยีใหมีการเติมเต็มระหวางกัน ลดการเลื่อมลํ้าทางสังคม โดยใหทุกๆ คนเปนสวนหนึ่งในการพัฒนาสรางรายไดแกประเทศไทย ประการที่สาม วว.จะเปน Area-based ใหกับทุกๆ หนวยงานที่จะเขา

43

Engineering Today November - December

2018


มาขอขอมูลเพื่อนําไปพัฒนาใหชุมชนกวา 60 จังหวัดที่ วว.มีฐาน ขอมูลนําไปตอยอดพัฒนาในสวนงานตางๆ ตอไป และประการ สุดทาย วว. จะเปน Total Solution เชือ่ มโยงการทํางานเชิงบูรณา การพื้นที่ที่ วว.ลงไปถายทอดองคความรู หนวยงานตางๆ ลง พื้นที่ไปใหความรูเพื่อเกาะติดการทํางานจะไดทราบวาพื้นที่ใด มีการเติบโตที่ดีขึ้น มีความเปนอยูที่ดีขึ้น พื้นที่ใดควรที่จะลงไป ใหความชวยเหลืออยางตอเนือ่ งอีกบาง และพื้นที่ใดยังขาดแคลน การใหความชวยเหลือจากหนวยงานภาครัฐอีกบาง

หองปฏิบัติการ และการบมเพาะเทคโนโลยีการผลิตเพื่อการผลิต อาหารในระดับอุตสาหกรรม เพื่อลดความเสี่ยงและสรางโอกาส ในการทําธุรกิจ สําหรับงานวิจัยที่เกี่ยวของกับกัญชา ที่กําลังอยูในขั้นตอน การพิจารณาของสภานิติบัญญัติแหงชาติ (สนช.) ในการนํากัญชา มาใชทางดานการแพทยนั้น วว.ก็มีงานวิจัยรองรับในการดําเนิน การตอยอดไดทันที หาก สนช.ปลดล็อกกฎหมายใหสามารถนํา กัญชามาใชประโยชนทางการแพทยเปนการเฉพาะ

>> จับตาโครงการ วว.ในอนาคต พร อมต อยอดงานวิจัยกัญชาได ทันที หาก สนช.ปลดล็อก

>> วว.สร างรายได จากบริการต างๆ ของศูนย และบริการงานวิจัยที่หน วยงานนําไปใช

ดร.ชุติมา กลาวถึง โครงการในอนาคตวา ไดวางแผนการ ดําเนินการของ วว.ทั้งสวนของ โรงงานบริการนวัตกรรมอาหาร (Food Innovation Service Plant : FISP) เปนโรงงานอาหาร มาตรฐานใหบริการผูประกอบการอยางครบวงจร มีภารกิจใน การใหบริการวิจยั และพัฒนานวัตกรรมผลิตภัณฑอาหารในระดับ หองปฏิบัติการ บริการบมเพาะเทคโนโลยีการผลิตในเชิงพาณิชย สําหรับผลิตภัณฑเครือ่ งดืม่ และผลิตภัณฑผกั ผลไมแปรรูป บริการ สายการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ ผั ก ผลไม แ ปรรู ป และเครื่ อ งดื่ ม ที่ ไ ด มาตรฐาน บริการวิเคราะห ทดสอบ สอบเทียบ และรับรองระบบ คุณภาพ รวมทั้งบริการที่ปรึกษา (Consultation) การผลิต ผลิตภัณฑอาหาร การวางสายการผลิตผลิตภัณฑอาหาร เพือ่ สราง ผู  ป ระกอบการแปรรู ป ผั ก ผลไม แ ละเครื่ อ งดื่ ม ใหม และเสริ ม ความแข็งแกรงใหแกผปู ระกอบการเดิมดวยการใช วทน. ตัง้ แตการ พัฒนาแนวคิดผลิตภัณฑ การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตในระดับ

Engineering Today November - December

2018

44

ในแตละป วว.จะมีรายไดหลักๆ ซึ่งสวนใหญมาจากงาน บริการวิเคราะหทดสอบ สอบเทียบ จากศูนยบริการตางๆ ของ วว. อาทิ ศูนยทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ, ศูนยทดสอบ และมาตรวิทยา, ศูนยทดสอบมาตรฐานระบบขนสงทางราง, ศูนยการบรรจุหบี หอไทย, ศูนยพฒ ั นาและวิเคราะหสมบัตขิ องวัสดุ และสํานักงานรับรองระบบคุณภาพ รวมกันกวา 50% โดยมี ตัวอยางเขามารวมกันในแตละศูนยบริการตางๆ ปละประมาณ 100,000 รายการ สวนรายไดที่เหลือมาจากงานบริการทางงาน วิจยั ทีห่ นวยงานภาครัฐ เอกชน และอืน่ ๆ เขามาขอรับงานวิจยั ไปใช ซึ่ง วว.จะคิดคาบริการถูกมาก เชน คาบริการการทดสอบทางราง จากศูนยทดสอบมาตรฐานระบบขนสงทางราง ทีถ่ กู กวาการนําไป ทดสอบยังตางประเทศเชนในออสเตรเลียถึง 10 เทา รวมทั้งการ รับรองคุณภาพของสินคา ผลิตภัณฑตางๆ จากสํานักงานรับรอง ระบบคุณภาพ เมื่อรวมรายไดทั้งหมดของ วว.แลวในแตละปก็จะ มีรายไดประมาณ 200 ลานบาท


Research & Development • กองบรรณาธิการ

สกว. จับมือ มทร.ศรีวิชัย ชูผลสําเร็จโครงการงานวิจัย

เพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ (ABC) ยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนลุ มนํ้าปะเหลียน จ.ตรัง

จักสานเป นรูปเรือ

>> งานวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ของ สกว.

ตอบโจทย ความต องการในพื้นที่ลุ มนํ้าปะเหลียน

ดร.กิตติ สัจจาวัฒนา ผอ.หน วยบูรณาการวิจัยและความร วมมือ เพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่ สกว.

ผศ. ดร.อภิรักษ สงรักษ ผอ.สถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.ศรีวิชัย

จา

ดุ ร อภิ ช าตบุ ต ร ผู  ช  ว ยเลขานุ ก ารรั ฐ มนตรี ว  า การ กระทรวงมหาดไทย พรอมดวย ดร.สีลาภรณ บัวสาย กรรมการและเลขานุการจัดทํายุทธศาสตรชาติดานการสรางโอกาส และความเสมอภาคทางสังคมผูทรงคุณวุฒิ และดร.กิตติ สัจจาวัฒนา ผูอ าํ นวยการหนวยบูรณาการวิจยั และความรวมมือเพือ่ พัฒนาเชิงพืน้ ที่ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) นําคณะสื่อมวลชนได รวมลงพืน้ ทีด่ คู วามสําเร็จของโครงการงานวิจยั เพือ่ การพัฒนาเชิงพืน้ ที่ (Area-Based Collaborative Research : ABC) เพือ่ ยกระดับคุณภาพ ชีวิตคนลุมนํ้าปะเหลียน ณ ต.วังวน อ.กันตัง จ.ตรัง

45

ในป พ.ศ. 2559 หนวยบูรณาการวิจัยและความ รวมมือเพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่ สกว. ผูรับผิดชอบโครงการ ABC ไดรว มมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ยั วิ ท ยาเขตตรั ง เพื่ อ พั ฒ นาและสนั บ สนุ น การวิ จั ย และ การสรางนวัตกรรมทีต่ อบสนองความตองการเพือ่ แกปญ  หา และพัฒนาพื้นที่ ชุมชนทองถิ่น ทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ และพัฒนาระบบการ จัดการงานวิจัยของมหาวิทยาลัยทั้งตนนํ้า กลางนํ้า และ ปลายนํ้าไปพรอมๆ กัน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของการ ใชงบประมาณการวิจัยของประเทศ ปจจุบันเกิดผลลัพธอันเปนรูปธรรมในพื้นที่ชุมชน ลุมนํ้าปะเหลียน จ.ตรัง ประกอบดวย พื้นที่ ต.วังวน อ.กันตัง, ต.ทุงกระบือ อ.ยานตาขาว และ ต.บานนา อ.ปะเหลียน โดยมี ผศ. ดร.อภิรักษ สงรักษ ผูอํานวยการ สถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.ศรีวิชัย รวมทําโจทยวิจัย รวมกับชาวบานมากกวา 11 โครงการตั้งแตป พ.ศ. 2559 ปจจุบนั โครงการฯ มีความสําเร็จใหเห็นเปนประจักษหลาก หลายโครงการ อาทิ เพิ่ ม รายได จ ากการจั ก สานจาก 80,000-90,000 บาท/เดือน เปน 400,000 บาท/เดือน ภายใตเปาหมายรวมกัน คือการจัดการทรัพยากรแบบมี สวนรวมเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ของชุมชนลุม นํา้ ปะเหลียน

>> มทร.ศรีวิชัย สร างคุณภาพชีวิตที่ดี ของชุมชนลุ มนํ้าปะเหลียน ผ านงานวิจัย 11 เรื่อง ใน 5 ประเด็น

ผศ. ดร.อภิรักษ สงรักษ ผูอํานวยการสถาบันวิจัย และพัฒนา (สวพ. มทร.ศรีวชิ ยั ) กลาววา การวิจยั เชิงพืน้ ที่ ภายใตชดุ โครงการวิจยั การจัดการทรัพยากรแบบมีสว นรวม

Engineering Today November - December

2018


เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนลุมนํ้าปะเหลียน จังหวัด ตรัง ของ มทร.ศรีวชิ ยั มีวตั ถุประสงคหลักคือ ตองการสราง คุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชนลุมนํ้าปะเหลียน ผานงานวิจัย ทั้งสิ้น 11 เรื่อง ใน 5 ประเด็น คือ 1. การพัฒนาของการ จัดการทรัพยากรแบบมีสว นรวมจากชุมชน 2. การยกระดับ นวัตกรรมผลิตภัณฑของชุมชน 3. การศึกษารูปแบบของ การทองเที่ยวเชิงชุมชน 4. การสงเสริมอาชีพ และ 5. การ ยกระดับผลิตภัณฑของชุมชนใหมีคุณภาพ ตลอดระยะเวลา 1 ปที่ผานมา ของการทําวิจัยภาย ใตชุดโครงการนี้ มุงเนนไปที่การสรางการมีสวนรวมจาก ชุมชนและผูเกี่ยวของตั้งแตตนนํ้า กลางนํ้า จนถึงปลายนํ้า ที่นอกจากทําใหชุมชนเกิดความเขาใจในการทํางานของ นักวิจยั แลว การทีน่ กั วิจยั ไดรบั ฟงความตองการ ขอคิดเห็น และขอเสนอแนะของภาคสวนตางๆ ทั้ง อบต. สมาคม การทองเที่ยวและโรงแรมจังหวัดตรัง ประมงอําเภอ กีฬา จังหวัด สํานักงานพัฒนาชุมชน รวมถึงคนในชุมชน เพื่อให ไดผลงานวิจยั ทีต่ อบโจทยสภาพจริงในพืน้ ที่ ทําใหงานวิจยั หลายชิ้นถูกตอยอดไปสูการใชประโยชนไดจริง นอกจากนี้ มทร.ศรีวิชัย ยังมีงานวิจัยอีกหลายเรื่อง เชน การแปรรูปเศษเหลือทิ้งจากกานจากมาเปนวัสดุตางๆ ที่ชวยลดปญหาขยะของชุมชน งานวิจัยยกระดับผลิตภัณฑ อาหารแปรรูปของชุมชน งานวิจัยดานการทองเที่ยว ที่มีทั้ง การไปศึกษาศักยภาพของแหลงทองเที่ยว รวมไปถึงงาน วิจัยดานทรัพยากรธรรมชาติ เชน การพัฒนาเครื่องวัด

คุณภาพนํ้า ที่สามารถวัดและสงขอมูลคุณภาพนํ้าบริเวณปากแมนํ้า แบบ Real-time ที่ทราบผลในทันที

>> มทร.ศรีวิชัยพัฒนาตู อบแสงอาทิตย สําหรับอบแห งใบจาก เพิ่มกําลังการผลิตสูงขึ้น ทันความต องการตลาด

จากโจทยปญ  หา “กําลังการผลิตทีไ่ มเพียงพอตอปริมาณออเดอร ที่สั่งเขามา” ประกอบกับ สภาพภูมิอากาศที่ไมเอื้ออํานวยตอการผลิต ทําใหกลุม วิสาหกิจชุมชนจักสานกานจากบานนายอดทอง ประสบปญหา ในการผลิต “ติหมา” ซึ่งเปนภูมิปญญาจักสานของคนในภาคใต ที่นํา สวนยอดของใบจากออน ซึง่ เปนสวนเหลือทิง้ จากกระบวนการทําใบจาก โดยนําสวนหัวมาตากแดดใหแหงแลวนํามาสานในรูปแบบที่สวยงาม สามารถใชแทนแกวนํา้ กระบวยตักนํา้ ได ปจจุบนั มียอดการสัง่ ซือ้ จํานวน มาก ทําใหชาวบานไมสามารถเพิม่ กําลังการผลิตไดทนั เนือ่ งจากใบจาก ที่จะนํามาเปนวัตถุดิบนั้นตองเปนใบจากที่แหงแลวเทานั้นจึงนํามา จักสานได ซึ่งกอนหนานี้ ทางชุมชนใชภูมิปญญาดั้งเดิมคือการตากแดด หากแดดจัดสามารถตากใหแหงภายใน 1 วัน แตหากแดดออนหรือ ตองใชเวลาตากมากกวานั้นจะเกิดปญหาในเรื่องสีของใบจากที่อาจ ผิดเพี้ยนไป ประกอบกับภาคใตจะมีฝนตกชุกเกือบตลอดทั้งป ทําให ไมสามารถผลิตไดทัน

ติหมา ภูมิป ญญาจักสานของคนภาคใต ใช แทนแก วนํ้ากําลังเป นที่นิยม

ผศ.นพดล โพชกําเหนิด นักวิจัยพัฒนาตู อบแสงอาทิตย สําหรับอบแห งใบจาก

Engineering Today November - December

2018

46


>> ยอดผลิตเพิ่มเป น 30,000 ใบ/เดือน รายได พุ ง 10 เท า ชาวบ านแห เข าร วม เป นสมาชิกกว า 100 ครัวเรือนแล ว

ประภาพรรณ กันตังพันธุ (ที่ 3 จากซ าย) จาดุร อภิชาตบุตร (ที่ 2 จากขวา) และ ดร.สีลาภรณ บัวสาย (กลาง)

ผู ทรงคุณวุฒิ และผู บริหาร สกว. และทีมนักวิจัยจาก มทร.ศรีวิชัย ถ ายภาพร วมกัน

ผศ.นพดล โพชกําเหนิด อาจารยประจําภาควิชาคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา นักวิจัย “โครงการวิจัยการพัฒนาตูอบแสงอาทิตยสําหรับอบแหง ใบจาก สูชุมชนลุมนํ้าปะเหลียน” จึงเขามาแกปญหาและตอบโจทยความ ตองการของกลุมวิสาหกิจชุมชนจักสานกานจากบานนายอดทอง โดย พัฒนาตูอบแหงใบจากพลังแสงอาทิตย ซึ่งมีกระบวนการทํางานโดยใช พลังงานจากแสงแดด ใชหลักการไหลเวียนอากาศรอนเพื่อระบาย ความชื้นดวยวิธีธรรมชาติพรอมติดตั้งเครื่องวัดความชื้นและอุณหภูมิ สามารถกระจายความร อ นได อ ย า งสมํ่ า เสมอ หากฝนตกสามารถ เคลื่อนยายได จุดเดนของตูอ บแหงใบจากพลังแสงอาทิตย คือ สามารถอบใบจาก ใหแหง โดยใชเวลาเพียง 3 ชั่วโมงเทานั้น ผลิตใบจากแหงไดเฉลี่ย 2,000-3,000 ใบ/รอบ คิดเปนคาใชจายดานพลังงานไฟฟาประมาณ 12-13 บาท/รอบ สามารถนําไปผลิตเปนติหมาไดครั้งละ 100-200 ใบ ซึ่งจากการเก็บขอมูลการวิจัยในชวงระหวางเดือนกรกฎาคม 2560เมษายน 2561 ในระยะเวลา 8 เดือนที่ผานมา พบวาตูอบแหงใบจาก พลังแสงอาทิตย จํานวน 2 เครื่อง สามารถผลิตติหมาไดถึง 170,000 ใบ หรือคิดเปนเฉลี่ยเดือนละ 20,000 ใบ ทําใหกําลังการผลิตสูงขึ้น เพิ่มรายไดจากการจักสานจาก 80,000-90,000 บาท/เดือน เปน 400,000 บาท/เดือน ผศ.นพดล กลาววา ในอนาคตจะพัฒนาตอยอดเครื่องอบแหง ใบจากพลังแสงอาทิตยอยางตอเนือ่ ง โดยเฉพาะการยกระดับผลิตภัณฑ ใหมีมาตรฐานมากขึ้น เชน มีอายุและการเก็บที่นานขึ้น รวมถึงการ พัฒนาบรรจุภัณฑเพื่อใหมีมาตรฐานมากขึ้น รองรับตลาดจักสานใน อนาคต

47

ดาน สุจินต ไขริน ประธานกลุมวิสาหกิจชุมชน จักสานกานจากบานนายอดทอง กลาววา ตูอ บแหงใบจาก พลังแสงอาทิตยสามารถแกปญหาการผลิตไดดีโดยเฉพาะ ในชวงหนาฝน สามารถเพิ่มยอดการผลิตไดถึงสองเทา รวมทั้งสรางงานสรางอาชีพใหคนในชุมชนไดเปนอยางดี ปจจุบันสงออกไปยังประเทศญี่ปุนและมาเลเซีย “ขอดีของตูนี้คือรอนกวาการตากแดดขางนอก แหง ไดทันใจ วันหนึ่งอบได 2 รอบในชวงหนาฝนก็สามารถ ผลิตติหมาได โดยใชฮีทเตอรเพื่อเพิ่มอุณหภูมิภายในตูอบ ทําใหสามารถผลิตไดอยางตอเนือ่ ง ตอนนีท้ างกลุม สามารถ เพิ่มยอดผลิตเปนเดือนละ 20,000-30,000 ใบ ซึ่งพอ คนในชุมชนรูวาเรามีงานใหเขาทําไดอยางตอเนื่องและ รายดีกวาทําโรงงาน เขาก็สนใจ และเขามาเรียนรูกับเรา ทําใหจากเดิมที่ทางกลุมมีสมาชิกอยู 40 ครัวเรือน ตอนนี้ เพิ่มเปนกวา 100 ครัวเรือนแลว” สุจินต กลาว

>> อบต.วังวน ให มทร.ศรีวิชัย ผลิตเครื่องอบแห งใบจาก 20 เครื่อง ป อนกลุ มวิสาหกิจชุมชนอื่นๆ ในพื้นที่

ประภาพรรณ กันตังพันธุ นายกองคการบริหาร สวนตําบลวังวน กลาววา นอกจากงานวิจัยชุดนี้จะชวยทํา ใหเกิดการจางงานในชุมชน ทําใหแตละครัวเรือนมีรายได เสริมแลว หากมองในมุมของการแกปญหาสิ่งแวดลอม อาชีพจักสาน โดยเฉพาะในสวนของติหมาถือเปนการ ชวยแกปญหาของเหลือทิ้งจากกานจากที่ทําใบยาสูบไดอีก ทางหนึง่ ดวย ซึง่ งานวิจยั ถือเปนการเติมเต็มหนุนเสริมกําลัง การผลิตของชาวบานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น “กอนหนานี้ เรามีปญหาเรื่องขยะจากกานจากที่ เหลือจากการนํากานจากไปทําใบยาสูบสงมาเลเซีย ซึ่ง งานวิจัยนี้ทําใหยอดผลิตติหมามีมากขึ้น ทําใหกานจากที่ เคยถูกทิ้งเปนขยะ กลายเปนของมีประโยชนมีคาขึ้นมาอีก ครั้งหนึ่ง และชวยลดขยะใหกับชุมชนไดอีกดวย ซึ่งทาง อบต. ขอความรวมมือกับทาง มทร.ศรีวิชัย ผลิตเครื่องอบ แหงใบจาก ใหเราอีกอยางนอย 20 เครือ่ ง เพือ่ นําไปสงเสริม กับกลุมวิสาหกิจชุมชนอื่นๆ ในพื้นที่ตอไป” ประภาพรรณ กลาว

Engineering Today November - December

2018


หอยตลับปรุงรส 3 รส ยกระดับเศรษฐกิจชุมชน

>> แปรรูปหอยตลับเป นอาหารสําเร็จรูป เพิ่มมูลค าสินค า-เก็บได นานถึง 2 เดือน

อีกหนึ่งงานวิจัยที่สามารถแปรรูปและสรางมูลคาเพิ่มของ สัตวนํ้าใหเปนอาหารสําเร็จรูปพรอมรับประทาน ในโครงการ พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑประมงพืน้ บานในเขตลุม นํา้ ปะเหลียน เพื่อยกระดับมาตรฐานอาหาร ของ ผศ. ชมพูนุช โสมาลีย อาจารยประจําสาขาวิชาอุตสาหกรรมอาหารและผลิตภัณฑ ประมง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย พบวา ชุมชน บานแหลม ต.วังวน อ.กันตัง จ.ตรัง มีหอยตลับ ซึ่งเปนหอย ประจําถิ่นจํานวนมาก มีใหเก็บทุกฤดูกาล โดยชาวบานจะนิยม ขายแบบสด ในราคากิโลกรัมละ 30-50 บาท ขึ้นอยูกับขนาด สวนหอยตลับขนาดเล็กมีเนือ้ คอนขางนอย ซึง่ หอยตลับขนาดเล็ก 1 กิโลกรัม ชั่งทั้งเปลือกมีประมาณ 110-140 ตัว ชาวบานจึง นิยมนํามาลวกเอาแตเนื้อของหอยมาทํากับขาว และนิยมนํามา แปรรูปเปนหอยตลับสมุนไพรเก็บไวกินในครัวเรือน นักวิจัยมีแนวคิดที่จะตองการสรางรายไดและเพิ่มมูลคา หอยตลับ โดยนําหอยตลับมาแปรรูปเปนอาหารสําเร็จรูป จาก ผลการทดลองในดานรสชาติและการสํารวจถึงพฤติกรรมของ ผูบริโภค นําไปสูการปรับรสชาติใหถูกปากแกคนทุกเพศทุกวัย พบวาหอยตลับปรุงรส 3 รส เปนที่ชื่นชอบมากที่สุด ดวยสูตร ที่พัฒนาจากนํ้าปรุงรสซึ่งประกอบดวย นํ้าตาลปบ นํ้าตาลทราย นํ้าปลา และนํ้ามะขามเปยก ทําใหมีรสชาติกลมกลอม

Engineering Today November - December

2018

48

“ผลิตภัณฑของเราสามารถเก็บไดนานถึง 2 เดือน ไมมี สารกันบูด ตอนแรกที่กลุมทํามีปญหาเรื่องหอยไมคอยคายทราย ปญหาเรื่องการตลาด เรื่องขนาดหอย การปรุงรส และการเก็บ รักษา พอมีงานวิจัยของอาจารยเขามาทําใหมาตรฐานการผลิต ของกลุมดีขึ้นมาก ปญหาเรื่องทรายลดลง สูตร รสชาติของ ผลิ ต ภั ณ ฑ ล งตั ว เป น อย า งดี ทํ า ให ย อดขายเพิ่ ม สู ง ขึ้ น และ ขยายตลาดไปไดมากขึ้น ตอนนี้เริ่มมีผลิตภัณฑใหมๆ เพื่อรองรับ ตลาดและกลุมลูกคาที่หลากหลายขึ้น” วรรณวิลัย มะเส็น กลุม แปรรูปหอยปะ (หอยตลับ) บานแหลม กลาว ป จ จุ บั น นั ก วิ จั ย และทางกลุ  ม แปรรู ป ฯ ยั ง คงพั ฒ นา ผลิตภัณฑใหมๆ เพิ่มเติม ซึ่งกําลังอยูในขั้นตอนการปรับสูตร ทีล่ งตัว เชน ขาวเกรียบหอยตลับ นํา้ พริกหอยตลับ และในอนาคต อาจจะมีผลิตภัณฑเนือ้ หอยตลับสดแชแข็งแพ็กขายสงรานอาหาร เพื่อนําไปแปรรูปเปนเมนูตางๆ

>> สกว.ให ทุนสนับสนุนโครงการต อเนื่องเป นป ที่ 2 สร างงานวิจัยที่มี Impact ต อคนในพื้นที่

ดร.กิตติ สัจจาวัฒนา ผูอํานวยการหนวยบูรณาการวิจัย และความร ว มมื อ เพื่ อ พั ฒ นาเชิ ง พื้ น ที่ สํ า นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย (สกว.) กล า วว า สกว.มี ร ะบบเกื้ อ หนุ น โดยสนับสนุนงบประมาณจํานวน 2.5 ลานบาทใหแก มทร.ศรีวชิ ยั ในการดําเนินการชุดโครงการ การจัดการทรัพยากรแบบมีสว นรวม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนลุมนํ้าปะเหลียนตอเนื่องเปน ปที่ 2 โดย มทร.ศรีวิชัยจะสมทบทุนสนับสนุนโครงการนี้เปน เงิน 2.5 ลานบาท รวมทั้งสิ้น 5 ลานบาท ทั้งนี้ความสําเร็จของโครงการฯ อยูที่ความรวมมือ และ ศักยภาพในการทําแผนและโครงการใหสูไปผลสําเร็จ ตอไป งบประมาณจะลงพื้นที่และชุมชนมากกวานี้ เพื่อสรางงานวิจัย ที่มี Impact และเกิดประโยชนตอคนในพื้นที่


Logistics • *รศ. ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ **ผศ.ธนัช สุขวิมลเสรี

โครงการวางแผน

ศูนย โลจิสติกส

The Sea Logistics Center Project in the Gulf of Thailand (1)

ทางทะเลในอ าวไทย (1) งานวิจยั นีไ้ ดรบั การคัดเลือกใหนาํ เสนอในการประชุม The IAFOR Conference on Heritage & the City – New York (HCNY) – New York, an interdisciplinary conference held at Hofstra University in New York, U.S.A., November 7-9, 2018 ประเทศไทยตัง้ อยูใ นทะเลจีนใต ถึงแมวา จะหางไกล จากการเกิดพิบตั ภิ ยั ทางทะเล เชน มรสุม พายุโซนรอน และ คลื่นทะเลสึนามิในอดีต แตปจจุบันนี้สภาวะความสุมเสี่ยง ตอสาธารณภัยทางทะเลเหลานี้มีมากขึ้น ซึ่งภาครัฐบาล จะมีการกอสรางขยายทาเรือพาณิชยเพื่อรองรับปริมาณ การเดินเรือสินคาทางทะเลและการขนสงสินคาระหวาง ประเทศ และดานแหลงขุดเจาะนํ้ามันที่ประเทศไทยมี

ความรวมมือกับตางประเทศ โดยมีการนําเขาแทนขุดเจาะปโตรเลียมของ บริษัทนํ้ามันตางชาติเขาสํารวจพื้นที่ในทะเลอาวไทยทั้งหมด ในขณะ เดียวกันก็มกี ารสงเสริมการทองเทีย่ วของประเทศไทย และการทองเทีย่ ว ทางทะเลทั้งเรือเดินสมุทร เรือทองเที่ยว และการทองเที่ยวตามจังหวัด ชายฝงทะเล ดังนั้นจึงจําเปนตองมีการเตรียมพรอมที่จะทําการปองกัน ภัยทางทะเลและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อตอบสนองกับสถานการณ ภัยทางทะเลทีจ่ ะมีผลมากขึน้ ในปจจุบนั กองทัพเรือภาคที่ 1 และกองทัพ เรือภาคที่ 2 ที่ทําหนาที่รับผิดชอบบริเวณพื้นที่อาวไทยตอนบนและ ตอนลาง ไดทาํ การศึกษาสถานีบรรเทาสาธารณภัยทางทะเลทัง้ ทีจ่ งั หวัด ระยองและจังหวัดสงขลา

*คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย **คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

49

Engineering Today November - December

2018


ในขณะเดียวกันเคยมีความชวยเหลือจากองคการ NASA ของสหรัฐอเมริกาที่ตองการตั้งสถานีสํารวจภูมิอากาศอาเซียน Southeast Asia Composition, Cloud, Climate Coupling Regional Study (SEAC4RS) และศูนยชว ยเหลือดานมนุษยธรรม และบรรเทาภัยพิบัติ Humanitarian Assistance and Disaster Relief (HADR) ของกองทัพเรือ ประเทศสหรัฐอเมริกา ทีจ่ ะทําให การชวยเหลือและบรรเทาภัยพิบัติมีคุณภาพและประสิทธิภาพ มากขึ้น แมในการประชุมนานาชาติดานกลไกดานการบรรเทา สาธารณภั ย ของประชาคมอาเซี ย น ก็ กํ า หนดการให ค วาม ชวยเหลือดานมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบตั ิ (Humanitarian Assistance and Disaster Relief) เปนหนึ่งในหาขอหลักดาน ความมั่นคงอาเซียนดวย ดวยสภาวะดานการเมืองการปกครอง ในขณะนัน้ ความชวยเหลือจากองคการ NASA ของสหรัฐอเมริกา ก็ลมเลิกไป อยางไรก็ตาม ในแผนกําหนดการขององคการ NASA มี การพิจารณาทีต่ งั้ ทีม่ สี ภาพภูมศิ าสตรกงึ่ กลางอาวไทยทีเ่ กาะสมุย จังหวัดสุราษฎรธานี เพือ่ ขออนุญาตจัดตัง้ ในอนาคตดวย ปจจุบนั ความสัมพันธไทยกับสหรัฐอเมริกาที่มีความตอเนื่องยาวนาน มากวา 200 ป มีความสัมพันธกันหลากหลายมิติทั้งในดาน

การเมือง เศรษฐกิจ ความมั่นคงและการทหาร โดยเฉพาะไทยได รับสถานะเปน Major Non-NATO Ally (MNNA) ของสหรัฐอเมริกา ตั้งแตป พ.ศ. 2546 และมีการเฉลิมฉลองรัฐบาลสหรัฐฯ รวมกับ หนวยงานชัน้ นําดานวัฒนธรรมหลายแหงของประเทศไทยจัดงาน นิทรรศการของขวัญแหงมิตรภาพ เพื่อเฉลิมฉลองวาระครบรอบ 200 ป จัดขึน้ ภายใตชอื่ Great and Good Friends แสดงระหวาง วั น ที่ 21 มี น าคม จนถึ ง วั น ที่ 30 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2561 ณ พิพิธภัณฑผาในสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมมหาราชวัง ดวยความสัมพันธอันดีของประเทศทั้งสอง โครงการสถานี สํารวจภูมอิ ากาศอาเซียน Southeast Asia Composition, Cloud, Climate Coupling Regional Study (SEAC4RS) มีความคาด หมายของความรวมมื อจากภาครั ฐในอนาคตอั นใกล เพราะ เกี่ยวของกับความชวยเหลือทางทะเลและการที่ตั้งอยูที่เกาะสมุย จังหวัดสุราษฎรธานีนั้นเปนพื้นที่ทองเที่ยว มิไดเปนพื้นที่ความ มั่นคงของกองทัพเรือ สวนศูนยชวยเหลือดานมนุษยธรรมและ บรรเทาภัยพิบัติ Humanitarian Assistance and Disaster Relief (HADR) อาจมีนัยทางความมั่นคง ภาครัฐคงจะตอง พิจารณาในขั้นตอนตอไปภายหลัง

ดังนัน้ การวิจยั นีเ้ ปนแนวทางหนึง่ ทีเ่ ปนโครงการตัวอยางนํารอง ของหลักสูตรวิทยาการจัดการโลจิสติกสและโซอปุ ทาน จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย เพือ่ คนควาขอมูลพืน้ ฐานการทําวิจยั โดยสามารถสรุปคําถามงานวิจยั เบือ้ งตนไดวา “หากกองทัพเรือมีการตัง้ ศูนยบรรเทา สาธารณภัยทางทะเล ในพืน้ ทีเ่ กาะสมุย จังหวัดสุราษฎรธานี ทีจ่ ะครอบคลุมพืน้ ทีร่ บั ผิดชอบทางทะเลทัง้ อาวไทยแลว จะตองมีการวางแผน ทางผังเมืองและทางทะเล เพื่อสนับสนุนปฏิบัติการทางทะเลในกิจกรรมหลักคือ 1) การทองเที่ยวทางทะเล 2) ความมั่นคงทางทะเล 3) การบรรเทาสาธารณภัย สําหรับเรือประมง เรือทองเที่ยว เรือพาณิชย และแทนขุดเจาะนํ้ามันในบริเวณอาวไทย ที่จะเกิดประสิทธิภาพ และบูรณาการอยางยั่งยืนไดอยางไร”

Engineering Today November - December

2018

50


แผนผังการพัฒนาพื้นที่เกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร ธานี

แผนที่แสดงพื้นที่ของกลุ มประชากรบนพื้นที่ศึกษา การตั้งถิ่นฐานของประชากรในพื้นที่ศึกษา แบงออกเปน 3 กลุม โดยจะแบง พื้นที่และแผนพัฒนาตามพื้นที่ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ พืน้ ที่ 1 เปนกลุม ทหารและหนวยงานภาครัฐ และมีกลุม นักทองเทีย่ วบางสวน ซึ่งจะดูแลความสงบและความปลอดภัยของชุมชนบนเกาะ จะตั้งถิ่นฐานในทางทิศ ตะวันตกเฉียงใตของพื้นที่ที่สามารถขนสงสินคาในบริเวณนี้ได ซึ่งอยูในการควบคุม ของรัฐและเอกชน ดังนั้นพื้นที่บริเวณนี้จะมีลักษณะเปนที่พื้นราบเรียบและเปน

ลานกวางเพือ่ ความสะดวกในการเคลือ่ นยายและ ทํากิจกรรม เนนการพัฒนาพื้นที่ใหเกิดการเขา ออกสะดวกเพื่อการเตรียมพรอมออกเดินทาง ช ว ยเหลื อ ประชาชนและกลุ  ม นั ก ท อ งเที่ ย วที่ ประสบภัยในกรณีฉุกเฉิน พื้นที่ 2 เปนที่ตั้งถิ่นฐานของที่พักอาศัย ของกลุ  ม นั ก ท อ งเที่ ย วที่ มี เ อกชนเป น ผู  ดู แ ล โดยจะเปนพื้นที่ตั้งรีสอรท โฮมสเตย ที่เปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม การพัฒนาพื้นที่บริเวณนี้มีการ เขาถึงสะดวก ไมซบั ซอนและปลอดภัยตอคนและ สั ต ว ส ง เสริ ม การบริ ก ารสาธารณู ป โภคและ สาธารณูปการใหเพียงพอ พื้นที่ 3 เปนที่ตั้งถิ่นฐานที่อยูอาศัยของ คนในชุมชน ที่เปนแรงงานและประกอบอาชีพ คาขาย เพือ่ สงเสริมการทองเทีย่ วและการบริการ นักทองเทีย่ ว การพัฒนาพืน้ ทีบ่ ริเวณนีจ้ ะเนนการ สงเสริมการบริการสาธารณูปโภคและสาธารณูป การใหทั่วถึง และเพียงพอ รวมทั้งรักษาสภาพ แวดลอมไมใหเสื่อมโทรม เพื่อยกระดับคุณภาพ ชีวิตของประชาชนในพื้นที่

แผนผังเค าโครงด านการใช ประโยชน ที่ดิน

LANDUSE พื้นที่สีเขียว พาณิชยกรรมประเภทที่อยู อาศัย Commercial พื้นที่ราชการ

แผนที่แสดงพื้นที่การตั้งถิ่นฐานของกลุ มประชากรบนพื้นที่ศึกษา แผนผังการใชประโยชนที่ดินของพื้นที่โครงการ ประกอบดวยพื้นที่ 4 ประเภทหลักดวยกันคือ (1) พื้นที่สีเขียว ซึ่งเกาะสมุยยังคงมีพื้นที่สีเขียวอุดมสมบูรณอยูมาก จึงมีการพัฒนาพื้นที่ควบคูกับการอนุรักษพื้นที่สีเขียว

51

Engineering Today November - December

2018


(2) พาณิชยกรรมประเภทที่อยู อาศัย เนื่องจากเกาะสมุยมีความโดดเดนเรื่องการทองเที่ยวเปนอยางมาก จึงมีการจัดโซนที่พัก

อาศัย ซึ่งเปนประเภทโรงแรมและรีสอรทเพื่อรองรับนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตางชาติ (3) พาณิชยกรรม ซึ่งเปนศูนยการคาหลักของพื้นที่อยูติดถนนใหญเพื่อความสะดวกในการเขาใชงาน (4) พื้นที่ราชการ สวนพัฒนาของกองทัพเรือประกอบดวย ทาเรือทหาร ศูนยความชวยเหลือทางทะเล ศูนยชวยเหลือบรรเทา ภัยพิบัติ เพื่ออํานวยความสะดวก และดูแลความปลอดภัยบริเวณพื้นที่ทะเล

แผนผังการพัฒนาพื้นที่เมือง แผนผังการพัฒนาเมืองเกาะสมุยยึดหลักการสงเสริมและการพัฒนามีแนวคิด หลัก 2 แนวคิด ไดแก

1. การพัฒนาเมืองอย างยั่งยืน (Sustainable Cities) การพัฒนาเดิมนั้นมีการพัฒนาและการสงเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยไมไดคาํ นึงถึงปญหาทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม สงผลกระทบ ใหทรัพยากรธรรมชาติในพืน้ ทีเ่ สือ่ มโทรมลงอยางรวดเร็ว อีกทัง้ ยังกอใหเกิดปญหา มลพิษทีก่ ระทบกระเทือนตอสุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวติ ของประชาชนตามมา ดังนั้น เพื่อแกไขปญหาและความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาที่ผานมา จึงเกิด แนวคิดทีจ่ ะนําเอาแนวความคิดการพัฒนาแบบยัง่ ยืน (Sustainable Development) มาปรับใช โดยมีเปาหมายเพือ่ ใหเมืองเติบโตไปควบคูก บั การบริหารจัดการทรัพยากร ทางธรรมชาติที่มีอยูในพื้นที่อยางสมดุล

2. แนวคิดการเติบโตของเมืองอย างชาญฉลาด (Smart City) การพัฒนาเมืองนาอยูภายใตกรอบของ ผังเมืองรวม เปนการพัฒนาทางดานกายภาพ ของเมื อ งให ดี ขึ้ น มี ห ลั ก คิ ด ที่ ต  อ งคํ า นึ ง ถึ ง หลายประการทีส่ าํ คัญและควรจะตองคํานึงถึง เวลาความเอาใจใส ทั้งในดานการพัฒนาเมือง และการอนุรักษและรักษาทรัพยากร พัฒนา เมืองไปพรอมกับการรักษาความเปนชุมชน ดั้งเดิมเอาไว โดยแนวคิดการพัฒนาเมืองแบบ ชาญฉลาดเน น การพั ฒ นาในบริ เ วณพื้ น ที่ ศูนยกลางเมือง พื้นที่บริเวณทางตอนบนของ เกาะสมุย เนนการพัฒนาขนสงมวลชน รวมถึง เชื่ อ มโยงระบบคมนาคมขนส ง ทั้ ง ระบบ คมนาคมขนสงทางบก ระบบขนสงทางนํา้ และ ระบบขนสงทางอากาศเขาดวยกัน สงเสริมการ พัฒนาและวางแผนการใชประโยชนที่ดินการ พาณิชยกรรม การคา และการทองเที่ยว

การวิเคราะห พื้นที่ศึกษา GIS Analysis และ Potential Surface Analysis 1. GIS Analysis

การวิเคราะหดา น GIS ไดทาํ การวิเคราะห ลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศโดยใชเ ทคนิค โครงข า ย สามเหลี่ยม (TIN) ใหขอมูลออกมาในลักษณะ 3 มิติ ซึ่งทํ าใหสามารถเขาใจลักษณะของ ภูมิประเทศไดดี เมื่อทําการวิเคราะหขอมูลจะ ไดลักษณะภูมิประเทศของเกาะสมุย

2. Potential Surface Analysis การวิเคราะหพนื้ ทีเ่ หมาะสมโดยการใหคะแนนและคิดคาถวงนํา้ หนักในแตละโซน โดยแตละโซนจะมีการใหคะแนนจะแบงตาม เกณฑตามความเหมาะสมของพื้นที่แตละประเภท ซึ่งแบงโซนออกเปนทั้งหมด 3 โซน ดังนี้ 1. Navy Activities Zone 2. Rescue Operation Zone 3. Tourism Zone

Engineering Today November - December

2018

52


IT Update • สุรียพร วงศศรีตระกูล

ซิคาดการณ สโก ในป ค.ศ. 2020

มีบริษัทปรับเปลี่ยนสู ระบบดิจิทัล 75% ชี้ภาคอุตสาหกรรมใช จ ายด านดิจิทัล เพิ่มขึ้นเป น 600 พันล านเหรียญสหรัฐ

วัตสัน ถิรภัทรพงศ กรรมการผูจัดการ ซิสโก ประเทศไทยและ ภูมิภาคอินโดจีน กลาวถึง ผลกระทบจาก Digital Disruption ทําให องคกรธุรกิจตองทํา Digital Transformation วา ในชวง 2 ปที่ผานมา มีการตระหนักในเรื่อง Digital Transformation มาก โดยไดรับการ สนับสนุนจากผูบริหารระดับสูง ทั้ง CIO (Chief Information Officer) และ CFO (Chief Financial Officer) ในการทํา Digital Transformation จึงคาดวาในป ค.ศ. 2020 จะมีบริษทั ทีเ่ ขารวมทํา Digital Transformation ถึง 75% จากเดิมที่มีเพียง 20-30% ในสวนของภาคอุตสาหกรรมจะมี การใชจา ยดาน Digital Transformation เพิม่ ขึน้ เปน 600 พันลานเหรียญ สหรัฐ ในป ค.ศ. 2020 จากเดิมที่ใชจาย 400 พันลานเหรียญสหรัฐ ในป ค.ศ. 2017 สํ า หรั บ ภาพรวมของแรงงานทั้ ง ที่ มี ทั ก ษะ และไม มี ทั ก ษะใน ภูมภิ าคอาเซียน ตางไดรบั ผลกระทบจาก Digital Disruption โดยเฉพาะ แรงงานในภาคเกษตรกรรมแบบเดิ ม จะได รั บ ผลกระทบมากที่ สุ ด ในประเทศไทยมีทศิ ทางเดียวกันกับอาเซียน คือ แรงงานภาคการเกษตร ไดรับผลกระทบกวาลานคน ขณะที่ภาคการผลิตกวา 3 แสนคน และ ภาคกอสรางกวา 2 แสนคน หากมีการปรับทักษะ จะสามารถทํางาน รองรับเทคโนโลยีใหมไดมากขึ้น

53

วัตสัน ถิรภัทรพงศ กรรมการผู จัดการ ซิสโก ประเทศไทยและภูมิภาคอินโดจีน

วัตสัน กลาววา ในป ค.ศ. 2020 เทรนด Digital 6 ประเภทที่จะเขามามีบทบาทในการสรางประสบการณ ใหแกลูกคา (Customer Experience) คือ 1) Smart Retail เชน Amazon Go มีการนําเทคโนโลยีทั้งออนไลน และออฟไลนมาผสมผสานกัน เรียกวา No Payment Counters และราน Tesco ที่ Metro Station ในประเทศ เกาหลีใต ใชเทคโนโลยีดิจิทัลมีหนาจอ LED แสดงสินคา บริเวณทางเดิน ใหบริการสงสินคา Delivery 2) HyperPersonalization 3) Intelligent Assistants นําเทคโนโลยี ผู  ช  ว ยเสมื อ นมากขึ้ น ในการสร า งประสบการณ ใ หม ๆ 4) Remote Experts 5) Instant Fulfillment และ 6) VR (Virtual Reality) & AR (Augmented Reality)

Engineering Today November - December

2018


ในบรรดา Digital ทีม่ บี ทบาทในอนาคต ทัง้ เทคโนโลยี Cloud, Cybersecurity, Big Data and Analytics และ Automation โดยเฉพาะดาน Automation ประเทศไทยอยูอันดับ 2 รองจากอินเดีย เนื่องจากภาคอุตสาหกรรมมีการ ตอยอด Digital Transformation โดยเฉพาะ Manufacturing Oil & Gas

วัตสัน กลาววา สําหรับผลประกอบการของซิสโก ประเทศไทย ใน ไตรมาสแรกของป ค.ศ. 2019 คาดวาจะเติบโตเปนอันดับ 2 รองจากประเทศ ในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟก และซิสโก ประเทศไทย มีผลประกอบการทีด่ เี ปนอันดับ 2 ในภูมภิ าคอาเซียนตลอดระยะเวลา 2 ป แสดงใหเห็นวาทิศทางธุรกิจดีพอสมควร โดยเฉพาะตลาด Enterprise ทัง้ นีซ้ สิ โกมงุ ขยายตลาดใหมในกลุม Mid-Enterprise โดยการเพิ่ม Channel Service Provider ในป ค.ศ. 2019 นี้ ซิสโกจะใช Use Case เลือกอุตสาหกรรมที่เปน เปาหมาย คือ Banking, Manufacturing, Public Sector มีโครงการ Smart City, Mobility และ Education เชน มหาวิทยาลัยหอการคาไทย นํา Collaboration มาใชในการพัฒนาระบบการศึกษาและวางรากฐานสําหรับ ประสบการณการเรียนรูแบบไฮบริดในประเทศไทย “ดาน Manufacturing ซึ่งมีการนํา IoT (Internet of Things) มาใช คอนขางมาก แตไมจดั ทําขอมูลใหเปนระบบ เพือ่ จะไดเปน Smart Manufacturing เชน รวบรวมขอมูลจากเซ็นเซอร แลวนําขอมูลขึน้ Cloud โดยไมเชือ่ มตอระบบ ความปลอดภัย ทําใหมีความเสี่ยงและเสียคาใชจายในการเก็บขอมูลบางอยาง ที่ไมจําเปน ทั้งนี้ซิสโกมี Platform ที่จะลดคาใชจายและทําใหระบบมีความ ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น” วัตสัน กลาว ในสวนของ Workplace Transformation ซึ่งเปนเทรนดที่กําลังมา สําหรับการประชุม ซิสโกมีเทคโนโลยี Intelligent ในเรื่อง AI (Artificial

Engineering Today November - December

2018

54

Intelligence) ระดับ 1 สามารถตรวจจับ (Detect) ใบหนาคนและจํานวนคน ในเฟสถัดไป เนื่องจาก ซิสโกมี Platform AI พรอมอยูแลว จะทําใหทราบ ตําแหนงพนักงาน เพือ่ หา Facility ใหพนักงานทํางาน ได ง  า ยขึ้ น ซึ่ ง วิ ศ วกรให ค วามสนใจในการทํ า Workplace เพราะชวยใหทํางานไดงายและเร็วขึ้น นอกจากนี้ซิสโกมี Social Innovation คือ ทํ า กิ จ กรรมที่ มี Impact ต อ สั ง คมมากขึ้ น เช น เพิ่มศักยภาพผูพิการทางสายตา โดยซิสโก รวมกับ สํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการ โทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) ในการทํา Augmented Experience จัดทํา Map ใหเห็นสถานที่ โดยเริ่มทําที่มหาวิทยาลัยบางแหง สําหรับผูพิการทางสายตา ทวีวัฒน จันทรเสโน ผูจัดการดานวิศวกรรม ระบบ ซิสโก ประจําประเทศไทย กลาวถึง เทรนด เทคโนโลยีในอนาคต 10 อันดับวา ประกอบดวย 1) AI และ Machine Learning ทั้งนี้ซิสโกไดนํา Machine Learning มาใชหลายปแลว ในปหนา ซิสโกเนน ผลิตภัณฑ Cisco Threat Response ซึ่งมี Machine Learning อยูภายใน ซึ่งจะชวย ประมวลผลและแสดง Priority ที่จะทํากอนและหลัง ลดเวลาการทํางานในองคกร 2) Cybersecurity 3) Multi-Cloud 4) DevOps 5) Reducing Complexity with Automation ลดความซับซอน ระบบอัตโนมัติ เนนระบบอัตโนมัติ ความปลอดภัย และนโยบาย 6) Extended Enterprise 7) 5G เทคโนโลยี 5G ทําใหเกิดแอพพลิเคชั่นตางๆ เพื่อให Enterprise สามารถใชเครือขาย 5G ในการใหบริการ ใหมๆ ได โดยมีสัดสวนของตลาด Enterprise 85% และผูบ ริโภค 15% 8) Workforce Transformation มีการ Collaboration เพิ่มความเร็วในการทําธุรกิจ และเที่ยงตรงมากขึ้น ปนี้เปดตัว Webex Assistant ป ห น า เป ด ตั ว ฟ เ จอร ใ หม ๆ ในอนาคตอั น ใกล 9) Augmented Analytics และ 10) Devnet Training ปจจุบนั ซิสโกมสี มาชิก 5 แสนคน สวนใหญ เปน Developer ประเภทตางๆ รวมทั้ง Network Engineer โดยสมาชิกจะมีอุปกรณที่ทํางานรวมกับ ซิสโก ในประเทศไทยยังมีสมาชิกจํานวนนอยไมกี่ พันคน ในป ค.ศ. 2019 นี้ ซิสโกจึงเตรียมแผนที่ จะจัด Training ในไทยใหมากขึ้น เพื่อใหสมาชิก จากประเทศไทยรวมเปนสวนหนึง่ ของการทํางานใน ระดับโลก


@Engineering Today Vol. 6 No. 168

6 6 . 9 ) = ¤ C ' 6' Ę1.'ę6 E & 9IC A Ę 9E Ĝ)J7 '5 Đ < .8'è A+ A 1'Ĝ. A &B ) < )6& Đ '4 6, Ø } } y y ĻȳƷ ÄÁ ·µº ³À¶´ÁÊÙ D Đ/ ę6 $8'5 6+A+1'Ĝ B1 .6 ' A ď 5+ 11##ì,B % ĝ.B/Ę B' D )6 '< A "3 '5 A ' Ĝ11##ì,1 6


Construction • กองบรรณาธิการ

ทาทา สตี ล ชู 8 โครงการก อสร างไทย

ที่โดดเด น ดีไซน ลํ้า รับป กุน

ารก อ สร า งอาคารและสาธารณู ป โภคขั้ น พื้ น ฐานต า งๆ หนึง่ ในขอคํานึงทีส่ าํ คัญอยางยิง่ ก็คอื โครงสรางและฐานราก ซึง่ นอกจากจะมีสถาปนิกและวิศวกรระดับแนวหนา (Top) ของเมืองไทย มาชวยกันทําหนาที่เปน ผูออกแบบและคํานวณโครงสรางและฐานราก ของอาคารและสิ่งปลูกสรางนั้นๆ ใหเปนไปตามมาตรฐานการออกแบบ สากลแลว อีกสิ่งหนึ่งที่สําคัญไมแพกันก็คือการเลือกวัสดุที่ใชในการ กอสรางที่มีคุณภาพ โดยเฉพาะอยางยิ่งโครงสรางและฐานราก “เหล็ก” ที่เปรียบเสมือนโครงกระดูก ทําหนาที่รองรับนํ้าหนักวัสดุกอสรางและ ตกแตงอาคาร ดังนั้น การเลือกวัสดุกอสรางจึงเปนสิ่งจําเปนที่จะตอง ใสใจในรายละเอียดของคุณภาพวัสดุตั้งแตโครงสรางและฐานรากเหล็ก ที่อยูภายใน เพราะถาโครงสรางและฐานรากภายในไมมั่นคง แข็งแรง ก็อาจเปนอันตรายสงผลกระทบถึงรางกายและชีวิตของผูใชงาน

Engineering Today November - December

2018

56

นอกเหนือจากเรื่องของการออกแบบที่ตองคํานึง ถึงความปลอดภัยเปนหลักแลว การออกแบบสิง่ กอสราง และอาคารใหมีความแปลกใหมและทันสมัย ก็เปนอีก สิ่งหนึ่งที่สถาปนิกตางก็แขงขันกันดึงดูดใหผูคนหันมา สนใจในผลงานของตน อีกทั้งในปจจุบันก็มีนวัตกรรม วัสดุกอ สรางใหมๆ โดยเฉพาะในดานโครงสรางทีร่ องรับ ไอเดี ย ที่ ไ ม จํ า กั ด ในการพั ฒนารู ป แบบอาคารและสิ่ ง กอสรางไปพรอมกับความมั่นใจในเรื่องความปลอดภัย ชั ย เฉลิ ม บุ ญ ญานุ วั ต ร ผู  ช  ว ยกรรมการ ผูจัดการใหญ-การตลาดและการขาย บริษัท ทาทา สตีล (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) กลาววา ดวย ประสบการณยาวนานกวา 50 ป ของบริษัท ทาทา สตีล (ประเทศไทย) และยอดจําหนายเหล็กเสนเปน อันดับหนึ่งของประเทศไทย ทําใหรูและทราบถึงปญหา ของการใชวัสดุกอสราง โดยเฉพาะการใชเหล็กซึ่งเปน ฐานรากของการกอสรางสิ่งกอสรางและอาคารตางๆ ที่ มีผูใชงานจํานวนมาก จําเปนอยางยิ่งที่ตองคํานึงถึง ฐานรากของการกอสรางที่มั่นคง แข็งแรง และไดรับการ รั บ รองมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ อุ ต สาหกรรม (มอก.) นอกจากนี้ เรายังเปนผูผลิตและจําหนายเหล็กทรงยาว รายใหญที่สุดในประเทศไทย ดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย และการควบคุ ม คุ ณ ภาพในทุ ก ขั้ น ตอนของการผลิ ต จึงมัน่ ใจในเรือ่ งความปลอดภัย มัน่ คง แข็งแรง เมือ่ ผนวก เขากับความนาสนใจในดีไซนที่ทันสมัยของสิ่งกอสราง และอาคารจากฝมอื ของสถาปนิกและวิศวกรชัน้ แนวหนา ดวยแลว จึงทําใหมีโครงการกอสรางของไทยที่มีความ โดดเดนเปนสัญลักษณหรือแลนดมารคของประเทศ ซึ่งมีดวยกัน 8 แหง คือ


ขอออย SD50 มาใช ซึ่งชวยลดปริมาณการใชเหล็กเสริม โครงสรางไดมากกวา 20% แตสามารถรองรับนํ้าหนัก ไดมากขึ้นดวย

อาคารรัฐสภาแห งใหม

ท าอากาศยานสุวรรณภูมิ เฟส 2

อาคารรัฐสภาแห งใหม Cr ภาพ: www.parliament.go.th

าคารรัฐสภาแหงใหม หรือ “สัปปายะสภาสถาน” เปน สถาปตยกรรมที่กําลังจะกลายเปนแลนดมารคอีกแหงหนึ่ง ของประเทศไทย ดวยทําเลที่ตั้งอยูริมแมนํ้าเจาพระยา อีกทั้งการ ออกแบบโครงสรางอาคารที่มีความสวยงามและแสดงออกถึงความ เปนไทย เนื่องจากเปนสถานที่ราชการที่สําคัญซึ่งประกอบไปดวย สวน สภาทั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร (สส.) และสมาชิกวุฒิสภา (สว.) นอกจากนี้ยังมีพิพิธภัณฑ ศูนยประชุม หองสัมมนา สโมสรจัดเลี้ยง หองทํางานของ สส. และ สว. อีกดวย จึงอาจเรียกไดวา โครงการกอสราง อาคารรัฐสภาแหงใหมนเี้ ปนโครงการเมกะโปรเจ็กตทจี่ ะเปนหนาตาของ ประเทศชาติในอนาคต การกอสรางจึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองเปนไป อยางละเอียดรอบคอบ ตั้งแตการออกแบบ การเลือกใชวัสดุโครงสราง และฐานราก มีการนําเหล็กสวนหนึ่งของ ทาทา ทิสคอน เหล็กเสน

สิ่งกอสรางระดับประเทศ ที่เปรียบเสมือนประตู ตอนรับนักทองเที่ยวจากทั่วโลกเขาสูประเทศไทยก็ คื อ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ทีน่ อกจากจะเปนทาอากาศยาน หลักของประเทศไทยแลว ยังมีเปาหมายทีจ่ ะเปนศูนยกลาง การบิ น ในภู มิ ภ าคเอเชี ย อี ก ด ว ย เนื่ อ งจากมี พื้ น ที่ ที่ กวางใหญ รองรับเที่ยวบินไดเปนจํานวนมาก และยังเปน หนึ่ ง ในท า อากาศยานที่ มี ผู  โ ดยสารมากที่ สุ ด แห ง หนึ่ ง ของโลก ภาครัฐกําลังมีแผนการขยายโครงการกอสราง ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ระยะที่ 2 โดยจะมีการพัฒนา รันเวยใหมีขนาด 4 รันเวย ขนานไปกับตัวอาคารผูโดยสาร และสรางอาคารผูโ ดยสารยอยรอบๆ อาคารผูโ ดยสารหลัก เพื่อเพิ่มพื้นที่การรองรับผูโดยสารจํานวน 100 ลานคน และ 6.4 ลานตันสําหรับการขนสงสินคาตอป ถือเปนอีก หนึ่งเมกะโปรเจ็กตที่มีการวางแผนทั้งกระบวนการตั้งแต การออกแบบและการใชวัสดุกอสรางที่มีคุณภาพ โดย โครงการนี้ บริษัท ทาทา สตีล (ประเทศไทย) ไดมีการ สงเหล็กเสน SD50 ทาทา ทิสคอน ที่รับแรงดึงไดสูง รวมถึงเหล็กเดือย (Dowel Bars) ที่เปนเหล็กสําหรับตอ ยึดคอนกรีต ซึง่ ชวยกระจายแรงจากพืน้ คอนกรีตแตละแผน และชวยรับนํ้าหนักไดดียิ่งขึ้น ไมใหคอนกรีตแผนใดแผน หนึง่ ตองรับนํา้ หนักมากเกินไปจนอาจเกิดความเสียหายได ท าอากาศยานสุวรรณภูมิ เฟส 2

57

Engineering Today November - December

2018


ไอคอนสยาม (ICONSIAM) สวนรูปทรงอาคารนั้นไดรับแรงบันดาลใจมาจาก กระทงและบายศรี โดยแปลงโฉมเปนรูปแบบรวมสมัย เรี ยกไดวานาจับตามองอยา งยิ่งในแงข องการกอสราง สถาปตยกรรมของไทยที่มีจุดมุงหมายที่จะเปนอีกหนึ่ง สัญลักษณของประเทศไทย และเปนแลนดมารคที่ดึงดูด นักทองเที่ยวจากทั่วโลกตามเปาหมายที่ตั้งไว

โครงการรถไฟฟ าสายสีแดงเข ม บางซื่อ-รังสิต

ICONSIAM Cr ภาพ FB : ICONSIAM

อี

กหนึ่งความภาคภูมิใจที่เหล็ก ทาทา ทิสคอน ไดเปนสวนหนึ่ง ในโครงการกอสรางเมกะโปรเจ็กตทนี่ า จับตามองเปนอยางยิง่ ก็คือ ไอคอนสยาม (ICONSIAM) โดยโครงการนี้มีการใชบริการเหล็ก ตัดและดัดสําเร็จรูป (Cut and Bend) ในการกอสราง ซึ่งชวยประหยัด ทัง้ ในเรือ่ งของเวลาและประหยัดการใชเหล็ก โดยไมมเี ศษเหล็กเหลือจาก การตัดและดัดเองในพื้นที่กอสราง พรอมกันนี้ ยังมีการใชเหล็ก SD50 ซึ่งชวยลดตนทุนการกอสรางไดอยางมาก โครงการเมืองแหงใหมที่รวม ศูนยการคา ที่พักอาศัยระดับหรู พิพิธภัณฑ ลานกิจกรรมริมแมนํ้า เจาพระยา ศูนยการประชุมระดับโลก โรงภาพยนตรขนาดยักษ และโลก แห ง ความสนุ ก สนานของเด็ กและครอบครั ว ภายใตการลงทุนกว า 54,000 ลานบาท โดดเดนทั้งทําเลทองริมแมนํ้าเจาพระยา และ การออกแบบโครงสรางอาคารที่สะทอนความเปนไทย มีอาคารเล็กๆ หลายอาคารอยูภายในอาคารใหญ ดวยกระจกพิเศษจับจีบซอนไปมา

โครงการรถไฟฟาสายสีแดงเขม บางซื่อ-รังสิต เปน เส น ทางหลั ก ที่ เ ชื่ อ มกรุ ง เทพฯ โซนเหนื อ และใต และ โครงการรถไฟฟ า สายสี แ ดงอ อ น หรื อ รถไฟชานเมื อ ง สายตะวันออก-ตะวันตก โดยโครงการดังกลาวคาดวาจะมี กําหนดแลวเสร็จในป พ.ศ. 2563 ซึ่งจะกลายเปนระบบ ขนส ง สาธารณะหลั ก ที่ มี ผู  ใ ช บ ริ ก ารเป น จํ า นวนมาก เนื่อ งจากโครงการรถไฟฟ า สายสี แ ดงจะสามารถแก ไ ข ปญหาการจราจรที่หนาแนนบนทองถนนได ดวยเปาหมาย ที่ตองการใหคนหันมาใชบริการขนสงมวลชนจํานวนมาก อยางรถไฟฟา การมีโครงสรางที่รองรับทั้งนํ้าหนักเสา คาน ราง ชานชาลา รวมทั้งขบวนรถไฟฟา จึงจําเปน อยางยิ่งที่จะตองใชเหล็กกอสรางที่ไดคุณภาพอยางเหล็ก เสนทาทา ทิสคอน SD50 ที่รับแรงดึงไดสูงและผานการ รับรองมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) มาใช ในงานโครงสรางหลัก

โครงการรถไฟฟ าสายสีแดงเข ม Cr ภาพ: www.yutthasat.comworkings.html

Engineering Today November - December

2018

58


โครงการทางหลวงพิเศษระหว างเมือง บางปะอิน-นครราชสีมา ที่ตองใชงานจริง อีกทั้ง ยังชวยลดคาตัด ดัด ผูก และ ทําเกลียวขอตอ คาขนสง รวมทั้งตนทุนแฝงอื่นๆ เชน คาเชาพืน้ ทีเ่ ก็บ คาจางแรงงานในการตัดและดัดเองในพืน้ ที่ กอสราง นอกจากนัน้ ยังชวยลดปริมาณเศษเหล็กทีเ่ หลือทิง้ จากงานกอสราง รวมถึงลดเวลาในการกอสราง ซึ่งนับวา เปนการชวยลดตนทุนการกอสรางทั้งระบบไดอีกดวย

โครงการรถไฟฟ าสายสีนํ้าเงิน ช วงหัวลําโพง-บางแค และช วงบางซื่อ-ท าพระ

โครงการทางหลวงพิเศษระหว างเมือง บางปะอิน-นครราชสีมา

สํา

หรับสิ่งกอสราง โครงการทางหลวงพิเศษระหวางเมือง หมายเลข 6 หรือมอเตอรเวยบางปะอิน-นครราชสีมา ก็เปนอีกหนึ่งโครงการขนาดใหญของภาครัฐที่สรางขึ้นเพื่ออํานวยความ สะดวกดานการเดินทางสัญจรในเสนทางสายภาคกลางสูภ าคตะวันออก เฉียงเหนือ อีกทั้งรองรับการเชื่อมโยงไปยังประเทศเพื่อนบาน เชน ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีนตอนใต โดยคาดวาจะแลวเสร็จในป พ.ศ. 2562 โครงการทางหลวงพิเศษระหวางเมืองหมายเลข 6 นี้ถือเปนอีกหนึ่ง โครงสรางพืน้ ฐานของประเทศทีต่ อ งอาศัยการวางแผนอยางรอบคอบใน การตัดสินใจลงทุนกอสรางในทุกกระบวนการตั้งแตการออกแบบที่ ถูกตองและเลือกวัสดุกอสรางที่มีคุณภาพ เหล็กกอสรางสวนหนึ่งที่ โครงการทางหลวงพิเศษนี้ไดเลือกใชเปนเหล็กเสนกอสราง มอก. ทาทา ทิสคอน ที่ผานบริการตัดและดัดสําเร็จรูป (Cut & Bend) ซึ่งชวยลด ตนทุนคาใชจา ยในสวนของปริมาณการสัง่ ซือ้ เหล็กไมใหเกินปริมาณเหล็ก

โครงการรถไฟฟ า สายสี นํ้ า เงิ น ช ว งหั ว ลํ า โพงบางแค และชวงบางซื่อ-ทาพระ เปนอีกโครงการหนึ่ง ของการรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทยที่กอสราง ขึ้นเพื่อรองรับการเดินทางเขาเขตเมือง และแกปญหาการ จราจรที่มุงเขาสูเขตเมืองอยางหนาแนน โดยโครงการ รถไฟฟาสายสีนาํ้ เงินในชวงหัวลําโพง-บางแค เปนสายทีใ่ กล เปดบริการมากที่สุด จากการกอสรางที่เกือบแลวเสร็จ ทั้ ง หมด โดยมั่ น ใจได ใ นเรื่ อ งของความปลอดภั ย จาก โครงการที่ผานมาตรฐานการออกแบบ อีกทั้งการเลือกใช วัสดุเหล็กกอสรางที่ไดคุณภาพที่ ทาทา ทิสคอน ไดเปน สวนหนึง่ ในการสงเหล็กชัน้ คุณภาพอยาง SD50 ทีส่ ามารถ รับแรงดึงไดสงู และสามารถรองรับนํา้ หนักของเสา คาน ราง รถไฟฟา ไปจนถึงขบวนรถไฟฟาไดอยางปลอดภัยแนนอน

โครงการรถไฟฟ าสายสีนํ้าเงิน

59

Engineering Today November - December

2018


โครงการโรงไฟฟ าพลังลม ชัยภูมิ-มุกดาหาร

โครงการโรงไฟฟ าพลังลม ชัยภูมิ-มุกดาหาร Cr ภาพ: www.egco.com

รงไฟฟาพลังงานลมถือเปนอีกหนึ่งสิ่งกอสรางที่เปนประโยชน อยางยิ่งในยุคที่การแสวงหาพลังงานทางเลือกเปนสิ่งที่จําเปน และพลังงานลมก็ถือเปนทางเลือกหนึ่งที่สามารถนํามาใชประโยชนใน กระบวนการผลิตกระแสไฟฟาได อีกทัง้ เปนพลังงานสะอาดทีม่ อี ยูท วั่ ไป ในการกอสรางโรงไฟฟาพลังงานลมจะตองคํานึงถึงทัง้ ในเรือ่ งทําเลทีต่ งั้ ทีเ่ หมาะสม รวมทัง้ สิง่ กอสราง ทัง้ กังหันลม ไปจนถึงโรงผลิตกระแสไฟฟา ที่ไดจากพลังงานลม ซึ่งจะตองผานการออกแบบโรงงานตามมาตรฐาน และมีโครงสรางที่แข็งแรงเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน รวมถึง ความปลอดภัยของชุมชนโดยรอบอีกดวย โครงการโรงไฟฟาพลังงานลม ชัยภูม-ิ มุกดาหาร เปนโครงการโรงไฟฟาพลังงานลมที่คาดวานาจะใหญ ที่สุดในประเทศไทย และมีการคํานึงถึงการกอสรางที่ปลอดภัย มีการ เลือกใชเหล็กคุณภาพสูงของ ทาทา สตีล โดยเหล็กที่ใชเปนเหล็กจาก บริการตัดและดัดสําเร็จรูป (Cut & Bend) ซึ่งมีการควบคุมดวยระบบ คอมพิวเตอรทมี่ คี วามแมนยําสูง ทําใหการตัดและดัดไดตามแบบทีล่ กู คา ตองการซึง่ เพิม่ ความสะดวกในการใชงาน ตลอดจนลดระยะเวลาในการ กอสรางอีกดวย

คอนโดมิเนียมต านแผ นดินไหว ดวยไลฟสไตลในการใชชีวิตจําเปนที่จะตองอยูคอนโดมิเนียม ในเมือง เพื่อความสะดวกสบายในการเดินทาง แมวาจะมีความกังวล ใจถึงการเกิดแผนดินไหวหรือตึกถลมก็ตาม สิ่งที่สามารถทําไดก็คือ การพิจารณาปจจัยตางๆ ใหรอบคอบกอนตัดสินใจซื้อ นอกจากเรื่อง ทํ า เลที่ ตั้ ง ราคา ความคุ  ม ค า สิ่ ง อํ า นวยความสะดวกต า งๆ ใน คอนโดมิเนียมแลว เรือ่ งความปลอดภัยของโครงสรางและฐานรากอาคาร ก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่มีความสําคัญอยางยิ่งในการตัดสินใจเลือกซื้อ คอนโดมิเนียม ซึง่ ในปจจุบนั ก็มนี วัตกรรมของเหล็กเสนกอสรางทีเ่ หนียว พิเศษตานแรงสัน่ สะเทือนแผนดินไหว ทีม่ คี ณ ุ สมบัตดิ ดั งายดวยเนือ้ เหล็ก ที่เหนียวมากกวาเหล็กเสนทั่วไปถึง 20% ชวยใหดัดโคงไดมากกวา โดยไมแตกราว มีการยืดตัวไดมากกวาโครงสรางเหล็กทั่วไป อีกทั้งยัง

Engineering Today November - December

2018

60

สามารถที่จะรองรับพลังงานที่อาจจะทําใหโครงสรางพัง ทลาย เชน พลังงานจากแผนดินไหว ไดมากกวาโครงสราง ที่ใชเหล็กทั่วไปกวา 25% นอกจากนั้น เหล็กเสนตานแผน ดินไหวของ ทาทา สตีล ยังควบคุมคุณสมบัติใหสอดคลอง กับเหล็กเสนเหนียวพิเศษในมาตรฐานสากลอีกดวย ซึ่งใน ประเทศไทยก็มีคอนโดมิเนียมที่เลือกใชเหล็กเสนเหนียว พิเศษตานแผนดินไหว ทาทา ทิสคอน เอส จากบริษัท ทาทา สตีล อาทิ OKA Haus Condo, Keen Condo Sriracha, The Nine Condo และ The Nimman Condominium เปนตน ชัยเฉลิม กลาววา ความปลอดภัยของผูอ ยูอ าศัยและ ผูใ ชงานเปนเรือ่ งสําคัญอยางยิง่ จึงจําเปนทีจ่ ะตองเลือกใช วัสดุกอสรางโครงสรางหลักและฐานรากจากเหล็กเสน กอสรางที่มีคุณภาพ สําหรับผูที่กําลังมองหาโครงการที่อยู อาศัย การพิจารณาไปถึงโครงสรางของตัวอาคาร ทั้งดาน การออกแบบ ไปจนถึงวัสดุเหล็กเสนกอสรางที่มีคุณภาพ ก็เปนอีกปจจัยหนึง่ ทีไ่ มควรมองขาม โดยเฉพาะสิง่ กอสราง หรืออาคารตางๆ ที่มีผูใชสอยจํานวนมาก จําเปนอยางยิ่ง ที่จะตองคํานึงถึงความปลอดภัยมาเปนอันดับหนึ่ง ตั้งแต การออกแบบและเลือกใชวสั ดุในงานโครงสรางและฐานราก ตางๆ “โครงการสิ่ ง ก อ สร า งขนาดใหญ ใ นประเทศไทย ยิ่งจําเปนตองมีความพิถีพิถันในการเลือกใชวัสดุกอสราง ตั้งแตงานโครงสรางหลักไปจนถึงการตกแตงอาคารใหมี ความสวยงามทันสมัย ทาทา สตีล ในฐานะที่เปนบริษัท ผู  ผ ลิ ต และจํ า หน า ยเหล็ ก ทรงยาวรายใหญ ที่ สุ ด ใน ประเทศไทย พรอมที่จะพัฒนาคุณภาพการผลิตเหล็กเสน กอสรางตามมาตรฐานสากล และบริการใหมๆ ทีส่ นับสนุน โครงการกอสรางขนาดใหญของประเทศไทยทั้งในภาครัฐ และภาคเอกชน” ชัยเฉลิม กลาวทิ้งทาย คอนโดมิเนียมต านแผ นดินไหว Keen Condo Sriracha


Property • กองบรรณาธิการ

ภิเป ดรตัวัชออฟฟ ทาวเวอร แอท สาทร ศแคมป สแห งแรกใจกลางกรุงเทพฯ โดดเด นด ว ยพื้ น ที่ สี เ ขียว รับเทรนด ออฟฟ ศอนาคต

>> ดร.ประสาน ภิรัช บุรี ประธานเจ าหน าที่บริหาร กลุ มบริษัทภิรัชบุรี

กลุ  ม บริ ษั ท ภิ รั ช บุ รี ผู  พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย เชิงพาณิชยระดับคุณภาพของประเทศไทย เปดตัวอาคาร สํานักงาน Office Campus ตนแบบแหงแรกใจกลาง กรุงเทพมหานคร “อาคารภิรัชทาวเวอร แอท สาทร” บน ทําเลทองถนนสาทร ติดกับสถานีรถไฟฟาบีทีเอสสุรศักดิ์ มุงเสริม Work-Life Balance ใหกับกลุมคนทํางานในเมือง ดวยพื้นที่พักผอนหยอนใจและพื้นที่สีเขียวรมรื่น พรอม รานกาแฟชื่อดัง Roots และ รานอาหารสไตล Fusion รสชาติเยี่ยม อยาง Ocken เกิดเปนโอเอซิสแหงใหมที่ ตอบสนองความตองการของคนทํางานทุกอาชีพ ปติภัทร บุรี กรรมการบริหาร กลุมบริษัทภิรัชบุรี กลาววา อาคารภิรัชทาวเวอร แอท สาทร เปนตนแบบของ อาคารสํานักงานแบบใหม ในคอนเซ็ปต Office Campus แหงแรกตั้งอยูใจกลางยานธุรกิจของกรุงเทพฯ พื้นที่โดย รอบเนนการอํานวยความสะดวกดานพื้นที่การทํางานที่ หลากหลาย ความสะดวกสบาย รวมถึงพื้นที่สีเขียวที่หาได ยากมากทามกลางเมืองหลวงทีเ่ ต็มไปดวยตึกสูง ซึง่ มี 50%

“เราต อ งการสร า งความแตกต า งและสร า งความหมายให กั บ ทุกตารางเมตร รวมถึงสรางโอกาสในการทําความรูจักหรือมี Social Connection กับผูคนรอบขางไดงายขึ้น นอกจากนั้นก็ยังมีรานกาแฟ Roots รานอาหารคุณภาพเยี่ยมใหผูคนไดเลือกกิน-ดื่ม ตอบโจทยดาน ไลฟสไตลสําหรับคนทํางานรุนใหมที่อยูไมติดที่และตองการความคิด สรางสรรคไดเปนอยางดี” ปติภัทร กลาว ภิรัชทาวเวอร แอท สาทร เปนกลุมอาคารสํานักงานแบบ Office Campus บนพืน้ ทีข่ นาด 5 ไร แบงออกเปน 3 Campus ไดแก Campus A อาคารสูง 4 ชั้น Campus B อาคารสูง 2 ชั้น และ Campus C อาคารชั้นเดียว ติดกับสถานีรถไฟฟาบีทีเอสสุรศักดิ์ โดยแบงเปนพื้นที่ ใหเชาสวนอาคารสํานักงานจํานวน 3,500 ตารางเมตร ถือเปนตนแบบ ออฟฟ ศ แคมป ส ในประเทศไทย ที่ ต อบโจทย ค นทํ า งานทั้ ง ในและ นอกออฟฟ ศ ในยุ ค ป จ จุ บั น พร อ มด ว ยพื้ น ที่ สี เ ขี ย วสํ า หรั บ การคิ ด นอกกรอบและพักผอนหยอนใจ และรานกาแฟภายใตแนวคิด Cup-toFarm Ethos อยาง Roots ทีจ่ ะชวยเติมพลังใหกบั คนทํางาน พรอมดวย รานอาหารบรรยากาศสบายๆ และอบอุนอยาง Ocken ที่พรอมเสิรฟ เมนูอาหารตะวันตกสไตลโมเดิรน เหมาะกับเปนจุดนัดสังสรรคหลัง เลิกงานยามเย็นไดเปนอยางดี ในอนาคตจะมี Key Bar เนนพื้นที่สวนกลางใหมาพูดคุยกัน สรางสถานที่ Collaboration และ Connectivity ซึ่งเปนเทรนดของ ออฟฟศในอนาคต

>> ดร.ประสาน ภิรชั บุรี (กลาง) พร อมด วย ประพีร บุรี (ที่ 3 จากซ าย) ป ตภิ ทั ร บุรี (ที่ 2 จากขวา) ปนิษฐา บุรี (ที่ 2 จากซ าย) และ สโรชา บุรี (ขวา) ร วมเป ดตัว ภิรชั ทาวเวอร แอท สาทร ออฟฟ ศแคมป สแห งแรกในกรุงเทพมหานคร

61

Engineering Today November - December

2018


Property • กองบรรณาธิการ

“แสนดี” หุ นยนต ให บริการของแสนสิริ ที่ให บริการได มากกว าการช วยส งพัสดุ

สิริ เวนเจอร ส

เผยแผนลงทุนปลายป

จิรพัฒน จันทร เจิดศักดิ์ ประธานเจ าหน าที่เทคโนโลยี SIRI VENTURES

ประกาศ “SIRI VENTURES Private PropTech Sandbox” ในป หน า ขึ้นแท น PropTech รายแรกในไทยต อยอดนวัตกรรมการพักอาศัย สิริ เวนเจอรส สรุปผลการดําเนินธุรกิจในป พ.ศ. 2561 เผยแผนลงทุน Fifthwall กองทุนยักษจากอเมริกาและ 2 สตารท อัพที่มีแนวโนมการเติบโตสูง Techmetics - Neuron สงทาย ไตรมาสที่ 4 หนุนภาพรวมการลงทุนกวา 300 ลานตลอดป แยมแผนปหนา เตรียมประกาศ “SIRI VENTURES Private PropTech Sandbox” เปน PropTech รายแรกในไทยที่ ใชโมเดลนี้ตอยอดนวัตกรรมสําหรับการพักอาศัยเพื่อลูกบาน แสนสิริ ทุม ทุนใหม 600 ลานบาท ขยับสเกลการลงทุนสูส ตารท อัพซีรีสเอ จิรพัฒน จันทรเจิดศักดิ์ ประธานเจาหนาที่เทคโนโลยี บริษัท สิริ เวนเจอรส จํากัด (SIRI VENTURES) บริษัทรวมทุน ในรูปแบบ CVC เพื่อวิจัยและลงทุนดาน PropTech อยางครบ วงจรเต็มรูปแบบรายแรกของไทย ภายใตความรวมมือระหวาง บริษัท แสนสิริ จํากัด (มหาชน) และ ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด กลาวถึงทิศทางการดําเนินงานในป พ.ศ. 2562 วา บริษทั ฯ เตรียม ประกาศ “SIRI VENTURES Private PropTech Sandbox” หรือ

Engineering Today November - December

2018

62

พืน้ ทีป่ ระมวลผลเสมือนจริงของเหลาสตารทอัพโดย สิริ เวนเจอรส นับเปน PropTech รายแรกในไทยที่นําโมเดลนี้เขามาใชตอยอด นวัตกรรมสําหรับการพักอาศัยเพือ่ ลูกบานแสนสิริ หลังจากความ สําเร็จในชวงหนึง่ ปทผี่ า นมาของ สิริ เวนเจอรส ภาพรวมการลงทุน ตลอดทัง้ ป พ.ศ. 2561 ทัง้ รูปแบบการลงทุนโดยตรงในสตารทอัพ การลงทุนผานกองทุน และการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีรวมกับ หนวยงานตาง ๆ มูลคาการลงทุนรวมมากกวา 300 ลานบาท นั บ เป น บั น ไดก า วสํ า คั ญ ในการต อ ยอดให เ กิ ด นวั ต กรรมและ PropTech ใหมๆ ในไทยอยางเปนรูปธรรม ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ไดเริม่ นําเทคโนโลยีและนวัตกรรมของสตารท อัพรายตางๆ ที่ไดเขาลงทุน นํารองใชกับโครงการที่อยูอาศัยของ แสนสิริ อาทิ Semtive สตารทอัพที่อยูระหวางพัฒนากังหันลม พลังงานไฟฟาสําหรับทีอ่ ยูอ าศัย, การนํานวัตกรรมของ Astralink สตาร ท อั พ ด า น Construction Tech ผู  พั ฒนาเทคโนโลยี แอพพลิเคชั่นสําหรับตรวจสอบงานกอสราง 3 มิติแบบเรียลไทม มาควบคุมคุณภาพการกอสราง โดยอยูร ะหวางการทดสอบใชงาน


ในหลายโครงการของแสนสิ ริ การเตรี ย มเป ด ตั ว แสนสิ ริ โฮม เซอรวิส แอพพลิเคชัน ใหกาวสูอีกขั้นกับการพัฒนา AI ให โตตอบไดทันที รองรับโลกขยับ สูยุค “สั่งการดวยเสียง” ดวย AI แบบ Human-like เต็มรูปแบบ ซึ่งพัฒนาโดย Onion Shack สตารทอัพผูพ ฒ ั นาการสนทนาดวยเสียงผานปญญาประดิษฐ (AI) และ AppySphere สตารทอัพผูพ ฒ ั นาระบบ Home Automation, Farmshelf สตารทอัพดาน Living Tech จากสหรัฐอเมริกา ทีพ่ ฒ ั นาการปลูกผักอัจฉริยะภายในทีพ่ กั อาศัย รวมถึงการเริม่ นํา e-Scooter จาก Neuron สตารทอัพสัญชาติสิงคโปรมาทดลองใช ในโครงการอสังหาริมทรัพยไทยเปนครั้งแรก นอกจากนี้บริษัทฯ ยังสามารถชวยสงเสริมระบบนิเวศของ สตารทอัพ (Startup Ecosystem) ใหเติบโต ทั้งการจับมือกับ พันธมิตรดานเทคโนโลยีในไทยและระดับโลกรวม 12 ราย โดย ในปนี้ สิริ เวนเจอรส ไดรวมมือกับพันธมิตรที่แข็งแกรงมากมาย อาทิ Startup Thailand, Microsoft Thailand, Dtac Accelerate, Hubba Thailand และ Unicef ซึ่งแสนสิรินับเปนองคกรแรกใน ประเทศไทยที่ไดรับเลือกใหเปน UNICEF’s Selected Partner นอกจากนีย้ งั มีพนั ธมิตรทัง้ ทีเ่ ปน Accelerator มหาวิทยาลัย และ องคกรรัฐ ที่มีสวนผลักดันการเติบโตของสตารทอัพอีกมากมาย รวมถึงการรวมจัดงานทีส่ นับสนุนองคความรู ติดอาวุธใหแกคนใน Ecosystem เชน Techsauce Global Summit 2018, Startup Thailand 2018 การพาสตารทอัพไทยไปสูเวทีสตารทอัพระดับ โลกอยาง ซิลิคอน วัลเลย การจัดงานแฮกกาธอน เพื่อใหสตารท อัพไดโชวผลงาน ซึ่งรวมถึงงานแฮกกาธอนที่บริษัทฯ จะรวมกับ Google Developer Thailand ในวันที่ 15-16 ธ.ค.ศกนี้ดวย สิ ริ เวนเจอร ส ยั ง ได ร  ว มมื อ กั บ Startup Platform ระดับโลก อาทิ “Plug and Play” จากซิลคิ อน วัลเลย สหรัฐอเมริกา และ “SOSA” จากอิสราเอล ซึ่งทั้งสองเปนเครือขายของสตารท อัพเกือบหมื่นรายจากทั่วโลก รวมถึงลาสุดในความรวมมือกับ “China Renaissance” ในการลงทุนในกองทุน “Hua Xing” กองทุ น ใหญ ใ นประเทศจี น ที่ มี เ ครื อ ข า ยสตาร ท อั พ ในระดั บ ยูนคิ อรนในเครือขายอยูม ากกวา 20 สตารทอัพ ทีจ่ ะชวยเชือ่ มโยง สิริ เวนเจอรส ใหพบกับสตารทอัพที่มีศักยภาพในการพัฒนา นวัตกรรมสําหรับที่อยูอาศัยในประเทศจีนไดรวดเร็วและมากขึ้น “ในชวงไตรมาสสุดทายของปนี้ บริษทั ฯ ยังไดเขาลงทุน Fifth Wall กองทุนยักษใหญสญ ั ชาติอเมริกาทีม่ งุ ลงทุนในเทคโนโลยีดา น อสังหาริมทรัพยทั่วโลกที่จะชวย สิริ เวนเจอรส คนหาสตารทอัพ ที่มีศักยภาพในการพัฒนานวัตกรรมสําหรับที่อยูอาศัยไดกวาง ขวางและรวดเร็วขึน้ รวมถึงการลงทุนเพิม่ เติมในอีก 2 สตารทอัพ ทีน่ า สนใจ ไดแก การเขาถือหุน ใน Techmetics ซึง่ เปนสตารทอัพ หนึ่งในสองผูพัฒนาหุนยนตใหบริการ (Deliverly Robot) ในโลก จากประเทศสิ ง คโปร โดยที่ ผ  า นมาแสนสิ ริ ไ ด นํ า “แสนดี ” เขามาใชในโครงการอสังหาริมทรัพยไทยเปนครัง้ แรก ในโครงการ

Semtive สตาร ทอัพที่อยู ระหว างพัฒนากังหันลมพลังงานไฟฟ าสําหรับที่อยู อาศัย

เดอะโมนูเมนต สนามเปา นอกจากในประเทศไทย Deliverly Robot ซึง่ พัฒนาโดย Techmetics ยังมีแนวโนมไดรบั การตอบรับ ที่ดีจากทั่วโลก ณ ปจจุบัน Techmetics ไดขยายการเปดสาขา เพิ่มเติมใน ซิลิคอน วัลเลย สหรัฐอเมริกา และพัฒนา Deliverly Robot เพื่อนําไปใชในโรงแรมชั้นนํา อาทิ แมริออท ซิลิคอน วัลเลย โยเทล นิวยอรคและไมอามี่ โรงพยาบาลในออสเตรเลีย และไตหวัน รวมทั้งปหนามีแผนการขยายสาขาการพัฒนาไปยัง แคนาดาและยุโรป นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังลงทุนใน Neuron สตารท อัพสัญชาติสิงคโปรผูพัฒนา e-Scooter เพื่อนํามาใชในโครงการ อสังหาริมทรัพยไทยเปนครั้งแรก โดยอยูระหวางการทดลองใชที่ ฮาบิ โ ตะ ใน T77 และโครงการภายใต แ บรนด ดี ค อนโด ที่เชียงใหม” จิรพัฒน กลาว จิรพัฒน กลาววา ในป พ.ศ. 2562 บริษัทฯ เตรียมลงทุน ในมูลคารวม 600 ลานบาท ในการนํานวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่ลงทุนไปแลวมาตอยอด เชน การพัฒนายกระดับ “แสนดี” หุนยนตใหบริการของแสนสิริที่จะสามารถใหบริการไดมากกวา การช ว ยส ง พั ส ดุ การลงทุ น ใหม ใ นสตาร ท อั พ และ Venture Capital ที่จะขยับสเกลการลงทุนในสตารทอัพในระดับซีรีสเอขึ้น ไป การสนับสนุนระบบนิเวศสําหรับสตารทอัพ จะเริม่ ขยายตลาด การสนับสนุนสตารทอัพและเทคโนโลยีสูระดับเอเชียมากขึ้นจาก ในปนี้ ซึ่งเนนสนับสนุนในประเทศไทยเปนหลัก และการวิจยั และ พัฒนา (Research & Development) จะยังคงเดินหนาพัฒนา งานวิจัยรวมกับพันธมิตรอยางตอเนื่อง ซึ่งในทั้ง 4 ดานภายใต แผนการดําเนินงานของ สิริ เวนเจอรส ในป พ.ศ. 2562 จะ ครอบคลุมความตองการของลูกคาแสนสิริไดในทุกดาน รวมถึง ยังยกระดับธุรกิจอสังหาริมทรัพยไทยผานการสรางระบบนิเวศ เพื่อการพัฒนาดาน PropTech และ Living Tech ที่ยั่งยืน

63

Engineering Today November - December

2018


Engineering Today No November ovember - December

2018

64 64


Project Management • ดร.พรชัย องควงศสกุล dr.pornchai.ong@gmail.com

บทสรุปการดําเนินธุรกิจ บนพื้นฐานความเจริญเติบโต ทางธุรกิจอย างยั่งยืน ตอนที่ ๒ (Doing Business Base On Business Growth and Sustainability) Part Il

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดมีการสงเสริมการ ดําเนินธุรกิจที่ดีในเรื่องของบรรษัทภิบาล (Good Corporate Governance: GCG) มากวา 20 ปจนประสบความสําเร็จใน การสงเสริมใหบริษัทหลักทรัพยไทยนําไปใชในการกํากับกิจการ ที่ดีอยางตอเนื่องถึงปจจุบัน และในป ค.ศ. 1992 มีการประชุม ระดับโลก (Earth Summit) ที่กรุงริโอเดจาเนโร เปนครั้งแรก ที่ประเทศตางๆ ทั่วโลกตางก็เริ่มตื่นตัวกับทิศทางใหมของการ พัฒนานัน่ คือ “การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน” (Sustainable Development) ซึ่งหมายความวา นอกจากประเด็นในทางดานเศรษฐกิจแลวตอง ใสใจในเรือ่ งสิง่ แวดลอม และในประเด็นตางๆ ทางดานสังคมดวย ไมใชมุงเนนแตการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจแตเพียงอยางเดียว ในขณะเดียวกัน ที่การดําเนินการดานธุรกิจเริ่มมีขอเรียกรอง แรงกดดันตอองคกรธุรกิจใหคํานึงถึงปญหาสังคมและปญหา สิง่ แวดลอม โดยมีคาํ ทีใ่ ชเรียกกัน คือ “Responsible Corporate Citizenship” หรือ “Corporate Social Responsibility” หรือ บรรษัทบริบาล แปลเปนไทยไดวา “ความรับผิดชอบตอสังคม ของธุรกิจ” หรือเรียกกันยอๆ วา “CSR” ควบคูก บั การดําเนินการ ดานธุรกิจก็เริ่มมีการปรับปรุงใหเปนสวนหนึ่งของมาตรฐาน ISO 26000 พัฒนาการในระดับโลกขณะนี้ องคการระหวางประเทศ เพือ่ มาตรฐานสากลกําลังมีการรางมาตรฐานของการทํา CSR ขึน้ มาใช (ISO 26000) มาตรฐานในเรือ่ ง CSR ควรจะเปนการสมัคร ใจที่จะดําเนินการเองของธุรกิจ และไมควรนํามาเปนเครื่องมือ กีดกันทางการคาระหวางประเทศ กลาวคือไมสามารถนํามาอาง เพื่อไมทําการคาขายดวยหากผูผลิตหรือสงออกไมไดมาตรฐาน ISO 26000 นี้ ความเปนไปไดในการใช CSR เปนเครื่องกีดกัน

ทางการคาจะตองระวังเปนพิเศษ เนื่องจากเราไดเห็นตัวอยาง ของการทีป่ ระเทศพัฒนาแลวนําเอาเรือ่ งการละเมิดสิทธิมนุษยชน การใชแรงงานเด็ก เรือ่ งสิง่ แวดลอม และสุขอนามัย มาเปนขออาง เลนงานประเทศกําลังพัฒนาอยูเสมอ และจากการพั ฒ นา (Development) สู  ค วามยั่ ง ยื น (Sustainability) ขององคการสหประชาชาติ เปนการจัดทํา เปาหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนในกรอบสหประชาชาติ สืบเนือ่ งจาก เปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ (Millennium Development Goals: MDGs) จะสิ้ น สุ ด ลงในป ค.ศ. 2015 องค ก าร สหประชาชาติ หรือ UN จึงไดรเิ ริม่ กระบวนการหารือเพือ่ กําหนด วาระการพัฒนาภายหลังป ค.ศ. 2015 (Post-2015 Development Agenda) เปนเปาหมายการพัฒนาแหงสหัสวรรษ (MDGs) ที่ 189 ประเทศทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย ไดตกลงรวมกันใหเปน วาระการพัฒนาของโลกตั้งแตป ค.ศ. 2000 อันประกอบดวย เปาหมายหลัก 8 ขอ และในป ค.ศ. 2015 สหประชาชาติประกาศ เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Glolds: SDGs) โดยเปลี่ยนจากกรอบคิดการพัฒนาที่ยั่งยืน แบบ 3 เสาหลัก (Pillars) มาสูกรอบคิดใหมที่มองการพัฒนา เปนมิติ (Dimensions) เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ใหมี ความเชื่อมโยงกัน เพื่อลดขอจํากัดของการสงเสริมการพัฒนาใน แบบแยกสวนที่ไดรับอิทธิพลจากกรอบความคิดแบบเสาหลัก ตามกระบวนทัศน “การพัฒนาที่ยั่งยืน” โดยประเด็นสําคัญของ วาระการพัฒนาภายหลังป ค.ศ. 2015 คือการจัดทําเปาหมายการ พัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)

65

Engineering Today November - December

2018


เป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) การพัฒนาที่ยั่งยืนเปนเปาหมายของการพัฒนาตั้งแตป ค.ศ. 2016-2030 โดยมีการตัง้ เปาไวถงึ 17 เปาหมาย ครอบคลุม เปาหมายในดานตางๆ เรียกวา 17 เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (The 17 Sustainable Development Goals) เปาหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน (SDGs) เปนเปาหมายสําหรับ การพัฒนาของโลกใน 15 ปขางหนา (ป ค.ศ. 2016-2030) มี 17 ประเด็นหลัก ไดแก 1. ขจัดความยากจน No Poverty 2. ขจัดความหิวโหย Zero Hunger 3. สงเสริมความเปนอยูที่ดีของทุกคน Good Health and Well-Being 4. สงเสริมโอกาสในการเรียนรู Quality Education 5. สรางความเทาเทียมทางเพศ Gender Quality 6. จัดการนํา้ อยางยัง่ ยืนและสุขาภิบาล Clean Water and Sanitation 7. เขาถึงไดซึ่งพลังงานที่ยั่งยืน Affordable and Clean Energy 8. การจางงานทีเ่ หมาะสมและสงเสริมการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ Decent Work and Economic Growth 9. สงเสริมอุตสาหกรรมที่ยั่งยืนและนวัตกรรม Industry, Innovation and Infrastructure 10. ลดความเหลื่อมลํ้าทั้งภายในและระหวางประเทศ Reduced Inequalities 11. สรางเมืองและการตั้งถิ่นฐานที่ปลอดภัย Sustainable Cities and Communities 12. สรางรูปแบบการผลิตและการบริโภคทีย่ งั่ ยืน Responsible Consumption and Production 13. ดํ า เนิ น การอย า งเร ง ด ว นเพื่ อ แก ป  ญ หาโลกร อ น Climate Action 14. อนุรักษและใชประโยชนจากทรัพยากรทางทะเลอยาง ยั่งยืน Life Below Water 15. สงเสริมการใชประโยชนที่ยั่งยืนของระบบนิเวศบนบก Life on Land 16. สงเสริมสันติภาพและการเขาถึงระบบยุติธรรมอยาง เทาเทียมกัน Peace and Justice Strong Institutions 17. สรางความรวมมือระดับสากลตอการพัฒนาที่ยั่งยืน Partnerships for the Goals โดยผูน าํ จากประเทศสมาชิกองคการสหประชาชาติจาํ นวน 193 ประเทศ จะลงมติ รั บ รองเป า หมายการพั ฒนาที่ ยั่ ง ยื น

Engineering Today November - December

2018

66

(SDGs) ในการประชุมสมัชชาใหญแหงสหประชาชาติ (United Nations General Assembly - UNGA) วันศุกรที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2558 (25 September 2015) เพื่อประเมินเปาหมายการ พัฒนาแหงสหัสวรรษ (MDGs) และกระตุนใหประเทศตางๆ พัฒนาประเทศเพื่อขจัดความยากจน ความหิวโหย สงเสริมสิทธิ มนุษยชน ความเทาเทียม เทคโนโลยีที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ดูแลสิ่งแวดลอม และพรอมรับมือตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ อี ก ทั้ ง เพิ่ ม เนื้ อ หาการพั ฒนาที่ ยั่ ง ยื น ให ค รอบคลุ ม โดยยึ ด ถื อ หลักสําคัญวา “No One Left Behind” ไมทิ้งใครไวขางหลัง สําหรับประเทศไทยเองนั้น นอกจากการพัฒนาใน 3 มิติ คือเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดลอม ตามแนวทางของ SDGs แลว ประเทศไทยยังใหความสําคัญกับมิติทางดานวัฒนธรรมอีกดวย และการจะบรรลุความสําเร็จของเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ไดนนั้ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั รัชกาลที่ 9 พระมหากษัตริย นักพัฒนาที่ทรงไดรับการยอมรับอยางกวางขวางทั้งในประเทศ และระดับนานาชาติไดพระราชทานเข็มทิศการพัฒนาไวใหทกุ ภาค สวน นอมนําไปประยุกตใชอยางเหมาะสม นัน่ คือ หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ เปนแนวพระราชดําริทตี่ งั้ อยูบ นรากฐานของ วั ฒนธรรมไทย เป น แนวทางการพั ฒนาบนพื้ น ฐานของทาง สายกลางและความไมประมาท คํานึงถึงความพอประมาณ ความ มีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันในตัวเอง ตลอดจนใชความรูและ คุณธรรมเปนพืน้ ฐานในการดํารงชีวติ ซึง่ จะนําไปสูค วามสุขในการ ดําเนินชีวิตและสรางสัมฤทธิ์ผลแหงการพัฒนาที่ยั่งยืนไดอยาง แทจริง

DJSI ดัชนีชี้วัดความสําเร็จขององค กรแห งความยั่งยืน วิถีใหมแหงความโดดเดนของการดําเนินธุรกิจ (The New Way to Start Outstanding for Doing Business) โดยการนํา หลักเกณฑดัชนีชี้วัดในดานตางๆ มาใชวัดศักยภาพความยั่งยืน ของธุ ร กิ จ ดั ช นี ค วามยั่ ง ยื น ดาวโจนส หรื อ Dow Jones Sustainability Indices: DJSI เปนกระบวนการสรางเสริมความ ยั่ง ยื นในจิตสํานึ กขององคกรธุร กิจอยางเปนระบบและมีการ ประเมิ น ชี้ วั ด ให เ ห็ น เด น ชั ด ดั ช นี ห ลั ก ทรั พ ย ที่ ใ ช ป ระเมิ น ประสิทธิผลการดําเนินธุรกิจตามแนวทางการพัฒนาอยางยั่งยืน ของบริษัท DJSI ดัชนีแรกของโลกที่ไดรับการยอมรับในระดับ สากล ซึ่งมีความเปนอิสระ โปรงใส และนาเชื่อถือมาก เนนหนัก ในการประเมิน 3 ดานที่เรียกวา ESG ไดแก การรักษาสิ่งแวดลอม (Environment) การดูแลสังคม (Social) และการมีธรรมาภิบาลทางธุรกิจ (Governance) มีการ ประเมินอยางเทาเทียมกันดวยเครื่องมือที่เรียกวา Corporate Sustainability Assessment ซึ่งเปนเครื่องมือที่มีความแมนยํา มีความสมํ่าเสมอ และมีระเบียบวิธีที่ชัดเจน โดยประเมินจาก


ขอมูลเฉลี่ย 600 ประเด็นหรือมากกวาในแตละป ที่แตละบริษัท จะไดรบั และประเมินออกมาเปนผลคะแนนเดียว ซึง่ กฎเกณฑตา งๆ จะถู กระบุ อยู ใน DJSI การที่หนวยงาน DJSI จะเรียนเชิญ หนวยงานธุรกิจเขารวมเปนสมาชิกนั้นจะตองมีคุณสมบัติขอแรก คือเปนบริษัทที่ดําเนินธุรกิจที่อยูในตลาดหลักทรัพยและมีขนาด ของการดําเนินธุรกิจในเกณฑกําหนด เอกสาร The Sustainability Year Book 2018 by RobecoSAM ในหัวขอ Sustainability Development Goals : Combining Purpose with Opportunity ไดกลาวถึงการรวม วัตถุประสงคของเปาหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน (SDGs) เปนกรอบ ของระบบทีเ่ ปนแนวทางเบือ้ งตน การสือ่ สารและการยอมรับระดับ โลกที่เปนโอกาสของการดําเนินธุรกิจ (The SDGs Provide a Systematic Framework, Common, Language, and Global Acceptance)

ประกาศการรับรองเป นสมาชิกของ DJSI 2018 Review Results September 2018 by RobecoSAM การประเมินการรับรองการเปนสมาชิกของ DJSI ในป ค.ศ. 2018 เป น การประเมิ น เชิ ง บู ร ณาการครอบคลุ ม และ มุงเปาที่มูลคาของผูถือหุนบนความมั่นคง ยั่งยืน ในมุมมองดาน เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม และบรรทัดฐานของสังคม (Integrated Assessment of Economic, Environmental and Social Criteria with a Strong Focus on Long-term Shareholder Value) DJSI เปนดัชนีจัดอันดับผลการปฏิบัติงานดานความยั่งยืน ของบริษัทจดทะเบียนทั่วโลก โดยมี RobecoSAM, Corporate Sustainability Assessment ผูใหคําปรึกษาดานการลงทุน เปน ผูประเมินจัดอันดับ โดยมีเกณฑกําหนดวา บริษัทที่จะเขารับการ ประเมินไดจะตองเปนบริษัทจดทะเบียน และมี Free Float Market Capitalization ใน Dow Jones Total Stock Market Index สูงสุด 2,500 บริษัทแรก และกลุมบริษัทจดทะเบียนที่อยู ในกลุม Emerging Markets สูงสุด 800 บริษัทแรก ตลอดจน กลุมอื่นๆ รวมทั้งสิ้น 3,538 บริษัททั่วโลก ทั้งนี้ RobecoSAM จะสงแบบสอบถามตามประเภทอุตสาหกรรมมาใหบริษัทที่ได รับเชิญ เพื่อตอบคําถามเชิงลึก พรอมจัดสงหลักฐานอางอิงและ ชองทางการเปดเผยสูสาธารณะ เกี่ยวกับแผนงานและกลยุทธ วิธีการบริหารจัดการ เปาหมาย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ตลอดจน ผลการปฏิ บั ติ ง าน ที่ ค รอบคลุ ม ทั้ ง 3 ด า น คื อ เศรษฐกิ จ สิ่งแวดลอม และสังคม บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยของไทย มีการเขารวม การประเมิน DJSI และประกาศผลการรับรองการเปนสมาชิก ดังนี้ • ในป ค.ศ. 2012 มีบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปรากฏอยูในดัชนี DJSI รวมเปน 3 บริษัท • ในป ค.ศ. 2013 มีบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปรากฏอยูในดัชนี DJSI รวมเปน 4 บริษัท • ในป ค.ศ. 2014 มีบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย

ปรากฏอยูในดัชนี DJSI รวมเปน 10 บริษัท • ในป ค.ศ. 2015 มีบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปรากฏอยูในดัชนี DJSI รวมเปน 13 บริษัท • ในป ค.ศ. 2016 มีบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปรากฏอยูในดัชนี DJSI รวมเปน 14 บริษัท • ในป ค.ศ. 2017 มีบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ปรากฏอยูในดัชนี DJSI รวมเปน 17 บริษัท และลาสุดผลการรับรองของ Review Results September 2018 by RobecoSAM ไดประกาศรายชื่อ บริษัทจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยของไทยวา บจ.ไทยครองแชมปเขาดัชนี DJSI สู ง สุ ด ในอาเซี ย น และเพิ่ ม ขึ้ น สู ง สุ ด ในตลาดเกิ ด ใหม ทั่ ว โลก โดยเชิญเขารวมประเมินดานความยั่งยืนของธุรกิจ ซึ่งกองทุน ตางๆ จากทั่วโลกใหความเชื่อถือและใช DJSI เปนเกณฑในการ พิจารณาการลงทุนกับบริษทั หรือองคกรนัน้ ๆ โดยในป ค.ศ. 2018 นี้ มีบริษัทที่ไดรับการคัดเลือกเปนสมาชิก DJSI จากประเทศไทย ทั้งสิ้น 20 บริษัท สําหรับ บริษัทจดทะเบียน (บจ.) ที่ไดรับ คัดเลือกใหเปนสมาชิก DJSI ประจําป พ.ศ. 2561 แบงเปน กลุมดัชนี DJSI World จํานวน 9 บริษัท ไดแก 1. บมจ.ธนาคารกสิกรไทย (KBANK) 2. บมจ.ธนาคารไทยพาณิชย (SCB) 3. บมจ. ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม (PTTEP) 4. บมจ. ปตท. (PTT) 5. บมจ.ซีพีออลล (CPALL) 6. บมจ.ไทยเบฟเวอเรจ (THBEV) 7. บมจ.พีทีที โกลบอล เคมิคอล (PTTGC) 8. บมจ.ปูนซิเมนตไทย (SCG) 9. บมจ.เซ็นทรัลพัฒนา (CPN) กลุมดัชนี DJSI Emerging Markets จํานวน 20 บริษัท ไดแก 1. บมจ.ธนาคารกสิกรไทย (KBANK) 2. บมจ.ธนาคารไทยพาณิชย (SCB) 3. บมจ.ไมเนอร อินเตอรเนชั่นแนล (MINT) 4. บมจ.บานปู (BANPU) 5. บมจ.ไออารพีซี (IRPC) 6. บมจ. ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม (PTTEP) 7. บมจ. ปตท. (PTT) 8. บมจ.ไทยออยล (TOP) 9. บมจ.ซีพีออลล (CPALL) 10. บมจ.เจริญโภคภัณฑอาหาร (CPF) 11. บมจ.ไทยเบฟเวอเรจ (THBEV) 12. บมจ.ไทยยูเนี่ยน กรุป (TU) 13. บมจ.อินโดรามา เวนเจอรส (IVL) 14. บมจ.พีทที ี โกลบอล เคมิคอล (PTTGC) 15. บมจ.ปูนซิเมนตไทย (SCG) 16. บมจ.เซ็นทรัลพัฒนา (CPN)

67

Engineering Today November - December

2018


17. บมจ.โฮม โปรดักส เซ็นเตอร (HMPRO) 18. บมจ.ทรู คอรปอเรชั่น (TRUE) 19. บมจ.ทาอากาศยานไทย (AOT) 20. บมจ.บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส (BTS) หมายเหตุ ขาวจากประชาชาติธุรกิจออนไลน วันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2561 ซึ่งนอกจากสรางความโดดเดนใหกับการลงทุนอยางยั่งยืน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยแลว ยังแสดงใหเห็นถึงความ มุงมั่นและเปนที่นาภูมิใจวา บริษัทไทยไดใหความสนใจในการ ดําเนินธุรกิจโดยคํานึงถึงสิ่งแวดลอม สังคม และบรรษัทภิบาล (ESG) มากขึ้นอีกดวย

ผลที่ ได รับรองการประเมินเป นสมาชิก Dow Jones Sustainability Indices: DJSI กาวไปสูการเปนสมาชิกของดัชนี DJSI ซึ่งเปนดัชนีหลัก ทรัพยของบริษัทชั้นนําในระดับโลกที่ผานการประเมินดานความ ยั่งยืน ตามตัวชี้วัดดานเศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม สังคม และบรรษัท ภิบาล ซึ่งผูลงทุนสถาบันทั่วโลกใหการยอมรับและใชเปนขอมูล ในการลงทุน การไดรับคัดเลือกเปนสมาชิกในกลุมดัชนี DJSI มี ผลตอดีตอองคกรธุรกิจ คือ 1. จะชวยเพิ่มความนาสนใจลงทุนในสายตาของผูลงทุน ทั้งในและตางประเทศ พรอมสรางความเชื่อมั่นวาบริษัทมีการ ดําเนินธุรกิจโดยคํานึงถึงสังคมและสิ่งแวดลอมควบคูไปกับการ สรางผลประกอบการที่ดี อันจะสงผลใหธุรกิจสามารถเติบโต ตอเนื่องไดอยางยั่งยืน ซึ่งนําไปสูการสรางผลตอบแทนที่ดีใหแก ผูล งทุนในระยะยาว เปนทางเลือกในการลงทุนแกนกั ลงทุนทัว่ โลก เนื่องจากนักลงทุนหรือกองทุนตางๆ จากทั่วโลกจะใชดัชนีนี้เปน เกณฑสําคัญในการพิจารณา เพื่อเขาไปลงทุนในบริษัท เพราะ บริษัทที่ไดรับการจัดอันดับ DJSI เปนหลักประกันถึงศักยภาพ การบริ ห ารงานหรื อ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ว า จะสามารถสร า งผล ตอบแทนที่ดีและยั่งยืนใหกับผูลงทุน 2. จะไดรบั การยอมรับในระดับสากลวาเปนองคกรทีย่ งั่ ยืน และสรางความนาเชือ่ ถือแกผลู งทุน แลวยังสรางความเชือ่ มัน่ ให ผูบริโภคไดวาสินคาหรือบริการจากองคกรที่ไดรับการคัดเลือก เหลานี้มีกระบวนการบริหารจัดการที่ใหความสําคัญตอชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนสวนหนึ่งของความพยายามในการ รวมกันยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากรโลกไปสูความยั่งยืน อยางแทจริง 3. การประเมินผลความยั่งยืนจากดัชนีชี้วัดของ DJSI เปนการพัฒนาองคกรตามหลักสากล ในการชวยกําหนดนโยบาย รวมถึงเปนการดําเนินกิจกรรมตางๆ ใหมุงเนนในการสนับสนุน ความยั่ง ยืน ซึ่งจะเปนประโยชนและกอใหเกิดคุณ คาสําหรับ สิ่งแวดลอมทั่วโลก รวมถึงธุรกิจที่อยูในระดับแนวหนา โดย DJSI ก็มีบทบาทในการเปนเครื่องมือที่จะชวยใหนักลงทุนสามารถ วางแผนการลงทุนที่ย่งั ยืนไดตอไป

Engineering Today November - December

2018

68

4. จะทํ า ให บ ริ ษั ท ที่ เ ข า ร ว มรู  ตั ว ว า จะสามารถปรั บ กระบวนการทํางานใหมปี ระสิทธิภาพทัดเทียมองคกรชัน้ นําของ โลกผานการประเมินผลความยัง่ ยืน และไดรบั เขารวมเปนสมาชิก ดัชนีความยั่งยืน DJSI หนึ่งในมาตรฐานความยั่งยืนระดับโลกที่ สะทอนใหเห็นถึงการดําเนินธุรกิจอยางยั่งยืนที่ไดรับการยอมรับ ในระดับสากลทีป่ ระกาศใหทราบในแตละป โดยเริม่ จากวิสยั ทัศน ของคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน การรักษาความเปน สมาชิ ก DJSI จะบ ง บอกถึ ง เป า หมายชั ด เจนในการกํ า หนด ยุทธศาสตรและเจตนารมณที่จะพัฒนาองคกรใหเปนองคกรแหง ความยั่งยืน การนําหลักเกณฑดัชนีชี้วัดความสําเร็จขององคกรที่ยั่งยืน ของธุรกิจ DJSI มาประยุกตใชในการดําเนินธุรกิจ สวนสําคัญที่ จะสรางมุมมองในการยกยองหรือใหความสําคัญกับความยั่งยืน เปนการกําหนดนโยบาย รวมถึงเปนการทําใหธรุ กิจตางๆ มุง เนน ในการสนับสนุนความยัง่ ยืน การไดรบั คัดเลือกเปนสมาชิกในดัชนี ความยัง่ ยืนระดับโลกดาวโจนส ประจําป พ.ศ. 2561 (Dow Jones Sustainability Indices: DJSI) ในกลุมดัชนีโลก (World Index) และดัชนีตลาดเกิดใหม (Emerging Markets Index) สะทอนถึง ความมุงมั่นในการดําเนินธุรกิจภายใตแนวคิดดานความยั่งยืน ที่คํานึงถึงการเติบโตทางธุรกิจควบคูไปกับความรับผิดชอบตอ สังคมและสิ่งแวดลอมของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ของไทยที่เขารวมการประเมิน DJSI และการประกาศผลการ รับรองการเปนสมาชิกของ บจ.ไทยสามารถครองแชมปเขาดัชนี DJSI สูงสุดในอาเซียน และเพิ่มขึ้นสูงสุดในตลาดเกิดใหมทั่วโลก ซึ่งจะเปนประโยชนและกอใหเกิดคุณคาสําหรับสิ่งแวดลอมของ ไทยและทั่วโลก รวมถึงการแสดงการดําเนินธุรกิจที่อยูในระดับ แนวหนาระดับโลก ผานดัชนีชี้วัด DJSI มีบทบาทในการเปน เครื่ อ งมื อ สนั บ สนุ น ที่ จ ะช ว ยให นั ก ลงทุ น จากทั่ ว โลกเล็ ง เห็ น ศักยภาพทางการดําเนินธุรกิจของบริษัทไทยในการรวมลงทุน ทั้งภายในและตางประเทศ

บรรณานุกรม

1. เอกสาร The Sustainability Year Book 2018 by RobecoSAM 2. เอกสารรายงาน DJSI 2018 Review ResultsSeptember by RobecoSAM 3. ขาวประชาชาติธุรกิจ : 20 บจ.ไทย ติด DJSI ป 2561 “SCB, CPALL, CPN” มาแรงขึ้นชั้น World โดย เอกสารเผยแพรออนไลน ประชาชาติธุรกิจ 4. เอกสารเผยแพร On the Wireless Road ฉบับ 1/2545 โดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย เรื่องมาตรการ ก.ล.ต. ในการสงเสริมการ กํากับดูแลกิจการที่ดี


Advertorial

BMAM

Expo Asia 2018

ป ดฉากด วยความสําเร็จอีกครั้ง

เผยป หน ามาในคอนเซ็ปต ใหม รวมที่สุดเเห งนวัตกรรมด านอาคาร ปดฉากงาน BMAM Expo Asia 2018 (BMAM 2018) งานแสดงสินคาเเละการประชุมสัมมนาดานการบํารุงรักษาอาคารและ การบริหารจัดการทรัพยากรอาคารแหงเอเชีย ครัง้ ที่ 11 กับความสําเร็จ ตามความคาดหมาย มีผูประกอบการเขารวมแสดงสินคากวา 81 บริษัท มีผูเขาชมงานกวา 3,569 ราย จากกวา 20 ประเทศ กระตุน ธุรกิจดาน FM ดวยยอดนัดหมายเจรจาธุรกิจกวา 250 นัดหมาย อิมแพ็คเดินเครื่องประกาศจัดงานปหนาในคอนเซ็ปตใหมในวันที่ 27-29 มิถุนายน 2562 ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี ลอย จุ น ฮาว ผู  จั ด การทั่ ว ไป บริ ษั ท อิ ม แพ็ ค เอ็ ก ซิ บิ ชั่ น แมเนจเมนท จํากัด เปดเผยวา การจัดงาน BMAM Expo Asia ในปนี้ ประสบความสําเร็จเปนอยางดี คาดการวาจะมีมลู คาการซือ้ ขายจากการ เจรจาธุรกิจภายในงานกวา 240 ลานบาท ดาน วรกร วีราพัชร ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท ดิจิตอล บัตเลอร จํากัด หนึ่งในผูเขารวมแสดงสินคาในงาน กลาววา “BMAM Expo Asia เปนจุดนัดพบของกลุม ผูบ ริหารจัดการทรัพยากรอาคาร และ เปนงานแสดงสินคาที่ตอบโจทย ชวยใหสามารถพบปะกลุมเปาหมาย ทีเ่ ปนคนในแวดวงธุรกิจเดียวกัน ทําใหสามารถนําไปตอยอดพัฒนาทาง ธุรกิจได ซึง่ เราไดรบั ผลตอบรับคอนขางดีจากการรวมเเสดงสินคาในครัง้ นี้

69

Engineering Today November - December

2018


“งาน BMAM Expo Asia 2018 เปนงานแสดงสินคา ทีท่ าํ ใหเราไดพบกับกลุม ลูกคาเปาหมายและกลุม ผูร บั เหมา ถาคุณอยากเจาะตลาดในประเทศไทย ที่นี่คือ งานแสดง สินคาที่ตอบโจทยสําหรับคุณ” เฮนรี่ โซ บริษัท บีไคนด จํากัด จากประเทศฮองกง กลาวเสริม บรรจง สุกรีฑา รองอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม กลาววา ภายในงาน BMAM Expo Asia 2018 กรมโรงงาน อุตสาหกรรมไดจัดทําแพลตฟอรม Factory 4.0 และ สาธิตศักยภาพระบบหมอนํ้าอัจฉริยะ (Smart Boiler) เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไอนํ้าของหมอนํ้าดวยระบบ ควบคุ ม อั ต โนมั ติ ช ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการเผาไหม เชือ้ เพลิง ลดการสิน้ เปลืองความรอนและไฟฟา เพือ่ ให สอดคลองกับนโยบายไทยแลนด 4.0 ของรัฐบาล โดยรั ฐ บาลต อ งการแรงสนั บสนุ น จาก ภาคเอกชนในการพัฒนา ขับเคลื่อน ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย

โดยคาดหวั ง ว า การดํ า เนิ น งานของกระทรวงอุ ต สาหกรรมที่ มี ส  ว น เกี่ยวของกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม จะใชความรูจากทรัพยากรบุคคล ใหนอ ยทีส่ ดุ ในการตัดสินใจ และจะนําเทคโนโลยีและนวัตกรรมเขามาใช มากขึ้น นอกเหนือจากงานแสดงสินคาและนวัตกรรมแลว งาน BMAM Expo Asia ยังไดรว มมือกับผูเ ชีย่ วชาญดานการบริหารจัดการอาคารจาก ทั้งหนวยงานภาครัฐ เอกชน และสมาคมตางๆ เพื่อจัดงานสัมมนา วิชาการ ซึ่งไดรับผลตอบรับเปนอยางดีจากผูเขาฟงมากกวา 890 คน ตลอด 3 วัน หัวขอสัมมนาประกอบดวย กุญแจสูการบริหารจัดการ อาคารแหงอนาคต เมืองอัจฉริยะที่แททําอยางไร นวัตกรรมทําความ สะอาดยุค 4.0 และอีกหลายหัวขอที่มุงเนนใหความรูทางเทคนิคและ เทรนดตางๆ ที่เปนประโยชนตออุตสาหกรรม FM ในป ห น า งาน BMAM Expo Asia กํ า หนดจั ด ขึ้ น ในวั น ที่ 27-29 มิถุนายน 2562 ณ ศูนยแสดงสินคาและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี อาคาร 6

ติดตามความคืบหน าในการจัดงานได ที่เว็บไซต www.bmamexpoasia.com Engineering Today November - December

2018

70


Focus

นักวิจัยเอ็มเทค สวทช.

คว ารางวัล นักโลหวิทยาดีเด นรุ นเยาว

จากผลงานชุดทดสอบการกัดกร อนแบบเร งหลากหลายสภาวะการใช งาน นั ก วิ จั ย ศู น ย เ ทคโนโลยี โ ลหะและวั ส ดุ แ ห ง ชาติ (เอ็มเทค) สวทช. ควารางวัลนักโลหวิทยาดีเดนรุนเยาว ประเภทอุตสาหกรรม ประจําป พ.ศ. 2560 (Young Outstanding Metallurgist Award 2017) จาก ผลงานการพัฒนาชุดทดสอบการกัดกรอนแบบเรงสําหรับ หลากหลายสภาวะการใชงาน เพื่อศึกษาการกัดกรอนที่ สอดคลองกับสภาวะการใชงานจริงและสรางระบบขอมูล สําหรับทํานายอัตราการกัดกรอนของโลหะไดแมนยํา มากขึ้น รศ.ดิ ล ก ศรี ป ระไพ หั ว หน า ภาควิ ช าวิ ศ วกรรม เครือ่ งมือและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี และ รศ. ดร.กอบบุญ หลอทองคํา นายกสมาคม การกัดกรอนโลหะและวัสดุไทย เปนประธานในพิธีมอบ รางวัลนักโลหวิทยาดีเดนและรางวัลนักโลหวิทยาดีเดน รุนเยาวแกนักวิจัยดีเดน 3 ทาน เพื่อยกยองเชิดชูเกียรติ ที่สรางผลงานที่เปนประโยชนตอการพัฒนาประเทศ ใน การประชุมวิชาการทางโลหวิทยาแหงประเทศไทย ครัง้ ที่ 11 (TMETC11) ที่จัดขึ้นภายใตหัวขอ “Metallurgy for Thailand 4.0” เมื่อวันที่ 15-16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี รวมกับ สถาบันอุดมศึกษาในประเทศ หนวยงานภาครัฐและเอกชน ตางๆ เปนเจาภาพในการจัดงานครั้งนี้ ณ โรงแรม เดอะ เฮอริเทจ พัทยา บีช รีสอรท สําหรับรางวัลนักโลหวิทยาดีเดน พิจารณาคัดเลือก บุคคลที่เหมาะสมไดรับรางวัล 3 รางวัล ไดแก รางวัล นักโลหวิทยาดีเดน และรางวัลนักโลหวิทยาดีเดนรุนเยาว ประเภทวิชาการและอุตสาหกรรม โดยในปนี้ผูไดรับรางวัล นักโลหวิทยาดีเดนรุนเยาวประเภทอุตสาหกรรม ประจําป พ.ศ. 2560 ไดแก ดร.ณมุรธา สถิรจินดา พอลสัน จาก ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ (เอ็มเทค) สวทช. จากผลงานวิ จั ย ที่ ช  ว ยแก ป  ญ หาความเสี ย หายและการ กั ด กร อ นในภาคอุ ต สาหกรรม ได แ ก ชุ ด ทดสอบการ

กัดกรอนแบบเรงสําหรับหลากหลายสภาวะการใชงาน เชน การใชงาน ในสิ่งแวดลอมระบบของไหลและสิ่งแวดลอมบรรยากาศเขตรอนชื้น อันเนื่องมาจากปญหาการกัดกรอนของโครงสรางและชิ้นสวนโลหะ ทีเ่ กิดจากการเลือกใชวสั ดุและระบบการปองกันการกัดกรอนทีไ่ มเหมาะสม ทําใหเปนทีม่ าของการพัฒนาชุดทดสอบดังกลาวเพือ่ ศึกษาการกัดกรอน ที่สอดคลองกับสภาวะการใชงานจริง เพื่อสรางระบบขอมูลสําหรับ ทํานายอัตราการกัดกรอนของโลหะไดแมนยํามากขึ้น นอกจากนี้ ดร.ณมุ ร ธา ยังมี ความรู ความเชี่ ยวชาญด านการ วิเคราะหความเสียหายของวัสดุและเทคโนโลยีการกัดกรอนจากผลงาน ตางๆ เชน ระบบประเมินระดับความเสี่ยงจากการกัดกรอนในหนวย กลัน่ นํา้ มันดิบอยูใ นขัน้ ตอนการยืน่ จดสิทธิบตั รเมือ่ เดือนธันวาคม 2558 ชุดอุปกรณทดสอบการกัดกรอนเฉพาะทีข่ องวัสดุภายใตความเคนแรงดึง เพื่อตรวจประเมินการกัดกรอนภายใตแรงเคน อยูในขั้นตอนการยื่น จดสิทธิบัตรเมื่อเดือนกันยายน 2559 ชุดตรวจติดตามพฤติกรรมการ กัดกรอนของทอโลหะใชงานกับการไหลของสารละลายสําหรับชิ้นสวน และอุปกรณภายในหนวยผลิตไฟฟา อยูในขั้นตอนการยื่นจดสิทธิบัตร เมือ่ เดือนกันยายน 2560 และเครือ่ งจําลองการทดสอบการกัดกรอนใน บรรยากาศแบบเรงเพือ่ สรางระบบขอมูลในการเลือกใชวสั ดุ และประเมิน อายุของโครงสรางและชิ้นสวน เชน ระบบขนสงทางราง และชิ้นสวน ยานยนต ใชงานในบรรยากาศในเขตรอนชื้น โดยเครื่องดังกลาวอยูใน ขั้นตอนการยื่นจดสิทธิบัตรเมื่อเดือนสิงหาคมที่ผานมา

71

Engineering Today November - December

2018


Focus

มจธ. พัฒนานวัตกรรม

ไส กรองนํ้าเซรามิก ดักจับสารหนูและฆ าเชื้อโรค

คว า 2 รางวัล จากงาน World Invention Innovation Contest 2018 เกาหลีใต การเดินปา ปนเขา หรือตั้งแคมป เปนกิจกรรม ที่ทาทาย และบอยครั้งที่ “สัมภาระ” สําหรับกิจกรรมเหลา นี้อาจจะกลายเปน “ภาระ” ในการเดินทาง เชน นํ้าดื่ม เพราะในพื้นที่ทองเที่ยวเหลานี้ ไมสามารถหาดื่มได หรือ อาจจะไมมีรานคาจําหนาย ผศ. ดร.ธิดารัตน บุญศรี พรอมทีมนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) ประกอบดวย ณจิต สุวรรณจิตร, รชานนท ไชยอุปละ และ สหวัชร อยู  มั่ น ธรรมา จึ ง ได พั ฒนา นวั ต กรรม NViro Filter ไสกรองนํ้าเซรามิก ดักจับสารหนูและฆาเชื้อโรค เพื่อ ใชปรับปรุงคุณภาพนํ้าในพื้นที่ตางๆ ใหสามารถดื่มได ซึ่งสามารถควารางวัลเหรียญทอง และรางวัลพิเศษ จาก Asia Invention Creativity Association ในงานประกวด นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ World Invention Innovation Contest 2018 (WiC 2018) ณ กรุงโซล สาธารณรัฐ เกาหลีใต ผศ. ดร.ธิดารัตน บุญศรี กลาววา NViro Filter เปน ไส ก รองเซรามิ ก ที่ เ คลื อ บด ว ยออกไซด ข องสั ง กะสี แ ละ แมงกานีส โดยที่สังกะสีและแมงกานีสที่ใชนั้นสกัดมาจาก ผงถานไฟฉายอัลคาไลนที่ใชแลว ทําใหไดสังกะสี และ แมงกานีสที่มีความบริสุทธิ์ เมื่อเคลือบบนผิวของไสกรอง เซรามิ ก แล ว สั ง กะสี อ อกไซด จ ะทํ า หน า ที่ ฆ  า เชื้ อ โรค สวนแมงกานีสออกไซดจะทําหนาที่ดักจับสารหนูในนํ้า

Engineering Today November - December

2018

พร อ มทั้ ง การกรองสารแขวนลอยด ว ยรู พ รุ น ของไส ก รองเซรามิ ก ที่สามารถกักอนุภาคไดถึงระดับไมครอน NViro Filter ใชงานงาย เพียงแคสวมลงในกระบอกนํ้า แลวปลอยใหนํ้าไหลผาน โดยไมตองใช ปม หรือกระแสไฟฟา ก็จะไดนํ้าที่ผานการกรองอนุภาคแขวนลอย ปราศจากเชื้อโรค และไมมีสารหนู โดยไสกรองเซรามิก 1 ชิ้น มีนํ้าหนัก 25 กรัม สามารถใชกรองนํ้าได 5 ลิตร หรือเทียบเทากับนํ้าใชในการดื่ม ประกอบอาหาร หรือลางหนา สําหรับ 1 คน ใน 1 วัน นวัตกรรมนี้ไดพัฒนาตอยอดรวมกับ ศูนยบูรณาการเทคโนโลยี เพื่ออุตสาหกรรมไทย ซึ่งจะนําไปสูการสรางผลิตภัณฑตนแบบ และ ทดสอบการใชงานจริงตอไปในอนาคต

72



INDEX ADVERTISING November - December 2018

Engineering Today

บริษัท

โทรศัพท

โทรสาร

ตําแหนงหนา

0-2036-0500

-

80

www.asew-expo.com

-

-

3

www.epson.co.th/manufacturingsolutions

IEEE Power & Energy Series : Renewable Energy

0-2354-5333

0-2354-5322

81

www.greennetworkseminar.com/solar

Interlink Co., Ltd.

0-2666-1111

-

9

www.interlink.co.th

Intermach 2019

0-2036-0500

-

6

www.intermachshow.com

-

-

11

www.twmt.tw

Thailand Industry Fair 2019

0-2838-9999

0-2760-8880

82

www.thailandindustrialfair.com

VEGA Instruments Co., Ltd.

0-2700-9240

0-2700-9241

ปกหนา

กุลธรอินเตอรเนชั่นแนล บจก.

0-2282-5775-8

0-2281-0009

11

www.kulthorn.com

คณิตเอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2642-8762-4

0-2248-3006

75

E-mail: sales1@kanitengineering.com

เจริญเมืองแมชชีนเนอรี่ บจก.

0-2280-8431-5

0-2280-8033-5

7

www.crm.co.th, E-mail: info@crm.co.th

-

-

13

เบย คอรปอเรชั่น บจก.

0-2926-0111

0-2926-0123-4

ปกหลังนอก

ปภพ บจก.

0-2570-5580

-

79

พิศนุการชาง บจก.

0-2245-9113, 0-2248-2896-8

0-2642-9220

ปกหนาดานใน

เวอรทัส บจก.

0-2876-2727

0-2476-1711

83

www.virtus.co.th, E-mail: welcome@virtus.co.th

อีพีเอ็มซี บจก.

0-2322-4330-3

0-2720-5155

4

www.epmc.co.th

เอส เอ วี เมคคานิคคอลเซอรวิส แอนด ซัพพลายส หจก.

0-2702-8801, 0-2702-0581-8

0-2395-1002

5

E-mail: savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com

ASEAN Sustainable Energy Week 2019 EPSON

Taiwan Smart Machinery

ซีเมนส

Engineering Today November - December

2018

74

Website/E-mail

www.vega.com

www.bay-corporation.com, E-mail: sales@bay-corporation.com www.papop.com, www.biogasthai.com www.kanitengineering.com, www.pisanu.co.th



Activities

>> รองนายกฯ เปิดงาน “Thailand Software Fair 2018” พลอากาศเอกประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี เปนประธานเปดงาน “Thailand Software Fair 2018” จัดโดย สมาคมอุตสาหกรรมซอฟตแวรไทย หรือ ATSI รวมกับ สํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) และ พันธมิตร ไดแก ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (ธพว. หรือเอสเอ็มอีแบงก) บริษัท อินเทอรเน็ตประเทศไทย จํากัด (มหาชน) บริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) เพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรมพลัง ซอฟตแวรไทยใหเติบโต แข็งแกรง รองรับยุทธศาสตรชาติในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ภายในงานมีการแสดงผลงานซอฟตแวรแอพพลิเคชั่นที่ตอบโจทยผูประกอบการ ในกลุมอุตสาหกรรมเปาหมายของภาครัฐและอุตสาหกรรมทั่วไป หวังยกระดับ การขับเคลื่อนบุคลากรในองคกรธุรกิจและภาคการศึกษา

>> วว. ต้อนรับคณะผู้เข้าประชุม Governance Council ของประเทศสมาชิก Asia-Pacific เยีย่ มชมสถานีวจิ ยั ลําตะคอง ดร.อาภารัตน มหาขันธ รองผูวาการวิจัยและพัฒนาดานพัฒนาอยางยั่งยืน สถาบั น วิ จั ย วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี แ ห ง ประเทศไทย (วว.) กระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี พรอมดวย มนตรี แกวดวง ผูอํานวยการสถานีวิจัย ลําตะคอง วว. และนักวิจัย ใหการตอนรับคณะผูเขาประชุม Governance Council ของประเทศสมาชิก Asia-Pacific ซึ่งกระทรวงวิทยาศาสตรฯ วว. และ Asian and Pacific Centre for Transfer of Technology (APCTT) of the United Nations, Economic and Social Commission for Asia and the Pacific (ESCAP) รวมกัน จัดขึน้ ในโอกาสเยีย่ มชมการจัดแสดงพรรณพืช อาคารเฉลิมพระเกียรติ (เรือนกระจก หลังที่ 1) ศูนยอนุรักษแมลงเขตรอน อาคารเฉลิมพระเกียรติ (เรือนกระจกหลังที่ 2) และศูนยวจิ ยั และพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานชีวมวลจากขยะและ Plasma Technology เมื่อเร็วๆ นี้ ณ สถานีวิจัยลําตะคอง วว. จังหวัดนครราชสีมา

>> MSC ต้อนรับคณะผูถ้ อื หุน้ และนักลงทุน ในโอกาสเข้าเยีย่ มชมบริษทั ฯ เมือ่ เร็วๆ นี้ กลุม ผูบ ริหาร นําโดย กิตติ เตชะทวีกจิ กุล รองประธานกรรมการ และ นิตยา ธนวิริยะกุล ผูอํานวยการกลุมบัญชี การเงิน และธุรการ/ ผูอํานวยการ สํานักเลขานุการ พรอมดวยฝายนักลงทุนสัมพันธ บริษทั เมโทรซิสเต็มสคอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) หรือ MSC ใหการตอนรับคณะผูถือหุน และนักลงทุน จํานวน 15 ทาน ณ สํานักงานใหญ เพื่อเขารับฟงการบรรยายภาพรวมขององคกร รายงาน ผลการดําเนินงานของบริษัทฯ พรอมทั้งเขาเยี่ยมชมศูนยสาธิตเทคโนโลยีตางๆ อาทิ ศูนยดาตาเซ็นเตอร และศูนยเทคโนโลยีทางดานการพิมพ 3D

>> งานประชุม Beca Asia Leadership Conference 2018 บริษัท เบคา (ไทยแลนด) จํากัด นําโดย วานิช นพนิราพาธ เปนประธาน การจัด งานประชุม Beca Asia Leadership Conference 2018 ซึ่งเปนการ รวมตัวของบริษัทในเครือของเบคา กรุป ทั่วโลก เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ องคความรูเกี่ยวกับวิศวกรรมทุกแขนง

>> กลุ่มเหล็กสหวิริยาจัดโครงการเติมความฝัน ปันความรู้ เยาวชนบางสะพานสู่มหาวิทยาลัย กลุมเหล็กสหวิริยา รวมกับ โรงเรียนบางสะพานวิทยา จัดกิจกรรมประมวล ความรู  ท างวิ ช าการ เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถและยกระดั บ ศั ก ยภาพเยาวชน บางสะพาน เตรียมความพรอมสูก ารทดสอบวิชาความถนัดทัว่ ไป (General Aptitude Test: GAT) และการทดสอบความถนัดทางวิชาชีพและวิชาการ (Professional and Academic Aptitude Test: PAT) ใหกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 จาก โรงเรียนทีต่ งั้ อยูใ นอําเภอบางสะพานและอําเภอใกลเคียง ภายใต โครงการกลุม เหล็ก สหวิริยา เติมความฝน ปนความรู ตอเนื่องเปนปที่ 2 สําหรับกิจกรรมดังกลาว มีนักเรียนจากโรงเรียนบางสะพานวิทยา โรงเรียน บางสะพานนอยวิทยาคม โรงเรียนธนาคารออมสิน โรงเรียนชัยเกษมวิทยา และ โรงเรียนธงชัยวิทยา เขารวมกิจกรรม จํานวนกวา 300 คน ณ หอประชุมโรงเรียน บางสะพานวิทยา

Engineering Today November - December

2018

76


>> Gadget AIS Fibre จับมือโนเกียเปิดตัวบริการ Mesh Wi-Fi สําหรับใช้ในบ้านรายแรกในไทย

A

IS Fibre ผูนําอินเทอรเน็ตบรอดแบนดความเร็วสูงของไทย จับมือ โนเกีย พัฒนาบริการบรอดแบนดความเร็วสูงระดับพรีเมีย่ มรูปแบบใหม Mesh Wi-Fi ดวยโซลูชั่นจากโนเกีย แกลูกคา AIS Fibre ชวยใหลูกคาสามารถเขาถึง สัญญาณ Wi-Fi broadband ไดอยางลื่นไหลไมมีสะดุดทั่วทุกมุมของบาน โซลูชั่น Wi-Fi ของ Nokia ไดรับรางวัลการออกแบบยอดเยี่ยมจาก iF Design Foundation ชวยขจัดปญหาของเครือขายที่พบโดยทั่วไปตามบานพักอาศัยและ ชวยใหลกู คาของ AIS Fibre ไดใชเครือขาย Wi-Fi แบบ Mesh ทีเ่ ต็มประสิทธิภาพอยางแทจริง อีกทัง้ ยังติดตัง้ งาย ใหสญ ั ญาณครอบคลุมทัว่ ทัง้ บริเวณ บานและมีคุณสมบัติรองรับบรอดแบนดความเร็วสูงมากไดอยางเต็มประสิทธิภาพ ทั้งนี้ Nokia WiFi Beacon 3 ถูกออกแบบมาใหสามารถตรวจจับ แหลงที่มาของสัญญาณรบกวนทั้งที่เปนสัญญาณ Wi-Fi และไมใช Wi-Fi ไดถึง 100% จากนั้นจึงทําการเชื่อมตออุปกรณเขากับชองสัญญาณที่แรง ที่สุดโดยอัตโนมัติเพื่อใหมั่นใจไดวาลูกคาเชื่อมตอไดอยางราบรื่น โดยลูกคาของ AIS Fibre จะไดรับสิทธิ์ในการซื้อ Nokia WiFi Beacon 3 แบบ Duo-pack ในราคาพิเศษ

เสียวหมี่ เปิดตัว Mi MIX 3 สมาร์ทโฟนระดับพรีเมี่ยม ในไทย สียวหมี่ (Xiaomi) ผูนําเทคโนโลยีระดับโลก เปดตัว Mi MIX 3 สมารทโฟนระดับพรีเมี่ยม รุน ใหมในตระกูล Mi MIX ทีไ่ ดรบั รางวัลการันตีคณ ุ ภาพ โดยผสานเทคโนโลยีเขากับศิลปกรรม เรียบหรู แข็งแกรง โดดเดนสไตลสปอรต สวนฝาดานหลังออกแบบสวยงามโคงมนทั้ง 4 ดาน หนาจอ สไลด ขนาด 6.39 นิ้ว ความละเอียด 2340x1080 พิกเซล แสดงผล FHD+Samsung AMOLED อัตราสวนภาพ 19.5: 9 มาพรอมกลองทีท่ รงประสิทธิภาพ ดวยฟเจอรการตัง้ คากลองทีไ่ ดคะแนนจาก DxO Mark สูงถึง 108 คะแนน และที่ชารจแบบไรสาย ความจุ 10 วัตต มาในกลอง แถบสไลดเปนเอกสิทธิ์ของสมารทโฟนรุน Mi MIX 3 ประกอบดวยแมเหล็กนีโอไดเมียที่ไดรับ การตรวจสอบอยางละเอียด ดีไซนการสไลดหนาจอ ไมเพียงเพิม่ พืน้ ทีร่ ะหวางกลองหนาและเสาอากาศ เทานั้น แตยังชวยการแสดงผลแบบเต็มหนาจอสูงสุด และนับเปนครั้งแรกของเสี่ยวหมี่ที่เพิ่มปุม AI แบบพิเศษที่ดานซายของโทรศัพท ผูใชสามารถใชเทคโนโลยีการใชเสียง หรือ Xiao AI โดยกดปุม AI คาง และผูใชยังสามารถตั้งคาปุมกด การคลิกหนึ่งครั้งหรือสองครั้งเพื่อการใชงานในฟงกชันตางๆ สําหรับสีที่วางจําหนายในประเทศไทย จะมีเลือกถึง 3 สี ไดแก สีเขียวหยก, สีฟาพลอย และสีดํานิล โดยรับเครื่องไดตั้งแตวันที่ 28 ธันวาคม เปนตนไป

HONOR Band 4 Running สําหรับสาย Healthy อเนอร เปดตัวผลิตภัณฑในกลุม อุปกรณสวมใส HONOR Band 4 Running สายรัดขอมือออกกําลังกายสําหรับ คนชื่นชอบการวิ่ง ที่มาพรอมนํ้าหนักเบา สวมใสสบาย พรอมตัวเรือน ดีไซนแฟชั่นสีสันสดใส มีใหเลือกถึง 2 สี ไดแก สีเขียวและสีแดง ซึง่ HONOR Band 4 Running สามารถตรวจวัดและวิเคราะหลกั ษณะ การวิ่งไดถึง 7 รูปแบบ ไดแก การลงนํ้าหนักเทา แรงกระแทก การบิด ขอเทา วงสวิงขา เวลาสัมผัสพื้น จังหวะ และระยะการกาวขา สายรัดขอมือยังมาพรอมฟงกชันการทํางานมากกวา 20 ฟงกชัน อาทิ ตรวจจับการนอนหลับ การตั้งปลุก และกันนํ้าในความลึกระดับ 50 เมตร อีกทั้งยังสามารถเชื่อมตอเขากับสมารทโฟน HONOR 8X ตอบทุกไลฟสไตลคนรักสุขภาพไดอยางลงตัว

77

Engineering Today November - December

2018


Gadget >> ฟูจิตสึ เปิดตัว ScanSnap iX1500 ยกระดับประสิทธิภาพ สแกนง่าย เพียงปลายนิ้วสัมผัส ริษัท ฟูจิตสึ (ประเทศไทย) จํากัด เปดตัว ScanSnap iX1500 รุนลาสุดในกลุม ผลิตภัณฑเครื่องสแกนเอกสารสวนบุคคล ScanSnap ที่ไดรับความนิยมสูงสุด ซึ่งออกแบบเปนพิเศษเพื่อความสะดวกในการใชงาน โดย iX1500 จะปรับปรุงเอกสารสําคัญ ทั้งหมดที่อยูในรูปแบบของกระดาษ และเพิ่มประสิทธิภาพใหกับไลฟสไตลของคนรุนใหมที่เนน ความสะดวกสบายทํางานไดทุกที่ ทุกเวลา ชวยใหผูใชทําทุกสิ่งไดอยางงายดาย เพียงปลายนิ้วสัมผัส ดวยฟงกชั่นอัตโนมัติที่หลากหลาย ระบบ “One Touch” ของหนาจอแบบสัมผัสขนาด 4.3 นิ้วรุนแรกใน ScanSnap Series ซึ่งมีขนาดใหญ ทํางานพืน้ ฐานตางๆ เชน ตัง้ คา และกําหนดคา Wi-Fi ตรวจสอบสถานะของการสแกน และเลือกปลายทางสําหรับการบันทึก ดวยหนาจอแบบสัมผัส ไดอยางงายดาย แมกระทั่งสําหรับผูที่ใชงานเปนครั้งแรก สามารถกําหนดและแนะนําชื่อสําหรับเอกสารที่สแกนโดยอัตโนมัติ ตามเนื้อหาและ ขอกําหนดการตั้งชื่อที่ตั้งคาไวลวงหนา รองรับการสแกนที่รวดเร็วและราบรื่น โดยสแกน 30 แผน/นาทีในโหมด Duplex แบบสี บูตเครื่องภายใน เวลาไมกี่วินาทีหลังจากที่เปดฝาเครื่อง และแจงเตือนผูใชเกี่ยวกับฝุนละอองที่อาจสงผลกระทบตอการสแกน ดวยฟงกชัน Dust Detection อีก ทั้งยังรองรับการเชื่อมตอ Wi-Fi แบบในตัว ดวย Direct Connect Mode สนใจดูขอมูลเพิ่มเติมไดที่ http://www.fujitsu.com

UE 800 Series Indicating Temperature Switch E 800 Series Indicating Temperature Switch เปน Temperature switch ที่สามารถใช อานคาอุณหภูมิไดดวย ตัว Temperature Sensor ซึ่งเปนแบบ Liquid Filled ที่ประกอบดวย กระเปาะบรรจุของเหลวไวภายใน เมื่ออุณหภูมิที่กระเปาะเปลี่ยนแปลงจะทําให Pressure ของของเหลว ในกระเปาะเปลี่ ย นตามและถู ก ถ า ยทอดผ า นกลไกต า งๆ ไปเป น การหมุ น เข็ มบอกอุ ณ หภู มิ แ ละทํ า ให Temperature Switch ทํางานไดดวย UE 800 Series มีหนาปดขนาด 4 นิ้ว ใชควบคุมและอานคาอุณหภูมิของอุปกรณสําหรับใหบริการ ดานอาหาร, เตาอบ, เครื่องบรรจุหีบหอ, อุปกรณ HVAC และงานที่เกี่ยวกับอุณหภูมิภายใน Process Plants มีใหเลือก 2 แบบคือ แบบที่ Enclosure ทําดวย Lexan สําหรับงานที่ตองการ Enclosure Type 1 หรือ Type 4 (โดยเลือก Option M300), และแบบที่ Window ทําดวย Lexan และ Enclosure เปน Epoxy-coated Aluminum สําหรับงานประเภท Div. 1 Explosion Proof สามารถปรับ Temperature Ranges ได -180 ถึง 650°F และ -117 ถึง 340°C และ ไดรับการรับรองตามมาตรฐาน UL, CSA, CE สอบถามเพิ่มเติมไดที่ บริษัท คณิตเอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทร. 0-2642-8762-4 E-mail : sales1@kanitengineering.com เว็บไซต www.kanitengineering.com

U

เครื่องพิมพ์บัตรใหม่จากซีบรา เทคโนโลยีส์ ตอบโจทย์การใช้งานที่คล่องตัวใน “ทุกสถานที่” บรา เทคโนโลยีส คอรปอเรชั่น ผูนําดานนวัตกรรมผานโซลูชั่นที่ทันสมัย พรอมเครือขายคูคาที่ครอบคลุมเพื่อเสริมประสิทธิภาพใหองคกรยุคใหม เปดตัว ซีบรา ZC300 ซีรีย เครื่องพิมพบัตรสําหรับอุตสาหกรรมรุนใหมลาสุด ที่มีรูปทรงบางกะทัดรัด และใชพื้นที่ในการจัดวางนอยที่สุด เมื่อเทียบกับเครื่อง ประเภทเดียวกัน พรอมซอฟตแวรสําหรับออกแบบที่ตอบโจทยการใชงานครอบคลุม ทั้งในอุตสาหกรรมดานความความปลอดภัย อุตสาหกรรมคาปลีก ธุรกิจดานงานบริการ ธุรกิจดานการศึกษา และธุรกิจดานการเงิน ซีบรา ZC300 ซีรีย ออกแบบโดยทีมวิศวกรของซีบราไดรับรางวัลดานการออกแบบ การันตีดีไซนเครื่องพิมพ รุน ZC300 ซีรียไดเปนอยาง ดี โดยเพิ่มขีดความสามารถจากเครื่องพิมพบัตรแบบเดิมใหใชงานไดสะดวกและมีประสิทธิภาพยิ่งกวาเดิม มาพรอมเทคโนโลยีอัจฉริยะที่สามารถ วิเคราะหและปรับรูปแบบการพิมพใหเหมาะสมกับความหนาของบัตรโดยอัตโนมัติเพื่อขจัดขอผิดพลาดที่มักเกิดขึ้นกับเครื่องพิมพทั่วไปที่ผูใชงาน ตองเลือกปรับเอง และเพิ่มคุณสมบัติดานความปลอดภัย โดยสามารถล็อกฝาครอบเครื่องและชองบัตรชํารุดเพื่อปองกันการขโมยบัตรได สนใจชมขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.zebra.com

ซี

Engineering Today November - December

2018

78








Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.