EDITOR TALK
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 แห่งราชวงศ์จักรี ยิ่งใหญ่สมพระเกียรติสมบูรณ์ตามโบราณราชประเพณี
õĨĉĉĨ ěĨĞĬċČĨėĥĉčõĬę
ċלāÑüÖ éòăøĀæ ċæÓčèčôñĄ ðĄċãĄñ ×ĘāÐĀã
üāÓāòíÜāďæċíôù åèè÷òĄüñćçñā ČÑöÖæćŚÖíÜāďæ ċÑäòāÙċæöĄ ÐòćÖċæíþ čæò÷ĀíæŞ čæòùāò www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net F .BJM FEJUPS!UFDIOPMPHZNFEJB DP UI ÐüÖéòòâāçăÐāò F .BJM FEJUPS!FOHJOFFSJOHUPEBZ OFU ìŕāñčÕøâā F .BJM NBSLFUJOH@NBH!UFDIOPMPHZNFEJB DP UI ìŕāñéĀÜÙĄČôÿçćòÐāò F .BJM BDDPVOU!UFDIOPMPHZNFEJB DP UI
æĄēêòąÐøāÐăääăð÷ĀÐãăė
þíâþ íôüāÐā÷ċüÐÐĘāçè ùăèçöāèèæŞ
ÓâÿæĄēêòąÐøā
÷ üòćâ ÙĀñċùòĄ ãò æèÖ íăæñÿ ò÷ ØãĀé êŠæðùĈä ÷ ãò ðÖÓô ċãÙèÓòăèæòŞ ò÷ ãò íăÙèĄ číçāòāðăÐ ò÷ íĈôíò ČùÖéāÖêôā ò÷ ãò äŚüäòÿÐĈô ñðèāÓ ÷ ãò öò÷ĀÐãăė ÐèÐèćÐĈôÙĀñ ãò ÐāòćÜ ×ĀèæòāÖ÷ć ãò êòÿċùòăß ïĀæòðĀñ ùăòăíò ď÷ôÿùĈä ùăæçăíò òĀäčèïāù êòÿùÖÓŞ çāòāďÙñ êòā⥠íĀèçćðùăèÙĀñ ò÷ ãò êòăæòò÷èŞ íĀèçćéòòñÖÐŞ öĀôôï ċäĄñ÷ăòă ë÷ ãò èăċö÷èŞ ċúðöÙăòöòāÐò éòòâāçăÐāòüĘāèöñÐāò Ðăääă öăùćæçăòĀäèÐćô éòòâāçăÐāòëĈśíăðíŞëĈśčÕøâā ùćċðç éćÜùĀðíĀèçŞÐă× éòòâāçăÐāòöăÙāÐāò ÷ ãò íĄò÷ĀÐãăė öòùćèæčòùå ãò ðèäòĄ öĄòñāÖÐĈò éòòâāçăÐāò ùćòĄñŞíò öÖ÷Ş÷òĄäòÿÐĈô ÐüÖéòòâāçăÐāò æĀ÷èĄñŞ ċòĆüÖäăÐ íăùĈ×èŞüĀÐøò çăãāöãĄ éćÜùćñā ÷ăôêÐòòð íóáăñā èăôöĀäò Ùćäăïā ×òăäíĀèçŞ ëĈś×ĀãÐāòìŕāñčÕøâā ċÑð×ăòā êôāæăíñŞ ìŕāñčÕøâā ðèĀù ďÙñċíù ÷ăòăïò⪠ÐôăēèÑ×ò Ðøăòā ċúðéĀâàăäñŞ ÐĀôñā æòĀíñŞïăòðñŞ öĄòÿöòòâ íćæçčüöāæ ċôÑāèćÐāòìŕāñëôăä ÙćäăðĀèäŞ éĀöëĀè ìŕāñùðāÙăÐ ÷ăòăèæăíñŞ čñçāíĀèçŞ čòÖíăðíŞ ú×Ð òćŚÖċòĆüÖÐāòíăðíŞ ČñÐùĄ é×Ð ÓôāùăÓùČÐè &OHJOFFSJOH 5PEBZ XXX FOHJOFFSJOHUPEBZ OFU
ùÖöèôăÑùăæçăėäāðíòÿòāÙéĀÜÜĀäăôăÑùăæçăė í ÷
Cr : https://phralan.in.th/coronation/gallerydetail.php?id=724
ijčİĈīġčĒĘĝĔĦøĕčĩĹ Ċīġİďʇ č İĈīġčĕğĦĕĨĸûĕûøęċĩĸ ĕĩĒ ėĤėĦþĒĨ Čĩġĥ č ĞĽ Ħ øĥ ā ĖĨĸ û ijčďėĤěĥ ĉĨ Ĝ ĦĞĉėʃ þ ĦĉĨ Ĵ ċĖ øī ġ ĒėĤėĦþĒĨ Čĩ Ď ėĕėĦþĦĔĨ İ ĝõ ĒėĤĕğĦõĝĥ ĉ ėĨ Ė ʃ Ĵ ċĖ ėĥþõĦęċĩĸ ığɿûėĦþěûĜʃüĥõėĩ ÿĪĸûüĥĈöĪĹčġĖɿĦûĖĨĸûijğāɿĞĕĒėĤİõĩĖėĉĨĞĕĎĭėćʃĉĦĕIJĎėĦć ėĦþďėĤİĒćĩ ć ĒėĤĎėĕĕğĦėĦþěĥû ijčėĤğěɿĦûěĥčċĩ ĸ Ē ø ĊīġİďʇčĒėĤėĦþĒĨČĩ øėĥĹûċĩĸ čĥĎĉĥĹûıĉɿĕĩõĦėĞĊĦďčĦõėĬûėĥĉčIJõĞĨčċėʃ ďɷ IJĈĖijčěĥčċĩĸ Ē ø ĞĕİĈķü ĒėĤİüʀ Ħ ġĖĭ ɿ ğĥ ě ĕğĦěþĨ ė Ħęûõėć ĎĈĨ č ċėİċĒĖěėĦûõĭ ė ċėûİďʇ č ĒėĤĕğĦõĝĥ ĉ ėĨ Ė ʃ IJĈĖĞĕĎĭėćʃ ċėûİýęĨĕĒėĤďėĕĦĔĨĴČĖěɿĦ ƯĒėĤĎĦċĞĕİĈķüĒėĤďėİĕčċėėĦĕĦČĨĎĈĩ ĜėĩĞĨčċėĕğĦěþĨėĦęûõėć ĒėĤěþĨėİõęʀĦİüʀĦġĖĭɿğĥěư ıęĤċėûĕĩĒėĤďĄĕĎėĕėĦþIJġûõĦė ijčõĦėĒėĤėĦþĒĨČĩĎėĕėĦþĦĔĨİĝõ øěĦĕěɿĦ ƯİėĦüĤĞīĎĞĦč ėĥõĝĦ ıęĤĉɿġĖġĈ ıęĤ øėġûıĐɿčĈĨčIJĈĖČėėĕİĒīġĸ ďėĤIJĖþčʃĞöĬ ığɿûġĦćĦėĦĝĂėĉęġĈĴďư ĈʀěĖĒėĤėĦþğĘċĥĖ ċĩĉĸ ûĥĹ ĕĥčĸ ċĩüĸ ĤĞīĎĞĦčĒėĤėĦþďćĨČĦčėĥþõĦęċĩ ĸ ĞėʀĦûøěĦĕďęīĕĹ ďɷĉıĨ õɿġĦćĦďėĤþĦėĦĝĂėʃ ĖĨĸûčĥõ İĒīĸġİýęĨĕýęġûİčīĸġûijčIJġõĦĞĕğĦĕĨĸûĕûøęĒėĤėĦþĒĨČĩĎėĕėĦþĦĔĨİĝõ õėĤċėěû ěĥĆčČėėĕıęĤõėĤċėěûĕğĦĈĴċĖ ėɿěĕüĥĈĕğėĞĒĞĕIJĔþ ěĥč ĒėʀġĕõĥčċĥĸěďėĤİċĜ ijčėĤğěɿĦûěĥčċĩĸ Ē ø İěęĦ č ć ċʀġûĞčĦĕğęěû ıęĤ ijčĞɿěčĔĭĕĨĔĦøċĥĹû üĥûğěĥĈ ĞĽĦğėĥĎěĦėĞĦė &OHJOFFSJOH 5PEBZ ýĎĥĎčĩĹ İõĦĤĉĨĈĞĦėĤøěĦĕėĭʀøěĦĕõʀĦěğčʀĦ ċĦûĈʀĦčěĨĜěõėėĕıęĤġĬĉĞĦğõėėĕİďɶĈěĨĞĥĖċĥĜčʃ Ĝ Ĉė ĞĬþĥþěĩėʃ ĞĬěėėćĞěĥĞĈĨļ čĦĖõ ĞĔĦěĨĜěõė ĞĕĥĖċĩ ĸ ƯİĈĨčğčʀĦďăĨėďĭ ĞĔĦěĨþĦþĩĒěĨĜěõė ĖõėĤĈĥĎĜĥõĖĔĦĒěĨĜěõėĴċĖ ijğʀıöɿûöĥčĴĈʀijčėĤĈĥĎIJęõư ėēċ ėēĕ ıęĤėĒ ĜĨėĨėĦþ ėɿěĕĕīġõɿġĞėʀĦûĞĊĦčĩĜĨėĨėĦþ ıęĤġĦøĦėėĥõĝĦĒĖĦĎĦę þĭİďʇčĉʀčıĎĎõĦėĒĥĆčĦĒīčĹ ċĩöĸ čĞɿûĕěęþč ġčĦøĉığęĕ ýĎĥûĒėʀġĕĒĥĆčĦĞĭɿ 4NBSU $JUZ ĞġĈėĥĎĖĬċČĜĦĞĉėʃ &&$ư ƯıĐčıĕɿĎċüĥĈõĦėčĽĹĦ ĕĬɿûęĈěĨõĘĉĔĥĖıęʀû ĉĥĹûİďɻĦęĈõĦėijþʀčĽĹĦ ĔĦĖijčďɷ Ē Ĝ ư ıęĤøġęĥĕčʃġīĸčĶ IJďėĈĉĨĈĉĦĕĴĈʀijčýĎĥĎċĥĹû )BSE $PQZ ıęĤijčėĭďıĎĎöġû & #PPL ċĩĸİďɶĈijğʀġɿĦčýĎĥĎ ďʅüüĬĎĥčıęĤýĎĥĎĖʀġčğęĥûõĥčĴĈʀēėĩċĩĸ XXX FOHJOFFSJOHUPEBZ OFU ğėīġüĤġĥĒİĈċ öɿĦěĞĦėċĦûĈʀĦčěĨĜěõėėĕıęĤġĬĉĞĦğõėėĕ İþĨāĴĈʀċĩĸ '# &OHJOFFSJOH 5PEBZ øėĥĎ
..
CONTENTS 22 In Trend
COLUMNS 8
แผนแมบทจัดการนํ้า มุงลดวิกฤตภัยแลง ตั้งเปาลดการใชนํ้า ภายในป พ.ศ. 2570
บทบรรณาธิการ
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 10 แหงราชวงศจักรี ยิ่งใหญสมพระเกียรติสมบูรณตามโบราณราชประเพณี
• กองบรรณาธิการ
• กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
16 Interview
เปดวิสัยทัศน “ศ. ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภาวิศวกร สมัยที่ 7”
22
• กองบรรณาธิการ
Report
25 สสว.จับมือ ISMED สถาบันอาหาร และ มหาวิทยาลัยเชียงใหม
16 19 Material 4.0
สวทช.ถายทอดเทคโนโลยี “M-Bone” ใหสตารทอัพ ลดการนําเขาปละมากกวา 100 ลานบาท
• กองบรรณาธิการ
เปดตัว 3 โครงการ ยกระดับ SME สรางมาตรฐานไทย สูมาตรฐานโลก • กองบรรณาธิการ
28 ดับบลิวเอชเอ กรุป เปดตัวนิคมฯ แหงที่ 10 ในไทย
ประเดิมขายที่ดินใหนักลงทุนจีน จัดตั้งโรงงานผลิตยางรถยนต เปนรายแรก • กองบรรณาธิการ
Technology 30 วิศวฯ มธ.เปดตัว “เอสซิท” แพลตฟอรม AI สุดลํ้าผสาน IoT แจงเตือนพฤติกรรมผูขับขี่-ปองกันอุบัติเหตุบนทองถนน
• กองบรรณาธิการ
19 30
21 Industry 4.0
CPT ได License Partner จากซีเมนส เดินหนาผลิตตูไฟฟา มาตรฐานโลก ขยายฐานลูกคาอุตฯ ปโตรเคมี-งานโครงสรางพื้นฐาน ทั่วประเทศ
• กองบรรณาธิการ
33 เทคโนโลยีกับงานดานทรัพยากรมนุษย • Alight Solutions
Smart City Solutions Week 2019 28 - 31 October 2019 @ BITEC, Bangkok Thailand
Harnessing the smart cities opportunity in ASEAN
ASEAN Connectivity
City + loT - A sustainable and livable future
% OC[G_@VgC_7VC
a9E 02 664 6488 7 O 402, 406
www.thailandlightingfair.com www.thailandbuildingfair.com www.secutechthailand.com
Security + AI - Empowers sustainable city development
CONTENTS CONSTRUCTION THAILAND
DIGITAL ECONOMY 36 Smart City
อนาคตแหลมฉบังพรอมพัฒนาสู Smart City สอดรับยุทธศาสตร EEC
• กองบรรณาธิการ
58 Construction
รฟท.-รฟม. และรพ.ศิริราช รวมมือกอสรางสถานีศิริราช และ อาคารรักษาพยาบาล ชูเปนตนแบบการพัฒนาพื้นที่ขนสงมวลชน
• กองบรรณาธิการ
60 Property
ธุรกิจวัสดุกอสราง-อสังหาริมทรัพย เปดกลยุทธรับมือเศรษฐกิจ ป’62 สูยุคเปลี่ยนได “รายไตรมาส”
36 39 AI
อีริคสันจับมือยูเนสโกพัฒนาทักษะ AI ใหเยาวชน ตามเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของยูเนสโก
• กองบรรณาธิการ
41 Innovation
เอ็นไอเอ ชู “AWG” นวัตกรรมผลิตนํ้าจากอากาศ ลดการขาดแคลนนํ้า แนะสตารทอัพ เรงใชโอกาสพัฒนาสินคาสูตลาดโลก
• กองบรรณาธิการ
72 Energy Today
ภิรัชบุรีจับมือบานปูฯ ติดตั้งโซลารรูฟท็อปในโครงการ ซัมเมอรลาซาล คาดประหยัดพลังงานปละกวา 1.8 ลานบาท
• กองบรรณาธิการ
65 CSR
เยาวชน PTTEP Teenergy พัฒนา “ถานมีชีวิต” แกปญหานํ้าเสียในเชียงใหม
• ปตท.สผ.
• กองบรรณาธิการ
44 Logistics
โครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคใต กรณีสะพานเศรษฐกิจ ชุมพร-ระนอง ประเทศไทย
65
• Assoc. Prof. Rahuth Rodjanapradied, Ph.D.
49 Quality
กสทช. แนะประชาชนเลือกซื้อแบตเตอรี่ไดมาตรฐาน -ใชงานแบตเตอรี่ อยางถูกวิธี เพื่อความปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสิน
• กองบรรณาธิการ
67 Project Management
คูมือของผูประกอบการในการสตารทอัพ
• ดร.พรชัย องควงศสกุล
54 IT Update
วีเอ็มแวรรวมกับไอเน็ตนําเสนอบริการคลาวด VMware HCX เสริมแกรงองคกรสู Digital Transformation เปนรายแรกในไทย • กองบรรณาธิการ
77
Gadget
Register to visit Scan Here !!
Spotlight
สวทน. ร วมกับ จุฬาฯ และ สวทช.
จัดทํา “โครงการวิทยาศาสตร เพือ่ อุตสาหกรรม” (Science for Industry: Sci-FI) ดร.กิตพิ งค พรอมวงค เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) พรอมดวย ศ. ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ อธิการบดีจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล ผูอํานวยการ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) รวมลงนามบันทึก ความรวมมือ “โครงการวิทยาศาสตรเพือ่ อุตสาหกรรม” (Science for Industry: Sci-FI) ณ หองประชุมหวากอ 1-2 สวทน. อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 14 เพื่อพัฒนาระบบการ ทํางานรวมกันระหวางภาครัฐ ภาคการศึกษา และภาคอุตสาหกรรม รองรับความ ตองการของกําลังคนในภาคอุตสาหกรรมแบบ Tailor-made โดยในระยะแรกเนนการสรางบุคลากรระดับกลางในอุตสาหกรรม (Middle Manager) ที่มีความสามารถตรงกับตําแหนงที่อุตสาหกรรมตองการ ทั้งอุตสาหกรรม การผลิตที่ตองการความสามารถดาน Process Improvement และการออกแบบ ผลิตภัณฑทตี่ อ งการความสามารถดาน Product Design สวนระยะยาวเนนการพัฒนา กําลังคนใหสามารถเติบโตไดดวยความรูความสามารถแบบสหสาขาวิชา (Multidisciplinary) ทัง้ เชิงเทคนิคและเชิงการบริหารจัดการ โดยนํารองจากคณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับโปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของ อุตสาหกรรมไทย (ITAP) ของ สวทช. และมี สวทน. รวมสนับสนุน ผลักดันสราง แพลตฟอรมใหเกิดการทํางานรวมกันทัง้ ดานกําลังคนและการพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีใหเกิดขึ้นอยางเห็นรูปธรรมแกภาคอุตสาหกรรม สําหรับโครงการฯ นี้จะมีระยะเวลาการทํางาน 2 ป เริ่มโครงการในรุนที่ 1 ใน เดือนสิงหาคม 2562 มีนิสิตจํานวน 12 คนและมี 6 บริษัท ประกอบดวย บริษัท บางกอกกลาส จํากัด (มหาชน), บริษัท อาหารเสริม จํากัด ในเครือ บริษัท ไทย เบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน), บริษัท สิทธินันท จํากัด, บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน), บริษทั โรงงานกระดาษเทนมา (ประเทศไทย) จํากัด และบริษทั แฟคเกอร จํากัด สวนรุนที่ 2 จะเปดรับสมัครสถานประกอบการที่สนใจเขารวมโครงการตั้งแต เดือนสิงหาคม 2562 และเริ่มโครงการในเดือนมกราคม 2563 เปนตนไป
ดร.กิติพงค พร อมวงค
ศ. ดร.บัณฑิต เอื้ออาภรณ
พิธีลงนามความร วมมือ “โครงการวิทยาศาสตร เพื่ออุตสาหกรรม”
ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล
ถ ายภาพร วมกัน
15
Engineering Today May - June
2019
Interview • กองบรรณาธิการ
ศ. ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภาวิศวกร สมัยที่ 7
“เดินหน าปฏิรูปสภาวิชาชีพวิศวกร ยกระดับศักยภาพ วิศวกรไทยให แข งขันได ในระดับโลก”
“สภาวิศวกร” เปนสภาวิชาชีพ ที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 เพือ่ สงเสริมการศึกษา การวิจยั และการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม สงเสริม ความสามัคคีและไกลเกลีย่ ขอพิพาทของสมาชิก ควบคุมความประพฤติและการดําเนินงานของ ผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ใหถูกตองตาม มาตรฐานและจรรยาบรรณแหงวิชาชีพวิศวกรรมตาม ที่กําหนดในกฎกระทรวง พรอมทั้งใหคําปรึกษาหรือ ขอเสนอแนะตอรัฐบาลเกี่ยวกับนโยบายและปญหา ดานวิศวกรรมรวมทั้งทางดานนวัตกรรมและเทคโนโลยี สมัยใหมที่เกี่ยวเนื่อง
Engineering Today May - June
2019
16
ในโอกาสครบรอบ 20 ปของการกอตั้งสภาวิศวกร ในป พ.ศ. 2562 ศ. ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภา วิศวกร สมัยที่ 7 ไดประกาศวิสัยทัศนในการทํางานขับ เคลื่อนสภาวิศวกรเดินหนาปฏิรูปสภาวิชาชีพวิศวกรเพื่อ ยกระดับศักยภาพของวิศวกรไทยใหสามารถแขงขันไดใน เวทีระดับโลก โดยมีคณะกรรมการสภาวิศวกร สมัยที่ 7 เริม่ วาระการดํารงตําแหนงเมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2562 ประกอบดวย 1) ดร.ปยะบุตร วานิชพงษพันธุ อุปนายก สภาวิศวกร คนที่ 1 2) รศ.สฤทธิ์เดช พัฒนเศรษฐพงษ อุปนายกสภาวิศวกร คนที่ 2 3) ดร.ประเสริฐ ตปนียางกูร เลขาธิการสภาวิศวกร 4) กิตติพงษ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ เหรั ญ ญิ ก สภาวิ ศ วกร 5) ผศ.ยุ ท ธนา มหั จ ฉริ ย วงศ
คณะกรรมการสภาวิศวกรชุดใหม สมัยที่ 7 ถ ายรูปร วมกัน
รองเลขาธิการสภาวิศวกร และ 6) รศ. ดร.สุธา ขาวเธียร รอง เหรัญญิกสภาวิศวกร
เดินหน าปฏิรูปอย างเร งด วน คํานึงถึงประโยชน ประชาชนและประเทศชาติเป นสําคัญ
ศ. ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภาวิศวกร สมัยที่ 7 กล า วว า ในโอกาสที่ ไ ด รั บ คั ด เลื อ กให เ ข า รั บ ตํ า แหน ง นายก สภาวิศวกร สมัยที่ 7 ซึ่งตรงกับวาระครบรอบ 20 ป ของสภา วิศวกรในป พ.ศ. 2562 นี้ ตนเองและคณะกรรมการสภาวิศวกร ทุกคนมีความมุงมั่นในการที่จะขับเคลื่อนสมาชิกวิศวกรในสภา วิศวกรกวา 300,000 คน ซึง่ ครอบคลุมวิศวกรรมโยธา, วิศวกรรม เหมืองแร, วิศวกรรมเครือ่ งกล, วิศวกรรมไฟฟา, วิศวกรรมอุตสาหการ
และอื่นๆ หรือทํางานดานวิศวกรรมและประกอบวิชาชีพอื่นๆ ไปพรอมๆ กันดวย ทั้งที่เปนคนรุนใหมอายุเฉลี่ย 20-40 ปและ วิศวกรรุนบุกเบิกอายุตั้งแต 40 ปขึ้นไปบูรณาการการทํางาน รวมกัน เพือ่ ยกระดับวิศวกรไทยใหสามารถแขงขันไดในระดับโลก เปนที่พึ่งของประชาชน สังคม และประเทศ ในการใหคําตอบ คําแนะนํา และแนวทางปองกันปญหาทางดานวิศวกรรมทีเ่ กิดขึน้ เชน ปญหาฝุน พิษ PM 2.5 เกิดขึน้ อยางไร มีวธิ กี ารปองกันอยางไร ในพื้นที่กรุงเทพฯ และพื้นที่จังหวัดในภาคเหนือ, ปญหาการ โทรคมนาคม การมาของ 5G ประเทศไทยพรอมหรือยัง, ปญหา การจราจร จะแกปญ หาการจราจรทีแ่ ออัดในกรุงเทพฯ และจังหวัด หัวเมืองใหญๆ เชน เชียงใหม ขอนแกน ภูเก็ต สงขลา ไดอยางไร, ปญหานํ้าทวม มีการปองกันอยางเปนระบบอยางไรบาง, ปญหา การกอสรางอาคารสูงๆ มีการตรวจสอบการกอสรางในแตละป อยางไรบาง และโครงการภาครัฐทีเ่ กีย่ วของกับวิศวกร โดยเฉพาะ โครงการเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคตะวั น ออก (EEC) ซึ่ ง จะมี โครงการกอสรางขนาดตางๆ ในพืน้ ทีจ่ ะมีวศิ วกรจากตางประเทศ มาทํางานรวมกับวิศวกรไทยในการกอสราง ในการเชือ่ มโครงขาย ทํางานดานเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยนั้นทางสภาวิศวกรมี ความพรอมในการเตรียมนําวิศวกรที่เปนสมาชิกไปรวมทํางานนี้ มากนอยเพียงใด เปนตน เพื่อสรางความเชื่อมั่นใหประชาชนรูสึก ปลอดภัยเมื่อเขาอาศัยหรือใชงานในอาคารที่วิศวกรเหลานี้เปน ผูรวมออกแบบ ควบคุมงาน ทั้งนี้ อาคารหรือสินคาที่ผลิตที่ ออกแบบโดยวิศวกรไทยตองมีมาตรฐานที่ปลอดภัย สรางความ เชื่อมั่นใหกับผูบริโภค “ทัง้ หมดนีเ้ ปนสิง่ ทีส่ ภาวิศวกรตองปฏิรปู อยางเรงดวน โดย คํานึงถึงประโยชนประชาชนและประเทศชาติเปนสําคัญ พรอมที่ จะเปนที่พึ่งและใหขอเสนอแนะรัฐบาลในเรื่องที่เกี่ยวของกับการ ยกระดับเทคโนโลยีและนวัตกรรม สรางสรรคนวัตกรรม ผลิตผล ฝมือคนไทยใชในประเทศเพื่อลดการสั่งซื้อมาใชงาน อีกทั้งนํา สงออกไปขายยังตางประเทศเพือ่ สรางรายไดกลับเขามาไดมากขึน้ ที่สําคัญสภาวิศวกรจะทําหนาที่อยางเขมขนมากขึ้นในเรื่องการ กลัน่ กรองตรวจสอบวิศวกรทีเ่ ปนสมาชิกสภาวิศวกรในสาขาวิชาชีพ ทีท่ าํ หนาทีต่ า งๆ อยูใ นขณะนีใ้ หเปนวิศวกรคุณภาพในการทํางาน เปนคนเกง คนดี มีจรรยาบรรณ เชื่อถือได และพรอมที่จะทํางาน เพื่อพัฒนาประเทศไทยรวมกับทุกภาคสวนไดอยางยั่งยืน”
ให สภาวิศวกรเป นที่พึ่งของประชาชน สังคม และประเทศชาติในทุกๆ เรื่องที่เกี่ยวข อง
ศ. ดร.สุชัชวีร กลาววา การดํารงตําแหนงนายกสภาวิศวกร สมัยที่ 7 มีวาระการดํารงตําแหนงตั้งแต พ.ศ. 2562-2565 จะ ทํางานรวมกับคณะกรรมการสภาวิศวกรทีม่ คี วามชํานาญในแตละ ด า นอย า งเต็ ม กํ า ลั ง เพื่ อ ผลั ก ดั น ให ส ภาวิ ศ วกรเป น ที่ พึ่ ง ของ
17
Engineering Today May - June
2019
ประชาชน สังคม และประเทศไดอยางแทจริง นอกจากนีพ้ รอมทีจ่ ะ เปดรับทุกๆ ความคิดเห็นของเหลาสมาชิกสภาวิศวกร หนวยงาน ภาครัฐ เอกชน และบุคคลภายนอกเพื่อนํามาปรับปรุง นํามาหา ขอเท็จจริงของประเด็นที่สงเขามาดวยความหวงใย นํามาหลอ หลอมหาเหตุแหงปญหาเพื่อใหเกิดปญญา แกปญหาในแตละ ประเด็นใหสามารถผานคลี่คลายอยางไมกอใหเกิดผลกระทบ ใด ๆ พรอมทั้งจัดใหมีทีมวิศวกรอาสาที่ทําหนาที่ใหคําแนะนําให ขอมูลที่ประชาชนทั่วไปมีขอสงสัยที่เกี่ยวของกับทางวิศวกรรม ในแตละดาน ทั้งที่โทรศัพทเขามาสอบถาม สงคําถามขอรองทุกข มายังสื่อออนไลนของทางสภาวิศวกรเพื่อใหสภาวิศวกรเปนที่พึ่ง ของประชาชน สังคม และประเทศชาติในทุกๆ เรื่องที่เกี่ยวของ
วางเป าหมายร วมมือกับมหาวิทยาลัย พัฒนาหลักสูตรทันกระแสโลก สร างวิศวกรรุ นใหม ป อนตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป
สําหรับเปาหมายในการทํางานในตําแหนงนายกสภาวิศวกร สมัยที่ 7 นอกจากจะบูรณาการทํางานรวมกับเหลาสมาชิกสภา วิศวกรแลว สภาวิศวกรมีเปาหมายและแนวคิดในการรวมมือ กับมหาวิทยาลัย ในการพัฒนาหลักสูตรทางดานวิศวกรรมที่ ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและนวัตกรรมโลก เพื่อสรางวิศวกรรุนใหมที่มีความรูความสามารถในแตละดานให เพียงพอตอความตองการของตลาดแรงงาน เนื่องจากในขณะนี้ ประเทศไทยขาดแคลนวิศวกรจํานวนมากโดยเฉพาะวิศวกรไฟฟา การกอสราง โยธา ไฟฟา และอุตสาหการ พรอมเสริมองคความ รูทักษะหลากหลายรอบตัว สอนใหมีความคิดริเริ่มสรางสรรค เทคโนโลยีเพื่อนําไปสูการใชงานในประเทศได “เปนที่ทราบกันดีวาประเทศที่สามารถพัฒนาประเทศให กาวกระโดดและสรางความมั่นคงได สวนใหญแลวมาจากวิศวกร ในประเทศทีเ่ ปนผูว างรากฐานสรางประเทศนัน้ ๆ โดยเฉพาะทาง ดานเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพราะฉะนั้นแลววิชาชีพวิศวกรนี้ สําคัญอยางยิ่งยวดในการที่จะสรางเทคโนโลยี สามารถทําให ประเทศไทยลดการพึ่งพาการนําเขาเทคโนโลยีจากตางประเทศ และพลิกบทบาทสูการเปนประเทศผูผลิตนวัตกรรมและตอยอด สูการสรางมูลคาทางเศรษฐกิจได” อีกประการหนึ่งก็เพื่อเปนแรงจูงใจในการใหนิสิตนักศึกษา รุนใหมที่จะเขาสูรั้วมหาวิทยาลัยหันมาสนใจสมัครเขาเรียนคณะ วิศวกรรมศาสตรใหมากขึ้น เพราะในปจจุบันนี้ตองยอมรับวาได รับความสนใจนอยลงมากเมือ่ เทียบกับในอดีตทีผ่ า นมา เนือ่ งจาก ปญหาเรื่องคาตอบแทนการประกอบวิชาชีพวิศวกรยังนอยมาก เมื่อเทียบกับสาขาวิชาชีพอื่นๆ และการประกอบวิชาชีพวิศวกร มีความเสีย่ งภัย อีกทัง้ เมือ่ เทียบอัตราคาตอบแทนของวิศวกรไทย ที่ จ บใหม กั บ วิ ศ วกรประเทศญี่ ปุ น และจี น ที่ เ ข า มาทํ า งานใน
Engineering Today May - June
2019
18
ที่สําคัญสภาวิศวกรจะทําหน าที่ อย างเข มข นมากขึ้นในเรื่องการกลั่นกรอง ตรวจสอบวิศวกรที่เป นสมาชิกสภาวิศวกร ในสาขาวิชาชีพที่ทําหน าที่ต างๆ อยู ใน ขณะนี้ให เป นวิศวกรคุณภาพในการทํางาน เป นคนเก ง คนดี มีจรรยาบรรณ เชื่อถือได และพร อมที่จะทํางานเพื่อพัฒนา ประเทศไทยร วมกับทุกภาคส วน ได อย างยั่งยืน
ประเทศไทยแลวยังมีอัตราคาตอบแทนที่ตางกันอยูมาก ทัง้ นีส้ ภาวิศวกรจะนําเรือ่ งนีป้ ระชุมหารือกับคณะกรรมการ สภาวิศวกรและหนวยงานทีเ่ กีย่ วของเพือ่ ทบทวนเรือ่ งคาตอบแทน การประกอบวิชาชีพวิศวกรไทยใหเหมาะสมมากขึน้ เพราะวิศวกร เปรียบเสมือนผูสรางสรรคงาน สรางสรรคนวัตกรรม และเปน นักคิดทีม่ เี หตุมผี ลและเพือ่ สนองความตองการของตลาดแรงงาน ใหเพียงพอตอความตองการของประเทศ พรอมสงเสริมวิศวกร รุ น ใหม ใ ห เ รี ย นรู เ พิ่ ม เติ ม อย า งต อ เนื่ อ ง เพื่ อ ให ทั น ต อ การ เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี โดยสภาวิศวกรจะเปดหลักสูตรอบรมทีจ่ ะชวยสนับสนุนให เกิดการพัฒนาตนเองใหไดมากทีส่ ดุ พรอมกันนีจ้ ะทํางานประสาน ความรวมมือกับรัฐบาลในการถายทอดเทคโนโลยีดานวิศวกรรม จากคูสัญญาการคาในแตละโครงการของรัฐบาลที่เกี่ยวของกับ วิ ช าชี พ วิ ศ วกรเพื่ อ ให ส มาชิ ก สภาวิ ศ วกรมี โ อกาสได เ รี ย นรู เทคโนโลยีที่นํามาใชในแตละโครงการใหมากยิ่งขึ้น “อยากฝากให นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษาที่ กํ า ลั ง เรี ย นในคณะ วิศวกรรมศาสตร และวิศวกรรุน ใหมที่เพิง่ เรียนจบหมัน่ หาความรู ทุ ก รู ป แบบทั้ ง ในขณะที่ กํ า ลั ง เรี ย นและในขณะที่ ทํ า งาน โดย เฉพาะเรื่องเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว หาก วิศวกรคนใดไมมีองคความรู ไมติดตามการเปลี่ยนแปลงอาจจะ พลาดโอกาสในการเขารวมทํางานในโครงการสําคัญๆ ได ทีส่ าํ คัญ คือวิศวกรตองหมั่นฝกพูด เขียน อาน และเขาใจภาษาอังกฤษ เพราะวิศวกรไทยยังไมคอ ยมีความชํานาญในการใชภาษาอังกฤษ ในการสือ่ สารและทํางานรวมกับวิศวกรชาวตางชาติ” ศ. ดร.สุชชั วีร กลาวทิ้งทาย
Material 4.0 • กองบรรณาธิการ
M-Bone วัสดุทดแทนกระดูกปลูกถ ายในร างกายมนุษย ผลิตใช เองภายในประเทศ ลดนําเข ามากกว าป ละ 100 ล านบาท
ดร.นฤภร มนต มธุรพจน นักวิจัย สวทช. ผู ผลิต M-Bone และ มนันญา พนอพัฒนาชัย เอ็มดี ออส ไฮดรอกซี
ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล (ที่ 2 จากซ าย) ผู อํานวยการ สวทช. และ ศ.ดร.ไพรัช ธัชยพงษ (กลาง) ที่ปรึกษาอาวุโส สวทช.
สวทช.ถ ายทอดเทคโนโลยี “M-Bone” ‘วัสดุทดแทนกระดูกปลูกถ ายในร างกายมนุษย ’
ให ‘สตาร ทอัพ’ ผลิตใช ภายในประเทศ ลดนําเข ามากกว าป ละ 100 ล านบาท ทีมวิจัย สวทช. สรางมิติใหมใหกับวงการสาธารณสุขไทย ดวยการคิดคน “เอ็ม-โบน” (M-Bone) ‘วัสดุทดแทนกระดูก สําหรับปลูกถายในรางกายมนุษย’ นับเปนวัสดุทางการแพทย ชนิดแรกของประเทศไทยทีไ่ ดมาตรฐานสากล ปลอดภัยตอการ ใชงาน เตรียมผลิตเชิงพาณิชยโดยบริษทั สตารทอัพสัญชาติไทย คาดประหยัดงบวัสดุปลูกกระดูกฯ ในคนไขฝง รากฟนเทียมเทา ตัว ซึง่ ปจจุบนั ประเทศไทยยังตองนําเขาวัสดุฯ ชนิดดังกลาวจาก ตางประเทศทั้งหมด คิดเปนมูลคามากกวารอยลานบาทตอป สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แถลงขาวการ ลงนามในสัญญาอนุญาตใหสิทธิใชประโยชนผลงานวิจัย “วัสดุ ทดแทนกระดูกสําหรับปลูกถายในรางกายมนุษย” หรือ “เอ็ม-โบน” (M-Bone) ผลงานของ ดร.นฤภร มนตมธุรพจน นักวิจยั อาวุโส และทีมวิจยั ศูนยวจิ ยั เทคโนโลยีสงิ่ อํานวยความสะดวกและเครือ่ ง มือแพทย (A-MED) ทีมวิจัยเทคโนโลยีเครื่องมือแพทยฝงใน สวทช. ใหกับ บริษทั ออส ไฮดรอกซี จํากัด บริษัทสตารทอัพ สั ญ ชาติ ไ ทย ซึ่ ง สามารถวิ จั ย และพั ฒนาวั ส ดุ ท างการแพทย ชนิดแรกของไทยที่ไดมาตรฐานระดับสากล และปลอดภัยตอการ ใชงาน โดยมี ดร.ณรงค ศิรเิ ลิศวรกุล ผูอ าํ นวยการ สํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแห งชาติ (สวทช.) และ ศ. ดร.ไพรัช ธัชยพงษ ทีป่ รึกษาอาวุโส สวทช. เขารวมเปนเกียรติ ในพิธีลงนาม ณ โรงแรมเดอะ สุโกศล ปจจุบันการใชวัสดุทดแทนกระดูกมีปริมาณเพิ่มขึ้นทุกป เนือ่ งจากประชากรในประเทศมีผสู งู อายุมากขึน้ และดูแลสุขภาพ มากขึ้น ซึ่งราคาวัสดุทดแทนกระดูก มีการจําหนายในราคาที่สูง เชน 0.5 ซีซี ราคาประมาณ 3,000-4,000 บาท และตองนําเขา มาจากตางประเทศ นวัตกรรมดังกลาว จึงชวยลดคาใชจายใหกับ ผู ที่ ต อ งการศั ล ยกรรมช อ งปาก ฝ ง รากเที ย ม หรื อ ผู ป ว ยอื่ น ทีต่ อ งการใชสารทดแทนกระดูก และทดแทนการนําเขา ซึง่ มีมลู คา นําเขาปละหลายรอยลานบาท
ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล ผูอํานวยการสํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กลาววา สวทช. ใหการสนับสนุนและพรอมถายทอดองคความรูจากผลงานวิจัย และพั ฒนาด า นนวั ต กรรมการแพทย ชั้ น สู ง เพื่ อ ต อ ยอดไปสู เชิงพาณิชย ดวยการอนุญาตใหสิทธิใชประโยชนผลงานวิจัย “วัสดุทดแทนกระดูกสําหรับปลูกถายในรางกายมนุษย” (M-Bone) ใหกับบริษัท ออส ไฮดรอกซี จํากัด ซึ่งเปนบริษัทสตารทอัพ ดานการแพทย เพื่อผลิตและจําหนายมีระยะเวลา 5 ป โดยผลงานวิจัย “วัสดุทดแทนกระดูกสําหรับปลูกถายใน รางกายมนุษย” (M-Bone) นี้ เปนวัสดุสงั เคราะหทมี่ คี วามปลอดภัย ไดการรับรองโรงงานผลิตตนแบบเครื่องมือแพทยที่ไดมาตรฐาน กําหนดขอบขายของระบบการบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐาน International Standard: ISO 13485:2016 ครอบคลุม กระบวนการวิจยั และพัฒนา และการผลิตตนแบบเชิงอุตสาหกรรม วัสดุและอุปกรณทางการแพทยสําหรับการทดสอบทางคลินิก ถื อ เปนสวนสําคัญในการสนับสนุนนโยบายรัฐบาลใหเกิดการ ขับเคลือ่ น และบูรณาการความรวมมือ สงเสริม ผลักดันเทคโนโลยี ทางการแพทย ซึ่งเปนหนึ่งในกลุมเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม ที่สําคัญของประเทศ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีสรางการเติบโต ทางเศรษฐกิจของไทยอยางยั่งยืน “งานวิจัยดังกลาวไดมีการทดสอบความเปนพิษ ทดสอบ การระคายเคือง ทดสอบการกอใหเกิดไขและผลขางเคียงที่จะ มีผลตอเนื้อเยื่อ ตลอดจนทดสอบผลที่จะมีผลตอการสรางการ เจริญเติบโตในการสรางกระดูกใหมขึ้นมา โดยผลการทดสอบที่มี ผลตอการเจริญเติบโตของการสรางกระดูกใหม พบวากระดูกใหม เกิดขึน้ ตัง้ แต 4 สัปดาห และเซลลกระดูกใหมเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง ใน 8 สัปดาห 12 สัปดาห และในสัปดาหที่ 16 จะเห็นกระดูก ใหมเจริญเติบโตเขามาในรูพรุนตรงกึ่งกลางของวัสดุทดแทนฯ ซึ่งวัสดุทดแทนฯ จะคอยๆ สลายออกไป จนเห็นไดชัดวาเนื้อเยื่อ สามารถสรางกระดูกใหมรอบๆ เหงือกเขามาทดแทนทั้งหมด
19 19
Engineering Engineering Today Today May - June May -2019 June 2019
ภายในระยะเวลาเพียง 3 เดือนเทานัน้ เร็วกวาการปลอยใหกระดูก คนไขสรางขึ้นเอง ซึ่งตองใชระยะเวลาเกิน 6 เดือนในคนไขทั่วไป และมากกวา 1 ป ในคนไขสูงอายุ” ดร.ณรงค กลาว ศ. ดร.ไพรัช ธัชยพงษ ทีป่ รึกษาอาวุโส สํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กลาววา ทีมวิจัย ไดสงั เคราะหวสั ดุ M-Bone จากวัสดุทปี่ ลอดภัยและเปนทีย่ อมรับ ทางการแพทย มีคุณสมบัติในการเหนี่ยวนําการเจริญเติบโตของ เซลลกระดูกโดยเฉพาะบริเวณที่มีการปลูกถาย หรือทดแทน เกิดขึน้ เนือ่ งจากรูพรุนทีม่ ลี กั ษณะตอเนือ่ งถึงกัน และมีความพรุน ตัวที่ประมาณรอยละ 80 สงผลใหผิวของวัสดุมีความหยาบเพียง พอตอเซลลกระดูกใหสามารถเกาะยึดและเขาไปเจริญเติบโตใน รูพรุนของวัสดุไดดีในระยะเวลาเพียง 16 สัปดาห สําหรับการดําเนินการผลิตและสงมอบตามขอตกลงการ อนุญาตสิทธิ ทั้งชนิด จํานวน และขนาด ผูรับอนุญาตจะดําเนิน การผลิตและสงมอบตามแผนการใชงานตนแบบใหทงั้ หมดไมเกิน 1,000 ชิ้น ภายในระยะเวลา 1 ป โดยตนแบบที่ทีมวิจัยผลิตขึ้น จํานวนหนึ่งผานกระบวนการฆาเชื้อเรียบรอย พรอมใชทางการ แพทยกับคนไขไดทันที และพรอมสงมอบใหผูรับอนุญาตภายใน 60 วัน นับจากวันที่ลงนามในสัญญาฯ เพื่อนําไปทดลองตลาด และใชในทางการแพทย ดร.นฤภร มนตมธุรพจน นักวิจัยอาวุโส และทีมวิจัย ศูนยวิจัยเทคโนโลยีสิ่งอํานวยความสะดวกและเครื่องมือแพทย (A-MED) ทีมวิจยั เทคโนโลยีเครือ่ งมือแพทยฝง ใน สวทช. กลาววา โดยธรรมชาติของกระดูกไมไดมีเฉพาะแคลเซียมแตมีฟอสฟอรัส ทีมงานจึงไดพัฒนาสารแคลเซียมฟอสเฟตเซรามิกสทดแทนวัสดุ ธรรมชาติสําหรับปลูกถายในรางกายมนุษย (Hydroxyapatite Bone Graft Substitutes) ซึ่งเปนตนแบบวัสดุทางการแพทยที่ได มาตรฐานระดับสากล ประกอบดวยไฮดรอกซีอาปาไทต ซึ่งคง รูปรางไดดี และไตรแคลเซียมฟอสเฟต ซึ่งยอยสลายไดดี ใน สัดสวน 70:30 จากนัน้ นํามาสังเคราะหทางเคมีขนึ้ รูป แลวนํามา ทดสอบใน Lab ทดสอบในสัตว รวมทั้งทดสอบความปลอดภัย ISO 10993 Biocompatibility Testing ซึง่ จะทดสอบถึง 9 หัวขอ ทําใหมนั่ ใจไดถงึ ความปลอดภัย แลวนํามาทดสอบฝงในแลวจึงผลิต และไดผานการวิจัยทดสอบและพัฒนาตามมาตรฐานเครื่องมือ แพทยชนิดฝงใน ISO 13485 ที่ไดรับการรับรองจาก TÜV เยอรมนี จึงมัน่ ใจวามีความปลอดภัยสูงใชไดในรางกาย นอกจากนี้ สวทช. ยังไดขนึ้ ทะเบียนหองปฏิบตั กิ ารเปนสถานทีผ่ ลิตเครือ่ งมือ แพทย กั บ ทางสํ า นั ก งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เรียบรอยแลว “วัสดุทดแทนกระดูกสําหรับปลูกถายในรางกายมนุษย หรือ M-Bone มีจุดเดนคือ เปนวัสดุสังเคราะหที่มีความปลอดภัย สําหรับการนําไปใชงานเปนวัสดุทดแทนกระดูกสําหรับปลูกถาย ในรางกายมนุษย มีสว นประกอบหลักคือ ไฮดรอกซีอาปาไทต และ ไตรแคลเซียมฟอสเฟต ซึ่งเปนสวนประกอบหลักของกระดูก ธรรมชาติของมนุษยทสี่ ามารถเหนีย่ วนําเซลลกระดูกใหเจริญเติบโต ในบริเวณที่มีการปลูกถาย หรือทดแทนไดดี” ดร.นฤภร กลาว
Engineering Today May - June
2019
20
รศ. นพ. ดร.ปฐวี คงขุนเทียน ผูอํานวยการศูนยความเปน เลิศทางทันตกรรมรากเทียม คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย เชี ย งใหม กลาววา วั สดุที่ ใชทดแทนกระดูกอาจแบงไดเปน 4 ประเภท ไดแก 1) กระดูกที่ไดจากรางกายของผูปวยเอง 2) กระดูกที่ไดจากการที่มีผูบริจาคแลวนํามาผานกระบวนการ เพื่อใชในทางการแพทย 3) กระดูกที่ไดจากกระดูกสัตว เชน วัว มา และ 4) กระดูกที่ไดจากการสังเคราะหทางหองปฏิบัติการ สําหรับ M-Bone จัดอยูในกระดูกที่สังเคราะหขึ้นในหอง ปฏิบตั กิ าร ทัง้ นีว้ สั ดุทดแทนกระดูกดังกลาวมีขอ ไดเปรียบในกรณี ที่ผูปวยมีความกังวลในเรื่องการใชวัสดุจากบุคคลอื่น หรือสัตว ตลอดจนแพทยสามารถใชไดอยางมั่นใจวาจะไมมีการสงถาย เชื้อโรค หรือไวรัสไปหาผูปวย เนื่องจาก M-Bone ไดผานการวิจัย ทดสอบและพัฒนาตามมาตรฐานเครื่องมือแพทยชนิดฝงใน ISO 13485 ที่ไดรับการรับรองจาก TÜV เยอรมนี จึงมั่นใจวามีความ ปลอดภัยสูงใชไดในรางกาย จากการทดสอบในสัตวทดลอง (หมู) แสดงใหเห็นวา M-Bone มีความเขากันไดกับเนื้อเยื่อกระดูกเปน อยางดี ไมกอ ใหเกิดปฏิกริ ยิ าภูมแิ พ หรืออักเสบใด ตลอดจนมีการ สรางกระดูกใหมแทรกเขาไปรอบๆ วัสดุ M-Bone ไดดีดวย ในสวนของการรักษาในผูปวยนั้น M-Bone สามารถนํามา ใชทดแทนกระดูกทีถ่ กู ทําลายไปเนือ่ งจากโรคบางอยาง เชน ถุงนํา้ หรืออุบัติเหตุ M-Bone ใหผลการรักษาที่มีประสิทธิผล ไมแตก ตางจากวัสดุทดแทนกระดูกของตางประเทศ โดยที่ผูปวยไมมี อาการปฏิกริ ยิ าตอตานวัสดุฝง ในและไมเกิดอาการแพแตอยางใด ผศ. สพ.ญ. ดร.มนชนก วิจารสรณ จากโรงพยาบาลสัตว คณะ สัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กลาวถึง การนํา ผลงานไปใชจริงทางทันตกรรมรากเทียมสําหรับประเทศไทยวา ที่โรงพยาบาลไดนํา M-Bone ซึ่งขณะนั้นเปน Generation กลาง มารักษาสุนัขที่กรามหักทั้งสองขาง และมีชองวางกรามเสียหาย กวางมาก หลังจากใส M-Bone ราว 2 สัปดาห สุนัขสามารถ สามารถเคี้ยวอาหารได นอกจากนี้ M-Bone ยังสามารถนํามาใช กับสุนัขแกที่ไมมีฟน ใหพวกมันสามารถดําเนินชีวิตไดตามปกติ สําหรับการพัฒนาขั้นตอไปจะทดลองใชในกระดูกยาว (Long Bone) เพื่อความแข็งแรงมากยิ่งขึ้น ดาน ภก.สุรศักดิ์ นันทวิรยิ กุล ทีป่ รึกษาอาวุโส บริษทั ออส ไฮดรอกซี จํากัด ในฐานะผูรับอนุญาตสิทธิในผลงานวิจัยเพื่อ นําไปผลิตเชิงพาณิชย กลาววา บริษัทฯ ไดรับถายทอดเทคโนโลยี ผลิตภัณฑแคลเซียมฟอสเฟตเซรามิกสสังเคราะหจาก สวทช. เพือ่ ผลิตผลิตภัณฑวสั ดุทดแทนกระดูกสําหรับปลูกถายในรางกาย มนุษย หรือ M-Bone นี้ โดยในปแรก ทีมวิจัย สวทช. จะเปน ผู ถ า ยทอดเทคโนโลยี และผลิ ต สิ น ค า ต น แบบจํ า นวนหนึ่ ง ที่ สามารถนําไปใชไดจริง จากสถานที่ผลิตในหองปฏิบัติการของ สวทช. ซึง่ ไดรบั รองมาตรฐานการผลิต ISO 13485 เพือ่ ใหบริษทั ฯ นํามาทดสอบตลาดฯ ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ไดมแี ผนการลงทุนในการสราง โรงงานผลิตวัสดุทดแทนกระดูกในปหนา เพื่อใหเพียงพอตอการ ผลิตและจําหนายในอนาคต และพัฒนาธุรกิจใหสามารถแขงขัน กับสินคาจากตางประเทศได
Industry 4.0 • กองบรรณาธิการ
CPT ได License Partner
จากซีเมนส เดินหน าผลิต ตู ไฟฟ ามาตรฐานโลก ขยายฐานลูกค าอุตฯ ป โตรเคมี งานโครงสร างพื้นฐานทั่วประเทศ
บมจ.ซีพที ี ไดร แอนด เพาเวอร หรือ CPT ผูใ หบริการ ระบบไฟฟาสําหรับควบคุมการทํางานของเครือ่ งจักร และ มอเตอรขนาดใหญที่ใชในโรงงานอุตสาหกรรม ติดปก หนุนการเติบโต หลังไดรบั ความไววางใจจากบริษทั ซีเมนส จํากัด ผูน าํ ดานวิศวกรรมไฟฟาระดับโลก ซึง่ มีประสบการณ ยาวนานกวา 170 ป ใหเปน “License Partner” ผลิต ตู ไ ฟฟ า และจํ า หน า ยอุ ป กรณ ไ ฟฟ า ภายใต แ บรนด ‘SIEMENS’ เพื่อยกระดับสินคาสูมาตรฐานโลก พรอม ขยายฐานลูกคากลุมอุตสาหกรรมตางๆ ทั้งอุตสาหกรรม ปโตรเคมี และงานโครงสรางพืน้ ฐานของประเทศ คาดเริม่ ผลิตเพือ่ จําหนายในเชิงพาณิชยไดในไตรมาสที่ 4 ของปนี้ สุวรรณี สิงหฤาเดช Senior Vice President and Head of Siemens Smart Infrastructure บริษทั ซีเมนส จํากัด กลาววา ซีเมนสมคี วามพรอมทางดานเทคโนโลยีและ นวัตกรรมที่ชวยพัฒนาใหเกิดโครงสรางพื้นฐานอัจฉริยะ ในระบบไฟฟาอุตสาหกรรมตางๆ โดยซีเมนสเล็งเห็นถึง ความสําคัญของการมีพันธมิตรทางธุรกิจในประเทศ ซึ่งจะ เปนสวนสําคัญทีช่ ว ยสงเสริมศักยภาพการดําเนินธุรกิจ และ นํ า เทคโนโลยี ซี เ มนส เ พื่ อ ยกระดั บ การผลิ ต ของภาค อุตสาหกรรมในประเทศไทยไดอยางมีประสิทธิภาพ “การที่ซีเมนสจับมือเปนพันธมิตรกับ CPT นับเปน กาวสําคัญที่จะชวยใหซีเมนสขยายตลาดตูควบคุมระบบ ไฟฟาในประเทศไทยไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยซีเมนส พรอมสนับสนุนเพือ่ ยกระดับการผลิตของ CPT ผานความ รวมมือดานการฝกอบรม การผลิต และถายทอดนวัตกรรม ตาง ๆ และซีเมนสหวังวาจะไดรวมมือกับ CPT ในการทํา ธุรกิจเพิ่มเติมอีกในอนาคต” สุวรรณี กลาว ดานสมศักดิ์ หลิมประเสริฐ ประธานเจาหนาที่ บริหาร บริษัท ซีพีที ไดร แอนด เพาเวอร จํากัด (มหาชน)
หรือ CPT กลาววา บริษัทฯ กอตั้งครบ 24 ป ในป พ.ศ. 2562 นี้ โดยเปนผูใ หบริการระบบไฟฟาสําหรับควบคุมการทํางานของเครือ่ งจักร เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถเชิงการแขงขันแกภาคอุตสาหกรรม ครอบคลุม ถึ ง การจํ า หน า ยอุ ป กรณ แ ละระบบควบคุ ม ไฟฟ า ที่ ใ ช ใ นโรงงาน อุตสาหกรรม รวมถึงใหบริการติดตั้งและกอสรางสถานีไฟฟายอย ซึ่งแตกตางจากผูผลิตตูไฟฟารายอื่น ทั้งนี้บริษัทฯ ไดรับความไววางใจจาก บริษัท ซีเมนส จํากัด ผูนํา ดานวิศวกรรมไฟฟา เทคโนโลยีระบบอัตโนมัติ และการจัดการดวยระบบ ดิจิทัลระดับโลก แตงตั้งให CPT เปนพันธมิตรทางการคาที่สําคัญใน ประเทศไทย โดยไดมอบ “License Partner” เปนระยะเวลา 5 ป ใหบริษทั ฯ สามารถผลิตสินคาตูไฟฟาและบริการภายใตแบรนด ‘SIEMENS’ โดย ซีเมนสจะถายทอดเทคโนโลยีทางวิศวกรรมตางๆ ในการผลิตตูไ ฟฟาทีม่ ี มาตรฐานระดับโลก (World-class Standard) และมีสวนชวยสําคัญให บริษทั ฯ สามารถขยายธุรกิจไปไดในแทบทุกกลุม อุตสาหกรรม ทีม่ คี วาม ตองการใชระบบไฟฟาทีม่ คี วามนาเชือ่ ถือและตองการตูไ ฟฟาทีม่ มี าตรฐาน ระดับสูง ซึง่ คิดเปนสัดสวนมากกวา 80% ของตลาดตูค วบคุมระบบไฟฟา ทั้งหมด ดังนั้น การรวมเปนพันธมิตรกับซีเมนส จึงเปนการเปดโอกาส ใหบริษัทฯ สามารถขยายฐานลูกคาไปยังตลาดเหลานี้ไดมากยิ่งขึ้น มนตชัย ธัญธเนส รองกรรมการและผูจัดการฝายขายและ วิศวกรรม บริษทั ซีพที ี ไดร แอนด เพาเวอร จํากัด (มหาชน) หรือ CPT กลาววา หลังจากการทําขอตกลงความรวมมือ บริษัทฯ จะเริ่มสงเจา หนาทีไ่ ปฝกอบรมยังประเทศเยอรมนี เพือ่ เตรียมความพรอมสําหรับการ ผลิตตูควบคุมระบบไฟฟาที่มีมาตรฐานระดับโลกตาม Platform ของ ซีเมนสตั้งแตไตรมาส 2 เปนตนไป โดยจะมีฝายเทคนิคแนะนําการผลิต ตูไฟฟาตามแค็ตตาล็อกที่ระบุไว กอนที่บริษทั ฯ จะเริ่มทดสอบการผลิต ผลิตภัณฑตน แบบ (Prototype) ซึง่ คาดวาบริษทั ฯ จะสามารถเริม่ ดําเนิน การผลิตในไตรมาส 3 และจําหนายในเชิงพาณิชยในไตรมาส 4 ป 2562 โดยคาดวาปนี้ยอดขายตูไฟฟาจะเติบโต 10% สวนปหนาคาดวาจะ เติบโต 20% จากโครงการกอสรางตางๆ
21
Engineering Today May - June
2019
In Trend • สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
แผนแม บทจัดการนํ้า
มุ งลดวิกฤตภัยแล ง ตั้งเป าลดการใช นํ้า
ภายในป พ.ศ. 2570
ชี้แผนแม บทการจัดการนํ้าที่ผ านมา ไม ตอบโจทย การใช งาน
“นํ้า”
เปนทรัพยากรที่มีความ สําคัญสําหรับการดํารงชีพของสิ่งมีชีวิตและเปน ปจจัยพื้นฐานสําคัญในกิจกรรมตางๆ มากมาย แตทวาในปจจุบันสถานการณนํ้ามีความผันผวน อยางมาก กอใหเกิดประเด็นดานการบริหารจัดการที่ ทาทายยิ่งขึ้น ทั้งในดานภาวะการขาดแคลนนํา้ ใน ฤดูแลง ภาวะนํา้ ทวมในฤดูฝน ความขัดแยงระหวาง กลุมผูใชนํ้า ตลอดจนปญหาสิ่งแวดลอมที่ทําให คุณภาพของนํ้าเสียไมอาจนํานํ้ามาใชประโยชนได เมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับ สํานักงานกองทุน สนั บ สนุ น การวิ จั ย (สกว.) จั ด เวที ส าธารณะ นโยบายนํ้า สกว. ครั้งที่ 10 ขึ้นในสัปดาหอนุรักษ ทรัพยากรนํ้าแหงชาติและวันนํ้าโลกตอเนื่องเปน ประจําทุกป โดยในปนี้เปนการนําเสนอเรื่องการ บริหารจัดการนํา้ ภายใตแผนแมบทการบริหารจัดการ ทรัพยากรนํ้าเพื่อรองรับยุทธศาสตรนํ้าของประเทศ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) โดยนําเสนอกรอบการ บริหารจัดการนํา้ ภายใตแผนแมบทการบริหารจัดการนํา้ แนวทางการบริหารจัดการนํ้าเพื่อเพิ่มความมั่นคง ดานนํ้า แนวทางการบริหารจัดการนํ้าเพื่อเพิ่มมูลคา และประเด็นวิจัยเพื่อตอบสนองยุทธศาสตรนํ้า
Engineering Today May - June
2019
สราวุธ ชีวะประเสริฐ รักษาการที่ปรึกษาดานยุทธศาสตร สํานักงาน ทรัพยากรนํา้ แหงชาติ กลาววา แผนแมบทการบริหารจัดการนํา้ ทีผ่ า นมาในอดีต แมจะมีวิวัฒนาการอยางตอเนื่อง แตยังมีขอบกพรองอยูหลายเรื่องที่ยังตอง มีการปรับปรุงแกไข คือเรื่องของฐานขอมูล และการขาดการกําหนดเปาหมาย ที่ชัดเจน โดยเฉพาะขอมูลที่จะนํามาวิเคราะหสถานการณ ไมเพียงพอในการ กําหนดเปาหมายเชิงพื้นที่หรือเชิงปริมาณ อีกทั้งบางหนวยงานไมมีแผนและ ทิศทางที่ชัด เจน ขาดการเชื่อมโยงกับ นโยบายอื่น ทํ าให แผนงานเดิมไม ตอบสนองนโยบายประเทศ คือไมกระทบกับตัวชี้วัดหรือเปาหมายที่ตองการ นอกจากนี้ยังมีเรื่องของการประเมิน ผลหรือตัวชี้วัดไมชัดเจน จะตอง เรงปรับตัวชี้วัดและวิธีจัดเก็บขอมูลและระบบติดตาม รวมถึงขาดการสื่อสาร ทําความเขาใจตอแผนแมบท จะตองสรางความเขาใจใหเห็นภาพที่ตรงกัน ระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อกําหนดแผนงานหรือโครงการที่มีผลกระทบ ตอยุทธศาสตรนํ้า
แผนแม บทการบริหารจัดการนํ้า 20 ป สอดรับกับยุทธศาสตร ชาติ 20 ป
สําหรับขอมูลแผนแมบทการบริหารจัดการนํา้ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ 20 ป โดยมีเปาหมาย 6 ดานดวยกัน คือ 1) ดานการจัดการนํ้าอุปโภคบริโภค โดยกําหนดวาประปาหมูบานจะตองมี คุณภาพตามมาตรฐานใหไดภายในป พ.ศ. 2573 (SDGs) ขยายเขตประปา
22
สํารองนํา้ ตนทุนเพือ่ รองรับเมืองหลัก เมืองทองเทีย่ ว หรือพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจสําคัญ อีกทัง้ การใชนาํ้ ตอประชากรตองไมเพิม่ ขึน้ และมีอตั ราลดลงภายในป พ.ศ. 2570 2) ดานการสรางความมั่นคงของนํ้าภาคการผลิต โดยการจัดการดานความ ตองการนํา้ เพิม่ ประสิทธิภาพโครงการแหลงนํา้ และระบบสงนํา้ เดิม พัฒนาแหลง กักนํา้ และระบบสงนํา้ ใหม พัฒนาระบบผันนํา้ และระบบเชือ่ มโยงแหลงนํา้ เพิม่ นํ้าตนทุน จัดหานํ้าในพื้นที่เกษตรนํ้าฝน ลดความเสี่ยงในพื้นที่ที่ไมมีศักยภาพ หรือความเสียหายในพื้นที่วิกฤตรอยละ 50 ซึ่งพื้นที่ในสวนนี้ยังไมสามารถ แยกแยะพื้ น ที่ ไ ด รวมถึ ง การเพิ่ ม ผลิ ต ภาพและปรั บ โครงสร า งการใช นํ้ า การประหยัดนํ้าในภาคอุตสาหกรรม การจัดการในพื้นที่พิเศษ และเรงรัดการ เตรียมความพรอมโครงการผันนํ้าขามลุมนํ้า 3) ดานการจัดการนํ้าทวมและ อุทกภัย เพิ่มประสิทธิภาพการระบายนํ้า มีการปรับปรุงการระบายนํ้าและ สิ่งกีดขวางทางนํ้า จัดทําผังลุมนํ้าและบังคับใชในผังเมืองรวมและจังหวัดทุก ลุมนํ้า ปองกันนํ้าทวมชุมชนเมือง 764 เมือง โดยมีผังนํ้าบังคับใชทุกจังหวัด การบรรเทาอุทกภัยระดับลุม นํา้ และพืน้ ทีว่ กิ ฤต ลดความเสีย่ งและความรุนแรง ลงไมนอยกวารอยละ 60 การจัดการพื้นที่นํ้าทวมและพื้นที่ชะลอนํ้า เพิ่ม ประสิทธิภาพการปรับตัวและเผชิญเหตุในพืน้ ทีน่ าํ้ ทวมรอยละ 75 4) ดานการ จัดการคุณภาพนํ้าและอนุรักษทรัพยากรนํ้า ปองกันและลดการเกิดนํ้าเสีย ที่ตนทาง เพิ่มประสิทธิภาพในการบําบัดและควบคุมการระบายนํ้าเสียออก สูส งิ่ แวดลอม พัฒนาระบบบําบัดนํา้ เสียรวมของชุมชน การนํานํา้ เสียกลับมาใช ใหม จัดสรรนํา้ เพือ่ รักษาระบบนิเวศ อนุรกั ษและฟน ฟูแมนาํ้ ลําคลองและแหลง นํ้าธรรมชาติ 5) ดานการอนุรักษฟนฟูสภาพปาตนนํ้า มุงเนนฟนฟูพื้นที่ ปาตนนํ้าที่เสื่อมโทรม จํานวน 3.5 ลานไร ปองกันการเกิดการชะลางและ การพังทลายของดินในพืน้ ทีเ่ กษตรลาดชันชัน้ ที่ 1, 2 จํานวน 1.45 ลานไร และ ชั้น 3, 4, 5 จํานวน 22 ลานไร และ 6) ดานการบริหารจัดการ โดยปรับปรุง กฎหมายนํ้าและกฎหมายที่เกี่ยวของใหทันสมัย จัดตั้งองคกรดานการบริหาร จัดการทรัพยากรนํา้ การจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการนํา้ ทัง้ ในภาวะปกติ และภาวะวิกฤต พรอมทัง้ การติดตามและประเมินผล แผนการจัดสรรนํา้ พัฒนา ระบบฐานขอมูล ศึกษาวิจัยและพัฒนาแนวทางการจัดการนํ้าเพื่ออุดชองวาง การดําเนินงาน เตรียมความพรอม สงเสริมการประชาสัมพันธ และการมีสว นรวม ของประชาชนและภาคสวนที่เกี่ยวของทั้งหนวยงานภาครัฐและเอกชน
ข อมูลแผนแม บทการบริหารจัดการนํ้า 20 ป
23
การดําเนินการภายใต ยุทธศาสตร ฯ ยังมีป ญหาและความท าทายอยู อีกมาก โดยเฉพาะแนวทางการขับเคลื่อนแผนแม บท ว าทําอย างไรให การดําเนินการเป นไป ตามเป าหมายทั้งเรื่องของการประเมิน ความมั่นคงด านนํ้าภายใต กรอบ AWDO ซึ่งเป นกรอบระดับนานาชาติ ที่ไทยนํามาประยุกต ใช หรือเรื่องการ ประหยัดนํ้า เพราะขณะนี้มีที่เสนอไว เพียง กิจกรรมเดียวซึ่งยังไม เพียงพอ ที่เราจะลดปริมาณการใช นํ้าลงได
สราวุธ ชีวะประเสริฐ รักษาการที่ปรึกษาด านยุทธศาสตร สํานักงานทรัพยากรนํ้าแห งชาติ
“การดํ า เนิ น การภายใต ยุ ท ธศาสตร ฯ ยั ง มี ป ญ หาและความท า ทายอยู อี ก มาก โดยเฉพาะ แนวทางการขับเคลือ่ นแผนแมบทวาทําอยางไรใหการ ดํ า เนิ น การเป น ไปตามเป า หมายทั้ ง เรื่ อ งของการ ประเมินความมั่นคงดานนํ้าภายใตกรอบ AWDO ซึ่งเปนกรอบระดับนานาชาติที่ไทยนํามาประยุกต ใช หรือเรื่องการประหยัดนํ้า เพราะขณะนี้มีที่เสนอ ไวเพียงกิจกรรมเดียวซึ่งยังไมเพียงพอที่เราจะลด ปริมาณการใชนํ้าลงได เพื่อใหมีนํ้าประปาเพียงพอ ตอความตองการที่เพิ่มขึ้น ในอีก 5-10 ปขางหนา รวมถึงประเด็นที่ยังเปนจุดออนที่ตองเรงแกไข แต ทิศทางเริ่มดีขึ้นและคาดวาจะมีความชัดเจนมากขึ้น ใน 1-2 ป” สราวุธ กลาว
Engineering Today May - June
2019
เทคโนโลยี 5 G จะมีบทบาทสําคัญในการบริหารจัดการนํ้า
รศ. ดร.สุ จ ริ ต คู ณ ธนกุ ล วงศ นั ก วิ จั ย จากคณะวิ ศ วกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กลาวเสริมถึงขอเสนอกรอบการบริหารจัดการนํ้า ภายใตแผนแมบทบริหารจัดการนํ้าวา สถานภาพการบริหารจัดการนํ้าของ ประเทศทีผ่ า นมา รัฐบาลมีความมุง มัน่ ในการแกแตยงั คงมีอกี หลายปญหาทีร่ ออยู ปจจุบนั จึงมีการวางเปาหมายแผนแมบทฯ เพือ่ แกปญ หาและสรางพืน้ ฐานเพือ่ รองรับความเสีย่ งในอนาคต ภายใตการบริหารจัดการนํา้ ในหลายมิตแิ ละหลาย ระดับทั้งในสวนของการซอม สราง และการพัฒนาที่ตองกาวกระโดด เพื่อให เปนไปตามเปาหมายทีต่ อ งการลดจนสามารถลดการใชนาํ้ ในป พ.ศ. 2570 และ เพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาเชิงยุทธศาสตรที่ตองดําเนินการไปพรอมๆ กับการเตรียมพรอมคน วิชาการ ความรู ขอมูลขาวสาร และการปรับตัว ตลอด จนการสรางแพลตฟอรมการทดลองใหมๆ เพือ่ นําไปสูก ารเปลีย่ นผาน ตัวอยาง เชน การวิจัยเชิงปฏิบัติการ Spearhead Project หรือโครงการวิจัยเขมมุง ดานการบริหารจัดการนํ้า รวมถึงเทคโนโลยี 5 G ที่จะเขามามีบทบาทสําคัญ ในการบริหารจัดการเรื่องนํ้า
รศ. ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ นักวิจัยจากคณะวิศวฯ จุฬาฯ
การบริหารจัดการนํ้าทั้งระบบ เสนอเป าหมายตัวชี้วัด และแนวทางพัฒนา ภายใต 3 แผนย อย
ดร.ปยธิดา เรืองรัศมี อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมแหลงนํ้า คณะ วิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในฐานะหัวหนาโครงการวิเคราะห สถานะของความมัน่ คงดานนํา้ ผลิตภาพจากนํา้ และภัยพิบตั ิ สกว. กลาววา แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ 20 ป ในประเด็นที่ 19 ประเด็นการบริหาร จัดการนํา้ ทัง้ ระบบ ไดมกี ารเสนอเปาหมายตัวชีว้ ดั และแนวทางพัฒนาดวยแผน ยอย 3 แผน ประกอบดวย 1) แผนยอยพัฒนาการจัดการนํา้ เชิงลุม นํา้ ทัง้ ระบบ เพื่อเพิ่มความมั่นคงดานนํ้าของประเทศ 2) แผนยอยเพิ่มผลิตภาพของนํ้า ทั้งระบบในการใชนํ้าอยางประหยัด รูคุณคาและสรางมูลคาเพิ่มจากการใช นํ้าใหทัดเทียมกับระดับสากล และ 3) แผนยอยอนุรักษและฟนฟูแมนํ้า ลําคลองและแหลงนํ้าธรรมชาติทั่วประเทศ โดยไดมีการกําหนดตัวชี้วัดและ คาเปาหมายทุก 5 ป ในชวง พ.ศ. 2561-2580 ของการเพิ่มความมั่นคง ดานนํา้ การเพิม่ ผลิตภาพของนํา้ และการอนุรกั ษและฟน ฟูแมนาํ้ ลําคลองและ แหลงนํ้าธรรมชาติทั่วประเทศ
เผยคุณภาพนํ้าและการบํารุงรักษาระบบประปา-บําบัดนํ้าเสีย ยังเป นป ญหาที่สําคัญ
สําหรับแนวทางการประเมินความมัน่ คงดานนํา้ ของไทยในระดับจังหวัด และระดับลุมนํ้า ที่ไดมีการศึกษาเบื้องตนภายใตกรอบ Asian Water Development Outlook (AWDO) 2016 มีการประเมินใน 5 ดานดวยกัน ไดแก 1) ความมั่นคงนํ้าเพื่อการอุปโภคบริโภค 2) ความมั่นคงนํ้าเพื่อเศรษฐกิจ โดยการใชทรัพยากรนํ้าในภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคพลังงาน 3) ความมั่นคงนํ้าสําหรับเมือง 4) ความมั่นคงนํ้าดานสิ่งแวดลอม และ 5) ความมั่นคงนํ้าดานการฟนตัวจากภัยพิบัติจากนํ้า จากผลการศึกษา ในระดับประเทศ พบวาคะแนนการประเมินของไทยอยูใน “ระดับปานกลาง” โดยความมั่นคงนํ้าเพื่อการอุปโภคบริโภค แยกประเมินเปนพื้นที่นอกเขต
Engineering Today May - June
2019
24
ดร.ป ยธิดา เรืองรัศมี อาจารย ประจําภาควิชาวิศวกรรมแหล งนํ้า คณะวิศวฯ จุฬาฯ ในฐานะหัวหน าโครงการวิเคราะห สถานะ ของความมั่นคงด านนํ้า ผลิตภาพจากนํ้า และภัยพิบัติ สกว.
เทศบาล (ชนบท) และพื้นที่ในเขตเทศบาล (เมือง) พบวา ระบบประปาหมูบานมีการเขาถึงเกือบครบ ทุกหมูบ า น แตปญ หาเรือ่ งของคุณภาพนํา้ และปญหา เรื่องการบํารุงรักษาระบบประปา รวมถึงปญหาการ บํารุงรักษาระบบบําบัดนํ้าเสีย ยังเปนเรื่องสําคัญ เพราะประเทศไทยยังไมมีการจัดเก็บคาใชจายใน การบําบัดนํ้าเสียภาคครัวเรือน ดร.ปยะธิดา กลาววา ในดานการเพิม่ ผลิตภาพ ของการใชนํ้าภาคเกษตร ควรจะประเมิน ผลิตภาพ การใชนํ้าในแงของประสิทธิภาพ (Efficiency) ควร พัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ ในการปลูกขาว พัฒนา พันธุขาวใหมีคุณภาพสูง นอกจากนี้ยังไดเสนอดัชนี ชี้วัดเพิ่มเติม อาทิ การใชนํ้าเพื่อการทองเที่ยว การ พิจารณาปริมาณนํ้าที่มาจากแมนํ้าระหวางประเทศ ความขัดแยงของการใชนํ้า และมิติทางสังคม
Report • กองบรรณาธิการ
สสว. จับมือ ISMED สถาบันอาหาร และ มหาวิทยาลัยเชียงใหม
เป ดตัว 3 โครงการ ยกระดับ SME สร างมาตรฐานไทยสูม าตรฐานโลก สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) จับมือ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (ISMED) สถาบันอาหาร และ มหาวิทยาลัยเชียงใหม เปด 3 โครงการ ไดแก โครงการประชารัฐเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนและ SME กาวสูตลาด 4.0, โครงการยกระดับผูประกอบการวิสาหกิจชุมชนกลุมอาหารและ เครือ่ งดืม่ และโครงการยกระดับชุมชนตนแบบทีม่ ศี กั ยภาพกาวสู SME เพื่อยกระดับผูประกอบการวิสาหกิจชุมชนและ SME ใหไดตาม มาตรฐานของไทยและกาวสูมาตรฐานโลกอยางมืออาชีพ
สสว. จับมือ 3 หน วยงาน ยกระดับมาตรฐานผู ประกอบการ ผ าน 3 โครงการสําคัญ
สุวรรณชัย โลหะวัฒนกุล ผู อํานวยการสํานักงานส งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย อม (สสว.)
สุ ว รรณชั ย โลหะวั ฒ นกุ ล ผู อํ า นวยการสํ า นั ก งานส ง เสริ ม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) กลาววา การยกระดับ ผูประกอบการ OTOP จากรายยอยกวา 2.3 ลานรายสูผูประกอบการ ขนาดกลางและขนาดยอม (SME) ที่มีความมั่นคง มีรายไดเพิ่มขึ้น 100,000 บาท ภายใน 5 ป และมีความสามารถในการอยูร อดในตลาด การคาในยุคที่มีการแขงขันกันอยางเขมขนเปนเรื่องที่สําคัญและทาทาย ดังนั้น สสว.จึงไดรวมกับ สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดยอม (ISMED), สถาบันอาหาร และศูนยนวัตกรรมและการจัดการ เรียนรู มหาวิทยาลัยเชียงใหม รวมกันขับเคลือ่ น 3 โครงการสําคัญ ไดแก โครงการประชารัฐเพือ่ พัฒนาวิสาหกิจชุมชนและ SME กาวสูต ลาด 4.0 (SME & OTOP Transformation), โครงการยกระดับผูประกอบการ วิสาหกิจชุมชนกลุม อาหารและเครือ่ งดืม่ และ โครงการยกระดับชุมชน ตนแบบทีม่ ศี กั ยภาพกาวสู SME โดยทัง้ 3 โครงการจะคัดเลือกผูเ ขารวม โครงการกวา 1,200 คนจากทั่วประเทศเหลือเพียง 100 คน เขารับการ พัฒนาเชิงลึกและสรางสรรคโมเดลธุรกิจ กอนนําไปสูการทดสอบตลาด ทั้งออนไลนและออฟไลน เพื่อเฟนหา 10 ผูรวมโครงการที่มีศักยภาพ สูงสุด นํามาพัฒนาสูความเปน ผูนําธุรกิจชุมชนที่มีแนวคิดการดําเนิน ธุรกิจ การจัดการ และการตลาดที่ทันสมัย แขงขันได และมีคุณภาพ มาตรฐานตอไป เพื่อใหสามารถนําความรูและประสบการณที่ไดรับ นําไปตอยอด ขยายผล สรางเครือขายตนแบบระดับจังหวัด และสราง ชองทางการจัดจําหนายสินคาชุมชน ทั้งออนไลนและออฟไลนใหมๆ ซึ่งจะชวยสนับสนุนเศรษฐกิจทองถิ่น (Local Economy)
25
สร าง SME Standardization มุ งยกระดับวิสาหกิจชุมชน-SME สู มาตรฐานโลก
วัตถุประสงคในการรวมมือกับ 3 องคกรในการ จัดทํา 3 โครงการในครั้งนี้ เพื่อยกระดับผูประกอบการ วิสาหกิจชุมชนและ SME ใหไดตามมาตรฐานของไทยและ ก า วสู ม าตรฐานโลกอยา งมื อ อาชี พ ภายใต ใ นรู ป แบบ เดียวกัน เพื่อใหมาตรฐานไทยสูมาตรฐานโลก จึงใชโจทย วา SME Standardization ผานการเปลี่ยนแปลงความรู ผานกระบวนการทางความคิดของผูบริโภค ในการทํา ตนแบบขึ้นมาแลวพัฒนาตนแบบที่ไดไปสูลูกคาสูตลาด ที่สรางความพึงพอใจใหกับลูกคา สรางความคาดหวังให กับลูกคา สรางความใกลชดิ สรางโมเดลขึน้ มาเพือ่ ตอยอด ทางธุรกิจ เริ่มมีการแลกเปลี่ยนองคความรูระหวางกัน ทําใหมีการสรางยอดขายในตลาดที่สูงขึ้น โครงการประชารัฐเพื่อพัฒนาวิสาหกิจชุมชนและ SME กาวสูตลาด 4.0 (SME & OTOP Transformation) ซึ่งเปนโครงการที่ สสว.ดําเนินการรวมกับสถาบันพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (ISMED) จะเนนใน เรือ่ งการยกระดับมาตรฐานการดําเนินธุรกิจและการตลาด ใหแกผูประกอบการวิสาหกิจชุมชนและ SME ไทยกาวสู มาตรฐานไทยกอนตอยอดสูมาตรฐานโลก ตามแนวคิด
Engineering Today May - June
2019
SME Standardization มาตรฐานไทยสูมาตรฐานโลก มีการกําหนดกรอบยุทธศาสตรการทํางานและตอยอด การทํางาน หาปจจัยเสี่ยงใหเจอแลวนํามาปรับแก และ ที่สําคัญ สสว.ไดนําระบบดาตาเก็บขอมูล มีโซเชียลที่ เชื่อมโยงผูประกอบการกับทาง สสว.เขาดวยกันเพื่อให ผูประกอบการเขาถึง สสว.มากขึ้น “โดยทั่วไปมาตรฐานจะมีความหลากหลายมากใน กลุมสินคาอาจจะยังมีการจําแนกออกเปนสวนตางๆ อีก สสว.จะตองตอบโจทยสงิ่ ทีผ่ ปู ระกอบการตองการคือ สสว. จะตองปกปองสินคาของผูป ระกอบการ การันตีการเขารวม โครงการแลวจะมีมาตรฐานที่ดีขึ้น สอนใหผูประกอบการ เขาใจขัน้ ตอนการซือ้ ขาย ซึง่ เปนสิง่ ทีอ่ ยากใหผปู ระกอบการ เขาใจเรียนรูต งั้ แตตน แลวคอยๆ สอนการทําตลาดผานสือ่ โซเชียลในชองทางตางๆ เพือ่ ยกระดับผูป ระกอบการทุกๆ ระดับใหมมี าตรฐานในประเทศและมาตรฐานตามขอกําหนด ทุกๆ ขออยางสมบูรณแบบมืออาชีพ” สุวรรณชัย กลาว นอกจากนี้ ในการดํ า เนิ น โครงการ สสว.จะมี คณะกรรมการคอยใหคะแนนแกผูเขารวมโครงการเพื่อ มอบรางวัลตางๆ ใหกับผูประกอบการที่มีความโดดเดน ในแตละดาน อาจจะเรียกวาเฟนหาชางเผือก ซึ่งปจจุบัน มีผูประกอบการทั้ง OTOP และ SME มากมายที่ไดรับ รางวัลจาก สสว.ในการเขารวมในแตละโครงการ
ถ ายทอดองค ความรู แก ผู ประกอบการ สู การพัฒนาสินค าและบริการให ได มาตรฐาน
ธนนนทน พรายจันทร ผูอ าํ นวยการสถาบันพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (ISMED) กลาววา การที่เจาหนาที่รัฐหรือหนวยงานที่เกี่ยวของจะเขาไปแจง ผูประกอบการที่ผลิตสินคา ไมวาจะเปน ผูประกอบการ OTOP SME และอื่นๆ นั้น ไมคอยจะไดรับความรวมมือ จึงตองมีกระบวนการหลอมรวมความคิดปรับพฤติกรรม สรางความคุน เคยและสรางความเชือ่ มัน่ ใหแกผปู ระกอบการ มีการสอน คําแนะนําและตัวอยาง และทดลองทําใหเห็น คลายๆ กับหลักการทางวิทยาศาสตรและการตลาดที่ตอง คอยๆ สอนตั้งแตกระบวนการแรกเริ่ม การทําการตลาด การสรางจุดแข็งของสินคา การสรางชองทางการจัดจําหนาย “ตองแสดงใหผูประกอบการเห็นวาการทําธุร กิจ เล็กๆ ตองมีการจัดการและจะตองจัดทํามาตรฐานอยางไร หลายคนถามวามาตรฐานที่จะทํานั้นยุงยากไหม ตอบเลย วาไมยาก หากมีเครือ่ งมือทีพ่ รอม มีผเู ชีย่ วชาญคอยแนะนํา และมีเงินทุนสนับสนุน และยิ่งถาเราทําใหภูมิปญญาของ คนไทยสืบทอดกันมามีมาตรฐานสามารถขายไดก็จะเปน สิ่งที่ตอยอดไปไดอีกนาน โดยเช็กในเรื่องของวัตถุดิบใน ทุกๆ การผลิตสินคาแตละครั้งใหเปนสิ่งที่ลูกคาตองการ
Engineering Today May - June
2019
พิธีเป ดงาน
จากซ ายไปขวา ธนนนทน พรายจันทร , สุวรรณชัย โลหะวัฒนกุล, ยงวุฒิ เสาวพฤกษ และ ดร.เฉลิมพล คงจิตต
แตเดิมอาจจะมีอะไรทีส่ ญ ู เสียและผิดพลาดไดงา ย เพราะฉะนัน้ หากเรามี ภูมปิ ญ ญามีมาตรฐานทีก่ าํ กับชัดเจนก็จะสงผลดี มาตรฐานเหลานีค้ งไมใช ผูป ระกอบการคิดเอง แตเชือ่ วาผูป ระกอบการจะไดเรียนรูจ ากลูกคาและ นํามาปรับปรุงใหเปนที่ตองการ โดยลูกคาจะเปน ผูกําหนดมาตรฐาน คือจะเปนคนตัดสิน ถาเขาซือ้ สินคาของเรานัน่ คือเขายอมรับในมาตรฐาน ของเรา ในการจัดการที่เปนภูมิปญญาก็ควรมีการจัดการที่เปนระบบ มีการจัดระดับความสําคัญเปนขัน้ ตอนตรวจสอบไดกาํ หนดเปนมาตรฐาน ภูมิปญญาแตละพื้นที่และควรมีเจาหนาที่รับรองในแตละภูมิปญญา นั้นๆ ดวย ซึ่งจะเปนการรับรองมาตรฐานเพื่อสรางความเชื่อมั่นใหกับ ลูกคามากยิ่งขึ้น” ธนนนทน กลาว
เผยอุตสาหกรรมอาหารของไทยอยู ในอันดับ 2 ของเอเชีย รองจากจีน และอันดับ 12 ของโลก
ยงวุฒิ เสาวพฤกษ ผูอ าํ นวยการสถาบันอาหาร กลาววา ในเรือ่ ง อาหารนัน้ แนนอนวา ความอรอยยอมมากอนและจะเปนมาตรฐานสําคัญ ลํ า ดั บ แรกที่ จ ะเป น ที่ ถู ก ใจลู ก ค า และกลั บ มาซื้ อ สิ น ค า อาหารของ ผูประกอบการอีก ซึ่งทุกครั้งที่ผลิตตองทําใหมีมาตรฐาน มีการผลิตที่ เปน Food Safety จะทําใหการผลิตแตละครัง้ มีคณ ุ ภาพ มีความปลอดภัย มีการบรรจุที่ปองกันอยางถูกหลักโภชนาการ ในอุตสาหกรรมอาหาร ถาพูดถึงอุตสาหกรรมอาหารในเอเชียแลว อุตสาหกรรมอาหารของไทย อยูในอันดับ 2 ของเอเชีย อยูในอันดับ 12 ของโลก รองจากประเทศจีน ซึ่งเปนอันดับ 5 ของโลก ทั้งนี้ผูบริโภคที่ซื้อผลิตภัณฑดานอาหารของ ไทยนั้นเชื่อใจในอาหารของผูประกอบการไทยวามีรสชาติอรอย และดี ยิ่งขึ้นหากมีการนําเทคนิคการวิจัยเขาไปเปนสวนประกอบ จะชวยให ลูกคามั่นใจในกระบวนการผลิต
26
ในการแขงขันที่สูงขึ้นตลอดเวลาในหวงปจจุบัน จะตองทราบ รายละเอียดของลูกคาแตละประเภทที่เขามาทําธุรกิจการคาดวยวา ตองการสินคาแบบไหน ทั้งนี้ผูประกอบการจะตองผลิตสินคาใหลูกคา สามารถยอนไปดูถึงแหลงผลิต และทําการตลาดผานโซเชียลใหมากขึ้น รวมทั้งการติดตอจะตองทันสมัยผานสื่อออนไลนตางๆ “วันนีจ้ ะตองกาวขามการผลิตใหมกี ารแปรรูปเพือ่ เก็บไวรบั ประทาน ไดนานขึ้น ใหเกิดการจัดการที่เปนประโยชนในการที่จะใสนวัตกรรม กรรมวิธีผลิตใหเปนที่ถูกใจตลาดมากขึ้น ไมใชแคในประเทศ ตองเอา ผูป ระกอบการทัง้ หลายมาจัดระเบียบมาคัดเลือกเพือ่ แสดงการจัดระบบ ใหเขาถึง เพือ่ ทีจ่ ะไดหาผูซ อื้ รายใหญ มีระบบการลงบันทึกไวเปนขอมูล ตรวจสอบยอนหลังในการจัดการลูกคาทีม่ จี าํ นวนมาก เรียนรูจ ดั การตนทุน ผลิตภัณฑตนแบบไดอยางไร ดูแลการประเมิน ผลที่ไมใหเกิดความ คลาดเคลื่อนในวัตถุดิบที่นํามาปรุงอาหารนั้นปลอดภัย สะอาด ในการ จัดการกระบวนการผลิตทั้งหมดจะตองทําการทดสอบตลาด เพื่อให รับทราบวาตลาดตอบรับไหม เจรจาคุยเรื่องธุรกิจแลวจะไดรูวาของจริง ในสินคานั้นขายไดหรือไม ที่สําคัญควรมีที่ปรึกษาจากหนวยงานภาครัฐ เขาไปใหคําแนะนํา” ยงวุฒิ กลาว
สถาบันอาหารจัดทํา Roadmap จัดการอาหาร เน นรสชาติอาหารที่เป นไทยแท
ทางสถาบันอาหารไดจดั ทํา Roadmap ในการจัดการเรือ่ งอาหาร โดยจะดูเรื่องรสชาติอาหารที่เปนไทยแทที่มีในทุกภาคประกอบ ซึ่ง เริ่มตนใหผูประกอบการ OTOP ในระดับ 3-5 ดาว จํานวน 500 ราย มาทดลองรวมดําเนินการเพื่อศึกษาวามีการจัดการไปไดในระดับใด แลวบางติดตามประเมินผลอยางใกลชดิ ในการจัดการทีเ่ ปนเรือ่ งรสชาติ ไทยแทเบื้องตน ตองมีมาตรฐานทุกอยาง ทุกวันนี้ถาผูประกอบการจะ ดําเนินการสงสินคาไปจําหนายยังตางประเทศ นอกจากการจัดการทีเ่ ปน มาตรฐานไทยแลว ยังตองศึกษามาตรฐานของคูคาตางประเทศดวยวา มีมาตรฐานกําหนดไวอยางไรบาง เนือ่ งจากแตละประเทศจะแตกตางกัน ออกไป โดยเฉพาะในประเทศยุโรป เชือ่ วาหากทําไดจะสามารถเพิม่ โอกาส และชองทางการจําหนาย และขยายตัวทางธุรกิจไดไมนอยกวา 25 ลานบาท
เผย อ.ลี้ จ.ลําพูน สินค าโดดเด นในเชิงอัตลักษณ มีศักยภาพพร อมก าวสู SME
ดร.เฉลิมพล คงจิตต รองผูอํานวยการศูนยนวัตกรรมและการ จัดการเรียนรู มหาวิทยาลัยเชียงใหม กลาววา การคัดเลือกชุมชนที่มี ความโดดเดนดานสินคาอัตลักษณ ภูมปิ ญ ญาทองถิน่ และประวัตศิ าสตร เนนใหความสําคัญตอการพัฒนาเมืองรอง ซึ่งยังขาดการบริหารจัดการ ที่ เ หมาะสมหลายประการ เริ่ ม จากไม มี ก ารออกแบบ ไม มี เ งิ น ทุ น ขาดกระบวนการคิดการมีสวนรวมในวงกวาง ขาดการนํางานวิจัยจาก โมเดลในหองทดลองสรางเปนสินคาที่มีมูลคา ขาดการลงพื้นที่ศึกษา ชุมชนทีม่ อี ตั ลักษณมคี วามเขมแข็งเรือ่ งการสรางกระบวนการสรางเครือขาย กระบวนการทางการตลาดทีค่ นในชุมชน มีรายไดตอ เดือนทีเ่ ลีย้ งดูครอบครัว
27
ได แ บบพึ่ ง ตนเองได แ ม ไ ม ไ ด มี เ งิ น อุ ด หนุ น จากภาครั ฐ มากนัก ขาดบุคลากรจากสวนกลางลงไปวางมาตรฐานการ ผลิตสินคาและบริการตางๆ ขาดการสอนเรื่องการสราง มาตรฐาน และการทํามาตรฐานอั ต ลั ก ษณ ข องชุ ม ชน ของไทยโดยแทจริงรวมถึงการตอยอดและยกระดับความรู ที่มีอัตลักษณเดิมที่กําลังจะหายไปใหเปนที่รูจักมากยิ่งขึ้น “จากการลงพื้นที่สํารวจความตองการ ศักยภาพ ความพรอม และความโดดเดนเชิงอัตลักษณ พบวาพื้นที่ อําเภอลี้ จังหวัดลําพูน เปนพื้นที่ที่มีความโดดเดนในเรื่อง ของผายกดอกพืน้ เมือง และผาฝายทอมือกะเหรีย่ ง รวมถึง เครื่องเงิน ซึ่งถือเปนลายที่มีความเฉพาะตัว รวมทั้งยังมี ปลาสังกะวาด ซึง่ เปนปลาเศรษฐกิจทีม่ คี ณ ุ คาทางโภชนาการ สูง ที่คนในพื้นที่ยังใชวิธีการจับปลาดวยตุมแบบดั้งเดิม ในขณะที่พื้นที่อําเภอบานธิเปนอีกพื้นที่หนึ่งที่มีอัตลักษณ ดานผาทอลวดลายของไทลื้อ ไมสักแกะสลักศิลปะไทลื้อ และการทําขาวแคบ ซึ่งถือเปนผลิตภัณฑพื้นบานที่มีการ ผลิตเฉพาะในพื้นที่” ดร.เฉลิมพล กลาว ทัง้ นีต้ อ งอาศัยผูป ระกอบการทีเ่ ปนผูน าํ ทีอ่ าจจะมี อยูแลวหรือไดรับการอบรมจากภาครัฐ เอกชน หรืออื่นๆ เขามาเปนผูน าํ รวมขับเคลือ่ นก็จะทําใหชมุ ชนนัน้ ๆ มีการ ขับเคลื่อนไปขางหนาที่รวดเร็วและพัฒนาที่ดีขึ้น
Engineering Today May - June
2019
Report • กองบรรณาธิการ
เชอ หงจื้อ (ขวา) ประธานบริษัท เฉิงซาน กรุ ป
บริษัท ดับบลิวเอชเอ อินดัสเตรียล ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) ในเครือ ดับบลิวเอชเอ กรุป ผูนําอันดับหนึ่งในการ ใหบริการโซลูชั่นครบวงจรดานโลจิสติกส นิ ค มอุ ต สาหกรรม สาธารณู ป โภคและ พลังงาน และดิจทิ ลั แพลตฟอรมของประเทศ ไทย เปดตัวนิคมอุตสาหกรรมดับบลิวเอชเอ อีสเทิรนซีบอรด 3 (WHA ESIE 3) ซึ่งเปน นิคมอุตสาหกรรมใหมแหงที่ 10 ในประเทศไทย ของดั บ บลิ ว เอชเอ กรุ ป ตั้ ง อยู ใ นเขต ระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคตะวั น ออก (EEC) พร อ มลงนามสั ญ ญาซื้ อ ขายที่ ดิ น รายแรกในนิคมฯ แหงนี้กับบริษัท พรินซ เฉิงซาน ไทร (ประเทศไทย) จํากัด ในเครือ เฉิ ง ซาน กรุ ป จากประเทศจี น จํ า นวน 280 ไร (44.8 เฮกตาร) เพือ่ เปนทีต่ งั้ โรงงาน ผลิตแหงแรกในประเทศไทย และภูมิภาค เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต ใช เ งิ น ลงทุ น ประมาณ 300 ลานเหรียญสหรัฐ หรือคิดเปน 10,100 ล า นบาท คาดจะเริ่ ม ก อ สร า ง โรงงานไดในเดือนเมษายน 2562 นี้ และ จะเริ่มผลิตไดประมาณกลางป พ.ศ. 2563 จรี พ ร จารุ ก รสกุ ล ประธานคณะ กรรมการ และประธานเจาหนาที่บริหาร กลุมบริษัท ดับบลิวเอชเอ คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) กลาววา นิคมอุตสาหกรรม ดับบลิวเอชเอ อีสเทิรนซีบอรด 3 (WHA ESIE 3) เปนนิคมอุตสาหกรรมแหงใหม ลาสุดของดับบลิวเอชเอ กรุป มีพื้นที่ทั้งสิ้น ประมาณ 2,198 ไร (352 เฮกตาร) ตั้งอยู ในเขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก
Engineering Today May - June
2019
ดับบลิวเอชเอ กรุ ป
เป ดตัวนิคมฯ แห งที่ 10 ในไทย
ประเดิมขายที่ดินให นักลงทุนจีน จัดตั้งโรงงาน ผลิตยางรถยนต เป นรายแรก
จรีพร จารุกรสกุล ประธานคณะกรรมการ และประธานเจ าหน าที่บริหาร กลุ มบมจ. ดับบลิวเอชเอ คอร ปอเรชั่น
(EEC) โดยมีการปรับพื้นที่เพื่อรองรับลูกคาทั้งชาวไทยและชาวตางชาติในกลุม อุตสาหกรรมใหม ประกอบดวย อุตสาหกรรมยานยนตแหงอนาคต อุตสาหกรรม หุนยนต อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส รวมถึงอุตสาหกรรมอื่นๆ ซึ่งในขณะนี้ อยูใ นขัน้ ตอนการปรับพืน้ ทีห่ นาดินแลว 99% และอยูใ นระหวางการวางสาธารณูปโภค ที่สําคัญ เชน วางทอประปา วางระบบไฟฟา ระบบบําบัดนํ้าเสีย กระบวนการกําจัด ขยะดวยการฝงกลบ และวางทอจัดจําหนายและคาปลีกกาซธรรมชาติ
28
สําหรับลูกคารายแรกที่เขามาลงนามสัญญาซื้อที่ดิน ภายในนิคมฯ แหงนี้ คือ บริษทั เฉิงซาน กรุป จํานวน 280 ไร (44.8 เฮกตาร) และยังมีลกู คาชาวจีนและชาวญีป่ นุ ทีก่ าํ ลัง อยูในระหวางศึกษาเพื่อที่จะซื้อที่ดินอีกจํานวนหนึ่งกวา 150 ไร ซึง่ ตองดูตามกรอบของกฎหมายในแตละพืน้ ทีแ่ ละ ความเหมาะสมในแตละอุตสาหกรรมทีจ่ ะเขามาลงทุนวาจะ สามารถดําเนินการไดในรูปแบบใดบาง ทั้งรูปแบบการรวม ทุ น การเช า พื้ น ที่ ต ามระยะเวลาหรื อ ซื้ อ ที่ ดิ น ในสั ด ส ว น มากนอยประกอบเพิ่มเติมดวย จรีพร กลาววา ป พ.ศ. 2562 ดับบลิวเอชเอ กรุป ตั้ ง งบประมาณในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ประมาณ 10,000 ลานบาท แบงเปนการลงทุนพัฒนาในพื้นที่นิคมฯ WHA ESIE 3 ทัง้ หมดประมาณ 5,000 ลานบาท ลงทุนทีป่ ระเทศ เวียดนามประมาณ 800 ลานบาท ทีเ่ หลือจะเปนการพัฒนา ในพื้นที่ที่มีอยูทั้งที่เปนที่ดินเดิมและที่ดินใหมประมาณ 68,000 ไร ซึ่งเปนที่ดินในประเทศไทย 40,000 ไร โดยในป พ.ศ. 2561 ที่ผานมา บริษัทฯ ไดทําการปด ยอดการซื้อขายที่ดินใหแกลูกคาไปทั้งสิ้น 1,000 ไร ซึ่ง สวนใหญจะเปนลูกคาชาวจีน 40% และลูกคาชาวญี่ปุน 20-30% ในป พ.ศ. 2562 นี้ บริษัทฯ ตั้งเปาผลการดําเนิน งานรายไดเติบโต 60-70% เมื่อเทียบกับป พ.ศ. 2561 ที่ราว 11,600 ลานบาท จากการขายที่ดินเพิ่ม คาดวาจะ ปดยอดการซื้อขายที่ดินประมาณ 1,600 ไร แบงเปนใน ประเทศไทย 1,400 ไร และเวียดนาม 200 ไร เชอ หงจื้อ ประธานบริษัท เฉิงซาน กรุป กลาววา บริษัทฯ ไดเฟนหาทําเลสําหรับตั้งฐานการผลิตมาแลวกวา 2 ป พบวาประเทศไทยมีการสงออกยางพาราเปนอันดับ หนึ่งของโลก ทําใหมั่นใจวาการตั้งโรงงานผลิตยางรถยนต ของบริษทั ฯ ในไทยจะไมประสบกับปญหาขาดแคลนวัตถุดบิ เพือ่ นํามาปอนกระบวนการผลิตอยางแนนอน ประกอบกับ ประเทศไทยมี โ ครงการพั ฒนาระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ภาคตะวันออก หรือ EEC ที่ใหสิทธิประโยชนสําหรับ นักลงทุน มีบุคลากร และสาธารณูปโภครองรับอยางครบ วงจร อีกทั้งนิคมอุตสาหกรรม WHA ESIE 3 ก็ตั้งอยูใน พื้นที่ดังกลาวดวย ทําใหบริษัทฯ ตัดสินใจไดงายมากขึ้น ในการเลือกพื้นที่นิคมฯ นี้ นอกจากนี้ ประเด็นสงคราม การคาระหวางประเทศสหรัฐอเมริกาและจีนก็เปนอีกปจจัย หนึ่งที่กระตุนใหบริษัทฯ เขามาลงทุนในประเทศไทยเร็วขึ้น
พิธีลงนามสัญญาซื้อขายที่ดิน
โดยเบื้องตนบริษัทฯ วางงบลงทุนตั้งสายการผลิตในประเทศไทย รวม 5 ป ไวที่ 600 ลานเหรียญสหรัฐ บนพื้นที่ 280 ไร แบงออกเปน 3 เฟส ซึ่งในเฟสแรกจะใชเงินลงทุนประมาณ 300 ลานเหรียญสหรัฐ หรือคิดเปน 10,100 ลานบาท คาดจะเริ่มกอสรางโรงงานไดในเดือน เมษายน 2562 นี้ และแบงการกอสรางออกเปน 3 เฟส โดย เฟสที่ 1 จะใชเวลากอสราง 1 ป เมื่อกอสรางแลวเสร็จในเฟสนี้ก็จะทําการเดิน เครือ่ งผลิตยางไดทนั ทีประมาณกลางป พ.ศ. 2563 ตัง้ เปากําลังการผลิต ยางเรเดียลสําหรับรถยนตนั่งสวนบุคคล (PCR) ที่ 4,000,000 เสน และยางเรเดี ย ลสํ า หรั บ รถบรรทุ ก และรถโดยสาร (TBR) จํ า นวน 500,000 เสน สวน เฟสที่ 2 จะใชเวลากอสรางประมาณ 3 ป และ เฟสที่ 3 จะใชเวลากอสรางทั้งสิ้น 5 ป สําหรับเฟสที่ 2 และเฟสที่ 3 นั้น การผลิตยางจะดูปริมาณ ความตองการใชยางในตลาดเปนหลักกอนที่จะเพิ่มกําลังการผลิตใหได ตามเปาที่วางเอาไววาใน 5 ปจะผลิตใหได 12,000,000 เสน แบงเปน ผลิตยางรถยนตนั่งสวนบุคคล 10,000,000 เสน และยางสําหรับรถ บรรทุกและรถโดยสาร 2,000,000 เสน สวนปริมาณนํ้ายางที่จะนํามา ใชในกระบวนการผลิตยางนัน้ คาดวาจะใชปริมาณนํา้ ยางทัง้ สิน้ ประมาณ 180,000 ตัน และใชปริมาณยางสังเคราะหอื่นๆ อีก 500,000 ตัน โดยใชปริมาณนํ้ายางในประเทศและนําเขายางสังเคราะหมาเปนสวน ผสมสําหรับผลิตยางสงไปจําหนายยังประเทศสหรัฐอเมริกาและใน ประเทศยุโรป 90% และอีก 10% จําหนายในประเทศไทย
29
Engineering Today May - June
2019
Technology • กองบรรณาธิการ
วิศวฯ มธ.
เป ดตัว “เอสซิท” แพลตฟอร ม AI สุดลํ้าผสาน IoT แจ งเตือนพฤติกรรมผู ขับขี่-ป องกัน อุบัติเหตุบนท องถนน
คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (Thammasat School of Engineering : TSE) เปดตัว “เอสซิท” (SCIT) แพลตฟอรม AI สุดลํ้า รับการเดินทาง ชวงเทศกาลสงกรานต ดวยระบบแจงเตือนพฤติกรรม ผูขับขี่เมื่องวงนอน คุยโทรศัพท ขับสายไปมาไมอยูบน เสนทาง พรอมเทคโนโลยีคดั กรองความรุนแรงของการชน กอนนวัตกรรมดังกลาวจะสงสัญญาณขอความชวยเหลือ อัตโนมัตผิ า นเทคโนโลยีไอโอที (IoT) เพือ่ ปองกันการเกิด อุบัติเหตุบนทองถนน ลดการสูญเสียจากอุบัติเหตุ อุนใจ ทุกการเดินทาง ติดตั้งงาย รถรุนไหนก็ใชงานได
Engineering Today May - June
2019
การใช งาน “เอสซิท” (SCIT) แพลตฟอร ม AI สุดลํ้า ป องกันอุบัติเหตุบนท องถนนในรถยนต
ในป พ.ศ. 2561 ขอมูลจากองคการอนามัยโลก (WHO) ระบุวา ประเทศไทยมีอตั ราการเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุบนทองถนนสูงสุดในภูมภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยอยูที่ 32.7 คนตอประชากร 1 แสนคน และจากการสํารวจที่ผานมาพบวา สถิติการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุกวา 40% เกิดจากเขาชวยเหลือไมทันและผิดวิธี ซึ่งปญหาเหลานี้นําไปสู การเสียชีวติ ของผูบ าดเจ็บในเวลาตอมา
30
ผศ. ดร.พิศาล แกวประภา อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมไฟฟา และคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (TSE) กลาววา คณะฯ ไดเปดตัว “เอสซิท” (SCIT) แพลตฟอรมชวยชีวติ จากอุบัติเหตุในรถยนต ซึ่งพัฒนารวมกับ บริษัท ไอโออะเดย จํากัด ที่คิดคนจากสภาพปญหาการใชงานจริงบนทองถนน การทํางานของ “เอสซิท” จะเริ่มตั้งแตผูขับขี่สตารทรถ ซึ่งทีมวิจัยนําเทคโนโลยีปญญา ประดิษฐ หรือ เอไอ (AI) มาใชในการวิเคราะหพฤติกรรมการขับขี่ และ ทําหนาทีแ่ จงเตือนเมือ่ ผูข บั ขีอ่ ยูใ นสภาวะเสีย่ ง เชน งวงนอน คุยโทรศัพท ทีอ่ าจทําใหรถสายไปมาไมอยูใ นเสนทาง ซึง่ มีระบบสงเสียงเตือนชวยให ผูขับขี่รูสึกตัว นอกจากนี้ “เอสซิท” ยังมาพรอมกับระบบการขอความชวยเหลือ แบบอัตโนมัตเิ มือ่ เกิดอุบตั เิ หตุ โดยใช AI ชวยในการคัดกรองความรุนแรง ของการเกิดอุบตั เิ หตุ เปน 2 แบบ คือ ชนหนักและชนเบา โดยเมือ่ ระบบ ประมวลผลแลว จะเปนหนาทีข่ องเทคโนโลยีอนิ เทอรเน็ตในทุกสิง่ (IoT) ทีต่ ิดตั้งมากับอุปกรณนี้ จะสงขอมูลขอความชวยเหลือออกไป สําหรับรูปแบบการสงสัญญาณขอความชวยเหลือของ “เอสซิท” จะแบงเปน 2 กรณี ไดแก กรณีชนหนัก ระบบประมวลผลจากการสั่น ความเร็ว และความแรง โดยจะสงสัญญาณขอความชวยเหลือไปยังหนวย กูภัยและรถพยาบาลที่อยูบริเวณใกลที่สุดโดยอัตโนมัติ พรอมระบุพิกัด จุดเกิดเหตุ เพื่อใหสามารถเขาชวยเหลืออยางรวดเร็วและทันเวลาและ กรณี ช นเบา ระบบจะแจงเตือนผานหน าจอสมารทโฟนของผูขับขี่
ผศ. ดร.พิศาล แก วประภา อาจารย ประจําภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ าและคอมพิวเตอร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (TSE)
โมเดลการออกแบบเอสซิท
31
Engineering Today May - June
2019
ผานแอพพลิเคชั่นสติคิท (Satikit) ซึ่งขณะนี้อยูใน ระหวางการพัฒนา เพื่อใหผูขับขี่ยืนยันการเกิด อุบตั เิ หตุดงั กลาว จากนัน้ ระบบสงขอมูลไปยังหนวย งานที่เกี่ยวของ เชน หนวยกูภัย บริษัทประกันภัย รถพยาบาล รถลาก เปนตน ปจจุบัน “เอสซิท” อยูในระหวางการทดสอบ ประสิทธิภาพการทํางานเพื่อเตรียมตอยอดไปสู การใชงานจริง ซึ่งตองเชื่อมโยงความรวมมือกับ หนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ อาทิ ตํารวจทางหลวง หน ว ยแพทย ฉุ ก เฉิ น รถกู ชี พ บริ ษั ท ประกั น ภั ย ลาสุด TSE ไดสงนวัตกรรม “เอสซิท” เขาประกวด นวัตกรรมนานาชาติ ครั้งที่ 47 ณ นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส ผศ. ดร.พิศาล กลาววา TSE ไดเล็งเห็นความ กาวหนาดานยนตรกรรมในปจจุบนั ทีใ่ หความสําคัญ กับความปลอดภัยในการขับขี่ ซึ่งถือเปนจุดขายที่ คายรถยนตชนั้ นําทัว่ โลกเอามาใชเปนองคประกอบ ในการผลิตรถยนตรนุ ใหม ไมแพการดีไซนใหสวยงาม และสมรรถนะที่ทรงพลัง และยังเปนฟงกชันที่ชว ย
ทีมพัฒนา “เอสซิท” จากคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (TSE)
ใหผูบริโภคมีความมั่นใจในการขับขี่มากขึ้นอีกดวย “อยางไรก็ตาม ถึงแมวาจะมีเทคโนโลยีที่เขามาชวยเรื่องความปลอดภัย มากเพียงใด ผูขับขี่ยังตองใชความระมัดระวังในการขับขี่อยูเสมอ โดยเฉพาะ ชวงเทศกาลสําคัญที่มีรถสัญจรบนถนนจํานวนมาก” ผศ. ดร.พิศาล กลาว ทิ้งทาย
ชิ้นส วนการออกแบบเอสซิท
Engineering Today May - June
2019
32
Technology • Alight Solutions
Cr ภาพ : https//pantip.com/topic37091799
เทคโนโลยี
กับงานด าน ทรัพยากรมนุษย แมวาเทคโนโลยีจะมีบทบาทสําคัญกับงานดานทรัพยากร บุคคล (HR) เพิ่มขึ้น แตผลการศึกษาลาสุด The State of HR Transformation Study 2018-2019 ของ อะไลท โซลูชั่นส (Alight Solutions) ซึ่งไดทําการสํารวจองคกรกวา 670 แหง ในหลากหลายภาคธุรกิจในเอเชียแปซิฟก มีพนักงานรวมกันกวา 6.1 ลานคน และมีรายไดกวา 7 ลานลานเหรียญสหรัฐ พบวา บริ ษั ท ส ว นใหญ ใ นภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ก ยั ง ไม พึ ง พอใจกั บ แพลตฟอรมเทคโนโลยีดาน HR ที่ใชอยู โดยผูต อบแบบสํารวจมากกวาครึง่ (55%) ซึง่ เพิม่ ขึน้ 10% จากการสํารวจเดียวกันนี้เมื่อป พ.ศ. 2561 ระบุวาแพลตฟอรม ดาน HR ที่ใชอยูยังไมตอบโจทย ผลสํารวจยังพบวาเกือบ 60% ของบริษัทที่ใหขอมูลกําลังวางแผนและประเมินการลงทุนใน เทคโนโลยีใหมในชวง 12-24 เดือนขางหนา นอกจากนี้ ยั ง พบข อ มู ล เชิ ง ลึ ก ที่ สํ า คั ญ อี ก 5 ประการ จากการสํารวจครั้งนี้ คือ
1. องคกรที่ไดพัฒนาดาน HR แลว มีความมั่นใจตอความ พรอมในอนาคตของตนเองมากกวาองคกรอื่นๆ เกือบ 5 เทา และสามารถดําเนินงานดาน HR ไดอยางมีประสิทธิภาพมากกวา 2 เทา นอกจากนั้น องคกรดังกลาวยังมีอัตราสวนบุคลากรดาน HR ตอพนักงานประจําโดยเฉลี่ย 1:92 เปรียบเทียบกับองคกร อื่นๆ ซึ่งมีอัตราสวนอยูที่ 1:52 2. องคกร 3 ใน 4 แหงมีแผนที่จะเพิ่มยอดใชจายเพื่อการ พัฒนาขีดความสามารถดาน HR 3. บริษทั ในเอเชียแปซิฟก กวา 60% มีรปู แบบการใหบริการ ดาน HR ที่ชัดเจนและเหมาะสม ซึ่งบงบอกวาองคกรนั้นๆ มีการ พัฒนาที่ดี 4. จะมีการนําระบบงานอัตโนมัติ (Automation) และ AI มาใชงานอยางแพรหลายมากขึ้นในชวง 18-24 เดือนขางหนา
33
Engineering Today May - June
2019
โดยผูตอบแบบสอบถามสวนใหญถึง 80% กําลังทําการประเมินกรณี การใชงาน AI และระบบงานอัตโนมัติ รวมถึงขอบเขตการลงทุนใน อนาคต 5. ระบบวิเคราะหขอมูลขั้นสูง (Analytics) เปนเครื่องมือสําคัญ ที่จะชวยเพิ่มประสิทธิผล ความสามารถ ประสิทธิภาพการทํางาน และ การดึงดูดบุคลากร ผูตอบแบบสอบถาม 2 ใน 3 มีแผนที่จะปรับใช ระบบวิเคราะหขอมูลบุคลากรที่แข็งแกรงมากขึ้นในชวง 12-24 เดือน ขางหนา รายงานผลการศึกษานีย้ งั ระบุแนวโนมทีจ่ ะเกิดขึน้ ในองคกรตางๆ ในเอเชียแปซิฟก ภายในป พ.ศ. 2563 ไวดังนี้ • 67% ขององคกรจะมีโปรแกรมการฝกอบรมราวครึ่งหนึ่ง เปนรูปแบบวิดโี อ โดยมีเนือ้ หาสัน้ ๆ และเปดใหเรียนรูใ นแบบออนดีมานด (On Demand) รวมถึงการเรียนรูเชิงคาดการณตามบทบาทหนาที่ • 61% ขององคกรจะรับทราบขอคิดเห็นของพนักงานสวนใหญ (80%) ไดแบบเรียลไทม • องคกรที่ทําการสํารวจครึ่งหนึ่งใหขอมูลวาจะใช AI เพื่อขับ เคลือ่ นกระบวนการจัดการผลการปฏิบตั งิ านราวครึง่ หนึง่ ของกระบวนการ ที่ใชอยูในองคกรนั้นๆ • 63% ขององคกรระบุวา กระบวนการ HR ทั้งหมดของตนจะ มุงเนนการใชงานผานอุปกรณเคลื่อนที่ • เกือบครึง่ หนึง่ ขององคกรคาดวาจะมีธรุ กรรมดาน HR สวนใหญ 80% เปนแบบสั่งงานดวยเสียง และบริษัทเกือบครึ่งหนึ่ง ราว 47% คาดวาจะดําเนินกระบวนการราวครึ่งหนึ่งบนเทคโนโลยีอุปกรณสวมใส (Wearable) • องคกรกวาครึง่ หนึง่ คาดวาจะใชระบบวิเคราะหขอ มูลเพือ่ รองรับ การตัดสินใจสวนใหญเกี่ยวกับบุคลากร (80%) วิครานท คานนา หัวหนาฝายธุรกิจการทรานสฟอรมงานดาน HR ประจําภูมิภาคเอเชียของอะไลท โซลูชั่นส ผูรวมเขียนรายงาน ผลการศึกษาฉบับนี้ กลาววา ในยุคที่มีการใชงานระบบคลาวดอยาง กวางขวางและมีการพัฒนาเทคโนโลยีอยางตอเนื่อง องคกรตางๆ ใน เอเชียแปซิฟก จําเปนตองยุติการพึ่งพากลยุทธแพลตฟอรม HR ที่ “ดีทสี่ ดุ ” เพราะการผนวกรวมแพลตฟอรมตางๆ และบริการหลากหลาย ชองทางเขาดวยกัน จะชวยสรางความแตกตางที่สําคัญที่สุดในการ ขับเคลื่อน HR ในโลกดิจิทัลไดอยางมีประสิทธิภาพมากกวา บริษัทตางๆ ในเอเชียแปซิฟกตระหนักวา สวนงาน HR ที่ไดรับ การเสริมศักยภาพดวยเทคโนโลยีมคี วามสําคัญอยางมากตอการพัฒนา องคกร และเกือบ 75% มีแผนที่จะเพิ่มงบประมาณเพื่อปรับปรุง ขีดความสามารถดาน HR โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนที่เกี่ยวกับระบบ วิเคราะหขอมูล ความเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีดิจิทัล และการเพิ่ม ความคลองตัวตอการเปลี่ยนแปลงตางๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
Engineering Today May - June
2019
34
Digital Economy @Engineering Today Vol. 3 No. 171
1 6 B/)% 5 "'Ä&#x2122;1%"5 6.= Ä&#x2DC; Â&#x2021;¿³Ã&#x201E;Ã&#x2020; w»Ã&#x2020;Ã&#x2039; .1 '5 &< ,6. 'Ä&#x153; yyw 19'è .5 5 %;1&=A .C Ä&#x2122;" 5 6 5 -4 u} D/Ä&#x2122;A&6+ 6%A Ä&#x201D;6/%6& 6'"5 6 9&I I5 &; Â&#x2013;Â&#x2021;x{Ã&#x2026;Â&#x2014; 1 &=A .C Ä&#x2122; A1H E1A1 = Ã&#x2DC;uÂ&#x2039;{Ã&#x2122; +5 ''% )8 J7 6 16 6, ) 6' 6 B ) J7 B 4. 6'Ä&#x153; 15" A'Ä&#x2DC; D Ä&#x2122;C1 6."5 6.8 Ä&#x2122;6.= Ä&#x2DC; )6 C)
Smart City • กองบรรณาธิการ
อนาคตแหลมฉบัง
เปนที่ทราบกันดีวา เขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (EEC) ถือเปนพื้นที่ยุทธศาสตรสําคัญ ที่ภาครัฐใหการสนับสนุนตาม Road Map ของโครงการ รวบรวมทั้งการพัฒนาดานการคมนาคม โลจิสติกส ไป จนถึงการสรางเมืองอัจฉริยะหรือ Smart City โดยเฉพาะ พื้นที่แหลมฉบังที่เริ่มเห็นทิศทางการพัฒนาอยางเปน รู ป ธรรม และเริ่ ม ได รั บ ความสนใจจากนั ก ลงทุ น ทั้ ง ชาวไทยและชาวตางชาติอยางตอเนื่อง
พร อมพัฒนาสู Smart City สอดรับยุทธศาสตร EEC
บริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอรตี้ จํากัด (มหาชน) หรือ ORI หนึ่ง ในบริ ษั ท พั ฒนาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย ชั้ น นํ า ของไทย ได จั ด เสวนาหั ว ข อ “อนาคตแหลมฉบัง กับการพัฒนาแบบกาวกระโดดจากนโยบาย EEC” เพื่อใหความรูแกประชาชน โดยมีผูบริหารจากหลากหลายหนวยงานที่ รับผิดชอบการพัฒนาพื้นที่ EEC รวมใหความรู
เผยพื้นที่ EEC ศูนย กลางเมกะโปรเจ็กต หลายโครงการ โครงการด านดิจิทัล หนึ่งในไฮไลต หลักของพื้นที่
อรุช ช างทอง กรรมการผู จัดการกลุ มธุรกิจ EEC บริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอร ตี้ จํากัด (มหาชน)
Engineering Today May - June
2019
อรุ ช ช า งทอง กรรมการผู จั ด การกลุ ม ธุ ร กิ จ EEC บริ ษั ท ออริจิ้น พร็อพเพอรตี้ จํากัด (มหาชน) กลาววา การพัฒนาพื้นที่ EEC ประกอบดวยการพัฒนาเมกะโปรเจ็กตหลากหลายโครงการ เชน รถไฟ ความเร็วสูง ทาเรือนํ้าลึกแหลมฉบัง ทาเรือนํ้าลึกระดับ Top Ten ของโลก สนามบินนานาชาติอูตะเภา ซึ่งจะเปนทั้งสนามบินและศูนย ซอมเครือ่ งบินในอนาคต ภาพรวมการพัฒนาพืน้ ทีย่ งั คงเดินไปตาม Road Map มีการเจรจาและสรรหาภาคเอกชนเขามาพัฒนาในโครงการตางๆ อยางตอเนือ่ ง โครงการดานดิจทิ ลั ซึง่ ถือเปนหนึง่ ในไฮไลตหลักของพืน้ ที่ ก็จะมารวมกันอยูที่ EEC เชน สนามทดสอบ 5G แหงแรกของไทย
36
“การเดินหนาอยางตอเนื่องของภาครัฐในพื้นที่ EEC ถือเปน สัญญาณที่ดีตอนักลงทุนทั้งชาวไทยและตางชาติที่สนใจเขามาลงทุน โครงการตางๆ ที่ไดรับการสนับสนุนในพื้นที่” อรุช กลาว สําหรับ ออริจนิ้ พร็อพเพอรตี้ ไดเขามาเปนหนึง่ ในฟนเฟองสําคัญ ในการพัฒนาทีอ่ ยูอ าศัยในพืน้ ที่ EEC เพือ่ รองรับความตองการอยูอ าศัย ทีจ่ ะเพิม่ ขึน้ อยางมหาศาล เริม่ ตนจากการพัฒนาโครงการมิกซยสู ในพืน้ ที่ แหลมฉบังภายใตชื่อ “Origin District” เปนโครงการที่รวบรวมทั้ง คอนโดมิเนียมแบรนดนอตติ้ง ฮิลล เคนซิงตัน และคอมมูนิตี้มอลลภาย ใตชื่อ Porto Bello เขามาไวในพื้นที่เดียวกัน ไดรับการตอบรับที่ดีจาก ผูท เี่ ขามาลงทุนในพืน้ ทีแ่ หลมฉบังเดิม และผูท กี่ าํ ลังจะเขามาเพราะสนใจ ลงทุนใน EEC และภายในปนี้ ออริจนิ้ ยังมีแผนจะเปดตัวโครงการมิกซยสู Origin Smart District Rayong รวมมูลคาโครงการทุกประเภทกวา 10,000 ลานบาทใน จ.ระยอง เพื่อรองรับการเติบโตของเมืองอีกดวย
Digital Park Thailand โครงการสําคัญของ EEC ที่จะพัฒนาในแหลมฉบัง
ดร.วงกต วิจักขณสังสิทธิ์ รองกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) กลาววา หนึ่งในโครงการสําคัญ ของ EEC คือ Digital Park Thailand ที่กําลังจะพัฒนาขึ้นในพื้นที่แหลม ฉบัง เปนเขตสงเสริมการลงทุนดานดิจิทัลโดยเฉพาะ การลงทุนในพื้นที่ จะไมไดมีหนาตาเปนโรงงานเหมือนนิคมอุตสาหกรรม เนนการลงทุน ดานดิจทิ ลั ทําใหบรรยากาศคลาย “แคมปส” หรือมหาวิทยาลัย มีออฟฟศ หองแล็บ Data Center ศูนยเก็บเซิรฟเวอร เขามาอยูรวมกัน กลุมคนที่ เขามาทํางานก็จะมีตั้งแตบริษัทขนาดใหญที่ใหความสําคัญกับดาน เทคโนโลยี ไปจนถึงเหลาสตารทอัพ มีทั้งชาวไทยและชาวตางชาติ ตัวพื้นที่โครงการยังถูกออกแบบใหเชื่อมโยงกับชุมชนรอบขาง ทําใหที่นี่ จะเปนเสมือน Show Case ของเมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City
แหลมฉบังเป นพื้นที่เป าหมาย ที่จะมีการพัฒนาให เป น Smart City เพราะผังเมือง แถวนี้ดีอยู แล ว หลังจากนี้จะมี การของบประมาณมาเพื่อ พัฒนาโครงสร างพื้นฐานต างๆ ให เช น ระบบนํ้า โรงบําบัดนํ้าเสีย อีกประมาณสองป ข างหน า จะเห็นตรงถนนเมืองใหม แหลมฉบังเหนือ กลาง ใต แหล งอุตสาหกรรมฝ งเคหะ ก็จะเดินทางสะดวกมากขึ้น
“ภายใน Digital Park Thailand สํานักงานคณะ กรรมการสงเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ใหสทิ ธิพเิ ศษ ยกเวน ภาษีนิติบุคคลแกผูเขามาลงทุนนาน 8-13 ป สูงกวาผูที่ มาลงทุนดานดิจิทัลในบริเวณอื่นซึ่งไดสิทธิ์ 5-8 ป สิทธิ ประโยชนนี้จะเปนปจจัยสําคัญอยางหนึ่งที่ดึงดูดใหคน เขามาลงทุนในพื้นที่ EEC อยาง Digital Park Thailand” วงกต กลาว
ชี้แหลมฉบังเป นพื้นที่เป าหมาย พร อมพัฒนาเป น Smart City
ดาน สันติ ศิริตันหยง รองนายกเทศมนตรีนคร แหลมฉบัง กลาววา อําเภอศรีราชาเปนเมืองที่โดดเดน จากปจจัย 5 อ. ไดแก 1) อากาศดี 2) อาหารดี มีอาหาร ทะเลที่ครบสมบูรณ 3) อุตสาหกรรมดี 4) อนามัยดี มีสถานพยาบาลเยอะ และ 5) อาชีพดี รายไดตอหัว คอนขางสูง จากการศึกษาโดยบริษัทที่ปรึกษา พบวา ใน อีก 20 ปขางหนา อําเภอศรีราชา จะมีประชากรอยูอาศัย ถึง 20 ลานคน โดยปจจุบันเริ่มเห็นการขยายของตัวเมือง และการเจริญเติบโตเข ามาในพื้นที่แหลมฉบัง ซึ่งเปน อําเภอหนึ่งในศรีราชาบางแลว
จากซ ายไปขวา สันติ ศิริตันหยง, มนต ศักดิ์ โซ เจริญธรรม, ดร.วงกต วิจักขณ สังสิทธิ์ และ อรุช ช างทอง
37
Engineering Today May - June
2019
“แหลมฉบังเปนพื้นที่เปาหมายที่จะมีการพัฒนาให เปน Smart City เพราะผังเมืองแถวนี้ดีอยูแลว หลังจากนี้ จะมีการของบประมาณมาเพื่อพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ตางๆ ให เชน ระบบนํ้า โรงบําบัดนํ้าเสีย อีกประมาณสอง ปขางหนา จะเห็นตรงถนนเมืองใหม แหลมฉบังเหนือ กลาง ใต แหลงอุตสาหกรรมฝงเคหะก็จะเดินทางสะดวก มากขึ้น” สันติ กลาว
แนะรัฐหนุนอุตสาหกรรมดิจิทัล ลงทุนน อย แต ได รับผลตอบแทนสูง
ดร.มนตศักดิ์ โซเจริญธรรม ผูอํานวยการสถาบัน ไอโอทีและนวัตกรรมดิจิทัล สํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจ ดิจทิ ลั (depa) มองวา อุตสาหกรรมดิจทิ ลั เปนอุตสาหกรรม ที่ลงทุนนอยแตไดรับผลตอบแทนสูง จึงเปนสาเหตุใหที่รัฐ ควรสงเสริมดานดิจิทัล เพราะใชสมองเปนหลัก ดังนั้น คนตองมีความสามารถ ซึ่งเปนเหตุผลสําคัญในการดึง ชาวต า งชาติ ม าพร อ มกั บ เทคโนโลยี เพื่ อ ให เ กิ ด การ ถายทอดทักษะซึ่งกันและกัน และพัฒนาคนไทยไดอีก ทางหนึ่ง
Engineering Today May - June
2019
บรรยากาศเสวนาหัวข อ “อนาคตแหลมฉบัง กับการพัฒนาแบบก าวกระโดดจากนโยบาย EEC”
38
AI • กองบรรณาธิการ
อีริคสันจับมือยูเนสโก
พัฒนาทักษะ AI ให เยาวชน ตามเป าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของยูเนสโก อี ริ ค สั น จั บ มื อ ยู เ นสโก (United Nations Educational, Scientic and Cultural Organization: UNESCO) มอบความรูและสนับสนุนเยาวชน พัฒนา โครงการเรี ย นรู ทั ก ษะใหม ๆ ด า นดิ จิ ทั ล เน น ด า น สิง่ ประดิษฐอจั ฉริยะ (Articial Intelligence: AI) สําหรับ คนรุนใหม ตามเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ของยูเนสโกเปาหมายที่ 4 คือ การศึกษาทีเ่ ทาเทียม และ เปาหมายขออื่นๆ ใหบรรลุเปาหมายไดเร็วยิ่งขึ้น
ปจจุบันมีการใชเทคโนโลยีระดับสูงเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว เชน เครือขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูงบนโทรศัพทมือถือ, ระบบคลาวด, Internet of Things (IoT), การนําเครือ่ งจักรมาใชแทนคน (Automation) และปญญาประดิษฐ (Articial Intelligence: AI) จึงตองมีการนํา ทักษะใหมๆ เขามาใชในโลกของการทํางาน โอกาสในการใชประโยชน จากเทคโนโลยีเหลานีเ้ กิดขึน้ ไดเสมอ ซึง่ ไมเพียงแตสามารถนําไปพัฒนา เศรษฐกิจได แตยังสามารถรับมือกับความทาทายใหมๆ ที่จะเกิดขึ้น ในโลกปจจุบัน โดยเทคโนโลยี 5G จะเขามามีบทบาทสําคัญในการเรง กระบวนการ Digitalization และเทคโนโลยีอยาง AI
39
Engineering Today May - June
2019
ในดานการศึกษา AI สามารถเพิ่มโอกาสการเขาถึง ปรับระบบตางๆ ใหเปนอัตโนมัติ บริหารการเรียนการสอน และพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา โดย AI จะนําความ เปนไปไดใหมๆ เขามาชวยสรางประสบการณการเรียนรู ที่ดียิ่งขึ้น รูปแบบการเรียนรูใหมๆ และชองทางการเรียนรู ที่มีความยืดหยุนและยั่งยืน ดวยเหตุนี้ อีริคสันและยูเนสโกจึงดึงจุดแข็งของทั้ง สององคกรมาสรางโอกาสในการพัฒนาความรูเ รือ่ ง AI และ ทักษะทางดานดิจิทัลที่สําคัญอื่นๆ ใหแกเยาวชนรุนใหม โดยมุงเนน 1) การพัฒนาและจัดการองคความรูดาน AI และคอรสพัฒนาความรูเรื่องดิจิทัลอื่นๆ ซึ่งจะเปดใหใช บริการทั่วโลก 2) การฝกอบรมทักษะความรูเรื่อง AI และ สรรหาผูเชี่ยวชาญจากหลากหลายประเทศทั่วโลก และ 3) การสนับสนุน ผูฝกสอนในดานการบริหารศูนยกลาง AI และงาน Hackathon (โปรแกรมเมอรรวมตัวกันพัฒนา ซอฟตแวร) เพื่อสอนการสรางแอพพลิเคชั่น AI ใหแก เยาวชน ฮีทเธอร จอหนสัน รองประธานดานการพัฒนา อยางยัง่ ยืน อีรคิ สัน กลาววา ทีอ่ รี คิ สัน เราเชือ่ วาการสราง พันธมิตรทีแ่ ข็งแกรงเปนหัวใจสําคัญตอการบรรลุเปาหมาย พัฒนาความยัง่ ยืน การรวมมือกันขององคกรระหวางประเทศ และองคกรเอกชนในการพัฒนา AI ในครั้งนี้ ถือเปน ตัวอยางที่ดีเยี่ยมและแสดงใหเห็นถึงความสําเร็จของเรา ในการนําผูเชี่ยวชาญในแตละดานมาทํางานรวมกันและ แบงปนความรูใหแกกัน บอรฮีน ชัคราวน ผูอํานวยการฝายนโยบายและ การเรียนรูอ ยางยัง่ ยืน ยูเนสโก กลาววา ทีย่ เู นสโก เราเชือ่ วา ควรนํา AI มาใชเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน จึงตองมีการ เรียนการสอนและโครงการอบรมแบบใหม เพื่อใหเยาวชน มีความพรอมในการใชชีวิตและการทํางานในยุค AI การ รวมมือกับอีรคิ สันถือวาเปนจุดสําคัญในการบรรลุเปาหมาย ในขอนี้ ทั้งนี้โครงการดังกลาวนี้ไดเปดตัวในงาน Mobile Learning Week 2019 ซึ่งเปนงานประชุมใหญทางการ ศึกษาของยูเนสโก จัดขึ้นที่สํานักงานใหญยูเนสโก ณ กรุง ปารีส เมือ่ ตนเดือนมีนาคมทีผ่ า นมา โดยไดรวมผูเ ชีย่ วชาญ ดานการศึกษาและเทคโนโลยีจากทัว่ โลกมาเพือ่ มุง เนนการ พัฒนา AI และการพัฒนาอยางยั่งยืน นอกจากนี้ประเทศ สมาชิ ก ยู เ นสโกยั ง ได รั บ เชิ ญ ให เ ข า ร ว มโครงการนี้ แ ละ สนับสนุนการพัฒนาความรู AI สําหรับเยาวชนอีกดวย
Engineering Today May - June
2019
Ericsson and UNESCO (United Nations Educational, Scientic and Cultural Organization) have formed a new partnership to educate and empower the next generation, with the partners to develop a new digital skill learning program that has specic emphasis on scaling up Articial Intelligence (AI) skill development for young people. With the rapid deployment of advanced technologies such as mobile broadband, cloud, IoT, automation and AI, a new set of skills is required to enter the workforce. There is an unprecedented opportunity to harness technologies and use them to advance not only economies but also to combat some of the world’s looming challenges. Nextgeneration 5G services are set to play a key role in accelerating digitalization and the impact of technologies like AI. The impact of AI is also felt across the education sector where it has the potential to increase access, automate process, curate learning and improve outcomes in education. It will continue to bring new opportunities for enhanced learning, new forms of learning and offer more exible lifelong learning pathways. With this background, Ericsson and UNESCO are combining their respective strengths to create opportunities to scale up skill development in AI and other key digital skills for young people. Under the AI for youth initiative the partners will: • Develop and manage a repository of AI and other key digital skill training courses that will be available globally • Build capacities of master trainers from selected countries around the globe with advanced knowledge of AI skill development • Support master trainers to mobilize AI hub centers and hackathons to train young people on developing AI applications
40
Innovation • กองบรรณาธิการ
เอ็นไอเอ ชู “AWG”
นวัตกรรมผลิตนํา้ จากอากาศ
ลดการขาดแคลนนํ้า แนะสตาร ทอัพ เร งใช โอกาสพัฒนาสินค าสูต ลาดโลก
สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) หรือ NIA โดยสถาบันการมองอนาคตนวัตกรรม (Innovation Foresight Institute : IFI) เล็งเห็นวาการใชนํ้าเพื่อการบริโภคในอนาคต มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น ขณะที่นํ้าจากแหลงธรรมชาติกลับลดลง โดยเฉพาะปริมาณของนํ้าจืด ที่มีเพียงไมถึง 3% เมื่อเทียบกับ สัดสวนของปริมาณนํ้าทั้งหมดของโลก ทั้งนี้ ประเทศไทยถือเปน พืน้ ทีห่ นึง่ ซึง่ มีแนวโนมทีจ่ ะเกิดความผันผวนในดานพฤติกรรมการ ใชและเสี่ยงตอการขาดแคลนนํ้าในระดับสูง สาเหตุจากความ ตองการที่เพิ่มมากขึ้น ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ และ ยังพบวาคุณภาพนํ้ามีแนวโนมเสื่อมโทรมลงจากกิจกรรมตางๆ เชน การประกอบอุตสาหกรรม การคมนาคม การนันทนาการและ การทองเที่ยว ฯลฯ ดวยเหตุนี้ จึงจําเปนที่จะตองมีการรับมือและ การบริหารจัดการเพื่อเตรียมแกไขปญหานํ้าที่กําลังจะเกิดขึ้น โดยเฉพาะการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สามารถชวยลด ขอจํากัดตางๆ ในอนาคต
“AWG” ใช เทคโนโลยีการดึงนํ้าจากความชื้นในอากาศ มาผลิตเป นนํ้าจืดที่บริโภคได -สะอาด-ปราศจากมลพิษ หนึ่งในนวัตกรรมที่นาสนใจและมีแนวโนมการเติบโตเปน อยางสูงคือ “การแปลงอากาศเปนนํ้าดวยเครื่องผลิตนํ้าจาก อากาศ” หรือ Atmospheric Water Generator : AWG โดย นวัตกรรมดังกลาว สตารทอัพชั้นนําจากประเทศอิสราเอล ได คิดคนและพัฒนาเทคโนโลยีการดึงนํ้าจากความชื้นในอากาศมา ผลิตเปนนํา้ จืดทีส่ ามารถบริโภคได สะอาด ปราศจากมลพิษ และ เปนวิทยาการสมัยใหมที่สามารถลดภาระการใชนํ้าจากแหลงนํ้า จืดตางๆ รวมถึงมีความยัง่ ยืนสูง ทัง้ นี้ คาดการณวา ปริมาณความ ตองการเครือ่ งผลิตนํา้ จากอากาศจะเปนทีต่ อ งการในตลาดมากขึน้ อยางตอเนื่อง เนื่องดวยการเปลี่ยนแปลงใน 6 ปจจัย ไดแก นวัตกรรมสูความเปนศูนย (Innovating to Zero) การเกิดขึ้นของ สังคมเมือง กระแสการใสใจในสุขภาพ การสรางความแตกตาง ใหกับโมเดลธุรกิจ การลงทุนพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน การคนหา พลังงานใหมๆ ที่จําเปนตอการดําเนินชีวิตในอนาคต รวมถึง
41
Engineering Today May - June
2019
นวัตกรรม Atmospheric Water Generator: AWG สตาร ทอัพชั้นนํา จากประเทศอิสราเอล ได คิดค นและ พัฒนาเทคโนโลยีการดึงนํ้าจาก ความชื้นในอากาศมาผลิตเป นนํ้าจืด ที่สามารถบริโภคได สะอาด ปราศจากมลพิษ และเป นวิทยาการ สมัยใหม ที่สามารถลดภาระการใช นํ้า จากแหล งนํ้าจืดต างๆ รวมถึง มีความยั่งยืนสูง ในกลุมประเทศที่มีสภาพอากาศแหงแลงรุนแรง และมีขอจํากัด ดานทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะสภาพอากาศแบบทะเลทราย และกึ่งทะเลทราย ซึ่งจะกอใหเกิดปญหาแหลงนํ้าไมเพียงพอ ทั้งนํ้าอุปโภค-บริโภค และนํ้าสําหรับการเกษตร
สารพันประโยชน จากการผลิตนํ้าสะอาด สู การลดระบบผูกขาดในตลาดนํ้าดื่ม ดานคุณสมบัติและความนาสนใจของนวัตกรรม AWG พบวา ในกระบวนการผลิตนํ้านอกจากจะมีความปลอดภัยและ สะอาดแลว เครื่องมือดังกลาวยังสามารถผลิตนํ้าดื่มสะอาดได โดยเฉลี่ยหลักสิบ-พันลิตรตอวันทั้งนํ้ารอนและนํ้าเย็น ประหยัด คาใชจายในการซื้อนํ้าดื่มโดยรวมไดถึงหลักพันบาทตอเดือน ชวยลดปริมาณขยะพลาสติกจากการซื้อนํ้าดื่มบรรจุขวด นํ้าดื่ม ทีไ่ ดยงั เปนนํา้ ทีส่ ะอาด บริสทุ ธิ์ รสชาติคลายนํา้ ฝน ไมมกี ารบําบัด ดวยสารเคมีหรือคลอรีน นอกจากนี้ ยังจะชวยในเรื่องของระบบ ชลประทานในพื้นที่ฟารม ที่สามารถลดการกักเก็บนํ้า เหมาะกับ การปลูกพืชแนวดิ่งที่มีคุณภาพสูงลดอุปสรรคในการขนสงหรือ ลํ า เลี ย งนํ้ า เนื่ อ งจากสามารถติ ด ตั้ ง ได ใ นทุ ก พื้ น ที่ แ ม ส ภาพ แวดลอมจะไมมีความเหมาะสม รวมถึงชวยแกปญหาเรื่องการ ผูกขาดของตลาดสินคานํ้าดื่มไดเปนอยางดีอีกดวย
ช องทางและโอกาสทางการตลาดของ AWG ทัง้ นีม้ กี ารคาดการณวา เครือ่ งผลิตนํา้ จากอากาศจะขยายตัว เพิม่ ขึน้ เนือ่ งจากปริมาณนํา้ จืดสํารองทีล่ ดลงและจํานวนประชากร ทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยอัตราการเติบโตของตลาดจะอยูท ี่ 9.5% ตอป สวน
Engineering Today May - June
2019
42
ขณะนี้องคการพัฒนาระหวางประเทศแหงแคนาดาและกองทัพ เรือสหรัฐอเมริกาไดใหการสนับ สนุนเงินทุนพัฒนาตนแบบที่ หลากหลายเชิ ง พาณิ ช ย เ พื่ อ ผลิ ตนํ้ า ดื่ ม ที่ ป ลอดภั ย ในอนาคต ทวีปยุโรป กําลังมีการรวมมือระหวางผูค ดิ คนนวัตกรรมและผูผ ลิต นํ้า พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อผลิตนํ้าจืดจากอากาศที่จะถูกนํามาใช แทนระบบผลิตนํ้าจืดจากทะเล และ ภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ซึ่งลาสุดบริษัทยักษใหญของประเทศอินเดียไดรวมมือกับสตารท อัพชัน้ นําจากอิสราเอล ติดตัง้ เครือ่ งผลิตนํา้ จากอากาศทัว่ ประเทศ เพื่ อ ผลิ ต นํ้ า ดื่ ม ที่ ป ลอดภั ย โดยเครื่ อ งผลิ ต นํ้ า จากบรรยากาศ ขนาดกลางและขนาดใหญ สามารถผลิตนํ้าจากอากาศไดมากถึง 6,000 ลิตรตอวัน
โอกาสดีของผู ประกอบการและสตาร ทอัพไทย ในการพัฒนาระบบหรือเครื่องมือให มีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น ปจจุบัน นํ้ากลายเปนปจจัยหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบ เศรษฐกิจของโลกอยางชัดเจน ประเทศที่มีระบบการจัดการนํ้า ที่ดี ยอมสงผลตอการพัฒนาของประเทศที่มั่นคงยั่งยืน ดังนั้น การเขามาของนวัตกรรม AWG จึงถือเปนอีกโอกาสสําคัญสําหรับ ผูประกอบการและสตารทอัพไทยในการพัฒนาระบบหรือเครื่อง มือดังกลาวใหมีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น เพื่อสงตอไปยังตลาดและ ผูบ ริโภคในกลุม พืน้ ทีท่ ี่มคี วามตองการอุปโภค-บริโภคนํา้ ในระดับ ที่สูง รวมถึงภูมิภาคตางๆ ในประเทศไทย นอกจากนี้ การเกิดขึ้น ของเทคโนโลยีดังกลาว ถือวามีความจําเปนอย า งยิ่งกับการ เปลี่ยนแปลงในอนาคต ซึ่งการผลิตพลังงานที่สะอาดและยั่งยืน ถือเปนโจทยที่สําคัญที่สุดที่จะตองเรงพัฒนาในชวงเวลานี้
ป พ.ศ. 2564 คาดว าจะมีการ ติดตั้งระบบ AWG ในรถยนต ที่ใช เชื้อเพลิงไฮโดรเจน ซึ่งจะช วย สร างนํ้าจืดได ตามระยะการเดินทาง ของรถ ส วนในป พ.ศ. 2565 คาดว า นํ้าที่ผลิตได คุณภาพตามหลักเกณฑ ขององค การอนามัยโลก (WHO) จะมีรายได ในตลาดโลกอยู ที่ 1.1 พันล านเหรียญสหรัฐ
แนวโนมการใชเทคโนโลยี AWG ระหวางป พ.ศ. 2562-2565 คาดวาจะมีการใชเพิ่มขึ้นอยางแพรหลาย โดยในป พ.ศ. 2562 AWG จะถูกนําไปประกอบการชลประทานขนาดใหญของพื้นที่ เพาะปลูกในเขตแหงแลงและกึ่งแหงแลง ป พ.ศ. 2563 จะมีการ ใช AWG ขนาดใหญในทีพ่ กั ตามเมืองเล็กๆ และชุมชน ซึง่ จะทําให ไมมีมลพิษ มีนํ้าสะอาดเพื่ออุปโภค-บริโภค และชวยลดการใชนํ้า ตามแหลงธรรมชาติ ขณะที่ป พ.ศ. 2564 คาดวาจะมีการติดตั้ง ระบบ AWG ในรถยนตทใี่ ชเชือ้ เพลิงไฮโดรเจน ซึง่ จะชวยสรางนํา้ จืดไดตามระยะการเดินทางของรถ สวนในป พ.ศ. 2565 คาดวา นํ้ า ที่ ผ ลิ ต ได คุ ณ ภาพตามหลั ก เกณฑ ข ององค ก ารอนามั ย โลก (WHO) จะมีรายไดในตลาดโลกอยูที่ 1.1 พันลานเหรียญสหรัฐ นอกจากนี้ ยังคาดวานวัตกรรมดังกลาวยังจะมีการเติบโต ใน 3 กลุมตลาดที่สําคัญ ไดแก ทวีปอเมริกาเหนือ ซึ่งถือเปน ตลาดที่ใหญที่สุดและผูบริโภคมีความพรอม (Mature Market)
43
Engineering Today May - June
2019
Logistics • Assoc. Prof. Rahuth Rodjanapradied, Ph.D. Asst. Prof. Tartat Mokkhamakkul, Ph.D. Logistics and Supply Chain Management (CULSM) Chulalongkorn University, Thailand
โครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคใต
กรณีสะพานเศรษฐกิจ ชุมพร-ระนอง ประเทศไทย The Proposal of Southern Seaboard: Case of Chumporn-Ranong Landbridge, THAILAND
บทความนีจ้ ดั ทําเปนโครงการวิจยั ภาค ภาษาอังกฤษ เพื่อนําเสนอในการประชุม นานาชาติ 4th Belt and Road Initiative BRI 2019 and the Asian Logistics Round Table Conference ALRT 2019 on 1-3 Aug. 2019, Bangkok, Thailand.) จัดโดย Chulalongkorn Logistics and Supply Chain Management (CULSM), Transportation Research Institute (TRI), Chulalongkorn Business School (CBS), ZHEJIANG UNIVERSITY, China, Ocean College Supported by Yangtze River Research and Innovation Belt (Y-RIB)
บทวิพากษ โครงการทางรถไฟเชื่อมสองทะเลภาคใต ชุมพร-ระนอง
การศึกษาครัง้ นีจ้ ดั ทําโดย หลักสูตรวิทยาการจัดการโลจิสติกสและซัพพลายเชน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทีท่ าํ การวิเคราะหทบทวนโครงการพัฒนาพืน้ ทีช่ ายฝง ทะเล ภาคใต กรณีศึกษาสะพานเศรษฐกิจ ชุมพร-ระนอง ประเทศไทย เพื่อนําเสนอการ ปรับปรุงโครงการทีจ่ ะสรางประสิทธิภาพในการพัฒนาประเทศ แผนแมบทการพัฒนา พื้นที่ชายฝงทะเลภาคใตไดรับการพิจารณาจากคณะรัฐมนตรี ในป พ.ศ. 2559 และ มีการพิจารณาโครงการทางรถไฟเชื่อม ชุมพร-ระนอง นั้น ขอพิจารณาประเด็นปญหา จากขอมูลโครงการเพื่อสงเสริมและปรับปรุงใหมีประสิทธิภาพตอไป ดังนี้
สรุปข าวสารข อมูลความเคลื่อนไหวของโครงการทางรถไฟเชื่อมสองทะเล ชุมพร-ระนอง
1. จํานวนนักทองเที่ ยวจั งหวัดระนอง จากสถิติกระทรวงการทองเที่ยว และกีฬา ในภาคใตป ค.ศ. 2016 มีจํานวน 928,239 คน ซึ่งเพียงสูงกวา 3 จังหวัด ชายแดนภาคใตเทานั้น
ป ค.ศ.
จังหวัด
นักท องเที่ยวไทย
นักท องเที่ยวต างชาติ
รวม
อันดับ
2016
กระบี่
2,176,948
3,580,198
5,757,146
4
2016
กรุงเทพมหานคร
38,201,836
20,551,785
58,753,621
1
2016
ชุมพร
1,256,512
108,483
1,364,995
12
2016
ตรัง
1,295,309
184,923
1,480,232
9
2016
นครศรีธรรมราช
3,497,074
80,105
3,577,179
8
2016
นราธิวาส
245,128
402,266
647,394
13
2016
ประจวบคีรีขันธ
4,028,053
979,141
5,007,194
6
2016
ปตตานี
254,641
2,289
256,930
15
Engineering Today May - June
2019
44
ป ค.ศ.
จังหวัด
นักท องเที่ยวไทย
นักท องเที่ยวต างชาติ
รวม
อันดับ
2016
พังงา
1,252,867
3,226,954
4,479,821
7
2016
พัทลุง
1,492,009
15,055
1,507,064
10
2016
ภูเก็ต
3,845,532
9,495,697
13,341,229
2
2016
ยะลา
131,932
494,220
626,152
14
2016
ระนอง
875,946
52,293
928,239
13
2016
สงขลา
4,160,814
2,504,410
6,665,224
3
2016
สตูล
1,216,070
156,900
1,372,970
11
2016
สุราษฎรธานี
2,162,735
3,252,243
5,414,978
5
2. ทาเรือนํา้ ลึกชุมพรสอเคาแทง-เจาทารายงาน รมช.ไมคมุ คาลงทุน แกปญ หา สะสมอีกเพียบ ขอมูลจาก กรมเจาทา ขาวจากมติชนออนไลน 22 สิงหาคม 2559 3. ทาเรือนํ้าลึกชุมพร เชื่อม ระนอง-แหลมฉบัง อธิบดีกรมเจาทากลาว ...แตอยางไรก็ตาม โครงการดังกลาว ซึ่งอยูระหวาง ขั้นตอนการรับฟงความเห็นของประชาชนในพื้นที่ครั้งที่ 1 เมื่อ มี.ค. 2558 ก็มีหลาย กลุมที่แสดงความเห็นในเชิงคัดคาน เนื่องจากที่ผานมาคนชุมพรไมเคยไดรับขอมูล ที่เพียงพอ (ขาวจากโพสตทูเดย 21 กรกฎาคม 2558)
4. บริษทั รถไฟจีนพบรองนายกรัฐมนตรีสนลงทุนทางคูเ อสอีซ-ี ทาเรือระนอง รองนายกรัฐมนตรีฝายเศรษฐกิจ ใหสัมภาษณภายหลังบริษัท China Railway Construction เขาพบวา สนใจลงทุนในโครงการระเบียงเขตเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก (อีอซี )ี ...และเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต (เอสอีซ)ี เชน ทาเรือระนอง เพราะ เปนทาเรือทีจ่ ะเอือ้ ประโยชนเรือ่ งโลจิสติกส ไปสูเ ศรษฐกิจโลก (จากขาวฐานเศรษฐกิจ 23 สิงหาคม 2561)
45
5. เอกชนหนุนทํารถไฟ ชุมพร-ระนอง “บริษัท MITSUI วิจัยเรื่อง Study on Development of Andaman Sea Gate Port In Kingdom Thailand ภายใตโครงการ Study on Private-Initiative Infrastructure Project in Developing Counties ซึ่งไดรับ เงินสนับสนุนจากเจโทร (JETRO) ใหขยายขีด ความสามารถทาเรือระนองรับเรือ 12,000 TEU ...ที่ผานมา ทาเรือระนองไดปรับกลยุทธ เพิม่ บทบาทกิจกรรมการใหบริการเรือ ซึง่ เปน กิจกรรมการรับมอบ เก็บรักษา สงมอบ วัสดุ อุปกรณสํารวจและขุดเจาะ ทอกาซ นํ้ามัน ดีเซล นํ้าจืด ปูนซีเมนตผง เวชภัณฑ อาหาร ฯลฯ เนื่องจากรัฐบาลเมียนมาไดใหสัมปทาน บริษัทขามชาติเขาไปขุดเจาะกาซธรรมชาติ ในอาวเมาะตะมะ (ขาวจากฐานเศรษฐกิจ 9-12 กันยายน 2561) 6. เวนคืนที่ดิน “ชุมพร-ระนอง” 1.6 พันลาน สรางรถไฟเชื่อมอาวไทย-อันดามัน การประชุม “ครม.-คณะรัฐมนตรี” สรุป ไดวา โครงการไมมคี วามคุม คาทางดานเศรษฐกิจ ผลตอบแทนด า นมู ล ค า ป จ จุ บั น สุ ท ธิ ข อง โครงการ (NPV) ในระยะเวลา 30 ป มีคา นอย กวาศูนย และผลตอบแทนด านอัตราสวน ผลประโยชน ต อ ต น ทุ น น อ ยกว า 1 และ ผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตรนอ ยกวา 12% หากชะลอโครงการออกไปอีก 9 ป โดยกําหนด เปดใหบริการในป พ.ศ. 2577 จะทําใหอัตรา
Engineering Today May - June
2019
ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของโครงการเทากับ 12.19% จะมีความคุมคาทางดานเศรษฐกิจ (ขาวจากฐานเศรษฐกิจ 17 สิงหาคม 2561) 7. รฟท.ดันสรางรถไฟทางคู ชุมพรระนอง 4 หมื่นลาน ข อ มู ล จาก สํ า นั ก งานนโยบายและ แผนการขนสงและจราจร (สนข.) โครงการ รถไฟชุมพร-ระนอง พ.ศ. 2568 มีผลตอบแทน ทางเศรษฐกิจ (EIRR) อยูที่ 12.20% โดย คาดการณปริมาณผูโดยสารที่จะใชบริการ ในปแรกอยูที่ 5,724 คนตอป และจะเพิ่ม เป น จํ า นวน 11,710 คนต อ ป ภายใน ระยะเวลา 30 ป ห ลั ง จากเป ด ให บ ริ ก าร คิดเปนปริมาณการเติบโตราว 100% หรือ คิดเปน 28% ตอระยะเวลา 10 ป ดาน ปริมาณการขนสงสินคานั้น ในปแรกที่เปด บริการจะมีปริมาณสินคานําเขา-สงออกราว 33,116 ตูค อนเทนเนอรตอ ป และจะเพิม่ เปน 85,502 ตูค อนเทนเนอรตอ ป คิดเปนปริมาณ การเติบโตเฉลี่ย 158% หรือคิดเปน 53% ตอระยะเวลา 10 ป (ขาวจาก www.daily news.co.th 17 ตุลาคม 2561) 8. ชาวบานเชียรรถไฟ ชุมพร-ระนอง ข อ มู ล จาก สํ า นั ก งานนโยบายและ แผนการขนสงและจราจร (สนข.) โดยไดขอ มูล จากชาวระนองว า เดิ ม ระนองเคยมี ร ถไฟ สายคอคอดกระอยูแลว ...จึงไมตองการสราง ทับแนวเดิม เพราะตองการอนุรกั ษรถไฟสาย ประวัติศาสตรนั้นไว สวนชาวชุมพรเสนอวา ควรตระหนักถึงปญหานํา้ ทวม รวมทัง้ จุดตัด ทางรถไฟใหมีระบบความปลอดภัยที่ดี แนว เสนทางรถไฟไมควรสรางตัดแบงถนน เพราะ ทําใหวถิ ชี วี ติ ชุมชนแยกออกจากกัน (ขาวจาก www.dailynews.co.th 10 มกราคม 2561) 9. เกาะติดเมกะโปรเจ็กต: รถไฟทาง คู เสนทาง ชุมพร-ระนอง สงเสริมการเดิน ทางเชื่อม 2 ฝงทะเล ระยะทาง 109 กม. 9 สถานีรถไฟ จากสถานีชุมพร-สถานีระนอง (ขุนกระทิง-บานนา-วังใหม-ปากจั่น-กระบุรีบางใหญ-ละอุน-ทาเรือระนอง-สถานีระนอง) (ข อ มู ล จาก สํ า นั ก งานนโยบายและ แผนการขนสงและจราจร (สนข.) ขาวจาก www.dailynews.co.th 28 สิงหาคม 2561)
Engineering Today May - June
2019
การวิเคราะห ป ญหาโครงการของหลักสูตรวิทยาการโลจิสติกส จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย 2562
1. ขอมูลจาก สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) โครงการ ไมคมุ คาทางดานเศรษฐกิจ คา (NPV) 30 ป มีคา นอยกวาศูนย อัตราสวนผลประโยชน ตอตนทุนนอยกวา 1 และผลเศรษฐศาสตรนอ ยกวา 12% ทีเ่ ปนเชนนีเ้ พราะผังแมบท มีเปาหมายขนสงผูโ ดยสารเปนหลัก (1st Priority) ไมไดมเี ปาหมายการขนสงเปนหลัก (2nd Priority) วิเคราะหไดจาก พบวาแผนและผังแมบทไมสงเสริม Landbridge Logistics Sea-Freight และในการทองเที่ยวนั้นตองมีการวางแผนการทองเที่ยว Tourism Route ดวย มิใชมีเพียงถนนและที่ทองเที่ยว Transport Line เทานั้น ดั่งกรณี Narvik-Abisko-Kiruna- Luleå 2. ขอมูลจาก สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) ปริมาณ นักทองเที่ยวระนอง ป ค.ศ. 2016 รวม 928,239 คน มีมากกวา 3 จังหวัดชายแดน ภาคใตเทานั้น จากการคาดการณของ สนข. มีผูโดยสารปแรก 5,724 คนตอป หรือ 16 คนตอวัน หรือ 8 คนตอรถไฟ 1 เที่ยว? (หากวิ่ง 2 เที่ยวตอวัน) จึงไมควรเปน เปาหมายหลักของการสรางโครงการรถไฟเชื่อม ระนอง-ชุมพร 4.5 หมื่นลานบาท (2nd Priority) และนักทองเที่ยวที่มาระนองนิยมโดยสารเครื่องบิน หรือนั่งรถยนต รถทัวร เพื่อสัมผัสธรรมชาติที่สมบูรณที่สุดของประเทศไทย และไมไดมีปลายทาง ในตัวอําเภอเมืองระนองมากนัก แตจะทองเที่ยว ปาไม วนอุทยานแหงชาติและ วายนํ้า ดํานํ้า ในทองทะเลมากกวาการนั่งรถไฟโดยสาร 3. ขอมูลจาก สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) ปริมาณ การขนสงสินคาปแรก 33,116 TEU ตอป หรือ 90 TEU ตอวัน (รถไฟ 45 โบกี้ วันละเที่ยวเดียว หากวิ่ง 4 เที่ยวตอวัน จะไดปริมาณสินคา 131,400 TEU ตอป)
46
ถึงแมจะยังไมมีทาเรือชุมพรที่เปนเปาหมายหลักรถไฟ Landbridge ชุมพร-ระนอง (เมื่อมีทาเรือชุมพรแลว) (1st Priority) 4. ขอมูลจาก การรถไฟแหงประเทศไทย (รฟท.) ระยะทาง 109 กม. ประกอบดวย 9 สถานีรถไฟ จากสถานีชุมพร-สถานี ระนอง 1. สถานีขุนกระทิง 2. สถานีบานนา 3. สถานีวังใหม 4. สถานีปากจั่น 5. สถานีกระบุรี 6. สถานีบางใหญ 7. สถานีละอุน 8. สถานีทาเรือระนอง 9. สถานีระนอง สถานีโดยสารหลักทีส่ ถานีระนอง 1 สถานี และสถานีสนิ คา หลัก 1 สถานี ที่ทาเรือระนอง แตกลับไมเชื่อมตอถึงสถานีสินคา และสถานีผโู ดยสาร คือสถานีทา อากาศยานระนอง และไมมกี ารเชือ่ ม สถานีหลักทีท่ า เรือชุมพร (ทีไ่ ดเตรียมสรางทีต่ าํ บลแหลมคอกวาง ใกลอําเภอเมืองชุมพร ซึ่งชาวชุมพรตอตาน) ดังนั้น ผังแมบท จึงไมสง เสริม Landbridge Logistics Sea-Freight กลับพยายาม ที่จะสงเสริมการทองเที่ยวทางรถไฟที่มีผูโดยสาร 8 คนตอวัน ตอเที่ยว? 5. ขอมูลจาก JETRO Japan แนะนําใหขยายทาเรือระนอง รองรับเรือสินคา 12,000 TEU และรัฐบาลเมียนมาใหโอกาสเปน ทาเรือกาซและนํา้ มันจากอาวเมาะตะมะ (ถึงแมจะเปนโอกาสของ ทาเรือกาซธรรมชาติและขนถายนํ้ามันที่ใหญที่สุดในอาเซียน Oil Pipe Landbridge ที่เหมาะสมตอการขนถายมหาศาล 5 ลาน บารเรลตอวัน (จากการคํานวณทาเรือปากบาราของ JICA) แต ทาเรือระนองไมควรจะใชโอกาสนี้ ที่จะทําใหเกิดมลภาวะอยาง มากตอชุมชนและสภาพแวดลอม 6. ขอมูลจาก สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ (สคช.) การเวนคืนที่ดินสูงถึง 1.6 พันลานบาท เพราะ ไดวางแนวรางรถไฟผานชุมชนหนาแนนของชุมพร-ระนอง สวน กรณีจะมีการลงทุนจากตางชาติ (China Railway Construction) จึงจะไมมีปญหาดาน Feasibility Study ในโครงการ Rail Landbridge Ranong-Chumporn และทาเรือชุมพร รวมทัง้ ดานเอกชน ชุมพร-ระนอง ก็สนับสนุนโครงการ ในขณะที่ชาวบานก็สนับสนุน โครงการ แตไมเห็นดวยกับบางสวน (เชน แนวเสนทางและ ผังแมบท) ของโครงการที่ชาวระนองไมตองการใหทับรางรถไฟ ประวัติศาสตรเดิม สวนชาวชุมพรใหระวังนํ้าทวมและการแบง แยกชุมชนเดิม และตองปองกันผลกระทบของทางรถไฟ รวมทั้ง ที่ตั้งทาเรือชุมพรอาจมีปญหาดานสิ่งแวดลอมและทางสังคมตอ ชุมชน เพราะที่ตั้งอยูใกลชุมชนหนาแนนมากเกินไป
ข อเสนอการออกแบบโครงการของหลักสูตรวิทยาการโลจิสติกส จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย 2562
1) ในการวางแผนแมบทนั้น แทนที่จะวางเสนทางรถไฟ ดานเหนือจากแยกปฐมพรสถานีรถไฟชุมพร (ที่สงผลตอที่ตั้ง ทาเรือชุมพรทีจ่ ะเปนทีต่ าํ บลแหลมคอกวาง ขางอําเภอเมืองชุมพร ที่เปนชุมชนหนาแนนมาก) ผานชุมชนเมืองหนาแนนจนสิ้นสุดที่ ทาเรือระนองและสถานีระนอง (ตรงตามทางเลือกที่ 1 ของ สนข.) แตสมควรกลับทิศทางเปนดานใต จากสถานีควนหินมุย (ทีส่ ง ผลตอ ที่ตั้งทาเรือชุมพรที่จะเปนที่ตําบลบางนํ้าจืด ดานขาง อบต. บางนํา้ จืด ทีเ่ ปนชุมชนหนาแนนนอย) (ตรงตามทางเลือกที่ 7 ของ สนข. และทางเลือกที่ 4 ของ JICA ประเทศญี่ปุน) 2) ดานผลกระทบสิ่งแวดลอมทางรถไฟ ควรจะเนนเปน ทางผานการขนถายสินคาระหวางทาเรือสองทะเลเทานั้น (และ ไมควรขนถายกาซและนํา้ มัน ทัง้ ๆ ทีจ่ ะมีศกั ยภาพสูงมากในการเปน ทอสงผานนํ้ามันจากตะวันออกกลางมายังประเทศอุตสาหกรรม ตะวันออกไกล จีน เกาหลี ญี่ปุน) และไมควรมีกิจกรรมอื่นของ Logistics Functions มากนัก สงผลกระทบตอสภาพแวดลอม เชน (1) ทอสงนํ้ามัน (Oil Pipeline) (2) สถานีขนสงสินคา (Truck Terminal) (3) สถานีตรวจและบรรจุสนิ คาเขาคอนเทนเนอรเพือ่ การ สงออก (สตส.) (Container Freight Station: CFS) (4) โรงพักสินคาเพือ่ ตรวจของขาเขาและบรรจุของขาออก โดยระบบคอนเทนเนอร (รพท.) (Inland Container Depot: ICD) (5) ยานกองเก็บตูสินคา (Container Yard: CY) (6) สถานีเก็บรักษาสินคา (Warehouse) (7) นิคมอุตสาหกรรม (Industrial Estate) (8) ศูนยรวบรวมและกระจายสินคา (Distribution Center: DC) โดยอาจมีกจิ กรรมบางในบางสวนทีจ่ าํ เปนขององคประกอบ ของทาเรือขนถายเทานัน้ หลักการของ Landbridge Transshipment Port จะขนถายสินคาจากสองทาเรือผานระบบรางใหเร็วทีส่ ดุ จึงไม เกิดผลกระทบตอชุมชนและธรรมชาติดานสิ่งแวดลอมและสังคม 3) ดานผังเมืองโลจิสติกส เนือ่ งจากเปนทาเรือ Landbridge Transshipment Port ทีจ่ ะขนถายสินคาสองทะเลทีม่ ปี ริมาณเทา กัน จึงควรกอสรางเปนทาเรือคูแ ฝด Sister Port กับทาเรือระนอง ทีร่ ปู แบบและขนาดของทาเรือนํา้ ลึกชุมพรจะเหมือนกับทาเรือนํา้ ลึกระนองทุกประการ ทางดาน ทาเทียบเรือ ลานคอนเทนเนอร อุปกรณเครื่องมือทุนแรง ที่ทําการสํานักงานทาเรือ การขยายตัว และการพัฒนา แตออกแบบเปนการกลับดานสถาปตยกรรม Mirror Master Plan ที่จะทําใหชาวชุมพรเขาใจ และเห็นตัวอยาง ของทาเรือที่พวกเขาคุนเคยในระนองมาแลว ที่ไมเกิดผลกระทบ ตอชุมชนและสภาพแวดลอม
47
Engineering Today May - June
2019
4) ดานผังเมืองโลจิสติกส ทางรถไฟจะเปนการขนถาย สินคาเปนหลัก (1st Priority) จํานวน 4 เที่ยวตอวัน และขนถาย ผูโดยสารเปนรอง (2nd Priority) จํานวน 2 เที่ยวตอวัน เปน การขนถายสินคาและผูโดยสารแนวตะวันตก-ตะวันออก สาย ชุมพร-ระนอง ในเฟสแรก (สวนเฟสตอไปสามารถวิเคราะหและ วางแผนใหเปนทางรถไฟสายเหนือ-ใต เชื่อมโยงกับรถไฟ High Speed Train และขนถายสินคาขึน้ สูก รุงเทพมหานคร ประเทศจีน และอินโดจีนได) ระบบทางรถไฟ หัวรถจักรและโบกีส้ นิ คา จะเปน ไปตามที่ที่ปรึกษาและ สนข.คํานวณไวทุกประการ เพียงแตยาย แนวเสนทางจากการออมดานเหนือ มาเปนการออมดานใต ซึ่งมี ระยะทางนอยกวาคือระยะทาง 102 กิโลเมตร สวนสถานีและ รูปแบบการดําเนินการก็จะเหมือนเดิม แตเปลีย่ นมาเปน 5 สถานี จากดานชุมพร-ระนอง คือ (1) สถานีทาเรือชุมพร (สถานีผูโดยสาร+สินคา) เปลี่ยน ถายผูโดยสารจากเรือทองเที่ยวอาวไทย (2) สถานี ค วนหิ น มุ ย (สถานี ผู โ ดยสาร) เปลี่ ย นถ า ย ผูโดยสารจากรถไฟรางคูและ High Speed Train (3) สถานีสนามบินระนอง (สถานีผูโดยสาร+สินคา) เปลี่ยนถายผูโดยสารและขนถายสินคาทางอากาศสู รถไฟรางคูและ High Speed Train (4) สถานีระนอง (สถานีผโู ดยสาร) เปลีย่ นถายผูโ ดยสาร สูเรือทองเที่ยวอันดามัน (5) สถานีทาเรือระนอง (สถานีสินคา) 5) การปรับปรุงผังแมบทของทาเรือชุมพรและทางรถไฟ เชื่อมสองทะเลนั้น เพียงแกไขแนวทางรถไฟ ที่ตั้งและผังแมบท ทาเรือนํ้าลึกชุมพร และจํานวนสถานีรถไฟเทานั้น โดยจะใช มาตรฐานระบบและรูปแบบ ของสํานักงานนโยบายและแผนการ ขนสงและจราจร (สนข.) แผนแมบทเดิมเปนหลัก
Master Plan Southern Landbridge: Chumporn - Ranong Railbridge (CULSM)
Engineering Today May - June
2019
Master Plan Southern Landbridge: Chumporn - Ranong Railbridge (OTP: Route 7)
Master Plan Southern Landbridge: Chumporn - Ranong Railbridge (JICA: Route 4)
48
Quality • กองบรรณาธิการ
กสทช.แนะประชาชนเลือกซื้อแบตเตอรี่ที่มีคุณภาพ ใช งานแบตเตอรี่ที่ถูกวิธี
Cr ภาพ : ศูนย ซ อมสมาร ทโฟนโดยตรงทุกอาการเสีย ทุกรุ นทุกยี่ห อ ต.สลกบาตร จ.กําแพงเพชร
กสทช. แนะประชาชน
เลือกซื้อแบตเตอรี่
ได มาตรฐาน-ใช งานแบตเตอรีอ่ ย างถูกวิธี เพือ่ ความปลอดภัยต อชีวติ และทรัพย สนิ สํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ (กสทช.) รวมกับ ศูนยทดสอบ ผลิตภัณฑทางไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) และอุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ สถาบันไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส รวมกันเปดโครงการ “รณรงคใหความ รูเรื่องมาตรฐานของแบตเตอรี่ในโทรศัพทเคลื่อนที่” ภายใตแนวคิด “ปลอดภัยใชดี เลือกแบตเตอรีม่ มี าตรฐาน” เพือ่ ใหความรูแ กประชาชน ในการเลือกซื้อแบตเตอรี่ที่มีคุณภาพ ปองกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้น กับชีวิตและทรัพยสินจากการใชแบตเตอรี่ที่ไมไดมาตรฐาน
49
กอกิจ ดานชัยวิจิตร รองเลขาธิการคณะกรรมการ กิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น และกิ จ การ โทรคมนาคมแหงชาติ (รองเลขาธิการ กสทช.) กลาววา จากสถิติจํานวนโทรศัพทเคลื่อนที่ในป พ.ศ. 2561 พบวา มีผูใชโทรศัพทเคลื่อนที่ จํานวน 124.63 ลานเลขหมาย จากจํานวนประชากร 69.11 ลานคน โดยปญหาสวนใหญ ที่ พ บในการใช โ ทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ คื อ แบตเตอรี่ เ สื่ อ ม เนื่องจากใชงานขณะชารจไฟ และการใชอุปกรณการชารจ ที่ ไ ม ไ ด ม าตรฐาน รวมถึ ง การใช ง านแบตเตอรี่ ที่ ไ ม ไ ด มาตรฐาน ซึง่ เปนการใชงานทีผ่ ดิ วิธอี าจจะนํามาซึง่ อันตราย ตอชีวิตและทรัพยสิน สํานักงาน กสทช. ไดตระหนักถึงความปลอดภัย ของแบตเตอรีโ่ ทรศัพทเคลือ่ นที่ ทัง้ ทีม่ าพรอมกับเครือ่ งหรือ การเลือกซื้อแบตเตอรี่ใหม จึงไดเปดโครงการ “รณรงคให ความรูเ รือ่ งมาตรฐานของแบตเตอรีใ่ นโทรศัพทเคลือ่ นที”่ ภายใตแนวคิด “ปลอดภัยใชดี เลือกแบตเตอรีม่ มี าตรฐาน” โดยสํานักงาน กสทช.ไดรว มกับ ศูนยทดสอบผลิตภัณฑทาง ไฟฟา และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส สํ า นั ก งานวิ ท ยาศาสตร แ ละ เทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) และอุตสาหกรรมพัฒนามูลนิธิ สถาบันไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส รวมทดสอบมาตรฐาน และใหความรูแกประชาชนในการเลือกซื้อแบตเตอรี่ที่มี คุณภาพ ผานการทดสอบตามมาตรฐาน รวมถึงการใชงาน แบตเตอรี่ที่ถูกวิธี เพื่อปองกัน ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับ ชีวิตและทรัพยสินของผูบริโภค อันเนื่องมาจากการใช แบตเตอรี่โทรศัพทเคลื่อนที่ไมไดมาตรฐาน โดยประชาชนสามารถตรวจสอบสินคาโดยสังเกต เครื่องหมาย NBTC ID บนกลองโทรศัพทเคลื่อนที่ กรณี ซื้อเครื่องใหมและเครื่องหมาย มอก. บนแบตเตอรี่ กรณี ซื้ อ เฉพาะแบตเตอรี่ ซึ่ ง เป น เครื่ อ งหมายรั บ รองความ ปลอดภัยและผานมาตรฐาน เนื่องจากปจจุบันแบตเตอรี่ ติดมากับตัวเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่เลยไมไดแยกชิ้นสวน ออกมาอยางในอดีต ดังนั้นสํานักงาน กสทช.จึงทําไดเพียง สุมตรวจการนําเขาของเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ของแตละ คายที่ออกมาในแตละรุน ซึ่งสวนใหญแลวไมพบปญหา อยางไรก็ตามจะพบวามีปญ หาก็ตอ เมือ่ ผูบ ริโภคนําไปชารจ กับอุปกรณที่ไมไดมาตรฐานแลวเกิดประกายไฟ ทําใหสุม เสี่ยงที่จะเกิดปะทุระเบิดขึ้นได
Engineering Today May - June
2019
ดังนั้นการให ประชาชน ผู บริโภคเห็นถึงโทษของการ ใช โทรศัพท เคลื่อนที่ที่ ไม ได มาตรฐาน รวมถึงการใช และ เปลี่ยนแบตเตอรี่ที่ ไม มี คุณภาพจะมีอันตรายอะไร บ างอย างสมํ่าเสมอ โดย นําเสนอองค ความรู เหล านี้ ตั้งแต ต นนํ้ากระบวนการผลิต การใช งาน การทิ้งและ แนวทางกําจัดเป นอย างไร เชื่อว าจะค อยๆ ซึมซับ การใช งานให ประชาชน ตระหนักถึงอันตรายมากขึ้น
ก อกิจ ด านชัยวิจิตร รองเลขาธิการ กสทช.
เวทีเสวนาเรื่องมาตรฐานของแบตเตอรี่ในโทรศัพท เคลื่อนที่
กสทช. จัดทําแอพพลิเคชั่น MoCheck ตรวจสอบมาตรฐานมือถือ เบื้องต นใช งานได เฉพาะระบบ Android นอกจากนี้ สํานักงาน กสทช.ยังไดจดั ทําแอพพลิเคชัน่ MoCheck ซึ่งจะทําใหประชาชนตรวจสอบไดวาโทรศัพทเคลื่อนที่รุนใด หรือรุนที่ สนใจจะซื้อผานการตรวจรับรองมาตรฐานจากสํานักงาน กสทช. เพื่อ ไมใหเกิดปญหาจากการใชงานเครื่องที่ไมผานการตรวจสอบคุณภาพที่ อาจกอใหเกิดอันตรายกับผูใ ชงาน เชน แบตเตอรีบ่ วมแลวระเบิด เปนตน โดยแอพพลิเคชั่น MoCheck จะเปนระบบคนหาอัจฉริยะที่คน ไดทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษจากยี่หอ รุน โรงงานผูผลิต ชื่อ ผูประกอบการ ประเภทหรือชนิดของเครื่อง หมายเลขรับรองมาตรฐาน และหมายเลข NBTC ID ซึ่ ง เมื่ อ ค น เจอข อ มู ล จะแสดงทั้ ง โลโก รุน หมายเลขรับรอง ชือ่ ผูย นื่ ขอรับรอง ผูผ ลิต ผูน าํ เขา หมายเลขโทรศัพท และทีอ่ ยูต ดิ ตอ อีเมล ภาพถาย ขอมูลรายละเอียดทางเทคนิค ภาพสําเนา ใบรับรอง เปนตน
Engineering Today May - June
2019
50
ปจจุบัน MoCheck สามารถดาวนโหลดใชงานได แลวสําหรับผูใชงานระบบปฏิบัติการ Android ในสวน ของ iOS อยูระหวางการตรวจสอบขอมูล ทั้งนี้สํานักงาน กสทช.กําลังพัฒนาแอพพลิเคชั่น MoCheck ใหมีเวอรชั่น ใหมๆ รองรับโทรศัพทรุนใหมๆ ใหมีการตรวจสอบลงลึก ถึงสมรรถนะของโทรศัพทรุนนั้นๆ มากยิ่งขึ้นในอนาคต
รณรงค ใช แบตเตอรี่มือถือของแท ที่ ได รับรองมาตรฐานตามที่กําหนด เรืองฤทธิ์ หนิแหนะ หัวหนาหองปฏิบัติการดาน ความปลอดภัย ศูนยทดสอบผลิตภัณฑทางไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกส กลาววา ในอดีตตัวเครื่องแบตเตอรี่กับ ตัวโทรศัพทเคลื่อนที่แยกจากกัน ซึ่งจะพบปญหาเรื่อง แบตเตอรีไ่ มมคี ณ ุ ภาพในการนํามาเปลีย่ นใส เมือ่ ประชาชน นําไปยังตูเปลี่ยนแบตเตอรี่ รานคาที่รับเปลี่ยนแบตเตอรี่
ที่ไมมีคุณภาพ มีสินคาลอกเลียนแบบที่ภาครัฐอาจจะ สุมตรวจสอบไมเจอ แตในปจจุบันนี้โชคเปนที่นายินดี ที่แบตเตอรี่และตัวเครื่องแนบมาดวยกันไมสามารถที่จะ แยกออกจากกันได ทําใหประชาชนที่ใชงานมั่นใจในระดับ หนึง่ วาไดแบตเตอรีข่ องแททผี่ า นการตรวจสอบแลว เพราะ การนําเขาโทรศัพทเคลือ่ นทีจ่ ะมีการสุม ตรวจอยางเขมงวด มากขึ้น ไมวาจะเปนตรวจสอบตราสัญลักษณ มอก. ที่มี พรอมดวยตัวเลข 2217 ตอทาย ซึง่ หากเปนของแทจะตอง มีเครื่องหมายและตัวเลขทั้งสองนี้อยูบนตัวเครื่องกํากับ แตหากมีเพียงสัญลักษณใดสัญลักษณหนึง่ ใหสนั นิษฐานได เลยวาเปนของลอกเลียนแบบ หรือของปลอม อยาซื้อมาใช อยางเด็ดขาดและควรรีบแจงเจาหนาทีใ่ หดาํ เนินการเขาไป ตรวจสอบ “อยากขอความรวมมือของประชาชนที่ใชโทรศัพท เคลื่อนที่ใหซื้อโทรศัพทจากรานคาที่เปนตัวแทนจําหนาย ของเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่ ตูขายโทรศัพทที่ไดรับการ รับรองจากทางภาครัฐ ซึง่ มีใบรับรองติดไวทกุ ๆ ราน แมราคา จะแพงสักนิดแตเพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ควรพิจารณาในการเลือกซื้ออยางรอบคอบ ซึ่งกวา 95% จะซือ้ โทรศัพทเคลือ่ นทีท่ ไี่ ดมาตรฐาน อีกประมาณ 5% จะ ซือ้ ตามตลาดนัดหรือลักลอบซือ้ จากตางประเทศแลวนํามาใช อาจจะเกิดปญหาโทรศัพทไมไดมาตรฐาน เกิดปญหาแบตเตอรี่ เสื่อม เมื่อเกิดการเสียดสีอาจจะมีปญหาเรื่องประจุไฟเกิด ทําใหระเบิดเปนอันตรายได” เรืองฤทธิ์ กลาว ทั้งนี้จะตองรณรงคใหความรูประชาชนสมํ่าเสมอให เลื อ กใช โ ทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ ที่ มี คุ ณ ภาพได ม าตรฐาน มี เครื่องหมายที่แสดงถึงการรับรองที่ออกโดยหนวยงานที่ ดูแลอยางเครงครัดแมจะตองใชเวลาก็ตองทําเพื่อความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชนผูใชโทรศัพท เคลื่อนที่ทุกๆ คน
สร างความตระหนักรู ถึงโทษของการ ใช มือถือที่ ไม ได มาตรฐาน และเปลี่ยนแบตเตอรี่ที่ ไม ได คุณภาพอย างต อเนื่อง ธีระ ริมปรังษี ผูอํานวยการฝายการมาตรฐานและ คุ ณ ภาพ สถาบั น ไฟฟ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส กล าวว า โดยเฉลี่ยแลวการใชงานโทรศัพทเคลื่อนที่ของประชาชน ผูใ ชงานจะเปลีย่ นโทรศัพทมอื ถือทุกๆ 2 ป ทําใหเกิดปญหา จากการเปลี่ยนโทรศัพทมือถือบอยๆ โดยเฉพาะเรื่อง
แบตเตอรี่ที่มีคําเตือนเขียนติดไวที่ตัวแบตเตอรี่ และการใชงานที่ชารจ ดวยอุปกรณทไี่ มไดมาตรฐาน ชารจแบตเตอรีไ่ ปคุยไป ลวนแลวแตสง ผล อันตราย สงผลกระทบตอประชาชนผูบริโภคอยางหลีกเลี่ยงไมได แมวา หน ว ยงานที่ กํ า กั บ ดู แ ลตั้ ง แต ก ระบวนการผลิ ต อย า งกรมโรงงาน อุ ต สาหกรรม กระทรวงอุ ต สาหกรรม ซึ่ ง เข า ไปควบคุ ม ดู แ ลตั้ ง แต กระบวนการทดสอบการผลิตแบตเตอรี่ ตรวจสอบคุณภาพของโรงงาน ทีข่ อทําการผลิตแบตเตอรีอ่ ยูแ ลวอยางนอยปละ 1-2 ครัง้ หรือแมแตการ ขอสินคานําเขามาจําหนายก็ตองผานหนวยงาน สมอ. หากไมมีการผาน หนวยงานทั้งหมดนี้ก็จะไมสามารถจําหนายในประเทศไทยได อยางไร ก็ตาม แมวาจะมีการควบคุมดูแลอยางเขมงวดก็ยังมีการลักลอบนําเขา มาจํ า หน า ย อี ก ทั้ ง ผู บ ริ โ ภคเองก็ ยั ง สนั บ สนุ น ซื้ อ โทรศั พ ท เ คลื่ อ นที่ ที่ ลั ก ลอบมาจํ า หน า ยโดยไม ผ า นการตรวจสอบจากทางเจ า หน า ที่ ภาครัฐแตอยางใด “ดังนั้นการใหประชาชนผูบริโภคเห็นถึงโทษของการใชโทรศัพท เคลื่อนที่ที่ไมไดมาตรฐาน รวมถึงการใชและเปลี่ยนแบตเตอรี่ที่ไมมี คุณภาพจะมีอันตรายอะไรบางอยางสมํ่าเสมอ โดยนําเสนอองคความรู เหลานี้ตั้งแตตนนํ้ากระบวนการผลิต การใชงาน การทิ้งและแนวทาง กําจัดเปนอยางไร เชือ่ วาจะคอยๆ ซึมซับใหประชาชนตระหนักถึงอันตราย มากขึ้นแมจะตองใชเวลาเปนปหรือ 2-3 ป ก็ควรรณรงคเรื่องนี้ตอไป ใหมากขึ้น” ธีระ กลาว สวนการทิ้งโทรศัพทเคลื่อนที่ หรือทิ้งแบตเตอรี่แบบเกาอยาง ถูกวิธีเพื่อใหเกิดการนําแบตเตอรี่ที่มีคากลับมาใชประโยชนไดอีก ก็จะมี สวนชวยลดมลพิษสิ่งแวดลอม ซึ่งจะมีผลกระทบตอผูคนจํานวนมาก ที่อาศัยอยูบนโลกนี้ไดอีกทางหนึ่ง
51
Engineering Today May - June
2019
Advertorial • Reed Tradex
ครบ จบ ในงานเดียว Manufacturing Expo 2019 ระหว าง วันที่ 19 - 22 มิถุนายนนี้
งานแมนูแฟกเจอริ่ง เอ็กซโป 2019 พรอมแลวที่ จะเปดประตูตอนรับนักอุตสาหกรรมระหวางวันที่ 19-22 มิถุนายนนี้ ตอบโจทยทุกความตองการของอุตสาหกรรม พรอมทัพเทคโนโลยีกวา 2,400 แบรนด 46 ประเทศ ตลอดจนพาวิลเลี่ยนจากนานาประเทศเพื่อลับคมเสริม ประสิทธิภาพการผลิต และนําธุรกิจของคุณสูความสําเร็จ ไดอยางแนนอน
ส องอนาคตอุตสาหกรรมกับสัมมนาทีอ่ ดั แน นด วยความรู อาทิ • InterMold Forum - เจาะลึกเทรนดการผลิต แมพิมพยุคใหมที่เพียบพรอมดวยหัวขอที่คัดสรรแลววา ทันเหตุการณและตรงประเด็นที่เปนประโยชนตอผูผลิต แมพิมพมากที่สุด
Engineering Today May - June
2019
52
• Automotive Summit - กาวทันเทรนดอุตสาหกรรม
ยุคใหม ศึกษาแนวคิดจุดประกายความสําเร็จกับวิทยากรผูทรง คุณวุฒิในหัวขอที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมยานยนต • Plastics Forum - เตรียมความพรอมสําหรับการ เปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตในอนาคตดวยกลยุทธที่ทันสมัย ตอบโจทยเทาทันกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงเพื่อชิงความได เปรียบและประสบความสําเร็จยั่งยืน • Robotics & Automation Symposium - รับฟง การประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัล ระบบอัตโนมัติ Internet of Things (IoT) และการบริหารจัดการขอมูลขนาดใหญ (Big Data) จากบุคลากรที่มีความรูความเชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมการผลิต • Surface & Coating Forum - ศึกษาองคความรูที่ ทันสมัยและขอมูลเชิงลึกดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมการชุบ และเคลือบผิวเพื่อปรับเปลี่ยนสายการผลิตของคุณไปสูแนวทาง การผลิตสากล
ไฮไลท และกิจกรรมพิเศษภายในงาน Manufacturing Expo 2019 • Hand Tools Showroom ครั้งแรกกับการนําเสนอ
อุปกรณแฮนดทลู ทีห่ ลากหลายและเปย มประสิทธิภาพจากแบรนด ชั้นนํา พร อมเป นกําลังใจในการแข งขันเพื่อเฟนหาผูมีความ สามารถในการใชอุปกรณแฮนดทูลไดรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ที่สุดภายในงาน • Metrology & Testing Zone คบพบวิธีเสริมความ แมนยําและเพิม่ คุณภาพมาตรฐานการผลิตกับทัพเจาของแบรนด ชั้นนําในสวนแสดงเทคโนโลยีตรวจวัดชิ้นงานลาสุดจากแบรนด ชั้นนํา • Robotics Cluster Pavilion การผนึกกําลังของหนวย งานทั้งภาครัฐ-เอกชนเพื่อสงเสริมและผลักดันผูประกอบการไทย ใหใชนวัตกรรมหุน ยนตและระบบอัตโนมัติ พรอมใหคาํ ปรึกษาเพิม่ ขีดความสามารถลงทุนและการขอรับสิทธิการลงทุน, กองทุน ดอกเบี้ยตํ่า และอีกมากมาย • Surface & Coating Showcase รวมคนพบความเปน ไปไดที่สามารถตอยอดไดไมสิ้นสุดของเทคโนโลยีใหมๆ สําหรับ การเคลื อ บพื้ น ผิ ว พร อ มการแสดงสาธิ ต ต น แบบนวั ต กรรม การชุบเคลือ บพื้ น ผิ ว ของนักวิจัย จากหลายสถาบันวิจัยชั้ นนํา ในประเทศที่สามารถนําไปตอยอดเพื่อนํามาใชพัฒนาผลักดัน วงการเคลือบพื้นผิวในประเทศไทยตอไป • Cutting Tool Runway สัมผัสการสาธิตศักยภาพของ นวัตกรรมเครื่องตัดสุดลํ้าบนลานแฟชั่นโชว ผูเขาชมงานจะได สัม ผัสการสาธิตศักยภาพของนวัตกรรมเครื่องตัดสุดลํ้า พรอม ตื่นตาจากเหลานางแบบเดินขบวนประชันโฉมและศักยภาพของ
แต ล ะแบรนด ห า มพลาดการแสดงรู ป แบบใหม ที่ ผสมผสาน ระหวางแฟชั่นและการแสดงนวัตกรรมไดอยางลงตัวภายในงาน • Plastic Intelligence & Innovation Zone คนพบ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการผลิตพลาสติก โดยปนี้จะเนน เรือ่ ง Bioplastic, พลาสติกเพือ่ สิง่ แวดลอม และการพัฒนาโรงงาน ผลิตพลาสติกเพื่อเขาสูการแขงขันในปจจุบัน ซึ่งไมวาคุณจะอยู ในอุตสาหกรรมไหน • Match Me พิเศษสุดกับบริการเสนอ 10 รายชื่อผูแสดง สินคาผานทางอีเมลเพื่อการจับคูธุรกิจผานโปรแกรม Match Me เพื่อชวยใหผูชมงานไดวางแผนชมงานอยางมีประสิทธิภาพขึ้น เพียงลงทะเบียนลวงหนาพรอมระบุขอมูลของสินคาที่สนใจผาน เว็บไซต
ลงทะเบียนล วงหน าออนไลน
เพื่อใหการเขาชมงานราบรื่นไมสะดุด ลงทะเบียน ชมงานลวงหนาไดทาง www.manufacturing-expo.com หรือ โทร. (+66) 2686 7222 เพือ่ รับสิทธิพเิ ศษมากมาย นอกจากนี้ คุณสามารถติดตามขาวสาร ความเคลือ่ นไหว วงการอุ ต สาหกรรมได ที่ www.facebook.com/ manufacturingexpopage.
53
Engineering Today May - June
2019
IT Update • กองบรรณาธิการ
วีเอ็มแวร ร วมกับ ไอเน็ต
นําเสนอบริการคลาวด VMware HCX
เสริมแกร งองค กรสู Digital Transformation เป นรายแรกในไทย วีเอ็มแวร ผูนําดานการสรางสรรคนวัตกรรมซอฟตแวรระดับ องคกร เปดตัวบริการคลาวด VMware HCX อยางเปนทางการ ในประเทศไทย พรอมแตงตั้ง บริษัท อินเทอรเน็ตประเทศไทย จํากัด (มหาชน) หรือ ไอเน็ต (INET) ผูนําดานบริการโครงสรางพื้นฐาน ไอซีทีชั้นนําของไทย นําเสนอบริการคลาวด HCX ใหแกองคกรตางๆ ในประเทศไทย เพื่อชวยเสริมศักยภาพใหแกองคกรตางๆ ในการ เปลี่ยนยายจากดาตาเซ็นเตอรรุนเกาแบบดั้งเดิม ไปสูสภาพแวดลอม มัลติคลาวดที่ทันสมัย รองรับการใหบริการแอพพลิเคชั่นที่รวดเร็ว ยิ่งขึ้น และเพิ่มความเร็วในการนําผลิตภัณฑและบริการใหมๆ ออก สูตลาด โดยไอเน็ตถือเปนผูใหบริการ HCX รายแรกในประเทศไทย
ภายใตวิสัยทัศน Thailand 4.0 องคกรหลายแหง ในประเทศไทยกําลังเรงปรับปรุงระบบไอทีรุนเกาเพื่อใหมี ความทันสมัยและปรับใชเทคโนโลยีดิจิทัลมากขึ้น ขอมูล จากบริษทั วิจยั ไอดีซี (IDC) ระบุวา คาใชจา ยสําหรับบริการ ดานไอทีเพิม่ ขึน้ ถึง 9.2% โดยแตะระดับ 92.6 พันลานบาท เมือ่ ป พ.ศ. 25611 ขณะเดียวกัน ยอดใชจา ยสําหรับบริการ คลาวดสาธารณะในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ไมรวมญี่ปุน คาดวาจะเพิ่มขึ้นอยางมากที่อัตราเฉลี่ย 32.58% ตอป2 ในป พ.ศ. 2559-2564
Worldwide Semiannual Services Tracker, IDC, ธันวาคม 2561 APeJ Public Cloud Services Spending Forecast to Reach $15 Billion in 2018, IDC, กุมภาพันธ 2561
1 2
Engineering Today May - June
2019
54
ซานเจย เค เดซมุขฮ รองประธานและกรรมการผูจ ดั การประจําภูมภิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตและเกาหลี (SEAK) วีเอ็มแวร กลาววา วีเอ็มแวรเดินหนาขยาย ความรวมมือกับพันธมิตรอยางตอเนือ่ ง เพือ่ สรางรากฐานดิจทิ ลั แกองคกรธุรกิจตางๆ ในประเทศไทย โดยรวมมือกับ ไอเน็ต ภายใตความมุงมั่นที่จะเรงขับเคลื่อนองคกร ตางๆ ใหสามารถเขาถึง VMware Cloud Foundation โซลูชั่นสําหรับระบบ ไฮบริดคลาวดทรี่ วมความสามารถของโครงสรางพืน้ ฐานคลาวดทสี่ าํ คัญ ตัง้ แตระบบ ประมวลผล ระบบจัดเก็บขอมูล ระบบเชื่อมตอเครือขาย และระบบการจัดการ คลาวดครบวงจร ดวย VMware Cloud Foundation องคกรตางๆ จะสามารถ ปรับปรุงดาตาเซ็นเตอรใหทาํ งานไดอยางมีประสิทธิภาพ ยายแอพพลิเคชัน่ และดาตา เซ็นเตอรทั้งหมดไปยังคลาวดไดอยางรวดเร็ว พรอมความสามารถในการกูคืนระบบ กรณีที่เกิดป ญหาและอัพ เกรดความสามารถใหมๆ อยูเสมอโดยไมกระทบตอ การดําเนินธุรกิจ ซึ่งถือเปนการสรางรากฐานดิจิทัลที่สําคัญใหแกองคกรตางๆ เพื่อ เตรียมความพรอมสําหรับความสําเร็จในยุคดิจิทัลอีโคโนมี
ซานเจย เค เดซมุขฮ รองประธานและกรรมการผูจ ดั การ ประจําภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และเกาหลี (SEAK) วีเอ็มแวร
ความรวมมือระหวางวีเอ็มแวรและไอเน็ตมีจุดมุงหมายในการชวยสงเสริม ยุทธศาสตร Thailand 4.0 ดวยการผลักดันใหองคกรเปลี่ยนยายไปสูสภาพแวดลอม ไฮบริดคลาวดและมัลติคลาวด และชวยใหองคกรของไทยปรับใชนวัตกรรมและ การดําเนินงานอยางเปนระบบ เอกภาวิน สุขอนันต ผูจ ดั การ บริษทั วีเอ็มแวร (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา VMware HCX นับเปนนวัตกรรมทีเ่ รียกไดวา เปน Game Changer ในการใหบริการ คลาวดรูปแบบใหม ชวยใหองคกรดําเนินการโยกยายระบบขนาดใหญจากดาตา เซ็นเตอรแบบดั้งเดิมที่ติดตั้งภายในองคกรไปยังสถาปตยกรรมแบบใหมที่ทันสมัย ไดอยางปลอดภัยมากขึ้นและไมมีสะดุด ดวยบริการคลาวด HCX เวิรกโหลดตางๆ จะถูกโยกยายไปมาระหวางระบบคลาวด โดยไมจําเปนตองปรับเปลี่ยนที่ตนทาง สวนการเคลือ่ นยายของแอพพลิเคชัน่ ก็เปนการทํางานรวมกันระหวางซอฟตแวรและ
เอกภาวิน สุขอนันต ผูจ ดั การ บริษทั วีเอ็มแวร (ประเทศไทย) จํากัด
55
Engineering Today May - June
2019
ฮารดแวรที่หลากหลาย นอกจากนี้ยังมีการรักษาความ ปลอดภัยดวยระบบเครือขายแบบไฮบริดที่กาวลํ้า การ รีพลิเคตขอมูล และความสามารถในการกูค นื ระบบในกรณี ทีเ่ กิดปญหา ทัง้ ยังสามารถทําการโยกยายระบบขณะใชงาน อยูโ ดยทีร่ ะบบไมหยุดทํางาน ชวยใหองคกรสามารถดําเนิน ธุรกิจตามปกติไดอยางตอเนื่อง
“VMware HCX ถือเปน Tool ประเภทหนึ่งที่ชวยเคลื่อนยาย (Migrate) Private Cloud ไปสู Public Cloud ชวยผลักดันใหองคกร ของไทยกาวสูโลกของไฮบริดคลาวด และมัลติคลาวดไดอยางรวดเร็ว สรางโอกาสใหมๆทางธุรกิจ และชวยกระตุน การเติบโตในระบบเศรษฐกิจ ดิจิทัล เหมาะสําหรับกลุม Enterprise โรงพยาบาล คาปลีก รวมทั้ง ภาครัฐ” เอกภาวิน กลาว
ดาน มรกต กุลธรรมโยธิน กรรมการผูจ ดั การ บริษทั อินเทอรเน็ตประเทศไทย จํากัด (มหาชน) หรือไอเน็ต กลาววา ประเทศไทยกําลังพัฒนาไปสูเศรษฐกิจดิจิทัล อยางรวดเร็ว และไอเน็ตมีความมุงมั่นในการจัดหาเครื่องมือที่จําเปนเพื่อชวยให องคกรตางๆ สามารถปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานไอทีใหทนั สมัย และมีการเชื่อมตอ ถึงกันเพิ่มมากขึ้นควบคูกับการปรับเปลี่ยนการดําเนินงานใหเปนแบบดิจิทัล ทั้งนี้ ไอเน็ตไดทํางานรวมกับวีเอ็มแวรประมาณ 7-8 ป ปจจุบันไอเน็ตเปน ผูใหบริการ คลาวดระดับพรีเมียรดวยเทคโนโลยีของวีเอ็มแวร (VMware Cloud Veried Partners) เพื่อรองรับการใหบริการ VMware SDDC ไดอยางเต็มประสิทธิภาพ รวมถึงมีการสรางมูลคาเพิม่ ใหกบั บริการ และการสนับสนุนระดับดาตาเซ็นเตอรผา น Cloud Foundation “ปจจุบันไอเน็ตตองการเปน Trust Provider ในชวงแรกเรามีศูนย IDC เพียง แหงเดียว ขณะนี้มีศูนย IDC ทั้งหมด 3 แหงเปนรูปสามเหลี่ยม ซึ่งไดการรับรอง มาตรฐาน ISO 27001 ทั้งในสวนของดาตาเซ็นเตอร และคลาวด เชื่อมตอระบบ ลูกคาดวยการทํางานบนมัลติคลาวดอยางมีประสิทธิภาพผานเทคโนโลยีของวีเอ็มแวร รวมทั้งจะมีการทํา Hybrid Cloud Extension ที่สามารถใชบริการคลาวดของลูกคา เอง สามารถใชบริการบนคลาวดของไอเน็ต หรือแมกระทั่งใชบริการบนคลาวด
Engineering Today May - June
2019
56
มรกต กุลธรรมโยธิน กรรมการผูจ ดั การ บมจ. อินเทอร เน็ตประเทศไทย หรือไอเน็ต
ของที่อื่นไดดวย เพื่อชวยใหองคกรประสบ ความสําเร็จในการทําดิจทิ ลั ทรานสฟอรเมชัน่ ” มรกต กลาว
@Engineering Today Vol. 3 No. 171
'# Â&#x203A;-'#%Â&#x203A;B)4 '"Â&#x203A;,8'è'6 'Ä&#x2DC;+%%;1 Ä&#x2DC;1.'Ä&#x2122;6 . 6 9,8'è'6 B)416 6''5 -6"&6 6)
=A Ä&#x; Ä&#x2122; B 6'"5 6"÷J 9I .Ä&#x2DC; %+)
57
Engineering Today May - June
2019
Construction • กองบรรณาธิการ
รฟท. - รฟม. และ รพ.ศิริราช ร วมมือก อสร างสถานีศิริราช และอาคารรักษาพยาบาล
ชูเป นต นแบบการพัฒนาพื้นที่ขนส งมวลชน
รฟท. - รฟม.และรพ.ศิริราช ร วมมือก อสร างสถานีศิริราช และอาคารรักษาพยาบาล
ฯพณฯ อาคม เติมพิทยาไพสิฐ (ขวา) รมว.คมนาคม และ ศ. ดร. นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา (ซ าย) คณบดีคณะแพทยศาสตร ศริ ริ าชพยาบาล
ภคพงศ ศิรกิ นั ทรมาศ (ที่ 1 จากซ าย) ผูว า การ รฟม. และ วรวุฒิ มาลา (ที่ 1 จากขวา) รองผูว า การกลุม ธุรกิจการบริหารทรัพย สนิ รักษาการในตําแหน งผูว า การ รฟท.
การรถไฟแหงประเทศไทย รวมดวย การรถไฟฟา ขนสงมวลชนแหงประเทศไทย และคณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล ลงนามบันทึกความเขาใจวาดวยความ รวมมือเพือ่ ดําเนินโครงการกอสรางสถานีรว มศิรริ าช และ อาคารรักษาพยาบาล ในการพัฒนาพืน้ ทีเ่ ปนจุดเชือ่ มโยง
Engineering Today May - June
2019
การเดินทางรถไฟฟาที่สมบูรณแบบ เพื่อใหประชาชนและผูปวยไดรับ ประโยชนในการเดินทางมาใชบริการโรงพยาบาลศิริราชสูงสุด ตาม นโยบาย One Transport for All ของกระทรวงคมนาคม พรอมชูเปน โมเดลตนแบบของการพัฒนาพืน้ ทีส่ ถานีขนสงมวลชนสําหรับโครงการ อื่นๆ ฯพณฯ อาคม เติ ม พิ ท ยาไพสิ ฐ รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวง คมนาคม เปนประธานในพิธลี งนามบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือ เพื่อดําเนินโครงการกอสรางสถานีศิริราช และอาคารรักษาพยาบาล ระหวางการรถไฟแหงประเทศไทย การรถไฟฟาขนสงมวลชนแหง ประเทศไทย และคณะแพทยศาสตรศริ ริ าชพยาบาล โดยมี ดร.ไพรินทร ชูโชติถาวร รัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวงคมนาคม ศ.คลินกิ เกียรติคณ ุ นพ. อุดม คชินทร รัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวงศึกษาธิการ พรอมดวย วรวุฒิ มาลา รองผูวาการกลุมธุรกิจการบริหารทรัพยสิน รักษาการใน ตําแหนงผูว า การการรถไฟแหงประเทศไทย (รฟท.) ภคพงศ ศิรกิ นั ทรมาศ ผูวาการการรถไฟขนสงมวลชนแหงประเทศไทย (รฟม.) ศ. ดร. นพ. ประสิ ท ธิ์ วั ฒ นาภา คณบดี ค ณะแพทยศาสตร ศิ ริ ร าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะผูบริหารจากทั้ง 3 หนวยงาน และ สือ่ มวลชนเขารวมเปนสักขีพยาน ณ หองสถานพิมขุ มงคลเขต พิพธิ ภัณฑ ศิรริ าชพิมขุ สถาน คณะแพทยศาสตรศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ฯพณฯ อาคม เติมพิทยาไพสิฐ กลาวถึงความคืบหนาของ โครงการระบบรถไฟฟาชานเมืองสายสีแดงออน ชวงตลิ่งชัน-ศิริราชวา ตามที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2562 เห็นชอบให การรถไฟแหงประเทศไทย ดําเนินโครงการและคาดวาจะเริม่ กอสรางได ในป พ.ศ. 2563 พรอมเปดใหบริการในป พ.ศ. 2566 สวนของโครงการ รถไฟฟาสายสีสม ชวงบางขุนนนท-มีนบุรี (สุวนิ ทวงศ) การรถไฟฟาขนสง มวลชนแหงประเทศไทย อยูระหวางการนําเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) เพื่อขออนุมัติโครงการ คาดวาจะสามารถเปดประกวดราคาในเดือน สิงหาคม 2562 และตามแผนจะแลวเสร็จในป พ.ศ. 2569
58
สําหรับบริเวณสถานีศริ ริ าช ถือเปนพืน้ ทีส่ าํ คัญทีม่ กี จิ กรรม ที่หลากหลาย ทั้งดานการคมนาคม เปนจุดเชื่อมตอการเดินทาง ของโครงการรถไฟฟาสายสีสม ชวงบางขุนนนท-มีนบุรี (สุวนิ ทวงศ) ที่รองรับการเดินทางของประชาชนระหวางฝงตะวันออกของ กรุงเทพมหานครและฝงธนบุรี และที่รองรับการเดินทางของ ประชาชนจากสถานีศริ ริ าชไปพืน้ ทีฝ่ ง ตะวันตกของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งสามารถเปลี่ยนเสนทางดวยระบบรถไฟฟาชานเมืองสาย สีแดงเขมเชือ่ มตลิง่ ชัน-บางซือ่ -รังสิต สูพ นื้ ทีต่ อนเหนือของกรุงเทพ มหานคร ประกอบกับคณะแพทยศาสตรศริ ริ าชพยาบาลมีความจําเปน ในการขยายพืน้ ทีก่ ารใหบริการดานรักษาพยาบาล การศึกษา และ การวิจัย แตมีขอจํากัดเรื่องพื้นที่ จึงตองมีการวางแผนรวมกัน พัฒนาในบริเวณสถานีศิริราช “ความรวมมือของทั้งสามฝายนี้จะเปนสัญลักษณของการ บูรณาการแผนพัฒนารวมกัน ระหวาง รฟท. รฟม. และคณะ แพทยศาสตรศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เพือ่ ดําเนินการ กอสรางสถานีศิริราชในโครงการระบบรถไฟฟาชานเมืองสาย สีแดงออน ชวงตลิ่งชัน-ศิริราช และโครงการรถไฟฟาสายสีสม ชวงบางขุนนนท-มีนบุรี (สุวินทวงศ) เพื่อประโยชนสูงสุดตอ ประชาชน และจะเปนโมเดลตนแบบของการพัฒนาพื้นที่สถานี ขนสงมวลชนสําหรับโครงการอื่นๆ ตอไป” ฯพณฯ อาคม กลาว วรวุฒิ มาลา รองผูวาการกลุมธุรกิจการบริหารทรัพยสิน รักษาการในตําแหนงผูว า การการรถไฟแหงประเทศไทย กลาววา การรถไฟแหงประเทศไทยไดบรู ณาการรวมกับคณะแพทยศาสตร ศิรริ าชพยาบาล โรงพยาบาลศิรริ าช และการรถไฟฟาขนสงมวลชน แหงประเทศไทย ในการใชทดี่ นิ ของการรถไฟฯ ดําเนินการกอสราง อาคารรักษาพยาบาล โครงสรางตอเชือ่ มของอาคารรักษาพยาบาล กับสถานีรถไฟฟาสายสีสม ชวงบางขุนนนท-มีนบุรี (สุวินทวงศ) อาคารสถานีรถไฟฟาสายสีสม ชวงบางขุนนนท-มีนบุรี (สุวนิ ทวงศ) และโครงสรางตอเชื่อมกับสถานีศิริราชของโครงการระบบรถ ไฟฟาชานเมืองสายสีแดงออน ชวงตลิง่ ชัน-ศิรริ าช รวมถึงทางอพยพ กรณีฉุกเฉิน ลิฟตบริการผูพิการ และโครงสรางอื่นที่เกี่ยวเนื่อง พรอมกับใหการรถไฟฯ สามารถใชประโยชนอาคารรักษาพยาบาล กอสรางเปนสถานีในการใหบริการรถไฟฟาชานเมืองสายสีแดงออน ชวงตลิ่งชัน-ศิริราช บริเวณชั้น 1 และชั้น 2 ของอาคาร ขณะเดี ย วกั น การรถไฟฯ จะดํ า เนิ น การก อ สร า งงาน โครงสรางทางวิ่งรถไฟ โครงสรางชานชาลา ระบบรางและระบบ รถไฟของระบบรถไฟฟาชานเมืองสายสีแดงออนชวงตลิง่ ชัน-ศิรริ าช โดยจั ด แผนการก อ สร า งให ส อดคล อ งกั บ การก อ สร า งสถานี รถไฟฟาสายสีสม ชวงบางขุนนนท-มีนบุรี เพื่อใหประชาชนที่ใช บริการไดรบั ความสะดวกในการเดินทางโดยระบบขนสงสาธารณะ ทั้ ง สองเส น ทาง และการใช บ ริ ก ารของโรงพยาบาลศิ ริ ร าช อยางสูงสุด ทั้งนี้คาดวาจะเริ่มดําเนินการกอสรางไดในปลายป พ.ศ. 2562 ศ. ดร. นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา คณบดีคณะแพทยศาสตร ศิรริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล กลาววา คณะแพทยศาสตร
ศิริราชพยาบาลมีพันธกิจหลัก 3 ดาน ไดแก ดานการรักษา พยาบาล ดานการวิจัย และดานการศึกษา เพื่อผลิตบัณฑิตและ บุคลากรทางการแพทยทกุ ระดับ และแพทยผเู ชีย่ วชาญเฉพาะทาง ทางการวิจยั สรางบรรยากาศทางวิชาการ ใหบริการทางการแพทย ที่มีคุณภาพ คุณธรรม ทันสมัย ไดมาตรฐานสากล สอดคลองกับ ความตองการของประเทศ ตลอดระยะเวลาที่ผานมา คณะ แพทยศาสตรศิริราชพยาบาลไดใหความสําคัญกับการใหบริการ รักษาพยาบาลแกผูปวยทุกหมูเหลาใหไดรับความสะดวกสบาย อยางมีประสิทธิภาพและเทาเทียมกัน มีการกอสรางอาคารเพือ่ รองรับผูปวยที่มารับบริการที่เพิ่มจํานวนมากขึ้น ปจจุบนั มีปริมาณผูป ว ยทีเ่ ขาใชบริการเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง โดยเปนผูปวยนอกที่มาใชบริการเฉลี่ยประมาณ 8,000-10,000 คน/วัน คิดเปนจํานวนปละ 3.4 ลานคน เพื่อรองรับสังคมผูสูงวัย สํ า หรั บ อาคารรั ก ษาพยาบาลของคณะแพทยศาสตร ศิ ริ ร าช พยาบาล เปนอาคารสูง 15 ชั้น ชั้นใตดิน 3 ชั้น และสรางครอม สถานีศริ ิราช โดยพื้นที่อาคารชั้น 1 และ 2 เปนพื้นที่ประโยชน ใชสอยของประชาชนที่ใชบริการสถานีศิริราช สวนชั้น 3-15 จะ เปนอาคารสําหรับการรักษาพยาบาล ประกอบไปดวย สวนพื้นที่ จอดรถ สวนพืน้ ทีบ่ ริการ สวนพืน้ ทีค่ ลินกิ /โรงพยาบาล สวนพืน้ ที่ หองพักผูปวย สวนระบบสนับสนุน และสวนพื้นที่เกี่ยวของกับ ระบบรถไฟฟา สามารถใหบริการผูปวยทั้งผูปวยนอก ผูปวยใน และผูปวยที่จําเปนตองมารับการทําหัตถการแบบ One Day Surgery ซึ่งหลังจากรับการผาตัดแลวสามารถเดินทางกลับได ทันที ทั้งนี้จะเรงดําเนินการในปลายป พ.ศ. 2562 เมื่อแลวเสร็จ จะสงผลใหประชาชนไดรับประโยชนและความสะดวกสบายทั้ง จากการเดินทางในระบบขนสงสาธารณะ และการบริการของ โรงพยาบาลศิริราชมากยิ่งขึ้น สําหรับรูปแบบการลงทุน ทาง รฟท.และ รฟม.จะเปน ผูออกแบบและลงทุนในสวนของสถานีที่จะเชื่อมกับโรงพยาบาล สวนการกอสรางอาคาร ทางโรงพยาบาลศิรริ าชจะเปนผูร บั ผิดชอบ โดยมีวงเงินลงทุนเบื้องตน 2,000 ลานบาท ขณะนี้ออกแบบเปน ทีเ่ รียบรอยแลว อยูร ะหวางดําเนินการขอรายงานประเมินผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอม (EIA) คาดวาใชระยะเวลากอสรางอาคาร 3 ป นอกจากนีม้ กี ารจัดทําทางเดิน Sky Walk เพือ่ เชือ่ มทางเดินจาก อาคารใหมไปยังอาคารศิริราชเดิม รวมทั้งถนนอรุณอมรินทร ระยะทางกวา 100 เมตร เพื่อใหผูปวยไดรับความสะดวก “การกอสรางอาคารรักษาพยาบาลแหงนี้ นับเปนการบูรณาการ การใชประโยชนพื้นที่บริเวณสถานีศิริราชของโครงการระบบรถ ไฟฟาชานเมืองสายสีแดงออน ชวงตลิ่งชัน-ศิริราช (ระดับพื้นดิน) ของการรถไฟแหงประเทศไทย และโครงการรถไฟฟาสายสีสม ชวงบางขุนนนท-มีนบุรี (สุวินทวงศ) (ระดับใตดิน) ของการ รถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย ในพืน้ ทีส่ ถานีรถไฟธนบุรี แนวสถานีและตัวอาคารทอดขนานไปกับคลองบางกอกนอย บริเวณปากคลองฝงทิศใต ดานขางวิหารหลวงพอโบสถนอย วัดอมรินทราราม” ศ. ดร. นพ.ประสิทธิ์ กลาว
59
Engineering Today May - June
2019
Property • กองบรรณาธิการ
ธุรกิจวัสดุก อสร าง-อสังหาริมทรัพย เป ดกลยุทธ รับมือเศรษฐกิจป ’62
สู ยุคเปลี่ยนได “รายไตรมาส”
บรรยากาศงานเสวนาโดยผูบ ริหารในบริษทั อสังหาฯ ชัน้ นําและสถาบันการเงิน
วิทวัส พรกุล ประธานกรรมการบริหาร บมจ. ดีคอนโปรดักส หรือ DCON
ป พ.ศ. 2562 ถือเปนปที่ธุรกิจอสังหาริมทรัพยและธุรกิจ ทีเ่ กีย่ วของ เชน ธุรกิจวัสดุกอ สราง ตางจับตาถึงสถานการณของตลาด รวมอยางใกลชิด ดวยเปนปที่มีปจจัยตางๆ เปลี่ยนแปลงอยางมีนัย สําคัญ ในโอกาสที่ บริษัท ดีคอนโปรดักส จํากัด (มหาชน) หรือ DCON ผูผลิตแผนพื้นสําเร็จรูปและเสาเข็มบานพักอาศัยที่มีกําลังผลิตสูงสุดใน ประเทศไทย กวา 3 แสนตารางเมตรตอเดือน กําลังจะกาวเขาสูปที่ 23 จึงไดจดั งาน “Executive Dinner กาวสูป ท ี่ 23 DCON” โดยมีผบู ริหาร
Engineering Today May - June
2019
60
จากบริษัทอสังหาริมทรัพยชั้นนํากวา 300 คนเขารวมงาน พรอมทั้งมีเสวนาพิเศษในหัวขอ “เคล็ดลับในการบริหาร งานสูความสําเร็จและแผนการรับมือวิกฤติป’62” โดย มีเหลา “ผูบริหาร” จากบริษัทอสังหาริมทรัพยชั้นนําและ ภาคการเงินรวมแชรกลยุทธ รวมถึงการบรรยายเทรนดของ 3D Printing โดย ประธาน American Concrete Institute ที่ อ าจเข า มาส ง ผลต อ ความเปลี่ ย นแปลงในธุ ร กิ จ วั ส ดุ กอสรางและอสังหาริมทรัพย วิทวัส พรกุล ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ดีคอนโปรดักส จํากัด (มหาชน) หรือ DCON กลาววา บริษัทฯ มีวิสัยทัศนในการเปน ผูผลิตวัสดุกอสรางและ พัฒนาอสังหาริมทรัพยชั้นนําของประเทศไทย โดยบริษัทฯ ไดแนวคิดมาจาก “การจะเปนพอครัวที่เกงได ตองเปน นักชิมที่เกง” บริษัทฯ จึงมุงมั่นศึกษา พัฒนา เพื่อให เกิดการขยายผลิตภัณฑและบริการใหมๆ อยางตอเนื่อง วิสัยทัศนและความมุงมั่นดังกลาว สงผลใหบริษัทฯ เขาใจ ความตองการของลูกคานักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ทั้ง ดานรูปลักษณ คุณภาพ และบริการ ถือเปนจุดเดนสําคัญ ที่ทําใหบริษัทฯ สามารถนั่งในหัวใจของลูกคา
ณัฐพงศ คุณากรวงศ ประธานเจ าหน าทีบ่ ริหาร บมจ. เอสซี แอสเสท คอร ปอเรชัน่
ผศ. ดร.เกษรา ธัญลักษณ ภาคย รองประธานเจ าหน าทีบ่ ริหาร บมจ. เสนาดีเวลลอปเม นท
ในโอกาสการกาวสูปที่ 23 นี้ บริษัทไดจดทะเบียน จัดตั้งบริษัท ดีเอสซี โปรดักส จํากัด และเริ่มลงทุนกอสราง โรงงานพรีคาสท ที่ลําลูกกา คลอง 12 พรอมทั้งนําเขา เครื่องจักรที่ทันสมัยรุนลาสุดมาใช เพื่อใหมีความแมนยํา ในการตรวจสอบขนาดมิติตางๆ สูง โดยคาดวาโรงงานจะ เริ่มดําเนินการผลิตไดในชวงปลายไตรมาส 3 ของปนี้ ณัฐพงศ คุณากรวงศ ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท เอสซี แอสเสท คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) กลาววา ป พ.ศ. 2562-2563 เปนปทมี่ ี “ความไมแนนอน” เขามาเกี่ยวของหลายเรื่อง เชน ผูบริโภคจะกูเงินซื้อบาน ยากขึ้น และตองกูแพงขึ้น จากมาตรการคุม LTV และ
3D Printing เป นเทคโนโลยีใหม ที่กําลังเข ามามีบทบาทในการก อสร าง เนื่องจากมีข อดีที่แตกต างจาก เทคโนโลยีด านการก อสร างและ คอนกรีตประเภทอื่น เช น ช วยลด การใช แรงงานคน เหมาะสําหรับการ ก อสร างในสถานที่ที่อันตราย เชื่อว าจะเห็นความก าวหน าของ 3D Printing จนเริ่มมีอิทธิพล ในช วง 5 ป จากนี้ จากแนวโนมการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย รวมทั้งเรื่องการเลือกตั้งที่ทําให คนรอดูทิศทางของประเทศ ไปจนถึงเหตุการณสําคัญในตางประเทศ อยาง Trade War ระหวางสหรัฐอเมริกาและจีน ความเร็วของโลก ที่เปลี่ยนแปลงกันรวดเร็วมากขึ้น “ดวยบริบทตางๆ ไมแนนอนและเปลี่ยนแปลงเร็ว ปนี้เราจึง พยายามทําสามเรือ่ ง หนึง่ ปรับเปาตลอดเวลา ปรับแผนและปรับเปากัน เปนรายไตรมาส ไมใชรอกลางปคอยปรับ สอง มองโลกตามความเปน จริง คอนโดมิเนียมไมนาจะสามารถขายได 80-90% ทันทีที่เปดขาย เหมือนในอดีต และสาม สรางวัฒนธรรมใหมๆ ในองคกร นําเครื่องมือ บริหารเปาหมายแบบ Objective & Key Result หรือ OKR เขามาใช พยายามทําใหทุกอยางในองคกรขับเคลื่อนเร็วขึ้น” ณัฐพงศ กลาว นอกจากนี้ ยังพยายามปรับองคกรใหคนในองคกร “กลา” มากขึน้ โดยกล าที่จะเรียนรู กลาที่จะผิดพลาด แลวเปลี่ยนจากการนับวา ผิดพลาดกี่เรื่อง เปนไดเรียนรูกี่เรื่อง โยนสิ่งใหมๆ ลงไปเพื่อใหคนกลา ลองเสี่ยง ขณะเดียวกัน ยังคงใหความสําคัญกับเรื่องคุณภาพ เพราะ ไมวาโลกจะเปลี่ยนไปอยางไร แตสิ่งหนึ่งที่คนยังตองการเหมือนเดิม ในอีก 10 ปขางหนา ก็คือคุณภาพ ดาน ผศ. ดร.เกษรา ธัญลักษณภาคย รองประธานเจาหนาที่ บริหาร บริษัท เสนาดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) มองวา ในป พ.ศ. 2562 อาจยังไมถึงขั้นเปนปที่วิกฤตสําหรับภาคอสังหาริมทรัพย แตจะ
61
Engineering Today May - June
2019
เปนปที่เติบโตนอยลงจากหลากหลายปจจัย โดยปจจัยหนึ่งที่จะทําให เติ บโตได น อ ยลง คือ ฝ ง Demand หรื อ ผูบริโภค มี พฤติกรรมที่ เปลีย่ นแปลงไดเร็วจากปจจัยตางๆ ภายในเวลาไมกเี่ ดือน แตฝง Supply หรือผูประกอบการ กวาจะเปลี่ยนแปลงไดครั้งหนึ่งใชเวลาเปนป “ฝงผูประกอบการตองทําใหคนรูสึกวา การเปลี่ยนอะไรบอยๆ ไมใชเรื่องผิด เมื่อกอนความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจากความไมมั่นใจใน ตัวเอง จึงเปลีย่ นไปเปลีย่ นมา แตตอนนีต้ รงกันขาม เพราะมัน่ ใจตางหาก วาบริบทตางๆ วันนี้เปลี่ยนแปลงไปแลว จึงตองเปลี่ยนไปเปลี่ยนมา” ผศ. ดร.เกษรา กลาว ทัง้ นีส้ งิ่ ทีบ่ ริษทั “เลิกทํา” คือการตัง้ เปา 5 ป เพราะบริบททุกอยาง ในปจจุบันเปลี่ยนแปลงเร็วเกินกวาจะยึดเปา 5 ปไวได แตสิ่งที่บริษัท “หันมาทํา” คือการตั้ง “Small Goal” หรือเปาหมายยอยราว 5-6 ขอ ภายใตเปาหมายใหญในการทําแตละเรือ่ ง ขณะเดียวกัน ก็ใหความสําคัญ กับเรื่องคุณภาพและบริการหลังการขาย เพราะมองวาตอใหเทคโนโลยี หรือไลฟสไตลของคนจะเปลี่ยนแปลงมากเพียงใด แตบริการที่เกี่ยวของ กับคนก็ยังเปนเรื่องสําคัญ ประทีป ตั้งมติธรรม ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ศุภาลัย จํากัด (มหาชน) กลาววา วัฒนธรรมอยางหนึ่งของบริษัทคือ Dynamic และ Flexible เพื่อใหเกิดการปรับตัวสูสิ่งที่ดีกวา ขณะที่เคล็ดลับธุรกิจ ของศุภาลัย คือการขยายธุรกิจไปยังตางจังหวัด ทั้งในหัวเมืองใหญ และหัวเมืองรอง จนปจจุบันพัฒนาโครงการมาแลวเกือบ 20 จังหวัด ทั่วประเทศ อิสระ วงศรงุ รองผูอ าํ นวยการธนาคารออมสิน กลุม ลูกคาบุคคล กลาววา ภาคสถาบันการเงินไมไดมองวาป พ.ศ. 2562 จะเกิดวิกฤต เศรษฐกิจ สําหรับเรือ่ งอัตราดอกเบีย้ ทีจ่ ะกระทบตอภาคอสังหาริมทรัพย นั้น ประเมินวาอาจมีการปรับขึ้นในชวงปลายป แตก็ปรับขึ้นในอัตรา ที่ตํ่ามาก ดาน ศ.เดวิด แลงก ประธานสถาบันคอนกรีตอเมริกัน (ACI) หนวยงานดานมาตรฐานคอนกรีตของสหรัฐอเมริกาที่ไดรับการยอมรับ ระดับโลก กลาววา 3D Printing เปนเทคโนโลยีใหมที่กําลังเขามามี บทบาทในการกอสราง เนือ่ งจากมีขอ ดีทแี่ ตกตางจากเทคโนโลยีดา นการ กอสรางและคอนกรีตประเภทอื่น เชน ชวยลดการใชแรงงานคน เหมาะ สําหรับการกอสรางในสถานที่ที่อันตราย ปจจุบัน องคการบริหารการบินและอวกาศแหงชาติ (นาซา) ของสหรัฐอเมริกา ไดจัดแขงขันเทคโนโลยี 3D Printing เปนประจํา เพื่อไปใชกอสรางบานบนดาวอังคาร ขณะที่การใชบนโลกนั้น เชื่อวา จะเห็นความกาวหนาของ 3D Printing จนเริ่มมีอิทธิพลในชวง 5 ป นับจากนี้
ประทีป ตัง้ มติธรรม ประธานกรรมการบริหาร บมจ.ศุภาลัย
อิสระ วงศ รง ุ รองผูอ าํ นวยการธนาคารออมสิน กลุม ลูกค าบุคคล
ศ.เดวิด แลงก ประธานสถาบันคอนกรีตอเมริกนั (ACI)
Engineering Today May - June
2019
62
CSR • ปตท.สผ.
เก็บตัวอย างดิน เพือ่ นําไปทดลองเลือกนําแบคทีเรีย Bacillus.ssp มาเพาะขยายจํานวน นําซังข าวโพดมาแปรรูปเป นถ าน โดยได รบั การสนับสนุนการเผาและการวิจยั จากคณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม โจ
เยาวชน PTTEP Teenergy
พัฒนา “ถ านมีชีวิต” แก ป ญหานํ้าเสียในเชียงใหม
ปญหาหมอกควันในภาคเหนือเปนวาระแหงชาติมาตัง้ แต ป พ.ศ. 2550 เวลาผานไปมากวา 10 ปจนถึงปจจุบัน ปญหา ดังกลาวยังไมหมดไปและมีแนวโนมจะทวีความรุนแรงมากขึ้น เว็บไซต AirVisual ซึ่งจัดอันดับคาดัชนีคุณภาพอากาศทั่วโลก (World AQI Ranking) เคยรายงานตัวเลขที่ระบุวาจังหวัด เชียงใหมมคี า ดัชนีคณ ุ ภาพอากาศ (AQI) ในบางชวงสูงกวาระดับ 100 แสดงถึ ง ความเข ม ข น ของมลพิ ษ ทางอากาศมี ค า เกิ น มาตรฐาน และคุ ณ ภาพอากาศเริ่ ม มี ผ ลกระทบต อ สุ ข ภาพ อนามัยของประชาชน นอกจากปญหามลพิษทางอากาศแลว เชียงใหมยังตอง เผชิญกับมลพิษทางนํ้าที่กําลังทวีความรุนแรงขึ้นทุกวันอีกดวย สาเหตุมาจากการทิง้ ขยะลงในแมนาํ้ ลําคลอง ทําใหนาํ้ บริเวณรอบ คู เ มื อ งเชี ย งใหม มี ส าหร า ยสี เ ขี ย วขึ้ น เต็ ม ไปหมด จนนํ้ า ขาด ออกซิเจน สงผลใหปลาตายเปนจํานวนมาก ระบบนิเวศของนํ้า บริเวณรอบคูเมืองเสียหาย
ซังข าวโพดแปรรูปเป นถ านด วยวิธกี าร Pyrolysis คือการเผาแบบกึง่ อับอากาศ ซึง่ ไม กอ ให เกิดมลพิษ
เยาวชนในทองถิ่นกลุมหนึ่งมองเห็นปญหาดังกลาวและ ไมนิ่งดูดาย ตองการเขามาชวยลดปญหาที่เกิดขึ้น จนเกิดเปน โครงการ “ถานมีชีวิต” เพื่อแกปญหามลพิษอยางยั่งยืน โดย นิพัทธา กาพยตุม หรือ นองปนไพร โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ จ.เชียงใหม เลาใหฟงวา อยูที่นี่ เกิดที่นี่ ไดเห็นปญหามลพิษ ในเชี ย งใหมม านานแล ว ป ญ หานํ้ า เนา ในคู เ มื อ งเกิ ด ขึ้ น ทุ ก ป จึงอยากใหเมืองของหนูมีมลพิษนอยลงและนาอยูมากขึ้น เพราะ ถาเชียงใหมอากาศดี นํ้าในคูคลองสะอาด มลพิษนอยลงแลว
65
Engineering Today May - June
2019
ตัวอย างถ านซังข าวโพด ที่ได แปรรูปด วยวิธกี าร Pyrolysis คือการเผาแบบกึง่ อับอากาศ
นําถ านซังข าวโพดมาใช เพาะปลูก ปรากฏว าพืชเจริญเติบโตได ดี เพราะอุดมไปด วยแบคทีเรียทีม่ ปี ระโยชน ตอ พืช
นักทองเทีย่ วก็จะประทับใจและมาเทีย่ วมากขึน้ เศรษฐกิจและชีวติ ความเปนอยูของคนในเมืองเชียงใหมก็จะดีขึ้นดวย หลังจากที่นิพัทธา และเพื่อนไดมีโอกาสเขาคายโครงการ PTTEP Teenergy ของ ปตท.สผ. และเขารวมกิจกรรมเวิรกช็อป ภายใตแนวคิดเปลี่ยนเพื่อโลก (Change for Climate) จึงไดคิด พัฒนาและนําเสนอโครงการ “ถานมีชีวิต” รวมกับเพื่อนๆ ซึ่ง โครงการนี้เปน 1 ใน 10 โครงการที่ไดรับคัดเลือกใหไดรับทุน สนับสนุนจาก คาย PTTEP Teenergy ภายหลังจากทีไ่ ดรบั ทุนนิพทั ธา และเพือ่ นก็ไดคน ควาศึกษา งานวิจัยตางๆ จนพบวาภาคเหนือมีการปลูกขาวโพดจํานวนมาก แตซังขาวโพดที่เหลือจากการสีเมล็ดขาวโพดออกไปกลับถูกทิ้ง อยางไรประโยชน จึงเกิดความคิดนําซังขาวโพดมาแปรรูปเปนถาน ดวยวิธีการทางเคมี โดยการเผาแบบกึ่งอับอากาศหรือสภาวะไร อากาศ (Pyrolysis) ซึง่ ไมกอ ใหเกิดมลพิษ โดยไดรบั การสนับสนุน การเผาและการศึกษาวิจัยจากคณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรม เกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ เมือ่ เห็นสภาพนํา้ ในคูเมืองเชียงใหมเนาเสีย จึงพยายามหา วิธีการที่จะแกปญหา ซึ่งนิพัทธา และเพื่อนไดสังเกตเห็นวา ใน ขณะที่นํ้าบริเวณคูเมืองเชียงใหมเต็มไปดวยสาหรายสีเขียวแกม นํา้ เงิน แตตะกอนดินบริเวณหนาโรงเรียนกลับไมมสี าหรายสีเขียว แกมนํ้าเงินอยูเลย จึงไดนําตะกอนดังกลาวเขาไปศึกษาในหอง ทดลอง และพบวาในดินดังกลาวมีแบคทีเรียสายพันธุบาซิลลัส (Bacillus.spp) อยูจ าํ นวนมาก และแบคทีเรียสายพันธุบ าซิลลัสนี้ สามารถกําจัดสาหรายสีเขียวแกมนํ้าเงิน ซึ่งนอกจากจะเปน
Engineering Today May - June
2019
66
สาหรายที่ทําใหเกิดนํ้าเสียแลว ยังเปนสาหรายที่ผลิตสารพิษ ไมโครซิสติน ซึ่งเปนสารที่กอใหเกิดตับอักเสบและเรงการเกิด มะเร็งของตับ นอกจากจะมีผลกับคนแลว พิษของสาหรายชนิดนี้ ยังมีผลโดยตรงตอสัตวนํ้าหรือสัตวบกที่ไปบริโภคนํ้าที่มีสาหราย ชนิดนี้ดวย ดังนัน้ หากจะกําจัดสาหรายสีเขียวแกมนํา้ เงินทีเ่ ปนตนเหตุ ใหเกิดนํ้าเสียก็จะตองเพิ่มปริมาณแบคทีเรียสายพันธุบาซิลลัส นิพัทธา และทีมงานจึงนําซังขาวโพดที่เผาในสภาวะไรอากาศ แลวกลายเปนถานจากซังขาวโพดมีลักษณะเปนเม็ดเล็กๆ และ มีรพู รุนจํานวนมาก อีกทัง้ มีสารอาหารทีท่ าํ ใหเชือ้ แบคทีเรียเติบโต ไดดี มาทําการเพาะเพื่อเพิ่มจํานวนแบคทีเรียสายพันธุบาซิลลัส เมือ่ ทดลองพบวาแบคทีเรียสายพันธุบ าซิลลัสเติบโตไดดใี น ถานทีผ่ ลิตจากซังขาวโพด และสามารถนําไปกําจัดสาหรายสีเขียว แกมนํา้ เงินไดอยางแนนอนแลว จึงทําการทดลองเพิม่ เติมใหแนใจ โดยนําถานที่เพาะเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งทีมงานเรียกวา “ถานมีชีวิต” เพราะมีแบคทีเรียซึ่งจัดเปนสิ่งมีชีวิตจํานวนมากเติบโตอยูในนั้น นองๆ ไดทดลองนําถานมีชวี ติ บรรจุในขวดพลาสติกเหลือใช แลวนํา ไปจุมแชในนํ้าตัวอยางที่นํามาจากบริเวณรอบคูเมืองเชียงใหมใน หองทดลอง พบวาการวางทิง้ ไว 5 วัน แบคทีเรียสายพันธุบ าซิลลัส สามารถกําจัดสาหรายสีเขียวแกมนํา้ เงินไดหมด โดยไมเกิดนํา้ เนาเสีย หลังจากใชถานมีชีวิตดังกลาวบําบัดนํ้าเสียเรียบรอยแลว ยังสามารถนําไปบดทําเปนปุยสําหรับปลูกพืชตอไปไดอีกดวย และจากการทดลองปลูกพืช ก็พบวาไดผลเปนทีน่ า พอใจ พืชเจริญ เติ บ โตได ดี เ พราะถ า นซั ง ข า วโพดอุ ด มไปด ว ยแบคที เ รี ย ที่ มี ประโยชนตอพืช ในอนาคต ทีมงานมีแนวคิดจะตอยอดโครงการ โดยนํา ถานมีชวี ติ ทีผ่ ลิตไดไปทดลองใชจริงสําหรับการบําบัดนํา้ บริเวณ รอบคูเมืองเชียงใหมและจะนําผลการทดลองไปเผยแพรใน ชุ ม ชนใกล เ คี ย งหรื อ ชุ ม ชนในบริ เ วณที่ มี ป ญ หานํ้ า เน า เสี ย หากไดรับความรวมมือจากชุมชนที่สนใจ เชื่อวาโครงการถาน มีชีวิตนี้จะเปนอีกหนึ่งโครงการที่สามารถชวยแกปญหามลพิษ ในเมืองเชียงใหมไดตอไป
Project Management • ดร.พรชัย องควงศสกุล dr.pornchai.ong@gmail.com
คู มือของผู ประกอบการ ในการสตาร ท อั พ (The Startup Owner’s Manual :: Steve Blank and Bob Dorf ) เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New Management Tools)
เทคโนโลยีสามารถสรางนวัตกรรมใหมๆใหเขามามีสวน ในการดํ า เนิ น ชี วิ ต ประจํ า วั น มากขึ้ น กว า สมั ย ก อ น มี ก าร เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นมากมาย ทั้งในดานกิจวัตรประจําวันที่ตองใช เทคโนโลยีและอินเทอรเน็ตเขามาชวย รวมไปถึงการประกอบ อาชีพ การดําเนินธุรกิจ ผูประกอบการจะตองปรับตัวใหทันกับ การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ อยางรวดเร็ว การเปลีย่ นแปลงโลกธุรกิจ อยางมากในศตวรรษที่ 21 เปนอีกสาเหตุสาํ คัญทีท่ าํ ใหธรุ กิจตอง มีการปรับตัวหรือคิดวิธีใหมๆเพื่อตอบสนองตอความตองการ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป บริบทการแขงขันทางธุรกิจของตลาดในประเทศ และตลาดโลกทีเ่ ปลีย่ นแปลง และในยุคนีเ้ ราจะไดยนิ คนรุน ใหมๆ ทั้งที่กําลังจบการศึกษาและที่กําลังทํางานประจําพูดใหไดยิน อยูเ สมอวาการเปนเจาของธุรกิจเปนอาชีพในฝนทีอ่ ยากทําเพราะ นอกจากจะไดเปนเจานายตัวเองแลว ยังมีอิสระในการทํางาน หารายไดดวยฝมือตัวเอง อยางไรก็ตาม การจะเปนเจาของธุรกิจ ทีเ่ ขมแข็งอยูร อดไดจนประสบความสําเร็จนัน้ จําเปนทีผ่ ปู ระกอบการ ตองมีความรูความเขาใจในการทําธุร กิจเปนอยางดีเสียกอน โดยเฉพาะ ธุรกิจสตารทอัพ ในบทนีจ้ ะเปนการศึกษาแนวทางการทํา Business Model และแนวทางการทํา Startup สรางจุดเริ่มตนของการทําธุรกิจ แนวใหม เพื่อกลาเปลี่ยนทิศทางของบริษัทเพื่อหาโมเดลธุรกิจ ที่เหมาะสมจากหนังสือคูมือของผูประกอบการในการสตารทอัพ (The Startup Owner’s Manual :: Steve Blank and Bob Dorf)
Engineering Today May - June
2019
68
สตีฟ แบลงค (Steve Blank) ผูเชี่ยวชาญเรื่อง Customer Development และ Lean Startup Method ซึง่ เปนผูเ ขียนหนังสือ The Four Steps to the Epiphany ซึ่งเปนหนังสือที่สรางไอเดีย เรือ่ ง Lean startup ขึ้นมาเลมแรก และไดเขียนหนังสือทีเ่ ปนคูม อื ผูประกอบการในการสตารทอัพที่ชื่อวา The Startup Owner’s Manual ไดเนนหัวใจสําคัญของ “สตารทอัพ” อยูที่ “โมเดลธุรกิจ (Business Model)” แต Steve Blank เนนยํ้าวา “สตารทอัพ” ตองการหาโมเดลธุรกิจที่ Repeatable และ Scalable นั่นคือ โมเดลธุรกิจนั้นสามารถสรางกําไรไดเรื่อยๆ เพิ่ม ผูใชไดเรื่อยๆ (Repeatable) และสามารถเติบโตขึน้ ไดอยางรวดเร็วภายในเวลา อันสัน้ และกลายเปนบริษทั ขนาดใหญ (Scalable) การทีจ่ ะเติบโต อยางรวดเร็ว (High Growth Rate) และกลายเปนบริษทั ขนาดใหญ อยางนัน้ ไดในปจจุบนั ก็คอื ตองหาลูกคาใหมจี าํ นวนมหาศาล โดย เฉพาะอยางยิ่งในลักษณะของการผานระบบออนไลนในปจจุบัน
หนังสือคูม อื ของผูป ระกอบการในการสตาร ทอัพ (Book Review) แนวคิดของคูมือการเริ่มตนของเจาของ มีการออกแบบ หนาปกหนังสือเพื่อใหเปนสื่อวาสาระสําคัญของมันเปนเหมือน คูมือในการซอมเครื่องจักรกลของนายชางที่แสดงทุกชิ้นสวน องคประกอบใหเห็นภาพและขั้นตอน จึงเปนสื่อสําหรับเจาของ กิจการในการเริ่มตนสตารทอัพ ในหนังสือเลมนี้ Steve Blank
และ Bob Dorf ไดใหรายละเอียดเกี่ยวกับงานทั้งหมด (และ ความสนุกสนาน) ที่ตองเกิดขึ้นกอนเปดตัวผลิตภัณฑสตารทอัพ ดวยขอมูลมากมายจึงเปนหนังสือเลมใหญ ในความเปนจริงขนาด อาจเปนวิธที มี่ ลี กั ษณะคลายกับคูม อื อัตโนมัตมิ ากในทีส่ ดุ อยาอาน ทีละมากเกินไป “Don’t Read Too Much at a Time” โดยขอแมนี้ ปรากฏขึ้นกอนที่หนังสือจะเริ่มตนในการศึกษา ใหศึกษาเปน ขัน้ เปนตอนอยางละเอียดตามหนาปกหนังสิอ “The Step-by-Step Guide for Building a Great Company” เพื่อสื่อสารใหรูวา หนังสือเลมนี้เปนการแนะนําในเชิงรายละเอียด ซึ่งตองใชเวลา ในการศึกษาทีละขั้นตอน อยามากเกินไปในเวลาเดียว
เริม่ ต นศึกษาสตาร ทอัพ (Getting Started) ผูเ ขียนเตือนเราวากระบวนการการเปดตัวผลิตภัณฑเกานัน้ ผิดทั้งหมดสําหรับการเริ่มตน กระบวนการดังกลาวเหมาะสม เมื่อลูกคารูจักและมีการกําหนดตลาดอยางดี นี่ไมใชกรณีสําหรับ Startups ในหนังสือยังใหความสําคัญในเรื่องการพัฒนาลูกคา (Customer Development) เปนอยางยิ่งสําหรับการเริ่มตนและ มีหลายขั้นตอนในกรอบงาน ดังนี้ 1. การคนพบลูกคา Customer Discovery: พัฒนา สมมติฐานและทดสอบกับลูกคา 2. การตรวจสอบลูกคา Customer Validation: ทดสอบ การขายดูวา ผูค นจะซือ้ จริงหรือไม และดูวา คุณสามารถขยายขนาด ตามความตองการของลูกคา 3. การสรางลูกคา Customer Creation: ขนาดของการ ตลาดและความตองการ 4. การสรางบริษัท Company Building: การเปลี่ยนไปใช องคกรที่ยั่งยืน (Transition to a Sustainable Enterprise) ในแตละขั้นตอนคือการทําซํ้าและสามารถทําซํ้าไดตาม ตองการ นอกจากนี้ ณ จุดใดๆ อาจมีการเปลีย่ นแปลงหรือเปลีย่ น กลยุทธ และตองใชความพยายามเปนที่สุดใหผานจุดของความ ลมเหลวใหได ก็ไมเปนไร-มันไมใชความลมเหลว (That’s OK-it’s Not a Failure.) Steve Blank ไดกลาวไว “Startup ควรมุงหาโมเดลธุรกิจ มากกว า การลงมื อ ปฏิ บั ติ ต ามแผนธุ ร กิ จ ” นั้ น หมายความว า Startup การพัฒนาลูกคา (Customer Development) คือการ หาแนวทางใหมเพื่อการตอบสนองความตองการของลูกคาที่มี การเปลี่ยนแปลง หรือเพื่อการสรางความไดเปรียบทางการคาใน เมือ่ คูแ ขงมีความสามารถทีม่ ากขึน้ หรือเกิดคูแ ขงรายใหมทมี่ าแรง เป น การสร า งแบบจํ า ลองทางความคิ ด เพื่ อ การพั ฒนาลู ก ค า ใหเหนือกวาและตอบสนองความตองการที่โดนใจลูกคามากกวา
ที่เคยคิด สรางแนวคิดและเสนทางการดําเนินการสรางธุรกิจได อยางชัดเจนมากขึ้น
ขัน้ ตอนทีห่ นึง่ : การค นพบลูกค า (Step One: Customer Discovery) Steve Blank ไดอธิบายวา คุณตองเขาใจลูกคาของคุณ อยาตัง้ สมมติฐานเกีย่ วกับพวกเขา หนึง่ ในคะแนนสุดทายที่ Blank และ Dorf ทํา (เชนเดียวกับคนอืน่ ๆ ) คือลูกคาไมไดอยูใ นทีท่ าํ งาน ในการทีจ่ ะพบพวกเขาในระดับของพวกเขา คุณตองออกจากอาคาร “Get Out of the Building.” สตารทอัพควรตั้งเปาที่จะพัฒนาผลิตภัณฑแรกสําหรับ ตลาดเปาหมายขนาดเล็กผานผลิตภัณฑขั้นตํ่า (a Small Target Market Via a Minimum Viable Product :: MVP) เปาหมาย ของ MVP คือการนําผลิตภัณฑออกมาทดสอบปรับทั้งสองสิ่ง ใหเขากัน (Early Adapters) เพื่อใหการออก MVP บังคับให นักพัฒนาใหความสําคัญกับคุณสมบัติที่สําคัญ ไมใชเสียงระฆัง และเสียงดัง ผลิตภัณฑสามารถปรับปรุงไดเมื่อมีขอเสนอแนะ จากลูกคา การวางแผนโมเดลธุรกิจ: ผูเขียนแนะนํา Canvas Model Business (วางในการสรางโมเดลธุรกิจของ Alexander Osterwalder) เปนเครื่องมือที่ดีในการชวยอธิบายวิธีที่บริษัทวางแผนทําเงิน มีสวนประกอบจํานวนมากใน Canvas:
1
. Value Proposition Hypothesis : สมมติฐานของ ข อ เสนอมู ล ค า : รวมถึ ง การมองเห็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ
คุณลักษณะและประโยชนและคําอธิบายของจํานวนคุณลักษณะ ที่นอยที่สุดที่จะใชในการทําผลิตภัณฑแบบสแตนดอโลน (เชน MVP) ตลอดเสนทางบนเว็บ/มือถือ MVP ที่มีความเที่ยงตรงตํ่า จะใชในการทดสอบวาคุณไดระบุปญหาที่คนสนใจหรือไมและ ใชเรื่องราวของผูใชแทนรายการคุณลักษณะ . Customer Segments: กลุ มลูกค า: รวมถึงปญหา ลูกคาความตองการหรือความสนใจ; ประเภทลูกคา (เชนผูใชปลายทางผูมีอิทธิพลผูแนะนําผูซื้อ ฯลฯ) ตนแบบลูกคา ทีแ่ สดงหนึง่ วันในชีวติ ของลูกคากับความตองการอะไร และรวมถึง องคกรลูกคาและแผนงาน . Channels Hypothesis: สมมติฐานช องทาง: สําหรับ ผลิตภัณฑทางกายภาพนีร้ วมถึงคําอธิบายของวิธกี าร ที่ไดรับผลิตภัณฑใหกับลูกคา คิดเกี่ยวกับความเหมาะสมของ ชองสําหรับผลิตภัณฑของคุณ และผูเ ขียนแนะนําใหผทู เี่ พิง่ เริม่ ตน เลือกชองทางเดียวทีม่ ศี กั ยภาพมากทีส่ ดุ สําหรับผลิตภัณฑของคุณ สําหรับผลิตภัณฑเว็บ/มือถือใหพิจารณาขอดีและขอเสียของ ชองตางๆ
2
3
69
Engineering Today May - June
2019
4
. Market-Type and Competitive Hypothesis: ประเภทของตลาดและสมมติฐานการแข งขัน: อธิบาย
ตลาดที่ เ หมาะกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ : ตลาดที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น , ตลาดใหม , การขยายตลาดทีม่ อี ยู, การแบงสวนอีกครัง้ และอืน่ ๆ เมือ่ คุณรูจ กั ตลาดคุ ณ จะรู อ ะไรเกี่ ย วกั บ การแข ง ขั น และคุ ณ สามารถเห็ น และสรางใหเกิดขึ้นกับแผนเบื้องตนสําหรับการเขาถึงชองทาง ของลูกคา
5
. Customer Relationships Hypothesis: สมมติฐาน ของความสัมพันธ กับลูกค า: อธิบายวาคุณจะไดรับ
รักษา และเติบโตกับลูกคาอยางไร สําหรับผลิตภัณฑทางกายภาพ มี 4 ขั้นตอน (Awareness, Interest, Consideration, and Purchase การรับรู ความสนใจ การพิจารณา และการจัดซื้อ วางแผนกลยุทธ “รับ” ทีแ่ ตกตางกันและทดสอบพวกเขา โปรแกรม การเก็บขอมูลลูกคาเขามามีบทบาทในชวง “รักษา” (Keep Phase) และระยะ “เติบโต” (Grow Phase) มุงเนนไปที่การขาย สิ่งของเพิ่มเติมใหกับลูกคาที่มีอยู สําหรับผลิตภัณฑเว็บ/มือถือ เฟส “รับ” มีสองขั้นตอนคือรับและเปดใชงานซึ่งวนกลับมาเอง ขัน้ ตอน“ Keep” อาจเกีย่ วของกับโปรแกรมการเก็บขอมูลเดียวกัน กับผลิตภัณฑทางกายภาพ แตอาจรวมถึงสวนประกอบตางๆ เชน อีเมลการสนับสนุนดิจิทัลเปนตนขั้นตอน “Grow” เกี่ยวของกับ การดึงดูดลูกคาปจจุบันใหใชจายมากขึ้นหรือนําลูกคารายอื่นมา ที่ผลิตภัณฑ
6
. Key Resources Hypothesis: สมมติฐานของ แหล งข อมูลสําคัญ: อธิบายทรัพยากรทางกายภาพ
การเงินมนุษยและทรัพยสินทางปญญา องคประกอบนี้ยังรวมถึง การวิเคราะหการพึง่ พา: ทุกสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ทีบ่ ริษทั ไมสามารถควบคุม ไดและอะไรคือความเสีย่ งหากสิง่ ทีค่ ณ ุ ตองพึง่ พาสุดทายลมเหลว แผนฉุกเฉินมีความสําคัญที่นี่
7 8
. Partners Hypothesis: สมมติฐานของพันธมิตร:
เกี่ ย วข อ งกั บ การแสดงรายชื่ อ พั น ธมิ ต รหรื อ คู ค า ทั้งหมดที่คุณตองการและระบุสิ่งที่คุณตองการจากพวกเขาและ สิ่งที่พวกเขาจะไดรับในการแลกเปลี่ยนกันทางธุรกิจ
. Revenue and Pricing Hypothesis: สมมติฐาน รายรับและการกําหนดราคา: รวมคําถามตอไปนี้:
1) เราจะขายสินคากีร่ ายการ? 2) รูปแบบรายไดคอื อะไร 3) เราจะ เรียกเก็บเงินเทาไหร? และ 4) มีหลักฐานวาสิง่ นีค้ มุ คาทีจ่ ะติดตาม หรือไม? ใชเครือ่ งมือนีน้ อกเหนือจากแผนเพียงครัง้ เดียวและอัพเดต สัปดาหละครั้ง เมื่อเวลาผานไปคุณจะมีประวัติวิวัฒนาการของ บริษัท การวางแผนโมเดลธุรกิจ: Steve Blank แนะนําใหศึกษา คือ Canvas Model Business (วางในการสรางโมเดลธุรกิจของ
Engineering Today May - June
2019
70
Alexander Osterwalder) เปนเครือ่ งมือทีด่ ใี นการชวยอธิบายวิธี ที่บริษัทวางแผนทําเงิน มีสวนประกอบจํานวนมากใน Canvas Model Business ซึ่งอธิบายแนวคิดทางธุรกิจ 9 ขั้นตอนผาน แผนภูมิธุรกิจ ที่สามารถเขาใจไดงายและมองเห็นองคประกอบ ทางธุรกิจไดอยางดีเยี่ยม Size of the Market: ขนาดของตลาด: เมื่อพูดถึงการ ประเมินขนาดของตลาดของคุณวิธีคิดอยางหนึ่งคือ : • Total Addressable Market (TAM): ตําแหนงทางการ ตลาดในภาพรวม ใหมองเห็นจักรวาลทีผ่ ลิตภัณฑของคุณอาศัยอยู • Served Available Market (SAM) ตลาดที่ใหบริการ (SAM): ผูที่สามารถเขาถึงไดผานชองทางการขายของคุณ • Target Market ตลาดเปาหมาย: ผูที่เปนลูกคาของคุณ มากที่สุด คุณตองทําวิจัยที่นี่ โดยดูจากรายงานอุตสาหกรรม ขาว ประชาสัมพันธ หองสมุด ที่ใดก็ไดที่คุณสามารถรับตัวชี้วัดที่ ชวยคุณวัดขนาดของตลาดที่เปนการนําเสนอจากแหลงขอมูลที่ น า เชื่ อ ถื อ ได จ ะเป น การยากที่ จ ะประเมิ น ตลาดใหม ดั ง นั้ น ลองพิจารณาตลาดที่อยูติดกันและดูวาคุณสามารถหาบริษัทที่ เทียบเคียงไดหรือไม Testing Customer’s Problems: การทดสอบปญหา ุ ทํางานเพือ่ คนหาปญหา ของลูกคา : คุณตองออกจากอาคารทีค่ ณ ที่เกิดขึ้นกับลูกคา • How Well You Understand the Customers’ Problem: คุณเขาใจปญหาของลูกคาไดดีเพียงใด • How Important the Problem ปญหาสําคัญเพียงใด สําหรับลูกคาและจํานวนลูกคาที่พูดถึง • If the Customers Care Enough หากลูกคาใสใจมาก พอที่จะบอกเพื่อนๆ ในวงกวางของกระบวนการคนพบปญหา (the Problem Discovery Process) ประกอบด ว ย 5 ขั้ น ตอนต อ ไปนี้ (และหมายเหตุ: กระบวนการนีท้ าํ งานไดเร็วขึน้ สําหรับผลิตภัณฑ เว็บ/มือถือมากกวาผลิตภัณฑทางกายภาพ) Design Experiments for Customer Tests: การ ออกแบบการทดลองสําหรับการทดสอบลูกคา: การทดสอบ สั้น/งายผานวัตถุประสงค/ไมผานซึ่งมีเปาหมายไมใชเพียงการ รวบรวมขอมูล แตยังไดรับขอมูลเชิงลึกอีกดวย Get ready for Customer Contact: เตรียมพรอมสําหรับ การติดตอกับลูกคา: สําหรับผลิตภัณฑทางกายภาพติดตอลูกคา ที่มีศักยภาพที่คุณสามารถทดสอบความคิดของคุณใน สําหรับ ผลิตภัณฑเว็บ/มือถือสิ่งนี้เกี่ยวของกับการพัฒนา MVP ที่มี ความเทีย่ งตรงตํา่ ซึง่ อาจเปนเรือ่ งงายเหมือนโบรชัวรหรือหนาเว็บ
ที่ระบุปญหาแสดงใหผูคนเห็นถึงวิธีการแกปญหาของคุณ
ธงสีแดงขนาดใหญ!
ทดสอบวาลูกคารับรูปญหาไดอยางไร: การนําเสนอปญหา (ไมใช การสาธิตผลิตภัณฑ) สําหรับผลิตภัณฑทางกายภาพที่แสดง ใหเห็นความเขาใจของคุณเกีย่ วกับปญหาและแนวทางแกไขทีเ่ สนอ ของคุณ สําหรับผลิตภัณฑเว็บ/มือถือ นี่คือที่คุณทดสอบ MVP ความเที่ ย งตรงตํ่ า ของคุ ณ ตรวจสอบสมมติ ฐ านของคุ ณ และ สมมติฐานทั้งหมดของคุณเกี่ยวกับลูกคา Understand Customers: ทําความเขาใจกับลูกคา: สิ่งนี้เปนมากกวาแคการตรวจสอบสมมติฐานเกี่ยวกับปญหาของ ลูกคา มันสรางความเขาใจวาลูกคาไปเกี่ยวกับวัน/ชีวิตของพวก เขาและพวกเขาเปนอยางไร (หรือไมเปนไปตามกรณี) การแก ปญหาในปจจุบัน
การดีที่จะไดรับความชวยเหลือจากภายนอก Verifying the Business Model: การตรวจสอบรูปแบบ ธุรกิจ: ยังไมเปดตัวขั้นตอนการคนพบลูกคาในชวงนี้เกี่ยวของกับ การตอบคําถามสําคัญ 3 ขอ: Have you Found Product-Market Fit? (คุณพบตลาด สินคาพอดีหรือไม?) คุณตองแนใจวาผลิตภัณฑของคุณเหมาะสม กับตลาด ทีเ่ ปนสิง่ ทีผ่ คู นจํานวนมากตองการหรือไมมนั แกปญ หา ไดดีแคไหนที่จะแกปญหา? มีคนกี่คนที่จะซื้อของนี้
Test How Customers Perceive the Problem:
Get information on the Market and Competition:
รับขอมูลเกี่ยวกับการตลาดและการแขงขัน: การทําความเขาใจ กับสภาพแวดลอมที่มีการใช งานผลิตภัณฑทางกายภาพอาจ เกีย่ วของกับการไปดูงานแสดงสินคาการประชุมการแขงขันอาหาร กลางวันของคูแขง ฯลฯ เครื่องมือเหลานี้ใชไดกับผลิตภัณฑ เว็บ/มือถือ เชนเดียวกับเครื่องมือวัดปริมาณการใชงาน เชน Alexa แนะนํ า เพิ่ ม ให ศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม การวิ เ คราะห คู แ ข ง ขั น (Competitive Advantage Analysis) พลังการแขงขันธุรกิจ 5 ประการ Testing Your Solution: การทดสอบโซลูชั่นของคุณ: การติดตามการทดสอบปญหาลูกคาระยะนี้ทดสอบวิธีแกปญหา และรายละเอียดผูเขียน 5 ขั้นตอนที่นี่ Update the Business Model and Team: อัพเดต โมเดลธุรกิจและทีม: ดูวาขอมูลใหมเหมาะสมกับสมมติฐานเกา และตัดสินใจวาจําเปนตองเปลีย่ นกลยุทธ (เดือย) หรือดําเนินการ ตอหรือไม นีเ่ ปนเวลาทีจ่ ะแบงปนสิง่ ทีค่ ณ ุ ไดเรียนรูเ กีย่ วกับลูกคา ดวยการจัดการระดับสูงและนักลงทุน Create a Product Solution Presentation สรางการนํา เสนอโซลูชั่น ผลิตภัณฑ (ทางกายภาพ) หรือการทดสอบ MVP ที่มีความเที่ยงตรงสูง (เว็บ/มือถือ) Test the Product Solution: ทดสอบโซลูชั่นผลิตภัณฑ: ดู ว า ลู ก ค า คิ ด อย า งไรโดยถามพวกเขาเกี่ ย วกั บ ทุ ก สิ่ ง รวมถึ ง คุ ณ สมบั ติ ช อ งทาง ฯลฯ และสํ า หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ เ ว็ บ /มื อ ถื อ วัดพฤติกรรมของลูกคา Update the Business Model อัพเดตโมเดลธุรกิจ (yes/again): ใชสิ่งที่คุณไดเรียนรูจากการทดสอบโซลูชั่นอัพเดต โมเดลธุรกิจและตัดสินใจ (ใชอีกครั้ง) วาจะหมุนหรือดําเนินการ ต อ ความกระตื อ รื อ ร น ของลู ก ค า ในระดั บ ตํ่ า ในขั้ น ตอนนี้ เ ป น
Find Board Members: คนหาสมาชิกในบอรด: เปน
Who are Your Customers and How Do You reach them? ลูกคาของคุณคือใครและคุณเขาถึงพวกเขาอยางไร Can you Make Money and Grow the Company?
คุณสามารถทําเงินและขยายบริษัทไดหรือไม? คุณคิดออกวาการ แกปญหาของคุณเปนขอเสนอที่ชนะ การสรางตัวเลขเองจากฐาน ขอมูลวิจัย และทําการประมาณคราวๆ เพื่อดูวามีโอกาสที่คุณ สามารถทําเงินกับผลิตภัณฑใหมของคุณหรือไม กระบวนการดังกลาว จะทําใหคณ ุ เดาไดวา ณ จุดนีค้ ณ ุ ควร หยุดอีกครั้งและตัดสินใจวาจะหมุนหรือดําเนินการตอ (to Pivot or Proceed) ในการดําเนินการตอไปอยางไร ที่ ก ล า วมาทั้ ง หมดนี้ ยั ง เปน ขั้ น ตอนที่ ห นึ่ ง จากหนั ง สื อ หนังสือคูมือของผูประกอบการในการสตารทอัพ (The Startup Owner’s Manual :: Steve Blank and Bob Dorf ) และบทนํา ที่กลาวไววา อยาอานทีละมากเกินไป “Don’t Read Too Much at a Time” การศึกษาฐานขอมูลลูกคาและนํามาลงในแบบจําลอง แผนธุ ร กิ จ จะต อ งมี ก ารทํ า และทดสอบ-ปรั บ ข อ มู ล -แก ไ ข เสียงสะทอนจากลูกคา-และทําและทดสอบอีกหลายๆ ครั้ง ซึ่ง ผูประกอบการ หรือสตารทอัพหนาใหมจะไมทิ้งความพยายาม ที่จะทําการพัฒนาลูกคา (Customer Development) โดยการ วางแผนและดําเนินตามตามโมเดลธุรกิจ Business Model Canvas (BMC) โดยประเมินขนาดของตลาด Size of the Market Testing Customer’s Problems: จากการหาตลาดจากปญหา ที่เกิดขึ้นกับลูกคาและการทดสอบปญหาของลูกคา Testing Customer’s Problems: ใหไดปญหาของลูกคาที่แทจริงและ มีจํานวนมากที่เกิดขึ้น โดยใชกระบวนการคนพบปญหา (the Problem Discovery Process) และสามารถสรางแบบจําลอง ทางธุรกิจ (Business Model) เพื่อการทดสอบหรือจําลองการ ทํากอนการลงมือทําจริงดวย แบบ Testing Your Solution: การทดสอบโซลูชั่นของคุณ ใหเกิดความแนใจจริงๆ แลวพบกัน ในบทสรุปฉบับตอไปครับ
71
Engineering Today May - June
2019
Energy Today • กองบรรณาธิการ การติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟ าพลังงานแสงอาทิตย บนอาคารสํานักงาน โครงการซัมเมอร ลาซาล ผลิตไฟฟ ากว า 460,000 กิโลวัตต -ชัว่ โมง
ป ตภิ ทั ร บุรี (ที่ 2 จากซ าย) เอ็มดี บริษทั ภิรชั แมนเนจเม นท จํากัด จับมือเป นพันธมิตรกับ กนกวรรณ จิตต ชอบธรรม (ที่ 2 จากขวา) เอ็มดี บริษทั บ านปู อินฟ เนอร จี จํากัด
ภิรัชบุรจี ับมือบ านปูฯ ติดตั้งโซลาร รูฟท็อป ในโครงการซัมเมอร ลาซาล
คาดประหยัดพลังงานป ละกว า 1.8 ล านบาท
เมือ่ เร็วๆ นี้ กลุม บริษทั ภิรชั บุรี ผูพ ฒ ั นาอสังหาริมทรัพยเชิงพาณิชย ระดับคุณภาพ โดย ปติภัทร บุรี กรรมการผูจัดการ บริษัท ภิรัช แมนเนจเมนท จํากัด ภายใต กลุม บริษทั ภิรชั บุรี รวมลงนามเซ็นสัญญา กับ กนกวรรณ จิตตชอบธรรม กรรมการผูจัดการ บริษัท บานปู อินฟเนอรจี จํากัด หนึง่ ในบริษทั ลูกของ บริษทั บานปู จํากัด (มหาชน) ผูนําธุรกิจดานพลังงานแบบครบวงจรแหงเอเชียแปซิฟก เพื่อติดตั้ง ระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย หรือโซลารรูฟท็อปแบบครบวงจร ด ว ยเทคโนโลยี ก ารติ ด ตั้ ง และอุ ป กรณ ที่ ทั น สมั ย ได ม าตรฐานสากล ทีแ่ ปลงพลังงานแสงอาทิตยไปเปนพลังงานไฟฟาไดอยางมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น โดยมีกําลังการผลิตกระแสไฟฟากวา 460,000 กิโลวัตตชั่วโมง ซึ่งเมื่อติดตั้งทั้งโครงการคาดวาจะชวยประหยัดพลังงานใหกับ โครงการฯ ปละกวา 1.8 ลานบาท
Engineering Today May - June
2019
72
ป ติ ภั ท ร บุ รี กรรมการผู จั ด การ บริ ษั ท ภิ รั ช แมนเนจเมนท จํากัด ภายใต กลุมบริษัทภิรัชบุรี กลาววา ความรวมมือระหวางภิรชั บุรแี ละบานปูฯ ในการติดตัง้ ระบบ ผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยในโครงการซัมเมอร ลาซาล ในครั้งนี้ นอกจากเราไดเล็งเห็นประโยชนทางดานการ ประหยัดพลังงานใหกบั ตัวโครงการฯ แลว ยังถือเปนโอกาสดี ในการริเริ่ ม นําเทคโนโลยี พลังงานสะอาดเขามามี สวน ในอาคารสํานักงานของกลุมบริษัทภิรัชบุรีตอไปในอนาคต ซึ่งจะสงผลอันดีตอทั้งธุรกิจ สังคมและชุมชนในระยะยาว ซัมเมอร ลาซาล เปนโครงการพัฒนาอาคารสํานักงาน แนวราบแหงใหม ภายใตคอนเซ็ปต “ออฟฟศแคมปส” ซึ่ง ประกอบดวย อาคารสํานักงานจํานวน 5 แคมปส รวม ทัง้ สิน้ 29 อาคาร โดยแตละแคมปสจะประกอบดวยอาคาร สํานักงานสูง 3 ชั้น จํานวน 4-6 อาคาร นอกจากนี้ยังมี คอมมิวนิตี้มอลล SUNNY โรงแรมและศูนยการจัดประชุม ภายในตัวโครงการฯ โดยโครงการตั้งอยูบนถนนลาซาล เชื่อมตอกับถนนสุขุมวิท เทพรัตน และแบริ่ง ซึ่งเปนยาน ศูนยกลางธุรกิจแหงใหมในอนาคตใกลกับศูนยนิทรรศการ และการประชุมไบเทค รถไฟฟาบีทีเอส (สถานีบางนาและ แบริ่ง) ทางดวน และใชเวลาเพียง 20 นาทีในการเดินทาง สูทาอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ และยานใจกลาง กรุงเทพฯ
Advertorial • UBM
งานพลั ง งาน ครั้งยิ่งใหญ ในเอเชียพร อมสําหรับธุรกิจ!
งาน ASEAN Sustainable Energy Week (ASE) 2019 เปนงานเกี่ยวกับพลังงานที่ใหการ
บริการแพลตฟอรมธุรกิจระดับภูมิภาคและจุดนัดพบและเปนศูนยรวมมาอยางยาวนานเกือบ 30 ป งานนี้ คาดวาจะมีผูเขารวมมากกวา 25,000 รายที่เปนผูผลิต ผูประกอบการ นักวิชาการ นักวิจัย และผูเกี่ยวของ กับการออกนโยบายจาก 45 ประเทศ งานป 2019 จะนําเสนอแหลงพลังงานที่เปนนวัตกรรมลาสุดพรอม กับเครื่องจักรและอุปกรณที่ทันสมัยที่ชวยเพิ่มความสามารถในการแขงขันทางธุรกิจโดยรวม ASE 2019 เปนการรวมตัวกันของ 4 งานพิเศษ: • RENEWABLE ENERGY ASIA - นิทรรศการและการประชุมพลังงานทดแทนที่ใหญที่สุดและ ครอบคลุมที่สุดในอาเซียน • ENERGY EFFICIENCY EXPO - งานแสดงระดับนานาชาติดานพลังงานประสิทธิภาพ • ENTECH POLLUTEC ASIA - นิทรรศการระดับนานาชาติดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมและ เทคโนโลยีการควบคุมมลพิษ • ELECTRIC VEHICLE - งานแสดงสินคาและการประชุมยานยนตไฟฟานานาชาติแหงเดียวใน ประเทศไทย จัดแสดงรวมกับ PUMPS & VALVES ASIA (PV) 2019 - นิทรรศการระดับนานาชาติที่ใหญที่สุด ในอาเซียนของปม, วาลว, ฟตติ้ง และฮารดแวร งานนี้เปนงานเดียวในประเทศไทยและมีผลิตภัณฑ เชน ปมของเหลวและสารเคมี ปมดับเพลิงและนํ้าเสีย กากตะกอนสุญญากาศ และปมนํ้า รวมถึงอุปกรณวัด ของเหลวหลากหลายของทอและวาลวครบวงจร
ห ามพลาดงาน ASEAN Sustainable Energy Week 2019, 5-8 มิถุนายน 2562, ไบเทค/กรุงเทพฯ
ติข อมูดลเพิต ่มอเติมสอบถาม ภายในงาน กรุณาติดต อ
คุณวรรณปราณ พัธโนทัย โทร. 0-2036-0500 ต อ 242 อีเมล : Varnnapran.p@ubm.com
สมัครเข าร วมงานที่นี่!! 73
Engineering Today May - June
2019
Advertorial
Engineering Today May - June
2019
74
>> Gadget
COTTO เปิดตัวสุขภัณฑ์ใหม่รูปทรงวงรีสไตล์ Minimal “OVAL Collection” ผลงานดีไซเนอร์ชาวญี่ปุ่น
C
OTTO (คอตโต) แบรนดผูผลิตสุขภัณฑและกอกนํ้าชั้นนํา จับมือ นาโอโตะ ฟูกาซาวา ดีไซเนอรชาวประเทศญี่ปุน เปดตัว สุข ภัณฑ ใหม “OVAL” โดยใน Collection นี้ ประกอบไปดว ยสุ ข ภั ณ ฑ อางลางหนา กอกนํ้า ฝกบัว และกระจกพรอมไฟ LED รูปทรงวงรีสไตล Minimal ภายใตคอนเซ็ปต “Warm & Elegant” เพื่อตอบสนองความตองการของกลุมลูกคาที่ใหความสําคัญกับรสนิยมงานออกแบบเรียบหรูและมี คุณคาตลอดกาลเวลา ซึ่งจุดเดนของสินคา OVAL Collecttion คือการออกแบบใหสินคาที่ใชงานในหองนํ้าทุกประเภทมีความสอดคลองกลมกลืน กับสรีระมนุษยในการใชงาน คนตัวเล็กคนตัวใหญกส็ ามารถทีจ่ ะใชงานไดอยางดีเยีย่ ม อีกทัง้ รูปแบบดูเรียบหรูทาํ ใหรสู กึ สบาย อบอุน ผอนคลายเวลา ใชงาน ตอบโจทยการใชงานในตลาดบานและคอนโดมิเนียมราคาสูงรวมถึงตลาดงานโรงแรมอยางลงตัว สามารถเลือกซื้อสินคา OVAL Collection ไดทั้งแบบเดี่ยวแยกชิ้นผลิตภัณฑและแบบยกเซต สนใจสามารถสัมผัส OVAL Collection ใหมลาสุดจาก COTTO เต็มรูปแบบไดที่ตัวแทนจําหนายทั่วประเทศหรือคลิกดูรายละเอียดเพิ่ม เติมไดที่ www.cotto.com/oval
iExpressByDHL ครบจบในแพลตฟอร์มเดียว เร่งเครื่อง SME ขยายตลาดไปทั่วโลก เอชแอล เอกซเพรส ผูนําระดับโลกดานการขนสงดวนระหวาง ประเทศในเครือดอยชโพสต ดีเอชแอล เปดตัว iExpressByDHL แพลตฟอรมขนสงดวนระหวางประเทศที่ใชงานงายสําหรับผูประกอบการ อี ค อมเมิ ร ซ ลดป ญ หากวนใจเรื่ อ งขั้ น ตอนการจั ด ส ง และเตรี ย มเอกสาร ดําเนินการไดครบบนอุปกรณมือถือและคอมพิวเตอร พรอมพาสินคาสงออก ขามประเทศสูปลายทาง 220 ประเทศทั่วโลกในเวลา 1-3 วัน เหมาะสําหรับ ผูประกอบการในธุรกิจอีคอมเมิรซ โดยเฉพาะผูขายในระยะตั้งตนหรือสตารท อัพที่เพิ่งเริ่มรานคาออนไลนผานโซเชียลมีเดีย หรือกําลังขยายฐานลูกคา ในตลาดตางประเทศแตขาดประสบการณดานการขนสงระหวางประเทศ ตองการใชบริการขนสงดวนที่ไดมาตรฐานโลก เพื่อความประทับใจของผูรับและสรางความนาเชื่อถือในธุรกิจ iExpressByDHL ใชงานงายแมในครั้งแรก เช็กราคาคาบริการไดเบื้องตนภายในไมกี่คลิก บุคกิ้งการจัดสงเพื่อใหเจาหนาที่คูเรียรมารับสินคา หรือเลือกนําสินคาไปสงดวยตนเอง ณ จุดบริการดีเอชแอล เอกซเพรสใกลบา น พรอมสัง่ พิมพใบนําสงสินคา (Waybill) ใบกํากับสินคา (Commercial Invoice) และชําระคาขนสงไดงายและปลอดภัยผานบัตรเครดิต ครบถวนทุกขั้นตอนสําคัญผานอุปกรณมือถือและคอมพิวเตอร นอกจากนี้ ผูใ ชบริการ iExpressByDHL สามารถตรวจสอบสถานะการจัดสงแบบเรียลไทม พรอมบริการนําสงสินคาถึงทีแ่ บบ Door-to-Door และหากมีคําถามเกี่ยวกับการขนสงดวนระหวางประเทศในขณะใชงาน สามารถสอบถามเจาหนาที่ผานบริการ Live Chat
ดี
77
Engineering Today May - June
2019
Gadget >> Lenovo Legion Y545 ล็ปท็อป Lenovo Legion Y545 ผลิตจากวัสดุที่แข็งแรงทนทาน อยางอะลูมิเนียม ใหความดุดันบงบอกตัวตนของเกมเมอรสายฮารดคอร ทรงพลังดวยหนวยประมวลผล 9th Gen Intel Core i7 และชิปกราฟก NVIDIA GeForce RTX 2060 GPU อีกทัง้ ผูใ ชงานยังสามารถเลือกชิปกราฟกแบบ GeForce GTX 1660 Ti หรือ 1650 GPU ไดเชนกัน Lenovo Legion Y545 มีขนาดกะทัดรัดสะดวกตอการใชงานทั่วไป ตางจาก เกมมิง่ แล็ปท็อปรุน อืน่ ทีม่ ขี นาดใหญ นอกจากนีย้ งั มาพรอมชองระบายความรอนและ การทํางานที่เงียบดวยคียบอรดเรืองแสงสีขาวตอบสนองการกดแปนไดดียิ่งขึ้น Lenovo Legion Y545 คือเกมมิ่งแล็ปท็อปที่ตอบโจทยทั้งการเลนเกมและการทํางานอยางลงตัวในเครื่องเดียว คนหาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลิตภัณฑเลอโนโวไดที่ https://www.lenovo.com/th/th/
แ
ฟิตบิท จับมือ สแนป เปิดตัวครั้งแรก กับบิทโมจิ บนหน้าปัดสมาร์ทวอทช์ ตบิท ผูนําอุปกรณแวรเอเบิลระดับโลก และ สแนป อิงค ประกาศความรวมมือในการสงเสริมใหการใชวติ แบบแอคทีฟและ มีสขุ ภาพดีเปนเรือ่ งนาสนุกยิง่ ขึน้ พรอมเปดตัว บิทโมจิ (Bitmoji) หรือการตนู รูปหนาของผูใชเปนครั้งแรกบนหนาปดสมารทวอทช โดยจะอัพเดทหนาตา ตลอดเวลาตามขอมูลดานสุขภาพและการออกกําลังกายของผูใช รูปแบบ กิจกรรม ชวงเวลา และสภาพอากาศ ซึ่งผูใชงานสมารทวอทชตระกูล Fitbit Ionic™ และ Fitbit Versa™ ทุกเครื่อง สามารถใชงานบิทโมจิได โดยบิทโมจิ จะสะทอนการใชชีวิตที่สนุกสนานตลอด 24 ชั่วโมงของผูใชงาน มีลักษณะทาทางที่แตกตางกันถึง 50 รูปแบบ อาทิ โบกมือทักทายเมื่อเริ่มตน วันใหม, ทําสมาธิในเวลาที่คุณกําลังพักผอนหรือสงบนิ่งแบบเซน โปรยคอนเฟตตี้เมื่อสามารถบรรลุเปาหมายระหวางวัน หรือแมแตการเตือนให เขานอนก็ตาม เพื่อชวยสรางแรงจูงใจใหผูใชรูสึกอยากใชชีวิตที่แอคทีฟมากขึ้น สามารถดาวนโหลดหนาปดนาฬกาบิทโมจิไดที่ Fitbit App Gallery สําหรับสมารทวอทชของฟตบิทในรุน Fitbit Versa Lite Edition™, Fitbit Versa™, Fitbit Versa Special Edition™, Fitbit Ionic™ และ Fitbit Ionic: adidas Edition™
ฟ
กล้องกันนํ้า GoPro HERO 7 Black ลอง GoPro HERO 7 Black เปนกลองกันนํ้า (Waterproof) ดวยความสามารถ ในการทํางานไดอยางดีเยี่ยม ไมวาจะอยูในสภาพอากาศและสภาพแวดลอม แบบไหน เนือ่ งจากมีฟเ จอรไมวา จะเปน Waterproof, HyperSmooth, TimeWarp, SuperPhoto รวมถึง Live Streaming ทําให GoPro HERO 7 Black พรอมที่จะเปนเพื่อนคูใจที่จะชวยใหคุณ เก็บภาพและวิดีโอบันทึกชวงเวลาสนุกๆ ไดโดยไมตองกังวล มาพรอมโหมด HDR นอกจากนี้ ยั ง มี ฟ เ จอร SuperPhoto ที่ จ ะช ว ยให คุ ณ ถ า ยภาพที่ ดี ที่ สุ ด ได โ ดยอั ต โนมั ติ ผ า นการใช ระบบ HDR ฟเจอร TimeWarp ชวยใหคุณบันทึกวิดีโอเปนระยะเวลานานไดอยางไมมีสะดุด และระบบ HyperSmooth ชวยลดการสั่นไหวของวิดีโอ สามารถใชฟเจอรทั้งสองอันรวมกันเพื่อการบันทึกวิดีโอที่สวยงาม ลื่นไหลราวกับมืออาชีพ นอกจากนี้ ยังสามารถตัดตอวิดีโอดวย Quik แอพตัดตอ วิดีโอของโกโปร เพิ่มเพลงและฟลเตอร ใหวิดีโอของคุณมีความนาสนใจยิ่งขึ้น สวนฟเจอร Live Streaming เปดโอกาสใหคุณแชรโมเมนตแอคชั่น สุดมันสใหโลกรูไ ดในเวลาเดียวกันกับทีค่ ณ ุ กําลังสนุกกับแอคชัน่ นัน้ ๆ โดยสามารถกดแชรโมเมนตตา งๆ จากตัวกลองไปยัง Facebook และ YouTube ไดโดยตรงผานการเชื่อมโยงกลอง GoPro เขากับโทรศัพทมือถืออยางงายดายเพียงปลายนิ้ว สนใจขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ GoPro HERO 7 Black และอุปกรณเสริม สามารถดูไดที่ https://www.gopro.com/
ก
Engineering Today May - June
2019
78
ASEANâ&#x20AC;&#x2122;s Leading Machinery and Technology Event for Manufacturing and Supporting Industries
19-22
JUNE 2019
BITEC, BANGKOK THAILAND
ASEANâ&#x20AC;&#x2122;s manufacturing and supporting industries HYL \WNYHKPUN [OLPY WYVK\J[PVU LMÃ&#x201E;JPLUJ` [V Z\WWVY[ expansion of regional market and adapt to the full Z^PUN VM 0UK\Z[Y` 0U 4HU\MHJ[\YPUN ,_WV ^PSS MLH[\YL [OL ^PKLZ[ YHUNL VM THJOPULY` HUK [LJOUVSVNPLZ I` IYHUKZ MYVT JV\U[YPLZ JVTPUN [VNL[OLY [V LTWV^LY WV[LU[PHS I\`LYZ ^OV HYL ZLLRPUN HUZ^LYZ VU OV^ [V VW[PTHSS` OHYULZZ [OL WV^LYZ HUK JHWHIPSP[PLZ VM [LJOUVSVN` HUK KPNP[HSPaH[PVU
Organized by:
Exhibit space is open for reservation. +66 2686 7299 manufacturing-expo@reedtradex.co.th manufacturingexpopage www.manufacturing-expo.com
ASEANâ&#x20AC;&#x2122;s Most Comprehensive Exhibition on Industrial Automation Systems & Solutions and Assembly Technology â&#x20AC;&#x201C; 20th Edition
19-22
JUNE 2019
BITEC, BANGKOK THAILAND
Your Brand & Success! The leading business platform in the automation manufacturing hub of ASEAN is ready to boost your business growth onto a higher level. Promote your superb industrial automation technologies & reach out to potential customers in one go.
Organized by:
Pre-register at www.assemblytechexpo.com