EDITOR TALK กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
Cr ภาพ : www.naewna.com
นักวิจัย มช.ชี้ฝุ่น PM 2.5 ในภาคเหนือส่งผลต่อ ผู้ป่วยปอดอุดตันเรื้อรัง-ต้นเหตุให้โลกร้อนมากขึ้น ถึงวันนี้ปญหาฝุนขนาดเล็ก PM 2.5 ในประเทศไทยคงไมใชเรื่องเล็กๆ อีกตอไป โดยเฉพาะ ในพื้นที่ภาคเหนือ ซึ่งมีฝุนพิษปกคลุมหนาตา จากปญหาการเผาปาทั้งจากในประเทศเองและ ประเทศเพื่อนบาน ทําใหมีจุดความรอนหลายพันจุด เปนที่นาสังเกตวา ฝุน PM 2.5 ในภาคเหนือสวนใหญเกิดจากการเผาปา ซึ่งสงผลกระทบตอปอด โดยตรง สอดคลองกับงานวิจัยของ ผศ. ดร.กลิ่นเทียน วรรณภักตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย เชียงใหม หัวหนาโครงการการศึกษาการแตกหักของดีเอ็นเอในผูปวยโรคปอดอุดตันเรื้อรังในจังหวัด เชียงใหม ในชวงทีม่ มี ลพิษทางอากาศสูงและตํา่ ภายใตการสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย (สกว.) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางการทํางานของปอด และความถี่ของการเกิดการแตกหัก ของดีเอ็นเอในเยือ่ บุกระพุง แกม พบวาคนไขทปี่ ว ยเปนโรคปอดอุดตันเรือ้ รังจะมีความไวตอพิษฝุน มากกวา กลุมอาสาสมัครที่มีสุขภาพแข็งแรง โดยอัตราการแตกหักของดีเอ็นเอในคนไขกลุมนี้จะสูงกวาคนปกติ ถึง 200 เทา อาจสงผลใหมีการทําลายเนื้อเยื่อในระบบทางเดินหายใจเพิ่มมากขึ้น เพิ่มความรุนแรง ของโรค และเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งในอนาคต นอกจากนี้ มีงานวิจัยเรื่อง “ผลกระทบรวมของคุณลักษณะทางเคมีของฝุนละอองขนาดเล็ก สภาพภูมิอากาศ และผลตอสุขภาพ จากการปลดปลอยการเผาชีวมวลในภาคเหนือตอนบนของ ประเทศไทย” โดย ดร.ทิพวรรณ ประภามณฑล หัวหนาโครงการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดระบุวา ฝุน PM 2.5 ยังเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดโลกรอนมากขึ้น โดยอธิบายวา การเผาไหมทําใหเกิดสารสูชั้นบรรยากาศที่จะดูดซับทําใหเกิดโลกรอนมากขึ้น ในขณะเดียวกัน เมื่อ โลกรอนจะทําใหใบไมแหงและมีโอกาสเกิดการเผาไหมมากขึน้ เชนกัน การทีส่ ภาพภูมอิ ากาศเปลีย่ นแปลง ไปมาก ทั้งความรอน อุณหภูมิ และความชื้น นอกจากนี้ยังมีแกสตางๆ เชน คารบอนมอนอกไซด โอโซน ไนโตรเจนไดออกไซด เมื่อทั้งสองสวนทําปฏิกิริยากัน ทําใหเกิดความรุนแรงของความเปนพิษในมลพิษ ทางอากาศมากขึ้น ซึ่งจะสงผลกระทบตอสุขภาพอยางหลีกเลี่ยงไมได สําหรับวารสาร Engineering Today ฉบับนี้ยังคงนําเสนอสาระความรูความกาวหนาทางดาน วิศวกรรมและอุตสาหกรรมเชนเคย อาทิ “บทสัมภาษณ ศ. ดร.เปนหนึง่ วานิชชัย ผูเ ชีย่ วชาญดานแผนดินไหว”, “คณะวิศวฯ มหิดล เปดศูนยเมคเกอรอจั ฉริยะทันสมัยทีส่ ดุ ในไทย”, “แอพพลิแคด นํา ProtaStructure ซอฟตแวรชั้นนําจากยุโรป เสริมทัพงานวิเคราะหโครงสรางทางวิศวกรรม”, “เยี่ยมชมโรงงาน Plant Factory ของศูนยไบโอเทค ในอุทยานวิทยฯ” และคอลัมนอนื่ ๆ ทีน่ า สนใจในฉบับ ทัง้ นีส้ ามารถเขาไปอาน วารสาร Engineering Today ในรูปแบบของ E-Book ฉบับยอนหลังไดฟรีที่ www.engineeringtoday.net หรือจะเขาไปอัพเดทขาวสารทางดานวิศวกรรมและอุตสาหกรรมไดที่ FB: Engineering Today ชอบแลว ชวยกด Like กด Share กันดวยนะครับ
เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด วารสาร “Engineering Today” เปนวารสารรายสองเดือน ของบริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด บทความที่ตีพิมพในวารสาร “Engineering Today” ขอสงวนสิทธิใ์ นการนําไปใชคดั ลอก ดัดแปลง นําไปรวมตีพมิ พเผยแพรเพือ่ ประโยชนในวงการวิศวกรรม ขอความ ที่ตีพิมพในบทความและโฆษณาในวารสาร “Engineering Today” เปนความคิดเห็นสวนตัวของผูเขียนหรือผูลงโฆษณาเอง ซึ่งทาง วารสารฯ ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไปถาบทความใดผูอานเห็น วาไดมีการลอกเลียนหรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิง หรือ ทํ า ให เ ข า ใจผิ ด ว า เป น ผลงานของตน กรุ ณ าแจ ง ให ท าง กองบรรณาธิการทราบ จักเปนพระคุณยิ่ง รายละเอียดตางๆ ที่ปรากฏในวารสารฯ ไดผานการตรวจ ทานอยางถีถ่ ว นเพือ่ ความถูกตองสมบูรณทสี่ ดุ เทาทีส่ ามารถกระทํา ได ทางวารสารฯ ไมไดมีการรับประกันความเสียหายอันอาจเกิด ขึ้นจากการนําขอมูลในวารสารฯ ไปใชแตอยางใด ผูนําเนื้อหาที่ตีพิมพในวารสารฉบับนี้ไปเผยแพรไมวาบาง สวนหรือทั้งหมด จะตองอางอิงชื่อวารสารและบริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด ดวยทุกครั้งในทุกหนาที่มีเนื้อหาดังกลาว
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์
ฯพณฯ พลอากาศเอกกําธน สินธวานนท
คณะที่ปรึกษา
ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ตอตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน พันธุบรรยงก, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน เหมวชิรวรากร
บรรณาธิการอํานวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการผูพ มิ พผโู ฆษณา สุเมธ บุญสัมพันธกจิ บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรียพร วงศศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย เรืองติก พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ ผูจัดการฝายโฆษณา เขมจิรา ปลาทิพย ฝายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย, กัลยา ทรัพยภิรมย, วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝายผลิต ชุติมันต บัวผัน ฝายสมาชิก ศิรินทิพย โยธาพันธ โรงพิมพ หจก. รุงเรืองการพิมพ แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Engineering Today www.engineeringtoday.net
CONTENTS Engineering Today
March - April 2019 VOL. 2 No. 170
COLUMNS 8
บทบรรณาธิการ
นักวิจัย มช.ชี้ฝุน PM 2.5 ในภาคเหนือสงผลตอ ผูปวยปอดอุดตันเรื้อรัง-ตนเหตุใหโลกรอนมากขึ้น
24
• กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
16 Engineering 4.0
ศ. ดร.เปนหนึ่ง วานิชชัย ผูเชี่ยวชาญดานแผนดินไหว “ทั้งชีวิตอุทิศเพื่องานวิจัยแผนดินไหว”
• กองบรรณาธิการ
Technology
27 ชไนเดอร อิเล็คทริคชี้ป ค.ศ. 2019
เปนปทองของเอดจ ดาตาเซ็นเตอร-ปญญาประดิษฐ
• ชไนเดอร อิเล็คทริค
30 ซินโครตรอน ยืนยันเครื่องกําเนิดแสง ปลอดภัยจากรังสี 100% • กองบรรณาธิการ
30
16 32 Internet of Things
21 Report
คณะวิศวฯ มหิดล เปดศูนยเมคเกอรอัจฉริยะทันสมัยที่สุดในไทย
• กองบรรณาธิการ
สถาบันพลาสติก ผนึกกําลังเอ็มเฟค นําเทคโนโลยี IoT พัฒนาผูประกอบการพลาสติกไทยกาวสู Industry 4.0
• กองบรรณาธิการ
DIGITAL ECONOMY 34 EEC
21 24 Factory Today
ศูนยไบโอเทค ตั้งโรงงาน Plant Factory ในอุทยานวิทยฯ ชูเปนแหลงวิจัยการเกษตรแนวใหม
• กองบรรณาธิการ
สวทช. กอสรางโครงการเมืองนวัตกรรม EECi ผลักดันไทยเปนศูนยกลางนวัตกรรมชั้นนําแหงใหมในอาเซียน
• กองบรรณาธิการ
39 Industry 4.0
ร็อคเวล ออโตเมชั่นชี้เทรนด Smart Manufacturing หนุนอุตสาหกรรมไทย กาวทันการแขงขันยุค Industry 4.0
• กองบรรณาธิการ
CONTENTS Engineering Today
March - April 2019 VOL. 2 No. 170
DIGITAL ECONOMY 41 Innovation
ซีพี ออลล จัดงาน “7 Innovation Awards 2019” ปที่ 6 มอบรางวัล SME-Startup ที่พัฒนานวัตกรรม ตอบโจทยเศรษฐกิจยุคใหม
• กองบรรณาธิการ
CONSTRUCTION THAILAND Property 56 แสนสิริ จับมือ อาวดี้ ประเทศไทย รวมสราง Green Ecosystem
นํารองใชรถ EV ในโครงการ ตั้งเปาโครงการฯ สําเร็จภายใน 3 ป
• กองบรรณาธิการ
46 Energy Today
PEA รวมกับ ออริจิ้น สนับสนุนโครงการ Origin Smart District Rayong ยกระดับคุณภาพชีวิต-ใชพลังงานอยางคุมคา • กองบรรณาธิการ
56
48 Environment
นักวิจัย สกว.พัฒนาเซ็นเซอรทรายดูดซับสารพิษปนเปอน ใชประโยชนในภาคอุตสาหกรรม-ประชาชนทั่วไป
• กองบรรณาธิการ
58 เน็กซัสชี้ป’62 เทรนดธุรกิจ Co-working Office มาแรง พรอมเติบโตอยางกาวกระโดด • กองบรรณาธิการ
61 Construction
แอพพลิแคด นํา ProtaStructure ซอฟตแวรชั้นนําจากยุโรป เสริมทัพงานวิเคราะหโครงสรางทางวิศวกรรม
• กองบรรณาธิการ
63 Preview
48 IT Update 50 เอ็นทีที คอม ลงทุนเพิ่ม 500 ลานบาท สรางศูนยขอมูล
“Thailand Bangkok 2 Data Center” เฟส 3 รองรับนักลงทุน EEC
• กองบรรณาธิการ
52 บราเดอร โปรโมท “ธีรวุธ ศุภพันธุภิญโญ” เปนเอ็มดีคนไทยคนแรก นําทัพ Transform for the Future ผสานกลยุทธ 3C’s มุงเติบโตในอนาคต
• กองบรรณาธิการ
BMAM Expo Asia 2019 จัดขึ้นเปนครั้งที่ 12 รวมที่สุดเเหงนวัตกรรมดานการบริหารจัดการอาคาร • กองบรรณาธิการ
65 Project Management
การเริ่มตนโมเดลธุรกิจเพื่อความเจริญเติบโตและความยั่งยืน
• ดร.พรชัย องควงศสกุล
70, 71, 72 75
Focus Gadget
พิธีเป ดงาน IEEE PES GTD Asia 2019 อย างเป นทางการ
องคมนตรี เป ดงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 จัดขึ้นเป นครั้งแรกในไทยและเป นครั้งแรกในอาเซียน
พอ.อ.อ.ชลิต พุกผาสุข องคมนตรี ประธานในพิธี
ปดฉากไปพรอมกับความสําเร็จ สําหรับงาน ประชุมวิชาการและนิทรรศการระดับนานาชาติ IEEE PES Generation Transmission and Distribution Grand International Conference and Exposition Asia 2019 หรือ IEEE PES GTD Asia 2019 ซึ่ง IEEE Power & Energy Society-Thailand และ สถาบันวิชาชีพวิศวกร ไฟฟาและอิเลคโทรนิคสแหงประเทศไทย (IEEE Thailand Section) ไดรับความไววางใจจาก IEEE Power & Energy Society สํ า นั ก งานใหญ ประเทศสหรัฐอเมริกา ใหจดั งานขึน้ เปนครัง้ แรกใน ประเทศไทยและเปนครั้งแรกในภูมิภาคอาเซียน ภายใตแนวคิด “Big Shift in Power and Energy” ในระหว า งวันที่ 19-23 มี นาคม พ.ศ. 2562 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา โดยพิธเี ปดงานไดรบั เกียรติจาก พล.อ.อ. ชลิต พุกผาสุข องคมนตรี เปนประธานในพิธีพรอมเยี่ยม ชมนิทรรศการ ซึ่งมีผูประกอบการดานไฟฟาและ พลั ง งานชั้ น นํ า จากทั่ ว ทุ ก มุ ม โลกที่ เ ข า ร ว มแสดง เทคโนโลยีและนวัตกรรมดานวิศวกรรมไฟฟาและ พลังงานกวา 400 คูหา ครอบคลุมทุกดานเกี่ยวกับ ระบบผลิต การสงและจําหนายไฟฟา การผลิตไฟฟา จากพลังงานหมุนเวียนและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ กับระบบดิจิทัลที่บูรณาการกับการผลิต การสงและ จําหนายไฟฟาและพลังงาน โดยคาดวาจะมีผเู ขารวม การประชุมและเยี่ยมชมนิทรรศการภายในงานกวา 10,000 คน
ประธานเยี่ยมชมนวัตกรรมไฟฟ าและพลังงานภายในงาน
ส วนหนึ่งของนวัตกรรมยานยนต ไฟฟ าที่จัดแสดงภายในงาน
15
Engineering 4.0 0 • กองบรรณาธิการ
ศ. ดร.เป นหนึ่ง วานิชชัย อาจารย สถาบันเทคโนโลยีแห งเอเชีย (AIT) และผู เชี่ยวชาญด านแผ นดินไหว
ทั้งชีวิตอุทิศเพื่องานวิจัย แผ นดินไหว
บทเรียนจากเหตุการณ ณ าใหการศึกษา แผนดินไหวของไทยในอดีต ทําให ระดับใดมีความสําคัญ แตละรอยเลื่อนวามีพลังในระดั เฝ า ระวั ง และรั บ มื อ อย า งยิ่ ง เพื่ อ เตรี ย มพร อ มมเฝ จาากรอยเลื่อนที่มีพลัง สถานการณแรงสั่นสะเทือนจากรอยเลื ห ในวันใดวันหนึ่ง หวได ซึ่งอาจสงผลใหเกิดแผนดินไหวได งไมใชจํากัดเพียง ในอนาคต ทั้งนี้การเฝาระวัวังไม รอยเลื่อนในประเทศที่มีพลััง 14 รอยเลื่อนที่ นือ ภาคตะวันตก กระจายตัวในบริเวณภาคเหนืนอ วกันจะตองศึกษา และภาคใตเทานั้น ขณะเดียวกั ยตตอที่มีพลังใน และเฝาระวังรอยเลื่อนรอยต ประเทศเพื่อนบานที่อาจจะสสงงผลกระทบ ผลกระทบ ตอประเทศไทยดวย
Engineering Today March - April
2019
16
ทําความรู จักกูรูผู เชี่ยวชาญด าน แผ นดินไหวของไทย ตัดสินใจเป นอาจารย ตั้งแต ป พ.ศ. 2535 จนถึงป จจุบัน ศ. ดร.เปนหนึง่ วานิชชัย อาจารยสถาบันเทคโนโลยี แหงเอเชีย (AIT) และผูเชี่ยวชาญดานแผนดินไหว ซึ่ง คลุกคลีและทําการศึกษาเรื่องภัยพิบัติดานแผนดินไหว มาตลอด ยอนรอยเมื่อครั้งศึกษาระดับปริญญาตรีที่คณะ วิ ศ วกรรมศาสตร สาขาวิ ศ วกรรมโยธา จุ ฬ าลงกรณ มหาวิทยาลัย ในป พ.ศ. 2525 วา หลายคนคิดวาหลังจาก เรียนจบแลว อาจารยเปนหนึ่งจะทํางานดานกอสราง มากกวาที่จะมาเปนอาจารยดังเชนปจจุบันนี้ เนื่องจากใน ช ว งแรก อาจารยไ ดมี โอกาสเขา ทํา งานดานวิศ วกรรม โครงสรางที่ บริษัท เอ็ดคอน จํากัด ในตําแหนงวิศวกร ควบคุ ม งานก อ สร า งอาคารสํ า นั ก งานใหญ ข องบริ ษั ท ไทยสมุทรประกันภัย จํากัด จากนั้นในป พ.ศ. 2528 ได ไปศึ ก ษาต อ ระดั บ ปริ ญ ญาโท สาขาวิ ศ วกรรมโยธา ที่ มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุน แลวกลับมาทํางาน ในตําแหนงวิศวกรควบคุมงานกอสรางโครงการสะพาน พระราม 9 ซึ่งเปนสะพานเคเบิลขึงที่มีชวงความยาวของ สะพานระหวางเสาตอมอหลัก 450 ขามแมนํ้าเจาพระยา ที่บริษัท Hitachi Zosen Corporation โดยทํางานควบคุม การกอสรางอยูประมาณ 2 ป จึงกอสรางสะพานแลวเสร็จ หลังจากนั้นไดกลับไปศึกษาตอระดับปริญญาเอก ทีค่ ณะวิศวกรรมโยธา สาขาพลศาสตรโครงสราง มหาวิทยาลัย โตเกียว ประเทศญีป่ นุ อีกครัง้ ในป พ.ศ. 2534 แลวไดทาํ งาน เปนนักวิจยั Postdoctoral Research Fellow, Northwestern University ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยคนควาวิจัยเพื่อหา วิ ธี ล ดระดั บ การสั่ น สะเทื อ นของโครงสร า งซั บ ซ อ นที่ มี ความถี่ธรรมชาติเรียงตัวใกลกัน ดวยวิธี Active Vibration Control ซึ่งทํางานไดเพียง 1 ป พออาจารยทราบขาววา สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (AIT) เปดรับสมัครอาจารย สอนและกํากับดูแลการศึกษาวิจยั ของนักศึกษาปริญญาโท และปริญญาเอกในสาขาวิศวกรรมโครงสราง วิศวกรรมแผน ดินไหว และพลศาสตรโครงสราง จึงไดตัดสินใจสมัครและ ไดรบั การตอบรับใหเปนอาจารยตงั้ แตป พ.ศ. 2535 เปนตน มาจนถึงปจจุบัน เปนเวลายาวนานกวา 26 ป
ภัยพิบัติทางธรรมชาติยากที่จะคาดเดา ต องใช Data Base คาดการณ ภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้น นอกจากบทบาทในฐานะอาจารย ส อนนั ก ศึ ก ษาในสถาบั น เทคโนโลยีแหงเอเชียแลว โดยสวนตัว ศ. ดร.เปนหนึ่ง มีความสนใจ ในงานวิจัยทางดานแผนดินไหวเปนพิเศษ จึงไดทําการศึกษาวิจัยมา โดยตลอด เนื่องจากอาจารยมองวาภัยพิบัติทางธรรมชาติทุกชนิดลวน แลวเปนเรื่องที่ยากจะคาดเดาได จึงตองมีการรวบรวมขอมูลทุกดาน เพื่อนํามาเปนขอมูลสนับสนุนการทํางานวิจัยในดานนั้นๆ เพื่อจัดทํา เปน Data Base สําหรับใชคาดการณภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้นในอนาคต “ไมใชเฉพาะเรื่องแผนดินไหวเทานั้นที่ควรจัดเก็บขอมูล Data Base แตทุกๆ ภัยพิบัติควรทําการเก็บขอมูล มีงานวิจัยสนับสนุนเอาไว อยางรอบดาน เพื่อหาทางปองกัน ชวยเหลือชีวิตและทรัพยสินของ ประชาชน ประเทศชาติ ใหเกิดการสูญเสียนอยที่สุด” ศ. ดร.เปนหนึ่ง กลาว
17
Engineering Today
March - April
2019
ชี้แผ นดินไหวเมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ น กระตุ นให ไทยตื่นตัวเรื่องแผ นดินไหว ศ. ดร.เปนหนึ่ง กลาววา ในอดีตประเทศไทยยังไมมี การศึกษา สํารวจ วิจัยถึงความชัดเจนเรื่องแผนดินไหววา แทจริงแลวแรงสั่นสะเทือนที่สงผลใหเกิดแผนดินไหวใน แตละพื้นที่ตั้งอยูตามแนวรอยเลื่อนนั้นมีแรงสั่นสะเทือน ระดับใดบาง หากเกิดการสัน่ สะเทือนขึน้ แลวจะสงผลกระทบ ตอพื้นที่ใดและจะสรางความเสียหายยังพื้นที่สวนใดบาง อีกทั้งยังไมมีการศึกษา สํารวจ และวิจัยแรงสั่นสะเทือน จากรอยเลื่อนที่มีพลังจากประเทศเพื่อนบานวาหากเกิด การสั่ น สะเทื อ น เกิ ด แผ น ดิ น ไหวแล ว จะส ง ผลกระทบ ตอประเทศไทยอยางไรบาง แตในปจจุบันประเทศไทยมี คณะทํางานที่พรอมรับมือและใหองคความรูแกประชาชน สังคม อยางรวดเร็วและทั่วถึงมากขึ้น “ในอดีตประเทศไทยอาจจะมีแรงสั่นสะเทือนที่เกิด จากแผนดินไหวอยูในระดับปานกลาง จึงยังไมคอยมีการ ศึกษา สํารวจและทําการวิจยั มากนัก อาจจะมีบา งทีท่ าํ การ ศึกษาความเสี่ยงหากเกิดแผนดินไหวขึ้น แตยังไมไดศึกษา ในเชิงลึกถึงผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ หากเกิดแผนดินไหวทีร่ นุ แรง และยังมีนักวิจัยอีกหลายคนที่ยังไมมั่นใจวาประเทศไทย จะมีความเสี่ยงเรื่องแผนดินไหวหรือไม และไมแนใจวา หากเกิดแผนดินไหวในประเทศไทยขึน้ จริงแลวความรุนแรง เรื่องแผนดินไหวนั้นจะมีอะไรที่นาเปนหวงอยางไรบาง จนกระทั่งเกิดเหตุแผนดินไหวที่เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุน
Engineering Today March - April
2019
ในป พ.ศ. 2538 ที่สรางความเสียหายแกชีวิต บานเรือนและทรัพยสิน ของประชาชนในประเทศญี่ปุนเปนจํานวนมาก สื่อมวลชนแทบทุกแขนง ไดมีการนําเสนอขอมูลขาวสารของเหตุการณที่เกิดขึ้น ซึ่งภาพความเสีย หายคอนขางรุนแรงมาก ทําใหหนวยงานทีเ่ กีย่ วของเรือ่ งแผนดินไหวเริม่ ตืน่ ตัวหาแนวทางปองกันเหตุแผนดินไหวกอนทีจ่ ะเกิดขึน้ กับประเทศไทย เนื่องจากประเทศไทยตั้งอยูบนรอยเลื่อนหลายรอยมากและไมแนชัดวา รอยเลื่อนตางๆ ที่มีจะไดรับผลกระทบจากการเกิดแผนดินไหวจาก เมืองโกเบดวยหรือไม และเพื่อไมใหเกิดการตื่นตระหนกในประเทศจน เกินไปจึงไดมกี ารสงคณะทํางาน นักวิจยั ไปศึกษาดูงานเรือ่ งแผนดินไหว หลายคณะมาก เพื่อศึกษาถึงที่มาของเหตุความเสียหาย พรอมทั้งหา แนวทางปองกันความเสี่ยงที่เกิดจากแผนดินไหวกอนที่จะเกิดขึ้นและ สงผลกระทบตอประชาชนในประเทศไทย” ศ. ดร.เปนหนึ่ง กลาว
ร วมงานวิจัยแผ นดินไหวกับ สกว.มากกว า 16 ป ศึกษา สํารวจ พัฒนาสร างความรู รับมือแผ นดินไหว สําหรับงานวิจัยแผนดินไหว ศ. ดร.เปนหนึ่ง ไดรวมงานกับ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) ตัง้ แตป พ.ศ. 2545 จนถึง ปจจุบัน ซึ่งหากนับระยะเวลาในการทํางานรวมกันในงานวิจัยเรื่องแผน ดินไหว ประมาณ 16-17 ป โดย ศ. ดร.เปนหนึ่ง เปนหัวหนาโครงการ ลดภัยพิบัติจากแผน ดิ น ไหวในประเทศไทย เริ่มตนดวยการสราง ชุดโครงการวิจยั 5 โครงการพรอมกัน ครอบคลุมเรือ่ งตางๆ เชน ศึกษา เกีย่ วกับเรือ่ งรอยเลือ่ นทีม่ พี ลังในประเทศไทย ศึกษาเกีย่ วกับเรือ่ งขอมูล การตรวจวัดแผนดินไหว รวบรวมใหเปน Data Base ศึกษาเกี่ยวกับ บริเวณที่มีพื้นที่ดินออนอยู ศึกษาเกี่ยวกับ Dynamic Property จะ ออกแบบอาคารใหสําเร็จอยางไร มีการดึงนักวิจัยคนใหมๆ มาชวย
18
เนือ่ งจากโครงการมีหลายระยะ ระยะเวลาประมาณ 2-3 ป คาดําเนินงานวิจัยประมาณ 10 ลานบาท ปจจุบันเริ่ม เขาระยะที่ 4 ในแตละระยะมีประมาณ 4-6 โครงการยอย มีนกั วิจยั เขารวมโครงการ 22 คน จาก 8 มหาวิทยาลัยและ 3 หนวยงานรัฐ โดยมีเปาหมายหลักคือ การดําเนินการ ศึ ก ษา สํ า รวจ วิ จั ย และพั ฒนาเพื่ อ ให ไ ด ค วามรู ที่ เ ป น ประโยชนตอ การเตรียมพรอมรับมือกับภัยพิบตั จิ ากแผนดิน ไหวในอนาคต เพือ่ ลดความสูญเสียทีจ่ ะเกิดขึน้ ใหมากทีส่ ดุ เทาที่จะเปนไปได
ไทยมี 14 รอยเลื่อนเสี่ยงต อแผ นดินไหว ชี้เป นรอยเลื่อนเดียวกับที่ญี่ปุ น จากการศึกษาพืน้ ทีเ่ สีย่ งเรือ่ งแผนดินไหวในประเทศไทย พบวาหลักๆ มี 14 รอยเลื่อน ไดแก รอยเลื่อนแมจัน รอยเลือ่ นแมองิ รอยเลือ่ นพะเยา รอยเลือ่ นแมทา รอยเลือ่ น ปว รอยเลือ่ นแมฮอ งสอน รอยเลือ่ นเถิน รอยเลือ่ นอุตรดิตถ รอยเลื่อนเมย รอยเลื่อนเพชรบูรณ รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ รอยเลื่อนเจดียสามองค รอยเลื่อนระนอง และรอยเลื่อน คลองมะรุย ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ภาคเหนือเกือบทุกจังหวัด พื้นที่ภาคตะวันตก พื้นที่ภาคอีสาน และพื้นที่ภาคใต แต ไมใชรอยเลื่อนที่นากลัวนอยกวาประเทศญี่ปุนเลย เพราะ เปนรอยเลื่อนประเภทเดียวกัน เพียงแตวาประเทศญี่ปุนมี ประมาณ 200 กวารอยเลื่อน แตของเรามีประมาณ 14 รอยเลือ่ น ในแตละรอยเลือ่ นจะใชเวลาสะสมพลังงานนาน จึงจะเกิดการสั่นไหวจนสรางผลกระทบที่รุนแรงออกมา กลายเปนแผนดินไหวซึง่ เปนภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ ยากทีจ่ ะ คาดเดาไดวาหวงเวลาที่จะเกิดแผนดินไหวในแตละพื้นที่ ตามรอยเลื่อนที่มีในประเทศไทยนั้นจะเกิดชวงเวลาใด เพราะนอกเหนือจากปจจัยการสะสมพลังงานจนเกิดแผน ดินไหวที่มีในประเทศไทยเองแลว ปจจัยรอยเลื่อนรอยตอ แผนดินไหวจากประเทศเพือ่ นบานทีเ่ ชือ่ มตอกับประเทศไทย จะเปนอีกแรงกระตุน ทีจ่ ะทําใหรอยเลือ่ นทีม่ ใี นประเทศไทย กลายเปนแผนดินไหวไดเร็วขึ้นในอนาคต “รอยเลือ่ นแผนดินไหวในประเทศไทยเราใชเวลาสะสม พลังงานนาน เลยเกิดเปนแผนดินไหว ทุกๆ 100-200 ป ใชวา เราจะไมมกี ารศึกษาการคาดการณเหตุแผนดินไหวใน ประเทศไทย แตเรามีการคาดการณไวอยางไมประมาท เพียงแตการเกิดแผนดินไหวของเราเกิดดวยอัตราที่ตํ่ากวา ประเทศญี่ปุน แตเรามีสิทธิ์ที่จะเกิดในอัตราที่รุนแรงกวา หรือเทากับที่เกิดขึ้นในประเทศญี่ปุน ที่เปนอันตรายกับ อาคารอยางชัดเจน อยางที่เชียงรายเมื่อป พ.ศ. 2557 ที่
เกิดแผนดินไหวขึ้น ก็ชัดเจนในความรุนแรงของการสั่นไหวของแผนดิน และผมพยากรณแลววาจะเกิดเหตุการณนี้ขึ้นเมื่อประมาณ 20 ปที่แลว ในบริเวณพื้นที่ที่เสี่ยงภัยตามรอยเลื่อน ซึ่งผมไดเขียนไวอยางชัดเจน แลววาตองเกิด และสุดทายก็เกิดขึ้นจริง จะเกิดแผนดินไหวที่รุนแรงที่มี ผลกระทบกับกรุงเทพฯ และมีผลกระทบกับอาคารบานเรือนตางๆ ที่ ไมไดมีการกอสรางตามมาตรฐานสากลในการปองกันแผนดินไหว” ศ. ดร.เปนหนึ่ง กลาว
โครงการลดภัยพิบตั จิ ากแผ นดินไหวในประเทศไทยของ สกว. ต อยอดทําแผนทีเ่ สีย่ งภัย-ออกแบบอาคารต านทานแผ นดินไหว สําหรับผลงานวิจัยจาก โครงการลดภัยพิบัติจากแผนดินไหวใน ประเทศไทยของ สกว. ได ถู ก นํ า ไปใช ใ นการจั ด ทํ า แผนที่ เ สี่ ย งภั ย การกํ า หนดกฎหมายควบคุ ม ให มี ก ารออกแบบอาคารต า นทาน แผนดินไหว การจัดทํามาตรฐานทางวิศวกรรมในการออกแบบอาคาร ตานทานแผนดินไหว การจัดฝกอบรมใหความรูแกวิศวกร และการ นําไปเผยแพรใหแกประชาชนผานทางสื่อสารมวลชน และการบรรยาย ทางวิชาการ เปนตน นอกจากนี้ไดจัดทําแผนที่เสี่ยงภัยแผนดินไหวของประเทศไทย ครั้งแรกในป พ.ศ. 2537 และครั้งที่สองในป พ.ศ. 2550 ซึ่งแผนที่ เสี่ยงภัยแผนดินไหวของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2537 เปนขอมูลสําคัญ ที่ใชในการออกขอกําหนดในกฎกระทรวงฉบับที่ 49 (พ.ศ. 2540) ออก ตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ซึ่งกําหนดใหมี การออกแบบอาคารใน 10 จังหวัดทีม่ คี วามเสีย่ งภัยใหสามารถตานทาน แผนดินไหวไดอยางเหมาะสม สวนแผนที่เสี่ยงภัยแผนดินไหวของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2550 เปนขอมูลสําคัญในการกําหนดระดับความรุนแรงของแผนดินไหวใน อําเภอตาง ๆ ทัว่ ประเทศไทย ในมาตรฐานการออกแบบอาคารตานทาน การสะเทือนของแผนดินไหวของกรมโยธาธิการและผังเมือง (มยผ. 1302) และเปนขอมูลสําคัญในการจัดทําแผนแมบทปองกันและบรรเทา ภั ย จากแผ น ดิ น ไหวและอาคารถล ม ของกรมป อ งกั น และบรรเทา สาธารณภัย
จับมือ มธ.จัดทํา Lab อุโมงค ลมสําหรับทดสอบลมธรรมชาติ ทีม่ ขี นาดใหญ ทสี่ ดุ และทันสมัยทีส่ ดุ ในไทย ปจจุบันการเติบโตของสิ่งกอสรางมีการขยายตัวอยางรวดเร็ว ไมวาจะเปนอาคารสูง หรือสะพานยาว ขณะเดียวกัน งานวิจัยเพื่อการ ศึกษาผลของแรงลมตออาคารสูงและสะพานยาว ซึ่งสงผลกระทบตอ โครงสรางอาคารบานเรือนสิ่งปลูกสรางตางๆ ก็ถูกใหความสําคัญมาก ขึ้นเชนกัน ศ. ดร.เปนหนึ่ง จึงไดรวมกับ รศ. ดร.วิโรจน บุญญภิญโญ จากคณะวิ ศ วกรรมศาสตร ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมโยธา มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร (มธ.) จัดทําหองปฏิบัติการอุโมงคลมสําหรับทดสอบ
19
Engineering Today
March - April
2019
ลมธรรมชาติ ภายใตชื่อ TU-AIT Boundary-Layer Wind Tunnel โดยอุ โ มงค ล มดั ง กล า วมี ข นาดหน า ตั ด กว า ง 2.5 เมตร สูง 2.5 เมตร และชวงทดสอบยาว 25.5 เมตร ตั้งอยูที่คณะวิศวกรรมศาสตร มธ. ในป พ.ศ. 2544 เพื่อ พัฒนางานวิจยั ดานอุโมงคลมและพลศาสตรโครงสรางของ อาคาร ดวยมาตรฐานสากล นับเปนอุโมงคลมที่มีขนาด ใหญที่สุด และทันสมัยที่สุดในประเทศไทย “ผมคิดคนพัฒนาอุโมงคลมมาหลายป มีความคิด ที่จะทําตั้งแตสมัยเรียนจบใหมแตขาดการออกแบบและ โครงสราง ขาดงบประมาณ ก็โชคดีไดพนั ธมิตรจากอาจารย ดวยกันเพราะทางมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรก็อยากได อุโมงคลมเพื่อนํามาสอนนักศึกษา ซึ่งการรวมทํางานวิจัย ในครั้งนั้น ผมลงทุนในเรื่องการออกแบบและพัฒนาหอง ปฏิบตั กิ ารอุโมงคลม (Wind Tunnel) สวนทางมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตรลงทุนในสวนของงบประมาณ สรุปมีการสราง อุโมงคลมทีม่ หาวิทยาลัยธรรมศาสตร แตนกั ศึกษาของทาง สถาบันเทคโนโลยีเอเชียใชงานไดเชนเดียวกับนักศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โดยแบงเปนสถาบันเทคโนโลยี เอเชียใชเรียน ใชทํางานวิจัยในวันจันทร-พุธ สวนทาง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรใชในวันศุกร-อาทิตย” นอกจากนี้อุโมงคลมยังใชในการทดสอบโครงสราง ในภาคอุตสาหกรรม ใหสามารถตานทานแรงลมไดอยาง ปลอดภัยหลายๆ ประเภท เมื่อเปรียบเทียบกับอุโมงคลม ทีส่ รางขึน้ กับอุโมงคลมในตางประเทศไมถอื วามีขนาดใหญ แต ก็ มี ข นาดใหญ เ พี ย งพอในการทดสอบใหมๆ ทํ า ให มีโครงการที่เกี่ยวของทั้งจากในประเทศและตางประเทศ เขามาขอทดสอบดวย ตัวอยางเชน โครงสรางที่ทดสอบ ไดแก องคพระพุทธเมตตาประชาไทยฯ (พระพุทธรูปยืน สูง 32 เมตร) อาคารหลังคาโดมที่มีชวงยาว 86 เมตร, อาคาร Gramercy Residences และ Knightsbridge สูง 70 ชั้น ประเทศฟลิปปนส, Pattaya Park Tower สูง 200 เมตร, สะพานเคเบิลขึงรัชมิว ประเทศเวียดนาม, โครงสรางปายโฆษณาขนาดใหญรูปทรงตางๆ ออกแบบ ทดสอบและติดตั้ง Tuned Mass Dampers เปนอุปกรณ ที่ชวยสลายพลังงานการสั่นไหวของโครงสราง เพื่อใหการ สัน่ ไหวของโครงสรางเนือ่ งจากแรงลมมีระดับทีป่ ลอดภัยให กับปลองเหล็ก สูง 90 เมตร และ 135 เมตร ที่จังหวัด ระยอง ทัง้ นี้ ศ. ดร.เปนหนึง่ ไดรบั การแตงตัง้ ใหเปนกรรมการ ผูชํานาญการจัดทํา “มาตรฐานการคํานวณแรงลมและ
Engineering Today March - April
2019
การตอบสนองของอาคาร” (มยผ.1311) พ.ศ. 2549-2550 ซึ่งเปน มาตรฐานของกรมโยธาธิการและผังเมือง ทีแ่ สดงขอกําหนดเชิงวิศวกรรม อยางละเอียดในการออกแบบอาคารในประเทศไทย ใหสามารถตานทาน แรงลมไดอยางปลอดภัย ประธานคณะอนุกรรมดานผลกระทบจาก แผนดินไหวและแรงลม วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ (วสท.) ตั้งแต พ.ศ. 2545-ปจจุบัน โดยมุงเนนใหความรู และการจัดฝกอบรมวิศวกรในดานวิศวกรรมแผนดินไหวและโครงสราง ตานทานแรงลม
พัฒนาวิศวกรรมด านแผ นดินไหวและแรงลม ให เป นที่รู จริงและยอมรับในระดับสากลมากยิ่งขึ้น สําหรับการทํางานดานวิศวกรรมนั้น ศ. ดร.เปนหนึ่ง กลาววา ไดนําหลักวิทยาศาสตรมาใชในการแกปญหาพรอมๆ กับใชหลัก Logic โดยเขาใจถึงขอจํากัดและโลกแหงความเปนจริงดวยเพราะหลักการ Logic ที่เรียนมาอยูในสายเลือดวิศวฯ อยูแลว สวนหลักในวิทยาศาสตร ที่นํามาใชจะเนนในเรื่องความปลอดภัย เรื่องขอเท็จจริง ซึ่งจะตองมี ทัง้ สองอยางควบคูก นั ไป ทีเ่ ปนเชนนัน้ เพราะไมอยากใหเกิดสิง่ ทีร่ า ยแรง ขึน้ ดังนัน้ จะตองทําความเขาใจเหตุกอ นทีผ่ ลจะเกิด ถาเราฝนดี มองโลก ในแงดี ก็จะประมาท มองขามโอกาสที่เปนจริงและจะเกิดขึ้นจริง “ผมก็ ไ ม ค อ ยมี ห ลั ก การอะไรมาก แต สิ่ ง ที่ ทํ า มาตลอดก็ คื อ การพยายามพัฒนาวิศวกรรมสาขาใหมทางดานแผนดินไหวและแรงลม ใหเปนที่รูจริงและยอมรับในระดับสากลมากยิ่งขึ้น”
สุขแบบลึกๆ บนการทํางานเพื่อประโยชน ต อส วนรวม ตลอดระยะเวลาการทํางานในฐานะอาจารยตั้งแตป พ.ศ. 2535 เปนตนมาจนถึงปจจุบัน เปนเวลากวา 26 ป ควบคูกับงานวิจัยดาน แผนดินไหว ศ. ดร.เปนหนึง่ ไดทมุ เทการทํางานมาโดยตลอด และพรอม ทีจ่ ะทําประโยชนใหสว นรวม โดยไมคดิ หวังสิง่ ตอบแทน ถือเปนปูชนียบุคคล ของวงการแผนดินไหวของไทย “ผมคิดวาชีวิตคนเราสั้น เกิดมาไมนาน อีกไมกี่สิบปเราก็ตายแลว บางคนอาจจะพยายามหาเงินใหมากที่สุด บางคนก็อาจจะพยายาม หาความสุขใหมากทีส่ ดุ ผมคิดวาทําชีวติ ใหเปนประโยชนนา จะดีกวา ใน ขณะเดียวกัน ก็ควรทําตัวเองใหเปนประโยชนใหมีความสุขดวยพอ ประมาณ แตการทีเ่ ราทําแลวเปนประโยชนตอ สังคมหรือตอวิชาชีพ ก็จะ ทําใหเรามีความสุขแบบลึกๆ อยางงานทีผ่ มทําอยูท กุ ๆ วันนี้ ผมก็คดิ วา มีประโยชน เราไมไดคดิ วาเราทําเพือ่ ประโยชนตอ ตนเอง แตถา เราคิดวา ทําเพื่อประโยชนตอสวนรวมแลวมีความสุข ตอบโจทย ก็ควรทํา ไมคิด วาอยากจะแขงขันกับใคร คิดวาถาทุกคนมองในแงนี้ ทําประโยชนใหสงั คม นาจะสงผลดีตอสวนรวมมากขึ้น” ศ. ดร.เปนหนึง่ กลาวทิ้งทาย
20
Report • กองบรรณาธิการ
ศูนย เมคเกอร สเปซอัจฉริยะ หนุนเมคเกอร -สตาร ทอัพรุ นใหม คิดค นนวัตกรรมตอบโจทย สังคม
พิธีเป ด Innogineer Studio ศูนย เมคเกอร สเปซอัจฉริยะที่ทันสมัยที่สุดในไทย
คณะวิศวฯ มหิดล
เป ดศูนย เมคเกอร อัจฉริยะทันสมัยที่สุดในไทย เดินหน าป น เมคเกอร -สตาร ทอัพไทยสูเ วทีโลก
ใน
โอกาสครบรอบ 131 ป มหาวิทยาลัยมหิดล และตอบรับ โลกยุค Disruptive คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ไดเปด Innogineer Studio ศูนยเมคเกอรสเปซอัจฉริยะที่ทันสมัยที่สุดใน ประเทศไทย รองรับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมดวยศักยภาพ ของเมคเกอรและสตารทอัพในการสรางนวัตกรรมและมูลคาเพิ่มทาง เศรษฐกิจ โดยไดรบั เกียรติจาก ศ.คลินกิ นพ.อุดม คชินทร รัฐมนตรีชว ย วาการกระทรวงศึกษาธิการ เปนประธานในพิธี รวมดวย ผศ. ดร.จักรกฤษณ ศุทธากรณ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ณ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล พรอมกันนี้ไดมีการจัดเวทีเสวนาเรื่อง “Maker Power 2019... พลังไทยบนเวทีโลก” โดยมีผูเชี่ยวชาญและสตารทอัพรวมเวที อาทิ ดร.สักกเวท ยอแสง หัวหนาสงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล สถาบันสงเสริม วิสาหกิจดิจิทัลเริ่มตน สํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA), อภิโชค ประเสริฐรุงเรือง สตารทอัพผูรวมกอตั้งบริษัท Airportels จํากัด และ รศ. ดร.พลังพล คงเสรี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล
21
ศ.คลินิก นพ.อุดม คชินทร รัฐมนตรีชวย วาการกระทรวงศึกษาธิการ กลาววา โลกวันนี้และ อนาคตเปลี่ยนไปอยางรวดเร็วและขับเคลื่อนดวย เทคโนโลยีและดิจทิ ลั ทามกลางการแขงขันทีร่ อ นแรง “นวัตกรรม” จึงเปนเรื่องของทุกคน ทั้งภาคเอกชน ภาคการศึกษา ภาคอุตสาหกรรม และทุกภาคสวน ที่ ต อ งผนึ ก กํ า ลั ง สนั บ สนุ น คิ ด ค น เทคโนโลยี แ ละ ตอยอดนวัตกรรม ตอบโจทยปญ หาสังคมและเศรษฐกิจ การทีค่ ณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล เปด Innogineer Studio ศูนยเมคเกอรสเปซอัจฉริยะ ที่ครบครันดวยเครื่องมือเทคโนโลยีพัฒนาตนแบบ ประสิทธิภาพสูง และทันสมัยทีส่ ดุ ในประเทศไทยใน ครัง้ นี้ สะทอนถึงการปฏิรปู การศึกษาของมหาวิทยาลัย อยางเปนรูปธรรมโดยยึดผูเ รียนเปนศูนยกลาง ทัง้ ให ความสําคัญของการสงเสริม ผลักดันเมคเกอรและ ผูป ระกอบการสตารทอัพรุน ใหมใหมคี วามคิดสรางสรรค เปนฟนเฟองสําคัญทีส่ ามารถเพิม่ มูลคาทางเศรษฐกิจ ของประเทศ และสามารถประดิษฐคดิ คนนวัตกรรม ออกมาให ตอบโจทย แกปญหาแก สังคมและภาค อุตสาหกรรมได โดย Eco System แหงนี้ จะบมเพาะ นักศึกษาและเมคเกอรพันธุใหม ใหมีพื้นที่ในการ แสดงออก ฝกฝนทักษะความรู เขาถึงและกาวทัน เทคโนโลยี คิดคนผลิตภัณฑตางๆ ที่มีคุณภาพและ ประสิทธิภาพ สรางประโยชนแกสงั คมและมนุษยชาติ
ศ.คลินิก นพ.อุดม คชินทร รมช.ศึกษาธิการ ประธานในพิธี
Engineering Today
March - April
2019
เผยแนวคิดจัดตั้งศูนย Innogineer Studio มุ งสร าง “สังคมนวัตกรรมและผู ประกอบการ” ผศ. ดร. จักรกฤษณ ศุทธากรณ คณบดีคณะ วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล กลาววา ใน วาระครบรอบ 131 ป ของการกอตั้งมหาวิทยาลัย มหิดล ดวยวิสัยทัศนที่มุงมั่นสูการเปน “World Class University” มหาวิทยาลัยระดับโลก ซึ่งเมื่อ เร็วๆ นี้ ทาง Times Higher Education World University Ranking 2019 ไดจดั อันดับมหาวิทยาลัย มหิดลเปนอันดับ 1 ของประเทศไทย ประจําป 2019 และเป น อั น ดั บ ที่ 60-800 จากการจั ด อั น ดั บ มหาวิทยาลัยระดับโลกนัน้ ทางคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล มุ ง มั่ น สู เ ป า หมายการเป น “World-Class Engineering” ไดเปดศูนย Innogineer Studio ซึ่งเกิดขึ้นจากแนวคิดที่มุงหวังสราง “สังคม นวัตกรรมและผูป ระกอบการ” ใหประเทศไทยสามารถ เพิ่มมูลคาของผลิตภัณฑดวยนวัตกรรม จาก SME สูสตารทอัพบมเพาะความรูและปลูกฝงความเปน ผูประกอบการ (Entrepreneurial Mindset) และ ทักษะดานเทคนิคชั้นสูง (Technical and Hand-on Skills) ใหกับนักศึกษา เมคเกอร สตารทอัพ วิศวกร และนักวิจยั สาขาตางๆ เปนพืน้ ทีอ่ สิ ระทางความคิด ปลดปลอยจินตนาการในการสรางสรรคผลงานรวมกัน
ผศ. ดร.จักรกฤษณ ศุทธากรณ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร มหิดล
Engineering Today March - April
2019
Innogineer Studio เป ดโอกาสให ทุกคนสามารถเข ามาทําโปรเจ็กต ต างๆ และสร างชิ้นงานจากความคิดสร างสรรค
ศูนย Innogineer Studio ก าวลํ้าด วยเทคโนโลยีระดับโลก คาดเมคเกอร -สตาร ทอัพเข ามาใช บริการป ละ 2,000 ราย สําหรับศูนย Innogineer Studio มีพนื้ ทีร่ วมกวา 800 ตารางเมตร กาวลํ้าดวยเทคโนโลยีระดับโลกประกอบดวย 1) Mechanical Studio ครบครันดวย Milling Machine, CNC Machine 2) Electric Studio กาวหนาดวยอุปกรณ เชน Electronic Supplier, Microcontroller, Oscilloscope, Power Supply, Function Generator 3) Assembly Studio อุปกรณสุดลํ้า เชน 3D Scanner ความละเอียดสูงแบบหัวเข็ม พรอมเลเซอรสแกนเนอร (3D Laser Scanning Arm CMM System) 4) Prototyping Studio เชน 3D Printer, อุปกรณขึ้นรูปพลาสติก แบบ 3D 5) Machine Studio ประกอบดวย เครือ่ งตัดโลหะ เครือ่ งกลึง 6) Gallery Room พื้นที่แสดงผลงานสิ่งประดิษฐ และนวัตกรรม 7) Co-working Space พื้นที่แหลงเรียนรูและสรางนวัตกรรม รองรับ คนได 30-40 คน 8) Meeting Room พื้นที่หองประชุมพรอมอุปกรณ รองรับได 20-30 คน รวมถึง Innogineer Studio Shop จัดแสดง Showcase ผลงานนวัตกรรมตางๆ ที่ไดยื่นจดทะเบียนทรัพยสิน ทางปญญา ซึ่งสามารถใชงานไดจริง “ศูนย Innogineer Studio จะเชื่อมตอกับระบบสนับสนุนของ มหาวิทยาลัยมหิดล (Entrepreneurial Ecosystem) หลายสวน เชน หนวยบมเพาะธุรกิจ ที่สนับสนุนการพัฒนาตนแบบผลิตภัณฑสําหรับ นักศึกษาทีม่ แี นวคิดในการทําธุรกิจอีกดวย คาดวาจะดึงดูดเมคเกอรและ สตารทอัพเขามาใชบริการ ปละไมตํ่ากวา 2,000 ราย และจะมีบทบาท สําคัญในการสรางแรงบันดาลใจและตอยอดนวัตกรรมออกมาอยางตอ เนื่อง พรอมทั้งยกระดับความรวมมือระหวางธุรกิจอุตสาหกรรมกับเมค เกอรคนรุน ใหมในการพัฒนาผลิตภัณฑคณ ุ ภาพสูต ลาดในวงกวางตอไป” ผศ. ดร.จักรกฤษณ กลาว
22
อนาคตคณะวิศวฯ มหิดลจะเป น Innovation Hub ที่ใหญ และทันสมัยที่สุด ทางฝ งตะวันตกของกรุงเทพฯ สําหรับแผนงานในอนาคตของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ผศ. ดร.จักรกฤษณ กลาววา คณะวิศวกรรมศาสตรจะเปน Innovation Hub ที่ใหญและทันสมัยที่สุด ทางฝงตะวันตกของ กรุงเทพฯ โดยคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย มหิดล ไดรวมมือกับ การรถไฟฟาขนสงมวลชน แหงประเทศไทย (รฟม.) ในการพัฒนาระบบรางและ ผังเมืองนาอยู เนื่องจากพื้นที่ศาลายาจะมีระบบ รถไฟฟาสายสีแดงออน ชวงศิรริ าช-ตลิง่ ชัน ระยะทาง 5.7 กม. และชวงตลิ่งชัน-ศาลายา ระยะทาง 14.8 กม. กําหนดแลวเสร็จ ในป พ.ศ. 2565 ประกอบดวย สถานีบา นฉิมพลี, สถานีกาญจนาภิเษก, สถานีศาลา ธรรมสพน เปนสถานีระดับดินและสถานีศาลายา เปนสถานียกระดับรองรับรถไฟทางไกล เปนพื้นที่ ที่มีศักยภาพและกาวหนา รองรับการเจริญเติบโต ของเมือง ในดานศูนยศึกษาวิจัยและนวัตกรรมครบ วงจร ประกอบดวย 1) หองปฏิบตั กิ ารและศูนยวจิ ยั ที่ชํานาญดานตางๆ ภายในคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 2) Innogineer Studio เปรียบ เสมือนเวิรคช็อป ที่เปดโอกาสใหทุกคนสามารถเขา มาทําโปรเจ็กตตา ง ๆ และสรางชิน้ งานจากความคิด สรางสรรค 3) Innogineer BAY ศูนยฝกหัดดาน หุนยนตและระบบ AI ที่ทันสมัยระดับโลก และ 4) Innogineer BI (Business and Industry) เปน ศูนยบริการและนวัตกรรมใหคาํ ปรึกษาแกภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม กําหนดเปดในเดือนเมษายน 2562 นอกจากนี้ ในป พ.ศ. 2564 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ไดรวมเปนเจาภาพใน นามประเทศไทยจัดงานแขงขันหุนยนตกูภัยระดับ โลก RoboCup Bangkok 2021 ครั้งยิ่งใหญ ซึ่งจะสรางชื่อเสียงของอุตสาหกรรมหุนยนตไทย ใหเปนที่รูจักบนเวทีโลก เปนพลังกระตุนความ กาวหนาและการเติบโตในงานวิจัย ออกแบบและ ผลิตหุนยนต และระบบออโตเมชั่น รวมทั้งการ ศึกษาของเยาวชนและความรวมมือทางเทคโนโลยี กับนานาประเทศ
ชมผลงานนวัตกรรม และ Innogineer Studio
23
Engineering Today
March - April
2019
Factory Today • กองบรรณาธิการ
ศูนย ไบโอเทค ตั้งโรงงาน Plant Factory ในอุทยานวิทย ฯ ชูเป นแหล งวิจัยการเกษตรแนวใหม ผลิตพืชเชิงอุตสาหกรรม ที่มีมูลค า-คุณภาพสูง
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) โดยศูนยพนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแหง ชาติ (ไบโอเทค) ตั้งโรงงานผลิตพืช (Plant Factory) ณ อุทยานวิทยาศาสตรแหงประเทศไทย จ.ปทุมธานี ภายใต โครงการพัฒนาพิเศษขนาดใหญ หรือ Big Rock เพื่อเปน โรงงานวิจัยเรียนรูกระบวนการผลิตพืชใหมีมูลคาและมี คุณภาพสูงขึ้นจนกลายเปนสินคาการเกษตรเกรดพรีเมียม ตอบโจทยตลาดการคา
ดร.สมวงษ ตระกูลรุ ง ผู อํานวยการ ศูนย พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห งชาติ สวทช.
ศูนย ไบโอเทค ตั้งโรงงาน Plant Factory ภายใต โครงการ Big Rock สอดรับการพัฒนา เกษตรสมัยใหม ดร.สมวงษ ตระกูลรุง ผูอํานวยการ ศูนยพันธุ วิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ (ไบโอเทค) สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กลาววา โรงงานผลิตพืช หรือ Plant Factory ภายใตโครงการพัฒนา พิเศษขนาดใหญ หรือ Big Rock มีความสําคัญอยางยิ่ง ตอภาคการเกษตรในการผลิตอาหารของประเทศในอนาคต ตามแนววิสยั ทัศนของรัฐบาลในการพัฒนาเกษตรสมัยใหม โดยโรงงานผลิตพืช (Plant Factory) ณ อุทยานวิทยาศาสตร แหงประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี เปนเทคโนโลยีการผลิต พืชในระบบปดหรือกึง่ ปด ทีส่ ามารถควบคุมสภาพแวดลอม ต า งๆ ให มี ค วามเหมาะสมต อ การเจริญเติบโตของพืช ซึ่งไบโอเทคไดรับการถายทอดเทคโนโลยีโรงงานผลิตพืช ดวยแสงไฟเทียม หรือ Plant Factories with Articial Lighting (PFALs) จากมหาวิทยาลัยชิบะ ประเทศญี่ปุน และไดรับเกียรติจาก ศ. โทโยกิ โคไซ (Prof. Toyoki Kozai) บิดา Plant Factory ของโลกมาเปนที่ปรึกษาในโครงการ ดังกลาว Plant Factory ไดใชเทคโนโลยีทพี่ ฒ ั นาจากองคความรู แขนงตางๆ ทั้งดานสรีรวิทยาพืช การเกษตร วิศวกรรม รวมถึงการจัดการเทคโนโลยี ที่มีจุดเดนสามารถผลิตพืช
Engineering Today March - April
2019
ดร.เฉลิมพล เกิดมณี หัวหน าห องปฏิบัติการสรีรวิทยาและชีวเคมีด านพืช ศูนย ไบโอเทค
ไดอยางมีประสิทธิภาพสูงทัง้ ดานอัตราการผลิต ผลผลิตตอพืน้ ทีต่ อ เวลา และการใชทรัพยากรในการผลิต โดยสามารถเพิม่ คุณภาพของพืชไดอยาง สมบูรณดว ยการใชการปรับชวงแสง ความเขมของแสง โดยใชแหลงกําเนิด จากแสงหลอดไฟ LED แทนแสงอาทิตยภายนอกเปนตัวกําหนดการเจริญ เติบโต เชน ใชแสงสีนาํ้ เงินเรงการเจริญเติบโตชวงทําใบ หรือใชแสงสีแดง ชวงเรงการทําดอก เปนตน ซึ่งสงผลดีตอการเกษตรกรตรงกับความ ตองการของอุตสาหกรรม การใหอุณหภูมิที่พอเหมาะสมํ่าเสมอในทุกๆ ชวงเวลา ความชื้น ปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดที่เหมาะสมในการ สังเคราะหแสงของพืชแตละชนิด รวมทัง้ การเพิม่ วิตามิน สารตานอนุมลู อิสระ สารสกัดที่ใชเปนยารักษาโรค ผิวสัมผัส รสชาติ และอายุหลังการ เก็บเกี่ยวยาวนานขึ้น เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและตอทุกๆ คนเพราะ ไมไดใชสารเคมีในการปลูกทําใหแนใจเรื่องความปลอดภัยอยางแทจริง สรางมูลคาเพิ่มของผลผลิตใหกลายเปนสินคาทางการเกษตรระดับ พรีเมียมเกรด ตอบโจทยความตองการของตลาดการคาทีเ่ นนผลิตภัณฑ จากพืชผักสมุนไพรตางๆ ที่ปลอดสารพิษสารเคมีมากยิ่งขึ้นในปจจุบัน
24
คัดเลือกพันธุ พืชได พร อมผลิตพืชที่มีมูลค าคุณภาพสูง เพิม่ ศักยภาพการผลิตพืชเชิงอุตสาหกรรม ดร.เฉลิ ม พล เกิ ด มณี หั ว หน า ห อ งปฏิ บั ติ ก าร สรีรวิทยาและชีวเคมีดานพืช ศูนยพันธุวิศวกรรมและ เทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ (ไบโอเทค) สํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กลาววา โรงงาน ผลิตพืช หรือ Plant Factory เปนเทคโนโลยีผลิตพืชใน ระบบปดหรือกึ่งปด มีการบูรณาการองคความรูตางๆ ที่เกี่ยวของเขามารวมทํางานวิจัยรวมกับเจาของเทคโนโลยี ผูเชี่ยวชาญจากประเทศญี่ปุน ซึ่งภายในโรงงานผลิตพืชนี้ จะมีงานวิจัยทดลองปลูกพืชมากมาย ทั้งจากพืชสมุนไพร ไทย เชน บัวบก ฟาทะลายโจร ขมิ้นชัน พืชผักที่สําคัญทาง เศรษฐกิจ เชน สตรอวเ บอรรี่ พืชนอกฤดู เชน การปลูกผักชี ในชวงฤดูฝน ทีร่ าคาคอนขางจะสูงมากในทองตลาด ลดการ ปนเป อ นจากโรค และลดการปนเป อ นจากโลหะหนั ก ทางการเกษตร และผลิตพืชที่นําไปใชงานไดทันทีสามารถ ควบคุมสภาพแวดลอมใหเหมาะสมกับการปลูกพืช จึงปรับ
ภายในโรงงานผลิตพืชควบคุมสภาพแวดล อมต างๆ ให เหมาะสมต อการเจริญเติบโตของพืช
ใหปลูกพืชที่มีความตองการสูง มีมูลคาเปนสินคาระดับพรีเมียมเกรด และทีส่ าํ คัญสามารถปลูกไดตลอดทัง้ ปไมขนึ้ กับฤดูกาล สามารถปลูกพืช ไดในทุกๆ สภาพอากาศ และในทุกๆ พื้นที่ รวมทั้งไมไดรับผลกระทบ ที่กอใหเกิดความเสียหายจากภัยธรรมชาติ พืชแตละชนิดปลูกซอนกัน ได ถึ ง 10 ชั้ น โดยขึ้ น อยู กั บ ชนิ ด ของพื ช ตามการออกแบบของทั้ ง ผูเ ชีย่ วชาญชาวญีป่ นุ และชาวไทยทีต่ อ งการใหโรงงานผลิตพืชนีเ้ หมาะสม กับประเทศไทย โดยเลือกใชหลอดไฟ LED เปนแหลงกําเนิดของแสง เนื่องจากใหความรอนนอยกวาหลอดฟลูออเรสเซนต ประหยัดไฟ มากกวา และสามารถเลือกสีของแสงตามความเหมาะสมของตนพืช ผลิตพืชไดอยางมีประสิทธิภาพสูงทั้งดานอัตราการผลิต และการใช ทรัพยากรในการผลิต สามารถใหผลผลิตสูงมากขึ้น 10 เทาตัว
25
Engineering Today
March - April
2019
“ในการปลูกพืชแตละชนิดเราจะเอาองคความรูเรื่อง การใหนาํ้ และใหธาตุอาหารทีจ่ าํ เปนตอพืชแตละชนิดเขามา ใชดวยเพื่อชวยลดการใชทรัพยากรนํ้าและธาตุอาหาร โดย ใชนํ้าเพียง 10% และใชปุยเพียง 25% เมื่อเปรียบเทียบกับ การปลูกพืชแบบดั้งเดิมที่ปลูกกันแบบระบบเปดทั่วไปตาม ธรรมชาติ อีกทั้งชวยชวยเพิ่มศักยภาพการตลาดที่มีความ เติบโต ในดานการผลิตพืชเชิงอุตสาหกรรม ปอนอุตสาหกรรม ยา เวชสําอาง และการผลิตพืชที่มีคุณคาทางโภชนาการสูง หรือ Functional Food สําหรับผูปวยที่ตองใหอาหารออน ทางสายยางเพือ่ ใหอาหารทีป่ ลอดภัย สะดวก เขาสูร า งกาย ของผูป ว ยในปริมาณทีเ่ หมาะสม ปลอดสารพิษสารเคมีตา งๆ เพือ่ ปองกันโรคแทรกซอน รวมทัง้ การผลิตพืชมูลคาสูง ทีไ่ ม สามารถปลูกไดในระบบปกติ ที่สําคัญคือเราสามารถที่จะ คัดเลือกพันธุพืชปลูกไดตามความตองการ และสามารถ ถายทอดสูภ าคการเกษตรของไทยในอนาคตทัง้ แกเกษตรกร ไทยเองและภาคเอกชนที่ ส นใจเขา มาลงทุ น ปลู ก พื ช ผั ก ทางการเกษตรใหประเทศไทยเปนแหลงพืชผักที่มีคุณภาพ มีมูลคาที่สูงขึ้น” ดร.เฉลิมพล กลาว
เผยญี่ปุ นเป นต นแบบการผลิตพืชในโรงงานผลิตพืช ชี้การลงทุนใน Plant Factory โตแบบก าวกระโดด ป จ จุ บั น มี ก ารลงทุ น การผลิ ต พื ช ในระบบ Plant Factory ในอัตรากาวกระโดดโดยเฉพาะในประเทศญี่ปุน ซึ่งเปนตนแบบของการผลิตพืชในโรงงานผลิตพืชประเทศ สหรัฐอเมริกาและในประเทศยุโรป และมีแนวโนมสูงขึ้น ทัว่ โลก สําหรับคาใชจา ยในการกอสรางนัน้ จะอยูท ปี่ ระมาณ 80,000 บาทตอตารางเมตร คาดวาการสรางโรงงานผลิต พืชแหงนี้จะสามารถถอดองคประกอบการเรียนรู ถายทอด การเรียนรู เชื่อมโยงเครือขายการใหคําปรึกษา การรวม ลงทุนเปนเทคโนโลยีพรอมใชใหแกภาครัฐ เอกชน และ ประชาชน เกษตรกรทั่วไป ใหมีทิศทางในการปลูกพืชผัก ที่สรางมูลคา มีคุณภาพ ดีกวาใหภาคการผลิตการเกษตร ไปเดาทิศทางตลาดการคาในตลาดโลกอยางที่ทํากันอยู นับเปนการทําการเกษตรแบบมีองคความรู ในอนาคตอาจจะมีการกําหนดโซนนิ่งในการเพาะ ปลูกตามเขตจังหวัดทีม่ ศี กั ยภาพในการปลูกพืชทีส่ รางรายได พืชเศรษฐกิจประจําทองถิ่นเพื่อไมใหเกิดพืชผักลนตลาด ฉุดราคาตกตํ่า หรือกําหนดการปลูกโซนนิ่งใหเปนพื้นที่ เพาะปลู ก พื ช เฉพาะชนิ ด พื ช หายากที่ ค วรอนุ รั ก ษ ไ ว สําหรับใหศกึ ษา เปนตน โดยคาดวาองคความรูทั้งหมดนี้ จะสามารถถายทอดใหทุกๆ ภาคสวนในประเทศไทยได ภายใน 5 ป สวนการลงทุนในโครงการดังกลาวจะคืนทุน ภายใน 2-3 ป
Engineering Today March - April
2019
26
Technology • ชไนเดอร อิเล็คทริค
ชไนเดอร อิเล็คทริค
ชี้ป ค.ศ. 2019 เป นป ทอง ของเอดจ ดาต าเซ็นเตอร -ป ญญาประดิษฐ โรมาริก เอินสท รองประธานธุรกิจไอทีสําหรับ องคกร ชไนเดอร อิเล็คทริค ประเทศไทย กลาววา ใน ป ค.ศ. 2019 เปนปที่ธุรกิจไอทีเติบโตอยางกาวกระโดด ซึ่งจะมีอยู 3 เทรนดหลักที่มีแนวโนมในการเกิดขึ้นทั่วโลก โดยเอดจ คอมพิวติ้ง จะเขามาชวยดําเนินธุรกิจในทุกวัน ในตอนนีเ้ รากําลังมาถึงจุดทีเ่ อดจ คอมพิวติง้ เขาสูช ว งของ การสรางผลิตผลและกลายเปน “จริง” ทั้งนี้ ผูใชในองคกร และผูบริโภคจะเริ่มสัม ผัสเอดจ ดาตาเซ็นเตอร ไดจาก บริการที่นําเสนอในรูปแบบตางๆ ซึ่ง Global Market Insights คาดการณวา ตลาดเอดจ ดาตาเซ็นเตอร จะทะลุ 13,000 ลานเหรียญสหรัฐ ภายในป ค.ศ. 2024 โดยมีการ ลงทุนระบบโครงสรางเอดจ ดาตาเซ็นเตอร แลวในเกือบทุก ภาคสวน เชน ธุรกิจคาปลีก การเงิน ธุรกิจเกี่ยวกับสุขภาพ และความงาม ฯลฯ ซึ่งเปนภาคธุร กิจที่ตองอาศัยการ ประมวลผลมากขึ้น รวมถึงการเชื่อมตอเครือขาย และ การจัดเก็บขอมูลในจุดที่อยูใกลกับผูใชปลายทาง
>> เอดจ ดาต าเซ็นเตอร แก ป ญหาความล าช าในการประมวลผล
ปจจัยทีผ่ ลักดันใหเกิดความตองการเอดจ คอมพิวติง้ คือผูบ ริโภค ไมอดทนกับเรื่องความลาชา หรือ Latency ดังนั้นการเขาถึงขอมูล และความสามารถในการวิเคราะหไดอยางรวดเร็วและตอเนื่องจึงเปน สิ่งสําคัญ การตัดสินใจสําคัญหลายอยางในธุรกิจและการตัดสินใจของ ผูบริโภค ลวนขึ้นอยูกับความคลองตัวในการเรียกใชขอมูลไดทันใจใน แบบเรียลไทม ถาเรามองที่เศรษฐกิจอีคอมเมิรซ หากโมบายลเว็บไซต ไมสามารถโหลดเสร็จภายใน 3 วินาที ทําใหผูที่เขามาเยี่ยมชมไมสนใจ ไซตนั้น และหากการทําธุรกรรมไมสามารถเกิดขึ้นไดภายในเสี้ยววินาที เงินก็จะไมมกี ารเปลีย่ นมือ และผูข ายเองก็เสีย่ งทีจ่ ะเสียลูกคาใหกบั คูแ ขงได ความตองการดานการบริการตางๆ ที่ตองอาศัยเอดจ ดาตา เซ็นเตอร มีการขยายตัวอยางรวดเร็ว เชน โมบายล มันนี่ แอพฯ ที่ให ประสิทธิภาพการใชงานได ณ สถานที่นั้นๆ ลูกคาก็ไดรับประสบการณ โดยรวมที่ดีขึ้น หรือการทําวิดีโอสตรีมมิ่ง การใชประโยชนของ Smart Mirror AR ที่เลือกเปลี่ยนแบบชุดไดจากหนาจอ ยานยนตแบบไรคนขับ
27
Engineering Today
March - April
2019
AI และ เอดจ คอมพิวติ้ง จะเอื้อประโยชน อย างมหาศาล นับตั้งแต ป ค.ศ. 2019 เป นต นไป โดยจะมอบการวิเคราะห ได มากขึ้น และมอบความสามารถในการ ‘มองเห็นสิ่งที่จะเกิดขึ้น’ ศักยภาพ เหล านี้จะช วยจัดสมดุลให กับชีวิตเรา ได ทั้งเรื่องความเป นอยู และสภาพแวดล อมที่ดีขึ้น เทคโนโลยี เ หล า นี้ ล ว นต อ งอาศั ย เอดจ คอมพิ ว ติ้ ง ประสิทธิภาพสูง ซึ่งแนนอนวาการปองกันอุบัติเหตุและ ความปลอดภั ย ถื อ เป น สิ่ ง สํ า คั ญ สู ง สุ ด สํ า หรั บ ยานยนต ไร ค นขั บ ดั ง นั้ น การสง ข อ มู ล สํ า คั ญ แบบเรี ย ลไทมจ าก รถยนตไปยังเอดจ ไปยังดาตาเซ็นเตอรในภูมภิ าค ไปทีค่ ลาวด และสงกลับมาอีกครัง้ ทีร่ ถยนตเพือ่ ตอบสนองตอคําสัง่ การ จะชวยผลักดันใหเกิดความตองการใชระบบโครงสรางเอดจ อยางมหาศาล ซึ่งสามารถแคช (Cache) ขอมูลขนาดใหญ พักไวในระบบ พรอมทั้งนํามาประมวลผลและวิเคราะหได อยางรวดเร็ว
>> ป ญญาประดิษฐ มีอยู ทุกที่
ปญญาประดิษฐ หรือ AI (Articial Intelligence) เปนที่พูดถึงกันเปนอันดับตนๆ ในวงการเทคโนโลยีมา ตั้งแตป ค.ศ. 2018 และการสนทนาเรื่องนี้ยังคงขยายวง กวางออกไปในป ค.ศ. 2019 นั่นเปนเพราะวาในแวดวง ธุรกิจหรือกระทั่งที่บานก็ตาม ทั้งเวิรกโหลดและแอพฯ ที่ตองใชขอมูลอยางจริงจัง ซึ่งใหศักยภาพการทํางานผาน เครือขายเอดจใหม ลวนตองอาศัย AI เชนกัน โดย AI จะถูกนํามาใชในการวิเคราะหและแปลขอมูลจากแอพฯ ตางๆ เพื่อชวยใหผูคน (และในบางกรณียังรวมถึงจักรกล อื่นๆ) สามารถตัดสินใจและตอบรับกับสถานการณได แบบเรียลไทม
Engineering Today March - April
2019
28
นอกจากนี้ ป ค.ศ. 2019 ยังเปนปแหงการเฟนหา ผูมีความสามารถพิเศษเพื่อสรางแอพพลิเคชั่นใหมๆ เพื่อ มาตอบโจทยความตองการใชงานจริง ซึ่งจะตองอาศัยการ ผสมผสานระหวางเทคโนโลยี และความรูความเชี่ยวชาญ เฉพาะสาขา AI จะชวยเรื่องการบริหารจัดการโครงสรางพื้นฐาน ทัง้ เรือ่ งคาใชจา ย ประสิทธิภาพการทํางาน และระยะเวลา ในการตอบสนองการใชงาน หรือ Response Times ซึ่ง จะแยกจากงานหนักในสวนโมเดลการฝกฝนของ AI ที่เปน สเกลใหญ ซึ่งตองทําผานดาตาเซ็นเตอรที่มีศูนยกลาง อยูบ นคลาวด สําหรับเอดจ ดาตาเซ็นเตอร ทีม่ กี ารมอนิเตอร อยูตลอด จะเกาะติดกิจกรรมที่มีความผิดปกติ โดยอาศัย การเรียนรูของ AI วาระบบไหนมีพฤติกรรมการทํางาน อยางไร ในทางกลับกัน ก็จะชวยขับเคลื่อนในเรื่องของการ วิเคราะหเชิงคาดการณและการบํารุงรักษาระบบงานใน เชิงรุกตามเงือ่ นไขการทํางาน การเรียนรูใ นระดับของจักรกล จะชวยใหบริหารจัดการไดอยางเรียบงาย ชวยลดเวลา และ ลดการใชทรัพยากรสําหรับกิจกรรมทีเ่ พิม่ คุณคาทัง้ เรือ่ งงาน และเรื่องสวนตัว
>> สร างสมดุลให กับงาน-การใช ชีวิต
AI และ เอดจ คอมพิวติ้ง จะเอื้อประโยชนอยาง มหาศาลนับตัง้ แตป ค.ศ. 2019 เปนตนไป โดยจะมอบการ
วิเคราะหไดมากขึน้ และมอบความสามารถในการ “มองเห็นสิง่ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ” ศักยภาพเหลานีจ้ ะชวยจัดสมดุลใหกบั ชีวติ เราไดทงั้ เรือ่ งความเปนอยูแ ละ สภาพแวดลอมที่ดีขึ้น แตการสรางสมดุลที่ถูกตอง ตองอาศัยทัศนคติที่ใหความสําคัญ เรื่องของคนมาเปนอันดับแรก ปญหาใหญทางสังคม เชน สมดุลในการ ใชชีวิตกับการทํางาน ไมเคยแกไดงายๆ แมวาเทคโนโลยีไอทีจะให ประโยชน ก็ ต าม แต ห ลั ก สถิ ติ ก็ ชี้ ใ ห เ ห็ น ถึ ง ความเชื่ อ มโยงที่ นํ า ไปสู ความเครียดมากขึ้น มีเวลาอยูกับครอบครัวนอยลง และสงผลกระทบ ในทางลบทั้งเรื่องงานและสัมพันธภาพ อันมีสาเหตุมาจากการที่ตอง เกาะติดกับการสื่อสารตลอดเวลา ในโลกที่ซับซอนมากขึ้นทุกวัน ป ค.ศ. 2019 เปนปที่เราตอง พิจารณาลําดับขั้นความสําคัญของสิ่งตางๆ ที่ชวยสรางความเปนอยูที่ดี ทั้งเรื่องของประสิทธิภาพและศักยภาพไดอยางทัดเทียม ตัวอยางของ บริษัทที่ประสบความสําเร็จ มีการจํากัดการใชอีเมลนอกสถานที่ทํางาน ใหความสําคัญกับวันของครอบครัว สอนเรือ่ งของสติและการดูแลสุขภาพ ทีด่ ี ซึง่ เรือ่ งเหลานีก้ ลายเปนเรือ่ งธรรมดาสามัญมากขึน้ เพราะเครือ่ งมือ ในการบริหารจัดการซอฟตแวรกาํ ลังชวยใหมอื อาชีพดานไอทีสรางสมดุล ของการใชชีวิตและการทํางานไดดีขึ้น โดยชวยใหจัดลําดับความสําคัญ ของขอมูลที่จําเปนตอธุรกิจได โดยในป ค.ศ. 2019 ชไนเดอร อิเล็คทริค จะนําเทคโนโลยีดาน เอดจ คอมพิวติ้ง จัดแสดงในอีเวนทใหญในประเทศไทยตลอดทั้งป เพื่อสรางการรับรูและความเขาใจดานเทคโนโลยีดังกลาวมากขึ้น เพื่อประโยชนในการแขงขันของภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม
29
Engineering Today
March - April
2019
Technology • กองบรรณาธิการ
ซินโครตรอน
ยืนยันเครื่องกําเนิดแสง ปลอดภัยจากรังสี 100% “เครื่ อ งกํ า เนินิ ด แสง แสงซ แสงซิซิ นโค น โโครตรอน” ครตรอน” านทางดานวิทยาศาสตร ถือเปนโครงสรางพืน้ ฐานทางด ั นา ทีส่ าํ คัญและไดรบั การยอมรัรับจากประเทศทีพ่ ฒ แลว ใหเปนเครือ่ งมือทีม่ พี ลานุภาพ ซึง่ เปนตนกําเนิดของ เทคโนโลยีดานตางๆ ที่สามารถสรางคุณประโยชนมากมาย มหาศาลตองานวิจยั ทางดานการแพทย การเกษตร อุตสาหกรรม รคนวัตกรรมที่ใชในการ และดานอื่นๆ เพื่อตอยอดไปสูการสรางสรรค าทุนมนุษย เปนตน พัฒนาประเทศในดานเศรษฐกิจ สังคม การพัฒนาทุ โครงการสรางเครือ่ งกําเนิดแสงซินโครตรอนระดับพลังงาน 3 GeV โดยสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องคการมหาชน) นี้ จะกอใหเกิด ผลประโยชนทเี่ ปนบวกตอประเทศ ซึง่ ไดแก การสรางคน สรางงาน สรางอาชีพ ตั้งแตขั้นตอนการกอสรางเครื่อง การออกแบบ การผลิตชิ้นสวนตางๆ ารถให ตลอดจนการดําเนินงานโครงการ นอกจากนี้เมื่อโครงการแลวเสร็จสามารถให ศอีก บริการแกภาคเอกชนได ซึ่งจะกอใหเกิดมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจของประเทศอี ไมนอยกวาปละ 6,000 ลานบาท ศ. น.ท. ดร.สราวุฒิ สุจติ จร ผูอ าํ นวยการสถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน กลาววา เครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอนที่จะจัดสรางในเขตนวัตกรรมใน ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกหรือ EECi มีระบบการจัดการความ ปลอดภัยที่ครอบคลุมในทุกดาน โดยมุงเนนไปที่การปองกันอันตรายทางรังสี จากเครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอนเปนหลัก นอกจากนี้ยังมีระบบการจัดการร และ ดานความปลอดภัยทางอาชีวอนามัยและสิ่งแวดลอม ปฏิบัติตามกฎหมายและ มาตรฐานสากลควบคูกันไปอยางเครงครัด ศ. น.ท. ดร.สราวุฒิ สุจิตจร ผู อํานวยการสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน
Engineering Today March - April
2019
30
การป องกันอันตรายทางรังสีจากการเดินเครื่องกําเนิด แสงซินโครตรอนนั้น เริ่มตั้งแตการประเมินแหลงตนกําเนิดรังสี เพื่อนําไปสูการออกแบบตัวกําบังรังสี ทั้งในอุโมงคที่ติดตั้งเครื่อง เรงอนุภาค และในวงกักเก็บอิเล็กตรอนรวมทั้งในระบบลําเลียง แสงและสถานีทดลองดวย สําหรับการออกแบบตัวกําบังทางรังสี จําเปนตองอาศัยผลจากการจําลองดวยคอมพิวเตอร ประเมิน ประสิทธิภาพของตัวกําบังรังสีนั้นๆ กอนดําเนินการกอสรางจริง และการทดลองตรวจวัดรังสีในระหวางที่มีทดสอบการเดินเครื่อง ในภายหลังตอไป โดยอาศัยหลักการทีใ่ หผปู ฏิบตั งิ านทางรังสีและ ผูที่เกี่ยวของอื่นๆ ไดรับปริมาณรังสีใหนอยที่สุด เปนไปตาม กฎหมายของไทยและมาตรฐานสากลของ IAEA ภายใตการ ควบคุมอยางเครงครัด โดยสํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ “จากการเดินเครือ่ งกําเนิดแสงซินโครตรอน ณ สถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน จ.นครราชสีมา ผานมากวา 20 ป เรามีเครื่อง วัดรังสีประจําที่ และมีการติดตามการไดรับรังสีของผูปฏิบัติงาน รวมทั้ ง ผู ม าใช บ ริ ก ารภายนอก ไม พ บว า มี ผู ใ ดได รั บ รั ง สี เ กิ น ระดับเกณฑมาตรฐานความปลอดภัย และที่สําคัญยิ่ง รังสีที่เกิด จากแสงซินโครตรอนนั้นไมไดเกิดจากการใชสารรังสี หรือวัสดุ กัมมันตภาพรังสี เชน ยูเรเนียม หรือโคบอลท ที่เราเคยไดยิน ไดฟงจากภาพขาวในอดีตแตอยางใด ซึ่งถาหากจะพูดใหเขาใจได งายๆ คือเมือ่ ใดทีถ่ อดปลัก๊ ไฟฟาของเครือ่ งกําเนิดแสงฯ ออกก็จะ ไมมีรังสีปลอยออกมาอีกเลย อีกทั้งชิ้นสวนอุปกรณที่อาจปลด ปล อ ยรั ง สี จ ะถู ก ฝ ง ไว ใ ต ดิ น อย า งมิ ด ชิ ด ตามหลั ก เกณฑ ที่ ไ ด มาตรฐานสากล ดังนั้นสถาบันฯ มั่นใจเปนอยางยิ่งวาทุกคนที่ ปฏิบัติงาน รวมถึงประชาชนและสิ่งแวดลอมโดยรอบของสถานที่ ตั้งเครื่องกําเนิดแสงฯ ทั้งใน จ.นครราชสีมาและ EECi จ.ระยอง จะมี ค วามปลอดภั ย ทั้ ง ทางด า นความปลอดภั ย ทางรั ง สี แ ละ ความปลอดภัยดานอาชีวอนามัยอยางแนนอน” ศ. น.ท. ดร.สราวุฒิ กลาว
Engineering Today March - April
2019
สําหรับการจัดสรางเครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอนบนพื้นที่ EECi นั้น ปจจุบันอยูระหวางการศึกษา ประเมิน ผลกระทบ สิ่งแวดลอมในเบื้องตน หรือ Initial Environmental Examination โดยไดมีการจัดทําแบบสอบถามความคิดเห็นจากประชาชนใน พื้นที่วังจันทรวัลเลย ต.ปายุบ อ.เมือง จ.ระยอง เพื่อใหประชาชน ที่อยูโดยรอบ ไดมีสวนรวมเกี่ยวกับความเพียงพอของมาตรการ ปองกันและลดผลกระทบดานสิง่ แวดลอมจากการพัฒนาโครงการ ตอผูพักอาศัยบริเวณโดยรอบโครงการในระยะกอสรางและระยะ ดําเนินโครงการอีกดวย
31 31
Engineering Today
March - April
2019
Internet of Things (IoT) • กองบรรณาธิการ
สถาบั น พลาสติ ก ผนึกกําลังเอ็มเฟค นําเทคโนโลยี IoT พัฒนาผู ประกอบการพลาสติกไทย ก าวสู Industry 4.0
สถาบันพลาสติก จับมือเอ็มเฟค ผูเชี่ยวชาญในงานวาง ระบบคอมพิวเตอรและเครือขายงานสารสนเทศอยางครบวงจร เป ด บริ ก ารพั ฒ นาผู ป ระกอบการพลาสติ ก สู อุ ต สาหกรรม พลาสติก 4.0 ดวยเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) ซึ่ง เปนการนําเทคโนโลยี IoT มาใชเปนครั้งแรกในอุตสาหกรรม พลาสติกและแหงเดียวในไทย ดร.เกรียงศักดิ์ วงศ พร อมรัตน ผูอํานวยการสถาบัน พลาสติ ก กล า วว า สถาบั น พลาสติ ก ได เ ป ด บริ ก ารพั ฒ นา ผูประกอบการพลาสติกสู Industry 4.0 โดยรวมลงนาม MOU กับ บริษัท เอ็ม เอฟ อี ซี จํากัด (มหาชน) หรือ เอ็มเฟค ซึ่ง เปนบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญในงานวางระบบคอมพิวเตอรและ เครื อ ข า ยงานสารสนเทศอย า งครบวงจร เพื่ อ บริ ก ารพั ฒนา ผูประกอบการพลาสติก ใหกาวสู Industry 4.0 ดวยการใช เทคโนโลยี Internet of Things (IoT) เปนครัง้ แรกในอุตสาหกรรม พลาสติกและแหงเดียวในประเทศไทยในการนํา IoT มาใชใน อุตสาหกรรมพลาสติก โดยไดรบั เกียรติจาก ดร.สมชาย หาญหิรญ ั รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงอุตสาหกรรม รวมเปนสักขีพยาน พรอมทั้งกลาวปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “ความสําคัญของ Industry 4.0 กับการพัฒนาประเทศ” ณ อาคารตนกลาแกลอรี่ ศูนยปฏิรปู อุตสาหกรรมสูอนาคต สถาบันพลาสติก กระทรวงอุตสาหกรรม กลวยนํ้าไท กรุงเทพฯ จากการสํารวจของสถาบันพลาสติกพบวา จํานวนสถาน ประกอบการทั้งหมดที่มีประมาณ 3,000 ราย โดยกวา 80% เปน ผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SME) ทีม่ รี ปู แบบการผลิตทีเ่ นนปริมาณ มีการนําระบบชวยการผลิตเขา มาประยุกตใชบา ง แตยงั คงมีการใชแรงงานเปนสวนสําคัญ อยางไร ก็ตาม ปจจุบันเริ่มประสบปญหาดานแรงงาน การวิเคราะหและ ตัดสินใจ ทําใหตอ งหาแนวทางแกไข โดยหลักการของอุตสาหกรรม ดิจทิ ลั และแนวทางการพัฒนาสู Industry 4.0 ไดเขามาตอบโจทย ในเรื่องเหลานี้ “ผูประกอบการในอุตสาหกรรมพลาสติก สวนหนึ่งยังขาด พืน้ ฐานของ Industry 4.0 บางประการ ซึง่ ก็คอื การเก็บขอมูลแบบ เรียลไทม จึงจําเปนตองใชเทคโนโลยีดิจิทัลและอินเทอรเน็ต
Engineering Today March - April
2019
32
ดร.เกรียงศักดิ์ วงศ พร อมรัตน (ซ าย) ผู อํานวยการสถาบันพลาสติก ถ ายภาพร วมกับ ธนกร ชาลี (ขวา) CEO เอ็มเฟค ภายหลังจากลงนาม MOU โดยมี ดร.สมชาย หาญหิรัญ (กลาง) รมช.อุตสาหกรรม ร วมเป นสักขีพยาน
รวมกับอุปกรณเซ็นเซอร (Sensor) ตางๆ เขามาประยุกตใชกับ เครื่องจักรหรือเครื่องขึ้นรูปพลาสติก สําหรับการติดตั้งอุปกรณ IoT ในเครื่องขึ้นรูปพลาสติกนี้ ถือเปนบันไดขั้นแรกสูการปฏิวัติ สถานประกอบการ” ดร.เกรียงศักดิ์ กลาว ดาน ธนกร ชาลี ประธานเจาหนาทีฝ่ า ยปฏิบตั กิ าร บริษทั เอ็ม เอฟ อี ซี จํากัด (มหาชน) หรือ เอ็มเฟค กลาวถึงความ รวมมือครั้งนี้วา เอ็มเฟคจะเปนผูใหบริการคําปรึกษา ออกแบบ แพลตฟอรม การใชงานภายในองคกรของผูป ระกอบการพลาสติก รวมทัง้ ติดตัง้ อุปกรณและเซ็นเซอรทเี่ หมาะสมกับกระบวนการขึน้ รูปตางๆ หลากหลายชนิด ชวยใหสถานประกอบการ มีตนทุนที่ ไดเปรียบคูแ ขง ทัง้ ดานขอมูล แรงงาน เทคโนโลยี และประสิทธิภาพ การผลิตที่ดีขึ้น “บริษัทฯ เปน ผูพัฒนาโซลูชั่น IoT สําหรับอุตสาหกรรม พลาสติกในครั้งนี้ โดยจะทําการติดตั้งอุปกรณเซ็นเซอร และ แพลตฟอรมเขากับเครื่องขึ้นรูปพลาสติก เพื่อดึงขอมูล จัดเก็บ และจัดเรียงขอมูล นําไปสูก ารวิเคราะหปญ หา พัฒนากระบวนการ ผลิต และการวิเคราะหหาตนทุนที่ถูกลง รวดเร็วและคุมคามาก ทีส่ ดุ โดยจะประมวลผลผานระบบคลาวด การเก็บขอมูลในระบบ คลาวด ซึ่งจะชวยใหทราบถึงขอมูลที่เกิดขึ้นในระหวางการผลิต ทราบสภาวะการผลิตไดทันที ผานอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆ ไมวาจะเปนคอมพิวเตอร โนตบุค แท็บเล็ต หรือสมารทโฟน นอกจากนัน้ ยังดูแลรักษาเครือ่ งจักรโดยสามารถออกแบบการซอม บํารุงรักษาเชิงปองกันทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ทัง้ ยังลดอัตราการเกิดการ หยุดทํางาน (Break Down) ของเครื่องจักรไดอีกดวย” ธนกร กลาว
Digital Economy @Engineering Today Vol. 2 No. 170
.+ Ę1.'ę6 C ' 6'A%;1 +5 ''% yyw» )5 5 E &A ğ ,= &Ĝ )6 +5 ''% 5 J 7 B/Ę D/%ĘD 16A 9& 'H1 A+) 11C A% 5I 9JA ' Ĝ ¿³ÄÆ ³ÀǸ³µÆÇÄ»À¹ / < 1< .6/ ''%E & ę6+ 5 6'B Ę 5 &< }À¶ÇÅÆÄË ä 9" õ 11))Ĝ 5 6 Ø£ }ÀÀÁȳƻÁÀ uɳĶŠäå¥Ù Đ I9 ¢ %1 '6 +5) y ƳÄÆÇ 9"I 5 6 +5 ''% 1 C &ĜA,'- 8 &< D/%Ę
EEC • กองบรรณาธิการ
สวทช. ก อสร างโครงการ
เมืองนวัตกรรม EECi
ผลักดันไทยเป นศูนย กลางนวัตกรรมชั้นนําแห งใหม ในอาเซียน นายกรัฐมนตรี เปนประธาน พรอมดวยคณะทํางานจากหนวยงานที่เกี่ยวของ อาทิ กระทรวงพลังงาน กระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการ รวมงาน ณ พื้นที่วังจันทรวัลเลย จ.ระยอง ซึ่งไดเริ่มตนกอสรางกลุมอาคารเมือง นวัตกรรมภาคตะวันออก ระยะที่ 1 ในเดือนมีนาคม 2562 นี้ การกอสรางเมืองนวัตกรรม EECi ดังกลาว นับเปนกาวสําคัญในการผลักดัน ประเทศไทยขึ้นแทน “ศูนยกลางนวัตกรรมชั้นนํา” แหงใหมของเอเชียตะวันออกเฉียงใต ทีม่ รี ะบบนิเวศนวัตกรรมสมบูรณ ยกระดับงานวิจยั และการพัฒนานวัตกรรมระดับประเทศ ควบคูไปกับการยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนอยางยั่งยืน ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล ผู อํานวยการสํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแห งชาติ (สวทช.)
สํ า นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร และเทคโนโลยี แ ห ง ชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จัด พิธีเปดหนาดินกอสรางโครงการจัดตั้ง เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor of Innovation: EECi) โดยได รับเกียรติจาก พล.อ.ประยุทธ จันทรโอชา
Engineering Today March - April
2019
EECi เน นอุตสาหกรรมเป าหมาย 6 ด าน ตามนโยบาย Thailand 4.0
ดร.ณรงค ศิรเิ ลิศวรกุล ผูอ าํ นวยการสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แหงชาติ (สวทช.) กลาววา สวทช. ในฐานะผูไดรับมอบหมายจากกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ใหเปนเจาภาพหลักในการพัฒนา EECi รวมกับหนวยงานพันธมิตรในทุก ภาคสวน ใหเปนศูนยกลางการทําวิจยั และพัฒนา เพือ่ ตอยอดไปสูก ารใชงานจริงเชิงพาณิชย และเชิงสาธารณประโยชน ซึง่ เปนหนึง่ ในฟนเฟองสําคัญในการขับเคลือ่ นประเทศไทยดวย วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) ตามนโยบาย Thailand 4.0 โดย EECi มีอตุ สาหกรรมเปาหมาย 6 ดาน ไดแก 1. เกษตรสมัยใหมและเทคโนโลยี ชีวภาพ 2. เชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ 3. แบตเตอรี่ประสิทธิภาพสูงและขนสง
34
สมัยใหม 4. ระบบอัตโนมัติ หุนยนต และอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ 5. เทคโนโลยีการบินและอวกาศ และ 6. เครื่องมือทางการแพทย ซึ่ ง จะร อ ยเรี ย งร ว มกั น พั ฒ นาระบบเศรษฐกิ จ ฐานชี ว ภาพ (Bioeconomy) ของไทยใหมีความเขมแข็งยั่งยืนตอไป “EECi จึงนับเปนฟนเฟองสําคัญที่จะทําใหประเทศไทยขับ เคลื่อนไปขางหนาดวยนวัตกรรมไดอยางแทจริง และพิธีการเปด หนาดินวันนีถ้ อื เปนกาวแรกทีส่ าํ คัญ โดยภายในระยะเวลา 3-5 ป จากนี้ พืน้ ทีก่ วา 3,455 ไรของวังจันทรวลั เลยนจี้ ะไดรบั การพัฒนา ใหเปนเมืองแหงนวัตกรรม ที่มีระบบนิเวศนวัตกรรมสมบูรณ มีสภาวะแวดลอมเอื้ออํานวยตอการพัฒนานวัตกรรม โดยตั้งเปา ทีจ่ ะใหพนื้ ทีแ่ หงนีเ้ ปนแหลงรวมนวัตกรรมชัน้ นําของภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตในอนาคต ประกอบไปดวย สถาบันการศึกษา ศูนยวิจัย หองทดลอง โรงงานตนแบบ โรงงานสาธิต และศูนย วิเคราะหทดสอบชั้นนํา พรอมสิทธิประโยชนสําหรับเอกชนที่เขา มาดําเนินการวิจยั และสรรคสรางนวัตกรรม รวมถึงยังมีโครงสราง พืน้ ฐาน และสิง่ อํานวยความสะดวกอืน่ อีกมากมาย เชน ทีพ่ กั อาศัย โรงพยาบาล โรงแรม และ Community Market รวมไปถึงมีการ ผอนปรนกฎหมาย เพื่อเอื้อตอการทดสอบนวัตกรรม เพือ่ สงเสริม สนับสนุนใหพฒ ั นาทางดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยี และนวัตกรรม กาวไปขางหนาไดอยางเต็มศักยภาพ” ดร.ณรงค กลาว
เฟสแรกก อสร างในส วนของอาคารหลัก มูลค าลงทุนกว า 1,100 ล านบาท
สําหรับการกอสรางในเฟสแรกในชวงระยะเวลา 2 ปตอไป นี้ จะเปนการกอสรางในสวนของอาคารหลัก มูลคาการลงทุนกวา
1,100 ลานบาท โดยเปนที่ตั้งของสํานักงานใหญ EECi, โรงงาน ตนแบบ และโรงเรือนอัจฉริยะของ Biopolis (เมืองนวัตกรรม ชีวภาพ) รวมถึงโครงสรางพืน้ ฐานรองรับ Aripolis (เมืองนวัตกรรม ระบบอัตโนมัติ หุนยนต และอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ), Space Innopolis (เมืองนวัตกรรมดานการบินและอวกาศ) ระยะเริ่มตน ซึ่งมีกําหนดแลวเสร็จในตนป พ.ศ. 2564 นอกจากนี้ ยังจะมีการลงทุนในสวนของโรงงานตนแบบ Biorenery มูลคากวา 3,400 ลานบาท ตอเนือ่ งในป พ.ศ. 25632565 เพื่ อ สนั บ สนุ น การสร า งมู ล ค า เพิ่ ม จากผลผลิ ต ทาง การเกษตรและทรัพยากรชีวภาพของไทยตอไป
ภาคเอกชนจากอุตสาหกรรม สนใจลงทุนในพื้นที่ EECi
ดร.ณรงค กลาววา ขณะนี้มีภาคเอกชนแสดงความสนใจ เข า มาลงทุ น ในพื้ น ที่ EECi อาทิ อุ ต สาหกรรมฐานชี ว ภาพ อุตสาหกรรมเกษตรกาวหนา อุตสาหกรรมหุน ยนต อุตสาหกรรม เทคโนโลยีกักเก็บพลังงาน อุตสาหกรรมอากาศยานไรคนขับ โดยสิทธิประโยชนที่นักลงทุนจะไดรับ ประกอบดวย สิทธิการเชา ที่ดินระยะยาวสําหรับจัดตั้งศูนยวิจัย และการเชาพื้นที่ในอาคาร เพื่อการวิจัยและนวัตกรรม โครงสรางพื้นฐานที่สามารถใชสอย รวมกัน อาทิ เครื่องมือวิทยาศาสตร เครื่องมือวิเคราะหทดสอบ โรงงานผลิตชิ้นงานตนแบบ โคเวิรคกิ้งสเปซ สนามทดลอง และทดสอบ การยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคลสูงสุด 13 ป อัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 17% คงที่ สําหรับผูเชี่ยวชาญระดับสูง
35
Engineering Today
March - April
2019
ทําความรู จักเขตนวัตกรรมระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi)
การอํานวยความสะดวกในเรือ่ งวีซา ทํางาน สําหรับผูเ ชีย่ วชาญตางชาติ การเขาถึงพืน้ ที่ ผ อ นปรนกฎระเบี ย บเพื่ อ การทดสอบ นวัตกรรม (Regulatory Sandbox) และ การเขาถึงนักวิทยาศาสตร นักวิจัย และ ผูเชี่ยวชาญตางๆ ของรัฐ ทั้งนี้ การลงทุนในพื้นที่ EECi ได แบงสัดสวนการลงทุนแบบ 30:70 คือ มาจากภาครัฐไมนอ ยกวา 33,170 ลาน บาท และกระตุนใหเกิดการลงทุนจาก ภาคอุ ต สาหกรรมให เ กิ ด ขึ้ น กว า 110,000 ลานบาท ภายในเวลา 20 ป ขางหนา ซึ่งคาดการณวาจะสรางมูลคา ทางเศรษฐกิจจากการลงทุนดังกลาวได กวา 271,000 ลานบาท
Engineering Today March - April
2019
“เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก” หรือ EECi ประกอบไปดวยระบบนิเวศนวัตกรรมที่สมบูรณ เปนพื้นที่เศรษฐกิจใหมที่มี ความเขมขนของงานวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม หองปฏิบัติการวิจัยทั้ง ภาครัฐและเอกชน หองทดลองภาคสนาม (Living Lab) ศูนยวเิ คราะหทดสอบ ชั้นนํา โรงงานตนแบบและโรงงานสาธิต ควบคูกับการยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชนในพื้นที่ดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ดังมีองคประกอบของ ระบบนิเวศนวัตกรรมและแนวทางการดําเนินงานหลัก ดังนี้ • เปนแหลงวิจัยและนวัตกรรมที่เขมขน (R & I Focus) เพื่อนําผล งานวิจัยและนวัตกรรมที่ไดไปตอบโจทยภาคอุตสาหกรรมทั้งในพื้นที่ EEC และทัว่ ประเทศ โดยเปนการทํางานรวมกันทัง้ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา/ สถาบันวิจัย และภาครัฐ • ศูนยรวมหองปฏิบัติการวิจัยของรัฐและเอกชน (Concentration of Public & Private Laboratory) เพื่อสงเสริมใหเกิดการทํางานรวมกัน เกิดการแลกเปลี่ยนองคความรู ตลอดจนอุปกรณและเครื่องมือตางๆ • สนามทดสอบและการพัฒนาสูก ารผลิตระดับอุตสาหกรรม (Scale-up, Testbeds & Living Lab, Green House, Field Demo) มุงเนนขยายศูนย ปฏิบัติการ ศูนยวิเคราะหทดสอบ รวมถึงโรงงานตนแบบและโรงงานสาธิต ในพื้นที่ เพื่อใหสามารถรองรับการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมได
36
• ยกระดับอุตสาหกรรมเดิม (Existing Industry Upgrade) โดยการถายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมขั้นสูง ไปสูภาคอุตสาหกรรมที่มีอยูในพื้นที่ EEC และพื้นที่อื่นๆ ทัว่ ประเทศ เพือ่ ยกระดับกระบวนการผลิตใหสามารถพัฒนา ไปสูอ ตุ สาหกรรม 4.0 ซึง่ จะชวยเพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิต รวมทั้งลดระยะเวลาและแรงงานลง • พัฒนาใหเกิดอุตสาหกรรมใหม (New Industry Development) ที่ เ ป น อุ ต สาหกรรมที่ ใ ช เ ทคโนโลยี แ ละ นวัตกรรมขั้นสูง ตลอดจนสงเสริมธุร กิจขนาดกลางและ ขนาดเล็ก (SME) ทางดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมในพื้นที่ EEC และพื้นที่อื่นๆ ทั่วประเทศ ตลอดจนพัฒนากําลังคน ของอุตสาหกรรมและสรางผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานเทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อรองรับอุตสาหกรรมใหมในอนาคต • กําหนดใหเปนเขตผอนปรนกฎหมายและกฎระเบียบ ที่เกี่ยวของกับการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม (Sandboxes for Regulatory Adjustment) เพื่อใหเปนสนามทดสอบ ผลิตภัณฑ อุปกรณ แพลตฟอรม และแอพพลิเคชั่นอื่นๆ ที่ เกี่ยวของ • สนับสนุนวิสาหกิจเริ่มตนและวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอม (Startup & SME Support) ดวยการบมเพาะ ผูประกอบการเทคโนโลยีใหม การเรงสรางผูประกอบการ เทคโนโลยี รวมถึงการสนับสนุนระบบนิเวศที่เอื้อตอการ เติบโตของธุรกิจใหม โดยเฉพาะการจัดตั้งชุมชนนวัตกรรม ที่ ส ะดวก และเป น ศู น ย ร วมของเครื อ ข า ยการลงทุ น ของ นักลงทุน (Venture Capital & Angel Funding) ดาน เทคโนโลยีและนวัตกรรมทั้งในประเทศและตางประเทศ
• สรางชุมชนขนาดใหญของนวัตกร (Large Community of Innovators) ดวยการเชื่อมโยงเครือขายนวัตกร นักคิดคน เทคโนโลยี นักลงทุนดานนวัตกรรม ตลอดจนสนับสนุนให เกิ ด ความร ว มมื อ ในการถ า ยทอดเทคโนโลยี แ ละพั ฒนา นวั ต กรรมระหว า งเครื อ ข า ยนวั ต กรภายในประเทศกั บ เครือขายตางประเทศ พรอมสงเสริมใหเกิดการลงทุนและ พัฒนาทางด า นเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมจากบริ ษั ท และ สถาบันวิจยั ระดับโลกในพืน้ ที่ EEC • พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานคุณภาพของประเทศ (Advance National Quality Infrastructure) เพือ่ การตรวจสอบ และประเมินตามหลักการทางวิทยาศาสตรในการรับรอง คุณภาพของสินคาและบริการ และคุมครองผูบริโภคให ปลอดภัย • ยกระดับคุณภาพชีวติ ของคนในชุมชน (Solution for Community) โดยนํ า เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมไปช ว ย สนับสนุนในการทํางานและการดําเนินชีวติ รวมทัง้ ชวยในการ รักษาสภาพแวดลอมและบริหารจัดการทรัพยากรของชุมชน • แกปญหาและใหคําปรึกษาแกภาคอุตสาหกรรม (Solution for Industry) โดยการนําเทคโนโลยีและนวัตกรรม เขาไปชวยแกปญหาใหกับภาคอุตสาหกรรม ชวยยกระดับ อุตสาหกรรมดวยนวัตกรรม ชวยยกระดับกระบวนการผลิต ใหสามารถพัฒนาไปสูอุตสาหกรรม 4.0 ซึ่งจะเพิ่ม ประสิทธิภาพในการผลิต รวมทั้งลดระยะเวลา และแรงงาน
37
Engineering Today
March - April
2019
Engineering Today March - April
2019
38
Industry 4.0 • กองบรรณาธิการ
ร็อคเวล ออโตเมชั่นชี้เทรนด
Smart Manufacturing
หนุนอุตสาหกรรมไทย ก าวทันการแข งขันยุค Industry 4.0 ในยุคปฏิวตั ดิ จิ ทิ ลั (Digital Transformation) ยุค Industry 4.0 หรือ Thailand 4.0 ที่คนไทยรูจัก Smart Manufacturing คือเทรนดของภาคอุตสาหกรรมของโลกที่กําลังทวีความสําคัญ จะเห็นไดจากการที่ประเทศตางๆ ทั่วโลกกําลังมุงปรับปรุง ประสิทธิภาพการผลิต ลดตนทุน เพิม่ ขีดความสามารถทางการ แขงขัน ซึง่ เกิดประโยชนทงั้ ในดานการนําสินคาสูต ลาดไดเร็วขึน้ เพิ่มอัตราการใชงานเครื่องจักร และชวยบริหารความเสี่ยง ผลการวิจัยจาก The Economist ระบุวา 84% ของ ผูบริหารธุรกิจตางๆ ที่ตอบแบบสอบถามเชื่อวาการใชเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) จะชวยสรางรายไดใหมๆ ใหธุรกิจ โดย 61% เชือ่ วาการใชระบบดิจทิ ลั ในการดําเนินงานจะชวยสราง ความเติบโต 46% เชื่อวาจะชวยเสริมสรางประสิทธิภาพการ
ทํางานของพนักงาน อยางไรก็ตาม มีเพียง 7% ของผูบริหาร เหล า นี้ ที่ มี แ ผนหรื อ กลยุ ท ธ หรื อ ได ดํ า เนิ น การปฏิ รู ป ดิ จิ ทั ล อยางชัดเจน เมื่อเร็วๆ นี้ ร็อคเวล ออโตเมชั่น ไดจัดงาน Rockwell Automation on the Move 2019 (RAOTM 2019) งานแสดง โซลูชั่นดานเทคโนโลยีออโตเมชั่นเพื่อเสริมศักยภาพการแขงขัน ทางธุรกิจครั้งยิ่งใหญประจําป ภายใตแนวคิด “Enabling Smart Manufacturing Through Connected Enterprise” ณ ศูนย นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา เกรียงศักดิ์ ภาสุรกุล ผูจัดการประจําประเทศไทย บริษัท ร็อคเวล ออโตเมชั่น (ไทยแลนด) จํากัด กลาวถึงแนวคิดของ ร็อคเวลในการเสริมสรางองคกรแบบ Connected Enterprise
ป จจุบัน ภาคอุตสาหกรรมของไทย มีเพียง 5% ที่มีการวางระบบออโตเมชั่นอย างเต็มรูปแบบ 10% มีการใช หุ นยนต ในการผลิตบางส วน ที่เหลืออีก 85% หากไม เปลี่ยนแปลงก็จะอยู รอดได ยากในอนาคต เพราะต นทุนจะแพงกว าคู แข ง
39
Engineering Today
March - April
2019
เกรียงศักดิ์ ภาสุรกุล ผู จัดการประจําประเทศไทย บริษัท ร็อคเวล ออโตเมชั่น (ไทยแลนด ) จํากัด
รศ. ดร.ชิต เหล าวัฒนา กูรูด านหุ นยนต และโรโบติกส คนสําคัญของไทย
โดยอาศัยเทคโนโลยีใหมๆ ทัง้ ในสาขาซอฟตแวร โซลูชนั่ ดานการวิเคราะห การจัดจําหนาย การบูรณาการระบบ การสรางเครือ่ งจักร และเทคโนโลยี อื่นๆ ที่เกี่ยวของทั้งในระบบ Operating Technology (OT) หรือ เทคโนโลยีสวนปฏิบัติการ ซึ่งใชตั้งแตในอุปกรณเล็กๆ อยางเซ็นเซอร
Engineering Today March - April
2019
40
ไปจนถึงเครื่องจักรอุตสาหกรรมขนาดใหญ และระบบไอที หรือเทคโนโลยีสารสนเทศ “การเชื่อมโยง OT และ IT เขาดวยกัน เปนการผสม ผสานเทคโนโลยีดานออโตเมชั่นในระบบอุตสาหกรรมเขา กับเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อใหไดขอมูลแบบเรียลไทม ระบบ และขั้นตอนการทํางานที่เชื่อมโยงเปนหนึ่งเดียวทั้งองคกร ดวยการใชซอฟตแวรตางๆ ทั้ง Dashboard, Analytics หรือ Augmented Reality สิ่งเหลานี้จะชวยใหธุร กิจ สามารถตัดสินใจไดรวดเร็ว แมนยําขึ้น เพิ่มผลผลิต และ สรางการเติบโตอยางยั่งยืน ซึ่งลาสุด ทางร็อคเวลไดลงทุน กับโซลูชั่น Predix Private Cloud (PPC) เพื่อพัฒนา แพลตฟอรม Industrial Internet of Things (IIoT) ขึ้น” เกรียงศักดิ์ กลาว ทั้งนี้การพัฒนาเทคโนโลยีออโตเมชั่น และโรโบติกส หรือหุนยนต ไมใชสิ่งที่จะมาแทนที่มนุษย และทําใหคน จํ า นวนมากต อ งตกงาน แต สิ่ ง เหล า นี้ จ ะมาช ว ยเสริ ม ประสิทธิภาพการทํางาน และศักยภาพของมนุษย ทลาย ขอจํากัดเดิมๆ เกิดความเปนไดใหมๆ อยางทีไ่ มเคยเกิดขึน้ มากอน ดาน รศ. ดร.ชิต เหลาวัฒนา ผูกอตั้งและที่ปรึกษา สถาบั น วิ ท ยาการหุ น ยนต ภ าคสนาม มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) กูรูดานหุนยนต และโรโบติกสคนสําคัญของไทย วิทยากรรับเชิญพิเศษ ในงาน กลาววา เทคโนโลยีออโตเมชั่น เปนปจจัยสําคัญใน การสรางนวัตกรรมที่จะตอยอดอุตสาหกรรม ในอนาคต เศรษฐกิจไทยจะพึง่ พาแตเพียงสินคาโภคภัณฑ (Commodities) ไมไดแลว ซึ่งเทคโนโลยีสําคัญในยุคดิจิทัลคือ AI (Afticial Intelligence) และ IoT โดย AI มีความสามารถในการเรียน รูข อ มูลและสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ เปนแพทเทิรน เพือ่ นํามาคาดการณ พยากรณอนาคต สวน IoT ชวยใหอุปกรณ เครื่องจักร สามารถติดตอสื่อสารกันเองได เมื่อสองสิ่งนี้มาเจอกัน ก็จะลดหนาที่ของมนุษยที่จะมาเปนตัวกลาง ในปจจุบัน ภาคอุตสาหกรรมของไทย มีเพียง 5% ที่มีการวางระบบ ออโตเมชั่นอยางเต็มรูปแบบ 10% มีการใชหุนยนตในการ ผลิตบางสวน ทีเ่ หลืออีก 85% หากไมเปลีย่ นแปลงก็จะอยู รอดไดยากในอนาคต เพราะตนทุนจะแพงกวาคูแขง งาน RAOTM 2019 เปนสวนหนึ่งของงานระดับ ภูมภิ าคของร็อคเวล ออโตเมชัน่ โดยเริม่ ตนจัดขึน้ ทีอ่ นิ เดีย ในเดือนมกราคม ตามดวยประเทศไทยในเดือนมีนาคม เทียนจิน ประเทศจีนในเดือนพฤษภาคม และจาการตา ประเทศอินโดนีเซียในเดือนเมษายน คาดวางานนี้จะมี ผูเขาชมกวา 3,000 คนจากทั่วภูมิภาค
�Innovation • กองบรรณาธิการ
ซีพี ออลล จัดงาน
“7 Innovation Awards 2019” ป ที่ 6 มอบรางวัล SME-Startup ที่พัฒนานวัตกรรม ตอบโจทย เศรษฐกิจยุคใหม
ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล กรรมการและเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา
ก อศักดิ์ ไชยรัศมีศักดิ์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ซีพี ออลล จํากัด (มหาชน) และผู ก อตั้งร านเซเว น อีเลฟเว น ในประเทศไทย
41
บริษัท ซีพี ออลล จํากัด (มหาชน) และผูกอตั้งรานเซเวน อีเลฟเวน ใน ประเทศไทย จับมือ 10 องคกรชั้นนํา ระดั บ ประเทศ ร ว มพั ฒ นานวั ต กรรม เพื่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คมไทย จั ด งาน “Thailand Synergy เพื่อ SMEs ไทย” พรอมประกาศผลและมอบรางวัล “7 Innovation Awards 2019” ซึ่งจัดขึ้น อยางตอเนื่องเปนปที่ 6 แก SME และ Startup ทีม่ กี ารพัฒนาผลงานนวัตกรรม ตอบโจทยเศรษฐกิจยุคใหม ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล กรรมการ และเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา กลาววา การทําธุรกิจใหประสบความสําเร็จตอง อาศัยความมุง มัน่ และความอดทน พรอม ทั้ ง ใส นวั ต กรรมและวิ ถี ภู มิ ป ญ ญาไทย ลงไปในธุรกิจของผูประกอบการ SME และ Startup แตละประเภทธุรกิจ ทั้งนี้ การประกอบกิจการยอมมีปญ หาซึง่ แตละ ปญหาจะนําพาใหธรุ กิจของผูป ระกอบการ
Engineering Today
March - April
2019
ดร.ชัยวัฒน วิบูลสวัสดิ์ (ซ าย) มอบรางวัลสุดยอดนวัตกรรม 7 Innovation Awards ด านเศรษฐกิจ
ดร.ชัยวัฒน วิบูลย สวัสดิ์ ประธานกรรมการการตัดสินรางวัล
รูจ กั การผลิต รูจ กั การทํางาน รูจ กั ตลาด รูจักปรับตัวใหรอดปลอดภัยในทุกๆ ยุค สมัย ที่สําคัญอยาประกอบกิจการเพียง หวังผลกําไรเพียงอยางเดียว โดยลืมความ มีนาํ้ ใจ ความเอือ้ อารีของคนไทยมาตัง้ แต อดีต ไมทําลายทรัพยากรทางธรรมชาติ จนเกิ น ความพอดี ควรสร า งจิ ต สํ า นึ ก หวงแหนทรัพยากรตางๆ ไวใหลูกหลาน บาง ไมเชนนั้นในอนาคตประเทศไทยจะ ตองสั่งซื้อทรัพยากรที่จําเปนมาใชเปน วัตถุดบิ หลักในการผลิตก็เปนได เพราะใน อดีตเรามีประชากรทั้งประเทศอยูเพียง 18 ลานคน อุดมสมบูรณไปดวยทรัพยากร ทางธรรมชาติ แรธาตุ ปาไม แตปจจุบัน ประชากรทั้งประเทศมี 60 กวาลานคน ทรั พ ยากรก็ ล ดลงตามไปด ว ย ต า งคน ตางอาศัยความเจริญทําลายทรัพยากร ธรรมชาติ เกิดปญหาฝุนละอองที่เปน ปญหาใหขบคิดหาทางรับมือแกปญหา อยางเปนรูปธรรม
Engineering Today March - April
2019
ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล (ซ าย) มอบรางวัลสุดยอดนวัตกรรม 7 Innovation Awards ด านสังคม
“อันที่จริงทุกๆ ปญหา คนไทยเกงหาทางแกไดเสมอแตตองใชเวลาและใชความ พยายามดวยวิถีทางที่ถูกตองแลวจะประสบความสําเร็จดวยดี ดังนั้นจึงอยากแนะนํา ผูประกอบการ SME และ Startup ชวยกันคิดคนประกอบกิจการที่คลายๆ กันในหมูบาน ชุมชนเดียวกันควรรวมกลุม สรางความสมดุล สรางการตอรองตลาด สรางนวัตกรรมของ คนไทยเองใหเปนนํา้ หนึง่ ใจเดียวก็จะสรางชุมชนใหเขมแข็ง มัน่ คงและยัง่ ยืน สรางฐานราก ในสังคมนั้นๆ ใหแข็งแกรง ประเทศก็จะแข็งแกรงตามมาในที่สุด” ดร.สุเมธ กลาว กอศักดิ์ ไชยรัศมีศกั ดิ์ ประธานกรรมการบริหาร บริษทั ซีพี ออลล จํากัด (มหาชน) และผูกอตั้งรานเซเวน อีเลฟเวน ในประเทศไทย กลาววา การจัดประกวดรางวัล “7 Innovation Awards 2019” เปนโครงการที่จัดตอเนื่องเปนปที่ 6 ภายใตความ รวมมือกับ 10 องคกรระดับประเทศ ไดแก สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห งชาติ (สวทน.), สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ
42
เทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.), สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) (สนช.), สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (ส.อ.ท.), ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, สํานักงานปลัด กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, สมาคมหนวยบมเพาะ ธุรกิจและอุทยานวิทยาศาสตรไทย (Thai-BISPA), หอการคาไทย และสภาหอการคาแหงประเทศไทย, สมาคมธนาคารไทย และ สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) โดยไดคัดเลือกสินคาและบริการของผูประกอบการ SME และ Startup ไทย ที่คิดคนนวัตกรรมในการพัฒนาผลิตภัณฑ บริการ หรือรูปแบบสินคา บริการ การดําเนินธุรกิจใหมๆ ทีจ่ ะชวยใหเกิด มูลคาและคุณคามากขึ้น รวมถึงเปนการพัฒนาธุรกิจ SME ให เติบโตอยางยั่งยืน ตามปณิธานของบริษัท “รวมสรางสรรคและ แบงปนโอกาสใหทุกคน” ซึ่งซีพี ออลล ไดใหความสําคัญกับการ สงเสริมผูป ระกอบการ SME และ Startup คนไทย โดยสนับสนุน การพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ การสรางสรรคสินคาที่มีความ แปลกใหมออกสูตลาด เพื่อกอใหเกิดมูลคาและประโยชนตางๆ ในทางเศรษฐกิจ และเปดโอกาสใหผปู ระกอบการไดตอ ยอดธุรกิจ ผานชองทางการจําหนายผลิตภัณฑอันหลากหลาย ไดแก ราน เซเวน อีเลฟเวน, เว็บไซตทเวนตี้โฟร ชอปปง รวมไปถึงชองทาง ใหมๆ ในเครือขายความรวมมือ เชน รานริมปง ซูเปอรมารเก็ต, รานกาแฟมวลชน, Makroclick.com ในกลุมธุรกิจของแม็คโคร, Weloveshopping.com ในกลุมธุรกิจของทรู และรานซีเอ็ด
บุค เซ็นเตอร เพือ่ ใหเกิดการแลกเปลีย่ นเรียนรู และเกิดการพัฒนา ตอยอดไปสูผ ลงานนวัตกรรมทีส่ งู ขึน้ ในระดับประเทศ เพือ่ กระจาย รายไดใหเปนไปอยางทั่วถึงตอไป ดร.ชัยวัฒน วิบูลยสวัสดิ์ ประธานกรรมการการตัดสิน รางวัล กลาววา เกณฑในการคัดเลือกผูประกอบการไดกําหนด เกณฑการคัดเลือกอยางเขมขน โดยในงาน “Thailand Synergy เพื่อ SMEs ไทย” ซึ่งมีผูประกอบการสงผลงานเขาประกวดทั้งสิ้น 120 ผลงาน และมีผลงานทีโ่ ดดเดนผานการตัดสินใหไดรบั รางวัล ทั้งสิ้น จํานวน 40 ผลงาน แบงเปน ผลงานนวัตกรรมที่กอใหเกิด ประโยชนดา นเศรษฐกิจ จํานวน 21 ผลงาน และผลงานนวัตกรรม ที่กอใหเกิดประโยชนดานสังคม จํานวน 19 ผลงาน ดังนี้
>> ผลงานนวัตกรรมที่ก อให เกิดประโยชน ด านสังคม
รางวัลสุดยอดนวัตกรรม 7 Innovation Awards • รางวัลชนะเลิศ มี 2 รางวัล ไดแก 1. ผลิตภัณฑจาก โพรไบโอติกสายพันธุใ หมปอ งกันฟนผุ จากคณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร และ 2. 1 to 5 Brain Exercise จาก บริษัท ไรทวิว วิสาหกิจสังคม จํากัด • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ไดแก QueQ Application ระบบจัดคิวผูปวยอัจฉริยะ จาก บริษัท คิว คิว (ประเทศไทย) จํากัด
43
Engineering Today
March - April
2019
• รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 มี 3 รางวัล ไดแก 1. ทองสิริ ผายอมคราม ธรรมชาติ ท อมื อ จากบริ ษั ท เอ.อี . ซี 2015 (ไทยแลนด) จํากัด 2. ผาพันศีรษะ ฉุ ก เฉิ น Field Head Saver จาก โรงพยาบาลเทิง จังหวัดเชียงราย และ 3. ผลิ ต ภั ณ ฑ Activated Charcoal จากเหงามันสําปะหลัง จาก บริษัท ตอม คาซาวา จํากัด รางวั ล สุ ด ยอดนั ก ประดิ ษ ฐ 7 Inventor Awards มี 5 รางวัล ไดแก 1. ตนแบบธุรกิจชุมชนรับบริการปลูกขาว ดวยนวัตกรรมรถหยอนกลาขาว I–KIAM (ไอ-เคี่ยม) จากศูนยถายทอดเทคโนโลยี นวัตกรรมเครื่องหยอนกลา I–KIAM KU 2. Renn Online Renance จาก บริษัท รีฟนน อินเตอรเนชั่นแนล ดอท คอม จํากัด 3. รถเข็น ผูปวยปรับยืนได จาก บริษัท ซีเมด เมดิคอล จํากัด 4. ชุดตรวจ วัณโรคสําเร็จรูปแบบรวดเร็ว TB d-tect จาก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และ 5. นํ้าตาลโตนด ตราตาลบุรี จาก บริษัท ตาลบุรี ฟูด จํากัด
Engineering Today March - April
2019
รางวัล Creator Awards มี 8 รางวัล ไดแก 1. นํ้าออยพาสเจอรไรซ ตราไรไมจน นํ้าออยที่เกษตรกรไทยไรความยากจน จาก บริษัท นํ้าออยไรไมจน จํากัด 2. GENES Navtra Life สารสกัดพลูคาว (อาหารเสริมปองกันเบาหวาน) จากบริษทั นาวิสพลัส จํากัด 3. Tamago Mouzze ขนมมูสไขขาวสําหรับสุนัขและแมว จาก บริษัท ไขกําลังดี จํากัด 4. B-Garlic (กระเทียมดํา) จากบริษทั นพดาโปรดักส จํากัด 5. YoungHappy “ยังแฮปป” สังคมความสุขของคนวัยเกา จาก บริษทั ไอเพย อิท ฟอรเวิรด จํากัด 6. Alatus ผลิตภัณฑ เวชสําอางจากสารสกัดยางนา จาก บริษทั อะลาตัส จํากัด 7. WIZ Wealth Management Platform จาก บริษัท หลักทรัพยที่ปรึกษาการลงทุน เวลธ อินคอเปอรเรชั่น จํากัด และ 8. Health Smile ปญญาประดิษฐเพื่อการตรวจสุขภาพประจําป จาก บริษัท เฮลทสไมล จํากัด
44
>> ผลงานนวัตกรรมที่ก อให เกิดประโยชน ด านเศรษฐกิจ
รางวัลสุดยอดนวัตกรรม 7 Innovation Awards • รางวัลชนะเลิศ ไดแก ขนมบราวนี่กรอบอรอยปราศจากกลูเตนสูตลาดอาหาร อนาคต (Future Food) จาก บริษัท สมายล มีล จํากัด • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 มี 2 รางวัล ไดแก 1. ละอองเย็น Cooling Mist จาก บริษัท ภีดู จํากัด และ 2. อรอิง มะมวงนํ้าดอกไมพันธุสีทอง ชนิดแทงแชแข็งพรอม รับประทาน จาก บริษัท อรอิง โฟรเซนฟรุต จํากัด • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ไดแก AgrilifeCocoGurt ผลิตภัณฑกะทิหมัก จุลินทรีย พรอมบริโภค จาก บริษัท เอิรธบอรน จํากัด รางวัลสุดยอดนักประดิษฐ 7 Inventor Awards มี 5 รางวัล ไดแก 1. Cleanradex Eyelid ผลิตภัณฑทําความสะอาดเปลือกตาและขนตาจากขาวไทย จาก บริษัท สเปเชียล ตี้ อินโนเวชั่น จํากัด 2. CARECHOICE ผงปรุงรสจากผัก อรอย ปลอดภัย ไรผงชูรส จาก
45
บริษทั ด.เด็กกินผัก จํากัด 3. ดีเวอร Dever Energy Gel เครือ่ งดืม่ แบบเจลใหพลังงาน จาก บริษัท เวิลดคลาสนิวทริชั่น จํากัด 4. ผักโขมอบชีส ตรารีโอส เดลิ แบบไม ตองอบ จาก บริษัท แวลู ซอรสซิ่ง จํากัด และ 5. ระบบบริหารจัดการการเกษตร ดวย UAV (Unmanded Aerial Vehicle) สมรรถนะสูง จาก บริษัท ไลลา เอวิเอชั่น จํากัด รางวัล Creator Awards มี 12 รางวัล ไดแก 1. 137 ดีกรี นมทางเลือก เพื่อสุขภาพ จากบริษัท ซิมเพิ้ล ฟูดส จํ า กั ด 2. พริ ก ค ะ PRIKKA Spicy Coffee กาแฟพริกสูตรเผ็ดใหความอบอุน จาก บริษัท สตาร เฮิรบ ฟารมา จํากัด 3. สุดยอดนวัตกรรมเห็ดหลินจือ จาก เขาใหญ พาโนรามา ฟารม จาก บริษัท เขาใหญ พาโนรามา ฟารม จํากัด 4. มิสเตอรไพน เนือ้ ปลานิลทอดสุญญากาศ จาก บริษัท ภูผาฟารม จํากัด 5. VenueE (เวนิ ว อี ) ตลาดออนไลน ร วมสถานที่ จัดงานประชุมและอีเวนท จาก บริษัท เวนิวอี จํากัด 6. LIIN Roof ฉนวนกัน ความร อ นนาโนสํ า หรั บ หลั ง คา จาก บริษทั ฑีเลีย่ ม จํากัด 7. Natural Sesame Oil สารสกั ด งาดํ า ระดั บ โมเลกุ ล จาก บริ ษั ท นาวิ ส พลั ส จํ า กั ด 8. Digital Workforce แรงงานหุน ยนตดจิ ทิ ลั สําหรับ การลงทุนในตลาดอนุพันธ จาก บริษัท โพลาร แบร ฟชชิ่ง อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 9. ทุเรียนแทงอบกรอบ จาก บริษทั พรทิพย พรีเมี่ยม จํากัด 10. LED Smart Farm ชุดปลูกผักอัจฉริยะภายในอาคาร ไมตองใชแสงแดด จากบริษัท ซีวิค มีเดีย จํากัด 11. ACTRA ผลิตภัณฑบํารุงผม ขาวเหนียวดํา จาก บริษัท คอสเมเฮลท แชนแนล จํ า กั ด และ 12. Albupro ผลิตภัณฑเสริมอาหารโปรตีนจากไข จาก บริษัท ไบโอบอรน จํากัด
Engineering Today
March - April
2019
Energy Today • กองบรรณาธิการ
PEA ร วมกับ “ออริจนิ้ ” สนับสนุนโครงการ Origin Smart District Rayong มุง สร าง Smart City ยกระดับคุณภาพชีวิต-ใช พลังงานอย างคุม ค า
เขมรัตน ศาสตร ปรีชา รองผู ว าการสายงานธุรกิจ PEA และ อรุช ช างทอง เอ็มดี กลุ มธุรกิจใน EEC บริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอร ตี้ จํากัด (มหาชน)
การไฟฟ า ส ว นภู มิ ภ าค (PEA) ร ว มกั บ “ออริจนิ้ ” สรางความรวมมือทางธุรกิจพลังงานดาน ระบบดิจทิ ลั ในกลุม อสังหาริมทรัพย ผลักดันใหเกิด Smart City สรางคุณภาพชีวิตที่ดีตอผูอยูอาศัย และเกิดประโยชนสูงสุดจากการใชพลังงานอยาง คุม คา ดานออริจนิ้ เล็งเปดตัวเริม่ ตนโครงการมิกซ ยูส “Origin Smart District Rayong” พรอม คอนโดมิเนียมมูลคาโครงการกวา 5,000 ลานบาท หวังเปนแลนด มารคใหม ใน EEC ภายใต การ สนับสนุนการบริหารจัดการพลังงานดวย PEA Hero Platform เขมรัตน ศาสตรปรีชา รองผูวาการสายงาน ธุรกิจ การไฟฟาสวนภูมิภาค (PEA) กลาววา PEA ร ว มกั บ บริ ษั ท ออริ จิ้ น พร็ อ พเพอร ตี้ จํ า กั ด (มหาชน) หรื อ ORI ลงนามในบัน ทึกข อตกลง โครงการความรวมมือทางธุรกิจพลังงานดานระบบ ดิจิทัลในกลุมอสังหาริมทรัพย ในโครงการ Origin Smart District Rayong โดย PEA จะนํา PEA HERO PLATFORM ซึ่งประกอบดวย PEA Solar Hero Feature, PEA Energy Hero Trading
Engineering Today March - April
2019
46
Feature, PEA Care Hero Feature และ PEA Energy Intelligence Hero Feature เปนสื่อกลางในสวนของการผลิต พลังงานไฟฟา การบริหารจัดการพลังงาน (Energy Management System) และการอํานวยความสะดวกแกผใู ชบริการ สําหรับพืน้ ที่ โครงการ Origin Smart District Rayong ของบริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอรตี้ จํากัด (มหาชน) โดยมี Concept ในการพัฒนา แบงเปน 4 หัวขอหลัก ไดแก 1) Smart Living การพัฒนาคุณภาพ ชีวิตที่ดีของผูอาศัย 2) Smart Service การใหบริการดานการ ตรวจสอบและซอมบํารุงระบบไฟฟา 3) Smart Energy การสง เสริมใหเกิดการผลิตพลังงานสะอาดและการใชไฟฟาอยางคุมคา และเกิดประโยชนสูงสุด และ 4) Smart City การบริหารจัดการ พลังงานในภาพรวมของโครงการ “PEA มีนโยบายพัฒนาองคกรใหเปน Digital Utility โดย สงเสริมการวิจัยและพัฒนาดานพลังงาน พรอมทั้งมุงเนนการ ดําเนินธุรกิจใหมดานพลังงานใหมีความทันสมัยในการใหบริการ ประชาชนให ดี ยิ่ ง ขึ้ น เพื่ อ พร อ มเข า สู ยุ ค ดิ จิ ทั ล ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน ประเทศไทย และเตรียมขยายการใหบริการไปสูระดับภูมิภาคใน อาเซียน” รองผูวาการสายงานธุรกิจ PEA กลาว ลาสุด PEA ไดรวมมือกับออริจิ้น พร็อพเพอรตี้ ซึ่งเปน ผูประกอบการธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยชั้นนําของประเทศ ลงทุนพัฒนาธุรกิจดานพลังงานและการพัฒนาเมื องอัจฉริยะ สําหรับโครงการ Origin Smart District Rayong เพื่อตอบสนอง เทคโนโลยีที่นํามาสูการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงในทุกภาค สวนของสังคมตั้งแตสังคมในภาคใหญอยางธุรกิจอุตสาหกรรม จนถึงภาคสังคมขนาดเล็กอยางภาคครัวเรือน ดวยไลฟสไตลการ ใชชีวิตของคนยุคดิจิทัล ที่ตองการความสะดวกและรวดเร็วทันใจ โดยเรื่องดังกลาวจะเปนเรื่องงายมากขึ้น หากมีการนําเทคโนโลยี มาชวยตอบโจทย โดยเฉพาะเทคโนโลยีดิจิทัลบนโทรศัพทมือถือ เช น Mobile Platform ที่ ช ว ยอํ า นวยความสะดวกในการ
ดําเนินชีวิตในเรื่องตางๆ โดยเนนการสงเสริมและ พัฒนาการใหบริการ และบริหารจัดการดานพลังงาน ไฟฟาดวยระบบดิจทิ ลั อยางครบวงจร รวมทัง้ จะเปน โครงการตนแบบของการบริหารจัดการพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพสําหรับโครงการอื่นๆ ทั้งใน ภาคธุรกิจ และในภาพรวมของทั้งประเทศ ที่จะ เกิดขึน้ ในอนาคต สอดคลองกับการเปลีย่ นแปลงของ เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมดานพลังงานตอไป ดาน อรุช ชางทอง กรรมการผูจัดการ กลุม ธุรกิจใน EEC บริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอรตี้ จํากัด (มหาชน) กลาววา โครงการ Origin Smart District Rayong เปนโครงการมิกซยูสโครงการใหมของ ออริจนิ้ ซึง่ จะถือเปนอีกหนึง่ แลนดมารคใหมในพืน้ ที่ ระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคตะวั น ออก (EEC) สําหรับความรวมมือกับ PEA ในครั้งนี้ จะมุงเนนให เกิดการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City ภายในพืน้ ทีโ่ ครงการ เพือ่ ชวยในการพัฒนาคุณภาพ ชีวติ ทีด่ ขี องผูอ ยูอ าศัย ผานนวัตกรรมการใชพลังงาน ไฟฟาอยางมีคุณคา เชน ระบบการจัดการพลังงาน ในบาน (Smart Home) การติดตัง้ ระบบผลิตพลังงาน ไฟฟา พลังงานแสงอาทิตย (Solar Rooftop) รวมถึง การใหบริการดานการซอมบํารุงระบบไฟฟาและ การบริหารจัดการพลังงานในโครงการ “ออริจิ้นใหความสําคัญกับเรื่องความเขาใจ ลูกคา หรือ Empathy โดยตอยอดผานการสราง Smart Products คือพัฒนาสินคาทุกประเภทให ตอบโจทยความตองการโดยมี Smart Technology เขามาชวยเติมเต็ม ขณะเดียวกันก็มอบ Excellence Services บริการเหนือระดับไปพรอมกัน โดย PEA ถื อ เป น องค ก รที่ มี ทั้ ง องค ค วามรู แ ละวิ สั ย ทั ศ น สอดคล อ งกั น ความร ว มมื อ ครั้ ง นี้ จึ ง ก อ ให เ กิ ด ประโยชนสูงสุดแกผูอยูอาศัย” อรุช กลาว Origin Smart District Rayong เปน โครงการมิกซยูส ซึ่งประกอบดวยคอนโดมิเนียม หลายโครงการ มูลคาโครงการรวมกวา 5,000 ลานบาท รวมถึงจะมีโครงการประเภทอื่นๆ อีก หลายประเภท คาดวาจะทยอยเปดตัวอยางเปน ทางการในไตรมาส 2 ของป พ.ศ. 2562 นี้
พิธีลงนามในบันทึกข อตกลงโครงการความร วมมือทางธุรกิจพลังงาน ด านระบบดิจทิ ลั ในกลุม อสังหาริมทรัพย ในโครงการ Origin Smart District Rayong
47
Engineering Today
March - April
2019
Environment • กองบรรณาธิการ
รศ. ดร.วุฒิชัย เอื้อวิทยาศุภร (กลาง) อาจารย ประจําภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล นักวิจัย สกว. และทีมวิจัย การแสดงผลของเซ็นเซอร
นักวิจัย สกว. พัฒนาเซ็นเซอร ทรายดูดซับสารพิษปนเป อน
ใช ประโยชน ในภาคอุตสาหกรรม-ประชาชนทั่วไป เป นมิตรต อสิ่งแวดล อม “ซิลกิ า (Silica)” หรือ “ซิลกิ อนออกไซด (Silicon Oxide)” เปนสารประกอบอนินทรียในกลุมเซรามิกที่พบมากที่สุดในโลก ถู ก พบมากในรู ป ทราย อิ ฐ หิ น ดิ น และมี ก ารนํ า มาใช ใ น อุตสาหกรรมเคมีอยางแพรหลายเนื่องจากมีคุณสมบัติในการดูด ซับและแยกสารใหบริสุทธิ์ได อยางไรก็ตาม กลไกการดูดซับของ สารเคมีดวยซิลิกายังไมเปนที่ทราบแนชัด ดวยเหตุนี้ นักวิจัยไทย จึงพัฒนาโครงสรางทางเคมีโมเลกุลตนแบบของซิลิกาเพื่อศึกษา กลไกการดูดซับทางเคมี และพัฒนาตอยอดเปนนวัตกรรมใหซลิ กิ า ทําไดมากกวาการดูดซับสารเคมี แตยังเปนเซ็นเซอร (Sensor) ทีส่ ามารถแสดงผลใหเห็นดวยตาเปลาไดดว ยวาสารเคมีทปี่ นเปอ น คือสารอะไร รศ. ดร.วุฒิชัย เอื้อวิทยาศุภร อาจารยประจําภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล นักวิจยั สํานักงานกองทุน สนั บ สนุ น การวิ จั ย (สกว.) เผยผลงานนวั ต กรรม “โมเลกุ ล กรงซิลิกา (Silica Molecular Cages) สูการตรวจวัดเซ็นเซอร รูปแบบใหม” ซึง่ เปนการออกแบบวัสดุอจั ฉริยะ (Smart Material) ใหมีโครงสรางทางเคมีใกลเคียงกับซิลิกามากที่สุด และสามารถ เรืองแสง (Fluorescence) ได จากการทําปฏิกริ ยิ าทางเคมีระหวาง
Engineering Today March - April
2019
48
โมเลกุลกรงซิลกิ ากับสารอินทรียเ รืองแสง นําไปสูก ารพิสจู นกลไก การเกิดปฏิกิริยาเคมีกับสารตางๆ ที่มีประจุลบ (Anions) เชน ฟลู อ อไรด (Fluoride), ไซยาไนด (Cyanide), ฟอสเฟต (Phosphate) และไฮดรอกไซด (Hydroxide) ซึ่งเมื่อนําโมเลกุล กรงที่ถูกดัดแปลงทางเคมีเรืองแสงมาทําการดูดซับสารเหลานี้ ในของเหลวที่ทําการทดสอบแลว เซ็นเซอรจะแสดงผลโดยการ เรื อ งแสงและมี สี สั น ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปให ส ามารถเห็ น ได ด ว ย ตาเปลา “ที่ ผ า นมานั ก วิ ท ยาศาสตร ใ ช ซิ ลิ ก าในการดู ด ซั บ และ แยกสสารใหบริสุทธิ์ โดยทราบเพียงวายิ่งสสารมีขั้วมากยอมถูก ดูดซับดวยซิลกิ ามากขึน้ เทานัน้ แตกลไกการดูดซับทีล่ กึ ซึง้ ในระดับ โมเลกุลยังไมทราบแนชัด และที่ผานมายังมีงานวิจัยนอยชิ้น ที่ ส ามารถอธิ บ ายถึ ง โครงสร า งโมเลกุ ล ที่ แ ท จริ ง ของซิ ลิ ก าที่ เหมาะสมกับการดูดซับทางเคมีของสสารแตละชนิดได จึงได นําเรือ่ งนีม้ าศึกษาตอจนพบวา ซิลกิ ามีความสามารถในการดูดซับ จําเพาะกับสารประเภทไหน และยังไดดัดแปลงโครงสรางทาง โมเลกุลใหสามารถแสดงผลการดูดซับใหเห็นไดดวยตาเปลา” รศ. ดร.วุฒิชัย กลาว
โดยซิลิกาที่ดัดแปลงโครงสรางนั้นจะแสดงผลจําเพาะกับ สารที่ดูดซับ ซึ่งในตอนนี้สารที่สามารถดูดซับแลวแสดงผลไดมี 2 สาร คือ สารฟลูออไรด (Fluoride) และสารไซยาไนด (Cyanide) ซึ่งมักพบการปนเปอนสารเหลานี้ไดตามอุตสาหกรรมเหมืองแร ถลุงแร โดยในอนาคตจะมีการพัฒนาตอยอดใหเหมาะสมแกการ ใชงานทัว่ ไป คือสามารถตรวจวัดการปนเปอ นในแหลงนํา้ ธรรมชาติ ไดโดยตรง การทําตัวชี้วัดวาสารที่ดูดซับมาไดนั้นมีความเขมขน มากนอยเพียงใด มีคาเกินมาตรฐานแลวหรือไม หรือแมกระทั่ง สามารถตรวจสอบสารเคมีประเภทอื่นๆ ไดแก โลหะหนัก การคนพบขอมูลใหมเกี่ยวกับความสามารถของซิลิกาและ การคิดคนนวัตกรรมดังที่กลาวในขางตน ไดตีพิมพเผยแพรใน วารสาร Chemical Science ในฉบับเดือนตุลาคม 2561 เพือ่ เปน ประโยชนแกนักวิทยาศาสตรทั่วโลกเปนที่เรียบรอยแลว “ในอนาคตงานวิ จั ย ชิ้ น นี้ จ ะเป น ประโยชน ทั้ ง แก ร ะดั บ อุตสาหกรรม เพือ่ ใชในการตรวจสอบและบําบัดสารเคมีทปี่ นเปอ น กอนปลอยลงสูแหลงนํ้า และจะเปนประโยชนแกระดับประชาชน ทั่วไปในการตรวจสอบและบําบัดคุณภาพนํ้ากอนนํามาใชในการ อุปโภคและบริโภคอีกดวย โดยเซ็นเซอรชนิดนี้เปนนวัตกรรมวัสดุ ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม สามารถปล อ ยคื น สู ธ รรมชาติ ไ ด (Eco-friendly Material) ซึ่งหากมีภาคธุรกิจสนใจที่จะพัฒนาเพื่อ นําไปใชประโยชนตอในแงมุมตางๆ ทางทีมวิจัยก็พรอมที่จะ พัฒนางานใหตอบโจทยการใชงานรวมกัน” รศ. ดร.วุฒิชัย กลาว ทิ้งทาย
ผลงานเซ็นเซอร ได รับเลือกขึ้นปกวารสาร Chemical Science ฉบับเดือนตุลาคม 2561 เพื่อประโยชน แก นักวิทยาศาสตร ทั่วโลก
ภาพโครงสร างทางเคมีแสดงให เห็นการทําปฏิกิริยา
49
Engineering Today
March - April
2019
IT Update • กองบรรณาธิการ
เกรียงศักดิ์ จรูญศรีสวัสดิ์
รองประธานอาวุโส แผนกธุรกิจดาต าเซ็นเตอร บริษัท เอ็นทีที คอมมิวนิเคชั่นส (ประเทศไทย) จํากัด
ธีรวุฒิ ศุณะมาลัย
Senior Executive Vice President and CFO บริษัท เอ็นทีที คอมมิวนิเคชั่นส (ประเทศไทย) จํากัด
บริษัท เอ็นทีที คอมมิวนิเคชั่นส (ประเทศไทย) จํากัด (เอ็นทีที คอม) ในเครือของ เอ็นทีที คอมมิวนิเคชัน่ ส คอรปอเรชัน่ ผูด าํ เนินธุรกิจใหบริการดานไอซีทโี ซลูชนั่ และ การสื่ อ สารระหว า งประเทศในเครื อ ของเอ็ น ที ที ก รุ ป (TYO: 9432) ทุมงบเพิ่มอีก 500 ลานบาท สรางพื้นที่ให บริการเฟส 3 ขนาด 1,200 ตารางเมตร กําลังไฟฟา 2,000 กิโลวัตต พรอมสิง่ อํานวยความสะดวกและบริการครบวงจร ภายในศูนยขอ มูล “Thailand Bangkok 2 Data Center” ภายใตแบรนด NexcenterTM ซึ่งเปน High Density Data Center รองรับลูกคาและนักลงทุนในเขตพัฒนาระเบียง เศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคตะวั น ออก หรื อ EEC (Eastern Economic Corridor) ในอนาคต เกรี ย งศั ก ดิ์ จรู ญ ศรี ส วั ส ดิ์ รองประธานอาวุ โ ส แผนกธุ ร กิ จ ดาต า เซ็ น เตอร บริ ษั ท เอ็ น ที ที คอมมิ ว นิเคชั่นส (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา จากการตอบรับ
Engineering Today March - April
2019
เอ็นทีที คอม
ลงทุนเพิม่ 500 ล านบาท สร างศูนย ข อมูล “Thailand Bangkok 2 Data Center” เฟส 3 รองรับนักลงทุน EEC ที่ดีจากลูกคาที่เขามาใชบริการจาก ศูนยขอ มูล Thailand Bangkok 2 Data Center ซึ่งเปนอาคาร 4 ชั้น ตั้งอยูบนพื้นที่ ทีย่ ากตอการเกิดอุทกภัยภายในนิคมอุตสาหกรรม อมตะนคร จังหวัดชลบุรี โดยพื้นที่มีความสูงเหนือ ระดับนํ้าทะเลกวา 4 เมตร พรอมกําแพงกั้นนํ้าสูงเหนือ ระดับนํ้าทะเล 4.7 เมตรตั้งลอมรอบอาคารและอาณาเขต ทั้งหมด เพื่อรับประกันความปลอดภัยจากการเกิดภัยธรรมชาติที่ ไมสามารถคาดการณได ดวยเงินลงทุน 32 ลานเหรียญสหรัฐ หรือ มากกวา 1,100 ลานบาท อีกทั้งการกอสรางอาคารยังมีความทนทาน ตานทานแผนดินไหว แรงลม มีระบบประปา-ไฟฟาที่ดีตามการกอสราง ที่ควบคุมดวยวิศวกรผานการรับรองมาตรฐานการจัดการดานความ มั่นคงปลอดภัยของขอมูล (ISO 27001) มาตรฐานสําหรับศูนยขอมูล เพื่อความปลอดภัยขอมูลสารสนเทศจากการใชบัตรอิเล็กทรอนิกส (PCIDSS) และรายงานผลการรับรองเกีย่ วกับการควบคุมการใหบริการ ในองคกร (SOC) มีสิ่งอํานวยความสะดวก ความปลอดภัย และ การบริการที่ครบวงจร ประกอบไปดวย หองเซิรฟเวอรขนาด 38,000 ตารางเมตร เทียบเทาตูแร็คจํานวน 1,400 ตู มีระบบการจายไฟฟา ซึ่งออกแบบและจัดสรรอยางเปนสัดสวนสําหรับลูกคาแตละราย ดวย ราคาที่เหมาะสมตามรายละเอียดของสัญญาที่ตกลงกัน สําหรับภายในศูนย ขอมูลในแต ละชั้นจะมีการเชื่อมตอระบบ สายสัญญาณสื่อสารผานสายไฟเบอร, UTP, การเชื่อมตอความเร็วสูง กับศูนยขอ มูล Thailand Bangkok 1 Data Center (บางนา), การเชือ่ ม
50
ต อ อิ น เทอร เ น็ ต ผ า น “Digi-Path” โดยเอ็ น ที ที คอม, การเชื่ อ มต อ ภายในประเทศผ า นผู ใ ห บ ริ ก ารโครงข า ย โทรคมนาคมในประเทศไทย ไดแก CAT/UIH/True/ Symphony/AWN, การเชื่อมตอระหวางศูนยขอมูล และ การเชื่อมตอกับเครือขายระหวางประเทศของเอ็นทีที คอม โดยตรง เชน Arcstar Universal One พรอมทั้งมีบริการ ใหเชาพื้นที่สํานักงาน เพื่ออํานวยความสะดวกใหลูกคามี พืน้ ทีส่ าํ หรับใชบริหารจัดการความตอเนือ่ งทางธุรกิจได ใน กรณีที่บุคลากรไมสามารถเขาปฏิบัติหนาที่ในสํานักงาน ปกติได โดย ศูนยขอ มูลThailand Bangkok 2 Data Center มีพนื้ ทีพ่ รอมใหบริการขนาด 800 ตารางเมตร รองรับกลุม ลูกคา เชน องคกรธุรกิจและผูใหบริการการสื่อสาร แพร ภาพและเสียงผานอินเทอรเน็ต (Over-the-Top), ผูให บริการคลาวด, สถาบันการเงิน, ผูใหบริการเกมออนไลน และธุ ร กิ จ ออนไลน ต า งๆ รวมถึ ง องค ก รที่ ต อ งใช ก าร ประมวลผลหรือการทํางานบนแอพพลิเคชั่นประมวลผล ระดับสูง (High Computing Application) โดยลูกคา สามารถใชบริการไดครบวงจร นอกจากนี้ยังมีหองทํางาน มีหองประชุมหลายแบบใหลูกคาเลือกใชบริการ ซึ่งจะมี แพ็กเกจใหลกู คาเลือกไดตามความเหมาะสม สําหรับราคา ที่ลูกคาเชาดาตาเซ็นเตอรของเอ็นทีที คอม นั้นคิดราคา แร็คประมาณ 30,000-50,000 บาท ศูนยขอมูล Thailand Bangkok 2 Data Center นี้ อยูหา งจากกรุงเทพฯ เพียง 70 กิโลเมตรและเชื่อมตอกับ ศูนยขอ มูล Thailand Bangkok 1 Data Center ทีส่ ามารถ ตรวจสอบดูแลแบบเรียลไทมไดตลอดเวลา พรอมรองรับ การเติบโตเพื่อเชื่อมตอการสื่อสารและการขยายตัวของ บิก๊ ดาตาและระบบคลาวดไดอยางสมบูรณแบบของนักลงทุน ทัง้ ลูกคารายเดิมและรายใหมครอบคลุมพืน้ ที่ EEC ในอนาคต ธี ร วุ ฒิ ศุ ณ ะมาลั ย Senior Executive Vice President and CFO บริษัท เอ็นทีที คอมมิวนิเคชั่นส (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา ในป พ.ศ. 2562 เอ็นทีที คอม มีแผนดําเนินงานขยายสวนพืน้ ทีบ่ ริการในเฟส 3 ดวย งบประมาณ 500 ลานบาทภายในศูนยขอมูล “Thailand Bangkok 2 Data Center” ภายใตแบรนด NexcenterTM ซึ่งเปน High Density Data Center ประมาณชวงเดือน กรกฎาคม 2562 นี้ เนื่องจากในเฟส 2 มีลูกคาสนใจ ใชบริการเกือบเต็มพื้นที่ สําหรับพื้นที่ใหบริการในเฟส 3 มีขนาด 1,200 ตารางเมตร ติดตั้งอุปกรณทําความเย็น ประสิทธิภาพสูง สามารถรองรับกําลังไฟฟาตอหนึ่งตูแร็ค ไดสูงถึง 20 กิโลวัตตหรือมากกวา อยางเครื่องเซิรฟเวอร สําหรับประมวลผลดานกราฟก (Graphics Processing
Unit: GPU) ดวยระบบไฟฟาสํารองจากเครื่องกําเนิดไฟฟาแบบ 2N ในรูปแบบ Active-Active ซึ่งสามารถรับประกันการจายไฟฟา SLA 100% พรอมทั้งเปดกวางในการเชื่อมตอผูใหบริการเครือขายทุกรายได อยางเสรี (Carrier-neutral) ผลักดันธุรกิจสูการสื่อสารแบบไรรอยตอ ทั้งยังชวยใหลูกคาสามารถบริหารตนทุนไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ เอ็นทีที คอม สามารถบริหารจัดการศูนยขอมูล โดยผูเชี่ยวชาญที่มี ประสบการณในการบริหารศูนยขอมูลทุกรูปแบบทั้งดานการออกแบบ การสรางและติดตั้ง การบํารุงรักษา การจัดการการใชพลังงานอยาง มีประสิทธิภาพ และการตอบสนองความตองการของลูกคาทีห่ ลากหลาย ในทุกๆ อุตสาหกรรม สุทธิพัฒน ลือประเสริฐ ประธานเจาหนาที่บริหารเทคโนโลยี บริษัท ดิจิทอล พอรท เอเชีย จํากัด ในกลุม เอ็นทีที คอมมิวนิเคชั่นส คอรปอเรชั่น กลาววา ศูนยขอมูล (Data Center) แหงใหมของ เอ็นทีที คอม มีขอไดเปรียบจากการไดรับการดูแลจากผูมีความรูความเชี่ยวชาญ จากดิจทิ อล พอรท เอเชีย ซึง่ เปนบริษทั ในเครือ เอ็นทีที คอมมิวนิเคชัน่ ส คอรปอเรชั่น ประกอบไปดวยพนักงานที่มีความชํานาญในการบริหาร จัดการและออกแบบศูนยขอมูลเพื่อใหสอดคลองกับสถาปตยกรรมทาง ไอทีของแตละองคกร นอกจากนี้ภายในศูนยขอมูลนี้จะมีการแยกซิสเต็มออกจากกัน ในการดูแลมีระบบปองกันความปลอดภัยที่เขมงวดมาก มีระบบสํารอง สําหรับลูกคาไวเสมอ มีระบบปนไฟสํารองไวปองกันปญหาไฟฟาดับ เหตุฉุกเฉินตางๆ มีกระบวนการเขาถึงขอมูลภายในศูนยขอมูลที่รัดกุม ทั้งเรื่องการตรวจสอบยืนยันเอกลักษณบุคคล การยืนยันสิทธิ์การเขาถึง ขอมูล และการเก็บรักษาขอมูลความลับตางๆ ทีเ่ ขมงวดมากขึน้ นอกจาก การเชือ่ มตอของทัง้ 2 ศูนยขอ มูลคือThailand Bangkok 1 Data Center และ Thailand Bangkok 2 Data Center แลว เอ็นทีที คอม ยังมีแผนที่ จะเชือ่ มตอขอมูลของลูกคาทีอ่ ยูใ นประเทศไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย เพือ่ เชือ่ มโยงขอมูล เชือ่ มตออินเทอรเน็ตระหวางประเทศ บริการอินเทอรเน็ต บริการดาตาเซ็นเตอร บริการคลาวดคอมพิวติ้งในอนาคตใหมีความ รวดเร็ว มีความปลอดภัย เพื่อไมใหกระทบตอการทําธุรกิจของลูกคา สําหรับแผนงานในอนาคต เอ็นทีที คอม มีแผนยกระดับบริการ ศูนยขอ มูลและไอซีทโี ซลูชนั่ อืน่ ๆ ใหมคี วามแข็งแกรงยิง่ ขึน้ เพือ่ รองรับ การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศไทยทีเ่ ติบโตอยางตอเนือ่ ง
ศูนย ข อมูล Thailand Bangkok 2 Data Center ที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จ.ชลบุรี
51
Engineering Today
March - April
2019
IT Update • กองบรรณาธิการ
บราเดอร โปรโมท
“ธีรวุธ ศุภพันธุ ภิญโญ” เป นเอ็มดีคนไทยคนแรก นําทัพ Transform for the Future ผสานกลยุทธ 3C’s มุ งเติบโตในอนาคต ธีรวุธ ศุภพันธุ ภิญโญ เอ็มดีคนล าสุดของบราเดอร คอมเมอร เชี่ยล (ประเทศไทย)
บราเดอร คอมเมอรเชี่ยล (ประเทศไทย) เผยความ สําเร็จยอดขายปงบประมาณ 2561 (เม.ย. 61-มี.ค. 62) เติบโต 7% สูงกวาที่คาดการณไวที่ 5% พรอมแตงตั้ง “ธีรวุธ ศุภพันธุภิญโญ” เปนกรรมการผูจัดการ มีผล 1 เมษายนนี้ สานตอความสําเร็จในการปรับเปลีย่ นเพือ่ การ เติบโตในอนาคต ดวยการ Transform ใน 3 สวนหลักๆ ไดแก Business Transform, Operational Transform และ Talent Transform อยางตอเนื่อง พรอมชูกลยุทธ 3C’s ทัง้ Customer, Channel Partner และ Company เสริมแกรงองคกรสรางการเติบโตอยางยั่งยืน ภายใต คอนเซ็ปต “Towards the Next Level”
1.6 เทา และในป พ.ศ. 2561 นี้ ยอดขายเติบโต 7% ซึ่งสูงกวาที่ คาดการณไวที่ 5% พรอมกันนี้ บราเดอรไดแตงตั้ง ธีรวุธ ศุภพันธุภิญโญ ผูอํานวย การฝายขายและการตลาด ดํารงตําแหนงกรรมการผูจัดการ บริษัท บราเดอร คอมเมอรเชี่ยล (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งจะมีผลอยางเปน ทางการในวันที่ 1 เมษายนนี้ นับเปนคนไทยคนแรกที่ดํารงตําแหนง ผูบ ริหารสูงสุดของบราเดอร ประเทศไทยในขณะนี้ ตลอดระยะเวลากวา 10 ปที่ไดรวมงานกับบราเดอร ธีรวุธไดผลักดันใหบราเดอรกาวสูการ เปนแบรนดผนู าํ ในตลาดเครือ่ งพิมพของไทยเปนผลสําเร็จ โดยนํากลยุทธ การตลาดตางๆ มาขับเคลื่อนบราเดอรจากแบรนดเล็กสูหนึ่งในผูนํา แบรนดเครื่องพิมพที่คุนเคยและยอมรับของคนไทย
บราเดอร ปลื้มยอดขายป ’61 โตเกินคาด พร อมแต งตั้งเอ็มดีคนใหม ขับเคลื่อนธุรกิจ
โทโมยูกิ ฟูจิโมโตะ กรรมการผูจัดการ บริษัท บราเดอร คอมเมอรเชี่ยล (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา ในป พ.ศ. 2561 บราเดอร ไดใชแผน CSB 2018 (Challenge Strategy Brother 2018) ภายใตคอนเซ็ปต การปรับเปลี่ยนเพื่อการเติบโตในอนาคต เพื่อ Transform ใน 3 สวนหลักๆ ไดแก Business Transform, Operational Transform และ Talent Transform โดยพยายามปรับ เปลีย่ นและพัฒนาองคกรใหเติบโตอยางตอเนือ่ งในทุกกลุม ธุรกิจ พรอมรับมือกับการแขงขันในโลกอนาคต และมุง หวัง ให ลู ก ค า เกิ ด ความพึ ง พอใจในระดั บ สู ง ทั้ ง ในส ว นของ นวัตกรรมและคุณภาพผลิตภัณฑ ทําใหทผี่ า นมา บราเดอร คอมเมอรเชี่ยล (ประเทศไทย) มีการเติบโตเฉลี่ยขึ้นทุกป ตัง้ แตป พ.ศ. 2556-2561 บราเดอรเติบโตในแงของรายได
Engineering Today March - April
2019
ผลสํารวจของ GFK ป พ.ศ. 2561 เครื่องพิมพ บราเดอร ติดอันดับ Top 3 ทั้ง 5 ประเภท
ธีรวุธ ศุภพันธุภิญโญ กรรมการผูจัดการคนลาสุดของบริษัท บราเดอร คอมเมอรเชี่ยล (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา จากผลสํารวจ ของ GFK ในป พ.ศ. 2561 ระบุวา 1) เครือ่ งพิมพขาวดํา Multifunction ของบราเดอรมีสวนแบงทางการตลาด 48% ซึ่งถือเปน ผูนําอันดับ 1 ในตลาด โดยขยับจากป พ.ศ. 2560 ที่อยูในอันดับ 2 2) เครื่องพิมพสี Multifunction ของบราเดอร มีสวนแบงทางการตลาด 30.4% ครอง อันดับ 1 ในตลาดเชนกัน 3) เครื่องพิมพ Mono Laser Printer ของ บราเดอร มีสวนแบงทางการตลาด 29.2% อยูอันดับ 2 โดยขยับจาก ป พ.ศ. 2560 ที่อยูในอันดับ 3 4) เครื่องพิมพ Colour Printer ของ บราเดอร มีสวนแบงทางการตลาด 18.4% อยูในอันดับ 3 ของตลาด และ 5) เครื่องพิมพ Ink Tank Multifunction ของบราเดอร มีสวนแบง ทางการตลาด 20.6% อยูใ นอันดับ 3 ของตลาด จะเห็นไดวา เครือ่ งพิมพ ของบราเดอรทั้ง 5 ประเภทลวนติดอยูในอันดับ Top 3 ทั้งสิ้น
52
สานต อ Transform for the Future พร อมชูกลยุทธ 3C’s สู การเติบโตอย างยั่งยืน
ในชวงทีผ่ า นมาการเติบโตของบราเดอรคอื บทพิสจู น ใหเห็นถึงประสิทธิผลของพลังแหงการ Transform ทีส่ รางมา อยางตอเนื่อง โดยบราเดอรได Transform ใน 3 สวนหลัก ไดแก Business Transform, Operational Transform และ Talent Transform สําหรับในปนี้ นโยบายหลักของ เราก็ยังคงมุงเนนที่จะ Transform อยางตอเนื่อง แตจะ เพิ่มรายละเอียดในแตละสวน เพื่อตอกยํ้าใหเห็นภาพ ชัดเจนและเปนรูปธรรมยิ่งขึ้น พรอมใชกลยุทธ 3C’s เขามาเสริมตลอด 3 ปนับจากนี้ (พ.ศ. 2562-2564) เพื่อ วางรากฐานที่มั่นคงในทุกมิติภายใตคอนเซ็ปต Towards to Next Level” โดยในป พ.ศ. 2562 บราเดอรตั้งเปายอด ขายเติบโต 5% สําหรับกลยุทธ 3C’s ประกอบดวย Customer หรือ ลูกคา คือ C ตัวแรกที่ถูกใหความสําคัญเปนอันดับแรกๆ สําหรับบราเดอรลูกคาตองมาเปนอันดับหนึ่งเสมอตาม ปรัชญาการดําเนินธุรกิจ “At Your Side” ความซื่อสัตย และจริงใจคือหลักปฏิบัติตลอดระยะเวลา 21 ปที่ผานมา ของการดําเนินธุรกิจในไทย ดวยการเลือกสรรผลิตภัณฑทดี่ ี มีคณ ุ ภาพและความหลากหลาย ศักยภาพในการตอบโจทย ทุก Life Style ในราคาที่สมเหตุสมผล การบริการหลังการ ขายดวยศูนยบริการคุณภาพ ที่พรอมใหบริการกวารอย สาขาทีก่ ระจายอยูท วั่ ประเทศเพือ่ สนองตอบความพึงพอใจ สูงสุดของลูกคา (Customer Satisfaction) Channel Partner หรือพันธมิตรดานชองทาง การขาย ปจจุบันบราเดอรทําธุรกิจโดยจําหนายสินคาผาน Business Partner 100% ดังนั้นในป พ.ศ. 2562 นี้ บราเดอร จะเนนการทํางานใกลชิดกับตัวแทนจําหนาย มากขึ้น และจากภาพรวมตลาดที่เปลี่ยนแปลงไปอยาง รวดเร็วในปจจุบัน ทําให Partner บางรายประสบปญหา ในการปรับตัว บราเดอรจึงมุงเนนในเรื่องของการเปนที่ ปรึกษาและใหคําแนะนําในการดําเนินธุรกิจใหลูกคาดวย ไมวา จะเปนการจําหนายในกลุม ธุรกิจองคกร, การจําหนาย แบบ Contractual Business ระยะยาว หรือการทํา Online Business ทีก่ าํ ลังขยายตัวอยูใ นปจจุบนั และมีแนวโนมทีจ่ ะ เติบโตขึ้นอยางมากนับจากนี้ ดังนั้น การผนึกพลังและ เสริมศักยภาพชองทางขาย จึงเปนอีกหนึ่งแนวทางเพื่อ การเติบโตรวมกันอยางมั่นคง Company หรือองคกร คือจุดยุทธศาสตรหลักทีใ่ ช ขับเคลือ่ นกลยุทธสานตอการเปนผูน าํ ธุรกิจ โดยบราเดอร จะตองปรับปรุงและพัฒนาอยางตอเนือ่ ง ใน 2 สวนหลักๆ
บราเดอร แต งตั้ง ธีรวุธ ศุภพันธุ ภิญโญ (ขวา) เป นกรรมการผู จัดการคนใหม มีผล 1 เมษายนนี้
โทโมยูกิ ฟูจิโมโตะ
คือ Process Improvement นอยแตมาก โดยจะปรับปรุงและพัฒนา ขั้นตอนการทํางานทั้งภายในและภายนอกใหมีกระบวนการที่สั้นลง มีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ แตยงั คงไวซงึ่ ความแมนยํา และถูกตอง พรอมนําเทคโนโลยีเขามาชวย เพื่อความสะดวกสบาย สํ า หรั บ ลู ก ค า และคู ค า และ People Development คนคื อ จุ ด ยุทธศาสตรแหงการพัฒนา บราเดอรใหความสําคัญกับบุคลากรภายใน องคกรเปนอยางมาก โดยมุงเนนที่จะพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ในองคกร และพรอมทีจ่ ะสนับสนุนใหคลืน่ ลูกใหมไดแสดงความสามารถ อยางเต็มที่ เพื่อตอยอดความสําเร็จทางธุรกิจในฐานะผูนํา
ลงทุน 300 ล านบาท วางระบบ Omni-Channel ต อยอดบริการสุดลํ้า รับไลฟ สไตล 4.0
ดาน วรศักดิ์ ประดิษฐกลุ ผูจ ดั การทัว่ ไปฝายบริการลูกคา บริษทั บราเดอร คอมเมอรเชี่ยล (ประเทศไทย) จํากัด กลาวถึงภาพรวม แนวทางการพัฒนางานบริการในป พ.ศ. 2562 วา บราเดอรใชเทคโนโลยี ในการ Transform เพือ่ เพิม่ ศักยภาพงานบริการใหสอดรับกับโลกอนาคต
53
Engineering Today
March - April
2019
โดยลงทุน 300 ลานบาท เพื่อวางระบบ Omni-Channel ครบวงจรทั้ง Web Chat, Mobile Chat และ Facebook เพือ่ ใหลกู คาสามารถติดตอกับบราเดอรไดหลากหลายชอง ทางและในทันทีทนั ใด พรอมนําระบบ “Chatbot” เขามาใช ในไทยปลายปนี้ เพือ่ ทีบ่ ราเดอรจะไดขยายขีดความสามารถ ในการพัฒนางานบริการไดดีขึ้น โดยงานบริการพื้นฐาน จะเปนสวนที่ Chatbot เขามาชวย ในขณะที่ทีมบริการจะ เขามาในขั้นที่ซับซอนยิ่งขึ้น สงผลใหบริษัทฯ สามารถนํา กําลังคนไปพัฒนาดาน Training Chatbot รวมทั้งคิด กลยุทธงานบริการอื่นๆ ไดอีกดวย
จัดกิจกรรม Brother Run & Share เพื่อผู ป วยโรคมะเร็งป ที่ 5 มอบรายได ให แก มูลนิธิรามาธิบดี
พรภัค อุไพศิลปสถาพร ผูจ ดั การทัว่ ไปฝายการเงิน และการบริ ห าร บริ ษั ท บราเดอร คอมเมอร เ ชี่ ย ล (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา บราเดอรใหความสําคัญกับ การจัดกิจกรรม CSR เพื่อตอบแทนสังคม ลาสุดบราเดอร ไดจัดกิจกรรม Brother Run & Share วิ่งฝนปนนํ้าใจ เพื่อผูปวยโรคมะเร็ง เปนปที่ 5 เพื่อนํารายไดจากการจัด งานทั้งหมดโดยไมหักคาใชจายใดๆ มอบใหแกมูลนิธิ รามาธิบดี กองทุนมะเร็งโลหิตวิทยาผูใหญ โรงพยาบาล รามาธิบดี เพื่อนําไปชวยเหลือผูปวยโรคมะเร็งที่ยากไร ที่ ไ ม ส ามารถเข า ถึ ง การบริ ก ารทางการแพทย ไ ด โดย สามารถระดมยอดเงินบริจาคไดสูงถึง 1,564,190 บาท
ถ ายทอดความรู เทคนิคการซ อมเครื่องพิมพ ให นักศึกษากว า 1,200 คน จาก 17 สถาบัน
ในปงบประมาณ 2562 บราเดอร ไดรวมลงนามความรวมมือ (MoU) กั บ สมาพั น ธ เ อสเอ็ ม อี ไ ทยจั ง หวั ด สุ โ ขทั ย และสถาบั น การ อาชีวศึกษา 6 แหง ประกอบดวย วิทยาลัยเทคนิคสุโขทัย วิทยาลัย อาชีวศึกษาสุโขทัย วิทยาลัยการอาชีพศรีสําโรง วิทยาลัยการอาชีพ ศรี สั ช นาลั ย วิ ท ยาลั ย เกษตรและเทคโนโลยี สุ โ ขทั ย และวิ ท ยาลั ย สารพัดชางสุโขทัย จัดกิจกรรม “The Academic Cooperation Program” ซึ่งเปนโครงการรวมมือทางวิชาการในการฝกอบรมทางเทคนิคในการ ซ อ มเครื่ อ งพิ ม พ Inkjet เพื่ อ ถ า ยทอดความรู เพิ่ ม พู น ทั ก ษะและ ประสบการณในสายงานอาชีพ รวมทั้งการนําความรูไปใชเพื่อบริการ สังคมในพื้นที่ นอกจากนี้ บราเดอรยังไดขยายโครงการไปในภาคใตที่จังหวัด สุราษฎรธานี อีก 2 แหง ประกอบดวย วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎรธานีและ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนดิษฐ พรอมทัง้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือทีจ่ งั หวัด สุรินทร อีก 3 แหง ประกอบดวย วิทยาลัยเทคนิคสุรินทร, วิทยาลัยการ อาชีพสังขะ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต สุรนิ ทร สําหรับกิจกรรมดังกลาวบราเดอรไดถา ยทอดความรูใ หนกั ศึกษา กวา 1,200 คน จากทั้งหมด 17 สถาบัน โดยในปหนาบราเดอรมีแผน จัดฝกอบรมซอมเครื่องพิมพ Laser Printer ใหแกนักศึกษาอาชีวศึกษา อีกดวย จากความสําเร็จของโครงการทําใหบริษัท บราเดอร คอมเมอร เชี่ยล (ประเทศไทย) จํากัด สามารถควารางวัล Brother Global Charter Award ในสาขา Social Contribution จากโครงการดังกลาว ไดเปนผลสําเร็จ
วรศักดิ์ ประดิษฐ กุล (ขวา) ผู จัดการทั่วไปฝ ายบริการลูกค า และ พรภัค อุไพศิลป สถาพร (ซ าย) ผู จัดการทั่วไปฝ ายการเงินและการบริหาร บราเดอร คอมเมอร เชี่ยล (ประเทศไทย)
Engineering Today March - April
2019
54
@Engineering Today Vol. 2 No. 170
A H 5. 9J Ä?Ă&#x161;ÂĄÂ? A ' Ä&#x153; <' 8
Co-working Office %6B'
"'Ä&#x2122;1%A 8 C 1&Ä&#x2DC;6 Ä&#x2122;6+ '4C
B1"")8B 7 ProtaStructure 1# Ä&#x153;B+'Ä&#x153; 5J 7 6 &<C' A.'è% 5" 6 +èA '64/Ä&#x153;C ' .'Ä&#x2122;6 6 +è,+ ''% B. .8'è 5 %;1 16+ 9J '4A ,E & 'Ä&#x2DC;+%.'Ä&#x2122;6 {Ă&#x201E;¡¡Ă&#x20AC; y¾à Ă&#x2026;Ă&#x2039;Ă&#x2026;Ă&#x2020;¡¿ 7'Ä&#x2DC;1 D Ä&#x2122;' yÂ&#x160; D C ' 6'
Property • กองบรรณาธิการ
แสนสิริ จับมือ อาวดี้ ประเทศไทย ร วมสร าง Green Ecosystem นําร องใช รถ EV ในโครงการ ตั้งเป าโครงการฯ สําเร็จภายใน 3 ป
บริษัท แสนสิริ จํากัด (มหาชน) ผูพัฒนา อสังหาริมทรัพยครบวงจรของประเทศไทย จับมือ อาวดี้ ประเทศไทย (Audi Thailand) รวมสราง Green Ecosystem หรือระบบนิเวศสีเขียวยั่งยืน ผานนโยบาย Green Mission ครั้งแรกในโลกภายใต วิสยั ทัศน “AUDI x SANSIRI Strategic Partnership : Dare to Change” พันธกิจแนวคิดขับเคลือ่ นเปลีย่ น 3 ดานเพื่อโลกสีเขียว ลดกาซคารบอนไดออกไซด สรางความยั่งยืนดานการดูแลรักษาสิ่งแวดลอม ตั้ง เปาสราง Green Ecosystem ใหสําเร็จภายใน 3 ป อภิชาติ จูตระกูล ประธานอํานวยการ บริษทั แสนสิริ จํากัด (มหาชน) (SIRI) กลาววา แสนสิริ และ อาวดี้ ประเทศไทย ตระหนักรวมกันถึงการดูแล สิ่งแวดลอมซึ่งเปนปญหาระดับโลก จึงไดตอยอด การทํางานรวมกันสราง Green Ecosystem หรือ ระบบนิเวศสีเขียวยัง่ ยืน ผานนโยบาย Green Mission
ครั้งแรกในโลก ภายใตวิสัยทัศน “AUDI x SANSIRI Strategic Partnership : Dare to Change” พันธกิจแนวคิดขับเคลื่อนเปลี่ยน 3 ดานเพื่อโลกสีเขียว ลดกาซคารบอนไดออกไซด สรางความยัง่ ยืนดานการดูแลรักษาสิง่ แวดลอม ตัง้ เปา สราง Green Ecosystem ใหสําเร็จภายใน 3 ป ประกอบดวย 1) Energy Saving & Generation การพัฒนาเพื่อผลิตพลังงานไฟฟาทดแทนใหกับ โครงการตางๆ 2) Waste Management แนวคิดในการกําจัดของเสียอยาง มีประสิทธิภาพ และ 3) Sustainability รวมกับองคกรกลุมอนุรักษตนไมใหญ ในเมือง จัดการตนไมใหญในโครงการอสังหาริมทรัพยใหมคี วามยัง่ ยืน ทีส่ าํ คัญ ยังมีโครงการ Smart Move แบงปนการใชรถขับเคลือ่ นดวยพลังงานไฟฟา (EV) สวนกลางสําหรับลูกบาน (Sharing Economy) โดยเริม่ ตนจากนํา Audi e-tron รถยนตลักชัวรี่พลังงานไฟฟามาใชภายในองคกรแสนสิริอยางเต็มรูปแบบ เพื่อตอบโจทยไลฟสไตลปจจุบันที่เปลี่ยนไปของคนรุนใหมที่นิยมอาศัยอยูใน คอนโดมิเนียมแนวรถไฟฟาที่ไมมีความจําเปนตองใชรถในทุกวัน แตหากมี อภิชาติ จูตระกูล (ที่ 2 จากซ าย) จับมือเป นพันธมิตรกับ กฤษฎา ลํา่ ซํา (ที่ 2 จากขวา) ร วมสร าง Green Ecosystem ให สาํ เร็จภายใน 3 ป
โฉมหน า Audi e-tron ยานยนต ไฟฟ า 100% ทีจ่ ะนํามาให บริการในโครงการแสนสิริ
AUDI x SANSIRI Strategic Partnership : Dare to Change”
Engineering Today March - April
2019
56
ความจําเปนตองเดินทางเพือ่ ติดตองานหรือเดินทาง ระยะใกล สามารถใชบริการรถจากสวนกลางได โดย ไมตองแบกรับตนทุนของรถไวคนเดียว อุทยั อุทยั แสงสุข ประธานผูบ ริหารสายงาน ปฏิบตั กิ าร บริษทั แสนสิริ จํากัด (มหาชน) (SIRI) กลาวถึงการรวมกับ อาวดี้ ประเทศไทยในครั้งนี้วา จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง 3 ดาน ทั้งภายในและ ภายนอกองคกรแสนสิริ กลาวคือ 1) CHANGE to Use EV Car : “เปลีย่ น” มาใชรถยนตพลังงานไฟฟา สงเสริมใหลูกบานใชรถ EV เพื่อสรางโลกสีเขียวที่ นาอยูรวมกัน ทั้งในโครงการแนวราบและแนวสูง โดยเตรียมขยายการติดตั้ง EV Charger Station ใน โครงการใหมบานเดี่ยวระดับเซ็กเมนท B ขึ้นไป โดยเตรียมระบบไฟ 3 เฟสรองรับการใชงานสําหรับ ชารจไฟรถ EV และทุกโครงการคอนโดมิเนียมใหม ที่สรางตั้งแตป พ.ศ. 2562 เปนตนไป นอกจากนี้ ยังมอบสิทธิพิเศษในกิจกรรมเอ็กซคลูซีฟตางๆ เชน การเขาชม Audi e-tron ที่ Audi Centre Thailand 2) CHANGE to Use Car Sharing : “เปลีย่ น” มาใช Luxury Electric Car Sharing สงเสริมให ลูกบานกลุมระดับลักชัวรี่ของแสนสิริหันมาใชชีวิต แบบ “Luxury Living with Luxury Car Sharing” ดวยการยกระดับบริการรถยนตลกั ชัวรีพ่ ลังงานไฟฟา สํ า หรั บ ส ว นกลางในโครงการไฮเอนด ใ หม ใ นป นี้ ตอบโจทยไลฟสไตลลูกบานในเมือง สําหรับการเดิน ทางระยะสั้นในเมืองที่ใกลบาน เพียงจองการใชงาน ผาน Sansiri Home Service Application โดยนํารอง ในทุกโครงการใหม คอนโดมิเนียมระดับไฮเอนด เริ่มตนที่โครงการเดอะ โมนูเมนท ทองหลอ ในยาน ศู น ย ก ลางการอยู อ าศั ย ที่ เ หนื อ ระดั บ และ 3) CHANGE Corporate Car to EV Car : เปลีย่ น รถยนตทใี่ ชงานภายในองคกรเปนระบบไฟฟา โดย แสนสิ ริ เ ป น องค ก รแรกในเอเชี ย ในอุ ต สาหกรรม อสังหาริมทรัพย ทีน่ าํ Audi e-tron ยนตรกรรม SUV พรีเมียมพลังงานไฟฟา 100% มาใชภายในองคกร สะทอนใหเห็นลึกถึงดีเอ็นเอขององคกรทีพ่ รอมมุง มัน่ อยางแทจริง ลงมือทําอยางจริงจัง ในการรวมสราง Green Ecosystem หรือระบบนิเวศสีเขียวยั่งยืน เหนือขึ้นไปอีกขั้น โดยนํารองใชกับผูบริหารเปน ลําดับแรก ลําดับถัดไปจะเปนพนักงานในบริษัทฯ แลวคอยๆ ปลูกฝงสูลูกบาน และหนวยงานอื่นๆ
ที่เปนพันธมิตรทางการคาของแสนสิริในอนาคตตอไป กฤษฎา ลํา่ ซํา ประธานกรรมการและประธานคณะกรรมการบริหาร อาวดี้ ประเทศไทย (Audi Thailand) กลาววา Audi e-tron นับเปนจุดเปลี่ยน สําคัญสวนหนึ่งในการพัฒนาและขับเคลื่อนใหประเทศไทยเปน Smart City ซึ่งวันนี้ Audi Thailand พรอมสนับสนุนและกลาที่จะเปลี่ยนเพื่อความยั่งยืน และจากนโยบายดานความยั่งยืนที่กลายเปนรูปธรรม ดวยการนํายนตรกรรม พลังงานไฟฟาเขาสูตลาดประเทศไทยอยางรวดเร็ว ทําใหเกิดความรวมมือ ทางกลยุทธขามอุตสาหกรรมครั้งประวัติศาสตร กับบริษัทยักษใหญดาน อสังหาริมทรัพย นั่นคือ บริษัท แสนสิริ จํากัด (มหาชน) ซึ่งมีนโยบายและ วิสัยทัศนเรื่องความยั่งยืนและความรับผิดชอบตอสังคม สิ่งแวดลอมมาอยาง ตอเนื่อง ในพันธกิจ “Dare to Change” เพื่อรวมกันยกระดับ Green Ecosystem โดยทางแสนสิริ เลือกนํารถยนต Audi e-tron เปนสวนหนึ่งที่ ใชภายในองคกร พรอมกันนี้ Audi Thailand ไดเปดตัว Audi e-tron ยานยนตไฟฟาเพื่อ อนาคตสามารถวิ่งไดไกลกวา 400 กิโลเมตร หัวใจสําคัญคือ แอโรไดนามิกส หรือหลักอากาศพลศาสตร ที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพให Audi e-tron ประกอบ ดวยสวนตางๆ ที่ชวยลดการเสียดทานของลมที่ปะทะตัวรถ หนึ่งในนั้นคือ การใชระบบกระจกมองขางแบบเสมือนจริง และนับเปนครั้งแรกของโลกใน ติดตัง้ สูร ถทีจ่ ะผลิตเพือ่ การขาย มีกระจกมองขางเสมือนจริงจะมีขนาดแคบกวา กระจกทัว่ ไปและติดตัง้ กลองขนาดเล็กไวดว ย ขนาดของกระจกอยูท ี่ 15 เซนติเมตร และถายทอดภาพจากจอแบบ OLED ซึ่งติดตั้งตรงกลางระหวางแผงแสดงผล และประตู รวมถึงอีก 3 มุม ในการขับขี่บนถนนมอเตอรเวย การกลับรถ และ การจอดรถ เปดตัวดวยราคา 5,099,000 ลานบาท พรอมรับประกันแบตเตอรี่ 8 ป หรือ 160,000 กิโลเมตร ชารจ 1ครั้งหากวิ่งดวยความเร็วปกติ 80-100 กิโลเมตร/ชั่วโมง สามารถใชงานไดประมาณ 5 วันในระยะ 400 กิโลเมตร ทั้งนี้ในอนาคตจะเริ่มผลิตยานยนตไฟฟารุนตางๆ ออกมาสูตลาดปละ 2 รุน เริ่มตั้งแตป พ.ศ. 2563 เปนตนไป เพื่อรองรับยานยนตไฟฟาที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอมและตอบสนองความตองการของลูกคายานยนตไฟฟาใหมากขึ้น อเล็กซานเดอร วอน วัลเดนเบิรก เดรซิล ผูอ าํ นวยการสวนงานตางประเทศ ประจําภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไตหวัน และอินเดีย Audi AG กลาววา การนํา Audi e-tron ยนตรกรรมเอสยูวีพรีเมียมพลังงานไฟฟา 100% ใหเปน สวนหนึง่ ในความเปลีย่ นแปลงครัง้ สําคัญสูก ารขับเคลือ่ นสังคม และลดผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอมมาทําตลาดในประเทศไทยนั้นเพราะมองเห็นชองทางการ ทําตลาดยานยนตไฟฟาที่มีแนวโนมเติบโตอยางตอเนื่องและการสนับสนุน นโยบายของภาครัฐที่กําลังขับเคลื่อนใหมีการประหยัดนํ้ามันเชื้อเพลิงปรับมา ใชยานยนตไฟฟามากขึ้น ทําให Audi AG วางแผนการลงทุนเพื่อยกระดับและ พัฒนายานยนตไฟฟากวา 14,000 ลานยูโร โดยคาดหวังวาการรวมมือใน ครั้งนี้จะสรางยอดขายยานยนตไฟฟา Audi e-tron ในป พ.ศ. 2562 นี้ไมตํ่า กวา 50-80 คัน เบือ้ งตนมีลกู คาติดตอสอบถามรายละเอียดมาแลวจํานวนหนึง่ มีทั้งที่เปนลูกคาของบริษัทฯ เอง ลูกคาของแสนสิริ และลูกคาทั่วไป
57
Engineering Today
March - April
2019
Property • กองบรรณาธิการ
เน็กซัสชี้ป ’62 เทรนด ธุรกิจ
Co-workingพร Office มาแรง อมเติบโตอย างก าวกระโดด เมื่อคนรุนใหมเขามาเปนสวนสําคัญขององคกรตางๆ จึงทําให รูปแบบของการทํางานในปจจุบันเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม จะเห็นไดจากการที่ธุรกิจใหเชาพื้นที่ทํางานรวม หรือ Co-working Office เริม่ เปนทีน่ ยิ ม และขยายตัวอยางรวดเร็วในหลายประเทศทัว่ โลก สําหรับในประเทศไทยนั้น ธุรกิจใหเชา Co-working Office จึงเปน เทรนดทกี่ าํ ลังมาแรง ซึง่ เมือ่ ผนวกกับการขยายตัวอยางรวดเร็วของบริษทั สตารทอัพในปจจุบันที่มีมากกวา 10,000 ราย คิดเปนมูลคากวา 30,000 ลานบาท ยิ่งสงผลใหธุรกิจใหเชา Co-working Office ยิ่งเปน ที่ตองการเพิ่มมากขึ้น
ธีระวิทย ลิ้มทองสกุล กรรมการผูจัดการ บริษัท เน็กซัส เรียลเอสเตท แอ็ดไวเซอรี่ จํากัด กลาววา ปจจุบัน ธุรกิจใหเชา Co-working Office กําลังไดรบั ความนิยมเปน อยางมาก โดยพบวาในป พ.ศ. 2561 ตลาด Co-working Office มีการเปดใหบริการเพิม่ มากขึน้ กวาปทผี่ า นมา (พ.ศ. 2560) ถึง 51% บนพื้นที่กวา 100,000 ตารางเมตร หรือ คิดเปน 2.6% ของพื้นที่เชาอาคารสํานักงานแบบดั้งเดิม คาดวาในป พ.ศ. 2562 จะมีผูประกอบการหลายรายที่ พรอมขยายพืน้ ทีใ่ หบริการอีกกวา 30,000 ตารางเมตรหรือ เพิ่มขึ้นประมาณ 40% โดยปจจุบัน มีบริษัทที่เซ็นสัญญา การเชาพื้นที่แหงใหมแลวอยางนอย 3 ราย บนขนาด พื้นที่ประมาณ 4,000-8,000 ตารางเมตร
ธีระวิทย ลิ้มทองสกุล
กรรมการผูจ ดั การ บริษทั เน็กซัส เรียลเอสเตท แอ็ดไวเซอรี่ จํากัด
Engineering Today March - April
2019
58
ที่มา เน็กซัส เรียลเอสเตท แอ็ดไวเซอรี่
เผยอาคารให เช าตามแนวรถไฟฟ า-รถไฟฟ าใต ดิน เป นที่ต องการของผู ประกอบการ
ดานราคาคาเชา จากการสํารวจของเน็กซัสพบวา อัตรา คาบริการรายเดือนของ Co-working Office อยูที่ประมาณ 10,000 บาทตอคนตอเดือน โดยปจจุบันมี Co-working Office มากถึง 70 แหงทัว่ กรุงเทพฯ จากผูป ระกอบการประมาณ 30 ราย สวนใหญเปน ผูประกอบการชาวตางชาติ โดยผูประกอบการ
รายใหญ คือ รีจัส (Regus) นอกจากนี้ยังมีแบรนดตางชาติที่ พรอมจะขยายพืน้ ทีใ่ หบริการ Co-working Office เพิม่ ขึน้ อีกเปน จํานวนมาก เชน วีเวิรค จัสโค และสเปซเซส ซึ่งผูประกอบการ กลุมนี้มักจะมองหาพื้นที่เชาในอาคารสํานักงานเกรดเอ บนทําเล ศักยภาพ เดินทางเขาถึงสะดวก ตามแนวรถไฟฟาบนดิน และ รถไฟฟาใตดนิ โดยขนาดพืน้ ทีท่ ตี่ อ งการคือ ประมาณ 2,000-4,000 ตารางเมตร หรืออาจมากถึง 8,000 ตารางเมตร ในบางอาคาร
ที่มา เน็กซัส เรียลเอสเตท แอ็ดไวเซอรี่
59
Engineering Today
March - April
2019
ที่มา เน็กซัส เรียลเอสเตท แอ็ดไวเซอรี่
ที่มา เน็กซัส เรียลเอสเตท แอ็ดไวเซอรี่
“อาคารสํานักงานใหเชาตามแนวรถไฟฟาและรถไฟฟา ใตดนิ ไดรบั ความสนใจจากผูป ระกอบการธุรกิจใหเชาพืน้ ทีท่ าํ งาน ร ว มเปน อย า งมาก โดยมี การขอเชา พื้น ที่ใ นอาคารเดียวกวา 7,000-8,000 ตารางเมตร” ธีระวิทย กลาว
ชี้ Co-working Office ได รับความนิยม ด วยตอบโจทย ไลฟ สไตล ยุคมิลเลนเนียม
จากการวิจัยของเน็กซัส พบวาเหตุที่ Co-working Office เปนที่นิยมมากขึ้น เนื่องจากเปนรูปแบบบริการที่ทันสมัย เขาใจ ไลฟ ส ไตล ข องพนั ก งานในยุ ค มิ ล เลนเนี ย มที่ ต อ งการความ คลองตัว มีบรรยากาศการทํางานที่ผอนคลาย ทั้งยังสามารถ ทําสัญญาเชาระยะสัน้ ได ซึง่ เหมาะกับบริษทั สตารทอัพทีต่ อ งการ ปรับเปลี่ยนขนาดของพื้นที่ หรือจํานวนพนักงานอยางรวดเร็ว ชวยลดภาระคาใชจา ยของผูเ ชาทีเ่ คยเกิดขึน้ จากการเชาสํานักงาน แบบเดิม เชน คาตกแตงสํานักงาน คาเฟอรนิเจอร คาบริหาร จัดการ คาสวนกลาง คาทําความสะอาด เปนตน ซึ่งขอดีที่สําคัญ
Engineering Today March - April
2019
60
อีกประการหนึ่ง คือ Co-working Office มักจะมีอยูหลายสาขา ไวใหบริการ ดังนั้นสมาชิกจึงมีความสะดวกสบายตอการเลือก ใชบริการในสาขาทีต่ นเองตองการ เปนเหตุให Co-working Office จึงกลายเปนตัวเลือกหนึ่งที่นาสนใจของผูเชา “ในอนาคตอั น ใกล คาดว า มี ผู ป ระกอบการอี ก จํ า นวน ไมนอยที่ตองการพัฒนาโครงการในรูปแบบของ Co-working Office โดยอาจเปนในรูปแบบของการรวมมือกันระหวางเจาของ อาคารกับผูป ระกอบการ Co-working Office หรือเจาของอาคาร ที่หันมาเปน ผูประกอบการเอง และดวยการทํา Co-working Office นั้น ตองการพื้นที่ขนาดใหญ ซึ่งขอดีคือ Co-working Office จะช วยเข ามาช วยลดอัต ราว างของพื้ นที่ในอาคารให นอยลง นอกจากนี้ ยังสามารถสรางจุดแข็งและภาพลักษณที่ดีให กับผูเชา รวมไปถึงเปนการเพิ่มมูลคาใหกับโครงการอีกดวย โดยในอนาคตมีแนวโนมวาอาคารสํานักงานใหเชาเกรดเอใน กรุงเทพฯ จะมีพนื้ ทีส่ าํ หรับรองรับ Co-working Office ประมาณ 10% ในทุกๆ อาคาร” ธีระวิทย กลาวสรุป
Construction • กองบรรณาธิการ
ซอฟต แวร ProtaStructure เครื่องมือสําหรับ วิศวกรโครงสร างอาคาร
แอพพลิแคด
นํา ProtaStructure ซอฟต แวร ชั้นนําจากยุโรป เสริมทัพงานวิเคราะห โครงสร างทางวิศวกรรม
บริษัท แอพพลิแคด จํากัด (มหาชน) ผูนําดานการจัดจําหนายโซลูชั่น เพื่อการออกแบบงานดานสถาปตยกรรม วิศวกรรม และการกอสรางอยาง
61
ครบวงจร ผูแทนจําหนาย ProtaStructure อยาง เป น ทางการในประเทศไทย เป ด ตั ว ซอฟต แ วร “ProtaStructure” ในงาน “ArchiCAD Thai BIM for Construction 2019” โดยมี Nigel Watts Prota Asia’s Managing Director ตัวแทนจาก Prota Asia Pte Ltd. รวมเปดงานในครั้งนี้ดวย ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา ซอฟตแวร ProtaStructure (Automated Building Design and Detailing Technology) เปน เครื่องมือสําหรับวิศวกรโครงสรางอาคาร เพื่อชวย ในงานออกแบบ ชี้วัดความแข็งแรงของอาคารที่เปน ทั้งคอนกรีตและโครงสรางเหล็ก ซึ่งรองรับ Code มาตรฐานทางวิศวกรรมทั่วโลก ทั้งอเมริกา ยุโรป ญีป่ นุ และมาตรฐานของแตละประเทศอยาง สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และประเทศไทย
Engineering Today
March - April
2019
สมศักดิ์ วรรักษา Executive Director Construction Solutions บริษัท แอพพลิแคด จํากัด (มหาชน) กลาววา ProtaStructure ชวยใหวิศวกรโครงสราง สามารถสรางแบบ จําลองโครงสรางอาคารแบบ 3 มิติ โดยกําหนดมาตรฐานเหล็ก และคอนกรีตที่ใช แลวทําการวิเคราะหความแข็งแรงของอาคาร ทีอ่ อกแบบเพือ่ ตรวจสอบวาสามารถคงอยูไ ดในสภาวการณตา งๆ เชน การเกิดแผนดินไหว การเกิดพายุ ฯลฯ พรอมสรางรายงาน การคํานวณออกมาใหโดยอัตโนมัติ ชวยใหงานออกแบบมีความ ถูกตองและรวดเร็ว ทัง้ นีเ้ มือ่ ไดความแข็งแรงของอาคารทีต่ อ งการ แลว ProtaStructure สามารถชวยเขียนแบบโครงสรางตางๆ ของอาคาร เชน ฐานราก เสา คาน พื้น หนาตัดตางๆ ใหออกมา โดยอั ต โนมั ติ ซึ่ ง จะช ว ยลดเวลาในการเขี ย นแบบไปได ก ว า 50-70% นอกจากนี้ ProtaStructure ยังมีโมดูลสวนที่ทํางานดาน การออกแบบรอยตอของโครงสรางเหล็ก (Steel Connection Joint) ซึ่งสามารถชวยใหวิศวกรโครงสรางทํางานออกแบบและ เขียนแบบ Shop Drawing ของงานโครงสรางทางวิศวกรรมได สะดวก รวดเร็ว และถูกตองกวาวิธีการเขียนแบบเดิมๆ
Nigel Watts Prota Asia’s Managing Director ตัวแทนจาก Prota Asia และ สมศักดิ์ วรรักษา Executive Director Construction Solutions แอพพลิแคด ร วมเป ดตัวซอฟต แวร ProtaStructure
Engineering Today March - April
2019
62
Preview • กองบรรณาธิการ
BMAM Expo Asia 2019 จัดขึ้นเป นครั้งที่ 12 รวมที่สุดเเห งนวัตกรรมด านการบริหารจัดการอาคาร คาดมีผู เข าชมงานกว า 4,000 ราย บริษัท อิมแพ็ค เอ็กซิบิชั่น แมเนจเมนท จํากัด จัดงาน BMAM Expo Asia 2019 งานแสดงสินคาและการประชุม สัมมนาระดับนานาชาติ ดานการบริหารจัดการทรัพยากรอาคาร โรงงาน และอสังหาริมทรัพยแหงเอเชีย ครั้งที่ 12 จัดขึ้นภายใต คอนเซ็ปต The Building and FM Expo โดยรวบรวมสินคา และเทคโนโลยีกวา 150 แบรนด จากกลุมบริหารทรัพยากร อาคาร อาคารเขียว และระบบอาคารอัจฉริยะ มาจัดแสดงบน พื้นที่ 5,000 ตารางเมตร อาคาร 6 อิมแพ็ค เมืองทองธานี ใน ระหวางวันที่ 27-29 มิถุนายน 2562 คาดมีผูเชี่ยวชาญดาน การบริหารจัดการอาคาร และผูซ อื้ จากทัว่ ภูมภิ าคเขาชมงานกวา 4,000 รายตลอด 3 วันจัดงาน BMAM Expo Asia 2019 ประกาศความรวมมือกับงาน K-Fire and Safety Bangkok 2019 (“K-Fire”) งานแสดงสินคา ระดับนานาชาติดานอัคคีภัย และความปลอดภัยจากประเทศ เกาหลีใต ซึ่งจะนําทัพผูประกอบการกวา 30 บริษัท มาจัดแสดง สินคารวมกันในงาน BMAM Expo เสริมใหงานดังกลาวเปน เวที ร วบรวมโซลู ชั่ น ด า นการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรอาคาร, การปองกันอัคคีภัย และความปลอดภัย ที่ครบวงจรที่สุด พรอม ทั้งสํานักงานสงเสริมการลงทุนและการคาระหวางประเทศของ เกาหลี (KOTRA) ไดนําผูที่มีอํานาจตัดสินใจซื้อกวา 100 ราย จาก 10 ประเทศ มารวมเจรจาธุรกิจภายในงาน ธุ ร กิ จ ด า นโซลู ชั่ น การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรอาคาร อั ตโนมัติ ใ นภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟกมีแนวโน มเติ บโตอย างมาก โดยคาดวาในระหวางป พ.ศ. 2560-2565 มีอตั ราเติบโตเฉลีย่ ตอ ปสูงถึง 4.7% คิดเปนมูลคากวา 5 พันลานเหรียญสหรัฐ* การนํา ระบบการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรอาคารอั ต โนมั ติ ม าใช ใ น สวนงานการบริหารจัดการทรัพยากรอาคาร ถือไดวา เปนอีกปจจัย สําคัญในการเพิ่มศักยภาพใหตลาดการบริหารทรัพยากรอาคาร ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก BMAM Expo Asia 2019 ไดรวบรวมผูประกอบการจาก กวา 150 บริษัทและแบรนดจากทั่วทั้งภูมิภาคเอเชีย มาจัดแสดง
สินคาครอบคลุม 3 กลุม คือ 1) Facility Management Products and Services ระบบและเทคโนโลยีดานการบริหารจัดการ ทรัพยากรอาคาร วัดสุกอสราง การทําความสะอาด ระบบรักษา ความปลอดภัย ระบบการเตือนภัย ระบบปรับอากาศ และการ บํารุงรักษาอาคาร 2) Green FM ระบบจัดการของเสีย ระบบ จัดการนํ้า และพลังงานทดแทน 3) Smart Building Solutions ระบบบริหารจัดการและควบคุมอาคารอัตโนมัติ ระบบควบคุมการ เฝาระวังภัย ระบบการจัดการพลังงาน อุปกรณอัจฉริยะและ loT ระบบบริหารงานสําหรับนิติบุคคลอาคารชุด
*ที่มา:https://www.asmag.com/showpost/24578.aspx
63
Engineering Today
March - April
2019
BMAM Expo Asia 2019 opens doors to technological revolution for facilities management
ภายในงานยังมีกจิ กรรมตางๆ ทีน่ า สนใจ และเปนประโยชน สํ า หรั บ ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ ด า นการบริ ห ารจั ด การอาคาร อาทิ Business Matching โปรแกรมการจับคูเ จรจาธุรกิจทีช่ ว ยใหผเู ขา รวมแสดงสินคา สามารถเขาสูระบบการจับคูนัดหมายเจรจา กั บ ผู ซื้ อ ที่ ท างผู จั ด งานได เ รี ย นเชิ ญ มาร ว มชมงาน และยั ง มี Building & FM Conference อัพเดทความรู และเทคโนโลยีใหมๆ จากเหลากูรูดานการบริหารจัดการอาคาร ลอย จุน ฮาว ผูจัดการทั่วไป บริษัท อิมแพ็ค เอ็กซิบิชั่น แมเนจเมนท จํากัด กลาววา ในยุคปจจุบัน อาคารอัจฉริยะเปน ที่กลาวถึงเปนอยางมากใน กลุม ผูบ ริหารจัดการทรัพยากร อาคารทั่ ว โลก ซึ่ ง การนํ า โซลู ชั่ น การบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรอาคารอัตโนมัติ เขามาใช เชน ระบบรักษา ความปลอดภั ย , ระบบ ปรับอากาศ, ระบบควบคุมไฟ จุน ฮาว ผู จัดการทั่วไป และระบบเตื อ นอั ค คี ภั ย บริษทั อิลอย มแพ็ค เอ็กซิบชิ นั่ แมเนจเม นท จํากัด จะชวยยกระดับใหการบริหาร จัดการทรัพยากรอาคารมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ดวยการควบคุม ระบบตางๆ ในจุดเดียว ซึ่งงาน BMAM Expo เปนอีกชองทาง ที่เปดโอกาสใหผูเชี่ยวชาญทางดาน FM ไดสัม ผัสเทคโนโลยี และโซลูชนั่ ใหมๆ ทีจ่ ะมาพลิกโฉมอุตสาหกรรมการบริหารจัดการ อาคารในอนาคต อยุธพร บูรณกุล นายกสมาคมวิชาชีพการบริหารจัดการ อาคาร กลาววา งาน Facility Management (FM) ไมไดเปน เพี ย งแค ง านหลั ง บ า น หากแต เ ป น งานที่ ส ามารถกํ า หนด ยุทธศาสตรใหกับองคกรผานการบริหารจัดการทรัพยากรอาคาร และสิ่งอํานวยความสะดวก โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มศักยภาพ ทางธุรกิจ และคุณภาพชีวิตแกผูใชงาน ยิ่งเมื่อมีเทคโนโลยี และ นวัตกรรมอาคารดวยแลว ยิง่ เพิม่ ประสิทธิภาพและบริหารตนทุน ไดงายขึ้น
Engineering Today March - April
2019
64
IMPACT Exhibition Management Co., Ltd. (“IMPACT”) presents the 12th edition of BMAM Expo Asia 2019 (“BMAM”), the international exhibition and conference on building maintenance and facilities management expo. Featuring cutting-edge solutions and a leading industry knowledge platform for modern facilities management, this trade exhibition will be held from 27 to 29 June 2019, Hall 6, IMPACT Exhibition Center, Bangkok, Thailand. More than 150 exhibitors and 4,000 FM professionals and key decision makers from ASEAN are expected to attend the three-day event.
BMAM Expo Asia 2019 features cutting-edge FM solutions from 3 segments 1. Facility Management Products and Services-Building construction materials; cleaning sectors; facilities management products and services; re and safety; HVAC solutions; plant maintenance and security 2. Green FM-Energy efficiency and renewable energy; waste management and water efficiency management 3. Smart Building Solutions-Building automation systems; critical systems monitoring; IoT; smart devices and tenant services monitoring. In addition, there will be Building and FM conferences by Industry Associations and a seminar on FM, where industry experts will be sharing their insights and expertise.
Project Management • ดร.พรชัย องควงศสกุล dr.pornchai.ong@gmail.com
การเริ่มต นโมเดลธุรกิจ
เพื่อความเจริญเติบโตและความยั่งยืน (A Startup Business Model Base on Growth and Sustainable) เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New Management Tools)
นัยสําคัญของการดําเนินโมเดลธุรกิจในรูปแบบสตาร ทอัพ (Startup)
ในโลกยุ ค ป จ จุ บั น ปฏิ เ สธไม ไ ด เ ลยว า เทคโนโลยี สามารถสรางนวัตกรรมใหมๆใหเขามามีสว นในการดําเนิน ชีวติ ประจําวันมากขึน้ กวาสมัยกอน มีการเปลีย่ นแปลงเกิด ขึน้ มากมาย ทัง้ ในดานกิจวัตรประจําวันทีต่ อ งใชเทคโนโลยี และอินเทอรเน็ตเขามาชวย รวมไปถึงการประกอบอาชีพ การดําเนินธุรกิจ ผูประกอบการจะตองปรับตัวใหทันกับ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลง โลกธุรกิจอยางมากในศตวรรษที่ 21 เปนอีกสาเหตุสําคัญ ที่ทําใหธุร กิจตองมีการปรับตัวหรือมีวิธีคิดใหมๆ เพื่อ ตอบสนองตอความตองการที่เปลี่ยนแปลงไป บริบทการ แข ง ขั น ทางธุ ร กิ จ ของตลาดในประเทศและตลาดโลกที่ เปลีย่ นแปลง โดยเฉพาะการเขามามีบทบาทของอินเทอรเน็ต และความกาวหนาในเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั และการสือ่ สารไดนาํ มาสูว ธิ กี ารทําธุรกิจในรูปแบบใหม ทีไ่ มไดกา วยางแรกดวย การทําแผนธุรกิจ (Business Plan) เพียงอยางเดียว จุดเริม่ ของการทํ า ธุ ร กิ จ ของผู ป ระกอบการรายใหม ห รื อ การ คิดสรางสรรคผลิตภัณฑใหมของธุรกิจ จึงเปนจุดเริ่มตน ที่จะตองมีกระบวนการที่สําคัญ ที่สามารถพิสูจนไดวาสิ่ง ที่เราเริ่มตนจะสามารถทําไดจริงตามแผน ในชวงนี้จึงมี ทฤษฎีทางการบริหารการจัดการในรูปแบบโมเดลธุรกิจ (Business Model) ที่มีรูปแบบหรือแนวคิดที่แตกตางไป จากเดิมหนึ่ง รูปแบบนั้นคือ ธุรกิจสตารทอัพ (Startup) ซึ่งปจจุบันไดรับความสนใจจากธุรกิจไทยเปนอยางมาก
Engineering Today March - April
2019
จึงเกิดมีคาํ ถามวาสตารทอัพ (Startup) คืออะไร ทําไมจึงมีอทิ ธิพล ในการขับเคลือ่ นอนาคตของโลกในยุคปจจุบนั แลว Startup เปนแนวคิด ธุ ร กิ จ แบบใหม ที่ มี จุ ด เริ่ ม ต น เป น อย า งไร ซึ่ ง แนวทางการทํ า ธุ ร กิ จ Startup ที่เราเห็นในยุคปจจุบันคือการที่เรามองเห็นปญหาที่เกิดขึ้นกับ คนสวนใหญ การสืบคนและควานหาความตองการของลูกคา การสราง ความนาเชื่อถือ ความมั่นใจ ความงายในการใชงานที่สะดวกสบาย แลว ใชแนวคิดที่ไดมาหาขอมูลของความเปนจริงมาทําการวิจัยศึกษาฐาน ขอมูลที่ได แลวสรางโมเดลธุรกิจ (Business Model) เปนแบบจําลอง ทางธุ ร กิ จ เพื่ อ แก ไ ขป ญ หา (Problem Analysis) ตั้ ง เงื่ อ นไขใน วัตถุประสงค (Objective)และเปาหมาย (Goal/Target) โดยใชเทคโนโลยี เขามาเกี่ยวของ ใชระบบสื่อสารโดยตรงกับลูกคาดวยวิธีการที่แตกตาง จากเดิมดวยแบบจําลองทางธุรกิจที่คิดและพัฒนาขึ้นมาสูการทดลอง การใชงานเพื่อเปนระบบการแกปญหา (Solution) นั้นๆ ที่ตั้งเปน สมมติฐานในเบื้องตน บททดลองตามโมเดลธุรกิจจะใหความสําคัญ ตอในรูปแบบสื่อสาร 2 Way Communication กลาวคือรับฟงเสียง ของลู ก ค า ทั้ ง ในแง ตํ า หนิ แ ละชมเชย เพื่ อ การปรั บ ปรุ ง แก ไ ขเรี ย นรู ขอบกพรอง จนไดรับการยอมรับในการใชงานที่สามารถสรางความสุข ที่ไดใชบริการ และมีการทดลองการใชงานในเบื้องตนบนขอบเขต โมเดลธุรกิจก็คือแบบจําลองธุรกิจวา ธุรกิจของเราจะใหบริการ หรือขายอะไรในความสามารถที่เรามีอยู และจะขายใหกับใคร ขาย อยางไร ขายที่ไหน หากการขายเปนสินคาก็ตองคํานึงคุณภาพการผลิต ดวยอะไร ใครมาชวยผลิต และมีรายไดและคาใชจา ยเทาไร รวมถึงมีกาํ ไร จากการใหบริการและสินคาตัวไหนบาง ดังนั้นโมเดลธุร กิจควรคิด กอนการเริม่ ธุรกิจ แตใครทีไ่ ดทาํ ธุรกิจไปแลวก็ยงั สามารถนําโมเดลธุรกิจ มาปรับปรุงได
66
สตาร ทอัพ (Startup) ใช ได เฉพาะธุรกิจที่ต องการเริ่มต นใหม เท านั้นหรือ?
Steve Blank ไดกลาวไววา “Startup ควรมุงหาโมเดลธุรกิจ มากกวาการลงมือปฏิบัติตามแผนธุรกิจ” นั้นก็หมายถึงวา Startup คือ การหาแนวทางใหมเพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาที่มีการ เปลีย่ นแปลง หรือเพือ่ สรางความไดเปรียบทางการคาในเมือ่ คูแ ขงมีความ สามารถที่มากขึ้นหรือเกิดคูแขงรายใหมที่มาแรง เปนการสรางแบบ จําลองทางความคิดเพือ่ พัฒนาใหเหนือกวาและตอบสนองความตองการ ที่ โ ดนใจลู ก ค า มากกว า ที่ เ คยคิ ด ดั ง เช น สถานการณ ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ เครือ่ งเสียงพกพา Sony Walkman ทีถ่ กู ผลิตภัณฑทสี่ ามารถตอบสนอง ความตองการของลูกคาเชิงนวัตกรรมของ Apple iPod และธุรกิจมือถือ แบรนด Nokia ทีเ่ ปนเจาครองตลาดในการจําหนายมายาวนาน กลับพบ คูแขงรายใหมที่เขามาบนวิสัยทัศนที่สรางความแปลกใหมจากแบรนด Apple iPhone ซึ่งผลิตภัณฑทั้งสองสามารถลม ผลิตภัณฑจากเจา ผูค รองตลาดไดอยางสิน้ เชิง แตหากจะถามวาเกิดจาก Business Model Startup หรือไม สามารถตอบไดทันทีวาไมใช แต Business Model Startup ที่ กํ า ลั ง กล า วถึ ง สามารถอธิ บ ายความเปลี่ ย นแบบของ กระบวนการดังกลาวใหเห็นเดนชัด ซึ่งจะเปนทั้งตัวอยางแนวคิดและ เสนทางการดําเนินธุรกิจไดอยางชัดเจนมากขึ้น การดําเนินธุรกิจเพือ่ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน (Sustainable Development) ขอคิดหลักสําหรับ Startup ที่จะนําไปเปนแนวคิด สิ่งสําคัญเปนอันดับ แรกของ Startup ก็คือ “การหาคนหาความตองการของลูกคา” ที่โดนใจ และนําสมัยนิยม ไมใชการสรางหรือพัฒนาผลิตภัณฑหรือบริการ และ ลูกคาไมไดซอื้ ผลิตภัณฑหรือบริการ “แตซอื้ Solution หรือวิธกี ารในการ แกปญหาที่พวกเขาตองการ” และสามารถตอบสนองถึงคุณภาพความ ประทับใจ ความรวดเร็ว และการใชทงี่ านทีง่ า ยได ซึง่ ทุกอยางในโลกของ เทคโนโลยีดจุ ดังการพลิกฝามือเดียวคุณก็ไดสงิ่ ทีต่ อ งการ “คุณจะตองแก ปญหาที่ลูกคาของคุณมีอยูแลว แทนที่จะพยายามโนมนาวใหเขาเห็นวา กําลังมีปญ หา” ใหความสําคัญกับลูกคา ใหความสําคัญบนความตองการ ของเขา “บริษัทไมไดลมเหลวเพราะพวกเขาไมสามารถสรางผลิตภัณฑ ที่ดีได แตพวกเขาลมเหลวก็เพราะพวกเขาไมสามารถสรางในสิ่งที่ คนตองการไดตา งหาก” การทํา Startup และนํากระบวนการ Business Model มาใชจึงสามารถตอบโจทยของปญหาและสรางอนาคตใหกับ ธุรกิจไดเปนอยางดี
นิยามความหมายของสตาร ทอัพ (Startup) คืออะไร
Steve Blank ผูเชี่ยวชาญเรื่อง Customer Development และ Lean Startup Method Steve Blank ไดขยายความวา Startup คือ การที่เรามองเห็นปญหาที่เกิดขึ้นกับคนสวนมากแลวสรางโมเดลธุรกิจ เพื่อมาแกไขปญหาโดยใชเทคโนโลยีเขามาเกี่ยวของ ดวยวิธีการที่แตก ตางจากเดิม และธุรกิจนี้ตองทําซํ้าได (Repeatable) และขยายตัว
67
(Scalable) หรือเติบโตแบบกาวกระโดด โดยไมตอ งใชตน ทุน ในการขยายกิจการจํานวนมหาศาล ดังเชน Steve Blank ผูไดชื่อวาเปนบิดาแหง Startup ใหคํานิยาม Startup ไววา “a startup is an organization formed to search for a repeatable and scalable business model” แปลได วา “Startup คือกิจการที่ตั้งขึ้นเพื่อคนหาโมเดลธุรกิจ (Business Model) ทีท่ าํ ซํา้ ได (Repeatable) และขยายตัวได (Scalable)” และโมเดลธุรกิจนัน้ สามารถสรางกําไรไดเรือ่ ยๆ เพิ่มผูใชไดเรื่อยๆ และสามารถเติบโตขึ้นไดอยางรวดเร็ว ภายในเวลาอันสั้นและกลายเปนบริษัทขนาดใหญนั่นเอง (โครงการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมรายใหม (มศก.), 2560) Steve Blank ผูเขียนหนังสือ The Four Steps to the Epiphany ซึ่งเปนหนังสือที่สรางไอเดียเรื่อง Lean Startup ขึ้นมาเลมแรก และหนังสือที่ชื่อวา The Startup Owner’s Manual ไดเนนหัวใจสําคัญของ “สตารทอัพ” อยูที่ “โมเดลธุร กิจ (Business Model)” แต Steve Blank เนนยํ้าวา “สตารทอัพ” ตองการหาโมเดลธุรกิจที่ Repeatable และ Scalable นัน่ คือโมเดลธุรกิจนัน้ สามารถ สรางกําไรไดเรือ่ ยๆ เพิม่ ผูใ ชไดเรือ่ ยๆ (Repeatable) และ สามารถเติบโตขึ้นไดอยางรวดเร็วภายในเวลาอันสั้นและ กลายเปนบริษัทขนาดใหญ (Scalable) ซึ่งการที่จะเติบโต อยางรวดเร็ว (High Growth Rate) และกลายเปนบริษัท ขนาดใหญ อ ย า งนั้ น ได ใ นป จ จุ บั น ก็ คื อ ต อ งหาลู ก ค า ให มีจํานวนมหาศาล โดยเฉพาะอยางยิ่งในลักษณะของการ ผานระบบออนไลนในปจจุบัน The Lean Startup ซึ่งเขียนโดย Eric Ries คือ หนึ่งในหนังสือที่ดีที่สุดเกี่ยวกับนวัตกรรม และสรางการ เจริญเติบโตสิ่งใหมๆ กวา10 ปที่ผานมา ที่เต็มไปดวย ไอเดียจากทั้งหมดที่กลาวมานี้ ที่เราสามารถทําไดดวย ตัวเราเอง หรือใชรวมกับวิธีการตางๆ ซึ่งถาคุณยังไมไดใช ไอเดีย Lean Startup ในบริษัท Eric Rirs ไดนิยามคําวา Startup ไวตามนี้ “A Startup is a human institution designed to create a new product or service under conditions of extreme uncertainty.” ในความหมายของ Eric นั้น Startup ไมจําเปน ตองเปน Business ดวยซํ้าไป อาจจะเปนหนวยงานรัฐ เปนองคกรการกุศล ไมจาํ เปนตองเปนธุรกิจใหม คุณสามารถ สราง Startup ภายในองคกรที่มีอยูแลว (Intrepreneur) และยิ่งไมจําเปนตองเปนธุร กิจทางเทคโนโลยี ไมตอง เกีย่ วของกับไอที ไมเกีย่ วของกับวิธที คี่ ณ ุ จะหาเงินมาทํา จะ ใชเงินตัวเอง เงินญาติ หรือเงินนักลงทุนก็ไมเกี่ยว คียเวิรด
Engineering Today
March - April
2019
จริงๆ คือคําวา Extreme Uncertainty ดังนั้นองคกร ใดก็ตามที่สราง Product ที่ไมไดมี Extreme Uncertainty หมายถึ ง มี ร ะเบี ย บแบบแผนชั ด เจนแล ว ว า คุ ณ ต อ งทํ า อะไรบาง ทําแบบไหน จะมีรายไดประมาณเทาไร ฯลฯ จึงไมถือวาเปน Startup ในมุมมองของ Eric แตเปน Small Business แทน เชน การทําอพารทเมนทใหเชา การทํา รานกาแฟทั่วๆ ไป ฯลฯ แนวคิดของ Lean Startup ผูเขียนมีแนวคิดที่ชวยให ธุรกิจสตารทอัพลดความสูญเสียในกระบวนการผลิตสินคา ไม ว า จะเป น การลดขั้ น ตอนที่ ไ ม จํ า เป น ต า งๆ ออกไป การปรับลดความสามารถของสินคาตัวตนแบบลง โดยให มุงเนนไปที่ความตองการของลูกคาในอนาคตเปนหลัก กลาวคือในการพัฒนาสินคาหนึ่งตัว มันจะตองเปนสิ่ง ที่มีคนตองการใชเทานั้น จึงเปนที่มาของคําวา “ตองสราง ในสิ่งที่มีคนตองการ” เทานั้น ขอควรระวังเปนอยางมากของการทําธุรกิจสตารท อัพนั้น ไอเดียบางอยางอาจจะเขาทา แตถาทําออกมาแลว ไมมีคนใช เพราะมันเกิดขึ้นจากความตองการของทีมงาน ที่สรางมันขึ้นมาฝายเดียว ไมไดเกิดจากความตองการที่มี อยูจ ริงของคนใชงาน สินคาบางอยางทุม เทเวลาเขาไปเปนป พรอมดวยฟงกชันนับรอย พอเอาไปวางขายจริงพบวา ลูกคาตองการใชงานเพียงแค 10 ฟงกชันเทานั้น หากใช Lean Startup คุณจะรูตั้งแตกอนทําการพัฒนาสินคาออก มา วาคุณตองทําใหสินคามีเฉพาะฟงกชันที่ลูกคาตองการ ก็เพียงพอแลว นัน่ เทากับลดความสูญเสียไดตงั้ แตยงั ไมเริม่ ไปไดมากถึง 90% หัวใจของเรือ่ งนีอ้ ยูท ตี่ อ งรูค วามตองการ ของลูกคา แกนหลั ก ของ Lean Startup คื อ เรื่ อ งของการ “เรียนรู” และการเรียนรูที่วานี้คือการเรียนรูลูกคา นั่นคือ ธุรกิจสตารทอัพจะตองเรียนรูใหไดวาลูกคากลุมเปาหมาย ของตั ว เองนั้ น มี ค วามต อ งการที่ แ ท จ ริ ง ในเรื่ อ งใดบ า ง แลวสามารถจัดลําดับความสําคัญของความตองการของ ลูกคาได จากนั้นจึงทําการลงมือพัฒนาสิ่งที่ลูกคาตองการ ออกมา ในหนึง่ รอบของการเรียนรูต อ งมีเรือ่ งของเวลาเขามา เปนตัวแปรสําคัญ ยิ่งทําการเรียนรูไดเร็วมากขึ้นเทาใด ก็ทําใหเพิ่มโอกาสในการผลิตสินคาที่มีคนตองการมากขึ้น เทานั้น เรียนรูแลวทําเรียนรูแลวปรับแกยิ่งเร็วยิ่งดี แตตอง รูจักแยกแยะประเภทของลูกคาดวยวาใชกลุมเปาหมาย ที่เราเลือกเอาไวหรือเปลา เพราะถาเราไปทุมการเรียนรู กับลูกคาผิดกลุม สินคาที่เราทําการพัฒนาออกมาอาจจะ กลายเปนคนละตัวกับทีเ่ ราตองการจะทํา ดังนัน้ การเรียนรู กลุมลูกคาเปาหมายที่ถูกตองก็เปนเรื่องสําคัญที่สุด
Engineering Today March - April
2019
Startup มีหัวใจสําคัญอีกหนึ่งคือ Growth คือมีการเติบโตแบบ กาวกระโดด โมเดลธุรกิจนั้นตองสามารถทําซํ้าได (Repeatable) และ ขยายตัวได (Scalable) อยางรวดเร็วและงาย ซึ่งการที่จะเปนเชนนั้นได เราจําเปนอยา งยิ่งที่จะตองอาศัยเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมเขามา ชวยขับเคลื่อน โดยมีไอเดียหรือแนวความคิดใหมๆ การจะทําธุรกิจให ประสบความสําเร็จไดตอ งมีแนวความคิดใหมๆ สรางสรรค รูจ กั แกปญ หา เพราะแนวความคิดใหมๆจะเปนตัวบอกวาเราจะทําอะไร ทําอยางไร แกไขอะไร เปนการเริ่มตนในการทําสตารทอัพใหประสบความสําเร็จ โดยที่แนวความคิดตองไมซํ้าหรือจะเปนการตอยอดแนวความคิดเดิม ที่มีอยูแลวใหมีความนาสนใจยิ่งขึ้น
กระบวนการทางการวิจัย (Research Process)
กอนที่เราจะศึกษา Lean Startup ในกระบวนการเรียนรู จึงขอ ทบทวนการทํ า กระบวนทางการวิ จั ย ว า มี ก ระบวนการดํ า เนิ น งาน ใกลเคียงกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร และมีขั้นตอนที่ใกลเคียงกับ ขั้นตอนของ Lean Startup เพียงแตขยายกระบวนการใหละเอียดขึ้น เพื่ อ ให สอดคล อ งกั บ การปฏิ บั ติ มี นั กวิ ช าการกํ า หนดกระบวนการ ทางวิจัยแตกตางกัน โดยขอยกตัวอยาง วิธีคิดแนวงานวิจัย ดังนี้ 1. Wiersma (1991 : 8) กําหนดกระบวนการวิจัยไว 5 ขั้นตอน ดังภาพที่ 1
ภาพที่ 1 กระบวนการวิจัยของ Wiesma 2. Fraenkel and Wallen (1993) ไดจัดกระบวนการวิจัยออก เปน 8 ขั้นตอน ดังนี้ 1) กําหนดปญหา (Research Problem) 2) ตั้งสมมติฐานหรือคําถาม (Hypothese or Questions) 3) กําหนดกรอบการวิจัย (Denitions) 4) ทบทวนวรรณกรรม (Literature Review) 5) กําหนดกลุมตัวอยาง (Sample) 6) สรางเครื่องมือเก็บขอมูล (Instrumentation) 7) วิธีการวิจัยหรือออกแบบการวิจัย (Procedures/Design) 8) วิเคราะหขอมูล (Data Analysis) งานวิจัยที่มีผลสําเร็จจะมีรูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) เปนการวิจยั เชิงการศึกษาหาองคความรูห รือสรางนวัตกรรม ทีเ่ กีย่ วของกับปญหาหรือเหตุการณทจี่ าํ เปนตองแกไขอยางเรงดวน และ สามารถนําผลไปใชไดทันที การวิจัยในลักษณะนี้จะตองมีการนําผล ไปทดลองใชกอนจึงสามารถสรุปไดวาองคความรูหรือนวัตกรรมนั้น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล การวิ จั ย ลั ก ษณะนี้ นิ ย มใช ใ นการ
68
แกปญหาการเรียนการสอนในหองเรียน จึงเรียกอีกชื่อวา การวิจัยใน ชั้นเรียน รูปแบบการวิจัยจึงไมใชทําครั้งเดียวแลวสรุปผลได จะตอง ทําการทดลองหลายๆ ครั้ง และแตละครั้งตองมีการตรวจสอบคุณภาพ ของผลงานนั้น กระบวนการดําเนินงานเปรียบเสมือนวัฏจักรของเดมิ่ง (Deming Cycle) หรือวงจร PDCA ซึ่งวัฏจักรของเดมิ่งเปนการทํางาน ที่มีขั้นตอน มีเหตุผล มีเอกสารอธิบายขั้นตอน มีเอกสารบันทึก และ ครบวงจรที่เรียกวา PDCA และมีลักษณะเปนวงจรหมุนเวียนไปจนกวา เรื่องที่ทํานั้นจะบรรลุเปาหมาย ซึ่งเปนหลักการกําหนดวาการทํางาน ใหสําเร็จในระยะเวลาสั้นแตมีประสิทธิภาพ ดังภาพที่ 2
ขั้นตอนตามกระบวนการวิจัย
ภาพที่ 3 กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการในรูปแบบ PDCA
ภาพที่ 2 แสดงการวิจัยเชิงปฏิบัติหรือการวิจัยในชั้นเรียนกับระบบ PDCA Plan (P) หมายถึง วางแผนการปฏิบัติงานและการวิจัย Do (D) หมายถึง ดําเนินการทดลองหรือจัดการเรียน การสอนตามแผนและเก็บรวบรวมขอมูล Check (C) หมายถึง ประเมินผล (วิเคราะหและสรุปผล การดําเนินงาน) Act (A) หมายถึง นําผลการวิจัยไปใชพัฒนางานที่กําหนด หรือการจัดการเรียนการสอน เมื่อดําเนินการครบวงจรรอบแรกแลว จะตองวนมาพบ P อีกครั้ง แต P นี้ จะหมายถึง การวางแผนและการมีสวนรวม (Plan and Participation) เปนการพัฒนาขอความรูต อ ไปใหมคี วามถูกตองเปนสากล และเปนประโยชนมากยิง่ ขึน้ เพือ่ สงผลตอคุณภาพของผลลัพธทกี่ าํ หนดไว กระบวนการวิจยั ของการวิจยั เชิงปฏิบตั กิ าร มีกระบวนการดําเนิน งานลักษณะ ดังนี้ 1. กําหนดปญหา 2. วางแผนแกปญหา 3. ดําเนินการแกปญหา 4. วิเคราะหและสรุปขอมูลเพื่อหาทางแกไขปรับปรุง 5. นําไปทดลองใช 6. สรุปและสะทอนผลจากการทดลองใช 7. สรุปผลการวิจัย 8. จัดทํารายงานการวิจัย
69
กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เปนกระบวนการ ที่สามารถพิสูจนใหไดมาซึ่งผลสรุปของงานวิจัยที่สามารถ ตอบโจทยปญหาอยางเปนระบบและจนเกิดเปนองคความ รูใ หมได และในโลกของการทําธุรกิจ กระบวนการ Startup จึ ง เป น การทํ า Business Model ที่ มี ขั้ น ตอนของ กระบวนการคลายกับงานวิจัย โดยวิเคราะหปญหาความ ตองการ ตั้งสมมติฐานและสรางกลไกพิสูจนซึ่งแนวทาง การแกในรูปแบบ Solution แตกระบวนการ Business Model สิง่ ที่จะตองคํานึงถึงกอนเลยก็คือ การวางแผนคิด หาไอเดีย เพื่อสรางสินคาหรือบริการที่แตกตาง โดดเดน และสามารถสรางผลตอบแทนที่ดีใหกับธุรกิจของเรา วันนีข้ อเสนออีกหนึง่ ตัวชวยทีด่ ๆี สําหรับผูป ระกอบ การทุกทาน หรือผูที่กําลังคิดจะเริ่มตนมองหาธุรกิจของ ตนเอง ลองนํา Model นีไ้ ปใชเพือ่ เปนแนวทางในการสราง Business Model ในรูปแบบ Business Model Canvas ซึ่งคิดคนโดย Alexander Osterwalder โดยสามารถทํา เปนชองๆ เพื่อใหเรามองหาและเห็นภาพของ Model ไอเดียในแตละเรื่องไดชัดเจน ครอบคลุมการพิจารณาถึง โครงสรางขององคกร และเสนอแผนธุรกิจไดอยางงายดาย เพียงหนากระดาษเดียวใน 9 ชอง องคประกอบที่สําคัญ ในการทํา Business Model Canvas ซึง่ จะกลาวถึงตอไป ในตอนหนา
Engineering Today
March - April
2019
Focus
สกว.-จุฬาฯ
เผยแผนแม บทจัดการนํ้า ลดวิกฤตภัยแล งใน 5 ป สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) รวมกับ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปดเวทีสาธารณะนโยบายนํ้า สกว. ครั้งที่ 10 “การบริหารจัดการนํ้าภายใตแผนแมบท การบริหารจัดการทรัพยากรนํ้าเพื่อรองรับยุทธศาสตรนํ้า ของประเทศ” ศ. นพ.สุ ท ธิ พั น ธ จิ ต พิ ม ลมาศ ผู อํ า นวยการ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เปนประธาน ในการเปดงาน “เวทีสาธารณะนโยบายนํา้ สกว. ครัง้ ที่ 10” : การบริหารจัดการนํา้ ภายใตแผนแมบทการบริหารจัดการ ทรัพยากรนํ้าเพื่อรองรับยุทธศาสตรนํ้าของประเทศ” เพื่อ เป น พื้ น ที่ แ ลกเปลี่ ย นประสบการณ ด า นการจั ด การ ทรัพยากรนํ้าและรวมกันหาแนวทางการบริหารจัดการนํ้า เพือ่ ใหเกิดความยัง่ ยืนตามแผนแมบทการบริหารจัดการนํา้ ณ โรงแรมแมนดาริน สามยาน สราวุ ธ ชี ว ะประเสริ ฐ รั ก ษาการที่ ป รึ ก ษาด า น ยุทธศาสตร สํานักงานทรัพยากรนํ้าแหงชาติ (สทนช.) กลาววา ขอมูลแผนแมบทการบริหารจัดการนํ้า 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) ที่สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ 20 ป มีเปาหมายใหญ 4 ดานดวยกันคือ 1) ดานการจัดการนํ้า อุปโภคบริโภค ประปาหมูบานตองมีคุณภาพไดมาตรฐาน ภายในป พ.ศ. 2573 มีการขยายเขตประปา สํารองนํา้ ตนทุน เพื่อรองรับเมืองหลัก เมืองทองเที่ยว หรือเมืองเศรษฐกิจ ที่สําคัญ อัตราการใชนํ้าตอประชากรตองลดลงภายในป พ.ศ. 2570 2) ดานการสรางความมัน่ คงของนํา้ ภาคการผลิต จะพัฒนาแหลงเก็บกักนํ้าและระบบสงนํ้าใหเต็มศักยภาพ พัฒนาแหลงนํ้าทางเลือกสนับสนุนพื้นที่สําคัญ จัดหานํ้า ในพื้นที่เกษตรนํ้าฝนลดความเสี่ยงและความเสียหายใน พื้นที่วิกฤต รอยละ 50 ตลอดจนเพิ่มผลิตภาพและปรับ โครงสรางการใชนํ้า 3) ดานการจัดการนํ้าทวมและอุทกภัย มีการปรับปรุงการระบายนํา้ และสิง่ กีดขวาง จัดทําผังลุม นํา้ และบังคับใชในผังเมืองรวมและจังหวัดทุกลุมนํ้า ปองกัน นํ้าทวมชุมชนเมือง 764 เมือง บรรเทาอุทกภัยพื้นที่วิกฤต รอยละ 60 เพิ่มประสิทธิภาพการปรับตัวและเผชิญเหตุ
Engineering Today March - April
2019
Cr ภาพ : www.maharat.go.th
ในพื้นที่นํ้าทวม 4) ดานการจัดการคุณภาพนํ้าและอนุรักษทรัพยากรนํ้า ปองกันและลดการเกิดนํ้าเสียที่ตนทาง พัฒนาระบบบําบัดนํ้าเสียรวม ของชุมชน การนํานํ้าเสียกลับมาใชใหม จัดสรรนํ้าเพื่อรักษาระบบนิเวศ และฟน ฟูแมนาํ้ ลําคลองและแหลงนํา้ ธรรมชาติ 5) ดานการอนุรกั ษฟน ฟู สภาพปาตนนํ้า มุงเนนการฟนฟูพื้นที่ปาตนนํ้าที่เสื่อมโทรม ปองกัน การเกิดการชะลางและการพังทลายของดินในพื้นที่เกษตรลาดชัน และ 6) ดานการบริหารจัดการ สรางระบบฐานขอมูล ระบบติดตามประเมิน ผล สนับสนุนการมีสว นรวมระหวางภาครัฐและเอกชน รวมถึงการพัฒนา นักวิจัย นวัตกรรม เพื่อการสรางมูลคาเพิ่มภาคบริการและการผลิต โดยปจจุบันคณะทํางานไดจัดทําเปาหมายเรงดวนระยะ 5 ป เสร็จสิ้นเปนที่เรียบรอย เพื่อทําตามแผนแมบทการบริหารจัดการนํ้า ดังกลาวทีว่ างไว อาทิ เพิม่ ประสิทธิภาพประปาหมูบ า น 10,194 หมูบ า น จั ด ทํ า โครงการพั ฒนาระบบนํ้ า ชุ ม ชนเพื่ อ เกษตรกรยั ง ชี พ นอกเขต ชลประทานสูภัยแลง 1,837 ตําบล เพื่อแกวิกฤตภัยแลงใหลดลงอยาง นอยรอยละ 50 ตลอดจนเพิ่มผลิตภาพปรับโครงสรางการใชนํ้าในพื้นที่ ชลประทานเดิม พืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรมภาคตะวันออก และพืน้ ทีพ่ ฒ ั นาระบบ สงนํ้าใหม รศ. ดร.สุจริต คุณธนกุลวงศ นักวิจัยจากคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กลาววา สถานภาพการบริหารจัดการนํา้ ของ ประเทศที่ผานมามีความมุงมั่นในการแกแตยังคงมีอีกหลายปญหาที่ รออยู ปจจุบันจึงมีการวางเปาหมาย แผนแมบทเพื่อแกปญหาและ สรางพื้นฐานเพื่อรองรับความเสี่ยงในอนาคต ภายใตการดําเนินการ หลายระดับทั้งในสวนของการซอม สราง การพัฒนาที่ตองกาวกระโดด ทั้งนี้กระบวนการดังกลาวตองดําเนินการไปพรอมๆ กับการเตรียมคน เตรียมขอมูลดานวิชาการ ขอมูลขาวสารและการปรับตัว ตลอดจนควรมี การสรางแพลตฟอรมการทดลองเพือ่ นําไปสูก ารเปลีย่ นผาน โดยอนาคต อันใกลที่ไทยกําลังกาวสูยุค 5G เทคโนโลยีนี้จะเขามามีบทบาทสําคัญ ในการบริหารจัดการเรื่องนํ้าดวย
70
Focus
ซีเมนส เป ดศูนย บริการ
พลังงานไฟฟ าแห งใหม ที่จังหวัดระยอง เพิ่มประสิทธิภาพภาคพลังงานของไทย พร อมสนับสนุนแผนพีดีพีฉบับล าสุด
ดร.อารมิน บรัค (ที่ 4 จากขวา) ประธานกรรมการ และหัวหนาฝายบริหารของ บริษัท ซีเมนส จํากัด ประจํา สิงคโปรและภูมิภาคอาเซียน รวมกับ มารคุส ลอเรนซินี่ (ที่ 3 จากขวา) ประธานกรรมการและหัวหนาฝายบริหาร ของ บริษทั ซีเมนส จํากัด ประจําประเทศไทย ไดเปดศูนย บริการพลังงานไฟฟา (Power Generation Services) แห ง ใหม อ ย า งเป น ทางการที่ จั ง หวั ด ระยอง เพื่ อ เพิ่ ม ศักยภาพในการสนับสนุนและสงเสริมการเติบโตและ ความยั่งยืนของภาคพลังงานไทย การเปดศูนยบริการพืน้ ทีข่ นาด 1,200 ตร.ม. ดังกลาว ของซีเมนสในจังหวัดระยอง เปนการตอกยํา้ ถึงความมุง มัน่ ในการสงมอบบริการอันเปนเลิศแกลกู คาในทองที่ พรอมกับ การสนับสนุนแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา (พีดีพี) ฉบับ ลาสุดของไทย ซึ่งใหความสําคัญกับเทคโนโลยีการผลิต พลังงานไฟฟาทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงจากวัตถุดบิ กาซธรรมชาติ และพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น ศูนยบริการแหงใหมนที้ าํ หนาทีเ่ ปนทัง้ ศูนยซอ มบํารุง และคลังอะไหลและอุปกรณ ใหบริการครบวงจรทั้งการ ตรวจสอบสภาพ เปลี่ยนอะไหล พรอมทั้งเปนโรงจัดเก็บ เครื่องมือและซอมแซมกังหันกาซ คอมเพรสเซอรกาซ รวม ถึงกังหันไอนํา้ อุตสาหกรรมแกลกู คาของซีเมนส โดยจังหวัด ระยองเป น พื้ น ที่ สํ า คั ญ ของโครงการพื้ น ที่ พั ฒ นาเขต เศรษฐกิจพิเศษ (EEC) ภายใตนโยบาย Thailand 4.0 เพือ่ สงเสริมอุตสาหกรรมทีม่ มี ลู คาสูงและกระตุน การเติบโตทาง เศรษฐกิจของประเทศ ทอรเบียน ฟอรส หัวหนาฝายบริหาร ธุรกิจบริการ พลังงานไฟฟา โรงไฟฟายอย และธุรกิจนํ้ามันและกาซ (Power Generation Services, Distributed Generation and Oil and Gas) กลาววา บริษัทฯ เลือกเปดศูนยบริการ ธุ ร กิ จ ผลิ ต กระแสไฟฟ า ที่ จั ง หวั ด ระยอง เพื่ อ สามารถ ใหบริการลูกคาไดอยางใกลชิด โดยทีมงานผูเชี่ยวชาญ ที่พรอมใหบริการแกลูกคาอุตสาหกรรมดวยความรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะเปนการยกระดับการใหบริการ เพือ่ สนับสนุนภาคอุตสาหกรรมของไทยทีก่ าํ ลังเติบโต โดย ศูนยบริการดังกลาวสามารถใหบริการแกลูกคาโรงไฟฟา
ที่ไววางใจใชกังหันกาซสําหรับการผลิตไฟฟาเชิงอุตสาหกรรม ที่มีอยูใน ประเทศไทยประมาณ 100 ราย ซึ่งเปนประเทศที่มีการติดตั้งกังหันกาซ รุน SGT-800 มากที่สุดในโลก นับเปนความสําเร็จอันนาทึ่งสําหรับ ประเทศที่ไมไดมีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญที่สุด “ศูนยบริการแหงใหมนี้เอื้อประโยชนตอลูกคาของซีเมนส พรอม ทั้งชวยเพิ่มประสิทธิภาพใหแกภาคพลังงานของไทย เพราะไมเพียงชวย ใหเราใกลชิดกับลูกคาในประเทศไทยมากขึ้นเทานั้น แตยังหมายถึงการ บริการที่มีความเฉพาะเจาะจงสําหรับลูกคาในประเทศไทยมากขึ้น รวดเร็วขึ้น และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งตอบโจทยความตองการของ ลูกคาในอุตสาหกรรมพลังงานไดเปนอยางดี” ทอรเบียน กลาว นัดจา ฮากันสัน รองประธาน และหัวหนาฝายธุรกิจบริการ พลังงานไฟฟา (Power Generation Services) ประจําประเทศไทย ของซีเมนส กลาววา ศูนยบริการธุรกิจผลิตกระแสไฟฟาแหงนี้ จะมอบ ประโยชนมากมายใหแกลูกคาของซีเมนส ทั้งดานคุณภาพและความ สะดวกรวดเร็วของการใหบริการ โดยเปาหมายของเราคือการอยูใกลชิด กับลูกคาใหมากทีส่ ดุ และศูนยบริการนีก้ ช็ ว ยใหเราบรรลุเปาหมายดังกลาว “ศู น ย บ ริ ก ารของเราพร อ มส ง มอบบริ ก ารที่ ต อบโจทย ค วาม ตองการของลูกคาในประเทศไทยโดยเฉพาะ เพื่อชวยใหพวกเขาเพิ่ม ความสามารถในการผลิต ความยืดหยุนในการดําเนินงาน และเพิ่ม ประสิทธิภาพ โดยกังหันรุน SGT-800 ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง ชวยปรับปรุง ดานอัตราการใชเชื้อเพลิงใหดีขึ้นและลดมลการปลอยมลพิษในอากาศ เชน กาซคารบอนไดออกไซด นอกจากนี้ เรายังนําเทคโนโลยีดิจิทัล ในธุร กิจการผลิตไฟฟา มาใชในการติดตามสถานะการทํางานของ เครือ่ งจักรและวิเคราะหแบบเรียลไทมเพือ่ ทําการบํารุงรักษาเชิงปองกัน และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการดําเนินงาน” นัดดา กลาว นัดจา กลาวถึงแผนพีดีพีวา การสนับสนุนโรงไฟฟาขนาดเล็ก (เอสพีพี) อยางตอเนื่อง และการกระจายอํานาจในภาคพลังงาน ทําให ประเทศไทยเปนอีกหนึ่งประเทศตนแบบที่ดีเยี่ยมสําหรับการสรางภูมิ ทัศนทางพลังงานที่ยั่งยืน การสงเสริมพลังงานหมุนเวียนควบคูไปกับ กาซธรรมชาติ และเชือ้ เพลิงดัง้ เดิมอืน่ ๆ เชน นํา้ มันและถานหิน เปนการ สรางความมัน่ คงใหแกระบบนิเวศทางพลังงาน ซึง่ เอือ้ ตอการเติบโตทาง อุตสาหกรรมและการพัฒนาประเทศ ตอบรับความตองการไฟฟาทีเ่ พิม่ ขึน้ นอกจากนี้ ซีเมนสยังไดพัฒนาการใชเชื้อเพลิงไฮโดรเจนกับ กังหันกาซ ดวยเชื่อมั่นวาเปนเทคโนโลยีแหงอนาคต ซึ่งสอดคลอง กั บ แนวทางการใช พ ลั ง งานที่ ไ ม ทํ า ให เ กิ ด ก า ซคาร บ อนไดออกไซด (Decarbonization) และการใชพลังงานอยางยั่งยืน
71
Engineering Today
March - April
2019
Focus
มจธ. จับมือ ม.คานาซาวา
แดนปลาดิบ สร างเครื่องวัด มวลกระดูกพกพา พร อมจําหน าย ในไทยและญี่ปุ นปลายป นี้ ปจจุบันมีกลุมเสี่ยงที่จะเปนโรคกระดูกพรุน และ รอยละ 80 ของกลุมเสี่ยงอาจจะยังไมเคยไดรับการตรวจ วัดคามวลกระดูก ขณะที่ในไทยมีเครื่องวัดมวลกระดูก เฉพาะในบางโรงพยาบาลเทานั้น ดังนั้นเครื่องวัดมวล กระดูกแบบพกพาที่ผลิตขึ้นใหมนี้จะเนนในกลุมผูปวยที่ มีความจําเปนตองวัดมวลกระดูกทีโ่ รงพยาบาลบอยๆ เชน ผูสูงอายุ กลุมเสี่ยงที่จะเปนโรคกระดูกพรุน และกลุม ผูปวยที่เปนโรคมะเร็งกระดูก ทําใหผูปวยสามารถวัดได ดวยตนเอง เพื่อหาความผิดปกติเบื้องตน โดยไมตองเดิน ทางไปโรงพยาบาล นอกจากนั้นแลวยังมีราคาไมสูง และ มีขนาดเล็ก ใชงานงาย รศ. ดร.อนรรฆ ขันธะชวนะ หัวหนาหองปฏิบัติการ วัสดุฉลาด (Smart Lab) และ คณะนักวิจัย มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) กลาววา มจธ. โดยหองปฏิบัติการวัสดุฉลาดไดรวมมือกับ ศ. ดร. ชิเกโอะ ทานากะ มหาวิทยาลัยคานาซาวา (Kanazawa University) มาอยางตอเนื่อง โดยเครื่องวัดมวลกระดูกแบบพกพา ได พั ฒนาต อ ยอดจากงานวิ จั ย เดิ ม เกี่ ย วกั บ นวั ต กรรมการ เพิ่มจํานวนเซลลกระดูกที่งานวิจัยนี้สําเร็จแลว และใชเวลา วิจัยกวา 2 ป เครือ่ งมือวัดมวลกระดูกแบบพกพา สามารถตรวจได สะดวก รวดเร็ว โดยการฉายแสง LED ที่ขอมือผูปวย ใน ขณะที่ เ ครื่ อ งแบบขนาดใหญ ต ามโรงพยาบาลที่ วั ด มวล กระดูกเพื่อตรวจโรคกระดูกพรุน ผูปวยตองนอนหรือนั่ง ลักษณะการทํางานเปนการ X-ray เพื่อสแกนคาการตรวจ ความหนาแนนของกระดูก (Bone Mineral Density: BMD) อีกทั้งยังมีเครื่องมือในบางโรงพยาบาลเทานั้น
Engineering Today March - April
2019
หลักการของเครื่องมือวัดมวลกระดูกแบบพกพานี้ ใชหลักการ ของแสง LED ที่ มี ค วามยาวคลื่ น เฉพาะที่ มี ป ฏิ กิ ริ ย ากั บ แคลเซี ย ม 2 ความยาวคลื่นเพื่อเปรียบเทียบคา รวมกับเครื่องมือไดโอดที่วัดคา ความเขมแสงที่สะทอนหรือกระเจิงกลับ เพื่อทําใหทราบคาแสงที่ถูกดูด กลืนในกระดูก โดยจะตองนําคาแสงทีไ่ ดไปคํานวณเปนคาความหนาแนน ของกระดูกวามีปริมาณแคลเซียมจํานวนเทาใด ซึง่ ไดมกี ารทดสอบความ แมนยําของเครือ่ งวัดมวลกระดูกแบบพกพานี้ กับเครือ่ งมือวัดมาตรฐาน ของโรงพยาบาลแบบ DEXA Scan คานาเมะ มิ อู ร ะ นั ก ศึ ก ษาแลกเปลี่ ย นจากประเทศญี่ ปุ น นักศึกษาปริญญาเอกทุนเพชรพระจอมเกลา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) ไดตอยอดโดยพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องมือ วัดมวลกระดูก โดยใสปญญาประดิษฐ หรือ AI (Articial Intelligence) และไดนําไปทดสอบกับผูปวยจริงที่ศูนยไซโคลตรอนและเพทสแกน แหงชาติ สถาบันวิจัยจุฬาภรณ จํานวน 500 คน เพื่อเก็บขอมูล ปจจุบัน สามารถเก็บขอมูลไดกวา 200 คน โดยจะเปรียบเทียบขอมูลเครื่องมือ ที่พัฒนาขึ้นกับเครื่องวัดมวลกระดูกที่ใชอยูในโรงพยาบาล เนื่องจากแนวโนมราคาเครื่องมือที่พัฒนาขึ้นนี้อยูในหลักหมื่น ดร.ทานากะ จึงไดจดั ตัง้ บริษทั สตารทอัพจดทะเบียนในชือ่ บริษทั “Ostics” เพือ่ ผลิตและจําหนายเครือ่ งมือวัดมวลกระดูกทีพ่ ฒ ั นาขึน้ และเปนบริษทั สตารทอัพแหงแรกของมหาวิทยาลัยคานาซาวาด วย โดยมีแผนจะ จดทะเบียนในไทยรวมกับ มจธ. และสรางตลาดในไทยกอน เนื่องจาก ความตองการใชผลิตภัณฑมากกวา โดยตัง้ เปาภายในปนี้ออกผลิตภัณฑ รุน แรกทีส่ ามารถวัดมวลกระดูกจากกระดูกขอมือ และวางแผนจะพัฒนา ผลิตภัณฑรุนอื่นๆ ที่สามารถวัดมวลกระดูกจากบริเวณอื่นได
72
INDEX ADVERTISING March - April 2019
Engineering Today
บริษัท
โทรศัพท
โทรสาร
ตําแหนงหนา
ASEAN Sustainable Energy Week 2019
0-2036-0500
-
77
www.asew-expo.com
Assembly & Automation Technology
-
-
78
www.assemblytechexpo.com
BMAM Expo Asia
-
-
14
www.bmamexpoasia.com
Interlink Co., Ltd.
0-2666-1111
-
79
www.interlink.co.th
Intermach
0-2036-0500
-
ปกหนา, 81
Propak Asia
-
-
82
www.propakasia.com
Wire & Tube Southeast Asia
-
-
83
www.wire-southeastasia.com, www.tube-southeastasia.com
Subcon Thailand
-
-
80
www.subconthailand.com
กุลธรอินเตอรเนชั่นแนล บจก.
0-2282-5775-8
0-2281-0009
11
www.kulthorn.com
คณิต เอ็นจิเนียริ่ง บจก.
0-2642-9209-11
0-2246-3214
3
www.kanitengineering.com
เจริญเมืองแมชชีนเนอรี่ บจก.
0-2280-8431-5
0-2280-8033-5
9
www.crm.co.th, E-mail:info@crm.co.th
เบย คอรปอเรชั่น บจก.
0-2926-0111
0-2926-0123-4
ปกหนาใน
พิศนุการชาง บจก.
0-2245-4451, 0-2245-0419
0-2246-3214
5
www.kanitengineering.com, www.pisanu.co.th
สถาปนิก’62
-
-
6
www.asa.or.th
เวอรทัส บจก.
0-2876-2727
0-2476-1711
13
www.virtus.co.th, E-mail:welcome@virtus.co.th
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน
0-2421-7040 ตอ 1607-9
0-4421-7047
ปกหลัง
อีพีเอ็มซี บจก.
0-2322-4330-3
0-2720-5155
4
www.epmc.co.th
เอส เอ วี เมคคานิคคอลเซอรวิส แอนด ซัพพลายส หจก.
0-2702-8801, 0-2702-0581-8
0-2395-1002
7
E-mail:savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com
EEng En Engineering ngin ine neeri neeri e inng ng To Today oday March - April April
2019
74 74
Website/E-mail
www.intermachshow.com
www.bay-corporation.com, E-mail:sales@bay-corporation.com
www.slri.or.th E-mail: bds@slri.or.th
>> Gadget Epson EcoTank พรินเตอร์ตอบโจทย์ธุรกิจ อปสัน แนะนําสินคาใหม EcoTank L1110 และ มัลติฟงกชัน EcoTank L5190 จากตระกูล EcoTank L-Series ที่มีการพิมพ งานปริมาณมากและตองการควบคุมตนทุนการพิมพ โดยชุดหมึกพิมพ 4 สี ของ EcoTank L-Series แตละชุดสามารถพิมพขาวดําไดถงึ 4,500 แผน และ พิมพสีไดถึง 7,500 แผน ดวยความเร็วการพิมพสี 5.0 ipm (ภาพ/นาที) และ ขาวดํา 10 ipm (ภาพ/นาที) โดยออกแบบใหชดุ แท็งคหมึกอยูภ ายในตัวเครือ่ ง บอดี้มีความโคงมนและขนาดกะทัดรัดยิ่งขึ้น อีกทั้งระบบการเติมหมึกยังเปน แบบ Spill-Free ทีใ่ ชแรงดันภายในขวดเพือ่ ชวยลดการหกของหมึก และปองกัน การเติมหมึกผิดสีดวยจุกขวดที่ออกแบบใหมีความแตกตางเฉพาะสี พรอมรับ ประกันตัวเครื่องและหัวพิมพนาน 2 ป เหมาะสําหรับกลุมธุรกิจ Soho และ SME
เ
EcoTank L5190
Redmi Note 7 สมาร์ทโฟนรุ่นล่าสุดใน Redmi Note ซีรีส์ ในราคาจับต้องได้ สี่ยวหมี่ (Xiaomi) เปดตัว Redmi Note 7 สมารทโฟนรุนลาสุดใน Redmi Note ซีรีส ที่ไดรับความนิยมอยางสูง ซึ่งเปนรุนที่สะทอนการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญที่สุดในแงดีไซนใน ซีรีสดังกลาว ดวยสไตลใหมที่ดูพรีเมี่ยม ครอบดวยกระจก Corning® Gorilla® Glass 5 ทั้งดานหนา และดานหลัง ชวยลดความเสียหายจากการตกกระแทก จอแสดงผล Dot Drop สัดสวน 19.5:9 ขนาด 6.3 นิ้วในแนวทแยงมุม ใหหนาจอที่สวยสะดุดตา ดวยความละเอียดระดับ FHD+ 1080x2380 ดาน หลังของตัวเครื่อง ใชเซ็นเซอร Samsung ISOCELL GM1 ซึ่งใหภาพความละเอียดสูงถึง 48 ลาน พิกเซล ขณะถายภาพเซ็นเซอรดังกลาวจะใชเทคโนโลยี Tetracell ของซัมซุงซึ่งผสาน 4 พิกเซลใหเปน พิกเซลขนาด 1.6 ไมครอน โดยคุณสมบัตินี้ชวยเพิ่มความไวแสงใหกับกลองและสงผลใหภาพความ ละเอียด 12MP ทีไ่ ดนนั้ มีความสวางและใหรายละเอียดทีค่ มชัดมากขึน้ แมในสภาพแสงนอย มาพรอม แบตเตอรี่ขนาดใหญความจุ 4000mAh ซึ่งใหชั่วโมงการใชงานยาวนานตลอดวัน
เ
Fitbit Inspire HR™ ติดตามอัตราการเต้นของหัวใจได้ตลอดทั้งวัน itbit Inspire HR™ เปนอุปกรณแทรคเกอรที่สามารถติดตามอัตราการเตนของหัวใจได ตลอดทั้งวัน และเปนแทรคเกอรที่มีราคาที่เขาถึงไดมากที่สุดของฟตบิท เต็มเปยมดวย ประสิทธิภาพในการติดตามผลการทํากิจกรรมตลอดวัน การออกกําลังกาย และการติดตามการ นอนหลับ โหมดเพื่อการออกกําลังกายกวา 15 แบบ แอพฯ แสดงผลและแจงเตือนที่เชื่อมตอกับ สมารทโฟน และแอพฯ Relax สําหรับการฝกหายใจ ที่มาพรอมกับรูปทรงสวยงาม บางเฉียบ เหมาะสําหรับผูเริ่มใชอุปกรณแวรเอเบิลและอยากทดลองแทรคเกอรที่ราคาไมแพงและงายตอการ ใชงาน สวน Fitbit Inspire™ มีฟเจอรดานสุขภาพและการออกกําลังกายสําคัญที่จะชวยกระตุน ใหผูบริโภคใหอยากมีสุขภาพที่ดี เชน การติดตามกิจกรรมในแตละวัน การออกกําลังกาย การ นอนหลับ การเฉลิมฉลองเมื่อสามารถบรรลุเปาหมาย การติดตั้งแอพฯ Reminders และ Move รวมไปถึงแอพฯ สําหรับจับเวลา
F
75
Engineering Today
March - April
2019
Gadget >> GoPro HERO7 Black ลิมิเต็ด เอดิชั่น สีขาว ครั้งแรกของโลก oPro เปดตัว GoPro HERO7 Black รุนลิมิเต็ด เอดิชั่น ในสีขาว Dusk White ถือเปนครั้งแรกที่ GoPro ออกมาเปดตัวกลองสีใหมสําหรับกลองรุนแฟลกชิป (รุนที่ดีที่สุดของ GoPro) โดย GoPro ไดยกระดับมาตรฐานใหมใหกับการบันทึกวิดีโอที่ลื่นไหล อยางที่ไมเคยมีมากอน ดวยระบบลดการสั่นไหวของวิดีโอ HyperSmooth ของกลอง HERO7 Black ระบบ HyperSmooth ชวยใหผใู ชงานสามารถบันทึกวิดโี อไดอยางลืน่ ไหลราวกับมืออาชีพ HERO 7 Black ยังมาพรอมกับฟเจอรการบันทึกวิดีโอที่มีชื่อวา TimeWarp ชวยใหผูใชงาน สามารถบันทึกวิดีโอเปนระยะเวลานานไดอยางไมมีสะดุด และสามารถรนระยะเวลาทั้งหมด ของวิดีโอนั้นๆ ลงมาใหเหลือไดเพียงไมกี่วินาที นอกจากนี้ ยังมีฟเจอร SuperPhoto ทําหนาที่วิเคราะหถายภาพที่ดีที่สุดโดยอัตโนมัติ ยิง่ ไปกวานัน้ HERO 7 Black เปนกลอง GoPro รุน แรกทีม่ ฟี เ จอร Live Streaming ทําใหผใู ชงานสามารถแชรวดิ โี อของตนเองลงโซเชียลมีเดียตางๆ ไดแบบเรียลไทม เชน Facebook และ YouTube
G
รถขุด “โคมัตสุ” รุ่น PC210-10M0 ใหม่ล่าสุด บนนิยาม “แรงกว่า ประหยัดกว่า” บางกอกโคมัตสุเซลส” ผูจําหนายเครื่องจักรกลหนัก “โคมัตสุ” “ เพียงผูเดียวในประเทศไทย เปดตัวรถขุด “โคมัตสุ” รุน PC21010M0 ใหมลาสุด โชวนิยาม Next Evolution “แรงกวา ประหยัดกวา” เพื่อ ตอบสนองความตองการของลูกคารถขุดในเมืองไทยในป พ.ศ. 2562 นี้ที่จะ มาทําตลาดอุตสาหกรรมเครื่องจักรหนักและโครงการขนาดใหญตางๆ ดวย แรงมาของรถขุดโคมัตสุรุน PC210-10M0 มีแรงมาเพิ่มขึ้น 28% สูงสุด 165 แรงมา และไดรับการออกแบบโครงสรางตัวถังใหม โดยเสริมความแข็ง แรงอุปกรณทาํ งานเพิม่ มากขึน้ พรอมกันนีไ้ ดพฒ ั นาระบบควบคุมเครือ่ งยนตใหม ทําใหสามารถใชนาํ้ มันเชือ้ เพลิงไดอยางมีประสิทธิภาพขึน้ ถึง 20% ดวยเทคโนโลยีลํ้าหนาของโคมัตสุในเรื่องการประหยัดนํ้ามันเชื้อเพลิง ซึ่งรถขุดรุน PC210 - 10M0 ไดรับการพัฒนาใหมีการปรับลดรอบการทํางาน ของเครื่องยนตลง และพัฒนาระบบควบคุมการฉีดนํ้ามันเชื้อเพลิงที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ มีการเพิ่มนํ้าหนักเคาทเตอรเวท เพื่อเพิ่มเสถียรภาพและสมดุลในการทํางาน มีการออกแบบรูปทรงบุงกี๋ใหมและมีขนาดใหญขึ้น จึงสามารถเพิ่ม ผลผลิต และเพิ่มประสิทธิภาพการยกวัสดุ 5% ทําใหยกวัสดุไดมากขึ้น ดวยคุณสมบัติทั้งหมดนี้ จึงเปนที่มาของคํานิยาม “PC210-10M0 New Evolution แรงกวา ประหยัดกวา”
บ
ฟูจิ ซีร็อกซ์ เปิดตัวเครื่องพิมพ์รุ่นใหม่ PrimeLink™ C9070/C9065 จิ ซีรอ็ กซ (ประเทศไทย) เปดตัวเครือ่ งพิมพโปรดักชัน่ ขนาดเล็กรุน ใหม PrimeLink™ C9070/C9065 ตอบโจทยความตองการทั้งงานพิมพทั่วไปในสํานักงานไปจนถึง งานดานการพิมพระดับมืออาชีพ เชน รานถายเอกสารหรือผูใหบริการดานงานพิมพทั่วไป เอเจนซีด่ า นการออกแบบ ธุรกิจขนาดเล็ก สถานศึกษา รานคาปลีก และโรงงานผลิต โดยสามารถ เลือกใชงานแบบเครื่องพิมพขนาดเล็กหรือเนนใหเปนเครื่องพิมพแบบโปรดักชั่นขั้นตนที่สามารถ เลือกตอชุดอุปกรณหลังการพิมพหรือถาดปอนกระดาษความจุสงู เสริมได โดยยังคงรักษาคุณภาพ สีในระดับทีด่ เี ยีย่ ม ผูใ ชในสํานักงานจะสามารถสงงานพิมพไปยังเครือ่ งพิมพจากคอมพิวเตอรหรือ อุปกรณพกพาไดอยางงายดาย ขณะที่บุคลากรมืออาชีพจะสามารถจัดการงานพิมพโปรดักชั่น จํานวนมาก และปรับเปลี่ยนการตั้งคาที่หลากหลายผานเซิรฟเวอรการพิมพ เครื่องพิมพ PrimeLink™ C9070/C9065 ชวยใหลูกคาสามารถผลิตงานพิมพได หลากหลาย ทัง้ แบบกระดาษหนา 350 แกรม และงานพิมพทขี่ นาดแบนเนอร นอกจากนีย้ งั สามารถตออุปกรณเสริมหลังการพิมพ รองรับการทํางาน เอกสาร หรือหนังสือในแบบตางๆ สามารถตัดเจียนขอบหนังสือไดถึง 120 หนา, ทําแผนพับ 5 สวน และรายงานเขาเลมแบบเจาะรู
ฟู
Engineering Today March - April
2019
76
ASEANâ&#x20AC;&#x2122;s Most Comprehensive Exhibition on Industrial Automation Systems & Solutions and Assembly Technology â&#x20AC;&#x201C; 20th Edition
19-22
JUNE 2019
BITEC, BANGKOK THAILAND
Your Brand & Success! The leading business platform in the automation manufacturing hub of ASEAN is ready to boost your business growth onto a higher level. Promote your superb industrial automation technologies & reach out to potential customers in one go.
Organized by:
Pre-register at www.assemblytechexpo.com