Engineering Today No.177 (Issue May-Jun 2020)

Page 1








Wed. - Fri.





EDITOR TALK กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝ่ายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝ่ายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th คณะที่ปรึกษา ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปัทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร์, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ต่อตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค์ ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร บรรณาธิการอ�ำนวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา สุเมธ บุญสัมพันธ์กิจ บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย์ เรืองติก พิสูจน์อักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ์ ฝ่ายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ์ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย์, กัลยา ทรัพย์ภิรมย์, วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายผลิต ชุติมณฑน์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์ โรงพิมพ์ หจก. รุ่งเรืองการพิมพ์ แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Engineering Today www.engineeringtoday.net

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

สมาพันธ์สภาวิชาชีพฯ แนะ “วิศวกรไทย” เร่งปรับตัว เรียนรู้ สู่การประดิษฐ์นวัตกรรมสู้ COVID-19 รองรับโรคอุบัติใหม่อื่นๆ ในอนาคต นับตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคมที่ผ่านมา ตัวเลขผู้ติดเชื้อ COVID-19 ในไทย ลดลงอย่างเห็นได้ชดั ต่อเนือ่ งเป็นระยะเวลา 14 วัน ส่งผลให้รฐั บาลประกาศผ่อนปรน กิจการ-กิจกรรมระยะที่ 2 โดยอนุญาตให้ห้างสรรพสินค้ากลับมาเปิดให้บริการได้ อีกครั้ง เริ่มมีผลตั้งแต่วันที่ 17 พฤษภาคม 2563 รวมถึงการผ่อนคลายการประกาศ ห้ามออกนอกเคหสถาน (เคอร์ฟิว) จากเดิมเวลา 22.00-04.00 น. เป็นเวลา 23.00-04.00 น. ท�ำให้ภาคเศรษฐกิจไทยเริ่มขับเคลื่อนอีกครั้ง ผลพวงจากตัวเลขผู้ติดเชื้อ COVID-19 ที่ต�่ำลงมาก สวนทางกับยอดผู้ป่วย ที่รักษาหายมากขึ้น ล่าสุดเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2563 ที่ประชุมศูนย์บริหาร สถานการณ์ โ ควิ ด -19 (ศบค.) ชุ ด ใหญ่ ได้ มี ม ติ เ ห็ น ชอบให้ ผ ่ อ นปรนกิ จ การใน ระยะที่ 3 โดยให้เปิดบริการฟิตเนส โรงภาพยนตร์ และโรงละคร จ�ำกัดคนดูรอบละ 200 คน เปิดกิจการนวดเพื่อสุขภาพ และให้ฝึกซ้อมกีฬา พร้อมทั้งปรับระยะเวลา เคอร์ฟิว เป็น 23.00-03.00 น. มีผลในวันที่ 1 มิถุนายน 2563 เชื่อว่าการปลดล็อก ในครั้งนี้ ถือเป็นการปลดล็อกครั้งใหญ่ ท�ำให้ธุรกิจต่างๆ ที่ใช้ก�ำลังคนจ�ำนวนมากได้ ฟื้นตัวและด�ำเนินไปอย่างแพร่หลายมากยิ่งขึ้น เมื่อเร็วๆ นี้ สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย ได้ผนึกก�ำลัง 11 อาชีพ ร่วมจัดงานเสวนาในหัวข้อ “การเตรียมตัวรับ New Normal หลังวิกฤตไวรัส COVID-19” ซึ่งได้ข้อสรุปที่น่าสนใจว่ามี 4 อาชีพที่ต้องปรับตัว หลังสถานการณ์ COVID-19 คลี่คลาย หนึ่งในนั้นคืออาชีพ “วิศวกร” ผลกระทบจากสถานการณ์โรคอุบัติใหม่ COVID-19 ท�ำให้วิศวกรยุคใหม่ ต้องปรับตัวต่อยอดความรู้พัฒนาเทคโนโลยี ด้วยเทคโนโลยีด้านวิศวกรรม ถือเป็น กลไกหนึ่งในการร่วมแก้ไขปัญหาในหลากมิติ โดยบูรณาการความรู้สู่การประดิษฐ์ นวัตกรรมสู้ COVID-19 ตลอดจนรองรับโรคอุบตั ใิ หม่อนื่ ๆ ในอนาคต เช่น การพัฒนา Co-Bot หุน่ ยนต์ทำ� งานร่วมกับทีมแพทย์ เทคโนโลยีไร้สมั ผัส (Touchless Technology) โดรนเทคโนโลยี (Drone Technology) ในการจัดส่งเวชภัณฑ์และอาหาร หรือ ห้องตรวจเชือ้ พิเศษ เพือ่ ลดเลีย่ งการสัมผัสกับผูป้ ว่ ยโดยตรง รวมถึงการคิดค้นแนวทาง การจัดการขยะติดเชื้อ ภายใต้กระบวนการวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ฯลฯ ส�ำหรับวารสาร Engineering Today ฉบับนี้ ยังคงเกาะติดนวัตกรรมทางด้าน การแพทย์ ช่วยเหลือผู้ป่วยติดเชื้อ COVID-19 เช่นเคย เริ่มจาก “บทสัมภาษณ์ ศ. ดร.วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ อย่างเจาะลึกถึงการพัฒนาหุ่นยนต์ทางการแพทย์หุน่ ยนต์ชว่ ยดูแลผูป้ ว่ ย COVID-19” ตามด้วย “คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะ แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัย มหิดล เปิดตัว “หุ่นยนต์เวสตี้” ช่วยเก็บขยะ ติดเชือ้ และ “หุน่ ยนต์ฟดู้ ดี”้ ช่วยส่งอาหาร-ยา ในหอผู้ป่วย รับมือ COVID-19”, “ฟีโบ้” ติดตัง้ ระบบหุน่ ยนต์ “FACO” สูภ้ ยั COVID-19 แห่งแรกที่ รพ.รามาธิบดีจกั รีนฤบดินทร์ พร้อม เผยแพร่ Engineering Drawing ให้เอกชน ต่อยอดสร้างหุน่ ยนต์ในประเทศ” และคอลัมน์ อื่นๆ ที่น่าสนใจ ติดตามได้ในฉบับครับ


CONTENTS Engineering Today

May - June 2020 VOL. 3 No. 177

24 Engineering 4.0

COLUMNS

12 บทบรรณาธิการ

สมาพันธ์สภาวิชาชีพฯ แนะ “วิศวกรไทย” เร่งปรับตัว เรียนรู้ สู่การประดิษฐ์นวัตกรรมสู้ COVID-19 รองรับโรคอุบัติใหม่อื่นๆ ในอนาคต

• กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

15 Interview

ศ. ดร.วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ พัฒนาหุ่นยนต์ทางการแพทย์-หุ่นยนต์ ช่วยดูแลผู้ป่วย COVID-19

• กองบรรณาธิการ

สมาพันธ์สภาวิชาชีพฯ เผย 4 วิชาชีพ “วิศวกร-แพทย์-สถาปนิก-ทนายความ” ปรับรูปแบบการท�ำงานใหม่รับ “New Normal”

• กองบรรณาธิการ

Digital Economy 28 Digital

จีนใช้เทคโนโลยีดิจิทัลช่วยชีวิต-ฝ่าฟันวิกฤต ท่ามกลางไวรัส COVID-19 ระบาด (ตอนจบ)

• อาลีเพย์

30 3D

15

• Dassault Systèmes

31 Robotics

“ฟีโบ้” ติดตั้งระบบหุ่นยนต์ “FACO” สู้ภัย COVID-19 แห่งแรก ที่ รพ.รามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์

20 Report

โซลูชั่น Dassault Systèmes ช่วยสร้างแบบจ�ำลอง-ป้องกัน การแพร่กระจาย COVID-19 ในโรงพยาบาลเหลยเสินซานในอู่ฮั่น

• กองบรรณาธิการ

คณะวิศวฯ ม.มหิดล ร่วมกับ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล เปิดตัว “หุ่นยนต์เวสตี้” ช่วยเก็บขยะติดเชื้อ และ “หุ่นยนต์ฟู้ดดี้” ช่วยส่งอาหาร-ยาในหอผู้ป่วย รับมือ COVID-19

• กองบรรณาธิการ

31 20

34 AI

บทบาทของปัญญาประดิษฐ์ (AI) ด้านการแพทย์ในวิกฤต COVID-19

• NetApp


CONTENTS Engineering Today

May - June 2020 VOL. 3 No. 177

Construction THAILAND

Digital Economy 36 In Trend

48 Construction

เตรียมความพร้อมระบบขนส่งสาธารณะไทย ในสถานการณ์ COVID-19

• ดร.สุเมธ องกิตติกุล, ณิชมน ทองพัฒน์

คมนาคม ร่วมกับ 7 สมาคมเหล็กจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ หนุนใช้เหล็กในประเทศสนองนโยบาย Thai First

• กองบรรณาธิการ

36

48

39 Technology ซิสโก้ชี้ Workplace ในอนาคต เปลี่ยนการท�ำงานให้เป็นดิจิทัลมากขึ้น

51 Property

รับมือ COVID-19

• กองบรรณาธิการ

42 IT Update

ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี แนะธุรกิจปรับตัว-ใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ มากที่สุด ในช่วงวิกฤต COVID-19

• กองบรรณาธิการ

44 Environment

เดอะมอลล์ กรุ๊ป ร่วมสนับสนุนโครงการ “ส่งพลาสติกกลับบ้าน” รับมือขยะจากวิกฤต COVID-19

• กองบรรณาธิการ

45 Logistics

DHL แนะ “8 เคล็ดลับ” ช่วยร้านค้าส่งสินค้าได้ต่อเนื่อง เพิ่มความเชื่อมั่นให้ลูกค้าช่วง COVID-19

• ดีเอชแอล เอ๊กซ์เพรส

“เน็กซัส” ชี้วิกฤต COVID-19 จุดเปลี่ยนอสังหาฯ ไทย แนะรัฐออกมาตรการกระตุ้นช่วยภาคอสังหาฯ อย่างเร่งด่วน

• กองบรรณาธิการ

54 บทความ

บทวิพากษ์ โครงการการเดินเรือล�ำคลองในเขตกรุงเทพมหานคร

• รศ. ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ์

58 Project Management

แนวทางการปฏิบัติในการท�ำงานจากที่บ้าน (Work From Home : WFH )

• ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล


Interview • กองบรรณาธิการ

ศ. ดร.วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ

พัฒนาหุ่นยนต์

ทางการแพทย์

หุ่นยนต์ช่วย

ดูแลผู้ป่วย COVID-19

ากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ Coronavirus 2019 หรือ COVID-19 ในขณะนี้ ก�ำลังเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่ส�ำคัญ ระดับโลก ด้วยเป็นโรคอุบตั ใิ หม่ทยี่ งั ไม่มวี คั ซีนรักษา ให้หายขาด ส�ำหรับประเทศไทยมีรายงานการติดเชือ้ จากคนสูค่ นเป็นรายแรก เมือ่ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2563 โดยผูป้ ว่ ยเป็นคนขับรถแท็กซีแ่ ละไม่มปี ระวัติ เดินทางไปประเทศจีน อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ ประเทศไทยดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยปัจจุบัน (22 พฤษภาคม 2563) มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ศูนย์ราย เป็นวันทีส่ าม ยอดติดเชือ้ สะสม 3,037 คน หายป่วย สะสม 2,910 คน เสียชีวติ สะสม 56 คน เหลือรักษา อยู่ที่โรงพยาบาลเพียง 71 คน ประเทศไทยอยู่ใน อันดับที่ 77 ของโลก ขณะทีท่ วั่ โลกภาพรวมผูต้ ดิ เชือ้ ทะลุ 6 ล้ า นคน และยอดผู ้ เ สี ย ชี วิ ต ยั ง เพิ่ ม ขึ้ น อย่างต่อเนื่อง

ย้อนกลับไปในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา สถานการณ์การแพร่ ระบาดของเชื้อ COVID-19 เริ่มรุนแรงมากยิ่งขึ้น ประเทศไทยมีความจ�ำเป็น เร่งด่วนที่จะต้องมีมาตรการในการควบคุมและป้องกันการระบาดของโรค ในเชิงรุก เพื่อจ�ำกัดการแพร่ระบาดของเชื้อ ลดผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และความกังวลของประชาชนในประเทศ หนึ่งในนั้นคือการน�ำหุ่นยนต์และระบบทางการแพทย์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ ทางการแพทย์ที่ช่วยในการขยายการบริการงานทางการแพทย์ ที่คิดค้นโดย ศ. ดร.วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เข้ามาช่วยดูแลผู้ป่วย โดย เฉพาะเฝ้าระวังผู้ที่คาดว่าจะติดเชื้อหรือผู้ติดเชื้อแล้วในบริเวณที่ควบคุมเป็น พิเศษเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ COVID-19

15

Engineering Today May - June

2020


หุ่นยนต์แบบ Desktop (ซ้าย) และหุ่นยนต์แบบ Mobile Platform (ขวา) ที่ท�ำงานในลักษณะ Telemedicine และ Telepresence และสามารถพัฒนาใช้กับงานรูปแบบต่างๆ ได้

ระบบหุ่นยนต์และระบบทางการแพทย์ เฝ้าระวังผู้ติดเชื้อ-ป้องกันการแพร่ กระจายของเชื้อ COVID-19 ศ. ดร.วิบลู ย์ แสงวีระพันธุศ์ ริ ิ อาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ระบบหุ่นยนต์ และระบบทางการแพทย์ เป็นอุปกรณ์ทางการแพทย์ ที่ ช ่ ว ยในการขยายการบริการงานทางการแพทย์ โดยเฉพาะช่วยในการเฝ้าระวังผู้ที่คาดว่าจะติดเชื้อ หรือผู้ติดเชื้อแล้วก็ตาม ซึ่งจะจัดให้กลุ่มดังกล่าวอยู่ ในบริเวณที่ควบคุมเป็นพิเศษเพื่อป้องกันการแพร่ กระจายของเชื้อ COVID-19 เนื่องจากมีจ�ำนวน ผู ้ ติ ด เชื้ อ มากขึ้ น เรื่ อ ยๆ และอยู ่ ห ลากหลาย โรงพยาบาล เช่ น โรงพยาบาลรั ฐ บาลในเขต กรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลทีอ่ ยูใ่ นแหล่งท่องเทีย่ ว เป็นต้น ดังนั้นการเฝ้าระวังนี้จะต้องใช้บุคลากร ทางการแพทย์จ�ำนวนค่อนข้างมากเช่นกัน และ การที่บุคลากรทางการแพทย์เหล่านี้จ�ำเป็นจะต้อง เข้าไปอยู่ในบริเวณที่ป้องการการแพร่เชื้อ ท�ำให้ บุคลากรทางการแพทย์นนั้ มีโอกาสติดเชีอ้ ได้ รวมถึง บุคคลเกีย่ วข้องอืน่ เช่น ล่ามภาษาจีนทีม่ าช่วยในการ สื่อสาร เป็นต้น

Engineering Today May - June

2020

จุดเริ่มต้นในการพัฒนาหุ่นยนต์สนับสนุนกิจกรรม ทางการแพทย์ ส�ำหรับผู้ป่วย COVID-19 ส�ำหรับจุดเริ่มต้นในการพัฒนาหุ่นยนต์ที่ช่วยสนับสนุนกิจกรรมทางการ แพทย์สำ� หรับผูป้ ว่ ย COVID-19 เกิดจากการต่อยอดงานวิจยั จากโครงการวิจยั การพัฒนาการช่วยประเมิน ดูแล ฟื้นฟู บริการผู้สูงอายุ และผู้ป่วยโรคหลอด เลือดสมอง ซึ่งคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด�ำเนินการ ร่วมกันกับคณะแพทยศาสตร์ เพื่อท�ำการวิจัยและพัฒนาหุ่นยนต์และอุปกรณ์ ส�ำหรับประยุกต์ใช้กบั ผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองและผูส้ งู อายุทสี่ ถานพยาบาล และที่บ้าน โดยแบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ส่วนหลัก ได้แก่ ส่วนแรก มีคณะ วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศูนย์ความเป็นเลิศทางการ แพทย์ด้านโรคหลอดเลือดสมองแบบครบวงจร แห่งโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย เป็น ผู้รับผิดชอบหลัก ร่วมท�ำการวิจัย เพื่อพัฒนาอุปกรณ์ ทางการแพทย์ ซึ่งจะสามารถน�ำไปใช้กับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และ ผู้สูงอายุ พร้อมทั้งมีต้นแบบ เพื่อน�ำไปผลิตทางอุตสาหกรรม ประกอบด้วย การพัฒนาหุ่นยนต์ที่เหมาะสมส�ำหรับใช้งานรวมกับอุปกรณ์ทางการแพทย์ ที่พัฒนาขึ้น การพัฒนาอุปกรณ์ที่จะใช้ประเมินสัญญาณชีพของผู้ป่วยในการ ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ พร้อมทั้งการประเมินหัวใจเต้นไม่ตรงจังหวะ รวมทั้ง อุปกรณ์เชื่อมต่อแบบหลายพารามิเตอร์ ได้แก่ อุปกรณ์วัดความดัน การวัด ออกซิเจนในเลือด ชีพจร, การพัฒนาโปรแกรมและอุปกรณ์เพื่อช่วยในการ ท�ำกายภาพบ�ำบัด สามารถตรวจสอบการท�ำกายภาพบ�ำบัดทีถ่ กู ต้องของผูป้ ว่ ย โดยประเมินจากท่าทางและเสียงและการพัฒนาโปรแกรม เพื่อคัดกรองและ ประเมินความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง

16


ลักษณะการใช้งานทั่วไปแบบ Telepresence

ส่วนที่สอง เป็นการท�ำวิจัยทางคลินิก ผู้รับ ผิดชอบหลักคือศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ดา้ น โรคหลอดเลือดสมองแบบครบวงจร แห่งโรงพยาบาล จุ ฬ าลงกรณ์ สภากาชาดไทย โดยน� ำ ต้ น แบบ ผลิตภัณฑ์ทผี่ ลิตได้จากการวิจยั ทีป่ ระกอบด้วยระบบ หุน่ ยนต์และอุปกรณ์ทางการแพทย์ มาทดลองใช้กบั ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โดยการท�ำวิจัยทาง คลินิก ตามมาตรฐานจริยธรรมการวิจัยในคน เพื่อ น�ำมาใช้กับผู้ป่วยจริง

พัฒนาหุ่นยนต์ทางการแพทย์-หุ่นยนต์สนับสนุน งานดูแลผู้ป่วย COVID-19 ส�ำหรับหุ่นยนต์ที่พัฒนาขึ้นในโครงการวิจัยการพัฒนาการช่วยประเมิน ดูแล ฟื้นฟู บริการผู้สูงอายุ และผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง แบ่งออกเป็น 2 ส่วนหลักๆ ได้แก่ 1. หุ่นยนต์ทางการแพทย์ที่ท�ำงานแบบ Telemedicine และ Telepresence พร้อมติดตัง้ อุปกรณ์ทชี่ ว่ ยในการวัดสัญญาณชีพแบบเวลา จริงทีแ่ พทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์ทอี่ ยูห่ า่ งไกลออกไปจากผูป้ ว่ ยสามารถ รับรู้สภาวะของผู้ป่วยที่อยู่ต่างที่ (Medical Equipment for Real-time Health Monitoring (Attached or Acquired Information by Bluetooth) โดย

(ซ้าย) ภาพผู้ป่วยที่อยู่ในบริเวณก�ำหนด และ (ขวา) ภาพบุคลากรทางการแพทย์ที่อยู่ด้านนอก

17

Engineering Today May - June

2020


การใช้งานหุ่นยนต์เพื่อสนับสนุนในห้องผ่าตัดของแผนกฉุกเฉิน ที่ รพ.จุฬาฯ รองรับผู้ป่วย COVID-19

หุ่นยนต์ที่พัฒนาขึ้นมีคุณสมบัติและความสามารถ เบื้องต้น เช่น สามารถวัดอุณหภูมิร่างกาย (Body Temperature Measurement Device) สามารถวัด ความดันของร่างกาย (Blood Pressure Record) ผ่าน Bluetooth และสามารถแสดงผลที่หน้าจอ หุ่นยนต์และส่งข้อมูลไปยังบุคลากรทางแพทย์ที่อยู่ ด้านนอกให้เห็นพร้อมกัน, สามารถพูดคุยระหว่าง ผู้ป่วยด้านในและบุคลากรทางการแพทย์ด้านนอก ในลักษณะ Video Conference for Telepresence ซึ่งมีระบบเสียงและภาพที่มีคุณภาพดี ในกรณีที่ ขาดแคลนล่ามแปลภาษาที่อยู่ด้านนอก สามารถใช้ Google Translation ในการแปลภาษาผ่านหุ่นยนต์ กับคอมพิวเตอร์ของบุคลากรทางการแพทย์ทอี่ ยูด่ า้ น นอก, บุคลากรทางการแพทย์ทอี่ ยูด่ า้ นนอก สามารถ ควบคุมหัวหุน่ ยนต์เพือ่ ให้สามารถติดตามเฝ้าดูผปู้ ว่ ย ได้สะดวก (Tele-Operation and Control, Patient Observation) นอกจากนี้ยังมีฟังก์ชันที่ให้หุ่นยนต์สามารถ ติดตามหน้าผู้ป่วยได้แบบอัตโนมัติ (Automatic Face Tracking, Patient Observation) เพื่อให้ สามารถเห็นหน้าตาผู้ป่วยได้อย่างสะดวก หน้าจอ ของหุ่นยนต์เป็นแบบ Touch Screen ใช้งานได้ สะดวก หน้าจอของหุ่นยนต์ที่อยู่ฝั่งผู้ป่วยสามารถ ควบคุมได้จากบุคลากรทางการแพทย์ที่ควบคุมอยู่ ด้านนอก การติดต่อสื่อสารสามารถติดต่อสื่อสาร ผ่านระบบเครือข่าย Wi-Fi และระบบ 4G และ แบตเตอรีเ่ ป็นแบบ Lithium Ion ส�ำหรับหุน่ ยนต์แบบ

Engineering Today May - June

2020

การน�ำหุ่นยนต์ ไปสนับสนุนงานช่วยดูแลผู้ป่วย COVID-19

Desktop Robot สามารถใช้งานได้ต่อเนื่อง 3-4 ชั่วโมง หากเป็นแบบ Standby Robot จะใช้งานได้ประมาณ 5 ชั่วโมง ทั้งนี้หุ่นยนต์แบบ Mobile Robot นั้นท�ำงานได้ประมาณ 6-8 ชั่วโมง ขึ้นอยู่การลักษณะการใช้งาน หุน่ ยนต์ทางการแพทย์นใี้ ช้ในการติดต่อสือ่ สารระหว่างผูป้ ว่ ยภายใน และ แพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์ที่อยู่ด้านนอกห้องกักเชื้อ หรือที่อยู่ห่างไกล (Telepresence) เพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อ ซึ่งสามารถน�ำระบบหุ่นยนต์ ไปใช้ในการสนับสนุนการดูแลผูป้ ว่ ย COVID-19 ทีอ่ ยูใ่ นบริเวณจ�ำกัดในลักษณะ Telemedicine และ Telepresence และสามารถประยุกต์ใช้งานอื่นๆ ได้เพิ่ม เติม เช่น การส่งอาหารและเวชภัณฑ์ให้ผู้ป่วยที่อยู่ในบริเวณจ�ำกัด ช่วยในการ ฆ่าเชือ้ แบคทีเรียและไวรัสในบริเวณควบคุมแบบอัตโนมัต,ิ ประยุกต์นำ� หุน่ ยนต์ ไปใช้ในห้องผ่าตัดของแผนกฉุกเฉิน หรือ ER (Emergency Rescue) เพื่อ เตรียมรับผูป้ ว่ ย COVID-19 ทีต่ อ้ งผ่าตัดในห้องทีจ่ ดั ไว้เป็นพิเศษ ซึง่ โรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์ได้ทดลองน�ำไปใช้ โดยแพทย์ในห้องผ่าตัดต้องคุยกับทีมแพทย์ดา้ น นอกห้องผ่าตัด เมื่อต้องการสิ่งที่จ�ำเป็นที่ช่วยในการผ่าตัดก็จะมีการแจ้ง ออกมา ทีมแพทย์ด้านนอกก็จะสนับสนุนอุปกรณ์ตามที่ขอ โดยใช้หุ่นยนต์เป็น ตัวสื่อกลางในการติดต่อสื่อสารทั้งภาพและเสียง

18


2. หุ ่ น ยนต์ ส นั บ สนุ น งานดู แ ลผู ้ ป ่ ว ย COVID-19 เป็นการดัดแปลงเฉพาะบางส่วนของ หุน่ ยนต์ทพี่ ฒ ั นาขึน้ ในโครงการหลักของโครงการวิจยั การพัฒนาการช่วยประเมิน ดูแล ฟื้นฟู บริการผู้สูง อายุ และผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ทั้งในแบบของ หุ่นยนต์ตั้งโต๊ะและหุ่นยนต์เคลื่อนที่ ควบคุมการ ท� ำ งานของหุ ่ น ยนต์ ที่ ห น้ า จอหุ ่ น ยนต์ ผ ่ า นระบบ Touch Screen ได้โดยตรง หรือจะควบคุมหน้าจอ หุ่นยนต์ผ่านคอมพิวเตอร์ของฝั่งบุคลากรทางการ แพทย์ ด ้ า นนอกได้ โดยมี ฟ ั ง ก์ ชั น และคุ ณ สมบั ติ หลักๆ คือ ระบบติดตามหน้าผู้ป่วยแบบอัตโนมัติ (Face Tracking for Patient Observation) ระบบ ควบคุ ม กล้ อ งหรื อ หั ว หุ ่ น ยนต์ ด ้ ว ยมื อ หรื อ จาก คอมพิวเตอร์ฝง่ั ด้านนอก (Teleoperation) สามารถ ซูมเข้าเพื่อขยายภาพจากกล้อง และซูมออกเพื่อย่อ ภาพจากกล้อง (Zoom In/Out) สามารถท�ำได้ ทั้งที่ตัวหุ่นยนต์ และที่คอมพิวเตอร์ฝั่งด้านนอก มีโปรแกรมอื่นๆ อีก เช่น การวัดอุณหภูมิ และ ความดัน ผลของการวัดปรากฏทีฝ่ ง่ั ของหุน่ ยนต์และ ฝัง่ ของบุคลากรทางการแพทย์ทอี่ ยูด่ า้ นนอกพร้อมๆ กัน (Real-time Health Monitoring), มีระบบสือ่ สาร ทางไกลแบบ Video conference ที่ใช้งานง่ายและ มี เ สถี ย รภาพ มี ร ะบบภาพและเสี ย งที่ มี คุ ณ ภาพ ทีเ่ หมาะส�ำหรับการท�ำงานแบบ Telepresence และ น� ำ ฟั ง ก์ ชั น เพิ่ ม เติ ม เข้ า มาเสริ ม ศั ก ยภาพให้ กั บ หุน่ ยนต์แบบ Mobile Robot เช่น Intelligent Motion Control with Anti-slip Motion control with Tele-operation Capability, Simultaneous Localization and Mapping (SLAM) Robot, Intelligent Path planning control, Navigate in Human Exist Environment (Option), Automated Navigate Planning Especially for Hospital environment, Vision System to Assist Navigation and Visual Feedback, Vision System for Tele-operation, Vision System for Patient Observation และ Battery Power (Approx. 8 hrs. Operation)

ส่งมอบหุ่นยนต์ช่วยดูแลผู้ป่วย COVID-19 ในโรงพยาบาล 6 แห่ง ศ. ดร.วิบูลย์ กล่าวว่า หุ่นยนต์ทางการแพทย์ ที่พัฒนาขึ้นมี 2 ประเภทคือ หุ่นยนต์แบบตั้งโต๊ะ ที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย หรือ Desktop Robot

และหุ่นยนต์เคลื่อนที่เองได้ หรือ Mobile Robot ส่วนหนึ่งได้รับสนับสนุนมา จากงบวิจยั ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและบางส่วนจากเงินทุนสนับสนุนของ ห้องปฏิบัติการวิจัยเอง วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการพัฒนาหุ่นยนต์ รวมถึง ชิ้นส่วนต่างๆ ของหุ่นยนต์ส่วนใหญ่ผลิตเองได้ ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งมีระบบผลิตที่ค่อนข้างทันสมัย มีระบบอะไหล่ ทดแทน มีโปรแกรมควบคุมการท�ำงานของระบบซึ่งพัฒนาขึ้นใช้เอง มีระบบ ควบคุมข้อมูลการใช้งานหุ่นยนต์ผ่านระบบ Cloud Computing รวมถึงการ จัดเก็บข้อมูลเพื่อสร้างระบบคัดกรองผ่านระบบ Cloud แต่ก็ยังมีอะไหล่และ ชิน้ ส่วนบางส่วนทีจ่ ำ� เป็น ซึง่ ต้องสัง่ จากต่างประเทศ เช่น มอเตอร์ และอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ถึงแม้วา่ จะมีขอ้ จ�ำกัดของสถานทีใ่ นการผลิตหุน่ ยนต์จำ� นวนมากๆ แต่ทางคณะวิศวกรรมศาสตร์พยายามสนับสนุนสถานที่เพื่อขยายการผลิต ต่อไปในอนาคต ในเบื้องต้นได้สนับสนุนหุ่นยนต์เพื่อช่วยดูแลผู้ป่วย COVID-19 แล้ว จ�ำนวน 6 โรงพยาบาล ได้แก่ สถาบันโรคทรวงอก 1 ชุด เป็นแบบ Mobile Robot, โรงพยาบาลราชวิถี 1 ชุด เป็นแบบ Desktop Robot, โรงพยาบาลรามาธิบดี 1 ชุด เป็นแบบ Desktop Robot, โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี 1 ชุด เป็นแบบ Desktop Robot, โรงพยาบาลศิริราช 1 ชุด เป็นแบบ Desktop Robot และ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เป็นแบบ Desktop Robot 10 ชุด และแบบ Mobile Robot 4 ชุด ส�ำหรับใช้ในกิจกรรมอื่น ๆ นอกจากนี้ยังมีโรงพยาบาลที่ติดต่อขอการสนับสนุนเพิ่มเติมเข้ามา เรื่อยๆ ตัวอย่างเช่น ห้องฉุกเฉิน สถาบันโรคทรวงอก, โรงพยาบาลชลบุรี, โรงพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, โรงพยาบาลสมุทรปราการ, โรงพยาบาล ตราด, โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี และโรงพยาบาลศิริราช

เดินหน้าพัฒนาหุ่นยนต์ ให้ทันสมัย ใช้งานทางการแพทย์ ได้หลากหลาย ศ. ดร.วิบูลย์ กล่าวว่า หุ่นยนต์ทางการแพทย์ที่พัฒนาขึ้นนี้ เพื่อพัฒนา ระบบช่วยประเมิน ดูแล ฟืน้ ฟู บริการผูส้ งู อายุ และผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง รวมถึงโรคอื่นๆ ที่เกิดกับผู้สูงอายุ การฟื้นฟูสมรรถนะผู้สูงอายุ หุ่นยนต์ ที่สามารถเป็นเพื่อนดูแลผู้สูงอายุ เป็นต้น เนื่องจากโครงการนี้จ�ำเป็นต้องใช้ งบประมาณมากพอสมควรในการพัฒนาหุ่นยนต์เพื่อให้สามารถใช้งานได้จริง ทางคณะวิจยั จึงได้จดั ท�ำข้อเสนอโครงการวิจยั เพือ่ ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จากภาครัฐ เพือ่ ต่อยอดเทคโนโลยีให้มคี วามทันสมัย มีมาตรฐานอุตสาหกรรม ทางการแพทย์ และมีความหลากหลายในการใช้งานมากขึ้น สามารถพัฒนา หุ่นยนต์จ�ำนวนมากขึ้นเพื่อการทดสอบหลากหลายการใช้งานทางการแพทย์ ด้ ว ยงานวิ จั ย นี้ เ ป็ น การร่ ว มมื อ กั น ระหว่ า งแพทย์ แ ละวิ ศ วกร ซึ่ ง มี เป้าหมายที่ชัดเจนและจับต้องได้ การพัฒนาหุ่นยนต์จึงเป็นไปตามความ ต้องการของแพทย์ทตี่ อ้ งการหุน่ ยนต์ทสี่ ามารถขยายประสิทธิภาพในการบริการ ทางการแพทย์แก่ผปู้ ว่ ยทีอ่ ยูห่ า่ งไกลออกไป การพัฒนาเพือ่ ผลิตในเชิงพาณิชย์ จึงไม่ใช่เรื่องยาก ขณะนี้มีภาคเอกชนให้ความสนใจในการต่อยอดเพื่อให้เกิด ความยั่งยืน โดยร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในลักษณะธุรกิจ Startup เป็นการน�ำงานวิจัยต่างๆ ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมาต่อยอดให้เกิด ประโยชน์กับสังคมอย่างเป็นรูปธรรม

19

Engineering Today May - June

2020


Report • กองบรรณาธิการ

คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.มหิดล ร่วมกับ

ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล

เปิดตัว “หุ่นยนต์เวสตี้” ช่วยเก็บขยะติดเชื้อ และ “หุ่นยนต์ฟู้ดดี้” ช่วยส่งอาหาร-ยา ในหอผู้ป่วย รับมือ COVID-19

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมสร้างและเปิดตัว 2 นวัตกรรมหุ่นยนต์ คือ หุ่นยนต์เวสตี้ (Wastie) ช่วยเก็บขยะ ติดเชื้อ และหุ่นยนต์ฟู้ดดี้ (Foodie) ช่วยส่งอาหารและยาใน หอผู ้ ป ่ ว ย เพื่ อ ลดความเสี่ ย งอั น ตรายต่ อ การติ ด เชื้ อ และ ทดแทนงานหนักของบุคลากรทางการแพทย์ในโรงพยาบาล ในช่วงสถานการณ์ COVID-19

หุ่นยนต์เวสตี้ (Wastie) ช่วยเก็บขยะติดเชื้อ

หุ่นยนต์ฟู้ดดี้ (Foodie) ใช้ส่งอาหาร-ยาในหอผู้ป่วย

Engineering Today May - June

2020

20


ทีมวิจัย ม.มหิดลน�ำเทคโนโลยีระบบอัตโนมัติ AGV พัฒนาหุ่นยนต์เวสตี้ และ หุ่นยนต์ฟู้ดดี้ รศ. ดร.จั ก รกฤษณ์ ศุ ท ธากรณ์ คณบดี ค ณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า เทคโนโลยีระบบอัตโนมัติ AGV (Automated Guide Vehicle) ก� ำ ลั ง มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการพั ฒ นาดิ จิ ทั ล เฮลท์ แ คร์ (Digital Healthcare) เพื่อใช้ในโรงพยาบาลและระบบสาธารณสุขไทยให้เข้ม แข็งและมั่นคงปลอดภัย โดยเฉพาะในช่วงที่ประเทศไทยประสบวิกฤตระบาด COVID-19 ในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน 2563 ที่ผ่านมา ประกอบกับ ปริมาณขยะติดเชื้อจากหน้ากากอนามัยและอุปกรณ์ในโรงพยาบาลมีปริมาณ ที่เพิ่มสูงขึ้น จากมาตรการภาครัฐที่ขอให้ประชาชนทุกคนสวมใส่หน้ากาก อนามัยเมื่อเข้ามารับบริการในโรงพยาบาลเพื่อป้องกันเชื้อ อีกทั้งในช่วงภาวะ ดังกล่าวบุคลากรทางการแพทย์ที่ต่อสู้กับ COVID-19 มีจ�ำนวนจ�ำกัดและ เริม่ ประสบปัญหาขาดแคลนท�ำให้ตอ้ งท�ำงานเกินกว่าเวลาทีก่ ำ� หนดคือมากกว่า 8-12 ชั่วโมงต่อวัน ส่งผลให้บุคลากรทางการแพทย์ขาดการพักผ่อน ร่างกาย ไม่แข็งแรง มีภูมิต้านทานน้อยเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ ทีมงานวิจัยจึงได้พัฒนาหุ่นยนต์เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อและ ทดแทนงานหนักของบุคลากรทางการแพทย์ในโรงพยาบาลในช่วงสถานการณ์ COVID-19 โดยความร่วมมือจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และศู น ย์ ก ารแพทย์ ก าญจนาภิ เ ษก คณะแพทยศาสตร์ ศิ ริ ร าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และมีผู้สนับสนุนจากภาคเอกชนที่เป็นศิษย์เก่าได้น�ำ เทคโนโลยีแพลตฟอร์มการขับเคลือ่ นหุน่ ยนต์ใช้งานทีเ่ หมาะสมเข้ามาร่วมสร้าง 2 นวัตกรรมหุน่ ยนต์ขนึ้ ส�ำเร็จในระยะเวลาประมาณ 2 เดือน คือ หุน่ ยนต์เวสตี้ (Wastie) ส� ำ หรั บ ใช้ ง านเก็ บ ขยะติ ด เชื้ อ ในโรงพยาบาลและโรงพยาบาล ภาคสนามที่เปิดเป็นพื้นที่ส�ำหรับกักตัว ผู้ติดเชื้อตามนโยบายรัฐบาล และ หุ่นยนต์ฟู้ดดี้ (Foodie) ส�ำหรับช่วยส่งอาหารและยาในหอผู้ป่วยที่เป็นพื้นที่ ติดเชือ้ โดยเฉพาะ โดยใช้แพลตฟอร์มเทคโนโลยีอตั โนมัติ AGV รองรับงานหนัก และงานเสี่ ย งอั น ตรายด้ ว ยระบบการท� ำ งานขนส่ ง ในโรงพยาบาลอย่ า งมี ประสิทธิภาพและแม่นย�ำ

รศ. ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

จากปัญหาขยะติดเชื้อ สู่การสร้างหุ่นยนต์เวสตี้ ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และหัวหน้าโครงการเอจีวแี พลตฟอร์ม เทคโนโลยีส�ำหรับงานบริการในสถานประกอบการสาธารณสุข กล่าวว่า แนวคิดในการสร้างหุน่ ยนต์เวสตี้ (Wastie) ส�ำหรับเก็บขยะติดเชือ้ เกิดจากการ มองเห็นปัญหาของขยะติดเชื้อที่มีจ�ำนวนมากภายในโรงพยาบาลก่อนเกิด COVID-19 ต่อเนื่องในช่วง COVID-19 ทางทีมผู้วิจัยจึงได้น�ำโจทย์ปัญหา ที่เกิดขึ้นไปคิดค้นและสร้างหุ่นยนต์เวสตี้ (Wastie) ช่วยลดความเสี่ยงในการ เก็บขยะติดเชื้อในโรงพยาบาล โดยตัวหุ่นยนต์เวสตี้ (Wastie) ประกอบด้วย AGV แบบระบบน�ำทาง ด้วยเทปแม่เหล็ก และแขนกล (Co-Bot) ส�ำหรับยกถังขยะโหลดขึน้ โดยมีระบบ Machine Vision ในการจ�ำแนกประเภทวัตถุและต�ำแหน่ง การยกแต่ละครั้งได้

21

ดร.เอกชัย วารินศิริรักษ์ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และ หัวหน้าโครงการเอจีวีแพลตฟอร์มเทคโนโลยี ส�ำหรับงานบริการในสถานประกอบการสาธารณสุข

Engineering Today May - June

2020


สูงสุด 5 กิโลกรัม และ AGV สร้างให้สามารถ รับน�้ำหนักบรรทุกได้ถึง 500 กิโลกรัม มีความเร็ว ในการเคลื่อนที่ไม่ต�่ำกว่า 8 เมตรต่อนาที ใช้ระบบ น�ำทางแบบ Magnet ติดเทปแถบแม่เหล็กไว้ที่พื้น เป็นเส้นน�ำทาง การท�ำงานหุน่ ยนต์จะเคลือ่ นทีไ่ ปตามแนวเส้น น�ำทาง การท�ำงานเริม่ จากขดลวดกระตุน้ ผลิตสนาม แม่เหล็กไฟฟ้าโดยทีม่ ชี ดุ ตรวจจับท�ำให้การเคลือ่ นที่ มีความเทีย่ งตรงและแม่นย�ำ เมือ่ ถึงจุดรับขยะจะอ่าน บาร์โค้ด แล้วยกถังขยะติดเชื้อไปยังกระบะจัดเก็บ ที่วางไว้ตามจุด และได้ทดลองน�ำมาใช้ในศูนย์การ แพทย์กาญจนาภิเษก พบว่าสามารถลดขยะติดเชื้อ ได้ประมาณ 2-2.5 ตันต่อวัน โดยเฉพาะในช่วง COVID-19 มีจ�ำนวนขยะติดเชื้อเพิ่มขึ้นกว่าเท่าตัว เมือ่ มีหนุ่ ยนต์มาช่วยจัดเก็บขยะติดเชือ้ ท�ำให้ชว่ ยลด เวลาในการเก็บ และช่วยลดความเสี่ยงจากขยะติด เชื้อสู่บุคลากรทางการแพทย์ที่จัดเก็บได้ดีขึ้น

แพลตฟอร์มในการควบคุมการท�ำงานของหุ่นยนต์

หุ่นยนต์ฟู้ดดี้ใช้ส่งอาหาร และยาในหอผู้ป่วย ลดการสัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย

ดร.เอกชัย กล่าวว่า ส่วนหุน่ ยนต์ฟดู้ ดี้ (Foodie) ใช้สำ� หรับส่งอาหารและยาในหอผูป้ ว่ ย ช่วยลดภาระ บุคลากรทางการแพทย์จากการสัม ผัสโดยตรงกับ ผู ้ ป ่ ว ย โดยเฉพาะในช่ ว ง COVID-19 ที่ ค ณะ แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ต้องใช้บุคลากรทางการแพทย์ 2 คนดูแลส่งอาหาร และยาแก่ผู้ป่วยทุกวัน หากคนใดคนหนึ่งป่วยหรือ เสี่ยงติดเชื้อ COVID-19 ไม่มีคนมาท�ำงานทดแทน การมีหุ่นยนต์เข้ามาทดแทนถือว่าช่วยได้ โดยการท�ำงานจะใช้ระบบน�ำทางอัจฉริยะด้วย ข้อมูลแผนทีใ่ นตัวหุน่ ยนต์แบบ QR Code Mapping สามารถรับน�้ำหนักประมาณ 30-50 กิโลกรัม มี ความเร็วในการเคลื่อนที่ 8 เมตรต่อนาที มีชุด ขับเคลื่อนที่น�ำทางด้วยการใช้กล้องอ่าน QR Code บนพื้ น AGV จะเคลื่ อ นที่ ต ามที่ ไ ด้ โ ปรแกรมไว้ และจดจ�ำพิกัดและค�ำสั่งตามที่บันทึกไว้ในแต่ละ QR Code ในส่วนของระบบการส่งอาหาร โดยเน้น การขนส่งครัง้ ละมากๆ เพือ่ บรรลุเป้าในการทดแทน การขนส่งด้วยคน และการออกแบบกลไกให้ส่ง ถาดอาหารเข้าสู่จุดหมายแบบไม่ต้องมีคนเข้ามา

Engineering Today May - June

2020

22


เกี่ยวข้อง ซึ่งสามารถน�ำส่งอาหาร 3 มื้อ ยา เวชภัณฑ์และอุปกรณ์ต่างๆ ไปยัง ห้องผู้ป่วยหรือเตียงผู้ป่วยในวอร์ดได้ประมาณ 200 คนต่อวัน รวมทั้งการน�ำ กลับมายังพื้นที่จัดเตรียม ในส่วนของซอฟต์แวร์ท่ีใช้ร่วมกับบริษัทเอกชนที่เป็นพันธมิตรพัฒนา แพลตฟอร์มในการควบคุมการท�ำงานของหุ่นยนต์ทั้ง 2 แบบนั้นมีการเขียน โปรแกรมจัดล�ำดับการท�ำงานของหุ่นยนต์ในการล�ำเลียงอาหารในแต่ละจุด ส�ำหรับผู้ป่วยแต่ละคน ตามเส้นทางการจราจรที่ก�ำหนด การจัดเก็บข้อมูล เฉพาะของ รวมถึงการผสานการใช้อปุ กรณ์แขนกลในการหยิบจับสิง่ ของได้อย่าง สะดวกและใช้การผสานกลไกตามหลักฟิสิกส์ (Karakuri) เข้ามาในการขน ถ่ายสิ่งของแบบหลักการแรงโน้มถ่วง ซึ่งไม่มีไฟฟ้าในระบบ เป็นการทดแทน การขนถ่ายสิ่งของแบบไม่มีบุคลากรทางการแพทย์ เจ้าหน้าที่เวรน�ำส่งอาหาร และยาเข้ามาเกี่ยวข้องในการขนส่ง ตอบโจทย์งานขนส่งและการดูแลผู้ป่วยใน โรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลสนามให้มีประสิทธิภาพ ส�ำหรับราคาในการสร้างหุ่นยนต์แต่ละประเภทนั้นเบื้องต้นราคาต�่ำกว่า น� ำ เข้ า มาก และหากในอนาคตมี ภ าคเอกชนที่ มี แ พลตฟอร์ ม โลจิ ส ติ ก ส์ ด้านแขนกลอัจฉริยะและเรื่องหุ่นยนต์เข้ามาร่วมท�ำงานวิจัยพัฒนาให้เกิด รูปแบบใหม่ๆ ส�ำหรับใช้ในโรงพยาบาลเพิ่มมากขึ้น จะช่วยลดการน�ำเข้า หุ่นยนต์ทางการแพทย์จากต่างประเทศได้ปีละหลายล้านบาท และหุ่นยนต์ ที่สร้างขึ้นจะช่วยลดการขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ได้

จุดเด่นของ 2 นวัตกรรมหุ่นยนต์ ในการช่วยรับมือ COVID-19 นพ.สมชาย ดุษฎีเวทกุล รองผูอ้ ำ� นวยการศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และหนึง่ ในทีมผูว้ จิ ยั กล่าวว่า จุดเด่นของหุ่นยนต์เวสตี้ (Wastie) ส�ำหรับเก็บขยะติดเชื้อ และ หุ่นยนต์ฟู้ดดี้ (Foodie) ส�ำหรับส่งอาหารและยา ซึ่งได้ทดลองน�ำมาใช้ที่ศูนย์ การแพทย์กาญจนาภิเษก เพื่อดูแลผู้ป่วย COVID-19 ที่เข้ามารับการรักษาที่นี่ ประมาณ 50 คนในช่วง 2 เดือนทีผ่ า่ นมา พบว่าสามารถรับน�ำ้ หนักได้มากกว่า หุ่นยนต์ทั่วไป โดยสามารถรองรับน�้ำหนักได้ประมาณ 500 กิโลกรัม ช่วยลด การท�ำงานของบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ช่วยพยาบาล ในการเข้าไปเก็บขยะ ติดเชื้อวันละ 2 ครั้ง ช่วยน�ำส่งอาหารและยาแก่ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ COVID-19 วันละ 3 ครัง้ ลดการใช้หน้ากากอนามัยและชุดป้องกันเชือ้ ทีไ่ ด้มาตรฐานส�ำหรับ บุคลากรทางการแพทย์สวมใส่เข้าไปให้บริการผู้ป่วยในแต่ละวันได้จ�ำนวนมาก ใช้เวลาในการน�ำส่งน้อยกว่าใช้บุคลากรทางการแพทย์ ลดความเสี่ยงของ บุคลากรทางการแพทย์ที่จะเข้าไปสัมผัสใกล้ชิดผู้ป่วย COVID-19 เมื่อเข้าไป น� ำ ส่ ง ยาและอาหารในแต่ ล ะวั น และมี ค วามแม่ น ย� ำ ในการน� ำ ส่ ง ยาตาม แพลตฟอร์มที่แพทย์เจ้าของไข้ระบุในเส้นทางของพื้นที่ที่จ�ำกัดได้คล่องตัวกว่า บุคลากรทางการแพทย์ ที่ส�ำคัญจะช่วยให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถไปดูแลรักษาผู้ป่วยที่ เป็นโรคอื่นๆ ตามห้องตรวจต่างๆ นอกเหนือจากผู้ป่วย COVID-19 ทดแทน บุคลากรที่ขาดแคลนได้กว่า 30-40%

23

เตรียมต่อยอดสร้างหุ่นยนต์รูปแบบ อื่นๆ ทั้งหุ่นยนต์พูดคุยส�ำหรับ ผู้สูงอายุ-หุ่นยนต์ดูแลเด็กเล็ก

ในอนาคตก�ำลังต่อยอดแพลตฟอร์มร่วมกับ ทีมวิจัยในการสร้างหุ่นยนต์ทั้ง 2 แบบนี้เพิ่มขึ้น ให้ได้เดือนละ 5 ตัวในแต่ละประเภท ใช้งานภายใน ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษกต่อยอดสูโ่ รงพยาบาล อื่นๆ ในอนาคตต่อไป เนื่องจากต้นทุนการสร้าง หุ ่ น ยนต์ มี ร าคาสู ง และต้ อ งใช้ แ พลตฟอร์ ม จาก พันธมิตรภาคเอกชนเข้ามาเป็น ผู้สนับสนุน โดยจะ เพิ่มแนวคิดสร้างหุ่นยนต์รูปแบบอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น หุ่นยนต์พูดคุยส�ำหรับผู้สูงอายุ เพราะหลายๆ กรณี ศึกษาพบว่าผูส้ งู อายุไม่กล้าทีจ่ ะพูดคุยกับแพทย์หรือ พยาบาลที่ดูแลโดยตรง แต่หากมีหุ่นยนต์เข้ามาเป็น ตัวเชื่อมจะช่วยให้การรักษาได้รับผลตอบรับที่ดีขึ้น หุ่นยนต์ส�ำหรับดูแลเด็กเล็ก โดยปกติแล้วเด็กๆ จะ ชอบหุ่นยนต์ การที่มีหุ่นยนต์ช่วยดูแลเด็กก็จะช่วย ให้การรักษาดีขนึ้ ได้ และหุน่ ยนต์สำ� หรับดูแลผูต้ ดิ เชือ้ โดยเฉพาะ เพื่อป้องกันไม่ให้มีการระบาดจากผูป้ ่วย สู่บุคลากรทางการแพทย์ที่รักษา ช่วยจ�ำกัดการ ระบาดอยู่ในพื้นที่จ�ำกัด เป็นต้น

นพ.สมชาย ดุษฎีเวทกุล รองผู้อ�ำนวยการศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และหนึ่งในทีมผู้วิจัย

Engineering Today May - June

2020


Engineering 4.0 • กองบรรณาธิการ

สมาพันธ์ สภาวิชาชีพฯ

เผย 4 วิชาชีพ “วิศวกร-แพทย์-

สถาปนิก-ทนายความ” ปรับรูปแบบการท�ำงานใหม่รับ

“New Normal”

ม า พั น ธ ์ ส ภ า วิ ช า ชี พ แ ห ่ ง ประเทศไทย ผนึ ก ก� ำ ลั ง 11 อาชีพ ร่วมหาข้อสรุปแนวทางการประกอบ อาชีพยุค New Normal หลังสถานการณ์ COVID-19 จบ ภายในงานเสวนาในหัวข้อ “การเตรี ย มตั ว รั บ New Normal หลั ง วิ ก ฤตไวรั ส COVID-19” เมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ ผ่านระบบ Cisco Webex เผย 4 อาชีพ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างแน่นอน ได้แก่ 1. วิศวกรไทยต้องปรับตัว ต่อยอดความรู้ พั ฒ นาเทคโนโลยี ต่ อ ยอดความรู ้ ผ ลิ ต นวัตกรรมสู้ COVID-19 และพร้อมรองรับ โรคอุบัติ ใหม่ ในอนาคต 2. แพทย์ยุคใหม่ ใส่ ใ จระบบสุ ข ภาพออนไลน์ หนุ น ผู ้ ป ่ ว ย ดู แ ลสุ ข ภาพตนเองจากที่ บ ้ า นอย่ า งมี ประสิทธิภาพ และได้รบั การรักษาทีต่ อ่ เนือ่ ง 3. สถาปนิกต้องจัด Criteria งานออกแบบ ใหม่ ป้ อ งกั น การแพร่ ก ระจายเชื้ อ และ ส่งเสริมการเข้าถึงบริการของผู้คน และ 4. ทนายความยุ ค ใหม่ ต้ อ งพร้ อ มรั บ e-Filing อ�ำนวยความสะดวกประชาชน ยื่นฟ้องร้อง สืบพยาน พิจารณาคดีความ ผ่านระบบ Video Conference โดยไม่ตอ้ ง ขึ้นศาล

Engineering Today May - June

2020

24


พร้ อ มกั น นี้ ไ ด้ ร ะบุ ถึ ง ทั ก ษะและ กระบวนการท� ำ งานที่ ต ้ อ งปรั บ ความ ต้ อ งการจ้ า งงาน สวั ส ดิ ก ารฉุ ก เฉิ น กฎระเบียบมาตรฐานอาชีพใหม่ การใช้ เทคโนโลยีมาเป็นส่วนหนึ่งในการท�ำงาน ฯลฯ ศ. ดร.สุชชั วีร์ สุวรรณสวัสดิ์ ประธาน คณะกรรมการบริ ห ารสมาพั น ธ์ ส ภา วิชาชีพแห่งประเทศไทย และอธิการบดี สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้ า คุณทหารลาดกระบัง (สจล.) กล่าวถึง สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ว่า ถือเป็นโรคอุบัติใหม่ที่ได้ สร้ า งความเปลี่ ย นแปลงต่ อ ทุ ก สรรพสิ่ ง ทั่วโลก ทั้งกระบวนการท�ำงานของวิชาชีพ ต่างๆ และพฤติกรรมของผู้คนที่เปลี่ยน สูส่ งิ่ ใหม่ (New Normal) ทีใ่ ห้ความส�ำคัญ กับการดูแลสุขภาพทวีคูณ อาทิ การเลือก ซื้อผลิตภัณฑ์ท�ำความสะอาดและฆ่าเชื้อ การเว้ น ระยะห่ า งทางสั ง คม (Social Distancing) รวมถึงการท�ำกิจกรรมต่างๆ ผ่ า นระบบออนไลน์ จ ากที่ บ ้ า น ทั้ ง การ สั่งอาหาร ชมภาพยนตร์แบบไลฟ์สตรีม เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาด ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต สมาพันธ์สภา วิชาชีพแห่งประเทศไทย ซึ่งประกอบด้วย สภาวิชาชีพ 11 แห่ง ได้แก่ แพทยสภา สภาการพยาบาล สภาทนายความ สภา เภสัชกรรม ทันตแพทยสภา สภาวิศวกร สภาสถาปนิก สัตวแพทยสภา สภาเทคนิค การแพทย์ สภากายภาพบ�ำบัด และสภา วิชาชีพบัญชีฯ จึงได้ร่วมกันจัดงานเสวนา ในหัวข้อ “การเตรียมตัวรับ New Normal หลังวิกฤตไวรัส COVID-19” ผ่านระบบ Cisco Webex ขึ้ น เพื่ อ หาข้ อ สรุ ป ถึ ง แนวทางการปรับตัวประกอบอาชีพทั้ง 11

สาขาวิชาชีพควบคุม ในยุคที่พฤติกรรมผู้คน เปลี่ยน อาทิ “ทักษะและกระบวนการท�ำงาน ที่ต้องปรับ” เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ไวรั ส และโรคอุ บั ติ ใ หม่ ใ นอนาคต “ความ ต้องการจ้างงาน” ที่มีศักยภาพสูงและพร้อม ปรับตัวรับสถานการณ์ “สวัสดิการฉุกเฉิน” ส� ำ หรั บ บุ ค ลากรทางการแพทย์ ก รณี ไ ด้ รั บ ผลกระทบจาก COVID-19 “กฎระเบี ย บ มาตรฐานอาชีพใหม่” ที่ให้ความส�ำคัญกับสุข อนามัยประชาชนเป็นหลัก “การใช้เทคโนโลยี มาเป็นส่วนหนึ่งในการท�ำงาน” เพื่ออ�ำนวย ความสะดวกประชาชนในการเข้าถึงบริการ และความรู้ ฯลฯ

ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ ประธานคณะกรรมการบริหารสมาพันธ์ สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย และอธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.)

วิศวกรยุคใหม่ ต้องพร้อมปรับตัว เรียนรู้ และบูรณาการความรู้สู่การประดิษฐ์นวัตกรรม สู้ COVID-19 ตลอดจนรองรับโรคอุบัติใหม่อื่นๆ ในอนาคต เช่น การพัฒนา Co-Bot หุ่นยนต์ ท�ำงานร่วมกับทีมแพทย์ เทคโนโลยี ไร้สัมผัส โดรนเทคโนโลยี ในการจัดส่งเวชภัณฑ์และอาหาร หรือห้องตรวจเชื้อพิเศษ เพื่อลดเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ป่วยโดยตรง

25

Engineering Today May - June

2020


ด้ ว ยเงื่ อ นไขของการ ป้ อ งกั น การแพร่ ก ระจายเชื้ อ สถาปนิ ก ยุ ค New Normal จะต้องให้ความส�ำคัญกับเกณฑ์ ออกแบบใหม่ใน 6 ด้านส�ำคัญ คื อ ความหนาแน่ น การเว้ น ระยะห่ า งทางสั ง คม การจั ด โซนนิง่ การสัญจร ระบบถ่ายเท อากาศ และการลดการสัมผัส สู ่ ก ารท� ำ งานร่ ว มกั บ วิ ศ วกร ในการปรับปรุงโครงการงาน ออกแบบสถานทีต่ า่ งๆ ในอนาคต

จากงานเสวนาดังกล่าว พบว่า มี 4 วิชาชีพที่จะต้องเร่งปรับรูปแบบการท�ำงานใหม่ เพื่อรองรับ New Normal ภายหลังวิกฤต COVID-19 ตามข้อสรุปดังต่อไปนี้

1

วิศวกรไทยต้องปรับตัว ต่อยอด ความรูพ ้ ฒ ั นาเทคโนโลยี เพราะ เทคโนโลยี ด ้ า นวิ ศ วกรรม ถื อ เป็ น กลไก หนึ่ ง ในการร่ ว มแก้ ไ ขปั ญ หาในหลากมิ ติ ดังนั้น วิศวกรยุคใหม่ ต้องพร้อมปรับตัว เรียนรู้ และบูรณาการความรูส้ กู่ ารประดิษฐ์ นวัตกรรมสู้ COVID-19 ตลอดจนรองรับ โรคอุบัติใหม่อื่นๆ ในอนาคต เช่น การ พัฒนา Co-Bot หุ่นยนต์ท�ำงานร่วมกับ ทีมแพทย์ เทคโนโลยีไร้สัมผัส (Touchless Technology) โดรนเทคโนโลยี (Drone Technology) ในการจัดส่งเวชภัณฑ์และ อาหาร หรือห้องตรวจเชื้อพิเศษ เพื่อลด เลีย่ งการสัมผัสกับผูป้ ว่ ยโดยตรง รวมถึงการ คิดค้นแนวทางการจัดการขยะติดเชือ้ ภายใต้ กระบวนการวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ฯลฯ แพทย์ ยุ ค ใหม่ ใ ส่ ใ จเฮลท์ เ ทค (Health Tech) ด้วยพฤติกรรม New Normal ของผู ้ ค นที่ เ ลื อ กใช้ ชี วิ ต ประจ� ำ วั น ที่ บ ้ า นมากขึ้ น แต่ ยั ง ให้ ค วาม ส�ำคัญกับสุขภาพต่อเนื่อง ดังนั้น บุคลากร ทางการแพทย์ ทั้งแพทย์ พยาบาล และ เภสัชกร จึงจ�ำเป็นต้องเรียนรูเ้ ทคโนโลยีดา้ น สุขภาพ หรือระบบสุขภาพออนไลน์ อาทิ

2

Engineering Today May - June

2020

Telenursing, Telemedicine, Telepharmacy เพื่อสนับสนุนการท�ำงาน และพร้อมเสิร์ฟ ความรูส้ ขุ ภาพถึงบ้านประชาชน ทีค่ รอบคลุม การให้ค�ำปรึกษาด้านสุขภาพ การจัดส่ง ใบสั่งยา การนัดหมายและติดตามอาการ ผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเอง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และได้รบั การรักษา ที่ต่อเนื่อง สถาปนิกต้องจัด Criteria งาน ออกแบบใหม่ ด้วยเงื่อนไขของ การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ สถาปนิก ยุค New Normal จะต้องให้ความส�ำคัญกับ เกณฑ์ออกแบบใหม่ใน 6 ด้านส�ำคัญ คือ ความหนาแน่น การเว้นระยะห่างทางสังคม การจั ด โซนนิ่ ง การสั ญ จร ระบบถ่ า ยเท อากาศ และการลดการสัมผัส (ข้อมูล: ศูนย์ ออกแบบและพัฒนาเมือง (UddC-CEUS) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) สู่การท�ำงาน ร่ ว มกั บ วิ ศ วกรในการปรั บ ปรุ ง โครงการ งานออกแบบสถานที่ ต ่ า งๆ ในอนาคต เช่น ร้านค้าแผงลอย ตลาดอาหาร ศูนย์ อาหาร ฯลฯ ที่ผู้คนสามารถเข้าใช้บริการได้ อย่ า งสะดวกสบาย และไม่ เ สี่ ย งต่ อ การ ติดเชื้อ

3

26

4

ทนายความยุคใหม่ ต้องพร้อม รับ e-Filing สภาทนายความ ถือเป็นอีกหนึ่งหน่วยงานที่มีการปรับปรุง ระบบการท�ำงานอย่างต่อเนื่อง ที่ผ่านมา ศาลยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม ได้พัฒนา ระบบ e-Filing System ระบบยื่นฟ้องและ ส่ ง ค� ำ คู ่ ค วาม เพื่ อ อ� ำ นวยความสะดวก แก่ประชาชน ให้สามารถยื่นฟ้องร้อง ยื่น เอกสารส�ำคัญ สืบพยาน รวมถึงพิจารณา คดีความผ่านระบบ Video Conference โดยไม่ต้องเดินทางไปขึ้นศาล นอกจากนี้ สภาทนายความ ยั ง มี ส ายด่ ว น 1167 พร้อมให้คำ� ปรึกษาด้านกฎหมาย มาตรการ ข้อควรปฏิบัติ และสิทธิที่ประชาชน รวมถึง ผู้ประกอบการพึงได้ “สมาพันธ์สภาวิชาชีพแห่งประเทศไทย มุ่งยกระดับมาตรฐานสภาวิชาชีพในระดับ สากล ผ่ า นขบวนการแห่ ง ความร่ ว มมื อ และความเข้ ม แข็ ง ที่ ส ภาวิ ช าชี พ แต่ ล ะ แห่ ง เสริ ม สร้ า งและสานสั ม พั น ธ์ อั น ยิ่งใหญ่ต่อกัน เพื่อประโยชน์สูงสุดต่อการ พั ฒนาวิ ช าชี พ และสั ง คมไทยในอนาคต” ศ. ดร.สุชัชวีร์ กล่าวทิ้งท้าย


Digital Economy @Engineering Today Vol. 3 No. 177

จีนใชเทคโนโลยีดิจิทัล ชวยชีว�ต-ฝาฟ�นว�กฤต ทามกลางไวรัส COVID-19 ระบาด (ตอนจบ)

โซลูชั่น Dassault Systèmes ชวยสรางแบบจำลอง-ปองกัน การแพรกระจาย COVID-19 ในโรงพยาบาลเหลยเสินซาน ในอูฮั่น

บทบาทของ ปญญาประดิษฐ (AI) ดานการแพทย ใน ว�กฤต COVID-19


Digital • อาลีเพย์

จีนใช้เทคโนโลยีดิจิทัลช่วยชีวิต-ฝ่าฟันวิกฤต

ท่ามกลางไวรัส COVID-19 ระบาด (ตอนจบ)

ณะนี้ไวรัส COVID-19 ก�ำลังแพร่ระบาดทั่วโลก ประเทศต่างๆ เริ่มหันมาสนใจเกี่ยวกับความส�ำเร็จ ของจีนในการ ใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพือ่ รับมือการแพร่ระบาด และ ช่วยให้เศรษฐกิจของจีนโดยเฉพาะธุรกิจ SME ให้ไม่หยุดชะงัก ส�ำหรับเนื้อหาตอนนี้จะต่อจากภาคที่แล้ว ซึ่งได้น�ำเสนอข้อมูล เกีย่ วกับการใช้เทคโนโลยีไปแล้วบางส่วน โดยภาคนีจ้ ะได้ศกึ ษา เทคโนโลยีที่ล�้ำลึกมากขึ้นที่ชาวจีนน�ำมาใช้ต่อสู้กับ COVID-19 ทั้ ง เทคโนโลยีบ ล็อกเชน (Blockchain) เทคโนโลยีปัญญา ประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) คิวอาร์โค้ด (QR CODE) หุ่นยนต์และโดรน (Robot & Drone) และซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) ส่งผลให้เศรษฐกิจของจีนด�ำเนินต่อไปได้

ธุรกิจ SME จ�ำนวนมากสามารถยื่นขอเงินกู้จากธนาคาร โดยใช้บัญชีลูกหนี้จากองค์กรขนาดใหญ่ แพลตฟอร์มดัง กล่าวช่วยให้ธรุ กิจ SME แก้ไขปัญหาข้อจ�ำกัดทางการเงิน ที่เกิดขึ้นในช่วงของการแพร่ระบาด ตัวอย่างเช่น Guangzhou Wubiao ซึง่ เป็นบริษทั น�ำเข้าและส่งออกสินค้า ได้รบั สินเชื่อ 2 ล้านหยวนโดยใช้บัญชีลูกหนี้จากแพลตฟอร์ม อีคอมเมิร์ซ 1919.com พร้อมกันนี้ยังมีการใช้เทคโนโลยีบล็อกเชนเพื่อช่วย ให้บุคลากรทางการแพทย์ในมณฑลหูเป่ยได้รับบริจาค หน้ากากอนามัย เครือ่ งมือทางการแพทย์ และเงิน ซึง่ จ�ำเป็น อย่างมากต่อการด�ำเนินงาน ผ่านทางแพลตฟอร์ม Shanzong ที่ช่วยตรวจสอบติดตามเงินและสิ่งของบริจาคผ่าน เทคโนโลยีบล็อกเชน แพลตฟอร์มดังกล่าวเป็นผลงานการ พัฒนาของบริษัทสตาร์ทอัพ Hyperchain และ China Xiong'an Group

เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence)

เทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain)

อาลี เ พย์ (Alipay) ได้ เ ปิ ด ตั ว แพลตฟอร์ ม ข้ อ มู ล ออนไลน์ ที่ ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีบล็อกเชนส�ำหรับเครื่องมือที่ใช้ในการป้องกัน การแพร่ระบาดในมณฑลเจ้อเจียง เพื่อให้การจัดส่งเครื่องมือดังกล่าว และการน�ำไปใช้มีความโปร่งใสมากขึ้น แพลตฟอร์มนี้ใช้เทคโนโลยี Ant Blockchain และอยู่ภายใต้การก�ำกับดูแลของคณะกรรมการสุขภาพ และคณะกรรมการเศรษฐกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศของมณฑลเจ้อเจียง ในมณฑลกานซู แอนท์ ไฟแนนเชียล (Ant Financial) เปิดตัว ระบบประมูลออนไลน์ที่ขับเคลื่อนด้วยบล็อกเชน ช่วยให้ธุรกิจ SME สามารถเข้ า ร่ ว มการประมู ล ผ่ า นการเชื่ อ มต่ อ ระยะไกลช่ ว งที่ มี การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 เทคโนโลยีบล็อกเชนของแอนท์ ไฟแนนเชียล ท�ำให้แน่ใจได้วา่ ข้อมูลและกระบวนการเปิดประมูลมีความ โปร่งใส ปราศจากการแทรกแซงใดๆ และมีความน่าเชื่อถือได้อย่าง แท้จริง Ant Duo-Chain เป็นแพลตฟอร์มด้านการเงินส�ำหรับซัพพลาย เชนที่ขับเคลื่อนด้วยบล็อกเชน พัฒนาโดยแอนท์ ไฟแนนเชียล ช่วยให้

Engineering Today May - June

2020

28

แอพพลิเคชั่นตรวจวัดอุณหภูมิอัตโนมัติถูกติดตั้งไว้ ตามรถไฟใต้ดิน สถานีรถไฟ สนามบิน และศูนย์บริการ สั ง คม เพื่ อ ระบุ แ ละติ ด ตามบุ ค คลที่ มี อุ ณ หภู มิ ร ่ า งกาย สูงกว่าปกติ และช่วยในการด�ำเนินการที่จ�ำเป็น ระบบ อัตโนมัตนิ มี้ ปี ระโยชน์อย่างมากในการคัดกรองบุคคลทีอ่ าจ ติดเชื้อ (เช่น ระบบของ Megvii สามารถตรวจวัดได้ 300 คนต่อนาที และระบบของ SenseTime สามารถระบุ ตัวบุคคลที่ไม่ได้สวมหน้ากากอนามัย) ศูนย์สาธารณสุขเซีย่ งไฮ้ (Shanghai Public Health Clinical Center: SPHCC) ระดมก�ำลังจากหลายภาคส่วน เพื่อใช้เทคโนโลยีล่าสุดในการต่อสู้กับไวรัส โดยร่วมมือ กับ Yitu Healthcare ซึ่งเป็นสตาร์ทอัพด้าน AI ในเซี่ยงไฮ้ เปิด ตัวระบบประเมิน ผลอัจ ฉริยะส�ำหรับ การท�ำเครื่อง CT Scan ทรวงอกเพื่อตรวจหาการติดเชื้อ COVID-19 (Intelligent Evaluation System of Chest CT for COVID-19) เมื่อวันที่ 28 มกราคม ที่ผ่านมา เพื่อลดการแพร่เชื้อไวรัสที่ผ่านการสัม ผัสโดยตรง ในที่ ส าธารณะที่ มี ผู ้ ค นสั ญ จรไปมาอย่ า งหนาแน่ น เช่น ชุมชนที่อยู่อาศัย โรงพยาบาล และสถานีรถไฟ Sugr Technology ได้พัฒนาสวิตช์ไฟฟ้าที่สั่งงานด้วยเสียง โดยใช้ชื่อว่า “Sesame Switch” สวิตช์ดังกล่าวสามารถ ตรวจจับเสียงพูดและรับรู้ค�ำสั่งเสียงจากระยะไกล


คิวอาร์โค้ด (QR Code)

ผู้บริหารเมืองใหญ่ของจีนกว่า 200 เมืองเปิดตัวบริการชั่วคราว ส�ำหรับโค้ดด้านสุขภาพ (Health Code) ผ่านมินิโปรแกรมของอาลี เพย์ (Alipay) นอกเหนือจากแพลตฟอร์มอื่นๆ เช่น WeChat และ เว็บพอร์ทัลที่ด�ำเนินการโดยหน่วยงานควบคุมโรคระบาด หลังจากที่ ผู้ใช้ผ่านการตรวจสอบ ระบบบริการโค้ดด้านสุขภาพจะขอให้ผู้ใช้กรอก แบบฟอร์มออนไลน์และรายงานข้อมูลเบื้องต้นด้วยตนเอง เช่น เมืองที่ ผูใ้ ช้อาศัยอยูใ่ นปัจจุบนั ผูใ้ ช้มอี าการทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการติดเชือ้ COVID-19 หรือไม่ ผู้ใช้เคยเดินทางไปยังพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาดในช่วง 14 วันที่ ผ่านมาหรือไม่ จากนัน้ บริการดังกล่าวจะให้ควิ อาร์โค้ดทีเ่ ป็นสีแดง เหลือง หรือเขียว อย่างใดอย่างหนึง่ เพือ่ ระบุระดับความเสีย่ งต่อการติดเชือ้ ของ บุคคลดังกล่าว ในการผ่านจุดตรวจทีม่ เี จ้าหน้าทีป่ ระจ�ำอยูต่ ามสนามบิน และสถานีรถไฟ ประชาชนจะต้องแสดงคิวอาร์โค้ดของตนเอง

หุ่นยนต์และโดรน (Robot & Drone)

Keenon Robotics Co บริษัทสตาร์ทอัพในเซี่ยงไฮ้ที่เชี่ยวชาญ ด้านนวัตกรรมหุ่นยนต์ พบว่าผลิตภัณฑ์หุ่นยนต์ด้านบริการเชิงพาณิชย์ ของบริษัทฯ ถูกใช้งานในโรงพยาบาลหลายแห่งในจีนเพื่อจัดการกับ ผู้ป่วย COVID-19 ที่ได้รับการยืนยัน รวมถึงผู้ป่วยที่สงสัยว่าอาจติดเชื้อ หุ่นยนต์ด้านบริการเหล่านี้ท�ำหน้าที่จัดส่งอาหาร ยา และสิ่งของไปยัง แผนกที่ถูกแยกออกไป หลังจากได้รับค�ำสั่งจากผู้ควบคุมเครื่องที่อยู่ ห่างไกล นับว่ามีบทบาทส�ำคัญอย่างมากในการป้องกันโรคระบาด เพราะช่วยลดโอกาสการติดเชื้อจากการสัมผัส และลดความจ�ำเป็นใน การใช้บุคลากร ยานพาหนะติ ด ตั้ ง เครื่ อ งถ่ า ยภาพ CT (Computerized Tomography) แบบเคลือ่ นทีจ่ าก Ping An Health Inspection Center ช่วยให้ประชาชนในเมืองอู่ฮั่นสามารถรับการตรวจวินิจฉัย COVID-19 นอกโรงพยาบาล ยานพาหนะดังกล่าวติดตั้งเครื่อง CT Scan ส�ำหรับ ใช้ทวั่ ร่างกายและใช้การเชือ่ มต่อ 5G ซึง่ นับเป็นระบบเคลือ่ นทีร่ ะบบแรก ที่ใช้เครื่อง CT Scan ทั่วทั้งร่างกาย ทั้งนี้ CT นับเป็นวิธีการที่มี ประสิทธิภาพและแม่นย�ำมากทีส่ ดุ ส�ำหรับการตรวจวินจิ ฉัย COVID-19 หลายๆ บริษัทของจีนใช้โดรน เพื่อท�ำการตรวจสอบการแพร่ ระบาดโดยหลีกเลีย่ งการสัมผัสตัวบุคคล ตัวอย่างเช่น Pudu Technology จากเสิ่นเจิ้นได้ติดตั้งอุปกรณ์โดรนไว้ในโรงพยาบาลกว่า 40 แห่ง ทั่ ว ประเทศ เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ บุ ค ลากรทางการแพทย์ ขณะเดี ย วกั น MicroMultiCopter ซึ่งเป็นอีกหนึ่งบริษัทจากเสิ่นเจิ้นใช้โดรนในการ ขนส่งอุปกรณ์ทางการแพทย์และถ่ายภาพความร้อน Neolix ธุ ร กิ จ ขนส่ ง แบบไร้ ค นขั บ ในกรุ ง ปั ก กิ่ ง ดึ ง ดู ด ลู ก ค้ า หลายราย รวมถึง Alibaba Group Holding Ltd., Meituan Dianping และ JD.Com Inc. ซึ่งจองออเดอร์ส�ำหรับยานพาหนะกว่า 200 คัน ในช่วง 2 เดือนที่ผ่านมา โดยรถบรรทุกขนาดเล็กของ Neolix ช่วยให้ ลูกค้าลดการสัม ผัสร่างกาย และแก้ปัญหาการขาดแคลนพนักงาน เนื่องจากการกักกันพื้นที่และข้อจ�ำกัดการเดินทาง

ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)

ศูนย์ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ของจีนให้ความร่วมมือในการตรวจ วินิจฉัยและรักษาโรค การตรวจคัดยา การตรวจจับและวิเคราะห์ทาง

29

จีโนมิกส์ (Genomics) โดยให้การสนับสนุนในส่วนของ ซอฟต์แวร์และระบบประมวลผล ตัวอย่างเช่น Beijing Super Cloud Computing Center จัดหาทรัพยากรด้าน Super Computing เพื่อช่วยเหลือบุคลากรด้านการวิจัย ทางวิทยาศาสตร์ในการจัดล�ำดับยีน การพัฒนาวัคซีน การตรวจคัดยา และการคาดการณ์เกี่ยวกับการกลายพันธุ์ Tencent เปิดให้ใช้งานระบบ Super Computing ของบริษัทฯ รวมถึงคอมพิวเตอร์ที่สามารถท�ำการค�ำนวณ ได้รวดเร็วกว่าคอมพิวเตอร์พีซีทั่วไปหลายเท่า เพื่อช่วยให้ นั กวิ จั ย คิ ด ค้ นวิ ธี ก ารรั ก ษาโรค โดยร่ ว มมื อ กั บ สถาบั น วิ ท ยาศาสตร์ ชี ว ภาพแห่ ง กรุ ง ปั ก กิ่ ง และมหาวิ ท ยาลั ย Tsinghua University

กรณีศึกษาจากสิงคโปร์

การตรวจจับและการป้องกัน: iThermo เป็น อุปกรณ์ใหม่ส�ำหรับตรวจวัดและคัดกรองอุณหภูมิ โดยใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) เพื่อระบุตัวบุคคลที่มีไข้ อุปกรณ์นี้ ถูกใช้งานที่สิงคโปร์ เพื่อลดความจ�ำเป็นในการ ตรวจวัดโดยเจ้าหน้าที่ อุปกรณ์คัดกรองแบบเรียล ไทม์นี้ใช้เพียงแค่สมาร์ทโฟนที่ติดตั้งเข้ากับกล้อง ตรวจจับความร้อนและกล้องเลเซอร์ 3 มิติ ท�ำ หน้าที่ตรวจวัดอุณหภูมิที่หน้าผากของคนที่เดิน ผ่านอุปกรณ์ โดยสามารถตรวจวัดได้แม้กระทัง่ คน ทีส่ วมแว่นตา หน้ากากอนามัย หรือหมวก ช่วยแก้ไข ปัญหาคิวยาวในบางสถานทีท่ ตี่ อ้ งใช้เวลานานใน การตรวจวัดอุณหภูมโิ ดยเจ้าหน้าที่ นับเป็นเครือ่ งมือ ที่ช่วยประหยัดเวลาและก�ำลังคนได้อย่างมาก การสนั บ สนุ น ที ม แพทย์ แ ละพยาบาล: Grab เตรียมเปิดตัวบริการ GrabCare เพื่อช่วย ให้บคุ ลากรทางการแพทย์สามารถเดินทางไป-กลับ จากโรงพยาบาลได้อย่างราบรื่น และมีแผนที่จะ ขยายบริการดังกล่าวไปสู่โรงพยาบาลอื่นๆ เพิ่ม มากขึ้น

กรณีศึกษาจากฮ่องกง

หุ่นยนต์ตรวจจับไข้ตัวร้อน: เพื่อรับมือกับ การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 “Roborn Technology” บริษัทเทคโนโลยีหุ่นยนต์ในฮ่องกง ใช้เวลาราว 2 สัปดาห์ในการประดิษฐ์หุ่นยนต์ ส�ำหรับตรวจจับอุณหภูมริ า่ งกายของมนุษย์ภายใน ระยะห่าง 5 เมตร หุ่นยนต์ดังกล่าวจะส่งสัญญาณ เตื อ นเมื่ อ ตรวจพบบุ ค คลที่ มี อ าการตั ว ร้ อ นใน บริเวณใกล้เคียง

Engineering Today May - June

2020


3D • Dassault Systèmes

โซลู ช น ่ ั Dassault Systèmes

ช่วยสร้างแบบจ�ำลอง-ป้องกัน การแพร่ ก ระจาย COVID-19 ในโรงพยาบาลเหลยเสินซานในอู่ฮั่น

D

assault Systèmes ด�ำเนินการตามทิศทางและกลยุทธ์ใหม่ โดยมุ ่ ง เน้ น การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ของผู ้ ค นด้ ว ยซอฟต์ แ วร์ แบบจ�ำลอง หรือ “From Things to Life” ล่าสุด บริษัทฯ ร่วมกับสถาบัน ออกแบบสถาปัตยกรรมประจ�ำภูมิภาคภาคใต้ตอนกลางของจีน (CSADI) เพื่อสนับสนุนซอฟต์แวร์แบบจ�ำลองและประเมิน ผลการแพร่กระจายไวรัสใน สภาพแวดล้อมทีจ่ ำ� กัดของพืน้ ทีใ่ นโรงพยาบาลเหลยเสินซาน (Leishenshan Hospital) ที่นครอู่ฮั่น ประเทศจีน โดยโรงพยาบาลสนามชั่วคราวนี้สร้างขึ้น เพื่อรักษาผู้ป่วยและผู้ติดเชื้อไวรัส COVID-19 โดยเฉพาะ สามารถรองรับ ผูป้ ว่ ยได้มากกว่า 1,500 เตียง สร้างขึน้ โดยใช้เทคนิคแบบโมดูลาร์ดว้ ยความเร็ว เฉพาะตัวแบบจีนหรือ “China Speed” ที่สะกดสายตาคนทั้งโลกด้วยการ ใช้เวลาก่อสร้างเพียง 14 วัน เบื้ิองหลังความส�ำเร็จครั้งนี้ส่วนหนึ่งเป็นความ ร่วมมือของ CSADI และ Dassault Systèmes ที่ได้น�ำเทคโนโลยีสร้างแบบ จ�ำลองแพลตฟอร์ม 3DEXPERIENCE มาจ�ำลองการปนเปื้อนและประเมิน การแพร่กระจายของเชื้อไวรัสภายในระบบระบายอากาศของโรงพยาบาลเพื่อ รับมือกับผลกระทบเชิงลบจากความเสี่ยงที่ไม่ได้วางแผนการระบายอากาศ โดย CSADI ในฐานะพันธมิตรของ Dassault Systèmes ในประเทศจีน รับหน้าทีอ่ อกแบบโรงพยาบาลเหลยเสินซาน ภายใต้เป้าหมายหลักเพือ่ ลดและ ควบคุมการแพร่กระจายของเชือ้ ไวรัสดังกล่าวทีส่ ง่ ผลต่อสภาพแวดล้อมบริเวณ ใกล้เคียง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลดการติดเชื้อภายในโรงพยาบาลและลด การแพร่ ร ะบาดไปสู่ชุมชนและประชาคมภายนอก ด้วยเหตุนี้ Dassault Systèmes ได้สนับสนุนซอฟต์แวร์ SIMULIA XFlow ซึ่งขับเคลื่อนด้วย แพลตฟอร์ม 3DEXPERIENCE แก่ CSADI น�ำไปใช้จ�ำลองการไหลเวียน ของเหลวภายในและภายนอกอาคาร และการแพร่กระจายของเชือ้ ไวรัสในระบบ ระบายอากาศ รวมถึงโครงสร้างอื่น ๆ ภายในโรงพยาบาลแห่งนี้ จาง เฉิน ผู้อ�ำนวยการศูนย์วิศวกรรมดิจิทัลและเทคโนโลยี ที่ CSADI กล่าวว่า เทคโนโลยีจาก Dassault Systèmes ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อยกระดับ คุณภาพชีวิตและปูรากฐานส�ำหรับงานออกแบบในอนาคต และ CSADI แสดง ให้เห็นถึงการท�ำงานด้วยความรวดเร็วเฉพาะตัวแบบจีน “China Speed” โดยได้น�ำซอฟต์แวร์สร้างแบบจ�ำลองขั้นสูง SIMULIA XFlow ของ Dassault Systèmesมาใช้ ส ร้ า งโรงพยาบาลเหลยเสิ น ซานจนประสบความส� ำ เร็ จ ซึ่งซอฟต์แวร์นี้ท�ำหน้าที่จ�ำลองการหมุนเวียนของอากาศภายในอาคาร พร้อม กับน�ำเสนอแนวทางที่ช่วยจัดการและควบคุมการแพร่ระบาดของไวรัสภายใน อาคารและห้องพักผู้ป่วยแบบแยกเดี่ยว ที่มีความดันอากาศภายในห้องต�่ำกว่า ภายนอกหรือห้องความดันลบ เพือ่ ป้องกันบุคลากรทางการแพทย์ไม่ให้ตดิ เชือ้

Engineering Today May - June

2020

30

นอกจากนี้ SIMULIA XFlow ยังจ�ำลองผล กระทบของการระบายอากาศออกจากโรงพยาบาล สู่พื้นที่รอบนอกและบริเวณใกล้เคียง ซึ่งเป็นปัจจัย ส� ำ คั ญ ที่ ต ้ อ งค� ำ นึ ง ถึ ง ช่ ว ยให้ เ ราวางโครงสร้ า ง และออกแบบโรงพยาบาลแต่ละจุด ท�ำได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ยิน ฉาง ผู้อ�ำนวยการ Dassault Systèmes ประจ�ำประเทศจีน กล่าวว่า Dassault Systèmes มุ่งมั่นช่วยเหลือองค์กรธุรกิจในประเทศจีนรับมือ กับ COVID-19 ด้วยการน�ำเสนอเทคโนโลยีทมี่ งุ่ เน้น การฟื ้ น ฟู แ ละพั ฒ นาธุ ร กิ จ ของผู ้ ป ระกอบการ หลังจากการระบาดใหญ่ เราได้เพิม่ ความสามารถให้ กับเทคโนโลยีที่สามารถบูรณาการสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต การพัฒนาคุณภาพชีวิต ของทุกคนให้ดีขึ้นคือแรงผลักดันส�ำคัญที่ท�ำให้พวก เราได้ก้าวเข้ามามีส่วนร่วมเชิงบวกต่อสิ่งแวดล้อม ช่ ว งการระบาดใหญ่ แ ละเป็ น แนวทางการพั ฒนา โรงพยาบาลต่างๆ ในอนาคต “ด้วยความร่วมมือกับ CSADI ทุกวันนี้เรา ได้น�ำแพลตฟอร์ม 3D EXPERIENCE มาท�ำงาน ร่วมกันและใช้ประโยชน์จากประสบการณ์ใช้งาน 3D Virtual Twin น�ำไปใช้ออกแบบในระบบงานด้าน วิศวกรรมและด้านการผลิตเพื่อสร้างโรงพยาบาล แห่งนี้ พร้อมรองรับการท�ำงานระยะไกล ให้ทุกคน สามารถท�ำงานร่วมกันได้ทุกที่ ทุกเวลา รวมไปถึง สร้ า งความเข้ า ใจและมอบประสบการณ์ ที่ ดี แ ละ ใช้สื่อสารกันได้ไม่สะดุด นอกจากนี้ยังรองรับการ ท�ำงานร่วมกับระบบคลาวด์แบบ 3 มิติ ยังช่วยให้การ จ�ำลองงานออกแบบรวดเร็วขึ้น รวมทั้งลดภาระงาน ด้ า นการจั ด การระบบเอกสาร” ผู ้ อ� ำ นวยการ Dassault Systèmes ประจ�ำประเทศจีน กล่าว


Robotics • กองบรรณาธิการ

ฟีโบ้ยนิ ดีเผยแพร่แบบพิมพ์เขียว Engineering Drawing พร้อมการควบคุมคุณภาพของระบบ หุน่ ยนต์ ให้ ซึง่ ขัน้ ตอนนีถ้ อื ว่ามีความส�ำคัญมาก เพราะเป็นขั้นตอนในการสร้างอุตสาหกรรม หุ ่ น ยนต์ ข องประเทศ ประเทศที่ พั ฒ นาด้ า น เทคโนโลยีนั้น รัฐบาลเข้าใจเรื่อง Government Procurement และท�ำกระบวนการเหล่านี้มา นานแล้ว จนถือว่าเป็น Crucial Step ของการ สร้างเทคโนโลยีของชาติ ไปสู่ระดับเชิงพาณิชย์ ได้ด้วยตนเองในที่สุด

“ฟี โบ้“FACO” ”

ระบบหุน่ ยนต์

ติดตั้ง

สู้ COVID-19 แห่งแรกที่ รพ.รามาธิบดีจกั รีนฤบดินทร์ พร้อมเผยแพร่ Engineering Drawing ให้เอกชน ต่อยอดสร้างหุ่นยนต์ ในประเทศ

ถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (ฟีโบ้) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) เร่ ง พั ฒ นาระบบหุ ่ น ยนต์ บ นแพลตฟอร์ ม การ ควบคุมเพือ่ ช่วยแพทย์ดแู ลผูป้ ว่ ยติดเชือ้ COVID-19 หรือ “FIBO AGAINST COVID-19: FACO” พร้อมติดตั้ง ที่โรงพยาบาลรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์ เป็นแห่งแรกใน ช่วงเดือนเมษายน 2563 ก่อนทยอยติดตัง้ ในโรงพยาบาล แห่ ง อื่ น ยิ น ดี เ ผยแพร่ แ บบพิ ม พ์ เ ขี ย ว Engineering Drawing ซึ่งมีขั้นตอนการควบคุมคุณภาพของระบบ หุน่ ยนต์ให้เอกชนน�ำไปต่อยอดสร้างอุตสาหกรรมหุน่ ยนต์ ในประเทศ ดร.ชิ ต เหล่ า วั ฒ นา ผู ้ ก ่ อ ตั้ ง สถาบั น วิ ท ยาการ หุ ่ น ยนต์ ภ าคสนาม (ฟี โ บ้ ) มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และผู้ริเริ่มโครงการ “FIBO

AGAINST COVID-19: FACO” กล่าวว่า ฟีโบ้ได้เริม่ ต้นออกแบบ พัฒนาระบบหุ่นยนต์ FACO ประมาณกลางเดือนมีนาคม 2563 โดยน�ำเอาเทคโนโลยี อุปกรณ์ที่มีในสถาบันฯ มาพัฒนาต่อยอด ใช้เวลาประมาณ 3 สัปดาห์ จนสามารถจัดสร้างต้นแบบหุ่นยนต์ ชุดที่หนึ่งส�ำเร็จและน�ำเสนอต่อทีมแพทย์เพื่อให้ทดลองใช้งาน ซึ่งได้รับผลตอบรับเป็นอย่างดี เนื่องจากหุ่นยนต์มีประสิทธิภาพ การท�ำงานสูง และสั่งการได้สะดวก อีกทั้งมีระบบการจัดเก็บ ข้อมูลผูป้ ว่ ยทีช่ ว่ ยลดการท�ำงานซ�ำ้ ซ้อน ท�ำให้ขณะนีม้ โี รงพยาบาล กว่า 20 แห่ง ส่งหนังสือมาถึงสถาบันฯ เพื่อขอติดตั้งระบบ หุ่นยนต์ FACO นี้

31

Engineering Today May - June

2020


จ�ำกัด ส่งทีมนักออกแบบของบริษัทเข้าร่วมในโครงการ FACO โดยร่วมกับทีมวิศวกรและนักวิจัยฟีโบ้ พัฒนาระบบฯ ในฐานะ บริ ษั ท ผู ้ มี ค วามช� ำ นาญในแพลตฟอร์ ม เพื่ อ ต่ อ ยอดไปเป็ น Medical Service Platform ดร.ชิต กล่าวว่า ส�ำหรับหุ่นยนต์ SOFA (โซ่ฟ้า) มีชื่อเต็ม ว่า StOry of FIBO Android เป็นหุ่นยนต์ปัญญาประดิษฐ์ Artificial Intelligence (AI) ที่สามารถตอบค�ำถาม แสดงผล และ โต้ตอบกับผู้ใช้งานในเรื่องที่อยู่บนฐานข้อมูล SOFA ถูกสร้างขึ้น มาในโอกาส FIBO ครบรอบก่อตั้ง 25 ปี ซึ่งตรงกับปี พ.ศ. 2563 ท�ำหน้าที่เป็นหุ่นยนต์ประชาสัมพันธ์ เมื่อเกิดวิกฤต COVID-19 ทีมพัฒนาจึงได้ปรับเพิ่มฟังก์ชันให้ SOFA เป็น ผู้ช่วยแพทย์ใช้ สื่อสารกับผู้ป่วย ลดความเสี่ยงในการติดเชื้อขณะปฏิบัติหน้าที่ โดยจอภาพส่วนทีต่ ดิ ตัง้ บริเวณล�ำตัวของหุน่ ยนต์สามารถใช้แสดง ข้อมูลผลการรักษาให้กบั ผูป้ ว่ ยทราบ ส่วนจอภาพส่วนหัวใช้แสดง ภาพของแพทย์จากห้องควบคุมส่วนกลางเพื่อสื่อสารกับผู้ป่วย ผ่าน Video Call นอกจากนี้หุ่นยนต์ SOFA ยังมีกล้องถ่าย ความร้อน (Thermal Camera) ที่สามารถตรวจวัดอุณหภูมิ ร่างกายของผู้ป่วย และตัวกล้องยังมีความพิเศษที่ให้ภาพความ ละเอียดสูงขยายได้ถึง 20 เท่า ช่วยให้แพทย์ตรวจประเมินอาการ จากสภาพภายนอกของผู้ป่วย เช่น ตาหรือลิ้น ได้จากระยะไกล ที่ผ่านมามีบุคลากรทางการแพทย์มาเยี่ยมชมการทดสอบ ระบบหุ่นยนต์ FACO ในสภาพแวดล้อมจ�ำลองเสมือนจริง และ พึงพอใจกับรูปแบบการท�ำงานของระบบหุน่ ยนต์ SOFA ประกอบ กับทีม่ ขี า่ วผลงานประดิษฐ์เผยแพร่ออกไป จึงมีโรงพยาบาลติดต่อ ขอรับการสนับสนุนระบบหุน่ ยนต์จำ� นวนมาก ซึง่ การเข้าไปติดตัง้ ระบบหุ่นยนต์ FACO ให้กับโรงพยาบาล ทีมงานของฟีโบ้จะเข้า ติดตั้งได้ก็ต่อเมื่อทางโรงพยาบาลจัดพื้นที่เฉพาะส�ำหรับรองรับ ผู้ป่วยให้แล้วเสร็จ (วอร์ดการรักษา) และมีสัญญาณ wi-fi พร้อม

ดร.ชิต เหล่าวัฒนา ผู้ก่อตั้งสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (ฟีโบ้) มจธ. กับระบบหุ่นยนต์ FACO

ระบบหุ่นยนต์ FACO ประกอบขึ้นด้วยหุ่นยนต์ที่ท�ำ หน้าทีต่ า่ งกัน 3 รูปแบบ คือ 1. CARVER เป็น Automated Guided Vehicle (AGV) ใช้ขนส่งอาหาร ยา เวชภัณฑ์ ส�ำหรับผู้ป่วยในหอผู้ป่วย พร้อมฟังก์ชันฟอกอากาศและ ฆ่าเชื้อไวรัสตลอดการปฏิบัติงาน ผ่านอุปกรณ์ Hydroxyl Generator 2. SOFA หุ่นยนต์ผู้ช่วยแพทย์ ช่วยให้แพทย์ สามารถควบคุ ม ทางไกลจากห้ อ งควบคุ ม ส่ ว นกลางให้ หุ่นยนต์เคลื่อนที่ไปยังต�ำแหน่งเป้าหมาย สามารถแสดง ข้อมูลการรักษาหรือผลการตรวจทีเ่ ชือ่ มโยงข้อมูลกับระบบ ของโรงพยาบาล และสามารถ Video Call สนทนาโต้ตอบ กับผู้ป่วยได้แบบ Real-time และ 3. Service Robot หุ่นยนต์บริการเฉพาะจุด สามารถเคลื่อนที่ได้อัตโนมัติ โดยการควบคุมทางไกลจากห้องควบคุมส่วนกลาง ส่งยา และอาหารส�ำหรับผูป้ ว่ ยทีม่ คี วามต้องการพิเศษ และผูป้ ว่ ย สามารถพูดกับหุ่นยนต์เพื่อเรียกแพทย์หรือพยาบาลได้ ผ่าน Video Call โดยหุ่นยนต์ทั้ง 3 รูปแบบนี้ จัดเก็บข้อมูล บนแพลตฟอร์ม FACO ที่พัฒนาขึ้นโดยฟีโบ้ การพัฒนาระบบหุ่นยนต์ FACO ส�ำเร็จได้ เกิดจาก การร่วมมือจากหลายภาคส่วน โดยฟีโบ้ มจธ.ได้ท�ำหน้าที่ ออกแบบและสร้าง โดยมีบริษัทเอกชนได้ให้การสนับสนุน การพัฒนาชุดระบบหุ่นยนต์ฯ ประกอบด้วย 1. บริษัท ฟอร์มส์ ซินทรอน (ประเทศไทย) จ�ำกัด และ บริษัท แอ็ดวานซ์ อินฟอร์เมชัน่ เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) ให้ทนุ สนับสนุนการสร้างแพลตฟอร์มโดยสนับสนุนทัง้ ในส่วนของ งบประมาณและอุปกรณ์ รวม 3 ล้านบาท และ 1 ล้านบาท ตามล�ำดับ 2. บริษัท ซิสโก้ ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริจาคอุปกรณ์ Video Conference/High Definition Camera และ 3. บริษัท ฟอร์มส์ ซินทรอน (ประเทศไทย)

Engineering Today May - June

2020

CARVER ใช้ขนส่งอาหาร ยา เวชภัณฑ์ ส�ำหรับผู้ป่วยในหอผู้ป่วย

32


เชื่ อ มต่ อ จากนั้ น ที ม ฟี โ บ้ ก็ จ ะเข้ า ไปติ ด ตั้ ง ระบบหุ ่ น ยนต์ ใ ห้ เนื่องจากการสั่งการหุ่นยนต์ทุกตัวในระบบ FACO เชื่อมต่อผ่าน ระบบ wi-fi หลักของโรงพยาบาล ท�ำให้การท�ำงานของหุ่นยนต์ มีประสิทธิภาพ โดยโรงพยาบาลรามาธิบดีจักรีนฤบดินทร์ เป็น สถานทีแ่ รกทีท่ มี ติดตัง้ ระบบหุน่ ยนต์ในช่วงปลายเมษายน 2563 และจะทยอยติดตั้งให้กับโรงพยาบาลอื่นๆ เช่น ศูนย์การแพทย์ กาญจนาภิเษก, โรงพยาบาลต�ำรวจ, โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า, โรงพยาบาลปัตตานี และโรงพยาบาลในพื้นที่โครงการพัฒนา ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก หรือ EEC (Eastern Economic Corridor) จ�ำนวน 4 แห่ง เป็นต้น ดร.ชิต กล่าวว่า ฟีโบ้ได้วางแผนต่อยอดการท�ำงานชุด หุ่นยนต์ FACO ในอนาคตไว้ว่า จะน�ำเทคโนโลยี 5G มาเสริม ความสามารถของชุดหุ่นยนต์ FACO โดยพัฒนาแพลตฟอร์ม บนคลาวด์ ท�ำการต่อยอดเพิ่มประสิทธิภาพ เช่น พัฒนาระบบ Teleconference ระบบบันทึกภาพ ควบคุมบริหารจัดการหุน่ ยนต์ จากส่วนกลางบนคลาวด์ นอกจากนี้มีแผนพัฒนาระบบ IoT (Internet of Things) กับอุปกรณ์ตรวจวัดสัญญาณชีพ เพื่อใช้ใน การบันทึกสัญญาณชีพ และจัดท�ำเป็นระบบวิเคราะห์ด้วย AI ซึ่ ง จะต่ อ โดยตรงกั บ Genomics Platform ในพื้ น ที่ EEC เป็นต้น “เมื่อสถานการณ์แพร่ระบาดของ COVID-19 คลี่คลาย ที ม พั ฒนาฟี โ บ้ จ ะน� ำ เทคโนโลยี 5G 2600 MHz มาเสริ ม ความสามารถให้กบั หุน่ ยนต์ และข้อมูลส่งผ่านขึน้ คลาวด์ดว้ ย 5G 26-28 GHz พร้อมกับต่อยอดแพลตฟอร์ม FACO เช่น พัฒนา ระบบ Teleconference ระหว่างแพทย์และผู้ป่วย และระหว่าง แพทย์ด้วยกัน เพื่อระดมองค์ความรู้ในการรักษา และการพัฒนา ระบบบันทึกภาพ เพือ่ ใช้ในการวินจิ ฉัยและบันทึกอาการป่วยและ ผลการรักษา เป็นต้น” ดร.ชิต กล่าว

หุ่นยนต์ SOFA ผู้ช่วยแพทย์ ใช้สื่อสารกับผู้ป่วย ลดความเสี่ยงในการติดเชื้อขณะปฏิบัติหน้าที่

ด้วยฟีโบ้มภี ารกิจหลักในการเป็นสถาบันวิจยั หุน่ ยนต์ ชัน้ น�ำทีต่ อ้ งสร้างสรรค์ผลงานวิจยั และพัฒนาต้นแบบระบบ หุ ่ น ยนต์ ใ ห้ ทั น ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงความก้ า วหน้ า ของ เทคโนโลยี เมือ่ ความต้องการใช้งานระบบหุน่ ยนต์ FACO มีสงู และขยายความต้องการไปทุกภูมภิ าค ฟีโบ้จงึ ได้หารือ กับภาครัฐหลายแห่ง เช่น ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัย แห่งชาติ (วช.), กระทรวงอุตสาหกรรม, กระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) และ กระทรวงดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คม เพื่ อ จั ด งบ ประมาณและออกมาตรการให้ผู้ประกอบการ System Integration (SI) ที่เป็นบริษัทของคนไทยหลายๆ แห่ง ซึ่งรวมตัวกันอยู่แล้วภายใต้ สมาคมผู้ประกอบการระบบ อัตโนมัติและหุ่นยนต์ไทย (Thai Automation and Robotics Association: TARA) มาร่วมมือกันสร้างระบบ หุน่ ยนต์สง่ มอบให้กบั โรงพยาบาลทีม่ คี วามจ�ำเป็นต้องใช้งาน “ฟีโบ้ยินดีเผยแพร่แบบพิมพ์เขียว Engineering Drawing พร้อมการควบคุมคุณภาพของระบบหุ่นยนต์ให้ ซึ่งขั้นตอนนี้ถือว่ามีความส�ำคัญมาก เพราะเป็นขั้นตอน ในการสร้างอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ของประเทศ ประเทศ ทีพ่ ฒ ั นาด้านเทคโนโลยีนนั้ รัฐบาลเข้าใจเรือ่ ง Government Procurement และท�ำกระบวนการเหล่านี้มานานแล้ว จนถือว่าเป็น Crucial Step ของการสร้างเทคโนโลยีของ ชาติไปสู่ระดับเชิงพาณิชย์ได้ด้วยตนเองในที่สุด” ดร.ชิต กล่าว

หุ่นยนต์บริการเฉพาะจุดเคลื่อนที่ ได้อัตโนมัติโดยการควบคุมทางไกล จากห้องควบคุมส่วนกลาง ส่งยาและอาหารส�ำหรับผู้ป่วยที่มี ความต้องการพิเศษ

33

Engineering Today May - June

2020


AI • NetApp

บทบาทของ ปัญญาประดิษฐ์ (AI)

ด้านการแพทย์ ในวิกฤต

COVID-19

นสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 เราได้เห็นบทบาท ที่ส�ำคัญของปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) มากขึ้น ดังจะเห็นได้จาก “การเตือนภัยล่วงหน้า” โดย AI เป็นกลุ่มแรกๆ ที่พบการ เกิดขึ้นของเชื้อโรคชนิดใหม่ในมณฑลหูเป่ย ประเทศจีน จากข้อมูลทีร่ วบรวมสถิติ ทีโ่ รงพยาบาลใช้ AI ในการรับมือกับ COVID-19 มีดังนี้ คือ 1. การคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อ 2. ระบุผู้ป่วยที่มีความ เสี่ยงสูง 3. การคัดกรองเจ้าหน้าที่ บุคลากรทางการแพทย์ที่เป็นแนวหน้า ในการเผชิญกับผู้มีความเสี่ยงและผู้ป่วย และ 4. การแยก COVID-19 จากโรค ระบบทางเดินหายใจอื่นๆ ด้วยวิธีการ X-rays หรือ CT Scan

AI ได้กลายเป็นหนึ่งในกลไกส�ำคัญอันดับแรกที่โรงพยาบาลใช้ในการ ตรวจสอบ คัดกรองผูป้ ว่ ยและระบุผมู้ แี นวโน้มเสีย่ งต่อการติดเชือ้ นอกจากการ ตรวจเช็คอุณหภูมิ ควบคุมและติดตามข้อมูลของผู้ติดเชื้อหรือกลุ่มเสี่ยงแล้ว ยังใช้ AI ในการประเมินสถานการณ์เพือ่ เตรียมพร้อมรับมือ เพือ่ ให้รวู้ า่ ผูต้ ดิ เชือ้ คือใคร กลุ่มเสี่ยงหรือบุคคลที่มีความเสี่ยงจะได้รับการแพร่กระจายของเชื้อนี้ จากผู้ติดเชื้อเป็นอย่างไร ไปจนถึงคาดการณ์และวางแผนทางด้านอุปกรณ์ ทางการแพทย์ที่จะต้องใช้เพื่อให้เพียงพอต่อการรองรับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น (ที่มา: บทความ STAT ล่าสุด)

>> ภาพถ่ายทางการแพทย์กับ COVID-19

การคัดแยก COVID-19 จากโรคปอดอื่น โดยใช้ภาพถ่ายทางการแพทย์ จึงเป็นความหวังส�ำคัญ เพราะเป็นทางเลือกในการทดสอบในช่วงเวลาที่ การตรวจหาสารพันธุกรรมของไวรัสด้วยวิธี Real-time (RT PCR) หรือทาง Lab ขาดแคลน หรือใช้ในการสนับสนุนผลจากการทดสอบจาก Lab อีกชัน้ หนึง่ ในช่ ว งเดื อ นมี น าคม โอเพนซอร์ ส ชื่ อ ว่ า COVID-Net ได้ น� ำ Convolutional Neural Network (CNN) มาใช้ในการวิเคราะห์ภาพจ�ำนวน กว่า 6,000 ภาพ จากผู้ป่วยมากกว่า 2,800 คน การทดสอบสามารถจ�ำแนก ผลการเอกซเรย์สภาพปอดของผู้ป่วย เช่น เกิดจากแบคทีเรีย ไวรัสที่ไม่ใช่ COVID-19 และไวรัส COVID-19 และยังมีความพยายามในการสร้างแบบ จ�ำลองที่คล้ายกันเพิ่มเติมจาก COVID-Net

>> สถาปัตยกรรมที่อ้างอิงภาพถ่ายทางการแพทย์

ไม่นานมานี้ NetApp ได้น�ำเสนอโซลูชั่นส�ำหรับภาพถ่ายทางการแพทย์ แบบบูรณาการโดยใช้ NVIDIA Clara Train SDK v2.0 ซึ่งใช้ประโยชน์จากการ จัดเก็บแฟลช NVIDIA DGX-2 และ NetApp AFF ที่เหมาะสมกับ COVID-19 และการจ�ำแนกภาพและการแบ่งส่วนทางการแพทย์อื่น โซลูชั่นที่สมบูรณ์จะ แสดงให้เห็นถึงสถาปัตยกรรมการขับเคลื่อนข้อมูล ตั้งแต่จากขั้นการบันทึก ข้อมูลภาพ การจัดเก็บข้อมูลภาพอย่างเป็นระเบียบ การระบุคณ ุ ลักษณะเฉพาะ ของแต่ละภาพโดยใช้ AI และการน�ำสิ่งที่เรียนรู้จากข้อมูลมาใช้ปรับแต่งโมเดล AI ที่มีอยู่ต่อไป

Engineering Today May - June

2020

34


ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีภาพถ่ายทางการ แพทย์รวมถึงความสามารถในการวิเคราะห์ 3D, 4D แบบเรียลไทม์ และการประมวลผลด้วย GPU ช่วยสร้างเครื่องมือที่ทรงพลังให้กับนักรังสีวิทยา ในการวินิจฉัยและให้ค�ำแนะน�ำได้รวดเร็วขึ้น โดย เฉพาะอย่ า งยิ่ ง อัล กอริทึมของการแบ่ง เซกเมนต์ (Semantic Segmentation Algorithms) จะท�ำให้ สามารถใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ ห ลายด้ า นมากขึ้ น และ สามารถปรับใช้ในงานใหม่และกรณีใช้งานอื่นๆ ได้ รูปแบบการท�ำงานนอกกรอบที่หลากหลายของงาน วิจยั และภาพถ่ายทางการแพทย์จะมีผลอย่างมากต่อ การดูแลสุขภาพ เวิ ร ์ ค โหลดของงานด้ า นการดู แ ลสุ ข ภาพนี้ สามารถบรรจุขอ้ มูลได้หลากหลายแบบ อาทิ บันทึก สุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ การบันทึกภาพการผ่าตัดของ หุ่นยนต์ การถ่ายภาพรังสีที่มีความทึบแตกต่างกัน ประกอบด้วย ภาพจอประสาทตา ภาพอัลตราซาวด์ ภาพซีที สแกน (CT) เอกซเรย์โพซิตรอน (PET) และ ภาพ (MRI) โดยข้อมูลทัง้ หมดนีจ้ ะน�ำไปใช้ดา้ นบริการด้าน สุขภาพต่างๆ เช่น ภาพถ่ายทางการแพทย์ พยาธิวทิ ยา แบบดิจิทัล จีโนมิกส์ และอื่นๆ ในโมเดลเทรนนิ่ง มีความต้องการชนิดข้อมูลที่แตกต่างกัน รวมถึง ประสิทธิภาพการประมวลผลและสตอเรจ การท�ำให้

GPU มี ส มรรถนะสู ง สุ ด และให้ อั ต ราความเร็ ว สู ง สุ ด ในเวลาแฝงที่ ต�่ ำ สุ ด จากสตอเรจ รายงานเทคนิคนี้กล่าวถึงความท้าทายในการเทรนนิ่งเกี่ยวกับ การมอบประสิทธิภาพที่ดีที่สุดเพื่อลดเวลาในการท�ำความเข้าใจ และเพิ่ม ความแม่นย�ำ นอกจากนี้ยังกล่าวถึงการตรวจสอบของโมเดลเทรนนิ่งของ AI และ DL ในการแบ่งเซกเมนต์ของ Hippocampus โดยใช้ชุดข้อมูลที่เปิดเผย ต่อสาธารณชนด้วยแพลตฟอร์ม NVIDIA Clara™ Hippocampus เป็นส่วนประกอบส�ำคัญของสมองมนุษย์ มีบทบาท ส�ำคัญในการรวมข้อมูลจากหน่วยความจ�ำระยะสั้นไปยังหน่วยความจ�ำระยะ ยาวและในหน่วยความจ�ำเชิงพืน้ ทีท่ เี่ ปิดใช้งานการน�ำทาง ส�ำหรับโรคอัลไซเมอร์ และภาวะสมองเสื่อม Hippocampus เป็นหนึ่งในส่วนแรกของสมองที่ได้รับ ความเสียหาย การระบุทแี่ ม่นย�ำของ Hippocampus จาก MRI ถือเป็นขัน้ ตอน ส�ำคัญในกระบวนการวินจิ ฉัย อาจเป็นเรือ่ งยากส�ำหรับนักรังสีวทิ ยาและแพทย์ ในการแบ่งเซกเมนต์ขนาดเล็กๆ ทัง้ สองทีอ่ ยูใ่ กล้เคียงกันด้วยความแม่นย�ำ DL จะช่วยให้การแบ่งเซกเมนต์นี้เร็วขึ้นและแม่นย�ำยิ่งขึ้น ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงาน ทางการแพทย์ไปใช้เวลาในการวินจิ ฉัยและดูแลผูป้ ว่ ยได้มากขึน้ โดยใช้เวลาน้อย กว่าในการตรวจภาพ NVIDIA ClaraTM เป็นแพลตฟอร์มการค�ำนวณที่จะช่วยให้นักพัฒนา สามารถสร้าง จัดการ และปรับใช้เวิร์คโฟลว์ภาพถ่ายทางการแพทย์ได้อย่าง ชาญฉลาด. NVIDIA Clara Train SDKTM น�ำเสนอเครื่องมือและเทคโนโลยี ทีท่ นั สมัยทีช่ ว่ ยเร่งการให้คำ� อธิบายประกอบข้อมูล การปรับตัว และการพัฒนา โมเดล AI ส�ำหรับเวิร์คโฟลว์การถ่ายภาพด้านสุขภาพ การตรวจสอบความถูก ต้องนี้ใช้แพลตฟอร์ม NVIDIA ClaraTM เพื่อจัดท�ำค�ำอธิบายประกอบแบบ ช่วยด้วย AI เพื่อติดฉลากชุดข้อมูลการสร้างภาพสมองที่เปิดเผยต่อสาธารณะ (ที่มา: open-source model called COVID-Net)

ภาพจ�ำลองการท�ำงานของโซลูชั่น NetApp กับ NVIDIA ClaraTM เพื่อสร้างรายงานทางเทคนิค: ONTAP AI Reference Architecture for Healthcare: Diagnostic Imaging

35

Engineering Today May - June

2020


In Trend • ดร.สุเมธ องกิตติกุล ณิชมน ทองพัฒน์

Cr ภาพ : FB วิษณุวัส ใจหาญ

เตรียมความพร้อม

ระบบขนส่งสาธารณะไทย ในสถานการณ์ COVID-19

ปั

ญหาการแพร่ระบาดของ COVID-19 เป็นปัญหาใหญ่ที่ส่งผลกระทบรูปแบบ การใช้ชวี ติ ของประชาชนในหลายประเทศ จากข้อมูล เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 ประชากรประมาณ 2,600 ล้านคนทั่วโลกอยู่ภายใต้การล็อกดาวน์เพื่อ ป้องกันการแพร่กระจายของไวรัส หลายประเทศปิด พรมแดนและประกาศเคอร์ฟิวส่งผลให้การเดินทาง ลดลงอย่ า งมากทั้ ง ภายในประเทศและระหว่ า ง ประเทศผู้ประกอบการขนส่งทั่วโลกต่างได้รับผล กระทบอย่างรุนแรงจากกฎเกณฑ์ห้ามการเดินทาง และประชาชนที่ ห ลี ก เลี่ ย งการใช้ ร ะบบขนส่ ง สาธารณะ

Engineering Today May - June

2020

ในประเทศไทยช่วงที่มีการระบาดของโรคเพิ่มขึ้นปลายเดือน มีนาคม 2563 รัฐบาลได้ออกมาตรการล็อกดาวน์ ห้ามบุคคลใด ทั่วราชอาณาจักรออกนอกเคหสถานระหว่างเวลา 22.00-04.00 น. (วันที่ 17 พฤษภาคม เป็นต้นไป เวลา 23.00-04.00 น.) และให้ ประชาชนงดหรือชะลอการเดินทางข้ามเขตพื้นที่จังหวัดเว้นแต่จ�ำเป็น ถึงวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ตาม พ.ร.ก.การบริหารราชการใน สถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 5) อีกทั้งขอความร่วมมือจาก ภาคเอกชนในการก� ำ หนดมาตรการให้ ท� ำ งานจากที่ บ ้ า นและยั ง มี มาตรการต่างๆ ด้านการเดินทางภายในเมือง โดยเฉพาะในกรุงเทพฯ อย่างมาตรการเพิ่มจ�ำนวนรถและความถี่ในการให้บริการของแต่ละ ผู้ประกอบการ เช่น ขสมก.ได้เพิ่มรถโดยสารประจ�ำทางที่ให้บริการเป็น 2,500-2,600 คัน/วัน รถไฟฟ้าสายสีนำ�้ เงินน�ำขบวนรถ 36 ขบวนออก ให้บริการและปรับความถีป่ ล่อยรถช่วงเร่งด่วนเป็น 3.5-4.5 นาที/ขบวน รถไฟฟ้าสายสีม่วงน�ำขบวนรถ 12-16 ขบวนออกให้บริการและปรับ ความถี่ปล่อยรถในช่วงเร่งด่วนเป็น 4-5 นาที/ขบวน และรถไฟฟ้า BTS น�ำขบวนรถ 98 ขบวนออกให้บริการ

36


นอกจากนี้ บริ ก ารขนส่ ง สาธารณะยั ง ก� ำ หนด มาตรการเพื่ อ การรั ก ษาระยะห่ า งทางสั ง คม (Social Distancing) ในการเดินทาง ทั้งการจัดให้มีการนั่งที่เว้นที่ การปล่อยผูใ้ ช้บริการเข้าสูร่ ะบบรถไฟฟ้าเป็นกลุม่ (Group Release) ตามจ� ำ นวนที่ ก� ำ หนด หรื อ การก� ำ หนดให้ ประชาชนเข้าสู่ชานชาลาเป็นรอบๆ ใน 3 ตอนคือ ก่อน ขึ้น-ลงเข้าสู่ชั้นจ�ำหน่ายบัตรโดยสาร ก่อนผ่านหน้าประตู กั้นจัดเก็บค่าโดยสาร และก่อนเข้าสู่ขบวนรถ เพื่อป้องกัน ไม่ให้ผู้ใช้บริการหนาแน่นเกินไปในขบวนรถไฟฟ้าและ ชานชาลา อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ผู้ติดเชื้อ COVID-19 ของประเทศไทยในปั จ จุ บั น มี แ นวโน้ ม ลดลง และเริ่ ม สามารถควบคุ ม ได้ ภาครั ฐ จึ ง เริ่ ม มี น โยบายผ่ อ นปรน มาตรการล็อกดาวน์ที่มีอยู่ ท�ำให้กิจการต่างๆ เริ่มกลับมา ให้บริการได้ ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนกลับมาเดินทางด้วย ระบบขนส่ ง สาธารณะอี ก ครั้ ง ทั้ ง การเดิ น ทางในระยะ ทางสั้ น และเดิ น ทางข้ า มจั ง หวั ด ทั้ ง นี้ ก่ อ นที่ ภ าครั ฐ จะด�ำเนินการผ่อนปรนได้นนั้ ควรจะต้องเตรียมความพร้อม ส�ำหรับการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 จากการใช้บริการขนส่งสาธารณะ

ส�ำรวจมาตรการของต่างประเทศ

ในต่างประเทศได้มมี าตรการและแนวทางปฏิบตั เิ พือ่ ป้องกันการแพร่ระบาดของ COVID-19 ในระบบขนส่ง สาธารณะที่หลากหลาย อย่างไรก็ตาม ค�ำแนะน�ำของ องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งผู้โดยสารในต่างประเทศ และระหว่างประเทศที่ส�ำคัญอย่าง American Public Transport Association (APTA), International Organization for Public Transport Authorities and Operators (UITP), The Shenzhen Bus Group Company และ International Union of Railways (UIC) ล้วนให้ค�ำแนะน�ำที่ตรงกันดังต่อไปนี้ • มาตรการท�ำความสะอาดยานพาหนะและสถานี อย่างสม�่ำเสมอ • การฝึกอบรมด้านการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรค แก่เจ้าหน้าที่ที่ต้องมีการติดต่อกับผู้โดยสาร • การดูแลเจ้าหน้าทีใ่ ห้มอี ปุ กรณ์เพียงพอ เช่น ถุงมือ แอลกอฮอล์ล้างมือ กระจกกั้นที่ขายตั๋ว ฯลฯ • การคัดกรองผู้โดยสารก่อนเข้าใช้ระบบขนส่ง สาธารณะ

มาตรการเหล่านี้ถือได้ว่าเป็น “มาตรฐานสากลขั้นต�่ำ” ในการ ดูแลผู้โดยสารช่วงการระบาดของ COVID-19 ในระบบขนส่งสาธารณะ นอกเหนือจากมาตรการพื้นฐานดังกล่าว บางประเทศได้ใช้มาตรการ ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคอย่างเข้มงวด โดยการระงับการขนส่ง สาธารณะทั้งหมด เช่น เมืองอู่ฮั่นและหวงกังในประเทศจีน และกรุงเดลี ในประเทศอินเดีย เป็นต้น ในประเทศที่มาตรการระงับการให้บริการขนส่งสาธารณะไม่อาจ เป็นไปได้ จะต้องหามาตรการในการลดความเสี่ยงจากการติดเชื้ออย่าง เร่งด่วน ซึ่งจากกรณีศึกษาการติดเชื้อของผู้โดยสาร 9 คนที่ใช้บริการรถ โดยสารทางไกลเมืองหูหนาน ประเทศจีน ในเดือนมกราคม 2563 พบ ว่าผู้โดยสารทั้ง 9 คนไม่สวมหน้ากากอนามัย ในขณะที่เชื้อ COVID-19 มีชีวิตอยู่ในอากาศได้ถึงอย่างน้อย 30 นาที จึงได้เน้นย�้ำให้เห็นความ ส�ำคัญของการสวมหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่ใช้บริการ หลายประเทศพยายามลดความแออัดในระบบขนส่งสาธารณะ ดังตัวอย่างของกรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย ได้ออกมาตรการลด จ�ำนวนเที่ยวรถที่ให้บริการ เพื่อลดการเดินทางและโอกาสการแพร่ กระจายของเชือ้ โรค แต่เป็นการก�ำหนดมาตรการอย่างกะทันหันโดยขาด การประเมินผลกระทบ (Impact Assessments) ขณะที่บริษัทเอกชน ส่ ว นใหญ่ ยั ง ไม่ เ ปิ ด โอกาสให้ ป ระชาชนสามารถท� ำ งานจากบ้ า นได้ การลดจ�ำนวนเที่ยวรถ จึงกลับท�ำให้เกิดความแออัดในระบบเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีจ�ำนวนประชาชนเดินทางต่อเที่ยวเพิ่มมากขึ้น ในทางตรงกันข้าม กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก ซึ่งแม้ว่า จ�ำนวนประชากรที่ต้องการเดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะลดลง ถึงประมาณ 75% แต่ยังใช้มาตรการเพิ่มเที่ยวเดินรถเพื่อลดความ แออั ด ระหว่ า งผู ้ โ ดยสาร สอดคล้ อ งกั บ แนวทางของ Berliner Verkehrsbetriebe (BVG) ในกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี ที่ได้ปรับ ตารางการเดินรถแม้ว่ามีปริมาณผู้โดยสารลดลงอย่างมากก็ตาม

37

Engineering Today May - June

2020


นอกจากนี้ บางประเทศพยายามควบคุมปริมาณ ของผู ้ โ ดยสารและลดความแออั ด บนขบวนรถไฟใต้ ดิ น ผ่ า นระบบการจองล่ ว งหน้ า ส� ำ หรั บ บริ ก ารรถไฟใต้ ดิ น (Subway by Appointment) โดยเมืองเซินเจิ้นและ ปักกิ่งในประเทศจีน ได้ทดลองน�ำระบบนัดหมายผ่าน แอพพลิเคชั่นมาใช้ลดความแออัดในสถานีที่มีผู้ใช้บริการ มากในช่วงเร่งด่วน โดยผู้โดยสารสามารถนัดหมายเพื่อ เข้าสู่สถานีรถไฟใต้ดินผ่าน QR-Code บนโทรศัพท์มือถือ และจะได้รับการแจ้งเตือนทางโทรศัพท์มือถือให้เข้ามายัง สถานีเมื่อถึงเวลาที่ก�ำหนด

ข้อเสนอส�ำหรับระบบขนส่งสาธารณะ ของไทย

ผู้โดยสารจะต้องใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่ใช้ บริการระบบขนส่งสาธารณะทุกรูปแบบ งดพูดคุย รวมทั้ง งดคุยโทรศัพท์ และงดรับประทานอาหารหรือเครื่องดื่มใน ระบบขนส่ง และจะต้องเว้นระยะห่างจากผู้อื่นให้มากที่สุด โดยหากสามารถท�ำได้ ควรพยายามหลีกเลี่ยงการใช้รถ ขนส่งสาธารณะทีแ่ ออัด เช่น ต้องยืน ผูป้ ระกอบการควรจัด ให้มีการท�ำความสะอาดยานพาหนะและระบบที่เกี่ยวข้อง อย่างสม�ำ่ เสมอ รวมถึงการตรวจสอบพนักงานว่าปลอดเชือ้ และพยายามลดการสัมผัสระหว่างพนักงานกับผู้โดยสาร โดยเพิ่มช่องทางการจ่ายผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ให้มาก ขึ้น นอกจากนี้ ส�ำหรับระบบที่มีจุดขึ้น-ลงที่สามารถด�ำเนิน การคัดกรองผู้โดยสารก่อนใช้บริการได้ เช่น รถไฟฟ้า หรือ รถโดยสารประจ�ำทางทีม่ สี ถานีขนส่ง ผูป้ ระกอบการจะต้อง มีมาตรการคัดกรองผู้ใช้บริการ โดยให้มีการตรวจอุณหภูมิ ร่างกายก่อนใช้ระบบขนส่งสาธารณะ เพือ่ ลดโอกาสในการ

Engineering Today May - June

2020

แพร่กระจายของเชื้อ ส�ำหรับมาตรการในด้าน Social Distancing เพื่อลดความแออัด ของการใช้ บ ริ ก ารขนส่ ง สาธารณะนั้ น ผู ้ ป ระกอบการควรจั ด ให้ มี เที่ ย ววิ่ ง ที่ เ หมาะสมกั บจ� ำ นวนผู ้ โ ดยสาร ควรพิ จ ารณาที่ นั่ ง ที่ ยื น ที่เหมาะสม ทั้งปรับเพิ่มจ�ำนวนเที่ยววิ่งในช่วงเวลาที่มีคนเดินทางกลับ ที่พักในช่วงค�่ำก่อนเวลาเคอร์ฟิว อย่างไรก็ดี ส�ำหรับระบบขนส่งทีม่ จี ำ� นวนทีน่ งั่ และทีย่ นื จ�ำกัดมาก อาจเป็นไปได้ยากที่จะจัดให้นั่งโดยเว้นระยะห่างกันมาก การก�ำหนดให้ สวมหน้ากากอนามัย จึงน่าจะเป็นทางออกที่ดีกว่า นอกจากนี้ ผู้ประกอบการอาจควบคุมปริมาณผู้ใช้บริการได้ โดยน�ำวิธีการจองล่วงหน้ามาใช้กับการขนส่งระหว่างเมือง เช่น รถไฟ ระหว่างเมือง รถตู้ระหว่างเมือง หรือรถโดยสารระหว่างเมือง เป็นต้น ภาครั ฐ ควรส่ ง เสริ ม ให้ ห น่ ว ยงานราชการและบริ ษั ท เอกชน สนับสนุนนโยบาย Work from Home ต่อไป เพื่อลดจ�ำนวนคนที่ต้อง เดินทางไปท�ำงาน หรือสนับสนุนการปรับเปลี่ยนเวลาการท�ำงานเพื่อ หลีกเลี่ยงความแออัดของการเดินทางในช่วงเวลาเร่งด่วน นอกจากนี้ การก�ำหนดให้มเี จ้าหน้าทีส่ าธารณสุขประจ�ำสถานีขนส่งหรือสถานีรถไฟ เพื่อก�ำกับดูแลและสร้างความมั่นใจในการควบคุมโรคให้กับผู้ใช้บริการ เป็นอีกหนึ่งแนวทางที่รัฐควรด�ำเนินการ อย่างไรก็ตาม มาตรการทีไ่ ด้เสนอให้ผปู้ ระกอบการด�ำเนินการเพิม่ เติมเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ในระบบการขนส่ง สาธารณะย่อมจะส่งผลให้ผู้ประกอบการขนส่งมีค่าใช้จ่ายเพิ่มสูงขึ้น ทั้งจากการรักษาความสะอาดที่เพิ่มขึ้น การจัดให้มีอุปกรณ์คัดกรอง ผู้โดยสารที่จ�ำเป็น และการเพิ่มเที่ยววิ่งรถขณะที่ปริมาณผู้โดยสารไม่ได้ มีจำ� นวนมากเท่าสถานการณ์ปกติ เป็นต้น ดังนัน้ การหาแนวทางเยียวยา ช่วยเหลือผู้ประกอบการอย่างสมเหตุสมผลจึงเป็นโจทย์ส�ำคัญต่อไป ของภาครัฐ เพื่อให้การด�ำเนินมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดในระบบ ขนส่งสาธารณะดังกล่าวบรรลุผล

38


Technology • กองบรรณาธิการ

ซิสโก้ชี้

Workplace ในอนาคต เปลีย่ นการท�ำงานให้เป็น ดิจิทัลมากขึ้น รับมือ COVID-19

ากวิกฤตการแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ไปยังทั่วโลก ส่งผลให้ องค์กรทั่วโลกมีนโยบายให้พนักงานท�ำงานจากที่บ้าน (Work From Home) ซึ่งได้เปลี่ยนโฉมรูปแบบการท�ำงานอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน และกลายเป็น New Normal หรือบรรทัดฐานใหม่ ที่จะเปลี่ยนไลฟ์สไตล์การท�ำงานของผู้คน ในปัจจุบัน ทั้งนี้ WFH เป็นเพียงส่วนหนึ่งของรูปแบบการท�ำงานในยุคดิจิทัลเท่านั้น แต่สงิ่ ส�ำคัญทีธ่ รุ กิจก�ำลังมองหาคือ ท�ำอย่างไรให้พนักงานมีการท�ำงานร่วมกันจาก ที่ไหนก็ได้ ประสานงานร่วมกันได้ทันทีเหมือนอยู่ที่เดียวกัน และแก้ปัญหาร่วมกัน ได้ทุกเวลาอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเรียกว่า “Workplace Transformation” หรือ การเปลี่ยนวิธีการท�ำงานให้ท�ำงานร่วมกันอย่างราบรื่น และมีประสิทธิภาพบนข้อมูล เดียวกัน ซึ่งอาศัย 3 ปัจจัยหลักคือ คน กระบวนการ และเทคโนโลยี เมือ่ 17 ปีทผี่ า่ นมา วิกฤต SARS ทีป่ ระเทศจีน ได้เป็นจุดเปลีย่ นส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ เกิดธุรกิจอีคอมเมิรซ์ ขณะทีว่ กิ ฤตเชือ้ COVID-19 ได้จดุ เปลีย่ นทีส่ ำ� คัญครัง้ ใหญ่ของ รูปแบบการท�ำงาน และเป็นแรงผลักดันทีท่ ำ� ให้มนุษย์เข้าสูโ่ หมด “วิถชี วี ติ แบบดิจทิ ลั ” อย่างแท้จริง ทั้งนี้ การ์ทเนอร์ได้ประเมินว่า ภายในปี พ.ศ. 2567 การท�ำงานแบบ รีโมทจะส่งผลกระทบต่อการประชุมขององค์กร โดยการประชุมแบบ Face to Face จะเกิดขึน้ เพียง 25% ลดลงจากเดิมทีส่ งู ถึง 60% และ 64% ของคนท�ำงานในปัจจุบนั นั่นหมายถึงว่าพวกเขาจะสามารถท�ำงานจากที่ไหนก็ได้ ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลง ครั้งใหญ่ของการท�ำงานในช่วงระยะเวลาไม่กี่ปี รวมถึงผลส�ำรวจ ETDA ฉบับล่าสุด ชี้ว่า คนไทยกว่า 70% เป็นผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต และกว่า 94% เป็นเจ้าของสมาร์ท โฟน ซึ่งเป็นปัจจัยเกื้อหนุนที่ท�ำให้เกิด Workplace Transformation อย่างรวดเร็ว

Workplace ในอนาคต เปลี่ยนการท�ำงาน ให้เป็นดิจิทัลมากขึ้น รับมือ COVID-19 วัตสัน ถิรภัทรพงศ์ กรรมการผูจ้ ดั การซิสโก้ ประเทศไทย และภูมภิ าคอินโดจีน กล่าวว่า Workplace ในอนาคต ท�ำให้การท�ำงานต้องเปลี่ยนเป็นดิจิทัลมากขึ้น เพื่อ รับมือ COVID-19 โดยในปี พ.ศ. 2563 นี้ มีการสร้างข้อมูลใหม่ๆ 50% ส่วนองค์กร จะมีสัดส่วนสูงถึง 90% ที่สามารถท�ำงานที่ไหนก็ได้ ผ่านโทรศัพท์มือถือ เนื่องจาก ผลของการแพร่ระบาดของ COVID-19 ซึ่งตัวเลขนี้ไม่ไกลเกินจริง และปัจจุบันการ ท�ำงานจะสัมพันธ์กับองค์กรภายนอก 35% ทั้งนี้ซิสโก้ได้น�ำประสบการณ์ในการท�ำ Workplace Transformation มาแบ่งปันโดย Workplace Transformation ประกอบด้วย

39

วัตสัน ถิรภัทรพงศ์ กรรมการผู้จัดการซิสโก้ ประเทศไทย และภูมิภาคอินโดจีน

1. ท�ำงานที่บ้าน เหมือนท�ำงานที่ออฟฟิศ จะเห็นได้ว่าพนักงานมีความเป็น Mobile มากขึ้น สามารถเปลี่ยนเป็น Mobile Office ซึ่งซิสโก้ท�ำมากว่า 10 ปีแล้ว 2. ให้พนักงาน ท�ำงานทีไ่ หนก็ได้ ท�ำให้เกิดความคล่องตัวสูง Remote Mobility 3. TeleCommute ซิสโก้ ให้โอกาสพนักงานท�ำงานจากบ้านเป็นเวลา นานแล้ว 90% ของพนักงานซิสโก้ท�ำงาน TeleCommute ทั่วโลก โดยพนักงานซิสโก้ 48% ท� ำ งานกั บ พนั ก งานในต่ า งประเทศ ทั่วโลก และ 59% ท�ำงานกับผู้บริหาร “ในการท�ำ Work From Home ซิสโก้ ได้ลองผิดลองถูกพอสมควร ซึง่ พบว่าพนักงาน สามารถลดค่าใช้จ่ายปีละกว่า 30,000 บาท ทั้ ง ค่ า เดิ น ทาง ค่ า น�้ ำ มั น ที่ ส� ำ คั ญ ท� ำ ให้ พนั ก งานมี ค วามพึ ง พอใจ และผู ก พั น ต่ อ องค์กร 23% อัตราการลาออกของพนักงาน ต�่ ำ กว่ า 30% อี ก ทั้ ง บริ ษั ท ฯ ยั ง สามารถ ลดจ�ำนวนโต๊ะ เก้าอี้ และค่าสาธารณูปโภค น�้ำ-ไฟลงได้” วัตสัน กล่าวเน้นย�้ำถึงความ ส�ำคัญ

Engineering Today May - June

2020


3 ประสบการณ์หนุนท�ำ Workplace ที่ดี

ส�ำหรับประสบการณ์ในการท�ำ Workplace ที่ดี ประกอบด้วย 1. ปรับ Workplace ให้เหมาะสม มีความสบาย โดยมีขนั้ ตอน ระบบ และกระบวนการสุดท้าย ในเรื่องของการประชุม Collaboration, Virtual Private Network ตอบโจทย์ ในการเข้ารหัส ที่ส�ำคัญคือ การเชื่อมต่อเข้าระบบ 2. Collaboration เครื่องมือ แอพพลิเคชั่นต่างๆ ใช้ในการประชุมทางไกลเสมือนจริง 3. รูปแบบการท�ำงาน จากออฟฟิ ศ ไปยั ง คลาวด์ ที่ มี ร ะบบความปลอดภั ย เพื่ อ ป้ อ งกั น ความเสี ย หาย ที่อาจเกิดขึ้น “ซิสโก้มโี ซลูชนั่ ตอบโจทย์ทงั้ 3 ประเภท โดยโซลูชนั่ ด้านเครือข่ายมีระบบ VPN ซอฟต์แวร์ Cisco Webex และระบบ Security การท�ำงานจากที่บ้าน (Work From Home) นอกจาก Collaboration จะต้องพูดถึงเทคโนโลยีอื่นๆ ด้วย เช่น ความ ปลอดภัย VPN และ ดาต้าเซ็นเตอร์ สรุปคือ WFH ต้องการพัฒนา Facility ให้ดี มากยิ่งขึ้น สามารถเลือกที่ท�ำงานได้ องค์กรต้องมี Feasibility ที่มั่นใจว่า ระบบนี้ พนักงานจะท�ำงานจริงและคุ้มค่า” วัตสัน กล่าว

Cisco Webex นิยมใช้ประชุมระดับภูมิภาคหรือระดับโลก เปิดให้ใช้งานฟรี 3 เดือน โดยไม่จ�ำกัดเวลา

ส�ำหรับ Cisco Webex ถือเป็น Cloud Base อย่างแท้จริง และถือเป็นอีกหนึง่ ทางเลือกทีแ่ ก้ไขปัญหาขององค์กรทีเ่ ผชิญอยูใ่ นขณะนี้ ไม่วา่ จะเป็นองค์กรขนาดใหญ่ ขนาดเล็ก หรือธุรกิจ SME โดย Cisco Webex เป็นเครื่องมือที่ไม่เพียงตอบโจทย์ ชีวิตการท�ำงาน ยังตอบสนองการใช้ชีวิตส่วนตัวได้เป็นอย่างดี สามารถรองรับ ผูเ้ ข้าร่วมประชุมผ่านวิดโี อได้ถงึ 1,000 คนในคราวเดียวกัน นอกเหนือจากวิดโี อคอล แชร์ไฟล์ แก้ไขงานร่วมกันได้แบบเรียลไทม์ พร้อมบันทึกการประชุมแบบไม่มีการ จ�ำกัดเวลา โดยเป็นหนึ่งในแอพพลิเคชั่นที่นิยมในการใช้ประชุมระดับภูมิภาค หรือ ระดับโลก เปิดให้ใช้งานฟรี 3 เดือน โดยไม่จ�ำกัดเวลา

Engineering Today May - June

2020

40

Cisco Webex มีทั้งในรูปแบบประชุม การฝึกอบรม-การเรียนการสอน มี Break Out เป็นกลุ่มๆ แล้วค่อยมาคุยกันใหม่ มี Test Engine ให้นกั เรียนได้ทดสอบ พร้อมท�ำโพล ส�ำรวจว่าเข้าใจหรือไม่ และ การจัด Event สัมมนา รองรับผูเ้ ข้าร่วมงานได้ถงึ 3,000 คน วัตสัน กล่าวว่า ในส่วนของค่าบริการใน การใช้ Webex ส�ำหรับการประชุมกว่า 10 เหรียญสหรัฐต่อคนสร้างห้อง (Host) รองรับ ผูเ้ ข้าประชุมได้ 1,000 คน ส่วนการฝึกอบรมอยู่ ที่ Option ต่างๆ ลักษณะของการ Customize ค่าใช้จ่ายทั้งปีราว 10,000 บาท และ Event สัมมนา อยู่ในช่วงเริ่มต้น ทั้งนี้คาดว่ากลุ่ม ฝึกอบรม และ Event จะเติบโตมากขึ้น จาก สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ท�ำให้ทราฟฟิคการใช้งาน Webex เติบโตขึ้น กว่า 600% Webex จึงกลายเป็นการให้ บริการที่ไม่เพียงใช้เพื่อประชุมทางไกล แต่ยัง ใช้เป็นห้องเรียนเสมือน เปิดตัวสินค้า จัด Event ออนไลน์ แหล่งรวมพลปาร์ตี้ออนไลน์ ของพนักงาน และเมื่อการท�ำงานจากที่บ้าน กลายเป็น New Normal หรือบรรทัดฐานใหม่ ที่จะเปลี่ยนไลฟ์สไตล์การท�ำงานของผู้คนใน ปั จ จุ บั น Webex จึ ง เป็ น เครื่ อ งมื อ ส� ำ คั ญ ส�ำหรับการท�ำงานทีบ่ า้ น (Work From Home)


ซิสโก้น�ำเทคโนโลยีสนับสนุนแพทย์ ในเมืองอู่ฮั่น ร่วมพัฒนาหุ่นยนต์ช่วยบุคลากรทางการแพทย์ ในไทย

วัตสัน กล่าวว่า ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ซิสโก้ ได้สนับสนุน Webex ให้ภาคธุรกิจ รัฐ และทางการแพทย์ ภายใน 1 เดือนยอด การใช้ Webex เติบโตมากขึ้น 3 เท่า ประมาณ 10,000 ล้านนาที คิดเป็น 14,000 ล้านนาที จากเดิม 4,000-5,000 ล้านนาที ในประเทศจีนมีการใช้ Webex ในเมืองอู่ฮั่น ซิสโก้ได้น�ำอุปกรณ์ Collaboration ไปใช้ในโรงพยาบาลที่เมืองอู่ฮั่น เพื่อให้แพทย์สามารถประชุม Video Conference ผ่านทางไกล ส�ำหรับประเทศไทย บริษัท ซิสโก้ ซีสเต็มส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ร่วมมือกับ สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม

41

เกล้าธนบุรี (มจธ.) โดยน�ำอุปกรณ์ Video Conference/High Definition Camera ไปช่วยพัฒนาระบบหุ ่ น ยนต์ ช ่ ว ยบุ ค ลากร ทางการแพทย์ ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล ช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา “FIBO AGAINST COVID-19” (FACO) ซึ่งทางองค์การสหประชาชาติ (UN) ให้ความ สนใจ แสดงถึงความสามารถทางด้านหุน่ ยนต์ ของวิศวกรไทย

Engineering Today May - June

2020


IT Update • กองบรรณาธิการ

ธีรพันธุ์ เหลืองนฤมิตชัย

กรรมการผู้จัดการ บริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จ�ำกัด

ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี

แนะธุรกิจปรับตัว -ใช้เทคโนโลยี

ให้เกิดประโยชน์มากทีส่ ดุ ในช่วงวิกฤต COVID-19

นช่วง 3 เดือนที่ผ่านมา ประเทศไทยต้องเผชิญ กับวิกฤต COVID-19 ที่ยากต่อการรับมือให้ ส�ำเร็จได้ภายในระยะเวลาอันสั้น ในทุกภาคส่วนต่างๆ โดยเฉพาะภาคธุรกิจและการด�ำเนินชีวติ ทีต่ อ้ งปรับตัวให้ อยูร่ อด บริษทั ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จ�ำกัด ได้แนะน�ำแนวทาง ในการปรับตัว ปรับใช้เทคโนโลยีในการด�ำเนินธุรกิจและ การด� ำ เนิ น ชี วิ ต ต่ อ ไปอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและแข็ ง แกร่ ง ให้ สามารถฝ่าฟันทุกๆ วิกฤตได้อย่างยั่งยืน ธีรพันธุ์ เหลืองนฤมิตชัย กรรมการผู้จัดการ บริษัท ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จ�ำกัด กล่าวว่า กลุ่ม ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี ให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนินธุรกิจในทุกๆ สถานการณ์ทงั้ ปกติและช่วงเกิดวิกฤต ตามมาตรฐาน ISO 27001 เรื่อง การบริหารจัดการความปลอดภัย เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพ ในการปกป้ อ งทรั พ ย์ สิ น สารสนเทศขององค์ ก รลู ก ค้ า ครอบคลุ ม ถึ ง การวางแผนความต่ อ เนื่ อ งทางธุ ร กิ จ (Business Continuity Planning : BCP) โดยได้พิจารณา แผนรองรับในหลากหลายความเสีย่ งและหลายสถานการณ์ รวมทั้งการแพร่ระบาดของโรคด้วย ส�ำหรับสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ทางกลุ่ม ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี ได้น�ำแผน BCP เดิมมาปรับปรุงเพิ่มเติมให้ สอดคล้องกับมาตรการทางสังคมที่ภาครัฐก�ำหนด รวมถึง ตรงกับความต้องการหรือแผนงานของลูกค้าทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว พร้อมเน้นการติดต่อสื่อสารกับลูกค้าอย่าง ต่อเนื่อง การวางกลยุทธ์ด้านการบริหารจัดการความเสี่ยง จากวิกฤตแบบเชิงรุก พร้อมก�ำหนดให้มีการประเมินความ เสี่ยง และรายงานผลแบบทันท่วงทีเพื่อใช้ประกอบการ ตัดสินใจ ซึง่ หากพบว่าสถานการณ์ได้ยกระดับความรุนแรง เกินกว่าทีร่ ะบุไว้กอ่ นหน้า แผนความต่อเนือ่ งทางธุรกิจของ กลุ่ม ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จะถูกน�ำมาปฏิบัติใช้โดยทันที เพื่อ สร้างความมั่นใจ ทั้งในมุมความปลอดภัยระหว่างการ ปฏิบตั งิ านของบุคลากร และการสร้างความต่อเนือ่ งในการ ด�ำเนินธุรกิจของลูกค้า เพื่อให้การด�ำเนินธุรกิจของลูกค้าต่อเนื่อง ควบคู่ไป กับการดูแลความปลอดภัยของพนักงาน เพื่อป้องกันการ

Engineering Today May - June

2020

แพร่ ก ระจายของโรคและลดความเสี่ ย งในการติ ด เชื้ อ ของพนั ก งาน กลุ่มที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จึงได้ออกมาตรการจ�ำกัดจ�ำนวนพนักงานที่ต้อง ปฏิบัติงานในส�ำนักงาน โดยพนักงานส่วนใหญ่ได้รับมอบให้ปฏิบัติงาน ระยะไกล หรือ Remote Working แต่ยังคงสามารถเข้าถึงสิทธิ์การใช้ งานข้อมูลและเครื่องมือต่างๆ ได้ตามปกติ แต่เนื่องจากบริการด้าน Infrastructure ขององค์กรให้ความส�ำคัญกับข้อตกลงระดับการให้บริการ ท�ำให้พนักงานบางส่วนจ�ำเป็นต้องอยู่ปฏิบัติงาน ณ พื้นที่ท�ำงานนั้นๆ ซึง่ จุดนีท้ างบริษทั ฯ มีการจัดเตรียมพืน้ ทีพ่ กั อาศัยในบริเวณใกล้เคียงและ อุปกรณ์จำ� เป็นต่างๆ หากในกรณีทรี่ ฐั บาลประกาศล็อคดาวน์ทงั้ ประเทศ และในขณะเดียวกันได้ให้ความส�ำคัญในการพยายามให้การสนับสนุน ลูกค้าในทุกๆ ด้าน ภายใต้การดูแลจากผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งลูกค้าส่วนใหญ่ ต้องการค�ำตอบและค�ำแนะน�ำทีร่ วดเร็วมาก บริษทั ฯ มีทมี งานไอทีพร้อม ให้การสนับสนุนภารกิจที่ส�ำคัญ มีการแยกตัวอยู่ในพื้นที่ที่ปลอดภัย เพื่อให้แน่ใจว่าจะให้บริการได้อย่างต่อเนื่องแบบ 24 ชั่วโมง ซึ่งบุคลากร ของบริษัทฯ สามารถบริหารจัดการสถานการณ์ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี แม้มีความคาดหวังที่สูงจากลูกค้าในการท�ำให้ทุกการด�ำเนินงานเป็นไป อย่างราบรื่น นอกจากนี้ กลุ่ม ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี มี Professional Pool หรือ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่ครอบคลุมทั้งในส่วนของ Infrastructure, Platform, Analytics และ Application ที่พร้อมการันตีการเพิ่มคุณค่าระยะยาวใน การท�ำธุรกิจร่วมกับพันธมิตรทั้งในยามปกติและยามวิกฤต โดยกลุ่ม ผู ้ เ ชี่ ย วชาญเหล่ า นี้ พ ร้ อ มทุ ่ ม เทความรู ้ ค วามสามารถเพื่ อ ให้ เ กิ ด การสนับสนุนที่มีประสิทธิผล ให้ค�ำแนะน�ำที่ใช้ได้จริง และเสริมสร้าง ความเชื่อมั่นในยามจ�ำเป็น ธีรพันธุ์ กล่าวว่า กลุ่ม ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี มีเทคโนโลยีดูแลลูกค้า และองค์กรจากระยะไกล เพียงแค่กลุม่ ลูกค้าและองค์กรออนไลน์อยู่ การ ช่วยดูแลงานของลูกค้าก็จะเข้าถึงข้อมูลได้งา่ ยและปลอดภัย ซึง่ เครือ่ งมือ ที่น�ำมาใช้นั้นอยู่ในกลุ่มบริษัทเทคโนโลยีมีมาตรฐานใกล้เคียงกัน เช่น SAP (System Applications and Products in Data Processing) on Cloud ส�ำหรับระบบหลังบ้าน และ Microsoft Teams ส�ำหรับ Video Conferencing นอกจากนี้กลุ่มที.ซี.ซี. เทคโนโลยี ยังช่วยแบ่งเบาภาระ ให้กับลูกค้าในยามวิกฤตโดยเพิ่ม Bandwidth ให้ฟรีโดยไม่มีค่าใช้จ่าย เพิ่มเติม และจัดโซลูชั่นส�ำหรับการท�ำงานที่บ้านให้ในราคาพิเศษจาก หลากหลายพันธมิตร เช่น การแชร์ไฟล์ จัดเก็บ ส�ำรองข้อมูล-อีเมล์ O365 เครื่องมือการท�ำงานร่วมกันบนแพลตฟอร์มออนไลน์ เช่น Microsoft Team, Zoom, แอพพลิเคชัน่ ส�ำหรับการจัดการหลังบ้าน เช่น SAP เครื่องมือวิเคราะห์ข้อมูลจาก Microsoft, IBM โครงข่ายสื่อสาร เครือข่ายส่วนตัวเสมือน VPN (Virtual Private Network) เพื่อเข้าถึง ระบบส�ำคัญได้อย่างปลอดภัย และ IP (Internet Protocol) Phone ช่วยให้ลูกค้าสามารถรับสายที่โอนจากโทรศัพท์ออฟฟิศ

42


“วิกฤต COVID-19 รุนแรงมากและไม่เหมือนกับวิกฤตใดๆ ในอดีต ส่งผลกระทบไม่มากก็น้อยต่อองค์กรต่างๆ ทั่วโลก รวมถึงกลุ่มองค์กรที่อยู่ในระบบนิเวศไม่ว่าจะเป็น ผู้ขาย ลูกค้า และแม้กระทัง่ องค์กรกลุม่ ที.ซี.ซี. เทคโนโลยีเองก็ได้รบั ผลกระทบ จากการแพร่ ร ะบาดของ COVID-19 ส่ง ผลให้หลายองค์กร ต้องปรับตัวสูโ่ ลกออนไลน์มากขึน้ เช่นเดียวกับกลุม่ ลูกค้าและกลุม่ เป้าหมายลูกค้าของ ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี ที่ปรับตัวสู่โลกออนไลน์ มากขึ้น” ธีรพันธุ์ กล่าว ส�ำหรับกลุ่มลูกค้าและกลุ่มเป้าหมายลูกค้าของ ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี ที่ปรับตัวสู่โลกออนไลน์ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มหลัก คือ 1. ลูกค้าที่เปลี่ยนผ่านเข้าสู่โลกดิจิทัล: สามารถปรับตัวได้เอง อย่างรวดเร็ว มักมีความต้องการ เช่น การขยายพื้นที่บนระบบ คลาวด์ การเปิดใช้งานศูนย์สำ� รอง การใช้งานทางไกลด้วยเครือ่ งมือ การท�ำงานร่วมกัน ผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ หรือการเข้าถึง เซิร์ฟเวอร์โดยเชื่อมต่อที่ปลอดภัยผ่านเครือข่าย VPN ในกรณีที่มี การด�ำเนินตามแผน BCP หรือการท�ำงานระยะไกล 2. ลูกค้าที่ ก�ำลังเริม่ เปลีย่ นผ่านเข้าสูโ่ ลกดิจทิ ลั : อาจต้องใช้ความพยายาม มากกว่ากลุ่มแรก เช่น ช่วงต้นของการปรับตัวสู่ระบบคลาวด์หรือ ต้องการความช่วยเหลือและการฝึกอบรมจากผู้ให้บริการ ซึ่งทั้ง 2 กลุ่มนี้ ส่งผลให้อุปสงค์ในระยะสั้นเพิ่มสูงขึ้นโดยฉับพลัน และ 3. ลูกค้าที่ธุรกิจยังไม่ได้ใช้ดิจิทัลมากนัก : ถือเป็นกลุ่มที่เผชิญ กับผลกระทบอย่างมากจากสถานการณ์ COVID-19 เนื่องจาก ลักษณะของธุรกิจที่ต้องพึ่งพาบริบททางกายภาพมากกว่าระบบ ดิจิทัล เมื่อมีประกาศให้ปิดหน้าร้านจึงได้รับผลกระทบรุนแรง ไม่สามารถใช้งานเครื่องมือหรือแพลตฟอร์มออนไลน์เพื่อท�ำงาน จากบ้านได้ทันที ประกอบกับหลายองค์กรในกลุ่มนี้เน้นการลด ค่าใช้จ่าย อาจมีความล่าช้าในการตัดสินใจและการช�ำระเงิน รวมถึงต้องการส่วนลดหรือโปรโมชั่นจากผู้ให้บริการ ขณะที่บาง องค์กรอาจสูญเสียรายได้จากความไม่แน่นอนของฐานลูกค้า บางองค์กรจ�ำเป็นต้องลดขนาดองค์กร หรืออาจถึงขั้นเลิกกิจการ ดังนั้นกลุ่ม ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี จึงเน้นการทุ่มเทในการ ใช้ทรัพยากรเทคโนโลยีเป็นพิเศษ เพื่อตอบสนองความคาดหวัง ของลูกค้า ช่วยให้ลูกค้าด�ำเนินธุรกิจได้อย่างราบรื่นและผ่านพ้น สถานการณ์ที่ยากล�ำบากนี้ไป โดยทางกลุ่ม ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี มองวิกฤต COVID-19 เป็นความท้าทายที่มั่นใจว่าจะสามารถ จัดการได้ด้วยประสบการณ์และความเชี่ยวชาญของบุคลากร ที.ซี.ซี. เทคโนโลยีได้ ธีรพันธุ์ กล่าวว่า แม้ว่าวิกฤต COVID-19 จะส่งผลให้ องค์กรต่างๆ จากทุกภาคส่วนจะเปิดรับเทคโนโลยีได้เร็วขึ้นแบบ อัตโนมัติ ท�ำให้ตลาดไอทีได้รับความต้องการเพิ่มสูงขึ้นจากเดิม โดยเฉพาะเทคโนโลยีหรือแพลตฟอร์มที่เกี่ยวข้องกับการท�ำงาน ร่วมกัน ผ่ านออนไลน์ ระบบคลาวด์ และระบบการเชื่อมต่อ

ที่ปลอดภัย เป็นต้น แต่ยังมีปัจจัยอื่นอีกมากมายที่ท�ำให้เกิด ผลกระทบทางลบ ได้ แ ก่ การชะลอการตั ด สิ น ใจใช้ บ ริ ก าร การช�ำระเงินที่ล่าช้า และการน�ำเสนอโครงการเพื่อช่วยบรรเทา ทุกข์ให้กบั ลูกค้าในระยะสัน้ อันเป็นผลกระทบต่อรายได้ ถึงแม้วา่ รายได้หลักจะเป็นในรูปแบบของ “การให้บริการ” รูปแบบรายได้ ต่อเนื่อง (Recurring Revenue) ของกลุ่ม ที.ซี.ซี. เทคโนโลยี ซึ่ง ขนาดของผลกระทบนัน้ จะขึน้ อยูก่ บั ว่าสถานการณ์จะยืดเยือ้ มาก แค่ไหนและบริษัทฯ จะสามารถรับมือกับสถานการณ์ได้ดีเพียงใด จากการคาดการณ์ของ *IDC (Internet Data Center) แสดงให้เห็นความน่ากังวลเกีย่ วกับอัตราการลงทุนด้านเทคโนโลยี ไตรมาสแรกของปี พ.ศ. 2563 ในเอเชียแปซิฟิก ไม่รวมญี่ปุ่นและ จีน คาดว่าจะมีอตั ราเติบโตทีล่ ดลงเป็น 1.2% จากการคาดการณ์ ก่อนหน้านี้ที่เคยคาดการณ์ว่าจะเติบโตมากกว่า 5.2% และคาด ว่าอัตราการเติบโตจะลดลงอีกอย่างต่อเนือ่ ง จากความไม่แน่นอน ของผลกระทบ COVID-19 และหากสถานการณ์การแพร่ระบาด ยังคงยืดเยื้อเกิน 1 ไตรมาสหรือยาวนานถึง 1 ปี จะท�ำให้เกิด ความท้าทายต่อการด�ำเนินธุรกิจในระยะกลาง เช่น การหยุดชะงัก ของห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) อาจส่งผลกระทบต่อการส่ง มอบบริการที่ล่าช้ากว่าก�ำหนด จนน�ำไปสู่ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มสูงขึ้น การเสียโอกาสจากความล่าช้าของความร่วมมือในการสร้างโปร เจกต์และพลาดโอกาสในการเป็นพันธมิตร เนื่องจากการสร้าง เครื อ ข่ า ยด้ ว ยมนุ ษ ยสั ม พั น ธ์ กลายเป็ น เรื่ อ งที่ เ กิ ด ขึ้ น ยาก ฐานลู ก ค้ า และเป้ า หมายลู ก ค้ า ที่ ป ระสบปั ญ หาทางการเงิ น การชะลอตัวด้านการลงทุนทางเทคโนโลยี และภาพรวมของตลาด โดยรวมและบางโครงการมีการเลื่อนการลงทุนออกไป ชะลอการ ด�ำเนินโครงการในช่วงส่งมอบงานหรือแม้แต่การยกเลิกบริการ ปัจจุบันนี้ผู้คนเริ่มประยุกต์ใช้เทคโนโลยีได้อย่างอัตโนมัติ หลายธุรกิจต่างกระตือรือร้นในการปรับตัวสูโ่ ลกดิจทิ ลั และเตรียม ความพร้อมทีจ่ ะเผชิญกับสถานการณ์ตา่ งๆ ในอนาคต ซึง่ ต่างมอง หาเทคโนโลยี โซลูชั่น รวมถึงเทคโนโลยีส�ำหรับการติดตามขณะ พนักงานปฏิบัติงานที่บ้าน นอกจากนี้ในอนาคตการด�ำเนินธุรกิจ ไม่จ�ำเป็นต้องใช้พื้นที่ขนาดใหญ่เพื่อรองรับการท�ำงาน แต่จะหัน ไปพึ่ ง เครื่ อ งมื อ การท� ำ งานร่ ว มกั น ผ่ า นระบบออนไลน์ แ ทน ซึ่งปัจจัยดังกล่าวคาดว่าจะเป็นตัวเร่งอัตราการลงทุนทางด้าน เทคโนโลยีให้เติบโตขึ้นในระยะยาว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่ม เทคโนโลยีคลาวด์ โครงสร้างพื้นฐานไอที และการเปิดใช้งานแอพ พลิเคชั่นทางธุรกิจ “ผลประกอบการและการด�ำเนินธุรกิจของแต่ละองค์กร จะสว่างสดใส ท้าทายกระแสวิกฤตได้มากน้อยเพียงใด คงต้องขึน้ อยูก่ บั ความสามารถในการตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า โดยเฉพาะการน�ำพาพวกเขาเข้าสู่วิถีดิจิทัลได้อย่างสมบูรณ์แบบ ในอนาคต” ธีรพันธุ์ กล่าวทิ้งท้าย

*Source: https://www.idc.com/getdoc.jsp?containerId=prAP46159120

43

Engineering Today May - June

2020


Environment • กองบรรณาธิการ

เดอะมอลล์ กรุ๊ป

ร่วมสนับสนุนโครงการ

“ส่งพลาสติกกลับบ้าน” รับมือขยะจากวิกฤต COVID-19

ริษัท เดอะมอลล์ กรุ๊ป จ�ำกัด ร่วมสนับสนุนโครงการ “ส่งพลาสติก กลับบ้าน” ซึง่ ด�ำเนินการโดย เครือข่ายเพือ่ ความยัง่ ยืนแห่งประเทศไทย (TRBN) และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อรับมือขยะจากวิกฤต COVID-19 ที่ส่งผลกระทบต่อการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะในประเทศไทย โดยร่วม รณรงค์ ลด ละ เลิก ใช้พลาสติกแบบใช้ครัง้ เดียวทิง้ และแยกขยะเพือ่ น�ำกลับมารีไซเคิล พร้อมติดตั้ง Plastic Drop Point จุดรับพลาสติกสะอาด ที่เดอะมอลล์ ทุกสาขา และ ดิ เอ็มโพเรียม, ดิ เอ็มควอเทียร์ บริษัท เดอะมอลล์ กรุ๊ป จ�ำกัด ในฐานะที่เป็น Green Department Store แห่งแรกของประเทศไทย ที่ได้ร่วมเป็นภาคีสมาชิกของ โครงการสิ่งแวดล้อมแห่ง สหประชาชาติ UNEP ผ่านโครงการ The Mall Think Green ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 ตระหนักถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม โดยเฉพาะปัญหาที่เกิดจากขยะ พลาสติก จึงร่วมเป็นส่วนหนึง่ ของโครงการ “ส่งพลาสติกกลับบ้าน” เพือ่ รับมือวิกฤต ขยะจากสถานการณ์ COVID-19 โดยมีการบริหารจัดการแยกขยะเพื่อน�ำกลับมา รีไซเคิล ใช้ประโยชน์ใหม่ เพือ่ ลดขยะ ลดการใช้ทรัพยากร ลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม พร้อมน�ำไปสร้างประโยชน์เพือ่ ก่อให้เกิดรายได้กลับคืนสูส่ งั คมต่อไป และเพือ่ เป็นการ อนุรักษ์ธรรมชาติอย่างยั่งยืน โดย เดอะมอลล์ กรุ๊ป ได้ติดตั้ง Plastic Drop Point จุดรับพลาสติกสะอาด ที่เดอะมอลล์ ทุกสาขา ได้แก่ เดอะมอลล์ บางแค, บางกะปิ, งามวงศ์วาน, ท่าพระ, รามค�ำแหง และนครราชสีมา บริเวณ Food Hall ชั้น 4 เอ็มโพเรียม และ ที่บริเวณ Food Hall อาคาร B ชั้น B เอ็มควอเทียร์

Engineering Today May - June

2020

44


Logistics • ดีเอชแอล เอ๊กซ์เพรส

DHL แนะ

“8 เคล็ดลับ”

ช่วยร้านค้าส่งสินค้าได้ต่อเนื่อง เพิ่มความเชื่อมั่นให้ลูกค้าช่วง COVID-19

ากสถานการณ์ COVID-19 ที่แพร่ระบาดไปทั่วโลก ท�ำให้ พนักงานจากหลายบริษทั ต้องท�ำงานทีบ่ า้ น และถูกจ�ำกัดบริเวณ ขณะที่ร้านค้าหลาย แห่งยังคงปิดตัว และรูปแบบการใช้ชวี ติ ของ ผูค้ นค่อยๆ เปลีย่ นไป เมือ่ การเข้าถึงร้านค้า ต่างๆ กลายเป็นเรื่องยาก การเชื่อมต่อกัน ผ่ า นโลกดิ จิ ทั ล และการใช้ ข ้ อ มู ล ผ่ า น โทรศั พ ท์ มื อ ถื อจึ ง เปิ ด โอกาสให้ ร ้ า นค้ า และธุรกิจยังคงด�ำเนินต่อไปได้ แต่ในช่วง สถานการณ์ ค วามไม่แน่น อนเช่น นี้ โดย เฉพาะร้ า นค้ า และธุ ร กิ จ ที่ มี ผู ้ ซื้ อ อยู ่ ต ่ า ง ประเทศ ลูกค้าย่อมมีความกังวลต่อการ จัดส่งสินค้า ดีเอชแอล เอ๊กซ์เพรส จึงได้ รวบรวม 8 เคล็ดลับแนะน�ำร้านค้าออนไลน์ เพื่อช่วยให้ร้านค้าออนไลน์ด�ำเนินธุร กิจ ได้อย่างต่อเนื่อง พร้อมสร้างความเชื่อมั่น ให้กบั ลูกค้า ตัง้ แต่กระบวนการสัง่ ซือ้ จนของ ถึงมือลูกค้า รวมถึงโอกาสในการขยายธุรกิจ อีคอมเมิร์ซไปสู่ประเทศต่างๆ ทั่วโลก เฮอร์เบิต วงศ์ภูษณชัย กรรมการผู้ จัดการดีเอชแอล เอ๊กซ์เพรส ประเทศไทย และหั ว หน้ า ภาคพื้ น อิ น โดจี น กล่ า วว่ า

ในช่วงสถานการณ์ COVID-19 ท�ำให้คน รูส้ กึ ไม่แน่ใจและอาจเกิดความสับสนได้งา่ ย ดังนัน้ ร้านค้าออนไลน์ตอ้ งท�ำให้ลกู ค้ามัน่ ใจ ว่าท่ามกลางสถานการณ์ที่ท้าทายนี้ ธุรกิจ และการให้บริการของคุณยังคงด�ำเนินการ อย่ า งเป็ น ปกติ ส� ำ หรั บ ประเทศไทยใน ช่วงสถานการณ์ COVID-19 สินค้าที่ได้รับ ความนิยมในการส่งออกไปยังประเทศต่างๆ ทั่ ว โลก ได้ แ ก่ อุ ป กรณ์ ท างการแพทย์ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส� ำ หรั บ ดู แ ลร่ า งกาย ยาและ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร อาหารแห้ง ผลไม้

เฮอร์เบิต วงศ์ภูษณชัย กรรมการผู้จัดการ ดีเอชแอล เอ๊กซ์เพรส ประเทศไทยและ หัวหน้าภาคพื้นอินโดจีน

45

แปรรูป และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมี ความจ�ำเป็นต่อการด�ำเนินชีวิตของผู้คน รวมถึ ง เอกสารที่ ส� ำ คั ญ ที่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งส่ ง ถึงมือผู้รับในต่างประเทศ และเพื่อช่วยให้ ร้ า นค้ า ออนไลน์ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ได้ อ ย่ า ง ต่อเนื่อง สร้างความเชื่อมั่นให้กับลูกค้า ตั้ ง แต่ ก ระบวนการสั่ ง ซื้ อ จนของถึ ง มื อ ลู ก ค้ า รวมถึ ง โอกาสในการขยายธุ ร กิ จ อีคอมเมิรซ์ ไปสูป่ ระเทศต่างๆ ทัว่ โลก ดีเอช แอลเอ๊กซ์เพรส จึงได้รวบรวม 8 เคล็ดลับ แนะน�ำร้านค้าออนไลน์ ที่จะช่วยให้คุณ รักษาความสัมพันธ์กบั ลูกค้าปัจจุบนั พร้อม กับ เพิ่ม ลูกค้าใหม่ และสามารถกลับมา ด�ำเนินงานเป็นปกติอกี ครัง้ อย่างราบรืน่ หลัง สถานการณ์นี้ได้สิ้นสุดลง ประกอบด้วย

แจ้งรายละเอียดที่ส�ำคัญบนหน้า โฮมเพจ ตรวจสอบให้แน่ใจว่ า หน้ า โฮมเพจของคุ ณ มี ร ายละเอี ย ดครบ ทุกขั้นตอนการสั่งซื้อสินค้า ตั้งแต่กดยืนยัน ด�ำเนินการ บริการส่งสินค้าช่วงสถานการณ์ COVID-19 หลายร้านมีแท็บข้อมูลในการ แจ้งโปรโมชัน่ การตลาดต่างๆ เช่น ส่งสินค้า ฟรีเมื่อซื้อสินค้าครบ 2,000 บาทขึ้นไป เวลาให้บริการลูกค้าตัง้ แต่ 09.00-19.00 น. ยินดีรับคืนสินค้าภายใน 90 วัน เป็นต้น นอกจากนี้เว็บไซต์ควรมีแท็บส�ำหรับติดต่อ สื่ อ สารกั บ ลู ก ค้ า เพื่ อ แสดงให้ เ ห็ น ว่ า คุณใส่ใจลูกค้าในช่วงเวลาที่ยากล�ำบากนี้ คุณอาจเลือกใช้ขอ้ ความต่างๆ เช่น “เราอยู่ เคียงข้างคุณเสมอ”, “ส่งสินค้าทุกประเภท ในช่วง COVID-19” และ “สินค้าทุกชิ้น ปลอดภัยด้วยกระบวนการส่งทีป่ ลอดภัย” เป็นต้น แต่หากร้านค้าของคุณไม่มแี บนเนอร์ หรื อ แท็ บ ดั ง กล่ า ว คุ ณ อาจใช้ Footer แทน เพือ่ สือ่ สารกับลูกค้าหรือแจ้งข้อเสนอ ของทางร้าน รวมถึงสร้างภาพประกอบ บริ เ วณด้ า นบนของเว็ บ ไซต์ หรื อ สร้ า ง Slider Image ที่หน้าโฮมเพจของคุณก็ได้

Engineering Today May - June

2020


สร้าง Meta Tag ข้อความแสดง ข้อมูลส�ำคัญสัน้ ๆ เกีย่ วกับเว็บไซต์ ของคุ ณ บน Search Engine Google ส�ำหรับ Google Search เป็นอีกช่องทางที่ ดึงผู้สนใจให้เข้ามาเยี่ยมชมร้านค้าออนไลน์ ของคุณ ถ้าคุณเพิ่มข้อความใน Meta Tag ทีโ่ ชว์ในหน้าค้นหาของกูเกิล้ เช่น “พร้อมส่ง สินค้าช่วง COVID-19” ลูกค้าก็จะทราบว่า ร้านค้ามีสนิ ค้าพร้อมส่งทันที ไม่มปี ญ ั หาการ จัดส่งในช่วงนี้ วิธีนี้จะช่วยเพิ่มทราฟฟิค ให้ กั บ ร้ า นออนไลน์ ข องคุ ณ ด้ ว ยเช่ น กั น เพราะผลลั พ ธ์ ก ารค้ น หาสามารถตอบ ค� ำ ถามที่ ลู ก ค้ า ส่ ว นใหญ่ อ ยากรู ้ ใ นช่ ว ง แจ้ ง ข้ อ มู ล การส่ ง สิ น ค้ า ผ่ า น สถานการณ์ไม่ปกติ Shopping Cart ใช้ โ อกาสนี้ ในการสื่อสารกับลูกค้าผ่าน Shopping Cart ว่าคุณมีพาร์ทเนอร์ที่เป็นบริษัทขนส่ง เพื่อจัดส่งสินค้าช่วง COVID-19 ได้ทันที สร้ า งเพจ FAQ หรื อ ค� ำ ถามที่ ในพื้นที่ที่อยู่ในเขตให้บริการ และถ้าสินค้า พบบ่อย ช่วงนี้คุณน่าจะเริ่มรู้แนว จัดส่งช้ากว่าก�ำหนด คุณควรแจ้งให้ลูกค้า ค�ำถามทีล่ กู ค้าถามบ่อยเกีย่ วกับ COVID-19 ทราบอย่างตรงไปตรงมาเช่นกัน ซึ่งปกติ ไม่ว่าจะเป็นจากอีเมล์ที่เข้ามา หรือจากทาง บริษัทขนส่งจะแจ้งเวลาจัดส่งสินค้า พื้นที่ โทรศัพท์ แนะน�ำให้บันทึกค�ำถามที่เข้ามา ที่ จั ด ส่ ง สิ น ค้ า บนหน้ า โฮมเพจหรื อ ทาง บ่อยๆ และเตรียมค�ำตอบไว้ โดยรวบรวม EDM (Electronic Direct Mail) คุณควรให้ ข้ อ มู ล ทั้ ง หมดไว้ ที่ ห น้ า FAQ หรื อ เชื่ อ ม ความส�ำคัญและติดตามข้อมูลอัพเดทจาก การสื่อสารของคุณที่เกี่ยวกับ COVID-19 บริษทั ขนส่งอย่างใกล้ชดิ และอัพเดทข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นจากแบนเนอร์ แท็บข้อมูล หรือ เหล่ า นั้ น ในร้ า นออนไลน์ ข องคุ ณ เพื่ อ ให้ ตะกร้าช้อปปิ้งสินค้า มาไว้ที่หน้า FAQ ลูกค้าคุณได้รับข้อมูลที่ตรงกัน ได้อีกด้วย

สร้างเพจทีบ่ อกข้อมูลผลิตภัณฑ์ บ่อยครัง้ ทีผ่ เู้ ยีย่ มชมเพจพุง่ สายตา ไปที่ แ ท็ บ ประเภทของสิ น ค้ า หรื อ เพจที่ ให้ ร ายละเอี ย ดข้ อ มู ล ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ดั ง นั้ น คุ ณ สามารถน� ำ รู ป ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ์ ห รื อ ใส่ ข ้ อ ความเพิ่ ม ใกล้ ปุ ่ ม สั่ ง ซื้ อ หรื อ แจ้ ง ก�ำหนดการส่งของแก่ลูกค้าพร้อมข้อความ สั้นๆ และได้ใจความ เช่น “ส่งสินค้าตาม ปกติ ใ นช่ ว ง COVID-19” เพื่ อ ย�้ ำ ว่ า กระบวนการสั่งซื้อยังเป็นไปตามปกติ

แจ้ ง ข้ อ มู ล การติ ด ต่ อ หรื อ คอล เซ็นเตอร์ ตรวจสอบให้แน่ใจว่า ลู ก ค้ า สามารถติ ด ต่ อ คุ ณ ได้ ทุ ก ช่ อ งทาง ไม่วา่ จะทางโทรศัพท์หรือโซเชียลมีเดีย และ ให้ทมี ทีด่ แู ลเรือ่ งการให้บริการลูกค้าสือ่ สาร กับลูกค้าแบบเดียวกับสิ่งที่คุณสื่อสารใน ร้านของคุณ หลีกเลี่ยงการสื่อสารที่ท�ำให้ ลูกค้าสับสนในสถานการณ์ทไี่ ม่ปกติ เพราะ จะเป็นการท�ำลายความไว้วางใจของลูกค้า

สื่ อ สารลู ก ค้ า ผ่ า น EDM หรื อ E-Newsletter เมือ่ อัพเดทข้อมูล ในร้านค้าออนไลน์และช่องทางการติดต่อ ต่างๆ แล้ว ควรท�ำการตลาดผ่าน EDM หรือ E-Newsletter เพราะเป็นอีกหนึ่ง ช่องทางทีจ่ ะช่วยอัพเดทข้อมูลอืน่ ๆ ให้ลกู ค้า ปัจจุบันทราบว่าแบรนด์มีความเคลื่อนไหว อะไรบ้าง เช่น คุณสามารถอ้างอิงค�ำถาม ที่ทางร้านได้รับบ่อยๆ ในช่วง COVID-19 แสดงรู ป ภาพพนั ก งานที่ ก� ำ ลั ง ท� ำ งานใน คลังสินค้า ข้อความรีววิ จากลูกค้าทีม่ คี วาม รู้สึกดีกับการให้บริการของคุณ แชร์ข้อมูล การจั ด ส่ ง สิ น ค้ า ที่ ร วดเร็ ว และตรงเวลา เป็นต้น

ใช้ โซเชียลมีเดียสร้างภาพจ�ำให้ แบรนด์ ห รื อ ร้ า นค้ า ไม่ ว ่ า คุ ณ จะโพสต์ รู ป คลั ง สิ น ค้ า บน Instagram ลงคลิปทีมงานที่ก�ำลังตอบค�ำถามลูกค้า ใน Facebook หรือใช้ LinkedIn บอกเล่า ถึงความเป็นทีมเวิร์คและความพึงพอใจ ของลูกค้าในช่วง COVID-19 สิ่งเหล่านี้จะช่วยสร้างความน่าเชื่อ ถื อ ให้ กั บ ลู ก ค้ า ที่ มี ต ่ อ ร้ า นของคุ ณ และ ความน่าเชื่อถือก็เป็นสิ่งที่ลูกค้าของคุณ ก�ำลังมองหาในช่วงเวลาแบบนี้ด้วย

Engineering Today May - June

2020

46


@Engineering Today Vol. 3 No. 177

คมนาคม รวมกับ 7 สมาคมเหล็ก จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ หนุนใชเหล็กในประเทศ สนองนโยบาย Thai First “เน็กซัส” ชี้ว�กฤต COVID-19 จ�ดเปลี่ยนอสังหาฯ ไทย แนะรัฐออก มาตรการกระตุนชวยภาคอสังหาฯ อยางเรงดวน บทว�พากษ โครงการการเดินเร�อลำคลอง ในเขตกรุงเทพมหานคร


Construction • กองบรรณาธิการ

คมนาคม

ร่วมกับ 7 สมาคมเหล็ก จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ หนุนใช้เหล็กในประเทศ สนองนโยบาย Thai First

ามทีก่ ลุม่ 7 สมาคมผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมเหล็กไทย ซึง่ เป็นตัวแทน ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมเหล็กกว่า 470 บริษัท เดินทางเข้าพบ ศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2562 เพือ่ สนับสนุนนโยบาย “Thai First ไทยท�ำ ไทยใช้ คนไทยต้องได้กอ่ น” และสนับสนุน การผลักดันให้เป็นนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลด้วย โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวง คมนาคมได้มอบหมายให้ พิศักดิ์ จิตวิริยะวศิน รองปลัดกระทรวงคมนาคม ร่วมกับ กลุ่ม 7 สมาคมเหล็กฯ จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ (Workshop) เพื่อศึกษาความเป็น ไปได้ในการใช้สินค้าเหล็กในประเทศของกระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม โดยส�ำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) จึงได้ร่วมกับกลุ่ม 7 สมาคมเหล็กฯ จัดกิจกรรม Workshop เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2563 โดยมี พิศกั ดิ์ จิตวิรยิ ะวศิน รองปลัดกระทรวงคมนาคม เป็นประธาน ในการจัดงาน ซึ่งมีหน่วยงานภาครัฐ และเอกชนเข้าร่วมเป็นจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะ หน่วยงานภายใต้สังกัดกระทรวงคมนาคม เช่น การรถไฟแห่งประเทศไทย กรมการ ขนส่งทางบก กรมการขนส่งทางราง กรมเจ้าท่า กรมทางหลวง กรมท่าอากาศยาน การท่ า เรื อ แห่ ง ประเทศไทย และส� ำ นั ก งานนโยบายและแผนการขนส่ ง และ จราจร รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการก�ำหนดนโยบายต่างๆ ของรัฐบาล เช่น กรมบัญชีกลาง สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน สํานักงานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม ส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรมศุลกากร กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กรมการค้าต่างประเทศ กรมทางหลวง ชนบท และ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน)

Engineering Today May - June

2020

48

ปี’62 ไทยน�ำเข้าสินค้าเหล็ก จากต่างประเทศกว่า 66% มูลค่ากว่า 320,000 ล้านบาท ผลิต ใช้เอง 32% วิโรจน์ โรจน์วัฒนชัย ผู้อ�ำนวยการ สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทย กล่าวถึงภาพรวมของสถานการณ์อตุ สาหกรรม เหล็กโลก และของไทยว่า ในปี พ.ศ. 2562 ประเทศไทยมีการใช้สนิ ค้าเหล็ก 18.47 ล้านตัน ส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 58 ใช้ในอุตสาหกรรม ก่ อ สร้ า ง แต่ จ ะพบว่ า สิ น ค้ า ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น การน�ำเข้าจากต่างประเทศกว่า 12 ล้านตัน คิดเป็นกว่าร้อยละ 66 ของการใช้ในประเทศ และคิดเป็นมูลค่ากว่า 320,000 ล้านบาท ส่งผลให้ผู้ประกอบการในประเทศมีการใช้ ก� ำ ลั ง การผลิ ต ที่ ต�่ ำ มากเพี ย งร้ อ ยละ 32 เท่านั้น ในขณะที่หลายประเทศใช้ก�ำลังการ ผลิตสูงกว่าร้อยละ 50 ทั้งสิ้น เช่น เวียดนาม ใช้ก�ำลังการผลิตที่ร้อยละ 69 ออสเตรเลีย ร้อยละ 58 เกาหลีใต้ร้อยละ 53 และไต้หวัน


ร้อยละ 75 ดังนั้นการสนับสนุนการใช้สินค้าในประเทศจึงเป็นกลไกที่ส�ำคัญที่จะ ส่งเสริมให้เกิดการใช้ก�ำลังการผลิตที่สูงขึ้น และพัฒนาอุตสาหกรรมเหล็กซึ่งเป็น พื้นฐานในการพัฒนาอุตสาหกรรมอื่นๆ ต่อไป

เผยข้อมูลโครงการก่อสร้างของคมนาคม 44 โครงการ ใช้สินค้าเหล็กในประเทศได้ถึง 110,000 ล้านบาท รศ. ดร.อัทธ์ พิศาลวานิช ผู้อ�ำนวยการศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ได้ท�ำการศึกษาผลกระทบจากการใช้สินค้าในประเทศ โดยใช้ เ ครื่ อ งมื อตารางปัจจัย การผลิตและผลผลิต หรือ Input-Output Table (I-O Table) ซึง่ เป็นตารางทีแ่ สดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างการผลิตและการใช้ผลผลิต ทั้งที่ใช้ไปในขั้นสุดท้ายและที่ใช้ไปเพื่อการอุปโภคขั้นกลาง ส�ำหรับข้อมูลโครงการ ก่อสร้างของกระทรวงคมนาคม 44 โครงการ โดยได้ประเมินจากผู้ผลิตสินค้าเหล็ก ในประเทศว่า สามารถใช้สินค้าเหล็กในประเทศได้เป็นมูลค่าถึงประมาณ 110,000 ล้านบาท และจากมูลค่าดังกล่าวเมื่อน�ำไปวิเคราะห์โดย I-O Table พบว่าจะช่วยให้ เกิดการจ้างงานทั้งทางตรงและทางอ้อมกว่า 139,000 คน และช่วยให้ GDP ของ ประเทศขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.6 แต่ทั้งนี้การวิเคราะห์ดังกล่าวเป็นการวิเคราะห์ ในเบื้ อ งต้ น อาจจะต้ อ งมี ก ารปรั บ ข้ อ มู ล ในการวิ เ คราะห์ ใ ห้ ทั น สมั ย มากยิ่ ง ขึ้ น แต่อย่างไรก็ตาม การใช้สินค้าในประเทศช่วยส่งเสริมการจ้างงาน และ GDP ของ ประเทศอย่างแน่นอน

49

เผยเหล็กที่ใช้ในโครงการก่อ สร้างภาครัฐ ผู้ประกอบการ ไทยสามารถผลิตได้ วิ น วิ ริ ย ประไพกิ จ ผู ้ แ ทนกลุ ่ ม 7 สมาคมเหล็กฯ ชี้แจงว่า อุตสาหกรรมเหล็ก เป็นอุตสาหกรรมพืน้ ฐานทีท่ างภาครัฐได้มกี าร ส่งเสริมการลงทุนแต่ยงั ขาดนโยบายอืน่ ๆ เช่น ด้านต้นทุน ด้านการตลาด ด้านพลังงาน และ ด้านเทคโนโลยี เนือ่ งจากยังไม่มหี น่วยงานของ ภาครัฐที่ดูแลก�ำกับโดยตรง อีกทั้งได้กล่าวถึง ปัญหาวิกฤตอุตสาหกรรมเหล็กโดยปัญหา เกิดขึ้นจากการที่ประเทศจีนมีการผลิตสินค้า ที่มากเกินความจ�ำเป็นของโลก และมีการ ด�ำเนินธุรกิจทีไ่ ม่เป็นธรรมทัง้ เรือ่ งการอุดหนุน และทุ่มตลาด ซึ่งจากปัญหาดังกล่าวประเทศ ต่างๆ ทั่วโลกได้ก�ำหนดมาตรการคุ้มครอง อุตสาหกรรมเหล็กในประเทศ โดยเฉพาะ สหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา ส่งผลให้ สินค้าที่ไม่สามารถไปยังประเทศที่ก�ำหนด

Engineering Today May - June

2020


มาตรการที่ แ ข็ ง แรงได้ ก็ มี โ อกาสเข้ า มายั ง ประเทศไทยได้ จะเห็ น ได้ จ ากตั ว เลข ของสถาบันเหล็กและเหล็กกล้าแห่งประเทศไทยที่น�ำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 1 ขณะที่ ความต้องการใช้ในประเทศลดลงร้อยละ 4 ส่งผลให้อัตราการใช้ก�ำลังการผลิต ของไทยลดลงอย่างต่อเนื่องโดยในปี พ.ศ. 2562 เหลือเพียงร้อยละ 32 เท่านั้น “ในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2558 ได้รายงานปัญหา และน�ำเสนอแนวทางแก้ไข ต่อ ดร.สมคิด จาตุศรีพทิ กั ษ์ รองนายกรัฐมนตรี โดยรองนายกรัฐมนตรีได้มอบนโยบาย ให้กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงการคลัง ร่วมกับกลุ่ม 7 สมาคมเหล็กฯ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นซึ่งได้รับความร่วมมืออย่างดีเสมอมา และหวังว่า จะได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงคมนาคม และหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่นกัน” วิน กล่าว ทั้ ง นี้ ไ ด้ น� ำ เสนอข้ อ มู ล ถึ ง ความสามารถในการผลิ ต สิ น ค้ า เหล็ ก ที่ ส ามารถ ผลิต และจ�ำหน่ายได้ โดยสินค้าเหล็กส่วนใหญ่ที่ใช้ในโครงการก่อสร้างภาครัฐ ผู้ประกอบการสามารถผลิตได้ทั้งสิ้น ยกเว้นสินค้าบางรายการ เช่น รางรถไฟ

ตัวอย่างของสหรัฐอเมริกาและอินเดีย สนับสนุนการใช้สินค้าเหล็กในประเทศ

นาวา จันทนสุรคน นายกสมาคมเหล็กแผ่นรีดร้อนไทย และผู้ประสานงาน กลุ่ม 7 สมาคมเหล็กฯ กล่าวถึงตัวอย่างการก�ำหนดนโยบายสนับสนุนการใช้สินค้า เหล็กในประเทศของสหรัฐอเมริกาและอินเดีย โดยทั้ง 2 ประเทศก�ำหนดนโยบาย Buy American และ Make in India ตามล�ำดับ โดยสาระส�ำคัญคือ Buy America มีการก�ำหนด Local Content โครงการภาครัฐส�ำหรับสินค้าเหล็กที่ร้อยละ 95 ส่วน Make in India มีการก�ำหนด Local Content โครงการภาครัฐในภาพรวมที่ร้อยละ 50 โดยต้องมี Certificate รับรองด้วย และส�ำหรับการใช้สินค้าเหล็กต้องมีมูลค่าเพิ่ม ในประเทศร้อยละ 20 พร้อมกันนี้ นายกสมาคมเหล็กแผ่นรีดร้อนไทย ได้นำ� เสนอนโยบายสนับสนุน การใช้สนิ ค้าเหล็กในประเทศโดยขอให้ 1) ขอความอนุเคราะห์ให้ยดึ ถือปฏิบตั ติ ามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2550 เรื่องหลักเกณฑ์การใช้วัสดุที่ผลิต ในประเทศอย่างเคร่งครัด และขอให้พิจารณาก�ำหนด Local Content การใช้สินค้า เหล็กในประเทศส�ำหรับโครงการภาครัฐที่ร้อยละ 90 (2) ขอความอนุเคราะห์น�ำแนว ปฏิบัติการให้แต้มต่อด้านราคากับพัสดุที่ผลิตในประเทศและเป็นกิจการของคนไทย ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2553 กลับมาพิจารณาบังคับใช้อีกครั้ง โดยขอให้ครอบคลุมเรื่องงานก่อสร้างด้วย “การก�ำหนด Local Content ของประเทศไทยสามารถด�ำเนินการได้โดยไม่ขัด ต่อความตกลง WTO เนื่องจากประเทศไทยยังไม่มีการลงนามเข้าร่วมเป็นภาคี

Engineering Today May - June

2020

50

ในความตกลง Government Procurement Agreement (GPA) ประเทศไทยเป็นเพียงผู้ สังเกตการณ์เท่านั้น” นาวา กล่าว

แนะไทยเข้ า ร่ ว มเป็ น ภาคี ส ม า ชิ ก เ ข ต ก า ร ค ้ า เ ส รี CPTPP สามารถก�ำหนดข้อยกเว้น เรื่อง GPA ได้ ชาตรี บุ ญ ญารั ต นากุ ล ผู ้ แ ทนจาก สมาคมเหล็ ก แผ่ น รี ด เย็ น ไทย กล่ า วถึ ง การเข้าร่วมเป็นภาคีสมาชิกเขตการค้าเสรี CPTPP ว่า ในการเจรจาสามารถก�ำหนด ข้อยกเว้นส�ำหรับเรื่อง GPA ได้ จากตัวอย่าง ประเทศเวียดนามที่มีการลงนามเข้าร่วมแล้ว และมีการระบุยกเว้นไม่ครอบคลุมเรื่องการ จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของกระทรวงคมนาคม ส�ำหรับประเทศไทยหากเข้าร่วม CPTPP ก็ ควรก�ำหนดการยกเว้นเช่นเดียวกัน อีกทั้ง ระยะเวลาการเปิดเสรีก็ใช้เวลานานถึง 25 ปี ดั ง นั้ น ในระหว่ า งนี้ จึ ง ควรมี ก ารก� ำ หนด นโยบายเพื่ อ สนั บ สนุ น การใช้ สิ น ค้ า เหล็ ก ในประเทศ ด้ า นผู ้ แ ทนจากกรมบั ญ ชี ก ลางได้ ชี้แจงว่า ก�ำลังศึกษาและทบทวนการจัดท�ำ กฎระเบียบ และแนวทางปฏิบัติให้มีความ ชั ด เจนมากยิ่ ง ขึ้ น และไม่ ใ ห้ ขั ด ต่ อ WTO เพื่อน�ำเสนอคณะรัฐมนตรี ทัง้ นี้ สนข.จะจัดท�ำสรุปข้อมูลจาก การ หารือใน Workshop และน�ำเสนอผู้บริหาร กระทรวงคมนาคมพิจารณารวมถึงประสาน อย่างเป็นทางการไปยังกรมบัญชีกลางเพื่อ ใช้เป็นข้อมูลส�ำหรับจัดท�ำมติคณะรัฐมนตรี ใหม่ ให้มีความชัดเจน และมีประสิทธิภาพ ในการน�ำไปปฏิบัติมากยิ่งขึ้น


Property • กองบรรณาธิการ

“เน็กซัส” ชี้วิกฤต COVID-19 จุดเปลี่ยนอสังหาฯ ไทย

แนะรัฐออกมาตรการกระตุน้ ช่วยภาคอสังหาฯ อย่างเร่งด่วน

บริษัท เน็กซัส พรอพเพอร์ตี้ มาร์เก็ตติ้ง จ�ำกัด ชี้สถานการณ์ COVID-19 สร้าง Covid Shock จุดเปลี่ยนอสังหาริมทรัพย์ ไทย เปลี่ยนพฤติกรรม ผู้บริโภคแบบพลิกฝ่ามือ เชื่อผู้ประกอบการเร่ง ระบายสต็อกเก่าที่ค้าง ส่วนซัพพลายใหม่จะเข้าสู่ ตลาดไม่เกิน 30,000 ยูนิต พร้อมแนะภาครัฐเร่งออก มาตรการกระตุ้นอสังหาริมทรัพย์อย่างเร่งด่วน ทั้งมาตรการการโอน ผ่อนปรนภาษีธุรกิจเฉพาะ มาตรการ LTV และ ผ่อนปรนกฎการถือครอง กรรมสิทธิ์ชาวต่างชาติ เพื่อให้เม็ดเงินเข้าตลาดช่วย ขับเคลื่อนอสังหาริมทรัพย์ ไทยให้ฟื้นตัวโดยเร็ว

คาดคอนโดฯ ไม่เกิน 4 ล้านบาทจะได้รบั ความสนใจ หลังวิกฤต COVID-19 นลินรัตน์ เจริญสุพงษ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เน็กซัส พรอพเพอร์ตี้ มาร์เก็ตติ้ง จ�ำกัด กล่าวว่า จากการ ประเมิ น สถานการณ์ ต ลาดอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ห ลั ง วิ ก ฤต COVID-19 ว่า ในช่วงปี พ.ศ. 2563 นี้เป็นช่วงเวลาแห่ง การระบายสต็อกเก่า จากข้อมูลของเน็กซัสพบว่า ซัพพลาย ของคอนโดมิเนียมคงค้างในกรุงเทพฯ ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ. 2562 มีประมาณ 60,000 ยูนิต คาดว่าในปี พ.ศ. 2563 ตลาดจะสามารถดูดซับไปได้ประมาณ 80% โดยจะเริ่ม เห็นการลดราคาจาก Developer ซึ่งราคาที่ลดลงจะอยู่ ในสั ด ส่ ว นเหมาะสมและค่ อ นข้ า งดี เป็ น ระดั บ ราคาที่ Developer ยอมรับได้และคุ้มค่าที่จะซื้อในฝั่งผู้บริโภค

นลินรัตน์ เจริญสุพงษ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เน็กซัส พรอพเพอร์ตี้ มาร์เก็ตติ้ง จ�ำกัด

51

Engineering Today May - June

2020


โดยคาดการณ์ ว ่ า กลุ ่ ม อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ที่ จ ะกลั บ มา ได้รับความสนใจเร็วที่สุดหลังวิกฤต COVID-19 คือ คอนโดมิเนียมราคาไม่เกิน 4 ล้านบาท เพราะเป็นระดับ ราคาที่คนกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่รับได้ และเป็นเรียลดีมานด์ ที่ต้องการอยู่อาศัยเลย ส่วนอีกตลาดที่จะฟื้นตัวเร็ว คือ สินค้าในระดับ ลักซัวรี่ ที่ถึงแม้คนส่วนใหญ่จะมีเงินลดลง แต่ยังมีก�ำลัง ซือ้ มากพอทีจ่ ะจ่ายได้ โดยตัวผูบ้ ริโภคเองจะเลือกซือ้ สินค้า ที่ ต อบโจทย์ ไ ลฟ์ ส ไตล์ ใ หม่ ข องตนเอง และมี ฟ ั ง ก์ ชั น ที่สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความต้องการ เช่น การปรับ ให้มีห้องท�ำงานที่เหมาะกับการท�ำงานที่บ้านได้ เป็นต้น

คาดการณ์ ไตรมาส 4 ภาคอสังหาฯ ฟื้นตัว แนะภาครัฐผ่อนปรนมาตรการด้านอสังหาริมทรัพย์ ส� ำ หรั บ การประเมิ น เรื่ อ งอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ไ ทย หลังจาก COVID-19 นั้น นลินรัตน์ มองว่า หากประเมิน ภาพเชิงลบที่สุด คือหากวิกฤต COVID-19 ยังด�ำเนิน ต่อไปและไม่สามารถลดปริมาณผูต้ ดิ เชือ้ ได้ ผูป้ ระกอบการ ภาคเอกชนจะอยู่ได้ยาวที่สุดอีกเพียงแค่ 3 เดือนเท่านั้น และจะเป็นงานหนักส�ำหรับ Developer เพราะเมื่อภาค ธุรกิจขาดสภาพคล่อง จะเริม่ เห็นแนวโน้มการปิดตัวลงของ ผู้ประกอบการจ�ำนวนมาก ท�ำให้เม็ดเงินในกระเป๋าของ ผู้บริโภคลดลงอย่างต่อเนื่อง ในทางกลับกันหากประเมินในภาพบวกเพิ่มขึ้นคือ หากเราสามารถควบคุมจ�ำนวนผู้ติดเชื้อได้และจ�ำนวน ผู้ติดเชื้อค่อยๆ ลดลงจนอยู่ในระดับที่น่าพอใจ ประเมินว่า ในช่วงไตรมาสที่ 2 นี้ ตลาดก็อาจจะยังไม่สดใสนัก แต่จะ เห็นแนวโน้มที่จะค่อยๆ ดีขึ้นตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม

Engineering Today May - June

2020

เป็นต้นไป ส่วนในไตรมาสที่ 3 ประเมินว่าทุกอย่างจะกลับมาดีขึ้นโดย ผู้ประกอบการหลายรายจะเริ่มกลับมามีกิจกรรมทางการตลาดเพื่อ ให้ธุรกิจด�ำเนินต่อไป และในไตรมาสที่ 4 จะดีที่สุดในปี พ.ศ. 2563 นี้ คาดว่าจะเป็นไตรมาสที่รัฐบาลจะออกนโยบายสนับสนุนและช่วยเหลือ ภาคอสังหาริมทรัพย์ “จากการคาดการณ์ว่าในไตรมาสที่ 4 ของปี พ.ศ. 2563 นี้ ภาค อสังหาริมทรัพย์จะกลับมาฟื้นตัวได้ดี แต่อยากให้ภาครัฐช่วยเร่งออก มาตรการเพื่อสนับสนุนภาคอสังหาริมทรัพย์ เช่น มาตรการลดค่าโอน ครอบคลุมทั้งตลาดอสังหาริมทรัพย์ การยืดหยุ่นภาษีธุร กิจเฉพาะ การผ่อนปรนมาตรการ LTV (Loan to Value) รวมถึงการผ่อนคลาย กฎเกณฑ์การถือครองกรรมสิทธิ์ที่ดินของชาวต่างชาติ โดยอาจปรับให้ สามารถซื้อที่ดินหรือบ้านในโครงการจัดสรรที่พัฒนาเพื่อที่อยู่อาศัยได้ ซึ่งก�ำลังซื้อจากต่างชาติจะช่วยให้ตลาดอสังหาริมทรัพย์ของไทยกลับมา ได้เร็วมากยิ่งขึ้น” นลินรัตน์ กล่าว

แนวโน้มอสังหาริมทรัพย์ เทรนด์อยู่อาศัยในปี พ.ศ. 2564 ส�ำหรับแนวโน้มอสังหาริมทรัพย์ และเทรนด์การอยู่อาศัย มองว่า ผู้ประกอบการจ�ำเป็นต้องเร่งระบายสต็อกเก่าในปีนี้ก่อน ส่งผลให้ ซัพพลายใหม่ทจี่ ะออกมาในปีนจี้ ะไม่เกิน 30,000 ยูนติ จากปกติในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ตลาดคอนโดมิเนียมในกรุงเทพฯ จะมีซัพพลายใหม่ออก มาเฉลี่ยปีละ 52,000 ยูนิต และเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 11% ทุกปี ซึ่งผลจาก Covid Shock ในครั้งนี้ส่งผลให้ยอดสะสมของคอนโดมิเนียมลดลง ถือเป็นการปรับฐานใหม่อีกครั้งส�ำหรับอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพฯ ซึ่งการปรับฐานในครั้งนี้ ไม่เพียงแค่เรื่องจ�ำนวนคอนโดมิเนียมเท่านั้น แต่ยังปรับไปถึงเรื่องการเปลี่ยนฟังก์ชันการใช้งานในคอนโดมิเนียมหรือ บ้านด้วย เพราะการใช้ชีวิตของคนเปลี่ยนไป ท�ำให้การออกแบบที่อยู่ อาศัยต้องตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ใหม่ เช่น การเริ่มคุ้นชินกับการท�ำงาน

52


ด้วยสถานการณ์ COVID-19 ท�ำให้คนเรามีระยะห่างมากขึ้น ดังนั้นสินค้าใหม่ ของ Developer จะชูจุดขายเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัว เช่น ห้องครัว หรือห้องท�ำงาน แบบรองรับ คนเพียงคนเดียว รวมถึงการให้น�้ำหนัก ไปกับ Living Room หรือ ห้องท�ำงาน โดยคาดว่า จะเห็นสินค้าใหม่ๆ รูปแบบนี้ ในช่วงปลายปีนี้ หรือต้นปีหน้า

ที่บ้าน Developer จึงจ�ำเป็นต้องปรับเปลี่ยนเรื่องฟังก์ชัน ภายในบ้านหรือคอนโดมิเนียม เช่น ให้ความส�ำคัญกับ ห้องท�ำงานมากพอกับห้องนอน หรือในส่วนกลางที่เคย ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การมี Co-working Space หรื อ Co-kitchen “ด้วยสถานการณ์ COVID-19 ท�ำให้คนเรามีระยะ ห่างมากขึ้น ดังนั้นสินค้าใหม่ของ Developer ที่จะผลิต ออกมาสู่ตลาดจะชูจุดขายเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัว เช่น ห้องครัว หรือห้องท�ำงาน แบบรองรับคนเพียงคนเดียว จะเป็นรูปแบบที่จะได้รับความส�ำคัญมากอย่างยิ่ง เพราะ คนใช้ชีวิตกับตนเองมากขึ้น รวมถึงการให้น�้ำหนักไปกับ Living Room หรือห้องท�ำงานมากกว่าห้องนอน เพราะ เมื่อคนท�ำงานอยู่ที่บ้าน มักใช้เวลาในห้องเหล่านี้มากกว่า ห้องนอน โดยคาดว่าจะเห็นสินค้าใหม่ๆ รูปแบบนี้ออกมา จาก Developer ในช่วงปลายปีนี้หรือต้นปีหน้า” นลินรัตน์ กล่าว

ชี้ตลาดรีเทล-ตลาดอาคารส�ำนักงานได้รับ ผลกระทบ แนะผู้ประกอบการรับมือ และปรับตัวโดยด่วน ส�ำหรับตลาดรีเทลและตลาดอาคารส�ำนักงาน ซึง่ จะ ได้รับกระทบหนัก เนื่องจากกลุ่มรีเทลเป็นอีกกลุ่มส�ำคัญ ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด ผู้เช่าที่เคยเช่าพื้นที่ขายของ ในห้างสรรพสินค้า อาคารส�ำนักงาน หรือแม้แต่คอมมูนิตี้ มอลล์ต่างๆ จะเริ่มคุ้นชินกับการขายของผ่านออนไลน์ ดังนั้น ต่อจากนี้ไปหน้าร้านจะถูกลดบทบาทความส�ำคัญ ลง ผู้เช่าคุ้นชินกับการขายของผ่านโลกออนไลน์มากยิ่งขึ้น มีทักษะด้านออนไลน์เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ท�ำให้การมีหน้า

ร้านหรือการเช่าพื้นที่ขนาดใหญ่จะถูกลดทอนขนาดการเช่าลง แต่เน้น เรือ่ งการให้บริการออนไลน์ และการส่งเดลิเวอรีห่ รือให้ลกู ค้าไปรับสินค้า ที่หน้าร้านแทนมากยิ่งขึ้น และตลาดอาคารส�ำนักงาน เป็นอีกหนึ่งธุรกิจ ที่ได้รับผลกระทบเช่นกัน เนื่องจากปีที่ผ่านมาและอีก 2 ปีข้างหน้า ตลาดอาคารส�ำนักงานในกรุงเทพฯ จะมีซพั พลายใหม่ออกมาอีกนับเป็น ล้านตารางเมตร จากอาคารที่ก�ำลังก่อสร้าง กว่า 40 อาคาร พื้นที่ ประมาณ 1.61 ล้านตารางเมตร และจะแล้วเสร็จพร้อมๆ กันในปี พ.ศ. 2564-2566 แต่พฤติกรรมของคนได้ถูกปรับเปลี่ยนไปแล้ว เพราะการ ท�ำงานที่บ้านเริ่มได้รับการยอมรับ และมีความเป็นไปได้สูงที่จะเกิด เทรนด์ต่อไป แม้ว่าเหตุการณ์ COVID-19 จะผ่านไปแล้วก็ตาม ก็จะ ส่งผลให้บริษัทต้องการพื้นที่ออฟฟิศลดลง ทั้งจ�ำนวนที่นั่ง โต๊ะท�ำงาน และห้องประชุม ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อเจ้าของอาคารอย่างชัดเจน ทั้ ง นี้ ผู ้ ป ระกอบการต้ อ งเตรี ย มความพร้ อ มที่ จ ะรั บ มื อ และ ต้องปรับตัว เช่น 1. Facilities ปรับปรุงระบบ Facilities ของอาคารให้ สามารถสนับสนุนการท�ำงานข้ามไปข้ามมาระหว่างอาคารส�ำนักงาน (Head Office) กับการท�ำงานนอกสถานที่ (Home) โดย Facilities ที่ส�ำคัญ ได้แก่ ระบบทางด้านไอที ที่จะต้องมีความพร้อมในขั้นสูงสุด และพร้อมทีจ่ ะปรับเปลีย่ นระบบให้ได้อย่างรวดเร็วตามกระแสการใช้งาน 2. Flexibility เนื่องจากเทรนด์สมัยใหม่ ผู้เช่าหลายๆ รายต้องการความ ยืดหยุน่ ในการใช้พนื้ ที่ ปรับลดหรือเพิม่ ได้ตามความต้องการ ผูป้ ระกอบ การที่เข้าใจในรูปแบบของผู้เช่า อาจจะต้องปรับรูปแบบของสัญญาเช่า และพื้นที่เช่าให้มีความยืดหยุ่นมากขึ้น และ 3. Fair Price จากการที่ Supply & Demand ก�ำลังเผชิญกับความท้าทายครั้งยิ่งใหญ่ ในขณะที่ Supply ก�ำลังจะมีคู่แข่งเข้ามาในตลาดที่มากขึ้น ทางด้าน Demand ก็ก�ำลังจะเปลี่ยนรูปแบบของความต้องการ ท�ำให้ตลาดเกิดการแข่งขัน ที่สูงขึ้น สิ่งที่จะตามมาคือ สงครามราคา ดังนั้นผู้ประกอบการที่ปรับตัว และพร้อมที่จะแข่งขันในเรื่องราคาและบริการได้ก่อนผู้ประกอบการ รายอืน่ ก็จะสามารถผ่านช่วงเวลาท้าทายช่วงนีไ้ ปได้อย่างไม่ลำ� บาก

53

Engineering Today May - June

2020


บทความ

• รศ. ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ์

บทวิ พ ากษ์ โครงการการเดินเรือล�ำคลองในเขตกรุงเทพมหานคร “นายกรั ฐ มนตรี ไ ด้ มี ข ้ อ สั่ ง การในการลงพื้ น ที่ ติดตามสถานการณ์การจราจรในพื้นที่ กทม. ณ กอง บังคับการต�ำรวจจราจร (บก.จร.) วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2561 มีข้อสั่งการ 8 ข้อ “ในข้อ 5. ให้เพิ่มบริการขนส่งในแม่น�้ำล�ำคลอง โดย จัดเพิ่มเรือด่วนพิเศษ (Express Boat) ในคลองแสนแสบ และในคลองอื่นๆ ที่สามารถเดินเรือได้ เพื่อเป็นทางเลือก ในการเดินทางของประชาชน รวมทั้งพิจารณาจัดบริการ ขนส่งทางน�้ำในคลองอื่นๆ ที่ขนานกับถนนสายหลักเพื่อ ลดปริมาณการจราจรบนถนน และให้ส�ำรวจเส้นทางรอง และเส้นทางลัด ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบและ ใช้เป็นเส้นทางเพื่อหลีกเลี่ยงและบรรเทาปัญหาการจราจร ในเส้นทางที่มีการก่อสร้างรถไฟฟ้า” จากข้อสัง่ การของนายกรัฐมนตรีทเี่ กีย่ วข้องกับข้อ 5. การขนส่งในแม่น�้ำล�ำคลองนั้นมีความส�ำคัญมาก และ หน่วยงานทั้งราชการและเอกชนก็ตอบสนองเตรียมการ ที่จะจัดท�ำโครงการที่จะเกิดประโยชน์แก่พื้นที่เมืองหลวง กรุงเทพมหานครของเราต่อไป ในด้านวิชาการโลจิสติกส์ ก็ มี ก ารศึ ก ษาเช่ น เดี ย วกั น จึ ง ขอวิ พ ากษ์ แ ละเสนอแนะ การวางผังเมืองโลจิสติกส์ กรณีการศึกษาแผนการเดินทาง ทางน�้ำในเขตกรุงเทพมหานคร เพื่ออาจเป็นประโยชน์ น�ำไปปรับปรุงโครงการให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นต่อไป บทความนี้ขอเสนอการวิพากษ์โครงการการเดินเรือ ล�ำคลองในเขตกรุงเทพมหานครนั้น เพียงเล็งเห็นปัญหา ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต หากไม่เข้าใจระบบการเดินเรือล�ำน�ำ้ Waterway Transportation ในการวางผังเมืองโลจิสติกส์ Urban Logistics Planning อย่างแท้จริงแล้วจะเกิดความ เสียหายอย่างมากต่อภาครัฐและประชาชนต่อไปดั่งเช่น โครงการ Hopewell ในอดีตเป็นต้น

โครงการการเดินเรือล�ำคลอง ในเขตกรุงเทพมหานคร เป็นโครงการของภาครัฐที่จะส่งเสริมการเดินทาง ของชาว กทม. ทีเ่ น้นการไปท�ำงานและการศึกษาทีเ่ ป็นการ เดินทางหลักในช่วง Peak Hour เช้า-เย็น โดยมีการ

Engineering Today May - June

2020

ท่องเที่ยว Tourist และการไปซื้อของ Shopping ในช่วงระหว่างวัน เป็นส่วนเสริมด้วย

สมมุติฐานการวิจัย Research Hypothesis ระบบล�ำคลอง Bangkok Waterway Network ที่ถูกคัดสรรใน เขตกรุงเทพมหานคร 12 คลองนัน้ เป็นระบบรัศมีเป็นส่วนใหญ่ เชือ่ มโยง ระหว่างกลางเมืองกับชานเมือง ที่เอื้ออ�ำนวยต่อการเดินทางไปท�ำงาน และไปศึ ก ษาเป็ น หลั ก ในหลายเส้ น ทางวางแนวคู ่ ข นานกั บ ระบบ การขนส่งมวลชนทางบกของกรุงเทพมหานคร MRT/ BTS/ BRT/ BUS/ RAIL/ ROAD ที่เป็นเครือข่ายการคมนาคมที่มีประสิทธิภาพพอสมควร ดังนั้นใน Transportation Criteria แล้ว การเดินเรือล�ำคลอง อาจไม่ใช่คู่แข่งขันที่ดีในการแบ่งผู้โดยสารในชั่วโมง Peak Hour ที่ ต้องการความเร่งด่วนและสะดวกสบายในการไปประกอบอาชีพของตน หากไม่เข้าใจหลักการและวางแผนเป็นทางเลือกกรณี Job Housing Balance System (การวางแผนระบบบ้านและที่ท�ำงาน) แล้วผู้โดยสาร จะไม่เลือกการเดินทางเรือนี้ ส่งผลให้เกิดการขาดทุนในระบบโลจิสติกส์ และเสียหายล้มละลายแก่ภาคเอกชนที่จะสะท้อนกลับมาสู่ความวิบัติ ของโครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐต่อไป จากหลักการที่ว่า “การเดินเรือเป็นทางเลือกของระบบโลจิสติกส์ ทีต่ อ้ งมีกำ� ไรเลีย้ งตัวได้ อาจไม่ใช่กจิ กรรมโครงสร้างพืน้ ฐานการเดินทาง ช่วง Peak Hour เร่งด่วน” แต่สายเรือจะเป็น Feeder Route ทีช่ ว่ ยเสริม ระหว่างเส้นทางบกที่ Missing Link และไปไม่ถึงจุดหมายปลายทาง จึงต้องมีการ “ต่อรถ+ต่อเรือ+ต่อราง” และการทีเ่ น้นการเชือ่ มโยงเฉพาะ “ระบบรถไฟฟ้า” นั้นอาจไม่พอเพราะสายเรือซึ่งเป็นระบบ Feeder ของ การไปท�ำงานของ Passenger นั้นจะเป็น Multi-Model ของทุกระบบ การขนส่งมวลชนทางบก (โดยเฉพาะรถประจ�ำทาง) เนือ่ งจากรายได้ของ Passenger จะอยู่ในกลุ่มนี้เป็นส่วนใหญ่ สายเรือส่วนใหญ่อาจเข้า ไม่ถึงที่ท�ำงานที่อยู่กลางเมืองจึงต้องเชื่อมต่อกับระบบอื่น Feasibility Study ของ Economic and Regulation Control ของโครงการนี้ จึงมีความส�ำคัญมากที่จะประเมินเส้นทางเรือว่าสายใดมีก�ำไรมากน้อย เพียงใด อ้างอิงกับการคาดการณ์ Passenger ที่แม่นย�ำของ Traffic Engineer และ Urban Logistics Planning ดังนั้น สายเรือจึงมีความส�ำคัญเพื่อเชื่อมโยงกับเส้นทางสายหลัก ทางบก จึงจะเป็นความต้องการของ Passenger ท�ำให้เกิด Supply

54


Chain in Logistics ที่มีก�ำไรเลี้ยงตัวได้ไม่เป็นภาระแก่ ภาครัฐในการที่จะ Subsidy เหมือนโครงสร้างพื้นฐานอื่น ที่จะต้องให้บริการแก่ประชาชนอย่างทั่วถึงจนอาจไม่ได้ ก�ำไร หลักการของโลจิสติกส์นี้จึงชี้น�ำไปสู่การให้บริการ โดยเอกชนที่ควรจะมีสัมปทานเดียว เพื่อให้เกลี่ยผลรายได้ จากเส้นทางคลองที่มีก�ำไรกับเส้นทางคลองที่ไม่มีก�ำไร (แต่ต้องท�ำการเพื่อบริการประชาชน) เป็นต้น

จะเห็นได้วา่ โครงการการเดินเรือล�ำคลองในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งดูจะเป็นโครงการย่อยของแผนจราจรกรุงเทพมหานครนั้น แต่ที่จริง แล้วมีความเชื่อมโยงและมีความส�ำคัญมากประหนึ่งเป็นเส้นเลือดฝอย ที่แผ่กระจายไปสู่ตัวเมืองกรุงเทพมหานคร ซึ่งสามารถเปรียบเทียบกับ กรณีศกึ ษาเมืองส�ำคัญทีม่ นี ยั คล้ายคลึงกันคือ Copenhagen, Denmark และ Sydney, Australia ทีป่ ระสบความส�ำเร็จอย่างมากในการน�ำระบบ การเดินเรือล�ำคลองมาช่วยการจราจรในเมืองนอกเหนือจากการเป็นเรือ ท่องเที่ยวล�ำน�้ำ

Forecasted Trip Distribution in 2021 (Central bangkok)

Forecasted Rate of Growth for Total Trip in 2021 (bangkok and Vicinity) โจทย์ผังเมืองกายภาพ KEYWORD = Trip Passengers 1. จะต้องหาจ�ำนวนผู้โดยสารเรือ จาก O/D จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด 2. ผู้โดยสารขึ้นลงระหว่าง Nodes+Routes เพื่อไปต่อ Mode อื่นๆ 3. จ�ำนวนและลักษณะประชากร-กลางวัน+กลางคืน (ท�ำงาน+พักอาศัย) 4. จะได้รายละเอียดและรูปแบบของการขนส่งทางเรือ 5. วิเคราะห์ลักษณะที่มีประสิทธิภาพที่สุด และผลกระทบต่อเมือง (ส่งเสริมการลงทุนด้วย)

Research Assumotion : สมมุติฐานการวางแผนระบบเดินเรือ 1. การขนส่งทางเรือใน กทม. เน้น Passenger ในช่วง Peak Hour ไปท�ำงาน+ไปเรียน (มากกว่า Commuter+Shopping+Tourism) 2. แม้รูปแบบจะเป็นระบบรัศมี (กลางเมือง+ชานเมือง) แต่เป็น Feeder Trip ไม่ใช่ Main Trip (ต่อเมื่อระบบ Road+MRT+BTS+Train+Bus ไม่เอื้ออ�ำนวยต่อ Passenger) ต้องมี Network เชื่อมต่อกับระบบเหล่านี้ด้วย (Fulfill Missing Link) ด้วย ไม่ใช่เฉพาะ (กลางเมือง+ชานเมือง) อย่างเดียว 3. Nodes+Routes อาจจะเป็น (1st Job&Housing Balance บ้าน+ที่ท�ำงาน+สถานศึกษา) (2nd Shopping Places+Tourism Places) 4. Logistics Pattern = เป็นธุรกิจมีก�ำไรเลี้ยงตัว พิจารณาจาก จ�ำนวนเที่ยว ระยะ ท่าเทียบเรือ สายเดินเรือ จุดเปลี่ยนถ่าย Routes 1-2 คลองต่อเนื่อง etc. 5. No Competition (ระบบถนน+ระบบราง) เพราะจะแข่งสู้ไม่ได้ แต่ให้เป็น Assistance ตัวช่วยเชื่อมโยง หรือกระจาย Door to Door ที่ระบบอื่นท�ำไม่ได้

55

Engineering Today May - June

2020


รหัสและสัญลักษณ์ของคลองในขอบเขตการศึกษาคลองคมนาคม คลองของโครงการ 12 คลอง ที่จ�ำเป็น

หมายเหตุ

• คลองทั้ง 12 คลองนี้ ไม่จ�ำเป็นต้องเดินเรือทุกคลอง และบางคลองมี ศักยภาพทางการท่องเทีย่ วด้วยจึงต้องพิจารณา นักท่องเทีย่ วและแหล่งท่อง เที่ยวเป็นประเด็นส�ำคัญด้วย • เนื่องจากคลองเป็นเพียง Feeder Route ไม่ใช่ Main Route จึงต้อง พิจารณาร่วมกับเส้นทางขนส่งมวลชนทางบกทุกสาย • Feasibility Study and forecasting Passengers เป็นสิ่งส�ำคัญมาก ที่จะท�ำให้โครงการประสบความส�ำเร็จ

Engineering Today May - June

2020

56


แผนการจัดท�ำด้านผังเมือง/ผังภาค ควรจะแบ่งเป็น 3 ระดับดังนี้

รหัสและสัญลักษณ์ของการวางแผนที่จ�ำเป็น P=Professional (การเน้นส่วนที่ส�ำคัญมากในโครงการ)

1. แผนยุทธศาสตร์ Conceptual Perception 2. แผนการบริหารจัดการ Management Perception 3. แผนการด�ำเนินการ Operation Perception a. แผนระยะสั้น Short Term Plan 1-5 years b. แผนระยะกลาง Medium Term Plan 10 years c. แผนระยะยาว Long Term Plan 20 years

P1 ผู้จัดการโครงการ P2 รองผู้จัดการโครงการ P3 ผู้เชี่ยวชาญด้านการวางแผนการขนส่ง (วิเคราะห์ Passenger Each Nodes & Routes) P4 ผู้เชี่ยวชาญด้านผังเมือง/ผังภาค (วางผังเมืองและผัง ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง) P5 ผู้เชี่ยวชาญด้านแบบจ�ำลองการจราจรและขนส่ง (Shift & Share Program Planning) P6 ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการจราจร (Traffic Flow Plan เส้นทาง ประเภท ชนิด ขนาด จ�ำนวน ความถี่เรือ) P7 ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมโยธา/โครงสร้าง/เรือ/ต่อเรือ และเครื่องกลเรือ (เรือและท่าเทียบเรือ) P8 ผู้เชี่ยวชาญด้านสถาปัตยกรรม (จ�ำนวนที่ตั้ง ลักษณะ ขนาดท่าเทียบเรือ และเส้นทางชุมชนต่อเนื่อง) P9 ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการส�ำรวจ (Layers แผนที่ Map & GIS และสภาพคลอง ชุมชนและกิจกรรมเรือเดิม) P10 ผู้เชี่ยวชาญด้านชลศาสตร์ (ระบบน�้ำคลอง แม่น�้ำ เจ้าพระยา ประตูกั้นน�้ำและกันน�้ำท่วม) P11 ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านเศรษฐศาสตร์การขนส่ง (การวิเคราะห์ Feasibility Study) P12 ผู้เชี่ยวชาญด้านการส�ำรวจข้อมูล (ส�ำรวจข้อมูล ประชากร+วิเคราะห์จ�ำนวน Passenger) P13 ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย (กฎหมายการขนส่งทางน�้ำ และข้อก�ำหนดเฉพาะของพื้นที่) P14 ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านสิง่ แวดล้อม (ผลกระทบต่อชุมชนและ สภาพแวดล้อม) P15 ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการประชาสัมพันธ์และการมีสว่ นร่วม (Workshop Public Participation ชุมชนใด)

รหัสและสัญลักษณ์ของแผนก�ำหนดการ Project Plan ที่จ�ำเป็น A. Introduction Plan i. Background ii. Concept & Target iii. Aim & Objective iv. Proposal functions v. Profit, Public, Private & People Sectors Returns B. Scope of Plan C. Theory Plan D. Case Study Plan: i. Europe-Copenhagen Denmark, ii. Oceania-Sydney Australia E. Map Survey & GIS Plan i. Existing Plan, Traffic Plan, Project Key Plan etc. ii. GIS: Layer Land use, building use, canal Coordinate etc. iii. Infrastructure: BTS MRT BRT BUS TRAIN CAR etc. iv. Facility: School College University Hospital Temple Church etc. F. Forecasting Population and DATA i. Population Districts: Day/Night population, age, sex, education, income, household etc. ii. Passenger; working, student, shopping, tourist, G. Feasibility Plan: Forecasting 5-10-20 years H. Design & Planning Plan I. Architectural Plan J. Engineering Plan K. Components Plan L. Action Plan

57

Engineering Today May - June

2020



Project Management

เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New Management Tools)

แนวทางการปฏิบัติ ในการท�ำงานจากที่บ้าน

• ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล dr.pornchai.ong@gmail.com

เชื่ อ มต่ อ /ติ ด ต่ อ กั บ หน่ ว ยงานต้ น สั ง กั ด ได้ ผ ่ า นการใช้ เ ครื อ ข่ า ย เทคโนโลยีต่างๆ นั้นคือการท�ำงานจากที่บ้านโดยที่ไม่ต้องเดินทาง เข้าออฟฟิศ การทีอ่ งค์กรเลือกให้พนักงานสามารถท�ำงานทีบ่ า้ นหรือ นอกสถานที่ได้โดยไม่ต้องเข้าออฟฟิศ องค์กรอาจมีการก�ำหนดให้ ต้องเข้าไปสรุปงานที่บริษัทสัปดาห์ละกี่ครั้ง หรือต้องมีการประชุม งานร่วมกันผ่าน Video Conference การ WFH ในลักษณะนี้อาจ มีขอ้ ก�ำหนดว่าจะต้องเป็นทีบ่ า้ นเท่านัน้ แต่บางกรณีการ WFH อาจ มี เ งื่ อ นไขให้ ส ามารถท� ำ งานในสถานที่ ที่ มิ ใ ช่ ท� ำ งานที่ บ ้ า นเพี ย ง อย่างเดียวแต่ยังหมายถึงทุกที่ที่คุณสามารถท�ำงานได้ เช่น การ ท�ำงานในสวนสาธารณะ ร้านกาแฟ ร้านอาหาร โรงแรม และอื่นๆ ในขณะที่เราสะดวกเข้าถึงเทคโนโลยีที่รองรับและสามารถท�ำได้ ทุ ก เวลา แต่ จ ะต้ อ งมี ผ ลงานและความรั บ ผิ ด ชอบก� ำ กั บ ซึ่ ง มี ค�ำอธิบาย WFH ได้วา่ You Do Work for Someone from Home. การ WFH ยังเป็นลดค่าใช้จ่ายให้กับบริษัทในทางอ้อม ลดความ ตึงเครียดในที่ท�ำงาน ลดค่าใช้จ่ายส่วนตัว ค่าอาหาร ค่าเดินทาง ลดความตึงเครียดและการเสียเวลาในการเดินทาง พนักงานสามารถ ท�ำงานได้อย่างยืดหยุน่ มากขึน้ ซึง่ อาจจะช่วยท�ำให้มกี ารเพิม่ ผลผลิต (Productivity) ของงานได้อย่างน่าเหลือเชื่อ หรืออาจเกิดการ ไร้ประสิทธิภาพจนสามารถพิจารณาผลงานได้ง่ายขึ้น ข้อเสียการ ท�ำงานที่บ้าน WFH คือความยุ่งยากในการประสานงานหากไม่ วางแผนให้ดี ซึ่งขึ้นอยู่การท�ำงานของแต่ละบุคคล และขึ้นอยู่กับ ระบบเทคโนโลยีในการรองรับและการบริหารจัดการขององค์กรนัน้ ๆ แต่ความหมายในวัตถุประสงค์ของ WFH ตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉิน คือการท�ำงานอยู่ที่บ้าน การรักษาระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ทั้งภายในบ้าน โดยไม่มีการเดินทางใดๆ ออกจากบ้าน ซึ่งสามารถท�ำได้เท่าที่จ�ำเป็นเท่านั้น โดยยึดปฏิบัติตามประกาศใน ฉบับล่าสุดเป็นส�ำคัญ Work At Home : WAH หมายถึงการท�ำงานที่บ้านจาก ผูม้ อี าชีพอิสระ การท�ำงานส่วนตัวไม่ได้เป็นลูกจ้างประจ�ำของบริษทั ใดบริษทั หนึง่ หรือหากเป็นเจ้าของกิจการทีม่ พี นักงานทีส่ ร้างเงือ่ นไข การ WAH ไว้ตั้งแต่แรก ซึ่งมีค�ำอธิบาย WAH ได้ว่า You Get a Personal Task to be Completed at Home. การท�ำงานแบบ WAH นั้นมีมานานแล้วเพราะธุรกิจกิจกรรมหลายๆ อย่างสามารถ ปรั บ พื้ น ที่ ที่ บ ้ า นให้ มี ค วามเหมาะสมในการท� ำ งาน โดยเฉพาะ ธุรกิจ Startup จุดเริ่มต้นของธุรกิจมักจะใช้พื้นที่บ้านเป็นที่ท�ำงาน อย่างกรณีที่ สตีฟ จ็อบส์ ผู้ก่อตั้ง Apple Computer ในช่วงแรก ที่เข้าพัฒนา Apple I และช่วงที่ต้องผลิตและส่งให้กับผู้สั่งซื้อ สตีฟ จ็อบส์ ใช้พนื้ ทีอ่ าคารจอดรถของทีบ่ า้ นเป็นโรงผลิต และจนถึง ช่วงพัฒนาเป็น Apple II ก็ยังใช้โรงจอดรถที่บ้าน อย่างนี้เราจะ เรียกว่า WAH โดยสมาชิกจะมาร่วมกันท�ำงานที่บ้านหลักและ น�ำงานกลับไปท�ำต่อที่บ้าน ในปัจจุบันมีหลายธุรกิจที่ท�ำงานที่บ้าน อยูก่ อ่ นแล้วและมีการปรับรูปแบบบ้านให้มพี นื้ ทีท่ ำ� งานจึงมีการเรียก กันว่า ส�ำนักงานที่บ้าน (Home Office) New Normal ซึ่งคณะกรรมการบัญญัติศัพท์นิเทศศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภาได้บัญญัติศัพท์ “New Normal” หมายถึงความ ปกติใหม่ ฐานวิถีชีวิตใหม่ หมายถึงรูปแบบการด�ำเนินชีวิตอย่างใหม่ ที่แตกต่างจากอดีต (6 พฤษภาคม พ.ศ. 2563) ปรากฏการณ์วิถี

(Work From Home : WFH )

วัสดีครับ บทความในวันนี้สืบเนื่องจากการแพร่ระบาด ของโรคติดต่อ Coronavirus Disease 2019 หรือเรียก โดยย่อว่า COVID-19 ซึ่งมีผลกระทบต่อชาวโลกเป็นอย่างมากจาก การติดต่อถึงกันได้ง่ายในการแพร่ระบาดและมีผลต่ออัตราการเสีย ชีวิตสูง ประเทศไทยก็ได้รับผลกระทบโดยตรงจนต้องมีการประกาศ สถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ ประกาศสถานการณ์ฉกุ เฉินดังกล่าวออกไปจนถึงวันที่ 30 มิถนุ ายน พ.ศ. 2563 แล้วนั้น เพื่อให้การบังคับใช้มาตรการต่างๆ ยังคงด�ำรง อยู่ต่อไปเพื่อยับยั้งการแพร่ระบาดของ COVID-19 ในส่วนราชการ และมีการขอความร่วมมือกับภาคเอกชนในการท�ำงานลักษณะ ไม่ท�ำงานในส�ำนักงาน ซึ่งภาคธุรกิจนั้นมีความจ�ำเป็นจะต้องท�ำ ธุรกรรมทางธุรกิจไม่สามารถหยุดได้ จึงมีการปรับรูปแบบการท�ำงาน ให้สอดคล้องกับสถานการณ์โดยให้มีบุคลากรโดยส่วนใหญ่ท�ำงาน จากที่บ้าน (Work From Home : WFH) โดยให้ถือปฏิบัติโดยอย่าง เคร่งครัด ซึ่ ง บทความในตอนนี้ จึ ง ขอแนะน� ำ วิ ธี ก ารวางแผนการ วางระบบ เตรี ย มตั ว และแนวปฏิ บั ติ ทั้ ง ในด้ า นความพร้ อ มของ ระบบเทคโนโลยี (System Technology) และเครื่องมือทางการ บริหาร (Management Tools) ที่จะต้องน�ำมาใช้ เพื่อที่ว่าเราจะ ท�ำอย่างไรให้การท�ำงานจากที่บ้าน WFH หรือการท�ำงานที่บ้าน (Work At Home : WAH) นั้นราบรื่นและมีประสิทธิภาพมากที่สุด การท�ำงานทีบ่ า้ นหรือสถานทีใ่ ดๆ ทีเ่ ราอยูใ่ นแต่ละขณะและช่วงเวลา ให้ มี ส ภาพเสมื อ นท� ำ งานที่ ส� ำ นั ก งาน (Visual Office) เกื อ บ ทุ ก ประการ ซึ่ ง เป็ น เทรนด์ ฮิ ต อี ก รู ป แบบของการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ สมัยใหม่ WFH เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ส�ำหรับประเทศไทยใน ตอนนี้ การที่ พ.ร.ก.ฉุกเฉินยังได้ขยายเวลาออกไปอีกก็เนื่องด้วย สถานการณ์การควบคุมยังต้องด�ำเนินการต่อไป ด้วยเหตุจ�ำเป็น ที่ เ กิ ด จากมาตราการในการรั ก ษาระยะห่ า งทางสั ง คม (Social Distancing) เพื่อการควบคุมไวรัสติดต่อร้ายแรงอย่าง COVID-19 WFH จะกลายเป็ น แนวทางใหม่ ใ นการท� ำ งานที่ เ ราเรี ย กกั นว่ า New Normal ในหลายธุรกิจเริม่ วางแผนเพือ่ การรองรับสถานการณ์ และอาจกลายเป็นแผนในอนาคตของการด�ำเนินธุรกิจให้มีความ ราบรืน่ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพือ่ การลดต้นทุนส�ำนักงาน ซึ่งจะมี WFH ที่เป็น New Normal ของการท�ำงานในระบบธุรกิจ ในอีกไม่นานนี้อย่างแน่นอน

● ความหมายใหม่ที่เกิดขึ้นในช่วงวิกฤตการณ์ COVID-19

Work From Home : WFH หมายถึงการท�ำงานที่ผู้ท�ำงาน มีความยืดหยุ่นในการเลือกสถานที่ปฏิบัติงานและช่วงเวลาในการ ท� ำ งานได้ โดยในระหว่ า งการท� ำ งานนั้ น ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านสามารถ

59

Engineering Today May - June

2020


3. เตรียมพร้อมสื่อสารกับทีมงานด้วยการประชุมออนไลน์ (Video Conference) และการติดต่องานด้วยอีเมล์ (E-mail) การพูดคุยทางโทรศัพท์ การพูดคุยงานนั้นมี เครื่องมือให้เลือกใช้มากมายแล้วแต่ว่าบริษัทไหนเลือกใช้ เช่น Google Hangouts (G Suite), Telegram, Zoom และ Skype (เวอร์ชนั่ ธรรมดา และใน Microsoft Teams) การท�ำงานทีบ่ า้ นคนเดียวอาจท�ำให้เรารูส้ กึ ถูกตัดขาด เกิด ความเหงาและเครียดได้ การใช้โปรแกรม Teleconference ไลน์ แ ชทกลุ ่ ม ด้ ว ยฟรี โ ปรแกรมอย่ า งเช่ น ZOOM ที่ คนไทยนิยมใช้กันมาก หรืออีกตัวแบบเป็นซอฟต์แวร์ ติดตั้งเลยก็ Office 365 ใช้ร่วมกับ Microsoft Teams เราก็สามารถปรึกษางานกันได้โดยตรง ได้เห็นทั้งงาน Presentation หรือได้เห็นหน้ากันโดยตรง จะช่วยให้เรา ไม่รสู้ กึ อยูค่ นเดียวแต่ยงั มีเพือ่ นร่วมงานคอยสนับสนุนและ แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ในเรื่ อ งงาน มี ก ารติ ด ต่ อ กั น ง่ายขึ้นเป็นการคอยแชทส่งข้อความปรึกษางาน ก็เป็นอีก หนึง่ วิธที จี่ ะช่วยให้การท�ำงานมีประสิทธิภาพดียงิ่ ขึน้ และ การจัดการอีเมล์เป็นสิ่งจ�ำเป็นอย่างมากในการท�ำงานทั้ง ในและนอกออฟฟิศ นอกจากระบบอีเมล์อย่าง Gmail (G Suite) หรือ Outlook (Microsoft Teams) ที่สามารถ ติดตั้งได้บนสมาร์ทโฟนท�ำให้การสื่อสารสามารถส่งงาน ต่างๆ ได้โดยตรง เราควรมีซอฟต์แวร์หรือส่วนเสริมในการ ช่วยจัดการอีเมล์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น การเลือกใช้ก็ ขึ้ น อยู ่ กั บ องค์ ก รของท่ า นเป็ น ผู ้ จั ด หาให้ เ พื่ อ เป็ น การ สื่อสารในระบบเดียวกัน จัดตารางประชุมให้ตรงกันใน Work Calendar (ปฏิทินงาน) เพื่อ Make Sure ว่า ทุกคนเข้าใจตรงกันใครไม่เกีย่ วเรือ่ งไหนไม่ตอ้ งเข้า รวมถึง การจัดตารางเช็ค-ตอบอีเมล์ วันละอย่างน้อย 3 ครั้ง หรือ ตามความเหมาะสมของแต่ละบริษัท (การจัดเวลาไม่ดี บางท่านอาจจะหายไปไม่รู้ตัว) และต้องฝึกใช้ To, Cc, Bcc ให้ถูกต้อง ลดความซ�้ำซ้อนในการติดต่องาน อีกวิธี หนึ่งที่สามารถใช้ได้ดีส�ำหรับคนไทยคือการเสวนาทาง Line App ซึ่ง Line App นั้นเป็นอันดับ 1 ของการสื่อสาร ของคนไทย การพูดคุยแบบเห็นหน้าเห็นตาจากการตั้ง Line Group เราสามารถเปิด Video Call เพื่อการพูดคุย กันได้อย่างเห็นกันได้ครบ เสมือนการประชุมบนโต๊ะ ประชุมเดียวกัน มีความง่ายและสะดวกต่อการสือ่ สารเป็น อย่างยิ่งบนสมาร์ทโฟน สรุปการท�ำงานจากที่บ้าน (Work From Home) เป็นวิธีการ ปฏิบัติงานที่ดีและยืดหยุ่นมากส�ำหรับสายงานที่สามารถท�ำผ่าน ระบบออนไลน์ได้ด้วยเหตุของสถานการณ์วิกฤต COVID-19 หรือ New Normal แต่ก็ต้องมีการวางแผนที่ดีและรู้จักการปรับตัวให้ เหมาะสมกับรูปแบบการท�ำงานที่ต้องเปลี่ยนไป เพื่อการรักษาหรือ เพิม่ ประสิทธิภาพในการท�ำงานทีด่ ยี งิ่ ขึน้ ทีส่ ำ� คัญคือต้องหมัน่ ทดลอง และปรับแก้กระบวนการท�ำงานในส่วนต่างๆ กับทีมงานอยู่เสมอ อะไรที่ลองแล้วไม่เวิร์คก็ตัดทิ้งไปหรือปรับแก้ให้เหมาะสม สิ่งที่ท�ำ แล้ ว ส่ ง ผลดี ต ่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งานและตั ว งานก็ ใ ห้ พั ฒนา ต่ อ ไป เราต้ อ งเริ่ ม กระบวนการทุ กอย่ า งของการท� ำ งานให้ เ ป็ น New Normal ที่ดี

ชีวิตใหม่ (New Normal) ในด้านธุรกิจ ส่วน “New Normal” ใน บริบทสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 เป็นสถานการณ์ ทีเ่ กิดขึน้ อย่างรวดเร็วและรุนแรงจนแพร่กระจายไปในประเทศต่างๆ ทัว่ โลก ผูค้ นเจ็บป่วยและล้มตายจ�ำนวนมาก ณ วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ยอดผู ้ ติ ด เชื้ อ จากทั่ ว โลกที่ ส ามารถบั น ทึ ก ได้ คื อ 6,110,000 ล้านคนและเสียชีวติ 371,000 คน จนกลายเป็นความ สูญเสียอย่างใหญ่หลวงอีกครั้งหนึ่งของมนุษยชาติ มนุษย์จึงจ�ำเป็น ต้องป้องกันตนเองเพื่อให้มีชีวิตรอดด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การด�ำรงชีวิตที่ผิดไปจากวิถีเดิมๆ จากการใช้ชีวิตประจ�ำวันและ การท� ำ งาน โดยมี ก ารปรั บ หาวิ ถี ก ารด� ำ รงชี วิ ต แบบใหม่ เ พื่ อ ให้ ปลอดภัยจากการติดเชื้อ ควบคู่ไปกับความพยายามรักษาและฟื้นฟู ศักยภาพทางเศรษฐกิจและธุรกิจ วิถีชีวิตแบบเดิมบางส่วนอาจกลับ คืนมาหลังจากที่เราค้นพบวัคซีนป้องกันได้อย่างสมบูรณ์ แต่ไม่ เหมือนเดิม แต่ที่แน่ๆ วิถีชีวิตของการท�ำงานจะมีการเปลี่ยนแปลง ใหม่ในรูปแบบของ New Normal นั้นคือค�ำว่า “เมื่ออนาคตไล่ล่า คุณ As the Future Catches You”

● การวางระบบการท�ำงานและการใช้เทคโนโลยี เพื่อการท�ำงานจากที่บ้าน (Work From Home)

เทคโนโลยีสามารถสร้างนวัตกรรมให้เข้ามามีส่วนในการ ด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวันมากขึน้ กว่าสมัยก่อน มีการเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้ มากมาย ทั้ ง ในด้ า นกิ จ วั ต รประจ� ำ วั น ที่ ต ้ อ งใช้ เ ทคโนโลยี แ ละ อินเทอร์เน็ตเข้ามาช่วย รวมไปถึงการประกอบอาชีพ การด�ำเนิน ธุรกิจ การผูป้ ระกอบการจะต้องปรับตัวให้ทนั กับการเปลีย่ นแปลงที่ เกิดขึน้ อย่างรวดเร็ว การเปลีย่ นแปลงโลกธุรกิจอย่างมากในศตวรรษ ที่ 21 WFH จึงต้องพึ่งพาระบบการท�ำงานและการน�ำเทคโนโลยีมา ช่วยเป็นเครื่องมือในการท�ำ WFH ให้ส�ำเร็จอย่างราบรื่น 1. การจัดการพื้นที่ที่บ้านเพื่อการท�ำงาน (Confine Your Work Space to a Specific Area in Your Home) การเตรียมระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่บ้านหรือการ ใช้สัญญาณจากระบบโทรศัพท์มือถือ 4G และเครื่องมือ ให้พร้อม การก�ำหนดช่วงเวลาเข้าออกงาน (ออนไลน์ออฟไลน์) ให้ชดั เจนและทีส่ ำ� คัญคือการเตรียมความตัง้ ใจ การตั้งสมาธิในการท�ำงาน 2. จัดการตารางงานปฏิบัติตามแผนงานอย่างเคร่งครัด การ WFH ต้องใช้วนิ ยั เป็นอย่างมาก โดยต้องเข้าประจ�ำการ หน้ า คอมพิ ว เตอร์ ที่ บ ้ า นให้ เ ป็ น เวลาเดี ย วกั น ทุ ก วั น วางแผนการท� ำ งานที่ ชั ด เจน รวมถึ ง ช่ ว งพั ก เบรกให้ ผ่อนคลาย จากนั้นก็ตั้งสมาธิปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ อย่างเคร่งครัด ไม่วอกแวกคิดถึงเรือ่ งอืน่ ๆ ในบ้าน ทางทีด่ ี ให้รักษาตารางเวลาเหมือนกับอยู่ที่ออฟฟิศ ต้องเน้น สิ่งที่ต้องท�ำ (To-do List) โดยการใช้ในการจัดการ Work Calendar (ปฏิทินงาน) ตารางงาน ตารางนัดหมาย เช่น Google Calendar (G Suite) และ Calendar (Microsoft Outlook) เป็นการจัดตารางงานและ To-do List ล่วงหน้า วัน/สัปดาห์/เดือน แบ่งตาม Priority ส�ำหรับใช้ส่วนตัว และการจัดตารางงานและ To-do List ล่วงหน้า วัน/ สัปดาห์/เดือน ส�ำหรับแชร์กบั ทีมงานเพือ่ ให้รวู้ า่ ใครท�ำงาน อะไรอยู่ ช่วงเวลาไหนว่างหรือไม่วา่ ง สะดวกให้ตดิ ต่อตอนไหน

Engineering Today May - June

2020

60


● เครื่องมือทางการบริหาร (Management Tools) เพื่อการท�ำงานจากที่บ้าน (Work From Home)

บริหารจัดการ ท�ำให้มีทิศทางในการบริหารที่ชัดเจนขึ้น มีหลักการ สัง่ การแบบ บนลงล่าง (Top-Down) ซึง่ เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ กับองค์กรหรือแผนกทีต่ อ้ งมีการควบคุมการท�ำงานให้เป็นระบบและ เป็นหลักการบริหารที่เป็นข้อก�ำหนดหลักการบริหารใหม่ๆ ใน ยุ ค ใหม่ ๆ หลายตั ว ที่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ การน�ำ MBO ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยก�ำหนดเป้าหมาย ส�ำคัญคือ ๏ เป้าหมายต้องสอดคล้องกับกลยุทธ์หรือทิศทางขององค์กร ๏ เป้าหมายต้องก�ำหนดร่วมกันที่ชัดเจน Specific ๏ เป้าหมายที่จับต้องและวัดผลได้ Measurable ๏ เป้าหมายต้องท้าทาย Achievement ๏ เป้าหมายต้องท�ำได้จริง Realistic ๏ มีการก�ำหนดระยะเวลาที่ชัดเจน Time Frame ๏ มีการตอบแทนผลของความส�ำเร็จ จึงเป็นที่มาของหลักการบริหารองค์กรธุรกิจที่น�ำเอา BSC & KPIs มาเป็นเป้าหมายที่ส�ำคัญขององค์กรในโลกธุรกิจขนาดกลาง และใหญ่ จนประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างมาก ในข้อสุดท้ายมีการ ตั้งรางวัลในรูปแบบที่เรียกว่าการสร้างแรงจูง (Motivation) ด้วยการ ตอบแทนผลของความส�ำเร็จ แต่ในช่วงวิกฤต COVID-19 ที่องค์กรทั้งส่วนราชการและ องค์กรธุร กิจจะต้องกลับมาอยู่ที่บ้านเป็นส่วนใหญ่ตั้งแต่ปลาย มีนาคม 2563 จนถึงสิ้นมิถุนายน 2563 ซึ่ง ณ ปัจจุบันยังไม่มีการ ประกันว่าสถานการณ์จะเป็นอย่างไร มาตรการ WFH จึงต้องหา เครื่ อ งมื อ ทางการบริ ห ารจั ด การอย่ า งไร ให้ อ งค์ ก รสามารถท� ำ ธุรกรรมได้อย่างสมบูรณ์และด�ำเนินการได้อย่างต่อเนือ่ ง จึงต้องกลับ มาดูวา่ หลักการบริหารในรูปแบบไหนทีม่ คี วามเหมาะต่อการท�ำงาน ในรูปแบบใหม่ต่อไป ผู้เขียนได้ศึกษาและเห็นว่าเครื่องมือทางการ บริหาร (Management Tools) ที่มีอยู่หนึ่งเครื่องมือที่ใช้ได้ผลดี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 ซึ่ง Andrew Grove ประธานคณะกรรมการ บริหารของหนึ่งในยักษ์ใหญ่ด้านเทคโนโลยีของโลกคือ Intel (Intel Corporation) เขาน�ำมันมาใช้กับการบริหารองค์กรของตนเอง รวมถึงตีพิมพ์ในหนังสือ High Output Management โดยมีความ คิดเห็นว่าองค์กรควรให้ความส�ำคัญกับการตัง้ วัตถุประสงค์ทมี่ าจาก การมี ส ่ ว นร่ ว มจากระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารโดยหวั ง ผลลั พ ธ์ ที่ ร ่ ว มกั น รับผิดชอบในลักษณะ Bottom Up และน�ำมาใช้ในการท�ำงาน ที่ Intel อย่างได้ผล ซึ่งมีการเรียกว่า iMBO (Intel Management by Objectives) ในปี พ.ศ. 2518, John Doerr (At the Time a Sales Person Working for Intel OKRs Implementation) ได้ น�ำมาใช้เต็มรูปแบบในหลักการตั้งวัตถุประสงค์และการวัดผลลัพธ์ ทีส่ ำ� คัญ (Objectives and Key Results) และเรียกโดยย่อว่า OKRs และได้น�ำหลักการดังกล่าวมาใช้ใน Google จนเป็นที่ยอมรับ ในปี พ.ศ. 2561 John Doerr ได้เขียนหนังสือชือ่ ว่า Measure What Matters ซึ่งเป็น ผู้ท่ีนําเอา OKRs มาใช้ใน Google สิ่งที่ ทําให้หนังสือเล่มนี้อธิบายความรู้ในเรื่องของ OKRs ได้ดีเป็น อย่างยิ่ง โดยอธิบายตั้งแต่เขาเริ่มทํางานที่ Intel ซึ่งเป็นบริษัทแรก ทีน่ าํ เอา OKRs มาใช้อย่างได้ผล และเมือ่ เขาลาออกมาเป็นนักลงทุน และได้ลงทุนในบริษัท Google ในปี พ.ศ. 2542 ระยะเริ่มแรก เขาก็ได้แนะนําให้ Google นําระบบนีไ้ ปใช้จน Google ประสบความ สําเร็จเป็นอย่างมากจนมาถึงปัจจุบัน

องค์กรจะมีประสิทธิภาพและสามารถผลิตผลงานได้อย่าง เต็ ม ที่ การบริ ห ารจั ด การองค์ ก รจึ ง เป็ น เรื่ อ งที่ ส� ำ คั ญ อย่ า งยิ่ ง การจั ด การองค์ ก รให้ ป ระสบความส� ำ เร็ จ ก็ ต ้ อ งอาศั ย เครื่ อ งมื อ ทางการบริหารที่ทันสมัย เพื่อให้รับมือได้ทันกับสถานการณ์ใน โลกปั จ จุ บั น ที่ เ ปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว การบริ ห ารจั ด การที่ มี ประสิทธิภาพต้องอาศัยปัจจัยหลายอย่าง ซึ่งเครื่องมือการจัดการ ที่ ทั น สมั ย ก็ เ ป็ น สิ่ ง หนึ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ ไม่ แ พ้ ป ั จ จั ย อื่ น ๆ เพราะฉะนั้ น เครื่องมือในการที่จะท�ำงานก็คืออุปกรณ์ทางด้านการบริหารจัดการ องค์กรสู่ความส�ำเร็จ ซึ่งแต่ละองค์กรมีการน�ำเครื่องมือทางการ บริ ห ารมาใช้ ดั ง เช่ น การท� ำ แผนกลยุ ท ธ์ ท างธุ ร กิ จ (Strategic Business Plan) ก็จะมีเครื่องมือในการวางวิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) และการตั้งเป้าหมาย (Goal) รวมถึงการตั้ง วัตถุประสงค์ (Objective) ซึ่งเครื่องมือทางการบริหารต่างๆ มีส่วน ช่วยให้การด�ำเนินการด้านการวางแผนให้มผี ลของการรัดกุม จากการ วิเคราะห์สถานการณ์องค์กรในรูปแบบ S-W-O-T Analysis การหา กลยุทธ์ที่ส�ำคัญด้วย S-W-O-T Matrix เพื่อหาแผนกลยุทธ์ในการ ด�ำเนินการตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และมีการก�ำกับองค์กรในการ ขับเคลื่อนที่ส�ำคัญการน�ำ Balance Score Card : BSC มาใช้เพื่อ การก�ำกับองค์กรให้ขับเคลื่อนให้มีความสมดุลใน BSC ใน 4 Perspectives คือ 1. มุมมองด้านการเงิน (Finance) 2. มุมมองด้านลูกค้า (Customer) 3. มุมมองด้านการพัฒนา (Business Development) และ 4. มุมมองด้านการเรียนรู้ (Learning and Growth) โดยการ สร้างเครื่องมือวัดการท�ำให้บรรลุผลทั้ง 4 มุมมองในสมรรถนะใน ความส�ำเร็จขององค์กรเป็นเชิงคุณค่าด้านคุณภาพ (Quality) หรือ เชิงคุณค่าด้านปริมาณ (Quantity) ที่เรียกกันว่า Key Performance Indicators : KPIs ซึ่ง BSC และ KPIs ที่กล่าวถึง จึงเป็นเสมือน ความต้องการขององค์กรเชิงปฏิบัติการด้วย BSC และวัดผลด้วย KPIs โดยผลที่ได้จะเป็นสิ่งก�ำหนดผลตอบแทนส�ำหรับผู้ปฏิบัติงาน ในเชิงของโบนัสที่จะได้ หากสามารถท�ำได้ตาม Business Growth ในเกณฑ์ที่ตั้งไว้ก็จะถือเรียกว่าได้เป็นตามเป้าประสงค์นั้นคือเข้า เป้าใน Target ทางธุรกิจ แต่ถ้าท�ำได้น้อยกว่าเป้า ก็จะอยู่ในช่วง ไม่ผ่านเข้าเกณฑ์ จะถูกเรียกว่าต�่ำกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ใน Threshold ทางธุรกิจ และหากสามารถท�ำได้ส�ำเร็จทะลุเป้า ก็จะเข้าโหมด Outstanding รางวั ล ที่ ไ ด้ ก็ จ ะเป็ น Big Bonus ในปี นั้ น ตาม KPIs ที่ตั้งไว้ แต่อย่าลืมว่า KPIs นั้นจะท�ำงานต่ออย่างไม่หยุด Outstanding ในวันนี้ จะเป็น Target ในปีหน้าอย่างแน่นอน ในค�ำว่าวัตถุประสงค์ (Objective) ยังมีการก�ำกับเพื่อให้มี เหตุแห่งความไม่ส�ำเร็จด้วยเครื่องบริหารความเสี่ยง ที่เรียกว่า การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) สิ่งใดๆ ที่เป็นเหตุ หรือเป็นสาเหตุที่ท�ำให้วัตถุประสงค์นั้นส�ำเร็จ จะต้องมีมาตรการ รองรับเพื่อการป้องกันความเสี่ยงนั้นๆ วัตถุประสงค์ขององค์กร (Corporate Objective) จึงมีความ ส�ำคัญมากที่จะตอบโจทย์ของแผนธุรกิจที่วางไว้ ในปี พ.ศ. 2497 Professor Peter Drucker ศาสตราจารย์ผเู้ ขียนต�ำราด้านการบริหาร ได้แต่งต�ำราชื่อ Management By Objective (MBO) จุดเด่นของ หลักการบริหารแบบ MBO ก็คือมีการก�ำหนดวัตถุประสงค์ของการ

61

Engineering Today May - June

2020


ท�ำเช่นไรต่อไป เป็นการทวนสอบสถานะของงานที่ดีเพื่อป้องกัน ความผิดพลาด ► Recognition คือการให้ความยอมรับ ซึ่งเป็นการสร้าง แรงจูงใจอย่างหนึ่งให้กับพนักงาน เพื่อให้ทีมงานสามารถพัฒนา ตนเองจากแรงบันดาลใจที่สร้างขึ้นมาจากการตั้งวัตถุประสงค์และ มุ่งสู่เป้าของผลลัพธ์ รวมถึงการสร้างวัฒนธรรมของความรู้สึก ขอบคุณ (Gratitude) ให้เกิดขึน้ ระหว่างพนักงานด้วยกัน หรือทีเ่ รียก ว่า Peer-to-Peer Recognition การเคารพและการนับถือซึ่งกัน และกันเป็นส่วนที่ส�ำคัญยิ่ง John Doerr ซึ่งเป็นผู้เขียนได้บอกว่า OKRs บนพื้นฐานของ การพลังจากการสร้างแรงจูงใจจาก FACTS เมื่อมารวมกับพลัง จากแรงจูงใจของผู้บริหารหรือหัวหน้างานด้วย CFR ก็จะเป็นระบบ ที่เรียกว่า Continuous Performance Management นั้นคือระบบ การจัดการผลการดําเนินงานอย่างต่อเนื่องที่เกิดพลังภายในและ ก�ำลังใจภายนอก ซึ่งจะแตกต่างกับระบบ KPIs แบบเดิมๆ ที่เน้น การผลักดันด้วยการประเมิน ผลปีละครั้งตอนสิ้นปีและตั้งเกณฑ์ให้ สูงขึ้นเพื่อตบรางวัลซึ่งอาจจะช้าเกินไปและจะไม่มีความยืดหยุ่น เพราะผลลัพธ์ที่ได้คือการสร้างก�ำไรและผลตอบแทนเป็นหลัก ในหนังสือ Measure What Matters ซึ่งกล่าวถึงเครื่องมือ ทางการบริหาร OKRs ได้สะท้อนและสามารถตอบโจทย์ปัญหา ในสถานการณ์ปัจจุบันได้ดี เป็นเครื่องมือที่สร้างแนวคิดในการสร้าง แรงบั น ดาลใจ (Motive) ให้ กั บ ผู ้ ป ฏิ บั ติ ง านด้ ว ยการก� ำ หนด วัตถุประสงค์ (Objectives) และผลลัพธ์ของความส�ำเร็จ (Key Results) ด้วยทีมงานและผูป้ ฏิบตั งิ าน และกล่าวโดยสรุปถึงเรือ่ งราว ของ OKRs ซึ่ง Google บอกเสมอว่าเป็นองค์ประกอบส�ำคัญที่ ท�ำให้ประสบความส�ำเร็จมาจนถึงทุกวันนี้ เป็นการขับเคลื่อนที่ต้อง สอดประสานกันในทุกๆ ส่วน เป็นการสร้างแรงผลักดันให้คน ในองค์กรได้น�ำศักยภาพสูงสุดของตนเองมาใช้ให้เกิดประโยชน์ การใส่ใจในคุณค่าของคนในองค์กร การท�ำให้เป็นองค์กรทีม่ ชี วี ติ ชีวา พนักงานมีมมุ มองและทัศนคติทดี่ ใี นการอยูร่ ว่ มกัน สิง่ ต่างๆ เหล่านี้ จะช่วยท�ำให้การบริหารผลงานโดยใช้ OKRs เกิดประโยชน์ขนึ้ ได้จริง สามารถสร้างความส�ำเร็จให้เกิดขึ้นกับองค์กรได้อย่างก้าวกระโดด และอย่างยั่งยืน ให้จ�ำไว้ว่า “เมื่ออนาคตไล่ล่าคุณ” ยิ่งในสถานการณ์ COVID-19 และ New Normal อย่าลืมว่าเราควรมีเครื่องมือที่จะต่อสู้กับมัน การท�ำงานจากที่บ้าน Work From Home เพื่อการท�ำงานให้ได้ ดี มีประสิทธิภาพ มีประสิทธิผลเป็นที่ยอมรับ เราต้องมีเครื่องมือ ในการท�ำงานที่ดีอย่างราบรื่นด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสมและการ ใช้เครือ่ งมือทางการบริหารทีเ่ หมาะกับการท�ำงานทีต่ อ้ งมีความรับ ผิดชอบด้วยตนเองด้วย นั้นคือการใช้หลัก Objectives and Key Result : OKRs โดยจะต้องพัฒนาการท�ำงานในรูปแบบใช้จริงกับ งานจริงด้วย OKRs in Actions ต่อไป ซึ่งเราต้องตั้งปณิธาน ให้กบั ตนเองว่า “การขาดการตัง้ ใจในวัตถุประสงค์ การไม่มตี วั ชีว้ ดั การไม่ มี เ ป้ า หมาย จะไม่ ส ามารถประสบความส� ำ เร็ จ ได้ ” สถานการณ์ในครั้งนี้ เราจะผ่านไปได้ด้วยดีและเราจะเห็นคุณค่า ของการท�ำงานและคุณค่าของตนเองได้อย่างแท้จริง

John Doerr ได้ ก ล่ า วถึ ง OKRs ว่ า เป็ น การก� ำ หนด วั ต ถุ ป ระสงค์ คื อ สิ่ ง ที่ เ ราต้ อ งการให้ ป ระสบความส� ำ เร็ จ และ ผลลัพธ์ที่ส�ำคัญจะระบุว่าเราจะท�ำให้ประสบความส�ำเร็จได้อย่างไร (Objectives are What You Want to Have Accomplished and Key Results are How I’m Going to Get that Done.) และ ได้อธิบาย OKRs 4 ด้าน ที่จะต้องใส่ใจ ได้แก่ 1) Focus and Commit to Priorities การมุ่งเน้นจุดสนใจ และผูกมัดไปที่สาระที่ส�ำคัญก่อน ซึ่งหมายถึงว่า OKRs จะทําให้ ผู้บริหารเน้นจัดอันดับวัตถุประสงค์ที่มีความส�ำคัญมากๆ จึงทําให้ ไม่เป็นการกระจายทรัพยากรไปในเรือ่ งต่างๆ อย่างสะเปะสะปะ และ ทําให้โอกาสที่จะทําในเรื่องที่สําคัญนั้นๆ ประสบความสําเร็จก็จะ สูงขึ้น 2) Align and Connect for Teamwork การทําให้สิ่งที่ทํา สอดคล้องในแนวทางเดียวกันกับกลยุทธ์และเป้าหมายขององค์กร และมีการทํางานเป็นทีม โดย OKRs จะทําให้เกิดความสอดคล้อง กันระหว่างสิง่ ทีผ่ บู้ ริหารต้องการกับสิง่ ทีพ่ นักงานควรจะทําให้สาํ เร็จ โดยการกระตุน้ ให้เกิดทําให้เกิดการช่วยเหลือกัน และการทํางานเป็น ทีมข้ามหน่วยงานกันได้ง่ายขึ้น 3) Track for Accountability การติ ด ตามและมี ค น รับผิดชอบ ระบบ OKRs จะมีระบบการติดตามอย่างต่อเนื่องและ ยังมีผู้รับผิดชอบ (เจ้าภาพ) ที่ชัดเจนในเรื่องนั้นๆ ที่จะต้องทําให้ สําเร็จในแต่ละไตรมาสหรือช่วงเวลาที่ก�ำหนด 4) Stretch for Amazing การตั้ ง เป้ า หมายที่ ท ้ า ทายที่ น่ า อั ศ จรรย์ ระบบ OKRs จะกระตุ ้ น ให้ พ นั ก งานแต่ ล ะคนตั้ ง เป้าหมายที่ท้าทายและจะไม่มีการทําโทษหากไม่ถึงเป้าหมายนั้น จึงทําให้พนักงานกล้าที่จะทําอะไรที่ท้าทาย การมีบทลงโทษจะมี ผลเสียที่ทําให้พนักงานพยายามที่จะตั้งเป้าหมายให้ตํ่ากว่าความ สามารถของตนเองและไม่ท้าทาย นั้นหมายถึงว่าสามารถยืดหยุ่น (Stretch) ได้ โดยหลักการส�ำคัญในข้อนี้ John Doerr ได้กล่าวว่า “เป้าหมายที่คนอื่นก�ำหนดให้เรา เราจะไม่รู้สึกผูกพัน เหมือนกับ เป้าหมายที่เราก�ำหนดขึ้นมาเอง” ซึ่งค�ำย่อทั้ง 4+1 ด้านนั้นเป็น Superpower ของ OKRs บน พืน้ ฐานของความเป็นจริง (FACTS : Focus-Align-Commit-Stretch) การท�ำงานให้บรรลุผลส�ำเร็จจะเป็นเรือ่ งของการทํางานภายใต้ระบบ ของ OKRs โดยหัวใจหลักจะผ่านสิ่งที่เรียกว่า CFR ดังต่อไปนี้ ► Conversation หมายถึงการเจรจาพูดคุย ผู้บริหารเอง จําเป็นต้องมีการพูดคุยกับลูกน้องอยู่เสมอ เป็นการรับรู้ถึงความ ก้าวหน้า เป็นลักษณะของ Two Way Communication ที่เป็นการ รับทราบความก้าวหน้าของงาน รับทราบปัญหา โอกาสของการ แนะน�ำและเป็นการให้ก�ำลังใจ ►Feedback คื อ ผลสะท้ อ นกลั บ ผู ้ บ ริ ห ารจะต้ อ งมี ก าร แสดงออกในรูปแบบ Feedback Control กับพนักงานถึงผลลัพธ์ ทีไ่ ด้วา่ บรรลุหรือไม่บรรลุเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้ เป็นการควบคุมให้เป็นไป ตามแนวทาง Align ที่ได้วางไว้ และเป็นการสะท้อนถึงเป้าหมาย ที่ตั้งไว้ ซึ่งอาจจะสามารถทําได้ดีขึ้นไปกว่าเดิมได้อีก Feedback เป็นสิ่งสําคัญที่จะทําให้พนักงานรับทราบว่าเขาควรจะต้องทําอะไร

Engineering Today May - June

2020

62


ใบสมัครสมาชิก 2020

เลขที่.................. หมูที่........ หมูบาน................................... อาคาร............................ ชั้น............... หอง............ ตรอก/ซอย...................... ถนน............................... แขวง/ตำบล........................... เขต/อำเภอ............................ จังหวัด................................ รหัสไปรษณีย....................... โทรศัพทที่ทำงาน....................................................... โทรศัพทมือถือ............................ โทรสาร................................. E-mail.............................................................

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

สมัครสมาชิกประเภท

Corporaeter Memb 3 เลม

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

แถม YG Directory

2018/2019

มูลคา 400.-

สมาชิกใหม ตออายุสมาชิก

แซอึ้ง

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำกัด

1 ป 6 ฉบับ 300 2 ป 12 ฉบับ 600

1 ป 1,260 บาท 1 ป 1,100 บาท

2 ป 2,520 บาท 2 ป 2,200 บาท

TECHNOLOGY MEDIA CO., LTD.

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท 0-2354-5333, 0-2644-4555 Ext. 231 โทรสาร 0-2644-6649 E-mail : member.technologymedia.co.th@gmail.com / marketing_mag@technologymedia.co.th


INDEX ADVERTISING May - June 2020

Engineering Today

บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ต�ำแหน่งหน้า

ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK

0-2036-0500

-

8

www.asew-expo.com

INTERMACH

0-2036-0500

-

9

www.intermachshow.com

-

-

10

www.asean.intermatconstruction.com

0-2245-9113

0-2642-9220

ปกหลังนอก

-

-

11

www.propakasia.com

THAILAND Lighting FAIR

0-2838-9999 Ext. 1177

-

67

www.thailandindustrialfair.com

VEGA INSTRUMENTS CO., LTD.

0-2700-9240

0-2700-9241

4

www.vega.com

กุลธร บจก.

0-2282-2151

0-2280-1444

6

www.kulthorn.co.th

คณิต เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2642-9209-11

0-2246-3214

66

www.kanitengineering.com

เบย์ คอร์ปอเรชั่น บจก.

0-2926-0111

0-2926-0123-4

2

www.bay-corporation.com, E-mail : sales@bay-corporation.com

โปรแมช (ประเทศไทย) บจก.

08-1592-4456

-

7

www.promach.co.th

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727

0-2476-1711

5

www.virtus.co.th, E-mail : welcome@virtus.co.th

เอส เอ วี เมคคานิคคอลเซอร์วิสส์ แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.

0-2702-8801, 0-2702-0581-8

0-2395-1002

3

E-mail : savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com

ไอแซค มาร์เก็ตติ้ง บจก.

0-2735-0581-8

0-2377-5937

65

www.ตู้สาขา.com, www.notifier.co.th

INTERMAT ASEAN PISANU ENGINEERING CO., LTD. PROPAK ASIA

Engineering Today May - June

2020

64

Website/E-mail

www.pisanu.co.th






Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.